You are on page 1of 40

1

บทที่ 6
Polarization
โพลาไรเซชั่นคืออะไร

คุณสมบัติทางคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่บอกให้ทราบถึงทิศทางและขนาดของความ
เข้มสนามไฟฟ้า

ความเป็นโพลาไรซ์ของแสง
แบ่งได้ 3 กรณีคือ
1. แสงที่โพลาไรซ์ เป็นแสงที่มีทิศทางการสั่นของความเข้มสนามไฟฟ้าทั้งบนพิกัดตาแหน่ง
และเวลาที่แน่นอน เช่น แสงเลเซอร์
2. แสงที่ไม่โพลาไรซ์ เป็นแสงที่เราไม่สามารถสังเกตหรือวัดทิศทางของสนามไฟฟ้าได้เลยซึ่ง
อาจเกิดจากการที่โพลาไรเซชั่นของสนามไฟฟ้าทั้งหมดหักล้างกันเช่น แสงอาทิตย์
3. แสงที่โพลาไรซ์บางส่วน เป็นแสงที่มีทิศทางการสั่นของสนามไฟฟ้าเป็นผลรวมของแสงที่
โพลาไรซ์และแสงที่ไม่โพลาไรซ์

2
ชนิดของโพลาไรเซชั่น

• โพลาไรเซชั่นแบบเชิงเส้น
• โพลาไรเซชั่นแบบวงกลม แบบหมุนตามเข็มนาฬิกา และแบบหมุนทวนเข็มนาฬิกา
• โพลาไรเซชั่นแบบวงรี แบบหมุนตามเข็มนาฬิกา และแบบหมุนทวนเข็มนาฬิกา
การพิจารณาชนิดของโพลาไรเซชั่น
พิจารณาคลื่นฮาร์โมนิคที่เคลื่อนที่ในทิศทาง +z ซึ่งประกอบด้วยความเข้มสนามไฟฟ้าทั้งในแกน x และ แกน y

𝐸 = 𝑥𝐸
ො 𝑥 + 𝑦𝐸
ො 𝑦 = 𝑅𝑒 𝑥𝐸 ො 𝑦 𝑒 −𝑗(𝜔𝑡−𝑘𝑧+𝜙𝑦)
ො 𝑥 𝑒 −𝑗(𝜔𝑡−𝑘𝑧+𝜙𝑥 ) + 𝑦𝐸
𝐸 = 𝑥𝐸
ො 𝑥0 cos(𝜔𝑡 − 𝑘𝑧 + 𝜙𝑥 ) + 𝑦𝐸
ො 𝑦0 cos(𝜔𝑡 − 𝑘𝑧 + 𝜙𝑦 )
โดยที่ 𝐸𝑥 และ 𝐸𝑦 เป็นเลขจานวนเชิงซ้อน 𝐸𝑥0 และ 𝐸𝑦0 เป็นเลขจานวนจริง 3
6.1.1 โพลาไรเซชั่นแบบเชิงเส้น
เพื่อให้ง่ายต่อการพิจารณา ให้พิกัด z = 0 𝜙𝑦 − 𝜙𝑥 = 𝑛𝜋 หรือ 𝐸𝑖0 = 0 (i คือ x หรือ y)

𝐸 = 𝑥𝐸
ො 𝑥0 cos(𝜔𝑡 + 𝜙𝑥 ) 𝐸 = 𝑦𝐸
ො 𝑦0 cos(𝜔𝑡 + 𝜙𝑦 ) 𝐸𝑥 = 𝐸𝑥0 cos(𝜔𝑡 + 𝜙)
𝐸𝑦0 = 0 𝐸𝑥0 = 0 𝐸𝑦 = 𝐸𝑦0 sin(𝜔𝑡 + 𝜙)
𝐸𝑦0
Ψ= 𝑡𝑎𝑛−1
𝐸𝑥0
2 2
𝐸 = 𝐸𝑥0 + 𝐸𝑦0
4
6.1.1 โพลาไรเซชั่นแบบเชิงเส้น

5
6.1.2 โพลาไรเซชั่นแบบวงกลม เพื่อให้ง่ายต่อการพิจารณา ให้พิกัด z = 0
โพลาไรเซชั่นแบบวงกลมโดยหมุนตามเข็มนาฬิกา 𝜙𝑥 = 0 𝜙𝑦 = −𝜋/2 𝐸𝑥0 = 𝐸𝑦0 = 𝐸𝑅

𝐸𝑥 = 𝐸𝑅 cos(𝜔𝑡)
𝜋
𝐸𝑦 = 𝐸𝑅 cos(𝜔𝑡 − ) = 𝐸𝑅 sin(𝜔𝑡)
2

ที่ระนาบ z = 0 ความเข้มสนามไฟฟ้าจะหมุนในทิศทางตามเข็มนาฬิกา

6
6.1.2 โพลาไรเซชั่นแบบวงกลม เพื่อให้ง่ายต่อการพิจารณา ให้พิกัด z = 0
โพลาไรเซชั่นแบบวงกลมโดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา 𝜙𝑥 = 0 𝜙𝑦 = 𝜋/2 𝐸𝑥0 = 𝐸𝑦0 = 𝐸𝐿

𝐸𝑥 = 𝐸𝐿 cos(𝜔𝑡)
𝜋
𝐸𝑦 = 𝐸𝐿 cos(𝜔𝑡 + ) = −𝐸𝐿 sin(𝜔𝑡)
2
ที่ระนาบ z = 0 ความเข้มสนามไฟฟ้าจะหมุนในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

สรุป
จะเห็นว่าโพลาไรเซชั่นแบบวงกลมจะมีความต่างเฟส (𝜙𝑦 − 𝜙𝑥 ) = 90 องศา และทิศทางการหมุนของความ
เข้มสนามไฟฟ้าจะขึ้นอยู่กับค่าความต่างเฟสนี้ด้วย ถ้าความต่างเฟสมีค่าเป็นบวก (𝐸𝑦 นา 𝐸𝑥 ) ทิศทางการหมุน
จะทวนเข็มนาฬิกา และเมื่อความต่างเฟสมีค่าเป็นลบ (𝐸𝑥 นา 𝐸𝑦 ) ทิศทางการหมุนจะตามเข็มนาฬิกา 7
โพลาไรเซชั่นแบบวงกลม

8
โพลาไรเซชั่นแบบวงรี เพื่อให้ง่ายต่อการพิจารณา ให้พิกัด z = 0
เหมือนกับกรณีของโพลาไรเซชั่นแบบวงกลม แต่ขนาดของสนามไฟฟ้าในแนวแกน x และ y ไม่เท่ากัน เช่น
𝐸𝑦0 = 𝐸𝑅 − 𝐸𝐿 𝐸𝑥0 = 𝐸𝑅 − 𝐸𝐿

𝜋
𝐸𝑥 = 𝐸𝑅 + 𝐸𝐿 cos 𝜔𝑡 + 2 = − 𝐸𝑅 + 𝐸𝐿 𝑠𝑖𝑛 (𝜔𝑡)
𝐸𝑦 = (𝐸𝑅 − 𝐸𝐿 )cos(𝜔𝑡)

การหมุนทวนเข็มหรือตามเข็มนาฬิกาในกรณีนี้ นอกจากจะพิจารณาความต่างเฟสแล้ว ยังสามารถพิจารณา


จากอัตราส่วนของแกนหลักต่อแกนรอง (Axial Ratio: AR)
𝐸𝑚𝑎𝑥 𝐸𝑅 + 𝐸𝐿
A𝑅 = =
𝐸𝑚𝑖𝑛 𝐸𝑅 − 𝐸𝐿

ถ้า 𝐸𝑅 > 𝐸𝐿 ค่า AR จะเป็นบวกทาให้ส่วนของ


ทิศทางตามเข็มนาฬิกามีผลมากกว่าทิศทางทวนเข็ม
นาฬิกา ดังนั้นความเข้มสนามไฟฟ้าจะหมุนในทิศทาง
ตามเข็มนาฬิกา 9
โพลาไรเซชั่นแบบวงรี เพื่อให้ง่ายต่อการพิจารณา ให้พิกัด z = 0
ถ้า 𝐸𝑅 < 𝐸𝐿 ค่า AR จะเป็นลบทาให้ส่วนของทิศทางทวน
เข็มนาฬิกามีผลมากกว่าทิศทางตามเข็มนาฬิกา ดังนั้น
ความเข้มสนามไฟฟ้าจะหมุนในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

𝐸𝑥0 = 𝐸𝑅 − 𝐸𝐿 𝐸𝑦0 = 𝐸𝑅 + 𝐸𝐿

10
โพลาไรเซชั่นแบบวงรี

11
โพลาไรเซชั่นแบบวงรี เพื่อให้ง่ายต่อการพิจารณา ให้พิกัด z = 0
เราสามารถหาสมการในรูปแบบทั่วไปของวงรีที่อธิบายเกี่ยวกับโพลาไรเซชั่นได้อีกวิธีหนึ่งดังนี้
𝐸𝑥 = 𝐸𝑥0 cos(𝜔𝑡 − 𝑘𝑧) 𝐸𝑥
= cos(𝜔𝑡 − 𝑘𝑧)
𝐸𝑥0
𝐸𝑦
𝐸𝑦 = 𝐸𝑦0 cos(𝜔𝑡 − 𝑘𝑧 + 𝜀) = cos(𝜔𝑡 − 𝑘𝑧 + 𝜀)
𝐸𝑦0

2 2
𝐸𝑦 𝐸𝑥 𝐸𝑦 𝐸𝑥
+ −2 cos(𝜀) = 𝑠𝑖𝑛2 (𝜀)
𝐸𝑦0 𝐸𝑥0 𝐸𝑦0 𝐸𝑥0

เป็นสมการวงรีที่ทามุม  กับแกน x หรือ มุม  กับแกน y


𝐸𝑥0 𝐸𝑦0 cos(𝜀)
tan 2𝛼 = 2 2 2
𝐸𝑥0 − 𝐸𝑦0
𝜋
τ= −𝛼
2
12
สถานะของโพลาไรเซชั่น (State of Polarization: SOP) จะสามารถอธิบายได้โดยพิจารณาตาแหน่งบนพื้นผิวทรง
กลมซึ่งเรียกว่า Poincare ดังรูป ตัวแปรที่ใช้ในการบ่งบอกถึง SOP แบ่งออกได้เป็น 2 ชุด คือ (,) และ (,)
ชุด (,) อิงแกน (x,y)
𝐸𝑦0
𝛾= 𝑡𝑎𝑛−1 𝛿 = 𝜙𝑦 − 𝜙𝑥
𝐸𝑥0
𝐸𝑥 = 𝐸𝑥0 cos 𝜔𝑡 − 𝑘𝑧 = 𝐸𝑥0 cos 𝜙𝑥
𝐸𝑦 = 𝐸𝑦0 cos 𝜔𝑡 − 𝑘𝑧 + 𝛿 = 𝐸𝑦0 cos(𝜙𝑦 )

ชุด (,) อิงแกน (x’,y’)


𝜀 = 𝑐𝑜𝑡 −1 𝐴𝑅  = มุมเอียงของ SOP

𝐸𝑚𝑎𝑥 𝐸𝑅 + 𝐸𝐿 𝑎
A𝑅 = = =
𝐸𝑚𝑖𝑛 𝐸𝑅 − 𝐸𝐿 𝑏

𝐸𝑥0 𝐸𝑦0 cos(𝜀)


tan 2𝜏 = 2 2 2
𝐸𝑥0 − 𝐸𝑦0
13
14
15
ไดโครอิซึม (Dichroism) โพลาไรเซชั่นจากการดูดซับ
คุณสมบัติของวัสดุไดโครอิค จะดูดซับโพลาไรเซชั่นเชิงเส้นในทิศทางหนึ่ง ๆ หรืออีกนัยหนึ่งคือค่าคงที่ของการ
ดูดซับจะขึ้นอยู่กับทิศทางการสั่นของความเข้มสนามไฟฟ้า ตัวอย่างของวัสดุไดโครอิคคือ Tourmalline ซึ่งจะ
ลดทอนขนาดของความเข้มสนามไฟฟ้าที่มีทิศทางการสั่นตั้งฉากกับ Optic Axis (O.A.) ของ Tourmaline

2
𝐼𝑂𝑈𝑇 𝐸𝑂𝑈𝑇
= 2 𝑐𝑜𝑠 2 Ψ
𝐼𝐼𝑁
𝐸𝐼𝑁

แผ่นไดโครอิซึมชนิดแรก คือ แผ่นโพลารอยด์ (Polaroid) ซึ่งคิดค้นโดย Edwin Land ในปี ค.ศ. 1928 16
โพลาไรเซชั่นชนิดตาข่าย (Grid Polarizer) ซึ่งใช้ทั่วไปในคลื่นไมโครเวฟ

ความเข้มสนามไฟฟ้าในแนวตั้งเท่านั้นที่จะทาให้อิเล็กตรอนอิสระสั่นเนื่องจากว่าตาข่ายในแนวตั้ง อิเล็กตรอน
ไดโพลในแนวตั้งซึ่งจะเป็นตัวรับหรือตัวส่งความเข้มสนามไฟฟ้าในแนวตั้งได้ดี ความเข้มสนามไฟฟ้าที่เกิดบน
ตาข่าย ทิศทางแนวตั้งจะหักล้างกันกับความเข้มสนามไฟฟ้าตกกระทบที่มีทิศทางการสั่นในแนวตั้ง ส่วนใน
แนวนอนนั้นความเข้มสนามไฟฟ้าบนตาข่ายในทางทิศทางนี้จะมีน้อย เนื่องจากอิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ไป
มาไม่สะดวกในแนวนอนเป็นผลความเข้มสนามไฟฟ้าตกกระทบกับความเข้มสนามไฟฟ้าที่เกิดจากตาข่ายไม่
สมบูรณ์ เพราะฉะนั้นแสงที่ผ่านออกมาจะมีโพลาไรเซชั่นเชิงเส้นในแนวนอน 17
การหักเหของแสง 2 ครั้ง
วัสดุไบริฟริฟรินเจนส์ (Birefringent Materials) โพลาไรเซชั่นอันเนื่องมาจากการหักเห
• เกิดในวัตถุที่เป็น Anisotropic คือ วัตถุที่มีดัชนีหักเนของแสง 2 หรือ 3 ค่าบนพิกัดอ้างอิงเช่น คริสตอล
• Birefringence = ∆𝑛 = 𝑛𝑒 − 𝑛0
• แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ Uniaxial และ Biaxial

• n มาก ความเร็วของคลื่นในตัวกลางช้า
• n น้อย ความเร็วของคลื่นในตัวกลางเร็ว
• O.A. (Optical Axis) เส้นที่ลากผ่านระหว่างจุดสองจุดที่วงกลมหรือวงรีดังรูปสัมผัสกัน
18
วัสดุไบริฟริฟรินเจนส์ (Birefringent Materials)

19
ตัวอย่างการวิเคราะห์เฟสที่เกิดขึ้นเมื่อแสงเคลื่อนที่ผ่านวัสดุไบริฟริฟรินเจนส์
กรณีที่ 1 : แกน O.A. ขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงตกกระทบ

ความต่างเฟสระหว่างความเข้มสนามไฟฟ้าทั้งสองจะเป็นศูนย์

กรณีที่ 2 : แกน O.A. ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงตกกระทบ

2𝜋
∆𝜙 = 𝑛 − 𝑛0 𝑑
𝜆0 𝑒

2𝜋
∆𝜙 = 𝑛 − 𝑛0 𝑑
𝜆0 𝑒

Note: Ordinary-ray (O-ray) จะมีระนาบการสั่นตั่งฉากกัน


O.A. และ Extra-Ordinary-ray (E-ray) จะตั้งฉากกับ O-ray
20
ตัวอย่างการใช้คริสตอลทาอุปกรณ์โพลาไรเซอร์
โพลาไรเซอร์หรือตัวแยกลาแสงโพลาไรเซชั่น
Wollastom Prism

Glan Foucault Prism


EX. Calcite มี n (O-ray) = 1.6557
และ n (E-ray) = 1.4852
ดังนั้น
Critical angle (O-ray) = arsine(1/n0)
= 37.16 องศา
Critical angle (E-ray) = arsine(1/ne)
= 42.52 องศา
21
ตัวอย่างการใช้คริสตอลทาอุปกรณ์โพลาไรเซอร์
อุปกรณ์ควบคุมความต่างเฟส
กรณีที่ 1: ใช้วัตถุ birefringent หนึ่งชิ้น
คลื่น TE: 𝜙0 = 2𝜋 𝑛 𝑑
𝜆 0

คลื่น TM: 𝜙𝑒 = 2𝜋 𝑛 𝑑
𝜆 𝑒
2𝜋
∆𝜙 = 𝜙𝑒 − 𝜙0 = 𝑛 − 𝑛0 𝑑
𝜆0 𝑒
กรณีที่ 2: ใช้วัตถุ birefringent สองชิ้น
4𝜋
∆𝜙 = (𝑛 − 𝑛0 )𝑊𝑑
𝜆𝐿 𝑒
2𝜋 2𝜋
= 𝑛 − 𝑛0 𝑑1 + 𝑛 − 𝑛0 𝑑2
𝜆 𝑒 𝜆 𝑒
2𝜋
∆𝜙 = 𝑛 − 𝑛0 (𝑑1 −𝑑2 )
𝜆 𝑒
𝑑 𝐿 𝑑 𝐿 𝑑
𝑑1 = + 𝑊 𝑑2 = − 𝑊 𝑑1 − 𝑑2 = 2𝑊
𝐿 2 𝐿 2 𝐿
2𝜋 𝑑 22
∆𝜙 = 𝑛 − 𝑛0 2𝑊
𝜆 𝑒 𝐿
ตัวอย่างการใช้คริสตอลทาอุปกรณ์โพลาไรเซอร์
ตัวหน่วงเฟส หรือ เวฟเพลท
Quarter Waveplate (QWP)
2𝜋
∆𝜙 = 𝜙𝑒 − 𝜙0 = 𝑛 − 𝑛0 𝑑
𝜆0 𝑒
𝜋
∆𝜙 =
2

QWP ใช้ในการเปลี่ยนโพลาไรเซชั่นเชิงเส้นให้เป็นโพลาไรเซชั่น
วงกลมหรือในทางกลับกัน

Half Waveplate (HWP)


2𝜋
∆𝜙 = 𝜙𝑒 − 𝜙0 = 𝑛 − 𝑛0 𝑑
𝜆0 𝑒
∆𝜙 = 𝜋

HWP ใช้ในหมุนโพลาไรเซชั่นเชิงเส้นไป 2 23
เป็นหนึ่งในหลายวิธีที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับโพลาไรเซชั่น และจะใช้กับแสงที่โพลาไรซ์เท่านั้น
ก่อนที่จะเข้าถึง เมตริกซ์ของ Jones จะกล่าวถึงเวกเตอร์ของ Jones
วิธีการเขียนเวกเตอร์ของ Jones ทาได้โดยการพิจารณาสมการาของสนามไฟฟ้าในรูปของเอ็กซ์โพเนนเชียลดัง
ตัวอย่างต่อไปนี้ 𝑗𝜙𝑥 −𝑗(𝜔𝑡−𝑘𝑧)
𝐸𝑥 = 𝐸𝑥0 𝑒 𝑒
𝐸𝑦 = 𝐸𝑦0 𝑒 𝑗𝜙𝑦 𝑒 −𝑗(𝜔𝑡−𝑘𝑧)
𝐸𝑥 𝐸𝑥0 𝑒 𝑗𝜙𝑥
𝐽Ԧ = 𝐸 =
𝑦 𝐸𝑦0 𝑒 𝑗𝜙𝑦

นอกจากนี้แล้วโดยทั่วไปเพื่อความง่ายต่อการคานวณ 𝐽Ԧ = 1 ดังนั้นการที่จะทาให้เวกเตอร์ 𝐽Ԧ อยู่ในรูปของ


2 2
เวกเตอร์หนึ่งหน่วย ต้องนา 𝐽Ԧ = 2
𝐸𝑥0 2
+ 𝐸𝑦0 มาหารกับ 𝐽Ԧ ยกตัวอย่างเช่นกรณีของโพลาไรเซชั่นเชิง
เส้นทามุม  กับแกน x

𝐴𝑐𝑜𝑠𝛼 𝑐𝑜𝑠𝛼 𝐽Ԧ 𝐴 𝑐𝑜𝑠𝛼 𝑐𝑜𝑠𝛼


𝐽Ԧ = =𝐴 = =
𝐴𝑠𝑖𝑛𝛼 𝑠𝑖𝑛𝛼 𝐽Ԧ (𝐴𝑐𝑜𝑠𝛼)2 +(𝐴𝑠𝑖𝑛𝛼)2 𝑠𝑖𝑛𝛼 𝑠𝑖𝑛𝛼

24
ตัวอย่างของ Jones Vector ของโพลาไรเซชั่นเชิงเส้น เมื่อ = 60 องศา
1/2 1 1
Ԧ𝐽 = 𝑐𝑜𝑠60° = =
𝑠𝑖𝑛60° 3/2 2 3

ตัวอย่างเพิ่มเติมของ Jones Vector สาหรับโพลาไรเซชั่นเชิงเส้น

25
ตัวอย่างเพิ่มเติมของ Jones Vector สาหรับโพลาไรเซชั่นวงกลม

ตัวอย่างเพิ่มเติมของ Jones Vector สาหรับโพลาไรเซชั่นวงรี

26
ตัวอย่างเพิ่มเติมของ Jones Vector สาหรับโพลาไรเซชั่นวงรี

ข้อสังเกต
ผลรวมของโพลาไรเซชั่นวงกลมหมุนตามเข็มนาฬิกากับโพลาไรเซชั่นวงกลมหมุนทวนเข็มนาฬิกาจะได้โพลาไรเซชั่น
เชิงเส้น 1 1 1 1 1 2
+ =
2 −𝑗 2 𝑗 2 0

ผลรวมของโพลาไรเซชั่นเชิงเส้นในแนวนอนกับโพลาไรเซชั่นเชิงเส้นในแนวตั้งจะได้โพลาไรเซชั่นเชิงเส้นทามุม 45
องศา
1 0 1 2𝑐𝑜𝑠45° = 2 𝑐𝑜𝑠45°
+ = =
0 1 1 2𝑠𝑖𝑛45° 𝑠𝑖𝑛45°
27
พิจารณาระบบแสงดังรูป

𝐸2𝑥 𝑇11 𝑇12 𝐸1𝑥


𝐸2𝑦 =
𝑇21 𝑇22 𝐸1𝑦

หรือ 𝐽Ԧ𝑂𝑈𝑇 = 𝑇𝑀 𝐽Ԧ𝐼𝑁

𝐽Ԧ𝑂𝑈𝑇 = 𝑇𝑁 𝑇𝑁−1 ⋯ 𝑇2 𝑇1 𝐽Ԧ𝐼𝑁


28
ตัวอย่างของ Jones Matrix สาหรับโพลาไรเซอร์
𝑐𝑜𝑠 2 𝜃 𝑠𝑖𝑛𝜃𝑐𝑜𝑠𝜃
แกนของโพลาไรเซอร์ทามุมใด ๆ 𝑠𝑖𝑛𝜃𝑐𝑜𝑠𝜃 𝑠𝑖𝑛2 𝜃
1 0
แกนของโพลาไรเซอร์อยู่ในแนวนอน  = 0 องศา 0 0

แกนของโพลาไรเซอร์อยู่ในแนวนอน  = 90 องศา 0 0
0 1

แกนของโพลาไรเซอร์อยู่ในแนวนอน  = 45 องศา 1 1 1
2 1 1
ตัวอย่างของ Jones Matrix สาหรับตัวหมุนโพลาไรเซชั่น

𝑐𝑜𝑠𝛽 −𝑠𝑖𝑛𝛽
𝑠𝑖𝑛𝛽 𝑐𝑜𝑠𝛽

29
𝑒 𝑗𝜀𝑥 0
ตัวอย่างของ Jones Matrix สาหรับตัวหน่วงเฟส 0 𝑒 𝑗𝜀𝑥
𝜋
QWP: Slow axis วางตัวในแกน x
𝜋 1 0 𝜋 𝑒 −𝑗0 0 −𝑗 4
−𝑗
𝑒 4 = −𝑗
𝑒 4 𝜋 = 𝑒 0
𝜋
0 𝑗 0 𝑒 −𝑗 2 +𝑗
0 𝑒 4

QWP: Fast axis วางตัวในแกน x 𝑒 −𝑗𝜋/4


1 0
0 −𝑗
1 0
HWP: Slow axis วางตัวในแกน x 𝑒 −𝑗𝜋/2
0 1
𝜋
𝜋 𝜋 𝑗2
1 0 𝑒 −𝑗0 0 = 𝑒 0
HWP: Fast axis วางตัวในแกน x 𝑒 −𝑗 2
= 𝑒 −𝑗 2
𝜋
0 −1 0 𝑒 −𝑗𝜋 0 𝑒 −𝑗 2

ตัวอย่างของ Jones Matrix สาหรับการหมุนพิกัดอ้างอิง

𝑐𝑜𝑠𝜃 𝑠𝑖𝑛𝜃
𝑅 𝜃 =
−𝑠𝑖𝑛𝜃 𝑐𝑜𝑠𝜃

30
𝐽Ԧ𝑂𝑈𝑇 = 𝑇𝑀 𝐽Ԧ𝐼𝑁
−𝑗
𝜋 1 0 1 1
=𝑒 4
0 𝑗 2 1

1
𝐽Ԧ𝑂𝑈𝑇 =
𝑗
โพลาไรเซชั่นวงกลมหมุนทวนเข็มนาฬิกา

𝐽Ԧ𝑂𝑈𝑇 = 𝑇𝑀 𝐽Ԧ𝐼𝑁

𝑐𝑜𝑠𝜃 −𝑠𝑖𝑛𝜃 −𝑗𝜋2 1 0 𝑐𝑜𝑠𝜃 𝑠𝑖𝑛𝜃 1


= 𝑒
𝑠𝑖𝑛𝜃 𝑐𝑜𝑠𝜃 0 −1 −𝑠𝑖𝑛𝜃 𝑐𝑜𝑠𝜃 0

𝑐𝑜𝑠2𝜃
𝐽Ԧ𝑂𝑈𝑇 = โพลาไรเซชั่นถูกหมุนไปเป็นมุมสองเท่า
𝑠𝑖𝑛2𝜃

31
• สัมพันธ์กับกาลังของแสงที่วัดได้
• ใช้อธิบายแสงที่ไม่โพลาไรซ์ได้
2
𝑆0 = 𝐸0𝑥 2
(𝑡) + 𝐸0𝑦 (𝑡) ผลรวมของความเข้มแสง
𝑆0
𝑆
2
𝑆1 = 𝐸0𝑥 2
(𝑡) − 𝐸0𝑦 (𝑡) โพลาไรเซชั่นเชิงเส้นแนวนอน หรือแนวตั้ง
𝑆Ԧ = 1
𝑆2 𝑆2 = 2𝐸0𝑥 (𝑡)𝐸0𝑦 (𝑡)cos(𝜀 𝑡 ) โพลาไรเซชั่นเชิงเส้นทามุม 45 องศา
𝑆3
𝑆3 = 2𝐸0𝑥 𝑡 𝐸0𝑦 𝑡 sin(𝜀 𝑡 ) โพลาไรเซชั่นเชิงเส้นวงกลม
𝜀 = 𝜀𝑦 − 𝜀𝑥

สาหรับแสงโพลาไรซ์ : 𝑆02 = 𝑆12 + 𝑆22 + 𝑆32

𝑆12 + 𝑆22 + 𝑆32


ความเป็นโพลาไรเซชั่น : 𝑉=
𝑆0

จะเห็นว่า V = 1 สาหรับแสงโพลาไรซ์
V < 1 สาหรับแสงโพลาไรซ์บางส่วน
V = 0 สาหรับแสงที่ไม่มีโพลาไรซ์ 32
33
เมตริกซ์สาหรับใช้กับเวกเตอร์ของ Stroke

𝑆𝑂𝑈𝑇 = 𝑇 𝑆𝐼𝑁

34
ตัวอย่างเมตริกซ์ Muller สาหรับใช้กับอุปกรณ์โพลาไรเซชั่นบางชนิด
1100 100 0
1 1100 QWP Fast Axis อยู่ใน
โพลาไรเซอร์ในแนวนอน 010 0
2 0000 0 0 0 −1
0000
แนวตั้ง 001 0

1 −1 0 0 10 0 0
โพลาไรเซอร์ในแนวตั้ง
1 −1 1 0 0 QWP Fast Axis อยู่ใน 01 0 0
2 0 0 00 แนวนอน 00 0 1
0 0 00 0 0 −1 0

10 10 Stoke vector axis rotation


โพลาไรเซอร์ทามุม 45 1 00 00
2 10 10
องศา 00 00 1 0 0 0
0 𝑐𝑜𝑠𝜃 𝑠𝑖𝑛𝜃 0
0 −𝑠𝑖𝑛𝜃 𝑐𝑜𝑠𝜃 0
1 0 −1 0 0 0 0 1
โพลาไรเซอร์ทามุม -45 1 0 0 0 0
องศา 2 −1 0 1 0
0 0 0 0
35
ตัวอย่าง จงหาผลลัพธ์เมื่อนาโพลาไรเซอร์ไปกั้นแสงที่ไม่โพลาไรซ์และมีขนาดความเข้มแสงหนึ่งหน่วย
𝑆𝑂𝑈𝑇 = 𝑇 𝑆𝐼𝑁

1100 1 1/2
1 0 = 1/2
𝑆𝑂𝑈𝑇 = 1100
2 0000 0 0
0000 0 0

เมตริกซ์ 4x4 ทางด้านซ้ายเป็น Mueller Matrix สาหรับโพลาไรเซอร์ ส่วนเมตริกซ์ขนาด 4x1 ทางด้านซ้าย


เป็น Stroke Vector สาหรับแสงที่ไม่โพลาไรซ์ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นแสงที่โพลาไรซ์เชิงเส้นในแนวนอนและ
มีความเข้มแสงลดลงเหลือ 1/2

36
6.6.1 หมุนเวฟเพลทมากกว่าหรือเท่ากับ 3 ชิ้น

เวฟเพลทแต่ละชิ้นเป็นอิสระต่อกัน

6.6.2 การใช้ Liquid Devices (LCDs) 3 ชิ้น โดยที่แต่ละชิ้นทาหน้าที่แทนเวฟเพลทที่ปรับได้

แรงดันไฟฟ้าไปเปลี่ยนดัชนี้หักเหของ LCDsทาให้สามารถสร้างเวฟเทพลทที่ปรับและควบคุมได้

6.6.3 Integrated Optics

แรงดันไฟฟ้าไปเปลี่ยนดัชนี้หักเหของ
แสงของเวฟไกด์เป็นผลให้เฟสเปลี่ยน
37
6.6.4 การกดเส้นใยนาแสงมากกว่าหรือเท่ากับ 3 ชุด

6.6.5 การกดเส้นใยนาแสง 1 จุด และ การหมุนเส้นใยนาแสง

38
39
40

You might also like