You are on page 1of 6

แก่นเกษตร 47 ฉบับพิเศษ 1 : (2562).

KHON KAEN AGR. J. 47 SUPPL.1 : (2019).

ผลของอุณหภูมิ ความเข้ มแสง และความเร็วลมต่ ออัตราการเปลีย่ นอาหาร


ในไก่ เนื้อเพศเมีย
Effect of temperature light intensity and wind speed on feed conversion
ratio in female broiler
ประชัน ฝายแก้ ว1*
Prachun Faykaew1*

บทคัดย่ อ: การศึกษาครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาปั จจัยที่มีผลต่ออัตราการเปลี่ยนอาหารในไก่เนื ้อเพศเมีย โดยใช้


ไก่เนื ้อเพศเมีย สายพันธุ์อาร์ เบอร์ เอเคอร์ สอายุ 1 วัน จ�ำนวน 224,000 ตัว แบ่งออกเป็ น 8 ทรี ทเมนต์ จ�ำนวน 2 ซ� ้ำเลี ้ยง
ไก่โรงเรื อนละ14,000 ตัว ท�ำการทดสอบ 3 ปั จจัย ได้ แก่ อุณหภูมิที่ใช้ เลี ้ยงไก่, ความเข้ มแสง และความเร็วลม ภายใต้
สภาพโรงเรื อน อุปกรณ์ให้ น� ้ำ อุปกรณ์ให้ อาหารเป็ นแบบเดียวกัน ให้ อาหารและน� ้ำอย่างเต็มที่ตลอดระยะเวลาการ
ทดลอง จากการศึกษาพบว่า อุณหภูมิ ความเข้ มแสง และความเร็ วลมอิทธิพลร่วมระหว่างอุณหภูมิและความเร็ วลม
และอิทธิพลร่ วมระหว่างความเข้ มแสงและความเร็ วลม มีผลต่ออัตราการเปลี่ยนอาหารของไก่เนื ้ออย่างมีนยั ส�ำคัญ
(P<0.05) โดยปัจจัยทีท่ ำ� ให้ อตั ราการเปลีย่ นอาหารต�ำ่ สุดคือ การเลี ้ยงทีอ่ ณ
ุ หภูมเิ ฉลีย่ 30.5 องศาเซลเซียส ความเข้ มแสง
14.61 ลักซ์ และความเร็วลม 2.13 เมตร/วินาที ซึง่ เป็ นสภาวะการเลี ้ยงที่ท�ำให้ ต้นทุนในการเลี ้ยงต�่ำเมื่อเลี ้ยงอายุครบ
43 วัน
ค�ำส�ำคัญ: อัตราการเปลี่ยนอาหาร, ไก่เนื ้อ, อุณหภูมิ, ความเร็ วลม, ความเข้ มแสง

ABSTRACT: The objective of this study was to investigate the factors effecting on feed
conversion ratio in female broiler. Using female day old chick from Arbor Acre breed, 224,000
birds and divided into 8 treatments 2 replications (1 house raises 14,000 birds). Three factors
were tested; temperature, light intensity and wind speed. Under house the house condition,
Irrigation equipment, feeding system and water system was the same. Feed and water were
supplied fully throughout the trial period. The results showed that temperature, light intensity,
wind speed, the interaction between temperature and wind speed, and the interaction between
light intensity and wind speed had significantly effect on feed conversion ratio (P<0.05). The
factors that minimize feed conversion ratio were temperature 30.5°C, light intensity 14.61
lux, wind speed 2.13 meters per second. This condition made in the broiler farm had low
raising cost at the age of bird 43 days.
Keywords: feed conversion ratio, broiler, temperature, light intensity, wind speed

1
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีฟาร์ ม คณะอุตสากรรมเกษตร สถาบันการจัดการปั ญญาภิวฒ ั น์
Farm Technology Management, Faculty of Agro-Industry,Panyapiwat Institute of Management
* Corresponding author: prachunfay@pim.ac.th
776
แก่นเกษตร 47 ฉบับพิเศษ 1 : (2562).

บทน�ำ ไก่เนื ้อมีชีวติ ช่วงอายุ 49-63 วัน ค่าดัชนีอณ ุ หภูมทิ ี่สงู


กว่า 21 องศาเซลเซียส จะส่งผลให้ ประสิทธิภาพการ
ปั จ จุบัน ระบบการผลิ ต ปศุสัต ว์ ไ ด้ ก้ า วเข้ า สู่ เจริ ญเติบโตลดลง เพราะถ้ าอุณหภูมิร่างกายสูงกว่า
ระบบการผลิ ต เชิ ง อุต สาหกรรมที่ มี ก ารน� ำ ความ อุณหภูมิปกติของไก่ (41 องศาเซลเซียส) มากกว่า
ก้ าวหน้ าและเทคโนโลยีเข้ ามาประยุกต์ใช้ อย่างมาก 1.7 องศาเซลเซียส จะท�ำให้ ประสิทธิภาพการเจริ ญ
เพื่อเพิ่มผลผลิตและก�ำไร ประเทศไทยมีการส่งออก เติบโตลดลง (Purswell et al.,2012) ในขณะที่
ผลิตภัณฑ์จากไก่เป็ นอันดับต้ นๆของโลก ในปี 2560 Blahova et al. (2007) ได้ ศกึ ษาการใช้ อณ ุ หภูมสิ ภาพ
มีการเลี ้ยงไก่เนื ้อทังหมดจ�
้ ำนวน 267,520,124 ตัว แวดล้ อมที่ 4-13 องศาเซลเซียส เปรี ยบเทียบกับกลุม่
และมีเกษตรกรทังสิ ้ ้น 36,546 ราย (กรมปศุสตั ว์, ควบคุมใช้ อุณหภูมิ 21-24 องศาเซสเซียส พบว่า
2560) ในการเลี ้ยงไก่เนื ้อเชิงอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต ลดลงอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ
จะท�ำการเลี ้ยงต่อรุ่นในปริมาณมาก สิง่ ที่สำ� คัญที่สดุ (P<0.05) เมือ่ ลดอุณหภูมสิ ภาพแวดล้ อมในการเลี ้ยง
คือ ต้ นทุนการผลิตที่ต�่ำจะท�ำให้ ได้ ผลก�ำไรสูงเพื่อให้ ให้ ต�่ำลง ในช่วงอายุ 22–42 วัน
ธุรกิจสามารถเติบโตและด�ำเนินต่อไปอย่างมัน่ คงสิง่ ในงานวิจยั นี ้จึงท�ำการทดลองเลี ้ยงไก่เพศเมีย
ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ ต้นทุนต�ำ่ คือประสิทธิภาพการเลี ้ยงโดย เนื่องจากอัตราการเปลี่ยนอาหารสูงกว่าเพศผู้และ
ทางธุรกิจจะพิจารณาจากอัตราการเปลี่ยนอาหาร ท�ำการศึกษาปั จจัยที่มีผลต่ออัตราการเปลีย่ นอาหาร
(Feed Conversion Ratio, FCR) เป็ นหลัก เนื่องจาก ได้ แ ก่ อุณ หภูมิ ค วามเข้ ม แสง และความเร็ ว ลม
มีผลโดยตรงต่อต้ นทุน ยิ่งอัตราการเปลีย่ นอาหารต�ำ่ รวมถึงศึกษาอิทธิพลร่วมระหว่างปั จจัย เนื่องจากทัง้
มากเท่าไหร่ประสิทธิภาพการเลี ้ยงและต้ นทุนก็จะต�ำ่ 3 ปั จจัยมี ผลกระทบโดยตรงต่ออัตราการเปลี่ยน
มากตามไปด้ วย อาหาร และผู้วจิ ยั ต้ องการน�ำผลไปประยุกต์ใช้ กบั การ
ความเร็ วลมมีผลต่ออุณหภูมิร่างกายและน� ำ้ เลี ย้ งไก่ จ ริ ง ในเชิ ง พาณิ ช ย์ จึ ง ท� ำ การทดลองใน
หนักในไก่เนื อ้ โดยไก่เนื อ้ ที่เลีย้ งในสถานที่ที่มีการ โรงเรื อนขนาดใหญ่ เ พื่ อ หาสภาวะการเลี ย้ งที่
ระบายอากาศแบบธรรมชาติน� ้ำหนักจะมากกว่าไก่ เหมาะสม เพื่อน�ำไปปรับใช้ อย่างเหมาะสมภายใต้
เนื อ้ ที่ เลีย้ งด้ วยการระบายอากาศแบบอุโมงค์ ลม ความสามารถของอุปกรณ์การเลี ้ยงแบบอัตโนมัติ
(Hamrita and Conway,2016) การให้ แสงและความ
เข้ มแสงก็มีผลต่อน� ้ำหนักไก่เนื ้อโดยแหล่งการให้ แสง วิธีการศึกษา
มีผลต่อน� ้ำหนักตัวของไก่เนื ้อโดยทีค่ วามเข้ มแสงไม่มี
ผลต่อประสิทธิภาพการผลิตเมื่ออายุมากขึ ้น จึงควร การศึกษาครั ง้ นีใ้ ช้ ไก่เนือ้ สายพันธุ์อาร์ เบอร์
ล ด ค วาม เข้ ม แส ง เ พื่ อ ป ร ะห ยั ด พ ลั ง ง า น ไ ด้ เอเคอร์ ส จ�ำนวน 224,000 ตัว (ทดลอง 14,000 ตัว/
(Olanrewaju et al. 2016) ในขณะที่ Raccoursier โรงเรื อ น/การทดลอง) ใช้ ไ ก่ เ พศเมี ย โดยท�ำ ลอง
and Maurice (2016) ได้ ศกึ ษาผลของความเข้ มแสง ทังหมด
้ 2x2x2 factorial ตามสภาวะใน Table 1 รวม
ต่อค่าผลผลิตและพฤติกรรมการกินอาหารของไก่เนื ้อ 8 ทรี ทเมนท์ จ�ำนวน 2 ซ� ้ำ โดยท�ำการเลี ้ยงไก่เนื ้อ
พบว่าความเข้ มแสงไม่มีผลต่อค่าผลผลิตแต่มีผลต่อ ตังแต่
้ อายุ 1 วัน จนถึงอายุ 43 วัน โดยอุณหภูมิ
พฤติ ก รรมการกิ น อาหารของไก่ เ นื อ้ ท� ำ ให้ ไ ก่ กิ น ทดลองปรับค่าช่วงการเลี ้ยงวันที่ 28-43 ความเร็วลม
อาหารเพิม่ มากขึ ้นเมือ่ ให้ ความเข้ มแสงต�ำ่ กว่า 20 ลัก ทดลองช่วงการเลี ้ยงวันที่ 21-43 ส่วนความเข้ มแสง
ซ์ นอกจากนันความเร็ ้ วลมก็มีผลต่อน� ้ำหนักของไก่ ปรั บ ตัง้ แต่ท ดลองวัน แรกสถานที่ ท� ำ การวิ จัย เป็ น
เนื ้อ โดยความเร็วลมทีต่ �่ำคือ 35 ฟุต/นาที มีอตั ราการ โรงเรื อนระบบปิ ดของฟาร์ มบ้ านธาตุ บริ ษัทซีพีเอฟ
กินอาหาร 5% และเมื่อเพิ่มความเร็ วลมที่ 68 ฟุต/ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
นาที จะมีอตั ราการกินอาหารของไก่ เพิ่มขึ ้นถึง 24% ควบคุม ด้ ว ยชุด อุป กรณ์ แ บบอัต โนมัติ โดยมี ก าร
(Dennis et al., 2014) ค่าดัชนีของอุณหภูมิและ ควบคุมปั จจัยต่าง ๆ ที่ไม่ได้ ท�ำการศึกษา เช่น การ
ความชื ้นก็มีผลต่อประสิทธิภาพการเจริ ญเติบโตใน จัดการการให้ อาหารและน� ้ำแบบเดียวกัน ท�ำการชัง่
KHON KAEN AGR. J. 47 SUPPL.1 : (2019). 777

น� ้ำหนักไก่กอ่ นน�ำเข้ าสูโ่ รงเรือนทุกตัว (กิโลกรัม) และ (Multiple regression) ด้ วยวิธี Stepwise regression
ท� ำ การเก็ บ ข้ อ มูล น� ำ้ หนัก ไก่ เ มื่ อ ท� ำ การเลี ย้ งครบ โมเดลทางสถิติ ซึง่ มีรูปแบบดังนี ้
43 วัน ทุกตัวน�ำมาค�ำนวณหาค่าอัตราการเปลี่ยน
อาหารด้ วยสูตร Υijkl = μ + αi + βjγk + (αβ)ij+ (αγ )ik + (βγ )jk +
(αβγ )ijk + εijkl
อัตราการเปลี่ยนอาหาร =
เมื่อ Υijkl= ค่าสังเกตในลักษณะที่ศกึ ษา
ปริ มาณอาหารที่กินตลอดการทดลอง (กิโลกรัม) μ = ค่าเฉลี่ยของประชากรในลักษณะที่ศกึ ษา
น� ้ำหนักไก่ที่เพิ่มขึ ้นเมื่อเลี ้ยงครบก�ำหนด (กิโลกรัม) α i = อิ ท ธิ พ ลของอุณ หภูมิ ที่ ป ระกอบด้ ว ย i
ระดับ
Table 1 Trial condition to find optimize β j = อิ ท ธิ พ ลของความเร็ ว ที่ ป ระกอบด้ ว ย j
temperature, light intensity and wind ระดับ
speed for broiler farm γk = อิทธิพลของความเข้ มแสงที่ประกอบด้ วย
Level Temperature Light Intensity Wind k ระดับ
(°C) (Lux) Speed (αβ) ij = อิ ท ธิ พ ลของผลร่ ว มของอุณ หภูมิ ที่
(m/s) iและความเร็ วลมที่ j
Low 29.5 14.61 2.13 (αγ )ik= อิทธิ พลของผลร่ วม ของอุณหภูมิที่
High 30.5 21.31 2.32 iและความเข้ มแสงที่ k
(βγ)jk= อิทธิพลของผลร่ วม ของความเร็ วลมที่ j
จากนัน้ น� ำข้ อมูลอัตราการเปลี่ยนอาหารมา และความเข้ มแสงที่ k
ท�ำการวิเคราะห์ทางสถิติ (αβγ)ijk= อิทธิ พลของผลร่ วม ของอุณหภูมิที่
iและความเร็ วลมที่ j และความเข้ มแสงที่ k
การวางแผนการทดลองและการวิเคราะห์ ทาง εijkl = ค่าความคลาดเคลื่อนที่ l ของอุณหภูมิที่ i
สถิติ และความเร็ วลมที่ j และความเข้ มแสงที่ k มีการ
ใช้ แผนการทดลองแบบ 2x2x2 factorial กระจายแบบปกติเป็ นอิสระ มีค่าเฉลี่ยเป็ น 0 และ
arrangement in Completely Randomized Design ความแปรปรวน σ2 คงที่
(CRD) ซึง่ ประกอบด้ วย 3 ปั จจัยคือ อุณหภูมิที่ใช้
เลีย้ งไก่ (Temperature), ความเข้ ม แสง (Light ผลการศึกษา
intensity) และความเร็ วลม (Wind Speed) โดย
ท�ำการทดลองปั จจัยละ 2 ระดับท�ำการปรับทัง้ 3 ผลของอุณหภูมิ ความเข้ มแสง และความเร็วลม
ปั จจัย ภายใต้ อปุ กรณ์ควบคุมและโรงเรื อนรู ปแบบ ต่ ออัตราการเปลี่ยนอาหาร
เดียวกันทังหมด ้ โดยแต่ละทรี ทเมนท์ มี 2 ซ� ้ำ (ซ� ้ำละ การศึกษาอิทธิพลของอุณหภูมิ ความเข้ มแสง
14,000 ตัว หรือ 1 โรงเรือน) น�ำข้ อมูลทีไ่ ด้ มาวิเคราะห์ และความเร็ วลมและอิทธิ พลร่ วมของแต่ละปั จจัย
ค่าความแปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA) พบว่า อุณหภูมิ ความเข้ มแสง และความเร็ วลม
และเปรี ยบเทียบความแตกต่างค่าเฉลีย่ ระหว่างกลุม่ อิทธิพลร่ วมระหว่างอุณหภูมิและความเร็ วลม และ
ข้ อมูลด้ วย Duncan’s new multiple range test อิทธิพลร่ วมระหว่างความเข้ มแสงและความเร็ วลม
(DMRT) ก�ำหนดค่านัยส�ำคัญที่ใช้ ในการทดสอบที่ มีผลต่ออัตราการเปลี่ยนอาหารของไก่เนือ้ อย่างมี
P<0.05 จากนันใช้ ้ โปรแกรมส�ำเร็ จรู ป IBM SPSS นัยส�ำคัญ (P<0.05) โดยปั จจัยที่ท�ำให้ อัตราการ
Statistics Version 20.0 หาความสัมพันธ์ระหว่าง เปลี่ยนอาหารต�่ำสุดคือ การเลีย้ งที่อุณหภูมิเฉลี่ย
ปั จ จั ย ต่ า งๆ ในรู ป แบบสมการถดถอยเชิ ง พหุ 30.5 องศาเซลเซียส ความเข้ มแสง 14.61 ลักซ์
778
แก่นเกษตร 47 ฉบับพิเศษ 1 : (2562).

ความเร็ วลม 2.13 เมตร/วินาที นัน่ หมายความว่า ต�่ ำ สุด เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกับ น� ำ้ หนัก เมื่ อ เลี ย้ งครบ
สภาวะการเลีย้ งดังกล่าวท�ำให้ ต้นทุนในการเลีย้ ง 43 วัน ตาม Table 2
Table 2 Effect of temperature, light intensity and wind speed on FCR
Temperature (°C) Light intensity (Lux) Wind speed (m/s) FCR
29.5 14.61 2.13 1.717bc±0.06
2.32 1.722bc±0.03
21.31 2.13 1.818c±0.05
2.32 1.744bc±0.01
30.5 14.61 2.13 1.5405a±0.05
2.32 1.7455bc±0.03
21.31 2.13 1.638ab±0.03
2.32 1.7425bc±0.01
– means in the row with different letters differ significantly (P<0.05)
a,b,c

จากการวิเคราะห์การถดถอย พบว่าอิทธิพลร่วม อัตราการเปลี่ยนอาหาร = 67.036 - 2.3 x


ของความเข้ มแสงและความเร็วลมมีอทิ ธิผลต่ออัตรา อุณหภูมิ + 0.165 x ความเข้ มแสง - 28.299 x
การเปลี่ยนอาหารสูงสุด (P<0.05) รองลงมาคือ ความเร็ วลม - 0.071 x (ความเข้ มแสง x ความเร็ ว
ความเข้ มแสง อิทธิพลร่วมระหว่างอุณหภูมxิ ความเร็ว ลม) + 0.996 x (อุณหภูมิ x ความเร็ วลม)
ลม, อุณหภูมิ และความเร็วลมตามล�ำดับ โดยทีค่ วาม
เข้ มแสง อิทธิพลร่ วมระหว่างอุณหภูมิxความเร็ วลม จากผลการวิเคราะห์ พบว่ามีค่า Adjust R2
และความเร็ ว ลมแปรผกผัน กับ อัต ราการเปลี่ ย น เท่ากับ 78.0% (Table 3) แสดงได้ ว่าสัดส่วนของ
อาหาร ในขณะที่ อิ ท ธิ พ ลร่ ว มระหว่ า งความเข้ ม ความแปรปรวนของอัตราการเปลี่ ยนอาหาร (Y)
แสงxความเร็วลม และอุณหภูมิ แปรผันตรงกับอัตรา สามารถอธิบายได้ ดดี ้ วยอุณหภูมิ ความเข้ มแสง และ
การเปลีย่ นอาหาร จาก Table 2 สามารถเขียนสมการ ความเร็ วลมในแบบจ�ำลอง
ถดถอยได้ ดงั นี ้

Table 3 Multiple regression analysis result feed conversion ration related to temperature light intensity
and wind speed
Model B Std. Error BETA
(Constant) 67.036 14.483 -13.566
Temperature -2.300 0.481 6.521
Light Intensity 0.165 0.072 -31.717
Wind Speed -28.299 6.503 -6.366
Light Intensity x Wind Speed -0.071 0.032 35.956
Temperature x Wind Speed 0.996 0.216 -13.566
R2 = 0.780 SEE = 0.04102 F = 11.665* P<0.05
KHON KAEN AGR. J. 47 SUPPL.1 : (2019). 779

วิจารณ์ สรุ ป

ผลการศึก ษาพบว่า เมื่ อ อุณหภูมิ สูงขึน้ จาก ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ อัต ราการเปลี่ ย นอาหารคื อ
29.5 องศาเซลเซี ย ส เป็ น 30.5 องศาเซลเซี ย ส อุณหภูมิ ความเข้ มแสงความเร็ วลม อิทธิ พลร่ วม
จะท� ำ ให้ อัต ราการเปลี่ ย นอาหารต�่ ำ ลง (ค่า ต�่ ำ ดี ) ระหว่างอุณหภูมิและความเร็ วลม และอิทธิพลร่ วม
เพราะหากเลี ้ยงไก่ในสภาพแวดล้ อมที่อุณหภูมิต�่ำ ระหว่างความเข้ มแสงและความเร็วลม มีผลต่ออัตรา
เกินไปจะท�ำให้ ต้องใช้ พลังงานในการให้ ความอบอุน่ การเปลี่ ย นอาหารของไก่ เ นื อ้ อย่ า งมี นั ย ส� ำ คัญ
ในขณะที่ความเข้ มแสงเมื่อสูงขึ ้นจาก 14.61 เป็ น (P<0.05) โดยปั จจัยที่ท�ำให้ อตั ราการเปลี่ยนอาหาร
21.31 ลักซ์ จะส่งผลให้ อตั ราการเปลีย่ นอาหารเพิม่ ขึ ้น ต�่ ำ สุด คื อ การเลี ย้ งที่ อุณ หภูมิ เ ฉลี่ ย 30.5 องศา
เนื่องจากเมื่อแสงมากจะท�ำให้ ไก่มีกิจกรรมมากขึ ้น เซลเซียส ความเร็ วลม 2.13 เมตร/วินาทีความเข้ ม
ซึ่งสอดคล้ องกับงานวิจยั ของ Olanrewaju et al. แสง 14.61 ลักซ์ นัน่ คือการตังค่ ้ าก�ำหนดปั จจัยทัง้
(2014) ที่ ท� ำ การศึก ษาผลของความเข้ ม แสงต่ อ 3 ปั จจัยตามค่าดังกล่าว ท�ำให้ ต้นทุนในการเลี ้ยง
สมรรถภาพการเจริ ญเติบโตและลักษณะซากของ ต�่ำสุด เมื่อเลี ้ยงอายุครบ 43 วัน
ไก่เนื ้อ พบว่าการให้ ความเข้ มแสงที่ 5 และ10 ลักซ์
ท�ำให้ ประสิทธิภาพการเจริ ญเติบโตและผลผลิตดีขึ ้น เอกสารอ้ างอิง
เล็กน้ อย ในขณะที่ความเข้ มแสงที่ 0.2, 2.5 และ
25 ลักซ์ พบว่าไม่มีผลต่อประสิทธิ ภาพการเจริ ญ กรมปศุสตั ว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2560.ข้ อมูลจ�ำนวน
เติบโต แต่สง่ ผลกระทบเชิงบวกต่อต้ นทุนและผลก�ำไร ปศุสตั ว์ในประเทศไทย. แหล่งข้ อมูล: http://ict.dld.
เพราะใช้ พลังงานต�่ำ ซึง่ ข้ อดีของการปรับความเข้ ม go.th. ค้ นเมื่อ 21 ตุลาคม2561.
แสงช่วยเพิ่มประสิทธิ ภาพอัตราการเปลี่ยนอาหาร Blahova, J., R. Dobsikova, E. Strakova, and P. Suchy.
และเพิ่ มผลผลิตโดยไม่กระทบต่อสวัสดิภาพของ 2007.Effect of Low Environmental Temperatureon
ไก่เนื ้อ ความเร็ วลมเมื่อสูงขึ ้นจาก 2.13 m/s เป็ น Performance and Blood System in Broiler
2.32 m/s มี ผ ลให้ อัต ราการเปลี่ ย นอาหารต�่ ำ ลง Chickens (Gallus domesticus). Acta Vet. Brno. 76:
เนื่ อ งจากความเร็ ว ลมที่ เ หมาะสมจะช่ ว ยระบาย S17-S23.
อากาศได้ ดี แ ละในการทดลองได้ เปรี ย บเที ย บ Dennis, B., J. Campbell, J. Donald, and G. Simpson.
ความเร็ วลมที่ระดับไม่ได้ แตกต่างกันมาก ทังนี ้ ้เมื่อ 2014. High Wind speed for Large Birds – Practical
พิจารณาถึงอิทธิพลร่ วมพบว่าอิทธิพลร่ วมระหว่าง Considerations. Available: https://bit.ly/2sJCU5w.
ความเข้ ม แสงและความเร็ ว ลมมี ผ ลให้ อัต ราการ Accessed Oct. 21, 2001.
เปลี่ยนอาหารต�่ำลง ในขณะที่อิทธิพลร่ วมระหว่าง Frost, M.R. 2016. Effect of Light Intensity on Production
อุณ หภูมิ แ ละความเร็ ว ลมท� ำ ให้ อัต ราการเปลี่ ย น Parameters and Feeding Behavior of Broilers. M.S.
อาหารสูงขึ ้น ซึง่ ขัดแย้ งกับปั จจัยหลัก (Main effect) Thesis.University of Arkansas, United States
ดังนันในการหาสภาวะการเลี
้ ้ยงไก่ทเี่ หมาะสมจึงควร Hamrita, T.K. and R.H. Conway.2017. Effect of air
พิจารณาถึงอิทธิพลร่วมด้ วย รวมถึงสภาพแวดล้ อม velocity on deep body temperature and weight
ในการทดลองแต่ละฟาร์ มและข้ อจ�ำกัดใจการปรับค่า gain in the broiler chicken. J. Appl. Poult. Res. 26:
อุปกรณ์ ควบคุมการเลี ้ยงแตกต่างกันจึงควรมีการ 111–121.
ทดลองหาสภาวะก่อนที่จะน�ำทฤษฎีมาประยุกต์ใช้
780
แก่นเกษตร 47 ฉบับพิเศษ 1 : (2562).

Olanrewaju, H.A., W.W. Miller, W. R. Maslin, S. D. Collier, Purswell, J.L., W.A. Dozier III, H. A. Olanrewaju, J. D.
J. L. Purswell, and S. L. Branton. 2016. Effects of Davis, H. Xin, and R. S. Gates. 2012. Effect of
light sources and intensity on broilers grown to temperature-humidity index on live performance
heavy weights. Part 1: Growth performance in broiler chickens grown from 49 to 63 days of
carcass characteristics and welfare indices. Poult. age. Paper No. ILES12-0265. In: Ninth International
Sci. 95: 727–735. Livestock Environment Symposium Sponsored by
Olanrewaju H.A., W.W. Miller, W.R. Maslin, S.D. Collier, ASABE Valencia Conference Centre July 8 - 12,
J.L. Purswell, and S.L. Branton. 2014. Effects of 2012. Valencia.
strain and light intensity on growth performance
and carcass characteristics of broilers grown to
heavy weights. Poultry Science. 93: 1890–1899.

You might also like