You are on page 1of 5

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ครั้งที่ 5

ผลของซินไบโอติกสตอระดับภูมิคุมกันในไกกระทง
Effect of Synbiotics on Immunological Status in Broiler

จารุณี เกษรพิกุล1 และสุรวัฒน ชลอสันติสกุล1


Charunee Kasornpikul1 and Surawat Chaorsuntisakul1

บทคัดยอ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลของการเสริมสารซินไบโอติกสตอระดับภูมิคุมกันในไก
กระทงโดยการใหแบคทีเรียโปรไบโอติกส Enterococcus Faecium VT001 รวมกับสารสกัดหอมแดง ผลการ
ทดลองไมพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) ในทุกกลุมการทดลอง แตพบวาไกกระทงที่ไดรับ
แบคทีเรียโปรไบโอติกส Enterococcus Faecium VT001 มีระดับภูมิคุมกันเฉลี่ยสูงที่สุด และกลุมที่ไดรับสาร
สกัดจากหอมแดง และไดรับสารสกัดจากหอมแดงรวมกับแบคทีเรีย Enterococcus Faecium VT001 มีคาเฉลี่ย
ระดับภูมิคุมกันนอยที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมและกลุมที่ไดรับสารปฏิชีวนะ สารสกัดจากหอมแดงมี
ฤทธิ์ ยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เติ บ โตของแบคที เ รี ย จึ ง อาจยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เติ บ โตของแบคที เ รี ย โปรไบโอติ ก ส
Enterococcus Faecium VT001 ดวย

คําสําคัญ : โปรไบโอติกส Enterococcus Faecium VT001 สารสกัดจากหอมแดง ระดับภูมิคุมกัน

ABSTRACT
The purpose of this study was to determine the effect of synbiotics of probiotics
Enterococcus Faecium VT001 and prebiotics shallot extracts on immunological status in broiler.
There was no significantly difference (p>0.05) among experimental groups but broiler fed probiotics
Enterococcus Faecium VT001 showed the had highest average immunological titer while broiler fed
shallot extract only and shallot extract together with Enterococcus Faecium VT001 had the least
average immunological titer when compared to control and broiler fed antibiotic. Shallot extract had
antibacterial effect which might also inhibit growth of probiotics Enterococcus Faecium VT001.

Keywords : Probiotics Enterococcus Faecium VT001, Shallot extract, Immonological titer


E-mail : makemerry@gmail.com

1
คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี อ. ชะอํา จ. เพชรบุรี

1293
การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ครั้งที่ 5

คํานํา
ในทางเดินอาหารของคนและสัตว โดยเฉพาะในลํา ไสใหญสวน colon มีแบคทีเรียจํานวนมาก
หลากหลายสายพันธุ บางชนิดก็กอโรค บางชนิดก็มีประโยชนตอรางกาย Bifidobacteria และ Lactobacilli
เปนแบคทีเรียกลุมหนึ่งที่สามารถปรับปรุงสภาวะภายในลําไสใหเกิดความสมดุล ซึ่งอาจเรียกแบคทีเรียที่มี
ประโยชนเหลานี้วา “probiotics” แตอยางไรก็ตาม probiotics เหลานี้จะมีประสิทธิภาพในการควบคุมสภาวะ
ของลําไสยอมตองไดรับอาหารที่ดี ไดมีผูใหคําจํากัดความของอาหารหรือสารตั้งตนของพวกแบคทีเรียนี้วา
“prebiotics” โดยเมื่อเอาไปรวมกับเชื้อโปรไบโอติกสจะไดผลิตภัณฑผสมที่เรียกวา ซินไบโอติกส (Synbiotics)
(เยาวรัตน, 2547) มีรายงานการศึกษาของนักวิจัยถึงการนําโปรไบโอติก มาใชเลี้ยงสัตวโดยไดจากจุลินทรียที่
คัดเลือกได เชน การเลี้ยงกุง (วลัยพร, 2544; ศิริรัตน และคณะ, 2548; Rengpipat et al., 1998; Rengpipat et
al., 2000) การเลี้ยงไกเนื้อ (ศิริรัตน และคณะ, 2540; ศิริรัตน, 2542; สุนีย และคณะ, 2548) และการเลี้ยงโค
(สุรีลักษณ, 2545) และจากผลิตภัณฑ โปรไบโอติก เชน การเพิ่มสมรรถนะการผลิตในพอแมพันธุไกเนื้อ
(เยาวมาลย และคณะ, 2537) การเพิ่มภูมิคุมกันในไกเนื้อ (เชิดชัย และคณะ, 2539) และเพิ่มการเจริญเติบโตใน
สุกร (นวลจันทร และ อุทัย, 2533) เปนตน การเพิ่มศักยภาพของโปรไบโอติกสดวยการเสริมสารพรีไบโอติกสซึ่ง
เปนอาหารของโปรไบโอติกส อาจชวยใหโปรไบโอติกสแสดงศักยภาพความเปนโปรไบโอติกสไดดียิ่งขึ้น ดังนั้น
การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลของการเสริมสารซินไบโอติกสตอระดับภูมิคุมกันในไกกระทง

อุปกรณและวิธีการ
ไกกระทงทางการคา เพศผู อายุ 1 วัน จํานวน 120 ตัว แบงออกเปน 5 กลุม ๆ ละ 3 ซ้ําๆละ 10 ตัว ไดแก
กลุมที่ 1 กลุมควบคุม (Control) กลุมที่ 2 ใหยาปฏิชีวนะ 2% Colistin ผสมในอาหาร (ABO) กลุมที่ 3 ใหโปร
ไบโอติกส รหัส Enterococcus Faecium VT001 ปอนปากในอัตรา 106 CFU/ml ตอตัวตอวัน (VT001) (จารุณี
และคณะ, 2550) กลุมที่ 4 ใหสารสกัดพรีไบโอติกสจากหอมแดง ผสมน้ําดื่มในอัตรา 2% (V/V) (Shallot)
(สุรวัฒน และคณะ, 2550) และกลุมที่ 5 ใหสารสกัดหอมแดงรวมกับโปรไบโอติกส (VT001+Shallot) วาง
แผนการทดลองแบบสุมตลอด (CRD) ใหไดรับอาหารและน้ําเต็มที่ (ad libitum) ไดรับแสงวันละ 23 ชั่วโมง โดย
อาหารทดลองที่ใชเปนอาหารไกกระทงทางการคา แบงเปน 3 ชวง คือ ระยะที่ 1 ชวงอายุ 1-14 วัน (อาหารไกเนื้อ
เบทาโกร 203) ระยะที่ 2 ชวงอายุ 14 - 28 วัน (อาหารไกเนื้อ เบทาโกร 204) ระยะที่ 3 ชวงอายุ 29 – 38 วัน
(อาหารไก เ นื้ อ เบทาโกร 205) ให วั ค ซี น ไก ดั ง นี้ วั ค ซี น ชนิ ด ป อ งกั น โรคนิ ว คาสเซิ ล ร ว มกั บ หลอดลมอั ก เสบ
(Newcastle plus infectious bronchitis diseases) ทําที่ไกอายุ 1วัน และ 21 วัน และกระตุนซ้ําในวันที่ 31 และ
เก็บเลือดไกในวันสุดทายของการเลี้ยง คือ วันที่ 38 ของการเลี้ยง โดยการสุมเจาะเลือดไกในแตละกลุม ๆ ละ 3
ตัว ทิ้งไวในแข็งตัว จากนั้นปนแยกเก็บ serum เก็บไวที่ -20 องศาเซลเซียส และตรวจหาระดับภูมิคุมกันดวยวิธี
Haemagglutination Inhibition Test วิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of variance) ตามแผนการทดลอง
แบบสุมตลอด และเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยระหวางกลุม โดยวิธี Duncan’s new multiple range
test (Duncan, 1955) โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป SAS

1294
การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ครั้งที่ 5

ผลการทดลองและวิจารณ
จากผลการทดลองพบวาไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) ของทุกกลุมการ
ทดลอง ดังแสดงในตารางที่ 1 แตอยางไรก็ตามไกกระทงที่ไดรับ Enterococcus Faecium VT001 มีคาเฉลี่ย
ระดับภูมิคุมกันมากที่สุด และมากกวากลุมควบคุมและกลุมไดรับยาปฏิชีวนะ สวนกลุมที่ไดรับสารสกัดจาก
หอมแดง และไดรับสารสกัดจากหอมแดงรวมกับแบคทีเรีย Enterococcus Faecium VT001 มีคาเฉลี่ยระดับ
ภูมิคุมกันนอยที่สุด

ตารางที่ 1 แสดงระดับภูมิคุมกัน Haemagglutination Inhibition Titer (HI Titer)

คาเฉลี่ยระดับภูมิคุมกัน
กลุมการทดลอง สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
Haemagglutination Inhibition Titer เฉลี่ย
Control 47.11 a 34.973
ABO 48.00 a 19.596
VT001 60.44 a 10.667
a
Shallot 42.67 16.000
a
VT001 + Shallot 42.67 16.000
หมายเหตุ: ตัวอักษรตางกัน หมายถึง มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Perdigon et al. (1986) พบวาการเสริม Lactobacillus acidophilus และ Lactobacillus casei จะ


เพิ่มการทํางานของ phagocyte ของ macrophage ในหนูทดลองไดในขณะที่ De Ambrosini et al. (1999)
พบวา Lactobacillus casei CRL431 มีโมเลกุลที่คลายแลคติน (Lectin) อยูในผนังเซลล โดยโมเลกุลนี้สามารถ
กระตุนใหเกิดภูมิคุมกันแกหนูได จากผลการทดลองดังกลาวอาจกลาวไดวา โปรไบโอติกสสามารถกระตุนระบบ
ภูมิคุมกันได เปนที่นาสังเกตวาการใหสารกัดจากหอมแดงกลับใหคาเฉลี่ยระดับภูมิคุมกันที่ต่ํากวากลุมควบคุม
และกลุมที่ไดรับสารปฏิชัวนะ และเมื่อใหรวมกับแบคทีเรียโปรไบโอติกส Enterococcus Faecium VT001 ก็ไม
เพิ่มระดับภูมิคุมกัน สุรวัฒน และคณะ (2550) ไดทําการทดลองเลี้ยงแบคทีเรีย Lactobacillus fermentum และ
Lactobacillus acidophilus กับสารสกัดหอมแดงพบวา สามารถยับยั้งแบคทีเรียกอโรค Escherichia coli และ
Salmonella typhimurium ได ซึ่งอาจกลาวไดวาสารสกัดจากหอมแดงอาจมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของ
แบคทีเรีย และอาจยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียโปรไบโอติกส Enterococcus Faecium VT001 อีกดวย

สรุปผลและเสนอแนะ
ไกกระทงที่ไดรับ Enterococcus Faecium VT001 มีคาเฉลี่ยระดับภูมิคุมกันมากที่สุด และมากกวา
กลุมควบคุมและกลุมไดรับยาปฏิชีวนะ สวนกลุมที่ไดรับสารสกัดจากหอมแดง และไดรับสารสกัดจากหอมแดง
รวมกับแบคทีเรีย Enterococcus Faecium VT001 มีคาเฉลี่ยระดับภูมิคุมกันนอยที่สุด โดยทุกกลุมการทดลอง
ไมแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05)

1295
การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ครั้งที่ 5

เอกสารอางอิง
จารุณี เกษรพิกลุ , ไชยวัฒน ไชยสุตร, บุษบัน ศิริธัญญาลักษณ, วรพล เองวาณิช และ ธนิต ผิวนิ่ม. 2550.
ลักษณะทางสรีรวิทยาและชีวเคมีของแบคทีเรียที่สรางกรดแลกติกทีแ่ ยกไดจากอุจจาระไก
พื้นเมืองของไทยสําหรับใชเปนโปรไบโอติก. ในการประชุมวิชาการและการเสนอผลงานวิจัย
“ศิลปากรวิจัย” ครั้งที่ 1. นครปฐม.
เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล วราภรณ ศุกลพงศ กัลยา เจือจันทร และประสาทพร บริสุทธิ์เพ็ชร. 2539. ผลของโปร
ไบโอติก บาซิลลัส โตโยอิ ตอการกระตุน การสรางภูมคิ ุมกันโรคและการเรงการเจริญเติบโตใน
ไกเนื้อ. รายงานการวิจัยทุนอุดหนุนการวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแกน. ขอนแกน.
นวลจันทร พารักษา และอุทัย คันโธ. 2533. ผลของการเสริมสวนผสมจุลินทรียประเภทโปรไบโอติคและ
กลุมเอ็นไซมตอการยอยไดของอาหารลูกสุกรหยานม. สุกรสาสน 16(64): 9-13.
เยาวมาลย คาเจริญ เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล และวราภรณ ศุกลพงศ. 2537. ประสิทธิภาพของโปรไบโอติก
บาซิลลัส โตโยอิ ในอาหารพอแมพันธุไกเนื้อตอสมรรถนะในการผลิตและการกระตุนการสราง
ภูมิคุมกัน. วารสารสัตวแพทยศาสตร มข. 4(2): 107-114
เยาวรัตน นาคตอย. 2547. ผลของสารสกัดคารโบไฮเดรตจากหอมแดง (Allium ascalonicum Linn.), ฝรั่ง
(Psidium guajava Linn.) และมันแกว (Pachyrrhizus erosus Linn.) ตอการเจริญของ
Lactobacillus acidophilus. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม.
รุจา มาลัยพวง. 2544. การผลิตโปรไบโอติคสําหรับอาหารไกจากแบคทีเรียกรดแลคติคของไทย.
วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.
วลัยพร ทิมบุญธรรม. 2544. การคัดเลือกจุลนิ ทรียที่มีคุณสมบัติเปนโปรไบโอติกในการเลี้ยงกุงกามกราม.
วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพมหานคร.
ศิริรัตน เรงพิพัฒน ฐิติพงศ ธนะรัชติการนนท และปญชลี ประคองศิลป. 2540. การใชแลคติกแอสิดแบคทีเรียเปน
โพรไบโอติกเพื่อเสริมในอาหารไก. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร.
ศิริรัตน เรงพิพัฒน. 2542. เปรียบเทียบการใหโพรไบโอติกในการเลี้ยงไก. รายงานผลการวิจัยคณะ
วิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร.
ศิริรัตน ศรีหานาท สมคิด แข็งกลาง ลือชัย ยุตคุป และวิชัย ลีลาวัชรมาศ. 2548. การยับยั้งการเจริญของเชื้อ
กอโรคในกุงดวยจุลินทรียที่แยกไดจากลําไสกุงกามกราม. สงขลานครินทร วทท.27 (ฉบับเสริม):
265-274.
สุรวัฒน ชลอสันติสกุล จักรพันธ ศิริธัญญาลักษณ ไชยวัฒน ไชยสุตร วรพล เองวาณิช และ ธนิต ผิวนิ่ม. 2550.
ผลของพรีไบโอติกสของสารสกัดจากพืชตอประสิทธิภาพการยับยั้งของโปรไบโอติกส แลคโต
บาซิลลัส เฟอรเมนตั้มและแลคโตบาซิลสั แอซิโดฟลสั ตอ อี. โคไล และซัลโมเนลา ไทปฟม ู
เรี่ยม. ในการประชุมวิชาการและการเสนอผลงานวิจัย “ศิลปากรวิจัย” ครั้งที่ 1. นครปฐม.

1296
การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ครั้งที่ 5

สุนีย นิธิสินประเสริฐ เพ็ญแข วันไชยธนวงษ สุเจตน ชื่นชม และณัฐชนก อมรเทวภัทร. 2548. ผลของ Probiotic
“Lactobacillus reuteri KUB-AC5” ตอการเจริญเติบโตของไกเนื้อ. รายงานการวิจัย เสนอตอ
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ.
สุรีลักษณ รอดทอง. 2545. การอยูรอดของแลคโตแบซิลไลจากหญาหมักในทางเดินอาหารของโค.
รายงานผลการวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. นครราชสีมา.
De Ambrosini, M., V.I.S.N. Gonzalez and G. Oliver. 1999. Study of adhesion of Lactobacillus casei
CRL431 to ileal intestinal cell to mice. J. Food Prot. 62 : 1430-1434.
Rengpipat, S., Phianphak, W., Piyatiratitivorakul, S. and Menasaveta, P. 1998. Effect of probiotic
Bacterium in black tiger shrimp Penaeus monodon survival and growth. Aquaculture 167:
301-313.
Rengpipat, S., Rukpratanporn, S., Piyatiratitivorakul, S. and Menasaveta, P. 2000. Immunity
enhancement in black tiger shrimp (Penaeus monodon) by a probiont bacterium (Bacillus
S11). Aquaculture 191: 271-288.
Perdigon, G., M.E. Nader de Macias, S. Alvarez, G. Oliver and A.A. Pesec de Ruiz Holdaga. 1986.
Effect of perorally administered lactobacilli on macrophage activation in mice. Infect. Immum.
53 : 404.

1297

You might also like