You are on page 1of 25

บทที่ 5

การระเหยและการคายน้า
(Evapotranspiration)
การคายระเหย
(Evapotranspiration)
การแบ่งแยกระหว่างกระบวนการระเหยกับการคายน้า
การระเหยน้า ต้องใช้พลังงานความร้อนแฝงของ
การกลายเป็ นไอ (latent heat of vaporization )

คาถาม......
การระเหยจะหยุดลงเมื่อใด ??
“การคายระเหย” หรือ “ปริมาณการใช้น้าของพืช”

ETo Reference Crop


Evapotranspiration

ETc Crop (Maximum)


Evapotranspiration

ETa Actual
Evapotranspiration
Reference ET

Crop ET
วิธีการหาปริมาณการใช้น้ าของพืช

1. การตรวจวัดปริมาณการใช้น้ าของพืช (ET measurements)


▪ วัดโดยตรง
• Lysimeter (ถังวัดการใช้น้ าของพืช)

▪ วัดพารามิเตอร์อื่นๆ
• หลักการสมดุลน้ า
• หลักการสมดุลพลังงาน
ถังวัดการใช้น้ า
แบบระบายน้ า
ถังวัดการใช้น้ าของข้าว (Rice Lysimeter)
ถังวัดการใช้น้ าแบบชั ่งด้วยเครื่องชั ่ง
(Mechanically Weight Type)

http://www.ugt-online.de/fileadmin/images/produkte/09-Lysimeter-technology/02-Gravitation-lysimeter.jpg
ถังวัดการใช้น้ าแบบไฮดรอลิค
(Hydraulic Weighing Lysimeter)
การวัดพารามิเตอร์อื่นๆ แล้วนามาคานวณ ET
▪ วิธีการตามหลักสมดุลน้ า (water balance)
• ใช้หลักการของการอนุรกั ษ์มวลสาร (conservation of
mass)
• อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของน้ า
ในระบบที่พิจารณา (changes in storage) เท่ากับ
ผลต่างระหว่างน้ าที่ไหลเข้ากับน้ าที่ไหลออก
changes in storage = input - output
สมดุลของน้าในอ่างเก็บน้า
สมดุลน้ าในเขตรากพืช

▪ ขอบเขตด้านบนจากผิวดิน
▪ ขอบเขตด้านล่างที่ความลึกของรากพืช
▪ การเปลี่ยนแปลงปริมาณของน้ า คือการเปลี่ยนแปลงความชื้น
ตลอดความลึกในเขตราก
การวัดพารามิเตอร์อื่นๆ แล้วนามาคานวณ ET
▪ วิธีตามหลักสมดุลพลังงาน (energy balance)
• ใช้หลักการของการอนุรกั ษ์พลังงาน (conservation of
energy)
•อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของพลังงานในระบบที่
พิจารณาต่อเวลาเท่ากับผลต่างระหว่างพลังงานที่เข้า และ
พลังงานที่ออกจากระบบ

Q
= K + L + Aw − e E − H  G
t
สมดุลพลังงานที่พ้ นผิ
ื ว (surface
energy balance)
▪ E: พลังงานที่ใช้ในการระเหย
▪ Rn: พลังงานการแผ่รงั สี
แสงอาทิตย์สุทธิ (net radiation)
▪ H: พลังงานความร้อนในอากาศ
(sensible heat into the atmosphere
)
▪ G: พลังงานความร้อนที่ถ่ายเท
ลงดิน (heat conducted into the
earth)
Estimation of Evapotranspiration
by Remote Sensing
วิธีการหาปริมาณการใช้น้ าของพืช

2. การคานวณปริมาณการใช้น้ าของพืช
จากข้อมูลอุตนุ ิยมวิทยา
▪ ใช้ขอ้ มูลอุณหภูมิ (temperature-based estimating methods)
เช่น วิธีของ Blaney-Criddle วิธีของ Thornthwaite
▪ ใช้ขอ้ มูลรังสีแสงอาทิตย์ (radiation methods) เช่น วิธีของ
Makkink วิธีของ Priestley-Taylor
▪ ใช้ขอ้ มูลหลายชนิดร่วมกัน (combination methods) เช่น
วิธีของ Jensen-Heise วิธีของ Penman
สมการของ Penman-Monteith
900
0.408  ( Rn − G ) +  u2 ( es − ea )
ETo = T + 273
 +  (1 + 0.34u2 )
วิธีการหาปริมาณการใช้น้ าของพืช

3. การประมาณปริมาณการใช้น้ าของพืช
จากถาดวัดการระเหย
▪ เป็ นวิธีหา ETo ที่ง่ายกว่าวิธีคานวณด้วยข้อมูลอุตน
ุ ิยมวิทยา
▪ ค่าปริมาณการระเหยของน้ าในถาด (Epan) ยังไม่ใช่ค่าเดียวกับ
ETo จึงต้องมีการปรับแก้ก่อนนาไปใช้งาน
ถาดวัดการระเหย Class A Pan
ถาดวัดการระเหย
มาตรฐาน Class A

Epan
ปริมาณการระเหย
จากถาดวัดการระเหย
ค่าปริมาณการระเหยน้ าที่วดั ได้จากถาดวัดการระเหย (Epan)
ยังไม่เป็ นค่าเดียวกับปริมาณการใช้น้ าของพืชอ้างอิง (ETo)
▪ เนื่องจากลักษณะทางกายภาพของถาดวัดการระเหยกับ
ลักษณะของพื้นผิวอ้างอิงมีความแตกต่างกัน
คู่มือ FAO-24 (Doorenbos and Pruitt, 1977)
จึงได้แนะนาค่าปรับแก้สาหรับการหาการใช้น้ าของพืชอ้างอิง
จากข้อมูลของถาดวัดการระเหย
ETo = k p E pan
Epan = ปริมาณการระเหยจากถาดวัดการระเหย
kp = pan coefficient (ประเทศไทย kp ~0.85)
การหาค่าปรับแก้ของถาดวัดการระเหย (kp)
➢ ระยะปลูกหญ้าเหนือลม (fetch)
➢ ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย (RH)
➢ ความเร็วลมที่ระดับ 2 ม (U2)
ค่า Pan Coefficient ของถาดวัดการระเหย Class A

You might also like