You are on page 1of 29

1

รายงาน
เรื่อง น้ำยาล้ างจานจากสมุนไพร

เสนอ
คุณครู วีรญาดา บางแบ่ง
คุณครู ณฐั วรรณ เอี่ยมรักษา

จัดทำโดย
1. เด็กหญิงพุทธิ ดา มาแก้ว เลขที่ 27
2. เด็กหญิงภัทรกร ล่องลม เลขที่ 29
3. เด็กหญิงสาริ ศา ฐานะวุฒฑ์ เลขที่ 31
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2

รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา การสื่ อสารและการนำเสนอ (IS) I20202


ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2562
โรงเรี ยนอุทยั วิทยาคม
อำเภอเมืองอุทยั ธานี จังหวัดอุทยั ธานี

รายงาน
2

เรื่อง น้ำยาล้างจานจากสมุนไพร

เสนอ
คุณครู วีรญาดา บางแบ่ง
คุณครู ณฐั วรรณ เอี่ยมรักษา

จัดทำโดย
1. เด็กหญิงพุทธิดา มาแก้ว เลขที่ 27
2. เด็กหญิงภัทรกร ล่องลม เลขที่ 29
3. เด็กหญิงสาริ ศา ฐานะวุฒฑ์ เลขที่ 31
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2

รายงานนี้ เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา การสื่ อสารและการนำเสนอ (IS) I20202


ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2562
โรงเรี ยนอุทยั วิทยาคม
อำเภอเมืองอุทยั ธานี จังหวัดอุทยั ธา
1

กิตติกรรมประกาศ
รายงานนี้สำเร็ จลุล่วงได้ดว้ ยความกรุ ณาจากคุณครู ณฐั วรรณ เอี่ยมรักษา อาจารย์ที่ปรึ กษา
โครงงานที่ได้ให้คำเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่ องต่างๆ มาโดยตลอด จนโครงงาน
เล่มนี้เสร็ จสมบูรณ์
ผูศ้ ึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสู ง ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อคุณแม่และผู ้
ปกครองที่ให้คำปรึ กษาใน เรื่ องต่างๆ รวมทั้งเป็ นกำลังใจที่ดีเสมอมา ขอบคุณเพื่อนๆ ที่ให้คำ
แนะนำดีๆ และที่ได้ให้ความร่ วมมือในการทำ แบบสอบถามเรื่ อง น้ำยาล้างจานจากสมุนไพร
จนทำให้โครงงานสำเร็ จลุล่วงไปได้
คณะผูจ้ ดั ทำ
2

ชื่อเรื่อง น้ำยาล้างจานจากสมุนไพร
ผู้จัดทำ เด็กหญิงพุทธิ ดา มาแก้ว เลขที่ 27
เด็กหญิงภัทรกร ล่องลม เลขที่ 29
เด็กหญิงสาริ ศา ฐานะวุฒน์ เลขที่ 31
อาจารย์ ที่ปรึกษา นางสาว วีรญาดา บางเบ่ง
นางสาว ณัฐวรรณ เอี่ยมรักษา
ปี การศึกษา 2562

บทคัดย่ อ
รายงานเรื่ อง น้ำยาล้างจานจากสมุนไพร มีวตั ถุประสงค์ดงั นี้ เพื่ อศึกษาสรรพคุณของ
สมุนไพรที่สามารถใช้ทำน้ำยาล้างจานได้ เพื่อเปรี ยบเทียบประสิ ทธิ ภาพของน้ำยาล้างจานในแต่ละ
สู ตร และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูใ้ ช้น ้ำยาล้างจานจากสมุนไพร เมื่อคณะผูจ้ ดั ทำเริ่ มดำเนิน
งาน คณะผูจ้ ดั ทำได้ทดสอบประสิ ทธิ ภาพในการขจัดคราบไขมันเเละขจัดกลิ่นบนภาชนะใส่ อาหาร
ของน้ำยาล้างจานสูตรที่1 สูตรมะกรู ดและมะนาว สู ตรที่2 สู ตรมะกรู ด มะนาว และว่านหางจระเข้
และสูตรที่3 สูตรมะกรู ด มะนาวและสับปะรด พบว่าสู ตรที่3 สู ตรมะกรู ด มะนาวและสับปะรดมี
ประสิ ทธิภาพในการขจัดคราบไขมันเเละขจัดกลิ่นได้ดีที่สุด รองลงมาคือสู ตรที่ สู ตรที่ 1 สู ตรมะกรู ด
และมะนาว สูตรที่2 สูตรมะกรู ด มะนาว และว่านหางจระเข้และผูใ้ ช้น ้ำยาล้างจานจากสมุนไพรมี
ความพึงพอใจโดยรวมอยูใ่ นระดับมากที่สุด

สารบัญ
เรื่อง หน้ า
กิตติกรรมประกาศ ก
บทคัดย่อ ข
สารบัญ ค
3

สารบัญรู ปภาพ ง
สารบัญตาราง จ
บทที่ 1 บทนำ 1 -2
- ที่มาและความสำคัญ 1-2
- วัตถุประสงค์ 2
- สมมติฐาน 2
- ขอบเขตการวิจยั 2
- ระยะเวลา 2
- ประโยชน์ที่ได้รับ 2
บทที่ 2 เอกสารที่เกีย่ วข้ อง 3 -11
- สมุนไพร 3-9
- น้ำยาล้างจาน 9 -11
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน 12 -16
- วัสดุอุปกรณ์ 12
- วิธีการดำเนินงาน 12 -13
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน 14 - 16
บทที่ 5 สรุ ป อภิปราย และข้ อเสนอแนะ 17
- สรุ ปผลการทดลอง 17
- อภิปรายผลการทดลอง 17
- ข้อเสนอแนะ 17
บรรณานุกรม 18
ภาคผนวก 19 - 25

สารบัญรู ปภาพ

ภาพที่ 1 นำมะกรู ดและมะนาวไปต้มในน้ำเดือด 19


ภาพที่ 2 ตักเนื้อมะกรู ดและมะนาวออกแล้วพักน้ำที่ตม้ ไว้ในหม้อจนเย็น 19
ภาพที่ 3 เท N70 ใส่ กะละมัง 20
ภาพที่ 4 เท F24 ลงไปผสมกับ N70 20
ภาพที่ 5 นำเกลือไปต้มในน้ำเปล่า 21
ภาพที่ 6 นำน้ำที่พกั ไว้และน้ำเกลือเทลงไปผสมกับ N70 และ F24 แ 21
ภาพที่ 7 พอส่ วนผสมหนืดให้เติมน้ำเปล่าแล้วคนต่ออีก 10 นาที 22
ภาพที่ 8 บรรจุลงในขวดบรรจุภณั ฑ์ 22
ภาพที่ 9 ทำอีก 2 สูตร 23
4

ภาพที่ 10 ทดสอบประสิ ทธิภาพในการขจัดคราบไขมันและการขจัดกลิ่น 23


ภาพที่ 11 นำเสนอผลงานให้แก่ผทู้ ี่สนใจ 24

สารบัญตาราง

ตารางที่ 4.1 การทดสอบประสิ ทธิภาพของน้ำยาล้างจาน 14


ตารางที่ 4.2 ผลการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ 15
1

บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญ
มนุษย์เรานั้นจำเป็ นต้องมีการบริ โภค เพื่อให้ร่างกายเจริ ญเติบโต และได้รับพลังงานไปใช้
ในการดำเนินชีวิตประจำวัน ส่ วนภาระที่ตามมาหลังจากการบริ โภค คือ การทำความสะอาดภาชนะ
ใส่ อาหาร ซึ่ งหลายคนก็คงอยากที่จะหลีกเลี่ยง เพราะคราบไขมันที่ติดอยูบ่ นภาชนะนั้นล้างออกยาก
และภาชนะบางชนิดก็ยงั มีกลิ่นคาวของอาหารอยูแ่ ม้จะล้างออกแล้วก็ตาม บางครอบครัวจึงตัด
ปั ญหานี้โดยการออกไปรับประทานอาหารนอกบ้านแทน
น้ำยาล้างจาน คือ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการทำความสะอาดภาชนะใส่ อาหาร มีส่วนผสมหลักๆ
ได้แก่ สารเพิ่มความข้นเหนียว สารที่ทำให้เกิดฟอง สี และกลิ่นสังเคราะห์ โดยมีสารเคมีตวั สำคัญที่
ช่วยในการชำระล้างคราบสกปรก คือ สารลดแรงตึงผิว (Surfactant) ซึ่ งจะทำหน้าที่ช่วยขจัดคราบ
มันหรื อสิ่ งสกปรกที่ติดอยูบ่ นภาชนะให้หลุดออกอย่างง่ายดาย โดยคุณลักษณะทัว่ ไปของน้ำยาล้าง
จานควรเป็ นของเหลวเนื้ อเดียวกัน ไม่มีสิ่งแปลกปลอมปรากฏ อาจมีสารแต่งสี ได้แต่ตอ้ งเป็ นสี ที่
กระทรวงสาธารณสุ ขอนุญาตให้ใช้ได้ในเครื่ องสำอาง สามารถละลายน้ำได้ดี และเมื่อใช้ตามคำ
แนะนำที่ระบุไว้ที่ฉลากแล้วต้องไม่เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ เช่น อ่อนโยนต่อผิว ไม่ทำให้เกิดการแพ้
และระคายเคืองต่อผิวหนังอีกด้วย หลังจากเก็บไว้นาน 1 ปี ในภาชนะบรรจุปิดสนิทและภาวะปกติ
น้ำยาล้างจานต้องมีคุณลักษณะเหมือนเดิมทุกประการ สำหรับภาชนะบรรจุตอ้ งทำด้วยวัตถุที่ไม่ทำ
ปฏิกิริยากับน้ำยาล้างจาน ปิ ดได้สนิท และแข็งแรงเพียงพอที่จะป้ องกันการรั่วอันเนื่องมาจากการ
ขนส่ งหรื อใช้งาน
น้ำยาล้างจานที่ผลิตโดยส่ วนผสมจากธรรมชาติ ปราศจากสารเคมีอนั ตราย จึงเป็ นทางเลือก
หนึ่งที่ช่วยให้การทำความสะอาดมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น ปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้ และไม่
ทำลายสิ่ งแวดล้อมอีกด้วย โดยสับปะรด มีสรรพคุณคือ เป็ นยารักษาโรคผิวหนัง ช่วยเสริ มสร้าง
ระบบภูมิคุม้ กันให้ร่างกายแข็งแรง ช่วยในการฆ่าตัวอ่อนของแมลง และย่อยอาหารจำพวกโปรตีน
ดังนั้นการใช้สบั ปะรดเป็ นส่ วนผสมในการทำน้ำยาล้างจาน จะไม่ทำให้เกิดการแพ้ การระคายเคือง
ต่อผิวหนัง และดับกลิ่นคาวบนภาชนะใส่ อาหารได้ดี หรื อใช้วา่ นหางจระเข้เป็ นส่ วนผสมในการทำ
น้ำยาล้างจาน เพราะว่านหางจระเข้มีสรรพคุณคือ ใช้รักษาแผล ต่อต้านเชื้อแบคทีเรี ย และสมานแผล
ได้ดี นอกจากนี้ น้ำยาล้างจานไม่ได้ใช้สำหรับทำความสะอาดภาชนะอย่างเดียว แต่ยงั สามารถนำไป
ทำความสะอาดชิ้นส่ วนเครื่ องจักร เครื่ องประดับ กระจก และพื้นห้องครัวได้ หรื อนำน้ำที่ใช้แล้ว
จากการล้างภาชนะในครัวเรื อนมารดน้ำต้นไม้หรื อลานหญ้าเพื่อเป็ นการเพิ่มปุ๋ ยฟอสฟอรัสได้
จากความสัมพันธ์ขา้ งต้นคณะผูจ้ ดั ทำจึงคิดที่จะทำน้ำยาล้างจานโดยมีส่วนผสมหลักจาก
ธรรมชาติ ได้แก่ มะกรู ด มะนาว ว่านหางจระเข้ และสับปะรดเพื่อให้ได้น ้ำยาล้างจานที่ไม่ใส่ สาร
เคมีที่ส่งผลเสี ยหรื อก่อให้เกิดอันตรายต่อร่ างกายของผูใ้ ช้งาน

วัตถุประสงค์
2

1. เพื่อศึกษาสรรพคุณของสมุนไพรที่สามารถใช้ทำน้ำยาล้างจานได้
2. เพื่อเปรี ยบเทียบประสิ ทธิ ภาพของน้ำยาล้างจานในแต่ละสู ตร
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูใ้ ช้น ้ำยาล้างจานจากสมุนไพร

สมมติฐาน
น้ำยาล้างจานจากสับปะรดมีประสิ ทธิ ภาพในการขจัดคราบไขมันและการขจัดกลิ ่นได้ดี
ที่สุด

ขอบเขตการวิจัย
1. เรื่ องที่จะศึกษา คือ สมุนไพรที่นำมาทำน้ำยาล้างจาน ได้แก่ มะกรู ด มะนาว ว่านหาง-
จระเข้ และสับปะรด
2. กลุ่มเป้ าหมายเป็ นผูใ้ ช้น ้ำยาล้างจานจากสมุนไพร อายุ 10 - 26 ปี ขึ้นไป จำนวน 15 คน

ระยะเวลา
เริ่ ม สิ งหาคม พ.ศ. 2562 - มกราคม พ.ศ. 2563

ประโยชน์ ที่จะได้ รับ


1. ทำให้ได้รับความรู้คุณประโยชน์ของสมุนไพรที่ นำมาใช้ในการทำน้ำยาล้างจาน และ
คุณสมบัติทางเคมีในการทำความสะอาดภาชนะ
2. ลดรายจ่ายภายในครัวเรื อน
3. สามารถต่อยอดความคิดในเชิงพาณิ ชย์ได้โดยนำผลิตภัณฑ์น ้ำยาล้างจานจากสมุนไพร
ไปจำหน่ายเพื่อหารายได้เสริ ม

บทที่ 2
เอกสารที่เกีย่ วข้ อง
1. สมุนไพร
1.1 มะนาว
1.1.1 ลักษณะทัว่ ไป
มะนาวมีลกั ษณะเป็ นไม้พุม่ สู ง 2 - 4 เมตร กิ่งอ่อนมีหนามแหลม เปลือกต้น
เรี ยบ สี น ้ำตาลปนเทา มีใบย่อยใบเดียว ลักษณะใบเป็ นรู ปไข่หรื อรู ปรี ยาว กว้าง 3 - 5 เซนติเมตร
และยาว 4 - 8 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน มีปีกแคบ ๆ ขอบใบหยัก แผ่นใบมีต่อมน้ำมัน
กระจายอยูต่ ามผิวใบ ออกดอกเป็ นช่อสั้น 5 - 7 ดอก หรื อออกดอกเดี่ยวตามซอกใบ ดอกมีสีขาว
3

กลีบดอกมี 4 - 5 กลีบ หลุดร่ วงง่าย ผลมีรูปทรงกลม ผิวเรี ยบเกลี้ยง ผลอ่อนสี เขียวเข้ม พอแก่เป็ นสี
เหลือง มีรสเปรี้ ยว เมล็ดกลมรี สี ขาว มี 10 - 15 เมล็ด 
1.1.2 ชื่อและความเป็ นมา
มะนาว มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Lime และมีชื่อทางวิทยาศาสตร์วา่
Citrus Aurantifolia Swingle หรื อ Citrus Aurantifolia Swing เป็ นพืชที่มีตน้ กำเนิดอยูแ่ ถบเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ซ่ ึ งเป็ นผูท้ ี่เรี ยนรู้การใช้มะนาวเป็ นอย่างดีรวมทั้งประเทศไทยด้วย มะนาวเป็ นพืช
ที่ออกผลตลอดทั้งปี แต่ในช่วงหน้าแล้งจะออกผลน้อยกว่าปกติ
1.1.3 พันธุ์ที่นิยมปลูกในไทย
1) มะนาวแป้ น
มะนาวแป้ นเป็ นพันธุ์มะนาวยอดนิยมในประเทศไทย มีแยกย่อยออก
ไปอีกหลายสายพันธุ์ยอ่ ย ถ้าปลูกขายส่ วนใหญ่จะเลือกเป็ นพันธุ์มะนาวแป้ นดกพิเศษ มะนาวแป้ น
พิจิตร และมะนาวแป้ นพวง แต่พวกมะนาวแป้ นทวายและมะนาวแป้ นแม่ไก่ไข่ตก ก็เป็ นที่นิยมชม
ชอบไม่แพ้กนั ลักษณะลำต้นจะเป็ นไม้พุม่ ขนาดเล็ก ผลมีต้ งั แต่ขนาดกลาง-ใหญ่ ทรงกลมแป้ น
เปลือกบาง น้ำเยอะ นิยมขยายพันธุ์ดว้ ยการตอนกิ่ง ปลูกง่าย ดูแลไม่ยาก บำรุ งรักษาเหมือนมะนาว
ทัว่ ไป
2) มะนาวนิ้วมือ
มะนาวนิ้วมือ หรื อมะนาวคาเวียร์ ต้นกำเนิดอยูใ่ นประเทศออสเตรเลีย
ลำต้นสูงประมาณ 5 - 6 เมตร ใบเล็กเรี ยวยาว ผิวใบเกลี้ยง ปลายใบหยัก ดอกสี ขาว ผลทรงกระบอก
มีเม็ดข้างใน ลักษณะคล้ายถุงน้ำ มีหลายสี หลายกลิ่น หลายรส เช่น เรดแชมเปญ (รสเปรี ยวจี๊ด)
พิงค์ ไอซ์ (รสนุ่มละมุน) จาลิเรด เอมเมอรัล และเทสตี้กรี น ผูค้ นนิยมนำเม็ดมาตกแต่งจานและเพิ่ม
รสชาติให้กบั อาหาร แถมหลายคนก็ยงั ปลูกประดับบ้านด้วย ส่ วนวิธีการปลูกทำได้ท้ งั เพาะเมล็ด
และปักชำ ระยะเวลาปลูก 18 เดือน ชอบอุณหภูมิประมาณ 15 - 19 องศาเซลเซี ยส ชอบบริ เวณที่มี
ปริ มาณฝนสูงและแสงแดดมาก ทนต่อน้ำค้างและแสงแดดจัดดี สามารถปลูกในกระถางได้
3) มะนาวหวาน
มะนาวหวาน เป็ นไม้พุม่ สู งประมาณ 2 - 4 เมตร ลำต้นและกิ่งก้านมี
หนามแหลม ใบรู ปไข่ ขอบขนาน ผิวใบเรี ยบเป็ นมัน เนื้ อใบมีลายจุด กลิ่นหอมแรง ดอกสี ขาว ผล
ทรงกลม ขนาดใหญ่กว่ามะนาวปกติ เปลือกบางสี เขียวคล้ำ เนื้อฉ่ำน้ำสี เหลืองหรื อสี แดงเรื่ อคล้าย
ส้มเขียวหวาน ไม่มีเมล็ด ให้น ้ำเยอะ รสชาติหวานปนเปรี้ ยวเล็กน้อย ออกดอกออกผลตลอดทั้งปี
นิยมขายพันธุ์ดว้ ยการตอนกิ่ง ทาบกิ่ง และเสี ยบยอด
4) มะนาวตาฮิติ
มะนาวตาฮิติ มีตน้ กำเนิดมาจากรัฐฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริ กา เป็ น
พืชที่คนไทยส่ วนใหญ่ไม่ค่อยนิยม จึงเหมาะจะส่ งออกต่างประเทศ ใบค่อนข้างใหญ่และหนา ผลรู ป
ไข่ ขนาดใหญ่ เปลือกหนา เนื้ อสี เขียว ให้น ้ำมาก ไม่มีเมล็ด ออกผลตลอดทั้งปี แม้ช่วงนอกฤดู อีกทั้ง
ยังมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว รสชาติเป็ นเอกลักษณ์ แอบเปรี้ ยวกว่ามะนาวส่ วนใหญ่ แต่กม็ ีความหวาน
4

เล็กน้อย นิยมขยายพันธุ์ดว้ ยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง และเสี ยบยอด ดูแลไม่ยาก เหมือนกับมะนาว


ทัว่ ไป แต่จะทนโรคและทนแมลงมากกว่า
5) มะนาวยักษ์
มะนาวยักษ์ หรื อ มะนาวควาย มีตน้ กำเนิดอยูใ่ นประเทศอินเดีย เป็ นไม้
ยืนต้น ลำต้นสี น ้ำตาล สูงประมาณ 3 - 10 เมตร กิ่งก้านมีหนาม ใบใหญ่กลมมน ขอบใบเรี ยบ แผ่น
ใบงอขึ้น สี เขียวเข้มเป็ นมันวาว มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ดอกออกสี ขาวอมม่วง ผลกลมใหญ่เท่าส้มโอ
ขนาด 1 กิโลกรัมขึ้นไป เปลือกหนา ผิวเรี ยบ ตอนอ่อนเป็ นสี เขียว ตอนสุ กเป็ นสี เหลืองมะนาว ไม่มี
เมล็ด นิยมปลูกตามหมู่บา้ นชาวเขาภาคเหนือ ขยายพันธุ์ดว้ ยการตอนกิ่ง ชอบดินร่ วนปนทราย ไม่
ชอบดินชื้นแฉะ ดูแลง่ายเหมือนมะนาวทัว่ ไป
6) มะนาวไร้เมล็ด
มะนาวไร้เมล็ด หรื อมะนาวทูลเกล้า เป็ นไม้พุม่ สู งประมาณ 2 - 3 เมตร
กิ่งโค้งงอเลื้อยไปตามดิน ลักษณะคล้ายต้นส้มโอ แต่เล็กกว่า กิ่งก้านมีหนามแต่ไม่มาก ใบหนา ดอก
สี ขาว มีกลิ่นหอม ผลทรงกลม ขนาดใหญ่เกือบเท่าลูกเทนนิส เปลือกจะปรับหนาและบางตาม
สภาพอากาศ ไม่มีเมล็ด ให้น ้ำเยอะ รสเปรี้ ยวจัด ออกผลตลอดทั้งปี ยิง่ อายุมาก ยิง่ ติดผลมาก โดย
เฉพาะในช่วงฤดูแล้ง นิยมขยายพันธุ์ดว้ ยการตอนกิ่งและเสี ยบยอด ไม่นิยมเพาะเมล็ด
7) มะนาวแป้ นรำไพ
มะนาวแป้ นรำไพ เป็ นไม้พมุ่ ขนาดเล็กสู งประมาณ 2 - 4 เมตร เปลือก
เรี ยบ กิ่งอ่อนมีหนามแหลม ใบทรงรี ยาว ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบหยัก แผ่นใบมีจุดน้ำมัน
กระจายอยู่ ส่ วนดอกออกสี ขาว ผลทรงกลมแป้ น ขนาดใหญ่ ผิวเกลี้ยง เปลือกบาง ติดผลดก ผลอ่อน
เป็ นสี เขียวเข้ม ผลแก่เป็ นสี เหลือง รสชาติเปรี้ ยว มีเมล็ดทรงรี สี ขาว จำนวนไม่มาก ค่อนข้างนิยมใน
ไทย ปลูกกันทัว่ ประเทศ ผลผลิตเป็ นที่ตอ้ งการของตลาด เก็บผลได้เร็ ว ทนทานพอสมควร ปลูกใน
วงบ่อซีเมนต์ได้
8) มะนาวเลมอน
มะนาวเลมอน สายพันธุ์ที่มีตน้ กำเนิดอยูใ่ นเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ มี
ลักษณะเป็ นไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก ทรงพุม่ ลำต้นและกิ่งก้านมีหนามแหลมยาวที่ปลายยอด ใบหนา
ทรงรี ผิวใบเรี ยบเป็ นมัน มีกลิ่นหอม ดอกสี ขาว เกสรสี เหลือง ผลทรงกลมรี มีติ่งแหลมที่ปลาย
เปลือกหนา ผิวเรี ยบเป็ นมัน ผลอ่อนเป็ นสี เขียว ผลสุ กเป็ นสี เหลืองสด ข้างในมีเนื้ อฉ่ำน้ำ รสชาติ
เปรี้ ยว และมีเมล็ดทรงรี สี ขาวนวล จำนวนมาก นิยมปลูกด้วยการตอนกิ่งและทาบกิ่ง เพราะให้
ผลผลิตเร็ว ชอบดินร่ วนปนทรายที่ระบายน้ำดี ชอบอากาศร้อน แต่แดดไม่จดั ต้องการน้ำพอชุ่ม แต่
ไม่แฉะ รดวันละ 2 ครั้ง
1.1.4 สรรพคุณทางยา
มะนาวถือเป็ นพืชที่ดีต่อสุ ขภาพอย่างแท้จริ ง เพราะมะนาวมีส่วนช่วยใน
รักษาโรคและอาการต่าง ๆ ได้มากมาย เช่น ช่วยบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะ ช่วยแก้อาเจียนอัน
เนื่องมาจากความผิดปกติของธาตุในร่ างกาย รักษาอาการลมเงียบ รักษาอาการตาแดง ช่วยบรรเทา
อาการไข้
5

นอกจากนี้ยงั มีวิตามินซี สูง ช่วยในการรักษาอาการเลือดออกตามไรฟันหรื อ


โรคลักปิ ดลักเปิ ด ช่วยบรรเทาอาการไอและขับเสมหะ บรรเทาอาการต่อมทอนซิ ลอักเสบ ลดอาการ
เหงือกบวม เพราะมีวิตามินซีสูง มะนาวยังช่วยขับพยาธิ และรักษาอาการท้องผูก ท้องอืด ปวดท้อง
ท้องแน่น ท้องเฟ้ อ รักษาอาการอาการโรคกระเพาะ ท้องร่ วง แก้อาการบิด รักษาอาการปั สสาวะกระ
ปริ บกระปรอยหรื อขัดเบา ช่วยฟอกและบำรุ งโลหิ ตรักษาอาการโลหิ ตจาง แก้โรคเหน็บชา และยัง
ช่วยรักษาอาการปวดข้อได้
มะนาวเป็ นพืชที่มีกรดซึ่ งดีต่อร่ างกายอยูเ่ ป็ นส่ วนประกอบ ภายในน้ำมะนาว
นั้นมี กรดซิตริ ค (Citric Acid) กรดมาลิค (Malic Acid) และกรดแอสคอร์บิก (Ascorbic Acid) ซึ่ ง
กรดซิตริ คนั้นช่วยในการขจัดแคลเซี ยมที่สะสมอยูใ่ นหลอดเลือดแดง ตับอ่อน และช่วยในการสลาย
นิ่วในไตได้ และยังช่วยในการขจัดล้างสารพิษโดยการกระตุน้ ด้วยเอนไซม์ธรรมชาติ ซึ่ งช่วยบำรุ ง
ให้ผวิ พรรณดีข้ ึน
มะนาวนั้นอุดมไปด้วยสารฟลาโวนอยด์ ซึ่ งสารฟลาโวนอยด์น้ นั ไม่เพียงแต่
ช่วยในการเพิ่มประสิ ทธิภาพของวิตามินซี แต่ยงั ช่วยในการควมคุมระบบความดันโลหิ ตและช่วย
ลดอาการอักเสบได้อีกด้วย นอกจากนี้ ในมะนาวยังมีสารลิโมนอยด์และโมดิฟายด์ ซิ ตรัส เพคติน
ซึ่ งปรากฎในการศึกษาครั้งล่าสุ ดว่าช่วยในการหยุดยั้งการแพร่ กระจายของเซลล์มะเร็ ง ชะลอการ
เจริ ญเติบโตและทำให้เซลล์มะเร็ งนั้นตายในที่สุด ซึ่ งถือว่าช่วยในการรักษามะเร็ งได้ส่วนหนึ่งด้วย
1.1.5 ประโยชน์ของมะนาว
1) ลดความเสี่ ยงโรคมะเร็ งรังไข่และมะเร็ งเต้านม
2) ป้ องกันโรคปั สสาวะอักเสบ
3) ลดความเสี่ ยงโรคกระดูกพรุ น
4) ลดไขมันเลว เพิ่มไขมันดี
5) มะนาวลดความอ้วนก็ได้
6) ช่วยรักษาแผลและลดการอักเสบ
7) เติมความชุ่มชื้นให้ร่างกาย
8) กระตุน้ การผลิตคอลลาเจน
9) บำรุ งผิวพรรณจากภายใน
10) ช่วยให้ลมหายใจหอมสดชื่น
1.2 มะกรู ด
1.2.1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็ นไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก เป็ นไม้เนื้ อแข็ง ลำต้นและกิ่งมีหนามยาวเล็กน้อย ใบ
เป็ นใบประกอบชนิดลดรู ป มีใบย่อย 1 ใบ เรี ยงสลับ รู ปไข่ คือมีลกั ษณะคล้ายกับใบไม้ 2 ใบ ต่อกัน
อยู่ คอดกิ่วที่กลางใบเป็ นตอนๆ มีกา้ นแผ่ออกใหญ่เท่ากับแผ่นใบ ใบสี เขียวแก่พ้ืนผิวใบเรี ยบเกลี้ยง
เป็ นมัน ค่อนข้างหนา มีกลิ่นหอมมากเพราะมีต่อมน้ำมันอยู่ ซึ่ งผลแบบนี้เรี ยกว่า Hesperitium v
ใบด้านบนสี เข้ม ใต้ใบสี อ่อน ดอกออกเป็ นกระจุก 3 – 5 ดอก กลีบดอกสี ขาว เกสรสี เหลือง ร่ วงง่าย
มีกลิ่นหอม มีผลสี เขียวเข้มคล้ายมะนาวผิวเปลือกนอกขรุ ขระ ขั้วหัวท้ายของผลเป็ นจุก ผลอ่อนมี
6

เป็ นสี เขียวแก่ เมื่อผลสุ กจะเปลี่ยนเป็ นสี เหลืองสด พันธุ์ที่มีผลเล็ก ผิวจะขรุ ขระน้อยกว่าและไม่มีจุก
ที่ข้ วั ภายในมีเมล็ดจำนวนมากๆ

1.2.2 สรรพคุณ
เป็ นยาบำรุ งหัวใจ ขับลมในลำไส้ แก้แน่นท้องจุกเสี ยด กระทุง้ พิษ แก้ฝี และ
แก้เสมหะเป็ นพิษ
1.2.3 การใช้ประโยชน์
การใช้มะกรู ดสระผมน่าจะรู ้จกั กันมาตั้งแต่สมัยโบราณ วิธีการสระ บ้างก็ใช้
ผลดิบผ่าแล้วบีบน้ำสระโดยตรง บ้างก็นำไปเผา หรื อต้มก่อนสระ มะกรู ดยังมีใช้ในพระราชพิธี
สำคัญ เช่น พระราชพิธีโสกันต์ ซึ่ งระบุไว้ในพระราชพิธีสิบสองเดือนไว้วา่ ต้องมีผลมะกรู ดและ ใบ
ส้มป่ อยประกอบในพิธีดว้ ย
น้ำมะกรู ดมีรสเปรี้ ยว กลิ่นฉุนคล้ายใบ แต่ใช้นอ้ ยกว่าน้ำมะนาว ใช้ปรุ งรส
เปรี้ ยวแทนมะนาวได้ เช่นในปลาร้าหลน น้ำพริ กปลาร้า น้ำพริ กมะกรู ด มะกรู ดมีส่วนเปลือกที่หนา
ส่ วนเปลือกนิยมนำผิวมาประกอบอาหารบางชนิดด้วย ในมะกรู ดมีน ้ำมันหอมระเหยอยูม่ าก ใบ
มะกรู ดนั้นใส่ ในต้มยำทุกชนิด น้ำยาขนมจีน ยำหอย ใส่ ในแกงเช่น แกงเผ็ด แกงเทโพ แต่ถา้ ใส่ มาก
เกินไปจะมีรสขมมีกลิ่นฉุน ทั้งในใบ และผล บางครั้งสามารถนำไปใช้ไล่แมลงบางชนิดได้ผล
มะกรู ดผ่าซีกที่บีบน้ำออกแล้ว ใช้เป็ นยาดับกลิ่นในห้องสุ ขาได้
1.2.4 สายพันธุข์ องมะกรู ด
มะกรู ดหวาน เป็ นมะกรู ดสายพันธุ์หนึ่ง ใบนิ่ม ผิวใบเรี ยบ ผลใหญ่กว่า
มะกรู ดเปรี้ ยว ผลมีรสหวาน ใช้รับประทานเป็ นผลไม้ ไม่นิยมใช้ปรุ งอาหาร เป็ นผลไม้ทอ้ งถิ่นใน
จังหวัดสมุทรสงคราม
1.3 ว่านหางจระเข้
1.3.1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ว่านหางจระเข้เป็ นพืชชนิดหนึ่งที่พืชอวบน้ำลำต้นสั้นหรื อไม่มีลำต้นสู ง
10 - 100 เซนติเมตร กระจายพันธุโ์ ดยตะเกียง ใบหนาอ้วนมีสีเขียวถึงเทาเขียว บางสายพันธุ์มีจุดสี
ขาวบนและล่างของโคนใบ ขอบใบเป็ นหยักมีสีขาว ออกดอกในฤดูร้อนบนช่อเชิงลด สู งได้ถึง 90
เซนติเมตร ดอกเป็ นดอกห้อย วงกลีบดอกสี เหลืองรู ปหลอด ยาว 2 – 3 เซนติเมตร ว่านหางจระเข้ก็
เหมือนพืชชนิดอื่นในสกุลที่สร้างอาร์บสั คูลาร์ไมคอร์ไรซา (Arbuscular mycorrhiza) ขึ้น ซึ่ งเป็ น
สมชีพที่ทำให้พืชดูดซึมสารอาหารและแร่ ธาตุในดินได้ดีข้ ึน
1.3.2 สรรพคุณทางยา
วุน้ ในใบว่านหางจระเข้มีสารเคมีอยูห่ ลายชนิด เช่น Aloe-emodin, Aloesin,
Aloin สารประเภท Glycoprotein และอื่นๆ ยางที่อยูใ่ นว่านหางจระเข้มีสาร Anthraquinone ทีมีฤทธิ์
ขับถ่ายด้วย ใช้ทำเป็ นยาดำ มีการศึกษาวิจยั รายงานว่า วุน้ หรื อน้ำเมือกของว่านหางจระเข้รักษาแผล
7

ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก แผลเรื้ อรัง และแผลในกระเพาะอาหารได้ดี เพราะในวุน้ ใบว่านหางจระเข้


นอกจากจะมีสรรพคุณรักษาแผลต่อต้านเชื้อแบคทีเรี ยแล้วยังช่วยสมานแผลได้อีกด้วย
1.3.3 การเพาะปลูก
ว่านหางจระเข้ปลูกง่าย โดยการใช้หน่ออ่อน ปลูกได้ดีในบริ เวณทะเลที่เป็ น
ดินทราย และมีปุ๋ยอุดมสมบูรณ์ดี จะปลูกเอาไว้ในกระถางก็ได้ ในแปลงปลูกก็ได้ ปลูกห่างกันสัก
1 - 2 ศอก เป็ นพืชที่ตอ้ งการน้ำมาก แต่ตอ้ งมีการระบายน้ำดีพอ มิฉะนั้นจะทำให้รากเน่าและตาย
ว่าน หางจระเข้ชอบแดดรำไร ถ้าถูกแดดจัดใบจะเป็ นสี น ้ำตาลแดง และอีกวิธีสามารถนำเมล็ดไป
ปลูกใน กระถางต้นไม้ได้อีกด้วย
1.4 สับปะรด
1.4.1 ลักษณะของสับปะรด
รู ปลักษณะ ไม้ลม้ ลุกอายุหลายปี สู ง 90 - 100 เซนติเมตร มีลำต้นอยูใ่ ต้ดิน
ใบเดี่ยวเรี ยงสลับ ซ้อนกันถี่มากรอบต้น กว้าง 6.5 เซนติเมตร ยาวได้ถึง 1 เมตร ไม่มีกา้ นใบ ดอกช่อ
ออกจากกลางต้น มีดอกย่อยจำนวนมาก ผลเป็ นผลรวม รู ปทรงกระบอก มีใบเป็ นกระจุกที่ปลาย
สับปะรดเป็ นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้ดี เป็ นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ
เมื่อเจริ ญเป็ นผลแล้วจะเจริ ญต่อไปโดยตาที่ลำต้นจะเติบโตเป็ นต้นใหม่ได้อีก และสามารถดัดแปลง
เป็ นไม้ประดับได้อีกด้วย
สับปะรดแบ่งออกตามลักษณะความเป็ นอยูไ่ ด้ 3 ประเภท คือพวกที่มี ระบบ
รากหาอาหารอยูใ่ นดิน หรื อเรี ยกว่าไม้ดิน พวกอาศัยอยูต่ ามคาคบไม้หรื อลำต้นไม้ใหญ่ ได้แก่ ไม้
อากาศต่าง ๆ ที่ไม่แย่งอาหารจากต้นไม้ที่มนั เกาะอาศัยอยู่ พวกนี้ส่วนใหญ่จะเป็ นไม้ประดับ
และพวกที่เจริ ญเติบโตบนผาหินหรื อโขดหิ น
ส่ วนสับปะรดที่เราใช้บริ โภคจัดเป็ นไม้ดิน แต่ยงั มีลกั ษณะบางประการของ
ไม้อากาศเอาไว้ คือ สามารถเก็บน้ำไว้ตามซอกใบได้เล็กน้อยมีเซลล์พิเศษสำหรับเก็บน้ำเอาไว้ในใบ
ทำให้ทนทานในช่วงแล้งได้ดว้ ย
1.4.2 สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
สับปะรดต้องการอากาศค่อนข้างร้อนอุณหภูมิที่เหมาะสมอยูร่ ะหว่าง
23.9 - 29.4 องศาเซลเซียล ปริ มาณน้ำฝนที่ตอ้ งการอยูใ่ นช่วง 1,000 - 1,500 มิลลิเมตรต่อปี แต่ตอ้ ง
ตกกระจายสม่ำเสมอตลอดปี และมีความชื้นในอากาศสู ง สับปะรดชอบขึ้นในดินร่ วน ดินร่ วนปน
ทราย ดินปนลูกรัง ดินทรายชายทะเล และชอบที่ลาดเท เช่น ที่ลาดเชิงเขา สภาพความเป็ นกรดด่าง
(pH) ของดินควรเป็ นกรดเล็กน้อย

1.4.3 สรรพคุณ
1) สรรพคุณทางสารเคมี มีเอนไซม์ยอ่ ยโปรตีนชื่อบรอมีเลน (Bromelain)
ช่วยย่อยโปรตีนไม่ให้ตกค้างในลำไส้ และ มีเกลือแร่ วิตามินซี จำนวนมาก และนำไปใช้ใน
อุตสาหกรรมการแพทย์เพื่อรักษาอาการอักเสบของเนื้ อเยือ่ และนำไปใช้ในการผลิตเบียร์เพื่อ
ป้ องกันการตกตะกอนทำให้เบียร์ไม่ข่นุ
8

2) สรรพคุณทางสมุนไพร ช่วยบรรเทาอาการแผลเป็ นหนอง ช่วยขับ


ปั สสาวะ แก้ร้อนกระสับกระส่ าย กระหายน้ำแก้อาการบวมน้ำ ปั สสาวะไม่ออก บรรเทาอาการโรค
บิดช่วยย่อยอาหารพวกโปรตีน แก้ทอ้ งผูก เป็ นยาแก้โรคนิ่ว แก้ส้นเท้าแตก ส่ วนของรากสับปะรด
นำมาใช้เป็ นยาแก้กษัย บำรุ งไตได้ ช่วยในการฆ่าตัวอ่อนของหนอนแมลงวันได้
1.4.4 พันธุ์สบั ปะรดที่นิยมปลูกในประเทศไทย
1) พันธุ์ปัตตาเวีย หรื อเรี ยกว่า สับปะรดศรี ราชา นิยมปลูกทัว่ ไป ผลใหญ่
ฉ่ำน้ำ เนื้อสี เหลืองอ่อน
2) พันธุ์อินทรชิต เป็ นสับปะรดพันธุ์พื้นเมือง
3) พันธุ์ขาว / ดำ
4) พันธุ์ภูเก็ต หรื อ พันธุ์สวี นิยมปลูกทางภาคใต้ ใบมีแถบสี แดงที่ตอน
กลางใบ กลีบดอกสี ม่วงอ่อน ผลเล็กเปลือกหนาเนื้ อสี เหลืองเข้ม หวานกรอบ
5) พันธุ์นางแล หรื อ พันธุ์น ้ำผึ้ง นิยมปลูกในจังหวัดเชียงราย ผลกลม ตา
นูน เปลือกบาง เนื้ อสี เหลืองเข้ม รสหวานจัด
6) พันธุ์ตราดสี ทอง
7) พันธุ์ภูแล
8) พันธุ์หว้ ยมุ่น
9) พันธุ์เพชรบุรี ผลย่อยติดกันไม่แน่น แกะออกมารับประทานได้โดยไม่
ต้องปอกเปลือก แกนผลรับประทานได้ รสหวานอมเปรี้ ยว

2.น้ำยาล้ างจาน
น้ำยาล้างจาน คือสารชำระล้าง (Detergent) ที่ใช้ช่วยในการล้างจาน มีส่วนผสมของสารลด
แรงตึงผิว (Surfactant) ที่มีการระคายเคืองต่ำ ประโยชน์หลักของน้ำยาล้างจานคือใช้ลา้ งภาชนะและ
เครื่ องครัวด้วยมือหลังจากประกอบหรื อรับประทานอาหารแล้ว น้ำยาล้างจานทำให้สิ่งสกปรกและ
ไขมันหลุดจากภาชนะและรวมตัวเป็ นอีมลั ชัน (Emulsion) อยูใ่ นน้ำหรื อฟอง (Foam) เนื่องจาก
โมเลกุลของน้ำยาล้างจานประกอบด้วยส่ วนที่มีข้ วั และไม่มีข้ วั เช่นเดียวกับผงซักฟอก ส่ วนที่มีข้ วั จะ
จับกับโมเลกุลของน้ำ และส่ วนที่ไม่มีข้ วั จะจับกับสิ่ งสกปรกให้หลุดออก ในสมัยก่อนมีชื่อเรี ยกอื่น
เช่น สบู่ลา้ งจาน หรื อ ครี มล้างจาน เนื่องจากเคยผลิตในรู ปของสบู่และครี มมาก่อน ปั จจุบนั น้ำยา
ล้างจานมีส่วนผสมอื่นรวมอยูด่ ว้ ย เช่น น้ำมะนาวหรื อชา ซึ่ งเชื่อว่าเป็ นการช่วยให้ภาชนะสะอาด
มากขึ้นและถนอมมือมากกว่าเดิม
2.1 ชนิดของน้ำยาล้างจาน
2.1.1 น้ำยาล้างจานจากพืช เป็ นน้ำยาล้างจานที่ผลิตได้จากส่ วนผสมของพืชเป็ น
หลัก เช่น น้ำมะกรู ด น้ำมะนาว เป็ นต้น มักเป็ นผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตในภาคครัวเรื อนเพื่อใช้เอง
หรื อผลิตเพื่อการจำหน่ายขนาดเล็กเป็ นผลิตภัณฑ์ชุมชน
2.1.2 น้ำยาล้างจานจากสารเคมี เป็ นน้ำยาล้างจานที่มีส่วนผสมของสารเคมีเป็ น
หลัก เป็ นผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตมากในภาคอุตสาหกรรม
9

2.1.3 น้ำยาล้างจานจากสารเคมี และจากพืช เป็ นน้ำยาล้างจานที่มีส่วนผสมของ


สารเคมี และสารสกัดจากพืชเป็ นหลัก เป็ นผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิต และใช้มากในปัจจุบนั ทั้งในภาค
อุตสาหกรรม และครัวเรื อน
2.2 ส่ วนประกอบของน้ำยาล้ างจาน
ส่ วนประกอบของน้ำยาล้างจานที่เป็ นสารเคมีสงั เคราะห์จะประกอบด้วยสารเคมีใน
กลุ่มสารลดแรงตึงผิวที่ให้ประจุลบเป็ นหลัก มีลกั ษณะลื่น เมื่อละลายน้ำจะมีฤทธิ์ เป็ นกรด และ
ทำให้เกิดฟองจำนวนมาก สามารถแทรกซึ มสู่ พ้ืนผิวของภาชนะได้ดีทำให้คราบไขมัน และเศษ
อาหารหลุดออกได้ง่าย ส่ วนประกอบที่สำคัญ ได้แก่
2.2.1 Sodium Alkyl Benzene Sulphonate หรื อ Linear Alkyl Benzene Sulphonate
(น้ำยา N70)
เป็ นสารลดแรงตึงผิวที่นิยมใช้ในผงซักฟอกด้วย เนื่องจากมีการใช้สารชนิดนี้
มานานกว่า 30 ปี แล้ว และมีการทดลองแล้วว่ามีความปลอดภัยต่อสิ่ งแวดล้อม มีประสิ ทธิ ภาพใน
การทำความสะอาดสูง และราคาไม่แพงมาก ปั จจุบนั LAS เป็ นที่นิยมใช้เป็ นสารออกฤทธิ์ ในผง
ซักฟอกทัว่ โลก เมื่อหลายปี ก่อน Linear Alkyl Benzene Sulfonate ยังไม่ได้เป็ นที่นิยมมากนัก สาร
เคมีที่ใช้มากคือ Alkyl Benzene Sulfonate (ABS) แต่มนั เป็ นสารที่ไม่ยอ่ ยสลายในสภาพแวดล้อม
จึงไม่นิยมใช้ในปัจจุบนั
2.2.2 Sodium Lauryl Ether Sulphate
เป็ นสารทำให้เกิดฟอง มักใช้ในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด และแชมพู อาจ
ทำให้เกิดการระคายเคืองตาและผิวหนัง หากเกิดอาการหลังจากใช้ผลิตภัณฑ์ควรหยุดใช้ทนั ที ใน
กระบวนการผลิต SLES อาจปนเปื้ อนด้วย 1,4-Dioxane ซึ่ งอาจเป็ นสารก่อมะเร็ ง ในต่างประเทศมี
การห้ามใช้ในผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับอาหารและยา แต่อย่างไรก็ตามไม่มีหลักฐานที่บ่งชี้วา่ สารชนิดนี้
เป็ นก่อมะเร็ ง
2.2.3 Cocamidopropyl Betaine
เป็ นสารลดแรงตึงผิวที่จบั กับทั้ง Anion และ Cation ในเวลาเดียวกัน สาร
Cocamidopropyl Betaine เป็ นสารลดแรงตึงผิวแบบอ่อนที่ไม่ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง
และเนื้อเยือ่ ในจมูก จึงเชื่อกันว่าจะช่วยลดการระคายเคืองที่เกิดจากการใช้ Anionic surfactant เพียง
อย่างเดียว นอกจากนี้ มนั ยังมีสมบัติฆ่าเชื้อโรค และเข้าได้กบั สารลดแรงตึงผิวชนิดอื่นๆ
Cocamidopropyl Betaine ในผลิตภัณฑ์ลา้ งจานที่ความเข้มข้นต่ำกว่า 1 % จะไม่ทำให้เกิดการระคาย
เคือง อย่างไรก็ตามสำหรับที่ความเข้มข้นสู งขึ้นไปอาจทำให้เกิดการระคายเคืองได้
ควรหลีกเลี่ยงการเทผลิตภัณฑ์ใส่ มือโดยตรง โดยทัว่ ไปผลิตภัณฑ์ลา้ งจานที่ใช้กนั อยูม่ ีปริ มาณของ
Cocamidopropyl Betaine เพียง 0.1 - 0.5 % เท่านั้น
2.2.4 สารสกัดจากพืช เช่น น้ำมะนาว น้ำมะกรู ด
10

บทที่ 3
วิธีการดำเนินงาน
จากการทำโครงงานเรื่ อง น้ำยาล้างจานจากสมุนไพรทั้ง 3 สู ตร ได้แก่ สู ตรที่1 สู ตร
มะกรู ด และมะนาว สูตรที่2 สูตรมะกรู ด มะนาว และว่านหางจระเข้ และสู ตรที่3 สู ตรมะกรู ด
มะนาว และสับปะรด มีวสั ดุอุปกรณ์ และวิธีการดำเนินงาน ดังนี้

วัสดุอุปกรณ์
1. มะกรู ด 15 ลูก
2. มะนาว 15 ลูก
3. สับปะรดครึ่ งลูก
4. ว่านหางจระเข้ 5 ใบ
5. น้ำเปล่า 9 ลิตร
6. N70 (สารที่ทำให้เกิดฟองและความหนืด) 3 กิโลกรัม
7. F24 (สารขจัดคราบ) 3 กิโลกรัม
8. เกลือ 450 กรัม
9. กะละมัง 2 ใบ
10. หม้อ
11. ไม้พาย
12. กรวยกรอก
11

13. ขวดบรรจุภณั ฑ์

วิธีการดำเนินงาน
ตอนที่ 1 การลงมือทำและทดสอบประสิ ทธิภาพของน้ำยาล้ างจานจากสมุนไพร
1. เริ่ มทำสูตรที่1 สูตรธรรมดา โดยการนำมะกรู ดและมะนาวอย่างละ 5 ลูกมาผ่าครึ่ งเป็ น 2
ซี ก แล้วนำไปต้มในน้ำเดือดปริ มาณ 1 ลิตร เป็ นเวลา 10 นาที
2. เมื่อต้มเสร็ จแล้วให้ตกั เนื้ อมะกรู ดและมะนาวออกจากหม้อ แล้วพักน้ำที่ตม้ ไว้ในหม้อจน
เย็น
3. เท N70 ปริ มาณ 1 กิโลกรัมใส่ กะละมัง แล้วคนไปทางเดียวกันเป็ นเวลา 10 นาที
4. เท F24 ปริ มาณ 1 กิโลกรัมลงไปผสมกับ N70 แล้วคนต่ออีก 10 นาที
5. นำเกลือ 150 กรัม ไปต้มในน้ำเปล่าปริ มาณ 1 ลิตร จนกว่าเกลือจะละลายหมด
6. นำน้ำที่พกั ไว้ในข้อ 2 และน้ำเกลือมาเทลงไปผสมกับ N70 และ F24 ในกะละมัง แล้ว
คนให้เป็ นเนื้ อเดียวกัน
7. พอส่ วนผสมหนืด ให้เติมน้ำเปล่าเพิ่ม 1 ลิตร แล้วคนต่ออีก 10 นาที
8. ทิ้งไว้ประมาณ 1 คืน เพื่อให้ฟองยุบตัวลง แล้วบรรจุลงในขวดบรรจุภณั ฑ์
9. ทำอีก 2 สูตร โดยใช้วธิ ีเดียวกันตั้งแต่ข้ นั ตอนที่ 1 - 8 สู ตรที่2 เพิ่มว่านหางจระเข้ 5 ใบ
และสูตรที่3 เพิ่มสับปะรดครึ่ งลูก
10. นำน้ำยาล้างจานทั้ง 3 สู ตรไปทดสอบประสิ ทธิ ภาพในการขจัดคราบไขมันและการขจัด
กลิ่น โดยการนำไปใช้ทำความสะอาดภาชนะใส่ อาหาร

ตอนที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ที่มีต่อน้ำยาล้ างจานจากสมุนไพร


1. สมาชิกในกลุ่มร่ วมกันลงความเห็นถึงการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา กำหนดกลุ่ม
ตัวอย่าง คือ ผูใ้ ช้น ้ำยาล้างจานจากสมุนไพร อายุ 10 - 26 ปี ขึ้นไป จำนวน 15 คน
2. จัดทำแบบประเมินเกี่ยวกับน้ำยาล้างจานจากสมุนไพรให้เหมาะสมกับสถานภาพของผู ้
ตอบแบบประเมิน
3. นำแบบประเมินให้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 15 คน ทำแบบประเมินความพึงพอใจ
4. รวบรวมแบบประเมิน เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ สรุ ปผล และรายงานผลการประเมิน
ความพึงพอใจของผูใ้ ช้น ้ำยาล้างจานจากสมุนไพร
12

บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน
จากการทำโครงงานเรื่ อง น้ำยาล้างจานจากสมุนไพร คณะผูจ้ ดั ทำมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
1) เพื่อศึกษาสรรพคุณของสมุนไพรที่สามารถใช้ทำน้ำยาล้างจานได้ 2) เพื่อเปรี ยบเทียบ
ประสิ ทธิภาพของน้ำยาล้างจานในแต่ละสู ตร โดยคณะผูจ้ ดั ทำได้นำเสนอผลการดำเนินงานและการ
วิเคราะห์ขอ้ มูลตามลำดับ ดังนี้

ตอนที่ 1 การลงมือทำและทดสอบประสิ ทธิภาพของน้ำยาล้ างจานจากสมุนไพร

ตาราง 4.1 แสดงผลการทดสอบประสิ ทธิ ภาพของน้ำยาล้างจานจากสมุนไพรในแต่ละสู ตร


ประสิ ทธิ ภาพ
สู ตรที่ สมุนไพรที่นำมาใช้
การขจัดคราบไขมัน การขจัดกลิ่น
คราบไขมันออกหมด ยังเหลือกลิ่นคาวของ
1 มะกรู ด และมะนาว
ขจัดคราบไขมันได้ดี อาหารเล็กน้อย
คราบไขมันออกหมด ยังเหลือกลิ่นคาวของ
2 มะกรู ด มะนาว และว่านหางจระเข้
ขจัดคราบไขมันได้ดี อาหารเล็กน้อย
คราบไขมันออกหมด ไม่หลงเหลือกลิ่นคาว
3 มะกรู ด มะนาว และสับปะรด
ขจัดคราบไขมันได้ดี ขจัดกลิ่นคาวได้ดี

จากการตารางผลการทดลองพบว่า น้ำยาล้างจานจากสมุนไพรทั้ง 3 สู ตร มีประสิ ทธิ ภาพใน


การขจัดคราบไขมันได้ดี โดยสามารถขจัดคราบไขมันที่ติดอยูบ่ นภาชนะใส่ อาหารได้จนหมด ส่ วน
ประสิ ทธิภาพในการขจัดกลิ่นของสู ตรที่1 และ 2 ยังคงเหลือกลิ่นคาวของอาหารเล็กน้อย และ
สู ตรที่3 ไม่หลงเหลือกลิ่นคาวบนภาชนะใส่ อาหาร มีประสิ ทธิ ภาพในการขจัดกลิ่นคาวได้ดี

ตอนที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ที่มีต่อน้ำยาล้ างจานจากสมุนไพร


13

จากการเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่างที่ได้ทดลองใช้น ้ำยาล้างจานจากสมุนไพร โดยการ


ตอบแบบประเมิน จำนวน 15 คน ได้ผลสรุ ปจากแบบสอบถามตามตารางดังนี้
ตาราง 4.2 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ที่มีต่อน้ำยาล้างจานจากสมุนไพร
ระดับความพึงพอใจ
รายการประเมิน
ค่าเฉลี่ย การแปลผล
สู ตรที่1 สูตรมะกรู ด และมะนาว
1. ความเหมาะสมของบรรจุภณั ฑ์ 4.8 มากที่สุด
2. ความปลอดภัยขณะใช้งาน 4.6 มากที่สุด
3. ประสิ ทธิภาพของน้ำยาล้างจาน 4.4 มาก
4. การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 4.5 มาก
5. การนำไปต่อยอดในเชิงพาณิ ชย์ 4.8 มากที่สุด
รวม 4.62 มากที่สุด
สู ตรที่2 สูตรมะกรู ด มะนาว และว่านหางจระเข้
1. ความเหมาะสมของบรรจุภณั ฑ์ 4.9 มากที่สุด
2. ความปลอดภัยขณะใช้งาน 4.5 มาก
3. ประสิ ทธิภาพของน้ำยาล้างจาน 4.3 มาก
4. การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 4.2 มาก
5. การนำไปต่อยอดเชิงในพาณิ ชย์ 4.7 มากที่สุด
รวม 4.52 มากที่สุด
สู ตรที่3 สูตรมะกรู ด มะนาว และสับปะรด
1. ความเหมาะสมของบรรจุภณั ฑ์ 4.8 มากที่สุด
2. ความปลอดภัยขณะใช้งาน 4.6 มากที่สุด
3. ประสิ ทธิภาพของน้ำยาล้างจาน 4.8 มากที่สุด
4. การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 4.8 มากที่สุด
5. การนำไปต่อยอดเชิงในพาณิ ชย์ 4.8 มากที่สุด
รวม 4.76 มากที่สุด

เกณฑ์ การแปลความหมาย
ค่าเฉลีย่ 4.51 - 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากที่สุด
ค่าเฉลีย่ 3.51 - 4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก
14

ค่าเฉลีย่ 2.51 - 3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับปานกลาง


ค่าเฉลีย่ 1.51 - 2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับน้อย
ค่าเฉลีย่ 1.00 - 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับน้อยที่สุด

จากการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ที่มีต่อน้ำยาล้างจานจากสมุนไพร พบว่าสู ตรที่3


สู ตรมะกรู ด มะนาว และสับปะรด มีความพึงพอใจของผูใ้ ช้อยูใ่ นระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย
สู งสุ ด คือ 4.76 สูตรที่1 สูตรมะกรู ด และมะนาว มีความพึงพอใจของผูใ้ ช้อยูใ่ นระดับมากที่สุด โดย
มีค่าเฉลี่ยรองลงมา คือ 4.62 และสูตรที่2 สู ตรมะกรู ด มะนาว และว่านหางจระเข้ มีความพึงพอใจ
ของผูใ้ ช้อยูใ่ นระดับมากที่สุด โดยมีคา่ เฉลี่ยน้อยที่สุด คือ 4.52

บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผล
ผลิตภัณฑ์น ้ำยาล้างจานจากสมุนไพรทั้ง 3 สู ตร มีความสามารถในการขจัดคราบไขมันและ
ขจัดกลิ่นได้ดี และผูใ้ ช้น ้ำยาล้างจานจากสมุนไพรมีความพึงพอใจโดยรวมอยูใ่ นระดับมากที่สุด

อภิปรายผล
15

จากการศึกษาและทำการทดสอบประสิ ทธิ ภาพในการขจัดคราบไขมันและการขจัดกลิ่น


ของน้ำยาล้างจานจากสมุนไพรทั้ง 3 สู ตร มีประสิ ทธิ ภาพในการขจัดคราบไขมันและการขจัดกลิ่น
ได้ดี โดยเมื่อนำน้ำยาล้างจานทั้ง 3 สู ตรไปทดสอบกับภาชนะใส่ อาหารแล้ว พบว่า สู ตรที่3 สู ตร
มะนาว มะกรู ด และสับปะรด มีประสิ ทธิ ภาพในการขจัดคราบไขมันและการขจัดกลิ ่นได้ดีที่สุด
เพราะสับปะรดประกอบด้วยสารบรอมีเลนที่มีส่วนช่วยในการดับกลิ่นคาว

ข้ อเสนอแนะ
1. ควรทำการศึกษาและเปรี ยบเทียบประสิ ทธิ ภาพของน้ำยาล้างจานจากสมุนไพรกับน้ำยา
ล้างจานตามท้องตลาด
2. ควรศึกษาสมุนไพรชนิดอื่นที่สามารถนำมาทำน้ำยาล้างจานจากสมุนไพรได้

บรรณานุกรม

สรรพคุณสมุนไพร. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :


http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_15_3.htm สื บค้นเมื่อวันที่ 2562.
มะนาว. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/มะนาว
สื บค้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2562
8 สายพันธุ์มะนาวยอดนิยม ปลูกขายก็ทำเงินดี ปลูกไว้ กนิ ก็ได้ . (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://home.kapook.com/view210036.html สื บค้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2562
ประโยชน์ ของมะนาว เปรี้ยวจี๊ด เปี่ ยมสรรพคุณ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://health.kapook.com/view94112.html สื บค้นเมื่อวันที่21 กันยายน 2562
มะนาว สรรพคุณและประโยชน์ ของมะนาว 75 ข้ อ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://medthai.com/ สื บค้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2562
มะกรู ด. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/มะกรู ด
สื บค้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2562
16

มะกรู ดหวาน กับที่มาพันธุ์น้ำอร่ อย. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :


https://www.thairath.co.th/news/local/bangkok/1088319 สื บค้นเมื่อวันที่
ว่ านหางจระเข้ . (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ว่านหางจระเข้
สื บค้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2562
สั ปปะรด. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/สัปปะรด
สื บค้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2562
น้ำยาล้างจาน. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/น้ำยาล้างจาน
สื บค้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2562
น้ำยาล้างจาน และประโยชน์ น้ำยาล้างจาน. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
https://www.siamchemi.com/ สื บค้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2562
ผลิตภัณฑ์ ซักล้ าง. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :
http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=4&ID=1 สื บค้นเมื่อวันที่
SLS vs SLES คืออะไร และความสำคัญต่ อความปลอดภัยในเครื่องสำอาง. (ออนไลน์).
เข้าถึงได้จาก : https://greenshopcafe.com/greennews838.html สื บค้นเมื่อวันที่
21 กันยายน 2562
17

ภาคผนวก
18

ภาพที่ 1 นำมะกรู ดและมะนาวมาผ่าครึ่ ง แล้ว


ไปต้มในน้ำเดือด เป็ นเวลา 10 นาที

ภาพที่ 2 เมื่อต้มเสร็ จแล้วให้ตกั เนื้ อมะกรู ดและมะนาว


ออกจากหม้อแล้วพักน้ำที่ตม้ ไว้ในหม้อจนเย็น

ภาพที่ 3 เท N70 ใส่ กะละมัง แล้วคน


ไปทางเดียวกันเป็ นเวลา 10 นาที
19

ภาพที่ 4 เท F24 ลงไปผสมกับ N70


แล้วคนต่ออีก 10 นาที

ภาพที่ 5 นำเกลือไปต้มในน้ำเปล่า
จนกว่าเกลือจะละลายหมด
20

ภาพที่ 6 นำน้ำที่พกั ไว้ในข้อ 2 และน้ำเกลือมาเทลงไป


ผสมกับ N70 และ F24 แล้วคนให้เป็ นเนื้ อเดียวกัน

ภาพที่ 7 พอส่ วนผสมหนืดให้เติม


น้ำเปล่าแล้วคนต่ออีก 10 นาที
21

ภาพที่ 8 ทำอีก 2 สู ตร โดยใช้วิธีเดียวกันตั้งแต่


ขั้นตอนที่ 1 – 8 สู ตรที่2 เพิ่มว่านหางจระเข้
และสู ตรที่3 เพิ่มสับปะรด

ภาพที่ 9 ทำอีก 2 สูตร โดยใช้วิธีเดียวกันตั้งแต่ข้ นั ตอนที่ 1 – 8 สู ตรที่2 เพิ่มว่านหางจระเข้


และสู ตรที่3 เพิ่มสับปะรด
22

ภาพที่ 10 นำน้ำยาล้างจานทั้ง 3 สู ตรไปทดสอบประสิ ทธิ ภาพ


ในการขจัดคราบไขมันและการขจัดกลิ่น

ภาพที่ 11 นำเสนอผลงานให้แก่ผทู ้ ี่สนใจ


23

You might also like