You are on page 1of 25

บทที่ 3

----------------------------------- พีชคณิตบูลีน (Boolean


Algebra)
หัวขอสําคัญ
3.1 พื้นฐานของพีชคณิตบูลีน
3.2 พีชคณิตบูลีนและการลดรูปวงจรลอจิก
3.3 ทฤษฎีของเดอมอแกน
3.4 ทฤษฎีการคูกัน
3.5 ตารางความจริง
3.6 รูปแบบมาตรฐานของฟงกชันบูลีน
3.7 แผนผังคารโนห
3.10 แบบฝกหัด

3.1 พื้นฐานของพีชคณิตบูลีน
ทฤษฎีของบูลีน (Boolean Theory) เปนทฤษฎีที่ใชในการคํานวณทางลอจิก ซึ่งใช
กับ
เลขฐาน 2 ที่มีตัวแปร 0 และ 1 รวมกับการใชงานของ AND Gate, OR Gate และ NOT
Gate หรือคอมพลีเมนท เนื่องจากเลขฐานสอง มีความสําคัญมากในทางวงจรลอจิกเกท กลาวคือ
สัญลักษณ 0 และ 1 จะใชแสดงสภาวะสองสภาวะของวงจร หรืออุปกรณดิจิตอล คอมพิวเตอร
โดยสภาวะ 0 และ 1 นี้ อาจจะมีลักษณะเปน ON และ OFF สวิทชปดและสวิทชเปด แรงดันไฟฟา
สูงและ ต่ํา แรงดันไฟฟาบวกและลบเปนตน
หลักเกณฑที่สําคัญของทฤษฎีบูลีน จะถูกนํามาเขียนเปนรูปสมการของตัวแปรแทน
วงจรลอจิก เราสามารถเปลี่ยนรูปสมการบูลีนใหมีรูปใหมที่มีจํานวนเทอม และตัวแปรนอยลงได
ในทํานองเดียวกัน สามารถเปลี่ยนแปลงวงจรลอจิกที่มีจํานวนเกทหลายตัว มีความซับซอนมากให
มีขนาดนอยลง ขณะที่ฟงกชั่นการทํางานเหมือนเดิม
ทฤษฎีของบูลีนซึ่งมีกฎตาง ๆ จึงมีประโยชนและนําไปใชงานในการเขียนสมการแทน
วงจรลอจิกได และสามารถเขียนวงจรลอจิกจากสมการบูลีนได อีกทั้งสามารถลดรูปวงจร
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 2
สัทธา
ลอจิกที่มีจํานวนเกทมาก ๆ ซับซอนใหมีขนาดเล็กลงได เพื่อความประหยัดในการออกแบบ
ลดเวลาหนวงในการทํางานของวงจรลอจิก

3.2 พีชคณิตบูลีนและการลดรูปวงจรลอจิก
พีชคณิตบูลีน คือ ระบบของคณิตศาสตรทางลอจิก ซึ่งประกอบดวยกฎพื้นฐานตาง ๆ ดังนี้
3.2.1 กฎของ OR ซึ่งมี 4 ขอดังนี้
กฎขอที่ 1 A + 0 = A
กฎขอที่ 2 A + 1 = 1
กฎขอที่ 3 A + A = A
กฎขอที่ 4 A + A = 1
3.2.2 กฎของ AND มี 4 ขอดังนี้ คือ
กฎขอที่ 5 A.0 = 0
กฎขอที่ 6 A.1 = A
กฎขอที่ 7 A.A = A
กฎขอที่ 8 A.A = 0
3.2.3 กฎของการคอมพลีเมนท (Laws of Complementation)
กฎของการคอมพลีเมนทมีดังตอไปนี้
กฎขอที่ 9 0=1
กฎขอที่ 10 1=0
กฎขอที่ 11 ถา A = 0 แลว A จะเทากับ 1
กฎขอที่ 12 A = 1 แลว A จะเทากับ 0
กฎขอที่ 13 A = A
3.2.4 กฎของการสลับที่ (Commutative Laws)
กฎนี้เปนกฎการสลับที่ของ AND GATE และ OR GATE ซึ่งมีดังนี้คือ
กฎขอที่ 14 A + B = B + A
กฎขอที่ 15 A . B = B . A
3.2.5 กฎการจัดกลุม (Associative Laws)
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 3
สัทธา
กฎการจัดกลุมเปนกฎที่ใชในการจัดกลุมของตัวแปรใหม ซึ่งมีกฎตาง ๆ ดังนี้คือ
กฎขอที่ 16 A + (B + C) = (A + B) + C
กฎขอที่ 17 (A + B) + (C + D) = A + B + C + D
กฎขอที่ 18 A . (B . C) = (A . B) . C
3.2.6 กฎการกระจาย (Distributive Laws)
กฎการกระจายมีดังตอไปนี้คือ
กฎขอที่ 19 A ( B + C ) = AB + AC
กฎขอที่ 20 A + BC = (A + B) (A + C)
กฎขอที่ 21 A + A . B = A+B
3.2.7 กฎการลดทอน (Absorptive Laws)
กฎนี้จะชวยใหสามารถลดการแสดงทางลอจิกที่ซับซอนใหอยูในรูปแบบ
อยางงายโดยลดทอนบางเทอมจากที่มีอยูเดิม ซึ่งมีกฎตาง ๆ ดังนี้
กฎขอที่ 22 A + AB =A
กฎขอที่ 23 A . (A + B) = A
กฎขอที่ 24 A . (A + B) = AB

ตัวอยางที่ 3.1 ใหพิสูจนวาสมการบูลีน AB + ABC = AB เปนจริง

วิธีทํา F = AB + ABC
= AB ( 1 + C)
= AB . 1 : กฎขอที่ 2
∴ F = AB : กฎขอที่ 6
∴ AB + ABC = AB เปนจริง

ตัวอยางที่ 3.2 ใหพิสูจนวา (A + B) (A + C) + BC = A + BC


วิธีทํา F = (A + B) (A + C) + BC
= AA + AC + AB + BC + BC : กฎขอที่ 19
= A + AC + AB + BC + BC : กฎขอที่ 7
= A (1 + B) + AC + BC (1+ BC ) : กฎขอที่ 19
= A + AC + BC : กฎขอที่ 2
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 4
สัทธา
= A (1 + C)+ BC : กฎขอที่ 19
∴F = A + BC : กฎขอที่ 2

ตัวอยางที่ 3.3 ใหพิสูจนวา B + AB = A + B


วิธีทํา F = B + AB
= B .1 + AB : กฎขอที่ 6
= B (1 + A) + AB : กฎขอที่ 2
= B . 1 + AB + AB : กฎขอที่ 19
= B + A (B + B) : กฎขอที่ 19
= B+A.1 : กฎขอที่ 4
= B+A : กฎขอที่ 6
∴F = A + B *** : กฎขอที่ 14
ตัวอยางที่ 3.4 ใหพิสูจนสมการ (A + B) (A + B) (A + C) = AC
วิธีทํา F = (A + B) (A + B) (A + C)
= (AA + AB + BA + BB) (A + C)
= (A + AB + AB) (A + C) กฎขอ 22
= [A (1 + B) + AB] (A + C)
= (A + AB) (A + C )
= A (1 + B) (A + C) กฎขอ 2
= A . 1 (A + C)
= AA + AC
∴ F = AC : AA = 0 กฎขอ 8

3.3 ทฤษฎีของเดอมอรแกน (DeMorgan’s Theorems)


3.3.1 ทฤษฏีของเดอมอรแกน
ทฤษฎีของเดอมอรแกนเปนทฤษฎีที่ชวยลดรูปสมการที่ซับซอน ซึ่งมี 2 กฎดังนี้
คือ
กฎขอที่ 1 A+B = A.B
กฎขอที่ 2 A.B = A+B
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 5
สัทธา
กฎขอที่ 1 กลาวไดวา คอมพลีเมนทของผลบวกมีคาเทากับผลคูณของคอมพลีเมนท
กฎขอที่ 2 กลาวไดวา คอมพลีเมนทของผลคูณมีคาเทากับผลบวกของ คอมพลีเมนท จาก
กฎ 2 ขอของเดอมอรแกนนี้ มีขั้นตอนในการทําโดยใช NOT GATE ไดดังนี้คือ
1. คอมพลีเมนทสมการที่ใหมานั่นคือ ตัดเครื่องหมาย NOT หรือขีดออก
2. เปลี่ยน AND เปน OR และเปลี่ยน OR และ AND ในชวงการคอมพลีเมนท
3. ใสคอมพลีเมนทที่ตัวแปรทุกตัวหรือมีขั้นตอนอีกแบบหนึ่งคือทําการ
คอมพลีเมนทสมการบูลีนที่ใหมา 2 ครั้ง
4. เปลี่ยน AND เปน OR และเปลี่ยน OR เปน AND ในชวงแบงขีดหรือ
แบงการคอมพลีเมนท

ตัวอยางที่ 3.5 ใหใชทฤษฎีของเดอมอรแกนลดรูปสมการ A + BC


วิธีทํา A + BC = A + BC : ปลดคอมพลีเมนทออก
= A . (B + C) : เปลี่ยน AND เปน OR และเปลี่ยน OR
และ AND
= A . (B + C) : ใสคอมพลีเมนท
∴ A + BC= A . (B + C) *** ดังรูปที่ 3.10

ตัวอยางที่ 3.6 ใหลดรูปสมการ F = (A + B) (C + D) โดยใชทฤษฎีของเดอมอรแกน


วิธีทํา F = (A + B) (C + D)
ใชทฤษฎีของเดอมอรแกน = (A + B) (C + D)
= AB + CD
∴ F = AB + CD ***

3.4 ทฤษฎีการคูกัน (Duals Theorems)


บอยครั้งมากที่คุณสมบัติของ Boolean Algebra ใหหลักการของการคูกัน ซึ่งหลัก
การมีอยูวา ถามีการใชงานเปน AND ใหเปลี่ยน OR และมีการใชงาน OR ใหเปลี่ยนเปน AND
ถามี 0 และ 1 ใหเปลี่ยนคากันคือ เดิมเปน 0 ใหเปลี่ยนเปน 1 และถาเปน 1 ใหเปลี่ยนเปน 0 ตัว
อยางของการใชทฤษฎีคูกันดังนี้คือ
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 6
สัทธา
AB และ A+B
A+0=A และ A.1 = A = A
B. 0 = 0 และ B+1 = 1
A(BC) = (AB) C และ A +(B +C) = (A +B) + C : กฎการจัดหมู
A (B+C) = AB+AC และ A+BC = (A+B) (A+C) : กฎการกระจาย
A+AB = A และ A(A+B) = A : กฎการลดทอน
A+AB = A+B และ A(A+B) = AB : กฎการลดทอน
A + B = AB และ AB = A + B : ทฤษฎีของเดอมอรแกน

ตัวอยางที่ 3.7 ใหหาการคูกันของ (A + B) (A + B) และใหหา truth table สําหรับผลที่ไดและ


ใหบอกวาผลที่ไดเปนเกทชนิดใด
วิธีทํา การคูกันของ (A + B) (A + B) คือ AB + AB ***
truth table มีลักษณะดังตารางที่ 3.1

ตารางที่ 3.1
A B A B AB AB A B+ AB
0 0 1 1 1 1 1
0 1 1 0 1 0 0
1 0 0 1 0 1 0
1 1 0 0 1 1 1

3.5 ตารางความจริง (Truth Table)


ตารางความจริง เปนตารางที่บอกถึงฟงกชั่นเอาทพุทของวงจรลอจิก หรือฟงกชั่นเอาทพุท
ของลอจิกเกท มีความสัมพันธกับวงจรลอจิก ความสัมพันธดังกลาว จึงมีความสําคัญ ทั้งนี้เราจะ
สามารถเขียนรูปสมการจากตารางความจริงของวงจรลอจิกไดเชนเดียวกัน

3.6 รูปแบบมาตรฐานของฟงกชั่นบูลีน (Standard Forms of Boolean Functions)


ตามที่กลาวมาแลวขางตนจะเห็นไดวาฟงกชั่นของเลขฐานสองของตัวแปรของเลขฐาน
สองที่กระทํากันในลักษณะ AND GATE , OR GATE และ NOT GATE จะถูกเรียกวา ฟงกชั่นบูลีน
หรือบูลีนอัลจีบรา (Boolean Functions or Boolean Algebra) ตัวอยางเชน ฟงกชั่นบูลีน 2 ตัว
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 7
สัทธา
แปร คือ A และ B มีฟงกชั่นคือ F = AB + AB ซึ่งมี truth table ดังตารางที่ 3.2 จะเห็นไดวาคุณ
สมบัติของ F = AB + AB มีลักษณะเปน XOR GATE

ตารางที่ 3.2 truth table ของ F = AB + AB


A B F
0 0 0
0 1 1
1 0 1
1 1 0

3.6.1 ผลรวมของผลคูณ (The sum of Products)


โดยทั่วๆ ไป จะกําหนดใหฟงกชั่น F ของ n ตัวแปร มีจํานวนแถวของ truth
table เทากับ 2n n คอลัมนแรกของทุกแถวจะประกอบดวยเลขฐานสองที่เรียงจาก 0 ไปถึง 2n - 1
ตัวอยางเชน ฟงกชั่น F ของ 3 ตัวแปรจะถูกอธิบายดังตารางที่ 3.3 ในลักษณะนี้สามารถเขียนฟงก
ชั่น F ได ตัวอยางเชน
F = ABC + ABC+ ABC + ABC
จะเห็นไดวา F จะประกอบดวย 4 เทอม คือ ABC. ABC, ABC และ ABC
เราเรียกวา มินเทอม (minterms) ที่ซึ่งเราถูกรวมโดย OR เพราะวา OR ใชแทนการบวกกัน
ดังนั้น F คือผลรวมของ 4 มินเทอม และถูกเรียกวาผลคูณของ 3 ตัวแปร ดวยเหตุนี้จึงเรียกฟงกชั่น
F วาเปนรูปแบบของ ผลบวกของผลคูณ (A sum of product)
ฟงกชั่นบูลีน 3 ตัวแปรจะประกอบดวย 8 มินเทอม (2n = 23 = 8) โดย
หนึ่งแถวจะมี 1 มินเทอม ในตาราง truth table โดยหนึ่งมินเทอมจะมีคาอยูระหวาง 0 และ 23 - 1
= 7 มินเทอม เหลานี้จะถูกกําหนดเปน m0 , m1 , m2 , m3 , m4 , m5 , m6 และ m7 (ในกรณี 3 ตัว
แปร) ถาตัวแปรมี n ตัวแปร จํานวนของมินเทอมจะมีดังนี้คือ

m0, m1, m2, m3,…, m2n-1…เมื่อ มี n ตัวแปร

ทุก ๆ มินเทอมจะประกอบดวยผลคูณของ 3 ตัวแปร ซึ่งแตละตัวแปรอาจจะ


เปนคอมพลีเมนทหรือไมคอมพลีเมนทก็ได โดยถาบิทของเลขฐานสองมีคาเปน 0 ตัวมินเทอมจะ
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 8
สัทธา
ถูกคอมพลีเมนท เชน บิทแรกของเลขฐานสอง i = 0 หรือ 1 จะทําใหตัวแปรแรกในมินเทอม mi
ถูกคอมพลีเมนท และไมถูกคอมพลีเมนทตามลําดับในตารางที่ 3.4 จะแสดงเลขฐานสองที่อยูใน
ชวง 0 ถึง 7 (ในกรณีมีตัวแปร 3 ตัวแปร) และมีมินเทอม m0 ถึง m7

ตารางที่ 3.3 truth table ของฟงกชั่นบูลีน F


A B C F
0 0 0 0
0 0 1 1
0 1 0 1
0 1 1 0
1 0 0 1
1 0 1 0
1 1 0 0
1 1 1 1

ตารางที่ 3.4 มินเทอมของตัวแปร 3 ตัว คือ A, B และ C


เลขฐานสอง
มินเทอมของตัวแปร A, B, C
A B C
0 0 0 m0 = ABC
0 0 1 m1 = ABC
0 1 0 m2 = ABC
0 1 1 m3 = ABC
1 0 0 m4 = ABC
1 0 1 m5 = ABC
1 1 0 m6 = ABC
1 1 1 m7 = ABC
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 9
สัทธา
การแสดงฟงกชั่นบูลีน F จะไดมาจากการรวมกันของมินเทอมที่ใหคาของฟงกชั่น
ในแตละแถวเปน 1 ในคอลัมนที่เขียนวา F เชน ในตารางที่ 3.3 จะไดฟงกชั่นบูลีนดังนี้คือ
F = m1 + m2 + m4 + m7
= ABC + ABC + ABC +ABC

3.6.2 ผลคูณของผลบวก (The Product of Sums)


เราไดทราบวิธีการเขียนผลรวมของผลคูณหรือมินเทอมมาแลว ตอมาในหัวขอนี้
จะอธิบายวิธีที่กลับกัน กอนอื่นขอใหพิจารณาตารางที่ 3.3 อีกครั้ง เมื่อนํามาสรางใหมเพื่อใหมี F
จะไดดังตารางที่ 3.5 ซึ่งคอลัมน F คือคอมพลีเมนทของ F ซึ่งสามารถแสดงฟงกชั่น F ไดดังนี้
คือ
F = m0 + m3 + m5 + m6 = ABC + ABC + ABC + ABC

ตารางที่ 3.5 truth table ของ F และ F


A B C F F
0 0 0 0 1
0 0 1 1 0
0 1 0 1 0
0 1 1 0 1
1 0 0 1 0
1 0 1 0 1
1 1 0 0 1
1 1 1 1 0
เมื่อใสคอมพลีเมนทของ F ทั้ง 2 ขางจะได
F = ABC + ABC + ABC + ABC
ใชทฤษฎีของเดอมอรแกนจะได
∴ F = (A+B+C) (A+B+C) (A+B+C) (A+B+C)
ซึ่งจะได F เปนฟงกชั่นของผลคูณของผลรวม โดยแตละผลรวมจะถูกเรียกวา
แม็กซเทอม (Maxterm) สําหรับฟงกชั่น 3 ตัวแปร จะมีแม็กเทอมทั้งหมด = 2n = 23 = 8 ตัว
โดยจะมีหนึ่งตัวในแตละแถว ซึ่งจะถูกกําหนดเปน M0, M1, M2, M3, M4, M5, M6 และ M7 แตละ
แม็กเทอมจะประกอบดวยผลรวมของ 3 ตัวแปร โดยแตละตัวแปรจะถูกคอมพลีเมนทหรือไมถูก
คอมพลีเมนทก็ได ถาบิทแรกของเลขฐานสอง i คือ 0 หรือ 1 แลวตัวแปรแรกของแม็กเทอม Mi
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 10
สัทธา
จะไมถูกคอมพลีเมนทและถูกคอมพลีเมนทตามลําดับ ในตารางที่ 3.6 จะแสดงเลขฐานสอง ใน
ชวง 0 ถึง 7 และแม็กเทอมของมัน
ตารางที่ 3.6 แม็กเทอมของตัวแปร 3 ตัวแปรคือ A, B, C
เลขฐานสอง แม็กเทอมของตัวแปร A, B,C
0 0 0 M0 = A + B + C
0 0 1 M1 = A + B + C
0 1 0 M2 = A + B + C
0 1 1 M3 = A + B + C
1 0 0 M4 = A + B + C
1 0 1 M5 = A + B + C
1 1 0 M6 = A + B + C
1 1 1 M7 = A + B + C

ผลคูณของแม็กซเทอมจะแสดงออกมาในรูปของฟงกชั่นบูลีนเมื่อผลที่ไดของมันหรือ
เอาทพุทมีคาเทากับ 0 (ในที่นี้คือคอลัมน F) ดังนั้นจากตารางที่ 3.6 จะได
F = M0 M3 M5 M6 = (A + B + C) (A + B + C)(A + B + C) (A + B + C)
วงจรลอจิกของ F จะมีลักษณะดังรูปที่ 3.1

รูปที่ 3.1 แสดงวงจรลอจิก


ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 11
สัทธา
3.7 แผนผังคารโนห (Karnaugh Map)
แผนผังคารโนห เปนระบบที่ดัดแปลงมาจากพีชคณิตบูลีนใหอยูในรูปแบบตาราง
สามารถนํามาลดรูป สมการลอจิกไดรวดเร็วและสมการที่ลดรูปไดอยูในรูปแบบที่สั้นที่สุด แผนผัง
คารโนหมีความสัมพันธกับตารางความจริง นั่นคือแตละชองของแผนผังคารโนหจะมีลอจิกของตัว
แปรอินพุทตรงกับตารางความจริง และแผนผังคารโนหยังใชไดกับสมการในรูปแบบของ ผลคูณ
ของผลบวกและผลบวกของผลคูณ
3.7.1 การลดรูปฟงกชั่นบูลีนโดยใช Karnaugh map
ฟงกชั่นบูลีนสามารถถูกทําใหงายขึ้นโดยใชรปู ภาพแผนผังได ซึ่งวิธีการนี้จะถูก
เรียกวา Karnaugh map ซึ่งถูกคนพบจากวิศวกรไฟฟาคนหนึ่งคือ Maurice Karnaugh
Karnaugh map คือ เครื่องมือที่สําคัญตัวหนึ่งสําหรับนักออกแบบวงจรลอจิก
การใช Karnaugh จะไมยุงยากซับซอนหรือใชทฤษฎีใหม ๆ แตอยางใด จะเปนเพียงวิธีที่ทุกคน
สามารถเขาใจไดงายโดยใชรูปภาพแทนตารางตัวเลข Karnaugh map
การลดทอนสมการลอจิก ใหงายโดยใชพีชคณิตของบูลีน นั้นมีขอยุงยากที่จะ
ตองจดจําทฤษฎีบทใหไดหมดทุกทฤษฎี การใชผังคารโนหจะชวยลดขอยุงยากเหลานั้นลงได
ผังคารโนหเปนรูปแบบหนึ่งของตารางความจริงซึ่งสามารถลดทอนสมการลอจิก
ใหงายหรือนอยที่สุดไดโดยไมตองอาศัยสูตรทางพีชคณิตผังคารโนหเหมาะสําหรับใชกับสมการลอ
จิกที่มีตัวแปรไมเกิน 6 ตัวแปร
1) ผังคารโนหชนิด 2 ตัวแปร (2 Variable Karnaugh map)

ก) แสดงจํานวนชอง
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 12
สัทธา
ข) แสดงตําแหนงชอง ค) แสดงคาประจําชอง

รูปที่ 3.2 ผังคารโนห 2 ตัวแปร

2) ผังคารโนหชนิด 3 ตัวแปร (3 variables Kv-Map)

ก) แสดงจํานวนชอง

ข) แสดงตําแหนงชอง

AB 00 01 11 10 AB 00 01 11 10
C C
0 000 010 110 100 0 ABC ABC ABC ABC
1 001 011 111 101 1 ABC ABC ABC ABC
ค) แสดงรหัสประจําชอง ง) แสดง Min Term ประจําชอง
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 13
สัทธา
รูปที่ 3.3 ผังคารโนห 3 ตัวแปร

3) ผังคารโนหชนิด 4 ตัวแปร (4 Varible Karnaughmap)

ก) แสดงจํานวนชอง

ข) แสดงตําแหนงชอง ค) แสดงคาประจําชอง

รูปที่ 3.4 ผังคารโนห 4 ตัวแปร

คุณลักษณะที่สําคัญของผังคารโนห
1) ผังคารโนหสําหรับตัวแปร n ตัว จะตองมีจํานวนชอง 2n ชอง
2) รหัสประจําแถวใช Gray Code (00, 01, 11, 10)
3) รหัสประจําชองไดจากการรวมกันของรหัสประจําแถวแนวตั้งและแนวนอน
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 14
สัทธา
4) ชอง 2 ชองใด ๆ ที่อยูติดกันบนแผนผังจะมีรหัสตางกันเพียง บิทใดบิทหนึ่ง
เพียงบิทเดียว
5) ชองใด ๆ บนแผนผัง จะมีชองขางเคียงที่มีรหัสตางกันเพียง บิท เดียวเทากับ
จํานวนตัวแปร จะเห็นวาบางชองไดแก ชองริม ๆ จะมีชองขางเคียงไมครบแตแผนผังคารโนหมี
คุณสมบัติมวนไดโดยรอบ จึงทําใหทุกชองมีชองขางเคียงครบเทากับจํานวนตัวแปร
3.7.2 การแทนสมการลอจิกลงในผังคารโนห
การแทนฟงกชั่น ทางลอจิก ในรูปผลบวกของผลคูณ (Min Term) ลงในชอง
ของผังคารโนหนั้นแตละเทอมจะแทนดวยตัวเลข 1 ลงในชองที่มีคุณสมบัติตรงกับ MIN TERM
นั้นๆ ตามที่กําหนดไวในแผนผังคารโนห สวนฟงกชั่นทางลอจิกในรูปผลคูณของผลบวก (Max
Term) จะแทนลงในตาราง ผังคารโนหดวยเลข 0 ในชองที่มีคุณสมบัติตรงกับ MAX TERM นั้น ๆ
ตามที่กําหนดไวในแผนผังคารโนห

ตัวอยางที่ 3.8 จงเขียนตารางผังคารโนหสมการลอจิก ตอไปนี้


ก) Q1 = A.B +A.B + A.B :
ข) Q2 = A.B.C + A.B.C + A.B.C. + A.B.C + A.B.C
ค) Q3 = A.B.C.D. + A.B.C.D. + A.B.C.D + A.B.C.D +
A.B.C.D + A.B.C.D + A.B.C.D + A.B.C.D

รูปที่ 3.24 แสดงการลง “1” บนผังคารโนห


วิธีการรวมเทอมบนแผนผังคารโนห
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 15
สัทธา
1) ใส Logic 1 ในกรณีของ Min Term หรือใส Logic 0 ในกรณีของ Max Term
ลงในชองของผังคารโนหที่มีคุณสมบัติตรงกัน
2) รวมเทอมที่อยูติดกันโดยจัดกลุมไดครั้งละ 2n ชอง (1,2,4,8,16) ใหไดมากที่
สุดเทาที่จะมากได
3) เทอมที่ถูกจับกลุมไปแลว สามาถนําไปจับกลุมกับตัวอื่นไดอีกเพื่อใหไดพื้น
ที่มากที่สุดจนหมดชองที่เปน 1 (หรือ ชองที่เปน 0 ในกรณีที่จับกลุม Logic 0)
4) เมื่อจับกลุมไดแลวใหมองหาผลลัพธ โดยมองวาในกลุมมีตัวแปรอะไรซ้ํากัน
บาง และนําตัวแปรที่ซ้ํากันนั้นมา AND กัน (ในกรณีจับกลุม Logic 1 ) หรือ นําตัวแปรที่ซ้ํากัน
นั้นมา OR กัน (ในกรณีจับกลุม Logic 0)
5) ในการจับกลุม Logic1 ผลลัพธสุดทายไดจากการนําเอาผลลัพธแตละกลุม
มา OR กัน
6) ในการจับกลุม Logic 0 ผลลัพธสุดทายไดจากการนําเอาผลลัพธแตละ
กลุมมา AND กัน

ตัวอยางที่ 3.9 จงลดรูปสมการลอจิก ตอไปนี้ใหนอยที่สุด โดยใชวิธีการของผังคารโนห


ก) Q = A.B+A.B+A.B
ข) Q = A.B + A.B. + A.B
ค) Q = A.B + A.B + A.B + A.B
A 0 1
B
0 1 1 B Q=A+ B
1 1 A

A 0 1
0 1 1 B Q= A +B
1 1 A

A 0 1
B
0 1 1 Q=1
1 1 1
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 16
สัทธา
3.7.3 DON’T CARE TERMS
ชอง Don’t care หมายถึง เอาทพุท ชองที่เกิดจากการรวมกันของ อินพุท
ตาง ๆ ที่จะไมนํามาลงใน KV-Map ชนิด 4 ตัวแปร ซึ่งมี 16 ชอง ดังนั้นจึงมีชองเหลืออีก 6 ชอง
ชองที่เหลือนี้ เราสามารถกําหนดใหเปน ลอจิก 0 หรือ ลอจิก 1 ก็ไดซึ่งเราเรียกวา Don’t care
Term ใชแทนดวยอักษร d หรือเครื่องหมายกากบาท (X)
Don’t care Term สามารถกําหนดเปน ลอจิก 0 หรือ 1 ก็ได จึงมีประโยชนใน
การออกแบบวงจร ลอจิก ใหมี เกท นอยที่สุดได เพราะสามารถนําไปรวมกับ Term ขางเคียงได

ตัวอยางที่ 3.10 จากตารางความจริง ที่กําหนดใหจงลดรูปใหไดสมการที่นอยที่สุดโดยวิธีการของ


ผังคารโนห

A B C D Q
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 17
สัทธา
0 0 0 0 1
0 0 0 1 0
0 0 1 0 1
1
0 0 1 1
0
0 1 0 0
1
0 1 0 1 1
0 1 1 0 1
0 1 1 1 1
1 0 0 0 1
1 0 0 1 x
x
1 0 1 0
x
1 0 1 1
x
1 1 0 0 x
x

ตัวอยางที่ 3.11 ใหใช Karnaugh map ในการลดรูปฟงกชั่นบูลีนดังตอไปนี้


ก. F = m0, m1, m3, m4, m5, m6, m7 และใหเขียนวงจรลอจิกหลังจากลดรูป
สมการ
ข. F = m0, m2, m3, m4, m7 และ ใหเขียนวงจรลอจิกหลังจากลดรูปสมการ
ค. F = m0, m1, m2, m7 และใหเขียนวงจรลอจิกหลังจากลดรูปสมการ

วิธีทํา ก. ใสเลข 1 ในชอง m0, m1, m3, m4, m5, m6, และ m7 ไดดังรูปที่ 3.7 คือ
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 18
สัทธา

รูปที่ 3.7 การใสเลข 1 ในชอง m0, m1, m3, m4, m5, m6, และ m7

สามารถจัดได 3 กลุมแตละกลุมมีฟงกชั่นบูลีนคือ
- คอลัมน 00 จะได F1 = B
- คอลัมน 11 และ 10 จะได F2 = A
- แถว 1 จะได F3 = C
∴F = F1 + F2 + F3 + = B + A + C + A + B + C ***

ข. ใสเลข 1 ลงในชอง m0, m2, m3, m4, และ m7 ดังรูปที่ 3. 8

รูปที่ 3.8 ใสเลข 1 ลงในชอง m0, m2, m3, m4, และ m7

∴ F = m0 + m2 + m3 + m4 + m7 = AB + BC + BC ***
หรือถาจัดกลุม 1 อีกแบบหนึ่งดังรูปที่ 3.9 จะได
F = AC + BC + BC ***
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 19
สัทธา

รูปที่ 3. 9 การจัดกลุม 1

วงจรลอจิกของรูปที่ 3.8 จะมีลักษณะดังรูปที่ 3.10 (ก) สวนวงจรลอจิกของรูปที่ 3.9 จะมีลักษณะ


ดังรูปที่ 3.10 (ข)

(ก)

(ข)

รูปที่ 3.10 วงจรลอจิกจากการลดรูป

(ค) ใสเลข 1 ลงใน m0, m2, m3, m4, m7 ดังรูปที่ 3.11


ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 20
สัทธา

รูปที่ 3.11 การใส 1

จะได F = AB + AC
วงจรลอจิกจะมีลักษณะดังรูปที่ 3.12 คือ

รูปที่ 3.12 วงจรลอจิกจากการลดรูป

ตัวอยางที่ 3.12 ใหลดรูปฟงกชั่นบูลีน F = m3 + m4 + m5 + m6 + m7 โดยใช Karnaugh


map และ ใหวาดรูปวงจรลอจิกดวย
วิธีทํา Karnaugh map จะมีลักษณะดังรูปที่ 3.13

AB 00 01 11 10
C
0 1 1
1 1 1 1

รูปที่ 3.13 การใส 1 ในผังคารโนห

∴ F = A + BC
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 21
สัทธา
จะไดวงจรลอจิกดังรูปที่ 3.14 คือ

รูปที่ 3.14 ลอจิกไดอะแกรมที่ได

3.7.5 ผังคารโนห Karnaugh map ของฟงกชั่นบูลีน 4 ตัวแปรในรูปแบบมินเทอม


Karnaugh map ของฟงกชั่นบูลีน 4 ตัวแปรในรูปแบบมินเทอมของ A, B,
C และ D จะมีลักษณะดังรูปที่ 3.15 ซึ่งประกอบดวยกลอง 16 กลองที่ใหผลเปนมินเทอมคือ
m0 + m1 + m2 + m3 + m4 + m5 … m15

รูปที่ 3.15 ตัวแปรในรูปมินเทอม

ขั้นตอนการลดรูปสมการบูลีนจะเหมือนกับการลดรูปของสมการ 3 ตัวแปร แต


4 ตัวแปรสามารถจัดกลุมของ 1 ที่อยูติดกันได 8 ตัว สวน 3 ตัวแปรจัดกลุมของ 1 ไดสูงสุดแค 4
ตัว

ตัวอยางที่ 3.13 ใหลดรูปสมการบูลีน 4 ตัวแปรโดยใช Karnaugh map ดังตอไปนี้


F = m2 + m5 + m7 + m8 + m10 + m12 + m14
วิธีทํา Karnaugh map จะมีลักษณะดังรูปที่ 3.16
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 22
สัทธา
AB 0001 11 10
CD
00 1 1
01 1 1
11 1
10 1 1 1

∴ F = AD + ABD + BCD ***


รูปที่ 3.16 แสดงการลง ผังคารโนห

3.7.4 ผังคารโนห ในรูปของแม็กเทอม


Karnaugh map ของแม็กเทอมจะมีลักษณะคลาย ๆ กับของมินเทอม เพียงแต
ของแม็กเทอมใหใส 0 ลงไปในกลองและถาบิทแรกของเลขฐานสอง i = 0 หรือ 1 แลวตัวแปรตัวแรก
ในแม็กเทอม Mi จะไมถูกคอมพลีเมนท และคอมพลีเมนทตามลําดับขั้นตอนการทํา Karnaugh map
และการลดรูปฟงกชั่นจะเหมือนกับของมินเทอมทุกอยางยกเวนวาผลที่ไดจะเปนผลคูณของผลบวก
เทานั้น

ตัวอยางที่ 3.14 ใหลดรูปสมการของ F = M0 + M1 + M3 + M4 + M6 + M9 + M11


+ M13 +
M15 โดยใช Karnaugh map
วิธีทํา จะได Karnaugh map ดังรูปที่ 3.17

รูปที่ 3.17

∴ F = (B + D) +( A + D) ***
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 23
สัทธา

แบบทดสอบทายบท
1. ใหนักศึกษาออกแบบวงจรจากสมการดังนี้
1.1 y = AB + AB + CD
1.2 y = A (A+1) + AB
1.3 y = AC + BD + AD

คําชี้แจง ใหนักศึกษาทําเครื่องหมาย X ลงบนหัวขอ ก. ข. ค. และ ง. ซึ่งเปนคําตอบที่ถูกที่สุดเพียง


คําตอบเดียว

1. สมการพีชคณิตบูลีน Y = A + A + B ลดรูปแลวคือขอใด
ก. 0 ข. 1
ค. A ง. B
2. ผลของ (A⋅0⋅1)+ 1 มีคาเทากับขอใด
ก. 0 ข. 1
ค. A ง. A
3. สมการ Y = (A ⋅ B)⋅ (A + B) ตรงกับขอใด
ก. A + B ข. A + B
ค. A ง. A
4. สมการ Y = B + DB + DC + AD ลดรูปแลวไดคําตอบดังขอใด
ก. Y = B + D ข. Y = A + D
ค. Y = A + B ง. Y = B + C
5. สมการ Y – (A + B) ⋅ (A + B + D) ⋅ D ลดรูปแลวไดคําตอบดังขอใด
ก. Y = AD ข. Y = AB + D
ค. Y = A(BD) ง. Y = BD
6. สมการ Y = (A + B + C) D เมื่อใชทฤษฎีเดอมอรแกนเปลี่ยนรูปจะไดดังขอใด
ก. Y = A + B + C + D ข. Y = ABC + D
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 24
สัทธา
ค. Y = A + B + C + D ง. Y = A ⋅B⋅C + D
7. สมการ Y = ABC + DEF เมื่อใชทฤษฎีเดอมอรแกนเปลี่ยนรูปไดดังขอใด
ก. Y = (A + B + C) (D + E + F) ข. Y = (A + B) C
ค. Y = (A + B + C)(D + E + F) ง. Y = (A + B + C) + (D + E + F)
ดิจิตอลประยุกต 31041003 พีชคณิตบูลีน พงษ พร 25
สัทธา

You might also like