You are on page 1of 64

รข
สภาวิศวกร | Council of engineers

วก
วิชา : Electric Power System Analysis

วศิ
เนือหาวิชา : 8 : Transmission and distribution networks calculation

สภ

ข ้อที 1 :
Skin effect ทําให ้ความต ้านทานของสายสง่ เพิมขึน 3.7 % ถ ้าความต ้านทานไฟฟ้ ากระแสตรงของสายสง่ มีคา่
0.0922 ohm/km จงหาความต ้านทานไฟฟ้ ากระแสสลับ
1 : 0.0956 ohm/km
2 : 0.0856 ohm/km
3 : 0.0756 ohm/km
4 : 0.0656 ohm/km

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 2 :
สําหรับสายสง่ หนึงเฟสสองสาย ซงมีึ รัศมีเท่ากัน คือ 2 cm วางอยูห
่ า่ งกัน 0.5 m จงหาว่าค่าความจุไฟฟ้ า
(capacitance) ระหว่างเฟสมีคา่ เท่าใด
1 : 14.5 nF/km
2 : 16.7 nF/km
3 : 8.6 nF/km
4 : 6.8 nF/km

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 3 :
ในระบบสายสง่ สามเฟส ถ ้าวางสายสง่ แต่ละเฟสห่างกันเป็ นระยะทางเท่ากัน (สามเหลียมด ้านเท่า) เมือสายสง่ มี
ระยะห่างระหว่างตัวนํ า (เฟส) มากขึนจะทําให ้ค่าความเหนียวนํ า (inductance) แต่ละเฟสเปลียนแปลงไป
1 : สูงขึน
2 : ตําลง
3 : คงที
4 : สูงขึนหรือตําลงก็ได ้ขึนกับความถีของระบบไฟฟ้ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 4 :
ธิ

ระบบสายสง่ 3 เฟส 50 Hz, 115 kV จ่ายภาระ 50 MW 0.95 PF lagging ถ ้าระบบสายสง่ ยาว 150 km และมีคา่
Z Y j
สท

line constant ทังหมดเป็ น = 95 ohm มุม 78 องศา และ = 0.001 S จงคํานวณหาค่า A และ D ของเม
ทริกซ ์ ABCD เมือแทนสายสง่ ดังกล่าวด ้วย two-port network ในลักษณะวงจรแบบ pi

งวน

1:
2:
3:
อส

4: /

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

วก
ข ้อที 5 :
ั พันธ์ของแรงดันไฟฟ้ า (V) และระยะทาง (km) ของแรงดันไฟฟ้ าบนสายสง่ ระยะยาวทีมีภระ
ข ้อใดเป็ นความสม
ไฟฟ้ า lagging power factor ต่ออยูท
่ ปลายสาย

า วศิ
สภ

1:

2:

3:
ธิ
สท

งวน

4:
อส

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
/

รข
ข ้อที 6 :
สายสง่ ระยะสนยาว
ั 40 km จงหาแรงดันไฟฟ้ าด ้านสง่ (sending end voltage) เมือแทนสายสง่ ด ้วย two-port

วก
networkมีคา่ A, B, C, D และแรงดันไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ าด ้านรับ (receiving end voltage and current)
เป็ นดังนี
า วศิ
1:
สภ
2:
3:
4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 7 :
สายสง่ ระยะสนยาว
ั 40 km จงหากระแสไฟฟ้ าด ้านสง่ (sending end current) เมือแทนสายสง่ ด ้วย two-port
network มีคา่ A, B, C, D และแรงดันไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ าด ้านรับ (receiving end voltage and current)
เป็ นดังนี

1:
2:
3:
4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 8 :
สายสง่ ระยะสนยาว
ั 40 km จงหากําลังไฟฟ้ าจริงและกําลังไฟฟ้ าเสมือน (real and reactive power) 3 เฟส

เมือแทนสายสงด ้วย two-port network มีคา่ A, B, C, D และแรงดันไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ าด ้านรับ (receiving
end voltage and current) เป็ นดังนี

1 : 322.8 MW, 288.6 Mvar


2 : 322.8 MW, 280.4 Mvar
3 : 350.0 MW, 288.6 Mvar
4 : 350.0 MW, 280.4 Mvar

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ธิ
สท

ข ้อที 9 :
สายสง่ ระยะสนยาว
ั 40 km จงหา voltage regulation เมือแทนสายสง่ ด ้วย two-port network มีคา่ A, B, C,
งวน

D และแรงดันไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ าด ้านรับ (receiving end voltage and current) เป็ นดังนี
อส

1 : 10.0 %
/

2 : -13.6 %

รข
3 : 13.6 %
4 : -10.0 %

วก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 10 :
า วศิ
สายสง่ ระยะสนยาว
ั 40 km จงหา voltage regulation เมือแทนสายสง่ ด ้วย two-port network มีคา่ A, B, C,
สภ
D และแรงดันไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ าด ้านรับ (receiving end voltage and current) เป็ นดังนี

1 : 3.4%
2 : -3.4%
3 : 4.4%
4 : -4.4%

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 11 :
สายสง่ ระยะสนยาว
ั 40 km มีความต ้านทานของสายสง่ เท่ากับ 0.15 ohm/km และความเหนียวนํ าของสายสง่
เท่ากับ 1.3263 mH/km สําหรับค่าตัวเก็บประจุมค
ี า่ น ้อยมากจนตัดทิงได ้ จงคํานวณหาค่า A,B,C,D เมือแทน
สายสง่ ดังกล่าวด ้วย two-port network

1:

2:
3:
4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 12 :
R
ิ า่ ความต ้านทานกระแสสลับ ( ac) สายสง่
ข ้อใดเป็ นคุณสมบัตค

1 : ค่าความต ้านทานลดลง เมืออุณหภูมเิ พิมขึน


R
2 : มีคา่ น ้อยกว่าความต ้านทานกระแสตรง ( dc)
3 : มีโอกาสเกิด skin effect
4 : ไม่ขนกั
ึ บอุณหภูมริ อบข ้าง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ธิ
สท

ข ้อที 13 :


สายตัวนํ าอะลูมเิ นียมล ้วนเสนหนึ
งมีความต ้านทานกระแสตรงเท่ากับ 0.09 ohm/km ทีอุณหภูม ิ 20 degree
celcius จงคํานวณหาค่าความต ้านทานกระแสสลับทีอุณหภูม ิ 50 degree celcius โดยสมมติวา่ skin effect
งวน

ั พันธ์ระหว่างความต ้านทานและอุณหภูมเิ ป็ นดังนี


ทําให ้ความต ้านทานเพิมขึนร ้อยละ 3 และกําหนดให ้ความสม
R2/R1 = (228+T2)/(228+T1)

1 : 0.096 ohm/km
อส

2 : 0.100 ohm/km
/

3 : 0.104 ohm/km

รข
4 : 0.109 ohm/km

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

วก
ข ้อที 14 :
า วศิ
ข ้อความต่อไปนีข ้อใด ไม่ถก
ู ต ้อง
1 : พารามิเตอร์ของสายสง่ มีลก
สภ
ั ษณะเป็ นพารามิเตอร์แบบกระจาย
R R
2 : ค่าความต ้านทานต่อกระแสตรง ( dc) ของสายสง่ จะมีคา่ น ้อยกว่าค่าความต ้านทานต่อกระแสสลับ ( ac)
3 : โดยสว่ นใหญ่แล ้วตัวนํ าทีใชทํ
้ าสายสง่ แบบเหนือดินคือ อลูมเิ นียม
4 : ค่า inductive reactance ของสายสง่ แบบเหนือดิน จะทําให ้เกิดกระแสรัวไหล (leakage current) ใน
ระบบสง่

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 15 :
สายสง่ ระยะปานกลาง (medium transmission line) จะมีกระแสประจุไหลผ่าน shunt admittance เป็ นจํานวน
มาก ดังนันในการคํานวณหาค่าแรงดันและกระแสของสายสง่ จะต ้องนํ าหรือรวมเอาค่า capacitor ทีเกิดขึน
ทังหมดตลอดความยาวของสายสง่ ไว ้เป็ นค่า ๆ เดียว การต่อ capacitor ทีนิยมใชกั้ นมากทีสุดในการคํานวณ
เป็ นการต่อแบบใด
1 : ต่อ capacitor ทีต ้นสายสง่
2 : ต่อ capacitor ทีกลางสายสง่
3 : ต่อ capacitor ทีปลายสายสง่
4 : ต่อ capacitor ทีต ้นและปลายสายสง่ โดยแบ่งออกเป็ นค่าเท่า ๆ กัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 16 :
สายสง่ 3 เฟส แบบวงจรเดียว มีความยาว 30 กิโลเมตร มีความต ้านทาน 3 โอห์ม/เฟส และมีรแ ี อคแตนซช ์ นิด
ความเหนียวนํ า 20 โอห์ม/เฟส จ่ายกําลังไฟฟ้ าให ้โหลด 100 MW ที 230 kV เพาเวอร์แฟกเตอร์ 0.8 ล ้าหลัง
ค่ากระแสไฟฟ้ าต ้นทางสายสง่ มีคา่ เท่าไร
1 : 543 A
2 : 421 A
3 : 314 A
4 : 251 A

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 17 :
ิ องสายสง่ ระยะปานกลาง (medium transmission line)
ข ้อใดไม่เป็ นคุณสมบัตข
ธิ
สท

1 : มีความยาวระหว่าง 80 ถึง 240 km


2 : สามารถแทนด ้วยวงจรแบบ pi

3 : สามารถตัดค่า capacitance ออกไปได ้


งวน

4 : ไม่มค
ี ําตอบทีถูกต ้อง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
อส

/

ข ้อที 18 :

รข
ระบบไฟฟ้ าสามเฟสความยาว 30 km ทํางานทีความถี 50 Hz แต่ละเฟสประกอบด ้วยสายตัวนํ าเสนเดี ้ ยว โดยมี
้ ากับ 3 m เท่ากันหมด และมีคา่ รีแอคแตนซเ์ ชงิ เหนียว
ระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางของสายตัวนํ าแต่ละเสนเท่
นํ า (inductive reactance) เท่ากับ 0.14 ohm/line จงคํานวณหาค่ารีแอคแตนซเ์ ชงิ เหนียวนํ าเมือกําหนดให ้

วก
ระบบดังกล่าวมีความยาว 25 km และทํางานทีความถี 60 Hz
1 : 0.10 ohm/line
2 : 0.14 ohm/line
3
4
:

:
วศิ
0.20 ohm/line
ข ้อมูลไม่เพียงพอ
สภ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 19 :
ระบบสง่ จ่ายไฟฟ้ าขนาดแรงดัน 500 kV ความยาว 250 km มีคา่ ความเหนียวนํ าของสาย (line inductance)
เท่ากับ 1 mH/km/phase และมีคา่ ความจุไฟฟ้ า (line capacitance) เท่ากับ 0.01x10-6 F/km/phase ถ ้าสมมติ
ว่าสายสง่ ไม่มค ี (lossless line) จงคํานวณหาค่า Surge Impedance Loading (SIL)
ี วามสูญเสย
1 : 250 MW
2 : 500 MW
3 : 632 MW
4 : 790 MW

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 20 :
สายสง่ 3 เฟสวงจรหนึง เสนผ่
้ าศูนย์กลางสายทุกเสนมี
้ ขนาด 2 cm วางดังแสดงในรูป จงหาค่าความเหนียวนํ า
(inductance) ของสาย เมือมีการสลับสายทีทุกๆความยาวหนึงในสามของความยาวสาย

1 : 1.3 H/km
2 : 1.3 mH/km
3 : 2.6 H/km
4 : 2.6 mH/km

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ธิ

ข ้อที 21 :
สายสง่ 3 เฟส ระยะทาง 400 km ในสภาวะไม่มภ ี าระทางไฟฟ้ า มีแรงดันไฟฟ้ าต ้นทางเท่ากับ 500 kV อยาก
สท

ทราบว่าแรงดันไฟฟ้ าปลายทาง จะเป็ นอย่างไร


1 : มีคา่ น ้อยกว่าต ้นทาง


งวน

2 : เท่ากับต ้นทาง
3 : มากกว่าต ้นทาง
4 : ไม่มข ี ้อถูก
อส

คําตอบทีถูกต ้อง : 3 /

รข
ข ้อที 22 :

วก
สายสง่ 3 เฟสระยะยาว ปลายทางมีภาระไฟฟ้ าเป็ นค่าความต ้านทาน ซงมี
ึ impedance เท่ากับ characteristic

impedance ของสายสง ตัวประกอบกําลัง (power factor) ด ้านปลายทางจะเป็ นอย่างไร
1 : มีคา่ เท่ากับ 1
2 : มีคา่ มากกว่า 1
3 :
า วศิ
มีคา่ มากกว่า 0 แต่น ้อยกว่า 1
4 : มีคา่ ติดลบ
สภ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 23 :
การชดเชยสายสง่ (line compensation) แบบใดถูกใชเพื
้ อแก ้ไขปั ญหา Ferranti effect
1 : ต่อตัวเก็บประจุอนุกรมกับสายสง่
2 : ต่อตัวเก็บประจุขนานกับสายสง่
3 : ต่อตัวเหนียวนํ าอนุกรมกับสายสง่
4 : ต่อตัวเหนียวนํ าขนานกับสายสง่

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 24 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่เป็ นพารามิเตอร์หลักในแบบจําลองของสายสง่
1 : Resistance
2 : Attenuation constant
3 : Capacitance
4 : Conductance

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 25 :
ี ยวข ้องกับประจุไฟฟ้ า (electric charge) แสดงในแบบจําลองของสายสง่ ด ้วยพารามิเตอร์ใด
ปรากฏการณ์ทเกี
1 : Conductance
2 : Resistance
3 : Capacitance
4 : Inductance

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ธิ

ข ้อที 26 :
สท

ปรากฏการณ์ทเกี ์ ม่เหล็ก (magnetic flux) แสดงในแบบจําลองของสายสง่ ด ้วยพารามิเตอร์


ี ยวข ้องกับฟลักซแ
ใด

1 : Conductance
งวน

2 : Resistance
3 : Capacitance
4 : Inductance
อส

คําตอบทีถูกต ้อง : 4 /

รข
ข ้อที 27 :

วก
ี ในสายสง่ จะเกิดขึนเพราะพารามิเตอร์ใดในแบบจําลองของสายสง่
กําลังงานสูญเสย
1 : Conductance
2 : Resistance
3
4
า:
:
วศิ
Capacitance
Inductance
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 28 :
ค่าคงตัวการแผ่คลืน (propagation constant) ของสายสง่ ทีมี impedance เป็ น 9 ohm/m และ admittance
เป็ น 16 ohm/m มีคา่ เป็ นเท่าใด
1 : 25
2 : 144
3 : 12
4 : 7

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 29 :
ค่า characteristic impedance ของสายสง่ ทีมี impedance เป็ น 9 ohm/m และ admittance เป็ น 16 ohm/m
มีคา่ เป็ นเท่าใด
1 : 25
2 : 1.33
3 : 7
4 : 0.75

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 30 :
ข ้อใดแสดงความเหนียวนํ ารวม (total inductance) ในหน่วย H/m ของตัวนํ าตันชนิดรูปทรงกระบอก (solid
์ ล ้องทังภายในและภายนอก (internal and external flux
cylindrical conductor) ทีมีรัศมี r เนืองจากฟลักซค
linkages) ทีวางห่างกันทีระยะทาง D ได ้อย่างถูกต ้อง

1:

2:
ธิ

3:
สท

4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
งวน

ข ้อที 31 :
อส

/

ข ้อใดอธิบายปรากฎการณ์ (Ferranti) ได ้อย่างถูกต ้อง

รข
a) การไหลของกระแสทีไม่สมําเสมอ
b) ปรากฎการณ์นเกิ ี ดขึนเมือไม่มโี หลด
c) แรงดันทีด ้านรับสูงขึน

วก
1 : ข ้อ a) และข ้อ b)
2 : ข ้อ b) และข ้อ c)
3 : ข ้อ a) และข ้อ c)
4
า: วศิ
ถูกทุกข ้อ
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 32 :
สายสง่ หนึงเฟสสองสาย (two-line single phase) ซงมี
ึ รัศมีเท่ากันคือ 1 cm และวางห่างกัน 1 m จงหาว่าความ
เหนียวนํ ารวมเป็ นกี H/m
1 : 11.5 x 10-7
2 : 14.2 x 10-7
3 : 17.8 x 10-7
4 : 18.4 x 10-7

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 33 :
สายสง่ สามเฟสมีระยะห่างระหว่างแต่ละเฟสเท่ากันเป็ น 10 m เมือสายสง่ มีเสนผ่
้ านศูนย์กลางเท่ากันเป็ น 2 cm
จงหา capacitance ระหว่างเฟสและ neutral ว่าเป็ นกี pF/m
1 : 9.40
2 : 8.95
3 : 7.54
4 : 5.12

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 34 :
จงหาค่าเฉลียทางเรขาคณิตของระยะทาง (Geometrical Mean Distance: GMD) ของเฟส a เพือหาความจุ
ไฟฟ้ า (capacitance) เมือรัศมีของสายสง่ แต่ละเสนเป็
้ น 2 cm
ธิ
สท

งวน

1 : 0.311 m
อส

2 : 0.346 m
/

3 : 0.412 m

รข
4 : 0.510 m

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

วก
ข ้อที 35 :
วศิ
จงหาค่าเฉลียทางเรขาคณิตของระยะทาง (Geometrical Mean Distance: GMD) ของเฟส a เพือหาความ

เหนียวนํ าไฟฟ้ า (inductance) เมือรัศมีของสายสง่ แต่ละเสนเป็
้ น 2 cm
สภ

1 : 0.712 m
2 : 0.806 m
3 : 0.643 m
4 : 0.537 m

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 36 :
ในความเป็ นจริง ความจุไฟฟ้ า (capacitance) ของสายสง่ ไฟฟ้ ามีคณ
ุ ลักษณะอย่างไร
1 : มีคา่ มากทีด ้าน receiving end
2 : มีคา่ มากทีด ้าน sending end
3 : มีการกระจายตัวอย่างสมําเสมอตลอดสายสง่
4 : มีคา่ มากทีสุดทีกึงกลางระหว่าง sending end และ receiving end

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 37 :
ความสามารถในการสง่ กําลังไฟฟ้ า (transmission capacity) ของระบบไฟฟ้ าทีใชความถี
้ 50 Hz เมือเปรียบ

เทียบกับกับระบบไฟฟ้ าทีใชความถี 60 Hz เป็ นอย่างไร
1 : มีคา่ มากกว่า
ธิ

2 : มีคา่ น ้อยกว่า
3 : มีคา่ เท่ากัน
สท

4 : ข ้อมูลทีให ้ไม่เพียงพอทีจะตอบได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
งวน
อส

ข ้อที 38 :
/

ข ้อใดต่อไปนีจะเป็ นเหตุการณ์เมือค่า impedance ของโหลดมีคา่ เท่ากับ characteristic impedance ของ

รข
สายสง่
1 : โหลดจะดูดซบั พลังงานทังหมดไว ้

วก
2 : ั ้อง (resonance)
ระบบจะเกิดการสนพ
3 : พลังงงานทังหมดจะสูญหายไปในระบบสง่
4 : พลังงานจากแหล่งจ่ายจะไม่สามารถสง่ ออกไปยังโหลดได ้

วศิ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

สภ

ข ้อที 39 :
รูปคลืนแรงดันไฟฟ้ าในสายสง่ ระยะยาวเป็ นฟั งก์ชน
ั ของตัวแปรใดบ ้าง
1 : เวลา ระยะทาง
2 : เวลา
3 : ระยะทาง
4 : เวลา ระยะทาง และ ค่า inductance

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 40 :
สายสง่ สามเฟสระยะปานกลาง (medium line) ในระบบ 115 kV ทีความถี 50 Hz ความยาว 100 km ค่า
inductance ต่อเฟสเป็ น 0.1 mH/km ค่า resistance เป็ น 0.05 ohm/km จงคํานวณหาค่า B ของเมทริกซ ์
ABCD เมือแทนสายสง่ ดังกล่าวด ้วย two-port network ในลักษณะวงจรแบบ pi
1 : 0.05+ 0.1 j
2 : j
5+ 3.14
3 : 0.05- 0.1 j
4 : j
5- 3.14

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 41 :
สายสง่ สามเฟสระยะปานกลาง (medium line) ในระบบ 115 kV ทีความถี 50 Hz ความยาว 100 km ค่า
inductance ต่อเฟสเป็ น 0.8 mH/km ค่า resistance เป็ น 0.03 ohm/km ค่า capacitance เป็ น 6 pF/km จง
คํานวณหาค่า D ของเมทริกซ ์ ABCD เมือแทนสายสง่ ดังกล่าวด ้วย two-port network ในลักษณะวงจรแบบ pi
1 : 0.9976+ 0.0003 j
2 : 0.8824- 0.1546 j
3 : 1.0332+ 0.2112 j
4 : 0.7721- 0.1223 j
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ธิ

ข ้อที 42 :
สท

ค่าพารามิเตอร์ในข ้อใดไม่ได ้ถูกพิจารณาในการเขียนวงจรสมมูลย์ของสายสง่ ระยะสน



1 : inductance
งวน

2 : resistance
3 : capacitance
4 : มีข ้อถูกมากกว่า 1 ข ้อ
อส

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
/

รข
ข ้อที 43 :
ี ลต่อความเหนียวนํ า (inductance) ของระบบสง่ ไฟฟ้ ากําลัง 1 เฟส ชนิด 2 สาย (two-wire
ข ้อใดต่อไปนีไม่มผ

วก
single phase)
1 : ้ านศูนย์กลางของตัวนํ า
ขนาดเสนผ่
2 : ขนาดแรงดันไฟฟ้ าทีใช ้
3
4
า:
:
วศิ
ขนาดของกระแสทีไหลผ่าน
ระยะห่างระหว่างสายสง่
สภ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 44 :
ข ้อใดเป็ นสาเหตุของปรากฏการณ์ทกระแสไหลบนผิ
ี วมากกว่าแกนกลางของตัวนํ า
1 : การเปลียนแปลงค่า permeability
2 : การเกิดการลัดวงจรแบบ unsymmetrical
3 : การเกิด skin effect
4 : การเกิด corona

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 45 :
ข ้อใดแสดง electric stress ทีตําแหน่ง x ห่างจากตัวนํ าทีมีรัศมีภายนอก R และรัศมีภายใน r เมือตัวนํ ามีแรงดัน
ตกคร่อม V ได ้ถูกต ้อง

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 46 :
ธิ

ค่า dielectric stress ของ cable เกิดขึนทีตําแหน่งใด


สท

1 : ทีจุดกึงกลางระหว่างศูนย์กลางของตัวนํ าและจุดทีพิจารณา
2 : ทีจุดทีพิจารณา

3 : ทีรัศมีภายใน (แกน) ของสาย


งวน

4 : ทีรัศมีภายนอกของสาย

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
อส

/

รข
ข ้อที 47 :
ประสท ิ ธิภาพการสง่ กําลังไฟฟ้ า (transmission efficiency) จะเพิมขึนเมือใด
1 : เพิมแรงดันไฟฟ้ าและเพิมตัวประกอบกําลัง (power factor)

วก
2 : ลดแรงดันไฟฟ้ าและลดตัวประกอบกําลัง (power factor)
3 : เพิมแรงดันไฟฟ้ าแต่ลดตัวประกอบกําลัง (power factor)
4 : ลดแรงดันไฟฟ้ าแต่เพิมตัวประกอบกําลัง (power factor)
วศิ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

สภ

ข ้อที 48 :
การตีเกลียว (bundling) ของตัวนํ ามีวต
ั ถุประสงค์เพือ
1 : ลดค่า reactance
2 : เพิมค่า reactance
3 : เพิมความแข็งแรงของสายสง่
4 : เพือลดการรบกวนของสนามแม่เหล็ก

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 49 :
ข ้อใดเป็ นชว่ งของระดับแรงดันทีเหมาะสมสําหรับการสง่ กําลังไฟฟ้ าเป็ นระยะทาง 500 km
1 : 33 kV-66 kV
2 : 66 kV-100 kV
3 : 110 kV- 150 kV
4 : 150 kV-220 kV

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 50 :
กําลังไฟฟ้ าของโหลด 3 เฟส ของระบบสง่ เป็ น 10 MW, 0.8 PF lagging หากกําลังสูญเสย
ี ในระบบสง่ เป็ น 900

kW จงหาประสทธิภาพของระบบสงนี ่
1 : 60%
2 : 90%
3 : 95%
4 : 99%

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 51 :
กําลังไฟฟ้ าทีสง่ ผ่านระบบสง่ จะมีคา่ สูงสุดเมือใด
ธิ

1 : เมือแรงดันไฟฟ้ าทีด ้านสง่ (sending end voltage) มีคา่ มาก


สท

2 : เมือแรงดันไฟฟ้ าทีด ้านรับ (receiving end voltage) มีคา่ มาก


3 : เมือค่า reactance มีคา่ มาก


4 : เมือ corona loss มีคา่ น ้อย
งวน

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
อส

/

รข
ข ้อที 52 :
ระดับแรงดันไฟฟ้ าในระบบสง่ และระบบจําหน่ายควรถูกจํากัดอยูใ่ นชว่ งเท่าใด

วก
1 : + 0.1%
2 : + 1%
3 : + 10%
4 : + 25%
า วศิ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สภ

ข ้อที 53 :

การเชอมต่ ื อได ้ (reliability) สูงทีสุด
อแบบใดในระบบจําหน่าย (distribution) จะมีความน่าเชอถื
1 : ระบบแบบ main ring
2 : ระบบแบบ tree
3 : ระบบแบบ radial
4 : แบบใดก็มค ื อใกล ้เคียงกัน
ี วามน่าเชอถื

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 54 :
ตัวนํ า 70/6 ACSR (aluminum conductor steel reinforced) หมายถึง
1 : พืนทีหน ้าตัดของ aluminum เป็ น 77 sq.mm และพืนทีหน ้าตัดของ steel เป็ น 6 sq.mm
2 : พืนทีหน ้าตัดของ steel เป็ น 77 sq.mm และพืนทีหน ้าตัดของ aluminum เป็ น 6 sq.mm
3 : มีตวั นํ า aluminum จํานวน 70 ตัวนํ า และมีตวั นํ า steel จํานวน 6 ตัวนํ า
4 : มีตวั นํ า steel จํานวน 70 ตัวนํ า และมีตวั นํ า aluminum จํานวน 6 ตัวนํ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 55 :

จากรูปทีกําหนด ข ้อใดคือ admittance equation


ธิ
สท

1:
งวน
อส

2:
/

รข
3:

วก
4:
วศิ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

สภ

ข ้อที 56 :
ู ต ้องเกียวกับปรากฎการณ์ skin effect ในสายสง่
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
1 : เกิดได ้ทังในระบบไฟฟ้ ากระแสตรงและกระแสสลับ
2 : ความถีระบบไฟฟ้ ายิงสูง ผลของ skin effect จะยิงสูงขึน
3 : ทําให ้ความต ้านทานมีคา่ สูงขึน
4 : สําหรับระบบไฟฟ้ า 50 Hz skin effect มีผลทําให ้ความต ้านเพิมขึนน ้อยประมาณ 1-2 %

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 57 :
สายสง่ วงจรร่วม (bundled conductors) 3 เฟสดังรูป จงหาค่าเฉลียเรขาคณิตทางระยะทาง (Geometric
Mean Distance: GMD) ของระหว่างสายสง่ ในแต่ละเฟส

1 : 8.63 m
2 : 9.63 m
3 : 10.63 m
4 : 11.63 m

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ธิ
สท

ข ้อที 58 :

สายสง่ วงจรร่วม (bundled conductors) ดังรูป หากค่าเฉลียเรขาคณิตทางระยะทาง (Geometric Mean


งวน

Distance: GMD) ของสายสง่ ในแต่ละเฟสเท่ากับ 3 m จงหาความเหนียวนํ าของสายสง่ แต่ละเฟส


อส

/

รข
วก
า วศิ
สภ

1 : 2.53 x 10-7 H/m


2 : 1.48 x 10-7 H/m
3 : 0.87 x 10-7 H/m
4 : 0.45 x 10-7 H/m

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 59 :
สายสง่ วงจรร่วม (bundled conductors) เดินอยูบ
่ นอากาศดังรูป หากค่าเฉลียเรขาคณิตทางระยะทาง
(Geometric Mean Distance: GMD) ของสายสง่ ในแต่ละเฟสเท่ากับ 3 m ค่า permittivity ของอากาศเท่ากับ
8.85 x 10-12 F/m จงหาความจุไฟฟ้ าระหว่างเฟสและนิวทรอล

1 : 55.65 x 10-12 F/m


2 : 43.95 x 10-12 F/m
3 : 35.65 x 10-12 F/m
4 : 23.85 x 10-12 F/m
ธิ
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

งวน

ข ้อที 60 :
ึ ความต ้านทานจําเพาะ 2.83 x 10-8 ohm.m นํ ามาใชเป็
อะลูมเิ นียมซงมี ้ นสายสง่ ในระบบ 3 เฟส ยาว 100 km
2
พืนทีหน ้าตัดสาย 10 cm กําลังสูญเสยี ของสายสง่ สามเฟสสําหรับความต ้านทานกระแสตรงมีคา่ เท่าใด เมือมี
อส

กระแสไหลในสายสง่ แต่ละเฟสเท่ากับ 20 A /

1 : 1.13 kW

รข
2 : 1.96 kW
3 : 3.4 kW
4 : 4.5 kW

วก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

า วศิ
เนือหาวิชา : 10 : Load flow
สภ

ข ้อที 61 :
ระบบไฟฟ้ ากําลังระบบหนึงมีทงหมด
ั 2 bus ระบบนีมี admittance matrix ขนาดเท่าใด
1 : 1 x 1
2 : 2 x 2
3 : 3 x 3
4 : 4 x 4

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 62 :
Y
ระบบไฟฟ้ ากําลังหนึงมีคา่ admittance ของอุปกรณ์ไฟฟ้ าดังรูป ให ้คํานวณค่า 22 ของ admittance matrix
ของระบบไฟฟ้ านี

1 : j15
2 : -j4
3 : j4
ธิ

4 : -j15
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
งวน

ข ้อที 63 :
Y
ระบบไฟฟ้ ากําลังหนึงมีคา่ admittance ของอุปกรณ์ไฟฟ้ าดังรูป ให ้คํานวณค่า 43 ของ admittance matrix
อส

ของระบบไฟฟ้ านี /

รข
วก
า วศิ
สภ

1 : j15
2 : -j5
3 : j5
4 : -j15

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 64 :
Y
ระบบไฟฟ้ ากําลังหนึงมีคา่ impedance ของอุปกรณ์ไฟฟ้ าดังรูป ให ้คํานวณค่า 13 ของ admittance matrix
ของระบบไฟฟ้ านี
ธิ

j
สท

1 : –2
j

2 : 2
3 : –1 j
j
งวน

4 : 1

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
อส

/

รข
ข ้อที 65 :
การศก ึ ษา load flow มีวต
ั ถุประสงค์ข ้อใดทีถูกต ้องมากทีสุด
1 : ึ ษาการไหลของโหลดสําหรับการวางแผนสําหรับระบบไฟฟ้ าในอนาคต
เพือศก

วก
2 : เพือศกึ ษาการไหลของโหลดสําหรับการวางแผนสําหรับระบบไฟฟ้ าในปั จจุบนั
3 : เพือศก ึ ษาการไหลของโหลดสําหรับการวางแผนสําหรับระบบไฟฟ้ าในปั จจุบน ั และอนาคต
4 : เพือศก ึ ษาการพยากรณ์การไหลของโหลดสําหรับระบบไฟฟ้ าในอนาคต
วศิ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

สภ

ข ้อที 66 :
การศก ึ ษา load flow ทีมีประสท
ิ ธิภาพทีสุดควรให ้ระบบไฟฟ้ าแทนด ้วย matrix ใด
Y
1 : bus
Z
2 : bus
3 : Ybranch
4 : Ylink

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 67 :
การคํานวณ load flow ของระบบไฟฟ้ าทีประกอบด ้วย 3 bus ดังนี
ึ คา่ แรงดันไฟฟ้ าคงที
bus ที 1 เป็ น bus ทีมีเครืองกําเนิดไฟฟ้ าซงมี
ึ P Q
bus ที 2 เป็ น bus ทีมีโหลดซงมี L2 และ L2 คงที
bus ที 3 เป็ น bus ทีมีทงเครื
ั องกําเนิดไฟฟ้ าและโหลด ซงมีึ P P QL3
g3 ของเครืองกําเนิดไฟฟ้ าคงที และมี L3,
ของโหลดคงที
P P
กําลังไฟฟ้ าจริงของ bus ที 2 ( 2) และ bus ที 3 ( 3) มีคา่ เท่าใด

P P P P
1 : 2= L2, 3= L3
P P P P
2 : 2= L2, 3= g3
3 : P2=-PL2, P3=-PL3
4 : P2=-PL2, P3=Pg3-PL3

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 68 :
ข ้อใดไม่ใชว่ ธิ ท
ี ใช ้
ี ในการคํ านวณ load flow
1 : Gauss-Siedel method
2 : Newton-Raphson method
3 : Decoupled method
ธิ

4 : Gaussian elimination method


สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

งวน

ข ้อที 69 :
การคํานวณ load flow วิธใี ดต ้องทําการหา Jacobian matrix
อส

1 : Gauss-Seidel method
/

2 : Newton-Raphson method

รข
3 : Decoupled method
4 : Gaussian elimination method

วก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 70 :
า วศิ
การคํานวณ load flow วิธใี ดใช ้ susceptance matrix (B) แทนการหา Jacobian matrix
สภ
1 : Gauss-Seidel method
2 : Newton-Raphson method
3 : Decoupled method
4 : Gaussian elimination method

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 71 :
ในระบบไฟฟ้ ากําลัง bus ทีไม่มเี ครืองกําเนิดไฟฟ้ าต่ออยูเ่ ป็ น bus ขนิดใด
1 : Load bus
2 : Voltage-controlled bus
3 : Slack bus
4 : PV bus

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 72 :
ในระบบไฟฟ้ ากําลัง bus ทีมีเครืองกําเนิดไฟฟ้ าต่ออยูแ
่ ละไม่ได ้เป็ น reference bus เป็ น bus ชนิดใด
1 : Load bus
2 : Voltage-controlled bus
3 : Slack bus
4 : PQ bus

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 73 :
จงระบุจํานวน load bus (PQ bus) และ generator bus (PV bus) จากรูปของแบบจําลองระบบไฟฟ้ ากําลังนี
ธิ
สท

งวน

1 : Load bus = 2, generator bus = 2


อส

2 : Load bus = 2, generator bus = 3


3 : Load bus = 3, generator bus = 2 /

4 : Load bus = 3, generator bus = 3

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

วก
ข ้อที 74 :
ข ้อใดต่อไปนีกล่าวถูกต ้อง
า วศิ
1 : ขนาดและมุมของแรงดันไฟฟ้ า (voltage magnitude and phase angle) ที reference bus จะมีคา่ คงที
สภ
เท่ากับ 1.0 p.u. และ 0 degree ตามลําดับเสมอ
2 : bus ทีพบสว่ นใหญ่ในระบบไฟฟ้ ากําลังคือ generator bus
3 : วิธแ
ี ก ้ปั ญหาการไหลของกําลังไฟฟ้ า (power flow) โดยวิธ ี Gauss-Seidel สามารถลูเ่ ข ้าหาคําตอบได ้
ง่ายกว่าและเร็วกว่าการแก ้ปั ญหาโดยวิธ ี Newton-Raphson
4 : สมการแสดงการไหลของกําลังไฟฟ้ า (power flow) ทีเกียวข ้องกับ generator bus สามารถเขียนได ้
เพียงสมการการไหลของกําลังไฟฟ้ าจริง (real power) เท่านัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 75 :
ึ ษาการไหลของกําลังไฟฟ้ า (power flow)
ข ้อใดคือปริมาณทางไฟฟ้ า 4 ปริมาณหลักทีเกียวข ้องกับการศก
1 : กําลังไฟฟ้ าจริง กําลังไฟฟ้ าเสมือน ขนาดของแรงดันไฟฟ้ า ขนาดกระแสไฟฟ้ า
2 : กําลังไฟฟ้ าจริง กําลังไฟฟ้ าปรากฎ แรงดันไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า
3 : กําลังไฟฟ้ าจริง กําลังไฟฟ้ าเสมือน ขนาดแรงดันไฟฟ้ า มุมของแรงดันไฟฟ้ า
4 : กําลังไฟฟ้ าจริง กําลังไฟฟ้ าเสมือน ขนาดกระแสไฟฟ้ า มุมของกระแสไฟฟ้ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 76 :
ธิ
สท

จากรูป bus ใดเป็ น generator bus (PV bus)


1 : bus 1
2 : bus 2
งวน

3 : bus 3
4 : ไม่มค
ี ําตอบทีถูกต ้อง
อส

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
/

รข
ข ้อที 77 :
Jacobian matrix จะมีขนาดเท่าใด ถ ้าต ้องการคํานวณ load flow จากระบบไฟฟ้ ากําลังนีโดยวิธ ี Newton-
Raphson

วก
า วศิ
สภ

1 : 2x2
2 : 3x3
3 : 5x5
4 : 6x6

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 78 :
ข ้อใดไม่ใชค่ ณ
ุ สมบัตข
ิ อง load bus (PQ bus) ในการคํานวน load flow
1 : เป็ น bus ทีมีโหลด (load) แบบ static ต่ออยู่
2 : เป็ น bus ทีทราบค่ากําลังไฟฟ้ าจริง (real power)
3 : เป็ น bus ทีขนาดของแรงดันไฟฟ้ า (voltage magnitude) มีคา่ คงทีตลอดการคํานวน load flow
4 : เป็ น bus ทีกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) มีคา่ คงทีตลอดการคํานวน load flow

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 79 :
ถ ้ากําลังไฟฟ้ าปรากฎ (apparent power) ที bus k ใด ๆ มีคา่ เท่ากับ k S =VkIk* จากรูปกําลังไฟฟ้ าปรากฎรวม
ที bus 2 มีคา่ เท่าไร
ธิ
สท

งวน
อส

1 : 0.6+ 0.3 j /

2 : -0.4- 0.1 j
j

รข
3 : 0.6- 0.3
4 : -0.4+ 0.1 j

วก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 80 :
า วศิ
ึ ษา load
Bus ทีทราบเฉพาะขนาดและมุมของแรงดันไฟฟ้ า (voltage magnitude and phase angle) ในการศก
สภ
flow คือ bus ประเภทใด
1 : Slack bus
2 : Load bus
3 : Generator bus
4 : VA bus

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 81 :
j j j
ระบบกําลังไฟฟ้ า 3 bus มี impedance ระหว่าง bus 1-2, 2-3, และ 3-1 คือ 0.4 p.u., 0.2 p.u. และ 0.2
p.u. ตามลําดับ
่ น bus หมายเลข 1 มีคา่ ซงิ โครนัสรีแอกแตนซ ์ (synchronous reactance)
เครืองกําเนิดไฟฟ้ ามีการต่ออยูบ
j
เท่ากับ 1 p.u.
และเครืองกําเนิดไฟฟ้ ามีการต่ออยูบ j
่ น bus หมายเลข 2 มี (synchronous reactance) เท่ากับ 0.8 p.u.
จงหาค่า admittance ตรงตําแหน่งของ load bus (PQ bus)
1 : j
– 5 p.u.
2 : j
– 8.5 p.u.
3 : j
– 8.75 p.u.
4 : j
– 10 p.u.

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 82 :
Bus ชนิดใดจะถูกนํ าออกไปจากการคํานวณการไหลของกําลังไฟฟ้ า (power flow)
1 : Slack bus
2 : Load bus
3 : Voltage controlled bus
4 : PQ bus

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 83 :
ธิ

ตัวแปรใดจะถูกกําหนดที load bus


สท

1 : ขนาดแรงดันไฟฟ้ า (voltage magnitude), กําลังไฟฟ้ าจริง (real power)


2 : กําลังไฟฟ้ าจริง (real power), ขนาดกระแสไฟฟ้ า (current magnitude)


3 : มุมของแรงดันไฟฟ้ า (voltage phase angle), ขนาดแรงดันไฟฟ้ า (voltage magnitude)
งวน

4 : กําลังไฟฟ้ าจริง (real power), กําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
อส

/

รข
ข ้อที 84 :
ในการคํานวณ load flow ค่าขนาดแรงดันไฟฟ้ าและค่ากําลังไฟฟ้ าจริง (real power) จะถูกกําหนดที bus
ประเภทใด

วก
1 : Load bus
2 : Slack bus
3 : Generator bus
4 า: วศิ
ไม่มค
ี ําตอบทีถูกต ้อง
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 85 :
การศก ึ ษาปั ญหาการไหลของกําลังไฟฟ้ า (power flow) ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง
1 : กําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) ไหลจาก bus ทีมีแรงดันไฟฟ้ าสูงไปยัง bus ทีมีแรงดันไฟฟ้ าตํา
2 : กําลังไฟฟ้ าจริง (real power) ไหลจาก bus ทีมีมมุ ของแรงดันไฟฟ้ า (voltage phase angle) นํ าหน ้า
ไปยัง bus ทีมีมม ุ ของแรงดันไฟฟ้ า (voltage phase angle) ตามหลัง
3 : มุมและขนาดของแรงดันไฟฟ้ า (voltage phase angle and magnitude) ของแต่ละ bus จะสง่ ผลต่อ
ทิศทางการไหลของกําลังไฟฟ้ าจริง (real power) และกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power)
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 86 :
จงคํานวณหากําลังไฟฟ้ าสูญเสยี ในระบบ (network losses) จากผลเฉลยการไหลของกําลังไฟฟ้ า (power

flow solution) ซงแสดงดังรูปข ้างล่างนี

1 : j
36.91 + 17.67 MVA
j
ธิ

2 : 36.91 – 17.67 MVA


3 : j
17.67 – 36.91 MVA
สท

4 : j
7.67 + 36.91 MVA

งวน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
อส

ข ้อที 87 :
/

ระบบไฟฟ้ ากําลังระบบหนึงมีโครงสร ้างดังรูป ถ ้าทําการวิเคราะห์ load flow ระบบนีโดยใชวิ้ ธ ี Gauss-Seidel

รข
ึ ส้ ําหรับวิเคราะห์หาแรงดัน bus จะมีทงหมดกี
สมการ load flow ซงใช ั สมการ

วก
า วศิ
สภ

1 : 1 สมการ
2 : 2 สมการ
3 : 3 สมการ
4 : 4 สมการ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 88 :
ี ใน
ผลการวิเคราะห์ load flow ของระบบไฟฟ้ ากําลังระบบหนึงมีผลลัพธ์ดงั แสดงในรูป จงหาค่าการสูญเสย
สายสง่ (line loss) ระหว่าง bus ที 1 และ 2

1 : 0.4671 j
+ 0.0071
2 : 0.45 + j0.0356
3 : 0.9171 j
+ 0.0427
4 : 0.0171 j
- 0.0285

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ธิ

ข ้อที 89 :
ข ้อใดกล่าวได ้ถูกต ้องเกียวกับประเภทของ bus ทางระบบไฟฟ้ ากําลัง
สท

1 : Swing bus หรือ slack bus คือ bus ทีต ้องการหาค่ามุมของแรงดันไฟฟ้ า (voltage phase angle)

2 : Voltage-controlled bus คือ bus ทีกําหนดค่าเฉพาะขนาดของแรงดันไฟฟ้ า (voltage magnitude)


งวน

3 : Load bus คือ bus ทีต ้องการหาค่ากําลังไฟฟ้ าจริง (real power) และกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive
power)
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก
อส

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
/

รข
ข ้อที 90 :
ข ้อใดต่อไปนีไม่สามารถหาคําตอบได ้จากการวิเคราะห์การไหลของกําลังไฟฟ้ า (power flow)

วก
1 : ปริมาณกําลังสูญเสยี ในระบบ
2 : ั
การเกิดปั ญหาเสถียรภาพชวขณะของมุ มโรเตอร์
3 : การเกิดปั ญหาแรงดันไฟฟ้ าตกหรือแรงดันไฟฟ้ าเกิน
4
า: วศิ
การเกิดปั ญหาการสง่ กําลังไฟฟ้ าเกินขีดจํากัดทางความร ้อนของสายสง่
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 91 :
การวิเคราะห์การไหลของกําลังไฟฟ้ า (power flow) ในระบบไฟฟ้ ากําลัง จะแบ่งชนิดของ bus ออกเป็ น 3 ชนิด
อะไรบ ้าง
1 : Slack bus, Reference bus และ Voltage-controlled bus
2 : Slack bus, Generator bus และ Voltage-controlled bus
3 : Generator bus, Voltage-controlled bus และ Load bus
4 : Slack bus, Voltage-controlled bus และ Load bus

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 92 :
ในการคํานวณ load flow ของระบบไฟฟ้ ากําลัง bus ทีไม่มก
ี ารควบคุมขนาดของแรงดันไฟฟ้ า (voltage
magnitude) คือ bus ใด
1 : Slack bus
2 : Swing bus
3 : Generator bus
4 : Load bus

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 93 :
การคํานวณ load flow ของระบบไฟฟ้ ากําลัง ที load bus จะต ้องคํานวณหาค่าใด
1 : กําลังไฟฟ้ าจริง (real power) และ กําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power)
2 : กําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) และ มุมของแรงดันไฟฟ้ า (voltage phase angle)
3 : กําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) และ ขนาดของแรงดันไฟฟ้ า (voltage magnitude)
4 : ขนาดของแรงดันไฟฟ้ า (voltage magnitude) และ มุมของแรงดันไฟฟ้ า (voltage phase angle)

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ธิ

ข ้อที 94 :
สท

ข ้อใดถูกต ้องสําหรับการวิเคราะห์ load flow


1 : วิธ ี Gauss-Seidel พัฒนามาจากวิธ ี Newton-Raphson


งวน

2 : Power flow equation เป็ นสมการทีกล่าวถึงการเกิน limit ต่าง ๆ สายสง่


3 : Swing bus เป็ น bus ทีมีแรงดันไฟฟ้ าเท่ากับ 1 p.u. เสมอ
4 : Load bus เป็ น bus ทีไม่มเี ครืองกําเนิดไฟฟ้ า
อส

คําตอบทีถูกต ้อง : 4 /

รข
ข ้อที 95 :

วก
ข ้อใดไม่ถกู ต ้องสําหรับการวิเคราะห์ load flow
1 : Load bus เรียกอีกอย่างหนึงว่า voltage-controlled bus
2 : Swing bus เรียกอีกอย่างหนึงว่า slack bus
ี (loss) ในสายสง่ ด ้วย
3
4
า:
:
วศิ
การวิเคราะห์ load flow ทําให ้ได ้กําลังสูญเสย
การวิเคราะห์ load flow โดยวิธ ี Newton-Raphson ต ้องทําการหา Jacobian matrix
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 96 :
หากเปรียบเทียบการคํานวณ load flow ด ้วยวิธ ี Newton-Raphson กับวิธ ี Fast decoupled ข ้อใดถูกต ้อง
1 : วิธ ี Newton-Raphson ได ้ผลลัพธ์รวดเร็วและแม่นยํากว่า
2 : วิธ ี Fast decoupled ได ้ผลลัพธ์รวดเร็วและแม่นยํากว่า
3 : วิธ ี Newton-Raphson ได ้ผลลัพธ์รวดเร็วกว่า แต่มค ี วามแม่นยําน ้อยกว่า
4 : วิธ ี Fast decoupled ได ้ผลลัพธ์รวดเร็วกว่า แต่มค
ี วามแม่นยําน ้อยกว่า

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 97 :
ในการคํานวณ load flow bus ทีมีการกําหนดมุมของแรงดันไฟฟ้ า (voltage phase angle) มาให ้คือ bus ใด
1 : Load bus
2 : Voltage-controlled bus
3 : Slack bus
4 : Jacobian bus

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 98 :
ระบบไฟฟ้ ากําลังระบบหนึงมีจํานวน bus ทังหมด 10 bus โดยเลือกจะเลือก 1 bus ให ้เป็ น slack bus
สําหรับbus ทีเหลือจะกําหนดให ้เป็ น voltage-controlled bus จํานวน 3 bus และทีเหลืออีก 6 bus กําหนดให ้
เป็ นload bus หากวิเคราะห์ load flow ด ้วยวิธ ี Newton-Raphson จํานวนแถวของ Jacobian matrix จะเป็ น
เท่าใด
1 : 9 แถว
2 : 20 แถว
3 : 18 แถว
4 : 15 แถว

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ธิ
สท

ข ้อที 99 :

ข ้อแตกต่างระหว่าง swing bus กับ generator bus คือข ้อใด


งวน

1 : Swing bus ไม่มเี ครืองกําเนิดไฟฟ้ า แต่ generator bus มีเครืองกําเนิดไฟฟ้ า


2 : Swing bus ไม่มท ี งเครื
ั องกําเนิดไฟฟ้ าและไม่มโี หลด แต่ generator bus มีทงคู ั ่
3 : Swing bus ทราบค่าขนาดและมุมของแรงดันไฟฟ้ า (voltage magnitude and phase angle) แต่
อส

generator bus ทราบค่าขนาดแรงดันไฟฟ้ า (voltage magnitude) และกําลังไฟฟ้ าจริง (real power)


/

4 : Swing bus ทราบค่าขนาดแรงดันไฟฟ้ า (voltage magnitude) และกําลังไฟฟ้ าจริง (real power) แต่

รข
generator bus ทราบค่าขนาดและมุมของแรงดันไฟฟ้ า (voltage magnitude and phase angle)

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

วก
ข ้อที 100 :
วศิ
จงแก ้สมการต่อไปนีด ้วยวิธข
ี อง Gauss-Seidel เมือจบรอบการคํานวณทีสาม เมือ x – 2y -1 = 0, x +4y – 4 =
x y

0 โดยใชค่้ าเริมต ้น =0, =0
สภ
1 : x = 1.75 , y = 0.5625
2 : x = 1.23 , y = 0.6235
3 : x = 2.12 , y = 0.7325
4 : x = 2.03 , y = 1.0215

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 101 :
แรงดันไฟฟ้ าทีขัว (terminal voltage) ของเครืองกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัสสามารถเพิมให ้สูงขึนได ้โดยวิธใี ด
1 : เพิมความเร็วโรเตอร์ให ้มากขึน
2 : ลดความเร็วโรเตอร์ให ้น ้อยลง
3 : ลดกระแสกระตุ ้นสนามแม่เหล็ก (field exciting current) ให ้น ้อยลง
4 : เพืมกระแสกระตุ ้นสนามแม่เหล็ก (field exciting current) ให ้มากขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 102 :
อุปกรณ์หรือสว่ นประกอบไฟฟ้ าใดทีทําให ้เกิดกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) ในระบบไฟฟ้ าได ้
1 : สายสง่ ระยะสนั
2 : มอเตอร์เหนียวนํ า
3 : หม ้อแปลงไฟฟ้ า
4 : ตัวเก็บประจุ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 103 :
หม ้อแปลงไฟฟ้ าสองชุด A และ B เหมือนกันทุกประการ นํ ามาต่อขนานกันเพือชว่ ยกันจ่ายโหลดขนาด =1000 P
Q
kW, =800 kvar ถ ้าปรับมุมแรงดันไฟฟ้ าของหม ้อแปลงไฟฟ้ า A ทางด ้านทุตย ิ ภูมใิ ห ้มีมม
ุ แรงดันไฟฟ้ านํ าหน ้า
หม ้อแปลงไฟฟ้ า B 2 องศา กําลังไฟฟ้ าทีไหลผ่านหม ้อแปลงไฟฟ้ า A และ B ข ้อใดทีใกล ้เคียงความเป็ นจริง
มากทีสุด
P P
1 : A=500 kW, B=500 kW, QA=400 kvar, QB=400 kvar
P P QA=500 kvar, QB=300 kvar
ธิ

2 : A=500 kW, B=500 kW,


P P QA=300 kvar, QB=500 kvar
สท

3 : A=500 kW, B=500 kW,


4 : PA=600 kW, PB=400 kW, QA=400 kvar, QB=400 kvar

งวน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
อส

/

รข
ข ้อที 104 :

ระบบไฟฟ้ ากําลังระบบหนึงมี 2 bus คือ bus 1 และ bus 2 เชอมต่ อด ้วยสายสง่ ทีมี impedance= 0 + 1 j
ohm ขนาดแรงดันไฟฟ้ าที bus 1 เท่ากับ 500 kV และมีมม ุ 0 องศา และขนาดแรงดันไฟฟ้ าที bus 2 เท่ากับ

วก
502 kV และมีมมุ 10 องศา กําลังไฟฟ้ าจริง (real power) ทีไหลในสายสง่ มีทศ ิ ทางอย่างไร
1 : ไหลจาก bus 1 ไป bus 2
2 : ไหลจาก bus 2 ไป bus 1
3
4
า:
:
วศิ
ไหลเข ้าทัง bus 1 และ bus 2
ไม่มก
ี ารไหล
สภ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 105 :

ระบบไฟฟ้ ากําลังระบบหนึงมี 2 bus คือ bus 1 และ bus 2 เชอมต่อด ้วยสายสง่ ทีมี impedance= 0 + 1 j
ohm ขนาดแรงดันไฟฟ้ าที bus 1 เท่ากับ 500 kV และมีมม ุ 0 องศา และขนาดแรงดันไฟฟ้ าที bus 2 เท่ากับ
502 kV และมีมมุ 10 องศา กําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) ทีไหลในสายสง่ มีทศ ิ ทางอย่างไร
1 : ไหลจาก bus 1 ไป bus 2
2 : ไหลจาก bus 2 ไป bus 1
3 : ไหลเข ้าทัง bus 1 และ bus 2
4 : ไม่มก
ี ารไหล

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 106 :
Generator ตัวหนึงต่ออยูก ่ บ
ั infinite bus ถ ้าต ้องการให ้ generator ตัวนีจ่ายกําลังไฟฟ้ าจริง (real power) ให ้
กับ infinite bus จะต ้องทําอย่างไร
1 : ปรับมุมแรงดันไฟฟ้ าของ generator ให ้นํ าหน ้ามุมแรงดันไฟฟ้ าของ infinite bus
2 : ปรับมุมแรงดันไฟฟ้ าของ generator ให ้ล ้าหลังมุมแรงดันไฟฟ้ าของ infinite bus
3 : ปรับขนาดแรงดันไฟฟ้ าของ generator ให ้มากกว่าขนาดแรงดันไฟฟ้ าของ infinite bus
4 : ปรับขนาดแรงดันไฟฟ้ าของ generator ให ้น ้อยกว่าขนาดแรงดันไฟฟ้ าของ infinite bus

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 107 :
Generator ตัวหนึงต่ออยูก ่ บ
ั infinite bus ถ ้าต ้องการให ้ generator ตัวนีจ่ายกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive
power) ให ้กับ infinite bus จะต ้องทําอย่างไร
1 : ปรับมุมแรงดันไฟฟ้ าของ generator ให ้นํ าหน ้ามุมแรงดันไฟฟ้ าของ infinite bus
2 : ปรับมุมแรงดันไฟฟ้ าของ generator ให ้ล ้าหลังมุมแรงดันไฟฟ้ าของ infinite bus
3 : ปรับขนาดแรงดันไฟฟ้ าของ generator ให ้มากกว่าขนาดแรงดันไฟฟ้ าของ infinite bus
4 : ปรับขนาดแรงดันไฟฟ้ าของ generator ให ้น ้อยกว่าขนาดแรงดันไฟฟ้ าของ infinite bus
ธิ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สท

ข ้อที 108 :
งวน

อุปกรณ์หรือสว่ นประกอบไฟฟ้ าใดทีไม่ทําให ้เกิดกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) ในระบบไฟฟ้ าได ้


1 : เครืองกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัส
2 : หม ้อแปลงไฟฟ้ า
อส

3 : สายสง่ เหนือดินระยะไกล /

4 : ตัวเก็บประจุ

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

วก
ข ้อที 109 :
ิ ธิผลสูงสุด
การควบคุมกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) ของเครืองกําเนิดไฟฟ้ าในข ้อใดทําให ้เกิดประสท
1

:
วศิ
ปรับค่ากระแสกระตุ ้นสนามแม่เหล็ก (field exciting current) ของเครืองกําเนิดไฟฟ้ า
สภ
2 : ปรับค่ามุมกําลังไฟฟ้ า (power angle) ของเครืองกําเนิดไฟฟ้ า
3 : ปรับค่ากําลังทางกลทีจ่ายให ้แก่เครืองกําเนิดไฟฟ้ า
4 : ปรับความเร็วรอบของเครืองกําเนิดไฟฟ้ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 110 :
ิ ธิผลสูงสุด
การควบคุมกําลังไฟฟ้ าจริง (real power) ของเครืองกําเนิดไฟฟ้ าในข ้อใดทําให ้เกิดประสท
1 : ปรับค่ากระแสกระตุ ้นสนามแม่เหล็ก (field exciting current) ของเครืองกําเนิดไฟฟ้ า
2 : ปรับความเร็วรอบของเครืองกําเนิดไฟฟ้ า
3 : ปรับกําลังทางกลทีจ่ายให ้แก่เครืองกําเนิดไฟฟ้ า
4 : ปรับค่า power factor ของเครืองกําเนิดไฟฟ้ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 111 :
กําลังไฟฟ้ าชนิดใดมีผลในการควบคุมความถีของระบบไฟฟ้ ากําลัง
1 : กําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power)
2 : กําลังไฟฟ้ าปรากฎ (apparent power)
3 : กําลังไฟฟ้ าจริง (real power)
4 : ไม่มคี ําตอบทีถูกต ้อง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 112 :
การลดลงของความถีระบบไฟฟ้ ากําลังอาจเกิดจากสาเหตุในข ้อใด
1 : ปริมาณความต ้องการกําลังไฟฟ้ าจริง (real power) ลดลง
2 : ปริมาณความต ้องการของกําลังไฟฟ้ าจริง (real power) เพิมขึน
3 : ปริมาณความต ้องการของกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) ลดลง
4 : ปริมาณความต ้องการของกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) เพิมขึน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ธิ
สท

ข ้อที 113 :
วิธใี ดต่อไปนีเป็ นการเพิมการสง่ ของกําลังไฟฟ้ าจริง (real power) ในสายสง่
งวน

1 : ต่อ reactor อนุกรมกับสายสง่


2 : ต่อ capacitor อนุกรมกับสายสง่
3 : ต่อ reactor ขนานกับสายสง่
อส

4 : ต่อ capacitor ขนานกับสายสง่


/

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

วก
ข ้อที 114 :
กําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) มีผลต่อการควบคุมตัวแปรใดในระบบไฟฟ้ ากําลัง
1
2
:

:
วศิ
ความเร็วรอบเครืองกําเนิดไฟฟ้ า
มุมโรเตอร์
สภ
3 : แรงดันไฟฟ้ า
4 : ความถี

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 115 :
อุปกรณ์ควบคุมชนิดใดต่อไปนีไม่จัดอยูใ่ นประเภทเดียวกับอุปกรณ์ควบคุมอืน
1 : Tap-changing transformer
2 : Phase-shifting transformer
3 : Capacitor bank
4 : Synchronous condenser

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 116 :
การควบคุมกําลังไฟฟ้ าจริง (real power) ด ้วยหม ้อแปลงไฟฟ้ า โดยแรงดันไฟฟ้ าด ้านออกจะมีมม
ุ เฟสต่างจาก
แรงดันไฟฟ้ าด ้านเข ้าของหม ้อแปลงไฟฟ้ านี แต่ขนาดของแรงดันไฟฟ้ าไม่เปลียนแปลง หม ้อแปลงไฟฟ้ านีเป็ น
หม ้อแปลงไฟฟ้ าประเภทใด
1 : Autotransformer
2 : Phase transformer
3 : Phase-shifting transformer
4 : Phase angle transformer

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 117 :
ข ้อใดไม่จัดเป็ นวิธค
ี วบคุมการไหลของกําลังไฟฟ้ า (power flow) โดยตรง
1 : การปรับ tap ของหม ้อแปลงไฟฟ้ า
2 : การติดตังชุดตัวเก็บประจุแบบปรับค่าได ้
3 : การติดตัง synchronous motor
4 : การเปลียนการจัดเรียง bus ในสถานีไฟฟ้ า
ธิ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
สท

ข ้อที 118 :
งวน

Phase-shifting transformer ทําหน ้าทีอะไรในระบบไฟฟ้ ากําลัง


1 : เพิมระดับแรงดันไฟฟ้ า
2 : ลดระดับแรงดันไฟฟ้ า
อส

3 : ควบคุมการไหลของกําลังไฟฟ้ าจริง (real power)


/

4 : ควบคุมการไหลของกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power)

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

วก
ข ้อที 119 :
ข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง
า วศิ
1 : Regulated transformer ใชส้ ําหรับควบคุมการไหลของกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power)
2 : Phase-shifting transformer ใชส้ ําหรับควบคุมการไหลของกําลังไฟฟ้ าจริง (real power)
สภ
3 : กําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) จะมีคา่ ต่างกันมาก ใน phase-shifting transformer ทีมี phase
angle ต่างกันมาก
4 : กําลังไฟฟ้ าจริง (real power) จะไหลมากในหม ้อแปลงไฟฟ้ าทีมี phase angle นํ าหน ้า

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 120 :
ข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 : เครืองกําเนิดไฟฟ้ าสามารถจ่ายและรับกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) ได ้
2 : หม ้อแปลงไฟฟ้ ารับกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) เสมอ
3 : สายสง่ สามารถจ่ายกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) ได ้
4 : ภาระไฟฟ้ า (load) ไม่สามารถจ่ายกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) ได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 121 :
ถ ้าต ้องการเพิมระดับแรงดันไฟฟ้ าที bus ให ้สูงขึนสามารถทําได ้โดยวิธใี ด
1 : ้ องกําเนิดไฟฟ้ า
จ่ายกําลังไฟฟ้ าเสมือน (reactive power) โดยใชเครื
2 : ต่อตัวเก็บประจุท ี bus
3 : เพิมแรงดันไฟฟ้ าโดยใชหม ้ ้อแปลงไฟฟ้ า
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 122 :
การกลับทิศการไหลของกําลังไฟฟ้ าจริง (real power) ในสายสง่ สามารถทําได ้โดยวิธใี ด
1 : ลดค่า reactance ของสายสง่
2 : ลดขนาดแรงดันไฟฟ้ า (voltage magnitude) ทีต ้นและปลายสายสง่
3 : กลับมุมของแรงดันไฟฟ้ า (voltage phase angle) ทีต ้นและปลายสายสง่
4 : ไม่มค
ี ําตอบทีถูกต ้อง
ธิ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
สท

ข ้อที 123 :
งวน
อส

/

รข
วก
า วศิ
สภ

จากรูปของแบบจําลองระบบไฟฟ้ ากําลังนี bus ใดบ ้างทีเป็ น load bus (PQ bus)


1 : bus 2, 4, และ 5
2 : bus 2, 5, และ 6
3 : bus 4, 5, และ 6
4 : bus 4 และ 6

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 124 :

จากรูปของแบบจําลองระบบไฟฟ้ ากําลังนี bus ใดบ ้างทีเป็ น generator bus (PV bus)


1 : bus 1, 3, และ 4
2 : bus 2, 5, และ 6
3 : bus 1 และ 3
4 : bus 3 และ 4

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 125 :
Y
ระบบไฟฟ้ ากําลังหนึงมีคา่ impedance ของอุปกรณ์ไฟฟ้ าดังรูป ให ้คํานวณค่า 13 ของ admittance matrix
ของระบบไฟฟ้ านี
ธิ
สท

งวน
อส

/

รข
วก
า วศิ
สภ

1 : –2j
2 : j2
3 : j
– 0.5
4 : j0.5

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 126 :
ระบบไฟฟ้ ากําลังหนึงมีข ้อมูลของหม ้อแปลงไฟฟ้ าและสายสง่ ดังรูป (ค่าต่าง ๆ เป็ นค่า per unit) ให ้คํานวณค่า
Y13 ของ admittance matrix ของระบบไฟฟ้ านี

1 : 0
2 : j
0.004+ 0.0533
3 : j
1.400- 18.657
4 : j
-1.400+ 18.657

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ธิ
สท

ข ้อที 127 :
ระบบไฟฟ้ ากําลังหนึงมีข ้อมูลของหม ้อแปลงไฟฟ้ าและสายสง่ ดังรูป (ค่าต่าง ๆ เป็ นค่า per unit) ให ้คํานวณค่า
Y
งวน

11 ของ admittance matrix ของระบบไฟฟ้ านี


อส

/

รข
วก
า วศิ
สภ

1 : 0
2 : j
0.004+ 0.0533
3 : j
1.400- 18.657
4 : j
-1.400+ 18.657

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 128 :
ระบบไฟฟ้ ากําลังหนึงมีข ้อมูลของหม ้อแปลงไฟฟ้ าและสายสง่ ดังรูป (ค่าต่าง ๆ เป็ นค่า per unit) ให ้คํานวณค่า
Y12 ของ admittance matrix ของระบบไฟฟ้ านี

1 : 0
2 : j
0.004+ 0.0533
3 : j
1.400- 18.657
4 : j
-1.400+ 18.657
ธิ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
สท

งวน

ข ้อที 129 :
ระบบไฟฟ้ ากําลังหนึงมีข ้อมูลของหม ้อแปลงไฟฟ้ าและสายสง่ ดังรูป (ค่าต่าง ๆ เป็ นค่า per unit) ให ้คํานวณค่า
Y33 ของ admittance matrix ของระบบไฟฟ้ านี
อส

/

รข
วก
า วศิ
สภ

1 : 0
2 : j
0.02+ 0.25
3 : j
0.318- 3.975
4 : j
0.636- 7.73

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 130 :
ระบบไฟฟ้ ากําลังหนึงมีข ้อมูลของหม ้อแปลงไฟฟ้ าและสายสง่ ดังรูป (ค่าต่าง ๆ เป็ นค่า per unit) ให ้คํานวณค่า
Y44 ของ admittance matrix ของระบบไฟฟ้ านี

1 : 0
2 : j
0.02+ 0.25
3 : j
0.318- 3.975
4 : j
1.692- 22.877
ธิ
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

งวน

ข ้อที 131 :
Y Y
ระบบไฟฟ้ ากําลังหนึงมีคา่ impedance ของอุปกรณ์ไฟฟ้ าดังรูป ให ้คํานวณค่า 11 และ 12 ของ admittance
อส

matrix ของระบบไฟฟ้ านี


/

รข
วก
า วศิ
สภ

1 : j2 และ -j2
2 : -j2 และ j2
3 : j0.5 และ –j0.5
4 : -j0.5 และ j0.5

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 132 :
ระบบไฟฟ้ ากําลังหนึงดังรูป ให ้คํานวณค่า S2 ของระบบไฟฟ้ านี

1 : 0.5
2 : -0.5
3 : 0.5+ 0 j2.
4 : -0.5+ 0 j2.
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 133 :
ระบบไฟฟ้ ากําลังหนึงดังรูป ถ ้าต ้องการคํานวณ load flow โดยวิธ ี Gauss iteration จะต ้องตังสมการในการ
คํานวณ iteration กีสมการ และตัวแปรทีต ้องทําการหาค่าที bus 2 คือข ้อใด
ธิ
สท

งวน
อส

/

รข
วก
า วศิ
สภ

1 : 1 สมการ ตัวแปรทีต ้องการหาคือแรงดันไฟฟ้ าและมุมทางไฟฟ้ า


2 : 1 สมการ ตัวแปรทีต ้องการหาคือกําลังไฟฟ้ าเสมือนและมุมทางไฟฟ้ า
3 : 2 สมการ ตัวแปรทีต ้องการหาคือแรงดันไฟฟ้ าและมุมทางไฟฟ้ า
4 : 2 สมการ ตัวแปรทีต ้องการหาคือกําลังไฟฟ้ าเสมือนและมุมทางไฟฟ้ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 134 :
ระบบไฟฟ้ ากําลังหนึงดังรูป ถ ้าต ้องการคํานวณ load flow โดยวิธ ี Gauss iteration จะต ้องตังสมการในการ
คํานวณ iteration กีสมการ และตัวแปรทีต ้องทําการหาค่าที bus 2 คือข ้อใด

1 : 1 สมการ ตัวแปรทีต ้องการหาคือแรงดันไฟฟ้ าและมุมทางไฟฟ้ า


2 : 1 สมการ ตัวแปรทีต ้องการหาคือกําลังไฟฟ้ าเสมือนและมุมทางไฟฟ้ า
3 : 2 สมการ ตัวแปรทีต ้องการหาคือแรงดันไฟฟ้ าและมุมทางไฟฟ้ า
4 : 2 สมการ ตัวแปรทีต ้องการหาคือกําลังไฟฟ้ าเสมือนและมุมทางไฟฟ้ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 135 :
Swing bus เรียกอีกอย่างหนึงว่า bus ใด
1 : Load bus
2 : Voltage-controlled bus
ธิ

3 : Slack bus
สท

4 : Jacobian bus

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
งวน

เนือหาวิชา : 12 : Symmetrical short circuit analysis


อส

/

รข
ข ้อที 136 :
หม ้อแปลงขนาด 2000 kVA พิกด
ั แรงดัน 24 kV/416 V มีคา่ impedance เป็ น 6% เมือเกิดการลัดวงจรทางด ้าน
แรงตํา จงหากระแสลัดวงจรสามเฟสสูงสุดทางด ้านแรงสูง

วก
1 : 48 kA
2 : 2.77 kA
3 : 46 kA
4 :
า วศิ
0.80 kA
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 137 :
หม ้อแปลงขนาด 2000 kVA พิกด
ั แรงดัน 24 kV/416 V มีคา่ impedance เป็ น 6% เมือเกิดการลัดวงจรทางด ้าน
แรงตํา จงหากระแสลัดวงจรสามเฟสสูงสุดทางด ้านแรงตํา
1 : 46 kA
2 : 0.80 kA
3 : 0.05 kA
4 : 48 kA

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 138 :
การไฟฟ้ าต ้นทางได ้กําหนดกระแสลัดวงจรณ จุดทีจะสร ้างสถานีไฟฟ้ าย่อยระบบ.115 kV เป็ น 100MVA จงหา
์ ้นทางทังหมดมีคา่ กีโอห์ม
ว่าค่าอิมพีแดนซต
1 : 229
2 : 502
3 : 870
4 : 132

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 139 :
ข ้อใดแสดงสูตรการคํานวนกระแสลัดวงจรสามเฟส (three-phase fault) ในรูปวงจรลําดับ (sequence
network) ได ้ถูกต ้อง

1:

2:
ธิ
สท

3:
งวน
อส

4: /

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

วก
ข ้อที 140 :
ข ้อใดคือกระแสลัดวงจรเมือเกิดความผิดพร่องแบบสามเฟส (three-phase fault) ทีบัส 2 เมือกําหนดให ้แรงดัน
ก่อนเกิดความผิดพร่องเป็ น 1 p.u. และมุม 0 องศา และ
า วศิ
สภ

1 : j
– 2.5
2 : j
–4
3 : j
–5
4 : j
– 10

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 141 :
ข ้อใดต่อไปนีกล่าวถูกต ้อง
1 : ในขณะทีเกิด fault แรงดันไฟฟ้ า ณ จุดทีเกิด fault จะมีคา่ เป็ นศูนย์
2 : พิกดั กระแสของอุปกรณ์ตดั ตอนแปรผกผันกับความเร็วในการทํางาน
3 : ค่า thevenin equivalent system impedance สามารถหาได ้จากค่า short-circuit capability
4 : โดยทัวไปพบว่าค่า sub-transient reactance มีคา่ มากกว่าค่า transient reactance

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 142 :
ข ้อใดคือสมมติฐานทีไม่ถก
ู ต ้องในการวิเคราะห์ความผิดพร่อง (fault analysis)
1 : ความต ้านทาน (resistance) และความจุไฟฟ้ า (capacitance) สามารถตัดออกจากการพิจารณาได ้
2 : หม ้อแปลงไฟฟ้ าทุกตัวมีระดับแรงดันตามจุดแยกทีระบุไว ้ (nominal tap)
3 : กระแสโหลด (load current) ไม่มผ ี ลต่อการคํานวณกระแสผิดพร่อง (fault current)
4 : แบบจําลองของเครืองกําเนิดไฟฟ้ าประกอบด ้วยแรงเคลือนไฟฟ้ าคงที (constant voltage source) ต่อ
อนุกรมกับรีแอคแตนซค ์ า่ หนึง

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 143 :
รูปข ้างล่างนีแสดงวงจรลําดับ (sequence network) ของการเกิดความผิดพร่องแบบใด
ธิ
สท

งวน
อส

/

1 : Balanced three-phase fault

รข
2 : Double line-to-ground fault
3 : single line-to-ground fault

วก
4 : Line-to-line fault

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
า วศิ
ข ้อที 144 :
สภ
กําหนดให ้ Zbus มีคา่ ตามทีกําหนดให ้ หากเกิดการลัดวงจรสามเฟสทีบัส 1 โดยทีแรงดันก่อนลัดวงจรเท่ากับ
j
1+ 0 p.u. กระแสลัดวงจรมีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : j
- 7.7 p.u.
2 : j
- 12.5 p.u.
3 : j
- 20.0 p.u.
4 : j
- 14.3 p.u.

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 145 :
ข ้อใดไม่เกียวข ้องกับขนาดขององค์ประกอบกระแสตรง (DC component) ของกระแสลัดวงจรแบบสามเฟสที
เกิดขึนทีเครืองกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัส
1 : ขนาดพิกด ั แรงดันของเครืองกําเนิดไฟฟ้ า
2 : ค่าอิมพีแดนซล ์ ําดับศูนย์ของเครืองกําเนิดไฟฟ้ า
3 : มุมแรงดันไฟฟ้ าขณะทีเกิดการลัดวงจร
4 : ค่า transient reactance ในแนวแกน direct ของเครืองกําเนิดไฟฟ้ า

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 146 :
จากรูป แรงดันไฟฟ้ าทีบัส 3 ขณะจ่ายภาระไฟฟ้ าปกติมค j
ี า่ เท่ากับ 0.95+ 0 p.u. แรงดันไฟฟ้ าทีเครืองกําเนิด
j j
ไฟฟ้ าเท่ากับ 1.055+ 0.182 p.u. และแรงดันไฟฟ้ าทีมอเตอร์เท่ากับ 0.88- 0.121 p.u. หากเกิดการลัดวงจร
สามเฟสทีบัส 3 ค่ากระแสลัดวงจรมีคา่ เท่าใด
ธิ

1 : j
– 6.95 p.u.
j
สท

2 : - 7.92 p.u.
j

3 : - 8.12 p.u.
4 : j
- 8.85 p.u.
งวน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
อส

/

รข
ข ้อที 147 :
เครืองกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัสมีพก
ิ ด
ั 500 MVA, 13.8 kV, 50 Hz ค่า sub-transient reactance เท่ากับ 0.2
p.u. ในขณะทีเครืองกําเนิดไฟฟ้ ากําลังทํางานในภาวะไร ้ภาระ ได ้เกิดการลัดวงจรแบบสามเฟส (three-phase

วก
short circuit) ขึนทีขัวของเครืองกําเนิดไฟฟ้ า จงคํานวณหาค่า rms ของกระแสลัดวงจรทีเกิดขึน
1 : 104.6 kA
2 : 181.2 kA
3
4
า:
:
วศิ
313.8 kA
20.9 kA
สภ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 148 :
เครืองกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัสมีพก
ิ ด
ั 500 MVA, 20 kV, 50 Hz ค่า sub-transient reactance เท่ากับ 0.15 p.u.
ในขณะทีเครืองกําเนิดไฟฟ้ ากําลังจ่ายภาระทีพิกด
ั กําลังและแรงดัน ทีค่า 0.9 PF lagging ได ้เกิดการลัดวงจร
แบบสามเฟส (three-phase short circuit) ขึนทีขัวของเครืองกําเนิดไฟฟ้ า จงคํานวณหาค่า rms ของกระแส
ลัดวงจร
1 : 90.8 kA
2 : 96.2 kA
3 : 103.3 kA
4 : 179.0 kA

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 149 :
เครืองกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัสสามเฟสพิกด ั 500 kVA 2.4 kV มีคา่ sub-transient reactance เท่ากับ 0.2 pu.
ต่อกับมอเตอร์ไฟฟ้ าซงิ โครนัสสามเฟสสองตัวขนานกันดังแสดงในรูปข ้างล่างนี
เมือใชพิ้ กด
ั ของเครืองกําเนิดไฟฟ้ าเป็ นค่าฐาน มอเตอร์แต่ละตัวมีคา่ sub-transient reactance เท่ากับ 0.8 pu.
จงคํานวณหาค่า rms ของกระแสลัดวงจรทีเกิดขึน

1 : 200 A
2 : 347 A
3 : 902 A
4 : 1562 A

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ธิ
สท

ข ้อที 150 :
ข ้อความต่อไปนีข ้อใด ไม่ถก
ู ต ้อง

1 : Reactance ของเครืองกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัสในสถานะ sub-transient มีคา่ มากทีสุด


งวน

2 : การลัดวงจรโดยตรงมีความรุนแรงกว่าการลัดวงจรผ่าน impedance
3 : การลัดวงจรแบบ 3 เฟส ลงดิน เป็ นการลัดวงจรแบบสมมาตร
4 : กระแสลัดวงจรในสถานะ sub-transient มีคา่ มากกว่าสถานะ transient
อส

คําตอบทีถูกต ้อง : 1 /

รข
ข ้อที 151 :

วก
การลัดวงจร ณ จุดใดมีความรุนแรงทีสุด

า วศิ
สภ
1 : P1
2 : P2
3 : P3
4 : P4

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 152 :
การผิดพร่อง (fault) ในลักษณะใด ถือเป็ นแบบ symmetrical fault
1 : Three-phase fault
2 : Single line-to-ground fault
3 : Double line-to-ground fault
4 : Line-to-line fault

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 153 :
j
กําหนดให ้องค์ประกอบบางตัวใน bus impedance matrix ของระบบทีพิจารณามีคา่ ดังนี Z11= 0.28 p.u.,
j j
Z22= 0.25 p.u. และ Z12= 0.1 p.u. ก่อนเกิด three phase fault ทีบัส 2 ของระบบ พบว่า บัส 1 มีขนาดแรง
ดันเท่ากับ 0.99 p.u. บัส 2 มีขนาดแรงดันเท่ากับ 1 p.u. ข ้อใดต่อไปนีกล่าวถูกต ้อง
1 : บัส 1 มีคา่ short circuit capacity สูงกว่าบัส 2
2 : กระแสลัดวงจรแบบสามเฟสทีบัส 2 มีคา่ เท่ากับ 4 p.u.
3 : หลังจากเกิดการลัดวงจรทีบัส 2 แล ้วขนาดของแรงดันทีบัส 1 มีขนาดเท่ากับ 0.4 p.u.
4 : ไม่มข
ี ้อใดกล่าวถูกต ้อง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 154 :
เฟสเซอร์ของ symmetrical component ทีมีขนาดเท่ากันทัง 3 เฟส มีมม
ุ ต่างเฟสเท่ากันและมีทศ
ิ ทางไปทาง
เดียวกัน คือสว่ นประกอบสว่ นใด
1 : Positive sequence
ธิ

2 : Negative sequence
3 : Zero sequence
สท

4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
งวน
อส

ข ้อที 155 :
ข ้อใดไม่ใชจ่ ด
ุ มุง่ หมายในการวิเคราะห์ symmetrical fault /

รข
1 : เพือตังค่า relay
2 : เพือเลือกเครืองป้ องกันกระแสเกิน
3 : เพือให ้ทราบกําลังสูญเสยี ของระบบ

วก
4 : ้
เพือให ้ทราบแรงทีใชในการยึ ดจับอุปกรณ์

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
า วศิ
ข ้อที 156 :
สภ
จงคํานวณ short circuit capacity และกระแสลัดวงจรสามเฟสสมดุลทีเกิดหลังหม ้อแปลงไฟฟ้ า 3 เฟส พิกด

500 kVA, 400 V, impedance=4% โดยหม ้อแปลงนีต่ออยูก ่ บ
ั infinite bus
1 : 12.5 MVA, 18 kA
2 : 15.5 MVA, 20 kA
3 : 18.5 MVA, 22 kA
4 : 20.5 MVA, 25 kA

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 157 :
เมือเกิดการลัดวงจรขึนทันทีทขั ี วของเครืองกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัส จะแบ่งชว่ งเวลาของเหตุการณ์ออกได ้เป็ น 3
ชว่ ง ข ้อใดเรียงลําดับชว่ งเวลาของเหตุการณ์ตามลําดับก่อนหลังได ้ถูกต ้อง
1 : Steady-state period, sub-transient period, transient period
2 : Steady-state period, transient period, sub-transient period
3 : Sub-transient period, transient period, steady-state period
4 : Transient period, sub-transient period, steady-state period

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 158 :
ึ แรงดัน line เท่ากับ 10 kV หากกระแสลัดวงจรมีคา่ 10 kA จงคํานวณค่า short
พิจารณาระบบไฟฟ้ ากําลังซงมี
circuit capacity
1 : 57.7 MVA
2 : 100 MVA
3 : 173.2 MVA
4 : 300 MVA

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 159 :
หากเกิดการลัดวงจรแบบสามเฟสทีบัส 1 ผ่าน Zf=j0.155 p.u. จงคํานวณค่ากระแสลัดวงจรทีเกิดขึนเมือ
ธิ
สท

งวน

1 : j
- 4.2 p.u.
2 : j
- 5.0 p.u.
3 : j
- 5.8 p.u.
j
อส

4 : - 6.45 p.u.
/

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

วก
ข ้อที 160 :
เครืองกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัสพิกดั 500 MVA, 20 kV ทํางานอยูใ่ นสภาวะไร ้ภาระ มีแรงดันไฟฟ้ าทีขัว (terminal
voltage) สูงกว่าค่าพิกด ั อยู่ 5% ได ้เกิด three-phase fault ขึนทีบัส จงหาค่ากระแสลัดวงจรในชว่ ง sub-
วศิ
transient เมือ

สภ

1 : 3.3 p.u.
2 : 3.5 p.u.
3 : 5.0 p.u.
4 : 5.25 p.u.

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 161 :
หากเกิดการลัดวงจรแบบสามเฟสขึนทีบัส 3 ผ่าน Zf=j0.19 p.u. จงหาค่าแรงดันไฟฟ้ าทีบัส 1,2,3 ตามลําดับ

1 : 0.925 p.u., 0.925 p.u., 0 p.u.


2 : 0.925 p.u., 0.925 p.u., 0.525 p.u.
3 : 0.925 pu., 0.925 p.u., 0.925 p.u.
4 : 0 p.u., 0 p.u., 0 p.u.

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 162 :
ธิ
สท

งวน

1 : 150 MVA
2 : 200 MVA
3 : 250 MVA
อส

4 : 300 MVA
/

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

วก
ข ้อที 163 :
การคํานวณหากระแสผิดพร่อง (fault) แบบใด นํ าไปกําหนดขนาดพิกด
ั ของเซอร์กต
ิ เบรกเกอร์
1
2
า:
:
วศิ
Single line-to-ground fault
Double line-to-ground fault
สภ
3 : Line-to-line fault
4 : Three phase fault

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 164 :
ข ้อใดเป็ นแหล่งกําเนิดกระแสลัดวงจรในระบบไฟฟ้ ากําลัง
1 : เครืองกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัส
2 : มอเตอร์ซงิ โครนัส
3 : มอเตอร์เหนียวนํ า
4 : ถูกทุกข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 165 :
ระบบไฟฟ้ ากําลัง 4 บัสระบบหนึงมี bus impedance matrix ใน sequence network เป็ นดังแสดงด ้านล่าง หาก
เกิด three phase fault ทีบัสที 3 จงหาขนาดของกระแสลัดวงจรดังกล่าวว่าเป็ นกี per unit เมือกําหนดให ้ขนาด
ของแรงดันก่อนเกิดการลัดวงจรเป็ น 1 p.u. เท่ากันทุกบัส

1 : 5.896 p.u.
2 : 11.792 p.u.
ธิ

3 : 16.795 p.u.
สท

4 : ไม่มข
ี ้อถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
งวน

ข ้อที 166 :
อส

/

ระบบไฟฟ้ ากําลัง 4 บัสระบบหนึงมี bus impedance matrix ใน sequence network เป็ นดังแสดงด ้านล่าง หาก

รข
เกิด three phase fault ทีบัสที 3 จงหาขนาดของแรงดันทีบัสที 1 ว่าเป็ นกี per unit เมือกําหนดให ้ขนาดของ
แรงดันก่อนเกิดการลัดวงจรเป็ น 1 p.u. เท่ากันทุกบัส

วก
า วศิ
สภ

1 : 0.325 p.u.
2 : 0.465 p.u.
3 : 0.535 p.u.
4 : 1.0 p.u.

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 167 :
Positive impedance (Z1), negative impedance (Z2), zero impedance (Z0) ของสายสง่ เหนือดิน มีคา่ แตก
ต่างกันหรือไม่อย่างไร
1 : Z1 > Z2 > Z0
2 : Z1 < Z2 < Z0
3 : Z1 = Z2 = Z0
4 : Z1 = Z2 < Z0

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 168 :
Positive impedance (Z1), negative impedance (Z2), zero impedance (Z0) ของหม ้อแปลงแบบ core
type มีคา่ แตกต่างกันหรือไม่อย่างไร
1 : Z1 > Z2 > Z0
2 : Z1 < Z2 < Z0
3 : Z1 = Z2 = Z0
ธิ

4 : Z1 = Z2 < Z0
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

งวน

ข ้อที 169 :
Positive impedance (Z1), negative impedance (Z2), zero impedance (Z0) ของเครืองกําเนิดไฟฟ้ าแบบ
อส

ขัวยืน (salient pole generator) มีคา่ แตกต่างกันหรือไม่อย่างไร


/

1 : Z1 > Z2 > Z0

รข
2 : Z1 < Z2 < Z0
3 : Z1 = Z2 = Z0
4 : Z1 = Z2 > Z0

วก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
า วศิ
ข ้อที 170 :
สภ
ถ ้าหม ้อแปลง 1000 kVA 24 kV/416 V ทางด ้านแรงสูงต่อแบบ delta ไม่ตอ
่ ลงดิน และทางด ้านแรงตําต่อแบบ
wye ต่อลงดินโดยตรง ถ ้ากระแสลัดวงจรลงดินทีเฟส A กระแสไหลในเฟส A, B, C มีคา่ เป็ นลําดับดังนี 20 kA,
20 kA, 10 kA กระแส zero sequence ทางด ้านแรงสูงมีคา่ เท่าใด
1 : 173 A
2 : 10 kA
3 : 20 kA
4 : 0A

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 171 :
วงจรลําดับ (sequence network) ของระบบไฟฟ้ ากําลังหนึง มีคา่ positive negative และ zero sequence
impedance เรียงลําดับได ้ดังนี Z1=0.01 p.u., Z2=0.01 p.u. และ Z0=0.01 p.u. ถ ้าเกิดลัดวงจรลงดินทีเฟส
A และสมมุตแรงดันมีคา่ 1.0 p.u. ให ้หากระแสลัดวงจรลงดินทีเฟส A
1 : 100 p.u.
2 : 33 p.u.
3 : 11 p.u.
4 : 300 p.u.

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 172 :
ข ้อใดถูกต ้องเกียวกับ symmetrical component เมือกําหนด

1:
ธิ
สท

2:

งวน

3:
อส

/

รข
วก
4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
า วศิ
สภ
ข ้อที 173 :

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 174 :

1:
ธิ
สท

2:

งวน

3:
อส

/

รข
วก
4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
า วศิ
สภ
ข ้อที 175 :

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 176 :
เมือเกิดการลัดวงจรจากเฟส b แบบ single-line-to-ground fault ในระบบสง่ จ่ายไฟฟ้ า เงือนไขในข ้อใดไม่ถก

ต ้อง
1 : กระแสไฟฟ้ าลัดวงจรทีเฟส a เท่ากับศูนย์
2 : กระแสไฟฟ้ าลัดวงจรทีเฟส b เท่ากับศูนย์
3 : กระแสไฟฟ้ าลัดวงจรทีเฟส c เท่ากับศูนย์
4 : แรงดันไฟฟ้ าระหว่างเฟส b กันดินมีคา่ เท่ากับศูนย์

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ธิ
สท

ข ้อที 177 :

เมือเกิดการลัดวงจรระหว่างเฟส b กับ c แบบ double-line-to-ground fault ผ่าน impedance ในระบบไฟฟ้ า


งวน

โดยไม่คด ิ ผลของกระแสทีไหลก่อนเกิดการลัดวงจร ข ้อใดไม่ถกู ต ้อง


1 : กระแสไฟฟ้ าของเฟส a มีคา่ เท่ากับศูนย์
2 : ขนาดของกระแสไฟฟ้ าของเฟส b เท่ากับเฟส c
อส

3 : แรงดันไฟฟ้ าระหว่างเฟส b กับดินมีคา่ เท่ากับแรงดันไฟฟ้ าเฟส c กับดิน


4 : ไม่มค
ี ําตอบทีถูกต ้อง /

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

วก
ข ้อที 178 :
ลําดับเฟสของแรงดันไฟฟ้ าของสว่ นประกอบสมมาตรลําดับบวกและลบ คือข ้อใด ถ ้าระบบไฟฟ้ าประกอบด ้วย
เฟส a, b และ c
1

:
วศิ
abc และ abc
สภ
2 : abc และ acb
3 : acb และ acb
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 179 :
ึ มม
กําหนดให ้แรงดันไฟฟ้ าต่อเฟส (phase voltage) ของเฟส a, b และ c มีขนาดเท่ากับ 220 V ซงมี ุ เฟสต่าง

กัน 120 องศา จงหาขนาดของแรงดันไฟฟ้ าของสวนประกอบสมมาตร (symmetrical component) ของ
positive, negative และ zero sequence
1 : V1 = 220 V มุม 0 องศา, V2 = 0 V, V0 = 0 V
2 : V1 = 0 V, V2 = 220 V มุม -120 องศา, V0 = 0 V
3 : V1 = 0 V, V2 = 0 V, V0 = 220 V มุม 0 องศา
4 : V1 = 220 V มุม 0 องศา, V2 = 220 V มุม -120 องศา, V0 = 0 V

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 180 :
ถ ้าระบบไฟฟ้ าเกิดการลัดวงจรของเฟส a แบบ single-line-to-ground fault จงหาค่ากระแสลัดวงจรทีเกิดขึน
เมือกําหนดให ้แรงดันไฟฟ้ าก่อนการเกิดลัดวงจรในระบบไฟฟ้ าเท่ากับ 1.05 p.u. มุม 0 องศา และค่า positive,
j j j
negative และ zero impedance มีคา่ เป็ น 0.25, 0.1และ 0.2 p.u. ตามลําดับ
1 : -j5.7273 p.u.
2 : j5.7273 p.u.
3 : -j1.9091 p.u.
4 : j1.9091 p.u.
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 181 :
ถ ้า positive sequence current ของเฟส a มีคา่ เป็ น 0.94 A positive sequence current ของเฟส c จะมีคา่
เท่าไร เมือระบบไฟฟ้ าสามเฟสประกอบด ้วยกระแสสามเฟสดังนี
ธิ

1 : 0.53 A
สท

2 : 1.6 A

3 : 0A
4 : 0.94 A
งวน

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
อส

/

รข
ข ้อที 182 :
ถ ้าเกิดการลัดวงจรแบบ line-to-line fault ระหว่างเฟส b กับเฟส c ของระบบ และค่าของ fault impedance =
j0.05 p.u. ให ้คํานวณ per unit zero sequence current ทีไหลในเฟส a ถ ้ากําหนดให ้ pre fault voltage = 1

วก
p.u. และไม่คด ิ ผลของ pre fault current
1 : 0 p.u.
2 : j
- 2.22 p.u.
3
า: j วศิ
2.22 p.u.
4 : ข ้อมูลไม่เพียงพอ
สภ

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 183 :
จงหาแรงดัน zero-sequence ของเฟส A จากเวกเตอร์ของแรงดันไฟฟ้ าในเฟส ABC ทีกําหนดให ้ดังนี

1 : 0 p.u.
2 : 1.155 p.u.
3 : 2 p.u.
4 : 3.464 p.u.

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 184 :
กรณีเกิด double-line-to-ground fault ระหว่าง เฟส B และ เฟส C ลงดิน ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้อง

1:

2:
3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 185 :
กรณีเกิด single-line-to-ground fault ทีเฟส A ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้อง

1:

2:
ธิ

3:
สท

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
งวน
อส

ข ้อที 186 :
/

จากข ้อมูลแรงดันเฟสหลังจากทีเกิดความผิดพร่อง (post-fault phase voltages) จงระบุวา่ fault ทีเกิดขึนน่าจะ

รข
เป็ นแบบใด

วก
1 : Double line-to-ground fault
2 : Single line-to-ground fault
3 : Line-to-line fault
4 :
า วศิ
Balanced three-phase fault
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 187 :

จงคํานวณหาขนาดของกระแสในเฟส a จากแผนภาพการเชอมต่
อ sequence networks ข ้างล่างนี

1 : 2 p.u.
2 : 4 p.u.
3 : 6 p.u.
4 : 8 p.u.

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 188 :
จงหาค่า zero sequence current ของเฟส a จากรูป ถ ้ากําหนดให ้
ธิ
สท

งวน
อส

/

รข
1:
2:

วก
3:
4 : 0 p.u.

วศิ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

สภ

ข ้อที 189 :
การวิเคราะห์ single-line-to-ground fault ในระบบ sequence network ต ้องใช ้ network ลําดับเฟสใดบ ้าง
และ network หล่านันต ้องนํ ามาต่อกันอย่างไร
1 : ้
ใชเฉพาะ zero-sequence network เท่านัน
2 : ใช ้ positive sequence network มาต่อขนานกับ negative sequence network
3 : ใช ้ positive negative และ zero sequence networks มาต่ออนุกรมกัน
4 : ใช ้ positive negative และ zero sequence networks มาต่อขนานกัน

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 190 :
จงคํานวณหาแรงดันไฟฟ้ าในเฟส b และ c จากข ้อมูลต่อไปนี

1:

2:

3:

4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 191 :
จงคํานวณค่า zero sequence current จาก phase current ต่อไปนี
ธิ
สท

1 : 0 p.u.

2:
งวน

3:
4:
อส

/

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

รข
วก
ข ้อที 192 :
ึ บกําลังไฟฟ้ ามาจากเครืองกําเนิดไฟฟ้ าทีไม่ได ้ต่อ
จากภาพแสดงการเกิดการลัดวงจรระหว่างเฟส b กับ c ซงรั
ภาระอยู่ ข ้อใดแสดงสมการของกระแสและแรงดันได ้ถูกต ้อง
า วศิ
สภ

1: Vb = Vc, Ia = 0, Ib = Ic
2 : Vb = Vc, Ia = 0, Ib = -Ic
3 : Va = Vb = Vc, Ia = 0, Ib = Ic
4 : Va= Vb = Vc, Ia = 0, Ib = -Ic

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 193 :
ข ้อใดถูกต ้อง
1 : ขนาดแรงดันแต่ละเฟสของ zero sequence ไม่จําเป็ นต ้องเท่ากัน
2 : กระแสลัดวงจรไม่สมมาตรสามารถเขียนในรูป symmetrical component ได ้เสมอ
3 : ถูกทัง 2 ข ้อ
4 : ผิดทัง 2 ข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 194 :
ข ้อใดถูกต ้อง
1 : หม ้อแปลง delta-wye แบบ neutral ต่อลงดินมีวงจร positive sequence เหมือนกับวงจร negative
sequence
2 : Bolted fault คือ การลัดวงจรทีผ่าน impedance ทีมีคา่ เป็ นศูนย์
3 : ถูกทัง 2 ข ้อ
4 : ผิดทัง 2 ข ้อ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 195 :
ธิ

ข ้อใดถูกต ้อง
สท

1 : การวิเคราะห์ line-to-line fault ต ้องคํานวณหา zero sequence


2 : ขนาดกระแส positive sequence เท่ากับขนาดกระแส negative sequence สําหรับ double line-to-


งวน

ground fault
3 : ถูกทัง 2 ข ้อ
4 : ผิดทัง 2 ข ้อ
อส

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
/

รข
ข ้อที 196 :
จาก function operator “a” ในการวิเคราะห์ symmetrical component จงคํานวณหาค่า a2 -1

วก
1 : j
-1.5 - 0.866
2 : j
1.5 + 0.866
3 : j
1.5 - 0.866
วศิ
4 : -1.5 + 0.866 j

สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 197 :
ในการเกิด line-to-line fault ค่าของกระแส zero sequence จะมีคา่ เป็ นเท่าไร
1 : เท่ากับค่ากระแส positive sequence
2 : เท่ากับค่ากระแส negative sequence
3 : Infinity
4 : 0

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 198 :
ในการจําลองการเกิด double line-to-ground fault จะต ้องให ้ sequence network ต่อกันอย่างไร
1 : Sequence network ทังสามชุดต่อกันแบบอนุกรม
2 : Sequence network ทังสามชุดต่อกันแบบขนาน
3 : Positive sequence network และ negative sequence network ต่อกันแบบอนุกรม
4 : Positive sequence network และ negative sequence network ต่อกันแบบขนาน

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 199 :
จงหา negative sequence ของกระแสทีไหลในสาย a เมือพิจารณากระแสเฟส (phase current) ในระบบ
ไฟฟ้ าสามเฟสเป็ นดังนี

1:

2:

3:

4:
ธิ
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

งวน

ข ้อที 200 :
ถ ้าเครืองกําเนิดไฟฟ้ าขณะไม่มภ ื
ี าระเกิด single line-to-ground fault การเชอมต่
อ sequence networks ของ
positive, negative และ zero sequences จะเป็ นอย่างไร
อส

1 : ต่อขนานและอนุกรมกัน /

2 : ต่ออนุกรมและขนานกัน

รข
3 : ต่อขนานกันหมด
4 : ต่ออนุกรมกันหมด

วก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

วศิ
ข ้อที 201 :

จากรูป จงหา zero sequence ของกระแสเฟส a
สภ

1:
2:
3:0A
4 : ไม่สามารถหาคําตอบได ้

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 202 :
กําหนดให ้ line to line voltage เป็ นไปตามทีกําหนดในภาพ ข ้อใดเขียนแรงดันในรูป symmetrical
component ได ้ถูกต ้อง
ธิ
สท

งวน

1:
อส

/

รข
2:

วก
3:

4:
า วศิ
สภ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 203 :
I
กําหนดให ้ line to line voltage เป็ นไปตามทีกําหนดในภาพ จงหา positive sequence ของ a

1:

2:

3:
4 : ไม่มข
ี ้อถูก

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 204 :
ระบบไฟฟ้ าสามเฟสเกิดกระแสลัดวงจรขนาด 1000 A จงหาค่า per unit ของกระแสลัดวงจร เมือกําหนดค่าฐาน
ธิ

เป็ น 100 MVA, 230 kV


สท

1 : 1 p.u.
2 : 2 p.u.

3 : 3 p.u.
งวน

4 : 4 p.u.

คําตอบทีถูกต ้อง : 4
อส

/

รข
ข ้อที 205 :
ระบบไฟฟ้ าสามเฟสเกิดกระแสลัดวงจรขนาด 2 p.u. จงหาค่ากระแสลัดวงจรจริง (actual) เมือกําหนดค่าฐาน
เป็ น 100 MVA, 230 kV

วก
1 : 250 A
2 : 500 A
3 : 750 A
4 : 1000 A
า วศิ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สภ

ข ้อที 206 :
ทีจุดจ่ายไฟของระบบสามเฟสมี short circuit capacity (SCC) = 100 MVA, ขนาดแรงดัน 230 kV ถ ้าเกิดการ
j
ลัดวงจรทีจุดจ่ายไฟแบบสามเฟสลงดินผ่าน impedance= 300 ohm จงหา per unit ของกระแสลัดวงจร
1 : j
- 0.638 p.u.
2 : j
- 0.668 p.u.
3 : j
- 0.768 p.u.
4 : j
- 1.0 p.u.

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 207 :
ทีจุดจ่ายไฟของระบบสามเฟสมี short circuit capacity (SCC) = 100 MVA, ขนาดแรงดัน 230 kV ถ ้าเกิดการ
j
ลัดวงจรทีจุดจ่ายไฟแบบสามเฟสลงดินผ่าน impedance= 300 ohm จงหากระแสลัดวงจร
1 : j
- 160 A
2 : j
- 320 A
3 : j
- 500 A
4 : j
- 600 A

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 208 :
X
ในระบบสามเฟสทีมีเครืองกําเนิดไฟฟ้ าขนาด 1000 kVA, 18 kV, =10% หากเครืองกําเนิดไฟฟ้ านีเกิดการ
ลัดวงจรแบบสามเฟสลงดินแบบ bolted ขณะเดินเครืองแบบไร ้ภาระ จงหากระแสลัดวงจร
1 : j
- 320 A
2 : j
- 800 A
3 : j
- 1000 A
4 : j
- 1600 A

คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ธิ
สท

ข ้อที 209 :
X
ในระบบสามเฟสทีมีเครืองกําเนิดไฟฟ้ าขนาด 1000 kVA, 18 kV, =10% หากเครืองกําเนิดไฟฟ้ านีเกิดการ

ลัดวงจรแบบสามเฟสลงดินแบบ bolted ขณะเดินเครืองแบบไร ้ภาระ จงหา per unit ของกระแสลัดวงจร


j
งวน

1 : - 2 p.u.
2 : j
- 5 p.u.
3 : j
- 8 p.u.
j
อส

4 : - 10 p.u.
/

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

รข
วก
ข ้อที 210 :
X
ในระบบสามเฟสทีมีเครืองกําเนิดไฟฟ้ าขนาด 1000 kVA, 18 kV, =10% หากเครืองกําเนิดไฟฟ้ านีเกิดการ
j
ลัดวงจรแบบสามเฟสผ่าน impedance= 32.4 ohm จงหากระแสลัดวงจร
1 : j วศิ
- 160 A
j

2 : - 320 A
j
สภ
3 : - 800 A
4 : j
- 1000 A

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 211 :
แรงดันเป็ นแบบ positive sequence ข ้อใดถูกต ้อง
1 : มุมเฟสของแรงดันเฟส a, เฟส b และเฟส c คือ 0 องศา, 120 องศา และ 240 องศา ตามลําดับ
2 : มุมเฟสของแรงดันเฟส a, เฟส b และเฟส c คือ 0 องศา, 240 องศา และ 120 องศา ตามลําดับ
3 : มุมเฟสของแรงดันเฟส a, เฟส b และเฟส c คือ 0 องศา, -120 องศา และ 240 องศา ตามลําดับ
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูกต ้อง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 212 :
แรงดันเป็ นแบบ negative sequence ข ้อใดถูกต ้อง
1 : มุมเฟสของแรงดันเฟส a, เฟส b และเฟส c คือ 0 องศา, 120 องศา และ 240 องศา ตามลําดับ
2 : มุมเฟสของแรงดันเฟส a, เฟส b และเฟส c คือ 0 องศา, 240 องศา และ 120 องศา ตามลําดับ
3 : มุมเฟสของแรงดันเฟส a, เฟส b และเฟส c คือ 0 องศา, -120 องศา และ 240 องศา ตามลําดับ
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูกต ้อง

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 213 :
ถ ้า |a| = |1| มีมม
ุ เฟส 120 องศา และเป็ นระบบ positive sequence ข ้อใดถูกต ้อง
V V V 2Va
1: b=a a, c=a
2 : Vb = a2Va , Vc = aVa
3 : Vb = -a2Va , Vc = -aVa
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูกต ้อง

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ธิ
สท

ข ้อที 214 :
งวน

ถ ้า |a| = |1| มีมม


ุ เฟส 120 องศา และเป็ นระบบ negative sequence ข ้อใดถูกต ้อง
V V V 2Va
1: b=a a, c=a
2 : Vb = a2Va , Vc = aVa
อส

/

V - 2V V - V
3: b= a a, c= a a

รข
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูกต ้อง

วก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 215 :
า วศิ
ในระบบ symmetrical component ข ้อใดถูกต ้อง
สภ
1 : ใน zero sequence มุมเฟสของแรงดันเฟส a, เฟส b และเฟส c เท่ากันหมด
2 : ใน positive sequnce มุมเฟสของแรงดันเฟส a, เฟส b และเฟส c เท่ากันหมด
3 : ใน negative sequence มุมเฟสของแรงดันเฟส a, เฟส b และเฟส c เท่ากันหมด
4 : ใน zero sequence มุมเฟสของแรงดันในแต่ละเฟส จะห่างกัน 120 องศา

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 216 :
เครืองกําเนิดไฟฟ้ า G1 และ G2 ต่อขนานกันเพือร่วมจ่ายภาระผ่านหม ้อแปลง delta/wye ดังรูป G1และ G2 มี
ค่า sub-transient reactance เท่ากับ 0.375 p.u. และ 0.75 p.u. ตามลําดับ หม ้อแปลงไฟฟ้ ามีพก
ิ ด
ั 75 MVA,
13.8/69 kV มีคา่ reactance เท่ากับ 10 % หากกําหนดให ้หม ้อแปลงไฟฟ้ าเป็ นฐานของระบบ จุด P ก่อน
ลัดวงจรมีแรงดันเท่ากับ 66 kV กระแสลัดวงจร sub-transient ทีจุด P มีคา่ กี per unit

1 : j
– 1.741 p.u.
2 : j
– 2.322 p.u.
3 : j
– 2.733 p.u.
4 : j
– 3.214 p.u.

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 217 :
เครืองกําเนิดไฟฟ้ า G1 และ G2 ต่อขนานกันเพือร่วมจ่ายภาระผ่านหม ้อแปลง delta/wye ดังรูป G1และ G2 มี
ค่า sub-transient reactance เท่ากับ 0.375 p.u. และ 0.75 p.u. ตามลําดับ หม ้อแปลงไฟฟ้ ามีพก
ิ ด
ั 75 MVA,
13.8/69 kV มีคา่ reactance เท่ากับ 10 % หากกําหนดให ้หม ้อแปลงไฟฟ้ าเป็ นฐานของระบบ จุด P ก่อน
ลัดวงจรมีแรงดันเท่ากับ 66 kV กระแสลัดวงจร sub-transient ทีจุด P มีคา่ กี kA
ธิ
สท

งวน

1 : 2.691 kA
อส

2 : 1.716 kA
3 : 1.935 kA /

4 : 2.327 kA

รข
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

วก
ข ้อที 218 :
เครืองกําเนิดไฟฟ้ า G1 และ G2 ต่อขนานกันเพือร่วมจ่ายภาระผ่านหม ้อแปลง delta/wye ดังรูป G1และ G2 มี
า วศิ
ค่า sub-transient reactance เท่ากับ 0.375 p.u. และ 0.75 p.u. ตามลําดับ หม ้อแปลงไฟฟ้ ามีพก
ิ ด
ั 75 MVA,
13.8/69 kV มีคา่ reactance เท่ากับ 10 % หากกําหนดให ้หม ้อแปลงไฟฟ้ าเป็ นฐานของระบบ หากทราบว่า
j
สภ
กระแสลัดวงจรชว่ ง sub-transient ทีจุด P มีคา่ เท่ากับ – 2.735 p.u. จงหากระแสลัดวงจรจาก G1 ว่าเป็ นกี per
unit

1 : j
– 1.823 p.u.
2 : j
– 0.912 p.u.
3 : j
– 1.234 p.u.
4 : j
– 1.501 p.u.

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 219 :
เครืองกําเนิดไฟฟ้ า G1 และ G2 ต่อขนานกันเพือร่วมจ่ายภาระผ่านหม ้อแปลง delta/wye ดังรูป G1และ G2 มี
ค่า sub-transient reactance เท่ากับ 0.375 p.u. และ 0.75 p.u. ตามลําดับ หม ้อแปลงไฟฟ้ ามีพก
ิ ด
ั 75 MVA,
13.8/69 kV มีคา่ reactance เท่ากับ 10 % หากกําหนดให ้หม ้อแปลงไฟฟ้ าเป็ นฐานของระบบ หากทราบว่า
j
กระแสลัดวงจรชว่ ง sub-transient ทีจุด P มีคา่ เท่ากับ – 2.735 p.u. จงหากระแสลัดวงจรจาก G2 ว่าเป็ นกี per
unit

1 : j
– 1.823 p.u.
2 : j
– 0.912 p.u.
3 : j
– 1.234 p.u.
4 : j
– 1.501 p.u.
ธิ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2
สท

ข ้อที 220 :
งวน

เครืองกําเนิดไฟฟ้ ามีพก
ิ ด X
ั 20 MVA, 13.8 kV และมี d=0.25 p.u. มีคา่ reactance ของ negative sequence
และ zero sequence เท่ากับ 0.35 และ 0.1 p.u. ตามลําดับ มีการต่อลงดินโดยตรง (solidly grounded) จง
หากระแสลัดวงจร Ia1 ทีขัวเครืองกําเนิดไฟฟ้ าเมือเกิดลัดวงจรแบบ double line-to-ground ระหว่างเฟส b และ
อส

เฟส c /

1 : j
– 1.667 p.u.
j

รข
2 : – 3.05 p.u.
3 : j
– 4.12 p.u.
4 : j
– 1.43 p.u.

วก
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

า วศิ
ข ้อที 221 :
X
สภ
เครืองกําเนิดไฟฟ้ ามีพก
ิ ด
ั 20 MVA, 13.8 kV และมี d=0.25 p.u. มีคา่ reactance ของ negative sequence
และ zero sequence เท่ากับ 0.35 และ 0.1 p.u. ตามลําดับ มีการต่อลงดินโดยตรง (solidly grounded) จง
หากระแสลัดวงจร Ia2 ทีขัวเครืองกําเนิดไฟฟ้ าเมือเกิดลัดวงจรแบบ double line-to-ground ระหว่างเฟส b และ
เฟส c
1 : j0.68 p.u.
2 : -j0.87 p.u.
3 : –j1.05 p.u.
4 : j1.22 p.u.
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 222 :
เครืองกําเนิดไฟฟ้ ามีพก
ิ ด X
ั 20 MVA, 13.8 kV และมี d=0.25 p.u. มีคา่ reactance ของ negative sequence
และ zero sequence เท่ากับ 0.35 และ 0.1 p.u. ตามลําดับ มีการต่อลงดินโดยตรง (solidly grounded) จง
หากระแสลัดวงจร Ia0 ทีขัวเครืองกําเนิดไฟฟ้ าเมือเกิดลัดวงจรแบบ double line-to-ground ระหว่างเฟส b และ
เฟส c
1 : j0.93 p.u.
2 : j1.47 p.u.
3 : j1.85 p.u.
4 : j2.37 p.u.
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 223 :
จงหาค่า positive sequence เฟส b เมือกําหนดให ้

1:
2:
3:
ธิ

4:
สท

คําตอบทีถูกต ้อง : 3
งวน

ข ้อที 224 :
อส

/

จงหาค่า positive sequence เฟส c

รข
วก
1:
2:
3:
า วศิ
4:
สภ

คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 225 :
จงหาค่า negative sequence เฟส b เมือกําหนดให ้

1:
2:
3:
4:

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

สภาวิศวกร 487/1 ซอย รามคําแหง 39 (เทพลีลา 1) แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 สายด่วน
1303 โทรสาร 02-935-6695
ิ ธิ 2555 สภาวิศวกร : ติดต่อสภาวิศวกร | Contact
@ สงวนลิขสท

You might also like