You are on page 1of 15

CONSUMER’S BUYING BEHAVIOR OF READY MADE CLOTHES VIA APPLICATION

SHOPEE OF FEMALE IN BANGKOK METROPOLITAN REGION

Suchanya Saichana1*, Panisara Kongkaew1, Nichapa Puttan1


1Faculty of Administration and Management, King Mongkut's Institute of Technology
Ladkrabang, Bangkok 10520, Thailand

ABATRACT ARTICLE INFO


Nowadays smartphones have a significant factor that Article history:
Received 16 August 2019
drives service providers to enter the online shopping market. Accepted 9 January 2020
From a market survey, the beginning of the year 2017 until mid- Available online
15 June 2020
year period showed that the users of smartphone purchased
goods through is cellphone about 59% (Digital Age, 2017). Keyword:
Shopee, an application for online shopping market, sets a major Shopee Application
footprint onto the social media as a communication tool to (แอปพลิเคชั่น Shopee),
include with the modern trading systems. With female being Behavior (พฤติกรรม),
the gender who satisfies through social media and pays more Marketing Mix E-
attention to fashion, the objective of this study is to study the Commerce (ส่วนผสมทาง
behavior on “clothing-purchasing” through the Shopee การตลาด E-Commerce)
application of female in Bangkok Metropolitan Region. The data
is collected from a group of 385 samples through online
questionnaire then analyzed with description statistics and
inferential statistics comprise of Multiple Regression, One-way
ANOVA and Least Significant Difference (LSD).
Demographic data analysis shows females that are aged
from 18-25 of years, single, and the undergraduated students
have an average income of 5,001-10,000 Baht. This group
purchase clothing through their own decisions. Their clothing
choices are mainly T-shirt that were bought from their own
liking. This group purchased frequently as to once a month with
an average expense of 201- 400 Baht per purchase. The results
concluded that Marketing Mix of E-commerce (6P) factors, the
product factor is positively influenced “clothing-purchasing” via
Shopee Application of the female in Bangkok Metropolitan
Region; on the contrary, the price factor that affects the
clothing purchase is negatively influenced.

*Author e-mail address: suchanya.sa@kmitl.ac.th

-1-
พฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน Shopee ของสตรี
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สุชัญญา สายชนะ1, ปาณิสรา คงแก้ว1, ณิชาภา พุฒตาล1


1คณะการบริหารและจัดการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง,
กรุงเทพมหานคร 10520, ประเทศไทย

บทคัดย่อ
ปั จ จุ บั น สมาร์ ตโฟนเป็ น ปั จ จัย ส าคัญ ที่ท าให้ ผู้ ให้ บริการเดินหน้าบริการแอปพลิ เคชัน เข้าสู่ ตลาด
ชอปปิงออนไลน์อย่างเต็มตัว โดยผลการสารวจพบว่าต้นปี – กลางปี 2560 มีผู้ใช้งานสมาร์ตโฟนในประเทศ
ไทยกว่าร้อยละ 59 ได้ทาการซื้อสินค้าผ่านโทรศัพท์มือถือ (ดิจิทัลเอจ. 2560) ซึ่งแอปพลิเคชันตลาดขายสินค้า
ออนไลน์ Shopee ได้นาจุดเด่นของโซเชียลมีเดียในด้านการสื่อสารมารวมเข้ากับการซื้อ -ขาย ในขณะเดียวกัน
ผู้หญิงมีพฤติกรรมที่ชื่นชอบการใช้โซเชียลมีเดีย และให้ความสนใจซื้อเสื้อผ้า มากกว่าผู้ชาย โดยการศึกษาครั้ง
นี้ มีวั ตถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ศึก ษาพฤติ กรรมการซื้ อ เสื้ อผ้ าส าเร็จรูป ผ่ านแอปพลิ เคชั น Shopee ของสตรีในเขต
กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจานวน 385 คน ผ่านทางแบบสอบถามทาง
ออนไลน์ วิเคราะห์ ผ ลโดยใช้ส ถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้ว ย Multiple Regression
One–Way ANOVA และ Least Significant Difference (LSD)
ผลการวิเคราะห์ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ พบว่า สตรีส่วนใหญ่อายุ 18 – 25 ปี สถานภาพโสด
ศึกษาในระดับปริญญาตรี หรือ เทียบเท่า เป็นนักเรียน/นักศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,001 – 10,000 บาท
และพบว่าส่วนใหญ่ซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปด้วยตนเอง โดยซื้อเสื้อยืด ซื้อตามความชอบ ความถี่เฉลี่ยในการซื้อ
เดือนละ 1 ครั้ง และค่าใช้จ่ายในการซื้อเฉลี่ยครั้งละ 201 – 400 บาท ส่วนผลการศึกษาปัจจัยการส่วนผสม
ทางการตลาด E-Commerce (6P) ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ พฤติ ก รรมการซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป ผ่ า นแอปพลิ เคชั น
Shopee ของสตรีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ได้แก่ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
การซื้อ เสื้ อ ผ้ าส าเร็ จ รู ป ผ่ านแอปพลิ เคชัน Shopee ในทิ ศ ทางเดี ยวกั น และปั จจัย ด้านราคามี อิท ธิพ ลต่ อ
พฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน Shopee ในทิศทางตรงกันข้าม

บทนา อีคอมเมิร์ซที่เล็งเห็นถึงเทรนด์ที่เปลี่ยนไปนี้ ได้หัน


ปั จ จุ บั น แนวโน้ ม การใช้ งานสมาร์ ต โฟน มาให้ความสนใจกับการพัฒนาแอปพลิเคชันซื้อขาย
เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ซึ่ง สิ น ค้ าออนไลน์ เพื่ อ รองรับ กั บ ความต้ อ งการของ
เป็ น ผลมาจากการพั ฒ นา Mobile Applications ลู ก ค้ าในอนาคต เช่ น การใช้แ อปพลิ เคชั น สั่ งซื้ อ
ในปี 2560 ร้ อ ยละ 90 ของผู้ ใ ช้ อิ น เตอร์ เน็ ต ใน เสื้อผ้าสาเร็จรูปออนไลน์ นับเป็นโอกาสดีส าหรับ
เอเชีย ตะวัน ออกเฉียงใต้มาจากทางสมาร์ตโฟนก ผู้ประกอบการที่จะใช้ Mobile Applications เพื่อ
ล่าวคือสมาร์ตโฟนกลายเป็นเครื่องมือสาคัญแทนที่ เป็ น เครื่อ งมื อ ในการเข้ า ถึ งผู้ บ ริ โ ภค โดยเฉพาะ
คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟนช่วยให้คนสามารถเข้าถึง ธุรกิจที่มีฐานลูกค้าประจาที่ต้องเน้นการสื่อสารเพื่อ
อินเตอร์เน็ตได้ง่ายขึ้น ดังนั้นร้านค้าออนไลน์ในโลก เพิ่มยอดขาย พบว่า การซื้อ -ขายสินค้าออนไลน์ใน

-2-
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้น ใช้ ง านโซเชี ย ลมี เดี ย ยอดนิ ย มอื่ น ๆ เนื่ อ งจาก
บนสมาร์ตโฟน ขณะที่ประเทศไทยนับเป็นตลาดที่ เสื้ อ ผ้ า เค รื่ อ งนุ่ งห่ ม ถื อ เป็ น ห นึ่ งใน สี่ ข อ ง
มี ค วามน่ า สนใจเป็ น อย่ า งมาก (สุ ช าดา พลาชั ย ปัจจัยพื้นฐานที่จาเป็นการต่อดารงชีวิตของมนุษย์
ภิรมย์ศิล, 2554) เนื่ องจาก พบว่า ตั้งแต่ต้นปี ถึง ซึ่ ง นอกจากจะมี ป ระโยชน์ ส าหรั บ สวมใส่ เพื่ อ
ก ล า ง ปี 2560 มี ผู้ ใ ช้ ง า น ส ม า ร์ ท ป้องกันอากาศหนาวเย็นหรือแสงแดด ป้องกันการ
โฟนกว่ า ร้ อ ยละ 59 ที่ ไ ด้ ท าการซื้ อ สิ น ค้ า ผ่ า น กระทบกระแทกจากวัตถุอื่นๆ เสื้อผ้าเครื่องนุ่มห่ม
โทรศัพท์มือถือ และยังมีการคาดการณ์ว่าในปีพ.ศ. ยังเป็นส่วนช่วยในการเสริมสร้างบุคลิกภาพแสดง
2561 ประเทศไทยจะเป็นประเทศที่ 9 ที่มีจานวน ให้เห็นถึงรสนิยม ภาพลั กษณ์ ความคิด และสังคม
ผู้ใช้สมาร์ตโฟนมากที่สุดในโลกด้วยสูงถึง 27 ล้าน อี ก ด้ ว ย และเนื่ อ งด้ ว ยเวลาที่ เปลี่ ย นแปลงไป
เครื่อง (ดิจิทัลเอจ, 2560) ประกอบกับเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าทันสมัย
เนื่ อ งจากสถิ ติ ข อง Shopee ท าให้ ไ ด้ มากยิ่งขึ้น ทาให้เสื้อผ้าได้ถูกพัฒ นาคุณภาพ และ
ทราบถึ งความนิ ย มในสิ น ค้ า กลุ่ ม แฟชั่ น สุ ข ภาพ รูปแบบอยู่อย่างสม่าเสมอ สาหรับในประเทศไทย
และความงาม ซึ่ งเป็ น กลุ่ ม สิ น ค้ าที่ มี ก ารใช้ เวลา กลุ่ ม ธุ ร กิ จ สิ น ค้ า ประเภทเสื้ อ ผ้ า เครื่ อ งแต่ ง กาย
ค้นหาผลิตภัณ ฑ์น านกว่าสินค้ากลุ่มอื่นทาให้ส ถิติ ส า เร็ จ รู ป ถื อ เป็ น ต ล า ด ที่ มี ข น า ด ใ ห ญ่
ผู้ใช้ของ Shopee ต่างจากอีคอมเมิร์ซอื่นเนื่องจาก (Moonlightkz, 2014)
สถิติชี้ว่าร้อยละ 58 ของลูกค้า Shopee เป็นเพศ จากการศึกษา พบว่าตลาดซื้อขายเสื้อผ้า
หญิง (Darkhorse, 2019) เพราะเพศหญิงเป็นเพศ สาเร็จรูปหน้าร้านมียอดขายลดลงเพราะผู้ซื้อหันไป
ที่ ให้ ค วามสนใจกับ เรื่ อ งความสวยความงามเป็ น ใช้แอปพลิเคชันซื้อขายออนไลน์กันมากขึ้น ปัจจุบัน
อย่ างมาก ไม่ ว่าจะเป็ น ความสวยงามที่ เกิ ด จาก แอปพลิเคชันกลายเป็นช่องทางการติดต่อสื่อสารที่
ตัวเองในแง่ของรูปร่าง หน้าตา ผิวพรรณ หรือจะ สาคัญทางอินเตอร์เน็ตไปแล้ว และสถิติในปี พ.ศ.
เป็นความสวยงามที่เกิดจากสิ่งภายนอกเช่น เสื้อผ้า 2554 มี จ านวนผู้ ใ ช้ เพศหญิ ง ถึ ง 6,856,260 คน
เครื่ อ งประดั บ ซึ่ ง ความสวยกั บ ผู้ ห ญิ ง นั้ น เป็ น ดังนั้นจึงทาให้ มีผู้ป ระกอบการส่ วนใหญ่ หั นมาใช้
เหมือนสิ่ งที่คู่กันเสมอโดยผู้ห ญิงจะมีพฤติกรรมที่ แอปพลิ เคชั น ในการท าการค้ าและท าการตลาด
ชื่นชอบการใช้โซเชียลมีเดีย ไม่ว่ าจะเป็ น เฟซบุ๊ก ควบคู่ กั น ไป ท าให้ ก ารศึ ก ษาพฤติ ก รรมการซื้ อ
อิ น สตาแกรม หรื อ ไลน์ ที่ ผู้ ป ระกอบการใช้ เป็ น เสื้ อผ้ าส าเร็จรูป ผ่ านแอปพลิ เคชัน Shopee ของ
ช่องทางในการซื้อขายสินค้า และยังมีแอปพลิเคชัน สตรี ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็ น
ตลาดขายสิ น ค้ า ออนไลน์ ใ นชื่ อ Shopee ที่ น า ประเด็ น ที่ น่ า สนใจในการศึ ก ษา ค้ น คว้ า วิ จั ย ผล
จุ ด เด่ น ของโซเชี ย ลมี เดี ย ในด้ า นการสื่ อ สารมา การศึกษาที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ดาเนินธุรกิจซื้อ
รวมเข้ ากั บ การซื้ อ – ขาย เพื่ อ ให้ ผู้ บ ริ โภคได้ รั บ ขายเสื้อผ้าสาเร็จรูปออนไลน์ในการพัฒนาปรับปรุง
ประสบการณ์การชอปปิงที่สนุก ปลอดภัย และใช้ แอปพลิ เคชัน เพื่ อให้ ส อดคล้ องกับ ความต้อ งการ
งานง่า ย Shopee เป็ น ตลาดขายสิ น ค้ า ออนไลน์ ของสตรีผู้ซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปต่อไป (Moonlightkz,
แบบลูกค้าถึงลูกค้า (C2C) ประเทศไทยเป็นตลาดที่ 2014)
ค่อนข้างใหญ่ จึ งเปิ ดโอกาสให้ ใช้เพื่อแลกเปลี่ ยน
ประสบการณ์การชอปปิงออนไลน์ เช่นเดียวกับการ

-3-
วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2. ขอบ เขตด้ า น ป ระช ากรและกลุ่ ม
1. เพื่ อ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมการซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ตัวอย่าง คือ สตรีที่มีประสบการณ์การใช้แอปพลิเค
สาเร็จรูป ผ่ านแอปพลิเคชัน Shopee ของสตรีใน ชั น Shopee ใน เข ต ก รุ ง เท พ ม ห าน ค ร แ ล ะ
เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ปริมณฑล
2. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมจาแนกตาม 3. ขอบเขตด้านพื้นที่ ศึกษาเฉพาะพื้นที่ใน
ลักษณะประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อพฤติกรรมการ เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
ซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป ผ่ า นแอปพลิ เคชั น Shopee 4. ขอบเขตด้านระยะเวลาของการศึกษา
ของสตรีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ท าการศึ ก ษาเป็ น เวลา 7 เดื อ น เริ่ ม ตั้ ง แต่ เดื อ น
3. เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนผสมทางการตลาด สิงหาคม 2561 – มีนาคม 2562
E-Commerce (6P) ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการ
ซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป ผ่ า นแอปพลิ เคชั น Shopee สมมติฐานของการศึกษา
ของสตรีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ส ม ม ติ ฐ า น ที่ 1 ลั ก ษ ณ ะ ด้ า น
ประชากรศาสตร์ ที่ แ ตกต่ า งกั น มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ พฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน
1. ท าให้ ท ราบถึ งพฤติ ก รรม และปั จ จั ย Shopee ของสตรี ในเขตกรุ งเทพมหานคร และ
การซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน Shopee ปริมณฑลแตกต่างกัน
ของสตรีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล สมม ติ ฐ าน ที่ 2 ปั จจั ย ส่ ว น ผสมท าง
2. เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ดาเนินธุรกิจซื้อ การตลาด E-Commerce มีอิทธิพลต่อพฤติก รรม
ขายเสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป ออนไลน์ ซึ่ ง สามารถน าไป การซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน Shopee
พัฒนาและปรับปรุงแอปพลิเคชันให้สอดคล้องกับ ของสตรีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
ความต้องการของสตรีผู้ซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูป
กรอบแนวความคิดของการศึกษา
ขอบเขตการศึกษา ในการศึกษาเรื่องพฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้า
1. ขอบเขตเนื้อหา ศึกษาพฤติกรรม และ สาเร็จรูปผ่ านแอปพลิเคชัน Shopee ของสตรีใน
ปั จ จั ย ส่ ว นประสมทางการตลาด แนวคิ ด ของ เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ผู้วิจัยมีกรอบ
Phillip Kotler เนื่องจากเป็นแนวคิดที่ยอมรับกัน แนวความคิดที่ใช้เป็นเครื่องมือในการดาเนินงาน
ในระดั บ สากล โดยศึ ก ษาเฉพาะการซื้ อ เสื้ อ ผ้ า วิจัย และเป็นแนวทางในการค้นหาคาตอบ โดยได้
สาเร็จรูป ผ่ านแอปพลิเคชัน Shopee ของสตรีใน กาหนดกรอบแนวคิดสาหรับการศึกษา ดังภาพที่ 1
เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

-4-
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
1. อายุ 1. อายุ
ลักษณะทางประชากรศาสตร์
1. อายุ
2. สถานภาพ
3. ระดับการศึกษา พฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่าน
4. อาชีพ แอปพลิเคชัน Shopee ของสตรีในเขต
5. รายได้เฉลีย่ ต่อเดือน กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
(ศิริวรรณ เสรีรตั น์ และคณะ, 2550) 1. ประเภทเสื้อผ้าที่ซื้อ
2. เหตุผลในการซื้อ
ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาด 3. ความถี่ในการซื้อ
E-Commerce (6P) 4. ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้ง
1. ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ (ธงชัย สันติวงษ์, 2554)
2. ปัจจัยด้านราคา
3. ปัจจัยด้านช่องทางการจาหน่าย
4. ปัจจัยด้านการส่งเสริมทางการตลาด
5. ปัจจัยด้านการให้บริการแบบเจาะจง
6. ปัจจัยด้านการรักษาความเป็นส่วนตัว
(Hai Harvard Wu, 2015)

ภาพที่ 1 กรอบแนวความคิดของการศึกษา

การทบทวนวรรณ กรรมแนวคิ ด และทฤษฎี เปรี ย บเสมื อ นกล่ อ งด าซึ่ ง ผู้ ผ ลิ ต และผู้ ข ายไม่
เกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค สามารถทราบได้ จึงต้องพยายามค้นหาความนึกคิด
Kotler (2012) ได้ อ ธิ บ าย ถึ งก ารเกิ ด ของผู้ซื้อโดยความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อได้รับอิทธิพล
พฤติกรรมของผู้บริโภคโดยอาศัย S-R Theory ใน จากลักษณะของผู้ซื้อ
รูปของแบบจาลองพฤติกรรมผู้บริโภค (A Model 3. ลั ก ษณ ะของผู้ บ ริ โ ภค (Consumer
of Consumer Behavior) ซึ่งประกอบไปด้วย Characteristic) ลั กษณะของผู้ซื้อที่มี อิทธิพลจาก
1. สิ่ งกระตุ้น (Stimulus) สิ่ งกระตุ้น อาจ ปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปัจจัยด้านวัฒนธรรม ปัจจัยด้าน
เกิดขึ้นเองจากภายในร่างกาย และสิ่งกระตุ้นจาก สั ง คม ปั จ จั ย ลั ก ษณะทางประชากรศาสตร์ แ ละ
ภายนอก นักการตลาดจะต้องสนใจ และจัดการกับ ปั จ จั ย ด้ า นจิ ต วิ ท ยาถื อ เป็ น ปั จ จั ย ภายนอกที่ มี
สิ่ ง กระตุ้ น ภายนอกเพื่ อ ให้ ผู้ บ ริ โ ภคเกิ ด ความ อิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อและไม่สามารถควบคุม
ต้องการผลิตภัณฑ์ ได้
2. กล่องดาหรือความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อ 4. ปั จ จั ย ลั ก ษณะทางประชากรศาสตร์
(Buyer’s Black Box) ความรู้สึกนึกคิดของผู้ซื้อ (Demographic Factor) อาทิเช่น เพศ อายุ

-5-
ก ารศึ ก ษ า ราย ได้ จิ ต วิ ท ย าข อ งผู้ บ ริ โ ภ ค ความต้องการ และความพึงใจของผู้บริโภคได้อย่าง
ประกอบด้ ว ย ปั จ จั ย ที่ เกิ ด ขึ้ น จากตั ว บุ ค คลด้ า น เหมาะสม
ความคิ ด และการแสดงออกมี พื้ น ฐานมาจาก แนวคิ ด และทฤษฎี เกี่ ย วกั บ การตลาด
สภาพแวดล้อมต่าง ๆ อิเล็กทรอนิกส์
5. กระบวนการตั ด สิ น ใจซื้ อ ของผู้ ซื้ อ ปัจ จุบั น เทคโนโลยีได้ เปลี่ ย นแปลงอย่ าง
(Buying Decision Process) ผู้ บ ริ โ ภคต้ อ งผ่ า น รวดเร็ว ที่ เรีย กกั น ว่า ยุ ค นี้ คื อ ยุ ค ดิ จิ ต อล ระบบ
กระบวนการตัดสินใจซื้อ 5 ขั้นตอน การตลาดก็เช่ นเดียวกัน ผลจากเทคโนโลยีท าให้
6. การตอบ สนองของผู้ ซื้ อ (Buyer’s ระบบการตลาดเปลี่ ย นแปลงตามไปด้ ว ย การ
Response) หรือการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคหรือ พาณิ ช ย์ อิ เล็ กทรอนิ กส์ มี ค วามเจริญ เติ บ โตอย่ าง
ผู้ซื้อ (Buyer’s Purchase Decision) ต่อเนื่อง ทาให้การตลาดต้องปรับตัวให้ทันกับระบบ
ธงชั ย สั น ติ ว งษ์ (2554) กล่ า วว่ า การ การค้า (Saowalak, 2015)
วิ เ คราะห์ พ ฤติ ก รรมผู้ บ ริ โ ภค หมายถึ ง การ จากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับความหมาย
วิเคราะห์ เพื่อ ให้ ทราบถึงสาเหตุที่ มีอิท ธิพ ลท าให้ เกี่ ย วกั บ พาณิ ช ย์ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ E-Commerce
ผู้บ ริโภคตัดสิ น ใจซื้อสิ น ค้ าและบริการซึ่งโดยการ สรุป ได้ ว่ าพาณิ ช ย์ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ E-Commerce
เข้าใจถึงสาเหตุต่าง ๆ ที่มีผ ลจูงใจหรือกากับการ หมายถึงการดาเนินกิจกรรม ต่าง ๆ โดยผ่านระบบ
ตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคลักษณะนี้เอง ที่จะทาให้ คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต เพื่อทาการผลิต การ
นักการตลาดสามารถตอบสนองผู้บริโภคได้สาเร็จ กระจาย การตลาด การขายหรื อ การขนส่ ง
ผลด้วยการชักนา และหว่านล้อมให้ลูกค้าซื้อสินค้า ผลิตภัณฑ์และบริการและแลกเปลี่ยนข้อมูล เป็น
และมีความจงรักภักดีที่จะซื้อซ้าครั้งต่อไปเรื่อย ๆ สื่อกลางในการรวบรวมสินค้าและผู้ซื้อผู้ขายไว้ใน
จากการศึกษา สรุป ได้ว่า พฤติกรรมการ เว็บไซต์เดียว เพื่ออานวยความสะดวกในการติดต่อ
ซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป ผ่ า นแอปพลิ เคชั น Shopee ซื้อ - ขาย ทาให้การค้นหาข้อมูลเป็นเรื่องที่ง่าย E-
ของสตรี ในเขตกรุ งเทพมหานคร และปริ ม ณฑล Commerce จึงเป็นเสมือนสื่อกลางในการโฆษณา
จากการศึ ก ษา ประกอบไปด้ ว ยพฤติ ก รรมด้ า น และเชื่อมโยงข้อมูลหรือความต้องการของผู้ใช้งาน
ประเภทเสื้อผ้าที่ผู้บริโภคซื้อ เหตุผลในการซื้อของ ไปยังกลุ่มลูกค้าที่เป็นเป้าหมายโดยตรง จึงจาเป็นที่
ผู้ บ ริ โภ ค ค ว า ม ถี่ ใน ก า ร ซื้ อ ข อ งผู้ บ ริ โภ ค จะต้อ งปรับ ตัว ให้ ทั น กับ ระบบการค้ าแบบตลาด
และค่ า ใช้ จ่ า ยเฉลี่ ย ต่ อ ครั้ ง เป็ น การศึ ก ษาถึ ง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (Electronic Marketing) ในยุ ค
พ ฤติ ก รรมการซื้ อ และบริ โ ภ คสิ น ค้ า รวมถึ ง ดิจิตอล ซึ่งส่วนผสมทางการตลาดนี้ ประกอบด้วย
กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค โดยการเริ่มต้น ด้านผลิ ต ภั ณ ฑ์ ด้ านราคา ด้านสถานที่ ด้านการ
ธุรกิจ กิจการมักมีทาการวิจัยการตัดสินใจซื้อของ ส่งเสริมการตลาด ด้านการให้ บริการแบบเจาะจง
ผู้บริโภคอย่างละเอียดเพื่อตอบคาถามให้ได้ว่า ใคร แ ล ะด้ าน ก ารรั ก ษ าค วาม เป็ น ส่ วน ตั ว (Hai
อยู่ในตลาดเป้าหมาย ผู้บริโภคซื้ออะไร ทาไมจึ งซื้อ Harvard, 2015)
ซื้อที่ไหน ซื้อเมื่อใด ใครมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ซื้อ และซื้ออย่างไร เป็นข้อคาถาม 7 ประการ ซึ่ง
เป็ น เครื่องมือที่ จาเป็ น ที่จ ะช่วยในการตอบสนอง

-6-
แนวคิดเกี่ยวกับแอปพลิเคชัน Shopee เอกสารและบทความงานวิ จั ย อื่ น ๆ อั น เป็ น
ใน ปี พ .ศ . 2558 Shopee เปิ ด ตั ว ใน ประโยชน์ต่อการศึกษาในครั้งนี้
ประเทศสิงคโปร์เป็นที่แรก เป็นตลาดซื้อขายแบบ การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
โซ เซี ย ลที่ มุ่ งเน้ น ก ารใช้ งาน ผ่ าน มื อ ถื อ ม า เค รื่ อ งมื อ ที่ ใช้ ใน ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล คื อ
ผสมผสานกันเป็น Marketplace เต็มรูปแบบ ผู้ใช้ แบบสอบถามที่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ในการวิจัย
สามารถเลือกซื้อและขายสินค้าได้ทุกที่ทุกเวลา อีก โดยทาการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ดังนี้
ทั้ งยั งมี ก ารส นั บ ส นุ น ด้ าน โล จิ ส ติ ก ส์ แ ล ะ 1. ความเที่ยงตรง (Validity) ผู้วิจัยนา
แพลตฟอร์ ม การช าระเงิน ซึ่ ง ช่ ว ยอ านวยความ แบบสอบถามที่สร้างขึ้นมาให้ ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา
สะดวกในการชอปปิงออนไลน์ได้ง่าย ปลอดภัยแก่ แล ะต รว จส อ บ ค ว าม เที่ ย งต รงต าม เนื้ อ ห า
ผู้ ข ายและผู้ ซื้ อ ไม่ น านหลั งจากนั้ น Shopee ได้ (Content Validity) และความเหมาะสมของภาษา
เปิดตัวเว็บไซต์เพื่อแข่งขันในตลาดอีคอมเมิร์ซอื่น ๆ ที่ใช้ (Wording)เพื่อนา ไปปรับปรุงแก้ไขก่อนนาไป
ที่ ก าลั ง เติ บ โตอย่ า งรวดเร็ ว ใน ภู มิ ภ าค โดย สอบถามในการเก็บข้อมูลจริง
Shopee ได้สร้างความแตกต่างจากที่อื่น ด้วยการ 2. ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ผู้วิจัย
มี "Shopee Guarantee" ซึ่งเป็นระบบที่ระงับการ ได้นาแบบสอบถามที่สร้างขึ้นมาและปรับปรุงแก้ไข
ช าระเงิน ให้ กั บ ผู้ ขาย จนกว่าผู้ ซื้อ จะได้ รั บ สิ น ค้ า แล้วทาการทดสอบ (Pre-Test) กับ กลุ่ มตัวอย่าง
เพื่ อ เป็ น การรั บ ประกั น ความปลอดภั ย ในการ จานวน 30 ชุด ได้ค่าสั มประสิทธิ์แอลฟา (Alpha
ชอปปิงออนไลน์ และสร้างความมั่นใจให้กับผู้ที่ซื้อ Coefficient) ค่าความเชื่อมั่นรวมที่ระดับ 0.967
Shopee ไ ด้ อ อ ก แ บ บ ร ะ บ บ “ Shopee ประชากรและขนาดตัวอย่าง
Guarantee” สร้างความมั่นใจให้กับคนซื้อคนขาย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ สตรีที่อาศัย
ในกรณี ที่เลือกชาระเงินผ่ านบั ญชีของผู้ให้ บริการ อยู่ ทางานหรือกาลังศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
ส่ ว นรู ป แบบการท างานจะเป็ น ในลั ก ษณ ะนี้ และปริมณฑล ที่เคยซื้อเสื้อผ้าส าเร็จรูปผ่านแอป
(RingRangRung, 2016) พลิเคชัน Shopee
วิธีดาเนินงานวิจัย ขนาดกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง เนื่ อ งจากผู้ วิ จั ย ไม่
การเก็บรวบรวมข้อมูล ทราบจ านวนสตรี ในเขตกรุ ง เทพมหานคร และ
1. ข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมิ มีลักษณะเป็น ปริม ณฑลที่ เคยซื้ อเสื้ อ ผ้ าส าเร็จรูป ผ่ านทางแอป
ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยเป็นข้อมูลที่ได้จากการตอบ พลิเคชัน Shopee ผู้วิจัยทาการคานวณขนาดกลุ่ม
แบบสอบถามของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งใช้แบบสอบถาม ตัวอย่างด้วยสู ต รทาโร่ ยามาเน่ จากการคานวณ
เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล และแทนค่าในสู ตร จะได้ขนาดของกลุ่ มตัว อย่าง
2. ข้อมูลจากแหล่งทุติย ภูมิ ผู้วิจั ยได้เก็บ เท่ากับ 385 ตั วอย่าง และป้องกันความผิ ดพลาด
รวบรวมข้ อ มู ล จากแหล่ งสารสนเทศต่ า งๆ และ จากการตอบแบบสอบถามที่ไม่สมบูรณ์ ผู้ วิจัยจึง
รวบรวมข้ อ มู ล จากเอกสารของหน่ ว ยงานทั้ ง สารองกลุ่มตัวอย่าง 15 ตัวอย่าง ซึ่งในการศึกษา
ภาครัฐและภาคเอกชนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน ครั้งนี้จะมีขนาดตัวอย่างทั้งสิ้น 400 ตัวอย่าง
ค้ น คว้ า จากผลงานวิ จั ย จากห้ อ งสมุ ด รวมทั้ ง

-7-
วิธีการสุ่มตัวอย่าง และตัวแปรตาม โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ
เนื่องจากผู้วิจัยไม่ทราบจานวนประชากรที่ ซึ่งการวิจัยครั้งนี้จะใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ผล
แน่ น อน ทางผู้ วิ จั ย จึ ง เลื อ กใช้ วิ ธี ก ารเลื อ กกลุ่ ม ทางสถิ ติ ได้ แ ก่ การทดสอบโดยการใช้ ก าร
ตั ว อย่ า งแบบเฉพาะเจาะจง คื อ การเลื อ กแจก วิ เ คราะห์ ค วามแปรปรวนท างเดี ย ว วิ ธี ก าร
แบบสอบถามเฉพาะกลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ อ าศั ย อยู่ เปรี ย บเที ย บพหุ คู ณ แบบ Least - Significant
ท างาน หรื อ ก าลั งศึ ก ษาในเขตกรุ งเทพมหานคร Difference (LSD) และการวิเคราะห์ การถดถอย
และปริมณฑลที่เคยซื้อเสื้อผ้าสาเร็จผ่านแอปพลิเค เชิงพหุคูณ
ชัน Shopee ซึ่งเป็นวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ไม่
ท ราบ ค ว าม น่ าจ ะ เป็ น ห รื อ ไม่ ท ราบ ค ว าม ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
คลาดเคลื่อน ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยทาการ ลักษณะทางประชากรศาสตร์ พบว่า สตรี
แจกแบบสอบถามออนไลน์ เนื่ อ งจากเป็ น วิ ธี ที่ ส่ วนใหญ่ มีอายุ 18 – 25 ปี 242 คน คิดเป็ นร้อ ย
เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ตรงกลุ่ม และสามารถเข้าถึง ละ 62.90 สถานภาพเป็นโสด จานวน 275 คน คิด
ข้อมูลได้ง่าย เป็ น ร้อยละ 71.40 มี การศึก ษาระดับ ปริญ ญาตรี
การวิเคราะห์ข้อมูล หรื อ เที ย บเท่ า จ านวน 266 คน คิ ด เป็ น ร้อ ยละ
ข้อมูลจากแบบสอบถามที่ สมบูรณ์จานวน 62.10 โดยส่ ว นใหญ่ เป็ น นั ก เรี ย น / นั ก ศึ ก ษา
400 ชุ ด ได้ รั บ การบั น ทึ ก และวิ เ คราะห์ โ ดยใช้ จ านวน 200 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 51.90 และมี
โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ส าเร็ จ รู ป ทางสถิ ติ เ พื่ อ ราย ได้ เฉ ลี่ ย ต่ อ เดื อ น 5,001 – 10,000 บ าท
วิเคราะห์ เชิงพรรณนา และทดสอบสมมติฐานซึ่ง จานวน 101 คน คิดเป็นร้อยละ 26.20
สามารถแบ่งการวิเคราะห์เป็น 2 ส่วน ดังนี้ใน ปั จ จั ย ด้ า นส่ ว นผสมทางการตลาด E-
1. การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนาเป็นสถิติ Commerce สตรีที่ ซื้อ เสื้ อผ้ าส าเร็จ รูป ผ่ านแอป
ที่ใช้เพื่อการบรรยายสรุปลักษณะของกลุ่มตั วอย่าง พลิเคชัน Shopee พบว่า ปัจจัยด้านส่วนผสมทาง
หรื อ ประชากรที่ ศึ ก ษาใช้ อ ธิ บ ายข้ อ มู ล ทางด้ า น การตลาด E-Commerce ที่ มี ค วามส าคั ญ เป็ น
ปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คล ได้ แ ก่ อายุ สถานภาพ ระดั บ อั น ดั บ 1 คื อ ด้ า นช่ อ งทางการจั ด จ าหน่ า ย มี
การศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ย ต่อเดือน ใช้ใน ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กั บ 3.84 รองลงมา ด้ า นการรั ก ษา
การอธิบ ายถึงปั จ จั ย ด้ านส่ ว นผสมทางการตลาด ความเป็นส่วนตัว มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.79 ด้านการ
E-Commerce ที่ มี อิ ท ธิพ ลต่ อ พฤติ ก รรมการซื้ อ ส่งเสริมการตลาด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.78 ด้านราคา
เสื้ อผ้ าส าเร็ จ รูป ผ่ านแอปพลิ เคชัน Shopee ของ มี ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กั บ 3.77 ด้ า นการให้ บ ริ ก ารแบบ
ผู้ ต อบแบบสอบถาม และใช้ ใ นการอธิ บ ายถึ ง เจาะจง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.74 และด้านผลิตภัณฑ์
พฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.69
Shopee สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ พฤติก รรมการซื้ อเสื้อ ผ้ าส าเร็ จ รู ป ผ่ า น
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แ อ ป พ ลิ เค ชั น Shopee ข อ ง ส ต รี ใน เข ต
2. การวิ เคราะห์ ข้ อ มู ล เชิ ง อนุ ม าน เป็ น กรุ ง เทพมหานคร และปริ ม ณฑล ส่ ว นใหญ่ โดย
การศึ ก ษาข้ อ มู ล ของกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง และทดสอบ เฉลี่ ย ผู้ มี อิ ท ธิ พ ลในการซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป คื อ
สมมติฐาน หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ ตนเอง จานวน 145 คน คิดเป็นร้อยละ 37.70 โดย

-8-
ประเภทเสื้ อผ้ าส าเร็ จรู ป ที่ซื้อคือ เสื้ อยืด จานวน ซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป ผ่ า นแอปพลิ เคชั น Shopee
104 คน คิ ดเป็ น ร้ อยละ 27.00 เหตุผ ลในการซื้ อ ของสตรี ในเขตกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล
เสื้ อผ้าสาเร็จ รูป ตามความชอบ จานวน 114 คน แตกต่างทุกด้านอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
คิดเป็ น ร้ อยละ 29.60 โดยเฉลี่ ย มีความถี่เฉลี่ ยใน 0.05 ยกเว้นด้านประเภทเสื้อผ้ าที่ซื้อ และผลการ
การซื้ อ เสื้ อ ผ้ าส าเร็ จ รู ป เดื อ นละ 1 ครั้ ง จ านวน วิเคราะห์ LSD แต่ละปัจจัยได้แก่
185 คน คิดเป็นร้อยละ 48.10 และมีค่าใช้จ่ายใน อายุที่แตกต่างกันมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
การซื้ อ เสื้ อ ผ้ าส าเร็ จ รู ป เฉลี่ ย ครั้ ง ละ 201 – 400 การซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน Shopee
บาท จานวน 152 คน คิดเป็นร้อยละ 39.50 แตกต่างกัน ด้านผู้มีอิทธิพลในการซื้อ จานวน 2 คู่
ด้านเหตุผลในการซื้อ จานวน 8 คู่ ด้านความถี่ใน
จ า ก ต า ร า งที่ 1 พ บ ว่ า ปั จ จั ย อ า ยุ การซื้อ จานวน 7 คู่ และด้านค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้ง
สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ย จานวน 8 คู่
ต่อเดือนที่แตกต่างกันมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการ

ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะห์อิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน Shopee ของ


สตรีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล
ค่า F-test (p-value)
ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล ด้านผู้มีอิทธิพลใน ด้านประเภท ด้านเหตุผลใน ด้านความถี่ใน ด้านค่าใช้จ่าย
การซื้อ เสื้อผ้าที่ซื้อ การซื้อ การซื้อ เฉลีย่ ต่อครั้ง
อายุ 3.117 1.478 4.120 3.638 4.357
(0.005)**2 (0.184) (0.001)**8 (0.002)**7 (0.000)**8
สถานภาพ 4.155 1.786 8.453 7.161 6.219
(0.006)**2 (0.149) (0.000)**4 (0.000)**2 (0.000) **2
ระดับการศึกษา 3.055 0.275 5.655 5.479 1.078
(0.010)**3 (0.927) (0.000)**6 (0.000)**1 (0.372)
อาชีพ 3.507 1.261 5.274 5.104 2.299
(0.004)*2 (0.280) (0.000)**5 (0.000)**5 (0.045)*2
รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 2.713 0.800 3.391 4.429 7.036
(0.014)*5 (0.570) (0.003)**7 (0.000)**10 (0.000)**11
*มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
**มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

-9-
สถานภาพที่ แ ตกต่ า งกั น มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ด้านเหตุผลในการซื้อ จานวน 5 คู่ ด้านความถี่ใน
พฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน การซื้อ จานวน 5 คู่ และด้านค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้ง
Shopee แตกต่ า งกั น ด้ า นผู้ มี อิ ท ธิ พ ลในการซื้ อ จานวน 2 คู่
จานวน 2 คู่ ด้านเหตุผลในการซื้อ จานวน 4 คู่ รายได้ เ ฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นที่ แ ตกต่ า งกั น มี
ด้ า นความถี่ ใ นการซื้ อ จ านวน 2 คู่ และด้ า น อิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่ าน
ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้ง จานวน 2 คู่ แอปพลิ เ คชั น Shopee แตกต่ า งกั น ด้ า นผู้ มี
ระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีอิทธิพลต่อ อิทธิพลในการซื้อ จานวน 5 คู่ ด้านเหตุผลในการ
พฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน ซื้อ จานวน 7 คู่ ด้านความถี่ในการซื้อ จานวน 10
Shopee แตกต่ า งกั น ด้ า นผู้ มี อิ ท ธิ พ ลในการซื้ อ คู่ และด้านค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้ง จานวน 11 คู่
จ านวน 3 คู่ ด้ านเหตุ ผ ลในการซื้ อ จ านวน 6 คู่
และด้านความถี่ในการซื้อ จานวน 1 คู่
อาชีพที่แตกต่างกันมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
การซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน Shopee
แตกต่างกัน ด้านผู้มีอิทธิพลในการซื้อ จานวน 2 คู่

ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุของส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อ
เสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน Shopee ของสตรี
ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาด 6P B S.E. Beta t Sig. Tolerance VIF
(ค่าคงที)่ 2.082 0.213 9.774 0.000
ด้านผลิตภัณฑ์ 0.265 0.095 0.249 2.792 0.005 0.318 3.146
ด้านราคา -0.324 0.093 -0.311 -3.486 0.001 0.318 3.146
ด้านสถานที่ (ช่องทางการจัดจาหน่าย) - - 0.052 0.513 0.608 0.245 4.077
ด้านการส่งเสริมการตลาด - - 0.118 1.205 0.229 0.265 3.769
ด้านการให้บริการแบบเจาะจง - - 0.149 1.492 0.136 0.254 3.937
ด้านการรักษาความเป็นส่วนตัว - - 0.075 0.814 0.416 0.303 3.304
R = 0.176ª, R Square = 0.031, Adjusted R Square = 0.026, Std. Error of the Estimate = 1.008

จากตารางที่ 2 ผลการทดสอบสมมติฐ าน เกิ ด ปั ญ ห า Multicollinearity เนื่ อ ง จ า ก ค่ า


พบว่า ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านราคา ปัจจัย Tolerance ทุ ก ตั ว แปรมี ค่ ามากกว่ า 0.1 และค่ า
ด้านสถานที่ (ช่องทางการจัดจาหน่ าย) ปั จจัยด้าน VIF ทุกตัวมีตัวแปรน้อยกว่า 5 ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า
การส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านการให้บริการแบบ ตัวแปรอิสระไม่มีความสัมพันธ์กัน
เจาะจง และปัจจัยด้านการรักษาความเป็นส่วนตัวไม่

- 10 -
ผลการศึกษาพบว่า มีตัวแปรอิสระทั้งหมด พลิ เคชั น Shopee ของสตรี โดยรวมเปลี่ ย นไป -
2 ตัวแปร คือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ และปัจจัยด้าน 0.324 หน่วย
ราคา จากทั้งหมด 6 ตัวแปร มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ดังนั้น ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ และปัจจัยด้าน
การซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน Shopee ราคา มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูป
ของสตรีอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดย ผ่านแอปพลิเคชัน Shopee ของสตรี คือ ถ้าปัจจัย
เรี ย งล าดับ จากค่ าสั ม ประสิ ท ธิ์ข องสมการถดถอย ด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ปลี่ ย นแปลงเพิ่ ม ขึ้ น จะท าให้
( Beta Coefficient) ซึ่ ง เ ป็ น ค่ า ที่ แ ส ด ง ถึ ง พฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม Shopee ของสตรีเพิ่ ม ขึ้ น และถ้าปั จจั ยด้ านราคา
โดยจากการวิ เ คราะห์ ตั ว แป รอิ ส ระสามารถ เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น จะทาให้พฤติกรรมการซื้อ
เรียงลาดับจากมากไปน้อย คือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์
(B = 0.265) ซึ่ ง มี ค่ า Sig. อยู่ ที่ 0.005 และปั จ จั ย อภิปรายผลการวิจัย
ด้านราคา (B = -0.324) ซึ่งมีค่า Sig. อยู่ที่ 0.001 1. ลั ก ษณะทางประชากรศาสตร์ พบว่ า
ผลจากการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุ สตรี ส่ ว นใหญ่ มี อ ายุ 18 – 25 ปี คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ
ข้างต้นสามารถนาค่าสัมประสิทธิ์มาเขียนเป็นสมการ 62.90 สถานภาพเป็นโสด คิดเป็นร้อยละ 71.40 มี
ทานายแนวโน้มในรูปสมการได้ดังนี้ การศึกษาระดับปริญญาตรี หรือ เทียบเท่า คิดเป็น
ร้ อ ย ล ะ 62.10 โด ย ส่ ว น ให ญ่ เป็ น นั ก เรี ย น /
Y = 2.082 + 0.265* (X1) + (-0.324)* (X1) นั ก ศึ ก ษา คิ ด เป็ น ร้ อยละ 51.90 มี รายได้ เฉลี่ ยต่ อ
กาหนดให้ Y แทน พฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้า เดือน 5,001 – 10,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 26.20
สาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน Shopeeของสตรี ปั จ จั ย ด้ า น ส่ ว น ผ ส ม ท างก าร ต ล า ด
X1 แทน ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ E-Commerce สตรีที่ ซื้อ เสื้ อผ้ าส าเร็จรูปผ่ านแอป
X2 แทน ปัจจัยด้านราคา พลิเคชัน Shopee ให้ระดับความคิดเห็นของปัจจัย
* แทน มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้ า นส่ ว นผสมทางการตลาด E-Commerce โดย
เมื่อพิจารณาสมการเชิงเส้นถดถอยเชิงพหุ ภาพรวมกลุ่ม อยู่ในระดับเห็นด้วยเมื่อพิจารณาโดย
ข้ า งต้ น จะพบว่ า เมื่ อ ก าหนดให้ ปั จ จั ย ด้ า นราคา ละเอียดพบว่า ปัจจัยที่มีความสาคัญ เป็นอันดับ 1
เท่ า กั บ ศู น ย์ จ ะท าให้ พ ฤติ ก รรมการซื้ อ เสื้ อ ผ้ า คือ ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
ส าเร็ จ รู ป ผ่ า นแอปพลิ เ คชั น Shopee ของสตรี 3.84 รองลงมา ด้านการรักษาความเป็นส่วนตั ว มี
โดยรวมอยู่ที่ 2.082 แต่เมื่อมีปัจจัยด้านต่างๆ เข้ามา ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.79 ด้านการส่งเสริมการตลาด มี
เกี่ยวข้อง จะให้ผลดังนี้ ค่ าเฉลี่ ย เท่ ากั บ 3.78 ด้ านราคา มี ค่ าเฉลี่ ยเท่ า กั บ
ถ้าปัจ จัยด้านผลิ ตภัณ ฑ์เปลี่ย นแปลงไป 1 3.77 ด้ า นการให้ บ ริ ก ารแบบเจาะจง มี ค่ า เฉลี่ ย
หน่ ว ย จะท าให้ พ ฤติ ก รรมการซื้ อเสื้ อ ผ้ าส าเร็จ รูป เท่ากับ 3.74 และด้านผลิตภัณฑ์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
ผ่ า นแอปพลิ เ คชั น Shopee ของสตรี โดยรวม 3.69
เปลี่ยนไป 0.265 หน่วย พฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอป
ถ้าปัจจัยด้านราคาเปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วย พลิเคชัน Shopee ของสตรีในเขตกรุงเทพมหานคร
จะทาให้พฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอป และปริมณฑล ส่วนใหญ่โดยเฉลี่ยผู้มีอิทธิพลในการ

- 11 -
ซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปคือ ตนเอง จานวน 145 คน คิด เสื้อผ้าสาเร็จรูปมีให้เลือกหลากหลาย มีคุณภาพและ
เป็นร้อยละ 37.70 โดยประเภทเสื้อผ้าสาเร็จรูปที่ซื้อ ต อ บ ส น อ งต าม ค ว าม ต้ อ งก ารข อ งผู้ บ ริ โ ภ ค
คือ เสื้อยืด จานวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 27.00 ซึ่งผลการวิจัยสอดคล้ องกับ งานวิจัยของธนานัน ท์
เหตุ ผ ลในการซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป ตามความชอบ โตสัมพันธ์มงคล (2558) ซึ่งศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพล
จานวน 114 คน คิดเป็นร้อยละ 29.60 โดยเฉลี่ยมี ต่อการตัดสิ นใจซื้อเสื้อผ้าแบรนด์ยูนิโคล่ (Uniqlo)
ความถี่ เฉลี่ ย ในการซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป เดื อ นละ ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
1 ครั้ง จานวน 185 คน คิดเป็นร้อยละ 48.10 และ พบว่าปั จจั ย ด้ านผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส่ งผลเชิ งบวกต่ อ การ
มีค่ าใช้จ่ ายในการซื้ อเสื้ อผ้ าส าเร็ จ รู ป เฉลี่ ย ครั้งละ ตัดสิ นใจซื้อเสื้ อผ้ าแบรนด์ยูนิโคล่ ของผู้ บริโภคใน
201 – 400 บาท จ านวน 152 คน คิ ดเป็ น ร้อยละ เขตกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล เนื่ อ งจาก
39.50 ผู้บริโภคให้ความสาคัญกับคุณภาพ ความคงทน และ
2. ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ อายุ วิธี ก ารดู รั ก ษา รวมถึ งการมี ก ารบอกข้ อ มู ล สิ น ค้ า
สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ย อย่างชัดเจน จะช่วยให้สามารถเข้าใจในสินค้ามาก
ต่ อ เดื อ นที่ แ ตกต่ า งกั น ส่ งผลต่ อ พฤติ ก รรมการซื้ อ ยิ่งขึ้น ประกอบกับตราสินค้าที่มีชื่อเสียง และมีความ
เสื้ อ ผ้ าส าเร็ จ รู ป ผ่ า นแอปพลิ เคชั น Shopee ของ น่าเชื่อถือ จะทาให้ภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์เป็นที่
สตรีในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลแตกต่าง น่าเชื่อถือใน สายตาของผู้บริโภค และยังสอดคล้อง
กั น อย่ า งมี นั ย ส าคั ญ ทางสถิ ติ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ กั บ วิ จั ย ของ ปั ท มพร คั ม ภี (2557) โดยศึ ก ษา
งาน วิ จั ย ข อ ง ภั ท ราว ดี กุ ฏี ศ รี (2557); รั ช นี พฤติกรรมการซื้อเครื่องสาอางผ่านเว็บไซต์เฟซบุ๊ค
ไพศาลวงศ์ ดี (2556); สุ ณิ สา ตรงจิ ต ร์ (2559); ขอ งนั ก ศึ ก ษ าห ญิ งใน เข ต ก รุ ง เท พ ม ห าน ค ร
จุ ฑ ารั ต น์ เกี ย รติ รั ศ มี (2558) และ ธนานั น ท์ ผลการศึ ก ษาพบว่ า ปั จ จั ย ด้ านผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี ผ ลต่ อ
โตสั มพั น ธ์ม งคล (2558) เนื่ อ งจากผู้ ใช้บ ริการ ที่ มี พฤติกรรมการซื้อเครื่องสาอางผ่านเว็บไซต์เฟซบุ๊ค
อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ ของนักศึกษาหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร เนื่องจาก
เฉลี่ ย ต่ อ เดื อ นต่ า งกั น จะมี พ ฤติ ก รรมซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เครื่ อ งส าอาง ที่ มี ก ารจั ด จ าหน่ า ยผ่ า น
ส าเร็ จ รู ป ผ่ านแอปพลิ เคชั น Shopee เนื่ อ งจากมี เว็บไซต์เฟซบุ๊คนั้นมีมากมายหลากหลายชนิด และ
เหตุผลในการซื้อ ความถี่ในการซื้อ อีกทั้งค่าใช้จ่าย หลากหลายตราสิ นค้า จึงสร้างความสะดวกสบาย
ในการซื้อนั้นต่างกันออกไป และมีทางเลือกให้นักศึกษาได้ทาการตัดสินใจซื้อได้
3. ปั จ จั ย ส่ ว น ผ ส ม ท า ง ก า ร ต ล า ด ง่ายขึ้น โดยอาจจะพบสินค้าที่ตนเองเคยใช้อยู่ผ่ าน
E-Commerce ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ พฤติ ก รรมการซื้ อ เว็ บ ไซต์ เฟซบุ๊ ค นอกจากนี้ ก ารสื่ อ สารเกี่ ย วกั บ
เสื้อผ้ าส าเร็จ รูป ผ่ านแอปพลิ เคชัน Shopee ได้แก่ คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางผ่านเว็บไซต์
ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคา เฟซบุ๊คนั้นมีแหล่งของข่าวสารเป็นจานวนมาก ทาให้
ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ผู้ บ ริ โ ภคสามารถค้ น หาข้ อ มู ล เพื่ อ ประกอบการ
การซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน Shopee ตัดสินใจซื้อได้ง่ายขึ้น
ในทิ ศ ทางเดี ย วกั น เนื่ อ งจากความชอบรวมถึ ง ปัจจัยด้านราคามีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการ
รสนิยมในการซื้อเสื้อผ้าของผู้บริโภคมีความแตกต่าง ซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป ผ่ า นแอปพลิ เคชั น Shopee
กันผู้บริโภคจึง ให้ความสาคัญกับเรื่องผลิตภัณฑ์ คือ ในทิ ศทางตรงกัน ข้าม กล่ าวคือเมื่อเมื่อปัจจัยด้าน

- 12 -
ราคาลดลง จะส่ ง ผลให้ พ ฤติ ก รรมการซื้ อ เสื้ อ ผ้ า 1. ปัจจัยส่วนบุคคล อายุ สถานภาพ ระดับ
ส าเร็ จ รู ป ผ่ านแอปพลิ เคชั น Shopee เพิ่ ม ขึ้ น แต่ การศึ ก ษา อาชี พ รายได้ เฉลี่ ย สามารถน าข้ อ มู ล
ในทางกลั บ กั น ถ้ าราคาเพิ่ ม ขึ้ น พฤติ ก รรมการซื้ อ ดังกล่าวมากาหนดแผนกลยุทธ์ทางการตลาดใหม่ ๆ
เสื้ อ ผ้ า จะลดลง เป็ น ไปในทิ ศ ทางตรงกั น ข้ า ม ในการพั ฒ นาแอปพลิ เคชัน ให้ เกิด ความเหมาะสม
ผลการวิจั ย สอดคล้องกับ งานวิจั ยของสิ ริชัย ดีเลิ ศ เพื่ อ กระตุ้ น ให้ เกิ ด ยอดผู้ ใ ช้ ง าน และฐานลู ก ค้ า
แ ล ะ สุ ภ า ว ดี รั ต น พ งศ์ พั น ธ์ (2561) ซึ่ งได้ เพิ่มขึ้นเพื่อดาเนินการทางการตลาดต่อไป เช่น การ
ทาการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจ ท า SEO/SEM ให้ ถู ก กลุ่ ม เป้ าหมาย ท าโฆษณาใน
ซื้อสินค้าผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของกลุ่ม โซเชี ย ลมี เดี ย โดยสามารถระบุ ก ลุ่ ม เป้ าหมาย ลด
ผู้ บ ริ โ ภ คตลาดเฉพาะ พบว่ า กลุ่ ม ผู้ บ ริ โ ภคให้ ต้นทุนในการโฆษณา
ความสาคัญกับราคาที่มีความเหมาะสมกับตัวสินค้า 2. ปั จ จั ย ด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ พบว่ า เสื้ อ ผ้ า
มีการแจ้งราคาสินค้าถูกต้องและครบถ้วน ค่าใช้จ่าย สาเร็จรูปมีคุณภาพดี มีค่าเฉลี่ยต่าที่สุด ดังนั้น ผู้จัด
ใน ก า รจั ด ส่ งสิ น ค้ ามี ค ว า ม เห ม าะ ส ม แ ล ะ จาหน่ายควรให้ความสาคัญกับคุณ ภาพของเสื้อผ้ า
ความสามารถในการต่อรองราคากับผู้ขายได้และยัง ส าเร็จรูป เช่น มีการตรวจเช็คคุ ณ ภาพของเสื้ อผ้ า
สอดคล้ อ งกั บ วิ จั ย ของอิ ส รี ย์ อนั น ต์ โ ชคปฐมา สาเร็จรูปก่อนนามาขายรวมถึงควรตรวจสอบความ
(2558) โดยหากกลุ่ ม ตั ว อย่ า งซื้ อ สิ น ค้ า ใน LINE เรียบร้อยของเสื้อผ้าสาเร็จรูปก่อนทาการจัดส่งไปยัง
Giftshop ไว้ ส าหรั บ ตนเอง กลุ่ ม ตั ว อย่ า งจะให้ ลู ก ค้ า เป็ น ต้ น เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของ
ความสาคัญกับราคาเป็นอย่างมากซึ่งจะต้องถูกกว่า ผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันได้ดีกว่านี้
สิ น ค้าที่ ห าซื้อได้ ตามร้ านค้ าทั่ว ไป ในขณะที่ระดั บ 3. ปั จ จั ย ด้ า นราคา พบว่ า เมื่ อ ซื้ อ เสื้ อ ผ้ า
ราคาสิ น ค้ า ที่ ซื้ อ ส าหรั บ ให้ เป็ น ของขวั ญ แก่ ผู้ อื่ น ส าเร็จ รูป ผ่ า นแอปพลิ เคชั น นี้ จะมี ร าคาค่ า จั ด ส่ ง
ปัจจัยด้านราคาจะไม่ใช่ปัจจัยสาคัญในการตัดสินใจ เหมาะสม มีค่ าเฉลี่ ย ต่าที่ สุ ด ดั งนั้ น ผู้ จัดจาหน่ าย
ซื้อ หากราคาสินค้าที่ขายใน LINE Giftshop เท่ากับ ควรตั้ ง ราคาค่ า จั ด ส่ ง ให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ เหมาะสม
ราคาสินค้าที่ขายตามร้านค้าทั่วไปกลุ่มตัวอย่างก็จะ เพื่ อ ให้ ผู้ ที่ ซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป ผ่ า นแอปพลิ เคชั น
ยั ง คงตั ด สิ น ใจซื้ อ เนื่ อ งจาก กลุ่ ม ตั ว อย่ า งเห็ น ว่ า Shopee รู้สึกถึงความคุ้มค่าเมื่อซื้อเสื้อผ้าสาเร็จรูป
ราคาคุ้มค่ากับฟังก์ชันการส่งสินค้าให้เป็นของขวัญ ผ่านแอปพลิเคชันนี้ ทาให้สามารถสร้างแรงจูงใจใน
ของ LINE Giftshop การใช้ บ ริ ก ารได้ ดี ก ว่ า นี้ และเพื่ อตอบสนอง
ผู้ใช้บริการที่มีฐานะทางเศรษฐกิจในทุกระดับ
ข้อเสนอแนะ 4. จากพฤติ ก รรมการซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จรู ป
การศึ ก ษาเรื่ อ ง พฤติ ก รรมการซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ผ่ า น แอ ป พ ลิ เค ชั น Shopee ข องสต รี พ บ ว่ า
สาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน Shopee ของสตรีในเขต ผู้ มี อิ ท ธิ พ ลในการซื้ อ เสื้ อ ผ้ า ส าเร็ จ รู ป คื อ ตนเอง
กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ผู้วิจัยขอเสนอแนะ ประเภทเสื้อผ้าสาเร็จรูปที่ซื้อคือเสื้อยืดเหตุผลในการ
แนวทางในการดาเนิ น การตลาดของอุตสาหกรรม ซื้อเสื้อผ้า ตามความชอบ และมีค่าใช้จ่ายในการซื้อ
เสื้อผ้าสาเร็จรูป และเห็นว่าผู้ให้บริการแอปพลิเคชัน เสื้อผ้าครั้งละไม่เกิน 400 บาท ดังนั้น ผู้จัดจาหน่าย
Shopee และธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งสามารถน าผล ต้ อ งน าพฤติ ก รรมของกลุ่ ม เป้ า หมายดั ง กล่ า วมา
การศึกษาไปใช้ได้ดังนี้ กาหนดแนวทางการตลาดที่สอดคล้องกับพฤติกรรม

- 13 -
โดยจะต้องพัฒนาแบบเสื้อยืดให้ทันสมัยมีการสร้าง
เอกลักษณ์เฉพาะตัว เพื่อให้กลุ่มผู้บริโภคเกิดความ
สนใจและยอมรับ อีกทั้งจะต้องอาศัย การสื่ อสารที่
ทาให้ผู้บริโภคเกิดการยอมรับและเกิดทัศนคติที่ดีต่อ
คุณลักษณะด้านต่างๆ ของสินค้า และขณะเดียวกัน
ผู้จัดจาหน่ายจาเป็นต้องคานึงถึงเรื่องแบบหรือดีไซน์
ที่ทัน สมัย ตรงกับ ความต้องการของกลุ่ มเป้ า หมาย
และราคาที่เหมาะสมไม่แพงเกินไป
5.แนวทางการปรั บ ปรุ ง แอปพลิ เ คชั น
Shopee ควรสร้างความสะดวกในการตัดสินใจซื้อ
ของผู้บริโภครวมไปถึงการมีช่องทางการชาระเงินที่
ในการท าวิจั ย ครั้งต่อ ไป ควรศึ กษาปั จจั ย
อื่ น ๆ ที่ อ าจจะส่ ง ผลต่ อ พฤติ ก รรมการซื้ อ เสื้ อ ผ้ า
สาเร็จรูปผ่านแอปพลิเคชัน Shopee เช่น ปัจจัยการ
ยอมรั บ เทคโนโลยี การรั บ รู้ คุ ณ ค่ า การรั บ รู้ ความ
เสี่ยง ความน่าเชื่อถือของแอพลิเคชั่น เป็นต้น
หลากหลายเพื่อให้ผู้บริโภคได้มีทางเลือกที่เหมาะสม
และสะดวกทาให้ตัดสินใจซื้อได้ง่ายขึ้น

บรรณานุกรม

จุฑารัตน์ เกียรติรัศมี. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขต


กรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, คณะพาณิชยศาสตร์และ
การบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ดิจิทัลเอจ. (2560). เปิดเทรนด์ช้อปปิ้ง แอพฯ Shopee & Shappy. เข้าถึงได้จาก:
https://www.digitalagemag.com/เปิดเทรนด์ช้อปปิ้ง-แอพฯ-Shopee-Shappy/
ธงชัย สันติวงษ์. (2554). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: เอ.อาร์.บิชิเนส เพรส.
ธนานันท์ โตสัมพันธ์มงคล. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแบรนด์ยูนิโคล่ (Uniqlo)ของ
ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, คณะ
พาณิชยศาสตร์และการบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปัทมพร คัมภีระ. (2557). พฤติกรรมการซื้อเครื่องสาอางผ่านเว็ปไซต์เฟซบุ๊คของนักศึกษาหญิงในเขต
กรุงเทพมหานคร.
การค้นคว้าอิสระ นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์, คณะนิเทศศาสตร์,
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

- 14 -
ภัทราวดี กุฏีศรี. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสอนใจซื้อสินค้าประเภทเครื่องสาอางผ่านทางระบบพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ ปริญญา
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการตลาด, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ธัญบุรี.
รัชนี ไพศาลวงศ์ดี. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าเสื้อผ้าสตรีทางอินเตอร์เน็ตของประชากร
ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริหารธุรกิจ, 3 (1), 535-539.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.
สิริชัย ดีเลิศ และ สุภาวดี รัตนพงศ์พันธ์. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านระบบ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของกลุ่มผู้บริโภคตลาดเฉพาะกลุ่ม. วารสาร Veridian E-Journal, 11 (1),
2404-2406.
สุชาดา พลาชัยภิรมย์ศิล. (2554). แนวโน้มการใช้โมบายแอพพลิเคชัน. วารสารนักบริหาร, 31 (4), 110-115.
สุณิสา ตรงจิตร์. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านช่องทางตลาดกลางพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketplace). การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, คณะพาณิชยศาสตร์
และการบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อิสรีย์ อนันต์โชคปฐมา. (2558). ส่วนประสมทางการตลาดและการตัดสินใจซื้อสินค้าใน Line –Giftshop.
การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี,
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Darkhorse. (2019). Shopee ขึ้นแท่นแชมป์อีคอมเมิร์ซใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. Retrieved
from: https://thumbsup.in.th/2019/01/shopee-top-ecommerce/
Hai Harvard Wu. (2015). หลักการตลาด 6P ของ e-Commerce. [ออนไลน์]. Retrieved from:
http://haiharvardwu-onlinemarketing.blogspot.com/2015/09/6-p-e-commerce.html.
Kotler P. and Keller K. (2012). Marketing Management (14th ed.). Pearson Education limited:
Prentice-Hall.
Moonlightkz. (2014). ตลาดการค้าออนไลน์ในไทยยังซบเซา มีส่วนแบ่งการตลาดเพียง 1%. Retrieved
from: https://m.thaiware.com/news/4953.html
RingRangRung. (2016). “Shopee” แอพฯตลาดออนไลน์บนมือถือ คอนเซ็ปต์ดี ซื้อง่าย ขายคล่อง เพิ่ง
ขยายส่งฟรีด้วย. Retrieved from: https://www.mxphone.com/210616-app-review-
shopee/
Saowalak. (2015). รูปแบบการตลาดอิเล็กทรอนิกส์. Retrieved from: http//bee-
emarketing.blogspot.com/2015/12/2-1.html?m=1

- 15 -

You might also like