You are on page 1of 11

บทที่ 1

บทนำ
ควำมเป็ นมำ และควำมสำคัญของปัญหำ
ในสภาวะปั จ จุ บัน แหล่ ง พลัง งานต่ างๆ เป็ นสิ่ ง ที่ มี ค วามจ าเป็ นในการด าเนิ น ชี วิ ต ประจ าวัน
พลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานที่ มีความสาคัญ ต่อการดาเนิ นชี วิตประจาวันและภาคอุตสาหกรรมเป็ นอย่าง
มาก พลัง งานทั้ง หมดที่ ผ ลิ ต ได้ม าจากเชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิ ล คื อ ก๊ า ซธรรมชาติ ลิ ก ไนต์แ ละน้ ามัน ดี เซล
พลัง งานทดแทนที่ ผ ลิ ต ได้ เช่ น พลัง งานน้ า พลัง งานแสงอาทิ ต ย์ห รื อ พลัง งานจากชี ว มวล ยัง มี ก าลัง
การผลิ ต ที่ น้อ ยมาก เป็ นผลให้ ก ารผลิ ต ไฟฟ้ ามี ร าคาด้น ทุ น ที่ แ พงชื้ น อย่างต่ อ เนื่ อ งตามความต้อ งการ
ของตลาดโลก ได้ มี ก ารคิ ด ด้ น และน าเทคโนโลยี ต่ า งๆรวมถึ ง แหล่ ง พลัง งานที่ บ ริ สุ ท ธ์ ไ ม่ ท าลาย
สิ่ งแวดด้อ ม เช่ น การน าความร้ อ นจากแสงอาทิ ต ย์ค วามร้ อ นเหลื อ ทิ้ งจากแหล่ ง ความร้ อ นต่ างๆมาใช้
เป็ นแหล่ งผลิ ต พลังงาน และได้มี ก ารศึ ก ษาการน าความร้ อ นเหลื อ ทิ้ งมาใช้เป็ นแหล่ งพลัง งานให้ กับ
เทอร์ โ มอิ เล็ ก ทริ ค ในการผลิ ต กระแสไฟฟ้ า เช่ น การผลิ ต ไฟฟ้ าจากเตาหุ ง ต้ม การใช้ค วามร้ อ นเหลื อ
ทิ้งจากตะเกียงเป็ นแหล่งผลิตพลังงานให้กบั เทอร์โมอิเล็กทริ ค
จากการใช้ พ ลัง งานในปั จ จุ บั น ท าให้ พ ลัง งานเข้ า สู่ สภาวะขาดแคลน รวมทั้ งสภาวะโลก
ร้ อ นในปั จ จุ บัน ด้ว ย พลัง งานทดแทนจากแหล่ งต่ างๆได้ลู ก คิ ด สั น และน ามาใช้เพื่ อ ทดแทนพลังงาน
หลัก อย่ า งไรก็ ดี ย งั ไม่ ส ามารถที่ จ ะน ามาใช้ท ดแทนได้จ ริ ง เนื่ อ งจากความไม่ ต่ อ เนื่ อ งของพลัง งาน
ทดแทนน้อย
จากปัญหานี้จึงจาเป็ นที่จะด้องหาแนวทางในการนาพลังงานจากแหล่งอื่นๆ มาช่วยในการประหยัด
พลังงานด้วยระบบปรับอากาศ ระบบปรับอากาศเป็ นระบบที่มีอยูแ่ ทบทุกที่ในประเทศไทยและเป็ นระบบที่
ใช้พลังงานไฟฟ้าเป็ นจานวนมากอีกทั้งยังสร้างความร้อนชื้นด้วยในตัวระบบเอง จากความต้องการใช้
เครื่ องปรับอากาศที่เพิ่มชื้นเราสามารถใช้พลังงานเหล่านั้นนากลับมาผลิตเป็ นกระแสไฟฟ้าได้ ด้วยการนา
เทคโนโลยีเทอร์โมอิเล็กทริ คเข้ามาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าซึ่งเป็ นการสร้างกระแสไฟฟ้า เพื่อนาไปใช้
ประโยชน์ โครงการวิจยั นี้จะศึกษาการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเทอร์โมอิเล็กทริ คโดยใช้พลังงานความร้อน
เหลือทิ้งจากเครื่ องปรับอากาศ ซึ่งสามารถนามาผลิตเป็ นกระแสไฟฟ้าได้มาผลิตไฟฟ้า โดยอาศัยหลักการ
แปลงพลังงานจากความร้อนเป็ นพลังงานไฟฟ้าโดยตรง โดยการสร้างชุดผลิตกระแสไฟฟ้าจากเทอร์โมอิ
เล็กทริ คแล้วทาการทดสอบหาประสิ ทธิภาพของวงจร
ควำมมุ่งหมำย และวัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ
1. เพื่อศึกษาวิเคราะห์การทางานของเทอร์โมอิเล็กทริ ค
2. เพื่อศึกษาและสร้างแบบจาลองการทางานชุดทดลองการผลิตไฟฟ้าจากความร้อนสู ญเปล่าของ
ระบบปรับอากาศด้วยวิธีการเทอร์โมอิเล็กทริ ค
3. เพื่อวิเคราะห์ประเมินผลการทางานชุดทดลองการผลิตไฟฟ้าจากความร้อน สู ญเปล่าของระบบปรับ
อากาศด้วยวิธีการเทอร์โมอิเล็กทริ ค
4. เพื่อพัฒนาการผลิตไฟฟ้าจากเทอร์โมอิเล็กทริ คจากความร้อนสู ญเปล่าของระบบ
เครื่ องปรับอากาศเปรี ยบเทียบผลการทดลองกับแบบจาลอง
5. เพื่อศึกษาประสิ ทธิภาพการผลิตกระแสไฟฟ้าโดยใช้เทอร์โมอิเล็กทริ ค
สมมุติฐำนของกำรศึกษำ
1. การใช้พลังงานความร้อนสูญเปล่าของระบบปรับอากาศผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเทอร์
โมอิเล็กทริ คที่สร้างขึ้น สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้
2. ทดสอบหาประสิ ทธิภาพของชุดผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเทอร์โมอิเล็กทริ คจาก
พลังความร้อนสู ญเปล่าของระบบปรับอากาศด้วยวิธีการเทอร์โมอิเล็กทริ ค
ขอบเขตของวิทยำนิพนธ์
1. ศึกษาและสร้างชุดด้นแบบการผลิตไฟฟ้าจากความร้อนสูญเปล่าของระบบ
ปรับอากาศด้วยวิธีการเทอร์โมอิเล็กทริ ค
2. ชุดด้นแบบการผลิตไฟฟ้าจากความร้อนสูญเปล่าของระบบปรับอากาศด้วยวิธีการ
เทอร์โมอิเล็กทริ ค สามารถประจุแบตเตอรี่ ไฟฟ้าสารองขนาด 6 โวล์ทได้
3. วิเคราะห์หาประสิ ทธิภาพของชุดผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเทอร์โมอิเล็กทริ คจาก
พลังความร้อนสู ญเปล่าของระบบปรับอากาศด้วยวิธีการเทอร์โมอิเล็กทริ ค
ประโยชน์ ที่คำดว่ำจะได้ รับ
1. สามารถออกแบบชุดทดสอบการผลิตไฟฟ้าจากความร้อนสู ญเปล่าของระบบ
ปรับอากาศด้วยวิธีการเทอร์โมอิเล็กทริ คได้
2. สามารถสร้างชุดสันแบบการผลิตไฟฟ้าจากความร้อนสูญเปล่าของระบบปรับอากาศ
ด้วยวิธีการเทอร์โมอิเล็กทริ คได้
3. สามารถเข้าใจการทางานของเทอร์โมอิเล็กทริ คได้
บทที่ 2
ทฤษฎีและงำนวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
1. เทอร์โมอิเล็กทริ ค
— หลักการทางานของเทอร์โมอิเล็กทริ ค
— ประเภทของเทอร์โมอิเล็กทริ ค
เทอร์ โมอิเล็กทริค
เทอร์โมอิเล็กทริ คเป็ นอุปกรณ์ที่ทามาจากสารกึ่งตัวนาสมบัติพิเศษของวัสดุที่สามารถผันความร้อน
เป็ นไฟฟ้าและสามารถผันไฟฟ้าเป็ นความเย็น โดยอาศัยหลักการสั่นสะเทือนของโครงสร้างภายในของแข็ง
ที่เป็ นวัสดุเทอร์โมอิเล็กทริ คในเชิงควอนตัมฟิ สิ กส์เมื่อวัสดุเทอร์โมอิเล็กทริ คได้รับอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ที่
อุณหภูมิสูงก็จะถ่ายเทไปยังที่ที่มีอุณหภูมิต่ากว่านั้นคือมีอิเล็กตรอนและโฮลเคลื่อนที่ ซึ่ งจะได้ไฟฟ้าออกมา
ซึ่งสามารถนามาสร้างเครื่ องกาเนิดไฟฟ้าและสร้างเครื่ องทาความเย็นได้
2.1 เทอร์ โมอิเล็กทริค
เทอร์ โมอิเล็กทริ คคือ สมบัติพิเศษของวัสดุที่สามารถผันความร้อนเป็ นไฟฟ้ าและสามารถผันไฟฟ้ า
เป็ นความเย็น โดยอาศัยหลักการสั่นสะเทือนของโครงสร้างภายในของแข็งที่เป็ นวัสดุเทอร์โมอิเล็กทริ ค ใน
เชิงควอนตัมฟิ สิ กส์ เรี ยกว่าโฟนอน เมื่อวัสดุเทอร์ โมอิเล็กทริ คได้รับอุณหภูมิที่แตกต่างกันที่อุณหภูมิสูงก็จะ
ถ่ายเทไปยังที่ที่มีอุณหภูมิต่ากว่า นั้นคือมีอิเล็กตรอนและโฮลเคลื่อนที่ ซึ่ งจะได้ไฟฟ้ าออกมา ซึ่ งสามารถ
น ามาสร้ างเครื่ องก าเนิ ด ไฟฟ้ าและสร้ างเครื่ องท าความเย็น ได้ การท างานของเทอร์ โมอิ เล็ก ทริ ค โมดู ล
แบ่งเป็ น 2 โหมดดังนี้ โหมดแรก เรี ยกว่า โหมดผลิตไฟฟ้า โหมดผลิตความเย็นด้วยไฟฟ้า
2.2 หลักกำรทำงำนของเทอร์ โมอิเล็กทริค
เทคโนโลยีเทอร์ โมอิ เล็กทริ ค โดยเซลล์เทอร์ โมอิ เล็กทริ คประกอบไปด้วยวัสดุเทอร์ โมอิเล็กทริ คสอง
ชนิ ด คือชนิ ด pและชนิ ด n ต่อกันเป็ นขั้ว p - n แบบ อนุ กร มีหลักการทางานอยู่สองลักษณะคือเมื่อเซลล์
เทอร์ โมอิเล็กทริ คได้รับความร้อนจะไปกระตุน้ ให้เกิดการไหลของอิเล็กตรอนนันได้ไฟฟ้ าออกมา เรี ยกว่า
การผันความร้อนเป็ นไฟฟ้า อีกลักษณะคือเมื่อเราให้กระแสไฟฟ้ากับเซลล์ทอร์โมอิเล็กทริ ค กระแสไฟฟ้าจะ
ไปกระตุน้ ให้อิเล็กตรอนนาความร้อนออกจากเซลล์ทาให้เกิดความเย็น เรี ยกว่า การผันไฟฟ้าเป็ นความเย็น
การทางานของเทอร์ โมอิเล็กทริ ค เมื่อต่อกันครบวงจร จะดูดอิเล็กตรอนเข้ามาทางขวาซึ่ งมีอยู่ตรงรอยต่อ
(Junction) ทาให้ดา้ นขวามือเป็ นลบเมื่อโปรตอนจากความร้อนมากระทบจะทาให้ประจุบวกลบ ซึ่งเป็ นกลาง
แยกออกจากกนั้น เรี ยกวา Hole-Pair ทาให้ประจุลบจากขวาวิ่งผ่านรอยต่อไปทางซ้ายเป็ นการเคลื่อนที่ของ
ประจุลบ (ทวนเข็มนาฬิกา) ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ าเคลื่อนที่ไปในทิศสวนกลับ เทอร์ โมอิเล็กทริ คสามารถ
เปลี่ยนพลังงานความร้อนให้เป็ นพลังงานไฟฟ้ าได้โดยสมการ การถ่ายเทความร้อนที่ดา้ นเย็นหรื อด้านร้อน
เทอร์ โมอิ เล็กทริ ค จะสามารถที่จะผลิตไฟฟ้ าได้โดยความ แตกต่างของอุณหภูมิที่กระทบกับพื้นที่ของตัว
เทอร์โมอิเล็กทริ ค จากนั้นอิเล็กตรอนจะแลกเปลี่ยน และเกิดกระแสไฟฟ้าได้ ซึ่งไฟฟ้าที่ผลิตได้จะเป็ นไฟฟ้
ากระแสตรง จึงสามารถที่จะนาไปแปลงเป็ นไฟฟ้ ากระแสสลับหรื อนาไปชาร์ จแบตเตอร์ รี่ได้ ระบบการ
ทางานของเทอร์ โมอิ เล็กทริ ค จะผลิตไฟฟ้ าได้ตามความสัมพันธ์ของอุณ หภูมิที่แตกต่างกันของพื้นที่ รับ
อุณหภูมิ
2.3 ประเภทของเทอร์ โมอิเล็กทริค
เทอร์โมอิเล็กทริ คโมดูลสามารถแบ่งออกตามลักษณะได้ 2 แบบคือ
1) เทอร์โมอิเล็กทริ คแบบชั้นเดียว (Single Stage Module) เป็ นเทอร์โมอิเล็กทริ คที่ มีผลต่างของอุณหภูมิดา้ น
ร้อนกบด้านเย็นในการใช้งานไม่สูงมาก ซึ่งมีค่าประมาณ 67องศาเซลเซียส ซึ่งเป็ นผลต่างของอุณหภูมิ
ขณะที่ไม่มีภาระความร้อน ลักษณะของเทอร์โมอิเล็กทริ คมีหลายรู ปแบบ ทั้งขนาดและรู ปร่ างอีกทั้งมีสมบัติ
หลายอยางให้เลือกตามลักษณะการใช้งานเช่น ค่ากระแสไฟฟ้า ค่าแรงดัน และความสามารถในการถ่ายเท
ความร้อนโดยสามารถสรุ ปลักษณะและสมบัติได้ดงั นี้
— ขนาดพื้นที่ผวิ หน้าเซรามิก 1.8 x 3.4 ตารางมิลลิเมตร ถึง 62 x 62 ตาราง มิลลิเมตร
— ขนาดความสู งตั้งแต่2.54 มิลลิเมตร ถึง 5.8 มิลลิเมตร
— ค่าการถ่ายเทความร้อนสู งสุ ดตั้งแต่0.2 ถึง 125 วัตต์
— ค่ากระแสสู งสุ ดตั้งแต่0.8 ถึง 60 แอมป์
— ค่าแรงดันสู งสุ ดตั้งแต่0.4 ถึง 15.4 โวลต์

2) เทอร์โมอิเล็กทริ คแบบหลายชั้น (Multistage Module) เป็ นเทอร์โมอิเล็กทริ คที่มี การต่อตั้งแต่2 ชั้นขึ้นไป


ลักษณะและสมบัติของเทอร์โมอิเล็กทริ คแบบหลายชั้นที่สาคัญคือ
— พื้นที่ผวิ ด้านเย็นมีขนาดตั้งแต่3.2 x 3.2 ตารางมิลลิเมตร ถึง 62 x 62 ตาราง มิลลิเมตร และมีพ้นื ที่ผวิ
ด้านร้อนขนาดตั้งแต่3.8 x 3.8 ตารางมิลลิเมตร ถึง 62 x 62 ตารางมิลลิเมตร
— ขนาดความสู งตั้งแต่3.8 มิลลิเมตร ถึง 21.4 มิลลิเมตร
— ค่าการถ่ายเทความร้อนสู งสุ ดตั้งแต่0.39 ถึง 59 วัตต์
— ค่ากระแสสู งสุ ดตั้งแต่0.7 ถึง 9.5 แอมป์
— ค่าแรงดันสู งสุ ดตั้งแต่0.8 ถึง 14 โวลต์ ซึ่งจานวนชั้นของเทอร์โมอิเล็กทริ คแบบหลายชั้นมีการ
เชื่อมต่อตั้งแต่ 2 ชั้นถึง 6 ชั้น
บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรวิจัย
ในบทนี้จะแสดงถึงการวิเคราะห์รูปแบบการเชื่อมต่อโมดูลเทอร์โมอิเล็กทริ คหลายโมดูลให้ทางาน
ร่ วมกันอย่างมีประสิ ทธิภาพ การผลิตไฟฟ้าจากความร้อนสู ญเปล่าของระบบปรับอากาศแบบแยกส่วนด้วย
วิธีการเทอร์โมอิเล็กทริ คเพื่อชาร์จแบตเตอรี่ ไฟฟ้าสารองขนาด 12 โวลต์ โดยผูว้ ิจยั ได้ทาการศึกษาคุณสมบัติ
การทางานของชุดผลิตไฟฟ้าด้วยโมดูลเทอร์โมอิเล็กทริ คแต่ละโมดูล และรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆ
เพื่อนามาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ในการสร้างชุดต้นแบบการผลิตไฟฟ้าจากความร้อนสู ญเปล่าของระบบ
ปรับอากาศแบบแยกส่วนด้วยวิธีการเทอร์โมอิเล็กทริ คสามารถประจุแบตเตอรี่ ไฟฟ้าสารองขนาด 12 โวลต์
เพื่อใช้ในการพัฒนาการผลิตไฟฟ้าต่อไป
1. ขั้นตอนกำรดำเนินงำนวิจัย
งานวิจยั นี้ได้กาหนดขั้นตอนการดาเนินงานทั้งในส่ วนของการทดสอบในสภาพจริ งกับการ
ทดสอบด้วยแบบจาลอง ดังต่อไปนี้
ขั้น ตอนที่ 1 ศึ ก ษาด้ น คว้า ทฤษฎี ที่ เกี่ ย วข้ อ งโดยศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ คุ ณ สมบั ติ ก ารท างานของ
โมดู ล เทอร์ โ มอิ เล็ก ทริ ค การเชื่ อ มต่ อ กัน ในการผลิ ต ไฟฟ้ าของโมดู ล เทอร์ โ มอิ เล็ก ทริ ค และรวบรวม
ข้อมูลคุณสมบัติของชุดโมดูลเทอร์ โมอิเล็กทริ คที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมข้อมูลการสร้าง
และออกแบบระบบการจัดและควบคุมชุ ดด้นแบบการผลิต ไฟฟ้ าจากความร้อนสู ญเปล่าของระบบปรับ
อากาศด้วยวิธีการเทอร์ โมอิ เล็กทริ ค ทดสอบการทางานในสภาพจริ งโดยการนาเทอร์ โมอิเล็กทริ คโมเดล
TEG 12750 D ทาการทดสอบหากาลังไฟฟ้ าสู งสุ ดที่ ผลิตได้,ทดสอบคุณ สมบัติการผลิตไฟฟ้ าของโมดู ล
เทอร์โมอิเล็กทริ คแต่ละโมดูลและทดสอบการเชื่อมต่อกันในการผลิตไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
ขั้นตอนที่ 3 ทาการทดสอบแบบจาลองและบันทึกผลการทดสอบแบบจาลอง ปรับปรุ งแต้ไข
ชุดทดสอบการผลิตไฟฟ้าจากความร้อนสูญเปล่าของระบบปรับอากาศแบบแยกส่ วนด้วยวิธีการเทอร์
โมอิเล็กทริ คเพื่อชาร์จแบตเตอรี่ ไฟฟ้าสารองขนาด 6 โวลต์
ขั้นตอนที่ 4 นาผลการทดสอบกับแบบจาลองมาเปรี ยบเทียบกับผลการทดสอบในสภาพ
จริ ง แต้วอธิบายข้อแตกต่างและผลจากการเปรี ยบเทียบ
ขั้นตอนที่ 5 สรุ ปผลจากกงานวิจยั เล่มนี้
2. กำรทดลองคุณสมบัติกำรต่อร่ วมกันของโมคูลเทอร์ โมอิเล็กทริค
การเชื่ อ มต่ อ โมดู ล เทอร์ โมอิ เล็ก ทริ ค หลายๆโมดู ล ให้ ท างานร่ ว มกัน สามารถท าไต้ 3 ลัก ษณะ
ด้วยกัน คือ การเชื่ อมต่อโมดู ลเทอร์ โมอิ เล็กทริ คแบบอนุ กรม การเชื่ อมต่อโมดู ลเทอร์ โมอิ เล็กทริ คแบบ
ขนาน และการเชื่ อ มต่ อ โมดู ล เทอร์ โ มอิ เล็ ก ทริ ค แบบผสม จากความไม่ ส ม่ าเสมอในคุ ณ สมบัติ ข อง
โมดู ล เทอร์ โ มอิ เล็ ก ทริ คแต่ ล ะโมดู ล ท าให้ ก ารเชื่ อ มต่ อ โมดู ล เทอร์ โ มอิ เล็ ก ทริ คในแต่ ล ะแบบให้
ประสิ ทธิภาพกาลังไฟฟ้าที่แตกต่างกัน
ในการทดสอบคุ ณ สมบั ติ ท างไฟ ฟ้ าความร้ อ น จะใช้ เทอร์ โ มอิ เล็ ก ทริ คจ านวน 4 โมดู ล
ประกอบอยู่บ นโครงสร้ างระบบเดี ยวกัน โดยยึดติ ด ผนังด้านร้ อนของระบบด้ว ย ฮี ท เตอร์ ขนาด 1000
วัตต์ และผนังด้านเย็น ของระบบระบายความร้ อนออกด้วยน้ าเหลื อทิ้ งจากเครื่ องปรั บ อากาศจะท าการ
ทดสอบคุ ณ สมบัติ ความสามารถในการจ่ ายก าลังไฟฟั าของแต่ ล ะโมดู ล และทดสอบขี ดความสามารถ
ในการจ่ ายก าลังไฟฟ้ าเมื่ อ น ามาต่ อ ร่ ว มกัน ทั้งในลัก ษณะการขนานและการอนุ ก รม โดยปรั บ เปลี่ ย น
ค่าโหลดเพื่อหาค่ากาลังไฟฟ้าสู งสุ ด
3. สร้ ำงชุดต้นแบบกำรผลิตไฟฟ้ำจำกควำมร้ อนสู ญเปล่ำของระบบปรับอำกำศด้ วยวิธีกำรเทอร์ โมอิเล็กทริค
เทอร์ โ มอิ เล็ ก ทริ ค เป็ นอุ ป กรณ์ ที่ ท ามาจากสารกงตัว น า สมบัติ พิ เศษของวัส ดุ ที่ ส ามารถผัน
ความร้ อ นเป็ นไฟฟ้ า และสามารถผัน ไฟฟ้ าเป็ นความเย็น การต่ อ วงจรแบบอนุ ก รมจะท าให้ค วามต่ าง
ศักย์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น และการต่อวงจรแบบขนานจะทาให้กระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้เพิ่มขึ้น ในการวิจยั ครั้งนี้จึงได้
นาชุดเทอร์โมอิเล็กทริ คมาต่ออนุกรมและขนานกัน 10 โมดูล
4. สรุป
วิธีการดาเนิ น งานวิจยั เริ่ มจากศึ กษาคุณ สมบัติการทางานของชุ ดผลิ ตไฟฟ้ าด้วยโมดูลเทอร์ โมอิ
เล็ก ทริ ค แต่ ล ะโมดู ล การวิเคราะห์ รูป แบบการเชื่ อ มต่ อ โมดู ล เทอร์ โมอิ เล็ก ทริ ค หลายโมดู ล ให้ ท างาน
ร่ ว มกัน อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวบรวมข้อ มู ล การผลิ ต ไฟฟ้ า จากความร้ อ นสู ญ เปล่ า ของระบบปรั บ
อากาศแบบแยกส่ ว นด้ว ยวิ ธี ก ารเทอร์ โ มอิ เล็ ก ทริ ค เพื่ อ ชาร์ จ แบตเตอรี่ ไ ฟฟ้ า ส ารองขนาด 12 โวลต์
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูลดังกล่าว เพื่อนาผลที่ได้มาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ในการสร้างชุดด้น
แบ บการผลิ ต ไฟ ฟ้ าจากความร้ อ น สู ญ เปล่ า ของระบบปรั บ อากาศแบ บแยกส่ วนด้ ว ยวิ ธี การ
เทอร์ โ มอิ เล็ก ทริ ค สามารถประจุ แ บตเตอรี่ ไ ฟฟ้ าส ารองขนาด 12 โวลต์เพื่ อ ใช้ในการพัฒ นาการผลิ ต
ไฟฟ้าต่อไป
บทที่ 4
ผลกำรทดลอง
1. กำรทดลองต่ อร่ วมกันของโมคูลเทอร์ โมอิเล็กทริค
ในการทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟ้าความร้อน จะใช้เทอร์ โมอิเล็กทริ คจานวน 4 โมดูลประกอบอยู่
บนโครงสร้างระบบเดียวกัน โดยยึดติดผนังด้านร้อนของระบบด้วย ฮีทเตอร้ ขนาด 1000วัตต์ และผนังด้าน
เย็นของระบบระบายความร้อนออกด้วยน้ าเหลือทิ้งจากเครื่ องปรับอากาศ โดยในการทดลองจะทาการ
ทดสอบคุณสมบัติความสามารถในการจ่ายกาลังไฟฟ้าของแต่ละโมดูล และทดสอบขีดความสามารถในการ
จ่ายกาลังไฟฟ้าเมื่อนามาต่อร่ วมกัน ทิ้งในลักษณะการขนานและการอนุกรม โดยปรับเปลี่ยนค่าโหลดเพือ่ หา
ค่ากาลังไฟฟ้าสู งสุ ด
1.1. คุณสมบัตขิ องแต่ ละโมดูล
จากการทดลองโมดู ลเทอร์ โมอิ เล็ก ทริ คแต่ละโมดู ลจะเห็ น ว่าภายใต้การรั บความร้ อนอุณ หภู มิ
เดียวกัน เมื่อเราทาการเพิ่มโหลด จะส่ งผลให้กาลังไฟฟ้าที่ได้จากการทดลองมีค่าลดลง เนื่ องด้วยความ ไม่
สม่าเสมอในกระบวนการผลิตในแต่ละช่วงเวลาของการผลิตจะส่ งผลให้เกิดปริ มาณพาหะการนาไฟฟ้ าใน
สารกึ่งตัวนาที่แตกต่างกันทาให้ศกั ยภาพในการผลิตไฟฟ้า และค่าความต้านทานภายในของเทอร์โมอิเล็กท
ริ คเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมส่ งผลถึงการด้อยประสิ ทธิ ภาพลงในการจ่ายกาลังไฟฟ้ าของ เทอร์ โมอิเล็กทริ ค
โดยรวม โมดูลที่ 4 ให้กาลังไฟฟ้ าออกได้ดีที่สุด ขณะที่โมดูลที่ 2 และ 3 ให้ กาลังไฟฟ้ าที่มีค่าใกล้เคียงกัน
ส่ วนโมดูลที่ 1 จะให้กาลังไฟฟ้าได้ดีต่าที่สุด
1.2 กำรอนุกรมกันของโมดูลเทอร์ โมอิเล็กทริค
— ค่าแรงดันที่ได้เพิ่มขึ้น
— กระแสไฟฟ้ามีค่าคงที่
— ค่ากาลังไฟฟ้าที่จ่ายออกมาจะมีค่าเพิ่มขึ้น
— ค่ากระแสไฟฟ้าลดลง
— ค่าแรงดันคงที่
— ค่ากาลังไฟฟ้าที่จ่ายออกมาจะมีค่าลดลง
1.3 กำรขนำนของโมดูลเทอร์ โมอิเล็กทริค
— ค่าแรงดันที่ได้คงที่
— กระแสไฟฟ้ามีค่าเพิ่มขึ้น
— ค่ากาลังไฟฟ้าที่จ่ายออกมาจะมีค่าเพิ่มขึ้น
— ค่ากระแสไฟฟ้าคงที่
— ค่าแรงดันลดลง
— ค่ากาลังไฟฟ้าที่จ่ายออกมาจะมีค่าลดลง
1.4 กำรอนุกรมและขนำนกนัของโมดูลเทอร์ โมอิเล็กทริค
— ค่าแรงดันที่ได้มีค่าเพิ่มขึ้น
— กระแสไฟฟ้ามีค่าเพิ่มขึ้น
— ค่ากาลังไฟฟ้าที่จ่ายออกมาจะมีค่าเพิ่มขึ้น
— ค่ากระแสไฟฟ้าคงที่
— ค่าแรงดันลดลง
— ค่ากาลังไฟฟ้าที่จ่ายออกมาจะมีค่าลดลง
2. กำรผลิตไฟฟ้ำจำกควำมร้ อนสู ญเปล่ำของระบบปรับอำกำศแบบแยกส่ วนด้ วยวิธีกำรเทอร์ โมอิเล็กทริค
เพื่อประจุแบตเตอรี่ไฟฟ้ำฉุกเฉิน
การทดลองผลิตไฟฟ้ าจากความร้อนสู ญเปล่าของเครื่ องปรับอากาศแบบแยกส่ วนด้วยเทอร์ โมอิ
เล็กทริ ค เพื่อชาร์ จแบตเตอรี่ ไฟสารอง ในการทดสอบแรงดันที่ผลิตได้มีค่า ดังนั้นจึงมีความจาเป็ นที่จะต้อง
ยกระดับแรงดันไฟฟ้าด้วยวงจรบูสท์คอนเวอร์ เตอร์ เพื่อให้มีค่าแรงดันสู งขึ้นโดยตั้งค่า แรงดันขาออกไว้ที่
20 โวลต์ และแรงดันอัดประจุอยูที่ 15 โวลต์ซ่ ึ งปริ มาณกระแสไฟฟ้าจะแปรผันตาม ผลต่างแรงดันวงจรอัด
ประจุกบแรงดันแบตเตอรี่ ขณะเริ่ มต้นแรงดันในแบตเตอรี่ น้อย กระแสอัด ประจุจะมีปริ มาณมากและจะ
ลดลงตามลาดับ ในขณะที่แรงดันอัดประจุยงั คงที่อยู่ โดยวงจรในการอัดประจุแบตเตอรี่ ประกอบด้วย ชุด
ผลิ ตไฟฟ้ าด้วยเทอร์ โมอิ เล็กทริ ควงจรรักษาระดับแรงดัน วงจรบู สท์คอนเวอร์ เตอร์ และวงจรอัดประจุ
แบตเตอรี่ เมื่อได้รับพลังงานไฟฟ้าจากเทอร์โมอิเล็กทริ ค และมีการนาไปต่อกบโหลดจะทาให้แรงดันตกลง
ดังนั้นจึงใช้วงจรรักษาระดับแรงดัน เพื่อรักษาระดับแรงดันให้คงที่ และใช้วงจรบูสท์คอนเวอร์ เตอร์ เพื่อ
ยกระดับแรงดันที่ได้จากวงจรให้มีค่าสู งขึ้น โดยทัว่ ไปสามารถยกระดับแรงดันได้ประมาณ 1 – 4 เท่าของ
แรงดันอินพุท และนาไปชาร์จแบตเตอรี่ ดว้ ยวงจร ประจุแบตเตอรี่ ต่อไป
บทที่ 5
สรูปผลกำรวิชัย และข้ อเสนอแนะ
สรุปผลกำรวิจยั
งาน วิ จ ั ย นี้ จึ งได้ น าเส น อ การน าเท ค โน โลยี เ ท อร้ โ ม อิ เล็ ก ท ริ คเข้ า ม าใช้ ใ น ก ารผลิ ต
กระแสไฟฟ้ าซงเป็ นการสร้ างกระแสไฟฟ้ าเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ และยังเป็ นการประหยัดพลังงานอี ก
ทางหนึ่ งไม่ ทาลายสิ่ งแวดด้อม มี อายุการใช้งานที่ ยาวนาน และมี ขนาดเล็กกะทัดรั ด โครงการวิจยั นี จะ
ศึกษาการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเทอร์ โมอิเล็กทริ คโดยใช้พลังงานความร้อนเหลือทิ้งจากเครื่ องปรับอากาศ
ซึ่งสามารถนามาผลิตเป็ นกระแสไฟฟ้าได้มาผลิตไฟฟ้ า โดยอาศัยหลักการแปลงพลังงานจากความร้อนเป็ น
พลังงานไฟฟ้าโดยตรง
ซึ่ งผลการศึ ก ษาและทดลองพบว่ า ในการทดสอบคุ ณ สมบัติ ท างไฟฟ้ า ความร้ อ นเมื่ อ เราท า
การเพี่ ม โหลดจะทาให้ก ระแสไฟฟ้ าที่ ผลิ ตได้มี ป ริ ม าณลดลงส่ งผลให้ก าลังไฟฟ้ าที่ ผลิ ตได้มีป ริ มาณที่
ลดลงตามไปด้วยและเมื่ อทาการทดสอบวัดค่ากาลังไฟฟ้ าของโมดู ลเทอร์ โมอิ เล็กทริ คจากการเชื่ อมต่ อ
กั น ของโมดู ล เทอร์ โ มอิ เล็ ก ทริ คทั้ ง การเชื่ อ มต่ อ อนุ ก รมกั น ของโมดู ล เทอร์ โ มอิ เล็ ก ทริ คและการ
เชื่ อ มต่ อ ขนานกัน ของโมดู ล เทอร์ โ มอิ เล็ก ทริ ค จะเห็ น ว่าการเปลี่ ย นแปลงของก าลัง ไฟฟ้ า เมื่ อ โหลด
เปลี่ ย นส าหรั บ การต่ อ แบบอนุ ก รมนั้ นมี ค่ า ตากว่ า การต่ อ แบบขนาน ถ้า พิ จ ารณาในสภาพเลวร้ า ยที่
เป็ นไปได้ เช่ น มี ปั จ จัย ท าให้ คุ ณ สมบัติ ข องโมดู ล เทอร์ โมอิ เล็ก ทริ ค แตกต่ างกัน การต่ อ แบบขนานจะ
ให้ ค่ าการจ่ ายแรงดัน ไฟฟ้ าได้ดี ก ว่าแบบอนุ ก รม ความจริ งข้อ นี้ สามารถน าไปใช้พิ จ ารณาการใช้งาน
โมดู ลเทอร์ โมอิ เล็กทริ คได้ โดยยึดหลักว่าหากใช้งานโมดู ลเทอร์ โมอิ เล็กทริ คโดยปราศจากวงจรแปลง
ผัน ไฟฟ้ า การต่ อ แบบอนุ ก รมจะใช้งานกับ โหลดได้ย่านกว้างกว่าการต่ อ แบบขนาน ในทางตรงข้าม
หากใช้งานโมดู ลเทอร์ โมอิ เล็กทริ คร่ วมกับวงจรแปลงผันไฟฟ้ าที่ สามารถโปรแกรมติ ดตามกาลังไฟฟ้ า
สู งสุ ดได้ การต่อโมดูลเทอร์โมอิเล็กทริ คในรู ปแบบขนานจะให้ประสิ ทธิภาพกาลังสู งกว่า ผลที่ได้น้ ี เกิดจาก
การทดสอบคุ ณ สมบั ติ โ มดู ล เทอร์ โ มอิ เ ล็ ก ทริ ค ค่ า ก าลั ง ไฟฟ้ าจริ งที่ ว ัด ได้ มี แ นวโน้ ม ลดลงไป
ตามการเปลี่ ยนแปลงของโหลดที่ เพี่ มขึ้ น เมื่ อทาการเพิ่ มโมดู ลมากขึ้น ผลการทดลองกาลังไฟห้เาจริ งที่
ได้จากการเชื่ อมต่อแบบขนานจะมี ค่าแรงดัน ที่ มีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าการเชื่ อมต่อแบบอนุ กรม นาผลที่
ได้จากการทดลองเปรี ยบเที ยบกับผลการทดลองที่ ได้จากการจาลองระบบโดยใช้โปรแกรมปรากฎว่ามี
คุณสมบัติที่ใกล้เคียงกัน เมื่อทาการทดลองผลิตไฟพิ่าจากความร้อนสู ญเปล่าของเครื่ องปรับอากาศ แบบแยก
ส่ วนด้ ว ยเทอร์ โ มอิ เ ล็ ก ทริ คเพื่ อ ชาร์ จ แบตเตอรี่ ไฟฉุ ก เฉิ น ในการทดสอบแรงดั น ที่ ผ ลิ ต ได้ มี ค่ า
ตา ดัง นั้ น จึ ง มี ค วามจ าเป็ นที่ จ ะต้อ งยกระดับ แรงดัน ไฟฟ้ า ด้ว ยวงจรบู ส ท์ ค อนเวอร์ เตอร์ เพื่ อ ให้ มี ค่ า
แรงดัน สู ง ขึ้ น โดยตั้ง ค่ า แรงดัน ขาออกไล้ที่ 20 โวลต์ แ ละแรงดัน อัด ประจุ อ ยู่ที่ 15 โวลต์ ซงปริ ม าณ
กระแสไฟฟ้ าจะแปรผัน ตามผลต่ างแรงดัน วงจรอัด ประจุ กับ แรงดัน แบตเตอรี่ ขณะเริ่ ม ด้น แรงดัน ใน
แบตเตอรี่ น้ อ ย กระแสอัด ประจุ จ ะมี ป ริ ม าณมากและจะลดลงตามล าดับ ในขณะที่ แ รงดัน อัด ประจุ
ยังคงที่ อยู่ โดยวงจรในการอัด ประจุ แบตเตอริ่ ประกอบด้วย ชุ ดผลิ ต ไฟฟ้ าด้วยเทอร์ โมอิ เล็กทริ ค วงจร
รั ก ษาระดับ แรงดัน วงจรบู ส ท์ค อนเวอร์ เตอร์ และวงจรอัด ประจุ แ บตเตอรี่ เมื่ อ ได้รั บ พลัง งานไฟฟ้ า
จากเทอร์ โมอิ เล็ก ทริ ค และมี ก ารน าไปต่ อกับ โหลดจะท าให้แ รงดัน ตกลงดังนั้น จึ งใช้ว งจรรั ก ษาระดับ
แรงดัน เพื่ อ รั ก ษาระดับ แรงดัน ให้ ค งที่ และใช้ว งจรบู ส ท์ค อนเวอร์ เตอร์ เพื่ อ ยกระดับ แรงดัน ที่ ไ ด้จ าก
วงจรให้ มี ค่ าสู ง ขึ้ น โดยทั่ว ไปสามารถยกระดับ แรงดัน ได้ป ระมาณ 1 - 4 เท่ าของแรงดัน อิ น พุ ท และ
น าไปชาร์ จ แบตเตอรี ด้ ว ยวงจรประจุ แ บตเตอริ่ ต่ อ ไป ที่ อุ ณ หภู มิ ด้ า นร้ อ นจากคอนเดนเซอร์ มี
ค่ าประมาณ 52 องศาเซลเซี ย ส ที่ ส ภาวะคงตัว เมื่ อ อุ ณ หภู มิ ผ ลต่ างระหว่างด้านร้ อ นและด้านเย็น คงที่
สามารถค านวณก าลัง วัต ต์ ข องเทอร์ โ มอิ เล็ ก ทริ ค ได้ที่ 5.95 วัต ต์ ค่ า แรงดัน 20.04 โวลต์ กระแส 30
มิ ล ลิ แ อมแปร์ สามารถน าพลังงานที่ ไ ด้ไ ปอัด ประจุ แ บตเตอรี่ ไ ฟพิ่ าส ารองขนาด 12 โวลต์ด้ว ยแรงดัน
คงที่ 15 โวลต์ข ณะท าการประจุ แ รงดัน กระแสจะค่ อ ยๆลดลงจาก 0.41 แอมแปร์ เหลื อ 0.34 แอมแปร์
เมื่ อ แบตเตอรี่ มี ค วามจุ เพิ่ ม ขึ้ น ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ การผลิ ต ไฟฟ้ าคื อ แหล่ งพลังงานความร้ อ นที่ ใ ช้ใ นการ
ผลิ ต ไฟฟ้ า และการควบคุ ม ความแตกต่ า งของอุ ณ หภู มิ ใ ห้ มี ค่ า สู งสุ ดจะท าให้ ร ะบบผลิ ต ไฟฟ้ า มี
ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง จากการทดลองแสดงไฟ้ เห็ น ว่าการวิจ ัยครั้ งนี้ สามารถผลิ ต ไฟฟ้ าเพื่ อประจุ แบตเตอรี่
ไฟฟ้าฉุกเฉินขนาด 6 โวลต์ได้จริ ง
ข้ อเสนอแนะ และแนวทำงกำรพัฒนำ
หากต้องการนาพลังงานจากระบบมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากยิง่ ขึ้นจะต้องเพิ่มจานวนของเทอร์โมอิ
เล็กทริ คให้มากขึ้น เพื่อที่จะทาให้ได้กาลังไฟฟ้าที่สูงขึ้นเพียงพอต่อการใช้งานกับโหลดที่เป็ นเครื่ องใช้ไฟฟ้า
ทัว่ ไป
ควรศึกษาวิเคราะห์หาตาแหน่งในการติดตั้งการติดตั้งชุดผลิตไฟฟาเพื่อลดการสู ญเสี ยพลังงานและ
เพิ่มประสิ ทธิภาพการทางานให้สูงขึ้น
\
คำถำม
1. แบบจาลองของผูว้ ิจยั ใช้พลังงานไฟฟ้าหรื อไม่ เพราะอะไร
— ไม่ได้ใช้ เพราะตัวแบบจาลองทามา เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจากเครื่ องปรับอากาศ โดยใช้
หลักการทางานของเทอร์โมอิเล็กทริ ค ที่เปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็ นไฟฟ้า และเปลี่ยน
จากพลังไฟฟ้าเป็ นความเย็นได้
2. เทอร์โมอิเล็กทริ คคืออะไร
— เทอร์โมอิเล็กทริ ค คือสมบัติพิเศษของวัสดุที่สามารถผันความร้อนเป็ นไฟฟ้าและสามารถ
ผันไฟฟ้าเป็ นความเย็น โดยอาศัยหลักการสัน่ สะเทือนของโครงสร้างภายในของแข็งที่เป็ น
วัสดุเทอร์โมอิเล็กทริ ค ในเชิงควอนตัมฟิ สิ กส์ เรี ยกว่าโฟนอน เมื่อวัสดุเทอร์โมอิเล็กทริ ค
ได้รับอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ที่อุณหภูมิสูงก็จะถ่ายเทไปยังที่ที่มีอุณหภูมิต่ากว่า นั้นคือมี
อิเล็กตรอนและโฮลเคลื่อนที่ ซึ่งจะได้ไฟฟ้าออกมา ซึ่งสามารถนามาสร้างเครื่ องกาเนิด
ไฟฟ้าและสร้างเครื่ องทาความเย็นได้
3. การต่อแบบอนุกรม แบบขนาน และแบบผสม แบบไหนดีที่สุดเพราะอะไร
— การต่อในรู ปแบบขนานดีที่สุด เพราะการต่อแบบขนานจะให้ค่าการจ่ายแรงดันไฟฟ้าได้
ดีกว่าแบบอนุกรม และแบบผสม
4. ในการวิจยั ต้องการค่าประสิ ทธิภาพอะไรมากที่สุดเพราะอะไร
— ต้องการค่าการจ่ายแรงดันไฟฟ้า เพราะค่าการจ่ายแรงดันยิง่ มากเท่าไหร่ กจ็ ะส่ งผลให้ไฟฟ้า
ที่ออกมาจากเทอร์โมอิเล็กทริ คส่ งไปยังตัวอัดประจุไฟฟ้าสารองได้มากเท่านั้น

You might also like