You are on page 1of 43

มเ
ดจ

พระ
เจ

้พน

างเ
ธอเ
จา

ฟ้
าก

ัยา
ณว
ิฒ
ัน
ากร
มหล
วงน
ราธ

ิาส
รา
ชนค
รน
ิท
ร์
เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

เนื่องในงานฉลองครบรอบ 100 ปี วันประสูติ สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟ้ ากัลยาณิวฒ ั นา


กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (6 พฤษภาคม 2566)
การเฉลิมฉลองในพระเกียรติคุณ สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟ้ ากัลยาณิวฒ
ั นา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็ นบุคคลสาคัญของโลกในปี พ.ศ. 2566
เนื่องในโอกาสครบรอบ 21 ปี สถาบันภาษาศาสตร์และวัฒนธรรมศึกษาราชนครินทร์
และ เนื่องในโอกาสครบรอบ 40 ปี การสถาปนาคณะมนุ ษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เรื่องเล่าพระไตรปิ ฎก

จัดพิ มพ์โดย
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์

พิ มพ์ครัง้ แรก เดือนกรกฎาคม 2564


จานวน 300 เล่ม

ลิ ขสิ ทธิ์ เป็ นของ


คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์
50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ

เรือ่ งเล่าพระไตรปิ ฎก.-- กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2564.


238 หน้า.
1. พระไตรปิ ฎก. I. ชือ่ เรือ่ ง.
294.318
ISBN 978-616-278-632-7
ที่ ปรึกษากองบรรณาธิ การ :
รองศาสตราจารย์ ดร.กิตมิ า อินทรัมพรรย์ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ภรู วิ จั น์ เดชอุม่ รองคณบดีฝ่ายยุทธศาสตร์การพัฒนา
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วชั ราภรณ์ อาจหาญ ผูอ้ านวยการสถาบันภาษาศาสตร์
และวัฒนธรรมศึกษาราชนครินทร์

บรรณาธิ การ :
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บารมี อริยะเลิศเมตตา รองหัวหน้าภาควิชาปรัชญาและศาสนา
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

รองบรรณาธิ การ :
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิไลพร สุจริตธรรมกุล เลขานุการภาควิชาปรัชญาและศาสนา
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

กองบรรณาธิ การ-ผู้ทรงคุณวุฒิ :
1. รองศาสตราจารย์ ดร.ประเวศ อินทองปาน
2. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชาติเมธี หงษา
3. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรณีย์ สายศร
4. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ชชั วาลย์ ชิงชัย
5. อาจารย์ ดร.เมธี พิทกั ษ์ธรี ะธรรม
6. อาจารย์ ดร.บรรเจิด ชวลิตเรืองฤทธิ ์
7. อาจารย์ ดร.สุชาดา ศรีเศรษฐวรกุล
8. อาจารย์ ดร.สุชาดา ทองมาลัย
ผู้ช่วยบรรณาธิ การ :
1. สุภาภรณ์ ไชยภัฏ
2. ศรีวรรณ บุญประเสริฐ
3. ศักดิธชั ฉมามหัทธนา

พิ สจู น์ อกั ษร :
1. อาจารย์ ดร.สุรยี ร์ ตั น์ บารุงสุข
2. สุภาภรณ์ ไชยภัฏ

ศิ ลปกรรม :
1. ศักดิธชั ฉมามหัทธนา
2. ทัณฑิมา วราคา
3. สมัย สุวรรณทอง

ภาพปก :
พระไตรปิ ฎกปาฬิ มหาสังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. 2500 อักษรโรมัน พ.ศ. 2548
40 เล่ม ชุดปฐมฤกษ์สาหรับราชอาณาจักรไทย ประดิษฐาน ณ ศาลรัฐธรรมนูญ
เมือ่ วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2548

แยกสีและพิ มพ์ที่ :
สายธุรกิจโรงพิมพ์ บริษทั อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์พบั ลิชชิง่ จากัด (มหาชน)
376 ถนนชัยพฤกษ์ (บรมราชชนนี) เขตตลิง่ ชัน กรุงเทพฯ 10700
โทร. 0-2422-9000, 0-2882-1010 โทรสาร 0-2433-2742
www.amarin.com
(ณ)

บทบรรณาธิการ

หนังสือเรือ่ งเล่าพระไตรปิ ฎก ได้จดั ทาขึน้ เนื่องในวาระพิเศษเพือ่ เทิดทูนสมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ


เจ้าฟ้ ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ผเู้ ป็ นมหาพุทธมามกะ พระองค์ทรงมีคุณูปการต่อ
พระพุทธศาสนาเป็ นอันมาก

บทความทีป่ รากฏในหนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมบทความทีเ่ กีย่ วเนื่องกับเรื่องเล่าพระไตรปิ ฎก


โดยบทความแรกได้พูดถึงถิ่นกาเนิดภาษาบาลี ซึ่งในสมัยพุทธกาลพระพุทธองค์ได้ตรัสสอนเหล่า
สาวกด้วยภาษาอะไรนัน้ มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความเห็นและได้แสดงหลักฐานต่าง ๆ เพื่อให้
ผูส้ นใจได้ศกึ ษาค้นคว้า บทความนี้ได้ทาการวิจยั และได้เสนอมุมมองทางวิชาการทีเ่ ป็ นประโยชน์เป็ น
อย่างมาก

บทความต่อมาได้กล่าวถึงการสืบทอดคาสอนจากมุขปาฐะสู่การบันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
เป็ นครัง้ แรกในรูปแบบของใบลาน และมีการปริวรรตเป็ นภาษาท้องถิน่ นัน้ ๆ โดยมีอกั ษรขอมทีใ่ ช้เป็ น
ภาษาในการบันทึกคาสอนพระไตรปิ ฎกในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มปี ระเทศไทยและ
ประเทศกัมพูชา เป็ นต้น

เรื่องเล่าทีส่ าคัญเกีย่ วกับประเทศไทยคือการกล่าวถึงพระไตรปิ ฎกฉบับพิมพ์ในประเทศไทย


จากรัชกาลที่ 1 ถึง ปั จจุบนั ในบทความนี้ได้อธิบายให้ผอู้ ่านทราบถึงประวัตกิ ารพิมพ์พระไตรปิ ฎ กที่
เกิดขึน้ ในประเทศไทยตามวโรกาสต่าง ๆ เป็ นการเล่าเรื่องทีช่ วนติดตามเหมือนกับเราได้ยอ้ นอดีตได้
เห็นความมุมานะอุตสาหะของพระมหากษัตริยไ์ ทยทุกพระองค์ทท่ี รงเห็นความสาคัญในการเผยแพร่
คาสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าสู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนชาวไทยมีโอกาสได้ศกึ ษา
พร้อมกับน้อมนาคาสอนมาประพฤติปฏิบตั จิ นสยามประเทศได้ชอ่ื ว่าดินแดนแห่งพระพุทธศาสนา

ความเจริญทางด้านเทคโนโลยี ทาให้การตีพมิ พ์พระไตรปิ ฎกไม่ได้ถูกจากัดเฉพาะในรูปแบบ


ใบลานหรือหนังสือเท่านัน้ บทความนี้กล่าวถึงพระไตรปิ ฎกฉบับใบลานสู่ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ทาให้เรา
ทราบว่าเมื่อความเจริญเกิดขึ้น งานทางด้านพระพุทธศาสนาก็สามารถนาความเจริญเหล่า นัน้ มา
พัฒนาให้เกิดความสร้างสรรค์สามารถอยูร่ ว่ มกันได้อย่างลงตัว

เมือ่ พระพุทธศาสนาได้รบั การเผยแพร่ไปสูด่ นิ แดนต่าง ๆ เพือ่ ให้ประชาชนท้องถิน่ ได้มโี อกาส


ศึกษาสร้างความเข้าใจต่อคาสอนพระไตรปิ ฎกจึงได้รบั การปริวรรตและบั นทึกเป็ นอักษรภาษาถิน่
(ด)

เช่น อักษรขอม มอญ สิงหล พม่า ลาว ไทย โรมัน เทวนาครี เป็ นต้น นอกจากนี้พระไตรปิ ฎกบาลียงั
ได้รบั การแปลเป็ นภาษาต่าง ๆ เช่น ภาษาไทย พม่า ศรีล ังกา กัมพูชา ลาว อังกฤษ จีน เป็ นต้น
บทความนี้ยงั ได้ถ่ายทอดให้เห็นความสาคัญของพระไตรปิ ฎกอักษรโรมัน ทีแ่ สดงให้เห็นถึงความสนใจ
ในการศึกษาพระไตรปิ ฎกทีข่ ยายเป็ นวงกว้างไม่กาจัดอยูเ่ ฉพาะในทวีปเอเชียเท่านัน้

ยิง่ ไปกว่านัน้ ในหนังสือเล่มนี้ยงั ได้รวบรวมบทความที่เกี่ ยวกับพระไตรปิ ฎกภาษาจีนและ


พระไตรปิ ฎกภาษาทิเบต ซึง่ เป็ น 2 ใน 3 ของพระไตรปิ ฎกสาคัญทางพระพุทธศาสนาทีย่ งั คงสืบทอด
มาถึงปั จจุบนั เพือ่ ทาให้การเล่าเรือ่ งพระไตรปิ ฎกในองค์รวมสมบูรณ์ยงิ่ ขึน้

ค าสอนอัน ล้ า ค่ า ที่ป รากฏในพระไตรปิ ฎกมีท ัง้ ค าสอนที่เ ป็ นปรัช ญามีเ หตุ ม ีผ ล ท าให้
พุทธศาสนิกชนสามารถพิจารณาจนเกิดคาตอบด้วยตัวเอง มิได้สอนเพียงให้เชื่อเท่านัน้ บทความที่
กล่าวถึงพุทธปรัชญาที่ปรากฏในพระไตรปิ ฎกและบทความเรื่องชาดก : ขุมทรัพย์ในพระไตรปิ ฎก
สามารถพิสูจ น์ ใ ห้ผู้อ่า นได้ร บั รู้ถึง คาสอนขององค์ศาสดาที่เ ปรีย บเหมือนเปิ ด ของที่คว่ า ให้ห งาย
เปิ ดแสงสว่างในทีม่ ดื จนเราเกิดปั ญญาและสามารถนามาประยุกต์ใช้ในชีวติ ของเราได้

ปั จจุบนั ได้มอี งค์กรที่ทางานเพื่อการเผยแผ่คาสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามี


มากมาย ปรากฏอยู่ในหลายทีห่ ลายแห่งทัวทุ ่ กมุมโลก ทัง้ ทีเ่ ป็ นองค์กรภาครัฐทีใ่ ห้การสนับสนุ นและ
องค์กรของเอกชนทีเ่ ล็งเห็นความสาคัญของพระไตรปิ ฎก ได้รว่ มกันสร้างผลงานทีย่ งิ่ ใหญ่เป็ นรูปธรรม
อันเป็ นประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา องค์กรเหล่านี้ทางานอะไรกันบ้างและตัง้ อยู่ทไ่ี หน ผูอ้ า่ นสามารถ
ศึกษาและติดตามได้ในหนังสือฉบับนี้

บทความต่าง ๆ ทีป่ รากฏในหนังสือเล่มนี้กองบรรณาธิการหวังอย่างยิง่ ว่าจะเป็ นประโยชน์


และมีคุ ณู ป ระการต่ อ ผู้ท่ีไ ด้ อ่ า นไม่ ม ากก็น้ อ ยและขอเป็ นส่ ว นหนึ่ ง ในการเผยแพร่ ค าสอนของ
พระพุทธศาสนาให้อยูค่ กู่ บั สังคมไทยตราบนานเท่านาน

(ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บารมี อริยะเลิศเมตตา)


บรรณาธิการ
(ต)

สารบัญ

ถิ่ นกาเนิ ดภาษาบาลี ............................................................................................................ 1


พระครูปลัดสุวฒั นโพธิคุณ

การสืบทอดพระไตรปิ ฎกใบลานอักษรขอมในประเทศไทยและกัมพูชา ......................... 19


สุชาดา ศรีเศรษฐวรกุล

ความรู้เรื่องพระไตรปิ ฎก .................................................................................................. 43
สุเชาวน์ พลอยชุม

พระไตรปิ ฎกบาลีฉบับอิ เล็กทรอนิ กส์............................................................................... 55


สุชาดา ศรีเศรษฐวรกุล

พระไตรปิ ฎกบาลีอกั ษรโรมัน............................................................................................ 76


บรรเจิด ชวลิตเรืองฤทธิ ์

พระไตรปิ ฎกภาษาจีน ....................................................................................................... 91


วิไลพร สุจริตธรรมกุล

พระไตรปิ ฎกทิ เบต .......................................................................................................... 124


Kawasaki Shinjō (ผูเ้ ขียน)
เมธี พิทกั ษ์ธรี ะธรรม (ผูแ้ ปลและเรียบเรียง)

พุทธปรัชญาในพระไตรปิ ฎก ........................................................................................... 140


ประเวศ อินทองปาน
(ถ)

ชาดก : ขุมทรัพย์ในพระไตรปิ ฎก ...................................................................................163


บารมี อริยะเลิศเมตตา

องค์กรที่ทางานพระไตรปิ ฎกบาลีทวโลก
ั่ .......................................................................178
พัชรีพร ศุภพิพฒ
ั น์

ภาคผนวก
ภาพนิ ทรรศการ
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 91

พระไตรปิฎกภาษาจีน

วิไลพร สุจริตธรรมกุล1

1. บทนา
การศึกษาวิจยั ด้านพุทธศาสตร์ในต่างประเทศส่วนใหญ่ มักใช้คมั ภีรห์ ลายฉบับในการศึกษา
เทียบเคียง เช่น พระไตรปิ ฎกฉบับภาษาบาลี พระไตรปิ ฎกภาษาจีน ภาษาทิเบต หรือภาษาสันสกฤต
เป็ นต้น เพื่อให้เห็นข้อมูลทีร่ อบด้านและครบถ้วนในประเด็นทีต่ ้องการศึกษาวิจยั แต่อย่างไรก็ตาม
การศึกษาพระพุทธศาสตร์ส่วนใหญ่ในประเทศไทยมุ่งเน้นการศึกษาเฉพาะในคัมภีร์บาลี เนื่องจาก
ข้อจากัดหลายประการ เช่น ข้อจากัดทางด้านภาษา ตลอดจนอาจมีแนวคิดที่ว่าพระไตรปิ ฎกฉบั บ
ภาษาอื่น เป็ นของฝ่ ายมหายาน และมีเ พียงแค่พระไตรปิ ฎ กบาลีเ ท่า นัน้ ที่เ ป็ น ฝ่ ายเถรวาท ดังนัน้
ในบทความนี้นอกจากจะแนะนาพระไตรปิ ฎกภาษาจีนแล้ว จะนาเสนอข้อมูลเกีย่ วกับเนื้อหาทีเ่ ป็ นของ
ฝ่ ายเถรวาททีป่ รากฏอยูใ่ นพระไตรปิ ฎกภาษาจีนด้วย

พระไตรปิ ฎกภาษาจีนได้รบั การศึกษาวิจยั โดยนักวิจยั ทัวโลก ่ เนื่องจากพระไตรปิ ฎกภาษาจีน


ไม่ได้เก็บบันทึกไว้เพียงคัมภีรข์ องฝ่ ายมหายานเท่านัน้ แต่ได้เก็บบันทึกเนื้อหาของคัมภีรข์ องทุก ๆ
นิกายทีไ่ ด้สบื ทอดเผยแผ่จากอินเดียมาสูเ่ อเชียกลาง ผ่านเส้นทางสายไหมเข้าสูป่ ระเทศจีน นับตัง้ แต่
ราชวงศ์ ฮ ัน่ เป็ นต้ น มา เช่ น คัม ภี ร์ จ ากนิ ก ายเถรวาท นิ ก ายมหาสัง ฆิก ะ นิ ก ายมหิง สาสกะ
นิ ก ายธรรมคุ ป ต์ นิ ก ายสรวาสติว าท นิ ก ายมู ล สรวาสติว าท นิ ก ายสัม มิติย ะ นิ ก ายโยคาจารย์
นิกายมาธยามิกะ นิกายวัชรยาน เป็ นต้น ซึ่งพระไตรปิ ฎกภาษาจีนทีม่ าจากนิกายต่าง ๆ เหล่านี้
มีความสาคัญในการใช้เทียบเคียงกับคัมภีร์สนั สกฤตและทิเบต รวมไปถึงชิ้นส่วนจารึก เปลือกไม้
ใบลานที่ค้นพบในภาษาต่า ง ๆ หากไม่ม ีพ ระไตรปิ ฎกภาษาจีน ช่ว ยอ้า งอิงในการเทีย บเคียงแล้ว
เป็ นการยากทีจ่ ะรูว้ ่าชิน้ ส่วนเหล่านัน้ มีเนื้อหาอยูใ่ นคัมภีรห์ รือพระสูตรใด

พระไตรปิ ฎกภาษาจีน เป็ นคัมภีร์สาคัญในการศึกษาพระพุทธศาสนาในประเทศจีน ญี่ป่ ุน


เกาหลี และเวียดนาม โดยถูกบันทึกเก็บไว้ดว้ ยตัวอักษรจีน ซึง่ สาหรับบุคคลในชนชาติดงั กล่าวข้างต้น
สามารถศึกษาทาความเข้า ใจได้โ ดยตรงโดยไม่จ าเป็ น ต้องแปลเป็ น ภาษาของตน ตัว อย่า งเช่ น

1 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ประจาภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุ ษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


92 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

ภาษาญี่ ป่ ุ นมีต ัว อัก ษรคัน จิ ท่ีไ ด้ ร ับ อิท ธิ พ ลมาจากจี น ภาษาเกาหลี ยุ ค โบราณก่ อ นที่จ ะเป็ น
ภาษาเกาหลีปั จ จุ บ ัน ได้ใ ช้ห รือ รับ อิท ธิพ ลมาจากภาษาจีน มาก่ อ น แม้ใ นปั จ จุ บ ัน ชาวญี่ป่ ุ นหรือ
ชาวเกาหลีกม็ กั มีช่อื ทีป่ ระกอบด้วยอักษรจีนอยู่ดว้ ย ถึงแม้ว่าการอ่านออกเสียงอักษรจีนตัวเดียวกัน
ของภาษาญีป่ ่ ุนและภาษาเกาหลีจะออกเสียงแตกต่างกันไป แต่โดยส่วนใหญ่ยงั คงความหมายเดียวกัน
อยู่ ดังนัน้ ในบางครัง้ ชาวญีป่ ่ ุน เกาหลี และจีน จึงสามารถใช้ตวั อักษรเขียนในการสื่อสารได้ ถึงแม้จะ
พูดภาษาของกันและกันไม่ได้กต็ าม ในส่วนของเวียดนามเมือ่ ได้รบั อิทธิพลการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
มหายาน พระเวีย ดนามจึงได้ศึกษาภาษาจีน เพื่อให้ส ามารถเรีย นรู้ค าสอนของพระพุ ทธศาสนา
มหายาน ด้วยเหตุน้ีจงึ ทาให้ทงั ้ สามชนชาติดงั กล่าว สามารถศึกษาพระไตรปิ ฎกภาษาจีนได้โดยตรง
แต่กจ็ าเป็ นต้องเรียนรูศ้ กึ ษาภาษาจีนโบราณ นอกจากนี้การแปลพระไตรปิ ฎกจีนเป็ นภาษาอื่นยังคงมี
ข้อจ ากัด ทางด้า นงบประมาณ ปริม าณ และข้อจ ากัด ทางภาษา จึงทาให้ปั จ จุ บ ัน ยังไม่ม ีการแปล
พระไตรปิ ฎกภาษาจีนทัง้ ชุดเป็ นภาษาอืน่

ในบทความนี้จะแนะนาประวัติความเป็ นมาของพระไตรปิ ฎกภาษาจีน ตัง้ แต่ฉบับคัดลอก


ลายมือ ฉบับ พิม พ์ท่ีส าคัญ ในแต่ ล ะยุ ค ตัง้ แต่ ร าชวงศ์ซ่ ง จนถึง ปั จ จุ บ ัน และฉบับ อิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์
พร้อมกับอธิบายองค์ประกอบของพระไตรปิ ฎกภาษาจีนฉบับไทโชหรือมหาปิ ฎกไทโช ตลอดจน
การจัดหมวดหมู่และตัวอย่างพระสูตรทีอ่ ยู่ในหมวดนัน้ ๆ รวมถึงพระไตรปิ ฎกภาษาจีนทีแ่ ปลมาจาก
ภาษาบาลีทต่ี พี มิ พ์เผยแพร่ในปั จจุบนั

2. ประวัติความเป็ นมาของพระไตรปิ ฎกภาษาจีน


โดยทัวไปชาวจี
่ นไม่ได้เรียกคัมภีร์พระพุทธศาสนาว่า พระไตรปิ ฎก อย่างทีช่ าวไทยคุน้ เคย
เรียกกัน โดยในยุคแรกนับตัง้ แต่ราชวงศ์ฮนตะวั
ั ่ นออกจนถึงราชวงศ์สยุ พระภิกษุผรู้ วบรวมคัมภีรแ์ ปล
ได้ขนานนามพระไตรปิ ฎกว่า คลัง(ปิ ฎก)พระสูตร หรือ (คลัง)ปิ ฎกพระคัมภีร์ “藏经” บ้างก็เรียกว่า
กลุ่มหมวดพระสูตร หรือ กลุ่มหมวดพระคัมภีร์ หรือพระคัมภีรพ์ ระสูตรทัง้ หลาย “众经” หรือเรียกว่า
สรรพพระสูต ร หรือ สรรพพระคัม ภีร์ “一切经” ต่อมาในราชวงศ์ซ่ งตอนเหนื อ จึงเริ่ม มีการเรียก
พระไตรปิ ฎกภาษาจีนว่า พระสูตรมหาปิ ฏก (คลังใหญ่) หรือพระคัมภีรม์ หาปิ ฏก (คลังใหญ่) “大藏经”
ทีอ่ ่านออกเสียงว่า ต้าจ้างจิง และถูกเรียกขานในเกาหลีและญีป่ ่ ุนเช่นกัน โดยในสาเนียงญีป่ ่ ุนเรียกว่า
“ไดโซเคียว” ในสาเนียงเกาหลีเรียกว่า “แทจังคยอง” และในสาเนียงเวียดนามเรียกว่า “ไดตังกิง”
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 93

2.1 ความเป็ นมาของพระไตรปิ ฎกจากอิ นเดียสู่ประเทศจีน

หลังจากที่พระพุทธองค์เสด็จดับขันธ์ปรินิ พพาน คณะสงฆ์ปรารภและทาข้อตกลงร่ วมกัน


เพือ่ ดารงไว้ซง่ึ พระสัทธรรมให้ยาวนาน พระมหากัสสปะจึงได้เป็ นประธานการทาสังคายนาครัง้ ที่ 1 และ
มีการสังคายนาอีกหลายครัง้ ต่อมา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศจีนนัน้ เกิดขึ้นหลังจาก
การสัง คายนาครัง้ ที่ 3 ในสมัย พระเจ้ า อโศกมหาราช ก่ อ นการสัง คายนาครัง้ ที่ 4 ในอิ น เดี ย
ยุคพระเจ้ากนิ ษกะ (ค.ศ. 127-147) นับเป็ นเวลาประมาณ 500 ปี หลังพุทธกาล โดยปรากฏประวัติ
การแปลคัมภีรพ์ ระพุทธศาสนาฉบับแรกของจีนตัง้ แต่ยุคทีอ่ นิ เดียเริม่ มีแนวคิดมหายาน ซึง่ หมายความว่า
คัมภีร์ท่ผี ่านจากอินเดียสู่เส้นทางสายไหมจึงมีทงั ้ คัมภีร์ดงั ้ เดิมก่อนยุคมหายานและคัมภีร์มหายาน
ต่ อมาเมื่อในประเทศอินเดียได้ม ีการแบ่ งแยกแนวคิดหรือนิ กายที่ช ดั เจนขึ้น เช่น มาธยามิกะ และ
โยคาจารย์ เป็ นต้น คัมภีร์จากนิกายเหล่านี้ได้สบื ทอดส่งต่อและเดินทางผ่านเส้นทางสายไหมไปสู่จีน
เช่นกัน จึงกล่าวได้ว่าคัมภีรพ์ ระพุทธศาสนาก่อนทีจ่ ะมาเป็ นพระไตรปิ ฎกภาษาจีนนัน้ ได้รบั การสืบทอด
แปลและรวบรวมเป็ นระยะเวลาหลายร้อยปี ซึ่งต่างจากในฝ่ ายบาลีท่ถี ูกนาเข้ามาเผยแผ่ในศรีล ังกา
โดยพระมหินทะทัง้ หมดในครัง้ เดียว และไม่มกี ารรับเพือ่ มาเพิม่ เติมมาจากอินเดียในภายหลังอีก

นับตัง้ แต่ราชวงศ์ฮนเป็
ั ่ นต้นมา พระภิกษุต่างชาติหลายท่ านได้เดินทางมาจีน และได้ท่องจา
รวมไปถึงการน าคัมภีร์พ ระพุทธศาสนาสาคัญบางฉบับมายังผืนแผ่น ดินจีน ผ่านเส้น ทางสายไหม
ผ่า นเข้า มาในทางทิศตะวัน ตกของเมืองตุน หวง ซึ่งมีส ถานที่ส าคัญทางประวัติศาสตร์ท่เี รีย กว่ า
ดิน แดนตะวัน ตก ( 西域) เป็ นพื้น ที่ข องเมือ งใหญ่ เ ล็ ก อีก 36 เมือ งหรือ ประเทศ 2 ปั จ จุ บ ัน คือ
มณฑลซิน เจีย ง เป็ น เมืองที่ม ีความซับซ้อนหลากหลายทางวัฒ นธรรมและภาษา และเข้าสู่ประตู
ของประเทศจีนทีเ่ มืองตุนหวง ซึง่ ปั จจุบนั อยูใ่ นมณฑลกานซู่

ในยุคราชวงศ์ฮนั ่ พระกาศยปะมาตังคะและพระธรรมรัตนะเป็ นพระภิกษุชาวต่างชาติคู่แรก


ทีไ่ ด้รบั การบันทึกว่ามาถึงประเทศจีน และต่อมาได้เริม่ มีการแปลคัมภีรพ์ ระพุทธศาสนาโดยพระภิกษุ
ชาวพาร์เ ธีย นามว่ า อัน ซื่อ เกา ( 安世高, ค.ศ. 148-180) ซึ่ง เน้ น การแปลพระสูต รเถรวาท และ
พระโลกเกษม (支婁迦讖, ค.ศ. 147-189) ก็ได้แปลพระสูตรมหายานจานวนมาก โดยเริม่ งานแปล

2 据周伟洲《丝绸之路大辞典》:西域三十六国最早出《汉书》,皆在匈奴以西,乌孙以南之

地,依次为:乌孙、龟兹、焉耆、于阗、若羌、楼兰、且末、小宛、戎卢、扜弥、渠勒、皮山、西夜、
蒲犁、依耐、莎车、疏勒、尉头、温宿、尉犁、姑墨、卑陆、乌贪訾离、卑陆后国、单桓、蒲类、蒲类
后国、 西且弥国、东且弥国、劫国、狐胡、山国、车师前国、车师后国、车师都尉国、车师后城国。
94 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

ในปี ค.ศ. 167 ที่เมืองลัวหยาง


่ ท่านทัง้ สองถือได้ว่าเป็ นบุคคลผู้บุกเบิกในการแปลพระสูตรคัมภีร์
พระพุทธศาสนาเป็ นภาษาจีน

นอกจากนี้ ย ัง มีพ ระภิก ษุ ต่ า งชาติท่ีเ ดิน ทางมาจีน เพื่อ แปลพระสูต ร และพระภิกษุ จีน
ที่เ ดิน ทางรอนแรมข้า มน้ า ข้า มทะเลเพื่อ ไปอัญเชิญพระสูตรจากอิน เดีย มาแปลอีกหลายรูป เช่น
พระจูซ่อื สิง (朱士行, ค.ศ. 203-282) พระภิกษุ จีนที่ได้เดินทางไปถึงเมืองโคตานแล้วพานักทีน่ ัน่
เพื่ อ คัด ลอกพระสู ต รและส่ ง กลั บ สู่ แ ผ่ น ดิ น จี น ; พระธรรมลั ก ษณ์ ( 竺法護, ค.ศ. 237-316)
พระเมืองตุขารา (ปั จจุบนั อยู่ในมณฑลกานซู่) ไปตัง้ รกรากเพื่อแปลพระสูตรทีต่ ุนหวง; พระฝาเสีย่ น
(释法显, ค.ศ. 337-422) ได้รบั อิทธิพลจากพระเต้าอัน 释道安 (ค.ศ. 312-385) ซึง่ เป็ นพระมหาเถระ
บุคคลสาคัญในการรวบรวมพระสูตรต่าง ๆ ได้กล่าวว่า พระวินัยหลากหลาย พระวินัยสีส่ ่วนก็ไม่ครบ
พระฝาเสีย่ นจึงตัดสินใจเดินทางไปอินเดียเมื่ออายุราว 60 ปี เพื่อนาพระวินัยกลับมา ในช่วงระหว่าง
ปี ค.ศ. 399 - 412 โดยเดินทางออกจากฉางอันทางบกผ่าน 13 เมืองใหญ่ ใช้ระยะเวลาเดินทางไป
รวม 6 ปี พานักอยูท่ อ่ี นิ เดีย 3 ปี อยูศ่ รีลงั กา 2 ปี แล้วจึงเดินทางกลับทางทะเล

นอกจากนี้ ยังมีพระภิกษุทม่ี ชี อ่ื เสียงในด้านการแปลและเป็ นทีร่ จู้ กั อีกหลายรูป ตัวอย่างเช่น


พระกุมารชีพ (鸠摩罗什, ค.ศ. 344-413) บิดาเป็ นคนอินเดียแต่ภูมลิ าเนาอยู่ท่เี มืองกุฉะ ปั จจุบนั
อยูใ่ นมณฑลซินเจียง เดิมท่านศึกษาพระพุทธศาสนาเถรวาท ต่อมาได้ศกึ ษาพระพุทธศาสนามหายาน
และด้ว ยสถานการณ์ ทางการเมืองท่า นได้เ ดิน ทางถึงที่ฉางอัน ในปี ค.ศ. 401 และแปลคัม ภีร์ถึง
ปี ค.ศ. 409 ซึ่งท่านได้แปลคัมภีร์พระพุทธศาสนาเป็ นจานวนมาก สานวนฉบับแปลของท่านได้รบั
ความนิยมเป็ นอย่างมากและได้ใช้ในการสวดมนต์ในพุทธศาสนิกชนชาวจีนจนถึงปั จจุบนั ต่อมาในยุค
ราชวงศ์ถัง พระเสวีย นจัง้ ( 玄奘法师, ค.ศ. 602-664) ได้เ ดิน ทางไปอิน เดีย ในปี ค.ศ. 627 ถึง
มหาวิทยาลัน นาลัน ทาในปี ค.ศ. 629 และศึกษาอยู่ท่นี ัน่ เป็ น เวลา 14 ปี ท่า นได้เ ขีย นบัน ทึกชื่อ
“ต้าถังซียฺ ว่จี ้ี” (大唐西域记) ที่บนั ทึกรายละเอียดเรื่องราวของ 138 แคว้น แต่ท่านไปด้วยตนเอง
110 แคว้น ท่านเดินทางกลับจีนในปี ค.ศ. 643 เมือ่ เดินทางถึงจีนในปี ค.ศ. 645 จักรพรรดิถงั ไท่จงได้
สร้างหอแปลถวายและท่านจึงได้ดาเนินการแปลนับตัง้ แต่นนั ้ จนตลอดชีวติ ของท่าน ในสมัยถังเกาจง
พระอี้จิง ( 義淨, ค.ศ. 635-713) ได้เ ดิน ทางไปอิน เดีย ไปและกลับ ทางเรือ โดยออกเดิน ทางใน
ปี ค.ศ. 670 ใช้เวลา 3 ปี จึงถึงอินเดียใต้ แล้วศึกษาเล่าเรียนภาษาสันสกฤตเป็ นระยะเวลา 2 ปี และ
เดินทางต่อจนถึงเมืองนาลันทาในปี ค.ศ. 675 และศึกษาอยู่ทน่ี นั ่ เป็ นเวลา 10 ปี และเดินทางกลับจีน
ในปี ค.ศ. 685 ขึน้ ฝั ง่ ทีเ่ มืองกวางโจว เมื่อไปถึงลัวหยางในปี
่ ค.ศ. 695 จักรพรรดินีอ่เู จ๋อเทียนได้ให้
การต้อนรับ ท่านได้เริม่ แปลพระสูตรฮวาเอีย่ น จนแล้วเสร็จปี ค.ศ. 699 เมื่อถึงยุคจักรพรรดิจงจงในปี
ค.ศ. 706 จึงได้สร้างหอแปลถวาย ท่านได้ทางานแปลหนังสือราว 56 เล่มจาก 400 เล่ม และได้รบั
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 95

การแต่งตัง้ จากจักรพรรดินีให้เป็ นมหารัฐคุรุอกี ด้วย ในบทความนี้ขอยกตัวอย่างมาเพียงบางส่วน


ซึ่งผู้อ่า นที่ส นใจสามารถศึกษาประวัติข องพระผู้ทรงคุณูป การด้า นการแปลรูป อื่น ๆ เพิ่ม เติม ได้
ในคัมภีรเ์ กาเซิงจ้วน (高僧传)

2.2 ประวัติพระไตรปิ ฎกภาษาจีนจากฉบับเขียนคัดลอกสู่ฉบับพิ มพ์

พระไตรปิ ฎกภาษาจีนมีความเป็ นมาอย่างยาวนาน และพระพุทธศาสนาเข้ามาในประเทศจีน


หลังจากทีจ่ นี สามารถประดิษฐ์กระดาษได้แล้วในราว ค.ศ. 1053 ดังนัน้ พระไตรปิ ฎกภาษาจีนจึงมี
จุดเริม่ ต้นด้วยการคัดลอกลงในกระดาษ โดยเขียนลงบนกระดาษม้วนยาวหลายแผ่นต่อกันแล้ วม้วน
เป็ น พับ ๆ โดยเขีย นเพีย งด้า นเดีย ว ทาให้พ ระสูตรมีล ักษณะนามว่ า 卷 ที่แ ปลว่ า ม้ว น หรือ ผูก
ซึง่ ชาวจีนเชือ่ กันว่าการคัดลอกพระสูตรนัน้ ได้บุญมาก จึงมีการคัดลอกสืบต่อกันมาจากประวัตศิ าสตร์
พระภิกษุผทู้ รงคุณูปการในด้านการเดินทางไปตะวันตกเพื่อนาพระสูตรกลับมา เฉกเช่น พระจู ซ่อื สิง
(ค.ศ. 203-282) ซึง่ เป็ นพระภิกษุจนี รูปแรกทีไ่ ด้เดินทางไปถึงโขตานในพืน้ ทีด่ นิ แดนตะวันตกและพบ
พระสูตรจานวนมาก ท่านจึงไม่ได้เดินทางไปอินเดียต่อ และได้ทาการคัดลอกพระสูตรลงในกระดาษ
และให้ลู ก ศิษ ย์ ส่ ง กลับ จีน ปั จ จุ บ ัน ได้ ค้น พบพระสู ต รฉบับ เขีย นคัด ลอกมากมายในถ้ า ตุ น หวง
มณฑลกานซู่ โดยถูกเก็บไว้ในพิพธิ ภัณฑ์ต่าง ๆ4

การแปลและคัด ลอกพระสูตรจัดทาโดยกลุ่มบุคคลที่หลากหลาย ทัง้ ผู้แปลที่เป็ นพระภิกษุ


ต่างชาติร่วมกับพระภิกษุจนี หรือพระภิกษุต่างชาติทม่ี คี วามรูภ้ าษาจีน หรือพระภิกษุจนี ทีม่ คี วามรู้
ทางภาษาสัน สฤตและภาษาปรากฤตในเมือ งเขตดิน แดนตะวัน ตก ท าให้ม ีก ารแปลพระสูต ร
อย่างแพร่หลายในประเทศจีน และด้วยเหตุน้ีทาให้พระเต้าอัน 释道安 (ค.ศ. 312-385) ซึง่ เป็ นพระ
ทีม่ ชี ่อื เสียงมากในยุคราชวงศ์เหนือใต้ ได้รวบรวมพระสูตรทีแ่ ปลเหล่านี้ จัดทาเป็ น บัญชีรายชื่อหรือ
ทะเบียนพระสูตรทีเ่ รียกชือ่ ว่า สารบัญทะเบียนทีค่ รอบคลุมพระสูตรทัง้ หลาย (综理众经目录, Zōng
lǐ zhòng jīng mùlù) ต่อมาพระเซิงโย่ว 释僧祐 (445-518) ได้รวบรวมพระสูตรทีแ่ ปลเพิม ่ เติมในเวลา
ต่อมาทาเป็ นทะเบียนพระสูตรเช่นกัน โดยเพิม่ เติมจากของทีพ่ ระเต้าอันทีไ่ ด้บนั ทึกไว้ บัญชีรายชือ่ นี้ม ี
ชื่อเรียกว่า บันทึกการรวบรวมพระไตรปิ ฎก (出三藏記集, Chū sānzàng jì jí) และได้มกี ารบันทึก

3 ค.ศ. 105 ชาวจีนได้ประดิษฐ์กระดาษโดยไช่หลุ่น (蔡伦, ค.ศ. 50-120) ชาวเมืองกุย้ หยาง ปั จจุบนั มณฑลหูหนาน
4 中国收藏家协会,《大藏经》的由来. (n.d.). Retrieved February 7, 2021, from

http://www.sbksc.zcxn.com/html/xsydxszm/1017_991.html.
96 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

บัญชีรายชื่อพระสูตรต่อมาอีกหลายฉบับจนถึงยุคราชวงศ์ชงิ รวมทัง้ สิน้ 27 บันทึก5 ซึง่ บันทึกเหล่านี้


มีความสาคัญทัง้ ในด้านการบันทึกประวัตศิ าสตร์เรือ่ งราวของพระสูตร และผูแ้ ปลในยุคนัน้ ๆ รวมถึง
สามารถศึกษาเทียบเคียงเนื้อหาเพื่อหาพระสูตรทีส่ ูญหายไปหรือยืนยันการมีอยู่จริงของพระสูตรได้
จากบันทึกบัญชีรายชือ่ เหล่านี้

ในประวัติศาสตร์มปี รากฏเรื่องราวการรวบรวมและชาระพระไตรปิ ฎกฉบับคัดลอกลายมือ


หลายครัง้ ได้แก่ ในสมัยแผ่นดินจักรพรรดิเหลียงอู่ต้ี (梁武帝) แห่งเหลียงใต้ ยุคราชวงศ์เหนือใต้
(ค.ศ. 464-549) โดยในปี ค.ศ. 518 มีพระราชโองการให้ชาระรวบรวมพระไตรปิ ฎกฉบับแปลทัง้ หมด
รวมถึงปกรณ์ วเิ ศษ จานวนรวม 1,433 คัมภีร์ หรือ 3,741 ผูก ต่อมาในสมัยราชวงศ์เว่ยมีการชาระ
พระไตรปิ ฎกภาษาจีน 1 ครัง้ สมัยราชวงศ์เป่ ยฉี (ยุคราชวงศ์เหนือใต้) มีการชาระอีก 1 ครัง้ และ
ในสมัยราชวงศ์สยุ มีการชาระ 3 ครัง้ จวบจนถึงสมัยราชวงศ์ถงั ทีพ่ ระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรือง
อย่างยิง่ มีการชาระพระไตรปิ ฎกถึง 9 ครัง้ รวมทัง้ สิ้นมีการชาระพระไตรปิ ฎกฉบับคัดลอกลายมือ
ทัง้ หมด 15 ครัง้ 6 โดยการชาระตรวจสอบพระไตรปิ ฎกฉบับคัดลอกลายมือในสมัยราชวงศ์ถงั นี้เ อง
ได้กลายมาเป็ นข้อมูลสาคัญในการจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎกในกาลต่อมา

นั บ ตั ้ง แต่ ร าชวงศ์ ซ่ ง เป็ นต้ น มา ได้ ม ี วิ ว ั ฒ นาการการพิ ม พ์ จ ากแผ่ น แท่ น พิ ม พ์ ไ ม้


โดยการแกะสลักตัวอักษรกลับด้าน นาหมึกมาระบายที่แท่นพิมพ์ แล้วจึงนากระดาษมาทาบพิมพ์
ทีละแผ่น ทาให้เริม่ มีพระไตรปิ ฎกฉบับพิมพ์เกิดขึ้น โดยในสมัยซ่งเหนือ จักรพรรดิไท่จู่ 宋太祖
(ค.ศ. 960-976) ได้จดั ตัง้ โรงแกะสลักแผ่นไม้แม่พมิ พ์พระไตรปิ ฏกที่มชี ่อื เรียกว่า ฉบับไคเป่ าจ้าง
(开宝藏) หรือทีม่ คี วามหมายว่า ฉบับปฐมรัตนปิ ฎก เนื่องจากจัดทาในช่วงปี ไคเป่ าที่ 4 (开宝四年)
หรือในปี ค.ศ. 971 ที่เมืองอี้โจวซึ่งปั จจุบนั คือมณฑลเสฉวน (益州 (成都附近)) ทาการแกะสลัก
แล้ ว เสร็จ ในปี ค.ศ. 983 ในสมัย ของจัก รพรรดิไ ท่ จ ง 宋太宗 (ค.ศ. 976-997) ใช้ ร ะยะเวลา
ในการแกะสลักถึง 12 ปี โดยมีแผ่นไม้แม่พมิ พ์กว่า 130,000 แผ่น ส่งจากเสฉวนมายังเมืองหลวง
ซึ่งจักรพรรดิไท่จ งได้จดั ให้ม ีโรงพิม พ์ใ นวัดไท่ผิงซิ่งกวอ ( 太平兴国寺) ซึ่งอยู่ท่ที างทิศตะวันตก
ของสานักแปล และเริม่ ดาเนินกิจการการพิมพ์มาตัง้ แต่นัน้ มา แต่เนื่องด้วยสถานการณ์ ในประเทศ
เกิดความวุ่นวายจึงได้ยุติการพิมพ์ลงในปี ค.ศ. 1071 และแผ่นไม้แม่พมิ พ์ได้ถูกย้ายไปอยู่ทส่ี านัก
เซนโซว่เซิง่ วัดเซีย่ นเซิง่ 显圣寺的寿圣禅院 ต่อมาแคว้นจิ้นบุกรุกยึดครองซ่งเหนือ ทาให้แผ่นไม้
5 陳士強,漢傳佛教目錄學小史. (n.d.). Retrieved February 7, 2021, from

http://enlight.lib.ntu.edu.tw/FULLTEXT/JR-MAG/mag256408.pdf.
6เสถียร โพธินนั ทะ. (0000). ประวัตพิ ระไตรปิ ฎกฉบับจีนพากย์. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2564 จาก
http://www.dharma-gateway.com/ubasok/satien/ubasok-06.htm.
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 97

แม่พมิ พ์ทงั ้ หมดถูกเผาทาลายลงไปพร้อมกับราชวงศ์ซ่ งเหนือ อย่างไรก็ตามนับเป็ นความโชคดี


ที่จกั รพรรดิไท่จงได้มอบพระไตรปิ ฎกชุดนี้ให้กบั ญี่ป่ ุนและเกาหลีในปี ค.ศ. 988-989 และเกาหลี
ได้จดั ทาแท่นพิมพ์ไม้แกะสลักพระไตรปิ ฎกในปี ค.ศ. 1011-1082 แต่กระนัน้ พระไตรปิ ฎกแท่นพิมพ์ไม้
ดังกล่าวได้ถูกเผาทาลายลงไปเช่นกัน จึงมีการแกะสลักใหม่อกี ครัง้ ในปี ค.ศ. 1236-12517 ทัง้ หมดนี้
เป็ นเพียงแค่จุดเริม่ ต้นของพระไตรปิ ฎกภาษาจีน โดยยังคงมีการจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎกอีกหลายฉบับ
ในเวลาต่อมา ดังทีจ่ ะกล่าวในหัวข้อถัดไป

3. พระไตรปิ ฎกภาษาจีนฉบับพิมพ์ฉบับสาคัญและฉบับอิ เล็กทรอนิ กส์


พระไตรปิ ฎ กภาษาจีน ฉบับ พิม พ์ม ีป ระวัติศ าสตร์ย าวนานมากว่ า พัน ปี ซึ่งเป็ น ระยะเวลา
ยาวนานกว่ า ประวัติศาสตร์ช าติไทย และมีความเก่า แก่กว่ า พระไตรปิ ฎ กฉบับ พิม พ์ใด ๆ ในโลก
เนื่ อ งจากจี น เป็ นชาติ แ รกที่พ ัฒ นาเทคโนโลยีก ารพิม พ์ และด้ ว ยระยะเวลาที่ย าวนานเช่ น นี้
จึงมีป ระวัติศาสตร์การจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎ กภาษาจีน หรือพระมหาปิ ฎกหลายครัง้ (พระไตรปิ ฎก
ภาษาจีนต่อไปจะเรียกว่าพระมหาปิ ฎก) ทาให้มจี านวนฉบับของพระไตรปิ ฎกภาษาจีนเป็ นจานวนมาก
นับตัง้ แต่ราชวงศ์ซ่งทีเ่ ริม่ มีการพิมพ์มาหลายฉบับราว 50 ฉบับ แต่หลงเหลือมาจนถึงปั จจุบนั ไม่ถงึ
20 ฉบับ ซึง่ จะขอแนะนาเฉพาะฉบับทีส่ าคัญ ๆ ดังนี้

3.1 พระมหาปิ ฎกฉบับพิ มพ์ในราชวงศ์ซ่ง

3.1.1 พระมหาปิ ฎกฉบับไคเป่ า (开宝藏 ค.ศ. 971-1071) เป็ นปฐมพระไตรปิ ฎกฉบับพิมพ์


ที่เ ก่ า แก่ ท่ีสุ ด ของพระพุ ท ธศาสนาทัง้ ฝ่ ายเถรวาทและมหายาน พระไตรปิ ฎ กฉบับ ไคเป่ าจัด ทา
ในสมัยราชวงศ์ซ่งมีคมั ภีร์ 1,076 คัมภีร์ 5,048 ผูก พิมพ์มาจากแท่นพิมพ์ไม้ทใ่ี ช้เวลาในการแกะสลัก
รวม 12 ปี (ซึ่งได้กล่าวรายละเอียดแล้วในหัวข้อก่อนหน้านี้ ) แต่ละแผ่นมีจานวน 23 บรรทัดนับจาก
ซ้ายไปขวา แต่ละบรรทัดมี 14 ตัวอักษร เมือ่ พิมพ์แล้วต่อกระดาษยาวเป็ นม้วนหรือมีลกั ษณนามว่าผูก
ปั จจุบนั หลงเหลือไม่ถงึ 10 ผูก โดยเก็บรักษาไว้ทห่ี อสมุดแห่งชาติปักกิง่ หอสมุดเซีย่ งไฮ้ ซานซี และ
พิพธิ ภัณฑ์และวัดในญีป่ ่ ุนวัดนันเซน (南禅寺)

3.1.2 พระมหาปิ ฎกฉบับฉี้ตาน ( 契丹藏 ค.ศ. 1031-1054) หรือมีช่อื เรีย กอีกชื่อหนึ่ ง ว่ า


พระมหาปิ ฎกฉบับเหลียว เป็ นชุดพระไตรปิ ฎกทีอ่ าศัยพระมหาปิ ฎกไคเป่ าเป็ นพืน้ ฐานและเพิม่ เนื้อหา

7 向斯(2001)“中国佛经总集《大藏经》”,《紫禁城》04 期 : 13-16。
98 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

มากขึน้ 8 พิมพ์มาจากแท่นพิมพ์ไม้ทใ่ี ช้เวลาในการแกะสลักรวม 30 ปี แต่ละแผ่นมีจานวน 24 บรรทัด


แต่ละบรรทัดมี 15-18 ตัวอักษร มีจานวน 5,790 ผูก พระมหาปิ ฎกฉบับนี้พมิ พ์โดยพระราชโองการ
กษัตริยร์ าชวงศ์เหลียวทีป่ กครองดินแดนของมณฑลเหลียวหนิง ประเทศจีน และในปี ค.ศ. 1063 ได้
ส่ ง ฉบั บ ดั ง กล่ า วให้ แ ก่ เ กาหลี โดยได้ พ บชิ้ น ส่ ว นบางส่ ว นของฉบั บ พิ ม พ์ น้ี ใ นปี ค .ศ. 1974
ณ มณฑลซานซี วัดฝอกง (佛宫寺) จากการศึกษาชิ้นส่วนทาให้ทราบว่าพระมหาปิ ฎกข้างต้นมี
การแกะสลักและจัดพิมพ์ ณ วัดหรูหงฝ่ า (如弘法寺) ในกรุงปั กกิง่ 9

3.1.3 พระมหาปิ ฎกฉบับจินจ้าวเฉิง (赵城金藏 ค.ศ.1149-1178) เป็ นฉบับที่คดั ลอกจาก


ฉบับไคเป่ า โดยจัดทาในราชวงศ์จนิ รัชศกต้าติง้ (大定) ของจักรพรรดิจนิ ซื่อจง (金世宗) จัดทาโดย
สามเณรีน ามว่ า ชุ ย ฝ่ าเจิน ( 崔法珍) 10 การแกะสลัก แท่ น พิม พ์ ไ ด้ ร ับ การสนั บ สนุ น จากศรัท ธา
ของพุทธศาสนิกชนในพืน้ ที่ พระมหาปิ ฎกฉบับนี้มจี านวน 6,980 ผูก พิมพ์จากแท่นพิมพ์ไม้แกะสลัก
จ านวน 168,113 แผ่ น ซึ่ ง ใช้ เ วลาแกะสลัก ทัง้ สิ้น ราว 30 ปี ตัง้ แต่ ปี ค.ศ. 1149-1173 และ
ในปี ค.ศ. 1178 ได้นาฉบับพิมพ์ส่งมอบไปยังกรุงปั กกิง่ โดยจักรพรรดิจนิ ซื่อจงได้เห็นความสาคัญ
และน าต้น ฉบับ นี้ ใ ห้แ ก่ ว ัด เซิ่ง อัน ( 聖安寺) ทางวัด จึง จัด พิธีอุ ป สมบทให้ส ามเณรีชุ ย ฝ่ าเจิน รับ
ศีลภิกษุณี และบริจาคเงิน 5 ล้านในการขนส่งแผ่นไม้พมิ พ์ทงั ้ หมดมายังวัดเซิง่ อันเพือ่ ทาการพิมพ์

เมื่อปี ค.ศ. 1933 ต้น ฉบับ ที่หลงเหลืออยู่ถูกค้น พบที่วดั กว่า งเซิง ( 广胜寺) เขตจ้า วเฉิง
มณฑลซานสี ด้วยเหตุน้ีจึงเรียกพระมหาปิ ฎกฉบับนี้ในนามว่าฉบับจ้าวเฉิง ปั จจุบนั ถูกเก็บรักษา
ทีห่ อสมุดแห่งชาติกรุงปั กกิง่ จานวน 4,183 ผูก และเก็บไว้ทว่ี ดั กว่างเซิง่ 152 ผูก หอสมุดเซี่ยงไฮ้
7 ผูก หอสมุดหนานจิง 6 ผูก และทีห่ อสมุดต่าง ๆ รวม 4,330 ผูก ในปี ค.ศ. 2016 เมืองหลินเฟิ น
มณฑลซานซี มีแ ผน 5 ปี ในการคัด ลอกพระมหาปิ ฎกฉบับ จิน จ้ า วเฉิ ง จากหอสมุ ด แห่ ง ชาติ

เนื้อหาที่เพิม่ เติม ได้แก่《华严经随品赞》、《一切佛菩萨名集》、《随愿往生集》、《释摩诃衍


8

论》、《大日经义释》、《大日经义释演秘钞》、《释教最上乘秘密藏陀罗尼集》เป็ นต้น
9 จานวนผูกได้จากศิลาการจารึกเรื่องราวการสร้างพระไตรปิ ฎกในวัดหยางไถซาน 周绍良(2005)房山石

经与“契丹藏”,载《北京辽金文物研究》,北京燕山出版社。
10 หูฉือเสียง 扈石祥 ได้กล่าวว่า เจ้าอาวาสวัดกว่างเซิ่งได้รกั ษาชุยฝ่ าเจินให้หายจากโรคร้าย เมื่อรักษา
หายเห็นเจ้าอาวาสขมวดคิว้ จึงถามถึงสาเหตุ และได้ทราบว่าเจ้าอาวาสมีความปรารถนาที่จะแกะสลักพระไตรปิ ฎกมา
หลายปี แล้ว เมื่อนางได้ฟังก็กลับไป นางกลับมาพร้อมแขนที่เหลืออยู่ขา้ งเดียวและแจ้งกับเจ้าอาวาสว่า ร่างกายและ
ชีวติ ของตนได้สละให้กบั พระศาสนา และแสดงเจตจานงค์อย่างแรงกล้าที่จะแกะสลักพระไตรปิ ฎกให้สาเร็จ 扈石祥
(2007)试论《赵城金藏》的研究,中国新时期思想理论宝库——第三届中国杰出管理者年会成果汇编。
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 99

ซึง่ แต่ละผูกจะทาการคัดลอกเป็ นจานวน 3 ชุด โดยในเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 2017 ได้นา 100 ผูกแรก
ส่งคืนวัดกว่างเซิง่ เรียบร้อยแล้ว11

3.1.4 พระมหาปิ ฎกจากเมืองฝูโจว 2 ฉบับ ได้แก่ พระมหาปิ ฎกฉบับฉงหนิงว่านโซ่ว และ


พระมหาปิ ฎกฉบับผีหลู หรือฉบับไวโรจนะ ซึ่งถือเป็ นพระมหาปิ ฎกทางฝั ง่ ตอนใต้ของจีน มีลกั ษณะ
คล้ายกันแต่แผ่นไม้แม่พมิ พ์ของฉบับไวโรจนะมีมากกว่า พระมหาปิ ฎกฉบับฉงหนิงว่านโซ่ว (崇宁万
寿大藏) (ค.ศ. 1080-1104) สร้างขึน ้ ในรัชสมัยพระเจ้าซ่งเสินจง (宋神宗) ราชวงศ์ซ่งเหนือ จัดทา
ณ วัด ตงฉาน เมืองฝูโ จว มณฑลฝูเ จี้น ( 福建福州東禪寺) รวมจ านวน 1,440 คัม ภีร์ 6,108 ผูก
ใช้เวลาในการแกะสลักรวม 24 ปี ในแผ่นไม้ 1 แผ่นมี 30 บรรทัด แต่ละบรรทัดมี 17 ตัวอักษร โดยเมือ่
พิม พ์เ ป็ นแผ่ น แล้ว สามารถพับ ได้ 5 ส่ ว น ส่ ว นละ 6 บรรทัด มีล ัก ษณะการเข้า เล่ ม แบบพับ เล่ ม
คล้ายสมุดไทย ถือเป็ นฉบับแรกทีเ่ ปลี่ยนจากรูปแบบม้วนมาเป็ นรูปแบบพับ ซึ่งต่อมาในภายหลัง
การจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎกได้ใช้รปู แบบพับนี้เรื่อยมา สาหรับพระมหาปิ ฎกฉบับผีหลู หรือฉบับไวโรจนะ
(毗卢藏) (1112-1176) สร้างขึน้ ในรัชสมัยพระเจ้าซ่งฮุยจง (宋徽宗) ณ วัดไคหยวน (开元寺) เมือง
ฝูโจว มณฑลฝูเจีย้ น โดยมีเจ้าภาพสนับสนุนการแกะสลักและจัดพิมพ์ มีจานวน 1,451 คัมภีร์ 6,132 ผูก

3.1.5 พระมหาปิ ฎกจากเมืองหูโจว 3 ฉบับ ได้แก่ พระไตรมหาฉบับหยวนเจวีย๋ ฉบับจือฝู


ฉบับ ฉี้ ซ า ทัง้ 3 ฉบับ ล้ว นเป็ นการจัด พิม พ์ด้ว ยการร่ ว มบริจ าคจากจิต ศรัท ธามหาชนโดยมีว ัด
เป็ น ผู้จ ัด ทา และใช้ช่อื วัด เป็ น ชื่อเรีย กฉบับของพระมหาปิ ฎ ก ใน 2 ฉบับ แรกมีเ นื้ อหาเหมือนกัน
โดยพระมหาปิ ฏกฉบับซือชีหยวนเจวีย๋ (思溪圆觉藏 ค.ศ. 1132) หรือเรียกชือ่ ย่อว่าฉบับหยวนเจวีย๋
(圆觉藏) หรือฉบับเฉียนซือชี หรือซือชียุคก่อน (前思溪藏) สร้างขึ้นในรัชสมัยพระเจ้าซ่งกาวจง
(宋高宗) โดยพุทธบริษทั ชาวหูโจว และวัดหยวนเจวีย๋ มณฑลเจ้อเจียงร่วมจัดทา (湖州思溪(浙江
吳興) 圓覺禪院) มีจ านวน 1,435 คัม ภีร์ 5,480 ผู ก ซึ่ง ฉบับ สมบู ร ณ์ ย ัง เก็บ รัก ษาไว้ ท่ีโ ตเกี ย ว
วัดโซโจจิ (东京增上寺) 12 ต่อมาไม่นานได้จดั ทาพระไตรมหาฉบับจือฝู (資福藏 ค.ศ. 1175) หรือ
ฉบับโห้วซือชีหรือซือชียุคหลัง (后思溪藏) โดยอาศัยฉบับหยวนเจวีย๋ เป็ นแม่แบบในการแกะสลัก
จัดทาทีว่ ดั ธรรมรัตนจือฝู เมืองหูโจว (安吉州法寶資福寺 (浙江吳興)) มีจานวนทัง้ หมด 5,940 ผูก
รวม 1,459 คัมภีร์ ปั จจุบนั คงเหลือบางส่วนเท่านัน้

11 介子平, 两帙经卷 一段传奇——国宝《赵城金藏》的故事. (n.d.). Retrieved February 7, 2021,

from https://www.sohu.com/a/431524779_523187.
12 李圆净 (1948) 历代汉文大藏经概述《南行》, 06 期,上海:南行学社编印.
100 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

3.1.6 พระมหาปิ ฎ กฉบับ ฉี้ ซ า ( 碛砂藏 ค.ศ. 1229-1322) ท าการแกะสลัก และพิม พ์ท่ี
วัด ฉี้ซ าเอีย๋ นเซิ่ง ต่ อมาเปลี่ย นเป็ น ชื่อวัดฉี้ซาฌาน ( 碛砂禅寺) ปั จ จุ บ ันคือ ซูโ จว มณฑลเจียงซู
( 平江府 ( 今苏州) 碛砂延圣寺) ซึ่ง สร้า งขึ้น ในสมัย ราชวงศ์ ซ่ ง แต่ เ นื่ อ งจากเกิด ไฟไหม้แ ละ
อยู่ในช่วงเปลีย่ นราชวงศ์ทาให้การแกะสลักหยุดชะงักไป 30 ปี จนมาแล้วเสร็จในสมัยราชวงศ์หยวน
โดยความช่วยเหลือของพระภิกษุนิกายวัชรยานจากอาณาจักรซีเซี่ย พระมหาปิ ฎกฉบับนี้มลี กั ษณะ
พิเ ศษ คือ มีการแทรกภาพประกอบซึ่งส่ว นใหญ่เ ป็ น ภาพศิล ปะช่า งทิเ บตและเนปาลเอาไว้ด้ว ย
มีจานวน 1,532 คัมภีร์ 6,362 ผูก ต่อมาในปี ค.ศ.1931 มีการค้นพบฉบับนี้ทว่ี ดั ไคหยวน (开元寺)
ฝูโจว และวัดว่อหลง (卧龙寺) ในนครซีอาน ซึง่ ปั จจุบนั ย้ายไปเก็บรักษาทีห่ อสมุดซานซี นอกจากนี้
ยัง ค้น พบที่ป ระเทศญี่ป่ ุ น ที่ว ัด นาราไซไดจิ ( 奈良西大寺) ซึ่ง เก็บ รัก ษาไว้ก ว่ า 600 ผูก และ
ทีโ่ อซาก้าอีก 4,888 ผูก (大阪 “杏雨书屋”) อีกด้วย13

3.2 พระมหาปิ ฎกฉบับพิ มพ์ในเกาหลียคุ ราชวงศ์ซ่ง

3.2.1 พระมหาปิ ฎกฉบับเกาหลีพมิ พ์ครัง้ แรก (高丽大藏初雕本 ค.ศ. 1011-1047-1082)


จัดทาขึน้ ในรัชสมัยของกษัตริย์เสีย่ นจง (显宗, ค.ศ. 1010-1031) และสาเร็จในรัชสมัยของเหวินจง
(文宗, ค.ศ. 1047-1082) โดยคัดลอกทาซ้าจากพระมหาปิ ฎกฉบับไคเป่ าจานวน 2,700 ผูก ใช้เวลา
ในการแกะสลักรวมกว่า 40 ปี มีแผ่นไม้แท่นพิมพ์ประมาณ 80,000 แผ่น แต่ได้โดนทาลายไปตอนที่
กองทัพมองโกลบุกเข้ามาในราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1232 ทาให้เหลือเพียง 1 ใน 3 ของทัง้ หมด
ปั จจุบนั ถูกเก็บไว้ทว่ี ดั ฮินซา (海印寺) ประเทศเกาหลี ต่อมาในปี ค.ศ. 2013 ได้รบั การจัดพิมพ์ใหม่
ในรูปแบบหนังสือ มีทงั ้ สิน้ 81 เล่ม14

3.2.2 พระมหาปิ ฎกฉบับเกาหลีพมิ พ์ครัง้ หลัง (高丽大藏再雕本 ค.ศ. 1237-1249) หรือ


มีอกี ชื่อเรียกหนึ่งว่า พระมหาปิ ฎกแปดหมื่น โดยในรัชสมัยของกษัตริย์เกาจงเกาหลี (高麗高宗
ค.ศ.1192-1259) ปรารถนาให้บุญการทาพระไตรปิ ฎกนี้ส่งผลให้กองกาลังของมองโกลออกจากเกาหลี
จึงดาริให้แกะสลักแผ่นไม้พมิ พ์พระมหาปิ ฎกอีกครัง้ ในปี ค.ศ. 1237 ที่เมืองเจียงตู มณฑลจิ้นโจว
เขตหนานไฮ่ (江都 晉州南海縣) ใช้เวลาในการทา 12 ปี และเสร็จสิ้นในปี ค.ศ. 1249 โดยได้รบั
การสนับสนุ นจากรัฐมนตรีชุยยฺว่ี (崔瑀) และบุตรชายชุยหัง (崔沆) ทีใ่ นขณะนัน้ เห็นว่าเมืองหลวง

13 漢文大藏經刊刻源流表. (n.d.). Retrieved February 15, 2021, from

http://buddhism.lib.ntu.edu.tw/DLMBS/sutra/chinese/dragon/html/intro.htm.
14 高丽大藏经初刻本辑刊 (全 81 册). Retrieved February 15, 2021, from

https://book.douban.com/subject/21359464/.
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 101

ไม่ปลอดภัยจึงย้ายไปเกาะคังฮวา (江華島) และได้ทาพระมหาปิ ฎกนี้รว่ มกับคณะสงฆ์นิกายซ่านเหอ


(善和教, Seon and Gyo Schools) ซึง่ มีนักวิชาการบางส่วนเห็นว่าฉบับพิมพ์ครัง้ หลังนี้ ได้มกี ารตรวจ
ชาระร่วมกับฉบับไคเป่ าและฉบับฉี้ตาน พระมหาปิ ฎกฉบับนี้ม ี 6,568 ผูก 52,382,960 ตัวอักษร แผ่นไม้
แท่นพิมพ์แต่ละแผ่นมีกว้างยาว 24x60 เซนติเมตร มีความหนา 2.4-4 เซนติเมตร หนัก 3-4 กิโลกรัม
จานวนรวม 81,340 แผ่น ต่อมาในปี ค.ศ. 1398 แผ่นไม้พระมหาปิ ฎกได้ถูกย้ายไปเก็บไว้ในอาคาร
4 หลังของวัดฮินซา (海印寺) เพื่อความปลอดภัยจากการรุกรานของทหารญีป่ ่ ุนและได้เก็บรักษาไว้
ทีน่ นั ่ มาจนถึงปั จจุบนั โดยพระมหาปิ ฎกถูกจัดให้เป็ นสมบัตขิ องชาติเกาหลีในปี ค.ศ. 1962 และได้รบั
การยกย่องเป็ นมรดกโลกจาก UNESCO และในปี ค.ศ. 2004 ต่อมาในปี ค.ศ.2007 สมาคมพระมหาปิ ฎก
เกาหลีได้ทาการรวบรวมพระมหาปิ ฎกฉบับเกาหลีจากทัวทุ ่ กมุมโลกมาท าการช าระตรวจสอบและ
พิมพ์เป็ นพระมหาปิ ฎกฉบับเกาหลีในปั จจุบนั จานวน 88 เล่ม15

3.3 พระมหาปิ ฎกฉบับพิ มพ์ในราชวงศ์หยวน

ราชวงศ์หยวนเป็ นยุคทีช่ าวมองโกลครอบครองจักรวรรดิจนี พระเจ้าหยวนซื่อจู่ (元世祖)


หรือ กุบ ไลข่า น ย้า ยเมืองหลวงมาที่กรุงปั กกิ่ง ท่า นให้ความสนใจพระพุทธศาสนาวัช รยานหรือ
ตันตรมนตรยาน ในรัชสมัยของท่านมีพระมหาปิ ฎกทีส่ าคัญ 2 ฉบับ โดยมีฉบับราชวงศ์ซ่งเป็ นพืน้ ฐาน

3.3.1 พระมหาปิ ฎ กฉบับ ผู่ ห นิ ง ( 普宁藏 ค.ศ. 1269-1290) จั ด พิ ม พ์ ณ วั ด ผู ห นิ ง


มณฑลเจ้อเจียง โดยผู้ศรัทธาในนิกายเมฆขาว ( 白云宗) ฉบับ นี้ ม ี 1,594 คัม ภีร์ 6,327 ผูก และ
เนื่องจากอิทธิพลของมองโกลทาให้มคี มั ภีรข์ องนิกายวัชรยานเพิม่ เติมเข้ามา ปั จจุบนั ยังมีฉบับสมบูรณ์
เก็บรักษาไว้ทว่ี ดั โซโจจิ (东京增上寺) เมืองโตเกียว ประเทศญีป่ ่ ุน16

3.3.2 พระมหาปิ ฎกฉบับหงฝ่ า (弘法藏 ค.ศ. 1277-1294) จัดพิมพ์ ณ วัดหงฝ่ า กรุงปั กกิง่
จานวน 1,654 คัมภีร์ 7,182 ผูก ซึ่งกุบไลข่านได้มรี าชโองการให้ทาทะเบียนพระมหาปิ ฎกฉบับนี้
( 至元法宝勘同总录) ขึ้น ต่ อ มาในปี ค.ศ. 1984 ได้ค้น พบฉบับ นี้ ท่ีห ลงเหลือ อยู่ ณ วัด จื้อฮว่ า
(智化寺) ในกรุงปั กกิง่ 17

15 高丽大藏经 高丽大藏经简介 送卡新闻. Retrieved February 15, 2021, from

https://www.daka5837.com/tiyuxinwen/44.html.
16(日)梶浦晋(译)刘建(1999):普宁寺版大藏经略考《佛学研究》08 期 : 219-225。
17 弘法藏, 中国百科全书 (佛教篇). (n.d.). Retrieved February 15, 2021, from

https://foxue.bmcx.com/hongfacang__foxued/.
102 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

3.4 พระมหาปิ ฎกฉบับพิ มพ์ในราชวงศ์หมิ ง

ในราชวงศ์หมิงมีการพิม พ์พระมหาปิ ฎ กหลายฉบับ มีทงั ้ ส่วนที่จดั ทาจากการบริจาคจาก


จิตศรัทธาของประชาชน และส่วนทีจ่ ดั ทาโดยทุนทรัพย์ของฮ่องเต้ ซึง่ ในยุค พระเจ้าหมิงเฉิงจู่ (明成
祖) มีก ารจัด ขึ้น จ านวน 2 ฉบับ คือ พระมหาปิ ฎ กหย่ ง เล่ อ ฉบับ เหนื อ และฉบับ ใต้ โดยฉบับ ใต้ทา
ทีห่ นานจิงในขณะทีฉ่ บับเหนือทาทีเ่ ป่ ยจิงหรือกรุงปั กกิง่

3.4.1 ฉบับทีท่ าด้วยทุนทรัพย์ฮ่องเต้

พระมหาปิ ฎกฉบับหงอูห่ นานจัง้ (洪武南藏 ค.ศ. 1372-1399) หรือฉบับใต้ชดุ พิมพ์ครัง้ แรก


(初刻南藏) เป็ นฉบับแรกที่สร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์หมิง โดยราชโองการของหมิงไท่จู่ (明太祖)
จัด ท าที่น ครหนานจิง มีจ านวน 1,600 คัม ภีร์ 7,000 ผูก ซึ่ง ต่ อ มาในปี ค.ศ. 1934 ฉบับ พิม พ์น้ี
ถูกค้นพบทีม่ ณฑลเสฉวน วัดซ่างกู่ (四川省崇庆县上古寺) และได้มอบให้หอสมุดแห่งชาติปักกิง่
ดูแลรักษา ด้วยเหตุทพ่ี ระมหาปิ ฎกฉบับนี้ได้ถูกเผาทาลายไปในปี ค.ศ. 1408 พระเจ้าหมิงเฉิงจู่จงึ มี
พระราชโองการให้แกะสลักและจัดพิมพ์ พระมหาปิ ฎกฉบับหย่งเล่อหนานจัง้ (永乐南藏 ค.ศ. 1412-
1417) หรือฉบับใต้ชดุ พิมพ์ครัง้ หลัง (再刻南藏) ขึน้ ณ หนานจิง วัดต้าเป้ าเอิน มณฑลเจียงซู (南京
大报恩寺) มีจานวน 1,610 คัมภีร์ 6,942 ผูก เนื่องจากมีราคาไม่แพง แต่ละวัดสามารถจัดหามีไว้ได้
จึ ง เป็ นฉบับ ที่แ พร่ ห ลายมาก 18 จากนั ้น ไม่ น านมีพ ระราชโองการให้ ช าระพิม พ์ พระมหาปิ ฎ ก
ฉบับหย่งเล่อเป่ ยจัง้ (永乐北藏 ค.ศ.1421-1440) หรือพระมหาปิ ฎกฉบับเหนือ (北藏) ทีน่ ครปั กกิง่
เมื่อครัง้ ย้ายวังไปที่กรุงปั กกิ่งเพื่อเป็ นสิร ิมงคล ซึ่งเป็ นฉบับที่มคี วามประณีตกว่าฉบับใต้ มีจานวน
1,662 คัมภีร์ 6,924 ผูก ปั จจุบนั ถูกเก็บรักษาไว้ทว่ี ดั จูฉ้ ง (祝崇寺)

3.4.2 ฉบับทีไ่ ด้มาจากเงินบริจาคของประชาชน

พระมหาปิ ฎ กฉบับ อู่หลิน ( 武林藏 ค.ศ. 1522-1566) เป็ นฉบับ ท าซ้ า หรือ ฉบับ คัด ลอก
ของพระมหาปิ ฎ กฉบับ ฉี้ซ าและฉบับ ใต้ชุด พิม พ์ครัง้ แรก จัด ทาที่อู่หลิน มณฑลเจ้อเจีย ง ค้น พบ
บางส่วนในปี ค.ศ. 1982 ทีเ่ มืองหังโจว มณฑลเจ้อเจียง อีกฉบับคือ พระมหาปิ ฎกฉบับเจียซิง่ (嘉兴
藏 ค.ศ. 1589-1676) หรือ ฉบับ จิ้ง ซาน ( 径山藏) จัด ท าแกะสลัก ที่จ้ิง ซาน มณฑลเจ้อ เจีย ง และ
ส่งต่อไปทีว่ ดั เจียซิง่ เลิง่ เอีอ๋ น (嘉兴楞严寺) โดยฉบับนี้อาศัยพระมหาปิ ฎกฉบับเหนือเป็ นพืน้ ฐานและ
เทียบชาระกับฉบับใต้ และยังเพิม่ ส่วนคัมภีรต์ ่อเนื่องหรือคัมภีรน์ อกพระไตรปิ ฎก (续藏) จึงถือได้ว่า

18 何梅(2001)“明《初刻南藏》研究”,《闽南佛学院学报》, 厦门 : 闽南佛学院学报编辑部。
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 103

เป็ นฉบับทีส่ มบูรณ์ และมีปริมาณมากทีส่ ุด มีจานวน 2,090 คัมภีร์ 12,600 ผูก และยังเป็ นฉบับแรก
ที่ม ีก ารเข้า เล่ ม แบบเย็บ เล่ ม หนั ง สือ ที่แ ตกต่ า งไปจากรูป แบบเดิม ที่เ ป็ นแบบพับ คล้า ยสมุ ด ไทย
โดยในหนึ่งหน้ าแบ่งเป็ นครึง่ บนครึ่งล่าง แต่ละครึ่งหน้ ามี 10 บรรทัด แต่ละบรรทัดมี 20 ตัวอักษร
ยิง่ กว่านัน้ ในท้ายเล่มจะเขียนคาอธิษฐานจิตรายนามเจ้าภาพ เวลา และสถานที่ท่แี กะสลัก รวมถึง
ปั จจัยทีใ่ ช้ในการจัดทา พระมหาปิ ฎกฉบับสมบูรณ์ยงั มีเก็บรักษาไว้ทว่ี ดั เจียซิง่ กรุงปั กกิง่ (北平嘉兴
寺) วัดเซีย ่ นฉิ่ง เขตตงถิงซีซาน (洞庭西山显庆寺)

3.5 พระมหาปิ ฎกฉบับพิ มพ์ในราชวงศ์ชิงและสาธารณรัฐประชาชนจีน

3.5.1 พระมหาปิ ฎกฉบับชิงหลงจัง้ (清龙藏 ค.ศ. 1735-1738) หรือฉบับหลงจัง้ (龙藏)


พระเจ้าชิงซื่อจง (清世宗) ในรัชสมัยยงเจิ้ง (雍正) ปี ท่ี 13 (ค.ศ. 1735) มีพระราชโองการให้ชาระ
และพิม พ์ท่กี รุงปั กกิ่ง แล้ว เสร็จ ในรัช สมัย ของพระเจ้า เฉีย นหลง ปี ท่ี 3 (ค.ศ. 1738) จึงเรีย กกัน
ในอีก ชื่อ ว่ า เฉี ย นหลงต้ า จัง้ จิง ( 乾隆大藏经) จัด ท าที่ว ัด เฉี ย นเหลีย ง กรุ ง ปั ก กิ่ง ซึ่ง ได้ ส ร้า ง
หอพระไตรปิ ฎ กเตรีย มไว้เ พื่อ การพิม พ์ใ นครัง้ นี้ ใ นปี ค.ศ. 1733 มีบุ ค ลากรในการจัด ท าทัง้ สิ้น
860 คน พระมหาปิ ฎกฉบับนี้ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนแรกอาศัยพระมหาปิ ฎกฉบับเหนือเป็ นพื้นฐาน
ส่วนที่ 2 คือส่วนทีเ่ พิม่ เติมจากฉบับเหนือ (續藏) มีจานวน 1,669 คัมภีร์ 7,168 ผูก สร้างจากแผ่น
แท่ น พิม พ์ไ ม้จ านวนทัง้ สิ้น 79,036 แผ่ น แผ่ น แท่ น พิม พ์ไ ม้ปั จ จุ บ ัน ถู ก เก็บ รัก ษาไว้ท่วี ัด ป๋ อหลิน
กรุงปั กกิง่ (柏林寺) ฉบับพิมพ์เก็บรักษาทีก่ รุงปั กกิง่ และพิพธิ ภัณฑ์กกู้ งไต้หวัน นับเป็ นพระไตรปิ ฎก
ภาษาจีนฉบับสุดท้ายทีไ่ ด้รบั การอุปถัมภ์การจัดสร้างโดยราชสานัก และได้มกี ารจัดพิมพ์ขน้ึ ใหม่ในปี
ค.ศ. 2002-2004 จ านวน 168 เล่ ม ปั จ จุ บ ัน สามารถจัด หาได้ ใ นราคา 28,800 หยวน หรือ
144,000 บาทโดยประมาณ19

3.5.2 พระมหาปิ ฎ กฉบับ ผิน เจีย จัง้ ( 频伽藏 ค.ศ. 1909-1913) หรือ มีอีก ชื่อ เรีย กว่ า
ฉบับ ชิงจัง้ ( 清藏) จัด ทาโดยผิน เจีย วิหาร เซี่ย งไฮ้ อาศัย พระมหาปิ ฎกฉบับหงเจี้ย ว ( 弘教藏) 20

19 乾隆简介,《乾隆版大藏经》简介. Retrieved March 5, 2021, from

http://www.lyyouth.org/mrgs/2050.html.
乾隆大藏經全 168 冊. (n.d.). Retrieved March 5, 2021, from
https://bookssearching.pixnet.net/blog/post/31995929.
20 จัดทาในปี ค.ศ. 1880-1885 ชาระเทียบกับพระมหาปิ ฎก 4 ฉบับ ได้แก่ ฉบับเกาหลี จือฝู ผูห่ นิง และ
เจียซิง่ 《高丽藏》、《资福藏》、《普宁藏》和《嘉兴藏》
104 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

ของญี่ป่ ุนเป็ นพืน้ ฐาน ลักษณะเป็ นเล่มหนังสือ แต่ละหน้ามี 40 บรรทัด แต่ละบรรทัดมี 45 ตัวอักษร
มีจานวน 8,416 ผูก 413 เล่ม

3.5.3 พระมหาปิ ฎ กฉบับ จงหัว ( 中华大藏经 ค.ศ. 1984-ปั จ จุ บ ัน ) ในปี ค.ศ. 1982
ส านั ก พิม พ์เ ป่ ยจิง จงหัว ซู จุ๋ ย ได้จ ัด คณะบรรณาธิก ารในการจัด ท าพระไตรปิ ฎ กชุ ด นี้ โดยอาศัย
พระมหาปิ ฎกฉบับจ้าวเฉิงเป็ นพืน้ ฐานและชาระตรวจเทียบกับฉบับเกาหลีและฉบับอื่นอีก 8 ฉบับ 21
มีจานวน 220 เล่ม 23,000 ผูก จัดพิมพ์โดยสานักพิมพ์เป่ ยจิงจงหัวซูจ๋ยุ กรุงปั กกิง่ (北京中华书局)
ปั จจุบนั สามารถจัดหาได้ในราคา 32,000 หยวน หรือ 160,000 บาทโดยประมาณ

3.6 พระมหาปิ ฎกฉบับพิ มพ์ปัจจุบนั ที่ นิยมและฉบับอิ เล็กทรอนิ กส์

3.6.1 พระมหาปิ ฎกฉบับไทโช (大正新脩大藏經) หรือพระไตรปิ ฎกภาษาจีนฉบับไทโช มี


ชื่อเรียกว่า ต้าเจิ้งซินซิวต้าจ้างจิง (Dàzhèng Xīnxīu Dàzàngjīng) หรือมีช่อื ย่อว่า ต้าเจิ้งจ้าง (大正
藏) หรือชือ ่ ทีเ่ รียกในสาเนียงญีป่ ่ ุนว่า ไทโช ชินชู ไดโซเคียว หรือย่อว่า ไทชินเคียว Japanese: Taishō
Shinshū Daizōkyō; lit. “Taishō Revised Tripiṭaka”22 เป็ น ชุ ด พระไตรปิ ฎ กที่ไ ด้ร บ ั การเรีย บเรีย ง
โดยนักวิชาการญีป่ ่ ุน โดยเป็ นพระไตรปิ ฎกภาษาจีนฉบับทีเ่ ป็ นทีน่ ิยมและใช้กนั อย่างแพร่หลาย

พระไตรปิ ฎกภาษาจีน ฉบับมหาปิ ฎ กไทโชชุดนี้จดั ทาในปี ค.ศ. 1924 โดยศาสตราจารย์


ทากากูซุ จุนจิโรและสมาคมวาตานาเบะ ไกเคียคุจดั พิมพ์พระมหาปิ ฎก (高楠順次郎和渡邊海旭
組織大正一切經刊行會) มี โ อโนะ เกนเมี ย วและคณะ ( 小野玄妙等人) เป็ นบรรณาธิ ก าร
รับผิดชอบชาระตรวจสอบต้นฉบับและเรียบเรียงแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 193423 พระไตรปิ ฎกฉบับนี้ได้
อาศัย พระมหาปิ ฎกฉบับ เกาหลีชุ ด แกะสลัก พิม พ์ ห ลัง เป็ นฉบับ หลัก แล้ ว ตรวจช าระเทีย บกับ
พระมหาปิ ฎกต้นฉบับอื่น เช่น พระมหาปิ ฎกฉบับฉี้ตาน พระมหาปิ ฎกฉบับจินจ้าวเฉิง พระมหาปิ ฎก
ฉบับราชวงศ์หยวน พระมหาปิ ฎกฉบับราชวงศ์หมิง พระมหาปิ ฎกฉบับราชวงศ์ชงิ เป็ นต้น ถึงแม้ว่า
ข้อมูลในการจัดทาได้อย่างสมบูรณ์ แต่การรูปแบบการจัดพิมพ์ยงั มีความผิดพลาดอยู่ สมาคมจัดพิมพ์
พระมหาปิ ฎกฉบับ ปรับ ปรุ ง ( 大正新修大藏經刊行會) จึง ได้ ท าการแก้ ไ ขรู ป แบบการพิ ม พ์

21 《房山云居寺石经》、《资福藏》、《影宋碛砂藏》《普宁藏》、《永乐南藏》、

《径山藏》、《清藏》及《高丽藏》
22 J. Takakusu & K. Watanabe (eds.). (1924). The Taisho shinshu daizokyo (100 volumes). Tokyo:

Taisho shinshu daizokyo kanko kai.


23 刘德有,马兴国 (1992) 《中日文化交流事典》,沈阳:辽宁教育出版社。
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 105

ทีผ่ ดิ พลาดและพิมพ์ใหม่ในปี ค .ศ. 1960 ทัง้ หมด 100 เล่ม โดยรูปแบบ 1 หน้าประกอบด้วย 3 ส่วน
ส่ ว นละ 29 บรรทัด บรรทัด ละ 16 ตัว อัก ษร 24 ปั จ จุ บ ัน สามารถจัด หาได้ ใ นราคาประมาณ
33,000 หยวน หรือ 165,000 บาทโดยประมาณ

3.6.2 พระมหาปิ ฎ กฉบั บ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ พระไตรปิ ฎกภาษาจี น ฉบั บ ไทโช หรื อ


พระมหาปิ ฎ กไทโช ได้ถู ก น ามาแปลงเป็ นรูป แบบอิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส์เ พื่อ ง่า ยต่ อ การศึก ษาค้ น คว้ า
ในปั จจุบนั โดยแบ่งเป็ น 2 ระบบ
1) ระบบ SAT (The SAT Daizōkyō Text Database) จัดทาโดยคณะมนุษย์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญีป่ ่ ุน ซึง่ เริม่ จัดทาในวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1998 โดยนา
พระมหาปิ ฎกไทโช 1-85 เล่มลงในระบบ SAT ซึง่ เวอร์ชนแรก ั่ คือ SAT 2007 และเวอร์
ชันล่
่ าสุดคือ SAT 2018 โดยมีรปู แบบแสดงเป็ นระดับบรรทัด และมีฟังก์ชนในการสื ั่ บค้น
คา หรือการสืบหาแบบระบุเล่มหน้า หรือข้อ25
2) ระบบ CBETA ซึง่ มีชอ่ื ย่อมาจาก Chinese Buddhist Electronic Text Association จัดทา
โดยสมาคมคัม ภีร์พ ระพุ ทธศาสนาจีน อิเ ล็กทรอนิ กส์ป ระเทศไต้หวัน ร่ ว มกับ สถาบัน
พุทธศาสตร์ศกึ ษาจงหัว (Chung-Hwa Institute of Buddhist Studies) สถาบันศิลปศาสตร์
ฝากู่ ( Dharma Drum Institute of Liberal Arts) โดยมีมู ล นิ ธิโ พธิแ ละมูล นิ ธิก ารศึก ษา
ซีแลนด์ไทเปเป็ นผูส้ นับสนุ น เริม่ จัดทาตัง้ แต่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1998 และได้รวบรวม
เป็ นระบบอิเล็กทรอนิกส์แล้วเสร็จในปี ค.ศ. 2003 ในเล่มที่ 1-55 และเสร็จสมบูรณ์ทงั ้ หมด
88 เล่ ม ในปี ค.ศ. 2008 หลัง จากนั น้ จึง ได้ร วบรวมคัม ภีร์พ ระพุ ท ธศาสนาที่ส าคัญ
นอกเหนือจากฉบับมหาปิ ฎกไทโชมาจนถึงปั จจุบนั ซึ่งเวอร์ชนแรก ั่ คือ V1.0 CBETA
2004 และเวอร์ชนล่
ั ่ าสุดคือ V 5.8 CBETA 2018
ระบบ CBETA สามารถใช้งานได้สะดวก มีการแสดงเนื้อหาเป็ นย่อหน้าทาให้ง่าย
ต่อการอ่านและทาความเข้าใจ นอกจากนี้ยงั มีฟังก์ชนต่ ั ่ าง ๆ ในการแสดงผลเลขบรรทัด
ทุกบรรทัด หรือแสดงเฉพาะย่อหน้า ตลอดจนมีฟังก์ชนในการสื ั่ บค้นในระดับคา ทีส่ ามารถ
กาหนดขอบเขตการเลือกเป็ นแบบเฉพาะหมวดหรือในพระมหาปิ ฎกทัง้ หมดก็ได้ รวมถึง
การสืบหาระบุเล่มหน้ า หรือข้อ และการแสดงผลจานวนคาที่ปรากฏในพระมหาปิ ฎ ก
ฉบับ ไทโชทัง้ หมด รวมถึงสถิติเ ป็ นกราฟที่แ ยกจานวนคาที่ปรากฏแต่ละหมวดคัมภีร์

24 中国文字学会(2015)《中国文字学报》第 6 辑. 北京:商务印书馆。
25 SAT. Retrieved February 5, 2021 from https://21dzk.l.u-tokyo.ac.jp/SAT/index_en.html.
106 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

จานวนคาทีค่ น้ หาจาแนกตามปี อายุคมั ภีรว์ ่าคาทีค่ น้ หาถูกแปลในยุคใดมากทีส่ ุด จานวน


คาทีค่ น้ หาจาแนกตามผูแ้ ปลซึง่ สามารถทราบว่าคานัน้ ใครใช้แปลมากทีส่ ุด26

4. องค์ประกอบของพระไตรปิ ฎกภาษาจีนฉบับไทโชหรือพระมหาปิ ฎกฉบับไทโช


การรวบรวมและจัดเรียงหมวดหมูใ่ นแต่ละฉบับมีความแตกต่างกันตามยุคตามสมัย เนื่องจาก
ความไม่ ส งบจากสงครามในประวัติศ าสตร์ป ระเทศจีน ท าให้แ ทบไม่ ห ลงเหลือ หลัก ฐานต่ า ง ๆ
ทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ มีเพียงฉบับมหาปิ ฎกไทโชทีค่ งความสมบูรณ์ทส่ี ุดและมีการตรวจชาระจากหลากหลาย
ฉบับทาให้เป็ นทีน่ ิยมใช้กนั ในปั จจุบนั จึงทาให้สามารถทราบหลักการการรวบรวมจัดเรียงหมวดหมู่
หรือองค์ประกอบของพระมหาปิ ฎกไทโชชุดนี้

พระไตรปิ ฎกภาษาจีนฉบับไทโชหรือพระมหาปิ ฎกไทโช มีจานวน 100 เล่ม 13,520 ผูก 80,634 หน้า
จานวนตัวอักษรมากกว่าล้านตัวอักษร แบ่งได้เป็ น 3 ส่วนใหญ่ คือ
1) เล่ ม ที่ 1-55 เป็ นคัม ภีร์ พ ระพุ ท ธศาสนาจีน จ านวนรวม 55 เล่ ม โดยเล่ ม ที่ 1-21
เป็ นพระสูตรหมวดต่าง ๆ เล่มที่ 22-24 เป็ นพระวินยั เล่มที่ 25-32 เป็ นศาสตร์นิพนธ์จาก
การเขียนของคันถรจนาจารย์ในอินเดีย เล่มที่ 33-55 เป็ นศาสตร์นิพนธ์จากการเขียน
ของคันถรจนาจารย์จนี
2) เล่ ม ที่ 56-85 เป็ น คัม ภีร์พ ระพุทธศาสนาญี่ป่ ุ นที่เ ขีย นด้ว ยอักษรจีน โบราณ จ านวน
รวม 30 เล่ม
3) เล่มที่ 86-97 เป็ นภาพวาดพระพุทธเจ้าและพระโพธิสตั ว์เป็ นจานวนมาก และเล่มที่ 98-
100 เป็ นแคตตาล็อกหรือทะเบียนหนังสือพระพุทธศาสนาที่เป็ นที่รจู้ กั ในญี่ป่ ุน จานวน
รวม 15 เล่ม27

โดยในจานวน 100 เล่ม สามารถจัดหมวดหมูไ่ ด้เป็ น 30 หมวดหมู่ โดยจะอธิบายในรูปแบบ


ตารางเพือ่ ง่ายต่อความเข้าใจ ตามตารางด้านล่าง

26 CBETA. Retrieved February 5, 2021, from https://www.cbeta.org/.


27 王宁(2014)《民俗典籍文字研究》, 第 14 辑,北京:商务印书馆。
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 107

ตารางที่ 1
ตารางหมวดหมูแ่ ละเลขเล่มของพระไตรปิ ฎกภาษาจีนฉบับมหาปิ ฎกไทโช
No. Volume Ch Name Sanskrit Description
1 T01–02 阿含部 Āgama หมวดอาคมะ ประกอบด้วย ทีรฆอาคมะ
Āhán bù
มัธยมอาคมะ สังยุกตอาคมะ
เอโกตตรอาคมะ ซึง่ เป็ นคัมภีรค์ ขู่ นานที่
สามารถเทียบกับสุตตันปิ ฎกของบาลีได้
และมีพระสูตรปกิณณะ
ทีเ่ ป็ นพระสูตรเดีย่ วทีแ่ ปลโดยผูแ้ ปล
ทีต่ ่างกันหรือมีตน้ ฉบับทีต่ ่างกันอีกมาก
2 T03–04 本緣部 Jātaka หมวดชาดก กล่าวถึง อดีตชาติของ
Běnyuán bù
พระพุทธเจ้า โพธิสตั ว์ มีพระสูตรสาคัญ
เช่น ชาดก ธรรมบท อุปมยสูตร
พุทธกตเวทีสตู ร เป็ นต้น
3 T05–08 般若部 Prajñapāramitā หมวดปรัชญา มีพระสูตรใหญ่
Bōrě bù
ชือ่ มหาปรัชญาปารมิตาสูตร ทีก่ ล่าวถึง
การบาเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์
หลักศูนยตา และมีสตู รปกิณณะ เช่น
วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร หฤทัยสูตร
กรุนิกราชปรัชญาปารมิตาสูตร
มหายานปารมี 6 อธัยรธัศติกา
108 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

No. Volume Ch Name Sanskrit Description


4 T09a 法華部 Saddharma หมวดสัทธรรมปุณฑริก หมายถึง
Fǎhuá bù Puṇḍarīka
บัวอันบริสทุ ธิ ์ มีพระสูตรใหญ่ชอ่ื
สัทธรรมปุณฑริกสูตร กล่าวถึงการบรรลุ
พุทธภาวะและใคร ๆ ก็อาจจะเข้าถึง
ความเป็ นพุทธะได้เฉกเช่นดอกบัวทีอ่ ยู่
ท่ามกลางโคลนตม มีสตู รปกิณณะ เช่น
อนิวรรตธรรมจักรสูตร วัชรสมาธิสตู ร
มหาธรรมเภรีสตู ร
สมันตภัทรโพธิสตั วจริยธรรมธยานสูตร
5 T09b–10 華嚴部 Avataṃsaka หมวดอวตังสกะ พระสูตรสาคัญคือ
Huáyán bù
พุทธาวตังสกมหาไวปุลยสูตร กล่าวถึง
นามของพระโพธิสตั ว์และการวิถขี อง
พระโพธิสตั ว์ เช่น ศรัทธา 10 ดารง 10
จริยา10 อุทศิ 10 ทศภูม ิ 10 มีฉบับ
สาคัญ 3 ฉบับ คือ อวตังสกสูตร 40 ผูก
60 ผูก และ 80 ผูก และมีสตู รปกิณณะ
ย่อย ๆ อีกหลายสูตร
6 T11–12a 寶積部 Ratnakūṭa หมวดรัตนกูฎ หมายถึง การรวบรวม
Bǎojī bù
ธรรมรัตนะ ซึง่ หมายเอาพระสูตร
ทีเ่ กีย่ วกับการบาเพ็ญปฏิบตั ิ
ของพระโพธิสตั ว์องค์ต่างๆ การพยากรณ์
การเป็ นพระพุทธเจ้าและพุทธเกษตร
พระสูตรสาคัญคือ สุขาวตีวยูหสูตร
อมิตพระสูตร กวนอินฝู่ เหมินผิน่
มัญชุศรีพทุ ธเกษตรสูตร
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 109

No. Volume Ch Name Sanskrit Description


7 T12b 涅槃部 Nirvāṇa หมวดปรินิรวาณ มีพระสูตรใหญ่
Nièpán bù
ชือ่ มหาปรินิรวาณสูตร 40 ผูก กล่าวถึง
พระนิพพาน การมีอยูอ่ ย่างพิเศษ
ธรรมกายและหน่อเนื้อพุทธางกูร
มีสตู รปกิณณะ เช่น มหากรุณาสูตร
มหามายาสูตร มหาเมฆสูตร
อันตรภาวสูตร
8 T13 大集部 Mahāsannipāta หมวดมหาสันนิปาต มีพระสูตรใหญ่คอื
Dàjí bù
มหาไวปุลยมหาสังคฎสูตร กล่าวถึง
พระพุทธเจ้าและพระโพธิสตั ว์เทศน์สอน
ขณะลอยบนอากาศท่ามกลาง
ทีป่ ระชุมใหญ่ในกามภพและรูปภพ
มีสตู รปกิณณะ เช่น
กษิตคิ รรภโพธิสตั วมูลปณิธานสูตร
ทศจักรกษิตคิ รรภสูตร
ปรัตยุตปั นนสมาธิสตู ร
9 T14–17 經集部 Sūtrasannipāta หมวดสูตรสันนิปาต เป็ นการรวมกัน
Jīngjí bù
ของพระสูตรทีม่ ลี กั ษณะคล้ายกับ
หมวดรัตนกูฎและมหาสันนิปาต แต่เป็ น
พระสูตรขนาดสัน้ เช่น พระสูตร 42 บท
กุศลกรรมบถสูตร อัฐมงคลสูตร
ศูรงั คมสมาธิสตู ร ลังกาวตารสูตร
วิมลกีรตินิรเทศสูตร อาณาปนสมาธิสตู ร
โยคาจารภูมสิ ตู ร สุวรรณพรภาโสสูตร
ตถาครรภสูตร
110 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

No. Volume Ch Name Sanskrit Description


10 T18–21 密教部 Tantra หมวดตันตระ เป็ นพระสูตร
Mìjiào bù
นิกายตันตระยาน เช่น ศูรงั คมสูตร
มหากรุณาธารณีสตู ร
อุษณีษวิชยธารณีสตู ร
ภัยพิบตั มิ งคลสูตร ธารณีสมุจจยสูตร
11 T22–24 律部 Vinaya หมวดพระวินยั เป็ นพระวินยั ของนิกาย
Lǜ bù
ต่าง ๆ ในยุคสังคายนาครัง้ ที่ 2-3
(รายละเอียดด้านล่างตาราง) และ
พระสูตรทีเ่ กีย่ วกับศีล เช่น
พรหมชาลสูตร อุบาสกศีลสูตร
พระโพธิสตั ว์ศลี
โพธิสตั ว์เกยูรมูลกรรมสูตร สังฆกรรม
12 T25–26a 釋經論部 Sūtravyākaraṇa หมวดสูตรวยากรณ เป็ นศาสตร์นิพนธ์
Shìjīnglùn bù
ของพระในอินเดีย อธิบายขยายความ
พระสูตรคล้ายอรรถกถา เช่น
มหาปรัชญาปารมิโตปเทศ
พุทธภูมสิ ตู รศาสตร์ ทศภูมสิ ตู รศาสตร์
ทศดารงศาสตร์ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
มาตรกา
13 T26b–29 毗曇部 Abhidharma หมวดอภิธรรม เป็ นอภิธรรมของนิกาย
Pítán bù
ต่าง ๆ ในยุคแตกนิกายสังคายนาครัง้ ที่ 2
และ 3 ซึง่ มีความเหมือนกับพระอภิธรรม
บาลีบางส่วน เช่น
อภิธรรมโกศภาษยศาสตร์
อภิธรรมมหาวิภาษาศาสตร์
อภิธรรมจิตศาสตร์ อภิธรรมปรกรณ์
อภิธรรมวิญญาณกายศาสตร์ ของนิกาย
สรวาสติวาทิน สารีปุตราภิธรรมของ
นิกายธรรมคุปต์ อภิธรรมฌานปรสฐานะ
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 111

No. Volume Ch Name Sanskrit Description


14 T30a 中觀部類 Mādhyamaka หมวดมาธยมกะ มีความหมายคือ
Zhōngguān
bùlèi ทางสายกลาง หรือทีส่ ดุ กลาง ปฏิเสธ
ทวิภาค เน้นคาสอนเรือ่ งศูนยตา มีคมั ภีร์
สาคัญคือ มูลมัธยมการิกา
ทวาทศนิกายศาสตร์ ศตศาสตร์ ซึง่ เป็ น
ศาสตร์นิพนธ์ของนาคารชุน
15 T30b–31 瑜伽部類 Yogācāra หมวดโยคาจาระ หรือวิชญานวาท
Yújiā bùlèi
มีแนวคิดว่าทีส่ ดุ ของทุกสรรพสิง่ มีเพียง
วิญญาณ และมีวญ ิ ญาณที่ 7 และ 8
อาลยวิญญาณ ทีน่ อกเหนือจากบาลี
พระสูตรเป็ นการบรรยายคาสอน
ของพระศรีอริยเมตไตรย
และมีพระอสังคะเป็ นคนบันทึก และมี
ศิษย์คอื พระวสุพนั ธุ พระธรรมปาละ
เป็ นต้น มีคมั ภีรส์ าคัญ เช่น โยคาจาร
ภูมศิ าสตร์ วิมศติกาวิชญปติมาตรตาสิทธิ
วิชญปติมาตรตาสิทธิ ตริงศิกา วิชญปติ
มาตรตา พุทธธาตุศาสตร์
16 T32 論集部 Śāstra หมวดศาสตร์ เป็ นหมวดคัมภีรท์ ร่ี วบรวม
Lùnjí bù
เอาศาสตร์นิพนธ์จากคันถรจนาจารย์
อินเดียหรือแถบทางเหนือของอินเดีย
เช่น นาคเสนภิกษุสตู ร (มิลนิ ทปั ญหา)
วิมตุ ติมรรค (วุสทุ ธิมรรค)
เหตุวทิ ยานยายทวารศาตร์
วิครหวยาวรตนี ตัตตวสิทธิ มหายาน
ศรัทโธตปาทศาสตร์
112 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

No. Volume Ch Name Sanskrit Description


17 T33–39 經疏部 Sūtravibhāṣa หมวดอรรถกถาพระสูตร ทีอ่ ธิบาย
Jīngshū bù
พระสูตรสาคัญของมหายาน
โดยคันถรจนาจารย์จนี เช่น อรรถกถา
ของวัชรปรัชญาปารมิตาสูตร
วัชรสมาธิสตู ร สัทธรรมปุณฑริกสูตร
อวตังสกสูตร อมิตพระสูตร
สุขาวตีวยูหสูตร สุวรรณประภาสูตร
วิมลตีรติทนิรเทศสูตร
18 T40a 律疏部 Vinayavibhāṣa หมวดอรรถกถาพระวินยั แต่ไม่ได้ม ี
Lǜshū bù
อรรถกถาของพระวินยั ทุกนิกาย มีเพียง
บางนิกาย ส่วนใหญ่จะเป็ นอรรถกถา
พระวินยั นิกายธรรมคุปต์ จตุรอัธยายวินยั
ซึง่ เป็ นพระวินยั ทีใ่ ช้ในการอุปสมบท
พระในจีน และอรรถกถาอืน่ ทีเ่ กีย่ วกับศีล
และวินยั เช่น พรหมชาลสูตร โพธิสตั ว์ศลี
สังฆกรรม ภิกษุณีกรรม
19 T40b– 論疏部 Śāstravibhāṣa หมวดศาสตรวิภาษหรือฎีกา คือ เป็ น
44a Lùnshū bù
การอธิบายอรรถกถา และอธิบายศาสตร์
นิพนธ์ของคันถรจนาจารย์อนิ เดีย
อีกต่อหนึ่ง ซึง่ ผูเ้ ขียนคือ
คันถรจนาจารย์จนี ส่วนใหญ่เป็ นฎีกา
อรรถกถาอภิธรรมโกศภาษยศาสตร์ และ
ฎีกาอธิบายศาสตร์นิพนธ์ต่าง ๆ เช่น
วัชรปรัชญาปารมิตาศาสตร์
มูลมัธยมการิกา ทวาทศนิกายศาสตร์
ศตศาสตร์ วิชญาปติมาตรตาสิทธิ
โยคาจารศาสตร์ สัทธรรมปุณฑริกศาสตร์
มหายานศรัทโธตปาทศาสตร์
เหตุวทิ ยานยายทวารศาตร์
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 113

No. Volume Ch Name Sanskrit Description


20 T44b–48 諸宗部 Sarvasamaya คาสอนของนิกายต่าง ๆ ทัง้ ทีเ่ ป็ นนิกาย
Zhūzōng bù
ทีเ่ กิดขึน้ ในอินเดียและในจีน เช่น
ภิกษุสกิ ขา กรรมะ
(นิกายมูลสรวาสติวาทิน)
ตรีศาสตร์อธิบาย (นิกายมัธยมิก)
อธิบายอษฎวิญญาณ (นิกายโยคาจาระ)
วัชรจุตเิ หตุ (นิกายมนตรยาน)
สูตรของเว่ยหลาง วิปัสสนาจิต
(นิกายเซน) มหาสมถะวิปัสสนา
สุขาวดีทศปริศนา (นิกายเทียนไถ)
อวตังสกะพุทธเอกยาน สาครมุทราสมาธิ
(นิกายอวตังสกะ)
21 T49–52 史傳部 หมวดประวัตศิ าสตร์ ประกอบด้วย
Shǐchuán bù
พุทธประวัติ สมยเภโท อโศกสูตร บันทึก
รัตนตรัยประวัตพิ ระเถระและพระสูตร
ประวัตภิ กิ ษุณี บันทึกชีวประวัตพิ ระ
ผูม้ คี ณ
ุ ูปการจีนราชวงศ์เหนือใต้
ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หมิง บันทึกประวัติ
การเดินทางดินแดนตะวันตกเพือ่ นา
พระธรรมกลับมราชวงศ์ถงั
(พระถังซัมจั ๋ง) ประวัตพิ ระมหาเถระ
นิกายเทียนไถราชวงศ์สยุ
ประวัตพิ ระถังซัมจั ๋ง
ประวัตพิ ระวัดฉือเอินราชวงศ์ถงั
ประวัตผิ ไู้ ปสูด่ นิ แดนสุขาวดี
บันทึกเขาอูไ่ ถซาน
114 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

No. Volume Ch Name Sanskrit Description


22 T53–54a 事彙部 หมวดสารานุกรม เป็ นสารานุกรมและ
Shìhuì bù
รวมถึงพจนานุกรม เช่น พุทธธรรม
ในพระสูตรพระวินยั
ประวัตพิ ระราชวงศ์ซ่ง
ภาษาสันสกฤต 1,000 ตัว
เทียบสันสกฤตจีน แปลภาษาสันสกฤต
แปลนามศัพท์ ชือ่ พระสูตรแปลโดยเสียง
T54b 外教部 คัมภีรน์ อกพระพุทธศาสนา เช่น
Wàijiào bù
23 เต๋าสูต่ ะวันตกสูตร บันทึกบนแผ่นศิลา
บทสรรเสริญคริสต์ศาสนา บทสรรเสริญ
ศาสนามุณี
24 T55 目錄部 บัญชีรายชือ่ หรือทะเบียนสารบัญพระสูตร
Mùlù bù
เช่น ทะเบียนครอบคลุมพระสูตรทัง้ หลาย
บันทึกทะเบียนการรวบรวมพระไตรปิ ฎก
บันทึกทะเบียนพระสูตรราชวงศ์ถงั
ทะเบียนคัมภีรพ์ ระฉางเสีย่ วนามา
ทะเบียนคัมภีรพ์ ระฮุ่ยเจิง้ นามา
ทะเบียนพระญีป่ ่ ุนทีม่ าจีนในราชวงศ์ถงั
25 T56–83 續經疏部 ฎีกาขยายความอรรถกถาพระสูตร
Xùjīngshū bù
เพิม่ เติม โดยคันถรจนาจารย์ญป่ี ่ ุน
26 T84 悉曇部 Siddhaṃ หมวดสิทธัม เป็ นคัมภีรท์ พ่ี ระกูไกภิกษุ
Xītán bù
ชาวญีป่ ่ ุน (空海) ผูเ้ รียนภาษาสันสกฤต
และศาสนาพุทธไปจากจีนได้นาคัมภีร์
พระพุทธศาสนาทีเ่ ป็ นอักษรสิทธัมอักษร
แบบหนึ่งของอินเดียตอนเหนือไปญีป่ ่ ุน
และปริวรรตเป็ นอักษรญีป่ ่ ุน
(คัมภีรห์ ายาก)
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 115

No. Volume Ch Name Sanskrit Description


27 T85a 古逸部 หมวดโบราณ ส่วนใหญ่เป็ นคัมภีรท์ อ่ี ยูใ่ น
Gǔyì bù
ถ้าตุนหวง เป็ นอรรถถาหรือฎีกา
ของพระสูตรสาคัญของมหายาน เช่น
ฎีกาหรืออรรถกถาอธิบาย
วัชรปรัชญาปารมิตา สัทธรรมปุณฑริก
28 T85b 疑似部 หมวดเรือ่ งสงสัย เช่น คุณบิดามารดาสูตร
Yísì bù
ยืดอายุสตู ร ตถาคตเข้าถึงธรรมสูตร
บุญสรรเสริญสงฆ์สตู ร นวโพธิสตั ว์สตู ร
พระพุทธมารดาสูตร 80 ปริศนาสูตร
บุญบาปกฎแห่งกรรมสูตร
29 T86–97 圖像部 หมวดภาพ เป็ นการอธิบายลักษณะ
Túxiàng bù
พืน้ ฐานงานด้านศิลปะ
ทางพระพุทธศาสนา
เป็ นภาพพระพุทธเจ้าและพระโพธิสตั ว์
เป็ นจานวนมาก
30 T98–100 昭和法寶 หมวดทะเบียนธรรมรัตนะโชวะ
總目錄
Zhāohé
เป็ นทะเบียนหรือบัญชีรายชือ่ หนังสือ
fǎbǎo พระพุทธศาสนาทีร่ จู้ กั ในญีป่ ่ ุน
zǒngmùlù

ทีม่ า : https://en.wikipedia.org/wiki/Taishō Tripiṭaka


หมายเหตุ : ผูเ้ ขียนเรียบเรียงคาอธิบายภาษาไทย

จากตารางด้านบน จะเห็นได้ว่าเนื้อหาส่วนใหญ่เป็ นพระสูตรและศาสตร์นิพนธ์ของมหายาน


กล่าวคือ พระสูตรมหายาน และศาสตร์นิพนธ์ต่าง ๆ โดยเป็ นพระสูตรมหายานนับตัง้ แต่หมวดที่ 3
เป็ นต้นมา ในเล่มที่ 5-21 มีพระสูตรทีส่ าคัญของมหายานทีป่ ั จจุบนั ยังคงนิยมใช้สวดมนต์และศึกษา
ค้ น คว้ า เช่ น สัท ธรรมปุ ณ ฑริก สู ต ร อตัง สกสู ต ร อมิต พระสู ต ร ลัง กาวตารสู ต ร ศู ร ัง คมสู ต ร
มหาปรัชญาปารมิตาสูตร วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร หฤทัยสูตร
116 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

ศาสตร์นิพนธ์นบั ตัง้ แต่หมวดที่ 12 เป็ นต้นมา ในเล่มที่ 25-32 เป็ นศาสตร์นิพนธ์จากการเขียน


ของพระภิกษุในอินเดีย เล่มที่ 33-55 เป็ นศาสตร์นิพนธ์จากการเขียนของพระภิกษุจนี เล่มที่ 56-85
เป็ นคัมภีร์พระพุทธศาสนาญี่ป่ ุน ดังนัน้ จึงเห็นได้อย่างชัดเจนว่าในพระมหาปิ ฎ กฉบับไทโชมิได้
รวบรวมเฉพาะพระสูตรทีเ่ กิดขึน้ ในการสังคายนาครัง้ ที่ 1-3 หรือพุทธวจนะเท่านัน้ แต่ยงั รวบรวมเอา
ศาสตร์นิพนธ์ของบุคคลยุคหลังทัง้ ในและนอกอินเดีย

แต่ถึงกระนัน้ พระมหาปิ ฎกฉบับไทโชมิได้มเี พียงคัมภีร์มหายานเท่านัน้ ในพระมหาปิ ฎก


ฉบับไทโชยังมีคมั ภีร์ท่สี ามารถเทียบเคีย งได้กบั พระไตรปิ ฎ กบาลี ได้แก่หมวดที่ 1 คัมภีร์อาคมะ
หมวดที่ 2 คัมภีร์อดีตชาติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่สามารถเทียบเคียงได้กบั ชาดก หมวดที่ 11
ที่เ ป็ นพระวินั ย นิ ก ายต่ า ง ๆ และหมวดที่ 13 คือ พระอภิธ รรม ซึ่ง เป็ นพระอภิธ รรมของนิ ก าย
สรวาสติวาทิน

ในหมวดที่ 1 คัมภีรอ์ าคมะจานวน 2 เล่ม ถือเป็ นคัมภีรพ์ ระพุทธศาสนาดัง้ เดิมสามารถเทียบ


ได้กบั สุตตันตปิ ฎกบาลี กล่าวคือ พระสุตตันตปิ ฎกบาลีทงั ้ 4 นิกาย คือ ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย
สังยุตตนิกาย อังคุตตรนิกาย ซึง่ สามารถเทียบได้ตามตารางด้านล่าง

ตารางที่ 2
ตารางเปรียบเทียบคัมภีรน์ ิกายะและคัมภีรอ์ าคมะ
นิ กายะ Nikāya ในพระไตรปิ ฏกบาลี อาคมะ Āgama ในพระมหาปิ ฎกจีน
Dīgha Nikāya (DN) ทีฆนิกาย Dīrgha-Āgama (DA) ทีรฆอาคมะ
Majjhima Nikāya (MN) มัชฌิมนิกาย Madhyama Āgama (MA) มัธยมอาคมะ
Saṃyutta Nikāya (SN) สังยุตตนิกาย Saṃyukta Āgama (SA) สังยุกตอาคมะ
Aṅguttara Nikāya (AN) อังคุตตรนิกาย Ekottara Āgama (EA) เอโกตตรอาคมะ

ทีม่ า : พระมหาพงศ์ศกั ดิ ์ ฐานิโย (2558, น. 167)

โดยที่พ ระสูต รในคัม ภีร์อาคมะมีจ านวนแตกต่า งจากคัม ภีร์นิ กายะบ้า ง ซึ่งปกติการแปล


คัม ภีร์อาคมะเหมือนกับ คัม ภีร์นิ กายะ คือ แปลหลายพระสูตรในหมวดเดีย วกัน ในคราวเดีย วกัน
แต่มบี า้ งทีเ่ ป็ นการแปลพระสูตรเดีย่ ว ๆ จากนักแปลทีม่ าจากต่างยุคกันซึง่ อาจได้ตน้ ฉบับมาจากนิกาย
ทีต่ ่างกัน จากการวิจยั เปรียบเทียบคัมภีรท์ งั ้ สองประเภทนี้พบว่ามีความคล้ายคลึงกันมากและปริมาณ
เนื้อหาโดยส่วนใหญ่แตกต่างกันไม่มาก แต่เนื่องจากลักษณะตัวอักษรจีนทีห่ นึ่งตัวอักษรสามารถแทน
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 117

คาในภาษาไทยหลายตัวอักษร ทาให้แม้จะมีความยาวเพียงแค่ 2 เล่ม ก็อาจเทียบเท่ากับพระไตรปิ ฎก


บาลี 15 เล่ม

ในหมวดที่ 11 พระวิ นั ย จ านวน 3 เล่ ม ประกอบด้ ว ยพระวินั ย หลายนิ ก าย นอกจาก


ศีลพระโพธิสตั ว์ของนิกายมหายานแล้ว ยังมีพระวินยั จาก 6 นิกาย ดังนี้
1) พระวินัยปิ ฎกสายนิกายมหาสังฆิกะ มีช่อื เรียกว่า มหาสังฆิกวินัย หรือพระวินัยมหาเซิงฉี
( 摩訶僧祇律) แปลเป็ นภาษาจีน ในปี ค.ศ. 416-418 โดยพระธรรมาจารย์ฝ าเสี่ย น
(法显) ซึง่ ได้นาต้นฉบับมาจากอินเดียและได้ทาการแปลร่วมกับพระพุทธภัทระ (佛陀跋
陀罗)
2) พระวินยั ปิ ฎกของนิกายสัพพัตถิกวาท (ภาษาสันสกฤตเรียกสรวาสติวาทิน) มีชอ่ื เรียกว่า
ทศภาณวารวินัย หรือ พระวินัยฉือซ่ง หรือพระวินัยสิบบท (十誦律) แปลเป็ นภาษาจีน
ในปี ค.ศ. 404-409 โดยกุมารชีพและคณะเป็ นผูแ้ ปล
3) พระวินัยปิ ฎกของนิกายธรรมคุปต์ มีช่อื เรียกว่า จตุรอัธยายวินัย หรือ พระวินัยซื่อเฟิ น
หรือพระวินัยสีส่ ่วน (四分律) ปั จจุบนั เหลือแต่ฉบับภาษาจีนทีแ่ ปลในปี ค.ศ. 410-412
โดยพระพุทธยัสสะและพระจูฝอเนี่ยน
4) พระวินัยปิ ฎกของนิกายมหิงสาสกะ มีช่อื เรียกว่า ปั ญจอัธยายวินัย พระวินัยอู่เฟิ น หรือ
พระวินัยห้าส่วน (五分律 ปั จจุบนั เหลือแต่ฉบับภาษาจีน ซึ่งแปลในปี ค.ศ. 422-423
โดยพระพุทธชีวะ (佛陀什) ร่วมกับพระจูเต้าเซิง (竺道生)
5) พระวินยั ปิ ฎกของนิกายมูลสัพพัตถิกวาท (根本説一切有部律) ฉบับภาษาจีน แปลโดย
พระอีจ้ งิ ในปี ค.ศ. 695-713
6) พระวินัยปิ ฎกของนิกายกาศยปี ยะหรือกัสสปิ ยา ทีแ่ ยกมาจากนิกายสรวาสติวาทิน มีช่อื
เรียกว่า ปาฏิโมกข์ศลี สูตร (解脫戒經) แปลโดย โคตรมะปรัชญารุจิ (瞿曇般若流支)
ช่วงปี ค.ศ. 516-543
7) พระวินัย ปิ ฎ กของนิ กายวิภ ัช วาทิน สมัน ตปาสาทิกาวิภ าษา หรือพระวินัย อรรถกถา
ซ่านเจี้ยน (善見律毘婆沙) ซึง่ เป็ นอรรถกถาพระวินัยปิ ฎกบาลี ฉบับภาษาจีนแปลโดย
พระสังฆภัทระ (僧伽跋陀罗) ในปี ค.ศ. 416-418 (พระมหาสมชาย ฐานวุฑฺโฒ, 2558,
น. 13-54)
118 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

5. พระไตรปิ ฎกภาษาจีนที่แปลจากภาษาบาลีหรือพระไตรปิ ฎกบาลีที่แปลเป็ น


ภาษาจีน
นอกจากพระไตรปิ ฎ กภาษาจีน ที่แปลมาจากสันสกฤตและภาษาในเอเชีย กลางแล้ว ยังมี
การแปลพระไตรปิ ฎกฉบั บ ภาษาบาลี สู่ ภ าษาจี น โดยพระไตรปิ ฎกภาษาบาลี เ ป็ นที่ รู้ จ ั ก
ในประเทศญี่ป่ ุ นในศตวรรษที่ 19 เนื่ องจากนักวิช าการชาวญี่ป่ ุ นได้ไปศึกษาแลกเปลี่ย นความรู้
ในประเทศตะวันตก ทาให้ได้รจู้ กั พระไตรปิ ฎกบาลีอกั ษรโรมันฉบับสมาคมบาลีปกรณ์ของอังกฤษหรือ
มีช่อื ย่อว่ า ฉบับ PTS ( Pāli Text Society) ซึ่งต่อมาได้ม ีการแปลพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับนี้มาเป็ น
ภาษาญีป่ ่ ุนทีม่ ชี อ่ื เรียกว่า พระไตรปิ ฎกสายใต้หรือนันเดนไดโซเคียว (南傳大藏經) จานวน 70 เล่ม

จัดทาขึน้ ในปี ค.ศ. 1935-1941 โดยสมาคมราลึกการทางานของศาสตราจารย์ทากากูซุ จุนจิโร


(高楠順次郎博士功績紀念會) ซึ่งเป็ นการรวมตัวกันของคณะลูกศิษย์ของศาสตราจารย์ทากากูซุ
แห่งมหาวิทยาลัยโตเกียว ด้วยความตัง้ ใจทีจ่ ะทาความปรารถนาของอาจารย์ทจ่ี ะแปลพระไตรปิ ฎก
บาลี เ ป็ นภาษาญี่ ป่ ุ นให้ ส าเร็ จ โดยมี ค ณะท างานแปลรวม 50 ท่ า น ซึ่ ง ส่ ว นหนึ่ ง เป็ นเพื่ อ น
ของศาสตราจารย์ทากากูซุ และลูกศิษย์ทศ่ี กึ ษาบาลีกบั ท่าน28

ต่อมาพระไตรปิ ฎกบาลีเป็ นทีร่ จู้ กั มากขึน้ ในหมู่พระภิกษุสงฆ์และนักวิชาการชาวไต้หวันและ


จีน จึงทาให้ได้มแี นวความคิดการแปลพระไตรปิ ฎกบาลีเป็ นภาษาจีนทัง้ ในจีนและไต้หวัน ซึง่ ปั จจุบนั
มีผดู้ าเนินการจัดทาทัง้ สิน้ 4 ฉบับ

5.1 พระไตรปิ ฎกสายใต้แปลจีนฉบับหยวนเฮิ ง 元亨寺版《汉译·南传大藏经》

ในปี ค.ศ.1990-1998 คณะกรรมการวัด หยวนเฮิง เขตเกาสง แห่ ง ไต้ห วัน ได้จ ัด ตัง้
คณะกรรมการแปลและเรียบเรียงจัดทาพระไตรปิ ฎกสายใต้เป็ นภาษาจีนวัดหยวนเฮิง (元亨寺汉译
南传大藏经编译委员会编) โดยแปลเป็ น ภาษาจีน ตัว อักษรแบบเต็ม และเป็ น ส านวนจีน โบราณ
จานวนทัง้ สิ้น 70 เล่ม จานวนอักษรกว่า 14 ล้านตัวอักษร เนื้อหาประกอบด้วยพระสุตตันตปิ ฎก
พระวินัยปิ ฎก พระอภิธรรมปิ ฎก และคัมภีร์สาคัญทางพระพุทธศาสนาเถรวาท เช่น มิลินทปั ญหา

28 日本南传大藏經的翻译. Retrieved February 5, 2021, from

http://palimagga.blogspot.com/2013/09/blog-post_327.html.
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 119

ทีปวังสะ มหาวังสะ วิสทุ ธิมรรค เป็ นต้น29 โดยได้แปลจากฉบับภาษาญีป่ ่ ุนซึง่ ไม่ได้แปลจากภาษาบาลี


โดยตรง เนื่องจากนักวิชาการในไต้หวันในยุคนัน้ ยังมีผคู้ วามรูท้ างด้านภาษาบาลีจานวนจากัด ต่อมา
นักวิช าการไต้หวันและจีนที่ศึกษาภาษาโบราณในประเทศตะวัน ตกมีมากขึ้น ทาให้ม ีผู้ม ีความรู้
ภาษาบาลีในไต้หวันและจีนเพิม่ มากขึ้น จึงได้เริม่ จัดทาการแปลพระไตรปิ ฎกบาลีเป็ นจีนโดยตรง
มากขึน้ ในปั จจุบนั

5.2 พระไตรปิ ฎกบาลีฉบับ PKU-DCI (北大-法胜 巴利佛典) (PKU-DCI Pali Series)

ในปี ค.ศ. 2009 อัค รศาสตราจารย์ต้ ว นฉิ ง ( 北京大学博雅讲席教授段晴教授) จาก


มหาวิท ยาลัย ปั ก กิ่ง เป็ นผู้ส ืบ ทอดเจตนารมณ์ ข องท่ า นปรมาจารย์ จ้ีเ ซี่ย นหลิน ( 季羡林先生)
ที่ป รารถนาจะแปลพระไตรปิ ฎกภาษาบาลีเ ป็ นภาษาจีน ด้ ว ยทราบว่ า ฉบับ หยวนเฮิง ยัง คงมี
ข้อบกพร่องอยู่ จึงเป็ นทีม่ าของการถือกาเนิดขึน้ ของโครงการแปลพระไตรปิ ฎกบาลีเป็ นจีนระหว่าง
มหาวิทยาลัยปั กกิง่ (PKU) กับสถาบัน DCI วัดพระธรรมกาย โดยมีอคั รศาสตราจารย์ตว้ นฉิงหัวหน้า
ศูนย์วจิ ยั ใบลานและคัมภีรพ์ ระพุทธศาสนาบาลีสนั สกฤต มหาวิทยาลัยปั กกิง่ เป็ นประธานคณะทางาน
ฝ่ ายจีนและมีพระครูปลัดสุวฒ ั นโพธิคุณ (สมชาย ฐานวุฑฺโฒ) ผูอ้ านวยการสถาบัน DCI เป็ นประธาน
คณะทางานฝ่ ายไทย

ด้วยความทุ่มเทในการแปลของคณะมหาวิทยาลัยปั กกิง่ และความละเอียดในการตรวจทาน


ความถูกต้องและการให้คาแนะน าของคณะฝ่ ายไทย ซึ่งคณะฝ่ ายไทยมีพ ระมหาเปรีย ญธรรม 9
ประโยค หลายรูปเป็ นคณะผูร้ ่วมตรวจทาน ในตลอดระยะเวลากว่า 10 ปี จึงทาให้พระสุตตันตปิ ฎก
ทีฆนิกายแปลจีน 34 พระสูตรได้ตพี มิ พ์เผยแพร่ในลักษณะเล่มใหญ่เล่มเดียว ในปี ค.ศ. 2012 หรือ
พ.ศ. 2555 โดยส านั ก พิม พ์ จ งซีซู จุ๋ ย หรือ ส านั ก พิม พ์ จีน ตะวัน ตก ในขณะที่พ ระสุ ต ตัน ตปิ ฎ ก
มัช ฌิ ม นิ ก ายแปลจี น จ านวน 152 พระสู ต รได้ ตี พ ิ ม พ์ ใ นลั ก ษณะเล่ ม ใหญ่ เ ล่ ม เดี ย วเช่ น กัน
ในปี ค.ศ. 2021 หรือ พ.ศ. 2564 ซึ่ง พระสุ ต ตัน ตปิ ฎกทีฆ นิ ก ายนอกจากจะได้ ร ับ การตีพ ิม พ์
เป็ นครัง้ ที่ 2 เนื่องจากไม่เพียงพอต่อความต้องการของผูอ้ ่านชาวจีนแล้ว ยังได้รบั รางวัลรองชนะเลิศ
กลุ่มคัมภีรโ์ บราณและรางวัลรองชนะเลิศหนังสือขายดีอนั ดับสองในงานนิทรรศการอีกด้วย

29 佛教导航, 《台湾元亨寺:汉译南传大藏经》. Retrieved February 25, 2021, from

http://www.fjdh.cn/wumin/2013/02/102805212501.html.
120 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

ลักษณะเฉพาะของพระไตรปิ ฎกแปลฉบับ PKU-DCI ทีม่ คี วามโดดเด่นกว่าฉบับอืน่ ๆ มีดงั นี้

1) เป็ นการแปลจากภาษาบาลีโดยตรง ไม่ผา่ นภาษาอืน่


2) แปลโดยทีมอาจารย์และนิสติ ของมหาวิทยาลัยชัน้ นาในด้านการเรียนการสอนภาษาบาลี
ของจีน
3) ผ่า นการตรวจทานความถูกต้องจากพระเปรียญธรรมประโยค 9 ที่ม ีความเชี่ย วชาญ
ในภาษาบาลีมาก ซึ่งถือเป็ นการทางานประสานระหว่า งนักวิชาการสูงสุด ทางโลกกับ
นั ก วิช าการสู ง สุ ด ทางธรรม นอกจากนี้ ใ นการตรวจทานยัง ได้ ศึก ษาการแปลจาก
ฉบับแปลภาษาอืน่ ประกอบด้วย เช่น ฉบับแปลภาษาไทย อังกฤษและญีป่ ่ ุน
4) ผลงานการแปลทีอ่ อกมาสามารถถ่ายทอดความหมายดัง้ เดิมของภาษาบาลีไว้ได้ดี อีกทัง้
ยัง ใช้ ภ าษาจี น ที่ เ ป็ นปั จจุ บ ั น ที่ เ ข้ า ใจง่ า ย ท าให้ ไ ม่ เ ป็ นอุ ป สรรคต่ อ การอ่ า นแล ะ
การทาความเข้าใจของผูอ้ า่ น
5) รูปแบบของหนังสือเป็ นงานวิชาการทีม่ กี ารอธิบายอ้างอิงและสืบค้นจากแหล่งข้อมูลอื่น
เพิม่ เติม เพื่อให้ผอู้ ่านเข้าใจชัดเจนยิง่ ขึน้ และคาสาคัญทีส่ ามารถสืบย้อนได้ถงึ ภาษาบาลี
ต้ น ฉบั บ อี ก ทั ง้ ยั ง มี ก ารเที ย บเคี ย งกั บ ค าแปลแบบจี น โบราณ ดั ง นั ้น งานแปล
ฉบับ PKU-DCI นี้จงึ ถือได้ว่ามีประโยชน์ต่อการศึกษาทางด้านวิชาการอย่างยิง่
6) ใช้ต้นฉบับภาษาบาลีฉบับสมาคมบาลีปกรณ์ ร่วมกับฉบับโครงการพระไตรปิ ฎกวิชาการ
ที่ม ีการตรวจช าระเทีย บกับ ใบลานฉบับ อื่น ซึ่งเป็ น ผลให้ส ามารถรักษาและถ่า ยทอด
ความหมายดัง้ เดิมของพุทธวจนะได้อย่างสมบูรณ์ยงิ่ ยวด

5.3 ชุดคัมภีรพ์ ทุ ธบาลีหรือพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับวิ ทยาลัยสงฆ์หางโจว (巴利佛典译丛)

นอกจากมหาวิทยาลัยปั กกิง่ ทีไ่ ด้ทาการแปลพระไตรปิ ฎกบาลีแล้ว ยังมีคณะพระภิกษุสงฆ์


จากวิทยาลัยสงฆ์หางโจว ในมณฑลเจ้อเจียง โดยพระธรรมาจารย์ฮุ่ ยอิน (慧音法师) ได้แปลจาก
ต้นฉบับบาลีฉบับฉัฎฐสังคีตหิ รือฉัฎฐสังคายนาของพม่าเป็ นภาษาจีนปั จจุบนั ด้วยจีนอักษรย่อ และ
ตรวจทานโดยพระธรรมจารย์ฮุ่ ยกวัน วัดหลิงอิน่ (灵隐寺) เป็ นผูต้ รวจทานด้วยการเทียบเคีย งกับ
ฉบับแปลญี่ป่ ุนของศาสตราจารย์เกียรติคุณ จากมหาวิทยาลัยโคโมซาวะ (驹译大学, 荣休教授)
และฉบับแปลญี่ป่ ุนของอาจารย์คาตายามะ อิจโิ ร (片山一良先生) เจ้าอาวาสคางากูจิ นิกายโซโต
เซนหรือนิกายเฉาตงฌาน 曹洞宗花宾寺 จากนัน้ ได้ให้คณะพระภิกษุผรู้ ่วมจัดทา ได้ตรวจสานวน
ภาษา โดยการจัดพิมพ์ของพระสุตตันตปิ ฎกทีฆนิกายแปลจีน 34 พระสูตร แบ่งเป็ น 3 เล่ม ฉบับแรก
ตีพมิ พ์ในปี ค.ศ. 2015 สานักพิมพ์จง้ เจี้ยวเหวินฮว่ า หรือสานักพิมพ์ศาสนาและวัฒนธรรม ในขณะที่
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 121

พระสุตตันตปิ ฎกมัชฌิมนิกายแปลจีนได้แบ่งพิมพ์เป็ น 3 เล่มเช่นกัน โดยเล่มละ 50 พระสูตร ยกเว้น


เล่มสุดท้าย 52 พระสูตร โดยเล่มแรกตีพมิ พ์ในปี ค.ศ. 2017 ณ ปั จจุบนั ตีพมิ พ์มาเพียง 2 เล่มแรก
ซึ่งในเล่มนี้พระธรรมาจารย์ฮุ่ ยกวันได้ร่วมเป็ นผูแ้ ปลด้วย และตรวจทานจากฉบับแปลภาษาญี่ป่ ุน
ด้วยกันกับพระธรรมาจารย์ฮุ่ยอิน

5.4 ฉบับอิ เล็กทรอนิ กส์ของจวงชุนเจียงหรือฉบับคัมภีรจ์ ตุนิกายแปลจีน (汉译四部)

ปั จ จุ บ ัน นักวิช าการชาวไต้หวัน ที่ม ีน ามว่ า Zhuang Chun Jiang ( 庄春江) ได้ทาการแปล


พระไตรปิ ฎกบาลีเป็ นจีนตัวเต็มลงบนเว็บไซด์ https://agama.buddhason.org/ ในหัวข้อทีว่ ่า แปลจีน
4 คัมภีรน์ ิกาย จากการทาความศึกษาเข้าใจพระบาลีดว้ ยตนเอง (汉译四部, 简易巴利经文解读自
学) ปั จจุบน ั มีผลงานแปลทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตนิกาย และอังคุตตรนิกาย30 โดยจวงชุนเจียงได้
ให้คาอธิบายเพิม่ เติมในงานแปลของเขาถึงส่วนทีเ่ ทียบเคียงกับอาคมะได้เพื่อช่วยในการแปลของเขา
แต่เขายอมรับว่าการศึกษาคัมภีรอ์ าคมะนัน้ บางทีคาแปลจีนโบราณในคัมภีรอ์ าคมะก็ยากมาก และ
เป็ นการแปลมาจากภาษาอินเดียอีกที การแปลภาษาบาลีทาให้เขาเข้าใจสิง่ ทีพ่ ระพุทธเจ้าสือ่ มากขึน้
นอกจากนี้จวงชุนเจียงได้อาศัยฉบับแปลภาษาอืน่ เข้ามาช่วยในงานแปลของเขาอีกด้วย

6. สรุป
พระไตรปิ ฎกภาษาจีนมีประวัติความเป็ นมาที่ยาวนาน และผ่านความทุ่มเทของผู้คนที่ม ี
จิต ศรัท ธาจ านวนมาก นั บ ตัง้ แต่ พ ระภิก ษุ ช าวต่ า งชาติผู้ท่ีเ รีย นรู้ ท่ อ งจ า อุ ทิศ ตนเดิน ทางจาก
บ้านเกิดเมืองนอนสู่ประเทศจีน และได้แปลสิง่ ทีท่ ่องมาเป็ นภาษาจีนร่วมกับชาวท้องถิน่ เมื่อพานัก
ทีจ่ นี เป็ นเวลานาน มีความสามารถทางภาษาจีนจึงแปลด้วยตัวท่านเอง หรือพระภิกษุชาวจีนทีเ่ ดินทาง
รอนแรมข้ามทะเลทรายไปอินเดียเพือ่ นาพระคัมภีรก์ ลับมาในหลายยุคหลายสมัย อุทศิ ชีวติ แม้ไม่รวู้ ่า
จะเอาชีวติ กลับมาถึงแผ่นดินจีนได้หรือไม่ เมื่อกลับมาก็ยงั คงทางานอย่างทุ่มเทในการแปลพระสูตร
เหล่านัน้ ตลอดจนขัน้ ตอนการแปลยังต้องอาศัยผูค้ นและกาลังทรัพย์อกี มากมาย และเมื่อแปลเสร็จ
ผูม้ จี ติ ศรัทธาและมีความรูท้ งั ้ หลายได้ทุ่มเทกันในการคัดลอกพระสูตรเพื่อเผยแผ่ไปในวงกว้าง เมื่อมี
วิวฒ ั นาการการพิมพ์ในราชวงศ์ซ่งจึงมีการแกะสลักแผ่นแท่นพิมพ์ไม้ ซึง่ การแกะสลักเหล่านี้ตอ้ งอาศัย
ฝี มอื และความอดทน กล่าวคือต้องแกะสลักกลับด้านและหากแกะสลักผิดแม้ตวั เดียวก็ต้องแกะใหม่

30 汉译四部 , 简易巴利经文解读自学. (n.d.). Retrieved February 25, 2021, from

https://agama.buddhason.org/.
122 เรื่องเล่าพระไตรปิฎก

ทัง้ แผ่น ความทุ่มเทเหล่านี้ไม่ได้ทาเพียงแค่หลักร้อยแผ่น แต่จดั ทากันเป็ นหลักหมื่นแผ่น ใช้เวลา


ที่ทุ่มเทในการทางานหลายสิบปี บางฉบับใช้เวลาเกือบครึ่งชีวติ เมื่อ ทาเสร็จแล้วในสถานการณ์
ที่เ สี่ย งต่ อ ภัย บ้า นเมือ ง สงคราม และอัค คีภ ัย ซึ่ง ยัง ต้อ งมีผู้ค นอีก จ านวนมากที่พ ยายามรัก ษา
ธรรมรัต นะนี้ ไ ว้ ด้ว ยชีวิต จึง ท าให้พ ระไตรปิ ฎกดัง กล่ า วยัง คงหลงเหลือ สืบ ทอดมาจนปั จ จุ บ ัน
ยิง่ ระยะเวลาและความทุ่มเทในการทาพระไตรปิ ฎกมากเพียงใด การอ่านพระไตรปิ ฎกเหล่านี้ได้หมด
หรือเข้าใจอย่างถ่องแท้ก็ยงิ่ ไม่ได้งา่ ยไปกว่ากันเลย ดังนัน้ ไม่ว่าจะเป็ นการอ่าน การทาความเข้าใจ
การสนับ สนุ น การพิม พ์เ ผยแพร่ การเทศนาสังสอน ่ ล้ว นเป็ น บุ ญมหาศาลที่จ ะรักษาและยืด อายุ
พระพุทธศาสนานี้ไว้ให้กบั คนรุ่นหลังสืบไป ผูเ้ ขียนจึงขออนุ โมทนาบุญกับท่านผูอ้ ่านทีอ่ ่านเรื่องเล่า
พระไตรปิ ฎกแปลจีนมาจนจบบรรทัดสุดท้ายนี้ดว้ ย

รายการอ้างอิ ง
พระมหาสมชาย ฐานวุฑฺโฒ. (2558). สิกขาบทในพระปาฏิโมกข์เกิดขึน้ เมือ่ ใด. ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา, 1(1), 13-54.
พระมหาพงศ์ศกั ดิ ์ ฐานิโย (2558). พระอรหันต์ปัญญาวิมตุ ต้องอาศัยฌานสมาบัตใิ นการบรรลุธรรม
หรือไม่. ธรรมธาราวารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา, 1(1), 159-184.
เสถียร โพธินนั ทะ. (ม.ป.ป.). ประวัตพิ ระไตรปิ ฎกฉบับจีนพากย์. สืบค้นเมือ่ 5 มีนาคม 2521 จาก
http://www.dharma-gateway.com/ubasok/satien/ubasok-06.htm.
CBETA. (1998). Retrieved February 5, 2021, from https://www.cbeta.org/.
SAT. (1998). Retrieved February 5, 2021, from https://21dzk.l.utokyo.ac.jp/SAT/index_en.html.
J. Takakusu & K. Watanabe (eds.). (1924). The Taisho shinshu daizokyo (100 volumes). Tokyo:
Taisho shinshu daizokyo kanko kai.
中国文字学会(2015)《中国文字学报》第 6 辑,北京:商务印书馆。
中国收藏家协会,《大藏经》的由来. (n.d.). Retrieved February 7, 2021, from
http://www.sbksc.zcxn.com/html/xsydxszm/1017_991.html.
介子平. (n.d.). 两帙经卷 一段传奇——国宝《赵城金藏》的故事. Retrieved February 7,
2021, from https://www.sohu.com/a/431524779_523187.
日本南传大藏經的翻译. (2013). Retrieved February 5, 2021, from
http://palimagga.blogspot.com/2013/09/blog-post_327.html.
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสสู่ ากล” 123

王宁(2014)《民俗典籍文字研究》, 第 14 辑,北京:商务印书馆。
弘法藏. (n.d.). 中国百科全书 (佛教篇). Retrieved February 15, 2021, from
https://foxue.bmcx.com/hongfacang__foxued/.
汉译四部, 简易巴利经文解读自学. (n.d.). Retrieved February 25, 2021, from
https://agama.buddhason.org/.
刘德有,马兴国(1992):《中日文化交流事典》,沈阳:辽宁教育出版社。
向斯(2001)“中国佛经总集《大藏经》”,《紫禁城》04 期 : 13-16。
何梅(2001)“明《初刻南藏》研究”,《闽南佛学院学报》, 厦门 : 闽南佛学院学报
编辑部。
佛教导航《台湾元亨寺:汉译南传大藏经》. (2013). Retrieved February 25, 2021, from
http://www.fjdh.cn/wumin/2013/02/102805212501.html.
李圆净(1948):历代汉文大藏经概述《南行》, 06 期 ,上海:南行学社编印.
周绍良(2005)房山石经与“契丹藏”,载《北京辽金文物研究》
,北京燕山出版社。
高丽大藏经 高丽大藏经简介 送卡新闻. (2020). Retrieved February 15, 2021, from
https://www.daka5837.com/tiyuxinwen/44.html.
高丽大藏经初刻本辑刊(全 81 册). (2013). Retrieved February 15, 2021, from
https://book.douban.com/subject/21359464/.
乾隆大藏經全 168 冊. (2010). Retrieved March 5, 2021, from
https://bookssearching.pixnet.net/blog/post/31995929.
乾隆简介,《乾隆版大藏经》简介. (2019). Retrieved March 5, 2021, from
http://www.lyyouth.org/mrgs/2050.html.
扈石祥(2007)试论《赵城金藏》的研究,中国新时期思想理论宝库——第三届中国杰
出管理者年会成果汇编.
(1999)普宁寺版大藏经略考《佛学研究》08 期 : 219-225。
梶浦晋(日)刘建(译)
陳士強. (n.d.). 漢傳佛教目錄學小史. Retrieved February 7, 2021, from
http://enlight.lib.ntu.edu.tw/FULLTEXT/JR-MAG/mag256408.pdf.
漢文大藏經刊刻源流表. (n.d.). Retrieved February 15, 2021, from
http://buddhism.lib.ntu.edu.tw/DLMBS/sutra/chinese/dragon/html/intro.htm.

You might also like