You are on page 1of 14

ส่วน ระดับ

เบี่ยงเบน การส่ง
ข้ ค่าเฉลี่ย
ข้อมูลความเห็น มาตรฐา ผลและ
อ ()
น ต้องการ
(S.D.) แก้ไข
ปั จจัยที่ส่งผลต่อการสอบเข้า
๑ ตัวนักเรียนเอง 4.2 1.03 มาก
๒ สภาพสังคมของนักเรียน 3.3 1.06 ปาน
กลาง
๓ คุณภาพการสอนของโรงเรียน 3.6 1.07 มาก
๔ ปริมาณการบ้าน 3.7 0.95 มาก
๕ เวลาเรียน 3.8 0.79 มาก
๖ กิจกรรมที่โรงเรียนบังคับเข้า 3.7 0.82 มาก
ร่วม
๗ การกวดวิชา 3.4 1.17 ปาน
กลาง
แนวทางแก้ไขที่ต้องการ
๑ ปรับปรุงคุณภาพการสอนของ 4.8 0.42 มากที่สุด
โรงเรียน
๒ เพิ่มปริมาณการบ้าน 2.2 1.4 น้อย
๓ เพิ่มเวลาเรียน 2.7 1.06 ปาน
กลาง
๔ ลดกิจกรรมที่บังคับเข้าร่วม 3.9 0.88 มาก
ของโรงเรียน
๕ เชิญติวเตอร์มาบรรยายที่ 4.5 0.53 มากที่สุด
โรงเรียน
๖ สนับสนุนการกวดวิชานอก 3.7 1.42 มาก
โรงเรียน
ตารางที่ 1 ความคิดเห็นของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที 5 สายวิทย์-
คณิต เกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อ จำนวนนักเรียนที่สอบเข้ามหหา
วิทยาลัยของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม และแนวทางแก้ไขที่
ต้องการ ปี การศึกษา 2559

จากตารางที่ 1 พบว่าการสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที 5 สายวิทย์-คณิต เกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อจำนวน
นักเรียนที่สอบเข้ามหหาวิทยาลัยของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม
และแนวทางแก้ไขที่ต้องการ ปี การศึกษา 2559 จำนวน 104 คน พบ
ว่า ในส่วนของผลกระทบนักเรียนส่วนใหญ่มีความเห็นว่า ตัวนักเรียน
เอง ( x =4.2) คุณภาพการสอนของโรงเรียน ( x =3.6) ปริมาณการบ้าน
( x =3.7) เวลาเรียน ( x =3.8) และกิจกรรมที่โรงเรียนบังคับเข้าร่วม ( x
=3.7) มีผลมาก สภาพสังคมของนักเรียน ( x =3.8) และการกวดวิชา (
x =3.4) มีผลปานกลาง ในส่วนของแนวทางแก้ไข พบว่า การปรับปรุง
คุณภาพการสอนของโรงเรียน ( x =4.8) และการเชิญติวเตอร์มา
บรรยายที่โรงเรียน ( x =4.5) มีความต้องการมากที่สุด การเพิ่มปริมาณ
การบ้าน ( x =2.2) มีความต้องการน้อย

ข้ ข้อมูลความเห็น ค่าเฉลี่ย ส่วน ระดับ


() เบี่ยงเบน การส่ง
มาตรฐา ผลและ
อ น ต้องการ
(S.D.) แก้ไข
ปั จจัยที่ส่งผลต่อการสอบเข้า
๑ ตัวนักเรียนเอง 3.7 0.67 มาก
๒ สภาพสังคมของนักเรียน 3.1 0.57 ปาน
กลาง
๓ คุณภาพการสอนของโรงเรียน 2.6 0.84 ปาน
กลาง
๔ ปริมาณการบ้าน 2.5 0.97 ปาน
กลาง
๕ เวลาเรียน 2.9 0.99 ปาน
กลาง
๖ กิจกรรมที่โรงเรียนบังคับเข้า 2.8 0.63 ปาน
ร่วม กลาง
๗ การกวดวิชา 3.4 0.52 ปาน
กลาง
แนวทางแก้ไขที่ต้องการ
๑ ปรับปรุงคุณภาพการสอนของ 3.5 0.71 มาก
โรงเรียน
๒ เพิ่มปริมาณการบ้าน 2.2 0.79 น้อย
๓ เพิ่มเวลาเรียน 1.5 0.85 น้อย
๔ ลดกิจกรรมที่บังคับเข้าร่วม 2.4 0.7 น้อย
ของโรงเรียน
๕ เชิญติวเตอร์มาบรรยายที่ 2.8 0.92 ปาน
โรงเรียน กลาง
๖ สนับสนุนการกวดวิชานอก 3 0.94 ปาน
โรงเรียน กลาง
ตารางที่ 2 ความคิดเห็นของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที 5 สายศิลป์
เกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อ จำนวนนักเรียนที่สอบเข้ามหหา
วิทยาลัยของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม และแนวทางแก้ไขที่
ต้องการ ปี การศึกษา 2559

จากตารางที่ 2 พบว่าการสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนชัน ้
มัธยมศึกษาปี ที 5 สายศิลป์ เกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อ จำนวนนักเรียน
ที่สอบเข้ามหหาวิทยาลัยของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม และ
แนวทางแก้ไขที่ต้องการ ปี การศึกษา 2559 จำนวน 61 คน พบว่า ใน
ส่วนของผลกระทบนักเรียนส่วนใหญ่มีความเห็นว่า ตัวนักเรียนเอง ( x
=3.7) มีผลกระทบมาก ส่วนข้อที่เหลือกระทบปานกลาง ในส่วนของ
แนวทางการแก้ไข พบว่า การปรับปรุงคุณภาพการสอนของโรงเรียน
( x =3.5) มีความต้องการมาก การเพิ่มปริมาณการบ้าน ( x =2.2) การ
เพิ่มเวลาเรียน ( x =1.5) และการลดกิจกรรมที่บังคับเข้าร่วมของ
โรงเรียน ( x =2.4) มีความต้องการน้อย

ข้ ข้อมูลความเห็น ค่าเฉลี่ย ส่วน ระดับ


() เบี่ยงเบน การส่ง

มาตรฐา ผลและ
น ต้องการ
(S.D.) แก้ไข
ปั จจัยที่ส่งผลต่อการสอบเข้า
๑ ตัวนักเรียนเอง 4.6 0.52 มากที่สุด
๒ สภาพสังคมของนักเรียน 4 1.15 มาก
๓ คุณภาพการสอนของโรงเรียน 4.1 0.88 มาก
๔ ปริมาณการบ้าน 3.8 1.40 มาก
๕ เวลาเรียน 3.7 0.67 มาก
๖ กิจกรรมที่โรงเรียนบังคับเข้า 3.4 0.84 ปาน
ร่วม กลาง
๗ การกวดวิชา 3.8 1.32 มาก
แนวทางแก้ไขที่ต้องการ
๑ ปรับปรุงคุณภาพการสอนของ 4.1 0.57 มาก
โรงเรียน
๒ เพิ่มปริมาณการบ้าน 1.6 1.07 น้อย
๓ เพิ่มเวลาเรียน 2.1 1.29 น้อย
๔ ลดกิจกรรมที่บังคับเข้าร่วม 3.2 1.23 ปาน
ของโรงเรียน กลาง
๕ เชิญติวเตอร์มาบรรยายที่ 3.7 0.67 มาก
โรงเรียน
๖ สนับสนุนการกวดวิชานอก 3.6 0.84 มาก
โรงเรียน
ตารางที่ 3 ความคิดเห็นของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที 5 A-
SMAT/SMAT เกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อ จำนวนนักเรียนที่สอบเข้า
มหหาวิทยาลัยของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม และแนวทางแก้ไขที่
ต้องการ ปี การศึกษา 2559

จากตารางที่ 3 พบว่าการสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปี ที 5 A-SMAT/SMAT เกี่ยวกับปั จจัยที่ส่ง
ผลต่อ จำนวนนักเรียนที่สอบเข้ามหหาวิทยาลัยของโรงเรียน
พิษณุโลกพิทยาคม และแนวทางแก้ไขที่ต้องการ ปี การศึกษา 2559
จำนวน 31 คน พบว่า ในส่วนของผลกระทบนักเรียนส่วนใหญ่มีความ
เห็นว่า ตัวนักเรียนเอง ( x =4.6) มีผลมากที่สุด กิจกรรมที่โรงเรียน
บังคับเข้าร่วม ( x =3.4) มีผลปานกลาง ในส่วนแนวทางแก้ไขที่ต้องการ
การปรับปรุงคุณภาพการสอนของโรงเรียน ( x =4.1) การเชิญติวเตอร์
มาบรรยายที่โรงเรียน ( x =3.7) และการสนับสนุนการกวดวิชานอก
โรงเรียน ( x =3.6) มีความต้องการมาก การเพิ่มปริมาณการบ้าน ( x
=1.6) และการเพิ่มเวลาเรียน ( x =2.1) มีความต้องการน้อย

ส่วน ระดับ
เบี่ยงเบน การส่ง
ข้ ค่าเฉลี่ย
ข้อมูลความเห็น มาตรฐา ผลและ
อ ()
น ต้องการ
(S.D.) แก้ไข
ปั จจัยที่ส่งผลต่อการสอบเข้า
๑ ตัวนักเรียนเอง 4.7 0.95 มากที่สุด
๒ สภาพสังคมของนักเรียน 3.6 0.97 มาก
๓ คุณภาพการสอนของโรงเรียน 4.0 0.82 มาก
๔ ปริมาณการบ้าน 3.8 1.03 มาก
๕ เวลาเรียน 3.5 0.71 มาก
๖ กิจกรรมที่โรงเรียนบังคับเข้า 3.6 1.17 มาก
ร่วม
๗ การกวดวิชา 3.8 1.03 มาก
แนวทางแก้ไขที่ต้องการ
๑ ปรับปรุงคุณภาพการสอนของ 4.1 1.29 มาก
โรงเรียน
๒ เพิ่มปริมาณการบ้าน 2.0 1.33 น้อย
๓ เพิ่มเวลาเรียน 2.7 1.34 ปาน
กลาง
๔ ลดกิจกรรมที่บังคับเข้าร่วม 3.4 1.51 ปาน
ของโรงเรียน กลาง
๕ เชิญติวเตอร์มาบรรยายที่ 3.5 1.18 มาก
โรงเรียน
๖ สนับสนุนการกวดวิชานอก 3.3 1.34 ปาน
โรงเรียน กลาง
ตารางที่ 4 ความคิดเห็นของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที 5 EP เกี่ยว
กับปั จจัยที่ส่งผลต่อ จำนวนนักเรียน ที่สอบเข้ามหหาวิทยาลัย
ของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม และแนวทางแก้ไขที่ ต้องการ ปี การ
ศึกษา 2559

จากตารางที่ 4 พบว่าการสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนชัน ้
มัธยมศึกษาปี ที 5 EP เกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อจำนวนนักเรียนที่สอบ
เข้ามหหาวิทยาลัยของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม และแนวทางแก้ไข
ที่ต้องการ ปี การศึกษา 2559 จำนวน 31 คน พบว่า ในส่วนของผลก
ระทบ นักเรียนส่วนใหญ่มีความเห็นว่า ตัวนักเรียนเอง ( x =4.7) มีผล
มากที่สุด ข้ออื่นที่เหลือมีผลมาก ในส่วนแนวทางแก้ไขที่ต้องการ การ
ปรับปรุงคุณภาพการสอนของโรงเรียน ( x =4.1) และการเชิญติวเตอร์
มาบรรยายที่โรงเรียน ( x =3.5) มีความต้องการมาก การเพิ่มปริมาณ
การบ้าน ( x =2.0) มีความต้องการน้อย

ส่วน ระดับ
เบี่ยงเบน การส่ง
ข้ ค่าเฉลี่ย
ข้อมูลความเห็น มาตรฐา ผลและ
อ ()
น ต้องการ
(S.D.) แก้ไข
ปั จจัยที่ส่งผลต่อการสอบเข้า
๑ ตัวนักเรียนเอง 4.3 0.45 มาก
๒ สภาพสังคมของนักเรียน 3.5 0.39 มาก
๓ คุณภาพการสอนของโรงเรียน 3.6 0.68 มาก
๔ ปริมาณการบ้าน 3.5 0.64 มาก
๕ เวลาเรียน 3.5 0.4 มาก
๖ กิจกรรมที่โรงเรียนบังคับเข้า 3.4 0.4 ปาน
ร่วม กลาง
๗ การกวดวิชา 3.6 0.23 มาก
แนวทางแก้ไขที่ต้องการ
๑ ปรับปรุงคุณภาพการสอนของ 4.1 0.53 มาก
โรงเรียน
๒ เพิ่มปริมาณการบ้าน 2 0.28 น้อย
๓ เพิ่มเวลาเรียน 2.3 0.57 น้อย
๔ ลดกิจกรรมที่บังคับเข้าร่วม 3.2 0.62 ปาน
ของโรงเรียน กลาง
๕ เชิญติวเตอร์มาบรรยายที่ 3.6 0.7 มาก
โรงเรียน
๖ สนับสนุนการกวดวิชานอก 3.4 0.32 ปาน
โรงเรียน กลาง
ตารางที่ ๕ ความคิดเห็นของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที ๕ เกี่ยวกับ
ปั จจัยที่ส่งผลต่อจำนวนนักเรียนที่ สอบเข้ามหหาวิทยาลัยของ
โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม และแนวทางแก้ไขที่ต้องการ
ปี การศึกษา ๒๕๕๙

จากตารางที่ ๑ พบว่าการสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที ๕ เกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อจำนวนนักเรียนที่สอบเข้า
มหหาวิทยาลัยของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม และแนวทางแก้ไขที่
ต้องการ ปี การศึกษา ๒๕๕๙ จำนวน 208 คน พบว่า ในส่วนของผลก
ระทบนักเรียนส่วนใหญ่มีความเห็นว่า กิจกรรมที่โรงเรียนบังคับเข้า
ร่วม ( x =3.4) มีผลปานกลาง ข้ออื่นที่เหลือมีผลมาก ในส่วนแนวทาง
แก้ไขที่ต้องการ การปรับปรุงคุณภาพการสอนของโรงเรียน ( x =4.1)
และการเชิญติวเตอร์มาบรรยายที่โรงเรียน ( x =3.6) มีความต้องการ
มาก การเพิ่มปริมาณการบ้าน ( x =2.0) และการเพิ่มเวลาเรียน ( x
=2.3) มีผลน้อย ซึ่งความเห็นทัง้ หมดคล้อยตามกัน
กราฟแสดงค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของนักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที
5 สายวิทย์-คณิต เกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อ จำนวนนักเรียนที่สอบ
เข้6ามหหาวิทค่
าเฉลี
ยาลั ย่ ความคิดย
ยของโรงเรี เห็นพิ
นของนั
ษณุโกลกพิ
เรียนสายวิ
ทยาคมท ย์และแนวทางแก้
-คณิต ไข
ที่ 5 ต้องการ ปี การศึกษา 2559

0
ปั จ จัยฯ แนวทางฯ

1 2 3 4 5 6 7

กราฟแสดงส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักเรียนชัน ้
มัธยมศึกษาปี ที 5 สายวิทย์-คณิต เกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อ
จำนวนนักเรียนที่สอบเข้ามหหาวิทยาลัยของโรงเรียนพิษณุโลก
พิทยาคม และแนวทางแก้ไขที่ต้องการ ปี การศึกษา 2559
ส ว่ นเบีย
่ งเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักเรียนสายวิท ย์-
1.6 คณิต
1.4

1.2

0.8

0.6

0.4

0.2

0
ปั จ จัยฯ แนวทางฯ

1 2 3 4 5 6 7

กราฟแสดงค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที
5 สายศิลป์ เกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อ จำนวนนักเรียนที่สอบเข้า
มหหาวิทยาลัยของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม และแนวทางแก้ไขที่
ต้องการ ปี การศึกษา 2559

ค่าเฉลีย ิ ป์
่ ความคิดเห็น ของนักเรียนสายศ ล
4

3.5

2.5

1.5

0.5

0
ปั จ จัยฯ แนวทางฯ

1 2 3 4 5 6 7
กราฟแสดงส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที 5 สายศิลป์ เกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อ
จำนวนนักเรียนที่สอบเข้ามหหาวิทยาลัยของโรงเรียนพิษณุโลก
พิทยาคม และแนวทางแก้ไขที่ต้องการ ปี การศึกษา 2559

ส ว่ นเบีย ิ ป์
่ งเบนมาตรฐานความคิดเห็นของนักเรียนสายศ ล
1.2

0.8

0.6

0.4

0.2

0
ปั จ จัยฯ แนวทางฯ

1 2 3 4 5 6 7

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง

ข้อเสนอแนะของนักเรียนระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ สาย
วิทย์-คณิต

 เวลาในการเรียนมาก แต่คุณภาพการสอนน้อย
 การสอนไม่ค่อยรู้เรื่องเปลี่ยนครูใหม่
 สภาพสังคมแย่มาก
 ควรลดงานของนักเรียนจะได้มีเวลาอ่านหนังสือ
 ทำเพื่อ ? ทำแล้วก็ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอะไรได้
ข้อเสนอแนะของนักเรียนระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ สาย
ศิลป์

 ควรลดปริมาณงานเวลาใกล้จบภาคเรียน
ข้อเสนอแนะของนักเรียนระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ A-
SMAT/SMAT
 ควรจัดการเรียนช่วงภาคฤดูร้อนให้การสอนจบไวๆ
 ควรจัดให้มีการประชุมผู้ปกครองในการแก้ปัญหาร่วม
ไม่ใช่เฉพาะห้อง A-SMAT ที่จะตัดสินในการยกเลิกการ
สอนช่วงฤดูร้อน ควรเรียกประชุมผู้ปกครองทุกห้อง
 อยากได้โรงอาหารใหม่ ! ขีน
้ กเยอะมาก ไม่ไหวแล้ว...
ข้อเสนอแนะของนักเรียนระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕ EP
 ดีมากครับ รักเลย
อภิปรายผลและสรุปผลการสำรวจ

จากผลการสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
๕ เกี่ยวกับปั จจัยที่ส่งผลต่อจำนวนนักเรียนที่สอบเข้ามหาวิทยาลัย
ของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมและแนวทางแก้ไขที่ต้องการ ปี
การศึกษา ๒๕๕๙ จำนวน ๒ o ๘ คน จะเห็นได้ว่านักเรียนส่วนใหญ่
พอใจมาก และความคิดเห็นคล้อยตามกัน ความคิดเห็นของนักเรียน
สายวิทย์-คณิตส่วนใหญ่มีความพอใจมาก ความคิดเห็นของนักเรียน
สายศิลป์ มีความพอใจปานกลาง ความคิดเห็นของนักเรียน A-
SMAT/SMAT มีความพอใจมาก ความคิดเห็นของนักเรียน E.P. มี
ความพอใจมาก

ความเห็นที่นักเรียนมีความคิดเห็นคล้อยตามกันทัง้ หมดคือ
ปั จจัยที่ส่งผลต่อการสอบเข้ามากที่สุด คือ ตัวนักเรียนเอง และ
แนวทางแก้ไขที่อยากให้แก้ไขมากที่สุด คือ การปรับปรุงคุณภาพการ
สอนของโรงเรียน ทางด้านข้อเสนอแนะส่วนใหญ่ นักเรียนอยากให้
ลดปริมาณงานของนักเรียนและปรับปรุงการเรียนการสอนให้ดีขน
ึ ้ ทัง้
ด้านคุณภาพและด้านเวลา

You might also like