You are on page 1of 20

ชุดวิชา 33303

นโยบายสาธารณะและการวางแผน

หน่วยที่ 1
แนวคิดและการศึกษา
นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 1 การนิยาม ความสำคัญ และประเภทนโยบายสาธารณะ
วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลักษณา ศิริวรรณ
สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ลักษณะสำคัญ

เป็นสิ่งที่รัฐบาลตัดสินใจกระทำ
หรือไม่กระทำ

มาจากการตัดสินใจของรัฐบาล
กำหนดวัตถุประสงค์และแนวทาง ในทุกระดับ
ดำเนินการกว้าง ๆ

มีตัวแสดงทั้งที่เป็นทางการ ส่งต่อส่วนรวมและการแก้ไข
และไม่เป็นทางการ ปัญหาสาธารณะ
ความสำคัญ

ด้านการบริหาร ด้านการตอบสนอง
ความต้องการของประชาชน
และพัฒนาประเทศ
และแก้ไขปัญหาสาธารณะ
ตัวอย่างการแบ่งประเภทของนโยบาย
สาธารณะจำแนกตามมิติต่าง ๆ

มิติ
มิติผลประโยชน์ที่ได้รับ

ประเภทของนโยบายสาธารณะ
นโยบายสาธารณะเชิงวัตถุ
นโยบายสาธารณะเชิงสัญลักษณ์ (จิตวิทยา)
ชุดวิชา 33303
นโยบายสาธารณะและการวางแผน

หน่วยที่ 1
แนวคิดและการศึกษา
นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 2 กระบวนการ ตัวแสดง และจริยธรรมนโยบายสาธารณะ
วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลักษณา ศิริวรรณ
สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ขั้นตอนหลักในกระบวนการ
นโยบายสาธารณะ
ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดนโยบายสาธารณะ

ขั้นตอนที่ 2 การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ

ขั้นตอนที่ 3 การประเมินนโยบายสาธารณะ

ขั้นตอนที่ 4 การเปลี่ยนแปลง การพัฒนา


หรือการยุตินโยบายสาธารณะ
ตัวแสดงนโยบายสาธารณะ
01 ฝ่ายนิติบัญญัติ 06 สื่อมวลชน

02 ฝ่ายบริหาร 07 พรรคการเมืองและที่ปรึกษา
ด้านการเมือง
03 หน่วยงานของรัฐ 08 กลุ่มผลประโยชน์
และเจ้าหน้าที่ของรัฐ
04 ฝ่ายตุลาการ 09 สถาบันการศึกษา
และสถาบันวิจัย
05 ประชาชน 10 เครือข่ายนโยบายสาธารณะ
จริยธรรมนโยบายสาธารณะ
ประการที่ 1 ความโปร่งใส

ประการที่ 2 ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้

ประการที่ 3 การมีส่วนร่วม

ประการที่ 4 การสนองตอบความต้องการ
ของประชาชน
จริยธรรมนโยบายสาธารณะ
ประการที่ 5 ความเป็นธรรม

ประการที่ 6 ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

ประการที่ 7 การยึดฉันทามติ

ประการที่ 8 นิติธรรม
ชุดวิชา 33303
นโยบายสาธารณะและการวางแผน

หน่วยที่ 1
แนวคิดและการศึกษา
นโยบายสาธาณะ
ตอนที่ 3 สำนักคิด การศึกษาวิจัย และบทวิเคราะห์การศึกษา
วิจัยนโยบายสาธารณะ
วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลักษณา ศิริวรรณ
สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สำนักคิดนโยบายสาธารณะ

สำนักคิด
นโยบายศึกษา

ลักษณะสำคัญ
หาความรู้เกี่ยวกับกระบวนการนโยบายเพื่อสร้างความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะในลักษณะเชิง
พรรณนา (descriptive approach) เพื่อสร้างความรู้
เกี่ยวกับนโยบาย มีลักษณะเป็นกิจกรรมทางวิชาการ
(academic activities)
นำวิธีการศึกษาจากสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์
มาพรรณนาหรืออธิบายเพื่อสร้างหลักการ แนวคิด
ตัวแบบ และทฤษฎีนโยบาย (model study)
สำนักคิดนโยบายสาธารณะ

สำนักคิด
นโยบายศึกษา

ลักษณะสำคัญ
ให้ความสำคัญกับขั้นตอนการกำหนดนโยบาย
และผลลัพธ์หรือผลกระทบของนโยบาย
นโยบายสาธารณะเป็นผลผลิตของระบบ
การเมือง
นักรัฐศาสตร์นิยมใช้ โดยศึกษาเป็นกรณีศึกษา
สำนักคิดนโยบายสาธารณะ

สำนักคิด
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ

ลักษณะสำคัญ
หาความรู้ในกระบวนการนโยบาย เพื่อเสนอแนะ
(prescriptive approach) และพัฒนานโยบาย
ประยุกต์ใช้เทคนิค ระเบียบวิธี และศาสตร์หลายแขนง
ให้ความสำคัญกับขั้นตอนการกำหนดนโยบาย
การนำนโยบายไปปฏิบัติ และการประเมินผลนโยบาย
สามารถดำเนินการก่อน หลังการนำไปปฏิบัติ
หรือตลอดเวลา
สำนักคิดนโยบายสาธารณะ

สำนักคิด
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ

ลักษณะสำคัญ
มีหลายประเภท
- เชิงประจักษ์ เชิงประเมิน หรือเชิงปทัสถาน
- เชิงวิทยาศาสตร์ เชิงวิชาชีพ หรือเชิงการเมือง
มีทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
สำนักคิดนโยบายสาธารณะ

สำนักคิด
การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ

ลักษณะสำคัญ
นักรัฐประศาสนศาสตร์นิยมใช้
เป็นวิชาชีพสาขาหนึ่ง
การอภิปรายมีเหตุผลมากกว่าใช้วาทศิลป์
ทางการเมือง
การศึกษาวิจัยนโยบายสาธารณะ
การศึกษาวิจัยที่เน้นการสร้างองค์ความรู้
เพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณะ

การจัดตั้งสภาที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจเพื่ อ
ระดมนักวิชาการมาช่วยกำหนดนโยบาย
สาธารณะในสหรัฐอเมริกาและเริ่มมีการ
สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ
เพื่ อใช้แก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในขั้นตอนของการ
กำหนดนโยบายสาธารณะด้วยวิธีการศึกษา
เชิงคุณภาพและกรณีศึกษา
การศึกษาวิจัยนโยบายสาธารณะ
การศึกษาวิจัยที่เน้นการขยายองค์ความรู้

การขยายตัวของการศึกษาวิจัยนโยบาย
สาธารณะผ่านการจัดตั้งองค์การ การจัดทำ
หลักสูตรและการเผยแพร่ผลงานวิชาการ
การศึกษากระบวนการนโยบายสาธารณะที่
ครอบคลุมขั้นตอนการกำหนดนโยบาย
สาธารณะ การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ
การประเมินผลนโยบายสาธารณะ โดยให้
ความสำคัญกับการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ
และแนวทางการศึกษาวิจัยแบบปฎิฐานนิยม
มากขึ้น
การศึกษาวิจัยนโยบายสาธารณะ
การศึกษาวิจัยที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้

มีการศึกษาวิ จั ยในมุมมองใหม่ ๆ การศึกษา


แบบผสมผสาน (mixed method)
ทั้ งเทคนิคเชิงคุณภาพและปริมาณ
แนวการศึกษาแบบหลั งปฏิ ฐานนิยม
(post-positivism approach)
และทฤษฎี วิ พากษ์ เพื่ ออธิบาย
ปรากฏการณ์ในกระบวนการนโยบาย
สาธารณะ
บทวิเคราะห์การศึกษาวิจัยนโยบายสาธารณะ
01 เกิดประโยชน์เชิงทฤษฎีและนโยบายจำกัด 04 มีลักษณะอัตวิสัย หลักฐานเชิงประจักษ์จำกัด
เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลไม่หลากหลาย

02 แยกส่วน 05 วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ฝ่ายการเมือง
หรือหน่วยงานของรัฐกำหนดขึ้น

03 จำกัดอยู่ที่บางตัวแบบและศึกษาวิจัย 06 การศึกษาวิจัยแบบปฏิฐานนิยมไม่สามารถ
ไม่ต่อเนื่อง ให้คำตอบต่อปัญหาสาธารณะได้เพียงพอ
แนวทางการพัฒนาการศึกษาวิจัย
นโยบายสาธารณะ
แนวทางที่ 1 แนวทางที่ 2

ควรให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหา ควรคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างขั้นตอน
สาธารณะ การพัฒนานโยบาย และการ ต่าง ๆ ในกระบวนการนโยบายสาธารณะ
สนับสนุนการสร้างทฤษฎี

แนวทางที่ 3 แนวทางที่ 4

ควรพัฒนาตัวแบบใหม่ที่เหมาะสมกับ ควรให้ความสำคัญกับการศึกษาวิจัยแบบผสม
บริบทของแต่ละประเทศ และใช้องค์ความ ผสานบนพื้นฐานของข้อมูลเชิงประจักษ์
รู้เชิงสหวิทยาการ เก็บรวบรวมข้อมูลจากหลายแหล่ง และพัฒนา
เป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้
มีข้อมูลทั้งเชิงอัตวิสัยและภววิสัย และนำใช้
ประโยชน์ในการพัฒนานโยบาย

You might also like