You are on page 1of 16

ชุดวิชา 33303

นโยบายสาธารณะและการวางแผน

หน่วยที่ 3
การวิเคราะห์
นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 1 พัฒนาการ ขอบเขตการวิเคราะห์ และจริยธรรม
ของการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
วิทยากรโดย อาจารย์ ดร.พิชยา ชวากร
สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พัฒนาการ
เริ่มจากแนวคิดการตัดสินใจแบบมีเหตุผล ประยุกต์ความรู้
ด้านคณิตศาสตร์ สถิติและโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นำมาเป็นแนวทางจัดสรรงบประมาณ
ขอบเขตการวิเคราะห์จำแนก
ตามแนวทางการศึกษา (Dunn, 1944:63)

แนวทาง/ แนวทางเชิงประจักษ์ แนวทาง/ แนวทางเชิงประเมิน แนวทาง/ แนวทางเชิงปทัสถาน


ขอบเขต ขอบเขต ขอบเขต

คำถาม สิ่งหรือสิ่งที่จะเกิดขึ้นนั้น คำถาม คุณค่าของสิ่งนั้น คำถาม สิ่งที่ควรดำเนิน


คืออะไร ความเป็น คืออะไร ประสบ คืออะไร
เหตุผลของนโยบาย ความสำเร็จ/ล้มเหลว

ประเภท การพรรณนา ประเภท คุณค่า ประเภทของ ข้อเสนอแนะ


ของข้อมูล และการทำนาย ของข้อมูล ข้อมูล
จริยธรรมของการวิเคราะห์

ความซื่อสัตย์ หลักการให้ความเคารพ :
การปฏิบัติต่อบุคคลอื่นให้เหมือน
เช่นที่ต้องการให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อตน
หลักสมรรถนะ
หลักแห่งความใส่ใจ :
ผู้ซึ่งเป็นเป้าหมาย ผู้ได้รับผลกระทบ
หลักความรับผิดชอบ
ชุดวิชา 33303
นโยบายสาธารณะและการวางแผน

หน่วยที่ 3
การวิเคราะห์
นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 2 แนวทางและกระบวนการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
วิทยากรโดย อาจารย์ ดร.พิชยา ชวากร
สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
แนวทางการ แนวทางที่ 1 : แนวทางกระบวนการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล

วิเคราะห์นโยบาย ใช้เหตุผลและข้อมูลเพื่อทางเลือกที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด เปรียบเทียบทาง


เลือกต้นทุนและผลประโยชน์ นโยบายคือการตัดสินใจที่ฉลาดด้วยข้อมูลสำคัญ
สาธารณะ แนวทางที่ 2 : แนวทางเกมทางการเมือง
ใช้อำนาจและการเจรจาต่อรอง

แนวทางที่ 3 : แนวทางวาทกรรม

สร้างเวทีโต้เถียงจากกลุ่มต่าง ๆ การเรียนรู้และรับรู้ทัศนภาพระหว่างกัน

แนวทางที่ 4 : แนวทางหน้าต่างนโยบาย
การบรรจบกันของปัญหา มาตรการนโยบาย การเมือง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในเวลาที่เหมาะสม

แนวทางที่ 5 : แนวทางกระบวนการสถาบัน

นโยบายเป็นการผลิตซ้ำ มาตรการที่เคยมีอยู่เดิมซึ่งกำหนดโดยวัฒนธรรมของสถาบัน
กระบวนการวิเคราะห์ ขั้นตอนที่ 1 การระบุและวิเคราะห์ปัญหา :
ข้อเท็จจริง / ข้อคิดเห็น
นโยบายสาธารณะ
ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดทางเลือกนโยบาย

ขัีนตอนที่ 3 การพัฒนาเกณฑ์ในการประเมิน

ขั้นตอนที่ 4 การประเมินทางเลือก

ขั้นตอนที่ 5 การสรุปเสนอแนะ
การวิเคราะห์ฉากทัศน์
การฉายภาพอนาคตที่เป็นไปได้ของประเด็นที่ศึกษา และการนำภาพ
อนาคตมาเป็นฐานในการตัดสินใจ มี 5 ขั้นตอน ดังนี้

01 ระบุขอบข่ายของฉากอนาคต 04 สร้างฉากอนาคต

02 ระบุปัจจัยสำคัญ 05 นำไปสู่การประยุกต์

03 วิเคราะห์ปัจจัยสำคัญ
ที่มา : Kosow and GaBner (2008)
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง :
เป็นเครื่องมือการประเมินขอบเขตกลุ่มที่จะได้รับผลกระทบจากนโยบาย

การพัฒนาเป้าหมายกระบวนการวิเคราะห์ มีดังนี้

การระบุกลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
การตรวจสอบผลประโยชน์
การระบุรูปแบบและบริบทการมีปฏิสัมพันธ์
การประเมินอำนาจและศักยภาพ
การประเมินทางเลือกและใช้ประโยชน์จากข้อค้นพบ
ที่มา : (Mayers, 2001: 4-12)
การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์
ประยุกต์แนวคิดเศรษฐศาสตร์ทำให้ทราบคุ้มค่าของแต่ละทางเลือก จัดลำดับทางเลือกได้
เหมาะสม 8 ขั้นตอน (Mintrom, 2012: 225-245)

01 กำหนดขอบเขตของการศึกษา 05 คำนวณหามูลค่าที่แท้จริง

02 ระบุผลกระทบต่อนโยบาย 06 สะท้อนถึงคุณค่าของคุณภาพชีวิตและความเป็นมนุษย์

03 ประเมินต้นทุนและผลประโยชน์ 07 รายงานข้อสันนิษฐานและข้อจำกัด

04 คำนวณค่าเสียโอกาส 08 แสดงผลลัพธ์จากการสถานการณ์ที่หลากหลาย
ชุดวิชา 33303
นโยบายสาธารณะและการวางแผน

หน่วยที่ 3
การวิเคราะห์
นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 3 การศึกษาความเป็นไปได้ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
วิทยากรโดย อาจารย์ ดร.พิชยา ชวากร
สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ขั้นตอนการศึกษาความเป็นไปได้ด้านเศรษฐกิจ

ต้นทุนที่ไม่ชัดแจ้ง : เกิดจากโครงการส่งผลกระทบ
ต่อส่วนรวม โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้า ต้นทุนที่ไม่
ชัดแจ้ง ได้แก่

มลภาวะทางเสียง รบกวนการพักผ่อน
ของประชาชน
การขยายตัวของชุมชน เกิดสภาพความ
แออัดของชุมชนเพิ่มขึ้น
ร้านค้าบริเวณใต้ทางรถไฟฟ้ามีรายได้
จากการขายสินค้าลดลง จากปริมาณ
ของผู้เดินทางโดยรถยนต์ลดลง
การศึกษาความเป็นไปได้ด้านสังคม

การศึกษาผลลัพธ์ของโครงการในมิติด้านสังคม
โดยประชาชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
มีส่วนร่วมเพื่ อให้ทราบถึงสภาพของสังคม
ก่อนและหลังมีโครงการ แสวงหาแนวทาง
ลดผลกระทบเชิงลบ เสริมพลังชุมชนและผู้ที่ได้รับ
ผลกระทบมีพลังในการพึ่งพาตนเอง เพื่ อให้
โครงการมุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
การศึกษาความเป็นไปได้ด้านสังคม

01 02 03 04

การมีส่วนร่วม การระบุทางเลือก การศึกษาข้อมูลชุมชน การระบุขอบเขต


ของประชาชน

05 06 07 08

วิเคราะห์และประเมิน การกำหนดทางเลือก การบรรเทาผลกระทบ การติดตามผล


ผลกระทบ
การศึกษาความเป็นไปได้ด้านสิ่งแวดล้อม
การศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
(Environment Impact Assessment: EIA)

มีกฎหมายบังคับเป็นการเฉพาะ
การศึกษาผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม
ที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงการเสนอ
มาตรการหลีกเลี่ยง บรรเทาผลกระทบ
เพื่ อประเมินความเหมาะสมของโครงการ
มาตรการบรรเทาและจัดการ
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
แนวทางที่ 1 แนวทางที่ 2

การหลีกเลี่ยงควรพิจารณาลำดับแรก การทดแทน

ตัวอย่าง โครงการก่อสร้างถนน สามารถ ตัวอย่าง โครงการก่อสร้างเขื่อน


เบี่ยงเส้นทางของถนนออกไปเพื่อไม่ให้ มีมาตรการปลูกป่าทดแทนในบริเวณอื่น
กระทบต่อสิ่งสำคัญ

แนวทางที่ 3 แนวทางที่ 4

การลด การชดเชย

ตัวอย่าง โครงการทางด่วน ทำกำแพง ตัวอย่าง โครงการระบบบำบัดน้ำเสีย จ่าย


กันเสียงเพื่อไม่ไห้เสียงจากรถยนต์ไป ค่าชดเชยให้กับประชาชนที่ได้รับผลกระทบ
รบกวนผู้พักอาศัย

You might also like