You are on page 1of 7

วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล

ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2559 - 29 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

การศึกษาการตรวจติดตามระดับยา Vancomycin ในเลือด


: กรณีศึกษาโรงพยาบาลหัวหิน
ปฐมา โสภาช1 ,
วันดี สาเร็จ2 ,
ธนรัตน์ เวียงนนท์3

บทคัดย่อ บกพร่องจานวน 32 คน ผลการศึกษา การตรวจ


จากข้อมูลการประเมินและติดตามการใช้ ติ ด ตามระดั บ ยา Vancomycin ในเลื อ ด พบว่ า มี
ยาต้านจุลชีพ ปี พ.ศ. 2560 ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม ผู้ป่วยจานวน 11 คน (ร้อยละ 22.0) มีระดับยาใน
และหอผู้ ป่ ว ยศั ล ยกรรม ณ โรงพยาบาลหั ว หิ น เลือดอยู่ในช่วงการรักษา และผู้ป่วยจานวน 21 คน
พบว่า Vancomycin เป็นรายการยาที่มีปัญหาการ (ร้อยละ 43.0) มีระดับยาในเลือดอยู่ต่ากว่าช่วงการ
สั่งใช้ยา 3 อันดับแรก และเป็นยาที่ถูกกาหนดให้มี รักษา เมื่อวิเคราะห์ ปัญ หาด้า นการตรวจติ ด ตาม
การตรวจติดตามระดับยาในเลือดเพื่อกาหนดแบบ ระดั บ ยา พบว่ า มี ผู้ ป่ ว ยจ านวน 9 คน ได้ รั บ การ
แผนการให้ ย า Vancomycin ที่ เ หมาะสม เพื่ อ ตรวจติดตามระดับยาในเลือดในเวลาไม่เหมาะสม
ป้องกัน การเกิดอาการไม่พึงประสงค์ การวิจั ยนี้มี ในจานวนผู้ป่วยที่ทาการตรวจวัดระดับยา 49 คน
วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาปั ญ หาจากการได้ รั บ ยา แพทย์ให้การยอมรับและปรับขนาดยาตามระดับยา
Vancomycin ใ น ผู้ ป่ ว ย ป ร ะ เ ภ ท ผู้ ป่ ว ย ใ น ที่ตรวจวัดได้จานวน 42 คน (ร้อยละ 85.0) โดยสรุป
โรงพยาบาลหัวหิน เป็นการศึกษาวิจัยแบบย้อนหลัง ควรมีการตรวจติดตามระดับยาในเลือดในผู้ป่วยที่
เชิงพรรณนา ในผู้ป่วยที่พักรักษาตัว ณ หอผู้ป่วยใน ได้รับยา Vancomycin ทุกราย โดยมีการกาหนด
โรงพยาบาลหั ว หิ น ที่ ไ ด้ รั บ การรั ก ษาด้ ว ยยา ระบบการดาเนินงานและอธิบายขั้นตอนการตรวจ
Vancomycin เก็บข้อมูลในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. ระดับยาแก่แพทย์ พยาบาลให้ชัดเจน
2559 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2560 ค้ า ส้ า คั ญ : การตรวจวั ด ติ ด ตามระดั บ ยา, ยา
จากผู้ ป่ ว ยทั้ ง หมด 49 คน ที่ ไ ด้ รั บ ยา Vancomycin, ระดับยาต่้าสุดที่ได้ผลการรักษา,
Vancomycin แบ่งเป็น ผู้ป่วยที่มีค่าการทางานของ ระดับยาในเลือด
ไตปกติ จ านวน 17 คนและค่ า การท างานของไต
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2559 - 30 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

The study of Vancomycin monitoring system in Hua Hin hospital


Patama Sopach
Wandee Sumret
Thanarat Wiangnon

From data of antibiotic monitoring level in therapeutic range and 21 patients


year 2017 of medicine and surgery in-patient ( 43. 0% ) had Vancomycin level lower than
department Hua Hin hospital found that therapeutic range. The problems analysis of
Vancomycin was the third drugs that therapeutic drug monitoring had some
occurred problem in prescribing process and patients ( 9 patients) was received
needed therapeutic drug monitoring for inappropriate collecting time of blood for
treatment efficacy and prevent adverse drug assessment Vancomycin level. There were
reactions.To study types of problem which 49 patients that received therapeutic drug
occurred from therapeutic monitoring of monitoring which the doctor acceptance, 42
Vancomycin in in- patient Hua Hin hospital. patients ( 85. 0% ) were accepted from
We performed a retrospective descriptive doctor for adjustment dose of Vancomycin.
study in inpatient who received Vancomycin Therapeutic level monitoring was needed to
from January 2016 toMarch 2017 do in every patients who received
There were 49 patients that Vancomycin. Method and time of blood
received Vancomycin which divided into collecting time were important issues that
group normal renal function 17 patients and doctors and nurses need to know.
abnormal kidney function 32 patients The
result of the efficacy of treatment by Keyword : drug monitoring, Vancomycin,
assessment Vancomycin level. We found trough concentration, serum
that 11 patients (22.0%) had a Vancomycin concentration
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2559 - 31 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

ความเป็นมาและความส้าคัญ : ยาในเลื อ ดเพื่ อ ก าหนดแบบแผนการให้ ย าที่


Therapeutic Drug Monitoring เหมาะสม โดยปัญหาที่พบส่วนใหญ่จากการใช้ยา
(TDM)1,2,3 หรือการติดตามตรวจวัดระดับ ยาเป็ น Vancomycin คื อ ผู้ ป่ ว ยมี ค่ า การท างานของไตที่
ศาสตร์ของการใช้ข้อมูลทางเภสัชจลนศาสตร์มาใช้ บกพร่องระหว่างที่ได้รับยา โรงพยาบาลหัวหินจึงได้
ในการปรับขนาดยาให้เหมาะสม เนื่องจากผู้ป่วยแต่ มีการจัดตั้งและดาเนินงานตรวจติดตามระดับยาใน
ละรายอาจมี ร ะดั บ ยาที่ แ ตกต่ า งกั น ท าให้ ก าร เลือดของยา Vancomycin เริ่มเปิดให้บริการเดือน
ตอบสนองของผู้ป่วยต่อยาที่ไม่เป็น ไปตามเป้าหมาย มกราคม 2559 จนถึ ง ปั จ จุ บั น และเริ่ ม ท าแบบ
โดยเฉพาะยาที่มีช่วงการรักษาแคบและมีแนวโน้ม บั น ทึ ก การใช้ ย า Vancomycin มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง
ว่ า จะมี ก ารเปลี่ ย นแปลงพารามิ เ ตอร์ ท างเภสั ช ข้อมูลที่ได้จากการบันทึกนี้ สามารถนามา พัฒนา
จลนศาสตร์ได้ง่าย Vancomycin เป็นยาที่มี ง า น เ รื่ อ ง ก า ร ต ร ว จ ติ ด ต า ม ร ะ ดั บ ย า ใ ห้ มี
ระดับยาในเลือดในผู้ป่วยมีความแตกต่างกัน ในแต่ ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ละบุคคลค่อนข้างมาก รวมทั้งการมีความสั มพัน ธ์ วัตถุประสงค์การวิจัย :
ระหว่างระดับยากับผลการรักษาและพิ ษของยา จึง เพื่อศึกษาปัญหาระดับยาไม่อยู่ในช่วงการ
ควรมีการติดตามตรวจวัดระดับยา Vancomycinใน รั ก ษาและปั ญ หาการตรวจติ ด ตามระดั บ ยา
เลือด4 อย่างไรก็ตามการกาหนดระดับยาที่เป็นช่วง Vancomycin ในเลือด
การรั ก ษามี ก ารปรั บ เปลี่ ย นให้ เ หมาะสมกั บ
สถานการณ์เชื้อดื้อยา โดยระดับยาต่าสุดต้องสูงกว่า นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย :
ค่า MIC เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพในการรักษา แต่ไม่ ปัญหาระดับยาไม่อยู่ใ นช่วงการรั กษา :
ควรสูงเกินไปเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดพิษต่อไต แบ่งเป็น
การใช้ข้อมูล ทางด้านระดับยาในเลื อดมา 1. ระดับยาสูงกว่าช่วงการรักษา1 หมายถึง ระดับยา
ช่วยในการบริบาลผู้ป่วย จะทาให้ได้ผลการรั ก ษา Vancomycin ต่าสุด มีค่ามากกว่า 20 mg/L
ตามเป้าหมายได้เร็วขึ้นและยังช่วยป้องกันไม่ให้เกิด 2. ระดับยาต่ากว่าช่วงการรักษา 1 หมายถึง ระดับยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยาอีกด้วย จากข้อมูลการ Vancomycin ต่าสุด มีค่าน้อยกว่า 15 mg/L
ประเมินและติดตามการใช้ยาต้านจุลชีพ ปี 2560 ปั ญ ห า ก า ร ต ร ว จ ติ ด ต า ม ร ะ ดั บ ย า
ในหอผู้ป่วยอายุรกรรมและหอผู้ป่วยศัลยกรรม ณ Vancomycin ในเลื อ ด : หมายถึ ง ระบบงานหรือ
โรงพยาบาลหั ว หิ น ปี 2560 พบว่า Vancomycin ขั้ น ตอนในการปฏิ บั ติ ก ารตรวจติ ด ตามระดั บ ยาใน
เป็นรายการยาที่มีปัญหาการสั่งใช้ยา 3 อันดับแรก เลือด แบ่งเป็น
และเป็นยาที่ถูกกาหนดให้มีการตรวจติดตามระดับ 1. ปัญหาจากการวัดระดับยาไม่เหมาะสม
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2559 - 32 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

2. ข้อจากัดในด้านการตรวจวัดระดับยา เวลา 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ถึ ง 31 มี น าคม พ.ศ.


ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย : 2560
ช่ ว ยให้ ผู้ ป่ ว ยที่ ไ ด้ รั บ การรั ก ษาด้ ว ยยา
ผลการวิจัย :
Vancomycin ได้รับความปลอดภัยจากการใช้ยา ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยที่ได้รับการ
วิธีด้าเนินการวิจัย : รักษาด้วยยา Vancomycin
เป็นการศึกษาวิจัยแบบย้อนหลังเชิงพรรณนา ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยา Vancomycin มีทั้งสิ้น
(Retrospective descriptive study) ศึ ก ษาข้ อ มู ล 49 ราย เป็นเพศชาย 24 ราย ร้อยละ 48.97 มีอายุ
ระดับยาในเลือดและปัญหาที่เกิดขึ้นจากเวชระเบียน 61-80 ปี ร้อยละ 48.97รักษาตัวยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤต
ในระหว่างที่ผู้ป่วยได้รับยา Vancomycin ของผู้ป่วย ฉุกเฉิน (ICU) 11 ราย ร้อยละ 22.45 มีการทางานของ
ที่มานอนรักษาตัวในหอผู้ป่วย จานวน 49 คน ในช่วง ไตบกพร่อง 32 ราย ร้อยละ 65.31 รายละเอียดแสดง
ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 : ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยจาแนกตามจานวนและร้อยละ
ข้อมูลทั่วไป จานวนผู้ป่วย (N = 49 คน) ร้อยละ
เพศ
ชาย 24 48.97
หญืง 25 51.02
อายุ
15 – 20 ปี 1 2.04
20 – 40 ปี 9 18.37
41 – 60 ปี 13 26.54
61 – 80 ปี 24 48.97
81 – 90 ปี 2 4.08
หอผู้ป่วย
หออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต (ICU) 11 22.45
หอผู้ป่วยอายุรกรรม 23 46.94
หอผู้ป่วยศัลยกรรม 15 30.6
การทางานของไต
ระยะที่ 1 (CrCl = > 90 ml/min/1.73 m2) 17 34.69
ระยะที่ 2 (CrCl = 60 - 89 ml/min/1.73 m2) 3 6.12
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2559 - 33 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

ระยะที่ 3a (CrCl = 45 - 59 ml/min/1.73 m2) - -


ระยะที่ 3b (CrCl = 30 – 44 ml/min/1.73 m2) 4 8.16
ระยะที่ 4 (CrCl = 15 - 29 ml/min/1.73 m2) 4 8.16
ระยะที่ 5 (CrCl = < 15 ml/min/1.73 m2) 18 36.73
ไตวายเฉียบพลัน 3 6.12
สรุปภาพรวม
ผู้ป่วยที่มีการทางานไตปกติ 17 34.69
ผู้ป่วยที่การทางานของไตบกพร่อง 32 65.31
ตอนที่ 2 ผลการศึกษาปัญหาจากการได้รับยา Vancomycin ของผู้ป่วย
จากการศึกษาพบว่าปัญหาที่พบในการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
1. ปัญหาระดับยาไม่อยู่ในช่วงการรักษา พบว่ามีผู้ป่วยจานวน 11 คน (คิดเป็นร้อยละ 22.0) มีระดับยาใน
เลือดอยู่ในช่วงการรักษา และผู้ป่วยจานวน 21 คน (คิดเป็นร้อยละ 43.0) มีระดับยาในเลือดต่ากว่าช่วงการ
รักษา
2. ปัญหาการตรวจติดตามระดับ ยา Vancomycin ในเลือด พบว่ามีผู้ป่วยจานวน 9 คน ได้รับการตรวจ
ติดตามระดับยาในเลือดในเวลาไม่เหมาะสม แบ่งเป็น
2.1 ข้อจากัดในด้านการตรวจวัดระดับยาที่ทาได้เฉพาะวันพุธ จานวน 6 คน ร้อยละ 66.67
2.2 พยาบาลไม่ได้เจาะวัดระดับยาที่จุดต่าสุดของยา (trough level) หรือจุดสูงสุดของยา (peak level)
จานวน 3 คน ร้อยละ 33.33
รายละเอียดดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 : ผลการศึกษาปัญหาที่พบ
จานวนปัญหา ร้อยละ
ปัญหาด้านประสิทธิภาพการรักษา
ระดับยาสูงกว่าช่วงการรักษา (มากกว่า 20 mg/dL) 17 34.69
ระดับยาอยู่ในช่วงการรักษา (15 – 20 mg/dL) 11 22.45
ระดับยาต่ากว่าช่วงการรักษา (น้อยกว่า 15 mg/dL) 21 42.86
ปัญหาเชิงระบบ
ข้อจากัดในด้านการตรวจวัดระดับยาที่ทาได้เฉพาะวันพุธ 6 66.67
พยาบาลไม่ได้เจาะตามเวลาที่แพทย์สั่ง 3 33.33
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2559 - 34 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

ในจานวนผู้ป่วยที่ทาการตรวจวัดระดับยา ผู้ ป่ว ยกลุ่ มสุ ดท้ายที่มีระดับยาในเลือดสู งกว่าช่วง


49 คน แพทย์ให้การยอมรับและปรับขนาดยาตาม การรักษา ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะที่
ระดับยาที่ตรวจวัดได้จานวน 42 คน (คิดเป็นร้อยละ 3- 4 มี อ า ยุ ม า ก ก ว่ า 60 ปี แ ล ะ มี ค่ า serum
85) และ ไม่ปรับตามระดับยาที่ตรวจวัดได้จานวน 7 creatinine น้อยกว่า 1 mg/dL สาหรับปัญหาเชิง
คน (คิดเป็นร้อยละ 15) ระบบที่ พ บจากการศึ ก ษาในครั้ ง นี้ พ บว่ า ร้ อ ยละ
66.67 เป็ น ข้ อ จ ากั ด ของการตรวจวั ด ระดั บ ยาใน
อภิปรายผลการวิจัย : เลือดที่เปิดทาการ 1 วันต่อสัปดาห์(วันพุธ) ส่งผลให้
จากการศึ ก ษานี้ พ บว่ า ผู้ ป่ ว ยที่ ไ ด้ รั บ การ ผู้ป่วยบางรายที่ได้รับยาหลังวันพุธและได้รับยาไม่ถึง
รักษาด้วยยา Vancomycin 49 คน มีผู้ป่วยจานวน 7 วัน ไม่สามารถทาการตรวจวัดระดับยาในเลือดได้
11 คนที่มีระดับยาในเลือดอยู่ในช่วงการรักษา ซึ่ง หรือผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุ ดท้ายที่จาเป็น ต้ อง
ผู้ ป่ ว ยส่ ว นใหญ่ ที่ อ ยู่ ใ นกลุ่ ม นี้ เป็ น ผู้ ป่ ว ยที่ มี อ ายุ ได้รับการตรวจวัดระดับยาหลังได้ยาครั้งแรกไปแล้ว
ระหว่าง 21-30 ปี ไม่มีโรคประจาตัว และมีค่าการ 24 ชั่วโมง และผู้ป่วยบางรายได้รับยายังไม่ถึงระดับ
ทางานของไตปกติ ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีระดับยาต่ากว่า steady state จึงไม่สามารถส่งตรวจในวันพุธได้ อีก
ช่วงการรักษา ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะ ร้อยละ 33.33 เป็นปัญหาที่เกิดจากการกาหนดเวลา
สุดท้ายที่ได้รับการบาบัดทดแทนไต(การฟอกเลือด ที่ใช้เจาะวัดระดับยาในเลือดที่ไม่ถูกต้องจึงส่งผลให้
ด้ ว ยเครื่ อ งไตเที ย ม, การล้ า งไตทางช่ อ งท้ อ ง) ซึ่ ง การแปลผลระดับยาในเลือดไม่ถูกต้อง
ไม่ได้มีการตรวจวัดระดับยาในเลือดหลังจากได้รับ
ยา 24 ชั่วโมงในครั้งที่หนึ่ง สอดคล้องกับการศึกษา ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย :
เภสั ช จลนศาสตร์ และการตรวจติดตามระดั บ ยา 1. ควรมีการเพิ่มวันทาการเจาะวัดระดับยาใน
Vancomycin ในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย 5 เลื อดจาก 1 วันต่อสั ปดาห์ เป็น 2 วันต่อสั ป ดาห์
ผลการศึกษาพบว่า ที่เวลา 24 ชั่วโมงแรกหลังจาก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย
ได้รับยาในครั้งที่หนึ่ง มีผู้ป่วยถึงร้อยละ 52.85 ที่มี 2. ควรมี ก ารให้ ค วามรู้ แ ก่ บุ ค ลากรทาง
ระดับยาในซีรั่มต่ากว่า 15 มิลลิกรัม/ลิตร และ ร้อย การแพทย์ เ กี่ยวกั บ การตรวจวั ดระดั บยาในเลื อ ด
ละ 16.26 มีระดับยาในซีรั่มต่ากว่า 10 มิลลิกรัม/ โดยเน้ น ย้ าถึ ง ความส าคั ญ ของเวลาที่ ใ ช้ เ จาะวั ด
ลิตร ซึ่งต่ากว่าระดับความเข้มข้นต่าสุดในการรักษา ระดับยาในเลือด
ที่แนะนาโดยทั่วไป (10-15 หรือ 15-20 มิลลิกรัม/ 3. ในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับ
ลิ ต ร ) จึ ง ค ว ร มี ก า ร ต ร ว จ ติ ด ต า ม ร ะ ดั บ ย า การบาบัดทดแทนไต ควรทาการตรวจวัดระดับยา
Vancomycin ในซีรั่ม ใน 24 ชั่วโมงแรกหลังจากที่ หลังได้รับยาครั้งที่ 1 ไปแล้ว 24 ชั่วโมง
ได้รับยา เพื่อกาหนดแบบแผนการให้ยาที่เหมาะสม 4. ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังทุกระยะควรได้รับการ
ตามระดับยาที่วัดได้ในผู้ป่วยแต่ละรายต่อไป ส่วน ตรวจติดตามระดับยาในเลือดทุกค
วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล
ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2559 - 35 - Hua Hin Sook Jai Klai Kangwon Journal

เอกสารอ้างอิง คง, ปรีชา มนทกานติกุล. คู่มือเภสัชกร : การใช้ยา


1. อาภรณี ไชยาค า. การประยุ ก ต์ เ ภสั ช ต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ
จลนศาสตร์ในการติดตามตรวจวัดระดับยาในเลือด. : บริษัทประชาชน;2556. หน้า 321-35.
ใน: อาภรณี ไชยาคา, เด่นพงศ์ พัฒนเศรษฐานนท์ , 4. เชิ ด ชั ย สุ น ทรภาส. การติ ด ตามตรวจวัด
ศิริลักษณ์ ใจซื่อ. การประยุกต์เภสัชจลนศาสตร์ทาง ระดับยา Vancomycin. ใน: อาภรณี ไชยาคา, เด่น
คลินิก. พิมพ์ครั้งที่ 1. ขอนแก่น:โรงพิมพ์คลังนานา พงศ์ พั ฒ นเศรษฐานนท์ , ศิ ริ ลั ก ษณ์ ใจซื่ อ . การ
วิทยา;2556. หน้า 1-20 ประยุกต์เภสัชจลนศาสตร์ทางคลินิก. พิมพ์ครั้งที่ 1.
2. Therapeutic Monitoring of ขอนแก่ น :โรงพิ ม พ์ ค ลั ง นานาวิ ท ยา;2556. หน้ า
Vancomycin in Adult Patients: A Consensus 232-54.
Review of the American Society of Health- 5. ธีรพล บุตรพรม และคณะ. การศึกษาเภสัช
System Pharmacists, the Infectious Diseases จลนศาสตร์ และการตรวจติ ด ตามระดั บ ยา
Society of America, and the Society of Vancomycin ในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้าย.
Infectious Diseases Pharmacists. ASHP 6. Ye ZK, Chen YL, Chen K, et al.
Therapeutic Position Statements. Therapeutic drug monitoring of Vancomycin:
3. อาภรณี ไชยาค า. Therapeutic Drug a guideline of the Division of Therapeutic
Monitoring for Dosage Optimization. ใน วิ ชั ย Drug Monitoring, Chinese Pharmacological
สันติมาลีวรกุล, ชาญกิจ พุฒิเลอพงศ์, นิรันดร์ จ่าง Society. 2016

You might also like