You are on page 1of 38

บทที่ ๓

การสืบสวนหลังเกิดเหตุระเบิดของผู้กอ่ ความรุนแรง
ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
บทเรี ย นการก่ อเหตุระเบิ ด ในรูป แบบต่า งๆ ของผู้ก่ อความรุ นแรงในพื้ น ที่
จังหวัดชายแดนภายใต้
จากการศึ ก ษาและท าการเก็ บ รวบรวมข้ อ มูล รู ปแบบการก่ อ เหตุ ร ะเบิ ด ของกลุ่ ม
ผู้ก่อความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ทาให้สามารถสรุปเป็นบทเรียนที่ผู้ก่อความรุนแรง
มักจะใช้ก่อเหตุในรูปแบบต่างๆ ได้ดังนี้
๑. ยุทธวิธีการวางระเบิดแบบเร่งด่วน
ยุทธวิธีการวางระเบิด แบบเร่ง ด่วน คือ ยุทธวิธีที่ผู้ก่อความรุนแรงในพื้นที่จัง หวั ด
ชายแดนภาคใต้ ได้มีการพัฒนาขึ้นมาในช่วงปลายปี พ.ศ.๒๕๕๖ ใช้วิธีการนาวัต ถุระเบิด แสวงเครื่อง
ไปวางในพื้นที่สังหาร โดยใช้เวลาไม่นาน (ประมาณไม่เกิน ๓ ชั่วโมง) ก่อนที่เป้า หมายจะเข้า มาใน
พื้นที่สังหาร เพื่อป้องกันการถูกตรวจพบได้ก่อนหากวางไว้เป็นเวลานานๆ และรอเป้า หมายผ่า นมา
โดยมีปัจจัยในการก่อเหตุดังนี้
๑.๑ พฤติกรรมประจาของเป้าหมาย (เส้นทาง เวลา ยานพาหนะ ยุทธวิธี)
๑.๒ ภารกิจเปิดเผย คาดเดาการใช้เส้นทางได้ง่ายหรือเส้นทางบังคับ
๑.๓ แนวร่วมก่อเหตุในพื้นที่
๑.๔ ฝ่ายขานเป้า การเคลื่อนไหวของเป้าหมาย และเส้นทางที่จะใช้เวลาเคลื่อนตัว
๑.๕ ฝ่ายเก็บซ่อน IED (ระเบิดแสวงเครื่อง) และสิ่งที่ใช้ซุกซ่อนที่จะใช้ก่อเหตุ
๑.๖ คนนาไปวางและจุดระเบิด
๑.๗ การลาดตระเวนเส้น ทางของเจ้ า หน้ า ที่ผ่ า นแล้ว ไม่ มีการควบคุม จุด เสี่ย ง
หากต้องย้อนกลับเส้นทางเดิม
๑.๘ บริเวณพื้นที่ข้างทางยากต่อการขุดเจาะ เพื่อฝังระเบิดแสวงเครื่อง
๑.๙ สภาพด้านข้างเส้นทางมีกองวัสดุ วัชพืชปกคลุม หรือสิ่งก่อสร้างถาวร เอื้ออานวย
ต่อการซ่อนพรางระเบิดแสวงเครื่องเพื่อก่อเหตุ กรณีไ ม่มีสิ่ง ที่กล่า วมามักจะใช้วิธีการซุกซ่อนมากับ
ยานพาหนะแล้วนามาจอดทิ้งไว้ มาตรการการตรวจและคุมเส้นทางของเจ้า หน้า ที่ที่เคร่ง ครัด ทาให้
โอกาสในการวางระเบิดแสวงเครื่องล่วงหน้า เป็นเวลานานเพื่อรอก่อเหตุ อาจถูกตรวจพบและเก็บกู้
ทาลายก่อน
ตัวอย่างและรายละเอียดของเหตุการณ์
เหตุล อบวางระเบิด รถยนต์ ของเจ้า หน้า ที่อาสาสมั ค ร เมื่อวั นที่ ๒๔ ก.พ.๒๕๖๐
เหตุเกิดบริเวณพื้นที่ริมถนนสาย ๔๐๗๔ ทุ่งยางแดง-กะลาพอ ม.๓ ต.ปล่องหอย อ.กะพ้อ จว.ปัต ตานี
พิกัดทางภูมิศาสตร์ที่ QH ๗๙๐๓๖๑ ขณะที่เจ้าหน้าที่อาสาสมัค ร อ.ไม้แก่น จว.ปัต ตานี ขับรถยนต์
๗๔

จานวน ๓ คัน เดินทางกลับจากการฝึกอบรม อ.เมือง จว.ยะลา ได้มีค นร้า ยไม่ทราบชื่อและจ านวน


ลอบวางระเบิดแสวงเครื่อง บรรจุใ นถัง แก๊ส ขนาด ๑๕ กก. ซ่อนพรางไว้ใ นกระสอบใยสัง เคราะห์
บรรทุกอยู่บนรถจักรยานยนต์พ่วงข้าง สีน้าเงิน ซึ่ง จอดอยู่ริมถนนด้า นซ้า ยมือ โดยคนร้า ยใช้ยุทธวิธี
การวางระเบิดแบบเร่งด่วนต่อเป้าหมาย ที่มีพฤติกรรมในการใช้เส้นทางซ้าและต่อต้า นการใช้อุปกรณ์
รบกวนสัญญาณ โดยใช้การลากสายไฟยาวประมาณ ๑๕๐ เมตร จากใกล้หลุมระเบิด ไปยัง ต าบล
จุดระเบิดที่อยู่บนเขาที่เป็นสวนยาง สามารถตรวจการณ์การเคลื่อนที่ของเป้า หมายได้จ ากระยะไกล
ลักษณะการต่อสายไฟมีการลากสายไฟจากต าบลจุ ด ระเบิด มารอบบริ เวณ ห่า งจากหลุมระเบิ ด
ประมาณ ๕ เมตร ไว้ก่อน โดยซุกซ่อนสายไฟไว้ใ ต้วัชพืชและส่วนที่ห้อยผ่า นหน้า ผาดินใกล้ต าบล
จุด ระเบิ ด ซึ่ง มองไกลๆ จะคล้า ยกับรากไม้ เพื่ออาพรางการตรวจการณ์ และเมื่ อเป้า หมายผ่า น
จุดตรวจการณ์ของคนร้าย ก็จะมีอีกชุดหนึ่งนารถจักรยานยนต์ที่ประกอบระเบิด มาจอดที่หลุมระเบิด
และทาการต่อพ่วงสายไฟ รอเป้าหมายมาถึงที่เกิดเหตุ จึงทาการจุดระเบิด โดยแรงระเบิดทาให้รถยนต์
เสริมเกราะ ยี่ห้อมิตซูบิชิ สีขาว หมายเลขทะเบียน ๑ฒก-๘๙๐ กรุงเทพมหานคร ซึ่ง เป็นคันสุด ท้า ยที่
บรรทุกอาสาสมัคร ได้รับความเสียหายและเจ้าหน้าที่อาสาสมัครได้รับบาดเจ็บ จานวน ๖ นาย
ข้อพิจารณาเหตุการณ์
เมื่อเกิดเหตุหน่วยที่เกี่ยวข้องในพื้นที่รับผิดชอบ ได้สนธิกาลังเข้าทาพื้นที่ใ ห้ปลอดภัย
และร่วมกันตรวจเก็บพยานหลักฐานในที่เกิด เหตุ เพื่อนาไปสู่กระบวนการสืบสวนหลัง เกิด เหตุ และ
หาตัวผู้กระทาผิดต่อไป
ผลการตรวจสถานที่เกิดเหตุพบองค์ประกอบวัตถุระเบิด ดังนี้
๑. ภาชนะบรรจุ ชิ้นส่วนถังแก๊สหุงต้ม ขนาดบรรจุ ๑๕ กก. เมื่อประกอบเป็นวัตถุระเบิด
น้าหนักรวมประมาณ ๖๐-๙๐ กก.
๒. ใช้ระบบจุดระเบิด ด้วยระบบไฟฟ้า ควบคุมการจุดระยะไกลด้วยวิธีการลากสายไฟ
๓. แหล่งจ่ายพลังงาน (ไม่พบ)
๔. ดินระเบิดหลัก ใช้ดินระเบิดแรงสูงแบบผสมเอง
๕. ส่วนสังหารเหล็กเส้นตัดท่อนคละขนาดกัน
๖. อื่นๆ ได้แก่ สายไฟสีเทา ยาวประมาณ ๑๕๐ เมตร เทปพันสายไฟสีด า ชิ้นส่วน
กระสอบใยสังเคราะห์ (วัสดุอาพราง) ชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ ยี่ห้อฮอนด้า รุ่นเวฟ และชิ้นส่วนรถพ่วง
การวิเคราะห์เหตุการณ์
๑. มีการสืบสภาพและเลือกเป้า หมายที่จ ะลงมือปฏิบัติการ และการใช้เส้นทางที่
ผู้ก่อความรุนแรงค่อนข้างมีเสรีภาพในการเคลื่อนไหว
๒. ผู้ก่อเหตุมีการนาวัตถุระเบิด โดยใช้ถังแก๊สหุงต้มขนาดบรรจุ ๑๕ กก. เป็นภาชนะ
บรรจุ เมื่อประกอบระเบิดแสวงเครื่อง จะมีน้าหนักประมาณ ๖๐-๙๐ กก. จุด ระเบิด ด้วยระบบไฟฟ้า
ควบคุม จากระยะไกลด้ วยการลากสายไฟ โดยซุ กซ่ อนไว้ใ นถุ ง กระสอบใยสัง เคราะห์ วางไว้บ น
รถจักรยานยนต์พ่วงข้าง จอดไว้ข้างทางริมถนน เพื่ออาพรางการตรวจการณ์ ของเจ้าหน้าที่
๓. หาจุดที่ซุ่มและซ่อนตัวที่มองเห็นเป้า หมายได้ชัด เจน และสามารถตรวจการณ์
การเคลื่อนที่ ของเป้า หมายได้ จ ากระยะไกล ทาให้เพิ่มความแม่น ยาในการทาร้า ยเป้า หมาย และ
หลบหนีได้สะดวกหลังก่อเหตุ
๗๕

๔. มีการแบ่งหน้าที่กันทาเป็นฝ่าย
๔.๑ ชุด ตรวจการณ์แ ละขานเป้า หมายที่ผ่า นเข้า มาในเส้น ทางที่ กาหนดเป็ น
เส้นทางก่อเหตุ
๔.๒ ชุ ด ซ่ อนพรางยานพาหนะ วั ต ถุ ระเบิ ด และนามาวาง เมื่อ ได้ รับ แจ้ ง ว่ า
เป้าหมายเคลื่อนที่มาในพื้นที่สังหาร
๔.๓ ชุดจุดระเบิดและก่อเหตุซ้า เพื่อแย่งชิงอาวุธและยิงซ้าเป้าหมายที่รอดชีวิต
๔.๔ ชุดควบคุมสั่งการกาหนดยุทธวิธี
แนวทางการแก้ไข
๑. เมื่อจาเป็นต้องปฏิบัติภารกิจ ในลักษณะนี้ ควรใช้ยุทธวิธี การประสานกองกาลัง
ลาดตระเวนและควบคุมเส้นทาง โดยวางกาลังเป็นช่วงๆ เพื่อควบคุมจุดเสี่ยงและมีอุปกรณ์ตรวจการณ์
จากระยะไกล เพื่อเป็นการป้องกันการวางระเบิดแบบเร่งด่วน
๒. ในเส้นทางที่ปกติ เจ้าหน้าที่มักจะไม่ใช้เป็นเส้นทางสัญจรประจาและไม่มีการวาง
กองกาลังของเจ้าหน้าที่ตลอดเส้นทาง ทาให้เป็นเส้นทางที่ผู้เหตุ มีเสรี ภาพในการเคลื่อนไหว จึง ต้อง
อาศัยงานการข่าวพิสูจน์ทราบ AJAK และ SUPPORT SITE แล้วใช้กาลังเข้าปิดล้อมกดดัน เพื่อจับกุม
หรือสลายกองกาลัง รวมทั้งการ POP UP เพื่อสร้างความหวาดระแวงต่อกองกาลังฝ่ายผู้ ก่อความรุนแรง
และจากัดเสรีภาพการเคลื่อนไหว
๓. กรณีประสานกองกาลังลาดตระเวนและควบคุมเส้นทางไม่ไ ด้ใ ห้ รู้จักการสัง เกต
การจอดยานพาหนะข้างทางในลักษณะผิดปกติและมีพิรุธ โดยเฉพาะในเส้นทางผ่านที่บริเวณโดยรอบ
เป็นพื้นที่ห่างไกลชุมชน ซึ่งเข้าองค์ประกอบเป็นพื้นที่เสี่ยงและจุด ล่อแหลมต่อการก่ อเหตุโดยให้คิด
ย้อนแย้งแบบผู้ก่อการร้ายคือ พื้นที่นั้นสามารถปฏิบัติการได้ สามารถหลบหนีได้โดยง่ายหรือไม่ แล้ วหยุด
รถตรวจการณ์ เพื่อตรวจการณ์โดยละเอียด หากพบข้อพิรุธและสงสัยให้ดาเนินการประสานหน่วยงาน
ที่มีขีดความสามารถโดยตรงมาทาการพิสูจน์ทราบให้พื้นที่ปลอดภัย
๒. การก่อเหตุระเบิดชุดลาดตระเวนเส้นทาง
การก่อเหตุระเบิด โดยวิธีการจุด ระเบิด ด้วยระบบไฟฟ้า ชนิ ด ใช้สายไฟจุด ระเบิ ด
วางข้ามลาน้า ซึ่งก่อเหตุลอบวางระเบิดชุดลาดตระเวนเส้นทาง บริเวณ ต.บ้านแหร อ.ธารโต จว.ยะลา
เมื่อวันที่ ๑ ธ.ค.๒๕๕๔
รายละเอียดของเหตุการณ์
เมื่อวันที่ ๑ ธ.ค.๒๕๕๔ ขณะที่ชุด ปฏิบัติการตามแผนการรักษาความปลอดภัย ครู
ซึ่งแบ่งกาลังออกเป็น ๓ ชุด โดยให้ ๑ ชุด เป็นชุด ที่ใ ช้ยานพาหนะเดินทางร่วมไปกับคณะครู โดยมี
จุดนัดพบในเขตเมือง และจัด อีก ๒ ชุด เป็นชุด ลาดตระเวนเดินเท้า คุ้มครองเส้นทาง จากบริเวณ
ทางแยกถนนสาย ๔๑๐ ไปยั งโรงเรี ยนบ้ า นบั วทอง โดยกลุ่ ม เป้ า หมายในการก่ อ เหตุ ใ นครั้ ง นี้
เป็นชุด ลาดตระเวนเดินเท้า ที่มีฐ านปฏิบัติการตั้ง อยู่หลัง โรงเรียนบ้า นบัวทอง ขณะที่กาลัง ออกไป
ปฏิบัติภารกิจ ลาดตระเวนและคุ้มครองเส้นทาง เมื่อไปถึง จุด เกิด เหตุ ซึ่ง ห่า งจากฐานปฏิบัติการ
ประมาณ ๑ กม. โดยคนร้ายไม่ทราบชื่อและจานวนได้จุดชนวนระเบิด ขณะที่ชุดลาดตระเวนเส้นทาง
เดินผ่านแรงระเบิด ทาให้มีผู้เสียชีวิต ๑ คน เมื่อตรวจสอบพบว่า เป็นระเบิด แสวงเครื่องใช้ภาชนะ
๗๖

บรรจุเป็นกล่องเหล็กดัดแปลง น้าหนักประมาณ ๓ กก. จุดชนวนด้วยระบบไฟฟ้า ด้วยการวางสายไฟ


ข้ามลาน้าไปยังบริเวณป่าสวนยางบริเวณที่ใช้เป็นตาบลจุดระเบิด
ข้อพิจารณาและมาตรการ ในการป้องกันการลอบวางระเบิด โดยการวางสายไฟ
ข้ามล้าน้้า
๑. ผู้ก่อเหตุมีการพัฒนารูปแบบการวางระเบิดโดยใช้ระเบิด ขนาดเล็ก และวางแบบ
ลากสาย มุ่งทาร้ายชุดลาดตระเวนเดินเท้าและชุดลาดตระเวนเส้นทางโดยใช้จักรยานยนต์ ของหน่วย
ในพื้น ที่ เจ้ า หน้า ที่ ผู้ป ฏิบั ติจ ะต้ องเพิ่ ม รายละเอีย ดในการประเมิ นความเสี่ ยงและการคุ้ม ครอง
พื้นที่เสี่ยง
๒. ควรมีการจัดส่งกาลังเคลื่อนไหวในฝั่งไกล ขณะที่ชุดคุ้มครองเส้นทางปฏิบัติหน้า ที่
รวมทั้งการควบคุมบุคคลในพื้นที่เฝ้าระวัง
๓. การเคลื่อนย้ายหน่วยโดยใช้รถจักรยานยนต์มีค วามเสี่ยงเสมอ และการป้องกัน
ตนเองอยู่ในระดับต่า จึงควรหลีกเลี่ยง
บทเรียนจากเหตุการณ์
เส้นทางการเคลื่อ นที่ของชุ ด ลาดตระเวนจากฐานปฏิ บัติการไปคุ้มครองเส้นทาง
มีระยะทางไกล และสองข้า งทางเป็นป่า สวนยาง การเคลื่อนที่ด้วยรถจักรยานยนต์ และไม่มีกาลัง
เคลื่อนไหวตามสองข้างทาง จึงมีค วามเสี่ยงสูง ที่จ ะถูกลอบทาร้า ย ทั้ง ระเบิด และการใช้ ซุ่มยิง โจมตี
พึงหลีกเลี่ยงการใช้รถจักรยานยนต์
หากมีความจาเป็นจะต้องปฏิบัติภารกิจดังกล่าว การใช้ยานพาหนะควรเป็นรถยนต์
ขนาดใหญ่ หรือใช้การจรยุทธ์ ออกไปตั้ง ฐานลอยใกล้เส้นทาง เพื่อเพ่ง เล็ง บริเวณภูมิประเทศสาคัญ
ทางทหารตามสองข้ า งทาง และบริเวณปลายสายที่จ ากไปจุด ระเบิด มัก จะมีค วามเสี่ ย งต่อ การ
วางระเบิ ด ดักไว้ทาร้า ยเจ้า หน้า ที่ ใ นระลอกที่สอง หน่วยในพื้น ที่ต้อ งไม่เ ข้า ไปในบริเวณดัง กล่า ว
โดยจะต้องรอให้หน่วยที่มีหน้าที่โดยตรงคือ ชุดเก็บกู้และทาลายวัตถุระเบิด (EOD) เข้าไปดาเนินการ
๓. การลวงเพื่อก่อเหตุซ้า
การลวงเพื่ อก่ อ เหตุซ้ าคื อ ยุท ธวิธี ที่ผู้ ก่อ ความรุ นแรงใช้ ก่อ เหตุ โดยการกระท า
การสร้างความเสียหายที่ไม่มากนักในพื้นที่ต่า งๆ เช่น การเผายางรถบนพื้นถนน การแขวนป้า ยผ้า
เชิงสัญลักษณ์ การวางวัตถุต้องสงสัย ในลักษณะเพื่อสร้า งความตกใจ หวาดกลัว หรือ ให้เป็นที่สนใจ
แก่ประชาชนโดยทั่วไป เพื่อหวังให้เจ้า หน้า ที่ ที่เกี่ยวข้องเข้า ระงับเหตุ เพื่อตรวจสอบหรือทาให้ เป็น
พื้นที่ปลอดภัย และก่อเหตุต่อเจ้าหน้าที่ในระหว่างเส้นทางไปหรือกลับ หรือในบริเวณที่เกิดเหตุ โดยใช้
วิธีการซุ่มโจมตีทั้งยิงและหรือวางระเบิดในระหว่างเส้นทาง หรือการวางระเบิดในบริเวณที่เกิดเหตุ
ตัวอย่างและรายละเอียดของเหตุการณ์
เหตุยิงลวงและก่อเหตุระเบิด เจ้า หน้า ที่ชุด ลาดตระเวน ชุด เฉพาะกิจ ทหารพรานที่
๔๔๑๐ (ฉก.ทพ.๔๔๑๐) พื้นที่ ต.ปล่องหอย อ.กะพ้อ จว.ปัต ตานี เมื่อวันที่ ๑๐ มิ.ย.๒๕๕๙ เวลา
ประมาณ ๑๒.๓๐ น. ผู้ก่อเหตุได้ยิงปืนขึ้น บริเวณสะพานข้ามแม่น้าสายบุรี ม. ๕ บ.คอกวัว ต.ปล่องหอย
อ.กะพ้อ จว.ปัตตานี และต่อมาเวลาประมาณ ๑๓.๒๐ น. ผู้ก่อเหตุได้ลอบวางระเบิด เจ้าหน้าที่ทหารพราน
(ฉก.ทพ.๔๔๑๐) ขณะลาดตระเวนเดินเท้า จรยุทธ์ เพื่อเข้า ควบคุมพื้นที่เกิด เหตุ โดยใช้ยุทธวิธีการ
เดินเฉียงจากแนวถนนเข้าไปในพื้นที่ป่าข้างทาง บริเวณถนนสายคอกวัว-โลทู รอยต่อระหว่าง ม.๕-ม.๗
๗๗

ต.ปล่องหอย อ.กะพ้อ จว.ปัตตานี จนมาถึง ที่เกิด เหตุ ซึ่ง ก่อนถึง จุด ที่มีการยิง ปืน นั้น ขณะที่กาลัง จะ
ผ่านตาแหน่งที่คนร้ายลอบวางระเบิด ไว้ ได้มีค นร้า ยไม่ทราบชื่อและจ านวน จุด ระเบิด ที่ซ่อนพราง
ในกระสอบใยสังเคราะห์ซุกซ่อนไว้บริเวณไหล่ทาง ซึ่งคาดว่าต้องเป็นเส้นทางที่เจ้า หน้า ที่จ ะต้องผ่า น
หากใช้รูปขบวนยานยนต์ แต่ไม่มีผู้ใดได้รับบาดเจ็บ หน่วยที่เกี่ยวข้องในพื้นที่รับผิดชอบ ได้สนธิกาลังกัน
เข้ า ท าพื้ น ที่ ใ ห้ ป ลอดภั ย และเก็บ พยานหลั กฐานในที่ เ กิด เหตุ เพื่ อ น าไปสู่ กระบวนการสื บ สวน
หลังเกิดเหตุและหาตัวผู้กระทาผิดต่อไป
ผลการตรวจสถานที่เกิดเหตุพบองค์ประกอบวัตถุระเบิด ดังนี้
๑. ภาชนะบรรจุ เป็น ถัง แก๊ส หุง ต้ม ขนาดบรรจุ ๔ กก. น้ าหนั กรวมส่วนสัง หาร
เมื่อประกอบเป็นวัตถุระเบิดแสวงเครื่อง ประมาณ ๒๐-๒๕ กก.
๒. จุดระเบิด ด้วยระบบไฟฟ้าบังคับจุดระเบิดจากระยะไกล ด้วยวิทยุสื่อสาร
๓. แหล่งจ่ายพลังงานพบ แบตเตอรี่ขนาด ๑.๕ และ ๙ โวลต์ จานวน ๒ ก้อน
๔. ใช้ดินระเบิดแรงสูงแบบผสมเอง
๕. ส่วนสังหารพบ เหล็กเส้นตัดท่อนขนาด ๔ และ ๖ มม. ความยาวคละขนาดกัน
การวิเคราะห์เหตุการณ์
เป็ น การก่ อ เหตุ ล วงเพื่ อ ก่ อ เหตุ ซ้ าต่ อ เจ้ า หน้ า ที่ ใ นขณะเ ดิ น ทางเข้ า ที่ เ กิ ด เหตุ
แต่ฝ่ายเจ้าหน้าที่ไม่ใช้รูปขบวนยานยนต์ในการเข้าที่เกิดเหตุในครั้งแรก ผู้ก่อความรุนแรงจึง จุด ระเบิด
ในขณะที่ ชุ ด จรยุ ท ธ์ ที่ ก าลั ง เข้ า ที่ เ กิ ด เหตุ แ ต่ ค นละฝั่ ง ถนนกั น ท าให้ พ ลาดเป้ า หมายและไม่ มี
ผู้ได้รับบาดเจ็บ
๑. กลุ่มผู้ก่อความรุนแรงก่อเหตุลวง เพื่อให้เจ้า หน้า ที่ชุด ลาดตระเวนของ ฉก.ทพ.
๔๔๑๐ เข้าพื้นที่สังหาร ซึ่งผู้ก่อความรุนแรงใช้วัตถุระเบิดชนิดแสวงเครื่อง ภาชนะบรรจุถัง แก๊สหุง ต้ม
ขนาดบรรจุ ๔ กก. น้าหนักรวมเมื่อประกอบเป็นระเบิดแสวงเครื่อง ประมาณ ๒๐-๒๕ กก. จุด ชนวน
ระเบิดด้วยระบบไฟฟ้า ควบคุมการจุดระยะไกลด้วยวิทยุสื่อสาร ซุกซ่อนไว้บริเวณป่ารกข้างทาง
๒. มีชุดยิงก่อกวน เพื่อลวงให้เจ้าหน้าที่ลาดตระเวนออกตรวจสอบพื้นที่
แนวทางการแก้ไข
การตกเป็นเป้าหมาย โดยการสร้างโอกาสด้วยการก่อเหตุลวงเพื่อก่อเหตุซ้าในเส้นทาง
๑. ให้ทบทวนและเน้นย้ามาตรการการเข้าตรวจและควบคุมที่เกิดเหตุของทุกๆ หน่วย
หรือตามสั่งการของผู้บังคับบัญชา พร้อมทั้ง ให้สันนิษ ฐานและประเมินค่า อันตรายแต่ละเหตุ ให้อยู่
ในระดับสูงสุดเสมอ เพื่อป้องกันการก่อเหตุซ้าจากการลวงก่อเหตุหรือการก่อเหตุ และปฏิบัติการโจมตี
ต่อเจ้าหน้าที่ที่สนับสนุนภารกิจที่เกิดเหตุ
๒. จัดชุดลาดตระเวน จุดตรวจ-จุด สกัด และชุด ซุ่มเฝ้า ระวัง รวมทั้ง จ ากัด เสรีภาพ
ในการเคลื่ อนไหวและการพยายามก่ อ เหตุ ต่ อเป้ า หมายที่มี ก ารข่ า วความเคลื่อ นไหวของกลุ่ ม
ผู้ก่อความรุนแรง รวมถึงพื้นที่รอยต่อ
๓. จัดรูปขบวนเคลื่อนที่ใ ห้เหมาะสมตามสถานการณ์ โดยค านึง ถึง ผลที่ผู้ก่อ ความ
รุนแรงกระทาในเบื้องต้น มาประกอบการตัดสินใจในการจัดรูปขบวนเข้าที่เกิดเหตุ
๗๘

๔. การฟื้นฟูกาลังภาคประชาชนในการทาตั้ง ชุมชนเข้มแข็ง เพื่อคอยหาข่า วและ


สอดส่องความเคลื่อนไหวของผู้ก่อความรุนแรง รวมทั้ง การจ ากัด เสรีภาพในการเคลื่อนไหวในการ
ลงมือก่อเหตุ
๔. การใช้ยานพาหนะประกอบเป็นระเบิด
การใช้ยานพาหนะประกอบเป็นระเบิด ซึ่ง ผู้ก่อความรุนแรงก่อเหตุระเบิด รถยนต์
ของผู้บังคับกองร้อย (ผบ.ร้อย) ในเขต บ.แม่โอน ต.คอลอตันหยง อ.หนองจิก จว.ปัต ตานี เมื่อวันที่
๑๒ ส.ค.๒๕๕๕
รายละเอียดของเหตุการณ์
เมื่อวันที่ ๑๒ ส.ค.๒๕๕๕ เวลาประมาณ ๑๖.๒๐ น. ขณะที่ ผบ.ร้อย พร้อมกาลัง พล
รวม ๕ นาย ขับรถยนต์กระบะของทางราชการ เดินทางกลับจากการติด ต่อราชการที่ ค่า ยอิง คยุทธ
บริหาร อ.หนองจิก จว.ปัตตานี เพื่อกลับเข้าฐานปฏิบัติการ ซึ่งตั้งอยู่ที่ ต.เขาตูม อ.ยะรัง จว.ปัต ตานี
โดยใช้เส้นทางถนนสาย ๔๑๘ เมื่อเดินทางถึงท้ายสะพานในเขต บ.แม่โอน ต.คอลอตันหยง อ.หนองจิก
จว.ปัตตานี ได้มีค นร้า ยไม่ทราบชื่อและจ านวนจุด ชนวนระเบิด โดยใช้ระเบิด แสวงเครื่อง น้าหนัก
ประมาณ ๓-๕ กก. จุดชนวนระเบิดด้วยวิทยุสื่อสาร ติดตั้งไว้กับรถจักรยานยนต์ แล้วนามาจอดทิ้ง ไว้
บริเวณริมถนน แรงระเบิดทาให้เจ้าหน้าที่ทหารได้รับบาดเจ็บ จานวน ๕ นาย
ข้อพิจารณาจากเหตุการณ์
๑. เส้ นทางถนนหมายเลข ๔๑๘ เป็นเส้น ทางหลักที่ส ร้า งขึ้น เพื่อ ลดระยะทาง
การเดินทางข้ามจังหวัดระหว่าง จว.ปัตตานี และ จว.ยะลา ส่วนใหญ่บริเวณสองข้า งทางเป็นพื้นที่โล่ง
หมู่บ้านเป้าหมายมีน้อยและอยู่ห่า งไกลถนน รูปแบบการก่อเหตุมัก จะใช้รถจักรยานยนต์ประกอบ
ระเบิด ประสงค์ต่อเป้าหมายที่เป็นรถยนต์ของเจ้าหน้าที่ที่สามารถมองเห็นเด่นชัดได้จากระยะไกล
๒. การใช้ยานพาหนะของทางราชการหรือรถที่แสดงสัญลักษณ์ชัดเจนว่า เป็นรถของ
เจ้าหน้าที่ อาจจะถูกกลุ่มผู้ก่อความรุนแรงกาหนดเป็นเป้าหมายและถูกเกาะติด มาตั้ง แต่เดินทางออก
จากฐานแล้ว พลขับหรือผู้ที่นั่งอยู่เบาะด้า นหน้า ควรจะต้องใช้ไ หวพริบปฏิภาณอย่า งสูง ในการเป็น
ผู้ช่างสังเกตและระมัดระวัง รถจักรยานยนต์ หรือรถยนต์ ที่จอดอยู่ริมข้างทาง และหวาดระแวงว่าเป็น
รถต้องสงสัยที่ต้องตรวจสอบก่อน
๓. หน่วยที่รับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยเส้นทาง จะต้องหามาตรการในการ
ควบคุมการจอดยานพาหนะข้างทาง โดยขอความร่วมมือจากประชาชนที่มีบ้านเรือนที่ตั้งอยู่ริมข้างทาง
หรือประชาชนที่เข้าไปทาไร่ทาสวนข้างทาง ในการห้ามจอดยานพาหนะริมข้างทาง และหากตรวจพบ
ต้องเข้าตรวจสอบทันที
บทเรียนการก่อเหตุด้วยรถจักรยานยนต์ประกอบระเบิด
๑. กาหนดมาตรการการควบคุมไม่ ใ ห้มีการจอดยานพาหนะไว้บริเวณริมข้า งทาง
โดยต้องอาศัยการสร้างความเข้าใจและความร่วมมือจากประชาชนที่มีบ้า นเรือนที่ตั้ง อยู่สองข้า งทาง
หรือผู้ที่จะเข้าไปทาไร่ทาสวนข้างทาง
๒. จัดให้มีการลงทะเบียนรถจั กรยานยนต์ รถจักรยานยนต์พ่วงข้า ง มีการบันทึก
ข้อ มูล โดยละเอี ยด รวมถึง การบัน ทึ กภาพและจั ด ทาสั ญ ลั ก ษณ์ ที่อ อกโดยเจ้ า หน้ า ที่ เพื่ อ แสดง
ให้เจ้าหน้าที่เห็นอย่างชัดเจนในขณะจอดบริเวณริมข้างทาง
๗๙

๓. เจ้าหน้าที่ที่ใช้เส้นทางโดยใช้รถยนต์ของทางราชการ หรือรถที่แสดงสัญ ลักษณ์


ชัดเจนว่า เป็นรถของเจ้า หน้า ที่ โดยมีการบรรทุกกาลัง พลไว้ท้า ยกระบะที่สามารถมองเห็นเด่นชัด
ต้องหมั่นสังเกตยานพาหนะต่างๆ ที่จอดไว้ริมข้างทาง เช่น สัง เกตตรวจหาประชาชนโดยรอบๆ ว่า มี
หรื อ ไม่ หากมี ใ ห้ ตั้ง สมมติ ฐ านไว้ ก่ อนว่ า เป็ น ยานพาหนะที่ต้ อ งสงสัย และจะต้ องจอดรถลงไป
ดาเนินการตรวจสอบก่อนที่จะผ่านไป
มาตรการลดความเสี่ยงส้าหรับการเคลื่อนย้ายด้วยขบวนยานยนต์
๑. การเลือกใช้เส้นทางหลักและห้วงเวลาในช่วงที่หน่วยประจ าพื้นที่ มีค วามเข้ม
ในการตรวจเส้ นทางในภารกิ จ การรั ก ษาความปลอดภั ย ครู ใ นช่ ว งเช้ า -บ่ า ย จ าเป็ น ต้อ งมี ก าร
ประสานงานกันอย่างใกล้ชิด ซึ่งจะสามารถลดความเสี่ยงจากเหตุระเบิดแบบลากสาย คงมีค วามเสี่ยง
เฉพาะเหตุระเบิดที่ใช้คลื่นสัญญาณ ซึ่งมีความแม่นยาและความรุนแรงน้อยกว่า
๒. การใช้การเคลื่อนย้า ยเป็นห้ วงๆ โดยให้มี รถนาออกไปก่อน เพื่อลาดตระเวน
เส้นทางและตรวจหารถต้ องสงสัย ตามเส้นทางหรื อชุมชนที่สุ่ม เสี่ยง ก่อนขบวนส่ว นใหญ่ ขั บผ่า น
หากทาได้ให้ใช้รถพลเรือนที่มีกล้องตรวจการณ์ระยะไกล มีเครื่องมือรบกวนสัญญาณ
๓. ยานพาหนะที่ใช้ควรจะมีเกราะป้องกันสะเก็ด ระเบิด ทางข้า ง กาลัง พลต้องสวม
เสื้อเกราะและหมวกเหล็ก
การป้องกันการก่อเหตุโดยใช้รถจักรยานยนต์ประกอบระเบิดขณะบริหารที่เกิดเหตุ
หากเส้นทางที่ใช้เข้า-ออก พื้นที่เกิดเหตุ มีหลายเส้นทาง หน่วยที่มีหน้า ที่ รับผิด ชอบ
ควรกาหนดเส้นทางที่ประเมินแล้วว่า มีค วามเสี่ยงน้อยที่สุด เป็นเส้นทางหลักที่ใ ช้ใ นการเข้า ควบคุม
พื้นที่เกิด เหตุ มีการวางแผนใช้กาลัง ส่วนหนึ่ง ในการปิด กั้นที่เกิด เหตุ อีกส่วนหนึ่ง วาง กาลัง ไว้ต าม
เส้นทางเข้า-ออก เพื่ออานวยการให้ เจ้าหน้าที่เก็บกู้และทาลายวัตถุระเบิด เจ้า หน้า ที่ พิสูจ น์หลักฐาน
เข้าไปปฏิบัติหน้าที่จนจบภารกิจ
๕. การใช้ทุ่นระเบิดหรือกับดัก
ทุ่นหรือกับดักระเบิด (MINE) คือ วัตถุระเบิดที่ใช้วิธีการจุดระเบิดโดยเหยื่อมากระทา
ซึ่งระเบิดประเภทนี้ อาจไม่ประสงค์ต่อชีวิตของเหยื่อ ระเบิดจะถูกออกแบบมาสาหรับทาอันตรายต่อ
ผู้ที่มาเหยี ยบให้บาดเจ็บ หรือ สูญเสี ยอวั ยวะ เพื่ อต้องการก่อกวน ท าลายขวั ญ ชะลอ หรือ ยับยั้ ง
การปฏิบัติ การเชิง รุกของเจ้า หน้า ที่ ที่ปฏิ บัติง านในพื้น ที่ และหรือประสงค์ต่ อชีวิ ต ทั้ง บุค คลหรื อ
กลุ่มบุคคล ระเบิด ประเภทนี้ ผู้ก่อความรุนแรงมัก จะสร้า งโอกาสในการให้เหยื่อมากระทา โดยใช้
สถานการณ์ลวงเพื่อล่อให้เจ้าหน้าที่เข้าตรวจสอบ ได้แก่ การวางวัต ถุต้องสงสั ย การวางสิ่ง เร้า ที่เป็น
เชิงสัญลักษณ์ เช่น ธงชาติ แผ่นป้ายข้อความ เผายางรถยนต์ หรือการสร้างสถานการณ์ในรูปแบบอื่นๆ
เป็นต้น โดยผู้ก่อความรุนแรงมีก ารเริ่มนามาใช้ เป็นครั้ง แรกตั้ง แต่ปี พ.ศ.๒๕๔๙ ที่ จว.นราธิวาส
โดยมีการตรวจค้น พบ ตัวจุด ระเบิด ในพื้นที่ อ.สุไ หงปาดี และนามาใช้ ปฏิบัติการครั้ง แรกในพื้นที่
อ.เจาะไอร้อง โดยมีหลักการทางานของระบบควบคุมการจุดระเบิดที่ถูกกระทาดังนี้
๑. แบบกด-เลิกกด
๒. แบบดึง-เลิกดึง
๓. แบบทางานเมื่อมีการกลับหรือเปลี่ยนทิศทาง
๘๐

ทุ่นระเบิด มีทั้งแบบมาตรฐานจากโรงงานและแบบแสวงเครื่ อง สาหรับที่มีการใช้


ในพื้ นที่จั งหวั ด ชายแดนภาคใต้ เ ป็นแบบแสวงเครื่อง ใช้ระบบไฟฟ้า ในการจุด ระเบิด มีอุป กรณ์
การประกอบระเบิดดังนี้
๑. แหล่งจ่ายพลังงาน (Power Source) ได้แก่ แบตเตอร์รี่ชนิดและต่างๆ
๒. ตัวจุดระเบิด (Igniter) ได้แก่ วงจรจุดระเบิดที่ให้เหยื่อมากระทา
๓. เชื้อประทุ (Detonator) มีทั้งแบบมาตรฐานและแสวงเครื่อง
๔. ดินขยายการระเบิดและดินระเบิดหลัก (Booster & Main Charge) ที่ใช้ดินระเบิด
แรงสูง (มาตรฐาน ดินระเบิดผสมเอง) และดินระเบิดแรงต่า เช่น ดินดา ดินเทา เป็นต้น
๕. ภาชนะบรรจุ ซึ่งแล้วแต่วัตถุประสงค์ที่ผู้ก่อความรุนแรงต้องการกระทากับเหยื่อ
โดยพอที่จะสามารถจาแนกได้ดังนี้
๕.๑ แบบสร้างความบาดเจ็บ สังหารบุคคล หรือทาลายขวัญ เป็นระเบิดขนาดเล็ก
มีน้าหนักรวมประมาณ ๐.๕-๒ กก. มักจะบรรจุใ นกระป๋องบรรจุอาหารสาเร็จ รูป ท่อพีวีซี ท่อเหล็ก
กล่องเหล็กขึ้นรูปทรงสี่เหลี่ยม
๕.๒ แบบใช้สังหาร มักเป็นระเบิด ขนาดเล็กถึง ขนาดกลาง มีน้าหนักประมาณ
๓-๑๐ กก. ถูกออกแบบมา เพื่อใช้สาหรับสังหารเหยื่อที่รู้เท่า ไม่ถึง การณ์ โดยการกด เหยียบ การดึง
(เตะ สะดุด) เช่น การเข้าตรวจสอบสถานที่เกิด เหตุของเจ้า หน้า ที่ โดยขาดความระมัด ระวัง ระเบิ ด
แสวงเครื่องชนิดนี้ อาจมีสวิทซ์จุดระเบิด ๑ จุด หรือหลายจุดต่อระเบิด ๑ ลูกก็ได้
เหตุการณ์ตัวอย่างการปฏิบัติที่ได้ผลของเจ้าหน้าที่
พฤติการณ์แห่งเหตุ ผู้ก่อความรุนแรงได้เกาะติดเป้า หมาย เพื่อวางระเบิด โดยดู จ าก
พฤติ ก รรมประจ าของเจ้ า หน้า ที่ ท หารชุ ด รั กษาความปลอดภั ย ครู ร้ อ ย ร.๖๐๑๔ บนเส้ น ทาง
หน้าทางเข้าฐานปฏิบัติการ บ.ดอเห๊ะ ต.ริโก๋ อ.สุไหงปาดี จว.นราธิวาส เมื่อวันที่ ๒๘ ก.ย.๒๕๔๙ เวลา
ประมาณ ๐๗.๓๐ น. โดยมีเป้าหมายเป็นรถยนต์ทางทหารที่ใ ช้ใ นภารกิจ และเจ้า หน้า ที่ ทหาร ทาให้
เจ้าหน้าที่ทหารเสียชีวิต จานวน ๑ นาย ได้รับบาดเจ็บ จานวน ๕ นาย โดยผู้ก่อความรุนแรงใช้ระเบิด
บรรจุใ นถังดับเพลิง แล้วเจาะไหล่ทางวางระเบิด ไว้ใ ต้พื้นผิวถนน บัง คับจุด ระเบิด ด้วยวิธีการลาก
สายไฟพ่วงต่อกับแบตเตอรี่ และใช้การก่อเหตุดังกล่าวเป็นเหตุแรก เพื่อที่จะสร้างโอกาสในการก่อเหตุซ้า
ณ ที่เกิดเหตุ โดยได้วางทุ่นระเบิด แบบสัง หารบุค คล จุด ชนวนโดยวิธีการกระทาของเหยื่อ โดยการ
เลิกดึงที่ใช้หมุดโลหะแทงทะลุพื้นรองเท้าวางขัดเพื่อดึงหน้าสัมผัสไว้ไม่ให้ไฟฟ้าครบวงจร
การปฏิบัติของเจ้า หน้า ที่ หัวหน้า ชุด ที่เข้า ตรวจและควบคุมที่เกิด เหตุ คือ ร.ต.อ.
ปรีชา กิ่มเกลี้ยง ผบ.ร้อย นปพ.ฉก.๒ นราธิวาส มีไ หวพริบและปฏิภาณ ประกอบกับเคยทาหน้า ที่
เป็นเจ้า หน้า ที่ชุด เก็บกู้ และทาลายวัต ถุระเบิด ของ ภ.จว.นราธิวาส เมื่อเห็นร่องรอยการย่าวัชพืช
ในช่องทางที่สายไฟลากผ่าน จึงสั่งการไม่ให้กาลังติดตามไปในช่องทางที่พบเห็น แต่ใช้วิธีการหลีกเลี่ยง
ทางสะดวก ทาให้ตรวจพบรองเท้ายางข้างหนึ่งวางอยู่ห่างจากหลุมระเบิดประมาณ ๕๐ เมตร แต่ไม่ไ ด้
ทาการหยิบยก แต่ใช้วิธีการใช้ของแหลมแทงพื้นดินที่เปียกชื้นรอบๆ รองเท้า ปรากฏว่า ส่วนปลายไป
กระทบกับของแข็ง จึงสันนิษ ฐานไว้ใ นเบื้องต้นว่า เป็นทุ่นระเบิด ที่ใ ช้การจุด ระเบิด โดยให้เหยื่อมา
กระทา จึงทาการปิดกั้นที่เกิดเหตุไว้ เพื่อรอเจ้าหน้าที่ EOD ที่มีอุปกรณ์ค รบถ้วนมาด าเนินการนิรภัย
ในภายหลัง และต่อมาสามารถด าเนินการได้โดยปลอดภัย และห่า งจากจุด ที่พบรองเท้า ยัง พบว่ า
๘๑

มีอาวุธปืนรีวอลเวอร์ พร้อมเครื่องกระสุนขนาด .๓๘ มม. บรรจุอยู่ในรังเพลิงตกอยู่ จึงใช้วิธีการเดียวกัน


แต่ไม่พบทุ่นระเบิดเพิ่มเติมแต่อย่างใด
บทเรียนจากเหตุการณ์การก่อ เหตุ
การเกาะติด เป้า หมายจากพฤติกรรมประจ าและการสร้า งโอกาสจากปฏิบัติการ
เพื่อก่อเหตุซ้า ณ ที่เกิดเหตุที่แรก
ข้อพิจารณาและมาตรการการป้องกัน
๑. จากประสบการณ์การปฏิบัติงาน การศึกษา และการทาความเข้า ใจกับบทเรียน
การก่ อเหตุ ใ นรู ปแบบต่า งๆ ของกลุ่ม ผู้ก่ อความรุน แรงในพื้ นที่ สามาถน ามาสู่ ก ารปฏิ บัติ ที่เ กิ ด
ความปลอดภัยแก่ผู้ที่ร่วมปฏิบัติงาน
๒. ก าหนดมาตรการ การเข้ า ตรวจและควบคุม สถานที่ เกิ ด เหตุ ให้ ป ฏิบั ติต าม
กระบวนการและขั้นตอน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อีกทั้งเป็นการลดการสูญเสียเพิ่มเติมด้วย
แนวทางการป้องกันการก่อเหตุด้วยทุ่นและกับดักระเบิด
๑. ผู้ก่อความรุนแรงจะใช้วิธีการสร้า งเหตุการณ์ลวงให้เจ้า หน้า ที่เข้า ไปตรวจสอบ
ซึ่งเจ้าหน้าที่ควรมียุทธวิธีการเข้าตรวจสอบ เช่น ใช้สุนัขดมระเบิด (K-๙) ใช้เครื่องตรวจโลหะใต้พื้นผิว
ในการตรวจสอบ เพื่อทาให้พื้นที่ปลอดภัยก่อนเข้าตรวจที่เกิดเหตุ เป็นต้น
๒. กรณีไม่มีตามข้อ ๑ ให้พิจ ารณาใช้รถฉีด น้าหรือประสานขอรถดับเพลิง ในพื้ นที่
เนื่องจากระเบิด ประเภทนี้ ใ ช้สวิทช์ชนิด ที่มีการทางานแบบกด ที่มีขายทั่วไปตามร้า นขายอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีน้าหนักกดน้อยหรือเบามาก ผู้ก่อความรุนแรงจึง ไม่สามารถฝัง ให้ลึกได้ เนื่องจาก
น้าหนักของดิน และสิ่งปกคลุมจะทาให้สวิทช์ทางานขึ้นก่อนได้ หากฝ่า ยเราใช้ แรงดันน้าฉีด ไปยัง
บริ เวณพื้ นที่ต้ องสงสั ยก็ จะท าให้สวิทซ์ หรื อตั วระเบิ ดแสวงเครื่ อง โผล่ พ้ นจากผิ วดิ น และสิ่ งปกคลุ ม
ต่างๆ ได้
๓. ใช้หลักการสังเกตระเบิดแสวงเครื่อง เพื่อหาร่องรอยของการขุดฝังซ่อน เช่น ดินที่
ถูกขุดขึ้นมาใหม่จะมีความร่วนซุยและมีสีที่เข้มกว่า รวมถึงรอยกดทับบนวัชพืช กิ่งไม้แห้ง หรือการพลิกตัว
ของก้อนหิน หรือสิ่งที่ไม่น่าอยู่ ไม่มีเจ้าของ ตรงบริเวณนั้น เป็นต้น
๔. หลีกเลี่ยงการเดินในช่องทางเดินปกติในบริเวณพื้นที่เกิดเหตุ ควรเดินในพื้นที่ที่มี
วัชพืชขึ้นปกคลุม และไม่มีร่องรอยคนเดินหรือถูกรบกวนมาก่อน ไม่ควรเดินทางเข้า ที่เกิด เหตุโดยตรง
ควรใช้การเดินลัดเลาะภูมิประเทศ
๕. ให้ระลึกอยู่เสมอในการประเมินค่าความเสี่ยงว่า อาจมีระเบิดแสวงเครื่องแบบเหยียบ
อยู่บริเวณนั้นมากกว่า ๑ ลูกเสมอ
๖. ข้อพิจารณาเพิ่มเติม ในการปลดแผ่นป้า ยข้อความโจมตี รูปภาพต่า งๆ หรือธง
แบบต่างๆ ห้ามใช้มือจับต้องหรือสัมผัสกับสิ่งของเหล่านั้นโดยตรง (อาจได้รับอันตรายจาก IED และ
เป็นการทาลายหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ ) ควรใช้ไ ม้ยาวที่มีลักษณะเดียวกับไม้ต ะขอสอยผลไม้
เกี่ยวดึงจากระยะไกลและต้องอยู่ใ นที่กาบัง หากไม่มีค วรใช้รถหุ้มเกราะหรือโล่กันกระสุน ในการ
ป้องกันระหว่างทาการดึง
๘๒

๖. การก่อเหตุระเบิดในท่อลอดใต้ผิวถนน
การก่อเหตุระเบิดบริเวณท่อลอดระบายน้าใต้ถนน มีตัวอย่า งเหตุการณ์ที่เกิด ขึ้นคือ
ชุดลาดตระเวนเส้นทางตรวจพบ ระเบิด แบบลากสายบนเส้นทาง บ.บาโงบองอ ต.วัง พญา อ.รามัน
จว.ยะลา เมื่อวันที่ ๑ ก.ค.๒๕๕๕
รายละเอียดของเหตุการณ์
เมื่อวันที่ ๑ ก.ค.๒๕๕๕ เวลาประมาณ ๐๘.๐๐ น. ชุด เฉพาะกิ จ ยะลา ได้รับแจ้ง
จากแหล่งข่าวว่า มีคนร้ายไม่ทราบจานวน เตรียมที่จะก่อเหตุระเบิดบนถนนสาย บ.อูเป๊า ะ-บ.ซาเมาะ
ต.วังพญา อ.รามัน จว.ยะลา จึงได้สั่งการให้จัดชุดลาดตระเวนออกพิสูจน์ทราบบริเวณเส้นทางดังกล่าว
เมื่อชุดลาดตระเวนทาการลาดตระเวนมาถึง บ.บาโงบองอ ได้สังเกตเห็นหญ้าบริเวณข้า งทางแห้ง ตาย
เป็นทางยาวผิดปกติและพบสายไฟสีเขียว จึงประสานเจ้าหน้าที่ EOD เข้าตรวจสอบพบว่า เป็นระเบิด
แสวงเครื่อง ใช้ภาชนะบรรจุเป็นถังน้ายาปรับอากาศฝังอยู่บริเวณใต้พื้นผิวถนน น้าหนักรวมประมาณ
๓๐ กก. โดยลากสายไฟฟ้า ออกไปจากถนนเข้า ไปข้า งทางไกลประมาณ ๑๐๐ เมตร ต่อ จากนั้ น
เจ้าหน้าที่ได้ทาการเก็บกู้วัตถุระเบิดได้อย่างปลอดภัย
ข้อพิจารณาเหตุการณ์
๑. บริเวณเส้นทางที่ตรวจพบระเบิดพร้อมใช้งาน ตามแผนการรักษาความปลอดภัย
ครูในพื้นที่ ต.วังพญา อ.รามัน จว.ยะลา เป็นความรับผิด ชอบของเจ้า หน้า ที่ต ารวจ ซึ่ง ปกติรูปแบบ
การรักษาความปลอดภัยที่ใช้คือ การจัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย โดยใช้รถจักรยานยนต์ และ
รถยนต์กระบะ ร่วมขบวนไปกับยานพาหนะของคณะครู
๒. การตรวจพบระเบิดพร้อมใช้งานในครั้งนี้ จึงถือว่าเป็นการทาลายความพยายาม
ครั้งสาคัญอีกครั้งหนึ่ง ต้องชมเชยแหล่งข่าวของชุดเฉพาะกิจยะลาที่ให้ข่าวได้อย่างแม่นยา
๓. อย่างไรก็ตาม การทาเส้นทางให้ปลอดภัยของหน่วยรับผิด ชอบเส้นทาง คงต้อง
พึ่งตนเองเป็นหลัก ด้วยการวิเคราะห์ภูมิประเทศ วิเคราะห์เส้นทางให้ละเอียด กาหนดพื้นที่เสี่ยง
ให้ครบองค์ประกอบของการก่อเหตุ และกาหนดมาตรการในการคุ้มครองความเสี่ยงให้ชัดเจนว่า จะให้
ชุดปฏิบัติการเส้นทางลาดตระเวนทาอะไร น่าจะเป็นแนวทางที่ดีที่สุดที่ทาให้เส้นทางปลอดภัย
หลักการวางแผนในการท้าท่อลอดให้ปลอดภัย
๑. ท่อลอดที่ มักใช้เป็ นต าบลวางระเบิ ด มักอยู่ไ ม่ ไ กลจากหมู่บ้ า นที่ มีโครงสร้า ง
มวลชน และอยู่บนเส้นทางที่ฝ่ายเราไม่ได้มีการเฝ้าตรวจหรือเข้าไปเคลื่อนไหวบ่อยๆ
๒. ท่อลอดเป็นจุด เสี่ยงที่กลุ่มผู้ก่อความรุนแรงอาจใช้เป็นสถานที่ ลอบวางระเบิด
การทาพื้นที่บริเวณท่อลอดให้ปลอดภัยของหน่วยที่รับผิด ชอบเส้นทาง จะต้องมีมาตรการป้องกัน
การเกาะติด การควบคุมสถานที่ที่อาจใช้ใ นการชี้เป้า การควบคุมต าบลจุด ระเบิด และใช้การตรวจ
ณ บริเวณท่อลอดเป็นมาตรการสุดท้าย
๓. การตรวจบริเวณท่อลอดโดยใช้คนเข้าไปก้มมองหรือมุดเข้า ไปดู เป็นอันตรายต่อ
ผู้ปฏิบัติอย่างยิ่ง ยุทธวิธีที่เหมาะสมและปลอดภัยที่สุดคือ การสัง เกตสภาพแวดล้อมที่ผิด ปกติ บริเวณ
ปากท่อลอด การตรวจหาสายไฟโดยใช้ เครื่องมือช่ วย การใช้ กับดั ก เช่น โปรยเศษแก้ว สัง กะสี
แผงตะปูดักเหยียบไว้ในท่อ
๘๓

๔. การลอบวางระเบิด ไว้ใ นท่อลอด โดยปกติมักใช้การจุด ชนวนด้วยไฟฟ้า โดยใช้


สายไฟ การจุดชนวนด้วยคลื่นสัญญาณ และผู้ก่อความรุนแรง มักจะเลือกบริเวณผิวถนนบนท่อลอดที่
มีการชารุด หน่วยรับผิดชอบที่ดูแลเส้นทางตรวจพบ จะต้องประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อซ่อมแซม
จุดที่ชารุดและเป็นการป้องกันการขุดเจาะอย่างเร่งด่วน
บทเรียนจากเหตุการณ์
๑. การตรวจพบระเบิดพร้อมใช้งานในครั้งนี้ จึงถือว่าเป็นการทาลายความพยายาม
ของผู้ก่อความรุนแรงครั้งสาคัญอีกครั้งหนึ่ง เพราะเป็นการลดความสูญเสียให้กับกาลังพลภายในหน่วย
ของตนเอง ส่วนราชการอื่นๆ และประชาชนผู้บริสุทธิ์ที่ใช้เส้นทางดังกล่าวด้วย
๒. การทาเส้นทางให้ปลอดภัยของหน่วยรับผิด ชอบเส้นทาง คงต้องพึ่ง ตนเองเป็น
หลักด้วยการวิเคราะห์ภูมิประเทศ วิเคราะห์เส้นทางให้ละเอี ยด โดยเฉพาะข่า ยเส้นทางรองที่ผู้ก่อ
ความรุนแรง อาจใช้เข้ามาและหลบหนีหลังการก่อเหตุ แล้วกาหนดพื้นที่เสี่ยงให้ครบองค์ประกอบของ
การก่ อ เหตุ และก าหนดมาตรการในการคุ้ม ครองความเสี่ย งให้ ชั ด เจนว่ า จะให้ ชุ ด ปฏิ บั ติ ก าร
ลาดตระเวนเส้นทางทาอะไร น่าจะเป็นแนวทางที่ดีที่สุดที่ทาให้เส้นทางปลอดภัย
๓. การลากสายไฟเตรียมก่อเหตุ ผู้ก่อเหตุมีการซ่อนพรางไว้ใ ต้พงหญ้า ที่ยากต่อการ
มองเห็น ดังนั้ นเพื่ อเพิ่ มความละเอีย ดและรวดเร็ว ในการตรวจหาสายไฟจุด ระเบิ ด หน่วยควรมี
เครื่องมือช่วย
๔. การใช้สุนัขตารวจ ทหาร ในการเข้าตรวจสอบพื้นที่เกิดเหตุ ควรใช้เครื่องตัด หรือ
รบกวนสัญญาณ (วิทยุสื่อสาร โทรศัพท์มือถือ รีโมทคอนโทล) ร่วมด้วย เพื่อป้องกันกรณีที่คนร้า ยใช้วิธี
จุดระเบิดด้วยคลื่นสัญญาณ
๗. การก่อเหตุบริเวณเส้นทางรถไฟ
การก่ อเหตุบริ เวณเส้น ทางรถไฟ มี ตัวอย่า งเหตุ การณ์ ที่เ กิด ขึ้ นคือ เหตุ ซุ่ม โจมตี
ขบวนรถยนต์ ของชุ ด เฉพาะกิจ นราธิ วาส ๓๐ บนถนนเลียบทางรถไฟในเขต บ.ยะบะ ต.รือเสาะ
อ.รือเสาะ จว.นราธิวาส เมื่อวันที่ ๘ มี.ค.๒๕๕๕
รายละเอียดของเหตุการณ์
เมื่อวันที่ ๘ มี.ค.๒๕๕๕ ขณะที่ ร้อย ร.๑๕๓๒๑ ชุด เฉพาะกิจ นราธิวาส ๓๐ ได้จัด
กาลังพล จานวน ๙ นาย เคลื่อนย้ายด้วยยานยนต์ ๒ คัน ประกอบด้วย รถยนต์กระบะหุ้มเกราะ ๑ คัน
บรรทุ กก าลั ง พล ๔ นาย และรถยนต์ ต้ นแบบ (ไชยปราการ) ๑ คัน บรรทุ ก ก าลั ง พล ๕ นาย
ออกเดินทางจากฐานที่ตั้งอยู่ที่ บ.สโลว์ เข้าไปกากับดูแลการปฏิบัติง านของผู้ใ ต้บัง คับบัญ ชา ในเขต
เทศบาล อ.รือเสาะ ระยะทาง ๕ กม. ขณะที่เดินทางเพื่อกลับฐานโดยใช้เส้นทางรอง เลียบทางรถไฟ
มาถึงบริเวณปากทางขึ้นถนนหลัก บ.ยะบะ ได้มีคนร้ายไม่ทราบชื่อและจานวน ทาการจุดชนวนระเบิด
ลักษณะระเบิดเป็นระเบิดแสวงเครื่องที่ใช้ภาชนะเป็นถังแก๊สหุงต้มน้าหนัก ๑๕ กก. ฝังไว้ใต้ถนนควบคุม
การจุดระเบิดด้วยสายไฟ โดยวางสายไฟขนานไปกับเส้นทางแล้วลอดผ่านใต้ทางรถไฟไปยังแนวจุด ซุ่ม
จุดระเบิดบริเวณชายป่า ตรวจที่เกิด เหตุพบ สายไฟยาวประมาณ ๑๐๐ เมตร แรงระเบิด ทาให้รถ
เสียหายทั้ง ๒ คัน และทาให้มีผู้เสียชีวิตทันทีในที่เกิดเหตุ จานวน ๔ นาย และในเวลาต่อมาเสียชีวิต ที่
โรงพยาบาลเพิ่มอีก ๑ นาย ในเหตุการณ์นี้มีเจ้าหน้าที่เสียชีวิตรวมจานวน ๕ นาย
๘๔

ข้อพิจารณาจากเหตุการณ์
๑. ก่อนเกิดเหตุลอบวางระเบิดในครั้งนี้ เมื่อต้นเดือน มี.ค.๒๕๕๕ ได้เกิด เหตุระเบิด
ร้า นก๋ วยเตี๋ ย วในเขตเทศบาลรื อ เสาะ จว.นราธิ ว าส โดยที่ ชุด เฉพาะกิ จ นราธิ ว าส ๓๐ ได้ เ พิ่ ม
ประสิทธิภาพในการรักษาความปลอดภัย ในเขตเมือง ด้วยการจัด ทหารเข้า ไปตั้ง จุด ตรวจ-จุด สกัด
มากขึ้น และเพิ่มความเข้มในการตรวจจุดเฝ้าระวังมากขึ้น จึงทาให้ขณะที่ชุด เฉพาะกิจ นราธิวาส ๓๐
เดินทางกลับฐานที่ตั้งในคราวนี้ ตัดสินใจที่จะใช้เส้นทางรอง ซึ่งไม่ได้มีการทาให้ถนนมีค วามปลอดภัย
ไม่มีกาลังคุ้มครองเส้นทาง และจากัดความเคลื่อนไหวของผู้ก่อความรุนแรง ถึง แม้จ ะให้ ยานพาหนะ
ทั้ง ๒ คั น มีการดับไฟหน้า แต่ค วามเร็ วของรถไปได้ช้า อีกทั้ง เป็น คืนวั นเพ็ญ พระจันทร์ เต็มดวง
แสงสว่า งระยะทางสายตาประมาณ ๖๐ เมตร ทาให้ผู้ก่ อเหตุ สามารถตรวจการณ์ การเคลื่อนที่ของ
ยานพาหนะจากจุดที่วางตัวจุดระเบิดได้
๒. การวางสายไฟลอดใต้ทางรถไฟ ผู้กอ่เหตุใช้สายไฟสีเทากลมกลืนกับสีของหมอน
รองรางรถไฟ ทาให้ยากต่อการตรวจพบ ดังนั้นจะต้องมีการตรวจโดยละเอียดก่อนที่จะใช้เส้นทาง
บทเรียนจากเหตุการณ์
๑. การใช้ยานพาหนะในการเดินทางในพื้นที่ใ นยามวิกาล ย่อมมีค วามเสี่ยงเสมอ
หากจาเป็นต้องใช้ควรใช้เส้นทางหลัก ใช้ความระมัดระวัง และมีการหยุดตรวจพื้นที่เสี่ยงก่อนใช้รถวิ่ง
ผ่านเสมอ
๒. ชุดรักษาความปลอดภัยเส้นทางรถไฟ ต้องรู้จักประเมินภัยคุกคามที่คนร้า ย มักใช้
แนวถนนเลียบทางรถไฟเป็นพื้นที่ก่อเหตุ แล้วลากสายไฟลอดใต้รางรถไฟ โดยต้องมีการกาหนดพื้นที่
เสี่ยงบนถนนแล้วตรวจพื้นที่โดยรอบรางรถไฟให้ละเอียด โดยเฉพาะสายไฟก็จะเป็นการช่วยทาให้ถนน
ปลอดภัยมากขึ้น
๓. ควรหลีกเลี่ยงการใช้รถยนต์ต้นแบบ (ไชยปราการ) ในเส้นทางที่ไ ม่มีมาตรการ
การทาเส้นทางให้ปลอดภัย เพราะรถประเภทดัง กล่า วไม่แตกต่า งจากรถจักรยานยนต์ เพียงบรรทุก
กาลังได้มากกว่าและมีความเร็วมากกว่าเท่านั้น
๘. ระเบิดขว้างแบบแสวงเครื่อง
ระเบิ ด แสวงเครื่อ ง เป็น อีก พัฒนาการหนึ่ ง ของผู้ก่ อความรุน แรงในพื้ นที่จั ง หวั ด
ชายแดนภาคใต้ ซึ่งพบว่ามีการนามาใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ.๒๕๕๑ มีวิธีการผลิตโดยใช้ค วามรู้ด้า นวงจร
อิเล็กทรอนิกส์ นามาปรับประยุกต์ใ ห้เป็นวงจรจุด ระเบิด แบบนับเวลาถอยหลัง หลักการคล้า ยกับ
การทางานของระเบิดขว้างมาตรฐาน เพื่อใช้ทดแทนระเบิดขว้างมาตรฐาน เป็นการเพิ่มอานาจกาลังรบ
ในการใช้เป็นวัตถุระเบิดขนาดเล็กที่สามารถพกพาติดตัวไปกับกาลัง รบของผู้ก่อความรุนแรง ในการ
ใช้โจมตีเป้าหมายเคลื่อนที่หรืออยู่กับที่ที่เป็นบุคคลหรือกลุ่มเล็กๆ สร้างความบาดเจ็บ สูญเสีย หรือใช้ใน
การทาลายขวัญในการเข้าตีที่ตั้ง การโจมตีโฉบฉวย หรือใช้สกัดกั้นการติดตามกรณีถอนตัว
ตัวอย่างและรายละเอียดของเหตุการณ์
เหตุคนร้ายใช้ระเบิดขว้างชนิดแสวงเครื่อง (กระทาต่อเป้าหมายอ่อนแอ ลดความเชื่อถือ
ฝ่ายรัฐ) เมื่อวันที่ ๒๙ มิ.ย.๒๕๕๙ เวลาประมาณ ๒๑.๐๗ น. มีคนร้ายไม่ทราบชื่อจานวน ๒ คน ขับขี่
รถจักรยานยนต์ไม่ทราบยี่ห้อและไม่ติด ป้า ยทะเบียน ขว้า งลูกระเบิด ขว้า งชนิด แสวงเครื่องไปยั ง
หน้าร้านขายของชาเลขที่ ๑๕๐ ริมถนนสาย ๔๒ ฝั่งขาเข้าปัตตานี ม. ๒ ต.บาเจาะ อ.บาเจาะ จว.นราธิวาส
๘๕

และขณะเดียวกัน นายธีรยุทธ แซมิง อายุ ๒๖ ปี อยู่บ้า นเลขที่ ๒๔๑/๑ ต.บาเระเหนือ อ.บาเจาะ


จว.นราธิวาส (ราษฎร) ขับขี่รถจักรยานยนต์ เพื่อกลับบ้า นพักมาถึง บริเวณที่เกิด เหตุระเบิด ทาให้
ได้รับบาดเจ็บบริเวณหน้าอกและนาส่งโรงพยาบาล
ข้อพิจารณาของเหตุการณ์
เมื่อเกิดเหตุหน่วยที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ รับผิด ชอบ ได้สนธิกาลัง เข้า สนับสนุน เพื่อทา
พื้นที่ให้ปลอดภัยและตรวจเก็บพยานหลักฐานในที่เกิด เหตุ นาไปสู่กระบวนการสืบสวนหลัง เกิด เหตุ
เพื่อหาตัวผู้กระทาผิดต่อไป ผลการตรวจสถานที่เกิดเหตุพบองค์ประกอบวัตถุระเบิด ดังนี้
๑. ภาชนะบรรจุ เป็นท่อเหล็กทรงกลมมีรอยบั้งผิวท่อ เพื่อให้แตกเป็นสะเก็ดระเบิด
๒. ใช้ระบบจุดระเบิด ด้วยด้วยระบบไฟฟ้า ตั้งเวลาด้วยวงจร IC TIMER
๓. แหล่งจ่ายพลังงาน ใช้แบตเตอรี่ ขนาด ๙ โวลต์
๔. ดินระเบิดหลัก ใช้ดินระเบิดแรงสูงแบบผสมเอง (H.M.E.)
๕. ส่วนสังหารลูกปืน (STEEL BALL)
การวิเคราะห์เหตุการณ์
๑. ผู้ก่อความรุนแรงใช้ลูกระเบิดขว้างแสวงเครื่อง บรรจุท่อเหล็กทรงกลม มีรอยบั้ง
ผิวท่อ เพื่อให้แตกเป็นสะเก็ด บังคับจุดด้วยระบบไฟฟ้า ตั้งเวลาด้วยวงจร IC TIMER ทาเป็น ลูกระเบิด
ขว้างชนิดแสวงเครื่อง ซึ่งมีขนาดเล็กพกพาได้สะดวก ใช้ก่อเหตุทาร้ายเป้าหมายและหลบหนีไ ด้สะดวก
หลังก่อเหตุ
๒. มุ่งทาลายระบบเศรษฐกิจและความน่าเชื่อถือของอานาจรัฐ ในพื้นที่ อ.บาเจาะ
จว.นราธิวาส และหวังผลที่จะทาร้ายประชาชนผู้บริสุทธิ์
๓. เพื่อสร้างความหวาดกลัวและแสดงศักยภาพการก่อเหตุของแนวร่วมในพื้นที่
แนวทางการแก้ไข
๑. จัด ชุด ลาดตระเวน ตั้ง จุด ตรวจ-จุด สกัด และชุด ซุ่มเฝ้ า ระวัง รวมทั้ง แสวงหา
ข่าวสาร เพื่อจากัดเสรีภาพความเคลื่อนไหวในการพยายามก่อเหตุของผู้ก่อความรุนแรง รวมทั้งสิ่งบอกเหตุ
ถึงแนวโน้มการก่อเหตุ โดยอาศัยงานการข่าวที่จะต้องวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการพยายามลงมือ
ก่อเหตุ
๒. ทบทวนมาตรการ ด้า นงานข่า วและระบบการรักษาความปลอดภัยพื้นที่เมือง
โดยเฉพาะในย่านเศรษฐกิจของแต่ละพื้นที่
๓. การใช้มาตรการ ด้านการบังคับใช้กฎจราจรอย่างเคร่งครัด และให้มีการเข้มงวด
ในการตรวจค้นยานพาหนะทั้ง รถยนต์ และรถจักรยานยนต์ เพื่อเป็นการจ ากัด เสรีภาพและทาลาย
ความคิดริเริ่มที่ผู้ก่อความรุนแรงจะนามาใช้ในเส้นทาง
๙. การวางระเบิดเจ้าหน้าที่ที่มีพฤติกรรมซ้้าๆ
ตัวอย่างและรายละเอียดของเหตุการณ์
เหตุระเบิดชุดรักษาความปลอดภัยเส้นทาง ริมถนนสาย ๔๑๐ บ.รานอ อ.กรงปินัง
จว.ยะลา เมื่อวันที่ ๗ มิ.ย.๒๕๕๕ ได้จัดกาลังพล ๑ ชุด ปฏิบัติการ เพื่อรักษาความปลอดภัย เส้นทาง
ถนนสาย ๔๑๐ ในเขตบ้านลือมุ โดยเคลื่อนย้า ยด้วยเท้า ขณะเคลื่อนที่ มาถึง บริเวณเนินป่า สวนยาง
ซึ่งเป็นภูมิประเทศสาคัญที่ใช้ในการควบคุมเส้นทาง ได้ทาการหยุดหน่วยและจัดรูปขบวนหน้ากระดาน
๘๖

โดยแบ่งกาลังออกเป็น ๒ ชุด ชุดละ ๔ นาย เคลื่อนที่สลับกันเข้า ตรวจสอบกระท่อมที่อยู่บริเวณเนิน


ดัง กล่า ว ในขณะที่กาลัง พลส่ วนหนึ่ ง ยืน อยู่ ภายในกระท่ อม ได้ มีค นร้า ยไม่ทราบชื่อ และจ านวน
จุดชนวนระเบิด ลักษณะของระเบิดเป็นระเบิดแสวงเครื่องใช้ภาชนะบรรจุเป็นกล่องเหล็กขึ้น รูปแบบ
บังคับทิศทาง ซึ่งฝังไว้บริเวณนอกกระท่อมในระยะห่างประมาณ ๑ เมตร แรงระเบิดทาให้มีเจ้า หน้า ที่
ได้รับบาดเจ็บ จานวน ๒ นาย
ข้อพิจารณาจากเหตุการณ์
๑. มีการจัด ชุด ลาดตระเวนคุ้มครองเส้นทางด้วยการเดินเท้า ลัด เลาะภูมิประเทศ
จากฐานปฏิบัติการไปยังเนินสูงข่มริมถนนสาย ๔๑๐ ซึ่งเนินนี้ ถือว่าเป็นภูมิประเทศสาคัญ ทางทหาร
ที่สามารถตรวจการณ์เห็นได้ไกล ซึ่งอาจเป็นเหตุผลที่ทาให้ชุดลาดตระเวนต้องจัดกาลังเข้าไปควบคุม
๒. เนินดั งกล่า ว แวดล้อมเป็ นป่ าสวนยางมีกระท่ อมเก่า ๆ ตั้ง อยู่ พื้นกระท่อมเป็ น
คอนกรี ต หลังคาโปร่ ง สามารถตรวจได้ด้ วยสายตา แต่ค นร้า ยเลือกวางระเบิด ด้า นนอกกระท่อ ม
บริเวณปากทางขึ้นจากถนนสาย ๔๑๐ บริเวณหลุมระเบิดเป็นพื้นดินที่มีหญ้าแห้งปกคลุม จึง ยากที่จ ะ
ตรวจเห็ น ด้ ว ยสายตาและจุ ด ชนวนด้ ว ยคลื่ น สั ญ ญาณที่ ย ากต่ อ การเห็ น ความเคลื่ อ นไหวของ
คนควบคุมการจุดระเบิด
๓. กาลั งพลภายในชุด ลาดตระเวนที่ออกปฏิบัติ การในครั้ง นี้ มี ค วามพร้ อมเรื่อ ง
เครื่องแต่งกายใส่หมวกเหล็ก สวมเสื้อเกราะทุกนาย จึงทาให้ลดอันตรายจากแรงระเบิด จากหนักเป็น
เบาได้
บทเรียนจากเหตุการณ์
๑. กระท่อมที่ตั้งอยู่บริเวณเนินสูงข่มและเป็นสถานที่ที่ฝ่ายเราไม่ได้มีการเฝ้าตรวจอยู่
ตลอดเวลา จุดดังกล่าวผู้ก่อความรุนแรง จึงสามารถมองเห็นการปฏิบัติของฝ่า ยเราได้จ ากระยะไกลๆ
ส่งผลให้แนวร่วมของผู้ก่อความรุนแรงในบริเวณพื้นที่นั้น เฝ้า ตรวจพฤติกรรมของฝ่า ยเรา จนนาไปสู่
การวางแผนและการกาหนดจุดลอบวางระเบิดได้
๒. การวางแผนการลาดตระเวนพิสูจ น์ ทราบในบริเวณพื้นที่ดัง กล่า วของผู้บัง คั บ
กองร้อยหน่วย จ าเป็นต้องใช้ปั จ จัยด้า นเหตุผลและการประเมิ นภัยคุกคาม ให้ค รอบคลุมทุกด้า น
ตลอดจนความเข้าใจในเรื่องหลักการลอบวางระเบิดของผู้ก่อความรุนแรงดังนี้
๒.๑ ต้องมีเส้นทางหลบหนีหลังการก่อเหตุ
๒.๒ ตาบลที่ใช้ซุ่มจุดชนวนระเบิดนั้น ต้องมองเห็นตาบลระเบิด และเป้า หมาย
ได้ชัดเจน
๒.๓ หากเป็ นระเบิ ด แสวงเครื่ อ งชนิ ด ที่ ใ ช้ การควบคุ มการท างาน โดยใช้
คลื่นสัญญาณจะมีขีดจากัดด้านแหล่งจ่ายพลังงาน (แบตเตอรี่) ผู้ก่อเหตุจึง ไม่อาจติด ตั้ง ไว้ล่วงหน้า ได้
นานเกินกว่า ๑๒ ชั่วโมงได้ ช่วยทาให้ฝ่ายเราสามารถตรวจหาร่องรอยและสิ่งผิดปกติได้ เช่น เศษของ
ดินที่ถูกขุดขึ้นใหม่ รอยเท้า รอยบอบช้า ของพืชพันธุ์โดยรอบ เป็นต้น
๑๐. การพัฒนาการซ่อนพรางวัตถุระเบิด
การพั ฒ นาการซ่ อ นพรางและต าแหน่ ง การวางวั ต ถุ ร ะเบิ ด แสวงเครื่ อ ง คื อ
การพัฒนาการทางยุทธวิธีที่จ ะพยายามก้า วนาหน้า ฝ่า ยเจ้า หน้า ที่ ในการที่จ ะทาให้การตรวจพบ
การซุก ซ่อ นวั ต ถุ ระเบิ ด แสวงเครื่อ งที่ จ ะนามาก่อ เหตุ ใ ห้ก ระทาได้ย ากยิ่ง ขึ้น เพราะเมื่ อฝ่ า ยเรา
๘๗

มีการศึกษาและส่งผ่านความรู้ถึงบทเรียนทางยุทธวิธีในการก่อความรุนแรง ทาให้เราทราบถึง ยุทธวิธีที่


ผู้ก่อความรุนแรงมักนามาใช้และหาทางป้องกันได้อย่า งได้ผล โดยนามาทาเป็นบทเรียนศึกษาเป็น
รูปธรรม ออกแบบฝึก ยึด เป็นหลักปฏิบัติ รวมทั้ง การจัด หาอุปกรณ์ เครื่องมือในการตรวจหา และ
วิธีการป้องกันการจุดระเบิด ส่งผลให้การมุ่งร้ายในการกระทาต่อเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นฝ่า ยเจ้า หน้า ที่
และพื้นที่ชุมชน ไม่ประสบความสาเร็จ อยู่บ่อยครั้ง ไม่ว่า จะเป็น การปรับรูปขบวนที่เหมาะสมและ
พลิกแพลงตามพื้นที่สถานการณ์ใ นการลาดตระเวนเส้นทาง การเดินทางไป-กลับสถานที่เกิด เหตุ
การวางกาลังควบคุมพื้นที่จุด เสี่ยง โดยใช้การเฝ้า ตรวจระยะไกล การศึกษาภูมิประเทศของพื้นที่
เกิ ด เหตุ ห รื อ พื้ น ที่เ มื อ งที่ ต้อ งป้ อ งกั น การก่อ เหตุ แล้ ว ก าหนดการวางก าลั ง ปิ ด กั้ น และควบคุ ม
อย่างเหมาะสม ทาให้การวางระเบิดในรูปแบบเดิมๆ ไม่ประสบผลสาเร็จ ทาให้ฝ่า ยผู้ก่อความรุนแรง
ต้องสูญเสียวัตถุระเบิดแสวงเครื่องที่ต้องใช้เงินทุนในการผลิตไปโดยที่ไม่ได้สร้า งความเสียหายต่อชีวิต
ร่า งกาย และทรั พ ย์ สิ น ตามที่ ต้ อ งการ จึ ง มี ค วามพยายามที่ จ ะพั ฒนายุ ท ธวิ ธี เพื่ อ ให้ ป ระสบ
ความสาเร็จในการก่อเหตุ
การพั ฒ นาการซ่ อนพรางที่ใ ช้ไ ด้ ผลและสร้า งความสู ญ เสี ยต่ อ ฝ่า ยเจ้ า หน้ า ที่
ในปัจจุบันที่ควรนามาศึกษาและหาวิธีการป้องกัน คือ การซ่อนพรางในหลักนาทาง
การซ่อนพรางในหลักน้าทาง (GUIDE POST)
โดยการขุด ถอนหลักนาทางที่ปักอยู่ริมถนน มาบรรจุ วัต ถุระเบิด แสวง แล้วน า
กลับไปวางที่เดิมหรือเอาไปปักแทนในที่อื่น
ตัวอย่างและรายละเอียดของเหตุการณ์
ผู้ก่อความรุนแรงได้ ลอบวางระเบิด ประกอบไว้กับหลักนาทาง เจ้า หน้า ที่ทหาร
หน่วยพัฒนาเคลื่อนที่ ๔๔ ทาให้เจ้าหน้าที่ทหารเสียชีวิต จานวน ๑ นาย และได้รับบาดเจ็บ จ านวน
๒ นาย และประชาชนได้รับบาดเจ็บ จานวน ๑ คน เหตุเกิด บนถนนสาย ๔๐๙๒ (บ.น้าด า-บ.ปากู)
ม.๕ ต.ปากู อ.ทุ่ง ยางแดง จว.ปัต ตานี เมื่ อวันที่ ๒๖ มิ .ย.๒๕๕๖ เวลาประมาณ ๑๔.๓๕ น. ขณะที่
เจ้าหน้าที่ทหารหน่วยพัฒนาเคลื่อนที่ ๔๔ ขนย้ายเครื่องจักรกลหนัก (รถขุด ตักแบ็ค โฮ) พร้อมรถยนต์
คุ้มกันรวม ๖ คัน กลับจากปฏิบัติหน้า ที่ ขุด ลอกคลองในพื้นที่ อ.กะพ้อ จว.ปัต ตานี เพื่อกลับที่ตั้ ง
ซึ่งอยู่ที่ บ.นัดฆอมิส ม.๕ ต.ปากู อ.ทุ่งยางแดง จว.ปัตตานี โดยใช้เส้นทางดัง กล่า ว ซึ่ง มีระยะทางใกล้
ที่สุด ได้มีคนร้ายไม่ทราบชื่อและจานวน นาวัตถุระเบิดแสวงเครื่องซุกซ่อนในหลักนาทาง (หลักขาว-ดา)
ริมถนน จุดชนวนระเบิดด้วยวิทยุสื่อสารพ่วงวงจรถอดรหัส DTMF ทาให้มีผู้เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บ
ดังกล่าว
รูปแบบการประกอบวัตถุระเบิดแสวงเครื่อง
๑. ภาชนะบรรจุระเบิด หลักนาทางที่ภายในมีช่องเป็นท่อทรงกระบอก โดยที่ผู้ก่อ
ความรุนแรงใช้บรรจุดินระเบิด
๒. บังคับจุด ระเบิด ด้วยระบบไฟฟ้า โดยการควบคุมระยะไกลด้วยวิทยุสื่อสาร
พ่วงวงจรถอดรหัส DTMF
๓. ดินระเบิดหลัก ใช้ดินระเบิดแรงสูงแบบผสมเอง (H.M.E.)
๘๘

๔. ส่วนที่ทาอันตรายต่อชีวิต และร่า งกายคือ สะเก็ด ระเบิด เป็นชิ้นส่วนภาชนะ


บรรจุที่แตกตัวจากการระเบิด (ปูนและหินที่หล่อเป็นหลัก) และส่วนสัง หารเป็นเหล็กเส้นตัด ท่อน
คละขนาดกัน
บทเรียนจากเหตุการณ์
๑. ฝ่ายผู้ก่อความรุนแรงใช้โอกาสเกาะติด เป้า หมาย จากการที่ฝ่า ยเรามีภารกิจ
เปิดเผย มีการคาดเดาการใช้เส้นทางได้โดยง่าย
๒. ลงมือก่อเหตุต รงจุด ที่เคยมีประวัติการก่อเหตุระเบิด ก่อนหน้า นี้ แต่รูปแบบ
การซ่อนพรางที่แตกต่างกัน โดยการก่อเหตุครั้งก่อนซ่อนพรางในรถจักรยานยนต์ ทาให้ฝ่า ยเราคาด
ไม่ถึงว่า ผู้ก่อความรุนแรงจะก่อเหตุตรงจุดเดิมและไม่มีสิ่งบอกเหตุ หรือต้องสงสัย อีกทั้งใกล้จะถึง ที่ตั้ง
จึงทาให้ฝ่ายเราอาจจะประมาทและขาดการระมัดระวังที่ดีเท่าที่ควร
๓. เป็นรูปแบบการซ่อนพรางที่ไม่เคยมีหรือตรวจพบมาก่อน
๔. วิธีการซุกซ่อนและจุดระเบิด ผู้ก่อเหตุซุกซ่อนท่อโลหะ ในช่องว่างของหลักนาทาง
ที่โจรกรรมมาและทาการดัดแปลง โดยเดินสายไฟภายนอกและใช้ปูนฉาบทับทาสีใ ห้เหมือนของจริง
นาไปวางตาแหน่งตรงกับหลักนาทางหลักสุดท้าย ก่อนถึงคอสะพานและเป็นจุด เล็ง บัง คับจุด ระเบิด
ด้วยระบบวิทยุสื่อสารพ่วงรหัส DTMF โดยต่อสายไฟจากตัวระเบิดประมาณ ๕ เมตร ให้ตัวจุดพ้นจาก
การตรวจการณ์จากเจ้าหน้าที่
๕. ขาดความรู้ และการสัง เกตเรื่องหลักนาทาง ซึ่ง ปกติจ ะต้องวางแนวเดียวกัน
กรณีนี้หลักนาทางวางตรงข้ามแนวปกติและมีเพียงหลักเดียว

กระบวนการสืบสวนหลังเกิดเหตุระเบิด
การรักษาที่เกิดเหตุระเบิด
ปัญหาของการตรวจสถานที่เกิด เหตุเกี่ยวกับเหตุระเบิด ที่พบมากที่สุด ในปัจ จุบัน คือ
ร่องรอยพยานหลักฐานในที่เกิดเหตุถูกทาลาย หรือก่อนที่เจ้าหน้าที่รับผิดชอบจะไปถึง ที่เกิด เหตุ หรือ
ที่เกิด เหตุถูก เพิ่มร่อ งรอยพยานหลักฐาน จนทาให้สั บสนแก่การทางานของเจ้า หน้า ที่ผู้เกี่ ยวข้อ ง
ซึ่งอาจจะเพิ่มขึ้น เพราะความไม่รู้ ความตื่นเต้น รวมทั้งคาสั่ง ที่สับสน โดยปกติแล้วเจ้า หน้า ที่ต ารวจ
ในพื้นที่ทุกระดับชั้น รวมถึง สื่อมวลชน มักจะเข้าที่เกิดเหตุก่อน และโดยหน้า ที่แล้วเจ้า หน้า ที่ต ารวจ
ในพื้น ที่ก็ พยายามรัก ษาที่เ กิด เหตุไ ว้ใ ห้ค งสภาพเดิม แต่ใ นบางครั้ ง ผู้ บัง คับ บัญ ชาในพื้น ที่ และ
สื่อมวลชน อาจจะเป็นผู้เข้าไปทาลายพยานหลักฐานในที่เกิดเหตุจะด้วยเหตุผลอะไรก็แล้วแต่
เพื่อเป็นการป้องกันพยานหลักฐานที่หลงเหลืออยู่ในที่เกิดเหตุให้ปฏิบัติดังนี้
๑. กาหนดบริเวณรอบนอกของที่เกิดเหตุ
๒. ปิดล้อมบริเวณที่เกิดเหตุ
๓. ปิดล้อมบริเวณรอบนอกที่เกิดเหตุ
๔. เก็บหลักฐานโดยเริ่มจากจุดที่เกิดเหตุออกไปรอบข้าง
๕. แบ่งสถานที่เกิดเหตุออกเป็นส่วนๆ โดยใช้เชือกเส้นใหญ่ หรือเล็กก็ไ ด้ ลากเส้นแบ่ง
หรือใช้เครื่องหมายอื่นๆ
๘๙

ข้อควรปฏิบัติกรณีเกิดเหตุระเบิดแล้ว ภายหลังจากการเกิดเหตุระเบิด เจ้า หน้า ที่ต่า งๆ


เช่น เจ้า หน้ า ที่ต ารวจ เจ้า หน้า ที่มูล นิธิ สื่อมวลชน และประชาชน เริ่มเข้า มาในที่เกิ ด เหตุ มักจะ
ก่อให้เกิดความสับสนวุ่นวายเริ่มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในกรณีที่มีเพลิงไหม้หลังการระเบิด เจ้า หน้า ที่ดับเพลิง
มีความจาเป็นจะต้องเข้าควบคุมสถานการณ์ อาจจะมีการเคลื่อนย้ายสิ่งต่างๆ การฉีดน้าเพื่อควบคุมเพลิง
ตลอดจนการเข้ า ไปแก้ ไ ขปั ญ หาในระยะเวลานั้ น อาจจะเป็ น สาเหตุ ที่ ท าให้ เ กิ ด การท าลาย
พยานหลักฐาน หรือวัตถุพยานต่างๆ ตลอดจนการเพิ่มร่องรอยพยานหลักฐาน หรือวัต ถุพยานต่า งๆ
ในบริเวณที่เกิดเหตุ เพื่อเป็นการป้องกันพยานหลักฐานที่หลงเหลืออยู่ในที่เกิดเหตุให้ปฏิบัติดังนี้
๑. ผู้ประสบเหตุค วรตรวจสอบดูว่า มีผู้ใ ดได้รับบาดเจ็บหรือไม่ ถ้า มีต้องรีบให้ค วาม
ช่วยเหลือ ปฐมพยาบาล และนาส่งโรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุดโดยด่วน
๒. ขณะเดียวกันต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทราบโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้
๓. ให้อพยพบุคคลออกไปในพื้นที่ปลอดภัย
๔. ห้ามเคลื่อนย้ายสิ่งของต่างๆ โดยพลการ เพื่อป้องกันการระเบิด ซ้าสอง หรือระเบิด
ลูกที่ส อง อีกประการหนึ่ง เพื่อ ไม่ใ ห้วัต ถุ พยานหลัก ฐานต่า งๆ ที่ ผู้ ก่อเหตุ ไ ด้ กระทาขึ้น สูญ หายไป
ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ในเรื่องของความปลอดภัย และการติด ตามผู้กระทาผิด มาลงโทษตาม
กฎหมายภายหลัง
๕. ให้มีการป้องกันรักษาสถานที่เกิดเหตุ ด้วยการล้อมเชือกกันบริเวณที่เกิดเหตุ
๖. จัดเจ้าหน้าที่เฝ้าสังเกตการณ์ ในระยะห่างที่พอสังเกตการณ์ได้ตลอดเวลา
๗. ป้องกันไม่ให้ ผู้ที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องเข้าไปรบกวนทาลายร่องรอยพยานหลักฐานในที่
เกิดเหตุจนกว่าผู้ที่เกี่ยวข้องจะไปถึงและดาเนินการต่อไป
ระเบียบปฏิบัติในการตรวจสถานที่เกิดเหตุระเบิด (SOP FOR POST BLAST
INVESTIGATION)
๑. การรับแจ้งเหตุ (Tasking)
๑.๑ ตรวจสอบรายละเอียดของเหตุการณ์ ตามรูปแบบ
Alpha รายละเอียดเหตุการณ์ เช่น วัน เดือน ปี เกิดเหตุ พฤติการณ์เบื้องต้น
Bravo สถานที่เกิดเหตุ รูปร่างวัตถุต้องสงสัย หรือวัตถุระเบิด
Charlie จุดที่ตั้งของ ICP (Incident Command Point)
Delta เส้นทางไปยังที่เกิดเหตุ
๑.๒ รายงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ เพื่ออนุมัติออกปฏิบัติการ
๒. การวางแผนขั้นต้น (Initial Planning)
๒.๑ ชี้แจงรายละเอียดเหตุการณ์แก่เจ้าหน้าที่ทีมปฏิบัติงานเก็บกู้วัตถุระเบิด (EOD)
กาหนดหน้าที่ หมายเลข ๑ เป็นเจ้า หน้า ที่ค้นหาวัต ถุระเบิด หมายเลข ๒ เป็นเจ้า หน้า ที่ค้นหาวัต ถุ
ระเบิดและเจ้าหน้าที่เตรียมเครื่องมือ หมายเลข ๓ เป็นเจ้าหน้าที่เก็บหลักฐานและวัดระยะ หมายเลข ๔
เป็นเจ้าหน้าที่เก็บหลักฐานกายภาพ หมายเลข ๕ เป็นหัวหน้าที ม จดบันทึก วาดแผนที่ สเกตซ์ภาพ และ
ร้องขอ ผบ.เหตุการณ์
๙๐

๒.๒ ตรวจสอบเส้นทางการไปปฏิบัติงาน
๒.๓ จัดเตรียมเครือ่ งมือและอุปกรณ์ในการตรวจสถานที่เกิดเหตุ และเครื่องมือเก็บ
กู้วัตถุระเบิด
๒.๔ จัดเตรียมวิทยุสื่อสาร
๒.๕ จัดเตรียมชุดคุ้มกัน เจ้าหน้าที่ EOD
๓. ถึงสถานที่เกิดเหตุ (Arrival Drills)
๓.๑ ชุด เก็บกู้วั ต ถุร ะเบิด (EOD) รายงานตั วที่จุด ควบคุ มเหตุการณ์ (ICP) และ
รายงานตัวกับ ผบ.เหตุการณ์ เมื่อไปถึงสถานที่เกิดเหตุ
๓.๒ ตรวจสอบความปลอดภัยของทีม โดยให้พิจารณาจาก
๓.๒.๑ ผลการระเบิ ด วั ต ถุ ระเบิ ด ลู กที่ ๒ ลู กที่ ๓ (Second Bomb Third
Bomb) และซากปรักหักพัง หรือเศษซากจากการระเบิดไม่หมด
๓.๒.๒ ทาการตรวจสอบพื้นที่สาหรับตั้ง ICP รวมถึงพิจารณาถึงพื้นที่ใช้งานมาก่อน
๓.๒.๓ พิจารณาว่าพื้นที่สาหรับตั้ง ICP ต้องไม่เป็นจุดเล็งหรือจุดล่อแหลม สาหรับ
การลอบวางระเบิดหรือลอบยิงหรือไม่
๓.๒.๔ อาจพิจารณาใช้อาคารเป็นที่กาบัง
๓.๓ ตรวจสอบความปลอดภัยของทีมอื่นโดยพิจารณาและร้องขอต่อ ผบ.เหตุการณ์
๓.๓.๑ เส้นทางการอพยพ (Evacuation)
๓.๓.๒ การปิดกั้นพื้นที่เกิดเหตุ (Cordon)
๓.๓.๓ ตรวจสอบวัตถุอันตรายต่างๆ ในลาดับที่ ๒ (Secondary Hazards)
๓.๓.๔ ตรวจสอบรถฉุกเฉินเช่น รถพยาบาล รถดับเพลิง (Emergency Service)
๓.๔ ที่จุด ICP (Incident Control Point) ให้พิจารณาดังนี้
๓.๔.๑ การติดต่อสื่อสารระหว่าง ผบ.เหตุการณ์
๓.๔.๒ ตรวจสอบพยานบุคคลที่เห็นเหตุการณ์
๓.๔.๓ การรักษาความปลอดภัยอุปกรณ์และเครื่องมือ
๓.๔.๔ สื่อมวลชน
๓.๔.๕ การเปิดเผยเจ้าหน้าที่ EOD เท่าที่จาเป็น
๔. การตั้งคาถาม (Questioning)
๔.๑ ถามแบบเป็นมิตร
๔.๒ แยกกันสอบถามเหตุการณ์
๔.๓ ให้ผู้เห็นเหตุการณ์เล่าด้วยตนเอง ฟังแล้วถาม
๔.๔ วาดแผนที่เกิดเหตุ
๔.๕ จดบันทึกรายละเอียด
๕. การประเมินสถานการณ์ (Evaluation Options)
๕.๑ ชั้นเข้าหา ให้ดาเนินการดังนี้
๕.๑.๑ พิจารณาการใช้เครื่องป้องกันการจุด ระเบิด ด้วยคลื่นความถี่วิทยุและ
โทรศัพท์
๙๑

๕.๑.๒ พิจารณาการปิดกั้นพื้นที่เกิดเหตุว่าเพียงพอหรือไม่ หากไม่พอให้ขยาย


พื้นที่โดยใช้สูตร ๕๐% หมายถึง ระยะทางชิ้นส่วนที่ไกลที่สุดถึงหลุดระเบิดบวกเพิ่มอีก ๕๐%
๕.๑.๓ ตรวจสอบหาวัตถุระเบิดลูกที่ ๒ ลูกที่ ๓ โดยใช้ SOP ในการตรวจสอบ
พื้นที่รักษาความปลอดภัย
๕.๑.๔ พิจารณาการใช้สุนัขตรวจหาวัตถุระเบิด (Explosive K-๙)
๕.๑.๕ ยืนยันพื้นที่ว่าปลอดภัย
๕.๑.๖ หากมีวัตถุระเบิดลูกที่ ๒ หรือวัตถุต้องสงสัย ให้ใช้ SOP การตรวจสอบ
วัตถุต้องสงสัย การเก็บกู้วัตถุระเบิด
๕.๒ ขั้นตรวจสถานที่เกิดเหตุ ให้ดาเนินการดังนี้
๕.๒.๑ ทาการตรวจสอบหลุมระเบิด (Blast Seat) และทาการตรวจโดยรอบ
๕.๒.๒ พิจารณาอุปกรณ์ในการตรวจสถานที่เกิด เหตุและปฏิบัติง านร่วมกับ
กองพิสูจน์หลักฐานหรือกองวิทยาการ
๕.๒.๓ ท าการตรวจค้ น โดยตกลงว่ าจะทาการตรวจค้นโดยวิธี ใด เช่ น หน้ า
กระดาน (แบบตาราง แบบก้นหอย หรือหลายแบบรวมกัน)
๕.๒.๔ ปักธงและวางหมายเลข เมื่อพบวัตถุพยาน
๕.๒.๕ ถ่ายภาพวัตถุพยานตามหมายเลขและธง โดยให้สัมพันธ์กับเจ้า หน้า ที่
สเก็ตซ์ภาพและวาดแผน รวมถึงการวัดระยะวัตถุพยาน
๕.๒.๖ เก็บวัตถุพยานใส่ถุง บันทึกหมายเลข
๕.๒.๗ สารวจครั้งสุดท้าย ตรวจสอบแผนที่เกิดเหตุ
๕.๒.๘ วิเคราะห์ชิ้นส่วนและถ่ายภาพวัตถุพยานแต่ละชิ้น โดยใช้มาตราส่วน
๕.๒.๙ เก็บวัตถุพยานให้พนักงานสอบสวน ทาหนังสือนาส่งตรวจพิสูจน์
๖. การปฏิบัติขั้นสุดท้าย (Final Actions)
๖.๑ ตกลงใจร่วมกับเจ้าหน้าที่กองพิสูจน์หลักฐานหรือกองวิทยาการ
๖.๒ ยืนยันพื้นที่ว่าทาการตรวจสถานที่เกิดเหตุเพียงพอหรือยัง
๖.๓ ชี้แจงผลการปฏิบัติให้ ผบ.เหตุการณ์ และพนักงานสอบสวน (Case Officer)
๖.๔ เก็บเครื่องมือ อุปกรณ์เก็บกู้วัตถุระเบิด และอุปกรณ์ในการตรวจสถานที่เกิดเหตุ
๖.๕ แจ้ง ผบ.เหตุการณ์ ยกเลิกรถฉุกเฉิน
๖.๖ ตรวจสอบแผนที่เกิดเหตุและแผนผังวงจรต่างๆ
๖.๗ กลับที่ตั้ง ทาความสะอาด ซ่อมบารุง รักษาเครื่องมือและอุปกรณ์เก็บกู้วัต ถุ
ระเบิด อุปกรณ์ในการตรวจสถานที่เกิดเหตุเก็บเข้าที่
๖.๘ รายงานผลการปฏิบัติให้ผู้บังคับบัญชาตามลาดับชั้นทราบ
เจ้าหน้าที่สืบสวนสถานที่วางระเบิด (Bomb Scene Investigation Officer)
เจ้า หน้า ที่ที่เ กี่ย วข้อ งจะต้อ งเตรียมวางแผน ก าหนดหน้า ที่ ว่า ใครมีห น้า ที่ ทาอะไร
รับผิดชอบอะไรบ้าง โดยจะต้องเขียนขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร และจะต้องเข้า ใจขั้นตอน หน้า ที่ และ
ความรับผิดชอบ เพื่อให้ได้พยานหลักฐานที่มีคุณ ภาพ และเพื่อให้การสืบสวนสอบสวนหลัง เกิด เหตุ
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
๙๒

๑. หัวหน้าทีม (Team Leader)


๑.๑ มีหน้า ที่คัด เลือก ระดม บุค ลากร และอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ ประสาน
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเรื่องความรับผิดชอบในการสืบสวน
๑.๒ ทาการประเมินสภาพสถานที่เกิดเหตุทั้งหมด
๑.๓ กาหนดสถานภาพของสถานที่เกิดเหตุ การรักษาที่เกิดเหตุ และการใช้วิธีในการ
รักษาความปลอดภัย
๑.๔ กาหนดจุดสั่งการ และควบคุมผู้สื่อข่าวที่เข้าใกล้ที่เกิดเหตุ
๑.๕ สารวจที่เกิดเหตุโดยการเดินให้ทั่ว พร้อมกับผู้ชานาญด้านวัตถุระเบิดและนักเคมี
๑.๖ ก าหนดและประสานรู ปแบบการตรวจกับเจ้า หน้า ที่ สืบ สวนสอบสวนและ
ดาเนินการตรวจ
๑.๗ มอบหมายหน้าที่ตัวบุคคลในส่วนตรวจจุดฉุกเฉินที่ได้รับความเสียหายมากและ
ส่วนสืบสวนสอบสวน
๑.๘ มอบหมายหน้าที่ตัวบุคคลในส่วนตรวจทั่วไป และส่วนสืบสวนสอบสวน
๑.๙ ทาการประเมิน สรุปการตรวจค้น และแผนการสืบสวนสอบสวน
๑.๑๐ จัดประชุมประเมินสถานที่เกิดเหตุร่วมกับเจ้าหน้าที่สืบสวนสอบสวน
๒. เจ้าหน้าที่ถ่ายภาพ (Photographer)
๒.๑ ทาหน้าที่คัดเลือกและระดมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้
๒.๒ ถ่ายภาพบริเวณที่ได้รับความเสียหาย (รวมทั้ง ผู้ที่ได้รับความเสียหาย ยานพาหนะ
และฝูงชน)
๒.๓ ถ่ายภาพการปฏิบัติงานของทีมงาน
๒.๔ ถ่ายภาพหลุมระเบิดและความเสียหาย ระบุขนาดโดยวัด ความลึก ความยาว
และกว้าง
๒.๕ ถ่ายภาพหลักฐานที่พบในที่เกิดเหตุ
๒.๖ ถ่ายภาพจากที่สูงของบริเวณที่เสียหายมาก และบริเวณทั่วไป
๒.๗ ถ่ายภาพของการจาลองเหตุการณ์เป็นลาดับ
๒.๘ ถ้าจาเป็น ให้ถ่ายภาพพิมพ์เขียว แผนที่ และภาพของสถานที่ก่อนเกิดเหตุ
๒.๙ ถ่ายภาพผู้ต้องสงสัย หรือน่าเชื่อว่าอาจเป็นผู้ต้องสงสัย
๒.๑๐ ให้ตรวจสอบกับเจ้าหน้า ที่สืบสวนสอบสวนว่า ต้องการภาพถ่า ยใดเพิ่มเติม
หรือไม่
๓. เจ้าหน้าที่พยานหลักฐาน (Evidence Technician)
๓.๑ ทาหน้าที่คัดเลือก รวบรวม และแจกจ่ายอุปกรณ์เครื่องมือให้ชุดตรวจค้น เพื่อทา
การเก็บพยานหลักฐาน
๓.๒ เตรียมการทาบัญชีคุมพยานหลักฐาน และกาหนดจุดเก็บรวบรวมพยานหลักฐาน
๓.๓ ประสานและควบคุมการรวบรวมพยานหลักฐาน
๓.๔ บันทึกรายละเอียดพยานหลักฐานที่พบในบัญชีคุมพยานหลักฐาน ทาเครื่องหมาย
และบรรจุเก็บพยานหลักฐานอย่างเหมาะสม
๙๓

๓.๕ จาแนกประเภทพยานหลักฐานที่รวบรวมมาได้
๓.๖ ดูแลและควบคุมพยานหลักฐานที่รวบรวมได้
๓.๗ การประสานงานกับหัวหน้าชุดและเจ้าหน้าที่สืบสวนสอบสวน ในส่วนที่เกี่ยวกับ
สถานภาพของที่เกิดเหตุ
๓.๘ ก่อนที่จะออกจากที่เกิดเหตุ ให้ตรวจสอบพยานหลักฐานที่พบ โดยการทบทวน
รายการต่างๆ ที่ระบุในบัญชีคุมพยานหลักฐาน
๓.๙ บันทึกลาดับชั้นการควบคุม และจัดสถานที่ชั่วคราวเพื่อเก็บพยานหลักฐาน
๓.๑๐ เตรี ยมคาร้อง เพื่อขอให้มี การวิเ คราะห์ หลั กฐานในห้อ งปฏิบั ติการ และ
ดาเนินการส่งพยานหลักฐานไปยังห้องปฏิบัติการ
๔. เจ้าหน้าที่ร่างแผนผัง (Schematic Artist)
๔.๑ ทาหน้าที่คัดเลือกและรวบรวมเครื่องมือเครื่องใช้
๔.๒ ร่างแผนผังบริเวณที่ได้รับความเสียหายมาก
๔.๓ ร่างแผนผังบริเวณที่ได้รับความเสียหายทั่วไปของที่เกิดเหตุ
๔.๔ ระบุชี้พยานหลักฐานที่พบในที่เกิดเหตุและบันทึกต าแหน่ง ที่พบ ให้หมายเลข
กากับพยานหลักฐานแต่ละชิ้นที่พบในแผนผังการควบคุมพยานหลักฐาน
๔.๕ แสดงการวัดขนาดต่างๆ เช่น สูง ยาว และกว้าง
๔.๖ ร่างแผนผังของสถานที่ก่อนเกิดเหตุ โดยอาศัยการจินตนาการบนพื้นฐานความ
เข้าใจจากการสังเกตการณ์ เช่น เฟอร์นิเจอร์จัดอย่างไร หรือโครงสร้างเป็นอย่างไร
๔.๗ จัดเตรียมคาอธิบายกากับในแผนผัง
๔.๘ ทาบัญชีพยานหลักฐานที่รวบรวมได้ และประสานกับเจ้าหน้า ที่พยานหลักฐาน
เพื่อให้แน่ใจว่ามีการบันทึกพยานหลักฐานทุกชิ้นในแผนผังควบคุม
๔.๙ ทาเครื่องหมายหรือหมายเลขกากับ เพื่อระบุชี้แผนผัง ควบคุมพยานหลักฐาน
และแผนผังอื่นๆ ให้เหมาะสมเพื่อการนาเสนอในชั้นศาล
๔.๑๐ การประสานงานกั บ หั ว หน้ า ชุ ด และเจ้ า หน้ า ที่ อื่ น ๆ ในส่ ว นที่ เ กี่ ย วกั บ
สถานภาพของงานร่างแผนผัง
๕. หน่วยงานสืบสวนสอบสวนพื้นที่ฉุกเฉินที่ได้รับความเสียหายมาก (Immediate Area
Investigation Unit)
๕.๑ ท าหน้ า ที่ คั ด เลือ กและรวบรวมอุ ปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ใ นการสื บสวน
สอบสวน
๕.๒ ซักถามเจ้าหน้าที่ใ นท้องถิ่น เจ้า หน้า ที่ดับเพลิง และพยานบุค คลที่เป็นไปได้
ทั้งหมดในสถานที่เกิดเหตุ
๕.๓ ตรวจสอบเจ้าของทรัพย์สิน ผู้ได้รับความเสียหาย หรือได้รับบาดเจ็บจากการ
ระเบิด
๕.๔ รวบรวมชื่อบุคคลที่โดยปกติจะอยู่ในบริเวณนั้น เช่น ลูกจ้า ง ยาม หรือนักการ
ภารโรง
๙๔

๕.๕ จัดส่งชื่อและที่อยู่ของบุคคลหรือกลุ่มบุค คลให้แก่หน่วยงานสืบสวนสอบสวน


บริเวณทั่วไป (รวมทั้งบุคคลที่ต้องซักถาม และผู้บาดเจ็บที่ถูกนาส่ง โรงพยาบาล หรือเจ้า หน้า ที่กู้ภัย
ทีอ่ อกจากที่เกิดเหตุไปแล้ว)
๕.๖ ระบุบุคคลในที่เกิดเหตุทั้งหมด ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ถ่ายภาพให้ถ่ายภาพฝูง
ชน และยานพาหนะในพื้นที่ฉุกเฉินที่ได้รับความเสียหายมากและพื้นที่ทั่วไป
๕.๗ บั นทึ กการให้การของพยาน โดยระบุเวลาที่พยานได้ ยิ นเสี ยง ได้ กลิ่น หรื อ
สังเกตเห็นสีของควัน
๕.๘ สอบถามพยานบุคคลและบันทึกข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการกระทาทั่วไป
ต่างๆ ก่อนเกิดเหตุ
๕.๙ สอบถามพยานบุคคลและบันทึกข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งผิดปกติ เช่น หีบ
ห่อ สิ่งของ ยานพาหนะ ที่ไม่ทราบเจ้าของ และบุคคลที่ไม่ทราบว่าเป็นผู้ใด
๕.๑๐ จาลองเหตุการณ์บริเวณพื้นที่ฉุกเฉิน และประสานข้อมูลที่ได้รับกับหัวหน้าชุด
และเจ้าหน้าที่อื่นๆ
๖. หน่วยตรวจค้นพื้นที่ฉุกเฉินที่ได้รับความเสียหายมาก (Immediate Area Search Unit)
๖.๑ ทาหน้าที่คัดเลือกและรวบรวมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้
๖.๒ ก่ อ นและหลั ง เข้า ไปบริ เ วณที่ เ กิ ด เหตุร ะเบิ ด ต้ องค านึ ง ถึ ง อัน ตรายของ
โครงสร้างอาคาร ระเบิดลูกที่สอง และกับดักระเบิด
๖.๓ ตรวจหาหลุมระเบิด หรือจุดกาเนิดไฟ
๖.๔ การประสานแผนการตรวจค้นกับเจ้าหน้าที่ร่างแผนผัง และเจ้า หน้า ที่ถ่า ยภาพ
ก่อนที่จะเข้าไปดาเนินการบริเวณหลุมระเบิดและพื้นที่ฉุกเฉิน
๖.๕ วัดและบันทึกขนาด ความลึก และรูปร่างของหลุมระเบิดและความเสียหายอื่นๆ
๖.๖ เก็บตัวอย่างจากหลุมระเบิดและทาการควบคุมตัวอย่างเหล่านั้นตามความน่าจะเป็น
๖.๗ ตรวจค้น และร่อนหาชิ้นส่วน และส่วนประกอบของระเบิดจากหลุมระเบิด
๖.๘ แบ่งพื้นที่ฉุกเฉิน เพื่อทาการตรวจค้นอย่า งมีแบบแผนและเป็นขั้นตอน การ
ตรวจค้นควรขยายจากหลุมระเบิด ออกไปจนถึงบริเวณที่ซ้าซ้อนกับบริเวณของหน่วยตรวจค้นทั่วไป
๖.๙ แยกบันทึกและบรรจุพยานหลักฐานที่พบ และปฏิบัติต ามขั้นตอนปกติ โดยใช้
เจ้าหน้าที่ถ่ายภาพ เจ้าหน้าที่ร่างแผนผัง และเจ้าหน้าที่พยานหลักฐาน
๖.๑๐ จาลองที่เกิดเหตุบริเวณพื้นที่ฉุกเฉิน และประสานข้อมูลที่ได้รับกับหัวหน้า ชุด
และเจ้าหน้าที่อื่นๆ
๗. หน่วยตรวจค้นบริเวณทั่วไป (General Area Search Unit)
๗.๑ ทาหน้าที่คัดเลือก รวบรวม เครื่องมือเครื่องใช้ และประสานแผนการตรวจค้น
ให้ระวังอันตรายจากโครงสร้างของอาคาร ระเบิดลูกที่สอง และกับระเบิด
๗.๒ การตรวจอาคารต่างๆ ที่ตั้งอยู่รอบบริเวณเหตุระเบิด ยานพาหนะ และสิ่งต่างๆ
ที่ได้รับความเสียหาย จากสะเก็ดระเบิดและทาเครื่องหมายสถานที่เหล่านี้ เพื่อถ่ายภาพและทาแผนผัง
๗.๓ ตรวจค้นทางเข้า ออกเพื่อหาพยานหลักฐาน เช่ น รอยเท้า รอยยางรถยนต์
เสื้อผ้าที่ฉีกขาด เลือด ผม รอยนิ้วมือ หรือหลักฐานอื่นๆ ที่อาจจะเกี่ยวข้องกับผู้ต้องสงสัย
๙๕

๗.๔ ตรวจค้นทั่วบริเวณ เพื่อหาพยานหลักฐานของวัตถุระเบิด


๗.๕ ตรวจค้นหาชิ้ นส่ วนต่า งๆ จากการระเบิด บนหลัง คา ต้นไม้ หรือที่สูง อื่น ๆ
บันทึกผลกระทบจากแรงระเบิด และการที่มีกระจกแตกในบริเวณโดยรอบ
๗.๖ การก าหนดอาณาเขตรอบนอกที่ไ ด้ รับ ผลกระทบจากสะเก็ ด ระเบิด และ
พยานหลักฐาน แจ้งสิ่งต่างๆ ที่พบแก่เจ้าหน้าที่ร่า งแผนผัง เจ้า หน้า ที่ถ่า ยภาพ และผู้เชี่ยวชาญด้า น
วัตถุระเบิด
๗.๗ การปรับเปลี่ยนอาณาเขตบริเวณตรวจค้นรอบนอกถ้าจาเป็น
๗.๘ แยกบันทึกและเก็บพยานหลักฐานแต่ละชิ้นที่พบ ประสานงานในการรวบรวม
พยานหลักฐานกับเจ้าหน้าที่เก็บหลักฐาน เจ้าหน้าที่ร่างแผนผัง และเจ้าหน้าที่ถ่ายภาพ
๗.๙ จาลองสถานที่เกิดเหตุทั่วไป และประสานข้อมูลต่างๆ ที่ไ ด้รับ ร่วมกับหัวหน้า
ชุดและเจ้าหน้าที่สืบสวนสอบสวน
๘. หน่วยสืบสวนสถานที่เกิดเหตุ (General Area Investigative Unit)
๘.๑ ทาหน้าที่คัดเลือก และรวบรวมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในการสืบสวนสอบสวน
๘.๒ ตรวจสอบแผนที่และประเมินพื้นที่ทางเข้า-ทางออก เลือกแบบแผนการตรวจสอบ
อย่างเป็นขั้นตอน เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด
๘.๓ ตรวจสอบความเป็นไปได้ที่ผู้ส่งของอาจจะอยู่ในบริเวณนั้น บันทึกรายชื่อและ
ที่อยู่ของบุคคลเหล่านี้ เพื่อสอบปากคาในภายหลัง
๘.๔ ตรวจหาพยานบุคคลที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง
๘.๕ ตรวจสอบสถานประกอบการทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับทางเข้า ออกของสถานที่
เกิดเหตุ เช่น ปั้มน้ามันที่เปิดตลอดทั้งคืน ร้านกาแฟ โรงแรม ตู้เก็บเงินค่าผ่านทาง เป็นต้น
๘.๖ เตรียมรายชื่อผู้ต้องสงสัยพร้อมกับข้อเท็จจริงให้แก่ฝ่ายสืบสวนสอบสวน
๘.๗ บันทึกรายละเอียดรูปพรรณสัณฐาน ยานพาหนะ และที่พักอาศัยของผู้ต้องสงสัย
๘.๘ ตรวจสอบหาแหล่ ง ที่ม าของส่ว นประกอบของระเบิ ด และสิ่ ง ต่า งๆ ที่ พ บ
ณ สถานที่เกิดเหตุ
๘.๙ ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้า ชุด โดยเริ่มจากสถานที่เกิด เหตุ
และประเมินสถานการณ์ทั้งหมดจากข้อมูลที่ได้รับครั้งแรก
๘.๑๐ ให้ดารงการติดต่อสื่อสารกับหัวหน้าชุดตลอดเวลา และประสานข้อมูลที่ไ ด้รับ
กับเจ้าหน้าที่สืบสวนสอบสวน
๙. นักเคมี (Forensic Chemist)
๙.๑ ทาหน้าที่คัดเลือก และรวบรวมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้
๙.๒ ตรวจขั้นต้น โดยการเดินดูสถานที่เกิด เหตุทั้ง หมด ร่วมกับผู้ชานาญด้า นวัต ถุ
ระเบิดและหัวหน้าชุด
๙.๓ ช่วยเหลือหัวหน้า ชุด ประเมินสถานการณ์ และปรึกษาเพื่อหาวิธีการสืบสวน
สอบสวนสถานที่เกิดเหตุ
๙.๔ ช่วยเหลือหน่วยตรวจค้นสถานที่ทั่วไปเมื่อเห็นว่าเหมาะสม
๙.๕ ช่วยเหลือหน่วยตรวจค้นบริเวณฉุกเฉิน (ใกล้หลุมระเบิดที่ได้รับความเสียหายมาก)
๙๖

๙.๖ ประสานการวิเคราะห์ที่จาเป็นกับบุค ลากรของห้องปฏิบัติการในท้องถิ่นและ


ในส่วนกลางที่เห็นว่าจาเป็น
๙.๗ ทาหน้ าที่เป็ นที่ปรึกษาทางวิชาการ กรณีที่มี ค าถามที่เกี่ยวกับห้ องปฏิ บัติการ
ณ สถานที่เกิดเหตุ
๙.๘ ทาการทดสอบ ณ สถานที่เกิดเหตุเมื่อเห็นว่าเหมาะสม
๙.๙ ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่พยานหลักฐานและหัวหน้าชุดในการประเมินพยานหลักฐาน
ที่รวบรวมมา
๙.๑๐ ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่พยานหลักฐานในการเก็บบรรจุพยานหลักฐานให้ถูกต้อง
เหมาะสมแก่การส่งไปห้องปฏิบัติการ
๑๐. เจ้าหน้าที่ผู้ชานาญด้านวัตถุระเบิด (Explosives Technician)
๑๐.๑ ทาหน้าที่คัดเลือก และรวบรวมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้
๑๐.๒ เดิ นตรวจรอบสถานที่เกิด เหตุทั้ งหมดร่วมกั บหัวหน้าชุด ให้ค าแนะนาทาง
วิชาการเกี่ยวกับประเมินการระเบิดและไฟไหม้
๑๐.๓ กาหนดอาณาเขตของสถานที่เกิดเหตุ
๑๐.๔ ระบุจุดที่วางระเบิดหรือจุดเริ่มต้นของไฟ
๑๐.๕ ช่วยเหลือหน่วยตรวจค้นทั้งบริเวณฉุกเฉินและบริเวณรอบนอกทั่วไป
๑๐.๖ ประเมินข้อมูลการสืบสวนสอบสวนและเก็บชิ้นส่วนต่า งๆ ตามแนวคิด ของ
ผู้เชี่ยวชาญด้านวัตถุระเบิด
๑๐.๗ ลงความเห็ น ว่ า การเกิ ด เหตุ ร ะเบิ ด มี ส าเหตุ ม าจากอุ บั ติ เ หตุ ห รื อ
อาชญากรรม
๑๐.๘ จาลองสถานการณ์จากวัตถุพยานและลาดับเหตุการณ์
๑๐.๙ ให้ข้อสรุปย่อทางวิชาการแก่หัวหน้าชุดและทีมงานสืบสวนสอบสวน
๑๐.๑๐ จัดเตรียมแถลงการณ์แสดงความคิดเห็นทางวิชาการ
๑๑. เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญด้านลายนิ้วมือ (Fingerprint Technician) ทาหน้าที่ รวบรวมและ
ตรวจสอบลายนิ้วมือ ที่พบในเหตุการณ์ให้สมบูรณ์ที่สุด
๑๒. เจ้าหน้าที่ฝ่ายติดต่อประสานงาน (Coordinator)
๑๒.๑ ทาหน้าที่ติดต่อกับหน่วยอื่นๆ เช่น
๑๒.๑.๑ ฝ่าย
๑๒.๑.๒ แผนก (กระทรวง)
๑๒.๑.๓ หน่วย
๑๒.๑.๔ องค์กร
๑๒.๒ การพัฒนาและเสริมสร้า ง การสื่อสารผ่า นบุค คลที่ติด ต่อ สิ่ง ที่สาคัญ คือ
การสร้างความเชื่อถือให้คนที่ไว้วางใจ
๑๒.๓ การรวบรวมข่าวสารที่สาคัญ
๙๗

๑๓. เจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ (Public Relations Officer) มีหน้าที่และความรับผิดชอบ


คือ การติดต่อกับสาธารณชน
๑๓.๑ ทาหน้าที่เป็นตัวกลาง ระหว่างหน่วยสืบสวนกับสื่อมวลชน
๑๓.๒ วางแนวทาง สาหรับเจ้าหน้าที่ที่จะให้ข่าวสารข้อมูล
๑๓.๓ โปรดจาไว้ว่า การจะติดต่อกับสื่อมวลชนนั้น การไม่มีข้อมูลให้ยังดีกว่า การ
ให้ข้อมูลที่ผิดๆ
๑๓.๔ ในทันทีที่สื่อมวลชนตระหนักว่า พวกเขาได้ข้อมูลที่ผิดพลาด หรือทาให้เกิด
ความเข้าใจผิด สิ่งนี้จะทาลายความไว้เนื้อเชื่อใจที่มีอยู่ทันที
๑๓.๕ คุณจะต้องรู้ว่าคนที่คุณติดต่อด้วยเป็นใคร
๑๓.๖ หาทางปลีกตัวออกห่างจากคนที่ถูกมองว่า เป็นคนไม่มีความเป็นธรรม
๑๓.๗ หาลู่ทางที่จะออกข่าวโดยผ่า นเจ้า หน้า ที่ ซึ่ง รับผิด ชอบด้า นข่า วสารข้อมูล
เกี่ยวกับสาธารณะ
๑๓.๘ จะต้องทราบว่า ข้อมูลอะไรบ้า งที่ ค วรจะเปิด เผย และข้อมูลอะไรบ้า งที่
จะต้องเป็นความลับไม่ควรเปิดเผย
๑๓.๙ ทาขั้นตอนและรูปแบบที่จะทาให้กรอกข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างง่ายดาย
๑๓.๑๐ ต้องแน่ใจว่าได้รับอนุมัติและเห็นชอบในการแถลงข่าวแต่ละครั้ง (ถ้าจ าเป็น)
ประสานงานกับสื่อมวลชนและฝ่ายสอบสวน
พยานหลักฐานที่ตรวจพบในสถานที่เกิดเหตุ
๑. คานิยามของคาว่า หลักฐาน
จากพจนานุก รมเวปสเตอร์ (Webster) หลัก ฐาน หมายถึง สิ่ง ใดซึ่ง นาเสนอโดย
ถูกต้องตามกฎหมายแก่ศ าล เพื่อเป็นการยืนยันข้อคิด ว่า ข้ออ้า งอันใดอันหนึ่ง เป็นความจริง ทั้ง นี้
ในเรื่องที่เกี่ยวกับคดีที่ศาลนั้นกาลังพิจารณา
๒. ประเภทของหลักฐาน
๒.๑ หลักฐานสาคัญอันดับหนึ่ง (Primary Evidentiary Item) สิ่ง ซึ่ง เป็นหลักฐาน
สาคัญเป็นเอก สะเก็ดหรือส่วนต่างๆ ของตัวระเบิดแสวงเครื่อง (IED) รวมทั้งภาชนะที่บรรจุ ถ้าเป็นส่วนหนึ่ง
ของระเบิด
๒.๒ หลั กฐานส าคั ญ อัน ดับ สอง (Secondary Evidentiary Item) สิ่ ง ซึ่ ง เป็ น
หลักฐานสาคัญเป็นรอง สะเก็ด ส่วนต่างๆ หรือตัวอย่างของสิ่งของ โครงสร้า ง หรือต าแหน่ง ที่ใ กล้กับ
จุดที่เกิดการระเบิด
๒.๓ หลักฐานอื่นๆ หมายถึง สิ่งต่างๆ ซึ่งมีผลกระทบหรือมีอิทธิพลแก่การดาเนินคดี
และซึ่ ง อาจมี ค วามเกี่ ย วเนื่ อ งโดยตรงหรื อ โดยทางอ้ อมกั บ กลไกวั ต ถุ ระเบิ ด ลูก นั้ น หรื อ บุ ค คล
ซึ่งประดิษฐ์สร้างระเบิดลูกนั้นขึ้นมาหรือเป็นผู้นาระเบิดมาวาง
๓. จุดประสงค์ของการเก็บรวบรวมและสงวนหลักฐานซึ่งเราจะนามาใช้ในการสร้างรูปคดีเพื่อ
๓.๑ นาไปสู่การจับกุมผู้กระทาความผิด
๓.๒ ระบุหาตัวผู้ต้องสงสัย
๓.๓ กันผู้ที่ไม่ต้องสงสัยออกไปและขจัดความกังขาสงสัยใดๆ
๙๘

๓.๔ สร้างความเชื่อโยงและความสัมพันธ์
๓.๕ ประกบหาความเหมื อ นกั น เช่น ร่ องรอยเครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ กาก หรื อเศษที่
หลงเหลือ
๓.๖ รองรับและให้การสนับสนุนสมมุติฐานรูปคดีที่วาดไว้
๓.๗ ระบุเอกลักษณ์ใด ๆ
๔. ผลลัพธ์แบบต่างๆ ซึ่งอาจได้มาจากการศึกษาวิเคราะห์และพิสูจน์หลักฐาน (Types of Forensic
Examinations) ผลงานของการศึกษาวิเคราะห์และพิสูจน์หลักฐานจากห้อง LAB ที่มีประสิทธิภาพจะก่อให้เกิด
ผลลัพธ์ดังต่อไปนี้ คือ เราอาจสามารถที่จะ
๔.๑ ระบุส่วนประกอบต่างๆ ของระเบิดลูกนั้น
๔.๒ ศึกษาวิเคราะห์เอกสาร ซึ่งสร้างหรือก่อความกังขา นั่นคือ ที่ต้องมีการพิสูจน์
๔.๓ ระบุความเหมือนของรอยพิมพ์นิ้วมือ
๔.๔ ระบุร่องรอยของส้นรองเท้าและยางล้อรถ เพื่อบ่งชี้ว่ามาจากแหล่งใด
๔.๕ ระบุผลจากการศึกษาวิเคราะห์ภาพถ่าย
๔.๖ ระบุผลจากการศึกษาวิเคราะห์เส้นผม ใยเสื้อผ้า และระบุข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งเหล่านี้
๕. การศึกษาวิเคราะห์ด้านวิทยาศาสตร์
การศึกษาวิเคราะห์ด้านวิทยาศาสตร์และผลลัพธ์ที่มีประโยชน์บางรูปแบบอาจเป็นสิ่ง
ซึ่งได้มาโดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษจ าเพาะใดๆ แต่อาจมีการศึกษาวิเคราะห์บางแบบ ซึ่ง ต้องใช้
เครื่อ งมื อพิ เศษ อาจสามารถด าเนิ นงานการศึ กษาวิ เคราะห์ เรื่ อ งต่ า งๆ ดัง ต่อ ไปนี้ โดยท างาน
ในห้องพิสูจน์หลักฐานธรรมดาที่มีเครื่องมือพร้อม ได้แก่ การวิเคราะห์
๕.๑ โลหิต
๕.๒ แร่ธาตุธรณีวิทยา
๕.๓ โลหะวิทยา
๕.๔ ด้านนิติเวช
๕.๕ ทันตกรรม
๕.๖ อาวุธปืน และร่องรอยเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
๕.๗ การศึกษาวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรศน์
๕.๘ การศึกษาวิเคราะห์วัตถุต่างๆ
๕.๙ การศึกษาวิเคราะห์ด้านเคมี
๕.๑๐ การศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ ดินฟ้าอากาศ และนูทรอน
๕.๑๑ การศึกษาวิเคราะห์เครื่องมือหรือด้วยเครื่องมือ
๖. การศึกษาวิเคราะห์รอยพิมพ์นิ้วมือ ในฐานะเป็นหลักฐาน
เจ้าหน้าที่อาจจะสามารถใช้รอยพิมพ์นิ้วมือ ซึ่งพบในที่เกิดเหตุเป็นหลักฐานที่มีคุณค่า
อย่างยิ่ง รอยพิมพ์นิ้วมือเป็นหลักฐานซึ่ง ในปัจ จุบันนี้ เป็นสิ่ง ที่ยอมรับในศาลส่วนใหญ่ทั่วโลก และ
การระบุชี้รอยพิมพ์นิ้วมือเช่นนี้ อาจได้มาจากรอยพิมพ์ที่เป็นเพียงเสี้ยวเดียวก็ไ ด้ สาหรับจดบันทึก
(Note) รอยพิมพ์ ขนาดเพี ยงปลายดินสออาจเป็ นปริมาณมากเพี ยงพอที่จ ะใช้ เป็น หลัก ฐานและ
เครื่องยืนยันระบุตัวผู้กระทาความผิดได้ ซึ่งส่วนประกอบใดๆ ของลูกระเบิด ที่พบ ณ ที่เกิด เหตุ อาจมี
๙๙

รอยพิมพ์นิ้วมือปรากฏอยู่ แม้ว่าคนร้ายอาจใช้ความระมัดระวังที่จะไม่ทิ้งร่องรอยพิมพ์นิ้วมือ หรือบาง


กรณีรอยพิมพ์เช่ นนี้ อาจถูกทาลายไปในการระเบิด แต่อย่า งไรก็ต าม ก็มี โอกาสเป็นไปได้ที่จ ะมี
ร่องรอยนิ้วมือหลงเหลืออยู่ที่พอจะทารอยพิมพ์ไ ด้ แม้ว่า ผู้วางระเบิด อาจจะใส่ถุง มือยาง หรือถุง มือ
หนังก็ตาม เนื่องจากความชื้นอาจสามารถซึมผ่านถุงมือได้
๖.๑ การศึกษาวิเคราะห์รอยนิ้วมือ
๖.๑.๑ มนุษ ย์ แต่ ล ะคน จะมีล ายนิ้ วมื อ ไม่ เ หมื อ นกั น ทุก คน มี ค วามเป็ น
เอกลักษณ์ของตนเอง จนถึงทุกวันนี้ ยังไม่ปรากฏว่า มีกรณีที่มนุษ ย์ ๒ คนมีลายนิ้วมือเหมือนกันทุก
เส้น แม้จะเป็นฝาแฝดก็ยังมีลายพิมพ์นิ้วมือไม่เหมือนกัน รอยพิมพ์นิ้วมือของแต่ละคนมีค วามเป็น
เอกลักษณ์มีลวดลายแตกต่างกับมนุษย์คนอื่นๆ ทั้งหมดในโลก ผู้มีอาชีพบางแบบ เช่น ช่า งก่ออิฐ หรือ
หิน อาจทาให้ลายนิ้วมือบนผิวหน้าลางเลือนลบหายไปเกือบไม่เหลือร่องรอย แต่ทว่าในการชันสูต รศพ
เราอาจสามารถลอกผิ วชั้นบนออกจนถึง ชั้นล่ า งๆ เราจะเห็ นลายนิ้ วมือ ซึ่ ง เป็นวิ ธีการที่ ทากันใน
ระหว่างการชันสูตรศพ เมื่อเราได้รอยพิมพ์นิ้วมือมาจากวัตถุสิ่งใดก็ตาม เราจะนามาเทียบกับลายพิมพ์
นิ้วมือ ซึ่งอยู่ในแฟ้มเพื่อระบุตัวเจ้าของลายพิมพ์นิ้วมือ และควรมีการตรวจค้น และศึกษาวิเคราะห์
ผิวหน้าต่างๆ อย่างถี่ถ้วนในบริเวณพื้นที่เกิดเหตุ เพื่อหาลายพิมพ์นิ้วมือหรือฝ่า มือ ควรให้ค วามใส่ ใ จ
เป็นพิเศษแก่บริเวณที่มักจะเรียกว่า เส้นผมบังภูเขา เช่น ใต้ที่นั่งโถส้วม กระจกส่องดูด้านหลัง ฝาท้ายรถ
พื้นผิวบนโต๊ะ เทปกาว ลูกบิดกลอนประตู เป็นต้น
๖.๑.๒ รูปแบบของหลักฐานรอยพิมพ์นิ้วมือ
ลา ยพิ มพ์ นิ้ วมื อที่ ไม่ สามาร ถเห็ นไ ด้ ด้ วยต าเปล่ า ( Invisible
Fingerprints) ซึ่งมีอยู่บนผิวหน้า แต่ทว่าจะไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ลายนิ้วมือแฝงที่มีอยู่
ตามพื้นที่เกิดเหตุ ส่วนใหญ่มักจะเป็นลายนิ้วมือประเภทนี้ ซึ่งเราจะได้รอยพิมพ์ออกมาได้โดยการใช้
กรรมวิธีโรยผงหรือใช้สารเคมี เพื่อให้ปรากฏชัดขึ้นมา ลายพิมพ์นิ้วมือที่ไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า
จะมีสภาวะบางประการ ซึ่งเป็นเครื่องจ ากัด คุณ ค่า ของลายพิมพ์นิ้วมือแบบนี้ ได้แก่ อายุ ช่วงเวลา
อุณ หภูมิ ความชื้น สารเคมีต่า งๆ หรือผิ วที่มีร อยลายนิ้วมืออยู่ อาจมีลักษณะซึ่ง ทาให้ลายนิ้วมื อ
คลาดเคลื่อ น โดยมีข้อ จ ากัด ของลายนิ้ว มือแบบที่ไ ม่ สามารถมองเห็น ได้ด้ว ยตาเปล่า คื อ เมื่ อเรา
ทาการศึกษาวิเคราะห์ลายนิ้วมือแบบดังกล่าวแล้วนั้น เราจะไม่สามารถได้ข้อมูลบางประการ เป็นต้นว่า
อายุ หรือช่วงเวลาของลายนิ้วมือนี้นานเท่าใด หลังจากเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น เราจะไม่สามารถได้ ข้อมูล
จาเพาะเกี่ยวกับเจ้าของลายนิ้วมือนั้น เช่น บุคคลนี้มีวัยใด เพศใด เผ่าพันธุ์ใด หรือประกอบอาชีพใด
ลายพิมพ์นิ้วมือแบบเห็นได้ (Visible Fingerprints) คือ ลายนิ้วมือบนพื้น
ผิวหน้า ซึ่งมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าลายนิ้วมือเช่นนี้ มักจะเป็นผลเนื่องมาจากการแปดเปื้อนจากสิ่ง อื่นๆ
บนนิ้วมือ เช่น น้ามัน น้าหมึก โลหิต หรือสารอื่นๆ ซึ่งก่อให้เกิด รอยเปื้อนบนมือได้ และซึ่ง ก่อให้เกิด
คราบลายนิ้วมือบนพื้นผิวเมื่อมือที่เปื้อนนี้มาแตะต้อง
ลายนิ้วมือหล่อแหลม (Model Fingerprints) คือ รอยพิมพ์ที่ได้มาจาก
การหลอมด้วยไข เยลลี่ปิโตรเลี่ยม สีที่กึ่งแห้ง แป้งเปียก หรือสารต่างๆ ที่สามารถใช้หลอมหรือหล่อแบบ
๗. การศึกษาวิเคราะห์ เส้นผมหรือขน และเส้นใย ในฐานะเป็นหลักฐาน
แม้ ว่ า เส้ น ผมและเส้ น ใยนั้ น ยั ง คงเป็ น เพี ย งหลั ก ฐานแบบแวดล้ อ มกรณี
(Circumstantial) สาหรับศาล แต่ทว่ามันอาจช่วยเป็นเครื่องมือที่ดีในการสืบสวนคดีของท่าน โดยเป็น
๑๐๐

เครื่องช่วยระบุชี้ว่า ผู้ต้องสงสัยได้อยู่ ณ พื้นที่เกิด เหตุไ ม่ช่วงเวลาใดก็เวลาหนึ่ง ท่า นอาจสามารถ


เปรียบเทียบ เส้นผมหรือใย ที่ท่านเก็บเป็นหลักฐานจากพื้นที่เกิดเหตุ กับเส้นผมหรือเส้นใยที่ท่า นเก็บ
จากเครื่องมือ รถยนต์ หรือบ้านของผู้ต้องสงสัย
๗.๑ การศึกษาวิเคราะห์เส้นผมหรือขน ด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์จ ะระบุไ ด้ว่า
เป็นของสัตว์หรือมนุษ ย์ ถ้า เป็นสัต ว์ก็จ ะบอกได้ว่า เป็นสัต ว์ประเภทใด ถ้า เป็นเส้นผมหรือขนจาก
ร่างกายมนุษย์ เราสามารถทาการทดสอและศึกษาวิเคราะห์ต่อไป เพื่อให้รู้ว่าบุคคลนั้นเป็นเผ่า พันธุ์ใ ด
รวมทั้งจะบอกได้ว่า เป็นขนที่หลุดออกมาจากส่วนใดของร่า งกาย อีกทั้ง ผมหรือขนนั้นหลุด ออกมา
อย่างไร หรือว่าผมหรือขนเส้นนั้น ถูกทาให้เสื่อมสภาพ ชารุดหรือไม่อย่างไร รวมทั้งเราจะสามารถระบุ
ได้ด้วยว่าเส้นผมหรือขนนั้นได้ถูกเปลี่ยนสภาพหรือไม่
๗.๒ การศึกษาวิเคราะห์เส้ นใย ก็ เช่นเดีย วกันกับ เส้นผมหรือเส้ นขน ถื อว่า เป็ น
หลักฐานแบบแวดล้อมกรณี (Circumstantial) แต่ทว่า มันอาจสามารถให้ข้อมูลที่มีคุณ ค่า แก่เราได้
อย่างมาก การศึกษาวิเคราะห์เส้นใยด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์จ ะระบุไ ด้ว่า เป็นใยประเภทใด
นอกจากนั้น ด้วยการศึกษาวิเคราะห์ทางกล้องจุลทรรศน์ เราจะสามารถเทียบความคล้า ยคลึง ของมัน
กับใยที่เรามีอยู่ในตัวอย่างของเรา ใยต่า งๆ เหล่า นี้อาจมาจากขนสัต ว์ พืชพรรณ ผัก ใยสัง เคราะห์
หรือธรณี (เช่นหญ้า) ใดๆ ก็เป็นไปได้ทั้งสิ้น
๘. การศึกษาวิเคราะห์ผ้าและเชือก ในฐานะเป็นหลักฐาน
๘.๑ สามารถพิสูจน์ได้ว่า เศษผ้า ชิ้นใดชิ้นหนึ่ง มาจากผ้า หรือเครื่องแต่ง กายชิ้นใด
ที่เราใช้เป็นตัวเปรียบเทียบ เป็นการระบุโดยทางวิทยาศาสตร์ เราจะสามารถระบุส่วนประกอบ การทอสี
และเส้นผ่านศูนย์กลางของด้าย
๘.๒ วั สดุประเภทเชื อก ก็ เช่ นเดี ยวกั บผ้า เราสามารถใช้ การศึ กษาวิ เคราะห์ ทาง
วิทยาศาสตร์ ช่วยพิสูจ น์ได้ว่า เชือกมีส่วนประกอบโครงสร้า งอย่า งไร ผลิต อย่า งไร สี และเส้นผ่า น
ศูนย์กลาง ซึ่งทาให้เราสามารถเทียบความเหมือนกับเชือกที่เป็นตัวอย่าง อีกทั้งเราสามารถจะบอกได้ว่า
ผลิตมาจากบริษัทใด
๙. การศึกษาวิเคราะห์เทปกาว ในฐานะเป็นหลักฐาน
เราสามารถระบุได้แน่ชัด โดยการเทียบความเหมือนของชิ้นส่วนเล็กๆ ของเทปกาว
ซึ่งเก็บได้จากพื้นที่เกิดเหตุ ที่มีการลอบวางระเบิดกับม้วนเทป ซึ่งเราสงสัยการศึกษาวิเคราะห์ชิ้นเทปกาว
อาจทาได้โดยการศึกษาโครงสร้าง ส่วนประกอบ และสี สาหรับจดบันทึก
๑๐. การศึกษาวิเคราะห์ไม้ ในฐานะเป็นหลักฐาน
เราสามารถเหมาความได้ว่า เศษไม้ที่พบ ณ ที่เกิด เหตุ เป็นสิ่ง ซึ่ง อยู่ ณ ที่นั้น ก่อน
ที่จะเกิดการระเบิดขึ้น มันอาจเป็นส่วนหนึ่งของภาชนะหรือสิ่งของที่ใช้โดยคนร้าย การศึกษาวิเคราะห์
ไม้ด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ อาจช่วยระบุประเภทของไม้ (พันธุ์ต่า งๆ) มาจากที่ใ ด เราสามารถ
นามาเทียบกับตัวอย่างทางด้านข้างหรือด้านปลาย รวมทั้งเศษที่หลุดออกมา
๑๑. การศึกษาวิเคราะห์ธรณีวัตถุ ในฐานะเป็นหลักฐาน
ศาสตร์ของการพิสูจน์หลักฐานสาขานี้คือ การเปรียบเทียบตัวอย่างดิน แม้ว่าหลักฐาน
แบบนี้จะยังคงถือว่า เป็นหลักฐานแบบแวดล้อมกรณี (Circumstantial) ในศาลส่วนใหญ่ แต่มันอาจ
๑๐๑

ช่วยเป็นเครื่องระบุว่า ผู้ต้องสงสัยได้อยู่ ณ ที่เกิดเหตุช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เราอาจเทียบดิน ซึ่ง เก็บมา


จากพื้นที่เกิดเหตุกับดินที่ได้จากส้นรองเท้าของผู้ต้องสงสัยว่าเหมือนกัน เป็นต้น
๑๒. การศึกษาวิเคราะห์โลหะ ในฐานะเป็นหลักฐาน
เราอาจนาเศษโลหะมาตรวจศึกษาวิเคราะห์ในห้อง LAB พิสูจน์หลักฐาน เพื่อทาการ
เปรี ยบเทียบความเหมือน ระบุ คุณสมบัติ ต่า งๆ แบบ Macro และ Micro (รวมทั้ งการบิ่ น หั ก ต่ างๆ
เหล่านี้) การศึกษาวิเคราะห์ร่องรอยต่างๆ บนชิ้นโลหะ ส่วนที่แสดงความชารุดหรือทาลาย ต าหนิที่มา
จากโรงงานหรือที่พบในวัสดุ คุณสมบัติแง่จักรกลของโลหะ เช่น ความแข็ง การหักงอ และความคงทน
อีกทั้ง ส่วนประกอบของโลหะชิ้นนั้นในห้อง LAB ที่มีเครื่องมือพร้อม เราอาจทาการศึกษาวิเคราะห์
เพื่อดูคุณสมบัติโครงสร้างของเนื้อโลหะชิ้นนั้น ได้แก่ ขนาดและรูปทรงของเกล็ด โดยใช้กล้องส่องหรือ
วิเคราะห์ด้วย Electron
๑๓. การศึกษาวิเคราะห์พืชพรรณ ในฐานะเป็นหลักฐาน
เราจะทาการศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบพืชพรรณที่รู้จักแหล่ง ที่มากับพืชพรรณ
ที่มาจากแหล่งที่เราไม่รู้
๑๔. การศึกษาวิเคราะห์หลักฐานทางมานุษยวิทยา
เราอาจใช้การวิเคราะห์โดยศาสตร์ด้านมานุษยวิทยา ที่จะตรวจโครงกระดูก เพื่อดูว่า
เป็นมนุษย์หรือสัตว์ ตรวจซากศพว่า เป็นเผ่าพันธุ์ใด เพศใด โครงสร้างกระดูกของร่างกาย และความสูง
รวมทั้งวัยของผู้นั้นเมื่อเสียชีวิต เทียบฟันของศพกับเอ็กซเรย์ฟันที่มีอยู่ หรือเทียบโครงสร้างของกระดูก
กับบุคคลนั้นเมื่อยังมีชีวิตอยู่
๑๕. การศึกษาวิเคราะห์หลักฐานจากร่องรอยของเครื่องมือ
เครื่องมือในที่นี้ หมายถึง สิ่งใดก็ต ามที่สามารถก่อให้เกิด ร่องรอยบนวัต ถุ ซึ่ง ไม่ใ ช่
ของเหลว คาว่า ร่องรอยจากเครื่องมือ หมายถึ ง รอยกด รอยตัด รอยเจาะ หรือขีด ข่วน อันเป็ น
ผลเนื่องมาจาก มีเครื่องมืออันหนึ่งมาสัมผัสกับวัสดุชิ้นหนึ่งแล้วทิ้งร่องรอยของการสัมผัสจากเครื่องมือ
นั้นไว้บนวัตถุชิ้นนั้น ถ้าเป็นร่องรอยที่เราพบบนวัสดุที่เป็นของแข็ง เช่น โลหะส่วนใหญ่ เมื่อใช้กล้อง
ขยายส่อ งดู เราจะเห็น ร่องรอยซึ่ง มีเอกลักษณ์เ ป็นพิเศษ ดัง นี้เ ราก็จ ะได้ข้อมูล ซึ่ง มีคุณ ค่ า ในการ
ดาเนินคดีสามารถระบุได้ว่าเครื่องมือชิ้นใด เป็นสิ่งซึ่งก่อให้เกิด ร่องรอยบนวัต ถุชิ้ นนั้น ร่องรอยที่เกิด
จากการถ่ายทอดโดยเครื่องมืออันใดก็ตาม จากผิวหน้าของสิ่งหนึ่งไปยังผิวหน้า ของอีกสิ่ง หนึ่ง อาจให้
ข้อมูลสาคัญในการด าเนิ นคดีเช่ นกัน รวมทั้ง ร่อ งรอยของวัต ถุสิ่ ง นั้นซึ่ง หลงเหลื ออยู่บนเครื่องมื อ
การศึกษาวิเคราะห์เรื่องนี้ เป็นกิจที่ต้องทาในห้อง LAB ทดลองในการพิสูจน์หลักฐานเท่านั้น
๑๖. การศึกษาวิเคราะห์เอกสารที่สร้างความกังขา ในฐานะเป็นหลักฐาน
เราต้องพยายามเก็บรักษาและสงวนเอกสารทั้งหมดที่เป็นกระดาษ ซึ่งเราพบ ณ พื้นที่
เกิดเหตุ รวมทั้งซองหรือภาชนะที่บรรจุเอกสาร โดยเฉพาะถ้า เป็นกรณีสาส์นขู่วางระเบิด เราต้อง
พยายามหลีกเลี่ยงการแตะต้องเอกสารโดยไม่จาเป็น ทันทีที่ได้เอกสารซึ่งอาจใช้เป็นหลักฐาน ท่านควร
ใส่เอกสารนี้ไว้ในถุงใสที่มองทะลุเห็นเอกสารได้ ใช้ความระวังที่จะไม่ก่อให้เกิดรอยพับเพิ่มขึ้น และควร
พยายามค้นหาชิ้นส่ว นอื่นๆ ที่เป็นส่วนของเอกสารนี้ที่ฉีกขาดออกไป เอกสารที่มีรอยไหม้จ ะต้อ ง
ทางานด้วยความระมัดระวังอย่างยิ่ง เจ้าหน้าที่สืบสวนจะต้องให้ความสนใจแก่รอยกดบนกระดาษแผ่น
๑๐๒

ล่างจากการเขียน แม้ว่ากระดาษแผ่นบนที่มีข้อความอยู่อาจถูกดึง ออกไปแล้ว แต่บางครั้ง เราอาจใช้


ประโยชน์จากรอยกดของการเขียนที่ปรากฏอยู่บนกระดาษแผ่นล่างต่อๆ ไปก็ได้
๑๗. การศึกษาวิเคราะห์สี ในฐานะเป็นหลักฐาน
การศึกษาวิเคราะห์สี ส่วนใหญ่จะทาในรูปแบบการเปรียบเทียบนั่นคือ สีที่เก็บมา
เป็นตัวอย่างจะถูกนามาเทียบกับสีมาตรฐานที่เรารู้ การศึกษาวิเคราะห์ในห้อง LAB อาจสามารถเทียบสี
จากชิ้นที่หักออกมาจากรอยขูดขีด หรืออาจทาการวิเคราะห์ด้วยสารเคมี ทาการเปรียบเทียบเนื้อสี
สีของสี การจางของสี ชั้นต่างๆของสี ลักษณะและคุณสมบัติต่างๆ ของสี
๑๘. การศึกษาวิเคราะห์แก้วหรือกระจก ในฐานะเป็นหลักฐาน
มีรูปลักษณะและคุณ สมบั ติหลายประการ ที่เราสามารถระบุไ ด้จ ากการศึกษา
วิเคราะห์เศษแก้วหรือเศษกระจก รวมทั้งเราสามารถหาข้อมูลเกี่ยวกับ การผลิต เศษแก้วหรือกระจกนี้
ซึ่งให้ข้อมูลที่สาคัญแก่เรา นอกจากนี้เราอาจนาเศษแก้วเหล่า นี้มาปะติด ปะต่อกัน เพื่อดูว่า ประกอบ
เข้ากันได้หรือไม่ จากการศึกษาวิเคราะห์เศษแก้ว เราสามารถบอกได้ว่า ทิศ ทางของการระเบิด เป็น
รูปใด โดยการเปรียบเทียบเศษแก้วที่ได้จากภายในอาคารกับที่ไ ด้จ ากภายนอกอาคาร และที่ไ ด้จ าก
กรอบหน้า ต่า ง ซึ่งจะใช้เป็นมาตรฐานในการเปรียบเทียบกับเศษที่ไ ด้ ด้วยเหตุนี้เมื่อเก็บรวบรวม
หลักฐาน จึงต้องบ่งชี้อย่างถี่ถ้วนว่า ได้มาจากจุดใดและบรรจุได้ในหีบห่อที่แยกจากกัน
๑๙. การศึกษาวิเคราะห์รอยประทับและรอยส้นรองเท้า ในฐานะเป็นหลักฐาน
เราอาจสามารถพิมพ์รอยประทับที่เกิดจาก ยางล้อรถของคนร้ายที่ทิ้งอยู่ ณ ที่เกิดเหตุ
ซึ่งจะประกอบด้วย ลายของดอกยาง รวมทั้ง ลักษณะต่า งๆ ที่เป็นเอกลักษณ์พิเศษของยางรถนั้นๆ
รอยส้นรองเท้า คือ ร่องรอยที่พบ ณ พื้นที่เกิดเหตุ ซึ่งมาจากส้นรองเท้า ของคนร้า ย อันประกอบด้วย
ขนาดของรองเท้า แนวของลวดลาย รวมทั้งลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์พิเศษต่างๆ
๒๐. การศึกษาวิเคราะห์หลักฐานซึ่งเป็นโลหิตและของเหลวต่างๆ ที่มาจากร่างกาย
หลักฐานประเภทนี้ มีประโยชน์ใ นการระบุ ว่า ผู้ต้อ งสงสัยได้อยู่ ที่พื้นที่เกิด เหตุ
ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ของเหลวต่างๆ ที่มาจากร่า งกายได้แก่ โลหิต น้าอสุจิ น้าลาย ปัสสาวะ เหงื่อ
น้าเหลือง หรือน้านมของมนุษย์
๒๑. การศึกษาวิเคราะห์หลักฐานในด้านสารพันธุกรรม (DNA) ของมนุษย์
กรด Deoxyribonucleic (DNA) มีโมเลกุลหรือเซลล์ของร่างกาย ซึ่งถ่ายทอดลักษณะ
ต่างๆ ทางพันธุกรรมสาหรับสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ประกอบด้วยเซลล์ Nucleotide ๒ เส้น ขดพันกันและกัน
ในรูปเสมือนบันไดลิงขั้นล่างๆ ของบันได ประกอบด้วยฐานต่า งๆ กันข้อมูลด้า นพันธุกรรมของ DNA
จะปรากฏอยู่ในช่วงตอนของฐานเหล่านี้ การศึกษาวิเคราะห์ DNA เป็นวิธีการระบุส่วนหนึ่งของ DNA โดยใช้
การจัดเซลล์ของฐานเหล่านี้ ซึ่งเราได้จากมาตรฐานเพื่อการเปรียบเทียบมาใช้เปรียบกับ DNA ที่เราต้องการ
วิเคราะห์เพื่อดูความเหมือนกัน
เทคนิคการค้นหาหลักฐาน
กระบวนการสืบสวนหลัง เกิด เหตุระเบิด นั้น เป็นหนึ่ง ในหลักสาคัญ ที่เจ้า หน้า ที่ต ารวจ
ต้องทาการศึกษาและปฏิบัติให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นั่นคือ การค้นหาหลักฐานในสถานที่เกิด เหตุ
หลัง จากเกิด เหตุระเบิด ขึ้น ในส่วนนี้ จ ะให้วิธีที่เ ป็นประโยชน์ หรือ เทคนิค สาหรับใช้ใ นการค้น หา
หลักฐานเมื่อเกิดเหตุระเบิด นอกจากนี้แล้วนั้สามารถแบ่งวิธีในการตรวจค้นสถานที่เกิดเหตุได้ ดังนี้
๑๐๓

๑. การค้นในจุดที่มีการระเบิด
ระเบียบสาหรับการปฏิบัติต่อสถานที่ที่เกิดเหตุระเบิดในลักษณะนี้ มีดังต่อไปนี้
๑.๑ กาหนดจุดบริเวณรอบนอก
๑.๒ ปิดล้อมบริเวณที่เกิดเหตุ
๑.๓ ปิดล้อมบริเวณรอบนอกที่เกิดเหตุ
๑.๔ ระบุแหล่งและเก็บหลักฐานโดยเริ่มจากจุด ที่เ กิด ระเบิด และค้นจากจุด นั้ น
ออกไปอย่างรอบด้าน
๑.๕ แบ่งสถานที่เกิดเหตุออกเป็นส่วนๆ
๑.๖ กาหนดแนวทางการค้นหา
๑.๗ ทางานจากด้านในออกไปด้านนอกจนกระทั่งเก็บหลักฐานที่เห็นได้ทั้งหมด
๒. การตรวจค้นสถานที่เกิดเหตุโดยรวมพร้อมๆ กัน
วิธีปฏิบัติต่อสถานที่เกิดเหตุระเบิดในลักษณะนี้คล้ายคลึง กับวิธีแรก แนวทางปฏิบัติ
มีดังต่อไปนี้
๒.๑ กาหนดบริเวณรอบนอกของสถานที่เกิดเหตุ
๒.๒ ปิดล้อมสถานที่เกิดเหตุ
๒.๓ กาหนดบริเวณภายในสถานที่เกิดเหตุ
๒.๔ ปิดล้อมบริเวณรอบๆ จุด ที่เกิด เหตุระเบิด พร้อมกับจ ากัด การเข้า ถึง ต่อผู้ที่ทา
การสืบสวนในจุดนั้น
๒.๕ ดาเนินการค้นหาในจุดนี้พร้อมกับ การค้นหาหลักฐานในส่วนอื่นๆ ของสถานที่
เกิดเหตุ
๒.๖ เริ่มต้นการค้นหาจากจุดนอกสุดเข้าสู่จุดระเบิด
๒.๗ กาหนดแนวทางการค้นหา
๒.๘ แบ่งสถานที่เกิดเหตุออกเป็นส่วนๆ สาหรับการทางาน ถ้า เป็นไปได้อาศัยหลัก
หรือเครื่องกีดขวางตามธรรมชาติเป็นเครื่องหมายในการแบ่ง
๒.๙ ให้ค้นหาหลักฐานในส่วนที่แบ่งไว้ในรอบนอกก่อน เพื่อจะได้บริเวณที่จะต้องทางาน
ข้อเสนอแนะ เมื่อกาหนดบริเวณรอบนอกของสถานที่เกิดเหตุในตอนแรก ให้กาหนด
ไว้ในระยะทางที่ไกลจากจุดที่เกิดระเบิดกว่าที่จาเป็น สูตรนี้เรียกว่า สูตร ๕๐% เพื่อเป็นการรับประกันว่า
จะได้เก็บหลักฐานที่มีได้ทั้งหมด การกาหนดบริเวณไว้โดยให้มีพื้นที่ใหญ่ไว้นั้น จะเป็นผลดีกว่าพื้นที่เล็ก
เพราะถ้ากาหนดไว้เล็กเกินไปหลักฐานอาจถูกทาลายหรืออาจไม่พบหลักฐานอยู่ เพราะอยู่นอกบริเวณ
ที่ค้นหากัน
๓. วิธีการค้นหาหลักฐานในบริเวณเปิด
ให้เ ริ่มต้ น การค้น หาจากจุ ด ศู นย์ก ลางใกล้ จุด ที่ เกิ ด ระเบิด และวนออกไปเหมือ น
ขดลวดที่ขยายตัว
๓.๑ การค้นแบบตาราง
๓.๑.๑ แบ่งสถานที่เกิดเหตุออกเป็นส่วนๆ โดยใช้ เชือกเส้นใหญ่หรือเชือกเส้น
เล็กลากเส้นแบ่งหรือใช้เครื่องหมายอื่นๆ
๑๐๔

๓.๑.๒ ทาเครื่องหมายและระบุแต่ละตารางที่ค้นหาไว้ด้วยหมายเลขหรืออักษร
หรือใช้ทั้งสองอย่าง เป็นต้น
๓.๒ การค้นหาในพื้นที่ที่แบ่งเป็นส่วนๆ
๓.๒.๑ แบ่งที่เกิดเหตุออกเป็นส่วนๆ จะเป็นขนาด ๑/๔ ของพื้นที่หรือเป็นเขต
๓.๒.๒ แบ่งต่อออกให้เป็นเสี้ยว ทาเครื่องหมายและใช้ชื่อเป็นตัวเลข ตัวอักษร
หรือใช้ทั้งสองอย่าง จากนั้นดาเนินการค้นหาตามลาดับ วิธีนี้นั้นสามารถใช้ได้กับบริเวณพื้นที่ทุกขนาด
ทั้งใหญ่และเล็ก เปิดและปิด หรือในห้องก็สามารถใช้วิธีนี้ได้เช่นกัน
๓.๓ การค้นหาเป็นแถวหรือเป็นแนว
การค้นหาแบบนี้นั้นใช้ได้ผลมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับบริเวณเปิดที่กว้า งขวาง
และเปิดโอกาสให้มีการค้นหาพื้นที่ด้วยจานวนคนที่จากัด ได้ระเบียบปฏิบัติสาหรับการค้นหาลักษณะนี้
มีดังต่อไปนี้
๓.๓.๑ ให้ทีมงานยืนเข้าแถว แต่ละคนห่างจากกันเท่ากับความยาวของแขนที่
ยื่นออกข้างตัว
๓.๓.๒ ตั้งแถวที่ขอบนอกของบริเวณที่จะดาเนินการค้นหา
๓.๓.๓ เคลื่อนแถวไปข้างหน้าอย่างช้าๆ เป็นเส้นตรงจนสุดเขตการค้นหา
๓.๓.๔ ให้แถวเดินย้อนกลับไป
๓.๓.๕ ทาเช่นนี้จนกระทั่งค้นหาได้ทั่วบริเวณ
๓.๓.๖ ในขณะที่เจ้าหน้าทาการเดินค้นหานั้น ให้แต่ละคนมองกราดจากซ้ายไป
ขวาหรือจากขวาไปซ้าย เพื่อหาหลักฐานข้างหน้าของตน
๓.๓.๗ ออกคาสั่งให้หยุดแถว เมื่อพบสิ่งที่ควรเก็บเป็นหลักฐานทั้งแถวต้องหยุด
๓.๓.๘ ลูกแถวแต่ละคนต้องมีอุปกรณ์หรือเครื่องมือสาหรับทาเครื่องหมาย
ตรงจุดที่พบสิ่งนั้นๆ
๓.๓.๙ เมื่อทาเครื่องหมายแล้ว ให้แถวดาเนินการค้นหาต่อไปได้
๓.๓.๑๐ จะต้องมี ๑ คน อยู่หลังแถว
๓.๓.๑๑ คนที่อยู่หลังแถวนี้ จะต้องมีเครื่องมือสาหรับทาเครื่องหมายมากเป็น
พิเศษ
๓.๓.๑๒ จัดให้มีคนกากับแถวให้เป็นเส้นตรงขณะทาการค้นหา
๓.๓.๑๓ ทาการค้นหาตามส่วนที่แบ่งไว้ ไม่ว่าจะเป็นขนาด ๑/๔ ของบริเวณเป็น
เขตหรือเป็นเสี้ยว
๓.๓.๑๔ ตรวจสอบ ประเมินสิ่งที่ทีมงานค้นหาและทาเครื่องหมายไว้
๓.๓.๑๕ ใช้เทคนิคที่เหมาะสมในการเก็บหลักฐาน
๓.๔ การใช้วิธีต่างๆ รวมกัน
เจ้า หน้า ที่ ทางเทคนิค เจ้า หน้า ที่ สืบสวน ใช้วิ ธีค้นหาหลั กฐานที่บ รรยายไว้
ข้างต้นทุกวิธี บางวิธีก็ใช้ได้สะดวกง่ายดายกว่าวิธีอื่นๆ ในบางสถานการณ์ และเห็นได้ง่า ยด้วยว่า การ
รวมวิธีตั้งแถวค้นอย่างที่อธิบายไว้เข้ากับการแบ่งส่วนบริเวณที่เกิดเหตุออกเป็น ๔ ส่วนนั้น ใช้ไ ด้ดีกับ
การค้นในบริเวณเปิด
๑๐๕

๓.๕ การค้นในบริเวณที่จากัด
๓.๕.๑ จุดอ้างอิง วัดระยะทางจากจุดอ้างอิง ไปถึง จุด ที่พบหลักฐาน วาดภาพ
หยาบๆ ของบริเวณที่พบหลักฐานไว้ วาดหลักฐานใส่ไว้ในภาพวาดด้วย
๓.๕.๒ การค้นในส่วนที่แบ่ง ไว้ขนาด ๑/๔ ของพื้นที่ ถ้า บริเวณที่กาหนดไว้
กว้ า งขวางมาก เช่ น โกดั ง เก็ บ ของ อาจต้ อ งใช้ วิ ธี ค้ น ตามส่ ว นที่ แ บ่ ง ไว้ แ ละด าเนิ น การค้ น หา
เช่นเดียวกับการค้นในบริเวณเปิด
๔. การดาเนินการกับพยานหลักฐานคดีระเบิดและการตรวจพิสูจน์
๔.๑ ขั้นตอนการรับพยานหลักฐาน ดังนี้
๔.๑.๑ พนักงานสอบสวน สภ.ท้องที่เกิดเหตุ ทาหนังสือนาส่ง พยานหลักฐาน
และนาพยานหลักฐานส่งตรวจพิสูจน์
๔.๑.๒ เจ้าหน้าที่หน่วยตรวจพิสูจน์ รับและตรวจนับพยานหลักฐาน ที่นาส่ง
ตามรายการ
๔.๑.๓ ลงลายมือชื่อรับหนังสือในตัวสาเนาให้พนักงานสอบสวนกลับคืนไป
๔.๑.๔ ให้ผู้ส่งพยานหลักฐานเซ็นส่งในใบนาส่งพยานหลักฐานที่จัด ทาขึ้นให้
ถูกต้อง
๔.๑.๕ นาหนังสือฉบับจริงเก็บเข้าแฟ้มรอตรวจพิสูจน์ต่อไป
๔.๑.๖ เมื่ อ ทาการตรวจพิ สู จ น์เ สร็ จ แล้ ว ต้ อ งออกเลขคุ ม ในสมุ ด คุ ม ให้
เรียบร้อย และเก็บสาเนาแฟ้ม
๔.๑.๗ ส่งผลการตรวจพิสูจ น์ทางไปรษณีย์และเก็บสาเนาหนัง สือ รวมถึง
สาเนาการส่งไปรษณีย์เข้าแฟ้ม
๔.๑.๘ กรณีรับพยานหลักฐานจากใบบันทึกรับส่งพยานหลักฐานในที่เกิด เหตุ
ขอให้ประสานพนักงานสอบสวนทาหนังสือนาส่ง
๔.๑.๙ การรับพยานหลักฐานให้ต รวจสอบพยานหลักฐานก่อน ถ้า หากเป็น
เรือใบ ตะปู อุปกรณ์เพลิงไหม้ อาวุธปืน มีด ให้นาส่งเจ้าหน้าที่กองพิสูจน์หลักฐานหรือกองวิทยาการ
๔.๒ การจัดเก็บพยานหลักฐาน
๔.๒.๑ เมื่ อพนักงานสอบสวน/เจ้ า หน้า ที่ ต ารวจ นาพยานหลักฐานมาส่ ง
หลังจากลงรับ/ตรวจเช็คพยานหลักฐานเรียบร้อยแล้ว ให้แยกเชื้อประทุกับส่วนที่เป็ นวัต ถุระเบิด หรือ
โทรศัพท์มือถือ สะเก็ด ระเบิด ภาชนะเอาดินระเบิด ออกจากภาชนะใส่ถุง ใหม่ พร้อมเขียนเลขรั บ
พยานหลักฐานไว้ รอถ่ายรูปและตรวจพิสูจน์ เก็บในห้องเก็บพยานหลักฐานรอตรวจพิสูจน์
๔.๒.๒ หากไม่มีการจับ/แตะต้อง ให้ประสานกองวิทยาการ ทาการเก็บ และ
ตรวจสอบลายนิ้วมือแฝง หรือ DNA ก่อน
๔.๒.๓ หากมีโทรศัพท์มือถือ หรือซิมการ์ด หรือทั้งโทรศัพท์มือถือและซิมการ์ด
ให้ส่งตรวจสอบกับเจ้ า หน้า ที่สืบสวน เพื่อ ตรวจสอบกับ เครือข่ า ยของระบบโทรศัพ ท์ โดยทาเป็ น
หนังสือนาส่ง
๔.๒.๔ หลังจากทาการตรวจพิสูจน์แล้ว ให้เก็บพยานหลักฐาน ส่วนที่เป็นวัตถุ
ระเบิดไว้ในห้องวัตถุพยาน
๑๐๖

๔.๒.๕ ส่วนที่เป็นเชื้อประทุและพยานหลักฐานที่ต รวจสอบแล้วว่า ไม่เป็น


อันตราย ให้เก็บ ไว้ใ นห้องวัต ถุพ ยาน ส่วนขยายการระเบิ ด โดยเขีย นเลขรับพยานหลักฐานและ
ใส่ภาชนะให้เรียบร้อย เพื่อสะดวกในการนากลับมาตรวจสอบ
๔.๒.๖ กรณีสะเก็ด ระเบิด หรือภาชนะที่ค นร้า ยดัด แปลงขึ้นใหม่ ให้นามา
ทาเป็นตัวอย่าง เพื่อนามาเป็นกรณีศึกษา
๔.๓ การตรวจพิสูจน์และการทดสอบ
๔.๓.๑ ตรวจสอบลักษณะทางกายภาพของวัตถุพยาน ชิ้นส่วนเป็นอะไร เช่น
พลาสติก ไม้ แบตเตอรี่ เหล็ก ตะปู โลหะบาง สายไฟ เชื้อปะทุ กรอบนาฬิกา ขดลวด คอยนาฬิกา
แผงวงจรโทรศั พ ท์ กระป๋อ ง ท่ อพี วีซี กล่ องพลาสติ ก/ทั พเปอร์ แวร์ ดิน ระเบิด ไดนาไมท์ หรื อ
ถุงพลาสติก หากมีคราบเขม่าให้ตรวจสอบจากเครื่องตรวจสารวัตถุระเบิด
๔.๓.๒ ตรวจวัดขนาด กว้าง/ยาว/สูง/น้าหนัก/ยี่ห้อ/จานวน เช่น ถ่านไฟฉาย
ขนาด ๒A ๑.๕ โวลท์ ไม้กว้าง ๒ นิ้ว ยาว ๔ นิ้ว หนา ๐.๕ นิ้ว เหล็ก ขนาด ๐.๕ มม. ยาว ๓ นิ้ว
เส้นผ่าศูนย์กลาง ๐.๕ ซม. ดินประสิว หนัก ๒๐ กรัม ดินระเบิดซีโฟร์ หนัก ๒ ปอนด์ เป็นต้น
๔.๓.๓ นาคราบเขม่ามาทาการตรวจด้วย The Explosive Testing Kit เพื่อ
ตรวจสอบหา สารวัต ถุระเบิด หรือตรวจด้วยเครื่อง IONSCAN หรือ VT๒ หรือ GCMS หรือทาการ
ทดลอง หรือทดสอบพยานหลักฐานว่า ใช้การได้หรือไม่ แล้วแต่กรณี
๔.๓.๔ วิเคราะห์ลงความเห็นว่า เป็นการประกอบด้วยการจุด ระเบิด ด้วย
อะไร ประกอบดินระเบิดอะไร ใส่ในภาชนะอะไร ปริมาณเท่า ใด และความเห็นอื่นๆ ตามที่พนักงาน
สอบสวนต้องการทราบ
๔.๓.๕ ตรวจสอบว่า พยานหลักฐานเข้า ข่า ยมาตราใด เป็นวัต ถุระเบิด หรือ
เครื่องกระสุนหรือไม่ ให้ใช้ พ.ร.บ.เครื่องกระสุนและวัตถุระเบิด พ.ศ.๒๔๙๐
๔.๓.๖ ทาความสะอาดซ่อมบารุง รักษาเครื่องมือในการตรวจพิ สูจ น์และ
เก็บเข้าที่
๔.๓.๗ ออกหนังสือรายงานผลการตรวจพิสูจน์ให้ท้องที่เกิดเหตุ
๔.๔ การทาลายพยานหลักฐาน
๔.๔.๑ กรณีวัตถุระเบิดคาดว่า อันตราย หรือกรณีคดีสิ้นสุดให้ทารายงานเพื่อ
ขออนุมัติทาลาย และ/หรือขออนุมัติใช้วัตถุระเบิดในการทาลาย
๔.๔.๒ ทาการขนย้ายพยานหลักฐานไปทาลาย เตรียมอุปกรณ์ใ นการทาลาย
และแบ่งหน้าที่การทาลาย
๔.๔.๓ การทาลาย (Disposal) พยานหลักฐาน
๔.๔.๔ พิจารณาวิธีการทาลาย ระยะอันตราย และสถานที่ทาลาย
๔.๔.๕ ทาการบันทึกภาพก่อนและหลังการทาลาย
๔.๔.๖ เก็บเครื่องมือและอุปกรณ์ในการทาลาย
๔.๔.๗ เดินทางกลับที่ตั้ง ทาความสะอาด ซ่อมบารุง อุปกรณ์ในการทาลาย
และเก็บเข้าที่
๔.๔.๘ รายงานผลการทาลายพยานหลักฐานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
๑๐๗

ความต่อเนื่องของการครอบครองรักษาวัตถุพยาน
พยานหลักฐานต่างๆ ซึ่งจะนาเข้ามาประกอบการพิจ ารณาคดีใ นกระบวนการยุติธรรม
จะต้องแสดงให้เห็นได้ว่า หลักฐานเหล่านั้นได้เก็บมาอย่างถูกต้องได้มาตรฐาน มีกระบวนการคุ้มครอง
หลักฐานไม่ให้เสื่อมสภาพ ถูกทาลาย สับเปลี่ยน การนาไปทดสอบตรวจสอบเป็นไปตามมาตรฐาน
การแปลผลการตรวจสอบถูกต้อง และมีการเก็บตัวอย่างไว้ตรวจสอบถามซ้าเมื่อถูกร้องขอ
ในงานนิ ติวิ ทยาศาสตร์ขั้ นตอนการคุ้ มครองหลั กฐานเหล่า นี้เ รี ยกว่า “ห่ว งโซ่แ ห่ ง
การครอบครองวัตถุพยาน” (Chain of Custody) เป็นเอกสารบันทึกกระบวนการ เริ่มตั้ง แต่ขั้นตอน
การเก็บตัวอย่างพยานหลักฐาน การเก็บรักษาคุ้มครองหลักฐาน การส่งต่อ การรับมอบ การน าตัวอย่าง
หลักฐานไปพิสูจน์ทดสอบ การรายงานผลการตรวจสอบ ไปจนถึงขั้นตอนสุดท้ายในการทิ้ง หรือทาลาย
ตัวอย่างพยานหลักฐานเมื่อสิ้นสุดกระบวนการ โดยปกติเป็นลาดับของลายมือชื่อที่ แสดงการผ่า นจาก
บุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง
ความต่อ เนื่ องของการครอบครองรั กษาวัต ถุพ ยา น มีค วามส าคัญ อย่ า งยิ่ง ในการ
สืบสวน เป็นการลาดับติดต่อกันของเหตุการณ์ ที่ทาให้เกิดโดยวัตถุพยานที่พบในสถานที่เกิดเหตุเวลานั้น
ไปจนถึงเวลาที่มีการพิจารณาคดีใ นศาล ทุกๆ การเชื่อมโยงของลูกโซ่ไ ด้มีการบันทึกเป็นเอกสารไว้
จากสิ่งที่พบในสถานที่เกิดเหตุ การรวบรวมวัตถุพยาน การเก็บรักษา การวิเคราะห์ใ นห้องปฏิบัติการ
การส่งไปเก็บรักษา การส่งผ่า นไปที่ศ าล ทุกๆ การเชื่อมโยงถูกบันทึก วันที่ เวลา การถือครองของ
แต่ละบุคคล เป็นการบันทึกวัตถุพยานเฉพาะบุคคล ถ้ามีการขาดของลูกโซ่การครอบครองวัต ถุพยาน
ก็ไม่สามารถให้คาอธิบายในขั้นตอนการเดินทางของวัตถุพยาน จากสถานที่เกิดเหตุไปถึงห้องพิจ ารณา
ของศาลได้ วัตถุพยานนั้นก็ไม่มีประโยชน์ต่อคดีและอาจถูกส่งคืนโดยไม่ได้ตั้งใจ
ห่วงโซ่การครอบครองวัตถุพยาน ที่ไม่ได้ทาบันทึกเป็นเอกสารนั้น ไม่อาจนามากล่า วอ้า ง
ได้ว่าได้มีกระบวนการของห่วงโซ่ในการครอบครองวัตถุพยานที่ครบถ้วนสมบูรณ์ แล้ว เพราะไม่สามารถ
ตรวจสอบหาผู้รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอนได้ และถือว่าเป็นหลักฐานที่ไม่มีน้าหนักที่น่าเชื่อถือเมื่อเข้า สู่
การพิจารณาในกระบวนการยุติธรรม
เอกสารของห่วงโซ่การครอบครองวัตถุพยานนี้ ควรมีทั้งเอกสารกลาง ซึ่ง เป็นของแต่ละ
ตัวอย่างพยานหลักฐานและเอกสารซึ่ง เป็นบันทึกของแต่ละบุ ค คลหรือหน่วยงานที่รับผิด ชอบดูแล
ตัวอย่างพยานหลักฐาน ซึ่งสามารถนามาใช้สอบทาน (Counter Check) ซึ่งกันและกันได้
ความต่อ เนื่อ งของการครอบครองรัก ษาวั ต ถุพ ยาน เกี่ ยวข้องกับเอกสารที่ มี ล าดั บ
วันเดือนปี และเป็นเส้นทางของเอกสารที่แสดงถึง การถือเอาการครอบครอง การควบคุม การถ่ายโอน
การวิเคราะห์ การกาหนดว่าพยานหลั กฐานเป็นโดยรูปร่ างหรือทางอิเลคทรอนิ กส์ เพราะพยานหลักฐาน
สามารถใช้ในศาลลงโทษผู้กระทาความผิดได้ ซึ่งจะต้องมีการดูแลรักษาอย่างระมัดระวัง เพื่อหลีกเลี่ยงข้อ
กล่าวอ้างในภายหลังว่า มีการให้สินบนหรือการประพฤติผิด ซึ่งสามารถทาให้ยอมความในคดีที่มีการ
ฟ้องร้องให้ไปทางที่พ้นผิด หรือทาให้ยกฟ้องในคาตัดสินที่มีพิรุธของคณะตุลาการเกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่มี
การอุทธรณ์ ความคิด หลังจากการบันทึกห่วงโซ่การครอบครองถูกสร้า งขึ้นเพื่อให้ พยานหลักฐานที่
กล่าวถึงเป็นข้อเท็จจริงที่ค่อนข้างสัมพันธ์กับความผิดทางอาญา ตัวอย่างเช่น มีการสร้างพยานหลักฐานที่
เป็นเท็จ ทาให้บุคคลบางคนเป็นผู้กระทาความผิดขึ้นได้
๑๐๘

เอกสารของแต่ละบุคคลหรือหน่วยงานนั้น ไม่จาเป็นต้องมีรายละเอียดบันทึกอย่างครบถ้วน
เหมือนเอกสารกลางของตัวอย่างหลักฐานพยาน อาจจะเป็นเพียงเอกสารที่บุคคลหรือหน่วยงานนั้น และใช้
บันทึกในการปฏิบัติงานอยู่เป็นประจา เช่น Worksheet Logbook หรือ Form ก็ได้
แผนภาพที่ ๓-๑ ห่วงโซ่การครอบครองวัตถุพยาน

การจัดการ

การเก็บ

การขนส่ง

การส่งมอบ

ใช้ ในศาล

ที่มา : สานักงานพิสูจน์หลักฐานตารวจ สานักงานตารวจแห่งชาติ


ส่วนประกอบของความต่อเนื่องของการครอบครองรักษาวัตถุพยาน
ความต่ อ เนื่อ งของการครอบครองรั กษาวั ต ถุ พ ยาน เป็ น กระบวนการครอบครอง
วัตถุพยาน ประกอบด้วย
๑. การจัดการ (Taking) เป็นกระทาโดยผู้เก็บวัตถุพยาน จ าแนกวัต ถุพยานโดยการทา
ตาหนิ ระบุวันเดือนปีที่เก็บ และรายละเอียดต่างๆ
๒. การเก็บ (Keeping) เป็นพิสูจน์ให้เห็นว่า การเก็บและครอบครองวัตถุพยานได้กระทา
อย่างเหมาะสม ถูกต้องตามหลักวิชาการ
๓. การขนส่ง (Transporting) ต้องรัดกุม แสดงให้เห็นว่า ไม่เกิดการสับสนกับวัตถุพยาน
อื่น มีการลงทะเบียนถ้าเป็นการส่งทางไปรษณีย์
๔. การส่งมอบ (Delivering) เป็นการพิสูจน์ว่า ของกลางได้ส่งมอบให้กับผู้รับอย่างถูกต้อง
และเหมาะสม มีหลักฐานแสดงวันเดือนปีที่รับของกลาง และมีรายชื่อผู้รับผิดชอบทุกครั้ง
๑๐๙

แนวทางการสร้างห่วงโซ่การครอบครองวัตถุพยาน
๑. ควรสร้างแบบสาหรับการบันทึกให้เป็นแบบมาตรฐานในแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้บุคลากร
ทุกคนได้นาไปใช้ โดยที่ก่อนนาไปใช้ควรฝึกอบรมบุคลากรให้เข้าใจ และสามารถบันทึกได้อย่า งถูกต้อง
และครบถ้วน
๒. ก าหนดบุ ค ลากรที่ มี หน้ า ที่ ใ นการเก็ บ พยานหลั กฐาน ก าหนดผู้ ที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง
พยานหลักฐาน กาหนดผู้ที่มีหน้าที่ทดสอบพยานหลักฐาน ควรกาหนดบุค คลที่มีหน้า ที่ใ ห้แน่ชัด และ
ไม่ให้มีคนจานวนมากเกินความจาเป็น ควรมีบุคลากรที่เกี่ยวข้องน้อยที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
๓. ต้องมีการบันทึกลงในเอกสารทุกครั้งเมื่อมีการเข้าถึงพยานหลักฐาน โดยบันทึกด้วยการใช้
ปากกา ไม่ใช้ดินสอ เนื่องจากการแก้ไขโดยการลบดินสอนั้นง่าย และตรวจสอบได้ลาบากว่ามีการแก้ไ ข
หรือไม่
๔. ลงลายมือชื่อกากับทุกครั้งเมื่อมีการบันทึกห่วงโซ่การครอบครองวัตถุพยาน
๕. รายละเอียดข้อมูลในห่วงโซ่การครอบครองวัตถุพยาน ต้องประกอบด้วย
๕.๑ ข้อมูลส่วนหลักฐาน เก็บหลักฐานอะไร จากที่ไหน หลักฐานมีลักษณะอย่างไร
๕.๒ ข้อมูลส่วนบุคลากร ใครเป็นคนเก็บ เก็บเมื่อใด สถานที่ใด
๕.๓ ข้อมูลการครอบครองและการรักษาหลักฐาน เมื่อเก็บมาแล้วได้ จ ะต้องเก็บ
รักษาอย่างใด เมื่อมีการส่งมอบส่งมอบให้ใคร ที่ใด เมื่อไหร่ หลักฐาน ณ ขณะส่งมอบเป็นอย่างไร จนถึง
ขั้นตอนสุดท้าย เมื่อจะทาการทิ้งและทาลายหลักฐานภายหลังนามาตรวจวิเคราะห์เสร็จสิ้น และภายหลัง
สิ้นสุดกระบวนการยุติธรรมแล้ว ต้องระบุว่า หลักฐานก่อนทิ้งทาลายเป็นอย่า งไร ใครเป็นผู้ทาการทิ้ง
ทาลาย และทาการทิ้งทาลายเมื่อใด สถานที่ไหน

สรุป
การก่อเหตุความรุนแรงในพื้นที่จัง หวัด ชายแดนภาคใต้ ในช่วงระยะเวลาที่ผ่า นมานั้น
พบว่า การก่อเหตุระเบิดเป็นยุทธวิธีที่ผู้ก่อความรุนแรงในพื้นที่นิยมใช้เป็นอย่า งมาก โดยมีการใช้วัต ถุ
ระเบิด ทั้งที่เป็นวัตถุระเบิดมาตรฐานและวัต ถุระเบิด แสวงเครื่อง ในการก่อเหตุ การก่อเหตุระเบิด
ในแต่ ล ะครั้ง สร้า งความเสี ย หายมากมายมหาศาล ทั้ ง ยั ง เป็ น วิ ธี ที่ไ ด้ผ ลมากที่ สุ ด ในการกระท า
ต่อเป้าหมาย สร้างความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน สร้างความหวาดกลัวแก่ประชาชนเป็นอย่างมาก
ฉะนั้นแล้วการศึกษาให้ทราบถึงบทเรียนการก่อเหตุระเบิดในรูปแบบต่างๆ เพื่อรวบรวมไว้ ไม่ว่า จะเป็น
ยุทธวิธีการวางระเบิด แบบเร่งด่วน การก่อเหตุระเบิดชุดลาดตระเวนเส้นทาง การลวงเพื่อก่อเหตุซ้า
การใช้ยานพาหนะประกอบเป็นระเบิด การใช้ทุ่นระเบิด หรือกับดัก การก่อเหตุระเบิด ในท่อลอดใต้
ผิวถนน การก่อเหตุบริเวณเส้นทางรถไฟระเบิด ขว้า งแบบแสวงเครื่อง การวางระเบิด เจ้า หน้า ที่ที่มี
พฤติกรรมซ้าๆ และการพัฒนาการซ่อนพรางวัตถุระเบิด การรวบรวมสถิติการก่อเหตุใ นแต่ละรูปแบบ
แล้วนามาวิเคราะห์เพื่อหาบทเรียนที่ผู้ก่อความรุนแรงใช้ ก่อเหตุ ล้วนส่ง ผลให้เจ้า หน้า ที่ที่เกี่ยวข้อง
รู้เท่า ทัน กลยุทธ์แ ละเข้า ใจในยุท ธวิธีของฝ่า ยก่อ ความรุ น แรงว่า จะออกมาในรูป แบบใด เพื่อที่จ ะ
สามารถนามากาหนดแนวทางหรือยุทธวิธใี นการตอบโต้ และวิเคราะห์ยุทธวิธีที่เหมาะสม เพื่อป้องกัน
การก่อความไม่สงบที่จ ะเกิด ขึ้น ในอนาคต นอกจากนี้ ผู้วิจัยยัง ได้ทาการศึกษากระบวนการสืบสวน
๑๑๐

หลังเกิดเหตุระเบิด ซึ่งอธิบายถึงขั้นตอน ระเบียบวิธี การปฏิบัติใ นการตรวจสถานที่เกิด เหตุระเบิด


สามารถจาแนกอานาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสืบสวนหลัง เกิด เหตุระเบิด แต่
ละภาคส่วนให้ทาการ ตามขั้นตอนในการเข้าตรวจสถานที่เกิดเหตุ อธิบายถึง พยานหลักฐานที่ต รวจ
พบในสถานที่เกิดเหตุ รวมไปถึงเทคนิค การค้นหาพยานหลักฐาน เพื่อเป็นการป้องกันการเกิด เหตุ
ระเบิดซ้า (ลูกที่ ๒ ลูกที่ ๓)จากการกระทาที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์ของการเคลื่อนย้ายวัตถุต่างๆ โดยพลการ
และเพื่อเป็นการรักษาคุณค่าพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นมิให้ถูกทาลาย ถูกเพิ่มร่องรอย จนเกิดความเสียหาย
ทาให้ห่วงโซ่การครอบครองวัตถุพยานขาดความต่อเนื่อง ส่งผลให้พยานหลักฐานนั้นๆ ไม่สามารถรับฟัง
ได้ในชั้นศาล อีกทั้ง ศึกษาเทคนิคการค้นหาพยานหลักฐาน เพื่อนาวิธีอันเป็นประโยชน์ไ ปปรับใช้ใ น
การค้นหาพยานหลักฐาน ให้ได้มาซึ่งพยานหลักฐานที่มีคุณค่า พยานหลักฐานที่สมบูรณ์จะยิ่งทาให้การ
พิสูจน์ตัวผู้ก่อเหตุมาลงโทษตามกฎหมายมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

You might also like