You are on page 1of 28

หมวด 4 การจัดระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย

4. 7 ระบบสนับสนุนบริการ
4.7.2 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (IC)
เกณฑการประเมิน
4.7.2 การป้ องกันและควบคุมการติดเชื้อ (IC) การให้ คะแนนในแต่ ละข้ อให้ องิ ตาม
แบบประเมินโรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพตําบลติดดาว ปี 2564 (หน้ า 68 – 78 )
1. การออกแบบระบบและการจัดการทรัพยากร
1.1 มีพเี่ ลีย้ งระดับอําเภอและพยาบาลผู้รับผิดชอบงานป้องกันและ
ควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพตําบล (3 คะแนน)
1.1.1 มีพี่เลี้ยงระดับอําเภอดานการปองกันและควบคุมการติดเชื้อใน รพ.สต. 1
1.1.2 มีพยาบาลวิชาชีพเปนผูรับผิดชอบงานปองกันและควบคุมการติดเชื้อใน รพ.สต. 1
1.1.3 พยาบาลผูรับผิดชอบงานปองกันและควบคุมการติดเชือ้ ในรพ.สต.ไดรับการ 1
อบรมฟนฟูความรูดานการปองกันและควบคุมการติดเชือ้ อยางนอยปละ 1 ครั้ง
1. การออกแบบระบบและการจัดการทรัพยากร
1.2 คู่มือการปฏิบัตงิ านด้ านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ 2
1.2.1 มีคู่มือหรื อแนวทางการปฏิบตั งิ านด้ านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อใน รพ.สต. 1
1.2.2 คู่มือหรื อแนวทางการปฏิบัตงิ านด้ านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อใน รพ.สต. 1
ได้ รับการปรับปรุงภายใน 5 ปี
2. การดําเนินงาน
2.1 ระบบการเฝ้าระวัง 5 วิธีการประเมิน/แนวทางพิจารณา
2.1.1 มีการเฝ้าระวังการติดเชื้อผู้ป่วยแต่ ไม่ ครอบคลุมกลุ่มเป้ าหมาย 1 - ดูแนวทางการคัดกรองกลุ่มเป้ าหมายสํ าคัญ
สําคัญ - สอบถามระบบการเฝ้าระวังการติดเชื้อผู้ป่วย
2.1.2 มีการเฝ้าระวังการติดเชื้อผู้ป่วยครอบคลุมกลุ่มเป้ าหมายสําคัญ 2 ในกลุ่มเป้ าหมายสํ าคัญ
2.1.3 มีข้อ 2.1.2 และมีผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อผู้ป่วยแต่ ไม่ 3
ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายสํ าคัญ กลุ่มเป้ าหมายสํ าคัญ หมายถึง
2.1.4 มีข้อ 2.1.3 และมีผลการเฝ้าระวังการติดเชื้อผู้ป่วยครอบคลุม 4 1. กลุ่ม CI
กลุ่มเป้าหมายสําคัญ 2. กลุ่ม HAI
2.1.5 มีข้อ 2.1.4 และมีระบบการดูแลผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวังการติด 5 3. เฝ้าระวังกลุ่มเป้ าหมายในบริบทของพืน้ ที่น้ นั
เชื้อใน รพ.สต. และในชุมชน เช่ น กลุ่มผู้ป่วย TB, ESRD, Bed Sore
2. การดําเนินงาน
2.2 การตรวจสุ ขภาพบุคลากรประจําปี 5 - ดูแผนการตรวจสุ ขภาพ
2.2.1บุคลากรตรวจสุ ขภาพประจําปี แต่ ไม่ ครบ 100% 1 - ดูผลการตรวจสุ ขภาพประจําปี
2.2.2 มีข้อ 2.2.1 ครบ 100 % 2 - ดูแผนการดูแลสุ ขภาพบุคลากรกลุ่มเสี่ ยงกลุ่มป่ วย
2.2.3 มีข้อ 2.2.2 และมีผลการวิเคราะห์ การตรวจสุ ขภาพ 3 การตรวจสุ ขภาพประจําปี
2.2.4 มีข้อ 2.2.3 และมีแผนการดูแลสุ ขภาพบุคลากร 4 การวิเคราะห์ การตรวจสุ ขภาพ หมายถึง
กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่ วย การวิเคราะห์ จากผลการตรวจสุ ขภาพประจําปี
2.2.5 มีข้อ 2.2.4 และ บุคลากรกลุ่มป่ วยได้รับการดูแลรักษา 5 แบ่ งกลุ่มเป็ นกลุ่มดี กลุ่มเสี่ ยง กลุ่มป่ วย
และปรับเปลีย่ นงานตามความเหมาะสม
2. การดําเนินงาน
2.3 การสร้ างเสริมภูมิค้มุ กันโรค 5
2.3.1 บุคลากรได้ รับการสร้ างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่จําเป็ นตามนโยบายของ 1
กระทรวงร้ อยละ 51 – 60
2.3.2 บุคลากรได้ รับการสร้ างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่จําเป็ นตามนโยบายของ 2
กระทรวงร้ อยละ 61 – 70
2.3.3 บุคลากรได้ รับการสร้ างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่จําเป็ นตามนโยบายของ 3
กระทรวงร้ อยละ 71 – 80
2.3.4 บุคลากรได้ รับการสร้ างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่จําเป็ นตามนโยบายของ 4
กระทรวงร้ อยละ 81 ขึน้ ไป
2.3.5 บุคลากรได้ รับการสร้ างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่จําเป็ นตามนโยบายของ 5
กระทรวงร้ อยละ 81 ขึน้ ไปและบุคลากรกลุ่มเสี่ ยงได้ รับการให้ วัคซีนตาม
ความเหมาะสม
- มีการดําเนินการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคที่จําเปนแกบุคลากร เชน วัคซีนปองกันโรคไขหวัด
ใหญ และวัคซีนที่ปองกันกันโรคระบาดตามการระบาดของแตละพื้นที่
- บุคลากรกลุมเสี่ยง หมายถึง กลุมที่มีการสัมผัสเลือดสารคัดหลั่ง ที่เสี่ยงตอการติดเชื้อไวรัส
ตับอักเสบ
วิธีการประเมิน/แนวทางพิจารณา
2. การดําเนินงาน - ดูป้ายประกาศ/โปสเตอร์ แนวทางปฏิบัติเมื่อเกิด
อุบัติเหตุสัมผัสเลือด/สารคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
- สุ่ มถามบุคลากร 1 คน
- รายงานการเกิดอุบัติเหตุเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
2.4 แนวทางการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุหรื อสัมผัส 5
แนวทางการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุหรื อสั มผัสเลือดหรื อ
เลือดหรื อสารคัดหลัง่
2.4.1 มีการติดป้ ายประกาศ/โปสเตอร์ แนวทางปฏิบัติ 1 สารคัดหลั่ง หมายถึงแนวทางการปฏิบัติเมื่อเจ้ าหน้ าที่
เมื่อเกิดอุบัติเหตุสัมผัสเลือด/สารคัดหลั่งขณะ ได้ รับอุบัติเหตุจากเข็มทิ่มแทง เช่ น ใบมีดผ่าตัด เข็มฉีดยา
ปฏิบัติงาน ในบริเวณที่มองเห็นชัดเจน ที่ใช้ กับผู้ป่วยแล้ ว หรื อแนวทางการปฏิบัติเมื่อเลือดหรื อ
2.4.2 มีข้อ 2.4.1 และครอบคลุมจุดเสี่ ยง/จุดบริการและ 2 สารคัดหลั่งกระเด็นเข้ าตา จมูก หรื อ ผิวหนังสั มผัสเลือด
มีการสื่ อสารถ่ ายทอดแก่ บุคลากร หรื อสารคัดหลั่ง เป็ นต้ น
2.4.3 มีข้อ 2.4.2 และบุคลากรรับทราบแต่ อธิบาย 3
แนวทางปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง
2.4.4 มีข้อ 2.4.3 และบุคลากรรับทราบและสามารถ 4
อธิบายแนวทางปฏิบัติได้ ถูกต้ อง
2.4.5 มีข้อ 2.4.4 และเมื่อเกิดอุบัติเหตุ มีการบันทึกและ 5
รายงานตามแนวทางปฏิบัติ
2. การดําเนินงาน
วิธีการประเมิน/แนวทางพิจารณา
- ป้ ายแสดงขั้นตอนการล้ างมือ
2.5 การทําความสะอาดมือ 5
- สุ่ มสอบถามขั้นตอนและวิธีการล้ างมือ
2.5.1 มีการติดป้าย/โปสเตอร์ แสดงขั้นตอนการทําความสะอาด 1 - ให้ บุคลากรสาธิตการล้ างมือ
มือ และ 5 moment แต่ อุปกรณ์ล้างมือ เช่ น สบู่ กระดาษ/ผ้ า
5 moment หมายถึงการล้ างมือ
เช็ดมือ ไม่ เพียงพอ ไม่ พร้ อมใช้
1. ก่ อนสั มผัสผู้ป่วย
2.5.2 มี 2.5.1 และมีอุปกรณ์ล้างมือ เช่ น สบู่ กระดาษ/ 2
2. ก่ อนทําหัตถการกับผู้ป่วย
ผ้าเช็ดมือ เพียงพอพร้ อมใช้
3. หลังสั มผัสสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย
2.5.3 มีข้อ 2.5.2 และมีการสื่ อสารถ่ ายทอดแก่ บุคลากร 3
4. หลังสั มผัสผู้ป่วย
รับทราบ
5. หลังสั มผัสสิ่ งที่ล้อมรอบผู้ป่วย
2.5.4 มีข้อ 2.5.3 และบุคลากรรับทราบแต่ ปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง 4
2.5.5 มีข้อ 2.5.4 และบุคลากรรับทราบและสามารถปฏิบัติได้ 5
ถูกต้ อง
2. การดําเนินงาน
2.5 การทําความสะอาดมือ
2. การดําเนินงาน
วิธีการประเมิน/แนวทางพิจารณา
2.6 การใช้ อุปกรณ์ ป้องกันส่ วนบุคคล 5 - ดูภาพหรื อป้ ายแสดงขั้นตอนการสวมและ
2.6.1 มีการติดโปสเตอร์ การใช้ อุปกรณ์ ป้องกันส่ วนบุคคล แต่ 1 ถอดอุปกรณ์ ป้องกันส่ วนบุคคล
อุปกรณ์ ไม่ เพียงพอ ไม่ พร้ อมใช้ - ให้ บุคลากรสาธิตการใช้ อุปกรณ์ ป้องกันส่ วน
2.6.2 มีการติดโปสเตอร์ การใช้ อุปกรณ์ ป้องกันส่ วนบุคคลและ 2 บุคคล ในกรณีต่างๆเช่ น
มีอุปกรณ์ เพียงพอ พร้ อมใช้ 1. กรณีที่พบผู้ป่วยที่แพร่ กระจาย เชื้อทาง
Airborne ระยะเข้ มข้ น, MERS, SAR
2.6.3 มีข้อ 2.6.2 และมีการจัดเก็บในสถานทีท่ เี่ หมาะสม 3
หรื ออื่นๆตามบริบท
2.6.4 มีข้อ 2.6.3 และมีการถ่ ายทอดแก่ บุคลากรรับทราบ และ 4 2. กรณีที่ต้องจัดการกับสารคัดหลั่ง (ไม่ รวม
สามารถใช้ อุปกรณ์ ป้องกันส่ วนบุคคลได้ แต่ ปฏิบัตไิ ม่ ถูกต้ อง การล้ างเครื่ องมือ)

2.6.5 มีข้อ 2.6.4 และ บุคลากรสามารถใช้ อุปกรณ์ ป้องกันส่ วน 5


บุคคลได้ อย่ างถูกต้ องเหมาะสม
2.6 การใช้ อปุ กรณ์ ป้องกันส่ วนบุคคล
2. การดําเนินงาน
2.7 การจัดแบ่ งพืน้ ที่ใน รพ.สต. 5
วิธีการประเมิน/แนวทางพิจารณา
2.7.1 มีแนวทางการจัดการพืน้ ที่ เขตสะอาดและเขตปนเปื้ อน ใน รพ.สต. 1 - สุ่ มสอบถาม
เพื่อป้ องกันการแพร่ กระจายเชื้อปรากฏในคู่มือการป้ องกันและควบคุม - ตรวจสอบสถานที่จริง
การติดเชื้อ - ป้ ายสื่ อสารการปฏิบัติกรณีโรคติดต่ อที่ต้องแยกพืน้ ที่ เช่ น
2.7.2 มีข้อ 2.7.1 และมีการสื่ อสารแนวทางการจัดการพืน้ ที่ 2 โรควัณโรค,ไข้ หวัดนก คอตีบ เป็ นต้ น
เขตสะอาดและเขตปนเปื้ อนใน รพ.สต. เพื่อป้ องกันการแพร่ กระจายเชื้อ
2.7.3 มีข้อ 2.7.2 และบุคลากรทราบแนวทางการจัดการพืน้ ที่ เขตสะอาด 3 การจัดแบ่ งพืน้ ที่ใน รพ.สต.หมายถึง การแบ่ งพืน้ ที่ใน
และเขตปนเปื้ อน ใน รพ.สต. เพื่อป้ องกันการแพร่ กระจายเชื้อ การให้ บริการ แบ่ งเป็ นพืน้ ที่สะอาด และพืน้ ที่ปนเปื้ อน
2.7.4 มีข้อ 2.7.3 และมีการจัดการแบ่ งพืน้ ที่ในการดูแลผู้ป่วยโรคติดต่ อ/ 4 และการจัดแบ่ งพืน้ ที่ในการให้ บริการเฉพาะผู้ป่วยกลุ่มเสี่ ยงต่ อ
โรคระบาดที่เสี่ ยงต่ อการแพร่ กระจายเชื้อใน รพ.สต. การแพร่ กระจายเชื้อใน รพ.สต. เช่ น ผู้ป่วยไข้ หวัดใหญ่ ผู้ป่วย
2.7.5มีข้อ 2.7.4และมีการจัดแบ่ งพืน้ ที่เขตสะอาดและเขตปนเปื้ อน ใน 5 วัณโรคและดูการจัดพืน้ ที่เขตสะอาดและเขตปนเปื้ อนใน CSSD
รพ.สต. เพื่อป้ องกันการแพร่ กระจายเชื้อได้ ถูกต้ อง ของ รพ.สต.
2. การดําเนินงาน
2.7 การจัดแบงพื้นที่ใน รพ.สต.
2. การดําเนินงาน
2. การดําเนินงาน
วิธีการประเมิน/แนวทางพิจารณา
2.8 มีเครื่ องมือแพทย์และอุปกรณ์ที่ปราศจากเชื้อ 3 สอบถาม เจ้ าหน้ าที/่ ลูกจ้ าง เกีย่ วกับแนวทาง
ตามมาตรฐาน การทําลายเชื้อและปฏิบัติตามแนวทางการ
2.8.1 มีเครื่ องมือแพทย์และอุปกรณ์ที่ 1 ทําลายเชื้อ/ ทําให้ ปราศจากเชื้อในอุปกรณ์
ปราศจากเชื้อที่เพียงพอต่ อการใช้ งาน เครื่ องมือแพทย์
2.8.2 มีข้อ 2.8.1 และมีการจัดเก็บที่ป้องกัน 1 เครื่ องมือแพทย์ และอุปกรณ์ ทปี่ ราศจากเชื้ อ หมายถึง
1. มีการควบคุมด้ านกายภาพทุกครั้งก่ อนนึ่ง
การปนเปื้ อน การจัดเก็บ first in first out
2. มีการควบคุมด้ านเคมีภายนอกทุกหีบห่ อ
ถูกต้ อง 3. มีการควบคุมภายในหีบห่ อทีเ่ สี่ ยงต่ อการติดเชื้ อ
2.8.3 มีข้อ 2.8.2 และไม่ พบของหมดอายุ 1 4. มีการควบคุมคุณภาพด้ านชีวภาพอย่ างน้ อย 1 ครั้ง
ต่ อเครื่ องต่ อเดือน
5. มีการจัดเก็บอุปกรณ์ ปราศจากเชื้ อทีถ่ ูกต้ อง
6. มีระบบการเรียกคืนอุปกรณ์ ทไี่ ม่ ผ่านเกณฑ์
มาตรฐานมีการระบุวนั หมดอายุ บนอุปกรณ์
ปราศจากเชื้ อ
เพียงพอ หมายถึงเพียงพอต่ อการให้ บริการ
2. การดําเนินงาน
2.8 เครื่องมือแพทยและอุปกรณที่ปราศจากเชื้อตามมาตรฐาน
3. การจัดการมูลฝอยทุกชนิดอยางถูกสุขลักษณะ
3. การจัดการ มีการคัดแยกมูลฝอยตามประเภทของ 1
มูลฝอยทุกชนิด มูลฝอย ไดแก มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยอินทรีย
อยางถูกสุขลักษณะ มูลฝอยอันตรายและนําไปกําจัดตาม
มาตรฐานที่หนวยงานกําหนด
4. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
วิธีการประเมิน/แนวทางพิจารณา
รพ.สต.มีการประเมินมาตรฐานการจัดการมูลฝอยติดเชื้ อตามกฎกระทรวงว่ าด้ วยการกําจัดมูลฝอยติดเชื้ อ - หลักฐานการฝึ กอบรม คือ ใบประกาศ
พ.ศ. 2545 ใน 6 หัวข้ อ คือ
4.1 บุคลากร 2
ตามแบบของกรมอนามัย
1) มีเจ้ าหน้ าทีร่ ับผิดชอบดูแลระบบการเก็บ ขน และกําจัดมูลฝอยติดเชื้ อซึ่งได้ รับการ 1
อบรมหลักสู ตรการป้ องกันและระงับการแพร่ เชื้ อหรื ออันตรายทีอ่ าจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้ อ
ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุ ขแล้ ว
2) ผู้ปฏิบัตงิ านมูลฝอยติดเชื้ อได้ รับการอบรมหลักสู ตรการป้ องกันและระงับการแพร่ เชื้ อ 1
หรื ออันตรายทีอ่ าจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้ อตามประกาศกระทรวงสาธารณสุ ขหรื อได้ รับการ
ถ่ ายทอดความรู้เรื่ องการป้ องกันและระงับการแพร่ เชื้ อหรื ออันตรายทีอ่ าจเกิดจาก มูลฝอย
ติดเชื้ อ
4.2 การคัดแยกมูลฝอยติดเชื้ อ 2
1) มีการแยกมูลฝอยติดเชื้ อออกจากมูลฝอยอื่นๆ ณ แหล่ งกําเนิด 1
2) มีการแยกมูลฝอยติดเชื้ อ ระหว่ างวัสดุของมีคม และวัสดุของไม่ มคี ม 1
4. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ กล่ องใส่ มูลฝอยติดเชื้อ
หมายถึง ภาชนะสํ าหรับบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ ที่เป็ น
กล่ องหรื อถัง ต้ องทําจากวัสดุที่แข็งแรง ทนทานต่ อ
การแทงทะลุและการกัดกร่ อนของสารเคมี เช่ น
4.3 การเก็บรวบรวมมูลฝอยติดเชื้อ 6
พลาสติกแข็งหรื อโลหะ มีฝาปิ ดมิดชิด
1) ภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้ อประเภทวัสดุของมีคม มีลกั ษณะเป็ นกล่ องหรื อถังทีท่ าํ ด้ วยวัสดุ 1 ( อ้ างอิง ตามกฎกระทรวงว่ าด้ วยการกําจัดมูลฝอยติด
แข็งแรง ทนทานต่ อการแทงทะลุและการกัดกร่ อนของสารเคมี มีฝาปิ ดมิดชิดและป้ องกันการ เชื้อพ.ศ. 2545 )
รั่วไหลของเหลวภายในได้
2) มูลฝอยติดเชื้ อประเภทวัสดุของมีคมต้ องบรรจุไม่ เกิน 3 ใน 4 ส่ วนของภาชนะบรรจุ 1
3) ภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้ อประเภทวัสดุของไม่ มคี ม มีลกั ษณะเป็ นถุงสี แดงทึบแสง ทําจาก 1
พลาสติกหรื อวัสดุอื่นทีม่ คี วามเหนียวไม่ ฉีกขาดง่ายทนทานต่ อสารเคมีและการรับนํา้ หนัก
กันนํา้ ได้ ไม่ รั่วซึมและไม่ ดูดซึม
4)มูลฝอยติดเชื้ อประเภทวัสดุของไม่ มคี ม ต้ องบรรจุไม่ เกิน 2 ใน 3 ส่ วนของถุงและมัดปากถุง 1
ด้ วยเชื อกหรื อวัตถุอื่นให้ แน่ น
5) มีเครื่ องหมายและคําเตือนทีบ่ ่ งบอกให้ บุคคลทัว่ ไปทราบว่ าเป็ นภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้ อ 1
6) ภาชนะสํ าหรับบรรจุมูลฝอยติดเชื้ อ (ถุงแดงและกล่ องใส่ มูลฝอยติดเชื้ อ) มีการใช้ งานเพียง 1
ครั้งเดียว และทําลายพร้ อมกับการกําจัดมูลฝอยติดเชื้ อ
4. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
4.4 การเคลื่อนย้ายมูลฝอยติดเชื้อ 4
1) ผู้ปฏิบัติงานเคลื่อนย้ายมูลฝอยติดเชื้อสวมอุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่ วน 1
บุคคล ประกอบด้วย ถุงมือยางหนา ผ้ากันเปื้ อน ผ้าปิ ดปาก-ปิ ดจมูก และ
รองเท้ าพืน้ ยางหุ้มแข้ ง ในขณะปฏิบัติงาน

2) ใช้ ภาชนะรองรับมูลฝอยติดเชื้อ เวลาเคลื่อนย้าย 1


3) มีการเคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อไปเก็บกักที่พักรวมทุกวัน 1
4) มีการทําความสะอาดภาชนะรองรั บและอุปกรณ์ ในการปฏิบัติงาน ทุก 1
วันในบริเวณที่จัดไว้เฉพาะและนํา้ เสี ยที่เกิดจากการล้ างทําความสะอาดมี
การระบายลงสู่ ระบบบําบัดนํา้ เสี ย เช่ น บ่ อเกรอะบ่ อซึม ถังบําบัดนํา้ เสี ย
สําเร็จรู ป เป็ นต้ น
4. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
4.4 การเคลื่อนยายมูลฝอยติดเชื้อ
4. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
4.5 บริเวณทีพ่ กั ภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ 5
1) แยกเป็ นสัดส่ วนเฉพาะ ไม่ อบั ชื้น 1
2) ไม่ ต้งั อยู่ในบริเวณที่เก็บเครื่ องมือ อุปกรณ์ในการรักษา สถานทีป่ ระกอบ ปรุ ง เก็บ หรื อ 1
สะสมอาหาร
3) ภาชนะรองรับมูลฝอยติดเชื้อ พืน้ ผิวเรียบทําความสะอาดง่ ายไม่ รั่วซึม มีฝาปิ ดมิดชิด 1
4) ภาชนะรองรับมูลฝอยติดเชื้อ มีความจุเพียงพอ 1
5) มีข้อความแสดงซึ่งมีขนาดและสี ที่สามารถเห็นได้ ชัดเจนว่ า “ที่พกั รวมมูลฝอยติดเชื้อ” 1
4. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

4.6 การกําจัดมูลฝอยติดเชื้อ แบ่ งเป็ น 3 กรณี ดังนี้ คะแนน


รพ.สต. มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบใด เต็ม
(เลือก 1 วิธี ตามการจัดการของ รพ.สต.) 2
4.6.1 กรณีดาํ เนินการกําจัดมูลฝอยติดเชื้อเอง 2
1) ได้รับความเห็นชอบจากราชการส่ วนท้ องถิ่นให้ ดาํ เนินการ 1
กําจัดมูลฝอยติดเชื้อได้
2) ผู้ปฏิบัติงานในการกําจัดมูลฝอยติดเชื้ อ มีการสวมชุ ดป้องกัน 1
อันตรายส่ วนบุคคลขณะปฏิบัติงาน
3) บริเวณโดยรอบเตาเผามูลฝอยติดเชื้อสะอาด
4) มีบ่อรองรับเถ้ ามูลฝอยติดเชื้อที่ถูกสุ ขลักษณะ
4. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
4.6.2 กรณีส่งให้ โรงพยาบาลทีร่ ับเป็ นศู นย์ รวมการกําจัดมูลฝอยติดเชื้อ 2
1) มีหนังสื อ/เอกสารแสดงชื่ อหน่ วยงานที่รับมูลฝอยติดเชื้ อไปกําจัด และแสดงชื่ อ 1
สถานที่กาํ จัดที่เชื่ อได้ว่ามีการนํามูลฝอยติดเชื้อไปกําจัดด้ วยวิธีที่ถูกต้ อง
2) ภาชนะรวบรวมมูลฝอยติดเชื้อสําหรับส่ งกําจัดที่โรงพยาบาล ต้ องมี 1
ลักษณะ ดังนี้
- เป็ นภาชนะที่มีพืน้ และผนังทึบ ทําด้ วยวัสดุทําความสะอาดง่ าย มีฝาปิ ดมิดชิด
ป้องกันการรั่วไหลของเหลวภายในได้ และมีระบบป้ องกันการตกหล่ นในระหว่ าง
การเคลื่อนย้าย
- ด้ านข้ างภาชนะมีข้อความว่า “ภาชนะรวบรวมมูลฝอยติดเชื้อห้ ามเปิ ด
ห้ ามนําไปใช้ ในกิจการอื่น”
4. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
4.6.3 กรณีให้ ผ้อู ื่นกําจัดให้ 2
1) มีหนังสื อ/เอกสารแสดงชื่ อหน่ วยงานที่รับมูลฝอยติดเชื้อไปกําจัดที่ 1
ได้รับอนุญาต และแสดงชื่ อสถานที่กาํ จัดที่เชื่ อได้ ว่ามีการกําจัดมูลฝอย
ติดเชื้อด้วยวิธีที่ถูกต้ อง
2) มีการใช้ งานเอกสารกํากับการขนส่ งมูลฝอยติดเชื้อ 1
(คําสั่งกระทรวงสาธารณสุ ขที่ 1852/2556 และดําเนินการขนมูลฝอย
ติดเชื้อเป็ นไปตามข้ อกําหนดในกฎกระทรวงว่าด้วยการกําจัดมูลฝอย
ติดเชื้อ พ.ศ. 2545

คะแนนรวม 65 คะแนน
*

You might also like