You are on page 1of 11

MMP18-1

ผลของยาสี ฟันผสมฟลูออไรด์ สทรอนเทียม อะซิเทต และอาร์ จินีน ในการลดภาวะเนื้อฟันไวเกิน:


การทดลองแบบสุ่ มในคลินิก
Effects of Fluoride, Strontium Acetate and Arginine Containing Tooth Paste on Dentine
Hypersensitivity Reduction: A Randomized Clinical Trial

ยุทธนา พาฤทธิ์ (Yuttana Parit)* สุชาติ วงศ์ขนั ตี (Suchart Wongkhantee)**


มุขดา ศิริเทพทวี (Mookhda Siritapetawee)*** วิลาวัลย์ วีระอาชากุล (Wilawan Weeraarchakool)****

บทคัดย่ อ
การศึกษานี้มีวตั ถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลในการลดภาวะเนื้อฟันไวเกินของยาสี ฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์
สทรอนเทียมอะซิเทต และอาร์จินีน เป็ นการทดลองแบบสุ่มในมนุษย์ โดยให้อาสาสมัครที่มีภาวะเนื้ อฟันไวเกินใช้ยาสี
ฟันที่มีส่วนผสมของสารดังกล่าวเป็ นระยะเวลา 3 เดือน ทําการทดสอบภาวะเนื้อฟันไวเกินโดยวัดระดับการเสี ยวฟันจาก
การกระตุน้ 3 แบบ คือ การสัมผัส การใช้ลมเป่ า และการกระตุน้ ด้วยสําลีเย็น รวมถึงวัดระดับความรับรู ้และความพึง
พอใจของอาสาสมัครด้วย โดยใช้ VAS score และทําการตรวจประเมินในสัปดาห์ที่ 2 4 8 และ 12 ตามลําดับ ผล
การศึกษาพบว่าอาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนเทียม อะซิเทต และอาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมอาร์ จินีน มีค่าเฉลี่ย
การลดลงของ VAS score แตกต่า งกันอย่างไม่มี นัยสําคัญทางสถิ ติ แต่แ ตกต่า งจากอาสาสมัครที่ ใช้ย าสี ฟั นผสม
ฟลูออไรด์ อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ ในสัปดาห์ที่ 4 8 และ 12 (p<0.05)

ABSTRACT
The aim of this clinical trial study is to determine effects of Fluoride, Strontium acetate and Arginine
containing tooth paste on Dentine hypersensitivity reduction. The volunteer was introduced to brush their teeth with
tooth paste twice a day and were recalled for visual analog score (VAS score) evaluation after using toothpaste 2, 4, 8
and 12 week. VAS score was used to recorded hypersensitivity score after applying tactile force, dental unit air and
cold cotton pellet stimulate the teeth and then estimated personal perception. The results of this study revealed that
Strontium acetate and Arginine containing tooth paste can reduce sensitivity score more than fluoride containing
tooth paste at week 4, 8 and 12 (p<0.05)

คําสําคัญ: ภาวะเนื้อฟันไวเกิน ฟลูออไรด์ สทรอนเทียม อะซิเทต


Key Words: Dentine hypersensitivity, Fluoride, Strontium acetate
* นักศึกษา หลักสู ตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมบูรณะ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
** อาจารย์ ภาควิชาทันตกรรมบูรณะ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
*** รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวินิจฉั ยโรคช่ องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
**** รองศาสตราจารย์ ภาควิชาทันตกรรมชุมชน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่ น

917
MMP18-2
บทนํา oxalate) เฟอรัสออกไซด์ (Ferrous oxide) สทรอนเทียม
ก า ร เ กิ ด ภ า ว ะ เ นื้ อ ฟั น ไ ว เ กิ น (Dentine คลอไรด์ (Strontium chloride) นอกจากนี้ ยงั มีทางเลือก
hypersensitivity) หรื อที่นิยมเรี ยกว่าอาการเสี ยวฟันนั้น ในการรั ก ษาอื่ น ๆ อี ก เช่ น การใช้เ ครื่ อ งป้ องกัน ฟั น
เป็ นปั ญ หาสํา คัญ ที่ พ บได้ม ากในผูป้ ่ วยทั่ว ไป โดย (Mouth guards) การใช้กระแสไฟฟ้ าผลักสารเคมี ที่มี
โอกาสเกิดในเพศหญิงมีมากกว่าเพศชาย มักพบในช่วง คุ ณสมบัติ ที่ แ ตกตัว ได้ (Iontophoresis) และการใช้
อายุ 20 ถึง 30 ปี (Flynn, 1985) ซึ่ งมีสาเหตุมาจากการ เลเซอร์ (Laser) อย่า งไรก็ ต ามวิธีก ารเหล่ า นี้ ยัง ต้อ งมี
สู ญเสี ยผิวเคลื อบฟั น ทําให้เกิ ดการเผยผึ่งของเนื้ อฟั น การศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมต่อไป
(Exposed dentine) และท่อเนื้ อฟัน (Exposed dentinal ปั จจุบนั มีการแนะนําสารตัวใหม่สาํ หรับการลด
tubule) (Addy, 1985)โดยมีปัจจัยมาจากหลายประการ ภาวะเนื้ อฟันไวเกิน โดยกลไกการอุดตันท่อเนื้ อฟัน ซึ่ ง
เช่น การพัฒนาการที่ผิดปกติของฟัน การบดเคี้ยวอาหาร ทางบริ ษทั ผูผ้ ลิตได้กล่าวว่าให้ผลได้รวดเร็ ว และดี กว่า
การรั บประทานอาหารและยาที่ มีฤทธิ์ เป็ นกรดบ่ อยๆ ชนิ ด อื่ น ๆ ได้แ ก่ สทรอนเที ย ม อะซิ เ ทต (Strontium
การแปรงฟันที่ผิดวิธี หรื อมีภาวะเหงือกร่ น เป็ นต้น เมื่อ acetate) ซึ่ งเป็ นเกลื อของโลหะที่ มีขนาดเล็ก และอาร์
มี ก ารสู ญ เสี ย ผิ ว เคลื อ บฟั น ส่ ว นเนื้ อ ฟั น จะเผยผึ่ ง ต่ อ จิ นีน (Arginine) ซึ่ งเป็ นอนุ ภาคของกรดอะมิโน แต่ยงั
สิ่ ง แวดล้อ มภายนอกโดยตรง หากมี ก ารกระตุ ้น จาก ไม่มีผลการวิจยั ที่ทาํ การเปรี ยบเทียบผลในการลดภาวะ
สิ่ งแวดล้อมภายนอก เช่น ความร้อน ความเย็น ก็จะทํา เนื้อฟันไวเกินระหว่างสารทั้งสองชนิดนี้
ให้เกิ ดภาวะเนื้ อ ฟั นไวเกิ น ขึ้ น ซึ่ ง เป็ นปั ญหาสําคัญ ที่
ผูป้ ่ วยมาพบทัน ตแพทย์ และต้อ งการที่ จ ะได้รั บ การ วัตถุประสงค์ ของการวิจยั
แก้ไขให้หายจากภาวะนี้ กลไกการเกิดของภาวะเนื้ อฟัน เพื่อศึกษาเปรี ยบเทียบผลการลดภาวะเนื้ อฟันไว
ไวเกิ นยังไม่เป็ นที่ ท ราบแน่ ชัด แต่จากการศึ กษาก็ มี เกิ น ของยาสี ฟัน ที่ มีส่ วนผสมของฟลู ออไรด์ สทรอน
ทฤษฎี ที่ เ ป็ นที่ ย อมรั บ คื อ ทฤษฎี ไ ฮโดรไดนามิ ก เที ยมอะซิ เทต และอาร์ จินีน หลังใช้ในบริ เวณฟันเขี้ยว
(Hydrodynamic theory) ซึ่ งกล่ า วว่ า เมื่ อ มี สิ่ ง กระตุ ้น หรื อฟันกรามน้อยที่มีภาวะเนื้อฟันไวเกิน
กระทําต่อผิวฟัน จะทําให้เกิดการเคลื่อนที่ของของเหลว
ที่ อ ยู่ ใ นท่ อ เนื้ อฟั น ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การกระตุ ้น ปลาย วิธีการวิจยั
ประสาทรับความรู ้สึกเจ็บปวดและทําให้เกิดภาวะเนื้ อ เกณฑ์ การเลือกตัวอย่ างทีศ่ ึกษา
ฟันไวเกินขึ้น (Matthews, 1994; Brannstrom, 1972) ประชากรที่ศึกษาเป็ นประชากรศึกษาที่มีภาวะเนื้ อ
ในปั จจุบนั วิธีการรักษาภาวะนี้มีหลายวิธี โดยวิธี ฟันไวเกิน ที่มารับการรักษาที่ คลินิกวินิจฉัยโรคช่องปาก
ที่เป็ นที่นิยมคือการรักษาโดยใช้สารลดภาวะเนื้ อฟันไว คลิ นิ กความเจ็ บปวดของใบหน้าและขากรรไกร และ
เกิ น ซึ่ งมี ผลิตภัณฑ์สําหรับรักษาภาวะเนื้ อฟั นไวเกิ น คลิ นิ กบั ณ ฑิ ตศึ กษาทั น ตกรรมบู ร ณะ คณะทั น ต
มากมายที่ อ ยู่ใ นท้อ งตลาด และมี ก ารผลิ ต ออกมาใน แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลันขอนแก่น โดยมีเงื่อนไขดังนี้
หลายรู ปแบบ เช่น ยาสี ฟันหรื อเจลที่มีส่วนผสมของสาร การคํานวณขนาดตัวอย่ าง
ที่ลดภาวะเนื้อฟันไวเกิน โดยสารเหล่านี้ สามารถแบ่งได้ คํานวณขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตร
เป็ น 2 ประเภท คือ การยับยั้งการส่ งสัญญาณประสาท n = 2ϭ2 (Z α/2 +Z ß )2/(x 1 -x 2 )2
เช่น โพแทสเซี ยมไนเตรต (Potassium nitrate) และสาร = 20 (+ 30% loss of F/U = 30)
ที่ ท ํา ให้เ กิ ดการอุ ด ตันของท่ อ เนื้ อ ฟั น เช่ น สแตนนัส ดังนั้นใช้อาสาสมัคร 30 คนต่อกลุ่ม
ฟลู อ อไรด์ (Stannous fluoride) โซเดี ย มฟลู อ อไรด์ กําหนด
(Sodium fluoride) โพแทสเซี ยมออกซาเลต (Potassium • α = 0.05

918
MMP18-3
• ß = 0.10 การทดสอบผลของยาสี ฟันที่ ลดอาการเสี ยวฟั น
อ้างอิงค่า Z และ x จาก Minkoff and Axelrod, 1986 ใช้รูปแบบ Paralleled design และ Double blind โดย
ข้ อกํ า หนดในการคั ด ประชากรเข้ าศึ กษา อาสาสมัครและผูว้ ดั ค่าดัชนี ต่างๆ จะไม่ทราบชนิ ดของ
(Inclusion criteria) ยาสี ฟันที่ ใช้โดยทําการปิ ดส่ วนของหลอดยาสี ฟันด้วย
1. มีฟันเขี้ยวหรื อฟันกรามน้อยอย่างน้อย 2 ซี่ ที่มี เทปสี ขาว
อาการของภาวะเนื้ อ ฟั น ไวเกิ น บริ เวณคอฟั นจากการ อาสาสมัครทั้งหมดจะได้รับคําแนะนําเกี่ ยวกับ
ตรวจทางคลินิก 3 วิธี ได้แก่ การตรวจโดยใช้เครื่ องมือ การศึ กษาจากทันตแพทย์ประจําคลินิกวินิจฉัยโรคช่อง
ปลายแหลมลากผ่านบนผิวฟัน การกระตุน้ ด้วยความเย็น ปาก คลิ นิกความเจ็บปวดของใบหน้าและขากรรไกร
และการใช้ลมเป่ าบริ เวณเนื้อฟัน และคลิ นิ ก บัณฑิ ต ศึ ก ษาทัน ตกรรมบู ร ณะ คณะทัน ต
2. มีระดับการเสี ยวฟันไม่นอ้ ยกว่าระดับ 4 จาก แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลันขอนแก่น (ซึ่ งไม่ใช่ผูว้ ิจยั )
การทดสอบการเสี ยวฟันด้วย Visual analog scale และยินยอมเข้าร่ วมการศึ กษาโดยลงชื่ อในใบยินยอม
3. ไม่ ไ ด้รั บ ยาบรรเทาอาการปวดในระหว่า ง จากนั้นก็จะได้รับการตรวจและบันทึ กสภาพช่องปาก
การศึกษา โดยผูว้ ิจัย เพื่อเป็ นข้อมูลพื้นฐาน แล้วทําการทดสอบ
4. มีฟันเหลือในช่องปากอย่างน้อย 20 ซี่ โดยการกระตุน้ 3 ขั้นตอน คือ
5. อายุ 18 ปี ขึ้นไป 1. การกระตุน้ ด้วยการสัมผัส (Tactile stimuli):
6. มีสุขภาพแข็งแรง โดยใช้เครื่ องมือตรวจปริ ทนั ต์หรื อโพรบ (Periodontal
7. ยินยอมเข้าศึกษา probe) ชนิ ด PCPUNC 15 ของบริ ษทั Hu-friedy
ข้ อ กํ า หนดในการไม่ คั ด ประชากรเข้ า ศึ ก ษา (Chicago, Illinois, USA) ลากใต้รอยต่อระหว่างเคลือบ
(Exclusion criteria) ฟันกับเคลือบรากฟั นที่ มีการเผยผึ่งของชั้นเนื้ อฟันโดย
1. มีประวัติการแพ้ยาสี ฟัน หรื อแพ้สารที่ ใช้ใน ลากไปและกลับ 1 ครั้ งจากมุ ม ฟั น ด้า นใกล้ก ลาง ไป
การศึกษา เช่น สทรอนเทียม อะซิเทต หรื ออาร์จีนีน จนถึ ง มุมฟั นด้า นไกลกลาง ด้วยแรง 50 กรั ม (ทัน ต
2. ฟั น ที่ มี อ าการเสี ยวฟั น มี ร อยผุ รอยร้ า วที่ แพทย์ผตู ้ รวจผ่านการปรับมาตรฐานการใช้แรงในการ
เด่ นชัด มี วสั ดุ บูรณะขนาดใหญ่ มี ครอบฟั น หรื อเป็ น ลากโดยทดสอบกับ เครื่ อ งชั่งอัตโนมัติ และใช้ kappa
ฟันหลักยึดของฟันปลอม analysis)
3. ได้รับยาสี ฟันลดอาการเสี ยวฟันหรื อได้รับการ 2. การกระตุน้ ด้วยลม (Air-blast stimuli): เป่ า
รักษาอาการเสี ยวฟันในช่วง 6 สัปดาห์ก่อนการทดลอง ลมเป็ นเวลา 3 วินาที จ ากหัวสําหรั บ เป่ าลมและนํ้าใน
4. ได้รับการฟอกสี ฟันก่อนศึกษาไม่เกิน 3 เดือน คลิ นิก โดยให้ปลายของหัวสําหรั บเป่ าลมและนํ้า มี
5. ได้รับการผ่าตัดศัลยกรรมปริ ทนั ต์ ผ่าตัดปลาย ระยะห่ างจากบริ เวณที่ทดสอบ 5 มิลลิเมตรและทํามุม
รากฟัน ในช่วง 3 เดือนก่อนการทดลอง 90 องศาใต้ต่อรอยต่อเคลือบฟันกับเคลือบรากฟัน
6. กําลังรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน 3. การกระตุน้ ด้วยความเย็น (Cold stimuli): ใช้
7. อยูร่ ะหว่างตั้งครรภ์หรื อให้นมบุตร สําลีกอ้ นเล็ก (เส้นผ่านศูนย์กลาง 5 มิลลิเมตร) ชุบด้วย
เอทิ ลคลอไรด์ สเปรย์ (Ethyl chloride spray) สัมผัส
ระเบียบวิธีวจิ ยั บริ เวณผิวฟันที่จะทําการทดสอบเป็ นเวลา 5 วินาที
เป็ นการวิจยั เชิงทดลอง (Experimental research) 4. ในแต่ ล ะการทดสอบจากข้ อ 1-3 หลั ง
แบบศึ ก ษาในคลิ นิ ก (Clinical trial) รู ป แบบการ ทดสอบแต่ละขั้นตอนจะต้องห่ างกันเป็ นเวลา 5 นาที
ดําเนินการวิจยั และทําการประเมินภาวะเนื้ อฟั นไวเกิ นของผูป้ ่ วยจาก

919
MMP18-4
การใช้ visual analog scale (VAS) ยาว 10 เซนติเมตรจะ กลุ่มละ 30 คน โดยให้อาสาสมัครในแต่ละกลุ่มใช้ยาสี
มีตวั เลขตั้งแต่ 0-10 โดย 0 แทนไม่มีอาการเจ็บ และ10 ฟันที่แตกต่างกัน ดังนี้
แทนมีอาการเจ็บมาก ซี่ ฟันที่ตอบสนองต่อการกระตุน้ กลุ่มที่ 1 ใช้ยาสี ฟันผสมฟลูออไรด์
ทั้ง 3 แบบที่ มีค่า VAS หลังการกระตุน้ น้อยกว่า 4 ทุก กลุ่ ม ที่ 2 ใช้ย าสี ฟั น ที่ มี ส่ ว นผสมของสทรอน
การกระตุน้ จะถูกคัดออกจากการศึกษาในครั้งนี้ เทียม อะซิเทต และฟลูออไรด์
5. ประเมินการรับรู ้และความพึงพอใจโดยรวม กลุ่มที่ 3 ใช้ยาสี ฟันที่ มีส่วนผสมของอาร์ จินีน
ของอาสาสมัคร โดยให้อาสาสมัครประเมินอาการเสี ยว และฟลูออไรด์
ฟันโดยรวมจากการใช้ชีวติ ประจําวัน เช่น การแปรงฟัน แล้วจึงนัดผูป้ ่ วยกลับมาเพื่อประเมินอาการเสี ยว
หรื อการรั บ ประทานอาหาร เป็ นต้น โดยใช้ visual ฟันอีกครั้งในสัปดาห์ที่ 2 4 8 และ 12 โดยการตรวจ
analog scale (VAS) เช่นกัน ทั้งหมดจะทําโดยทันตแพทย์คนเดี ยว และมี การปรั บ
หลังจากนั้นจะทําการบันทึกประวัติผปู ้ ่ วย ความ มาตรฐานการตรวจหลัง จากการตรวจอาสาสมัค รไป
ผิดปกติของซี่ฟันที่จะทําการทดสอบลักษณะการสบฟัน แล้วทุกๆ 10 คน
และ Periodontal parameter ดังนี้
1. ก า ร ต ร ว จ ร ะ ดั บ เ ห งื อ ก ร่ น ( Gingival การวิเคราะห์ ข้อมูล
recession; GR) เปรี ยบเที ยบข้ อ มู ล พื้ นฐาน เช่ น เพศของ
2. การตรวจร่ องลึ กปริ ทันต์ (Probing depth; อาสาสมัคร ด้วยสถิติไคน์สแคว์ (Chi-square test) และ
PD) ค่าเฉลี่ ยอายุ ดัชนี ของสภาวะปริ ทันต์ ของอาสาสมัคร
3. การตรวจอาการเลื อ ดออก (Bleeding on ระหว่าง 3 กลุ่ม โดยใช้สถิติ One way ANOVA ที่ระดับ
probing; BOP) ความเชื่อมัน่ ร้อยละ 95 (p< 0.05)
4. ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ร า บ จุ ลิ น ท รี ย์ ( Plaque เปรี ยบเทียบผลของยาสี ฟันแต่ละชนิ ดในการลด
assessment index; PAI) อาการเสี ยวฟันในแต่ละกลุ่ม ทั้ง 5 ช่วงเวลา คือ เริ่ มทํา
5. การตรวจระดับ การยึด เกาะของอวัย วะปริ การทดลอง และเมื่อใช้ยาสี ฟันเป็ นเวลา 2 4 8 และ 12
ทันต์ (Clinical attachment level; CAL) สัปดาห์ ด้วย VAS score โดยใช้สถิติ The repeated-
ทําการขูดหิ นนํ้าลาย และเกลารากฟั น รวม ถึ ง measurement ANOVA ที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้อยละ 95
แนะนําในการดู แลสุ ขภาพช่ อ งปาก ทั้ง การแปรงฟั น (p < 0.05)
และการใช้ไ หมขัด ฟั น แนะนํา ให้อาสาสมัค รทํา การ เปรี ยบเทียบผลของยาสี ฟันในการลดอาการเสี ยว
แปรงฟันด้วยวิธี Modified Bass’ technique โดยเปลี่ยน ฟันระหว่าง 3 กลุ่มทั้ง 5 ช่วงเวลา คือ เริ่ มทําการทดลอง
มาใช้แปรงสี ฟันที่ผวู ้ ิจยั จัดตรี ยมให้ และให้บีบยาสี ฟัน และเมื่อใช้ยาสี ฟันเป็ นเวลา 2 4 8 และ 12 สัปดาห์ ด้วย
ยาว 1.5 เซนติเมตร อย่างน้อยครั้งละ 2 นาที จํานวน 2 ค่าเฉลี่ย VAS score ที่ ลดลงโดยใช้สถิติ One way
ครั้งต่อวัน โดยจะให้อาสาสมัครแปรงฟั นด้วยยาสี ฟัน ANOVA ในกรณี ที่ ข ้ อ มู ล มี ก ารแจกแจงปกติ
ผสมฟลูออไรด์ เพื่อปรับสภาพช่องปากและคุน้ เคยกับ (parametric) หรื อ Kruskal Wallis test ในกรณี ที่ขอ้ มูลมี
การแปรงฟันก่อน 2 สัปดาห์ การแจกแจงไม่ปกติ (non-parametric) ที่ ระดับความ
เมื่อครบ 2 สัปดาห์ก็ทาํ การทดสอบเช่นเดียวกับ เชื่อมัน่ ร้อยละ 95 (p < 0.05)
การทดสอบครั้ งแรก และบัน ทึ ก ข้อ มู ล ไว้เ ป็ นข้อ มู ล
พื้นฐานก่อนการศึกษา จากนั้นจึงทําการแบ่งอาสาสมัคร
ออกเป็ น 3 กลุ่มโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามเพศ จํานวน

920
MMP18-5
ผลการวิจยั อะซิ เทต และกลุ่มที่ ใช้ยาสี ฟันผสมอาร์ จินีน มีค่าเฉลี่ย
การวัดค่าภาวะเนื้ อฟันไวเกินของอาสาสมัครทั้ง การลดลงของ VAS score แตกต่ า งกัน อย่า งไม่ มี
3 กลุ่มทดลอง พบว่าค่าเฉลี่ย VAS score เมื่อเริ่ มต้นของ นัย สํา คัญ (p>0.05) แต่ แ ตกต่ า งจากกลุ่ ม ที่ ใ ช้ย าสี ฟั น
กลุ่มที่ใช้ยาสี ฟันผสมฟลูออไรด์ กลุ่มที่ใช้ยาสี ฟันผสมส ผสมฟลูออไรด์อย่างมีนยั สําคัญ (p<0.05) ดังภาพที่ 1ข
ทรอนเที ย ม อะซิ เ ทต และกลุ่ ม ที่ ใ ช้ย าสี ฟั น ผสมอาร์
ค่าเฉลี�ย VAS score เมื�อระตุ้นด้วยการสัมผัส

จินีน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) O O


+
O
* * * *
7

ดังตารางที่ 1
6

ค่าเฉลี�ย VAS score


ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
5
4 ยาสีฟันผสมสทรอน
3 เทียม อะซิเทต
ยาสีฟันผสมอาร์จินีน

ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย VAS score เมื่อกระตุน้ ด้วยสิ่ ง


2
1
0

กระตุน้ ต่างๆ ในครั้งแรก 0 2 4


สัปดาห์ที�ทดสอบ
8 12

VAS (SD)
สิ่ งกระตุน้ สทรอนเทียม ภาพที่ 1ก ค่าเฉลี่ย VAS score เมื่อกระตุน้ ด้วยการ
ฟลูออไรด์ อาร์ จินีน
อะซิ เทต สัมผัส (+ หมายถึง มีความแตกต่างอย่างมี
การสัมผัส 5.85 (0.11) 5.64 (0.12) 5.84 (0.13) นัยสําคัญ กับสัปดาห์ที่ 1 เมื่อเปรี ยบเทียบใน
การใช้ลมเป่ า 6.42 (0.75) 6.47 (0.18) 6.63 (0.12)
กลุ่มอาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันฟลูออไรด์
การกระตุน้ ด้วย
6.68 (0.09) 6.78 (0.10) 6.86 (0.08) (p<0.05)
สําลีเย็น
การรับรู้ของ * หมายถึง มีความแตกต่างอย่างมีนยั สําคัญ
5.16 (0.13) 5.13 (0.09) 5.21 (0.09)
อาสาสมัคร กับสัปดาห์ที่ 1 เมื่อเปรี ยบเทียบในกลุ่ม
อาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนเทียม
เมื่อทําการวัดที่ระยะเวลาต่างๆ และเปรี ยบเทียบ อะซิเทต (p<0.05)
ในกลุ่ มเดี ย วกัน พบว่า ค่ า เฉลี่ ย VAS score ของ O หมายถึง มีความแตกต่างอย่างมีนย ั สําคัญ
อาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนเทียม อะซิ เทต เมื่อ กับสัปดาห์ที่ 1 เมื่อเปรี ยบเทียบในกลุ่ม
ถูกกระตุน้ ด้วยการสัมผัสในสัปดาห์ที่ 2 4 8 และ 12 อาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมอาร์จินีน
แตกต่างจากสัปดาห์แรกอย่างมีนยั สําคัญ (p<0.05) ส่ วน (p<0.05))
กลุ่มที่ ใช้ยาสี ฟันผสมอาร์ จินีนเมื่ อถูกกระตุน้ ด้วยการ
สัมผัสในสัปดาห์ที่ 4 8 และ 12 แตกต่างจากสัปดาห์แรก ค่าเฉลี�ย VAS score ที�ลดลง เมื�อกระตุ้นด้วยการสัมผัส

*
*
*
* **
อย่า งมี นัย สํา คัญ (p<0.05) และกลุ่ม ที่ ใ ช้ย าสี ฟัน ผสม
4

*
ค่าเฉลี�ย VAS score ที�ลดลง

3.5

*
3

ฟลูออไรด์เมื่อถูกกระตุน้ ด้วยการสัมผัสในสัปดาห์ที่ 12 2.5

1.5
2
ฟลูออไรด์
สทรอนเทียม อะซิเทต
อาร์จินีน

แตกต่างจากสัปดาห์แรกอย่างมี นัยสําคัญ (p<0.05) ดัง 0.5


1

ภาพที่ 1ก 0 2 4
สัปดาห์ที�ทดสอบ
8 12

เปรี ยบเที ยบค่าเฉลี่ยการลดลงของ VAS score


เมื่ อ กระตุ ้ น ด้ ว ยการสั ม ผั ส พบว่ า ในสั ป ดาห์ ที่ 2 ภาพที่ 1ข ค่าเฉลี่ยการลดลงของ VAS score เมื่อ
อาสาสมัครที่ ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนที ยม อะซิ เทต มี กระตุน้ ด้วยการสัมผัส (* หมายถึง มีความ
ค่าเฉลี่ยการลดลงของ VAS score มากกว่าอาสาสมัคร แตกต่างอย่างมีนยั สําคัญ เมื่อเปรี ยบเทียบ
กลุ่มอื่นอย่างมีนยั สําคัญ (p<0.05) ส่ วนในสัปดาห์ที่ 4 8 ระหว่างกลุ่มในสัปดาห์เดียวกัน (p<0.05))
และ 12 พบว่าอาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนทียม

921
MMP18-6
เมื่ อ กระตุ ้น ด้ว ยการใช้ล มเป่ าพบว่ า ค่ า เฉลี่ ย Oหมายถึง มีความแตกต่างอย่างมีนยั สําคัญ
VAS score ของอาสาสมัครที่ ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอน กับสัปดาห์ที่ 1 เมื่อเปรี ยบเทียบในกลุ่ม
เที ย ม อะซิ เ ทต เมื่ อ ถู ก กระตุ ้น ด้ว ยการใช้ล มเป่ าใน อาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมอาร์จินีน
สัปดาห์ที่ 4 8 และ 12 แตกต่างจากสัปดาห์แรกอย่างมี (p<0.05))
นัยสําคัญ (p<0.05) ส่ วนกลุ่มที่ใช้ยาสี ฟันผสมอาร์ จินีน
เมื่อถูกกระตุน้ ด้วยการใช้ลมเป่ าในสัปดาห์ที่ 8 และ 12 ค่าเฉลี�ย VAS score ที�ลดลงเมื�อกระตุ้นด้วยการใช้ลมเป่า

*
*
*
* **
แตกต่างจากสัปดาห์แรกอย่างมีนยั สําคัญ (p<0.05) และ
4.5

ค่าเฉลี�ย VAS score ที�ลดลง


4
3.5
*
กลุ่มที่ ใช้ยาสี ฟันผสมฟลูออไรด์เมื่อถูกกระตุน้ ด้วยการ *
3
2.5 ฟลูออไรด์
2 สทรอนเทียม อะซิเทต
อาร์จินีน

ใช้ลมเป่ าในสัปดาห์ที่ 12 แตกต่างจากสัปดาห์แรกอย่าง


1.5
1
0.5
0

มีนยั สําคัญ (p<0.05) ดังภาพที่ 2ก -0.5 0 2 4


สัปดาห์ที�ทดสอบ
8 12

เปรี ยบเที ยบค่าเฉลี่ยการลดลงของ VAS score


เมื่ อ กระตุ ้น ด้ว ยการใช้ล มเป่ าพบว่า ในสั ป ดาห์ ที่ 2 ภาพที่ 2ข ค่าเฉลี่ยการลดลงของ VAS score เมื่อ
อาสาสมัครที่ ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนที ยม อะซิ เทต มี กระตุน้ ด้วยการใช้ลมเป่ า (* หมายถึง มีความ
ค่าเฉลี่ยการลดลงของ VAS score มากกว่าอาสาสมัคร แตกต่างอย่างมีนยั สําคัญ เมื่อเปรี ยบเทียบ
กลุ่มอื่นอย่างมีนยั สําคัญ (p<0.05) ส่ วนในสัปดาห์ที่ 4 8 ระหว่างกลุ่มในสัปดาห์เดียวกัน (p<0.05))
และ 12 พบว่าอาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนทียม
สําหรั บการกระตุน้ ด้วยสําลี เย็นพบว่า ค่าเฉลี่ ย
อะซิ เทต และกลุ่มที่ ใช้ยาสี ฟันผสมอาร์ จินีน มีค่าเฉลี่ย
VAS score ของอาสาสมัครที่ ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอน
การลดลงของ VAS score แตกต่ า งกัน อย่า งไม่ มี
เทียม อะซิเทต เมื่อถูกกระตุน้ ด้วยสําลีเย็นในสัปดาห์ที่ 4
นัย สํา คัญ (p>0.05) แต่ แ ตกต่ า งจากกลุ่ ม ที่ ใ ช้ย าสี ฟั น
8 และ 12 แตกต่างจากสัปดาห์แรกอย่างมี นัยสําคัญ
ผสมฟลูออไรด์อย่างมีนยั สําคัญ (p<0.05) ดังภาพที่ 2ข
(p<0.05) ส่ ว นกลุ่ ม ที่ ใ ช้ย าสี ฟั น ผสมอาร์ จิ นี น เมื่ อ ถู ก
ค่าเฉลี�ย VAS score เมื�อกระตุ้นด้วยการใช้ลมเป่า กระตุน้ ด้วยสําลีเย็นในสัปดาห์ที่ 8 และ 12 แตกต่างจาก
+
8
7
*
O
* O
* สัปดาห์แรกอย่างมีนยั สําคัญ (p<0.05) และกลุ่มที่ใช้ยาสี
ค่าเฉลี�ย VAS score

6 ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
5
4
ยาสีฟันผสมสทรอน
เทียม อะซิเทต
ฟั น ผสมฟลู อ อไรด์ เ มื่ อ ถู ก กระตุ ้น ด้ ว ยสํ า ลี เ ย็ น ใน
สัปดาห์ที่ 12 แตกต่างจากสัปดาห์แรกอย่างมีนยั สําคัญ
3
ยาสีฟันผสมอาร์จินีน
2
1

(p<0.05) ดังภาพที่ 3ก
0
0 2 4 8 12
สัปดาห์ที�ทดสอบ

เปรี ยบเที ยบค่าเฉลี่ยการลดลงของ VAS score


ภาพที่ 2ก ค่าเฉลี่ย VAS score เมื่อกระตุน้ กระตุน้ ด้วย เมื่อกระตุน้ ด้วยสําลีเย็นพบว่า ในสัปดาห์ที่ 4 และ 8
การใช้ลมเป่ า (+ หมายถึง มีความแตกต่าง อาสาสมัครทั้งสามกลุ่มมี ค่าเฉลี่ ย การลดลงของ VAS
อย่างมีนยั สําคัญ กับสัปดาห์ที่ 1 เมื่อ score แตกต่ า งกัน อย่ า งมี นั ย สํา คัญ (p<0.05) โดย
เปรี ยบเทียบในกลุ่มอาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟัน อาสาสมัครที่ ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนที ยม อะซิ เทต มี
ฟลูออไรด์ (p<0.05) ค่าเฉลี่ยการลดลงของ VAS score มากกว่าอาสาสมัคร
* หมายถึง มีความแตกต่างอย่างมีนยั สําคัญ กลุ่มอื่นอย่างมีนยั สําคัญ (p<0.05) และที่สัปดาห์ที่ 12
กับสัปดาห์ที่ 1 เมื่อเปรี ยบเทียบในกลุ่ม พบว่าอาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนทียม อะซิ เทต
อาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนเทียม และกลุ่มที่ ใช้ยาสี ฟันผสมอาร์ จินีน มีค่าเฉลี่ยการลดลง
อะซิเทต (p<0.05) ของ VAS score แตกต่ า งกัน อย่า งไม่ มี นัย สํา คัญ

922
MMP18-7
(p>0.05) แต่ แ ตกต่ า งจากกลุ่ ม ที่ ใช้ ย าสี ฟั นผสม (p<0.05) ส่วนกลุ่มที่ใช้ยาสี ฟันผสมอาร์ จินีนในสัปดาห์
ฟลูออไรด์อย่างมีนยั สําคัญ (p<0.05) ดังภาพที่ 3ข ที่ 4 8 และ 12 แตกต่างจากสัปดาห์แรกอย่างมีนยั สําคัญ
(p<0.05) และกลุ่ ม ที่ ใ ช้ ย าสี ฟั น ผสมฟลู อ อไรด์ ใ น
ค่าเฉลี�ย VAS score เมื�อกระตุ้นด้วยสําลีเย็น

O
+
O สัปดาห์ที่ 12 แตกต่างจากสัปดาห์แรกอย่างมีนยั สําคัญ
* * *
8

(p<0.05) ดังภาพที่ 4ก
7
ค่าเฉลี�ย VAS score

6 ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
5
ยาสีฟันผสมสทรอน

และเมื่อเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยการลดลงของ VAS


4
เทียม อะซิเทต
3
ยาสีฟันผสมอาร์จินีน
2
1
0
0 2 4 8 12
score ตามการรับรู ้และความพึงพอใจของอาสาสมัคร
สัปดาห์ที�ทดสอบ
พบว่า ในสัปดาห์ที่ 4 และ 8 อาสาสมัครที่ ใช้ยาสี ฟัน
ผสมสทรอนที ย ม อะซิ เ ทต มี ค่ า เฉลี่ ย การลดลงของ
ภาพที่ 3ก ค่าเฉลี่ย VAS score เมื่อกระตุน้ ด้วยสําลีเย็น
VAS score มากกว่าอาสาสมัครกลุ่มอื่นอย่างมีนยั สําคัญ
(+ หมายถึง มีความแตกต่างอย่างมีนยั สําคัญ
(p<0.05) และในสัปดาห์ที่ 12 อาสาสมัครที่ ใช้ยาสี ฟัน
กับสัปดาห์ที่ 1 เมื่อเปรี ยบเทียบในกลุ่ม
ผสมสทรอนที ยม อะซิ เทต และกลุ่มที่ ใช้ยาสี ฟันผสม
อาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันฟลูออไรด์ (p<0.05)
อาร์ จินีน มีค่าเฉลี่ยการลดลงของ VAS score แตกต่าง
* หมายถึง มีความแตกต่างอย่างมีนยั สําคัญ
กันอย่างไม่มีนัยสําคัญ (p>0.05) แต่แตกต่างจากกลุ่มที่
กับสัปดาห์ที่ 1 เมื่อเปรี ยบเทียบในกลุ่ม
ใช้ยาสี ฟันผสมฟลูออไรด์อย่างมีนยั สําคัญ (p<0.05) ดัง
อาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนเทียม
ภาพที่ 4ข
อะซิเทต (p<0.05)
O หมายถึง มีความแตกต่างอย่างมีนย ั สําคัญ ค่าเฉลีย VAS score ตามการรับรู้และความพึงพอใจของอาสาสมัคร
+
O
กับสัปดาห์ที่ 1 เมื่อเปรี ยบเทียบในกลุ่ม 6

5 * *
O
* O
*
ค่าเฉลี�ย VAS score

ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์

อาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมอาร์จินีน 4

3
ยาสีฟันผสมสทรอน
เทียม อะซิเทต

(p<0.05))
2 ยาสีฟันผสมอาร์จินีน
1

0
0 2 4 8 12
สัปดาห์ที�ทดสอบ
ค่าเฉลี�ย VAS score ที�ลดลงเมื�อกระตุ้นด้วยสําลีเย็น
* * **
4
* *
ค่าเฉลี�ย VAS score ที�ลดลง

ภาพที่ 4ก ค่าเฉลี่ย VAS score ตามการรับรู ้และความ


3.5
3
2.5
ฟลูออไรด์

พึงพอใจโดยรวมของอาสาสมัคร
2
สทรอนเทียม อะซิเทต
1.5
อาร์จินีน
1

(+ หมายถึง มีความแตกต่างอย่างมีนยั สําคัญ


0.5
0
-0.5 0 2 4 8 12
สัปดาห์ที�ทดสอบ
กับสัปดาห์ที่ 1 เมื่อเปรี ยบเทียบในกลุ่ม
อาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันฟลูออไรด์ (p<0.05)
ภาพที่ 3ข ค่าเฉลี่ยการลดลงของ VAS score เมื่อ
* หมายถึง มีความแตกต่างอย่างมีนยั สําคัญ
กระตุน้ ด้วยสําลีเย็น (* หมายถึง มีความ
กับสัปดาห์ที่ 1 เมื่อเปรี ยบเทียบในกลุ่ม
แตกต่างอย่างมีนยั สําคัญ เมื่อเปรี ยบเทียบ
อาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนเทียม
ระหว่างกลุ่มในสัปดาห์เดียวกัน (p<0.05))
อะซิเทต (p<0.05)
O หมายถึง มีความแตกต่างอย่างมีนย ั สําคัญ
สํ า หรั บการ รั บรู ้ แ ละค วามพึ งพอใ จขอ ง
กับสัปดาห์ที่ 1 เมื่อเปรี ยบเทียบในกลุ่ม
อาสาสมัคร พบว่าค่าเฉลี่ย VAS score ของอาสาสมัครที่
อาสาสมัครที่ใช้ยาสี ฟันผสมอาร์จินีน
ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนเทียม อะซิ เทต ในสัปดาห์ที่ 2 4
(p<0.05))
8 และ 12 แตกต่างจากสัปดาห์แรกอย่างมี นัยสําคัญ

923
MMP18-8
ค่าเฉลี�ย VAS score ที�ลดลงเมื�อวัดตามการรับรู้และความพึง
พอใจของอาสาสมัคร
ไป 4 สัปดาห์ สอดคล้องกับการศึ กษาของ Touyz
*
* ** ** (1999), West (1997), Addy (1987), Pearce ( 994)
ค่าเฉลี�ย VAS score ที�ลดลง

4
3.5

ส่วนการลดลงของระดับการเสี ยวฟันเมื่อกระตุน้
3
2.5 ฟลูออไรด์
2 สทรอนเทียม อะซิเทต

ด้วยการเป่ าลมลงบนผิวฟันจะพบว่า ในกลุ่มอาสาสมัคร


1.5 อาร์จินีน
1
0.5
0
0 2 4
สัปดาห์ที�วัด
8 12
ที่ ใ ช้ย าสี ฟั น ผสมสทรอนเที ย ม อะซิ เ ทต สามารถลด
ระดับการเสี ยวฟันได้มากกว่ากลุ่มที่ใช้ยาสี ฟันผสมอาร์
ภาพที่ 4ข ค่าเฉลี่ยการลดลงของ VAS score ตามการ จินีนอย่างมีนยั สําคัญ ในสัปดาห์ที่ 4 และทั้งสองกลุ่ม
รับรู ้และความพึงพอใจโดยรวมของ สามารถลดระดับการเสี ยวฟันได้มากกว่ากลุ่มที่ ใช้ยาสี
อาสาสมัคร (* หมายถึง มีความแตกต่าง ฟันผสมฟลูออไรด์อย่างมีนยั สําคัญในสัปดาห์ที่ 8 และ
อย่างมีนยั สําคัญ เมื่อเปรี ยบเทียบระหว่าง 12 สอดคล้องกับการศึ กษาของ West (1997), Addy
กลุ่มในสัปดาห์เดียวกัน (p<0.05)) (1987), Pearce (1994), Ayad (2009), Nathoo (2009)
ในทํานองเดี ยวกันก็พบว่าอาสาสมัครที่ ใช้ยาสี
บทวิจารณ์ ฟั นผสมสทรอนเที ยม อะซิ เทต สามารถลดระดับการ
การรักษาภาวะเนื้ อฟันไวเกินโดยการใช้ยาสี ฟัน เสี ยวฟันเมื่อกระตุน้ ด้วยความเย็นได้มากกว่ากลุ่มที่ใช้ยา
ที่มีส่วนผสมของสารต่างๆ ที่เข้าไปอุดปิ ดท่อเนื้ อฟันที่ สี ฟันผสมอาร์ จินีนอย่างมีนยั สําคัญ ในสัปดาห์ที่ 4 และ
เผยผึ่งออกมา ได้รับความนิ ยมเป็ นอย่างสู ง ถึงแม้จะยัง สัปดาห์ที่ 8 และทั้งสองกลุ่มสามารถลดระดับการเสี ยว
ไม่มีการศึกษาถึงความสามารถในการอุดปิ ดท่อเนื้ อฟัน ฟั นได้มากกว่ากลุ่มที่ ใช้ยาสี ฟันผสมฟลูออไรด์อย่างมี
ของสารต่างๆ เหล่านั้น แต่ก็ได้มีการศึ กษาทางคลิ นิก นัยสําคัญในสัปดาห์ที่ 8 และ 12 สอดคล้องกับการศึกษา
มากมายที่ แ สดงให้เ ห็ น ว่า สารจํา พวก สทรอนเที ย ม ของ West (1997), Addy (1987), Ayad (2009), Nathoo
อะซิ เ ทต สามารถลดระดับ การเสี ย วฟั น ในผูป้ ่ วยที่ มี (2009)
ภาวะเนื้อฟันไวเกินได้มากกว่ายาสี ฟันที่ผสมฟลูออไรด์ สํา หรั บ การลดลงของระดับ การเสี ย วฟั น เมื่ อ
เพียงอย่างเดียว ในทํานองเดียวกันกับยาสี ฟันที่ผสมอาร์ ประเมินตามการรับรู ้และความพึงพอใจของอาสาสมัคร
จินีน ที่สามารถลดระดับการเสี ยวฟันในผูป้ ่ วยที่มีภาวะ ก็พบว่าผลที่ได้สอดคล้องกัน โดยในกลุ่มอาสาสมัครที่
เนื้ อฟั นไวเกิ นได้มากกว่ายาสี ฟันที่ ไม่มีส่วนประกอบ ใช้ยาสี ฟันผสมสทรอนเทียม อะซิเทต และ ยาสี ฟันผสม
เหล่านี้ อย่างมีนัยสําคัญ (Brannstrom, 1980; Edward, อาร์จินีน สามารถลดระดับการเสี ยวฟันได้มากกว่ากลุ่ม
2004; Hiatt, 1972; Miller, 1994) จากการทดลองครั้งนี้ ที่ ใ ช้ย าสี ฟั น ผสมฟลู อ อไรด์ West (1997), Pearce
ก็พบว่า ยาสี ฟันที่มีส่วนประกอบของ สทรอนเทียม อะ (1994), Ayad (2009) โดยพบว่าสามารถลดระดับการ
ซิ เทตและฟลูออไรด์ กับยาสี ฟันที่ มีส่วนประกอบของ เสี ยวฟันได้แตกต่างจากกลุ่มที่ใช้ยาสี ฟันผสมฟลูออไรด์
อาร์ จิ นี น และฟลู อ อไรด์ (กลุ่ ม ทดลอง) สามารถลด ตั้งแต่สปั ดาห์ที่ 4 เป็ นต้นไป (West, 1997; Addy, 1987;
ระดับการเสี ยวฟันได้มากกว่ายาสี ฟันที่ มีส่วนประกอบ Nathoo, 2009)
ของฟลูออไรด์ (กลุ่มควบคุม) ในทุกๆ การกระตุน้ และเมื่อทําการเปรี ยบเทียบถึงผลในการลดภาวะ
การลดลงของระดับการเสี ยวฟันเมื่อกระตุน้ ด้วย เนื้อฟันไวเกินระหว่างกลุ่มทดลองทั้งสองกลุ่มพบว่า ใน
การสั ม ผัส จะพบว่า ในกลุ่ ม อาสาสมัค รที่ ใ ช้ย าสี ฟั น กลุ่มที่ใช้ยาสี ฟันผสมสรอนเทียม อะซิ เทต สามารถลด
ผสมสทรอนเที ยม อะซิ เทต และ ยาสี ฟันผสมอาร์ จินีน ภาวะเนื้ อฟั น ไวเกิ นได้รวดเร็ วกว่ากลุ่ มที่ ใช้ยาสี ฟัน ที่
สามารถลดระดับการเสี ยวฟันได้มากกว่ากลุ่มที่ ใช้ยาสี ผสมอาร์ จินีน คือเห็ นความแตกต่างตั้งแต่สัปดาห์ ที่ 2
ฟันผสมฟลูออไรด์โดยแตกต่างอย่างมีนยั สําคัญเมื่อผ่าน

924
MMP18-9
และ 4 แต่เ มื่อ ถึง สัป ดาห์ที่ 8 และ 12 ก็พ บว่า ไม่ สรุปผล
แตกต่างกัน การแปรงฟั น ด้ว ยยาสี ฟั น ที่ ผ สมผสมสทรอน
ส่ วนในกลุ่มควบคุมนั้นพบว่า สามารถลดภาวะ เที ยม อะซิ เทต และยาสี ฟันผสมอาร์ จินีน สามารถลด
เนื้อฟันไวเกินได้ ซึ่งผลที่ได้น้ ีอาจเกิดได้จากปั จจัยหลาย อาการเสี ยวฟันในอาสาสมัครที่มีภาวะเนื้ อฟันไวเกินได้
อย่าง เช่น ผลของยาหลอก (Placebo effect) หรื อฮาว มากกว่า และรวดเร็ วกว่ายาสี ฟันที่ผสมฟลูออไรด์เพียง
โทนเอฟเฟก (Hawthorne effect) และเกิ ด ได้จ าก อย่างเดียว แต่อย่างไรก็ตามก็ควรที่จะมีการศึกษาถึงผล
ส่วนประกอบของยาสี ฟัน เช่น ซิลิกา ซึ่ งเป็ นอนุภาคที่มี ในระยะยาวของสารทั้งสองชนิ ดนี้ ท้ งั ในแง่ของการลด
ขนาดเล็ ก สามารถอุ ด ปิ ดท่ อ เนื้ อฟั น ที่ เ ผยผึ่ งได้ ภาวะเนื้ อ ฟั น ไวเกิ น และประสิ ท ธิ ภ าพในการกํา จัด
เช่นเดียวกัน (Brannstrom, 1980; West, 1997) ส่ วนผล คราบจุลินทรี ย ์ ซึ่งเป็ นวัตถุประสงค์หลักของยาสี ฟัน
ของฟลูออไรด์น้ นั สามารถลดภาวะเนื้อฟันไวเกินได้ แต่
ต้องเป็ นฟลูออไรด์ที่มีความเข้มข้นสูง เช่น ฟลูออไรด์วา กิตติกรรมประกาศ
นิช เป็ นต้น (West, 1997) ทางผูว้ จิ ยั ขอขอบพระคุณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ซึ่ งผลที่ ไ ด้น้ ี สอดคล้อ งกับ ทฤษฎี ที่ ส ามารถ ที่ให้ทุนสนับสนุนการศึกษาวิจยั ในครั้งนี้
อธิ บ ายกลไกการเกิ ด ภาวะเนื้ อ ฟั น ไวเกิ น คื อ ทฤษฎี หน่ วยบําบัดความเจ็ บปวดบริ เวณใบหน้าและ
ไฮโดรไดนามิก (Hydrodynamic theory) ซึ่ งกล่าวว่า ขากรรไกร มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ให้ทุนสนับสนุนการ
เมื่ อมี ส่ิ ง กระตุ ้นมากระทํา ต่อ ผิว ฟั น จะทําให้เ กิ ด การ ศึกษาวิจยั ในครั้งนี้
เคลื่อนที่ ของของเหลวหรื อสารเคมีที่อยู่ในท่อเนื้ อฟั น อาจ าร ย์ แ ล ะเ จ้ า หน้ า ที่ ป ระ จํ า ค ณะ ทั น ต
ส่ ง ผลให้ มี ก ารกระตุ ้น ปลายประสาทรั บ ความรู ้ สึ ก แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่กรุ ณาอํานวยความ
เจ็บปวดที่อยูป่ ลายท่อเนื้อฟันทางด้านโพรงประสาทฟัน สะดวกจนทําให้งานวิจยั ครั้งนี้ ประสบความสําเร็ จลุล่วง
(Matthews, 1994) ซึ่ งเป็ นทฤษฎีที่อธิ บายกลไกการเกิด ได้เป็ นอย่างดี
ภาวะเนื้ อ ฟั น ไวเกิ น ที่ ไ ด้รั บ การยอมรั บ มากที่ สุ ด ใน
ปั จจุบนั และพบว่าสิ่ งกระตุน้ ที่ที่ทาํ ให้เกิดภาวะเนื้ อฟัน เอกสารอ้ างอิง
ไวเกิ นอาจจะทําให้เกิดการเคลื่อนที่ของของเหลวที่ อยู่ Addy, M., Mostafa, P., Absi, EG., and Adams, D.
ในท่อเนื้ อฟันได้ท้ งั ในลักษณะเคลื่อนเข้าไปในเนื้ อฟั น 1985. Cervical dentine hypersensitivity:
(Inward flow) เช่น การใช้เครื่ องมือปลายเหลมลากไป aetiology and management with particular
ตามเนื้อฟันส่วนที่เผยผึ่ง หรื อลักษณะที่เคลื่อนออกจาก reference to dentifrices. In: Ed. Rowe N.H.
เนื้ อฟั น (Outward flow) เช่ น การใช้ลมเป่ าและการ Hypersensitive Dentin Origin and
กระตุน้ ด้วยนํ้าแข็งในบริ เวณที่ เนื้ อฟั นเผยผึ่ง เป็ นต้น Management. University of Michigan: Ann
(Brannstrom, 1972; Johnson, 1973) โดยในการทดลอง Arbor MI: 43-64.
นี้ ก็พบว่าระดับ การเสี ยวฟั นจะมากขึ้ นเมื่ อถู กกระตุ ้น Addy, M., Mostafa, P., Newcombe, R. 1987. Denine
ด้วยการเป่ าลมลงบนผิวฟั น หรื อการกระตุน้ ด้วยความ hypersensitivity: a comparison of five
เย็น ซึ่งสามารถลดการกระตุน้ ดังกล่าวด้วยการทําให้ท่อ toothpastes used during a 6-week treatment
เนื้ อฟั นที่ เผยผึ่งนั้นถูกปิ ด โดยสทรอนเที ยม อะซิ เทต period. Br Dent J. 163(2): 45-51.
และอาร์ จินีน เป็ นสารที่ มีอนุภาคขนาดเล็กสามารถปิ ด
กันรู เผยผึ่งของท่ อเนื้ อฟั นได้ จึ งสามารถลดภาวะเนื้ อ
ฟันไวเกินได้

925
MMP18-10
Ayad, F., Ayad, N., Delgado, E., Zhang, YP.,Vizio De, Johnson, G., Oligart, L., Brannstrom, M. 1973.
W., Cummins, D., and Mateo, LR. 2009. Outward fluid flow in dentine under a
Comparing the Efficacy in Providing Instant physiologic pressure gradient: Experiment in
Relief of Dentin Hypersensitivity of a New vitro. Oral Surgery Oral Medicine and Oral
Toothpaste Containing 8.0% Arginine, Calcium Patholog. 35: 238-248.
Carbonate, and 1450 ppm Fluoride to a Matthews, B., Vongsavan, N. 1994. Interaction
Benchmark Desensitizing Toothpaste Containing between neural and hydrodynamic mechanisms
2% Potassium Ion and 1450 ppm Fluoride, and in dentine and pulp. Archives of Oral Biology.
to a Control Toothpaste with 1450 ppm 39: 87s-95s.
Fluoride: A Three-Day Clinical Study in Miller, S., Truong, T., Heu, R., Stranick, M.,
Mississauga, Canada. J. Clin Dent. 20(Spec Bouchard, D., and Gaffar A. 1994. Recent
Iss): 115-122. advances in stannous fluoride technology:
Brannstrom, M., Astrom, A. 1972. The hydrodynamics antibacterial efficacy and mechanism of action
of the dentine, its possible relationship to toward hypersensitivity. International Dentistry
dentinal pain. International Dentistry Journal. Journal. 44: 83-98.
22: 219-227. Nathoo, S., Delgado, E., Zhang, YP.,Vizio, De W.,
Brannstrom, M., Garberoglio, R. 1980. Occlusion of Cummins, D., and Mateo, LR. 2009.
tubules under superficially attrited dentine. Comparing the Efficacy in Providing Instant
Swedish Dental Journal. 4: 87-91 Relief of Dentin Hypersensitivity of a New
Edward, AT., Steven, WF., Shannon, C., Yolanda, B., Toothpaste Containing 8.0% Arginine, Calcium
Joann, DS., and Bernie, LB., et al. 2004. The Carbonate, and 1450 ppm Fluoride Relative to
scientific rationale and development of an a Benchmark Desensitizing Toothpaste
optimized dentifrice for the treatment of dentin Containing 2% Potassium Ion and 1450 ppm
hypersensitivity. American Journal of Fluoride, and to a Control Toothpaste with
Dentistry. 17(1): 61-62. 1450 ppm Fluoride: A Three-Day Clinical
Flynn, J., Galloway, R., Orchardson, R. 1985. The Study in New Jersey, USA. J Clin Dent.
incidence of hypersensitive teeth in the West of 20(Spec Iss): 123-130.
Scotland. Journal of Dental Research. 13: Pearce, NX., Addy, M., Nwcombe, RG. 1994. Dentine
230-236. hypersensitivity: a clinical trial to compare 2
Hiatt, WH., Johansen, E. 1972. Root preparation. I. strontium desensitizing toothpaste with a
Obturation of dentinal tubule in treatment of rat conventional fluoride toothpaste. J Periodontal.
hypersensitivity. Journal of Periodontology. 43: 65(2): 113-9.
373-380. Touyz, LZ., Stern, J. 1999. Hypersensitive dentinal
pain attenuation with potassium nitrate.
General Dentistry. 47(1): 42-45.

926
MMP18-11
West, NX., Addy, M., Jackson, RJ., Ridge, DB. 1997.
Dentine hypersensitivity and the placebo
response. A comparison of the effect of
strontium acetate, potassium nitrate and
fluoride toothpastes, Journal of Periodontology.
24: 209-215.

927

You might also like