You are on page 1of 44

สารบัญ

หน้าที่
1. แนวความคิดเกี่ยวกับการเสด็จพระราชดาเนิน 1
2. การขอพระราชทานเชิญเสด็จพระราชดาเนิน 2
ยังต่างจังหวัด

ภาคผนวก
- พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่านและสรรพนาม
คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
- ธงประจาพระองค์
- ประกาศ เรื่อง สถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ
เจ้าฟ้ากรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา
1
ธรรมเนียมการรับเสด็จพระราชดาเนิน
๑. แนวความคิดเกี่ยวกับการเสด็จพระราชดาเนิน
๑.๑ การเสด็ จฯ งานพระราชพิ ธี งานการพระราชกุ ศ ล งานรัฐพิ ธี
ซึ่งเป็นงานหลวงประจาปี ในพระราชฐาน เช่น งานวันฉัตรมงคล
๑.๒ การเสด็ จ ฯ นอก พระราชฐาน ที่ เป็ น งาน พระราชพิ ธี รัฐพิ ธี
และงานพิธี ต่างๆ เช่น งานวันปิยมหาราช
๑.๓ การเสด็จฯ งาน ถวายผ้าพระกฐินหลวงประจา ปี ที่สานักพระราชวัง
ออกเป็น “หมายกาหนดการ” นอกจากนี้ ยังเสด็จฯ ถวายผ้าพระกฐิน
เป็ นการส่ วนพระองค์ ที่ เรี ยกว่า “พระกฐิ นต้ น” ตามวัดต่ างๆ ในต่ างจั งหวั ด
ซึ่งสานักพระราชวังจะออกเป็น “หมายรับสั่ง”
๑.๔ การเสด็จฯ งานรัฐพิธี นอกพระราชฐาน เช่น งานพระราชพิ ธี
จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ”
๑.๕ การเสด็จฯ ในต่างจังหวัด
๑.๕.๑ การเสด็จฯ ในงานรัฐพิธี พระราชพิธีแปรพระราชฐาน ไป
ประทั บ แรมและทรงปฏิ บั ติ พ ระราชภารกิ จ อั น เกี่ ยวเนื่ อ งกั บโครงการ
พระราชดาริ
๑.๕.๒ การเสด็จฯ ตามคากราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ ของวัด/
เอกชน มูลนิธิ องค์การกุศลต่างๆ (การกราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ จาต้อง
ผ่านความเห็น ชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด ทุกครั้ง)
2
๒. การขอพระราชทานเชิ ญเสด็ จพระราชด าเนิ นยังต่ างจั งหวั ด
เมื่อทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ แล้ว จะมีขั้นตอนการดาเนินการ
เป็นแนวทาง ปฏิบัติ ดังนี้
การเตรียมการรับเสด็จทุกครั้ง จะเน้นย้า ๓ เรื่องใหญ่
ประการที่ ๑ การถวายความปลอดภัยสูงสุด
(เกิดอันตรายใดๆ มิได้)
ประการที่ ๒ การปฏิบัติตามราชประเพณี
(การจัดการรับเสด็จ ให้เป็ นไปตามราชประเพณี ที่
สานั ก พระราชวังก าหนด /การใช้ค าราชาศั พ ท์ ให้
ถูกต้อง)
ประการที่ ๓ การถวายพระเกียรติยศ
(การตกแต่ งสถานที่ อย่ า งสมพ ระเกี ยรติ และ
ประหยัด/การแต่งกายให้ถูกต้องตามกาหนดการ พิธี)

๒.๑ เมื่ อ จั ง หวั ด ได้ รั บ แจ้ ง ทางโทรศั พ ท์ แฟกซ์ จ าก สมุ ห ราช


องครักษ์ (กรมราชองครักษ์) หรือโทรศัพท์จาก เจ้าหน้าที่กองพระราชพิธี
สานักพระราชวัง หรือจาก เจ้าหน้าที่กองงานในพระองค์ แจ้งวัน เวลา
สถานที่ และภารกิจที่มีการเสด็จฯ พร้อมทั้งแจ้งให้จังหวัด จัดเตรียม
งานที่เกี่ยวข้องแล้ว สานักงานจังหวัด (เจ้าของเรื่อง) จะต้องเต รียม
การตามลาดับ
๒.๑.๑ บั น ทึ ก น าเสนอผู้ ว่าราชการจังหวัด เพื่ อ โปรดทราบ
และแจ้ ง ให้ เจ้ า ของงาน (เจ้ า ภาพ) รั บ ทราบ เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ ม
และเตรี ย ม งานที่ เกี่ ย วข้ อ ง และแจ้ ง ให้ ส่ วนราชการที่ เกี่ ย วข้ อ งทราบ
ล่วงหน้า เพื่อเตรียม ความพร้อมต่อไป
3
๒.๑.๒ แจ้งกระทรวงมหาดไทยทราบ เพื่อประมาณการขอรับ
การสนับสนุนงบประมาณในการรับเสด็จฯ
๒.๑.๓ เมื่ อ เจ้ า ของงาน (เจ้ า ภาพ) ได้ ตั้ ง คณะกรรมการ
จัดเตรียมการรับเสด็จ และจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการฯ และเชิญ
ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง พร้อมกับเชิญสานักงานจังหวัด ไปร่วมประชุมด้วย
ส านั ก งานจั ง หวั ด จะต้ อ งช่ ว ย เหลื อ สนั บ สนุ น เจ้ า ภาพ/ เจ้ า ของงาน
โดยแนะนา ให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง และ การประสานงานมากที่สุด จะทาให้
เจ้าภาพ/เจ้าของ งาน มีความอบอุ่นมาก เช่น
 การจัดสถานที่ โต๊ะ เก้าอี้ เจ้าภาพไม่มี หรือมีแต่
ไม่เหมาะสม สานักงานจังหวัดช่วยโดยแนะว่า มีที่ใดบ้าง (เขาไปขนเอง/
ไปรับเอง)
 รถดับเพลิงประจาในวันเสด็จ จังหวัด/สานักงาน
จังหวัด สั่งการให้
 การติ ดตั้งโทรศัพ ท์ ประจา กองอ านวยการร่วม
ถวายความ ปลอดภัย (กอร.ถปภ.) จังหวัด/สานักงานจังหวัด สั่งการให้
 การตั้งเครื่องไฟฟ้ าสารองประจาในวัน รับเสด็ จ
จังหวัด/ สานักงานจังหวัด สั่งการให้

๒.๒ กรมราชองครัก ษ์ หรือ กองพระราชพิ ธี สานัก พระราชวัง


หรือกองงานในพระองค์ แจ้งกาหนดการตรวจพื้นที่ และประชุม เพื่อทา
รายละเอียดกาหนดการ ซึ่งในส่วนของสานักพระราชวัง และคณะจาก
กรุงเทพฯ จะประกอบด้วย
๒.๒.๑ ผู้แทนจากสมุหราชองครักษ์
๒.๒.๒ ผู้แทนจากกองพระราชพิธี สานักพระราชวัง
๒.๒.๓ ผู้แทนจากกองงานในพระองค์
๒.๒.๔ ผู้แทนจากหน่วยแยกรักษาความปลอดภัย กรมราชองครักษ์
4
๒.๒.๕ ผู้แทนจากสานักงานนายตารวจราชสานักประจา
๒.๒.๖ ผูแ้ ทนจากกรมโยธาธิการและผังเมือง

ส่วนของจังหวัด (สานักงานจังหวัดเจ้าของเรื่อง) จะต้อง


แจ้ งให้ ส่ วนราชการ หน่ วยงาน รั ฐวิ สาหกิ จ/ภาคเอกชน ที่ เกี่ ยวข้ องไป
ร่วมตรวจพื้นที่ และประชุม เพื่อจัดทารายละเอียดกาหนดการเสด็จฯ ร่วมกับ
กรมราชองครักษ์ และสานักพระราชวัง ดังกล่าว ซึ่งจะประกอบด้วย
๑) ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือรองผู้ว่าราชการจังหวัด
เป็ นประธานการตรวจพื้ นที่ /ประชุ ม (กรมราชองครั กษ์ กระทรวงมหาดไทย
เน้นย้าว่า การตรวจพื้นที่ ประชุมเกี่ยวกับงานการรับเสด็จทุกครั้ง ประธานการ
ประชุมต้องเป็น “ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือรองผู้ว่าราชการจังหวัด” เท่านั้น
เนื่ องจากที่ ผ่ านมา มี บางจั งหวั ดเกิ ดปั ญหาความไม่ พร้ อ มในการรั บเสด็ จ
ในวันเสด็จฯ จริง
๒) หน่ ว ยราชการที่ เกี่ ย วข้ อ งในพื้ น ที่ จั ง หวั ด
ประกอบ ด้วยเจ้าภาพ (เจ้าของงาน)/หน่วยงานทหาร (ทหารบก/เรือ/
อากาศ/หน่วยงานตารวจ (ภูธร/ตชด./สันติบาล/ตารวจทางหลวง/ตารวจ
จราจร/ตารวจ ท่องเที่ยว)/ ปกครองจังหวัด/อาเภอพื้นที่/เทศบาล, อบต./
อบจ./ไฟฟ้ า / ประปา/สาธารณสุ ข /โรงพยาบาล/ทางหลวงชนบท/
แขวงการทาง/สถาบันการศึกษา/ป่าไม้ , อุทยานแห่งชาติ/ชลประทาน/
ท่ า อากาศยานฯ/วิ ท ยุ ก ารบิ น /ส านั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด /
สานักงานวัฒนธรรมจังหวัด เป็นต้น

๒.๓ การกาหนดภารกิ จหรือ การมอบหมายงานให้ส่ วนราชการ


หน่วยงานต่างๆ ไปปฏิบัติ โดยจัดทาเป็นประกาศจังหวัด หรือมีหนังสือ
แจ้งหน่วยงานทุกหน่วยที่เกี่ยวข้อง โดยแจ้งภารกิจไปให้ปฏิบัติ
5
๒.๓.๑ ฝ่ายสถานที่ พลับพลาพิธี การตกแต่งสถานที่บริเวณพิธี
การประดั บธงตามเส้ นทางเสด็ จ ความสะอาดเส้ นทางเสด็ จ ความสะอาด
ภายในบริเวณงาน ความสะอาดภายในอาคารที่เสด็จ การตั้งเต็นท์ประชาชนเฝ้าฯ
(ถ้ามี) การจัดห้องน้าห้องส้วมบริเวณงาน การเตรียมห้องสรง การเตรียมห้อง
ประทับรับรอง การเตรียมห้องเสวย การเตรียมห้อง ฉายพระรูป การเตรียม
ห้ องของ ผู้ ตามเสด็ จ การเตรี ยมของที่ ระลึ ก การรั บ ลงทะเบี ยนผู้ เข้ ารั บ
พระราชทานของที่ระลึก (ไม่เกิน ๑๐๐ ราย) การเตรียมโบว์ติดหน้าอก การจัด
ที่ นั่ งในพลั บ พลาพิ ธี การจั ดที่ นั่ งของผู้ เข้ ารั บ พระราชทานของที่ ระลึ ก
การเตรี ยมเรื่ องอาหาร (ของเสวย/ผู้ ติ ดตาม) การเตรี ยมต้ นไม้ ที่ ทรงปลู ก
พร้อมอุปกรณ์ (ถ้ามี) การเตรียมป้ายที่ทรงเปิด การเตรียมเครื่องเสียง พร้อม
อุปกรณ์และเจ้าหน้าที่ควบคุม คากล่าวถวาย รายงาน คากล่าวเบิกตัวผู้เข้า
รับพระราชทานของที่ระลึก การเตรียมช่างภาพ พร้อมประวัติ การจัดรถยนต์
ในขบวนเสด็จพร้อมพนักงานขับรถยนต์ การเตรียมผังการฉายพระรูปแต่ละชุด
ฯลฯ
๒.๓.๒ ฝ่ายพิธีการ สานักพระราชวัง (กองพระราชพิธี) เป็น
ผู้ดาเนินการทุกลาดับขั้นตอนพิธีการทั้งหมด โดยสานักงานจังหวัด จะเป็น
ผู้ประสานงานร่วมด้วย เพื่อจะได้นาเรียนผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ รองผู้ว่า
ราชการจังหวัด และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้รับทราบลาดับขั้นตอนพิธีการ ทั้งหมด
อย่างถูกต้อง
๒.๓.๓ ฝ่ายถวายความปลอดภัย ประกอบด้วย
(๑) ฝ่ายทหาร
(๒) ฝ่ายตารวจ
(๓) ฝ่ายพลเรือน (สานักงานจังหวัด ประสานงาน)
6
๒.๔ ก่อนวันเสด็จ ๑ วัน จังหวัด (สานักงานจังหวัด) พร้อม เจ้าหน้าที่
กองพระราชพิธี และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย จะต้องไปตรวจความพร้อม
ของทุกฝ่าย ทุกภารกิจ พร้อมซักซ้อมลาดับขั้นตอนในการปฏิบัติ (โดยมี
เจ้าหน้าที่กองพระราชพิธีชี้แจง) โดยมีหัวข้อที่ต้อง ตรวจสอบ เน้นย้า
ความพร้อม ดังนี้
๒.๔.๑ การเตรียมในพลับพลาพิธี
กาหนดที่นั่งของผู้เฝ้าฯ รับเสด็จ
(๑) ที่นั่งของผู้เฝ้าฯ ตาแหน่งเฝ้า
 ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือรองผู้ว่าราชการจังหวัด
(มอบหมาย)
 ผู้พิพากษาศาล (อธิบดีผู้พิพากษาภาค หรือ
ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัด)
 ทหาร (แม่ ทั พ ภาค) หรือ ผู้ แ ทนหน่ วยงาน
ทหาร ในพื้นที่)
 ต ารวจ (ผู้ บั ญ ชาการต ารวจภู ธ รภาค หรื อ
ผู้บังคับตารวจภูธรจังหวัด)
(๒) ที่นั่งของผู้กล่าวถวายรายงาน
(๓) ที่นั่งของผู้กล่าวเบิกผู้เข้ารับพระราชทานของที่ระลึก
(๔) ที่นั่งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่
(๕) ที่นั่งของฝ่ายเจ้าภาพ (เจ้าของงาน)
(๖) ที่นั่งของข้าราชการ และของภาคเอกชน
เต็นท์นอกพลับพลาพิธี
(๑) ที่นั่งของผู้เข้ารับพระราชทานของที่ระลึก
(๒) ที่นั่งของบุคคลทั่วไป
(๓) ที่นั่งของประชาชนเฝ้าฯ (ถ้ามี)
7
๒.๔.๒ การต้อนรับอานวยความสะดวกในพลับพลาพิธี
 การติดตั้งพัดลม พัดลมไอน้า
 การติดตั้งไมค์ กล่าวถวายรายงาน และเครื่องเสียง
 การตั้งของที่ระลึกฯ ใกล้ที่ประทับ
 การเตรียมเจ้าหน้าที่นั่ง ส่งสิ่งของที่ระลึกพระราชทาน
(สตรี ๒ คน)/ข้าราชการแต่งเครื่องแบบ, เอกชนแต่งสากล (นิยม, สุภาพ)
 การจัดเจ้าหน้าที่ฝ่ายต้อนรับ และนาผู้รับเชิญไป
นั่ง ตามที่นั่งได้กาหนดไว้
๒.๔.๓ การเตรี ยมซ้ อมรถยนต์ พ ระที่ นั่ ง/รถยนต์ ที่ นั่ ง และ
รถยนต์ในขบวน
 การตรวจสภาพรถยนต์ทุกคัน
 การซ้ อ มขบวนรถยนต์ ตามเส้ น ทางเสด็ จ จริ ง
(อย่างน้อย ๑ ครั้ง)
 จัดรถพยาบาล และ ซ้อมในขบวนเสด็จ
 การเทียบจอด รถยนต์พระที่นั่ง บริเวณงานพิธี
 การยืนเฝ้าฯ รับ -ส่ง เสด็จ บริเวณรถยนต์พระที่
นั่งเทียบจอด
 การซ้อมวงดุริยางค์ รับ-ส่ง เสด็จ และจุดยืนของ
วงดุริยางค์ คือ
รับ เพลง จบ รถยนต์พระที่นั่ง หยุด
ส่ง รถยนต์พระที่นั่งล้อหมุน เริ่มบรรเลงเพลง
8
การจัดขบวนรถยนต์พระที่นั่ง
 รถยนต์ ทล. เบิกทาง ๑ - ๓
 รถยนต์ ทล. นา (นรป/แม่ทัพภาค)
 รถยนต์พระที่นั่ง (นามาจากสานักพระราชวัง / จังหวัด จัด)
 รถยนต์เก๋ง ๑
 รถยนต์เก๋ง ๒
 รถยนต์เก๋ง ๓
 รถยนต์เก๋ง ๔
 รถยนต์เก๋ง ๕
 รถยนต์ตู้ปรับอากาศ ๖
 รถยนต์ตู้ปรับอากาศ ๗
 รถยนต์พระที่นั่งสารอง (นามาจากสานักพระราชวัง/จังหวัด จัด)
 รถยนต์พยาบาล
 รถยนต์วิศวะ (รถช่าง/จังหวัด จัด)
 รถยนต์ ทล. ปิดท้าย ๑
 รถยนต์ ทล. ปิดท้าย ๒

๒.๔.๔ การเตรียมตรวจสอบระบบการถวายความปลอดภัย
 การจัดตั้งกองอานวยการร่วมถวายความปลอดภัย
กอร.ถปภ.
 การเตรียมด้านการสื่อสาร
 การติดตั้งโทรศัพท์ ประจา กอร.ถปภ.
- โทรศัพท์ เปิดใช้ภายในประเทศ ๑ เลขหมาย
- โทรสาร เปิดใช้ภายในประเทศ ๑ เลขหมาย
9
 การเตรียมรถดับเพลิง ประจาบริเวณเสด็จ
 การตั้งรถไฟฟ้าสารอง ประจาบริเวณเสด็จ
 การจัดรถยนต์พ ยาบาล พร้อมแพทย์ พยาบาล
และอุปกรณ์การแพทย์ ประจาบริเวณเสด็จ
 การจัดผู้แทนหน่ วยงานทุ กหน่ วยประจา กอร.ถปภ.
ในวันเสด็จ และร่วมประชุมซักซ้อมการปฏิบัติจาก ผอ.กอร.ถปภ. ในวัน เสด็จฯ
ก่อนการเสด็จฯ ๒ ชั่วโมง

๒.๔.๕ การตรวจความพร้อมสถานที่ สถานที่ประชาชนเฝ้า


รับเสด็จฯ
 การตรวจความพร้อมทุกพื้นที่ที่เสด็จตามเส้นทาง
เสด็จฯ ภายในบริเวณจัด งาน (โดยมีเจ้าหน้าที่กอง พระราชพิธี นาตรวจ
และ ชี้แจงให้ทุกส่วนราชการ ทราบ เป็นแนวทางการ ปฏิบัติ
 การตรวจ สถานที่ประชาชนเฝ้ารับเสด็จฯ การจัดเต็นท์
เก้าอี้ หรือปูเสื่อ ยอดจานวน ประชาชนที่มาเฝ้าฯ
 จัดทาบัญชีสิ่งของที่ประชาชนจะทูลเกล้าฯ ถวาย
พร้อมจัดที่ ตั้ งพั กสิ่งของที่ จะทู ลเกล้ าฯ ถวาย (จัด ท าพิ ธี ๓ ชุด มอบให้
กอร.ถปภ. ๑ ชุด / เจ้าหน้าที่กองงานในพระองค์ ๑ ชุด / เก็บไว้ที่จังหวัด
๑ ชุด)
 จัดให้มีเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง (อาเภอ) ๑ – ๒ คน
เป็นผู้รับผิดชอบ

๒.๕ ในวั น เสด็ จ ฯ ทุ ก ฝ่ า ยเข้ า ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ก่ อ นเวลาเสด็ จ ฯ


อย่างน้อย ๒ ชั่วโมง
10
๒.๕.๑ ฝ่ายถวายความปลอดภัย เปิดทาการ กอร.ถปภ. ก่อน
เสด็จฯ ๓ ชั่วโมง
๒.๕.๒ ผอ.กอร.ถปภ. ประชุ มหน่ วยถวายความปลอดภั ย ที่
เกี่ ย วข้ อ ง ก่ อ นเวลาเสด็ จ ฯ อย่ างน้ อ ย ๒ ชั่ วโมง ประกอบด้ วย ทหาร,
ตารวจ (ภูธร / ตชด. / สันติบาล / จราจร / ทางหลวง / ท่องเที่ยว ฯลฯ),
เทศบาล (ดับเพลิง), สาธารณสุข (แพทย์, พยาบาล), ไฟฟ้า (ไฟฟ้าสารอง),
ประปา (แรงดันประปา), ปกครอง (อาเภอ), สื่อมวลชน (ช่างภาพ), ผู้แทน
เจ้าของงาน (เจ้าภาพ)
๒.๕.๓ ตรวจสถานที่และสิ่งอานวยความสะดวกครั้งสุดท้าย
โดยเจ้ าหน้ า ที่ ก องพระราชพิ ธี ส านั ก พระราชวัง น าตรวจรายละเอี ย ด
สุดท้าย (สานักงานจังหวัด ร่วมด้วย)

๒.๖ เมื่อเสด็จฯ ถึงงานพิธี ผู้เฝ้ารับเสด็จฯ ประกอบด้วย


๒.๖.๑ ผู้ว่าราชการจังหวัด/รองผู้ว่าราชการจังหวัด (มอบหมาย)
๒.๖.๒ ศาล (อธิ บดี ผู้ พิ พ ากษาภาค/ผู้ พิ พ ากษาหั วหน้ าศาล
จังหวัด)
๒.๖.๓ ทหาร (แม่ทัพภาค/ผู้บัญชาการมณฑล)
๒.๖.๔ ต ารวจ (ผู้ บั ญ ชาการต ารวจภู ธ รภาค/ผู้ บั ง คั บ การ
ตารวจภูธรจังหวัด)
๒.๖.๕ เจ้าของงาน (เจ้าภาพ)
๒.๖.๖ ผู้ทูลเกล้าฯ ถวาย พวงมาลัยข้อพระกร/ช่อดอกไม้
๒.๖.๗ คณะกรรมการจัดงาน (ไม่กี่คน)

การแต่งกาย แต่งตามกาหนดกองพระราชพิธี สานักพระราชวัง


11
๒.๗ การเสด็จพระราชดาเนินกลับ
๒.๗.๑ รถยนต์พระที่นั่งเทียบจอด และรถยนต์ในขบวน ตั้งขบวน
เรียบร้อย
๒.๗.๒ ผู้ว่าราชการจังหวัด/ศาล/ทหาร/ตารวจ ยืนเฝ้าฯ ส่งเสด็จ
(การส่งเสด็จฯ ไม่ต้องรายงานตัว)
๒.๗.๓ เจ้าของงาน (เจ้าภาพ) และคณะกรรมการจัดงาน ยืนเฝ้าฯ
ส่งเสด็จ

๒.๘ การรับ-ส่งเสด็จ ณ ท่าอากาศยาน


(กรณีเสด็จโดยเครื่องบินพระที่นั่ง)

ข้อความปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง
๒.๘.๑ ในขณะเสด็จฯ และปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ต้องถวาย
ความเคารพให้ถูกต้องทุกขั้นตอน (การยืน/การนั่ง)
๒.๘.๒ การแต่งกายรับเสด็จฯ ให้ เป็นไปตามที่ ส านั ก พระราชวัง
กาหนด (ทั้งงานพิธีและงานส่วนพระองค์)
๒.๘.๓ เมื่ อเสด็ จฯ กลั บเรี ยบร้ อยแล้ ว ส านั กงานจั งหวั ดต้ อง
ปฏิบัติโดยด่วน
(๑) รายงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
(๒) รายงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี

*******************************
ภาคผนวก
พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่าน
และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
(สาหรับหน่วยภายนอก)
หมวดที่ ๑
- พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
- สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
หมวดที่ ๑
พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่าน และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
พระปรมาภิไธย/ คาขึ้นต้น/คาลงท้าย
แบบย่อ สรรพนาม
พระนามาภิไธย การเขียนหนังสือกราบบังคมทูล/กราบทูล การกราบบังคมทูล/กราบทูลด้วยวาจา
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร พระบาทสมเด็จ สรรพนามบุรุษที่ ๑ คาขั้นต้น คาขั้นต้น
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช พระมหาภูมิพล - ข้าพระพุทธเจ้า ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาท ปกเกล้าปก ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาท ปกเกล้าปก
บรมนาถบพิตร อดุลยเดชมหาราช สรรพนามบุรุษที่ ๒ กระหม่อม กระหม่อม
บรมนาถบพิตร - ใต้ฝ่าละออง
ธุลีพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อเจ้าของหนังสือ)
คาอ่าน คาอ่าน ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาส
พระ-บาด-สม-เด็ด-พระ-บอ-รม-ชะ พระ-บาด-สม-เด็ด กราบบังคมทูลพระกรุณาทรงทราบ
นะ-กา-ทิ-เบด-มะ-หา-พู-มิ-พน-อะ พระ-มะ-หา-พู-มิ- ฝ่าละอองธุลีพระบาท
ดุน-ยะ-เดด-มะ-หา-ราด-บอ-รม-มะ พน-อะ-ดุน-ยะ-เดด
นาด-บอ-พิด มะ-หา-ราด-บอ-รม- คาลงท้าย คาลงท้าย
มะ-นาด-บอ-พิด ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะทรงพระกรุณา ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ /
โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ พระพุทธเจ้าข้าขอรับ ด้วยเกล้า
ข้าพระพุทธเจ้า (ลงชื่อ) ด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
(หรือจะนาคาว่า ขอเดชะ (ใช้ในการ กราบบังคมทูลของทหารทุกเหล่า
มาไว้ท้ายชื่อเจ้าของหนังสือก็ได้ ทุกระดับ)
ธงประจาพระองค์
ลักษณะ ธงสีเหลือง ตราพระปรมาภิไธยย่อ ภ.ป.ร. ภายใต้อุณาโลม
และพระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี
หมายเหตุ พระราชสมภพวันจันทร์ จึงใช้สีเหลืองเป็นสีพื้นธง
หมวดที่ ๑
พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่าน และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
พระปรมาภิไธย/ คาขึ้นต้น/คาลงท้าย
แบบย่อ สรรพนาม
พระนามาภิไธย การเขียนหนังสือกราบบังคมทูล/กราบทูล การกราบบังคมทูล/กราบทูลด้วยวาจา
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ สมเด็จพระบรมราช สรรพนามบุรุษที่ ๑ คาขั้นต้น คาขั้นต้น
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชนนี ชนนีพันปีหลวง - ข้าพระพุทธเจ้า ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาท ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาท
พันปีหลวง สรรพนามบุรุษที่ ๒ ปกเกล้าปกกระหม่อม ปกเกล้าปกกระหม่อม
- ใต้ฝ่าละออง ธุลี
คาอ่าน คาอ่าน พระบาท ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อเจ้าของหนังสือ)
สม-เด็ด-พระ-นาง-เจ้า-สิ-หริ-กิด- สม-เด็ด-พระ-บอ-รม ขอพระราชทานพระราชวโรกาส
พระ-บอ-รม-รา-ชิ-นี-นาด-พระ-บอ- มะ(ออกครึ่งเสียง)- กราบบังคมทูลทราบฝ่าละอองธุลพี ระบาท
รม-มะ(ออกครึ่งเสียง)-ราด-ชะ-ชน- ราด-ชะ-ชน-นะ-นี
นะ-นี-พัน-ปี-หลวง พัน-ปี-หลวง คาลงท้าย คาลงท้าย
ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะทรงพระกรุณา ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ /
การเอ่ยพระนาม โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ พระพุทธเจ้าข้าขอรับ ด้วยเกล้า
สมเด็จพระพันปี ข้าพระพุทธเจ้า (ลงชื่อ) ด้วยกระหม่อม ขอเดชะ (ใช้ในการ
หลวง (หรือจะนาคาว่า ขอเดชะ กราบบังคมทูลของทหารทุกเหล่า
มาไว้ท้ายชื่อเจ้าของหนังสือก็ได้) ทุกระดับ)
ธงประจาพระองค์
ลักษณะ ธงสีฟ้า ตราพระนามาภิไธยย่อ ส.ก. ภายใต้มงกุฎขัตติยราชนารี
หมายเหตุ พระราชสมภพวันศุกร์ จึงใช้สีฟ้าเป็นสีพื้นธง
หมวดที่ ๒
- พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร
กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
- สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี
- สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตยิ าภา นเรนทิราเทพยวดี
- สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา
- สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ มหาวชิโรตตมางกูร สิริวิบูลยราชกุมาร
หมวดที่ 2
พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่าน และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
พระปรมาภิไธย/ คาขึ้นต้น/คาลงท้าย
แบบย่อ สรรพนาม
พระนามาภิไธย การเขียนหนังสือกราบบังคมทูล/กราบทูล การกราบบังคมทูล/กราบทูลด้วยวาจา
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร พระบาทสมเด็จ สรรพนามบุรุษที่ ๑ คาขั้นต้น คาขั้นต้น
รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้า - ข้าพระพุทธเจ้า ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาท ปกเกล้าปก ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาท
มหิศรภูมิพลราชวรางกูร เจ้าอยู่หัว สรรพนามบุรุษที่ ๒ กระหม่อม ปกเกล้าปกกระหม่อม
กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช - ใต้ฝ่าละออง
สยามินทราธิเบศรราชวโรดม ธุลีพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อเจ้าของหนังสือ)
บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้า ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาส
เจ้าอยูห่ ัว กราบบังคมทูลพระกรุณาทรงทราบ
คาอ่าน คาอ่าน ฝ่าละอองธุลีพระบาท
พระ-บาด-สม-เด็ด-พระ-ปะ-ระ-เมน- พระ-บาด-สม-เด็ด
ทะ-ระ-รา-มา-ทิบ-บอ-ดี-สี-สิน- พระ-วะ-ชิ-ระ-เกล้า คาลงท้าย คาลงท้าย
ทระ(ออกเสียงเบา)-มะ-หา-วะ-ชิ- เจ้า-อยู-่ หัว ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะทรงพระกรุณา ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ /
รา-ลง-กอน-มะ-หิ-สอน-พู-มิ-พน- โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ พระพุทธเจ้าข้าขอรับ ด้วยเกล้า
ราด-ชะ-วะ-ราง-กนู-กิ-ติ-สิ-หริ-สม- การเอ่ยพระนาม ข้าพระพุทธเจ้า (ลงชื่อ) ด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
บูน-อะ-ดุน-ยะ-เดด-สะ-หยาม-มิน- พระบาทสมเด็จ (หรือจะนาคาว่า ขอเดชะ (ใช้ในการ กราบบังคมทูลของทหารทุกเหล่า
ทรา-ทิ-เบด-ราด-วะ-โร-ดม-บอ-รม- พระเจ้าอยู่หัว มาไว้ท้ายชื่อเจ้าของหนังสือก็ได้ ทุกระดับ)
มะ-นาด-ถะ-บอ-พิด-พระ-วะ-ชิ-ระ
เกล้า-เจ้า-อยู-่ หัว
ธงประจาพระองค์
ลักษณะ ธงสีเหลือง ตราพระปรมาภิไธยย่อ ว.ป.ร. มีอุณาโลมเลข ๑๐ ภายใต้
พระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี
หมายเหตุ พระราชสมภพวันจันทร์ จึงใช้สีเหลืองเป็นสีพื้นธง
หมวดที่ 2
พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่าน และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
พระปรมาภิไธย/ คาขึ้นต้น/คาลงท้าย
แบบย่อ สรรพนาม
พระนามาภิไธย การเขียนหนังสือกราบบังคมทูล/กราบทูล การกราบบังคมทูล/กราบทูลด้วยวาจา
สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา สมเด็จพระนางเจ้า ฯ สรรพนามบุรุษที่ ๑ คาขั้นต้น คาขั้นต้น
พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี พระบรมราชิน - ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานกราบบังคมทูลพระกรุณา
สรรพนามบุรุษที่ ๒ ทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท
- ใต้ฝ่าละออง ธุลี
คาอ่าน คาอ่าน พระบาท ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อเจ้าของหนังสือ)
สม-เด็ด-พระ-นาง-เจ้า-สุ-ทิ-ดา-พัด- สม-เด็ด-พระ-นาง- ขอพระราชทานพระราชวโรกาส
ชะ-ระ-สุ-ทา-พิ-มน-ลกั-พระ-บอ-รม- เจ้า-พระ-บอ-รม- กราบบังคมทูลพระกรุณาทรงทราบ
รา-ชิ-น ราชิ-นี ฝ่าละอองธุลีพระบาท

การเอ่ยพระนาม คาลงท้าย คาลงท้าย


สมเด็จพระพันปี ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะทรงพระกรุณา ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม /
หลวง โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะทรงพระ
ข้าพระพุทธเจ้า (ลงชื่อ) กรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
ธงประจาพระองค์
ลักษณะ ธงสีม่วง ตราพระนามาภิไธยย่อ ส.ท. ภายใต้มงกุฎขัตติยนารี
หมายเหตุ พระราชสมภพวันเสาร์ จึงใช้สีม่วงเป็นสีพื้นธง
หมวดที่ 2
พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่าน และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
พระปรมาภิไธย/ คาขึ้นต้น/คาลงท้าย
แบบย่อ สรรพนาม
พระนามาภิไธย การเขียนหนังสือกราบบังคมทูล/กราบทูล การกราบบังคมทูล/กราบทูลด้วยวาจา
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ สรรพนามบุรุษที่ ๑ คาขั้นต้น คาขั้นต้น
เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา ฯ - ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานกราบทูล ขอพระราชทานกราบทูลทราบฝ่าพระบาท
นเรนทิราเทพยวด สรรพนามบุรุษที่ ๒ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา ฯ
- ใต้ฝ่าพระบาท ทราบฝ่าพระบาท

คาอ่าน คาอ่าน
สม-เด็ด-พระ-เจ้า-ลกู-เทอ-เจ้า-ฟ้า- สม-เด็ด-พระ-เจ้า-ลกู คาลงท้าย คาลงท้าย
พัด-ชะ-ระ-กิ-ติ-ยา-พา-นะ-เรน-ทิ- เทอ-เจ้า-ฟ้า-พัด-ชะ ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะทรงพระกรุณา ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะโปรดเกล้า โปรด
รา-เทบ-พะ-ยะ-วะ-ดี ระ-กิ-ติ-ยา-พา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม กระหม่อม
ข้าพระพุทธเจ้า (ลงชื่อ)
การเอ่ยพระนาม
สมเด็จพระพันปี
หลวง
ธงประจาพระองค์
ลักษณะ ธงสีแสด ตราพระนามาภิไธยย่อ พ.ภ.
หมายเหตุ ประสูติวันพฤหัสบดี จึงใช้สีแสดเป็นสีพื้นธง
หมวดที่ 2
พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่าน และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
พระปรมาภิไธย/ คาขึ้นต้น/คาลงท้าย
แบบย่อ สรรพนาม
พระนามาภิไธย การเขียนหนังสือกราบบังคมทูล/กราบทูล การกราบบังคมทูล/กราบทูลด้วยวาจา
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ สรรพนามบุรุษที่ ๑ คาขั้นต้น คาขั้นต้น
เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี ฯ - ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานกราบทูล ขอพระราชทานกราบทูลทราบฝ่าพระบาท
นารีรัตนราชกัญญา สรรพนามบุรุษที่ ๒ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวณ
ั ณวรี ฯ
- ใต้ฝ่าพระบาท ทราบฝ่าพระบาท

คาอ่าน คาอ่าน
สม-เด็ด-พระ-เจ้า-ลกู-เทอ-เจ้า-ฟ้า- สม-เด็ด-พระ-เจ้า- คาลงท้าย คาลงท้าย
สิ-หริ-วัน-วะ-รี-นา-รี-รัด-ราด-ชะ- ลกู-เทอ-เจ้า-ฟ้า- ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะทรงพระกรุณา ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะโปรดเกล้า
กัน-ยา สิ-หริ-วัน-วะ-รี โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม โปรดกระหม่อม
ข้าพระพุทธเจ้า (ลงชื่อ)
การเอ่ยพระนาม
ทูลกระหม่อมหญิง
ธงประจาพระองค์
ลักษณะ ธงสีแสด ตราพระนามาภิไธยย่อ ส.ร.
หมายเหตุ ประสูติวันพฤหัสบดี จึงใช้สีแสดเป็นสีพื้นธง
หมวดที่ 2
พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่าน และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
พระปรมาภิไธย/ คาขึ้นต้น/คาลงท้าย
แบบย่อ สรรพนาม
พระนามาภิไธย การเขียนหนังสือกราบบังคมทูล/กราบทูล การกราบบังคมทูล/กราบทูลด้วยวาจา
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ สมเด็จพระเจ้า สรรพนามบุรุษที่ ๑ คาขั้นต้น คาขั้นต้น
เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ ลูกยาเธอ เจ้าฟ้า - ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานกราบทูล สมเด็จพระเจ้า ขอพระราชทานกราบทูลทราบฝ่าพระบาท
มหาวชิโรตตมางกูร ทีปังกรรัศมีโชติ ฯ สรรพนามบุรุษที่ ๒ ลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ ฯ
สิริวิบูลยราชกุมาร - ใต้ฝ่าพระบาท ทราบฝ่าพระบาท

คาอ่าน คาอ่าน คาลงท้าย คาลงท้าย


สม-เด็ด-พระ-เจ้า-ลกู-ยา-เทอ-เจ้า- สม-เด็ด-พระ-เจ้า- ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะโปรดเกล้า ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะโปรดเกล้า
ฟ้า-ที-ปัง-กอน-รัด-สะ-หมี-โชด-มะ ลกู-ยา-เทอ-เจ้า-ฟ้า- โปรดกระหม่อม โปรดกระหม่อม
หา-วะ-ชิ-โรด-ตะ-มาง-กนู-สิ-หริ-วิ- ที-ปัง-กอน-รัด-สะ- ข้าพระพุทธเจ้า (ลงชื่อ)
บูน-ราด-ชะ-กุ-มาน หมี-โชด

การเอ่ยพระนาม
ทูลกระหม่อมชาย
ทีปังกร
ธงประจาพระองค์
ลักษณะ ธงสีฟ้า ตราพระนามาภิไธยย่อ ท.ป.
หมายเหตุ ประสูติวันศุกร์ จึงใช้สีฟ้าเป็นสีพื้นธง
หมวดที่ ๓
- สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจา้ฟ้ามหาจักรีสิรินธร
มหาวชิราลงกรณวรราชภักดี สิริกจิ การิณีพีรยพัฒน รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี
- สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน
วรขัตติยราชนารี
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ
หมวดที่ 3
พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่าน และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
พระปรมาภิไธย/ คาขึ้นต้น/คาลงท้าย
แบบย่อ สรรพนาม
พระนามาภิไธย การเขียนหนังสือกราบบังคมทูล/กราบทูล การกราบบังคมทูล/กราบทูลด้วยวาจา
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า สมเด็จพระ สรรพนามบุรุษที่ ๑ คาขั้นต้น คาขั้นต้น
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา กนิษฐาธิราชเจ้า - ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานกราบบังคมทูล ขอพระราชทานกราบบังคมทูล
เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร กรมสมเด็จพระ สรรพนามบุรุษที่ ๒ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า ทรงทราบฝ่าละอองพระบาท
มหาวชิราลงกรณวรราชภักดี เทพรัตนราชสุดา ฯ - ใต้ฝ่าละออง กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สิริกิจการิณีพีรยพัฒน สยามบรมราชกุมารี พระบาท สยามบรมราชกุมารี
รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ ทรงทราบฝ่าละอองพระบาท
คาอ่าน
สยามบรมราชกุมารี
คาอ่าน สม-เด็ด-พระ-กะ-นิด-
ถา-ทิ-ราด-เจ้า-กรม- คาลงท้าย คาลงท้าย
สม-เด็ด-พระ-กะ-นิด-ถา-ทิ-ราด-
สม-เด็ด-พระ-เทบ-พะ-
เจ้า-กรม-สม-เด็ด-พระ-เทบ-พะ-รัด- ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะทรงพระกรุณา ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม /
รัด-ราด-สุ-ดา-สหยาม-
ราด-สุ-ดา-เจ้า-ฟ้า-มะ-หา-จัก-กรี-สิ- โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะทรงพระ
บอ-รม-มะ-ราด-ชะ-
ริน-ทอน-มะ-หา-วะ-ชิ-รา-ลง-กอน- ข้าพระพุทธเจ้า (ลงชื่อ) กรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
กุ-มา-ร
วอ-ระ-ราด-ชะ-พัก-ดี-สิ-หริ-กิด-จะ- ข้าพระพุทธเจ้า (ลงชื่อ)
(ออกครึ่งเสียง) -กา-ริ-นี-พี-ระ-ยะ- การเอ่ยพระนาม
พัด-รัด-ถะ-สี-มา-คุ-นา-กอน-ปิ-ยะ- กรมสมเด็จพระ เทพ
ชาด-สหยาม-บอ-รม-มะ-ราด-ชะ- รัตนราชสุดา ฯ
กุ-มา-รี
ธงประจาพระองค์
ลักษณะ ธงสีม่วง ตราพระนามาภิไธยย่อ ส.ธ. ภายใต้พระชฎาไม่มีกรรเจียกจร
หมายเหตุ พระราชสมภพวันเสาร์ จึงใช้สีม่วงเป็นสีพื้นธง
หมวดที่ 3
พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่าน และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
พระปรมาภิไธย/ คาขึ้นต้น/คาลงท้าย
แบบย่อ สรรพนาม
พระนามาภิไธย การเขียนหนังสือกราบบังคมทูล/กราบทูล การกราบบังคมทูล/กราบทูลด้วยวาจา
สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ สมเด็จเจ้าฟ้า ฯ สรรพนามบุรุษที่ ๑ คาขั้นต้น คาขั้นต้น
เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ กรมพระ - ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานกราบทูล ขอพระราชทานกราบทูลทราบฝ่าพระบาท
อัครราชกุมารี กรมพระ ศรีสวางควัฒน สรรพนามบุรุษที่ ๒ สมเด็จเจ้าฟ้า ฯ กรมพระศรีสวางควัฒน
ศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี วรขัตติยราชนารี - ใต้ฝ่าพระบาท วรขัตติยราชนารี ทราบฝ่า
พระบาท

คาอ่าน คาอ่าน
สม-เด็ด-พระ-เจ้า-น้อง-นาง-เธอ- สม-เด็ด-เจ้า-ฟ้า-กรม- คาลงท้าย คาลงท้าย
เจ้า-ฟ้า-จุ-ลา-พอน-วะ-ลัย-ลัก-อัก- พระ-สี-สะ-หวาง-คะ- ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะโปรดเกล้า ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะโปรดเกล้า
คระ-ราด-ชะ-กุ-มา-รี-กรม-พระ-สี- วัด-วอ-ระ-ขัด-ติ-ยะ- โปรดกระหม่อม โปรดกระหม่อม
สะ-หวาง-คะ-วัด-วอ-ระ-ขัด-ติ-ยะ ราด-ชะ-นา-รี ข้าพระพุทธเจ้า (ลงชื่อ)
ราด-ชะ-นา-รี การเอ่ยพระนาม
สมเด็จกรมพระศรี
ธงประจาพระองค์
ลักษณะ ธงสีแสด ตราพระนามาภิไธยย่อ จ.ภ. ภายใต้พระจุลมงกุฎ
หมายเหตุ ประสูติวันพฤหัสบดี จึงใช้สีแสดเป็นสีพื้นธง
หมวดที่ 3
พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่าน และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
พระปรมาภิไธย/ คาขึ้นต้น/คาลงท้าย
แบบย่อ สรรพนาม
พระนามาภิไธย การเขียนหนังสือกราบบังคมทูล/กราบทูล การกราบบังคมทูล/กราบทูลด้วยวาจา
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พระเจ้าวรวงศ์เธอ ฯ สรรพนามบุรุษที่ ๑ คาขั้นต้น คาขั้นต้น
โสมสวลี กรมหมืน่ สุทธนารีนาถ กรมหมื่นสุทธนารีนาถ - ข้าพระพุทธเจ้า ขอประทานกราบทูล ขอประทานกราบทูลทราบฝ่าพระบาท
สรรพนามบุรุษที่ ๒ พระเจ้าวรวงศ์เธอ ฯ กรมหมื่นสุทธนารีนาถ
- ใต้ฝ่าพระบาท ทราบฝ่าพระบาท
คาอ่าน คาอ่าน
พระ-เจ้า-วอ-ระ-วง-เทอ-พระ-อง- พระ-เจ้า-วอ-ระ-
เจ้า-โสม-สะ-วะ-ลี-กรม-มะ-หมื่น- วง-เทอ-กรม-มะ-หมื่น- คาลงท้าย คาลงท้าย
สุด-ทะ-นา-รี-นาด สุด-ทะ-นา-รี-นาด ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะโปรดเกล้า ควรมิควรแล้วแต่ / สุดแต่จะโปรดเกล้า
การเอ่ยพระนาม โปรดกระหม่อม โปรดกระหม่อม
ข้าพระพุทธเจ้า (ลงชื่อ)
กรมหมื่นสุทธนารีนาถ
ธงประจาพระองค์
ลักษณะ ธงสีม่วง ตราพระนามาภิไธยย่อ ส.ส. ยอดพระนามาภิไธยย่อ
เป็นรูปอุณาโลม
หมายเหตุ ประสูติวันเสาร์ จึงใช้สีม่วงเป็นสีพื้นธง
หมวดที่ ๔
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ
หมวดที่ ๔
พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่าน และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
พระปรมาภิไธย/ คาขึ้นต้น/คาลงท้าย
แบบย่อ สรรพนาม
พระนามาภิไธย การเขียนหนังสือกราบบังคมทูล/กราบทูล การกราบบังคมทูล/กราบทูลด้วยวาจา
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พระองค์เจ้าสิริภา สรรพนามบุรุษที่ ๑ คาขั้นต้น คาขั้นต้น
สิริภาจุฑาภรณ์ จุฑาภรณ์ - (ชาย) เกล้ากระหม่อม ขอประทานกราบทูล พระเจ้าวรวงศ์เธอ ขอประทานกราบทูลทราบฝ่าพระบาท
- (หญิง) เกล้ากระหม่อมฉัน พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ ทราบฝ่าพระบาท
สรรพนามบุรุษที่ ๒
คาอ่าน คาอ่าน - ฝ่าพระบาท
พระ-เจ้า-วอ-ระ-วง-เทอ-พระ- พระ-อง-เจ้า-สิ-หริ- คาลงท้าย คาลงท้าย
อง-เจ้า-สิ-หริ-พา-จุ-ทา-พอน พา-จุ-ทา-พอน ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
การเอ่ยพระนาม (ชาย) เกล้ากระหม่อม (ลงชื่อ)
(หญิง) เกล้ากระหม่อมฉัน (ลงชื่อ)
พระองค์สิริภา
ธงประจาพระองค์
ลักษณะ ธงสีฟ้า ตราพระนามาภิไธยย่อ ส.ภ.
หมายเหตุ ประสูติวันศุกร์ จึงใช้สีฟ้าเป็นสีพื้นธง
หมวดที่ ๔
พระปรมาภิไธย/พระนามาภิไธย คาอ่าน และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล/กราบทูล
พระปรมาภิไธย/ คาขึ้นต้น/คาลงท้าย
แบบย่อ สรรพนาม
พระนามาภิไธย การเขียนหนังสือกราบบังคมทูล/กราบทูล การกราบบังคมทูล/กราบทูลด้วยวาจา
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พระองค์เจ้า สรรพนามบุรุษที่ ๑ คาขั้นต้น คาขั้นต้น
อทิตยาทรกิติคุณ อทิตยาทรกิติคุณ - (ชาย) เกล้ากระหม่อม ขอประทานกราบทูล พระเจ้าวรวงศ์เธอ ขอประทานกราบทูลทราบฝ่าพระบาท
- (หญิง) เกล้ากระหม่อมฉัน พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคณ

สรรพนามบุรุษที่ ๒ ทราบฝ่าพระบาท
คาอ่าน คาอ่าน - ฝ่าพระบาท
พระ-เจ้า-วอ-ระ-วง-เทอ-พระ-อง- พระ-อง-เจ้า-อะ- คาลงท้าย
เจ้า-อะ-ทิด-ตะ-ยา-ทอน-กิ-ติ-คุน ทิด-ตะ-ยา-ทอน- คาลงท้าย ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
กิ-ติ-คุน ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
การเอ่ยพระนาม (ชาย) เกล้ากระหม่อม (ลงชื่อ)
(หญิง) เกล้ากระหม่อมฉัน (ลงชื่อ)
พระองค์อทิตยาทร
ธงประจาพระองค์
ลักษณะ ธงสีม่วง ตราพระนามาภิไธยย่อ อ.ก.
หมายเหตุ ประสูติวันเสาร์ จึงใช้สีม่วงเป็นสีพื้นธง
.

You might also like