You are on page 1of 1

ศิลป

'
" '
#

วันจันทร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ.2565

( 9ตยสาร ทรงวาดศตวรรษ ประ$%ศาสต* <ลปะ $ฒนธรรม บทความ@เศษ AาวBอย Cนๆ %


&

หน้าแรก ! ประวัติศาสตร์ ! นิสิตคนที่ 1 ...

!บ#แล&'งอา+และ&5ก6น
!งแบบราย(น-รายเ+อน
เEด
"
! $
# &
%

ประ$%ศาสต* %ดตามเรา

นิสิตคนที่ 1 ของจุฬาลงกรณ์ ผู้ไม่เคยเข้าเรียนที่


จุฬาฯ ?!?
" Facebook # Twitter $ Google+ ! LINE

!บ#แล&'งอา+ ,านราชพฤก3

!งแบบราย(น-รายเ+อน

เ5องเ8น
สําเภาพระไตรปิฎกจากชมพู
ทวีป สู่แดนรามัญสุวรรณภูมิ
วันพฤหัสที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ.2565

ท่านเจ้าคุณราชเสนากําลังรับพระราชทานปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2510 กรมดํารงซื้อไม่ได้ด้วยเงิน!


พระดํารัสไม่กลับเมืองไทย ทรง

เผยแพร่ วันศุกร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2565 ยอมใช้ชีวิตมัธยัสถ์ที่ปีนัง


วันพฤหัสที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ.2565

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ ในปี 2510 เป็นปีที่ครบ 50 ปี LINE MAN


ซือ
/ เลย
ตามล่าความอร่อย ค่าส่ง 0.-
พระยาราชเสนา (ศิริ เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ท่านได้รับปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
โดยชาวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยถือว่าท่านเป็น “จุฬาฯ หมายเลขหนึ่ง”   “พอแล้ว” พลเอกเปรมวางมือ
จาก “นายกรัฐมนตรี”
ทําไมชาวจุฬาฯ จึงถือท่านเจ้าคุณผู้ที่ไม่เคยเข้าเรียนที่จุฬาฯ เป็น “จุฬาฯ หมายเลขหนึ่ง” วันพฤหัสที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ.2565

เวลาที่สถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นปีแรกนั้น พระยาราชเสนา รับราชการมีบรรดาศักดิ์เป็น 26 พ.ค. 2534 : “เลาดาแอร์”


ตกที่ป่าพุเตย สุพรรณบุรี คร่า
พระยศสุนทร ผู้ว่าราชการเมืองนครราชสีมา และเป็นพระยาภูมิพิชัย ผู้ว่าราชการเมืองชัยภูมิแล้ว
223 ชีวิต
วันพฤหัสที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ.2565
ประวัติของท่านเจ้าคุณราชเสนา และการเป็นนิสิตคนที่ 1 ของจุฬาฯ กองบรรณาธิการศิลปวัฒนธรรม
วิกฤตการณ์ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบก
เคยเรียบเรียงไว้ในบทความชื่อ “นิสิตคนที่ 1” (ศิลปวัฒนธรรม, มีนาคม 2560)
ที่สงขลา จากคําบอกเล่าผู้อยู่
ในเหตุการณ์
โดยการเขียนเก็บความบางส่วนจากหนังสือที่พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพท่านเจ้าคุณ วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2565

เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ปี 2517 ที่ อาจารย์แม้นมาส ชวลิต เขียนไว้ และจากที่บุคคลอื่นๆ เขียนถึงท่าน เส้นทางการ “ปลูกฝี” ป้องกัน
มากล่าวถึงพอเป็นสังเขปเท่านั้น ฝีดาษในอดีต ช่วยบรรเทา
ฝีดาษลิงในปัจจุบัน?
วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2565

รู้จัก คบเพลิง ตะคัน ตะเกียง


ไต้ เครื่องตามไฟของคนยุค
โบราณ ก่อนมีนํ้ามันและก๊าซ
วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2565

“อนุสาวรีย์ปืนแตก” เหตุ
ระเบิดสนั่นวัดประยุรวงศาวาส
กับการผ่าตัดแบบฝรั่งครั้งแรก
ในสยาม
วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2565

ฮวาง จิน-ยี นางบําเรอที่แม่


โดนชนชั้นสูงบีบให้ทําแท้ง
นิยายอิงประวัติศาสตร์กับปม
ศักดินา
วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2565

ลัทธิจูเช่ เครื่องมือที่ผู้นําตระ
กูลคิมใช้สร้างชาติเกาหลีเหนือ
วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2565

พระยาราชเสนา (ศิริ เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (7 มีนาคม 2424-13 มกราคม 2517)

!บ#แล&'งอา+และ&5ก6น
พระยาราชเสนา มีนามเดิมว่า ศิริ เทพหัสดิน ณ อยุธยา  เป็นบุตรจมื่นศักดิ์แสนยากร (ม.ล. ปาด
!งแบบราย(น-รายเ+อน
เทพหัสดิน) มารดาชื่อน้อม เกิดเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ร.ศ. 100 (พ.ศ. 2424) ที่ตําบลเวิ้งบ้านพระยาศรีสห
เทพ (ที่เรียกว่าย่านสี่กั๊กพระยาศรีในทุกวันนี้) สะพานมอญ กรุงเทพมหานคร

(ที่ท่านเกิดในราชสกุลเทพหัสดินนั้น มีข้อสังเกตอยู่เล็กน้อยว่า สกุลนี้มีบทบาทเกี่ยวกับจุฬาลงกรณ์


มหาวิทยาลัยอยู่พอสมควรทีเดียว โดยผู้ที่ดิ้นรนเรื่องการก่อตั้งมหาวิทยาลัยนั้นก็คือเจ้าพระยาธรรมศักดิ์
มนตรี เสนาบดีกระทรวงธรรมการในเวลานั้น ซึ่งก็เป็นสมาชิกผู้หนึ่งของราชสกุลนี้ บุตรสาวสองคนของ
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี คือคุณปรียากับคุณธารี ก็เป็นนิสิตหญิงสองคนแรกของคณะ
สถาปัตยกรรมศาสตร์ (ในจํานวนนิสิตชายหญิงรุ่นแรก 13 คน) โดยเฉพาะคุณปรียานั้นได้เป็น ผู้อํานวย
การสํานักผังเมือง (เทียบเท่าอธิบดี) ที่เป็นสตรีคนแรกด้วย)

ท่านเจ้าคุณราชเสนาเริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียนวัดราชบพิธ จนสอบไล่วิชาหนังสือไทยประโยค 1 ได้ จาก


นั้นก็มาเรียนประโยค 2 ที่วัดพระเชตุพน พร้อมกันนั้นก็ได้เข้ารับราชการเป็นเสมียนกองทหารรักษา
ราชการมณฑลบูรพา กระทรวงกลาโหมด้วย แม้จะมีอายุเพียง 13 ปีเท่านั้นก็ตาม

ปี 2440 เมื่ออายุได้ราว 16 ปี บิดาได้นําไปถวายตัวเป็นมหาดเล็ก สังกัดเวรเดช ในพระบาทสมเด็จพระ


จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งโดยเหตุนี้เองในเวลาต่อมา ท่านจึงได้เข้าศึกษาในโรงเรียนมหาดเล็ก และนั่นก็
คือที่มาของฐานะความเป็น “นิสิตคนที่ 1” ในอีกหลายสิบปีต่อมา

ประสบการณ์ในการศึกษาในช่วงนี้ของท่าน ต่อมาท่านได้เรียบเรียงขึ้นเป็นบทความชื่อ “ต้นกําเนิดของ


คณะรัฐประศาสนศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” อันช่วยให้เราได้เห็นภาพการศึกษาเพื่อสร้าง
ข้าราชการฝ่ายปกครองขึ้นมาในสมัยนั้น (นอกเหนือไปจากพระนิพนธ์เรื่องโรงเรียนมหาดเล็กหลวงของ
สมเด็จกรมพระยาดํารงฯ) ท่านเรียนจนสําเร็จ ผ่านการเป็น “มหาดเล็กฝึกหัดราชการ” (คือออกไป
ฝึกงานในความดูแลของข้าหลวง – ท่านเองไปฝึกที่มณฑลบูรพา เมืองเสียมราฐ) จนสอบได้ “ประโยค
กระทรวง” ในปี 2443

ตรงนี้พึงเข้าใจว่า ในการจัดเตรียมคนทํางานสําหรับการปกครองแบบเทศาภิบาลที่ได้เริ่มขึ้นในเวลานั้น
นอกจากโรงเรียนมหาดเล็กในกรุงเทพมหานครแล้ว ในบางมณฑลก็มีโรงเรียนสอนการปกครองของตน ผู้
ที่เรียนสําเร็จสอบไล่ได้เรียกว่า “ประโยคมณฑล” ดังกรมขุนมรุพงศ์ศิริพัฒน์ได้สร้างขึ้นที่มณฑล
ปราจีนบุรี

ท่านเจ้าคุณราชเสนา เริ่มไต่เต้าจากการเป็น “นายชํานาญกระบวน” (ท่านเป็นคนสุดท้ายที่ได้ตําแหน่งนี้)


ข้าราชการตําแหน่งนายเวร กระทรวงมหาดไทยในปี 2444 แล้วมาเป็น “พันจันทนุมาศ” ตําแหน่งหัวพัน
ในกระทรวงมหาดไทย จนปี 2447 ก็ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น หลวงสุริยามาตย์ ปลัดกรม
พลําภัง (กรมการปกครองในเวลานี)้

!บ#แล&'งอา+ ,านราชพฤก3

!งแบบราย(น-รายเ+อน

การที่ท่านได้เลื่อนเป็นหลวงโดยไม่ต้องเป็นขุนนี้ นายพ่วง สุวรรณรัฐ ศิษย์คนหนึ่งของท่าน ซึ่งได้เป็นถึง


ปลัดกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อธิบายว่า เพราะเหตุจากท่าน
สําเร็จจากโรงเรียนการปกครองนั่นเอง (ข้อนี้บางทีจะเป็นเฉพาะผู้รับราชการในกระทรวง เพราะน่า
สังเกตว่า พระยาสุนทรเทพกิจจารักษ์ (ทอง จันทรางศุ) เองก็ผ่านโรงเรียนมหาดเล็ก กระนั้นเมื่อออกไป
รับราชการหัวเมืองก็ยังต้องเป็น “ขุนอนุรักษ์ภูเบศร์ ก่อนจะขึ้นเป็น “หลวง” ในราชทินนามเดิม สําหรับ
บรรดาพวกที่สอบได้ “ประโยคมณฑล” จากหัวเมืองเข้าใจว่าก็คงต้องเป็นไปตามขั้น ดังพระยาสัจจา
ภิรมย์ก็ต้องผ่านการเป็น “ขุนวิจิตรธานี” มาก่อน แล้วจึงได้เป็น “หลวงเดชะวิไชย” เอาในปี 2454)

ในปี 2451 ปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านเจ้าคุณราชเสนาก็ได้เลื่อนเป็น


ข้าหลวงมหาดไทยดูแลมณฑลกรุงเก่า จากมณฑลกรุงเก่า ในปี 2458 แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ
เกล้าฯ ก็ดํารงตําแหน่งผู้รั้งราชการเมืองบุรีรัมย์  ปีต่อมาได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น พระยศสุนทร ผู้ว่า
ราชการเมืองบุรีรัมย์ ในปีเดียวกันนั้นเองก็ย้ายไปเป็นปลัดมณฑลนครราชสีมา, เป็นผู้ว่าราชการเมือง
นครราชสีมา และเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิตามลําดับ

ปี 2462 ท่านได้เป็นพระยาศิริชัยบุรินทร์ เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม ปีต่อมาท่านได้รับคําสั่งให้


กลับเข้ามารับราชการในกรุงเทพมหานครอีกครั้ง ในตําแหน่งเจ้ากรมการเมือง (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นกรม
การภายนอก และเป็นกองการต่างประเทศ) และได้รับราชทินนามว่า พระยาราชเสนา

ปี 2469 ดํารงตําแหน่งเจ้ากรมการปกครอง แล้วไปเป็นเจ้ากรมทะเบียน ตําแหน่งสุดท้ายของท่านก่อนที่


จะเวรคืนตําแหน่งราชการเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2475 หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ก็คือตําแหน่ง
เกณฑ์เมืองรั้ง (มีฐานะคล้ายผู้ตรวจราชการกระทรวงในปัจจุบัน) ในกระทรวงมหาดไทย

อย่างไรก็ตาม แม้จะได้กราบถวายบังคมลาจากราชการแล้ว ในปี 2479 กระทรวงมหาดไทยได้แต่งตั้งให้


ท่านเป็นนายกเทศมนตรีเมืองนครราชสีมา จนหมดภาวะในปี 2482 แต่หากสภาเทศบาลเมือง
นครราชสีมาได้เลือกท่านเป็นนายกเทศมนตรีอีกวาระหนึ่ง ทั้งสองวาระนี้เป็นการทํางานที่ท่านมิได้ขอรับ
เงินเดือนเลย นอกจากนี้ท่านยังเคยรับเชิญสอนวิชาการปกครองที่จุฬาฯ ที่จริงหลังปี 2500 มาท่านก็ยัง
ทํางานให้กับรัฐบาลคณะปฏิวัติของ จอมพลสฤษดิ์อยู่แม้จะมีอายุมากแล้วก็ตาม

นอกเหนือไปจากงานในหน้าที่แล้ว ท่านเจ้าคุณราชเสนาก็ยังมีราชการพิเศษอื่นๆ เช่นเป็นผู้แทนฝ่าย


สยามในคณะข้าหลวงใหญ่สยาม-ฝรั่งเศส ประจําแม่นํ้าโขงในปี 2471 เป็นต้น งานสําคัญอย่างหนึ่งของ
ท่านที่นับว่ามีค่าอย่างยิ่งคือการรวบรวมสนธิสัญญาระหว่างไทยกับประเทศต่างๆ ขึ้นไว้เป็นเล่ม (ต่อมา
ท่านได้มอบงานนี้ให้เป็นลิขสิทธิ์กรมศิลปากร)

ในปี 2510 อันเป็นปีที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีอายุครบ 50 ปี และท่านเองมีอายุได้ 86 สภา


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้มอบปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แก่ท่าน คําประกาศเกียรติคุณ
ที่ทางมหาวิทยาลัยเรียบเรียงขึ้นนั้นดูจะเป็นการสรุปประวัติและงานของท่านไว้ได้ดี จึงขอคัดทั้งหมดมา
ลงไว้ ดังนี้

“ด้วยสภาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ได้พิจารณาเห็นว่า พระยาราชเสนา (ศิริ เทพหัสดิน ณ อยุธยา)


นิสิตเก่าจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยตั้งแต่สมัยยังเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือน และได้รับ
ประกาศนียบัตรทางการปกครองเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2443 นับว่าเป็นนิสิตเก่าคนที่ 1 รุ่นที่
1 เมื่อ 67 ปีมาแล้ว

พระยาราชเสนาเคยรับราชการฝ่ายปกครอง ดํารงตําแหน่งต่างๆ ตั้งแต่ตําแหน่งเริ่มต้นจนถึงเป็นผู้ว่า


ราชการจังหวัด ปลัดมณฑล เจ้ากรมปกครอง ฯลฯ ได้แสดงความสามารถดีเด่นจนได้รับสถาปนาและ
เลื่อนยศบรรดาศักดิ์ตามลําดับตลอดมาจนรับพระราชทานบํานาญ นอกจากราชการประจํา พระยาราช
เสนายังได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการพิเศษ เช่น เป็นข้าหลวงใหญ่ฝรั่งเศสสยามประจําแม่นํ้าโขง
ข้าหลวงใหญ่ปักปันเขตแดนไทย-อินโดจีน และเป็นกรรมการของรัฐบาลมากมายหลายหน้าที่ ครั้ง
สุดท้ายยังได้รับแต่งตั้งจากรัฐบาลคณะปฏิวัติให้เป็นที่ปรึกษาของคณะกรรมการปรับปรุงการปกครอง
และการพิจารณาเรื่องนครหลวงของไทย ท่านผู้นี้ได้เคยเขียนบทความและบันทึกประวัติศาสตร์ทางการ
ปกครองไว้ ณ ที่หลายแห่ง ซึ่งนับว่ามีคุณค่าทางรัฐศาสตร์ของไทย ทั้งในส่วนวิชาการก็เคยเป็นอาจารย์
ทางวิชารัฐศาสตร์ในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เป็นผู้สอนและเป็นประธานและกรรมการในการอบรม
และสอบไล่ของกระทรวงมหาดไทยในวิชาการปกครอง เป็นที่รับนับถือและเคารพยกย่องในทาง
รัฐศาสตร์ โบราณคดี และประวัติศาสตร์ สมควรยกย่องในฐานะนิสิตเก่าและอาจารย์เก่ารุ่นอาวุโสที่สุดผู้
มีกิติคุณทั้งทางราชการและวิชาการ สภาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจึงเห็นสมควรอย่างยิ่งที่จะให้ได้รับ
พระราชทานปริญญารัฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์เพื่อเป็นการยกย่องเกียรติคุณสืบไป” [เน้นโดยผู้
เขียน]

ท่านเจ้าคุณราชเสนาได้ตอบผู้ที่ถามถึงความรู้สึกของท่านในการที่ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์ในวันนั้นว่า

“รู้สึกเป็นเกียรติและยินดีเป็นล้นเกล้าฯ ขอขอบคุณสภามหาวิทยาลัยที่ได้เสนอชื่อให้ได้รับ
พระราชทานปริญญาครั้งนี้ด้วย”

เผยแพร่ในระบบออนไลน์ครั้งแรกเมื่อ 14 เมษายน 2563

แท็ก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นิสิตจุฬาฯ พระยาราชเสนา (ศิริ เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

โรงเรียนข้าราชการพลเรือน

" Facebook # Twitter $ Google+ ! Line

!บ#แล&'งอา+ ,านราชพฤก3

!งแบบราย(น-รายเ+อน

Recommended by

คุณอาจสนใจข่าวนี้

PR PR PR

งูโบอา จู่โจมเสือจากัวร์ดี! เกิด รูปถ่ายของเกาหลีเหนือที่เผย งูหลามยักษ์กลืนแม่บ้าน


อะไรขึ้นต่อไปทําให้ทุกคนตกใจ แพร่ไม่ได้ - ตอนนี้ช่างภาพถู…
ห้ามไม่ให้เข้าประเทศ

PR PR PR

ภรรยาของชาวอาหรับที่สวย มหัศจรรย์! เบาหวานหายไปใน ดื่มวันละครั้ง พุงห้อย ๆ จะ


ที่สุดในโลกหน้าตาเป็น… 3 วัน! อ่านเลย หายไปในสัปดาห์เดียว!
อย่างไร?

PR PR PR

ตํารวจคุมตัวคุณย่าเพราะเธอ พรีเซ็นเตอร์ลืมกลางโต๊ะว่าโต๊ะ บันทึกนาทีสุดท้ายของชีวิต


ฝังเงินนับล้านไว้ในสวนหลัง… โปร่ง! ตอนนี้ห้ามใส่กระโปรง
บ้าน!

บทความแนะ2
AD

คําอธิษฐานของ "คุณพุม่ " กวี ข่าวช็อก!หญิงสาวจากBangkok พบซากโรงกลั่นโบราณใหญ่สุด


หญิงคนกล้า สะท้อนมุมมองเบื้อง กลายเป็นมหาเศรษฐีโดยใช้วิธีนี ในจีนโดยบังเอิญ คาดว่าทําการ
ลึกต่อเจ้านายในราชสํานักสยาม ตั้งแต่ราชวงศ์หมิงถึงชิง
AD

ธุรกิจรายย่อยก็ทําการตลาด ตามหา “บ้านสุนทรภู่” กวีเอก หนุม่ จากเวลส์เป็นมนุษย์คนแรก


ออนไลน์ให้ปังได้ ลองช่องทางนี้ รัตนโกสินทร์ ที่เคยอยูฝ
่ ่ งธนฯ
ั เดินตามแนวแม่นXาแยงซีต้นจน
จบ จากทิเบตถึงเซี่ยงไฮ้
AD

"ถนนสีลม" มาจากไหน?? การค้าเป็นเหตุ! เจงกิสข่านนําทัพ Lazada 6.6 เซลใหญ่สุดในกลาง


ม้าบดขยี้แดนตะวันตก สูก ่ ารเปิด ปี
ฉากใหม่จักรวรรดิมองโกล

กะโหลกโมสาร์ท-ทําไมสัปเหร่อ พบหลักฐาน “ชาววานูอาตู” กําเนิดพระสมเด็จวัดบางขุน


รับส่งกันเสมือนมรดกตกทอด ?!? กลุ่มแรกอพยพไปจาก “ไต้หวัน” พรหม พระเครื่องดังหนึ่งในเบญ
และ “ฟิลิปปินส์” ภาคี

“ลัทธิเม้งก้า” แห่งดาบมังกรหยก จีนคืนชีพเจดีย์เอน เก่าแก่รว


่ ม “ออกขุนชํานาญ” ทูตพระ
มีจริงหรือไม่? เหตุใดจึงถูกมอง 1,000 ปี หลังพบรอยแตก-เป็นรู นารายณ์ กับการผจญภัยในแห
เป็น “พรรคมาร” ? กว่าร้อยจุด ลมกู๊ดโฮป (หลังเรือแตกปางตาย)
by

เ8ยว;บเรา ตามเรา

บริษัท มติชน จํากัด (มหาชน) 12 ถนนเทศบาลนฤมาล หมู่บ้านประชานิเวศน์ 1


แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร 02-589-0020-1 " #

เพิ่มเติมเกี่ยวกับเรา
เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ยอมรับ
x
อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)

Copyright © by Matichon Public Co.,Ltd. All Rights Reserved.

You might also like