You are on page 1of 24

พระพุทธศาสนสุภาษิต

ระหว่างบิณฑบาต
000 จิรํ ติฎฺฐตุ สทฺธมฺโม ขอพระสัทธรรมจงสถิตสถาพรตลอดกาลนานเทอญ
000-01 อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขํ อริยสจฺจํ ชาติปิ ทุกฺขา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อริยสัจคือทุกข์มีอยู่ คือความเกิดก็เป็นทุกข์
000-02 ชราปิ ทุกฺขา พฺยาธีปิ ทุกฺขา มรณมฺปิ ทุกฺขํ ความแก่ก็เป็นทุกข์ ความตายก็เป็นทุกข์, ความโศก ความรําไรรําพัน
000-03 โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสาปิ ทุกขา ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ ก็เป็นทุกข์
000-04 อปฺปิเยหิ สมฺปโยโค ทุกฺโข ปิเยหิ วิปฺปโยโค ทุกฺโข ความประสบกับสิงไม่เป็นทีรักทีพอใจก็เป็นทุกข์
000-05 ยมฺปิจฺฉํ น ลภติ ตมฺปิ ทุกฺขํ มีความปรารถนาสิงใดไม่ได้สงนั ิ ้น นันก็เป็นทุกข์
000-06 สงฺขิตฺเตน ปญฺจุปาทานกฺขนฺธา ทุกฺขา ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้งห้า เป็นตัวทุกข์
000-07 อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขสมุทโย อริยสจฺจํ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อริยสัจคือเหตุให้เกิดทุกข์นี้มอี ยู่
000-08 ยายํ ตณฺหา โปโนพฺภวิกา นนฺทิราคสหคตา ตตฺร ตตฺราภินนฺทินี นี้คือตัณหา อันเป็นเครืองทําให้มกี ารเกิดอีก
000-09 อันประกอบอยู่ด้วยความกําหนัดด้วยอํานาจความเพลิน, เป็นเครืองให้เพลินอย่างยิงในอารมณ์น้นั
000-10 เสยฺยถีทํ กามตณฺหา ภวตณฺหา วิภวตณฺหา ได้แก่สงเหล่
ิ านี้คือ ตัณหาในกาม ในความมีความเป็น ในความไม่มีไม่เป็น
000-11 อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรโธ อริยสจฺจํ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อริยสัจคือความดับไม่เหลือแห่งทุกข์นี้
000-12 โย ตสฺสาเยว ตณฺหาย อเสสวิราคนิโรโธ จาโค นี้คือความดับสนิทเพราะจางไป โดยไม่มีเหลือของตัณหานั้นนันเอง
000-13 ปฏินิสฺสคฺโค มุตฺติ อนาลโย เป็นความสละคืน เป็นความปล่อย เป็นความทําไม่ให้มที ีอาศัยซึงตัณหานั้น
000-14 อิทํ โข ปน ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา อริยสจฺจํ ดูกรฯ ก็อริยสัจคือข้อปฏิบัติททํี าสัตว์ให้ลุถึง
000-15 ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์นี้มอี ยู่
000-16 อยเมว อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค นี้คือข้อปฏิบัติเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบด้วยองค์แปดประการ
000-17 เสยฺยถีทํ สมฺมทิฏฺฐิ ฯเปฯ สมฺมาสมาธิ ได้แก่สิงเหล่านี้คือ ความเห็นชอบ ฯเปฯ ความตั้งใจมันชอบ
000-18 .........................................................................................................
001 สมฺพุทฺโธ ทิปทํ เสฏฺโ€ พระสัมพุทธเจ้าประเสริฐสุดกว่าสัตว์ ๒ เท้า
001-2 อาชานีโย จตุปฺปทํ สัตว์อาชาไนยประเสริฐสุดกว่าสัตว์ ๔ เท้า
001-3 สุสฺสูสา เสฏฺ€า ภริยานํ ภรรยาทีปรนนิบัติดี ประเสริฐสุดกว่าภรรยาทั้งหลาย
001-4 โย จ ปุตฺตานมสฺสโวติ บุตรใดเป็นผู้เชือฟัง บุตรนั้นประเสริฐสุดกว่าบุตรทั้งหลาย.
002 ปุญฺญเมว โส สิกเฺ ขยฺย อายตคฺคํ สุขินฺทฺริยํ ทานญฺจ สมจริยญฺจ เมตฺตจิตฺตญฺจ ภาวเย
002-2 กุลบุตรผูใ้ คร่ประโยชน์ พึงศึกษาบุญนันแล อันให้ผลเลิศต่อไป ซึงมีสุขเป็นกําไร ขุ.อิติ.๒๕/๒๐๐/๑๗๓ ปุญญสูตร
002-3 คือ พึงเจริญทาน ๑ ความประพฤติเสมอ ๑ เมตตาจิต ๑ ขุ.อิติ.๒๕/๒๓๘/๒๐๕ ปุญญกิริยาวัตถุสูตร
002-3 เอเต ธมฺเม ภาวยิตฺวา ตโย สุขสมุทฺทเย อพฺยาปชฺฌํ สุขํ โลกํ ปณฺฑิโต อุปปชฺชติ
002-4 บัณฑิตครั้นเจริญธรรม ๓ ประการอันเป็นเหตุให้เกิดความสุขเหล่านี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกอันไม่มีความเบียดเบียนฯ
003 ทสฺสนกาโม สีลวตํ สทฺธมฺมํ โสตุมิจฺฉติ วิเนยฺย มจฺเฉรมลํ ส เว สทฺโธติ วุจฺจติ องฺ.ติก.๒๐/๑๙๑
003-2 ผูใ้ ดใคร่เห็นผูม้ ีศีล ปรารถนาฟังพระสัทธรรม กําจัดมลทินคือความตระหนีได้ ผูน้ ั้แลท่านเรียกว่าผู้มีศรัทธา
004 โกโธ ทุมฺเมธโคจโร ความโกรธเป็นอารมณ์ของคนมีปัญญาทราม
005 น เต อหํ อานนฺท ตถา ปรกฺกมิสฺสามิ ยถา กุมฺภกาโร อามเก อามกมตฺเตฯ ม.อุ.๑๔/๓๕๖/๑๙๒ มหาสุญญตสูตร
005-2 นิคฺคยฺหนิคฺคยฺหาหํ อานนฺท วกฺขามิ ปวยฺหปวยฺหาหํ อานนฺท วกฺขามิ โย สาโร โส €สฺสตีติ ฯ
005-3 ดูกรอานนท์ เราจักไม่ประคับประคองพวกเธอ เหมือนช่างหม้อประคับประคองภาชนะดินดิบทียังดิบๆ อยู่
005-4 เราจักข่มแล้วๆ จึงบอก จักยกย่องแล้วๆ จึงบอก ผูใ้ ดมีแก่นสาร ผูน้ ั้นจักตั้งอยู่ ฯ
006 อหํ นาโคว สงฺคาเม จาปาโต ปติตํ สรํ อติวากฺยนฺติติกฺขิสฺสํ ทุสฺสีโล หิ พหุชฺชโน ฯ (ขุ.ธ.๒๕/๓๓/๔๐)
006-1 เราจักอดกลั้นถ้อยคําล่วงเกิน ดังช้างอดทนลูกศร ซึงตกไปจากแล่งในสงคราม, เพราะคนเป็นอันมาก เป็นผูท้ ุศีล,
006-2 ทนฺตํ นยนฺติ สมิตึ ทนฺตํ ราชาภิรูหติ ทนฺโต เสฏฺโ€ มนุสฺเสสุ โยติวากฺยนฺติติกฺขติ ฯ
006-3 ราชบุรุษทั้งหลาย ย่อมนําพาหนะทีฝึกแล้วไปสูท่ ีประชุม, พระราชาย่อมเสด็จขึ้นพาหนะทีฝึกแล้ว;
006-4 ในหมู่มนุษย์ผใู้ ดอดกลั้นถ้อยคําล่วงเกินได้, ผู้นั้นชือว่าฝึก (ตน) แล้ว เป็นผู้ประเสริฐสุด.
006-5 วรมสฺสตรา ทนฺตา อาชานียา จ สินฺธวา กุ•ฺชรา จ มหานาคา อตฺตทนฺโต ตโต วรํ ฯ
006-6 ม้าอัสดรทีฝึกแล้วเป็นสัตว์ประเสริฐ, ม้าอาชาไนย ม้าสินธพทีฝึกแล้ว เป็นสัตว์ประเสริฐ,
006-7 พระยาช้างชาติกุญชรทีฝึกแล้ว ก็เป็นสัตว์ประเสริฐ, (แต่) ผูฝ้ ึกตนเองได้แล้ว ประเสริฐกว่านั้น."
………………………………………………………..
450810 มาตา มิตฺตํ สเก ฆเร สํ.ส.๑๕/๑๖๓/๔๓ มารดาเป็นมิตรในเรือนของตน (เพราะย่อมไม่ร้งเกียจบุตร)
450811 พลาติพลมิตฺถิโย สตรีมีกําลังยิงกว่ากําลังทั้งปวง
450812 ปุตฺตา วตฺถุ มนุสฺสานํ สํ.ส.๑๕/๑๖๕/๔๓ บุตรเป็นทีตั้งของมนุษย์ทั้งหลาย (เพราะปฏิบัติมารดาบิดายามแก่เฒ่า)
450812-2 ภริยา ปรมา สขา ภรรยาเป็นยอดสหาย (เพราะแม้ความลับ ก็ต้องบอกแก่ภรรยา)
450812-3 วุฏฺ€ึ ภูตา อุปชีวนฺติ เย ปาณา ป€วึ สิตาติ ฯ เหล่าสัตว์ทีอาศัยแผ่นดิน ย่อมอาศัยฝนเลี้ยงชีวิต
460226 อถ ปาปานิ กมฺมานิ กรํ พาโล น พุชฺฌติ คนพาลเวลาทําชัว หาสํานึกถึงผลของมันไม่
460226-2 เสหิ กมฺเมหิ ทุมฺเมโธ อคฺคิทฑฺโฒว ตปฺปติ คนทรามปัญญามักเดือดร้อน เพราะกรรมชัวของตัว
460226-3 เหมือนถูกไฟไหม้
460727 น มุณฺฑเกน สมโณ คนมิได้เป็นพระเพราะหัวโล้น
460814 ภีเตน ชายเต มติ ปัญญาย่อมเกิดขึ้นเพราะความกลัว
470310 ทุปฺปพฺพชฺชํ ทุรภิรมํ การบวชก็ยาก การยินดีก็ยาก
470310-2 ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา เรือนทีปกครองไม่ดี ให้เกิดทุกข์
470310-3 ทุกฺโข สมานสํวาโส การอยูร่ ่วมกับผู้เสมอกัน (ไม่เคารพยําเกรงกัน) เป็นทุกข์
470310-4 ทุกฺขานุปติตทฺธคู ผูเ้ ดินทางไกล(ในวัฏฏะ) ก็ถูกทุกข์ติดตาม
470310-5 ตสฺมา น จทฺธคู สิยา น จ ทุกฺขานุปติโต สิยา. เพราะฉะนั้นไม่พึงเป็นผูเ้ ดินทางไกล
470310-6 (ขุ.ธ.๒๕/๓๑/๓๘, ขุ.ธ.๔๓/๒๑๙/๑๗๖ มมร.) และไม่พึงเป็นผูอ้ ันทุกข์ติดตาม."
470311 กาลญฺญู สมยญฺญู จ ส ราชวสตึ วเส ผูร้ ู้กาล รู้สมัย พึงอยูใ่ นวงราชการได้ (วิฑูรบัณฑิต)
470618 ทุกฺขํ อนาโถ วิหรติ ผูไ้ ม่มีทีพึง(นาถกรณธรรม) ย่อมอยู่เป็นทุกข์
470903 ทิฏฺฐา มยา ภิกฺขเว ฉผสฺสายตนิก นาม นิรยา ดูกรฯ นรกชือว่าผัสสายตนิกะ๖ เราได้เห็นแล้ว
470903-2 ทิฏฺฐา มยา ภิกฺขเว ฉผสฺสายตนิก นาม สคฺคา ดูกรฯ สวรรค์ชือว่าผัสสายตนิกะ๖ ชั้น เราได้เห็นแล้ว
หน้า ๒

471020 ยถา พฺรหฺมา ตถา เอโก ยถา เทโว ตถา ทุเว อยูอ่ ย่างพรหมต้องอยูเ่ อกา อยูอ่ ย่างเทวดาต้องมีสหาย
471208 ปุตฺโต คีเว ธนํ ปาเท ภริยา หตฺเถ มีบุตรคล้องคอไว้ มีทรัพย์ผูกเท้าเอาไว้ มีภรรยาผูกมือเอาไว้
471208-2 (มีบตุ รห่วงหนึ่ งเกีย่ วพันคอ ทรัพย์ผูกบาทาคลอหน่ วงไว้ ภริยาเยี่องอย่างปอรึงรัดมือนา สามบ่วงนี้ ใครข้ามได้จงึ พ้นสงสาร)
471209 อโยเค ยุญฺชมตฺตานํ โยคสฺมิญฺจ อโยชนํ อตฺถํ หิตฺวา ปิยคฺคาหี ปิเหตตฺตานุโยคินํ
471209-2 พยายามในสิงทีไม่ควรพยายาม ไม่พยายามในสิงทีควรพยายาม
471209-3 ละเลยสิงทีเป็นประโยชน์ ต้องอยู่ในปิยารมณ์ คนเช่นนี้ก็ได้แต่ริษยาผู้ทพยายามช่
ี วยตัวเอง
480111 พหุ์ เว สรณํ ยนฺติ ปพฺพตานิ วนานิ จ อารามรุกฺขเจตฺยานิ มนุสฺสา ภยตชฺชิตา
480111-02 เนตํ โข สรณํ เขมํ เนตํ สรณมุตฺตมํ เนตํ สรณมาคมฺม สพฺพทุกฺขา ปมุจฺจติ.
480111-03 มนุษย์เป็นอันมาก ถูกภัยคุกคามแล้ว ย่อมถึงภูเขา ป่า อาราม และรุกขเจดีย์วา่ เป็นทีพึง;
480111-04 สรณะนันแลไม่เกษม, สรณะนันไม่อุดม, เพราะบุคคลอาศัยสรณะนัน ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้.
480111-05 โย จ พุทฺธญฺจ ธมฺมญฺจ สงฺฆญฺจ สรณํ คโต จตฺตาริ อริยสจฺจานิ สมฺมปฺปญฺญาย ปสฺสติ
480111-06 ทุกฺขํ ทุกฺขสมุปฺปาทํ ทุกฺขสฺส จ อติกฺกมํ อริยญฺจฏฺฐงฺคิกํ มคฺคํ ทุกฺขูปสมคามินํ
480111-07 เอตํ โข สรณํ เขมํ เอตํ สรณมุตฺตมํ เอตํ สรณมาคมฺม สพฺพทุกฺขา ปมุจฺจติ.
480111-08 ส่วนบุคคลใดถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ว่าเป็นทีพึง ย่อมเห็นอริยสัจ ๔
480111-09 (คือ) ทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐ
480111-10 ซึงยังสัตว์ให้ถึงความสงบแห่งทุกข์ ด้วยปัญญาชอบ; สรณะนันแล ของบุคคลนั้นเกษม, สรณะนันอุดม,
480111-11 เพราะบุคคลอาศัยสรณะนัน ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้." ขุ.ธ.๒๕/๒๔/๒๘ ขุ.ธ.อ.๔๒ หน้า ๓๔๖
480214 มธุวา มญฺ ตี พาโล ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจตี ปาปํ อถ พาโล ทุกฺขํ นิคจฺฉติ ตลอดระยะ-
480214-2 เวลาทีบาปยังไม่ให้ผล คนพาลสําคัญบาปหวานปานน้ําผึ้ง เมือใดบาปให้ผล เมือนั้นเขาย่อมได้รับทุกข์
480308 โอวเทยฺยานุสาเสยฺย อสพฺภา จ นิวารเย พึงว่ากล่าวตักเตือนคนอืน และพึงกีดกันเขาจากความชัว
480308-2 สตํ หิ โส ปิโย โหติ อสตํ โหติ อปฺปิโย คนทีคอยสังสอนเช่นนี้ คนดีรัก แต่คนชัวเกลียด
480509 สทฺธาย ตรติ โอฆํ คนจะข้ามโอฆะ(ห้วงน้ํา)ได้ดว้ ยศรัทธา
480509-2 อปฺปมาเทน อณฺณวํ ข้ามอรรณพ(ห้วงน้ํา)ได้ ด้วยความไม่ประมาท
480509-3 วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ คนล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร
480509-4 ปญฺ าย ปริสุชฺฌติ คนย่อมบริสุทธิ์ได้ด้วยปัญญา
480510 สทฺทหาโน อรหตํ ธมฺมํ นิพฺพานปตฺติยา สุสฺสูสํ ลภเต ปญฺญํ อปฺปมตฺโต วิจกฺขโณ
480510-2 บุคคลเชือธรรมของพระอรหันต์ทั้งหลาย เพือบรรลุนิพพาน
480510-3 เป็นผูไ้ ม่ประมาท มีปัญญาเป็นเครืองสอดส่อง ฟังอยูด่ ้วยดี ย่อมได้ปัญญา
480510-4 (สุสฺสูสํ ลภเต ปญฺญํ ฟังอยูด่ ้วยดี ย่อมได้ปัญญา)
480510-5 ปฏิรูปการี ธุรวา อุฏฺ€าตา วินฺทเต ธนํ บุคคลผูม้ ีธุระ กระทําสมควร มีความหมัน ย่อมหาทรัพย์ได้
480510-6 สจฺเจน กิตฺตึ ปปฺโปติ บุคคลย่อมได้ชือเสียงด้วยสัจจะ (บุคคลย่อมได้รับเกียรติ์เพราะวาจาสัตย์)
480510-7 ททํ มิตฺตานิ คนฺถติ ผูใ้ ห้ย่อมผูกมิตรไว้ได้
480521 น กมฺมุนา กิญฺจน โมฆมตฺถิ (ขุ.ชา.๒๗/๒๐๕๔/๓๕๘ จิตตสัมภูตชาดก) กรรมแม้จะเล็กน้อย ทีจะไม่ให้ผลเป็นไม่มี
480524 ยสฺมึ กตญฺญุตา นตฺถิ นิรตฺถา ตสฺส เสวนา ความกตัญญูไม่มีในคนใด การคบกับคนนั้นก็ไร้ประโยชน์
480525 สพฺพํ รฏฺฐํ โหติ ราชา จ โหติ ธมฺมิโก หากพระราชาเป็นผูท้ รงธรรม(ไม่ลุแก่อคติ๔)ปวงประชาก็เป็นสุข
480527 อาสวานํ ขยา สมโณ โหติ ชือว่า สมณะ ก็เพราะสิ้นอาสวะทั้งหลาย
480528 มนุสฺสภูตํ สมฺพุทฺธํ อตฺตทนฺตํ สมาหิตํ..เทวาปิ นมสฺสนฺติ
480528-2 พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งทีเป็นมนุษย์ แต่ฝึกพระองค์แล้ว แม้เทพทั้งหลายก็น้อมนมัสการ
หน้า ๓

480529 อภูตวาที นิรยํ อุเปติ คนพูดไม่จริง ย่อมดิงลงนรก


480605 วายเมเถว ปุริโส น นิพฺพินฺเทยฺย ปณฺฑิโต คนฉลาดพึงพยายามเรือยไป ไม่ควรเบือหน่าย
480606 สติมา สุขเมธติ ผูม้ ีสติจะเข้าถึงความสุขได้ (จากความไม่เดือดร้อนใจ การไม่มีเวรภัย และสุขจากความสงบ)
480607 พหูนํ วต อตฺถาย สปฺปญฺโ ฆรมาวสํ ผูม้ ีปัญญาอยู่ครองเรือน เพือประโยชน์แก่หมู่ชน
480609 พุทฺโธ ปวทตํ วโรติ บรรดาชนผู้พูด พระพุทธเจ้าประเสริฐสุด
480611 วิหญฺ ติ จิตฺตวสานุวตฺตี ผูท้ ําตามใจ ย่อมมีแต่ความลําบาก
480612 สจฺจํ ภเณ น กุชฺเฌยฺย ควรพูดคําจริง ไม่ควรโกรธ
480613 น หิ จินฺตามยา โภคา อิตฺถิยา ปุรสสฺส วา โภคะของใครๆ ไม่วา่ จะเป็นชายหรือหญิง หาสําเร็จเพียรแค่คิดไม่
480614 มนสฺส สติ ปฏิสรณํ สติเป็นเครืองยึดเหนียวของใจ
480615 ปุญฺ านิ กยิราถ สุขาวหานิ ควรทําบุญเพราะบุญนําความสุขมาให้
480619 จิตฺตํ ภาวิตํ มหโต อตฺถาย สํวตฺตติ จิตทีฝึกหัดดีแล้ว ย่อมเป็นไปเพือประโยชน์ยิงใหญ่
480717 สปฺปุริสภูมิ ยทิทํ กตญฺญุตา กตเวทิตา การรู้คุณและตอบแทนคุณ เป็นคุณธรรมพื้นฐานของคนดี
480721 สุโขวิเวโก ตุฏฺ สฺส สุตธมฺมสฺส ปสฺสโต ความสงัดไม่มีอะไรรบกวนของบุคคลผูอ้ ิมแล้ว -
480721-2 - ในธรรมอันตนเห็นแล้วนี้เป็นความสุข
480721-3 อพฺยาปชฺฌํ สุขํ โลเก ปาณภูเต สุสญฺ โม ความไม่มีจิตประทุษร้าย สํารวมในสัตว์มีชีวิต -
480721-4 - ทั้งหลาย เป็นสุขในโลก
480721-5 สุขา วิราคตา โลเก กามานํ สมติกฺกโม ความปราศจากความกําหนัด ก้าวล่วงความใคร่ -
480721-6 - ในกามทั้งหลายเสียได้เป็นความสุขในโลก
480721-7 อสฺสมิมานสฺส วินโย เอตํ เว ปรมํ สุขํ การนําออกได้ได้ซึงอัสมิมานะนี้เป็นสุขอย่างยิงเว๊ย
480728 นยํ นยติ เมธาวี อนยํ นยติ ทุมฺเมโธ คนฉลาดย่อมแนะนําสิงทีควรแนะนํา -
480728-2 - คนปัญญาทรามย่อมแนะนําในทางทีไม่ควร
480731 รกฺเขยฺย อตฺตโน สาธุ ลวณํ โสณตํ ยถา พึงรักษาความดีของตนเสมือนเกลือรักษาความเค็ม
480807 สุขํ สุปติ พุทฺโธ จ เยน เมตฺตา สุภาวิตา ผูเ้ จริญเมตตาดีแล้ว ย่อมหลับและตืนเป็นสุข
480810 ยํ ลทฺธํ เตน ตุฏ พฺพํ ได้สงใดิ พึงพอใจด้วยสิงนั้น
480811 กตฺตพฺพํ กุสลํ พหุ์ เกิดมาแล้วชาติหนึง พึงสร้างความดีไว้ให้มาก
480818 สูกเรหิ สมคฺเคหิ พฺยคฺโฆ เอกวยเน หโต สุกรทั้งหลายพร้อมเพรียงกันยังฆ่าเสือโคร่งได้ -
480818-2 - เพราะรวมเป็นหนึงเดียว
480820 ขนฺตยา ภิยฺโย น วิชฺชติ ประโยชน์ยิงกว่าขันติไม่มี
480824 อปิ อตรมานานํ ผลาสาว สมิชฺฌติ ผลทีหวังจะสําเร็จแก่ผู้ไม่ใจเร็วด่วนได้
480826 สุกรํ สาธุนา สาธุ สาธุ ปาเปน ทุกฺกรํ วิ.จุล.๗/๓๘๘/๑๓๐ ความดี คนดีทําง่าย ความดี คนชัวทํายาก
480826-2 ปาปํ ปาเปน สุกรํ ปาปมริเยหิ ทุกฺกรนฺติ ฯ ความชัว คนชัวทําง่าย แต่อารยชน ทําความชัวได้ยาก ฯ
480827 อเวเรน จ สมฺมนฺติ เวรทั้งหลายระงับได้ดว้ ยการไม่จองเวร
480827-2 น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ ในกาลไหนๆ ในโลกนี้ เวรย่อมไม่ระงับด้วยการจองเวร
480829 กถมฺภูตสฺส เม รตฺตินฺทิวา วีติปตนฺติ วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้เราทําอะไรอยู่ ?
480830 มตํ มริสฺสํ โรทนฺติ เย รุทนฺติ ลปนฺติ จ คนใดร้องไห้ถึงคนทีตายไปแล้ว แม้คนทีร้องนั้นก็ต้องตายเหมือนกัน
480901 น มิยฺยมานํ ธนมนฺเวติ กิญฺจิ เมือคนตายแล้ว สมบัติสักนิดก็ไม่ติดไป
480904 สีลปริภาวิโต สมาธิ มหปฺผโล โหติ มหานิสํโส สมาธิทศีี ลอบรมแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก
480904-2 สมาธิปริภาวิตา ปญฺ า มหปฺผลา โหติ มหานิสํสา ปัญญาทีสมาธิอบรมแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก
หน้า ๔

480904-3 ปญฺ า ปริภาวิตํ จิตฺตํ สมฺมเทว อาสเวหิ วิมุจฺจติ จิตทีปัญญาอบรมแล้ว ย่อมพ้นจากอาสวะโดยชอบ


480912 ปฐพฺยา เอกรชฺเชน สคฺคสฺส คมเนนวา
480912-2 โสดาปัตติผลประเสริฐกว่าความเป็นเอกราชในแผ่นดิน กว่าการไปสู่สวรรค์
480912-3 สพฺพโลกาธิปจฺเจน โสตาปตฺติผลํ วรํ โสดาปัตติผลประเสริฐกว่า ความเป็นใหญ่ในโลกทั้งปวง
480913 ธมฺเม ฐิโต โก มรณสฺส ภาเย ผูท้ ีตั้งอยูใ่ นธรรม ใครเล่าจะกลัวความตาย
480919 ลภติ หนฺตา หนฺตารํ อกฺโกสโก จ อกฺโกสํ ผูฆ้ ่าย่อมถูกฆ่าตอบ ผูด้ ่าย่อมได้รับการด่าตอบ
480920 ขนฺติพลสฺสูปสมนฺติ เวรา เวรย่อมระงับได้ดว้ ยกําลังแห่งตวามอดทน
480924 สาธุ โข สิปฺปกํ นาม อปิ ยาทิสกีทิสํ ศิลปะ(ความรู้) ถ้ารู้จริงแม้สงหนึ
ิ งก็สําเร็จประโยชน์
480927 นาญฺญํ นิสฺสาย ชีเวยฺย ไม่ควรอาศัยผูอ้ ืนเลี้ยงชีวิต
480928 ทลฺลโภ องฺค สมฺปนฺโน คนทีมีคุณสมบัติพร้อมทุกอย่าง หาได้ยาก
480929 ธมฺโม ปาเปติ สุคตึ พระธรรมย่อมส่งผูป้ ฏิบัติให้ถึงสุคติ
480930 ยํ เว เสวติ ตาทิโส คบคนเช่นใด ก็เป็นเช่นกับคนนั้น
481006 สีลํ รกฺเขยฺย เมธาวี ผูม้ ีปัญญาควรรักษาศีล
481021 น จาปิ วิตฺเตน ชรํ วหนฺติ ทรัพย์สมบัติ ก็ซื้อความแก่ชราไม่ได้
481109 กมฺมสฺสกา มาณว สตฺตา กมฺมทายาทา กมฺมโยนี กมฺมพนฺธู กมฺมปฏิสรณา
481109-2 ม.อุ.๑๔/๕๘๑/๒๘๗ (จูฬกัมมวิภังคสูตร) ดูกรมาณพ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม
481109-3 มีกรรมเป็นกําเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นทีพึงอาศัย
481109-4 กมฺมํ สตฺเต วิภชติ ยทิทํ หีนปฺปณีตตาย กรรมย่อมจําแนกสัตว์ ให้เลวและประณีตแตกต่างกันไป
481111 สจฺจํ เว อมตา วาจา คําพูดจริง เป็นคําพูดทีไม่ตาย
481113 ยถาวาที ตถาการี ยถาการี ตถาวาที คนจริงพูดอย่างไร ทําอย่างนั้น ทําอย่างไร พูดอย่างนั้น
481115 น เตน ปณฺฑิโต โหติ ยาวตา พหุ ภาสติ คนมิได้เป็นบัณฑิต เพราะการพูดมาก
481202 สํวิรุฬฺเหถ เมธาวี เล่าเรียนมีปัญญาจะเจริญงอกงาม (ผูม้ ีปัญญาจะเจริญงอกงาม)
481204 อตฺตทตฺถมภิญฺ าย สทตฺถปสุโต สิยา
481204-2 เมือกําหนดเป้าหมายของตนแน่ชัดแล้ว พึงขนขวายแน่วในจุดหมายของตน
481210 กามา กฏุกา อาสีวิสุปมา กามทั้งหลายเป็นของเผ็ดร้อนดุจอสรพิษ
481212 อตฺตา หเว ชิตํ เสยโย ชนะตนนันแหละประเสริฐ
481214 นาลโส วินฺทเต สุขํ ความไม่เกียจคร้าน ย่อมพบแต่ความสุข
481215 อรติ โลกานาสิกา ความริษยา ทําโลกให้ฉิบหาย
481216 ปภสฺสรมิทํ ภิกฺขเว จิตฺตํ ภิกษุทั้งหลาย จิตนี้เป็นธรรมชาติประภัสสร(ผุดผ่อง)
481216-2 ตญฺจ โข อาคนฺตุเกหิ อุปกฺกิเลเสหิ อุปกิลิฏฺฐํ แต่จิตนี้ต้องเศร้าหมองขุน่ มัวไป เพราะกิเลสทีจรเข้ามา
481217 อุกกฏฺเฐ สูรมิจฺฉนติ มนฺตีสุ อกุตูหรํ ปิยญฺจ อนฺนปานมฺหิ อตฺเถ ชาเต จ ปณฺฑิตํ
481217-2 เมือเกิดเรืองเรืองแรงย่อมต้องการคนเข้มแข็ง เมือเกิดข่าวตืนเต้นย่อมต้องการคนหนักแน่น
481217-3 เมือมีข้าวน้ําบริบูรณ์ย่อมต้องการคนทีรัก เมือเกิดเรืองราวลึกซึ้งย่อมต้องการบัณฑิต
481218 ทเทยฺย ปุริโส ทานํ อุปฺปํ วา ยทิวา พหุ์ เกิดเป็นคนควรให้ทาน จะน้อยหรือมากก็ตาม
481219 มรณ ธมฺโม หิชีวิเต ความตายซ่อนตัวอยูใ่ นชีวิตสัตว์
481223 พาโล อปริณายโก คนพาลหรือคนโง่ ไม่ควรเป็นหัวหน้า
481224 นิวตฺตยนฺติ โสกมฺหา คนใจการุณย์ ช่วยแก้ไขให้คนหายโศกเศร้า
481225 ธมฺมปีติ สุขํ เสติ ผูอ้ ิมใจในธรรม ย่อมนอนเป็นสุข
หน้า ๕

481227 ปฏิมํ เสตมตฺตนา จงพิจารณาสอบสวนด้วนตนเอง


481229 สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สังขารทั้งหลายไม่เทียงมีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา
481230 สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งหลายไม่ใช่ตัวตน
481231 อชฺเชว กิจฺจมาตปฺปํ โก ชญฺ า มรณํ สุเว น หิ โน สงฺครนฺเตน มหาเสเนน มจฺจุนา
481231-2 ควรรีบทําความเพียรสร้างกุศลเสียแต่วันนี้ ใครจะรู้ได้ว่าความตายจะมีในวันพรุ่งนี้
481231-3 เพราะว่าความผัดเพี้ยนด้วยมฤตยูอันมีเสนาใหญ่ ย่อมไม่มีแก่เราทั้งหลาย
490101 วิมุตฺติสารา สพฺเพ ธมฺมา ธรรมทั้งหลายทั้งปวง มีวิมุตติเป็นสาระ
490105 ครุ โหติ สคารโว วนฺทโก ปฏิวนฺทนํ ผูเ้ คารพย่อมมีผเู้ คารพตอบ ผู้ไหว้ย่อมได้รับการไหว้ตอบ
490106 อตฺตา สุทนฺโต ปุริสสฺส โชติ ตนทีฝึกดีแล้ว เป็นเครืองรุ่งเรืองของคน
490108 นิสมฺม กรณํ เสยฺโย ใคร่ครวญแล้วจึงทําดีกว่า
490109 กายเมเถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา เกิดเป็นคนควรพากเพียรเรือยไป จนกระทังสําเร็จดุจดังประสงค์
490110 อนิพฺพินฺทิยการิสฺส สมฺมทตฺโถ วิปจฺจติ ทําเรือยไปไม่ทอ้ ถอย ผลทีประสงค์จะสําเร็จสมหมาย
490113 ปญฺ าย อตฺถํ ชานาติ ด้วยปัญญา จึงจะรู้ว่าอะไรเป็นประโยชน์
490115 ลพฺภา ปิยา โอจิตตฺเตน ปจฺฉา เตรียมตัวไว้ให้ดีก่อนแล้ว ต่อไปก็จะได้สิงทีรัก
490119 สุโข หเว สปฺปุริเสน สงฺคโม การคบกับคนดี นําความสุขมาให้
490119-2 ทุกฺโข พาเลหิ สงฺคโม การคบกับคนพาล นําทุกข์มาให้
490120 ทินฺนํ สุขผลํ โหติ ของทีให้แล้ว ชือว่าอํานวยสุขเป็นผลแล้ว
490121 โน ปลิปฺปติ โลเกน โตเยน ปทุมํ ยถา ไม่(พีง)ติดโลก เหมือนดังบัวไม่ติดน้ํา
490122 ปจฺจุปฺปนฺเนน ยาเปนฺติ เตน วณฺโณ ปสีทติ อยูก่ ับปัจจุบัน ผิวพรรณจะผ่องใส
490123 อินฺทริยานิ รกฺขนฺติ ปณฺฑิตา ผูม้ ีปัญญา ย่อมควบคุมการแสดงออก
490124 พาลสงฺคตจารี หิ ทีฆมทฺธาน โสจติ เพราะ ผูค้ บคนพาล ย่อมเศร้าโศกนาน
490124-2 ทุกฺโข พาเลหิ สํวาโส อมิตฺเตเนว สพฺพทา การอยู่ร่วมกับคนพาลมีแต่ความทุกข์ เหมือนอยู่ร่วมกับศัตรู
490124-3 ธีโร จ สุขสํวาโส าตีนํ ว สมาคโม การอยูร่ ่วมกับนักปราชญ์มีแต่ความสุข เหมือนอยู่ร่วมกับหมู่ญาติ
490125 สนฺโต น เต ว วทนฺติ ธมฺมํ ผูใ้ ดพูดไม่เป็นธรรม ผูน้ ั้นไม่ใช่คนดี
490126 พาลสงฺคตจารี หิ ทีฆมทฺธานํ โสจติ คนกับคนพาลมีแต่เรืองเศร้าตลอดกาล
490127 น วิสฺสเส อวิสฺสฏฺเฐ วิสฺสฏฺเฐปิ น วิสฺสเส
490127-2 ไม่ควรไว้วางใจกันในผู้ไม่คุ้นเคยกัน แม้แต่คนคุ้นเคยกันก็ไม่ควรไว้วางใจ
490131 รกฺเขยฺยานาคตํ ภยํ จงป้องกันภัยทียังมาไม่ถึงตัว
490201 โย พาโล มญฺ ตี พาลฺยํ ปณฺฑิโต วาปิ เตน โส คนโง่ ถ้ารู้ตัวว่าโง่ จะเป็นคนมีปัญญาได้
490204 อตฺตานํ นาติวตฺเตยฺย เป็นคนไม่ควรลืมตน
490206 อตฺตานญฺเจ ปิยํ ปญฺ า น นํ ปาเปน สํยุเช ถ้ารู้ว่าตนเป็นทีรัก ก็ไม่ควรเอาตัวไปเกลือกกลั้วความชัว
490207 ยโต ยโต จ ปาปกํ ตโต ตโต มโน นิวารเย เมือบาปเกิดจากอะไร จงห้ามใจจากสิงนั้น
490208 พาลา หเว นปฺปสํสนฺติ ทานํ คนพาลเท่านั้นทีไม่สรรเสริญทาน
490209 อสาเร สารมติโน สาเร จาสารทสฺสิโน เต สารํ นาธิคจฺฉนฺติ มิจฺฉาสงฺกปฺปโคจรา
490209-2 ขุ.ธ.๔๐/๘/๑๑๖ ผูใ้ ดเห็นสิงทีไม่เป็นสาระว่าเป็นสาระ และเห็นสิงทีเป็นสาระว่าไม่เป็นสาระ
490209-3 เขามีความเห็นผิดเป็นเครืองนําทาง จึงไม่ประสบกับสิงทีเป็นสาระ
490212 ทุฏฺฐสฺส ผรุสา วาจา คนโกรธ คําพูดย่อมหยาบคาย
490214 ปญฺ าย มคฺคํ อลโส น วินฺทติ ผูเ้ กียจคร้าน ย่อมไม่เกิดปัญญา
หน้า ๖

490215 ตเมว วาจํ ภาเสยฺยํ ยายตฺตานํ น ตาปเย ควรพูดแต่คําทีไม่ทําให้เดือดร้อน


490216 ชีวเตวาปิ สปฺปญฺโ อปิ วิตฺตปริกฺขยา ผูม้ ีปัญญา แม้จะไร้ทรัพย์ก็ยังมีชีวิตอยู่ได้ ขุ.เถร.๒๖/๓๕๐
490217 อนตฺถชนโน โกโธ ความโกรธ ย่อมทําความพินาศ
490219 วาจํ ปมุญฺเจ กุสลํ นาติเวลํ แม้คําพูดดี ก็ไม่ควรพูดให้ผิดกาละ
490220 อาทิ สีลํปติฏฺฐา จ กลฺยาณานญฺจ มาตุกํ ศีลเป็นเบื้องต้นและเป็นบ่อเกิดของความดีท้งั หลาย
490221 กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ การได้เกิดเป็นมนุษย์ เป็นของยาก -
490221-2 กิจฺฉํ มจฺจาน ชีวติ ํ - การดํารงชีวิตอยู่ เป็นของยาก -
490221-3 กิจฺฉํ สทฺธมฺมสฺสวนํ - การได้ฟังธรรม เป็นของยาก -
490221-4 กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺปาโท - การเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้า เป็นของยาก
490222 ทุลฺลภญฺจ มนุสฺสตฺตํ อัตภาพแห่งมนุษย์ได้โดยยาก
490222-2 ทุลฺลภํ อุปสมฺปทา การอุปสมบทได้โดยยาก
490222-3 ทุลฺลภํ ธมฺมเทสนํ การแสดงธรรมปรากฏได้โดยยาก
490222-4 ทุลฺลภา ขณสมฺปตฺตํ การบรรลุธรรมได้โดยยากยิง
490223 เย เกจิ พุทฺธํ สรณํ คตา เส น เต คมิสฺสนฺติ อปายภูมึ ผูใ้ ดถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นทีพึง จักไม่ไปสูอ่ บายภูมิ
490224 กาลาคตญฺจ น หาเปติ อตฺถํ คนขยันย่อมไม่ปล่อยเวลาให้ล่วงไปเปล่า
490225 น สนฺถวํ กาปุริเสน กยิรา ไม่ควรทําความสนิทสนมกับคนชัว -
490225-2 นาสฺมเส กตปาปมฺหิ - ไม่ควรไว้วางใจคนทําบาป -
490225-3 นาสฺมเส อลิกวาทิเน - ไม่ควรไว้วางใจคนพูดเหลาะแหละ(พูดพล่อยๆ/เหลวไหล/โกหก)-
490225-4 นาสฺมเส อตฺตตฺถปญฺ มฺหิ - ไม่ควรไว้วางใจ คนมีปญั ญาคิดแต่ประโยชน์ตน(คนเห็นแก่ตัว) -
490225-5 อติสนฺเตปิ นาสฺมเส - ไม่ควรไว้วางใจ คนทีทําเป็นสงบแต่ภายนอก
490226 อตฺถมฺหิ ชาตมฺหิ สุขา สหายา เมือความต้องการเกิดขึ้น สหายทั้งหลายนําความสุขมาให้
490226-02 ตุฏ€ฺ ี สุขา ยา อิตรีตเรน ความยินดีด้วยปัจจัยนอกนี้ๆ (ตามมีตามได้) นําความสุขมาให้
490226-03 ปุญญฺ ํ สุขํ ชีวิตสงฺขยมฺหิ บุญนําความสุขมาให้ ในขณะสิ้นชีวิต, ถึงคราวจะสิ้นชีพ บุญก็ช่วยให้เป็นสุข
490226-04 สพฺพสฺส ทุกฺขสฺส สุขํ ปหานํ. (เว้นเหตุแห่งทุกข์) การละทุกข์ทั้งปวงเสียได้ นําความสุขมาให้.
490226-05 สุขา มตฺเตยฺยตา โลเก อโถ เปตฺเตยฺยตา สุขาความเป็นผู้เกื้อกูลแก่มารดา นําความสุขมาให้ในโลก
490226-06 อนึง ความเป็นผูเ้ กื้อกูลแก่บิดา นําความสุขมาให้.
490226-07 สุขา สามญฺญตา โลเก อโถ พฺรหฺมญฺญตา สุขา ความเป็นผูเ้ กื้อกูลแก่สมณะ นําความสุขมาให้ในโลก
490226-08 ขุ.ธ.๒๕/๓๓/๕๙ (ขุ.ธ.๔๓/๒๓๙/๒๖๒ มมร.) อนึง ความเป็นผูเ้ กื้อกูลแก่พราหมณ์ นําความสุขมาให้.
490226-09 สุขํ ยาว ชรา สีลํ ศีลนําความสุขมาให้ตราบเท่าชรา
490226-10 สุขา สทฺธา ปติฏ€ฺ ิตา ศรัทธาทีตั้งมันแล้ว นําความสุขมาให้
490226-11 สุโข ปญฺญาย ปฏิลาโภ การได้เฉพาะซึงปัญญา นําความสุขมาให้
490226-12 ปาปานํ อกรณํ สุขํ การไม่ทําบาปทั้งหลาย นําความสุขมาให้
490302 กุทฺโธ ธมฺมํ น ปสฺสติ ผูโ้ กรธ ย่อมมองไม่เห็นธรรม
490303 อกิญฺจนํ ปานุปตนฺติ ทุกฺขา ความทุกข์ไม่เกิดแก่ผ้ไู ม่กังวล
490304 สยํ กตานิ ปุ านิ ตํ มิตฺตํ สมฺปรายิกํ สํ.ส.๑๕/๕๑,๑๖๓/๔๓ บุญทีทําไว้เองเป็นมิตรตามตัวไปเบื้องหน้า
490306 อสนฺเต นูปเสเวยฺย คนดีไม่ควรคบกับคนชัว
490324 อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺ มนุสาสติ ถ้าสอนผู้อืนฉันใด พึงทําตนฉันนั้น ผูฝ้ ึกตนดีแล้ว -
490324-2 สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม - ควรฝึกผู้อืน ได้ยินว่า ตนแลฝึกได้ยาก ขุ.ธ.
หน้า ๗

490325 อนุปาทา วิมุจฺจนฺติ คนดีย่อมหลุดพ้นเพราะไม่ยึดมันถือมัน


490326 โกธํ ปญฺ าย อุจฺฉินฺเท พึงดับความโกรธด้วยปัญญา
490327 สยํ กตานิ ปุญฺ านิ ตํ เว อาเวณิยํ ธนํ ขุ.ชา.๒๗/๑๙๙๘ บุญทีทําไว้เองนีแหละ เป็นทรัพย์สว่ นของตัวโดยเฉพาะ
490328 สุ จิ ปุ ลิ วินิมุตฺโต กถํ โส ปณฺฑิโต ภเว ผูเ้ ว้นขาดเสียจากการฟัง คิด ถาม บันทึกแล้ว -
490328-2 - จะเป็นบัณฑิตได้อย่างไรกัน
490401 ปญฺ า ว ธเนน เสยฺโย ปัญญาแลประเสริฐกว่าทรัพย์
490402 สกมฺมุนา หญฺ ติ ปาปธมฺโม ผูท้ ําชัวย่อมเดือดร้อนเพราะการกระทําของตน
490403 หิยฺโยติ หิยฺยติ โปโส ปเรติ ปริหายติ คนทีผลัดวันประกันพรุ่ง มีแต่ความเสือม ยิงผลัดว่ามะรืนนี้ก็ยิงเสือม
490404 น นิพฺพินฺทิยการิสฺส สมฺมทตฺโถ วิปจฺจติ คนท้อแท้จะทําอะไร ก็ไม่สําเร็จด้วยดี
490405 น ฆาสเหตุปิ กเรยฺย ปาปํ ไม่ควรทําบาป เพราะเห็นแก่ปากท้อง
490406 ยาวเทว อนตฺถาย ตฺตํ พาลสฺส ชายติ ความรู้เกิดแก่คนพาล ก็เพียงเพือความฉิบหาย -
490406-2 หนฺติ พาลสฺส สุกฺกํสํ มุทฺธํ อสฺส วิปาตยํ - มันทําสมองของเขาให้เขว ย่อมฆ่าส่วนทีขาวของคนพาลเสีย
490407 อถ ปจฺฉา กุรุเต โยคํ กิจฺเจ อาวาสุ สีทติ ผูท้ ําการล่าช้า จะประสบแต่ความเดือดร้อน
490408 ปจฺเจกจิตฺตา ปุถู สพฺพสตฺตา บรรดาสัตว์ทั้งหลาย ต่างคนก็แต่ละจิตแต่ละใจ
490409 อปฺปมตฺโต ปมตฺเตสุ สุตฺเตสุ พหุชาคโร คนมีปัญญาดี ไม่ประมาทในเมือผูอ้ ืนประมาท มักตืนในเมือผูอ้ ืนหลับ -
490409-2 อพลสฺสํว สีฆสฺโส หิตฺวา ยาติ สุเมธโส - ย่อมละทิ้ง(คนโง่) เหมือนม้าฝีเท้าเร็ว ทิ้งม้าไม่มีกําลังไปฉะนั้น
490410 ชิฆจฺฉา ปรมา โรคา สงฺขารา ปรมา ทุกฺขา ความหิวเป็นโรคอย่างยิง สังขารเป็นทุกข์อย่างยิง
490410-2 เอตํ ตฺวา ยถาภูตํ นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ รู้ความจริงข้อนี้แล้ว (คนฉลาดจึงทําพระนิพพานให้แจ้ง)
490410-3 พระนิพพานเป็นสุขอย่างยิง (บัณฑิตทราบเนื้อความนี้ตามเป็นจริงแล้ว ย่อมทําพระนิพพานให้แจ้ง
490410-4 เพราะนิพพานเป็นสุขอย่างยิง) (ความหิวเป็นโรคอย่างยิง สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์อย่างยิง -
490410-5 - พึงกระทําให้แจ้งซึงพระนิพพาน เพราะพระนิพพานเป็นสุขอย่างยิง)
490411 กลฺยาณิเมว มุญฺเจยฺย น หิ มุญฺเจยฺย ปาปิกํ พึงเปล่งวาจางามเท่านั้น ไม่พึงเปล่งวาจาชัวเลย
490411-2 โมกฺโข กลฺยาณิยา สาธุ มุตฺวา ตปฺปติ ปาปิกํ การเปล่งวาจางามยังประโยชน์ให้สําเร็จ -
490411-3 - คนเปล่งวาจาชัวย่อมเดือดร้อน ขุ.ชา.
490412 อตฺตานเมว ปฐมํ ปฏิรูเป นิเวสเย ควรปฏิบัติตนให้ดีก่อน แล้วค่อยสอนคนอืน -
490412-2 อถญฺ มนุสาเสยฺย น กิลิสฺเสยฺย ปณฺฑิโต - บัณฑิตเมือทําได้อย่างนี้ จึงจะไม่สร้างมลทินแก่ตัว
490413 อโมฆํ ทิวสํ กยิรา อปฺเปน พหุเกน วา ควรทําวันคืนไม่ให้เปล่าจากประโยชน์น้อยหรือมาก
490413-2 ยํ ยํ วิวหเต รตฺติ ตทูนนฺตสฺส ชีวิตํ เพราะวันคืนผ่านบุคคลใดไป ชีวิตของบุคคลนั้นย่อม -
490413-3 - พร่องจากประโยชน์นั้น ขุ.เถร.
490414 จิตฺเตน นียติ โลโก สํ.ส.๑๕/๑๘๑/๔๖ โลกถูกจิตนําไป
490415 ตณฺหาย นียติ โลโก สํ.ส.๑๕/๑๘๓/๔๗ โลกถูกความอยากนําไป
490416 นนฺทสิ ญฺฺโญชโน โลโก วิตกฺกสฺส วิจารณํ ตณฺหาย วิปฺปหาเนน นิพฺพานํ อิติ วุจฺจตีติ ฯ
490416-2 สํ.ส.๑๕/๑๘๕/๔๗ โลกมีความเพลิดเพลินเป็นเครืองประกอบไว้ วิตกเป็นเครืองเทียวไปของโลกนั้น
490416-3 เพราะละตัณหาเสียได้ขาด จึงเรียกว่านิพพาน ฯ
490417 นนฺทิสมฺพนฺธโน โลโก วิตกฺกสฺส วิจารณํ ตณฺหาย วิปฺปหาเนน สพฺพํ ฉินฺทติ พนฺธนนฺติ ฯ
490417-2 สํ.ส.๑๕/๑๘๗/๔๗ โลกมีความเพลิดเพลินเป็นเครืองผูกไว้ วิตกเป็นเครืองเทียวไปของโลกนั้น
490417-3 เพราะละตัณหาเสียได้ขาด จึงตัดเครืองผูกได้หมด ฯ
490418 มจฺจุนาพฺภาหโต โลโก ชราย ปริวาริโต ตณฺหาสลฺเลน โอติณฺโณ อิจฺฉาธูปายิโต สทาติ ฯ
หน้า ๘

490418-2 สํ.ส.๑๕/๑๘๙/๔๘ โลกอันมฤตยูกําจัดแล้ว อันชราล้อมไว้แล้ว


490418-3 อันลูกศรคือตัณหาเสียบแล้ว อันความอยากเผาให้ร้อนแล้วในกาลทุกเมือ ฯ
480716 นนฺทิสญฺโ ชโน โลโก โลกมีความเพลิดเพลินเป็นเครืองประกอบ(ผูก)ไว้
480716-2 อนภินนฺทมาโน มุตฺโต ปาปิมโต - ผูไ้ ม่เพลิดเพลินย่อมพ้นจากบ่วงของมาร
490422 ปาปญฺเจ ปุริโส กยิรา น นํ กยิรา ปุนปฺปุนํ ถ้าหากจําต้องทําชัวไซร้ ก็ไม่ควรทําบ่อยนัก และไม่ควร -
490422-2 น ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ ทุกฺโข ปาปสฺส อุจฺจโย - พอใจในการทําชัวนั้น เพราะการสะสมบาป นําทุกข์มาให้
490423 ปุญฺญญฺเจ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ ถ้าบุรุษจะพึงทําบุญ ควรทําบุญนั้นบ่อยๆ ควรทํา - ขุ.ธ.๒๕/๓๐
490423-2 ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย - ความพอใจในบุญนั้น การสังสมขึ้นซึงบุญ นําความสุขมาให้
490424 มนาปทายี ลภเต มนาปํ อคฺคสฺส ทาตา ลภเต ปุนคฺคํ ผูใ้ ห้สงที
ิ ชอบใจย่อมได้รับของทีชอบใจ
490424-2 ผูใ้ ห้ของทีเลิศย่อมได้รับของทีเลิศ
490425 โย จ วสฺสสตํ ชีเว ทุสฺสีโล อสมาหิโต ผูไ้ ม่มีศีล ไม่มันคง พึงเป็นอยู่ตั้งร้อยปี ส่วนผูม้ ีศีล -
490425-2 เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย สีลวนฺตสฺส ฌายิโน - เพ่งพินิจ มีชีวิตอยู่วันเดียว ประเสริฐกว่า ขุ.ธ.
490426 ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผูป้ ระพฤติธรรม ย่อมอยู่เป็นสุข
490427 อาโรคฺยปรมา ลาภา ความไม่มีโรค เป็นลาภอย่างยิง
490427-2 สนฺตุฏฺฐีปรมํ ธนํ ความรู้จักพอ เป็นทรัพย์อย่างยิง
490427-3 วิสฺสาสปรมา าติ ความคุ้นเคยกัน(ความไว้วางใจกัน) เป็นญาติอย่างยิง
490427-4 นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ พระนิพพาน เป็นสุขอย่างยิง
490502 โย โว อานนฺท มยาธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา
490502-2 อานนท์ ธรรมวินัยใด ทีเราตถาคตแสดงและบัญญัติไว้แล้ว -
490502-3 - ธรรมและวินัยนั้น จะเป็นพระศาสดาของเธอทั้งหลาย เมือเราล่วงลับไป
490503 อกิลาสุ วินฺเท หทยสฺส สนฺตึ คนไม่เกียจคร้านจะมีแต่ความสงบใจ
490507 สํวาเสน (ภิกฺขเว) สีลํ เวทิตพฺพํ ศีลพึงรู้ได้ดว้ ยการอยูร่ ่วมกัน
490507-2 สํโวหาเรน (ภิกฺขเว) โสเจยฺยํ เวทิตพฺพํ ความสะอาดพึงรู้ได้ดว้ ยถ้อยคํา ความสะอาดของใจ จะรูไ้ ด้เมือ่ เปล่งวาจา
490507-3 อาปทาสุ (ภิกฺขเว) ถาโม เวทิตพฺโพ กําลังใจพึงรู้ได้ในคราวมีอันตราย จะรูค้ วามกล้าหาญ เมือ่ พบพานอันตราย
490507-4 สากจฺฉาย (ภิกฺขเว) ปญฺ า เวทิตพฺพา ปัญญาพึงรู้ได้ดว้ ยการสนทนา จะรูซ้ งึ้ ถึงปัญญา ดูการตัง้ ปัญหาและแก้ขอ้ ถาม
490508 สมณานํ วุสิตํ น นสฺสติ พรหมจรรย์(อริยมรรค)ทีอยู่จบแล้ว(บรรลุแล้ว)ของสมณะทั้งหลายย่อมไม่เสือม
490513 พหุชโน ภชฺชเต อตฺถเหตุ คนเป็นอันมากแตกกันเพราะทรัพย์
490610 มา ปมาทมนุญฺเชถ มา กามรติสนฺถวํ อย่ามัวแต่ประมาท อย่ามัวแต่ชิดชอบในกาม
490610-2 อปฺปมตฺโต หิ ฌายนฺโต ปปฺโปติ ปรมํ สุขํ เพราะผูไ้ ม่ประมาท พิจารณาอยู่ ย่อมถึงบรมสุข
490611 อตฺตนา ว กตํ ปาปํ อตฺตนา สงฺกิลิสฺสติ ตนทํากรรมชัวเอง ย่อมเศร้าหมองเอง
490611-2 อตฺตนา อกตํ ปาปํ อตฺตนา ว วิสุชฺฌติ ตนมิได้ทํากรรมชัว ย่อมหมดจดเอง
490611-3 สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโ อญฺญํ วิโสรเย ความหมดจดและเศร้าหมองเป็นของเฉพาะตน -
490611-4 - ใครไม่อาจเปลียนคนอืนให้เศร้าหมองหรือหมดจดได้
490612 โกธโน ทุพฺพณฺโณ โหติ คนมักโกรธ ย่อมมีผิวพรรณไม่งาม
490614 ผนฺทนํ จปลํ จิตฺตํ ทุรกฺขํ ทุนฺนิวารยํ จิตมีธรรมชาติดิ้นรนสับสนซัดส่าย รักษายากคุ้มครองยากห้ามได้ยาก
490614-2 จิตฺตสฺส ทมโถ สาธุ จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ การฝึกจิตนั้นเป็นสิงดี (เพราะ)จิตทีฝึกดีแล้วนําความสุขมาให้
490615 โยคา เว ชายเต ภูริ ภูริปญั ญา ย่อมเกิดเพราะการประกอบแล
490615-2 อโยคา ภูริ สงฺขโย ความเสือมสิ้นไปแห่งภูริปัญญา ย่อมเกิดเพราะการไม่ประกอบ
หน้า ๙

490615-3 เอตํ ทฺวิธา ปถํ ตฺวา ภวาย วิกวาย จ ตถตฺตานํ นิเวเสยฺย ยถา ภูริ ปวฑฺฒติ บัณฑิตรู้ทางสอง
490615-4 แพร่งแห่งความเจริญและความเสือมนี้แล้ว พึงตั้งตนไว้โดยอาการทีปัญญาเพียงดังแผ่นดินจะเจริญขึ้นเถิด
490618 (มคฺคานฏฺฐงฺคิโก เสฏฺโฐ (บรรดาทางทั้งหลาย ทางมีองค์๘ ประเสริฐสุด
490618-2 เอเสว มคฺโค นตฺถญฺโญ ทสฺสนสฺส วิสุทฺธิยา ทางนีเ้ ท่านั้นเพือความหมดจดแห่งทรรศนะ ทางอืนไม่มี
490618-3 เอตญฺหิ ตุมฺเห ปฏิปชฺชถ มารเสนปฺปมทฺทนํ ท่านทั้งหลายจงเดินทางนี้ ทีเป็นเครืองกําจัดกองทัพมาร
490618-4 เอตญฺหิ ตุมฺเห ปฏิปนฺนา ทุกขสฺสสนฺตํ กริสฺสถ) ท่านทั้งหลายเดินทางนี้แล้ว จักกระทําทีสุดแห่งทุกข์ได้ ดังนี)้
490619 มคฺคานฏฺฐงฺคิโก เสฏฺโฐ บรรดาทางทั้งหลาย ทางมีองค์๘ ประเสริฐสุด
490619-2 สจฺจานํ จตุโร ปทา บรรดาสัจจะทั้งหลาย บททั้ง๔ (อริยสัจ) ประเสริฐสุด
490619-3 วิราโค เสฏฺโฐ ธมฺมานํ บรรดาธรรมทั้งหลาย วิราคธรรมประเสริฐทีสุด
490619-4 ทิปทาญฺจ จกฺขุมา บรรดาสัตว์สองเท้าทั้งหลาย พระพุทธเจ้าผู้มีจักษุประเสริฐสุด
490620 อตฺตนา โจทยตฺตานํ จงเตือนตนด้วยตนเอง
490621 ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารี ขุ.ชา.๒๗/๒๒๘๓/๔๐๐ ธรรมย่อมรักษาผูป้ ระพฤติธรรม
490622 โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ สํ.ส.๑๕/๑๙๙/๕๐ ผูฆ้ ่าความโกรธได้ ย่อมอยู่เป็นสุข
490622-2 โกธํ ฆตฺวา น โสจติ ฆ่าความโกรธได้ จะไม่เศร้าโศก
490622-3 โกธสฺส วิสมูลสฺส มธุรคฺคสฺส เทวเต วธํ อริยา ปสํสนฺติ ตฺหิ ฆตฺวา น โสจตีติ ฯ
490622-4 แน่ะ เทวดา พระอริยเจ้าทั้งหลาย สรรเสริญการฆ่าความโกรธ ซึงมีรากเป็นพิษ มียอดหวาน
490622-5 เพราะฆ่าความโกรธนั้นเสียแล้วย่อมไม่เศร้าโศก ฯ
490623 ธโช รถสฺส ปฺาณํ สํ.ส.๑๕/๒๐๑/๕๐ ธงเป็นสง่าของรถ
490623-2 ธูโม ปฺาณมคฺคิโน ควันเป็นเครืองปรากฏของไฟ
490623-3 ราชา รฏฺ€สฺส ปฺาณํ พระราชาเป็นสง่าของแว่นแคว้น
490623-4 ภตฺตา ปฺาณมิตฺถิยาติ ฯ ภัสดาเป็นสง่าของสตรี
490623 สทฺธรี วิตฺตํ ปุริสสฺส เสฏฐํ ศรัทธาเป็นทรัพย์เครืองปลื้มใจทีประเสริฐทีสุดของคน สํ.ส.๑๕/๒๐๓/๕๑ เทวถาม
490623-2 ธมฺโม สุจิณฺโณ สุขมาวหาติ ธรรมทีประพฤติดีแล้ว นําความสุขมาให้ ขุ.สุ.๒๕/๓๑๑/๒๗๘ อาฬวกยักษ์ถาม
490623-3 สจฺจํ หเว สาธุตรํ รสานํ สัจจะเป็นรสเลิศกว่ารสทั้งหลาย
490623-4 ปญฺ าชีวึ ชีวิตมาหุ เสฏฐํ บัญฑิตกล่าวสรรเสริญบุคคลผู้มีชีวิตอยู่ดว้ ยปัญญาว่าเป็นชีวิตทีประเสริฐ
490624 วิชฺชา อุปฺปตตํ เสฏฺ€า บรรดาสิงทีงอกขึ้น ความรู้เป็นประเสริฐสุด สํ.ส.๑๕/๒๐๖/๕๑
490624-2 อวิชฺชา นิปตตํ วรา บรรดาสิงทีตกไป อวิชชาเป็นประเสริฐ
490624-3 สงฺโฆ ปวชฺชมานานํ บรรดาสัตว์ทีเดินด้วยเท้า พระสงฆ์เป็นผู้ประเสริฐ
490624-4 พุทฺโธ ปวทตํ วโรติ ฯ บรรดาชนผู้แถลงคารม พระพุทธเจ้าเป็นประเสริฐฯ (เพราะนําให้พน้ ทุกข์)
480625 ธมฺเม ฐิโต ปรโลกํ น ภาเย สํ.ส.๑๕/๒๐๘/๕๒ ตั้งอยูใ่ นธรรมแล้ว ไม่ต้องกลัวปรโลก
480626 ราโค อุปฺปโถ อกฺขาติ สํ.ส.๑๕/๑๗๓/๔๕ ราคะบัณฑิตกล่าวว่าเป็นทางผิด
480627 รูปํ ชีรติ มจฺจานํ นามโคตฺตํ น ชีรติ รูปของสัตว์ทั้งหลายย่อมทรุดโทรม นามและโคตรย่อมไม่ทรุดโทรม
480627-2 ราโค อุปฺปโถติ วุจฺจติ สํ.ส.๑๕/๒๑๐/๕๒ ราคะท่านเรียกว่าทางผิด
480627-3 โลโภ ธมฺมานํ ปริปนฺโถ วโย รตฺตินฺทิวกฺขโย ความโลภเป็นอันตรายของธรรม วัยสิ้นไปตามคืนและวัน
480627-4 อิตฺถี มลํ พฺรหฺมจริยสฺส เอตฺถายํ สชฺชเต ปชา หญิงเป็นมลทินของพรหมจรรย์ หมู่สัตว์นี้ย่อมข้องอยูใ่ นหญิงนี้
480627-5 ตโป จ พฺรหฺมจริยญฺจ ตํ สินานมโนทกํ ตบะและพรหมจรรย์ทั้งสองนั้นมิใช่น้ํา แต่เป็นเครืองชําระล้าง
480627-6 ฉ โลกสฺมิ ฉิทฺทานิ ยตฺถ จิตฺตํ น ติฏ€ฺ ติ ในโลกมีช่องอยู่ ๖ ช่องทีจิตไม่ตั้งอยูไ่ ด้
หน้า ๑๐

480627-7 อาลสฺยญฺจ ปมาโท จ อนุฏฺ€านมสํยโม นิททฺ า ตนฺที จ เต ฉิทฺเท สพฺพโส ตํ วิวชฺชเยติ ฯ


480627-8 คือความเกียจคร้าน๑ ความประมาท๑ ความไม่หมัน๑ ความไม่สํารวม๑ ความมักหลับ๑
480627-9 ความอ้างเลศไม่ทํางาน๑ พึงเว้นช่องทั้ง ๖ เหล่านั้นเสียโดยประการทั้งปวงเถิด ฯ
480628 วโส อิสฺสริยํ โลเก สํ.ส.๑๕/๒๑๒/๕๓ อํานาจเป็นใหญ่ในโลก
480628-2 อิตฺถี ภณฺฑานมุตฺตมํ หญิงเป็นสูงสุดแห่งภัณฑะทั้งหลาย
480628-3 โจรํ หรนฺตํ วาเรนฺติ หรนฺโต สมโณ ปิโย โจรนําของไปอยูย่ ่อมถูกห้าม แต่สมณะนําไปกลับเป็นทีรัก
480629 ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต สํ.ส.๑๕/๒๑๘/๕๔ ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก
480629-2 สติ โลกสฺมิ ชาคโร สติเป็นธรรมเครืองตืนอยู่ในโลก
480630 สมณีธ อรณา โลเก สมณะทั้งหลายในธรรมวินัยนี้ ไม่เป็นข้าศึกในโลก (นักบวชในศาสนานี้ ไม่เป็นศัตรูกับใคร)
480630-2 สมณานํ วุสิตํ น นสฺสติ พรหมจรรย์ทีอยู่จบแล้วของสมณะทั้งหลายย่อมไม่เสือม
480630-3 สมณา อิจฺฉํ ปริชานนฺติ สมณะทั้งหลายย่อมกําหนดรู้ความอยากได้ (รู้เท่าทันตัณหา ไม่ตกอยู่ภายใต้กิเลส)
480630-4 สมณานํ โภชิสิยํ สทา ความเป็นไทยย่อมมีแก่สมณะทั้งหลายทุกเมือ
480630-5 สมณํ มาตา ปิตา ภาตา วนฺทนฺติ นํ ปติฏ€ฺ ิตํ
480630-6 มารดาบิดาหรือพีน้องย่อมไหว้บุคคลนั้น ผูต้ ั้งมัน (ในศีล) คือสมณะ
480630-7 สมณีธ ชาติหีนํ อภิวาเทนฺติ ขตฺติยาติฯ ถึงพวกกษัตริย์ก็อภิวาทสมณะในธรรมวินัยนี้ ผูม้ ีชาติตํา ฯ
480701 ทุลฺลภํ วาปิ ลภนฺติ [กามทาติ ภควา] จิตฺตวูปสเม รตา เยสํ ทิวา จ รตฺโต จ ภาวนาย รโต มโนติฯ
480701-2 สํ.ส.๑๕/๒๓๓/๕๙ ชนเหล่าใด ยินดีแล้วในความสงบแห่งจิต มีใจยินดีแล้วในความอบรมจิต
480701-3 ทั้งกลางวันและกลางคืน ชนเหล่านั้น ย่อมได้แม้ซึงสิงทีได้โดยยาก ฯ (จิตทีตั้งมัน)
480701-4 ทุสฺสมาทหํ วาปิ สมาทหนฺติ [กามทาติ ภควา] อินฺทฺริยูปสเม รตา
480701-5 สํ.ส.๑๕/๒๓๔/๕๙ ชนเหล่าใด ยินดีแล้วในความสงบอินทรีย์ ชนเหล่านั้น ย่อมตั้งมันซึงจิตทีตั้งมันได้ยาก
480702 ฉินฺท โสตํ ปรกฺกมฺม กาเม ปนูท พฺราหฺมณ ท่านจงพยายามตัดกระแสตัณหา จงบรรเทากามเสียเถิดพราหมณ์
480702-2 นปฺปหาย มุนิ กาเม เนกตฺตมุปปชฺชติ มุนีไม่ละกาม ย่อมไม่เข้าถึงความทีจิตแน่วแน่ได้ ฯ
480702-3 กยิรา เจ กยิราเถนํ ถ้าบุคคลจะพึงทําความเพียร พึงทําความเพียรนั้นจริงๆ
480702-4 ทฬฺหเมนํ ปรกฺกเม พึงบากบันทําความเพียรนัน้ ให้มัน
480702-5 สิถิโล หิ ปริพฺพาโช ภิยฺโย อากิรเต รชํ เพราะว่าการบรรพชาทีปฏิบัติย่อหย่อน ยิงเรียรายโทษดุจธุลี ฯ
480702-6 อกตํ ทุกฺกฏํ เสยฺโย ความชัวไม่ทําเสียเลยประเสริฐกว่า
480702-7 ปจฺฉา ตปฺปติ ทุกฺกฏํ ความชัวย่อมเผาผลาญในภายหลัง ฯ
480702-8 กตญฺจ สุกตํ เสยฺโย ยํ กตฺวา นานุตปฺปติ ก็กรรมใดทําแล้ว ไม่เดือดร้อนในภายหลัง
480702-9 กรรมนั้นเป็นความดี ทําแล้วประเสริฐกว่า
480702-10 กุโส ยถา ทุคฺคหิโต หตฺถเมวานุกนฺตติ หญ้าคาอันบุคคลจับไม่ดี ย่อมบาดมือนันเองฉันใด ฯ
480702-11 สามญฺญํ ทุปฺปรามฏฺฐํ นิรยายูปกฑฺฒติ ความเป็นสมณะ อันบุคคลปฏิบัติไม่ดี
480702-12 ย่อมฉุดเข้าไปเพือ เกิดในนรก ฉันนั้น ฯ
480702-13 ยงฺกิญฺจิ สิถิลํ กมฺมํ สงฺกิลิฏ€ฺ ญฺฺจ ยํ วตํ สงฺกสฺสรํ พฺรหฺมจริยํ น ตํ โหติ มหปฺผลนฺติ ฯ
480702-14 กรรมอันย่อหย่อนอย่างใดอย่างหนึง วัตรอันใดทีเศร้าหมอง
480702-15 สํ.ส.๑๕/๒๓๙/๖๑ และพรหมจรรย์ทีน่ารังเกียจ ทั้งสามอย่างนั้น ไม่มีผลมาก ฯ

490707 ทหโร เจปิ ปญฺญวา ถ้าเด็กมีปญั ญา ก็เป็นผูใ้ หญ่ได้


490708 จิตฺตํ ทณฺฑํ สุขาวหํ จิตทีฝึกไว้ดแี ล้ว ย่อมนําสุขมาให้
หน้า ๑๑

490708-2 จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ จิตฺตํ รกฺเขถ เมธาวี จิตทีคุ้มครองแล้ว นําสุขมาให้ ผูม้ ีปัญญา พึงรักษาจิต
490709 กาเยน สํวโร สาธุ วาจาย สํวโร สาธุ มนสา สํวโร สาธุ
490709-2 ระมัดระวังกายเป็นความดี ระมัดระวังวาจาเป็นความดี ระมัดระวังใจเป็นความดี
490710 จ เช มตฺตาสุขํ ธีโร ผูฉ้ ลาดควรสละสุขเล็กน้อย เพือสุขยิงใหญ่ของส่วนรวม
490712 ยสฺส รตฺยา วิวสาเน อายุ อปฺปตรํ สิยา วันคืนเคลือนคล้อย อายุเหลือน้อยเข้าทุกที
490712-2 กิจฺจกโร สิยา นโร น จ มชฺเช ทุกคนควรทําหน้าทีของตน และไม่ควรประมาท
490713 ครหาว เสยฺโย วิญฺญูหิ ยญฺเจ พาลปฺปสํสนา วิญญูชนตําหนิ ยังดีกว่าคนพาลสรรเสริญ
490714 ปริภูโต มุทุ โหติ อติติกฺโข จ เวรวา อนุมชฺฌํ สมาจเร
490714-2 อ่อนไปก็ถูกดูหมิน แข็งไปก็มีเวรภัย พึงประพฤติให้พอดี
490720 อุชฺฌตฺติพลา พาลา นิชฺฌตฺติพลา ปณฺฑิตา
490720-2 คนโง่จ้องหาความผิดผู้อืน คนฉลาดพิจารณาความผิดของตน
490722 ธมฺมกาโม ภวํ โหติ ธมฺมเทสฺสี ปราภโว ผูใ้ คร่ธรรมเป็นผู้เจริญ ผู้ชังธรรมเป็นผู้เสือม
490722-2 ขุ.สุ.๒๕/๓๐๔/๒๖๗ ปราภวสูตร
490724 นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต คนไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก
490728 ททมาโน ปิโย โหติ เทสฺโส จ โหติ อติยาจนาย ผูใ้ ห้ย่อมเป็นทีรัก ผูช้ อบขอย่อมเป็นทีเกลียดชัง
490728-2 ยาจโก อปฺปิโย โหติ ผูข้ อย่อมไม่เป็นทีรักของผูถ้ ูกขอ
490728-3 น เว ยาจนฺติ สปฺปญฺโญ ผูม้ ีปัญญาย่อมไม่ออกปากขอเลย
490729 จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา เมือจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติเป็นอันหวังได้
490729-2 จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺขา เมือจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็นอันหวังได้
490730 นตฺถิ กามา ปรํ ทุกฺขํ ทุกข์อืนยิงกว่ากามไม่มี
490731 อุปนียติ ชีวิตมปฺปมายุ์ ชีวิตคืออายุมีประมาณน้อย ถูกต้อนเข้าไปเรือยๆ(ดังสัตว์ถูกต้อนไปสู่ความตาย)
490731-2 ชรูปนีตสฺส น สนฺติ ตาณา เมือบุคคลถูกชราต้อนเข้าไปแล้ว ย่อมไม่มีผปู้ ้องกัน
490731-3 เอตํ ภยํ มรเณ เปกฺขมาโน บุคคลเมือเห็นภัยนี้ในมรณะ (สํ.ส.๑๕/๘/๓ อุปเนยยสูตร)
490731-4 โลกามิสํ ปชเห สนฺติเปกฺโขติ ฯ พึงละอามิสในโลกเสีย มุ่งสันติเถิด ฯ (ผูเ้ พ่งสันติพึงละโลกามิสเสีย)
490801 อิจฺฉา หิ อนนฺตโคจรา ความอยากไม่มีขอบเขตจํากัด
490917 เสโล ยถา เอกฆโน วาเตน น สมีรติ ขุนเขาไม่สะเทือน เพราะแรงลม ฉันใด
490917-2 เอวํ นินฺทาปสํ สาธุ น สมิญฺชนฺติ ปณฺฑิตา บัณฑิตก็ไม่หวันไหว เพราะนินทาหรือสรรเสริญ ฉันนั้น
490925 ตณฺหา ทุกฺขสฺส สมฺภวํ ความอยากเป็นแดนเกิดของความทุกข์
490926 ตณฺหา ทุติโย ปุริโส ทีฆมทฺธาน สํสรํ อิตฺถมฺภาวญฺญถาภาวํ สํสารํ นาติวตฺตติ
490926-2 ผูท้ ีมีตณ
ั หาเป็นเพือน ย่อมท่องเทียวไปสูภ่ พอืนๆ จากภพนี้สู่ภพโน้น
490926-3 แล้วไม่สามารถก้าวพ้นไปจากสังสารวัฏฏ์อันยืดยาวนาน เพราะเป็นผูม้ ีตัณหาเป็นเพือน
490926-4 เอตมาทีนวํ ตฺวา ตณฺหํ ทุกฺขสฺส สมฺภวํ วีตตโณฺห อนาทาโน สโต ภิกฺขุ ปริพฺพเชติ ฯ
490926-5 ภิกษุผู้มีสติสัมปชัญญะรู้โทษนี้ และรู้ตัณหาเป็นทีเกิดแห่งทุกข์ พึงเป็นผูป้ ราศจากตัณหา
490926-6 ไม่ถือมัน ย่อมเว้นรอบ ฯ องฺ.จตุก.๒๑/๙/๙ (ตัณหาสูตร)
491003 ตุมฺเหหิ กิจฺจํ อาตปฺปํ อกฺขาตาโร ตถาคตา ความเพียรท่านทั้งหลายต้องทําเอง ตถาคตทั้งหลาย -
491003-2 ม.อุ.๑๔/๑๐๓/๖๖ ขุ.ม.๒๙/๓๗/๓๐ ขุ.จูฬ.๓๐/๒๑๙/๘๙ - เป็น(แต่)ผูบ้ อกเป็นผูช้ ี้ทางให้
491004 อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก การกู้หนี้เป็นทุกข์ในโลก
491005 ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา บ้านเรือนทีปกครองไม่ดี นําทุกข์มาให้
หน้า ๑๒

491006 สหสฺสํ อปิ เจ วาจา อนตฺถปทสญฺหิตา เอกํ อตฺถปทํ เสยฺโย ยํ สุตฺวา อุปสมฺมติ
491006-2 คําพูดทีเหลวงไหลไร้ประโยชน์ตั้งพันคํา ก็สู้คําพูดทีมีประโยชน์คําเดียวไม่ได้ เพราะฟังแล้วทําให้จิตใจสงบ
491008 อวิชฺชา ปรมํ มลํ ความไม่รู้ เป็นมลทินทีร้ายทีสุด
491128 โย สหสฺสํ สหสฺเสน สงฺคาเม มานุเส ชิเน ถึงจะรบชนะข้าศึกเป้นพันๆ ราย ก็ไม่นับเป็นยอดขุนพล
491128-2 เอกญฺจ เชยฺยมตฺตานํ ส เว สงฺคามชุตฺตโม แต่ผู้ทเอาชนะจิ
ี ตใจตน จึงเรียกยอดขุนพลแท้จริง
500919 น ชจฺจา วสโล โหติ น ชจฺจา โหติ พฺราหฺมโณ
500919-02 (ม.ม.๑๓/๗๐๗/๔๘๙) บุคคลจะชือว่าเป็นคนชัวเพราะชาติก็หาไม่ จะชือว่าเป็นพราหมณ์เพราะชาติก็หาไม่
500919-03 กมฺมุนา วสโล โหติ กมฺมุนา โหติ พฺราหฺมโณ
500919-04 ทีแท้ ชือว่าเป็นคนชัวเพราะกรรม ชือว่าเป็นพราหมณ์เพราะกรรม
500919-05 กสฺสโก กมฺมุนา โหติ สิปฺปิโก โหติ กมฺมุนา เป็นชาวนาเพราะกรรม เป็นศิลปินเพราะกรรม
500919-06 วานิชฺโช กมฺมุนา โหติ เปสฺสิโก โหติ กมฺมุนา เป็นพ่อค้าเพราะกรรม เป็นคนรับใช้เพราะกรรม
500919-07 โจโรปิ กมฺมุนา โหติ โยธาชีโวปิ กมฺมุนา แม้เป็นโจรก็เพราะกรรม แม้เป็นทหารก็เพราะกรรม
500919-08 ยาชโก กมฺมุนา โหติ ราชาปิ โหติ กมฺมุนา เป็นปุโรหิตเพราะกรรม แม้เป็นพระราชาก็เพราะกรรม
500919-09 เอวเมตํ ยถาภูตํ กมฺมํ ปสฺสนฺติ ปณฺฑิตา ปฏิจฺจสมุปฺปาททสา กมฺมวิปากโกวิทา
500919-10 บัณฑิตทั้งหลายมีปกติเห็นปฏิจจสมุปบาท ฉลาดในกรรมและวิบาก
500919-11 ย่อมเห็นกรรมนั้นแจ้งชัดตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า
500919-12 กมฺมุนา วตฺตติ โลโก กมฺมุนา วตฺตติ ปชา โลกย่อมเป็นไปเพราะกรรม หมู่สัตว์ย่อมเป็นไปเพราะกรรม
500919-13 กมฺมนิ พนฺธนา สตฺตา รถสฺสาณีว ยายโต สัตว์ทั้งหลายถูกผูกไว้ในกรรม -
500919-14 - เหมือนลิมสลักของรถทีกําลังแล่นไปฉะนั้น
501012 ทุกฺขเมว หิ สมฺโภติ ทุกฺขํ ติฏฺ ติ เวติ จ ทุกข์เท่านั้นเกิด ทุกข์เท่านั้นตั้งอยูแ่ ละดับไป
501012-2 นาญฺ ตฺร ทุกฺขา สมฺโภติ นาญฺ ตฺร ทุกฺขา นิรุชฺฌติ ทุกฺขสฺสนฺตกโร สิยา สํ.ส.๑๕/๕๕๔/๑๖๗ (วชิราสูตร)
501012-3 นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรเกิด นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรดับ เป็นคนพึงทําทุกข์ให้หมดไปให้ได้
501016 โย จ วสฺสสตํ ชีเว อปสฺสํ อุทยพฺพยํ บุคคลใดถึงจะมีอายุตลอดร้อยปี แต่ไม่เคย
501016-2 มองเห็นการเกิดขึ้นและการเสือมไป
501016-3 เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย ปสฺสโต อุทยพฺพยํ ชีวิตของคนทีเป็นอยู่แม้ขณะเดียว แต่มองเห็นการ
501016-4 เกิดขึ้นและดับไปนั้นประเสริฐกว่า
501019 โย จ วสฺสสตํ ชีเว อปสฺสํ อมตํ ปทํ ผูพ้ บทางอมตะ มีชีวิตอยู่วันเดียว
501019-2 เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย ปสฺสโต อมตํ ปทํ ประเสริฐกว่าชีวิตตั้งร้อยปี ของผูไ้ ม่พบ
501020 อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย พึงรีบเร่งกระทําความดี และป้องกันจิตจากความชัว
501020-2 ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน เพราะเมือทําความดีช้าไป ใจจะกลับยินดีในความชัว
501021 สพฺเพ สตฺตา อาหารฏฺฐิติกา สัตว์ทั้งหลายมีชีวิตอยู่ดว้ ยอาหาร
501022 สพฺพโลเก อนภิรตสญฺ า พึงกําหนดหมายในโลกทั้งปวงว่าไม่ควรแก่การยินดีชอบใจ
501022-2 สพฺพสงฺขาเรสุ อนิฏฺฐสญฺ า พึงกําหนดหมายในสังขารทั้งปวงว่าไม่ควรแก่การตั้งความปรารถนาใดๆ
501118 โกธาภิภูโต กุสลํ ชหาติ ผูถ้ ูกความโกรธครอบงํา ย่อมละกุศลเสีย นัย.ขุ.ชา.ทสก.๒๗/๒๘๖
501203 ขตฺติโย เสฏฺโ ชเนตสฺมึ เยโคตฺตตปฏิสาริโน กษัตริย์ เป็นผูป้ ระเสริฐสุด ในหมู่ชนผู้ระลึกถึงโคตร
501203-2 วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน โส เสฏฺโ เทวมานุเส ผูท้ ีถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ -
501203-3 - เป็นผูป้ ระเสริฐสุดในหมู่มนุษย์และเทวดา
501205 อนตฺเถ น ยุโต สิยา ไม่ควรทําในสิงทีไม่เป็นประโยชน์
หน้า ๑๓

501207 ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ความแก่และความตาย ไล่ตอ้ นอายุสตั ว์ทั้งหลายไป
501207-2 เอวํ ชรา จ มจฺจุ จ อายุ์ ปาเชนฺติ ปาณินํ เหมือนเด็กเลี้ยงโคถือท่อนไม้ คอยไล่ต้อนฝูงโคไปสูท่ ีหากิน
501208 โย ธมฺมํ ปสฺสติ โส มํ ปสฺสติ ผูใ้ ดเห็นธรรม ผูน้ ั้นชือว่าย่อมเห็นเรา สํ.ข. ๑๗/๒๑๖/๑๑๗
501208-2 โย มํ ปสฺสติ โส ธมฺมํ ปสฺสติ ผูใ้ ดเห็นเรา ผู้นั้นชือว่าย่อมเห็นธรรม ขุ.ธ.อ.๔๓[๒๖๒] หน้า๓๙๒
501218 ทินฺนํ โหติ สุนีภตํ ทานทีให้แล้ว จะน้อยหรือมากก็ตาม ได้ชือว่าเป็นการเสียสละทีดีแล้ว
501219 ททโต ปุญฺญํ ปวฑฺฒติ บุญย่อมเจริญแก่ผ้ใู ห้
501220 น นิยฺยโม ตายติ อปฺปปญฺญํ ความเพียร ป้องกันผูป้ ราศจากปัญญาไม่ได้
501220-2 (ความเพียรพยายามอย่างเดียว ย่อมไม่อาจรักษาผู้มีปญั ญาน้อยได้เลย)
501221 สตญฺจ คนฺโธ ปฏิวาตเมติ กลินของคนดี ย่อมหอมหวนทวนลมไปได้
501222 ขโณ โว มา อุปจฺจคา อย่าปล่อยให้โอากาสผ่านไปเสียเปล่า
501223 อุทกํ หิ นยนฺติ เนตฺติกา อุสุการา นมยนฺติ เตชนํ ชาวนา ไขน้ําเข้านา ช่างศร ดัดลูกศร -
501223-2 ทารุ์ นมยนฺติ ตจฺฉกา อตฺตานํ ทมยนฺติ สุพฺพตา - ช่างไม้ ถากไม้ คนดี ฝึกตนเอง
501224 ปมาโท มจฺจุโน ปทํ ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย
501224-2 อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ความไม่ประมาทเป็นทางไม่ตาย
501224-3 อปฺปมตฺตา น มียนฺติ ผูไ้ ม่ประมาท ย่อมไม่ตาย
501224-4 เย ปมตฺตา ยถา มตา ผูท้ ีประมาทถึงจะมีชีวิตอยู่ ก็เหมือนตายแล้ว
501226 จเช ธนํ องฺควรสฺส เหตุ องฺคํ จเช ชีวิตํ รกฺขมาโน องฺคํ ธนํ ชีวิตญฺจาปิ สพฺพํ จเช นโร ธมฺมมนุสฺสรนฺโต
501226-2 ขุ.ชา.๒๘/๓๘๒/๙๙ พึงสละทรัพย์เพือรักษาอวัยวะ พึงสละอวัยวะเพือรักษาชีวิต เมือระลึกถึงธรรม พึงสละอวัยวะ
501226-3 ทรัพย์และแม้ชีวิตทุกอย่าง(เมือระลึกถึงความถูกต้อง ก็พึงสละทั้งทรัพย์อวัยวะชีวิตหมดสิ้นเพือรักษาธรรมไว้)
501228 มตฺตญฺญุตา สทา สาธุ ความรู้จักประมาณ สําเร็จประโยชน์ในกาลทุกเมือ
501228 หิรีนิเสโธ ปุริโส โกจิ โลกสฺมิ วิชฺชติ ผูห้ ักห้ามใจไม่ทําชัวเพราะละอายบาป หาได้น้อยนัก -
501228-2 โย นิทฺทํ อปโพเธติ อสฺโส ภทฺโร กสามิว - ในโลกนี้ คนเช่นนี้ยอ่ มปลุกตัวเองจากหลับอยูเ่ สมอ
501228-3 - เหมือนม้าดีระวังตัวเองให้พ้นแส้
501230 สุโข พุทธานํ อุปฺปาโท ความเกิดขึ้นแห่งท่านผู้รู้ทั้งหลายเป็นเหตุนําสุขมา
501230-2 สุขา สทฺธมฺม เทสนา การแสดงธรรมของสัตบุรุษเป็นเหตุนําสุขมา
501230-3 สุขา สงฺฆสฺส สามตฺคี ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นหตุนําสุขมา
501230-4 สมคฺคานํ ตโป สุโข ความเพียรของชนผู้พร้อมเพรียงกันเป็นหตุนําสุขมา
501918 น ชจฺจา โหติ พฺราหฺมโณ กมฺมุนา โหติ พฺราหฺมโณ คนเรามิได้ดเี พราะชาติกําเนิด -
501918-2 - แต่ประเสริฐเพราะการกระทํา
510102 มา ชาตึ ปุจฺฉ จรณญฺจ ปจฺฉ อย่าถามถึงชาติกําเนิด จงถามถึงความประพฤติ
510104 สพฺเพสํ สหิโต โหติ คนดี (ย่อม)บําเพ็ญประโยชน์แก่ปวงชน
510105 ปญฺ า สุตวินิจฺฉินี ปัญญาเป็นเครืองวินิจฉัยสิงทีได้เล่าเรียน
510106 นตฺถานนฺท ตถาคตสฺส ธมฺเมสุ อาจริยมุฏฐิ ดูก่อนอานนท์ .. กํามือแห่งอาจารย์ -
510106-2 - ในธรรมทั้งหลายย่อมไม่มีแก่ตถาคต
510107 สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินิเวสาย ธรรมทั้งปวง ไม่ควรยึดมันถือมัน
510109 สุขํ วต ตสฺส น โหติ กิญฺจิ ผูไ้ ม่มีอะไรให้กังวล เป็นความสุขจริงหนอ
510113 นตฺถิ ราคสโม อคฺคิ ไม่มีไฟใดเสมอด้วยราคะ
510113-2 นตฺถิ โทสสโม กลิ ไม่มีโทษใดเสมอด้วยโทสะ
หน้า ๑๔

510113-3 นตฺถิ โมหสมํ ชาลํ ไม่มีข่ายดักสัตว์ใดเสมอด้วยโมหะ


510113-4 นตฺถิ ตณฺหาสมา นที ไม่มีแม่น้ําใดเสมอด้วยตัณหา
510113-5 นตฺถิ ขนฺธสมา ทุกฺขา ไม่มีทุกข์ใดเสมอด้วยเบญจขันธ์
510113-6 นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ ไม่มีสุขใดเสมอด้วยความสงบ
510116 วิเจยฺยทานํ สุคตปฺปสตฺถํ การให้ทานด้วยพิจารณา พระพุทธองค์ทรงสรรเสริฐ
510117 สิกฺเขยฺย สิกฺขิตพฺพานิ อะไรควรศึกษา ก็พึงศึกษาเถิด
510118 ตเถเวกสฺส กลฺยาณํ ตเถเวกสฺส ปาปกํ สิงเดียวกันนันแหละดีสําหรับคนหนึงแต่เสียสําหรับอีกคนหนึง
510118-2 ตสฺมา สพฺพํ น กลฺยาณํ สพฺพํ วาปิ น ปาปกํ เพราะฉะนั้นสิงใดๆ จึงมิใช่ว่าจะดีหรือเสียไปทั้งหมด
510120 ขนฺติพลา สมณพฺราหฺมณา นักบวชมีความอดทนเป็นกําลัง
510120 ปญฺญํ นปฺปมชฺเชยฺย ไม่พึงละเลยการใช้ปญั ญา หรือไม่ตวรประมาทปัญญา
510120-2 (คือ อย่าคิดว่าปัญญาของตนเต็มเปี่ยมแล้ว ไม่ต้องอบรมเพิมอีก -
510120-3 - และอย่าดูหมินปัญญาคนอืนว่าตํา สูป้ ัญญาของตนไม่ได้)
510121 ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา ความอดทนอดกลั้นเป็นเครืองเผากิเสสอย่างยิง
510121-2 นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา ผูร้ ู้ทั้งหลาย กล่าวนิพพานว่าเป็นบรมธรรม
510121-3 น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี ผูย้ ังฆ่าสัตว์อยู่ ไม่ชือว่าเป็นนักบวช
510121-4 สมโณ โหติ ปรํ วิเห ยนฺโต ผูย้ ังเบียดเบียนสัตว์อยู่ ไม่ชือว่าเป็นสมณะ
510123 อนูปวาโท อนูปฆาโต ปาติโมกฺเข จ สํวโร การไม่พูดร้าย การไม่ทําร้าย การสํารวมในพระปาติโมกข์
510123-2 มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ การเป็นผูร้ ู้จักประมาณในอาหาร
510123-3 ปนฺตญฺจ สยนาสนํ การนอนการนังในทีอันสงบสงัด
510123-4 อธิจิตฺเต จ อาโยโค การประกอบความเพียรในการชําระจิตให้ยิง
510123-5 เอตํ พุทธาน สาสนํ นี้เป็นคําสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
510124 สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ การให้ธรรมเป็นทาน ชนะการให้ทั้งปวง ขุ.ธ. ข้อ ๓๔
510124-2 สพฺพรสํ ธมฺมรโส ชินาติ รสแห่งธรรม ชนะรสทั้งปวง (ขุ.ธ.๔๓/๒๔๙/๓๒๓ มมร.)
510124-3 สพฺพรตึ ธมฺมรตี ชินาติ ความยินดีในธรรม ชนะความยินดีทั้งปวง
510124-4 ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกฺขํ ชินาติ ความสิ้นตัณหา ชนะทุกข์ทั้งปวง
510127 อโมฆํ ทิวสํ กยิรา อปฺเปน พหุเกน วา ยํ ยํ วิชหาต รตฺตึ ตทูนํ ตสฺส ชีวิตํ
510127-2 บุคคลควรทําวันคืนไม่ให้ไร้ประโยชน์ ควรใส่ใจถึงวิปัสสนาไม่ว่าน้อยหรือมาก -
510127-3 - เพราะชีวิตเมือผ่านวันคืนไปเท่าใด ก็เป็นอันพร่องไปเท่านั้น
510130 นกฺขตฺตํ ปฏิมาเนนฺตํ อตฺโถ พาลํ อุปจฺจคา (ขุ.ฃา.๒๗/๔๙/๔๙ นักขัตตชาดก)
510130-2 ประโยชน์ย่อมล่วงเลยคนโง่ ผู้มัวถือฤกษ์ยามไป
510130-3 อตฺโถ อตฺถสฺส นกฺขตฺตํ กึ กริสฺสนฺติ ตารกา ประโยชน์เป็นฤกษ์ของประโยชน์ ดวงดาวจักทําอะไรได้
510131 ชยํ เวรํ ปสวติ ทุกฺขํ เสติ ปราชิโต ผูช้ นะย่อมก่อเวร ผูแ้ พ้ย่อมนอนเป็นทุกข์
510131-2 อุปสนฺโต สุขํ เสติ หิตฺวา ชยปราชยํ ผูเ้ ลิกแพ้และชนะ จึงสงบนอนเป็นสุข
510204 มาวมญฺเ ถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อย่าดูหมินความชัวว่าเล็กน้อย คงจะไม่มีผลมาถึงตัว
510205 มาวมญฺเ ถ ปุญฺ สฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ ไม่ควรดูหมินต่อบุญว่ามีประมาณน้อย จักไม่มาถึง ขุ.ธ.๒๕/๓๑
510205-2 อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ แม้หม้อน้ําย่อมเต็มได้ด้วยหยาดน้ําทีหยดลง ฉันใด
510205-3 อาปูรติ ธีโร ปุญฺ สฺส โถกํ โถกํปิ อาจินํ ผูม้ ีปัญญาสังสมบุญแม้ทีละน้อยๆ ย่อมเต็มได้ด้วยบุญ ฉันนั้น
510206 ยงฺกิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ สิงใดสิงหนึงซึงมีการเกิดขึ้นเป็นธรรมดา -
หน้า ๑๕

510206-2 - สิงนั้นก็มีการดับไปเป็นธรรมดา
510530 นตฺถิ อตฺตสมํ เปมํ ความรักเสมอด้วยตนเองไม่มี
510530-2 นตฺถิ ธญฺญสมํ ธนํ ทรัพย์เสมอด้วยข้าวเปลือกไม่มี
510530-3 นตฺถิ ปญฺญา สมาอาภา แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
510530-4 วุฏฺฐิ เว ปรมา สราติ ฝนจัดเป็นแหล่งน้ําอันยอดเยียม
510531 ปญฺญุตฺตรา สพฺเพ ธมฺมา ธรรมทั้งหลายทั้งปวง มีปญั ญาเป็นยอดยิง
510601 ปญฺ าย ติตฺตีนํ เสฏฺฐํ อิมด้วยปัญญา ประเสริฐกว่าความอิมทั้งหลาย
510603 อสนฺโต นิรยํ ยนฺติ สนฺโต สคฺคปรายนา คนชัวย่อมไปสูน่ รก คนดีย่อมมีสวรรค์เป็นทีไปในเบื้องหน้า
510607 สีลํ ยาว ชรา สาธุ (สํ.ส.๑๕/๑๕๙/๔๒) ศีลให้ประโยชน์จนกระทังแก่ชรา
510607-2 สทฺธา สาธุ ปติฏฺฐิตา ศรัทธาทีมันคงแล้ว ยังประโยชน์ให้สําเร็จ
510607-3 ปญฺญา นรานํ รตนํ ปัญญาเป็นแก้วอันประเสริฐของคน
510607-4 ปุญฺญํ โจเรหิ ทูหรํ บุญโจรนําไปไม่ได้
510613 สตญฺจ ธมฺโม น ชรํ อเปติ ธรรมะของคนดี ไม่มีล้าสมัย
510616 สีลํ โลเก อนุตฺตรํ ศีลเป็นสิงยอดเยียมทีสุดในโลก
510617 อทสฺสเนน พาลานํ นิจฺจเมว สุขี สิยา การไม่พบเห็นคนพาล เป็นความสุขเสมอ
510619 สุขสฺเสตํ ภิกฺขเว อธิวจนํ ฯเปฯ ยทิทํ ปุญฺ านิ คําว่า บุญ นี้ เป็นชือของความสุข ขุ.อิติ.๒๕/๒๐๐/๑๗๓ ปุญญสูตร
510620 ยถา วาริวโห ปูโร วเห รุกฺเข ปกูลเช เอวํ ชราย มรเณน วุยฺหนฺเต สพฺพปาณิโน
510620-2 (ขุ.ชา.) ห้วงน้ําทีเต็มฝั่ง พึงพัดต้นไม้ซงเกิ
ึ ดทีตลิงไป ฉันใด
510620-3 สัตว์ทีมีชีวิตทั้งปวง ย่อมถูกความแก่และความตายพัดไป ฉันนั้น
510624 กลฺยาณํ วต โภ สกฺขิ อตฺตานํ อติมญฺ สิ ท่านก็สามารถทําดีได้ ไฉนจึงดูถูกตนเองเล่า
510625 สุขิโน จิตฺตํ สมาธิยติ ผูม้ ีสุข จิตย่อมเป็นสมาธิ
510627 ปาปานิ ปริวชฺชเย พึงละเว้นบาปทั้งหลาย
510714 สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ เมือจิตตั้งมันเป็นสมาธิย่อมเกิดปัญญา(รู้ความจริง)
510716 อปฺปมาทรตา โหถ ท่านทั้งหลายจงเป็นผูย้ ินดีในความไม่ประมาท
510717 ยงฺกิญฺจิ สิถิลํ กมฺมํ น ตํ โหติ มหปฺผลํ การงานอะไรๆ ทีย่อหย่อน ย่อมไม่มีผลมาก
510719 ขนฺติ หิตสุขาวหา ความอดทน นํามาซึงประโยชน์สุข
510720 สทฺธา ทุติยา ปุริสสฺส โหติ (สํ.ส.๑๕/๑๗๕/๓๕.๕๒) ศรัทธาเป็นมิตรคู่ใจคน(ผู้ไปสวรรค์และนิพพาน)
510720-2 ปญญา เจนํ ปสาสติ ปัญญาย่อมปกครอง (แนะนํา) คนนั้น
510720-3 นิพฺพานาภิรโต มจฺโจ สพฺพทุกฺขา ปมุจฺจติ บุคคลผูย้ ินดีในนิพพาน จึงพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
510721 ปุญฺ านิ ปรโลกสฺมึ ปติฏฺฐา โหนฺติ ปาณินํ สํ.ส.๑๕/๒๘๓ บุญทั้งหลายเป็นทีพึงของสัตว์ทั้งหลายในโลกหน้า
510723 น เว อนตฺถกุสเลน อตฺถจริยา สุขาวหา คนไม่รู้จักประโยชน์ แม้ทําสิงใดก็ไม่มีความสุข
510724 ทิฏฺเฐ ทิฏฺฐมตฺตํ ภวิสฺสติ เมือเห็นก็เป็นเพียงแต่เห็น
510725 สมุฏฺฐาเปติ อตฺตานํ อณุ์ อคฺคีว สนฺธมํ ตั้งตัวให้ได้ เหมือนก่อไฟจากเชื้อนิดเดียว
510726 ธมฺโม กุโลกปตนา ตทธาริธารี พระธรรมทรงผูป้ ฏิบัติธรรมไว้ให้พน้ จากการตกไปในโลกอันชัวช้าเลวทราม
510727 ปญฺ าย อตฺถํ ชานาติ ด้วยปัญญา จึงจะรู้ว่าอะไรเป็นประโยชน์
510728 ปณฺฑิตา โสกนุทา ภวนฺติ บัณฑิตช่วยปัดเป่าทุกข์โศกความเศร้าของปวงชน
510729 เทวา น อิสสฺ นฺติ ปุริสปรกฺกมสฺส ความเพียรของคนไม่ลดละ ถึงเทวดาก็กีดกั้นไม่ได้
510801 เสยฺโย อมิตฺโต เมธาวี ยญฺเจ พาลานุกมฺปโก มีศัตรูเป็นบัณฑิต ดีกว่ามีมิตรเป็นพาล
หน้า ๑๖

510802 ยาทิสญฺจูปเสวติ โสปิ ตาทิสโก โหติ คบคนเช่นใด ก็เป็นเช่นคนนั้น ขุ.ชา.๒๘/๘๖๒/๒๐๗


510803 เปมโต ชายเต โสโก เปมโต ชายเต ภยํ ทีใดมีความรัก ทีนันมีโศก ทีใดมีความรัก ทีนันมีภยั
510803-2 เปมโต วิปฺปมุตฺตสฺส นตฺถิ โสโก กุโต ภยํ เมือไม่มีความรักเสียแล้ว โศกภัย ก้ไม่มี
510806 ปมตฺตา ยถา มตา ผูป้ ระมาท เปรียบเหมือนคนทีตายแล้ว
510811 โกธชาโต ปราภโว ผูม้ ักโกรธ เป็นผู้เสือม
510812 อปฺปมาทญฺจ เมธาวี ธนํ เสฏฺฐํ ว รกฺขติ ผูม้ ีปัญญา ย่อมรักษาความไม่ประมาทไว้ -
510812-2 - เหมือนรักษาทรัพย์อันประเสริฐสุด
510813 อปฺปมตฺโต หิ สมายนฺโต ปปฺโปติ วิปุลํ สุขํ ผูไ้ ม่ประมาท เพ่งพินิจอยู่ ย่อมได้รับความสุขอันไพบูลย์
510815 ทานา จ โข ธมฺมปทํ เสยฺโย ธรรมบท คือ นิพพาน ประเสริฐกว่าทาน
510816 สลาภํ นาติมญฺเ ยฺย บุคคลไม่ควรดูหมินลาภของตน
510817 น ทุคฺคตึ คจฺฉติ ธมฺมจารี ผูป้ ระพฤติธรรม จะไม่ไปทุคติ
510818 ยํ กุทฺโธ อุปโรเธติ สุกรํ วิย ทุกฺกรํ คนโกรธจะทําลายสิงใด สิงนั้นแม้จะทํายาก –
510818-2 - ก็ดูทําง่ายไปหมด อง.สตฺต.๒๓/๖๑/๘๑
510820 สพฺพํ ปรวสํ ทุกฺขํ สพฺพํ อิสฺสริยํ สุขํ การอยูใ่ นอํานาจผู้อนเป็
ื นความทุกข์ ความเป็นอิสระทั้งปวงเป็นความสุข
510823 เตลปตฺตํ ยถา ปริหเรยฺย เอวํ สจิตฺตมนุรกฺเข ผูป้ ฏิบัติพึงรักษาจิตของตนเนืองๆไม่ประมาทขาดระยะ
510823-2 เหมือนคนประคองบาตรทีเต็มเปี่ยมด้วยน้ํามัน ฉะนั้น
510824 เมตฺตา ภาเวตพฺพา พฺยาปาทสฺส ปหานาย พึงเจริญเมตตา เพือละพยาบาท
510825 น เต ปุตฺตา เย น ภรนฺติ ชิณฺณํ ลูกทีไม่เลี้ยงพ่อแม่เมือแก่เฒ่า ไม่นบั ว่าเป็นลูก
510826 น กามกามา ลปยนฺติ สนฺโต สัตบุรุษ จะไม่ปราศรัย(บ่นเพ้อชืนชมในกาม) เพราะใคร่กาม
510827 อปฺปกญฺจิทํ ชีวิตมาหุ ธีรา ปราชญ์ทั้งหลายกล่าวว่าชีวิตนี้น้อยนัก
510828 น กิเรว สาธุ อติเวลภาณี การพูดเกินขอบเขต ไม่เกิดผลดีเลย
510829 นิสมฺม ทณฺฑํ ปณเยยฺย อิสฺสโร ผูเ้ ป็นใหญ่ ใคร่ครวญก่อนค่อยลงโทษ
510830 สุสฺสูสา สุตวฑฺฒนี การใฝ่ใจศึกษาเป็นเครืองพัฒนาความรู้
510830-2 ภเวยฺย ปริปุจฺฉโก พึงเป็นคนชอบซักถามหาความรู้
510901 ปญฺ าสหิโต นโร อิธ ทุกฺเข สุขานิ วินฺทติ ขุ.เถร.๒๖/๓๗๒/๒๙๙ คนมีปญั ญา ถึงคราวตกทุกข์ ก็ยังหาความสุขได้
510903 โหติ ตาทิสโก กาโล ยตฺถ อตฺถาวหํ สุตํ สักวันหนึง ความรู้ทเรี ี ยนมาจะก่อให้เกิดประโยชน์
510905 อตีตํ นานฺวาคเมยฺย นปฺปฏิกงฺเข อนาคตํ ไม่พึงหวนระห้อยถึงอดีต ไม่พึงวิตกกังวลถึงอนาคต
510906 น ปณฺฑิตา อตฺตสุขสฺส เหตุ ปาปานิ กมฺมานิ สมาจรนฺติ บัณฑิตย่อมไม่ประพฤติกรรมชัว -
510906-2 ทุกฺเขน ผุฏ า ขลิตาปิ สนฺตา อนฺทา จ โทสา น ชหนฺติ ธมฺมํ - เพราะเหตุแห่งสุขเพือตน
510906-3 สัตบุรุษแม้จะต้องทุกข์เพราะพลาดพลั้งไป ก็ไม่ละธรรม เพราะความชอบและความชัง
510906-4 [บัณฑิตทั้งหลายไม่ประพฤติความชัว เพราะเหตุแห่งความสุขของตน (บัณฑิต)อันความทุกข์กระทบแล้ว
510906-5 แม้พลาดจากสมบัติก็สงบ ย่อมไม่ละธรรม เพราะรักและเพราะชัง.] (ขุ.ชา.อ.๖๓ หน้า ๔๐๑ มโหสถ)
510907 อสญฺ โต ปพฺพชิโต น สาธุ อลโส คิหี กามโภคี น สาธุ นักบวชไม่สํารวมไม่ดี คฤหัสถ์เกียจคร้านไม่ดี
510907-2 [คฤหัสถ์บริโภความเป็นคนเกียจคร้านไม่ดี บรรพชิตเป็นผูไ้ ม่สํารวมแล้วไม่ดี (ขุ.ชา.อ.๖๓ หน้า ๔๐๓ มโหสถ)
510907-3 พระราชาผูไ้ ม่ทรงพิจารณาก่อนจึงทรงราชกิจ ไม่ดี ความโกรธของบัณฑิตผูม้ ักโกรธ ไม่ดี
510907-4 กษัตริย์ควรทรงพิจารณาก่อนทรงราชกิจ พระเจ้าแห่งทิศไม่ทรงพิจารณาก่อนไม่พึงทรงราชกิจ
510907-5 ยศและเกียรติย่อมเจริญแก่พระราชาผูท้ รงพิจารณาก่อนจึงทรงบําเพ็ญราชกรณียกิจเป็นปกติ.]
510908 วิสฺสาสา ภยมนฺเวติ เพราะความไว้วางใจ ภัยจึงมีมา
หน้า ๑๗

510909 จรนฺติ พาลา ทุมฺเมธา อมิตฺเตเนว อตฺตนา คนพาลผู้มีปัญญาทราม ย่อมประพฤติกับตนเองดังศัตรู


510909-2 กโรนฺติ ปาปกํ กมฺมํ ยํ โหติ กฏุกปฺผลํ ย่อมทํากรรมลามก อันอํานวยผลเผ็ดร้อน
510909-3 น ตํ กมฺมํ กตํ สาธุ ยํ กตฺวา อนุตปฺปติ ทํากรรมใดแล้วร้อนใจภายหลัง กรรมนั้นไม่ดี
510909-4 ตญฺจ กมฺมํ กตํ สาธุ ยํ กตฺวา นานุตปฺปติ ทํากรรมใดแล้วไม่ร้อนใจภายหลัง –
510909-5 (สํ.ส.๑๕/๒๘๑/๗๓ เขมสูตร) - (มีหัวใจแช่มชืนเบิกบาน) กรรมนั้นแหละดี
510909-6 ปฏิกจฺเจว ตํ กยิรา ยํ ชญฺ า หิตมตฺตโน ถ้ารู้ว่าสิงใดเป็นประโยชน์แก่ตน ควรรีบลงมือทําสิงนั้นทีเดียว
510912 สุทสฺสํ วชฺชมญฺเ สํ อตฺตโน ปน ทุทฺทสํ โทษของคนอืนเห็นง่าย โทษของตนเห็นยาก
510914 น ตํ ยาเจ ยสฺส ปิยํ ชิคึเส ไม่ควรขอในสิงทีรู้ว่าเป็นทีรักของเขา
510915 อปฺปสฺสาทา กามา พหุทุกฺขา พหูปายาสา อาทีนโว เอตฺถ ภิยฺโยติ
510915-2 กามทั้งหลายให้ความสุขน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก โทษของกามมีมากนัก
510916 อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมือสิงนี้มี สิงนี้ย่อมมี สํ.นิ.๑๖/๖๔/๒๕; ๑๔๔/๖๒
510916-2 อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิงนี้ สิงนี้จึงเกิดขึ้น
510916-3 อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ เมือสิงนี้ไม่มี สิงนี้ย่อมไม่มี
510916-4 อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแห่งสิงนี้ สิงนี้จึงดับไป
510917 อนาคตํ ปฏิกยิราถ กิจฺจํ มา มํ กิจฺจํ กิจฺจกาเล พฺยเธสิ ขุ.ชา.๒๗/๑๖๓๖/๒๙๕ (สมุททวาณิชชาดก)
510917-2 เตรียมกิจสําหรับอนาคตให้พร้อมไว้ก่อน อย่าให้กิจนั้นบีบคั้นตัวเมือถึงเวลาเฉพาะหน้า
510917-3 ตํ ตาทิสํ ปฏิกตกิจฺจการึ น ตํ กิจฺจํ กิจฺจกาเล พฺยเธสีติ ฯ
510917-4 กิจนั้นย่อมไม่เบียดเบียนบุคคลผูร้ ีบทํากิจทีควรทําเช่นนั้น ในเวลาทีต้องการ
510918 ตสฺมาติหานนฺท อตฺตทีปา วิหรถ อตฺตสรณา อนฺสรณา ธมฺมทีปา ธมฺมสรณา อนฺสรณา ฯ
510918-2 ที.ม.๑๐/๙๓/๘๖ "ดูกรอานนท์ เธอทั้งหลาย จงมีตนเป็นทีพึง มีตนเป็นสรณะ อย่ามีสิงอืนเป็นสรณะ,
510918-3 ที.ม.๑๑/๓๓/๔๓ เธอทั้งหลาย จงมีธรรมเป็นทีพึง มีธรรมเป็นสรณะ อย่ามีสิงอืนเป็นสรณะอยูเ่ ถิด"
510920 เอถ ปสฺสถิมํ โลกํ จิตฺตํ ราชรถูปมํ ยตฺถ พาลา วิสีทนฺติ นตฺถิ สงฺโค วิชานตํ ขุ.ธ. ๔๒/๑๔๐/๒๓๘
510920-2 ท่านทั้งหลายจงมาดูโลกนี้ อันตระการดุจราชรถ, ทีพวกคนเขลาหมกอยู่, (แต่)พวกผู้รู้หาข้องอยูไ่ ม่
510921 น สิ ยา โลกวฑฺฒโน ไม่ควรเป็นคนรกโลก (ไม่ควรพัฒนาโลกแต่ในทางวัตถุ)
510922 หิริโอตฺตปฺปิยนฺเยว โลกํ ปาเลนฺติ สาธุกํ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาปจะช่วยรักษาโลกนี้ไว้ให้ดี
510924 สติมโต สทา ภทฺทํ สติมา สุขเมธติ ความเจริญย่อมมีแก่คนมีสติทุกเมือ คนมีสติย่อมได้ความสุข
510924-2 สติมโต สุเว เสยฺโย เวรา น ปริมุจฺจติฯ ความดีย่อมมีแก่คนมีสติเป็นนิตย์ แต่คนมีสติยงั ไม่หลุดพ้นจากเวร
510924-3 สํ.ส.๑๕/๘๑๒/๒๐๕ (มณิภัททสูตร) (คนมีสติย่อมเจริญ แต่สติอย่างเดียวยังมิอาจพ้นจากเวรภัย -
510924-4 - คือทุกข์ในสังสารวัฏได้ จําต้องมีปัญญาด้วย จึงจักหลุดพ้นได้โดยชอบ)
510924-5 [๘๑๑] สมัยหนึ่ง พระผูม้ พี ระภาคประทับอยู่ทเ่ี จดียช์ ่อื มณิมาฬกะ อันเป็ นทีค่ รอบครองของยักษ์ช่อื มณีภทั ในแคว้นมคธ ฯ
510924-6 [๘๑๒] ครัง้ นัน้ แล ยักษ์ช่อื มณิภทั ทะเข้าไปเฝ้ าพระผูม้ พี ระภาคถึงทีป่ ระทับ ครัน้ แล้วได้กล่าวคาถานี้ในสานักพระผูม้ พี ระภาคว่า
510924-7 ความเจริญย่อมมีแก่คนมีสติทกุ เมือ่ คนมีสติย่อมได้ความสุข ความดีย่อมมีแก่คนมีสติเป็ นนิตย์ และคนมีสติย่อมหลุดพ้นจากเวร ฯ
510924-8 พระผูม้ พี ระภาคตรัสว่า
510924-9 ความเจริญย่อมมีแก่คนมีสติทกุ เมือ่ คนมีสติย่อมได้ความสุข ความดีย่อมมีแก่คนมีสติเป็ นนิตย์ แต่คนมีสติยงั ไม่หลุดพ้นจากเวร ฯ
510926 โลโกปตฺถมฺภิกา เมตฺตา เมตตาธรรมเป็นเครืองค้ําจุนโลก
510927 นิคฺคณฺเห นิคฺคหารหํ ปคฺคณฺเห ปคฺคหารหํ พึงข่มคนทีควรข่ม พึงยกย่องคนทีควรยกย่อง
510928 อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา บัณฑิตย่อมฝึกตน
510929 เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุ์ ตถาคโต เตสญฺจ โย นิโรโธ จ เอวํ วาที มหาสมโณ
หน้า ๑๘

510929-2 ธรรมใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตเจ้าทรงแสดงเหตุแห่งธรรมนั้น


510929-3 และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะตรัสสอนอย่างนี้
510930 อจิรํ วต ยํกาโย ปถวึ อทิเสสติ ฉุทฺโท อเปตวิญญฺาโณ นิรตฺถํ ว กลึครํ
510930-2 ร่างกายนี้ไม่ได้ต้งั อยูน่ าน ครั้นปราศจากวิญญาณ อันเขาทิ้งเสียแล้ว
510930-3 จักนอนทับซึงแผ่นดิน ประดุจแผ่นไม้และท่อนซุง หาประโยชน์มิได้
511001 นตฺถิ ฌานํ อปญฺ สฺส ความเพ่งพินิจธรรม(ฌาน)จะไม่มีแก่ผู้ไม่มีปัญญา(เห็นประโยชน์และเพียรพยายาม)
511001-2 นตฺถิ ปญฺ า อฌายโต ปัญญาย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่มีฌาน(การเพ่งพิจารณา)
511001-3 ยมฺหิ ฌานญฺจ ปญฺ า จ สเว นิพฺพานสนฺติเก ฌานและปัญญามีในผูใ้ ด ผู้นั้นอยู่ใกล้นิพพาน
511001-4 เรืองสัมพหุลภิกษุ [๒๕๘] ขุ.ธ.เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - เล่ม ๔๓ หน้า ๓๖๙
511005 พฺรหฺมาติ มาตา ปิตโร ปุพฺพาจริยาติ วุจฺจเร มารดาบิดาท่านว่าเป็นพระพรหม เป็นบุรพาจารย์
511005-2 อาหุเนยฺยา จ ปุตฺตานํ ปชาย อนุกมฺปกา เป็นทีนับถือของบุตร และเป็นผูอ้ นุเคราะห์บุตร
511006 ยตฺถ เวรี นิวีสติ น วเส ตตฺถ ปณฺฑิโต บัณฑิตไม่พึงอยูใ่ นถินทีมีไพรี(ผูม้ ีเจตนาจะก่อเวร)อยู่
511006-2 (เพราะต้องระวังภัย)
511007 ปิยโต ชายเต โสโก ปิยโต ชายเต ภยํ ทีใดมีของรัก ทีนันมีโศก ทีใดมีของรัก ทีนันมีภยั
511007-2 ปิยโต วิปฺปมุตฺตสฺส นตฺถิ โสโก กุโต ภยํ เมือไม่มีของรักเสียแล้ว โศกภัย ก้ไม่มี
511008 สุนกฺขตฺตํ สุมงฺคลํ สุปฺปภาตํ สุหุฏฺฐิตํ สุกฺขโณ สุมุหุตฺโต จ สุยิฏฺฐํ พฺรหฺมจาริสุ องฺ.ติก.๒๐/๕๙๕/๓๗๘
511008-2 สัตว์ทั้งหลายประพฤติชอบในเวลาใด เวลานั้นชือว่า เป็นฤกษ์ดี มงคลดี สว่าง(เช้า)ดี รุ่ง(อรุณ)ดี
511008-3 ขณะดี ยามดี และบูชาดี ในพรหมจารีบุคคลทั้งหลาย(ในท่านผู้ประพฤติพรหมจรรย์ทั้ง่หลาย)
511010 สตํ ธมฺโม ทุรนฺวโย ธรรมะของคนดี คนชัวรู้ได้ยาก
511011 มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺ า มโนมยา สิงทั้งหลายมีใจนําหน้า มีใจประเสริฐสุด สําเร็จด้วยใจ
511012 อลํ พาลสฺส โมหาย โน จ ปารคเวสิโน สาวสวยอาจหลอกให้คนโง่หลงได้ -
511012-2 - แต่จะหลอกคนแสวงหาพระนิพพานไม่ได้
511013 อปฺปกา เต มนุสฺเสสุ เย ชนา ปารคามิโน อถายํ อิตรา ปชา ตีรเมวานุธาวติ
511013-02 ในหมู่มนุษย์ทั้งหลาย ผูถ้ ึงฝั่ง(แห่งพระนิพพาน)มีน้อยนัก
511013-03 หมู่มนุษย์นอกนั้น ย่อมวิงเลียบเลาะอยูต่ ามริมฝั่งใน(โลกียะ) นีเอง
511013-04 เย จ โข สมฺมทกฺขาเต ธมฺเม ธมฺมานุวตฺติโน เต ชนา ปารเมสฺสนฺติ มจฺจุเธยฺยํ สุทุตฺตรํ
511013-05 ก็ชนเหล่าใดประพฤติสมควรแก่ธรรม ในธรรมทีตรัสไว้ชอบแล้ว
511013-06 ชนเหล่านั้น จักถึงฝั่งแห่งพระนิพพาน ข้ามพ้นบ่วงแห่งมัจจุทีข้ามได้ยากนัก
511013-07 กณฺหํ ธมฺมํ วิปฺปหาย สุกฺกํ ภาเวถ ปณฺฑิโต โอกา อโนกมาคมฺม วิเวเก ยตฺถ ทูรมํ
511013-08 จงเป็นบัณฑิตละธรรมดําเสีย แล้วเจริญธรรมขาว จงมาถึงทีไม่มีน้ํา
511013-09 (เมือละบ้านเรือนมาถือเพศบรรพชิตแล้ว) จงละกามเสีย เป็นผูไ้ ม่มีความกังวล
511013-10 ตตฺราภิรติมิจฺเฉยฺย หิตฺวา กาเม อะกิญฺจโน ปริโยทเปยฺย อตฺตานํ จิตฺตเกฺลเสหิ ปณฺฑิโต
511013-11 จงยินดีเฉพาะต่อพระนิพพานอันเป็นทีสงัด ซึงสัตว์ยินดีได้โดยยาก
511013-12 บัณฑิตควรยังตนให้ผอ่ งแผ้ว จากเครืองเศร้าหมองแห่งจิตทั้งหลาย
511013-13 เยสํ สมฺโพธิยงฺเคสุ สมฺมา จิตตํ สุภาวิตํ อาทานปฏินิสสฺ คฺเค อนุปาทาย เย รตา
511013-14 ขีณาสวา ชุติมนฺโต เต โลเก ปรินิพฺพุตาติ
511013-15 จิตอันบัณฑิตทั้งหลายเหล่าใดอบรมดีแล้ว โดยถูกต้องในองค์เป็นเหตุตรัสรู้ท้งั หลาย
511013-16 บัณฑิตทั้งหลายเหล่าใดไม่ถือมัน ยินดีแล้วในอันสละความยึดถือ
หน้า ๑๙

511013-17 บัณฑิตทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมเป็นผู้ไม่มีอาสวะ มีความโพลงดับสนิทในโลก .. ดังนี้แล


511013-18 สํ.ม.๑๙/๔๓๐/๑๐๙ ปารคามีสูตร
511017 วนํ ฉินฺทถ มา รุกฺขํ พวกเธอจงตัดป่า(คือกิเลส) แต่อย่าตัดต้นไม้
511019 อกฺโกเธน ชิเน โกธํ อ สาธุ์ สาธุนา ชิเน พึงชนะความโกรธด้วยความไม่โกรธ พึงชนะความร้ายด้วยความดี
511019-2 ชิเน กทริยํ ทาเนน สจฺเจนาสิกวาทินํ พึงชนะความตระหนึด้วยการให้ พึงชนะคนพูดพล่อยด้วยดําสัตย์
511020 อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นทีพึงแห่งตน คนอืนใครเล่าจะเป็นทีพึงทีแท้จริงได้
511020-2 อตฺตนา หิ สุทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ มีตนทีฝึกดีแล้วนันแหละ ชือว่าได้ทพึี งทีหาได้ยาก
511021 อญฺ า หิ ลาภูปนิสา อญฺ า นิพฺพานคามินี ทางหาลาภไปทางหนึง ทางไปพระนิพพานไปทางหนึง -
511021-2 เอวเมตํ อภิญฺ าย ภิกฺขุ พุทฺธสฺส สาวโก วิเวกมนุพฺรูหเย - รู้อย่างนี้แล้ว ภิกษุพุทธสาวก -
511021-3 - ไม่ควรไยดีลาภสักการะ ควรอยู่อย่างสงบ
511027 อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ คหการกํ คเวสนฺโต ทุกฺขา ชาติ ปุนปฺปุนํ
511027-2 เราแสวงหานายช่างผูท้ ําเรือน เมือไม่พบจึงได้เวียนว่ายตายเกิดท่องเทียวไป
511027-3 ในสงสารนับชาติไม่ถ้วน ความเกิดเป็นทุกข์รําไป,
511027-4 คหการก ทิฏฺโ สิ ปุน เคหํ น กาหสิ สพฺพา เต ผาสุกา ภคฺคา คหกูฏํ วิสงฺขตํ
511027-5 แน่ะนายช่างผูท้ ําเรือน เราพบท่านแล้ว ท่านจะทําเรือนอีกไม่ได้
511027-6 จันทันเรือนของท่านเราหักเสียหมดแล้ว ยอดเรือน(อวิชชา)เราก็รื้อเสียแล้ว
511027-7 วิสงฺขารคตํ จิตฺตํ ตณฺหานํ ขยมชฺฌคา จิตของเราเข้าถึงธรรมอันปราศจากเครืองปรุงแต่งแล้ว -
511027-8 - เพราะเราบรรลุธรรมเป็นทีสิ้นไปแห่งตัณหาแล้ว
511028 ปสฺส จิตฺตกตํ พิมฺพํ อรุกายํ สมุสฺสิตํ อาตุรํ พหุสงฺกปฺปํ ยสฺส นตฺถิ ธุวํ ฐิติ
511028-2 จงดูร่างกายทีว่าสวยงามนี้เถิด เต็มไปด้วยแผล สร้างขึ้นด้วยกระดูก *
511028-3 - มากด้วยโรค มากด้วยความครุ่นคิดปรารถนา หาความยังยืนถาวรมิได้
511029 ภารา หเว ปญฺจกฺขนฺธา ขันธ์ท้งั ห้าทีถูกยึดมันแล้วย่อมเป็นของหนัก
511029-2 ภารหาโร จ ปุคฺคโล คนนันแหละ แบกของหนักเอาไป
511029-3 ภาราทานํ ทุกฺขํ โลเก ผูแ้ บกของหนัก เป็นความทุกข์ในโลก
511029-4 ภารนิกฺเขปนํ สุขํ เหวียงของหนักทิ้งไว้เสีย เป็นความสุข
511029-5 นิกฺขิปิตฺวา ครุ์ ภารํ อญฺญํ ภารํ อนาทิย สมูลํ ตณฺหํ อพฺพุยฺห นิจฺฉาโต ปรินิพฺพุโตติ
511029-6 (สํ.ข.๑๗/๕๓/๒๕) พระอริยเจ้าสลัดทิ้งของหนักเสียแล้วทั้งไม่หยิบฉวยของหนักอันอืนขึ้นมาอีก -
511029-7 - ถอนตัณหาพร้อม ทั้งมูลรากแล้ว เป็นผูห้ ายหิว ดับรอบแล้วดังนี.้
511029-8 (ขันธ์ ๕ ชือว่าภาระแล และผู้แบกภาระคือบุคคล เครืองถือมันภาระเป็นเหตุนํามาซึง ความทุกข์ในโลก การวางภาระเสียได้ -
511029-9 - เป็นสุข บุคคลวางภาระหนักเสียได้แล้ว ไม่ถือภาระอืน ถอนตัณหาพร้อมทั้งมูลรากแล้ว เป็นผูห้ ายหิว ดับรอบแล้วดังนี้.)
511031 เสยฺโย อโยคุโฬ ภุตฺโต ตตฺโต อคฺคิสิขูปโม ยญฺเจ ภุญฺเชยฺย ทุสฺสีโล รฏฺ ปิณฺฑํ อสญฺ โต
511031-2 ภิกษุกลืนกินก้อนเหล็กลุกแดง ยังดีกว่าทุศีล ไม่สํารวม แล้วกลืนกินก้อนข้าวของชาวบ้าน
511101 น ปเร วจนา โจโร นปเร วจนา มุนิ คนมิได้เป็นโจรเพราะคําคน มิได้เป็นมุนีผรู้ ู้เพราะคําคน
511103 ปริเยสนํ ปฏิจฺจลาโภ อาศัยการแสวงหา จึงได้มาซึงลาภ
511104 อเปโต ทมสจฺเจน น โส กาสาวมรหติ ผูไ้ ม่ข่มใจฝึกตน และไม่มีสัจจะ ไม่ควรห่มผ้าเหลือง
511108 สุญฺญํ อตฺเตน วา อตฺตนิเยน วา ตสฺมา สญฺโ โลโกติ วุจฺจติ
511108-2 เพราะว่างจากตนหรือสิงทีเนืองด้วยตน จึงได้เรียกว่าโลกว่างเปล่า”
511109 สุขสฺส ทาตา เมธาวี สุขํ โส อธิคจฺฉติ คนฉลาดให้ความสุข ย่อมได้รับความสุข
หน้า ๒๐

511110 อานาปานสฺสติ ยสฺส อปริปุณณา อภาวิตา กาโยปิ อิญฺชิโต โหติ จิตฺตมฺปิ โหติ อิญฺชิตํ
511110-2 ผูใ้ ดไม่เจริญอานาปานสติ กายและจิตของผูน้ ั้นย่อมหวันไหวดิ้นรน
511111 ยถา วาริวหา ปูรา ปริปุเรนฺติ สาครํ ห้วงน้ําทีเต็ม ย่อมยังสาครให้เต็มได้ฉันใด
511111-2 เอวเมว อิโต ทินฺนํ เปตานํ อุปกปฺปติ ทานทีให้แต่โลกนี้ ย่อมสําเร็จแก่ผ้ลู ะไปแล้วฉันนั้น ขุ.ขุ.
511112 ยญฺหิ กยิรา ตญฺหิ วเท ยํ น กยิรา น ตํ วเท บุคคลทําสิงใด ควรพูดสิงนั้น ไม่ทําสิงใด ไม่ควรพูดสิงนั้น
511112-2 อกฺโรนฺตํ ภาสมานํ ปริชานนฺติ ปณฺฑิตา บัณฑิตย่อมกําหนดรู้ คนทีไม่ทําได้แต่พูด ขุ.เถร.
511113 อติสีตํ อติอุณฺหํ อติสายมิทํ อหุ ประโยชน์ทั้งหลายย่อมล่วงเลยผูท้ อดทิ้งการงาน
511113-2 อิติ วิสฺสฏฺฐกมฺมนฺเต อตฺถา อจฺเจนฺติ มาณเว ด้วยอ้างว่าหนาวนัก ร้อนนัก เย็นเสียแล้ว
511115 โยนิโส วิจิเน ธมฺมา (สํ.ส.๑๕/๑๔๗/๓๘ องฺ.สตฺต.๒๓/๓/๓) พึงวินิจฉัยธรรม (พิจารณาเรืองราว) โดยรอบคอบ
511115-2 ปญฺ ายตฺถํ วิปสฺสติ ย่อมเห็นอรรถแห่งธรรมชัดด้วยปัญญา (แล้วจะรู้ความหมายได้ด้วยปัญญา)
511116 สพฺพตฺถ สฺวุโต ลชฺชี รกฺขิโตติ ปกุจฺจติ ผูส้ ํารวมระวังในทีทั้งปวง มีความละอายต่อบาป ชือว่ารักตน
511118 พหุมฺปิ รตฺโต ภาเสยฺย ทุฏฺโฐปิ พหุ ภาสยิ คนมีความกําหนัดมักพูดมาก คนโกรธแล้วมักพูดมาก
511118-2 ขุ.ชา.๒๗/๑๗๐๔/๓๐๓
511119 อปฺปมาทํ ปสํสนฺติ บัณฑิตทั้งหลาย สรรเสริญความไม่ประมาท
511122 โย จ คาถา สตํ ภาเส อนตฺถปทสญฺหิตา บทกวีบรรยายธรรมบทเดียว ทีทําให้ผ้ฟู ังได้รับความสงบ
511122-2 เอกํ ธมฺมปทํ เสยฺโย ยํ สุตฺวา อุปสมฺมติ ประเสริฐกว่าบทกวีทีท่องจําได้ตั้งร้อยโศลก
511122-3 แต่ไม่มีประโยชน์แม้แต่บทเดียว
511123 ยถาปิ รุจิรํ ปุปฺผํ วณฺณวนฺตํ อคนฺธกํ ดอกไม้มีสงี ามแต่ไม่มีกลินหอมแม้ฉันใด
511123-2 เอวํ สุภาสิตา วาจา อผลา โหติ อกุพฺพโต วาจาสุภาษิตก็ฉันนั้น ย่อมไม่มีผลแก่ผ้ไู ม่ทําอยู่ก็ฉันนั้น
511124 ยถาปิ รุจิรํ ปุปฺผํ วณฺณวนฺตํ สคนฺธกํ (ส่วน) ดอกไม้มีสงี ามพร้อมด้วยมีกลินหอมแม้ฉันใด
511124-2 เอวํ สุภาสิตา วาจา สผลา โหติ สุกุพฺพโต วาจาสุภาษิตก็ฉันนั้น ย่อมมีผลแก่ผู้ทําดีอยู่ก็ฉันนั้น
511127 เผณปิณฑูปมํ รูปํ รูปอุปมาด้วยฟองน้ํา เผณปิณฑสูตร ๑๗/๒๔๒-๗/๓๑๖
511127-02 (รูปธรรมทั้งหลายเป้นดังฟองอากาศบนผิวน้ํา ไม่เทียงแท้แน่นอน)
511127-03 เวทนา ปุพฺพุฬปู มา เวทนาอุปมาด้วยต่อมน้ํา(หยดน้ํา)ในยามฝนตก
511127-04 (เวทนาความรู้สึกสุขทุกข์เป็นดังหยดน้ําท่ามกลางสายฝน ย่อมมีความแตกทําลายไปอย่างรวดเร็ว)
511127-05 มรีจิกูปมา สญฺ า สัญญาอุปมาด้วยพยับแดด
511127-06 (สัญญาความทรงจําเปรียบด้วยไอแดด หลอกให้หลงเข้าใจผิด เป็นดังภาพลวงตา)
511127-07 สงฺขารา กทลูปมา สังขารอุปมาด้วยต้นกล้วย
511127-08 (สังขารความนึกคิดปรุงแต่งเปรียบดังต้นกล้วย ไม่มีแก่นสารสาระทีแท้จริง)
511127-09 มายูปมญฺจ วิญฺ านํ วิญญาณอุปมาด้วยมายากล
511127-10 (วิญญาณการรับรู้เกิดดับรวดเร็ว ยึดถือไม่ได้ เป็นดังมายากล)
511203 กาเมหิ โลกมฺหิ น อตฺถิ ติตฺติ ความอิมในกามไม่มีในโลก
511204 เยน ชาเตน นนฺทนฺติ อมิตฺตา ทุกฺขเมสิโน ผูย้ ินดีให้ความโกรธเกิดขึ้น ชือว่าเป็นศัตรู หาทุกข์ใส่ตัวเอง
511205 ทุลฺลโภ ปริสาชญฺโ บุรุษอาชาไนย(นักปราชญ์/พระสัมมาสัมพุทธเจ้า)หาได้ยากยิง
511206 โย จ รกฺขติ อตฺตานํ รกฺขิโต ตสฺส พาหิโร ผูใ้ ดรักษาตนได้ ภายนอกของผูน้ ั้นก็เป็นอันได้รับการรักษาด้วย
511212 ตถตฺตานํ นิเวเสยฺย ยถา ภูริ ปวฑฺฒติ ปัญญาจะเจริญโดยประการใด พึงตั้งตนไว้โดยประการนั้น
511214 โย หิ ปสฺสติ สทฺธมฺมํ โส มํ ปสฺสติ ปณฺฑิโต ผูใ้ ดเห็นพระสัทธรรม ผูน้ ั้นชือว่าเป็นบัณฑิต ย่อมเห็นเรา
511215 ทูเร สนฺโต ปกาเสนฺติ หิมวนฺโตว ปพฺพโต คนดีย่อมปรากฏเห็นแต่ไกล เหมือนภูเขาหิมพานต์
หน้า ๒๑

511216 อจริตฺวา พฺรหฺมจริยํ อลทฺธา โยพฺพเน ธนํ เมือยังอยูใ่ นวัยหนุ่มสาวไม่ทําตัวให้ดีและไม่หาทรัพย์ไว้ -


511216-2 ชิณฺณโกญฺจาว ฌายนฺติ ขีณมจฺเฉว ปลฺลเล - พอถึงวัยแก่เฒ่า พวกเขาย่อมนังซบเซาเหมือนนกกระเรียน
511216-3 - แก่จับเจ่าอยู่ริมสระทีไร้ปลา ขุ.ธ.๔๒/๑๒๖/๑๘๔ มมร.
511217 สาหุ ทสฺสนมริยานํ สนฺนิวาโส สทา สุโข อทสฺสเนน พาลานํ นิจฺจเมว สุขี สิยา
511217-2 การพบพระอริยเจ้าเป็นความดี การอยูร่ ่วมกับท่านก่อให้เกิดสุขทุกเมือ
511217-3 เมือไม่คบกับคนพาลเสียได้ คนเราพึงมีความสุขเป็นนิจนิรันดร์
511218 ทีฆา ชาครโต รตฺติ ราตรีนาน สําหรับคนนอนไม่หลับ
511218-2 ทีฆํ สนฺตสฺส โยชนํ ระยะทางโยชน์หนึงไกล สําหรับผู้ล้าแล้ว
511218-3 ทีโฆ พาลาน สํสาโร สทฺธมฺมํ อวิชานตํ สังสารวัฏยาวนาน สําหรับคนพาล ผูไ้ ม่รู้แจ้งพระสัทธรรม
511219 ตเถว กตปุญฺ มฺปิ อสฺมา โลกา ปรํ คตํ บุญทีได้ทําไว้ในโลกนี้ ย่อมต้อนรับผูท้ ีจากไป
511219-2 ปุญฺ านิ ปฏิคณฺหนฺติ ปิยํ าตึว อาคตํ เหมือนญาติทรัี กมาจากทีไกล ฝูงชนย่อมเต็มใจต้อนรับ
511220 นหํ โลเกน วิวทามิ โลโก จ มยา วิวทติ เราย่อมไม่ขัดแย้งกับโลก แต่โลกย่อมขัดแย้งกับเรา
511221 จรญฺเจ นาธิคจฺเฉยฺย เสยฺยํ สทิสมตฺตโน หากแสวงหาไม่พบเพือนทีดีกว่าตน หรือเพือนทีเสมอกับตน
511221-2 เอกจริยํ ทฬฺหํ กยิรา นตฺถิ พาเล สหายตา ก็พึงเทียวไปคนเดียว เพราะมิตรภาพ ไม่มีในหมู่คนพาล
511223 ทานญฺจ ยุทฺธญฺจ สมานมาหุ ปราชญ์กล่าวว่าทานกับการรบเสมอกัน
511223-2 (นักรบแม้มีน้อย ก็ชนะคนมากได้ เจตนาในการบริจาค แม้(สิงของ)มีปริมาณน้อย ย่อมชนะกิเลสมากได้)
511223-3 มีอรรถาธิบายว่า [คนขลาด เกรงเสียดายทรัพย์มิอาจให้ทาน คนขลาด มิแกล้วกล้าอาจหาญ ก็มิอาจออกรบ]
511223-4 ท่านจึงกล่าวว่า ทานกับการรบเสมอกัน ต้องอาศัยความกล้าหาญเสมอกันต้องอาศัยบุคคลผูก้ ล้าหาญเสมอ เช่นเดียวกัน
511223-5 [คนกลัวความสิ้นเปลือง ย่อมไม่มีการให้ คนขลาดต่อภัย ย่อมไม่มีการยุทธนา คือนักรบสละความอาลัย
511223-6 ในชีวิตได้ ก็อาจเข้ารบกันได้ ทายกสละความอาลัยในโภคะเสียได้ ก็อาจบริจาคได้ ด้วยเหตุนันแหละ
511223-7 ท่านผู้รู้จึงกล่าวการให้และการรบทั้งสองอย่างนั้นว่ามีสภาพเสมอกัน]
511223-8 (สํ.ส.๑๕/๙๗/๒๔, ขุ.ชา.๒๗/๑๘๓-๑๘๗/๒๓๓, สํ.ส.อ.๒๔ หน้า ๑๗๗, ขุ.ชา.อ.๕๙ หน้า ๕๘๑,๕๘๓)
511225 ชยํ เว ม••ฺ ติ พาโล วาจาย ผรุสํ ภณํ ชนพาลกล่าวคําหยาบด้วยวาจา ย่อมสําคัญว่าชนะทีเดียว
511225-2 ชย•ฺเจวสฺส ตํ โหติ ยา ติติกฺขา วิชานโต แต่ความอดกลั้นได้เป็นความชนะของบัณฑิตผู้รู้แจ้งอยู่
511225-3 ตสฺเสว เตน ปาปิโย โยกุทฺธํ ปฏิกุชฺฌติ ผูใ้ ดโกรธตอบคนทีโกรธแล้ว ผูน้ ั้นชือว่าเลวกว่าคนผูโ้ กรธก่อน
511225-4 กุทฺธํ อปฺปฏิกุชฺฌนฺโต สงฺคามํ เชติ ทุชฺชยํ ผูไ้ ม่โกรธตอบคนผูท้ ีโกรธแล้ว ชือว่าชนะสงครามทีชนะได้ยาก
511225-5 อุภินฺนมตฺถํ จรติ อตฺตโน จ ปรสฺส จ ปรํ สงฺกุปิตํ ตฺวา โย สโต อุปสมฺมติ
511225-6 ผูใ้ ดรู้วา่ ผูอ้ ืนโกรธ แล้วเป็นผูม้ ีสติสงบอยูไ่ ด้ ผูน้ ั้นชือว่าทําประโยชน์ให้เกิดขึ้นทั้งสองฝ่ายคือแก่ตนและแก่ผ้อู นื
511225-7 อุภินฺนํ ติกิจฺฉนฺตานํ อตฺตโน จ ปรสฺส จ ชนา ม••ฺ นฺติ พาโลติ เย ธมฺมสฺส อโกวิทาติ ฯ
511225-8 เมือผู้นั้นรักษาประโยชน์อยูท่ ั้งสองฝ่าย คือของตนและของผูอ้ ืน ชนทั้งหลายผู้ไม่ฉลาดในธรรม -
511225-9 - ย่อมสําคัญบุคคลนั้นว่าเป็นคนเขลา ดังนี้ ฯ สํ.ส.๑๕/๖๓๖/๑๙๘ (อสุรินทกสูตร)
511226 สีลํ กว จมพฺภุตํ ศีลเป็นเกาะอย่างอัศจรรย์
511227 ปญฺโ ว เสยฺโย น ยสสฺสิ พาโล คนมีปญั ญาเท่านั้นประเสริฐ คนโง่ถึงมียศก็หาประเสริฐไม่
511229 น อุจฺจาวจํ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ บัณฑิตทั้งหลาย ย่อมไม่แสดงอาการขึ้นลง(เพราะโลกธรรม)
520104 อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย การทําประโยชน์เพือผู้อืนถึงจะมาก ก็ไม่ควรให้เหตุทําลาย
520104-2 ประโยชน์ทีเป็นจุดหมาย
520105 นิรยํ ปาปกมฺมนฺตา ปุญฺ กมฺมา จ สุคตึ ผูท้ ําบาปย่อมไปสูน่ รก ผูท้ ําบุญย่อมไปสูส่ วรรค์
520106 ตณฺหา ชเนติ ปุริสํ ความอยากทําให้คนต้องเกิด
หน้า ๒๒

520107 สพฺพํ เภทปริยนฺตํ เอวํ มจฺจาน ชีวิตํ ทุกสิงทุกอย่างมีความแตกทําลายไปในทีสุด ชีวิตของสัตว์ก็เช่นเดียวกัน


520110 น ทีฆมายุ์ ลภเต ธเนน ถึงมีทรัพย์ ก็ใช่ว่าจะมีอายุยืนยาวตลอดไป
520111 ตณฺหาย วิปฺปทาเนน สพฺพํ ฉินฺทติ พนฺธนํ เพราะตัดตัณหาได้ จึงตัดเครืองผูกได้หมดสิ้น
520112 อฑฺฒา เจว ทฬิทฺทา จ สพฺเพ มจฺจุปรายนา ทั้งคนรวยคนจน ล้วนมีความตายเป็นเบื้องหน้า
520113 อมตนฺทโท จ โส โหติ ธมฺมมนุสาสติ ผูใ้ ดสังสอนธรรม ผูน้ ั้นชือว่าให้สิงทีไม่ตาย
520114 นามนุญฺญํ กุทาจนํ ไม่ว่ากาลไหนๆ ก็ไม่ควรกล่าววาจาไม่น่าพึงพอใจ
520116 ทุกฺขํ สยติ โกธโน คนมักโกรธ ย่อมมีแต่ทุกข์
520117 มหคฺคปตฺโตปิ นิวาตวุตฺติ ถึงจะเป็นใหญ่เป็นโตขึ้นมา ก็ควรมีความถ่อนตน
520118 สเจ ลเภถ นิปกํ สหายํ จเรยฺย เตนตฺตมโน สติมา
520118-2 ถ้าได้สหายผู้รอบคอบ(นักปราชญ์)ก็พึงพอใจ มีสติเทียวไปกับเขาได้
520119 อโหรตฺตมตนฺทิตํ ตํ เว ภทฺเทกรตฺโตติ ขยันทั้งคืนวัน ไม่ซึมเซา นั้นแลเรียกว่ามีแต่ละวันนําโชค
520120 น มิยฺยมานํ ธนมนฺเวติ กิญฺจิ ทรัพย์สักนิด ก็ติดตามคนตายไปไม่ได้
520121 อติจิรํ นิวาเสน ปิโย ภวติ อปฺปิโย เพราะอยู่กันนานเกินไป(ความคุ้นเคยกันมากเกินไป)คนรักจึงได้เบือหน่าย
520122 น หิ โน สํครนฺเตน มหาเสเนน มจฺจุนา การผ่อนผันกับความตาย ซึงมีกองทัพใหญ่นั้นไม่ได้เลย
520123 อสนฺตํ โย ปคฺคณฺหาติ อสนฺตํ จูปเสวติ ผูใ้ ดยกย่องและคบหาคนชัว คนชัวย่อมกระทําผู้นั้นให้เป็นเหยือ
520123-2 (คนชัวย่อมทําลายผู้น้นั )
520708 สพฺพปาปสฺส อกรณํ กุสลสฺสูปสมฺปทา การไม่ทําบาปทั้งปวง การทํากุศลให้ถึงพร้อม
520708-2 สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทธาน สาสนํ การชําระจิตให้ผ่องใส นี้เป็นคําสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
520710 อตฺตานํ ทมยนฺติ สุพฺพตา ผูป้ ระพฤติดี ย่อมต้องฝึกตน
520713 สุกรานิ อสาธูนิ อตฺตโน อหิตานิ จ กรรมใดไม่ดีและไม่เป็นประโยชน์แก่ตน คนทําง่าย
520713-2 ยํ เว หิตญฺจ สาธุญฺจ ตํ เว ปรมทุกฺกรํ กรรมใดแลเป็นประโยชน์แก่ตนและดี กรรมนั้นแลทํายากอย่างยิง
520714 เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ วทามิ (องฺ.ปญฺจ.๒๒/๓๓๔/๓๖๘) ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวว่า เจตนาเป็นตัวกรรม
520715 ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ คนหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้รับผลเช่นนั้น
520715-2 กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ ทําดีได้ดี ทําชัวได้ดี
ชีวิตไม่ใช่สิงน่ารังเกียจ แต่ความทุกข์ของชีวิต มิใช่สิงทีใครจะยินดี
ถ้ายอมตาย เพือผู้อืนได้ ไม่ใช่รักผู้อนมากกว่
ื าตนเอง แต่เพราะ ไม่มีตัวเองให้รักต่างหาก จึงมีแต่ผู้อืน นันเพราะรักผู้อนื
อย่างไร จนไม่รู้สึกว่ามีตน
ตอนเด็ก จิตเราจะตั้งมันได้ง่าย เพราะไม่มีตัณหามาก
ตอนโต มีปัญหาคังค้างในใจมาก จิตตั้งมันได้ยาก
ตอนเด็ก แม้จิตสงบ ก็ไม่มีปณิธานทีจะแสวงหาปัญญา การหลุดพ้น
ตอนโต ปรารถนาความหลุดพ้น มีปัญญามาก แต่จิตไม่ต้งั มัน
ฉะนั้น พระพุทธองค์ตรัสว่า ฌานและปัญญามีอยู่ในผูใ้ ด ผูน้ ั้นไซร้อยูใ่ นทีใกล้พระนิพพาน
10 ปี อาบน้าบ่หนาว 60 ปี เปา่ ขลุ่ยบ่ดงั
20 ปี แนบสาวบ่เบื่อ 70 ปี เนื้อหนังลูกลวก
30 ปี สิเมือ้ ก่อนไก่ 80 ปี หน้าหนวกมาหู
40 ปี มือไขว่หน้าผากคนึง 90 ปี ลูกหลานดูนงไห้ ั่
หน้า ๒๓

50 ปี ไปบ่หงึ มาทอดหุ่ย 100 ปี ไข้กต็ ๋ายบ่ไข้กต็ ๋าย


10 ปี ... อาบน้ าบ่หนาว 60 ปี .... ฟันฟางหลุดลุ่ย เป่ าขลุ่ยบ่ดงั
20 ปี ... เกี้ยวสาวบ่เบื่อ 70 ปี ... เดินงง บ่ตรงทาง (บ้างว่า....เดินทางบ่ตรง)
30 ปี ... สูเ้ สื อทุกท่า 80 ปี ... ลงเรื อนบ่ได้ (บ้านที่มีบนั ได) (บ้างว่า... ลงดินบ่ได้ )
40 ปี ... ม้วนเสื่ อตื่นก่อนไก่ (บ้างบอกว่า...ลาเมื่อก่อนไก่) 90 ปี ... ขี้ไหลบ่ฮู ้
50 ปี ... เช้าไปนา กลับมาทอดหุ่ย (บ้างว่า..ไปนากลับมากอดเข่า) 100 ปี ... ไข้ก็ตาย บ่ไข้ก็ตาย
........................................................................................................................................................................................
..................................................................................................... พระปิยะลักษณ์ ปญฺญาวโร รวบรวม ๑๔ ก.ค.๒๕๕๒

หน้า ๒๔

You might also like