You are on page 1of 113

คู่มือบรรยาย

ชีวิตพระ อริยวิถี
(วิชา ธรรม ๒)
โดย พระมงคลธีรคุณ
(อินศร จินตาปญฺโญ)
เรียบเรียงเพิม่ เติมโดย
พระปิ ยะลักษณ์ ปญฺญาวโร
วัดญาณเวศกวัน

~1~
~2~
ชีวิตพระ อริยวิถี
(วิชา ธรรม ๒)
โดย พระครูปลัดสุวัฒนพรหมคุณ (อินศร จินตาปญฺโญ)
(เรี ย บเรี ย งเพิ่ ม เติ ม โดย พระปิ ยะลั ก ษณ์ ปญฺ ญ าวโร)
จุดประสงค์เฉพาะวิชา
๑) ให้ มีจิตสานึกที่จะปฏิบัติตนให้ ถูกต้ อง ด้ วยความรับผิดชอบในหน้ าที่ ต่อเพศภาวะ ต่อวัด ต่อพระศาสนา ต่อศาสนกิจ
และต่อประชาชน
๒) ให้ เป็ นพระภิกษุสามเณรที่ได้ รับการฝึ กฝนอบรมแล้ วอย่างประณีต เป็ นศาสนทายาทที่ดี เป็ นสมาชิกที่มีคุณค่าของวัด
และพระศาสนา
๓) ให้ ร้ ู จักปฏิบัติตน และมีคุณสมบั ติท่ีจะเป็ นที่ต้ังแห่ งปสาทศรั ทธาของประชาชนและเป็ นผู้ พร้ อมที่จะบาเพ็ญตนเพื่ อ
ประโยชน์สขุ ของประชาชน
๔) ให้ มีกุศลธรรมฉันทะ เป็ นผู้พร้ อมที่จะเพียรปฏิบัติเพื่อความเจริญงอกงามยิ่งๆ ขึ้นไปในพระธรรมวินัย
รายการศึกษา
ศึกษาโอวาทานุศาสนีเกี่ยวกับแนวทางความประพฤติและความรับผิดชอบของพระภิกษุสามเณร ดังนี้
ก ธรรมวินัย คืออะไร 6
ก.๑) ความหมายของธรรมและวินัย (เสริม)
- ลักษณะวินิจฉัยพระธรรมวินัย ๘ ประการ .................................................................................................... 7
- มหาประเทศ ๔ (หลักตัดสินธรรมวินัย ๔ ประการ) - แยกศัพท์ วินัย 8
ก.๒) ข้ อแตกต่างระหว่างศีล วัตร และธุดงค์ ....................................................................................... 10
ก.๓) ลักษณะของธรรมตามนัยแห่ง ธัมมนิยามสูตร – พระอัสสชิเถระแสดงธรรม 11
๑ การบวช ........................................................................................................................ 12
๑.๑ ความหมายของการบวช – ความมุ่งหมายและประโยชน์ของการบวช - การบรรพชาและอุปสมบท
๑.๒ ประเพณีการบวชเรียน - ราชวงค์พระร่วง อาณาจักรสุโขทัย สืบเนื่อง อยุธยา ................................................... 13
๒ คาศัพท์สาคัญที่ใช้ เรียกพระภิกษุสามเณร และความหมาย
๒.๑ ภิกษุ และสามเณร – สมณะ – บรรพชิต ................................................................................... 17
๒.๒ พระสงฆ์ และความแตกต่างระหว่างคาว่า ภิกษุกบั สงฆ์; ภิกษุสงฆ์กบั อริยสงฆ์
๒.๓ คาอื่น ๆ เช่น มุนี - คาศัพท์ท่พี ึงทราบ
- พิธแี สดงตนเป็ นพุทธมามกะ .................................................................................................................... 19
- กถาวัตถุ ๑๐ 21
๓ หน้ าที่ของภิกษุสามเณรต่อตนเอง
๓.๑ ปาริสทุ ธิศีล ๔ ........................................................................................................................ 22
๓.๒ ข้ อคานึงและหลักปฏิบัติตามนัยแห่งพระคาถาโอวาทปาฏิโมกข์ (พุทธโอวาท ๓)
๓.๓ ปัพพชิตอภิณหปัจจเวกขณ์ ๑๐ ................................................................................................. 25

~3~
๓.๔ ธรรมวิหาริกสูตร (ว่าด้ วยบุคคลผู้อยู่ในธรรม) (เสริม) 27
- นวังคสัตถุศาสน์ (พระพุทธวจนะ, คาสอนของพระพุทธเจ้ ามีองค์ ๙ )
๔ หน้ าที่ของภิกษุสามเณรต่อพระศาสนา 28
๔.๑ คุณสมบัติตามนัยแห่งพุทธพจน์ในมหาปรินิพพานสูตร (ที.ม.๑๐/๑๐๒/๑๓๑)
๔.๒ องค์แห่งพระธรรมกถึก ๕ 30
๔.๓ บูชา ๒ ............................................................................................................................. ... 31
- การปรินิพพานของพระสารีบุตร (จุนทสูตร) พึงมีตนเป็ นที่พ่ึง 32
๔.๔ คารวะ ๖ .............................................................................................................................. 33
๕ หน้ าที่ของภิกษุสามเณรต่อสังคม
๕.๑ หลักทั่วไปในการปฏิบัติต่อประชาชน ......................................................................................... 35
๑) การสร้ างปสาทะ
๒) ความเป็ นผู้ไม่มภี ัย ................................................................................................................................ 40
๓) การให้ ธรรมทาน ดังคติท่เี ป็ นแนวปฏิบตั แิ ห่งความสัมพันธ์แบบอาศัยกัน โดยอามิสทานกับธรรมทาน
ตามนัยแห่งพหุการสูตร (ขุ.อิต.ิ ๒๕/๒๘๗/๒๔๗) และเน้ นการทาตัวให้ เขาเลี้ยงง่าย 42
๔) ความเป็ นผู้นาทางจิตใจและทางสติปัญญา .................................................................................................. 43
๕.๒ พระสงฆ์ในฐานะเป็ นกัลยาณมิตรของประชาชน / การทาหน้ าที่แห่งมิตรผู้แนะนาประโยชน์ 47
- มิตรแท้ ๔ หรือ สุหทมิตร
๕.๓ พระสงฆ์ในฐานะที่เป็ นมโนภาวนียบุคคล 49
- ลีลาการสอน หรือ พุทธลีลาในการสอน หรือ เทศนาวิธี ๔
- ลักษณะของพระพุทธเจ้ าที่จะตรัสพระวาจา มีหลัก ๖ ประการ ........................................................................... 51
- กัลยาณมิตรธรรม ๗ 53
- เถรธรรม ๑๐ ........................................................................................................................................... 55
๕.๔ คติท่เี ป็ นแนวปฏิบัติ 56
๑) คติแห่งการจาริกแสดงธรรมเพื่อประโยชน์สขุ แก่มวลมนุษย์ ตามนัยแห่งพุทธพจน์ในพระวินัยปิ ฎก (วินย.๔/๓๒/๓๙)
๒) คติแห่งการดารงชีวิตโดยรักษาศรัทธา และผลประโยชน์ของประชาชนตามนัยแห่งพุทธพจน์ในธรรมบท
คาถาว่า ยถาปิ ภมโร ปุปฺผ ฯเปฯ (ขุ.ธ.๒๕/๑๔/๒๑)
๖ หน้ าที่ของภิกษุใหม่ 57
๖.๑ อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ ๔
๖.๒ องค์แห่งภิกษุใหม่ ๕ ................................................................................................................ 60
๖.๓ หลักปฏิบัติตามนัยแห่งพุทธพจน์ในธรรมบทคาถา ๕ เรื่อง 61
- เรื่องที่ ๑ เรื่องสัมพหุลภิกษุ ....................................................................................................................... 62
- เรื่องที่ ๒ เรื่องภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป 66
- เรื่องที่ ๓ เรื่องพระสันตกายเถระ ................................................................................................................ 67
- เรื่องที่ ๔ เรื่องพระนังคลกูฏเถระ
- เรื่องที่ ๕ เรื่องพระวักกลิเถระ .................................................................................................................... 69
- เหตุแห่งความปราโมทย์ ๙ ประการ 70
๖.๔ หลักปฏิบัติตามนัยแห่งเถรภาษิตของพระอุบาลีเถระในเถรคาถาว่า สทฺธาย (ขุ.เถร.๒๖/๓๑๗/๓๐๗) 71
๖.๕ หลักปฏิบัติตามนัยแห่งเถรภาษิตของพระมหาจุนทเถระในเถรคาถาว่า สุสสฺ ูสา (ขุ.เถร.๒๖/๒๖๘/๒๙๐) 76
๖.๖ หลักปฏิบัติตามนัยแห่งเถรภาษิตของพระโคตมเถระในเถรคาถาว่า วิชาเนยฺย (ขุ.เถร.๒๖/๓๗๖/๓๕๔) 78

~4~
๗ วิถีชีวิตของพระภิกษุ ตามนัยแห่งสามัญญผลสูตร (ที.สี.๙/๑๐๒/๕๙) 80
๘ ความสุข 89
๘.๑ สุข ๒ กายิกสุข-เจตสิกสุข
- เวทนา ๒ ๓ ๕ ๖ ๑๘ ๓๖ ๑๐๘
๘.๒ ความสุข ๒ แบบ จัดเป็ น ๓ ระดับ
- ทุกข์ ๓ ประเภท ....................................................................................................................................... 90
- วิธปี ฏิบตั ติ ่อทุกข์และสุข ๔ ประการ
๙ อุปมาโทษของกาม 92
- โยธาชีวสูตรที่ ๑ (เปรียบภิกษุกบั นักรบที่เห็นศัตรู จนชนะสงคราม) ................................................................... 96
- โยธาชีวสูตรที่ ๒ (เปรียบภิกษุกบั นักรบที่เจ็บป่ วยจากสงคราม) 98
- มหาทุกขักขันธสูตร (เปรียบชีวิตเป็ นทุกข์) ................................................................................................... 100
- จูฬทุกขักขันธสูตร (พ.ตอบโต้ พวกนิครนถ์ท่ที รมานตน ว่าไม่ได้ ร้ คู วามจริงของอดีต) 104
- มันธาตุราชชาดก (ไม่ร้ จู ักอิ่มในกาม) ........................................................................................................... 108
- รัชชสูตร (มารเชิญพระพุทธเจ้ าเสวยราชสมบัต)ิ 110
๑๐ เสริม เรื่องความประหยัดของพระอานนท์ 111
........................................................................

~5~
ก ธรรมวินัย คืออะไร
เดิมคือชื่อเรียกศาสนาของพระพุทธเจ้ า ปัจจุบันนิยมเรียกว่า “พุทธศาสนา”
(คือ คาสั่งสอนทั้งหมดของพระพุทธเจ้ า)
ซึ่งประกอบด้ วย
ธรรม และ วินยั
คาสอนแสดงหลักความจริงแนะนาความประพฤติ บทบัญญัตกิ าหนดระเบียบความเป็ นอยู่ และกากับความประพฤติ
ก . ๑) ความหมายของธรรมและวินยั
คาว่า ธรรม แปลว่า สภาพที่ทรงไว้ (หรือมีการทรงไว้ ซ่ึงภาวะของตนเป็ นลักษณะ)
ชื่อว่า ธรรม เพราะอรรถว่า อันปัจจัยทั้งหลายทรงไว้ หรือว่ าย่อมทรงไว้ ตามสภาวะ
คุณของพระธรรม คือ ย่อมทรง(รักษา)ผู้ประพฤติปฏิบัติ ไม่ให้ ตกไปในที่ช่ัว
หรือ ธรรมคุณ ๖ คือ ๑.สฺ วากฺ ขาโต ภควตา ธมฺ โม พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้ าตรัสดีแล้ ว
๒.สนฺ ทิฏฺฐิโก อันผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นชัดด้ วยตนเอง
๓.อกาลิโก ไม่ประกอบด้ วยกาล
๔.เอหิปสฺ สิโก ควรเรียกให้ มาดู
๕.โอปนยิโก ควรน้ อมเข้ ามา
๖.ปจฺ จตฺ ตํ เวทิตพฺ โพ วิญฺญูหิ อันวิญญฺชนพึงรู้เฉพาะตน
ธมฺ มศัพท์ ใช้ในอรรถว่า ปริยตั ิ เหตุ(สิ่งทีใ่ ห้เกิดผล,เค้ามูล) คุณ(วิบาก/ผล) และนิสสัตตนิชชีวะ(ไม่ใช่สตั ว์ไม่ใช่บุคคล)
อภิ.ส.อ.๗๕ หน้ า ๑๕๒
คาว่า ธรรม มีความหมายหลายนัย กล่าวคือ (states, things, phenomena, ideas) พระพรหมคุณาภรณ์
๑.ธรรมชาติ ธรรมชาติ (ของที่เกิดเองตามวิสยั ของโลก)
๒.กฏของธรรมชาติ ธรรมดา (อาการหรือความเป็ นไปแห่งธรรมชาติ)
๓.ข้ อปฏิบัติในการอยู่ร่วมกับธรรมชาติ ธรรมจริยา (การประพฤติเป็ นธรรม/การประพฤติชอบ)
๔. คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้ า ธรรมเทศนา (การแสดงธรรม/คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้ า ซึ่งแสดงธรรมให้ เปิ ดเผยปรากฏขึ้น)

๑.สภาวธรรม(ธรรมชาติ) ๒.สัจจธรรม(กฏของธรรมชาติ)
๓.ปฏิปัตธิ รรม(หน้ าที่ตามกฏของธรรมชาติ) ๓.ปฏิเวธธรรม(ผลที่เกิดขึ้นมาจากการปฏิบตั หิ น้ าที่) พุทธทาสภิกขุ
สิ่ง ปรากฏการณ์ เหตุ สภาวะ(สิง่ ที่เป็ นเองตามธรรมดาของเหตุปัจจัย) สัจจธรรม ความจริง ธรรมารมณ์(สิ่งที่ใจคิด) คุณธรรม
ความดี ความถูกต้ อง ความประพฤติชอบ หลักการ แบบแผน ธรรมเนียม หน้ าที่ ความยุตธิ รรม พระธรรมคาสั่งสอนของ พระพุทธเจ้ า,
รูปธรรม(รูปิโน ธมฺ มา)-อรูปธรรม(อรูปิโน ธมฺ มา) (สิ่งที่มรี ปู -สิง่ ที่ไม่มรี ปู )
โลกียธรรม-โลกุตตรธรรม (ธรรมอันเป็ นวิสยั ของโลก-ธรรมอันมิใช่วิสยั ของโลก)
สังขตธรรม-อสังขตธรรม (สิ่งที่ปัจจัยปรุงแต่ง-สิง่ ที่ปัจจัยไม่ปรุงแต่ง)
๑.กุศลธรรม สภาวะที่ฉลาด ดีงาม เอื้อแก่สขุ ภาพจิต เกื้อกูลแก่ชีวิตจิตใจ ได้ แก่กุศลมูล๓ ก็ดี นามขันธ์๔ ที่สมั ปยุตด้ วยกุศลมูลนั้นก็ดี
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ที่มกี ุศลมูลเป็ สมุฏฐาน ก็ดี
๒.อกุศลธรรม สภาวะที่ตรงข้ ามกับกุศล ได้ แก่ อกุศลมูล๓ และกิเลสอันมีฐานเดียวกับอกุศลมูลนั้น ก็ดี นามขันธ์๔ ที่สมั ปยุตต้ วยอกุศล
มูลนั้น ก็ดี กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ที่มอี กุศลมูลเป็ นสมุฏฐาน ก็ดี
๓.อัพยากตธรรม สภาวะที่เป็ นกลางๆ ชี้ขาดลงมิได้ ว่าเป็ นกุศลหรืออกุศล ได้ แก่ นามขันธ์๔ ที่เป็ นวิบากแห่งกุศลและอกุศล, ธรรม
ทั้งหลายที่เป็ นกิริยา มิใช่กศุ ล มิใช่อกุศล มิใช่วิบากแห่งกรรม, รูปทั้งปวง, อสังขตธาตุ คือ นิพพาน

~6~
โดยนัยอรรถกถา.
๑. กุศลธรรม(กุสลา ธมฺมา) ด้ วยอรรถว่า ความไม่มโี รค ความไม่มโี ทษ ความฉลาด(ญาณ) และมีสขุ เป็ นวิบาก
สภาวะใดย่อมผูกพันโดยอาการที่บณ ั ฑิตเกลียด ชื่อว่า กุสะ ธรรมที่ช่ อื ว่า กุศล เพราะย่อมถอนขึ้น คือย่อมตัดกุสะ, ชื่อว่า กุศล
เพราะอรรถว่า ย่อมตัดกิเลสที่เกิดขึ้นแล้ วและที่ยงั ไม่เกิด (อุปมา กุสะ) เหมือนหญ้ าคาย่อมบาดส่วนแห่งมือที่ลูบคมหญ้ าทั้งสอง ฉะนั้น,
ชื่อว่า กุศล ย่อมตัด คือย่อมทาลายอกุศลเปรียบเหมือนหญ้ าคา ฉะนั้น
๒. อกุศลธรรม(อกุสลา ธมฺมา) ธรรมที่ไม่ใช่กุศล เป็ นปฏิปักษ์ต่อกุศล
๓. อัพยากตธรรม เพราะอรรถว่า ไม่กระทาให้ แจ้ ง อธิบายว่า ท่านไม่กล่าวไว้ โดยความเป็ นกุศลและอกุศล
ในบรรดาธรรมทั้งสามนั้น กุศลมีความไม่มโี ทษและมีวิบากเป็ นสุขเป็ นลักษณะ
อกุศลมีโทษและมีวิบากเป็ นทุกข์เป็ นลักษณะ
อัพยากตะมีอวิบาก(ไม่มวี ิบาก)เป็ นลักษณะ อภิ.ส.๓๔/๑/๑; อภิ.ส.อ.๗๕ หน้ า ๑๕๒
ลักษณะวินิจฉัยพระธรรมวินยั ๘ ประการ (ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพื่อ)
๑. วิราคะ คือ ความคลายกาหนัด ความไม่ติดพัน
๒. วิสงั โยค คือ ความหมดเครื่องผูกรัด ความไม่ประกอบทุกข์
๓. อปจยะ คือ ความไม่พอกพูนกิเลส ไม่ใช่เพื่อสะสมกิเลส
๔. อัปปิ จฉตา คือ ความอยากอันน้ อย ความมักน้ อย ไม่ใช่เพื่อความักมาก
๕. สันตุฏฐี คือความสันโดษ
๖. ปวิเวก คือ ความสงัด ไม่ใช่เพื่อความคลุกคลีด้วยหมู่คณะ
๗. วิริยารัมภะ คือ การประกอบความเพียร ไม่ใช่เพื่อความเกียจคร้ าน
๘. สุภรตา คือ ความเลี้ยงง่าย
ธรรมเหล่านี้ พึงรู้ว่าเป็ นธรรม เป็ นวินัย เป็ นสัตถุสาสน์ คือ คาสอนของพระศาสดา
ลักษณะวินิจฉัยพระธรรมวินัย
วินย.๗/๕๒๓/๒๑๓, องฺ.อฏฺฐ.๒๓/๑๔๓/๒๕๕ (สังขิตตสูตร)
[๕๒๓] ครัง้ นั้น พระมหาปชาบดีโคตมี เข้าไปเฝ้ าพระผูม ้ ีพระภาค ถวายบังคม ได้ยืน ณ ทีค ่ วรส่วนข้างหนึ่ง แล้วกราบทูลว่า ขอ
ประทานพระวโรกาส พระพุทธเจ้าข้า ขอพระผูม ้ ีพระภาคโปรดแสดงธรรมโดยย่อ ทีห ่ ม่อมฉันฟังธรรมของพระผูม ้ ีพระภาคแล้ว
เป็ นผูเ้ ดียวจะพึงหลีกออกไม่ประมาท มีความเพียร มีตนส่งไปอยู่
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรโคตมี เธอพึงรู ธ้ รรมเหล่าใดว่า ธรรมเหล่านี้ เป็ นไปเพื่อความกาหนัด ไม่ใช่เพื่อคลายความ
กาหนัด เป็ นไปเพื่อความประกอบ ไม่ใช่เพื่อความพราก เป็ นไปเพื่อความสะสม ไม่ใช่เพื่อความไม่สะสม เป็ นไป เพื่อความมัก
มาก ไม่ใช่เพือ ่ ความมักน้อย เป็ นไปเพือ ่ ความไม่สน ั โดษ ไม่ใช่เพือ
่ ความสันโดษ เป็ นไปเพือ ่ ความคลุกคลีดว้ ยหมู่ ไม่ใช่เพือ
่ ความ
สงัด เป็ นไปเพือ ่ ความเกียจคร้าน ไม่ใช่เพือ่ ปรารภความเพียร เป็ นไปเพือ ่ ความเลี้ยงยาก ไม่ใช่เพือ ่ ความเลี้ยงง่าย ดูกรโคตมี เธอ
พึงทรงจาธรรมเหล่านัน ้ ไว้โดยส่วนเดียวว่า นั่นไม่ใช่ธรรม นั่นไม่ใช่วน ิ ยั นั่นไม่ใช่สตั ถุศาสน์
ดูกรโคตมี อนึ่ง เธอพึงรูธ้ รรมเหล่าใดว่า ธรรมเหล่านี้
(1) เป็ นไปเพือ ่ ความคลายกาหนัด ไม่ใช่เพือ ่ มีความกาหนัด (2) เป็ นไปเพือ ่ ความพราก ไม่ใช่เพือ ่ ความประกอบ
(3) เป็ นไปเพือ ่ ความไม่สะสม ไม่ใช่เพือ ่ ความสะสม (4) เป็ นไปเพือ ่ ความมักน้อย ไม่ใช่เพือ ่ ความมักมาก
(5) เป็ นไปเพือ ่ ความสันโดษ ไม่ใช่เพือ ่ ความไม่สน ั โดษ (6) เป็ นไปเพือ ่ ความสงัด ไม่ใช่เพือ ่ ความคลุกคลีดว้ ยหมู่
(7) เป็ นไปเพือ ่ ปรารภความเพียร ไม่ใช่เพือ ่ ความเกียจคร้าน (8) เป็ นไปเพือ ่ ความเลี้ยงง่าย ไม่ใช่เพือ ่ ความเลี้ยงยาก
ดูกรโคตมี เธอพึงทรงจาธรรมเหล่านัน ้ ไว้โดยส่วนเดียวว่า นั่นเป็ นธรรม นั่นเป็ นวินยั นั่นเป็ นสัตถุศาสน์ ฯ

อรรถกถาสังขิตตสูตรที่ ๓ องฺ.อฏฺฐ.๓๗ หน้า ๕๕๘


บทว่า สราคาย แปลว่า เพื่อความมีความกาหนัด. บทว่า วิราคาย แปลว่า เพื่อความคลายกาหนัด.
บทว่า สโยคาย ได้แก่ เพื่อประกอบสัตว์ไว้ในวัฏฏะ. บทว่า วิสโยคาย ความว่า เพื่อความไม่ประกอบสัตว์ไว้ในวัฏฏะ.
บทว่า อาจยาย ได้แก่ เพื่อความขยายวัฏฏะ. บทว่า โน อปจยาย ได้แก่ ไม่ใช่เพื่อความขยายวัฏฏะ.
บทว่า ทุพฺภรตาย แปลว่า เพื่อความเลี้ยงยาก. บทว่า โน ทุพฺภรตาย แปลว่า ไม่ใช่เพื่อความเลี้ยงง่าย.
ในพระสูตรนี้พระผูม ้ ีพระภาคเจ้าตรัสวัฏฏะด้วยปฐมวาร แต่ในทุติยวารตรัสวิวัฏฏะ. ก็แลพระนางโคตมีบรรลุพระอรหัต ด้วยพระ
โอวาทนี้แล.
……………………………………………………..

~7~
มหาประเทศ ๔ (หลักตัดสินธรรมวินยั ๔ ประการ)
(ตามนัยแห่ง มหาปรินิพพานสูตร ที.ม.๑๐/๑๑๒/๑๐๑)
[๑๑๒] ครัง้ นัน ้ พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ตามความพอพระทัยในบ้านภัณฑคามแล้ว ตรัสเรียกท่านพระอานนท์ มารับสั่งว่า มาไปกัน
เถิดอานนท์ เรา จักไปยังบ้านหัตถีคาม อัมพคาม ชัมพุคาม และโภคนคร ท่านพระอานนท์ทูลรับพระดารัสของพระผู้มพ ี ระภาคแล้ว ฯ
ลาดับนัน ้ พระผู้มีพระภาคพร้อมด้วยภิกษุ สงฆ์หมูใ่ หญ่เสด็จถึงโภคนคร แล้ว ได้ยินว่า พระผู้มีพระภาคประทับ ณ อานันทเจดีย์ ใน
โภคนครนัน ้ ณ ทีน ่ น
้ ั พระผูม ้ พ
ี ระภาครับสั่งกะภิกษุ ทง้ ั หลายว่า ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย เราจักแสดง มหาประเทศ ๔ เหล่านี้ พวกเธอจงฟัง จงใส่ใจให้
ดี เราจักกล่าว ภิกษุ เหล่านัน ้ ทูลรับพระดารัสของพระผู้มีภาคแล้ว พระผูม ้ พ
ี ระภาคได้ตรัสดังต่อไปนี้
[๑๑๓] ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ภิกษุ ในธรรมวินยั นี้ พึงกล่าวอย่างนี้ว่า อาวุโส ข้อนี้ข้าพเจ้าได้ฟงั มา ได้รบ ั มาเฉพาะพระพักตร์ พระผู้มีพ ระ
ภาคว่า นี้เป็ นธรรม นี้เป็ นวินยั นี้เป็ นคาสั่งสอนของพระศาสดา ดังนี้ พวกเธอไม่พึงชื่นชม ไม่พงึ คัดค้าน คากล่าวของภิกษุ นน ้ ั ครัน ้ แล้วพึงเรียน
บทและพยัญชนะเหล่านัน ้ ให้ดี แล้วสอบสวนในพระสูตร เทียบเคียงในพระวินยั ถ้าสอบสวนในพระสูตร เทียบเคียงในพระวินยั ลงในพระสูตร
ไม่ได้ เทียบเคียงในพระวินยั ไม่ได้ พึงถึงความตกลงในข้อนี้ว่า นี้มใิ ช่คาของพระผู้มีพระภาคแน่ นอน และภิกษุ นี้จามาผิดแล้ว ดังนัน ้ พวกเธอ
พึงทิง้ คากล่าวนัน ้ เสีย ถ้าเมือ่ สอบสวนในพระสูตร เทียบเคียงในพระวินยั ลงในพระสูตรได้ เทียบเคียงในพระวินยั ได้ พึงถึงความตกลงในข้ อนี้ ว่า
นี้เป็ นคาสั่งสอนของพระผูม ้ พี ระภาคแน่ นอน และภิกษุ นี้จามาถูกต้องแล้ว ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย พวกเธอพึงทรงจามหาประเทศข้อทีห ่ นึ่งนี้ไว้ ฯ
[๑๑๔] ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ก็ภก ิ ษุ ในธรรมวินยั นี้ พึงกล่าวอย่างนี้วา่ สงฆ์พร้อมทัง้ พระเถระ พร้อมทัง้ ปาโมกข์ อยูใ่ นอาวาสโน้น ข้าพเจ้า
ได้ฟงั มา ได้รบ ั มาเฉพาะหน้าสงฆ์นน ้ ั ว่า นี้เป็ นธรรม นี้เป็ นวินยั นี้เป็ นคาสั่งสอนของ พระศาสดา ดังนี้ พวกเธอไม่พงึ ชื่นชมไม่พงึ คัดค้าน ... ถ้า
เมือ่ สอบสวนในพระสูตร เทียบเคียงในพระวินยั ลงในพระสูตรไม่ได้ ลงในพระวินยั ไม่ได้ พึงถึงความตกลงในข้อนี้ว่า นี้มใิ ช่คาสั่งสอนของพระ
ผูม
้ พ ี ระภาคแน่ นอน และภิกษุ สงฆ์นน ้ ั จามาผิดแล้ว ดังนัน ้ ... พวกเธอพึงทรงจามหาประเทศข้อทีส ่ องนี้ไว้ ฯ
[๑๑๕] ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ก็ภก ิ ษุ ในธรรมวินยั นี้ พึงกล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุ ผเู้ ป็ นเถระมากรูปอยูใ่ นอาวาสโน้น เป็ นพหูสต ู มีอาคมอันมาถึง
แล้ว เป็ นผู้ทรงธรรม ทรงวินยั ทรงมาติกา ข้าพเจ้าได้ฟงั มา ได้รบ ั มาเฉพาะหน้าพระเถระเหล่านัน ้ ว่า นี้เป็ นธรรม นี้เป็ นวินยั นี้เป็ นคาสั่งสอน
ของพระศาสดา ดังนี้ พวกเธอไม่พงึ ชืน ่ ชม ไม่พงึ คัดค้าน ... พวกเธอพึงทรงจามหาประเทศข้อทีส ่ ามนี้ไว้ ฯ
[๑๑๖] ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ก็ภก ิ ษุ ในธรรมวินยั นี้ พึงกล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุ ผู้เป็ นเถระอยู่ในอาวาสโน้น เป็ นพหูสูต มีอาคมอันมาถึงแล้ว
เป็ นผู้ทรงธรรม ทรง วินยั ทรงมาติกา ข้าพเจ้าได้ฟงั มา ได้รบ ั มาเฉพาะหน้าพระเถระนั้น ว่า นี้เป็ นธรรม นี้เป็ นวินยั นี้เป็ นคาสั่งสอนของพระ
ศาสดา ดังนี้ พวกเธอไม่พึงชื่นชม ไม่พึงคดั ค้าน คากล่าวของภิกษุ นน ้ ั ครัน ้ แล้ว พึงเรียนบทและพยัญชนะเหล่านั้นให้ดี แล้วสอบ สวนในพระ
สูตร เทียบเคียงในพระวินยั ถ้าเมือ ่ สอบสวนในพระสูตร เทียบเคียง ในพระวินยั ลงในพระสูตรไม่ได้ ลงในพระวินยั ไม่ได้ พึงถึงความตกลงใน
ข้อนี้ว่า นี้มใิ ช่คาสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคแน่ นอน และพระเถระนั้นจามาผิดแล้ว ดังนัน ้ พวกเธอพึงทิ้งคากล่าวนั้นเสีย ถ้าเมือ ่ สอบสวนใน
พระสูตร เทียบเคียงในพระวินยั ลงในพระสูตรได้ เทียบเคียงในพระวินยั ได้ พึงถึงความตกลงในข้อนี้ว่า นี้เป็ นคาของ พระผูม ้ พี ระภาคแน่ น อน
และพระเถระนัน ้ จามาถูกต้องแล้ว
ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย พวกเธอพึงทรงจามหาประเทศข้อทีส ่ น
ี่ ี้ไว้ ฯ ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย พวกเธอพึงทรงจา มหาประเทศทัง้ ๔ เหล่านี้ไว้ ฉะนี้แล ฯ
..................................................

คาว่า วินยั / วินยะ / วินโย ถ้าแปล วิ คานี้ ว่าแจ่มแจ้ง ก็แปลว่า นาไปทาให้ แจ่มแจ้ ง คาว่า วิจักขณะ แปลว่า
แจ่มแจ้ ง ไปศึกษาให้ มนั แจ่มแจ้ ง ทาความแจ่มแจ้ งให้ เกิดขึ้นในสิ่งที่เรียกว่า ตัวกูของกู
ถ้าแปล วิ คานี้ ว่าวินาศ ก็แปลว่า นาไปทาให้ วนิ าศ ขยี้ตวั กูของกูน้นั เสียให้ วินาศด้ วยอานาจของการเห็นอย่างแจ่มแจ้ ง
ถ้าแปล วิ คํานี้วา่ วิเศษ ก็แปลว่า นาไปทาให้ วิเศษ (นาไปทาให้ เป็ นของวิเศษ) ให้ ดยี ่งิ ให้ เป็ นระเบียบ (ทาให้ เป็ นระเบียบ)
ให้ มนั น่าดู ต้ องควบคุมตัวกูของกูให้ มนั อยู่ในอานาจ ให้ มนั อยู่ในระเบียบ (ความสุขฯ ๑๓๖ พุทธทาสฯ)
วินัย หมายถึง นัยพิเศษ (วิเสส+นัย) เพราะมีอนุบญ ั ญัตเิ พิ่มเติมเพื่อทาให้ สกิ ขาบทรัดกุมยิ่งขึ้นหรือผ่อนผันให้ เพลาความเข้ มงวดลง
วินัย หมายถึง นัยต่างๆ (วิวิธ+นัย) เพราะมีปาติโมกข์ ๒ คือ ภิกขุปาติโมกข์และภิกขุนปี าติโมกข์ มีวิภังค์ ๒ คือ ภิกขุวิภังค์(มหาวิภังค์)
และภิกขุนวี ิภังค์, มีอาบัติ ๗ กอง เป็ นต้ น
[วิภังค์ แปลว่า คัมภีร์ท่จี าแนกความแห่งสิกขาบทเพื่ออธิบายแสดงความหมายให้ ชัดขึ้น]
วินยั หมายถึง กฎสาหรับฝึ กอบรมกายวาจา เพราะเป็ นเครื่องป้องกันความประพฤติที่ไม่เหมาะสมทางกายและทางวาจา
(ชีทท่านพระครูฯ)
(ฉะนั้น) วินัย จึงเป็ นส่วนหนึ่งในอธิสลี สิกขา หรือเป็ นส่วนหนึ่งของศีล
วินัย คือ การจัดตั้งวางระบบแบบแผน ซึ่งเป็ นสิ่งที่มนุษย์สมมติจัดวางขึ้น เป็ นรูปแบบ กฏเกณฑ์กติกาของสังคม เพื่อการจัดสรร
โอกาส ให้ เกิดโอกาส นาไปสู่ผลที่ปรารถนา
ในทางพุทธศาสนา ข้ อกาหนดที่ตกลงวางไว้ น้ ี มิใช่การบังคับ แต่ถอื เป็ นโอกาสในการฝึ กฝนตนเอง เพื่อให้ โอกาสแก่ส่งิ ที่ดงี ามเป็ น
ประโยชน์(กุศล)ได้ เกิดขึ้น และปิ ดโอกาสแก่อกุศลมิให้ เกิดขึ้น
การที่สงั คมมนุษย์จะอยู่ได้ ด้วยดี จาเป็ นจะต้ องฝึ กคนให้ ห่างเหินจากสิ่งที่ไม่เป็ นประโยชน์ และเกิดพฤติกรรมที่ดี มีความเคยชินต่อ
สิ่งที่ดพี ึง ปรารถนา ทั้งทางกาย การเคลื่อนไหวแสดงออก ทางวาจา การติดต่อสัมพันธ์ การสื่อสาร การปรากฏตัว และกิริยา การแสดงออก
ต่างๆ อันจะก่อให้ เกิด ความเคยชินที่ดงี ามพึงปรารถนา
ฉะนั้น ความมุ่งหมายของวินัย จึงอยู่ท่กี ารสร้ างพฤติกรรมความเคยชินที่ดงี ามให้ เกิดขึ้น
~8~
ธรรมเป็ นสิง่ คุ้มครองจิตใจ, วินัยเป็ นสิ่งควบคุมกายและวาจา
อุปมา ธรรมะ เหมือน นา้ คือ ส่วนเนื้อหาสาระ , วินัย เหมือน แก้ วนา้ คือ รูปแบบ กฏเกณฑ์ต่างๆ
ธรรม เป็ นทั้งฐานของวินัย และเป็ นทั้งจุดหมายของวินัย
(ท่านว่า จุดหมายของธรรม คือ ความสิ้นทุกข์โดยชอบ)
วินยั มี ๒ อย่าง คือ
๑. อนาคาริ ย วิ น ยั แปลว่ า วิ นั ย ของผู้ ไ ม่ ค รองเรื อ น(อนาคาริ กชน) คื อ ศี ล ๑๐(ส าหรั บ สามเณร) วิ นั ย ของบรรพชิ ต
(พระสงฆ์) ได้ แก่ การไม่ต้องอาบัติท้งั ๗ อย่าง (ชื่อของอาบัติ ๗ อย่าง คือ ๑.ปาราชิก ๒.สังฆาทิเสส ๓.ถุลลัจจัย ๔.ปาจิตตีย์ ๕.ปาฏิเทสนียะ ๖.ทุก
กฏ ๗.ทุพภาสิต, ซึ่งปรับอาบัติโดยตรง ๔ อย่าง คือ ปาราชิก สังฆาทิเสส ปาจิตตีย์ และปาฏิเทสนียะ, ปรับโดยอ้อม ๓ อย่าง คือ ถุลลัจจัย ทุกกฏ และทุพภาสิต)
หรือ ปาริสทุ ธิศีล ๔ [๑๔๙] (คือ ความประพฤติบริสทุ ธิ์ท่จี ัดเป็ นศีล ๑.ปาฏิโมกขสังวรศีล ๒.อินทรียสังวร ๓.อาชีวปาริสทุ ธิศลี ๔.ปัจจัยสันนิสติ ศีล)
๒. อาคาริยวินยั แปลว่า วินัยของผู้ครองเรือน คือ วินัยของชาวบ้ าน ได้ แก่ ศีล ๕(นิจศีล) ศีล๘(อุโบสถศีล) การงดเว้ นจาก
อกุศลกรรมบท ๑๐ หรือ หมายความถึงการประกอบกุศลกรรมบท ๑๐ (ทางแห่งกรรมดี, กรรมดีอนั เป็ นทางนาไปสู่ความสุขความเจริญหรือ
สุคติ) นั่นเอง
..................................................

~9~
ก . ๒) ข้อแตกต่างระหว่างศีลและวัตร
ศีล-สิ กขาบท-วินัย-วัตร-ธุดงค์
ศีล แปลว่า ความประพฤติดีทางกายและวาจา การรักษากายและวาจาให้ เรียบร้ อย ซึ่งเป็ นคุณสมบัติภายในบุคคล ,
ข้ อปฏิบัติสาหรับควบคุมกายและวาจาให้ ต้งั อยู่ในความดีงาม เมื่อสามารถประพฤติปฏิบัติได้ ตามสิกขาบท ,
ข้ อปฏิบัติในการเว้ นจากความชั่ว ข้ อปฏิบัติในการฝึ กหัดกายวาจาให้ ดีย่ิงขึ้น มีกายและวาจาถูกต้ อง เหมาะสม
เป็ นปกติ ตั้งอยู่ในวินัย หมายถึง การรักษาปกติตามระเบียบวินัย
สิกขาบท คือ ข้ อที่ต้องศึกษา หรือข้ อศีลแต่ละข้ อของแบบแผน
วินัย คือ ระเบียบสาหรับกากับความประพฤติให้ เป็ นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน
วัตร แปลว่า กิจพึงกระทา, หน้ าที่, ธรรมเนียม, ความประพฤติ, ข้ อปฏิบัติ จาแนกออกเป็ น
๑. กิจวัตร ว่าด้ วยกิจที่ควรทา (เช่น อุปัชฌายวัตร สัทธิวิหาริกวัตร อาคันตุกวัตร)
๒. จริยาวัตร ว่าด้ วยมรรยาทอันควรประพฤติ (เช่นไม่ท้ งิ ขยะทางหน้ าต่าง ไม่จับต้ องวัตถุอนามาส)
๓. วิธวี ัตร ว่าด้ วยแบบอย่างที่พึงกระทา (เช่น วิธเี ก็บบาตร วิธเี ดินเป็ นหมู่)
วัตรปฏิบัติ. แปลว่า การปฏิบัติตามหน้ าที่, การทาตามข้ อปฏิบัติท่พี ึงกระทาเป็ นประจา หรือ ความประพฤติท่เี ป็ นไป
ตามขนบธรรมเนียมแห่งเพศ ภาวะ หรือวิถีดาเนินชีวิตของตน
ศีลวัตร
ศีล วัตร
- ข้ อที่จะต้ องสารวมระวังไม่ล่วงละเมิด - ข้ อที่พึงถือปฏิบัติ
- หลักความประพฤติท่วั ไปอันจะต้ องรักษาเสมอกัน - ข้ อปฏิบัติพิเศษเพื่อฝึ กฝนตนให้ ย่ิงขึ้นไป

ธุดงค์ แปลว่า องค์คุณเครื่องกาจัดกิเลส, ชื่อข้ อปฏิบัติประเภทวัตร เป็ นอุบายขัดเกลากิเลส มี ๑๓ ข้ อ คือ


๑. ปังสุกูลิกงั คะ ถือใช้ แต่ผ้าบังสุกุล ๗. ขลุปัจฉาภัตติกงั คะ ลงมือฉันแล้ วไม่ยอมรับเพิ่ม
๒. เตจีวริกงั คะ ใช้ ผ้าเพียงสามผืน ๘. อารัญญิกงั คะ ถืออยู่ป่า
๓. ปิ ณฑปาติกงั คะ เที่ยวบิณฑบาตเป็ นประจา ๙. รุกขมูลิกงั คะ อยู่โคนไม้
๔. สปทานจาริกงั คะ บิณฑบาตตามลาดับบ้ าน ๑๐. อัพโภกาสิกงั คะ อยู่กลางแจ้ ง
๕. เอกาสนิกงั คะ ฉันหนเดียว (ลุกจากที่แล้ ว ๑๑. โสสานิกงั คะ อยู่ป่าช้ า
≠ เอกภัตติโก ไม่ฉันอีกในวันนั้น) ๑๒. ยถาสันถติกงั คะ อยู่ในที่แล้ วแต่เขาจัดให้
๖. ปัตตปิ ณฑิกงั คะ ฉันเฉพาะในบาตร ๑๓. เนสัชชิกงั คะ ถือนั่งอย่างเดียวไม่นอน
(เพื่อกระทาความเพียร)
องฺ.ปญฺจ.๒๒/๑๘๑/๒๒๓(อารัญญกสูตร)
..................................................

~ 10 ~
ก . ๓) ลักษณะของธรรมตามนัยแห่ง ธัมมนิยามสูตร
ธัมมนิยาม องฺ.ติก.๒๑/๕๗๖/๓๖๘ บาลี

[๕๗๖] ๑๓๗ อุปฺปาทา วา ภิกฺขเว ตถาคตาน อนุปฺปาทา วา ตถาคตาน ฐิตาว สา ธาตุ ธมฺมฏฺฐิตตา ธมฺมนิยาม
ตา สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจาติ
๒ ต ตถาคโต อภิสมฺพุชฺฌติ อภิสเมติ อภิสมฺพุชฺฌิตฺวา อภิสเมตฺวา อาจิกฺขติ เทเสติ ป ฺ าเปติ ปฏฺ เปติ วิวรติ

วิภชติ อุตฺตานีกโรติ สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจาติ ฯ


อุปฺปาทา วา ภิกฺขเว ตถาคตาน อนุปฺปาทา วา ตถาคตาน ิตาว สา ธาตุ ธมฺมฏฺ ิตตา ธมฺมนิยามตา สพฺเพ สงฺขา
รา ทุกฺขาติ
๓ ต ตถาคโต อภิสมฺพุชฺฌติ อภิสเมติ อภิสมฺพุชฺฌิตฺวา อภิสเมตฺวา อาจิกฺขติ เทเสติ ป ฺ าเปติ ปฏฺ เปติ วิวรติ

วิภชติ อุตฺตานีกโรติ สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขาติ ฯ


อุปฺปาทา วา ภิกฺขเว ตถาคตาน อนุปฺปาทา วา ตถาคตาน ิตาว
สา ธาตุ ธมฺมฏฺ ิตตา ธมฺมนิยามตา สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตาติ
๔ ต ตถาคโต อภิสมฺพุชฺฌติ อภิสเมติ อภิสมฺพุชฺฌิตฺวา อภิสเมตฺวา อาจิกฺขติ เทเสติ ป ฺ าเปติ ปฏฺ เปติ วิวรติ

วิภชติ อุตฺตานีกโรติ สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตาติ ฯ


#๑ ม. ยาวตาวินีตา ฯ ๒-๓-๔. ม. ยุ. อิติสทฺโท นตฺถิ ฯ

อุปปาทสูตร องฺ.ติก.๒๐/๕๗๖/๒๗๓
[๕๗๖] ดูกรภิกษุท้งั หลาย เพราะตถาคตอุบัติข้ ึนก็ตาม ไม่อุบัติข้ ึนก็ตาม ธาตุน้ัน คือ ความตั้งอยู่ตามธรรมดา ความ
เป็ นไปตามธรรมดาก็คงตั้งอยู่ อย่ างนั้ นเอง ตถาคตตรั สรู้ บรรลุ ธาตุน้ั นว่ า สังขารทั้งปวงไม่ เที่ยงครั้ นแล้ วจึ งบอก แสดง
บัญญัติ แต่งตั้ง เปิ ดเผย จาแนก ทาให้ เข้ าใจง่ายว่าสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง
ดูกรภิกษุท้งั หลาย เพราะตถาคตอุบัติข้ ึนก็ตาม ไม่อุบัติข้ ึนก็ตาม ธาตุน้ัน คือ ความตั้งอยู่ตามธรรมดา ความเป็ นไป
ตามธรรมดา ก็คงตั้งอยู่อย่างนั้นเอง ตถาคตตรัสรู้ บรรลุธาตุน้ันว่า สังขารทั้งปวงเป็ นทุกข์ ครั้ นแล้ วจึงบอก แสดง บัญญัติ
แต่งตั้ง เปิ ดเผย จาแนก ทาให้ เข้ าใจง่ายว่า สังขารทั้งปวงเป็ นทุกข์
ดูกรภิกษุท้งั หลาย เพราะตถาคตอุบัติข้ ึนก็ตาม ไม่อุบัติข้ ึนก็ตามธาตุน้ัน คือ ความตั้งอยู่ตามธรรมดา ความเป็ นไป
ตามธรรมดา ก็คงตั้งอยู่อย่างนั้นเอง ตถาคตตรัสรู้ บรรลุธาตุ น้ันว่า ธรรมทั้งปวงเป็ นอนัตตา ครั้นแล้ วจึงบอก แสดง บัญญัติ
แต่งตั้ง เปิ ดเผย จาแนก ทาให้ เข้ าใจง่ายว่า ธรรมทั้งปวงเป็ นอนัตตา ฯ

พระอัสสชิเถระแสดงธรรม วิ.ม.๔/๖๕/๕๗
เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตส เหตุ ตถาคโต
เตสญฺจ โย นิโรโธ จ เอว วาที มหาสมโณ
ธรรมใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตเจ้ าทรงแสดงเหตุแห่งธรรมนั้น
และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะตรัสสอนอย่างนี้
…………………………………………..

~ 11 ~
๑ การบวช
คือ การที่กุลบุตรผู้มีจิตศรัทธาเลื่อมใสในพระธรรมคาสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า สละชีวิตการอยู่ครอง
เรือน สละเพศคฤหัสถ์ สละทรัพย์สินเงินทอง ไปใช้ ชีวิตในฐานะเป็ นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา เพื่อศึกษาเล่าเรียนพระ
ธรรมวินัย ค้ นคว้ าหาความจริ ง หาสัจธรรม หรื อแสวงหาสิ่งที่ดี เป็ นประโยชน์อย่างแท้ จริ ง โดยมีเป้ าหมายปลายทาง คือ
ความหลุดพ้ น เป็ นอิสระ หรือพระนิพพาน
๑.๑ ความหมายของการบวช
บวช มาจาก (ป+วช) ป แปลว่า ทั่ว, วชฺช แปลว่า โทษ ความผิด สิ่งที่ควรเว้ น สิ่งอันเขาพึงกล่าวติ
คาว่า บวช จึงแปลว่า เว้ นทั่ว คือเว้ นความชั่วทุกอย่าง เว้ นทั่วจากชีวิตการครองเรือน หมายถึง การถือเพศเป็ น ภิกษุ
สามเณรหรือนักพรต
ความมุ่งหมายและประโยชน์ของการบวช
ความมุ่งหมายของการบวช เพื่อทาที่สุดแห่งทุกข์ เพื่อทาให้ แจ้ งพระนิพพาน และในการบวชนั้นจะมีประโยชน์ คือ
๑) การบวชได้ ทาหน้ าที่ของพุทธศาสนิกชน ได้ มีโอกาสสืบต่ออายุพระศาสนา
๒) ทาหน้ าที่ของคนไทย เป็ นการสืบสานวัฒนธรรมไทย เพราะว่าพระศาสนาเป็ นสมบัติท่มี ีค่าอย่างยิ่งของชนชาติไทย
๓) ตอบแทนคุณบิดามารดา, ทาหน้ าที่ต่อบิดามารดา, พ่อแม่อยากให้ ลูกมีความสุข ความเจริญรุ่งเรือง
๔) เพื่อประโยชน์ตน เป็ นการฝึ กฝนพัฒนาตนเองในศีล สมาธิ ปัญญา
- สืบต่ออายุพระศาสนา - ช่วยสังคมไทย รักษาวัฒนธรรมไทย
- ตอบแทนคุณบิดามารดา - ได้ ฝึกหัดขัดเกลาตนเอง
การบรรพชาและอุปสมบท
คาว่า บรรพชา มาจาก ปพฺพชฺชา แปลว่า การบวช คือ การสละชีวิตครองเรือนออกบวช, ถ้ าใช้ เข้ าคู่กบั คาว่า อุปสมบท
คาว่า บรรพชา หมายถึง การบวชเป็ นสามเณร – อุปสมบท หมายถึง การให้ กุลบุตรบวชเป็ นภิกษุ หรือให้ กุลธิดาบวชเป็ น
ภิกษุณี หรือการบวชเป็ นภิกษุหรือภิกษุณี
สัทธิกวิหาริก = ศิษย์, ผู้อยู่ด้วย (ผู้ปรารถนาเพื่อฟัง ผู้เชื่อฟัง ผู้ท่อี าจารย์ควรสั่งสอน ชื่อว่า สิสสะ)
คู่กบั อุปัชฌาย์ = ผู้เพ่งโทษน้ อยใหญ่ (ผู้เฝ้ าเอาใจใส่ต่อการชี้โทษและแนะนาประโยชน์แก่ศิษย์)
อันเตวาสิก = ผู้อยู่ในสานัก, ภิกษุผ้ ขู ออยู่ร่วมสานัก (ผู้มปี รกติอยู่ใกล้ อาจารย์ ชื่อว่า อันเตวาสิก)
คู่กบั อาจารย์ = ผู้ส่งั สอนวิชาความรู้ (ผู้บาเพ็ญประโยชน์เกื้อกูลแก่ศิษย์ ผู้ท่ศี ิษย์ควรประพฤติด้วยความเอื้อเฟื้ อ ควรปฏิบตั ใิ ห้ เป็ น
เบื้องหน้ า ควรปฏิบตั ติ ลอดชีวิต ชื่อว่า อาจริยะ)
พระราชา (อโศก) ตรัสถามว่า พ่อเณร ! ผู้ท่ชี ่ือว่าอุปัชฌายะนี้ ได้ แก่คนเช่นไร ?
สามเณร (นิโครธ) ถวายพระพรว่า มหาบพิตร ! ผู้ท่เี ห็นโทษน้ อยใหญ่ แล้ วตักเตือน และให้ ระลึก ชื่อว่าพระอุปัชฌายะ.
พระราชา ตรัสถามว่า พ่อเณร ! ผู้ท่ชี ่ือว่าพระอาจารย์น้ ี ได้ แก่คนเช่นไร ?
สามเณร ถวายพระพรว่า มหาบพิตร ! ผู้ท่ใี ห้ อนั เตวาสิกและสัทธิวิหาริก ตั้งอยู่ในธรรมที่ควรศึกษาในพระศาสนานี้ ชื่อว่าพระอาจารย์.
พระราชา ตรัสถามว่า พ่อเณร ! ผู้ท่ชี ่ือว่าภิกษุสงฆ์น้ ี ได้ แก่คนเช่นไร ?
สามเณร ถวายพระพรว่า มหาบพิตร ! บรรพชาและอุปสมบทของอาจารย์และอุปัชฌายะของอาตมภาพ และบรรพชาของอาตมภาพ อาศัยหมู่
ภิกษุใด หมู่ภิกษุน้ัน ชื่อว่าภิกษุสงฆ์. วิ.ม.อ.๑ หน้ า ๘๕

~ 12 ~
๑.๒ ประเพณีการบวชเรียน
(สมัยสุโขทัย) พระเจ้ าลิไท
(ก่อนขึ้นครองราชย์ขณะเป็ นพระยุพราชเป็ นอุปราชครองเมืองศรีสชั นาลัยหรือสวรรคโลก ได้ แต่งหนังสือ “ไตรภูมพิ ระร่วง” ,
ไตรภูมิพระร่วง มีหลายชื่อเรียกได้ แก่ "ไตรภูมพิ ระร่วง" "เตภูมกิ ถา" "ไตรภูมกิ ถา" "ไตรภูมโิ ลกวินิจฉัย" และ "เตภูมโิ ลกวินิจฉัย" เป็ น
วรรณคดีพุทธศาสนาที่แต่งในสมัยสุโขทัยประมาณ พ.ศ. 1882 โดยพระราชดาริในพระยาลิไท รวบรวมจากคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา มี
เนื้อหาเกี่ยวกับโลกสันฐาน ที่แบ่งเป็ น 3 ส่วน หรือ ไตรภูมิ ได้ แก่ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูม)ิ
(ต่อมาปี พ.ศ.๑๘๙๙ ทรงยึดอานาจสุโขทัย ครองราชย์ต่อจากพระยาเลอไท)
ทรงผนวชในพระพุทธศาสนาเมื่อ พ.ศ. 1905 ที่วัดป่ ามะม่วง (วัดอรัญญิก) ภายหลังผนวช ทรงได้ พระนามว่ า
พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไท)
(สมัยอยุธยา) สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑-๒๐๓๑) พระองค์ทรงสละราชสมบัติออกผนวช อยู่ ณ
วัดจุฬามณี เป็ นเวลา ๘ เดือน เมื่อ พ.ศ. ๑๙๙๘ นอกจากทรงผนวชเองแล้ ว ใน พ.ศ. ๒๐๒๗ ยังโปรดให้ พระราชโอรส
กับพระราชนัดดาผนวชเป็ นสามเณรด้ วย ข้ อนี้สนั นิษฐานว่า เป็ นต้ นประเพณีบวชเรียนของเจ้ านายและข้ าราชการ เป็ นต้ นมา
ทรงครองราชย์ยาวนานที่สดุ ในกรุงศรีอยุธยา คือ ๔๐ ปี เป็ นกษัตริย์พระองค์ท่ ี ๘ ในบรรดากษัตริย์ ๓๔ พระองค์ อาณาจักรกรุงศรีอยุธยามีช่วง
ระยะเวลาทั้งสิ้น ๔๑๗ ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.๑๘๙๓-พ.ศ.๒๓๑๐
พ.ศ.๒๑๒๗ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประกาศอิสรภาพไม่ข้ นึ กับพม่า

พ.ศ.๒๑๙๙ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงขึ้นครองราชย์เป็ นกษัตริย์รัชกาลที่ ๔ แห่งราชวงศ์ปราสาททอง ขณะมีพระชนมายุ ๒๕ พรรษา


ทรงครองราชย์ ๓๒ ปี แล้ วเสด็จสวรรคต (พ.ศ. ๒๑๙๙-๒๒๓๑) ในรัชกาลนี้มีหลักฐานว่าประเพณีการบวชเรียนคงจะได้ รับความ
นิยมกันมามาก ปรากฏว่าในรัชกาลนี้ ผู้บวชได้ รับพระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์อย่างดี
..................................................

ราชวงศ์พระร่วง
พระร่วง เป็ นพระนามที่ใช้ เรียกกษัตริย์ของอาณาจักรสุโขทัย มิได้ เฉพาะเจาะจงว่าหมายถึงผู้ใด แต่เป็ นที่ยอมรับ
กันว่า พระร่วงองค์สาคัญได้ แก่ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ผู้แยกตัวเป็ นอิสระจากขอม พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ผู้โปรด
ให้ สร้ างลายสือไทขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1826 และ พระร่วงลิไท ผู้แต่ง"เตภูมิกถา หรือ ไตรภูมิพระร่ วง" ขึ้น การจัดลาดับ
สุโขทัยนั้นมีการจัดลาดับแตกต่างกันดังนี้
สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ได้ ทรงจัดลาดับไว้ ดังนี้
สมัยทีเ่ ป็ นอิสระจากขอม (เริม
่ อาณาจักรสุโขทัย)
1. พระเจ้าศรีอน ิ ทราทิตย์ ้ แก่อยุธยา (ยังคงเป็ นสุโขทัย)
สมัยขึน
2. พระเจ้าบานเมือง 6. พระมหาธรรมราชาที่ 2
3. พระเจ้ารามคาแหง 7. พระมหาธรรมราชาที่ 3
4. พระเจ้าเลอไท 8. พระมหาธรรมราชาที่ 4
5. พระเจ้าลิไท (มหาธรรมราชาที่ 1)
ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร จัดลาดับกษัตริย์สโุ ขทัยไว้ ดังนี้
พระนาม ปี ครองราชย์ ปี สวรรคต
1. พ่อขุนศรีอน
ิ ทราทิตย์ พ.ศ. 1762-1731 -
2. พ่อขุนบานเมือง - -
3. พระขุนรามราช(รามคาแหง) พ.ศ. 1822 ประมาณ พ.ศ. 1862
4. พระยาเลอไท - -
5. พระยางัวนาถม - -
6. พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) พ.ศ. 1890 ระหว่าง พ.ศ. 1911-1917
7. พระมหาธรรมราชาที่ 2 - ประมาณ พ.ศ. 1942
8. พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไท) - พ.ศ. 1962
9. พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) - ประมาณ พ.ศ. 1981

~ 13 ~
หม่อมเจ้ าจันทร์จิรายุ รัชนี ทรงจัดลาดับกษัตริย์สโุ ขทัยไว้ ดังนี้
พระนาม ปี ครองราชย์ ปี สวรรคต
1. พ่อขุนศรีนาวนาถม - -
2. พ่อขุนศรีอนิ ทรบดินทราทิตย์ - -
3.พ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์ ราว พ.ศ. 1806 -
4. พระยาบานเมือง - -
5. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช พ.ศ. 1822 -
6. พระยาไสสงคราม - พ.ศ. 1865
7. พระยาเลอไท(ธรรมิกราช) พ.ศ. 1865 พ.ศ. 1883
8. พระยางัวนาถม พ.ศ. 1883 พ.ศ. 1890
9. พระมหาธรรมราชา (ลิไท) พ.ศ. 1890 พ.ศ. 1922
10. พระมหาธรรมราชาที่ 2 ึ้ ครองราชสมบัติ
ไม่ได้ขน
11. พระมหาธรรมราชา (ไสลือไท) พ.ศ. 1922 พ.ศ. 1962
ก) สมัยผูส
้ าเร็จราชการ พ.ศ. 1922-1931
1. พระนางมหาเทวี พ.ศ. 1922 พ.ศ. 1924
2. พระยาศรีเทพาหูราช พ.ศ. 1924 พ.ศ. 1931
12. บรมปาลธรรมิกราช พ.ศ. 1962 พ.ศ. 1981

อาณาจักรสุโขทัย
อาณาจั ก รสุ โ ขทัย เป็ นอาณาจั ก รหนึ่ ง ของคนไทยที่มี ค วามเจริ ญ อยู่ ใ นระหว่ า ง พ.ศ. 1762-1981 ในช่ ว ง
ระยะเวลา 2 ศตวรรษเศษ นับว่ าเป็ นช่ วงระยะเวลาซึ่งนานพอที่ชาวสุโขทัยจะสร้ างระเบียบแบบแผนทางการเมืองการ
ปกครองของตนให้ เป็ นปึ กแผ่น พร้ อมๆ กับสร้ างสรรค์ผลงานทางด้ านศิลปวัฒนธรรมในรูปแบบต่างๆ ขึ้นมาด้ วย ซึ่ง
ผลงานที่อาณาจักรสุโขทัยสร้ างไว้ น้ัน ก็ได้ กลายเป็ นมรดกพื้นฐานของสังคมและวัฒนธรรมของคนไทยในยุคหลังๆ สืบ
ต่อมาจนถึงปัจจุบัน
ปัจจัยทีเ่ อื้ อต่อการสถาปนากรุงสุโขทัย
1. ขอมเริ่มเสื่อมอานาจ
2. ความเข้ มแข็งของผู้นาและความสามัคคีของคนไทย
3. นิสยั รักความอิสระเสรีของไทย
4. สภาพทาเลที่ต้ัง เนื่องจากกรุงสุโขทัยตั้งอยู่ริมฝั่งแม่นา้ ยม สามารถติดต่อกับเมืองอื่นๆได้ สะดวกทั้งทางบกและทาง
น้า ในแง่ทางยุทธศาสตร์กไ็ ม่ต้องหวั่นเกรงกับการถูกปิ ดล้ อมและการส่งกาลังทหารเข้ าป้ องกันข้ าศึก ในแง่ทาง
เศรษฐกิจก็เป็ นชุ มชนทางการค้ าและการเพาะปลูกที่สามารถเลี้ยงตนเองได้ ซึ่งการจะพั ฒนาบ้ านเมืองให้ มีความ
เจริญรุ่งเรือง ย่อมจะมีโอกาสประสบความสาเร็จได้ ง่าย
รายนามกษัตริยร์ าชวงศ์พระร่วง
กษั ตริ ย์ร าชวงศ์ พ ระร่ วงซึ่ งขึ้น ครองกรุงสุโขทัยต่ อจากราชวงศ์ ศรี นาวนาถุ ม ตามที่นั ก ประวั ติศ าสตร์ ใน
ปัจจุบันยอมรับ มีอยู่ท้งั หมด ๙ พระองค์ มีดังนี้
รายนามพระมหากษัตริย์ ปี ทีเ่ ริ่มครองราชย์โดยประมาณ ปี ทีส
่ วรรคตโดยประมาณ

๑. พ่อขุนศรีอน
ิ ทราทิตย์ ระหว่าง พ.ศ. 1762-1781 ไม่ปรากฏ

๒. พ่อขุนบางเมือง ไม่ปรากฏ ไม่ปรากฏ

๓. พ่อขุนรามคาแหง ระหว่าง พ.ศ. 1822-1841 ไม่ปรากฏ

๔. พระยาเลอไท พ.ศ. 1814 ไม่ปรากฏ

๕. พระยางั่งนาถม ไม่ปรากฏ ไม่ปรากฏ

~ 14 ~
๖. พระมหาธรรมราชาที1
่ (ลิไท) พ.ศ. 1890 ระหว่าง พ.ศ. 1911-1917

๗. พระมหาธรรมราชาที2
่ ไม่ปรากฏ พ.ศ. 1942

๘. พระมหาธรรมราชาที3
่ (ไสลือไท) ไม่ปรากฏ พ.ศ. 1926

๙. พระมหาธรรมราชาที4
่ (บรมปาล) ไม่ปรากฏ พ.ศ. 1981

ชาติไทยเริ่มมีประวัติเป็ นหลักฐานชัดเจน เมื่อไทยได้ ต้ังอาณาจักรขึ้น ณ ดินแดนสุวรรณภูมิ และมีนครหลวง


อยู่ท่เี มืองสุโขทัย หลักฐานการตั้งอาณาจักรนี้ได้ ปรากฎในศิลาจารึกวัดมหาธาตุ และศิลาจารึกวัดศรีชุมหลักที่ 2 ว่า มี
พ่อเมืองไทย 2 คน ชื่อพ่อขุนบางกลาวหาว เจ้ าเมืองบางยาง กับพ่อขุนผาเมือง เจ้ าเมืองราด บุตรของพ่อขุนศรีนาวนา
ถมเจ้ าเมืองสุโขทัย ซึ่งขณะนั้นเป็ นประเทศราชของขอม พ่ อเมืองทั้งสองนี้ได้ รวมกาลั งกัน ยกทัพมาตีสุโขทัย ซึ่ งมี
ผู้ปกครองเมืองเรียกว่า “ขอมสมาดโขลญลาพง” รักษาอยู่ เมื่อตีได้ เมืองสุโขทัยแล้ ว พ่อขุนผาเมืองได้ อภิเษกให้ พ่อ
ขุนบางกลาวหาว เป็ นเจ้ าเมืองครองกรุงสุโขทัย มีนามตามอย่างที่ขอมเคยตั้งนามเจ้ าเมืองสุโขทัยแต่ก่อนว่า “ศรีอนิ ทร
ปตินทราทิตย์” แต่เรียกในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงว่า “ขุนศรีอนิ ทราทิตย์” นับว่ากรุงสุโขทัยเป็ นศูนย์กลางการ
ปกครองและมีเอกราชโดยสมบูรณ์เมื่อประมาณ พ.ศ. 1800
พ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์ มีมเหสีช่ ือนางเสือง และมีพระราชโอรสด้ วยกัน 3 พระองค์ องค์ใหญ่ส้ นิ พระชนม์ต้ังแต่
ยังเยาว์ องค์กลางมีนามว่ า “บานเมือง” และองค์เล็กมีนามว่ า “พระรามคาแหง” เมื่อพ่ อขุนศรี อินทราทิตย์เสด็จ
สวรรคตแล้ ว พ่อขุนบานเมืองได้ ข้ นึ ครองราชย์ต่อมา พ่อขุนบานเมืองได้ ทรงตั้งพระรามคาแหงเป็ นมหาอุปราชไปครอง
เมืองชะเลียง พ่อขุนบานเมืองได้ ครองราชย์อยู่จนถึงราว พ.ศ. 1822 ก็สวรรคต พระรามคาแหงพระอนุชาจึงได้ รับราช
สมบัติข้ นึ ครองกรุงสุโขทัยสืบต่อมา
ลาดับกษัตริยท์ ีค่ รองกรุงสุโขทัย
1. พ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์ 6. พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท)
2. พ่อขุนบานเมือง 7. พระมหาธรรมราชาที่ 2
3. พระขุนรามราช (รามคาแหง) 8. พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไท)
4. พระยาเลอไท 9. พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล)
5. พระยางัวนาถม
จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเคยเป็ นเมืองหลวงเก่าของประเทศไทย นามย่อ กรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยา มหาดิลก
นพรัตน์ราชธานี บุรีรมย์ เรียกทั่วไปว่า กรุงศรีอยุธยา มีความเจริญรุ่งเรืองในด้ านการปกครองเศรษฐกิจ สังคม และ
ต่างประเทศ เป็ นราชธานียาวนานถึง 417 ปี มีพระมหากษัตริย์ปกครอง 5 ราชวงศ์ มีพระมหากษัตริย์ 34 พระองค์
พระมหากษัตริยข์ องอาณาจักรอยุธยา
1. สมเด็ จ พระรามาธิ บ ดี ที่ 1 (พระเจ้ า อู่ ท อง) ราชวงศ์ อู่ท อง 5. สมเด็ จ พระรามราชาธิ ร าช โอรสพระราเมศวร ๑๙๓๘-
๑๘๕๗-พระราชสมภพ ๑๘๙๓-สถาปนาอโยธยา ๑๙๑๒- พระชนมายุได้ ๔๐ ปี ครองราชย์ถงึ ๑๙๕๕
สวรรคต 6. สมเด็จพระอินทราชา (พระนครินทราธิราช) ราชวงศ์สุพรรณ
2 สมเด็จพระมาเรศวร(ครัง้ ที่ 1) โอรสพระเจ้าอูท ่ อง ครองราชย์ ภูมิ
๑ ปี แล้วขุนหลวงพระงั่วเข้าตี จึงสละราชย์ให้ 7. สมเด็ จ พระบรมราชาธิร าชที่ 2 (เจ้า สามพระยา) เป็ นโอรส
3. สมเด็ จ พระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุ น หลวงพระงั่ว) ราชวงศ์ พระเจ้าอินทรราชา ๑๙๖๗-ครองราชย์ ๒๔ ปี ๑๙๙๑-สวรรคต
สุพรรณภูมิ ๑๙๑๓-ครองราชย์ ๑๙๓๑-สวรรคต 8. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พระเจ้าช้างเผือก) เป็ นโอรส
4. สมเด็จพระเจ้าทองลัน (หรือเจ้าทองจันทร์ โอรสขุนหลวงพระ พระเจ้าสามพระยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิ พระมารดาเชื้อสายพระ
้ ครองราชย์ได้เพียง ๗ วัน ก็ถูกพระมาเรศวรสาเร็จโทษ
งั่ว) ขึน ร่ ว ง ๑๙๗๔-พระราชสมภพ ๑๙๙๑-ครองราชย์ ร วม ๔๐ ปี
สมเด็ จ พระราเมศวร ครองราชย์ ครั้ง ที่ 2 แล้ว สวรรคตในปี ยาวนานทีส ่ ุดของอยุธยา ทรงรวบรวมนักปราชญ์นิพนธ์มหาชาติ
๑๙๓๘ คาหลวง และลิลต ิ พระลอ ๒๐๓๑-สวรรคตเมือ ่ พระชนมายุ ๕๗

~ 15 ~
9. สมเด็ จพระบรมราชาธิราชที่ 3 โอรสพระบรมไตรโลกนาถ พระชนนี ร าชวงศ์ สุพ รรณภู มิ (พระสวัสดิร าช ต าแหน่ ง พระวิ
๒๐๓๑-ครองราชย์ ๓ ปี ประทับ พิ ษ ณุ โ ลก สร้ า งต าราพิ ช ยั สุ ท ธิ ก ษัต รี ย์ ) ๒๑๑๒-ได้ ถ วายพระสุ พ รรณกัล ยา ราชบุ ต รี
สงครามฉบับแรกของอโยธยา ๒๐๓๔-สวรรณคต พระชนมายุ ๑๗ พรรษาเป็ นพระมเหสี บุ เ รงนอง พระนเรศ
10. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พระเชษฐาธิราช) โอรสพระบรม (พระองค์ ด า) พระเอกาทศรส(พระองค์ ข าว) ราชบุ ต ร ต่อมา
ไตรโลกนาถ ราชวงศ์สุพรรณภูมิ แห่งอโยธยา ๒๐๑๕-พระราช ล้านช้าง(ลาว)+พระมหินทราธิราชเข้าตีพษ ิ ณุ โลก พิษณุ โลก+หง
สมภพ เมือ ่ ๑๓ พรรษา ได้รบ ั แต่งตัง้ เป็ นพระมหาอุปราชได้ ๓ สาวดี ตี อโยธยา ๒๑๑๒-ทรงได้ร บ ั แต่ง ตัง้ เป็ นสมเด็ จ พระสรร
ปี พระราชบิดาก็สวรรคต เมือ ่ อายุ ๑๖ พรรษา ทรงยกราชสมบัติ เพชญ์ที่ ๑ จากพระเจ้าหงสา เป็ นต้นราชวงศ์สุโขทัย ให้ครองอ
ให้แก่พระเชษฐาอยู่ ๓ ปี จนพระเชษฐาธิราชสวรรคต ๒๐๓๔- โยธยาอยู่ ๑๕ ปี จนปี ๒๑๒๗ พระนเรศวรจึงประกาศอิสรภาพ
เมือ่ พระชันษา ๑๙ ครองราชย์ ได้ยาวนาน ๓๘ ปี ยาวนานรอง ๒๑๓๓-สวรรคต
จ า ก พ ร ะ บร มไ ต ร โ ล ก น า ถ ๒ ๐ ๗ ๑ - เ ริ่ ม เ รื่ อ ง ท ร งเจ ริ ญ 19. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ตองเจ/สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่
สัม พัน ธไมตรี ก บั โปรตุ เ กส ได้อ าวุ ธ ปื น ๒๐๗๒-นฤพานเมื่ อ ๒) ๒๐๙๘-พระราชสมภพ ๒๑๐๖-พิษณุ โลกเสียเมืองแก่หงสาว
พรรษา ๕๗ เป็ นปี ทีด ่ าวหางฮัลเลย์โคจรมาใกล้โลก ดี ถู ก เชิ ญ ไปประทับ ที่ห งสา เมื่อ ประชนมายุ ๙ พรรษา และ
11. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (หน่ อพุทธางกูร) โอรสพระ ประทับ อยู่ถึง ๘ ปี โดยมี พ ระมหาเถรคัน ฉ่ อง (ภายหลังได้รบ ั
บรมราชาธิราชที่ ๓ (หรื อโอรสพระราชาธิบดีที่ ๒) สมเด็จพระ แต่งตัง้ จากพระมหาธรรมราชาให้เป็ นสังฆราชา ทีส ่ มเด็จพระอริ
อนุ ชาธิราชเจ้า พระอาทิตยวงศ์ แห่งพิษณุ โลก ราชวงศ์สุพรรณ ยวงศ์) เมือ ่ พระชนม์ได้ ๑๖ ปี ได้กลับมาสูพ ่ ิษณุ โลก รัง้ ตาแหน่ ง
ภูมิ ๒๐๗๒-ครองราชย์ ๔ ปี ๒๐๗๖-ไข้ทรพิษระบาด นฤพาน มหาอุปราช ๒๑๒๔-บูเรงนอง(พระเจ้าไบเยงนอง)แห่งหงสาวดี
12. พร ะรัษ ฏา ธิ ร า ช พร ะร า ช สม ภ พ ๒๐๗๒ ๒๐๗๖- ๗- สวรรณคต นัน ทบุ เ รง(นนเตี๊ ย บายอง) ครองราชย์ แ ทน มี
ครองราชย์เมือ ่ พระชนมายุ ๕ พรรษา ได้ ๕ เดือน ถูกท่อนจันทน์ พระโอรสคื อ มัง สามเกี ย รติ(์ มัง กะยอชวา) ๒๑๒๗-มี ศึกเหนื อ
13. สมเด็จพระไชยราชาธิราช ราชวงค์สุพรรณภูมิ โอรสพระ เมืองคลัง ๒๑๒๗-พระเจ้าอังวะแข็งเมืองต่อหงสา พระนเรศวร
รามาธิบ ดีที่ ๒ ๒๐๗๗-ปราบดาภิเษก ๒๐๘๘-ต้องพระแสง ณ ยกทัพ มาถึ ง เมื อ งแครง ภายหลัง ประกาศอิ ส รภาพจากพม่ า
นครพิงค์เชียงใหม่ ๒๐๘๙-ถูกปลงพระชนม์ดว้ ยยาพิษ โดยท้าว อพยพครัวไทยหมืน ่ เศษกลับอโยธยา ริมฝั่งแม่น้าสะโตงทรงใช้
ศรีสุดาจันทร์ พระแสงยิง ถู ก สุ ร กรรมา แม่ท พ ั พม่า ตายบนคอช้ า ง ๒๑๓๓-
14. พ ร ะ ย อ ด ฟ้ า ( พ ร ะ แ ก้ ว ฟ้ า ) ๒ ๐ ๗ ๘ - ป ร ะ สู ติ ๒ ๐ ๘ ๙ - ครองราชย์ เมื่อพระชนม์ ได้ ๓๕ ปี รวม ๑๕ ปี ๒๑๓๕-กระทา
ครองราชย์ ไ ด้เ พี ย ง ๒ ปี โดยมี ท้า วศรี สุ ด าจัน ทร์ เ ป็ นผู้สาเร็ จ ยุทธหัตถีกบ ั มหาอุปราชามังสามเกียรติ ์ ทีห ่ นองสาหร่าย จังหวัด
ราชการพระองค์แรกที่เป็ นหญิง ๒๐๙๑-เมื่อพระชัน ษา ๑๑ ปี สุ พ รรณบุ รี ๒๑๓๘ และ ๒๑๔๑ กรี ฑ าทัพ ไปตี ห งสา จนในปี
ภายหลังขุนวรวงศาราชาภิเษก ถูกลอบปลงพระชนม์ ๒๑๔๒ พระเจ้าหงสาต้องหนี ไปเมืองตองอู เสด็จตามไปแต่ขาด
15. ขุนวรวงศาธิราช (บุญศรี) ราชวงศ์อท ู่ อง ๒๐๙๑-ราชาภิเษก เสบียงต้องกลับ ๒๑๔๗-ไปตีองั วะ ๒๑๔๘-สวรรคต ณ ตาบลทุง่
ได้ ๔๒ วัน โดยตัง้ น้ องชายชื่อ “จัน ” เป็ นมหาอุปราช ระหว่าง ดอนแก้ว เมืองห้างหลวง(หางวันจันทร์) ประชวรเป็ นหัวละลอก
ออกจับ ช้า งเผื อ กที่เมื่อ งละโว้ ถู ก ปลงพระชนม์ ที่ค ลองสระบัว ขึ้น ที่พ ระพัก ตร์ (บ้า งว่าแมลงมีพิษต่อ ย) รวมพระชนมพรรษา
ข้างคลองปลาหมอ(พระศรีสน ิ บุตรในครรภ์ทา้ วศรีสุดาจันทร์) ๕๐
16. สมเด็ จ พระมหาจัก รพรรดิ (พระเฑี ย รราชา/พระเจ้ า 20. สมเด็ จ พระเอกาทศรถ (พระสรรเพชญ์ ที่ ๓) ประสูติเมื่อ
ช้างเผือก) ราชวงศ์สุพรรณภูมิ โอรสพระรามาธิบดีที่ ๒ ทรงเป็ น ๒๑๐๐ ๒๑๔๘-ครองราชย์ ๕ ปี ๒๑๕๓-สวรรคตเมือ ่ ๕๐ พรรษา
พระอนุ ชาต่างมารดาของพระไชยราชา พ.ศ.๒๐๙๑-ครองราชย์ เพราะตรอมพระทัยทีพ ่ ระโอรสเจ้าฟ้ าสุทศั น์ เสวยยาพิษปลงพระ
นาน ๒๐ ปี หลังครองราชย์ ๗ เดือน พระเจ้าตะเบงชเวตี้ ราชวงศ์ ชนม์
ตองอู แห่ ง กรุ ง หงสาวดี กรี ฑ าทัพ ๓ แสนเข้ า ชิ ง พระนคร 21. พระศรีเสาวภาคย์ โอรสพระอกาทศรถ ๒๑๕๔-เนื่องจากไม่
(๒๐๙๒ พระสุริโยไท ราชวงศ์พระร่วง สิน ้ พระชนม์ขาดคอช้าง สนพระทัยในราชการบ้านเมือง ครองราชย์อยู่ ๑ ปี ๒ เดือน ก็
ด้วยพระเจ้าแปร ทรงมีโอรสคือ พระราเมศวร พระมหินทร์ พระ โดนขุนนาง(จมืน ่ เสาวลักษณ์ /พระเจ้าปราสาททอง)ปลดจากราช
สวัสดิราช พระบรมดิลก และพระเทพกษัตรีย์) พระเจ้าบุเรงนอง สมบัตแ ิ ละนาไปสาเร็จโทษ
ยกพล ๒ แสนตีพิษณุ โลกแตก แล้วยกเข้าล้อมอโยธยา พระมหา 22. สมเด็ จ พระเจ้า ทรงธรรม (พระศรี สิน ) เดิม เป็ นพระภิก ษุ
จักรพรรดิต้องขอหย่าศึก โดยเสียช้างเผือก ๔ เชื อก+พระราเม บวชอยู่วด ั ระฆัง (พระพิมลธรรมอนันตปรีชา) บ้างว่าโอรสพระ
ศวร+พระยาจักรี+พระยาสุนทรสงคราม หลังสงครามช้างเผือกนี้ นเรศวร ๒๑๕๓-ครองราชย์ ๑๗ ปี ให้แต่งมหาชาติคาหลวง พบ
พระมหาจักรพรรดิทรงผนวช พระเทพกษัตรีย์ปลงพระชนม์ชีพ พระพุทธบาทสระบุรี เนื่องจากไม่นิยมสงคราม จึงเสียเมืองทวาย
พระองค์เองหลังถูกชิงตัวขณะถูกส่งตัวแก่พระไชยเชษฐา กรุ ง กัมพูชา และเชียงใหม่ ๒๑๗๑-สวรรคต
ศรี ศตั รนาคณบุตร(ล้านช้าง) ๒๑๑๑-ลาผนวชเพื่อเป็ นจอมทัพ 23. สมเด็ จ พระเชษฐาธิร าช โอรสพระเจ้า ทรงธรรม ๒๑๗๑-
เพราะพระมหินทร์รง้ ั ราชการไม่ไหว พม่ายกทัพ ๕ แสนล้อมอ ครองราชย์เมือ ่ มีพระชนม์ ๑๕ พรรษา ครองราชย์ได้ ๘ เดือน ก็
โยธยา ๒๑๑๒-สวรรณคตระหว่า งศึกหงสาล้อมเมื องเมื่อ พระ ถูกสาเร็จโทษ
ชนม์ได้ ๕๖ 24. พระอาทิ ต ยวงศ์ พระอนุ ชาพระเชษฐาธิ ร าช ๒๑๗๒-
17. สมเด็จพระมหินทราธิราช ๒๐๘๒-พระราชสมภพ ๒๑๑๒- ครองราชย์เมือ ่ มีพระชนม์ ๑๐ พรรษา ครองราชย์ ๓๘ วันก็ถูก
สืบราชสมบัติ ระหว่างศึกหงสาล้อมอโยธยาได้ ๙ เดือนจึงแตก ส าเร็ จ โทษ เพราะเล่ น ซุ ก ซน (เป็ นกษัต ริ ย์ อ งค์ สุ ด ท้ า ยของ
เมือ
่ ๒๑๑๒ (เสียกรุงครัง้ ที่ ๑) ราชวงศ์สุโขทัย)
18. สมเด็ จ พระมหาธรรมราชาธิร าช (ขุ น พิ เ รนทรเทพ/พระ 25. สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (พระสรรเพชญ์ที่ ๕) สถาปนา
สรรเพชญที่ ๑/พระสุธรรมราชา) มีพระชนกราชวงศ์พระร่วง+ ราชวงศ์ปราสาททอง เป็ นลูกพี่ลูกน้องกับพระเจ้าทรงธรรม เป็ น
มหาดเล็ กในพระเอกาทศรถ ได้ยึดอานาจจากพระอาทิตยวงศ์
~ 16 ~
๒๑๗๒-ครองราชย์ เมือ ่ พระชนม์ ๓๐ พรรษา อยูน
่ าน ๒๗ ปี 30. สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8
26. สมเด็จเจ้าฟ้ าไชย 31. สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 (พระเจ้าสือ) (พระเจ้าท้ายสระ)
27. สมเด็จพระศรีสุธรรมราชา 32. สมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั บรมโกศ
28. สมเด็จพระนารายมหาราช 33. สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร(ขุนหลวงหาวัต)
29. สมเด็จพระเพทราชา 34. สมเด็จพระทีน
่ ่ งั สุรยิ าศน์ อมรินทร์(พะเจ้าเอกทัศน์ )

พระราชวังโบราณ เมื่อแรกสถาปนากรุ งศรี อ ยุ ธยาเป็ นราชธานี ของไทยนั้ นพระราชวั งหลวงซึ่ งเป็ นที่ประทับ ของ
พระมหากษัตริย์อยุธยานั้น อยู่ในบริเวณที่ปัจจุบันเป็ นที่ต้งั วัดพระศรีสรรเพชญ
..............................................
๒ คาศัพท์สาคัญที่ใช้ เรียกพระภิกษุสามเณร และความหมาย
๒.๑ ภิกษุ มาจาก ภิกขฺ ุ แปลว่า ผู้ขอ(ด้ วยกายวิญญัติ) ผู้นุ่งผ้ าย้ อมนา้ ฝาดถือบิณฑบาตและเข้ าฌานเป็ นวัตร ผู้นุ่งห่ม
ผ้ าทาลายสี ผู้มองเห็นภัยในสังขาร ผู้ทาลายกิเลสได้ ผู้บริโภคอมตรส ชายผู้ได้ อุปสมบทแล้ ว
สามเณร แปลว่า บุตร(เหล่ากอ)แห่งสมณะ ผู้มีสกิ ขาบท ๑๐ สมณุทเฺ ทส
สมณะ = ผู้สงบ
บรรพชิต มาจาก ปพฺพชิต แปลว่า ผู้ไปสู่ความเป็ นผู้ประเสริฐที่สุด หมายถึง นักบวช หรือผู้บวชแล้ ว เช่น ภิกษุ
สมณะ ดาบส ฤษี เป็ นต้ น
๒.๒ พระสงฆ์ และ ความแตกต่างระหว่างคาว่า ภิกษุกบั สงฆ์ ; ภิกษุสงฆ์กบั อริยสงฆ์
สงฆ์ หมู่, ชุมชน
พระสงฆ์ หมู่ชนที่ฟังคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้ าแล้ วปฏิบัติชอบตามพระธรรมวินัย, หมู่สาวกของพระพุทธเจ้ า
ภิกษุสงฆ์ หมู่แห่งภิกษุหรือชุมนุมภิกษุ
สมมติสงฆ์ ชุมนุมภิกษุหมู่หนึ่งตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป ซึ่งสามารถประกอบสังฆกรรมได้ ตามกาหนดทางพระวินัย ต่างโดย
เป็ นสงฆ์จตุรวรรคบ้ าง ปัญจวรรคบ้ าง ทศวรรคบ้ าง วีสติวรรคบ้ าง
อริยสงฆ์ หมู่สาวกของพระพุทธเจ้ า เรียกว่า สาวกสงฆ์ ดังคาสวดในสังฆคุณ ประกอบด้ วยคู่บุรุษ ๔ บุรุษบุคคล ๘ เริ่ม
แต่ทา่ นผู้ต้งั อยู่ในโสดาปัตติมรรค จนถึงพระอรหันต์
๒.๓ คาอื่นๆ และคาศัพท์ทีพ่ งึ ทราบ
มุนี [นักปราชญ์, ผู้ สละเรื อนและทรั พย์สมบั ติแล้ ว มีจิตใจตั้งมั่นเป็ นอิสระไม่ เกาะเกี่ยวติดพั นในสิ่งทั้งหลาย
สงบเย็น ไม่ทะเยอทะยานฝันใฝ่ ไม่แส่พร่านหวั่นไหว มีปัญญาเป็ นกาลังและมีสติรักษาตน]
สหธรรมิก [ผู้มีธรรมร่วมกัน, ผู้ประพฤติธรรมร่วมกัน, มี ๗ คือ ภิกษุ ภิกษุณี สิกขมานา (นางผู้กาลังศึกษา, สามเณรีผ้ ู
มีอายุถึง ๑๘ ปี แล้ ว อีก ๒ ปี จะครบบวชเป็ นภิกษุณี) สามเณร สามเณรี อุบาสก อุบาสิกา]
อุปสัมบัน [ผู้ได้ รับการอุปสมบทเป็ นภิกษุหรือภิกษุณีแล้ ว, ผู้อุปสมบทแล้ ว ได้ แก่ภิกษุและภิกษุณี]
ฉัน [กิน, รับประทาน (ใช้ สาหรับภิกษุสามเณร)]
จาวัด [นอนหลับ (ใช้ สาหรับพระสงฆ์)]
เจริญพร [(คาเริ่มและคารับที่ภิกษุสามเณรใช้ พูดกับคฤหัสถ์ผ้ ูใหญ่และสุภาพชนทั่วไป ตลอดจนใช้ เป็ นคาขึ้นต้ นและลง
ท้ ายจดหมายที่ภิกษุสามเณร มีไปถึงบุคคลเช่นนั้นด้ วย (เทียบได้ กบั คาว่าเรียนและครับหรือขอรับ)]
อาตมา [ฉัน, ข้ าพเจ้ า (สาหรับพระภิกษุสามเณรใช้ พูดกับผู้มีบรรดาศักดิ์ แต่บัดนี้ นิยมใช้ พูดอย่างให้ เกียรติแก่คนทั่วไป)]
อาตมภาพ [ฉัน, ข้ าพเจ้ า (สาหรับพระภิกษุสามเณรใช้ เรียกตัวเอง เมื่อพูดกับคฤหัสถ์ผ้ ูใหญ่ ตลอดถึงพระเจ้ าแผ่นดิน )]

~ 17 ~
ชีวติ พระ อริยวิถี
โยม [คาที่พระสงฆ์ใช้ เรียกคฤหัสถ์ท่เี ป็ นบิดามารดาของตน หรือที่เป็ นผู้ใหญ่คราวบิดามารดา บางทีใช้ ขยายออกไป เรียกผู้
มีศรัทธา ซึ่งอยู่ในฐานะเป็ นผู้อุปถัมภ์บารุงพระศาสนาโดยทั่วไปก็มี; คาใช้ แทนชื่อบิดามารดาของพระสงฆ์; สรรพนาม
บุรุษที่ ๑ สาหรับบิดามารดาพูดกะพระสงฆ์ (บางทีผ้ ูใหญ่คราวบิดามารดา หรือผู้เกื้อกูลคุ้นเคยก็ใช้ )]
โยมอุปัฏฐาก [คฤหัสถ์ท่แี สดงตนเป็ นผู้อุปการะพระสงฆ์โดยเจาะจง อุปการะรูปใด ก็เป็ นโยมอุปัฏฐากของรูปนั้น]
โยม คาที่พระสงฆ์ใช้ เรียกคฤหัสถ์ท่เี ป็ นบิดามารดาของตน หรือที่เป็ นผู้ใหญ่ คราวบิดามารดา บางทีใช้ ขยายออกไป
เรี ยกผู้ มีศ รั ท ธาซึ่ งอยู่ ในฐานะเป็ นผู้ อุ ป ถั ม ภ์บ ารุ งพระศาสนา โดยทั่วไปก็มี ; คาใช้ แ ทนชื่ อบิ ดามารดาของ
พระสงฆ์; สรรพนามบุรุษที่ ๑ สาหรับบิดามารดาพูดกะพระสงฆ์ (บางทีผ้ ูใหญ่คราวบิดามารดา หรือผู้เกื้อกูล
คุ้นเคยก็ใช้ )
อุปัฏฐาก ผู้บารุง, ผู้รับใช้ , ผู้ดูแลความเป็ นอยู่, ผู้อุปถัมภ์บารุงพระภิกษุสามเณร; ในพุทธกาล พระเถระมากหลายรูปได้
เปลี่ยนกันทาหน้ าที่เป็ นพระอุปัฏฐากของพระพุทธเจ้ า จนกระทั่งพรรษาที่ ๒๐ พระอานนท์จึงได้ รับหน้ าที่เป็ นพระ
อุปัฏฐากประจาพระองค์ (อรรถกถาใช้ คาเรียกว่า “นิพัทธุปัฏฐาก”) สืบมา ๒๕ พรรษา จนสิ้นพุทธกาล; อุปฐาก
ก็เขียน; ดู นิพัทธุปัฏฐาก, อานนท์
นิพทั ธุปัฏฐาก (พุทธอุปัฏฐาก)=อุปัฏฐากประจา ตามปกติ หมายถึงพระอุปัฏฐากประจาพระองค์ของพระพุทธเจ้ า คือพระอานนท์ ซึ่ง
ได้ รับหน้ าที่เป็ นพระอุปัฏฐากประจาพระองค์ต้งั แต่พรรษาที่ ๒๐ แห่ งพุทธกิจ เป็ นต้ นไปจนสิ้นพุทธกาล, ก่อนพรรษาที่ ๒๐ นั้น พระ
เถระมากหลายรูป รวมทั้งพระอานนท์ และพระมหาสาวกทั้งปวง ได้ เปลี่ยนกันทาหน้ าที่เป็ นพระอุปัฏฐากของพระพุทธเจ้ า ดังบางท่านที่
ปรากฏนามเพราะมีเหตุการณ์เกี่ยวข้ อง เท่าที่พบ คือ พระนาคสมาละ พระอุปวาณะ พระสุนักขัตตะ พระจุ นทะ พระนันทะ พระสาคตะ
พระโพธิ พระเมฆิยะ; ดู อานนท์, อุปัฏฐาก, พร ๘
อุปัฏฐายิกา อุปัฏฐากที่เป็ นหญิง
การก ผู้กระทากรรมได้ ตามพระวินัยมี ๓ คือ สงฆ์ คณะ และบุคคล เช่นในการทาอุโบสถ ภิกษุต้งั แต่ส่รี ูปขึ้นไปเรียก
สงฆ์ สวดปาฏิโมกข์ได้ ภิกษุสองหรือสามรูป เรียก คณะ ให้ บอกความบริสุทธิ์ได้ ภิกษุรูปเดียวเรียกว่า บุคคล
ให้ อธิษฐาน
การกสงฆ์ สงฆ์ผ้ ูกระทา หมายถึงสงฆ์หมู่หนึ่งผู้ดาเนินการในกิจสาคัญ เช่น การสังคายนา หรือในสังฆกรรมต่างๆ]
สังฆการี เจ้ าหน้ าที่ผ้ ูทาการสงฆ์, เจ้ าพนักงานผู้มีหน้ าที่เกี่ยวกับสงฆ์ในงานหลวง, เจ้ าหน้ าที่ผ้ ูเป็ นพนักงานในการพิธี
สงฆ์
(มีมาแต่โบราณสมัยอยุธยา สังกัดในกรมสังฆการี ซึ่งรวมอยู่ด้วยกันกับกรมธรรมการ เรียกรวมว่า กรมธรรมการสังฆการี เดิมเรียกว่า
สังกะรี หรือ สังการี เปลี่ยนเรียก สังฆการี ในรัชกาลที่ ๔ ต่อมาเมื่อตั้งกระทรวงธรรมการใน พ.ศ. ๒๔๓๒ กรมธรรมการสังฆการีเป็ น
กรมหนึ่งในสังกัดของกระทรวงนั้น จนถึง พ.ศ. ๒๔๕๔ กรมสังฆการีจึงแยกเป็ นกรมต่างหากกันกับกรมธรรมการ ต่อมาใน พ.ศ.
๒๔๗๖ กรมสังฆการีถูกยุบลงเป็ นกองสังกัดในกรมธรรมการกระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาอีกใน พ.ศ. ๒๔๘๔ กรมธรรมการเปลี่ยนชื่อ
เป็ นกรมการศาสนา และในคราวท้ ายสุด พ.ศ. ๒๕๑๕ กองสังฆการีได้ ถูกยุบเลิกไป และมีกองศาสนูปถัมภ์ข้ นึ มาแทน ปั จจุบันจึงไม่
มีสงั ฆการี; บางสมัยสังฆการีมีอานาจหน้ าที่กว้ างขวาง มิใช่เป็ นเพียงเจ้ าพนักงานในราชพิธเี ท่านั้น แต่ทาหน้ าที่ชาระอธิกรณ์พิจารณา
โทษแก่พระสงฆ์ผ้ ลู ่วงละเมิดสิกขาบทประพฤติผดิ ธรรมวินัยด้ วย)
สังฆกรรม งานของสงฆ์, กรรมที่สงฆ์พึงทา
กิจที่พึงทาโดยที่ประชุมสงฆ์ มี ๔ คือ
๑. อปโลกนกรรม กรรมที่ทาเพียงด้ วยบอกกันในที่ประชุมสงฆ์ ไม่ต้องตั้งญัตติและไม่ต้องสวดอนุสาวนา เช่น แจ้ งการลงพรหมทัณฑ์แก่ภิกษุ
๒. ญัตติกรรม กรรมที่ทาเพียงตั้งญัตติไม่ต้องสวดอนุสาวนา เช่น อุโบสถและปวารณา
๓. ญัตติทุตยิ กรรม กรรมที่ทาด้ วยตั้งญัตติแล้ วสวดอนุสาวนาหนหนึ่ง เช่น สมมติสมี า ให้ ผ้ากฐิน
๔. ญัตติจตุตถกรรม กรรมที่ทาด้ วยการตั้งญัตติแล้ วสวดอนุสาวนา ๓ หน เช่น อุปสมบท ให้ ปริวาส ให้ มานัต
คฤหัสถ์ ผู้ครองเรือน, ชาวบ้ าน
๑๘
ชีวติ พระ อริยวิถี
คิหินี หญิงผู้ครองเรือน, คฤหัสถ์หญิง (เขียนเป็ น คิหิณี ก็มี)
ฆราวาส การอยู่ครองเรือน, ชีวิตชาวบ้ าน; ในภาษาไทย มักใช้ หมายถึงผู้ครองเรือน คือ คฤหัสถ์
คฤหบดี “ผู้เป็ นใหญ่ในเรือน”, “เจ้ าบ้ าน”, มักหมายถึง ผู้มีอนั จะกิน, ผู้ม่งั คั่ง, แต่บางแห่งในพระวินัย เช่น ในสิกขาบท
ที่ ๑๐ แห่งจีวรวรรค นิสสัคคิยปาจิตตีย์ (วินย.๒/๗๑/๕๙) ท่านว่า คหบดี (คาบาลีในที่น้ ีเป็ น “คหปติกะ”)
ได้ แก่ คนอื่นที่นอกจากราชา อามาตย์ และพราหมณ์ (คือเจ้ าบ้ าน หรือชาวบ้ านทั่วไป)
อุบาสก ชายผู้น่ังใกล้ พระรัตนตรัย, คนใกล้ ชิดพระศาสนา, คฤหัสถ์ผ้ ูชายที่แสดงตนเป็ นคนนับถือพระพุทธศาสนา
โดยประกาศถึงพระรัตนตรัยเป็ นสรณะ (ปฐมอุบาสกผู้ถงึ สรณะ ๒ ได้ แก่ ตปุสสะและภัลลิกะ ปฐมอุบาสกผู้ถงึ ไตร
สรณะ คือบิดาของพระยสะ)
อุบาสิกา หญิ ง ผู้ น่ั ง ใกล้ พ ระรั ต นตรั ย , คนใกล้ ชิ ด พระศาสนาที่เ ป็ นหญิ ง , คฤหั ส ถ์ ผ้ ู ห ญิ ง ที่แ สดงตนเป็ นคนนั บ ถื อ
พระพุทธศาสนา โดยประกาศถึงพระรัตนตรัยเป็ นสรณะ (ปฐมอุบาสิกา ได้ แก่ มารดา (นางสุชาดา) และภรรยาเก่า
ของพระยสะ)
ประสก เป็ นคาเลือนมาจาก อุบาสก พระสงฆ์ครั้งก่อนมักใช้ เรียกคฤหัสถ์ผ้ ูชาย คู่กบั สีกา แต่บัดนี้ได้ ยินใช้ น้อย
สีกา คาที่พระภิกษุใช้ เรียกผู้หญิงอย่างไม่เป็ นทางการ เลือนมาจาก อุบาสิกา บัดนี้ได้ ยินใช้ น้อย
สาธุชน คนดี, คนมีศีลธรรม, คนมีกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรมสะอาดบริสทุ ธิ์, คนที่ประพฤติสจุ ริต
สาวก ผู้ฟัง, ผู้ฟังคาสอน, ศิษย์; คู่กบั สาวิกา
สาวิกา หญิงผู้ฟังคาสอน, สาวกหญิง, ศิษย์ผ้ ูหญิง; คู่กบั สาวก
พุทธสาวก สาวกของพระพุทธเจ้ า, ศิษย์ของพระพุทธเจ้ า
พุทธศาสนิกชน ผู้นับถือพระพุทธศาสนา, ผู้ปฏิบัติตามคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้ า
พุทธบริษทั หมู่ชนที่นับถือพระพุทธศาสนามี ๔ จาพวก คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
พุทธมามกะ “ผู้ถือพระพุทธเจ้ าว่ าเป็ นของเรา”, ผู้รับเอาพระพุทธเจ้ าเป็ นของตน, ผู้ประกาศตนว่ าเป็ นผู้นับถือ
พระพุทธศาสนา;
พิธีแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ
พิธแี สดงตนเป็ นพุทธมามกะนั้น สมเด็จพระมหาสมณเจ้ า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ได้ ทรงเรียบเรียงตั้งเป็ นแบบไว้ ในคราวที่
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดจะส่งเจ้ านายคณะหนึ่งออกไปศึกษาในทวีปยุโรป ทรงถือตามคาแสดง
ตนเป็ นอุบาสกของเดิมแต่แก้ บท อุบาสก ที่เฉพาะผู้ใหญ่ผ้ ูได้ ศรัทธาเลื่อมใสด้ วยตนเอง เป็ น พุทธมามกะ และได้ เกิดเป็ นประเพณี
นิยมแสดงตนเป็ นพุทธมามกะสืบต่อกันมา โดยจัดทาในกรณีต่างๆ โดยเฉพาะ
๑. เมื่อบุตรหลานพ้ นวัยทารก อายุ ๑๒–๑๕ ปี
๒. เมื่อจะส่งบุตรหลานไปอยู่ในถิ่นที่มใิ ช่ดนิ แดนของพระพุทธศาสนา
๓. โรงเรียนประกอบพิธใี ห้ นักเรียนที่เข้ าศึกษาใหม่แต่ละปี เป็ นหมู่
๔. เมื่อบุคคลผู้เคยนับถือศาสนาอื่นต้ องการประกาศตนเป็ นผู้นับถือพระพุทธศาสนา;
ท่านวางระเบียบพิธไี ว้ สรุปได้ ดงั นี้
ก. มอบตัว (ถ้ าเป็ นเด็กให้ ผ้ ูปกครองนาตัวหรือครูนารายชื่อไป) โดยนาดอกไม้ ธูปเทียนใส่พานไปถวายพระอาจารย์ท่จี ะให้ เป็ น
ประธานสงฆ์ในพิธี พร้ อมทั้งเผดียงสงฆ์รวมทั้งพระอาจารย์เป็ นอย่างน้ อย ๔ รูป
ข. จัดสถานที่ ในอุโบสถ หรือวิหาร ศาลาการเปรียญ หรือหอประชุมที่มโี ต๊ะบูชามีพระพุทธรูปประธาน และจัดอาสนะสงฆ์ให้ เหมาะสม
ค. พิธกี าร ให้ ผ้ แู สดงตน จุดธูปเทียน เปล่งวาจาบูชาพระรัตนตรัยว่า
“อิมนิ า สกฺกาเรน,พุทธฺ ปูเชมิ” (แปลว่า) “ข้ าพเจ้ าขอบูชาพระพุทธเจ้ าด้ วยเครื่องสักการะนี้” (กราบ)
“อิมนิ า สกฺกาเรน, ธมฺม ปูเชมิ” (แปลว่า) “ข้ าพเจ้ าขอบูชาพระธรรมด้ วยเครื่องสักการะนี้” (กราบ)
“อิมนิ า สกฺกาเรน, สงฺฆ ปูเชมิ” (แปลว่า) “ข้ าพเจ้ าขอบูชาพระสงฆ์ด้วยเครื่องสักการะนี้” (กราบ)

๑๙
ชีวติ พระ อริยวิถี
จากนั้นเข้ าไปสู่ท่ปี ระชุมสงฆ์ ถวายพานเครื่องสักการะแก่พระอาจารย์ กราบ ๓ ครั้งแล้ ว คงนั่งคุกเข่า กล่าวคาปฏิญาณว่า:
“นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺ สฺส” (๓ หน)
“ข้ าพเจ้ าขอนอบน้ อม แด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้ านั้น” (๓ หน)
“เอสาห ภนฺเต, สุจิรปรินิพพฺ ุตมฺปิ, ต ภควนฺต สรณ คจฺฉามิ, ธมฺมญฺจ สงฺฆญฺจ, พุทธฺ มามโกติ ม สงฺโฆ ธาเรตุ”
แปลว่า “ข้ าแต่พระสงฆ์ผ้ เู จริญ ข้ าพเจ้ าถึงพระผู้มพี ระภาคเจ้ าพระองค์น้นั แม้ ปรินิพพานนานแล้ ว ทั้งพระธรรมและพระสงฆ์ เป็ น
สรณะที่ระลึกนับถือ ขอพระสงฆ์จงจาข้ าพเจ้ าไว้ ว่าเป็ นพุทธมามกะ ผู้รับเอาพระพุทธเจ้ าเป็ นของตน คือผู้นับถือพระพุทธเจ้ า”
(ถ้ าเป็ นหญิงคนเดียวเปลี่ยน พุทธฺ มามโกติ เป็ น พุทธฺ มามกาติ; ถ้ าปฏิญาณพร้ อมกันหลายคน ชายเปลี่ยน เอสาห เป็ น เอเต มย หญิง
เป็ น เอตา มย; และทั้งชายและหญิงเปลี่ยน คจฺฉามิ เป็ นคจฺฉาม, พุทธฺ มามโกติ เป็ น พุทธฺ มามกาติ, ม เป็ น โน)
จากนั้นฟังพระอาจารย์ให้ โอวาท จบแล้ วรับคาว่า “สาธุ” ครั้นแล้ วกล่าวคาอาราธนาเบญจศีลและสมาทานศีลพร้ อมทั้งคาแปล จบแล้ ว
กราบ ๓ หน ถวายไทยธรรม (ถ้ ามี) แล้ วกรวดนา้ เมื่อพระสงฆ์อนุโมทนา รับพรเสร็จแล้ ว คุกเข่ากราบพระสงฆ์ ๓ ครั้ง เป็ นเสร็จพิธี
พุทธจักร วงการพระพุทธศาสนา
ปุถุชน คนที่หนาแน่นไปด้ วยกิเลส, คนที่ยังมีกเิ ลสมาก หมายถึงคนธรรมดาทั่วๆ ไป ซึ่งยังไม่เป็ นอริยบุคคลหรือ
พระอริยะ; บุถุชน ก็เขียน
มรรคนายก “ผู้นาทาง”, ผู้แนะนาจัดแจงในเรื่องทางบุญทางกุศล และเป็ นหัวหน้ านาชุ มชนฝ่ ายคฤหัสถ์ในศาสนพิ ธี
ตามปกติทาหน้ าที่ประจาอยู่กบั วัดใดวัดหนึ่ง เรียกว่าเป็ นมรรคนายกของวัดนั้นๆ, ผู้นาทางบุญของเหล่าสัป
บุรุษ
ทายก=(ชาย) ผู้ให้ ทายิกา=(หญิง) ผู้ให้ ; ดู ทานบดี
ทานบดี “เจ้ าแห่ งทาน”, ผู้เป็ นใหญ่ในทาน, พึงทราบคาอธิบาย ๒ แง่ คือ ในแง่ท่ี ๑ ความแตกต่างระหว่าง ทายก กับ ทานบดี ,
“ทายก” คือผู้ให้ เป็ นคากลางๆ แม้ จะให้ ของของผู้อ่นื ตามคาสั่งของเขา โดยไม่มอี านาจหรือมีความเป็ นใหญ่ในของนั้น ก็เป็ นทายก (จึง
ไม่แน่ว่าจะปราศจากความหวงแหนหรือมีใจสละจริงแท้ หรือไม่) ส่วน “ทานบดี” คือผู้ให้ ท่เี ป็ นเจ้ าของหรือมีอานาจในของที่จะให้ จึง
เป็ นใหญ่ในทานนั้น (ตามปกติต้องไม่หวงหรือมีใจสละจริง จึงให้ ได้ )
ในแง่ท่ี ๑ นี้ จึงพูดจาแนกว่า บางคนเป็ นทั้งทายกและเป็ นทานบดี บางคนเป็ นทายกแต่ไม่เป็ นทานบดี ;
ในแง่ท่ี ๒ ความแตกต่างระหว่าง ทานทาส ทานสหาย และทานบดี, บุคคลใด ตนเองบริโภคของดีๆ แต่แก่ผ้ ูอ่นื ให้ ของไม่ดี ทาตัว
เป็ นทาสของสิ่งของ บุคคลนั้นเรียกว่า ทานทาส, บุคคลใด ตนเองบริโภคของอย่างใด ก็ให้ แก่ผ้ อู ่นื อย่างนั้น บุคคลนั้นเรียกว่า ทานสหาย
, บุคคลใด ตนเองบริโภคหรือใช้ ของตามที่พอมีพอเป็ นไป แต่แก่ผ้ อู ่นื จัดให้ ของที่ดๆ
ี ไม่ตกอยู่ใต้ อานาจสิ่งของ แต่เป็ นนายเป็ นใหญ่ทา
ให้ ส่งิ ของอยู่ใต้ อานาจของตน บุคคลนั้นเรียกว่า ทานบดี
(รายละเอียด พึงดู ที.อ.๑/ ๒๖๗; สุตตฺ .อ.๒/๒๓๗; ส.ฏี.๑/๑๖๖; องฺ.ฏี.๓/๒๐)

ติรจั ฉานกถา (ติรจฺฉาน=ป.ผู้ไปขวาง, สัตว์เดียรฉาน.) ถ้ อยคาอันขวางต่อทางนิพพาน, เรื่องราวที่พระภิกษุไม่ควรนามาเป็ น


ข้ อถกเถียงสนทนา โดยที่เกี่ยวกับการพิจารณาสั่งสอนแนะนาทางธรรม อันทาให้ คิดฟุ้ งเฟ้ อและพากันหลง
เพลินเสียเวลา เสียกิจหน้ าที่ท่พี ึงปฏิบัติตามธรรม เช่น ราชกถา สนทนาเรื่องพระราชา ว่าราชาพระองค์น้ัน
โปรดของอย่างนั้น พระองค์น้ ีโปรดของอย่างนี้ โจรกถา สนทนาเรื่องโจรว่าโจรหมู่น้ันปล้ นที่น่ันได้ เท่านั้นๆ
ปล้ นที่น่ีได้ เท่านี้ๆ เป็ นต้ น (ท่านแสดงไว้ ๒๘ อย่าง หรือแยกย่อยได้ ๓๒ อย่าง)
รตนวรรค สิกขาบทที่ ๓ [๗๔๔] โดยสมัยนั้น พระผู้มพี ระภาคพุทธเจ้ าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของ อนาถบิณฑิก
คหบดี เขตพระนครสาวัตถี. ครั้งนั้น พระฉัพพัคคีย์เข้ าบ้ านในเวลาวิกาลแล้ ว นั่งในที่ชุมนุม กล่าวดิรัจฉานกถามีเรื่องต่างๆ คือ เรื่อง
พระราชา เรื่องโจร เรื่องมหาอามาตย์ เรื่องขุนพล เรื่องภัย เรื่องรบ เรื่องข้ าว เรื่องนา้ เรื่องผ้ า เรื่องที่นอน เรื่องดอกไม้ เรื่องของหอม
เรื่องญาติ เรื่องยาน เรื่องบ้ าน เรื่องนิคม เรื่องนคร เรื่องชนบท เรื่องสตรี เรื่องสุรา เรื่องตรอก เรื่องท่านา้ เรื่องคนที่ล่วงลับไปแล้ ว
เรื่องเบ็ดเตล็ด เรื่องโลก เรื่องทะเล เรื่องความเจริญและความเสื่อม ด้ วยประการนั้นๆ
พระอนุบญ ั ญัติ ๒ ๑๓๔. ๓. ข. อนึ่ง ภิกษุใด ไม่อาลาภิกษุท่มี อี ยู่แล้ วเข้ าไปสู่บ้านในเวลาวิกาล เป็ นปาจิตตีย์ วิ.ม.๒/๗๔๔/๖๑๙

๒๐
ชีวติ พระ อริยวิถี
กถาวัตถุ ๑๐ (เรื่องที่ควรพูด, เรื่องที่ควรนามาสนทนากันในหมู่ภิกษุ) ม.มู.12/292/287; ม.อุ.14/348/239; องฺ.ทสก.24/69/138
1. อัปปิ จฉกถา (เรื่องความมักน้ อย, ถ้ อยคาที่ชักนาให้ มคี วามปรารถนาน้ อย ไม่มกั มากอยากเด่น –
2. สันตุฏฐิกถา (เรื่องความสันโดษ, ถ้ อยคาที่ชักนาให้ มคี วามสันโดษ ไม่ชอบฟุ้ งเฟ้ อหรือปรนปรือ -
3. ปวิเวกกถา (เรื่องความสงัด, ถ้ อยคาที่ชักนาให้ มคี วามสงัดกายใจ -
4. อสังสัคคกถา (เรื่องความไม่คลุกคลี, ถ้ อยคาที่ชักนาให้ ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ -
5. วิริยารัมภกถา (เรื่องการปรารภความเพียร, ถ้ อยคาที่ชักนาให้ ม่งุ มั่นทาความเพียร -
6. สีลกถา (เรื่องศีล, ถ้ อยคาที่ชักนาให้ ต้งั อยู่ในศีล -
7. สมาธิกถา (เรื่องสมาธิ, ถ้ อยคาที่ชักนาให้ ทาจิตมั่น -
8. ปั ญญากถา (เรื่องปัญญา, ถ้ อยคาที่ชักนาให้ เกิดปัญญา -
9. วิมุตติกถา (เรื่องวิมุตติ, ถ้ อยคาที่ชักนาให้ ทาใจให้ พ้นจากกิเลสและความทุกข์ -
10. วิมุตติญาณทัสสนกถา (เรื่องความรู้ความเห็นในวิมุตติ, ถ้ อยคาที่ชักนาให้ สนใจและเข้ าใจเรื่องความรู้ความเห็นในภาวะที่หลุดพ้ นจาก
กิเลสและความทุกข์ -

ติรจั ฉานวิชา ความรู้ ท่ีขวางต่ อทางพระนิพพาน เช่ นรู้ ในการทาเสน่ ห์ รู้ ในการทาให้ คนถึงวิ บัติ รู้ เรื่ องภูตผี รู้ ในทาง
ทานาย เช่นหมอดู เป็ นต้ น เมื่อเรียนหรือใช้ ปฏิบัติ ตนเองก็หลงเพลินหมกมุ่น ทั้งทาผู้อ่นื ให้ ลุ่มหลงงม
งาย ไม่เป็ นอันปฏิบัติกจิ หน้ าที่และประกอบการตามเหตุผล
อโคจร (อโคจรคาม ป.หมู่บ้านที่ภิกษุไม่ควรเที่ยวไป) บุคคลและสถานที่อนั ภิกษุไม่ควรไปมาหาสู่ มี ๖ คือ หญิง
แพศยา หญิงหม้ าย สาวเทื้อ ภิกษุณี บัณเฑาะก์ (กะเทย) และร้ านสุรา, (โคจร= ป.ทุ่งเลี้ยงวัว, อาหารวัว,
อาหาร, อารมณ์, ที่ควรเที่ยวไป)
มาตุคาม ผู้หญิง
ทัณฑกรรม การลงอาชญา, การลงโทษ; ในที่น้ ี หมายถึงการลงโทษสามเณรคล้ ายกับการปรั บอาบัติภิกษุ ได้ แก่ กัก
บริเวณ ห้ ามไม่ให้ เข้ า ห้ ามไม่ให้ ออกจากอาราม หรือการใช้ ตักนา้ ขนฟื น ขนทราย เป็ นต้ น
ทัณฑ-,ทัณฑ์ (ทณฺฑ= ป.ก้ าน, ด้ าม, ท่อนไม้ , ไม้ เท้ า, ตะบอง, ไม้ , สินไหม, ทัณฑ์, อาชญา, การลงโทษ; ขู่บังคับ, ความรุนแรง.)
โทษที่เนื่องด้ วยความผิด [ทัณฑวิทยา วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิธลี งโทษผู้กระทาผิดทางอาญา]
ส่อเสียด ยุให้ แตกกัน คือฟังคาของข้ างนี้แล้ ว เก็บเอาไปบอกข้ างโน้ นเพื่อทาลายข้ างนี้ ฟังคาของข้ างโน้ นแล้ วเก็บ
เอามาบอกข้ างนี้ เพื่อทาลายข้ างโน้ น; (ปิ สุณาวาจา = วาจาส่อเสียด, พูดส่อเสียด, พูดยุยงให้ เขาแตกร้ าวกัน (ข้ อ ๕
ในอกุศลกรรมบถ ๑๐))
คาหยาบ ผรุสวาจา=วาจาหยาบ, คาพูดเผ็ดร้ อน, คาหยาบคาย (ข้ อ ๖ ในอกุศลกรรมบถ ๑๐)
เพ้อเจ้อ สัมผัปปลาปะ=พูดเพ้ อเจ้ อ, พูดเหลวไหล, พูดไม่เป็ นประโยชน์ ไม่มีเหตุผล ไร้ สาระ ไม่ถูกกาลถูกเวลา
(ข้ อ ๗ ในอกุศลกรรมบถ ๑๐)
ทูต ผู้ท่ไี ด้ รับมอบหมายให้ เป็ นผู้แทนทางราชการแผ่นดิน, ผู้ท่ไี ด้ รับแต่งตั้งให้ ไปเจรจาแทน
อภิชฌา โลภอยากได้ ของเขา, ความคิดเพ่งเล็งจ้ องจะเอาของของคนอื่น (ข้ อ ๘ ในอกุศลกรรมบถ ๑๐)
…………………………………………..

๒๑
ชีวติ พระ อริยวิถี
๓ หน้ าที่ของภิกษุสามเณรต่อตนเอง (ลักษณะสาคัญและแนวทางความประพฤติของพระภิกษุ หรือบรรพชิต
ในพระพุทธศาสนา)
๓.๑ ปาริสุทธิศีล ๔ (ศีลคือความบริสทุ ธิ์, ศีลเครื่องให้ บริสทุ ธิ์, ความประพฤติบริสทุ ธิ์ท่จี ัดเป็ นศีล) วิสทุ ธฺ .ิ 1/19; สงฺคห.55.
๑) ปาฏิโมกขสังวรศีล (ศีลคือความสารวมในพระปาฏิโมกข์ เว้ นจากข้ อห้ าม ทาตามข้ ออนุญาต ประพฤติเคร่งครัดใน
สิกขาบททั้งหลาย)
๒) อินทรียสังวรศีล (ศีลคือความสารวมอินทรีย์ ระวังไม่ให้ บาปอกุศลธรรมครอบงาเมื่อรับรู้อารมณ์ด้วยอินทรีย์ท้งั ๖)
๓) อาชีวปาริสทุ ธิศีล (ศีลคือความบริสุทธิ์แห่งอาชีวะ เลี้ยงชีวิตโดยทางที่ชอบ ไม่ประกอบ อเนสนา (การหาเลี้ยงชีพที่
ไม่สมควรแก่ภิกษุ) มีหลอกลวงเขาเลี้ยงชีพเป็ นต้ น)
๔) ปัจจัยสันนิสิตศี ล (ศีลที่เกี่ยวกับปัจจัย ๔ ได้ แก่ปัจจัยปัจจเวกขณ์ คือพิจารณาใช้ สอยปัจจัยสี่ ให้ เป็ นไปตาม
ความหมายและประโยชน์ของสิ่งนั้น ไม่บริโภคด้ วยตัณหา)
๓.๒ ข้อคานึงและหลักปฏิบตั ิตามนัยแห่ งพระคาถาโอวาทปาติโมกข์ (พุทธโอวาท ๓)
ที.ม.10/54/57 (เรียงลาดับเริ่มจาก ขนฺตี ปรม... ก่อน); ขุ.ธ.25/24/39. (เรียงลาดับเริ่มจาก สพฺพปาปสฺส...ก่อน)
ในวั น เพ็ญ เดื อ น ๓ หรื อ วั น มาฆบู ช า เป็ นวั น ส าคั ญ ในพระพุ ท ธศาสนา คื อ เป็ นวั น ที่พ ระพุ ท ธองค์ ป ระทาน
โอวาทปาติโมกข์ในที่ประชุ มพระสาวก ซึ่งประกอบด้ วยองค์ส่ีท่เี รี ยกว่า จาตุรงคสันนิบาต เพื่อให้ พระสาวกเหล่ านั้นมี
หลักการร่วมกันในการประกาศพระศาสนา คือสั่งสอนธรรมแก่ประชาชนตามท้องถิ่น บ้ านเมือง และประเทศต่างๆ ทั่วไป
คาว่า จาตุรงคสันนิบาต แปลว่ า การประชุ มพระสาวก ซึ่งประกอบด้ วยองค์ส่ี หรื อการประชุ มพร้ อมด้ วยองค์ ส่ี
องค์ส่ที ่วี ่านี้ได้ แก่
๑. พระสงฆ์ ที่มาประชุมวันนั้น ล้ วนเป็ นเอหิภิกขุ คือได้ รับอุปสมบทโดยตรงจากพระพุทธเจ้ า
๒. พระสงฆ์เหล่านั้นเป็ นพระอรหันต์ท้งั สิ้น
๓. พระสงฆ์ท่ปี ระชุมวันนั้นมีจานวนถึง ๑๒๕๐ รูป มาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย
๔. วันนั้นเป็ นวันเพ็ญเดือนมาฆะ พระจันทร์เต็มดวงบริบูรณ์
การประชุมครั้งสาคัญที่สุดในสมัยพุทธกาลที่เรียกว่าจาตุรงคสันนิบาตนี้ ได้ มีข้ นึ ณ พระเวฬุวันมหาวิหาร ใกล้ กรุง
ราชคฤห์ ซึ่งเป็ นเมืองหลวงของแคว้ นมคธ เริ่มแต่ตะวันบ่ายก่อนค่าของวันเพ็ญเดือน ๓ ในปี แรกที่พระพุทธเจ้ าตรัสรู้
คือหลังจากวันตรัสรู้ไป ๙ เดือน
การประชุมเช่นนี้ มีครั้งเดียวในศาสนานี้ เป็ นการประชุมครั้งสาคัญที่พระพุทธเจ้ าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์
คาว่า โอวาทปาติโมกข์ แปลว่า โอวาทที่เป็ นประธาน หรือ คาสอนที่เป็ นหลักใหญ่ หมายถึงธรรมที่เป็ นหลักสาคัญ
ของพระพุทธศาสนา สาธุชนนิยมเรียกโอวาทปาติโมกข์น้ ีว่าเป็ น หัวใจของพระพุทธศาสนา
ความในโอวาทปาติโมกข์ แบ่งออกเป็ น ๓ ตอน พระพุทธองค์ตรัสเรียงลาดับกันเป็ น ๓ คาถาครึ่ง
ขนฺตี ปรม ตโป ตีติกฺขา
นิพฺพาน ปรม วทนฺติ พุทฺธา
น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี
สมโณ โหติ ปร วิเห ยนฺโต.

สพฺพปาปสฺส อกรณ กุสลสฺสูปสมฺปทา


สจิตฺตปริโยทปน เอต พุทฺธาน สาสน.
อนูปวาโท อนูปฆาโต ปาติโมกฺเข จ สวโร
มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ ปนฺตญฺจ สยนาสน
อธิจิตฺเต จ อาโยโค เอต พุทฺธาน สาสน.

๒๒
ชีวติ พระ อริยวิถี
คาถาแรกว่า ความอดทน คือความอดกลั้น เป็ นตบะอย่างยิ่ง
พระพุทธะทั้งหลายกล่าวพระนิพพานว่ายอดเยี่ยม
ผู้ทาร้ ายผู้อ่นื เป็ นบรรพชิตไม่ได้ ทเี ดียว
ผู้เบียดเบียนผู้อ่นื เป็ นสมณะไม่ได้
คาถาที่สองว่า การไม่ทาบาปทั้งปวง ๑
การยังกุศลให้ ถึงพร้ อม ๑
การทาจิตของตนให้ ผ่องแผ้ ว ๑
นี้คือคาสอนของท่านผู้ตรัสรู้แล้ วทั้งหลาย
คาถาที่สามว่า การไม่กล่าวร้ าย ๑
การไม่ทาร้ าย ๑
ความสารวมในพระปาติโมกข์ ๑
ความเป็ นผู้ร้ ูจักประมาณในอาหาร ๑
ที่นอนที่น่ังอันสงัด ๑
การประกอบความเพียรในอธิจิต ๑
นี่คือคาสั่งสอนของท่านผู้ตรัสรู้แล้ วทั้งหลาย
ความในคาถาแรก
พระพุทธเจ้ าตรัสเพื่อแสดงหลักการและแนวทางที่เป็ นลักษณะเฉพาะของพระพุทธศาสนา ซึ่งทาให้ สามารถแยก
จากลัทธิศาสนาที่พระพุทธศาสนาไม่ยอมรับ
ตอนแรกที่ตรั สว่ า ความอดทนคือทานไว้ ยืนหยัดอยู่ ได้ เป็ นตบะอย่ างยิ่ ง พระองค์ตรั สเพื่ อแสดงให้ เห็นว่ า การ
บ าเพ็ญ ตบะของนั กบวชทั้งหลายที่นิ ยมทรมานตนเองด้ ว ยวิ ธีการต่ าง ๆ นั้ น ไม่ ใช่ เ ป็ นวิ ธีก ารเผาผลาญบาปชนิ ดที่
พระพุทธศาสนายอมรับ สาระสาคัญของตบะที่พระพุทธเจ้ าทรงยอมรับหรือตบะที่ถูกต้ อง ก็คือ ขันติธรรม ความอดทนที่
จะดาเนินตามมรรคาที่ถูกต้ องไปจนถึงที่สุด มีความเข้ มแข็งทนทานอยู่ในใจ ดารงอยู่ในหลักปฏิบัติท่ถี ูกต้ องนั้น ไม่ระย่อ
ท้อถอย
ตอนที่สองที่ตรั สว่ า พระพุ ทธะทั้งหลายกล่ า วพระนิ พ พานว่ ายอดเยี่ ยมนั้ น ตรั สเพื่ อชี้ ชั ดลงไปว่ า จุ ดหมายของ
พระพุทธศาสนา คือ นิพพาน อันได้ แก่ความดับกิเลสและกองทุกข์ ท้งั ปวงได้ หรือความเป็ นอิสระหลุดพ้ นจากอานาจ
ครอบงาของกิเลส คือ โลภะ โทสะ และโมหะ ไม่ใช่สวรรค์ ไม่ใช่การเข้ ารวมกับพระพรหมผู้เป็ นเจ้ า เป็ นต้ น
ตอนที่สามที่ตรัสว่า ผู้ทาร้ ายผู้อ่ ืน เป็ นบรรพชิตไม่ได้ ทีเดียว ผู้เบียดเบียนผู้อ่ืน เป็ นสมณะไม่ได้ นี้ตรัสเพื่อแสดง
ลั ก ษณะของนั ก บวชในพระพุ ท ธศาสนา คื อ ชี้ ให้ เ ห็น ว่ า นั ก บวชในพระพุ ท ธศาสนาคื อพระภิก ษุ ส งฆ์ ต้ อ งเป็ นผู้ ไ ม่
เบียดเบียน ไม่ก่อความทุกข์ยากเดือดร้ อนแก่ใคร ๆ มีแต่เมตตา กรุณา ปฏิบัติเพื่อประโยชน์เพื่อความสงบสุขของคนทั้ง
ปวง
ความในคาถาทีส่ อง
พระพุทธองค์ตรัสสรุปข้ อปฏิบัติในพระพุทธศาสนาทั้งหมดลงเป็ นหลักการสาคัญ ๓ ประการ คือ
๑) ไม่ทาบาปทุกอย่าง ได้ แก่ ละเว้ นความชั่วทุกชนิด ทุกระดับตั้งต้ นแต่ประพฤติตามหลักศีล ๕ เช่นไม่ทาลายชีวิต ไม่ลัก
ทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม เป็ นต้ น
๒) ยังกุศลให้ ถึงพร้ อม ได้ แก่ บาเพ็ญความดี ให้ บริบูรณ์ เช่น มีเมตตา กรุณา ฝึ กจิตให้ เข้ มแข็งมีสมาธิ มีความเพียร มี
สติรอบคอบ ซื่อสัตย์สจุ ริต มีความเสียสละ เป็ นต้ น
๒๓
ชีวติ พระ อริยวิถี
๓) ทาจิตของตนให้ ผ่องแผ้ ว ได้ แก่ ชาระจิตใจให้ บริสทุ ธิ์สะอาด ให้ หลุดพ้ นจากกิเลส เช่น ความโลภ ความโกรธ ความ
หลง ความฟุ้ งซ่าน ความหดหู่ซึมเซา เป็ นต้ น ด้ วยการฝึ กอบรมปัญญาให้ เกิดความรู้ความเข้ าใจสิ่งทั้งหลายตามเป็ น
จริง จนกิเลสและความทุกข์ครอบงาจิตใจไม่ได้
จาง่าย ๆ สั้น ๆ ว่า เว้นชัว่ ทาดี ทาใจให้บริสุทธิ์
หลั ก ปฏิบั ติท่ีตรั สในคาถาที่สองนี้ เป็ นทั้งแนวทางและขอบเขตในการที่พ ระสาวกทั้งหลายจะไปอบรมสั่งสอน
ประชาชน ให้ ตรงตามหลักการของพระพุทธศาสนา และสอนได้ เป็ นแนวเดียวกัน มีความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันในการเผยแผ่
ความในคาถาทีส่ าม
พระพุทธองค์ตรัสเพื่อเป็ นหลักความประพฤติและการปฏิบัติตน หรือหลักปฏิบัติ ในการทางาน สาหรับผู้ท่จี ะไป
ประกาศพระศาสนา หมายความว่าทรงวางระเบียบในการไปสั่งสอนธรรมแก่ประชาชน ว่าผู้สอนต้ องเป็ นผู้ไม่กล่าวร้ าย
ต้ องเป็ นผู้ไม่ทาร้ าย คือ ไม่ก่อความเดือดร้ อนแก่ผ้ ูอ่ นื ไม่ว่าด้ วยกายหรือวาจา มีวจีกรรม และกายกรรมบริสุทธิ์สะอาด
พูดและทาด้ วยเมตตา กรุณา มีความสารวมในพระปาติโมกข์ คือ ประพฤติเคร่งครัดในระเบียบแบบแผน รู้จักประมาณ
ในภัตตาหาร ที่นอนที่น่ังก็ให้ สงบสงัด เหมาะแก่สมณะ คือ ต้ องไม่เห็นแก่กินแก่นอน และต้ องมีใจแน่ วแน่เข้ มแข็งไม่
ท้ อถอยฝึ กอบรมจิตใจของตนอยู่เสมอ รวมความว่า ไปทางานก็ให้ ไปทางานจริง ๆ ทางานเพื่องาน มุ่งประโยชน์สุขของ
ประชาชนเป็ นสาคัญ ไม่ใช่ไปหาความสุขสนุกสบาย
เนื้อความ ๓ คาถาของโอวาทปาติโมกข์น้ ี แสดงให้ เห็นวิธีส่งั งานของพระพุทธเจ้ า การที่พระองค์ทรงส่งพระสาวก
ไปประกาศพระศาสนานั้น ก็คือ พระองค์ส่งพระสาวกให้ ไปทางาน ความจริงพระองค์เคยส่งพระสาวกออกไปแล้ ว ๒ รุ่น
รุ่นแรกเป็ นพระอรหันต์ล้วน ๖๐ รูป รุ่นที่สองเป็ นพระอริยบุคคลชั้นเสขภูมิ คือ ยังไม่เป็ นพระอรหันต์ มีจานวน ๓๐ รูป
พระองค์ทรงส่งไปอย่างธรรมดา คือ ตรัสสั่งเพียงว่า “จงจาริกไปประกาศพระศาสนา เพื่อประโยชน์และความสุขของพหู
ชน” มิได้ มีพิธีการพิ เ ศษแต่อย่างใด แต่ในการซักซ้ อมงานคราวนี้ พระสาวกมีจานวนมากถึง ๑๒๕๐ รูป ซึ่งเป็ นการ
ชุมนุมครั้งใหญ่และครั้งสาคัญ พระองค์จึงทรงสั่งงานอย่างชัดเจน และละเอียดถี่ถ้วน พระองค์ทรงสั่งงานอย่างนี้ ศาสนา
ของพระองค์จึงแพร่หลายไพศาลอย่างรวดเร็ว และยั่งยืนอยู่อย่างมั่นคงจนทุกวันนี้
โอวาทปาติโมกข์ท่พี ระพุทธเจ้ าตรัสนี้ จึงเป็ นตัวอย่างที่ดีของการสั่งงาน เพราะในการสั่งงานนั้น ถ้ าผู้ส่งั สั่งให้ ชัดลงไปว่า ทา
อะไร เพื่ออะไร ทาอย่างไร ดังนี้แล้ ว ผู้ปฏิบัติย่อมปฏิบัติสะดวก และงานก็จะสาเร็จเป็ นผลดีตามความมุ่งหมายเสมอ
โดยเหตุท่พี ระพุทธเจ้ า ประทานโอวาทปาติโมกข์ในวันเพ็ญเดือน ๓ ฉะนั้น วันเพ็ญเดือน ๓ จึงเป็ นวันสาคัญทาง
พระพุทธศาสนา เป็ นวันที่พุทธศาสนิกชนจัดทาพิธสี กั การบูชาเป็ นพิเศษ ที่เรียกว่า มาฆบูชา พิธมี าฆบูชานี้ แต่ก่อนก็มิได้
ทากัน เพิ่งมาทาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ แห่งราชวงศ์จักรี นี่เอง
พิธมี าฆบูชานี้ มีท้งั พระราชพิธแี ละพิธขี องพุทธศาสนิกชนทั่ว ๆ ไป ในที่น้ ีจะกล่าวเฉพาะพิธขี องพุทธศาสนิกชนทั่วๆ ไป
เมื่อถึงวันมาฆบูชา ในตอนเช้ านอกจากจะมีการทาบุญตักบาตรตามปกติแล้ ว สาธุชนอาจรับอุโบสถศีล และฟังเทศน์
ตามวัดที่ใกล้ เคียงหรือเจดียสถานแห่งใดแห่งหนึ่ง ที่ทางวัดจัดไว้ เมื่อพระสงฆ์ประชุมพร้ อมแล้ ว คฤหัสถ์ท้งั หลาย ยืนถือ
ธูป เทียน ดอกไม้ ประนมมืออยู่ถัดพระสงฆ์ออกไป เมื่อพระภิกษุท่เี ป็ นประธานกล่าวนาคาบูชา ที่ประชุมทั้งหมดว่าตาม
พร้ อม ๆ กัน เมื่อกล่าวคาบูชาเสร็จแล้ ว พระสงฆ์เดินนาหน้ าเวียนขวารอบพระอุโบสถ หรือพระสถูปเจดีย์ ๓ รอบ ซึ่ง
เรี ยกว่ า เวี ยนเทียน คฤหั สถ์เดินตามอย่ า งสงบ ขณะเวี ยนรอบแรกให้ ระลึ กถึ งพระพุ ทธคุ ณ รอบที่ ๒ ระลึกถึงพระ
ธรรมคุณ รอบที่ ๓ ระลึกถึงพระสังฆคุณ ไม่เดินคุยกันไม่หยอกล้ อกัน หรือแสดงอาการไม่สุ ภาพอื่น ๆ ในขณะเวียน
เทียน เพราะเป็ นการขาดความเคารพพระรัตนตรัย เมื่อเวียนเทียนครบ ๓ รอบ แล้ วเข้ าในพระอุโบสถ สวดมนต์ ฟั ง
เทศน์ กัณฑ์แรกจะได้ ฟังเรื่องจตุรงคสันนิบาต กัณฑ์ต่อ ๆ ไป อาจเป็ นเรื่องโพธิปักขิยธรรม หรื อเรื่ องอื่น ๆ ที่ทางวัด
เห็นสมควร บางวัดมีเทศน์จนตลอดรุ่ง ข้ อที่ควรทาเป็ นพิเศษในวันนั้น ก็คือ ควรพิจารณาความหมายของการเว้ นชั่ว ทา
ดี ทาจิตใจให้ บริสทุ ธิ์ ให้ เข้ าใจชัดเจนลึกซึ้งแล้ วตั้งใจปฏิบัติให้ ได้ ตามนั้น

๒๔
ชีวติ พระ อริยวิถี
๓.๓ ปัพพชิตอภิณหปัจจเวกขณ์ ๑๐ องฺ.ทสก.๒๔/๔๘/๘๐ (อภิณหปั จจเวกขณธรรมสูตร)
ปัพพชิตอภิณหปัจจเวกขณ์ คือ ธรรมที่บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ๑๐ อย่าง คือ
๑. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า บัดนี้ เรามีเพศต่างจากคฤหัสถ์แล้ ว
๒. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า การเลี้ยงชีพของเราเนื่องด้ วยผู้อ่นื
๓. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เรามีอากัปกิริยาอย่างอื่นที่จะพึงทา
๔. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า ตัวเราเองยังติเตียนตัวเราเองโดยศีลไม่ได้ อยู่หรือไม่
๕. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เพื่อนพรหมจรรย์ผ้ ูเป็ นวิญญู ใคร่คราวแล้ ว ยังติเตียนเราโดยศีลไม่ได้ อยู่หรือไม่
๖. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เราจะต้ องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น
๗. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เรามีกรรมเป็ นของตน เราทาดีจักได้ ดี เราทาชั่วจักได้ ช่ัว
๘. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้เราทาอะไรอยู่
๙. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เรายินดีในที่สงัดอยู่หรือไม่
๑๐. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า คุณวิเ ศษที่เราบรรลุแล้ วมีอยู่ หรื อไม่ ที่จะทาให้ เราเป็ นผู้ไม่เก้ อเขิน เมื่อถูกเพื่ อน
บรรพชิตถามในกาลภายหลัง
…………………………………………..
อรรถกถาอภิณหปัจจเวกขณธรรมสูตรที่ ๘ องฺ.ทสก.๓๘ หน้า ๑๕๘ มมร.; องฺ.อ.3/395

บทว่า ปพฺพชิเตน ได้แก่ ผู้ละฆราวาส การครองเรือนเข้าถึงการบวชในพระศาสนา.


บทว่า อภิณห
ฺ แปลว่า เนือง ๆ บ่อย ๆ. บทว่าปจฺจเวกฺขต
ิ พฺพา แปลว่า พึงสารวจดู พึงกาหนดดู.
บทว่า เววณฺณิย แปลว่า ความมีเพศต่าง ความมีรูปต่าง ๆ ก็
ความมีเพศต่างนั้นมี ๒ อย่าง คือ ความมีเพศต่างโดยสรีระ ๑ ความมีเพศต่างโดยบริขาร ๑ บรรดาความมีเพศต่าง ๒
อย่ า งนั้ น ความมี เ พศต่ า งโดยสรี ร ะ พึ ง ทราบได้ ด้ ว ยการปลงผมและหนวด. ก็ ก่ อ นบวช แม้ นุ่ ง ผ้ า ก็ ต้ อ งใช้ ผ้ า ดี เ นื้ อ
ละเอียด ย้อมสีต่างๆ แม้บริโภคก็ต้องกินรสอร่อยต่างๆ ใส่ภาชนะทองและเงิน แม้นอนนั่งก็ต้องที่นอนที่นั่งอย่างดีในห้อง
สง่างาม แม้ประกอบยาก็ต้องใช้ เนยใส เนยข้น เป็นต้น ตั้งแต่บวชแล้ว จาต้องนุ่งผ้าขาด ผ้าปะ ผ้าย้อมน้าฝาด จาต้อง
ฉันแต่ข้าวคลุกในบาตรเหล็ก หรือบาตรดิน จาต้องนอนแต่บนเตียงลาดด้วยหญ้าเป็นต้น ในเสนาสนะมีโคนไม้เป็นอาทิ
จาต้องนั่งบนท่อนหนึ่งและเสื่อลาแพนเป็นต้น จาต้องประกอบยาด้วยน้ามูตรเน่าเป็นต้น . พึงทราบความมีเพศต่างโดย
บริขารในข้อนี้ ด้วยประการฉะนี้.
ก็บรรพชิตพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมละโกปะ ความขัดใจ และมานะความถือตัวเสียได้.
บทว่ า ปรปฏิ พ ทฺ ธ า เม ชี วิ ก า ความว่ า บรรพชิ ต พึ ง พิ จ ารณาอย่ า งนี้ ว่ า ความเป็ น อยู่ ด้ ว ยปั จ จั ย ๔ จ าต้ อ ง
เกี่ ย วเนื่ อ งในผู้ อื่ น อิ ริ ย าบถก็ ส มควร อาชี ว ะการเลี้ ย งชี พ ก็ บ ริ สุ ท ธิ์ ทั้ ง เป็ น อั น เคารพย าเกรงบิ ณ ฑบาต ชื่ อ ว่ า เป็ น
ผู้บริโภคไม่พิจารณาในปัจจัย ๔ ก็หามิได้.
บทว่า อญฺโญ เม อากกฺโป กรณีโย ความว่า บรรพชิตพึงพิจารณาว่าอากัปกิริยาเดินอันใดของเหล่าคฤหัสถ์ คือ
ย่างก้าวไม่กาหนด โดยอาการยืดอกคอตัง้ อย่างสง่างาม เราพึงทาอากัปกิริยาต่างไปจากอากัปกิริยาของคฤหัสถ์นั้น เรา
พึงมีอินทรีย์สงบ มีใจสงบ มองชั่วแอก ย่างก้าวกาหนดแต่น้อย [ไม่ย่างก้าวยาว] พึงเดินไปเหมือนนาเกวียนบรรทุกน้า
ไปในที่ขรุขระ. ด้วยว่า บรรพชิตพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมมีอากัปกิริยาสมควร สิกขา ๓ ย่อมบริบูรณ์.
ศัพย์ว่า กจฺจิ นุ โข รวมนิบาตลงในความกาหนด. บทว่า อตฺตา ได้แก่ จิต.
บทว่ า สี ล โต น อุ ป วทติ ได้ แ ก่ ไม่ ต าหนิ ต นเองเพราะศี ล เป็ น ปั จ จั ย อย่ า งนี้ ว่ า ศี ล ของเราไม่ บ ริ บู ร ณ์ . ด้ ว ยว่ า
บรรพชิตพิจารณาอยู่อย่างนี้ ย่อมตั้งหิริความละอายขึ้นภายใน. หิรินั้น ก็ให้สาเร็จความสารวมในทวารทั้ง ๓. ความ
สารวมในทวารทั้ง ๓ ย่อมเป็นจตุปาริสุทะศีล บรรพชิตผู้ตั้งอยู่ในจตุปาริสุทธิศีล เจริญวิปัสสนาแล้ว ย่อมยึดพระอรหัต
ไว้ได้.

๒๕
ชีวติ พระ อริยวิถี

บทว่า อนุวจ
ิ จ
ฺ วิญฺญ สพฺรหฺมจารี ความว่า เหล่าสพรหมจารีผู้ ประพฤติพรหมจรรย์ร่วมกับผูเ้ ป็นบัณฑิต พิจารณา
ใคร่ครวญแล้ว. ด้วยว่าบรรพชิตพิจารณาอยู่อย่างนี้ โอตตัปปะ ความเกรงกลัวบาปภายนอกย่อมตั้งขึ้น . โอตตัปปะนั้น
ย่อมให้สาเร็จความสารวมในทวารทั้ง ๓. ดังนั้น จึงควรทราบโดยนัยในลาดับถัดมานั้นแล.
บทว่ า นานาภาโว วิ น าภาโว ความว่ า ความเป็ น ต่ า ง ๆ เพราะเกิ ด มา ความพลั ด พราก เพราะมรณะ. ด้ ว ยว่ า
บรรพชิตพิจารณาอยู่อย่างนี้ ชื่อว่าไม่มีอาการคือประมาทในทวารทั้ง ๓. มรณัสสติ ความระลึกถึงความตาย ก็เป็นอัน
ตั้งลงด้วยดี.
ในบทว่า กมฺมสฺสโกมฺหิ เป็นต้น พึงทราบวินิจฉัย ดังนี้. กรรมเป็นของเรา คือเป็นสมบัติของตน เหตุนั้น เราจึงเป็นผู้
มีกรรมเป็นของของเรา. ผลที่กรรมพึงให้ ชื่อว่าผลทายะ ผลแห่งกรรม ชื่อว่ากรรมทายะ ผลแห่งกรรม เราย่อมรับผล
แห่งกรรมนั้น เหตุนั้น เราจึงเป็นผู้รับผลแห่งกรรม. กรรมเป็นกาเนิด คือเหตุของเรา เหตุนั้น เราจึงเป็นผู้มีกรรมเป็น
กาเนิด. กรรมเป็นเผ่าพันธุ์ เป็นญาติของเรา เหตุนั้น เราจึงเป็นผู้มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์. กรรมเป็นที่พึ่งอาศัยของเรา เหตุ
นั้น เราจึงเป็นผู้มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย.
บทว่ า ตสฺ ส ทายาโท ภวิ สฺ ส ามิ ได้ แ ก่ เราจั ก เป็ น ทายาท คื อ เป็ น ผู้ รั บ ผลที่ ก รรมนั้ น ให้ แ ล้ ว . ด้ ว ยว่ า บรรพชิ ต
พิจารณาถึงความที่เรามีกรรมเป็นของของตนอยู่อย่างนี้ ย่อมไม่ชื่อว่ากระทาบาป.
บทว่า กถมฺภูตสฺส เม รตฺตินฺทว ิ า วีติปตนฺติ ความว่า คืนวันล่วงไป เปลี่ยนแปลงไป เราเป็นอย่างไร คือเรากาลังทา
วัตรปฏิบัติอยู่หรือ ๆ ว่าไม่ทา ท่องบ่นพระพุธวจนะอยูห ่ รือ ๆ ว่าไม่ท่องบ่น กาลังทากิจกรรมในโยนิโสมนสิการอยู่หรือ ๆ
ว่าไม่ทา. ด้วยว่า บรรพชิตพิจารณาอยู่อย่างนี้ ความไม่ประมาท ย่อมบริบูรณ์.
บทว่า สุญฺญาคาเร อภิรมานิ ความว่า เราแต่ผู้เดียวอยู่ในทุกอิริยาบถ ในโอกาสอันสงัด ยังยินดียิ่งอยู่หรือหนอ.
ด้วยว่า บรรพชิตพิจารณาอยู่อย่างนี้ กายวิเวก ย่อมบริบูรณ์.
บทว่า อุคิตริมนุสฺสธมฺมา ความว่า ธรรมทั้งหลายมีฌานเป็นต้นของท่านผู้ได้ฌาน และพระอริยะ เป็นมนุษย์ที่ยิ่ง
เป็นมนุษย์ชั้นอุกฤษฏ์หรือธรรมทัง้ หลายที่ยงิ่ ยวด ที่ประเสริฐกว่ามนุษย์ธรรม กล่าวคือกุศลกรรมบถ ๑๐ มีอยู่ คือ เป็นอยู่
ในสันดานของเราหรือ.
บทว่า อลมริยาณทสฺสนวิเสโส ความว่า ชื่อว่า ญาณ เพราะอรรถว่าให้เกิดมหัคตปัญญาและโลกุตรปัญญา ชื่อว่า
ทัสสนะ เพราะอรรถว่าเห็นธรรมโดยทาให้ประจักษ์เหมือนดังเห็นด้วยจักษุ เหตุนั้น จึงชื่อว่า ญาณทัสสนะ.ญาณทัสสนะ
อันเป็นอริยะ คือบริสุทธิ์สูงสุด เหตุนั้น จึงชื่อว่า อริยญาณทัสสนะ. อริยญาณทัสสนะอันอาจ คือเป็นอริยสามารถกาจัด
กิเลส มีอยู่ในธรรมนั้น หรือแก่ธรรมนั้น เหตุนั้น ธรรมนั้น จึงชื่อว่า อลมริยญาณทัสสนะ ได้แก่ธรรมของมนุษย์ผู้ยิ่ง ต่าง
โดยฌานเป็นต้น. อลมริยญาณทัสสนะนั้นด้วย วิเศษด้วย เหตุนั้น จึงชื่อว่า อลมริยญาณทัสสนวิเสส. อีกนัยหนึ่ง คุณ
วิเศษ คือญาณทัสสนะอันบริสุทธิ์ สามารถกาจัดกิเลสได้นั้นนั่นเอง เหตุนั้น จึงชื่อว่า อลมริยญาณทัสสนวิเสส ก็ได้.
บทว่า อธิคโต ได้แก่ ความวิเศษที่เราได้ไว้แล้ว มีอยู่หรือหนอ. บทว่า โสห ได้แก่ เรานั้นมีคุณวิเศษอันได้ไว้แล้ว.
บทว่า ปจฺฉิเม กาเล ได้แก่ ในเวลานอนบนเตียง
สาหรับ บทว่า ปุฏฺโฐ ได้แก่ ถูกเพื่อนสพรหมจารีถามถึงคุณวิเศษที่บรรลุ.
บทว่า น มงฺกุ ภวิสฺสามิ ได้แก่เราจักไม่เป็นผู้คอตก หมดอานาจ. ด้วยว่า บรรพชิตพิจารณาอย่างนี้ ย่อมไม่ชื่อว่า
ตายเปล่า.
..................................................

๒๖
ชีวติ พระ อริยวิถี
๓.๔ ธรรมวิหาริกสูตรที่ ๑ (ว่าด้วยบุคคลผูอ้ ยู่ในธรรม) (เสริม) องฺ.ปญฺจ.๒๒/๗๓/๔๘
ครั้งนั้น ภิกษุรูปหนึ่ง เข้ าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ แล้ วทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า “ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ
ที่พระองค์ทรงตรัสว่า “ผู้อยู่ในธรรม ๆ” ดังนี้ ภิกษุช่ือว่าเป็ นผู้อยู่ในธรรม ด้ วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ดูกรภิกษุ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเรียนธรรม คือ สุตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิ
ติวุตตกะ ชาตก อัพภูตธรรม เวทัลละ ๑ (นวังคสัตถุศาสน์) , เธอปล่อยให้ วันคืนล่วงเลยไป ละการหลีกเร้ นอยู่ ไม่ประกอบ
ความสงบใจในภายใน เพราะการเรียนธรรมนั้น, ภิกษุน้ ีเรียกว่า (๑) เป็ นผูม้ ากด้วยการเรียน ไม่ช่ือว่าเป็ นผู้อยู่ในธรรม ฯ
อีกประการหนึ่ง ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ แสดงธรรมตามที่ตนได้ สดับมา ตามที่ตนได้ เรี ยนมาแก่ผ้ ูอ่ ืนโดยพิ สดาร เธอ
ปล่อยให้ วันคืนล่วงเลยไป ละการหลีกเร้ นอยู่ ไม่ประกอบความสงบใจในภายใน เพราะการแสดงธรรมนั้น ภิกษุน้ ีเราเรียกว่า
(๒) เป็ นผูม้ ากด้วยการแสดงธรรม ไม่เรียกว่าเป็ นผู้อยู่ในธรรม
อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สาธยายธรรมตามที่ตนได้ สดับมา ตามที่ตนได้ เรียนมาแก่ผ้ ูอ่ นื โดยพิสดาร เธอ
ปล่อยให้ วันคืนล่วงเลยไป ละการหลีกเร้ นอยู่ ไม่ประกอบความสงบใจในภายใน เพราะการสาธยายธรรมนั้น ภิกษุน้ ีเรา
เรียกว่า (๓) เป็ นผูม้ ากด้วยการสาธยายธรรม ไม่เรียกว่าเป็ นผู้อยู่ในธรรม
อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมตรีกตาม ตรองตาม เพ่ งตามด้ วยใจซึ่งธรรมตามที่ตนได้ สดับมา ตามที่ตน
ได้ เรียนมา เธอปล่อยให้ วันคืนล่วงเลยไป ละการหลีกเร้ นอยู่ ไม่ประกอบความสงบใจในภายใน เพราะการตรึกตามธรรมนั้น
ภิกษุน้ ีเราเรียกว่า (๔) เป็ นผูม้ ากด้วยการตรีกธรรม ไม่เรียกว่าเป็ นผู้อยู่ในธรรม
อีกประการหนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเล่าเรียนธรรม คือ สุตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตก
อัพภูตธรรม เวทัลละ เธอไม่ปล่อยให้ วันคืนล่วงเลยไป ไม่ละการหลีกเร้ นอยู่ ตามประกอบความสงบใจในภายใน เพราะการ
เรียนธรรมนั้น (๕) ภิกษุชื่อว่าเป็ นผูอ้ ยู่ในธรรม อย่างนี้แล
ดูกรภิกษุ เราแสดงภิกษุผ้ ุมากด้ วยการเล่าเรียนธรรม ผู้มากด้ วยการแสดงธรรม ผู้มากด้ วยการสาธยายธรรม ผู้มาก
ด้ วยการตรีกธรรม และผู้อยู่ในธรรม ด้ วยประการฉะนี้
ดูกรภิกษุ กิจใดอันศาสดาผู้หวังประโยชน์เกื้อกูล อนุเคราะห์ อาศัยความเอ็นดู พึงกระทาแก่สาวกทั้งหลาย กิจนั้นเรา
ได้ ทาแล้ วแก่เธอทั้งหลาย
ดูกรภิกษุ นั่นโคนไม้ นั่นเรือนว่าง เธอจงเพ่งฌาน อย่าประมาท อย่าเป็ นผู้มีความเดือดร้ อนใจในภายหลังเลย นี้เป็ น
อนุศาสนีของเราเพื่อเธอทั้งหลาย ฯ
........................................................................
๑ นวังคสัตถุศาสน์ (พระพุทธวจนะ, คาสอนของพระพุทธเจ้ามีองค์ ๙ ) คือ
๑. สุตตะ คือ พระสูตรทั้งหลาย รวมทั้งพระวินัยปิฎก และนิทเทส
๒. เคยยะ คือ ข้อความร้อยแก้วผสมร้อยกรอง ได้แก่ พระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด
๓. เวยยากรณะ คือ ความร้อยแก้ว ได้แก่ พระอภิธรรมปิฎกทั้งหมด พระสูตรที่ไม่คาถา
๔. คาถา คือ ข้อความร้อยกรอง ได้แก่ พระธรรมบท เถรคาถา เถรีคาถา และคาถาล้วนที่ไม่มีชื่อในสุตตนิบาต
๕. อุทาน คือ พระคาถาพุทธอุทาน ได้แก่ พระสูตร ๘๒ สูตรที่พระพุทธเจ้าทรงเปล่งด้วยโสมนัสญาณ
๖. อิ ติ วุ ตตกะ คื อ พระสู ตรที่ตรัสอ้างอิง ได้ แก่ พระสู ตร ๑๑๐ สู ตรที่ ขึ้นต้นด้วยค าว่า “ข้ อนี้ สมจริงดั งคาที่พระผุ้มี
พระภาคตรัสไว้ ”
๗. ชาตกะ คือ ชาดก ๕๕๐ เรื่อง เป็นการแสดงเรื่องในอดีตชาติของพระพุทธเจ้า
๘. อัพภูตธรรม คือ เรื่องอัศจรรย์ ได้แก่ พระสูตรที่ปฏิสังยุตด้วยอัจฉริยอัพภูตธรรมทั้งหมด
๙. เวทัลละ คือ พระสูตรแบบถาม-ตอบ
........................................................................

๒๗
ชีวติ พระ อริยวิถี
๔ หน้ าที่ของภิกษุสามเณรต่อพระศาสนา (คุณสมบัติสาคัญในฐานะพุทธบริษัทที่จะสืบต่ออายุ
พระพุทธศาสนา)
๔.๑ คุณสมบัติตามนัยแห่ งพุทธพจน์ในมหาปรินพิ พานสูตร ที.ม.๑๐/๑๐๒/๑๓๑
เอตทโวจ น ตาวาห ปาปิ ม ปรินิพฺพายิ สฺ สามิ ยาว เม ภิกฺขู น สาวกา ภวิ สฺ ส นฺ ติ วิ ย ตฺ ต า วิ นี ต า
วิ ส ารทา พหุ สฺ สุ ต า ธมฺ ม ธรา ธมฺมานุธมฺมปฏิปนฺนา สามีจิปฏิปนฺนา อนุธมฺมจาริโน สก
อาจริยก อุคฺคเหตฺวา อาจิกฺขิสฺสนฺติ เทเสสฺสนฺติ ป ฺ เปสฺสนฺติ ปฏ เปสฺสนฺติ วิวริสฺสนฺติ วิภชิสฺสนฺติ
อุตฺตานีกริสฺสนฺติ อุปฺปนฺน ปรปฺปวาท สหธมฺเมน สุนิคฺคหิต นิคฺคเหตฺวา สปฺปาฏิหาริย ธมฺม เทเสสฺสนฺติ ฯ

ดูกรมารผู้มีบาป ภิกษุ ผ้ ูเป็ นสาวกของเรา จักยังไม่ เฉียบแหลม ไม่ ได้ รับแนะนา ไม่ แกล้ วกล้ า ไม่ เป็ น
พหูสูต ไม่ทรงธรรม (๑) ไม่ ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ไม่ ปฏิบัติชอบ ไม่ประพฤติตามธรรม (๒) เรียน
กับอาจารย์ของตนแล้ ว ยังบอก แสดง บัญญัติ แต่ งตั้ง เปิ ดเผย จาแนก กระทาให้ ง่ายไม่ ได้ (๓) ยังแสดง
ธรรมมีปาฏิหาริ ย์ ข่ มขี่ปรั บ ปวาทที่บังเกิดขึ้นให้ เรี ยบร้ อ ยโดยสหธรรมไม่ ไ ด้ เพี ยงใด (๔) เราจักยังไม่
ปรินิพพานเพียงนั้น ..
ดูกรมารผู้มีบาป พรหมจรรย์ของเรานี้จักยังไม่สมบูรณ์ กว้ างขวาง แพร่หลาย รู้กนั โดยมาก เป็ นปึ กแผ่น
จนกระทั่งเทวดามนุษย์ประกาศได้ ดีแล้ วเพียงใด เราจักไม่ปรินิพพานเพียงนั้น
มหาปรินิพพานสูตร
[๑๐๒] ดูกรอานนท์ สมัยหนึ่ง เราแรกตรัสรู้ พักอยู่ท่ตี ้ นไม้ อชปาลนิโครธแทบฝั่งแม่นา้ เนรัญชรา ในอุรเุ วลาประเทศ ครั้งนั้น มารผู้มบี าป
ได้ เข้ าไปหาเราถึงที่อยู่ ครั้นเข้ าไปหาแล้ วยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง ครั้นมารผู้มบี าปยืนเรียบร้ อยแล้ วได้ กล่าวกะเราว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ู
เจริญ ขอพระผู้มพี ระภาคจงปรินิพพานในบัดนี้เถิด ขอพระสุคตจงปรินิพพานในบัดนี้เถิด บัดนี้เป็ นเวลาปรินิพพานของพระผู้มพี ระภาค
เมื่อมารกล่ าวอย่ างนี้แล้ ว เราได้ ตอบว่า ดู กรมารผูม้ ีบาป ภิกษุผูเ้ ป็ นสาวกของเรา จักยังไม่เฉี ยบแหลม ไม่ได้รบั แนะนา ไม่
แกล้วกล้า ไม่เป็ นพหูสูต ไม่ทรงธรรม ไม่ปฏิบตั ิธรรมสมควรแก่ธรรม ไม่ปฏิบตั ิชอบ ไม่ประพฤติตามธรรม เรียนกับอาจารย์ของตน
แล้ว ยังบอก แสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิ ดเผย จาแนก กระทาให้ง่ายไม่ได้ ยังแสดงธรรมมีปาฏิหาริย ์ ข่มขี่ปรับปวาทที่บงั เกิดขึ้ นให้
เรียบร้อยโดยสหธรรมไม่ได้เพียงใด เราจักยังไม่ปรินิพพานเพียงนั้น ฯ
ดูกรมารผู้มีบาป ภิกษุณีผ้ ูเป็ นสาวิกาของเรา จักยังไม่เฉียบแหลม ... เพียงใด ...อุบาสกผู้เป็ นสาวกของเรา จักยังไม่เฉียบแหลม ...
เพียงใด ...อุบาสิกาผู้เป็ นสาวิกาของเรา จักยังไม่เฉียบแหลม ... เพียงใด
ดู กรมารผูม้ ีบาป พรหมจรรย์ของเรานี้ จักยังไม่สมบู รณ์ กว้างขวาง แพร่หลาย รูก้ นั โดยมาก เป็ นปึ กแผ่น จนกระทัง่ เทวดา
มนุษย์ประกาศได้ดีแล้วเพียงใด เราจักไม่ปรินิพพานเพียงนั้น
ดูกรอานนท์ วันนี้เมื่อกี้น้ ีเอง มารผู้มีบาปได้ เข้ ามาหาเราที่ปาวาลเจดีย์ ครั้นเข้ ามาหาแล้ วยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง มารผู้มีบาป
ครั้นยืนเรียบร้ อย แล้ วได้ กล่าวกะเราว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ขอพระผู้มพี ระภาคจงปรินิพพาน ในบัดนี้เถิด ขอพระสุคตจงปรินิพพานใน
บัดนี้เถิด บัดนี้ เป็ นเวลาปรินิพพาน ของพระผู้มพี ระภาค
ก็พระผู้มีพระภาคได้ ตรัสพระวาจานี้ไว้ ว่า ดูกรมารผู้มีบาป ภิกษุผ้ ูเป็ นสาวกของเราจักยังไม่เฉียบแหลม ... เพียงใด ... ภิกษุณีผ้ ู
เป็ นสาวิกา ของเราจักยังไม่เฉียบแหลม ... เพียงใด ... อุบาสกผู้เป็ นสาวกของเราจักยังไม่เฉียบแหลม ... เพียงใด ... อุบาสิกาผู้เป็ นสาวิกา
ของเราจักยังไม่ เฉี ยบแหลม ... เพี ยงใด ... พรหมจรรย์ของเรานี้จักยังไม่ สมบูรณ์ กว้ างขวาง แพร่ หลาย รู้กันโดยมาก เป็ นปึ กแผ่น
จนกระทั่งเทวดาและมนุษย์ประกาศได้ ดแี ล้ วเพียงใด เรา จักยังไม่ปรินิพพานเพียงนั้น
ข้ าแต่ พระองค์ผ้ ูเจริญก็บัดนี้ พรหมจรรย์ของพระผู้มีพระภาคสมบูรณ์แล้ ว กว้ างขวาง แพร่ หลาย รู้กันโดยมาก เป็ นปึ กแผ่น
จนกระทั่งเทวดาและมนุษย์ประกาศได้ ดีแล้ ว ขอพระผู้มีพระภาคจงปรินิพพานในบัดนี้เถิด ขอพระสุคตจงปรินิพพานในบัดนี้เถิด บัดนี้
เป็ นเวลาปรินิพพานของพระผู้มพี ระภาค ฯ
ดูกรอานนท์ เมื่อมารกล่าวอย่างนี้แล้ ว เราได้ ตอบว่า ดูกรมารผู้มบี าป ท่านจงมีความขวนขวายน้ อยเถิด ความปรินิพพานแห่งตถาคต
จักมีไม่ช้า โดยล่วงไปอีกสามเดือนแต่น้ ี ตถาคตก็จักปรินิพพาน
ดูกรอานนท์ วันนี้เมื่อกี้น้ ี ตถาคตมีสติสมั ปชัญญะปลงอายุสงั ขารแล้ ว ที่ปาวาลเจดีย์ ฯ
๒๘
ชีวติ พระ อริยวิถี
เมื่อพระผู้มพี ระภาคตรัสอย่างนี้แล้ ว ท่านพระอานนท์ได้ กราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ขอพระผู้มพี ระภาคจงทรงดารงอยู่ตลอด
กัป ขอพระสุคตจงทรงดารงอยู่ตลอดกัป เพื่อประโยชน์ของชนเป็ นอันมาก เพื่อความสุขของชนเป็ นอันมาก เพื่ออนุ เคราะห์โลก เพื่อ
ประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุขของเทวดาและมนุษย์ท้งั หลาย
พระผู้มพี ระภาคตรัสว่า ดูกรอานนท์ เวลานี้อย่าเลย อย่าวิงวอนตถาคตเลย บัดนี้มใิ ช่เวลาที่จะวิงวอนตถาคต แม้ ครั้งที่สอง ... แม้
ครั้งที่สาม ... ท่านพระอานนท์ ก็ได้ กราบทูลว่า ...
ดูกรอานนท์ เธอเชื่อความตรัสรู้ของตถาคตหรือ ฯ
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ข้ าพระองค์เชื่อ ฯ
ดูกรอานนท์ เมื่อเชื่อ ไฉนเธอจึงแค่นได้ ตถาคตถึงสามครั้งเล่า ฯ
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ข้ าพระองค์ได้ ฟังมาได้ รับมา เฉพาะพระพักตร์ พระผู้มพี ระภาคว่า ดูกรอานนท์ อิทธิบาททั้ง ๔ อันผู้ใดผู้หนึ่งเจริญ
แล้ ว กระทาให้ มากแล้ ว กระทาให้ เป็ นดุจยาน กระทาให้ เป็ นดุจพื้น ให้ ต้งั มั่นแล้ ว อบรม แล้ ว ปรารภดีแล้ ว ผู้น้นั เมื่อจานงอยู่ พึงดารงอยู่
ได้ ตลอดกัป หรือเกินกว่ากัป
ดูกรอานนท์ อิทธิบาททั้ง ๔ ตถาคตเจริญแล้ ว กระทาให้ มากแล้ ว กระทาให้ เป็ นดุจยาน กระทาให้ เป็ นดุจพื้น ให้ ต้งั มั่นแล้ ว อบรม
แล้ ว ปรารภดีแล้ ว ตถาคตนั้นเมื่อจานงอยู่ จะพึงดารงอยู่ได้ ตลอดกัป หรือเกินกว่ากัป ฯ
ดูกรอานนท์ เธอเชื่อหรือ ฯ
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ข้ าพระองค์เชื่อ ฯ
ดูกรอานนท์ เพราะฉะนั้น เรื่องนี้เป็ นความผิดพลาดของเธอผู้เดียว เพราะว่า เมื่อตถาคตทานิมติ อันหยาบ ทาโอภาสอันหยาบอย่างนี้ เธอ
มิอาจรู้ทนั จึงมิได้ วิงวอนตถาคตว่า ขอพระผู้มพี ระภาคจงทรงดารงอยู่ตลอดกัป ...
ถ้ าเธอวิงวอนตถาคต ตถาคตจะพึงห้ ามวาจาเธอเสียสองครั้งเท่านั้น ครั้นครั้งที่สาม ตถาคตพึงรับ เพราะฉะนั้นแหละ อานนท์ เรื่องนี้
จึงเป็ นความผิดพลาดของเธอผู้เดียว ฯ
[๑๐๓] ดูกรอานนท์ สมัยหนึ่ง เราอยู่ท่ภี ูเขาคิชฌกูฏ เขตพระนคร ราชคฤห์ ณ ที่น้ัน เราเรียกเธอมาบอกว่ า ดูกรอานนท์ พระนครรา
ชคฤห์ น่ารื่นรมย์ ภูเขาคิชฌกูฏ น่ารื่นรมย์ อิทธิบาททั้ง ๔ อันผู้ใดผู้หนึ่งเจริญแล้ ว กระทาให้ มากแล้ ว กระทาให้ เป็ นดุจยาน กระทาให้ เป็ น
ดุจพื้น ให้ ต้ังมั่นแล้ ว อบรมแล้ ว ปรารภดีแล้ ว ผู้น้ัน เมื่อจานงอยู่ พึงดารงอยู่ได้ ตลอดกัปหรือ เกินกว่ ากัป ดูกรอานนท์ อิทธิบาททั้ง ๔
ตถาคตเจริญแล้ ว กระทาให้ มากแล้ ว กระทาให้ เป็ นดุจยาน กระทาให้ เป็ นดุจพื้น ให้ ต้งั มั่นแล้ ว อบรมแล้ ว ปรารภดีแล้ ว ตถาคตนั้น เมื่อ
จานงอยู่ จะพึงดารงอยู่ได้ ตลอดกัป หรือเกินกว่ากัป
[๑๐๔] ดูกรอานนท์ สมัยหนึ่ง เราอยู่ท่โี คตมนิโครธ เขตพระนคร ราชคฤห์น้ัน ... เราอยู่ท่เี หวเป็ นที่ท้ งิ โจร เขตพระนครราชคฤห์น้ัน ...
เราอยู่ท่ถี า้ สัตตบรรณคูหา ข้ างภูเขาเวภารบรรพต เขตพระนครราชคฤห์น้นั ... เราอยู่ท่ี กาฬศิลา ข้ างภูเขาอิสคิ ิลิ เขตพระนครราชคฤห์
นั้น ... เราอยู่ท่เี งื้อมชื่อสัปปโสณฑิก ณ สีตวัน เขตพระนครราชคฤห์น้นั ... เราอยู่ท่ตี โปทาราม เขตพระนครราชคฤห์ นั้น ... เราอยู่ท่เี วฬุ
วันกลันทกนิวาปสถาน เขตพระนครราชคฤห์น้ัน ... เราอยู่ท่ี ชีวกัมพวัน เขตพระนครราชคฤห์น้ัน ... เราอยู่ท่มี ัททกุจฉิมฤคทายวัน เขต
พระนคร ราชคฤห์น้นั
[๑๐๕] ดูกรอานนท์ สมัยหนึ่ง เราอยู่ท่อี เุ ทนเจดีย์ เขตเมืองเวสาลี นี้เอง
[๑๐๖] ดูกรอานนท์ สมัยหนึ่ง เราอยู่ท่โี คตมกเจดีย์ เขตเมืองเวสาลี นี้เอง ... เราอยู่ท่สี ตั ตัมพเจดีย์ เขตเมืองเวสาลีน้ ีเอง ... เราอยู่ท่พี หุ
ปุตตเจดีย์ เขตเมืองเวสาลีน้ ีเอง ... เราอยู่ท่สี ารันททเจดีย์ เขตเมืองเวสาลีน้ ีเอง ... วันนี้ เมื่อกี้น้ ีเอง เราบอกเธอที่ปาวาลเจดีย์ว่า ดูกร
อานนท์ เมืองเวสาลีน่ารื่นรมย์...
ดูกรอานนท์ เราได้ บอกเธอไว้ ก่อนแล้ วไม่ใช่ หรือว่า ความเป็ นต่างๆ ความพลัดพราก ความเป็ นอย่ างอื่นจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น
ต้ องมี เพราะฉะนั้น จะพึงได้ ในของรักของชอบใจนี้แต่ท่ไี หน สิ่งใดเกิดแล้ ว มีแล้ ว ปั จจัยปรุงแต่งแล้ ว มีความทาลายเป็ นธรรมดา การ
ปรารถนาว่า ขอสิ่งนั้น อย่าทาลายไปเลยดังนี้ มิใช่ฐานะจะมีได้
ก็ส่งิ ใดที่ตถาคตสละแล้ ว คายแล้ ว ปล่อยแล้ ว ละแล้ ว วางแล้ ว อายุสงั ขารตถาคตปลงแล้ ว วาจาที่ตถาคตกล่าวไว้ โดยเด็ดขาดว่ า
ความ ปรินิพพานแห่ งตถาคตจักมีไม่ช้า โดยล่วงไปอีกสามเดือนแต่น้ ี ตถาคตก็จักปรินิพพาน อันตถาคตจะกลับคืนยังสิ่งนั้น เพราะเหตุ
แห่งชีวิต ดังนี้ มิใช่ฐานะที่จะมีได้ มาไปกันเถิดอานนท์ เราจักเข้ าไปยังกุฏาคารสาลาป่ ามหาวัน .. ครั้นแล้ ว รับสั่งกะท่านพระอานนท์ว่า ไป
เถิดอานนท์ เธอจงให้ ภิกษุทุกรูปเท่าที่อาศัยเมืองเวสาลีอยู่ มาประชุมที่อปุ ัฏฐานศาลา ฯ
...........................................

๒๙
ชีวติ พระ อริยวิถี
๔.๒ องค์แห่งพระธรรมกถึก ๕ (ธรรมของนักเทศก์, ธรรมทีผ่ แู ้ สดงธรรมหรือสัง่ สอนคนอื่นควรตั้งไว้ในใจ)
๑. อนุปุพพฺ ิกถ กล่าวความไปตามลาดับ คือ แสดงหลักธรรมหรือเนื้อหาวิชาตามลาดับความง่ายยากลุ่มลึก มีเหตุผล
สัมพันธ์ต่อเนื่องกันไปโดยลาดับ
๒. ปริยายทสฺสาวี ชี้แจงยกเหตุผลมาแสดงให้ เข้ าใจ คือ ชี้แจงให้ เข้ าใจชัดในแต่ละแง่แต่ละประเด็น โดยอธิบายขยาย
ความ ยักเยื้องไปต่างๆ ตามแนวเหตุผล
๓. อนุทยต ปฏิจจฺ แสดงธรรมด้ วยอาศัยเมตตา คือ สอนเขาด้ วยจิตเมตตา มุ่งจะให้ ประโยชน์แก่เขา
๔. น อามิสนฺตโร ไม่แสดงธรรมด้ วยเห็นแก่อามิส คือ สอนเขามิใช่เพราะมุ่งที่ตนจะได้ ลาภ หรือผลประโยชน์ตอบแทน
๕. อตฺตานญฺจ ปรญฺจ อนุปหจฺจ แสดงธรรมไม่กระทบตนและผู้อ่นื คือ สอนตามหลักตามเนื้อหา มุ่งแสดงอรรถ
แสดงธรรม ไม่ยกตน ไม่เสียดสีข่มขี่ผ้ ูอ่นื
อุทายิสูตร องฺ.ปญฺจก.๒๒/๑๕๙/๑๖๖
[๑๕๙] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ โฆสิตาราม ใกล้ เมืองโกสัมพี สมัยนั้น ท่านพระอุทายีผ้ อู นั คฤหัสถ์บริษัทหมู่ใหญ่
แวดล้ อมแล้ ว นั่งแสดงธรรมอยู่ ท่านพระอานนท์ได้ เห็นท่านพระอุทายี ผู้อนั คฤหัสถ์บริษัทหมู่ใหญ่แวดล้ อมแล้ ว นั่งแสดงธรรมอยู่ จึงได้
เข้ าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับถวายบังคมแล้ วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง ครั้นแล้ วได้ กราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ท่านพระอุ
ทายี ผู้อนั คฤหัสถ์บริษัทหมู่ใหญ่แวดล้ อมแล้ ว นั่งแสดงธรรมอยู่
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดู กรอานนท์ การแสดงธรรมแก่ผูอ้ ื่นไม่ใช่ทาได้ง่าย ภิกษุเมื่อจะแสดงธรรมแก่ผูอ้ ื่น พึงตั้งธรรม ๕
ประการไว้ภายใน แล้วจึ งแสดงธรรมแก่ผูอ้ ื่น ๕ ประการเป็ นไฉน คือ ภิกษุพึงตั้งใจว่า เราจักแสดงธรรมไปโดยลาดับ ๑ เราจัก
แสดงอ้างเหตุผล ๑ เราจักแสดงธรรมอาศัยความเอ็นดู ๑ เราจักเป็ นผูไ้ ม่เพ่งอามิสแสดงธรรม ๑ เราจักไม่แสดงให้กระทบตนและ
ผูอ้ ื่น ๑ แล้วจึ งแสดงธรรมแก่ผูอ้ ื่น ดูกรอานนท์ การแสดงธรรมแก่ผ้ ูอ่นื ไม่ใช่ ทาได้ ง่าย ภิกษุเมื่อจะแสดงธรรมแก่ผ้ ูอ่นื พึงตั้งธรรม ๕
ประการนี้ไว้ ในภายใน แล้ วจึงแสดงธรรมแก่ผ้ อู ่นื ฯ
อรรถกถาอุทายิสูตร องฺ.ปญฺจก.เล่ม ๓๖ หน้า ๓๓๔ มมร.
บทว่า อนุปุพฺพิกถ กเถสฺสามิ ความว่า ยกลาดับแห่งเทศนาอย่างนี้ว่า ศีลในลาดับทาน สวรรค์ในลาดับศีล หรือบทพระสูตร
หรือบทคาถาใดๆ หรือพึงตั้งจิตว่า เราจักกล่าวกถาสมควรแก่บทนั้นๆ แล้วแสดงธรรมแก่ผู้อื่น.
บทว่า ปริยายทสฺสาวี ได้แก่ แสดงถึงเหตุนั้นๆ แห่งเนื้อความนั้นๆ. จริงอยู่ในสูตรนี้ท่านกล่าวเหตุว่าปริยาย.
บทว่ า อนุ ทฺ ท ยต ปฏิ จฺ จ ได้ แ ก่ อาศั ย ความเอ็ น ดู ว่ า เราจั ก เปลื้ อ งสั ต ว์ ทั้ ง หลายผู้ ถึ ง ความยากล าบากมาก จากความ
ยากลาบาก.
บทว่า น อามิสนฺตโร ได้แก่ ไม่เห็นแก่อามิส อธิบายว่า ไม่หวังลาภคือปัจจัย ๔ เพื่อตน.
บทว่า อตฺตานญฺจ ปรญฺจ อนุปหจฺจ ได้แก่ ไม่กระทบตนและผู้อื่นด้วยการกระทบคุณโดยยกตนข่มผู้อื่น.
..................................................
พระอานนท์กล่าว แก่พระสารีบตุ รว่า “ภิกษุในพระศาสนานี้เป็ นพหูสตู เป็ นผู้ทรงสุตะสัง่ สมสุตะ ธรรมเหล่านั้นใด งามในเบื้องต้ น
งามในท่ามกลาง งามในที่สดุ พร้ อมทั้งอรรถ พร้ อมทั้งพยัญชนะ ประกาศพรหมจรรย์บริสทุ ธิ์ บริบูรณ์ส้ นิ เชิง ธรรมเห็นปานนั้น . . อันภิกษุ
นั้นสดับมากแล้ ว ทรงไว้ แล้ ว สั่งสมด้ วยวาจา ตามเพ่งด้ วยใจ แทงตลอดดีแล้ วด้ วยความเห็น ภิกษุน้นั แสดงธรรมแก่บริษัท ๔ ด้วยบทและ
พยัญชนะอันราบเรียบไม่ขาดสาย เพื่อถอนเสียซึ่งอนุสยั ท่านสารีบุตร ป่ าโคสิงคสาลวัน พึงงามด้ วยภิกษุเห็นปานนี้แล.
อรรถกถา มหาโคสิงคสาลสูตร ม.มู.เล่ม ๑๙ หน้า ๔๗ มมร.
ในบทว่า อนุปฺปพนฺเธหิ ความว่า ภิกษุใด กล่าวธรรม ตั้งแต่เวลาเริ่มสูตร หรือชาดก ปรารภรีบด่วนเหมือนคนสีไฟ เหมือนคน
เคี้ยวของร้อน กระทาที่ถือเอาแล้ว และไม่ถือเอาแล้ว ๆ ในอนุสนธิเบื้องต้นเบื้องปลายแห่งบาลี (กล่าวธรรมไม่ครบถ้วน) อ้อมแอ้มในที่
นั้นๆ จบลุกไป (อธิบายความไม่ชัดเจน แล้วก็จากไป) เหมือนคนเลี้ยงเหี้ยเที่ยวไปในระหว่างใบไม้เก่า (เหลียวซ้ายแลขวา เดี๋ยวเดิน
เร็ว-เดินช้า) ภิกษุใด เมื่อกล่าวธรรม บางคราวก็เร็ว บางคราวก็ช้า บางคราวทาเสียงดัง บางคราวทาเสียงค่อย (เหมือน) ไปเผาศพ บาง
คราว (ไฟ) ลุก บางคราว (ไฟ) ก็ดับ ฉันใด
ภิกษุนั้นชื่อว่า พระธัมมกถึกเปรียบด้วยไฟเผาศพ ฉันนั้นเหมือนกัน เมื่อบริษัทประสงค์จะลุก(ขึ้น) (ก็)เริ่ม(กล่าว)ขึ้นอีก (เหนี่ยว
รั้งไว้ ไม่ให้ไป) . แม้ภิกษุใด เมื่อกล่าวให้พิสดารในที่นี้ แม้แต่เธอกล่าวเหมือนถอนหายใจ (เหมือนไม่อยากพูดด้วย) เหมือนคร่าครวญ
(เศร้าโศกเสียใจ) ถ้อยคาของภิกษุเหล่านี้แม้ทั้งหมด ชื่อว่าไม่ติดต่อกัน
ส่วนผู้ใดเริ่มสูตร ตั้งอยู่โดยนัยยะ ที่อาจารย์ให้ไว้ ทาไม่ขาดสายให้เ ป็น ไป เหมือนกระแสน้ายั งถ้ อยคาให้ เป็ นไม่ข าดตอน
เหมือนน้าตกจากคงคา ถ้อยคาของเขาชื่อว่า ติดต่อกันโดยลาดับ ท่านหมายเอาถ้อยคานั้น จึงกล่าวว่า อนุปฺปพนฺเธหิ ดังนี.้
………………………………………………………………..
๓๐
ชีวติ พระ อริยวิถี
๔.๓ บูชา ๒ (ให้ดว้ ยความนับถือ, แสดงความเคารพเทิดทูน) ที.ม.๑๐/๑๒๙/๑๑๑ องฺ.ทุก.๒๐/๔๐๑/๘๖
๑. อามิสบูชา บูชาด้ วยสิ่งของ
๒. ปฏิบตั ิบชู า บูชาด้ วยการปฏิบัติ (นิรามิสบูชา)
[๔๐๑] ดูกรภิกษุท้งั หลาย การบูชา ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็ นไฉน คือ อามิสบูชา ๑ ธรรมบูชา ๑ ดูกรภิกษุท้งั หลาย การบูชา ๒ อย่างนี้แล ดูกร
ภิกษุท้งั หลาย บรรดาการบูชา ๒ อย่างนี้ ธรรมบูชาเป็ นเลิศ ฯ
อรรถกถาสูตรที่ ๖ องฺ.ทุก.อ. เล่ ม ๓๓ หน้ า ๔๘๘ มมร.
ในสูตรที่ ๖ (ข้อ ๔๐๑) การบูชาอามิส ชื่อว่า อามิสบูชา การบูชาด้วยธรรม ชื่อว่า ธรรมบูชา.
………………………………………………………………..
มหาปรินพิ พานสูตร ที.ม.๑๐/๑๒๙/๑๑๑
บรรทมอนุฏฐานไสยา
[๑๒๘] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ าตรัสกะท่านพระอานนท์ว่า มาเถิด อานนท์ เราจักไปยังฝั่งโน้ นแห่ งแม่นา้ หิรัญวดี เมืองกุสนิ ารา
และสาลวันอันเป็ นที่แวะพักแห่ งมัลลกษัตริย์. ท่านพระอานนท์ทูลรับพระดารัสของพระผู้มีพระภาคเจ้ าแล้ ว . ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ า
พร้ อมด้ วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เสด็จไปยังฝั่งโน้ นแห่ งแม่นา้ หิรัญวดี เมืองกุสนิ าราและสาลวันอันเป็ นที่แวะพักแห่ งมัลลกษัตริย์ รับสั่งกะท่าน
พระอานนท์ว่า เธอจงช่ วยตั้งเตียงให้ เรา หันศีรษะไปทางทิศอุดรระหว่างไม้ สาละทั้งคู่ เราเหนื่อยแล้ วจั กนอน. ท่านพระอานนท์ทูลรับพระ
ดารัสของพระผู้มพี ระภาคเจ้ าแล้ ว ตั้งเตียงหันพระเศียรไปทางทิศอุดรระหว่างไม้ สาละทั้งคู่. พระผู้มพี ระภาคเจ้ าทรงสาเร็จสีหไสยา โดยปรัศว์
เบื้องขวา ทรงซ้ อนพระบาทด้ วยพระบาท มีพระสติสมั ปชัญญะ.
ทรงปรารภสักการบู ชา
[๑๒๙] สมัยนั้น ไม้ สาละทั้งคู่ เผล็จดอกสะพรั่งนอกฤดูกาล ดอกไม้ เหล่านั้นร่วงหล่นโปรยปรายลงยังพระสรีระของพระตถาคตเพื่อ
บูชา แม้ ดอกมณฑารพอันเป็ นของทิพย์กต็ กลงมาจากอากาศ ดอกมณฑารพเหล่านั้น ร่วงหล่นโปรยปรายลงยังพระสรีระของพระตถาคตเพื่อ
บูชา แม้ จุณแห่งจันทน์อนั เป็ นของทิพย์ ก็ตกลงมาจากอากาศ จุณแห่งจันทน์เหล่านั้น ร่วงหล่นโปรยปรายลงยังพระสรีระของพระตถาคตเพื่อ
บูชา ดนตรีอนั เป็ นทิพย์เล่าก็ประโคมอยู่ในอากาศ เพื่อบูชาพระตถาคต แม้ สงั คีตอันเป็ นทิพย์กเ็ ป็ นไปในอากาศ เพื่อบูชาพระตถาคต ฯ
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารั บสั่งว่า ดูกรอานนท์ ไม้ สาละทั้งคู่ เผล็จดอกบานสพรั่งนอกฤดูกาล ร่วงหล่น
โปรยปรายลงยังสรีระของตถาคตเพื่อบูชา แม้ ดอกมณฑารพอันเป็ นของทิพย์ ก็ตกลงมาจากอากาศ ดอกมณฑารพเหล่านั้น ร่วงหล่นโปรยปรายลงยัง
สรีระของตถาคตเพื่อบูชา แม้ จุณแห่ ง จันทน์อนั เป็ นของทิพย์ ก็ตกลงมาจากอากาศ จุณแห่ งจันทน์เหล่านั้น ร่วงหล่น โปรยปรายลงยังสรีระ
ของตถาคตเพื่อบูชา ดนตรีอนั เป็ นทิพย์เล่าก็ประโคมอยู่ในอากาศ เพื่อบูชาตถาคต แม้ สงั คีตอันเป็ นทิพย์กเ็ ป็ นไปในอากาศเพื่อบูชาตถาคต
ดูกรอานนท์ ตถาคตจะชื่อว่าอันบริษัทสักการะ เคารพ นับถือ บูชา นอบน้ อมด้ วยเครื่องสักการะประมาณเท่านี้หามิได้
ผู้ใดแล จะเป็ นภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก หรืออุบาสิกาก็ตาม เป็ นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ ปฏิบัติตามธรรมอยู่
ผู้น้ันย่อมชื่อว่าสักการะ เคารพ นับถือ บูชาตถาคตด้ วยการบูชาอย่างยอด
เพราะเหตุน้ันแหละอานนท์ พวกเธอพึงสาเหนียกอย่างนี้ว่า เราจักเป็ นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติชอบ
ประพฤติตามธรรมอยู่ ดังนี้ ฯ
[๑๓๐] สมัยนั้น ท่านพระอุปวาณะยืนถวายงานพัดพระผู้มพี ระภาค เฉพาะพระพักตร์ …
อรรถกถามหาปรินพิ พานสูตร ที.ม.อ. เล่ม ๑๓ หน้า ๔๒๐ มมร.
ก็แล พระผู้มีพระภาคเจ้า บรรทมตะแคงข้างขวา ระหว่างต้นสาละคู่ทรงเห็นความอุตสาหะอย่างใหญ่ ของบริษัทที่ประชุ ม กัน
ตั้งแต่ปฐพีจดขอบปากจักรวาล และตั้งแต่ขอบปากจักรวาลจดพรหมโลก จึงตรัสบอกท่านพระอานนท์.
... ครั้นทรงแสดงมหาสักการะอย่างนี้แล้ว เมื่อจะทรงแสดงความที่พระองค์เป็นผู้อันบริษัทไม่สักการะด้วยมหาสักการะแม้นั้น จึง
ตรัสว่า น โข อานนฺท เอตฺตาวตา เป็นต้น. ท่านอธิบายไว้อย่างนี้ว่า ดูก่อนอานนท์ เราตถาคตหมอบอยู่แทบบาท มูลของพระพุทธเจ้า
พระนามว่า ทีปัง กร ประชุม ธรรม ๘ ประการ เมื่อ จะกระท าอภินิห าร มิใ ช่ก ระท าอภินิห าร เพื่อ ประโยชน์แ ก่พ วงมาลัยของหอมและ
ดุริยางค์สังคีต มิใช่บาเพ็ญบารมีทั้งหลาย เพื่อประโยชน์แก่สงิ่ เหล่านั้น เพราะฉะนั้น เราตถาคตไม่ชื่อว่า เขาบูชาแล้วด้วยการบูชาอัน
นี้เลย.
ถามว่า ก็เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสรรเสริญวิบาก ที่แม้พระพุทธญาณก็กาหนดไม่ได้ของการบูชา ที่บุคคลถือเพียง
ดอกฝ้ายดอกเดียวระลึกถึงพระพุทธคุณบูชาแล้วไว้ในที่อื่น ในที่นี้กลับทรงคัดค้านการบูชาใหญ่อย่างนี้.
ตอบว่า เพราะเพื่อจะทรงอนุเคราะห์บริษัทอย่างหนึ่ง เพื่อประสงค์จะให้พระศาสนาดารงยั่งยืนอย่างหนึ่ง.

๓๑
ชีวติ พระ อริยวิถี
จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคเจ้า (หากแม้) ไม่พึงคัดค้านอย่างนั้นไซร้ ต่อไปในอนาคต พุทธบริษท ั ก็ไม่ต้องบาเพ็ญศีลในฐานะที่ศีล
มาถึ ง จั ก ไม่ใ ห้ส มาธิบริบูร ณ์ใ นฐานะที่สมาธิม าถึง ไม่ ใ ห้ถือ ห้อ งคือ วิปัสสนาในฐานะที่วิปัส สนามาถึง ชั ก ชวนแล้ว ชัก ชวนอีก ซึ่ง
อุปัฏฐากกระทาการบูชาอย่างเดียวอยู่ .
จริงอยู่ ชื่อว่าอามิสบูชานั้น ไม่สามารถจะดารงพระศาสนาแม้ในวันหนึ่งบ้าง แม้ชั่วดื่มข้าวยาคูครั้งหนึ่งบ้าง. จริงอยู่ วิหารพัน
แห่งเช่นมหาวิหาร เจดีย์พันเจดีย์ เช่นมหาเจดีย์ ก็ดารงพระศาสนาไว้ไม่ได้. บุญูผู้ใด ทาไว้ก็เป็นของผู้นั้นผู้เดียว.
ส่ว นสัมมาปฏิบัติ ชื่อ ว่า เป็นบูชาที่สมควรแก่พระตถาคต. เป็น ความจริง ปฏิบัติบูช านั้น ชื่อว่าดารงอยู่แ ล้ว สามารถดารงพระ
ศาสนาไว้ได้ด้วย เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงแสดงปฏิบัติบูชานั้น จึงตรัสว่า โย โข อานนฺท เป็นต้น.

บรรดาบทเหล่ า นั้ น บทว่ า ธมฺ ม านุ ธ มฺม ปฏิป นฺโ น ได้ แ ก่ ปฏิ บัติ ปุพ พภาคปฏิ ป ทา อั น เป็ น ธรรมสมควร. ก็ ป ฏิ ป ทานั่ น แล ท่ า น
เรียกว่าสามีจิชอบยิ่ง เพราะเป็นปฏิปทาอันสมควร. ชื่อว่า สามีจิป ฏิป นฺโน เพราะปฏิบัติ ธรรมอันชอบยิ่ง . ชื่อว่า อนุธ มฺม จารี เพราะ
ประพฤติบาเพ็ญธรรมอันสมควร กล่าวคือ บุพพภาคปฏิปทานั้นนั่นแล.
ก็ศีล อาจารบัญญัติการสมาทานธุดงค์สัมมาปทาถึงโคตรภูญาณ พึงทราบว่า ปุพพภาคปฏิปทา. เพราะฉะนั้น ภิกษุตั้งอยู่ใ นอ
คารวะ ๖ ละเมิดพระบัญญัติ เลี้ยงชีวิตด้วยอเนสนา ภิกษุนี้ชื่อว่า ไม่ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ส่วนภิกษุใดไม่ละเมิดสิกขาบทที่ทรง
บัญญัติแล้วแก่ตน
ทั้งหมดที่ขีดคั่นเขตแดนและเส้นบรรทัดของพระชินเจ้าแม้มีประมาณน้อย ภิกษุนี้ ชื่อว่าปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม. แม้ในภิกษุณี ก็นัย
นี้เหมือนกัน.
ก็อุบาสกใดยึดเวร ๕ อกุศลกรรมบถ ๑๐ ประพฤติไว้แนบแน่น อุบาสกนี้ชื่อว่า ไม่ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม. ส่วนอุบาสกปฏิบัติ
ให้สมบูรณ์ในสรณะ ๓ ศีล ๕ ศีล ๑๐ รักษาอุโบสถเดือนละ ๘ ครั้ง ถวายทาน บูชาด้วยของหอม บูชาด้วยมาลา บารุงมารดาบิดา บารุง
สมณพราหมณ์ อุบาสกผู้นี้ ชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แม้ในอุบาสิกา ก็นัยนี้เหมือนกัน.
บทว่า ปรมาย ปูชาย แปลว่า ด้วยบูชาสูงสุด. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ว่า แท้จริง ชื่อว่า นิรามิสบูชานี้ สามารถดารงพระ
ศาสนาของเราไว้ได้ . จริงอยู่ บริษัท ๔ นี้จักบูชาเราด้วยการบูชานี้ เพียงใด ศาสนาของเราก็จะรุ่งเรืองดุจจันทร์เพ็ญลอยเด่นกลาง
ท้องฟ้าฉะนั้น.
………………………………………………………………..
จุนทสูตร ส.ม. ๑๙/๗๓๓/๑๗๘
การปรินิพพานของพระสารีบุตร
[๗๓๓] สมัยหนึ่ง พระผู้มพี ระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวันอารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้ พระนครสาวัตถี ก็ในสมัย
นั้น ท่านพระสารีบุตร อยู่ ณ บ้ านนาฬกคาม ในแคว้ นมคธ อาพาธ เป็ นไข้ หนัก ได้ รับทุกขเวทนา สามเณรจุนทะเป็ นอุปัฏฐากของท่าน ครั้ง
นั้นท่านพระสารีบุตรปรินิพพานด้ วยอาพาธนั่นแหละ.
[๗๓๔] ครั้งนั้น สามเณรจุนทะถือเอาบาตรและจีวรของท่านพระสารีบุตร เข้ าไปหา พระอานนท์ยังพระวิหารเชตวัน .. ได้ กล่าวกะ
ท่านพระอานนท์ว่า ข้ าแต่ท่านผู้เจริญ ท่านพระสารีบุตรปรินิพพานแล้ ว
[๗๓๕] ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์กบั สามเณรจุนทะ เข้ าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ วนั่ง ณ ที่
ควรส่วนข้ างหนึ่ง ครั้นแล้ ว
ท่านพระอานนท์ได้ กราบทูลว่า .. ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ กายของข้ าพระองค์ประหนึ่งจะงอมงมไป แม้ ทศิ ทั้งหลายก็ไม่ปรากฏแก่ข้า
พระองค์ แม้ ธรรมก็ไม่แจ่มแจ้ งแก่ข้าพระองค์ เพราะได้ ฟังว่า ท่านพระสารีบุตรปรินิพพานแล้ ว.
[๗๓๖] พระผู้มพี ระภาคตรัสถามว่า ดูกรอานนท์ สารีบุตรพาเอาศีลขันธ์ สมาธิขนั ธ์
ปัญญาขันธ์ วิมุตติขนั ธ์ หรือวิมุตติญาณทัสสนขันธ์ ปรินิพพานไปด้ วยหรือ?
ท่านพระอานนท์กราบทูลว่า หามิได้ พระเจ้ าข้ า ท่านพระสารีบุตรมิได้ พาศี ลขันธ์ปรินิพพานไปด้ วย ฯลฯ มิได้ พาวิมุตติญาณทัสสน
ขันธ์ปรินิพพานไปด้ วย ก็แต่ว่าท่านพระสารีบุตรเป็ นผู้กล่าวแสดงให้ เห็นแจ้ ง ให้ สมาทาน ให้ อาจหาญ ให้ ร่ ืนเริง ไม่เกียจคร้ านในการแสด ง
ธรรม อนุเคราะห์เพื่อนพรหมจารีท้งั หลาย ข้ าพระองค์ท้งั หลายมาตามระลึกถึง โอชะแห่งธรรมธรรมสมบัติ และการอนุเคราะห์ด้วยธรรมนั้น
ของท่านพระสารีบุตร.
เธอทั้งหลายจงมีตนเป็ นที่พงึ่ อย่ามีสิ่งอื่นเป็ นที่พงึ่
[๗๓๗] พ. ดูกรอานนท์ ข้ อนั้น เราได้ บอกเธอทั้งหลายไว้ ก่อนแล้ วไม่ใช่หรือว่า จักต้ องมีความจาก ความพลัดพราก ความเป็ นอย่าง
อื่น จากของรักของชอบใจทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น จะพึงได้ ในของรักของชอบใจนี้แต่ท่ไี หน? สิ่งใดเกิดแล้ ว มีแล้ ว ปั จจัยปรุงแต่งแล้ ว มีความ
ทาลายเป็ นธรรมดา การปรารถนาว่า ขอสิ่งนั้นอย่าทาลายไปเลย ดังนี้ มิใช่ฐานะที่จะมีได้
[๗๓๘] ดูกรอานนท์ เปรียบเหมือนเมื่อต้ นไม้ ใหญ่ มีแก่ นตั้งอยู่ ลาต้ นใดซึ่งใหญ่กว่า ลาต้ นนั้นพึงทาลายลง ฉันใด เมื่อภิกษุสงฆ์หมู่
ใหญ่ซ่ึงมีแก่นดารงอยู่ สารีบุตรปรินิพพานแล้ ว ฉันนั้นเหมือนกัน เพราะฉะนั้น จะพึงได้ ในข้ อนี้แต่ท่ไี หน? สิ่งใดเกิดแล้ ว มีแล้ ว ปั จจัยปรุง
แต่งแล้ ว มีความทาลายเป็ นธรรมดา การปรารถนาว่า ขอสิ่งนั้นอย่าทาลายไปเลย ดังนี้ มิใช่ฐานะที่จะมีได้

๓๒
ชีวติ พระ อริยวิถี
เพราะฉะนั้นแหละ เธอทั้งหลายจงมีตนเป็ นเกาะ มีตนเป็ นที่พ่ึง อย่ามีส่งิ อื่นเป็ นที่พ่ึง คือ มีธรรมเป็ นเกาะ มีธรรมเป็ นที่พ่ึง อย่ามีส่งิ
อื่นเป็ นที่พ่ึงอยู่เถิด.
[๗๓๙] ดูกรอานนท์ ภิกษุมีตนเป็ นเกาะ มีตนเป็ นที่พึง่ ไม่มีสิ่งอื่นเป็ นที่พงึ่ คือ มีธรรมเป็ นเกาะ มีธรรมเป็ นที่พงึ่ ไม่มีสิ่งอื่นเป็ น
ที่พงึ่ อยู่อย่างไร?
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่ อมพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กาจัดอภิชญาและโทมนัสในโลกเสีย ย่ อม
พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ ... ย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ ... ย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสมั ปชัญญะ มีสติ
กาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสีย
ดูกรอานนท์ ภิกษุมีตนเป็ นเกาะ มีตนเป็ นที่พ่ึง ไม่มีส่งิ อื่นเป็ นที่พ่ึง คือ มีธรรมเป็ นเกาะ มีธรรมเป็ นที่พ่ึง ไม่มีส่งิ อื่นเป็ นที่พ่ึง อยู่
อย่างนี้แล.
[๗๔๐] ดูกรอานนท์ ก็ภิกษุพวกใดพวกหนึ่ง ในบัดนี้กด็ ี ในกาลที่เราล่วงไปก็ดี จักเป็ นผู้มตี นเป็ นเกาะ มีตนเป็ นที่พ่ึง ไม่มสี ่งิ อื่นเป็ น
ที่พ่ึง คือ มีธรรมเป็ นเกาะ มีธรรมเป็ นที่พ่ึง ไม่มสี ่งิ อื่นเป็ นที่พ่ึงอยู่ พวกภิกษุเหล่านี้น้นั ที่เป็ นผู้ใคร่ต่อการศึกษา จักเป็ นผู้เลิศ.
………………………………………………………………..
๔.๔ คารวะ หรือ คารวตา ๖ (ความเคารพ, การถือเป็ นสิ่งสาคัญที่จะพึงใส่ใจและปฏิบัติด้วยความเอื้อเฟื้ อ หรือโดยความ
หนักแน่นจริงจัง, การมองเห็นคุณค่าและความสาคัญแล้ วปฏิบัติต่อบุคคลหรือสิ่งนั้นโดยถูกต้ อง ด้ วยความจริงใจ)
๑. สัตถุคารวตา ความเคารพในพระศาสดา
๒. ธัมมคารวตา ความเคารพในธรรม
๓. สังฆคารวตา ความเคารพในสงฆ์
๔. สิกขาคารวตา ความเคารพในการศึกษา
๕. อัปปมาทคารวตา ความเคารพในความไม่ประมาท
๖. ปฏิสนั ถารคารวตา ความเคารพในปฏิสนั ถาร
ธรรม ๖ อย่างนี้ ย่อมเป็ นไปเพื่อความไม่เสื่อมแห่งภิกษุ
อปริหานิยสูตรที่ ๑ องฺ.ฉกฺก.๒๒/๓๐๓/๓๐๐
[๓๐๓] ครั้งนั้น เทวดาตนหนึ่ง เมื่อปฐมยามล่วงไปแล้ ว มีรัศมีงามยิ่งนัก ยังพระวิหารเชตวันทั้งสิ้นให้ สว่างไสว แล้ วเข้ าไปเฝ้ าพระผู้มี
พระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้ ว ยืนอยู่ ณ ที่อนั ควรส่วนข้ างหนึ่ง ครั้นแล้ วได้ กราบทูลพระผู้มพี ระภาคว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ธรรม ๖
ประการนี้ ย่อมเป็ นไปเพื่อความไม่เสื่อมแก่ภิกษุ ธรรม ๖ ประการเป็ นไฉน คือ ความเป็ นผู้เคารพในพระศาสดา ๑ ความเป็ นผู้เคารพในพระ
ธรรม ๑ ความเป็ นผู้เคารพในพระสงฆ์ ๑ความเป็ นผู้เคารพในสิกขา ๑ ความเป็ นผู้เคารพในความไม่ ประมาท ๑ ความเป็ นผู้เคารพใน
ปฏิสนั ถาร ๑ ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ธรรม ๖ ประการนี้แล ย่อมเป็ นไปเพื่อความไม่เสื่อมแก่ภิกษุ เทวดานั้นได้ กล่าวดังนี้แล้ ว พระศาสดาทรง
พอพระทัย ลาดับนั้น เทวดาตนนั้นทราบว่า พระศาสดาของเราทรงพอพระทัยแล้ ว จึงถวายบังคมพระผู้มพี ระภาค ทาประทักษิณแล้ ว หายไป
ณ ที่น้นั ฯ
ครั้นพอล่ วงราตรีน้ันไป พระผู้มีพระภาคจึงตรัสกะภิกษุท้งั หลายว่า ดูกรภิกษุท้งั หลาย เมื่อคืนนี้ เทวดาตนหนึ่ง เมื่อปฐมยามล่วงไป
แล้ ว มีรัศมีงามยิ่งยังวิหารเชตวันทั้งสิ้นให้ สว่างไสว แล้ วเข้ ามาหาเราถึงที่อยู่ อภิวาทแล้ ว ยืนอยู่ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง ครั้นแล้ วได้ กล่าวกะเรา
ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ธรรม ๖ ประการนี้ ย่อมเป็ นไปเพื่อความไม่เสื่อมแก่ภิกษุ ธรรม ๖ ประการเป็ นไฉน คือความเป็ นผู้เคารพในพระ
ศาสดา ๑ ความเป็ นผู้เคารพในพระธรรม ๑ ความเป็ นผู้เคารพในพระสงฆ์ ๑ ความเป็ นผู้เคารพในสิกขา ๑ ความเป็ นผู้เคารพในความไม่
ประมาท ๑ ความเป็ นผู้เคารพในปฏิสนั ถาร ๑ ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ธรรม ๖ประการนี้แล ย่อมเป็ นไปเพื่อความไม่เสื่อมแก่ภิกษุ ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย เทวดาตนนั้นได้ กล่าวดังนี้แล้ ว อภิวาทเรา ทาประทักษิณแล้ ว ได้ หายไป ณ ที่น้นั ฯ
ภิกษุผูเ้ คารพในพระศาสดา เคารพในพระธรรม เคารพอย่างแรงกล้าในพระสงฆ์ เคารพในความไม่ประมาท
เคารพในปฏิสนั ถาร ย่อมเป็ นผูไ้ ม่ควรเพือ่ เสื่อม ย่อมมี ณ ที่ใกล้นิพพานทีเดียว ฯ

๓๓
ชีวติ พระ อริยวิถี
อรรถกถาปฐมอปริหานิยสูตร อังคุตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต เล่ม ๓ – เล่ม ๓๖ หน้าที่ ๖๑๗

พึงทราบวินิจฉัยในปฐมอปริหานิยสูตรที่ ๒ ดังต่อไปนี:้ -
ความเป็นผู้เคารพในพระศาสดา ชื่อว่า สตฺถค
ุ ารวตา.
ความเป็นผู้เคารพในโลกุตรธรรม ๙ อย่าง ชื่อว่า ธมฺมคารวตา.
ความเป็นผู้เคารพในพระสงฆ์ ชื่อว่า สงฺฆคารวตา. การกระทาความเคารพในสิกขา ๓ ชื่อว่า สิกข
ฺ าคารวตา.
ความเป็นผู้เคารพในความไม่ประมาท ชื่อว่า อปฺปมาทคารวตา.
ความเป็นผู้เคารพในปฏิสน
ั ถาร ๒ อย่าง ด้วยสามารถแห่งธรรม และอามิส ชื่อว่า ปฏิสณฺฐารคารวตา.
ภิกษุชื่อว่า สตฺถค
ุ รุ เพราะมีความเคารพในพระศาสดา.
ภิกษุชื่อว่า ธมฺมครุ เพราะมีความเคารพในพระธรรม.
ความเคารพอย่างหนัก ชือ
่ ว่า ติพพ
ฺ คารโว.
ภิกษุชื่อว่า ปฏิสณฺฐารคารโว เพราะมีความเคารพในปฏิสันถาร.
………………………………………………………………..
อปริหานิยสูตรที่ ๒
[๓๐๔] ดูกรภิกษุท้งั หลาย เมื่อคืนนี้ เทวดาตนหนึ่ง เมื่อปฐมยามล่วงไปแล้ ว มีรัศมีงามยิ่งนัก ยังวิหารเชตวันทั้งสิ้นให้ สว่างไสว แล้ วเข้ ามาหา
เราถึงที่อยู่ อภิวาทแล้ วยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง ครั้นแล้ ว ได้ กล่ าวกะเราว่าข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ธรรม ๖ ประการนี้ ย่ อมเป็ นไปเพื่อ
ความไม่เสื่อมแก่ภิกษุธรรม ๖ ประการเป็ นไฉน คือ ความเป็ นผูเ้ คารพในพระศาสดา ๑ ความเป็ นผูเ้ คารพในพระธรรม ๑ ความเป็ นผู ้
เคารพในพระสงฆ์ ๑ ความเป็ นผูเ้ คารพในสิกขา ๑ ความเป็ นผูเ้ คารพในหิริ ๑ ความเป็ นผูเ้ คารพในโอตตัปปะ ๑ ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ
ธรรม ๖ ประการนี้แล ย่อมเป็ นไปเพื่อความไม่เสื่อมแก่ภิกษุ ดูกรภิกษุท้งั หลาย เทวดานั้น ครั้นได้ กล่าวดังนี้แล้ ว อภิวาทเราทาประทักษิณ
แล้ วหายไป ณ ที่น้นั แล ฯ
ภิกษุผูเ้ คารพในพระศาสดา เคารพในพระธรรม เคารพอย่างแรงกล้าในพระสงฆ์ ถึงพร้อมด้วยหิริและโอตตัปปะ
มีความยาเกรง มีความเคารพ ย่อมเป็ นผูไ้ ม่ควรเพือ่ เสื่อมย่อมมีในที่ใกล้นิพพานทีเดียว ฯ
………………………………………………………………..

๓๔
ชีวติ พระ อริยวิถี
๕ หน้ าที่ของภิกษุสามเณรต่อสังคม (ความสัมพันธ์ระหว่างพระสงฆ์กบั ประชาชน)
๕.๑ หลักทัว่ ไปในการปฏิบตั ิต่อประชาชน
๑) การสร้างปสาทะ (ความเลื่อมใส, ความชื่ นบานผ่ องใส) ๒) ความเป็ นผูไ้ ม่มีภยั
๓) การให้ธรรมทาน ๔) ความเป็ นผูน้ าทางจิตใจและทางสติปัญญา

๑) การสร้ างปสาทะ (ความเลือ่ มใส, ความชื่นบานผ่ องใส)


ทุติยปุญญาภิสนั ทสูตร องฺ.จตุก.๒๑/๕๒/๕๕
ว่าด้วยท่อธารบุญกุศล ๔
[๕๒] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ท่อธารบุญท่อทรงกุศล ๔ ประการนี้นามาซึ่งความสุข ให้ ซ่ึงผลอันดีเลิศ มีความสุขเป็ นวิบาก เป็ น
ทางสวรรค์ เป็ นไปเพื่อผลที่ปรารถนาที่รักใคร่ท่ชี อบใจ เพื่อประโยชน์ เพื่อสุข ท่อธารบุญกุศล ๔ ประการคืออะไรบ้ าง คือ
อริยสาวกในพระธรรมวินัยนี้เป็ นผู้ประกอบด้ วยความเลื่อมใส อันไม่หวั่นไหว ในพระพุทธเจ้ าว่า อิติปิ โส ภควา ฯลฯ พุทฺโธ
ภควา ดังนี้ นี้เป็ นท่อธารบุญกุศลข้ อ ๑ นามาซึ่งความสุข ฯลฯ
อีกข้ อหนึ่ง อริยสาวกในพระธรรมวินัยนี้เป็ นผู้ ประกอบด้ วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ภควาตา
ธมฺโม ฯลฯ วิญฺญูหิ ดังนี้ นี่เป็ นท่อธารบุญกุศลข้ อ ๒ นามาซึ่งความสุข ฯลฯ
อีกข้ อหนึ่ง อริยสาวกในพระธรรมวินัยนี้เป็ นผู้ประกอบด้ วยความเลื่อมใสอันไม่ หวั่นไหวในพระสงฆ์ว่า สุป ฏิปนฺโน ภควโต
สาวกสงฺโฆ ฯลฯ ปุญฺญกฺเขตฺตํ โลกสฺส ดังนี้ นี่เป็ นท่อธารบุญกุศลข้ อ ๓ นามาซึ่งความสุข ฯลฯ
อีกข้ อหนึ่ง อริยสาวกในพระธรรมวินัยนี้ เป็ นผู้ประกอบด้ วยอริยกันตศีล (ศีลที่พระอริยะพอใจ) อันไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ต่าง ไม่
พร้ อย เป็ นไท ผู้ร้ สู รรเสริญ ไม่ถูกตัณหาและทิฏฐิถูกต้ อง เป็ นสมาธิ นี่เป็ นท่อธารบุญกุศลข้ อ ๔ นามาซึ่งความสุข ฯลฯ
ภิกษุท้งั หลาย นี้แล ท่อธารบุญท่อธารกุศล ๔ นามาซึ่งความสุข ให้ ซ่ึงผลอันดีเลิศ มีสขุ เป็ นวิบาก เป็ นทางสวรรค์ เป็ นไปเพื่อ
ผลที่ปรารถนา ที่รักใคร่ท่ชี อบใจ เพื่อประโยชน์ เพื่อสุข
ความเชื่อในพระตถาคต ของผู้ใดตั้งมั่นไม่หวั่นไหว
ศีลของผู้ใดเป็ นศีลงาม เป็ นศีลที่พระอริยะพลใจสรรเสริญ
ความเลื่อมใสในพระสงฆ์ของผู้ใดมีอยู่ และความเห็นของผู้ใดเป็ นความเห็นตรง
บัณฑิตทั้งหลายกล่าวผู้น้ันว่า ผู้ไม่ยากจน ชีวิตของผู้น้ันไม่เป็ นโมฆะ (คือไม่เปล่าจากแก่นสาร)
เพราะเหตุน้ัน ผู้มีปัญญาราลึกถึงพระศาสนาของพระพุทธเจ้ าทั้งหลาย
พึงประกอบไว้ เสมอซึ่งความเชื่อ (ในพระตถาคต)
ซึ่งศีล ซึ่งความเลื่อมใส (ในพระสงฆ์) และความเห็นธรรม.
อรรถกถาทุติยปุญญาภิสนั ทสูตร อังคุตรนิกาย จตุกนิบาต เล่ม ๒ – เล่ม ๓๕ หน้าที่ ๑๘๓
พึงทราบวินิจฉัยในปุญุญาภิสนั ทสูตรที่ ๒ ดังต่อไปนี้ :-
บทว่า อริยกนฺเตหิ คือด้ วยศีลสัมปยุตด้ วยมรรคและผล. ก็ศีลเหล่านั้น น่าใคร่ น่ารัก น่าพอใจ ของพระอริยะทั้งหลาย. คาที่จะพึงกล่าว
ในพระสูตรก่อน ก็กล่าวไว้ แล้ วในคัมภีร์วิสทุ ธิมรรค.
ในคาถาพึงทราบวินิจฉัยดังต่อไปนี้
บทว่า สทฺธา ความว่าท่านประสงค์ศรัทธาของโสดาบันบุคคล. แม้ ศีล ก็เป็ นศีลของโสดาบันบุคคลนั่นเอง.
บทว่า อุชุภูตญฺจ ทสฺสนํ ความว่า ความเห็นของท่านผู้ส้ นิ อาสวะ ชื่อว่าเป็ นความเห็นตรง เพราะท่านไม่มคี ดทางกายเป็ นต้ น .
บทว่า อาหุ แปลว่า กล่าว.
บทว่า ปสาทํ คือซึ่งความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ า พระธรรม และพระสงฆ์
บทว่า ธมฺมทสฺสนํ คือเห็นสัจธรรม.
…………………………………………..

๓๕
ชีวติ พระ อริยวิถี
๗. ธนสูตร ๒ องฺ.ปญฺจก.๒๒/๔๗/๔๗
ว่าด้วยทรัพย์ ๕ ประการ
[๔๗] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ทรัพย์ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็ นไฉน คือ ทรัพย์ คือ ศรัทธา ๑ ทรัพย์ คือ ศีล ๑ ทรัพย์ คือ สุตะ ๑
ทรัพย์ คือ จาคะ ๑ ทรัพย์ คือ ปั ญญา ๑
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ก็ทรัพย์ คือ ศรัทธาเป็ นไฉน อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เป็ นผู้มีศรัทธา ย่อมเชื่อพระปัญญาเครื่อง
ตรั สรู้ของตถาคตว่า แม้ เพราะเหตุน้ ี ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้ าพระองค์น้ัน ฯลฯ เป็ นผู้เบิกบานแล้ ว เป็ นผู้จาแนกธรรม นี้
เรียกว่า ทรัพย์ คือ ศรัทธา.
ก็ทรัพย์ คือ ศีลเป็ นไฉน ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เป็ นผู้เว้ นขาดจากปาณาติบาต ฯลฯ เว้ นขาดจากการดื่มสุรา
และเมรัย อันเป็ นที่ต้งั แห่งความประมาท นี้เรียกว่า ทรัพย์ คือ ศีล.
ก็ทรัพย์ คือ สุตะเป็ นไฉน ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เป็ นพหูสตู ฯลฯ แทงตลอดด้ วยดีด้วยทิฏฐิ นี้เรียกว่า ทรัพย์
คือ สุตะ.
ก็ทรัพย์ คือ จาคะเป็ นไฉน ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ มีใจปราศจากมลทิน คือ ความตระหนี่อยู่ครองเรือน มีจาคะ
อันปล่อยแล้ ว มีฝ่ามืออันชุ่ม ยินดีในการเสียสละ ควรแก่การขอ ยินดีในทานและการจาแนกทาน นี้เรียกว่า ทรัพย์ คือ จาคะ.
ก็ทรัพย์ คือ ปั ญญาเป็ นไฉน ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เป็ นผู้มีปัญญา ประกอบด้ วยปัญญาอันหยั่งถึงความตั้งขึ้น
และความเสื่อมไป เป็ นอริยะ ชาแรกกิเลส ให้ ถงึ ความสิ้นทุกข์โดยชอบ นี้เรียกว่า ทรัพย์ คือ ปั ญญา.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ทรัพย์ ๕ ประการนี้แล.
ผูใ้ ดมีความเชื่อในตถาคต ตั้งมัน่ ไม่หวันไหว
่ มีศีลอันงาม อันพระอริยะชอบใจ สรรเสริญ
มีความเลือ่ มใสในพระสงฆ์ และมีความเห็นตรง
บัณฑิตทั้งหลายกล่าวผูน้ ้นั ว่า ไม่เป็ นคนขัดสน ชีวิตของผูน้ ้นั ไม่เปล่าประโยชน์
เพราะเหตุน้นั ผูม้ ีปัญญา เมือ่ นึกถึงคาสังสอนของพระพุ
่ ทธเจ้าทั้งหลาย
พึงประกอบศรัทธา ศีล ปสาทะ และความเห็นธรรมเนือง ๆ เถิด.
..................................................
อภิ.วิ.๓๕/๓๕๙/๑๗๙
[๓๕๙] ... ปสาทะเกิดเพราะเวทนาเป็ นปัจจัย เป็ นไฉน ?
ศรัทธา กิริยาที่เชื่อ กิริยาที่ปลงใจเชื่อ ความเลื่อมใสยิ่ง อันใด นี้เรียกว่า ปสาทะเกิดเพราะเวทนาเป็ นปัจจัย
อธิโมกข์เกิดเพราะปสาทะเป็ นปัจจัย เป็ นไฉน ?
การตัดสินใจ กิริยาที่ตดั สินใจ ความตัดสินใจในอารมณ์น้นั อันใด นี้เรียกว่า อธิโมกข์เพราะปสาทะเป็ นปัจจัย
..................................................
[อรรถาธิบาย สัมปสาทนศัพท์] วิ.ม.เล่ม ๑ ภาค ๑-เล่ม ๑ หน้า ๒๕๙
ศรัทธา (ความเชื่อ) พระผู้มพี ระภาคเจ้ าตรัสเรียกว่า สัมปสาทนะ
ในบทว่ า สมฺปสาทนํ นี้ แม้ ฌาน ก็ตรัสเรียกว่ า สัมปสาทนะ เพราะประกอบด้ วยความผ่องใส เหมือนผ้ าสีเขียว เพราะประกอบด้ วยสี
เขียวฉะนั้น อีกอย่างหนึ่ง เพราะฌานนั้น ย่อมยังใจให้ เลื่อมใสด้ วยดี เพราะประกอบด้ วยศรัทธาที่เป็ นเครื่องยังใจให้ ผ่องใส (และ) เพราะสงบ
ระงับความกาเริบแห่ งวิตกและวิจารเสียได้ เพราะเหตุแม้ น้ัน พระผู้มีพระภาคเจ้ า จึงตรัสว่า สมฺปสาทน. ก็ในอรรถวิกปั นี้ พึงทราบสัมพันธ์
เฉพาะบทอย่างนี้ว่า สมฺปสาทนํ เจตโส (เป็ นความผ่องใสแห่งใจ). แต่ในอรรถวิกปั ต้ น พึงประกอบบทว่า เจตโส นั่น เข้ ากับ เอโกทิภาวะ.

๓๖
ชีวติ พระ อริยวิถี
[อรรถาธิบาย เอโกทิภาวศัพท์]
ในบทว่า เอโกทิภาว นั้น มีอรรถโยชนาดังต่อไปนี้ :
- สมาธิ ชื่อว่า เอโกทิ เพราะอรรถว่า เป็ นธรรมเอกผุดขึ้น. อธิบายว่า ชื่อว่าเป็ นธรรมที่เลิศ คือธรรมประเสริฐที่สดุ ผุดขึ้น เพราะวิตก
วิจารไม่ผุดขึ้น. จริงอยู่ แม้ คนที่ประเสริฐที่สดุ เขาก็เรียกว่า เป็ นเอกในโลก.
อีกอย่างหนึ่ง จะกล่าวว่า สมาธิท่เี ว้ นจากวิตกและวิจาร ชื่อว่าเป็ นธรรมเอก คือไม่สหาย ดังนี้บ้างก็ควร อีกบรรยายหนึ่ง สมาธิ ชื่อว่า
อุทิ เพราะอรรถว่า ย่อมยังสัมปยุตธรรมให้ ผุดขึ้น อธิบายว่า ให้ ต้งั ขึ้น, สมาธิน้นั เป็ นเอก เพราะอรรถว่า ประเสริฐและผุดขึ้น เพราะเหตุน้นั จึง
ชื่อว่า เอโกทิ.
คาว่า เอโกทิ นั่น เป็ นชื่อของสมาธิ. ทุตยิ ฌาน ย่อมยังสมาธิท่ชี ่ อื ว่า เอโกทิ นี้ ดังกล่าวนี้ให้ เกิดคือให้ เจริญ. เหตุน้นั ทุตยิ ฌานนี้ จึงชื่อ
ว่า เอโกทิภาพ. ก็เพราะสมาธิท่ชี ่ อื ว่า เอโกทิ นี้น้นั ย่อมมีแก่ใจ หามีแก่สตั ว์ แก่ชีวะไม่ ฉะนั้น ทุตยิ ฌานนั่นพระผู้มพี ระภาคเจ้ าจึงตรัสว่า เจตโส
เอโกทิภาวํ (เป็ นเอโกทิภาพแห่งใจ).
มีคาถามว่า ก็ศรัทธานี้ และสมาธิท่มี ชี ่ อื ว่าเอโกทิน้ มี อี ยู่ในปฐมฌานมิใช่หรือ ? เมื่อเป็ นเช่นนั้น เพราะเหตุไร ทุตยิ ฌานนี้เท่านั้น พระ
ผู้มพี ระภาคเจ้ า จึงตรัสว่า เป็ นเครื่องยังใจให้ ผ่องใส และว่าเป็ นเอโกทิภาพเล่า ?
ข้ าพเจ้ าจะกล่าวเฉลยต่อไป :- ด้ วยว่า ปฐมฌานโน้ น ชื่อว่า ยังไม่ผ่องใสดี เพราะวิตกและวิจารยังกาเริบได้ ดุจนา้ ที่ข่นุ เพราะคลื่นและ
ระลอก ฉะนั้น เพราะเหตุน้นั แม้ เมื่อศรัทธามีอยู่ ก็พึงทราบว่า ปฐมฌานนั้นพระผู้มพี ระภาคเจ้ ามิได้ ตรัสว่า เป็ นเครื่องยังใจให้ ผ่องใส.
อนึ่ง เพราะความที่ปฐมฌานยังไม่ผ่องใสด้ วยดีน่นั แล แม้ สมาธิในปฐมฌานนี้ ก็ยังหาเป็ นธรรมปรากฏด้ วยดีไม่ เพราะฉะนั้น พึงทราบ
ว่า ปฐมฌานนั้น พระผู้มพี ระภาคเจ้ ามิได้ ตรัสว่าเป็ นเอโกทิภาพบ้ าง.
ส่วนศรัทธามีกาลังได้ โอกาสแล้ ว เพราะในฌานนี้ไม่มเี หตุเครื่องกังวลคือวิตกวิจาร แม้ สมาธิกป็ รากฏ เพราะกลับได้ สหายคือศรัทธามี
กาลัง เพราะฉะนั้น พึงทราบว่า ทุตยิ ฌานนี้เท่านั้น พระผู้มพี ระภาคเจ้ า จึงตรัสไว้ อย่างนี้.
แต่ในคัมภีร์วิภังค์ พระผู้มพี ระภาคเจ้ า ตรัสไว้ เพียงเท่านี้น่นั แลว่า ที่ช่ อื ว่า สัมปสาทนะ นั้น ได้ แก่ศรัทธา ความเชื่อถือ ความปลงใจเชื่อ
ความเลื่อมใสยิ่ง ที่ช่ ือว่า เจตโส เอโกทิภาวะ นั้น ได้ แก่ความตั้งอยู่แห่ งจิต ฯลฯ ความตั้งใจมั่นชอบ๑ ดังนี้. ก็อรรถวรรณนานี้รวมกัปปาฐะใน
คัมภีร์วิภังค์น่ัน ที่พระผู้มีพระภาคเจ้ าตรัสไว้ อย่างนั้น ย่อมไม่ผิด คือย่อมเทียบเคียง และเสมอกันได้ โดยแท้ ฉันใด บัณฑิต พึงทราบอรรถ
วรรณนานี้ ฉันนั้น.
พึงทราบวินิจฉัยในสัตตกะที่ ๓ ดังต่อไปนี้ . ที.ม.เล่ม ๒ ภาค ๑-เล่ม ๑๓ หน้า ๓๕๕
บทว่า สทฺธา ได้ แก่ ถึงพร้ อมด้ วยศรัทธา. ในความว่า สทฺธา นั้น ศรัทธามี ๔ คือ อาคมนียศรัทธา อธิคมศรัทธา ปสาทศรัทธา โอกัปปน
ศรัทธา.
ส่วนเมื่อเขาว่า พุทโฺ ธ ธมฺโม สงฺโฆ ก็เลื่อมใส ชื่อว่า ปสาทศรัทธา.

ข้อว่า ปธานิยงฺคานิ ที.ปา.เล่ม ๓ ภาค ๒ - เล่ม ๑๖ หน้า ๓๖๓


ความว่า ภาวะที่เป็ นที่ต้งั ท่านเรียกว่าปธาน. ปธานของบุคคลนั้นมีอยู่ เหตุน้นั บุคคลนั้นชื่อว่า ปธานิยะ. องค์แห่งภิกษุผ้ มู ปี ธาน ชื่อว่า
ปธานิยงั คะ (องค์แห่งภิกษุผ้ มู คี วามเพียร).
ข้ อว่า สทฺโธ ความว่า ประกอบด้ วยศรัทธา. ก็ศรัทธามี ๔ อย่างคือ อาคมนศรัทธา อธิคมนศรัทธา โอกัปปนศรัทธา ปสาทศรัทธา.
บรรดาศรัทธา ๔ อย่างนั้น ความเชื่อต่อปั ญญาเป็ นเครื่องตรัสรู้ของพระโพธิสตั ว์ท้งั หลาย ชื่อว่า อาคมนศรัทธา เพราะมาแล้ วตั้งแต่
เริ่มทาอภินิหาร.
เมื่อมีคนกล่าวว่า พระพุทธเจ้ า พระธรรม พระสงฆ์ ดังนี้แล้ ว การปลงใจลงเชื่อโดยความไม่หวั่นไหว ชื่อว่า โอกัปปนศรัทธา. ความ
เกิดขึ้นแห่งความเลื่อมใส ชื่อว่า ปสาทศรัทธา. ในที่น้ ที ่านประสงค์เอาศรัทธาคือการปลงใจลงเชื่อ.

บทว่า ปธานิยงฺคานิ ม.ม.เล่ม ๒ ภาค ๒-เล่ม ๒๑ หน้า ๑๓๘


ชื่อว่า อธิคมนศรัทธา เพราะบรรลุแล้ วด้ วยการแทงตลอดแห่งพระอริยสาวกทั้งหลาย.

๓๗
ชีวติ พระ อริยวิถี
อรรถกถาอังคสูตร อังคุตรนิกาย ปั ญจก-ฉักกนิบาต เล่ม ๓ – เล่ม ๓๖ หน้าที่ 128
ในบทว่า ปธานิยงฺคานิ ภาวะคือการตั้งความเพียร ท่านเรียกว่า ปธานะ. ความเพียรของภิกษุน้นั มีอยู่ เหตุน้นั ภิกษุน้นั ชื่อว่าผู้มคี วาม
เพียร องค์ของภิกษุผ้ มู คี วามเพียร เพราะเหตุน้นั ชื่อว่า ปธานิยังคะ.
บทว่า สทฺโธ แปลว่า ผู้ประกอบด้ วยศรัทธา. ก็ศรัทธานั้นมี ๔ อย่าง คือ อาคมศรัทธา ๑ อธิคมศรัทธา ๑ โอกัปปนศรัทธา ๑ ปสาท
ศรัทธา ๑.
บรรดาศรัทธาทั้ง ๔ นั้น ศรัทธาของพระสัพพัญญูโพธิสตั ว์ ชื่อว่า อาคมศรัทธา เพราะเริ่มมีมาตั้งแต่การบาเพ็ญบารมี
อรรถกถานคโรปมสูตรที่ ๓ อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เล่ม ๔ –เล่ม ๓๗ หน้าที่ ๒๓๓
บทว่า สทฺโธ ได้แก่ประกอบด้วยความปักใจเชื่อ และด้วยการเชือ่ โดยผลประจักษ์ ในความเชื่อ ๒ อย่างนั้น การเชื่อผลแห่งทาน
และศีลเป็ นต้นแล้ว เชื่อในการบาเพ็ญบุญ มีทานเป็ นต้น ชื่อว่า โอกัปปนสัทธา ปั กใจเชื่อ.
ศรัทธาอันมาแล้วโดยมรรค ชื่อว่า ปั จจักขสัทธา การเชื่อโดยผลประจักษ์ แม้ในบทว่า ปสาทสัทธา ก็นยั นี้ เหมือนกัน.
พึงชี้ แจงลักษณะเป็ นต้นของศรัทธานั้นให้แจ่ มแจ้ง ความเชื่อนี้ ตามบาลีว่า ดู ก่อนมหาบพิตร ศรัทธามีการแล่นไปเป็ นลักษณะ
และมีการผ่องใสเป็ นลักษณะ ชื่อว่าลักษณะของศรัทธา แต่ความเชื่อที่ตรัสโดยนัยมีอาทิว่า ดูก่อนภิกษุท้งั หลายพึงทราบบุคคลผู้มีศรัทธา
เลื่อมใสแล้ ว โดยฐานะ ๓ ฐานะ ๓ คือ เป็ นผู้ใคร่เห็นบุคคลผู้มศี ีลทั้งหลาย ชื่อว่านิมติ ของศรัทธา.
ก็อาหารคืออะไร ? ก็อาหารตามบาลีน้ ีว่า พึงเป็ นคาที่ควรกล่าวว่า การฟั งพระสัทธรรม ย่อมมีด้วยศรัทธา ชื่อว่า อาหารของศรัทธา
นั้น. บาลีน้ วี ่า ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ภิกษุจักเป็ นผู้มากด้ วยความเบื่อหน่ายในรูปอยู่อนั ใด ธรรมนี้ช่ อื ว่าเป็ นธรรมสมควรแก่ภิกษุผ้ บู วชด้ วย
ศรัทธา นี้ช่ อื ว่า อนุธรรม ธรรมสมควรแก่ภิกษุน้นั
ก็ความที่ศรัทธานั้นมีกจิ มากอย่าง โดยภาวะที่จะเห็นสมด้ วยห่ อข้ าวที่มัดรวมกันไว้ เป็ นต้ น พระผู้มีพระภาคเจ้ าทรงประกาศไว้ แล้ วใน
พระสูตรทั้งหลาย มีอาทิว่า ศรัทธาย่อมรวบรวมไว้ ซ่งึ เสบียง สิริเป็ นที่มานอนของโภคทรัพย์ ทั้งหลาย ศรัทธาเป็ นเพื่อนสองของบุรุษ บุคคล
ย่อมข้ ามโอฆะได้ ด้วยศรัทธา ฝนคือตปะย่อมทาพืช คือ ศรัทธาให้ งอกงาม. พระยาช้ างคือพระอรหันต์ มีศรัทธาเป็ นงวง มีอุเบกขาเป็ นงาอัน
สะอาด แต่ในนคโรปมสูตรนี้ พระผู้มพี ระภาคเจ้ าทรงแสดงศรัทธานี้ ให้ เป็ นเสมือนเสาระเนียด เพราะตั้งอยู่ด้วยดีไม่หวั่นไหว. พึงกระทาการ
เป็ นเครื่องประกอบใหม่ ทุกบทโดยนัยมีอาทิว่า บทว่า สทฺเธสิโก ความว่า พระอริยสาวกกระทาศรัทธาให้ เป็ นดุจเสาระเนียดย่อมละอกุศลได้ .
เรื่องภิกษุหนุ่มชื่อติสสะ [๑๘๓] ขุ.ธ. เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ –เล่ม ๔๓ หน้าที่ 38
ข้อความเบื้ องต้น
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภภิกษุหนุ่มชื่อติสสะ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า ททาติ เว ยถาสทฺธํ" เป็ นต้ น.
พระติสสะนินทาชนอื่นแต่ชมเชยญาติของตน
ได้ ยินว่า พระติสสะนั้นเที่ยวติเตียนทานของพระอริยสาวก แม้ ๕ โกฏิ คือ อนาถบิณฑิกคฤหบดี นางวิสาขาอุบาสิกา (เป็ นต้ น ). แม้
ถึงอสทิสทาน๑ (๑. หาทานเสมอเหมือนมิได้ .) ก็ติเตียนเหมือนกัน, ได้ ของเย็นในโรงทานของอริยสาวกเหล่านั้น ย่อมติเตียนว่า " เย็น " ได้ ของ
ร้ อน ย่อมติเตียนว่า " ร้ อน " แม้ เขาให้ น้อย ย่อมติเตียนว่า " เพราะเหตุไร ชนเหล่านี้จึงให้ ของเพียงเล็กน้ อย ?" แม้ เขาให้ มาก ย่อมติเตียนว่า
" ในเรือนของชนเหล่านี้ เห็นจะไม่มีท่เี ก็บ, ธรรมดาบุคคลควรให้ วัตถุพอยังอัตภาพให้ เป็ นไปแก่ภิกษุท้งั หลายมิใช่หรือ ? ยาคูและภัตเท่านี้
ย่อมวิบตั ไิ ปไม่มปี ระโยชน์เลย,"
แต่กล่าวปรารภพวกญาติของตนเป็ นต้ นว่า " น่าชมเชยเรือนของพวกญาติของเรา เป็ นโรงเลี้ยงของภิกษุท้งั หลาย ผู้มาแล้ วจากทิศทั้ง
สี่" ดังนี้แล้ ว ย่อมยังคาสรรเสริญให้ เป็ นไป.
พวกภิกษุสอบสวนฐานะของพระติสสะ
ก็พระติสสะนั้น เป็ นบุตรของผู้รักษาประตูคนหนึ่ง เที่ยวไปกับพวกช่างไม้ ผ้ ูเที่ยวไปยังชนบท ถึงพระนครสาวัตถี บวชแล้ ว. ครั้งนั้น
ภิกษุท้งั หลายเห็นเธอผู้ (เที่ยว) ติเตียนทานของมนุษย์ท้งั หลายอยู่อย่างนั้น คิดกันว่า " พวกเราจักสอบสวนภิกษุน้ัน " จึงถามว่า " ผู้มีอายุ
พวกญาติของท่านอยู่ท่ไี หน ?" ได้ ฟังว่ า " อยู่ในบ้ านชื่อโน้ น " จึงส่งภิกษุหนุ่ มไป ๒-๓ รูป. ภิกษุหนุ่ มเหล่ านั้นไปในบ้ านนั้นแล้ ว อันชน
ชาวบ้ านนิมนต์ให้ น่งั ที่โรงฉันแล้ วกระทาสักการะ
จึงถามว่า เด็กหนุ่มชื่อติสสะออกจากบ้ านนี้ไปบวชแล้ ว มีอยู่หรือ ? ชนเหล่าไหนเป็ นญาติของติสสะนั้น."
มนุษย์ท้งั หลาย (ต่าง) คิดว่า " ในบ้ านนี้ เด็กผู้ออกจากเรือนแห่งตระกูลไปบวชแล้ ว ไม่ม;ี ภิกษุเหล่านั้น พูดถึงใครหนอ ?"
แล้ วเรียนว่า " ท่านขอรับกระผมทั้งหลายได้ ยินว่า ' บุตรของผู้รักษาประตูคนหนึ่ง เที่ยวไปกับพวกช่างไม้ บวชแล้ ว;' ท่านทั้งหลายเห็น
จะกล่าวหมายเอาผู้น้นั กระมัง ?"

๓๘
ชีวติ พระ อริยวิถี
จับโกหกได้
ภิกษุหนุ่ มทั้งหลายทราบว่า พวกญาติผ้ ูใหญ่ของติสสภิกษุหนุ่มนั้น ไม่มีในบ้ านนั้นแล้ ว (จึงพากัน) กลับไปสู่พระนครสาวัตถี แจ้ ง
เรื่องนั้นแก่ภิกษุท้งั หลายว่า " ท่านผู้เจริญ พระติสสะย่อมเที่ยวพูดเพ้ อถึงสิ่งอันหาเหตุมิได้ เลย." แม้ ภิกษุท้งั หลายก็กราบทูล (เรื่องนั้น) แด่
พระตถาคต.
บุรพกรรมของพระติสสะ
พระศาสดาตรัสว่า " ภิกษุท้งั หลาย ภิกษุช่ อื ว่าติสสะนั้นย่อมเที่ยวโอ้ อวด ในบัดนี้เท่านั้นหามิได้ ; แม้ ในกาลก่อน เธอก็ได้ เป็ นผู้โอ้ อวด
แล้ ว," อันภิกษุท้งั หลายทูลวิงวอนแล้ ว ทรงนาอดีตนิทานมาแล้ ว ทรงยังกฏาหกชาดก๑นี้ให้ พิสดารว่า :-
๑. ขุ. ชา. ๒๗/๔๐. อรรถกถา. ๒/๓๒๖.
"นายกฏาหกนั้น ไปสู่ชนบทอื่น จึ งพู ดอวดซึ่ งทรัพย์แม้มาก, นายมาตามแล้ว พึงประทุษร้าย, กฏาหก ท่ านจงบริโภคโภคะ
ทั้งหลายเถิด."
ดังนี้แล้ ว ตรัสว่า " ภิกษุท้งั หลาย ก็บุคคลใดเมื่อชนเหล่าอื่นให้ ซ่ึงวัตถุน้อยก็ตาม มากก็ตาม เศร้ าหมองก็ตาม ประณีตก็ตาม หรือให้
วัตถุแก่ชนเหล่าอื่น (แต่) ไม่ให้ แก่ตน ย่อมเป็ นผู้เก้ อเขิน; ฌานก็ดี วิปัสสนาก็ดี มรรคและผลก็ดี ย่อมไม่เกิดขึ้นแก่บุคคลนั้น" ดังนี้แล้ ว เมื่อ
จะทรงแสดงธรรมได้ ทรงภาษิตพระคาถาเหล่านี้ว่า :-
๘. ททาติ เว ยถาสทฺธํ ยถาปสาทนํ ชโน ตตฺถ โย มงฺกุโต โหติ ปเรสํ ปานโภชเน
น โส ทิวา วา รตฺตึ วา สมาธึ อธิคจฺฉติ. ยสฺสเจตํ สมุจฺฉินฺนํ มูลฆจฺจํ สมูหตํ
ส เว ทิวา วา รตฺตึ วา สมาธึ อธิคจฺฉติ.
"ชนย่อมให้ (ทาน) ตามศรัทธา ตามความเลือ่ มใสแล, ชนใด ย่อมเป็ นผูเ้ ก้อเขินในเพราะน้ า และข้าวของชนเหล่าอื่นนั้น,
ชนนั้นย่อมไม่บรรลุสมาธิในกลางวันหรือในกลางคืน. ก็อกุศลธรรมอันบุคคลใดตัดขาดแล้ว ถอนขึ้ นทาให้มีรากขาดแล้ว,
บุคคลนั้นแล ย่อมบรรลุสมาธิ ในกลางวันหรือในกลางคืน."
แก้อรรถ
บรรดาบทเหล่านั้น บาทพระคาถาว่า ททาติ เว ยถาสทฺธํ ความว่า ชนเมื่อให้ บรรดาวัตถุมีของเศร้ าหมองและประณีตเป็ นต้ น อย่างใด
อย่างหนึ่ง ชื่อว่าย่อมให้ ตามศรัทธา คือ ตามสมควรแก่ศรัทธาของตนนั่นแล.
บทว่า ยถาปสาทนํ ความว่า ก็บรรดาภิกษุผ้ ูเป็ นเถระและภิกษุใหม่เป็ นต้ น ความเลื่อมใสในภิกษุใด ๆ ย่อมเกิดขึ้นแก่บุคคลนั้น , เมื่อ
ถวาย (ทาน) แก่ภิกษุน้นั ชื่อว่าย่อมถวายตามความเลื่อมใส คือตามสมควรแก่ความเลื่อมใสของตนนั่นแล.
………………………………………………………..
ในนิทเทสแห่งสัทธินทรีย ์ อภิ.ส. เล่ม ๑ ภาค ๑ –เล่ม ๗๕ หน้าที่ 383
ธรรมที่ช่ อื ว่า ศรัทธา เพราะการเชื่อพุทธคุณเป็ นต้ น. อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า ศรัทธา เพราะเชื่อ คือ ดาเนินไปสู่รัตนะมีพระพุทธรัตนะเป็ น
ต้ น. อาการแห่งการเชื่อ ชื่อว่า สัททหนา. ที่ช่ อื ว่า โอกัปปนา (น้ อมใจเชื่อ) เพราะหยั่งลงเหมือนการทาลายแล้ วแทรกเข้ าไปในพุทธคุณเป็ นต้ น.
ที่ช่ อื ว่า อภิปสาทะ (เลื่อมใสยิ่ง) เพราะเป็ นเหตุให้ สตั ว์ท้งั หลายเลื่อมใสอย่างยิ่งในพุทธคุณเป็ นต้ น หรือว่าตัวเองย่อมเลื่อมใสยิ่ง.
... ธรรมชาติท่ชี ่ อื ว่า สัทธินทรีย์ เพราะทาความเป็ นใหญ่ในลักษณะแห่งอธิโมกข์ (น้ อมใจเชื่อ) ที่ช่ ือว่าสัทธาพละ. เพราความไม่หวั่นไหวใน
เพราะความไม่มศี รัทธา.
พระอภิธรรมปิ ฎก ธรรมสังคณี เล่ม ๑ ภาค ๑ – เล่ม ๗๕ หน้าที่ 453
ถามว่า ศรัทธานี้ และสมาธิมชี ่ อื ว่า เอโกทิ นี้ มีอยู่แม้ ในปฐมฌานมีใช่หรือ เมื่อเป็ นเช่นนั้น เพราะเหตุไร ทุตยิ ฌานนี้น่นั แหละ พระผู้มี
พระภาคเจ้ าจึงตรัสว่า เป็ นเครื่องผ่องใส และเป็ นเอโกทิภาวะอีกเล่า.
ตอบว่า เพราะว่า ปฐมฌานนั้นยังไม่ผ่องใสแท้ เพราะกาเริบด้ วยวิตกวิจาร เหมือนนา้ ที่ข่นุ เพราะระลอกคลื่น ฉะนั้น แม้ เมื่อศรัทธามีอยู่
ก็ไม่ตรัสว่า สมฺปสาทนํ (ความผ่องใส) อนึ่ง แม้ สมาธิในปฐมฌานนี้กย็ ังไม่ปรากฏ เพราะยังไม่ผ่องใสแท้ น่นั แหละ ฉะนั้น ปฐมฌานนั้น จึงไม่
ตรัสว่า เอโกทิภาวะ แต่ในทุตยิ ฌานนี้ ศรัทธามีกาสังได้ โอกาส เพราะไม่มวี ิตกและวิจารเป็ นปลิโพธ (กังวลใจ) แม้ สมาธิกป็ รากฏเพราะการได้
ศรัทธาเป็ นกาลังและเป็ นสหาย ฉะนั้น ทุตยิ ฌานนี้เท่านั้นพึงทราบว่า ตรัสไว้ อย่างนั้น.
ส่วนในวิภงั ค์ ตรัสไว้ เพียงเท่านี้ว่า บทว่า สมฺปสาทนํ (ผ่องใส) ได้ แก่ศรัทธา (ความเชื่อ) กิริยาที่เชื่อ ความปลงใจเชื่อ ความเลื่อมใส
ยิ่ง. คาว่า เจตโส เอโกทิภาวํ (ธรรมเอกผุดขึ้นแก่ใจ) ได้ แก่ ความตั้งอยู่ การตั้งมั่นแห่งจิต ฯลฯ สัมมาสมาธิดงั นี้.
………………………………………………………….

๓๙
ชีวติ พระ อริยวิถี
๒) ความเป็ นผู้ไม่ มภี ัย
ปุณโณวาทสูตร (๑๔๕) ม.อุ.๑๔/๗๕๔/๓๖๑
[๗๕๔] ข้ าพเจ้ าได้ สดับมาอย่างนี้
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ท่พี ระวิหารเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล ท่าน
พระปุณณะออกจากที่หลีก เร้ นในเวลาเย็น เข้ าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ แล้ วถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค นั่ง ณ ที่ควร
ส่วนข้ างหนึ่ง พอนั่งเรียบร้ อยแล้ ว ได้ กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ขอพระผู้มีพระภาคได้ โปรดสั่งสอนข้ า
พระองค์ ด้ วยพระโอวาทย่อๆ พอที่ข้าพระองค์ได้ สดับธรรมของพระผู้มพี ระภาคแล้ ว จะเป็ นผู้ๆ เดียวหลีกออก ไม่ประมาท มีความ
เพียร ส่งตนไปในธรรมอยู่ ฯ
พระผู้มพี ระภาคตรัสว่า ดูกรปุณณะ ถ้ าอย่างนั้น เธอจงฟัง จงใส่ใจให้ ดี เราจักกล่าวต่อไป ท่านปุณณะทูลรับพระผู้มพี ระภาค
ว่า ชอบแล้ ว พระพุทธเจ้ าข้ า ฯ
[๗๕๕] พระผู้มีพระภาคจึงได้ ตรัสดังนี้ว่า ดูกรปุ ณณะ มีรูปที่ร้ ูได้ ด้วยจักษุ อันน่ าปรารถนา น่ าใคร่ น่ าพอใจ เป็ นที่รัก
ประกอบด้ วยกาม เป็ นที่ต้ังแห่ งความกาหนัดอยู่แล ถ้ าภิกษุเพลิดเพลิน พูดถึง ดารงอยู่ด้วยความติดใจรูปนั้นนันทิย่อมเกิดขึ้นแก่เธอผู้
เพลิดเพลิน พูดถึง ดารงอยู่ด้วยความติดใจรูปนั้นได้ เพราะนันทิเกิด เราจึงกล่าวว่า ทุกข์เกิดนะ ปุณณะ ฯ
ดูกรปุณณะ มีเสียงที่ร้ ไู ด้ ด้วยโสต ...
ดูกรปุณณะ มีกลิ่นที่ร้ ไู ด้ ด้วยฆานะ ...
ดูกรปุณณะ มีรสที่ร้ ไู ด้ ด้วยชิวหา ...
ดูกรปุณณะ มีโผฏฐัพพะที่ร้ ไู ด้ ด้วยกาย ...
ดูกรปุณณะ มีธรรมารมณ์ท่รี ้ ไู ด้ ด้วยมโน อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เป็ นที่รัก ประกอบด้ วยกาม เป็ นที่ต้งั แห่ งความกาหนัด
อยู่แล ถ้ าภิกษุเพลิดเพลิน พูดถึง ดารงอยู่ด้วยติดใจธรรมารมณ์น้ัน นันทิย่อมเกิดแก่เธอผู้เพลิดเพลิน พูดถึง ดารงอยู่ด้วยความติดใจ
ธรรมารมณ์น้นั ได้ เพราะเหตุคอื นันทิเกิด เราจึงกล่าวว่า ทุกข์เกิดนะ ปุณณะ ฯ
[๗๕๖] ดูกรปุณณะ มีรปู ที่ร้ ไู ด้ ด้วยจักษุ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เป็ นที่รัก ประกอบด้ วยกาม เป็ นที่ต้งั แห่งความกาหนัดอยู่
แล ถ้ าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่พูดถึง ไม่ดารงอยู่ด้วยความติดใจรูปนั้น นันทิของเธอผู้ไม่เพลิดเพลิน ไม่พูดถึง ไม่ดารงอยู่ด้วยความติดใจรูป
นั้น ย่อมดับไป เพราะนันทิดบั เราจึงกล่าวว่า ทุกข์ดบั นะ ปุณณะ ฯ
ดูกรปุณณะ มีเสียงที่ร้ ไู ด้ ด้วยโสต ...
ดูกรปุณณะ มีกลิ่นที่ร้ ไู ด้ ด้วยฆานะ ...
ดูกรปุณณะ มีรสที่ร้ ไู ด้ ด้วยชิวหา ...
ดูกรปุณณะ มีโผฏฐัพพะที่ร้ ไู ด้ ด้วยกาย ...
ดูกรปุณณะ มีธรรมารมณ์ท่รี ้ ไู ด้ ด้วยมโน อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เป็ นที่รัก ประกอบด้ วยกาม เป็ นที่ต้งั แห่ งความกาหนัด
อยู่แล ถ้ าภิกษุ ไม่เพลิดเพลิน ไม่พูดถึง ไม่ดารงอยู่ด้วยความติดใจธรรมารมณ์น้นั นันทิของเธอผู้ไม่เพลิดเพลิน ไม่พูดถึง ไม่ดารงอยู่ด้วย
ความติดใจธรรมารมณ์น้นั ย่อมดับไปเพราะนันทิดบั เราจึงกล่าวว่า ทุกข์ดบั นะ ปุณณะ ฯ
ดูกรปุณณะ ก็เธออันเรากล่าวสอนด้ วยโอวาทย่อๆ นี้แล้ ว จักอยู่ในชนบทไหน ฯ
ปุ. ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ข้ าพระองค์อันพระผู้มีพระภาคทรงสั่งสอนด้ วยโอวาทย่ อๆ นี้แล้ ว มีชนบทชื่อสุนาปรันตะ เป็ นที่ท่ขี ้ า
พระองค์จักไปอยู่ ฯ
[๗๕๗] พ. ดูกรปุณณะ พวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทดุร้ายหยาบช้ านัก ถ้ าพวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทจักด่า
จักบริภาษเธอ เธอจักมีความคิดอย่างไรในมนุษย์พวกนั้น ฯ
ปุ. ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ถ้ าพวกมนุษย์ชาวสุน าปรันตชนบทจักด่า จักบริภาษข้ าพระองค์ ข้ าพระองค์จักมีความคิด
ในพวกเขาอย่างนี้ว่า พวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทนี้ ยังดีนักหนาที่ไม่ให้ การประหารเราด้ วยฝ่ ามือ ข้ าแต่พระผู้มีพระภาค
ผู้สคุ ต ข้ าพระองค์มีความคิดในมนุษย์พวกนั้นอย่างนี้ ฯ
[๗๕๘] พ. ดูกรปุณณะ ก็ถ้าพวกมนุ ษ ย์ชาวสุนาปรั นตชนบทจักให้ การประหารเธอด้ วยฝ่ ามือ เธอจักมีความคิด
อย่างไรในมนุษย์พวกนั้น ฯ

๔๐
ชีวติ พระ อริยวิถี
ปุ. ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ถ้ าพวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบท จักให้ การประหารข้ าพระองค์ด้วยฝ่ ามือ ข้ าพระองค์จัก
มีความคิดในพวกเขาอย่างนี้ว่า พวกมนุ ษย์ชาวสุนาปรันตชนบทนี้ ยังดีนักหนาที่ไม่ให้ การประหารเราด้ วยก้ อนดิน ข้ าแต่
พระผู้มีพระภาคผู้สคุ ต ข้ าพระองค์จักมีความคิดในมนุษย์พวกนั้นอย่างนี้ ฯ
[๗๕๙] พ. ดูกรปุณณะ ก็ถ้าพวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบท จักให้ การประหารเธอด้ วยก้ อนดิน เธอจักมีความคิด
อย่างไรในมนุษย์พวกนั้น ฯ
ปุ. ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ถ้ าพวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบท จักให้ การประหารข้ าพระองค์ด้วยก้ อนดิน ข้ าพระองค์
จักมีความคิดในพวกเขาอย่างนี้ว่า พวกมนุ ษย์ชาวสุนาปรันตชนบทนี้ ยังดีหนักหนาที่ไม่ให้ การประหารเราด้ วยท่อนไม้ ข้ า
แต่พระผู้มีพระภาคผู้สคุ ต ข้ าพระองค์จักมีความคิดในมนุษย์พวกนั้นอย่างนี้ ฯ
[๗๖๐] พ. ดูกรปุณณะ ก็ถ้าพวกมนุ ษย์ชาวสุนาปรันตชนบท จักให้ การประหารเธอด้ วยท่อนไม้ เธอจักมีความคิด
อย่างไรในมนุษย์พวกนั้น ฯ
ปุ. ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ถ้ าพวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบท จักให้ การประหารข้ าพระองค์ด้วยท่อนไม้ ข้ าพระองค์
จักมีความคิดในพวกเขาอย่างนี้ว่า พวกมนุ ษย์ชาวสุนาปรันตชนบทนี้ ยังดีนักหนาที่ไม่ให้ การประหารเราด้ วยศาตรา ข้ าแต่
พระผู้มีพระภาคผู้สคุ ต ข้ าพระองค์จักมีความคิดในมนุษย์พวกนั้น อย่างนี้ ฯ
[๗๖๑] พ. ดูกรปุณณะ ก็ถ้าพวกมนุ ษย์ชาวสุนาปรันตชนบท จักให้ การประหารเธอด้ วยศาตรา เธอจักมีความคิด
อย่างไรในมนุษย์พวกนั้น ฯ
ปุ. ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ถ้ าพวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบท จักให้ การประหารข้ าพระองค์ด้วยศาตรา ข้ าพระองค์
จักมีความคิดในพวกเขาอย่างนี้ว่า พวกมนุ ษย์ชาวสุนาปรันตชนบทนี้ ยังดีนักหนาที่ไม่ปลิดชีพเราเสียด้ วยศาตราอันคม ข้ า
แต่พระผู้มีพระภาคผู้สคุ ต ข้ าพระองค์จักมีความคิดในมนุษย์พวกนั้นอย่างนี้ ฯ
[๗๖๒] พ. ดูกรปุณณะ ก็ถ้าพวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทจักปลิดชีพเธอเสียด้ วยศาตราอันคม เธอจักมีความคิด
อย่างไรในมนุษย์พวกนั้น ฯ
ปุ. ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ถ้ าพวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบท จักปลิดชีพ ข้ าพระองค์ด้วยศาสตราอันคม ข้ าพระองค์
จักมีความคิดในพวกเขาอย่างนี้ว่า มีเหล่าสาวกของพระผู้มีพระภาค ที่อึดอัดเกลียดชังร่ างกายและชีวิต พากันแสวงหาศาต
ราสังหารชีพอยู่แล เราไม่ต้องแสวงหาสิ่งดังนั้นเลย ก็ได้ ศาตราสังหารชีพแล้ ว ข้ าแต่พระผู้มีพระภาคผู้สุคต ข้ าพระองค์จักมี
ความคิดในมนุษย์พวกนั้นอย่างนี้ ฯ
[๗๖๓] พ. ดีละๆ ปุณณะ เธอประกอบด้ วยทมะและอุปสมะดังนี้แล้ ว จักอาจเพื่อจะอยู่ในสุนาปรันตชนบทได้ แล
ดูกรปุณณะ เธอจงสาคัญกาลที่ควรในบัดนี้เถิด ฯ
ครั้งนั้นแล ท่านพระปุณณะยินดีอนุ โมทนาพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล้ ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคทา
ประทักษิณ แล้ วเก็บเสนาสนะถือบาตรจีวรเดินทางจาริกไปยังที่ต้งั สุนาปรันตชนบท เมื่อจาริกไปโดยลาดับ ได้ ลุถงึ สุนาปรันตชนบทแล้ ว ฯ
[๗๖๔] เป็ นอันว่า ท่านพระปุณณะอยู่ในสุนาปรันตชนบทนั้น ครั้งนั้นแล ท่านพระปุณณะได้ ให้ พวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทกลับ
ใจแสดงตนเป็ น อุบาสกประมาณ ๕๐๐ คน ภายในพรรษานั้นเอง กลับใจแสดงตนเป็ นอุบาสิกา ประมาณ ๕๐๐ คน ภายในพรรษานั้นเอง
และตัวท่านได้ ทาให้ แจ้ งซึ่งวิชชา ๓ ภายในพรรษานั้นเหมือนกัน ครั้นสมัยต่อมา ท่านได้ ปรินิพพานแล้ ว ฯ
ครั้งนั้นแล ภิกษุมากด้ วยกันเข้ าไปเฝ้ าพระผู้มพี ระภาคยังที่ประทับ แล้ วถวายอภิวาทพระผู้มพี ระภาค นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง พอ
นั่งเรียบร้ อยแล้ วได้ กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ กุลบุตรชื่อปุณณะที่พระผู้มีพระภาคทรงสั่งสอนด้ วยพระโอวาท
ย่อๆ นั้น ทากาละเสียแล้ ว เธอมีคติ เป็ นอย่างไร มีสมั ปรายภพเป็ นอย่างไร ฯ
[๗๖๕] พ. ดูกรภิกษุท้งั หลาย ปุณณกุลบุตร เป็ นบัณฑิต ได้ บรรลุธรรมสมควรแก่ธรรมแล้ ว ทั้งไม่ให้ เราลาบากเพราะเหตุแห่งธรรม
ดูกรภิกษุท้งั หลาย ปุณณกุลบุตรปรินิพพานแล้ ว ฯ
พระผู้มพี ระภาคได้ ตรัสพระภาษิตนี้แล้ ว ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดี พระภาษิตของพระผู้มพี ระภาคแล ฯ
...............................................

๔๑
ชีวติ พระ อริยวิถี
๓) การให้ ธรรมทาน
ดังคติที่เป็ นแนวปฏิบตั ิ แห่งความสัมพันธ์แบบอาศัยกัน โดยอามิสทานกับธรรมทาน
ตามนัยแห่งพหุการสู ตร (ขุ.อิติ.๒๕/๒๘๗/๒๔๗) และเน้นการทาตัวให้เขาเลี้ยงง่าย
[๒๘๗] ๘ พหุการา ภิกฺขเว พฺราหฺมณคหปติกา ตุมฺหาก เย เต ๒- ปจฺจุปฏฺฐิตา จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิ
ลานปจฺจยเภสชฺชปริกฺขาเรหิ ฯ ตุเมฺหปิ ภิกฺขเว พหุการา พฺราหฺมณคหปติกาน ย เนส ธมฺม เทเสถ อาทิกลฺ
ยาณ มชฺเฌกลฺยาณ ปริโยสานกลฺยาณ สาตฺถ สพฺยญฺฺชน เกวลปริปุณฺณ ปริสุทฺธ พฺรหฺมจริย ปกาเสถ ฯ เอว
มิท ภิกฺขเว อญฺญมญฺญ นิสฺสาย พฺรหฺมจริย วุสฺสติ โอฆสฺส นิตฺถรณตฺถาย สมฺมาทุกฺขสฺส อนฺตกิริยายาติ ฯ
สาคารา อนาคารา จ อุโภ อญฺโญญฺญนิสฺสิตา
อาราธยนฺติ สทฺธมฺม โยคกฺเขม อนุตฺตร
สาคาเรสุ จ จีวร ปจฺจย สยนาสน
อนาคารา ปฏิจฺฉนฺติ ปริสฺสยวิโนทน ฯ
สุคต ปน นิสฺสาย คหฏฺฐา ฆรเมสิโน
สทฺทหานา ๑- อรหต อริยปญฺญาย ฌายิโน
อิธ ธมฺม จริตฺวาน มคฺค สุคติคามิน
นนฺทิโน เทวโลกสฺมึ โมทนฺติ กามกามิโนติ ฯ อฏฺฐม ฯ

[๒๘๗] ดูกรภิกษุท้งั หลาย พราหมณ์และคฤหบดีท้งั หลายเป็ นผู้มีอุปการะมากแก่เธอทั้งหลาย บารุงเธอ


ทั้งหลายด้ วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะและคิลานปั จจัยเภสัชบริขาร แม้ เธอทั้งหลายก็จงเป็ นผู้มีอุปการะมาก
แก่พราหมณ์และคฤหบดีท้งั หลาย จงแสดงธรรมอันงามในเบื้องต้ น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด จงประกาศ
พรหมจรรย์พร้ อมทั้งอรรถ พร้ อมทั้งพยัญชนะ บริสทุ ธิ์บริบูรณ์ส้ นิ เชิงแก่พราหมณ์และคฤหบดีเหล่านั้นเถิด
ดูกรภิกษุท้งั หลาย คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้งหลาย ต่างอาศัยซึ่งกันและกันด้ วยอานาจอามิสทานและธรรมทาน
อยู่ประพฤติพรหมจรรย์น้ ี เพื่อต้ องการสลัดโอฆะ เพื่อจะทาซึ่งที่สดุ แห่งทุกข์โดยชอบด้ วยประการอย่างนี้ ฯ
คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้งหลาย ต่างอาศัยกันและกันทั้ง ๒ ฝ่ าย
ย่อมยังสัทธรรมอันเกษมจากโยคะอย่างยอดเยี่ยมให้ สาเร็จ
บรรพชิตทั้งหลายย่อมปรารถนาเฉพาะจีวร บิณฑบาต ที่นอน ที่น่งั และคิลานปัจจัย
อันเป็ นเครื่องบรรเทาเสียซึ่งอันตรายจากคฤหัสถ์ท้งั หลาย
ส่วนคฤหัสถ์ท้งั หลายผู้อยู่ครองเรือน อาศัยพระอริยบุคคลผู้ปฏิบัติชอบแล้ ว
เชื่อถือซึ่งถ้ อยคาของพระอรหันต์ท้งั หลาย มีปรกติเพ่งพินิจด้ วยปัญญาอันบริสทุ ธิ์ดี
ประพฤติธรรมอันเป็ นทางไปสู่สคุ ติในศาสนานี้ มีปรกติเพลิดเพลิน เป็ นผู้ใคร่กามบันเทิงอยู่ในเทวโลก ฯ
....................................................................
ในคาว่า พฺรหฺมจริย ปกาเสติ นี้ ได้แก่ ศาสนา (คาสอน) ทั้งหมดที่สงเคราะห์ลงในไตรสิกขา เพราะเหตุนั้น
พระสังคีติกาจารย์จึงกล่าวว่า ทรงประกาศพรหมจรรย์. (เวนาคสูตร องฺ.ติก.อ.เล่ม ๒๐ หน้า ๓๑๓ มมร.)
....................................................................

๔๒
ชีวติ พระ อริยวิถี
๔) ความเป็ นผู้นาทางจิตใจและทางสติปัญญา
ดังพระพุทธศาสนาสุภาษิตใน ขุ.ธ.๒๕/๒๔/๒๘ ขุ.ธ.อ.๔๒ หน้ า ๓๔๖ เรื่องที่ ๑๕๓ ว่า
พหฺุ เว สรณ ยนฺติ ปพฺพตานิ วนานิ จ ๑๒
อารามรุกข ฺ เจตฺยานิ มนุสฺสา ภยตชฺชิตา
เนต โข สรณ เขม เนต สรณมุตฺตม
เนต สรณมาคมฺม สพฺพทุกฺขา ปมุจฺจติ.

"มนุษย์เป็ นอันมาก ถูกภัยคุกคามแล้ ว ย่อมถึงภูเขา ป่ า อาราม และรุกขเจดีย์ว่าเป็ นที่พ่ึง; สรณะ


นั่นแลไม่เกษม, สรณะนั่นไม่อุดม, เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ท้งั ปวงได้ .
โย จ พุทฺธญฺจ ธมฺมญฺจ สงฺฆญฺจ สรณ คโต
จตฺตาริ อริยสจฺจานิ สมฺมปฺปญฺาย ปสฺสติ
ทุกฺข ทุกฺขสมุปฺปาท ทุกฺขสฺส จ อติกฺกม
อริยญฺจฏฺฐงฺคิก มคฺค ทุกข
ฺ ูปสมคามิน
เอต โข สรณ เขม เอต สรณมุตฺตม
เอต สรณมาคมฺม สพฺพทุกฺขา ปมุจฺจติ.

ส่วนบุคคลใดถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ว่ าเป็ นที่พ่ึง ย่อมเห็นอริยสัจ ๔ (คือ) ทุกข์


เหตุให้ เกิดทุกข์ ความก้ าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐ ซึ่งยังสัตว์ให้ ถึงความสงบแห่ งทุกข์
ด้ วยปั ญญาชอบ; สรณะนั่นแล ของบุคคลนั้นเกษม, สรณะนั่นอุดม, เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อม
พ้ นจากทุกข์ท้งั ปวงได้ ."
...................................................
เรื่องปุโรหิตชื่ออัคคิทตั . [๑๕๓] ขุ.ธ. เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๓ – เล่ม ๔๒ หน้าที่ ๓๔๐
ข้อความเบื้ องต้น
พระศาสดา (เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน) ประทับนั่งบนกองทราย ทรงปรารภปุโรหิตของพระเจ้ าโกศล ชื่ออัคคิทตั ตรัสพระ
ธรรมเทศนานี้ว่า " พหุํ เว สรณํ ยนฺติ " เป็ นต้ น.
อัคคิทตั ได้เป็ นปุโรหิตถึง ๒ รัชกาล
ดังได้ สดับมา อัคคิทตั นั้น ได้ เป็ นปุโรหิตของพระเจ้ ามหาโกศล. ครั้นเมื่อพระราชบิดาสวรรคตแล้ ว พระราชาทรงพระนามว่า
ปเสนทิโกศลทรงดาริว่า " ผู้น้ ีเป็ นปุโรหิตแห่ งพระชนกของเรา " จึงตั้งเขาไว้ ในตาแหน่งนั้นนั่นแล ด้ วยความเคารพ ในเวลาเขามาสู่ท่ี
บารุงของพระองค์ ทรงทาการเสด็จลุกรับ. รับสั่งให้ พระราชทานอาสนะเสมอกัน ด้ วยพระดารัสว่า " อาจารย์ เชิญนั่งบนอาสนะนี้. "
อัคคิทตั ออกบวชนอกพระพุทธศาสนา
อัคคิทตั นั้น คิดว่า " พระราชานี้ทรงทาความเคารพในเราอย่างเหลือเกิน , แต่เราก็ไม่อาจเอาใจของพระราชาทั้งหลายได้ ตลอด
กาลเป็ นนิตย์เทียว; อนึ่ง พระราชาก็เยาว์วัย ยังหนุ่มน้ อย, ชื่อว่าความเป็ นพระราชากับด้ วยคนผู้มีวัยเสมอกันนั่นแล เป็ นเหตุให้ เกิด
สุข; ส่วนเราเป็ นคนแก่, เราควรบวช " เขากราบทูลให้ พระราชาพระราชทานพระบรมราชานุญาตการบรรพชาแล้ ว ให้ คนตีกลองเที่ยว
ไปในพระนครแล้ ว สละทรัพย์ของตนทั้งหมดในเพราะการให้ ทานเป็ นใหญ่ตลอด ๗ วันแล้ ว บวชเป็ นนักบวชภายนอก. บุรษุ หมื่นหนึ่ง
อาศัยอัคคิทตั นั้น บวชตามแล้ ว. อัคคิทตั นั้นพร้ อมด้ วยนักบวชเหล่านั้น สาเร็จการอยู่ในระหว่างแคว้ นอังคะ แคว้ นมคธะและแคว้ นกุรุ
(ต่อกัน) ให้ โอวาทนี้ว่า " พ่อทั้งหลาย บรรดาเธอทั้งหลาย ผู้ใดมีกามวิตกเป็ นต้ น เกิดขึ้น, ผู้น้นั จงขนหม้ อทรายหม้ อหนึ่งๆ จากแม่นา้
(มา) เกลี่ยลง ณ ที่น้ ี. " พวกนักบวชเหล่านั้นรับว่า " ดีละ " ในเวลากามวิตกเป็ นต้ นเกิดขึ้นแล้ ว ก็ทาอย่างนั้น. โดยสมัยอื่นอีก ได้ มี
กองทรายใหญ่แล้ ว. นาคราชชื่อ อหิฉัตตะ หวงแหนกองทรายใหญ่น้ัน. ชาวอังคะ มคธะ และชาวแคว้ นกุรุ นาเครื่องสักการะเป็ นอัน
มากไป ถวายทานแก่พวกนักบวชเหล่านั้นทุกๆเดือน.

๔๓
ชีวติ พระ อริยวิถี
อัคคิทตั สอนประชาชนให้ถงึ สรณะ
ครั้งนั้น อัคคิทัตได้ ให้ โอวาทแก่ชนเหล่ านั้น ดังนี้ว่า " พวกท่านจงถึงภูเขาเป็ นสรณะ, จงถึงป่ าเป็ นสรณะ, จงถึงอารามเป็ น
สรณะ, จงถึงต้ นไม้ เป็ นสรณะ; พวกท่านจักพ้ นจากทุกข์ท้งั สิ้นได้ ด้วยอาการอย่างนี้ " กล่าวสอนแม้ ซ่ึงอันเตวาสิกของตน ด้ วยโอวาทนี้
เหมือนกัน.
พระมหาโมคคัลลนะไปทรมานอัคคิทตั
ฝ่ ายพระโพธิสัตว์ เสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ ทรงบรรลุสัมมาสัมโพธิแล้ ว ในสมัยนั้น ทรงอาศัยกรุงสาวัตถี ประทับอยู่ใน
พระเชตวัน.ในเวลาจวนรุ่งทรงตรวจดูสตั ว์โลก ทรงเห็นอัคคิทตั พราหมณ์พร้ อมด้ วยอันเตวาสิก ผู้เข้ าไปภายในข่ายคือพระญาณของ
พระองค์แล้ ว ทรงทราบว่า " ชนเหล่านั้นแม้ ท้งั หมด เป็ นผู้ถงึ พร้ อมด้ วยอุปนิสยั แห่งพระอรหัต " ในตอนเย็น ตรัสกะพระมหาโมคคัล
ลานเถระว่า " โมคคัลลานะ เธอเห็นอัคคิทตั พราหมณ์ผ้ ูยังมหาชนให้ เเล่นไปโดยทางไม่ใช่ท่าไหม ? เธอจงไป, ให้ โอวาทแก่มหาชน
เหล่านั้น. "
พระเถระ. ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ชนเหล่านั้นเป็ นอันมาก ข้ าพระองค์ผ้ ูเดียวพึงข่มขี่ไม่ได้ ถ้ าแม้ พระองค์จักเสด็จมาไซร้ . ชน
เหล่านั้นจักเป็ นอันพึงข่มขี่ได้ .
พระศาสดา. โมคคัลลานะ แม้ เราก็จักมา. เธอจงล่วงหน้ าไปก่อน.
พระเถระ กาลังเดินไปเทียว พลางคิดว่า " ชนเหล่านั้น ทั้งมีกาลังทั้งมีมาก, ถ้ าเราจักพูดอะไรๆในที่ประชุมของชนทั้งปวงไซร้ ;
ชนแม้ ท้งั หมดพึงลุกขึ้น โดยความเป็ นพวกๆ กัน " ยังฝนมีเม็ดหยาบให้ ตกลงแล้ ว ด้ วยอานุภาพของตน. ชนเหล่านั้น เมื่อฝนมีเม็ด
หยาบตกอยู่, ต่างก็ลุกขึ้นแล้ วๆ เข้ าไปยังบรรณศาลาของตน ๆ. พระเถระยืนอยู่ท่ปี ระตูบรรณาศาลาของอัคคิทตั กล่าวว่า อัคคิทตั . เขา
ได้ ยินเสียงของพระเถระแล้ ว กล่าวว่า " นั่นเป็ นใคร ? " เพราะความเป็ นผู้กระด้ างเพราะมานะว่า " ในโลกนี้ใคร ๆ ชื่อว่าผู้สามารถ
เรียกเราโดย (ออก) ชื่อ ไม่มี, ใครหนอแล ? เรียกเราโดย (ออก) ชื่อ. "
พระเถระ. ข้ าพเจ้ า พราหมณ์.
อัคคิทตั . ท่านพูดอะไร ?
พระเถระ. ขอท่านจงบอกสถานที่พักอยู่ในที่น้ แี ก่ข้าพเจ้ าสิ้นคืนหนึ่ง ในวันนี้.
อัคคิทตั . สถานที่พักอยู่ในที่น้ ี ไม่ม,ี บรรณาศาลาหลังหนึ่งก็สาหรับคนหนึ่งเท่านั้น.
พระเถระ. อัคคิทตั ธรรมดาพวกมนุษย์ ย่อมไปสู่สานักของพวกมนุษย์. พวกโคก็ไปสู่สานักของโค พวกบรรพชิตก็ไปสู่สานัก
ของพวกบรรพชิต, ท่านอย่าทาอย่างนั้น, ขอจงให้ ท่พี ักอยู่แก่ข้าพเจ้ า.
อัคคิทตั . ก็ท่านเป็ นบรรพชิตหรือ ?
พระเถระ. เออ ข้ าพเจ้ าเป็ นบรรพชิต.
อัคคิทตั . ถ้ าท่านเป็ นบรรพชิตไซร้ . สิ่งของคือสาแหรกบริขารแห่งบรรพชิต ของท่านอยู่ไหน ?
พระเถระ. บริขารของข้ าพเจ้ ามีอยู่. ข้ าพเจ้ าคิดเห็นว่า ' ก็การถือบริขารนั้นเป็ นแผนก เที่ยวไป ลาบาก ' ดังนี้แล้ ว จึงถือบริขาร
นั้นไว้ โดยภายในนั้นแลเที่ยวไป พราหมณ์. "
พราหมณ์น้นั โกรธพระเถระว่า " ท่านจักถือบริขารนั้นเที่ยวไปหรือ ? "
ลาดับนั้น พระเถระจึงพูดกะเขาว่า " (จงหลีกไป) อัคคิทตั ท่านอย่าโกรธ (ข้ าพเจ้ า). จงบอกสถานที่พักอยู่แก่ข้าพเจ้ า. "
อัคคิทตั . สถานที่พักอยู่ท่นี ้ ไี ม่ม.ี
พระเถระ. ก็ใคร ? อยู่บนกองทรายนั่น.
อัคคิทตั . นาคราชตัวหนึ่ง.
พระเถระ. ท่านจงให้ ท่นี ้นั แก่ข้าพเจ้ า.
อัคคิทตั . ข้ าพเจ้ าไม่อาจให้ ได้ . กรรมของนาคราชนั่นร้ ายกาจ.
พระเถระ. ช่างเถอะ, ขอท่านจงให้ แก่เราเถิด.
อัคคิทตั . ถ้ าเช่นนั้น ท่านจงรู้เองเถิด.
พระเถระผจญกับนาคราช
พระเถระ ผินหน้ าตรงกองทรายไปแล้ ว. นาคราชเห็นพระเถระนั้นมา จึงดาริว่า " พระสมณะนี้มาข้ างนี้ , เห็นจะไม่ทราบความ
ที่เรามีอยู่ ; เราจะบังหวนควัน ให้ สมณะนั้นตาย " บังหวนควันแล้ ว. พระเถระคิดว่ า " นาคราชนี้เห็นจะเข้ าใจว่ า ' เราเท่านั้นอาจ
บังหวนควันได้ . พวกอื่นย่อมไม่อาจ ' ดังนี้แล้ ว บังหวนควันแม้ เอง. ควันทั้งหลายพุ่งออกจากสรีระแห่ งนาคราชและพระเถระ แม้ ท้งั
สองฝ่ าย ตั้งขึ้นจนถึงพรหมโลก. ควันทั้งสองฝ่ ายไม่เบียดเบียนพระเถระ เบียดเบียนแต่น าคราชฝ่ ายเดียว.

๔๔
ชีวติ พระ อริยวิถี
นาคราชไม่อาจอดทนกาลังแห่ งควันได้ จึงให้ ลุกโพลง(เป็ นไฟ). ฝ่ ายพระเถระเข้ าสมาบัติมีเตโชธาตุเป็ นอารมณ์แล้ ว ให้ ลุก
โพลง(เป็ นไฟ) พร้ อมกับนาคราชนั้นเหมือนกัน. เปลวไฟพุ่งขึ้นไปจนถึงพรหมโลก. เปลวไฟแม้ ท้งั สองฝ่ ายไม่เบียดเบียนพระเถระ
เบียดเบียนแต่นาคราชฝ่ ายเดียว.
นาคราชแพ้พระเถระ
ลาดับนั้น สรีระทั้งสิ้นของนาคราชนั้น ได้ เป็ นราวกะว่าถูกคบเพลิงทั้งหลายลนทั่วแล้ ว. หมู่ฤษีแลดูแล้ วคิดว่า " นาคราชเผา
สมณะ, สมณะคนดีหนอ ไม่เชื่อฟังคาของพวกเรา จึงฉิบหายแล้ ว. "
พระเถระ ทรมานนาคราชทาให้ หมดพยศแล้ ว นั่งบนกองทราย. นาคราชเอาขนดรวบกองทราย แผ่พังพานประมาณเท่าห้ อง
โถงแห่งเรือนยอด กั้นอยู่แล้ วเบื้องบนแห่งพระเถระ. หมู่ฤษีไปยังสานักของพระเถระแต่เช้ าตรู่ ด้ วยคิดว่า " พวกเราจักรู้ความที่สมณะ
ตายแล้ วหรือยังไม่ตาย " เห็นท่านนั่งอยู่บนยอดกองทรายแล้ ว ประคองอัญชลีชมเชยอยู่ กล่าวว่ า " สมณะ นาคราชไม่เบียดเบียนท่าน
แลหรือ ? "
พระเถระ. ท่านทั้งหลายไม่เห็นนาคราชแผ่พังพานดารงอยู่เบื้องบนแห่งเราหรือ ?
ฤษีเหล่านั้น พูดกันว่า " น่าอัศจรรย์หนอ ! ท่านผู้เจริญ. อานุภาพแห่งสมณะ ชื่อเห็นปานนี้. พระสมณะนี้ทรมานนาคราชได้ แล้ ว
" ได้ ยืนล้ อมพระเถระอยู่แล้ ว.
ในขณะนั้น พระศาสดาเสด็จมาแล้ ว. พระเถระเห็นพระศาสดาแล้ ว ลุกขึ้นถวายบังคม. ลาดับนั้น ฤษีท้งั หลาย พูดกะพระเถระ
นั้นว่า " สมณะนี้ เป็ นใหญ่แม้ กว่าท่านหรือ ? "
พระเถระ. พระผู้มพี ระภาคเจ้ านั่น เป็ นพระศาสดา, ข้ าพเจ้ าเป็ นสาวกของพระผู้มพี ระภาคเจ้ านี้.
พวกฤษีชมเชยพระศาสดา
พระศาสดาประทับนั่งบนยอดกองทรายแล้ ว. หมู่ฤษีประคองอัญชลีชมเชยพระศาสดาว่า " อานุภาพของสาวกยังถึงเพียงนี้ ,
ส่วนอานุภาพของพระศาสดานี้ จักเป็ นเช่นไร ? "
พระศาสดาตรัสเรียกอัคคิทตั มาแล้ ว ตรัสว่า " อัคติทตั ท่านเมื่อให้ โอวาทแก่สาวกและอุปัฏฐากทั้งหลายของท่าน ย่อมกล่าวว่า
' อย่างไร ? 'ให้ . "
อัคคิทตั . ข้ าพระองค์ให้ โอวาทแก่สาวกและอุปัฏฐากเหล่านั้น อย่างนี้ว่า ่่ ท่านทั้งหลาย จงถึงภูเขานั่นว่าเป็ นที่พ่ึง, จงถึงป่ า
อาราม, จงถึงต้ นไม้ ว่าเป็ นที่พ่ึง; ด้ วยว่าบุคคลถึงวัตถุท้งั หลาย มีภเู ขาเป็ นต้ นนั้นว่ าเป็ นที่พ่ึงแล้ ว ย่อมพ้ นจากทุกข์ท้งั ปวงได้ .'
สรณะที่เกษมและไม่เกษม
พระศาสดาตรัสว่า " อัคคิทตั บุคคลถึงวัตถุท้งั หลายมีภเู ขาเป็ นต้ น นั่นว่าเป็ นที่พ่ึงแล้ ว ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ได้ เลย, ส่วนบุคคล
ถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่าเป็ นที่พ่ึง ย่อมพ้ นจากทุกข์ในวัฏฏะทั้งสิ้นได้ " ดังนี้แล้ ว ได้ ทรงภาษิตพระคาถาเหล่านี้ว่า :-
พหฺุ เว สรณ ยนฺติ ปพฺพตานิ วนานิ จ ๑๒
อารามรุกข ฺ เจตฺยานิ มนุสฺสา ภยตชฺชิตา
เนต โข สรณ เขม เนต สรณมุตฺตม
เนต สรณมาคมฺม สพฺพทุกฺขา ปมุจฺจติ.

โย จ พุทฺธญฺจ ธมฺมญฺจ สงฺฆญฺจ สรณ คโต


จตฺตาริ อริยสจฺจานิ สมฺมปฺปญฺาย ปสฺสติ
ทุกฺข ทุกฺขสมุปฺปาท ทุกขฺ สฺส จ อติกฺกม
อริยญฺจฏฺฐงฺคกิ มคฺค ทุกขฺ ูปสมคามิน
เอต โข สรณ เขม เอต สรณมุตฺตม
เอต สรณมาคมฺม สพฺพทุกข
ฺ า ปมุจฺจติ.

" มนุษย์เป็ นอันมาก ถูกภัยคุกคามแล้ ว ย่อมถึงภูเขา ป่ า อาราม และรุกขเจดีย์ว่าเป็ นที่พ่งึ ;


สรณะนั่นแลไม่เกษม, สรณะนั่นไม่อดุ ม, เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ท้งั ปวงได้ .
ส่วนบุคคลใดถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ว่าเป็ นที่พ่ึง ย่อมเห็นอริยสัจ ๔ (คือ) ทุกข์ เหตุให้ เกิดทุกข์
ความก้ าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐ ซึ่งยังสัตว์ให้ ถงึ ความสงบแห่งทุกข์ ด้ วยปัญญาชอบ;
สรณะนั่นแลของบุคคลนั้นเกษม, สรณะนั่นอุดม, เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อมพ้ นจากทุกข์ท้งั ปวงได้ . "

๔๕
ชีวติ พระ อริยวิถี
แก้อรรถ
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า พหุ ได้แก่ พหู แปลว่ามาก. บทว่า ปพฺพตานิ เป็นต้น ความว่า มนุษย์เหล่านั้นๆ อัน
ภัยนัน
้ ๆ คุกคามแล้วอยากพ้นจากภัย หรือปรารถนาลาภทั้งหลาย มีการได้บุตรเป็นต้น ย่อมถึงภูเขา มีภูเขาชื่ออิสิคิลิ
เวปุลละและเวภาระเป็นต้น ป่าทั้งหลาย มีป่ามหาวัน ป่าโคสิงคสาลวันเป็นต้น อารามทั้งหลาย มีเวฬุวันและชีวกั มพ
วันเป็นต้น และรุกขเจดีย์ทั้งหลาย มีอุเทนเจดีย์และโคตมเจดีย์เป็นต้นในที่นั้น ๆ ว่าเป็นที่พึ่ง.
สองบทว่า เนต สรณ ความว่า ก็สรณะแม้ทั้งหมดนั่นไม่เกษม ไม่อุดม. ด้วยว่าบรรดาสัตว์ทั้งหลายผู้มีความ
เกิดเป็นต้น เป็นธรรมดาแม้ผู้หนึ่ง อาศัยสรณะนั่น ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ทั้งปวง มีชาติเป็นต้นได้.
คาว่า โย จ เป็นต้นนี้. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงสรณะอันไม่เกษม ไม่อุดมแล้ว ปรารภไว้เพื่อจะทรงแสดง
สรณะอันเกษม อันอุดม. เนื้อความแห่งคาว่า โย จ เป็นต้นนั้น (ดังต่อไปนี้) :-
ส่วนบุคคลใด เป็นคฤหัสถ์ก็ตาม เป็นบรรพชิตก็ตาม อาศัยกัมมัฎฐาน คือการตามระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม
พระสงฆ์ เป็นต้นว่า
" แม้เพราะอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ถึงพระพุทธ พระธรรม
เเละพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง ด้วยสามารถแห่งความเป็นวัตถุอันประเสริฐ , การถึงสรณะนั้น ของบุคคลแม้นั้น ยังกาเริบ
ยังหวั่นไหว ด้วยกิจทั้งหลายมีการไหว้อัญเดียรถีย์เป็นต้น , แต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อจะทรงแสดงความที่การถึง
สรณะนั้นไม่หวั่นไหว เมื่อจะทรงประกาศสรณะอันมาแล้วโดยมรรคนั่นแล จึงตรัสว่า ' ย่อมเห็นอริยสัจ ๔ ด้วยปัญญา
ชอบ.' ด้วยว่าบุคคลใดถึงรัตนะทั้งหลาย มี พระพุทธรัตนะเป็นต้นนั่นว่า เป็นที่พึ่ง ด้วยสามารถแห่งการเห็นสัจจะ
เหล่านั้น, สรณะนั้นของบุคคลนั้น เกษมและอุดม. และบุคคลนั้นอาศัยสรณะนั่น ย่อมพ้นจากทุกข์ในวัฏฏะแม้ทั้งสิ้น
ได้; เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เอต โข สรณ เขม เป็นต้น
ในกาลจบเทศนา ฤษีเหล่านั้นแม้ทั้งหมด บรรลุพระอรหัตพร้อมด้วยปฏิสัมภิทาทั้งหลายแล้ว ถวายบังคมพระ
ศาสดา ทูลขอบรรพชาแล้ว. พระศาสดา ทรงเหยียดพระหัตถ์ออกจากกลีบจีวร ตรัสว่า " ท่านทั้งหลาย จงเป็นภิกษุ
มาเถิด จงประพฤติพรหมจรรย์."
ชาวเมืองเข้าใจว่าอัคคิทต
ั ใหญ่กว่าพระศาสดา
ในขณะนั้นเอง ฤษีเหล่านั้นได้เป็นผู้ทรงไว้ซึ่งบริขาร ๘ ดุจพระเถระมีพรรษาตั้งร้อย. ก็วันนั้นได้เป็นวันที่
ชาวแคว้นอังคะ แคว้นมคธะและแคว้นกุรุ แม้ทั้งปวงถือเครื่องสักการะมา. ชนเหล่านั้นถือเครื่องสักการะมาแล้ว เห็น
ฤษีเหล่านั้นแม้ทั้งหมดบวชแล้ว คิดว่า " อัคคิทั ตพราหมณ์ของพวกเราเป็นใหญ่ หรือพระสมณโคดมเป็นใหญ่หนอ
แล ? " ได้สาคัญว่า " อัคคิทัต เป็นใหญ่แน่ เพราะเหตุที่พระสมณโคดมมาหา."

อัคคิทต
ั ตัดความสงสัยของชาวเมือง
พระศาสดา ทรงตรวจดูอัธยาศัยของชนเหล่านั้นแล้ว ตรัสว่า " อัคคิทัต เธอจงตัดความสงสัยของบริษัท. "
พระอัคคิทัตนั้นกราบทูลว่า
" แม้ข้าพระองค์ ก็หวังเหตุมีประมาณเพียงนั้นเหมือนกัน " ดังนี้แล้ว เหาะขึ้นไปสู่เวหาสด้วยกาลังฤทธิ์ แล้วลง
มาถวายบังคมพระศาสดาบ่อย ๆ ถึง ๗ ครั้งแล้ว กล่าวประกาศความที่ตนเป็นสาวกว่า " ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้
มีพระภาคเจ้าเป็นศาสดาของข้าพระองค์. ข้าพระองค์เป็นสาวก " ดังนี้แล.
…………………………………………………..

๔๖
ชีวติ พระ อริยวิถี
๕.๒ พระสงฆ์ในฐานะเป็ นกัลยาณมิตรของประชาชน / การทาหน้าที่แห่งมิตรผูแ้ นะนาประโยชน์
อนุเคราะห์ชาวบ้าน พระสงฆ์อนุเคราะห์คฤหัสถ์ตามหลักปฏิบตั ิในฐานะที่ตนเป็ นเสมือน ทิศเบื้องบน ดังนี้
๑. ห้ามปรามสอนให้เว้นจากความชัว่ ที.ปา.๑๑/๒๐๔/๑๔๖ สิ งคาลกสู ตร
๒. แนะนาสั่งสอนให้ต้ งั อยูใ่ นความดี
๒. อนุเคราะห์ดว้ ยความปรารถนาดี
๔. ให้ได้ฟังได้รู้สิ่งที่ยงั ไม่เคยรู ้ไม่เคยฟัง
๕. ชี้แจงอธิบายทาสิ่ งที่เคยฟังแล้วให้เข้าใจแจ่มแจ้ง
๖. บอกทางสวรรค์ สอนวิธีดาเนินชีวติ ให้ประสบความสุ ขความเจริ ญ
มิตรแนะนาประโยชน์ มีลกั ษณะ ๔ ที.ปา.๑๑/๑๙๕/๑๔๓
๑) จะทาชัว่ เสี ยหาย คอยห้ามปรามไว้
๒) แนะนาสนับสนุนให้ต้ งั อยูใ่ นความดี
๓) ให้ได้ฟังได้รู้สิ่งที่ไม่เคยได้รู้ได้ฟัง
๔) บอกทางสุ ขทางสวรรค์ให้
มิตรแท้ ๔ หรือ สุหทมิตร (มิตรมีใจดี, มิตรที่จริงใจ - true friends; true-hearted friends) ที.ปา.๑๑/๑๙๒-๑๙๖/๑๔๓
1. มิตรอุปการะ (อุปการกะ -the helper) มีลักษณะ 4 คือ
1) เพื่อนประมาท ช่วยรักษาเพื่อน
2) เพื่อนประมาท ช่วยรักษาทรัพย์สนิ ของเพื่อน
3) เมื่อมีภัย เป็ นที่พ่งึ พานักได้
4) มีกจิ จาเป็ น ช่วยออกทรัพย์ให้ เกินกว่าที่ออกปาก
2. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ (สมานสุขทุกข์ - the man who is the same in weal and woe) มีลักษณะ 4 คือ
1) บอกความลับแก่เพื่อน
2) ปิ ดความลับของเพื่อน
3) มีภัยอันตราย ไม่ละทิ้ง
4) แม้ ชีวิตก็สละให้ ได้
3. มิตรแนะประโยชน์ (อัตถักขายี - the man who gives good counsel) มีลักษณะ 4 คือ
1) จะทาชั่วเสียหาย คอยห้ ามปรามไว้
2) คอยแนะนาให้ ต้งั อยู่ในความดี
3) ให้ ได้ ฟังได้ ร้ สู ง่ิ ที่ไม่เคยได้ ร้ ไู ด้ ฟัง
4) บอกทางสุขทางสวรรค์ให้
4. มิตรมีน้ าใจ (อนุกมั ปกะ มิตรมีความรักใคร่ หรือมิตรผู้รักใคร่เอ็นดู - the man who sympathizes) มีลักษณะ 4 คือ
1) เพื่อนมีทุกข์ พลอยไม่สบายใจ (ทุกข์ ทุกข์ด้วย)
2) เพื่อนมีสขุ พลอยแช่มชื่นยินดี (สุข สุขด้ วย)
3) เขาติเตียนเพื่อน ช่วยยับยั้งแก้ ให้
4) เขาสรรเสริญเพื่อน ช่วยพูดเสริมสนับสนุน

๔๗
ชีวติ พระ อริยวิถี
ภายหลัง พ.ตรัสกรรมกิเลส ๔ อคติ ๔ อบายมุข ๖ และโทษอันเกิดแต่อบายมุข ๖ แล้ว ได้ตรัสคาถาประพันธ์ต่อไปอีกว่า
[๑๘๕] เพื่อนในโรงสุราก็มี เพื่อนกล่าวแต่ปากว่าเพื่อนๆ ก็มี ส่วนผู้ใดเป็ นสหายในเมื่อความต้ องการเกิดขึ้นแล้ ว ผู้น้ันจัดว่าเป็ น
เพื่อนแท้
เหตุ ๖ ประการ คือ การนอนสาย ๑ การเสพภรรยาผู้อ่นื ๑ ความประสงค์ผูกเวร ๑ ความเป็ นผู้ทาแต่ส่งิ หาประโยชน์มิได้ ๑ มิตร
ชั่ว ๑ ความเป็ นผู้ตระหนี่เหนียวแน่ นนัก๑ เหล่ านี้ ย่ อมกาจัดบุรุษเสียจากประโยชน์สุขที่จะพึ งได้ พึงถึง คนมีมิตรชั่ว มีเพื่ อนชั่ว มี
มรรยาทและการเที่ยวชั่ว ย่อมเสื่อมจากโลกทั้งสอง คือ จากโลกนี้และจากโลกหน้ า
เหตุ ๖ ประการ คือ การพนันและหญิง ๑ สุรา ๑ ฟ้ อนราขับร้ อง ๑ นอนหลับในกลางวัน บาเรอตนในสมัยมิใช่การ ๑ มิตรชั่ว ๑
ความตระหนี่เหนียวแน่นนัก ๑ เหล่านี้ ย่อมกาจัดบุรุษเสียจากประโยชน์สขุ ที่จะพึงได้ พึงถึง ชนเหล่าใดเล่นการพนัน ดื่มสุรา เสพหญิง
ภรรยาที่รักเสมอด้ วยชีวิตของผู้อ่นื คบแต่คนต่าช้ า และไม่คบหาคนที่มคี วามเจริญ ย่อมเสื่อมเพียงดังดวงจันทร์ในข้ างแรม
ผู้ใดดื่มสุรา ไม่มีทรัพย์ หาการงานทาเลี้ยงชีวิตมิได้ เป็ นคนขี้เมา ปราศจากสิ่งเป็ นประโยชน์ เขาจักจมลงสู่หนี้เหมือนก้ อนหิน
จมนา้ ฉะนั้น จักทาความอากูล (วุ่นวาย, ไม่เรียบร้ อย, สับสน, คั่งค้ าง) แก่ตนทันที
คนมักมีการนอนหลับในกลางวัน เกลียดชังการลุกขึ้นในกลางคืน เป็ นนักเลงขี้เมาเป็ นนิจ ไม่อาจครอบครองเหย้ าเรือนให้ ดีได้
ประโยชน์ท้งั หลายย่อมล่วงเลยชายหนุ่มที่ละทิ้งการงาน ด้ วยอ้ างเลศว่า หนาวนัก ร้ อนนัก เวลานี้เย็นเสียแล้ ว ดังนี้เป็ นต้ น ส่วนผู้ใดไม่
สาคัญความหนาวและความร้ อนยิ่งไปกว่าหญ้ า ทากิจของบุรษุ อยู่ ผู้น้นั ย่อมไม่เสื่อมจากความสุขเลย ฯ
ที.ปา.๑๑/๑๘๕/๑๔๑

ภายหลัง พ.ตรัสมิตรเทียม ๔ จาพวก และมิตรแท้ ๔ จาพวกแล้ว ได้ตรัสคาถาประพันธ์ต่อไปอีกว่า


[๑๙๗] บัณฑิตรู้แจ้ งมิตร ๔ จาพวกเหล่านี้ คือ มิตรมีอปุ การะ ๑ มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๑ มิตรแนะประโยชน์ ๑ มิตรมีความรักใคร่
๑ ว่าเป็ นมิตรแท้ ฉะนี้แล้ ว พึงเข้ าไปนั่งใกล้ โดยเคารพเหมือนมารดากับบุตร ฉะนั้น บัณฑิตผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมรุ่งเรืองส่องสว่างเพียง
ดังไฟ เมื่อบุคคลออมโภคสมบัติอยู่เหมือนแมลงผึ้งผนวกรัง โภคสมบัติย่อมถึงความสั่งสมดุจจอมปลวกอันตัวปลวกก่อขึ้น ฉะนั้น
คฤหัสถ์ในตระกูลผู้สามารถ ครั้นสะสมโภคสมบัติได้ อย่างนี้แล้ ว พึงแบ่งโภคสมบัติออกเป็ นสี่ส่วน เขาย่อมสมานมิตรไว้ ได้ พึงใช้ สอย
โภคสมบัตดิ ้ วยส่วนหนึ่ง พึงประกอบการงานด้ วยสองส่วน พึงเก็บส่วนที่ส่ไี ว้ ด้วย หมายว่าจักมีไว้ ในยามอันตราย ดังนี้ ฯ
ที.ปา.๑๑/๑๙๗/๑๔๔
ภายหลัง พ.ตรัสเรื่อง “อริยสาวกเป็ นผูป้ กปิ ดทิศทั้ง ๖ อย่างไรแล้ว” ได้ตรัสคาถาประพันธ์ต่อไปอีกว่า
[๒๐๕] มารดาบิดาเป็ นทิศเบื้องหน้ า อาจารย์เป็ นทิศเบื้องขวา บุตรภรรยาเป็ นทิศเบื้องหลัง มิตรอามาตย์เป็ นทิศเบื้องซ้ าย ทาส
กรรมกรเป็ นทิศเบื้องต่า
สมณพราหมณ์เป็ นทิศเบื้องบน คฤหัสถ์ในสกุลผู้สามารถควรนอบน้ อมทิศเหล่านี้ บัณฑิตผู้ถึงพร้ อมด้ วยศีลเป็ นคนละเอียดและมี
ไหวพริบ มีความประพฤติเจียมตนไม่ด้ อื กระด้ าง ผู้เช่นนั้นย่อมได้ ยศ คนหมั่น ไม่เกียจคร้ านย่อมไม่หวั่นไหว ในอันตรายทั้งหลาย คนมี
ความประพฤติไม่ขาดสาย มีปัญญา ผู้เช่นนั้นย่อมได้ ยศ คนผู้สงเคราะห์ แสวงหามิตรที่ดี รู้เท่าถ้ อยคาที่เขากล่าว ปราศจากตระหนี่ เป็ น
ผู้แนะนาแสดงเหตุผลต่างๆ เนืองๆ ผู้เช่นนั้น ย่อมได้ ยศ การให้ ๑ เจรจาไพเราะ ๑ การประพฤติให้ เป็ นประโยชน์ ๑ ความเป็ นผู้มตี น
เสมอในธรรมทั้งหลาย ในคนนั้นๆตามควร ๑ ธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวนา้ ใจในโลกเหล่านี้แล เป็ นเหมือนสลักรถอันแล่นไปอยู่ ถ้ าธรรม
เครื่องยึดเหนี่ยวเหล่ านี้ไม่พึงมีไซร้ มารดาและบิดาไม่พึงได้ ความนับถือ หรือความบูชาเพราะเหตุแห่ งบุตร เพราะบัณฑิตทั้งหลาย
พิจารณาเห็นธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวเหล่ านี้โดยชอบ ฉะนั้น บัณฑิตเหล่ านั้นจึงถึงความเป็ นใหญ่และเป็ นผู้อันหมู่ชนสรรเสริญทั่วหน้ า
ดังนี้ ฯ ที.ปา.๑๑/๒๐๕/๑๔๖

๔๘
ชีวติ พระ อริยวิถี
๕.๓ พระสงฆ์ในฐานะทีเ่ ป็ นมโนภาวนียบุคคล (ผูเ้ ป็ นทีเ่ จริญใจ, ผูท้ าให้จิตใจของผูน้ กึ ถึงเจริญงอกงาม)
ลีลาการสอน หรื อ พุทธลีลาในการสอน หรื อ เทศนาวิธี ๔ (การสอนของพระพุทธเจ้ าแต่ละครั้ง แม้ ท่เี ป็ นเพียงธร
รมีกถา หรือการสนทนาทั่วไป ซึ่งมิใช่คราวที่มีความมุ่งหมายเฉพาะพิเศษ ก็จะดาเนินไปอย่างสาเร็จผลดีโดยมีองค์ประกอบ
ที่เป็ นคุณลักษณะ ๔ ประการ)
๑. สันทัสสนา อธิ บายให้เห็นชัดเจนแจ่มแจ้ง เหมือนจูงมือไปดูเห็นกับตา
๒. สมาทปนา ชักจูงใจให้เห็นจริ งด้วย ชวนให้คล้อยตาม จนต้องยอมรับและนาไปปฏิบตั ิ
๓. สมุตเตชนา เร้าใจให้เห็นกล้าบังเกิดกาลังใจ ปลุกให้มีอุตสาหะแข็งขัน มัน่ ใจว่าจะทาให้สาเร็ จได้ ไม่หวัน่ ระย่อต่อความ
เหนื่อยยาก
๔. สัมปหังสนา ชโลมใจให้แช่มชื่ น ร่ าเริ ง เบิกบาน ฟั งไม่เบื่อ และเปี่ ยมด้วยความหวัง เพราะมองเห็นคุณประโยชน์ที่ตนจะ
พึงได้รับจากการปฏิบตั ิ
อาจผูกเป็ นคาสั้นๆ ได้วา่ “แจ่มแจ้ง จูงใจ ฮึกหาญ ร่ าเริ ง” หรื อ “ชี้ชดั เชิญชวน คึกคัก เบิกบาน”
โสณทัณสูตร ที.สี.๙/๑๙๘/๑๔๓ ฯลฯ, ที.อ.2/89; อุ.อ.304,457,490.
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในอังคชนบท พร้ อมด้ วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป เสด็จถึงนครจัมปา ได้ ยินว่า
สมัยนั้นพระองค์ประทับอยู่ใกล้ ขอบสระโบกขรณีคคั ครา สมัยนั้น พราหมณ์โสณทัณฑะ ครองนครจัมปา …
[๑๘๔] ลาดับนั้น พราหมณ์โสณทัณฑะเข้ าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ได้ ปราศรัย กับพระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการปราศรัย
พอให้ ระลึกถึงกันไปแล้ ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง .. พราหมณ์โสณทัณฑะนั่งครุ่นคิดถึงแต่เรื่องนั้นว่า ถ้ าเราจะพึงถามปัญหากะพระสมณ
โคดม หากพระองค์จะพึงตรัสกะเราอย่างนี้ว่า พราหมณ์ ปั ญหาข้ อนี้ท่านไม่ควรถามอย่างนั้น ที่ถูกควรจะถามอย่างนี้ ดังนี้ บริษัทนี้จะพึงดู
หมิ่นเราได้ ด้วยเหตุน้นั ว่า พราหมณ์โสณทัณฑะเป็ นคนเขลา ไม่ฉลาด ไม่อาจถามปัญหาโดยแยบคายกะพระสมณโคดมได้ ผู้ท่ถี ูกบริษัทดูหมิ่น
พึงเสื่อมยศ ผู้เสื่อมยศ ก็พึงเสื่อมโภคสมบัติ เพราะได้ ยศ เราจึงมีโภคสมบัติ
ถ้ าพระสมณโคดมจะพึงตรัสถามปัญหาเรา ถ้ าเราแก้ ไม่ถูกพระทัย ถ้ าพระองค์จะพึงตรัสกะเราอย่างนี้ว่า พราหมณ์ ปัญหาข้ อนี้ท่านไม่
ควรแก้ อย่ างนั้น ที่ถูกควรจะแก้ อย่ างนี้ ดังนี้ บริษัทนี้จะพึงดูหมิ่นเราได้ ด้วยเหตุน้ันว่ า พราหมณ์โสณทัณฑะเป็ นคนเขลา ไม่ฉลาด ไม่อาจ
แก้ ปัญหาให้ ถูกพระทัยพระสมณโคดมได้ ผู้ท่ถี ูกบริษัทดูหมิ่นพึงเสื่อมยศ ผู้เสื่อมยศก็พึงเสื่อมโภคสมบัติ เพราะได้ ยศเราจึงมีโภคสมบัติ ถ้ า
กระไร ขอพระสมณโคดมพึงตรัสถามปัญหาเราในเรื่องไตรวิชาอันเป็ นของอาจารย์เรา เราจะพึงแก้ ให้ ถูกพระทัยของพระองค์ได้ เป็ นแน่ .
[๑๘๕] ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความคิดในใจของพราหมณ์โสณทัณฑะด้ วยพระหฤทัย แล้ วทรงดาริว่า พราหมณ์โสณ
ทัณฑะนี้ลาบากใจตัวเองอยู่ ถ้ ากระไร เราพึงถามปั ญหาเขาในเรื่องไตรวิชาอันเป็ นของอาจารย์เขา ต่อแต่น้ัน จึงได้ ตรัสถามพราหมณ์โสณ
ทัณฑะว่า
ดูกรพราหมณ์ บุคคลผู้ประกอบด้ วยองค์เท่าไร พวกพราหมณ์จึงบัญญัตวิ ่าเป็ นพราหมณ์ และเมื่อเขาจะกล่าวว่าเราเป็ นพราหมณ์ ก็พึง
กล่าวได้ โดยชอบ ทั้งไม่ต้องถึงมุสาวาทด้ วย
พราหมณ์โสณทัณฑะดาริว่า เราได้ ประสงค์จานงหมายปรารถนาไว้ แล้ วว่า ถ้ ากระไร ขอพระสมณโคดม พึงตรัสถามปัญหาเรา ในเรื่อง
ไตรวิชาอันเป็ นของอาจารย์เรา เราจะพึงแก้ ให้ ถูกพระทัยของพระองค์ได้ เป็ นแน่น้ัน เผอิญพระองค์กต็ รัสถามปั ญหาเรา ในเรื่องไตรวิชาอัน
เป็ นของอาจารย์เรา เราจักแก้ ปัญหาให้ ถูกพระทัยได้ เป็ นแน่ทเี ดียว.
[๑๘๖] ลาดับนั้น พราหมณ์โสณทัณฑะจึงเผยอกายขึ้นเหลียวดูบริษัท แล้ วกราบทูลพระผู้มพี ระภาคว่า ข้ าแต่พระโคดมผู้เจริญ บุคคล
ประกอบด้ วยองค์ ๕ ประการ พวกพราหมณ์ย่อมบัญญัตวิ ่าเป็ นพราหมณ์ และเมื่อเขาจะกล่าวว่า เราเป็ นพราหมณ์ ก็พึงกล่าวได้ โดยชอบ ทั้ง
ไม่ต้องถึงมุสาวาทด้ วย ๕ ประการเป็ นไฉน? ข้ าแต่พระโคดมผู้เจริญ บุคคลผู้เป็ นพราหมณ์ในโลกนี้
๑. เป็ นอุภโตสุชาต ทั้งฝ่ ายมารดาและบิดา มีครรภ์เป็ นที่ถือปฏิสนธิหมดจดดีตลอด ๗ ชั่วบรรพบุรุษ ไม่มีใครจะคัดค้ านติเตียนได้
ด้ วยอ้ างถึงชาติ.
๒. เป็ นผู้เล่ าเรียน ทรงจามนต์ รู้จบไตรเพท พร้ อมทั้งคัมภีร์นิฆัณฑุ คัมภีร์เกตุภะ พร้ อมทั้งประเภทอักษรมีคัมภีร์อิติหาสเป็ นที่ ๕
เป็ นผู้เข้ าใจตัวบท เป็ นผู้เข้ าใจไวยากรณ์ ชานาญในคัมภีร์โลกายตะ และมหาปุริสลักษณะ.
๓. เป็ นผู้มรี ปู งาม น่าดูน่าเลื่อมใส กอปรด้ วยผิวพรรณผุดผ่องยิ่งนัก มีพรรณคล้ ายพรหม มีรปู ร่างคล้ ายพรหม น่าดูน่าชมไม่น้อย.

๔๙
ชีวติ พระ อริยวิถี
๔. เป็ นผู้มศี ีล มีศีลยั่งยืน ประกอบด้ วยศีลยั่งยืน.
๕. เป็ นบัณฑิต มีปัญญาเป็ นที่ ๑ หรือที่ ๒ ของพวกปฏิคาหกผู้รับบูชาด้ วยกัน. …
อธิบายของโสณทัณฑพราหมณ์
[๑๙๘] ครั้งนั้น พราหมณ์โสณทัณฑะทราบว่าพระผู้มีพระภาคเสวยเสร็จแล้ ว วางพระหัตถ์จากบาตรแล้ ว จึงถือเอาอาสนะต่ากว่า นั่ง
ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง แล้ วกราบทูลว่า ข้ าแต่พระโคดมผู้เจริญ ถ้ าข้ าพระองค์กาลังอยู่ในท่ามกลางบริษัทจะพึงลุกจากอาสนะถวายอภิวาทพระ
โคดมผู้เจริญ บริษัทนั้นจะพึงดูหมิ่นข้ าพระองค์ด้วยเหตุน้นั ได้ ผู้ท่ถี ูกบริษัทดูหมิ่นพึงเสื่อมยศ ผู้เสื่อมยศพึงเสื่อมโภคสมบัติ เพราะได้ ยศ ข้ า
พระองค์จึงมีโภคสมบัติ ข้ าแต่พระโคดมผู้เจริญ ถ้ าข้ าพระองค์กาลังอยู่ในท่ามกลางบริษัทจะพึงประคองอัญชลี ขอพระโคดมผู้เจริญจงเข้ า
พระทัยว่า แทนการลุกจากอาสนะ ถ้ าข้ าพระองค์กาลังอยู่ในท่ามกลางบริษัทจะพึงเปลื้ องผ้ าโพกออก ขอพระโคดมผู้เจริญจงเข้ าพระทัยว่า
แทนการอภิวาทด้ วยเศียร
ถ้ าข้ าพระองค์กาลังไปในยานจะพึงลงจากยานแล้ วถวายอภิวาทพระโคดม บริษัทนั้นจะพึงดูหมิ่นข้ าพระองค์ ด้ วยเหตุน้ันได้ ผู้ท่ถี ูก
บริษัทดูหมิ่นพึงเสื่อมยศ ผู้เสื่อมยศ พึงเสื่อมโภคสมบัติ เพราะได้ ยศข้ าพระองค์จึงมีโภคสมบัติ ข้ าแต่พระโคดมผู้เจริญ ถ้ าข้ าพระองค์กาลัง
ไปในยานจะพึงยกปฏักขึ้น ขอพระโคดมผู้เจริญจงทรงเข้ าพระทัยว่า แทนการลงจากยานของข้ าพระองค์ ถ้ าข้ าพระองค์กาลังไปในยานจะพึง
ลดร่ม ขอพระโคดมผู้เจริญจงทรงพระทัยว่า แทนการอภิวาทด้ วยเศียรของข้ าพระองค์ ดังนี้.
ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ ทรงยังพราหมณ์โสณทัณฑะให้ เห็นแจ้ ง ให้ สมาทาน ให้ อาจหาญ ให้ ร่าเริง ด้ วยธรรมมีกถาแล้ ว เสด็จ
ลุกจากอาสนะเสด็จกลับ ดังนี้แล.
…………………………………………………
อรรถกถาชี้แจงเพิ่มเติมว่า
ข้ อ 1 ปลดเปลื้องความเขลาหรือความมืดมัว
ข้ อ 2 ปลดเปลื้องความประมาท
ข้ อ 3 ปลดเปลื้องความอืดคร้ าน
ข้ อ 4 สัมฤทธิ์การปฏิบตั ิ
จา 4 ข้ อนี้ส้นั ๆ ว่า ชี้ให้ชดั ชวนให้ปฏิบตั ิ เร้าให้กล้า ปลุกให้ร่าเริง หรือ แจ่มแจ้ง จูงใจ แกล้วกล้า ร่าเริง
…………………………………………………

๕๐
ชีวติ พระ อริยวิถี
ลักษณะของพระพุทธเจ้าที่จะตรัสพระวาจา มีหลัก ๖ ประการ คือ
๑. คาพูดที่ไม่จริ ง ไม่ถูกต้อง, ไม่เป็ นประโยชน์, ไม่เป็ นที่รักที่ชอบใจของผูอ้ ื่น - ไม่ตรัส
๒. คาพูดที่ไม่จริ ง ไม่ถูกต้อง, ไม่เป็ นประโยชน์, ถึงเป็ นที่รักที่ชอบใจของผูอ้ ื่น - ไม่ตรัส
๓. คาพูดที่จริ ง ถูกต้อง, เป็ นประโยชน์, ไม่เป็ นที่รักที่ชอบใจของผูอ้ ื่น - เลือกกาลที่จะตรัส
๔. คาพูดที่จริ ง ถูกต้อง, แต่ไม่เป็ นประโยชน์, ไม่เป็ นที่รักที่ชอบใจของผูอ้ ื่น - ไม่ตรัส
๕. คาพูดที่จริ ง ถูกต้อง, แต่ไม่เป็ นประโยชน์, ถึงเป็ นที่รักที่ชอบใจของผูอ้ ื่น - ไม่ตรัส
๖. คาพูดที่จริ ง ถูกต้อง, เป็ นประโยชน์, เป็ นที่รักที่ชอบใจของผูอ้ ื่น - เลือกกาลที่จะตรัส
อภัยราชกุมารสูตร ม.ม.๑๓/๙๑/๗๐
[๙๑] ข้ าพเจ้ าได้ สดับมาแล้ วอย่างนี้:
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ เวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน เขตพระนครราชคฤห์. ครั้งนั้น พระราชกุมารพระนามว่า อภัย
เสด็จเข้ าไปหานิครนถ์นาฏบุตรถึงที่อยู่ ทรงอภิวาทนิครนถ์นาฏบุตรแล้ ว ประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง.
[๙๒] นิครนถ์นาฏบุตรได้ ทูลอภัยราชกุมารว่า ไปเถิด พระราชกุมาร เชิญพระองค์ทรงยกวาทะแก่พระสมณโคดม เมื่อพระองค์ทรง
ยกวาทะแก่พระสมณโคดมอย่ างนี้แล้ ว กิตติศัพท์อัน งามของพระองค์จักระบือไปว่ า อภัยราชกุมารทรงยกวาทะแก่สมณโคดมผู้มีฤทธิ์ มี
อานุภาพมากอย่างนี้.
อภัยราชกุมารตรัสถามว่ า ท่านผู้เจริญ ก็ข้าพเจ้ าจะยกวาทะแก่พระสมณโคดม ผู้มีฤทธิ์มาก มีอานุ ภาพมากอย่ างนี้ ได้ อย่ างไร?
นิครนถ์นาฏบุตรทูลว่า ไปเถิด พระราชกุมาร เชิญพระองค์เสด็จเข้ าไปเฝ้ าพระสมณโคดมถึงที่ประทับ แล้ วจงทูลถามพระสมณโคดมอย่างนี้ว่า
ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ พระตถาคตจะพึงตรัสพระวาจาอันไม่เป็ นที่ชอบใจของคนอื่นบ้ างหรือหนอ ถ้ าพระสมณโคดมถูกถามอย่างนี้แล้ ว จะ
ทรงพยากรณ์อย่างนี้ว่า ดูกรราชกุมาร ตถาคตพึงกล่าววาจาอันไม่เป็ นที่รัก ไม่เป็ นที่ชอบใจของคนอื่น ดังนี้ไซร้ พระองค์พึงทูลพระสมณโคดม
อย่างนี้ว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ เมื่อเป็ นอย่างนั้น การกระทาของพระองค์จะต่างอะไรจากปุถุชนเล่า เพราะแม้ ปุถุชนก็พึงกล่าววาจาอั นไม่เป็ น
ที่รัก ไม่เป็ นที่ชอบใจของคนอื่น ถ้ าพระสมณโคดมถูกถามอย่างนี้แล้ ว จะทรงพยากรณ์อย่างนี้ว่า ดูกรราชกุมาร ตถาคตไม่พึงกล่าววาจาอันไม่
เป็ นที่รัก ไม่ เป็ นที่ชอบใจของคนอื่น ดังนี้ไซร้ พระองค์พึงทูลพระสมณโคดมอย่ างนี้ว่า ข้ าแต่ พระองค์ผ้ ูเจริญ เมื่อเป็ นอย่ างนั้นอย่ างไร
พระองค์จึงทรงพยากรณ์พระเทวทัตต์ว่า เทวทัตต์จักเกิดในอบาย จักเกิดในนรก ตั้งอยู่ส้ นิ กัปหนึ่ง เป็ นผู้อนั ใครๆ เยียวยาไม่ได้ ดังนี้ เพราะ
พระวาจาของพระองค์น้นั พระเทวทัตต์โกรธ เสียใจ ดูกรพระราชกุมาร พระสมณโคดมถูกพระองค์ทูลถามปัญหาสองเงื่อนนี้แล้ ว จะไม่อาจ
กลืนเข้ า ไม่อาจคายออกได้ เลย เปรียบเหมือนกะจับเหล็กติดอยู่ในคอของบุรษุ บุรษุ นั้นจะไม่อาจกลืนเข้ า ไม่อาจคายออกได้ ฉันใด ดูกรพระ
ราชกุมาร พระสมณโคดมก็ฉันนั้น ถูกพระองค์ทูลถามปัญหาสองเงื่อนนี้แล้ ว จะไม่อาจกลืนเข้ า ไม่อาจคายออกได้ เลย.
อภัยราชกุมารรับคานิครนถ์นาฏบุตรแล้ ว เสด็จลุกจากอาสนะทรงอภิวาทนิครนถ์นาฏบุตร ทรงทาประทักษิณแล้ วเสด็จเข้ าไปเฝ้ า
พระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ ว ประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง ครั้นแล้ ว ทรงแหงนดูพระอาทิตย์ทรงพระ
ดาริว่า วันนี้มิใช่กาลจะยกวาทะแก่พระผู้มีพระภาค วันพรุ่งนี้เถิด เราจักยกวาทะแก่พระผู้มีพระภาคในนิเวศน์ของเรา ดังนี้ แล้ วจึงกราบทูล
พระผู้มีพระภาคว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ขอพระผู้มีพระภาคมีพระองค์เป็ นที่ ๔ จงทรงรับภัตตาหารของหม่อมฉัน เพื่อเสวยในวันพรุ่งนี้
พระผู้มพี ระภาคทรงรับด้ วยดุษณีภาพ ลาดับนั้น อภัยราชกุมารทรงทราบว่า พระผู้มพี ระภาคทรงรับแล้ วเสด็จลุกจากอาสนะ ถวายบังคมพระ
ผู้มีพระภาค ทาประทักษิณแล้ ว เสด็จหลีกไป ครั้งนั้น พอล่วงราตรีน้ันไป เวลาเช้ า พระผู้มีพระภาคทรงนุ่งแล้ ว ทรงถือบาตรและจีวร เสด็จ
เข้ าไปยังนิเวศน์ของอภัยราชกุมาร ประทับนั่งบนอาสนะที่เขาปูลาดไว้ ลาดับนั้น อภัยราชกุมารทรงอังคาสพระผู้มพี ระภาคด้ วยขาทนียะโภชนี
ยะอันประณีต ให้ อ่มิ หนาเพียงพอด้ วยพระหัตถ์ของพระองค์เอง เมื่อพระผู้มพี ระภาคเสวยเสร็จ ทรงชักพระหัตถ์จากบาตรแล้ ว อภัยราชกุมาร
ทรงถืออาสนะต่าอันหนึ่งประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง.
วาจาไม่เป็ นที่รัก
[๙๓] อภัยราชกุมารประทับ ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่งแล้ ว ได้ ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ พระตถาคตจะพึงตรัส
พระวาจา อันไม่เป็ นที่รัก ไม่เป็ นที่พอใจของคนอื่นบ้ างหรือหนอ.
พระผู้มพี ระภาคตรัสว่า ดูกรราชกุมาร ในปัญหาข้ อนี้ จะวิสชั นาโดยส่วนเดียวมิได้ .
อ. ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ เพราะปัญหาข้ อนี้ พวกนิครนถ์ได้ ฉิบหายแล้ ว.
พ. ดูกรราชกุมาร เหตุไฉนพระองค์จึงตรัสอย่างนี้เล่า?
ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ เพราะปัญหาข้ อนี้ พวกนิครนถ์ได้ ฉิบหายแล้ ว ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ขอประทานพระวโรกาส หม่อมฉันเข้ าไป
๕๑
ชีวติ พระ อริยวิถี
หานิครนถ์นาฏบุตรถึงที่อยู่ ...
วาจาทีป่ ระกอบด้ วยประโยชน์
[๙๔] สมัยนั้นแล เด็กอ่อนเพียงได้ แต่นอน นั่งอยู่บนตักของอภัยราชกุมาร ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ ตรัสกะอภัยราชกุมารว่ า
ดูกรราชกุมาร ท่านจะสาคัญความข้ อนั้นเป็ นไฉน ถ้ ากุมารนี้อาศัยความเผลอของพระองค์ หรือของหญิงพี่เลี้ยง พึงนาไม้ หรือก้ อนกรวดมาใส่
ในปาก พระองค์จะพึงทาเด็กนั้นอย่างไร?
ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ หม่อมฉันจะพึงนาออกเสีย ถ้ าหม่อมฉันไม่อาจจะนาออกได้ แต่ทแี รก หม่อมฉันก็จะเอามือซ้ ายประคองศีรษะ
แล้ วงอนิ้วมือขวาควักไม้ หรือก้ อนกรวดแม้ พร้ อมด้ วยเลือดออกเสีย ข้ อนั้นเพราะเหตุไร เพราะหม่อมฉันมีความเอ็นดูในกุมาร.
ดูกรราชกุมาร ตถาคตก็ฉันนั้นเหมือนกัน ย่ อมรู้วาจาที่ไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบด้ วยประโยชน์ และวาจานั้นไม่เป็ นที่รัก ไม่เป็ นที่
ชอบใจของผู้อ่นื ตถาคตไม่กล่าววาจานั้น
อนึ่ง ตถาคตย่อมรู้วาจาที่จริง ที่แท้ แต่ไม่ประกอบด้ วยประโยชน์ และวาจานั้นไม่เป็ นที่รัก ไม่เป็ นที่ชอบใจของผู้อ่นื ตถาคตไม่กล่าว
วาจานั้น
อนึ่ง ตถาคตย่ อมรู้วาจาที่จริง วาจาที่แท้ และประกอบด้ วยประโยชน์ แต่วาจานั้นไม่เป็ นที่รัก ไม่เป็ นที่ชอบใจของผู้อ่ นื ในข้ อนั้น
ตถาคตย่อมรู้กาลที่จะพยากรณ์วาจานั้น
ตถาคตย่อมรู้วาจาที่ไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบด้ วยประโยชน์ แต่วาจานั้นเป็ นที่รัก เป็ นที่ชอบใจของผู้อ่นื ตถาคตไม่กล่าววาจานั้น
ตถาคตย่อมรู้วาจาที่จริง ที่แท้ ไม่ประกอบด้ วยประโยชน์ แต่วาจานั้นเป็ นที่รัก เป็ นที่ชอบใจของผู้อ่นื ตถาคตไม่กล่าววาจานั้น
อนึ่ง ตถาคตย่อมรู้วาจาที่จริง ที่แท้ และประกอบด้ วยประโยชน์ และวาจานั้นเป็ นที่รัก เป็ นที่ชอบใจของผู้อ่นื ในข้ อนั้น ตถาคตย่อม
รู้กาลที่จะพยากรณ์วาจานั้น ข้ อนั้นเพราะเหตุไร เพราะตถาคตมีความเอ็นดูในสัตว์ท้งั หลาย.
พุทธปฏิภาณ
[๙๕] ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ กษัตริย์ผ้ บู ณ
ั ฑิตก็ดี พราหมณ์ผ้ บู ณ
ั ฑิตก็ดี คฤหบดีผ้ บู ณ
ั ฑิตก็ดี สมณะผู้บณ
ั ฑิตก็ดี ผูกปัญหาแล้ วเข้ ามา
เฝ้ าทูลถามพระตถาคต การพยากรณ์ปัญหาของบัณฑิตเหล่านั้น พระผู้มีพระภาคทรงตรึกด้ วยพระหฤทัยไว้ ก่อนว่า บัณฑิตทั้งหลายจักเข้ ามา
เฝ้ าเราแล้ วทูลถามอย่ างนี้ เราอันบัณฑิตเหล่ านั้นทูลถามอย่ างนี้แล้ ว จักพยากรณ์อย่ างนี้ หรือว่ า พยากรณ์น้ันมาปรากฏแจ่ มแจ้ งกะพระ
ตถาคตโดยทันที.
ดูกรราชกุมาร ถ้ าอย่างนั้น ในข้ อนี้ อาตมภาพจักกลับถามพระองค์บ้าง ข้ อนี้ควรแก่พระองค์อย่างใด พระองค์พึงพยากรณ์ข้อนั้น
อย่างนั้น ดูกรราชกุมาร พระองค์จะสาคัญความข้ อนั้นเป็ นไฉน พระองค์เป็ นผู้ฉลาดในส่วนน้ อยใหญ่ของรถหรือ ?
อย่างนั้น พระเจ้ าข้ า หม่อมฉันเป็ นผู้ฉลาดในส่วนน้ อยใหญ่ของรถ.
พ. ดูกรราชกุมาร พระองค์จะสาคัญความข้ อนั้นเป็ นไฉน ชนทั้งหลายเข้ าไปเฝ้ าพระองค์ แล้ วพึงทูลถามอย่างนี้ว่า ส่วนน้ อยใหญ่ของ
รถอันนี้ ชื่ออะไร การพยากรณ์ปัญหาของชนเหล่านั้น พระองค์พึงตรึกด้ วยใจไว้ ก่อนว่า ชนทั้งหลายเข้ ามาหาเราแล้ ว จักถามอย่างนี้ เราอันชน
เหล่านั้นถามอย่างนี้ จักพยากรณ์อย่างนี้ หรือว่าการพยากรณ์น้นั พึงแจ่มแจ้ งกะพระองค์โดยทันที?
อ. ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ เพราะหม่อมฉันเป็ นทหารรถ รู้จักดี ฉลาดในส่วนน้ อยใหญ่ของรถ ส่วนน้ อยใหญ่ของรถทั้งหมด หม่อมฉัน
ทราบดีแล้ ว ฉะนั้น การพยากรณ์ปัญหานั้นแจ่มแจ้ งกะหม่อมฉันโดยทันทีทเี ดียว.
ฉันนั้นเหมือนกันแล ราชกุมาร กษัตริย์ผ้ ูบัณฑิตก็ดี พราหมณ์ผ้ ูบัณฑิตก็ดี คฤหบดีผ้ ูบัณฑิตก็ดี สมณะผู้บัณฑิ ตก็ดี ผูกปั ญหา
แล้ วจักเข้ ามาถามตถาคต การพยากรณ์ปัญหานั้น ย่อมแจ่มแจ้ งกะตถาคตโดยทันที ข้ อนั้นเพราะเหตุไร เพราะความที่ธรรมธาตุน้นั ตถาคต
แทงตลอดดีแล้ ว การพยากรณ์ปัญหานั้น จึงแจ่มแจ้ งกะตถาคตโดยทันที.
อภัยราชกุมารแสดงตนเป็ นอุบาสก
[๙๖] เมื่อพระผู้มพี ระภาคตรัสอย่างนี้แล้ ว อภัยราชกุมารได้ กราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้ งนัก ข้ าแต่
พระองค์ผ้ เู จริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้ งนัก เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่า เปิ ดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือตามประทีป
ในที่มดื ด้ วยหวังว่า ผู้มจี ักษุจักเห็นรูป ดังนี้ ฉันใด พระผู้มพี ระภาคทรงประกาศพระธรรมโดยอเนกปริยาย ฉันนั้นเหมือนกัน ข้ าแต่พระองค์
ผู้เจริญ หม่อมฉันขอถึงพระผู้มพี ระภาค พระธรรมและพระภิกษุสงฆ์ ว่าเป็ นสรณะ ขอพระผู้มพี ระภาคจงทรงจาหม่อมฉันว่าเป็ นอุบาสก ผู้ถงึ
สรณะตลอดชีวิต ตั้งแต่วันนี้เป็ นต้ นไป ดังนี้แล.
....................................................

๕๒
ชีวติ พระ อริยวิถี
กัลยาณมิตรธรรม ๗ (องค์คุณของกัลยาณมิตร, คุณสมบัติของมิตรดีหรื อมิตรแท้ คือท่านที่คบหรื อเข้าหาแล้วจะเป็ นเหตุ
ให้เกิดความดีงามและความเจริ ญ ในที่น้ ีมุ่งเอามิตรประเภทครู หรื อพี่เลี้ยงเป็ นสาคัญ)
ความเป็ นกัลยาณมิตรของครู อาจารย์และผูบ้ ริ หาร คือสาระของการสร้างชุมชนแห่งการศึกษา
ผูบ้ ริ หารและครู อาจารย์น้ นั อยูใ่ นฐานะเป็ นผูน้ า ที่เอื้อการศึกษาแก่ศิษย์และคนอื่นๆ ในชุมชน จึงเป็ นแกนกลางของการสร้าง
ชุมชนแห่งการศึกษา หรื อชุมชนวิชาการ ซึ่งเป็ นชุมชนแห่งกัลยาณมิตร ดังนั้น ผูบ้ ริ หารและครู อาจารย์ จึงควรมีคุณสมบัติแห่งความเป็ น
กัลยาณมิตร ที่ทางพระเรี ยกว่า กัลยาณมิตรธรรม ๗ ประการ
เมื่อผูบ้ ริ หารและครู อาจารย์มีเมตตา กรุ ณา และมุทิตา ที่พูดไปแล้ว โดยแสดงออกมาอย่างถูกต้องในความสัมพันธ์ภายในชุมชน
ก็จะมีคุณสมบัติของกัลยาณมิตรข้อแรก คือ
๑. ปิ โย แปลว่า “ผูเ้ ป็ นที่รัก” หรื อ “น่ารัก” หมายความว่า เป็ นผูร้ ู ้จกั เอาใจใส่ ในตัวบุคคลและสุ ขทุกข์ของเขา เข้าถึง
จิตใจ ให้ความรู ้สึกสนิทสนมเป็ นกันเอง ชวนใจผูเ้ รี ยนให้อยากเข้าไปปรึ กษา ไต่ถาม
อย่างไรก็ตาม ปิ โย เท่านั้นไม่พอ ปิ โยนั้นได้มาจากเมตตา กรุ ณา มุทิตา จึงต้องมีอุเบกขามาคุมให้อยูใ่ นขอบเขตที่สมดุล คือพอดี
ไม่ให้เกิ นขอบเขตไปจนกลายเป็ นเสี ยธรรม คือ การปฏิ บตั ิต่อคน หรื อช่วยเหลือคน จะต้องไม่ให้เสี ยความเป็ นธรรม ไม่ให้เป็ นการ
ทาลายหลักการ ไม่ให้เป็ นการละเมิดต่อกฎเกณฑ์กติกาที่ ชอบธรรม ไม่ให้เสี ยความรับผิดชอบ ไม่ละเลยหรื อมองข้ามความถูกต้อง
สมควรตามเหตุผล นี้ ก็คือการที่ผนู ้ านั้นจะต้องมีความสัมพันธ์อย่างถูกต้อง ทั้งกับคนและกับงาน ทั้งกับคนและกับธรรม หรื อทั้งกับคน
และกับหลักการ คือต้องเอาทั้งคนและทั้งงาน หรื อเอาทั้งคนและหลักการ
ถ้าเอาคนอย่างเดียวก็จะเอียงสุดไปข้างหนึ่ง และจะเกิดปั ญหาหรื อเกิดความเสี ยหาย เช่น เมตตา กรุ ณา มุทิตา จนไม่มีขอบเขต แม้
จะปิ โย คือเป็ นที่รัก แต่ก็เสี ยหลักการ และทาให้เสี ยความเป็ นธรรม นอกจากนั้น เมื่อพยายามทาตัวให้เป็ นที่รักโดยเป็ นกันเองเกิ นไป
อย่างไม่มีขอบเขต ก็อาจจะเลยเถิดไปกลายเป็ นเพื่อนเล่น หรื อกลายเป็ นที่ลอ้ เล่น จนกระทัง่ คาพูดไม่มีความหมาย ไม่มีน้ าหนัก พูดอะไร
เขาก็ไม่ฟัง อย่างนี้ ก็หมดความหมาย พร้อมกันนั้นก็อาจจะกลายเป็ นว่า แทนที่ตวั เองจะไปนาเขา ก็กลับถูกเขาชักพาออกนอกลูู่นอก
ทางไป เลยหมดความเป็ นผูน้ า
เพราะฉะนั้น ปิ โย เป็ นที่รักŽ ซึ่งเกิดจากคุณสมบัติในข้อ เมตตา กรุ ณา มุทิตา ที่เอาคน จึงต้องมีขอบเขตโดยมีความสมดุลกับข้อ
อุเบกขา ที่เอาธรรม เอาหลักการ เอาเหตุผล และเอาตัวงาน
ทีน้ ีถา้ เอาตัวงาน เอาหลักการ หรื อเอาธรรม ก็จะได้ลกั ษณะซึ่งเป็ นคุณสมบัติของกัลยาณมิตรข้อต่อไป คือ
๒. ครุ แปลว่า น่าเคารพ คือ เป็ นคนมีหลัก หนักแน่น ถือหลักการเป็ นสาคัญ และมีความประพฤติสมควรแก่ฐานะ ทา
ให้เกิดความรู ้สึกอบอุ่นปลอดภัย เป็ นที่พ่ ึงได้
ในทานองเดียวกัน ถ้าเอาหลักการอย่างเดียว แม้จะน่าเคารพก็แห้งแล้ง บางทีไม่มีใครกล้าเข้าหน้าเลย อย่างนี้ ก็ห่างเหิ น เสี ยผล
เหมือนกัน ครุ ก็จะเอียงข้างไป เพราะฉะนั้นจึงต้องพอดี ถ้าได้พรหมวิหารทั้งข้อ ๑-๒-๓ แล้วมาสมดุลกับข้อ ๔ ก็จะได้ท้ งั ปิ โย เป็ นที่
รัก หรื อน่ารักด้วย และ ครุ เป็ นที่เคารพด้วย หมายความว่าได้ท้ งั คนได้ท้ งั งาน ได้ท้ งั คนได้ท้ งั หลักการ และได้ท้ งั คนได้ท้ งั ธรรม อันนี้
เป็ นหลักการสาคัญแห่งดุลยภาพ
เป็ นอันว่า คนที่น่าเคารพ เป็ น ครุ นั้นจะยึดถือหลักการเป็ นใหญ่ เอางานเป็ นสาคัญ เอาธรรมนาหน้า เมื่อเอาใจใส่ ดูแลคนให้ดี ก็
เป็ น ปิ โย ด้วย ก็ได้ดุลยภาพอย่างที่วา่ มานี้
คุณสมบัติอีกอย่างหนึ่งของผูท้ ี่เป็ น “ครุ ” ซึ่งถือธรรมหรื อหลักการเป็ นใหญ่ ก็คือเป็ นผูเ้ ที่ยงตรง ไม่มีอคติ ไม่มีความลาเอียง ซึ่ง
เป็ นแกนกลางของการรักษาดุลยภาพ และความสามัคคี พร้อมทั้งความมัน่ คงของหมู่ชนที่ไปด้วยกัน เพราะถ้าเสี ยความเป็ นธรรมแล้ว
แม้แต่จะมีความรักใคร่ กนั อยู่ หรื อแม้แต่จะเอาอกเอาใจกัน ก็จะเกิดความกินแหนงแคลงใจกัน สูญเสี ยเอกภาพ แต่เมื่อรักษาธรรมไว้ได้ ก็
ไม่มีอคติ และไม่เสี ยสามัคคี

๕๓
ชีวติ พระ อริยวิถี
อคติ คือ ความลาเอียง หรื อการเขวออกไปนอกทางที่ควรจะประพฤติปฏิบตั ิ มี ๔ ประการด้วยกัน คือ
ลาเอียงเพราะชอบ เรี ยกว่า ฉันทาคติ
ลาเอียงเพราะชัง เรี ยกว่า โทสาคติ
ลาเอียงเพราะขลาด เรี ยกว่า ภยาคติ
ลาเอียงเพราะเขลา เรี ยกว่า โมหาคติ
ต่อจาก ๒ ข้อนี้แล้วยังมีคุณสมบัติของกัลยาณมิตรเหลืออยูอ่ ีก ๕ ประการ คือ
๓. ภาวนีโย แปลว่า น่าเจริ ญใจ คือ น่ายกย่อง เป็ นแบบอย่างได้ ทาให้ผทู ้ ี่ร่วมอยูร่ ่ วมไป คือ คนทั้งหลายในชุ มชนนั้น มีความ
ภาคภูมิใจ พอนึ กถึ งก็มีความมัน่ ใจและภาคภูมิใจในตัวผูบ้ ริ หารและครู อาจารย์ ว่าเป็ นผูท้ ี่มีการศึกษาจริ ง ได้พฒั นาตนแล้ว
เป็ นผูม้ ีสติปัญญา มีความสามารถ รู ้จริ ง เก่งจริ ง และมีคุณธรรมความดีงามอย่างแท้จริ ง น่าเอาอย่าง
คุณสมบัติขอ้ นี้ อาจแยกได้อย่างน้อย ๒ ด้าน ซึ่งจะต้องนาไปอธิบายขยายความต่อไป คือ
ก) ด้านความรู ้ความสามารถทางวิชาการ
ข) ด้านปฏิปทา หรื อด้านการดาเนินชีวติ เช่น ความประพฤติทวั่ ไป ความสัมพันธ์กบั ผูอ้ ื่น และการดารงตนในสังคม เป็ นต้น
๔. วัตตา รู ้จกั พูด หมายความว่า รู ้จกั พูดให้ได้ผล รู ้วา่ ในสถานการณ์ไหน และกับใคร ควรพูดอะไร อย่างไร เป็ นต้น พูดง่ายๆ
ว่า พูดเป็ น สอนเป็ น เป็ นนักสื่ อสารที่ดี และเอาใจใส่ สื่อสารกับผูร้ ่ วมไปด้วยอยูเ่ สมอ เพื่อให้รู้เข้าใจกัน และรู ้เข้าใจในสิ่ งที่ทา
เป็ นต้น
ที่จริ ง รู ้จกั พูดนั้น บางทียงิ่ กว่าสื่ อสารเก่งอีก คนที่รู้จกั พูดนั้น จะพูดให้เขาเข้าใจก็ได้ พูดให้เขาเห็นใจก็ได้ พูดให้เขาเชื่อก็ได้ พูด
ให้เขาเห็นด้วยหรื อคล้อยตามก็ได้ พูดให้เขาร่ วมมือด้วยก็ได้ พูดให้เขารวมกาลังกันก็ได้ แต่ที่ท่านมุ่งหมาย ก็คือ พูดให้เขาเข้าใจ พูดให้
เขาได้ประโยชน์ และพูดให้เขาช่วยกันสร้างสรรค์ประโยชน์ ต่างจากจิตวิทยาทุนนิยม ที่เน้นในแง่การพูดให้ตนเองได้ผลประโยชน์ หรื อ
พูดหาผลประโยชน์ให้แก่ตน
พระพุทธเจ้ าทรงแสดงลักษณะของนักสื่ อสารหรื อนักสั่งสอนทีด่ ไี ว้ ๔ อย่ าง คือ
๑) พูดแจ่มแจ้ง คือ ชี้แจงอธิบายให้เข้าใจชัดเจน มองเห็นเหตุผลแจ่มแจ้ง หมดสงสัย เหมือนจูงมือไปเห็นกับตา (สันทัสสนา)
๒) พูดจูงใจ คือ พูดให้เห็นคุณค่าและความสาคัญ จนเกิดความซาบซึ้ง ยอมรับ อยากลงมือทาหรื อนาไปปฏิบตั ิ (สมาทปนา)
๓) พูดเร้าใจ คือ ปลุกใจให้คึกคัก เกิ ดความแข็งขันมัน่ ใจและมีกาลังใจหาญกล้า กระตือรื อร้นที่ จะทาให้สาเร็ จ โดยไม่หวัน่ กลัวต่อ
อุปสรรคและความยากลาบาก (สมุตเตชนา)
๔) พูดให้ร่าเริ ง คือ ทาให้เกิ ดบรรยากาศแห่ งเมตตา ไมตรี ความหวังดี และความรู ้สึกที่ สดชื่ นร่ าเริ ง เบิ กบานผ่องใส แช่มชื่ นใจด้วย
ความหวังในผลดีและทางที่จะสาเร็ จ (สัมปหังสนา)
ในเรื่ องการพูดเป็ น สอนเป็ นนี้ สิ่ งที่สาคัญมากอย่างหนึ่ ง คือ การรู ้จกั ใช้ วิธีสอน ที่เหมาะและได้ผล ซึ่ งเป็ นเรื่ องใหญ่ ที่จะต้องแยก
ออกไปอธิบายต่างหาก
๕. วจนักขโม คือรู ้จกั ฟัง ท่านใช้คาว่า วจนักขโม แปลว่า ทนหรื อควรต่อถ้อยคา (ของคนอื่น) ไม่ใช่วา่ เอาแต่พูดแก่เขาอย่าง
เดียวโดยไม่ยอมรับฟั งใคร ต้องยอมรับฟั ง เพราะการรู ้จกั รับฟั งเป็ นส่ วนหนึ่ งของการที่จะสื่ อสารให้ได้ผล แม้วา่ เขาพูดมาจะ
ไม่ถูกใจอะไรก็ทนได้ ทั้งนี้ก็เพื่อให้งานการและประโยชน์ที่จะทานั้นสาเร็ จ เช่น ครู อาจารย์ถูกลูกศิษย์ซกั ไซ้ไต่ถาม ถามจุกจิก
ถามเรื่ องที่ครู คิดว่าน่าจะรู ้แล้ว ถ้าครู อาจารย์ไม่มีความอดทนในการรับฟัง เดี๋ยวก็จะเบื่อ หรื อราคาญ ท่านว่าต้องมีคุณธรรมข้อ
นี้จึงจะแก้ไขได้ ต้องทาใจให้สบาย อดทนรับฟังเขาเพื่อให้เข้าใจเขาและช่วยเขาได้ดี

๕๔
ชีวติ พระ อริยวิถี
๖. คัมภีรัญจะ กะถัง กัตตา แปลว่า รู ้ จกั แถลงเรื่ องราวต่างๆ ที่ลึกซึ้ ง ปั ญหาอะไรที่หนักและยาก ก็เอามาชี้ แจงอธิ บาย
ช่วยทาให้ศิษย์เป็ นต้นมีความกระจ่างแจ้ง เรื่ องที่ลึกที่ยากก็ทาให้ต้ืนให้ง่ายได้ และพาเขาเข้าถึงเรื่ องที่ยากและลึกลงไปๆ อย่าง
ได้ผล
๗. โน จัฏฐาเน นิโยชะเย แปลว่า ไม่ชกั นาในอฐานะ คือ ในเรื่ องที่ไม่ใช่เรื่ อง ที่ไม่เป็ นประโยชน์ ไม่ใช่สาระ ออกนอกเรื่ อง
นอกราว เหลวไหล ไม่เกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย
ธรรมของกัลยาณมิ ตร ๗ ประการนี้ เป็ นคุ ณสมบัติที่มาประกอบเสริ มกัน และมาประสานเข้ากับพรหมวิหาร ๔
ประการ ซึ่งจะทาให้ผบู ้ ริ หารและครู อาจารย์ทาหน้าที่สาเร็ จผลดีอย่างแท้จริ ง
…………………………………………….
เสขสูตรที่ ๒ องฺ.สตฺตก.๒๓/๓๔/๓๓
[๓๔] ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ภิกษุ ผูป ้ ระกอบด้วยธรรม ๗ ประการควรเสพควรคบเป็ นมิตร ควรเข้าไปนั่งใกล้ แม้ถูกขับไล่ ธรรม
๗ ประการเป็ นไฉน คือ ภิกษุ เป็ นทีร่ กั ใคร่พอใจ ๑ เป็ นทีเ่ คารพ ๑ เป็ นผูค ้ วรสรรเสริญ ๑ เป็ นผูฉ
้ ลาดพูด ๑ เป็ นผูอ
้ ดทนต่อถ้อยคา ๑
พูดถ้อยคาลึกซึง้ ๑ ไม่ชกั นาในทางทีไ่ ม่ดี ๑ ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ภิกษุ ผูป ้ ระกอบด้วยธรรม ๗ ประการนี้ แล ควรเสพ ควรคบเป็ นมิตร
ควรเข้าไปนั่งใกล้ แม้ถูกขับไล่ ฯ
ภิกษุ เป็ นทีร่ กั ใคร่ พอใจ เป็ นทีเ่ คารพ ควรสรรเสริญ ฉลาดพูด อดทนต่อถ้อยคา พูดถ้อยคาลึกซึง้ ไม่ชกั นาในทางทีไ่ ม่ดี ฐานะ
เหล่านี้ มีอยูใ่ นภิกษุ ใด ภิกษุ นน้ ั เป็ นมิตรแท้ มุง่ อนุ เคราะห์แต่สงิ่ ทีเ่ ป็ นประโยชน์ ผูป
้ ระสงค์จะคบมิตร ควรคบมิตรเช่นนัน ้ แม้จะถูก
ขับไล่ ฯ
…………………………………………..
เถรสูตร (ภิกษุผปู ้ ระกอบด้วยเถรธรรม จักเป็ นที่พงึ่ แก่บุคคลทั้งหลาย) องฺ.ทสก.๒๔/๙๘/๑๗๑
ดูก รภิ ก ษุ ท้ังหลาย ภิ ก ษุ ผู ้เถระประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการจะอยู่ในทิ ศใดๆ ย่อมอยู่สาราญโดยแท้ ๑๐
ประการเป็ นไฉน คือ
๑. ภิกษุ เป็ นเถระรัตตัญญู บวชมานาน (มีประสบการณ์มาก)
๒. เป็ นผูม้ ีศีล สมาทานศึกษาอยูใ่ นสิกขาบททั้งหลาย (มีความประพฤติดี)
๓. เป็ นพหูสูต ทรงสุตะ สัง่ สมสุตะ เป็ นผูไ้ ด้สดับมามาก ทรงไว้ คล่องปากขึ้ นใจ แทงตลอดด้วยดีดว้ ยทิฐิ ซึ่งธรรมอัน
งามในเบื้ องต้น งามในท่ามกลางงามในที่สุด ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถ ทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์ บริบรู ณ์
สิ้ นเชิง ๑ (มีความรู)้
๔. จาปาติโมกข์ท้งั สองด้วยดีโดยพิสดาร จาแนกด้วยดี ให้เป็ นไปได้ดว้ ยดีวินิจฉัยได้แล้วโดยสูตร โดยอนุ พยัญชนะ
(รูจ้ กั พระวินัย รูก้ ฏเกณฑ์ ข้อประพฤติที่ดีงาม)
๕. เป็ นผูฉ้ ลาดในการระงับอธิกรณ์ที่เกิดขึ้ น (แก้ปัญหาในหมูค่ ณะได้)
๖. เป็ นผูใ้ คร่ธรรม รักการฟั งธรรม การแสดงธรรม มีความปราโมทย์ยิ่งในธรรมอันยิ่ง ในวินัยอันยิ่ง (ยินดีใน
การศึกษา การถ่ายทอดความรู)้
๗. เป็ นผูส้ นั โดษด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปั จจัยเภสัชบริขารตามมีตามได้ (สันโดษ ไม่โลภในลาภ
สักการะ ไม่ตกอยูใ่ ต้อานาจกามารมณ์)
๘. เป็ นผูป้ ระกอบด้วยอาการอันน่ าเลื่อมใสในการก้าวไปและถอยกลับ แม้นัง่ ในละแวกบ้านก็สารวมแล้วด้วยดี (มีสติ
มัน่ คง มีกิริยาน่ าเลื่อมใส)
๙. เป็ นผูไ้ ด้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลาบาก ซึ่งฌาน ๔ อันมีในจิตยิ่ง เป็ นเครื่องอยูเ่ ป็ นสุขในปั จจุบนั (มีใจสงบ
เบิกบาน มีความเยือกเย็น)
๑๐. ย่อมทาให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ ปั ญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้ นไปด้วยปั ญญาอันยิ่งด้วยตนเอง
ในปั จจุบนั เข้าถึงอยู่ (เป็ นผูส้ ิ้ นกิเลส)
………………………………………….
๕๕
ชีวติ พระ อริยวิถี

๕๖
ชีวติ พระ อริยวิถี
๕.๔ คติทีเ่ ป็ นแนวปฏิบตั ิ
๑) คติแห่งการจาริกแสดงธรรมเพื่อประโยชน์สขุ แก่มวลมนุษย์ตามนัยแห่งพุทธพจน์ในพระวินัยปิ ฎก
(วินย.๔/๓๒/๓๒) [มหาขันธกะ หน้ า ๑-๖๐ เรื่องราวตั้งแต่ตรัสรู้จนถึงได้ อคั รสาวก]
จรถ ภิกฺขเว จาริก พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย อตฺถาย หิตาย สุขาย เทวมนุสฺสาน
มา เอเกน เทฺว อคมิต ฺถ เทเสถ ภิก ฺข เว ธมฺม อาทิก ลฺย าณ มชฺเ ฌกลฺย าณ ปริโ ยสานกลฺย าณ สาตฺถ
สพฺยญฺชน เกวลปริปุณฺณ ปริสุทฺธ พฺรหฺมจริย ปกาเสถ สนฺติ สตฺตา อปฺปรชกฺขชาติกา อสฺสวนตา ธมฺมสฺส
ปริหายนฺติ ภวิสฺสนฺติ ธมฺมสฺส อญฺญาตาโร อหมฺปิ ภิกฺขเว เยน อุรุเวลาเสนานิคโม เตนุปสงฺกมิสฺสามิ ธมฺม
เทสนายาติ.

ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ ารับสั่งกะภิกษุท้งั หลายว่า ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย เราพ้ นแล้ วจากบ่วงทั้งปวง ทั้ง
ที่เป็ นของทิพย์ ทั้งที่เป็ นมนุ ษย์ พวกเธอจงเที่ยวจาริก เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ ชนหมู่ มาก เพื่อ
อนุ เคราะห์โลก เพื่อประโยชน์เกื้ อกู ล และความสุ ขแก่ ทวยเทพและมนุ ษย์ พวกเธออย่ าได้ ไปรวมทาง
เดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมงามในเบื้องต้ น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์พร้ อมทั้ง
อรรถทั้งพยัญชนะครบบริบูรณ์ บริสุทธิ์ สัตว์ท้งั หลายจาพวกที่มีธุลีคือกิเลสในจักษุน้อย มีอยู่ เพราะไม่ได้ ฟัง
ธรรมย่อมเสื่อม ผู้ร้ ูท่วั ถึงธรรม จักมี ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ เราก็จักไปยังตาบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดง
ธรรม
๒) คติแห่ งการดารงชีวิตโดยรักษาศรัทธา และผลประโยชน์ของประชาชนตามนัยแห่ งพุทธพจน์ในธรรมบท
คาถาว่า
ยถาปิ ภมโร ปุปฺผ วณฺณคนฺธ อเห ย
ปเลติ รสมาทาย เอว คาเม มุนี จเร (ขุ.ธ.๒๕/๑๔/๒๑)

ภมรเคล้ าดอกไม้ นาเอานา้ หวานไป โดยไม่ทาลายสีและกลิ่นฉันใด


ภิกษุพึงเที่ยวไปในบ้ าน โดยไม่ทาลายศรัทธาและทรัพย์สนิ ของชาวบ้ านฉันนั้น
…………………………………………..

๕๗
ชีวติ พระ อริยวิถี
๖ หน้ าที่ของภิกษุใหม่ (หลักปฏิบัติสาหรับผู้ใหม่เพื่อความเจริญงอกงามในพระธรรมวินัย)
๖.๑ อันตรายของภิกษุสามเณรผูบ้ วชใหม่ ๔ อย่าง (ภัยสาหรับกุลบุตรผูบ้ วชในพระธรรมวินยั นี้ อันเป็ นเหตุให้
ประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้ไม่ยงยื
ั ่ น ต้องลาสิกขาไป) (ม.ม.๑๓/๑๙๐/๑๙๘ จาตุมสูตร, องฺ.จตุกกฺ .๒๑/๑๒๒/๑๖๕)
๑) อูมิภยั (ภัยคลื่น คือ อดทนต่อคาสั่งสอนไม่ได้ เกิดความขึ้งเคียดคับใจ เบื่อหน่ายคาตักเตือนพร่ าสอน)
๒) กุมภีลภัย (ภัยจรเข้ คือเห็นแก่ปากแก่ทอ้ ง ถูกจากัดด้วยระเบียบวินยั เกี่ยวกับการบริ โภค ทนไม่ได้)
๓) อาวฏภัย (ภัยน้ าวน คือ ห่วงพะวงใฝ่ ทะยานในกามสุ ข ตัดใจจากกามสุ ขไม่ได้)
๔) สุสุกาภัย (ภัยปลาร้าย หรื อภัยฉลาม คือ เกิดความปรารถนาทางเพศ รักผูห้ ญิง)
จาตุมสูตร ม.ม.๑๓/๑๙๐/๑๙๘
เรื่องพระอาคันตุกะพูดเสียงดัง
[๑๘๖] ข้ าพเจ้ าได้ สดับมาอย่างนี้:
สมัยหนึ่ง พระผูม้ ีพระภาคประทับอยู่ ณ อามลกีวนั ใกล้บา้ นจาตุมา. ก็สมัยนั้น ภิกษุประมาณห้ าร้ อยรูป มีพระสารีบุตรและพระ
โมคคัลลานะเป็ นหัวหน้ าไปถึงจาตุมคาม เพื่อเฝ้ าพระผู้มพี ระภาค. ก็ภิกษุอาคันตุกะเหล่านั้น ปราศรัยกับภิกษุเจ้ าถิ่น จัดเสนาสนะ เก็บ บาตร
และจีวร เป็ นผู้มีเสียงสูง มีเสียงดัง. ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่านพระอานนท์มาว่า ดู กรอานนท์ ผูท้ ี่เสียงสูง เสียงดังนั้น เป็ น
ใคร ราวกะชาวประมงแย่งปลากัน?
ท่านพระอานนท์ กราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ภิกษุประมาณห้ าร้ อยนั้น มีพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเป็ นหัวหน้ า มาถึง
จาตุมคาม เพื่อเฝ้ าพระผู้มีพระภาค ภิกษุผ้ ูอาคันตุกะเหล่านั้น ปราศรัยกับภิกษุเจ้ าถิ่น จัดเสนาสนะ เก็บบาตรและจีวรอยู่ เป็ นผู้มีเสียงสูงมี
เสียงดัง.
ดูกรอานนท์ ถ้ าเช่นนั้น เธอจงไปเรียกพวกภิกษุมาตามคาของเราว่า พระศาสดาตรัสเรียกท่านทั้งหลาย. ท่านพระอานนท์ทูลรับพระ
ผู้มีพระภาคแล้ ว จึงเข้ าไปหาภิกษุเหล่านั้นถึงที่พัก ได้ กล่าวกะภิกษุเหล่านั้นว่า พระศาสดาตรัสเรียกท่านทั้งหลาย. ภิกษุเหล่านั้นรับคาท่าน
พระอานนท์แล้ ว เข้ าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง. พระผู้มีพระภาคตรัสกะ
ภิกษุเหล่านั้นว่า ดูกรภิกษุท้งั หลาย พวกเธอมีเสียงสูง มีเสียงดังราวกะชาวประมงแย่งปลากัน เพราะเหตุอะไรหนอ?
พวกภิกษุเหล่านั้นทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ภิกษุประมาณห้ าร้ อยนั้น มีพระสารีบุตรและโมคคัลลานะเป็ นหัวหน้ า มาถึงจาตุมคาม
เพื่อเฝ้ าพระผู้มพี ระภาค ภิกษุผ้ อู าคันตุกะเหล่านี้น้นั ปราศรัยกับภิกษุเจ้ าถิ่น จัดเสนาสนะ เก็บบาตรและจีวรอยู่ จึงมีเสียงสูง เสียงดัง พระเจ้ า
ข้ า.
ดู กรภิกษุท้ งั หลาย พวกเธอจงพากันไป เราประณามพวกเธอ พวกเธอไม่ควรอยู่ในสานักเรา. ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระ
ภาคแล้ ว ลุกจากอาสนะถวายบังคมพระผู้มพี ระภาค ทาประทักษิณแล้ ว เก็บอาสนะ ถือบาตรและจีวรหลีกไปแล้ ว.
[๑๘๗] ก็สมัยนั้น พวกเจ้ าศากยะชาวเมืองจาตุมาประชุมกันอยู่ท่เี รือนรับแขก ด้ วยกรณียะบางอย่าง. ได้ เห็นภิกษุเหล่านั้นมาแต่ไกล
ครั้นแล้ ว จึงเข้ าไปหาภิกษุเหล่านั้นจนถึงที่ใกล้ ได้ กล่าวกะภิกษุเหล่านั้นว่า ดูเถิดท่านทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจะพากันไปไหนเล่า?
ภ. ดูกรผู้มอี ายุท้งั หลาย ภิกษุสงฆ์ถูกพระผู้มพี ระภาคทรงประณามแล้ ว.
ส. ข้ าแต่ท่านผู้มีอายุท้งั หลาย ถ้ าเช่ นนั้น ขอท่านทั้งหลายจงนั่งอยู่ครู่หนึ่ง แม้ ไฉนข้ าพเจ้ าทั้งหลายพึงอาจให้ พระผู้มีพระภาคทรง
เลื่อมใสได้ . ภิกษุเ หล่ านั้นรับคาพวกเจ้ าศากยะชาวเมืองจาตุมาแล้ ว. ลาดับนั้น พวกศากยะชาวเมืองจาตุมาเข้ าเฝ้ าพระผู้มีพระภาคถึงที่
ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง. แล้ วกราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ขอพระผู้มีพระภาคจงชื่นชมกะ
ภิกษุสงฆ์เถิด ขอพระผู้มีพระภาคจงรับสั่งกะภิกษุสงฆ์เถิด ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ในบัดนี้ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงอนุเคราะห์ภิกษุสงฆ์
เหมือนที่พระผู้มพี ระภาคทรงอนุเคราะห์ในกาลก่อนเถิด ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ในภิกษุสงฆ์หมู่นี้ ภิกษุท้ งั หลายที่ยงั เป็ นผูใ้ หม่ บวชไม่นาน
เพิ่งมาสู่พระธรรมวินยั นี้ มีอยู่ เมื่อภิกษุเหล่านั้นไม่ได้เฝ้ าพระผูม้ ีพระภาคจะพึงมีความน้อยใจ มีความแปรปรวนไป ข้ าแต่พระองค์ผ้ ู
เจริญ เปรี ยบเหมือนเมื่อพืชที่ยงั อ่ อนไม่ได้น้ า จะพึ งเป็ นอย่ างอื่น จะพึ งแปรไป ฉั นใด ข้ าแต่ พระองค์ผ้ ูเจริญ ในภิกษุ สงฆ์หมู่น้ ี ภิกษุ
ทั้งหลายที่ยังเป็ นผู้ใหม่ บวชไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้ มีอยู่ เมื่อภิกษุเหล่านั้นไม่ได้ เฝ้ าพระผู้มีพระภาคก็ฉันนั้น จะพึงมีความน้ อยใจ
มีความแปรปรวนไป ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ เปรียบเหมือนเมือ่ ลูกโคอ่อนไม่เห็นแม่ จะพึงเป็ นอย่างอื่น จะพึงแปรไปฉันใด ข้ าแต่พระองค์ผ้ ู
เจริญ ในภิกษุสงฆ์หมู่น้ ี ภิกษุท้งั หลายที่ยังเป็ นผู้ใหม่ บวชไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้มีอยู่ ภิกษุเหล่านั้นไม่ได้ เฝ้ าพระผู้มพี ระภาคก็ฉัน
นั้น จะพึงมีความน้ อยใจ มีความแปรปรวนไป ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ขอพระผู้มพี ระภาคจงทรงชื่นชมกะภิกษุสงฆ์เถิด ขอพระผู้มพี ระภาคจง
๕๘
ชีวติ พระ อริยวิถี
รับสั่งกะภิกษุสงฆ์เถิด ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ในบัดนี้ ขอพระผู้มีพระภาคทรงอนุเคราะห์ภิกษุสงฆ์เหมือนที่พระผู้มีพระภาคทรงอนุเคราะห์
ภิกษุสงฆ์ในกาลก่อนเถิด.
พรหมอาราธนาพระพุทธเจ้ า
[๑๘๘] ครั้งนั้นแล ท้ าวสหัมบดีพรหมทราบพระพุทธดาริแห่งพระทัยของพระผู้มพี ระภาคด้ วยใจของตนแล้ ว หายไปในพรหมโลก มา
ปรากฏตรงพระพักตร์พระผู้มีพระภาค เหมือนบุรุษมีกาลัง เหยียดแขนที่ค้ ูออก หรือคู้แขนที่เหยียดเข้ า ฉะนั้น. ครั้นแล้ ว ทาผ้ าห่ มเฉวียงบ่า
ข้ างหนึ่ง ประณมอัญชลีไปทางที่พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ แล้ วได้ กราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ขอพระผู้มีพระภาค จงทรงชื่นชมกะ
ภิกษุสงฆ์เถิด ขอพระผู้มีพระภาค จงรับสั่งกะภิกษุสงฆ์เถิด ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ในบัดนี้ ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงอนุเคราะห์ภิกษุ สง ฆ์
เหมือนที่พระผู้มีพระภาคทรงอนุเคราะห์ภิกษุสงฆ์ในกาลก่อนเถิด ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ในภิกษุสงฆ์หมู่น้ ี ภิกษุท้งั หลายยังเป็ นผู้ใหม่ บวช
ไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้ มีอยู่ เมื่อภิกษุเหล่านั้นไม่ได้ เฝ้ าพระผู้มพี ระภาค จะพึงมีความน้ อยใจ มีความแปรปรวนไป ข้ าแต่พ ระองค์ผ้ ู
เจริญ เปรียบเหมือนพืชที่ยังอ่อนไม่ได้ นา้ จะพึงเป็ นอย่างอื่น จะพึงแปรไป ฉันใด ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ในภิกษุสงฆ์หมู่น้ ี ภิกษุท้งั หลายที่ยัง
เป็ นผู้ใหม่ บวชไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้มีอยู่ เมื่อภิกษุเหล่ านั้นไม่ได้ เฝ้ าพระผู้มีพระภาค ก็ฉันนั้น จะพึงมีความน้ อยใจ มีความ
แปรปรวนไป ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ เปรียบเหมือนเมื่อลูกโคอ่อนไม่เห็นแม่ จะพึงเป็ นอย่างอื่น จะพึงแปรไป ฉันใด ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ
ในภิกษุสงฆ์หมู่น้ ี ภิกษุท้งั หลายที่ยังเป็ นผู้ใหม่ บวชไม่นาน เพิ่งมาสู่พระธรรมวินัยนี้ มีอยู่ เมื่อภิกษุเหล่านั้นไม่ได้ เฝ้ าพระผู้มพี ระภาคก็ฉันนั้น
จะพึงมีความน้ อยใจ มีความแปรปรวนไป ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงชื่นชมกะภิกษุสงฆ์เถิด ขอพระผู้มีพระภาคจง
รับสั่งกะภิกษุสงฆ์เถิด ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ บัดนี้ ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงอนุเคราะห์ภิกษุสงฆ์ เหมือนที่พระผู้มีพระภาคทรงอนุเคราะห์
ภิกษุสงฆ์ในกาลก่อนเถิด. เจ้ าศากยะชาวเมืองจาตุมา และท้ าวสหัมบดีพรหม ได้ สามารถทูลให้ พระผู้ มีพระภาคทรงเลื่อมใส ด้ วยคาวิงวอน
เปรียบด้ วยข้ าวกล้ าอ่อน และด้ วยคาวิงวอนเปรียบด้ วยลูกโคอ่อน ฉะนี้แล.
พระอาคันตุกะเข้ าเฝ้ า
[๑๘๙] ครั้งนั้นแล ท่านพระมหาโมคคัลลานะ จึงเรียกภิกษุท้งั หลายมาว่า ดูกรท่านผู้มีอายุท้งั หลาย ท่านทั้งหลายจงลุกขึ้นเถิด จง
ถือเอาบาตรและจีวรเถิด พระผู้มพี ระภาคอันเจ้ าศากยะชาวเมืองจาตุมา และท้ าวสหัมบดีพรหมทรงให้ เลื่อมใสแล้ ว ด้ วยคาวิงวอนเปรียบด้ วย
ข้ าวกล้ าอ่อน และด้ วยคาวิงวอนเปรียบด้ วยลูกโคอ่อน. ภิกษุเหล่านั้นรับคาท่านพระมหาโมคคัลลานะแล้ ว จึงลุกจากอาสนะ ถือบาตรและจีวร
เข้ าไปเฝ้ าพระผู้มพี ระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มพี ระภาค แล้ วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง. พระผู้มพี ระภาคได้ รับสั่งกับท่านพระสารี
บุตรผู้น่งั ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่งว่า ดูกรสารีบุตร เมือ่ เราประณามภิกษุสงฆ์แล้วจิ ตของเธอได้มีอย่างไร?
ท่านพระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ เมื่อพระผู้มพี ระภาคทรงประณาม
ภิกษุสงฆ์แล้ ว จิ ตของข้าพระองค์ได้มีอย่างนี้ ว่า บัดนี้ พระผูม้ ีพระภาคจักทรงมีความขวนขวายน้อย ประกอบตามธรรมเป็ น
เครื่องอยู่เป็ นสุขในทิฏฐธรรมอยู่ แม้เราทั้งหลายก็จกั มีความขวนขวายน้อย ประกอบตามธรรมเป็ นเครื่องอยู่เป็ นสุขในทิฏฐธรรมอยู่ใน
บัดนี้ .
ดูกรสารีบุตร เธอจงรอก่อน ดูกรสารีบุตร เธอจงรอก่อน ดูกรสารีบุตร เธออย่าพึงให้ จิตเห็นปานนี้เกิดขึ้นอีกเลย.
ลาดับนั้น พระผู้มพี ระภาคตรัสเรียกท่านพระมหาโมคคัลลานะมาว่า ดูกรโมคคัลลานะ เมื่อเราประณามภิกษุสงฆ์แล้ ว จิตของเธอได้
มีอย่างไร?
ท่านพระมหาโมคคัลลานะกราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ เมื่อพระผู้มพี ระภาคทรงประณามภิกษุสงฆ์แล้ ว จิ ตของข้าพระองค์ได้
มีอย่างนี้ ว่า บัดนี้ พระผูม้ ีพระภาคจักทรงมีความขวนขวายน้อย ประกอบตามธรรมเป็ นเครื่องอยู่เป็ นสุขในทิฏฐธรรมอยู่ เราและท่าน
พระสารีบุตรจักช่วยกันปกครองภิกษุสงฆ์ในบัดนี้ .
ดีละ โมคคัลลานะ ความจริงเรา หรือสารีบุตรและโมคคัลลานะเท่านั้น พึงปกครองภิกษุสงฆ์.
ภัย ๔ อย่าง
[๑๙๐] ลาดับนั้น พระผู้มพี ระภาคตรัสเรียกภิกษุท้งั หลายมาว่า ดู กรภิกษุท้ งั หลาย ภัย ๔ อย่างนี้ เมื่อบุคคลกาลังลงน้ า พึงหวังได้
ภัย ๔ อย่างเป็ นไฉน คือภัยเพราะคลืน่ ภัยเพราะจระเข้ ภัยเพราะน้ าวน ภัยเพราะปลาร้าย ดูกรภิกษุท้งั หลาย ภัย ๔ อย่างนี้แล เมื่อบุคคล
กาลังลงนา้ พึงหวังได้ ฉันใด ดูกรภิกษุท้งั หลาย ภัย ๔ อย่างนี้กฉ็ ันนั้น เมื่อบุคคลบางคนในโลกนี้ ออกบวชเป็ นบรรพชิตในธรรมวินัยนี้ พึง
หวังได้ ภัย ๔ อย่างเป็ นไฉน คือ ภัยเพราะคลื่น ภัยเพราะจระเข้ ภัยเพราะนา้ วน ภัยเพราะปลาร้ าย.
[๑๙๑] ดูกรภิกษุท้งั หลาย ก็ภยั เพราะคลืน่ เป็ นไฉน ดูกรภิกษุท้งั หลาย กุลบุตรบางคนในโลกนี้ มีศรัทธาออกบวชเป็ นบรรพชิต ด้ วย
คิดว่า เราเป็ นผู้อนั ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ท่วมทับแล้ ว
ทาไฉน การทาที่สดุ แห่ งกองทุกข์ท้งั สิ้นนี้ จะพึงปรากฏได้ เพื่อนพรหมจรรย์ท้งั หลายย่อมตักเตือนสั่งสอนกุลบุตรนั้น ผู้บวชแล้ วอย่างนั้นว่า

๕๙
ชีวติ พระ อริยวิถี
ท่านพึงก้าวไปอย่างนี้ ท่านพึงถอยกลับอย่างนี้ ท่านพึงแลอย่างนี้ ท่านพึงเหลียวอย่างนี้ ท่านพึงคูเ้ ข้าอย่างนี้ ท่านพึงเหยียดออกอย่างนี้
ท่านพึงทรงสังฆาฏิ บาตรและจี วรอย่างนี้ กุลบุตรนั้นย่อมมีความดาริอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเราเป็ นคฤหัสถ์ ย่อมตักเตือนบ้ าง สั่งสอนบ้ าง ซึ่ง
คนอื่น ก็ภิกษุเหล่านี้ เพียงคราวบุตรคราวหลานของเรา ยังมาสาคัญการที่จะพึงตักเตือนพร่าสอนเรา เขาจึงบอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย กุลบุตรผู้น้ เี รากล่าวว่า กลัวแต่ภัยเพราะคลื่น แล้ วบอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุท้งั หลาย คาว่า ภัยเพราะคลืน่ นี้ เป็ นชื่อของความ
คับใจด้วยสามารถความโกรธ.
[๑๙๒] ดูกรภิกษุท้งั หลาย ก็ภยั เพราะจระเข้เป็ นไฉน ดูกรภิกษุท้งั หลาย กุลบุตรบางคนในโลกนี้ มีศรัทธาออกบวชเป็ นบรรพชิต
ด้ วยคิดว่า เราเป็ นผู้อนั ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุ กข์ท่วมทับ
แล้ ว ทาไฉน การทาที่สดุ แห่ งกองทุกข์ท้งั สิ้นนี้จะพึงปรากฏได้ เพื่อนพรหมจรรย์ท้งั หลายย่อมตักเตือนสั่งสอนกุลบุตรผู้บวชแล้ วอย่างนั้นว่า
สิ่งนี้ ท่านควรเคี้ ยวกิน สิ่งนี้ ท่านไม่ควรเคี้ ยวกิน สิ่งนี้ ท่านควรฉัน สิ่งนี้ ท่านไม่ควรฉัน สิ่งนี้ท่านควรลิ้ม สิ่งนี้ท่านไม่ควรลิ้ม สิ่งนี้ท่านควร
ดื่ม สิ่งนี้ท่านไม่ควรดื่ม สิ่งเป็ นกัปปิ ยะท่านควรเคี้ยวกิน สิ่งเป็ นอกัปปิ ยะท่านไม่ควรเคี้ยวกิน สิ่งเป็ นกัปปิ ยะท่านควรฉัน สิ่ง เป็ นอกัปปิ ยะท่าน
ไม่ควรฉัน สิ่งเป็ นกัปปิ ยะท่านควรลิ้ม สิ่งเป็ นอกัปปิ ยะท่านไม่ควรลิ้ม สิ่งเป็ นกัปปิ ยะท่ านควรดื่ม สิ่งเป็ นอกัปปิ ยะท่านไม่ควรดื่ม ท่านควร
เคี้ยวกินในกาล ท่านไม่ควรเคี้ยวกินในวิกาล ท่านควรฉันในกาล ท่านไม่ควรฉันในวิกาล ท่านควรลิ้มในกาล ท่านไม่ควรลิ้มในวิกาล ท่านควร
ดื่มในกาล ท่านไม่ควรดื่มในวิกาล ดังนี้
กุลบุตรนั้นย่อมมีความดาริอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเราเป็ นคฤหัสถ์ ปรารถนาจะเคี้ยวกินสิ่งใด เคี้ยวกินสิ่งนั้นได้ ไม่ปรารถนาจะเคี้ยวกิน
สิ่งใด ก็ไม่เคี้ยวกินสิ่งนั้นได้ ปรารถนาจะบริโภคสิ่งใด ก็บริโภคสิ่งนั้นได้ ไม่ปรารถนาจะบริโภคสิ่งใด ก็ไม่บริโภคสิ่งนั้นได้ ปรารถนาจะลิ้มสิ่ง
ใดก็ล้ ิมสิ่งนั้นได้ ไม่ปรารภจะลิ้ มสิ่งใด ก็ไม่ล้ ิมสิ่งนั้นได้ ปรารถนาจะดื่มสิ่งใด ก็ด่ ืมสิ่งนั้นได้ ไม่ปรารถนาจะดื่มสิ่งใด ก็ไม่ด่ ืมสิ่งนั้นได้ จะ
เคี้ยวกินสิ่งเป็ นกัปปิ ยะก็ได้ จะเคี้ยวกินสิ่งเป็ นอกัปปิ ยะก็ได้ จะบริโภคสิ่งเป็ นกัปปิ ยะก็ได้ จะบริโภคสิ่งเป็ นอกัปปิ ยะก็ได้ จะลิ้ มสิ่งเป็ นกัปปิ ยะ
ก็ได้ จะลิ้มสิ่งเป็ นอกัปปิ ยะก็ได้ จะดื่มสิ่งเป็ นกัปปิ ยะก็ได้ จะดื่มสิ่งเป็ นอกัปปิ ยะก็ได้ จะเคี้ยวกินในกาลก็ได้ จะเคี้ยวกินในวิกาลก็ได้ จะ
บริโภคในกาลก็ได้ จะบริโภคในวิกาลก็ได้ จะลิ้มในกาลก็ได้ จะลิ้มในวิกาลก็ได้ จะดื่มในกาลก็ได้ จะดื่มในวิกาลก็ได้ ก็คฤหบดี ท้งั หลายผู้มี
ศรัทธา ย่อมให้ ของควรเคี้ยว ของควรบริโภคอันประณีตในวิกาลเวลากลางวัน อันใด แก่เราทั้งหลาย ชรอยภิกษุเหล่านั้นจะทาการห้ ามปากใน
สิ่งนั้นเสีย ดังนี้ เขาจึงบอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุท้งั หลาย กุลบุตรผู้น้ ีเรากล่าวว่า กลัวแต่ภัยเพราะจระเข้ บอกคืนสิกขาสึ กไป ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย คาว่าภัยเพราะจระเข้นี้ เป็ นชื่อของความเป็ นผูเ้ ห็นแก่ทอ้ ง.
[๑๙๓] ดูกรภิกษุท้งั หลาย ก็ภยั เพราะน้ าวนเป็ นไฉน ดูกรภิกษุท้งั หลาย กุลบุตรบางคนในโลกนี้ มีศรัทธาออกบวชเป็ นบรรพชิต ด้ วย
คิดว่า เราเป็ นผู้อนั ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ท่วมทับแล้ ว
ทาไฉน การทาที่สดุ แห่ งกองทุกข์ท้งั สิ้นนี้จะพึงปรากฏได้ เขาบวชแล้ วอย่างนี้ เวลาเช้านุ่งสบงแล้ว ถือบาตรและจี วรเข้าไปบิณฑบาตยัง
บ้านหรือนิคม ไม่รกั ษากาย ไม่รกั ษาวาจา ไม่ดารงสติ ไม่สารวมอิ น ทรียเ์ ลย เขาเห็ นคฤหบดีหรือบุตรคฤหบดี ผูเ้ อิ บอิ่มพร้อมพรัง่
บาเรออยู่ดว้ ยกามคุณห้า ในบ้านหรือนิคมนั้น เขามีความคิดอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเราเป็ นคฤหัสถ์ เป็ นผู้เอิบอิ่มพร้ อมพรั่งบาเรออยู่ด้วยกาม
คุณห้ า สมบัตกิ ม็ อี ยู่ในสกุล เราสามารถจะบริโภคสมบัตแิ ละทาบุญได้ ดังนี้ เขาจึงบอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุท้งั หลาย กุลบุตรผู้น้ เี รากล่าว
ว่า ผู้กลัวต่อภัยเพราะนา้ วน บอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุท้งั หลาย คาว่าภัยเพราะน้ าวนนี้ เป็ นชื่อแห่งกามคุณห้า.
[๑๙๔] ดูกรภิกษุท้งั หลาย ก็ภยั เพราะปลาร้ายเป็ นไฉน ดูกรภิกษุท้งั หลาย กุลบุตรบางคนในโลกนี้ มีศรัทธาออกบวชเป็ นบรรพชิต
ด้ วยคิดว่า เราเป็ นผู้อนั ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ครอบงาแล้ ว เป็ นผู้อนั ทุกข์ท่วมทับ
แล้ ว ทาไฉน การทาที่สดุ แห่งกองทุกข์ท้งั สิ้นนี้ จะพึงปรากฏได้ เขาบวชแล้ วอย่างนี้ เวลาเช้านุ่งสบงแล้วถือบาตรและจี วร เข้าไปบิณฑบาต
ยังบ้านหรือนิคม ไม่รกั ษากาย ไม่รกั ษาวาจา ไม่ดารงสติ ไม่สารวมอินทรียเ์ ลย เขาย่อมเห็ นมาตุคามผูน้ ุ่งผ้าไม่ดี หรือห่ มผ้าไม่ดีใน
บ้านหรือนิคมนั้น เพราะเหตุมาตุคามผู้นุ่งผ้ าไม่ดี หรือห่ มผ้ าไม่ดี ความกาหนัดย่อมตามกาจัดจิตของกุลบุตรนั้ น เขามีจิตอันความกาหนัด
ตามกาจัดแล้ ว จึงบอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุท้งั หลาย กุลบุตรผู้น้ ีเรากล่ าวว่ า กลัวแต่ภัยเพราะปลาร้ ายบอกคืนสิกขาสึกไป ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย คาว่าภัยเพราะปลาร้ายนี้ เป็ นชื่อแห่ งมาตุคาม ดูกรภิกษุท้งั หลาย ภัย ๔ อย่ างนี้แล เมื่อบุคคลบางคนในโลกนี้ ออกบวชเป็ น
บรรพชิตในธรรมวินัยนี้ พึงหวังได้ .
พระผู้มพี ระภาคได้ ตรัสพระพุทธพจน์น้ แี ล้ ว. ภิกษุเหล่านั้นชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผู้มพี ระภาคแล้ วแล.
.................................................

๖๐
ชีวติ พระ อริยวิถี
๖.๒ องค์แห่ งภิกษุใหม่ ๕ (นวกภิกขุธรรม คือ ธรรมทีค่ วรฝึ กสอนภิกษุบวชใหม่ให้ประพฤติปฏิบตั ิอย่างมัน่ คง, องค์
แห่งภิกษุใหม่) (องฺ.ปญฺจ.๒๒/๑๑๔/๑๕๖ อันธกวินทสูตร)
๑) ปาติโมกขสังวร สารวมในพระปาติโมกข์ รักษาศีลเคร่ งครัด ทั้งในส่ วนเว้นข้อห้าม และทาตามข้ออนุญาต
๒) อินทรี ยสังวร สารวมอินทรี ย์ มีสติระวังรักษาใจ มิให้กิเลสคือความยินดียนิ ร้ายเข้าครอบงา ในเมื่อรับรู ้อารมณ์ดว้ ย
อินทรี ยท์ ้ งั ๖ มีเห็นรู ปด้วยตา เป็ นต้น
๓) ภัสสปริ ยนั ตะ พูดคุยมีขอบเขต คือ จากัดการพูดคุยให้นอ้ ย รู ้ขอบเขต ไม่เอิกเกริ กเฮฮา
๔) กายวูปกาสะ ปลีกกายอยูส่ งบ คือ เข้าอยูใ่ นเสนาสนะอันสงัด
๕) สัมมาทัสสนะ ปลูกฝังความเห็นชอบ คือ สร้างเสริ มสัมมาทิฏฐิ
อันธกวินทสูตร
ว่าด้วยธรรมของภิกษุใหม่ ๕ ประการ
[๑๑๔ ] สมัยหนึ่ง พระผู้มพี ระภาคเจ้ าประทับอยู่ท่อี นั ธกวินทวิหาร ในแคว้ นมคธ ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์เข้ าไปเฝ้ าพระผู้มพี ระภาค
เจ้ าถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้ ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง ครั้นแล้ วพระผู้มีพระภาคเจ้ าได้ ตรัสกะท่านพระอานนท์ว่า ดู ก่อนอานนท์ พวก
ภิกษุใหม่ บวชไม่นาน มาสู่ธรรมวินยั นี้ ใหม่ ๆ เธอทั้งหลายพึงให้สมาทาน ให้ต้ งั มัน่ ให้ประดิษฐานอยู่ในธรรม ๕ ประการ ธรรม ๕
ประการเป็ นไฉน คือ
ภิกษุใหม่เหล่านั้นอันเธอทั้งหลายพึงให้สมาทาน ให้ต้ งั มัน่ ให้ประดิษฐานอยู่ในปาติโมกขสังวร ดังนี้ว่า อาวุโส ท่านทั้งหลายจงมา
จงเป็ นผู้มศี ีล จงเป็ นผู้สารวมในปาติโมกขสังวร จงเป็ นผู้ถงึ พร้ อมด้ วยอาจาระและโคจร มีปกติเห็นภัยในโทษมีประมาณน้ อย สมาทานศึกษา
อยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ๑.
ภิกษุใหม่เหล่านั้นอันเธอทั้งหลายพึงให้สมาทาน ให้ต้ งั มัน่ ให้ประดิษฐานอยู่ในอินทรียสังวร ดังนี้ว่า อาวุโส ท่านทั้งหลายจงมา จง
เป็ นผู้ค้ มุ ครองทวารในอินทรีย์ท้งั หลาย จงเป็ นผู้มสี ติเครื่องรักษาทวาร รักษาตน มีใจที่รักษาดีแล้ ว ประกอบด้ วยจิตมีสติเป็ นเครื่องรักษา ๑.
ภิกษุใหม่เหล่านั้นอันเธอทั้งหลายพึงให้สมาทาน ให้ต้ งั มัน่ ให้ประดิษฐานอยู่ในการทาที่สุดแห่งคาพูด ดังนี้ว่า อาวุโส ท่านทั้งหลาย
จงมา จงเป็ นผู้มคี าพูดน้ อย จงเป็ นผู้ทาที่สดุ แห่งคาพูด [อย่าพูดมาก] ๑.
ภิกษุใหม่เหล่ านั้นอันเธอทั้งหลายพึงให้สมาทาน ให้ต้ งั มัน่ ให้ประดิษฐานอยู่ในการทาความสงบแห่ งกาย ดังนี้ว่า อาวุโส ท่าน
ทั้งหลายจงมา จงเป็ นผู้ถอื การอยู่ป่าเป็ นวัตร จงเสพอาศัยเสนาสนะอันสงัด คือ ป่ าและป่ าเปลี่ยว ๑.
ภิกษุใหม่เหล่านั้นอันเธอทั้งหลายพึงให้สมาทาน ให้ต้ งั มน ให้ประดิษฐานอยู่ในความเห็นชอบ ดังนี้ว่า อาวุโส ท่านทั้งหลายจงมา จง
เป็ นผู้มสี มั มาทิฏฐิ ประกอบด้ วยสัมมาทัสสนะ ๑.
ดูก่อนอานนท์ พวกภิกษุใหม่ บวชไม่นาน มาสู่ธรรมวินัยนี้ใ หม่ ๆ เธอทั้งหลายพึงให้ สมาทาน ให้ ต้งั มั่น ให้ ประดิษฐานอยู่ในธรรม ๕
ประการแล.

อรรถกถาอันธกวินทสูตร อังคุตรนิกาย ปัญจกนิบาต เล่ม ๓ – เล่ม ๓๖ หน้า ๒๕๓


พึงทราบวินิจฉัยในอันธกวินทสูตรที่ ๔ ดังต่อไปนี้ :-
บทว่า สีลวา โหถ ความว่า จงเป็นผู้มีศีล.
บทว่า อารกฺขสติโน ความว่า เป็นผู้ประกอบด้วยสติเป็นเครื่องรักษา.
บทว่า นิปกสติโน ความว่า มีสติประกอบด้วยญาณเป็นเครื่องรักษานั่นแหละ. บทว่า สตารกฺเขน เจตสา สมนฺนาคตา
ความว่า ประกอบด้วยจิตที่มีเครื่องรักษาคือสติ.
บทว่า อปฺปภสฺสา แปลว่า พูดแต่น้อย.
บทว่า สมฺมาทิฏฐฺ ก
ิ า ความว่า ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ ๕ อย่าง คือ กัมมัสสกตา ๑ ฌาน ๑ วิปัสสนา ๑ มรรค ๑ ผล ๑.
อีกอย่างหนึ่ง แม้ปัจจเวกขณญาณ ก็พึงทราบว่า เป็นสัมมาทิฏฐิเหมือนกัน.
..................................................

๖๑
ชีวติ พระ อริยวิถี
๖.๓ หลักปฏิบตั ิตามนัยแห่ งพุทธพจน์ในธรรมบทคาถาว่า ตตฺรายมาทิ ภวติ ฯเปฯ (ขุ.ธ.๒๕/๓๕/๖๖)
(หลักปฏิบตั ิตามนัยแห่งพุทธพจน์ในคาถาธรรมบท ๕ เรื่อง)
เรื่องที่ ๑ เรื่องสัมพหุลภิกษุ [๒๕๘] (ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - เล่ม ๔๓ หน้ า ๓๖๙)
ตตฺรายมาทิ ภวติ อิธ ปญฺ สฺส ภิกฺขุโน ธรรมนี้ คือความคุม้ ครองซึ่งอินทรีย ์ ๑ ความสันโดษ ๑ ความสารวม
อินฺทฺริยคุตฺติ สนฺตุฏฺฐี ปาติโมกฺเข จ สํวโร ในพระปาติโมกข์ ๑ เป็ นเบื้องต้นในธรรมอันไม่ตายนั้น มีอยู่แก่ภกิ ษุ ผูม้ ีปญั ญา
มิตฺเต ภชสฺสุ กลฺยาเณ สุทฺธาชีเว อตนฺทิเต ฯ ในพระศาสนานี้ .
ปฏิสนฺถารวุตฺตยสฺส อาจารกุสโล สิยา เธอจงคบมิตรที่ดีงาม มีอาชีวะอันหมดจด มิเกียจคร้าน. ภิกษุ พึงเป็ น
ตโต ปาโมชฺชพหุโล ทุกฺขสฺสนฺตํ กริสฺสติ ฯ
ผูป้ ระพฤติในปฏิสนั ถาร พึงเป็ นผูฉ้ ลาดในอาจาระ; เพราะเหตุน้นั เธอจักเป็ นผู ้
มากด้วยปราโมทย์ กระทาที่สดุ แห่งทุกข์ได้."
..............................
เรื่องที่ ๒ เรื่องภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป [๒๕๙] (ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - เล่ม ๔๓ หน้ า ๓๘๔)
วสฺสิกา วิย ปุปฺปผานิ มทฺทวานิ ปมุญฺจติ " ภิกษุทง้ั หลาย พวกเธอจงปลดเปลื้องราคะและโทสะเสีย
เอวํ ราคญฺจ โทสญฺจ วิปฺปมุญฺเจถ ภิกฺขโว ฯ เหมือนมะลิเครือปล่อยดอกทัง้ หลายที่เหี่ยวเสียฉะนั้น."
..............................
เรื่องที่ ๓ เรื่องพระสันตกายเถระ [๒๖๐] (ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - เล่ม ๔๓ หน้ า ๓๘๖)
สนฺตกาโย สนฺตวาโจ สนฺตมโน สุสมาหิโต " ภิกษุผูม้ ีกายสงบ มีวาจาสงบ มีใจสงบ ผูต้ ง้ั มัน่ ดีแล้ว
วนฺตโลกามิโส ภิกฺขุ อุปสนฺโตติ วุจฺจติ ฯ มีอามิสในโลกอันคายเสียแล้ว เราเรียกว่า "ผูส้ งบระงับ."
..............................
เรื่องที่ ๔ เรื่องพระนังคลกูฏเถระ[๒๖๑] (ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - เล่ม ๔๓ หน้ า ๓๘๘)
อตฺตนา โจทยตฺตานํ ปฏิมํเสตมตฺตนา " เธอจงตักเตือนตนด้วยตน, จงพิจารณาดูตนนั้นด้วยตน,
โส อตฺตคุตฺโต สติมา สุขํ ภิกฺขุ วิหาหิสิ ฯ ภิกษุ เธอนั้นมีสติปกครองตนได้แล้ว จักอยูส่ บาย.
อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ อตฺตา หิ อตฺตโน คติ ตนแหละ เป็ นนาถะของตน, ตนแหละ เป็ นคติของตน;
ตสฺมา สญฺ ม อตฺตานํ อสฺสํ ภทฺรํว วาณิโช ฯ เพราะฉะนั้น เธอจงสงวนตน ให้เหมือนอย่างพ่อค้าม้า
สงวนม้าตัวเจริญฉะนั้น."
..............................
เรื่องที่ ๕ เรื่องพระวักกลิเถระ [๒๖๒] (ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ เล่ม ๔๓ หน้ า ๓๙๒)
ปาโมชฺชพหุโล ภิกฺขุ ปสนฺโน พุทฺธสาสเน "ภิกษุผูม้ ากด้วยปราโมทย์ เลื่อมใสแล้วในพระพุทธศาสนา
อธิคจฺเฉ ปทํ สนฺตํ สงฺขารูปสมํ สุขํ ฯ พึงบรรลุสนั ตบท เป็ นที่เข้าไปสงบสังขาร เป็ นสุข."
..............................

๑ ธรรมนี้ คือ ความคุม้ ครองอินทรี ย ์ ๑ ความสันโดษ ๑ ความสารวมในพระปาติโมกข์ ๑ เป็ นเบื้องต้น ในธรรมอัน


ไม่ตายนั้น มีอยูแ่ ก่ภิกษุผูม้ ีปัญญาในพระศาสนานี้ เธอจงคบมิตรที่ดีงาม มีอาชี วะอันหมดจด ไม่เกียจคร้าน ภิกษุพึง
เป็ นผูป้ ระพฤติในปฏิสันถาร พึงเป็ นผูฉ้ ลาดในอาจาระ เพราะเหตุน้ นั เธอจักเป็ นผูม้ ากด้วยปราโมทย์ กระทาที่สุดแห่ ง
ทุกข์ได้
๒ ภิกษุท้ งั หลาย พวกเธอจงปลดเปลื้ องราคะ และโทสะเสี ย เหมือนมะลิเครื อปล่อยดอกทั้งหลายที่เหี่ ยวเสี ย
ฉะนั้น
๓ ภิกษุผมู ้ ีกายสงบ มีวาจาสงบ มีใจสงบ ผูต้ ้ งั มัน่ ดีแล้ว มีอามิสในโลกอันคายเสี ยแล้ว เราเรี ยกว่า ผูส้ งบระงับ
๔ เธอจงตักเตือนตนด้วยตน จงพิจารณาดูตนนั้นด้วยตน ภิกษุ เธอนั้นมีสติ ปกครองตนได้แล้ว
................................................................

๖๒
ชีวติ พระ อริยวิถี
เรื่องที่ ๑ เรื่องสัมพหุลภิกษุ [๒๕๘]
ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ - เล่ม ๔๓ หน้า ๓๖๙
ข้ อความเบื้องต้ น
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภภิกษุมากรูป ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า " เมตฺตาวิหารี " เป็ นต้ น.
ประวัตพิ ระโสณกุฏกิ ณั ณะ
ความพิสดารว่า ในสมัยหนึ่ง เมื่อท่านพระมหากัจจานะอาศัยกุรรฆรนคร ในอวันตีชนบท อยู่ท่ภี เู ขาชื่อปวัตตะ, อุบาสกชื่อโสณ
กุฏกิ ณ
ั ณะเลื่อมใสในธรรมกถาของพระเถระ ใคร่จะบวชในสานักของพระเถระ แม้ ถูกพระเถระพูดห้ ามถึง ๒ ครั้งว่า " โสณะ พรหมจรรย์มภี ัต
หนเดียว นอนผู้เดียวตลอดชีพ เป็ นสิ่งที่บุคคลทาได้ ด้วยยากแล" ก็เป็ นผู้เกิดอุตสาหะอย่างแรงกล้ าในการบรรพชา ในวาระที่ ๓ วิงวอนพระ
เถระ บรรพชาแล้ ว โดยล่วงไป ๓ ปี จึ งได้อุปสมบท เพราะทักษิณาปถชนบทมีภิกษุนอ้ ย เป็ นผู้ใคร่จะเฝ้ าพระศาสดาเฉพาะพระพักตร์ จึง
อาลาพระอุปัชฌายะ ถือเอาข่าวที่พระอุปัชฌายะให้ แล้ วไปสู่พระเชตวันโดยลาดับ ถวายบังคมพระศาสดา ได้ รับการปฏิสนั ถารแล้ ว ผู้อนั พระ
ศาสดาทรงอนุญาตเสนาสนะในพระคันธกุฎีเดียวกันทีเดียว ให้ ราตรีส่วนมากล่วงไปอยู่ข้างนอก๑ ๑. อชฺโฌกาเส ในที่กลางแจ้ ง.
แล้ วเข้ าไปสู่พระคันธกุฎีในเวลากลางคืน ให้ ส่วนแห่ งกลางคืนนั้นล่ วงไปแล้ วที่เสนาสนะอันถึงแล้ วแก่ตน ในเวลาใกล้รุ่งอัน พระ
ศาสดาทรงเชื้ อเชิญแล้ว ได้สวดพระสูตรหมดด้วยกัน ๑๖ สูตร โดยทานองสรภัญญะที่จดั เป็ นอัฏฐกวรรค๒ ๒. อฏฺ กวคฺคกิ านีต:ิ อฏฺ
กวคฺคภูตานิ กามสุตตฺ าทีนิ โสฬสสุตตฺ านิ พระสูตร ๑๖ สูตร มีกามสูตรเป็ นต้ น ที่จัดเป็ นอัฏฐกวรรค พระสูตรเหล่านี้มีอยู่ใน ขุ.สุ.๒๕/๔๘๕-
๕๒๓.
ครั้งนั้น พระผู้มพี ระภาคเจ้ าเมื่อจะทรงอนุโมทนาเป็ นพิเศษ จึงได้ ประทานสาธุการแก่ท่านในเวลาจบสรภัญญะว่า " ดีละ ๆ ภิกษุ."
ภุมมัฏฐกเทพดา นาค และสุบรรณ ฟังสาธุการที่พระศาสดาประทานแล้ ว ได้ ให้ สาธุการแล้ ว; เสียงสาธุการเป็ นอันเดียวกัน ได้
มีแล้ วตลอดพรหมโลกอย่างนั้น ด้ วยประการดังนี้.ในขณะนั้น แม้ เทพดาผู้สงิ อยู่ในเรือนของมหาอุบาสิกา ผู้เป็ นมารดาของพระเถระ ในกุรรฆ
รนคร ในที่สดุ (ไกล) ประมาณ ๑๒๐ โยชน์ แต่พระเชตวันมหาวิหาร ก็ได้ ให้ สาธุการด้ วยเสียงอันดังแล้ ว.
ครั้งนั้น มหาอุบาสิกา ถามเทพดานั้นว่า " นั่น ใครให้ สาธุการ ?"
เทพดา. เราเอง น้ องหญิง.
มหาอุบาสิกา. ท่านเป็ นใคร ?
เทพดา. เราเป็ นเทพดา สิงอยู่ในเรือนของท่าน.
มหาอุบาสิกา. ในกาลก่อนแต่น้ ี ท่านมิได้ ให้ สาธุการแก่เรา เพราะเหตุไร ? วันนี้จึงให้ .
เทพดา. เรามิได้ ให้ สาธุการแก่ท่าน.
มหาอุบาสิกา. เมื่อเป็ นเช่นนั้น ท่านให้ สาธุการแก่ใคร ?
เทพดา. เราให้ แก่พระโสณกุฏกิ ณ ั ณเถระ ผู้เป็ นบุตรของท่าน.
มหาอุบาสิกา บุตรของเราทาอะไร ?
เทพดา. ในวันนี้ บุตรของท่านอยู่ในพระคันธกุฎีเดียวกันกับพระศาสดา แล้ วแสดงธรรมแก่พระศาสดา, พระศาสดาทรงสดับธรรม
แห่ งบุตรของท่าน แล้ วก็ทรงเลื่อมใส จึงได้ ประทานสาธุการ, เพราะเหตุน้นั แม้ เราจึงให้ สาธุการแก่พระเถระนั้น , ก็เพราะรับสาธุการของพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้ า จึงเกิดสาธุการเป็ นเสียงเดียวกันไปหมด นับตั้งต้ นแต่ภมุ มัฏฐกเทพดาตลอดถึงพรหมโลก.
มหาอุบาสิกา. นาย ก็บุตรของเราแสดงธรรมแก่พระศาสดา หรือพระศาสดาแสดงแก่บุตรของเรา.
เทพดา. บุตรของท่านแสดงธรรมแก่พระศาสดา.
เมื่อเทพดากล่าวอยู่อย่างนั้น, ปี ติมีวรรณะ ๕ ประการ เกิดขึ้นแก่อุบาสิกา แผ่ไปทั่วสรีระทั้งสิ้น. ครั้งนั้น มหาอุบาสิกานั้นได้ มี
ความคิดอย่างนี้ว่า " หากว่า บุตรของเราอยู่ในพระคันธกุฎเี ดียวกันกับพระศาสดา แล้ วยังสามารถแสดงธรรมแก่พระศาสดาได้ , ก็จักสามารถ
ให้ แสดงธรรมแม้ แก่เราได้ เหมือนกัน, ในเวลาบุตรมาถึง เราจักให้ ทาการฟังธรรมกัน แล้ วฟังธรรมกถา."
พระโสณะทูลขอพร ๕ ประการกะพระศาสดา
ฝ่ ายพระโสณเถระแล เมื่อพระศาสดาประทานสาธุการแล้ ว, คิดว่า " เวลานี้ เป็ นเวลาสมควรที่จะกราบทูลข่าวที่พระ อุปัชฌายะ
ให้ มา" ดังนี้แล้ ว จึงทูลขอพร ๕ ประการ๑ กะพระผู้มีพระภาคเจ้ า ตั้งต้ นแต่การอุปสมบทด้ วยคณะสงฆ์มีภิกษุผ้ ูทรงวินัยเป็ นที่ ๕ ในชนบท
ทั้งหลายซึ่งตั้งอยู่ปลายแดนแล้ ว
ขอให้ อปุ สมบทด้ วยคณะเพียง ๕ รูปได้ ๑ ขอให้ ใช้ รองเท้ าหลายชั้นได้ ๑
ขอให้ อาบนา้ ได้ เนืองนิตย์ ๑ ขอให้ ใช้ เครื่องปูลาดที่ทาด้ วยหนังได้ ๑ ( ๔ ข้ อนี้เฉพาะในปัจจันตชนบท)

๖๓
ชีวติ พระ อริยวิถี
มีมนุษย์ส่งั ถวายจีวรแก่ภิกษุอยู่นอกสีมา ภิกษุผ้ ูรับสั่งจึงมาบอกให้ เธอรับ แต่เธอรังเกียจไม่ยอมรับ ด้ วยกลัวเป็ นนิสสัคคีย์ ขออย่ าให้
เป็ นนิสสัคคีย์ ๑. (มหาวัคค์ ๕/๓๔.)
อยู่ในสานักของพระศาสดา ๒-๓ วันเท่านั้น ทูลลาพระศาสดาว่า " ข้ าพระองค์จักเยี่ยมพระอุปัชฌายะ" ได้ ออกจากพระเชตวันวิหาร
ไปสู่สานักพระอุปัชฌายะโดยลาดับ.
ในวันรุ่งขึ้น พระเถระพาท่านเที่ยวไปบิณฑบาต ได้ ไปถึงประตูเรือนของอุบาสิกาผู้เป็ นมารดา. ฝ่ ายอุบาสิกานั้น เห็นบุตรแล้ วก็ดีใจ
ไหว้ แล้ ว อังคาสโดยเคารพ แล้ วถามว่า " พ่ อ ได้ ยินว่า คุณอยู่ในพระคันธกุฎีเดียวกันกับพระศาสดาแล้ วแสดงธรรมกถาแก่พระศาสดา จริง
หรือ ? "
พระโสณะ. เรื่องนี้ ใครบอกแก่โยม ? อุบาสิกา.
มหาอุบาสิกา. พ่อ เทวดาผู้สงิ อยู่ในเรือนนี้ ให้ สาธุการด้ วยเสียงอันดัง , เมื่อโยมถามว่า ' นั่นใคร ' ก็กล่าวว่า ' เราเอง ' แล้ วบอกอย่าง
นั้นนั่นแหละ, เพราะฟั งเรื่องนั้น โยมจึงได้ มีความคิดอย่างนี้ว่า ' ถ้ าว่าบุตรของเราเสดงธรรมกถาแก่พระศาสดาได้ ไซร้ , ก็จักอาจแสดงธรรม
แม้ แก่เราได้ . '
ครั้งนั้น มหาอุบาสิกากล่าวกะพระโสณะนั้นว่า " พ่ อ เพราะคุณแสดงธรรมเฉพาะพระพักตร์ของพระศาสดาได้ แล้ ว , คุณก็จัก
อาจแสดงแม้ แก่โยมได้ เหมือนกัน, ในวันชื่อโน้ น โยมจักให้ ทาการฟังธรรมกัน แล้ วจักฟังธรรมของคุณ" พระโสณะรับนิมนต์แล้ ว.
อุบาสิกาคิดว่า " เราถวายทานแก่ภิกษุสงฆ์ ทาการบูชาแล้ วจักฟั งธรรมกถาแห่ งบุตรของเรา" จึงได้ ต้งั ให้ หญิงทาสีคนเดียวเท่านั้นให้
เป็ นคนเฝ้ าเรือน แล้ วได้ พาเอาบริวารชนทั้งสิ้นไป เพื่อฟั งธรรมกถาของบุตรผู้จะก้ าวขึ้นสู่ธรรมาสน์ท่ปี ระดับประดาไว้ แล้ ว ในมณฑปที่ตนให้
สร้ างไว้ ภายในพระนคร เพื่อประโยชน์แก่การฟังธรรม แสดงธรรมอยู่.
พวกโจรเข้ าปล้ นเรือนมหาอุบาสิกา
ก็ใ นเวลานั้ น พวกโจร ๙๐๐ เที่ย วมองหาช่ อ งในเรื อ นของอุบ าสิก า นั้ น อยู่ . ก็เ รื อนของอุบาสิกานั้ น ล้ อมด้ ว ยกาแพง ๗ ชั้น
ประกอบด้ วย ซุ้มประตู ๗ ซุ้ม. เขาล่ามสุนัขที่ดุไว้ ในที่น้นั ๆ ทุกๆ ซุ้มประตู; อนึ่ง เขาขุดคูไว้ ในที่นา้ ตกแห่งชายคาภายในเรือน แล้ วก็ใส่ดบี ุก
จนเต็ม, เวลากลางวัน ดีบุกนั้นปรากฏเป็ นประดุจว่ าละลายเดือดพล่ านอยู่เพราะแสงแดด (เผา), ในเวลากลางคืน ปรากฏเป็ นก้ อนแข็ง
กระด้ าง, เขาปั กขวากเหล็กใหญ่ไว้ ท่พี ้ ืนในระหว่างดูน้นั ติด ๆ กันไป. พวกโจรเหล่านั้นไม่ได้ โอกาส เพราะอาศัยการรักษานี้ และเพราะอาศัย
ความที่อุบาสิกาอยู่ภายในเรือน วันนั้นทราบความอุบาสิกานั้นไปแล้ ว จึงขุดอุโมงค์เข้ าไปสู่เรือน โดยทางเบื้องล่างแห่ งดูดีบุกและขวากเหล็ก
ทีเดียว แล้ วส่งหัวหน้ าโจรไปสู่สานักของอุบาสิกานั้น ด้ วยสั่งว่า " ถ้ าว่าอุบาสิกานั้น ได้ ยินว่า
พวกเราเข้ าไปในที่น้ แี ล้ ว กลับมุ่งหน้ ามายังเรือน, ท่านจงฟันอุบาสิกานั้นให้ ตายเสียด้ วยดาบ." หัวหน้ าโจรนั้น ได้ ไปยืนอยู่ในสานักของ
อุบาสิกานั้น.
ฝ่ ายพวกโจร จุดไฟให้ สว่างในภายในเรือน แล้ วเปิ ดประตูห้องเก็บกหาปณะ. นางทาสีน้นั เห็นพวกโจรแล้ ว จึงไปสู่สานักอุบาสิกา บอก
ว่า " คุณนาย โจรเป็ นอันมากเข้ าไปสู่เรือน งัดประตูห้องเก็บกหาปณะแล้ ว."
มหาอุบาสิกา. พวกโจรจงขนเอากหาปณะที่ตนค้ นพบแล้ วไปเถิด, เราจะฟั งธรรมกถาแห่ งบุตรของเรา, เจ้ าอย่าทาอันตรายแก่ธรรม
ของเราเลย, เจ้ าจงไปเรือนเสียเถิด.
ฝ่ ายพวกโจร ทาห้ องเก็บกหาปณะให้ ว่างเปล่าแล้ ว จึงงัดห้ องเก็บเงิน. นางทาสีน้ันก็มาแจ้ งเนื้อความแม้ น้ันอีก. อุบาสิกาพูดว่า "
พวกโจรจงขนเอาทรัพย์ท่ตี นปรารถนาไปเถิด, เราจะฟังธรรมกถาแห่งบุตรของเรา เจ้ าอย่าทาอันตรายแก่เราเลย" แล้ วก็ส่งนางทาสีน้นั ออกไป
อีก.
พวกโจรทาแม้ ห้องเก็บเงินให้ ว่างเปล่าแล้ ว จึงงัดห้ องเก็บทอง.นางทาสีน้นั ก็ไปแจ้ งเนื้อความนั้นแก่อุบาสิกาแม้ อกี . ครั้งนั้น อุบาสิ กา
เรียกนางทาสีมา แล้ วพูดว่ า " ชะนางตัวดี เจ้ ามาสานักเราหลายครั้งแล้ ว แม้ เราสั่งว่ า ' พวกโจรจงขนเอาไปตามชอบใจเถิด , เราจะฟั ง
ธรรมกถาแห่งบุตรของเรา, เจ้ าอย่าทาอันตรายแก่เราเลย ' ก็หาเอื้อเฟื้ อถ้ อยคาของเราไม่ ยังขืนมาซา้ ๆ ซาก ๆ ร่าไป, ที่น้ ี ถ้ าเจ้ าจักมา, เรา
จักรู้ส่งิ ที่ควรทาแก่เจ้ า, เจ้ าจงกลับบ้ านเสียเถิด" แล้ วส่งให้ กลับ.
ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม
นายโจรฟั งถ้ อยคาของอุบาสิกานั้นแล้ ว คิดว่า " เมื่อพวกเรานาสิ่งของ ๆ หญิงเห็นปานนี้ไป, สายฟ้ าพึงตกฟาดกระหม่อม" ดังนี้
แล้ ว จึงไปสานักพวกโจร สั่งว่ า " พวกท่านจงขนเอาสิ่งของ ๆ อุบาสิกาไปไว้ ตามเดิมโดยเร็ว." โจรเหล่ านั้น ให้ ห้องเก็บกหาปณะเต็มด้ วย
กหาปณะ ให้ ห้องเก็บเงินและทองเต็มไปด้ วยเงินและทองแล้ ว. ได้ ยินว่า ความที่ธรรมย่อมรักษาบุคคลผู้ประพฤติธรรมเป็ นธรรมดา, เพราะ
เหตุน้นั แล พระผู้มพี ระภาคเจ้ าจึงตรัสว่า :-
" ธรรมแล ย่อมรักษาบุคคลผูป้ ระพฤติธรรม, ธรรมที่บุคคลประพฤติดีแล้ว ย่อมนาความสุขมาให้,
นี้ เป็ นอานิสงส์ในธรรมที่บุคคลประพฤติดีแล้ว: ผูม้ ีปกติประพฤติธรรม ย่อมไม่ไปสู่ทุคติ."
๖๔
ชีวติ พระ อริยวิถี
พวกโจรได้ ไปยืนอยู่ในที่เป็ นที่ฟังธรรม. ฝ่ ายพระเถระแสดงธรรมแล้ ว เมื่อราตรีสว่ าง จึงลงจากอาสนะ. ในขณะนั้นหัวหน้ าโจร
หมอบลงแทบเท้ าของอุบาสิกา พูดว่า " คุณนาย โปรดอดโทษแก่ผมเถิด."
อุบาสิกา. นี้อะไรกัน ? พ่อ.
หัวหน้ าโจร. ผมผูกอาฆาตในคุณนาย ประสงค์จะฆ่าคุณนาย จึงได้ ยืน (คุม) อยู่.
อุบาสิกา. พ่อ ถ้ าเช่นนั้น ฉันอดโทษให้ .
พวกโจรเลื่อมใสขอบวชกะพระโสณะ
แม้ พวกโจรที่เหลือ ก็ได้ ทาอย่างนั้นเหมือนกัน เมื่ออุบาสิกาพูดว่า "พ่ อทั้งหลาย ฉันอดโทษให้ " จึงพูดว่า "คุณนาย ถ้ าว่าคุณนายอด
โทษแก่พวกผมไซร้ , ขอคุณนายให้ ๆ บรรพชาแก่พวกผมในสานักแห่งบุตรของคุณนายเถิด." อุบาสิกานั้นไหว้ บุตรแล้ ว พูดว่า "พ่อ โจรพวกนี้
เลื่อมใสในคุณของโยม และธรรมกถาของคุณแล้ ว จึงพากันขอบรรพชา, ขอคุณจงให้ โจรพวกนี้บวชเถิด."
พระเถระพูดว่า "ดีละ" แล้ วให้ ตดั ชายผ้ าที่โจรเหล่านั้นนุ่งแล้ ว ให้ยอ้ มด้วยดินแดง ให้ พวกเขาบวชแล้ ว ให้ ต้งั อยู่ในศีล. แม้ ในเวลาที่
พวกเขาอุปสมบทแล้ ว พระเถระได้ ให้ พระกัมมัฏฐานต่าง ๆ แก่ภิกษุเหล่านั้นร้ อยละอย่าง. ภิกษุ ๙๐๐ รูปนั้นเรียนพระกัมมัฏฐาน ๙ อย่าง
ต่าง ๆ กัน แล้ วพากันขึ้นไปสู่ภเู ขาลูกหนึ่ง นั่งทาสมณธรรมใต้ ร่มไม้ น้นั ๆ แล้ ว.
พระศาสดา ประทับนั่งอยู่ในพระเชตวันมหาวิหารอันไกลกันได้ ๑๒๐ โยชน์น่นั แล ทรงเล็งดูภิกษุเหล่านั้นแล้ ว ทรงกาหนดพระธรรม
เทศนาด้ วยอานาจแพ่ งความประพฤติของเธอเหล่ านั้นทรงเปล่งพระรัศมีไป ประหนึ่งว่าประทับนั่งตรัสอยู่ในที่เฉพาะหน้ าได้ ทรงภาษิตพระ
คาถาเหล่านี้ว่า :-
๗. เมตฺตาวิหารี โย ภิกฺขุปสนฺโน พุทฺธสาสเน ยมหิ ฌานญฺจ ปญฺญา จ ส เว นิพฺพานสนฺติเก.
อธิคจฺเฉ ปท สนฺตสงฺขารูปสม สุข. สุญฺ าคาร ปวิฏฺ สฺสสนฺตจิตฺตสฺส ภิกฺขุโน
สิญฺจ ภิกฺขุ อิม นาวสิตฺตา เต ลหุเมสฺสติ อมานุสี รตี โหติ สมฺมา ธมฺม วิปสฺสโต.
เฉตฺวา ราคญฺจ โทสญฺจตโต นิพฺพานเมหิสิ. ยโตยโต สมฺมสติ ขนฺธาน อุทยพฺพย
ปญฺจ ฉินฺเท ปญฺจ ชเหปญฺจ อุตฺตริ ภาวเย ลภตี ปีติปาโมชฺช อิธ ปญฺ สฺส ภิกฺขุโน
ปญฺจสงฺคาติโค ภิกฺขุโอฆติณฺโณติ วุจฺจติ. ตตฺายมาทิ ภวติอิธ ปญฺ สฺส ภิกฺขุโน
ฌาย ภิกฺขุ มา จ ปมาโท อินฺทฺริยคุตฺติ สนฺตุฏฺ ฐีปาติโมกฺเข จ สวโร
มา เต กามคุเณ ภมสฺสุ จิตฺต มิตฺเต ภชสฺสุ กลฺยาเณสุทฺธาชีเว อตนฺทิเต.
มา โลหคุฬ คิลี ปมตฺโต ปฏิสนฺถารวุตฺตฺยสฺสอาจารกุสโล สิยา
มา กนฺทิ ทุกฺขมิทนฺติ ฑยฺหมาโน. ตโต ปาโมชฺชพหุโลทุกฺขสฺสนฺต กริสฺสติ.
นตฺถิ ณาน อปฺญฺ สฺส ปญฺญา นตฺถิ อฌายโต
" ภิกษุใด นี้ปกติอยู่ด้วยเมตตา เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา, ภิกษุน้นั พึงบรรลุบทอันสงบ เป็ นที่เข้ าไประงับสังขาร อันเป็ นสุข. ภิกษุ
เธอจงวิดเรือนี้, เรือที่เธอวิดแล้ ว จักถึงเร็ว; เธอตัดราคะและโทสะได้ แล้ ว แต่น้นั จักถึงพระนิพพาน. ภิกษุพึงตัดธรรม ๕ อย่าง พึงละธรรม ๕
อย่าง และพึงยังคุณธรรม ๕ ให้ เจริญยิ่ง ๆ ขึ้น, ภิกษุผ้ ลู ่วงกิเลสเครื่องข้ อง ๕ อย่างได้ แล้ ว เราเรียกว่า ผู้ข้ามโอฆะได้ .
ภิกษุ เธอจงเพ่งและอย่าประมาท, จิตของเธออย่าหมุนไปในกามคุณ, เธออย่าเป็ นผู้ประมาทกลืนกินก้ อนแห่ งโลหะ, เธออย่าเป็ นผู้
อันกรรมแผดเผาอยู่ คร่าครวญว่า ' นี้ทุกข์.' ฌานย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้ไม่มีปัญญา, ปั ญญาย่อมไม่มีแก่ผ้ ูไม่มีฌาน. ฌานและปัญญาย่อมมีใน
บุคคลใด, บุคคลนั้นแล ตั้งอยู่แล้ วในที่ใกล้ พระนิพพาน. ความยินดีมใิ ช่ของมีอยู่แห่งมนุษย์ ย่อมมีแก่ภิกษุผ้ เู ข้ าไปแล้ วสู่เรือนนาง ผู้มจี ิตสงบ
แล้ ว ผู้เห็นแจ้ งธรรมอยู่โดยชอบ.
ภิกษุพิจารณาอยู่ ซึ่งความเกิดขึ้นและควานเสื่อมไปแห่ งขันธ์ท้งั หลายโดยอาการใด ๆ, เธอย่อมได้ ปีติและปราโมทย์โดยอาการนั้น
ๆ, การได้ ปีติและปราโมทย์น้นั เป็ นธรรมอันไม่ตายของผู้ร้ แู จ้ งทั้งหลาย,
ธรรมนี้ คือความคุม้ ครองซึ่งอินทรีย ์ ๑ ความสันโดษ ๑ ความสารวมในพระปาติโมกข์ ๑ เป็ นเบื้ องต้นในธรรมอันไม่ตายนั้น
มีอยู่แก่ภิกษุผูม้ ีปัญญาในพระศาสนานี้ .
เธอจงคบมิตรที่ดีงาม มีอาชีวะอันหมดจด มิเกียจคร้าน. ภิกษุพึงเป็ นผูป้ ระพฤติ ในปฏิ สนั ถาร พึงเป็ นผูฉ้ ลาดในอาจาระ ;
เพราะเหตุน้นั เธอจักเป็ นผูม้ ากด้วยปราโมทย์ กระทาที่สุดแห่งทุกข์ได้."
แก้อรรถ
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เมตฺตาวิหารี ความว่า บุคคลผู้ทากรรมในพระกัมมัฏฐานอันประกอบด้ วยเมตตาอยู่กด็ ี ผู้ยังฌานหมวด ๓
และหมวด ๔ ให้ เกิดขึ้นด้ วยอานาจแห่งเมตตาแล้ วดารงอยู่กด็ ี ชื่อว่า ผู้มปี กติอยู่ด้วยเมตตาโดยแท้ .
คาว่า ปสนฺโน ความว่า ก็ภิกษุใดเป็ นผู้เลื่อมใสแล้ ว, อธิบายว่า ย่อมปลูกฝังความเลื่อมใสลงในพระพุทธศาสนานั่นแล.
๖๕
ชีวติ พระ อริยวิถี
สองบทว่า ปท สนฺต นั่น เป็ นชื่อแห่งพระนิพพาน. จริงอยู่ ภิกษุผ้ เู ห็นปานนั้น ย่อมบรรลุ, อธิบายว่า ย่อมประสบโดยแท้ ซ่งึ พระนิพพาน
อันเป็ นส่วนแห่งความสงบ ชื่อว่าเป็ นที่เข้ าไประงับสังขาร เพราะความที่สงั ขารทั้งปวงเป็ นสภาพระงับแล้ ว ซึ่งมีช่ ืออันได้ แล้ วว่า ' สุข ' เพราะ
ความเป็ นสุขอย่างยิ่ง.
บาทพระคาถาว่า สิญฺจ ภิกฺขุ อิม นาว ความว่า ภิกษุเธอจงวิดเรือ กล่าวคืออัตภาพนี้ ซึ่งมีนา้ คือมิจฉาวิตกทิ้งเสีย.
บาทพระคาถาว่า สิตฺตา เต ลหุเมสฺสติ ความว่า เหมือนอย่างว่า เรือที่เพียบแล้ วด้ วยนา้ ในมหาสมุทรนั่นแล ชื่อว่าอันเขาวิดแล้ ว เพราะ
ความที่นา้ อันเขาปิ ดช่องทั้งหลายวิดแล้ ว เป็ นเรือที่เบา ไม่อปั ปางในมหาสมุทร ย่อมแล่นไปถึงท่าได้ เร็วฉันใด; เรือคืออัตภาพแม้ ของท่านนี้ท่ี
เต็มแล้ วด้ วยนา้ คือมิจฉาวิตกก็ฉันนั้ น ชื่อว่าอันเธอวิดแล้ ว เพราะความที่นา้ คือมิจฉาวิตกซึ่งเกิดขึ้นแล้ ว อันเธอปิ ดช่องทั้งหลายมีจักษุทวาร
เป็ นต้ น ด้ วยความสารวม วิดออกแล้ วจึงเบา ไม่จมลงในสังสารวัฏ จักพลันถึงพระนิพพาน.
บทว่า เฉตฺวา เป็ นต้ น ความว่า เธอจงตัดเครื่องผูกคือราคะและโทสะ, ครั้นตัดเครื่องผูกเหล่านั้นแล้ ว จักบรรลุพระอรหัต , อธิบายว่า
แต่น้นั คือในกาลต่อมา จักบรรลุอนุปาทิเสสนิพพาน.
สองบทว่า ปญฺจ ฉินฺเท คือ พึงตัดสังโยชน์อนั มีในส่วนเบื้องต่า ๕ อย่าง อันยังสัตว์ให้ ถงึ อบายชั้นต่า ด้ วยหมวด ๓ แห่งมรรคชั้นต่า ดุจ
บุรษุ ตัดเชือกอันผูกแล้ วที่เท้ าด้ วยศัสตราฉะนั้น.
สองบทว่า ปญฺจ ชเห ความว่า พึงละ คือทิ้ง, อธิบายว่า พึงตัดสังโยชน์อนั มีในส่วนเบื้องบน ๕ อย่าง อันยังสัตว์ให้ ถงึ เทวโลกชั้นสูงด้ วย
พระอรหัตมรรค ดุจบุรษุ ตัดเชือกอันรัดไว้ ท่คี อฉะนั้น.
บาทพระคาถาว่า ปญฺจ อุตฺตริ ภาวเย คือ พึงยังอินทรีย์ ๕ มีศรัทธาเป็ นต้ นให้ เจริญยิ่ง เพื่อประโยชน์แก่การละสังโยชน์อนั มีในส่วน
เบื้องบน.
บทว่า ปญฺจสงฺคาติโค ความว่า เมื่อเป็ นเช่นนั้น ภิกษุช่ ือว่าผู้ล่วงกิเลสเครื่องข้ อง ๕ อย่างได้ เพราะก้ าวล่วงกิเลสเครื่องข้ อง คือราคะ
โทสะ โมหะ มานะ และทิฏฐิ ๕ อย่าง พระศาสดาตรัสเรียกว่า " ผู้ข้ามโอฆะได้ ;" อธิบายว่า ภิกษุน้ัน พระศาสดาตรัสเรียกว่า " ผู้ข้ามโอฆะ ๔
ได้ แท้ จริง."
สองบทว่ า ฌาย ภิกฺขุ ความว่ า ภิกษุ เธอจงเพ่ งด้ วยอานาจแห่ งฌาน ๑ ๒ และชื่อว่ า อย่ าประมาทแล้ ว เพราะความเป็ นผู้ มีปกติไม่
ประมาทในกายกรรมเป็ นต้ นอยู่. ๑. อารัมมณปนิชฌาน และลักขณปนิชฌาน.
บทว่า ภมสฺสุ คือ จิตของเธอ จงอย่าหมุนไปในกามคุณ ๕ อย่าง.
บทว่า มา โลหคุฬ ความว่า ก็ชนทั้งหลายผู้ประมาทแล้ วด้ วยความเลินเล่อมีปล่อยสติเป็ นลักษณะ ย่อมกลืนกินก้ อนโลหะที่ร้อนแล้ วใน
นรก,
เพราะฉะนั้น เราจึงกล่าวกะเธอ: เธออย่าเป็ นผู้ประมาท กลืนกินก้ อนโลหะ, อย่าถูกไฟแผดเผาในนรก คร่าครวญว่า " นี้ทุกข์ นี้ทุกข์."
สองบทว่า นตฺถิ ฌาน ความว่า ชื่อว่าฌาน ย่อมไม่มแี ก่ผ้ หู าปัญญามิได้ ด้ วยปัญญาเป็ นเหตุพยายามอันยังฌานให้ เกิดขึ้น.
สองบทว่า นตฺถิ ปญญฺ า ความว่า ก็ปัญญาซึ่งมีลักษณะที่พระผู้มีพระภาคเจ้ าตรัสไว้ ว่า " ภิกษุผ้ ูมีจิตตั้งมั่นแล้ ว ย่อมรู้ ย่อมเห็นตาม
ความเป็ นจริง" ย่อมไม่มแี ก่บุคคลผู้ไม่เพ่ง.
บาทพระคาถาว่า ยมฺหิ ฌานญฺจ ปญญฺ า จ ความว่า ฌานและปั ญญาแม้ ท้งั สองนี้มีอยู่ในบุคคลใด, บุคคลนั้นชื่อว่าตั้งอยู่แล้ วในที่ใกล้
แห่งพระนิพพานโดยแท้ ทเี ดียว.
บาทพระคาถาว่า สุญญฺ าคาร ปวิฏฺ สฺส คือ ผู้ไม่ละพระกัมมัฏฐานนั่งอยู่ ด้ วยการทาพระกัมมัฏฐานไว้ ในใจในโอกาสที่สงัดบางแห่งนั่นแล.
บทว่า สนฺตจิตฺตสฺส คือ ผู้มจี ิตอันสงบแล้ ว.
บทว่า สมฺมา เป็ นต้ น ความว่า ความยินดีมใิ ช่ เป็ นของมีอยู่แห่งมนุษย์ กล่าวคือวิปัสสนาก็ดี ความยินดีอนั เป็ นทิพย์ กล่าวคือสมาบัติ ๘
ก็ดี ย่อมมี อธิบายว่า ย่อมเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้เห็นแจ้ งซึ่งธรรมโดยเหตุโดยการณ์.
บาทพระคาถาว่า ยโต ยโต สมฺมสติ ความว่า ทากรรมในอารมณ์ ๓๘ ประการ โดยอาการใด ๆ, คือทากรรมในกาลทั้งหลาย มีกาลก่อน
ภัตเป็ นต้ น ในกาลใด ๆ ที่ตนชอบใจแล้ ว, หรือทากรรมในพระกัมมัฏฐานที่ตนชอบใจแล้ ว ชื่อว่าย่อมพิจารณาเห็น.
บทว่า อุทยพฺพย คือ ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งขันธ์ ๕ โดยลักษณะ ๒๕๑ และความเสื่อมแห่งขันธ์ ๕ โดยลักษณะ ๒๕๒ เหมือนกัน.
๑. รูปเกิดขึ้นเพราะอวิชชา. ๒. . .เพราะตัณหา. ๓. . .เพราะกรรม. ๔. . .เพราะอาหาร ๕. ความเกิดขึ้นของรูปอย่างเดียว ไม่อาศัย
เหตุปัจจัย. ส่วนเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณก็เหมือนกัน ต่างแต่ข้อ ๔ ให้ เปลี่ยนว่า เกิดขึ้นเพราะผัสสะ วิญญาณเกิดขึ้นเพราะนามรูป ๕x๕
จึงเป็ น ๒๕. ๒. ในลักษณะความเสื่อม พึงทราบโดยนับตรงกันข้ าม.
บทว่ า ปีติป าโมชฺช คือ เมื่อพิ จารณาความเกิดขึ้นและความเสื่อมไปแห่ งขันธ์ท้ังหลายอย่ างนั้นอยู่ ชื่อว่ าย่ อมได้ ปีติในธรรม และ
ปราโมทย์ในธรรม.
บทว่า อมต ความว่า เมื่อนามรูปพร้ อมทั้งปั จจัย เป็ นสภาพปรากฏตั้งขึ้นอยู่ ปี ติและปราโมทย์ท่เี กิดขึ้นแล้ วนั้น ชื่อว่าเป็ นอมตะของ

๖๖
ชีวติ พระ อริยวิถี
ท่านผู้ร้ ทู ้งั หลาย คือของผู้เป็ นบัณฑิตโดยแท้ เพราะความที่ปีติและปราโมทย์เป็ นธรรมที่ให้ สตั ว์ถงึ อมตมหานิพพาน.
บาทพระคาถาว่า ตตฺรายมาทิ ภวติ คือ นี้เป็ นเบื้องต้ น คือปี ติและปราโมทย์น้ ี เป็ นฐานะมีในเบื้องต้ นในอมตธรรมนั้น.
สองบทว่า อิธ ปญฺ สฺส คือ แก่ภิกษุผ้ ฉู ลาดในพระศาสนานี้.
บัดนี้ พระศาสดาเมื่อจะทรงแสดงฐานะอันมีในเบื้องต้ นที่พระองค์ตรัสว่า " อาทิ " นั้น จึงตรัสคาเป็ นต้ นว่า " อินฺทฺริยคุตฺติ. "
จริงอยู่ปาริสุทธิศีล ๔ ชื่อว่า เป็ นฐานะมีในเบื้ องต้น.
ความสารวมอินทรีย์ ชื่อว่า อินฺทฺริยคุตฺติ ในพระคาถานั้น.
ความสันโดษด้ วยปัจจัย ๔ ชื่อว่า สนฺตุฏฺ ฐิ อาชีวปาริสทุ ธิศีลและปัจจยสันนิสติ ศีล พระศาสดาตรัสไว้ ด้วยบทว่า สนฺตุฏฺ ฐิ นั้น.
ความเป็ นผู้ทาให้ บริบูรณ์ในศีลที่ประเสริฐสุด กล่าวคือพระปาติโมกข์ พระศาสดาตรัสไว้ ด้วยบทว่า ปาติโมกฺเข.
บาทพระคาถาว่า มิตฺเต ภชสฺสุ กลฺยาเณ ความว่า ท่านละสหายผู้ไม่สมควร มีการงานอันสละแล้ ว จงคบ คือ จงเสพมิตรที่ดงี าม ผู้ช่ อื ว่า
มีอาชีวะอันบริสทุ ธิ์ เพราะมีชีวิตประกอบด้ วยสาระ และชื่อว่าผู้ไม่เกียจคร้ าน เพราะอาศัยกาลังแข้ งเลี้ยงชีพ.
บาทพระคาถาว่ า ปฏิ ส นฺถ ารวุตฺย สฺส คือ พึ งเป็ นผู้ช่ ือว่ าประพฤติในปฏิ สันถาร เพราะความเป็ นผู้ประพฤติเต็มที่แ ล้ วด้ วยอามิส
ปฏิสนั ถารและธรรมปฏิสนั ถาร,อธิบายว่า พึงเป็ นผู้ทาปฏิสนั ถาร.
บทว่า อาจารกุสโล ความว่า แม้ ศีลก็ช่ ือว่า มรรยาท ถึงวัตรปฏิวัตร ก็ช่ ือว่า มรรยาท, พึงเป็ นผู้ฉลาด, อธิบายว่า พึงเป็ นผู้เฉียบแหลม
ในมรรยาทนั้น.
บาทพระคาถาว่า ตโต ปาโมชฺชพหุโล ความว่า เธอชื่อว่าเป็ นผู้มากด้ วยปราโมทย์ เพราะความเป็ นผู้บนั เทิงในธรรม อันเกิดขึ้นแล้ วจาก
การประพฤติปฏิสนั ถาร และจากความเป็ นผู้ฉลาดในมรรยาทนั้น จักทาที่สดุ แห่งวัฏทุกข์แม้ ท้งั สิ้นได้ .
บรรดาบทพระคาถาเหล่านี้ ที่พระศาสดาทรงแสดงด้ วยอย่างนี้ ในกาลจบพระคาถาหนึ่ง ๆ ภิกษุร้อยหนึ่ง ๆ บรรลุพระอรหัตพร้ อม
ด้ วยปฏิสมั ภิทาทั้งหลาย ในที่แห่ งตนนั่งแล้ ว ๆ นั่นแล เหาะขึ้นไปสู่เวหาสแล้ ว ภิกษุเหล่านั้นแม้ ท้งั หมด ก้ าวล่วงทางกันดาร ๑๒๐ โยชน์ทาง
อากาศนั่นแล ชมเชยพระสรีระซึ่งมีสดี ุจทองของพระตถาคตเจ้ า ถวายบังคมพระบาทแล้ ว ดังนี้แล.
เรื่องสัมพหุลภิกษุ จบ.
…………………………………………………………….
เรื่องที่ ๒ เรื่องภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป [๒๕๙]
ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ เล่ม ๔๓ หน้า ๓๘๔
ข้ อความเบื้องต้ น
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า "วสฺสิกา วิย ปุปฺผานิ" เป็ นต้ น.
ดังได้ สดับมา ภิกษุเหล่านั้นเรียนพระกัมมัฏฐานในสานักของพระศาสดา บาเพ็ญสมณธรรมอยู่ในป่ า เห็น ดอกมะลิท่บี านแล้ วแต่เช้ าตรู่
หลุดออกจากขั้วในเวลาเย็น จึงพากันพยายามด้ วยหวังว่า " พวกเราจักหลุดพ้ นจากกิเลสมีราคะเป็ นต้ น ก่อนกว่าดอกไม้ ท้งั หลายหลุดออกจาก
ขั้ว.
ภิกษุควรพยายามให้ หลุดพ้ นจากวัฏทุกข์
พระศาสดาทรงตรวจดูภิกษุเหล่านั้น แล้ วตรัสว่า "ภิกษุท้งั หลาย ธรรมดาภิกษุพึงพยายามเพื่อหลุดพ้ นจากวัฏทุกข์ให้ ได้ ดุจ
ดอกไม้ ท่หี ลุดจากขั้วฉะนั้น." ประทับนั่งที่พระคันธกุฎนี ่นั เอง ทรงเปล่งพระรัศมีไปแล้ ว ตรัสพระคาถานี้ว่า:-
๘. วสฺสิกา วิย ปุปฺผานิ มทฺทวานิ ปมุญฺจติ เอว ราคญฺจ โทสญฺจ วิปฺปมุญฺเจถ ภิกฺขโว.
" ภิกษุท้ งั หลาย พวกเธอจงปลดเปลื้ องราคะและโทสะเสีย เหมือนมะลิเครือปล่อยดอกทั้งหลายที่เหี่ยวเสียฉะนั้น."
แก้อรรถ
มะลิ ชื่อว่า วสฺสิกา ในพระคาถานั้น. บทว่า มชฺชวานิ แปลว่า เหี่ยวแล้ ว. (๑. สี. ยุ. มทฺทวานิ. ม. มจฺจวานิ. บาลี มทฺทวานิ. )

ท่านกล่าวคาอธิบายนี้ไว้ ว่า :-
" มะลิเครือ ย่อมปล่อยคือย่อมสลัดซึ่งดอกที่บานแล้ วในวันวาน ในวันรุ่งขึ้นเป็ นดอกไม้ เก่า เสียจากขั้วฉันใด; แม้ ท่านทั้งหลายก็จง
ปลดเปลื้องโทษทั้งหลายมีราคะเป็ นต้ นฉันนั้นเถิด." ในกาลจบเทศนา ภิกษุแม้ ท้งั หมดตั้งอยู่ในพระอรหัตแล้ ว ดังนี้แล.
เรื่องภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป จบ.
…………………………………………………………….

๖๗
ชีวติ พระ อริยวิถี
เรื่องที่ ๓ เรื่องพระสันตกายเถระ [๒๖๐]
ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ เล่ม ๔๓ หน้า ๓๘๖
ข้ อความเบื้องต้ น
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภพระสันตกายเถระ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า " สนฺตกาโย " เป็ นต้ น.
พระเถระเคยเกิดเป็ นราชสีห์
ดังได้ สดับมา ชื่อว่าการคะนองมือและเท้ าของพระเถระนั้น มิได้ มีแล้ ว. ท่านได้ เป็ นผู้เว้ นจากการบิดกาย เป็ นผู้มีอตั ภาพสงบ. ได้ยิน
ว่า พระเถระนั้นมาจากกาเนิดแห่ งราชสีห์ . นัยว่า ราชสีห์ท้งั หลาย ถือเอาอาหารในวันหนึ่งแล้ ว เข้ าไปสู่ถา้ เงิน ถา้ ทอง ถา้ แก้ ว มณี และถา้
แก้ วประพาฬ ถา้ ใดถา้ หนึ่ง นอนที่จุรณแห่ งมโนศิลา และหรดาลตลอด ๗ วัน ในวันที่ ๗ ลุกขึ้นแล้ ว ตรวจดูท่แี ห่ งตนนอนแล้ ว, ถ้ าเห็นว่า
จุรณแห่ งมโนศิลาและหรดาลกระจัดกระจายแล้ ว เพราะความที่หาง หู หรือเท้ าอันตัวกระดิกแล้ ว จึงคิดว่า "การทาเช่นนี้ ไม่สมควรแก่ชาติ
หรือโคตรของเจ้ า" แล้ วก็นอนอดอาหารไปอีกตลอด ๗ วัน; แต่เมื่อไม่มีความที่จุรณทั้งหลายยกระจัดกระจายไป จึงคิดว่ า "การทาเช่นนี้
สมควรแก่ชาติและโคตรของเจ้ า " ดังนี้แล้ ว ก็ออกจากที่อาศัย บิดกาย ชาเลืองดูทศิ ทั้งหลาย บันลือสีหนาท ๓ ครั้ง แล้ วก็หลีกไปหากิน. ภิกษุ
นี้มาแล้ วโดยกาเนิดแห่งราชสีห์เห็นปานนั้น.
ภิกษุท้งั หลาย เห็นความประพฤติเรียบร้ อยทางกายของท่าน จึงกราบทูลแด่พระศาสดาว่า "พระเจ้ าข้ า ภิกษุผ้ ูเช่นกับพระสันตกาย
เถระ พวกข้ าพระองค์ไม่เคยเห็นแล้ ว, ก็การคะนองมือ คะนองเท้ า หรือการบิดกายของภิกษุน้ ี ในที่แห่งภิกษุน้ นี ่งั แล้ ว มิได้ ม.ี "
ภิกษุควรเป็ นผู้สงบ
พระศาสดาทรงสดับถ้ อยคานั้นแล้ ว จึงตรัสว่า " ภิกษุท้งั หลาย ธรรมดาภิกษุ พึงเป็ นผู้สงบทางทวารทั้งหลายมีกายทวารเป็ นต้ นโดย
แท้ เหมือนสันตกายเถระฉะนั้น" ดังนี้แล้ ว ตรัสพระคาถานี้ว่า :-
๙. สนฺตกาโย สนฺตวาโจ สนฺตมโน สุสมาหิโต วนฺตโลกามิโส ภิกฺขุ อุปสนฺโตติ วุจฺจติ.
" ภิกษุผูม้ ีกายสงบ มีวาจาสงบ มีใจสงบ ผูต้ ้ งั มันดี
่ แล้ว มีอามิสในโลกอันคายเสียแล้ว เราเรียกว่า "ผูส้ งบระงับ."
แก้อรรถ
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สนฺตกาโย เป็ นต้ น ความว่า ชื่อว่าผูม้ ีกายสงบแล้ว เพราะความไม่มีกายทุจริตทั้งหลายมีปาณาติบาตเป็ นต้น.
ชื่อว่า ผูม้ ีวาจาสงบแล้ว เพราะความไม่มีวจี ทุจริตทั้งหลาย มีมุสาวาทเป็ นต้น , ชื่อว่า มีใจสงบแล้ว เพราะความไม่มีมโนทุจริต
ทั้งหลายมีอภิชฌาเป็ นต้น,
ชื่อว่า ผูต้ ้ งั มันดี
่ แล้ว เพราะความที่ทวารทั้ง ๓ มีกายเป็ นต้นตั้งมันแล้
่ วด้วยดี,
ชื่อว่า มีอามิสในโลกอันคายแล้ว เพราะความที่อามิสในโลกเป็ นของอันตนสารอกเสียแล้วด้วยมรรค ๔,
พระศาสดาตรัสเรียกว่า 'ชื่อว่าผูส้ งบ' เพราะความที่กิเลสทั้งหลายมีราคะเป็ นต้นในภายในสงบระงับแล้ว.
ในกาลจบเทศนา พระเถระตั้งอยู่ในพระอรหัตแล้ ว, เทศนาได้ เป็ นประโยชน์แม้ แก่ชนผู้ประชุมกันแล้ ว ดังนี้แล.
เรื่องพระสันตกายเถระ จบ.
…………………………………………………………….
เรื่องที่ ๔ เรื่องพระนังคลกูฏเถระ[๒๖๑]
ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ เล่ม ๔๓ หน้า ๓๘๘
ข้ อความเบื้องต้ น
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภพระนังคลกูฏเถระ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า " อตฺตนา โจทยตฺตาน "เป็ นต้ น.
คนเข็ญใจบวชในพระพุทธศาสนา
ดังได้ สดับมามนุษย์เข็ญใจผู้หนึ่ง ทาการรับจ้ างของชนเหล่าอื่นเลี้ยงชีพ. ภิกษุรูปหนึ่ง เห็นเขานุ่งผ้ าท่อนเก่า แบกไถเดินไปอยู่ จึ ง
พูดอย่างนี้ว่า " ก็เธอบวช จะไม่ประเสริฐกว่าการเป็ นอยู่อย่างนี้หรือ."
มนุษย์เข็ญใจ. ใครจักให้ กระผมผู้เป็ นอยู่อย่างนี้บวชเล่าขอรับ.
ภิกษุ. หากเธอจักบวช, ฉันก็จักให้ เธอบวช.
มนุษย์เข็ญใจ. " ดีละ ขอรับ, ถ้ าท่านจักให้ กระผมบวช กระผมก็จักบวช."
ครั้งนั้นพระเถระนาเขาไปสู่พระเชตวัน แล้ วให้ อาบนา้ ด้ วยมือของตนพักไว้ ในโรงแล้ วให้ บวช ให้ เขาเก็บไถ พร้ อมกับผ้ าท่อนเก่าที่เขา
๖๘
ชีวติ พระ อริยวิถี
นุ่งไว้ ท่กี ่งิ ไม้ ใกล้ เขตแดนแห่งโรงนั้นแล. แม้ ในเวลาอุปสมบทเธอได้ ปรากฏชื่อว่า " นังคลกูฏเถระ"นั่นแล.
ภิกษุมอี บุ ายสอนตนเองย่อมระงับความกระสัน
พระนังคลกูฏเถระนั้น อาศัยลาภสักการะซึ่งเกิดขึ้นเพื่อพระพุทธเจ้ าทั้งหลายเลี้ยงชีพอยู่ กระสันขึ้ นแล้ว เมื่อไม่สามารถเพื่ อจะ
บรรเทาได้ จึงตกลงใจว่า" บัดนี้เราจักไม่นุ่งห่ มผ้ ากาสายะทั้งหลายที่เขาให้ ด้วยศรัทธา ไปละ" ดังนี้แล้ ว ก็ไปยังโคนต้ นไม้ ให้ โอวาทตนด้ วย
ตนเองว่า
" เจ้ าผู้ไม่มหี ิริหมดยางอาย เจ้ าอยากจะนุ่งห่มผ้ าขี้ร้ วิ ผืนนี้สกึ ไปทาการรับจ้ างเลี้ยงชีพ (หรือ).
"เมื่อท่านโอวาทคนอยู่อย่างนั้นแล จิตถึงความเป็ นธรรมชาติเบา (คลายกระสัน )แล้ ว. (ได้ ความสลดสังเวช)
ท่านกลับมาแล้ ว โดยกาลล่วงไป ๒-๓ วันก็กระสันขึ้นอีก จึงสอนตนเหมือนอย่างนั้นนั่นแล, ท่านกลับใจได้ อกี . ในเวลากระสันขึ้นมา
ท่านไปในที่น้นั แล้ ว โอวาทตนโดยทานองนี้แล.
ครั้งนั้นภิกษุท้งั หลาย เห็นท่านไปอยู่ในที่น้นั เนือง ๆ จึงถามว่า " ท่านนังคลกูฏเถระ เหตุไรท่านจึงไปในที่น้นั ."
ท่านตอบว่า" ผมไปยังสานักอาจารย์ ขอรับ " ดังนี้แล้ วต่อมา ๒-๓ วันเท่านั้น(ก็) บรรลุพระอรหัตผล.
ภิกษุท้งั หลายเมื่อจะทาการล้ อเล่นกับท่านจึงกล่าวว่า" ท่านนังคลกูฏะผู้หลักผู้ใหญ่ ทางที่เที่ยวไปของท่านเป็ นประหนึง่ หารอยมิได้
แล้ว, ชะรอยท่านจะไม่ไปยังสานักของอาจารย์อกี กระมัง"
พระเถระ. อย่ า งนั้ น ขอรั บ : เมื่อ กิเ ลสเครื่ อ งเกี่ย วข้ อ งยั ง มีอ ยู่ ผมได้ ไ ปแล้ ว , แต่ บัด นี้ กิเ ลสเครื่ อ งเกี่ย วข้ อ ง ผมตัด เสีย ได้ แ ล้ ว
เพราะฉะนั้นผมจึงไม่ไป.
ภิกษุท้งั หลาย ฟั งคาตอบนั้นแล้ ว เข้ าใจว่า" ภิกษุน่ี พูดไม่จริง พยากรณ์พระอรหัตผล" ดังนี้แล้ ว จึงกราบทูลเนื้อความนั้นแด่พระ
ศาสดา.
ภิกษุควรเป็ นผู้เตือนตน
พระศาสดาตรัสว่า " เออภิกษุท้งั หลาย นังคลกูฏะบุตรของเรา เตือนตนด้ วยตนเองแลแล้ ว จึงถึงที่สดุ แห่งกิจของบรรพชิต " ดังนี้แล้ ว
เมื่อจะทรงแสดงธรรมได้ ทรงภาษิตพระคาถาเหล่านี้ว่า :-
๑๐. อตฺตนา โจทยตฺตาน ปฏิมเสตมฺตนา โส อตฺตคุตฺโต สติมา สุข ภิกฺขุ วิหาหิสิ.
อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ อตฺตา หิ อตฺตโน คติ ตสฺมา สญฺ ม อตฺตาน อสฺส ภทฺรว วาณิโช.
" เธอจงตักเตือนตนด้วยตน, จงพิจารณาดูตนนั้นด้วยตน, ภิกษุ เธอนั้นมีสติปกครองตนได้แล้ว จักอยู่สบาย. ตนแหละ เป็ นนา
ถะของตน, ตนแหละ เป็ นคติของตน; เพราะฉะนั้น เธอจงสงวนตน ให้เหมือนอย่างพ่อค้าม้าสงวนม้าตัวเจริญ ฉะนั้น."

แก้อรรถ
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า โจทยตฺตาน ความว่า จงตักเตือนตนด้ วยตนเอง คือจงยังตนให้ ร้ สู กึ ด้ วยตนเอง.
บทว่า ปฏิมเส คือตรวจตราดูตนด้ วยตนเอง.
บทว่า โส เป็ นต้ น ความว่า ภิกษุ เธอนั้นเมื่อตักเตือนพิจารณาดูตนอย่างนั้นอยู่ , เป็ นผู้ช่ ือว่า ปกครองตนได้ เพราะความเป็ นผู้มีตน
ปกครองแล้ วด้ วยตนเอง เป็ นผู้ช่ อื ว่ า มีสติ เพราะความเป็ นผู้มสี ติต้งั มั่นแล้ ว จักอยู่สบายทุกสรรพอิริยาบถ.
บทว่า นาโถ ความว่า เป็ นที่อาศัย คือเป็ นที่พานัก (คนอื่นใครเล่า พึงเป็ นที่พ่ึงได้ ) เพราะบุคคลอาศัยในอัตภาพของผูอ้ ื่น ไม่อาจ
เพือ่ เป็ นผูก้ ระทากุศลแล้ว มีสวรรค์เป็ นที่ไปในเบื้ องหน้า หรือเป็ นผูย้ งั มรรคให้เจริญแล้วทาผลให้แจ้งได้; เพราะเหตุน้นั จึงมีอธิบายว่า "
คนอื่น ชื่อว่าใครเล่า พึงเป็ นที่พ่ึงได้ ."
บทว่า ตสฺมา เป็ นต้ น ความว่า เหตุท่ตี นแลเป็ นคติ คือเป็ นที่พานัก ได้ แก่เป็ นสรณะของตน.
พ่ อค้ าม้ าอาศัยม้ าตัวเจริญ คือม้ าอาชาไนยนั้น ปรารถนาลาภอยู่ จึงเกียดกันการเที่ยวไปในวิสมสถาน (ที่ไม่สมควร) แห่ งม้ านั้น ให้
อาบนา้ ให้ บริโภคอยู่ ตั้งสามครั้งต่อวัน ชื่อว่า ย่อมสงวน คือประดับประคองฉันใด,
แม้ ตัวเธอ เมื่อป้ องกันความเกิดขึ้นแห่ งอกุศลซึ่งยังไม่เกิด ขจัดที่เกิดขึ้นแล้ วเพราะการหลงลืมสติเสีย (ก็) ชื่อว่า สงวนคือปกครอง
ตนฉันนั้น;
เมื่อเธอสงวนตนได้ อย่างนี้อยู่ เธอจักบรรลุคุณพิเศษทั้งที่เป็ นโลกิยะทั้งที่เป็ นโลกุตระ เริ่มแต่ปฐมฌานเป็ นต้ นไป.
ในกาลจบเทศนา ชนเป็ นอันมากบรรลุอริยผลทั้งหลาย มีโสดาปัตติผลเป็ นต้ น ดังนี้แล.
…………………………………………………………….

๖๙
ชีวติ พระ อริยวิถี
เรื่องที่ ๕ เรื่องพระวักกลิเถระ [๒๖๒]
ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ เล่ม ๔๓ หน้า ๓๙๒
ข้ อความเบื้องต้ น
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเวฬุวัน ทรงปรารภนพระวักกลิเถระ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า " ปาโมชฺชพหุโล ภิกฺขุ" เป็ นต้ น.
ผู้เห็นธรรมชื่อว่าเห็นพระตถาคต
ดังได้ สดับมา ท่านวักกลิเถระนั้น เกิดในตระกูลพราหมณ์ในกรุงสาวัตถี เจริญวัยแล้ ว, เห็นพระตถาคตเสด็จเข้ าไปเพื่อบิณฑบาต
แลดูพระสรีระสมบัติของพระศาสดาแล้ ว ไม่อ่มิ ด้ วยการเห็นพระสรีระสมบัติ , จึงบรรพชาในสานักพระศาสดา ด้ วยเข้ าใจว่า " เราจักได้ เห็น
พระตถาคตเจ้ าเป็ นนิตยกาล ด้ วยอุบายนี้ " ดังนี้แล้ ว, ก็ยืนอยู่ในที่อนั ตนยืนอยู่แล้ ว สามารถเพื่อจะแลเห็นพระทศพลได้ , ละกิจวัตรทั้งหลาย
มีการสาธยายและมนสิการในพระกัมมัฏฐานเป็ นต้น เที่ยวมองดูพระศาสดาอยู่.
พระศาสดาทรงรอความแก่กล้ าแห่งญาณของท่านอยู่ จึงไม่ตรัสอะไร (ต่อ) ทรงทราบว่า " บัดนี้ ญาณของเธอถึงความแก่กล้าแล้ว"
จึงตรัสโอวาทว่ า " วักกลิ ประโยชน์อะไรของเธอ ด้วยการเฝ้ าดู กายเน่านี้ , วักกลิ คนใดแลเห็ นธรรม, คนนั้น (ชื่อว่ า) เห็ นเรา (ผู ้
ตถาคต) คนใดเห็นเรา (ผูต้ ถาคต), คนนั้น (ชื่อว่า) เห็นธรรม. " พระวักกลิน้ัน แม้ อนั พระศาสดาสอนแล้ วอย่างนั้น ก็ไม่อาจเพื่อละการดู
พระศาสดาไปในที่อ่นื ได้ เลย.
ครั้งนั้น พระศาสดาทรงดาริว่า " ภิกษุน้ ี ไม่ได้ ความสังเวชแล้ ว จักไม่ได้ ตรัสรู้ ๑" เมื่อวัสสูปนายิกสมัยใกล้เข้ามาแล้ว จึ งเสด็จไปสู่
กรุงราชคฤห์ ในวันเข้าพรรษา ทรงขับไล่ท่านด้ วยพระดารัสว่า " วักกลิ เธอจงหลีกไป." ท่านคิดว่า " พระศาสดา ไม่รับสั่งกะเรา " ไม่อาจเพื่อ
ดารงอยู่ ณ ที่ตรงพระพักตร์ของพระศาสดาได้ ตลอดไตรมาส จึงคิดว่า " ประโยชน์อะไรของเราด้วยชีวิต , เราจักให้ตนตกจากภูเขาเสีย "
ดังนี้แล้ ว จึงขึ้นภูเขาคิชฌกูฏ. พระศาสดาทรงทราบความเมื่อ ยล้ าของท่านแล้ ว ทรงดาริว่า " ภิกษุน้ ี เมื่อไม่ได้ ความปลอบโยนจากสานักของ
เรา, พึงยังอุปนิสยั แห่งมรรคและผลทั้งหลายให้ ฉิบหาย" จึงทรงเปล่งพระรัศมีไปแล้ ว เพื่อจะทรงแสดงพระองค์ (ให้ ปรากฏ).
ลาดับนั้น จาเดิมแต่เวลาท่านเห็นพระศาสดาแล้ ว ความเศร้ าโศกแม้ มากถึงเพียงนั้ น หายไปแล้ ว. พระศาสดาเป็ นประดุจว่ายังสระที่
แห้ งให้ เต็มด้ วยนา้ เพือ่ ทรงยังปี ติและปราโมทย์อนั มีกาลังให้เกิดแก่พระเถระ จึ งตรัสพระคาถานี้ ว่า :-
๑๑. ปาโมชฺชพหุโล ภิกฺขุ ปสนฺโน พุทฺธสาสเน อธิคจฺเฉ ปท สนฺต สงฺขารูปสม สุข.
"ภิกษุผูม้ ากด้วยปราโมทย์ เลือ่ มใสแล้วในพระพุทธศาสนา พึงบรรลุสนั ตบท เป็ นที่เข้าไปสงบสังขาร เป็ นสุข."
แก้อรรถ
พึงทราบเนื้อความแห่งพระคาถานั้นว่า:-
๑. น พุชฺฌิสฺสติ แปลว่า จักไม่รู้สึกตัวก็ได้ อธิบายว่า มัวแต่พะวงอยู่ด้วยการดูพระรูปพระศาสดา ความรู้สึกตัว เพื่อ
จะทาความเพียร บรรลุธรรมพิเศษ ย่อมไม่มี.
ภิ ก ษุ ผู้ ม ากด้ ว ยปราโมทย์ แม้ โ ดยปกติ ย่ อ มปลู ก ความเลื่ อ มใสในพระพุ ท ธศาสนา , ภิ ก ษุ นั่ น เลื่ อ มใส (ใน
พระพุทธศาสนา) แล้วอย่างนั้น พึงบรรลุพระนิพพานในพระพุทธศาสนา อันได้ชื่อว่า " สันตบท เป็นที่เข้าไปสงบสังขาร
เป็นสุข. "
ก็แลพระศาสดาครั้นตรัสพระคาถานี้แล้ว ทรงเหยียดพระหัตถ์ ได้ตรัสพระคาถาเหล่านี้แก่พระวักกลิเถระว่า :-

" มาเถิด วักกลิ เธออย่ากลัว จงแลดูพระตถาคต, เราจักยกเธอขึน


้ เหมือนบุคคลพยุงช้างตัวจมในเปือกตมขึน
้ ฉะนัน
้ .
มาเถิด วักกลิ เธออย่ากลัว จง แลดูพระตถาคต, เราจักยกเธอขึน
้ เหมือนบุคคลที่ช่วยพระจันทร์ที่ถูกราหูจับฉะนั้น."

ท่านยังปีติอย่างแรงกล้าให้เกิดขึ้นแล้วว่า " เราได้เห็นพระทศพลแล้ว" และคาร้องเรียกว่า ' มาเถิด ' จึงคิดว่า " เรา
พึงไปโดยทางไหนหนอ ? "
เมื่อไม่เห็นทางเป็นที่ไป จึงเหาะขึ้นไปในอากาศในที่เฉพาะพระพักตร์พระทศพล เมื่อเท้าทีแรกตั้งอยู่ที่ภูเขานั่นแล,
นึกถึงพระคาถาที่พระศาสดาตรัสแล้ว ข่มปีติได้ในอากาศนั่นแล บรรลุพระอรหัต พร้อมด้วยปฏิสัมภิทาทั้งหลายแล้ว ถวาย
บังคมพระตถาคตอยู่นั่นแล ได้ลงมายืนอยู่ในสานักพระศาสดาแล้ว.
ครั้นในกาลต่อมา พระศาสดาทรงตั้งท่านไว้ในตาแหน่งอันเลิศกว่าภิกษุทั้งหลายผู้เป็นสัทธาธิมุต ดังนี้แล.
……………………………………….

๗๐
ชีวติ พระ อริยวิถี
เหตุแห่งปราโมทย์
ปาโมชฺช = นป. ความปราโมทย์, ความยินดี, ความพอใจ, ความร่าเริง.
= ความบันเทิงใจ, ความปลื้มใจ (พจน์ ศัพท์)

๑ ส.นิ.๑๖/๖๙ ภพ-ชาติ-ทุกข์-ศรัทธา-ปราโมทย์ ... สมาธิ ยถาภูต นิพพิทา วิราคะ วิมุติ


ขยญาณ อรหัต
๒ ขุ.ปฏิ.๓๑/๔๕๔ สัทธา-ฉันทะ-ปราโมทย์
๓ ส.ม.๑๙/๑๖๐๒ เลือมใส พ.ธ.ส.-ศีล-ปราโมทย์
๔ องฺ.ทสก.๒๔/๑ ศีล-อวิปฏิสาร-ปราโมทย์
๕ ส.สฬ.๑๘/๖๖๔ พิจารณาว่าตนมีศีล มีเมตตา ย่อมไม่ไปสู่อบาย-ปราโมทย์
๖ วิ.ป.๘/๑๐๘๔ สารวมในวินัย-อวิปฏิสาร-ปราโมทย์
๗ ส.สฬ.๑๘/๑๔๔ ไม่ประมาท-สารวมอินทรีย์-ปราโมทย์
๘ องฺ.ฉกฺก ๒๒/๒๘๑ อนุสสติ ๖-ปราโมทย์
๙ องฺ.ทสก.๒๔/๖๑/๑๒๑ เสวนาสัปบุรุษ-สดับธรรม-ศรัทธา-(ปราโมทย์)-โยนิโส-สติสมั ปชัญญะ-
อินทรียสังวร-สุจริต ๓-สติปัฏฐาน ๔-โพชฌงค์ ๗
ตรงข้ าม
การไม่คบสัตบุรุษ-ไม่ได้ ฟังธรรม-ไม่มีศรัทธา-อโยนิโส-ไม่มีสติสัมปชัญญะ-ทุจริต ๓-นิวรณ์ ๕-อวิชชา ... ทุกขัง

๗๑
ชีวติ พระ อริยวิถี
๖.๔ หลักปฏิบตั ิตามนัยแห่ งเถรภาษิตของพระอุบาลีเถระ ในเถรคาถาว่า “สทฺธาย อภินกิ ฺขมฺม นวปพฺพชิโต นโว ฯเป
ฯ” (ขุ.เถร.๒๖/๓๑๗/๓๐๗)
สทฺธาย อภินิกฺขมฺม นวปพฺพชิโต นโว
มิตฺเต ภเชยฺย กลฺยาเณ สุทฺธาชีเว อตนฺทิเต ฯ
สทฺธาย อภินิกฺขมฺม นวปพฺพชิโต นโว
สงฺฆสฺมึ วิหรํ ภิกฺขุ สิกฺเขถ วินยํ พุโธ ฯ
สทฺธาย อภินิกฺขมฺม นวปพฺพชิโต นโว
กปฺปากปฺเปสุ กุสโล จเรยฺย อปุรกฺขโตติ ฯ
ภิกษุผอู ้ อกบวชใหม่ๆ ด้วยศรัทธา ยังใหม่ต่อการศึกษา ควรคบหากัลยาณมิตร ผูม้ ีอาชีพบริ สุทธิ์ ไม่เกียจ
คร้าน ภิกษุผูอ้ อกบวชใหม่ๆ ด้วยศรัทธา ยังใหม่ต่อการศึกษา ควรพานักอยู่ในหมู่สงฆ์ เป็ นผูฉ้ ลาดศึกษาพระ
วินัย ภิกษุผูอ้ อกบวชใหม่ๆ ด้วยศรัทธา ยังใหม่ต่อการศึกษา ต้องเป็ นผูฉ้ ลาดในสิ่ งที่ควรและไม่ควร ไม่ควร
ประพฤติตนเป็ นคนออกหน้าออกตา.
ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - เล่ม ๕๑ หน้า ๒๘๒
อุบาลีเถรคาถา
[๓๑๗] ได้ ยินว่า พระอุบาลีเถระได้ ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า
ภิกษุผูอ้ อกบวชใหม่ ๆ ด้วยศรัทธา ยังใหม่ต่อการศึกษา ควรคบหากัลยาณมิตร ผูม้ ีอาชีพบริสุทธิ์ ไม่เกียจคร้าน.
ภิกษุผูอ้ อกบวชใหม่ ๆ ด้วยศรัทธา ยังใหม่ต่อการศึกษา ควรพานักอยูใ่ นหมู่สงฆ์ เป็ นผูฉ้ ลาดศึกษาพระวินยั .
ภิกษุผูอ้ อกบวชใหม่ ๆ ด้วยศรัทธา ยังใหม่ต่อการศึกษา ต้องเป็ นผูฉ้ ลาดในสิ่งที่ควรและไม่ควร
ไม่ควรประพฤติตนเป็ นคนออกหน้าออกตา.
อรรถกถาอุบาลีเถรคาถา
คาถาของท่านพระอุบาลีเถระ มีคาเริ่มต้ นว่า สทฺธาย อภินิกฺขมฺม. มีเรื่องเกิดขึ้นอย่างไร ?
แม้ ท่านพระอุบาลีเถระนี้ ในกาลของพระผูม้ ีพระภาคเจ้าพระนามว่า ปทุมุตตระ ได้ เกิดขึ้นในคฤหาสน์ของผู้มสี กุล ในนครหงสาวดี
วันหนึ่ง ฟั งพระธรรมเทศนาของพระศาสดา ได้ เห็นพระศาสดาทรงแต่งตั้งภิกษุรูปหนึ่งให้ ดารงตาแหน่ง ผู้เลิศกว่าภิกษุท้งั หลาย ผู้ทรงไว้ ซ่ึ ง
พระวินัย ทากรรมคือบุญญาธิการแล้ ว ได้ ปรารถนาฐานันดรนั้น. ท่านบาเพ็ญกุศลตลอดชีวิตแล้ ว ท่องเที่ยวไปมาในเทวโลกและมนุษยโลก มา
ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้ ถอื ปฏิสนธิในเรือนของช่างกัลบก มารดาและบิดาได้ ขนานนามของท่านว่าอุบาลี. ท่านเจริญวัยแล้ ว เป็ นที่เลื่อมใสของ
กษัตริย์ท้งั ๖ มีท่านอนุรทุ ธะ เป็ นต้ น เมื่อพระตถาคตเจ้า ประทับอยู่ท่อี นุปิยอัมพวัน ได้ ออกบวชพร้ อมกับกษัตริย์ท้งั ๖ องค์ ที่ออกไปเพื่อ
ต้ องการบวช. วิธบี วชของท่านมีมาแล้ วในพระบาลี.
ท่านครั้นบรรพชาอุปสมบทแล้ ว ได้ รับเอากรรมฐาน ในสานักของพระศาสดาแล้ วกล่าวว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ขอพระองค์จงทรง
อนุญาตให้ ข้าพระองค์อยู่ป่าเถิด พระองค์ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เมือ่ เธออยู่ป่า ธุระอย่างเดียวเท่านั้นจักเจริญ แต่เมือ่ ปฏิบตั ิอยู่ในสานักของ
เราทั้งหลาย ทั้งคันถธุระและวิปัสสนาธุระ จักบริบูรณ์. พระเถระรับพระพุทธดารัสแล้ ว บาเพ็ญวิปัสสนากรรมฐานอยู่ไม่นานเลย ก็ได้ บรรลุ
พระอรหัตผล. ด้ วยเหตุน้นั ท่านจึงได้ กล่าวไว้ ในอปทานว่า
ในหงสาวดีนคร พราหมณ์ช่ ือว่า สุชาต สะสมทรัพย์ไว้ ๘๐ โกฏิ มีทรัพย์และข้ าวเปลือกเพียงพอ เป็ นนักศึกษา จาทรงมนต์ไว้ ได้ ถึง
ฝั่งแห่งไตรเพท จบลักษณะอิตหิ าส และบารมีในธรรมของตน สาวกของพระโคดมพุทธเจ้ า เป็ นผู้มธี รรมเป็ นเครื่องเว้ น มีสกิ ขาอย่างเดียวกัน
เป็ นทั้งผู้จาริก เป็ นทั้งดาบส ท่องเที่ยวไปตามพื้นดินในครั้งนั้น. ท่านเหล่านั้นห้ อมล้ อมข้ าพเจ้ า ชนจานวนมากบูชาข้ าพเจ้ า ด้ วยสาคัญว่าเป็ น
พราหมณ์ ผู้เปรื่องปราชญ์ แต่ข้าพเจ้ าไม่บูชาอะไร.
ในกาลครั้งนั้น ข้ าพเจ้ ามีมานะ กระด้ าง ไม่เห็นผู้ท่คี วรบูชา คาว่า พุทโฺ ธ ไม่มีตลอดเวลาที่พระชินเจ้ า ยังไม่เสด็จอุบัติข้ นึ . วันคืนล่วง
ไปๆ พระพุทธเจ้ าพระนามว่า ปทุมุตตระ ผู้ทรงมีจักษุ เสด็จอุบติข้ นึ ในโลก ทรงขจัดความมืดทั้งมวลออกไป. เมื่อศาสนาแผ่ออกไปในหมู่
กษัตริย์และหนาแน่นขึ้น ในครั้งนั้น พระพุทธเจ้ าได้ เสด็จเข้ ามายังนครหงสาวดี. พระองค์ผ้ ทู รงมีจักษุได้ ทรงแสดงธรรม เพื่อประโยชน์แก่พระ
บิดา เวลานั้นบริษัททั้งหลายโดยรอบประมาณ ๑ โยชน์. บรรดามนุษย์ท้งั หลาย ท่านผู้เขาสมมติแล้ วในครั้งนั้น ได้ แก่ดาบส ชื่อสุนันทะ ได้ ใช้

๗๒
ชีวติ พระ อริยวิถี
ดอกไม้ บัง (แสงแดด) ตลอดทั่วทั้งพุทธบริษัท ในครั้งนั้น. และเมื่อพระพุทธเจ้ าผู้ประเสริฐที่สดุ ทรงประกาศสัจจะทั้ง ๔ ที่ ปะราดอกไม้
บริษัทแสนโกฏิได้ บรรลุธรรม. พระพุทธเจ้ า ทรงหลั่งฝนคือพระธรรม เป็ นเวลา ๗ วัน ๗ คืน ครั้นถึงวันที่ ๘ พระชินเจ้ า ทรงสรรเสริญ สุนันท
ดาบส. สุนันทดาบส นี้ เมื่อท่องเที่ยวไปมาในภพที่เป็ นเทวโลกหรือมนุษยโลก จักเป็ นผู้ประเสริฐกว่าสรรพสัตว์ ท่องเที่ยวไปในภพทั้งหลาย.
ในแสนกัปจักมีพระศาสดาในโลก ผู้ทรงสมภพจากราชตระกูลพระเจ้ าโอกกากราช พระนามว่า โคดม โดยพระโคตร. พระองค์จักทรงมีพุทธ
ชิโนรส ผู้เป็ นธรรมทายก ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็ นพุทธสาวกโดยนามว่า ปุณณมันตานีบุตร. พระสัมมาสัมพุทธเจ้ า เมื่อจะทรงให้ ชนทั้งหมด
กระหยิ่มใจ ทรงแสดงพระญาณของพระองค์ จึงได้ ทรงสรรเสริญสุนันทดาบส อย่างนี้ในครั้งนั้น. ชนทั้งหลายพากันประนมมือนมัสการสุนันท
ดาบส กระทาสักการะในพระพุทธเจ้ า แล้ วชาระคติของตนให้ ผ่องใส. ข้ าพเจ้ าได้ ฟังพระดารัสของพระมุนีแล้ ว ได้ มคี วามดาริในเรื่ องนั้นว่า แม้
เราจักทาสักการะ โดยวิธที ่จี ะเห็นพระโคดมพุทธเจ้ า.
ข้ าพเจ้ าครั้นคิดอย่างนี้แล้ ว จึงได้ คิดถึงกิริยาของข้ าพเจ้ าว่า เมื่อไรหนอ เราจึงจะประพฤติธรรม ในบุญเขตที่ยอดเยี่ยม. ก็ภิกษุผ้ ูเป็ น
นักปาฐกรูปนี้ พูดได้ ทุกอย่าง ในพระศาสนาถูกยกย่องว่า เป็ นผู้เลิศในพระวินยั เราปรารถนาตาแหน่งนั้น. โภคะของเราไม่มผี ้ นู ับได้ ไม่ มผี ้ ใู ห้
กระเทือนได้ เปรียบเหมือนสาคร เราจะสร้ างวัดถวายพระพุทธเจ้ า ด้ วยโภคะนั้น. ข้ าพเจ้ าได้ ช้ ือสวนชื่อว่า โสภณะ ด้ านหน้ าพระนครด้ วย
ทรัพย์แสนหนึ่ง สร้ างสังฆารามถวาย. ข้ าพเจ้ าได้ สร้ างสังฆารามแต่งเรือนยอดปราสาท มณฑป ถา้ คูหา และที่จงกรมให้ เรียบร้ อย. ข้ าพเจ้ าได้
สร้ างเรือนอบกาย โรงไฟ โรงเก็บนา้ และห้ องอาบนา้ ถวายแด่พระภิกษุสงฆ์. ข้ าพเจ้ าได้ ถวายปัจจัยนี้ทุก อย่างคือ ตั่ง เตียง ภาชนะ เครื่ องใช้
สอยและยาประจาวัด. ข้ าพเจ้ าครั้นเริ่มตั้งอารักขา ก็ให้ สร้ างกาแพงอย่างมั่นคง ขออะไร ๆ อย่าได้ เบียดเบียนท่านเลย ข้ าพเจ้ าได้ สร้ าง ที่อยู่
อาศัย ให้ ท่านผู้มีจิตสงบ ผู้คงที่ไว้ ในสังฆาราม ด้ วยทรัพย์จานวนแสน สร้ างที่อยู่อาศัยนั้นอย่างไพบูลย์แล้ ว ได้ น้อมถวายพระสัมมาสัมพุทธ
เจ้ าว่า ข้ าพระองค์สร้ างพระอารามสาเร็จแล้ ว ข้ าแต่พระมุนี ขอพระองค์จงทรงรับ ข้ าพระองค์จักถวายพระอารามนั้น ข้ าแต่พระองค์ผ้ ู ทรงมี
ความเพียร ผู้ทรงมีจักษุ ขอพระองค์ทรงรับพระวิหารนั้น. พระผู้มีพระภาคเจ้ า พระนามว่า ปทุมุตตระ ผู้ทรงรู้แจ้ งโลก ทรงเป็ นนายก ทรง
ทราบความดาริของข้ าพเจ้ าแล้ ว ทรงรับเครื่องบูชาทั้งหลาย ทรงรับพระอารามนั้น. ข้ าพเจ้ าได้ ทราบการทรงรับ ของพระสรรเพชญ์ผ้ แู สวงหา
พระคุณอันยิ่งใหญ่แล้ ว ได้ เตรียมโภชนะไว้ ได้ ทูลให้ ทรงทราบเวลาแห่งภัต. เมื่อข้ าพเจ้ าทูลให้ ทรงทราบเวลาแล้ ว พระปทุมุตตรพุทธเจ้ าผู้ทรง
เป็ นนายก พร้ อมด้ วยพระขีณาสพพันหนึ่ง ได้ เสด็จเข้ าไปสู่อารามของข้ าพเจ้ า. ข้ าพเจ้ ารู้กาลเวลาที่พระองค์และพระขีณาสพทั้งหลาย ประทับ
นั่งแล้ ว จึงได้ ให้ ท่านเหล่านั้นอิ่มหนาสาราญ ด้ วยข้ าวและนา้ ครั้นทราบกาลเวลาที่เสวยแล้ ว จึงได้ ทูลคานี้ว่า อารามซึ่งว่า โสภณะ ข้ าพระองค์
ซื้อด้ วยทรัพย์แสนหนึ่ง สร้ างด้ วยทรัพย์จานวนเท่านั้นเหมือนกัน ข้ าแต่พระมุนีเจ้ า ขอพระองค์จงทรงรับอารามนั้น. ด้ วยการถวายอารามนี้
และด้ วยเจตนาและประณิธาน ข้ าพระองค์เมื่อเกิดในภพ ขอให้ ได้ ส่งิ ที่ข้าพระองค์
ปรารถนา. พระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ครั้นทรงรับสังฆารามที่สร้ างเรียบร้ อยแล้ ว ได้ ประทับนั่งที่ท่ามกลางสงฆ์ ได้ ตรัสคานี้ไว้ ว่า เขาผู้ใด
ได้ มอบถวายสังฆารามที่สร้ างเรียบร้ อยแล้ ว แด่พระพุทธเจ้ า เราตถาคตจะกล่าวสรรเสริญเขาผู้น้นั ขอท่านทั้งหลายจงฟังคาของเรา ผู้กล่าวอยู่.
จตุรงคเสนา คือ พลช้ าง พลม้ า พลรถ และพลเดินเท้ า จักแวดล้ อมผู้น้ อี ยู่เป็ นนิตย์ นี้เป็ นผลแห่งการถวายสังฆาราม. เครื่องดุริยางค์หกหมื่น
และกลองทั้งหลาย ที่ตกแต่งไว้ อย่างเหมาะสม จักประโคม ห้ อมล้ อมผู้น้ ีอยู่เป็ นนิจ นี้เป็ นผลของการถวายสังฆาราม. หญิงสาวแปดหมื่นหก
พันนางแต่งตัวอย่างสวยสม นุ่งห่ มพัสตราภรณ์ท่สี วยงาม ประดับประดาด้ วยแก้ วมณี และแก้ วกุณฑล มีขนตางอน หน้ าตายิ้มแย้ ม มีตะโพก
ผึ่งผาย เอวบางร่างน้ อย ห้ อมล้ อมผู้น้ เี ป็ นนิจ นี้เป็ นผลของการถวายสังฆาราม. ผู้น้ จี ักรื่นเริงใจอยู่ในเทวโลกเป็ นเวลาสามหมื่นกัป จักเป็ นท้ าว
สักกะเสวยเทวราชสมบัติถึงพันครั้ง จักได้ เสวยสมบัติท้งั หมด ที่ราชาแห่ งทวยเทพจะพึงประสบ จักเป็ นผู้มีโภคทรัพย์ไม่ บกพร่ อง เสวย
เทวราชสมบัติ จักเป็ นพระเจ้ าจักรพรรดิ ในแว่นแคว้ นตั้งพันครั้ง เสวยราชสมบัตอิ นั ไพบูลย์ในแผ่นดิน นับครั้งไม่ถ้วน. ใน (อีก) แสนกัป จัก
มีพระศาสดาในโลก ผู้ทรงสมภพในราชตระกูลโอกกากราช พระนามว่า โคตมะ โดยพระโคตร. พระองค์จักทรงมีพุทธชิโนรส ผู้เป็ นธรรม
ทายาท ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็ นพุทธสาวกโดยนามว่า อุบาลี. เธอจักบาเพ็ญบารมีในพระวินัย เป็ นผู้ฉลาดในฐานะ และอฐานะ ดารงไว้ ซ่งึ
พระศาสนาของพระชินะ และเป็ นผู้หาอาสวะมิได้ . พระสมณโคดมผู้ล้าเลิศในหมู่ศากยะ ทรงรู้ย่ิงซึ่งสิ่งทั้งหมดนี้แล้ ว จักประทับนั่งใน
ท่ามกลางภิกษุสงฆ์ ทรงแต่งตั้งเธอไว้ ในเอตทัคคะ.
ข้ าพระองค์ปรารถนาคาสั่งสอนของพระองค์ โดยหมายเอาประโยชน์ใดที่นับไม่ถ้วน ประโยชน์น้นั คือธรรมเป็ นที่ส้ นิ ไปแห่งสังโยชน์
ทั้งปวง ข้ าพระองค์ได้ บรรลุแล้ ว. คนต้ องราชทัณฑ์ถูกหลาวแทง เมื่อไม่ประสบความสบายเพราะหลาวก็ปรารถนาจะให้ พ้นไปทีเดียว ฉันใด
ข้ าแต่พระมหาวีระ ข้ า พระองค์กฉ็ ันนั้นเหมือนกัน ต้ องอาชญาของภพ ถูกหลาวคือกรรมแทง ถูกเวทนาคือความหิวระหายรบกวน ไม่ ประสบ
ความสาราญในภพ ข้ าพระองค์
ถูกไฟ ๓ กองเผาลน จึงแสวงหาความรอดพ้ น ดุจผู้ต้องราชทัณฑ์ฉะนั้น
ชายผู้กล้ าหาญถูกยาเบื่อ เขาจะเสาะแสวงหายาขนานศักดิ์สทิ ธิ์ ที่จะแก้ ยาเบื่อรักษาชีวิตไว้ เมื่อแสวงหาก็จะพบยาขนานศักดิ์สทิ ธิ์ท่ี
แก้ ยาเบื่อได้ ครั้นดื่มยานั้นแล้ วก็จะสบาย เพราะรอดพ้ นไปจากพิษยาเบื่อ ฉันใด ข้ าแต่พระมหาวีระ ข้ าพระองค์กฉ็ ันนั้นเหมือนกัน เป็ น
เหมือนนรชนผู้ถูกยาเบื่อ ถูกอวิชชาบีบคั้นแล้ ว ต้ องแสวงหายาขนานศักดิ์สทิ ธิ์คอื พระสัทธรรม เมื่อแสวงหายาขนานศักดิ์สทิ ธิ์ คือพระธรรม ก็

๗๓
ชีวติ พระ อริยวิถี
ได้ พบคาสั่งสอนของพระศากยมุนี คาสั่งสอนนั้นลา้ เลิศกว่าโอสถทุกอย่าง บรรเทาลูกศรทั้งมวลได้ ครั้นดื่มธรรมโอสถที่ถอนพิษทุกอย่างได้
แล้ ว ข้ าพระองค์กส็ มั ผัสพระนิพพาน ที่ไม่แก่ไม่ตาย
มีภาวะเยือกเย็น คนที่ถูกผีสงิ เดือดร้ อนเพราะเคราะห์คือผี ต้ องเสาะแสวงหาหมอไล่ผี เพื่อให้ รอดพ้ นจากผี เมื่อแสวงหาก็พึงพบ
หมอผู้ฉลาดในทางภูตวิทยา หมอนั้นต้ องขับภูตผีพร้ อมทั้งมูลเหตุให้ เขา เพื่อให้ พินาศไป ฉันใด ข้ าแต่พระมหาวีระ ข้ าพระองค์กฉ็ ันนั้น
เหมือนกัน เดือดร้ อนเพราะเคราะห์คอื ความมืด เสาะแสวงหาแสงสว่างคือญาณ เพื่อให้ รอดพ้ นจากความ
มืด จึงได้ พบพระศากยมุนี ผู้ทรงกาจัดความมืด คือกิเลสออกไปได้ พระองค์ได้ ทรงกาจัดความมืดให้ ข้าพระองค์เหมือนหมอผี ขับผี
ฉะนั้น ข้ าพระองค์ตดั ทอนกระแสแห่งสงสารได้ ขาด กั้นกระแสตัณหาไว้ ได้ ถอนภพทั้งหมดขึ้นได้ เหมือนหมอผีขบั ผีออกไปโดยมูลเหตุฉะนั้น
นกครุฑโฉบเอางูไปเป็ นอาหารของตน ยังสระใหญ่ร้อยโยชน์ โดยรอบให้ กระเพื่อม มันจับงูได้ แล้ ว จะจิกให้ ตายเอาหัวห้ อยลงพาบิน
หนีไป ตามที่นกต้ องการฉันใด ข้ าแต่พระมหาวีระ ข้ าพระองค์กเ็ ช่นนั้นเหมือนกัน เป็ นเหมือนนกครุฑที่มีกาลัง เมื่อแสวงหาอสังขตธรรม ข้ า
พระองค์คายโทสะออกไปแล้ ว ได้ เห็นสันติบทที่เป็ นธรรมอันประเสริฐ อย่างยอดเยี่ยม นาเอาพระธรรมนั้นไปพานักอยู่ เหมือนนกครุฑนาเอา
งูไปพักอยู่ฉะนั้น
เถาวัลลี ชื่อ อาสาวดี เกิดในสวนจิตรลดา เถาวัลลีน้ัน หนึ่งพันปี จึงจะออกผล ๑ ผล ทวยเทพจะพากันเฝ้ าแหนผลของเถาอาสาวดี
นั้น เมื่อมันมีผลระยะนานขนาดนั้น เถาวัลลีน้นั จึงเป็ นที่รักของทวยเทพ เมื่อเป็ นอย่างนี้ เถาอาสาวดีจึงเป็ นเถาวัลลีช้ันยอด ข้ าแต่พระมุนี ข้ า
พระองค์หมายใจไว้ แสนกัป ขอบารุงพระองค์ นมัสกาลทั้งเช้ าทั้งเย็น เหมือนทวยเทพมุ่งหมายเถาอาสาวดีฉะนั้น
การปรนนิบัตแิ ละการนมัสการของข้ าพระองค์ ไม่เป็ นหมันไม่เป็ นโมฆะ ข้ าพระองค์ผ้ ูสงบแล้ ว แม้ มาแต่ไกลก็ไม่แคล้ วคลาดขณะไป
ได้ ข้ าพระองค์ค้นหาอยู่กไ็ ม่พบปฏิสนธิในภพ ข้ าพระองค์ปราศจากอุปธิ หลุดพ้ นแล้ ว สงบระงับแล้ ว ท่องเที่ยวไปอยู่ อุปมาเสมือนว่า ดอก
ปทุมบานเพราะแสงพระอาทิตย์ฉันใด ข้ าแต่พระมหาวีระ ข้ าพระองค์กเ็ ช่นนั้นเหมือนกัน เบิกบานแล้ วเพราะพุทธรัศมี ในกาเนิดนกกระยาง
จะไม่มีตัวผู้ ทุกครั้งที่ฟ้าร้ อง มันจะตั้งท้ องทุกคราว ตั้งท้ องอยู่นาน จนกว่าฟ้ าจะไม่ร้อง จะพ้ นจากภาระ (ตกฟอง) ต่อเมื่อฝนตกฉันใด ข้ า
พระองค์กฉ็ ันนั้นเหมือนกัน ได้ ต้งั ครรภ์คือพระธรรม เพราะเสียงฟ้ าคือพระธรรม ที่ร้องเพราะเมฆคือพระธรรมของพระ ปทุมุตตรสัมมาสัม
พุทธเจ้ า ข้ าพระองค์ทรงครรภ์คือบุญอยู่ เป็ นเวลาแสนกัป จะพ้ นภาระ (คลอด) จนกว่ าฟ้ าคือพระธรรมจะหยุดร้ อง ข้ าแต่พระศากยมุนี
เมื่อใด พระองค์ (ผู้เสมือนฟ้ า) ทรงร้ องที่กรุงกบิลพัสดุ์บุรีรมย์ เมื่อนั้น ข้ าพระองค์จึงจะพ้ นจากภาระ เพราะฟ้ าคือพระธรรม (หยุดร้ อง) ข้ า
พระองค์ได้ คลอดพระธรรมทั้งหมด เหล่านี้ คือ สุญญตะ (วิโมกข์) ๑ อนิมิตตะ (วิโมกข์) ๑ และอปณิหิตะ (วิโมกข์) ๑ (โลกุตระ) ผล ๔
อย่าง ๑.
ข้ าพระองค์ปรารถนาคาสั่งสอนของพระองค์ มุ่งหมายถึงประโยชน์อันใด ที่นับประมาณไม่ถ้วน ประโยชน์น้ันคือสันติบท (พระ
นิพพาน) อันยอดเยี่ยม ข้ าพระองค์ได้ บรรลุแล้ ว ข้ าพระองค์ไม่มผี ้ เู สมอเหมือน ข้ าพระองค์ประสบบารมีในพระวินัยแล้ ว จาทรงคาสอนไว้ ได้
เหมือนภิกษุผ้ แู สวงหาคุณผู้เป็ นนักพูดแม้ ฉะนั้น ข้ าพระองค์ไม่มคี วามเคลือบแคลง ในพระวินัยทั้ง ๕ คัมภีร์ คือทั้งขันธกะและที่แบ่งออกเป็ น
๓ คัมภีร์ (จุลวรรค มหาวรรค และบริวารวรรค) หรือทั้งในอักขระ ทั้งในพยัญชนะ ในพระวินัยนี้ ข้ าพระองค์เป็ นผู้ฉลาด ทั้งในนิคคหกรรม
ปฏิกรรม ฐานะและอฐานะ โอสารณกรรม และวุฏฐาปนกรรม ถึงบารมีในพระวินัยทั้งหมด อีกอย่างหนึ่ง ข้ าพระองค์ยกบทขึ้นมาตั้งแล้ ว ไข
ความออกไปโดยกิจ ๒ อย่าง แล้ ววางไว้ ในขันธกะ ในพระวินัย ข้ าพระองค์เป็ นผู้ฉลาดลา้ ในนิรุตติศาสตร์ ฉลาดทั้งในสิ่งที่เป็ นประโยชน์และ
ไม่เป็ นประโยชน์ ไม่มีส่งิ ที่ข้าพระองค์ไม่ร้ ู ข้ าพระองค์เป็ นผู้เลิศผู้หนึ่งในพระศาสนาของพระศาสดา วันนี้ ข้ าพระองค์เป็ นผู้ฉลาดในรูป
บรรเทาข้ อกังขาทุกอย่ าง ตัดความสงสัยทั้ งสิ้นในพระศาสนาของพระสมณศากยบุตร ทั้งที่เป็ นบท (ใหญ่ ) บทย่ อย ทั้งที่เป็ นอักขระเป็ น
พยัญชนะ ข้ าพระองค์เป็ นผู้ฉลาดในทุกอย่าง ทั้งในเบื้องต้ น ทั้งในเบื้องปลาย
พระราชาผู้ทรงมีกาลัง ทรงการาบการรบกวนของผู้อ่นื ทรงชนะสงครามแล้ ว ทรงให้ สร้ างพระนครขึ้น ณ ที่น้นั ทรงให้ สร้ างกาแพง
บ้ าง คูบ้าง เสาเขื่อนบ้ าง ซุ้มประตูบ้าง ป้ อมบ้ าง นานาชนิด เป็ นจานวนมากไว้ ในพระนครนั้น ทรงให้ สร้ างทางสี่แยก สนาม ตลาดจ่าย และ
สภาสาหรับวินิจฉัย
สิ่งที่เป็ นประโยชน์และไม่เป็ นประโยชน์ไว้ ในพระนครนั้นพระองค์ทรงตั้งเสนาและอามาตย์ไว้ เพื่อปราบหมู่อมิตร เพื่อรู้ช่องทางและ
มิใช่ช่องทาง และเพื่อรักษาพลนิกายไว้ พระองค์ทรงตั้งคนผู้ฉลาดในการเก็บสิ่งของให้ เป็ นภัณฑารักษ์ไว้ เพื่อให้ เป็ นผู้เฝ้ าสิ่งของ ด้ วยพระราช
ประสงค์ว่า สิ่งของของเราอย่าได้ สญ ู หายไป ผู้ใดสาเร็จ (การศึกษา) แล้ ว และปรารถนาความเจริญแก่พระราชาพระองค์ใด พระราชาพระองค์
นั้น จะประทานเรื่องให้ เขา เพื่อปฏิบัติต่อมิตร (ประชาชน). เมื่อนิมิตเกิดขึ้น พระองค์จะทรงตั้งผู้ฉลาดในลักษณะทั้งหลาย ผู้เป็ นนั กศึกษา
และจาทรงมนต์ไว้ ได้ ให้ ดารงอยู่ในความเป็ นปุโรหิต ผู้สมบูรณ์ด้วยองค์คุณเหล่านี้ เรียกว่ากษัตริย์ พวกเขาจะพากัน พิทกั ษ์รักษาพระราชา
ทุกเมื่อ เหมือนนกจากพรากรักษาญาติตนที่เป็ นทุกข์ฉะนั้น ฉันใด ข้ าแต่พระมหาวีระ พระองค์กฉ็ ันนั้นเหมือนกัน ทรงเป็ นเสมือนกษัตริย์ ผู้
กาจัดอมิตรได้ แล้ ว เรียกได้ ว่า พระธรรมราชาของชาวโลกพร้ อมทั้งเทวโลก พระองค์ทรงกาจัดเหล่าเดียรถีย์บ้าง มารพร้ อมทั้งเสนาบ้ าง ความ
มืดมนอนธการบ้ างได้ แล้ ว ได้ ทรงเนรมิตนครธรรมขึ้น ทรงทาศีลให้ เป็ น กาแพง ทรงทาพระญาณของพระองค์ให้ เป็ นซุ้มประตูไว้ ท่พี ระนคร

๗๔
ชีวติ พระ อริยวิถี
นั้น ข้ าแต่พระธีรเจ้ า สัทธาของพระองค์เป็ นเสาระเนียด การสังวรเป็ นนายทวารบาล สติปัฏฐานเป็ นป้ อม ข้ าแต่พระมุนี พระปั ญญา ของ
พระองค์เป็ นสนาม และพระองค์ได้ ทรงสร้ างธรรมวิถี มีอทิ ธิบาทเป็ นทางสี่แยก พระวินัย ๑ พระสูตร ๑ พระอภิธรรม ๑ พระพุทธพจน์ท้งั สิ้น
มีองค์ ๙ นี้เป็ นธรรมสภาของพระองค์ สุญญตวิหารสมาบัติ ๑ อนิมิตตวิหารสมาบัติ ๑ อปณิหิตสมาบัติ ๑ อเนญชธรรม ๑ นิโรธธรรม ๑ นี้
เป็ นกุฎธี รรมของพระองค์ ธรรมเสนาบดีของพระองค์ มีนามว่า สารีบุตร ผู้ถูกยกย่องว่าเป็ นผู้เลิศทางปัญญา และเป็ นผู้ฉลาดใน ปฏิภาณ ข้ า
แต่พระมุนี ปุโรหิตของพระองค์ มีนามว่าโกลิตะ ผู้ฉลาดในจุตูปปาตญาณ ผู้ถึงบารมีด้วยฤทธิ์ ข้ าแต่พระมุนี ผู้พิพากษาของพระองค์ มีนาม
ว่ากัสสปะ เป็ นผู้เลิศในธุดงค์คุณเป็ นต้ น เป็ นผู้ทรงไว้ ซ่ึงวงศ์เก่าแก่ มีเดชสูงยากที่จะเข้ าถึงได้ ข้ าแต่พระมุนี ผู้รักษา (คลัง) พระธรรมของ
พระองค์ มีนามว่าอานนท์ เป็ นพหูสตู ทรงจาพระธรรมไว้ ได้ และรู้ปาฐะทุกอย่างในพระศาสนา พระผู้มีพระภาคเจ้ าผู้ทรงเป็ นมหาฤๅษี ทรง
ตั้งพระเถระเหล่ านั้นไปทั้งหมดแล้ วทรงมอบหมายการวินิจฉัย (อธิกรณ์) ที่ท่านผู้เป็ นปราชญ์แสดงไว้ แล้ ว ในพระวินัยให้ แก่ข้าพเจ้ า พุทธ
สาวกรูปใดรูปหนึ่งก็ตาม ถามปั ญหาในพระวินัย ข้ าพเจ้ าไม่มีความคิดในเรื่องนั้น ว่าจะบอกเรื่องอื่นนั่นแหละแก่เขาในพุทธเขต มีพุทธสาวก
ประมาณเท่าใดในพุทธสาวกจานวนเท่านั้น ไม่มีผ้ ูเสมอกับข้ าพเจ้ าในทางพระวินัย เว้ นไว้ แต่พระมหามุนี และผู้ย่ิงกว่า จักมีแต่ท่ไี หน พระ
สมณโคดมประทับนั่ง ณ (ท่ามกลาง) ภิกษุสงฆ์ทรงเปล่งพระสุรเสียงอย่ างนี้ ว่ า พระอุบาลีไม่มีผ้ ูเสมอเหมือน ทั้งในพระวินัยและขันธกะ
ทั้งหลาย นวังคสัตถุศาสน์ท่พี ระพุทธเจ้ าตรัสไว้ ท้งั หมดนั้น หยั่งลงในพระวินัย พุทธสาวกมีประมาณเท่าใด มีปกติเป็ นพระวินัยว่า พระวินัย
เป็ นรากเหง้ า (ของนวั ง คสัต ถุ ศ าสน์น้ั น) พระสมณโคดมผู้ ป ระเสริ ฐ กว่ า ศากยราช ทรงระลึ กถึง กรรมของข้ า พเจ้ า แล้ ว ได้ ป ระทับนั่ง
(ท่ามกลาง) ภิกษุสงฆ์ ทรงแต่งตั้งข้ าพเจ้ าไว้ ในตาแหน่ งเอตทัคคะ ข้ าพเจ้ าได้ ปรารถนาตาแหน่ งนี้มาเป็ นเวลาแสนกัป ข้ าพเจ้ าได้ บรรลุ
ประโยชน์น้นั แล้ วถึงบารมีในพระวินยั แล้ ว ข้ าพเจ้ าได้ เป็ นช่างกัลบกผู้สร้ างความเพลิดเพลินให้ ศากยราชมาก่อน ละทิ้งชาติน้นั แล้ ว มาเกิ ดเป็ น
บุตรพระมหาฤาษี (พุทธชิโนรส) ในกัปที่ ๒ นับถอยหลังแต่กปั นี้ไป ได้ มกี ษัตริย์ผ้ ปู กครองแผ่นดิน พระนามว่า อัญชสะ ผู้มเี ดชไม่มที ่สี ้ นิ สุด
มีพระบริวารนับไม่ถ้วน มีทรัพย์มาก ข้ าพเจ้ าได้ เป็ นขัตติยราชสกุลของพระองค์ มีนามว่าจันทนะ เป็ นผู้เย่อหยิ่ง เพราะความเมาในชาติ และ
ความเมาในยศ และโภคะ ช้ างจานวนแสน ประดับประดาด้ วยคชาภรณ์พร้ อมสรรพ ตระกูลมาตังคะตกมัน ๓ แห่ ง ห้ อมล้ อมข้ าพเจ้ าทุกเมื่อ
ข้ าพเจ้ า ประสงค์จะไปอุทยาน มีพลนิกายของตนออกหน้ าไป จึงได้ ข้ นึ ช้ างต้ น (ช้ างมิ่งขวัญ) ออกจากพระนครไป ในครั้งนั้น พระปั จเจกสัม
พุทธเจ้ า นามว่า เทวละ
ถึงพร้ อมด้ วยจรณะ มีทวารอันคุ้ มครองแล้ ว สังวรดีแล้ ว. ได้ มาข้ างหน้ าของข้ าพเจ้ า ข้ าพเจ้ าจึงได้ ไสช้ างต้ นเข้ าไปได้ ล่วงเกิน
พระพุทธเจ้ าในครั้งนั้น ต่อ จากนั้น ช้ างต้ นนั้น ก็เกิดเดือดดาลขึ้น ไม่ย่างเท้ าไป ข้ าพเจ้ าเห็นช้ างไม่พอใจ จึงได้ โกรธพระพุทธเจ้ า เบียดเบียน
พระปั จเจกสัมพุทธเจ้ าแล้ ว ได้ ไปยังพระ อุทยาน ข้ าพเจ้ าไม่พบความสาราญ ณ ที่น้ัน เหมือนคนถูกไฟไหม้ ศีรษะ ถูกความกระวนกระวาย
แผดเผา เหมือนปลาติดเบ็ด พื้นแผ่นดินมีสาครเป็ นขอบเขต เป็ นเสมือนไฟลุกไปทั่วสาหรับข้ าพเจ้ า ข้ าพเจ้ าเข้ าไปเฝ้ าพระบิดา จึงได้ ทูลคานี้
ไว้ ว่า หม่อมฉันล่วงเกินพระสยัมภูองค์ใด เหมือนยุอสรพิษให้ เดือดดาล เหมือนโหมกองไฟ และเหมือนฝึ กช้ างตกมัน พระชินพุทธเจ้ าองค์น้นั
ผู้มีพระเดชสูงแรงกล้ า ข้ าพเจ้ าได้ ล่วงเกินแล้ ว ก่อนที่พวกเราทุกคนจะพินาศไป พวกเราจักพากันขอขมาพระมุนีน้นั ถ้ าหากพวกเราจักไม่ยัง
พระมุนีน้นั ผู้ทรงฝึ กองค์แล้ ว มีหฤทัยตั้งมั่นแล้ วให้ ทราบไซร้ รัฐของเราจักแหลกลาญ ไม่เกินวันที่ ๗ พระราชาทั้งหลาย คือ สุเมขละ ๑ โกสิ
ยะ ๑ สิคควะ ๑ สัตตกะ ๑ พร้ อมด้ วยเสนาตกทุกข์ได้ ยาก เพราะล่ วงเกินฤาษีท้ังหลาย เมื่อใดฤาษีท้ังหลายผู้สารวมแล้ ว ผู้ประพฤติ
พรหมจรรย์โกรธ เมื่อนั้น ฤาษีเหล่านั้น จะบันดาลให้ (โลกนี้) พร้ อมทั้งเทวโลกทั้งสาครและบรรพต ให้ พินาศไปได้ ข้ าพเจ้ าจึงประชุมราช
บุรุษทั้งหลายในที่ประมาณสามพันโยชน์ เข้ าไปหาพระสยัมภู เพื่อต้ องการแสดงโทษผิด ทุกคนมีผ้าเปี ยก และศีรษะเปี ยกนา้ เหมือนกันหมด
กระทาอัญชลี หมอบแทบบาทพุทธเจ้ า แล้ วได้ กล่าวคาวิงวอนนี้ว่า ข้ าแต่มหาวีระ ขอท่านโปรดประทานอภัยโทษแก่ชนที่ร้องขอ ขอพระมหาวี
ระบรรเทาความเร่าร้ อน และอย่าให้ รัฐของพวกข้ าพเจ้ าพินาศเลย มวลสัตว์พร้ อมทั้งเทวดาและมนุษย์ พร้ อมทั้งอสูรเผ่าทานพ พร้ อมด้ วย
รากษส พึงพากันเอาค้ อนเหล็กมาตีศีรษะของข้ าพเจ้ าอยู่ทุกเมื่อ ความโกรธจะไม่เกิดขึ้นในพระพุทธเจ้ า เหมือนไฟสถิตอยู่ในนา้ ไม่ได้ เหมือน
พืชไม่งอกบนหิน เหมือนกิมิชาติ ดารงชีวิตอยู่ในยาขนานวิเศษไม่ได้ ฉะนั้น พระพุทธเจ้ าทั้งหลายไม่ กระเทือนหฤทัย เหมือนแผ่นดินไม่
กระเทือน สาครที่นับจานวนนา้ ไม่ได้ กไ็ ม่กระเพื่อม และอากาศที่ไม่มีท่สี ดุ ก็ไม่ป่ั นป่ วน พระมหาวีระทั้งหลาย ผู้ฝึกฝนดีแล้ ว อดกลั้นได้ แล้ ว
และมีตบะ เจ้ าประคุณทั้งหลาย ผู้อดทนและอดกลั้นได้ แล้ ว จะไม่มกี ารไป พระปัจเจกสัมพุทธเจ้ ากล่าวคานี้แล้ ว เมื่อจะบรรเทาความเร่าร้ อ น
จึงเหาะขึ้นฟ้ า ต่อหน้ ามหาชนในครั้งนั้น ข้ าแต่พระ มหาวีระ ด้ วยกรรมนั้น ข้ าพระองค์ได้ เข้ าถึงความเป็ นคนชั้นต่า ล่วงเลยกาเนิดนั้นมาแล้ ว
จึงเข้ าไปยังอภยบุรี ข้ าแต่พระมหาวีระ แม้ ในครั้งนั้น พระองค์ทรงแก้ ไขความเร่าร้ อน ที่แผดเผาข้ าพระองค์ คือ สถิตมั่นอยู่ในข้ าพระองค์
และข้ าพระองค์ได้ ให้ พระสยัมภู อดโทษแล้ ว ข้ าแต่พระมหาวีระ แม้ วันนี้ พระองค์กท็ รงดับไฟ ๓ กอง ให้ ข้าพระองค์ผ้ กู าลังถูกไฟ ๓ กองเผา
ลนอยู่ และข้ าพระองค์กถ็ ึงความเยือกเย็น ท่านเหล่าใด มีการเงี่ยโสตลงฟั ง ข้ าพเจ้ าจะบอกเนื้อความ คือ บท (พระนิพพาน) ตามที่ข้าพเจ้ า
ได้ เห็นแล้ ว แก่ท่านเหล่านั้น ขอท่านทั้งหลายจงฟังคาของข้ าพเจ้ าผู้กล่าวอยู่ ด้ วยกรรมที่ข้าพเจ้ าได้ ดูหมิ่นพระสยัมภู ผู้มหี ฤทัยสงบ ผู้มหี ฤทัย
มั่นคงแล้ ว วันนี้ข้าพเจ้ าจึงได้ เกิดในกาเนิดที่ต่าทราม ท่านทั้งหลายอย่าพร่าขณะเวลาเลย เพราะผู้ ปล่อยขณะเวลาให้ ล่วงเลยไปแล้ ว ย่อมเศร้ า
โศกเสียใจ ท่านทั้งหลายควรพยายามในประโยชน์ของตน ท่านทั้งหลายจึงจะให้ ขณะเวลาประสบผล ไม่ล่วงไปเปล่า ก็ยาเหล่านี้ คือ ยาสารอก

๗๕
ชีวติ พระ อริยวิถี
เป็ นพิษร้ ายกาจสาหรับคนบางพวก แต่เป็ นโอสถสาหรับคนบางเหล่า ส่วนยาถ่าย เป็ นพิษร้ ายกาจสาหรับคนบางพวก แต่เป็ นโอสถสาหรับคน
บางเหล่า (ฉันใด) พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าก็ฉันนั้น เป็ นเสมือนยาสารอก สาหรับผู้ปฏิบตั ิ (ผู้ เจริญมรรค) เป็ นเสมือนยาถ่ายสาหรับผู้ต้งั อยู่ใน
ผล เป็ นเสมือนโอสถสาหรับผู้ได้ ผลแล้ ว และเป็ นบุญเขต สาหรับผู้แสวงหา (โมกขธรรม) พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าเป็ นเสมือนยาพิษที่ร้ายกาจ
สาหรับผู้ประพฤติผดิ จากคาสั่งสอน เผาคน ๆ นั้นเหมือนอสรพิษ ต้ องยาพิษ ยาพิษชนิดแรงที่คนดื่มแล้ วจะผลาญชีวิต (เขาเพียง) ครั้งเดียว
ส่วนคนผิดพลาดจากคาสั่งสอน (พุทธศาสนา) แล้ ว จะหมกไหม้ (ในนรก) นับโกฏิกปั เขาย่อมข้ ามโลกนี้พร้ อมทั้งเทวโลกได้ ด้ วยขันติธรรม
อวิหิงสาธรรม และด้ วยความเป็ นผู้มีเมตตาจิต เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้ าเหล่านั้น จึงทรงเป็ นผู้ไม่มีค วามขึ้งเคียด พระพุทธเจ้ าทั้งหลายเป็ น
เสมือนปฐพีไม่ทรงข้ องอยู่ในลาภและความเสื่อมลาภทั้งในการนับถือและการดูหมิ่น เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้ าเหล่ านั้นจึงทรงเป็ นผู้ไม่มี
ความขึ้งเคียด พระมหามุนีทรงมีพระทัยเท่า ๆ กัน สาหรับสรรพสัตว์ ทั้งในพระเทวทัต นายขมังธนู องค์คุลิ มาลโจร พระราหุลและช้ างธนบาล
พระพุทธเจ้ าเหล่านี้ ไม่ทรงมีความแค้ นเคือง ไม่ทรงมีความรัก สาหรับสัตว์ท้งั หมดคือ ทั้งเพชรฆาตและพระโอรส พระพุทธเจ้ าทรงมีพระทัย
เท่ า ๆ กัน คนเห็นอัน ตรายแล้ วพึ งประนมมือ เหนือ ศีร ษะไหว้ ผ้ ากา สาวพั ส ตร์ ที่เ ปื้ อนอุจ จาระอันเจ้ าของทิ้งแล้ ว ซึ่ ง เป็ นธงของฤาษี
พระพุทธเจ้ าทั้งหลายทั้งในอดีตแสนนาน ในปัจจุบนั และในอนาคต ทรงบริสทุ ธิ์เพราะธงนี้ เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้ าเหล่านี้น้นั จึงเป็ นผู้ควร
นมัสการ ข้ าพเจ้ าย่อมจาทรงพระวินัยที่ดี ที่เป็ นกาหนดหมายของพระศาสดาไว้ ด้วยใจ ข้ าพเจ้ าจักน้ อมนมัสการพระวินัยพักผ่อนอยู่ทุกเมื่อ
พระวินัยเป็ นอัธยาศัยของข้ าพเจ้ า พระวินัยเป็ นที่ยืนและที่จงกรมของข้ าพเจ้ า ข้ าพเจ้ าสาเร็จการอยู่ในพระวินัย พระวินัยเป็ นอารมณ์ของ
ข้ าพเจ้ า ข้ าพเจ้ าบรรลุถึงบารมีในพระวินัย ทั้งเป็ นผู้ฉลาดในสมถะ ข้ าแต่พระมหาวีระ ด้ วยเหตุน้ัน พระอุบาลีจึงไหว้ แทบพระยุคลบาทของ
พระศาสดา ข้ าพระองค์น้นั จักออกจากบ้ าน (นี้) ไปบ้ าน (โน้ น) จากเมือง (นี้) ไปเมือง (โน้ น) เที่ยวหานมัสการพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า และ
ความที่พระธรรมเป็ นธรรมดี. กิเลสทั้งหลาย ข้ าพระองค์เผาแล้ ว ภพทั้งหมดข้ าพระองค์ถอนแล้ ว อาสวะทั้งหลายสิ้นไปหมดแล้ ว บัดนี้ ภพ
ใหม่ไม่มี การมาของข้ าพระองค์ในสานักของพระพุทธเจ้ าผู้ประเสริฐ เป็ นการมาดีจริง ๆ วิชชา ๓ ข้ าพระองค์ได้ บรรลุแล้ ว คาสั่งสอนของ
พระพุ ทธเจ้ า ข้ า พระองค์ไ ด้ ปฏิบัติแ ล้ ว ปฏิสัมภิ ทา ๔ วิ โ มกข์ ๘ และอภิ ญ ญา ๖ เหล่ า นี้ ข้ า พระองค์ได้ ทาให้ แ จ้ งแล้ ว ค าสั่ง สอนของ
พระพุทธเจ้ าข้ าพระองค์ได้ ปฏิบตั แิ ล้ ว ดังนี้.
ก็ ณ ที่น้ัน พระศาสดาทรงให้ ท่านเรียนพระวินัยปิ ฎกทั้งหมดด้ วยพระองค์เอง ต่อมาภายหลัง ท่านได้ วินิจฉัยเรื่อง ๓ เรื่องเหล่านี้คอื
เรื่องภารุ-กัจฉุกะ ๑ เรื่องอัชชุกะ ๑ เรื่องพระกุมารกัสสปะ ๑ เมื่อวินิจฉัยเสร็จแต่ละเรื่อง
พระศาสดาได้ ทรงประทานสาธุการ ทรงทาการวินิจฉัยทั้ง ๓ เรื่อง ให้ เป็ นอุบัติเหตุแล้ ว ทรงตั้งพระเถระไว้ ในตาแหน่งผู้เลิศกว่าพระ
วินัยธรทั้งหลาย อยู่มาภายหลังในวันอุโบสถ วันหนึ่ง เวลาแสดงปาติโมกข์ ท่านเมื่อโอวาทภิกษุท้งั หลาย จึงได้ กล่าวคาถาไว้ ๓ คาถาว่า
ภิกษุผูอ้ อกบวชใหม่ๆ ด้วยศรัทธายังใหม่ต่อการศึกษา ควรคบหากัลยาณมิตร ผูม้ ีอาชีพบริสุทธิ์ ไม่เกียจคร้าน.
ภิกษุออกบวชใหม่ๆ ด้วยศรัทธายังใหม่ต่อการศึกษา ควรพานักอยูใ่ นหมู่สงฆ์ผูฉ้ ลาด ศึกษาพระวินยั (ให้เข้าใจ).
ภิกษุผูอ้ อกบวชใหม่ ๆ ด้วยศรัทธา ยังใหม่ต่อการศึกษา ต้องเป็ นผูฉ้ ลาด ในสิ่งที่ควรและไม่ควร
ไม่ควรประพฤติตนเป็ นคนออกหน้าออกตา.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สทฺธาย ความว่า เพราะศรัทธา อธิบายว่า ไม่ใช่เพื่อเลี้ยงชีพ. อีกอย่างหนึ่ง บทว่า สทฺธาย ได้ แก่เชื่อผลกรรม
และคุณพระรัตนตรัย.
บทว่า อภินิกฺขมฺม ความว่า ออกจากการครองเรือน.
บทว่า นวปพฺพชิโต ได้ แก่ เป็ นผู้บวชใหม่ คือบวชในปฐมวัยนั่นเอง.
บทว่า นโว ได้ แก่ ยังใหม่ คือยังรุ่นหนุ่ม ต่อการศึกษาศาสนา.
บทว่า มิตฺเต ภเวยฺย กลฺยาเณ สุทฺธาชีเว อตนฺทิเต (ควรคบหากัลยาณมิตร ผู้มอี าชีพบริสทุ ธิ์ ไม่เกียจคร้ าน) ความว่า ควรคบคือเข้ าไป
หากัลยาณมิตร ผู้มลี ักษณะดังที่ตรัสไว้ โดยนัยมีอาทิว่า เป็ นที่รักน่าเคารพนับถือ ชื่อว่ามีอาชีพบริสทุ ธิ์ เพราะเว้ นจากมิจฉาชีพ และชื่อว่าผู้ไม่
เกียจคร้ าน เพราะเป็ นผู้ปรารภความเพียรแล้ ว ได้ แก่ ควรคบหาสมาคมโดยการรับเอาโอวาทานุสาสนีของท่าน.
บทว่า สงฺฆสฺมึ วิหร ได้ แก่ พักอยู่ในหมู่ คือในชุมนุมสงฆ์โดยการบาเพ็ญวัตรและปฏิวัตร (วัตรต่าง ๆ).
บทว่า สิกฺขถ วินย พุโธ ความว่า ต้ องเป็ นผู้ฉลาดในความรู้และความเข้ าใจ ศึกษาปริยัติคือพระวินัย ด้ วยว่า พระวินัยเป็ นอายุ (ชีวิต)
ของพระศาสนา เมื่อพระวินัยยังคงอยู่ พระศาสนา ก็เป็ นอันยังดารงอยู่. แต่บางอาจารย์กล่าวว่า พุโธ ความหมายก่อย่างนั้นเหมือนกัน.
บทว่า กปฺปากปฺเปสุ ความว่า เป็ นผู้ฉลาด ในสิ่งที่ควรและไม่ ควร คือเป็ นผู้ฉลาดละเมียดละไม (ในสิ่งเหล่านั้น) ด้ วยอานาจพระสูตร
และด้ วยอานาจอนุโลมตามพระสูตร.
บทว่า อปุรกฺขโต ได้ แก่ ไม่ควรเป็ นผู้ออกหน้ าออกตา คือไม่ม่งุ หวังการเป็ นหัวหน้ าจากที่ไหนด้ วยตัณหาเป็ นต้ นอยู่.
…………………………………………………………….

๗๖
ชีวติ พระ อริยวิถี
๖.๕ หลักปฏิบตั ิตามนัยแห่ งเถรภาษิตของพระมหาจุนทเถระในเถรคาถาว่า สุสฺสูสา สุตวฑฺฒนี ฯเปฯ
(ขุ.เถร. ๒๖/๒๖๘/๒๙๐)
สุสฺสูสา สุตวฑฺฒนี สุตํ ปญฺ าย วฑฺฒนํ
ปญฺ าย อตฺถํ ชานาติ าโต อตฺโถ สุขาวโห ฯ
เสเวถ ปนฺตานิ เสนาสนานิ จเรยฺย สํโยชนวิปฺปโมกฺขํ
สเจ รตึ นาธิคจฺเฉยฺย ตตฺถ สงฺเฆ วเส รกฺขิตตฺโต สตีมาติ ฯ
[๒๖๘] การฟั ง ดีเ ป็ นเหตุใ ห้ฟัง เจริ ญ การฟั ง เป็ นเหตุให้เจริ ญปั ญ ญา บุค คลจะรู ้ประโยชน์ก เ็ พราะปั ญญา
ประโยชน์ที่บุคคลรู ้แล้ว ย่อมนาสุ ขมาให้ ภิกษุควรส้องเสพเสนาสนะอันสงัด ควรประพฤติธรรมอันเป็ นเหตุให้
จิตหลุดพ้นจากสังโยชน์ ถ้ายังไม่ได้ประสบความยินดีในเสนาสนะอันสงัด และธรรมนั้น ก็ควรเป็ นผูม้ ีสติรักษา
ตนอยูใ่ นหมู่สงฆ์.
พระสุ ตตันตปิ ฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ –เล่ ม ๕๑ หน้ าที่ ๔๙
เถรคาถา เอกนิบาต วรรคที่ ๒
๑. มหาจุนทเถรคาถา
ว่ าด้ วยคาถาของพระมหาจุนเถระ
[๒๖๘] ได้ยนิ ว่า พระมหาจุนทเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้วา่
การฟังดี เป็ นเหตุให้ การฟังเจริญ การฟัง เป็ นเหตุให้ เจริญปัญญา บุคคลจะรู้ ประโยชนก็เพราะปัญญา ประโยชน์ ทบี่ ุคคลรู้ แล้ ว ย่ อมนา
สุ ขมาให้ ภิกษุควรซ่ องเสพเสนาสนะอันสงัด ควรประพฤติธรรมอันเป็ นเหตุให้ จิตหลุดพ้ นจากสั งโยชน์ ถ้ ายังไม่ ได้ ประสบความยินดีใน
เสนาสนะอันสงัดและธรรมนั้น ก็ควรเป็ นผู้มสี ติรักษาตน อยู่ในหมู่สงฆ์ .
อรรถกถามหาจุนทเถรคาถา
คาถาของท่านพระมหาจุนทเถระ เริ่ มต้นว่า สุสฺสูสา. เรื่ องราวของท่านเป็ นอย่างไร ?
แม้พระเถระนี้ ก็เป็ นผูม้ ีอธิ การอันกระทาไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้าองค์ก่อนๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้นๆ บังเกิดในตระกูลช่างหม้อ ในกาล
ของพระผูม้ ีพระภาคเจ้าพระนามว่า วิปัสสี บรรลุนิติภาวะแล้ว เลี้ยงชีพด้วยงานของนายช่างหม้อ วันหนึ่ งเห็นพระศาสดาแล้ว มีใจเลื่อมใส ทา
บาตรดินลูกหนึ่ง ตกแต่งเป็ นอย่างดี ถวายพระผูม้ ีพระภาคเจ้า.
ด้วยบุญกรรมนั้น เขาท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ท้ งั หลาย เกิดเป็ นบุตรของนางรู ปสารี พราหมณี เป็ นน้องชายคนเล็ก ของพระเถระ
ชื่อว่าสารี บุตร ในนาลกคาม แคว้นมคธ ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่าจุนทะ. เขาเจริ ญวัยแล้ว บวชตามพระธรรมเสนาบดี อาศัยพระธรรม
เสนาบดี เริ่ มตั้งวิปัสสนา เพียรพยายามอยู่ ได้เป็ นผูม้ ีอภิญญา ๖ ต่อกาลไม่นานนัก.
สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า
ข้ าพระองค์ เป็ นช่ างหม้ ออยู่ในหงสาวดี ได้ เห็นพระพุทธเจ้ า ผู้ปราศจากกิเลสธุลี มีโอฆะอันข้ ามได้ แล้ ว ไม่ มอี าสวะ ข้ าพระองค์ ได้ ถวาย
บาตรดินที่ทาดีแล้ วแด่ พระพุทธเจ้ าผู้ประเสริฐสุ ด ครั้ นถวายบาตรแด่ พระผู้มีพระภาคเจ้ าผู้ตรง คงที่แล้ ว เมื่ อข้ าพระองค์ เกิดในภพ ย่ อมได้
ภาชนะทอง และจานที่ทาด้ วยเงินทาด้ วยทอง และทาด้ วยแก้ วมณี ข้ าพระองค์ บริโภคในถาด นีเ้ ป็ นผลแห่ งบุญกรรม ข้ าพระองค์ เป็ นผู้เลิศกว่ า
ชนทั้งหลายโดยยศ พืชแม้ มนี ้ อย แต่ หว่ านลงในนาดี เมื่อฝนยังท่ อธารให้ ตกลงทัว่ โดยชอบ ผลย่ อมยังชาวนาให้ ยนิ ดีได้ ฉันใด การถวายบาตรนีก้ ็
ฉันนั้น ข้ าพระองค์ ได้ หว่ านลงในพุทธเขต เมื่อท่ อธารคือปี ติตกลงอยู่ ผลจักทาข้ าพระองค์ ให้ ยนิ ดี เขตคือหมู่และคณะมีประมาณเท่ าใด ทีจ่ ะให้
ความสุ ขแก่ สรรพสัตว์ เสมอด้ วยพุทธเขตไม่ มเี ลย
ข้ าแต่ พระองค์ ผู้เป็ นบุรุษอาชาไนย ข้ าพระองค์ ขอนอบน้ อมแด่ พระองค์ ข้ าแต่ พระองค์ ผู้เป็ นอุดมบุรุษ ข้ าพระองค์ ขอนอบน้ อมแด่
พระองค์ ข้ าพระองค์ บรรลุบทอันไม่ หวั่นไหว ก็เพราะได้ ถวายบาตรใบหนึ่ง ในกัปที่ ๙๑ แต่ ภัทรกัปนี้ ข้ าพระองค์ ได้ ถวายบาตรใดในกาลนั้น
ด้ วยการถวายบาตรนั้ น ข้ าพระองค์ ไม่ รู้ จักทุ คติเลย นี้เป็ นผลแห่ งการถวายบาตร. ข้ าพระองค์ เผากิเลสทั้งหลายแล้ ว ฯลฯ คาสอนของ

๗๗
ชีวติ พระ อริยวิถี
พระพุทธเจ้ า ข้ าพระองค์ กระทาสาเร็จแล้ ว ดังนี้.
ก็พระเถระเป็ นผูม้ ีอภิญญา ๖ แล้ว เมื่อจะสรรเสริ ญอุปนิ สัยของครู และการอยูอ่ ย่างวิเวก อันเป็ นเหตุแห่งสมบัติที่ตนได้แล้ว ได้กล่าว
คาถา ๒ คาถา ความว่า
การฟังดีเป็ นเหตุให้ ฟังเจริญ การฟังเป็ นเหตุให้ เจริญปัญญา บุคคลจะรู้ ประโยชน์ ก็เพราะปัญญา ประโยชน์ ทบี่ ุคคลรู้ แล้ ว ย่ อมนาสุ ข
มาให้ ภิกษุควรซ่ องเสพเสนาสนะอันสงัด ควรประพฤติธรรมอันเป็ นเหตุให้ จติ หลุดพ้ นจากสังโยชน์ ถ้ ายังไม่ ได้ ประสบความยินดี ในเสนาสนะ
อันสงัด และธรรมนั้น ก็ควรเป็ นผู้มสี ติ รักษาตนอยู่ในหมู่สงฆ์ ดังนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สุสฺสูสา ได้แก่ ความปรารถนาเพื่อจะฟังสุ ตะทั้งปวง ที่ควรแก่การฟัง แม้ความอยูร่ ่ วมกับครู ก็ชื่อว่า สุสฺสูสา
อธิ บายว่า อันกุลบุตรผูป้ รารถนาจะฟัง ข้อความที่มีประโยชน์ ต่างด้วยทิฏฐธรรมิกตั ถประโยชน์เป็ นต้น เข้าไปหากัลยาณมิตร เข้าไปนัง่ ใกล้
ด้วยการกระทาวัตร ในเวลาใด ยังกัลยาณมิตรเหล่านั้น ให้มีจิตโปรดปราน ด้วยการเข้าไปนั่งใกล้ ย่อมมีความประสงค์จะเข้าไปนั่งใกล้ๆ
กัลยาณมิตรบางคน ครั้นกุลบุตรเข้าถึงตัว เข้าไปนัง่ ใกล้กลั ยาณมิตรเหล่านั้นแล้ว พึงเงี่ยโสตลงสดับ ด้วยความปรารถนาเพื่อจะฟัง เพราะเหตุน้ นั
แม้การอยูร่ ่ วมกับครู ท่านจึงกล่าวว่า สุสฺสสู า (การฟังดี) เพราะเป็ นต้นเหตุแห่งการฟังด้วยดี ก็การฟังดีน้ ีน้ นั ชื่อว่า สุตวทฺธนี เพราะเป็ นเหตุให้สุ
ตะ อันปฏิสงั ยุตด้วยสัจจปฏิจจสมุปบาทเป็ นต้น เจริ ญคืองอกงาม แก่บุคคลผูถ้ ึงพร้อมด้วยการฟังนั้น. อธิบายว่า ทาให้เป็ นพหูสูต.
บทว่า สุต ปญฺ าย วทฺธน ความว่า พาหุสจั จะนั้นใดที่ท่านกล่าวไว้ โดยนัยมีอาทิวา่ เป็ นผูท้ รงสุตะ เป็ นผูส้ งั่ สมสุตะก็ดี ว่า บุคคลบาง
คนในโลกนี้ มีสุตะ คือ สุ ตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ มาก ดังนี้ ก็ดี พาหุ สัจจะนั้น ย่อมยังปั ญญาอันเป็ นเหตุให้ละความชัว่ บรรลุถึงความดีให้เจริ ญ
เพราะเหตุน้ นั สุ ตะจึงชื่อว่า ยังปั ญญาให้เจริ ญ. สมจริ งดังที่พระผูม้ ีพระภาคเจ้าตรัสไว้วา่ ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย อริ ยสาวกผูม้ ีสุตะเป็ นอาวุธแล
ย่อมละอกุศลได้ ย่อมยังกุศลให้เจริ ญได้ ย่อมละธรรมที่มีโทษ ย่อมยังธรรมที่ไม่มีโทษให้เจริ ญ ย่อมบริ หารตนให้บริ สุทธิ์ ดังนี้.
บทว่า ปญฺ าย อตฺถ ปชานาติ ความว่า บุคคลผูเ้ ป็ นพหูสูตตั้งอยูใ่ นสุตมยญาณ ( ญาณอันสาเร็ จด้วยการฟัง) แล้ว ปฏิบตั ิอยูซ่ ่ ึงข้อปฏิบตั ิ
นั้น ย่อมรู ้และแทงตลอดอรรถ อันต่างด้วยโลกิยะและโลกุตระ จาแนกออกเป็ นทิฏฐธรรมเป็ นต้น และจาแนกออกโดยอริ ยสัจ มีทุกขสัจเป็ น
ต้น ด้วยการสอบสวนข้อความตามที่ได้ฟังมา และด้วยภาวนาคือการเข้าไปเพ่งธรรม. สมดังพระดารัสที่พระผูม้ ีพระภาคเจ้าตรัสไว้วา่ บุคคลรู ้
เหตุ รู ้ผล ของสุตะตามที่ได้เรี ยนมาแล้ว ย่อมปฏิบตั ิธรรมโดยสมควรแก่ธรรม ดังนี้. และตรัสว่า บุคคลย่อมพิจารณาอรรถแห่งธรรมที่ตนทรง
ไว้แล้ว เมื่อพิจารณาอรรถอยู่ ธรรมทั้งหลายย่อมควรซึ่งการเพ่ง เมื่อธรรมควรซึ่งการเพ่งมีอยู่ ฉันทะย่อมเกิด ผูท้ ี่มีฉนั ทะเกิดแล้ว ย่อมอุตสาหะ
ครั้นอุตสาหะแล้ว ย่อมพิจารณา ครั้นพิจารณาแล้ว ย่อมตั้งความเพียร ผูท้ ี่มีความเพียร ย่อมกระทาให้แจ้งซึ่ งปรมัตถสัจด้วยกาย และเห็นแจ้ง
แทงตลอดซึ่งปรมัตถสัจนั้นด้วยปั ญญา.
บทว่า ญาโต อตฺโถ สุขาวโห ความว่า ประโยชน์มีทิฏฐธรรมิกตั ถประโยชน์เป็ นต้น ก็ดี ประโยชน์ในทุกขสัจเป็ นต้น ก็ดี ตามที่กล่าว
แล้ว ที่ตนรู ้แล้ว คือบรรลุแล้วตามความเป็ นจริ ง ย่อมนามา คือให้สาเร็ จความสุข ต่างโดยโลกิยสุข และโลกุตรสุข.
ประโยชน์ ย่อมไม่ มี แก่ ผู้ที่มีปัญญาภาวนาตามทีต่ นทรงไว้ ด้ วยเหตุเพียงการฟังอย่ างเดียวเท่ านั้น เพราะฉะนั้น พระเถระเมื่อจะแสดง
ถึงวิธีปฏิบตั ิแห่งภาวนาปั ญญานั้น จึงกล่าวว่า ภิกษุควรซ่องเสพเสนาสนะอันสงัด ควรประพฤติธรรมอันเป็ นเหตุให้จิตหลุดจากสังโยชน์.
ในบรรดาบทเหล่านั้น พระเถระกล่าวถึงกายวิเวก ด้วยบทว่า เสเวถ ปนฺตานิ เสนาสนานิ. ก็ดว้ ยบทนั้น กายวิเวกก็คือการอยูอ่ ย่างสงัด
ของผูท้ ี่ควรแก่วิเวกนัน่ เอง เพราะการละสังโยชน์จะกล่าวถึงต่อไป (ข้างหน้า) เพราะฉะนั้น สังวรมีศีลสังวรเป็ นต้น พึงทราบว่า สาเร็ จแล้ว
โดยไม่ได้กล่าวไว้ในคาถานี้.
บทว่า จเรยฺย สโยชนวิปปฺ โมกฺข ความว่า จิตย่อมหลุดพ้นจากสังโยชน์ได้โดยประการใด ภิกษุพึงประพฤติ คือ พึงปฏิบตั ิวปิ ั สสนาภาวนา
และมรรคภาวนา โดยประการนั้น.
บทว่า สเจ รตึ นาธิคจฺเฉยฺย ตตฺถ ความว่า ภิกษุยงั ไม่ประสบความยินดี ในเสนาสนะอันสงัด และในธรรมคือกุศลอันยิง่ เหล่านั้น คือไม่
ประสบความยินดียงิ่ เพราะไม่ได้คุณพิเศษ ติดต่อเป็ นลาดับไป พึงเป็ นผูม้ ีตนอันรักษาแล้ว คือมีจิตอันรักษาแล้ว โดยกาหนดกรรมฐาน พึงเป็ น
ผูม้ ีสติอยูด่ ว้ ยการเข้าไปตั้งไว้ ซึ่ งสติเป็ นเครื่ องรักษาในทวารทั้ง ๖ ในสงฆ์ คือ ในหมู่แห่ งภิกษุ. และเมื่อเธออยูอ่ ย่างนี้ พึงชื่อว่าเป็ นผูห้ ลุดพ้น
จากสังโยชน์โดยแท้.
…………………………………………………………….

๗๘
ชีวติ พระ อริยวิถี
๖.๖ หลักปฏิบตั ิตามนัยแห่ งเถรภาษิตของพระโคตมเถระในเถรคาถาว่า วิชาเนยฺย สก อตฺถ ฯเปฯ
(ขุ.เถร. ๒๖/๓๗๖/๓๕๔)
วิชาเนยฺย สก อตฺถ อวโลเกยฺยาถ ปาวจน
ยญฺเจตฺถ อสฺส ปฏิรูปํ สามญฺย อชฺฌุปคตสฺส ฯ
มิตฺต อิเธว กลฺยาณ สิกฺขา วิปุล สมาทาน
สุสฺสูสา จ ครูน เอต สมณสฺส ปฏิรูปํ ฯ
พุทฺเธสุ สคารวตา ธมฺเม อปจิติ ยถาภูต
สงฺเฆ จ จิตฺติกาโร เอต สมณสฺส ปฏิรูปํ ฯ

บุ คคลพึ งรู้จักประโยชน์ของตน พึ งตรวจดู คาสั่งสอนของพระศาสดา และพึ งตรวจดู ส่ิงที่สมควรแก่


กุลบุตร ผู้เข้ าถึงซึ่งความเป็ นสมณะในพระศาสนานี้ การมีมิตรดี การสมาทานสิกขาให้ บริบูรณ์ การเชื่อฟั งต่อ
ครูท้งั หลาย ข้ อนี้ล้วนแต่สมควรแก่สมณะ ในพระศาสนานี้ ความเคารพในพระพุทธเจ้ า ความยาเกรงในพระ
ธรรมและพระสงฆ์ตามความเป็ นจริง ข้ อนี้ล้วนแต่สมควรแก่สมณะ การประกอบในอาจาระและโคจร อาชีพที่
หมดจด อันบัณฑิตไม่ติเตียน การตั้งจิตไว้ ชอบนี้ ล้ วนแต่สมควรแก่สมณะ จาริตศีลและวาริตศีล การเปลี่ยน
อิริยาบถ อันน่าเลื่อมใส และการประกอบในอธิจิต ก็ล้วนแต่สมควรแก่สมณะ เสนาสนะป่ าอันสงัด ปราศจาก
เสียงอึกทึก อันมุนีพึงคบหา นี้เป็ นสิ่งสมควรแก่สมณะ จตุปาริสทุ ธิศีล พาหุสจั จะ กาเลือกเฟ้ นธรรมตามความ
จริง การตรัสรู้อริยสัจ นี้กล็ ้ วนแต่สมควรแก่สมณะ
พระสุตตันตปิ ฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ –เล่ม ๕๒ หน้าที่ ๔๐๖
๗. โคตมเถรคาถา
ว่าด้วยคาถาของพระโคตมเถระ
[๓๗๖] บุคคลพึงรู้จักประโยชน์ของตน พึงตรวจดูคาสั่งสอนของพระศาสดา และพึงตรวจดูส่งิ ที่สมควรแก่กุลบุตรผู้เข้ าถึงซึ่งความ
เป็ นสมณะในพระศาสนานี้
การมีมติ รดี การสมาทานสิกขาให้ บริบูรณ์ การเชื่อฟังต่อครูท้งั หลาย ข้ อนี้ล้วนแต่สมควรแก่สมณะในพระศาสนานี้
ความเคารพในพระพุทธเจ้ า ความยาเกรงในพระธรรมและพระสงฆ์ตามความเป็ นจริง ข้ อนี้ล้วนแต่สมควรแก่สมณะ
การประกอบในอาจาระและโคจร อาชีพที่หมดจด อันบัณฑิตไม่ตเิ ตียน การตั้งจิตไว้ ชอบนี้ ล้ วนแต่สมควรแก่สมณะ
จาริตศีลและวาริตศีล การเปลี่ยนอิริยาบถอันน่าเลื่อมใส และการประกอบในอธิจิต ก็ล้วนแต่สมควรแก่สมณะ
เสนาสนะป่ าอันสงัด ปราศจากเสียงอึกทึก อันมุนีพึงคบหา นี้เป็ นสิ่งที่สมควรแก่สมณะ
จตุปาริสทุ ธศีล พาหุสจั จะ การเลือกเฟ้ นธรรมตามความจริง การตรัสรู้อริยสัจ นี้กล็ ้ วนแต่สมควรแก่สมณะ
ข้ อที่บุคคลมาเจริญอนิจจสัญญาในสังขารทั้งปวงว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เจริญอนัตตสัญญาว่ า ธรรมทั้งปวงเป็ นอนัตตา และเจริญอสุภ
สัญญาว่ากรัชกายนี้ไม่น่ายินดีในโลก นี้กล็ ้ วนแต่สมควรแก่สมณะ
การที่บุคคลมาเจริญโพชฌงค์ ๗ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ และอริยมรรค ๘ ก็ล้วนแต่สมควรแก่สมณะ
การที่บุคคลผู้เป็ นมุนีมาละตัณหา ทาลายอาสวะพร้ อมทั้งมูลราก เป็ นผู้หลุดพ้ นจากอาสวะกิเลสอยู่ ก็ล้วนแต่สมควรแก่สมณะ.

อรรถกถาโคตมเถรคาถาที่ ๗
มีคาถาของท่านพระโคตมเถระอีกรูปหนึ่งว่า วิชาเนยฺย สกํ อตฺถํ ดังนี้เป็ นต้ น. เรื่องนั้นมีเหตุเกิดขึ้นอย่างไร ?
ท่านพระโคตมเถระรูปนี้ ได้ บาเพ็ญบุญญาธิการไว้ ในพระพุทธเจ้ าพระองค์ก่อนๆ ในภพนั้นๆ ได้ ส่งั สมกุศลอันเป็ นอุปนิสัยแห่ งวิ
วัฏฏะไว้ ก่อนหน้ าแต่กาลอุบัตขิ ้ นึ แห่ งพระผู้มีพระภาคเจ้ าของเราทั้งหลาย (ท่าน)บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ช่ อื ว่า อุทิจจะ ในกรุงสาวัตถี พอ
เจริญวัยแล้ วเป็ นผู้เรียนจบไตรเพท ฝึ กฝนวิธกี ารพูด เมื่อไม่ได้ คนอื่นที่มีคาพูดที่เหนือกว่าคาพูดของตน จึงเที่ยวทาการพูด หาเรื่องทะเลาะ
กับคนเหล่านั้น ๆ.

๗๙
ชีวติ พระ อริยวิถี
ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ าของเราทั้งหลาย อุบัติข้ นึ แล้ วในโลก ทรงแสดงพระธรรมจักรอันบวรให้ เป็ นไปแล้ ว ทรงฝึ กเวไนยสัตว์
ทั้งหลายมีสกุลบุตรเป็ นต้ น โดยลาดับแล้ ว ได้ เสด็จเข้ าไปยังกรุงสาวัตถี เพื่อฝึ กอบรมอนาถบิณฑิกเศรษฐี ในคราวที่มอบถวายพระเชตวันแด่
พระศาสดา ท่านได้ มศี รัทธา เข้ าไปเฝ้ าพระศาสดา ฟังธรรมแล้ วทูลขอบรรพชา.
พระศาสดา ทรงบังคับรับสั่งให้ ภิกษุผ้ ูถือการเที่ยวบิณฑบาตเป็ นวัตรรูปหนึ่ง ด้ วยพระดารัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอจงให้ กุลบุตรผู้น้ ีบวช
เถิด.
ท่าน เมื่อภิกษุน้ันจะให้ บรรพชา พอมีดโกนจรดเส้ นผมเท่านั้น ก็บรรลุพระอรหัตแล้ ว ไปสู่โกศลชนบท อยู่ท่โี กศลชนบทนั้นนานแล้ ว
กลับมายังกรุงสาวัตถีอกี . พวกญาติผ้ เู ป็ นพราหมณ์มหาศาลเป็ นอันมาก เข้ าไปหาท่านพระโคดมเถระนั้นแล้ ว เข้ าไปนั่งใกล้ พากันถามว่า พวก
สมณพราหมณ์เป็ นอันมากในโลกนี้ มีวาทะอันบริสทุ ธิ์ในสงสาร, ในสมณพราหมณ์เหล่านั้น พวกไหนมีวาทะที่แน่นอน, ปฏิบัติอย่างไร จึงจะ
บริสทุ ธิ์จากสงสารได้ ดังนี้. พระเถระเมื่อจะประกาศเนื้อความนั้นแก่ญาติเหล่านั้น จึงกล่าวคาถา๑เหล่านั้นว่า :-
บุคคลพึงรู้จักประโยชน์ของตน พึงตรวจดูคาสั่งสอนของพระศาสดา และพึงตรวจดูส่งิ ที่สมควรแก่กุลบุตรผู้เข้ าถึงซึ่งความเป็ นสมณะ
ในพระศาสนานี้
การมีมติ รดี การสมาทานสิกขาให้ บริบูรณ์ การเชื่อฟังต่อครูท้งั หลาย ข้ อนี้ล้วนแต่สมควรแก่สมณะในพระศาสนานี้
ความเคารพในพระพุทธเจ้ า ความยาเกรงในพระธรรมและพระสงฆ์ตามความเป็ นจริง ข้ อนี้ล้วนแต่สมควรแก่สมณะ
การประกอบในอาจาระและโคจร อาชีพที่หมดจด อันบัณฑิตไม่ตเิ ตียน การตั้งจิตไว้ ชอบนี้ ล้ วนแต่สมควรแก่สมณะ
จาริตศีลและวาริตศีล การเปลี่ยนอิริยาบถอันน่าเลื่อมใส และการประกอบในอธิจิต ก็ล้วนแต่สมควรแก่สมณะ
เสนาสนะป่ าอันสงัด ปราศจากเสียงอึกทึก อันมุนีพึงคบหา นี้เป็ นสิ่งที่สมควรแก่สมณะ
จตุปาริสทุ ธศีล พาหุสจั จะ การเลือกเฟ้ นธรรมตามความจริง การตรัสรู้อริยสัจ นี้กล็ ้ วนแต่สมควรแก่สมณะ
ข้ อที่บุคคลมาเจริญอนิจจสัญญาในสังขารทั้งปวงว่า สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง เจริญอนัตตสัญญาว่า ธรรมทั้งปวงเป็ นอนัตตา และเจริญอสุภ
สัญญาว่ากรัชกายนี้ไม่น่ายินดีในโลก นี้กล็ ้ วนแต่สมควรแก่สมณะ
การที่บุคคลมาเจริญโพชฌงค์ ๗ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ และอริยมรรค ๘ ก็ล้วนแต่สมควรแก่สมณะ
การที่บุคคลผู้เป็ นมุนีมาละตัณหา ทาลายอาสวะพร้ อมทั้งมูลราก เป็ นผู้หลุดพ้ นจากอาสวะกิเลสอยู่ ก็ล้วนแต่สมควรแก่สมณะ.
....................................................
พระเถระชี้แจงว่ า พระศาสนาเป็ นนิยยานิกะ โดยระบุถึงข้ อปฏิบัติอันสมควรเเก่สมณะ และชี้แจงว่ าลัทธิภายนอกเป็ นอนิยยานิกะ
เพราะย้ อน (ทวน, ตรงกันข้ าม) พระศาสนานั้น. พราหมณ์มหาศาลเหล่านั้นมีความเลื่อมใสยิ่งในพระศาสนา พากันดารงอยู่ในสรณะเป็ นต้ น
แล้ ว.
…………………………………………..

๘๐
ชีวติ พระ อริยวิถี
๗.วิถีชีวิตของพระภิกษุ
สามัญญผลสูตร ที.สี.๙/๑๐๒/๕๙
[๑๐๒] ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ พระองค์อาจบัญญัติสามัญผลที่เห็นประจักษ์ในปัจจุบันแม้ ข้ออื่น ทั้งดีย่ิงกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญผล
ที่เห็นประจักษ์เหล่านี้ได้ หรือไม่?
อาจอยู่ มหาบพิตร ถ้ าอย่างนั้น มหาบพิตรจงคอยสดับ จงตั้งพระทัยให้ ดี อาตมภาพ จักแสดง.
ครั้นพระเจ้ าแผ่นดินมคธพระนามว่าอชาตศัตรู เวเทหีบุตร ทูลสนองพระพุทธพจน์แล้ ว พระผู้มีพระภาคได้ ตรัสพระพุทธพจน์น้ ีว่า
ดูกรมหาบพิตร พระตถาคตเสด็จอุบตั ใิ นโลกนี้ เป็ นพระอรหันต์ตรัสรู้เองโดยชอบ ถึงพร้ อมด้ วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ ว ทรงรู้แจ้ งโลก
เป็ นสารถีฝึกบุรษุ ที่ควรฝึ กไม่มีผ้ ูอ่นื ยิ่งกว่า เป็ นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ท้งั หลาย เป็ นผู้เบิกบานแล้ ว เป็ นผู้จาแนกพระธรรม พระตถาคต
พระองค์น้นั ทรงทาโลกนี้ พร้ อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ให้ แจ้ งชัดด้ วยพระปัญญาอันยิ่งของพระองค์เองแล้ ว ทรงสอนหมู่สตั ว์ พร้ อม
ทั้งสมณพราหมณ์เทวดาและมนุษย์ให้ ร้ ตู าม ทรงแสดงธรรม งามในเบื้องต้ น งามในท่ามกลาง งามในที่สดุ ทรงประกาศพรหมจรรย์พร้ อมทั้ง
อรรถทั้งพยัญชนะ บริสทุ ธิ์บริบูรณ์ส้ นิ เชิง คฤหบดี บุตรคฤหบดี หรือผู้เกิดเฉพาะในตระกูลใดตระกูลหนึ่งย่อมฟั งธรรมนั้น ครั้นฟั งแล้ ว ได้
ศรัทธาในพระตถาคต เมื่อได้ ศรัทธาแล้ ว ย่อมเห็นตระหนักว่า ฆราวาสคับแคบเป็ นทางมาแห่ งธุลีบรรพชาเป็ นทางปลอดโปร่ง การที่บุคคลผู้
ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ให้ บริบูรณ์ให้ บริสทุ ธิ์โดยส่วนเดียวดุจสังข์ขดั ไม่ใช่ทาได้ ง่าย ถ้ ากระไร เราพึงปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ้ า
กาสาวพัสตร์ ออกบวชเป็ นบรรพชิต สมัยต่อมา เขาละกองโภคสมบั ติน้อยใหญ่ ละเครือญาติน้อยใหญ่ ปลงผม และหนวด นุ่งห่ มผ้ ากาสาว
พัสตร์ ออกบวชเป็ นบรรพชิต เมื่อบวชแล้ ว สารวมระวังในพระปาติโมกข์อยู่ ถึงพร้ อมด้ วยมรรยาทและโคจร มีปรกติเห็นภัยในโทษเพียง
เล็กน้ อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ประกอบด้ วยกายกรรม วจีกรรมที่เป็ นกุศล มีอาชีพบริสทุ ธิ์ ถึงพร้ อมด้ วยศีล คุ้มครองทวาร
ในอินทรีย์ท้งั หลาย ประกอบด้ วยสติสมั ปชัญญะ เป็ นผู้สนั โดษ.
จุลศีล
[๑๐๓] ดูกรมหาบพิตร อย่างไร ภิกษุจึงชื่อว่าเป็ นผู้ถงึ พร้ อมด้ วยศีล.
๑. ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ละการฆ่าสัตว์ เว้ นขาดจากการฆ่าสัตว์ วางทัณฑะ วางศาตรา มีความละอาย มีความเอ็นดู มีความกรุณา หวัง
ประโยชน์แก่สตั ว์ท้งั ปวงอยู่ ข้ อนี้เป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
๒. เธอละการลักทรัพย์ เว้ นขาดจากการลักทรัพย์ รับแต่ของที่เขาให้ ต้ องการแต่ของที่เขาให้ ไม่ประพฤติตนเป็ นขโมย เป็ นผู้สะอาด
อยู่ แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
๓. เธอละกรรมเป็ นข้ าศึกแก่พรหมจรรย์ ประพฤติพรหมจรรย์ ประพฤติห่างไกล เว้ นขาดจากเมถุนอันเป็ นกิจของชาวบ้ าน แม้ ข้อนี้ก ็
เป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
๔. เธอละการพูดเท็จ เว้ นขาดจากการพูดเท็จ พูดแต่คาจริง ดารงคาสัตย์ มีถ้อยคาเป็ นหลักฐาน ควรเชื่อได้ ไม่พูดลวงโลก แม้ ข้อนี้ก ็
เป็ นศีลของเธอ ประการหนึ่ง.
๕. เธอละคาส่อเสียด เว้ นขาดจากคาส่อเสียด ฟั งจากข้ างนี้แล้ ว ไม่ไปบอกข้ างโน้ น เพื่อให้ คนหมู่น้ ีแตกร้ าวกัน หรือฟั งจากข้ างโน้ น
แล้ วไม่มาบอกข้ างนี้ เพื่อให้ คนหมู่โน้ นแตกร้ าวกัน สมานคนที่แตกร้ าวกันแล้ วบ้ าง ส่งเสริมคนที่พร้ อมเพรียงกันแล้ วบ้ าง ชอบคนผู้พร้ อม
เพรียงกัน เพลิดเพลินในคนผู้พร้ อมเพรียงกัน กล่าวแต่คาที่ทาให้ คนพร้ อมเพรียงกัน แม้ ข้อนี้ ก็เป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
๖. เธอละคาหยาบ เว้ นขาดจากคาหยาบ กล่าวแต่คาที่ไม่มโี ทษ เพราะหู ชวนให้ รัก จับใจ เป็ นของชาวเมือง คนส่วนมากรักใคร่ พอใจ
แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
๗. เธอละคาเพ้ อเจ้ อ เว้ นขาดจากคาเพ้ อเจ้ อ พูดถูกกาล พู ดแต่ คาที่เป็ นจริง พูดอิงอรรถ พูดอิงธรรม พูดอิงวินัย พูดแต่ คามี
หลักฐาน มีท่อี ้ าง มีท่กี าหนด ประกอบด้ วยประโยชน์ โดยกาลอันควร แม้ ข้อนี้เป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
๘. เธอเว้ นจากการพรากพืชคามและภูตคาม.
๙. เธอฉันหนเดียว เว้ นการฉันในราตรี งดจากการฉันในเวลาวิกาล.
๑๐. เธอเว้ นจากการฟ้ อนรา ขับร้ อง ประโคมดนตรีและดูการเล่น อันเป็ นข้ าศึกแก่กุศล
๑๑. เธอเว้ นขาดจากการทัดทรงประดับ และตบแต่ งร่ างกายด้ วยดอกไม้ ของหอมและเครื่องประเทืองผิว อันเป็ นฐานแห่ งการ
แต่งตัว.
๑๒. เธอเว้ นขาดจากการนั่งนอนบนที่น่งั ที่นอนอันสูงใหญ่.
๑๓. เธอเว้ นขาดจากการรับทองและเงิน.
๑๔. เธอเว้ นขาดจากการรับธัญญาหารดิบ.
๑๕. เธอเว้ นขาดจากการรับเนื้อดิบ.
๘๑
ชีวติ พระ อริยวิถี
๑๖. เธอเว้ นขาดจากการรับสตรีและกุมารี.
๑๗. เธอเว้ นขาดจากการรับทาสีและทาส.
๑๘. เธอเว้ นขาดจากการรับแพะและแกะ.
๑๙. เธอเว้ นขาดจากการรับไก่และสุกร.
๒๐. เธอเว้ นขาดจากการรับช้ าง โค ม้ า และลา.
๒๑. เธอเว้ นขาดจากการรับไร่นาและที่ดนิ .
๒๒. เธอเว้ นขาดจากการประกอบทูตกรรมและการรับใช้ .
๒๓. เธอเว้ นขาดจากการซื้อการขาย.
๒๔. เธอเว้ นขาดจากการโกงด้ วยตราชั่ง การโกงด้ วยของปลอม และการโกงด้ วยเครื่องตวงวัด.
๒๕. เธอเว้ นขาดจากการรับสินบน การล่อลวง และการตลบตะแลง.
๒๖. เธอเว้ นขาดจากการตัด การฆ่า การจองจา การตีชิง การปล้ น และกรรโชก แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
จบจุลศีล.
มัชฌิมศีล
[๑๐๔] ๑. ภิกษุเว้ นขาดจากการพรากพืชคามและภูตคาม เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ เู จริญบางจาพวก ฉันโภชนะที่เขาให้ ด้วยศรัทธา
แล้ ว ยังประกอบการพรากพืชคามและภูตคาม เห็นปานนี้ คือ พืชเกิดแต่เง่า พืชเกิดแต่ลาต้ น พืชเกิดแต่ผล พืชเกิดแต่ยอด พืชเกิดแต่เมล็ด
เป็ นที่ครบห้ า แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
[๑๐๕] ๒. ภิกษุเว้ นขาดจากการบริโภคของที่ทาการสะสมไว้ เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ ผู้เจริญบางจาพวก ฉันโภชนะที่เขาให้ ด้วย
ศรัทธาแล้ ว ยังประกอบการบริโภคของที่ทาการสะสมไว้ เห็นปานนี้ คือ สะสมข้ าว สะสมนา้ สะสมผ้ า สะสมยาน สะสมที่นอน สะสมเครื่อง
ประเทืองผิว สะสมของหอม สะสมอามิส แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
[๑๐๖] ๓. ภิกษุเว้ นขาดจากการดูการเล่นอันเป็ นข้ าศึกแก่กุศล เช่น อย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ ูเจริญบางจาพวก ฉันโภชนะที่เขาให้ ด้วย
ศรัทธาแล้ ว ยังขวนขวายดูการเล่นอันเป็ นข้ าศึกแก่กุศล เห็นปานนี้คือ การฟ้ อน การขับร้ อง การประโคมมหรสพ มีการราเป็ นต้ น การเล่า
นิยาย การเล่นปรบมือ การเล่นปลุกผี การเล่นตีกลอง ฉากภาพบ้ านเมืองที่สวยงาม การเล่นของคนจัณฑาล การเล่นไม้ สงู การเล่นหน้ าศพ
ชนช้ าง ชนม้ า ชนกระบือ ชนโค ชนแพะ ชนแกะ ชนไก่ รบนกกระทา รากระบี่กระบอง มวยชก มวยปลา้ การรบ การตรวจพล การจัดกระบวน
ทัพ กองทัพ แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
[๑๐๗] ๔. ภิกษุเว้ นขาดจากการขวนขวายเล่นการพนันอันเป็ นที่ต้งั แห่ งความประมาท เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ ูเจริญบางจาพวก
ฉันโภชนะที่เขาให้ ด้วยศรัทธาแล้ ว ยังขวนขวายเล่นการพนันอันเป็ นที่ต้งั แห่งความประมาทเห็นปานนี้ คือ เล่นหมากรุกแถวละแปดตา แถวละ
สิบตา เล่นหมากเก็บ เล่นดวด เล่นหมากไหว เล่นโยนบ่วง เล่นไม้ ห่ึง เล่นกาทาย เล่นสะกา เล่นเป่ าใบไม้ เล่นไถน้ อยๆ เล่นหกคะเมน เล่น
กังหัน เล่นตวงทราย เล่นรถน้ อยๆ เล่นธนูน้อยๆ เล่นเขียนทายกัน เล่ นทายใจ เล่นเลียนคนพิการ แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอ ประการหนึ่ง.
[๑๐๘] ๕. ภิกษุเว้ นขาดจากการนั่งนอนบนที่น่ังที่นอนอันสูงใหญ่ เช่น อย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ ูเจริญบางจาพวก ฉันโภชนะที่เขาให้
ด้ วยศรัทธาแล้ ว ยังนั่งนอนบนที่น่ังที่นอนอันสูงใหญ่เห็นปานนี้ คือ เตียงมีเท้ าเกินประมาณ เตียงมีเท้ าทาเป็ นรูปสัตว์ร้าย ผ้ าโกเชาว์ขนยาว
เครื่องลาดที่ทาด้ วยขนแกะวิจิตรด้ วยลวดลาย เครื่องลาดที่ทาด้ วยขนแกะสีขาว เครื่องลาดที่มีสัณฐานเป็ นช่ อดอกไม้ เครื่องลาดที่ยัดนุ่ น
เครื่องลาดขนแกะวิจิตรด้ วยรูปสัตว์ร้ายมีสหี ะและ เสือเป็ นต้ น เครื่องลาดขนแกะมีขนตั้ง เครื่องลาดขนแกะมีขนข้ างเดียว เครื่องลาดทองและ
เงินแกมไหม เครื่องลาดไหมขลิบทองและเงิน เครื่องลาดขนแกะจุนางฟ้ อน ๑๖ คน เครื่องลาดหลังช้ าง เครื่องลาดหลังม้ า เครื่องลาดในรถ
เครื่องลาดที่ทาด้ วยหนังสัตว์ช่ ืออชินะอันมีขนอ่อนนุ่ม เครื่องลาดอย่างดีทาด้ วยหนังชะมด เครื่องลาดมีเพดาน เครื่องลาดมีหมอนข้ าง แม้ ข้อ
นี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
[๑๐๙] ๖. ภิกษุเว้ นขาดจากการประกอบการประดับตกแต่งร่างกายอันเป็ นฐานแห่งการแต่งตัว เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ เู จริญบาง
จาพวก ฉันโภชนะที่เขาให้ ด้วยศรัทธาแล้ ว ยังขวนขวายประกอบการประดับตบแต่งร่างกายอันเป็ นฐานแห่งการแต่งตัว เห็นปานนี้ คือ อบตัว
ไคลอวัยวะ อาบนา้ หอม นวด ส่องกระจก แต้ มตา ทัดดอกไม้ ประเทืองผิว ผัดหน้ า ทาปาก ประดับข้ อมือ สวมเกี้ยว ใช้ ไม้ เท้ า ใช้ กลักยา ใช้
ดาบ ใช้ ขรรค์ ใช้ ร่ม สวมรองเท้ า ประดับวิจิตร ติดกรอบหน้ า ปั กปิ่ น ใช้ พัดวาลวิชนี นุ่งห่ มผ้ าขาว นุ่งห่ มผ้ ามีชาย แม้ ข้อนี้ ก็เป็ นศีลของเธอ
ประการหนึ่ง.
[๑๑๐] ๗. ภิกษุเว้ นขาดจากติรัจฉานกถา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ เู จริญบางจาพวก ฉันโภชนะที่เขาให้ ด้วยศรัทธาแล้ ว ยังประกอบ
ติรัจฉานกถา เห็นปานนี้ คือ พูดเรื่องพระราชา เรื่องโจร เรื่ องมหาอามาตย์ เรื่องกองทัพ เรื่องภัย เรื่องรบ เรื่องข้ าว เรื่องนา้ เรื่องผ้ า เรื่องที่
นอน เรื่องดอกไม้ เรื่องของหอม เรื่องญาติ เรื่องยาน เรื่องบ้ าน เรื่องนิคม เรื่องนคร เรื่องชนบท เรื่องสตรี เรื่องบุรษุ เรื่องคนกล้ าหาญ เรื่อง

๘๒
ชีวติ พระ อริยวิถี
ตรอก เรื่องท่านา้ เรื่องคนที่ล่วงลับไปแล้ ว เรื่องเบ็ดเตล็ด เรื่องโลก เรื่องทะเล เรื่องความเจริญและความเสื่อมด้ วยประการนั้นๆ แม้ ข้อนี้ก ็
เป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
[๑๑๑] ๘. ภิกษุเว้ นขาดจากการกล่าวถ้ อยคาแก่งแย่งกัน เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ เู จริญบางจาพวก ฉันโภชนะที่เขาให้ ด้วยศรัทธา
แล้ ว ยังขวนขวายกล่าวถ้ อยคาแก่งแย่งกันเห็นปานนี้ เช่น ว่าท่านไม่ร้ ทู ่วั ถึงธรรมวินัยนี้ ข้ าพเจ้ ารู้ท่วั ถึง ท่านรู้จักทั่วถึงธรรมวินัยนี้ ได้ อย่างไร
ท่านปฏิบัติผิด ข้ าพเจ้ าปฏิบัติถูกถ้ อยคาของข้ าพเจ้ าเป็ นประโยชน์ ของท่านไม่เป็ นประโยชน์ คาที่ควรจะกล่าวก่อน ท่านกลับกล่าวภายหลัง
คาที่ควรจะกล่าวภายหลัง ท่านกลับกล่าวก่อน ข้ อที่ท่านเคยช่าชองมาผันแปรไปแล้ ว ข้ าพเจ้ าจับผิดวาทะของท่านได้ แล้ ว ข้ าพเจ้ าข่มท่านได้
แล้ ว ท่านจงถอนวาทะเสีย มิฉะนั้นจงแก้ ไขเสีย ถ้ าสามารถ แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
[๑๑๒] ๙. ภิกษุเว้ นขาดจากการประกอบทูตกรรมและการรับใช้ เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ เู จริญบางจาพวก ฉันโภชนะที่เขาให้ ด้วย
ศรัทธาแล้ ว ยังขวนขวายประกอบทูตกรรมและการรับใช้ เห็นปานนี้ คือ รับเป็ นทูตของพระราชา ราชมหาอามาตย์ กษัตริย์ พราหมณ์ คฤหบดี
และกุมารว่า ท่านจงไปในที่น้ ี ท่านจงไปในที่โน้ น ท่านจงนาเอาสิ่งนี้ไป ท่านจงนาเอาสิ่งนี้ ในที่โน้ นมา ดังนี้ แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการ
หนึ่ง.
[๑๑๓] ๑๐. ภิกษุเว้ นขาดจากการพูดหลอกลวง และการพูดเลียบเคียง เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ เู จริญบางจาพวก ฉันโภชนะที่เขา
ให้ ด้วยศรัทธาแล้ ว ยังพูดหลอกลวง พูดเลียบเคียง พูดหว่านล้ อม พูดและเล็ม แสวงหาลาภด้ วยลาภ แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
จบมัชฌิมศีล.
มหาศีล
[๑๑๔] ๑. ภิกษุเว้ นขาดจากการเลี้ยงชีพ โดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างสมณพราหมณ์ผ้ ูเจริญบางจาพวก ฉันโภชนะที่เขาให้
ด้ วยศรัทธาแล้ ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เห็นปานนี้ คือ ทายอวัยวะ ทายนิมิต ทายอุปบาต ทานายฝัน ทานายลักษณะทานาย
หนูกดั ผ้ า ทาพิธบี ูชาไฟ ทาพิธเี บิกแว่นเวียนเทียน ทาพิธซี ัดแกลบบูชาไฟ ทาพิธซี ัด ราบูชาไฟ ทาพิธซี ัดข้ าวสารบูชาไฟ ทาพิธเี ติมเนยบูชาไฟ
ทาพิธเี ติมนา้ มันบูชาไฟ ทาพิธเี สกเป่ า บูชาไฟ ทาพลีกรรมด้ วยโลหิต เป็ นหมอดูอวัยวะ ดูลักษณะที่บ้าน ดูลักษณะที่นา เป็ นหมอปลุกเสก
เป็ นหมอผี เป็ นหมอลงเลขยันต์ค้ มุ กันบ้ านเรือน เป็ นหมองู เป็ นหมอยาพิษ เป็ นหมอแมลงป่ อง เป็ นหมอรักษาแผลหนูกดั เป็ นหมอทายเสียง
นก เป็ นหมอทายเสียงกา เป็ นหมอทายอายุ เป็ นหมอเสกกันลูกศร เป็ นหมอทายเสียงสัตว์ แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอ ประการหนึ่ง.
[๑๑๕] ๒. ภิกษุเว้ นขาดจากการเลี้ยงชีพ โดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ ูเจริญบางจาพวก ฉันโภชนะที่เขา
ให้ ด้วยศรัทธาแล้ ว เลี้ยงชีพโดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เห็นปานนี้ คือ ทายลักษณะแก้ วมณี ทายลักษณะผ้ า ทายลักษณะไม้ พลอง ทาย
ลักษณะศาตรา ทายลักษณะดาบ ทายลักษณะศร ทายลักษณะธนู ทายลักษณะอาวุธ ทายลักษณะสตรี ทายลักษณะบุรุษ ทายลักษณะกุมาร
ทายลักษณะกุมารี ทายลักษณะทาส ทายลักษณะทาสี ทายลักษณะช้ าง ทายลักษณะม้ า ทายลักษณะกระบือ ทายลักษณะโคอุสภะ ทายลักษณะ
โค ทายลักษณะแพะ ทายลักษณะแกะ ทายลักษณะไก่ ทายลักษณะนกกระทา ทายลักษณะเหี้ย ทายลักษณะตุ่น ทายลักษณะเต่า ทายลักษณะ
มฤค แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอ ประการหนึ่ง.
[๑๑๖] ๓. ภิกษุเว้ นขาดจากการเลี้ยงชีพ โดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ เู จริญบางจาพวกฉันโภชนะที่เขาให้
ด้ วยศรัทธาแล้ ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เห็นปานนี้ คือ ดูฤกษ์ยาตราทัพว่ า พระราชาจักยกออก พระราชาจักไม่ยกออก
พระราชาภายในจักยกเข้ าประชิด พระราชาภายนอกจักถอย พระราชาภายนอกจักยกเข้ าประชิด พระราชาภายในจักถอย พระราชาภายในจัก
มีชัย พระราชาภายนอกจักปราชัย พระราชาภายนอก จักมีชัย พระราชาภายในจักปราชัย พระราชาองค์น้ ีจักมีชัย พระราชาองค์น้ ีจักปราชัย
เพราะเหตุน้ ๆ ี แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
[๑๑๗] ๔. ภิกษุเว้ นขาดจากการเลี้ยงชีพ โดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ เู จริญบางจาพวกฉันโภชนะที่เขาให้
ด้ วยศรัทธาแล้ ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เห็นปานนี้ คือ พยากรณ์ว่า จักมีจันทรคราส จักมีสรุ ิยคราส จักมีนักษัตรคราส ดวง
จันทร์ดวงอาทิตย์จักเดินถูกทาง ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์จักเดินผิดทาง ดาวนักษัตรจักเดินถูกทาง ดาวนักษัตรจักเดินผิดทาง จักมีอกุ กาบาต จัก
มีดาวหาง จักมีแผ่นดินไหว จักมีฟ้าร้ อง ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรจักขึ้น ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรจักตก ดวงจันทร์
ดวงอาทิตย์ และดาวนักษัตรจักมัวหมอง ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ และดาวนักษัตรจักกระจ่าง จันทรคราสจักมีผลเป็ นอย่างนี้ สุริยคราสจักมีผล
เป็ นอย่างนี้ นักษัตรคราสจักมีผลเป็ นอย่างนี้ ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์เดินถูกทางจักมีผลเป็ นอย่างนี้ ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์เดินผิดทางจักมีผล
เป็ นอย่างนี้ ดาวนักษัตรเดินถูกทางจักมีผลเป็ นอย่างนี้ ดาวนักษัตรเดินผิดทางจักมีผลเป็ นอย่างนี้ มีอุกกาบาตจักมีผลเป็ นอย่างนี้ มี ดาวหาง
จักมีผลเป็ นอย่างนี้ แผ่นดินไหวจักมีผลเป็ นอย่างนี้ ฟ้ าร้ องจักมีผลเป็ น อย่างนี้ ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรขึ้นจักมีผลเป็ นอย่างนี้
ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรตกจักมีผลเป็ นอย่างนี้ ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรมัวหมอง จักมีผลเป็ นอย่างนี้ ดวงจันทร์
ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรกระจ่างจักมีผลเป็ นอย่างนี้ แม้ ข้อนี้ ก็เป็ นศี ลของเธอประการหนึ่ง.
[๑๑๘] ๕. ภิกษุเว้ นขาดจากการเลี้ยงชีพ โดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ เู จริญบางจาพวกฉันโภชนะที่เขาให้

๘๓
ชีวติ พระ อริยวิถี
ด้ วยศรัทธาแล้ ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เห็นปานนี้ คือ พยากรณ์ว่า จักมีฝนดี จักมีฝนแล้ ง จักมีภิกษาหาได้ ง่าย จักมีภิกษา
หาได้ ยาก จักมีความเกษม จักมีภัย จักเกิดโรค จักมีความสาราญหาโรคมิได้ หรือนับคะแนนคานวณ นับประมวลแต่งกาพย์ โลกายศาสตร์
แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
[๑๑๙] ๖. ภิกษุเว้ นขาดจากการเลี้ยงชีพ โดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ เู จริญบางจาพวกฉันโภชนะที่เขาให้
ด้ วยศรัทธาแล้ ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เห็นปานนี้ คือ ให้ ฤกษ์อาวาหมงคล ให้ ฤกษ์วิวาหมงคล ดูฤกษ์เรียงหมอน ดูฤกษ์
หย่าร้ าง ดูฤกษ์เก็บทรัพย์ ดูฤกษ์จ่ายทรัพย์ ดูโชคดี ดูเคราะห์ร้าย ให้ ยาผดุงครรภ์ ร่ายมนต์ ให้ ล้ ินกระด้ าง ร่ายมนต์ให้ คางแข็ง ร่ายมนต์ให้
มือสั่น ร่ ายมนต์ไม่ ให้ หูได้ ยินเสียง เป็ นหมอทรงกระจก เป็ นหมอทรงหญิงสาว เป็ นหมอทรงเจ้ า บวงสรวงพระอาทิตย์ บวงสรวงท้ าว
มหาพรหม ร่ายมนต์พ่นไฟ ทาพิธเี ชิญขวัญ แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
[๑๒๐] ๗. ภิกษุเว้ นขาดจากการเลี้ยงชีพ โดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผ้ เู จริญบางจาพวกฉันโภชนะที่เขาให้
ด้ วยศรัทธาแล้ ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้ วยติรัจฉานวิชา เห็นปานนี้ คือ ทาพิธบี นบาน ทาพิธแี ก้ บน ร่ายมนต์ขบั ผี สอนมนต์ป้องกันบ้ านเรือน
ทากะเทยให้ กลับเป็ นชาย ทาชายให้ กลายเป็ น กะเทย ทาพิธีปลูกเรือน ทาพิธีบวงสรวงพื้นที่ พ่ นนา้ มนต์ รดนา้ มนต์ ทาพิธีบูชาไฟ ปรุงยา
สารอก ปรุงยาถ่าย ปรุงยาถ่ายโทษเบื้องบน ปรุงยาถ่ายโทษเบื้องล่าง ปรุงยาแก้ ปวดศีรษะ หุงนา้ มันหยอดหู ปรุงยาตา ปรุงยานัตถุ์ ปรุงยาทา
กัด ปรุงยาทาสมาน ป้ ายยาตา ทาการผ่าตัด รักษาเด็ก ใส่ยา ชะแผล แม้ ข้อนี้กเ็ ป็ นศีลของเธอประการหนึ่ง.
[๑๒๑] ดูกรมหาบพิตร ภิกษุสมบูรณ์ด้วยศีลอย่างนี้ ย่อมไม่ประสบภัยแต่ไหนๆ เลย เพราะศีลสังวรนั้นเปรียบเหมือนกษัตริย์ผ้ ูได้
มุรธาภิเษก กาจัดราชศัตรูได้ แล้ ว ย่อมไม่ประสบภัยแต่ไหนๆ เพราะราชศัตรูน้ัน ดูกรมหาบพิตร ภิ กษุกฉ็ ันนั้น สมบูรณ์ด้วยศีลอย่างนี้แล้ ว
ย่อมไม่ประสบภัยแต่ไหนๆ เพราะศีลสังวรนั้น ภิกษุสมบูรณ์ด้วยอริยศีลขันธ์น้ ี ย่อมได้ เสวยสุข อันปราศจากโทษในภายใน ดูกรมหาบพิตร
ด้ วยประการดังกล่าวมานี้แล ภิกษุช่ อื ว่าเป็ นผู้ถงึ พร้ อมด้ วยศีล.
จบมหาศีล.
อินทรียสังวร
[๑๒๒] ดูกรมหาบพิตร อย่างไร ภิกษุช่ อื ว่าเป็ นผู้ค้ มุ ครองทวารในอินทรีย์ท้งั หลาย?
ดูกรมหาบพิตร ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เห็นรูปด้ วยจักษุแล้ ว ไม่ถือนิมิต ไม่ถืออนุพยัญชนะ เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสารวมจักขุนทรีย์ ที่เมื่อ
ไม่สารวมแล้ ว จะเป็ นเหตุให้ อกุศลธรรมอันลามก คืออภิชฌาและโทมนัสครอบงานั้น ชื่อว่ารักษาจักขุนทรีย์ ชื่อว่าถึงความสารวมในจักขุนทรีย์
ภิกษุฟังเสียงด้ วยโสต ... ดมกลิ่นด้ วยฆานะ ... ลิ้มรสด้ วยชิวหา ... ถูกต้ องโผฏฐัพพะด้ วยกาย... รู้แจ้ งธรรมารมณ์ด้วยใจแล้ ว ไม่ถอื นิ มติ ไม่
ถืออนุพยัญชนะ เธอย่อมปฏิบัติเพื่อสารวมมนินทรีย์ ที่เมื่อไม่สารวมแล้ ว จะเป็ นเหตุให้ อกุศลธรรมอันลามกคืออภิชฌาและโทมนัสครอบงา
นั้น ชื่อว่า รักษามนินทรีย์ ชื่อว่าถึงความสารวมในมนินทรีย์ ภิกษุประกอบด้ วยอินทรีย์สงั วรอันเป็ นอริยะ เช่นนี้ ย่อมได้ เสวยสุขอัน ไม่ระคน
ด้ วยกิเลสในภายใน ดูกรมหาบพิตร ด้ วยประการดังกล่าวมานี้แล ภิกษุช่ อื ว่าเป็ นผู้ค้ มุ ครองทวารในอินทรีย์ท้งั หลาย.
สติสมั ปชัญญะ
[๑๒๓] ดูกรมหาบพิตร อย่างไร ภิกษุช่ ือว่าเป็ นผู้ประกอบด้ วยสติสัมปชัญญะ? ดูกรมหาบพิตร ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมทาความ
รู้สกึ ตัวในการก้ าว ในการถอย ในการแล ในการเหลียว ในการคู้เข้ า ในการเหยียดออก ในการทรงสังฆาฏิ บาตรและจีวร ในการฉัน การดื่ม
การเคี้ยว การลิ้ม ในการถ่ ายอุจจาระปั สสาวะ ย่ อมทาความรู้สึกตัวในการเดิน การยืน การนั่ง การหลับ การตื่น การพูด การนิ่ง ดูกร
มหาบพิตร ด้ วยประการดังกล่าวมานี้แล ภิกษุช่ อื ว่าเป็ นผู้ประกอบด้ วยสติสมั ปชัญญะ.
สันโดษ
[๑๒๔] ดูกรมหาบพิตร อย่ างไร ภิกษุช่ ือว่ าเป็ นผู้สันโดษ? ดูกรมหาบพิตร ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็ นผู้สันโดษด้ วยจีวรเป็ นเครื่อง
บริหารกาย ด้ วยบิณฑบาตเป็ นเครื่องบริหารท้ อง เธอจะไปทางทิสาภาคใดๆ ก็ถอื ไปได้ เอง ดูกรมหาบพิตร นกมีปีกจะบินไปทางทิสาภาคใดๆ
ก็มแี ต่ปีกของตัวเป็ นภาระบินไปฉันใด ภิกษุกฉ็ ันนั้นแล เป็ นผู้สนั โดษด้ วยจีวรเป็ นเครื่องบริหารกาย ด้ วยบิณฑบาตเป็ นเครื่องบริหารท้ อง เธอ
จะไปทางทิสาภาคใดๆ ก็ถอื ไปได้ เอง ดูกรมหาบพิตร ด้ วยประการดังกล่าวมานี้แล ภิกษุช่ อื ว่าเป็ นผู้สนั โดษ.
[๑๒๕] ภิกษุน้นั ประกอบด้ วยศีลขันธ์ อินทรียสังวร สติสมั ปชัญญะและสันโดษอันเป็ นอริยะเช่นนี้แล้ ว ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด คือ
ป่ า โคนไม้ ภูเขา ซอกเขา ถา้ ป่ าช้ า ป่ าชัฏ ที่แจ้ ง ลอมฟาง ในกาลภายหลังภัต เธอกลับจากบิณฑบาตแล้ ว นั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดารงสติ
เฉพาะหน้ า เธอละความเพ่ งเล็งในโลก มีใจปราศจากความเพ่ งเล็งอยู่ ย่อมชาระจิตให้ บริสุทธิ์จากความเพ่ งเล็งได้ ละความประทุษร้ ายคือ
พยาบาท ไม่คิดพยาบาท มีความกรุณาหวังประโยชน์แก่สตั ว์ท้งั ปวงอยู่ ย่อมชาระจิตให้ บริสทุ ธิ์จากความประทุษร้ ายคือ พยาบาทได้ ละถีน
มิทธะแล้ ว เป็ นผู้ปราศจากถีนมิทธะ มีความกาหนดหมายอยู่ท่แี สงสว่าง มีสติสมั ปชัญญะอยู่ ย่อมชาระจิตให้ บริสทุ ธิ์จากถีนมิทธะได้ ละอุทธัจ
จะกุกกุจจะแล้ ว เป็ นผู้ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบ ณ ภายในอยู่ ย่อมชาระจิตให้ บริสทุ ธิ์จากอุทธัจจะกุกกุจจะได้ ละวิจิกจิ ฉาแล้ ว เป็ นผู้ข้ามวิจิกจิ ฉา
ไม่มคี วามคลางแคลงในกุศลธรรมทั้งหลายอยู่ ย่อมชาระจิตให้ บริสทุ ธิ์จาก วิจิกจิ ฉาได้ .

๘๔
ชีวติ พระ อริยวิถี
อุปมานิวรณ์
[๑๒๖] ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงกู้หนี้ไปประกอบการงาน การงาน ของเขาจะพึงสาเร็จผล เขาจะพึงใช้ หนี้ท่เี ป็ นต้ น
ทุนเดิมให้ หมดสิ้น และทรัพย์ท่เี ป็ นกาไรของเขา จะพึงมีเหลืออยู่สาหรับเลี้ยงภริยา เขาพึงมีความคิดเห็นอย่ างนี้ว่า เมื่อก่อนเรากู้หนี้ไป
ประกอบการงาน บัดนี้ การงานของเราสาเร็จผลแล้ ว เราได้ ใช้ หนี้ท่เี ป็ นต้ นทุนเดิมให้ หมดสิ้นแล้ ว และ ทรัพย์ท่เี ป็ นกาไรของเรายังมีเหลืออยู่
สาหรับเลี้ยงภริยา ดังนี้ เขาจะพึงได้ ความปราโมทย์ ถึงความ โสมนัส มีความไม่มหี นี้น้นั เป็ นเหตุ ฉันใด.
ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรษุ จะพึงเป็ นผู้มอี าพาธถึงความลาบาก เจ็บหนัก บริโภคอาหารไม่ได้ และไม่มีกาลังกาย สมัยต่อมา
เขาพึงหายจากอาพาธนั้น บริโภคอาหารได้ และมีกาลังกาย เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเราเป็ นผู้มีอาพาธถึงความลาบาก เจ็บห นัก
บริโภคอาหารไม่ได้ และไม่มีกาลังกาย บัดนี้ เราหายจากอาพาธนั้นแล้ ว บริโภคอาหารได้ และมีกาลังกายเป็ นปกติ ดังนี้ เขาจะพึงได้ ความ
ปราโมทย์ ถึงความโสมนัส มีความไม่มโี รคนั้น เป็ นเหตุ ฉันใด.
ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรษุ จะพึงถูกจาอยู่ในเรือนจา สมัยต่อมา เขาพึ งพ้ นจากเรือนจานั้นโดยสวัสดีไม่มภี ัย ไม่ต้องเสียทรัพย์
อะไรๆ เลย เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเราถูกจองจาอยู่ในเรือนจา บัดนี้ เราพ้ นจากเรือนจานั้นโดยสวัสดีไม่มภี ัยแล้ ว และเราไม่ต้อง
เสียทรัพย์อะไรๆ เลย ดังนี้ เขาจะพึงได้ ความปราโมทย์ ถึงความโสมนัส มีการพ้ นจากเรือนจานั้นเป็ นเหตุ ฉันใด.
ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงเป็ นทาส ไม่ได้ พ่ึงตัวเอง พึ่งผู้อ่นื ไปไหน ตามความพอใจไม่ได้ สมัยต่อมา เขาพึงพ้ นจาก
ความเป็ นทาสนั้น พึ่งตัวเอง ไม่ต้องพึ่งผู้อ่นื เป็ นไทยแก่ตวั ไปไหนได้ ตามความพอใจ เขาจะพึงมีความคิดเห็นอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเราเป็ นทาส
พึ่งตัวเองไม่ได้ ต้ องพึ่งผู้อ่นื ไปไหนตามความพอใจไม่ได้ บัดนี้ เราพ้ นจากความเป็ นทาสนั้น แล้ ว พึ่งตัวเอง ไม่ต้องพึ่งผู้อ่นื เป็ นไทยแก่ตวั
ไปไหนได้ ตามความพอใจ ดังนี้ เขาจะพึงได้ ความปราโมทย์ ถึงความโสมนัส มีความเป็ นไทยแก่ตวั นั้น เป็ นเหตุ ฉันใด.
ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษ มีทรัพย์ มีโภคสมบัติ พึงเดินทางไกลกันดาร หาอาหารได้ ยาก มีภัยเฉพาะหน้ า สมัยต่อมา เขา
พึงข้ ามพ้ นทางกันดารนั้นได้ บรรลุถึงหมู่บ้าน อันเกษมปลอดภัยโดยสวัสดี เขาจะพึงมีความคิดเห็นอย่ างนี้ว่า เมื่อก่อนเรามีทรัพย์ มี โภค
สมบัติ เดินทางไกลกันดาร หาอาหารได้ ยาก มีภัยเฉพาะหน้ า บัดนี้ เราข้ ามพ้ นทางกันดารนั้น บรรลุถึงหมู่บ้านอันเกษม ปลอดภัยโดยสวัสดี
แล้ ว ดังนี้ เขาจะพึงได้ ความปราโมทย์ ถึงความโสมนัส มีภมู สิ ถานอันเกษมนั้นเป็ นเหตุ ฉันใด.
ดูกรมหาบพิตร ภิกษุพิจารณาเห็นนิวรณ์ ๕ ประการเหล่านี้ท่ยี ังละไม่ได้ ในตนเหมือนหนี้ เหมือนโรค เหมือนเรือนจา เหมือนความ
เป็ นทาส เหมือนทางไกลกันดาร และเธอพิจารณาเห็นนิวรณ์ ๕ ประการที่ละได้ แล้ วในตน เหมือนความไม่มหี นี้ เหมือนความไม่มโี รค เหมือน
การพ้ นจากเรือนจา เหมือนความเป็ นไทยแก่ตน เหมือนภูมสิ ถานอันเกษม ฉันนั้นแล.
รูปฌาน ๔
[๑๒๗] เมื่อเธอพิจารณาเห็นนิวรณ์ ๕ เหล่านี้ ที่ละได้ แล้ วในตน ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อปราโมทย์แล้ วย่อมเกิดปี ติ เมื่อมีปีติในใจ
กายย่อมสงบ เธอมีกายสงบแล้ วย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสขุ จิตย่อมตั้งมั่น. เธอสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร
มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เธอทากายนี้แหละให้ ชุ่มชื่นเอิบอิ่มซาบซ่านด้ วยปี ติและสุขเกิดแต่วิเวก ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่ งกายของเธ อทั่ว
ทั้งตัว ที่ปีติและสุขเกิดแต่วิเวกจะไม่ถูกต้ อง
ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนพนักงานสรงสนาน หรือลูกมือพนักงานสรงสนานผู้ฉลาด จะพึงใส่จุรณ์สตี วั ลงในภาชนะสาริด แล้ วพรม
ด้ วยนา้ หมักไว้ ตกเวลาเย็นก้ อนจุรณ์สตี วั ซึ่งยาง ซึมไปจับติดกันทั่วทั้งหมด ย่อมไม่กระจายออก ฉันใด ภิกษุกฉ็ ันนั้นแล ทากายนี้แหละให้ ชุ่ม
ชื่นเอิบอิ่มซาบซ่ านด้ วยปี ติและสุขเกิดแต่วิเวก ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่ งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ปีติและสุขเกิดแต่วิเวกจะไม่ถูกต้ อง ดูกร
มหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดีย่งิ กว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้อก่อนๆ.
[๑๒๘] ดูกรมหาบพิตร อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุทุติยฌานมีความผ่องใสแห่ งจิตในภายใน เป็ นธรรมเอกผุดขึ้น เพราะวิตก วิจาร
สงบไป ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีปีติและสุข เกิดแต่สมาธิอยู่ เธอทากายนี้แหละ ให้ ชุ่มชื่นเอิบอิ่มซาบซ่ าน ด้ วยปี ติและสุขเกิดแต่สมาธิ ไม่มี
เอกเทศไหนๆ แห่ งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ปีติและสุขเกิดแต่สมาธิจะไม่ถูกต้ อง. ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนห้ วงนา้ ลึกมีนา้ ปั่ นป่ วน ไม่มี
ทางที่นา้ จะไหลมาได้ ทั้งในด้ านตะวันออก ด้ านใต้ ด้ านตะวันตก ด้ านเหนือ ทั้งฝนก็ไม่ตกเพิ่มตามฤดูกาล แต่สายนา้ เย็นพุข้ นึ จากห้ วงนา้ นั้น
แล้ ว จะพึงทาห้ วงนา้ นั้นแหละให้ ชุ่มชื่นเอิบอาบซาบซึมด้ วยนา้ เย็น ไม่มเี อกเทศไหนๆ แห่งห้ วงนา้ นั้นทั้งหมด ที่นา้ เย็นจะไม่พึงถูกต้ องฉันใด
ภิกษุกฉ็ ันนั้นแล ย่อมทากายนี้แหละ ให้ ชุ่มชื่นเอิบอิ่มซาบซ่านด้ วยปี ติและสุขเกิดแต่สมาธิ ไม่มเี อกเทศไหนๆ แห่งกายของเธอทั่วทั้งตั ว ที่ปีติ
และสุขเกิดแต่สมาธิจะไม่ถูกต้ อง ดูกรมหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดีย่ิงกว่ า ทั้งประณีตกว่ าสามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้อ
ก่อนๆ.
[๑๒๙] ดูกรมหาบพิตร อีกประการหนึ่ง ภิกษุมอี เุ บกขา มีสติ มีสมั ปชัญญะ เสวยสุข ด้ วยนามกาย เพราะปี ติส้ นิ ไป บรรลุตติยฌาน ที่
พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่าผู้ได้ ฌานนี้ เป็ นผู้มอี เุ บกขา มีสติ อยู่เป็ นสุข เธอทากายนี้ให้ ชุ่มชื่ นเอิบอิ่มซาบซ่านด้ วยสุขอันปราศจากปี ติ ไม่มี
เอกเทศไหนๆ แห่ งกายของเธอทั่วทั้งตัวที่สขุ ปราศจากปี ติจะไม่ถูกต้ อง ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนในกอบัวขาบ ในกอบัวหลวง หรือใน

๘๕
ชีวติ พระ อริยวิถี
กอบัวขาว ดอกบัวขาบ ดอกบัวหลวง หรือดอกบัวขาว บางเหล่าซึ่งเกิดในนา้ เจริญในนา้ ยังไม่พ้นนา้ จมอยู่ในนา้ นา้ หล่อเลี้ยงไว้ ดอกบัว
เหล่านั้น ชุ่มชื่นเอิบอาบซาบซึมด้ วยนา้ เย็นตลอดยอด ตลอดเง่า ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่ งดอกบัวขาบ ดอกบัวหลวง หรือดอกบัวขาว ทั่วทุก
ส่วน ที่นา้ เย็นจะไม่พึงถูกต้ อง ฉันใด ภิกษุกฉ็ ันนั้นแล ย่อมทากายนี้แหละให้ ชุ่มชื่นเอิบอิ่มซาบซ่านด้ วยสุขปราศจากปี ติ ไม่มีเอกเทศ ไหนๆ
แห่ งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่สขุ ปราศจากปี ติจะไม่ถูกต้ อง ดูกรมหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดีย่ิงกว่า ทั้งประณีตกว่ าสามัญ
ผลที่เห็นประจักษ์ข้อก่อนๆ.
[๑๓๐] ดูกรมหาบพิตร อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่ มีสขุ เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ
ได้ มีอุเบกขาเป็ นเหตุให้ สติบริสทุ ธิ์อยู่ เธอนั่งแผ่ไปทั่วกายนี้แหละ ด้ วยใจอันบริสทุ ธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มีเอกเทศไหนๆ แห่ งกายของเธอ ทั่วทั้งตัว
ที่ใจอันบริสทุ ธิ์ผ่องแผ้ วจะไม่ถูกต้ อง ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรษุ จะพึงนั่ง คลุมตัวตลอดศีรษะด้ วยผ้ าขาว ไม่มเี อกเทศไหนๆ แห่งกาย
ทุกๆ ส่วนของเขาที่ผ้าขาวจะไม่ถูกต้ อง ฉันใด ภิกษุกฉ็ ันนั้นแล เธอนั่งแผ่ไปทั่วกายนี้แหละด้ วยใจอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มีเอกเทศไหนๆ
แห่ งกายของเธอทั่วทั้งตัว ที่ใจอันบริสทุ ธิ์ผ่องแผ้ วจะไม่ถูกต้ อง ดูกรมหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดีย่ิงกว่า ทั้งประณีตกว่า
สามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้อก่อนๆ.
วิชชา ๘
วิปัสสนาญาณ
[๑๓๑] ภิกษุน้นั เมื่อจิตเป็ นสมาธิบริสทุ ธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มกี เิ ลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อม
โน้ มน้ อมจิตไปเพื่อญาณทัสนะ เธอย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า กายของเรานี้แล มีรปู ประกอบด้ วยมหาภูต ๔ เกิดแต่มารดาบิดา เติบโตขึ้นด้ วยข้ าวสุก
และขนมสดไม่เที่ยง ต้ องอบ ต้ องนวดฟั้น มีอนั ทาลายและกระจัดกระจายเป็ นธรรมดาและวิญญาณของเรานี้ ก็อาศัยอยู่ในกายนี้ เนื่องอยู่ใน
กายนี้ ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนแก้ วไพฑูรย์อนั งาม เกิดเองอย่างบริสทุ ธิ์ แปดเหลี่ยม นายช่างเจียระไนดีแล้ ว สุกใสแวววาว สมส่วนทุก
อย่าง มีด้ายเขียวเหลืองแดงขาวหรือนวลร้ อยอยู่ในนั้น บุรษุ มีจักษุจะพึงหยิบแก้ วไพฑูรย์น้นั วางไว้ ในมือแล้ วพิจารณาเห็นว่า แก้ วไพฑูรย์น้ งี าม
เกิดเองอย่างบริสทุ ธิ์แปดเหลี่ยม นายช่างเจียระไนดีแล้ ว สุกใสแวววาว สมส่วนทุกอย่าง มีด้ายเขียวเหลืองแดง ขาวหรือนวลร้ อยอยู่ในแก้ ว
ไพฑูรย์น้ันฉันใด ภิกษุกฉ็ ันนั้นแล เมื่อจิตเป็ นสมาธิบริสทุ ธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มีกเิ ลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว
อย่างนี้ ย่อมโน้ มน้ อมจิตไปเพื่อญาณทัสนะ เธอย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า กายของเรานี้แลมีรูป ประกอบด้ วยมหาภูต ๔ เกิดแต่มารดาบิดา เติบโต
ด้ วยข้ าวสุกและขนมสด ไม่เที่ยง ต้ องอบ ต้ องนวดฟั้น มีอนั ทาลายกระจัดกระจายเป็ นธรรมดา และวิญญาณของเรานี้กอ็ าศัยอยู่ในกายนี้ เนื่อง
อยู่ในกายนี้ ดูกรมหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดีย่งิ กว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญผลที่เห็น ประจักษ์ข้อก่อนๆ.
มโนมยิทธิญาณ
[๑๓๒] ภิกษุน้ัน เมื่อจิตเป็ นสมาธิบริสุทธิ์ ผ่องแผ้ ว ไม่มีกเิ ลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้
ย่อมโน้ มน้ อมจิตไปเพื่อนิรมิต รูปอันเกิดแต่ใจ คือนิรมิตรกายอื่นจากกายนี้ มีรปู เกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้ อยใหญ่ครบถ้ วน มีอนิ ทรีย์ไม่ บกพร่ อง
ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรษุ จะพึงชักไส้ ออกจากหญ้ าปล้ อง เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า นี้หญ้ าปล้ อง นี้ไส้ หญ้ าปล้ องอย่างหนึ่ง ไส้ อย่าง
หนึ่ง ก็แต่ไส้ ชักออกจากหญ้ าปล้ องนั่นเอง อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงชักดาบออกจากฝัก เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า นี้ดาบ นี้ฝัก
ดาบอย่างหนึ่ง ฝักอย่างหนึ่ง ก็แต่ดาบชักออกจากฝักนั่นเอง อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงชักงูออกจากคราบ เขาจะพึงคิดเห็นอย่า งนี้
ว่า นี้งู นี้คราบ งูอย่างหนึ่ง คราบอย่างหนึ่ง ก็แต่งูชักออกจากคราบนั่นเอง ฉันใด ภิกษุกฉ็ ันนั้นแล เมื่อจิตเป็ นสมาธิบริสทุ ธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มกี เิ ลส
ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ เธอย่อมโน้ มน้ อมจิตไปเพื่อนิรมิตรูปอันเกิดแต่ใจ คือนิรมิตกายอื่ นจาก
กายนี้ มีรูปเกิดแต่ใจ มีอวัยวะน้ อยใหญ่ ครบถ้ วน มีอินทรีย์ไม่บกพร่ อง ดูกรมหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดีย่ิงกว่ า ทั้ง
ประณีตกว่าสามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้อก่อนๆ.
อิทธิวิธญาณ
[๑๓๓] ภิกษุน้ัน เมื่อจิตเป็ นสมาธิบริสทุ ธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มีกเิ ลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้
ย่อมโน้ มน้ อมจิตไปเพื่ออิทธิวิธี เธอบรรลุอทิ ธิวิธหี ลายประการ คือ คนเดียวเป็ นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็ นคนเดียวก็ได้ ทาให้ ปรากฏก็ได้
ทาให้ หายก็ได้ ทะลุฝากาแพงภูเขาไปได้ ไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้นดาลง แม้ ในแผ่นดินเหมือนในนา้ ก็ได้ เดินบนนา้ ไม่แตก
เหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ เหาะไปในอากาศ เหมือนนกก็ได้ ลูบคลาพระจันทร์พระอาทิตย์ซ่งึ มีฤทธิ์มอี านุภาพมากด้ วยฝ่ ามือก็ได้ ใช้ อานาจ
ทางกายไปตลอดพรหมโลกก็ได้ ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนช่างหม้ อหรือลูกมือของช่างหม้ อผู้ฉลาด เมื่อนวดดินดีแล้ ว ต้ องการภาชนะ
ชนิดใดๆ พึงทาภาชนะชนิดนั้นๆ ให้ สาเร็จได้ อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนช่างงาหรือลูกมือของช่างงาผู้ฉลาด เมื่อแต่งงาดีแล้ ว ต้ องการเครื่อง
งาชนิดใดๆ พึงทาเครื่องงาชนิดนั้นๆ ให้ สาเร็จได้ อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนช่างทองหรือลูกมือ ของช่างทองผู้ฉลาด เมื่อหลอมทองดีแล้ ว
ต้ องการทองรูปพรรณชนิดใดๆ พึงทาทองรูปพรรณชนิดนั้นๆ ให้ สาเร็จได้ ฉันใด ภิกษุกฉ็ ันนั้นแล เมื่อจิตเป็ นสมาธิบริสทุ ธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มี
กิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้ มน้ อมจิตไป เพื่ออิทธิวิธี เธอบรรลุอทิ ธิวิธหี ลายประการ คือ

๘๖
ชีวติ พระ อริยวิถี
คนเดียวเป็ นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็ นคนเดียว ก็ได้ ทาให้ ปรากฏก็ได้ ทาให้ หายไปก็ได้ ทะลุฝากาแพงไปได้ ไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็
ได้ ผุดขึ้นดาลงในแผ่นดินเหมือนในนา้ ก็ได้ เดินบนนา้ ไม่แตกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ เหาะไป ในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลาพระจันทร์
พระอาทิตย์ ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุ ภาพมากด้ วยฝ่ ามือก็ได้ ใช้ อานาจทางกายไปตลอดพรหมโลกก็ได้ ดูกรมหาบพิ ตร นี้แหละสามัญผลที่เห็น
ประจักษ์ ทั้งดี ยิ่งกว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้อก่อนๆ.
ทิพยโสตญาณ
[๑๓๔] ภิกษุน้ัน เมื่อจิตเป็ นสมาธิบริสทุ ธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มีกเิ ลส ปราศจากกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อม
โน้ มน้ อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ เธอย่อมได้ ยินเสียง ๒ ชนิด คือเสียงทิพย์และเสียงมนุษย์ ทั้งที่อยู่ไกลและใกล้ ด้วยทิพยโสตธาตุ อันบริสทุ ธิ์
ล่ วงโสตของมนุ ษย์ ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษเดินทางไกล เขาจะพึงได้ ยินเสียงกลองบ้ าง เสียงตะโพนบ้ าง เสียงสั งข์บ้าง เสียง
บัณเฑาะว์บ้าง เสียงเปิ งมางบ้ าง เขาจะพึงเข้ าใจว่า เสียงกลองดังนี้บ้าง เสียงตะโพนดังนี้บ้าง เสียงสังข์ดงั นี้บ้าง เสียงบัณเฑาะว์ ดงั นี้บ้าง เสียง
เปิ งมางดังนี้บ้าง ฉันใด ภิกษุกฉ็ ันนั้นแล เมื่อจิตเป็ นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่
หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้ มน้ อมจิตไปเพื่อทิพยโสตธาตุ เธอย่อมได้ ยินเสียง ๒ ชนิด คือเสียงทิพย์และเสียงมนุษย์ ทั้งที่อยู่ไกล และใกล้ ด้วย
ทิพยโสตธาตุอันบริสุทธิ์ล่วงโสตของมนุ ษย์ ดูกรมหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดีย่ิงกว่ า ทั้งประณีตกว่ าสามัญผลที่เ ห็น
ประจักษ์ข้อก่อนๆ.
เจโตปริยญาณ
[๑๓๕] ภิกษุน้นั เมื่อจิตเป็ นสมาธิบริสทุ ธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มกี เิ ลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อม
โน้ มน้ อมจิตไปเพื่อเจโตปริยญาณ เธอย่อมกาหนดรู้ใจของสัตว์อ่นื ของบุคคลอื่นด้ วยใจ คือจิตมีราคะ ก็ร้ วู ่าจิตมีราคะ หรือจิตปราศจากราคะ
ก็ร้ ูว่าจิตปราศจากราคะ จิตมีโทสะ ก็ร้ ูว่าจิตมีโทสะ หรือจิตปราศจากโทสะ ก็ร้ ูว่าจิตปราศจากโทสะ จิตมีโมหะ ก็ร้ ูว่าจิตมีโมหะ หรือ จิต
ปราศจากโมหะ ก็ร้ วู ่าจิตปราศจากโมหะ จิตหดหู่ ก็ร้ วู ่าจิตหดหู่ หรือจิตฟุ้ งซ่าน ก็ร้ วู ่าจิตฟุ้ งซ่าน จิตเป็ นมหรรคต ก็ร้ วู ่าจิตเป็ นมหรรคต หรือ
จิตไม่เป็ นมหรรคต จิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็ร้ วู ่าจิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า หรือจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็ร้ วู ่าจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่ า จิตเป็ นสมาธิ ก็ร้ วู ่าจิตเป็ น
สมาธิ หรือจิตไม่เป็ นสมาธิ ก็ร้ วู ่าจิตไม่เป็ นสมาธิ จิตหลุดพ้ น ก็ร้ วู ่าจิตหลุดพ้ น หรือจิตไม่หลุดพ้ น ก็ร้ วู ่าจิตไม่หลุดพ้ น
ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนหญิงสาวชายหนุ่มที่ชอบการแต่งตัว เมื่อส่องดูเงาหน้ าของตน ในกระจกอันบริสทุ ธิ์สะอาด หรือใน
ภาชนะนา้ อันใส หน้ ามีไฝ ก็จะพึงรู้ว่าหน้ ามีไฝ หรื อหน้ าไม่มีไฝ ก็จะพึงรู้ว่าหน้ าไม่มีไฝ ฉันใด ภิกษุกฉ็ ันนั้นแล เมื่อจิตเป็ นสมาธิบริสทุ ธิ์ผ่อง
แผ้ ว ไม่มีกเิ ลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ย่อมโน้ มน้ อมจิตไปเพื่อเจโตปริยญาณ เธอย่อมกาหนดรู้
ใจของสัตว์อ่นื ของบุคคลอื่นด้ วยใจ คือ จิตมีราคะ ก็ร้ วู ่าจิตมีราคะ หรือจิตปราศจากราคะ ก็ร้ วู ่าจิตปราศจากราคะ จิตมีโทสะ ก็ร้ วู ่าจิตมีโทสะ
หรือจิตปราศจากโทสะ ก็ร้ วู ่าจิตปราศจากโทสะ จิตมีโมหะ ก็ร้ วู ่าจิตมีโมหะ หรือจิตปราศจากโมหะ ก็ร้ วู ่าจิตปราศจากโมหะ จิตหดหู่ ก็ร้ ู ว่าจิต
หดหู่ หรือจิตฟุ้ งซ่าน ก็ร้ วู ่าจิตฟุ้ งซ่าน จิตเป็ นมหรรคต ก็ร้ วู ่าจิตเป็ นมหรรคต หรือจิตไม่เป็ นมหรรคต ก็ร้ วู ่าจิตไม่เป็ นมหรรคต จิตมีจิตอื่นยิ่ง
กว่า ก็ร้ วู ่าจิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า หรือจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็ร้ วู ่าจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า จิตเป็ นสมาธิ ก็ร้ วู ่าจิตเป็ นสมาธิ หรือจิตไม่เป็ นสมาธิ ก็ร้ วู ่า
จิตไม่เป็ นสมาธิ จิตหลุดพ้ น ก็ร้ วู ่าจิตหลุดพ้ น หรือจิตไม่หลุดพ้ น ก็ร้ วู ่าจิตไม่หลุดพ้ น ดูกรมหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ท้งั ดีย่งิ
กว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้อก่อนๆ.
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
[๑๓๖] ภิกษุน้ัน เมื่อจิตเป็ นสมาธิบริสุทธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้
ย่อมโน้ มน้ อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสสติญาณ เธอย่อมระลึกชาติก่อนได้ เป็ นอันมาก คือ ระลึกได้ ชาติหนึ่งบ้ าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้า ง สี่
ชาติบ้าง ห้ าชาติบ้าง สิบชาติบ้ าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้ าสิบ ชาติบ้าง ร้ อยชาติบ้าง พั นชาติบ้าง แสนชาติบ้าง
ตลอดสังวัฏฏกัปเป็ นอันมากบ้ าง ตลอดวิวัฏฏกัปเป็ นอันมากบ้ าง ตลอดสังวัฏฏวิวัฏฏกัปเป็ นอันมากบ้ างว่า ในภพโน้ นเรามีช่ ืออย่ างนั้น มี
โคตรอย่างนั้น มีผวิ พรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มีกาหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุตจิ ากภพนั้นแล้ วได้ ไปเกิด
ในภพโน้ น แม้ ในภพนั้น เราก็ได้ มชี ่ อื อย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผวิ พรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มี กาหนด
อายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุตจิ ากภพนั้นแล้ วได้ ไปเกิดในภพนี้ เธอย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้ เป็ นอันมาก
พร้ อมทั้งอาการ พร้ อมทั้งอุเทศ ด้ วยประการฉะนี้ ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรษุ จะพึงจากบ้ านตนไปบ้ านอื่น แล้ วจากบ้ านนั้นไป
ยังบ้ านอื่นอีก จากบ้ านนั้นกลับมาสู่บ้านของตนตามเดิม เขาจะพึงระลึก ได้ อย่างนี้ว่า เราได้ จากบ้ านของเราไปบ้ านโน้ น ในบ้ านนั้น เราได้ ยืน
อย่างนั้น ได้ น่ังอย่างนั้น ได้ พูดอย่างนั้น ได้ น่ิงอย่างนั้น เราได้ จากบ้ านแม้ น้นั ไปยังบ้ านโน้ น แม้ ในบ้ านนั้นเราก็ได้ ยืนอย่างนั้ น ได้ น่ังอย่างนั้น
ได้ พูดอย่างนั้น ได้ น่ิงอย่างนั้น แล้ วเรากลับจากบ้ านนั้น มาสู่บ้านของตนตามเดิม ดังนี้ ฉันใด ภิกษุกฉ็ ันนั้นแล เมื่อจิตเป็ นสมาธิบริสทุ ธิ์ผ่อง
แผ้ ว ไม่มกี เิ ลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อมโน้ มน้ อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสสติญาณ เธอย่อม
ระลึกถึงชาติก่อนได้ เป็ นอันมาก คือ ระลึกได้ หนึ่งชาติบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติบ้าง ห้ าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สบิ ชาติบ้าง สามสิบ

๘๗
ชีวติ พระ อริยวิถี
ชาติบ้าง สี่สบิ ชาติบ้าง ห้ าสิบชาติบ้าง ร้ อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัปเป็ นอันมากบ้ าง ตลอดวิวัฏฏกัปเป็ นอันมาก
บ้ าง ตลอดสังวัฏฏกัปเป็ นอัน มากบ้ างว่า ในภพโน้ น เรามีช่ ืออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขทุกข์
อย่างนั้นๆ มีกาหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุตจิ ากภพนั้นแล้ วได้ ไปเกิดในภพโน้ น แม้ ในภพนั้นเราก็มชี ่ อื นั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผวิ พรรณอย่าง
นั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขทุกข์อย่างนั้นๆ มีกาหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ วได้ มาเกิดในภพนี้ เธอย่อมระลึกถึงชาติก่อน
ได้ เป็ นอันมาก พร้ อมทั้งอาการ พร้ อมทั้งอุเทศ ด้ วยประการฉะนี้ ดูกรมหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดีย่งิ กว่า ทั้งประณีตกว่า
สามัญผลที่เห็นประจักษ์ ข้ อก่อนๆ.
จุตปู ปาตญาณ
[๑๓๗] ภิกษุน้ันเมื่อจิตเป็ นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้
ย่อมโน้ มน้ อมจิตไปเพื่อรู้จุติและอุปบัตขิ องสัตว์ท้งั หลาย เธอเห็นหมู่สตั ว์ท่กี าลังจุติ กาลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม
ได้ ดี ตกยาก ด้ วยทิพยจักษุอนั บริสทุ ธิ์ ล่วง จักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สตั ว์ ผู้เป็ นไปตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ประกอบด้ วยกายทุจริต วจี
ทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยเจ้ า เป็ นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทาด้ วยอานาจมิจฉาทิ ฏฐิ เบื้องหน้ าแต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้ าถึง
อบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ประกอบด้ วยกายสุจริต วจีสจุ ริต มโนสุจริต ไม่ตเิ ตียนพระอริยเจ้ า เป็ นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทา
ด้ วยอานาจสัมมาทิฏฐิ เบื้องหน้ าแต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้ าถึงสุคติโลกสวรรค์ ดั งนี้ เธอย่อมเห็นหมู่สตั ว์ท่กี าลังจุติ กาลังอุปบัติ เลว
ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ ดี ตกยาก ด้ วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่ วงจักษุของมนุษย์ ย่ อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผ้ ูเป็ นไปตามกรรม
ด้ วยประการฉะนี้
เปรียบเหมือนปราสาทตั้งอยู่ ณ ทาง ๓ แพร่ งท่ามกลางพระนคร บุรุษผู้มีจักษุยืนอยู่บนปราสาทนั้น จะพึงเห็นหมู่ชนกาลังเข้ าไปสู่
เรือนบ้ าง กาลังออกจากเรือนบ้ าง กาลังสัญจรเป็ นแถวอยู่ในถนนบ้ าง นั่งอยู่ท่ที าง ๓ แพร่งท่ามกลางพระนครบ้ าง เขาจะพึงรู้ว่า คนเหล่านี้เข้ า
ไปสู่เรือน เหล่านี้ออกจากเรือนเหล่านี้สญ ั จรเป็ นแถวอยู่ในถนน เหล่านี้น่งั อยู่ท่ที าง ๓ แพร่งท่ามกลางพระนคร ฉันใด ภิกษุกฉ็ ันนั้นแล เมื่อ
จิตเป็ นสมาธิ บริสทุ ธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มีกเิ ลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงานตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ย่อมโน้ มน้ อมจิตไปเพื่อรู้จุตแิ ละ
อุปบัติของสัตว์ท้งั หลาย เธอเห็นหมู่สตั ว์ท่กี าลังจุติ กาลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ ดี ตกยากด้ วยทิพยจักษุอัน
บริสทุ ธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สตั ว์ผ้ เู ป็ นไปตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ประกอบด้ วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริย
เจ้ า เป็ นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทาด้ วยอานาจมิจฉาทิฏฐิ เบื้องหน้ าแต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้ าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์
เหล่านี้ประกอบด้ วยกายสุจริต วจีสจุ ริต มโนสุจริต ไม่ติเตียน พระอริยเจ้ า เป็ นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทาด้ วยอานาจสัมมาทิฏฐิ เบื้อ งหน้ า
แต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้ าถึงสุคติโลกสวรรค์ ดังนี้ เธอย่อมเห็นหมู่สตั ว์ท่กี าลังจุติ กาลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผวิ พรรณดี มีผวิ พรรณ
ทราม ได้ ดี ตกยาก ด้ วยทิพยจักษุอนั บริสทุ ธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สตั ว์ ผู้เป็ นไปตามกรรม ด้ วยประการฉะนี้ ดูกรมหาบพิตร นี้
แหละ สามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดีย่งิ กว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้อก่อนๆ.
อาสวักขยญาณ
[๑๓๘] ภิกษุน้ันเมื่อจิตเป็ นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้
ย่อมโน้ มน้ อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ ย่อมรู้ชัดตามเป็ นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทยั นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เหล่านี้อาสวะ นี้
อาสวสมุทยั นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อเธอรู้เห็นอย่างนี้ จิตย่อมหลุดพ้ นแม้ จากกามาสวะ แม้ จากภวาสวะ แม้ จากอวิชช า
สวะ เมื่อจิตหลุดพ้ นแล้ ว ก็มีญาณว่า หลุดพ้ นแล้ ว. รู้ชัดว่าชาติส้ นิ แล้ ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ ว กิจที่ควรทา ทาเสร็จแล้ ว กิจอื่นเพื่อความเป็ น
อย่างนี้มไิ ด้ ม.ี
ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนสระน้ าบนยอดเขาใสสะอาด ไม่ขุ่นมัว บุรุษผูม้ ีจกั ษุยืนอยู่บนขอบสระนั้น จะพึงเห็นหอยโข่งและ
หอยกาบต่างๆ บ้าง ก้อนกรวดและ ก้อนหิ นบ้าง ฝูงปลาบ้าง กาลังว่ายอยู่บา้ ง หยุดอยู่บา้ ง ในสระน้ า เขาจะพึงคิดอย่างนี้ ว่า สระน้ านี้
ใสสะอาด ไม่ขุ่นมัว หอยโข่งและหอยกาบต่างๆ บ้าง ก้อนกรวดและก้อนหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง เหล่านี้ กาลังว่ายอยู่บา้ ง กาลังหยุดอยู่บา้ ง
ในสระน้ านั้น ดังนี้ ฉันใด ภิกษุก็ฉนั นั้น แล เมือ่ จิ ตเป็ นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมัน่
ไม่หวันไหวอย่
่ างนี้ ย่อมโน้มน้อมจิ ตไปเพือ่ อาสวักขยญาณ ย่อมรูช้ ดั ตามความเป็ นจริงว่า นี้ ทุกข์ นี้ ทุกขสมุทยั นี้ ทุกขนิโรธ นี้ ทุกขนิโรธ
คามินีปฏิปทา เหล่านี้ อาสวะ นี้อาสวสมุทยั นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา เมื่อเธอรู้เห็นอย่างนี้ จิตย่อมหลุดพ้ นแม้ จากกามาสวะ
แม้ จากภวาสวะ แม้ จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้ นแล้ ว ก็มีญาณว่าหลุดพ้ นแล้ ว รู้ชัดว่าชาติส้ นิ แล้ ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ ว กิจที่ควรทา ทา
เสร็จแล้ ว กิจอื่นเพื่อความเป็ นอย่ างนี้มิได้ มี ดูกรมหาบพิตร นี้แหละสามัญผลที่เห็นประจักษ์ ทั้งดีย่ิงกว่ า ทั้งประณีตกว่ าสามัญผลที่เห็น
ประจักษ์ข้อก่อนๆ ดูกรมหาบพิตร ก็สามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้ออื่น ทั้งดีย่งิ กว่า ทั้งประณีตกว่าสามัญผลที่เห็นประจักษ์ข้อนี้ ย่อมไม่ม.ี
พระเจ้ าอชาตศัตรูแสดงพระองค์เป็ นอุบาสก
[๑๓๙] เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ ว พระเจ้ าแผ่นดินมคธ พระนามว่า อชาตศัตรู เวเทหีบุตร ได้ กราบทูลพระดารัสนี้กะพระ

๘๘
ชีวติ พระ อริยวิถี
ผู้มีพระภาคว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้ งนัก ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้ งนัก เปรียบเห มือน
หงายของที่คว่า เปิ ดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีปในที่มดื ด้ วยคิดว่า ผู้มจี ักษุจักเห็นรูป ดังนี้ ฉันใด พระผู้มพี ระภาคทรง
ประกาศพระธรรมโดยอเนกปริยาย ฉันนั้น เหมือนกัน ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ หม่อมฉันนี้ ขอถึงพระผู้มีพระภาค พระธรรมและพระสงฆ์ว่า
เป็ นสรณะ ขอพระผู้มพี ระภาคจงทรงจาหม่อมฉันว่าเป็ นอุบาสก ผู้ถงึ สรณะตลอดชีวิต ตั้งแต่วันนี้เป็ นต้ นไป โทษได้ ครอบงาหม่อมฉัน ซึ่งเป็ น
คนเขลา คนหลง ไม่ฉลาด หม่อมฉัน ได้ ปลงพระชนมชีพ พระบิดาผู้ดารงธรรม เป็ นพระราชาโดยธรรมเพราะเหตุแห่งความเป็ นใหญ่ ขอพระ
ผู้มพี ระภาคจงทรงรับทราบความผิดของหม่อมฉันโดยเป็ นความผิดจริง เพื่อสารวมต่อไป.
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า จริง จริง ความผิดได้ ครอบงามหาบพิตรซึ่งเป็ นคนเขลา คนหลง ไม่ฉลาด มหาบพิตรได้ ปลงพระชนม
ชีพพระบิดาผู้ดารงธรรม เป็ นพระราชาโดยธรรม เพราะเหตุแห่ งความเป็ นใหญ่ แต่เพราะมหาบพิตรทรงเห็ นความผิดโดยเป็ นความผิดจริง
แล้ ว ทรงสารภาพตามเป็ นจริง ฉะนั้น อาตมภาพ ขอรับทราบความผิดของมหาบพิตร ก็การที่บุคคลเห็นความผิดโดยเป็ นความผิดจริง แล้ ว
สารภาพตามเป็ นจริงรับสังวรต่อไป นี้เป็ นความชอบในวินัยของพระอริยเจ้ าแล.
[๑๔๐] เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ ว ท้ าวเธอได้ กราบทูลลาว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ถ้ าเช่นนั้นหม่อมฉันขอทูลลาไปในบัดนี้
หม่อมฉันมีกจิ มาก มีกรณียะมาก พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ขอมหาบพิตรทรงสาคัญเวลา ณ บัดนี้เถิด. ครั้งนั้นแล พระเจ้ าแผ่นดินมคธพระ
นามว่ า อชาตศั ตรู เวเทหีบุตร ทรงเพลิดเพลินยินดีภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล้ ว เสด็จลุกจากอาสนะ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค ทรง
กระทาประทักษิณแล้ วเสด็จไป. เมื่อท้ าวเธอเสด็จไปไม่นาน พระผู้มพี ระภาคตรัสกะภิกษุท้งั หลายว่า ดูกรภิกษุท้ งั หลาย พระราชาพระองค์นี้
ถูกขุดเสียแล้ว พระราชาพระองค์นี้ถูกขจัดเสียแล้ว หากท้าวเธอจักไม่ปลงพระชนมชีพพระบิดาผูด้ ารงธรรม เป็ นพระราชาโดยธรรม
ไซร้ ธรรมจักษุ ปราศจากธุ ลี ปราศจากมลทิน จักเกิดขึ้ นแก่ทา้ วเธอ ณ ที่ประทับนี้ ทีเดียว. พระผู้มีพระภาคได้ ตรัสคาเป็ นไวยากรณ์น้ ี
แล้ ว. ภิกษุเหล่านั้นชื่นชมยินดีภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล้ วแล.
......................................................

๘๙
ชีวติ พระ อริยวิถี
๘. ความสุข = ความสบาย, ความสาราญ, คล่อง, สะดวก
๘.๑ สุข ๒ (ความสุข - pleasure; happiness) องฺ.ทุก.๒๐/๓๑๕/๗๕
1. กายิกสุข (สุขทางกาย - bodily happiness)
2. เจตสิกสุข (สุขทางใจ - mental happiness)
[๓๑๕] ดูกรภิกษุท้งั หลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็ นไฉน คือ กายิกสุข ๑ เจตสิกสุข ๑ ดูกรภิกษุท้งั หลาย สุข ๒ อย่างนี้แล
ดูกรภิกษุท้งั หลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ เจตสิกสุขเป็ นเลิศ ฯ
เวทนา ๒ (การเสวยอารมณ์ - feeling; sensation) ส.สฬ.๑๘/๔๓๑/๒๔๔
1. กายิกเวทนา (เวทนาทางกาย - physical feeling)
2. เจตสิกเวทนา (เวทนาทางใจ - mental feeling)
อัฏฐสตปริยายสูตร ส.สฬ.๑๘/๔๓๐/๒๔๔
ประเภทแห่ งเวทนา
[๔๓๑] ดูกอ ่ นภิกษุ ทง้ ั หลาย ก็เวทนา ๒ เป็ นไฉน. เวทนา ๒ คือ เวทนาทางกาย ๑ เวทนาทางใจ ๑ เหล่านี้เราเรียกว่า เวทนา ๒.
[๔๓๒] ก็เวทนา ๓ เป็ นไฉน. เวทนา ๓ คือ สุขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ อทุกขมสุขเวทนา ๑ เหล่านี้เราเรียกว่า เวทนา ๓.
[๔๓๓] ก็เวทนา ๕ เป็ นไฉน. เวทนา ๕ คือ สุขน ิ ทรีย์ ๑ ทุกขินทรีย์ ๑ โสมนัสสินทรีย์ ๑ โทมนัสสินทรีย์ ๑ อุเบกขินทรีย์ ๑ เหล่านี้ เราเรียกว่า
เวทนา ๕.
[๔๓๔] ก็เวทนา ๖ เป็ นไฉน. เวทนา ๖ คือ จักขุสม ั ผัสสชาเวทนา ๑ โสตสัมผัสสชาเวทนา ๑ ฆานสัมผัสสชาเวทนา ๑ ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา ๑
กายสัมผัสสชาเวทนา ๑ มโนสัมผัสสชาเวทนา ๑ เหล่านี้ เราเรียกว่า เวทนา ๖.
[๔๓๕] ก็เวทนา ๑๘ เป็ นไฉน. เวทนา ๑๘ คือ เวทนาที่สหรคตด้วยโสมนัส ๖ เวทนาที่สหรคตด้วยโทมนัส ๖ เวทนาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ๖
เหล่านี้ เราเรียกว่าเวทนา ๑๘.
[๔๓๖] ก็เวทนา ๓๖ เป็ นไฉน. เวทนา ๓๖ คือ เคหสิตโสมนัส ๖ เนกขัมมสิตโสมนัส ๖ เคหสิตโทมนัส ๖ เนกขัมมสิตโทมนัส ๖ เคหสิตอุเบกขา ๖
เนกขัมมสิตอุเบกขา ๖ เหล่านี้เราเรียกว่าเวทนา ๓๖.
[๔๓๗] เวทนา ๑๐๘ เป็ นไฉน. เวทนา ๑๐๘ คือ เวทนาทีเ่ ป็ นอดีต ๓๖ ทีเ่ ป็ นอนาคต ๓๖ ทีเ่ ป็ นปัจจุบน ั ๓๖ เหล่านี้ เราเรียกว่า เวทนา ๑๘ ดูกอ ่ น
ภิกษุ ทง้ ั หลาย ธรรมปริยายอันมีปริยาย ๑๘ แม้นี้แล.
......................................
ทีฆนขสูตร ม.ม.๑๓/๒๖๙/๒๐๔
ทรงแสดงเวทนา ๓ โปรดทีฆนขปริพาชก พระสารีบุตรบรรลุอรหัต
[๒๗๓] อัคคิเวสสนะ เวทนา ๓ อย่างนี้ คือ สุขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ อทุกขมสุขเวทนา ๑
......................................

๘.๒ ความสุขจัดเป็ น ๓ ระดับ


๑. สามิสสุข สุขอาศัยอามิส
๒. นิรามิสสุข สุขไม่อาศัยอามิส ฌาน ๓ ขั้นต้ น
๓. นิรามิสตรสุข สุขยิ่งกว่านิรามิสสุข
สุข ๒ (ความสุข - pleasure; happiness) องฺ.ทุก.๒๐/๓๑๓/๗๔
1. สามิสสุข (สุขอิงอามิส, สุขอาศัยเหยื่อล่อ, สุขจากวัตถุคือกามคุณ - carnal or sensual happiness)
2. นิรามิสสุข (สุขไม่อิงอามิส, สุขไม่ต้องอาศัยเหยื่อล่อ, สุขปลอดโปร่งเพราะใจสงบหรือได้ ร้ ูแจ้ งตามเป็ นจริง -
happiness independent of material things or sensual desires; spiritual happiness)
[๓๑๓] ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็ นไฉน คือ สุขอิงอามิส ๑ สุขไม่องิ อามิส ๑ ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย สุข ๒ อย่างนี้แล
ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ สุขไม่องิ อามิสเป็ นเลิศ ฯ
......................................................

๙๐
ชีวติ พระ อริยวิถี

ความเป็ นทุกข์ ๓ ประเภท


ทุกขตา ๓ (ความเป็ นทุกข์, ภาวะแห่งทุกข์, สภาพทุกข์, ความเป็ นสภาพที่ทนได้ ยาก หรือคงอยู่ในภาวะเดิมไม่ได้ )
1. ทุกขทุกขตา (สภาพทุกข์คอื ทุกข์ หรือความเป็ นทุกข์เพราะทุกข์ ได้ แก่ ทุกขเวทนาทางกายก็ตาม ใจก็ตาม ซึ่งเป็ นทุกข์อย่างที่
เข้ าใจสามัญ ตรงตามชื่อ ตามสภาพ)
2. วิปริณามทุกขตา (ความเป็ นทุกข์เพราะความแปรปรวน ได้ แก่ความสุข ซึ่งเป็ นเหตุให้ เกิดความทุกข์เมื่อต้ องเปลี่ยนแปลงแปร
ไปเป็ นอย่างอื่น)
3. สังขารทุกขตา (ความเป็ นทุกข์เพราะเป็ นสังขาร ได้ แก่ตวั สภาวะของสังขาร คือสิ่งทั้งปวงซึ่งเกิดจากปัจจัยปรุงแต่ง ที่ถูกบีบคั้น
ด้ วยการเกิดขึ้นและสลายไป ทาให้ คงสภาพอยู่ไม่ได้ พร่องอยู่เสมอ และให้ เกิดทุกข์แก่ผ้ ยู ึดถือด้ วยอุปาทาน)
ที.ปา.11/228/229; ส.สฬ.18/510/318; ส.ม.19/319/85.
เวทนาปัญหาสูตร ส.สฬ.๑๘/๕๑๐/๒๗๓
[๕๑๐] ดูกรท่านสารีบต ุ ร ทีเ่ รียกว่า ทุกข์ๆ ดังนี้ ทุกข์เป็ นไฉนหนอ ฯสา. ดูกรผูม ้ อ
ี ายุ สภาพทุกข์ ๓ ประการนี้ คือ
สภาพทุกข์คอ ื ทุกข์ สภาพทุกข์คอ ื สังขาร สภาพทุกข์คอ ื ความแปรปรวน สภาพทุกข์ ๓ ประการนี้แล ฯ
ช. ดูกรท่านผู้มีอายุ ก็มรรคามีอยู่หรือ ปฏิปทามีอยูห ่ รือ เพือ
่ กาหนดรูส้ ภาพทุกข์เหล่านัน ้ ฯ
สา. มีอยู่ ผูม้ อี ายุ ฯ
ช. ดูกรท่านผู้มีอายุ ก็มรรคาเป็ นไฉน ปฏิปทาเป็ นไฉน เพือ ่ กาหนดรูส้ ภาพทุกข์เหล่านัน ้ ฯ
สา. ดูกรผูม ้ ีอายุ อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ คือความเห็นชอบ ฯลฯ ตัง้ ใจชอบนี้แลเป็ นมรรคา เป็ นปฏิปทา เพือ ่ กาหนดรูส้ ภาพทุกข์เหล่านัน
้ ฯ
ช. ดูกรท่านผู้มีอายุ มรรคาดีนกั ปฏิปทาดีนกั เพือ ่ กาหนดรูส ้ ภาพทุกข์เหล่านัน
้ และเพียงพอเพือ ่ ความไม่ประมาท นะท่านสารีบต ุ รฯ

ทุกขตาสูตร (ความเป็ นทุกข์ ๓) ส.สฬ.๑๙/๓๑๙/๘๓


[๓๑๙] สาวัตถีนิทาน. ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ความเป็ นทุกข์ ๓ อย่างนี้ ๓ อย่างเป็ นไฉน? คือ
ความเป็ นทุกข์เกิดจากความไม่สบายกาย ๑ ความเป็ นทุกข์เกิดจากสังขาร ๑ ความเป็ นทุกข์เกิดจากความแปรปรวน ๑
ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ความเป็ นทุกข์ ๓ อย่างนี้แล.
[๓๒๐] ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ภิกษุ ควรเจริญอริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ เพือ ่ รูย้ งิ่ เพือ
่ กาหนดรู ้ เพือ
่ ความสิน
้ ไป เพือ
่ ละความเป็ นทุกข์ ๓
อย่างนี้แล ฯลฯ ภิกษุ ควรเจริญอริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ นี้ ฯลฯ
......................................

วิธีปฏิบตั ิต่อทุกข์และสุข ๔ ประการ (หลักการเพียรพยายามให้ ได้ ผลในการละทุกข์ ลุสขุ , การปฏิบตั ทิ ่ถี ูกต้ องต่อความทุกข์และ
ความสุข ซึ่งเป็ นไปตามหลักพระพุทธศาสนา ที่แสดงว่า ความเพียรพยายามที่ถูกต้ อง จะมีผลจนสามารถเสวยสุขที่ไร้ ทุกข์ได้ -
๑. ไม่เอาทุกข์มาทับถมตนที่ไม่มีทุกข์ 1. ไม่เอาทุกข์ทบั ถมตนที่มิได้ ถูกทุกข์ทว่ มทับ
๒. ไม่ละทิ้งสุขที่ชอบธรรม 2. ไม่สละความสุขที่ชอบธรรม
- สุขแบบแย่งกัน 3. ไม่สยบหมกมุ่น (แม้ )ในสุขที่ชอบธรรมนั้น
- สุขแบบไปด้ วยกัน/ประสาน 4. เพียรพยายามทาเหตุแห่งทุกข์ให้ หมดสิ้นไป
- สุขแบบอิสระ
ข้ อที่ 4 อาจพูดอีกสานวนหนึ่งว่า "เพียรปฏิบัติ
๓. แม้ สขุ ที่ชอบธรรมนั้นก็ไม่ลุ่มหลงมัวเมา เพื่อเข้ าถึงความสุขที่ประณีตสูงขึ้นไป"
๔. เพียรปฏิบัติเพื่อเข้ าถึงสุขที่ประณีตยิ่งขึ้นไป
เทวทหสูตร ม.อุ.๑๔/๑๒/๑๑
[๑๒] ดูกรภิกษุท้งั หลาย ก็อย่างไร ความพยายามจึงจะมีผล ความเพียรจึงจะมีผล ดูกรภิกษุท้งั หลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไม่เอาทุกข์ทบั ถม
ตนที่ไม่มที ุกข์ทบั ถม ๑ ไม่สละความสุขที่เกิดโดยธรรม ๑ ไม่เป็ นผู้หมกมุ่นในความสุขนั้น ๑ เธอย่อมทราบชัดอย่างนี้ว่า ถึงเรานี้
จักยังมีเหตุแห่ งทุกข์ เมื่อเริ่มตั้งความเพียร วิราคะย่อมมีได้ เพราะการตั้งความเพียร อนึ่ง ถึงเรานี้จะยังมีเหตุแห่ งทุกข์ เมื่อวางเฉย บาเพ็ญ
อุเบกขาอยู่ วิราคะก็ย่อมมีได้ เธอพึงเริ่มตั้งความเพียร ในทานองที่ภิกษุยังมีเหตุแห่ งทุกข์ เริ่มตั้งความเพียร ย่อมมีวิราคะเพราะการเริ่มตั้ง
ความเพียร และบาเพ็ญอุเบกขา ในทานองที่ภิกษุยังมีเหตุแห่งทุกข์ วางเฉย บาเพ็ญอุเบกขาอยู่ ย่อมมีวิราคะ เมื่อเธอนั้นยังมีเหตุแห่งทุกข์เริ่ม
ตั้งความเพียร วิราคะย่ อมมีได้ เพราะการตั้งความเพียร แม้ อย่ างนี้ ทุกข์น้ันก็เป็ นอันเธอสลัดได้ แล้ ว เมื่อเธอนั้นยังมีเหตุแห่ งทุกข์ วางเฉย
บาเพ็ญอุเบกขาอยู่ วิราคะย่อมมีได้ แม้ อย่างนี้ ทุกข์น้นั ก็เป็ นอันเธอสลัดได้ แล้ ว ฯ

๙๑
ชีวติ พระ อริยวิถี
[๑๓] ดูกรภิกษุท้งั หลาย เปรียบเหมือนชายผู้กาหนัด มีจิตปฏิพัทธ์พอใจอย่ างแรงกล้ ามุ่งหมายอย่ างแรงกล้ าในหญิง เขาเห็นหญิงนั้นยืน
พูดจากระซิกกระซี้ร่าเริงอยู่กบั ชายอื่น ดูกรภิกษุท้งั หลาย พวกเธอจะสาคัญความข้ อนั้นเป็ นไฉน ความโศก ความราพัน ความทุกข์กาย ความ
ทุกข์ใจและความคับแค้ นใจ จะพึงเกิดขึ้นแก่ชายนั้น เพราะเห็นหญิงคนโน้ นยืนพูดจากระซิกกระซี้ร่าเริงอยู่กบั ชายอื่นบ้ างหรือไม่ ฯ
พวกภิกษุทูลว่า ต้ องเป็ นเช่นนั้น พระพุทธเจ้ าข้ า ฯ
พ. ข้ อนั้นเพราะเหตุไร ฯ
ภิ. พระพุทธเจ้ าข้ า เพราะชายคนโน้ นกาหนัดนักแล้ ว มีจิตปฏิพัทธ์พอใจอย่างแรงกล้ ามุ่งหมายอย่างแรงกล้ าในหญิงคนโน้ น ฉะนั้น ความ
โศกความราพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจและความคับแค้ นใจ จึงเกิดขึ้นได้ แก่เขา เพราะเห็นหญิงนั้นยืนพูดจากระซิกกระซี้ร่าเริงอยู่กบั
ชายอื่น ฯ
พ. ดูกรภิกษุท้งั หลาย ต่อมาชายคนนั้นมีความดาริอย่างนี้ว่า เรากาหนัดนักแล้ ว มีจิตปฏิพัทธ์ พอใจอย่างแรงกล้ า มุ่งหมายอย่างแรงกล้ าใน
หญิงคนโน้ น ความโศก ความราพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจและความคับแค้ นใจ จึงเกิดขึ้นแก่เราได้ เพราะเห็นหญิงคน
โน้ นยืนพูดจากระซิกกระซี้ ร่าเริงอยู่กบั ชายอื่น อย่ากระนั้นเลย เราพึงละความกาหนัดพอใจในหญิงคนโน้ นที่เรามีน้นั เสียเถิด เขาจึงละความ
กาหนัดพอใจในหญิงคนโน้ นนั้นเสีย สมัยต่อมา เขาเห็นหญิงคนนั้นยืนพูดจากระซิกกระซี้ร่าเริงอยู่กบั ชายอื่น ดูกรภิกษุท้งั หลายพวกเธอจะ
สาคัญความข้ อนั้นเป็ นไฉน ความโศก ความราพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ และความคับแค้ นใจ จะพึงเกิดขึ้นแก่ชายนั้น เพราะเห็นหญิง
คนโน้ นยืนพูดจากระซิกกระซี้ร่าเริงอยู่กบั ชายอื่นบ้ างหรือไม่ ฯ
ภิ. ข้ อนั้นหามิได้ พระพุทธเจ้ าข้ า ฯ
พ. ข้ อนั้นเพราะเหตุอะไร ฯ
ภิ. พระพุทธเจ้ าข้ า เพราะชายคนโน้ น คลายกาหนัดในหญิงคนโน้ น แล้ ว ฉะนั้น ความโศก ความราพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ และ
ความคับแค้ นใจ จึงไม่เกิดขึ้นแก่เขาเพราะเห็นหญิงนั้นยืนพูดกระซิกกระซี้ร่าเริงอยู่ กับชายอื่น ฯ
[๑๔] พ. ดูกรภิกษุท้งั หลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุไม่เอาทุกข์ทบั ถมตนที่ไม่มที ุกข์ทบั ถม ๑ ไม่สละความสุขที่เกิดขึ้นโดยธรรม ๑ ไม่เป็ น
ผู้หมกมุ่นในความสุขนั้น ๑ เธอย่อมทราบชัดอย่างนี้ว่า ถึงเรานี้จะยังมีเหตุแห่งทุกข์ เมื่อเริ่มตั้งความเพียร วิราคะย่อมมีได้ เพราะการตั้งความ
เพียร อนึ่งถึงเรานี้จะยังมีเหตุแห่งทุกข์ เมื่อวางเฉย บาเพ็ญอุเบกขาอยู่ วิราคะก็ย่อมมีได้ เธอจึงเริ่มตั้งความเพียร ในทานองที่ภิกษุยังมีเหตุ
แห่งทุกข์เริ่มตั้งความเพียร ย่อมมีวิราคะ เพราะการเริ่มตั้งความเพียร และบาเพ็ญอุเบกขา ในทานองที่ภิกษุยังมีเหตุแห่งทุกข์วางเฉย บาเพ็ญ
อุเบกขาอยู่ ย่อมมีวิราคะ เมื่อเธอนั้นยังมีเหตุแห่งทุกข์ เริ่มตั้งความเพียรวิราคะย่อมมีได้ เพราะการตั้งความเพียร แม้ อย่างนี้ ทุกข์น้นั ก็เป็ นอัน
เธอสลัดได้ แล้ ว เมื่อเธอนั้นยังมีเหตุแห่ งทุกข์ วางเฉย บาเพ็ญ อุเบกขาอยู่ วิราคะย่อมมีได้ แม้ อย่างนี้ ทุกข์น้ันก็เป็ นอันเธอสลัดได้ แล้ ว ดูกร
ภิกษุท้งั หลาย ความพยายามมีผล ความเพียรมีผล แม้ อย่างนี้ ฯ
[๑๕] ดูกรภิกษุท้งั หลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุพิจารณาเห็นดังนี้ว่าเมื่อเราอยู่ตามสบายอกุศลธรรมย่อมเจริญยิ่ง กุศลธรรมย่อมเสื่อม แต่
เมื่อเราเริ่มตั้งตนเพื่อความลาบาก อกุศลธรรมย่อมเสื่อม กุศลธรรมย่อมเจริญยิ่ง อย่ากระนั้นเลย เราพึงเริ่มตั้งตนเพื่อความลาบากเถิด เธอ
จึงเริ่มตั้งตนเพื่อความลาบากเมื่อเธอเริ่มตั้งตนเพื่อความลาบากอยู่ อกุศลธรรมย่อมเสื่อม กุศลธรรมย่อมเจริญยิ่ง สมัยต่อมา เธอไม่ต้องเริ่ม
ตั้งตนเพื่อความลาบากได้ ข้ อนั้นเพราะเหตุไร ดูกรภิกษุท้งั หลาย เพราะภิกษุน้นั เริ่มตั้งตนเพื่อความลาบาก เพื่อประโยชน์ใดประโยชน์น้นั ของ
เธอ เป็ นอันสาเร็จแล้ ว ฉะนั้น สมัยต่อมา เธอจึงไม่ต้องเริ่มตั้งตนเพื่อความลาบากได้
ดูกรภิกษุท้งั หลาย เปรียบเหมือนช่างศร ย่างลนลูกศรบนข่าไฟ ๒ อัน ดัดให้ ตรงจนใช้ การได้ เพราะเหตุท่ลี ูกศรเป็ นของอันช่างศรย่าง
ลนบนข่าไฟ ๒ อัน ดัดให้ ตรงจนใช้ การได้ แล้ ว สมัยต่อมา ช่างศรนั้นไม่ต้องย่างลนลูกศรนั้นบนข่าไฟ ๒ อัน ดัดให้ ตรงจนใช้ การได้ ข้ อนั้น
เพราะเหตุไร ดูกรภิกษุท้งั หลาย เพราะช่างศรนั้นพึงย่างลนลูกศรบนข่าไฟ ๒ อันดัดให้ ตรงจนใช้ การได้ เพื่อประโยชน์ใด ประโยชน์น้นั ของเขา
เป็ นอันสาเร็จแล้ ว ฉะนั้น สมัยต่อมา ช่างศรจึงไม่ต้องย่างลนลูกศรบนข่าไฟ ๒ อัน ดัดให้ ตรงจนใช้ การได้ ฉันใด ดูกรภิกษุท้งั หลาย ฉันนั้น
เหมือนกันแล ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า เมื่อเราอยู่ตามสบาย อกุศลธรรมย่อมเจริญยิ่ง กุศลธรรมย่อมเสื่อม แต่เมื่อเราเริ่มตั้งตนเพื่อ
ความลาบาก อกุศลธรรมย่อมเสื่อมกุศลธรรมย่อมเจริญยิ่ง อย่ากระนั้นเลย เราพึงเริ่มตั้งตนเพื่อความลาบากเถิด เธอจึงเริ่มตั้งตนเพื่อความ
ลาบาก เมื่อเธอเริ่มตั้งตนเพื่อความลาบากอยู่ อกุศลธรรมย่ อมเสื่อม กุศลธรรมย่ อมเจริญยิ่ ง สมัยต่อมา เธอไม่ต้องเริ่มตั้งตนเพื่อความ
ลาบากได้ ข้ อนั้นเพราะเหตุไร ดูกรภิกษุท้งั หลาย เพราะภิกษุน้ันเริ่มตั้งตนเพื่อความลาบาก เพื่อประโยชน์ใด ประโยชน์น้ันของเธอ เป็ นอัน
สาเร็จแล้ ว ฉะนั้น สมัยต่อมา เธอจึงไม่ต้องเริ่มตั้งตนเพื่อความลาบากแล ดูกรภิกษุท้งั หลาย ความพยายามมีผล ความเพียรมีผล แม้ อย่างนี้

......................................................

๙๒
ชีวติ พระ อริยวิถี
๙.อุปมาโทษของกาม
ข้อบกพร่ องของกามเอง ท่านมักแสดงด้วยอุปมาต่างๆ ซึ่ งมีกล่าวถึงบ่อยๆ ว่า กามทั้งหลายมีความหวานชื่ นน้อย มี
ทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก โทษในกามนี้ยงิ่ นัก
๑. เปรี ยบเหมือนสุ นัขทีเ่ พลียและหิวโหย เขาโยนท่อนกระดูกเปื้ อนเลือดให้ ก็แทะอยูน่ นั่ เองจนเหนื่ อยอ่อน ก็อร่ อย
ไม่เต็มอยาก และไม่เต็มอิ่มได้จริ ง
๒. เปรี ยบเหมือนชิ้นเนื้อที่แร้ งหรื อเหยี่ยวเป็ นต้ นคาบบินมา เหยี่ยวแร้ งตัวอื่นเห็ นเข้าก็โผเข้ามารุ มจิกแย่งเอา คือ
เป็ นของไม่สิทธิ ขาดแก่ ตวั ผูอ้ ื่ นแย่งชิ งได้ คนทั้งหลายต่างก็ตอ้ งการหมายปองจะเอา เป็ นเหตุ ให้เกิ ดการแก่ งแย่งช่ วงชิ ง
เบียดเบียนประทุษร้าย ตลอดจนสังหารเข่นฆ่ากัน ถ้าไม่รู้จกั ปล่อยวาง ย่อมจะเดือดร้อนแสนสาหัส
๓. เปรี ย บเหมื อนคนถื อ คบเพลิงหญ้ า ลุ ก โพลงเดินทวนลมไม่ช้าก็ จะต้องทิ้ งเสี ย มิ ฉ ะนั้นจะไหม้มื อ ไหม้แขน
และอวัยะต่างๆ อาจถึงตายหรื อไม่ก็สาหัส
๔. เปรี ยบเหมือนหลุมถ่ านเพลิงอันร้ อนแรง ผูท้ ี่รักชี วิตทั้งที่รู้ว่า หากตกลงไป ถ้าไม่ตายก็ตอ้ งเจ็บ สาหัส และไม่
อยากตกหลุม แต่ก็มีคนแข็งแรงคอยจับแขนฉุ ดดึงเข้าไปหาหลุมอยูเ่ รื่ อย
๕. เปรี ยบเหมือนความฝัน มองเห็นทุกอย่ างเฉิ ดฉั นอาไพ แต่ไม่ทนั นาน ก็ผา่ นหายหมดไป พอตื่นขึ้นมาก็มองไม่
เห็นอะไร เหลือไว้แต่ความเสี ยดาย
๖. เปรี ยบเหมือนทรัพย์สมบัติทขี่ อยืมเขามา เอาออกแสดงดูโก้เก๋ หรู หรา วางท่าอวดกัน ผูค้ นก็กล่าวขวัญชื่นชม แต่
ครอบครองเอาไว้ได้เพียงชัว่ คราวและอย่างไม่มนั่ ใจ ไม่เป็ นสิ ทธิ ของตนแท้จริ ง เจ้าของ (ธรรมชาติ) ตามมาพบที่ไหนเมื่อไร
ก็ตอ้ งคืนเขาไปที่น้ นั เมื่อนั้น ไม่มีทางผ่อนปรน ส่ วนตนเองก็มีแต่ตวั โผล่มาแล้วก็ผลุบไป
๗. เปรี ยบเหมือนต้ นไม้ มีผลดกในราวป่ า ผูค้ นผ่านมา เมื่ออยากได้ลูกผล เขาจะได้ดว้ ยวิธีใดก็ใช้วธิ ี น้ นั ผูท้ ี่ข้ ึนต้นไม้
เป็ นก็ปีนป่ ายขึ้นไปเก็บ ส่ วนคนที่ข้ ึนไม่เป็ นก็จะเอาให้ได้ ที่เป็ นคนร้ายนิสัยพาล มีมีดมีขวานก็จะตัดทาลายเสี ยทั้งต้น คนที่อยู่
บนต้นไม้ถา้ ลงมาไม่ทนั ก็จะถูกต้นไม้ลม้ ทับแขนขาหักชอกช้ าหรื อถึงล้มตายไป
๘. เปรี ยบเหมือนเขียงสั บเนื้อ เข้าไปยุง่ เกี่ยวด้วย ก็เท่ากับเอาชีวติ เข้าไปเสี่ ยงให้ถูกบัน่ ถูกสับ
๙. เปรี ยบเหมือนหอกและหลาว มักจะคอยทิ่มแทงให้ได้แผลไม่เล็กก็ใหญ่ ไม่เจ็บน้อยก็เจ็บมาก
๑๐. เปรี ยบเหมือนหัวงู เข้าไปเกี่ ยวข้อง ก็ไม่วายต้องคอยระแวง ไม่อาจปลงใจสนิ ท หรื อวางจิ ตปลอดโปร่ ง ได้
แท้จริ ง อาจฉกเอา คือนาภัยอันตรายมาให้ได้เสมอ
ข้อเสี ยหรื อจุ ดบกพร่ องของกามสุ ขนี้ อาจกล่าวโดยย่อว่า ความเอร็ ดอร่ อยสนุ กสนานหวานชื่ นที่คนปรารถนา กาม
อานวยให้เพียงชัว่ ครู่ ยามในเวลาที่เสพเสวย แต่ความเจ็บปวดชอกช้ าที่คนไม่ตอ้ งการ กามกลับประทับลงให้อย่างแน่ นแฟ้ น
ติดตามฝังใจไปนานแสนนาน เท่านั้นยังมิหนา แม้ส่วนที่เป็ นความเอร็ ดอร่ อยสนุกสนานหวานชื่นนัน่ แหละ เมื่อจางคลายหาย
ลับดับล่วงผ่านไปแล้วยังทิ้งความเสี ยดายเอาไว้ ทรมานใจคนบางคนให้พิไรราพันไปได้อีกนาน
…………………………………………..

๙๓
ชีวติ พระ อริยวิถี
สัปปาณกวรรค สิกขาบทที่ ๘ (เรือ่ งพระอริฏฐะ มิจฉาทิฏฐิ) วิ.ม.๒/๖๖๒/๕๕๗
[๖๖๒] โดยสมัยนั้น พระผู้มพี ระภาคพุทธเจ้ าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี. ครั้งนั้น
พระอริฏฐะผู้เกิดในตระกูลพรานแร้ ง มีทฏิ ฐิ ทรามเห็นปานนี้เกิดขึ้นว่า เรารู้ท่วั ถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ ว โดยประการที่ตรัส
ธรรมเหล่าใดว่า ธรรมเหล่านี้ เป็ นธรรมทาอันตราย ธรรมเหล่านั้นหาอาจทาอันตรายแก่ผูเ้ สพได้จริงไม่ ...
เมื่อภิกษุเหล่ านั้น ไม่อาจเปลื้องพระอริฏฐะผู้เกิดในตระกูลพรานแร้ งจากทิฏฐิ อันทรามนั้นได้ จึงพากันเข้ าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาค
กราบทูลเรื่องนั้นให้ ทรงทราบ.
ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท
... พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรโมฆบุรุษ เพราะเหตุไร เธอจึงเข้ าใจธรรมที่เราแสดงแล้ วอย่ างนั้นเล่ า ธรรมอันทาอันตราย เรา
กล่าวไว้โดยบรรยายเป็ นอันมากมิใช่หรือ? และธรรมเหล่านั้นอาจทาอันตรายแก่ผูเ้ สพได้จริง กามทั้งหลายเรากล่าวว่ามีความยินดีนอ้ ย
มีทุกข์มากมีความคับแค้นมาก โทษในกามทั้งหลายนี้ มากยิง่ นัก
กามทั้งหลายเรากล่าวว่าเปรียบเหมือนร่างกระดูก ... กามทั้งหลายเรากล่าวว่าเปรียบเหมือนชิ้นเนื้อ ...
กามทั้งหลายเรากล่าวว่าเปรียบเหมือนคบหญ้ า ... กามทั้งหลายเรากล่าวว่าเปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิง ...
กามทั้งหลายเรากล่าวว่าเปรียบเหมือนความฝัน ... กามทั้งหลายเรากล่าวว่าเปรียบเหมือนของยืม ...
กามทั้งหลายเรากล่าวว่าเปรียบเหมือนผลไม้ ... กามทั้งหลายเรากล่าวว่าเปรียบเหมือนเขียงสาหรับสับเนื้อ ...
กามทั้งหลายเรากล่าวว่าเปรียบเหมือนแหลนหลาว ... กามทั้งหลายเรากล่าวว่าเปรียบเหมือนศีรษะงู
มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก โทษในกามทั้งหลายนี้ มากยิง่ นัก เมือ่ เป็ นเช่นนั้น เธอชื่อว่ากล่าวตู่เราด้วยทิฏฐิที่ตนยึดถือไว้ผิด
ชื่อว่าทาลายตนเอง และชื่อว่าประสบบาปมิใช่บุญเป็ นอย่างมาก เพราะข้อนั้นแหละ จักเป็ นไปเพือ่ ผลไม่เป็ นประโยชน์เกื้ อกูล เพือ่ ผล
เป็ นทุกข์แก่เธอตลอดกาลนาน การกระทาของเธอนั่น ไม่เป็ นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของ
ชุมชนที่เลื่อมใสแล้ ว ... ดูกรภิกษุท้งั หลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ข้ นึ แสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้: -
พระบัญญัติ
๑๑๗. ๘. อนึ่ง ภิกษุใด กล่ าวอย่ างนี้ว่า ข้ าพเจ้ ารู้ท่วั ถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ ว โดยประการที่ตรัสว่ าเป็ นธรรมทา
อันตรายได้ อย่างไร ธรรมเหล่านั้นหาอาจทาอันตรายแก่ผ้ เู สพได้ จริงไม่ ภิกษุน้นั อันภิกษุท้งั หลายพึงว่ากล่าวอย่างนี้ว่า ท่านอย่าได้ พูดอย่างนั้น
ท่านอย่าได้ กล่าวตู่พระผู้มีพระภาคเจ้ า การกล่าวตู่พระผู้มีพระภาคเจ้ าไม่ดีดอก พระผู้มีพระภาคเจ้ าไม่ได้ ตรัสอย่างนั้นเลย แน่ะเธอ พระผู้มี
พระภาคเจ้ าตรัสธรรมทาอันตรายไว้ โดยบรรยายเป็ นอันมาก ก็แลธรรมเหล่านั้น อาจทาอันตรายแก่ผ้ เู สพได้ จริง และภิกษุท้งั หลายว่ากล่าวอยู่
อย่างนั้น ขืนถืออยู่อย่างนั้นแล ภิกษุน้นั อันภิกษุท้งั หลายพึงสวดประกาศห้ ามจนหนที่ ๓ เพื่อสละการนั้นเสีย ถ้ าเธอถูกสวดประกาศห้ ามอยู่จน
หนที่ ๓ สละการนั้นเสียได้ การสละได้ ด่งั นี้ นั่นเป็ นการดี ถ้ าไม่สละ เป็ นปาจิตตีย์.
.............................................
สัปปาณกวรรค สิกขาบทที่ ๑๐ (เรื่องสมณุทเทสกัณฑกะ มิจฉาทิฏฐิ ) วิ.ม.๒/๖๗๓/๕๖๕
[๖๗๓] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้ าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี. ครั้งนั้น
สมณุทเทสชื่อกัณฑกะ มีทฏิ ฐิ ทรามเห็นปานนี้เกิดขึ้นว่า เรารู้ท่วั ถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ ว โดยประการที่ตรัสธรรมเหล่าใดว่า
ธรรมเหล่านี้เป็ นธรรมทาอันตราย ธรรมเหล่านั้นหาอาจทาอันตรายแก่ผ้ เู สพได้ จริงไม่ …
ประชุมสงฆ์โปรดให้นาสนะ
ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็ นเค้ ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้ วทรงสอบถามสมณุท
เทสกัณฑกะว่า ดูกรกัณฑกะ ข่าวว่า เธอมีทฏิ ฐิ อนั ทรามเห็นปานนี้เกิดขึ้นว่า เรารู้ท่วั ถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ ว โดยประการที่
ตรัสธรรมเหล่าใดว่า ธรรมเหล่านี้เป็ นธรรมทาอันตราย ธรรมเหล่านั้นหาอาจทาอันตรายแก่ผ้ เู สพได้ จริงไม่ ดังนี้จริงหรือ ?
สมณุทเทสกัณฑกะทูลรับว่า ข้ าพระพุทธเจ้ ากล่าวอย่างนั้นจริง พระพุทธเจ้ าข้ า ข้ าพระพุทธเจ้ ารู้ท่วั ถึงธรรมที่พระองค์ทรงแสดงแล้ ว
โดยประการที่ตรัสธรรมเหล่าใดว่า ธรรมเหล่านี้ เป็ นธรรมทาอันตราย ธรรมเหล่านั้นหาอาจทาอันตรายแก่ผ้ เู สพได้ จริงไม่.
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรโมฆบุรุษ เพราะเหตุใด เจ้ าจึงเข้ าใจธรรมที่เราแสดงแล้ วเช่นนั้นเล่า ธรรมอันทาอันตรายเรากล่าวไว้ โดย
บรรยายเป็ นอันมากมิใช่ หรือ ? และธรรมเหล่ านั้นอาจทาอันตรายแก่ผ้ ูเสพได้ จริง กามทั้งหลายเรากล่ าวว่ามีความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มี
ความคับแค้ นมาก โทษในกามทั้งหลายนี้มากยิ่งนัก กามทั้งหลายเรากล่าวว่าเปรียบเหมือนร่ างกระดูก ... กามทั้งหลายเรากล่าวว่าเปรียบ
เหมือนศีรษะงู มีทุกข์มาก มีความคับแค้ นมาก โทษในกามทั้งหลายนี้มากยิ่งนัก ก็เ มื่อเป็ นเช่นนั้น เจ้ าชื่อว่ากล่าวตู่เราด้ วยทิฏฐิ ที่ตนยึดถือไว้
ผิด ชื่อว่าทาลายตนเอง และชื่อว่าประสบบาปมิใช่บุญเป็ นอันมาก ข้ อนั้นแหละจักเป็ นไปเพื่อผลไม่เป็ นประโยชน์เกื้อกูล เพื่อผลเป็ นทุกข์ แก่
เจ้ าตลอดกาลนาน การกระทาของเจ้ านั่น ไม่เป็ นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใส
๙๔
ชีวติ พระ อริยวิถี
แล้ ว โดยที่แท้ การกระทาของเจ้ านั่น ไม่เป็ นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็ นอย่างอื่นของชุมชนบางพวกที่
เลื่อมใสแล้ ว ครั้นแล้ วทรงทาธรรมีกถา รับสั่งกะภิกษุท้งั หลายว่า ดูกรภิกษุท้งั หลาย เพราะเหตุน้นั แล สงฆ์จงนาสนะสมณุทเทสกัณฑกะ ดูกร
ภิกษุท้งั หลาย ก็แลสงฆ์พึงนาสนะอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
เจ้ ากัณฑกะ ตั้งแต่วันนี้เป็ นต้ นไป เจ้ าอย่าอ้ างพระผู้มพี ระภาคนั้นว่าเป็ นศาสดาของเจ้ า และสมณุทเทสอื่นๆ ย่อมได้ การนอนด้ วยกัน
เพียง ๒-๓ คืนกับภิกษุท้งั หลายอันใด แม้ กริ ิยาที่ได้ การนอนร่วมนั้นไม่มีแก่เจ้ า เจ้ าคนเสีย เจ้ าจงไป เจ้ าจงฉิบหายเสีย. ครั้งนั้น สงฆ์ได้ นา
สนะสมณุทเทสกัณฑกะแล้ ว.
.............................................
อุกเขปนียกรรม ฐานไม่สละทิฐิอนั เป็ นบาป (เรือ่ งพระอริฏฐะ) วิ.จุ.๖/๒๗๖/๑๐๙
[๒๗๖] สมัยนั้น พระผู้มพี ระภาคพุทธเจ้ าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถีครั้งนั้น พระ
อริฏฐะผู้เกิดในตระกูลพรานแร้ ง มีทฐิ ิอนั เป็ นบาป ...
... ครั้นแล้ วทรงทาธรรมีกถา รับสั่งกะภิกษุท้งั หลายว่า ดูกรภิกษุท้งั หลาย เพราะเหตุน้นั แล สงฆ์จงทาอุกเขปนียกรรม ฐานไม่สละ
ทิฐิอนั เป็ นบาป แก่ภิกษุอริฏฐะผูเ้ กิดในตระกูลพรานแร้ง คือ ห้ามสมโภคกับสงฆ์ ฯ
.............................................
อลคัททูปมสูตร (ว่าด้วยข้ออุปมาด้วยอสรพิษ) ม.มู.๑๒/๒๗๔/๑๘๑
[๒๗๔] ข้ าพเจ้ าได้ สดับมาอย่างนี้ .. สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวันอารามของท่าน อนาถบิณฑิกเศรษฐี
เขตพระนครสาวัตถี. ก็โดยสมัยนั้นแล ทิฏฐิ อนั ลามกเห็นปานนี้ บังเกิดขึ้นแก่อริฏฐภิกษุ ผู้เป็ นเหล่ากอของคนฆ่าแร้ งว่า ข้ าพเจ้ ารู้ถึ งธรรมที่
พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ วโดยประการที่ธรรมทั้งหลายที่พระผู้มีพระภาคตรัสแล้ วว่ า เป็ นธรรมกระทาซึ่งอันตราย ธรรมเหล่ านั้นไม่
สามารถทาอันตรายแก่ผ้ ซู ่องเสพได้ จริง.
ทรงติเตียนอริฏฐภิกษุ
[๒๗๖] ... ดู กรบุ รุษเปล่า ธรรมทั้งหลายเรากล่าวว่า เป็ นธรรมกระทาซึ่ งอันตราย โดยอเนกปริยายมิใช่หรือ ? ก็แหละ ธรรม
เหล่านั้นสามารถทาอันตรายแก่ผูซ้ ่ องเสพได้จริง เรากล่าวกามทั้งหลายซึ่ งมีความยินดีนอ้ ย มีทุกข์มาก มีความคับแคบมาก โทษใน
กามเหล่านั้นมีอยู่โดยยิ่ง เรากล่าวกามทั้งหลายมีอุปมาด้วยร่างกระดู ก ... มีอุปมาด้วยชิ้ นเนื้ อ ... มีอุปมาด้วยคบหญ้า ... มีอุปมาด้วย
หลุมถ่านเพลิง ... มีอุปมาด้วยความฝัน ... มีอุปมาด้วยของขอยืม ... มีอุปมาด้วยผลไม้ ... มีอุปมาด้วยเขียงหัน่ เนื้ อ ... มีอุปมาด้วยหอก
และหลาว ... มีอุปมาด้วยศีรษะงูพษิ มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก โทษในกามเหล่านั้นมีโดยยิง่
ดูกรบุรษุ เปล่า เออก็แล เธอกล่าวตู่เรา ขุดตนเองและประสพบาปมิใช่บุญเป็ นอันมากด้ วยทิฏฐิ อนั ลามก อันตนถือเอาชั่วแล้ ว กรรม
นั้นแลจักมีแก่เธอเพื่อไม่เป็ นประโยชน์ เพื่อทุกข์ส้ นิ กาลนาน. ครั้งนั้นแล พระผู้มพี ระภาคตรัสเรียกภิกษุท้งั หลายมาว่า ดูกรภิกษุท้ งั หลายเธอ
ทั้งหลายจงสาคัญความข้อนั้นเป็ นไฉน เออก็ อริฏฐภิกษุผูเ้ ป็ นเหล่ากอของคนฆ่าแร้งนี้ แม้จะกระทาญาณให้สูงขึ้ นในพระธรรมวินยั นี้ ได้
หรือ? ภิกษุท้ งั หลายกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผูเ้ จริญ ความสูงแห่งญาณอะไรเล่าจะพึงมีได้ ก็ความสูงขึ้ นแห่งญาณนั้นจักมีไม่ได้เลย.
เมื่อภิกษุท้งั หลายกราบทูลอย่างนี้แล้ ว อริฏฐภิกษุเป็ นผู้น่งิ เก้ อเขิน นั่งคอตกก้ มหน้ า ซบเซา หมดปฏิภาณ.
[๒๗๗] ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคทราบว่า อริฏฐภิกษุเป็ นผู้น่ิง เก้ อเขิน คอตก ก้ มหน้ า ซบเซา หมดปฏิภาณ จึงได้ ตรัสกะอริฏฐ
ภิกษุว่า ดูกรบุรุษเปล่า เธอจักปรากฏด้ วยทิฏฐิ อนั ลามกของตนนั้นเองแล เราจักสอบถามภิกษุท้งั หลายในที่น้ ี. ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาค
ตรัสเรียกภิกษุท้งั หลายมาว่า ดูกรภิกษุท้งั หลาย แม้ เธอทั้งหลายรู้ถึงธรรมที่เราแสดงแล้ วอย่างนี้ โดยประการที่อริฏฐภิกษุผ้ ูเป็ นเหล่ ากอของ
คนฆ่าแร้ งนี้กล่าวตู่เรา ขุดตนเอง และประสพบาปมิใช่บุญเป็ นอันมาก ด้ วยทิฏฐิอนั ลามก อันตนถือเอาชั่วแล้ วดังนี้หรือ ?
... เรากล่าวกามทั้งหลาย มีอุปมาด้ วยศีรษะงูพิษ มีทุกข์มาก มีความคับแค้ นมาก เออก็แล อริฏฐ ภิกษุผ้ ูเป็ นเหล่ากอของคนฆ่าแร้ ง
นี้ กล่าวตู่เรา ขุดตนเอง และประสพบาปมิใช่บุญเป็ นอันมาก ด้ วยทิฏฐิอนั ลามก อันตนถือเอาชั่วแล้ ว กรรมนั้นแลจักมีแก่เธอผู้เป็ นบุรษุ เปล่า
เพื่อไม่เป็ นประโยชน์ เพื่อทุกข์ส้ นิ กาลนาน. ดู กรภิกษุท้ งั หลาย เธอจักเสพกามทั้งหลาย นอกจากกาม นอกจากกามสัญญา นอกจาก
กามวิตก ข้อนั้นไม่เป็ นฐานะจะมีได้.
………………………………………………………

๙๕
ชีวติ พระ อริยวิถี
โปตลิยสูตร ม.ม.๑๓/๔๗/๓๖
อุปมากาม ๗ ข้ อ
[๔๗] พระผู้มีพระภาคได้ ตรัสพระพุทธพจน์น้ วี ่า ดูกรคฤหบดี เปรียบเหมือนสุนัขอันความเพลียเพราะความหิวเบียดเบียนแล้ ว พึง
เข้ าไปยืนอยู่ใกล้ เขียงของนายโคฆาต นายโคฆาตหรือลูกมือของนายโคฆาตผู้ฉลาด พึงโยนร่างกระดูกที่เชือดชาแหละออกจนหมดเนื้อแล้ ว
เปื้ อนแต่เลือดไปยังสุนัข ฉันใด ดูกรคฤหบดี ท่านจะสาคัญความข้ อนั้นเป็ นไฉน สุนัขนั้นแทะร่ างกระดูกที่เชือดชาแหละออกจดหมดเนื้อ
เปื้ อนแต่เลือด จะพึงบาบัดความเพลียเพราะความหิวได้ บ้างหรือ?
ไม่ได้ เลยพระองค์ผ้ เู จริญ ข้ อนั้นเพราะเหตุไร? เพราะเป็ นร่างกระดูกที่เชือดชาแหละออกจนหมดเนื้อ เปื้ อนแต่เลือด และสุนัขนั้นพึง
มีแต่ส่วนแห่งความเหน็ดเหนื่อยคับแค้ นเท่านั้น.
ดูกรคฤหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลาย พระผู้มพี ระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยร่างกระดูก มีทุกข์มาก
มีความคับแค้ นมาก ในกามนี้มโี ทษอย่างยิ่ง ครั้นเห็นโทษแห่งกามนี้ตามความเป็ นจริงด้ วยปัญญาอันชอบอย่างนี้แล้ ว ย่อมเว้ นขาดซึ่งอุเบกขา
ที่มคี วามเป็ นต่างๆ อาศัยความเป็ นต่างๆ แล้ วเจริญอุเบกขาที่มคี วามเป็ นอารมณ์เดียว อาศัยความเป็ นอารมณ์เดียวอันเป็ นที่ดบั ความถือมั่น
โลกามิสโดยประการทั้งปวง หาส่วนเหลือมิได้ .
[๔๘] ดูกรคฤหบดี เปรียบเหมือนแร้ งก็ดี นกตะกรุมก็ดี เหยี่ยวก็ดี พาชิ้นเนื้อบินไป แร้ งทั้งหลาย นกตะกรุมทั้งหลาย หรือเหยี่ยว
ทั้งหลาย จะพึงโผเข้ ารุมจิกแย่งชิ้นเนื้อนั้น ฉันใด ดูกรคฤหบดี ท่านจะสาคัญความข้ อนั้นเป็ นไฉน ถ้ าแร้ ง นกตะกรุม หรือเหยี่ยวตัวนั้น ไม่รีบ
ปล่อยชิ้นเนื้อนั้นเสีย มันจะถึงตายหรือทุกข์ปางตายเพราะชิ้นเนื้อนั้นเป็ นเหตุ ?
อย่างนั้น พระองค์ผ้ เู จริญ.
ดูกรคฤหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยชิ้นเนื้อ มีทุกข์มาก มี
ความคับแค้ นมาก ในกามนี้มโี ทษอย่างยิ่ง ครั้นเห็นโทษแห่งกามนี้ตามความเป็ นจริงด้ วยปัญญาอันชอบอย่างนี้แล้ ว ย่อมเว้ นขาดซึ่งอุ เบกขาที่
มีความเป็ นต่างๆ อาศัยความเป็ นต่างๆ แล้ วเจริญอุเบกขาที่มคี วามเป็ นอารมณ์เดียว อาศัยความเป็ นอารมณ์เดียว อันเป็ นที่ดับความถือมั่น
โลกามิส โดยประการทั้งปวง หาส่วนเหลือมิได้ .
[๔๙] ดูกรคฤหบดี เปรียบเหมือนบุรุษพึงถือคบเพลิงหญ้ าอันไฟติดทั่วแล้ ว เดินทวนลมไป ฉันใด ดูกรคฤหบดี ท่านจะสาคัญความ
ข้ อนั้นเป็ นไฉน ถ้ าบุรุษนั้นไม่รีบปล่อยคบเพลิงหญ้ าอันไฟติดทั่วนั้นเสีย คบเพลิงหญ้ าอันไฟติดทั่วนั้น พึงไหม้ มือ ไหม้ แขน หรืออวัย วะน้ อย
ใหญ่แห่งใดแห่งหนึ่งของบุรษุ นั้น บุรษุ นั้นจะถึงตายหรือถึงทุกข์ปางตาย เพราะคบเพลิงนั้นเป็ นเหตุ ?
อย่างนั้น พระองค์ผ้ เู จริญ.
ดูกรคฤหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยคบเพลิงหญ้ า มีทุกข์
มาก มีความคับแค้ นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง ครั้นเห็นโทษแห่ งกามนี้ตามความเป็ นจริงด้ วยปั ญญาอันชอบอย่างนี้ แล้ ว ย่อมเว้ นขาดซึ่ง
อุเบกขาที่มคี วามเป็ นต่างๆ อาศัยความเป็ นต่างๆ แล้ วเจริญอุเบกขาที่มคี วามเป็ นอารมณ์เดียว
อาศัยความเป็ นอารมณ์เดียว อันเป็ นที่ดบั ความถือมั่นโลกามิสโดยประการทั้งปวง หาส่วนเหลือมิได้ .
[๕๐] ดูกรคฤหบดี เปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิง ลึกกว่าชั่วบุรุษหนึ่ง เต็มด้ วยถ่านเพลิงอันปราศจากเปลว ปราศจากควัน บุรุษผู้รัก
ชีวิต ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์พึงมา บุรุษมีกาลังสองคนช่ วยกันจับแขนบุรุษนั้นข้ างละคน ฉุดเข้ าไปยังหลุมถ่านเพลิง ฉันใด ดูกร
คฤหบดี ท่านจะสาคัญความข้ อนั้นเป็ นไฉน บุรษุ นั้นจะพึงน้ อมกายเข้ าไปด้ ว ยคิดเห็นว่าอย่างนี้ๆ บ้ างหรือ?
ไม่เป็ นเช่นนั้น พระองค์ผ้ ูเจริญ ข้ อนั้นเพราะเหตุไร เพราะบุรุษนั้นรู้ว่า เราจักตกลง ยังหลุมถ่านเพลิงนี้ จักถึงตาย หรือถึงทุกข์ ปาง
ตาย เพราะการตกลงยังหลุมถ่านเพลิงเป็ นเหตุ.
ดูกรคฤหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ ว่า กามทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยหลุมถ่านเพลิง มีทุกข์
มาก มีความคับแค้ นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง ครั้นเห็นโทษแห่ งกามนี้ตามความเป็ นจริง ด้ วยปั ญญาอันชอบอย่างนี้แล้ ว ย่อมเว้ นขาดซึ่ง
อุเบกขา ที่มีความเป็ นต่างๆ อาศัยความเป็ นต่างๆ แล้ วเจริญอุเบกขาที่มีความเป็ นอารมณ์เดียว อาศัยความเป็ นอารมณ์เดียว อันเป็ นที่ดับ
ความถือมั่นโลกามิส โดยประการทั้งปวง หาส่วนเหลือมิได้ .
[๕๑] ดูกรคฤหบดี เปรียบเหมือนบุรษุ พึงฝันเห็นสวนอันน่ารื่นรมย์ ป่ าอันน่ารื่นรมย์ ภาคพื้นอันน่ารื่นรมย์ สระโบกขรณีอนั น่ารื่นรมย์
บุรษุ นั้นตื่นขึ้นแล้ ว ไม่พึงเห็นอะไร ฉันใด
ดูกรคฤหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยความฝัน มีทุกข์มาก
มีความคับแค้ นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง ครั้นเห็นโทษแห่งกามนี้ตามความเป็ นจริง ด้ วยปัญญาอันชอบอย่างนี้แล้ ว ย่อมเว้ นขาดซึ่งอุเบกขา
ที่มคี วามเป็ นต่างๆ อาศัยความเป็ นต่างๆ แล้ วเจริญอุเบกขาที่มคี วามเป็ นอารมณ์เดียว อาศัยความเป็ นอารมณ์เดียว อันเป็ นที่ดบั ความถือมั่น
โลกามิส โดยประการทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้ .

๙๖
ชีวติ พระ อริยวิถี
[๕๒] ดูกรคฤหบดี เปรียบเหมือนบุรษุ พึงยืมโภคสมบัติ คือ แก้ วมณีและกุณฑลอย่างดีบรรทุกยานไป เขาแวดล้ อมด้ วยทรัพย์สมบัตทิ ่ี
ตนยืมมา พึงเดินไปภายในตลาด คนเห็นเขาเข้ าแล้ ว พึงกล่าวอย่างนี้ว่า ดูกรท่านผู้เจริญ บุรุษผู้น้ ีมีโภคสมบัติหนอ ได้ ยินว่าชนทั้ งหลาย ผู้มี
โภคสมบัติ ย่อมใช้ สอยโภคสมบัตอิ ย่างนี้ ดังนี้ พวกเจ้ าของพึงพบบุรษุ นั้น ณ ที่ใดๆ พึงนาเอาของของตนคืนไปในที่น้นั ๆ ฉันใด ดูกรคฤหบดี
ท่านจะสาคัญความข้ อนั้นเป็ นไฉน จะสมควรหรือหนอ เพื่อความที่บุรษุ นั้นจะเป็ นอย่างอื่นไป?
ไม่เป็ นเช่นนั้น พระองค์ผ้ เู จริญ
ข้ อนั้นเพราะเหตุไร? เพราะเจ้ าของย่อมจะนาเอาของของตนคืนไปได้ .
ดูกรคฤหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยของยืม มีทุกข์มาก มี
ความคับแค้ นมาก ในกามนี้มโี ทษอย่างยิ่ง ครั้นเห็นโทษแห่งกามนี้ตามความเป็ นจริง ด้ วยปัญญาอันชอบอย่างนี้แล้ ว ย่อมเว้ นขาดซึ่งอุเบกขาที่
มีความเป็ นต่างๆ อาศัยความเป็ นต่างๆ แล้ วเจริญอุเบกขาที่มคี วามเป็ นอารมณ์เดียว อาศัยความเป็ นอารมณ์เดียว อันเป็ นที่ดับความถือมั่น
โลกามิส โดยประการทั้งปวง หาส่วนเหลือมิได้ .
[๕๓] ดูกรคฤหบดี เปรียบเหมือนราวป่ าใหญ่ ในที่ไม่ไกลบ้ านหรือนิคม ต้ นไม้ ในราวป่ านั้น พึงมีผลรสอร่อย ทั้งมีผลดก แต่ไม่มีผล
หล่นลง ณ ภาคพื้นสักผลเดียว บุรุษผู้ต้องการผลไม้ พึงเที่ยวมาเสาะแสวงหาผลไม้ เขาแวะยังราวป่ านั้น เห็นต้ นไม้ อนั มีผลรสอร่อย มีผลดก
นั้น เขาพึงคิดอย่างนี้ว่า ต้ นไม้ น้ ีมีผลรสอร่อย มีผลดก แต่ไม่มีผลหล่นลง ณ ภาคพื้นสักผลเดียว แต่เรารู้เพื่อขึ้นต้ นไม้ ไฉนหนอเราพึงขึ้น
ต้ นไม้ น้ ีแล้ วกินพออิ่ม และห่ อพกไปบ้ าง เขาขึ้นต้ นไม้ น้นั แล้ ว กิน จนอิ่ม และห่ อพกไว้ ลาดับนั้น บุรุษคนที่สองต้ องการผลไม้ ถือขวานอันคม
เที่ยวมาเสาะแสวงหาผลไม้ เขาแวะยังราวป่ านั้นแล้ ว เห็นต้ นไม้ มีผลรสอร่อย มีผลดกนั้น เขาพึงคิดอย่างนี้ว่า ต้ นไม้ น้ มี ีผลรสอร่อย มีผลดก
แต่ไม่มผี ลหล่นลง ณ ภาคพื้นสักผลเดียว และเราก็ไม่ร้ เู พื่อขึ้นต้ นไม้ ไฉนหนอ เราพึงตัดต้ นไม้ น้ แี ต่โคนต้ น แล้ วกินพออิ่ม และห่อพกไปบ้ าง
เขาพึงตัดต้ นไม้ น้ันแต่โคนต้ น ฉั นใด ดูกรคฤหบดี ท่านจะสาคัญความข้ อนั้นเป็ นไฉน บุรุษคนโน้ นซึ่งขึ้นต้ นไม้ ก่อนนั้น ถ้ าแลเขาไม่รีบลง
ต้ นไม้ น้นั จะพึงล้ มลง หักมือ หักเท้ า หรือหักอวัยวะน้ อยใหญ่แห่งใดแห่งหนึ่งของบุรษุ นั้น บุรษุ นั้นพึงถึงตายหรือถึงทุกข์ปางตาย เพราะต้ นไม้
นั้นล้ มเป็ นเหตุ? … เป็ นอย่างนั้น พระองค์ผ้ เู จริญ.
ดูกรคฤหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยผลไม้ มีทุกข์มาก มี
ความคับแค้ นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง ครั้นเห็นโทษแห่งกามนี้ตามความเป็ นจริง ด้ วยปั ญญาอันชอบอย่างนี้แล้ ว ย่อมเว้ นขาดซึ่งอุเบกขา
ที่มคี วามเป็ นต่างๆ อาศัยความเป็ นต่างๆ แล้ วเจริญอุเบกขาที่มคี วามเป็ นอารมณ์เดียว อาศัย
ความเป็ นอารมณ์เดียว อันเป็ นที่ดบั ความถือมั่นโลกามิส โดยประการทั้งปวง หาส่วนเหลือมิได้ .
___________________
โยธาชีวสูตรที่ ๑ องฺ.ปญฺจก.๒๒/๗๕/๘๐
[๗๕] ดูกรภิกษุท้งั หลาย นักรบอาชีพ ๕ จาพวกนี้ มีปรากฏอยู่ในโลก ๕ จาพวกเป็ นไฉน คือ นักรบอาชีพบางพวกในโลกนี้เห็นฝุ่ นฟุ้ ง
ขึ้นเท่านั้นย่อมหยุดนิ่ง สะทกสะท้ าน ไม่สามารถเข้ ารบได้ นักรบอาชีพบางพวกแม้ เช่นนี้กม็ อี ยู่ นี้เป็ นนักรบอาชีพพวกที่ ๑ มีปรากฏอยู่ในโลก
อีกประการหนึ่ง นักรบอาชีพบางพวกในโลกนี้ แม้ เห็นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นก็อดทนได้ แต่พอเห็นยอดธงข้ าศึกเข้ าเท่านั้นย่ อมหยุดนิ่ง สะทก
สะท้ าน ไม่สามารถเข้ ารบได้ นักรบอาชีพบางพวกแม้ เช่นนี้กม็ อี ยู่ นี้เป็ นนักรบอาชีพพวกที่ ๒ มีปรากฏอยู่ในโลก ฯ
อีกประการหนึ่ง นักรบอาชีพบางพวกในโลกนี้ แม้ เห็นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นก็อดทนได้ แม้ เห็นยอดธงของข้ าศึกก็อดทนได้ แต่พอได้ ยินเสียง
กึกก้ องของข้ าศึกเข้ าเท่านั้นย่อมหยุดนิ่ง สะทกสะท้ าน ไม่สามารถเข้ ารบได้ นักรบอาชีพบางพวกแม้ เช่นนี้กม็ อี ยู่ นี้เป็ นนักรบอาชีพพวกที่ ๓ มี
ปรากฎอยู่ในโลก ฯ
อีกประการหนึ่ง นักรบอาชีพบางพวกในโลกนี้ แม้ เห็นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นก็อดทนได้ แม้ เห็นยอดธงของข้ าศึกก็อดทนได้ แม้ ได้ ยินเสียงกึกก้ อง
ของข้ าศึกก็อดทนได้ แต่ว่าย่ อมขลาดสะดุ้งต่อการสัมปหารของข้ าศึก นักรบอาชีพบางพวกแม้ เช่ นนี้กม็ ีอยู่ นี้เป็ นนักรบอาชีพพวกที่ ๔ มี
ปรากฏอยู่ในโลก ฯ
อีกประการหนึ่ง นักรบอาชีพบางพวกในโลกนี้ แม้ เห็นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นก็อดทนได้ แม้ เห็นยอดธงของข้ าศึกก็อดทนได้ แม้ ได้ ยินเสียงกึกก้ อง
ของข้ าศึกก็อดทนได้ อดทนต่อการสัมปหารของข้ าศึกได้ เขาชนะสงครามแล้ ว เป็ นผู้พิชิตสงคราม ยึดครองค่ายสงครามนั้นไว้ ได้ นักรบอาชีพ
บางพวกแม้ เช่นนี้กม็ อี ยู่ นี้เป็ นนักรบอาชีพพวกที่ ๕ มีปรากฏอยู่ในโลก ฯ
ดูกรภิกษุท้งั หลาย นักรบอาชีพ ๕ จาพวกนี้แล มีปรากฏอยู่ในโลก ดูกรภิกษุท้งั หลาย บุคคลผู้เปรียบด้ วยนักรบอาชีพ ๕ จาพวกนี้ มี
ปรากฏอยู่ในพวกภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกัน ๕ จาพวกเป็ นไฉน คือ
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เห็นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นเท่านั้นย่อมหยุดนิ่ง สะทกสะท้ านไม่สามารถจะสืบต่อพรหมจรรย์ไปได้ ทาให้ แจ้ งความเป็ นผู้ทุรพล
ในสิกขา บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อหินเพศ อะไรเป็ นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นของเธอ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมได้ ฟังว่า ในบ้ านหรือในนิคมโน้ น มีหญิง
หรือกุมารีรูปงาม น่ าดู น่ าเลื่อมใสประกอบด้ วยผิวพรรณงามอย่ างยิ่ง เธอได้ ฟังดังนั้นแล้ วย่ อมหยุดนิ่ง สะทกสะท้ านไม่สามารถจะสืบต่อ

๙๗
ชีวติ พระ อริยวิถี
พรหมจรรย์ไปได้ ทาให้ แจ้ งซึ่งความเป็ นผู้ทุรพลในสิกขาบอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อหินเพศ นี้ช่ ือว่าฝุ่ นฟุ้ งขึ้นของเธอ นักรบอาชีพนั้นเ ห็นฝุ่ น
ฟุ้ งขึ้นเท่านั้นย่อมหยุดนิ่ง สะทกสะท้ าน ไม่สามารถเข้ ารบได้ แม้ ฉันใดเรากล่าวบุคคลนี้เปรียบฉันนั้น บุคคลบางคนแม้ เช่นนี้กม็ อี ยู่ นี้บุคคลผู้
เปรียบด้ วยนักรบอาชีพจาพวกที่ ๑ มีปรากฏอยู่ในพวกภิกษุ ฯ
อีกประการหนึ่ง ภิกษุแม้ เห็นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นก็อดทนได้ แต่ว่าเธอเห็นยอดธงของข้ าศึกเข้ าเท่านั้น ย่อมหยุดนิ่ง สะทกสะท้ าน ไม่สามารถจะ
สืบต่อพรหมจรรย์ไปได้ ทาให้ แจ้ งซึ่งความเป็ นผู้ทุรพลในสิกขา บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อหินเพศอะไรชื่อว่าเป็ นยอดธงของข้ าศึกของเธอ คื อ
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไม่ได้ ฟังว่าในบ้ านหรือนิคมชื่อโน้ น มีหญิงหรือกุมารีรปู งาม น่าดู น่าเลื่อมใส ประกอบด้ วยผิวพรรณงามอย่ างยิ่ง แต่ว่าเธอ
ย่อมได้ เห็นด้ วยตนเอง ซึ่งหญิงหรือกุมารีรูปงามน่าดู น่าเลื่อมใส ประกอบด้ วยผิวพรรณงามอย่างยิ่ง เธอเห็นแล้ วย่อมหยุดนิ่งสะทกสะท้ าน
ไม่สามารถจะสืบต่อพรหมจรรย์ไปได้ ทาให้ แจ้ งซึ่งความเป็ นผู้ทุรพลในสิกขา บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อหินเพศ นี้ช่ อื ว่ายอดธงของข้ าศึกของ
เธอ นักรบอาชีพนั้นเห็นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นก็อดทนได้ แต่พอเห็นยอดธงของข้ าศึกเข้ าเท่านั้นย่อมหยุดนิ่ง สะทกสะท้ าน ไม่สามารถเข้ ารบได้ แม้ ฉันใด
เรากล่าวบุคคลนี้เปรียบฉันนั้น บุคคลบางคนแม้ เช่นนี้กม็ อี ยู่ นี้คอื บุคคลผู้เปรียบด้ วยนักรบอาชีพจาพวกที่ ๒ มีปรากฏอยู่ในพวกภิกษุ ฯ
อีกประการหนึ่ง ภิกษุแม้ เห็นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นก็อดทนได้ แม้ เห็นยอดธงของข้ าศึกก็อดทนได้ แต่พอเธอได้ ยิ นเสียงกึกก้ องของข้ าศึกเข้ า
เท่านั้นย่อมหยุดนิ่งสะทกสะท้ าน ไม่สามารถจะสืบต่อพรหมจรรย์ไปได้ ทาให้ แจ้ งซึ่งความเป็ นผู้ทุรพลในสิกขา บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อหิ น
เพศ อะไรชื่อว่าเป็ นเสียงกึกก้ องของข้ าศึกของเธอ คือ มาตุคามเข้ าไปหาภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้อยู่ในป่ า โคนไม้ หรือเรือนว่างเปล่า แล้ วย่อม
ยิ้มแย้ ม ปราศรัย กระซิกกระซี้ เย้ ยหยัน เธอถูกมาตุคามยิ้มแย้ ม ปราศรัย กระซิกกระซี้ เย้ ยหยันอยู่ ย่อมหยุดนิ่ง สะทกสะท้ าน ไม่สามารถจะ
สืบต่อพรหมจรรย์ไปได้ ทาให้ แจ้ งซึ่งความเป็ นผู้ทุรพลในสิกขา บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อหินเพศ นี้ช่ ือว่ าเสียงกึกก้ องของข้ าศึกของเธอ
นักรบอาชีพนั้นแม้ เห็นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นก็อดทนได้ แม้ เห็นยอดธงของข้ าศึกก็อดทนได้ แต่พอได้ ยินเสียงกึกก้ องของข้ าศึกเข้ าเท่านั้นย่ อมหยุด นิ่ง
สะทกสะท้ าน ไม่สามารถเข้ ารบได้ แม้ ฉันใด เรากล่ าวบุคคลนี้เปรียบฉันนั้น บุคคลบางคนแม้ เช่ นนี้กม็ ีอยู่ นี้คือบุคคลผู้เปรียบด้ วยนักรบ
อาชีพจาพวกที่ ๓ มีปรากฏอยู่ในพวกภิกษุ ฯ
อีกประการหนึ่ง ภิกษุแม้ เห็นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นก็อดทนได้ แม้ เห็นยอดธงของข้ าศึกก็อดทนได้ แม้ ได้ ยินเสียงกึกก้ องของข้ าศึกก็อดทนได้ แต่
ว่าย่อมขลาดต่อการสัมปหารของข้ าศึก อะไรชื่อว่าเป็ นการสัมปหารของข้ าศึกของเธอ คือ มาตุคามเข้ าไปหาภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้อยู่ในป่ า
โคนไม้ หรือเรือนว่างเปล่า แล้ วย่อมนั่งทับ นอนทับ ข่มขืน เธอถูกมาตุคามนั่งทับ นอนทับ ข่มขืนอยู่ ไม่บอกคืนสิกขา ไม่ทาให้ แจ้ งซึ่งความ
เป็ นผู้ทุรพล ย่อมเสพเมถุนธรรม นี้ช่ อื ว่าการสัมปหารของข้ าศึกของเธอ นักรบอาชีพนั้นแม้ เห็นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นก็อดทนได้ แม้ เห็นยอดธงของข้ าศึก
ก็อดทนได้ แม้ ได้ ยินเสียงกึกก้ องของข้ าศึกก็อดทนได้ แต่ว่าย่อมขลาดต่อการสัมปหารของข้ าศึก แม้ ฉันใด เรากล่าวบุคคลนี้เปรียบฉันนั้น
บุคคลบางคนแม้ เช่นนี้กม็ อี ยู่ นี้คอื บุคคลผู้เปรียบด้ วยนักรบอาชีพจาพวกที่ ๔ มีปรากฏอยู่ในพวกภิกษุ ฯ
อีกประการหนึ่ง ภิกษุแม้ เห็นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นก็อดทนได้ แม้ เห็นยอดธงของข้ าศึกก็อดทนได้ แม้ ได้ ยินเสียงกึกก้ องของข้ าศึกก็อดทนได้
อดทนการสัมปหารของข้ าศึกได้ เขาชนะสงครามแล้ ว เป็ นผู้พิชิตสงคราม ยึดครองค่ายสงครามนั้นไว้ ได้ อะไรชื่อว่าชัยชนะในสงครามของเธอ
คือ มาตุคามเข้ าไปหาภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้อยู่ในป่ า โคนไม้ หรือเรือนว่างเปล่า แล้ วย่อมนั่งทับ นอนทับข่มขืน เธอถูกมาตุคามนั่งทับ น อน
ทับ ข่มขืนอยู่ ไม่พัวพัน ปลดเปลื้อง หลีกออกได้ แล้ วหลีกไปตามความประสงค์ เธอย่อมเสพเสนาสนะอันสงัด คือป่ า โคนไม้ ภูเขา ซอกถา้
ป่ าช้ า ป่ าชัฏ ที่แจ้ ง ลอมฟาง เธออยู่ในป่ าโคนไม้ หรือเรือนว่างเปล่า ย่อมนั่งคู้บลั ลังก์ ตั้งกายตรง ดารงสติไว้ เฉพาะหน้ าเธอย่อมละอภิชฌาใน
โลกเสีย มีจิตปราศจากอภิชฌาอยู่ ชาระจิตให้ บริสทุ ธิ์จากอภิชฌา เธอย่ อมละความประทุษร้ าย คือ พยาบาท มีจิตไม่พยาบาทอยู่ เป็ นผู้มี
ความเกื้อกูลอนุเคราะห์สตั ว์ท้งั ปวง ชาระจิตให้ บริสทุ ธิ์จากความประทุษร้ าย คือพยาบาท เธอย่อมละถิ่นมิทธะ ปราศจากถิ่นมิทธะอยู่ เป็ นผู้มี
อาโลกสัญญา มีสติสัมปชัญญะ ชาระจิตให้ บริสุทธิ์จากถิ่นมิทธะ เธอย่ อมละอุทธัจจะกุกกุจจะมีจิตไม่ฟุ้งซ่านอยู่ เป็ นผู้มีจิตสงบ ณ ภายใน
ชาระจิตให้ บริสทุ ธิ์จากอุทธัจจะกุกกุจจะ เธอย่อมละวิจิกจิ ฉา เป็ นผู้ข้ามพ้ นวิจิกจิ ฉาอยู่ หมดความสงสัยในธรรมทั้งหลาย ชาระจิตให้ บริสทุ ธิ์
จากวิจิกจิ ฉา เธอละนิวรณ์ ๕ ประการ อันเป็ นเครื่องเศร้ าหมองแห่ งใจ ทาปั ญญาให้ ทุรพลได้ แล้ ว สงัดจากกาม ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ไม่มี
ทุกข์ ไม่มสี ขุ เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอเุ บกขาเป็ นเหตุให้ สติบริสทุ ธิ์อยู่ เมื่อจิตเป็ นสมาธิ บริสทุ ธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มี
กิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวแล้ วอย่างนี้ เธอย่อมโน้ มน้ อมจิตไปเพื่ ออาสวักขยญาณ เธอย่อมรู้ชัดตาม
ความเป็ นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทยั นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เหล่านี้อาสวะ นี้เหตุเกิดอาสวะ นี้ความดับอาสวะ นี้ ข้ อปฏิบตั ใิ ห้
ถึงความดับอาสวะเมื่อเธอรู้เห็นอยู่อย่างนี้ จิตของเธอย่อมหลุดพ้ น แม้ จากกามาสวะ แม้ จากภวาสวะ แม้ จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้ นแล้ ว
ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้ นแล้ ว ย่อมรู้ชัดว่า ชาติส้ นิ แล้ ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ ว กิจที่ควรทาทาเสร็จแล้ วกิจอื่นเพื่อความเป็ นอย่างนี้มไิ ด้ มีอกี
นี้ช่ อื ว่าชัยชนะในสงครามของเธอ นักรบอาชีพนั้น แม้ เห็นฝุ่ นฟุ้ งขึ้นก็อดทนได้ แม้ เห็นยอดธงของข้ าศึกก็อดทนได้ แม้ ได้ ยินเสียงกึกก้ องของ
ข้ าศึกก็อดทนได้ อดทนต่อการสัมปหารของข้ าศึกได้ เขาชนะสงครามแล้ ว เป็ นผู้พิชิตสงครามแล้ ว ยึดครองค่ายสงครามนั้นไว้ ได้ แม้ ฉันใด
เรากล่าวบุคคลนี้เปรียบฉันนั้น บุคคลบางคนแม้ เช่นนี้กม็ ีอยู่ นี้คือบุคคลผู้เปรีย บด้ วยนักรบอาชีพจาพวกที่ ๕ มีปรากฏอยู่ในพวกภิกษุ ดูกร
ภิกษุท้งั หลายบุคคลผู้เปรียบด้ วยนักรบอาชีพ ๕ จาพวกนี้แล มีปรากฏอยู่ในพวกภิกษุ ฯ
………………………………………………
๙๘
ชีวติ พระ อริยวิถี
โยธาชีวสูตรที่ ๒
[๗๖] ดูกรภิกษุท้งั หลาย นักรบอาชีพ ๕ จาพวกนี้ มีปรากฏอยู่ในโลก ๕ จาพวกเป็ นไฉน คือ นักรบอาชีพบางคนในโลกนี้ ถือดาบและ
โล่ห์ ผูกสอดธนูและแล่ง แล้ วเข้ าสนามรบ เขาย่อมขะมักเขม้ นพยายามรบในสนามรบนั้น พวกข้ าศึกย่อมฆ่าเขาตายทาลายเขาได้ นักรบอาชีพ
บางคนแม้ เช่นนี้กม็ อี ยู่ในโลกนี้น้ เี ป็ นนักรบอาชีพจาพวกที่ ๑ มีปรากฏอยู่ในโลก ฯ
อีกประการหนึ่ง นักรบอาชีพบางคนในโลกนี้ ถือดาบและโล่ห์ ผูกสอด ธนูและแล่ง แล้ วเข้ าสนามรบ เขาย่อมขะมักเขม้ นพยายามรบ
ในสนามรบนั้นพวกข้ าศึกย่อมทาร้ ายเขาให้ บาดเจ็บ พวกของเขาย่อมนาเขาออกมาส่งไปถึงหมู่ญาติ เขากาลังถูกนาไปยังไม่ถงึ หมู่ญาติ ทา
กาละเสียในระหว่างทาง นักรบอาชีพบางคนแม้ เช่นนี้กม็ อี ยู่ในโลกนี้ นี้เป็ นนักรบอาชีพจาพวกที่ ๒ มีปรากฏอยู่ในโลก ฯ
อีกประการหนึ่ง นักรบอาชีพบางคนในโลกนี้ ถือดาบและโล่ห์ ผูกสอดธนูและแล่งแล้ วเข้ าสนามรบ เขาย่อมขะมักเขม้ นพยายามรบใน
สนามรบนั้นพวกข้ าศึกย่อมทาร้ ายเขาให้ บาดเจ็บ พวกของเขาย่ อมนาเขาออกมาส่งไปถึงหมู่ญาติ หมู่ญาติย่อมพยาบาลรักษาเขา เขาอันหมู่
ญาติพยาบาลรักษาอยู่ ได้ ทากาละด้ วยอาพาธนั้น นักรบอาชีพบางคนแม้ เช่นนี้กม็ อี ยู่ในโลกนี้น้ เี ป็ นนักรบอาชีพจาพวกที่ ๓ มีปรากฏอยู่ในโลก

อีกประการหนึ่ง นักรบอาชีพบางคนในโลกนี้ ถือดาบและโล่ห์ ผูกสอดธนูและแล่ง แล้ วเข้ าสนามรบ เขาย่อมขะมักเขม้ นพยายามรบใน
สนามรบนั้นพวกข้ าศึกย่อมทาร้ ายเขาให้ บาดเจ็บ พวกของเขาย่อมนาเขาออกมาส่งไปถึงหมู่ญาติ หมู่ญาติย่อมพยาบาลรักษาเขา เขาอัน หมู่
ญาติพยาบาลรักษาอยู่ ก็ได้ หายจากอาพาธนั้น นักรบอาชีพบางคนแม้ เช่นนี้กม็ ีอยู่ในโลกนี้ นี้เป็ นนักรบอาชีพจาพวกที่ ๔ มีปรากฏอยู่ในโลก

อีกประการหนึ่ง นักรบอาชีพบางคนในโลกนี้ ถือดาบและโล่ห์ ผูกสอดธนูและแล่ง แล้ วเข้ าสนามรบ เขาย่อมชนะสงครามแล้ ว เป็ นผู้
พิชิตสงครามยึดครองค่ายสงครามไว้ ได้ นักรบอาชีพบางคนแม้ เช่นนี้กม็ ีอยู่ในโลกนี้ นี้เป็ นนักรบอาชีพ จาพวกที่ ๕ มีปรากฏอยู่ในโลก ดูกร
ภิกษุท้งั หลาย นักรบอาชีพ ๕จาพวกนี้แล มีปรากฏอยู่ในโลก ฯ
บุคคลผู้เปรียบด้ วยนักรบอาชีพ ๕ จาพวกนี้ มีปรากฏอยู่ในพวกภิกษุฉันนั้นเหมือนกัน ๕ จาพวกเป็ นไฉน คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
อาศัยบ้ านหรือนิคมบางแห่งอยู่ ครั้นเวลาเช้ า เธอนุ่งสบงถือบาตรและจีวรแล้ ว เข้ าไปยังบ้ านหรือนิคมนั้นเพื่อบิณฑบาต ไม่รักษากาย ไม่รักษา
วาจา ไม่รักษาจิต มีสติไม่ต้งั มั่น ไม่สารวมอินทรีย์ เธอได้ เห็นมาตุคามนุ่งห่ มลับๆ ล่อๆ ในบ้ านหรือในนิคมนั้น เพราะเห็นมาตุคามนุ่งห่ ม
ลับๆ ล่อๆ ราคะย่อมขจัดจิตของเธอ เธอมีจิตอันราคะขจัดแล้ ว ไม่บอกคืนสิกขา ไม่ทาให้ แจ้ งซึ่งความทุรพล เสพเมถุนธรรม นักรบอาชีพนั้น
ถือดาบและโล่ห์ ผูกสอดธนูและแล่ง แล้ วเข้ าสนามรบเขาย่อมขะมักเขม้ นพยายามรบในสนามรบนั้น พวกข้ าศึกย่อมฆ่าเขาตาย ทาลายเขาได้
แม้ ฉันใด เรากล่ าวบุคคลนี้เปรียบฉันนั้น บุคคลบางคนแม้ เช่ นนี้ก ็มีอยู่ในธรรมวินัยนี้ นี้คือบุคคลผู้เปรียบด้ วยนักรบอาชีพจาพวกที่ ๑ มี
ปรากฏอยู่ในพวกภิกษุ ฯ
อีกประการหนึ่ง ภิกษุย่อมอาศัยบ้ านหรือนิคมบางแห่ งอยู่ ครั้นเวลาเช้ าเธอนุ่งสบงถือบาตรและจีวรแล้ ว เข้ าไปยังบ้ านหรือนิคมนั้น
เพื่อบิณฑบาต ไม่รักษากาย ไม่รักษาวาจา ไม่รักษาจิต มีสติไม่ต้งั มั่น ไม่สารวมอินทรีย์ เธอได้ เห็นมาตุคามนุ่งห่มลับๆ ล่อๆ ในบ้ านหรือ
นิคมนั้น เพราะเห็นมาตุคามนุ่งห่ มลับๆ ล่อๆ ราคะย่อมขจัดจิตของเธอ เธอมีจิตอันราคะขจัดแล้ ว ย่อมเร่าร้ อนกาย เร่าร้ อนจิต เธอจึงคิด
อย่างนี้ว่า ผิฉะนั้น เราควรไปอารามบอกพวกภิกษุว่ าอาวุโส ข้ าพเจ้ าถูกราคะย้ อมแล้ ว ถูกราคะครอบงาแล้ ว ไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์
สืบต่อไปได้ จักทาให้ แจ้ งซึ่งความเป็ นผู้ทุรพลในสิกขา บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อเป็ นคฤหัสถ์ เธอกาลังเดินไปอาราม ยังไม่ทนั ถึงอาราม ก็ทา
ให้ แจ้ งซึ่งความเป็ นผู้ทุรพลในสิกขา บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อเป็ นคฤหัสถ์ในระหว่างทาง นักรบอาชีพนั้นถือดาบและโล่ห์ ผูกสอดธนูและแล่ง
แล้ วเข้ าสนามรบเขาย่อมขะมักเขม้ นพยายามรบในสนามรบนั้น พวกข้ าศึกย่อมทาร้ ายเขาให้ บาดเจ็บพวกของเขาย่อมนาเขาออกมาส่งไปถึง
หมู่ญาติ เขากาลังถูกนาไปยังไม่ถึงหมู่ญาติทากาละเสียในระหว่างทาง แม้ ฉันใด เรากล่าวบุคคลนี้เปรียบฉันนั้น บุคคลบางคนแม้ เช่นนี้กม็ อี ยู่
ในธรรมวินัยนี้ นี้คอื บุคคลผู้เปรียบด้ วยนักรบอาชีพจาพวกที่ ๒ มีปรากฏอยู่ในพวกภิกษุ ฯ
อีกประการหนึ่ง ภิกษุย่อมอาศัยบ้ านหรือนิคมบางแห่ งอยู่ ครั้นเวลาเช้ า เธอนุ่งสบงถือบาตรและจีวรแล้ ว เข้ าไปยังบ้ านหรือนิคมนั้น
เพื่อบิณฑบาต ไม่รักษากาย ไม่รักษาวาจา ... บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อเป็ นคฤหัสถ์ เธอไปสู่อารามบอกพวกภิกษุว่า อาวุโส ข้ าพเจ้ าถูกราคะ
ย้ อมแล้ ว ... บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อเป็ นคฤหัสถ์ พวกเพื่อนพรหมจรรย์จึงกล่าวสอน พร่าสอนเธอว่า อาวุโสกามทั้งหลาย พระผู้มพี ระภาค
ตรัสว่า มีความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้ นมาก มีโทษยิ่งใหญ่ กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยร่างกระดูก มีทุกข์
มาก ... กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยชิ้นเนื้อ มีทุกข์มาก ... กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยคบเพลิงมี
ทุกข์มาก ... กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิงมีทุกข์มาก ... กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบ
ด้ วยความฝัน มีทุกข์มาก ... กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยของขอยืม มีทุกข์มาก ...กามทั้งหลายพระผู้มี พระภาคตรัสว่า
เปรียบด้ วยผลไม้ มีทุกข์มาก ... กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยดาบและของมีคม มีทุกข์มาก ...กามทั้งหลายพระผู้มีพระ
ภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยหอกและหลาว มีทุกข์มาก ...กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยโพรงไม้ มีงู มีทุกข์มาก มีความคับแค้ น
๙๙
ชีวติ พระ อริยวิถี
มาก มีโทษยิ่งใหญ่ ขอท่านผู้มีอายุ จงยินดีย่ิงในพรหมจรรย์ จงอย่ าทาให้ แจ้ งซึ่งความเป็ นผู้ทุรพลในสิกขา บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อเป็ น
คฤหัสถ์ เธออันพวกเพื่อนพรหมจรรย์กล่าวสอน พร่าสอนอยู่อย่างนี้ จึงกล่าวอย่างนี้ว่า อาวุโส กามทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคตรัสว่า มีความ
ยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้ นมาก มีโทษยิ่งใหญ่ ก็จริง แต่ข้าพเจ้ าไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์สบื ต่อไปได้ จักทาให้ แจ้ งซึ่งความ
เป็ นผู้ทุรพลในสิกขา บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อเป็ นคฤหัสถ์ นักรบนั้นถือดาบและโล่ห์ ฯลฯ เขาอันหมู่ญาติพยาบาลรักษาอยู่กไ็ ด้ ตายเพราะ
อาพาธนั้น แม้ ฉันใด เรากล่าวบุคคลนี้เปรียบฉันนั้น บุคคลบางคนแม้ เช่นนี้กม็ อี ยู่ในธรรมวินัยนี้ นี้คอื บุคคลผู้เปรียบด้ วยนักรบอาชี พจาพวก
ที่ ๓มีปรากฏอยู่ในพวกภิกษุ ฯ
อีกประการหนึ่ง ภิกษุย่อมอาศัยบ้ านหรือนิคมบางแห่ งอยู่ ครั้นเวลาเช้ า เธอนุ่งสบงถือบาตรและจีวรแล้ ว เข้ าไปยังบ้ านหรือนิคมนั้น
เพื่อบิณฑบาต ไม่รักษากาย ไม่รักษาวาจา ... บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อเป็ นคฤหัสถ์ เพื่อไปอารามบอกพวกภิกษุว่า อาวุโส ข้ าพเจ้ าถูกราคะ
ย้ อมแล้ ว ... บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อเป็ นคฤหัสถ์ พวกเพื่อนพรหมจรรย์จึงกล่าวสอน พร่าสอนเธอว่า อาวุโส กามทั้งหลาย พระผู้มี
พระภาคตรัสว่า มีความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้ นมาก มีโทษยิ่งใหญ่ กามทั้งหลาย พระผู้มพี ระภาคตรัสว่า เปรียบด้ วยร่างกระดู ก
... เปรียบด้ วยชิ้นเนื้อ ... เปรียบด้ วยคบเพลิง ... เปรียบด้ วยหลุมถ่านเพลิง ...เปรียบด้ วยความฝัน ... เปรียบด้ วยของขอยืม ... เปรียบด้ วย
ผลไม้ ... เปรียบด้ วยดาบและของคม ... เปรียบด้ วยหอกและหลาว ... เปรียบด้ วยโพรงไม้ มงี ู มีความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้ น
มาก มีโทษยิ่งใหญ่ ขอท่านมีผ้ ูอายุจงยินดีย่ิงในพรหมจรรย์ จงอย่ าทาให้ แจ้ งซึ่งความเป็ นผู้ทุรพลในสิกขา บอกคืนสิกขาเ วียนมาเพื่อเป็ น
คฤหัสถ์ เธออันพวกเพื่อนพรหมจรรย์กล่าวสอน พร่าสอนอยู่อย่างนี้ จึงกล่าวอย่างนี้ว่า อาวุโส ข้ าพระเจ้ าจักขะมักเขม้ น จักทรงไว้ จักยินดีย่งิ
จักไม่กระทาให้ แจ้ งซึ่งความเป็ นผู้ทุรพลในสิกขา บอกคืนสิกขาเวียนมาเพื่อเป็ นคฤหัสถ์ ณบัดนี้ นักรบนั้นถือดาบและโล่ห์ ... เขาอันหมู่ญาติ
พยาบาลรักษาอยู่ ก็ได้ หายจากอาพาธนั้น แม้ ฉันใด เรากล่าวบุคคลนี้เปรียบฉันนั้น บุคคลบางคนแม้ เช่นนี้กม็ ีอยู่ในธรรมวินัยนี้ นี้คอื บุคคลผู้
เปรียบด้ วยนักรบอาชีพจาพวกที่ ๔ มีปรากฏอยู่ในพวกภิกษุ ฯ
อีกประการหนึ่ง ภิกษุย่อมอาศัยบ้ านหรือนิคมบางแห่ งอยู่ ครั้นเวลาเช้ าเธอนุ่งสบงถือบาตรและจีวรแล้ ว เข้ าไปยังบ้ านหรือนิคมนั้น
เพื่อบิณฑบาต รักษากาย รักษาวาจา รักษาจิต มีสติต้ังมั่นสารวมอินทรีย์ เธอเห็นรูปด้ วยจักษุแล้ วย่ อมไม่ถือโดยนิมิต ย่ อมไม่ถือโดยอนุ
พยัญชนะ ย่อมปฏิบัติเพื่อสารวมจักขุนทรีย์ท่เี มื่อไม่สารวมแล้ ว พึงเป็ นเหตุให้ ธรรมอันเป็ นบาปอกุศล คือ อภิชฌาและโทมนัสครอบงาได้
ย่อมรักษาจักขุนทรีย์ ถึงความสารวมในจักขุนทรีย์ ฟั งเสียงด้ วยหู ... ดมกลิ่นด้ วยจมูก ... ลิ้มรสด้ วยลิ้น ... ถูกต้ องโผฏฐั พพะด้ วยก าย ... รู้
แจ้ งธรรมารมณ์ด้วยใจแล้ ว ย่อมไม่ถอื โดยนิมติ ย่อมไม่ ถอื โดยอนุพยัญชนะ ย่อมปฏิบตั เิ พื่อสารวมมนินทรีย์ ที่เมื่อไม่สารวมแล้ ว พึงเป็ นเหตุ
ให้ ธรรมอันเป็ นบาปอกุศล คือ อภิชฌาและโทมนัสครอบงาได้ ย่ อมรักษามนินทรีย์ถึงความสารวมในมนินทรีย์ เธอกลับจากบิณฑบาต
ภายหลังภัตแล้ ว ย่อมเสพเสนาสนะอันสงัด คือ ป่ า โคนไม้ ภูเขา ซอกเขา ถา้ ป่ าช้ า ป่ าชัฎที่แจ้ ง ลอมฟาง เธออยู่ในป่ า โคนไม้ หรือเรือนว่าง
ย่อมนั่งคู้บลั ลังก์ ตั้งกายตรง ดารงสติไว้ เฉพาะหน้ า เธอย่อมละอภิชฌาในโลกเสีย ฯลฯ เธอละนิวรณ์ ๕ประการนี้ อันเป็ นเครื่องเศร้ าหมองใจ
ทาปั ญญาให้ ทุรพลได้ แล้ วสงัดจากกามฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ไม่ มีทุกข์ ไม่ มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มี
อุเบกขาเป็ นเหตุให้ สติบริสทุ ธิ์อยู่ เมื่อจิตเป็ นสมาธิ บริสทุ ธิ์ผ่องแผ้ ว ไม่มีกเิ ลสปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว
แล้ วอย่างนี้ เธอย่อมโน้ มน้ อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ เธอย่อมรู้ชัดตามความเป็ นจริงว่า นี้ทุกข์ ฯลฯ กิจอื่นเพื่อความเป็ นอย่างนี้มิได้ มอี กี
นักรบอาชีพนั้นถือดาบและโล่ห์ ผูกสอดธนูและแล่งแล้ ว เข้ าสนามรบ เขาชนะสงครามแล้ ว เป็ นผู้พิชิตสงคราม ยึดครองค่ายสงครามนั้นไว้ ได้
แม้ ฉันใด เรากล่ าวบุคคลนี้เปรียบฉันนั้น บุคคลบางคนแม้ เช่ นนี้กม็ ี อยู่ในธรรมวินัยนี้ นี้คือบุคคลผู้เปรียบด้ วยนักรบอาชีพจาพวกที่ ๕ มี
ปรากฏอยู่ในพวกภิกษุ
ดูกรภิกษุท้งั หลาย บุคคลผู้เปรียบด้ วยนักรบอาชีพ ๕ จาพวกนี้แล มีปรากฏอยู่ในพวกภิกษุ ฯ
…………………………………………………..

๑๐๐
ชีวติ พระ อริยวิถี
มหาทุกขักขันธสูตร ม.มู.๑๒/๑๙๔/๑๑๔ (ม.มู.เล่ม ๑ ภาค ๒-เล่ม ๑๘ หน้าที่ ๑๑๓)
[๑๙๔] ข้ าพเจ้ าได้ สดับมาอย่างนี้ :-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้ าประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี. ครั้งนั้นแล
ภิกษุมากรูปด้ วยกัน ในตอนเช้ า นุ่งแล้ ว ถือบาตรและจีวรเข้ าไปบิณฑบาตในพระนครสาวัตถี. ภิกษุเหล่านั้นต่างมีความคิดร่วมกันว่า ยังเช้ าอยู่
นัก อย่าเพิ่งเข้ าไปบิณฑบาตในพระนครสาวัตถีเลย ทางที่ดี พวกเราควรเข้ าไปยังอารามของพวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์เถิด ดังนี้แล้ ว. ต่างก็
มุ่งตรงไปยังอารามของพวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ ครั้นแล้ วได้ สนทนาปราศรัยกับพวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้น ครั้นผ่านการปราศรัย
พอให้ ระลึกถึงกันไปแล้ ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง.
พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์เหล่ านั้น ได้ กล่ าวกะพวกภิกษุผ้ ูน่ัง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่งว่ า ดูก่อนผู้มีอายุท้งั หลาย พระสมณโคดม
บัญญัติข้อควรกาหนดรู้กามได้ แม้ พวกข้ าพเจ้ าก็บัญญัติข้อควรกาหนดรู้กามได้ พระสมณโคดมบัญญัติข้อควรกาหนดรู้รูปได้ แม้ พวก
ข้ าพเจ้ าก็บญั ญัตขิ ้ อควรกาหนดรู้รปู ได้ พระสมณโคดมบัญญัตขิ ้ อควรกาหนดรู้เวทนาได้ แม้ พวกข้ าพเจ้ าก็บญ ั ญัตขิ ้ อกาหนดรู้เวทนาได้ ดูก่อน
ผู้มีอายุท้งั หลาย ในเรื่องนี้ อะไรเล่ าเป็ นข้ อวิเศษ เป็ นผลที่มุ่งหมาย หรือกระทาให้ ต่างกันระหว่างพระสมณโคดมกับพวกข้ าพเจ้ า เช่ นการ
แสดงธรรมกับการแสดงธรรม อนุสาสนีกบั อนุสาสนี.
พวกภิกษุเหล่านั้นไม่ยินดี ไม่คดั ค้ านคาที่พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้นกล่าวแล้ ว ครั้นแล้ วลุกจากที่น่งั หลีกไปด้ วยคิดว่า เราจัก
ทราบข้ อความแห่งภาษิตนี้ในสานักของพระผู้มพี ระภาคเจ้ า.
วาทะอัญญเดียรถีย ์
[๑๙๕] ครั้งนั้นแล ภิกษุเหล่านั้นเที่ยวบิณฑบาตไปในพระนครสาวัตถี กลับจากบิณฑบาตในเวลาปัจฉาภัตแล้ ว เข้ าไปเฝ้ าพระผู้มี
พระภาคเจ้ าถึงที่ประทับ .....
[๑๙๖] พระผู้มีพระภาคเจ้ าตรัสว่า ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ผ้ ูมีวาทะอย่างนี้ พวกเธอพึงกล่าวอย่างนี้ว่า
ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ก็อะไรเล่าเป็ นคุณ อะไรเป็ นโทษ อะไรเป็ นการถ่ายถอนกามทั้งหลาย อะไรเป็ นคุณ อะไรเป็ นโทษ อะไรเป็ นการถ่ายถอน
รูปทั้งหลาย อะไรเป็ นคุณ อะไรเป็ นโทษ อะไรเป็ นการถ่ายถอนเวทนาทั้งหลาย.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ถูกพวกเธอถามอย่างนี้ จักไม่พอใจเลย และจักต้ องคับแค้ นอย่างยิ่ง ข้ อนั้นเพราะ
เหตุอะไร เพราะข้ อนั้นมิใช่วิสยั ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย เราไม่เห็นผู้ท่จี ะพึงยังจิตให้ ยินดีด้วยการพยากรณ์ปัญหาเหล่านี้ในโลกเป็ นไปกับด้ วย
เทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สตั ว์เป็ นไปกับด้ วยสมณะ พราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ เว้ นไว้ แต่ตถาคต หรือสาวกของตถาคต หรือ
มิฉะนั้นก็ฟังจากนี้.
[๑๙๗] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ก็อะไรเล่า เป็ นคุณของกามทั้งหลาย. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย กามคุณ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็ นไฉน
คือ รูปที่พึงรู้แจ้ งด้ วยจักษุ น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ น่ารัก ประกอบด้ วยกาม เป็ นที่ต้งั แห่งความกาหนัด เสียงที่พึงรู้แจ้ งด้ วยโสต. . .
กลิ่นที่พึงรู้แจ้ งด้ วยฆานะ. . .รสที่พึงรู้แจ้ งด้ วยชิวหา. . .โผฏฐั พพะที่พึงรู้แจ้ งด้ วยกาย น่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ น่ารัก ประกอบด้ วย
กาม เป็ นที่ต้งั แห่งความกาหนัด
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย กามคุณ ๕ ประการเหล่านี้แล. ความสุข ความโสมนัสใดเล่า อาศัยกามคุณ ๕ เหล่านี้เกิดขึ้น นี้เป็ นคุณของกาม
ทั้งหลาย.
โทษของกาม
[๑๙๘] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ก็อะไรเล่าเป็ นโทษของกามทั้งหลาย. กุลบุตรในโลกนี้เลี้ยงชีวิตด้ วยความขยัน ประกอบศิลปะใด คือ
ด้ วยการนับคะแนนก็ดี ด้ วยการคานวนก็ดี ด้ วยการนับจานวนก็ดี ด้ วยการไถก็ดี ด้ วยการค้ าขายก็ดี ด้ วยการเลี้ยงโคก็ดี ด้ วยการยิงธนูกด็ ี
ด้ วยการเป็ นราชบุรษุ ก็ดี ด้ วยศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่งก็ดี ต้ องตรากตราต่อความหนาว ต้ องตรากตราต่อความร้ อน งุ่นง่านอยู่ด้วยสัมผัสแต่
เหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลาน ต้ องตายด้ วยความหิวระหาย ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ น้ ีเล่า ก็เป็ นโทษของกามทั้งหลาย เป็ น
กองทุกข์ท่เี ห็นกันอยู่ มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ถ้ าเมื่อกุลบุตรนั้นขยัน สืบต่อ พยายามอยู่อย่างนี้ โภคะเหล่านั้นก็ไม่สาเร็จผล เขาย่อมเศร้ าโศก ลาบาก ราพัน
ตีอก คร่าครวญ ถึงความหลงเลือนว่าความขยันของเราเป็ นโมฆะหนอ ความพยายามของเราไม่มผี ลหนอ ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ น้ เี ล่าก็เป็ น
โทษของกามทั้งหลาย เป็ นกองทุกข์ท่เี ห็นกันอยู่ มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่ งกามทั้งหลาย
ทั้งนั้น.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ถ้ าเมื่อกุลบุตรนั้นขยัน สืบต่อ พยายามอยู่อย่างนี้ โภคะเหล่านั้นสาเร็จผล เขากลับเสวยทุกข์ โทมนัส ที่มีการ
คอยรักษาโภคะเหล่านั้นเป็ นตัวบังคับว่า ทาอย่างไร พระราชาทั้งหลาย ไม่พึงริบโภคะเหล่านั้นไปได้ พวกโจรพึงปล้ นไม่ได้ ไฟไม่พึงไหม้
นา้ ไม่พึงพัดไป ทายาทอัปรีย์พึงนาไปไม่ได้ .

๑๐๑
ชีวติ พระ อริยวิถี
เมื่อกุลบุตรนั้นคอยรักษาคุ้มครองอยู่อย่างนี้ พระราชาทั้งหลายริบโภคะเหล่านั้นไปเสียก็ดี พวกโจรปล้ นเอาไปเสียก็ดี ไฟไหม้ เสีย
ก็ดี นา้ พัดไปเสียก็ดี ทายาทอัปรีย์นาไปเสียก็ดี เขาย่อมเศร้ าโศก ลาบาก ราพัน ตีอก คร่าครวญ ถึงความหลงเลือนว่า สิ่งใดเล่าเคยเป็ น
ของเรา แม้ ส่งิ นั้นก็ไม่เป็ นของเรา ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ น้ ีเล่าเป็ นโทษของกามทั้งหลาย เป็ นกองทุกข์ท่เี ห็นกันอยู่ มีกามเป็ นเหตุ มีกาม
เป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เพราะเหตุแห่ งกามทั้งหลายนั้นแล แม้
พระราชาทั้งหลายก็วิวาทกันกับพระราชา แม้ พวกกษัตริย์กว็ ิวาทกันกับพวกกษัตริย์ แม้ พวกพราหมณ์กว็ ิวาทกันกับพวกพราหมณ์ แม้ คฤหบดี
ก็วิวาทกันกับพวกคฤหบดี แม้ มารดาก็วิวาทกับบุตร แม้ บุตรก็วิวาทกับมารดา แม้ บิดาก็วิวาทกับบุตร แม้ บุตรก็วิวาทกับบิดา แม้ พ่ีชาย
น้ องชายก็วิวาทกันกับพี่ชายน้ องชาย แม้ พ่ีชายก็วิวาทกับน้ องสาว แม้ น้องสาวก็วิวาทกับพี่ชาย แม้ สหายก็วิวาทกับสหาย ชนเหล่านั้นต่างถึงการ
ทะเลาะ แก่งแย่ง วิวาทกันในที่น้นั ๆ ทาร้ ายซึ่งกันและกัน ด้ วยฝ่ ามือบ้ าง ด้ วยก้ อนดินบ้ าง ด้ วยท่อนไม้ บ้าง ด้ วยศัสตราบ้ าง ถึงความตาย
ไปตรงนั้นบ้ าง ถึงทุกข์ปางตายบ้ าง ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ น้ ีเล่าก็เป็ นโทษของกามทั้งหลาย เป็ นกองทุกข์ท่เี ห็นกันอยู่ มีกามเป็ นเหตุ มี
กามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ ามีกามเป็ นด้ วยบังคับ เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูงชน
ต่างถือดาบและโล่สอดแล่งธนู วิ่งเข้ าสู่สงคราม ปะทะกันทั้ง ๒ ฝ่ าย เมื่อลูกศรทั้งหลายถูกยิงไปบ้ าง เมื่อหอกทั้งหลายถูกพุ่งไปบ้ าง เมื่อ
ดาบทั้งหลายถูกวัดแกว่งอยู่บ้าง ฝูงชนเหล่านั้นต่างก็ถูกลูกศรเสียบเอาบ้ าง ถูกหอกแทงเอาบ้ าง ถูกดาบตัดศีรษะเสียบ้ างในที่น้นั พากันถึง
ตายไปตรงนั้นบ้ าง ถึงทุกข์ปางตายบ้ าง ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ น้ เี ล่าก็เป็ นโทษของกามทั้งหลาย เป็ นกองทุกข์ท่เี ห็นกันอยู่ มีกามเป็ นเหตุ
มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เพราะเหตุแห่ งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูง
ชนถือดาบและโล่สอดแล่งธนู ตรูกนั เข้ าไปสู่เชิงกาแพงที่ฉาบด้ วยเปลือกตมร้ อน เมื่อลูกศรถูกยิงไปบ้ าง เมื่อหอกถูกพุ่งไปบ้ าง เมื่อดาบถูก
กวัดแกว่งบ้ าง ชนเหล่านั้นต่างถูกลูกศรเสียบบ้ าง ถูกหอกแทงบ้ าง ถูกรดด้ ายโคมัยร้ อนบ้ าง ถูกสับด้ วยคราดบ้ าง ถูกตัดศีรษะด้ วยดาบ
บ้ าง ในที่น้นั พากันถึงตายไปตรงนั้นบ้ าง ถึงทุกข์ปางตายบ้ าง ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ น้ เี ล่าก็เป็ นโทษของกามทั้งหลายเป็ นกองทุกข์ท่เี ห็น
กันอยู่ มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับเกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เพราะเหตุแห่ งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูง
ชนตัดที่ต่อบ้ าง ปล้ นอย่างกวาดล้ างบ้ าง กระทาให้ เป็ นเรือนหลังเดียวบ้ าง ดักทางบ้ าง สมสู่ภรรยาคนอื่นบ้ าง พระราชาทั้งหลายจับคนนั้น
ๆ ได้ แล้ ว ให้ กระทากรรมกรณ์ต่าง ๆ เฆียนด้ วยแซ่บ้าง เฆี่ยนด้ วยหวายบ้ าง ตีด้วยไม้ ค้อนบ้ าง ตัดมือเสียบ้ าง ตัดเท้ าเสียบ้ าง ตัดทั้งมือ
ทั้งเท้ าเสียบ้ าง ตัดหูเสียบ้ าง ตัดจมูกเสียบ้ าง ตัดทั้งหูท้งั จมูกเสียบ้ าง กระทากรรมกรณ์ ชื่อพิลังคถาลิกะ [หม้ อเคี่ยวนา้ ส้ ม] บ้ าง ชื่อสัง
ขมุณฑกะ [ขอดสังข์] บ้ าง ชื่อราหูมุข [ปากราหู] บ้ าง ชื่อโชติมาลิกะ [พุ่มเพลิง] บ้ าง ชื่อหัตถปัชโชติกะ [มือไฟ] บ้ าง ชื่อ เอรกวัตติกะ [นุ่ง
หนังช้ าง] บ้ าง ชื่อจีรกวาสิกะ [นุ่งสาหร่าย] บ้ าง ชื่อเอเณยยกะ [ยืนกวาง] บ้ าง ชื่อพลิสมังสิกะ [กระชากเนื้อด้ วยเบ็ด] บ้ าง ชื่อกหาปณ
กะ [ควักเนื้อทีละกหาปณะ] บ้ าง ชื่อขาราปฏิจฉกะ [แปรงแสบ] บ้ าง ชื่อปลิฆปริวัตตีกะ [วนลิ่ม] บ้ าง ชื่อปลาลปี ฐกะ [ตั่งฟาง] บ้ าง รด
ด้ วยนา้ มันที่ร้อนบ้ าง ให้ สนุ ัขกินบ้ าง เสียบที่หลาวทั้งเป็ นบ้ าง ใช้ ดาบตัดศีรษะเสียบ้ าง คนเหล่านั้นถึงตายไปตรงนั้นบ้ าง ถึงทุกข์ปางตาย
บ้ าง ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ น้ เี ล่า ก็เป็ นโทษของกามทั้งหลาย เป็ นกองทุกข์ท่เี ห็นกันอยู่ มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัว
บังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เพราะเหตุแห่ งกามทั้งหลายนั่นแล ฝูง
ชนต่างประพฤติกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ชนเหล่านั้น ครั้นประพฤติกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริตแล้ ว เบื้องหน้ าแต่ตายเพราะกาย
แตก ย่อมเข้ าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ น้ เี ล่าก็เป็ นโทษของกามทั้งหลาย เป็ นกองทุกข์ในสัมปรายภพ มีกามเป็ น
เหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น.
[๑๙๙] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ก็อะไรเล่าเป็ นการถ่ายถอนกามทั้งหลาย. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย การกาจัดฉันทราคะในกามทั้งหลาย
การละฉันทราคะในกามทั้งหลายใดเล่า นี้เป็ นการถ่ายถอนกามทั้งหลาย.
[๒๐๐] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ไม่ร้ ชู ัดคุณของกามทั้งหลาย โดยเป็ นคุณ โทษของกามทั้งหลาย
โดยความเป็ นโทษและการถ่ายถอนกามทั้งหลาย โดยความเป็ นการถ่ายถอนอย่างที่กล่าวนี้ตามความเป็ นจริง พวกเหล่านั้นหรือจักรอบรู้กาม
ทั้งหลายด้ วยตนเองหรือว่าจักชักจูงผู้อ่นื เพื่อความเป็ นอย่างที่ผ้ ูปฏิบตั ิแล้ วจักรอบรู้กามทั้งหลายได้ ข้ อนี้ไม่เป็ นฐานะที่จะมีได้ . ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย ส่วนสมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่งรู้ชัดคุณของกามทั้งหลายโดยเป็ นคุณ โทษขอกามทั้งหลายโดยความเป็ นโทษและการ
ถ่ายถอนกามทั้งหลายโดยความเป็ นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวนี้ ตามความเป็ นจริง พวกนั้นแล จักรอบรู้กามทั้งหลายด้ วยตนเองได้ หรือ
จักชักจูงผู้อ่นื เพื่อความเป็ นอย่างที่ผ้ ปู ฏิบตั แิ ล้ วจักรอบรู้กามทั้งหลายได้ ข้ อนี้เป็ นฐานะที่จะมีได้ .

๑๐๒
ชีวติ พระ อริยวิถี
[๒๐๑] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ก็อะไรเล่ าเป็ นคุณของรูปทั้งหลาย ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย เหมือนอย่ างว่ า นางสาวเผ่ากษัตริย์ เผ่า
พราหมณ์ หรือเผ่าคฤหบดี มีอายุระบุได้ ว่า ๑๕ ปี หรือ ๑๖ ปี ไม่สงู เกินไป ไม่ต่าเกินไป ไม่ผอมเกินไป ไม่อ้วนเกินไป ไม่ดาเกินไป ไม่ขาว
เกินไป ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ในสมัยนั้น นางคนนั้นงดงามเปล่งปลั่ง เป็ นอย่างยิ่ง ใช่หรือไม่ พวกภิกษุพากันกราบทูลว่าเป็ นเช่นนั้นพระเจ้ า
ข้ า. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ความสุขความโสมนัสอันใดแล ที่บงั เกิดขึ้นเพราะอาศัยความงามเปล่งปลั่ง นี้เป็ นคุณของรูปทั้งหลาย.
โทษของรูป
[๒๐๒] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ก็อะไรเล่าเป็ นโทษของรูปทั้งหลาย. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละในโลกนี้
โดยสมัยอื่นมีอายุ ๘๐-๙๐ หรือ ๑๐๐ ปี โดยกาเนิด เป็ นยายแก่ มีซ่ีโครงคดดังกลอนเรือนร่างคดงอ ถือไม้ เท้ ากระงกกระเงิ่น เดินไป
กระสับกระส่าย ผ่านวัยเยาว์ไปแล้ ว มีพันหลุด ผมหงอก. ผมโกร๋น ศีรษะล้ าน เนื้อเหี่ยว มีตวั ตกกระ.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย พวกเธอจักสาคัญข้ อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่งที่มิในครั้งก่อนนั้นหายไปแล้ ว โทษปรากฏแล้ ว
มิใช่หรือ.
ภิกษุ. เป็ นเช่นนั้น พระเจ้ าข้ า.
พระ. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย นี้เป็ นโทษของรูปทั้งหลาย.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นสาวคนนั้นแหละมีอาพาธ มีทุกข์ เจ็บหนัก นอนจมกองมูตรคูถของตน ต้ องให้
คนอื่นพยุงลุก ต้ องให้ คนอื่นคอยประคอง. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย เธอจะสาคัญข้ อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มีในก่อนนั้น
หายไปแล้ ว โทษปรากฏแล้ วมิใช่หรือ.
ภิกษุ. เป็ นเช่นนั้น พระเจ้ าข้ า
พระ. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ ข้อนี้เล่า ก็เป็ นโทษของรูปทั้งหลาย.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละเป็ นซากศพ ถูกทิ้งไว้ ในป่ าช้ า ตายได้ ๑ วันก็ดี ตายได้
๒ วันก็ดี ตายได้ ๓ วันก็ดี เป็ นซากศพขึ้นพองก็ดี มีสเี ขียวก็ดี เกิดหนอนชอนไชก็ด.ี
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย พวกเธอจะสาคัญข้ อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มีในก่อนนั้นหายไปแล้ ว โทษปรากฏแล้ วมิใช่
หรือ.
ภิกษุ. เป็ นเช่นนั้น พระเจ้ าข้ า.
พระ. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ ข้อนี้เล่า ก็เป็ นโทษของรูปทั้งหลาย.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละเป็ นซากศพถูกทิ้งไว้ ในป่ าช้ า ฝูงการุมกันจิกกินบ้ าง ฝูง
แร้ งรุมกันจิกกินบ้ าง ฝูงนกเค้ ารุมกันจิกกินบ้ าง ฝูงสุนัขรุมกันกัดกินบ้ าง ฝูงสุนัขจิ้งจอกรุมกันกัดกินบ้ าง ฝูงปาณกชาติต่างๆ รุนกันกัดกินบ้ าง.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย พวกเธอจะสาคัญข้ อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มใี นก่อนนั้นหายไปแล้ ว โทษปรากฏแล้ วมิใช่หรือ.
ภิกษุ. เป็ นเช่นนั้น พระเจ้ าข้ า.
พระ ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ ข้อนี้เล่า ก็เป็ นโทษของรูปทั้งหลาย.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละเป็ นซากศพถูกทิ้งในป่ าช้ า มีแต่โครงกระดูก มีเนื้อและ
เลือดติดอยู่ มีเอ็นยืดอยู่ ฯลฯ มีแต่โครงกระดูก ปราศจากเนื้อเปื้ อนเลือด มีเอ็นยึดอยู่ ฯลฯ มีแต่โครงกระดูกปราศจากเนื้อเเละเลือด มี
เอ็นยึดอยู่ ฯลฯ เป็ นแต่กระดูกปราศจากเอ็นยึดกระจัดกระจายไปในทิศน้ อยใหญ่ คือ กระดูกมือทางหนึ่ง กระดูกเท้ าทางหนึ่ง กระดูกแข้ ง
ทางหนึ่ง กระดูกขาทางหนึ่ง กระดูกสะเอวทางหนึ่ง กระดูกสันหลังทางหนึ่ง กระดูกซี่โครงทางหนึ่ง กระดูกหน้ าอกทางหนึ่ง กระดูกแขน
ทางหนึ่ง กระดูกไหล่ทางหนึ่ง กระดูกคอทางหนึ่ง กระดูกคางทางหนึ่ง กระดูกฟันทางหนึ่ง หัวกระโหลกทางหนึ่ง. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย พวก
เธอจะสาคัญข้ อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มใี นก่อนนั้นหายไปแล้ ว โทษปรากฏแล้ วมิใช่หรือ.
ภิกษุ. เป็ นเช่นนั้น พระเจ้ าข้ า.
พระ ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ ข้อนี้เล่า ก็เป็ นโทษของรูปทั้งหลาย.
ดู ก่ อ นภิ ก ษุ ท้ัง หลาย อีก ประการหนึ่ ง บุ ค คลพึ ง เห็น นางสาวนั้ น แหละเป็ นซากศพถู ก ทิ้ง ไว้ ใ นป่ าช้ า เหลื อ แต่ ก ระดู กสีข าว
เปรียบเทียบได้ กับสีสงั ข์ ฯลฯ เหลือแต่กระดูกตกค้ างแรมปี เรียงรายเป็ นหย่อม ๆ ฯลฯ เหลือแต่กระดูกผุแหลกยุ่ย . ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย
พวกเธอจะสาคัญข้ อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มใี นก่อนหายไปแล้ ว โทษปรากฏแล้ วมิใช่หรือ.
ภิกษุ. เป็ นเช่นนั้น พระเจ้ าข้ า.
พระ. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย แม้ ข้อนี้เล่า ก็เป็ นโทษของรูปทั้งหลาย.
[๒๐๓] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ก็อะไรเล่าเป็ นการถ่ายถอนรูปทั้งหลาย. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย การกาจัดฉันทราคะในรูปทั้งหลาย การ
ละฉันทราคะในรูปทั้งหลายใด นี้เป็ นการถ่ายถอนรูปทั้งหลาย.

๑๐๓
ชีวติ พระ อริยวิถี
การกาหนดรูร้ ูป
[๒๐๔] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ไม่ร้ ชู ัดคุณของรูปทั้งหลายโดยเป็ นคุณ โทษของรูปทั้งหลายโดย
ความเป็ นโทษ และการถ่ายถอนรูปทั้งหลาย โดยความเป็ นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวนี้ตามความเป็ นจริง พวกเหล่านั้นหรือจักรอบรู้รูป
ทั้งหลายด้ วยตนเอง หรือว่าจักชักจูงผู้อ่นื เพื่อความเป็ นอย่างที่ผ้ ปู ฏิบตั แิ ล้ วจักรอบรู้รปู ทั้งหลายได้ ข้ อนี้ไม่เป็ นฐานะที่จะมีได้ .
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ส่วนสมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง รู้ชัดคุณของรูปทั้งหลายโดยเป็ นคุณ โทษของรูปทั้งหลายโดยความ
เป็ นโทษ และการถ่ายถอนรูปทั้งหลายโดยความเป็ นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวนี้ตามความเป็ นจริง พวกเหล่านั้นแหละ จักรอบรู้รูปทั้งหลาย
ด้ วยตนเองได้ หรือจักชักจูงผู้อ่นื เพื่อความเป็ นอย่างที่ผ้ ปู ฏิบตั แิ ล้ วจักรอบรู้รปทั้งหลายได้ . ข้ อนี้เป็ นฐานะที่จะมีได้ .
[๒๐๕] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ก็อะไรเล่า เป็ นคุณของเวทนาทั้งหลาย. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม
สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติ และสุขเกิดแต่วิเวกอยู่. ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุ
ปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติ และสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ ในสมัยนั้น ย่อมไม่คิดเพื่อจะทาลายตนบ้ าง ย่อมไม่คิดเพื่อจะทาลายผู้อ่นื บ้ าง ย่อมไม่
คิดเพื่อจะทาลายทั้งสองฝ่ ายบ้ าง ในสมัยนั้น ย่อมเสวยเวทนา อันไม่มคี วามเบียดเบียนเลยทีเดียว ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย เราย่อมกล่าวคุณของ
เวทนาทั้งหลายว่า มีความไม่เบียดเบียนเป็ นอย่างยิ่ง.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่ งจิตในภายใน เป็ นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มี
วิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่. ในสมัยใด ภิกษุบรรลุทุตยิ ฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็ นธรรมเอก
ผุดขึ้น ไม่มวี ิตก ไม่มวี ิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมไม่คดิ เพื่อจะทาลายตนบ้ าง ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมเสวยเวทนา อัน
ไม่มคี วามเบียดเบียนเลยที่เดียว ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย เรากล่าวคุณของเวทนาทั้งหลายว่า มีความไม่เบียดเบียนเป็ นอย่างยิ่ง.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีอุเบกขา มีสติสมั ปชัญญะ และเสวยสุขด้ วยกาย เพราะปี ติส้ นิ ไป บรรลุตติยฌาน ที่
พระอริยเจ้ าทั้งหลายกล่าวว่า มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็ นสุข. ในสมัยใด ภิกษุมีอุเบกขา มีสติสมั ปชัญญะ และเสวยสุขด้ วยกาย เพราะปี ติส้ นิ
ไป บรรลุตติยฌาน ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมไม่คดิ เพื่อจะทาลายตน ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมเสวยเวทนาอันไม่มคี วามเบียดเบียนเลยทีเดียว ดูก่อน
ภิกษุท้งั หลาย เรากล่าวคุณแห่งเวทนาทั้งหลายว่า มีความไม่เบียดเบียนเป็ นอย่างยิ่ง.
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย อีกอย่างหนึ่ง ภิกษุบรรลุจตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ไม่มีสขุ เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อน ๆ
ได้ มีอเุ บกขา เป็ นเหตุให้ สติบริสทุ ธิ์อยู่. ในสมัยใด ภิกษุบรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ ในสมัยนั้นย่อมไม่คดิ เพื่อจะทาลายตนบ้ าง ไม่คดิ เพื่อทาลาย
ผู้อ่นื บ้ าง ไม่คิดเพื่อทาลายทั้งสองบ้ าง ในสมัยนั้น ย่อมเสวยเวทนาอันไม่มีความเบียดเบียนเลยทีเดียว ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย เรากล่าวคุณ
แห่งเวทนาทั้งหลาย ว่ามีความไม่เบียดเบียนเป็ นอย่างยิ่ง.
[๒๐๖] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ก็อะไรเล่าเป็ นโทษของเวทนาทั้งหลาย. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ข้ อที่เวทนาไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ มีความ
แปรปรวนเป็ นธรรมดานี้เป็ นโทษของเวทนาทั้งหลาย.
[๒๐๗] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ก็อะไรเล่ า เป็ นการถ่ายถอนเวทนาทั้งหลาย. ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย การกาจัด การละฉันทราคะใน
เวทนาทั้งหลายเสียได้ นี้เป็ นการถ่ายถอนเวทนาทั้งหลาย.
การกาหนดรูเ้ วทนา
[๒๐๘] ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ไม่ร้ ูชัดคุณของเวทนาทั้งหลายโดยเป็ นคุณ โทษของเวทนา
ทั้งหลายโดยความเป็ นโทษและการถ่ายถอนเวทนาทั้งหลายโดยความเป็ นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวมานี้ตามความเป็ นจริง พวกเหล่านั้น
หรือจักรอบรู้เวทนาทั้งหลายด้ วยตนเอง หรือว่าจักชักจูงผู้อ่นื เพื่อเป็ นอย่างที่ผ้ ปู ฏิบตั แิ ล้ วจักรอบรู้เวทนาทั้งหลายได้ ข้ อนี้ มิใช่ฐานะที่จะมีได้
ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ส่วนสมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง รู้ชัดคุณของเวทนาทั้งหลายโดยความเป็ นคุณ โทษของเวทนาทั้งหลายโดย
ความเป็ นโทษและการถ่ายถอนเวทนาทั้งหลายโดยความเป็ นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวมานี้ตามความเป็ นจริง พวกเหล่านั้นแหละ จักรอบรู้
เวทนาทั้งหลายด้ วยตนเองได้ หรือจักชักจูงผู้อ่นื เพื่อความเป็ นอย่างที่ผ้ ปู ฏิบตั แิ ล้ ว จักรอบรู้เวทนาทั้งหลายได้ ข้ อนี้เป็ นฐานะที่จะมีได้ .
พระผู้มพี ระภาคเจ้ าได้ ตรัสพระพุทธพจน์น้ แี ล้ ว ภิกษุเหล่านั้นมีใจ
ชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผู้มพี ระภาคเจ้ าแล้ วแล.
.....................................................

๑๐๔
ชีวติ พระ อริยวิถี
จูฬทุกขักขันธสูตร ม.มู.๑๒/๒๐๙/๑๒๓ (ม.มู.เล่ม ๑ ภาค ๒ – เล่ม ๑๘ หน้าที่ ๑๓๕)
[๒๐๙] ข้ าพเจ้ าได้ สดับมาอย่างนี้ :-
สมัยหนึ่ง พระผู้มพี ระภาคเจ้ าประทับอยู่. ณ นิโครธาราม เขตกรุงกบิลพัสดุแ์ คว้ นสักกะ. ครั้งนั้นแล เจ้ าศากยะทรงพระนามว่า มหา
นามเสด็จเข้ าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคเจ้ าถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้ วประทับนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้ างหนึ่ง ครั้นแล้ วได้ กราบทูลพระผู้มีพระภาค
เจ้ าว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ข้ าพระองค์เข้ าใจข้ อธรรมที่พระองค์ทรงแสดงมานานแล้ วอย่างนี้ว่า โสภะ โทสะ โมหะ ต่างเป็ นอุปกิเลสแห่ง
จิต. ก็แหละเมื่อเป็ นเช่นนั้น โลภธรรมก็ดี โทสธรรมก็ดี โมหธรรมก็ดี ยังครอบงาจิตของข้ าพระองค์ไว้ ได้ เป็ นครั้งคราว ข้ าพระองค์เกิดความ
คิดเห็นอย่ างนี้ว่า ธรรมชื่ออะไรเล่ าที่ข้าพระองค์ยังละไม่ได้ เด็ดขาดในภายใน อันเป็ นเหตุให้ โลภธรรมก็ดี โทสธรรมก็ดี โมหธรรมก็ดี ยัง
ครอบงาจิตของข้ าพระองค์ไว้ ได้ เป็ นครั้งคราว.
[๒๑๐] พระผู้มีพระภาคเจ้ าตรัสว่า ดูก่อนมหานาม ธรรมนั้นนั่นแลท่านยังละไม่ได้ เด็ดขาดในภายใน อันเป็ นเหตุให้ โลภธรรมก็ดี
โทสธรรมก็ดี โมหธรรมก็ดี ยังครอบงาจิตของท่านไว้ ได้ เป็ นครั้งคราว. ดูก่อนมหานาม ก็ธรรมนั้นจักเป็ นอันท่านละได้ เด็ดขาดในภายในแล้ ว.
ท่านก็ไม่พึงอยู่ครองเรือน ไม่พึงบริโภคกาม. แต่เพราะท่านละธรรมเช่นนั้นยังไม่ได้ เด็ดขาดในภายใน ฉะนั้น ท่านจึงยังอยู่ครองเรือน ยัง
บริโภคกาม.
[๒๑๑] ดูก่อนมหานาม ถ้ าแม้ ว่า อริยสาวกเล็งเห็นด้ วยปั ญญาโดยชอบตามเป็ นจริงว่า กามให้ ความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มี
ความคับแค้ นมาก โทษในกามนี้ย่ิง ดังนี้. แต่อริยสาวกนั้นเว้ นจากกาม เว้ นจากอกุศลธรรม ยังไม่บรรลุปีติและสุข หรือกุศลธรรมอื่นที่สงบ
กว่านั้น เธอจะยังเป็ นผู้ไม่เวียนมาในกามไม่ได้ ก่อน.
แต่เมื่อใด เธอได้ เล็งเห็นด้ วยปัญญาโดยชอบอย่างนี้ว่า กามให้ ความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้ นมาก โทษในกามนี้ย่งิ ดังนี้
และเธอก็เว้ นจากกาม เว้ นจากอกุศลธรรม บรรลุปีติและสุข หรือกุศลธรรมอื่นที่สงบกว่านั้น เมื่อนั้น เธอย่อมเป็ นผู้ไม่เวียนมาในกามเป็ น
แท้ .
ดูก่อนมหานาม แม้ เราเมื่อเป็ นโพธิสตั ว์ ยังมิได้ ตรัสรู้ ก่อนตรัสรู้ทเี ดียว ก็เล็งเห็นด้ วยปั ญญาโดยชอบ ตามเป็ นจริงว่า กามให้
ความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้ นมาก โทษในกามนี้ย่ิง ดังนี้. และเราก็เว้ นจากกาม เว้ นจากอกุศลธรรม ไม่บรรลุปีติและสุข หรือ
กุศลธรรมอื่นที่สงบกว่านั้น เราจึงปฏิญาณว่าเป็ นผู้ไม่เวียนมาในกามมิได้ ก่อน.
แต่เมื่อใด เราเล็งด้ วยปั ญญาโดยชอบ ตามเป็ นจริงนี้ว่า กามให้ ความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้ นมาก โทษในกามนี้ย่ิง
ดังนี้. และเราก็เว้ นจากกาม เว้ นจากอกุศลธรรม บรรลุปีติและสุข และกุศลอื่นที่สงบกว่านั้น เมื่อนั้น เราจึงปฏิญาณได้ ว่าเป็ นผู้ไม่เวียนมาใน
กาม.
[๒๑๒] ดูก่อนมหานาม ก็อะไรเล่าเป็ นคุณของกามทั้งหลาย ดูก่อนมหานาม กามคุณ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็ นไฉน คือ รูปที่พึง
รู้แจ้ งด้ วยจักษุ น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ น่ารัก ประกอบด้ วยกาม เป็ นที่ต้งั แห่ งความกาหนัด เสียงที่พึงรู้แจ้ งด้ วยโสต. . . กลิ่นที่พึงรู้
แจ้ งด้ วยฆานะ. . . รสที่พึงรู้แจ้ งด้ วยชิวหา. . . โผฏฐัพพะที่พึงรู้แจ้ งด้ วยกาย น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ น่ารัก ประกอบด้ วยกาม เป็ น
ที่ต้งั แห่ งความกาหนัด ดูก่อนมหานาม กามคุณ ๕ ประการเหล่านี้แล. ความสุข ความโสมนัสใดเล่า อาศัยกามคุณ ๕ เหล่านี้เกิดขึ้น นี้เป็ น
คุณของกามทั้งหลาย.
โทษของกาม
[๒๑๓] ดูก่อนมหานาม ก็อะไรเล่าเป็ นโทษของกามทั้งหลาย กุลบุตรในโลกนี้ เลี้ยงชีวิตด้ วยความขยัน ประกอบศิลปะใด คือ ด้ วย
การนับคะแนนก็ดี ด้ วยการคานวนก็ดี ด้ วยการนับจานวนก็ดี ด้ วยการไถก็ดี ด้ วยการค้ าขายก็ดี ด้ วยการเลี้ยงโคก็ดี ด้ วยการยินธนูกด็ ี ด้ วย
การเป็ นราชบุรษุ ก็ดี
๑. ด้ วยศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่งก็ดี ต้ องตรากตราต่อความหนาว ต้ องตรากตราต่อความร้ อน งุ่นง่านอยู่ด้วยสัมผัสแต่เหลือบ ยุง
ลม แดด และสัตว์เสือกคลาน ต้ องตายด้ วยความหิวระหาย ดูก่อนมหานาม แม้ น้ เี ล่าก็เป็ นโทษของกามทั้งหลาย เป็ นกองทุกข์ท่เี ห็นกันอยู่
มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น ดูก่อนมหานาม
๒. ถ้ าเมื่อกุลบุตรนั้น ขยัน สืบต่อพยายามอยู่อย่างนี้ โภคะเหล่านั้นก็ไม่สาเร็จผล เขาย่อมเศร้ าโศก ลาบาก ราพัน ตีอก คร่าครวญ
ถึงความหลงเลือนว่ า ความขยันของเราเป็ นโมฆะหนอ ความพยายามของเราไม่มีผลหนอ. ดูก่อนมหานาม แม้ น้ ีเล่ าก็เป็ นโทษของกาม
ทั้งหลาย เป็ นกองทุกข์ท่เี ห็นกันอยู่ มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่ งกามทั้งหลายทั้งนั้น. ดูก่อน
มหานาม

๑๐๕
ชีวติ พระ อริยวิถี
๓. ถ้ าเมื่อกุลบุตรนั้นขยัน สืบต่อพยายามอยู่อย่ างนี้ โภคะเหล่ านั้นสาเร็จผล เขากลับเสวยทุกข์ โทมนัส ที่มีการคอยรักษาโภคะ
เหล่านั้นเป็ นตัวบังคับว่า ทาอย่างไร พระราชาทั้งหลายไม่พึงริบโภคะเหล่านั้นไปได้ พวกโจรพึงปล้ นไม่ได้ ไฟไม่พึงไหม้ นา้ ไม่พึงพัดไป
ทายาทอัปรีย์พึงนาไปไม่ได้ .
๔. เมื่อกุลบุตรนั้นคอยรักษาคุ้มครองอยู่อย่างนี้ พระราชาทั้งหลายริบโภคะเหล่านั้นไปเสียก็ดี โจรปล้ นเอาไปเสียก็ดี ไฟไหม้ เสียก็ดี
นา้ พัดไปเสียก็ดี ทายาทอัปรีย์นาไปเสียก็ดี เขาย่อมเศร้ าโศก ลาบาก ราพัน ตีอก คร่าครวญ ถึงความหลงเลือนว่า สิ่งใดเล่าเคยเป็ นของเรา
แม้ ส่งิ นั้นก็ไม่เป็ นของเรา. ดูก่อนมหานาม แม้ น้ ีเล่าก็เป็ นโทษของกามทั้งหลาย เป็ นกองทุกข์ท่เี ห็นกันอยู่ มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า
มีกามเป็ นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น.
[๒๑๔] ดูก่อนมหานาม อีกประการหนึ่ง มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มืกามเป็ นตัวบังคับ
๕. เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล แม้ พระราชาทั้งหลายก็วิวาทกันกับพวกพระราชา แม้ พวกกษัตริย์กว็ ิวาทกันกับพวกกษัตริย์
แม้ พวกพราหมณ์กว็ ิวาทกันกับพวกพราหมณ์ แม้ คฤหบดีกว็ ิวาทกันกับพวกคฤหบดี แม้ มารดาก็วิวาทกันกับบุตร แม้ บุตรก็วิวาทกัน
กับมารดา แม้ บิดาก็วิวาทกันกับบุตร แม้ บุตรก็วิวาทกันกับบิดา แม้ พ่ีชายน้ องชายก็วิวาทกันกับพี่ ชายน้ องชาย แม้ พ่ีชายก็วิวาทกันกับ
น้ องสาว แม้ น้องสาวก็วิวาทกันกับพี่ชาย แม้ สหายก็วิวาทกันกับสหาย. ชนเหล่านั้นต่างถึงการทะเลาะแก่งแย่ง วิวาทกันในที่น้นั ๆ ทาร้ ายซึ่ง
กันและกัน ด้ วยฝ่ ามือบ้ าง ด้ วยก้ อนดินบ้ าง ด้ วยท่อนไม้ บ้าง ด้ วยศัสตราบ้ าง ถึงความตายไปตรงนั้นบ้ าง ถึงทุกข์ปางตายบ้ าง. ดูก่อนมหา
นาม แม้ น้ ีเล่า ก็เป็ นโทษของกามทั้งหลาย เป็ นกองทุกข์ท่เี ห็นกันอยู่ มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุ
แห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น.
[๒๑๕] ดูก่อนมหานาม อีกประการหนึ่ง มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ
๖. เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูงชนต่างถือดาบและโล่ สอดแล่งธนู วิ่งเข้ าสู่สงคราม ปะทะกันทั่ง ๒ ฝ่ าย. เมื่อลูกศร
ทั้งหลายถูกยิงไปบ้ าง เมื่อหอกทั้งหลายถูกพุ่งไปบ้ าง เมื่อดาบทั้งหลายถูกกวัดแกว่งอยู่บ้าง ฝูงชนเหล่านั้นต่างก็ถูกลูกศรเสียบเอา
บ้ าง ถูกหอกแทงเอาบ้ าง ถูกดาบตัดศีรษะเสียบ้ าง ในที่น้ัน พากันถึงตายไปตรงนั้นบ้ าง ถึงทุกข์ปางตายบ้ าง. ดูก่อนมหานาม แม้ น้ ีเล่าก็
เป็ นโทษของกามทั้งหลาย เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น.
[๒๑๖] ดูก่อนมหานาม อีกประการหนึ่ง มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ
๗. เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูงชนถือดาบและโล่สอดแล่งธนู ตรูกนั เข้ าไปสู่เชิงกาแพงที่ฉาบด้ วยเปื อกตมร้ อน. เมื่อลูกศร
ถูกยิงไปบ้ าง เมื่อหอกถูกพุ่งไปบ้ าง เมื่อดาบถูกกวัดแกว่งบ้ าง ชนเหล่านั้นต่างถูกลูกศรเสียบบ้ าง ถูกหอกเสียบบ้ าง ถูกรดด้ วยโคมัยร้ อนบ้ าง
ถูกสับด้ วยคราดบ้ าง ถูกตัดศีรษะด้ วยดาบบ้ าง ในที่น้ัน พากันถึงตายไปตรงนั้นบ้ าง ถึงทุกข์ปางตายบ้ าง. ดูก่อนมหานาม แม้ น้ ีเล่า ก็เป็ น
โทษของกามทั้งหลายเกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น.
[๒๑๗] ดูก่อนมหานาม อีกประการหนึ่ง มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ
๘. เพราะเหตุกามทั้งหลายนั้นแล ฝูงชนตัดที่ต่อบ้ าง ปล้ นอย่างกวาดล้ างบ้ าง กระทาให้ เป็ นเรือนหลังเดียวบ้ าง ดักทางบ้ าง สมสู่
ภรรยาคนอื่นบ้ าง พระราชาทั้งหลายจับคนนั้น ๆ ได้ แล้ ว ให้ กระทากรรมกรณ์ต่าง ๆ เฆี่ยนด้ วยแส้ บ้าง เฆี่ยนด้ วยหวายบ้ าง ตีด้วยไม้ ค้อน
บ้ าง ฯลฯ กระทากรรมกรณ์ช่ อื โชติมาลิกะบ้ าง ชื่อหัตถปั ชโชติกะบ้ าง ชื่อเอรกวัตติกะบ้ าง ชื่อจีรกวาสิกะบ้ าง ชื่อเอเณยกะบ้ าง ชื่อพลิสมังสิ
กะบ้ าง ชื่อกหาปณกะบ้ าง ชื่อขาราปฏิจฉกะบ้ าง ชื่อปลิฆปริวัตติกะบ้ าง ชื่อปลาลปี ฐกะบ้ าง รดด้ วยนา้ มันที่ร้อนบ้ าง ให้ สุนัขกัดกินบ้ าง
เสียบที่หลาวทั้งเป็ นบ้ าง ใช้ ดาบตัดศีรษะเสียบ้ าง คนเหล่านั้นถึงตายไปตรงนั้นบ้ าง ถึงทุกข์ปางตายบ้ าง. ดูก่อนมหานาม แม้ น้ ีเล่า ก็เป็ นโทษ
ของกามทั้งหลาย เป็ นกองทุกข์ท่เี ห็นกันอยู่มกี ามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น.
[๒๑๘] ดูก่อนมหานาม อีกประการหนึ่ง มีกามเป็ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ
๙. เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูงชนต่างประพฤติกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ชนเหล่านั้น ครั้นประพฤติกายทุจริต
วจีทุจริต มโนทุจริตแล้ ว เบื้องหน้ าแต่ตายเพราะกายแตก ย่อมเข้ าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก. ดูก่อนมหานาม แม้ น้ เี ล่า ก็เป็ นโทษ
ของกามทั้งหลาย เป็ นกองทุกข์ในสัมปรายภพ มีกามเป็ นต้ นเหตุ มีกามเป็ นต้ นเค้ า มีกามเป็ นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่ งกามทั้งหลาย
ทั้งนั้น.
พวกนิครนถ์ที่ถอื การยืนเป็ นวัตร
[๒๑๙] ดูก่อนมหานาม สมัยหนึ่ง เราอยู่ท่ภี เู ขาคิชฌกูฏ เขตพระนครราชคฤห์. สมัยนั้น ณ ตาบลกาฬศิลา ข้ างภูเขาอิสคิ ลิ ิ พวก
นิครนถ์จานวนมากเป็ นผู้ถือการยืนเป็ นวัตร ห้ ามการนั่ง เสวยทุกขเวทนา แรงกล้ าเผ็ดร้ อนอันเกิดแต่ความพยายาม. ครั้งนั้นแล เราออก
จากที่หลีกเร้ นในเวลาเย็น เข้ าไปหาพวกนิครนถ์ ถึงประเทศกาฬศิลา ข้ างภูเขาอิสคิ ิลิ ได้ กล่าวความข้ อนี้กะพวกนิครนถ์เหล่านั้นว่า ดูก่อน
๑๐๖
ชีวติ พระ อริยวิถี
นิครนถ์ผ้ มู อี ายุท้งั หลาย ไฉนเล่า พวกท่านจึงถือการยืนเป็ นวัตร ห้ ามการนั่ง เสวยทุกขเวทนา แรงกล้ า เผ็ดร้ อนอันเกิดแต่ความพยายาม
ดูก่อนมหานาม เมื่อเรากล่าวอย่างนี้แล้ ว พวกนิครถ์เหล่านั้นได้ กล่าวกะเราว่า ดูก่อนผู้มีอายุ นิครนถนาฏบุตรรู้ธรรมทั้งปวง เห็น
ธรรมทั้งปวง ยืนยันญาณทัสสนะหมดทุกส่วนว่า เมื่อเราเดินไปก็ดี ยืนก็ดี หลับก็ดี ตื่นก็ดี ญาณทัสสนะปรากฏอยู่ ติดต่อเสมอไป นิครนถ
นาฏบุตรนั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ดูก่อนนิครนถ์ท้งั หลายผู้เจริญ บาปกรรมที่พวกท่านทาแล้ วในกาลก่อนมีอยู่ พวกท่านจงสลัดบาปกรรมนั้นเสีย
ด้ วยปฏิปทาอันประกอบด้ วยการกระทาที่ทาได้ ยาก อันลาบากนี้ ข้ อที่ท่านทั้งหลายสารวมกาย วาจา ใจ ในบัดนี้น้ัน เป็ นการไม่กระทา
บาปกรรมต่อไป ทั้งนี้ เพราะหมดกรรมเก่าด้ วยตบะ. เพราไม่ทากรรมใหม่ ความไม่ถูกบังคับต่อไปจึงมี เพราะไม่ถูกบังคับต่อไป ความสิ้น
กรรมจึงมี เพราะสิ้นกรรม ความสิ้นทุกข์จึงมี เพราะสิ้นทุกข์ ความสิ้นเวทนาจึงมี เพราะสิ้นเวทนา จักเป็ นอันพวกท่านสลัดทุกข์ได้ ท้งั หมด.
คาที่นิครนถนาฏบุตรกล่าวแล้ วนั้น ชอบใจและควรแก่พวกข้ าพเจ้ าแล เพราะเหตุน้นั พวกข้ าพเจ้ าจึงเป็ นผู้มใี จยินดี ดังนี้.
การกล่าวถึงผูอ้ ยู่สบายดีกว่า
[๒๒๐] ดูก่อนมหานาม เมื่อพวกนิครนถ์กล่าวอย่างนี้แล้ ว เราได้ กล่าวกะนิครนถ์เหล่านั้นว่า ดูก่อนนิครนถ์ผ้ มู อี ายุ พวกท่านทราบ
ละหรือว่าเราทั้งหลายได้ มแี ล้ วในกาลก่อน มิใช่ไม่ได้ มแี ล้ ว .
นิ. ดูก่อนท่านผู้มอี ายุ ข้ อนี้หามิได้ เลย.
พระ. ดูก่อนนิครนถ์ผ้ มู อี ายุ พวกท่านทราบละหรือว่า เราทั้งหลายได้ ทาบาปกรรมไว้ ในกาลก่อน มิใช่ไม่ได้ ทาไว้ .
นิ. ดูก่อนท่านผู้มอี ายุ ข้ อนี้หามิได้ เลย.
พระ. ดูก่อนนิครนถ์ผ้ มู อี ายุ พวกท่านทราบละหรือว่า เราทั้งหลายได้ ทาบาปกรรมอย่างนี้บ้างๆ
นิ. ดูก่อนท่านผู้มอี ายุ ข้ อนี้หามิได้ เลย.
พระ. ดูก่อนนิครนถ์ผ้ มู ีอายุ พวกท่านทราบละหรือว่า ทุกข์เท่านี้เราสลัดได้ แล้ ว หรือว่าทุกข์เท่านี้เราต้ องสลัดเสีย หรือว่าเมื่อทุกข์
เท่านี้ เราสลัดได้ แล้ วจักเป็ นอันสลัดทุกข์ได้ ท้งั หมด.
นิ. ดูก่อนท่านผู้มอี ายุ ข้ อนี้หามิได้ เลย
พระ. ดูก่อนนิครถ์ผ้ มู อี ายุ พวกท่านทราบการละอกุศลธรรม การบาเพ็ญกุศลธรรม ในปัจจุบนั ละหรือ.
นิ. ดูก่อนท่านผู้มอี ายุ ข้ อนี้หามิได้ เลย.
พระ. ดูก่อนนิครนถ์ผ้ มู อี ายุ ตามที่ได้ ฟัง พวกท่านไม่ร้ วู ่า ในปางก่อนเราได้ มมี าแล้ วหรือไม่ ไม่ร้ วู ่าในปางก่อนเราได้ ทาบาปกรรม
ไว้ หรือไม่ ทั้งไม่ร้ วู ่าเราได้ ทาบาปกรรมไว้ อย่างนั้นอย่างนี้ ไม่ร้ วู ่าทุกข์เท่านี้เราสลัดได้ แล้ ว ทุกข์เท่านี้จาต้ องสลัด เมื่อสลัดทุกข์อย่างนี้ได้ แล้ ว
ทุกข์ท้งั ปวงจักเป็ นอันสลัดไปด้ วย ไม่ร้ จู ักการละอกุศลธรรม และการยังกุศลธรรมให้ เกิดในปัจจุบนั
ดูก่อนนิครนถ์ผ้ ูมีอายุ เมื่อเป็ นเช่นนี้ คนทั้งหลายจักบวชในสานักของท่านก็เฉพาะแต่คนที่มีมารยาทเลวทราม มือเปื้ อนโลหิต ทา
กรรมชั่วช้ า เป็ นผู้เกิดสุดท้ ายภายหลังในหมู่มนุษย์.
นิ. ดูก่อนท่านพระโคดมผู้มอี ายุ บุคคลมิใช่จะประสบความสุขได้ ด้วยความสุข แต่จะประสบสุขได้ ด้วยความทุกข์แท้ ก็ถ้าหากบุคคล
จักประสบความสุขได้ ด้วยความสุข พระเจ้ าพิมพิสารจอมทัพเจ้ าแผ่นดินมคธ ก็คงประสบความสุข เพราะพระเจ้ าพิมพิสาร จอมทัพเจ้ า
แผ่นดินมคธ อยู่เป็ นสุขกว่าท่านพระโคดม.
พระ. เป็ นการแน่ นอน ที่พวกท่านนิครนถ์ท้งั หลายหุนหันไม่ ทันพิจารณาจึงพูดว่ า ดูก่อนท่านพระโคดมผู้มีอายุ บุคคลมิใช่ จะ
ประสบความสุขด้ วยความสุข แต่จะประสบความสุขได้ ด้วยความทุกข์แท้ ก็ถ้าหากบุคคลจักประสบความสุขได้ ด้วยความสุข พระเจ้ าพิม
พิสารจอมทัพเจ้ าแผ่นดินมคธ ก็คงประสบความสุข เพราะพระเจ้ าพิมพิสารจอมทัพเจ้ าแผ่นดินมคธ อยู่เป็ นสุขยิ่งกว่าท่านโคดม เออก็เรา
เท่านั้นที่พวกท่านควรซักไซร้ ไล่เลียงในเรื่องสุขเรื่องทุกข์น้ันสิว่าใครเล่าหนอจะอยู่สบายดีกว่ากัน พระเจ้ าพิมพิสารจอมทัพเจ้ าแผ่นดินมคธ
หรือท่านพระโคดมเอง.
นิ. ดูก่อนท่านพระโคดมผู้มีอายุ เป็ นการแน่นอนที่พวกข้ าพเจ้ าหุนหันไม่ทนั พิจารณา จึงพูดว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ บุคคลมิใช่จะ
ประสบความสุขด้ วยความสุข แต่จะประสบความสุขได้ ด้วยความทุกข์แท้ ก็ถ้าหากบุคคลจักประสบความสุขได้ ด้วยความสุข พระเจ้ าพิมพิสาร
จอมทัพเจ้ าแผ่นดินมคธ ก็คงประสบความสุข เพราะพระเจ้ าพิมพิสารจอมทัพเจ้ าแผ่นดินมคธ อยู่เป็ นสุขยิ่งกว่าท่านพระโคดม เอาละ หยุด
ไว้ เพียงเท่านี้ บัดนี้ พวกข้ าพเจ้ าจะต้ องถามท่านพระโคดมดูบ้างว่า ใครเล่าหนอจะอยู่สบายดีกว่ากัน พระเจ้ าพิมพิสารจอมทัพเจ้ าแผ่นดิน
มคธ หรือท่านพระโคดมเอง.
พระ. ดูก่อนนิครนถ์ผ้ ูมีอายุ ถ้ าอย่างนั้น เราจะต้ องถามพวกท่านในเรื่องสุขเรื่องทุกข์น้ันดูบ้าง ท่านเข้ าใจอย่างใด ก็พึงแถลงอย่าง
๑๐๗
ชีวติ พระ อริยวิถี
นั้น ดูก่อนท่านนิครนถ์ผ้ ูมีอายุ พวกท่านจะเข้ าใจความข้ อนั้นเป็ นไฉน พระเจ้ าพิมพิสารจอมทัพ เจ้ าแผ่นดินมคธจะทรงสามารถ ไม่ทรงไหว
พระกาย ไม่ทรงพระดารัสทรงเสวยพระบรมสุขส่วนเดียวอยู่ ๗ คืน ๗ วัน ได้ หรือ.
นิ. ไม่ไหวล่ะท่าน.
พระ. ดูก่อนนิครนถ์ผ้ ูมีอายุ พวกท่าน จะเข้ าใจความข้ อนั้นเป็ นไฉน พระเจ้ าพิมพิสาร จอมทัพเจ้ าแผ่นดินมคธ จะทรงสามารถ ไม่
ทรงไหวพระกาย ไม่ทรงพระดารัส ทรงเสวยพระบรมสุขส่วนเดียวอยู่ ๖ คืน ๖ วัน ๕ คืน ๕ วัน ... ๔ คืน ๔ วัน ...๓ คืน ๓ วัน ...๒ คืน ๒ วัน
... เพียงคืนหนึ่ง วันหนึ่ง ได้ หรือ.
นิ. ไม่ไหวละท่าน.
พระ. ดูก่อนนิครนถ์ผ้ มู อี ายุ เราแหละสามารถไม่ไหวกาย ไม่พูดเสวยความสุขส่วนเดียวอยู่ เพียงคืนหนึ่งวันหนึ่ง. สามารถไม่ไหว
กาย ไม่พูด เสวยความสุขส่วนเดียวอยู่ ๒ คืน ๒ วัน ...๓ คืน ๓ วัน...๔ คืน ๔ วัน... ๕ คืน ๕ วัน...๖ คืน ๖ วัน...๗ คืน ๗ วัน ดูก่อนนิครนถ์
ผู้มอี ายุ พวกท่านจะเข้ าใจความข้ อนั้นเป็ นไฉน เมื่อเป็ นเช่นนี้ ใครจะอยู่สบายกว่ากัน พระเจ้ าพิมพิสารจอมทัพเจ้ าแผ่นดินมคธหรือเราเอง.
นิ. เมื่อเป็ นเช่นนี้ ท่านพระโคดมสิ อยู่สบายกว่าพระเจ้ าพิมพิสารจอมทัพเจ้ าแผ่นดินมคธ.
พระผู้มพี ระภาคเจ้ าได้ ตรัสดังนี้ แล้ ว เจ้ าศากยะมหานามทรงมีพระทัยชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผู้มพี ระภาคเจ้ าแล้ วแล.
………………………………………………………………..
ปัญญัติสูตร องฺจตุก.๒๑/๑๕/๑๖
[๑๕] ดูกรภิกษุท้งั หลาย การบัญญัตซิ ่งึ สิ่งที่เลิศ ๔ ประการนี้ ๔ ประการเป็ นไฉน ดูกรภิกษุท้งั หลาย
บรรดาสัตว์ผ้ มู อี ตั ภาพ (ใหญ่) อสุรินทราหูเป็ นเลิศ
บรรดาบุคคลผู้บริโภคกาม พระเจ้ ามันธาตุราชเป็ นเลิศ
บรรดาผู้ใหญ่ย่งิ มารผู้มบี าปเป็ นเลิศ
พระตถาคตอรหั น ตสัมมาสัมพุ ทธเจ้ า อันโลกกล่ าวว่ าเป็ นเลิศในโลกทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์พร้ อมทั้ง สมณ
พราหมณ์ เทวดาและมนุษย์
ดูกรภิกษุท้งั หลาย การบัญญัตสิ ่งิ ที่เลิศ ๔ ประการเหล่านี้แล ฯ
บรรดาสัตว์ผ้ ูมีอตั ภาพ (ใหญ่) อสุรินทราหูเป็ นเลิศ บรรดาบุคคลผู้บริโภคกาม พระเจ้ ามันธาตุราชเป็ นเลิศ บรรดาผู้ใหญ่ย่ิง มารเป็ นเลิศ
พระพุทธเจ้ าผู้ร่งุ เรืองด้ วยฤทธิ์ อันโลกกล่าวว่าเป็ นเลิศในโลก ทั้งเทวดาและมนุษย์ ทั่วภูมิเป็ นที่อยู่ของสัตว์ ทั้งเบื้องบน ท่ามกลาง และเบื้อง
ต่า ฯ
.............................................

๑๐๘
ชีวติ พระ อริยวิถี
มันธาตุราชชาดก ขุ.ชา.เล่ม ๓ ภาค ๔ –เล่ม ๕๘ หน้าที่ ๗๒
กามมีความสุขน้อย มีทุกข์มาก
[๓๗๓] พระจันทร์ พระอาทิตย์ (ย่อมเวียนรอบเขาสิเนรุราช) ส่องรัศมีสว่างไสวไปทัว่ ทิศโดยกาหนดที่เท่าใด สัตว์ท้ งั หลายที่
อาศัยแผ่นดินอยู่ในที่มีกาหนดเท่านั้น ล้วนเป็ นทาสของพระเจ้ามันธาตุราชทั้งสิ้ น.
[๓๗๔] ความอิ่มในกามทั้งหลาย ย่อมไม่มีดว้ ยฝนคือกหาปณะ กามทั้งหลายมีความยินดีนอ้ ย มีทุกข์มาก บัณฑิตรูช้ ดั อย่างนี้ .
[๓๗๔] พระสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ย่อมไม่ปรารถนาความยินดีในกามทั้งหลายที่เป็ นทิพย์ เป็ นผูย้ ินดีแต่ความสิ้ นไป
แห่งตัณหาโดยแท้.
...........................................
อรรถกถามันธาตุราชชาดกที่ ๘
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภิภิกษุผ้ ูกระสันจะสึกรูปหนึ่ง จึงตรัสเรืองนี้ มีคาเริ่มต้ นว่า ยาวตา จนฺ
ทิมสุริยา ดังนี้
ได้ ยินว่า ภิกษุรูปนั้นเที่ยวบิณฑบาตในพระนครสาวัตถี เห็นสตรีผ้ ูหนึ่งตกแต่งประดับประดาสวยงาม จึงเกิดความกระสัน
รัญจวนใจ. ลาดับนั้น ภิกษุท้งั หลายจึงนาภิกษุรูปนั้นมายังธรรมสภา แล้ วแสดงแก่พระศาสดาว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ ภิกษุน้ ี กระสัน
อยากจะสึก พระเจ้ าข้ า. พระศาสดาตรัสถามว่า ได้ ยินว่า เธอกระสันอยากจะสึกจริงหรือภิกษุ. เมื่อภิกษุน้นั ทูลรับว่า จริงพระเจ้ าข้ า จึงตรัส
ว่า ดูก่อนภิกษุ เมื่อเธออยู่ครองเรือน จักอาจทาตัณหาให้ เต็มได้ เมื่อไร เพราะขึ้นชื่อว่ากามตัณหานี้ เต็มได้ ยาก ประดุจมหาสมุทร ด้ วยว่าโป
ราณกบัณฑิตทั้งหลายครองราชย์เป็ นพระเจ้ าจักรพรรดิในมหาทวีปทั้ง ๔ มีทวีปน้ อย ๒๐,๐๐๐ เป็ นบริวาร ได้ ครองราชย์ในเทวโลกชั้นจา
ตุมมหาราชิกา มีมนุษย์เป็ นบริวารเท่านั้น ทั้งครองเทวราชสมบัติในสถานที่ประทับอยู่ของท้ าวสักกะ ๓๖ พระองค์ ในเทวโลกชั้นดาวดึงส์
ไม่สามารถเลยที่จะทากามตัณหาของตนให้ เต็มก็ได้ ทากาลกิริยาตายไป ก็เธอเล่า เมื่อไรอาจทากามตัณหานั้นให้ เต็มได้ แล้ วทรงนาเอาเรื่องใน
อดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-
ในอดีตกาล ครั้งปฐมกัป ได้ มพี ระราชาพระนามว่า พระเจ้ ามหาสมมตราช โอรสของพระองค์พระนามว่า โรชะ. โอรสของพระเจ้ า
โรชะ พระนามว่า วรโรชะ. โอรสของพระเจ้ าวรโรชะพระนามว่า กัลยาณะ. โอรสของพระเจ้ ากัลยาณะ พระนามว่า วรกัลยาณะ. โอรสของ
พระเจ้ าวรกัลยาณะ พระนามว่า อุโปสถ. โอรสของพระเจ้ าอุโปสถ พระนามว่า วรอุโปสถ. โอรสของพระเจ้ าวรอุโปสถ ได้ มีพระนามว่า มัน
ธาตุ
พระเจ้ ามันธาตุน้ันทรงประกอบด้ วยรัตนะ ๗ และอิทธิฤทธิ์ ๔ ครองราชย์เป็ นพระเจ้ าจักรพรรดิ. ในเวลาที่พระองค์ทรงคู้พระ
หัตถ์ซ้ายปรบด้ วยพระหัตถ์ขวา ฝนรัตนะ ๗ ก็ตกลงมาประมาณเข่า ดุจเมฆฝนทิพย์ในอากาศ พระเจ้ ามันธาตุได้ เป็ นมนุษย์อศั จรรย์เห็น
ปานนี้. ก็พระเจ้ ามันธาตุน้นั ทรงเล่นเป็ นเด็กอยู่แปดหมื่นสี่พันปี ทรงครองความเป็ นอุปราชอยู่แปดหมื่นสี่พันปี ทรงครองราชย์เป็ นพระเจ้ า
จักรพรรดิแปดหมื่นสี่พันปี . ก็พระองค์ทรงมีพระชนมายุหนึ่งอสงไขย.
วันนี้พระเจ้ ามันธาตุน้ันไม่สามารถทากามตัณหาให้ เต็มได้ จึงทรงแสดงอาการระอาพระทัย. อามาตย์ท้งั หลายทูลถามว่า ข้ าแต่
สมมติเทพพระองค์ทรงระอาเพราะเหตุไร ? พระเจ้ ามันธาตุตรัสว่า เมื่อเรามองเห็นกาลังบุญของเราอยู่ ราชสมบัติน้ ีจักทาอะไรได้ ถามที่
ไหนหนอจึงจะน่ารื่นรมย์.
อามาตย์ท้งั หลายกราบทูลว่า ข้ าแต่มหาราช เทวโลกน่ารื่นรมย์ พระเจ้ าข้ า. ท้ าวเธอจึงทรงพุ่งจักรรัตนะไปยังเทวโลกชั้นจาตุมมหา
ราชิกาพร้ อมด้ วยบริษัท. ลาดับนั้น ท้ าวมหาราชทั้ง ๔ ทรงถือดอกไม้ และของหอมอันเป็ นทิพย์ ห้ อมล้ อมด้ วยหมู่เทพกระทาการต้ อนรับ
นาพระเจ้ ามันธาตุน้นั ไปยังเทวโลกชั้นจาตุมมหาราชิกา ได้ ถวายราชสมบัตใิ นเทวโลก.
เมื่อพระเจ้ ามันธาตุน้ันห้ อมล้ อมด้ วยบริษัทของพระองค์ครองราชสมบัติอยู่ในชั้นจาตุมมหาราชิกานั้น กาลเวลาล่ วงไปช้ านาน
พระองค์ไม่สามารถทาตัณหาให้ เต็มในชั้นจาตุมมหาราชิกานั้นได้ จึงทรงแสดงอาการเบื่อระอา, ท้ าวมหาราชทั้ง ๔ จึงทูลถามว่ า ข้ าแต่
มหาราช พระองค์ทรงเบื่อระอาเพราะอะไรหนอ. พระเจ้ ามันธาตุตรัสว่า จากเทวโลกนี้ ที่ไหนน่ารื่นรมย์
กว่า. ท้ าวมหาราชทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูประเสริฐ พวกข้ าพระองค์เป็ นบริษัทผู้คอยอุปัฏฐากผู้อ่นื ขึ้นชื่อว่าเทวโลกชั้นดาวดึงส์น่า
รื่นรมย์ พระเจ้ ามันธาตุจึงพุ่งจักรรัตนะออกไป ห้ อมล้ อมด้ วยบริษัทของพระองค์ บ่ายหน้ าไปยังภพดาวดึงส์. ลาดับนั้น ท้ าวสักกะเทวราชท
รงถือดอกไม้ และของหอมทิพย์ห้อมล้ อมด้ วยหมู่เทพ ทรงทาการต้ อนรับรับพระเจ้ ามันธาตุน้นั ทรงจับพระองค์ท่พี ระหัตถ์แล้ วตรัสว่า ข้ าแต่
มหาราช ขอพระองค์จงเสด็จมาทางนี้.
ในเวลาที่พระราชาอันหมู่เทพห้ อมล้ อมเสด็จไป ปริณายกขุนพลพาจักรแก้ วลงมายังถิ่นมนุษย์พร้ อมกับบริษัท เข้ าไปเฉพาะยังนคร
ของตน ๆ. ท้ าวสักกะทรงนาพระเจ้ ามันธาตุไปยังภพดาวดึงส์ ทรงทาเทวดาให้ เป็ น ๒ ส่วน ทรงแบ่งเทวราชสมบัติของพระองค์ก่งึ หนึ่ง

๑๐๙
ชีวติ พระ อริยวิถี
ถวายพระเจ้ ามันธาตุ.
ตั้งแต่น้ันมาพระราชา ๒ พระองค์ ทรงครองราชสมบัติ (ในภพดาวดึงส์น้นั ). เมื่อกาลเวลาล่วงไปด้ วยประการอย่างนี้ ท้ าวสักกะ
ทรงให้ พระชนมายุส้ นิ ไปสามโกฏิหกหมื่นปี ก็จุติ. ท้ าวสักกะพระองค์อ่ นื ก็มาบังเกิดแทน. แม้ ท้าวสักกะพระองค์น้ันก็ครองราชสมบัติในเท
วโลกแล้ วก็จุติไป โดยสิ้นพระชนมายุ. โดยอุบายนี้ ท้ าวสักกะถึง ๓๖ พระองค์จุติไปแล้ ว. ส่วนพระเจ้ ามันธาตุยังคงครองราชสมบัตใิ นเท
วโลกโดยร่างกายของมนุษย์น่ันเอง.
เมื่อเวลาล่วงไปด้ วยประการอย่างนี้ กามตัณหาก็ยังเกิดขึ้นแก่พระองค์โดยเหลือประมาณยิ่งขึ้น พระองค์จึงทรงดาริว่า เราจะได้
ประโยชน์อะไรด้ วยราชสมบัตใิ นเทวโลกกึ่งหนึ่ง เราจักฆ่าท้ าวสักกะเสีย ครองราชสมบัตใิ นเทวโลกคนเดียวเถิด. ท้ าวเธอไม่อาจฆ่าท้ าวสักกะ
ได้ .
ก็ตณ ั หาคือความอยากนี้ เป็ นมูลรากของความวิบตั .ิ ด้ วยเหตุน้นั อายุสงั ขารของท้ าวเธอจึงเสื่อมไป ความชราก็เบียดเบียนพระองค์.
ก็ธรรมดาร่ างกายมนุษย์ย่อมไม่แตกดับในเทวโลก. ลาดับนั้น พระเจ้ ามันธาตุน้ันจึงพลัดจากเทวโลกตกลงในพระราชอุทยาน. พนักงาน
ผู้รักษาพระราชอุทยานจึงกราบทูลความที่พระเจ้ ามันธาตุน้นั เสด็จมาให้ ราชตระกูลทราบ ราชตระกูลเสด็จมา พากันปูลาดที่บรรทมในพระ
ราชอุทยานนั่นเอง พระราชาทรงบรรทมโดยอนุฏฐานไสยาศน์ อามาตย์ท้งั หลายทูลถามว่า ขอเดชะ ข้ าพระองค์ท้งั หลาย จะกล่าวว่าอย่างไร
เฉพาะพระพักตร์ขอพระองค์ พระเจ้ าข้ า.
พระเจ้ ามันธาตุตรัสว่า ท่านทั้งหลายถึงบอกข่าวสาสน์น้ แี ก่มหาชนว่า พระเจ้ ามันธาตุมหาราชครองราชสมบัตเิ ป็ นพระเจ้ าจักรพรรดิ
ในมหาทวีปทั้ง ๔ มีทวีปน้ อยสองพันเป็ นบริวาร ครองราชสมบัตใิ นเทวโลกชั้นจาตุมมหาราชิกาตลอดกาลนานแล้ วได้ ครองราชสมบัตใิ นเท
วโลกตามปริมาณพระชนมายุของท้ าวสักกะถึง ๓๖ องค์ ยังทาตัณหาคือความอยากให้ เต็มไม่ได้ เลย ได้ สวรรคตไปแล้ ว ครั้นพระองค์ตรัส
อย่างนั้นแล้ วก็สวรรคตเสด็จไปตามยถากรรม.
พระศาสดาครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ วเป็ นผู้ตรัสรู้ย่งิ แล้ วได้ ตรัสพระคาถาเหล่านี้ว่า :-
พระจันทร์ พระอาทิตย์ ( ย่อมเวียนรอบเขาสิเนรุราช ) ส่องรัศมีสว่างไสวไปทัว่ ทิศโดยที่มีกาหนดเท่าใด สัตว์ท้ งั หลายที่
อาศัยแผ่นดินอยู่ในที่มีกาหนดเท่านั้น ล้วนเป็ นทาสของพระเจ้ามันธาตุราชทั้งสิ้ น.
ความอิ่มในกามทั้งหลายย่อมไม่มี เพราะฝนคือกหาปณะ กามทั้งหลายมีความยินดีนอ้ ย มีทุกข์มาก บัณฑิตย่อมรูช้ ดั อย่าง
นี้ . ภิกษุผูเ้ ป็ นสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ย่อมไม่ถึงความยินดีในกามทั้งหลาย แม้ที่เป็ นทิ พย์ เป็ นผูย้ ินดีในความสิ้ นไปแห่ ง
ตัณหา.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยาวตา เป็ นคากล่าวถึงกาหนดเขต. บทว่า ปริหรนฺติ ความว่า ย่อมหมุนเวียนเขาพระสิเนรุ โดยกาหนด
มีประมาณเท่าใด. บทว่า ทิสา ภนฺติ ความว่า ย่อมส่องสว่างในทิศทั้งสิบ. บทว่า วิโรจนา ความว่า ชื่อว่า มีสภาพสว่างไสว เพราะกระทา
ความสว่าง.
บทว่า สพฺเพว ทาสา มนุธาตุ เย ปาณา ป วิสฺสิตา ความว่า ก็สตั ว์ท้งั หลาย คือหมู่มนุษย์ชาวชนบทเหล่าใด ผู้อาศัยแผ่นดินอยู่ใน
ประเทศมีประมาณเท่านี้ สัตว์เหล่านั้นทั้งหมดเมื่อเข้ าไปเฝ้ าด้ วยคิดอย่างนี้ว่า พวกเราเป็ นทาสของพระเจ้ ามันธาตุ พระเจ้ ามันธาตุเป็ นปู่ ของ
พวกเรา แม้ เป็ นไท ก็ช่ อื ว่าเป็ นทาสเหมือนกัน.
ในบทว่า น กหาปณวสฺเสน นี้ พระเจ้ ามันธาตุทรงประพระหัตถ์ทาให้ ฝนคือรัตนะ ๗ อันใดตกลงมา เพื่อทรงสงเคราะห์พวกหมู่
มนุษย์ผ้ เู ป็ นทาสเหล่านั้น ฝนคือรัตนะ ๗ นั้นท่านเรียกว่า ฝนคือกหาปณะในพระคาถานี้. บทว่า ติตฺติ เมสุ ความว่า ขึ้นชื่อว่าความอิ่มใน
วัตถุกามสละกิเลสกามทั้งหลาย เพราะฝนคือกหาปณะแม้ น้นั ย่อมไม่มี ตัณหานั้นทาให้ เต็มได้ ยากอย่างนี้.
บทว่า อปฺปสฺสาทา ทุกขฺ า กามา ความว่า ขึ้นชื่อว่ากามทั้งหลายเปรียบเหมือนความฝัน มีความยินดีน้อย คือมีความสุขน้ อย ก็ใน
กามนี้มแี ต่ทุกข์เท่านั้น มากมาย ทุกข์น้นั พึงแสดงโดยกระบวนแห่งทุกขักขันธสูตร. บทว่า อิติ วิญฺ าย ได้ แก่ กาหนดรู้อย่างนี้. บทว่า ทิพฺ
เพสุ ได้ แก่ ในอารมณ์ท้งั หลายมีรปู เป็ นต้ น อันเป็ นเครื่องบริโภคของเทวดาทั้งหลาย. บทว่า รตึ โส ความว่า ภิกษุผ้ เู ห็นแจ้ งนั้น แม้ ถูกเชื้อ
เชิญด้ วยกามทั้งหลายอันเป็ นทิพย์ ก็ย่อมไม่ถงึ ความยินดีในกามเหล่านั้น เหมือนท่านพระสมิทธิ.
บทว่ า ตณฺหกฺขยรโต ได้ แก่ ผู้ยินดีแล้ วในพระนิพพาน. จริงอยู่ ตัณหามาถึงพระนิพพานย่ อมหมดสิ้นไป เพราะฉะนั้น พระ
นิพพานนั้น ท่านจึงเรียกว่า ตัณหักขยะ ธรรมเป็ นที่ส้ นิ ตัณหา เป็ นผู้ยินดีแล้ วยินดีย่งิ แล้ วในธรรมเป็ นที่ส้ นิ ตัณหานั้น. บทว่า สมฺมาสมฺพทุ ธฺ
สาวโก ความว่า ชื่อว่ าสัมมาสัมพุทธะ เพราะตรัสรู้สจั จะโดยชอบด้ วยพระองค์เอง ชื่อว่ าสาวก เพราะเกิดในที่สดุ แห่ งการสดับฟั งคือเป็ น
โยคาวจรบุคคลผู้ใดสดับตรับฟังมาก.
พระศาสดาครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ ว ทรงประกาศสัจจะ ๔ แล้ วทรงประชุมชาดก. ในเวลาจบสัจจะ ภิกษุผ้ กู ระสันจะสึก
ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล คนเป็ นอันมากแม้ เหล่าอื่นก็ได้ บรรลุโสดาปัตติผลเป็ นต้ น. พระเจ้ ามันธาตุมหาราชในกาลนั้น คือเราตถาคต ฉะนี้แล.
.....................................................
๑๑๐
ชีวติ พระ อริยวิถี
๑๐. รัชชสูตร ส.ส.๑๕/๔๗๖ (ส.ส.เล่ม ๑ ภาค ๒ – เล่ม ๒๕ หน้าที่ ๕๒)
ว่าด้วยมารเชิญให้เสวยราชสมบัติ
[๔๗๕] สมัยหนึ่ง พระผู้มพี ระภาคเจ้ าประทับอยู่ ณ กระท่อมอันตั้งอยู่ในป่ า ในประเทศหิมวันต์ แคว้ นโกศล.
ครั้ ง นั้ น แล พระผู้ มีพ ระภาคเจ้ าประทับ พั ก ผ่ อ นอยู่ ใ นที่ลั บ ได้ ท รงปริ วิต กว่ า เราจะสามารถเสวยรั ช สมบัติโ ดยธรรม โดยที่ไ ม่
เบียดเบียนเอง ไม่ใช้ ให้ ผ้ อู ่นื เบียดเบียน ไม่ทาผู้อ่นื ให้ เสื่อมเอง ไม่ใช้ ให้ เขาทาผู้อ่นื ให้ เสื่อม ไม่เศร้ าโศกเอง ไม่ทาให้ ผ้ อู ่นื เศร้ าโศกได้ ห รือไม่.
[๔๗๖] ครั้งนั้นแล มารผู้มีบาปทราบความปริวิตกแห่ งพระหฤทัย ของพระผู้มี พระภาคเจ้ าด้ วยจิตแล้ ว เข้ าไปหาพระผู้มีพระภาคเจ้ า
ถึงที่ประทับ ครั้นแล้ วจึงกราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้ าว่า ขอพระผู้มีพระภาคเจ้ าจงทรงเสวยรัชสมบัติเถิด พระเจ้ าข้ า ขอพระสุคตจงเสวยรัช
สมบัตโิ ดยธรรม โดยที่ไม่เบียดเบียนเอง ไม่ใช้ ให้ ผ้ อู ่นื เบียดเบียน ไม่ทาให้ ผ้ อู ่นื เสื่อมเอง ไม่ใช้ ให้ เขาทาคนอื่นให้ เสื่อม ไม่เศร้ าโศกเอง ไม่ท่า
ให้ ผ้ อู ่นื เศร้ าโศก.
พระผู้มีพระภาคเจ้ าตรัสว่า ดูก่อนมารผู้มีบาป ท่านเห็นอะไรของเรา ทาไมจึงได้ พูดกะเราอย่างนี้ว่า ขอพระผู้มีพระภาคเจ้ าจงเสวยรัช
สมบัตเิ ถิดพระเจ้ าข้ า ขอพระสุคตจงเสวยรัชสมบัตโิ ดยธรรม โดยที่ไม่เบียดเบียนเอง ไม่ใช้ ให้ ผ้ อู ่นื เบียดเบียน ไม่ทาให้ ผ้ อู ่นื เสื่อมเอง ไม่ใช้ ให้
เขาทาผู้อ่นื ให้ เสื่อม ไม่เศร้ าโศกเอง ไม่ทาให้ ผ้ อู ่นื เศร้ าโศก.
มารกราบทูลว่ า พระเจ้ าข้ า อิทธิบาททั้ง ๔ พระองค์ทรงบาเพ็ญให้ เจริญ กระทาให้ มาก กระทาให้ เป็ นดุจยาน ทาให้ เป็ นวัตถุท่ีต้งั
กระทาไม่หยุด สั่งสมปรารภด้ วยดีแล้ ว พระเจ้ าข้ า ก็เมื่อพระองค์ทรงพระประสงค์ ทรงอธิษฐานภูเขาหลวงชื่อหิมพานต์ให้ เป็ นทองคาล้ วน
ภูเขานั้นก็พึงเป็ นทองคาล้ วน.
[๔๗๗] พระผู้มพี ระภาคเจ้ าตรัสกะมารด้ วยพระคาถาว่า
ภู เขาทองคาล้วนมีสีสุกปลัง่ ถึงสองเท่าก็ยงั ไม่พอแก่ บุคคลหนึ่งบุ คคล ทราบดังนี้ แล้ว พึงประพฤติ สงบ ผูใ้ ดได้ เห็ นทุกข์มี
กามเป็ นเหตุแล้ว ไฉนผูน้ ้นั จะพึงน้อมใจไปในกามเล่า บุคคลทราบอุปธิว่าเป็ นเครื่องข้องในโลกแล้ว พึงศึกษาเพือ่ กาจัดอุปธิน้นั เสีย.
ลาดับนั้น มารผู้มบี าปเป็ นทุกข์ เสียใจว่า พระผู้มพี ระภาคเจ้ าทรงรู้จั กเรา พระสุคตทรงรู้จักเรา ดังนี้ จึงได้ หายไปในที่น้นั นั่นเอง.
จบรัชชสูตร
อรรถกถารัชชสูตร
พึงทราบวินิจฉัยในรัชชสูตรที่ ๑๐ ต่อไป :-
บทว่า อหน อฆาฏย ได้ แก่ไม่เบียดเบียนเอง ไม่ใช้ ให้ เขาเบียดเบียน. บทว่า อชิน อชาปย ได้ แก่ไม่ทาความเสื่อมทรัพย์เอง ไม่ใช้ ให้
เขาทาความเสื่อม. บท ว่า อโสจ อโสจาปย ได้ แก่ไม่เศร้ าโศกเอง ไม่ทาให้ เขาเศร้ าโศก. เพราะเหตุน้ ี พระผู้มีพระภาคเจ้ าทรงเห็นมนุษย์
ทั้งหลาย ถูกผู้ลงโทษเบียดเบียน ในรัชสมัยของเหล่าพระราชาผู้ไม่ทรงธรรม จึงทรงพระดาริอย่างนี้ ด้ วยอานาจความกรุณา. บทว่า อุปสงฺกมิ
ความว่า มารคิคว่าพระสมณโคดม ทรงดาริว่า เราอาจครองราชสมบัตไิ ด้ คงจักอยากครองราชสมบัติ ก็ข้ นึ ชื่อว่าราชสมบัตนิ ้ เี ป็ นฐานที่ต้งั แห่ ง
ความประมาท เมื่อทรงครองราชสมบัติ เราอาจได้ พบความผิดพลาด จาเราจักไปทาให้ พระองค์เกิดความอุตสาหะ ดังนี้จึงเข้ าไปเฝ้ า. บทว่า
อิทธฺ ิปาทา ได้ แก่ส่วนที่ให้ สาเร็จ. บทว่า ภาวิตา ได้ แก่ให้ เจริญแล้ ว. บทว่า พหุลกี ตา ได้ แก่กระทาบ่อย ๆ. บทว่า ยานีกตา ได้ แก่การทาให้
เป็ นดุจยานที่เทียมไว้ แล้ ว. บทว่า วตฺถุกตา ได้ แก่กระทาให้ มที ่ตี ้งั เพราะอรรถาว่าเป็ นที่ต้งั . บทว่า อนุฏฺ ิตา ได้ แก่ ไม่ละแล้ ว ติดตามอยู่เป็ น
นิตย์. บทว่ า ปริจิตา ได้ แก่ส่งั สมดี ด้ วยการกระทาติดต่อกัน คือชานาญเหมือนฝี มือยิงธนูไม่พลาดของนักแม่นธนู . บทว่ า สุสมา รทฺธา
ได้ แก่ เริ่มพร้ อมดีแล้ วมีภาวนาบริบูรณ์แล้ ว. บทว่า อธิมุจฺเจยฺย ได้ แก่พึงคิด. บทว่า ปพฺพตสฺส แก้ เป็ น ปพฺพโต ภเวยฺย พึงมีภเู ขา. บท ทฺวิ
ตาว ความว่า ภูเขาลูกเดียวยกไว้ ก่อน ภูเขาทองขนาดใหญ่เพียงนั้นแม้ สองเท่า ก็ยังไม่พอคือไม่พอความต้ องการสาหรับคน ๆ เดียวได้ .
บทว่า อิติ วิทฺธา สมญฺจเร ได้ แก่ เมื่อรู้อย่างนี้ พึงพระพฤติสม่าเสมอ. บทว่า ยโตนิทาน ได้ แก่ข้ นึ ชื่อว่าทุกข์มีกามคุณ ๕ เป็ นเหตุ.
สัตว์ใดได้ เห็นอย่างนี้ว่า ทุกข์น้นั มีกามคุณใดเป็ นเหตุ. บทว่า กถ นเมยฺย ความว่า สัตว์น้นั พึงน้ อมไปในกามเหล่านั้นอันเป็ นต้ นเหตุแห่งทุกข์
เพราะเหตุอะไร. บทว่า อุปธึ วิทิตฺวา ความว่า รู้อปุ ธิคอื กามคุณอย่างนี้ว่า นั่นเป็ นเครื่องข้ อง นี่กเ็ ป็ นเครื่องข้ อง. บทว่า ตสฺเสว ชนฺตุ วินยาย
สิกฺเข ความว่าพึงศึกษา เพื่อกาจัดอุปธิน้นั นั่นแลเสีย ดังนี้.
………………………………………………………….

๑๑๑
ชีวติ พระ อริยวิถี
๑๐. เสริม เรื่องความประหยัดของพระอานนท์
เรือ่ งพระนางสามาวดี [๑๕] ขุ.ธ.อ.๔๐ หน้า ๒๒๐ มมร.
พระราชาทรงถวายจี วรแก่พระอานนท์ (หน้า ๒๙๔ มมร.)
วันหนึ่ ง หญิงเหล่านั้น ฟั งธรรมกถาของพระเถระแล้ว เลื่อมใส ได้กระทาการบูชาธรรมด้วยผ้าอุตราสงค์ ๕๐๐ ผืน. อุตราสงค์ผืน
หนึ่ งๆ ย่อมมีค่าถึง ๕๐๐. พระราชาไม่ทรงเห็นผ้าสักผืนหนึ่ งของหญิงเหล่านั้น จึงตรัสถามว่า " ผ้าอุตราสงค์อยูท่ ี่ไหน ?"
พวกหญิง. พวกหม่อมฉันถวายแล้วแด่พระผูเ้ ป็ นเจ้า.
พระราชา. พระผูเ้ ป็ นเจ้านั้น รับทั้งหมดหรือ ?
พวกหญิง. เพคะ รับ (ทั้งหมด).
พระราชาเสด็จเข้าไปหาพระเถระแล้ว ตรัสถามความที่หญิงเหล่านั้นถวายผ้าอุตราสงค์ ทรงสดับความที่ผา้ อันหญิงเหล่านั้นถวายแล้ว
และความที่พระเถระรับไว้แล้ว จึงตรัสถามว่า "ท่านผูเ้ จริญ ผ้าทั้งหลายมากเกินไปมิใช่หรือ? ท่านจักทาอะไรด้วยผ้ามีประมาณเท่านี้ ?"
พระเถระ. มหาบพิตร อาตมภาพรับผ้าไว้พอแก่อาตมภาพแล้ว จักถวายผ้าที่เหลือแก่ภิกษุ ท้งั หลายผูม้ ีจีวรเก่า.
พระราชา. ภิกษุ ท้งั หลาย จักทาจีวรเก่าของตนให้เป็ นอะไร ?
พระเถระ. เธอจักให้แก่ภิกษุ ผมู ้ ีจีวรเก่ากว่าทั้งหลาย.
พระราชา. ภิกษุ เหล่านั้นจักทาจีวรเก่าของตนให้เป็ นอะไร ?
พระเถระ. เธอจักทาให้เป็ นผ้าปูนอน.
พระราชา. เธอจักทาผ้าปูนอนเก่าให้เป็ นอะไร ?
พระเถระ. เธอจักทาให้เป็ นผ้าปูพื้น.
พระราชา. เธอจักทาผ้าปูพื้นเก่าให้เป็ นอะไร ?
พระเถระ. ขอถวายพระพร เธอจักทาให้เป็ นผ้าเช็ดเท้า.
พระราชา. เธอจักทาผ้าเช็ดเท้าเก่าให้เป็ นอะไร ?
พระเถระ. เธอจักโขลกให้ละเอียดแล้ว๑ ผสมด้วยดินเหนี ยวฉาบฝา.
พระราชา. ท่านผูเ้ จริญ ผ้าทั้งหลายที่ถวายแด่พวกพระผูเ้ ป็ นเจ้าจักไม่เสียหาย แม้เพราะทากรรมมีประมาณเท่านั้นหรือ ?
พระเถระ. อย่างนั้น มหาบพิตร.
พระราชาทรงเลื่อมใสแล้ว รับสัง่ ให้นาผ้า ๕๐๐ อื่นอีกมากให้ต้งั ไว้แทบบาทมูลของพระเถระแล้ว.
ได้ยนิ ว่า พระเถระได้ผา้ มีค่าถึง ๕๐๐ ซึ่งพระราชาทรงวางไว้แทบบาทมูลถวายโดยส่วน ๕๐๐ ถึง ๕๐๐ ครั้ง, ได้ผา้ มีค่าถึงพันหนึ่ งซึ่ง
พระราชาทรงวางไว้แทบบาทมูลถวายโดยส่วนพันหนึ่ ง ถึงพันครั้ง, ได้ผา้ มีค่าถึงแสนหนึ่ ง ซึ่งพระราชาทรงวางไว้แทบบาทมูลถวายโดยส่วน
แสนหนึ่ ง ถึ งแสนครั้ง. ก็ชื่อว่าการนั บผ้าที่ พระเถระได้แล้วโดยนั ยเป็ นต้นว่า ๑-๒-๓-๔-๕-๑๐ ดังนี้ ย่อมไม่มี: ได้ยิ นว่า เมื่อพระ
ตถาคตปรนิ พพานแล้ว, พระเถระเที่ยวไปทัว่ ชมพูทวีป ได้ถวายบาตรและจีวรทั้งหลาย ซึ่งเป็ นของ ๆ ตนนัน่ แล แก่ภิกษุ ท้งั หลายในวิหาร
ทั้งปวงแล้ว.
๑. ขณฺฑาขณฺฑิก แปลว่า ให้เป็นท่อนและหาท่อนมิได้.
.....................................................

ความประหยัด มาจากรากศัพท์ว่า มัชฌิมะ แปลว่า ความเป็ นกลาง หรือความพอดีครับ คือ ใช้จ่าย


อย่างพอดี พอควรแก่ฐานะ ตามหลัก ทิฏฐธัมมิกตั ถะสังวัตตนิ กกธรรม (ธรรมอันเป็ นไปเพื่อประโยชน์ ใน
ภพนี้ ) ข้อที่ 4 ว่า สมชีวิตา แปลว่า ใช้จา่ ยพอเหมาะสมแก่ฐานะของตน
การเก็บหอมรอมริบ เพื่อใช้จา่ ยในชีวิตอย่างพอเพียง หรือมีเพียงพอในยามเกษี ยณนั้น ควรมีมากน้อย
เท่าไร ย่อมขึ้ นต่อการคานวณรายจ่ายที่ แท้จริงในอนาคต ว่าควรมีเท่าไร แล้วเก็บไว้สาหรับการใช้จ่าย
เท่านั้น อย่างนี้ เป็ นปั ญญา หรือเกิดขึ้ นจากสติปัญญา ซึ่งมีสภาพเป็ นกุศล
แต่การเก็บไว้ ซึ่งเกินกว่าความต้องการที่เห็นได้ และการเผื่ อมีภยั ในอนาคต ตามหลักโภควิภาค 4
โดยไม่ใช้จา่ ย และไม่ทาประโยชน์ให้เกิดขึ้ น ก็ถือเป็ นความตระหนี่ ในทรัพย์ครับ

๑๑๒
ชีวติ พระ อริยวิถี
มัจฉริยะ ความตระหนี่ หวงแหน หรือตระหนี่ ถี่เหนี ยว ไม่ใช้จา่ ย ในยามสมควร พระพุทธเจ้าทรง
แสดงไว้ โดยการปรารภตนเป็ นที่ต้ัง หรือเพราะการหวงแหนสมบัติของตนเป็ นที่ต้งั ตามหลักพระอภิธรรม
แสดงไว้ดงั นี้ ดังนี้
มัจฉริยเจตสิก สังคหะ(๕) - หน้าที่ 41
มัจฉริยเจตสิก ได้แก่ความตระหนี่ ความเหนี ยวแน่ น ความไม่เสียสละ หรือความเห็นแก่ตวั ซึ่งความ
ตระหนี่ นี้มีการซ่อนสมบัติของตนเป็ นลักษณะ มีการทาให้ทนไม่ได้ที่จะยอมให้คนอื่นร่วมใช้สมบัติของตัว
เป็ นกิจ มีความหดหูใ่ จ ความหวงแหน เป็ นผลปรากฏ มีสมบัติของตนเป็ นเหตุให้เกิด
ซึ่งต่างกับอิสสา หรือ ความริษยา ซึ่งมีสมบัติของผูอ้ ื่นเป็ นอารมณ์ เป็ นที่ต้งั คือ ทนไม่ได้ที่จะเห็นผูอ้ ื่น
ได้ดีมีสุข ประสบความสาเร็จ ตามหลักพระอภิธรรม แสดงไว้ ดังนี้
อิสสาเจตสิก
อิสสาเจตสิกนี้ ได้แก่ความริษยา ความไม่ยินดีดว้ ยในลาภในยศของคนอื่น เห็นคนด้ดีแล้วทนไม่ได้
ซึ่งอิสสาเจตสิกนี้ มีการริษยาสมบัติของคนอื่นเป็ นลักษณะ มีการไม่ยินดีในสมบัติของผูอ้ ื่นเป็ นกิจ มีการ
เบือนหน้าหนี สมบัติผูอ้ ื่นเป็ นผลปรากฏ มีสมบัติของคนอื่นเป็ นเหตุให้เกิด
ความตระหนี่ หรือมัจฉริยะ จาแนกเป็ น 5 ประการ ดังนี้
มัจฉริยะ (ความตระหนี่ , ความหวง, ความคิดกีดกันไม่ให้ผอู ้ ื่นได้ดี หรือมีส่วนร่วม meanness; avarice; selfishness; stinginess;
possessiveness)
1. อาวาสมัจฉริยะ (ตระหนี่ ที่อยู,่ หวงที่อาศัย เช่น ภิกษุ หวงเสนาสนะ กีดกันผูอ้ ื่นหรือผูม้ ิใช่พวกของตน ไม่ให้เข้าอยู่ เป็ นต้น)
2. กุลมัจฉริยะ (ตระหนี่ ตระกูล, หวงสกุล เช่น ภิกษุ หวงสกุลอุปัฏฐาก คอยกีดกันภิกษุ อื่นไม่ให้เกี่ยวข้องได้รบั การบารุงด้วย เป็ น
ต้น)
3. ลาภมัจฉริยะ (ตระหนี่ ลาภ, หวงผลประโยชน์ เช่น ภิกษุ หาทางกีดกันไม่ให้ลาภเกิดขึ้ นแก่ภิกษุ อื่น)
4. วัณณมัจฉริยะ (ตระหนี่ วรรณะ, หวงสรีรวัณณะ คือผิวพรรณของร่างกาย ไม่พอใจให้ผอู ้ ื่นสวยงาม ก็ดี หวงคุณวัณณะ คือ คา
สรรเสริญคุณ ไม่อยากให้ใครมีคุณความดีมาแข่งตน หรือไม่พอใจได้ยนิ คาสรรเสริญคุณความดีของผูอ้ ื่น ก็ดี ตลอดจนแบ่งชั้นวรรณะ
กัน)
5. ธัมมมัจฉริยะ (ตระหนี่ ธรรม, หวงวิชาความรู ้ และคุณพิเศษที่ได้บรรลุ ไม่ยอมสอนไม่ยอมบอกผูอ้ ื่น กลัวเขาจะรูเ้ ทียมเท่าหรือ
เกินตน)
พจน์ ธรรม โดยสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ที.ปา.11/282/246; องฺ.ปญฺจก.22/254/301; อภิ.วิ.35/978/509.
อง.ปญฺ จก.๒๒/๒๕๔/๒๕๐
[๒๕๔] ดูก่อนภิกษุ ท้งั หลาย ความตระหนี่ ๕ ประการนี้ ๕ ประการ เป็ นไฉน ? คือ
ความตระหนี่ ที่อยู่ ๑ ความตระหนี่ สกุล (อุปัฏฐาก) ๑ ความตระหนี่ ลาภ ๑
ความตระหนี่ วรรณะ ๑ ความตระหนี่ ธรรม ๑
ดูก่อนภิกษุ ท้งั หลาย ความตระหนี่ ๕ ประการนี้ แล
ดูก่อนภิกษุ ท้งั หลาย บรรดาความตระหนี่ ๕ ประการนี้ ความตระหนี่ ที่น่าเกลียดยิง่ คือ ความตระหนี่ ธรรม.
………………………………………………………….
พระปิ ยะลักษณ์ ปญฺญาวโร วัดญาณเวศกวัน
๑๕ มกราคม ๒๕๕๒
รัตนอุบาสก ปรับปรุงเพิ่มเติม
๑๕ กันยายน ๒๕๖๓

๑๑๓

You might also like