You are on page 1of 83

Metal Sheet Products

SOLUTIONS PROVIDER

STEEL
INTERTECH
'è-5 .9) 18A1'ĘA 75 (%/6)

'6& 6'4 7Č 2553


ANNUAL REPORT 2010
สารบัญ

สารจากประธานคณะกรรมการ 2

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ 3

สารจากกรรมการผูจ้ ดั การ 4

กิจกรรมเพื่อสังคม 5

ข้อมูลทัว่ ไปของบริ ษทั 6

ข้อมูลทางการเงิน 7

ลักษณะการประกอบธุรกิจ 9

ปั จจัยความเสี่ ยง 27

โครงสร้างการถือหุน้ และการจัดการ 30

คณะกรรมการและผูบ้ ริ หาร 32

รายการระหว่างกัน 51

คําอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 53

รายงานของผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต 58

งบการเงิน 59
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

สารจากประธานคณะกรรมการ

เศรษฐกิจในปี 2553 ขยายตัวขึ้นมาจากปี ก่อน และแนวโน้มในปี 2554 คาดว่าจะขยายตัวโดยชะลอตัวเล็กน้อยจากปี


2553 เนื่ องจากปั จจัยการค้าโลกที่ฟ้ื นตัวและการไหลเวียนของเงินลงทุน แต่ปัญหาอัตราการว่างงานที่อยูใ่ นระดับสู งในหลายๆ
ประเทศ เช่น สหรัฐฯ และกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป ปั ญหาหนี้สาธารณะของกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป ความเสี่ ยงจากความ
ผันผวนของค่าเงิน รวมถึงการถอนมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาลประเทศต่างๆ ปั จจัยเหล่านี้ จะกดดันการฟื้ นตัวของ
เศรษฐกิจทัว่ โลก และยังส่ งผลให้ตลาดการเงินมีความเสี่ ยงต่อภาวะไร้เสถียรภาพมากขึ้น แต่การขยายตัวที่แข็งแกร่ งของ
เศรษฐกิจในกลุ่มประเทศกําลังพัฒนาจะเป็ นปั จจัยสําคัญที่ขบั เคลื่อนเศรษฐกิจให้ฟ้ื นตัว สถานการณ์การเงินโลกธนาคารกลาง
ส่ วนใหญ่ของหลายๆ ประเทศทัว่ โลก จะทยอยปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและควบคุมปั ญหาเงิน
เฟ้ อ สถานการณ์ราคานํ้ามันโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ตัวเลขชี้วดั ทางเศรษฐกิจส่ วนใหญ่ มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก
ช่วงเดียวกันของปี 2552 โดยทิศทางการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในปี 2554 มีแรงส่ งจากการขยายตัวในปี 2553 ทําให้มีการ
ขยายตัวต่อเนื่ อง การเพิ่มขึ้นของฐานรายได้ของผูบ้ ริ โภคฐานรากและระบบเศรษฐกิจโดยรวม จากการปรับขึ้นเงินเดือน
ข้าราชการ ค่าจ้างขั้นตํ่า รายได้เกษตรกรมีแนวโน้มปรับตัวดีข้ ึนจากระดับราคาสิ นค้าเกษตรมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ยงั คงมีปัจจัย
เสี่ ยงจากการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจโลกยังมีความเปราะบาง โดยเฉพาะการฟื้ นตัวของกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปและญี่ปุ่นมี
แนวโน้มขยายตัวในระดับตํ่า สถานการณ์ทางการเมือง อาจส่ งผลต่อความเชื่อมัน่ ของนักลงทุนต่างชาติที่ชะลอการลงทุนใน
ประเทศไทย และเป็ นอุปสรรคสําคัญต่อการพัฒนาในด้านอื่นๆ
แม้ภาวะเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยในปี 2554 มีแนวโน้มที่จะดีข้ ึน เนื่องจากหลายฝ่ าย โดยเฉพาะภาครัฐได้ออก
มาตรการหลายโครงการเพื่อกระตุน้ เศรษฐกิจ อย่างไรก็ดีบริ ษทั ฯ ก็ยงั คงต้องดําเนินธุ รกิจอย่างระมัดระวัง ไม่ประมาท เนื่องจาก
ยังคงมีความเสี่ ยง และความไม่แน่นอน มุ่งเน้นให้ความสําคัญในเรื่ องการบริ หารจัดการต้นทุนให้มีประสิ ทธิ ภาพ การวิเคราะห์
เครดิตลูกค้า เพื่อไม่ให้ส่งผลต่อการบริ หารสภาพคล่อง การบริ หารสิ นค้าคงคลังอย่างรอบคอบ รวมถึงการลดค่าใช้จ่ายในการ
ดําเนิ นงานอย่างต่อเนื่ อง ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด รวมถึงพัฒนาและปรับปรุ งคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ดียิ่งขึ้น
ทั้งนี้บริ ษทั ฯ ยังเชื่อมัน่ ว่า การบริ หารงานอย่างโปร่ งใส และเป็ นไปตามการกํากับดูแลกิจการที่ดีน้ นั จะส่ งผลให้บริ ษทั ฯ ดํารงอยู่
ได้อย่างยัง่ ยืนในสภาวะการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา นอกจากนี้ บริ ษทั ยังจัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิ ทธิ ภาพ
ที่เหมาะสมเพียงพอ และจัดให้มีโครงการฝึ กอบรมด้านต่างๆ ให้แก่พนักงานและผูบ้ ริ หาร เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพให้แก่บุคลากร
ของบริ ษทั และนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาองค์กรต่อไป ทั้งนี้ เพื่อสร้างมูลค่าสู งสุ ดแก่ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกฝ่ าย
อย่างเท่าเทียม
ในนามของคณะกรรมการบริ ษทั ขอขอบพระคุณท่านผูถ้ ือหุ ้น ลูกค้า คู่คา้ สถาบันการเงิน สื่ อมวลชน นักวิเคราะห์
หลักทรัพย์ นักลงทุนในประเทศ และต่างประเทศที่ให้การสนับสนุ นบริ ษทั อย่างสมํ่าเสมอ รวมทั้งผูบ้ ริ หารและพนักงานทุก
ระดับ สําหรับความทุ่มเทและการทํางานอย่างหนักเพื่อบริ ษทั ฯ ซึ่ งส่ งผลให้บริ ษทั ฯ สามารถดําเนิ นงานต่างๆ ได้สาํ เร็ จลุล่วง
นอกจากนี้กระผมยังมีความเชื่อมัน่ ว่าบริ ษทั ฯ มีศกั ยภาพที่จะขยายงานและเติบโตอย่างต่อเนื่ องต่อไป และหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าจะ
ยังคงได้รับการสนับสนุนกิจการของบริ ษทั ฯ พร้อมเป็ นกําลังใจให้บริ ษทั ฯ ก้าวเดินต่อไปอย่างมัน่ คงตลอดไป

ดร. สุ รเดช จันทรานุรักษ์


ประธานกรรมการ

รายงานประจําปี 2553 2
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน) ประกอบด้วย กรรมการอิสระ 3 ท่าน คือ
ดร. สุ รเดช จันทรานุรักษ์ เป็ นประธานกรรมการตรวจสอบ นายนําพล เงินนําโชค และนายเลิศชัย วงค์ชยั สิ ทธิ์ เป็ นกรรมการ
ตรวจสอบ โดยมีสาํ นักงาน บี เค ออดิท แอนด์ คอนซัลแท็น เป็ นผูต้ รวจสอบภายในของบริ ษทั
คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่และความรับผิดชอบที่สาํ คัญ คือดูแลการดําเนินงานของบริ ษทั อันประกอบด้วย การ
สอบทานรายงานทางการเงิ นและนโยบายบัญชี ให้เป็ นไปตามหลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไป การสอบทานระบบการควบคุม
ภายใน และการบริ หารความเสี่ ยงให้มีความเหมาะสมและมีประสิ ทธิ ผล ดูแลให้บริ ษทั มีการกํากับดูแลกิจการที่ดี และมีการ
ปฏิบตั ิตามข้อกําหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ในรอบบัญชี ปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุ มทั้งสิ้ น 4 ครั้ ง โดยได้เชิ ญผูบ้ ริ หารที่ เกี่ ยวข้อง และ
ผูต้ รวจสอบภายในเข้าร่ วมประชุมตามวาระที่เกี่ยวข้อง สรุ ปผลได้ดงั นี้
1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจําปี 2553 เพื่อนําเสนอคณะกรรมการบริ ษทั พิจารณา ซึ่ ง
คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายงานทางการเงินของบริ ษทั ถูกต้องตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทัว่ ไป
2. สอบทานระบบการควบคุ มภายใน กําหนดแผนการตรวจสอบประจําปี ของผูต้ รวจสอบภายใน รวมทั้งพิจารณา
รายงานการตรวจสอบรายไตรมาสของผูต้ รวจสอบภายใน และให้ขอ้ เสนอแนะเพื่อให้ฝ่ายบริ หารนําไปปรับปรุ งแก้ไขเพื่อให้
การดําเนินงานของบริ ษทั มีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น
3. สอบทานการปฏิบตั ิตามระเบียบและข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และการปฏิบตั ิตามข้อพึง
ปฏิบตั ิที่ดีของบริ ษทั จดทะเบียน
4. พิจารณาคัดเลือก บริ ษทั เอส.เค. แอคเคาน์แต้นท์ เซอร์ วิสเซส จํากัด เป็ นผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ประจําปี 2554
ต่อไปอีกหนึ่ งปี และพิจารณาค่าตอบแทนการตรวจสอบบัญชีนาํ เสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั พิจารณานําเสนอที่ประชุมผูถ้ ือ
หุ น้ พิจารณาอนุมตั ิต่อไป
ตลอดปี 2553 ภาวะทางเศรษฐกิจจะอยูใ่ นภาวะที่ชะลอตัว จากผลกระทบวิกฤติแฮมเบอร์ เกอร์ เมื่อปลายปี 2552 รวมทั้ง
ภาวะทางการเมืองที่ยงั ไม่แน่ นอนอยู่ ซึ่ งส่ งผลกระทบกับราคาวัตถุดิบที่ผนั ผวนยากต่อการคาดการณ์ได้ อีกทั้งค่าเงินบาทมี
แนวโน้มที่ผนั ผวนมากขึ้น จากการเคลื่อนย้ายเงินลงทุนของชาวต่างชาติ ซึ่ งได้รับผลกระทบโดยตรงจากการที่เศรษฐกิจคู่คา้
อย่างเช่น ประเทศสหรัฐอเมริ กา ตกตํ่าลงอย่างรวดเร็ ว คณะกรรมการตรวจสอบทราบถึงผลกระทบต่างๆ ที่เกิดขึ้นเป็ นอย่างดี
และยังคงเน้นการปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความรอบคอบ มีความอิสระ และแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะในรายงานการประชุมของ
คณะกรรมการตรวจสอบอย่างครบถ้วน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเชื่อว่า และยึดมัน่ ในการปฎิบตั ิงานตามแบบแผนที่ได้
กําหนดไว้ ทําให้บริ ษทั ยังเน้นให้มีการจัดทํารายงานทางการเงินเป็ นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป มีระบบการควบคุม
ภายในที่เหมาะสมเพียงพอ ตลอดจนการปฏิบตั ิตามข้อพึงปฏิบตั ิที่ดีของบริ ษทั จดทะเบียนตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทยโดยครบถ้วน

ดร. สุ รเดช จันทรานุรักษ์


ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจําปี 2553 3
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

สารจากกรรมการผู้จัดการ

ผลประกอบการในรอบปี บัญชี 2553 สิ้ นสุ ด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 นั้น ถือว่าบริ ษทั ฯ ได้มีการพัฒนาไปในทิศทาง
ที่ดีข้ ึน ซึ่ งบริ ษทั ฯ มีการเติบโตทั้งในแง่ของรายได้และกําไรสุ ทธิ โดยมีรายได้รวม 311 ล้านบาท คิดเป็ นอัตราเติบโตเพิ่มขึ้นจาก
ปี บัญชีก่อนร้อยละ 6 และมีกาํ ไรสุ ทธิ 8.9 ล้านบาท คิดเป็ นอัตราเติบโต เพิ่มขึ้นจากปี บัญชีก่อนถึงร้อยละ 140 นอกจากนี้จากการ
บริ หารจัดการควบคุมดูแลต้นทุนอย่างใกล้ชิด ทําให้อตั รากําไรสุ ทธิ เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนเป็ นเท่าตัว แม้วา่ การดําเนิ นธุ รกิจในปี ที่
ผ่านมานั้นจะไม่ได้ลาํ บากมากนักเมื่อเทียบกับปี ก่อน แต่ก็ยงั มีปัจจัยเสี่ ยงอยูร่ อบด้าน บริ ษทั ฯ จึงต้องดําเนิ นธุ รกิจอยูบ่ นหลัก
ความระมัดระวังไม่ประมาท เพราะเชื่อมัน่ ว่าจะทําให้การดําเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั ฯ มีการเติบโตที่ต่อเนื่องอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน
และเพื่ อ ให้บ ริ ษ ัท ฯ เป็ นองค์ก รคุ ณ ภาพที่ ส ร้ า งสรรค์ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ที่ มี คุ ณ ภาพควบคู่ ไ ปกับ การให้ค วามสํา คัญ ต่ อ สั ง คมและ
สิ่ งแวดล้อม โดยรักษาไว้ซ่ ึ งประโยชน์ของผูม้ ีส่วนได้เสี ยโดยรวม นอกจากนี้บริ ษทั ฯ ยังคงยึดมัน่ ในการบริ หารงานตามหลักการ
กํากับดูแลกิจการที่ดี และหลักจริ ยธรรมธุรกิจ ซึ่ งมีแนวทางปฏิบตั ิที่กาํ หนดไว้อย่างชัดเจน
สถานการณ์เหล็กโดยรวมของปี 2553 เมื่อเทียบกับระยะเดียวกันของปี ก่อนพบว่าการผลิตโดยรวมเพิ่มขึ้น ร้อยละ
17.10 ความต้องการใช้ในประเทศ เพิ่มขึ้นร้อยละ 44.33 เนื่ องจากความต้องการของอุตสาหกรรมต่อเนื่ อง รวมทั้งมูลค่าและ
ปริ มาณการส่ งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.52 และ 16.10 ตามลําดับ โดยเป็ นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์เหล็กกึ่งสําเร็ จรู ป
ชนิดอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 203.32 ท่อเหล็กไร้ตะเข็บเพิ่มขึ้นร้อยละ 118.11 และเหล็กแผ่นรี ดเย็นไร้สนิม เพิ่มขึ้นร้อยละ 99.17
อุตสาหกรรมเหล็กในปี 2554 คาดว่าจะสามารถขยายตัวได้ต่อเนื่ อง เนื่ องจากทั้งภาคการก่อสร้างและภาคการผลิตคาดว่าจะ
ขยายตัวได้ แม้วา่ แนวโน้มเศรษฐกิจโลกจะยังอยูภ่ ายใต้ความผันผวนและปั ญหาค่าเงิน โดยภาคธุ รกิจก่อสร้างมีโอกาสใหม่ๆ
จากการลงทุนของภาครัฐโดยเฉพาะการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ที่ในปี 2553 มีการเปิ ดประมูลและเตรี ยมงานก่อสร้าง
ไว้แล้ว ดังนั้นการดําเนิ นงานของบริ ษทั ฯ ต้องมีการกําหนดกลยุทธ์ที่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ และมีการติดตามงานอย่าง
ใกล้ชิดเพื่อให้ปริ มาณงาน และผลประกอบการของบริ ษทั ฯ เป็ นไปตามเป้ าหมายที่บริ ษทั ตั้งไว้
เบื้องหลังความสําเร็ จของบริ ษทั ฯ นั้นเกิดจากความเชื่อมัน่ และการให้การสนับสนุ นด้วยดีเสมอมา กระผมจึงใคร่
ขอขอบพระคุณอย่างสู งต่อท่านผูถ้ ือหุ ้น พันธมิตรทางธุ รกิจ ลูกค้า สถาบันการเงิน พันธมิตร สื่ อมวลชน ตลอดจน หน่วยงาน
ภาครัฐและเอกชน รวมถึงผูบ้ ริ หารและพนักงานทุกท่าน ที่ทุ่มเทแรงกายแรงใจ เพื่อความเป็ นหนึ่ งในผูน้ าํ ตลาดหลังคาเหล็ก
เคลือบ และโครงสร้างเหล็กพร้อมบริ การครบวงจร ภายใต้นโยบายคุณภาพ คือ “บริ ษทั จะผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
เดียวกัน มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ลูกค้าได้รับความพึงพอใจสู งสุ ด” ทําให้ได้รับการยอมรับและความไว้วางใจจากลูกค้า
ภายใต้ตราสิ นค้า “ROLLFORM”

นายประสิ ทธิ์ อุน่ วรวงศ์


กรรมการผูจ้ ดั การ

รายงานประจําปี 2553 4
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

กิจกรรมเพือ่ สั งคม (Corporate Social Responsibility)

ด้วยจิ ตสํานึ กในการเป็ นส่ วนหนึ่ งของสังคมไทย บริ ษทั ถือว่าการดําเนิ นกิจกรรมเพื่อสังคมนั้นเป็ นส่ วนสําคัญใน
ดําเนิ นงานของบริ ษทั ดังนั้นบริ ษทั จึงได้ดาํ เนิ นธุ รกิจภายใต้หลักจริ ยธรรมและการกํากับดูแลกิจการที่ดีควบคู่ไปกับการใส่ ใจ
และดูเเลรักษาสังคมและสิ่ งเเวดล้อม เพื่อนําไปสู่การพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน อีกทั้งได้ให้การสนับสนุนตลอดจนเข้าร่ วมกิจกรรม
เพื่อสาธารณประโยชน์ และกิจกรรมต่างๆ ที่เป็ นประโยชน์ต่อสังคมมาอย่างต่อเนื่อง
ในปี 2553 ที่ผ่านมานั้น บริ ษทั ได้จดั กิจกรรมเพื่อสังคมขึ้นมาภายในองค์กร โดยมีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อสร้างสรรค์
และช่วยเหลือสังคม ได้แก่
 โครงการมอบทุนการศึกษาให้แก่เด็กนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ถึง 6 โรงเรี ยนศรี สุขวิทยา ตําบลดอนชมพู
อําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสี มา วันที่ 21 สิ งหาคม 2553
 โครงการบริ จาคหลังคาเมทัลชีท ช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยนํ้าท่วมผ่านช่อง 9 อสมท. วันที่ 24 พฤศจิกายน 2553
 โครงการสร้างหลังคาคลุมลานเอนกประสงค์เกษตรรวมใจให้กบั โรงเรี ยนวัดศิริมงคล ที่จงั หวัดสมุทรสาคร เมื่อ
วันที่ 14 ธันวาคม 2553
 โครงการบริ จาคกระดาษ A4 ใช้แล้ว 2 หน้า ให้กบั มูลนิ ธิช่วยคนตาบอดแห่ งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์
เพื่อใช้สาํ หรับทําอักษรเบลล์
นอกจากนี้กิจกรรมที่จดั ขึ้นยังส่ งผลให้เกิดความร่ วมแรงร่ วมใจกันระหว่างพนักงาน และเป็ นการปลูกจิตสํานึ กให้กบั
พนักงานในการดําเนินกิจกรรมเพื่อสังคมอีกด้วย

รายงานประจําปี 2553 5
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

1. ข้ อมูลทัว่ ไปของบริษัท

ชื่อบริษัท บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)


ประเภทธุรกิจ ผลิต จัดจําหน่าย และให้บริ การติดตั้งแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้นลอน (Roll Forming
Metal Sheet) รวมถึงวัสดุที่เกี่ยวกับหลังคาและฝาผนังอื่นๆ
ทีต่ ้งั สํ านักงานใหญ่ เลขที่ 8/88 หมู่ 12 ตําบลราชาเทวะ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540
ทีต่ ้งั โรงงาน เลขที่ 8 หมู่ 15 ตําบลบางพลีใหญ่ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540
เลขทะเบียนบริษัท 0107574800137
Home Page www.steelintertech.com
โทรศัพท์ 0-2750-2380
โทรสาร 0-2750-2394
แบ่ งเป็ นหุ้นสามัญ จํานวน 500,000,000 หุน้
มูลค่ าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1 บาท
ทุนชําระแล้ ว จํานวนเงิน 50,000,000 บาท
นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริ ษทั ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด
อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4,7 เลขที่ 62
ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุ งเทพฯ 10110
โทรศัพท์ 0-2229-2800 โทรสาร 0-2359-1259
ผู้สอบบัญชีของบริษัท นายอําพล จํานงค์วฒั น์ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4663
หรื อ นางสาววรรญา พุทธเสถียร ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4387
นายนริ ศ เสาวรักษ์สกุล ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 5369
บริ ษทั เอส. เค. แอคเคาน์แต้นท์ เซอร์วสิ เซส จํากัด
อาคารพญาไทพลาซ่าชั้น 14
128/151 ถนนพญาไทแขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุ งเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 0-2217-6464 โทรสาร 0-2215-4772

รายงานประจําปี 2553 6
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

2. ข้ อมูลทางการเงิน

งบกําไรขาดทุนรวม สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม (หน่ วย : พันบาท)

2551 2552 2553


รายได้จากการขาย 360,121.22 293,126.68 311,435.36
รายได้รวม 363,374.54 295,775.90 316,254.44
กําไร (ขาดทุน) สุ ทธิ 20,167.74 3,703.75 8,973.41
กําไร (ขาดทุน) สุ ทธิต่อหุน้ (บาท) 0.40 0.07 0.18

งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม (หน่ วย : พันบาท)

2551 2552 2553


สิ นทรัพย์รวม 203,455.42 192,042.05 163,140.34
หนี้สินรวม 101,993.44 105,374.10 69,998.98
ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ 101,461.98 86,667.95 93,141.36
ทุนที่ออกและเรี ยกชําระแล้ว 50,000.00 50,000.00 50,000.00

รายงานประจําปี 2553 7
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

รายการ 2551 2552 2553


อัตราส่ วนสภาพคล่อง
อัตราส่ วนสภาพคล่อง (เท่า) 1.33 1.16 1.27
อัตราส่ วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว (เท่า) 0.72 0.67 0.88
อัตราส่ วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) 0.15 0.14 0.52
อัตราส่ วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า) 6.04 4.50 4.87
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) 60 80 74
อัตราส่ วนหมุนเวียนสิ นค้าคงเหลือ (เท่า) 8.16 5.63 8.33
ระยะเวลาขายสิ นค้าเฉลี่ย (วัน) 44 64 43
อัตราส่ วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ (เท่า) 5.06 4.73 5.54
ระยะเวลาชําระหนี้ (วัน) 71 76 65
วงจรเงินสด (วัน) 33 68 52
อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากําไร
อัตรากําไรขั้นต้น (%) 18.05 % 15.13 % 18.04%
อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) 7.81 % 2.39% 4.49%
อัตราส่ วนเงินสดต่อการทํากําไร (%) 43.22 % 173.42 % 286.18%
อัตราส่ วนกําไรสุ ทธิ (%) 5.55 % 1.25 % 2.84%
อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุน้ (%) 20.40 % 3.94 % 9.98%
อัตราส่ วนแสดงประสิ ทธิภาพในการดําเนินงาน
อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ (%) 10.34 % 1.87 % 5.05%
อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ถาวร (%) 32.80 % 14.15% 21.14%
อัตราการหมุนของสิ นทรัพย์ (เท่า) 1.86 1.50 1.78
อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายการเงิน
อัตราส่ วนหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุน้ (เท่า) 1.01 1.22 0.75
อัตราส่ วนความสามารถชําระดอกเบี้ย (เท่า) 16.01 13.91 43.78
อัตราส่ วนความสามารถชําระภาระผูกพัน (เท่า) 0.64 0.39 1.16
อัตราการจ่ายเงินปันผล (%) 229.49% 138.97% N.A.

รายงานประจําปี 2553 8
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ

3.1 ประวัติความเป็ นมา การเปลีย่ นแปลง และพัฒนาการทีส่ ํ าคัญ


บริ ษทั สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม 2536 โดยใช้ชื่อว่าบริ ษทั ธิ ติพฒั น์
เซิ ร์ฟพอยท์ จํากัด แรกเริ่ มมีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อเป็ นตัวแทนจําหน่ายแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้นลอน โดยเปลี่ยนชื่อเป็ นบริ ษทั
สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด ในวันที่ 8 ธันวาคม 2537 ต่อมาในปี 2538 นายประสิ ทธิ์ อุ่นวรวงศ์ ซึ่ งดํารงตําแหน่งรองกรรมการ
ผูจ้ ดั การบริ ษทั ในขณะนั้น ได้เข้าซื้ อหุ น้ จากผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั และขึ้นดํารงตําแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การ จากนั้นบริ ษทั จึง
ขยายกิจการโดยการสร้างโรงงานขึ้นรู ปลอนหลังคา และขยายประเภทของผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลายมากขึ้นโดยมีการเพิ่ม
การผลิตและจัดจําหน่ายผนัง ฝ้ า บานเกล็ดระบายอากาศ โครงหลังคา และวัสดุประกอบอื่นๆ ซึ่ งจากการปรับปรุ งการบริ หาร
กิจการใหม่ ตลอดจนมีการวางแผนการตลาดที่ดี จึงทําให้ผลการดําเนินงานของบริ ษทั ภายใต้การบริ หารงานของนายประสิ ทธิ์ มี
กําไรตลอดมา และมีการขยายตัวของธุรกิจอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบนั

การเปลีย่ นแปลง และพัฒนาการทีส่ ํ าคัญ

6 สิ งหาคม 2536 บริ ษทั ดําเนินธุรกิจในนาม “บริ ษทั ธิติพฒั น์ เซิ ร์ฟพอยท์ จํากัด” ด้วยทุนจดทะเบียน 2 ล้านบาท
จํานวนหุน้ 20,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท มีสาํ นักงานตั้งอยูเ่ ลขที่ 331-332 หมู่ 3 ถนน
สุ ขสวัสดิ์ 29 แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุ งเทพฯ 10400

8 ธันวาคม 2537 เปลี่ยนชื่อเป็ นบริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด

28 พฤษภาคม 2538 เพิ่มทุนจดทะเบี ยนจาก 2.0 ล้านบาทเป็ น 2.4 ล้านบาท โดยมี วตั ถุประสงค์เพื่อใช้เป็ นเงิ นทุ น
หมุนเวียน

15 กันยายน 2538 เพิ่มทุ นจดทะเบี ยนจาก 2.4 ล้านบาทเป็ น 5.6 ล้านบาท โดยมี วตั ถุประสงค์เพื่อใช้เป็ นเงิ นทุ น
หมุ น เวีย น โดยกลุ่ ม ของนายประสิ ท ธิ์ อุ่น วรวงศ์ (ประกอบด้ว ยนายประสิ ท ธิ์ อุ่ น วรวงศ์, นาย
เทพศักดิ์ อุ่นปิ ติพงษา และนายณัช หวังมหาพร) ถือหุน้ ร้อยละ 38.39

10 พฤศจิกายน 2538 จดทะเบียนเครื่ องหมายการค้า “ROLLFORM” ซึ่ งยังคงใช้เป็ นเครื่ องหมายการค้าสําหรับแผ่นเหล็ก


เคลือบขึ้นลอนของบริ ษทั จนถึงปัจจุบนั

6 มิถุนายน 2540 กลุ่มนายประสิ ทธิ์ อุ่นวรวงศ์ (ประกอบด้วยนายประสิ ทธิ์ อุ่นวรวงศ์, นายเทพศักดิ์ อุ่นปิ ติพงษา นาย
ณัช หวังมหาพร และนางเกษมศรี วรรณโรจน์) เข้าซื้ อหุน้ จากผูถ้ ือหุน้ เดิม โดยเพิ่มสัดส่ วนการถือหุ น้
เป็ นร้อยละ 72.32

27 ตุลาคม 2542 เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 5.6 ล้านบาทเป็ น 20.5 ล้านบาท เพื่อลงทุนในเครื่ องจักรและสร้างโรงงาน


ขึ้นรู ปลอนหลังคา

รายงานประจําปี 2553 9
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

29 ตุลาคม 2542 ก่อตั้งบริ ษทั สตีล อินเตอร์ คอน จํากัด (“สตีล อินเตอร์ คอน”) ซึ่ งดําเนิ นธุ รกิจให้บริ การติดตั้งแผ่น
เหล็กเคลือบขึ้นลอนที่บริ ษทั ผลิตและจัดจําหน่าย มีทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท แบ่งเป็ นหุ ้นสามัญ
10,000 หุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท โดยบริ ษทั ลงทุนในสัดส่ วนร้อยละ 30 คิดเป็ นมูลค่าเงิน
ลงทุน 0.3 ล้านบาท การก่อตั้ง สตีล อินเตอร์ คอน นี้ มีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อแยกการขายและบริ การ
ติดตั้งออกจากกัน ทําให้การหักภาษี ณ ที่จ่าย ถูกหักในส่ วนของการบริ การติดตั้งที่ดาํ เนิ นการโดย
สตีล อินเตอร์คอน เท่านั้น

13 กันยายน 2544 ย้ายสํานักงานใหญ่และโรงงานผลิตมาที่ที่ต้ งั ปั จจุบนั คือเลขที่ 8 หมู่ 15 ซอยกิ่งแก้ว 11 ตําบลบาง


พลีใหญ่ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540

31 สิ งหาคม 2547 เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 20.5 ล้านบาทเป็ น 35 ล้านบาท โดยออกหุ น้ สามัญใหม่จาํ นวน 145,000 หุ ้น
เสนอขายให้กบั ผูถ้ ือหุ ้นเดิมตามสัดส่ วนการถือหุ ้น ในราคามูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท เพื่อใช้
เป็ นเงินทุนหมุนเวียน

30 กันยายน 2547 ขายเงิ น ลงทุ น ของ สตี ล อิ น เตอร์ ค อน ตามมูล ค่ า ทางบัญ ชี ในราคาหุ ้น ละ 208 บาท รวมมู ล ค่ า
624,000 บาท ให้กบั นายณัช หวังมหาพร ผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั เพื่อรอการเลิกกิจการ (รายละเอียดใน
รายการระหว่างกัน ส่ วนที่ 2 หน้า 51) และโอนโครงการที่ สตีล อินเตอร์ คอน รับเหมาติดตั้งทั้งหมด
มาที่บริ ษทั โดยไม่มีการทําธุรกิจร่ วมกันอีกต่อไป ทั้งนี้ การปรับโครงสร้างบริ ษทั มีวตั ถุประสงค์
หลักเพื่อลดความซับ ซ้อ นในการจัดทํางบการเงิ นรวม ลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบงบการเงิ น
รวมทั้งเพิ่มความชัดเจนและโปร่ งใสในการบริ หารงาน

11 กุมภาพันธ์ 2548 ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001: 2000 ในเรื่ อง “Manufacture of Metal Sheet for Construction”
จาก BVQI (Thailand) Ltd.

16 มีนาคม 2548 จดทะเบียนแปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชน เปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้เป็ นหุน้ ละ 1 บาท

6 พฤษภาคม 2548 เพิ่มทุนจาก 35 ล้านบาทเป็ น 50 ล้านบาท โดยการออกและเสนอขายหุ น้ สามัญเพิ่มทุนต่อประชาชน


จํานวน 15 ล้านหุ ้น และนําหุ ้นสามัญของบริ ษทั เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ ตาม
หนัง สื อ อนุ ม ัติ เ ลขที่ บจ. 897/2548 ลงวัน ที่ 30 พฤศจิ ก ายน 2548 และบริ ษ ัท ได้ท าํ การซื้ อ ขาย
หลักทรัพย์ครั้งแรกในวันที่ 20 ธันวาคม 2548

2549 บริ ษทั ได้ลงทุนในการซื้ อเครื่ องจักรผลิตแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้นลอนรู ปแบบลอนสู ง (High-rib)


(V-750BL) กําลังการผลิต 3,400 ตันต่อปี หรื อประมาณ 600,000 ตารางเมตรต่อปี และเครื่ องจักร
ผลิตแปเหล็กกล้ากําลังสูงรู ปตัว C และ Z กําลังการผลิต 2,000 ตันต่อปี ทั้งนี้ปลายไตรมาส 4 ปี 2549
บริ ษทั ได้ขยายพื้นที่โรงงาน และคาดว่าจะแล้วเสร็ จในปลายไตรมาส 1 ปี 2550 จะส่ งผลให้มีพ้ืนที่
เก็บสิ นค้าสําเร็ จรู ปเพิ่มขึ้น และสามารถรองรับการขยายตัวของยอดขายของบริ ษทั ในอนาคตได้เป็ น
อย่างดี

รายงานประจําปี 2553 10
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

2550 บริ ษทั ได้ขยายโรงงาน ซึ่ งแล้วเสร็ จในไตรมาส 2 ของปี 2550 ทําให้มีพ้ืนที่ เก็บ สิ นค้าสําเร็ จ รู ป
เพิ่มขึ้น และสามารถรองรับการขยายตัวของยอดขายของบริ ษทั ในอนาคตได้ ไตรมาส 3 ของปี 2550
ได้เริ่ มผลิตแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้นลอน รู ปแบบลอนสู ง (High rib) (V-750BL) และในไตรมาส
3 ของปี 2550 บริ ษทั ได้สร้างสํานักงานแห่ งใหม่ ซึ่ งเป็ นที่ดินที่ติดกับบริ เวณโรงงานปั จจุบนั คาดว่า
จะแล้วเสร็ จในไตรมาสที่ 1 ของปี 2551 จะทําให้มีพ้ืนที่ ในการจัดวางสิ นค้าสําเร็ จรู ปได้เพิ่มขึ้ น
เพราะส่ วนสํานักงานจะย้ายมาอยูใ่ นส่ วนของสํานักงานใหม่ เมื่อสํานักงานใหม่แล้วเสร็ จ

2551 ปี 2550 บริ ษทั ได้สร้างสํานักงานแห่ งใหม่ ซึ่ งเป็ นที่ดินที่ติดกับบริ เวณของโรงงานปั จจุบนั และเริ่ ม
เปิ ดใช้เมื่อต้นเดือนมกราคม 2551 นี้ ทําให้มีพ้ืนที่ในโรงงานมากขึ้น อีกทั้งเป็ นการรองรับการขยาย
งานในอนาคต

2552 ปี 2552 บริ ษทั ฯได้เริ่ มจัดหาแหล่งวัตถุดิบใหม่ที่มีราคาถูกลง เพื่อรองรับกับภาวะตลาดที่หดตัวลง


จากผลกระทบของวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์เมื่อปลายปี 2551 ที่ประเทศสหรัฐอเมริ กา

2553 ปี 2553 คณะกรรมการบริ ษทั ฯ มีมติให้ควบรวมกับ บริ ษทั โซล่าร์ เพาว์เวอร์ จํากัด ซึ่ งทําธุรกิจด้าน
พลังงาน อีกทั้งได้รับผลประโยชน์ในด้านการก่อสร้างโรงไฟฟ้ าพลังแสงอาทิตย์ในอนาคต

3.2 ภาพรวมของการประกอบธุรกิจของบริษัท
สถานการณ์ เศรษฐกิ จโดยรวมในรอบปี 2553 ประเทศไทยยังต้องเผชิ ญกับเหตุการณ์ ต่างๆ มากมาย เช่นความไม่
แน่นอนทางการเมือง เงินบาทมีแนวโน้มแข็งค่าในช่วงกลางปี ซึ่ งมีผลกระทบต่อภาคธุ รกิจส่ งออก และนําเข้าโดยตรง อีกทั้ง
สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ภาคใต้ 3 จังหวัดยังคงดํารงอยู่ ส่ งผลให้เศรษฐกิจโดยรวมในปี 2553 ตกอยูใ่ นสภาพไม่แน่นอน
ส่ วนภาคเอกชนเริ่ มลงทุนในสิ นทรัพย์ระยะยาวมากขึ้นจากค่าเงินบาทที่แข็งตัวอย่างรวดเร็ ว ซึ่ งส่ งผลให้ตน้ ทุนการลงทุนใน
ระยะยาวตํ่า ทําให้ผลประกอบการออกมาได้เป็ นที่น่าพอใจ
บริ ษทั ซึ่ งเป็ นผูผ้ ลิตและจัดจําหน่ ายวัสดุก่อสร้ าง ประเภทแผ่นเหล็กเคลือบสังกะสี ผสมอลูมิเนี ยมขึ้นลอน ทั้งชนิ ด
เคลือบสี และชนิ ดไม่เคลือบสี ซึ่ งสามารถใช้มุงหลังคาประกอบเป็ นฝาผนัง ใช้เป็ นฝ้ า กันสาด รั้ว และบานเกล็ดระบายอากาศ
เป็ นต้น คุณสมบัติกนั นํ้ารั่วซึ ม ทนต่อการกัดกร่ อน อายุการใช้งานยาวนาน มีการรับประกันการกัดกร่ อนสู งสุ ดถึง 30 ปี โดย
บริ ษทั มี สัดส่ วนรายได้จากผลิ ตภัณฑ์แ ผ่น หลังคาเคลื อบขึ้ นลอนประมาณร้ อ ยละ 90 ของรายได้ร วม อี กทั้งบริ ษ ทั ยังได้มี
ผลิตภัณฑ์แปเหล็กกล้ากําลังสู งตัว C และ Z ผลิตด้วยการรี ดขึ้นรู ปจากแผ่นเหล็กกล้ากําลังสูง G450 ที่เคลือบกันสนิมด้วยสังกะสี
แปทั้งสองแบบนี้เหมาะสําหรับใช้ในงานโครงสร้างเหล็กรับหลังคา หรื อโครงเคร่ ารับผนังของอาคาร เป็ นวัสดุเบากว่าแปเหล็ก
ดําที่มีจาํ หน่ายทัว่ ไป และมีจุดเด่นคือเป็ นแปนํ้าหนักเบา ติดตั้งได้รวดเร็ ว โดยการใช้ระบบน็อตสกรู แทนการเชื่อม และเริ่ มผลิต
แผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้นลอนรู ปแบบลอนสู ง (High-rib) ซึ่ งเป็ นรู ปลอนที่เป็ นที่นิยมในกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น ทั้งนี้
บริ ษทั ฯ เชื่อว่าแผ่นหลังคาเหล็กรู ปแบบใหม่ของบริ ษทั ฯ จะมีความสามารถในการแข่งขันในตลาดโรงงานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น
ในประเทศ เนื่ องจากมี ราคาที่ ต่ าํ กว่าและการเป็ นผูผ้ ลิตรายแรกๆ ที่ เข้าแข่งขันในตลาดจะทําให้บริ ษทั มี โอกาสชิ งส่ วนแบ่ง
การตลาดมากกว่าผูผ้ ลิตที่เข้ามาทีหลัง ทําให้บริ ษทั ฯ สามารถขยายฐานลูกค้าได้มากขึ้นจากกลุ่มลูกค้าญี่ปุ่นที่ดาํ เนินธุรกิจอยูใ่ น
ประเทศไทย ด้วยแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้นรู ปแบบลอนสู ง นอกจากนี้ บริ ษทั ยังเป็ นผูแ้ ทนจําหน่ายผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับหลังคาและฝาผนัง อาทิ โครงหลังคาสําเร็ จรู ป และหลังคาโปร่ งแสง ฉนวนกันความร้อน เป็ นต้น ลูกค้าผูใ้ ช้ผลิตภัณฑ์ของ

รายงานประจําปี 2553 11
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

บริ ษทั คือโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ทั้งโรงงานที่สร้างใหม่และโรงงานที่ตอ้ งการเปลี่ยนวัสดุมุงหลังคาให้มีความทนทานมาก


ยิง่ ขึ้น โดยบริ ษทั ขายสิ นค้าผ่านผูร้ ับเหมา ตัวแทนจําหน่าย และขายให้เจ้าของโครงการโดยตรง
ผลิตภัณฑ์แผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอน ซึ่ งจัดจําหน่ายภายใต้เครื่ องหมายการค้า “ROLLFORM” และแปเหล็กกล้ากําลัง
สู ง ตัว C&Z ซึ่ งบริ ษทั เป็ นผูส้ ร้างขึ้น และในปี 2548 บริ ษทั ได้รับอนุมตั ิจาก บริ ษทั บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด ให้ใช้
ตราสิ นค้าร่ วมกันระหว่างตราสิ นค้า ROLLFORM และตรา “Steel Supplied by BlueScope Steel” เพื่อให้ลูกค้ามัน่ ใจถึงวัตถุดิบ
ที่มีคุณภาพเป็ นมาตรฐานเดียวกัน
การดําเนิ นธุ รกิจในปี 2553 ที่ผ่านมาขยายตัวขึ้นจากปี ก่อน เนื่ องจากปั จจัยการค้าโลกที่ฟ้ื นตัวและการไหลเวียนของ
เงินทุน ทั้งนี้การดําเนิ นธุรกิจยังคงต้องดําเนินไปด้วยความระมัดระวัง เนื่ องจากยังมีความไม่แน่นอนทางการเมือง อาจส่ งผลต่อ
ความเชื่อมัน่ ของนักลงทุนต่างชาติที่ชะลอการลงทุนในประเทศไทย และเป็ นอุปสรรคสําคัญต่อการพัฒนาในด้านอื่นๆ อีกทั้งยัง
ต้องเผชิญกับความผันผวนของราคาวัตถุดิบ พร้อมกับระวังรักษาลูกค้ากลุ่มหลักมากขึ้น เพื่อที่จะรักษาสัดส่ วนของลูกค้า โดย
เน้นการบริ การ และแก้ไขปัญหาให้กบั ลูกค้าอย่างใกล้ชิด เพื่อมิให้เสี ยโอกาสการขาย เป็ นเหตุจูงใจให้ลูกค้าเร่ งการสรุ ปซื้ อสิ นค้า
กับบริ ษทั
ส่ วนทิศทางการพัฒนาธุ รกิจ บริ ษทั เน้นการทําตลาดในภาพกว้างมากขึ้น พร้ อมกับการนําเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่
เกี่ยวเนื่องกันควบคู่กนั ไปด้วย เพื่อพัฒนาไปสู่ การทําธุรกิจในภาพลักษณ์ของ Solution Provider โดยมีการแสวงหาพันธมิตรราย
ใหม่ๆ ในการเสนอขายงานโครงการขนาดใหญ่ อีกทั้งยังมีการปรับช่องทางการจําหน่ายสิ นค้าจากเดิมที่บริ ษทั ขายสิ นค้าพร้อม
ติดตั้งให้กบั งานโครงการต่างๆ ผ่านผูร้ ับเหมาโครงการเป็ นส่ วนใหญ่ ในปี 2553 เน้นลูกค้ากลุ่มโครงการมากขึ้น โดยมีสัดส่ วน
ยอดจําหน่ายประมาณ 59% จากยอดจําหน่ายทั้งหมด ซึ่ งเพิ่มขึ้นจากปี 2552 ที่มีสัดส่ วนการจําหน่าย 49.40% นอกจากนี้บริ ษทั
ยังคงรักษากลุ่มลูกค้าหลักในการจําหน่ ายสิ นค้าผ่านตัวแทนจําหน่ าย (Dealer) บริ ษทั มีตวั แทนจําหน่าย ประมาณ 48 รายในปี
2553 ครอบคลุมตลาดทั้งในกรุ งเทพมหานคร และตามภูมิภาคอื่นๆ ซึ่ งการจําหน่ายผ่านตัวแทนจําหน่ายมีสัดส่ วนประมาณ 41%
ของยอดจําหน่ายทั้งหมดในปี 2553
ในระยะยาวบริ ษทั มุ่งเน้นการพัฒนาไปสู่ การดําเนินธุรกิจแบบครบวงจร (One Stop Service) โดยเริ่ มมีการเจรจากับ
พันธมิตรทั้งในและต่างประเทศไปบ้าง เพื่อเป็ นการเกื้อหนุ นการทําธุ รกิจร่ วมกัน และเพื่อให้บริ ษทั มีช่องทางการรับถ่ายทอด
เทคโนโลยีดา้ นออกแบบในเชิงวิศวกรรมโยธา และสถาปัตยกรรม เป็ นการปูทางไปสู่การดําเนินธุรกิจแบบครบวงจรในอนาคต

3.3 โครงสร้ างรายได้


โครงสร้างรายได้ของบริ ษทั สําหรับงวดปี 2551 – ปี 2553 มีดงั ต่อไปนี้
งบการเงินเฉพาะบริษัท
โครงสร้ างรายได้ ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553
มูลค่ า มูลค่ า มูลค่ า
ร้ อยละ ร้ อยละ ร้ อยละ
(พันบาท) (พันบาท) (พันบาท)
1. รายได้จากการขาย 223,173.80 61.42 148,316.25 50.14 145,105.14 45.88
2. รายได้จากการขายพร้อมติดตั้ง 136,947.41 37.69 144,810.43 48.96 166,330.22 52.59
3. รายได้จากการบริ การติดตั้ง - - - - - -
4. รายได้อื่นๆ 3,253.32 0.90 2,649.22 0.90 4,819.07 1.52
รายได้ รวม 363,374.53 100.00 295,775.90 100.00 316,254.44 100.00

รายงานประจําปี 2553 12
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

3.4 เป้ าหมายการดําเนินธุรกิจ


ตลอดระยะเวลาการดําเนิ นงานมานานกว่า 16 ปี บริ ษทั ดําเนิ นนโยบายเพื่อการเป็ นหนึ่ งในผูน้ าํ ทางด้านการผลิ ต
จัดจําหน่ายและให้บริ การติดตั้งแผ่นเหล็กเคลือบสังกะสี ภายใต้นโยบายคุณภาพ “บริษัท สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน) จะ
ผลิต จัดจําหน่ าย และให้ บริ การครบวงจรทางด้ านหลังคา และโครงสร้ างเหล็กเคลือบ ภายใต้ นโยบายคุณภาพและมาตรฐาน
เดียวกัน มีการพัฒนาอย่างต่ อเนื่อง เพือ่ ให้ ลูกค้ าได้ รับความพึงพอใจสู งสุ ด” โดยมีเป้ าหมายทางธุรกิจเพื่อเพิม่ ส่ วนแบ่ งการตลาด
สํ าหรับวัสดุมุงหลังคา จากร้ อยละ 3 ในปี 2547 เป็ นร้ อยละ 8 ภายในปี 2555 โดยใช้กลยุทธ์ดงั ต่อไปนี้
(1) มุ่ ง เน้น การนํา เสนอสิ น ค้า ที่ มี ค วามหลากหลาย ทั้ง ในด้า นของการเพิ่ ม รู ป แบบลอนหลัง คา และการเพิ่ ม
สายการผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น แปเหล็กกล้ากําลังสูง รู ปตัว C และ Z ซึ่ งเป็ นส่ วนเสริ มกับผลิตภัณฑ์หลัก เพื่อให้
สามารถบริ การลูกค้าได้รวดเร็ วและครบวงจรมากยิง่ ขึ้น
(2) พัฒนารู ปแบบการนําเสนอสิ นค้าของบริ ษทั จากการขายผลิตภัณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ งเพียงอย่างเดียว (Product
Selling) เป็ นการนําเสนอเป็ นกลุ่มของผลิตภัณฑ์ใช้ร่วมกันในงานโครงการเพื่อสนองความต้องการของลูกค้า
(Concept Selling) เพื่อให้ลูกค้าได้รับประโยชน์สูงสุ ด และสร้างส่ วนแบ่งการตลาดสําหรั บผลิตภัณฑ์อื่นๆที่
บริ ษทั จัดจําหน่ายเช่น แปเหล็กกล้ากําลังสู ง และโครงหลังคาสําเร็ จรู ป เป็ นต้น อีกทั้งมุ่งพัฒนาไปสู่ การทําธุรกิจ
รู ปแบบ Solution Provider
(3) ขยายฐานลูกค้า โดยเฉพาะกลุ่มลูกค้าญี่ปุ่นที่เริ่ มเปิ ดกว้างยอมรับการใช้เหล็กมาตรฐานออสเตรเลียมากขึ้น โดย
นําเสนอรู ปลอนที่เป็ นที่นิยมในกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น
(4) ปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพการผลิตอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐานสากล ISO 9001 : 2008 และเพิ่มทักษะในการทํางาน
ของพนักงานโดยจัดให้มีการฝึ กอบรมอย่างต่อเนื่ องเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการทํางาน และจัดสภาพแวดล้อม
ภายในให้มีความปลอดภัยและเอื้อต่อการทํางาน
(5) มุ่งเน้นกลุ่มของงานราชการ ซึ่ งบริ ษทั ฯได้รับการอนุมตั ิให้ใช้ตรา ม.อ.ก. ในกลางปี 2552 ที่ผา่ นมา เป็ นการเพิ่ม
ศักยภาพของผลิตภัณฑ์บริ ษทั ให้มีมาตรฐานเป็ นที่ยอมรับในวงกว้างมากขึ้น อีกทั้งเป็ นการขยายฐานลูกค้าใหม่ๆ
ในอนาคต

3.5 การประกอบธุรกิจของแต่ ละสายผลิตภัณฑ์

3.5.1. ลักษณะผลิตภัณฑ์ และการให้ บริการ

3.5.1.1 แผ่ นเหล็กเคลือบขึน้ ลอน


บริ ษทั สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน) ประกอบธุ รกิจผลิตและจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ชิ้นส่ วนวัสดุก่อสร้างประเภท
แผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอน (Roll Forming Metal Sheet) ซึ่ งนํามาใช้เป็ นวัสดุมุงหลังคาเป็ นส่ วนใหญ่ โดยมีรูปแบบลอนดังนี้

รุ่ น รูปแบบลอน ขนาด (มิลลิเมตร)


LOCK RIB
V-680 BLH

รายงานประจําปี 2553 13
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

รุ่ น รูปแบบลอน ขนาด (มิลลิเมตร)


SAFE RIB
S-720 B,
S-720 BH

ECON RIB
E-760 B

ROLL RIB
V-750BL

นอกจากลอนหลังคาทั้ง 4 รู ปแบบซึ่ งบริ ษทั ผลิตได้เองแล้ว บริ ษทั ยังสามารถจัดหาลอนหลังคารู ปแบบอื่นๆ โดยใช้
วิธีการเช่ าเครื่ องจักรจากผูผ้ ลิ ตรายอื่ นที่ มีการประกอบธุ ร กิ จแบบเดี ย วกันหลายราย ซึ่ งเป็ นพันธมิ ตรทางธุ รกิ จของบริ ษ ทั
อย่างไรก็ตามบริ ษทั มิได้มีการผลิตลอนหลังคารู ปแบบอื่นอย่างสมํ่าเสมอ โดยจะพิจารณาผลิตเมื่อปริ มาณการสั่งซื้ อของลูกค้า
และราคาขายคุม้ ค่ากับค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่ องจักรและค่าดําเนินการของบริ ษทั
แผ่น เหล็ก เคลื อ บขึ้ น ลอน นอกจากใช้เ ป็ นวัส ดุ มุ ง หลัง คาแล้ว ยัง สามารถใช้ป ระกอบเป็ นฝาผนัง หรื อ ใช้เ ป็ น
ส่ วนประกอบอื่นๆ ของตัวอาคารได้ เช่น ฝ้ า กันสาด รั้ว บานเกล็ดระบายอากาศ เป็ นต้น ซึ่ งบริ ษทั ผลิตหลากหลายขนาดและ
รู ปแบบเพื่อสนองต่อความต้องการของลูกค้า
แผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอนที่เป็ นผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั มีคุณสมบัติกนั นํ้ารั่วซึ ม ทนความร้อนเหมาะกับสภาวะอากาศ
ในประเทศไทย สะท้อนแสงและความร้อนได้ดี ทําให้ภายในตัวอาคารมีอุณหภูมิต่าํ กว่าอาคารที่ใช้กระเบื้องมุงหลังคา อีกทั้ง
ยังใช้ได้ในสภาพแวดล้อมที่มีการกัดกร่ อนรุ นแรงเนื่ องจากมีความต้านทานต่อการกัดกร่ อนของสนิ ม และยังมีน้ าํ หนักเบา ใช้
โครงสร้างที่รองรับน้อยลง จึงทําให้ประหยัดค่าโครงสร้างและติดตั้งได้รวดเร็ ว รู ปทรงของแผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอนนี้สามารถ
ดัดให้โค้งควํา่ หรื อหงายได้อย่างอิสระ ทําให้เกิดการออกแบบที่หลากหลาย เพิ่มความสวยงามให้แก่อาคาร โดยมีอายุการใช้งาน
ยาวนาน รับประกันสู งสุ ด 30 ปี ซึ่ งยาวนานกว่าแผ่นเหล็กเคลือบสังกะสี ธรรมดาถึง 4 เท่า

3.5.1.2 แปเหล็กกล้ากําลังสู ง (High Strength Purlins)


นอกจากแผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอน (Roll Forming Metal Sheet) ซึ่ งบริ ษทั ผลิตและจัดจําหน่ายแล้ว ในปี 2549 บริ ษทั ได้
พัฒนาสายการผลิตผลิตภัณฑ์แปเหล็กกล้ากําลังสู งตัว “C” และ “Z” ผลิตโดยการขึ้นรู ปจากแผ่นเหล็กกล้ากําลังสู ง (G450) ที่
เคลือบกันสนิมด้วยสังกะสี แปทั้งสองชนิดเหมาะสําหรับใช้ในงานโครงสร้างเหล็กรับหลังคา หรื อโครงเคร่ ารับผนังอาคาร เน้น
วัสดุน้ าํ หนักเบากว่าแปเหล็กดําที่มีจาํ หน่ายทัว่ ไป ติดตั้งรวดเร็ ว โดยใช้ระบบน็อตสกรู
รายงานประจําปี 2553 14
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

แป รูปแบบแป
ตัว C

ตัว Z

ผลิตภัณฑ์แผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอน และแปเหล็กกล้ากําลังสู งตัว “C” และ “Z” นี้ บริ ษทั จัดจําหน่ายภายใต้เครื่ องหมาย
การค้า “ROLLFORM” ซึ่ งบริ ษทั เป็ นผูพ้ ฒั นาขึ้นเอง ร่ วมกับการใช้ตราสิ นค้า “Steel Supplied by BlusScope Steel” ของ
บลูสโคป สตีล ซึ่ งเป็ นผูจ้ ดั จําหน่ ายวัตถุดิบให้กบั บริ ษทั เพื่อให้ผบู้ ริ โภคตระหนักถึงตราสิ นค้าของบริ ษทั ควบคู่ไปกับความ
มัน่ ใจถึงวัตถุดิบที่มีคุณภาพสมํ่าเสมอและได้มาตรฐานระดับโลก

ชนิดและคุณสมบัตขิ องแผ่นเหล็กเคลือบขึน้ ลอน


ลูกค้าของบริ ษทั สามารถเลือกแผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอนที่ทาํ จากวัสดุที่ต่างกันได้ โดยวัสดุแต่ละชนิดจะมีความทนทาน
และการรับประกันที่แตกต่างกัน ซึ่ งวัสดุดงั กล่าวแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภทคือ

1) แผ่นเหล็กชนิดไม่ เคลือบสี
ทําจากแผ่นเหล็กกล้าเคลือบทับด้วยสารผสมระหว่างอลูมิเนียมร้อยละ 55 และสังกะสี ร้อยละ 43.5 และซิ ลิคอนร้อยละ
1.5 (Zincalume) โดยอลูมิเนียมช่วยเป็ นเกราะป้ องกันการกัดกร่ อนที่เกิดจากการทําปฏิกิริยาระหว่างอากาศกับตัวเนื้ อเหล็ก ส่ วน
สังกะสี ช่วยป้ องกันการกัดกร่ อนบริ เวณขอบตัดและรอยขีดข่วน ทําให้แผ่นเหล็กดังกล่าวมีความทนทานเหนื อกว่าเหล็กเคลือบ
สังกะสี โดยทัว่ ไป

ภาพแสดงชั้นเคลือบของแผ่ นเหล็กชนิดไม่ เคลือบสี

ความหนาของเหล็กกล้าก่อนเคลือบ 0.25-0.55 มิลลิเมตร

รายงานประจําปี 2553 15
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ตารางแสดงแผ่นเหล็กชนิดไม่ เคลือบสี รุ่นต่ างๆ

กลุ่มของวัสดุ ปริมาณการเคลือบขั้นตํา่ การรับประกัน


(กรัมต่ อตารางเมตร)
Zacs RW 70 70 รับประกันการกัดกร่ อน 5 ปี
Zacs RW 100 100 รับประกันการกัดกร่ อน 10 ปี
ZINCALUME 150 รับประกันการกัดกร่ อน 20 ปี

2) แผ่นเหล็กชนิดเคลือบสี
ทําจากแผ่นเหล็กชนิดไม่เคลือบสี นํามาเคลือบด้วยสารปรับสภาพพื้นผิวซึ่ งทําหน้าที่เพิ่มการยึดเกาะระหว่างเหล็กและ
สี ที่นาํ มาเคลือบทับเพื่อกันการหลุดร่ อนและการแตกเป็ นแผ่นๆ จากนั้นรองพื้นด้วยสี ผสมสารยับยั้งการกัดกร่ อน แล้วเคลือบ
ทับด้วยสี คุณภาพสู ง จึงทําให้แผ่นเหล็กชนิดเคลือบสี น้ ี มีความทนทานต่อการกัดกร่ อนสู งกว่าแผ่นเหล็กชนิ ดไม่เคลือบสี ลูกค้า
สามารถเลือกสี ได้ตามความต้องการถึงกว่า 14 สี

ภาพแสดงชั้นเคลือบของแผ่ นเหล็กชนิดเคลือบสี
สี Polyester เคลือบผิวด้านหน้า
สี รองพื้น Epoxy เพือ่ ป้ องกันการกัดกร่ อน
ผิวประสานชันเคลือบโลหะและสี เพือเพิมคุณสมบัติการยึดเกาะ และ
ป้ องกันการกัดกร่ อน
เหล็กเคลือบชั้นใน
ผิวประสานชั้นเคลือบโลหะและสี
สี รองพื้น Epoxy

หมายเหตุ : สําหรับ Clean COLORBOND จะมีช้ นั ของสี เคลือบ Polyester เคลือบด้านหลังเพิ่มอีก 1 ชั้น เพื่อเสริ ม
ความคงทน และความสวยงาม

ตารางแสดงแผ่นเหล็กชนิดเคลือบสี รุ่นต่ างๆ

กลุ่มของวัสดุ เหล็กเคลือบชั้นใน การรับประกัน


P-Zacs SC 70 Zacs RW 70 รับประกันการกัดกร่ อน 10 ปี
P-Zacs RW 100 Zacs RW 100 รับประกันการกัดกร่ อน 20 ปี
Clean COLORBOND ZINCALUME รับประกันการกัดกร่ อน 30 ปี
รับประกันการหลุดลอก ซี ดจางและ
การแตกเป็ นแผ่นของสี 10 ปี
รับประกันฝุ่ นไม่เกาะ 5 ปี

3.5.1.3 ผลิตภัณฑ์ อนื่ ๆ


บริ ษทั จัดจําหน่ ายผลิ ตภัณฑ์อื่นๆที่ เกี่ ย วข้องกับหลังคาและฝาผนัง วัตถุประสงค์หลักเพื่อเป็ นผลิ ตภัณฑ์เสริ มกับ
ผลิตภัณฑ์หลักที่บริ ษทั เป็ นผูผ้ ลิต เพื่อให้การตอบสนองความต้องการของลูกค้ามีความครบวงจรมากยิง่ ขึ้น

รายงานประจําปี 2553 16
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

1) หลังคาโปร่ งแสง
บริ ษทั เป็ นผูจ้ ดั จําหน่ายหลังคาโปร่ งแสง SKYLIGHT สําหรับอาคารที่ตอ้ งการแสงธรรมชาติเข้าสู่ อาคาร ซึ่ งบริ ษทั จัด
จําหน่ายหลังคาโปร่ งแสงทั้งสําหรับอาคารทัว่ ไปและอาคารปรับอากาศ
2) อุปกรณ์ ประกอบ
เพื่อการจัดจําหน่ ายที่ ครบวงจร บริ ษทั ยังเป็ นผูจ้ ดั จําหน่ ายอุปกรณ์ประกอบการติดตั้งหลังคาและฝาผนังต่างๆ เช่น
ฉนวนกันความร้อน สกรู เป็ นต้น ซึ่ งมีความเหมาะกับลักษณะการใช้งานกับผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั
3) ระบบโครงสร้ างสํ าเร็จรูป (PEB)
บริ ษทั เป็ นตัวแทนจําหน่ายระบบโครงสร้างเหล็กสําเร็ จรู ป (PEB) ซึ่ งเป็ นนวัตกรรมล่าสุ ดที่ออกแบบโดยวิศวกรมือ
อาชีพที่มีประสบการณ์สูงตามรู ปแบบที่ลูกค้าต้องการภายใต้มาตรฐานการออกแบบสากล จัดส่ งเป็ นชุดถึงสถานที่ก่อสร้าง ซึ่ ง
แต่ละชิ้นส่ วนของโครงสร้างถูกออกแบบให้ทาํ การยึดต่อด้วยระบบสลักเกลียวและน็อต

3.6 การตลาดและภาวะการแข่ งขัน

3.6.1 กลยุทธ์ การตลาด

กลยุทธ์ การสร้ างความแตกต่ าง


บริ ษทั ซึ่ งเป็ นผูผ้ ลิต จัดจําหน่ าย และให้บริ การติดตั้งวัสดุมุงหลังคาและผนังประเภทแผ่นเหล็กเคลือบสังกะสี ผสม
อลูมิเนี ยมขึ้นรู ปลอน ทั้งชนิ ดเคลือบสี และไม่เคลือบสี ซึ่ งจัดอยูใ่ นตลาดอุตสาหกรรมที่มีการแข่งขันค่อนข้างสู งในรู ปแบบการ
แข่งขันต่างๆ กัน บริ ษทั เป็ นผูป้ ระกอบการซึ่ งเป็ นทั้งผูผ้ ลิตและจัดจําหน่ ายผลิตภัณฑ์ภายใต้ตราสิ นค้า “ROLLFORM” ของ
บริ ษทั เองได้ใช้กลยุทธ์การสร้างความแตกต่าง และสร้างภาพลักษณ์ของสิ นค้าและองค์กรโดยชูตราสิ นค้า “ROLLFORM” ใน
การนําเสนอสิ นค้าและบริ การ ซึ่ งเป็ นส่ วนสําคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่ม และความน่าเชื่อถือในการแข่งขัน กอปรกับการได้รับ
อนุมตั ิจาก บริ ษทั บลูสโคปสตีล จํากัด ให้ใช้ตราสิ นค้าของบริ ษทั ผูจ้ ดั จําหน่ายวัตถุดิบ “Steel Supplied by BlueScope Steel”
เพิ่มความมัน่ ใจให้กบั ลูกค้าว่าผลิตภัณฑ์ “ROLLFORM” ของบริ ษทั ผลิตจากวัสดุที่ได้มาตรฐานสากล อันเป็ นหนึ่ งในกลยุทธ์
การตลาดของบริ ษทั

กลยุทธ์ การสร้ างเครือข่ ายการจัดจําหน่ าย


บริ ษทั เน้นทําการตลาดโดยการกระจายสิ นค้าผ่านเครื อข่ายตัวแทนจําหน่าย (Dealer) ปั จจุบนั บริ ษทั มีตวั แทนจําหน่าย
กว่า 48 ราย ครอบคลุมตลาดทั้งในกรุ งเทพมหานคร ปริ มณฑล ตลอดจนตลาดตามภูมิภาคอื่นๆ ทําให้สินค้าของบริ ษทั เข้าถึง
ผูบ้ ริ โภคในภูมิภาคได้อย่างทัว่ ถึง มีผลให้ยอดจําหน่ายผ่านเครื อข่ายตัวแทนจําหน่ายเป็ นสัดส่ วนประมาณ 41% ของยอดจําหน่าย
ทั้งหมด ในปี 2553 และเป็ นลูกค้าหลักๆ เช่นเดิม อีกทั้งบริ ษทั ยังได้รับข้อมูลความเคลื่อนไหวทางการตลาดผ่านเครื อข่ายตัวแทน
จําหน่ายอย่างต่อเนื่อง นับว่าเป็ นอีกหนึ่งกลยุทธ์ทางการตลาดที่บริ ษทั ได้พฒั นามาอย่างต่อเนื่อง

กลยุทธ์ การนําเสนอสิ นค้ าและบริการในรูปแบบ Solution Provider


บริ ษทั เน้นการทําตลาดในภาพกว้างมากขึ้น พร้อมกับการนําเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่เกี่ยวเนื่ องกันควบคู่กนั ไปด้วย ใน
ปี 2549 ที่ ผ่านมา บริ ษ ทั ได้พฒ
ั นาและแนะนําสู่ ตลาดผลิ ตภัณฑ์ใหม่ คื อ แปเหล็กกล้ากําลังสู ง ตัว “C” และ “Z” ผลิ ต จาก
เหล็กกล้ากําลังสู ง G450 ที่เคลือบกันสนิ มด้วยสังกะสี มีจุดเด่นคือเป็ นแปนํ้าหนักเบา ติดตั้งรวดเร็ ว เพิ่มขีดความสามารถ และ
สอดคล้องกับนโยบายบริ ษทั ในอันที่จะนําเสนอสิ นค้าและบริ การของบริ ษทั ในรู ปแบบ Solution Provider

รายงานประจําปี 2553 17
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

นอกจากผลิตภัณฑ์แปเหล็กกล้ากําลังสู ง ตัว “C” และ “Z” แล้ว บริ ษทั ยังได้พฒั นารู ปลอนใหม่ คือ รู ปลอนทรงสู ง
(High Rib) ซึ่ งเป็ นรู ปลอนที่เป็ นที่นิยมในกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น ซึ่ งจะเปิ ดมิติใหม่ให้บริ ษทั มีความสามารถในการ
แข่งขันในตลาดโรงงานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น เนื่ องจากบริ ษทั เชื่อว่าบริ ษทั สามารถนําเสนอผลิตภัณฑ์ ณ ระดับราคาที่แข่งขันได้
อันจะทําให้บริ ษทั สามารถขยายฐานลูกค้าได้มากขึ้นจากกลุ่มลูกค้าโรงงานอุตสาหกรรมญี่ปุ่นที่ดาํ เนิ นธุ รกิจอยูใ่ นประเทศไทย
ด้วยแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้นรู ปลอนทรงสูง

กลยุทธ์ ความรวดเร็วในการให้ บริการ


บริ ษทั มุ่งเน้นความรวดเร็ วในการติ ดตั้งและส่ งมอบผลิตภัณฑ์ ซึ่ งโดยปกติสําหรั บผลิ ตภัณฑ์แผ่นหลังคาเหล็กไม่
เคลือบสี ที่บริ ษทั เป็ นผูผ้ ลิตและติดตั้งสามารถส่ งมอบได้ภายในเวลาไม่เกิน 15 วันหลังจากได้รับคําสั่งซื้ อ และหากมีความจําเป็ น
บริ ษทั สามารถจัดการการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการที่เร่ งด่วนของลูกค้า บริ ษทั มุ่งเน้นการบริ การที่สร้างความสัมพันธ์
ต่อเนื่ องในระยะยาว โดยหลังจากขายสิ นค้าแล้ว บริ ษทั มีการประเมินความพึงพอใจของลูกค้าในด้านต่างๆ เช่น การให้บริ การ
ของพนักงานขาย การบริ การหลังการขาย และคุณภาพของสิ นค้า เป็ นต้น เพื่อนําไปปรับปรุ งการทํางานของบริ ษทั ให้ลูกค้าเกิด
ความพอใจสูงสุ ด

กลยุทธ์ ด้านการโฆษณา ประชาสั มพันธ์ องค์ กร สิ นค้ า และบริการของบริษัท


บริ ษทั มุ่งเน้นการทํากิจกรรมส่ งเสริ มการขายแบบผสมผสานหลายมิติ การโฆษณาประชาสัมพันธ์องค์กร สิ นค้า และ
บริ การของบริ ษทั ก็ถือว่าเป็ นมิติหนึ่ ง การสื่ อสารทางการตลาด บริ ษทั ทํากิจกรรมผ่านหลายช่องทาง เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้า
เป้ าหมายในวงกว้าง โดยบริ ษทั ได้เข้าร่ วมงานแสดงสิ นค้า ตามสถานศึกษาต่างๆ เพื่อเข้าเข้าถึงกลุ่มลูกค้าหลักให้มากขึ้น และ
ยังคงชู แนวคิ ดวางตําแหน่ งบริ ษ ทั ในรู ป แบบ Solution Provider เพราะเป็ นการบริ การที่ เข้าถึ งความต้องการของลูกค้า
นอกเหนือจากนั้นบริ ษทั ยังได้ลงโฆษณาแนะนําสิ นค้าใหม่ คือ แปเหล็กกล้ากําลังสู งตัว “C” และ “Z” ในนิตยสารรายปั กษ์ “บิล
เดอร์นิวส์” และจัดทําไดเร็ คเมล์แคมเปญ จัดส่ งแค็ตตาล็อกแนะนําสิ นค้าให้กบั บริ ษทั อุตสาหกรรมลูกค้าเป้ าหมายโดยตรง

3.6.2 กลุ่มลูกค้ าเป้ าหมาย และช่ องทางการจําหน่ าย

กลุ่มลูกค้ าเป้ าหมายสํ าหรับตัวผลิตภัณฑ์


กลุ่มลูกค้าเป้ าหมายผูใ้ ช้ผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั (End User) คือลูกค้ารายย่อยประเภทโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางถึง
ขนาดเล็ก ซึ่ งมีท้ งั โรงงานที่สร้างใหม่ และโรงงานที่ตอ้ งการปรับปรุ งโครงสร้างอาคารและหลังคาให้มีความสวยงามทนทาน
มากยิ่งขึ้น โดยมีสัดส่ วนฐานลูกค้าที่ เป็ นโรงงานอุตสาหกรรมประมาณร้ อยละ 95 ของลูกค้าทั้งหมด บริ ษทั เข้าถึงลูกค้าผูใ้ ช้
ผลิตภัณฑ์โดยผ่านตัวกลางซึ่ งถือเป็ นกลุ่มลูกค้าทางตรงของบริ ษทั ซึ่ งแบ่งออกได้เป็ น 3 กลุ่มหลัก ดังนี้

(1) ผู้รับเหมา (Contractor) เป็ นกลุ่มเป้ าหมายหลัก โดยลักษณะปกติของการทําธุ รกิจรับเหมาก่อสร้าง ผูร้ ับเหมาจะ
เป็ นผูร้ ั บงานจากลูกค้าและว่าจ้างผูร้ ั บเหมาช่วง (Subcontractor) สําหรั บงานก่อสร้ างในส่ วนต่างๆ ซึ่ งบริ ษทั เป็ นหนึ่ งใน
ผูร้ ั บเหมาช่ วงสําหรั บงานหลังคา โดยบริ ษทั เรี ยกเก็บเงิ นโดยตรงจากผูร้ ั บเหมา โครงการที่ บริ ษทั ได้รับจากผูร้ ั บเหมา มี ท้ งั
โครงการก่อสร้างโรงงานใหม่ และโครงการที่เป็ นลักษณะการปรับปรุ งโรงงานที่มีอยูเ่ ดิม
เนื่ องจากรายได้จากกลุ่มผูร้ ับเหมาอยู่ในภาวะซบเซา บริ ษทั ยังคงบริ หารความเสี่ ยงในการเรี ยกเก็บเงินที่เข้มงวดขึ้น
โดยก่อนการพิจารณาขายสิ นค้า จะพิจารณาจากผลงานที่ผา่ นมาและฐานะการเงินของผูร้ ับเหมา รวมถึงเจ้าของโครงการที่เป็ นผู้
ว่าจ้างผูร้ ับเหมานั้นๆ จะได้รับการประเมินอย่างละเอียดว่ามีศกั ยภาพที่เพียงพอในการชําระหนี้ (จากฐานข้อมูลงบการเงิน โดย

รายงานประจําปี 2553 18
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

บริ ษทั บิซิเนส ออนไลน์ จํากัด (มหาชน) และจากการสอบถามข้อมูลจากพันธมิตรทางธุ รกิจต่างๆ) นอกจากนี้บริ ษทั มีการเรี ยก
เก็บเงินมัดจําล่วงหน้าจากลูกค้าร้อยละ 30 ของมูลค่าโครงการ หากลูกค้ายกเลิกโครงการบริ ษทั จะยึดเงินมัดจําในส่ วนนี้ ไว้ใช้
เป็ นส่ วนลดสําหรับการขายสิ นค้าที่ได้ผลิตขึ้นแล้วให้กบั ลูกค้ารายอื่น จากนั้นบริ ษทั จะเรี ยกเก็บเงินเป็ นระยะตามความคืบหน้า
ของงาน โดยเรี ยกเก็บร้อยละ 40 เมื่อส่ งสิ นค้า และสําหรับโครงการขนาดใหญ่จะมีการเรี ยกเก็บเงินร้อยละ 20 ระหว่างการติดตั้ง
ดังนั้นจํานวนเงินที่จะเรี ยกเก็บเมื่อเสร็ จสิ้ นโครงการจึงมีสัดส่ วนเพียงร้อยละ 10-30 เมื่อเทียบกับมูลค่าโครงการทั้งหมด ทั้งนี้
บริ ษทั จะให้ลูกค้าออกเช็คล่วงหน้า หรื อตัว๋ สัญญาใช้เงินสําหรับผูร้ ับเหมาที่เป็ นลูกค้าใหม่ หรื อผูร้ ับเหมาที่บริ ษทั พิจารณาว่ามี
ความเสี่ ยงจากการจ่ายหนี้ ซึ่ งเป็ นการลดความเสี่ ยงจากการเรี ยกเก็บเงินได้อีกทางหนึ่ง
ทั้งนี้ บริ ษ ทั มี โ ครงการจะขยายการจัดจําหน่ ายสิ นค้า ให้กับ ลูก ค้าญี่ ปุ่ น โดยการนํา เสนอโครงการผ่า นผูร้ ั บ เหมา
โดยเฉพาะผูร้ ับเหมารายใหญ่ที่มีการทําธุรกิจกับโรงงานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น

(2) ตัวแทนจําหน่ าย (Dealer) บริ ษทั ขายสิ นค้า คือแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบ รวมถึงอุปกรณ์ประกอบต่างๆทั้งหมด


และให้ตวั แทนจําหน่ายเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการติดต่อลูกค้ารวมถึงการติดตั้ง บริ ษทั ขายสิ นค้าให้กบั ตัวแทนจําหน่ายเช่นเดียวกับ
การขายให้กบั ลูกค้าทัว่ ไป โดยกําหนดราคาขายและวงเงิ นเครดิตตามปริ มาณการสั่งซื้ อและความต่อเนื่ องในการสั่งซื้ อ โดย
พิจารณาคัดเลือกตัวแทนจําหน่ ายจากความสามารถในการให้บริ การกับลูกค้า คุ ณภาพในการติดตั้ง พื้นที่ ที่ตวั แทนจําหน่ าย
สามารถเข้าทํา การตลาด ซึ่ งตัวแทนจําหน่ ายดัง กล่าวทําให้ก ารกระจายสิ นค้า ของบริ ษ ทั กว้างขวางมากขึ้ น โดยเฉพาะใน
ต่างจังหวัด ซึ่ งโครงการที่บริ ษทั ขายผ่านตัวแทนจําหน่ายส่ วนใหญ่เป็ นโครงการขนาดกลางถึงขนาดเล็ก และมีแนวโน้มที่จะ
เป็ นกลุ่มที่สร้างรายได้หลักในอนาคต อีกทั้งยังมีความเสี่ ยงน้อยกว่ากลุ่มผูร้ ับเหมา

(3) เจ้ าของโครงการ (Project Owner) ลูกค้ากลุ่มนี้ คือเจ้าของโครงการผูท้ ี่มาติดต่อซื้ อสิ นค้ากับบริ ษทั โดยตรง ส่ วน
ใหญ่เป็ นลูกค้าที่มีโครงสร้างอาคารเดิมอยูแ่ ล้ว และต้องการปรับปรุ งคุณภาพหรื อเปลี่ยนวัสดุมุงหลังคา หรื อเจาะจงใช้สินค้า
บริ ษทั เมื่อต้องการขยายโรงงานใหม่ โดยบริ ษทั มีการบริ หารความเสี่ ยงในการเรี ยกเก็บเงินจากเจ้าของโครงการเช่นเดียวกับกลุ่ม
ลูกค้าผูร้ ับเหมา ทั้งนี้ บริ ษทั มีนโยบายที่จะเพิ่มสัดส่ วนการขายสิ นค้าให้กบั เจ้าของโครงการมากขึ้น โดยการเสนอขายแบบครบ
วงจร ทั้งผลิตภัณฑ์หลัก คือวัสดุมุงหลังคา แปเหล็กกล้ากําลังสู ง และผลิตภัณฑ์เสริ ม เช่น โครงหลังคาสําเร็ จรู ป ฉนวน แผ่น
หลังคาโปร่ งแสง เป็ นต้น ทั้งนี้ บริ ษทั มุ่งเน้นการเสนอแบบโครงสร้างที่สามารถใช้ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวร่ วมกันให้เกิดประโยชน์
สู งสุ ด รวมถึงการรับเหมารื้ อหลังคาเก่าเพื่อการติดตั้งหลังคาใหม่ เพื่อให้ลกู ค้าที่เป็ นเจ้าของโครงการได้รับความสะดวก รวดเร็ ว
มีโอกาสพิจารณาทางเลือกใหม่ในการปรับปรุ งอาคารหรื อการสร้างอาคารใหม่ได้มากขึ้น

ช่ องทางการจัดจําหน่ าย
การจัดจําหน่ายผ่านผูร้ ับเหมา (Contractor) และเจ้าของโครงการ บริ ษทั ใช้กลยุทธ์การขายตรงในการขายโครงการ โดย
ให้เจ้าหน้าที่ขายโครงการที่มีความรู้ดา้ นสิ นค้าเป็ นอย่างดีทาํ การนําเสนอโครงการให้กบั สถาปนิกผูอ้ อกแบบ และผูร้ ับเหมาหลัก
ตลอดจนการเสนอราคา จนกระทัง่ ปิ ดการขาย ซึ่ งในปี 2552 บริ ษทั มีเจ้าหน้าที่ฝ่ายขายการตลาดโครงการ 7 คน นอกจากนี้ ยงั มี
ผูร้ ับเหมาบางส่ วนที่ดาํ เนิ นการติดต่อกับบริ ษทั โดยตรงเนื่ องจากได้รับข้อมูลจากการโฆษณา และผูร้ ับเหมาที่ได้รับการเจาะจง
จากเจ้าของโครงการให้ซ้ื อสิ นค้าจากบริ ษทั
ส่ วนการจําหน่ายผ่านตัวแทนจําหน่าย (Dealer) นั้น ปั จจุบนั บริ ษทั จําหน่ายผลิตภัณฑ์โดยผ่านตัวแทนจําหน่ายเฉพาะ
ในกรุ งเทพมหานคร และภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ รวมทั้งสิ้ นประมาณ 48 ราย ซึ่ งตัวแทนจําหน่ายจะรับผิดชอบในการหาลูกค้า
และการติดตั้งสิ นค้าด้วยตนเองโดยสั่งซื้ อสิ นค้าจากบริ ษทั ทั้งนี้ บริ ษทั วางแผนในการขยายตัวแทนจําหน่ายให้ครอบคลุมพื้นที่
ในภาคเหนือ และภาคใต้ เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการกระจายสิ นค้า

รายงานประจําปี 2553 19
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

3.7 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขัน

3.7.1 ภาพรวมอุตสาหกรรม
เศรษฐกิจโลกในปี 2553 IMF คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.8 และแนวโน้มในปี 2554 คาดว่าขยายตัวร้อยละ 4.2
ชะลอตัวเล็กน้อยจากปี 2553 เนื่องจากปัจจัยการค้าโลกที่ฟ้ื นตัวและการไหลเวียนของเงินลงทุน แต่ปัญหาอัตราการว่างงานที่อยู่
ในระดับสูงในหลายๆ ประเทศ เช่น สหรัฐฯ และกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป ปั ญหาหนี้สาธารณะของกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป
ความเสี่ ยงจากความผันผวนของค่าเงิน รวมถึงการถอนมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิ จของรัฐบาลประเทศต่างๆ ปั จจัยเหล่านี้ จะ
กดดันการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจทัว่ โลก และยังส่ งผลให้ตลาดการเงินมีความเสี่ ยงต่อภาวะไร้เสถียรภาพมากขึ้น แต่การขยายตัวที่
แข็งแกร่ งของเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศกําลังพัฒนาจะเป็ นปั จจัยสําคัญที่ขบั เคลื่อนเศรษฐกิจให้ฟ้ื นตัว อัตราเงินเฟ้ อ ปี 2554 คาด
ว่าจะอยูท่ ี่ร้อยละ 3.3 และอัตราการว่างงานปี 2554 คาดว่าจะอยูท่ ี่ร้อยละ 8.0 ทั้งนี้สถานการณ์การเงินโลกธนาคารกลางส่ วนใหญ่
ของหลายๆประเทศทัว่ โลก จะทยอยปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและควบคุมปัญหาเงินเฟ้ อ
ส่ วนของเศรษฐกิจไทยในปี 2553 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ หรื อ GDP ในไตรมาสที่ 3 ของปี 2553 ขยายตัวร้อย
ละ 6.7 ชะลอลงจากไตรมาสที่ 2 ของปี 2553 ที่ขยายตัวร้อยละ 9.2 และขยายตัวจากไตรมาสที 3 ของที่ 2552 ที่หดตัวร้อยละ -2.8
สําหรับเศรษฐกิจไทยทั้งปี 2553 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดว่า GDP จะขยายตัวร้อยละ 7.9
ปริ มาณการผลิตเหล็กและเหล็กกล้าที่สาํ คัญในปี 2553 มีประมาณ 8,158,980 เมตริ กตัน (ไม่รวมผลิตภัณฑ์เหล็กกึ่ง
สําเร็ จรู ป เหล็กแผ่นรี ดเย็น เหล็กแผ่นเคลือบและท่อเหล็กเพื่อไม่ให้เกิ ดการนับซํ้า) เพิ่มขึ้ นร้ อยละ 17.0 เมื่ อเที ยบกับระยะ
เดียวกันของปี ก่อนเนื่ องจากความต้องการใช้เหล็กในประเทศที่เริ่ มฟื้ นตัวขึ้นในช่วงครึ่ งแรกของปี 2553 โดยเป็ นการผลิตเพื่อ
ชดเชยกับสต็อกสิ นค้าที่ ลดลงในช่วงปี ก่อนหน้า ประกอบกับการขยายตัวของการผลิตในอุตสาหกรรมต่อเนื่ อง โดยเฉพาะ
อุตสาหกรรมยานยนต์ และเครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ มีการส่ งออกสู งขึ้น ทําให้อตั ราการใช้เหล็กยังคงขยายตัวได้ดีต่อเนื่ อง ส่ งผลให้
ผูผ้ ลิตจึงผลิตเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยงั เป็ นผลมาจากปี ฐาน (ปี 2552) ตํ่าเนื่องจากในช่วงนั้นภาวะเศรษฐกิจโลกที่ซบเซาส่ งผลให้การ
ผลิตในปี ฐานตํ่า และเมื่อพิจารณาในรายผลิตภัณฑ์ พบว่า เหล็กทรงแบนมีการผลิตที่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 28.93 โดย เหล็กแผ่นเคลือบ
ชนิดอื่นๆ เพื่มขึ้น ร้อยละ 23.10 เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่ องใช้ไฟฟ้ ามีการผลิตที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สําหรับ
เหล็กทรงยาวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 11.38 รายละเอียดตามตารางที่ 1

ตารางที่ 1: ปริ มาณการผลิตเหล็กและเหล็กกล้าที่สาํ คัญปี 2553 เทียบกับปี 2552

ผลิตภัณฑ์ ปี 2553* ปี 2552 อัตราการเปลี่ยนแปลง


(เมตริ กตัน) (เมตริ กตัน) ร้อยละ
ผลิตภัณฑ์เหล็กกึ่งสําเร็ จรู ป (Semi-Finished Products) 4,267,778 3,659,915 16.61
เหล็กทรงยาว (Long Products) 4,028,939 3,617,175 11.38
เหล็กทรงแบน (Flat Products) 6,892,143 5,345,512 28.93
- เหล็กแผ่นรี ดร้อน (Hot-rolled Flat) 4,124,459 3,350,547 23.10
- เหล็กแผ่นรี ดเย็น (Cold-rolled Flat) 1,903,696 1,225,102 55.39
เหล็กแผ่นเคลือบ (Coated Steel) 883,151 769,863 14.72
- เหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี (Galvanized Sheet) 253,575 253,381 0.08

รายงานประจําปี 2553 20
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ผลิตภัณฑ์ ปี 2553* ปี 2552 อัตราการเปลี่ยนแปลง


(เมตริ กตัน) (เมตริ กตัน) ร้อยละ
- เหล็กแผ่นเคลือบดีบุก (Tin plate) 424,107 388,296 9.22
- เหล็กแผ่นเคลือบโครเมี่ยม (Tin free) 424,107 388,296 9.22
- อื่นๆ (other coated steel) 201,822 128,186 57.44
ท่อเหล็ก (Pipes & Tubes) N/A N/A N/A
รวม (1) 8,158,980 6,967,722 17.10

ที่มา : สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย
หมายเหตุ: 1 ไม่รวมผลิตภัณฑ์เหล็กกึ่งสําเร็ จรู ป เหล็กแผ่นรี ดเย็น เหล็กแผ่นเคลือบ และท่อเหล็กเพื่อไม่ให้เกิดการนับซํ้า
*: จากการประมาณการณ์ของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

ธุรกิจการผลิตแผ่นเหล็กเคลือบสําหรับมุงหลังคาและฝาผนัง ซึ่ งมีลกู ค้าหลักเป็ นโรงงานอุตสาหกรรมเติบโตลดลงตาม


ภาวะการหดตัวของภาคอุตสาหกรรมการผลิต โดยตลาดของแผ่นเหล็กเคลือบสําหรับมุงหลังคาและฝาผนัง นอกจากจะเน้นกลุ่ม
ผูบ้ ริ โภคที่ เป็ นโรงงานอุตสาหกรรมสร้ างใหม่แล้ว ยังเป็ นที่ นิยมสําหรั บโรงงานอุตสาหกรรมที่ ตอ้ งการเปลี่ ยนโครงสร้ าง
หลังคาเดิมให้มีความสวยงามคงทนมากยิง่ ขึ้น

3.7.2 ภาวะการแข่ งขัน

(1) คู่แข่ งขันทางอ้อมจากสิ นค้ าทดแทน


ผลิตภัณฑ์วสั ดุมุงหลังคาและฝาผนัง จัดเป็ นผลิตภัณฑ์ที่มีสินค้าซึ่ งสามารถตอบสนองวัตถุประสงค์ในการใช้งานได้
หลายประเภท โดยวัสดุมุงหลังคาที่มีใช้กนั อย่างแพร่ หลายในประเทศไทยนั้นสามารถจัดแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มใหญ่ คือ
(1.1) กระเบื้องมุงหลังคาใยหิ นผสมซี เมนต์ (Asbestos Tiles) เป็ นวัสดุมุงหลังคาที่เป็ นที่นิยมมากที่สุดสําหรับบ้านพัก
อาศัย และโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทยในปั จจุบนั เนื่ องจากมีราคาไม่แพง ประมาณ 130-170 บาทต่อตารางเมตร มี
คุณสมบัติกนั ไฟและเป็ นฉนวนป้ องกันความร้อนและเสี ยงได้ดี
(1.2) กระเบื้องมุงหลังคาคอนกรี ต (Concrete Tiles) เป็ นวัสดุที่แข็งแรงสวยงาม แต่มีน้ าํ หนักมาก และมีราคาประมาณ
280-350 บาทต่อตารางเมตร ซึ่ งสู งกว่ากระเบื้องมุงหลังคาใยหิ นผสมซี เมนต์มาก ทําให้ผบู้ ริ โภคมีค่าใช้จ่ายในการติดตั้งโครง
หลังคาที่แข็งแรงเพื่อรองรับนํ้าหนัก กระเบื้องชนิดนี้ส่วนใหญ่ใช้ในการมุงหลังคาสําหรับบ้านพักอาศัย
(1.3) แผ่นเหล็กเคลือบ (Coated Steel Sheet) ซึ่ งแบ่งออกได้เป็ น
(1.3.1) แผ่นเหล็กเคลือบสังกะสี ลูกฟูก (Galvanized Steel Sheet) มีน้ าํ หนักเบา บาง อายุการใช้งานประมาณ 5
ปี เกิ ดสนิ มง่าย และกันความร้ อนได้น้อย เป็ นที่ นิยมใช้ในต่างจังหวัดเนื่ องจากมีราคาถูกกว่าวัสดุมุง
หลังคาชนิดอื่นๆ โดยปกติแล้วจะมีราคาตํ่ากว่า 100 บาทต่อตารางเมตร
(1.3.2) แผ่นเหล็กเคลือบรี ดลอน (Roll Forming Metal Sheet) หมายถึง แผ่นเหล็กเคลือบสังกะสี ผสมอลูมิเนียม
มีราคาประมาณ 200-300 บาทต่อตารางเมตร ขึ้นอยูก่ บั ความหนาและชั้นเคลือบของวัสดุ อายุการใช้งาน
นานกว่าแผ่นเหล็กเคลือบสังกะสี ลกู ฟูกประมาณ 4 เท่า

รายงานประจําปี 2553 21
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

บริ ษทั เชื่อว่าแผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอนมีศกั ยภาพที่จะเข้าทดแทนตลาดของวัสดุมุงหลังคาทั้งสองประเภทในอนาคต


เนื่องจากปัจจัยดังต่อไปนี้
1. ความปลอดภัยต่ อสุ ขภาพ แผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอนมีแนวโน้มสู งในการเข้าทดแทนตลาดของกระเบื้องใยหิ น
ผสมซี เมนต์ เนื่ องจากในทางการแพทย์พบว่าใยหิ นซึ่ งเป็ นฉนวนกันความร้อนของกระเบื้องใยหิ นผสมซี เมนต์มีผลกระทบใน
ด้านลบต่อสุ ขภาพ กล่าวคือหากกระเบื้องชํารุ ดหรื อถูกทําลาย แร่ ใยหิ นจะเข้าสู่ ร่างกายผ่านการหายใจ เกิดการสะสมและเป็ น
สาเหตุของโรคมะเร็ งปอด ดังนั้นในปั จจุ บนั กระเบื้ องมุ งหลังคาชนิ ดนี้ จึงได้ถูกห้ามใช้ในประเทศพัฒนาแล้วเช่ นประเทศ
สหรัฐอเมริ กาและออสเตรเลีย นอกจากนั้นโรงงานที่จดั ทํามาตรฐาน ISO 14000 จะต้องยกเลิกการใช้กระเบื้องที่มีส่วนผสมของ
ใยหิ น (Asbestos) เพื่อความปลอดภัยของสิ่ งแวดล้อมภายในโรงงาน ดังนั้นสัดส่ วนการใช้งานกระเบื้องมุงหลังคาใยหิ นผสม
ซี เมนต์ในโรงงานอุตสาหกรรมจึงมีแนวโน้มที่จะลดลงด้วยสาเหตุดงั กล่าวข้างต้น โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการผลิต
อาหารเพื่อการส่ งออก
2. ความเหมาะสมในการใช้ งานและความคุ้มค่ าในระยะยาว แผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอนมีความแข็งแรงทนทาน ทนต่อ
การรั่ วซึ มและการกัดกร่ อนได้ยาวนาน ไม่เกิดสนิ ม เหมาะสมกับการใช้งานในโรงงานอุตสาหกรรมหรื ออาคาร ซึ่ งโรงงาน
อุตสาหกรรมส่ วนใหญ่ยอมจ่ายเงินค่าวัสดุที่สูงขึ้นเพื่อแลกกับคุณสมบัติที่จาํ เป็ น เช่นคุณสมบัติไม่รั่วซึ มนํ้าทําให้โรงงานเกิด
ความมัน่ ใจว่าผลิตภัณฑ์ของตนจะไม่เกิดความเสี ยหาย นอกจากนี้ แผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอนยังติดตั้งสะดวก รวดเร็ ว ซึ่ งช่วยลด
ค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง สามารถดัดแปลงรู ปทรงโค้งได้สวยงามหลากหลาย เสริ มภาพลักษณ์ให้กบั องค์กร และอายุการใช้งานที่
ยาวนาน รับประกันสู งสุ ดถึง 30 ปี จะทําให้เกิดความคุม้ ค่าในระยะยาว
3. ความสามารถในการแข่ งขันด้ านต้ นทุนการติดตั้ง ถึงแม้วา่ แผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอนจะมีราคาต่อตารางเมตรสู ง
กว่ากระเบื้องใยหิ นผสมซี เมนต์ อย่างไรก็ตามแผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอนมีน้ าํ หนักที่เบากว่า ซึ่ งทําให้ใช้โครงสร้างหลังคาเพื่อ
รองรับน้อยกว่า ส่ งผลให้เกิดการประหยัดต้นทุนของโครงสร้างอาคารได้

(2) คู่แข่ งขันทางตรง


สภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้นลอนในปั จจุบนั มีความรุ นแรงมากขึ้น โดยทัว่ ไปเน้นการ
แข่งขันในด้านราคา คุณภาพสิ นค้า รู ปแบบ และบริ การหลังการขาย บริ ษทั ในธุ รกิจนี้ มีท้ งั บริ ษทั ที่เป็ นผูจ้ ดั จําหน่ ายเพียงอย่าง
เดียว และบริ ษทั ที่เป็ นทั้งผูผ้ ลิตและผูจ้ ดั จําหน่าย สําหรับบริ ษทั ที่มีลกั ษณะเป็ นผูจ้ ดั จําหน่ายเพียงอย่างเดียวนั้นสามารถเข้ามาใน
ธุรกิจได้ง่าย อย่างไรก็ตามจะเสี ยเปรี ยบในเรื่ องของต้นทุนสิ นค้า และความชํานาญในการให้บริ การก่อนและหลังการขาย ส่ งผล
ให้แข่งขันในตลาดได้ยาก ส่ วนบริ ษทั ที่เป็ นทั้งผูผ้ ลิตและผูจ้ ดั จําหน่ายนั้น ปั จจุบนั อุตสาหกรรมแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบรี ดลอน
ในประเทศไทย มีผผู้ ลิตขนาดใหญ่จาํ นวน 3 ราย ซึ่ งครองส่ วนแบ่งตลาดรวมกันประมาณร้อยละ 52 คือ บริ ษทั บลูสโคป ไล
สาจท์ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกับ บริ ษทั บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด บริ ษทั ศูนย์บริ การเหล็ก
สยาม จํากัด และบริ ษทั กรุ งเทพผลิตเหล็ก จํากัด (มหาชน) และมีผผู้ ลิตขนาดกลางและขนาดเล็ก
ความได้เปรี ยบเชิงแข่งขันในอุตสาหกรรมนี้ได้แก่คุณภาพของวัตถุดิบและการติดตั้ง ความสามารถในการแข่งขันด้าน
ราคา รู ป แบบของลอนที่ ต รงตามความต้อ งการของลูก ค้า ความเพี ย งพอของเงิ น ทุ น หมุ น เวีย น และบริ ก ารหลัง การขาย
บริ ษทั ผูผ้ ลิตขนาดใหญ่มีความได้เปรี ยบในด้านความหลากหลายของผลิตภัณฑ์และเงินทุนหมุนเวียนซึ่ งสามารถรองรับการ
บริ หารการติ ดตั้งโครงการขนาดใหญ่ได้ ดังนั้นกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายของบริ ษทั เหล่านี้ จึงเน้นฐานลูกค้าโครงการขนาดใหญ่
ผูผ้ ลิตขนาดกลางรวมทั้งตัวบริ ษทั เองมีสัดส่ วนการตลาดโดยรวมประมาณร้อยละ 18 ให้บริ การโดยเน้นฐานลูกค้ารายย่อยขนาด
กลางและเล็ก โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรม ส่ วนผูผ้ ลิตขนาดเล็กซึ่ งมีส่วนแบ่งการตลาดโดยรวมประมาณร้อยละ 30 ค่อนข้าง
เสี ยเปรี ยบในด้านเงินทุนหมุนเวียน ความหลากหลายของสิ นค้า ต้นทุนสิ นค้าขายและความสามารถในการให้บริ การโครงการ

รายงานประจําปี 2553 22
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ขนาดใหญ่ ทั้งนี้ บริ ษทั ซึ่ งจัดอยู่ในกลุ่มผูผ้ ลิตขนาดกลาง มี ความได้เปรี ยบในการแข่งขันเมื่ อเที ยบกับกลุ่มผูผ้ ลิตขนาดกลาง
ด้วยกันเนื่องจาก
(1) ประสบการณ์ในธุ รกิจที่ยาวนานถึง 16 ปี ทําให้บริ ษทั มีความเชี่ยวชาญในธุ รกิจ มีการกระจายฐานลูกค้ารายย่อย
อย่างกว้างขวางและมีการเติบโตอย่างต่อเนื่ อง โดยรวมแล้วบริ ษทั มีฐานลูกค้าประเภทโรงงานอุตสาหกรรมกว่า
800 ราย ซึ่ งบริ ษทั ยังคงรักษาลูกค้ากลุ่มเดิมที่ยงั มีศกั ยภาพ
(2) บริ ษทั มีการสร้างตราสิ นค้า “ROLLFORM” เป็ นของตนเอง เพื่อให้ผบู้ ริ โภคจดจําตราสิ นค้า รู ปลักษณ์ คุณภาพ
สิ นค้า และคุณภาพการบริ การภายใต้ตราสิ นค้าดังกล่าว
(3) เป็ นหนึ่งในหลายบริ ษทั ที่ได้รับการยอมรับให้ใช้ตราสิ นค้า “Steel Supplied by BlueScope Steel” จาก บลูสโคป
สตีล ผูผ้ ลิตวัตถุดิบรายใหญ่ของประเทศไทย เนื่ องจากมี การใช้วตั ถุดิบหลักจาก บลูสโคป สตีล ทั้งหมด ซึ่ งมี
ชื่ อเสี ยงในตลาดถึงคุณภาพของวัตถุดิบที่ สมํ่าเสมอและได้มาตรฐานในระดับสากล โดยลูกค้าที่ซ้ื อสิ นค้ากับ
บริ ษทั ที่ใช้ตราสิ นค้านี้จะได้รับใบรับประกันสิ นค้าโดยตรงจาก บลูสโคป สตีล
(4) มุ่งเน้นการตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดยนําเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อเสริ มกับสิ นค้าปั จจุบนั เพื่อสร้าง
ความหลากหลาย เพิ่มทางเลือกให้กบั ผูบ้ ริ โภคมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยงั มีความรวดเร็ วในการให้บริ การ สามารถ
ปรับแผนการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการที่เร่ งด่วนของลูกค้า รักษาโอกาสในการสร้างรายได้ให้กบั บริ ษทั
(5) มีเครื อข่ายตัวแทนจําหน่ายในภูมิภาคต่างๆ จํานวนกว่า 30 ราย สามารถเข้าถึงผูบ้ ริ โภคในพื้นที่ได้กว้างขวางยิง่ ขึ้น
โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กในต่างจังหวัด ซึ่ งปั จจุบนั บริ ษทั กําลังอยูใ่ นระหว่างการขยายเครื อข่าย
การจัดจําหน่ายเพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ในภาคเหนือและภาคใต้
แม้วา่ อุตสาหกรรมแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้นลอนมีการแข่งขันที่รุนแรงและมีคู่แข่งขันเป็ นจํานวนมาก อย่างไรก็ตาม
เมื่อพิจารณาจากอัตราการขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับอนุญาตให้สร้างใหม่โดยเฉลี่ยร้อยละ 32 ต่อปี ประกอบกับ
โรงงงานอุตสาหกรรมเดิมที่มีความต้องการเปลี่ยนหลังคาเพื่อให้มีความทนทานมากยิ่งขึ้น ทําให้บริ ษทั มัน่ ใจว่าตลาดของแผ่น
หลังคาเหล็กเคลือบรี ดลอนยังสามารถขยายตัวได้อีกมากในอนาคต และบริ ษทั ยังมีโอกาสใช้ความได้เปรี ยบในการแข่งขันใน
การทําให้ยอดขายของบริ ษทั เติบโตขึ้น

3.8 การจัดหาผลิตภัณฑ์

3.8.1 การจัดหาวัตถุดบิ
วัตถุดิบสําหรับการผลิตแผ่นเหล็กเคลือบรี ดลอนคือ เหล็กแผ่นรี ดเย็นเคลือบสังกะสี ผสมอลูมิเนี ยมชนิ ดเคลือบสี และ
ไม่เคลือบสี ซึ่ งบริ ษทั สั่งซื้ อทั้งหมดจากบริ ษทั บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด (“บลูสโคป สตีล”) ทั้งนี้ บลูสโคป สตีล
เป็ นบริ ษทั ผูผ้ ลิตเหล็กแผ่นรี ดเย็นเคลือบโลหะผสมกันสนิ มชนิ ดเคลือบสี และไม่เคลือบสี รายใหญ่ซ่ ึ งใช้สําหรับการผลิตแผ่น
หลังคาเหล็กเคลือบขึ้นลอน โดยมีส่วนแบ่งตลาดในประเทศในปี 2553 ประมาณร้อยละ 70 และจัดจําหน่ายในประเทศให้กบั
บริ ษทั ผูผ้ ลิตแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้นลอนที่เป็ นลูกค้าประจําประมาณ 40 ราย
บลูสโคป สตีล เป็ นบริ ษทั ลูกของ BlueScope Steel Limited ประเทศออสเตรเลีย ผูผ้ ลิตผลิตภัณฑ์เหล็กกล้าและแผ่น
เหล็กสําหรับอุตสาหกรรมก่อสร้ างและการผลิต อุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ
ออสเตรเลียและนิ วซี แลนด์ โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้รับความนิ ยมและมียอดขายสู งสุ ดคือ ผลิตภัณฑ์แผ่นเหล็กเคลือบโลหะผสม มี
ฐานการผลิตและการส่ งออกในทวีปออสเตรเลีย เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เอเชียกลางและเหนื อ โอเชียนเนี ย และสหรัฐอเมริ กา
ปั จจุบนั BlueScope Steel Limited จดทะเบียนใน Australian Stock Exchange (ที่มา: www.bluescopesteel.com)
การผลิตและจัดจําหน่ายในภูมิภาคเอเชียแปซิ ฟิกของ BlueScope Steel Limited อยูภ่ ายใต้การดูแลของส่ วนธุ รกิจ
Asian Building and Manufacturing Markets โดยมีการแบ่งแยกสายธุรกิจของผลิตภัณฑ์เหล็กเคลือบโลหะผสม และสายธุรกิจ
รายงานประจําปี 2553 23
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ของผลิตภัณฑ์แผ่นเหล็กรี ดลอนขึ้นรู ปออกจากกันอย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น ประเทศไทยเป็ นหนึ่ งในฐานการผลิตในเอเชี ย


แปซิ ฟิกซึ่ ง BlueScope Steel Limited ร่ วมทุนกับบริ ษทั ล็อกซเล่ย ์ จํากัด (มหาชน) ในสัดส่ วนร้อยละ 75 และร้อยละ 25
ตามลําดับ จัดตั้งบริ ษทั บลูสโคป ไลสาจท์ (ประเทศไทย) จํากัด (“บลูสโคป ไลสาจท์”) ขึ้นในปี 2531 เพื่อผลิตและจําหน่าย
ผลิตภัณฑ์แผ่นเหล็กรี ดลอนขึ้นรู ป (Rollformer) โดยนําเข้าเหล็กเคลือบก่อน และหลังจากนั้นจึ งจัดตั้งบริ ษทั บลูโสป สตีล
(ประเทศไทย) จํากัด ขึ้นในปี 2538 เพื่อผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์เหล็กเคลือบโลหะผสมทั้งชนิ ดเคลือบสี และไม่เคลือบสี ซึ่ ง
เป็ นวัตถุดิบหลักของผลิตภัณฑ์แผ่นเหล็กรี ดลอนขึ้นรู ป ซึ่ งบลูสโคป ไลสาจท์ ได้สั่งซื้ อวัตถุดิบทั้งหมดจากบลูสโคป สตีล ตั้งแต่
นั้นเป็ นต้นมา ดังนั้น บลูสโคป สตีล และ บลูสโคป ไลสาจท์ จึงเป็ นบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน โดยมีผถู้ ือหุ น้ และกรรมการร่ วมกัน
อย่างไรก็ตาม บลูสโคป สตีล มีนโยบายในการทํารายการซื้ อขายกับ บลูสโคป ไลสาจท์ เสมือนการทํารายการกับบุคคลภายนอก
(Arm's Length Basis) เพื่อสนองต่อนโยบายของบริ ษทั แม่ในการแยกสายธุรกิจออกจากกันอย่างชัดเจน
บลูสโคป สตีล มีนโยบายในการจัดระดับลูกค้าโดยพิจารณาจากปริ มาณการซื้ อและความต่อเนื่ องในการสั่งซื้ อ เพื่อ
กําหนดราคาและเงื่อนไขในการซื้ อขายที่แตกต่างกัน โดยบริ ษทั เป็ นหนึ่ งในสิ บบริ ษทั ในกลุ่มลูกค้าของบลูสโคป สตีลที่ได้รับ
การจัดอันดับเป็ นลูกค้าชั้นดี (red customer) เนื่องมาจาก (1) มีปริ มาณการซื้ อมากกว่า 300 ตันต่อเดือน (คํานวณจากค่าเฉลี่ยการ
ซื้ อสิ นค้าในช่วง 3 เดือนล่าสุ ด) (2) ไม่เคยมีประวัติการผิดนัดชําระหนี้ และ (3) ใช้วตั ถุดิบจาก บลูสโคป สตีล ทั้งหมด ซึ่ งการ
ถูกจัดอยู่ในกลุ่มลูกค้าชั้นดีน้ ี ทาํ ให้ได้เงื่อนไขที่ดีในด้านราคาและระยะเวลาในการจ่ายเงิน บริ ษทั สั่งซื้ อและชําระเงินเป็ นเงิน
บาท ดังนั้นจึงไม่มีความเสี่ ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

แนวโน้ มราคาวัตถุดบิ
ปริ มาณการใช้เหล็กและเหล็กกล้าในประเทศที่สาํ คัญใน ปี 2553 ประมาณ 14,210,985 เมติกตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 44.33
เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน โดยส่ วนหนึ่งเป็ นผลมาจากปี ฐานตํ่า (เนื่องจากในช่วงประมาณต้นปี 2552 – ไตรมาสที่ 3 ปี
2552 ผูป้ ระกอบการยังคงมี ปริ ม าณสิ นค้าคงคลังอยู่จึงทําให้มีค าํ สั่งซื้ อลดลง ส่ งผลให้ผูผ้ ลิ ตลดการผลิ ตลง) ดังนั้นเมื่ อ
เปรี ยบเทียบปริ มาณการใช้ในประเทศของเหล็กในปี 2553 กับ 2552 จึงทําให้ตวั เลขเพิ่มขึ้น สําหรับผลิตภัณฑ์เหล็กที่มีปริ มาณ
การใช้เพิ่มขึ้นมาก คือ เหล็กทรงแบน ร้อยละ 64.74 และเหล็กทรงยาว ร้อยละ 10.87
สถานการณ์เหล็กโดยรวมในปี 2553 เมื่อเทียบกับระยะเดียวกันของปี ก่อน พบว่าการผลิตโดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.10
ความต้องการใช้ในประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 44.33 สําหรับมูลค่าและปริ มาณนําเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 60.32 และ 52.29 ตามลําดับ
โดยเป็ นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของการนําเข้าเหล็กแผ่นบางรี ดร้ อนชนิ ดผ่านการกัดล้างและชุ บนํ้ามัน เพิ่มขึ้นร้ อยละ 136.45
รองลงมาคือ เหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี แบบจุ่มร้อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 117.29 และเหล็กแผ่นเคลือบโครเมียม เพิ่มขึ้นร้อยละ 104.28
เนื่ อ งจากประเทศจี น มี ก ารส่ ง ออกเหล็ก ชนิ ด นี้ ซึ่ งมี ร าคาถู ก กว่า เหล็ก ที่ ผ ลิ ต ในประเทศไทย ส่ ง ผลให้ผูป้ ระกอบการใน
อุตสาหกรรมต่อเนื่ อง เช่น อุตสาหกรรมอาหารกระป๋ อง ใช้วตั ถุดิบที่มาจากจีนมากขึ้น ประกอบกับค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นเมื่อ
เที ยบกับดอลล่าร์ สหรั ฐฯ ส่ งผลให้ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมต่อเนื่ องใช้เหล็กจากต่างประเทศเพิ่มขึ้ น สําหรั บมูลค่าและ
ปริ มาณการส่ งออก เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.52 และ 16.10 ตามลําดับ โดยเป็ นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์เหล็กกึ่งสําเร็ จรู ป
ชนิดอื่นๆ เพิม่ ขึ้นร้อยละ 203.32 ท่อเหล็กไร้ตะเข็บ เพิม่ ขึ้นร้อยละ 118.11 และเหล็กแผ่นรี ดเย็นไร้สนิม เพิม่ ขึ้นร้อยละ 99.17
แนวโน้มอุตสาหกรรมเหล็กในปี 2554 คาดว่าจะสามารถขยายตัวได้อย่างต่อเนื่ อง เนื่ องจากทั้งภาคการก่อสร้างและ
ภาคการผลิ ตคาดว่าจะขยายตัวได้ แม้ว่าแนวโน้มเศรษฐกิ จโลกจะยังอยู่ภายใต้ความผันผวนและปั ญหาค่าเงิ น โดยภาคการ
ก่อสร้างมีโอกาสใหม่ๆ จากการลงทุนของภาครัฐโดยเฉพาะการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ที่ในปี 2553 มีการเปิ ดประมูล
และเตรี ยมงานก่อสร้าง ขณะที่ภาคการผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์จะเป็ นอุตสาหกรรมต่อเนื่ องที่คาดว่าจะขยายตัวได้ในอัตราที่
สู งมากจากการผลิต Eco-car ของหลายบริ ษทั ส่ วนกลุ่มเครื่ องใช้ไฟฟ้ าและกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารกระป๋ อง คาดว่าอาจอยูใ่ น
ระดับที่ทรงๆ ตัวด้วยข้อจํากัดจากฐานการผลิตที่สูงในปี 2553

รายงานประจําปี 2553 24
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ทั้งนี้ แม้วา่ ราคาเหล็กในตลาดโลกมีการปรับขึ้นตามแนวโน้มราคาวัตถุดิบที่ปรับตัวสู งขึ้น แต่บริ ษทั มีนโยบายในการ


รักษาส่ วนแบ่งการตลาด จึงยังคงราคาขายทําให้กาํ ไรขั้นต้นของบริ ษทั ลดลงบ้าง เพื่อให้ลูกค้าเกิดความมัน่ ใจในการบริ การของ
บริ ษทั ตามแนวคิด Solution Provider ในระยะยาว ส่ วนวัตถุดิบอื่นๆ ที่เป็ นผลิตภัณฑ์ที่บริ ษทั จัดจําหน่าย เช่น ฉนวนกันความ
ร้อน สกรู เป็ นสิ นค้าที่มีขายทัว่ ไป ทําให้บริ ษทั มีความยืดหยุน่ สูงในการจัดหา บริ ษทั สามารถสั่งซื้ อจากผูจ้ ดั จําหน่ายหลายรายใน
ประเทศ โดยคัดเลือกจากคุณภาพของสิ นค้าเป็ นหลักสําคัญในการสัง่ ซื้ อ

3.8.2 การผลิตและการติดตั้ง
บริ ษ ัท มี โ รงงานขึ้ นรู ป แผ่นเหล็ก ตั้ง อยู่เ ลขที่ 8 หมู่ 15 ซอยกิ่ ง แก้ว 11 ตํา บลบางพลี ใหญ่ อํา เภอบางพลี จัง หวัด
สมุทรปราการ เนื้ อที่ประมาณ 6 ไร่ ซึ่ งในปั จจุบนั มีกาํ ลังการผลิตหลังคา 13,400 ตันต่อปี หรื อประมาณ 3,000,000 ตารางเมตร
ต่อปี และกําลังการผลิตแปตัว C และ Z รวมประมาณ 2,000 ตันต่อปี หรื อประมาณ 500,000 เมตรต่อปี โดยมีอตั ราการใช้กาํ ลัง
ผลิตดังต่อไปนี้

กําลังผลิตสู งสุ ด การผลิตในปี 2551 การผลิตในปี 2552 การผลิตในปี 2553


ผลิตภัณฑ์ แผ่นหลังคา
(ตร.ม./ปี ) ตร.ม. ร้ อยละ ตร.ม. ร้ อยละ ตร.ม. ร้ อยละ
Metal sheet 3,012,000 900,157 29.89 727,289 24.15 821,884 27.28

กําลังผลิตสู งสุ ด การผลิตในปี 2551 การผลิตในปี 2552 การผลิตในปี 2553


ผลิตภัณฑ์ แป
(ม./ปี ) ม. ร้ อยละ ม. ร้ อยละ ม. ร้ อยละ
CEE-ZED PURLIN 500,000 68,773 13.75 60,913 12.18 60,247 12.05

ขั้นตอนการผลิต

วัตถุดิบ Uncoil Feed Coil Rollform Cutting Finished Goods

กระบวนการผลิตเริ่ มจากนําวัตถุดิบ (เหล็กแผ่นม้วน) ชนิ ดเคลือบสี หรื อไม่เคลือบสี ตามที่ลูกค้าต้องการมาทําการคลี่


ให้เป็ นแผ่น (Uncoil) นํามาป้ อน (Feed Coil) เข้าเครื่ องรี ดลอน (Rollform) เพื่อรี ดให้ได้รูปลอนและขนาดความยาวและจํานวน
แผ่นตามที่ได้รับคําสั่ง แผ่นงานที่ได้จากการรี ดแต่ละแผ่นจะถูกตัด (Cutting) โดยใบตัดรู ปลอน โดยแผ่นหลังคาแต่ละแผ่นจะ
ได้รับการตรวจสอบขนาดและความยาวให้ตรงตามที่ลูกค้าต้องการ ซึ่ งกระบวนการผลิตดังกล่าวใช้ระยะเวลาประมาณ 1 วัน
และจะได้รับการตรวจสอบคุณภาพทุกขั้นตอนตั้งแต่วตั ถุดิบจนถึงผลิตภัณฑ์สาํ เร็ จตามมาตรฐาน ISO 9001: 2008
สิ นค้าส่ วนใหญ่ของบริ ษทั ผลิตตามคําสั่ง (Made-to-order) โดยไม่มีขอ้ จํากัดในด้านความยาวของสิ นค้า เนื่ องจาก
รถบรรทุกขนาดใหญ่สามารถเข้ามารับสิ นค้าในโรงงานได้โดยตรง นอกจากนั้นยังสามารถให้บริ การผลิต ณ สถานที่ติดตั้งของ
ลูกค้าได้ในกรณี ที่ลูกค้าต้องการแผ่นหลังคาที่มีความยาวเกินกว่าที่จะสามารถขนส่ งได้ จากประสบการณ์ในการดําเนิ นธุ รกิจ
มากว่า 10 ปี ทําให้บริ ษทั มีความพร้อมในด้านของบุคลากรและมีความชํานาญในการผลิต โดยผลิตภัณฑ์ได้รับการรับประกันใน
ด้านของคุณภาพของสี และการเกิดสนิ มเป็ นเวลา 5-30 ปี แล้วแต่ชนิ ดของชั้นเคลือบ โดยออกเป็ นใบรับประกันคุณภาพจาก
บริ ษทั บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่ งเป็ นผูจ้ ดั จําหน่ ายวัตถุดิบให้กบั บริ ษทั และได้รับการรับรองมาตรฐานสากล
Australian Standard AS 1397-2001

รายงานประจําปี 2553 25
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

การบริหารงานติดตั้งโครงการ
นอกจากการผลิตแล้ว การติดตั้งโครงการเป็ นส่ วนสําคัญอีกส่ วนหนึ่ งที่ทาํ ให้การให้บริ การของบริ ษทั เกิดความครบ
วงจร ดังนั้นการบริ หารงานติดตั้งจึ งมี ความสําคัญมากในการดําเนิ นธุ รกิจเนื่ องจากเป็ นปั จจัยหลักที่ทาํ ให้ตน้ ทุนการดําเนิ น
โครงการเป็ นไปตามงบประมาณที่กาํ หนดไว้ บริ ษทั ซึ่ งมีแผนจะขยายสัดส่ วนการขายพร้อมติดตั้งให้มากขึ้นในอนาคตและ
ตระหนักดีถึงความจําเป็ นของการควบคุมงานติดตั้ง จึงได้จดั วางระบบการบริ หารงานติดตั้งโครงการดังนี้
1. การสรรหาผูร้ ับเหมาช่วง บริ ษทั มิได้มีทีมงานติดตั้งเป็ นของตนเอง แต่ใช้วิธีการว่าจ้างผูร้ ับเหมาช่วงในการติดตั้ง
งานทั้งหมดเช่นเดียวกับบริ ษทั อื่นๆที่ดาํ เนินธุรกิจแบบเดียวกัน เช่น บลูสโคป ไลสาจท์ เป็ นต้น ซึ่ งทําให้ควบคุมต้นทุนโครงการ
ได้ดีกว่าการว่าจ้างพนักงานประจํา บริ ษทั คัดเลือกผูร้ ับเหมาช่วงโดยพิจารณาจากผลงานที่ผา่ นมา ฐานะการเงิน จํานวนคนงาน
คุณภาพงาน และศักยภาพในการติดตั้ง ณ 31 ธันวาคม 2553 บริ ษทั มีผรู้ ับเหมาช่วงที่ผา่ นการประเมินและคัดเลือกแล้วทั้งหมด
28 ราย ซึ่ งส่ วนใหญ่ดาํ เนิ นธุ รกิจกับบริ ษทั มาเป็ นระยะเวลา 5 ปี ขึ้นไป ทั้งนี้ บริ ษทั มีนโยบายสรรหาผูร้ ับเหมาช่วงเพิ่มเติมอย่าง
ต่อเนื่อง โดยเฉพาะผูร้ ับเหมาช่วงที่มีศกั ยภาพในการรับงานขนาดใหญ่ สอดคล้องกับนโยบายบริ ษทั ในการเพิ่มสัดส่ วนการขาย
พร้อมติดตั้ง
2. การจัดสรรงานให้กบั ผูร้ ับเหมาช่วง เมื่อได้รับงานติดตั้งโครงการ บริ ษทั จะพิจารณาขนาดของงานเทียบกับจํานวน
คนงานของผูร้ ับเหมาช่วงแต่ละราย และเลือกว่าจ้างผูร้ ับเหมาช่วงที่มีศกั ยภาพที่จะรับงานได้ โดยกระจายงานให้ผรู้ ับเหมาช่วง
แต่ละรายอย่างเหมาะสม ไม่พ่ ึงพิงรายใดรายหนึ่ ง ซึ่ งในจํานวนผูร้ ับเหมาช่วงทั้งหมด มี 12 รายที่สามารถรับงานติดตั้งขนาด
ใหญ่ พื้นที่หลังคาประมาณ 5,000 ตารางเมตรขึ้นไป และมีผรู้ ับเหมาช่วงซึ่ งมีความชํานาญในการติดตั้งงานขนาดกลาง จํานวน
16 ราย พื้นที่หลังคาประมาณ 1,500 – 5,000 ตารางเมตร ซึ่ งเป็ นขนาดของงานส่ วนใหญ่ของบริ ษทั ทําให้บริ ษทั สามารถการ
คัดเลือกผูร้ ั บเหมาช่วงให้เหมาะสมกับงานที่ ได้รับ และกรณี ที่มีงานขนาดใหญ่พร้อมกันหลายๆ โครงการ บริ ษทั สามารถให้
ผูร้ ับเหมาช่วงขนาดกลาง 2-3 รายรับงานร่ วมกันได้ ดังนั้นจึงไม่เคยเกิดปัญหาการขาดแคลนผูร้ ับเหมาช่วงในการติดตั้งงาน
3. การควบคุมคุณภาพการติดตั้ง งานติดตั้งทุกงานจะได้รับการควบคุมคุณภาพจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายวิศวกรรมของบริ ษทั
(Site Supervisor) และมีการประเมินผลงานโดยรวมหลังเสร็ จสิ้ นโครงการร่ วมกับเจ้าของโครงการเพื่อให้มน่ั ใจถึงคุณภาพการ
ติดตั้ง โดยผูร้ ับเหมาช่วงมีการรับประกันผลงานหลังการส่ งมอบเป็ นระยะเวลา 1 ปี
4. การควบคุมระยะเวลาติดตั้งให้เป็ นไปตามที่กาํ หนด บริ ษทั กําหนดให้ผรู้ ับเหมาช่วงทุกรายรายงานความคืบหน้า
ของงานทุกๆ 15 วัน ซึ่ งทําให้บริ ษทั สามารถแก้ไขได้ทนั ท่วงทีหากการติดตั้งล่าช้ากว่าแผนที่วางไว้ อย่างไรก็ตามหากความล่าช้า
เกิดจากความผิดพลาดโดยตรงของผูร้ ับเหมาช่วง ผูร้ ับเหมาช่วงจะเป็ นผูร้ ับผิดชอบค่าเสี ยหายที่เกิดขึ้นทั้งหมด

3.8.3 ผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้อม


- ไม่มี –

รายงานประจําปี 2553 26
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

4. ปัจจัยความเสี่ ยง

1. ความเสี่ ยงในการประกอบธุรกิจ

1.1 ความเสี่ ยงจากการพึง่ พาวัตถุดบิ จากบริษัทผู้ผลิตรายใหญ่


บริ ษทั ซื้ อวัตถุดิบหลัก คือ แผ่นเหล็กรี ดเย็นเคลือบสังกะสี ผสมอลูมิเนี ยมชนิ ดเคลือบสี และไม่เคลือบสี ทั้งหมดจาก
บริ ษทั บลูสโคป สตีล (ประเทศไทย) จํากัด (“บลูสโคป สตีล”) คิดเป็ นมูลค่าโดยเฉลี่ยร้อยละ 89.27 ของวัตถุดิบทั้งหมด ดังนั้น
หากบลูสโคป สตีล มีนโยบายยกเลิกการผลิต หรื อหยุดการจําหน่ายสิ นค้าให้แก่บริ ษทั อาจส่ งผลกระทบต่อผลการดําเนิ นงาน
ของบริ ษทั อย่างมีนยั สําคัญ
อย่างไรก็ตาม บลูสโคป สตีล เป็ นผูผ้ ลิตเหล็กแผ่นรี ดเย็นเคลือบสังกะสี ผสมอลูมิเนี ยมรายใหญ่ เป็ นผูผ้ ลิตเหล็กแผ่น
เคลือบสี หนึ่ งในสองรายของประเทศไทย และเป็ นบริ ษทั ลูกของ BlueScope Steel Limited บริ ษทั ผูผ้ ลิตเหล็กรายใหญ่ที่สุดใน
ประเทศออสเตรเลีย กําลังการผลิตแผ่นเหล็กเคลือบทั้งหมดของ บลูสโคป สตีล ปั จจุบนั มีประมาณ 380,000 ตันต่อปี ซึ่ งมีกาํ ลัง
เพิ่มขึ้นจากเดิม เกือบ 100,000 ตัน ทําให้ความเสี่ ยงจากการหยุดจําหน่ายสิ นค้าให้บริ ษทั เนื่องจากสิ นค้าขาดแคลนอยูใ่ นระดับตํ่า
นอกจากนี้ บลูสโคป สตีล จะกําหนดราคาขายและเงื่อนไขในการจ่ายเงินสําหรับลูกค้าแต่ละรายโดยพิจารณาจากปริ มาณการซื้ อ
และความต่อเนื่ องในการสั่งซื้ อ บริ ษทั ซึ่ งทําการค้ากับ บลูสโคป สตีล มาเป็ นเวลานาน โดยได้สั่งซื้ อวัตถุดิบหลักทั้งหมดอย่าง
ต่อเนื่ องมาตั้งแต่ปี 2540 และไม่เคยมีปัญหาในการชําระหนี้ ได้รับการจัดอันดับอยูใ่ นระดับลูกค้าชั้นดี (red customer) ของ
บลูสโคป สตีล โดยยอดขายที่ บลูสโคป สตีลขายให้กบั บริ ษทั คิดเป็ นสัดส่ วนประมาณร้อยละ 4 ของยอดขายรวม และบริ ษทั ยัง
ได้จดั ทําข้อตกลงในการจัดซื้ อวัตถุดิบกับ บลูสโคป สตีล เพื่อความชัดเจนของเงื่อนไขต่าง ๆ ในการสั่งซื้ อ รวมถึงข้อตกลงใน
การใช้ตราสิ นค้า “Steel Supplied by BlueScope Steel” ร่ วมกับตราสิ นค้า “ROLLFORM” ของบริ ษทั ดังนั้น บริ ษทั จึงเชื่อมัน่ ว่า
บลูสโคป สตีล จะยังคงผลิตสิ นค้าที่เป็ นที่รู้จกั ของผูบ้ ริ โภคอย่างต่อเนื่ อง และยังคงนโยบายการจัดจําหน่ ายผลิตภัณฑ์ให้กบั
บริ ษทั ต่อไป อย่างไรก็ตามบริ ษทั สามารถสัง่ ซื้ อวัตถุดิบชนิดเดียวกันจากผูผ้ ลิตในประเทศเกาหลีและญี่ปุ่นได้อีกด้วยย

1.2 ความเสี่ ยงจากคู่แข่ งขันทีเ่ ป็ นบริษัททีเ่ กีย่ วข้ องกับ บลูสโคป สตีล
บลูสโคป สตีล ซึ่ งเป็ นผูจ้ ดั จําหน่ายวัตถุดิบหลักทั้งหมดให้กบั บริ ษทั มีบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องโดยมีผถู้ ือหุ ้นและกรรมการ
ร่ วมกัน คือบริ ษทั บลูสโคป ไลสาจท์ (ประเทศไทย) จํากัด (“บลูสโคป ไลสาจท์”) ซึ่ งก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปี 2531 ดําเนิ นธุรกิจผลิต
และจําหน่ายแผ่นเหล็กเคลือบขึ้นลอนเช่นเดียวกับบริ ษทั โดยใช้วตั ถุดิบจาก บลูสโคป สตีล เช่นเดียวกัน ดังนั้น หาก บลูสโคป
สตีล จัดจําหน่ายให้กบั บลูสโคป ไลสาจท์ ในเงื่อนไขและราคาอันทําให้ บลูสโคป ไลสาจท์ ได้เปรี ยบกว่าเงื่อนไขและราคาที่
บริ ษทั ได้รับ อาจทําให้บริ ษทั ไม่สามารถแข่งขันในตลาดเดี ยวกับ บลูสโคป ไลสาจท์ ได้ และอาจมี ผลกระทบต่อผลการ
ดําเนินงานในอนาคตของบริ ษทั
อย่างไรก็ตาม ผูถ้ ือหุ น้ หลักของทั้งสองบริ ษทั คือ BlueScope Limited ประเทศออสเตรเลีย มีนโยบายในการแยกสาย
ธุ รกิ จการผลิตผลิตภัณฑ์แผ่นเหล็กเคลือบโลหะผสม และสายธุ รกิจการผลิตผลิตภัณฑ์แผ่นเหล็กรี ดขึ้นลอนออกจากกันอย่าง
ชัดเจน ทําให้ บลูสโคป สตีล มีนโยบายการทํารายการซื้ อขายกับ บลูสโคป ไลสาจท์ เสมือนการทํารายการกับบุคคลภายนอก
(Arm's Length Basis) โดยบริ ษทั และบลูสโคป ไลสาจท์ ถูกจัดอยูใ่ นระดับลูกค้าชั้นดี (Red customer) ของบลูสโคป สตีล
เช่นเดียวกัน ทําให้มนั่ ใจได้วา่ เงื่อนไขและราคาที่บริ ษทั และ บลูสโคป ไลสาจท์ ได้รับอยูใ่ นระดับที่ใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตาม
บลูสโคป ไลสาจท์ มีส่วนแบ่งการตลาดของแผ่นเหล็กเคลือบรี ดลอนประมาณร้อยละ 29 ในขณะที่บริ ษทั มีส่วนแบ่งการตลาด
ประมาณร้อยละ 5 ทําให้ บลูสโคป ไลสาจท์ ได้รับราคาที่ต่าํ กว่าเนื่องจากสั่งซื้ อในปริ มาณที่มากกว่า อย่างไรก็ตาม บริ ษทั สร้าง
ความได้เปรี ยบในการแข่งขันโดยเน้นความรวดเร็ วในการให้บริ การ สามารถวางแผนการผลิตเพื่อสนองความต้องการที่เร่ งด่วน

รายงานประจําปี 2553 27
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

และมีการสร้างตราสิ นค้า “ROLLFORM” เพื่อพัฒนาตลาดของตนเอง ให้ลูกค้ารับรู้ถึงภาพรวมของคุณภาพวัตถุดิบและการ


ให้บริ การภายใต้เครื่ องหมายการค้าดังกล่าว ทําให้ลูกค้าของบริ ษทั เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง บริ ษทั ขายงานโครงการพร้อมติดตั้ง
ให้กบั เจ้าของโครงการโดยตรงมากขึ้น และเป็ นโครงการขนาดใหญ่หลายโครงการ จึงทําให้บริ ษทั ขายผ่านผูร้ ับเหมารายเล็ก
ลดลง

1.3 ความเสี่ ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดบิ


ในการดําเนินธุรกิจตามปกติ บริ ษทั จําเป็ นต้องมีการสํารองวัตถุดิบให้เพียงพอกับความต้องการของลูกค้า วัตถุดิบหลัก
ของบริ ษทั คือเหล็กแผ่นเคลือบ คิดเป็ นสัดส่ วนโดยเฉลี่ยร้อยละ 79.52 ของต้นทุนวัตถุดิบทั้งหมด โดยราคาของเหล็กแผ่นเคลือบ
มีความผันผวนตามราคาของเหล็กแผ่นรี ดเย็นซึ่ งเป็ นวัตถุดิบต้นนํ้า ดังนั้นผลประกอบการของบริ ษทั อาจได้รับผลกระทบหาก
ราคาตลาดของวัตถุดิบปรับตัวลดลงตํ่ากว่าต้นทุนวัตถุดิบที่บริ ษทั สํารองไว้ และอาจได้รับผลกระทบหากราคาตลาดของวัตถุดิบ
ปรับตัวขึ้นในขณะที่บริ ษทั สํารองวัตถุดิบไว้นอ้ ยกว่าความต้องการ
อย่างไรก็ตาม บริ ษทั มีการติดตามแนวโน้มราคาวัตถุดิบอย่างต่อเนื่อง ทําให้สามารถปรับกลยุทธ์การสํารองวัตถุดิบให้
เหมาะสม และมีนโยบายปรับราคาขายตามราคาวัตถุดิบ ซึ่ งจะช่วยลดผลกระทบจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบ

1.4 ความเสี่ ยงจากการว่ าจ้ างผู้รับเหมาช่ วงในการติดตั้งงานโครงการ


บริ ษทั มิได้มีทีมงานให้บริ การติดตั้ง แต่ใช้วิธีการว่าจ้างผูร้ ับเหมาช่วงในการติดตั้งผลิตภัณฑ์ในโครงการต่างๆ โดย
สัดส่ วนรายได้จากการขายพร้อมติดตั้งโครงการใน ปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 37.69, 48.96 และ 52.59
ของรายได้รวมตามลําดับ ทั้งนี้การมีสัดส่ วนการขายพร้อมติดตั้งงานโครงการมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทําให้ความเสี่ ยงในควบคุมการ
ติดตั้งเพิ่มขึ้น ซึ่ งต้องควบคุมมากขึ้นในกรณี ที่บริ ษทั ไม่สามารถว่าจ้างผูร้ ับเหมาช่วงได้ หรื อไม่สามารถควบคุมคุณภาพในการ
ติดตั้ง อาจทําให้เกิดความล่าช้าในการติดตั้ง ซึ่ งอาจกระทบต่อผลการดําเนินงานของบริ ษทั อย่างมีนยั สําคัญ
ถึงแม้ว่าบริ ษทั จะมี งานขายพร้ อมติ ดตั้งโครงการลดลง บริ ษทั ยังคงวิธีบริ หารการติดตั้งโครงการที่ สามารถทําให้
ควบคุมค่าใช้จ่ายและคุณภาพของโครงการได้ โดยปัจจัยสําคัญในการบริ หารการติดตั้งโครงการมีดงั ต่อไปนี้
(1) การสรรหาผู้รับเหมาช่ วง ตามปกติแล้ว บริ ษทั ในอุตสาหกรรมการผลิตและจัดจําหน่ ายวัสดุมุงหลังคาจะไม่มี
ที มงานติดตั้งเป็ นของตนเอง แต่จะใช้วิธีการว่าจ้างผูร้ ับเหมาช่วงจากภายนอก ซึ่ งทําให้ควบคุมต้นทุนได้ดีกว่าเนื่ องจากไม่มี
ค่าใช้จ่ายในการว่าจ้างพนักงานประจํา บริ ษทั คัดเลือกผูร้ ับเหมาช่วงโดยพิจารณาจากผลงานที่ผา่ นมาเป็ นประจําทุกปี พิจารณา
จากฐานะการเงิน จํานวนคนงาน คุณภาพงาน และศักยภาพในการติดตั้ง ณ 31 ธันวาคม 2553 บริ ษทั มีผรู้ ับเหมาช่วงที่มีศกั ยภาพ
ในการติดตั้งโครงการขนาดต่างๆ กัน ซึ่ งส่ วนใหญ่ดาํ เนิ นธุ รกิ จกับบริ ษทั มาเป็ นระยะเวลา 5 ปี ขึ้ นไป และผ่านการประเมิ น
คุณภาพแล้วทั้งสิ้ น 28 ราย ทําให้ไม่เกิดการพึ่งพิงผูร้ ับเหมาช่วงเพียงน้อยราย และไม่เคยประสบปั ญหาการขาดแคลนผูร้ ับติดตั้ง
งานหรื อทิ้งงาน
(2) การควบคุมคุณภาพของงานติดตั้ง ซึ่ งหมายถึงการควบคุมคุณภาพงานของผูร้ ับเหมาช่วง บริ ษทั ควบคุมงาน
ติดตั้งโดยการให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิศวกรรม (Site Supervisor) เป็ นผูต้ รวจสอบคุณภาพระหว่างติดตั้งงานทุกโครงการ นอกจากนี้
เมื่องานติดตั้งแล้วเสร็ จ บริ ษทั และผูว้ า่ จ้างจะมีการประเมินผลงานทั้งหมดร่ วมกันอีกครั้งหนึ่ ง เพื่อให้มน่ั ใจถึงคุณภาพโดยรวม
ของผลงาน และผูร้ ับเหมาช่วงจะรับประกันงานหลังจากส่ งมอบเป็ นระยะเวลา 1 ปี
(3) การควบคุมระยะเวลาการติดตั้งให้ แล้ วเสร็จตามที่กําหนด บริ ษทั กําหนดให้ผรู้ ับเหมาช่วงรายงานความคืบหน้า
ในการดําเนินงานให้บริ ษทั ทราบทุกๆ 15 วัน ซึ่ งหากการดําเนินงานล่าช้ากว่าแผนที่กาํ หนด บริ ษทั และผูร้ ับเหมาช่วงจะประชุม
ร่ วมกันเพื่อหาทางแก้ไขอย่างทันท่วงที แต่หากความล่าช้าในการติดตั้งเกิดจากผูร้ ับเหมาช่วง ผูร้ ับเหมาช่วงจะเป็ นผูร้ ับผิดชอบ
ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั้งหมด

รายงานประจําปี 2553 28
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

1.5 ความเสี่ ยงจากการแข่ งขันจากสิ นค้ าทดแทน


ผลิตภัณฑ์หลักที่บริ ษทั ผลิตและจัดจําหน่ายคือแผ่นเหล็กเคลือบสังกะสี ผสมอลูมิเนี ยมขึ้นลอนที่ใช้เป็ นวัสดุมุงหลังคา
และฝาผนัง ซึ่ งสิ นค้าที่ สามารถนํามาใช้งานเพื่อวัตถุประสงค์เดี ยวกันในตลาดมีอยู่หลายประเภท เช่ น กระเบื้ อง แผ่นเหล็ก
เคลือบสังกะสี ลูกฟูก เป็ นต้น ทําให้ผบู้ ริ โภคมีทางเลือกจากสิ นค้าทดแทนที่หลากหลาย นอกจากนั้นราคาของผลิตภัณฑ์ของ
บริ ษทั มีราคาสู งกว่าเมื่อเทียบกับราคาของกระเบื้องหรื อแผ่นเหล็กเคลือบสังกะสี หากผูบ้ ริ โภคนิ ยมเลือกใช้วสั ดุมุงหลังคาและ
ฝาผนังชนิดอื่นแทนผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั อาจทําให้รายได้ของบริ ษทั ในอนาคตลดลงอย่างมีนยั สําคัญ
อย่างไรก็ตาม วัสดุแต่ละชนิ ดมีขอ้ ดีขอ้ เสี ยในการใช้งานแตกต่างกัน คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั ซึ่ งมีความ
คงทนต่อการกัดกร่ อนและการรั่วซึ ม อายุการใช้งานยาวนานสู งสุ ด 30 ปี โดยไม่มีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ติดตั้งได้สะดวก
รวดเร็ ว เป็ นคุณสมบัติที่มีความจําเป็ นต่อการใช้งานในโรงงานอุตสาหกรรมซึ่ งเป็ นกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายของบริ ษทั โดยที่วสั ดุมุง
หลังคาและฝาผนังประเภทอื่ นไม่สามารถทดแทนได้ ดังนั้นบริ ษทั มัน่ ใจว่าความเสี่ ยงจากสิ นค้าทดแทนจะส่ งผลกระทบต่อ
รายได้ของบริ ษทั ในระดับตํ่า ดังจะเห็นได้จากยอดขายของบริ ษทั ซึ่ งเติบโตอย่างต่อเนื่องทุกปี

รายงานประจําปี 2553 29
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

5. โครงสร้ างการถือหุ้นและการจัดการ

5.1 กลุ่มผู้ถือหุ้นทีถ่ ือหุ้นสู งสุ ด 10 รายแรก


บริ ษทั มีทุนจดทะเบียนจํานวน 500 ล้านบาท แบ่งเป็ นหุ น้ สามัญ 500 ล้านหุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท โดยเป็ นหุ ้น
สามัญที่ออกและเรี ยกชําระแล้วจํานวน 50 ล้านบาท

รายชื่อผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ที่มีชื่อปรากฏตามทะเบียนผูถ้ ือหุน้ ณ วันที่ 1 กันยายน 2553 มีดงั ต่อไปนี้

รายชื่อผู้ถือหุ้น จํานวน (หุ้น) ร้ อยละ


1. ครอบครัวอุ่นวรวงศ์* 23,526,900 47.05
2. นางเกษมศรี วรรณโรจน์ 4,241,700 8.48
3. นายณัช หวังมหาพร 3,000,000 6.00
4. นายสุ พจน์ วรรณโรจน์ 1,086,000 2.17
5. นายวิเชียร เจียกเจิม 1,074,200 2.15
6. นายปิ ยภัสสร์ ดรจันแดง 1,000,000 2.00
7. นางวิรุณศรี ใต้ฟ้ายงวิจิตร 894,000 1.79
8. นายทวีพนั ธ์ จันทรพันธ์ 786,400 1.57
9. นายศิริวฒั น์ ใต้ฟ้ายงวิจิตร 745,600 1.49
10. ผูถ้ ือหุ น้ อื่นๆ 13,645,200 27.30
รวมทั้งหมด 50,000,000 100.00
หมายเหตุ : *ครอบครัวอุ่นวรวงศ์ ประกอบด้วย นายประสิ ทธิ์ อุ่นวรวงศ์ ถือหุน้ 13,150,000 หุ น้ , นางรสสุ คนธ์ อุ่นวรวงศ์
ถือหุน้ 10,076,900 หุน้ , นายนนทกร อุ่นวรวงศ์ ถือหุน้ 100,000 หุน้ , นายณัฐกนธ์ อุ่นวรวงศ์ ถือหุน้ 100,000
หุน้ , และ ด.ญ.ปั ณฑ์ชนิต อุ่นวรวงศ์ ถือหุน้ 100,000 หุ น้

5.2 นโยบายการจ่ ายเงินปันผล


บริ ษทั มี นโยบายจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผูถ้ ือหุ ้นในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของกําไรสุ ทธิ หลังหักภาษีเงินได้นิติ
บุคคล และสํารองตามกฎหมาย อย่างไรก็ตาม บริ ษทั อาจกําหนดให้การจ่ายเงินปั นผลมีอตั ราน้อยกว่าอัตราที่กาํ หนดข้างต้นได้
หากบริ ษทั มีความจําเป็ นที่จะต้องนําเงินกําไรสุ ทธิจาํ นวนดังกล่าวมาใช้เพื่อขยายการดําเนินงานของบริ ษทั ต่อไป

รายงานประจําปี 2553 30
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

5.3 การจัดการ

โครงสร้ างองค์ กรของบริษัท สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน) (ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2553)
คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริหาร
หน่วยงานตรวจสอบภายใน
โดยสํานกั งาน บีเค ออดิท แอนด์ คอนซัลแท็น

กรรมการผู้ จัดการ *
นายประสิทธิ์ อุ่นวรวงศ์
เลขานุ การบริษัท

ผู้ ช่วยฝ่ ายบริหาร & นกั ลงทุ นสัมพันธ์

รองกรรมการผู้ จัดการ รองกรรมการผู้ จัดการ รองกรรมการผู้ จัดการ


ฝ่ ายขายและการตลาด * ฝ่ ายบัญชีแ ละการเงิน * ฝ่ ายปฎิบัตกิ าร *
นายสุพ จน์ วรรณโรจน์ นายชัยวัฒน์ ตัง้ สุวรรณพานชิ นายสมชัย วงศ์ร ัตนวิจิตร

ผู้ อาํ นวยการฝ่ ายบริหาร * ผู้ อาํ นวยการฝ่ ายบริหาร *


น.ส.สุร ีร ัตน์ ทองใบ น.ส.สุร ีร ัตน์ ทองใบ

ผู้ จัดการฝ่ ายขาย (Dealer) ผู้ จัดการฝ่ ายขาย (Preject) ผู้ จัดการฝ่ ายทรัพ ยากรมนุ ษย์ ผู้ จัดการฝ่ ายติดตัง้ ผู้ จัดการฝ่ ายจัดซื้อ ผู้ จัดการฝ่ ายผลิต
น.ส.สุร ีร ัตน์ ทองใบ (Acting) น.ส.สุร ีร ัตน์ ทองใบ (Acting) นางนงนุ ช มีสุข นายสานติ ย์ อรุ ณทวีทรัพ ย์ น.ส.สุร ีร ัตน์ ทองใบ (Acting) นายกนกศักดิ์ เปี่ ยมนติ กิ ร

ผู้ จัดการแผนก Dealer ผู้ จัดการแผนกบัญชี ผู้ จัดการแผนกการเงิน ผู้ จัดการแผนก I.T.
น.ส.จารุ ณ ี ชุ มทอง น.ส.ธัญธิตา ธรรมิสกุล นางอาจารีย์ ปิ ยพัฒนเ์ มธิน นายกนกศักดิ์ เปี่ ยมนติ กิ ร (Acting)

หัวหน้าแผนก หัวหน้า หัวหน้าแผนก หัวหน้าแผนก หัวหน้าแผนก หัวหน้าแผนก หัวหน้าแผนก หัวหน้าแผนก หัวหน้าแผนก


หัวหน้าแผนกบัญชี หัวหน้าแผนกติดตัง้
Techinical Support แผนกขาย ประสานงานขาย ทรัพ ยากรมนุ ษย์ ประกันคุณภาพ ซ่ อมบํารุ ง วางแผนการผลิต ผลิต คลังสินค้า
หมายเหตุ : * หมายถึงผู้ บริหารตามนิยามของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
รายงานประจําปี 2553 31
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการและผู้บริหาร

โครงสร้ า งกรรมการมี 4 ชุ ด คื อ คณะกรรมการบริ ษ ัท คณะกรรมการบริ ห าร คณะกรรมการตรวจสอบ และ


คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน โดยมีรายละเอียดดังนี้

คณะกรรมการบริษัท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริ ษทั มีกรรมการทั้งหมดจํานวน 7 ท่าน ประกอบด้วย

ลําดับ รายชื่อ ตําแหน่ ง


1. นายสุ รเดช จันทรานุรักษ์ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ
2. นายประสิ ทธิ์ อุ่นวรวงศ์ กรรมการ
3. นายสุ พจน์ วรรณโรจน์ กรรมการ
4. นางสาวสุ รีรัตน์ ทองใบ กรรมการ
5. นายสมชัย วงศ์รัตนวิจิตร กรรมการ
6. นายเลิศชัย วงค์ชยั สิ ทธิ์ กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ
7. นายนําพล เงินนําโชค กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการผู้มอี าํ นาจลงนามแทนบริษัท มีดงั นี้


นายประสิ ทธิ์ อุ่นวรวงศ์ ลงลายมือชื่อร่ วมกับ นายสุ พจน์ วรรณโรจน์ หรื อนางสาวสุ รีรัตน์ ทองใบ

อํานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการบริษัท


คณะกรรมการมีอาํ นาจและหน้าที่และความรับผิดชอบในการจัดการบริ ษทั ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และ
ข้อ บังคับ ของบริ ษ ัท ตลอดจนมติ ข องที่ ป ระชุ ม ผูถ้ ื อ หุ ้น ที่ ชอบด้ว ยกฎหมายด้ว ยความซื่ อ สัต ย์สุ จ ริ ต และระมัด ระวังรั กษา
ผลประโยชน์ของบริ ษทั โดยสรุ ปอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่สาํ คัญได้ดงั นี้
1. จัดให้มีการประชุมผูถ้ ือหุ ้นเป็ นการประชุมสามัญประจําปี ภายใน 4 เดือนนับแต่วนั สิ้ นสุ ดรอบระยะเวลาบัญชี
ของบริ ษทั
2. จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง
3. จัดให้มีการทํางบดุลและงบกําไรขาดทุนของบริ ษทั ณ วันสิ้ นสุ ดรอบระยะเวลาบัญชีของบริ ษทั ซึ่ งผูส้ อบบัญชี
ตรวจสอบแล้ว และนําเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อพิจารณาและอนุมตั ิ
4. คณะกรรมการอาจมอบอํานาจให้กรรมการคนหนึ่ งหรื อหลายคนหรื อบุคคลอื่นใดปฏิบตั ิการอย่างหนึ่ งอย่างใด
แทนคณะกรรมการได้ โดยอยูภ่ ายใต้การควบคุมของคณะกรรมการหรื ออาจมอบอํานาจ เพื่อให้บุคคลดังกล่าวมี
อํานาจตามที่คณะกรรมการเห็นสมควรและภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่ งคณะกรรมการอาจ
ยกเลิ กเพิ กถอนเปลี่ ยนแปลงหรื อแก้ไขบุ คคลที่ ได้รั บมอบอํานาจหรื อ อํานาจนั้นๆ ได้เมื่ อ เห็ นสมควร ทั้งนี้
คณะกรรมการอาจมอบอํานาจให้ คณะกรรมการบริ หาร มีอาํ นาจหน้าที่ในการปฏิบตั ิงานต่าง ๆ โดยมีรายละเอียด
การมอบอํานาจตามขอบเขตอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริ หาร ซึ่ งการมอบอํานาจนั้นต้องไม่มีลกั ษณะเป็ น

รายงานประจําปี 2553 32
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

การมอบอํานาจที่ทาํ ให้คณะกรรมการบริ หารสามารถพิจารณาและอนุ มตั ิรายการที่คณะกรรมการบริ หารหรื อ


บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งมีส่วนได้เสี ย หรื อมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดทํากับบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย
5. กําหนดเป้ าหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงานและงบประมาณของบริ ษทั ควบคุมกํากับดูแลการบริ หารและการ
จัด การของคณะกรรมการบริ หาร ให้ เ ป็ นไปตามนโยบายที่ ไ ด้รั บ มอบหมาย เว้น แต่ ใ นเรื่ องดัง ต่ อ ไปนี้
คณะกรรมการต้องได้รับมติอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นก่อนการดําเนิ นการ อันได้แก่ เรื่ องที่กฎหมายกําหนดให้
ต้องได้รับมติอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น เช่น การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุ น้ กู้ การขายหรื อโอนกิจการของ
บริ ษทั ทั้งหมดหรื อบางส่ วนที่ สําคัญให้แก่บุคคลอื่น หรื อการซื้ อหรื อรั บโอนกิ จการของบริ ษทั อื่นมาเป็ นของ
บริ ษทั การแก้ไขหนังสื อบริ คณห์สนธิ หรื อข้อบังคับ เป็ นต้น นอกจากนี้ คณะกรรมการยังมีขอบเขตหน้าที่ในการ
กํากับดูแลให้บริ ษทั ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์
อาทิเช่น การทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการซื้ อหรื อขายทรัพย์สินที่สําคัญตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทยหรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั
6. พิจารณาโครงสร้างการบริ หารงาน แต่งตั้งคณะกรรมการบริ หาร ประธานกรรมการบริ หาร และคณะกรรมการอื่น
ตามความเหมาะสม
7. ติดตามผลการดําเนินงานให้เป็ นไปตามแผนงานและงบประมาณอย่างต่อเนื่อง
8. กรรมการจะต้องไม่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริ ษทั หรื อเข้า
เป็ นหุ น้ ส่ วนในห้างหุ น้ ส่ วนสามัญ หรื อเป็ นหุ น้ ส่ วนไม่จาํ กัดความรับผิดในห้างหุ ้นส่ วนจํากัด หรื อเป็ นกรรมการ
ของบริ ษทั เอกชน หรื อบริ ษทั อื่นที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของ
บริ ษทั ไม่วา่ จะทําเพื่อประโยชน์ตนหรื อเพื่อประโยชน์ผอู้ ื่น เว้นแต่จะได้แจ้งให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ ทราบก่อนที่จะมี
มติแต่งตั้ง
9. กรรมการต้องแจ้งให้บริ ษทั ทราบโดยไม่ชกั ช้า หากมีส่วนได้เสี ยไม่วา่ โดยตรงหรื อโดยอ้อมในสัญญาที่บริ ษทั ทํา
ขึ้น หรื อถือหุน้ หรื อหุน้ กูเ้ พิ่มขึ้นหรื อลดลงในบริ ษทั หรื อบริ ษทั ในเครื อ

คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการบริ หารของบริ ษทั มีจาํ นวนทั้งหมด 5 ท่าน ดังต่อไปนี้

ลําดับ รายชื่อ ตําแหน่ ง


1. นายประสิ ทธิ์ อุ่นวรวงศ์ กรรมการผูจ้ ดั การ
2. นายสุ พจน์ วรรณโรจน์ กรรมการบริ หาร
3. นายสมชัย วงศ์รัตนวิจิตร กรรมการบริ หาร
4. นางสาวสุ รีรัตน์ ทองใบ กรรมการบริ หาร
5. นายชัยวัฒน์ ตั้งสุ วรรณพานิช กรรมการบริ หาร

รายงานประจําปี 2553 33
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ขอบเขต หน้ าที่ ความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริหาร


คณะกรรมการบริ หารมีอาํ นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบในการบริ หารงานในเรื่ องเกี่ยวกับการดําเนินงานตามปกติ
ธุระและงานบริ หารของบริ ษทั กําหนดนโยบาย แผนธุรกิจ งบประมาณ โครงสร้างการบริ หารงาน และอํานาจการบริ หารต่าง ๆ
ของบริ ษทั หลักเกณฑ์ในการดําเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ เพื่อเสนอให้ที่ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั
พิจารณาและอนุมตั ิและ/หรื อให้ความเห็นชอบ รวมตลอดถึงการตรวจสอบและติดตามผลการดําเนินงานของบริ ษทั ตามนโยบาย
ที่กาํ หนด โดยสรุ ปอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่สาํ คัญได้ดงั นี้
1. วางแผนและกําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ แผนงาน และโครงสร้างองค์กรและโครงสร้างการบริ หารงาน หลัก
ในการดําเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั ให้สอดคล้องกับสภาพทางเศรษฐกิจและสภาวะการแข่งขันในตลาด เพื่อเสนอให้
คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาอนุมตั ิ
2. วางแผนและกําหนดแผนธุ รกิจ งบประมาณประจําปี และอํานาจการบริ หารงานในสายงานต่างๆ ของบริ ษทั เพื่อ
เสนอให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาอนุมตั ิ
3. ตรวจสอบติ ดตามการดําเนิ นการตามนโยบาย และแนวทางบริ หารงานด้านต่างๆ ของบริ ษทั ที่ กาํ หนดไว้ให้
เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เอื้อต่อสภาพการดําเนินธุรกิจ
4. พิจารณาอนุมตั ิและดําเนิ นการประมูลงานหรื อรับจ้างทําของกับหน่วยงานหรื อบุคคลต่างๆ ในวงเงินไม่เกิน 25
ล้านบาท
5. จ้างและเลิ กจ้างพนักงานระดับผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ยกเว้นในตําแหน่ งกรรมการผูจ้ ัดการหรื อผูบ้ ริ หารที่ ดาํ รง
ตําแหน่งกรรมการบริ ษทั
6. ดูแล และตรวจสอบติดตามผลการดําเนินงานประจําวันของบริ ษทั ตามแผนธุรกิจที่คณะกรรมการได้อนุมตั ิไว้แล้ว
7. ลงนามในเอกสารเบิ กจ่ายเงินจากบัญชี ธนาคารของบริ ษทั ตามเงื่ อนไขและวงเงิ นที่ คณะกรรมการจะพิจารณา
มอบหมายเป็ นคราวๆ ไป
8. ให้มีอาํ นาจในการอนุ มตั ิค่าใช้จ่ายตามที่กาํ หนดไว้ในงบประมาณประจําปี ที่คณะกรรมการบริ ษทั อนุ มตั ิไว้แล้ว
ซึ่ งคณะกรรมการบริ หารสามารถดําเนินการได้โดยไม่จาํ กัดวงเงินอนุมตั ิค่าใช้จ่ายต่างๆ
9. เข้าทําสัญญาใดๆ ที่มีผลผูกพันบริ ษทั ในระยะเวลา ตั้งแต่ 1 ปี ถึง 3 ปี และมีวงเงินไม่เกิน 25 ล้านบาท
10. การลงทุน หรื อการลงทุนในทรัพย์สินฝ่ ายทุน (Capital Expenditure) ในวงเงินไม่เกิน 25 ล้านบาท หรื อตาม
รายการที่กาํ หนดไว้ในงบประมาณประจําปี ที่คณะกรรมการบริ ษทั อนุมตั ิไว้แล้ว
11. การจัดหาแหล่งเงินทุน (Financing) สําหรับการลงทุน หรื อการลงทุนในทรัพย์สินฝ่ ายทุน (Capital Expenditure)
ซึ่ งคณะกรรมการบริ ษทั ได้อนุมตั ิไว้แล้ว หรื อการจัดหาแหล่งเงินทุนเพื่อนํามาใช้ชาํ ระหนี้ (Refinancing) สําหรับ
ภาระหนี้ที่มีอยูแ่ ล้วภายใต้ขอ้ กําหนดและเงื่อนไขที่ดีกว่าเดิม
12. อนุมตั ิค่าตอบแทนพิเศษสําหรับพนักงาน (Bonus) ตามงบประมาณที่คณะกรรมการได้อนุมตั ิไว้แล้ว
13. อนุมตั ิการปรับขึ้นค่าตอบแทนพนักงาน ตามงบประมาณที่คณะกรรมการได้อนุมตั ิไว้แล้ว
14. ปฏิบตั ิหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการเป็ นคราว ๆ ไป
ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ หารอาจมอบอํานาจช่วงให้พนักงานระดับบริ หารของบริ ษทั มีอาํ นาจอนุมตั ิทางการเงินในเรื่ อง
ใดเรื่ องหนึ่งหรื อหลายเรื่ องภายใต้ขอบเขตอํานาจของตนตามที่คณะกรรมการบริ หารพิจารณาเห็นสมควรก็ได้
อนึ่ ง การมอบอํานาจดังกล่าวข้างต้นให้แ ก่คณะกรรมการบริ หารนั้น ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมายและ
กฎระเบี ย บข้อ บัง คับ ของบริ ษ ัท และในกรณี ที่ ก ารดํา เนิ น การใดที่ มี ห รื ออาจมี ผ ลประโยชน์ ห รื อ ส่ ว นได้ส่ ว นเสี ย ของ
กรรมการบริ หารท่านใด หรื อบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามประกาศของคณะกรรมการ ก.ล.ต.) ให้คณะกรรมการบริ หาร

รายงานประจําปี 2553 34
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

นําเสนอเรื่ องดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาต่อไป โดยกรรมการบริ หารท่านนั้น และ


บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง จะไม่มีสิทธิออกเสี ยงลงคะแนนในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ในเรื่ องดังกล่าว
นอกจากนี้ ในกรณี ที่การทํารายการใดเป็ นรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรื อรายการเกี่ยวกับการได้มาหรื อจําหน่ ายไปซึ่ ง
สิ นทรัพย์ของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย แล้วแต่กรณี ตามความหมายที่กาํ หนดตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การทํา
รายการดังกล่าวต้องได้รับการอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น และ/หรื อ ปฏิบตั ิการอื่นใดตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ประกาศ
ดังกล่าวกําหนดไว้ในเรื่ องนั้นๆ ด้วย เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในเรื่ องดังกล่าว

ขอบเขตอํานาจ หน้ าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการ


1. เป็ นผูบ้ ริ หารจัดการธุ รกิจปกติของบริ ษทั ตลอดจนการบริ หารงานประจําวันโดยทัว่ ไปของบริ ษทั ทั้งนี้ เพื่อให้
เป็ นไปตามนโยบายธุรกิจ แผนธุรกิจ และกลยุทธ์ทางธุรกิจที่คณะกรรมการบริ ษทั ได้อนุมตั ิแล้ว
2. มีอาํ นาจอนุมตั ิการทําธุ รกรรมใดๆ ในการดําเนิ นธุ รกิจตามปกติของบริ ษทั รวมถึงการจัดทําข้อเสนอ การเข้าทํา
สัญญา การจัดซื้ อจัดจ้าง โดยมีวงเงินในแต่ละรายการไม่เกิน 10 ล้านบาท หรื อตามระเบียบอํานาจอนุ มตั ิซ่ ึ ง
คณะกรรมการบริ ษทั จะกําหนดเป็ นคราวๆ ไป
3. มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบในการบริ หารงานและดําเนิ นงานของบริ ษทั ให้ฝ่ายจัดการและพนักงานของ
บริ ษทั ตามโครงสร้างองค์กรที่คณะกรรมการบริ ษทั ได้อนุมตั ิไว้ ทั้งนี้ โดยสอดคล้องกับกฎหมาย และกฎระเบียบ
ข้อบังคับของบริ ษทั
4. มีอาํ นาจในการมอบอํานาจช่วง และ/หรื อมอบหมายให้บุคคลอื่นปฏิบตั ิงานอย่างใดอย่างหนึ่งหรื อหลายอย่างแทน
กรรมการผูจ้ ดั การได้ตามขอบเขตอํานาจที่กรรมการผูจ้ ดั การได้รับตามข้อกําหนดนี้ หรื อตามกฎหมาย โดยการ
มอบอํานาจช่วง ทั้งนี้ การมอบหมายดังกล่าวจะต้องปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับบริ ษทั คําสั่ง หรื อมติ
ที่คณะกรรมการของบริ ษทั และ/หรื อบริ ษทั ได้กาํ หนดไว้
5. มีอาํ นาจจ้าง แต่งตั้ง โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง กําหนดอัตราค่าจ้างของพนักงานทั้งหมดของบริ ษทั ในตําแหน่งตํ่า
กว่าระดับผูบ้ ริ หาร ตลอดจนแต่งตั้งตัวแทนฝ่ ายนายจ้างในคณะกรรมการกองทุนสํารองเลี้ยงชีพของบริ ษทั
6. มี อาํ นาจออกคําสั่ง ระเบี ยบ ประกาศ บันทึ ก เกี่ ยวกับการปฏิ บตั ิ งานของพนักงาน ลูกจ้างเพื่อให้เป็ นไปตาม
นโยบายของบริ ษทั และเพื่อปกป้ องผลประโยชน์ของบริ ษทั และเพื่อรักษาระเบียบวินยั การทํางานภายในองค์กร
7. ปฏิบตั ิหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นคราว ๆ ไป
ทั้งนี้ การปฏิบตั ิหน้าที่และการดําเนิ นงานของกรรมการผูจ้ ดั การจะอยูภ่ ายใต้การกํากับดูแลของคณะกรรมการ เพื่อให้
การปฏิบตั ิเป็ นไปตามนโยบายของคณะกรรมการบริ ษทั และอยู่ภายใต้กฎหมาย กฎระเบี ยบ และข้อบังคับของบริ ษทั โดยให้
กรรมการผูจ้ ดั การมีหน้าที่ตอ้ งรับนโยบายของคณะกรรมการบริ ษทั ไปปฏิบตั ิ พร้ อมทั้งรายงานผลการดําเนิ นงานของบริ ษทั
ประจําปี โดยตรงต่อคณะกรรมการบริ ษทั
ในการดําเนิ นการของกรรมการผูจ้ ัดการตามที่ ได้รับมอบอํานาจดังกล่าวข้างต้น หากมี กฎหมาย กฎระเบี ยบ หรื อ
ข้อบังคับบริ ษทั ซึ่ งกําหนดขอบเขตหรื อ แนวทางการใช้อาํ นาจของกรรมการผูจ้ ดั การไว้เป็ นการเฉพาะ ให้กรรมการผูจ้ ดั การนั้น
ต้องอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมายและกฎระเบียบข้อบังคับของบริ ษทั ดังกล่าว โดยในกรณี ที่การดําเนิ นการใดที่กรรมการ
ผูจ้ ดั การมีหรื ออาจมี ผลประโยชน์หรื อส่ วนได้ส่วนเสี ย หรื อเป็ นการดําเนิ นการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ตาม
ความหมายของประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรรมการผูจ้ ดั การไม่มีอาํ นาจอนุ มตั ิการ
ดําเนิ นการดังกล่าว โดยกรรมการผูจ้ ดั การจะต้องนําเสนอเรื่ องดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั
พิจารณาต่อไป

รายงานประจําปี 2553 35
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

นอกจากนี้ ในกรณี ที่เป็ นการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรื อรายการเกี่ยวกับการได้มาหรื อจําหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ของ


บริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย แล้วแต่กรณี ตามความหมายที่ กาํ หนดตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย การทํารายการ
ดังกล่าวต้องได้รับการอนุ มตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั หรื อที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น และ/หรื อ ปฏิบตั ิการอื่นใดตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการตามที่ประกาศดังกล่าวกําหนดไว้ เพื่อให้เกิดความโปร่ งใส และคุม้ ครองประโยชน์ของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั

คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั มีจาํ นวนทั้งหมด 3 ท่าน ดังต่อไปนี้

ลําดับ รายชื่อ ตําแหน่ ง


1. นายสุ รเดช จันทรานุรักษ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ
2. นายเลิศชัย วงค์ชยั สิ ทธิ์ กรรมการตรวจสอบ
3. นายนําพล เงินนําโชค กรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) ของบริ ษทั ทั้ง 3 คน มีความเป็ นอิสระตามนิ ยามความเป็ นอิสระของ
กรรมการอิสระ ดังต่อไปนี้
1. กรรมการที่ถือหุน้ ไม่เกิน 5% ของจํานวนหุน้ ที่มีสิทธิออกเสี ยง ในบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม หรื อ
บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง
2. กรรมการที่ไม่เป็ นลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึ กษา หรื อผูม้ ีอาํ นาจควบคุม ของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั
ร่ วม หรื อ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง
3. กรรมการที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิ ต ทางการสมรส หรื อ โดยการจดทะเบียนตามกฎหมายกับบุคคลที่อาจ
มีความขัดแย้ง
4. กรรมการที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจกับ บริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม หรื อ บุคคลที่อาจมีความ
ขัดแย้ง ในลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระ
5. กรรมการที่ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทาํ ให้ ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริ ษทั

ขอบเขตอํานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ


คณะกรรมการตรวจสอบมีอาํ นาจหน้าที่ดงั ต่อไปนี้
1. สอบทานให้บริ ษทั มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ
2. สอบทานให้บริ ษทั มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal
audit) ที่เหมาะสมและมีประสิ ทธิผล และพิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจน
ให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรื อหน่วยงาน
อื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน
3. สอบทานให้บ ริ ษ ัท ปฏิ บ ัติ ต ามกฎหมายว่า ด้ว ยหลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ ข้อ กํา หนดของตลาด
หลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั

รายงานประจําปี 2553 36
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่ งมีความเป็ นอิสระเพื่อทําหน้าที่เป็ นผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั และเสนอ


ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่ วมประชุมกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่ วมประชุม
ด้วยอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง
5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็ นไปตามกฎหมายและ
ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลเป็ นประโยชน์สูงสุ ดต่อ
บริ ษทั
6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจําปี ของบริ ษทั ซึ่ งรายงานดังกล่าว
ต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้
6.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็ นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริ ษทั
6.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั
6.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของ
ตลาดหลักทรัพย์ หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั
6.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี
6.5 ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์
6.6 จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่ วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่
ละท่าน
6.7 ความเห็นหรื อข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบตั ิหน้าที่ตามกฎบัตร
(charter)
6.8 รายการอื่นที่เห็นว่าผูถ้ ือหุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความ
รับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั
7. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริ ษทั มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการกําหนดค่ าตอบแทน
บริ ษทั มีคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน 3 ท่าน ดังต่อไปนี้

ลําดับ รายชื่อ ตําแหน่ ง


1. นายเลิศชัย วงค์ชยั สิ ทธิ์ ประธานกรรมการกําหนดค่าตอบแทน
2. นายนําพล เงินนําโชค กรรมการกําหนดค่าตอบแทน
3. นายประสิ ทธิ์ อุ่นวรวงศ์ กรรมการกําหนดค่าตอบแทน

ขอบเขตอํานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการกําหนดค่ าตอบแทน


คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนมีอาํ นาจหน้าที่ดงั ต่อไปนี้
1. ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ตาม Performance
ของแต่ละปี

รายงานประจําปี 2553 37
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

2. พิจารณาค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการ คณะอนุ กรรมการ ซึ่ งรวมถึงค่าตอบแทนรายเดือน ค่าเบี้ยประชุม


โบนัสประจําปี และผลประโยชน์อื่นๆ ทั้งที่ เป็ นตัวเงิ นและมิ ใช่ ตวั เงิน โดยมีหลักเกณฑ์หรื อวิธีการ และ
โครงสร้างที่เป็ นธรรมและสมเหตุสมผล และเสนอที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ
3. พิจารณาค่าตอบแทนให้แก่กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ซ่ ึ งรวมถึง ค่าจ้าง เงินรางวัลประจําปี และผลประโยชน์อื่นๆ
ทั้งที่เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงิน โดยมีหลักเกณฑ์หรื อวิธีการ และโครงสร้างที่เป็ นธรรมและสมเหตุสมผล
4. พิจารณาทบทวนค่าตอบแทนของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ โดยพิจารณาตาม
ผลการปฏิบตั ิงาน ผลการดําเนินงานของบริ ษทั แนวปฏิบตั ิในอุตสาหกรรมและบริ ษทั จดทะเบียนชั้นนําใน
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบ
5. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการมอบหมาย

เลขานุการบริษัท (Company Secretary)


เพื่อให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฉบับใหม่ ที่ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 2/2551 เมื่อ
วันที่ 14 พฤษภาคม 2551 มีมติแต่งตั้งเลขานุการบริ ษทั ได้แก่ นางสาวรัติมา งามสง่า โดยให้มีผลตั้งแต่วนั ที่ 1 กันยายน 2551
เป็ นต้นไป เพื่อรับผิดชอบดําเนินการดังต่อไปนี้
1. จัดทําและเก็บรักษาเอกสารดังต่อไปนี้
ก. ทะเบียนกรรมการ
ข. หนังสื อนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการและรายงานประจําปี ของบริ ษทั
ค. หนังสื อนัดประชุมผูถ้ ือหุน้ และรายงานการประชุมผูถ้ ือหุน้
2. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสี ยที่รายงานโดยกรรมการหรื อผูบ้ ริ หาร
3. ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด

การสรรหากรรมการและผู้บริหาร
บริ ษทั ไม่มีคณะกรรมการสรรหากรรมการและผูบ้ ริ หารโดยเฉพาะ ทั้งนี้ ในการคัดเลือกบุคคลที่จะได้รับการแต่งตั้ง
เป็ นกรรมการ จะพิจารณาจากคุณสมบัติ ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และเวลาที่จะเข้าร่ วมประชุมกับคณะกรรมการ
บริ ษทั โดยสมํ่าเสมอ ทั้งนี้ ที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ จะเป็ นผูแ้ ต่งตั้งกรรมการโดยใช้เสี ยงข้างมากตามหลักเกณฑ์และวิธีการต่อไปนี้
1. ผูถ้ ือหุน้ คนหนึ่งมีคะแนนเสี ยงเท่ากับ 1 หุน้ ต่อ 1 เสี ยงตามจํานวนหุน้ ที่ตนถือ
2. ในการเลือกตั้งกรรมการบริ ษทั วิธีการออกเสี ยงลงคะแนน อาจใช้การลงคะแนนเสี ยงให้แก่ผไู้ ด้รับการเสนอชื่อ
เป็ นรายบุ ค คล หรื อ หลายคนในคราวเดี ย วกัน แล้ว แต่ ที่ ป ระชุ ม ผูถ้ ื อ หุ ้น จะเห็ น สมควร แต่ ใ นการออกเสี ย ง
ลงคะแนนหรื อมีมติใดๆ ผูถ้ ือหุ น้ แต่ละคนจะใช้สิทธิ ตามคะแนนเสี ยงที่มีอยูท่ ้ งั หมดตามข้อ 1 แต่จะแบ่งคะแนน
เสี ยงให้แก่ผใู้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้
3. การออกเสี ยงลงคะแนนเพื่อการเลือกตั้งกรรมการ จะต้องเป็ นไปตามคะแนนเสี ยงส่ วนใหญ่ หากมีคะแนนเสี ยง
เท่ากัน ให้ผทู้ ี่เป็ นประธานที่ประชุมมีเสี ยงชี้ขาดเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสี ยง

ผู้บริหารบริษัท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริ ษทั มีผบู้ ริ หารจํานวน 8 ท่าน ดังต่อไปนี้

รายงานประจําปี 2553 38
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ลําดับ รายชื่อ ตําแหน่ ง


1. นายประสิ ทธิ์ อุ่นวรวงศ์ กรรมการผูจ้ ดั การ
2. นายสุ พจน์ วรรณโรจน์ รองกรรมการผูจ้ ดั การฝ่ ายขายและตลาด
3. นายชัยวัฒน์ ตั้งสุ วรรณพานิช รองกรรมการผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน
4. นายสมชัย วงศ์รัตนวิจิตร รองกรรมการผูจ้ ดั การฝ่ ายปฏิบตั ิการ
5. นางสาวสุ รีรัตน์ ทองใบ ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายบริ หาร
6. นายกนกศักดิ์ เปี่ ยมนิติกร ผูจ้ ดั การฝ่ ายผลิต
7. นายสานิตย์ อรุ ณทวีทรัพย์ ผูจ้ ดั การฝ่ ายติดตั้ง
8. นางนงนุช มีสุข ผูจ้ ดั การฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์

5.4 ค่ าตอบแทนผู้บริหาร

(1) ค่ าตอบแทนทีเ่ ป็ นตัวเงิน

ค่ าตอบแทนรวมของกรรมการ

ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553


ค่าตอบแทนรวมของกรรมการบริ ษทั ทุกคนในฐานะกรรมการ 541,016 1,161,971 436,930
จํานวนกรรมการบริ ษทั (ราย) 8 7 7
หมายเหตุ: ในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี 2553 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2553 มีมติให้เสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ พิจารณาการจ่าย
ค่าตอบแทนกรรมการบริ ษทั ดังนี้
เบี้ยประชุมคณะกรรมการ: ประธานกรรมการ 6,000 บาท/ครั้งการเข้าประชุม
กรรมการ 4,000 บาท/ครั้งการเข้าประชุม
เบี้ยประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ: ประธานกรรมการตรวจสอบ 5,000 บาท/ครั้งการเข้าประชุม
กรรมการตรวจสอบ 3,000 บาท/ครั้งการเข้าประชุม
เบี้ยประชุมคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน : ประธานกรรมการกําหนดค่าตอบแทน 3,000 บาท/ครั้งการเข้าประชุม
กรรมการกําหนดค่าตอบแทน 2,000 บาท/ครั้งการเข้าประชุม
(2) ค่ าตอบแทนอืน่
ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2548 ที่ประชุมมีมติให้จดั ตั้งกองทุนสํารองเลี้ยง
ชี พในนามบริ ษทั สําหรับพนักงานบริ ษทั โดยแต่งตั้งให้บริ ษทั อเมริ กนั อินเตอร์ เนชัน่ แนล แอสชัวรั นส์ จํากัด เป็ นผูจ้ ดั การ
กองทุน โดยเริ่ มตั้งแต่วนั ที่ 26 พฤษภาคม 2548 เป็ นต้นมา พนักงานจะจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 3 ของเงินเดือนทุกเดือน
ในขณะที่บริ ษทั จะจ่ายเงินสมทบในอัตราร้อยละ 3 ของเงินเดือนทุกเดือน

5.5 การกํากับดูแลกิจการ
คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีนโยบายปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยได้จดั ทํานโยบายการกํากับดูแลกิจการ
ซึ่ งจัดหมวดหมู่ออกเป็ น 5 หมวดตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสาํ หรับบริ ษทั จดทะเบียน ปี 2549 ของตลาดหลักทรัพย์แห่ ง
ประเทศไทย ทั้งนี้ การกําหนดบทบัญญัติต่างๆ จะยึดให้เป็ นแนวทางที่ปฏิบตั ิได้จริ ง นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังได้นาํ หลักการกํากับ

รายงานประจําปี 2553 39
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ดูแ ลกิ จการที่ ดีมาใช้เป็ นแนวทางพัฒนานโยบาย เพื่อให้การบริ หารงาน และการดําเนิ นธุ ร กิ จ ของบริ ษ ทั ฯ เป็ นไปอย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพและโปร่ งใส อันจะเป็ นการให้ความคุม้ ครอง และเพิ่มความเชื่อมัน่ แก่ผถู้ ือหุ น้ นักลงทุน พนักงาน และผูเ้ กี่ยวข้อง
ทุกฝ่ าย โดยมีแนวทางปฏิบตั ิในแต่ละหมวดดังต่อไปนี้

หมวดที่ 1 สิ ทธิของผู้ถือหุ้น
บริ ษทั ฯ ได้กาํ หนดนโยบายในการกํากับดูแลกิจการ โดยคํานึ งถึงสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ ้น เพื่อสร้างความมัน่ ใจว่าผูถ้ ือ
หุ ้นทุกรายได้รับสิ ทธิ พ้ืนฐานต่างๆ อันได้แก่ การซื้ อขายหรื อโอนหุ ้น การได้รับส่ วนแบ่งผลกําไรจากบริ ษทั ฯ การ
ได้รับข้อมูลของบริ ษทั ฯ อย่างเพียงพอ การเข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุ น้ การแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมอย่างเป็ นอิสระ
การมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจในเรื่ องสําคัญของบริ ษทั ฯ ทั้งนี้ ผถู้ ือหุ ้นทุกรายมีสิทธิ ออกเสี ยงตามจํานวนหุ ้นที่ถืออยู่
แต่ละหุน้ มีสิทธิออกเสี ยงหนึ่งเสี ยง โดยได้ดาํ เนินการดังต่อไปนี้
1. เผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารที่สาํ คัญ และจําเป็ นสําหรับผูถ้ ือหุ ้นอย่างสมํ่าเสมอ โดยผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ และ
ระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ฯ
2. จัดส่ งหนังสื อนัดประชุมที่ระบุวนั เวลา สถานที่จดั ประชุม และวาระการประชุมพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องให้ผถู้ ือ
หุ ้นอย่างครบถ้วน ได้แก่ แผนที่ ของสถานที่ จดั ประชุ ม รายละเอียดของข้อมูลแต่ละวาระการประชุ ม รายงาน
ประจําปี แบบหนังสื อมอบฉันทะ และข้อมูลเกี่ยวกับกรรมการอิสระ เพื่อให้ผถู้ ือหุ น้ สามารถเลือกที่จะมอบฉันทะ
ให้เข้าประชุมแทนได้ ซึ่ งในหนังสื อนัดประชุมจะแจ้งรายละเอียดของเอกสารที่ผถู้ ือหุ น้ จะต้องนํามาแสดงในวัน
ประชุมด้วย รวมถึงข้อบังคับบริ ษทั ในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับการประชุมผูถ้ ือหุน้
3. เผยแพร่ ขอ้ มูลต่างๆ เกี่ยวกับวาระการประชุมผูถ้ ือหุ น้ ล่วงหน้าประมาณ 30 วัน ผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ เพื่อ
เปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุ น้ ได้มีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการประชุมล่วงหน้าอย่างเพียงพอ
4. ก่อนเริ่ มการประชุม ประธานกรรมการแจ้งจํานวน/สัดส่ วนผูถ้ ือหุ ้นที่เข้าประชุม ทั้งที่มาด้วยตนเองและรับมอบ
ฉันทะ จากนั้นชี้แจงวิธีการลงคะแนนเสี ยงและนับคะแนนเสี ยง โดยจัดให้มีคณะกรรมการตรวจนับคะแนน ซึ่ ง
ประกอบด้วย กรรมการอิ สระ ผูส้ อบบัญชี และเจ้าหน้าที่ ของบริ ษทั ฯ ดําเนิ นการตรวจนับคะแนนเพื่อความ
โปร่ งใส และแสดงผลสรุ ปของคะแนนเสี ยงทุกวาระในห้องประชุม
5. เปิ ดโอกาสให้ผูถ้ ือหุ ้นมี ส่วนร่ วมในระหว่างการประชุ ม โดยให้ผูถ้ ือหุ ้นได้ซักถามในประเด็นต่างๆ ที่เป็ นข้อ
สงสัย หรื อแสดงข้อคิดเห็นเพิ่มเติมได้ ก่อนที่จะลงคะแนนและสรุ ปมติที่ประชุมของแต่ละวาระ โดยที่กรรมการ
และกรรมการบริ หารที่ดาํ รงตําแหน่งเฉพาะเรื่ องต่างๆ จะร่ วมชี้แจงรายละเอียด และตอบข้อซักถามของผูถ้ ือหุ ้น
ด้วย
6. ให้สิทธิ ผถู้ ือหุ ้นที่มาร่ วมประชุมผูถ้ ือหุ ้นภายหลังเริ่ มการประชุมแล้วมีสิทธิ ออกเสี ยงหรื อลงคะแนนในระเบียบ
วาระที่อยูร่ ะหว่างการพิจารณาและยังไม่ได้ลงมติ
7. กรรมการทุกคนเข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุ น้ โดยผูถ้ ือหุ น้ สามารถซักถามประธานคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ในเรื่ อง
ที่เกี่ยวข้องได้
8. ดํา เนิ น งานอย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการสร้ า งความเจริ ญ เติ บ โตอย่า งยัง่ ยืน แก่ อ งค์ก ร เพื่ อ ให้ผูถ้ ื อ หุ ้ น ได้รั บ
ผลตอบแทนที่เหมาะสม

หมวดที่ 2 การปฏิบัตติ ่ อผู้ถือหุ้นอย่างเท่ าเทียมกัน


บริ ษทั ฯ คํานึงถึงผูถ้ ือหุน้ ทุกราย ทั้งผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ และผูถ้ ือหุน้ รายย่อย สนับสนุนให้ได้รับการปฏิบตั ิที่เท่าเทียม
กันและเป็ นธรรม โดยได้ดาํ เนินการดังต่อไปนี้

รายงานประจําปี 2553 40
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

1. เปิ ดโอกาสให้ผูถ้ ื อ หุ ้น มี สิ ท ธิ ที่ จ ะเสนอเพิ่ ม วาระการประชุ ม และเสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่อ เข้ารั บ การเลื อ กตั้ง เป็ น
กรรมการในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจําปี ก่อนที่จะส่ งหนังสื อนัดประชุม โดยแจ้งวิธีการและกําหนด
ระยะเวลาสิ้ นสุ ดในการให้สิทธิผา่ นระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ฯ
2. ดําเนิ นการประชุมโดยเรี ยงตามวาระที่ระบุในหนังสื อนัดประชุม (ไม่มีการสลับวาระ) และไม่มีการเพิ่มวาระเพื่อ
พิจารณาอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในหนังสื อนัดประชุม (ไม่มีวาระจร)
3. นําเสนอข้อมูลของกรรมการอิสระเพื่อเป็ นทางเลือกในการมอบฉันทะของผูถ้ ือหุ ้น และสนับสนุนให้ใช้หนังสื อ
มอบฉันทะรู ปแบบที่สามารถกําหนดทิศทางการลงคะแนนเสี ยงได้
4. จัดให้มีบตั รลงคะแนนเสี ยงในแต่ละวาระ สําหรับผูถ้ ือหุ ้นใช้ในการลงคะแนนเสี ยง โดยเฉพาะสําหรับผูถ้ ือหุ ้นที่
ไม่เห็นด้วยและงดออกเสี ยง เพื่อให้ผถู้ ือหุ ้นสามารถใช้สิทธิ ออกเสี ยงในแต่ละเรื่ องได้อย่างเป็ นอิสระ โดยเมื่อจบ
การประชุมผูถ้ ือหุน้ สามารถขอตรวจสอบรายละเอียดได้
5. เปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุน้ มีทางเลือกในการใช้สิทธิออกเสี ยงเลือกกรรมการที่เสนอแต่งตั้งเป็ นรายคน
6. กําหนดแนวทางในการรักษาข้อมูลอันเป็ นความลับของบริ ษทั ฯ ไว้ในจรรยาบรรณทางธุ รกิจของบริ ษทั ฯ เพื่อให้
กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานในองค์กรถือปฏิบตั ิ ทั้งนี้เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบใดๆ ต่อบริ ษทั ฯ
7. กําหนดแนวทางปฏิ บตั ิสําหรั บกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน เกี่ ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ไว้ใน
จรรยาบรรณทางธุรกิจของบริ ษทั ฯ ทั้งนี้เพื่อรักษาผลประโยชน์อนั ชอบธรรมของบริ ษทั ฯ

หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มสี ่ วนได้ เสี ย


บริ ษทั ฯ ได้กาํ หนดนโยบายให้มีการปฏิบตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยแต่ละกลุ่ม ซึ่ งได้แก่ ผูถ้ ือหุ ้นและผูล้ งทุน ลูกค้า คู่คา้
และ/หรื อเจ้าหนี้ คู่แข่งทางการค้า พนักงาน รัฐบาล ชุมชนและสังคม ตามสิ ทธิ เป็ นลายลักษณ์อกั ษรไว้อย่างชัดเจนใน
จรรยาบรรณทางธุรกิจ และนโยบายกํากับดูแลกิจการของบริ ษทั ฯ เพื่อส่ งเสริ มให้เกิดความร่ วมมือระหว่างบริ ษทั กับผู้
มีส่วนได้เสี ยในการสร้างความมัง่ คัง่ ความมัน่ คงทางการเงิน และความยัง่ ยืนของกิจการ
การปฏิบัตติ ่ อผู้มสี ่ วนได้ เสี ย
1. ผูถ้ ือหุน้ และผูล้ งทุน
บริ ษทั ฯ มีนโยบายในการดําเนินธุรกิจอย่างซื่ อสัตย์สุจริ ต มีคุณธรรม และจริ ยธรรม และพยายามที่จะพัฒนา
กิจการให้เจริ ญเติบโตก้าวหน้า มีผลประกอบการที่ดี เพื่อสร้างผลตอบแทนที่เหมาะสมให้กบั การลงทุนของผูถ้ ือ
หุน้ และผูล้ งทุนอย่างต่อเนื่องและยัง่ ยืน โดยยึดหลักการการปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุ น้ อย่างเท่าเทียมกัน
2. ลูกค้า
บริ ษทั ฯ ตระหนักถึงความพึงพอใจของลูกค้าเป็ นสําคัญ จึงได้นาํ มาตรฐาน ISO 9001:2000 เข้ามาใช้ใน
องค์กร โดยได้กาํ หนดนโยบายคุณภาพไว้วา่ “บริ ษทั ฯ จะผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานเดียวกัน มีการ
พัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ลกู ค้าได้รับความพึงพอใจสูงสุ ด”
3. คู่คา้ และ/หรื อเจ้าหนี้
บริ ษทั ฯ มีนโยบายที่จะสร้างความสัมพันธ์ที่ดีทางธุรกิจกับคู่คา้ และ/หรื อเจ้าหนี้ ดําเนินธุรกิจบนพื้นฐานของ
ความเกื้ อหนุ นที่ เป็ นธรรมต่อทั้งสองฝ่ าย ให้การปฏิ บตั ิ ต่อคู่คา้ และ/หรื อเจ้าหนี้ อย่างเสมอภาค โดยคํานึ งถึ ง
ประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั ฯ หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่ทาํ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทั้งปฏิบตั ิตาม
พันธสัญญาอย่างเคร่ งครัด เพื่อบรรลุผลประโยชน์ร่วมกัน

รายงานประจําปี 2553 41
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

4. คู่แข่งทางการค้า
บริ ษทั ฯ มีนโยบายที่จะปฏิบตั ิต่อคู่แข่งทางการค้า โดยตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของกติกาการแข่งขันที่ยตุ ิธรรม ไม่
แสวงหาข้อมูลที่เป็ นความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริ ต หรื อไม่เหมาะสม
5. พนักงาน
บริ ษทั ฯ นั้นให้ความสําคัญกับพนักงาน ซึ่ งเป็ นทรัพยากรที่สาํ คัญของบริ ษทั ฯ ซึ่ งจะมีส่วนช่วยส่ งเสริ ม และ
ผลักดันให้องค์กรบรรลุถึ งเป้ าหมายในการดําเนิ นธุ ร กิ จ ดังนั้นบริ ษทั ฯ จึ งมี นโยบายที่ จะดูแลพนักงานให้มี
คุณภาพชีวติ ที่ดี โดยมีสภาพการจ้างที่ยตุ ิธรรม มีสวัสดิการที่เหมาะสม มีโอกาสที่จะพัฒนาความก้าวหน้า รวมทั้ง
มีสภาพการทํางานที่ปลอดภัยและถูกสุ ขอนามัย
6. รัฐบาล
บริ ษทั ฯ ดําเนิ นธุ รกิจเพื่อการเสริ มสร้างและพัฒนาความเจริ ญก้าวหน้าของประเทศ โดยยึดถือปฏิบตั ิตาม
กฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง และเป็ นไปตามครรลองประเพณี ธุรกิจทัว่ ไป
7. ชุมชนและสังคม
บริ ษ ทั ฯ ดําเนิ นธุ ร กิ จ โดยมี ส่ วนร่ วมรั บ ผิดชอบต่อ ชุ มชน สัง คม โดยให้ความสํา คัญ กับ การปฏิ บ ัติต าม
มาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับความปลอดภัย ความมัน่ คง สุ ขอนามัย และสิ่ งแวดล้อมอย่างถูกต้องเหมาะสม และ
คํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม

หมวดที่ 4 การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส


บริ ษทั ฯ ให้ความสําคัญในเรื่ องการเปิ ดเผยข้อมูลสําคัญที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั ฯ ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่
มิ ใช่ ขอ้ มูลทางการเงิ นอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และโปร่ งใส ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เช่ น รายงาน
ประจําปี แบบ 56-1 หนังสื อเชิญและรายงานการประชุมผูถ้ ือหุ ้น โดยผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศ
ไทย และเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ โดยมีการปรับปรุ งข้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั อย่างสมํ่าเสมอ
บริ ษทั ฯ ได้ยึดถื อปฏิ บตั ิ ตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ ที่ กาํ หนดโดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหน่วยงานอื่นของรัฐอย่างเคร่ งครัด เช่น
1. การเปิ ดเผยข้อมูลทางการเงิน โดยเฉพาะในส่ วนของงบการเงินนั้น มีความถูกต้อง เป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชี
ที่รับรองโดยทัว่ ไป ได้ผา่ นการตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีที่เป็ นอิสระว่าถูกต้องตามที่ควรในสาระสําคัญ และผ่าน
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ก่อนเปิ ดเผยต่อสาธารณชน
2. กําหนดให้กรรมการและผูบ้ ริ หารต้องเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่ วนได้เสี ยของตนและผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ในกรณี ที่มีส่วน
ได้เสี ยที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั ฯ
3. เปิ ดเผยบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อย จํานวนครั้งของการประชุม และจํานวน
ครั้งที่กรรมการแต่ละท่านเข้าร่ วมประชุมไว้ในรายงานประจําปี
4. เปิ ดเผยนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนแก่กรรมการ รวมทั้งรู ปแบบ ลักษณะ และจํานวนค่าตอบแทนที่แต่ละคน
ได้รับจากการเป็ นกรรมการในคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ

หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
1. โครงสร้ างคณะกรรมการ
คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วยบุคคลซึ่ งมี ความรู้ ความสามารถ เป็ นผูม้ ี บทบาทสําคัญในการกําหนด
นโยบายของบริ ษทั ฯ โดยร่ วมกับผูบ้ ริ หารระดับสู งวางแผนการดําเนิ นงานทั้งระยะสั้น ระยะยาว ตลอดจนกําหนด

รายงานประจําปี 2553 42
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

นโยบายการเงิน การบริ หารความเสี่ ยง และภาพรวมขององค์กร มีบทบาทสําคัญในการกํากับดูแล ตรวจสอบ และ


ประเมินผลการดําเนิ นงานของบริ ษทั ฯ และผลการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริ หารระดับสู งให้เป็ นไปตามแผนที่วางไว้อย่าง
เป็ นอิสระ
ปั จจุ บนั คณะกรรมการบริ ษทั มีจาํ นวน 7 ท่าน ประกอบด้วยกรรมการที่ เป็ นผูบ้ ริ หารจํานวน 4 ท่าน อีก 3
ท่าน เป็ นกรรมการบริ ษทั ที่ไม่เป่ นผูบ้ ริ หาร และไม่มีส่วนได้เสี ย ไม่มีความสัมพันธ์กบั ผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ ไม่เปนกรรมการ
หรื อผูบ้ ริ หารของผูถ้ ือหุ น้ ใหญ่ หรื อไม่เป็ นผูบ้ ริ หารหรื อตัวแทนผูถ้ ือหุน้ ของผูถ้ ือหุน้ ใหญ่
2. คณะอนุกรรมการชุ ดย่ อย
คณะกรรมการบริ ษทั ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ เพื่อให้ผถู้ ือหุ น้ มัน่ ใจได้วา่ บริ ษทั มีการดําเนิ นงาน
และกลัน่ กรองอย่างรอบคอบ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการ
บริ หาร เพื่อปฏิบตั ิหน้าที่เฉพาะเรื่ องและเสนอเรื่ องให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาหรื อรับทราบ
2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการบริ ษ ัท ที่ เ ป็ นกรรมการอิ ส ระจํา นวน 3 ท่ าน โดย
องค์ประกอบคณะกรรมการให้ประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 หรื อไม่นอ้ ยกว่า 3 ท่านเสมอ และได้
กําหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระตามกฎระเบียบของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กาํ หนด
ซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้
(1) ถื อหุ ้นไม่เกิ นร้ อยละห้าของจํานวนหุ ้นที่ มี สิทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อ ย
บริ ษทั ร่ วม หรื อนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง
(2) ไม่เป็ นลูกจ้าง พนักงาน ที่ ปรึ กษาที่ ได้เงิ นเดื อนประจํา หรื ผูม้ ี อาํ นาจควบคุ มของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่
บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม หรื อนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง
(3) ไม่เป็ นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิ ต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็ น
บิดามารดา คู่สมรส พี่นอ้ ง และบุตร รวามทั้งคู่สมรสของบุตรของผูบ้ ริ หาร ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ ผูม้ ีอาํ นาจควบคุม หรื อ
บุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็ นผูบ้ ริ หารหรื อผูม้ ีอาํ นาจควบคุมของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย
(4) ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจกับบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม หรื อนิ ติบุคคลที่อาจมีความ
ขัดแย้ง ในลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระ
(5) ไมมีลกั ษณะอื่นใดที่ทาํ ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริ ษทั
ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่สอบทานให้บริ ษทั มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเปิ ดเผย
อย่างเพียงพอ โดยประสานงานกับผูส้ อบบัญชีภายนอกและผูบ้ ริ หารที่รับผิดชอบ รวมทั้งสอบทานให้บริ ษทั มีระบบ
การควบคุ ม ภายใน ระบบตรวจสอบภายใน และระบบบริ หารความเสี่ ย งที่ รั ด กุ ม เหมาะสม ทัน สมัย และมี
ประสิ ทธิภาพ โดยมีสาํ นักงาน บีเค ออดิท แอนด์ คอนซัลแท็น ซึ่ งทําหน้าที่เป็ นหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริ ษทั
ที่รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นหน่วยปฏิบตั ิ
2.2 คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั จํานวน 3 ท่าน ทําหน้าที่ประเมินผลการ
ปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการ คณะอนุ กรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การตามผลการดําเนิ นงานของแต่ละปี รวมทั้ง
พิจารณาค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ โดยมีหลักเกณฑ์หรื อวิธีการ
และโครงสร้างที่เป็ นธรรมและสมเหตุสมผล
2.3 คณะกรรมการบริ หาร มีจาํ นวน 5 ท่าน ประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั จํานวน 4 ท่าน และผูบ้ ริ หารที่ไม่ได้
เป็ นกรรมการบริ ษทั 1 ท่าน ทําหน้าที่วางแผนและกําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ แผนงาน งบประมาณ โครงสร้าง
องค์กร และโครงสร้างการบริ หารงาน หลักในการดําเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั ให้สอดคล้องกับสภาพทางเศรษฐกิจ และ

รายงานประจําปี 2553 43
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

สภาวะการแข่งขันในตลาด เพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาและอนุมตั ิและ/หรื อให้ความเห็นชอบ รวมถึง


การตรวจสอบและติดตามผลการดําเนินงานของบริ ษทั ตามนโยบายที่กาํ หนด
3. บทบาท หน้ าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
คณะกรรมการบริ ษทั มีหน้าที่ในการจัดการบริ ษทั ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของ
บริ ษ ทั ตลอดจนมติ ของที่ ประชุ ม ผูถ้ ื อหุ ้นที่ เห็ นชอบด้วยกฎหมาย ด้วยความซื่ อ สัตย์สุ จ ริ ตและระมัดระวังรั ก ษา
ผลประโยชน์ของบริ ษทั โดยสรุ ปบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบที่สาํ คัญได้ดงั นี้
3.1 กํากับดูแลให้บริ ษทั ปฏิ บตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ ข้อกําหนดของตลาด
หลักทรัพย์ เช่น การทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการซื้ อหรื อขายทรัพย์สินที่สาํ คัญตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทยหรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั
3.2 กําหนดเป้ าหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงานและงบประมาณของบริ ษทั ควบคุมกํากับดูแลการบริ หาร
งานและการจัดการของคณะกรรมการบริ หาร ให้เป็ นไปตามนโยบายที่ได้รับมอบหมาย เว้นแต่ในเรื่ องที่ตอ้ งได้รับมติ
อนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เช่น การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุน้ กู้ การขายหรื อโอนกิจการของบริ ษทั ทั้งหมด หรื อ
บางส่ วนที่สาํ คัญให้แก่บุคคลอื่น หรื อการซื้ อหรื อรับโอนกิจการของบริ ษทั อื่นมาเป็ นของบริ ษทั การแก้ไขหนังสื อบริ
คนธ์สนธิหรื อข้อบังคับ เป็ นต้น
3.3 พิจารณาโครงสร้ างการบริ หารงาน แต่งตั้งคณะกรรมการบริ หาร ประธานกรรมการบริ หาร และ
คณะกรรมการอื่นตามความเหมาะสม
3.4 ติดตามผลการดําเนินงานให้เป็ นไปตามแผนงานและงบประมาณอย่างต่อเนื่อง
3.5 จัด ให้มี ก ารประชุ ม ผูถ้ ื อ หุ ้ น เป็ นการประชุ ม สามัญ ประจํา ปี ภายใน 4 เดื อ น นับ แต่ ว นั สิ้ น สุ ด รอบ
ระยะเวลาบัญชีของบริ ษทั
3.6 จัดให้มีการทํางบดุ ลและงบกําไรขาดทุ นของบริ ษทั ณ วันสิ้ นสุ ดรอบระยะเวลาบัญชี ของบริ ษทั ซึ่ ง
ผูส้ อบบัญชีตรวจสอบแล้ว และนําเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อพิจารณาและอนุมตั ิ
3.7 กรรมการจะต้องไม่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริ ษทั
หรื อเข้าเป็ นหุ ้นส่ วนในห้างหุ ้นส่ วนสามัญ หรื อเป็ นหุ ้นส่ วนไม่จาํ กัด ความรั บ ผิดในห้างหุ ้นส่ วนจํากัด หรื อเป็ น
กรรมการของบริ ษทั เอกชน หรื อบริ ษทั อื่นที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการ
ของบริ ษทั ไม่วา่ จะทําเพื่อประโยชน์ตนหรื อเพื่อประโยชน์ผอู้ ื่น เว้นแต่จะได้แจ้ให้ผถู้ ือหุ น้ ทราบก่อนมีมติแต่งตั้ง
3.8 กรรมการต้องแจ้งให้บริ ษทั ทราบโดยไม่ชกั ช้า หากมีส่วนได้เสี ยไม่วา่ โดยตรงหรื อโดยอ้อมในสัญญาที่
บริ ษทั ทําขึ้น หรื อถือหุน้ หรื อหุน้ กูเ้ พิ่มขึ้นหรื อลดลงในบริ ษทั หรื อบริ ษทั ในเครื อ
4. การประชุมคณะกรรมการ
บริ ษทั ถือเป็ นหน้าที่สาํ คัญในฐานะกรรมการบริ ษทั ที่ตอ้ งเข้าร่ วมประชุมคณะกรรมการบริ ษทั อย่างสมํ่าเสมอ
เพื่อรับทราบและร่ วมกันตัดสิ นใจในการดําเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั โดยจัดให้มีการประชุมอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง แต่
ละครั้ งจะมีการกําหนดวาระการประชุมล่วงหน้าไว้ชดั เจน และอาจจะมีการประชุ มครั้ งพิเศษเพื่อพิจารณาเรื่ องที่ มี
ความสําคัญเร่ งด่วน
ในการประชุมประธานกรรมการบริ ษทั และกรรมการผูจ้ ดั การ เป็ นผูร้ ่ วมกันกําหนดวาระการประชุมและ
พิจารณาเรื่ องเข้าวาระการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั โดยเปิ ดโอกาสให้กรรมการแต่ละคนสามารถเสนอเรื่ องต่างๆ
เพื่อเข้ารับการพิจารณาเป็ นวาระการประชุมได้ ทั้งนี้ในการประชุมแต่ละครั้งบริ ษทั ได้จดั ส่ งเอกสารประกอบวาระการ
ประชุมล่วงหน้าเพื่อให้กรรมการบริ ษทั มีเวลาศึกษาข้อมูลในเรื่ องต่างๆ อย่างเพียงพอ

รายงานประจําปี 2553 44
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ในการพิจารณาเรื่ องต่างๆ ประธานกรรมการบริ ษทั ซึ่ งทําหน้าที่ ประธานในที่ ประชุ มได้เปิ ดโอกาสให้
กรรมการแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ ทั้งนี้ ในการลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ให้ถือมติของเสี ยงข้าง
มาก โดยให้กรรมการคนหนึ่ งมีหนึ่ งเสี ยง โดยกรรมการที่มีส่วนได้เสี ยจะไม่ใช้สิทธิ ออกเสี ยงในเรื่ องนั้น ถ้าคะแนน
เสี ยงเท่ากันประธานในที่ประชุมจะออกเสี ยงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสี ยงเป็ นเสี ยงชี้ขาด
ในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ัท คณะกรรมการบริ ห ารจะเข้า ร่ ว มประชุ ม ด้ว ยเพื่ อ ให้ข ้อ มู ล ที่ เ ป็ น
ประโยชน์และรับทราบนโยบายโดยตรง เพื่อให้สามารถนําไปปฏิบตั ิได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
เมื่อสิ้ นสุ ดการประชุม เลขานุการคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูม้ ีหน้าที่จดั ทํารายงานการประชุม โดยเสนอให้ที่
ประชุมรับรองในวาระแรกของการประชุมครั้งถัดไป และให้ประธานกรรมการบริ ษทั พิจารณาลงลายมือชื่อรับรอง
ความถูกต้อง ทั้งนี้กรรมการบริ ษทั สามารถแสดงความคิดเห็น ขอแก้ไข เพิ่มเติมรายงานการประชุมให้มีความละเอียด
ถูกต้องมากที่สุดได้

สถิติการเข้าประชุมของกรรมการบริ ษทั ในปี 2553

รายชื่อ ตําแหน่ ง ครั้งที่ ครั้งที่ ครั้งที่ ครั้งที่ ครั้งที่ ครั้งที่ ครั้งที่


1/2553 2/2553 3/2553 4/2553 5/2553 6/2553 7/2553
ประธานกรรมการและ
ดร. สุ รเดช จันทรานุรักษ์ ประธานกรรมการ       
ตรวจสอบ
นายประสิ ทธิ์ อุ่นวรวงศ์ กรรมการ       
นางสาวสุ รีรัตน์ ทองใบ กรรมการ       
นายสุ พจน์ วรรณโรจน์ กรรมการ       
นายสมชัย วงศ์รัตนวิจิตร กรรมการ       
นายเลิศชัย วงค์ชยั สิ ทธิ์ กรรมการตรวจสอบ     -  
นายนําพล เงินนําโชค กรรมการตรวจสอบ       

5. ค่ าตอบแทน
บริ ษทั ฯ พิจารณาจ่ายค่าตอบแทนที่เหมาะสมแก่คณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร โดยบริ ษทั ได้มีการเสนอ
ขออนุ ม ัติต่อ ที่ ประชุ ม ผูถ้ ื อ หุ ้น เพื่อ จ่ ายค่าตอบแทนให้แ ก่ค ณะกรรมการบริ ษทั โดยจํานวนเงิ นที่ จ่ายจะพิ จารณา
เปรี ย บเที ย บกับ การจ่ ายค่ าตอบแทนกรรมการในกลุ่ม อุ ตสาหกรรมเดี ย วกัน ส่ ว นค่า ตอบแทนผูบ้ ริ ห ารระดับ สู ง
คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูพ้ ิจารณาจากหน้าที่ความรับผิดชอบ และการปฏิบตั ิงานของแต่ละคน ประกอบกับผลการ
ดําเนินงานของบริ ษทั
นอกจากค่ า ตอบแทนตามปกติ แ ล้ว บริ ษ ัท ยัง จ่ า ยค่ าตอบแทนเป็ นโบนัส ประจํา ปี ให้แ ก่ ก รรมการตาม
แนวทางที่ได้รับอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น และจ่ายให้กบั ผูบ้ ริ หารระดับสู งโดยพิจารณาจากผลการปฏิบตั ิงาน และ
ผลการดําเนิ นงานในแต่ละธุ รกิจ ซึ่ งวิธีการจ่ายค่าตอบแทนที่บริ ษทั ปฏิบตั ิอยู่น้ ี สอดคล้องกับผลการปฏิบตั ิงานของ
พนักงาน และสะท้อนถึงผลการดําเนินงานอย่างแท้จริ ง

รายงานประจําปี 2553 45
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

6. การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร
คณะกรรมการบริ ษทั ได้ส่งเสริ มและอํานวยความสะดวกให้มีการฝึ กอบรมและการให้ความรู้แก่ผทู้ ี่เกี่ยวข้อง
ในการกํากับดูแลกิจการของบริ ษทั เช่น กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบ้ ริ หาร เป็ นต้น เพื่อให้มีการปรับปรุ งการ
ปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่อง
ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการใหม่ บริ ษทั จะจัดให้มีเอกสารและข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิ
หน้าที่ของกรรมการใหม่ รวมถึงการจัดให้มีการแนะนําลักษณะธุ รกิจและแนวทางการดําเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั ให้แก่
กรรมการใหม่

5.6 การกํากับดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน


บริ ษทั มีนโยบายและวิธีการตรวจสอบกรรมการและผูบ้ ริ หารในการนําข้อมูลภายในของบริ ษทั ซึ่ งยังไม่เปิ ดเผยต่อ
สาธารณะชนไปใช้แสวงหาประโยชน์ส่วนตนในการซื้ อขายหลักทรัพย์ดงั นี้
1. ให้ความรู้แก่กรรมการรวมทั้งผูบ้ ริ หารฝ่ ายต่างๆ เกี่ยวกับหน้าที่ที่ตอ้ งรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของตน คู่
สมรส และบุตรที่ ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะต่อสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ และ
ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ตามมาตรา 59 และบทกําหนดลงโทษ ตามมาตรา 275 แห่ งพระราชบัญญัติ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535
2. บริ ษทั กําหนดให้ผูบ้ ริ หารรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรั พย์ต่อสํานักงานคณะกรรมการกํากับ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่ งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535
โดยให้จดั ส่ งผ่านทางบริ ษทั เพื่อให้บริ ษทั สามารถตรวจสอบการซื้ อขายหุน้ ของผูบ้ ริ หารทุกราย
3. บริ ษ ัท จะดํา เนิ น การส่ ง หนัง สื อ เวี ย นแจ้ง ให้ ผูบ้ ริ ห ารทราบว่า ผูบ้ ริ หารที่ ไ ด้รั บ ทราบข้อ มู ล ภายในที่ เ ป็ น
สาระสําคัญ ซึ่ งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ จะต้องระงับการซื้ อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั ในช่วง 1
เดื อ น ก่ อ นที่ ง บการเงิ น หรื อ ข้อ มู ล ภายในนั้น จะเปิ ดเผยต่ อ สาธารณชน และห้ามไม่ ใ ห้เ ปิ ดเผยข้อ มูล ที่ เ ป็ น
สาระสําคัญนั้นต่อบุคคลอื่น ทั้งนี้หากพบว่ามีการใช้ขอ้ มูลภายในมีความประพฤติที่ส่อไปในทางที่จะทําให้บริ ษทั
หรื อผูถ้ ื อหุ ้นได้รับความเสื่ อมเสี ยและเสี ยหาย โดยผูก้ ระทําการเป็ นบุ คลากรระดับคณะกรรมการบริ หาร
คณะกรรมการบริ ษทั จะเป็ นผูพ้ ิจารณาบทลงโทษตามความเหมาะสม และหากผูก้ ระทําผิดเป็ นผูบ้ ริ หารระดับรอง
ลงไป คณะกรรมการบริ หารจะเป็ นผูพ้ ิจารณาบทลงโทษสําหรับผูก้ ระทําผิดนั้นๆ

5.7 การประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน
ในการประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 2/2554 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่ วม
ประชุมด้วย คณะกรรมการได้ประเมินระบบควบคุมภายในโดยการซักถามข้อมูลจากฝ่ ายบริ หาร และผูต้ รวจสอบภายในอิสระ
ของสํานักงาน บี เค ออดิท แอนด์ คอนซัลแท็น เกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ทั้ง 5 ส่ วน คือ
องค์กรและสภาพแวดล้อมเพื่อการควบคุม การประเมินความเสี่ ยง การควบคุมการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริ หาร ระบบสารสนเทศ
และการสื่ อสารข้อมูล และระบบการติดตาม ภายหลังจากการประเมินแล้วคณะกรรมการมีความเห็นว่า บริ ษทั ฯ มีระบบควบคุม
ภายในอย่างเพียงพอแล้ว และมีระบบควบคุมภายในในด้านต่างๆ ทั้ง 5 ส่ วน ที่มีความเหมาะสมและเพียงพอในการที่จะป้ องกัน
ทรัพย์สินอันเกิดจากการที่ผบู้ ริ หารนําไปใช้โดยมิชอบหรื อโดยไม่มีอาํ นาจ รวมถึงมีระบบการตรวจสอบภายในที่มีความอิสระ
ในการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน นอกจากนี้ บริ ษทั ยังมีระบบการจัดเก็บเอกสารสําคัญที่ทาํ ให้กรรมการ ผูส้ อบ
บัญชี และผูม้ ีอาํ นาจตามกฎหมายสามารถตรวจสอบได้ภายในระยะเวลาอันควร

รายงานประจําปี 2553 46
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ปั จจุบนั บริ ษทั ยังไม่มีหน่ วยงานตรวจสอบภายใน อย่างไรก็ตามบริ ษทั ได้ว่าจ้างสํานักงาน บีเค ออดิท แอนด์ คอน
ซัลแท็น (“สํานักงาน”) เป็ นผูต้ รวจสอบภายใน โดยสํานักงานเป็ นผูท้ าํ การศึกษาและให้คาํ แนะนําเกี่ยวกับการออกแบบระบบ
ควบคุมและตรวจสอบภายใน จัดทําแผนการตรวจสอบภายใน รวมทั้งดําเนิ นการตรวจสอบระบบ โดยสํานักงานจะรายงานตรง
ต่อกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้เกิดการปรับปรุ งแก้ไขที่มีประสิ ทธิ ภาพ ตลอดจนตรวจติดตามประเมินผลการแก้ไขระบบตาม
ข้อเสนอแนะของกรรมการตรวจสอบ
การประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบ ครั้ งที่ 2/2554 สรุ ปผลการตรวจสอบภายใน ซึ่ งคณะกรรมการตรวจสอบ
เห็นชอบตามที่ ผูต้ รวจสอบภายในประเมิน ดังนี้
1. สภาพแวดล้ อมเพื่อการควบคุม -กําหนดเป็ นนโยบายและมีเอกสารที่ชดั เจน มีการลงโทษพนักงานที่ไม่กระทํา
ตามแนวความประพฤติทางจริ ยธรรม
2. การประเมินความเสี่ ยง - ยังไม่มีหลักเกณฑ์การประเมินความเสี่ ยงหรื อแนวทางหลีกเลี่ยง/บรรเทาความเสี่ ยงเพื่อ
ใช้เป็ นมาตรฐานอย่างชัดเจน
3. กิจกรรมเพือ่ การควบคุม –กิจกรรมควบคุมเป็ นไปตามเป้ าหมายของบริ ษทั เพื่อเป็ นไปตามาตรฐาน ISO แต่ยงั ไม่
มีการพิจารณา ความสอดคล้องกับระดีบความเสี่ ยงมากนัก
4. ข้ อมูลสารสนเทศและการติดต่ อสื่ อสาร - การจัดทํารายงาน และการดึงข้อมูลสําหรับบางส่ วนงานยังมีปัญหาอยู่
บ้าง หรื อยังไม่รองรับตามความต้องการทั้งหมด จึงต้องจัดทําพิ่ม ข้อมูลไม่เชื่อโยงจากระบบ
5. การติดตามการปฎิบัตงิ าน – มีการประชุมผูบ้ ริ หารสมํ่าเสมอ เพื่อติดตามแต่ละกิจกรรมของบริ ษทั อย่างต่อเนื่อง
สรุ ปผลการประเมินระบบควบคุมภายใน – ระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ฯ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554 มีระดับ
การควบคุมภายในที่ดีพอสมควรในระดับหนึ่ ง แต่ยงั มีขอ้ บกพร่ องอยูบ่ า้ ง โดยเฉพาะเรื่ องการประเมินความเสี่ ยง ควรปรับปรุ ง
แก้ไขและควรสร้างความมัน่ ใจให้ผเู้ กี่ยวข้อง เพื่อการบรรลุเป้ าหมายของบริ ษทั โดยรวม

5.8 ค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชี
5.8.1 ค่ าตอบแทนจากการสอบบัญชี
บริ ษทั จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่สาํ นักงานสอบบัญชีที่ผสู้ อบบัญชีสังกัดบุคคล หรื อกิจการที่เกี่ยวข้อง
กับผูส้ อบบัญชี และสํานักงานบัญชีที่ผสู้ อบบัญชีสังกัดในรอบปี บัญชีที่ผา่ นมามีจาํ นวนเงินรวม 540,000 บาท
5.8.2 ค่ าบริการอืน่
- ไม่มี –

รายงานประจําปี 2553 47
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ประวัตคิ ณะกรรมการและผู้บริหาร
ชื่อ-นามสกุล อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา ความสั มพันธ์ ทาง ร้ อยละการ ประสบการณ์ ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
เลขประจําตัวประชาชน (ปี ) ครอบครัวระหว่ าง ถือหุ้นใน ช่ วงเวลา ตําแหน่ ง ชื่อหน่ วยงาน / บริษทั ประเภทธุรกิจ
ผู้บริหาร บริษัท
นายสุ รเดช จันทรานุรักษ์ 64 - วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต (เกียรติ ไม่มี - 2547 – ปัจจุบนั ประธานกรรมการ และประธาน บมจ.สตีล อินเตอร์ เทค ผลิต จัดจําหน่าย ติดตั้งแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้น
นิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการตรวจสอบ ลอนและอุปกรณ์เกี่ยวกับหลังคาและฝาผนัง
- MSCE University of Minnesota 2532 – ปัจจุบนั ประธานกรรมการ และ บจ.ซีตาเนีย บริ การที่ปรึ กษาด้านวิศวกรรม
- PH. D. University of Minnesota กรรมการผูจ้ ดั การ
- หลักสู ตร DAP รุ่ นที่ 31 ของ IOD
นายประสิ ทธิ์ อุ่นวรวงศ์ 51 - ครุ ศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต ไม่มี 26.30 2538 – ปัจจุบนั กรรมการ และ บมจ.สตีล อินเตอร์ เทค ผลิต จัดจําหน่าย ติดตั้งแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้น
สาขาวิศวกรรมเครื่ องกล กรรมการผูจ้ ดั การ ลอนและอุปกรณ์เกี่ยวกับหลังคาและฝาผนัง
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ
- บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หาศาสตร์
- หลักสู ตร DAP รุ่ นที่ 31 ของ IOD
- หลักสู ตรการบริ หารงานภาครัฐ
และกฎหมายมหาชนรุ่ นที่ 7
สถาบันพระปกเกล้า
- หลักสู ตรวตท. รุ่ น 9
สถาบันวิทยาการตลาดทุน
- หลักสู ตรการเมืองการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยสําหรับนัก
บริ หารระดับสู ง รุ่ น 14 สถาบัน
พระปกเกล้า
นายสุ พจน์ วรรณโรจน์ 52 - ครุ ศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต ไม่มี 4.17 2550 – ปัจจุบนั กรรมการ กรรมการบริ หารและ บมจ.สตีล อินเตอร์ เทค ผลิต จัดจําหน่าย ติดตั้งแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้น
สาขาวิศวกรรม โยธา สถาบัน รองกรรมการผูจ้ ดั การฝ่ ายขายและ ลอนและอุปกรณ์เกี่ยวกับหลังคาและฝาผนัง
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ การตลาด
นครเหนือ 2540 – 2550 Advisor/Consulting วิศวกรอิสระ
- บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต 2532 – 2540 Construction Manager บจ.พุทธรัตน์ ธุรกิจก่อสร้าง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2532 – 2534 Project Manager หจก.ศรี สุวรรณโยธา ธุรกิจก่อสร้าง
- หลักสู ตร DAP รุ่ นที่ 72 ของ IOD

รายงานประจําปี 2553 48
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา ความสั มพันธ์ ทาง ร้ อยละการ ประสบการณ์ ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
เลขประจําตัวประชาชน (ปี ) ครอบครัวระหว่ าง ถือหุ้นใน ช่ วงเวลา ตําแหน่ ง ชื่อหน่ วยงาน / บริษทั ประเภทธุรกิจ
ผู้บริหาร บริษัท
นางสาวสุ รีรัตน์ ทองใบ 39 - บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาการ ไม่มี - 2547 – ปัจจุบนั กรรมการ บมจ.สตีล อินเตอร์ เทค ผลิต จัดจําหน่าย ติดตั้งแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้น
จัดการ มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ กรรมการบริ หาร ลอนและอุปกรณ์เกี่ยวกับหลังคาและฝาผนัง
- หลักสู ตร DAP รุ่ นที่ 31 ของ IOD 2553 – ปัจจุบนั ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายบริ หาร
2538 – 2547 ผูจ้ ดั การฝ่ ายจัดซื้อ
นายสมชัย วงศ์รัตนวิจิตร 50 - B.E. (MECHANICAL ไม่มี 0.88 2548 – ปัจจุบนั กรรมการและกรรมการบริ หาร บมจ.สตีล อินเตอร์ เทค ผลิต จัดจําหน่าย ติดตั้งแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้น
ENGINEERING) RMIT กรรมการ ลอนและอุปกรณ์เกี่ยวกับหลังคาและฝาผนัง
UNIVERSITY (Royal 2538 – ปัจจุบนั กรรมการ บจก. กิจเจริ ญอุตสาหกรรมพลาสติก ผลิตและจําหน่ายสี เม็ดสําหรับผสมพลาสติก
Melbourne Institute of 2547 – 2548 กรรมการ บจก. ไวด์ คอนเน็กด์ จําหน่ายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Technology) 2547 – 2548 Factory Manager บจก. ออลลิงค์ จําหน่ายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
- บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต 2544 – 2546 กรรมการและผจก. โรงงาน บมจ. วาไทยอุตสาหกรรม ผลิตและส่ งออกเสื้ อผ้าสําเร็ จรู ป
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2538 - 2544 บจก. กิจเจริ ญอุตสาหกรรมพลาสติก ผลิตและจําหน่ายสี เม็ดสําหรับผสมพลาสติก
- หลักสู ตร DAP รุ่ นที่ 43 ของ IOD
นายนําพล เงินนําโชค 42 - วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต สาขา ไม่มี - 2554 – ปัจจุบนั กรรมการ กรรมการตรวจสอบ บจ.เจ.เอส.วี.ฮาร์ดแวร์ ผลิตและจําหน่ายท่อเหล็ก
วิศวกรรมเครื่ องกล สถาบัน 2552 – ปัจจุบนั กรรมการ บมจ.ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน่ ค้าปลีกก๊าซปิ โตรเลียมเหลว
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ 2547 – ปัจจุบนั กรรมการและ บมจ.สตีล อินเตอร์ เทค ผลิต จัดจําหน่าย ติดตั้งแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้น
นครเหนือ กรรมการตรวจสอบ ลอนและอุปกรณ์เกี่ยวกับหลังคาและฝาผนัง
- บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต 2535 – 2553 ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บจ.เงินนําโชค กรุ๊ ป ขายของชําร่ วย และสิ นค้าเบ็ดเตล็ด
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2550 – ม.ค. 2552 กรรมการและ บมจ.เพาเวอร์ -พี ผลิตวัสดุก่อสร้าง และเสาเข็มคอนกรี ตอัดแรง
- หลักสู ตร DAP รุ่ นที่ 31 ของ IOD กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่
2546 – ม.ค. 2552 กรรมการ บจ.เวลธ์สเปราส์ คอร์ปอเรชัน่ ให้คาํ ปรึ กษาด้านพาณิ ชยกรรม
2549 – 2551 กรรมการและประธาน บมจ.ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน่ ค้าปลีกก๊าซปิ โตรเลียมเหลว
กรรมการตรวจสอบ
2547 – 2549 กรรมการผูจ้ ดั การ บจ.จี. อี. ซี. พร็ อพเพอร์ต้ ี พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์
2547 – 2549 Senior Vice President บจ.สยามนารา เอ็นจิเนียริ่ ง แอนด์ บริ การที่ปรึ กษางานระบบวิศวกรรมและการ
คอนซัลติง ก่อสร้าง
นายเลิศชัย วงค์ชยั สิ ทธิ์ 46 - Diploma of Operation ไม่มี - 2547 – ปัจจุบนั กรรมการและ บมจ.สตีล อินเตอร์ เทค ผลิต จัดจําหน่าย ติดตั้งแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้น
Management, National กรรมการตรวจสอบ ลอนและอุปกรณ์เกี่ยวกับหลังคาและฝาผนัง
University of Singapore 2538 – ปัจจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การ บจ.เจ.เอส.วี.ฮาร์ดแวร์ ผลิตและจําหน่ายท่อเหล็ก
- หลักสู ตร DAP รุ่ นที่ 31 ของ IOD

รายงานประจําปี 2553 49
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา ความสั มพันธ์ ทาง ร้ อยละการ ประสบการณ์ ทาํ งานในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง
เลขประจําตัวประชาชน (ปี ) ครอบครัวระหว่ าง ถือหุ้นใน ช่ วงเวลา ตําแหน่ ง ชื่อหน่ วยงาน / บริษทั ประเภทธุรกิจ
ผู้บริหาร บริษัท
นายชัยวัฒน์ ตั้งสุ วรรณพานิช 50 - พาณิ ชยศาสตร์และการบัญชี ไม่มี - 2550 – ปัจจุบนั รองกรรมการผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชี บมจ.สตีล อินเตอร์ เทค ผลิต จัดจําหน่าย ติดตั้งแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการเงิน ลอนและอุปกรณ์เกี่ยวกับหลังคาและฝาผนัง
- บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต 2548 – 2550 ผูจ้ ดั การทัว่ ไปด้านบัญชีและ บจ.พรี เมี่ยม สตีล โพรเซสซิ่ง ค้าสิ นค้าจําพวกเหล็กและโลหะทุกชนิดทุก
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเงิน ประเภท
- หลักสู ตร DAP รุ่ นที่ 31 ของ IOD 2547 – 2548 ผูจ้ ดั การฝ่ ายบริ หารและการเงิน บจ. ริ เวอร์ เอ็นจิเนียริ่ ง จําหน่ายวัสดุอุปกรณ์เกี่ยวกับเครื่ องสู บนํ้า
ผูค้ วบคุมด้านบัญชี & การเงิน
2546 บมจ.บางกอกแร้นช์ ผลิต ค้าส่ ง ค้าปลีก ส่ งออกเป็ ดสด, เป็ ดสดแช่แข็ง
นายกนกศักดิ์ เปี่ ยมนิติกร 37 - วิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต สถาบัน ไม่มี - 2549 – ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ ายผลิต บมจ.สตีล อินเตอร์ เทค ผลิต จัดจําหน่าย ติดตั้งแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้น
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ลอนและอุปกรณ์เกี่ยวกับหลังคาและฝาผนัง
- บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต 2548-2549 ผูจ้ ดั การฝ่ ายพัฒนาธุรกิจ Business Care Service Co., Ltd. พัฒนาโปรแกรมสําเร็ จรู ปและจําหน่ายอุปกรณ์
มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ คอมพิวเตอร์
2545-2548 ผูจ้ ดั การฝ่ ายพัฒนาธุรกิจ Supplier Connex Ltd. ให้บริ การด้านการจัดการฐานข้อมูลในองค์กร และ
จัดทํา e-catalog
2541-2545 ผูจ้ ดั การแผนกขาย/ผลิต AGS Auto Parts Co., Ltd. ผลิตชิ้นส่ วนรถยนต์ งานขึ้นรู ปโลหะแผ่น
ผูจ้ ดั การแผนกวิศวกรรม
2538-2541 ผูจ้ ดั การแผนกผลิต Thai Radiator Mfg. Co., Ltd. ผลิตชิ้นส่ วนรถยนต์ เช่น หม้อนํ้ารถยนต์ ถังนํ้ามัน
ชิ้นส่ วนงานขึ้นรู ปโลหะแผ่น
นายสานิตย์ อรุ ณทวีทรัพย์ 42 - บริ หารธุรกิจบัณฑิต ไม่มี - 2552 – ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ ายติดตั้ง บมจ.สตีล อินเตอร์ เทค ผลิต จัดจําหน่าย ติดตั้งแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้น
มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช 2540 - 2552 ผูจ้ ดั การแผนกติดตั้ง ลอนและอุปกรณ์เกี่ยวกับหลังคาและฝาผนัง
นางนงนุช มีสุข 34 - บริ หารธุรกิจบัณฑิต ไม่มี - 2553 – ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ บมจ.สตีล อินเตอร์ เทค ผลิต จัดจําหน่าย ติดตั้งแผ่นหลังคาเหล็กเคลือบขึ้น
มหาวิทยาลัยรังสิ ต ลอนและอุปกรณ์เกี่ยวกับหลังคาและฝาผนัง
2552 – 2553 ผูช้ ่วยผูจ้ ดั การฝ่ ายทรัพยากร บจ.ยามาโค พรี ซิชนั่ (ประเทศไทย) ผลิตชิ้นส่ วน ส่ วนประกอบ อะไหล่ พลาสติก
มนุษย์และธุรการ สําหรับเครื่ องใช้ไฟฟ้ า
2551 – 2552 Payroll โรงพยาบาลกรุ งเทพ สถานพยาบาล
2548 – 2551 HR & Admin บริ ษทั ไทยเซอิ (ไทยแลนด์) จํากัด รับเหมาก่อสร้างทัว่ ไป และสถาปัตยกรรม
ออกแบบตกแต่ง

รายงานประจําปี 2553 50
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

6. รายการระหว่ างกัน

6.1 รายการระหว่ างกันจากการปรับโครงสร้ างกลุ่ม

บริ ษทั สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน) ได้มีการปรับโครงสร้างของบริ ษทั โดยเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2547 บริ ษทั
สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน) ขายเงินลงทุนใน บริ ษทั สตีล อินเตอร์ คอน จํากัด (ซึ่ งบริ ษทั ถือหุ ้นอยูร่ ้อยละ 30) ทั้งจํานวน
ให้แก่ นายณัช หวังมหาพร ซึ่ งเป็ นผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั คิดเป็ นมูลค่า 624,000 บาท โดยมีราคาขายหุ ้นละ 208 บาท ซึ่ งกําหนด
จากมูลค่าตามบัญชี ต่อหุ ้น คํานวณจากรายงานทางการเงินสําหรับผูบ้ ริ หาร ณ สิ้ นเดื อนสิ งหาคม 2547 เนื่ องจากในขณะนั้น
บริ ษทั สตีล อินเตอร์ คอน จํากัด ระงับการดําเนิ นธุ รกิจแล้ว ดังนั้น นายณัฐ หวังมหาพร ซื้ อหุ ้นของบริ ษทั สตีล อินเตอร์ คอน
จํากัด ไปเพื่อรอการปิ ดกิจการ อย่างไรก็ตาม ในปี 2547 บริ ษทั มีการปรับปรุ งระบบการรับรู้รายได้ตามร้อยละความสําเร็ จของ
งาน ซึ่ งผูส้ อบบัญชีได้เข้าปรับปรุ งรายการในปี 2546 ในเรื่ องการรับรู้รายได้จากการให้บริ การ ภาษีเงินได้นิติบุคคล และกําไร
สะสม ทําให้กาํ ไรสะสมในปี 2546 ถูกปรับลดลงเป็ นจํานวน 542,193.77 บาท และยกยอดมารับรู้ในปี 2547 ส่ งผลให้มูลค่าตาม
บัญชี ของบริ ษทั สตีล อินเตอร์ คอน จํากัด ณ 30 กันยายน 2547 ถูกปรั บเพิ่มเป็ น 237 บาท ซึ่ งสู งกว่ามูลค่าประเมิ นของฝ่ าย
บริ หาร บริ ษทั จึงต้องรับรู้ผลขาดทุนจากการขายเงินลงทุนเท่ากับ 86,995.14 บาท ซึ่ งบริ ษทั ได้บนั ทึกผลขาดทุนจากเงินลงทุน
ดังกล่าวในงบการเงินปี 2547

ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ
ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2548 คณะกรรมการตรวจสอบได้รับทราบ
รายการปรับโครงสร้างที่เกิดขึ้น และมีความเห็นว่าบริ ษทั ได้จาํ หน่ายหุ ้นของบริ ษทั สตีล อินเตอร์ คอน จํากัด ให้กบั ผูถ้ ือหุ ้นซึ่ ง
มิ ใ ช่ กรรมการหรื อ ผูบ้ ริ ห ารของบริ ษ ัท โดยที่ ร ายการดัง กล่ า วมี ค วามสมเหตุ ส มผล ณ ช่ ว งเวลาที่ ท าํ รายการ ซึ่ งการปรั บ
โครงสร้างทําให้บริ ษทั มีโครงสร้างการบริ หารงานที่ชดั เจนยิง่ ขึ้น และเป็ นไปเพื่อผลประโยชน์ของบริ ษทั
ส่ วนในปี 2550 - ปี 2553 ไม่มีรายการระหว่างกัน

6.2 มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมตั กิ ารทํารายการระหว่ างกัน


ในการทํารายการระหว่างกัน คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีการพิจารณาและอนุมตั ิตามขอบเขตและอํานาจหน้าที่ ซึ่ งในอนาคต
หากมีการทํารายการระหว่างกันเกิดขึ้น จะต้องมีการนําเสนอเรื่ องดังกล่าวให้กบั คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อทําการพิจารณา
และอนุ มตั ิการทํารายการระหว่างกันดังกล่าวให้เกิ ดประโยชน์สูงสุ ดต่อกิ จการ และเพื่อเป็ นการคุม้ ครองผูล้ งทุ นรวมถึงผูท้ ี่
เกี่ยวข้องกับบริ ษทั โดยรายการระหว่างกันดังกล่าวจะต้องปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
และข้อบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรื อข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ซึ่ งผูท้ ี่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์
หรื อมีส่วนได้ส่วนเสี ยในการทํารายการระหว่างกันจะไม่มีสิทธิ์เข้ามามีส่วนร่ วมในการอนุมตั ิรายการดังกล่าวได้

6.3 นโยบายหรือแนวโน้ มการทํารายการระหว่ างกันในอนาคต


บริ ษทั มีการกําหนดนโยบายในการทํารายการระหว่างกันในอนาคตว่า จะต้องเป็ นรายการที่เป็ นไปตามลักษณะการ
ดําเนินธุรกิจทัว่ ไปของบริ ษทั ไม่มีการถ่ายเทผลประโยชน์ของบริ ษทั ไปยังกลุ่มผูถ้ ือหุน้ คณะกรรมการ หรื อบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ
บริ ษทั อย่างไม่เป็ นธรรม โดยคณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรื อ คณะกรรมการบริ ษทั จะเป็ นผูพ้ ิจารณาความสมเหตุสมผลของ
การเข้าทํารายการ และพิจารณาว่าเงื่อนไขการกําหนดราคาและเงื่อนไขการทํารายการว่า เป็ นไปตามลักษณะธุรกิจปกติ ทั้งนี้ ผูท้ ี่
มีส่วนได้เสี ยจะไม่มีส่วนร่ วมในการพิจารณาอนุมตั ิการทํารายการ และคณะกรรมการบริ ษทั จะปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกฎหมายว่า
รายงานประจําปี 2553 51
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อบังคับ ประกาศ หรื อข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย รวมตลอดถึงการ


ปฏิบตั ิตามข้อกําหนดในการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน และการได้มาหรื อจําหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ที่สาํ คัญของ
บริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย และตามมาตรฐานการบัญชีที่กาํ หนดโดยสมาคมนักบัญชี และผูส้ อบบัญชีรับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย
หากมี รายการระหว่างกันของบริ ษทั ที่ เกิ ดขึ้ นกับบุคคลที่ อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มี ส่วนได้เสี ย หรื ออาจมี ความ
ขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคต บริ ษทั จะให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูใ้ ห้ความเห็นเกี่ยวกับความจําเป็ นและความ
เหมาะสมของรายการนั้นว่า เป็ นไปตามลักษณะธุ รกิจปกติ และพิจารณาเปรี ยบเทียบการกําหนดราคากับบุคคลภายนอก ใน
กรณี ที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความชํานาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บริ ษทั จะจัดให้มีผเู้ ชี่ยวชาญ
อิสระหรื อผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั เป็ นผูใ้ ห้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อนําไปใช้ประกอบการตัดสิ นใจของ
คณะกรรมการ หรื อผูถ้ ือหุ ้นตามแต่กรณี ทั้งนี้ บริ ษทั จะเปิ ดเผยรายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับ
การตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีบริ ษทั

รายงานประจําปี 2553 52
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

7. คําอธิบายและการวิเคราะห์ ของฝ่ ายจัดการ

ผลการดําเนินงานในปี 2550 – ปี 2553

รายได้

รายได้หลักของบริ ษทั ในปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 เท่ากับ 360.12 ล้านบาท 293.12 ล้านบาท และ 311.44 ล้านบาท
ตามลําดับ คิดเป็ นการเปลี่ยนแปลงที่ลดลงร้อยละ 18.60 เมื่อเทียบกับปี 2551 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.25 เมื่อเทียบกับปี 2552
ตามลําดับ รายได้ของบริ ษทั ในปี 2553 เติบโตขึ้นจากปี 2552 เนื่องมาจากอัตรากําไรขั้นต้นเพิ่มขึ้น เป็ นผลมาจากค่าเงินบาทที่
แข็งตัวอย่างรวดเร็ ว ทําให้ภาคเอกชนเริ่ มลงทุนในสิ นทรัพย์ถาวร

โครงสร้างรายได้ของบริ ษทั สําหรับงวดปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 แยกตามประเภทผลิตภัณฑ์ มีดงั ต่อไปนี้

งบการเงินบริษัท

โครงสร้ างรายได้ ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553


มูลค่ า มูลค่ า มูลค่ า
ร้ อยละ ร้ อยละ ร้ อยละ
(พันบาท) (พันบาท) (พันบาท)
1. รายได้จากการขาย 223,173.80 61.42 148,316.25 50.14 145,105.14 45.88
2. รายได้จากการขายพร้อมติดตั้ง 136,947.42 37.69 144,810.43 48.96 166,330.22 52.60
3. รายได้จากการให้บริ การติดตั้ง - - - - - -
4. รายได้อื่น 3,253.32 0.90 2,649.22 0.90 4,819.07 1.52
รายได้ รวม 363,374.54 100.00 295,775.90 100.00 316,254.44 100.00
รายได้อื่น ๆ ของบริ ษทั มาจากการขายเศษเหล็กที่เหลือจากการผลิต ค่าขนส่ ง และอื่นๆ

ต้ นทุนและค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร

ต้นทุนขายและกําไรขั้นต้น

ต้นทุนขายรวมของบริ ษทั ในปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 เท่ากับ 295.12 ล้านบาท 248.77 ล้านบาท และ 255.24 ล้าน
บาท ตามลําดับ คิดเป็ นสัดส่ วนเมื่อเทียบกับยอดรายได้รวมเท่ากับร้อยละ 81.22 ร้อยละ 84.11 และร้ อยละ 80.71 ตามลําดับ
ต้นทุนที่สําคัญคือต้นทุนวัตถุดิบ คิดเป็ นสัดส่ วน ร้อยละ 86.01 ร้อยละ 86.33 และร้อยละ 89.27 ของต้นทุนรวมในปี 2551 ปี
2552 และปี 2553 ตามลําดับ โดยเป็ นวัตถุดิบที่บริ ษทั สั่งซื้ อจาก บลูสโคป สตีล

โครงสร้างต้นทุนและกําไรขั้นต้นของบริ ษทั แบ่งเป็ น 3 ประเภท ดังต่อไปนี้


(1) ต้นทุ นขาย ในปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 เท่ ากับ 181.08 ล้านบาท 127.42 ล้านบาท และ 123.24 ล้านบาท
ตามลําดับ คิดเป็ นอัตรากําไรขั้นต้นจากการขายเท่ากับร้อยละ 18.86 ร้อยละ 14.09 และร้อยละ 15.07 ตามลําดับ ปี 2551 อัตรา
กําไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นเพราะราคาวัตถุดิบผันผวนทําให้ลูกค้าตัดสิ นใจก่อน เพราะราคาวัตถุดิบในช่วงกลางปี มีแนวโน้มสู งขึ้น แต่
รายงานประจําปี 2553 53
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

หลังจากนั้นราคาวัตถุดิบลดลงอย่างรวดเร็ วในช่วงไตรมาส 4 ปี 2552 อัตรากําไรขั้นต้นลดลงอีก เนื่ องจากภาวะราคาเหล็กที่


ลดลงทําให้เกิดสภาวะชะงักงันของการลงทุน ทําให้ตอ้ งลดราคาเพื่อรักษาฐานของลูกค้า ปี 2553 อัตรากําไรขั้นต้นเพิ่มขึ้น เป็ น
ผลมาจากค่าเงินบาทที่แข็งตัวอย่างรวดเร็ ว ทําให้ภาคเอกชนเริ่ มลงทุนในสิ นทรัพย์ถาวร
(2) ต้นทุนขายพร้อมติดตั้ง ในปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 เท่ากับ 114.04 ล้านบาท 121.35 ล้านบาท และ 132.01 ล้าน
บาท ตามลําดับ คิดเป็ นอัตรากําไรขั้นต้นเท่ากับ ร้อยละ 16.72 ร้อยละ 16.20 และร้อยละ 20.64 ตามลําดับ ทั้งนี้อตั รากําไรจากการ
ขายพร้อมติดตั้งของบริ ษทั ไม่คงที่ เนื่องมาจากการขายพร้อมติดตั้งซึ่ งส่ วนใหญ่บริ ษทั ขายให้กบั ผูร้ ับเหมาและเจ้าของโครงการ
ในลักษณะของการประมูลงาน ทําให้กาํ ไรขั้นต้นแตกต่างกันไปในแต่ละโครงการ

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร

ในปี 2551 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หารเท่ากับ 40.11 ล้านบาท คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 11.04 ของรายได้รวม หรื อ
คิดเป็ นอัตราเพิม่ ขึ้นจากปี 2550 ร้อยละ 15.93 และได้ต้ งั สํารองหนี้สงสัยจะสู ญเพิม่ ขึ้นอีก 3.17 ล้านบาท
ปี 2552 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หารเท่ากับ 39.99 ล้านบาท คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 13.52 ของรายได้รวม หรื อคิด
เป็ นอัตราลดลงจากปี 2551 ร้อยละ 0.31 และได้ต้ งั สํารองหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มขึ้นอีก 1.49 ล้านบาท
ปี 2553 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หารเท่ากับ 47.02 ล้านบาท คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 14.87 ของรายได้รวม หรื อคิด
เป็ นอัตราเพิม่ ขึ้นจากปี 2552 ร้อยละ 14.95 และได้ต้ งั สํารองหนี้สงสัยจะสูญเพิม่ ขึ้นอีก 1.59 ล้านบาท

กําไรสุ ทธิ

ในปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 บริ ษทั มีกาํ ไรสุ ทธิ จาํ นวน 20.17 ล้านบาท 3.70 ล้านบาท และ 8.97 ล้านบาท คิดเป็ น
อัตราการลดลงร้อยละ 81.64 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 142.28 สําหรับปี 2551 มีกาํ ไรสุ ทธิ เพิ่มขึ้นเนื่ องจากบริ ษทั มีลูกค้าโครงการมาก
ขึ้น อีกทั้งภาวะราคาเหล็กที่ผนั ผวนทําให้ลกู ค้าส่ วนใหญ่ยอมซื้ อในราคาที่สูงขึ้น แต่แนวโน้มลูกค้าชะลอตัวลง เพราะราคาเหล็ก
ได้ปรับลงมากในช่วงปลายปี 2551 ในปี 2552 มีกาํ ไรสุ ทธิ ลดลงมากเนื่ องจากผลกระทบจากวิกฤติแฮมเบอร์ เกอร์ เมื่ อปลายปี
2551 ส่ งผลให้ตลาดโดยรวมชะลอการลงทุน อีกทั้งภาวะราคาเหล็กที่ผนั ผวนมากในช่วงต้นปี 2552 ส่ วนในปี 2553 นั้นมีกาํ ไร
สุ ทธิเพิ่มขึ้น เนื่องจากเศรษฐกิจในประเทศเริ่ มฟิ้ นตัวตามภาวะเศรษฐกิจโลก รวมทั้งได้รับผลกระทบจากโครงการไทยเข้มแข็ง

รายงานประจําปี 2553 54
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ฐานะการเงิน

ตารางแสดงโครงสร้ างทางการเงิน
2551 2552 2553
รายการ
พันบาท ร้ อยละ พันบาท ร้ อยละ พันบาท ร้ อยละ
สิ นทรัพย์หมุนเวียน 112,636.67 55.36 107,415.46 55.93 76,902.95 47.14
สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน 90,818.75 44.64 84,626.59 44.07 86,237.39 52.86
รวมสิ นทรัพย์ 203,455.42 100.00 192,042.05 100.00 163,140.34 100.00
หนี้สินหมุนเวียน 84,482.85 41.52 92,938.15 48.39 60,371.66 37.01
หนี้สินไม่หมุนเวียน 17,510.59 8.61 12,435.95 6.48 9,627.32 5.90
รวมหนีส้ ิ น 101,993.44 50.13 105,374.10 54.87 69,998.98 42.91
ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ 101,461.98 49.87 86,667.95 45.13 93,141.36 57.09
รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น 203,455.42 100.00 192,042.05 100.00 163,140.34 100.00
อัตราส่ วนหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุน้ (เท่า) 1.01 1.22 0.75

สิ นทรัพย์

บริ ษทั มีสินทรัพย์รวม ณ สิ้ นปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 จํานวน 203.45 ล้านบาท 192.04 ล้านบาท และ 163.14 ล้าน
บาท ตามลําดับ คิดเป็ นอัตราการลดลงร้อยละ 5.61 และร้อยละ 15.05 ตามลําดับ สาเหตุการเปลี่ยนแปลงในสิ นทรัพย์รวม ส่ วน
หนึ่ งมาจากการลดลงของสิ นทรัพย์หมุนเวียนอันเกิดจากลูกหนี้ การค้าในปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 เท่ากับ 40.71 ล้านบาท
37.68 ล้านบาท และ 31.80 ล้านบาท ตามลําดับ คิดเป็ นอัตราการลดลงร้อยละ 7.44 และร้อยละ 15.60 ตามลําดับ และการลดลง
ของส่ วนของสิ นค้าคงเหลือในปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 เท่ากับ 47.35 ล้านบาท 41.04 ล้านบาท และ 20.27 ล้านบาท
ตามลําดับ คิดเป็ นอัตราการลดลงร้อยละ 13.33 และร้อยละ 50.61 ตามลําดับ
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนิ นงานสําหรับปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 เป็ นบวกมาโดยตลอด โดยมีจาํ นวน 10.93
ล้านบาท 4.60 ล้านบาท และ 40.03 ล้านบาท ตามลําดับ สาเหตุ ห ลักที่ ท าํ ให้กระแสเงิ นสดจากการดําเนิ นงานเกิ ดการ
เปลี่ยนแปลงคือ (1) เจ้าหนี้ การค้าลดลงในปี 2552 และปี 2553 จํานวน 3.93 ล้านบาท และ 13.05 ล้านบาท ตามลําดับ เนื่ องจาก
บริ ษทั ลดการสั่งซื้ อวัตถุดิบจากค่างินบาทที่แข็งตัวอย่างรวดเร็ ว (2) รายได้รับล่วงหน้าเพิ่มขึ้นในปี 2552 และลดลงในปี 2553
จํานวน 12.85 ล้านบาท และ 8.46 ล้านบาท ตามลําดับ อันเนื่ องจากบริ ษทั สามารถส่ งมอบงานได้เร็ วขึ้น (3) เงินสดและเงินฝาก
สถาบันการเงิน ปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 เท่ากับ 13.27 ล้านบาท 4.80 ล้านบาท และ 10.87 ล้านบาท ตามลําดับ ในปี 2551
นั้นมีการจ่ายเงินปันผล 15.0 ล้านบาท ปี 2552 ภาวะตลาดโดยรวมไม่ค่อยดี บริ ษทั ฯมีการจ่ายเงินปั นผล 18.49 ล้านบาท ปี 2553
ภาวะเศรษฐกิจเริ่ มฟื้ นตัวช่วงปลายปี มีการจ่ายเงินปั นผล 12.49 ล้านบาท

คุณภาพของสิ นทรัพย์

ลูกหนี้การค้า
บริ ษทั มีลกู หนี้การค้าและตัว๋ เงินรับ – สุ ทธิ ณ สิ้ นปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 จํานวน 40.71 ล้านบาท 37.68 ล้านบาท
และ 31.80 ล้านบาทตามลําดับ

รายงานประจําปี 2553 55
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

บริ ษทั ได้ต้ งั ค่าเผื่อหนี้ ส งสัยจะสู ญโดยประมาณการจากจํานวนหนี้ ที่ อาจเกิ ดขึ้ นจากการเก็บเงิ นจากลูกหนี้ ไม่ได้
โดยเฉพาะลูกหนี้ การค้าที่มีอายุมากกว่า 6 เดือนถึง 12 เดือน และอายุมากกว่า 12 เดือนขึ้นไป มาคํานวณเป็ นค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะ
สู ญ ซึ่ งจํานวนค่าเผือ่ หนี้ประมาณขึ้นจากประสบการณ์ในการเก็บเงินในอดีต และตามสถานะทางการเงินของลูกหนี้ สําหรับ ณ
สิ้ นปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 บริ ษทั มีค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญเป็ นจํานวนรวม 11.62 ล้านบาท 13.11 ล้านบาท และ 15.70 ล้าน
บาท ตามลําดับ คิดเป็ นอัตราการเพิม่ ขึ้นร้อยละ 12.82 และร้อยละ 19.76 ตามลําดับ
บริ ษทั มีนโยบายให้เครดิตลูกหนี้จากการขายสิ นค้าเป็ นระยะเวลาประมาณ 30-45 วัน และมีนโยบายเรี ยกเก็บเงินทันที
สําหรับลูกหนี้จากการขายพร้อมติดตั้งโครงการ เนื่องจากตามปกติการขายพร้อมติดตั้งจะเรี ยกเก็บเงินได้ชา้ กว่า ซึ่ งในอดีตที่ผา่ น
มาบริ ษทั สามารถเก็บเงินลูกหนี้ขายพร้อมติดตั้งได้ในระยะเวลาประมาณ 45-60 วัน
อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาความสามารถในการเก็บหนี้ของบริ ษทั จากอัตราส่ วนระยะเวลาการเก็บหนี้เฉลี่ย พบว่าในปี
2551 ปี 2552 และปี 2553 บริ ษทั มีระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย 60 วัน 80 วัน และ 74 วัน ตามลําดับ ในปี 2551 นั้นบริ ษทั เริ่ มเข้มงวด
กับเครดิตมากขึ้น จึงส่ งผลให้ระยะเวลาอยูใ่ นเกณฑ์เฉลี่ย ปี 2552 ยังอยูใ่ นเกณฑ์ที่สูงกว่าอัตราเฉลี่ยที่ 30-60 วัน เนื่องจากภาวะ
ตลาดการเงินตึงตัว ปี 2553 ดีข้ ึนกว่าปี ก่อนเล็กน้อย เนื่องจากภาวะตลาดเริ่ มดีข้ ึน บริ ษทั สามารถเข้มงวดกับเครดิตได้มากขึ้น

สภาพคล่ อง

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนิ นงานสําหรับปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 เป็ นบวกมาโดยตลอดโดยมีจาํ นวน 10.93
ล้านบาท 4.60 ล้านบาท และ 40.03 ล้านบาท ตามลําดับ สาเหตุ ห ลักที่ ท าํ ให้กระแสเงิ นสดจากการดําเนิ นงานเกิ ดการ
เปลี่ยนแปลงคือ (1) เจ้าหนี้การค้าในปี 2552 เทียบกับปี 2551 ลดลง 3.93 ล้านบาท ในปี 2553 เทียบกับปี 2552 ลดลง 13.05 ล้าน
บาท (2) รายได้รับล่วงหน้าเพิ่มขึ้นในปี 2552 เท่ากับ 12.85 ล้านบาท อันเนื่องจากบริ ษทั สามารถส่ งมอบงานได้รวดเร็ วขึ้น และ
ปี 2553 มูลค่างานที่ยงั ไม่ส่งมอบอีก 8.45 ล้านบาท
กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุนในปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 เท่ากับ 10.80 ล้านบาท 0.79 ล้านบาท และ 0.43
ล้านบาท ตามลําดับ
ในปี 2551 บริ ษทั ได้จ่ายเงินปั นผลจากผลประกอบการของปี 2550 เป็ นจํานวนเงิน 7.50 ล้านบาท และจ่ายเงินปั นผล
ระหว่างกาลจากผลประกอบการปี 2551 เป็ นจํานวนเงิน 7.50 ล้านบาท ปี 2552 บริ ษทั ฯได้จ่ายเงินปั นผลจากผลประกอบการปี
2551 จํานวน 6.00 ล้านบาท และจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาล 2 ครั้ง เป็ นเงิน 2.50 ล้านบาท และ 9.99 ล้านบาท ตามลําดับ ปี 2553
บริ ษทั ฯ ได้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากกําไรสะสม เป็ นจํานวนเงิน 2.50 ล้านบาท

แหล่งที่มาของทุน

ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้

ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ณ สิ้ นปี 2552 และปี 2553 เท่ากับ 86.67 ล้านบาท และ 93.14 ล้านบาท ตามลําดับ คิดเป็ น
สัดส่ วนการเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.47 สําหรับปี 2552 ผลการดําเนินงานมีกาํ ไรสุ ทธิ 3.70 ล้านบาท และได้มีการจ่ายเงินปั นผล 18.49
ล้านบาท ปี 2553 ผลการดําเนินงานมีกาํ ไรสุ ทธิ 8.98 ล้านบาท และได้มีการจ่ายเงินปันผล 2.5 ล้านบาท

หนี้สิน

หนี้ สินรวมของบริ ษทั ณ สิ้ นปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 มีจาํ นวนรวม 101.99 ล้านบาท 105.37 ล้านบาท และ 69.99
ล้า นบาท ตามลํา ดับ คิ ด เป็ นอัต ราการเพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 3.31 และลดลงร้ อ ยละ 33.58 ตามลํา ดับ ซึ่ งสาเหตุ สํา คัญ ของการ

รายงานประจําปี 2553 56
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

เปลี่ยนแปลง เนื่ องมาจาก (1) การเปลี่ยนแปลงของหนี้ สินหมุ นเวียน ณ สิ้ นปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 บริ ษทั มี หนี้ สิน
หมุนเวียนเท่ากับ 84.48 ล้านบาท 92.93 ล้านบาท และ 60.37 ล้านบาท ตามลําดับ คิดเป็ นอัตราการเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.00 และ
ลดลงร้อยละ 35.04 ตามลําดับ ในปี 2551 เจ้าหนี้ การค้าลดลงจากปี 2550 จาก 61.92 ล้านบาท เป็ น 54.63 ล้านบาท ปี 2552
เจ้าหนี้ การค้าลดลงอีก 4.14 ล้านบาท เป็ น 50.48 ล้านบาท และปี 2553 เจ้าหนี้ การค้าลดลงอีก 13.05 ล้านบาท เป็ น 37.43 ล้าน
บาท

บริ ษ ัท มี ภ าระผูก พัน ในการรั บ ประกัน คุ ณ ภาพสิ น ค้าและบริ ก ารติ ด ตั้ง ให้กับ ลูกค้า ของบริ ษ ทั ภายใต้เ งื่ อ นไขว่า
การชํารุ ดเสี ยหายนั้นต้องเกิ ดขึ้ นจากตัววัสดุ สินค้าเองโดยตรง ซึ่ งไม่ครอบคลุ มถึ งความเสี ยหายอันเกิ ดจากการกระทําอื่ น
ภายนอกที่มาก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ตวั สิ นค้า โดยมีระยะเวลารับประกันประมาณ 1 – 30 ปี อย่างไรก็ตาม ฝ่ ายบริ หารของ
บริ ษทั เชื่อว่า บริ ษทั ไม่มีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างเป็ นสาระสําคัญจากการรับประกันดังกล่าว เนื่องจากผูจ้ ดั จําหน่ายสิ นค้าของ
บริ ษทั มีการรับประกันคุณภาพสิ นค้าต่อภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน โดยมีระยะเวลารับประกัน 5 – 30 ปี ซึ่ งทําให้บริ ษทั สามารถเรี ยก
ค่าเสี ยหายจากผูจ้ ดั จําหน่ ายได้ตลอดระยะเวลาการรับประกันสิ นค้า ดังนั้น บริ ษทั จึงไม่ได้รับรู้ค่าใช้จ่ายและหนี้ สินที่ อาจจะ
เกิดขึ้นจากการรับประกันดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ยังมีหนี้ สินอันเป็ นภาระผูกพันจากหนังสื อคํ้าประกันการรับงานที่ออก
โดยธนาคาร ที่ใช้สิ้นปี 2553 จํานวน 1.15 ล้านบาท

รายงานประจําปี 2553 57
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เสนอต่อผูถ้ ือหุน้ และคณะกรรมการของบริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 งบกําไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลง


ในส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ และงบกระแสเงินสด สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดียวกันของแต่ละปี ของบริ ษทั สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน) ซึ่ ง
ผูบ้ ริ หารของกิจการเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลใน งบการเงินเหล่านี้ ส่ วนข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบใน
การแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าว จากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทัว่ ไป ซึ่ งกําหนดให้ข า้ พเจ้าต้องวางแผน


และปฏิ บ ตั ิ ง านเพื่อ ให้ไ ด้ค วามเชื่ อ มัน่ อย่า งมี เ หตุผ ลว่า งบการเงิ น แสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม่
การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็ นจํานวนเงินและการเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงิน การ
ประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็ นสาระสําคัญ ซึ่ งผูบ้ ริ หาร
เป็ นผูจ้ ดั ทําขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นาํ เสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่ อว่าการ
ตรวจสอบดังกล่าวให้ขอ้ สรุ ปที่เป็ นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ผลการดําเนินงาน และ


กระแสเงิ นสด สําหรั บปี สิ้ นสุ ดวันเดี ยวกันของแต่ละปี ของบริ ษทั สตี ล อิ นเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ ควรใน
สาระสําคัญ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป

บริ ษทั เอส.เค. แอคเคาน์แต้นท์ เซอร์วสิ เซส จํากัด

(นายนริ ศ เสาวลักษณ์สกุล)
ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 5369

กรุ งเทพมหานคร
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554

รายงานประจําปี 2553 58
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

บริษัท สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน)


งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

2553 2552
บาท บาท
สิ นทรัพย์
สิ นทรัพย์ หมุนเวียน
เงิ นสดและรายการเทียบเท่าเงิ นสด (หมายเหตุ 5) 10,870,603.48 4,800,715.85
ลูกหนี้ การค้า และตัว๋ เงิ นรับ - สุ ทธิ (หมายเหตุ 6) 31,803,022.94 37,685,485.47
มูลค่างานเสร็ จที่ยงั ไม ่ได้เรี ยกเก็บ - สุ ทธิ (หมายเหตุ 7) 10,625,245.03 20,009,938.34
สิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ (หมายเหตุ 8) 20,270,401.46 41,044,277.52
สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น 3,333,681.96 3,875,039.19
รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน 76,902,954.87 107,415,456.37
สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (หมายเหตุ 9) 81,057,195.02 80,811,263.73
สิ นทรัพย์ไม ่มีตวั ตน - สุ ทธิ (หมายเหตุ 10) 349,555.33 479,747.33
เงิ นประกันผลงาน - สุ ทธิ (หมายเหตุ 11) 4,830,638.44 3,335,581.43
รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน 86,237,388.79 84,626,592.49
รวมสิ นทรัพย์ 163,140,343.66 192,042,048.86

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจําปี 2553 59
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

บริษัท สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน)


งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552
2553 2552
บาท บาท
หนี้สินและส่ วนของผู้ถือหุ้น
หนี้สินหมุนเวียน
เงิ นกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิ น (หมายเหตุ 12 , 13) - 10,000,000.00
เจ้าหนี้ การค้า 37,434,298.26 50,487,955.42
ส่วนของเงิ นกูย้ ืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ปี (หมายเหตุ 12 , 14) 2,316,000.00 3,036,000.00
ส่วนของหนี้ สินภายใต้สัญญาเชา่ การเงิ นที่ถึงกําหนดชําระใน 1 ปี (หมายเหตุ 15) 1,834,541.21 1,592,990.81
หนี้ สินหมุนเวียนอื่น
ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย 3,651,947.04 4,040,879.67
เงิ นปั นผลค้างจ่าย 32,953.17 10,003,170.00
เงิ นเรี ยกเก็บสู งกว ่ามูลค่างานที่เสร็ จ (หมายเหตุ 7) 3,938,194.05 8,140,148.25
เงิ นมัดจํารับค่าสิ นค้า 6,728,696.92 2,294,039.60
อื่นๆ 4,435,029.67 3,342,963.79
รวมหนี้สินหมุนเวียน 60,371,660.32 92,938,147.54
หนี้สินไม่ หมุนเวียน
เงิ นกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ น (หมายเหตุ 12 , 14) 5,287,681.35 10,803,681.35
หนี้ สินภายใต้สัญญาเชา่ การเงิ น - สุ ทธิ (หมายเหตุ 15) 4,339,638.95 1,632,271.23
รวมหนี้สินไม่ หมุนเวียน 9,627,320.30 12,435,952.58
รวมหนี้สิน 69,998,980.62 105,374,100.12
ส่ วนของผู้ถือหุ้น
ทุนเรื อนหุ ้น
ทุนจดทะเบียน (หมายเหตุ 19)
หุ ้นสามัญ 500,000,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 1.00 บาท 500,000,000.00 -
หุ ้นสามัญ 50,000,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 1.00 บาท - 50,000,000.00
ทุนที่ออกและเรี ยกชําระแล้ว
หุ ้นสามัญ 50,000,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 1.00 บาท 50,000,000.00 50,000,000.00
ส่วนเกินมูลค่าหุ ้น 25,870,200.00 25,870,200.00
กําไร(ขาดทุน)สะสม
จัดสรรแล้ว
สํารองตามกฎหมาย 5,415,157.44 5,415,157.44
ยังไม ่ได้จดั สรร 11,856,005.60 5,382,591.30
รวมส่ วนของผู้ถ ือหุ้น 93,141,363.04 86,667,948.74
รวมหนี้สินและส่ วนของผู้ถือหุ้น 163,140,343.66 192,042,048.86
หมายเหตุประกอบงบการเงิ นเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงิ นนี้

รายงานประจําปี 2553 60
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

บริษัท สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน)


งบกําไรขาดทุน
สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

2553 2552
บาท บาท
รายได้จากการขาย 145,105,141.58 148,316,246.21
รายได้จากการขายพร้อมติดตั้ง 166,330,223.54 144,810,431.97
รวมรายได้ 311,435,365.12 293,126,678.18
ต้นทุนขาย (123,236,934.49) (127,420,573.05)
ต้นทุนขายพร้อมติดตั้ง (132,007,572.53) (121,354,008.23)
รวมต้ นทุนขาย (255,244,507.02) (248,774,581.28)
กําไรขั้นต้ น 56,190,858.10 44,352,096.90
รายได้อื่น 4,819,074.37 2,649,223.08
กําไร(ขาดทุน)ก่ อนค่ าใช้ จ่าย 61,009,932.47 47,001,319.98
ค่าใช้จา่ ยในการขาย (9,545,430.39) (7,086,650.94)
ค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร (26,750,736.27) (22,042,636.66)
ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร (หมายเหตุ 16) (10,727,100.61) (10,858,978.20)
รวมค่ าใช้ จ่าย (47,023,267.27) (39,988,265.80)
กําไร(ขาดทุน)ก่ อนต้ นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ นิติบุคคล 13,986,665.20 7,013,054.18
ต้นทุนทางการเงิ น (1,477,356.47) (1,728,012.71)
กําไร(ขาดทุน)ก่ อนภาษีเงินได้ นิติบุคคล 12,509,308.73 5,285,041.47
ภาษีเงิ นได้นิติบุคคล (หมายเหตุ 17) (3,535,894.43) (1,581,289.42)
กําไร(ขาดทุน)สุ ทธิ 8,973,414.30 3,703,752.05

กําไร(ขาดทุน)ต่อหุ ้นขั้นพื้นฐาน (บาท) 0.18 0.07


จํานวนหุ ้นสามัญ (หุ ้น) 50,000,000 50,000,000

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจําปี 2553 61
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

บริษัท สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน)


งบแสดงการเปลีย่ นแปลงในส่ วนของผู้ถือหุ้น
สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

ทุนเรือนหุ้น ส่ วนเกินมูล ค่ า กําไรสะสม


รวม
ทีอ่ อกและชําระแล้ ว หุ้นสามัญ จัดสรรแล้ ว ยังไม่ ได้ จัดสรร
บาท บาท บาท บาท บาท
ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 50,000,000.00 25,870,200.00 5,415,157.44 5,382,591.30 86,667,948.74
เงิ นปั นผลจ่าย (หมายเหตุ 20) - - - (2,500,000.00) (2,500,000.00)
กําไร(ขาดทุน)สุ ทธิ - - - 8,973,414.30 8,973,414.30
ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 50,000,000.00 25,870,200.00 5,415,157.44 11,856,005.60 93,141,363.04

ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 50,000,000.00 25,870,200.00 5,415,157.44 20,176,619.25 101,461,976.69


เงิ นปั นผลจ่าย (หมายเหตุ 20) - - - (18,497,780.00) (18,497,780.00)
กําไร(ขาดทุน)สุ ทธิ - - - 3,703,752.05 3,703,752.05
ยอดคงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 50,000,000.00 25,870,200.00 5,415,157.44 5,382,591.30 86,667,948.74

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจําปี 2553 62
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

บริษัท สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน)


งบกระแสเงินสด
สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552
2553 2552
บาท บาท
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน
กําไร(ขาดทุน)ก ่อนภาษีเงิ นได้นิติบุคคล 12,509,308.73 5,285,041.47
ปรับรายการกระทบกําไร(ขาดทุน)สุ ทธิ เป็ นเงิ นสดรับ(จ่าย)จากการดําเนิ นงาน
หนี้ สงสัยจะสู ญ-ลูกหนี้ การค้า และตัว๋ เงิ นรับ 1,379,602.88 1,544,162.80
หนี้ สงสัยจะสู ญ-มูลค่างานเสร็ จที่ยงั ไม ่ได้เรี ยกเก็บ 926,242.88 -
หนี้ สงสัยจะสู ญ-ลูกหนี้ อื่น - 150,181.91
ขาดทุนจากการมูลค่าสิ นค้าลดลง - 101,484.89
ขาดทุนจากการไม ่ขอคืนภาษีเงิ นได้หัก ณ ที่จา่ ย 1,733,276.24 -
ค่าเสื่ อมราคา 8,137,425.65 8,290,194.93
(กําไร)ขาดทุนจากการขายสิ นทรัพย์ (1,579,434.26) (27,469.90)
(กําไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม ่เกิดขึ้นจริ ง - (216,962.62)
ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ 14,734.06 23,191.18
ค่าตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไม ่มีตวั ตน 130,192.00 118,415.78
ดอกเบี้ยจ่าย 1,018,265.29 1,064,912.49
ดอกเบี้ยจ่ายสัญญาเชา่ การเงิ นตัดบัญชี 362,303.54 298,750.24
กําไร(ขาดทุน)จากกิจกรรมดําเนิ นงานก ่อนการเปลี่ยนแปลงในสิ นทรัพย์และหนี้ สินดําเนิ นงาน 24,631,917.01 16,631,903.17
(เพิ่มขึ้น)ลดลงในลูกหนี้ การค้า และตัว๋ เงิ นรับ 4,288,736.21 1,540,554.74
(เพิ่มขึ้น)ลดลงในมูลค่างานเสร็ จที่ยงั ไม ่ได้เรี ยกเก็บ 8,458,450.43 (12,850,947.28)
(เพิ่มขึ้น)ลดลงในสิ นค้าคงเหลือ 20,773,876.06 6,181,604.85
(เพิ่มขึ้น)ลดลงในเงิ นประกันผลงาน (1,495,057.01) (1,760,018.40)
(เพิ่มขึ้น)ลดลงในสิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น (267,320.72) 1,858,549.35
เพิ่มขึ้น(ลดลง)ในเจ้าหนี้ การค้า (13,053,657.16) (3,929,614.27)
เพิม่ ขึ้น(ลดลง)ในค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย (388,932.63) (467,833.63)
เพิ่มขึ้น(ลดลง)ในเงิ นเรี ยกเก็บสู งกว ่ามูลค่างานที่เสร็ จ (4,201,954.20) 3,797,603.43
เพิ่มขึ้น(ลดลง)ในหนี้ สินหมุนเวียนอื่น 5,740,846.64 (2,239,893.06)
เงิ นสดรับ(จ่าย)จากการดําเนิ นงาน 44,486,904.63 8,761,908.90
เงิ นสดจ่ายค่าภาษีเงิ นได้นิติบุคคลและภาษีถูกหัก ณ ที่จา่ ย (4,460,492.72) (4,161,135.27)
เงินสดสุ ทธิได้ มา (ใช้ ไป) จากกิจกรรมดําเนินงาน 40,026,411.91 4,600,773.63
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน
เงิ นสดรับจากการขายสิ นทรัพย์ 1,579,439.26 27,529.40
เงิ นสดจ่ายเพื่อซื้อสิ นทรัพย์ (2,007,096.00) (737,566.25)
เงิ นสดจ่ายเพื่อซื้อสิ นทรัพย์ไม ่มีตวั ตน - (85,700.00)
เงินสดสุ ทธิได้ มา (ใช้ ไป) จากกิจกรรมลงทุน (427,656.74) (795,736.85)
หมายเหตุประกอบงบการเงิ นเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงิ นนี้

รายงานประจําปี 2553 63
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

บริษัท สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน)


งบกระแสเงินสด
สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

2553 2552
บาท บาท
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน
เพิ่มขึ้น(ลดลง)ในเงิ นกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิ น (10,000,000.00) 2,000,000.00
เงิ นสดจ่ายคืนเงิ นกูย้ ืมระยะยาว (6,236,000.00) (3,036,000.00)
เงิ นสดจ่ายหนี้ สินภายใต้สัญญาเชา่ การเงิ น (3,804,385.42) (1,673,643.83)
เงิ นสดจ่ายค่าดอกเบี้ย (1,018,265.29) (1,064,912.49)
เงิ นสดจ่ายเงิ นปั นผล (12,470,216.83) (8,499,617.50)
เงินสดสุ ทธิได้ มา (ใช้ ไป) จากกิจกรรมจัดหาเงิน (33,528,867.54) (12,274,173.82)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึ้น (ลดลง) สุ ทธิ 6,069,887.63 (8,469,137.04)


เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้ นงวด (หมายเหตุ 5) 4,800,715.85 13,269,852.89
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายงวด (หมายเหตุ 5) 10,870,603.48 4,800,715.85

ข้ อมูล กระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิม่ เติม


1. รายการที่ไม ่กระทบงบกระแสเงิ นสด
1.1 ยานพาหนะเพิม่ ขึ้นจากการทําสัญญาเชา่ การเงิ น 6,391,000.00 -
1.2 ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ-ลูกหนี้ การค้า(เพิ่มขึ้น)ลดลงจากมูลค่าภาษีขายรอเรี ยกเก็บ (214,123.44) 55,944.86
1.3 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์เพิ่มขึ้นจากการรับโอนจากสิ นค้าสําเร็ จรู ป - 18,224.20

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
รายงานประจําปี 2553 64
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

บริษัท สตีล อินเตอร์ เทค จํากัด (มหาชน)


หมายเหตุประกอบงบการเงิน
วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

1. ข้ อมูลทัว่ ไป
บริ ษทั ฯ ได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์เป็ นนิติบุคคลประเภทบริ ษทั จํากัด เมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม
2536 ตามทะเบียนเลขที่ (3)215/2536 และจดทะเบียนเป็ นบริ ษทั มหาชน เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2548 ตามทะเบียนเลขที่
0107574800137 โดยมีสํานักงานใหญ่ต้ งั อยูเ่ ลขที่ 8/88 หมู่ที่ 12 ตําบลราชาเทวะ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
และสํานักงานสาขา ตั้งอยูเ่ ลขที่ 8 หมู่ที่ 15 ตําบลบางพลีใหญ่ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีกลุ่มตระกูลอุ่นว
รวงศ์ เป็ นผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ ในสัดส่ วนร้อยละ 46 ของทุนจดทะเบียนทั้งหมด
บริ ษทั ฯ ประกอบธุรกิจหลักเกี่ยวกับการจําหน่ายวัสดุก่อสร้าง ผลิตแผ่นหลังคาและให้บริ การติดตั้งแผ่นหลังคา

2. เกณฑ์ ในการจัดทํางบการเงิน
2.1 บริ ษทั ฯ ได้จดั ทํางบการเงินขึ้ นตามมาตรฐานการบัญ ชี ที่กาํ หนดในพระราชบัญ ญัติวิชาชี พบัญ ชี พ.ศ. 2547
และการแสดงรายการในงบการเงิ น ได้ท าํ ขึ้ น ตามมาตรฐานการบัญ ชี ฉ บับ ที่ 1 (ปรั บ ปรุ ง 2550) เรื่ อ งการ
นํา เสนองบการเงิ น และตามข้อ กํา หนดของคณะกรรมการกํา กับ หลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ว่า ด้ว ยการ
จัดทําและนําเสนอรายงานทางการเงิ น
2.2 งบการเงินนี้ได้จดั ทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นตามที่ระบุในนโยบายการบัญชี
2.3 ในการจัดทํางบการเงินให้เป็ นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป ฝ่ ายจัดการของบริ ษทั ฯ ต้องใช้การประมาณและ
ตั้งสมมติฐานหลายประการ ซึ่ งมีผลกระทบต่อจํานวนเงินที่เกี่ยวกับรายได้ ค่าใช้จ่าย สิ นทรัพย์และหนี้ สิน และการ
เปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสิ นทรัพย์และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ซึ่ งผลที่เกิดจริ งอาจแตกต่างไปจากจํานวนที่ได้ประมาณไว้
2.4 เพื่อ ความสะดวกของผูใ้ ช้ง บการเงิน จึ ง ได้มี การแปลงบการเงิน เป็ นภาษาอัง กฤษจากงบการเงิน ที่จ ดั ทํา เป็ น
ภาษาไทย
2.5 บริ ษทั ฯได้จดั ประเภทรายการบางรายการในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ที่นาํ มาแสดงเปรี ยบเทียบ
ใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดประเภทรายการบัญ ชี ของงวดปั จจุ บนั ซึ่ งไม่มีผลต่อกําไรสุ ทธิ หรื อส่ วนของผู้
ถื อหุ ้นตามที่ ได้รายงานไว้แล้ว ดังนี้
จํานวนเงิน
(พันบาท)
สิ นทรัพย์หมุนเวียน ลดลง (1,493)
สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เพิ่มขึ้น 1,493

3. การประกาศใช้ มาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน


ใหม่
สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 17/2553 และฉบับที่ 50 ถึง 55/2553 เกี่ยวกับมาตรฐานการ
บัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ซ่ ึ งยังไม่มีผลบังคับใช้ในปี
ปั จจุบนั ยกเว้นแม่บทการบัญชีซ่ ึ งมีผลบังคับใช้ทนั ทีที่ประกาศ
รายงานประจําปี 2553 65
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

วันที่มีผลบังคับใช้
แม่บทการบัญชี (ปรับปรุ ง 2552) มีผลบังคับใช้ทนั ที
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2552) การนําเสนองบการเงิน 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2552) สิ นค้าคงเหลือ 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2552) งบกระแสเงินสด 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2552) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2552) เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2552) สัญญาก่อสร้าง 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 ภาษีเงินได้ 1 มกราคม 2556
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2552) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2552) สัญญาเช่า 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2552) รายได้ 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงาน 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2552) การบัญชีสาํ หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ 1 มกราคม 2556
ความช่วยเหลือจากรัฐบาล
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 1 มกราคม 2556
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2552) ต้นทุนการกูย้ มื 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2552) การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 26 การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2552) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2552) เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้ อรุ นแรง 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2552) ส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้า 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุ ง 2552) กําไรต่อหุน้ 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2552) งบการเงินระหว่างกาล 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2552) การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ 1 มกราคม 2554
วันที่มีผลบังคับใช้
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2552) ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2552) สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2552) อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2552) รวมธุรกิจ 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2552) สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก 1 มกราคม 2554
มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 6 การสํารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ 1 มกราคม 2554
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15 สัญญาการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ 1 มกราคม 2554

ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ฯได้ประเมินแล้วเห็นว่า มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินข้างต้นจะ


ไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงิ นสําหรั บปี ที่ เริ่ มใช้มาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทาง
การเงินดังกล่าว ยกเว้น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่ อง ผลประโยชน์พนักงานที่ฝ่ายบริ หารของบริ ษทั ฯ อยูร่ ะหว่าง
ดําเนินการประเมินภาระหนี้สินเกี่ยวกับผลประโยชน์ของพนักงานจากการเกษียณอายุ

รายงานประจําปี 2553 66
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

4. สรุปนโยบายการบัญชีทสี่ ํ าคัญ
4.1 การรับรู้รายได้
- รายได้จากการขายสิ นค้ารับรู้เมื่อได้ส่งมอบสิ นค้า
- รายได้จากการขายพร้อมติดตั้ง รับรู้รายได้ตามวิธีอตั ราส่ วนของงานที่ทาํ เสร็ จ ซึ่ งคํานวณตาม อัตราส่ วนต้นทุน
ของงานที่ทาํ เสร็ จจนถึงปัจจุบนั กับต้นทุนทั้งหมดที่ประมาณว่าจะเกิดขึ้นจากการขายพร้อมติดตั้ง
- รายได้ดอกเบี้ยรับ รับรู้ตามเกณฑ์สัดส่ วนของเวลา โดยคํานวณจากยอดเงินต้นคงค้าง
4.2 การรับรู้ค่าใช้จ่าย
- ค่าใช้จ่ายรับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง
4.3 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดรวมเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ กระแสรายวันและประจําไม่เกิน 3
เดือน ที่ไม่ติดภาระคํ้าประกัน
4.4 ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น และค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ลูกหนี้ การค้า และลูกหนี้ อื่ นแสดงตามมูลค่าสุ ทธิ ที่ค าดว่าจะได้รั บ บริ ษทั ฯ บันทึ กค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ
สําหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่ งโดยทัว่ ไปพิจารณาจากประสบการณ์
การเก็บเงิน การวิเคราะห์อายุลกู หนี้และการสอบทานสถานะลูกหนี้ที่คงค้างอยู่ ณ วันที่ในงบดุล
4.5 สิ นค้าคงเหลือ
สิ นค้าคงเหลือตีตามราคาทุนโดยวิธีเข้าก่อน-ออกก่อนหรื อมูลค่าสุ ทธิที่จะได้รับแล้วแต่อย่างใดจะตํ่ากว่า
4.6 ต้นทุนการกูย้ มื
ดอกเบี้ยจ่ายที่เกิดจากเงินกูย้ ืมเพื่อใช้ในการก่อสร้างอาคาร จัดหาเครื่ องจักร และอุปกรณ์บนั ทึกเป็ นส่ วนหนึ่ ง
ของต้นทุนทรัพย์สิน และจะหยุดบันทึกดอกเบี้ยเป็ นต้นทุนทรัพย์สินเมื่อการก่อสร้างหรื อติดตั้งแล้วเสร็ จ
4.7 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ณ วันเริ่ มรายการแสดงในราคาทุนและคํานวณค่าเสื่ อมราคาโดยวิธีเส้นตรงตามอายุ
การใช้งานโดยประมาณของสิ นทรัพย์ดงั นี้
อาคารโรงงาน 20 ปี
เครื่ องจักร 5, 10 ปี
แม่พิมพ์ 5 ปี
เครื่ องมือเครื่ องใช้ 5 ปี
เครื่ องตกแต่งและติดตั้ง 5 ปี
อุปกรณ์สาํ นักงาน 5 ปี
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 5 ปี
บริ ษทั ฯ ไม่คิดค่าเสื่ อมราคาสําหรับที่ดิน และสิ นทรัพย์ที่อยูร่ ะหว่างก่อสร้าง
รายจ่ายที่ เกี่ ยวกับการต่อเติม การต่ออายุ หรื อการปรั บปรุ งสิ นทรั พย์ให้ดีข้ ึ น ซึ่ งทําให้ราคาเปลี่ยนแทนใน
ปั จจุ บนั ของสิ นทรั พย์เพิ่มขึ้ นอย่างเป็ นสาระสําคัญจะรวมเป็ นราคาทุ นของสิ นทรั พย์ สําหรั บค่าซ่ อมแซมและ
บํารุ งรักษารับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้น
กําไรหรื อขาดทุนจากการจําหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ คํานวณจากผลต่างระหว่างเงินสดรับสุ ทธิ กบั ราคาตาม
บัญชีและรับรู้เป็ นรายได้อื่น หรื อค่าใช้จ่ายอื่นในงบกําไรขาดทุน

รายงานประจําปี 2553 67
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

4.8 สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน
สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ประเภทโปรแกรมคอมพิวเตอร์ บันทึกตามราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสม โดยจะตัด
จําหน่ายตามวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจประมาณ 5 ปี
4.9 การด้อยค่าของสิ นทรัพย์
ยอดสิ นทรัพย์คงเหลือตามบัญชีได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่ในงบดุลว่ามีขอ้ บ่งชี้เรื่ องการด้อยค่าหรื อไม่ ใน
กรณี ที่มีขอ้ บ่งชี้จะทําการประมาณมูลค่าสิ นทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืนโดยจะรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่า
ตามบัญชีของสิ นทรัพย์หรื อมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดสู งกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน
ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในงบกําไรขาดทุน
การคํานวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน
- มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงราคาขายของสิ นทรัพย์ หรื อมูลค่าจากการใช้ของสิ นทรัพย์ แล้วแต่มูลค่าใดจะสู ง
กว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสิ นทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสด ที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็ น
มูลค่าปั จจุบนั โดยใช้อตั ราคิดลดก่อนคํานวณภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปั จจุบนั ซึ่ ง
แปรไปตามเวลาและความเสี่ ยงที่มีต่อสิ นทรัพย์ สําหรับสิ นทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดเงินสดซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นหน่วยแยก
อิสระจากสิ นทรัพย์อื่นๆ ให้พิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนให้สอดคล้องกับหน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด
ที่สินทรัพย์น้ นั มีความเกี่ยวข้องด้วย
การกลับรายการด้อยค่า
- บริ ษทั ฯ จะกลับรายการบัญชีขาดทุนจากการด้อยค่าหากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการคํานวณมูลค่าที่
คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเพื่อให้มูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ไม่เกินกว่า
มูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสื่ อมราคาหรื อค่าตัดจําหน่าย เช่นเดียวกับในกรณี ที่ไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจาก
การด้อยค่ามาก่อน รายการกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะบันทึกเป็ นรายได้ในงบกําไรขาดทุน
4.10 ประมาณการหนี้สิน
บริ ษทั จะบันทึกประมาณการหนี้ สินเมื่อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ของการเกิดภาระผูกพันในปั จจุบนั ตาม
กฎหมายหรื อจากการอนุมานอันเป็ นผลสื บเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีต ภาระผูกพันดังกล่าวคาดว่าจะส่ งผลให้ตอ้ ง
เกิดการไหลออกของทรัพยากรเพื่อจ่ายชําระภาระผูกพันและจํานวนที่ตอ้ งจ่ายสามารถประมาณการได้อย่างน่าเชื่อถือ
รายจ่ายที่จะได้รับคืนบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์แยกต่างหากก็ต่อเมื่อการได้รับคืนคาดว่าจะได้รับอย่างแน่นอนเมื่อได้จ่าย
ชําระประมาณการหนี้สินไปแล้ว
4.11 สัญญาเช่าการเงิน
กรณี บริ ษทั เป็ นผูเ้ ช่า
สัญญาเช่าทรัพย์สินที่มีความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่ วนใหญ่ได้โอนไปให้ผเู้ ช่าทรัพย์สิน
จะถูกจัดเป็ นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินถูกบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของทรัพย์สินที่เช่า
หรื อมูลค่าปั จจุบนั ของจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่ายตามสัญญาเช่า แล้วแต่จาํ นวนใดจะตํ่ากว่า โดยจํานวนเงินที่ตอ้ ง
จ่ายแต่ละครั้งจะแบ่งเป็ นเงินส่ วนของหนี้ สินและค่าใช้จ่ายทางการเงินเพื่อให้อตั ราดอกเบี้ยคงที่ต่อหนี้ สินคงค้างอยู่
ยอดคงเหลือของภาระผูกพันตามสัญญาเช่าการเงินจะถูกบันทึกเป็ นหนี้ สินระยะยาว ดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึ กในงบ
กําไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า ทรัพย์สินที่จดั หาโดยสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่ อมราคาตามอายุการใช้งาน
โดยประมาณของทรัพย์สินนั้น

รายงานประจําปี 2553 68
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

4.12 ผลประโยชน์พนักงาน
บริ ษทั ฯ รับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และค่า
สวัสดิการพนักงานอื่น ๆ เป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ
4.13 เงินตราต่างประเทศ
รายการที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ บันทึกรายการโดยการแปลงค่าเป็ นเงินบาทตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่
เกิดรายการ ยอดคงเหลือของสิ นทรัพย์และหนี้ สินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ ณ วันสิ้ นงวดแปลงค่าเป็ นเงินบาทตาม
อัตราปิ ด ซึ่ งเป็ นอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น ผลกําไรหรื อขาดทุนจากการแปลงค่านี้ แสดงเป็ นรายได้หรื อค่าใช้จ่ายใน
งบกําไรขาดทุนของงวดนั้น
4.14 เครื่ องมือทางการเงิน
เครื่ องมือทางการเงิ น สิ นทรั พย์ทางการเงิ นที่ แสดงในงบดุลประกอบด้วย เงินสดและเงินฝากธนาคาร และ
ลูกหนี้การค้า หนี้สินทางการเงินที่แสดงในงบดุลประกอบด้วย เงินกูย้ มื และเจ้าหนี้การค้า ซึ่ งนโยบายการบัญชีเฉพาะ
สําหรับรายการแต่ละรายการได้เปิ ดเผยแยกไว้ในแต่ละหัวข้อที่เกี่ยวข้อง
4.15 กําไร(ขาดทุน) ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน
กําไร(ขาดทุน)ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไร(ขาดทุน)สุ ทธิ ประจําปี ด้วยจํานวนหุ น้ สามัญถัวเฉลี่ย
ที่ออกจําหน่ ายและเรี ยกชําระแล้ว ซึ่ งไม่ได้คาํ นวณกําไร(ขาดทุน)ต่อหุ ้นปรับลด เนื่ องจากบริ ษทั ฯ ไม่มีหุ้นสามัญ
เทียบเท่า

5. เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด
ประกอบด้วย
ณ วันที่ ณ วันที่
31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552
บาท บาท
เงินสด 40,000.00 40,000.00
เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน 5,680,381.09 3,306,036.35
เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ 5,150,222.39 1,454,679.50
รวม 10,870,603.48 4,800,715.85

รายงานประจําปี 2553 69
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

6. ลูกหนีก้ ารค้ า และตัว๋ เงินรับ-สุ ทธิ


ประกอบด้วย
ณ วันที่ ณ วันที่
31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552
บาท บาท
เช็ครับลงวันที่ล่วงหน้า 7,166,465.36 4,826,822.00
เช็คคืน 7,707,697.16 11,555,437.36
ลูกหนี้การค้า
ยังไม่ถึงกําหนดชําระ 9,495,913.15 7,391,590.63
เกินกําหนด 1- 30 วัน 11,338,630.75 13,788,818.30
เกินกําหนด 31- 60 วัน 691,448.20 1,587,384.52
เกินกําหนด 61-120 วัน 423,410.93 3,259,437.44
เกินกําหนด 121-180 วัน 158,935.65 844,524.30
เกินกําหนด 180 วันขึ้นไป 9,524,256.85 7,541,479.71
รวมทั้งสิ้ น 46,506,758.05 50,795,494.26
หัก ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ (14,703,735.11) (13,110,008.79)
สุ ทธิ 31,803,022.94 37,685,485.47

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญมีรายการเคลื่อนไหว ดังนี้
สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่
31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552
บาท บาท
รายการเคลื่อนไหวค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ
ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญต้นงวด (13,110,008.79) (11,621,790.85)
บวก หนี้สงสัยจะสูญสําหรับงวด (2,350,623.88) (2,047,385.24)
หัก โอนกลับจากการรับชําระ 756,897.56 559,167.30
รวม (14,703,735.11) (13,110,008.79)

รายงานประจําปี 2553 70
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

7. มูลค่ างานเสร็จที่ยงั ไม่ ได้ เรียกเก็บ


ประกอบด้วย
ณ วันที่ ณ วันที่
31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2553
บาท บาท
มูลค่างานตามสัญญา 296,292,986.02 271,691,681.18
ต้นทุนขายพร้อมติดตั้งที่เกิดขึ้นจนถึงปัจจุบนั 221,627,348.81 180,279,434.56
กําไร(ขาดทุน)ที่รับรู้ถึงปัจจุบนั 47,784,828.29 17,514,183.98
ต้นทุนขายพร้อมติดตั้งที่เกิดขึ้นและ(กําไร)ขาดทุนที่รับรู้ 269,412,177.10 197,793,618.54
หัก เงินงวดที่เรี ยกเก็บจากผูจ้ า้ ง (261,798,883.24) (185,923,828.45)
สุ ทธิ 7,613,293.86 11,869,790.09
มูลค่างานเสร็ จที่ยงั ไม่ได้เรี ยกเก็บ 11,551,487.91 20,009,938.34
เงินเรี ยกเก็บสูงกว่ามูลค่างานที่เสร็ จ (3,938,194.05) (8,140,148.25)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มูลค่างานเสร็ จที่ยงั ไม่ได้เรี ยกเก็บ ประกอบด้วย
ณ วันที่ ณ วันที่
31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2553
บาท บาท
มูลค่างานเสร็ จที่ยงั ไม่ได้เรี ยกเก็บ 11,551,487.91 20,009,938.34
หัก ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ (926,242.88) -
สุ ทธิ 10,625,245.03 20,009,938.34

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ มีรายการเคลื่อนไหว ดังนี้
สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่
31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552
บาท บาท
ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ-ต้นงวด - -
บวก เพิ่มขึ้นในระหว่างงวด (926,242.88) -
หัก ลดลงในระหว่างงวด - -
ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ-ปลายงวด (926,242.88) -

รายงานประจําปี 2553 71
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

8. สิ นค้ าคงเหลือ-สุ ทธิ


ประกอบด้วย
ณ วันที่ ณ วันที่
31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552
บาท บาท
สิ นค้าสําเร็ จรู ป 1,786,777.54 3,721,354.93
งานระหว่างทํา 2,312,638.88 3,202,449.00
วัตถุดิบ 16,745,012.63 32,629,746.67
วัสดุสิ้นเปลือง 580,886.42 408,925.06
สิ นค้าระหว่างทาง - 2,236,715.87
รวม 21,425,315.47 42,199,191.53
หัก ค่าเผือ่ มูลค่าสิ นค้าลดลง (1,154,914.01) (1,154,914.01)
สุ ทธิ 20,270,401.46 41,044,277.52

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสิ นค้ามีรายการเคลื่อนไหว ดังนี้


ณ วันที่ ณ วันที่
31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552
บาท บาท
ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสิ นค้า-ต้นงวด (1,154,914.01) (1,053,429.12)
บวก เพิ่มขึ้นในระหว่างงวด - (101,484.89)
หัก ลดลงในระหว่างงวด - -
ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสิ นค้า-ปลายงวด (1,154,914.01) (1,154,914.01)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริ ษทั ฯ ได้จดั ทําประกันอัคคีภยั สิ นค้าสําเร็ จรู ป วัตถุดิบ และวัสดุสิ้นเปลือง
มูลค่าเอาประกัน จํานวนเงิน 6.80 ล้านบาท โดยยกผลประโยชน์จากการประกันภัยให้กบั ธนาคารพาณิ ชย์แห่ งหนึ่ ง ตาม
หมายเหตุ 12

รายงานประจําปี 2553 72
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

9. ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ – สุ ทธิ


ประกอบด้วย
ยอดคงเหลือ เพิ่มขึ้น จําหน่าย ยอดคงเหลือ
ณ วันที่ /รับโอน /โอนออก ณ วันที่
1 มกราคม 2553 31 ธันวาคม 2553
บาท บาท บาท บาท
ราคาทุน
ที่ดินและส่ วนปรับปรุ งที่ดิน 36,103,655.79 - - 36,103,655.79
อาคาร 34,765,709.53 - - 34,765,709.53
ส่ วนปรับปรุ งอาคาร 4,353,738.78 21,200.00 - 4,374,938.78
เครื่ องจักร 17,069,238.14 492,000.00 (200,000.00) 17,361,238.14
แม่พิมพ์ 4,898,820.84 60,000.00 - 4,958,820.84
เครื่ องมือและเครื่ องใช้ 3,950,415.57 88,620.00 (4,620.00) 4,034,415.57
ยานพาหนะ 11,432,769.69 7,417,168.22 (3,626,873.81) 15,223,064.10
อุปกรณ์สาํ นักงาน 4,094,430.39 122,053.27 (56,111.22) 4,160,372.44
เครื่ องตกแต่งและติดตั้ง 948,822.16 - - 948,822.16
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 1,916,446.16 171,415.51 (69,914.49) 2,017,947.18
งานระหว่างติดตั้ง - 25,639.00 - 25,639.00
รวมราคาทุน 119,534,047.05 8,398,096.00 (3,957,519.52) 123,974,623.53
ค่ าเสื่ อมราคาสะสม
อาคาร (7,477,085.21) (1,738,285.44) - (9,215,370.65)
ส่ วนปรับปรุ งอาคาร (2,351,084.18) (679,349.66) - (3,030,433.84)
เครื่ องจักร (11,097,402.73) (888,653.95) 199,999.00 (11,786,057.68)
แม่พิมพ์ (3,218,545.27) (875,975.01) - (4,094,520.28)
เครื่ องมือและเครื่ องใช้ (2,835,482.89) (487,456.89) 2,594.14 (3,320,345.64)
ยานพาหนะ (7,511,718.32) (2,443,324.52) 3,626,869.81 (6,328,173.03)
อุปกรณ์สาํ นักงาน (2,397,104.69) (645,476.38) 44,067.39 (2,998,513.68)
เครื่ องตกแต่งและติดตั้ง (504,794.07) (150,238.89) - (655,032.96)
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (1,329,565.96) (228,664.91) 69,250.12 (1,488,980.75)
รวมค่ าเสื่ อมราคาสะสม (38,722,783.32) (8,137,425.65) 3,942,780.46 (42,917,428.51)
สุ ทธิ 80,811,263.73 81,057,195.02

ค่ าเสื่ อมราคาสํ าหรับปี


สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม
2553 8,137,425.65
2552 8,290,194.93

รายงานประจําปี 2553 73
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ยานพาหนะส่ วนหนึ่ งราคาตามบัญชี จํานวนเงิน 6.59 ล้านบาท (วันที่ 31 ธันวาคม
2552: จํานวนเงิน 3.02 ล้านบาท) เกิดจากสัญญาเช่าทางการเงิน ตามหมายเหตุ 15
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้มีการนําที่ดิน อาคารพร้อมสิ่ งปลูกสร้างที่มีอยู่ และจะมีข้ ึนในภายหน้า
ราคาตามบัญชี จํานวนเงิน 61.53 ล้านบาท (วันที่ 31 ธันวาคม 2552: ราคาตามบัญชี จํานวนเงิน จํานวน 63.27 ล้านบาท) จด
จํานองคํ้าประกันเงินกูย้ มื กับธนาคารพาณิ ชย์ พร้อมทั้งยกผลประโยชน์จากการประกันอัคคีภยั ในอาคารพร้อมสิ่ งปลูกสร้าง
เครื่ องจักรและอุปกรณ์ ในวงเงินประกันทั้งสิ้ น 34.20 ล้านบาท ให้กบั ธนาคารพาณิ ชย์ ตามหมายเหตุ 12
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริ ษทั ฯ มีสินทรัพย์ที่คาํ นวณค่าเสื่ อมราคาครบแล้ว แต่ยงั ใช้งานอยูโ่ ดย มีราคาทุน
จํานวนเงิน 14.87 ล้านบาท ซึ่ งมีมูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชี จํานวนเงิน 438 บาท (วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีราคาทุนจํานวนเงิน
12.92 ล้านบาท ซึ่ งมีมูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชี จํานวนเงิน 285 บาท)

10. สิ นทรัพย์ไม่ มตี ัวตน-สุ ทธิ


ประกอบด้วย
ยอดคงเหลือ เพิ่มขึ้น จําหน่าย ยอดคงเหลือ
ณ วันที่ /รับโอน /โอนออก ณ วันที่
1 มกราคม 2553 31 ธันวาคม 2553
บาท บาท บาท บาท
ราคาทุน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 650,960.00 - - 650,960.00
รวมราคาทุน 650,960.00 - - 650,960.00
ค่ าตัดจําหน่ ายสะสม
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (171,212.67) (130,192.00) - (301,404.67)
รวมค่ าตัดจําหน่ ายสะสม (171,212.67) (130,192.00) - (301,404.67)
สุ ทธิ 479,747.33 349,555.33
ค่ าตัดจําหน่ ายสํ าหรับปี
สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม
2553 130,192.00
2552 118,415.78

11. เงินประกันผลงาน – สุ ทธิ


ประกอบด้วย
ณ วันที่ ณ วันที่
31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552
บาท บาท
เงินประกันผลงาน 5,017,756.84 3,522,699.83
หัก ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ (187,118.40) (187,118.40)
เงินประกันผลงาน - สุ ทธิ 4,830,638.44 3,335,581.43

รายงานประจําปี 2553 74
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

12. สิ นเชื่อทีไ่ ด้ รับจากธนาคารพาณิชย์


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้รับสิ นเชื่อจากธนาคารพาณิ ชย์ ในรู ปเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ ืมระยะสั้น
และหนังสื อคํ้าประกัน เงินกูร้ ะยะยาว และวงเงิน Letter of credit ในมูลค่าวงเงินรวม 101.00 ล้านบาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม
2552: วงเงินรวม 101.00 ล้านบาท) โดยมีที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้าง ผลประโยชน์จากการประกันอัคคีภยั ในอาคาร เครื่ องจักร
และสิ นค้าคงเหลือ เป็ นหลักทรัพย์ค้ าํ ประกัน

13. เงินกู้ยมื ระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ทั้งจํานวน เป็ นการกูย้ มื เงินจากธนาคารพาณิ ชย์แห่ งหนึ่ง ในรู ปตัว๋ สัญญาใช้เงิน อายุ 90
วัน อัตราดอกเบี้ย MLR-1.50% เทียบเท่า อัตราร้อยละ 4.35 ต่อปี โดยมีหลักทรัพย์ค้ าํ ประกัน ตามหมายเหตุ 12

14. เงินกู้ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน


ประกอบด้วย
ณ วันที่ ณ วันที่
31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552
บาท บาท
เงินกูย้ มื ระยะยาว 7,603,681.35 13,839,681.35
หัก ส่ วนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี (2,316,000.00) (3,036,000.00)
สุ ทธิ 5,287,681.35 10,803,681.35

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ทั้งจํานวนเป็ นเงินกูย้ ืมระยะยาวจากธนาคารพาณิ ชย์แห่ งหนึ่ ง เพื่อก่อสร้าง
อาคารสํานักงาน และเพื่อตกแต่งอาคารสํานักงาน โดยมีวงเงินรวม 20.00 ล้านบาท เบิกรับเป็ นงวด ชําระแล้วคงเหลือ จํานวน
7.60 ล้านบาท และจํานวน 13.84 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยปี ที่ 1-2 เท่ากับ MLR-1.25 ต่อปี และตั้งแต่ปีที่ 3 จนกว่าจะชําระหนี้
เสร็ จสิ้ นเท่ากับ MLR ต่อปี โดยมีที่ดิน อาคารพร้อมสิ่ งปลูกสร้างที่มีอยูแ่ ละจะมีข้ ึนในภายหน้า และสิ นค้าคงเหลือ รวมทั้ง
ผลประโยชน์จากการประกันภัยในสิ นทรัพย์ดงั กล่าว เป็ นหลักทรัพย์ค้ าํ ประกัน ตามหมายเหตุ 12 และมีรายละเอียดการจ่าย
ชําระคืน ดังนี้
- สําหรับวงเงิน 15.00 ล้านบาท มีเงื่อนไขจ่ายคืนเงินต้น 78 เดือน ๆ ละ 0.19 ล้านบาท เริ่ มชําระงวดแรกในวันที่ 31
มกราคม 2551 และงวดต่อๆ ไปชําระทุกวันทําการสุ ดท้ายของเดือน
- สําหรับวงเงิน 5.00 ล้านบาท มีเงื่อนไขจ่ายคืนเงินต้น 78 เดือน ๆ ละ 0.06 ล้านบาท เริ่ มชําระงวดแรกในวันที่ 31
กรกฎาคม 2551 และงวดต่อ ๆ ไปชําระทุกวันทําการสุ ดท้ายของเดือน และในระหว่างเดือนกันยายน 2553 บริ ษทั ฯ
ได้มีการจ่ายชําระคืนเงินกูย้ มื สําหรับวงเงิน 5.00 ล้านบาท ที่คงเหลือทั้งจํานวน

รายงานประจําปี 2553 75
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

15. หนีส้ ิ นภายใต้ สัญญาเช่ าการเงิน - สุ ทธิ


ประกอบด้วย
ณ วันที่ ณ วันที่
31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552
บาท บาท
หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน 6,726,034.03 3,549,352.09
หัก ดอกเบี้ยรอตัดบัญชี (551,853.87) (324,090.05)
สุ ทธิ 6,174,180.16 3,225,262.04
ระยะเวลาการครบกําหนดชําระของสัญญาเช่าการเงิน มีดงั นี้
ส่ วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี 1,834,541.21 1,592,990.81
ส่ วนที่ถึงกําหนดชําระหลัง 1 ปี แต่ไม่เกิน 4 ปี 4,339,638.95 1,632,271.23
สุ ทธิ 6,174,180.16 3,225,262.04

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริ ษทั ฯ ได้ทาํ สัญญาเช่าทางการเงินระยะยาวกับบริ ษทั ลิสซิ่ งหลายแห่ง เพื่อ
เช่ายานพาหนะ สัญญาเช่ากําหนดชําระค่าเช่าเป็ นงวดรายเดือน ตั้งแต่เดือนละ 17,227.00 บาท ถึงเดือนละ 51,149.00 บาท
โดยมีระยะเวลาการเช่า 2 - 4 ปี กรรมสิ ทธิ์ ในยานพาหนะ ดังกล่าวจะโอนเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ฯ เมื่อบริ ษทั ฯ ชําระ
เงินงวดสุ ดท้ายตามสัญญาเช่า หรื อใช้สิทธิเลือกซื้ อสิ นทรัพย์เมื่อสิ้ นสุ ดสัญญาเช่า

16. ค่ าตอบแทนผู้บริหาร
ค่ า ตอบแทนผู้บ ริ หารนี้ เป็ นผลประโยชน์ ที่ จ่ า ยให้ แ ก่ ผู้บ ริ ห ารและกรรมการของบริ ษัท ฯ ประกอบด้ว ย
ค่าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน ได้แก่ เงินเดือน ผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่ งรวมไปถึงผลประโยชน์ตอบแทนในรู ปอื่น ทั้งนี้
ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั หมายถึง บุคคลที่กาํ หนดตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

17. ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล


สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริ ษทั ฯ มีการคํานวณภาษีเงินได้นิ ติ บุ ค คลในอัต ราร้ อ ยละ
20 ซึ่ งเป็ นไปตามหลัก เกณฑ์ใ นพระราชกฤษฎี ก าฉบับ ที่ 387 ซึ่ งกํา หนดให้ล ดอัต ราภาษี เ งิ น ได้นิ ติ บุ ค คลจากร้ อ ย
ละ 30 เป็ นร้ อ ยละ 20 เป็ นเวลาห้า รอบระยะเวลาบัญ ชี ต่ อ เนื่ อ งกัน นับ แต่ ร อบระยะเวลาบัญ ชี แ รกที่ เ ริ่ ม ในหรื อ
หลัง วัน ที่ บ ริ ษ ัท ที่ มี ห ลัก ทรั พ ย์ม าจดทะเบี ย นในตลาดหลัก ทรั พ ย์ เอ็ม เอ ไอ (วัน ที่ 30 พฤศจิ ก ายน 2548) ตาม
กฎหมายว่า ด้ว ยหลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ ทั้ง นี้ การคํา นวณภาษี เ งิ น ได้คาํ นวณจากกําไรสุ ทธิ ตามบัญชี ของ
กิจการภายหลังบวกกลับรายการปรับปรุ งตามประมวลรัษฎากร ซึ่ งส่ วนใหญ่ไ ด้แ ก่ รายการค่ า เผื่อ หนี้ สงสั ย จะสู ญ และค่ า
เสื่ อ มราคาที่ เ กิ น อัต ราที่ กาํ หนดในประมวลรั ษ ฎากร

รายงานประจําปี 2553 76
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

18. ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ


รายการค่าใช้จ่ายบางรายการที่รวมอยูใ่ นการคํานวณกําไร(ขาดทุน)จากการดําเนิ นงานสามารถนํามาแยกตามลักษณะ
ได้ดงั นี้
สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม
2553 2552
บาท บาท
การเปลี่ยนแปลงในงานระหว่างทําและสิ นค้าสําเร็ จรู ป 2,824,387.51 (3,879,839.43)
วัตถุดิบ สิ นค้าสําเร็ จรู ป และวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป 202,533,282.26 206,062,984.43
ค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง 31,745,993.01 31,665,727.54
ขาดทุนจากการลดมูลค่าสิ นค้า - 101,484.89
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน 29,919,709.14 27,661,799.63
ค่าเสื่ อมราคาและค่าใช้จ่ายตัดจ่าย 8,267,617.65 8,408,610.71
หนี้สงสัยจะสูญ 2,305,845.76 1,694,344.71
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ 24,670,938.96 17,047,734.60
รวม 302,267,774.29 288,762,847.08

19. ทุนเรือนหุ้น
ทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและเรี ยกชําระหุน้ สามัญ มีการเคลื่อนไหว ดังนี้
ราคาตาม วันที่ 31 ธันวาคม 2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2552
มูลค่าหุน้ จํานวนหุน้ จํานวนหุน้ มูลค่า มูลค่า
(บาท) (พันหุน้ ) (พันหุน้ ) (พันบาท) (พันบาท)
ทุนจดทะเบียน
หุ น้ สามัญต้นงวด 1.00 50,000 50,000 50,000 50,000
หัก หุ น้ สามัญลดลง - - - - -
บวก ออกหุน้ 1.00 450,000 450,000 - -
หุ น้ สามัญสิ้ นงวด 1.00 500,000 500,000 50,000 50,000
ทุนทีอ่ อกและเรียกชําระ
หุ น้ สามัญต้นงวด 1.00 50,000 50,000 50,000 50,000
หัก หุ น้ สามัญลดลง - - - - -
บวก รับชําระ - - - - -
หุ น้ สามัญสิ้ นงวด 1.00 50,000 50,000 50,000 50,000

ตามรายงานการประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ น้ ครั้งที่ 2/2553 เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2553 มีมติเป็ นเอกฉันท์ให้เพิ่มทุน


จดทะเบียน จํานวน 450.00 ล้านบาท โดย บริ ษทั ฯ ได้มีการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 50.00 ล้านหุ น้ ๆ ละ 1.00 บาท รวม
เป็ นเงิน 50.00 ล้านบาท เป็ นจํานวน 500.00 ล้านหุ ้นๆ ละ 1.00 บาท รวมเป็ นเงิน 500.00 ล้านบาท ซึ่ งบริ ษทั ฯ ได้
ดําเนินการจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิ ชย์เรี ยบร้อยแล้ว

รายงานประจําปี 2553 77
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

20. เงินปันผลจ่ ายและสํ ารองตามกฎหมาย


20.1 ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3/2553 เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2553 มีมติเป็ นเอกฉันท์ให้จดั สรรกําไร
สะสมเป็ นเงินปันผลระหว่างกาลแก่ผถู้ ือหุน้ ในอัตราหุน้ ละ 0.05 บาทต่อหุน้ เป็ นจํานวนเงิน 2.50 ล้านบาท โดยมีกาํ หนด
จ่ายชําระในวันที่ 11 มิถุนายน 2553 ซึ่ งปัจจุบนั ได้มีการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ ือหุน้ แล้ว
20.2 ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 5/2552 เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2552 มีมติเป็ นเอกฉันท์ให้จดั สรรกําไรสะสม
เป็ นเงินปั นผลระหว่างกาลแก่ผถู้ ือหุ ้นในอัตราหุ น้ ละ 0.20 บาท ต่อหุ ้น เป็ นจํานวนเงิน 9.99 ล้านบาท โดยมีกาํ หนดจ่าย
ชําระในวันที่ 22 มกราคม 2553 ซึ่ งปัจจุบนั ได้มีการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ ือหุน้ แล้ว
20.3 ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3/2552 เมื่อวันที่ 11 สิ งหาคม 2552 มีมติเป็ นเอกฉันท์ให้จดั สรรกําไรสะสม
เป็ นเงินปั นผลระหว่างกาลแก่ผถู้ ือหุ ้นในอัตราหุ น้ ละ 0.05 บาท ต่อหุ น้ เป็ นจํานวนเงิน 2.50 ล้านบาท โดยมีกาํ หนดจ่าย
ชําระในวันที่ 10 กันยายน 2552 ซึ่ งปัจจุบนั ได้มีการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ ือหุน้ แล้ว
20.4 ตามรายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจําปี 2552 เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2552 มีมติเป็ นเอกฉันท์ให้จ่ายเงินปั นผล
ประจําปี 2551 ให้แก่ผถู้ ือหุ น้ ในอัตราหุ ้นละ 0.27 บาทต่อหุ ้น ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษทั ฯ ได้อนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผล
ระหว่างกาลไปแล้วในรอบปี บัญชี 2551 รวม 0.15 บาทต่อหุ น้ จึงยังมีเงินปั นผลจ่ายส่ วนที่เหลือในอัตราหุ น้ ละ 0.12 บาท
รวมเป็ นเงิน 6.00 ล้านบาทโดยมีกาํ หนดจ่ายชําระในวันที่ 14 พฤษภาคม 2552 ซึ่ งปั จจุบนั ได้มีการจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผู้
ถือหุน้ แล้ว

21. การเสนอข้ อมูลทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน


บริ ษทั ฯ ดําเนิ นกิจการในส่ วนงานธุ รกิจเดียว คือธุ รกิจจําหน่ายวัสดุก่อสร้างผลิตแผ่นหลังคาและให้บริ การติดตั้ง
แผ่นหลังคา และดําเนินธุรกิจในส่ วนงานทางภูมิศาสตร์ เดียวคือในประเทศไทยดังนั้นรายได้ กําไรและสิ นทรัพย์ท้ งั หมดที่
แสดงในงบการเงินจึงเกี่ยวกับส่ วนงานธุรกิจ และส่ วนงานทางภูมิศาสตร์ตามที่กล่าวไว้

22. เครื่องมือทางการเงิน
22.1 นโยบายการบริ หารความเสี่ ยงทางการเงิน
บริ ษทั ฯ ไม่มีนโยบายในการประกอบธุรกรรมเกี่ยวกับเครื่ องมือทางการเงินเพื่อการเก็งกําไรหรื อเพื่อการค้า
22.2 ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ย
ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ย เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในอนาคต ซึ่ งจะมีผลกระทบต่อผล
การดําเนินงานและกระแสเงินสดของบริ ษทั ฯ โดยบริ ษทั ฯ มีสินทรัพย์ และหนี้สินที่มีความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ยดังนี้
จํานวนเงิน อัตราดอกเบี้ยต่อปี
31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552
ล้านบาท ล้านบาท ร้อยละ ร้อยละ
เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ 5.15 1.45 0.25-0.50 0.50
เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากธนาคารพาณิชย์ - 10.00 - 4.35
เงินกูย้ มื ระยะยาวจากธนาคารพาณิชย์ 7.60 13.84 MLR MLR และ
MLR-1.25%

รายงานประจําปี 2553 78
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

22.3 ความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน


บริ ษทั ฯ ไม่มีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเนื่ องจากบริ ษทั ฯ ไม่มีธุรกรรมการค้าทั้งด้านสิ นทรัพย์ และ
หนี้สินที่เป็ นรายการที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ
22.4 ความเสี่ ยงด้านการให้สินเชื่อ
บริ ษทั ฯ มีความเสี่ ยงจากการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้า เนื่องจากลูกหนี้อาจไม่สามารถชําระหนี้
ตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้ ซึ่ งอาจทําให้เกิดความสู ญเสี ยทางการเงินได้ ทั้งนี้บริ ษทั ฯ ได้กาํ หนดนโยบายในการป้ องกัน
ความเสี่ ยงดังกล่าว โดยวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และพิจารณาความสามารถในการจ่ายชําระหนี้ ของลูกค้าแต่ละราย
ในการพิจารณาให้สินเชื่อ รวมถึงมีการกําหนดให้ลูกค้าจ่ายเงินมัดจําล่วงหน้าบางส่ วนก่อนการขาย สําหรับลูกหนี้
การค้าที่คาดว่าจะไม่ได้รับชําระหนี้ บริ ษทั ฯ ได้พิจารณาตั้งค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญไว้อย่างเพียงพอแล้ว
22.5 มูลค่ายุติธรรม
เนื่ องจากสิ นทรั พย์ทางการเงิ นและหนี้ สิ นทางการเงิ นส่ วนใหญ่ จัดอยู่ในประเภทระยะสั้นเงิ นกูย้ ืมจาก
ธนาคารมีอตั ราดอกเบี้ยอยูใ่ นเกณฑ์เดียวกับตลาด ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ฯ จึงเชื่อว่ามูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์และ
หนี้สินทางการเงินดังกล่าวแสดงมูลค่าไม่แตกต่างจากมูลค่ายุติธรรมอย่างมีสาระสําคัญ

23. ภาระผูกพันและหนีส้ ิ นทีอ่ าจเกิดขึน้


23.1 บริ ษทั ฯ มีภาระผูกพันในการรับประกันคุณภาพสิ นค้าและบริ การติดตั้งให้กบั ลูกค้าของบริ ษทั ฯ ภายใต้เงื่อนไขว่า
การชํารุ ดเสี ยหายนั้นต้องเกิดขึ้นจากตัววัสดุสินค้าเองโดยตรง ซึ่ งไม่ครอบคลุมถึงความเสี ยหายอันเกิดจากการกระทํา
อื่นภายนอกที่มาก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ตวั สิ นค้า โดยมีระยะเวลารับประกันประมาณ 1 ปี – 20 ปี อย่างไรก็ตาม
ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ฯ เชื่ อว่าบริ ษทั ฯ ไม่มีหนี้ สินที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างเป็ นสาระสําคัญ จากการรับประกันดังกล่าว
เนื่ องจากผูจ้ ดั จําหน่ายสิ นค้าของบริ ษทั ฯ มีการรับประกันคุณภาพสิ นค้าต่อ ภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน โดยมีระยะเวลา
รับประกัน 5-30 ปี ดังนั้น บริ ษทั ฯ จึงไม่ได้รับรู้ค่าใช้จ่าย และหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการรับประกันดังกล่าว รวม
ไว้ในงบการเงินนี้
23.2 นอกจากหนี้สินที่ปรากฏในงบการเงินแล้ว บริ ษทั ฯ ยังมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนี้
ณ วันที่ ณ วันที่
31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552
บาท บาท
หนังสื อคํ้าประกัน – ธนาคาร 1,151,633.41 4,749,005.42
Letter of credit วงเงิน 25.00 ล้านบาท - 1,054,539.08
23.3 บริ ษทั ฯ มีภาระผูกพันจากการทําสัญญาจ้างรับเหมาติดตั้ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริ ษทั ฯ มีภาระผูกพันที่ตอ้ งจ่าย
ชําระค่ารับเหมาติดตั้ง เป็ นจํานวน 3.64 ล้านบาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จํานวน 8.91ล้านบาท) อย่างไรก็ตาม
บริ ษทั ฯ มีสัญญาขายพร้อมติดตั้งกับลูกค้าซึ่ งยังไม่ได้ส่งมอบหรื อยังไม่ได้ปฏิบตั ิงาน เป็ นจํานวน 26.95 ล้านบาท (ณ
วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จํานวน 61.40 ล้านบาท)

24. กองทุนสํ ารองเลีย้ งชีพ


บริ ษ ัทฯ และพนักงานได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิ กกองทุ นสํารองเลี้ ยงชี พเอไอเอ มั่นคง ซึ่ งจดทะเบี ยนแล้วตาม
พระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่ งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมและเงินที่บริ ษทั ฯจ่ายสมทบให้

รายงานประจําปี 2553 79
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้ บริ หารโดยบริ ษทั อเมริ กนั อินเตอร์ เนชัน่ แนล อินชัวร์ รันส์ จํากัด (มหาชน) และจะจ่ายให้
พนักงานในกรณี ที่ออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนดังกล่าว สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริ ษทั ฯ มีการ
จ่ายเงินกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน เป็ นจํานวนเงิน 0.60 ล้านบาท (วันที่ 31 ธันวาคม 2552: จํานวน 0.62 ล้านบาท)

25. ข้ อมูลอืน่
25.1 ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 2/2553 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2553 มีมติเป็ นเอกฉันท์อนุมตั ิการเข้าซื้ อหุ น้
สามัญของบริ ษทั โซล่า เพาเวอร์ จํากัด จากผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั โซล่า เพาเวอร์ จํากัด โดยบริ ษทั ฯ จะเข้าซื้ อหุ ้น
ดังกล่าว จํานวน 35.00 ล้านหุ ้น มูลค่าหุ น้ ละ 10.00 บาท เป็ นจํานวน 350.00 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 100 ของหุ ้น
สามัญของบริ ษทั โซล่า เพาเวอร์ จํากัด ซึ่ งบริ ษทั ฯ จะมีการจ่ายชําระค่าซื้ อหุ ้นดังกล่าวโดยออกหุ น้ สามัญใหม่ของ
บริ ษทั ฯ จํานวน 350.00 ล้านหุ น้ มูลค่าหุ น้ ละ 1.00 บาท ในราคาเสนอขายหุ น้ ละ 1.00 บาท เป็ นจํานวน 350.00 ล้าน
บาท เพื่อตอบแทนให้แก่ผถู้ ือหุ ้นของบริ ษทั โซล่า เพาเวอร์ จํากัด แทนการจ่ายชําระเป็ นเงิน ทั้งนี้ อัตราส่ วนการ
แลกเปลี่ยนหุ น้ เท่ากับ 1 หุ น้ ของบริ ษทั โซล่า เพาเวอร์ จํากัด ต่อ 10 หุ น้ ใหม่ของบริ ษทั ฯ (Share Swap) โดยบริ ษทั ฯ
ได้รับการอนุมตั ิจากที่ประชุมวิสามัญ ผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2553
25.2 ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 4/2553 เมื่อวันที่ 4 สิ งหาคม 2553 และตามรายงานการประชุม
วิสามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2553 มีมติในรายละเอียด ดังนี้
25.2.1 ยกเลิกมติที่ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 2/2553 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2553 เรื่ อง อนุมตั ิการเข้าซื้ อหุ น้ สามัญ
ของบริ ษทั โซล่า เพาเวอร์ จํากัด จากผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั โซล่า เพาเวอร์ จํากัด เนื่ องจาก บริ ษทั โซล่า
เพาเวอร์ จํากัด มีมติอนุมตั ิการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิมจํานวน 35.00 ล้านหุ น้ มูลค่าตราไว้หุน้ ละ 10.00
บาท เป็ นจํานวน 350.00 ล้านบาท เป็ นทุนจดทะเบียนใหม่จาํ นวน 45.00 ล้านหุ น้ มูลค่าตราไว้หุน้ ละ 10.00
บาท เป็ นจํานวน 450.00 ล้านบาท
25.2.2 มีมติอนุ มตั ิการเข้าซื้ อหุ ้นสามัญของบริ ษทั โซล่า เพาเวอร์ จํากัด จากผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั โซล่า เพาเวอร์
จํากัด โดยบริ ษทั ฯ จะเข้าซื้ อหุ ้นดังกล่าว จํานวน 45.00 ล้านหุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 10.00 บาท เป็ นจํานวน
450.00 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 100 ของหุ น้ สามัญของบริ ษทั โซล่า เพาเวอร์ จํากัด ซึ่ งบริ ษทั ฯ จะมีการ
จ่ายชําระค่าซื้ อหุ น้ ดังกล่าวโดยออกหุ น้ สามัญใหม่ของบริ ษทั ฯ จํานวน 450.00 ล้านหุ น้ ๆ ละ 1.00 บาท ใน
ราคาเสนอขายหุ น้ ละ 1.00 บาท เป็ นจํานวน 450.00 ล้านบาท เพื่อตอบแทนให้แก่ผถู้ ือหุ น้ ของบริ ษทั โซล่า
เพาเวอร์ จํากัด แทนการจ่ายชําระเป็ นเงิน ทั้งนี้ อัตราส่ วนการแลกเปลี่ยนหุ น้ เท่ากับ 1 หุ น้ ของบริ ษทั โซล่า
เพาเวอร์ จํากัด ต่อ 10 หุน้ ใหม่ของบริ ษทั ฯ (Share Swap)
25.2.3 และได้มีการอนุมตั ิลดทุนจดทะเบียนของบริ ษทั ฯ จํานวน 350.00 ล้านหุ ้น ๆ ละ 1.00 บาท รวมเป็ นเงิน
350.00 ล้านบาท ซึ่ งเป็ นการยกเลิกทุนหุ น้ สามัญที่ได้จดทะเบียนแล้วแต่ยงั ไม่ได้นาํ ออกจําหน่าย และได้มี
การอนุมตั ิเพิ่มทุนจดทะเบียนจํานวน 450.00 ล้านบาท โดยบริ ษทั ฯ ได้มีการเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม
50.00 ล้านหุ น้ ๆ ละ 1.00 บาท รวมเป็ นเงิน 50.00 ล้านบาท รวมเป็ นจํานวนทั้งสิ้ น 500.00 ล้านหุ ้น ๆ ละ
1.00 บาท รวมเป็ นเงิน 500.00 ล้านบาท โดยปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ดาํ เนิ นการจดทะเบียนกับกระทรวง
พาณิ ชย์เรี ยบร้อยแล้ว

รายงานประจําปี 2553 80
บริ ษทั สตีล อินเตอร์เทค จํากัด (มหาชน)

26. การบริหารจัดการทุน
วัตถุประสงค์ของบริ ษทั ฯ ในการบริ หารจัดการทุน คือ การดํารงไว้ซ่ ึ งความสามารถในการดําเนิ นงานอย่าง
ต่อเนื่ อง การดํารงไว้ซ่ ึ งโครงสร้างของทุนที่เหมาะสม และการรักษาอัตราส่ วนหนี้ สินต่อทุนไม่ให้เกินข้อกําหนดของ
สัญญาเงินกูย้ มื
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 งบการเงินแสดงอัตราส่ วนหนี้สินต่อทุนเป็ น 0.75 : 1 และ 1.22 : 1
ตามลําดับ

27. การอนุมัตงิ บการเงิน


งบการเงิ น ระหว่ า งกาลนี้ ได้ รั บ อนุ ม ั ติ ใ ห้ อ อกจากกรรมการผู้มี อาํ นาจแล้ ว เมื่ อ วัน ที่ 4 กุ ม ภาพัน ธ์
2554

รายงานประจําปี 2553 81
.'Ĕ%A)ĕ6

.%1A1'ĘA+&Ę

.1Ĕ1<
.,'é 'è'Ę
6 Ĕ+5J9I1

'.". Ā06'5Ę9
.+ B/+'11
..<Ā%+è

+58ø Bĕ+ .6%8.<+''$=%8


.+/)+
.8ø Bĕ+

'.9

.1<%.<-.+/)+ .8ø Bĕ+ 11


+èĘ%8))Ę .!. .6 ")9
C)5. 689J

..''"+< .6 6-'6 %.12


C2%C'
EA '.". Ā06'5Ę

.A"6'5-Ę

'è-5 .9) 18A1'ĘA 75 (%/6)


STEEL INTERTECH PUBLIC COMPANY LIMITED

.75 6 : A)9I 8/88 /%=Ĕ 12 .'66A+4 1.6 ")9 ..%<''66' 10540


C'. 0-2750-2380 (15C%58 12 .6&) B#Ę : 0-27502393-4
Office : 8/88 Moo 12 Rachatheva, Bangplee, Samutprakarn 10540
Tel : 0-2750-2380 (Auto 12 Lines) Fax : 0-27502393-4
C' 6 A)9I 8 /%=Ĕ 15 .6 ")9D/gĔ 1.6 ")9 ..%<''66' 10540
C'. 0-2750-2380 (15C%58 12 .6&) B#Ę : 0-27502393-4
Factory : 8 Moo 15 Bangplee-yai, Bangplee, Samutprakarn 10540
Tel : 0-2750-2380 (Auto 12 Lines) Fax : 0-27502393-4
Website : http://www.steelintertech.com E-mail : sales@steelintertech.com

You might also like