You are on page 1of 384

ประกอบการบรรยาย

บุญทิพย์ ชูโชนาค
อดีตผูอ้ านวยการสานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ADMLAW18H2565C2.pptx : องค์การเภสัชกรรม กรมบัญชี กลาง กระทรวงการคลัง
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

ความเป็ นมา
➢ ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง ที่เป็ นมาตรฐานกลางในระดับ
พระราชบัญญัติ สาหรับใช้บงั คับกับทุกหน่ วยงานของรัฐเหมือนในนานาประเทศ
➢ รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาล และการป้ องกัน
ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ โดยให้มีการปรับปรุงและจัดให้มี
กฎหมายการจัดซื้อจัดจ้างที่บงั คับใช้กบั ทุกหน่ วยงานภาครัฐ
➢ รัฐบาลโดย คสช. เห็นควรให้มีบทกาหนดโทษทางอาญากับเจ้าหน้าที่ของรัฐรวมถึง
ผูส้ งั ่ การที่ปฏิบตั ิหรือละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบหรือโดยทุจริตเกี่ยวกับการจัด-
ซื้อจัดจ้าง
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

วัตถุประสงค์
กระทรวงการคลัง โดยกรมบัญชี กลาง ได้ดาเนิ นการยกร่างพระราชบัญญัติ
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. .... โดยมีวตั ถุประสงค์
✓ เพื่อให้การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุของหน่ วยงานภาครัฐมีความเป็ น
มาตรฐานเดียวกัน มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุม้ ค่า
✓ เพื่ อเป็ นการสร้างภาพลักษณ์ให้ประเทศไทยเป็ นที่ ยอมรับในเวที โลก โดยได้นา
หลักการสากลที่ถือปฏิบตั ิโดยทัว่ ไป คือ UNCITRAL Model Law ซึ่งเป็ น
กฎหมายต้นแบบที่ใช้กนั ในหลายประเทศ และหลักการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัด-
จ้างภาครัฐของ WTO มาใช้เป็ นกรอบแนวคิดในการยกร่างพระราชบัญญัติน้ ี
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

ข้อกาหนดและการบังคับใช้
▪ พระราชบัญญัติน้ ี ใช้บงั คับกับ “หน่ วยงานของรัฐ” ซึ่งหมายความว่า ราชการส่วนกลาง ราชการ
ส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ องค์การ
มหาชน องค์กรอิสระ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หน่ วยธุรการของศาล มหาวิทยาลัยในกากับ
ของรัฐ หน่ วยงานสังกัดรัฐสภาหรือในกากับของรัฐสภา หน่ วยงานอิสระของรัฐ และหน่ วยงาน
อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
▪ พระราชบัญญัติน้ ี ให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นกาหนด หนึ่ งร้อยแปดสิ บวัน นับแต่วนั ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเป็ นต้นไป (มาตรา 2) (24 กุมภาพันธ์ 2560 : 23 สิงหาคม 2560)
▪ ให้ยกเลิกบทบัญญัติเกี่ยวกับพัสดุ การจัดซื้อจัดจ้าง หรือการบริหารพัสดุในกฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับ ประกาศ ข้อบัญญัติ และข้อกาหนดใดๆ ของหน่ วยงานของรัฐที่อยู่ภายใต้บงั คับแห่ง
พระราชบัญญัติน้ ี (มาตรา 3)
▪ มาตรา 5 ให้รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี และให้มีอานาจ
ออกกฎกระทรวงและระเบียบเพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ี
กฎกระทรวงและระเบียบนัน้ เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บงั คับได้
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
หลักการจัดซื้อจัดจ้าง
มาตรา 8 การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุของหน่ วยงานของรัฐต้องก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่
หน่ วยงานของรัฐ และต้องสอดคล้องกับหลักการ ดังต่อไปนี้
(1) คุม้ ค่า โดยพัสดุที่จดั ซื้อจัดจ้างต้องมีคุณภาพหรือคุณลักษณะที่ ตอบสนองวัตถุประสงค์ในการใช้งาน
ของหน่ วยงานของรัฐ มีราคาที่เหมาะสม และมีแผนการบริหารพัสดุที่เหมาะสมและชัดเจน
(2) โปร่งใส โดยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุตอ้ งกระทาโดยเปิ ดเผย เปิ ดโอกาสให้มีการแข่งขัน
อย่างเป็ นธรรม มีการปฏิ บตั ิต่อผูป้ ระกอบการทุกรายโดยเท่าเทียมกัน มีระยะเวลาที่เหมาะสมและเพียงพอต่อ
การยื่ นข้อเสนอ มีหลักฐานการดาเนิ นงานชัดเจน และมีการเปิ ดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
ในทุกขัน้ ตอน
(3) มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยต้องมีการวางแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุล่วงหน้า
เพื่อให้การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุเป็ นไปอย่างต่อเนื่ อง และมีกาหนดเวลาที่เหมาะสม โดยมีการ
ประเมินและเปิ ดเผยผลสัมฤทธิ์ของการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
(4) ตรวจสอบได้ โดยมีการเก็บข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ อย่างเป็ นระบบเพื่อประโยชน์
ในการตรวจสอบ
ให้หน่ วยงานของรัฐใช้หลักการตามวรรคหนึ่ งเพื่อเป็ นแนวทางในการปฏิ บตั ิเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง
และการบริหารพัสดุ หากการจัดซื้อจัดจ้างไม่เป็ นไปตามหลักการดังกล่าว แต่ไม่มีผลต่อการจัดซื้ อจัดจ้างอย่างมี
นัยสาคัญ หรือเกิดจากกรณี เร่งด่วน หรือมีเหตุผลหรือความจาเป็ นอื่น การจัดซื้อจัดจ้างนัน้ ย่อมไม่เสียไป
ให้ใช้หลักการตามวรรคหนึ่ งเป็ นแนวทางในการปฏิ บตั ิตามอานาจหน้าที่ ของคณะกรรมการนโยบาย
คณะกรรมการวินิจฉัย คณะกรรมการราคากลาง คณะกรรมการ ค.ป.ท. และคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ โดย
อนุโลม
แผนภาพแสดง
หลักการจัดซื้อจัดจ้างตามมาตรา 8

มีคณ
ุ ลักษณะตอบสนอง เปิ ดเผยข้อมูล
วัตถุประสงค์การใช้งาน เปิ ดโอกาสให้แข่งขัน
และมีราคาเหมาะสม อย่างเป็ นธรรม มีระยะเวลา
เพียงพอต่อการยื่ นข้อเสนอ
คุม้ ค่า โปร่งใส

ประสิทธิภาพ
ตรวจสอบ
และ
ได้ ประสิทธิผล
วางแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
เก็บข้อมูลเป็ นระบบ มีการกาหนดเวลาที่
เพื่อการตรวจสอบ เหมาะสม และมีการ
ประเมินผล
คณะกรรมการ
ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
(มาตรา 20–มาตรา 45)
คณะกรรมการ
นโยบายการจัดซื้อจัดจ้าง
และการบริหารพัสดุภาครัฐ
(มาตรา 20)
จานวน 17 – 19 คน

คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ คณะกรรมการวินิจฉัยปั ญหาการจัดซื้อ


และข้อร้องเรียน จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
(มาตรา 41) (มาตรา 27)
จานวน 14 – 16 คน จานวน 15 – 17 คน

คณะกรรมการความร่วมมือป้ องกัน คณะกรรมการราคากลางและ


การทุจริต (คปท.) ขึ้นทะเบียนผูป้ ระกอบการ
(มาตรา 37) (มาตรา 32)
จานวน 14 – 16 คน จานวน 20 – 25 คน
ประเด็นปั ญหาและความเข้าใจ
เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ หัวหน้าเจ้าหน้าที่ และผูท้ ่ีได้รบั แต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่ ง
ที่ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ
“เจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผูม้ ีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ
หรือ ผูท้ ี่ได้รบั มอบหมายจากผูม้ ีอานาจให้ปฏิบตั ิหน้าที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการ
บริหารพัสดุของหน่ วยงานของรัฐ (มาตรา 4)

“หัวหน้าเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผูด้ ารงตาแหน่ งหัวหน้าสายงานซึ่งปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับ


การจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ ตามที่กฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของ
หน่ วยงานของรัฐนัน้ กาหนด หรือ ผูท้ ี่ได้รบั มอบหมายจากหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐให้
เป็ นหัวหน้าเจ้าหน้าที่ (ระเบียบฯ ข้อ 4)

ระเบียบฯ มิได้กาหนดจานวนบุคลากรในการทาหน้าที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างไว้ จึง


เป็ นดุลยพินิจของหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ ที่จะพิจารณาแต่งตัง้ หัวหน้าเจ้าหน้าที่ได้ตาม
ความจาเป็ น แต่อย่างไรก็ดี การแต่งตัง้ หัวหน้าเจ้าหน้าที่ดงั กล่าวจะต้องพิจารณาถึง
ความเหมาะสมและความจาเป็ น เช่น ปริมาณงานที่มีเป็ นจานวนมาก เป็ นต้น โดย
จะต้องระบุหน้าที่และความรับผิ ดชอบให้ชดั เจน ด้วย
มาตรฐานวิชาชี พและการพัฒนาเจ้าหน้าที่พสั ดุ
มาตรา 49 ให้กรมบัญชี กลางมีหน้าที่ในการกาหนดและจัดให้มีหลักสูตรการฝึ กอบรม เพื่อส่งเสริมและ
พัฒนาเจ้าหน้าที่ให้มีความรูแ้ ละความเชี่ ยวชาญเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ตามหลัก
วิชาชี พและตามพระราชบัญญัติน้ ี ทัง้ นี้ กรมบัญชี กลางจะดาเนิ นการเองหรือจะดาเนิ นการร่ วมกับหน่ วยงาน
อื่นหรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง ก็ได้
ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งผ่านการฝึ กอบรมตามวรรคหนึ่ งและได้รบั แต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่ งที่ปฏิ บตั ิงานเกี่ยวกับการ
จัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุมีสิทธิได้รบั เงินเพิ่มหรือเงินอื่นทานองเดียวกัน ดังต่อไปนี้
(1) ในกรณี ที่เป็ นข้าราชการพลเรือน ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งได้รบั แต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่ งที่ปฏิ บตั ิงานเกี่ยวกับ
การจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุเป็ นตาแหน่ งที่มีเหตุพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
และในการกาหนดให้ได้รบั เงินเพิ่มสาหรับตาแหน่ งที่ มีเหตุพิเศษให้คานึ งถึ งภาระหน้าที่และคุณภาพของงานโดย
เปรียบเทียบกับผูป้ ฏิ บตั ิงานอื่นที่ได้รบั เงิ นเพิ่มสาหรับตาแหน่ งที่ มีเหตุพิเศษด้วย ทัง้ นี้ ให้เป็ นไปตามระเบียบที่
รัฐมนตรีกาหนด
(2) ในกรณี ท่ีไม่เป็ นข้าราชการพลเรือน ให้เจ้าหน้าที่ซ่ึงได้รบั แต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่ งที่ปฏิ บตั ิงาน
เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ เป็ นตาแหน่ งที่มีเหตุพิเศษตามกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงาน
บุคคลของหน่ วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ นนั้ สังกัดอยู่ และมีสิทธิได้รบั เงินเพิ่มสาหรับตาแหน่ งที่ มีเหตุพิเศษตาม
กฎหมายว่าด้วยการนัน้ หรือเป็ นตาแหน่ งที่มีสิทธิได้รบั เงินอื่ นทานองเดียวกันตามกฎหมายเกี่ยวกับการบริหาร
งานบุคคลของหน่ วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่นนั้ สังกัดอยู่ แล้วแต่กรณี ทัง้ นี้ ในการกาหนดให้ได้รบั เงินเพิ่ม
สาหรับตาแหน่ งที่มีเหตุพิเศษหรือเงินอื่นทานองเดียวกันให้เปรียบเทียบกับเงิ นเพิ่มสาหรับตาแหน่ งที่ มีเหตุพิเศษ
หรือเงินอื่นทานองเดียวกันของหน่ วยงานของรัฐประเภทเดียวกัน
ผูท้ ี่มีสิทธิได้รบั เงินเพิ่มหรือเงินอื่นในทานองเดียวกัน ตามมาตรา 49 วรรคสอง หมายถึง เจ้าหน้าที่หรือหัวหน้าเจ้าหน้าที่ ที่ผ่านการ
ฝึ กอบรมตามหลักสูตรที่กรมบัญชีกลางกาหนด และได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่ งที่ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการ
บริหารพัสดุตามที่กฎหมายว่าด้วยการบริหารงานบุคคลของหน่ วยงานของรัฐนัน้ กาหนด เท่านัน้
ผูท้ ่ีได้รบั แต่งตัง้
ให้ดารงตาแหน่ งที่ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ
เป็ นกรรมการตรวจรับพัสดุหรือเป็ นผูต้ รวจรับพัสดุ ไม่ได้รบั ค่าตอบแทน
ตามมาตรา 100 วรรคสี่
มาตรา 100 ในการดาเนิ นการตามสัญญาหรือข้อตกลง ให้ผมู ้ ีอานาจแต่งตัง้ คณะ-
กรรมการตรวจรับพัสดุเพื่อรับผิดชอบการบริหารสัญญาหรือข้อตกลง และการตรวจรับ
พัสดุ
องค์ประกอบ องค์ประชุม และหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ให้เป็ นไป
ตามระเบียบที่รฐั มนตรีกาหนด
ในกรณี ที่การจัดซื้อจัดจ้างมีวงเงินเล็กน้อยตามที่กาหนดในกฎกระทรวง จะแต่งตัง้
บุคคลหนึ่ งบุคคลใดเป็ นผูต้ รวจรับพัสดุนนั้ โดยให้ปฏิ บตั ิหน้าที่เช่นเดียวกัคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุก็ได้ และให้นาบทบัญญัติมาตรา 96 วรรคสาม มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
ผูร้ บั ผิดชอบการบริหารสัญญาหรือข้อตกลงและการตรวจรับพัสดุ ตามวรรคหนึ่ ง
และวรรคสาม ซึ่งไม่ใช่ผทู ้ ี่ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่ งที่ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการจัดซื้อ
จัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ ให้ได้รบั ค่าตอบแทนตามที่กระทรวงการคลังกาหนด
ผูท้ ่ีได้รบั แต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่ งที่ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุเป็ นกรรมการตรวจรับพัสดุ
หรือเป็ นผูต้ รวจรับพัสดุ เบิกจ่ายค่าตอบแทนไม่ได้ ตามมาตรา 100 วรรคสี่ นัน้ หมายถึง เจ้าหน้าที่หรือหัวหน้า
เจ้าหน้าที่ที่ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่ งที่ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรื อการบริหารพัสดุตามที่กฎหมาย
ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลของหน่ วยงานของรัฐนัน้ กาหนด เท่านัน้ ส่วนผูท้ ่ีได้รบั มอบหมายให้เป็ นเจ้าหน้าที่หรือ
หัวหน้าเจ้าหน้าที่เป็ นกรรมการตรวจรับพัสดุหรือเป็ นผูต้ รวจรับพัสดุ สามารถเบิกจ่ายค่าตอบแทนได้
ความเข้าใจเกี่ยวกับงานจ้างก่อสร้าง

พระราชบัญญัติ
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
มาตรา 4
“งานก่อสร้าง” หมายความว่า งานก่อสร้างอาคาร งานก่อสร้างสาธารณูปโภค หรือสิ่งปลูกสร้าง
อื่นใด และการซ่อมแซม ต่อเติม ปรับปรุง รี้ อถอน หรือการกระทาอื่นที่มีลกั ษณะทานองเดียวกันต่ออาคาร
สาธารณูปโภค หรือสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว รวมทัง้ งานบริการที่รวมอยู่ในงานก่อสร้างนัน้ ด้วย แต่มูลค่าของงาน
บริการต้องไม่สงู กว่ามูลค่าของงานก่อสร้างนัน้
“อาคาร” หมายความว่า สิ่งปลูกสร้างถาวรที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือใช้สอยได้ เช่น อาคารที่ทาการ
โรงพยาบาล โรงเรียน สนามกีฬา หรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นที่มีลกั ษณะทานองเดียวกัน รวมทัง้ สิ่งก่อสร้างอื่นๆ
ซึ่งสร้างขึ้ นเพื่อประโยชน์ใช้สอยสาหรับอาคารนัน้ ๆ เช่น เสาธง รัว้ ท่อระบายน้า หอถังน้า ถนน ประปา ไฟฟ้ า
หรือสิ่งอื่นๆ ซึ่งเป็ นส่วนประกอบของตัวอาคาร เช่น เครื่องปรับอากาศ ลิ ฟท์ หรือเครื่องเรือน
“สาธารณูปโภค” หมายความว่า งานอันเกี่ยวกับการประปา การไฟฟ้ า การสื่อสาร การโทรคม-
นาคม การระบายน้า การขนส่งทางท่อ ทางน้า ทางบก ทางอากาศ หรือทางราง หรือการอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่ง
ดาเนิ นการในระดับพื้นดิน ใต้พ้ ืนดิน หรือเหนื อพื้นดิน
งานซ่อมแซม ต่อเติม ปรับปรุง และรี้อถอน
ตามหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว259 ลงวันที่ 4 มิถนุ ายน 2561
(ผูค้ วบคุมงานตามมาตรา 101 และระเบียบฯ ข้อ 177 และข้อ 178)
(ผูค้ วบคุมงานตามมาตรา 101 และระเบียบฯ ข้อ 177 และข้อ 178)

มาตรา 101 งานจ้างก่อสร้างที่มีขนั้ ตอนการดาเนินการเป็ นระยะๆ อันจาเป็ นต้องมีการควบคุมงานอย่างใกล้ชิด หรือมีเงื่อนไขการ


จ่ายเงินเป็ นงวดตามความก้าวหน้าของงาน ให้มีผคู้ วบคุมงานซึง่ แต่งตัง้ โดยผูม้ ีอานาจเพื่อรับผิดชอบในการควบคุมงานก่อสร้างนัน้
การแต่งตัง้ คุณสมบัติ และหน้าที่ของผูค้ วบคุมงาน ให้เป็ นไปตามระเบียบที่รฐั มนตรีกาหนด
ค่าตอบแทนผูค้ วบคุมงานตามวรรคหนึง่ ให้เป็ นไปตามที่กระทรวงการคลังกาหนด

ประเด็นว่า งานซ่อมแซม ปรับปรุง ต่อเติม และรื้อถอน เป็ นงานก่อสร้างอาคาร


งานก่อสร้างสาธารณูปโภค หรือสิ่งปลูกสร้างอื่นใด ก็ให้พิจารณาว่า เดิ มตอนที่
สร้างใหม่เป็ นงานก่อสร้างอาคาร งานก่อสร้างสาธารณูปโภค หรือสิ่งปลูกสร้างอื่น
ใด เมื่อดาเนิ นการซ่อมแซม ปรับปรุง ต่อเติ ม และรื้ อถอน ก็จะเป็ นงานก่อสร้าง
เดี ยวกันกับเมื่อตอนก่อสร้างใหม่
แนวทางปฏิบตั ิในการพิจารณาแยกงานจัดซื้อและงานจัดจ้าง
1. กรณี น้ ี มูลค่าการจัดซื้อครุภณ
ั ฑ์มากกว่ามูลค่างานก่อสร้าง
2. ถ้าจะดาเนิ นการเป็ นสัญญาเดียวต้องเป็ นการจัดซื้อไม่ใช่จา้ งก่อสร้าง
3. กรณี น้ ี ควรแยกดาเนิ นการตามประเภทของพัสดุ คือ จัดจ้างก่อสร้าง และจัดซื้อ
ครุภณ
ั ฑ์ โดยแยกดาเนิ นการเป็ นคนละสัญญา
ประเด็นปั ญหาและแนวทาง
การพิจารณาเกี่ยวกับการแบ่งซื้อหรือแบ่งจ้าง

ระเบียบฯ ข้อ 20 การแบ่งซื้อหรือแบ่งจ้างโดยลดวงเงินที่จะซื้อ


หรือจ้างในครัง้ เดียวกันเพื่อให้วิธีการซื้อหรือจ้างหรืออานาจในการสัง่
ซื้อสัง่ จ้างเปลี่ยนแปลงไป จะกระทามิได้
กรณี ใดจะเป็ นการแบ่งซื้อหรือแบ่งจ้างให้พิจารณาถึงวัตถุประสงค์
ในการซื้อหรือจ้างครัง้ นัน้ และความคุม้ ค่าของทางราชการเป็ นสาคัญ
สรุปแนวทางการพิจารณาเกี่ยวกับการแบ่งซื้อหรือแบ่งจ้าง
▪ การพิจารณาว่าเข้าข่ายการแบ่งซื้อแบ่งจ้างหรือไม่ ให้พิจารณาตามเงื่อนไขที่กาหนดตามระเบียบฯ ข้อ 20
▪ กรณี ต่อไปนี้ เข้าข่ายการแบ่งซื้อแบ่งจ้าง
มีการแบ่งวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างในครัง้ เดียวกันออกเป็ นส่วนๆ โดยไม่มีเหตุผลความจาเป็ น เป็ นผล
ทาให้
1. วิธีการซื้อหรือจ้างเปลี่ ยนแปลงไป เช่น วงเงินงบประมาณที่ได้รบั จัดสรรสาหรับการจัดซื้อ
หรือจัดจ้างในครัง้ นัน้ อยู่ในเกณฑ์ตอ้ งดาเนิ นการโดยวิธีประกาศเชิ ญชวนทัว่ ไป และเมื่ อแบ่งวงเงินที่จะซื้อ
หรือจ้างในครัง้ นัน้ แล้ว เป็ นผลทาให้วิธีการจัดซื้อจัดจ้างเปลี่ ยนแปลงเป็ นวิธีคดั เลื อก หรือวิธีเฉพาะเจาะจง
เป็ นต้น หรือ
2. อานาจในการสัง่ ซื้อหรือสัง่ จ้างเปลี่ ยนแปลงไป เช่น แบ่งวงเงินงบประมาณที่ได้รบั จัดสรร
สาหรับการจัดซื้อหรือจัดจ้างในครัง้ นัน้ แล้ว วิธีการซื้อหรือจ้างยังคงเดิม แต่เป็ นผลทาให้อานาจในการสัง่
ซื้อหรือสัง่ จ้างเปลี่ ยนแปลงจากผูม้ ีอานาจเหนื อขึ้ นไปหนึ่ งชัน้ มาเป็ นอานาจของหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ
เป็ นต้น
▪ คาว่า “ในครัง้ เดียวกัน” ตามนัยระเบียบฯ ข้อ 20 วรรคหนึ่ ง หมายถึง การจัดหาพัสดุท่ีสมควรต้องจัดซื้อ
หรือจัดจ้างในครัง้ เดียวภายใต้วงเงินงบประมาณที่ได้รบั สาหรับการจัดซื้อหรือจัดจ้างนัน้ ดังนัน้ การได้รบั
อนุมตั ิจดั สรรเงินงบประมาณในครัง้ เดียวกัน หากไม่มีเหตุผลประการใดที่ทาให้หน่ วยงานของรัฐไม่สามารถ
ดาเนิ นการในครัง้ เดียวกันได้แล้ว หน่ วยงานของรัฐจะต้องจัดซื้อจัดจ้างในครัง้ เดียวกัน หากหน่ วยงาน
ของรัฐได้แยกการดาเนิ นการจนมีผลทาให้วิธีการซื้อหรือวิธีการจ้างเปลี่ ยนแปลงไป หรืออานาจในการ
สัง่ ซื้อสัง่ จ้างเปลี่ ยนแปลงไป กรณี น้ ี จะเป็ นการดาเนิ นการที่ไม่ชอบด้วยระเบียบฯ ข้อ 20 (เข้าข่ายการ
แบ่งซื้อแบ่งจ้าง)
ตัวอย่าง ได้ รับงบประมาณจัดซื้อครุภัณฑ์ จานวณ 10 รายการ รวม 5 ล้ านบาท แต่มี 1 รายการ เป็ นสินค้ าที่อยู่ในระบบข้ อมูลสินค้ า (e-catalog) และมีวงเงินเกิน 5 แสนบาท
กรณีน้ หี น่วยงานของรัฐสามารถแยกครุภัณฑ์รายการนั้นออกมาดาเนินการจัดหาโดยวิธี e-Market ได้ โดยไม่ถอื ว่าเป็ นการแบ่งซื้อแบ่งจ้ าง
การซื้อหรือจ้างเพื่อจัดทาพัสดุเอง

ระเบียบฯ ข้อ 18 ในกรณี ที่มีการซื้อหรือจ้างเพื่อจัดทาพัสดุเอง ให้


หัวหน้าหน่ วยงานของรัฐแต่งตัง้ ผูค้ วบคุมรับผิดชอบในการจัดทาเองนัน้
และแต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจการปฏิบตั ิงาน โดยมีคณ ุ สมบัติและ
หน้าที่เช่นเดียวกับคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ เว้นแต่หน่ วยงานของรัฐ
ที่กาหนดให้มีผรู ้ บั ผิดชอบโดยเฉพาะอยู่แล้ว
➢ กาหนดความต้องการและจัดทารายละเอียด
กระบวนการ ➢ จัดทารายละเอียดโครงการงานก่อสร้าง
ออกแบบรูปรายการงานก่อสร้าง
งบประมาณ
เรื่อง
ร้องเรียน
จัดทาและประกาศ จัดทา/ทบทวนคุณลักษณะเฉพาะ/TOR
เผยแพร่แผนฯ จัดทา/ปรับปรุงแบบก่อสร้าง/TOR (กรณีงานก่อสร้าง) การมีส่วนร่วมของ
ภาคประชาชนและ
ผูป้ ระกอบการ
o ไม่ใช่งานก่อสร้าง
o งานก่อสร้าง กาหนดราคากลาง พัสดุท่ีรฐั ต้องการ
ส่งเสริมหรือสนับสนุน

การขึ้นทะเบียน

ประกาศเชิ ญชวนทัวไป รวบรวมและจัดทาเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง ผูป้ ระกอบการ
คัดเลือก
เฉพาะเจาะจง

่ o ซื้อ/จ้างทัว่ ไป กระบวนการ
ประกาศเชิ ญชวนทัวไป
คัดเลือก o จ้างที่ปรึกษา จัดซื้อจัดจ้าง เบิกจ่ายเงิน
เฉพาะเจาะจง o จ้างออกแบบหรือ
ควบคุมงานก่อสร้าง ➢ ทารายงานขอซื้อขอจ้าง
o เช่า
คัดเลือก

ประกาศเชิ ญชวนทัวไป o แลกเปลี่ ยน บริหารพัสดุ ➢

ดาเนิ นการจัดซื้อจัดจ้าง พิจารณาผล
อนุ มตั ิ สงั ่ ซื้ อสัง่ จ้าง ประกาศผลฯ การอุทธรณ์ ทาสัญญา
➢ การเก็บและการบันทึก ➢ บริหารสัญญาและตรวจรับพัสดุ
เฉพาะเจาะจง ➢ การเบิกจ่าย ➢ การแก้ไขสัญญา การยกเลิกสัญญา
ประกวดแบบ ➢ ค่าปรับ และการลงโทษเป็ นผูท้ ้ ิงงาน
➢ การยืม ➢ รับประกันชารุดบกพร่อง ประเมินผลผูป้ ระกอบการ
➢ การบารุงรักษาและการตรวจสอบ
ไม่ใช้บงั คับกับงานบริการ งานก่อสร้าง งานจ้างที่ ปรึกษา
งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงาน และที่ มีกฏหมายหรือ ➢ การจาหน่ ายพัสดุ
ระเบี ยบกาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น (ระเบี ยบฯ ข้อ 202)
แนวทางปฏิบตั ิและประเด็นปั ญหา
ในการจัดทาร่างขอบเขตของงาน (TOR) หรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ
ระเบียบฯ ข้อ 21 ในการซื้อหรือจ้างที่มิใช่การจ้างก่อสร้าง ให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐแต่งตัง้
คณะกรรมการขึ้ นมาคณะหนึ่ ง หรือจะให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ งรับผิ ดชอบ ในการจัดทาร่าง
ขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะซื้อหรือจ้าง รวมทัง้ กาหนดหลักเกณฑ์
การพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอด้วย
เพื่อให้การกาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุท่ีจะซื้อหรือจ้าง มีมาตรฐานและ
เป็ นประโยชน์ต่อทางราชการ หากพัสดุที่จะซื้อหรือจ้างใดมีประกาศกาหนดมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์อุต-
สาหกรรมแล้ว ให้กาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะซื้อหรือจ้าง หรือรายการในการ
ก่อสร้างตามมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือเพื่อความสะดวกจะระบุเฉพาะหมายเลขมาตรฐาน
ก็ได้ หรือในกรณี พสั ดุท่ีจะซื้อหรือจ้างใดยังไม่มีประกาศกาหนดมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์อุตสาหกรรมแต่มีผู ้
ได้รบั การจดทะเบียนผลิ ตภัณฑ์ไว้กบั กระทรวงอุตสาหกรรมแล้ว ให้กาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
ของพัสดุที่จะซื้อหรือจ้างหรือรายการในการก่อสร้างให้สอดคล้องกับรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะตามที่
ระบุในคู่มือผูซ้ ้ ือหรือใบแทรกคู่มือผูซ้ ้ ือที่กระทรวงอุตสาหกรรมจัดทาขึ้ น
ในการจ้างก่อสร้าง ให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐแต่งตัง้ คณะกรรมการขึ้ นมาคณะหนึ่ งหรือจะให้
เจ้าหน้าที่หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ งจัดทาแบบรูปรายการงานก่อสร้าง หรือจะดาเนิ นการจ้าง ตามความใน
หมวด 4 งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างก็ได้
องค์ประกอบ ระยะเวลาการพิจารณา และการประชุมของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ ง และ
วรรคสอง ให้เป็ นไปตามที่หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐกาหนดตามความจาเป็ นและเหมาะสม
กรณี วงเงินจัดหาไม่เกิน 500,000 บาท ซึ่งใช้วิธีเฉพาะเจาะจงตามกฎกระทรวงฯ ต้องจัดทาขอบเขตของงานหรือรายละเอี ยดคุณลักษณะเฉพาะ
ตามข้อ 21 วรรคหนึ่ ง นี้ ดว้ ย เว้นแต่ เป็ นกรณี ของการจัดหาตามระเบียบข้อ 79 วรรคสอง
การกาหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ

มาตรา 9 การกาหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะทาการจัดซื้อจัดจ้าง
ให้หน่ วยงานของรัฐคานึ งถึงคุณภาพ เทคนิ ค และวัตถุประสงค์ของการจัดซื้อ
จัดจ้างพัสดุนนั้ และห้ามมิให้กาหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุให้ใกล้เคียง
กับยี่ หอ้ ใดยี่ หอ้ หนึ่ ง หรือของผูข้ ายรายใดรายหนึ่ งโดยเฉพาะ เว้นแต่พสั ดุท่ี
จะทาการจัดซื้อจัดจ้างตามวัตถุประสงค์นนั้ มีย่ี หอ้ เดียว หรื อจะต้องใช้อะไหล่
ของยี่ หอ้ ใด ก็ให้ระบุยี่หอ้ นัน้ ได้
ข้อกาหนดและแนวทางปฏิบตั ิ
ในการกาหนดคุณสมบัติของผูย้ ื่ นข้อเสนอ

มาตรา 64 ภายใต้บงั คับมาตรา 51 และมาตรา 52 ผูท้ ี่จะเข้ายื่ นข้อเสนอในการจัดซื้อ


จัดจ้างของหน่ วยงานของรัฐ อย่างน้อยต้องมีคณ ุ สมบัติและไม่มีลกั ษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(1) มีความสามารถตามกฎหมาย
(2) ไม่เป็ นบุคคลล้มละลาย
(3) ไม่อยู่ระหว่างเลิกกิจการ
(4) ไม่เป็ นบุคคลซึ่งอยู่ระหว่างถูกระงับการยื่นข้อเสนอหรือทาสัญญากับหน่ วยงาน
ของรัฐตามมาตรา 106 วรรคสาม (ผลการประเมินไม่ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด)
(5) ไม่เป็ นบุคคลซึ่งถูกแจ้งเวียนชื่อให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานของหน่ วยงานของรัฐตาม
มาตรา 109
(6) คุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามอื่นตามที่คณะกรรมการนโยบายประกาศ
กาหนดในราชกิจจานุเบกษา
ให้หน่ วยงานของรัฐกาหนดเป็ นเงื่อนไขในประกาศและเอกสารเชิญชวนว่าผูท้ ่ีจะเข้า
ยื่ นข้อเสนอต้องแสดงหลักฐานถึงขีดความสามารถและความพร้อมที่ตนมีอยู่ในวันยื่ นข้อเสนอ
ด้วย
แนวทางปฏิ บตั ิในการกาหนดคุณสมบัติของผูย้ ื่ นข้อเสนอ การกาหนดผลงาน การระบุคุณลักษณะเฉพาะ
หรือยี่ หอ้ ของพัสดุ และการพิจารณาคุณสมบัติผยู ้ ื่ นข้อเสนอกรณี การกาหนดสิ่ งที่ไม่ใช่สาระสาคัญ
หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว214 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2563 (ต่อ)
หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว214 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2563 (ต่อ)

(แก้แบบประกาศฯ ข้อ 7 และเอกสารฯ ข้อ 2.7)


หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว214 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2563 (ต่อ)
หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว214 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2563 (ต่อ)
หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว214 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2563 (ต่อ)
แนวทางการกาหนดและพิจารณาผลงานก่อสร้างประเภทเดียวกัน

โดยหลักการของการกาหนดผลงานก่อสร้าง นอกจากมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ได้ตวั ผูร้ บั จ้างที่มีประสบการณ์ในงานก่อสร้าง


ประเภทเดียวกันแล้ว ยังต้องคานึ งถึงมูลค่าของราคาค่างานที่ผูร้ บั จ้างมีประสบการณ์หรือเคยดาเนิ นการงานก่อสร้างใน
ประเภทเดียวกันนัน้ มาแล้วด้วย ซึ่งการที่จะเห็นถึงขีดความสามารถนี้ ได้ ย่อมจะต้องเป็ นการบริหารงานภายใต้การจ้าง
ครัง้ เดียวมิใช่เป็ นการจ้างในหลายๆ ครัง้ นามารวมกัน ดังนัน้ ผลงานที่นามายื่นจึงต้องเป็ นผลงานของผูร้ บั จ้างในสัญญา
เดียวเท่านัน้ และเป็ นสัญญาที่ผูร้ บั จ้างได้ทางานแล้วเสร็จตามสัญญา โดยได้มีการส่งมอบงานและตรวจรับเรียบร้อยแล้ว
โดย ผลงานการก่อสร้างประเภทเดียวกัน หมายความว่า งานก่อสร้างที่ใช้เทคนิ คในการก่อสร้างในส่วนของ
โครงสร้างหลักเป็ นประเภทเดียวกัน และมีลกั ษณะของการใช้งานเป็ นประเภทเดียวกันกับงานที่ประกาศประกวดราคาจ้าง
ก่อสร้าง ซึ่งการกาหนดผลงานเป็ นดุลยพินิจของของหน่วยงานของรัฐที่จะพิจารณาให้เป็ นไปตามเจตนารมณ์ในการ
กาหนดเรื่องผลงานดังกล่าว
ดังนัน้ ในการพิจารณาผลงานการก่อสร้างประเภทเดียวกัน ควรพิจารณา ดังนี้
1. วัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ตวั ผูร้ บั จ้างที่มีประสบการณ์หรือเคยดาเนิ นการในงานก่อสร้างประเภทเดียวกันกับ
งานที่ประกาศประกวดราคาจ้างก่อสร้าง
2. ผลงานที่นามายื่นต้องเป็ นผลงานในสัญญาเดียวเท่านัน้ และเป็ นสัญญาที่ผูร้ บั จ้างได้ทางานแล้วเสร็จโดย
ได้มีการส่งมอบงานและตรวจรับเรียบร้อยแล้ว
3. ส่วนจะกาหนดมูลค่าเท่าไร เป็ นดุลยพินิจของหน่วยงานของรัฐที่จะพิจารณาให้เป็ นไปตามเจตนารมณ์
ในการกาหนดเรื่องผลงาน แต่ตอ้ งไม่เกินร้อยละ 50 ของวงเงินงบประมาณหรือประมาณการราคาค่าก่อสร้าง
4. ต้องเป็ นงานก่อสร้างที่ใช้เทคนิ คหรือวิธีการก่อสร้างในส่วนของโครงสร้างหลักเป็ นประเภทเดียวกันกับงาน
ที่ประกาศประกวดราคาจ้างก่อสร้าง
5. โครงสร้างหลักของงานก่อสร้างต้องเป็ นประเภทเดียวกันกับงานที่ประกาศประกวดราคาจ้างก่อสร้าง
6. มีลกั ษณะของการใช้งานเป็ นประเภทเดียวกันกับงานที่ประกาศประกวดราคาจ้างก่อสร้าง
แนวทางปฏิบตั ิและประเด็นปั ญหา
เกี่ยวกับการออกแบบและการปรับปรุงแก้ไขแบบก่อสร้างในงานจ้างก่อสร้าง
พรบ. มาตรา 60 ; ก่อนดาเนิ นการจัดจ้างงานก่อสร้างตามวิธีการตามมาตรา 55 หน่ วยงานของรัฐ
ต้องจัดให้มีแบบรูปรายการงานก่อสร้าง ซึ่งหน่ วยงานของรัฐจะดาเนิ นการจัดทาเอง หรือดาเนิ นการ
จัดจ้างตามหมวด 8 งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง ก็ได้
ในกรณี ที่ตอ้ งมีการจ้างออกแบบรวมก่อสร้างซึ่งไม่อาจจัดให้มีแบบรูปรายการงานก่อสร้าง
ตามวรรคหนึ่ งได้ ให้ได้รบั ยกเว้นไม่ตอ้ งดาเนิ นการตามวรรคหนึ่ ง โดยกรณี ใดที่จะจ้างออกแบบรวม
ก่อสร้างต้องพิจารณาความเหมาะสมของโครงการและวงเงินด้วย ทัง้ นี้ หลักเกณฑ์และวิธีการจ้าง
ออกแบบรวมก่อสร้างให้เป็ นไปตามระเบียบที่รฐั มนตรีกาหนด
ระเบียบฯ ข้อ 21 วรรคสาม ; ในการจ้างก่อสร้าง ให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐแต่งตัง้ คณะกรรมการ
ขึ้นมาคณะหนึ่ ง หรือจะให้เจ้าหน้าที่ หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ งจัดทาแบบรูปรายการงานก่อสร้าง หรือ
จะดาเนิ นการจ้างตามความในหมวด 4 งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างก็ได้
องค์ประกอบ ระยะเวลาการพิจารณา และการประชุมของคณะกรรมการ ให้เป็ นไปตามที่
หัวหน้าหน่ วยงานของรัฐกาหนดตามความจาเป็ นและเหมาะสม
ระเบียบฯ ข้อ 131 ; ในกรณี ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค หรือราชการส่วนท้องถิ่นใดไม่มี
หน่ วยงานออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง หรือมีแต่ไม่สามารถออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างได้
เอง อาจขอความร่วมมือกับกรมโยธาธิการและผังเมือง กรมศิลปากร หรือหน่ วยงานของรัฐอืน่ ที่มี
หน่ วยงานออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างก่อนก็ได้
การจ้างออกแบบรวมก่อสร้าง
ระเบียบฯ ข้อ 82 หน่ วยงานของรัฐใดประสงค์จะจัดทาโครงการจ้างออกแบบรวมก่อสร้างที่มีรปู แบบ
และขอบเขตการดาเนิ นงานครอบคลุมการสารวจ ออกแบบ ตลอดจนก่อสร้างจนแล้วเสร็จสมบูรณ์
รวมทัง้ การบารุงรักษาในช่วงเริ่มต้นของโครงการโดยผูป้ ระกอบการเพียงรายเดียว ให้เสนอโครงการ
ต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อขอความเห็นชอบก่อนที่จะเริ่มต้นดาเนิ นโครงการ
การจ้างออกแบบรวมก่อสร้างสามารถดาเนิ นการได้ 3 รูปแบบ ดังนี้
(1) จ้างออกแบบควบคู่การก่อสร้าง (Design & Build Project) คือ โครงการที่มีวงเงิน
ลงทุนและเทคโนโลยีดาเนิ นการสูง รวมทัง้ สามารถจัดทาโครงการได้หลายรูปแบบ โดยส่วนใหญ่จะ
เป็ นโครงการใหม่ที่ไม่เคยมีการดาเนิ นการมาก่อนในประเทศ ดังนัน้ จึงมีความจาเป็ นต้องใช้
ผูร้ บั เหมาดาเนิ นโครงการที่มีความรู ้ ความสามารถ และเทคนิ คในการดาเนิ นการพิเศษโดยเฉพาะ
การชาระเงินค่าดาเนิ นโครงการจะมีรปู แบบการจ่ายชาระเงินตามความก้าวหน้าของงานเป็ นงวดๆ
(Installment)
(2) จ้างก่อสร้างพร้อมจัดหาเงินทุน (Turnkey Project) คือ โครงการที่ผวู ้ ่าจ้างจะจัดหา
ผูร้ บั จ้างดาเนิ นโครงการจนแล้วเสร็จ จึงจะมีการชาระเงินค่าดาเนิ นโครงการ ซึ่งผูร้ บั จ้างอาจต้องมี
หน้าที่ในการจัดหาแหล่งเงินทุนเพื่อดาเนิ นโครงการด้วย รวมทัง้ ผูว้ ่าจ้างต้องมีวงเงินดาเนิ นโครงการ
อ้างอิงได้ประกอบการพิจารณาโครงการ (Reference Based Price)
(3) จ้างออกแบบควบคู่ก่อสร้างพร้อมจัดหาเงินทุน (หรือจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จเต็มรูป-
แบบ) คือ โครงการที่ใช้รปู แบบดาเนิ นโครงการทัง้ 2 รูปแบบ โดยผูร้ บั จ้างเป็ นผูอ้ อกแบบและก่อสร้าง
ควบคู่กนั (Design & Build) รวมทัง้ ทาหน้าที่จดั หาเงินทุนดาเนิ นโครงการ ซึ่งผูว้ ่าจ้างจะชาระเงินค่า
ดาเนิ นโครงการเมื่อแล้วเสร็จ
หลักเกณฑ์ วิธีการ และรายละเอียดกระบวนและขัน้ ตอนการจ้างออกแบบรวมก่อสร้าง
ให้เป็ นไปตามที่กรมบัญชีกลางกาหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการนโยบาย
แนวทางปฏิบตั ิในการออกแบบและการรับรองแบบก่อสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(หนังสือเวียนกระทรวงมหาดไทย)
ข้อปฏิบตั ิในการกาหนดรายละเอียดงานดินถม งานดินตัก และงานฐานรากในการจ้างก่อสร้าง
(หนังสือเวียน)
แนวทางปฏิบตั ิเกี่ยวกับการออกแบบก่อสร้างและประมาณการราคาในชัน้ ต้น
ตามหลักเกณฑ์การคานวณราคากลางงานก่อสร้าง
(แนวทางและวิธีปฏิ บตั ิฯ ข้อ 16)

ในการออกแบบรูปรายการงานก่อสร้าง หน่ วยงานของรัฐเจ้าของโครงการงานก่อสร้างจะ


ดาเนิ นการเอง หรือขอความร่วมมือหน่ วยงานของรัฐอื่น หรือจะดาเนิ นการจัดจ้างออกแบบ
รูปรายการงานก่อสร้าง ก็ได้
ผูอ้ อกแบบรูปรายการงานก่อสร้างต้องออกแบบให้ถกู ต้องเหมาะสมกับการใช้งาน
และเป็ นไปตามหลักวิชาการ โดยผูอ้ อกแบบต้องถอดแบบรูปรายการงานก่อสร้าง และจัดทา
รายการ ปริมาณงาน และราคา และประมาณการราคาในเบื้องต้นไว้ดว้ ย รวมทัง้ ต้องรับรอง
แบบรูปรายการงานก่อสร้าง และรายการ ปริมาณงาน ที่ได้ถอดแบบฯ นัน้ ไว้ดว้ ยทุกครัง้
ในการถอดแบบรูปรายการงานก่อสร้าง การจัดทารายการ ปริมาณงาน และราคา
และการประมาณการราคาในเบื้องต้น ผูอ้ อกแบบรูปรายการงานก่อสร้างอาจดาเนิ นการ
ตามหลักเกณฑ์การคานวณราคากลางงานก่อสร้างนี้ ก็ได้
ทัง้ นี้ การออกแบบรูปรายการงานก่อสร้างดังกล่าว ให้รวมถึงการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง และแก้ไขแบบรูปรายการงานก่อสร้างด้วย
ความเข้าใจเกี่ยวกับแบบแสดงรายการ ปริมาณงาน และราคา (BOQ.)
▪ BOQ. (Bill of Quantities) หมายถึง แบบหรือบัญชีแสดงรายการ ปริมาณงาน และราคา ที่สอดคล้อง
กับราคาค่าก่อสร้าง ซึ่งถอดแบบและคานวณมาจากแบบรูปรายการงานก่อสร้าง
▪ ในกระบวนการจัดจ้างก่อสร้างตัง้ แต่เริ่มต้นจัดทาโครงการจนถึ งขัน
้ ตอนตรวจรับงานงวดสุดท้าย จะพบ
BOQ. ที่จดั ทาขึ้ นเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ ดังนี้
1. BOQ. ของผูอ้ อกแบบฯ เป็ นบัญชี แสดงรายการ ปริมาณงาน และราคา ซึ่งถอดแบบฯ และคานวณ
โดยผูอ้ อกแบบฯ เป็ นบัญชี แสดงรายละเอียดการประมาณการราคาในชัน้ ต้นโดยผูอ้ อกแบบฯ
2. แบบหรือรายงานการคานวณราคากลางงานก่อสร้าง เป็ นรายงานและรายการ ปริมาณงาน และราคา
ที่สอดคล้องกับราคากลาง ซึ่งถอดแบบและคานวณมาจากแบบรูปรายการงานก่อสร้างที่ใช้ก่อสร้าง
โดยคณะกรรมการกาหนดราคากลาง ซึ่งต้องถอดแบบและคานวณตามหลักเกณฑ์การคานวณราคา
กลางงานก่อสร้าง ประกอบด้วย
- กรณี งานก่อสร้างอาคาร ได้แก่ แบบ ปร. 6 , ปร. 5(ก) , ปร. 5(ข) , ปร. 4 และ แบบ
ปร. 4(พ) เป็ นต้น
- กรณี งานก่อสร้างทาง สะพาน และท่อเหลี่ ยม ได้แก่ แบบสรุปราคากลางงานก่อสร้างทาง
สะพาน และท่อเหลี่ ยม เป็ นต้น
- กรณี งานก่อสร้างชลประทาน ได้แก่ แบบสรุปราคากลางงานก่อสร้างชลประทาน เป็ นต้น
3. BOQ. ของผูย้ ื่ นข้อเสนอ เป็ นแบบหรือบัญชี แสดงรายการ ปริมาณ และราคา ที่ผเู ้ สนอราคาจัดทา
และเสนอตามรูปแบบที่หน่ วยงานของรัฐกาหนด ซึ่งสอดคล้องกับราคาที่เสนอ
4. BOQ. แนบท้ายสัญญาจ้าง เป็ นแบบหรือบัญชี แสดงรายการ ปริมาณ และราคา ที่เป็ นเอกสาร
แนบท้ายสัญญาจ้างก่อสร้าง และเป็ นส่วนหนึ่ งของสัญญาจ้างก่อสร้าง ซึ่งสอดคล้องกับค่าจ้าง
ก่อสร้างที่กาหนดในสัญญาจ้าง และรวมไปถึงแบบหรือบัญชี แสดงรายการ ปริมาณ และราคาที่ได้
จัดทาขึ้ นเพิ่มเติมในขัน้ ตอนบริหารสัญญา อันเนื่ องมาจากการปรับปรุงแก้ไขสัญญาด้วย
แนวทางปฏิ บตั ิในการเสนอราคา และการจัดทาใบแจ้งปริมาณงานและราคาและใบบัญชี รายการก่อสร้าง
(หนังสือเวียน)
สรุปแนวทางปฏิบตั ิเกี่ยวกับการเสนอราคา และการจัดทาใบแจ้งปริมาณงานและราคาและใบบัญชีรายการก่อสร้าง
(ตามหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว452 ลงวันที่ 17 กันยายน 2562)

▪ ยกเลิกหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว149 ลงวันที่ 26 มีนาคม 2562


▪ ให้ใช้กบั การจัดจ้างก่อสร้างที่หน่วยงานของรัฐได้จดั ทาแบบรูปรายการงานก่อสร้างและรายการละเอียด ถูกต้อง เหมาะสม
กับการใช้งานและเป็ นไปตามหลักวิชาการ และต้องเป็ นการดาเนิ นการในขัน้ ตอนเริ่มต้นของการจัดจ้างก่อสร้าง (ก่อนการ
กาหนดราคากลาง)
▪ กรณีใช้วิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ ให้แก้ไขแบบเอกสารประกวดราคาจ้างก่อสร้างด้วยวิธีการประกวดราคาอิเล็ก-
ทรอนิ กส์ (ตามหนังสือคณะกรรมการนโยบายฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กนบ) 0405.2/ว410 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2560)
ดังนี้
1. ตัดข้อความ ข้อ 3.2 วรรคหนึ่ ง (4) ออกทัง้ หมด
2. แก้ไขข้อความ ข้อ 4.2 วรรคหนึ่ ง จากเดิมเป็ น “ให้ผูย้ ื่นข้อเสนอกรอกรายละเอียดการเสนอราคาในใบเสนอราคา
ตามแบบเอกสารประกวดราคาจ้างก่อสร้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Bidding) ข้อ 1.2 ให้ครบถ้วน โดยไม่
ต้องยื่นใบแจ้งปริมาณงานและราคา และใบบัญชีรายการก่อสร้าง ในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)”
กรณีใช้วิธีสอบราคาหรือวิธีคดั เลือก กาหนดให้ผูย้ ื่นข้อเสนอกรอกรายละเอียดการเสนอราคาในใบเสนอราคาให้
ครบถ้วน โดยไม่ตอ้ งยื่นใบแจ้งปริมาณงานและราคา และใบบัญชีรายการก่อสร้าง
▪ ก่อนลงนามในสัญญา ให้ดาเนิ นการดังนี้
แจ้งให้รายที่ชนะหรือรายที่ได้รบั การคัดเลือก มาจัดทาใบแจ้งปริมาณงานและราคา และใบบัญชีรายการก่อสร้าง ให้
ตรงกับแบบรูปและรายการละเอียด โดยดาเนิ นการดังนี้
(1) เจรจาปรับลดราคาทุกรายการตามอัตราร้อยละที่ผูย้ ื่นข้อเสนอได้เสนอราคาลดลง โดยเทียบกับราคากลาง
ในการจัดจ้างครัง้ นัน้ หรือจะปรับลดตามความเหมาะสมก็ได้
(2) กรณีเลือกและดาเนิ นการเจรจาปรับลดราคาตามความเหมาะสมแล้ว แต่ไม่สามารถเจรจาตกลงกันได้
ให้หน่วยงานของรัฐปรับลดราคาทุกรายการตามอัตราร้อยละที่ผยู ้ ื่นข้อเสนอได้เสนอราคาลดลง โดยเทียบกับราคากลาง
ในการจัดจ้างครัง้ นัน้ ภายใต้ราคาที่เสนอไว้
(3) หากไม่สามารถเจรจาเพื่อปรับลดราคาทุกรายการตาม (1) และ (2) ได้ ให้หน่วยงานของรัฐยกเลิกการ
จัดจ้างครัง้ นัน้
สรุปแนวทางปฏิ บตั ิเกี่ยวกับใบเสนอราคา ใบแจ้งปริมาณงานและราคา และใบบัญชี รายการก่อสร้าง
(ตามหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว452 ลงวันที่ 17 กันยายน 2562)
(ต่อ)

กรณีเลือกวิธีปรับลดราคาทุกรายการตามอัตราร้อยละที่ผูย้ ื่นข้อเสนอได้เสนอราคาลดลง หัวหน้าหน่วยงานของรัฐอาจ


มอบหมายให้เจ้าหน้าที่เป็ นผูด้ าเนิ นการก็ได้ สาหรับกรณีที่เลือกวิธีเจรจาเพื่อปรับลดราคาตามความเหมาะสมให้หวั หน้า
หน่วยงานของรัฐมอบหมายให้คณะกรรมการกาหนดราคากลางเป็ นผูด้ าเนิ นการประเมินราคาและปรับลดราคาตามความ-
เหมาะสม ทัง้ นี้ ภายใต้ราคาที่เสนอไว้
▪ กรณีที่หน่วยงานของรัฐจัดทาใบแจ้งปริมาณงานและราคา และใบบัญชีรายการก่อสร้าง คลาดเคลื่อนไปจากแบบรูปและ
รายการละเอียด เป็ นเหตุให้ราคากลางที่หน่วยงานของรัฐกาหนดไว้นนั้ ตา่ เกินไปหรือสูงเกินความเป็ นจริง ให้หน่วยงาน
ของรัฐคานวณราคากลางใหม่ให้ถกู ต้องเพื่อใช้เป็ นราคาเปรียบเทียบ และหากคานวณราคากลางใหม่แล้ว กรณี ปรากฏ
ดังต่อไปนี้
(1) กรณีผูช้ นะหรือผูท้ ี่ได้รบั การคัดเลือกได้เสนอราคาตามแบบรูปและรายการละเอียด ซึ่งตา่ กว่าราคากลาง
ที่จดั ทาใหม่โดยถูกต้อง และตา่ กว่าวงเงินที่จะจ้าง ให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์หรือคณะ-
กรรมการพิจารณาผลการสอบราคาหรือคณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีคดั เลือก ดาเนิ นการตามข้อ 3 (การดาเนิ นการก่อน
ลงนามในสัญญา)
(2) กรณีผูช้ นะหรือผูท้ ี่ได้รบั การคัดเลือกได้เสนอราคาตามแบบรูปและรายการละเอียด ซึ่งสูงกว่าราคากลางที่
จัดทาใหม่โดยถูกต้อง และสูงกว่าวงเงินที่จะจ้าง ให้คณะกรรมการฯ ต่อรองราคา หากต่อรองราคาแล้ว กรณีปรากฏดังนี้
- ผูช้ นะหรือผูท้ ี่ได้รบั การคัดเลือกยอมลดราคาตา่ กว่าราคากลางที่จดั ทาใหม่โดยถูกต้อง และตา่ กว่าวง-
เงินที่จะจ้าง ให้คณะกรรมการฯ ดาเนิ นการตามข้อ 3 (การดาเนิ นการก่อนลงนามในสัญญา)
- ผูช้ นะหรือผูท้ ี่ได้รบั การคัดเลือกไม่ยอมลดราคาหรือลดราคาแล้ว แต่ราคาที่เสนอนัน้ ยังสูงกว่าวงเงิน
ที่จะจ้าง ให้หน่วยงานของรัฐยกเลิกการจัดจ้างในครัง้ นัน้
▪ แนวทางปฏิบตั ิน้ ี ให้มีผลใช้บงั คับกับการจัดจ้างก่อสร้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ วิธีสอบราคา หรือวิธีคดั เลือก
ที่จะประกาศเชิญชวนในระบบ e-GP หรือส่งหนังสือเชิญชวน ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2562 เป็ นต้นไป
ประเด็นปั ญหาและแนวทางปฏิบตั ิ
เกี่ยวกับการจัดทาและประกาศรายละเอียดข้อมูลราคากลางพัสดุ
ข้อกาหนดในการจัดทาราคากลางพัสดุ
(พรบ. มาตรา 4)

“ราคากลาง” หมายความว่า ราคาเพื่อใช้เป็ นฐานสาหรับเปรียบเทียบราคา ที่ผยู ้ ่ืนข้อเสนอได้


ยื่ นเสนอไว้ ซึ่งสามารถจัดซื้อจัดจ้างได้จริง โดยให้พิจารณากาหนด ตามลาดับ ดังต่อไปนี้
 (1) ราคาที่ได้มาจากการคานวณตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการราคากลางกาหนด
(2) ราคาที่ได้มาจากฐานข้อมูลราคาอ้างอิงของพัสดุที่กรมบัญชีกลางจัดทา (ตามมาตรา 47)
 (3) ราคามาตรฐานที่สานักงบประมาณหรือหน่ วยงานกลางอื่นกาหนด
(4) ราคาที่ได้มาจากการสื บราคาจากท้องตลาด
 (5) ราคาที่เคยซื้อหรือจ้างครัง้ หลังสุดภายในระยะเวลาสองปี งบประมาณ
(6) ราคาอื่นใดตามหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือแนวทางปฏิบตั ิของหน่ วยงานของรัฐนัน้ ๆ

ในกรณี ที่มีราคาตาม (1) ให้ใช้ราคาตาม (1) ก่อน ในกรณี ที่ไม่มีราคาตาม (1) แต่มี
ราคาตาม (2) หรือ (3) ให้ใช้ราคาตาม (2) หรือ (3) ก่อน โดยจะใช้ราคาใดตาม (2) หรือ
(3) ให้คานึ งถึงประโยชน์ของหน่ วยงานของรัฐเป็ นสาคัญ ในกรณี ที่ไม่มีราคาตาม (1) (2)
และ (3) ให้ใช้ราคาตาม (4) (5) หรือ (6) โดยจะใช้ราคาใดตาม (4) (5) หรือ (6) ให้
คานึ งถึงประโยชน์ของหน่ วยงานของรัฐเป็ นสาคัญ
การกาหนดราคากลางงานก่อสร้าง
ราคาอ้างอิง
(พรบ. มาตรา 47)

มาตรา 47 ให้กรมบัญชี กลางมีหน้าที่จดั ทาฐานข้อมูลราคาอ้างอิงของพัสดุ


เพื่อให้หน่ วยงานของรัฐใช้เป็ นข้อมูลประกอบการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุนนั้ และ
ให้เผยแพร่ขอ้ มูลดังกล่าวในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชี กลาง
การกาหนดราคาอ้างอิงของพัสดุตอ้ ง คานึ งถึงราคาตลาดของพัสดุนนั้
และการกาหนดราคาอ้างอิงของพัสดุอย่างเดียวกัน จะไม่ใช้ราคาเดี ยวกัน
ทัว่ ประเทศก็ได้
กรมบัญชี กลางต้องปรับปรุงฐานข้อมูลตามวรรคหนึ่ ง อย่างน้อยปี ละ
สองครัง้
แนวทางปฏิบตั ิ
การสืบราคาพัสดุจากท้องตลาด
ตามเอกสารแนบท้ายหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0433.2/ว206 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2562

▪ ต้องสืบราคาให้เหมาะสมกับขอบเขตของงานหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่
จะซื้อหรือจ้าง โดยสืบไม่นอ้ ยกว่า 3 ราย เว้นแต่บางกรณี มีนอ้ ยกว่า 3 ราย ให้
สืบเท่าที่มี
▪ เมื่อสื บราคาแล้วไม่ว่าจะ 3 รายขึ้ นไป หรือกรณี นอ ้ ยกว่า 3 ราย จะนาราคาใด
มาใช้เป็ นราคากลาง (ราคาอ้างอิง) ให้พิจารณาดังนี้
➢ กรณี การจัดหาที่ มีการประกาศเชิ ญชวน ให้ใช้ราคาเฉลี่ ยเป็ นราคากลาง
ก่อน เว้นแต่ หน่ วยงานของรัฐพิจารณาแล้วเห็นว่า ราคาตา่ สุดสามารถ
ดาเนิ นการจัดซื้อจัดจ้างได้ ก็ให้ใช้ราคาตา่ สุดเป็ นราคากลาง
➢ กรณี การจัดหาที่ ไม่มีการประกาศเชิ ญชวน ให้ใช้ราคาตา่ สุดเป็ นราคากลาง

▪ ในการสืบราคา ให้จดั ทาบันทึกแสดงรายละเอียดการสืบราคาประกอบไว้ดว้ ย


ข้อกาหนดการประกาศเปิ ดเผย
รายละเอียดข้อมูลราคากลางพัสดุ

พรบ. มาตรา 63 ภายใต้บงั คับมาตรา 62 ให้หน่ วยงาน


ของรัฐประกาศรายละเอียดข้อมูลราคากลาง และการคานวณ
ราคากลาง ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชี กลาง
ตามวิธีการที่กรมบัญชี กลางกาหนด
วงเงินและวิธีการประกาศเปิ ดเผยราคากลางพัสดุ
ให้หน่ วยงานของรัฐถือปฏิบตั ิ
ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0433.2/ว206 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2562
วงเงินและวิธีการประกาศเปิ ดเผยราคากลางพัสดุ (ต่อ)
ให้หน่ วยงานของรัฐถือปฏิบตั ิ
ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0433.2/ว206 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2562
วงเงินและวิธีการประกาศเปิ ดเผยราคากลางพัสดุ (ต่อ)
ให้หน่ วยงานของรัฐถือปฏิบตั ิ
ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0433.2/ว206 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2562
สาระสาคัญการเปิ ดเผยราคากลางพัสดุ
ตามคู่มือแนวทางการประกาศรายละเอียดข้อมูลราคากลางและการคานวณราคากลาง
เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างของหน่ วยงานของรัฐ
(เอกสารแนบท้ายหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0433.2/ว206 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2562)

แบบฟอร์มสาหรับประกาศเปิ ดเผยราคากลาง
1. แบบฟอร์มสาหรับการเปิ ดเผยราคากลางและการคานวณราคากลางงานก่อสร้าง
(แบบ บก. 01)
2. แบบฟอร์มสาหรับการเปิ ดเผยราคากลางและการคานวณราคากลางการจ้างควบคุม
งานก่อสร้าง (แบบ บก. 02)
3. แบบฟอร์มสาหรับการเปิ ดเผยราคากลางและการคานวณราคากลางการจ้างออกแบบ
(แบบ บก. 03)
4. แบบฟอร์มสาหรับการเปิ ดเผยราคากลางและการคานวณราคากลางการจ้างที่ ปรึกษา
(แบบ บก. 04)
5. แบบฟอร์มสาหรับการเปิ ดเผยราคากลางและการคานวณราคากลางการจ้างพัฒนา
ระบบคอมพิวเตอร์ (แบบ บก. 05)
6. แบบฟอร์มสาหรับการเปิ ดเผยราคากลางและการคานวณราคากลางการจัดซื้อจัดจ้าง
ที่มิใช่งานก่อสร้าง (แบบ บก. 06)
การจัดทาร่างประกาศและเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง
ระเบียบฯ ข้อ 34 ให้เจ้าหน้าที่จดั ทาเอกสารซื้อหรือจ้างด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์ พร้อมประกาศเชิญชวนตามแบบ
ที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด
การจัดทาเอกสารซื้อหรือจ้างและประกาศเชิญชวนตามวรรคหนึ่ ง ถ้าจาเป็ นต้องมีขอ้ ความหรือรายการแตกต่างไป
จากแบบที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด โดยมีสาระสาคัญตามที่กาหนดไว้ในแบบ และไม่ทาให้หน่วยงานของรัฐเสีย
เปรียบก็ให้กระทาได้ เว้นแต่ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐเห็นว่าจะมีปัญหาในทางเสียเปรียบหรือไม่รดั กุมพอ ก็ให้ส่งร่าง
เอกสารซื้อหรือจ้างและประกาศเชิญชวนดังกล่าวไปให้สานักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาก่อน
การกาหนดวัน เวลาการเสนอราคาในเอกสารซื้อหรือจ้างและประกาศเชิญชวนตามวรรคหนึ่ ง ให้กาหนดเป็ นวันถัด
จากวันสุดท้ายของระยะเวลาการเผยแพร่ประกาศและเอกสารซื้อหรือจ้าง โดยกาหนดเป็ นวัน เวลา ทาการเท่านัน้ และ
เวลาในการเสนอราคาให้ถือตามเวลาของระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิ กส์เป็ นเกณฑ์

ระเบียบฯ ข้อ 43 ให้เจ้าหน้าที่จดั ทาเอกสารซื้อหรือจ้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ พร้อมประกาศเชิญชวน


ตามแบบที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด
การจัดทาเอกสารซื้อหรือจ้างและประกาศเชิญชวนตามวรรคหนึ่ ง ถ้าจาเป็ นต้องมีขอ้ ความหรือรายการแตกต่างไป
จากแบบที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด โดยมีสาระสาคัญตามที่กาหนดไว้ในแบบและไม่ทาให้หน่วยงานของรัฐเสีย
เปรียบก็ให้กระทาได้ เว้นแต่ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐเห็นว่าจะมีปัญหาในทางเสียเปรียบหรือไม่รดั กุมพอ ก็ให้ส่งร่าง
เอกสารซื้อหรือจ้างและประกาศเชิญชวนดังกล่าวไปให้สานักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาก่อน
การกาหนดวัน เวลาการเสนอราคาในเอกสารซื้อหรือจ้างและประกาศเชิญชวนตามวรรคหนึ่ ง ให้กาหนดเป็ นวันถัด
จากวันสุดท้ายของระยะเวลาการเผยแพร่ประกาศและเอกสารซื้อหรือจ้าง โดยกาหนดเป็ นวัน เวลา ทาการเท่านัน้ และ
เวลาในการเสนอราคาให้ถือตามเวลาของระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิ กส์เป็ นเกณฑ์
การจัดทาร่างประกาศและเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง
(ต่อ)

ระเบียบฯ ข้อ 61 ให้เจ้าหน้าที่จดั ทาเอกสารซื้อหรือจ้างด้วยวิธีสอบราคา พร้อมประกาศเชิญชวนตามแบบที่คณะ-


กรรมการนโยบายกาหนด
การจัดทาเอกสารซื้อหรือจ้างและประกาศเชิญชวนตามวรรคหนึ่ ง ถ้าจาเป็ นต้องมีขอ้ ความหรือรายการแตกต่างไป
จากแบบที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด โดยมีสาระสาคัญตามที่กาหนดไว้ในแบบและไม่ทาให้หน่วยงานของรัฐเสีย
เปรียบก็ให้กระทาได้ เว้นแต่ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐเห็นว่าจะมีปัญหาในทางเสียเปรียบหรือไม่รดั กุมพอ ก็ให้ส่งร่าง
เอกสารซื้อหรือจ้างและประกาศเชิญชวนดังกล่าวไปให้สานักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาก่อน
การกาหนดวัน เวลาการยื่นข้อเสนอในเอกสารซื้อหรือจ้างและประกาศเชิญชวนตามวรรคหนึ่ งให้กาหนดเป็ นวันถัด
จากวันสุดท้ายของระยะเวลาการเผยแพร่ประกาศและเอกสารซื้อหรือจ้างโดยกาหนดเป็ นวัน เวลา ทาการ เพียงวันเดียว
การกาหนดวัน เวลาการเปิ ดซองข้อเสนอ ให้กาหนดเป็ นวัน เวลา ทาการ ถัดจากยื่นข้อเสนอตามวรรคสาม
แบบประกาศและเอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง
ตามหนังสือเวียนคณะกรรมการนโยบาย ด่วนที่สดุ ที่ กค(กนบ) 0405.2/ว410 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2560

กาหนดให้เจ้าหน้าที่จดั ทาเอกสารพร้อมประกาศเชิ ญชวนตามแบบที่คณะกรรมการนโยบายการ


จัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กาหนด ตามหนังสือคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อ
จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ด่วนที่สุด ที่ กค(กนบ) 0405.2/ว410 ลงวันที่ 24 ตุลาคม
2560 ซึ่งประกอบด้วย
1. แบบประกาศและเอกสารซื้อด้วยวิธีตลาดอิเล็ กทรอนิ กส์ (e-Market)
2. แบบประกาศและเอกสารประกวดราคาจ้างก่อสร้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็ กทรอนิ กส์
(e-Bidding)
3. แบบประกาศและเอกสารประกวดราคาจ้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็ กทรอนิ กส์ (e-Bidding)
4. แบบประกาศและเอกสารประกวดราคาซื้อด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็ กทรอนิ กส์ (e-Bidding)
5. แบบประกาศและเอกสารสอบราคาจ้างก่อสร้าง
6. แบบประกาศและเอกสารสอบราคาจ้าง
7. แบบประกาศและเอกสารสอบราคาซื้อ
แบบประกาศและเอกสารซื้อด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Market)
(ตามหนังสือเวียนคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ด่วนที่สุด ที่ กค (กนบ) 0405.2/ว 410 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2560)

1. แบบประกาศการซื้อด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Market)


2. แบบร่างเอกสารการซื้อด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Market)
3. แบบร่างใบเสนอราคาซื้อด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Market)
4. แบบคุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา เงื่อนไขการเสนอราคา หลักเกณฑ์
และสิทธิในการพิจารณา
แบบประกาศและเอกสารประกวดราคาจ้างก่อสร้าง
ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Bidding)
(ตามหนังสือเวียนคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ด่วนที่สุด ที่ กค (กนบ) 0405.2/ว 410 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2560)

1. แบบประกาศ
2. แบบเอกสารประกวดราคาจ้างก่อสร้างด้วยวิธีประกวด
ราคาอิเล็กทรอนิ กส์ (e–Bidding)
3. แบบใบเสนอราคา
4. แบบบัญชีเอกสาร
- บัญชี เอกสารส่วนที่ 1
- บัญชี เอกสารส่วนที่ 2
แบบประกาศและเอกสารประกวดราคาจ้างทัว่ ไป
ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Bidding)
(ตามหนังสือเวียนคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ด่วนที่สุด ที่ กค (กนบ) 0405.2/ว 410 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2560)

1. แบบประกาศ
2. แบบเอกสารประกวดราคาจ้างทัว่ ไปด้วยวิธีประกวดราคา
อิเล็กทรอนิ กส์ (e–Bidding)
3. แบบใบเสนอราคา
4. แบบบัญชีเอกสาร
- บัญชี เอกสารส่วนที่ 1
- บัญชี เอกสารส่วนที่ 2
แบบประกาศและเอกสารประกวดราคาซื้อ
ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Bidding)
(ตามหนังสือเวียนคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ด่วนที่สุด ที่ กค (กนบ) 0405.2/ว 410 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2560)

1. แบบประกาศ
2. แบบเอกสารเอกสารประกวดราคาซื้อด้วยวิธี
ประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ (e–Bidding)
3. แบบใบเสนอราคา
4. แบบบัญชีเอกสาร
- บัญชี เอกสารส่วนที่ 1
- บัญชี เอกสารส่วนที่ 2

กรณี ของการสอบราคาซื้อ , จ้าง และจ้างก่อสร้าง ศึกษารายละเอียดได้จากเอกสารแนบท้าย


หนังสือเวียนคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ด่วนที่สุด ที่
กค (กนบ) 0405.2/ว 410 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2560
TOR
Terms of Reference
▪ Terms of Reference (TOR) เป็ นเอกสารกาหนดขอบเขตและรายละเอียดของพัสดุที่หน่ วยงานของรัฐต้องการ และรวมถึงความ
รับผิ ดชอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับพัสดุที่จดั หานัน้ ซึ่งผูย้ ื่นข้อเสนอหรือผูค้ า้ ต้องดาเนิ นการ
▪ TOR มีความสาคัญต่อคุณภาพของพัสดุที่จดั หา และเป็ นเอกสารอ้างอิงที่ใช้เป็ นส่วนหนึ่ งของเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง และสัญญา
หรือข้อตกลง TOR จึงต้องมีความชัดเจนเพียงพอต่อการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาผลในขัน้ ตอนการพิจารณาผล
และคณะกรรมการตรวจรับในขัน้ ตอนการบริหารสัญญาหรือข้อตกลงและตรวจรับ ทัง้ ทางด้านปริมาณและคุณภาพของพัสดุ
▪ TOR ที่ดีจะช่วยให้ได้พสั ดุที่ดีตรงตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน ประหยัด เกิดประโยชน์สงู สุดแก่หน่ วยงานของรัฐ
▪ TOR ไม่มีรูปแบบที่ตายตัว แต่โดยทัว่ ไปจะประกอบด้วยหัวข้อดังนี้

1. ความเป็ นมา 11. ระยะเวลาส่งมอบงาน


2. วัตถุประสงค์ 12. วงเงินในการจัดหา
13. ราคากลาง
3. สถานที่ดาเนิ นการ 14. หลักเกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอ และสิทธิใน
4. คุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา การพิจารณาข้อเสนอ
5. แบบรูปรายการและคุณลักษณะเฉพาะ/ 15. การรับประกันความชารุดบกพร่อง
ขอบเขตของงาน 16. เงื่อนไขการชาระเงิน
17. ค่าปรับ
6. วิธีการดาเนิ นการ (วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง) 18. การยื่นข้อเสนอ
7. ระยะเวลาดาเนิ นการ 19. การประกาศผลและการทาสัญญา
8. หลักประกันการเสนอราคา 20. การปรับราคาค่างานก่อสร้าง
9. การจ่ายเงินล่วงหน้า 21. อื่นๆ
10. การหักเงินประกันผลงาน
ตัวอย่าง
แบบร่าง TOR งานจ้างก่อสร้าง
(กรณีที่จาเป็ นต้องมี TOR)

ขอบเขตของงาน Terms of Reference : TOR


โครงการ/งาน..................................

1. ความเป็ นมา
รายละเอียดความเป็ นมาและเหตุผลความจาเป็ นต้ องจัดจ้ างก่อสร้ างโครงการ/งานนี้

2. วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของโครงการ/งานก่อสร้ าง

3. สถานที่ดาเนินการ
รายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ก่อสร้ าง
4. คุณสมบัติของผูเ้ สนอราคา
ระบุคุณสมบัติของผู้ท่จี ะมีสทิ ธิมาเสนอราคา โดยถือปฏิบัติตามหนังสือคณะกรรมการวินจิ ััย ด่วนที่สดุ
ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว214 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2563 หนังสือคณะกรรมนโยบาย ด่วนที่สดุ ที่
กค (กนบ) 0405.2/ว410 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2560 และหนังสือคณะกรรมการวินิจััย ด่วนที่สดุ ที่
กค (กวจ) 0405.2/ว54 ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562

5. แบบรูปรายการและคุณลักษณะเฉพาะ/ขอบเขตของงาน
5.1 รายละเอียดการก่อสร้ างตามแบบ
5.2 ครุภัณฑ์จดั ซื้อและอุปกรณ์อานวยความสะดวกต่างๆ ตามแบบ และรายการประกอบแบบ
5.3 .......

6. วิธีการดาเนินการ (วิธีการจัดจ้าง)
ดาเนินการจัดจ้ างโดยวิธใี ด เช่น ดาเนินการด้ วยวิธปี ระกาศเชิญชวนทั่วไป ด้ วยวิธปี ระกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์
(e-Bidding) เป็ นต้ น

7. ระยะเวลาดาเนินการ
ระบุระยะเวลาดาเนินการ จานวน .... วัน นับแต่วันลงนามสัญญา (หรือนับถัดจากวันลงนามสัญญา) เป็ นต้ น

8. หลักประกันการเสนอราคา
กาหนดรายละเอียด เงื่อนไข และมูลค่าหลักประกันการเสนอราคา เป็ นเงินจานวน ....... บาท (................)
(การกาหนดหลักประกันการเสนอราคาให้ถอื ปฏิบตั ิตามระเบียบฯ ข้อ 166 และข้อ 168)
9. การจ่ ายเงินล่วงหน้า
เช่น ระบุว่า “ผู้รับจ้ างมีสทิ ธิ์ขอรับเงินล่วงหน้ า ร้ อยละ ...... ของราคาค่าจ้ างทั้งหมด และหน่วยงานจะหักเงิน
ล่วงหน้ าคืนในอัตราร้ อยละ ....... ของการจ่ายเงินแต่ละงวดงานจนครบจานวณ” เป็ นต้ น
(การจ่ ายเงินล่วงหน้าหรือเงินล่วงหน้าจ่ าย ต้องถือปฏิบตั ิตามระเบียบฯ ข้อ 89 และข้อ 91)

10. การหักเงินประกันผลงาน
เช่น อาจกาหนดว่า “ในการจ่ายเงินให้ แก่ผ้ ูรับจ้ างแต่ละงวด หน่วยงานจะหักเงินจานวนร้ อยละ......(5 -10)......
ของเงินที่ต้องจ่ายในงวดนั้นเพื่อเป็ นประกันผลงาน
ผู้รับจ้ างมีสทิ ธิท่จี ะขอเงินประกันผลงานคืน โดยผู้รับจ้ างจะต้ องวางหนังสือค้ าประกันของธนาคารซึ่งออก
โดยธนาคารภายในประเทศ มาวางไว้ ต่อหน่วยงานเพื่อเป็ นหลักประกันแทนก็ได้
หน่วยงานจะคืนเงินประกันผลงานและ/หรือหนังสือค้ าประกันของธนาคารดังกล่าวตามวรรคหนึ่งและวรรค
สอง ให้ แก่ผ้ ูรับจ้ างพร้ อมกับการจ่ายเงินงวดสุดท้ าย” เป็ นต้ น
(การหักเงินประกันผลงานต้องถือปฏิบตั ิตามระเบียบฯ ข้อ173)

11. ระยะเวลาส่งมอบงาน
ผูเ้ สนอราคาจะต้องส่งมอบงานก่อสร้างให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา.....................วัน นับแต่วันลงนามสัญญา
(หรือนับถัดจากวันลงนามสัญญา)

12. วงเงินในการจัดหา
ใช้เงิน. ...................... จานวนเงิน..............................บาท (..........................................)
13. ราคากลาง
ราคากลางในการจัดจ้ าง .................................... จานวน .............................บาท (..........................................)
(ในงานจ้างก่อสร้างทุกงานต้องตั้งคณะกรรมการกาหนดราคากลางมาคานวณราคากลางงานก่อสร้าง ตามหลักเกณฑ์
การคานวณราคากลางงานก่อสร้างตามประกาศคณะกรรมการราคากลางและขึ้ นทะเบียนผูป้ ระกอบการ)

14. หลักเกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอ และสิทธิในการพิจารณาข้อเสนอ


ในการพิจารณาผลการยื่นข้ อเสนอประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ครั้งนี้ หน่วยงานจะพิจารณาตัดสินโดยใช้ เกณฑ์ราคา
(ใช้ ราคาต่าสุด) หรือหลักเกณฑ์การประเมินค่าประสิทธิภาพต่อราคา โดยพิจารณาให้คะแนนราคา ............คะแนน และ
เกณฑ์คณ ุ ภาพ .................คะแนน รวม 100 คะแนน ดังนี้ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
ต้นทุนของพัสดุนนั้ ตลอดอายุการใช้งาน คะแนน .......
มาตรฐานของสินค้าหรือบริการ คะแนน ........
บริการหลังการขาย คะแนน .......
พัสดุทีร่ ฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ถ้ามี) คะแนน .......
ข้อเสนอด้านเทคนิคหรือข้อเสนออืน่ ๆ คะแนน .......
เป็ นต้น

15. การรับประกันความชารุดบกพร่อง
ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ซ่ึงได้ ทาสัญญาจ้ าง จะต้ องรับประกันความชารุดบกพร่องของงานจ้ างที่เกิดขึ้นภายใน
ระยะเวลาไม่น้อยกว่า ........... ปี ......... เดือน นับถัดจากวันที่ได้ รับมอบงาน โดยต้ องรีบจัดการซ่อมแซมแก้ ไขให้ ใช้
การได้ ดีดังเดิมภายใน ........ วัน นับถัดจากวันที่ได้ รับแจ้ งความชารุดบกพร่อง
16. เงือ่ นไขการชาระเงิน
(กรณีจ่ายครั้งเดียว)
ผู้ว่าจ้ างจะชาระเงินค่าจ้ างเต็มจานวนมูลค่าจ้ างตามสัญญา เมื่อผู้รับจ้ างได้ ส่งมอบงานทั้ง หมดแล้ วเสร็จ และคณะ-
กรรมการได้ ตรวจรับเรียบร้ อยแล้ ว
(กรณีชาระเงินค่าจ้ างแบ่งเป็ นงวดๆ)
ผู้ว่าจ้ างจะชาระค่าจ้ างตามสัญญาแบ่งเป็ นงวดๆ จานวน ............งวด ดังนี้
งวดที่ 1 เป็ นจานวนร้ อยละ................ของมูลค่าจ้ างตามสัญญา เมื่อผู้รับจ้ างได้ ส่งมอบงาน ..................................
แล้ วเสร็จ ภายใน ........................วัน และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้ างได้ ตรวจรับเรียบร้ อยแล้ ว
งวดที่ 2 เป็ นจานวนร้ อยละ................ของมูลค่าจ้ างตามสัญญา เมื่อผู้รับจ้ างได้ ส่งมอบงาน ..................................
แล้ วเสร็จ ภายใน ........................วัน และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้ างได้ ตรวจรับเรียบร้ อยแล้ ว
งวดที่ 3 เป็ นจานวนร้ อยละ................ของมูลค่าจ้ างตามสัญญา เมื่อผู้รับจ้ างได้ ส่งมอบงาน ..................................
แล้ วเสร็จภายใน ........................วัน และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้ างได้ ตรวจรับเรียบร้ อยแล้ ว
.........................................
งวดสุดท้ าย เป็ นจานวนร้ อยละ................ของมูลค่าจ้ างตามสัญญา เมื่อผู้รับจ้ างได้ ปฏิบัติงานทั้งหมดแล้ วเสร็จเรียบ-
ร้ อยตามสัญญา รวมทั้งทาสถานที่ก่อสร้ างให้ สะอาดเรียบร้ อย ภายใน ...........วัน และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานก่อสร้ างได้
ตรวจรับเรียบร้ อยแล้ ว

17. ค่าปรับ
หากผู้รับจ้ างไม่สามารถทางานให้ แล้ วเสร็จตามเวลาที่กาหนดไว้ ในสัญญา ผู้รับจ้ างจะต้ องชาระค่าปรับให้ แก่หน่วยงานเป็ น
รายวันอัตราร้ อยละ 0.10 (ศูนย์จุดหนึ่งศูนย์) ของมูลค่าจ้ างตามสัญญา แต่ไม่ต่ากว่าวันละ 100 บาท เป็ นต้ น
(การกาหนดค่าปรับ ให้ถอื ปฏิบตั ิตามระเบียบฯ ข้อ 162 และข้อ 163)
18. การยืน่ ข้อเสนอ
ในการยื่นข้ อเสนอ ผู้ประสงค์จะยื่นข้ อเสนอ ต้ องยื่นข้ อเสนอ ดังนี้
........ (ระบุรายละเอียด)...........

19 การประกาศผลและการทาสัญญา
วิธกี ารประกาศผล และรายละเอียดวิธกี ารในการทาสัญญา

20. การปรับราคาค่างานก่อสร้าง (ค่า K)


การปรับราคาค่างานก่อสร้ างตามสูตรการปรับราคาจะนามาใช้ ในกรณีท่คี ่างานก่อสร้ าง
ลดลงหรือเพิ่มขึ้น โดยวิธกี ารต่อไปนี้
................................................................
สูตรการปรับราคา (สูตรค่า K) จะต้ องคงที่ท่รี ะดับที่กาหนดไว้ ในวันแล้ วเสร็จตามที่กาหนด
ไว้ ในสัญญา หรือภายในระยะเวลาที่หน่วยงานได้ ขยายออกไป โดยจะใช้ สตู รของทางราชการ
(การกาหนดการปรับราคาค่าก่อสร้ างนี้ ให้ ถือปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22
สิงหาคม 2532 แจ้ งตามหนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0203/ว109 ลงวันที่ 24 สิงหาคม
2532 และหนังสือแจ้ งเวียนแนวทางปฏิบัติของสานักงบประมาณ และตามหนังสือเวียนคณะกรรมการ
วินิจััย ด่วนที่สดุ ที่ กค 0405.2/ว110 ลงวันที่ 5 มีนาคม 2561)

21. อื่นๆ เช่น


- เงื่อนไขการจ้ างช่วง
- กาหนดการยืนราคา จานวณ ..... วัน นับแต่วันเสนอราคา
......เป็ นต้ น........
เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ
(มาตรา 65)

มาตรา 65 ในการพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอโดยวิธีตามมาตรา 55 (1) หรือ (2) ให้หน่ วยงาน


ของรัฐดาเนิ นการโดยพิจารณาถึงประโยชน์ของหน่ วยงานของรัฐ และวัตถุประสงค์ของการใช้งานเป็ น
สาคัญ โดยให้คานึ งถึงเกณฑ์ราคาและพิจารณาเกณฑ์อื่นประกอบด้วย ดังต่อไปนี้
(1) ต้นทุนของพัสดุนนั้ ตลอดอายุการใช้งาน
(2) มาตรฐานของสินค้าหรือบริการ
(3) บริการหลังการขาย
(4) พัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน
(5) การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูป้ ระกอบการ
(6) ข้อเสนอด้านเทคนิ คหรือข้อเสนออื่น ในกรณี ท่ีกาหนดให้มีการยื่นข้อเสนอด้านเทคนิ ค
หรือข้อเสนออื่นก่อนตามวรรคหก
(7) เกณฑ์อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
พัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุนตาม (4) ให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ซึ่ง
อย่างน้อยต้องส่งเสริมหรือสนับสนุนพัสดุที่สร้างนวัตกรรมหรือพัสดุที่อนุ รกั ษ์พลังงานหรือสิ่งแวดล้อม
เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ (ต่อ)
(มาตรา 65)
ให้รฐั มนตรีออกระเบียบกาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอตาม
วรรคหนึ่ ง ซึ่งอย่างน้อยต้องกาหนดให้หน่ วยงานของรัฐเลือกใช้เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ งหรือหลายเกณฑ์
ก็ได้ ประกอบกับเกณฑ์ราคา และต้องกาหนดน้าหนักของแต่ละเกณฑ์ให้ชดั เจน แต่หากหน่ วยงาน
ของรัฐไม่อาจเลือกใช้เกณฑ์อื่นประกอบและจาเป็ นต้องใช้เกณฑ์เดียวในการพิจารณาคัดเลือก ให้
ใช้เกณฑ์ราคา รวมทัง้ การให้คะแนนพร้อมด้วยเหตุผลของการให้คะแนนในแต่ละเกณฑ์ ทัง้ นี้ ใน
กรณี ที่ไม่สามารถออกระเบียบกาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอของพัสดุทุก
ประเภทได้ จะกาหนดกรณี ตวั อย่างของพัสดุประเภทหนึ่ งประเภทใด เพื่อเป็ นแนวทางในการพิจารณา
คัดเลือกข้อเสนอของพัสดุอื่นๆ ก็ได้
เมื่อพิจารณาข้อเสนอประกอบกับเกณฑ์ที่หน่ วยงานของรัฐใช้ในการพิจารณาแล้ว การ
พิจารณาเลือกข้อเสนอให้จดั เรียงลาดับตามคะแนน ข้อเสนอใดที่มีคะแนนสูงสุดให้หน่ วยงาน
ของรัฐเลือกข้อเสนอของผูย้ ื่นข้อเสนอรายนัน้ และให้บนั ทึกผลการพิจารณาดังกล่าวด้วย
ให้หน่ วยงานของรัฐประกาศเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาคัดเลื อกและน้ าหนักของแต่ละ
เกณฑ์ไว้ในประกาศเชิญชวนหรือหนังสือเชิญชวน แล้วแต่กรณี ด้วย
ในกรณี การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่มีลกั ษณะที่จะต้องคานึ งถึงเทคโนโลยี ของพัสดุ หรือ
คุณสมบัติของผูย้ ื่นข้อเสนอ หรือกรณี อื่นที่ทาให้มีปัญหาในการพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอ ตามวรรค
หนึ่ ง หน่ วยงานของรัฐอาจกาหนดให้มีการยื่ นข้อเสนอด้านเทคนิ คหรือข้อเสนออื่นก่อนการพิจารณา
คัดเลือกข้อเสนอตามวรรคหนึ่ งก็ได้ ทัง้ นี้ ตามระเบียบที่รฐั มนตรีกาหนด
เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ (ต่อ)
(ระเบียบฯ ข้อ 83)
ระเบียบฯ ข้อ 83 ในการพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอโดยวิธีประกาศเชิ ญชวนทัว่ ไปหรือวิธีคดั เลื อก ให้
หน่ วยงานของรัฐดาเนิ นการ โดยพิจารณาถึงประโยชน์ของหน่ วยงานของรัฐ และวัตถุประสงค์ของการใช้งาน
เป็ นสาคัญ ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้
(1) การซื้อหรือจ้างที่มีการกาหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่เป็ นมาตรฐาน และมี คุณภาพดี
เพียงพอตามความต้องการใช้งาน และเป็ นประโยชน์ต่อหน่ วยงานของรัฐแล้ว กรณี น้ ี หน่ วยงานของรัฐ
สามารถใช้เกณฑ์ราคา ในการคัดเลื อกผูท้ ี่เสนอราคาตา่ สุดเป็ นผูช้ นะการซื้อหรือจ้าง หรือเป็ นผูไ้ ด้รบั การ
คัดเลื อก
(2) การซื้อหรือจ้างที่มีความซับซ้อน มีเทคโนโลยี สงู หรือมีเทคนิ คเฉพาะ จาเป็ นต้องคัดเลื อก
พัสดุมีคุณภาพดีตามความต้องการใช้งานของหน่ วยงานของรัฐนัน้ และเป็ นประโยชน์ต่อหน่ วยงานของรัฐ
มากที่สดุ กรณี น้ ี หน่ วยงานของรัฐสามารถใช้เกณฑ์ราคาประกอบเกณฑ์อื่นตามความในมาตรา 65 วรรค-
หนึ่ ง ในการพิจารณาคัดเลื อกผูย้ ื่ นข้อเสนอที่มีคุณภาพและคุณสมบัติถกู ต้อง ครบถ้วน ซึ่งได้คะแนนรวม
สูงสุดเป็ นผูช้ นะการซื้อหรือจ้าง หรือเป็ นผูไ้ ด้รบั การคัดเลื อก แต่หากหน่ วยงานของรัฐไม่อาจเลื อกใช้เกณฑ์
อื่นประกอบและจาเป็ นต้องใช้เกณฑ์เดียวในการพิจารณา ให้ใช้เกณฑ์ราคา
(3) การซื้อหรือจ้างที่มีการกาหนดคุณลักษณะเฉพาะที่จะต้องคานึ งถึงเทคโนโลยี ของพัสดุ หรือ
คุณสมบัติของผูย้ ื่ นข้อเสนอ ซึ่งอาจจะมีขอ้ เสนอที่ไม่อยู่ในฐานเดียวกันเป็ นเหตุให้มีปัญหาในการพิจารณา
คัดเลื อกข้อเสนอ ให้หน่ วยงานของรัฐกาหนดเป็ นเงื่อนไขให้มีการยื่ นข้อเสนอด้านเทคนิ คหรือข้อเสนออื่น
แยกมาต่างหาก และให้หน่ วยงานของรัฐพิจารณาคัดเลื อกผูย้ ื่ นข้อเสนอที่มีคุณสมบัติถกู ต้อง ครบถ้วน และ
เป็ นประโยชน์ต่อหน่ วยงานของรัฐ ซึ่งได้คะแนนข้อเสนอด้านเทคนิ คหรือข้อเสนออื่ นผ่านเกณฑ์ขนั้ ตา่ ตาม
ที่หน่ วยงานของรัฐกาหนด แล้วให้ดาเนิ นการตาม (1) หรือ (2) ต่อไป
ในกรณี ที่เห็นสมควร คณะกรรมการนโยบายอาจกาหนดแนวทางในการพิจารณาคัดเลื อก
ข้อเสนอเพิ่มเติมตามความจาเป็ นและเหมาะสมก็ได้
เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ
(ข้อหารือ)
สรุปประเด็นเกี่ยวกับเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ
เฉพาะกรณี ของการจัดซื้อจัดจ้างทัว่ ไป
(ตามมาตรา 65 และระเบียบฯ ข้อ 83)
1. ใช้เฉพาะกับการจัดซื้อจัดจ้างวิธีประกาศเชิ ญชวนทัว่ ไป (e-Bidding และวิธีสอบราคา) และวิธีคดั เลื อก
2. การกาหนดเกณฑ์พิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอ ให้พิจารณาถึงประโยชน์ของหน่ วยงานของรัฐและวัตถุ-
ประสงค์ของการใช้งานพัสดุท่ีจะจัดซื้อจัดจ้าง เป็ นสาคัญ โดยให้ใช้เกณฑ์ราคา และพิจารณาเกณฑ์อ่ืน
ประกอบกับเกณฑ์ราคา
3. เกณฑ์อ่ืนที่จะนามาพิจารณาประกอบกับเกณฑ์ราคา (เกณฑ์คุณภาพ) ประกอบด้วย 7 เกณฑ์ ตาม
มาตรา 65 วรรคหนึ่ ง (1) ถึง (7) โดยสามารถเลื อกใช้เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ ง หรือมากกว่า 1 เกณฑ์
ก็ได้ และต้องกาหนดน้าหนักของแต่ละเกณฑ์ให้ชดั เจน โดยให้สอดคล้องโดยตรงกับงานที่ได้กาหนด
ในร่างขอบเขตงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะซื้อหรือจ้าง
4. กรณี ที่หน่ วยงานของรัฐไม่อาจเลื อกใช้เกณฑ์อื่นประกอบเกณฑ์ราคา และจาเป็ นต้องใช้เกณฑ์เดียว ให้
ใช้เกณฑ์ราคา
5. การพิจารณาใช้เกณฑ์ราคาและเกณฑ์อื่นประกอบเกณฑ์ราคา ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดตาม
ระเบียบฯ ข้อ 83 ดังนี้
5.1 คุณลักษณะเฉพาะของพัสดุเป็ นมาตรฐาน มีคุณภาพดี เพียงพอตามความต้องการใช้งาน
และเป็ นประโยชน์ต่อหน่ วยงานของรัฐแล้ว ให้ใช้เกณฑ์ราคา โดยคัดเลื อกผูเ้ สนอราคาตา่ สุดเป็ นผูช้ นะ
5.2 พัสดุมีความซับซ้อน เทคโนโลยี สงู หรือมีเทคนิ คเฉพาะ จาเป็ นต้องคัดเลื อกพัสดุมีคุณภาพดี
ตามความต้องการใช้งานของหน่ วยงานของรัฐ และเป็ นประโยชน์ต่อหน่ วยงานของรัฐ สามารถใช้
เกณฑ์อื่นประกอบเกณฑ์ราคา โดยพิจารณาคัดเลื อกผูย้ ื่ นข้อเสนอที่มีคุณภาพและคุณสมบัติถกู ต้อง
ครบถ้วนซึ่งได้คะแนนรวมสูงสุดเป็ นผูช้ นะ หากไม่อาจเลื อกเกณฑ์อื่นประกอบและจาเป็ นต้องใช้เกณฑ์
เดียว ให้ใช้เกณฑ์ราคา
สรุปประเด็นเกี่ยวกับเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ
เฉพาะกรณีของการจัดซื้อจัดจ้างทัว่ ไป
(ต่อ)

5.3 การซื้อหรือจ้างที่ตอ้ งกาหนดคุณลักษณะเฉพาะ โดยคานึ งถึงเทคโนโลยี ของพัสดุหรือคุณ-


สมบัติของผูย้ ื่ นข้อเสนอ ซึ่งอาจมีขอ้ เสนอที่ไม่อยู่ในฐานเดียวกันเป็ นเหตุให้มีปัญหาในการพิจารณา ให้
หน่ วยงานของรัฐกาหนดเป็ นเงื่อนไขให้มีการยื่ นข้อเสนอทางด้านเทคนิ คหรือข้อเสนออื่นแยกมาต่างหาก
และให้พิจารณาคัดเลื อกผูท้ ี่ได้คะแนนข้อเสนอด้านเทคนิ คหรือข้อเสนออื่นที่ผ่านเกณฑ์ขนั้ ตา่ ตามที่
หน่ วยงานของรัฐกาหนด แล้วดาเนิ นการตาม 5.1 หรือ 5.2
6. ให้หน่ วยงานของรัฐประกาศเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาคัดเลื อกและน้ าหนักของแต่ละเกณฑ์ไว้ในประกาศ
เชิ ญชวนหรือหนังสือเชิ ญชวน แล้วแต่กรณี ด้วย
7. ให้รฐั มนตรีออกระเบียบกาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอ ซึ่งอย่างน้อยต้อง
กาหนดให้หน่ วยงานของรัฐเลื อกใช้เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ งหรือหลายเกณฑ์ก็ได้ประกอบกับเกณฑ์ราคา และ
ต้องกาหนดน้าหนักของแต่ละเกณฑ์ให้ชดั เจน แต่หากหน่ วยงานของรัฐไม่อาจเลื อกใช้เกณฑ์อื่นประกอบ
และจาเป็ นต้องใช้เกณฑ์เดียวในการพิจารณาคัดเลื อก ให้ใช้เกณฑ์ราคา รวมทัง้ การให้คะแนนพร้อมด้วย
เหตุผลของการให้คะแนนในแต่ละเกณฑ์ ทัง้ นี้ ในกรณี ท่ีไม่สามารถออกระเบียบกาหนดหลักเกณฑ์
เกี่ยวกับการพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอของพัสดุทุกประเภทได้ จะกาหนดกรณี ตวั อย่างของพัสดุประเภท
หนึ่ งประเภทใด เพื่อเป็ นแนวทางในการพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอของพัสดุอื่นๆ ก็ได้
ขณะนี้ อยู่ระหว่างการดาเนิ นการของกรมบัญชี กลาง โดยคาดว่าจะกาหนดตัวอย่าง เพื่อหน่ วยงาน
ของรัฐใช้เป็ นแนวทางในการกาหนดเกณฑ์คุณภาพประกอบเกณฑ์ราคา
ประเด็นปั ญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ
เฉพาะกรณี ของการจัดซื้อจัดจ้างทัว่ ไป
(ตามมาตรา 65 และระเบียบฯ ข้อ 83)

1. จะกาหนดสัดส่วน ราคา : คุณภาพ อย่างไร จึงเหมาะสม


ขึ้ นอยู่กบั ความต้องการและการพิจารณาของหน่ วยงานของรัฐ ว่าต้องการคุณภาพของพัสดุนนั้
มากน้อยเพียงใด ถ้าเห็นว่าจาเป็ นก็สามารถใช้เกณฑ์คุณภาพประกอบเกณฑ์ราคาได้ โดยควรกาหนด
สัดส่วนในส่วนของคุณภาพให้มากกว่าในส่วนของราคา เช่น ราคา : คุณภาพ = 40:60 , 35:65 ,
30:70 เป็ นต้น
2. หน่ วยงานของรัฐนาประเด็นที่ควรกาหนดในขอบเขตของงาน (TOR) หรือคุณลักษณะเฉพาะ หรือแบบ
รูปรายการงานก่อสร้าง มากาหนดเป็ นเกณฑ์คุณภาพประกอบเกณฑ์ราคา
3. มีเรื่องยื่ นอุทธรณ์ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความไม่เป็ นธรรมในการพิจารณาผลตามเกณฑ์การพิจารณา
คัดเลื อกข้อเสนอที่หน่ วยงานของรัฐกาหนดเป็ นจานวณมาก และผลการพิจารณาของคณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน ประมาณร้อยละ 80 ของการอุทธรณ์ที่เกี่ยวข้อกับประเด็นนี้ ฟั งขึ้ น
เป็ นผลให้ตอ้ งยกเลิ กการจัดซื้อจัดจ้าง
4. ในงานจ้างก่อสร้าง มีความเหมาะสมหรือไม่กบั การใช้เกณฑ์คุณภาพประกอบเกณฑ์ราคา
ไม่น่าจะเหมาะสม เนื่ องจากในงานก่อสร้าง ข้อกาหนดและรายละเอียดต่างๆ ในการพิจารณาคัด
เลื อกข้อเสนอ ต้องเป็ นไปตามที่แบบฯ TOR และประกาศฯ กาหนด และจาเป็ นที่จะต้องพิจารณาราคา
ที่เหมาะสมเป็ นหลัก ดังนัน้ เกณฑ์ราคาจึงควรมีความสาคัญมากกว่าคุณภาพ
5. เนื่ องจากกรมบัญชี กลางอยู่ระหว่างการดาเนิ นการจัดทาหลักเกณฑ์ แนวทาง และตัวอย่าง เพื่อนาเสนอ
คณะกรรมการนโยบายฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบ และให้หน่ วยงานของรัฐใช้พิจารณากาหนดเกณฑ์
คุณภาพประกอบเกณฑ์ราคา หน่ วยงานของรัฐจึงควรใช้เกณฑ์ราคาอย่างเดียวไปก่อน จนกว่ากรม-
บัญชี กลางดาเนิ นการได้แล้วเสร็จและแจ้งให้หน่ วยงานของรัฐดาเนิ นการ
แนวทางปฏิบตั ิในการกาหนดเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอโดยใช้เกณฑ์ราคาประกอบเกณฑ์อ่ืน
การกาหนดคุณสมบัติของผูย้ ่ืนข้อเสนอ
กรณี งานจ้างก่อสร้างในสาขาที่มีการขึ้นทะเบียนผูป้ ระกอบการงานก่อสร้าง
➢ กรมบัญชีกลางได้มีประกาศรายชื่อผูป้ ระกอบการงานก่อสร้างที่มีสิทธิเป็ นผูย้ ื่นข้อเสนอต่อหน่วยงานของรัฐ
ฉบับที่ 1 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2563 และนับจนถึงปั จจุบนั (วันที่ 30 เมษายน 2564) รวม 6
ฉบับ ใน 5 สาขางานก่อสร้าง ดังนี้
1. สาขางานก่อสร้างทาง
2. สาขางานก่อสร้างสะพาน
3. สาขางานก่อสร้างทางและสะพานพิเศษ
4. สาขางานก่อสร้างชลประทาน
5. สาขางานก่อสร้างเขื่อนป้ องกันตลิ่งและชายฝั ง่
➢ ในทัง้ 5 สาขา จะประกอบด้วยคุณสมบัติ 2 ประเภท และมีขอ้ กาหนดในการยื่นข้อเสนอกับหน่ วยงาน
ของรัฐ ดังนี้
(1) ประเภทคุณสมบัติทวั ่ ไปและคุณสมบัติเฉพาะ ผูป้ ระกอบการงานก่อสร้างมีสิทธิเป็ นผูย้ ื่น
ข้อเสนอต่อหน่วยงานของรัฐได้ทุกแห่ง ยกเว้น หน่วยงานของรัฐ จานวน 6 แห่ง ได้แก่ กรมทางหลวง
กรมทางหลวงชนบท กรมชลประทาน กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมทรัพยากรน้า และกรมเจ้าท่า
(2) ประเภทคุณสมบัติทวั ่ ไป คุณสมบัติเฉพาะ และคุณสมบัติเฉพาะอื่นๆ ผูป้ ระกอบการงาน
ก่อสร้างมีสิทธิเป็ นผูย้ ื่นข้อเสนอต่อหน่วยงานของรัฐได้ทุกแห่ง รวมทัง้ หน่วยงานของรัฐ จานวน 6 แห่ง ซึ่ง
ได้แก่ กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท กรมชลประทาน กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมทรัพยากร-
น้า และกรมเจ้าท่า ด้วย
➢ ให้หน่วยงานของรัฐกาหนดคุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิเข้ายื่นข้อเสนอต่อหน่วยงานของรัฐ สาหรับโครงการงาน
ก่อสร้างที่มีวงเงินจัดหาตัง้ แต่ 5,000,000 บาท ขึ้นไป ไว้ในประกาศและเอกสารประกวดราคาอิเล็ก-
ทรอนิ กส์ (e-Bidding) หรือประกาศและเอกสารสอบราคา หรือหนังสือเชิญชวนสาหรับวิธีคดั เลือกหรือวิธี
เฉพาะเจาะจง
สรุปรวมจานวนผูป้ ระกอบการที่ประกาศขึ้นทะเบียนผูป้ ระกอบการงานก่อสร้าง
(ถึงวันที่ 30 เมษายน 2564)
ประกาศฯ ประกาศ ประกาศ ประกาศ
ที่ สาขางานก่อสร้าง ครัง้ ที่ 1/2563 ครัง้ ที่ 2/2563 ครัง้ ที่ 1/2564 ครัง้ ที่ 2/2564 รวม
(8 ธันวาคม 2563) (25 ธันวาคม 2563) (29 มกราคม 2564) (แก้ไข)
(1 มีนาคม 2564)

1. งานก่อสร้างทาง 699 95 113 157 1,064


2. งานก่อสร้างสะพาน 245 26 12 20 303
3. งานก่อสร้างทางและสะพาน 61 6 - - 67
พิเศษ
4. งานก่อสร้างชลประทาน 424 55 45 54 578
5. งานก่อสร้างเขื่อนป้องกันตลิง่ 197 22 25 15 259
และชายฝัง่
6. งานก่อสร้างสิง่ ปลูกสร้างในทะเล - - - - -
7. งานก่อสร้างขุดลอกและบารุง - - - - -
รักษาร่องน้ าชายฝัง่ ทะเล
8. งานก่อสร้างขุดลอกและ - - - - -
บารุงรักษาร่องน้ าภายในประเทศ
รวม 1,626 204 195 246 2,271
สรุปรวมจานวนการประกาศขึ้นทะเบียนผูป้ ระกอบการงานก่อสร้าง (ต่อ)
(ถึงวันที่ 30 เมษายน 2564)
ประกาศ ประกาศ
ที่ สาขางานก่อสร้าง ยอดรวม ครัง้ ที่ 3/2564 ครัง้ ที่ 4/2564 รวม
ยกมา (30 มีนาคม 2564) (29 เมษายน 2564)

1. งานก่อสร้างทาง 1,064 134 78 1,276


2. งานก่อสร้างสะพาน 303 17 10 330
3. งานก่อสร้างทางและสะพาน 67 3 1 71
พิเศษ
4. งานก่อสร้างชลประทาน 578 50 37 665
5. งานก่อสร้างเขื่อนป้องกันตลิง่ 259 27 13 299
และชายฝัง่
6. งานก่อสร้างสิง่ ปลูกสร้างในทะเล - - - - -
7. งานก่อสร้างขุดลอกและบารุง - - - - -
รักษาร่องน้ าชายฝัง่ ทะเล
8. งานก่อสร้างขุดลอกและ - - - - -
บารุงรักษาร่องน้ าภายในประเทศ
รวม 2,271 231 139 2,641
หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0404.2/ว582 ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2563
เรื่อง การแก้ไขแบบประกาศและเอกสารประกวดราคาจ้างก่อสร้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Bidding)
สาหรับกรณี การขึ้นทะเบียนผูป้ ระกอบการงานก่อสร้าง
ก่อนวันที่ 8 ธันวาคม 2563
หนังสือเวียนคณะกรรมการราคากลางฯ ด่วนที่สุด ที่ (กรท) 0433.3/ว584 ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2563
เรื่อง การยื่นข้อเสนอต่อหน่ วยงานของรัฐของผูป้ ระกอบการงานก่อสร้างที่ได้ข้ ึนทะเบียนไว้กบั กรมบัญชีกลาง
และการกาหนดคุณสมบัติผูม้ ีสิทธิเข้ายื่นข้อเสนอต่อหน่ วยงานของรัฐ
แนวทางการกาหนดและการพิจารณาคุณสมบัติของผูย้ ื่ นข้อเสนอที่เป็ นกิจการร่วมค้า
(หนังสือเวียน)
ข้อสังเกตเพิ่มเติมเกี่ยวกับกิจการร่วมค้า
ตามหนังสื อเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0404.2/ว581 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2563

1. เหตุผลในการทบทวนและปรับปรุงแนวทางปฏิ บตั ิ เกี่ยวกับกิ จการร่วมค้า


- แนวทางปฏิบตั ติ ามหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนทีส่ ุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว289 ลงวันที่ 25 มิถุนายน 2561 กาหนดให้กจิ การ
ร่วมค้าทีจ่ ดทะเบียนเป็ นนิตบิ ุคคลใหม่ หมายถึง กิจการร่วมค้าทีจ่ ดทะเบียนเป็ นนิตบิ ุคคลต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ซึง่ กรม-
พัฒนาธุรกิจการค้า แจ้งว่า เมือ่ รับจดทะเบียนแล้วไม่ว่าจะเป็ นรูปแบบใด นิตบิ ุคคลทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ นัน้ ถือเป็ นบุคคลแยกต่างหากจากผูถ้ อื หุน้ หรือผูร้ ว่ ม
ลงทุนแต่ละรายทีร่ ว่ มกันนัน้
- ในการจัดซือ้ จัดจ้าง คณะกรรมการวินิจฉัยฯ ได้พจิ ารณาเห็นว่า ประสบการณ์ ศักยภาพ และการกาหนดสัดส่วนการทางานของผูเ้ ข้า
ร่วมค้าทีเ่ หมาะสม ถือเป็ นเรือ่ งสาคัญ
- กรมบัญชีกลางได้ประกาศขึน้ ทะเบียนผูป้ ระกอบการงานก่อสร้างแล้ว จานวน 5 สาขางานก่อสร้าง และมีผลบังคับใช้แล้วตัง้ แต่วนั ที่ 8
ธันวาคม 2563
จึงจาเป็ นต้องทบทวนและกาหนดแนวทางปฏิบตั ใิ นการกาหนดและพิจารณาคุณสมบัตขิ องผูย้ น่ื ข้อเสนอทีเ่ ป็ นกิจการร่ วมค้าใหม่

2. นิ ยามของกิ จการร่วมค้า ทัง้ 2 นิ ยาม เมื่อพิ จารณารวมกันแล้ว พิ จารณาได้เป็ น 4 ประเด็น ดังนี้


2.1 ต้องมีขอ้ ตกลงระหว่างผูร้ ว่ มค้าเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
2.2 ข้อตกลงจะกาหนดให้มผี เู้ ข้าร่วมค้าหลักหรือไม่กไ็ ด้
2.3 วัตถุประสงค์ในการร่วมค้า ต้องเป็ นการร่วมกันทางการค้าหรือหากาไร
2.4 สถานะของผูท้ จ่ี ะเข้าร่วมเป็ นกิจการร่วมค้า แยกพิจารณาได้เป็ น 2 กรณี
- กรณี ของงานซื้อหรืองานจ้างทุกวงเงิ น หรืองานจ้างก่อสร้างที่มีวงเงิ นจัดหา (งบประมาณ) น้ อยกว่า 1 ล้านบาท สถานะ
ของผูท้ จ่ี ะเข้าร่วมเป็ นกิจการร่วมค้าต้องเป็ นไปตามคานิยามตามข้อ 1.1 (ซึง่ จะรวมถึง บุคคลธรรมดา คณะบุคคลทีไ่ ม่ใช่นติ บิ ุคคล และห้างหุน้ ส่วน
สามัญ ด้วย)
- กรณี งานก่อสร้างที่มีวงเงิ นจัดหา (งบประมาณ) ตัง้ แต่ 1 ล้านบาท ขึ้นไป หรือกรณี กิจการร่วมค้าที่มีสิทธิ เป็ นผู้ยื่น
ข้อเสนอต่อหน่ วยงานของรัฐในสาขางานก่อสร้างที่ขึ้นทะเบียนไว้กบั กรมบัญชีกลาง สถานะของผูท้ จ่ี ะเข้าร่วมเป็ นกิจการร่วมค้าต้องเป็ นไป
ตามคานิยามตามข้อ 1.2 (ซึง่ ไม่รวมถึง บุคคลธรรมดา คณะบุคคลทีไ่ ม่ใช่นิตบิ ุคคล และห้างหุน้ ส่วนสามัญ)
ทัง้ นี้เพื่อให้เป็ นไปตามข้อกาหนดตามหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนทีส่ ุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว214 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม
2563 เรือ่ ง แนวทางปฏิบตั ใิ นการกาหนดคุณสมบัตขิ องผูย้ น่ื ข้อเสนอ การกาหนดผลงาน การระบุคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุหรือ ยีห่ อ้ ของพัสดุ และ
การพิจารณาคุณสมบัตผิ ยู้ น่ ื ข้อเสนอของหน่วยงานของรัฐกรณีการกาหนดสิง่ ทีไ่ ม่ใช่สาระสาคัญ ซึง่ กำหนดให้หน่วยงำนของรัฐกำหนดคุณสมบัตขิ อง
ผูท้ จี ่ ะยืน่ ข้อเสนอในงำนจ้ำงก่อสร้ำงทีม่ วี งเงินจัดหำ (งบประมำณ) ตัง้ แต่ 1 ล้ำนบำทขึน้ ไป ต้องเป็นนิตบิ ุคคลตำมกฎหมำย และเพื่อให้สอดคล้องกับ
การประกาศขึน้ ทะเบียนผูป้ ระกอบการงานก่อสร้าง ซึง่ กำหนดบังคับใช้กบั โครงกำรงำนก่อสร้ำงตำมสำขำทีป่ ระกำศ และมีวงเงินจัดหำ (งบประมำณ)
ตัง้ แต่ 5 ล้ำนบำท ขึน้ ไป
ข้อสังเกตเพิ่มเติมเกี่ยวกับกิจการร่วมค้า
ตามหนังสื อเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0404.2/ว581 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2563
(ต่อ)

3. ประเด็นตามข้อ 2.4 ในเรื่องของการยื่นข้อเสนอของกิ จการร่วมค้า


- ข้อตกลงฯ จะกาหนดหรือไม่กาหนด เรือ่ งการมอบหมายให้ผเู้ ข้าร่วมค้ารายใดเป็ นผูย้ น่ื ข้อเสนอหรือไม่กไ็ ด้ ซึ่งมีวธิ ปี ฏิบตั ทิ ต่ี ่างกัน
- กรณีน้ี หน่วยงานของรัฐควรกาหนดให้ชดั เจนว่า ข้อตกลงฯ ทีจ่ ะให้นามาเสนอ จะต้องระบุมอบหมายให้ผเู้ ข้าร่วมค้ารายใดเป็ นผูย้ น่ื
ข้อเสนอ และถ้าเป็ นกรณีทข่ี อ้ ตกลงฯ กาหนดให้มผี เู้ ข้าร่วมค้าหลัก ก็ควรกาหนดมอบหมายให้ผเู้ ข้าร่วมค้าหลักเป็ นผูย้ น่ื ข้อเสนอ
4. กรณี ที่ข้อตกลงๆ กาหนดให้ผเ้ ู ข้าร่วมค้ารายใดรายหนึ่ งเป็ นผูเ้ ข้าร่วมค้าหลัก ข้อตกลงควรกาหนดมอบหมายให้
ผูเ้ ข้าร่วมค้าหลักเป็ นผูย้ น่ ื ข้อเสนอ และใช้ผลงานของผูเ้ ข้าร่วมค้าหลักรายเดียวเป็ นผลงานของกิจการร่วมค้าที่ยน่ื ข้อเสนอ เว้นแต่ใน
สาขางานก่อสร้างทีก่ รมบัญชีกลางประกาศกาหนดและขึน้ ทะเบียนผูป้ ระกอบการ ผูเ้ ข้าร่วมค้าหลักจะต้องเป็ นผูป้ ระกอบการทีข่ น้ึ ทะ-
เบียนงานก่อสร้างสาขา ... ไม่น้อยกว่าขัน้ ... ประเภท ...
5. ประเภท หมายถึง ประเภทของการขึน้ ทะเบียนผูป้ ระกอบการงานก่อสร้าง ซึง่ มี 2 ประเภท คือ ประเภทคุณสมบัตทิ วไปและคุ
ั่ ณ-
สมบัตเิ ฉพาะ และประเภทคุณสมบัตทิ วไป
ั ่ คุณสมบัตเิ ฉพาะ และคุณสมบัตเิ ฉพาะอื่นๆ
กฎกระทรวงกาหนดพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน
พระราชบัญญัติฯ กฎกระทรวง และหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
➢ มาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (1) (ซ) (2) (ซ) และวรรคสอง

 ➢ มาตรา 65 วรรคสอง
➢ มาตรา 70 วรรคหนึ่ ง (3) (ช)
➢ มาตรา 75 วรรคสอง

- กฎกระทรวงกาหนดพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุนและกาหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีคดั เลือก


และวิธีเฉพาะเจาะจง พ.ศ. 2560 (ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 23 สิงหาคม 2560) (ยกเลิก)
- กฎกระทรวงกาหนดพัสดุท่ีรฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุนและกาหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีคดั เลือก
 และวิธีเฉพาะเจาะจง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 (ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 สิงหาคม 2561) (ยกเลิก)
- กฎกระทรวงกาหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน พ.ศ. 2563 (ประกาศ
ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 29 มกราคม 2563)
- กฎกระทรวงกาหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563
(ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 ธันวาคม 2563)

- หนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว89 ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์


 2564 เรื่อง แนวทางปฏิบตั ิตามกฎกระทรวงกาหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รฐั ต้องการ
ส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563
กฎกระทรวง
กาหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุ น พ.ศ. 2563
(ลงวันที่ 17 มกราคม 2563 ประกาศในราชกิจานุเบกษาวันที่ 29 มกราคม 2563)
➢ ให้ยกเลิก
(1) กฎกระทรวงกาหนดพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุนและกาหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
พัสดุโดยวิธีคดั เลือกและวิธีเฉพาะเจาะจง พ.ศ. 2560
(2) กฎกระทรวงกาหนดพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุนและกาหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
พัสดุโดยวิธีคดั เลือกและวิธีเฉพาะเจาะจง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
➢ กาหนดพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุนและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างไว้ รวม 8 หมวด ดังนี้
หมวด 1 พัสดุส่งเสริมและพัฒนาด้านการเกษตร
หมวด 2 พัสดุส่งเสริมวิสาหกิจและการประกอบอาชีพและพัสดุส่งเสริมผูด้ อ้ ยโอกาส
หมวด 3 พัสดุส่งเสริมการเรียนการสอน
หมวด 4 พัสดุส่งเสริมนวัตกรรม
หมวด 5 พัสดุส่งเสริมสุขภาพและสาธารณสุข
หมวด 6 พัสดุส่งเสริมความมัน่ คงด้านพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ
หมวด 7 พัสดุส่งเสริมความมัน่ คงด้านความปลอดภัยทางอาหารและสินค้าเกษตร
หมวด 8 ประเภทของที่ปรึกษาที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน
➢ ในแต่ละหมวดจะประกอบด้วย พัสดุหรือการดาเนิ นการที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน คานิ ยาม
เงื่อนไขข้อกาหนด และวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
ได้มีการเพิ่ม หมวด 7/1 พัสดุส่งเสริมการผลิตภายในประเทศ ข้อ 27/1 ข้อ 27/2 และข้อ 27/3
และเพิ่ม หมวด 7/2 พัสดุที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อ 27/7 ข้อ 27/5 และข้อ 27/6 โดยกฎ-
กระทรวงกาหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2563
ให้ยกเลิกความใน (ก)
ของ (1) ของข้อ 29 และ
ให้ใช้ความต่อไปนีแ้ ทน
“(ก) สถาบันอุดมศึกษา
ของรัฐทุกแห่ง”
ตามกฎกระทรวงกาหนด
พัสดุและวิธีการจัดซือ้ จัด
จ้างพัสดุที่รฐั ต้องการ
ส่งเสริมหรือสนับสนุน
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563
กฎกระทรวง
กาหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563
(ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2563 ประกาศราชกิจจานุ เบกษาวันที่ 22 ธันวาคม 2563)

ปรับปรุงเพิ่มเติมกฎกระทรวงกาหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือ
สนับสนุน พ.ศ. 2563 ดังนี้
1. ให้ยกเลิก ชื่อหมวด 2 พัสดุส่งเสริมวิสาหกิจและการประกอบอาชีพและพัสดุส่งเสริผูด้ อ้ ยโอกาส
และความในข้อ 5 ข้อ 6 และข้อ 7 และให้ใช้ความตามกฎกระทรวงฉบับนี้ แทน
2. ให้เพิ่ม หมวด 7/1 พัสดุส่งเสริมการผลิตภายในประเทศ ข้อ 27/1 ข้อ 27/2 และข้อ 27/3
และหมวด 7/2 พัสดุที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อ 27/4 ข้อ 27/5 และข้อ 27/6
3. ให้ยกเลิกความใน (ก) ของ (1) ของข้อ 29 และให้ใช้ความตามกฎกระทรวงฉบับนี้ แทน
4. ให้ยกเลิกความในข้อ 31 และให้ใช้ความตามกฎกระทรวงฉบับนี้ แทน
หมวด 8 ประเภทของที่ปรึกษาที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุ น
หลังการปรับปรุงเพิ่มเติ มตามกฎกระทรวงกาหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุ น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563

ข้อ 28 ในหมวดนี้
“ที่ปรึกษา” หมายความว่า ผูใ้ ห้คาปรึกษาหรือคาแนะนาแก่หน่วยงานของรัฐในด้านการศึกษาวิจยั
และพัฒนา และให้หมายความรวมถึงการให้บริการทางการศึกษาและการให้บริการทางวิชาการ
ข้อ 29 ที่ปรึกษาที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุนแบ่งออกเป็ นสองประเภท ดังต่อไปนี้
(1) ที่ปรึกษาที่เป็ นหน่วยงานของรัฐ ได้แก่
(ก) มหาวิทยาลัยของรัฐทุกแห่ง (ก) สถาบันอุดมศึกษาของรัฐทุกแห่ง
(ข) ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
(ค) สถาบันพระปกเกล้า
(ง) สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
(จ) สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สานักงาน ก.พ.ร.
(ฉ) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(2) ที่ปรึกษาที่มิใช่หน่วยงานของรัฐ ได้แก่
ั นาประสิทธิภาพในราชการ โดยสถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพใน
(ก) มูลนิ ธิพฒ
ราชการ
(ข) สถาบันวิจยั จุฬาภรณ์
ข้อ 30 ให้หน่วยงานของรัฐจัดจ้างที่ปรึกษาตามข้อ 29 (1) (ข) (ค) (ง) (จ) และ (ฉ) และ (2) โดยวิธี
เฉพาะเจาะจง หรือหากหน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์จะจัดจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หน่วยงานของรัฐจะใช้วิธี
ประกาศเชิญชวนทัว่ ไปหรือวิธีคดั เลือกก็ได้
ข้อ 31 ให้หน่ วยงานของรัฐจัดจ้างที่ปรึกษาตามข้อ 29 (1) (ก) ในขอบเขตสาขาที่จดั ให้มีการเรียนการสอนภายในมหาวิทยาลัย
นัน้ ๆ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมทางด้านวิชาการและการวิจยั อย่างแท้จริง โดยให้หน่ วยงานของรัฐดาเนิ นการภายใต้เงื่อนไข
ดังต่อไปนี้
(1) หัวหน้าโครงการหรือผูบ้ ริหารโครงการจะต้องเป็ นบุคลากรของมหาวิทยาลัยของรัฐนัน้ และ
(2) การดาเนิ นงานจะต้องดาเนิ นการโดยบุคลากรหลักของมหาวิทยาลัยของรัฐนัน้ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละแปดสิบของจานวน
บุคลากรทัง้ หมดในโครงการ
การจัดจ้างที่ปรึกษาตามวรรคหนึ่ ง ให้ดาเนิ นการโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หรือหากหน่ วยงานของรัฐไม่ประสงค์จะจัดจ้างโดยวิธี
เฉพาะเจาะจง หน่ วยงานของรัฐจะใช้วิธีประกาศเชิญชวนทัว่ ไปหรือวิธีคดั เลือกก็ได้ ทัง้ นี้ การให้บริการทางวิชาการหรือการวิจยั และ
พัฒนาของมหาวิทยาลัยของรัฐจะต้องไม่มีผลกระทบเสียหายต่อการเรียนการสอน การวิจยั หรือการปฏิบตั ิหน้าที่อ่ืนโดยปกติของ
ข้าราชการ คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา
ข้อ 31 ให้หน่วยงานของรัฐจัดจ้างที่ปรึกษาตามข้อ 29 (1) (ก) ในขอบเขตสาขาที่จดั ให้มีการเรียนการสอนภายใน
สถาบันอุดมศึกษานัน้ ๆ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมทางด้านวิชาการและการวิจยั อย่างแท้จริง โดยให้หน่ วยงานของ
รัฐดาเนิ นการภายใต้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้
(1) หัวหน้าโครงการหรือผูบ้ ริหารโครงการจะต้องเป็ นบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐนัน้
(2) การดาเนิ นงานจะต้องดาเนิ นการโดยบุคลากรหลักของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐนัน้ ไม่นอ้ ยกว่า
ร้อยละแปดสิบของจานวนบุคลากรทัง้ หมดในโครงการ
การจัดจ้างที่ปรึกษาตามวรรคหนึ่ ง ให้ดาเนิ นการโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หรือหากหน่วยงานของรัฐไม่
ประสงค์จะจัดจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หน่วยงานของรัฐจะใช้วิธีประกาศเชิญชวนทัว่ ไปหรือวิธีคดั เลือกก็ได้ ทัง้ นี้
การให้บริการทางวิชาการหรือการวิจยั และพัฒนาของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ จะต้องไม่มีผลกระทบเสียหายต่อการ
เรียนการสอน การวิจยั หรือการปฏิบตั ิหน้าที่อ่ืนโดยปกติของข้าราชการ คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรทางการ
ศึกษา
สรุปพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน
หลังการปรับปรุงเพิ่มเติม
ตามกฏกระทรวงกาหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563

➢ กาหนดพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุนและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างไว้ รวม 10 หมวด ดังนี้


หมวด 1 พัสดุส่งเสริมและพัฒนาด้านการเกษตร
หมวด 2 พัสดุส่งเสริมวิสาหกิจและการประกอบอาชีพ
หมวด 3 พัสดุส่งเสริมการเรียนการสอน
หมวด 4 พัสดุส่งเสริมนวัตกรรม
หมวด 5 พัสดุส่งเสริมสุขภาพและสาธารณสุข
หมวด 6 พัสดุส่งเสริมความมัน่ คงด้านพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ
หมวด 7 พัสดุส่งเสริมความมัน่ คงด้านความปลอดภัยทางอาหารและสินค้าเกษตร
หมวด 7/1 พัสดุส่งเสริมการผลิตภายในประเทศ
หมวด 7/2 พัสดุที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หมวด 8 ประเภทของที่ปรึกษาที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน
➢ ในแต่ละหมวดจะประกอบด้วย พัสดุหรือการดาเนิ นการที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน คานิ ยาม
เงื่อนไขข้อกาหนด และวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
แนวทางปฏิบตั ิตามกฎกระทรวง
กาหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563
(ใช้ทงั้ กรณี การจัดซื้อ การจัดจ้างก่อสร้าง และการจัดจ้างที่ มิใช่งานก่อสร้าง)
(ภาคผนวก ๒)
นโยบายและแนวทางป้ องกันการทุจริต
ในการจัดซื้อจัดจ้าง
(มาตรา 19 + ประกาศคณะกรรมการ คปท. + หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ)

มาตรา 19 ผูป้ ระกอบการที่อยู่ในประเภทหรือมีวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างตามที่


คณะกรรมการ ค.ป.ท. ประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา หากประสงค์จะเข้ายื่น
ข้อเสนอกับหน่ วยงานของรัฐในการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติน้ ี ต้องจัดให้มี
นโยบายในการป้ องกันการทุจริตและมีแนวทางป้ องกันการทุจริตในการจัดซื้ อจัดจ้าง
ที่เหมาะสม
มาตรฐานขัน้ ตา่ ของนโยบายและแนวทางป้ องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง
ที่ผปู ้ ระกอบการต้องจัดให้มีตามวรรคหนึ่ ง ให้เป็ นไปตามที่คณะกรรมการ ค.ป.ท.
ประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา
ภาพรวมกระบวนการและขัน้ ตอน
ในส่วนของการดาเนิ นการ การพิจารณาผล และการทาสัญญา/ข้อตกลงการจัดซื้อจัดจ้าง

ทารายงานขอซื้อขอจ้าง
วิธีประกาศเชิ ญชวนทัว่ ไป
e-Market
ดาเนิ นการจัดซื้อจัดจ้าง e-Bidding
ตามวิธีที่ได้รบั ความเห็นชอบ สอบราคา
วิธีคดั เลือก
วิธีเฉพาะเจาะจง
พิจารณาผล

ขออนุมตั ิจดั ซื้อจัดจ้าง

ประกาศผล

พิจารณาอุทธรณ์ (กรณีมีผูย้ ื่นอุทธรณ์)

ทาสัญญา/ข้อตกลง และหลักประกัน
ข้อสังเกตและแนวทางปฏิบตั ิในการจัดทารายงานขอซื้อขอจ้าง
(ระเบี ยบฯ ข้อ 22)

ก่อนการซื้อหรือจ้างแต่ละวิธี นอกจากการซื้อที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างตามข้อ 23 และข้อ 79 วรรคสอง


ให้เจ้าหน้าที่จดั ทารายงานขอซื้อหรือขอจ้างเสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ เพื่อขอความเห็นชอบ โดย
เสนอผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่

เจ้าหน้าที่

หัวหน้าเจ้าหน้าที่

หัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ

ระเบียบฯ ข้อ 24 เมื่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐให้ความเห็นชอบตามรายงานที่เสนอตามข้อ 22 หรือข้อ 23 แล้ว


ให้เจ้าหน้าที่ดาเนิ นการตามวิธีซ้ ือหรือจ้างนัน้ ต่อไปได้
รายละเอี ยดของรายงานขอซื้ อขอจ้าง
(ระเบี ยบฯ ข้อ 22)

❖ เหตุผลความจาเป็ นที่ตอ้ งซื้อหรือจ้าง


❖ ขอบเขตของงาน หรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ หรือแบบรูปรายการ
งานก่อสร้างที่จะซื้อหรือจ้าง แล้วแต่กรณี
❖ ราคากลางของพัสดุท่ีจะซื้อหรือจ้าง
❖ วงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง โดยให้ระบุวงเงินงบประมาณ ถ้าไม่มีวงเงินดังกล่าวให้ระบุ
วงเงินที่ประมาณว่าจะซื้อหรือจ้างในครัง้ นัน้
❖ กาหนดเวลาที่ตอ้ งการใช้พสั ดุนนั้ หรือให้งานนัน้ แล้วเสร็จ
❖ วิธีจะซื้อหรือจ้าง และเหตุผลที่ตอ้ งซื้อ/จ้างโดยวิธีนนั้
❖ หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ
❖ ข้อเสนออื่นๆ เช่น การขออนุมตั ิแต่งตัง้ คณะกรรมการต่างๆ ที่จาเป็ นในการซื้อ
หรือจ้าง การออกประกาศและเอกสารเชิญชวน และหนังสือเชิญชวน

การซื้อหรือจ้างกรณี จาเป็ นเร่งด่วนอันเนื่ องมาจากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดหมายได้ ตามมาตรา 56


วรรคหนึ่ ง (1) (ค) หรือกรณี มีความจาเป็ นต้องใช้พสั ดุนนั้ โดยฉุ กเฉิ น ตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (2)
(ง) หรือกรณี การซื้อหรือจ้างที่ มีวงเงินเล็ กน้อยตามที่กาหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา
96 วรรคสอง ซึ่งไม่อาจทารายงานตามปกติได้ เจ้าหน้าที่หรือผูท้ ี่รบั ผิ ดชอบในการปฏิ บตั ิ งานนัน้ จะ
ทารายงานตามวรรคหนึ่ ง เฉพาะรายการที่เห็นว่าจาเป็ นก็ได้
รายละเอี ยดของรายงานขอซื้ อที่ ดินหรื อสิ่ งปลูกสร้าง
(ระเบี ยบฯ ข้อ 23)

ระเบียบฯ ข้อ 23 ในการซื้อที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง ให้เจ้าหน้าที่จดั ทารายงานเสนอ


หัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ โดยเสนอผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่ ตามรายการดังต่อไปนี้
(1) เหตุผลและความจาเป็ นที่ตอ้ งซื้อ
(2) รายละเอียดของที่ดินหรือสิ่ งปลูกสร้างที่ตอ้ งการซื้อ รวมทัง้ เนื้ อที่และท้องที่ที่
ต้องการ
(3) ราคาประเมินของทางราชการในท้องที่นนั้
(4) ราคาซื้อขายของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างใกล้เคียงบริเวณที่จะซื้อครัง้ หลังสุด
ประมาณ 3 ราย
(5) วงเงินที่จะซื้อ โดยให้ระบุวงเงินงบประมาณ ถ้าไม่มีวงเงินดังกล่าวให้ระบุวงเงิน
ที่ประมาณว่าจะซื้อในครัง้ นัน้
(6) วิธีที่จะซื้อและเหตุผลที่ตอ้ งซื้อโดยวิธีนนั้
(7) ข้อเสนออื่นๆ เช่น การขออนุ มตั ิแต่งตัง้ คณะกรรมการต่างๆ ที่จาเป็ นใน
การซื้อ

การซื้อที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง โดยปกติใช้วิธีเฉพาะเจาะจง
ตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (2) (ช) “เป็ นพัสดุที่เป็ นที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างซึ่งจาเป็ นต้องซื้อเฉพาะแห่ง”
คณะกรรมการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง
ในส่วนของการจัดซื้อจัดจ้างทัว่ ไป

มาตรา 61 ในการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุแต่ละครัง้ ให้ผมู ้ ีอานาจแต่งตัง้ ผูร้ บั ผิดชอบ


การจัดซื้อจัดจ้างนัน้ ซึ่งจะกระทาโดยคณะกรรมการการจัดซื้อจัดจ้างหรือเจ้าหน้าที่
คนใดคนหนึ่ งก็ได้
องค์ประกอบและองค์ประชุมซึ่งกระทาโดยคณะกรรมการ และหน้าที่ของ
ผูร้ บั ผิดชอบการจัดซื้อจัดจ้างตามวรรคหนึ่ ง ให้เป็ นไปตามระเบียบที่รฐั มนตรี
กาหนด
ค่าตอบแทนผูร้ บั ผิ ดชอบการจัดซื้อจัดจ้างตามวรรคหนึ่ ง ให้เป็ นไปตามที่
กระทรวงการคลังกาหนด
1. คณะกรรมการ หรือเจ้าหน้าที่ หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ ง ที่แต่งตัง้ ขึ้นเพื่อ
จัดทาร่างขอบเขตของงาน หรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะ
ซื้อหรือจ้าง หรือจัดทาแบบรูปรายการงานก่อสร้าง ตามระเบียบฯ ข้อ 21
ระเบียบฯ ข้อ 21 ในการซื้อหรือจ้างที่มิใช่การจ้างก่อสร้าง ให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐแต่งตัง้
คณะกรรมการขึ้ นมาคณะหนึ่ ง หรือจะให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ งรับผิ ดชอบ ในการจัดทาร่าง
ขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะซื้อหรือจ้าง รวมทัง้ กาหนดหลักเกณฑ์
การพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอด้วย
เพื่อให้การกาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะซื้อหรือจ้าง มีมาตรฐานและ
เป็ นประโยชน์ต่อทางราชการ หากพัสดุที่จะซื้อหรือจ้างใดมีประกาศกาหนดมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์อุต-
สาหกรรมแล้ว ให้กาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุท่ีจะซื้อหรือจ้าง หรือรายการในการ
ก่อสร้างตามมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือเพื่อความสะดวกจะระบุเฉพาะหมายเลขมาตรฐาน
ก็ได้ หรือในกรณี พสั ดุที่จะซื้อหรือจ้างใดยังไม่มีประกาศกาหนดมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์อุตสาหกรรมแต่มีผู ้
ได้รบั การจดทะเบียนผลิ ตภัณฑ์ไว้กบั กระทรวงอุตสาหกรรมแล้ว ให้กาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
ของพัสดุท่ีจะซื้อหรือจ้างหรือรายการในการก่อสร้างให้สอดคล้องกับรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะตามที่
ระบุในคู่มือผูซ้ ้ ือหรือใบแทรกคู่มือผูซ้ ้ ือที่กระทรวงอุตสาหกรรมจัดทาขึ้ น
ในการจ้างก่อสร้าง ให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐแต่งตัง้ คณะกรรมการขึ้ นมาคณะหนึ่ งหรือจะให้
เจ้าหน้าที่หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ งจัดทาแบบรูปรายการงานก่อสร้าง หรือจะดาเนิ นการจ้าง ตามความใน
หมวด 4 งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างก็ได้
องค์ประกอบ ระยะเวลาการพิจารณา และการประชุมของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ ง และ
วรรคสองสาม ให้เป็ นไปตามที่หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐกาหนดตามความจาเป็ นและเหมาะสม
2. คณะกรรมการดาเนิ นการซื้อหรือจ้าง
(มาตรา 100-101 : ระเบียบฯ ข้อ 25-27,175-178)

ให้หวั หน้าหน่วยงานของรัฐแต่งตัง้ คณะกรรมการซื้อหรือจ้าง เพื่อปฏิบตั ิการตามระเบียบฯ พร้อมกาหนดระยะเวลา


ในการพิจารณาของคณะกรรมการด้วย

คณะกรรมการ
พิจารณาผล
การประกวดราคา
อิเล็กทรอนิ กส์
- คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ในงานซื้อหรืองานจ้าง คณะกรรมการ
- คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ในงานจ้างก่อสร้าง และ มาตรา 100-101
พิจารณาผล
- ผูค้ วบคุมงานก่อสร้าง (ระเบียบฯ ระเบียบฯ ข้อ25-27 การสอบราคา
ข้อ 177-178)
+175+176+177-
178

คณะกรรมการ คณะกรรมการ
ซื้อหรือจ้าง ซื้อหรือจ้าง
โดยวิธีเฉพาะเจาะจง โดยวิธีคดั เลือก
การแต่งตัง้ และองค์ประกอบของคณะกรรมการ
(ยกเว้นผูค้ วบคุมงานก่อสร้าง)
(ระเบียบฯ ข้อ 26)

1. ประธาน 1 คน
2. กรรมการ อย่างน้อย 2 คน
ประธานตามข้อ 1 และกรรมการตามข้อ 2 ให้เแต่งตัง้ จาก
ข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ พนักงานมหา-
วิทยาลัย พนักงานของรัฐ พนักงานหน่ วยงานของรัฐ หรื อที่
เรียกชื่ ออย่างอื่น โดยคานึ งถึงลักษณะหน้าที่และความรับผิด-
ชอบของผูท้ ี่ได้รบั แต่งตัง้ เป็ นสาคัญ
3. ในกรณี จาเป็ นหรือเพื่อประโยชน์ของหน่ วยงานของรัฐ จะแต่งตัง้
บุคคลอื่นร่วมเป็ นกรรมการด้วยก็ได้ แต่จานวนกรรมการที่เป็ น
บุคคลอื่น จะต้องไม่มากกว่าจานวนกรรมการตามข้อ 1+2
ข้อห้ามในการแต่งตัง้ คณะกรรมการ
(ระเบียบฯ ข้อ 26)

ในการซื้อหรือจ้างครัง้ เดียวกัน ห้ามแต่งตัง้ ผูท้ ี่เป็ นกรรมการ


พิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ กรรมการพิจารณาผล
การสอบราคา หรือกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคดั เลือก เป็ นกรรมการ
ตรวจรับพัสดุ

คณะกรรมการซื้อหรือจ้างทุกคณะ ควรแต่งตัง้ ผูช้ านาญการ


หรือผูท้ รงคุณวุฒิเกี่ยวกับงานซื้อหรือจ้างนัน้ ๆ เข้าร่วมเป็ นกรรมการ
ด้วย
การประชุมของคณะกรรมการ
(ระเบียบฯ ข้อ 27)

องค์ประชุม - ประธาน + กรรมการ ต้องไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่ ง


และประธานจะต้องอยู่ดว้ ยทุกครัง้

- ถือเสียงข้างมากเป็ นเกณฑ์
มติคณะกรรมการ - ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียง
เพิ่มอีก 1 เสียง
- คณะกรรมการตรวจรับ
ข้อยกเว้น ต้องใช้มติเอกฉันท์

➢ กรรมการของคณะใดไม่เห็นด้วยกับมติของคณะกรรมการ ให้ทาบันทึกความเห็นแย้งไว้

การประชุมคณะกรรมการต่างๆ อาจประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิ กส์ก็ได้ ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย


การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564 และมีแนวทางปฏิบตั ิตามหนังสือเวียน
คณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว279 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2564
การมีส่วนได้ส่วนเสียของคณะกรรมการซื้อหรือจ้าง
(ระเบียบฯ ข้อ 27)

ประธานกรรมการและ หากประธานหรือกรรมการ
กรรมการ จะต้องไม่เป็ นผูม้ ี ทราบว่าตนเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสียกับ
ส่วนได้เสียกับผูย้ ่ื นข้อเสนอหรือ ผูย้ ่ื นข้อเสนอหรือคู่สญ ั ญาในการ
คู่สญั ญาในการซื้อหรือจ้างครัง้ ซื้อหรือจ้างครัง้ นัน้ ให้ประธานหรือ
นัน้ ทัง้ นี้ การมีส่วนได้เสียใน กรรมการผูน้ นั้ ลาออกจากการเป็ น
เรื่องซึ่งที่ประชุมพิจารณาของ ประธานหรือกรรมการในคณะกรรมการ
ประธานกรรมการและกรรมการ ที่ตนได้รบั แต่งตัง้ นัน้ และให้รายงาน
ให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยวิธี หัวหน้าหน่ วยงานของรัฐทราบ เพื่อ
ปฏิบตั ิราชการทางปกครอง สัง่ การตามที่เห็นสมควรต่อไป
3. ผูค้ วบคุมงาน (ก่อสร้าง)
(มาตรา 101 และระเบียบฯ ข้อ 177)

มาตรา 101 งานจ้างก่อสร้างที่มีขนั้ ตอนการดาเนิ นการเป็ นระยะๆ อันจาเป็ นต้องมีการ


ควบคุมงานอย่างใกล้ชิด หรือมีเงื่อนไขการจ่ายเงินเป็ นงวดตามความก้าวหน้าของงาน ให้
มีผคู ้ วบคุมงานซึ่งแต่งตัง้ โดยผูม้ ีอานาจ เพื่อรับผิดชอบในการควบคุมงานก่อสร้างนัน้
การแต่งตัง้ คุณสมบัติ และหน้าที่ของผูค้ วบคุมงาน ให้เป็ นไปตามระเบียบที่รฐั มนตรี
กาหนด
ค่าตอบแทนผูค้ วบคุมงานตามวรรคหนึ่ ง ให้เป็ นไปตามที่กระทรวงการคลังกาหนด
การแต่งตัง้ และองค์ประกอบของผูค้ วบคุมงานก่อสร้าง
(ระเบียบฯ ข้อ 177)
ระเบียบฯ ข้อ 177 ในการจ้างก่อสร้างแต่ละครัง้ ที่มีขนั้ ตอนการดาเนิ นการเป็ นระยะๆ อัน
จาเป็ นต้องมีการควบคุมงานอย่างใกล้ชิด หรือมีเงื่อนไขการจ่ายเงินเป็ นงวดตามความก้าวหน้า
ของงาน ให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐแต่งตัง้ ผูค้ วบคุมงานที่มีความรูค้ วามชานาญทางด้านช่าง
ตามลักษณะของงานก่อสร้าง จากข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ พนักงานมหา-
วิทยาลัย พนักงานของรัฐ หรือพนักงานของหน่ วยงานของรัฐที่เรียกชื่ ออย่างอื่นของหน่ วยงาน
ของรัฐนัน้ หรือข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงาน
ของรัฐ หรือพนักงานของหน่ วยงานของรัฐที่เรียกชื่ ออย่างอื่นของหน่ วยงานของรัฐอื่น ตามที่
ได้รบั ความยินยอมจากหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐที่ผนู ้ นั้ สังกัดแล้ว ในกรณี ที่ลกั ษณะของงาน
ก่อสร้างมีความจาเป็ นต้องใช้ความรูค้ วามชานาญหลายด้าน จะแต่งตัง้ ผูค้ วบคุมงานเฉพาะด้าน
หรือเป็ นกลุ่มบุคคลก็ได้
ุ วุฒิตามที่ผอู ้ อกแบบเสนอแนะ และโดยปกติจะต้องมีคณ
ผูค้ วบคุมงานควรมีคณ ุ วุฒิไม่ตา่
กว่าระดับประกาศนี ยบัตรวิชาชีพ
ในกรณี จาเป็ นจะต้องจ้างผูใ้ ห้บริการควบคุมงานก่อสร้างเป็ นผูค้ วบคุมงาน ให้ดาเนิ นการ
จ้างโดยถือปฏิบตั ิตามหมวด 4
จะแต่งตัง้ ผูค้ วบคุมงานเป็ นกรรมการในคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้างโครงการเดียวกันนัน้ จะทาได้หรือไม่
ระเบียบฯ ข้อ 26 วรรคสาม ไม่ได้หา้ มไว้ จึงสามารถแต่งตัง้ ได้ แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การบริหารสัญญามีประสิ ทธิภาพ และเป็ นการ
สอบทานการทางาน เนื่ องจากหน้าที่ ของผูค้ วบคุมงานตามระเบียบฯ ข้อ 178 มีหน้าที่หลักในการควบคุมงานก่อสร้างและรายงานการปฏิ บตั ิงาน
ของผูร้ บั จ้างให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุฯ ทราบเป็ นระยะ ในขณะที่หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้างตามระเบียบฯ
ข้อ 176 มีหน้าที่หลักในการตรวจสอบรายงานผลการปฏิ บตั ิงานของผูร้ บั จ้างที่ผูค้ วบคุมงานรายงานมาและตรวจรับพัสดุเมื่อผูร้ บั จ้างส่งมอบงาน
ตามความเห็นของผูค้ วบคุมงาน ดังนัน้ โดยหลักการจึงไม่สมควรเป็ นคนๆ เดียวกัน
4. เจ้าหน้าที่ หัวหน้าเจ้าหน้าที่ หรือผูร้ บั ผิ ดชอบดาเนิ นการ กรณี วงเงินจัดหาไม่เกิน
500,000 บาท ให้ใช้วิธีเฉพาะเจาะจง ตามที่กาหนดในกฎกระทรวงที่ออกตาม
ความในมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (2) (ข) (รวมถึงกรณี การจัดหาที่มีวงเงินเล็กน้อยไม่เกิน
100,000 บาท ตามมาตรา 100 วรรคสาม และมาตรา 96 วรรคสอง ด้วย)

ระเบียบฯ ข้อ 79 กรณี ตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (2) (ข) ให้เจ้าหน้าที่เจรจาตกลง


ราคากับผูป้ ระกอบการที่มีอาชี พขายหรือรับจ้างนัน้ โดยตรง แล้วให้หวั หน้าเจ้าหน้าที่ซ้ ือ
หรือจ้างได้ภายในวงเงินที่ได้รบั ความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ ตามข้อ 24
การซื้อหรือจ้างตามวรรคหนึ่ ง ในกรณี ที่มีความจาเป็ นเร่งด่วนที่เกิดขึ้ นโดยไม่ได้
คาดหมายไว้ก่อนและไม่อาจดาเนิ นการตามปกติได้ทนั ให้เจ้าหน้าที่หรือผูท้ ี่รบั ผิ ดชอบใน
การปฏิ บตั ิงานนัน้ ดาเนิ นการไปก่อนแล้วรีบรายงานขอความเห็นชอบต่อหัวหน้าหน่ วยงาน
ของรัฐ และเมื่อหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐให้ความเห็ นชอบแล้ว ให้ถือว่ารายงานดังกล่าว
เป็ นหลักฐานการตรวจรับโดยอนุโลม
ประเด็นปั ญหาค่าตอบแทน
คณะกรรมการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง
กรณีสญั ญายังไม่สนิ ้ สุดและมีการดาเนินการคาบเกี่ยวมาถึงวันที่
6 กันยายน 2561 ตัง้ แต่วนั ที่ 6 กันยายน 2561 ให้เบิกจ่าย
ตามหนังสือนี ้
หลักการ สาระสาคัญ และข้อสังเกต
ของการจัดซื้อจัดจ้างแต่ละวิธี

วิธีการจัดซื้อจัดจ้างทัว่ ไป
(ไม่รวมงานจ้างที่ปรึกษา และงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง)

มาตรา 55 การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุอาจกระทาได้โดยวิธี ดังต่อไปนี้


(1) วิธีประกาศเชิญชวนทัว่ ไป ได้แก่ การที่หน่ วยงานของรัฐเชิ ญชวนผูป้ ระกอบการ
ทัว่ ไปที่มีคณ
ุ สมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่ วยงานของรัฐกาหนดให้เข้ายื่นข้อเสนอ
(2) วิธีคดั เลือก ได้แก่ การที่หน่ วยงานของรัฐเชิญชวนเฉพาะผูป้ ระกอบการที่มี
คุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่ วยงานของรัฐกาหนด ซึ่งต้องไม่นอ้ ยกว่าสามรายให้เข้ายื่ น
ข้อเสนอ เว้นแต่ในงานนัน้ มีผปู ้ ระกอบการที่มีคณ
ุ สมบัติตรงตามที่กาหนดน้อยกว่าสามราย
(3) วิธีเฉพาะเจาะจง ได้แก่ การที่หน่ วยงานของรัฐเชิญชวนผูป้ ระกอบการที่มีคณุ -
สมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่ วยงานของรัฐกาหนดรายใดรายหนึ่ งให้เข้ายื่นข้อเสนอ หรือให้
เข้ามาเจรจาต่อรองราคา รวมทัง้ การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุกบั ผูป้ ระกอบการโดยตรงในวงเงิน
เล็กน้อยตามที่กาหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา 96 วรรคสอง
ภาพรวมวิธีการจัดซื้อจัดจ้างทัว่ ไป
(มาตรา 55-56+ระเบียบฯ+กฎกระทรวง)
ไม่รวมถึงงานจ้างที่ปรึกษา และงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง

3. วิธีเฉพาะเจาะจง
มาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (2) (ก)-(ซ)

2. วิธีคดั เลือก
มาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (1) (ก)-(ซ)
มี 3 วิธี
มาตรา 55

วิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์
(e-market)
1. วิธีประกาศ วิธีประกวดราคาอิเล็ก-
เชิญชวนทัว่ ไป ทรอนิ กส์ (e-bidding)

วิธีสอบราคา
มาตรา 56
มาตรา 56 การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ให้หน่ วยงานของรัฐเลือกใช้วิธีประกาศเชิญชวนทัว่ ไปก่อน เว้นแต่
(1) กรณี ดงั ต่อไปนี้ ให้ใช้วิธีคดั เลือก
(ก) ใช้วิธีประกาศเชิญชวนทัว่ ไปแล้ว แต่ไม่มีผยู ้ ื่ นข้อเสนอ หรือข้อเสนอนัน้ ไม่ได้รบั การ
คัดเลือก
(ข) พัสดุท่ีตอ้ งการจัดซื้อจัดจ้างมีคณ
ุ ลักษณะเฉพาะเป็ นพิเศษ หรือซับซ้อน หรือต้องผลิต
จาหน่ าย ก่อสร้าง หรือให้บริการโดยผูป้ ระกอบการที่มีฝีมือโดยเฉพาะหรือมีความชานาญเป็ นพิเศษหรือ
มีทกั ษะสูง และผูป้ ระกอบการนัน้ มีจานวนจากัด
(ค) มีความจาเป็ นเร่งด่วนที่ตอ้ งใช้พสั ดุนนั้ อันเนื่ องมาจากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดหมาย
ได้ ซึ่งหากใช้วิธีประกาศเชิญชวนทัว่ ไปจะทาให้ไม่ทนั ต่อความต้องการใช้พสั ดุ
(ง) เป็ นพัสดุท่ีโดยลักษณะของการใช้งานหรือมีขอ้ จากัดทางเทคนิ ค ที่จาเป็ นต้องระบุย่ี หอ้
เป็ นการเฉพาะ
(จ) เป็ นพัสดุที่จาเป็ นต้องซื้อโดยตรงจากต่างประเทศ หรือดาเนิ นการโดยผ่านองค์การ
ระหว่างประเทศ
(ฉ) เป็ นพัสดุที่ใช้ในราชการลับ หรือเป็ นงานที่ตอ้ งปกปิ ดเป็ นความลับของหน่ วยงานของรัฐ
หรือที่เกี่ยวกับความมัน่ คงของประเทศ
(ช) เป็ นงานจ้างซ่อมพัสดุท่ีจาเป็ นต้องถอดตรวจให้ทราบความชารุดเสียหายเสียก่อน จึง
จะประมาณค่าซ่อมได้ เช่น งานจ้างซ่อมเครื่องจักร เครื่องมือกล เครื่องยนต์ เครื่องไฟฟ้ า หรือเครื่อง
อิเล็กทรอนิ กส์
(ซ) กรณี อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 56 (ต่อ)
(2) กรณี ดงั ต่อไปนี้ ให้ใช้วิธีเฉพาะเจาะจง
(ก) ใช้ทงั้ วิธีประกาศเชิญชวนทัว่ ไปและวิธีคดั เลื อก หรือใช้วิธีคดั เลื อกแล้ว แต่ไม่มีผยู ้ ื่ น
ข้อเสนอหรือข้อเสนอนัน้ ไม่ได้รบั การคัดเลือก
(ข) การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุท่ีมีการผลิต จาหน่ าย ก่อสร้าง หรือให้บริการทัว่ ไป และมี
วงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างครัง้ หนึ่ งไม่เกินวงเงินตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
(ค) การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่มีผปู ้ ระกอบการซึ่งมีคณ ุ สมบัติโดยตรงเพียงรายเดียว หรือการ
จัดซื้อจัดจ้างพัสดุจากผูป้ ระกอบการ ซึ่งเป็ นตัวแทนจาหน่ ายหรือตัวแทนผูใ้ ห้บริการโดยชอบด้วย
กฎหมายเพียงรายเดียวในประเทศไทยและไม่มีพสั ดุอื่นที่จะใช้ทดแทนได้
(ง) มีความจาเป็ นต้องใช้พสั ดุนนั้ โดยฉุกเฉิ น เนื่ องจากเกิดอุบตั ิภยั หรือภัยธรรมชาติ หรือ
เกิดโรค ติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ และการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกาศเชิญชวน
ทัว่ ไปหรือวิธีคดั เลือกอาจก่อให้เกิดความล่าช้าและอาจทาให้เกิดความเสี ยหายอย่างร้ายแรง
(จ) พัสดุที่จะทาการจัดซื้อจัดจ้างเป็ นพัสดุที่เกี่ยวพันกับพัสดุที่ได้ทาการจัดซื้อจัดจ้างไว้ก่อน
แล้ว และมีความจาเป็ นต้องทาการจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์หรือต่อเนื่ องในการใช้พสั ดุ
นัน้ โดยมูลค่าของพัสดุที่ทาการจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติมจะต้องไม่สงู กว่าพัสดุที่ได้ทาการจัดซื้อจัดจ้างไว้
ก่อนแล้ว
(ฉ) เป็ นพัสดุท่ีจะขายทอดตลาดโดยหน่ วยงานของรัฐ องค์การระหว่างประเทศ หรือหน่ วย-
งานของต่างประเทศ
(ช) เป็ นพัสดุที่เป็ นที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างซึ่งจาเป็ นต้องซื้อเฉพาะแห่ง
(ซ) กรณี อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 56 (ต่อ)

รัฐมนตรีอาจออกกฎกระทรวงตาม (1) (ซ) หรือ (2) (ซ) ให้เป็ นพัสดุที่รฐั ต้องการ


ส่งเสริมหรือสนับสนุนตามมาตรา 65 (4) ก็ได้ หากรัฐมนตรีออกกฎกระทรวงตาม (2)
(ซ) เป็ นพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุนตามมาตรา 65 (4) แล้ว เมื่อหน่ วยงาน
ของรัฐจะทาการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุนนั้ ให้ใช้วิธีเฉพาะเจาะจงตาม (2) (ซ) ก่อน
ในกรณี หน่ วยงานของรัฐในต่างประเทศหรือมีกิจกรรมที่ตอ้ งปฏิบตั ิในต่างประเทศ จะ
ทาการจัดซื้อจัดจ้างโดยใช้วิธีคดั เลือกหรือวิธีเฉพาะเจาะจง โดยไม่ใช้วิธปี ระกาศเชิญชวน
ทัว่ ไปก่อนก็ได้
รัฐมนตรีอาจออกระเบียบเพื่อกาหนดรายละเอียดอื่นของการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุตาม
วรรคหนึ่ งเพิ่มเติมได้ตามความจาเป็ นเพื่อประโยชน์ในการดาเนิ นการ
หลักการและแนวคิดวิธี e-Market

ข้อมูลสินค้า
- รหัสสินค้า (UNSPSC)
- คุณสมบัติ

ผูค้ า้ ภาครัฐ e - catalog Market


ประกาศ ผูค้ า้
ตอบ
กลับ
(เสนอ
ประกาศ ใบเสนอ ราคา)
สินค้า ราคา
- คุณสมบัติสินค้า - สินค้า
- จานวน - ราคา
ผูค้ า้ ฯลฯ
- คุณสมบัติ
หน่ วยงานของรัฐ ฯลฯ ผูช้ นะ
การเสนอราคา
วิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์
Electronic Market : e-Market
(มาตรา 55 (1) , ระเบียบฯ ข้อ 34 – ข้อ 42)

วิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์ ได้แก่ การจัดหาพัสดุที่มีรายละเอียดคุณลักษณะ


ที่ไม่ซบั ซ้อน เป็ นสินค้าหรือบริการทัว่ ไป มีมาตรฐาน ซึ่งกาหนดให้หน่ วยงาน
ของรัฐจัดซื้อสินค้าหรืองานจ้างที่กาหนดไว้ในระบบ e-catalog

กระทาได้ 2 วิธีการ ตามวงเงิน ดังนี้


(1) การเสนอราคา โดยใบเสนอราคา ได้แก่ การจัดหาพัสดุครัง้ หนึ่ ง
ซึ่งมีราคาเกิน 500,000 บาท แต่ไม่เกิน 5,000,000 บาท
(2) การเสนอราคาโดยการประมูลอิเล็กทรอนิ กส์ ได้แก่ การจัดหาพัสดุ
ครัง้ หนึ่ ง ซึ่งมีราคาเกิน 5,000,000 บาท
กระบวนการและขัน้ ตอนดาเนิ นการ
วิธี e-Market
กระบวนการและขัน้ ตอนดาเนิ นการวิธี e-Market (ต่อ)
หลักการและแนวคิดวิธี e-Bidding

ประชาชนทัว่ ไป ผูค้ า้

เสนอราคา

เผยแพร่/รับฟั งความคิดเห็ น ประกาศ

จัดทา ร่างประกาศ ประกาศ พิจารณาผล


ประกวดราคาฯ ประกวดราคาฯ
หน่ วยงานของรัฐ

ประกาศผูช้ นะ
วิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์
Electronic Bidding : e-Bidding
(มาตรา 55 (1) , ระเบียบฯ ข้อ 43 – ข้อ 60)

การซื้อหรือจ้างครัง้ หนึ่ ง ซึ่งมีวงเงินเกิน 500,000 บาท และเป็ น


สินค้าหรืองานบริการที่ไม่ได้กาหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
ของพัสดุไว้ในระบบข้อมูลสินค้า (e–Catalog) ให้ดาเนิ นการใน
ระบบประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ (e–Bidding) ตามวิธีการที่
กรมบัญชีกลางกาหนด
กระบวนการและขัน้ ตอนดาเนิ นการ
วิธี e-Bidding
กระบวนการและขัน้ ตอนดาเนิ นการวิธี e-Bidding (ต่อ)
วิธีสอบราคา
(มาตรา 55 (1) , ระเบียบฯ ข้อ 61 – ข้อ 73)

• วิธีสอบราคา ใช้กบั การซื้อหรือจ้างครัง้ หนึ่ งเกิน 500,000 บาท แต่


ไม่เกิน 5,000,000 บาท
• ให้กระทาได้ในกรณีท่ีหน่ วยงานของรัฐนัน้ ตัง้ อยู่ในพื้นที่ท่ีมีขอ้ จากัด
ในการใช้สญ ั ญาณอินเตอร์เน็ ต เป็ นผลทาให้ไม่สามารถดาเนิ นการ
ผ่านระบบตลาดอิเล็กทรอนิ กส์หรือระบบประกวดราคอิเล็กทรอนิ กส์
ได้
• ให้เจ้าหน้าที่ระบุเหตุผลความจาเป็ นที่ไม่อาจดาเนิ นการซื้อหรือจ้าง
ด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์ หรือวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ไว้
ในรายงานขอซื้อหรือขอจ้างด้วย
กระบวนการและขัน้ ตอนดาเนิ นการ
วิธีสอบราคา
กระบวนการและขัน้ ตอนดาเนิ นการวิธีสอบราคา (ต่อ)
วิธีคดั เลือก
(มาตรา 55 (2) , มาตรา 56 (1) (ก)-(ซ) , ระเบียบฯ ข้อ 74-ข้อ 77)

• วิธีคดั เลือก ได้แก่ การที่หน่ วยงานของรัฐเชิ ญชวนเฉพาะผูป้ ระกอบการที่มีคุณ-


สมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่ วยงานของรัฐกาหนด ซึ่งต้องไม่นอ้ ยกว่าสามรายให้
เข้ายื่ นข้อเสนอ เว้นแต่ในงานนัน้ มีผปู ้ ระกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กาหนด
น้อยกว่าสามราย (มาตรา 55 (2)) โดยให้คานึ งถึงการไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน
ของผูท้ ี่เข้ายื่ นข้อเสนอด้วย
• ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดตามมาตรา 56 (1) (ก)-(ซ)
• การดาเนิ นการ ให้ดาเนิ นการตามระเบียบฯ ข้อ 74-ข้อ 77
• ไม่มีขอ้ กาหนดวงเงินจัดหา
• เมื่อหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐให้ความเห็นชอบรายงานขอซื้อขอจ้างตามข้อ 22
แล้ว ให้คณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคดั เลือกจัดทาหนังสือเชิญชวนไปยัง
ผูป้ ระกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กาหนดไม่นอ้ ยกว่า 3 ราย พร้อมจัดทา
บัญชี รายชื่ อผูป้ ระกอบการที่คณะกรรมการฯ ได้มีหนังสือไปเชิ ญชวน และให้
คณะกรรมการฯ รับซองข้อเสนอเฉพาะรายที่คณะกรรมการฯ ได้มีหนังสือเชิ ญ
ชวนไปเท่านัน้
กระบวนการและขัน้ ตอนดาเนิ นการ
วิธีคดั เลือก
กระบวนการและขัน้ ตอนดาเนิ นการวิธีคดั เลือก (ต่อ)
วิธีเฉพาะเจาะจง
(มาตรา 55 (3) , มาตรา 56 (2) (ก)-(ซ) , ระเบียบฯ ข้อ 78-ข้อ 81) , กฎกระทรวง

• วิธีเฉพาะเจาะจง ได้แก่ การที่หน่ วยงานของรัฐเชิญชวนผูป้ ระกอบการที่มีคณ ุ สมบัติตรง


ตามเงื่อนไขที่หน่ วยงานของรัฐกาหนดรายใดรายหนึ่ งให้เข้ายื่ นข้อเสนอ หรือให้เข้ามา
เจรจาต่อรองราคา รวมทัง้ การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุกบั ผูป้ ระกอบการโดยตรงในวงเงินเล็ก-
น้อยตามที่กาหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา 96 วรรคสอง (มาตรา 55 (3))
• ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดตามมาตรา 56 (2) (ก)-(ซ) และกฎกระทรวงดังนี้
1. กฎกระทรวงกาหนดวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง วงเงิน
การจัดซื้อจัดจ้างที่ไม่ทาข้อตกลงเป็ นหนังสือ และวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างในการแต่งตัง้
ผูต้ รวจรับพัสดุ พ.ศ. 2560
2. กฎกระทรวงกาหนดกรณี การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง พ.ศ. 2561
3. กฎกระทรวงกาหนดกรณี การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2561
4. กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 56 (2) (ซ) และมาตรา 56 วรรคสอง (รัฐมนตรี
อาจออกกฎกระทรวงตาม (1) (ซ) หรือ (2) (ซ) ให้เป็ นพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุนตามมาตรา 65 (4)
ก็ได้ หากรัฐมนตรีออกกฎกระทรวงตาม (2) (ซ) เป็ นพัสดุที่รฐั ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุนตามมาตรา 65 (4)
แล้ว เมื่อหน่วยงานของรัฐจะทาการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุนนั้ ให้ใช้วิธีเฉพาะเจาะจงตาม (2) (ซ) ก่อน)
วิธีเฉพาะเจาะจง (ต่อ)
(มาตรา 55 (3) , มาตรา 56 (2) (ก)-(ซ) , ระเบียบฯ ข้อ 78-ข้อ 81) , กฎกระทรวง)

• การดาเนิ นการ ให้ดาเนิ นการตามระเบียบฯ ข้อ 78-ข้อ 81


• ไม่มีขอ้ กาหนดวงเงินจัดหา ยกเว้น กรณี ตามมาตรา 56 (2) (ข) และบาง
กรณี ตามที่กาหนดตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 56 (2) (ซ)
• เมื่อหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐให้ความเห็นชอบรายงานขอซื้อขอจ้างตามข้อ 22
แล้ว (เว้นแต่กรณี ที่ไม่ตอ้ งทารายงานขอซื้อขอจ้าง เช่น ตามระเบียบฯ ข้อ 79
วรรคสอง) ให้คณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจงหรือผูท้ ่ีเกี่ยวข้อง
แล้วแต่กรณี เชิญชวนผูป้ ระกอบการที่มีคณ ุ สมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่ วยงาน
ของรัฐกาหนดรายใดรายหนึ่ ง ให้เข้ายื่ นข้อเสนอ หรือให้เข้ามาเจรจาต่อรอง
ราคา
กระบวนการและขัน้ ตอนดาเนิ นการ
วิธีเฉพาะเจาะจง
(แนวทางปฎิบตั ิทวั ่ ไป)
กระบวนการและขัน้ ตอนดาเนิ นการวิธีเฉพาะเจาะจง (ต่อ)
ซักซ้อมความเข้าใจกรณีวงเงินจัดหาไม่เกิน 500,000 บาท ใช้วิธีประกาศเชิญชวนทัว่ ไปได้
(หนังสือเวียน)
สรุปข้อกาหนดวงเงินสาหรับแต่ละวิธี
▪ ประกาศเชิ ญชวนทัว่ ไป
▪ e-Market
- การซื้อหรือจ้างครัง้ หนึ่ งวงเงินเกิน 500,000 บาท แต่ไม่เกิน 5,000,000 บาท
สาหรับกรณี การเสนอราคาโดยใช้วิธีใบเสนอราคา
- การซื้อหรือจ้างครัง้ หนึ่ งวงเงินเกิน 5,000,000 บาท สาหรับกรณี การเสนอราคา
โดยใช้วิธีการประมูลอิเล็กทรอนิ กส์
▪ e-Bidding
- เกิน 500,000 บาท
▪ สอบราคา
- การซื้อหรือจ้างครัง้ หนึ่ งวงเงินเกิน 500,000 บาท แต่ไม่เกิน 5,000,000 บาท
และหน่ วยงานของรัฐนัน้ ตัง้ อยู่ในพื้นที่ที่มีขอ้ จากัดในการใช้สญ
ั ญาณอินเตอร์เน็ ต
▪ วิธีคดั เลือก
▪ ไม่จากัดวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างแต่ละครัง้ แต่ตอ้ งเข้าเงื่อนไขตามมาตรา 56
วรรคหนึ่ ง (1) (ก)-(ซ)
▪ วิธีเฉพาะเจาะจง
▪ ไม่จากัดวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างแต่ละครัง้ แต่ตอ้ งเข้าเงื่อนไขตามมาตรา 56
วรรคหนึ่ ง (2) (ก)-(ซ) ยกเว้น กรณี ตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (2) (ข) ให้เป็ นไป
ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง คือ วงเงินจัดหาแต่ละครัง้ ต้องไม่เกิน 500,000 บาท
การดาเนิ นการจัดซื้ อจัดจ้างและพิ จารณาผล

❑ เป็ นขัน้ ตอนดาเนิ นการหลังจากได้รบั ความเห็นชอบรายงานขอซื้ อขอจ้าง


แล้ว
❑ การดาเนิ นการจัดจ้างและการพิจารณาผล เป็ นหน้าที่ของคณะกรรมการ
เจ้าหน้าที่ หัวหน้าเจ้าหน้าที่ หรือผูร้ บั ผิ ดชอบ แล้วแต่กรณี ซึ่งขึ้นอยู่กบั
วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง และหรือตามวิธีการที่กฎหมาย ระเบียบฯ กาหนด
❑ รายละเอียดการดาเนิ นการของแต่ละวิธี ให้ถือปฏิบตั ิตามที่กาหนดใน
ระเบียบฯ ประกาศ และหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง
การเผยแพร่ร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดของพัสดุ
และร่างเอกสารเชิญชวน เพื่อรับฟั งความคิดเห็น
(มาตรา 59)

มาตรา 59 เพื่อประโยชน์ในการจัดทาร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดของ
พัสดุที่จะทาการจัดซื้อจัดจ้าง และร่างเอกสารเชิ ญชวน ก่อนทาการจัดซื้อจัดจ้าง
พัสดุดว้ ยวิธีประกาศเชิ ญชวนทัว่ ไป หน่ วยงานของรัฐอาจจัดให้มีการรับฟั งความ
คิดเห็นร่างขอบเขตของงาน หรือรายละเอียดของพัสดุที่จะทาการจัดซื้อจัดจ้างและ
ร่างเอกสารเชิญชวนจากผูป้ ระกอบการก่อนก็ได้
หลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาการรับฟั งความคิดเห็นร่างขอบเขตของ
งานหรือรายละเอียดของพัสดุที่จะทาการจัดซื้อจัดจ้างและร่างเอกสารเชิ ญชวน เพื่อ
นาไปใช้เป็ นเอกสารเชิ ญชวน ให้เป็ นไปตามระเบียบที่รฐั มนตรีกาหนด
การเผยแพร่ร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดของพัสดุและร่างเอกสารเชิญชวน
เพื่อรับฟั งความคิดเห็น

e-Bidding จ้างที่ปรึกษา

จ้างออกแบบ
-วงเงินเกิน 5 แสน หรือควบคุมงาน
e-Market บาท แต่ไม่เกิน 5
สอบราคา
ล้าน ให้อยู่ในดุลพินิจ
-วงเงินเกิน 5 ล้าน
บาท ให้เผยแพร่เพื่อ อาจนาร่างประกาศ
รับฟั งความคิดเห็น และเอกสารฯ เผยแพร่
-รัฐวิสาหกิจ จะ เพื่อรับฟั งความคิดเห็น
กาหนดแตกต่างได้ จากผูป้ ระกอบการ
โดยความเห็นชอบ ก่อนก็ได้
ของคณะกรรมการ
วินิจฉัย
การเผยแพร่เพื่อรับฟั งความคิดเห็นร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะ
พร้อมร่างประกาศและร่างเอกสารซื้อหรือจ้าง
(วิธี e-Bidding : ระเบียบฯ ข้อ 45-ข้อ 47)

หัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ

นาร่างประกาศและร่างเอกสารประกวดราคาฯ
ไม่นาร่างประกาศและร่างเอกสารประกวด เผยแพร่ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรม-
ราคาฯ เผยแพร่เพื่อรับฟั งความคิดเห็นฯ บัญชี กลาง และของหน่ วยงานของรัฐ ไม่นอ้ ยกว่า
(กรณี ใช้ดุลยพินิจ) 3 วันทาการ เพื่อรับฟั งความคิ ดเห็นฯ

การเผยแพร่เพื่อรับฟั งความคิดเห็นร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะของพัสดุท่ีจะซื้อหรือจ้าง พร้อม


ร่างประกาศและร่างเอกสารซื้อหรือจ้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ มีหลักเกณฑ์ดงั นี้
(1) การซื้อหรือจ้างครัง้ หนึ่ ง ซึ่งมีวงเงินเกิน 500,000 บาท แต่ไม่เกิน 5,000,000 บาท ให้อยู่ในดุลพินิจของ
หน่วยงานของรัฐ ที่จะให้มีการเผยแพร่เพื่อรับฟั งความคิดเห็นจากผูป้ ระกอบการหรือไม่ก็ได้
(2) การซื้อหรือจ้างครัง้ หนึ่ ง ซึ่งมีวงเงินเกิน 5,000,000 บาท ให้หน่วยงานของรัฐนาร่างประกาศและร่าง
เอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ เผยแพร่เพื่อรับฟั งความคิดเห็นจากผูป้ ระกอบการ
รัฐวิสาหกิจใดมีความจาเป็ นจะกาหนดวงเงินแตกต่างไปจากที่กาหนด ให้เสนอต่อคณะกรรมการวินิจฉัย เพื่อ
ขอความเห็นชอบ และเมื่อได้รบั ความเห็นชอบแล้วให้รายงานสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินทราบด้วย
การเผยแพร่เพื่อรับฟั งความคิดเห็นร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะ
พร้อมร่างประกาศและร่างเอกสารซื้อหรือจ้าง
(วิธี e-Bidding : ระเบียบฯ ข้อ 45-ข้อ 47)

หัวหน้าหน่ วยงาน
ของรัฐ

ไม่นาร่างประกาศและร่างเอกสาร นาร่างประกาศและร่างเอกสารประกวดราคาฯ
ประกวดราคาฯ เผยแพร่เพื่อรับฟั ง เผยแพร่ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรม-
บัญชี กลาง และของหน่ วยงานของรัฐไม่นอ้ ย-
ความคิดเห็นฯ กว่า 3 วันทาการ เพื่อให้ผปู ้ ระกอบการมีความ
(กรณี ใช้ดุลยพินิจ)
คิ ดเห็นไปยังหน่ วยงานที่จดั ซื้อจัดจ้างโดยตรง
โดยเปิ ดเผยตัว

หัวหน้าเจ้าหน้าที่ดาเนิ นการเผยแพร่ประกาศและ การรับฟั ง


ความคิ ดเห็น
เอกสารซื้อหรือจ้างด้วยวิธี e-Bidding ในระบบ
เครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของ ไม่มีผูเ้ สนอ มีผูเ้ สนอ
หน่ วยงานของรัฐภายในระยะเวลาที่กาหนด ความคิดเห็น ความคิดเห็น
การเผยแพร่เพื่อรับฟั งความคิดเห็นร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะ
พร้อมร่างประกาศและร่างเอกสารซื้อหรือจ้าง
(วิธี e-Bidding : ระเบียบฯ ข้อ 45-ข้อ 47)
กรณี มีผเู ้ สนอ
ความคิดเห็น

ปรับปรุง ไม่ควรปรับปรุง
เมื่อดาเนิ นการปรับปรุงแล้วเสร็จ ให้หวั หน้าเจ้าหน้าที่จดั ทา ให้หวั หน้าเจ้าหน้าที่จดั ทารายงานพร้อมความเห็นเสนอ
รายงานพร้อมความเห็นและร่างประกาศและร่างเอกสารซื้ อ หัวหน้าหน่ วยงานของรัฐเพื่อขอความเห็นชอบ เมื่อได้รบั
หรือจ้างฯ ที่แก้ไขแล้ว เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ ความเห็นชอบแล้ว ให้หวั หน้าเจ้าหน้าที่แจ้งผูม้ ีความ
เพื่อขอความเห็นชอบ คิดเห็นทุกรายทราบเป็ นหนังสือ

เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ

หัวหน้าเจ้าหน้าที่นาร่างประกาศและร่างเอกสารซื้อ
หรือจ้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ที่ เมื่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐให้ความเห็นชอบรายงานขอซื้อ
ปรับปรุงแล้ว เผยแพร่ในระบบเครือข่ายสารสนเทศ หรือขอจ้างแล้ว ให้หวั หน้าเจ้าหน้าที่ดาเนิ นการเผยแพร่
ของกรมบัญชีกลางและของหน่วยงานของรัฐอีกครัง้ ประกาศและเอกสารซื้อหรือจ้างด้วยวิธีประกวดราคาฯ
หนึ่ ง เป็ นเวลาติดต่อกันไม่นอ้ ยกว่า 3 วันทาการ ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและ
และให้หวั หน้าเจ้าหน้าที่แจ้งผูม้ ีความคิดเห็น ของหน่วยงานของรัฐ ภายในระยะเวลาที่กาหนด
ทุกรายทราบเป็ นหนังสือ

ให้นาวิธีการรับฟั งความคิดเห็นวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Bidding) นี้ ไปใช้กบั วิธีสอบราคาโดยอนุโลม


การเผยแพร่ประกาศและเอกสารเชิญชวน
และการขายหรือให้เอกสาร
(มาตรา 62)

มาตรา 62 การจัดซื้อจัดจ้างตามวิธีการตามมาตรา 55(1) ให้หน่ วยงานของรัฐจัดทาประกาศ


และเอกสารเชิญชวนให้ทราบเป็ นการทัว่ ไป ว่าหน่ วยงานของรัฐจะดาเนิ นการในการจัดซื้อจัดจ้าง
พัสดุใด วัน เวลา สถานที่ยื่นข้อเสนอ และเงื่อนไขอื่นๆ
ประกาศและเอกสารเชิญชวนตามวรรคหนึ่ ง ให้ประกาศเผยแพร่ในระบบเครือข่าย
สารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของหน่ วยงานของรัฐตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกาหนด และ
ให้ปิดประกาศโดยเปิ ดเผย ณ สถานที่ปิดประกาศของหน่ วยงานของรัฐนัน้ ในการนี้ หน่ วยงานของ
รัฐจะเผยแพร่ประกาศและเอกสารเชิ ญชวนดังกล่าวโดยวิธีการอื่นด้วยก็ได้
หลักเกณฑ์ วิธีการ และรายละเอียดการจัดทาประกาศและเอกสารเชิญชวน รวมทัง้
ระยะเวลาการประกาศเชิญชวน ให้เป็ นไปตามระเบียบที่รฐั มนตรีกาหนด
การจัดซื้อจัดจ้างตามวิธีการตามมาตรา 55(2) หรือ (3) ให้หน่ วยงานของรัฐจัดทา
หนังสือเชิญชวนให้ผปู ้ ระกอบการเข้ายื่ นข้อเสนอ ทัง้ นี้ ตามระเบียบที่รฐั มนตรีกาหนด
การเผยแพร่ประกาศและเอกสารเชิญชวน
และการขายหรือให้เอกสาร

e-Market e-Bidding
สอบราคา

เผยแพร่ - การให้หรือขายเอกสารให้ดาเนิ นการ


ประกาศ ไปพร้อมกับการเผยแพร่ประกาศและ - การให้หรือขาย
และเอกสารฯ เอกสารฯ เอกสารฯ ให้ดาเนิ นการ
ไม่นอ้ ยกว่า - วงเงินเกิน 5 แสน แต่ไม่เกิน 5 ล้าน ไปพร้อมกับการ
3 วันทาการ เผยแพร่ไม่นอ้ ยกว่า 5 วันทาการ เผยแพร่ประกาศและ
เอกสารฯ
- เกิน 5 ล้าน แต่ไม่เกิน 10 ล้าน
เผยแพร่ ไม่นอ้ ยกว่า 10 วันทาการ - เผยแพร่ไม่นอ้ ยกว่า
5 วันทาการ
- เกิน 10 ล้าน แต่ไม่เกิน 50 ล้าน
เผยแพร่ไม่นอ้ ยกว่า 12 วันทาการ
- เกิน 50 ล้าน เผยแพร่ไม่นอ้ ยกว่า 20 วัน
ทาการ
การเผยแพร่ประกาศและเอกสารฯ
กรณี พิเศษ
แนวทางปฏิบตั ิ
เกี่ยวกับการกาหนดราคาขายเอกสารประกวดราคาอิเล็ กทรอนิ กส์และเอกสารสอบราคา
(หนังสือเวียน)
การขายเอกสารทาได้ 2 วิธี เท่านั้น คือ วิธปี ระกวด
ราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) และวิธสี อบราคา
การดาเนิ นการจัดซื้อจัดจ้างและการพิจารณาผล
วิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Market)

➢ การดาเนิ นการก่อนขัน้ ตอนทารายงานขอซื้อขอจ้าง การทารายงานขอซื้อขอจ้าง


การเผยแพร่ประกาศและเอกสารเชิญชวน จนถึงขัน้ ตอนการเสนอราคา เป็ น
หน้าที่ของเจ้าหน้าที่ หัวหน้าเจ้าหน้าที่ และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง

➢ การพิจารณาผล เป็ นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และหัวหน้าเจ้าหน้าที่


การพิจารณาผลวิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Market)
เป็ นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และหัวหน้าเจ้าหน้าที่
(ระเบียบฯ ข้อ 38 –ข้อ 41)

ระเบียบฯ ข้อ 38 เมื่อสิ้นสุดการเสนอราคาตามข้อ 37 แล้ว หากปรากฏว่ามีผเู ้ สนอราคาตา่ สุด


เท่ากันหลายราย ให้เจ้าหน้าที่พิจารณาราคาตา่ สุดของผูท้ ี่เสนอราคาเข้าสู่ระบบตลาดอิเล็กทรอนิ กส์
ในลาดับแรกเป็ นผูช้ นะการเสนอราคาในครัง้ นัน้
ในกรณี ท่ีมีผเู ้ ข้าเสนอราคาเพียงรายเดียว หากเห็นว่าราคาที่เสนอมีความเหมาะสมและเป็ น
ประโยชน์ต่อหน่ วยงานของรัฐ ให้เจ้าหน้าที่เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่
เพื่อพิจารณารับราคาของผูเ้ สนอราคารายนัน้ ได้
ถ้าไม่มีผเู ้ ข้าเสนอราคา ให้เจ้าหน้าที่เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่เพื่อ
พิจารณายกเลิกการซื้อหรือจ้างในครัง้ นัน้ และดาเนิ นการซื้อหรือจ้างโดยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์
ใหม่ หรือจะดาเนิ นการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคดั เลือกตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (1)(ก) หรือวิธีเฉพาะ-
เจาะจงตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (2)(ก) แล้วแต่กรณี ก็ได้ เว้นแต่หน่ วยงานของรัฐจะดาเนิ นการ
ซื้อหรือจ้างโดยวิธีคดั เลือกหรือวิธีเฉพาะเจาะจงด้วยเหตุอื่น ให้เริ่มกระบวนการซื้อหรือจ้างใหม่โดย
การจัดทารายงานขอซื้อหรือขอจ้างตามข้อ 22
การพิจารณาผลวิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Market) เป็ นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และหัวหน้าเจ้าหน้าที่ (ต่อ)
(ระเบียบฯ ข้อ 38 –ข้อ 41)

ระเบียบฯ ข้อ 39 ในกรณีที่ปรากฏว่าราคาของผูเ้ สนอราคารายตา่ สุดที่ชนะการเสนอราคายัง


สูงกว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างตามข้อ 22 ให้เจ้าหน้าที่ดาเนิ นการ ดังนี้
(1) ต่อรองราคากับผูเ้ สนอราคารายดังกล่าวผ่านทางระบบตลาดอิเล็ กทรอนิ กส์ให้ตา่ สุดเท่าที่
จะทาได้ หากผูเ้ สนอราคารายนัน้ ยอมลดราคาและยื่นใบเสนอราคาผ่านทางระบบตลาดอิเล็กทรอ-
นิ กส์แล้ว หากราคาที่เสนอใหม่ไม่สงู กว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง หรือสูงกว่าแต่ไม่เกินร้อยละสิบของ
วงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง หรือต่อรองแล้วไม่ยอมลดราคาอีก แต่ส่วนที่สงู กว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างนัน้
ไม่เกินร้อยละสิบของวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง ถ้าเห็นว่าราคาดังกล่าวเป็ นราคาที่เหมาะสมก็ให้เสนอ
ซื้อหรือจ้างจากผูเ้ สนอราคารายนัน้
(2) ถ้าดาเนิ นการตาม (1) แล้วไม่ได้ผล ให้แจ้งผูเ้ สนอราคาที่เสนอราคาถูกต้องตรงตาม
เงื่อนไขที่กาหนดไว้ในเอกสารซื้อหรือจ้างด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์ทุกราย ผ่านทางระบบตลาด
อิเล็กทรอนิ กส์เพื่อให้เสนอราคาใหม่พร้อมกัน โดยให้ยื่นใบเสนอราคาผ่านทางระบบตลาดอิเล็ก-
ทรอนิ กส์ภายในเวลาที่หน่ วยงานของรัฐกาหนด หากผูเ้ สนอราคารายใดไม่ยื่นใบเสนอราคาใหม่
ให้ถือว่าผูเ้ สนอราคารายนัน้ ยืนราคาตามที่เสนอไว้เดิม หากปรากฏว่าผูเ้ สนอราคาตา่ สุดในการ
เสนอราคาครัง้ ใหม่เสนอราคาไม่สงู กว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง หรือสูงกว่าแต่ส่วนที่สงู กว่านัน้ ไม่
เกินร้อยละสิบของวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง ถ้าเห็นว่าราคาดังกล่าวเป็ นราคาที่เหมาะสมก็ให้เสนอซื้อ
หรือจ้างจากผูเ้ สนอราคารายนัน้
(3) ถ้าดาเนิ นการตาม (2) แล้วไม่ได้ผล ให้เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้า
เจ้าหน้าที่เพื่อพิจารณายกเลิกการซื้อหรือจ้างในครัง้ นัน้ ทัง้ นี้ การดาเนิ นการซื้อหรือจ้างครัง้ ใหม่ให้
นาความในข้อ 38 วรรคสาม มาใช้บงั คับโดยอนุโลม เริ่มกระบวนการซื้อหรือจ้างใหม่โดยการ
จัดทารายงานขอซื้อหรือขอจ้างตามข้อ 22
การพิจารณาผลวิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Market) เป็ นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และหัวหน้าเจ้าหน้าที่ (ต่อ)
(ระเบียบฯ ข้อ 38 –ข้อ 41)

ระเบียบฯ ข้อ 40 ภายหลังจากที่ได้ผชู ้ นะการเสนอราคาตามข้อ 38 หรือข้อ 39 แล้ว ให้


เจ้าหน้าที่จดั พิมพ์ใบเสนอราคาและเอกสารการเสนอราคาของผูเ้ สนอราคารายนัน้ จากระบบตลาด
อิเล็กทรอนิ กส์จานวน 1 ชุด และลงลายมือชื่อกากับไว้ในใบเสนอราคาและเอกสารการเสนอราคา
ทุกแผ่น
ในกรณี ท่ีผเู ้ สนอราคาตามวรรคหนึ่ ง เสนอราคาผิ ดเงื่อนไขตามที่กาหนดไว้ในเอกสารซื้อหรือ
จ้างด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์หรือเสนอแค็ ตตาล็อก (catalog) หรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
ของพัสดุไม่ถกู ต้องตรงตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในเอกสารซื้อหรือจ้างด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิ กส์
ให้ถือว่าผูเ้ สนอราคารายนัน้ ไม่ผ่านคุณสมบัติตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในเอกสารซื้อหรือจ้างด้วยวิธี
ตลาดอิเล็กทรอนิ กส์ ให้เจ้าหน้าที่เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่เพื่อพิจารณา
ยกเลิกการซื้อหรือจ้างในครัง้ นัน้ หรือพิจารณาผูท้ ่ีเสนอราคาตา่ ในลาดับถัดไปเป็ นผูช้ นะการเสนอ
ราคาก็ได้ ทัง้ นี้ ให้คานึ งถึงความเหมาะสมและประโยชน์ของหน่ วยงานของรัฐเป็ นสาคัญ

ระเบียบฯ ข้อ 41 ให้เจ้าหน้าที่รายงานผลการพิจารณาและความเห็นพร้อมด้วยเอกสารที่


เกี่ยวข้องทัง้ หมดต่อหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
การดาเนิ นการจัดซื้อจัดจ้างและการพิจารณาผล
วิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Bidding)

➢ การดาเนิ นการจัดจ้างก่อนขัน้ ตอนทารายงานขอซื้อขอจ้าง การทารายงานขอซื้อ


ขอจ้าง การเผยแพร่ประกาศและเอกสารเชิญชวน จนถึงขัน้ ตอนการเสนอราคา
รวมทัง้ การขายหรือให้เอกสาร เป็ นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ หัวหน้าเจ้าหน้าที่ และ
ผูท้ ่ีเกี่ยวข้อง

➢ การพิจารณาผล เป็ นหน้าที่ของคณะกรรมการพิจารณาผลประกวดราคาอิเล็ ก-


ทรอนิ กส์
การพิจารณาผลวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Bidding)
เป็ นหน้าที่ของคณะกรรมการพิจารณาผลประกวดราคาอิเล็ กทรอนิ กส์
(ระเบียบฯ ข้อ 55 –ข้อ 59)

ระเบียบฯ ข้อ 55 เมื่อสิ้นสุดการเสนอราคาตามข้อ 54 ให้คณะกรรมการพิจารณาผลการ


ประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ ดาเนิ นการดังนี้
(1) จัดพิมพ์ใบเสนอราคาและเอกสารการเสนอราคาของผูย้ ื่ นข้อเสนอทุกรายจากระบบ
ประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ จานวน 1 ชุด โดยให้กรรมการทุกคนลงลายมือชื่ อกากับไว้ใน
ใบเสนอราคาและเอกสารการเสนอราคาของผูย้ ื่นข้อเสนอทุกแผ่น
ทัง้ นี้ การซื้อหรือจ้างที่มีการกาหนดคุณลักษณะเฉพาะที่จะต้องคานึ งถึงเทคโนโลยี
ของพัสดุหรือคุณสมบัติของผูย้ ื่นข้อเสนอ ซึ่งอาจจะมีขอ้ เสนอที่ไม่อยู่ในฐานเดียวกันเป็ นเหตุ
ให้มีปัญหาในการพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอ ให้หน่ วยงานของรัฐกาหนดเป็ นเงื่อนไขให้มีการ
ยื่นข้อเสนอด้านเทคนิ คหรือข้อเสนออื่นแยกมาต่างหาก ในกรณี เช่นว่านี้ คณะกรรมการยังไม่
ต้องจัดพิมพ์ใบเสนอราคาจนกว่าจะดาเนิ นการตามข้อ 83 (3) แล้วเสร็จ
ระเบียบฯ ข้อ 55 (ต่อ)

(2) ตรวจสอบการมีผลประโยชน์ร่วมกัน และเอกสารหลักฐานการเสนอราคาต่างๆ และพัสดุ


ตัวอย่าง (ถ้ามี) หรือพิจารณาการนาเสนองานของผูย้ ่ื นข้อเสนอทุกราย หรือเอกสารที่กาหนดให้
จัดส่งภายหลังจากวันเสนอราคาตามข้อ 44 แล้วคัดเลือกผูย้ ื่นข้อเสนอที่ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน
และยื่นเอกสารการเสนอราคาครบถ้วน ถูกต้อง มีคณ ุ สมบัติและข้อเสนอทางด้านเทคนิ คหรือเสนอ
พัสดุที่มีรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะครบถ้วน ถูกต้อง ตามเงื่อนไขที่หน่ วยงานของรัฐกาหนดไว้
ในประกาศและเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์
ในกระบวนการพิจารณา คณะกรรมการอาจสอบถามข้อเท็จจริงเพิ่มเติมจากผูย้ ื่ นข้อเสนอ
รายใดก็ได้ แต่จะให้ผยู ้ ื่นข้อเสนอรายใดเปลี่ยนแปลงสาระสาคัญที่เสนอไว้แล้วมิได้ และหาก
คณะกรรมการเห็นว่าผูย้ ่ืนข้อเสนอรายใด มีคณ ุ สมบัติไม่ครบถ้วนตามเงื่อนไขที่หน่ วยงานของรัฐ
กาหนดไว้ในประกาศและเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ ให้คณะกรรมการตัดรายชื่ อของผูย้ ื่ น
ข้อเสนอรายนัน้ ออกจากการประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ในครัง้ นัน้
ในกรณี ที่ผยู ้ ื่นข้อเสนอรายใดเสนอเอกสารทางเทคนิ คหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของ
พัสดุที่จะซื้อหรือจ้างไม่ครบถ้วน หรือเสนอรายละเอียดแตกต่างไปจากเงื่อนไขที่หน่ วยงานของรัฐ
กาหนดไว้ในประกาศและเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ ในส่วนที่มิใช่สาระสาคัญและความ
แตกต่างนัน้ ไม่มีผลทาให้เกิดการได้เปรียบเสี ยเปรียบต่อผูย้ ่ื นข้อเสนอรายอื่นหรือเป็ นการผิดพลาด
เล็กน้อย ให้พิจารณาผ่อนปรนการตัดสิทธิ์ผยู ้ ื่นข้อเสนอรายนัน้
ระเบียบฯ ข้อ 55 (ต่อ)

(3) พิจารณาคัดเลือกพัสดุหรือคุณสมบัติของผูย้ ื่ นข้อเสนอที่ถกู ต้องตาม (2) และ


พิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในประกาศและเอกสารประกวดราคา
อิเล็กทรอนิ กส์ โดยให้จดั เรียงลาดับผูท้ ี่เสนอราคาตา่ สุดหรือได้คะแนนรวมสูงสุด ไม่เกิน 3
ราย
ในกรณี ที่ผยู ้ ื่นข้อเสนอรายที่คดั เลื อกไว้ไม่ยอมเข้าทาสัญญาหรือข้อตกลงกับหน่ วยงาน
ของรัฐในเวลาที่กาหนดตามเอกสารประกวดราคาอิเล็ กทรอนิ กส์ ให้คณะกรรมการพิจารณา
ผูท้ ่ีเสนอราคาตา่ รายถัดไปหรือผูท้ ่ีได้คะแนนรวมสูงรายถัดไปตามลาดับ แล้วแต่กรณี
(4) จัดทารายงานผลการพิจารณาและความเห็นพร้อมด้วยเอกสารที่ได้รบั ไว้ทงั้ หมด
เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ ทัง้ นี้
รายงานผลการพิจารณาดังกล่าว ให้ประกอบด้วยรายการอย่างน้อย ดังต่อไปนี้
(ก) รายการพัสดุท่ีจะซื้อหรือจ้าง
(ข) รายชื่อผูย้ ื่นข้อเสนอ ราคาที่เสนอ และข้อเสนอของผูย้ ื่ นข้อเสนอทุกราย
(ค) รายชื่ อผูย้ ื่ นข้อเสนอที่ผ่านการคัดเลื อกว่าไม่เป็ นผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมกัน
(ง) หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน
(จ) ผลการพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอและการให้คะแนนข้อเสนอของผูย้ ่ืนข้อเสนอ
ทุกราย พร้อมเหตุผลสนับสนุนในการพิจารณา
ผลการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาผลประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์
กรณี มีผยู ้ ่ื นข้อเสนอเพียงรายเดียวหรือมีผยู ้ ่ื นข้อเสนอหลายราย
แต่ถกู ต้องตรงตามเงื่อนไขที่กาหนดเพียงรายเดียว

ระเบียบฯ ข้อ 56 ในกรณี ที่ปรากฏว่า มีผยู ้ ื่นข้อเสนอเพียงรายเดียวหรือมีผยู ้ ื่นข้อเสนอหลายราย


แต่ถกู ต้องตรงตามเงื่อนไขที่กาหนดในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์เพียงรายเดียว ให้
คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้า
เจ้าหน้าที่เพื่อยกเลิกการประกวดราคาอิเล็ กทรอนิ กส์ครัง้ นัน้ แต่ถา้ คณะกรรมการพิจารณาแล้วเห็น
ว่ามีเหตุผลสมควรที่จะดาเนิ นการต่อไปโดยไม่ตอ้ งยกเลิ กการประกวดราคาอิเล็ กทรอนิ กส์ ให้
คณะกรรมการดาเนิ นการตามข้อ 57 หรือข้อ 58 แล้วแต่กรณี โดยอนุโลม
ในกรณี ที่ไม่มีผยู ้ ื่นข้อเสนอ หรือมีแต่ไม่ถกู ต้องตรงตามเงื่อนไขที่กาหนดในเอกสารประกวด
ราคาอิเล็กทรอนิ กส์ ให้เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่เพื่อยกเลิกการประกวด
ราคาอิเล็กทรอนิ กส์ครัง้ นัน้ และดาเนิ นการประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ใหม่ แต่หากหัวหน้า
หน่ วยงานของรัฐพิจารณาแล้วเห็นว่าการประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ใหม่อาจไม่ได้ผลดี จะสัง่ ให้
ดาเนิ นการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคดั เลือกตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (1) (ก) หรือวิธีเฉพาะเจาะจง
ตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (2) (ก) แล้วแต่กรณี ก็ได้ เว้นแต่หน่ วยงานของรัฐจะดาเนิ นการซื้อ
หรือจ้างโดยวิธีคดั เลื อกหรือวิธีเฉพาะเจาะจงด้วยเหตุอื่น ให้เริ่มกระบวนการซื้อหรือจ้างใหม่
โดยการจัดทารายงานขอซื้อหรือขอจ้างตามข้อ 22
แนวทางปฏิบตั ิกรณีมีผูย้ ื่นข้อเสนอเพียงรายเดียวฯ ตามระเบียบฯ ข้อ 56 วรรคหนึ่ ง
(หนังสือเวียน)
ผลการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาผลประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์
กรณี ราคาของผูท้ ี่ชนะการเสนอราคาสูงกว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง (กรณี ใช้เกณฑ์ราคา)
ระเบียบฯ ข้อ 57 ในการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ กรณีที่หน่วยงานของรัฐเลือกใช้เกณฑ์ราคา
หากปรากฏว่ามีผูเ้ สนอราคาตา่ สุดเท่ากันหลายราย ให้คณะกรรมการพิจารณาราคาตา่ สุดของผูท้ ี่เสนอราคาเข้าสู่ระบบ
ประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ในลาดับแรก เป็ นผูช้ นะการเสนอราคาในครัง้ นัน้
ในกรณีที่ปรากฏว่าราคาของผูท้ ี่ชนะการเสนอราคายังสูงกว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างตามข้อ 22 ให้คณะกรรมการ
ดาเนิ นการ ดังนี้
(1) ให้แจ้งผูท้ ี่เสนอราคารายที่คณะกรรมการเห็นสมควรซื้อหรือจ้างนัน้ ผ่านระบบประกวดราคาอิเล็กทรอ-
นิ กส์ เพื่อต่อรองราคาให้ตา่ สุดเท่าที่จะทาได้ หากผูท้ ี่เสนอราคารายนัน้ ยอมลดราคาและยื่นใบเสนอราคาผ่านระบบ
ประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์แล้ว ราคาที่เสนอใหม่ไม่สงู กว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างหรือสูงกว่าแต่ส่วนที่สงู กว่านัน้ ไม่เกิน
ร้อยละสิบของวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง หรือต่อรองราคาแล้วไม่ยอมลดราคาลงอีกแต่ส่วนที่สงู กว่านัน้ ไม่เกินร้อยละสิบ
ของวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง ถ้าเห็นว่าราคาดังกล่าวเป็ นราคาที่เหมาะสม ก็ให้เสนอซื้อหรือจ้างจากผูท้ ี่เสนอราคารายนัน้
(2) ถ้าดาเนิ นการตาม (1) แล้ว ไม่ได้ผล ให้แจ้งผูท้ ่ีเสนอราคาที่คณะกรรมการเห็นสมควรซื้อหรือจ้าง
ทุกรายผ่านระบบประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ เพื่อมาเสนอราคาใหม่พร้อมกัน โดยยื่นใบเสนอราคาผ่านระบบประกวด
ราคาอิเล็กทรอนิ กส์ภายในกาหนดระยะเวลาอันสมควร หากรายใดไม่ยื่นใบเสนอราคาให้ถือว่ารายนัน้ ยืนราคาตามที่
เสนอไว้เดิม หากผูท้ ี่เสนอราคาตา่ สุดในการเสนอราคาครัง้ นี้ เสนอราคาไม่สงู กว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง หรือสูงกว่า
แต่ส่วนที่สงู กว่านัน้ ไม่เกินร้อยละสิบของวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง ถ้าเห็นว่าราคาดังกล่าวเป็ นราคาที่เหมาะสม ก็ให้
เสนอซื้อหรือจ้างจากผูท้ ่ีเสนอราคารายนัน้
(3) ถ้าดาเนิ นการตาม (2) แล้ว ไม่ได้ผล ให้เสนอความเห็นต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐผ่านหัวหน้า
เจ้าหน้าที่เพื่อประกอบการใช้ดลุ พินิจว่าจะยกเลิกการซื้อหรือจ้าง หรือขอเงินเพิ่มเติม หรือลดรายการ ลดจานวน หรือ
ลดเนื้ องาน หากการดาเนิ นการดังกล่าวทาให้ลาดับของผูช้ นะการเสนอราคาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ถือว่าก่อให้เกิด
การได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างผูเ้ สนอราคา ให้ยกเลิกการซื้อหรือจ้างในครัง้ นัน้ แต่หากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
พิจารณาแล้วเห็นว่า การดาเนิ นการประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ใหม่อาจไม่ได้ผลดี จะสัง่ ให้ดาเนิ นการซื้อหรือจ้าง
โดยวิธีคดั เลือกตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (1) (ก) หรือวิธีเฉพาะเจาะจงตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (2) (ก) แล้วแต่
กรณี ก็ได้ เว้นแต่หน่วยงานของรัฐจะดาเนิ นการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคดั เลือกหรือวิธีเฉพาะเจาะจงด้วยเหตุอ่ืน ให้
เริ่มกระบวนการซื้อหรือจ้างใหม่โดยการจัดทารายงานขอซื้อหรือขอจ้างตามข้อ 22
ผลการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาผลประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์
กรณี ราคาของผูท้ ่ีชนะการเสนอราคาสูงกว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง (กรณี ใช้เกณฑ์คณ
ุ ภาพ)

ระเบียบฯ ข้อ 58 ในการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ กรณี ท่ีหน่ วยงานของรัฐ


เลื อกใช้เกณฑ์ราคาประกอบเกณฑ์อ่ืน หากปรากฏว่าราคาของผูท้ ่ีได้คะแนนรวมสูงสุด สูงกว่าวงเงิน
ที่จะซื้อหรือจ้างตามข้อ 22 ให้คณะกรรมการดาเนิ นการแจ้งผูท้ ี่เสนอราคารายที่คณะกรรมการ
เห็นสมควรซื้อหรือจ้างนัน้ ผ่านระบบประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์เพื่อต่อรองราคาให้ตา่ สุดเท่าที่จะทา
ได้ หากผูท้ ี่เสนอราคารายนัน้ ยอมลดราคาและยื่นใบเสนอราคาผ่านระบบประกวดราคอิเล็กทรอนิ กส์
แล้ว ราคาที่เสนอใหม่ไม่สงู กว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง หรือสูงกว่าแต่ส่วนที่สงู กว่านัน้ ไม่เกินร้อยละ
สิบของวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง หรือต่อรองราคาแล้วไม่ยอมลดราคาลงอีก แต่ส่วนที่สงู กว่านัน้ ไม่เกิน
ร้อยละสิบของวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง ถ้าเห็นว่าราคาดังกล่าวเป็ นราคาที่เหมาะสม ก็ให้เสนอซื้อหรือ
จ้างจากผูท้ ี่เสนอราคารายนัน้
หากดาเนิ นการตามวรรคหนึ่ งแล้วไม่ได้ผล ให้เสนอความเห็นต่อหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่าน
หัวหน้าเจ้าหน้าที่เพื่อประกอบการใช้ดลุ พินิจว่าจะขอเงินเพิ่มเติม หรือยกเลิ กการซื้อหรือจ้างในครัง้
นัน้ และดาเนิ นการประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ใหม่ แต่หากหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐพิจารณาแล้ว
เห็นว่าการดาเนิ นการประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ใหม่อาจไม่ได้ผลดี จะสัง่ ให้ดาเนิ นการซื้อหรือจ้าง
โดยวิธีคดั เลือกตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (1) (ก) หรือวิธีเฉพาะเจาะจงตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง
(2) (ก) แล้วแต่กรณี ก็ได้ เว้นแต่หน่ วยงานของรัฐจะดาเนิ นการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคดั เลือกหรือวิธี
เฉพาะเจาะจงด้วยเหตุอ่ืน ให้เริ่มกระบวนการซื้อหรือจ้างใหม่โดยการจัดทารายงานขอซื้อหรือขอ
จ้างตามข้อ 22
การดาเนิ นการจัดซื้อจัดจ้างและการพิจารณาผล
วิธีสอบราคา

➢ การดาเนิ นการตัง้ แต่ก่อนขัน้ ตอนก่อนทารายงานขอซื้อขอจ้าง การทารายงานขอ


ซื้อขอจ้าง จนถึงขัน้ ตอนเผยแพร่ประกาศและเอกสารเชิญชวน รวมทัง้ การขาย
หรือให้เอกสาร และการยื่นและรับซองข้อเสนอ เป็ นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และผูท้ ่ี
เกี่ยวข้อง

➢ การพิจารณาผล เป็ นหน้าที่ของคณะกรรมการพิจารณาผลการสอบราคา


การยื่นและรับซองข้อเสนอ
วิธีสอบราคา
(ระเบียบฯ ข้อ 68)

ระเบียบฯ ข้อ 68 ในการยื่ นซองข้อเสนอ ผูย้ ่ื นข้อเสนอจะต้องผนึ กซองจ่าหน้าถึง


ประธานคณะกรรมการพิจารณาผลการสอบราคาครัง้ นัน้ และส่งถึงหน่ วยงานของรัฐ
ผูด้ าเนิ นการสอบราคา โดยยื่ นโดยตรงต่อหน่ วยงานของรัฐ พร้อมรับรองเอกสารหลัก-
ฐานที่ยื่นมาพร้อมกับซองใบเสนอราคาว่า เอกสารดังกล่าวถูกต้องและเป็ นความจริงทุก
ประการ
ให้เจ้าหน้าที่ลงรับโดยไม่เปิ ดซองพร้อมระบุวนั และเวลาที่รบั ซอง ในกรณี ที่
ผูย้ ื่ นข้อเสนอมายื่ นซองโดยตรง ให้ออกใบรับให้แก่ผยู ้ ื่ นข้อเสนอ และให้ส่งมอบซอง
เสนอราคาทัง้ หมด และเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่ได้รบั ไว้ต่อคณะกรรมการพิจารณาผล
การสอบราคาครัง้ นัน้ เพื่อดาเนิ นการต่อไป

ระเบียบฯ ข้อ 69 นอกเหนื อจากกรณี ที่กาหนดไว้ในข้อ 66 เมื่อถึงกาหนดวัน


ยื่ นซองข้อเสนอห้ามมิให้ร่นหรือเลื่ อน หรือเปลี่ ยนแปลงกาหนดวันยื่ นซองข้อเสนอ
การพิจารณาผลวิธีสอบราคา
เป็ นหน้าที่ของคณะกรรมการพิจารณาผลการสอบราคา
(ระเบียบฯ ข้อ 70 –ข้อ 71)

ระเบียบฯ ข้อ 70 เมื่อถึงกาหนดวัน เวลาการเปิ ดซองข้อเสนอ ให้คณะกรรมการพิจารณาผล


การสอบราคาดาเนิ นการเปิ ดซองข้อเสนอ และตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ ของผูย้ ่ื นข้อเสนอ
ทุกรายแล้วให้กรรมการทุกคนลงลายมือชื่อกากับไว้ในใบเสนอราคาและเอกสารประกอบการเสนอ
ราคาของผูย้ ื่นข้อเสนอทุกแผ่น และให้นาความในข้อ 55 (2)-(4) มาใช้บงั คับกับการดาเนิ นการ
พิจารณาคัดเลือกผูช้ นะการซื้อหรือจ้างของคณะกรรมการพิจารณาผลการสอบราคา โดยอนุโลม

ระเบียบฯ ข้อ 71 ในกรณี ที่ปรากฏว่า มีผยู ้ ื่นข้อเสนอเพียงรายเดียวหรือมีผยู ้ ื่นข้อเสนอหลาย


รายแต่ถกู ต้องตรงตามเงื่อนไขที่กาหนดในเอกสารสอบราคาเพียงรายเดียว หรือไม่มีผยู ้ ื่ นข้อเสนอ
หรือมีแต่ไม่ถกู ต้องตรงตามเงื่อนไขที่กาหนดในเอกสารสอบราคา ให้คณะกรรมการพิจารณาผลการ
สอบราคาดาเนิ นการตามข้อ 56 โดยอนุโลม
ถ้าปรากฏว่าราคาของผูย้ ื่นข้อเสนอที่คณะกรรมการเห็นสมควรซื้อหรือจ้าง ยังสูงกว่าวงเงิน
ที่จะซื้อหรือจ้าง ให้คณะกรรมการเรียกผูย้ ่ืนข้อเสนอรายนัน้ มาต่อรองราคา โดยให้ดาเนิ นการตาม
ข้อ 57 หรือข้อ 58 แล้วแต่กรณี โดยอนุโลม
การดาเนิ นการจัดซื้อจัดจ้างและการพิจารณาผล
วิธีคดั เลือก

➢ การดาเนิ นการก่อนขัน้ ตอนทารายงานขอซื้อขอจ้างและการทารายงานขอซื้อ


ขอจ้าง เป็ นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง

➢ การดาเนิ นการหลังจากหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐได้ให้ความเห็นชอบรายงาน


ขอซื้อขอจ้างแล้วและการพิจารณาผล เป็ นหน้าที่ของคณะกรรมการซื้อหรือ
จ้างโดยวิธีคดั เลือก
การดาเนิ นการและหน้าที่
ของคณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคดั เลือก
(ระเบียบฯ ข้อ 74 –ข้อ 76)
ระเบียบฯ ข้อ 74 เมื่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐให้ความเห็นชอบรายงานขอซื้อหรือขอจ้างตามข้อ 22 แล้ว ให้คณะ-
กรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคดั เลือก ดาเนิ นการดังต่อไปนี้
(1) จัดทาหนังสือเชิญชวนผูป้ ระกอบการที่มีคณ ุ สมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกาหนด ไม่นอ้ ยกว่า 3
ราย ให้เข้ายื่นข้อเสนอ เว้นแต่ในงานนัน้ มีผูป้ ระกอบการที่มีคณ
ุ สมบัติตรงตามที่กาหนด น้อยกว่า 3 ราย โดยให้คานึ งถึง
การไม่มีผลประโยชน์ร่วมกันของผูท้ ี่เข้ายื่นข้อเสนอ พร้อมจัดทาบัญชีรายชื่อผูป้ ระกอบการที่คณะกรรมการมีหนังสือ
เชิญชวน
(2) การยื่นซองข้อเสนอและการรับซองข้อเสนอ ให้ดาเนิ นการตามข้อ 68 (ของวิธีสอบราคา) โดยอนุโลม
(ระเบียบฯ ข้อ 68 ในการยื่นซองข้อเสนอ ผูย้ ื่นข้อเสนอจะต้องผนึ กซองจ่าหน้าถึงประธานคณะกรรมการพิจารณาผลการสอบราคาครัง้ นัน้ และส่งถึง
หน่วยงานของรัฐผูด้ าเนินการสอบราคา โดยยื่นโดยตรงต่อหน่วยงานของรัฐ พร้อมรับรองเอกสารหลักฐานที่ยื่นมาพร้อมกับซองใบเสนอราคาว่าเอกสาร
ดังกล่าวถูกต้องและเป็ นความจริงทุกประการ
ให้เจ้าหน้าที่ลงรับโดยไม่เปิ ดซองพร้อมระบุวนั และเวลาที่รบั ซอง ในกรณีที่ผูย้ ื่นข้อเสนอมายื่นซองโดยตรง ให้ออกใบรับให้แก่ผูย้ ื่นข้อเสนอ
และให้ส่งมอบซองเสนอราคาทัง้ หมด และเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่ได้รบั ไว้ ต่อคณะกรรมการพิจารณาผลการสอบราคาครัง้ นัน้ เพื่อดาเนินการต่อไป)
(3) เมื่อถึงกาหนดวัน เวลาการรับซองข้อเสนอ ให้รบั ซองข้อเสนอของผูย้ ่ืนข้อเสนอเฉพาะรายที่คณะกรรมการ
ได้มีหนังสือเชิญชวนเท่านัน้ พร้อมจัดทาบัญชีรายชื่อผูม้ ายื่นข้อเสนอ
เมื่อพ้นกาหนดเวลารับซองข้อเสนอ ห้ามรับเอกสารหลักฐานต่างๆ และพัสดุตวั อย่างตามเงื่อนไขที่กาหนดใน
หนังสือเชิญชวนเพิ่มเติมจากผูย้ ่ืนข้อเสนอ เว้นแต่ กรณีการซื้อหรือจ้างใดมีรายละเอียดที่มีความจาเป็ นโดยสภาพของ
การซื้อหรือจ้างที่จะต้องให้ผูย้ ื่นข้อเสนอนาตัวอย่างพัสดุมาแสดงเพื่อทดลอง หรือทดสอบ หรือนาเสนองาน หรือให้ผูย้ ื่น
ข้อเสนอนาเอกสารหรือรายละเอียดมาส่งภายหลังจากวันยื่นซองข้อเสนอ
(4) เมื่อถึงกาหนดวัน เวลาการเปิ ดซองข้อเสนอ ให้คณะกรรมการดาเนิ นการเปิ ดซองข้อเสนอและตรวจสอบ
เอกสารหลักฐานต่างๆ ของผูย้ ื่นข้อเสนอทุกราย แล้วให้กรรมการทุกคนลงลายมือชื่อกากับไว้ในใบเสนอราคาและ
เอกสารประกอบการเสนอราคาของผูย้ ่ืนข้อเสนอทุกแผ่น และให้นาความในข้อ 55 (2)-(4) มาใช้บงั คับกับการ
ดาเนิ นการพิจารณาคัดเลือกผูช้ นะการซื้อหรือจ้างหรือผูไ้ ด้รบั การคัดเลือกของคณะกรรมการ โดยอนุโลม
การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีคดั เลือก มิได้กาหนดระยะเวลาการยื่นซองข้อเสนอไว้ ดังนัน้ จึงเป็ นดุลพินิจของหน่ วยงานของรัฐที่ตอ้ งพิจารณากาหนดตามความจาเป็ นหรือเหมาะสม
โดยให้ผูเ้ สนอราคาได้มีระยะเวลาในการเตรียมการในการคานวณราคาและการยื่นข้อเสนอด้วย
ผลการพิจารณาของคณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคดั เลือก
กรณี มีผยู ้ ื่ นข้อเสนอเพียงรายเดียวหรือมีผยู ้ ื่ นข้อเสนอหลายรายแต่ถกู ต้องตรงตามเงื่อนไข
ที่กาหนดเพียงรายเดียว และกรณี ราคาของผูท้ ี่ชนะการเสนอราคาสูงกว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง

ระเบียบฯ ข้อ 75 หากปรากฏว่ามีผยู ้ ื่นข้อเสนอเพียงรายเดียวหรือมีผูย้ ื่นข้อเสนอ


หลายรายแต่ถกู ต้องตรงตามเงื่อนไขที่กาหนดในหนังสื อเชิ ญชวนเพียงรายเดียว ให้
คณะกรรมการดาเนิ นการตามข้อ 56 โดยอนุโลม
ในกรณี ที่ไม่มีผยู ้ ื่นข้อเสนอ หรือมีแต่ไม่ถกู ต้องตรงตามเงื่อนไขที่กาหนดใน
หนังสือเชิญชวน ให้เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่ เพื่อยกเลิก
การคัดเลือกครัง้ นัน้ และจะดาเนิ นการใหม่โดยวิธีเฉพาะเจาะจงตามมาตรา 56
วรรคหนึ่ ง (2) (ก) ก็ได้
ถ้าปรากฏว่าราคาของผูย้ ื่ นข้อเสนอที่คณะกรรมการเห็นสมควรซื้อหรือจ้าง ยัง
สูงกว่าวงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง ให้คณะกรรมการเรียกผูย้ ื่นข้อเสนอรายนัน้ มาต่อรอง
ราคา โดยให้ดาเนิ นการตามข้อ 57 หรือข้อ 58 แล้วแต่กรณี โดยอนุโลม
การดาเนิ นการของคณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคดั เลือก
กรณี การจ้างตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (1) (ช)
(งานจ้างซ่อมพัสดุที่จาเป็ นต้องถอดตรวจให้ทราบความชารุดเสียหายเสียก่อนจึงจะประมาณค่าซ่อมได้
เช่น งานจ้างซ่อมเครื่องจักร เครื่องมือกล เครื่องยนต์ เครื่องไฟฟ้ า หรือเครื่องอิเล็กทรอนิ กส์)

ระเบียบฯ ข้อ 76 ในกรณี การจ้างตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (1) (ช) หากไม่


สามารถดาเนิ นการตามปกติได้ ให้คณะกรรมการแจ้งให้ผปู ้ ระกอบการยื่ นซอง
ข้อเสนอด้านเทคนิ คเพื่อพิจารณาให้เป็ นไปตามความต้องการก่อนพิจารณาด้านราคา
แล้วให้คณะกรรมการพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอด้านเทคนิ คที่ดีท่ีสดุ แล้วจัดลาดับ
หลังจากนัน้ ให้เชิญผูท้ ี่ยื่นข้อเสนอด้านเทคนิ คที่ดีที่สดุ มายื่ นข้อเสนอด้านราคา และ
เจรจาต่อรองราคาที่เหมาะสม หากเจรจาไม่ได้ผล ให้เจรจากับผูย้ ื่ นข้อเสนอด้าน
เทคนิ คที่ดีที่สุดรายถัดไป
หากดาเนิ นการตามวรรคหนึ่ งแล้วไม่ได้ผล ให้เสนอความเห็นต่อหัวหน้า
หน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่เพื่อพิจารณายกเลิกการจ้างในครัง้ นัน้ และจะ
สัง่ ให้ดาเนิ นการใหม่โดยวิธีเฉพาะเจาะจง ตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (2) (ก) ก็ได้
การดาเนิ นการจัดซื้อจัดจ้างและการพิจารณาผล
วิธีเฉพาะเจาะจง

❖ การดาเนิ นการก่อนขัน้ ตอนทารายงานขอซื้อขอจ้าง และการทารายงานขอซื้อขอจ้าง เป็ น


หน้าที่ของเจ้าหน้าที่และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
❖ การดาเนิ นการหลังจากหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐได้ให้ความเห็นชอบรายงานขอซื้อขอจ้างแล้ว
และการพิจารณาผล เป็ นหน้าที่ของคณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง
❖ กรณี การซื้อหรือจ้างตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (2) (ข) และการซื้อหรือจ้างที่มีวงเงิน
เล็ กน้อยตามที่กาหนดในกฎกระทรวง (วงเงินจัดหาไม่เกิน 100,000 บาท) เป็ นหน้าที่ของ
เจ้าหน้าที่หรือผูท้ ี่รบั ผิ ดชอบในการปฏิ บตั ิ งานนัน้
การดาเนิ นการ
และหน้าที่ของคณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หรือผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
เมื่อหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐให้ความเห็นชอบรายงานขอซื้อขอจ้างตามข้อ 22 แล้ว ให้คณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง
หรือผูท้ ี่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี ดาเนิ นการดังต่อไปนี้
มาตรา 56 (2) , กฎกระทรวง การดาเนิ นการ (ระเบียบฯ ข้อ 78-79 , กฎกระทรวง)
(ก) กรณี ใช้วิธีประกาศเชิญชวนทัว่ ไปและวิธีคดั เลือก หรือใช้วิธี ให้เชิญผูป้ ระกอบการที่มีอาชีพขายหรือรับจ้างนัน้ โดยตรงหรือจาก
คัดเลือกแล้วแต่ไม่มีผูย้ ื่นข้อเสนอ หรือข้อเสนอไม่ได้รบั ผูย้ ื่นข้อเสนอในการซื้อหรือจ้างโดยวิธีประกาศเชิญชวนทัว่ ไปหรือ
การคัดเลือก วิธีคดั เลือกซึ่งถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ให้มายื่นเสนอราคา ทัง้ นี้ หาก
เห็นว่าผูป้ ระกอบการรายที่เห็นสมควรซื้อหรือจ้างเสนอราคาสูงกว่า
ราคาในท้องตลาด หรือราคาที่ประมาณได้ หรือราคาที่คณะกรรม-
การเห็นสมควร ให้ต่อรองราคาลงเท่าที่จะทาได้

(ข) กรณี จดั ซื้อจัดจ้างพัสดุที่มีการผลิต จาหน่ าย ก่อสร้าง หรือ ดาเนิ นการตามระเบียบฯ ข้อ 79
ให้บริการทัว่ ไป และมีวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างครัง้ หนึ่ ง ไม่ “ข้อ 79 กรณี ตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (2) (ข) ให้เจ้าหน้าที่
เกินวงเงินตามที่กฎกระทรวงกาหนด (วงเงินจัดหาต่อครัง้ ไม่ เจรจาตกลงราคากับผูป้ ระกอบการที่มีอาชีพขายหรือรับจ้างนัน้
เกิน 5 แสนบาท) โดยตรง แล้วให้หวั หน้าเจ้าหน้าที่ซ้ ือหรือจ้างได้ภายในวงเงินที่ได้
รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ ตามข้อ 24
การซื้อหรือจ้างตามวรรคหนึ่ ง ในกรณี ท่ีมีความจาเป็ นเร่งด่วน
ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน และไม่อาจดาเนิ นการตาม
ปกติได้ทนั ให้เจ้าหน้าที่หรือผูท้ ี่รบั ผิ ดชอบในการปฏิบตั ิงานนัน้
ดาเนิ นการไปก่อน แล้วรีบรายงานขอความเห็นชอบต่อหัวหน้า
หน่ วยงานของรัฐ และเมื่อหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐให้ความเห็น-
ชอบแล้ว ให้ถือว่ารายงานดังกล่าวเป็ นหลักฐานการตรวจรับโดย
อนุ โลม”
การดาเนิ นการตามระเบียบฯ ข้อ 79 วรรคหนึ่ ง จะตัง้ เป็ น
คณะกรรมการดาเนิ นการหรือไม่ก็ได้
การดาเนิ นการ
และหน้าที่ของคณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หรือผูท้ ี่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
มาตรา 56 (2) , กฎกระทรวง การดาเนิ นการ (ข้อ 78-79 , กฎกระทรวง)
(ค) กรณี จดั ซื้อจัดจ้างพัสดุท่ีมีผูป้ ระกอบการซึ่งมีคุณสมบัติโดย ให้เชิญผูป้ ระกอบการที่มีอาชีพขายหรือรับจ้างนัน้ โดยตรง มายื่น
ตรงเพียงรายเดียว หรือมีผูป้ ระกอบการเพียงรายเดียวใน เสนอราคา หากเห็นว่าราคาที่เสนอนัน้ ยังสูงกว่าราคาในท้องถิ่น
ประเทศไทย และไม่มีพสั ดุอ่ืนที่จะใช้ทดแทนได้ หรือราคาที่ประมาณได้ หรือราคาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ให้
ต่อรองราคาลงเท่าที่จะทาได้

(ง) กรณี มีความจาเป็ นต้องใช้พสั ดุนนั้ โดยฉุ กเฉิ น เนื่ องจากเกิด ให้เชิญผูป้ ระกอบการที่มีอาชีพขายหรือรับจ้างนัน้ โดยตรง มายื่น
อุบตั ิภยั /ภัยธรรมชาติ หรือโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมาย เสนอราคา หากเห็นว่าราคาที่เสนอนัน้ ยังสูงกว่าราคาในท้องถิ่น
ว่าด้วยโรคติดต่อ และการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกาศเชิญ หรือราคาที่ประมาณได้ หรือราคาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ให้
ชวนทัว่ ไปหรือวิธีคดั เลือก อาจก่อให้เกิดความล่าช้าเสียหาย ต่อรองราคาลงเท่าที่จะทาได้
อย่างร้ายแรง

(จ) กรณี เป็ นพัสดุที่เกี่ยวพันกับพัสดุที่ได้ทาการจัดซื้อจัดจ้างไว้ ให้เจรจากับผูป้ ระกอบการรายเดิมตามสัญญาหรือข้อตกลงซึ่งยัง


ก่อนแล้ว และมีความจาเป็ นต้องทาการจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติม ไม่ส้ ินสุดระยะเวลาส่งมอบ เพื่อขอให้มีการซื้อหรือจ้างตามราย-
หรือต่อเนื่ องในการใช้พสั ดุนนั้ ละเอียดและราคาที่ตา่ กว่าหรือราคาเดิม ภายใต้เงื่อนไขที่ดีกว่า
หรือเงื่อนไขเดิม โดยคานึ งถึงราคาต่อหน่ วยตามสัญญาเดิม (ถ้ามี)
เพื่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อหน่ วยงานของรัฐ

(ฉ) กรณี เป็ นพัสดุท่ีจะขายทอดตลาดโดยหน่ วยงานของรัฐ ให้ดาเนิ นการโดยวิธีเจรจาตกลงราคา


องค์การระหว่างประเทศ หรือหน่ วยงานของต่างประเทศ

(ช) กรณี เป็ นพัสดุท่ีเป็ นที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างซึง่ จาเป็ นต้องซื้อ ให้เชิญเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างโดยตรงมาเสนอราคา หาก


เฉพาะแห่ง เห็นว่าราคาที่เสนอนัน้ ยังสูงกว่าราคาในท้องตลาด หรือราคาที่
คณะกรรมการเห็นสมควร ให้ต่อรองราคาลงเท่าที่จะทาได้
การดาเนิ นการ
และหน้าที่ของคณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หรือผูท้ ี่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
มาตรา 56 (2) , กฎกระทรวง การดาเนิ นการ (ข้อ 78-79 , กฎกระทรวง)
(ซ) กรณี อื่นที่กาหนดในกฎกระทรวง และ ให้ดาเนิ นการให้เป็ นไปตามข้อกาหนดที่กาหนดในกฎกระทรวง
กรณี ตามมาตรา 56 วรรคสอง (รัฐมนตรีอาจออกกฎกระทรวง นัน้ ๆ
ตาม (1) (ซ) หรือ (2) (ซ) ให้เป็ นพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรื อสนับ-
สนุนตามมาตรา 65 (4) ก็ได้ หากรัฐมนตรีออกกฎกระทรวงตาม (2)(ซ)
เป็ นพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุ นตามมาตรา 65 (4) แล้ว
เมือ่ หน่วยงานของรัฐจะทาการจัดซื้ อจัดจ้างพัสดุนั้น ให้ใช้วิธีเฉพาะเจาะจง
ตาม (2) (ซ) ก่อน)

*** กรณี การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุกบั ผูป้ ระกอบการโดยตรงในวง ถือปฏิบตั ิตามกฎกระทรวงกาหนดวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดย


เงินเล็กน้อยตามที่กาหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามความ วิธีเฉพาะเจาะจง วงเงินการจัดซื้อจัดจ้างที่ไม่ทาข้อตกลงเป็ น
ในมาตรา 96 วรรคสอง (วงเงินจัดหาต่อครัง้ ไม่เกิน หนังสือ และวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างในการแต่งตัง้ ผูต้ รวจรับพัสดุ
100,000 บาท ตามที่กาหนดตามกฎกระทรวง) พ.ศ. 2560 ข้อ 4 และข้อ 5
“ข้อ 4 ในกรณี ที่การจัดซื้อจัดจ้างมีวงเงินเล็กน้อยไม่เกิน
100,000 บาท จะไม่ทาข้อตกลงเป็ นหนังสือไว้ต่อกันก็ได้ แต่ตอ้ ง
มีหลักฐานในการจัดซื้อจัดจ้างนัน้
ข้อ 5 ในกรณี ที่การจัดซื้อจัดจ้างมีวงเงินเล็กน้อยไม่เกิน
100,000 บาท จะแต่งตัง้ บุคคลหนึ่ งบุคคลใดเป็ นผูต้ รวจรับพัสดุ
ก็ได้”

• เมื่อคณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจงดาเนิ นการเรียบร้อยแล้วให้จดั ทารายงานผลการพิจารณา โดยนาความในข้อ 55(4) (การจัดทา


รายงานและการรายงานผลการพิจารณากรณีของวิธี e-Bidding) มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
• กรณี การดาเนิ นการตามระเบียบฯ ข้อ 79 วรรคหนึ่ ง หัวหน้าเจ้าหน้าที่ ดาเนิ นการซื้อหรือจ้างได้เลย โดยไม่ตอ้ งทารายงานผลการพิจารณาเสนอ
หัวหน้าหน่ วยงานของรัฐเพื่ อขอความเห็ นชอบอีก
• กรณี การดาเนิ นการตามระเบียบฯ ข้อ 79 วรรคสอง และกรณี การจัดซื้อจัดจ้างวงเงินเล็กน้อย (ไม่เกิน 100,000 บาท) ตามกฎกระทรวง ไม่ตอ้ งทา
รายงานผลการพิจารณาเสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐเพื่อขอความเห็นชอบ
ซักซ้อมความเข้าใจการดาเนิ นการตามระเบียบฯ ข้อ 79 วรรคหนึ่ ง จะตัง้ เป็ นคณะกรรมการดาเนิ นการหรือไม่ก็ได้
(หนังสือเวียน)
ผูม้ ีอานาจสั่งซือ้ สั่งจ้าง
วิธีเพาะเจาะจง
แนวทางปฏิบตั ิกรณีมีผเู ้ สนอราคาตา่ สุดหรือได้คะแนนรวมสูงสุดเท่ากันหลายราย
(หนังสือเวียน)
ระเบียบฯ ข้อ 57 วรรคหนึ่ง ; ในการพิจารณาผลการประกวด
ราคาอิเล็กทรอนิกส์ กรณีท่ีหน่วยงานของรัฐเลือกใช้เกณฑ์
ราคา หากปรากฏว่ามีผเู้ สนอราคาต่าสุดเท่ากันหลายราย
ให้คณะกรรมการพิจารณาราคาต่าสุดของผูท้ ่ีเสนอราคาเข้าสู่
ระบบประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ในลาดับแรก เป็ นผูช้ นะการ
เสนอราคาในครัง้ นัน้
แนวทางปฏิบตั ิเกี่ยวกับค่าซื้อเอกสารกรณียกเลิกการประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์หรือการสอบราคา
(หนังสือเวียน)
ประเด็นตามหนังสือเวียนนี้ หมายถึง กรณีท่ผี ้ สู นใจจะเสนอราคาได้ ซ้ อื เอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์หรือสอบราคาไป
แล้ ว แต่ยังไม่ได้ ใช้ ประโยชน์ (ไม่ได้ เสนอราคา) เนื่องจากหน่วยงานของรัฐได้ ยกเลิกการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์หรือ
สอบราคาไปก่อนการเสนอราคา และไม่มีการประกวดราคา หรือสอบราคาใหม่ (ข้ อหารือ )

ถ้ ามีการยกเลิกการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์หรือสอบราคาครั้งนั้น และมีการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์หรือสอบราคาใหม่
ให้ ผ้ รู ับหรือผู้ซ้ อื เอกสารประกวดราคาในการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์หรือสอบราคาครั้งก่อน มีสทิ ธิข อรับเอกสารประกวด
ราคาหรือสอบราคาใหม่โดยไม่ต้องเสียค่าซื้อเอกสารประกวดราคาหรือสอบราคาอีก (ระเบียบ ข้ อ 49 วรรคสาม และข้ อ 64)
แนวทางปฏิ บตั ิ
การอนุ มตั ิ จดั ซื้ อจัดจ้างและการประกาศผล
▪ ทุกวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ไม่ว่าจะเป็ นวิธีตลาดอิเล็ กทรอนิ กส์ (E-Market) วิธีประกวดราคาอิเล็ ก-
ทรอนิ กส์ (E-Bidding) วิธีสอบราคา วิธีคดั เลื อก และวิธีเฉพาะเจาะจง (ยกเว้นวิธีเฉพาะเจาะจง
กรณีการซื้ อหรือจ้างตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ง (2) (ข) (วงเงินจัดหาไม่เกิน 500,000 บาท) และ
การซื้ อหรือจ้างที่มีวงเงินเล็กน้อยตามที่กาหนดในกฎกระทรวง (วงเงินจัดหาไม่เกิน 100,000บาท))
เมื่อคณะกรรมการหรือเจ้าหน้าที่ แล้วแต่กรณี ได้พิจารณาผลแล้ว ต้องรายงานผลการพิจารณา
และความเห็นพร้อมด้วยเอกสารที่ได้รบั ไว้ทงั้ หมด เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้า
เจ้าหน้าที่เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยถือปฏิ บตั ิตามระเบียบฯ ข้อ 55 (4) โดยอนุโลม
▪ ระเบียบฯ ข้อ 55 (4) จัดทารายงานผลการพิจารณาและความเห็นพร้อมด้วยเอกสารที่ ได้รบั ไว้
ทัง้ หมด เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่ เพื่อพิจารณาให้ความเห็ นชอบ ทัง้ นี้
รายงานผลการพิจารณาดังกล่าว ให้ประกอบด้วยรายการอย่างน้อย ดังต่อไปนี้
(ก) รายการพัสดุที่จะซื้อหรือจ้าง
(ข) รายชื่ อผูย้ ื่ นข้อเสนอ ราคาที่เสนอ และข้อเสนอของผูย้ ื่ นข้อเสนอทุกราย
(ค) รายชื่ อผูย้ ื่ นข้อเสนอที่ผ่านการคัดเลื อกว่าไม่เป็ นผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมกัน
(ง) หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอ พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน
(จ) ผลการพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอและการให้คะแนนข้อเสนอของผูย้ ื่ นข้อเสนอทุกราย
พร้อมเหตุผลสนับสนุนในการพิจารณา
▪ เมื่อหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐได้ให้ความเห็นชอบรายงานผลการพิจารณาแล้ว ก็ให้
นาเสนอผูม้ ีอานาจสัง่ ซื้อสัง่ จ้างพิจารณาอนุมตั ิ และดาเนิ นการประกาศผลการจัดซื้อ
จัดจ้างต่อไป
อานาจในการสัง่ ซื้อหรือสัง่ จ้าง
(ระเบียบฯ ข้อ 84-ข้อ 86)

วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง หัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ ผูม้ ีอานาจเหนื อขึ้ นไปหนึ่ งชัน้


วิธีประกาศเชิญชวน
ไม่เกิน 200,000,000 บาท เกิน 200,000,000 บาท
ทัว่ ไป
วิธีคดั เลือก ไม่เกิน 100,000,000 บาท เกิน 100,000,000 บาท
วิธีเฉพาะเจาะจง ไม่เกิน 50,000,000 บาท เกิน 50,000,000 บาท

สาหรับรัฐวิสาหกิจใดมีความจาเป็ นต้องกาหนดแตกต่างไปจากที่กาหนด
ให้เสนอคณะกรรมการวินิจฉัยเพื่อขอความเห็นชอบ (ระเบียบฯ ข้อ 88)
ผูม้ ีอานาจเหนื อขึ้ นไปหนึ่ งชัน้
(ระเบียบฯ ข้อ 87)

1. ราชการส่วนกลางที่มีฐานะเทียบเท่ากรม ปลัดกระทรวง หรือปลัดทบวง แล้วแต่กรณี


ปลัดกระทรวงต้นสังกัดของหน่ วยงานของรัฐ
2. ราชการส่วนภูมิภาค เจ้าของงบประมาณ
3. ราชการส่วนท้องถิ่น ผูว้ ่าราชการจังหวัด
4. รัฐวิสาหกิจ คณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจ
5. มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ สภามหาวิทยาลัย
6. ส่วนราชการที่ข้ ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี หัวหน้าหน่ วยงานของรัฐนัน้ เป็ นผูใ้ ช้อานาจ
สานักเลขาธิการวุฒิสภา สานักเลขาธิการสภาผูแ้ ทน เหนื อขึ้นไปหนึ่ งชัน้
ราษฎร หรือ กรุงเทพมหานคร
7. กรณี นอกเหนื อจากที่กาหนดไว้ ตาม (1) – (6) ผูบ้ งั คับบัญชา ผูก้ ากับดูแล หรือผูค้ วบคุม
ชัน้ เหนื อขึ้นไปหนึ่ งชัน้ แล้วแต่กรณี
8. กรณี ไม่มีผบู ้ งั คับบัญชา ผูก้ ากับดูแล หรือผูค้ วบคุม ให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐนัน้ เป็ นผูใ้ ช้
อานาจเหนื อขึ้ นไปหนึ่ งชัน้ เอง
การประกาศผล
ผูช้ นะการจัดซื้อจัดจ้างหรือผูไ้ ด้รบั การคัดเลือก

มาตรา 66 วรรคหนึ่ ง ให้หน่ วยงานของรัฐประกาศผลผูช้ นะการจัดซื้อจัดจ้างหรือผูไ้ ด้รบั การคัดเลือกและเหตุผลสนับสนุ น


ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของหน่ วยงานของรัฐตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกาหนด และให้ปิดประกาศ
โดยเปิ ดเผย ณ สถานที่ปิดประกาศของหน่ วยงานของรัฐนัน้

ระเบียบฯ ข้อ 42 เมื่อหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐให้ความเห็นชอบรายงานผลการพิจารณา และผูม้ ีอานาจอนุ มตั ิสงั ่ ซื้อหรือสัง่


จ้างแล้ว ให้หวั หน้าเจ้าหน้าที่ประกาศผลผูช้ นะการซื้อหรือจ้างในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของหน่ วยงาน
ของรัฐตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกาหนด และให้ปิดประกาศโดยเปิ ดเผย ณ สถานที่ปิดประกาศของหน่ วยงานของรัฐนัน้ และ
แจ้งให้ผูเ้ สนอราคาทุกรายทราบผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิ กส์ (e-Mail) ตามแบบที่กรมบัญชีกลางกาหนด (วิธี e-Market)
- ระเบียบฯ ข้อ 59 ให้นาความในข้อ 42 มาใช้บงั คับกับการประกาศผลผูช้ นะการซื้อหรือจ้างโดยวิธีประกวดราคา
อิเล็กทรอนิ กส์โดยอนุ โลม
- ระเบียบฯ ข้อ 72 ให้นาความในข้อ 42 มาใช้บงั คับกับการประกาศผลผูช้ นะการซื้อหรือจ้างโดยวิธีสอบราคาโดย
อนุ โลม
- ระเบียบฯ ข้อ 77 ให้นาความในข้อ 42 มาใช้บงั คับกับการประกาศผลผูช้ นะการซื้อหรือจ้างหรือผูไ้ ด้รบั การคัด-
เลือกโดยวิธีคดั เลือกโดยอนุ โลม
- ระเบียบฯ ข้อ 81 ให้นาความในข้อ 42 มาใช้บงั คับกับการประกาศผลผูไ้ ด้รบั การคัดเลือกโดยวิธีเฉพาะเจาะจง
โดยอนุ โลม
กรณี ที่สามารถลงนามในสัญญาหรือข้อตกลงได้เลย
โดยไม่ตอ้ งรอให้พน้ ระยะเวลาอุทธรณ์

มาตรา 66 วรรคสอง การลงนามในสัญญาจัดซื้อจัดจ้างจะกระทาได้ต่อเมื่อล่วงพ้น


ระยะเวลาอุทธรณ์และไม่มีผใู ้ ดอุทธรณ์ตามมาตรา 117 หรือในกรณี ที่มีการอุทธรณ์เมื่อ
หน่ วยงานของรัฐได้รบั แจ้งจากคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ให้ทาการจัดซื้อจัดจ้างต่อไป
ได้ เว้นแต่การจัดซื้อจัดจ้างที่มีความจาเป็ นเร่
งด่วนตามมาตรา 56 (1) (ค) หรือการ

จัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หรือการจัดซื้อจัดจ้างที่มีวงเงินเล็ กน้อยตามที่กาหนด

ในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 96 วรรคสอง และตามหนังสือคณะกรรมการวิ นิจฉัยฯ
ด่วนที่สุด ที่ กค 0405.2/ว 453 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2560

กรณีการจัดซือ้ จัดจ้างโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปและวิธีคดั เลือก ที่มีผยู้ ่ืนข้อเสนอและผ่านการพิจารณา เพียงรายเดียวและ


เป็ นผูท้ ่ีได้รบั การคัดเลือกให้เข้าเป็ นคูส่ ญ
ั ญากับหน่วยงานของรัฐแล้ว ให้หน่วยงานของรัฐสามารถลงนามในสัญญาได้โดยไม่
ต้องรอให้ลว่ งพ้นระยะเวลาอุทธรณ์
แนวทางการดาเนิ นการกรณีมีผูย้ ื่นข้อเสนอและผ่านการพิจารณาเพียงรายเดียวไม่ตอ้ งรอพ้นระยะเวลาอุทธรณ์
(หนังสือเวียน)
กรณีมีผ้ ูย่นื ข้ อเสนอมากกว่า 1 ราย แต่ผ่านการพิจารณา
เพียงรายเดียวและเป็ นผู้ท่ไี ด้ รับการคัดเลือกให้ เป็ นคู่สญ
ั ญา
กับหน่วยงานของรัฐ กรณีน้ ีไม่อยู่ในข้ อกาหนดของหนังสือนี้
คือ จะลงนามสัญญาได้ ต้องพ้ นระยะเวลาอุทธรณ์
สรุปการจัดซื้อจัดจ้างที่สามารถลงนามในสัญญาได้เลย
โดยไม่ตอ้ งรอให้พน้ ระยะเวลาอุทธรณ์
(มาตรา 66 วรรคสอง + หนังสือเวียน)

การจัดซื้อจัดจ้างในกรณี ต่อไปนี้ หน่ วยงานของรัฐสามารถลงนามในสัญญาได้เลย โดยไม่ตอ้ งรอให้พน้


ระยะเวลาอุทธรณ์
1. การจัดซื้อจัดจ้างที่มีความจาเป็ นเร่งด่วนตามมาตรา 56 (1) (ค)
2. การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง
3. การจัดซื้อจัดจ้างที่มีวงเงินเล็ กน้อยตามที่กาหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 96 วรรคสอง
(ในกรณี ท่ีการจัดซื้อจัดจ้างมีวงเงินเล็ กน้อยไม่เกิน 100,000 บาท ให้ใช้วิธีเฉพาะเจาะจง โดย
จะแต่งตัง้ บุคคลหนึ่ งบุคคลใดเป็ นผูต้ รวจรับพัสดุก็ได้ และจะไม่ทาข้อตกลงเป็ นหนังสือไว้ต่อกัน
ก็ได้แต่ตอ้ งมีหลักฐานในการจัดซื้อจัดจ้างนัน้ )
4. การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกาศเชิ ญชวนทัว่ ไปหรือวิธีคดั เลื อก และมีผยู ้ ่ื นข้อเสนอเพียงรายเดียว
ผ่านการพิจารณา และหน่ วยงานของรัฐได้พิจารณาให้ผยู ้ ื่ นข้อเสนอรายนัน้ เข้าเป็ นคู่สญ ั ญากับ
หน่ วยงานของรัฐแล้ว (ประกาศผลฯ เรียบร้อยแล้ว) หน่ วยงานของรัฐสามารถลงนามในสัญญาได้
โดยไม่ตอ้ งรอให้พน้ ระยะเวลาอุทธรณ์ (หนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สดุ ที่ กค 0405.2/
ว453 ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน 2560)
การยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้างที่ได้ดาเนิ นการไปแล้ว
มาตรา 67 ก่อนลงนามในสัญญา หน่วยงานของรัฐอาจประกาศยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้างที่ได้ดาเนิ นการไปแล้วได้
ในกรณี ดังต่อไปนี้
(1) หน่วยงานของรัฐนัน้ ไม่ได้รบั การจัดสรรเงินงบประมาณที่จะใช้ในการจัดซื้อจัดจ้าง หรือเงินงบประมาณ
ที่ได้รบั การจัดสรรไม่เพียงพอที่จะทาการจัดซื้อจัดจ้างนัน้ ต่อไป
(2) มีการกระทาที่เข้าลักษณะผูย้ ่ืนข้อเสนอที่ชนะการจัดซื้อจัดจ้างหรือที่ได้รบั การคัดเลือก มีผลประโยชน์
ร่วมกัน หรือมีส่วนได้เสียกับผูย้ ่ืนข้อเสนอรายอื่น หรือขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม หรือสมยอมกันกับผูย้ ่ืนข้อ-
เสนอรายอื่นหรือเจ้าหน้าที่ในการเสนอราคา หรือส่อว่ากระทาการทุจริตอื่นใดในการเสนอราคา ทัง้ นี้ ตามระเบียบที่
รัฐมนตรีกาหนด
(3) การทาการจัดซื้อจัดจ้างต่อไปอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐหรือกระทบต่อประโยชน์
สาธารณะ
(4) กรณีอื่นในทานองเดียวกับ (1) (2) หรือ (3) ทัง้ นี้ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
การยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้างตามวรรคหนึ่ งเป็ นเอกสิทธิ์ของหน่วยงานของรัฐ ผูย้ ื่นข้อเสนอในการจัดซื้อ
จัดจ้างที่ถกู ยกเลิกนัน้ จะเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ จากหน่วยงานของรัฐไม่ได้
เมื่อมีการยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้าง ให้หน่วยงานของรัฐแจ้งให้ผูป้ ระกอบการซึ่งมารับหรือซื้อเอกสารเชิญ-
ชวนทุกรายทราบถึงเหตุผลที่ตอ้ งยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้างครัง้ นัน้
ในกรณีท่ีมีหน่วยงานของรัฐเป็ นผูย้ ่ืนข้อเสนอตัง้ แต่สองรายขึ้นไป มิให้ถือว่าหน่วยงานของรัฐนัน้ มีผล-
ประโยชน์ร่วมกันหรือมีส่วนได้เสียกับหน่วยงานของรัฐอื่นตาม (2)
ประกาศตามวรรคหนึ่ ง ให้ประกาศในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของหน่วยงานของ
รัฐตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกาหนด และให้ปิดประกาศโดยเปิ ดเผย ณ สถานที่ปิดประกาศของหน่วยงานของรัฐนัน้
ในการนี้ หน่วยงานของรัฐจะเผยแพร่ประกาศดังกล่าวโดยวิธีการอื่นด้วยก็ได้
การทาสัญญาและหลักประกัน
▪ การลงนามในสัญญาจะกระทาได้ต่อเมื่อล่วงพ้นระยะเวลาอุทธรณ์ และไม่มีผใู ้ ดอุทธรณ์ หรือ
ในกรณี ท่ีมีการอุทธรณ์จะลงนามในสัญญาได้เมื่อหน่ วยงานของรัฐได้รบั แจ้งจากคณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์ให้ทาการจัดซื้อจัดจ้างต่อไปได้ (มาตรา 66 วรรคสอง)
▪ การอนุมตั ิจดั ซื้อจัดจ้างและการปรับปรุงแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลง เป็ นอานาจของผูม้ ีอานาจ
สัง่ ซื้อสัง่ จ้าง
▪ การแจ้งให้ผชู ้ นะการจัดซื้อจัดจ้างหรือผูท้ ี่ได้รบั การคัดเลื อกเข้ามาทาสัญญา ให้หน่ วยงานของ
รัฐแจ้งเป็ นหนังสือและส่งทางไปรษณี ยล์ งทะเบียน
▪ การลงนามในสัญญาและการลงนามการปรับปรุงแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลง เป็ นอานาจของ
หัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ
▪ สัญญาต้องทาตามแบบที่คณะกรรมการนโยบายกาหนดโดยความเห็นชอบของสานักงานอัยการ
สูงสุด และประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 93) ยกเว้นกรณี ตามมาตรา 96
▪ ในกรณี ของงานจ้างก่อสร้าง ก่อนการลงนามในสัญญาหรือข้อตกลง ให้หน่ วยงานของรัฐแจ้งให้
รายที่ชนะหรือรายที่ได้รบั การคัดเลื อก มาจัดทาใบแจ้งปริมาณงานและราคาและใบบัญชี รายการ
ก่อสร้าง (BOQ.) ให้ตรงกับแบบรูปและรายการละเอียด เพื่อเป็ นเอกสารแนบท้ายสัญญา ตาม
ข้อกาหนดตามหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สดุ ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว452 ลงวันที่
17 กันยายน 2562
การทาสัญญา
มาตรา 93 หน่วยงานของรัฐต้องทาสัญญาตามแบบที่คณะกรรมการนโยบายกาหนดโดยความเห็นชอบของสานัก-
งานอัยการสูงสุด ทัง้ นี้ แบบสัญญานัน้ ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาด้วย
การทาสัญญารายใดถ้าจาเป็ นต้องมีขอ้ ความหรือรายการแตกต่างไปจากแบบสัญญาตามวรรคหนึ่ ง โดยมี
สาระสาคัญตามที่กาหนดไว้ในแบบสัญญาและไม่ทาให้หน่วยงานของรัฐเสียเปรียบ ก็ให้กระทาได้ เว้นแต่หน่วยงานของ
รัฐเห็นว่าจะมีปัญหาในทางเสียเปรียบหรือไม่รดั กุมพอ ก็ให้ส่งร่างสัญญานัน้ ไปให้สานักงานอัยการสูงสุดพิจารณาให้
ความเห็นชอบก่อน
ในกรณีท่ีไม่อาจทาสัญญาตามแบบสัญญาตามวรรคหนึ่ งได้ และจาเป็ นต้องร่างสัญญาขึ้นใหม่ ให้ส่งร่าง
สัญญานัน้ ไปให้สานักงานอัยการสูงสุดพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน เว้นแต่การทาสัญญาตามแบบที่สานักงานอัยการ
สูงสุดได้เคยให้ความเห็นชอบมาแล้ว ก็ให้กระทาได้
ในกรณีจาเป็ นต้องทาสัญญาเป็ นภาษาต่างประเทศ ให้ทาเป็ นภาษาอังกฤษและต้องจัดทาข้อสรุปสาระสาคัญ
แห่งสัญญาเป็ นภาษาไทยตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการนโยบายประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา เว้นแต่การทา
สัญญาเป็ นภาษาต่างประเทศตามแบบสัญญาที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด
ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐไม่ได้ทาสัญญาตามแบบสัญญาตามวรรคหนึ่ งหรือไม่ได้ส่งร่างสัญญาให้สานักงาน
อัยการสูงสุดพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนตามวรรคสองหรือวรรคสาม หรือตามมาตรา 97 วรรคหนึ่ ง แล้วแต่กรณี
ให้หน่วยงานของรัฐส่งสัญญานัน้ ให้สานักงานอัยการสูงสุดพิจารณาให้ความเห็นชอบในภายหลังได้ เมื่อสานักงาน
อัยการสูงสุดพิจารณาให้ความเห็นชอบแล้ว หรือเมื่อสานักงานอัยการสูงสุดพิจารณาเห็นชอบแต่ให้แก้ไขสัญญา ถ้า
หน่วยงานของรัฐแก้ไขสัญญานัน้ ให้เป็ นไปตามความเห็นของสานักงานอัยการสูงสุดแล้ว ให้ถือว่าสัญญานัน้ มีผล
สมบูรณ์
ในกรณีท่ีหน่วยงานของรัฐไม่ได้ทาสัญญาตามแบบสัญญาตามวรรคหนึ่ ง หน่วยงานของรัฐไม่แก้ไขสัญญา
ตามความเห็นของสานักงานอัยการสูงสุด หรือคู่สญ ั ญาไม่ตกลงหรือยินยอมให้แก้ไขสัญญาตามความเห็นของสานัก-
งานอัยการสูงสุด หากข้อสัญญาที่แตกต่างจากแบบสัญญาหรือข้อสัญญาที่ไม่แก้ไขตามความเห็นของสานักงานอัยการ
สูงสุดเป็ นส่วนที่เป็ นสาระสาคัญหรือเป็ นกรณีผิดพลาดอย่างร้ายแรงตามมาตรา 104 ให้ถือว่าสัญญานัน้ เป็ นโมะะ
แบบสัญญาที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด
1. สัญญ
1. แบบสั ญาจ้
างก่างก่
ญาจ้ อสร้อาสร้
ง าง 2. แบบสัญญาซื้อขาย

3. สัญ
3. แบบสัญญาจะซื
ญาจะซื้้ ออจะขายแบบราคา
จะขายราคา 4. แบบสัญญาซื้อขายคอมพิวเตอร์
คงที่่ไไม่ม่จจากั
คงที ากัดดปริ
ปริมมาณ
าณ

5. แบบสัญญาซื้อขายและอนุญาต 6. แบบสัญญาเช่าคอมพิวเตอร์
ให้ใช้สิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอร์
7. แบบสัญญาจ้างบริการบารุงรักษา 8. แบบสัญญาเช่ารถยนต์
และซ่อมแซมแก้ไขคอมพิวเตอร์

9. แบบสัญญาจ้างทาความสะอาดอาคาร 10. แบบสัญญาจ้างบริการรักษาความปลอดภัย

11.แบบสั
11. ญญาเช่
สัญญาเช่ ่องถ่่อางถ่ยเอกสาร
าเครืาเครื ายเอกสาร 12. แบบสัญญาแลกเปลี่ ยน

13. สัญญาจ้
13.แบบสั างออกแบบและควบคุ
ญญาจ้ มม
างออกแบบและควบคุ 14. แบบสัญญาจ้างผูเ้ ชี่ ยวชาญรายบุคคล
งานก่
งานก่ออสร้
สร้าางง หรือจ้างบริษทั ที่ปรึกษา
ลาดับที่ 1-14 ตามประกาศ กนบ. 15. แบบสัญญาจ้างทาของ ลาดับที่ 15 ตามประกาศ กนบ.
ราชกิจจาฯ 19 กุมภาพันธ์ 2561 ราชกิจจาฯ 17 เมษายน 2561
แนวทางปฏิ บตั ิการกาหนดค่า K ในแบบสัญญาจ้างก่อสร้าง
(หนังสือเวียน)
การทาสัญญาของหน่ วยงานของรัฐในต่างประเทศ
และการจ้างช่วง

มาตรา 94 การทาสัญญาของหน่ วยงานของรัฐในต่างประเทศ จะทาสัญญาเป็ นภาษา


อังกฤษ หรือภาษาของประเทศที่หน่ วยงานของรัฐนัน้ ตัง้ อยู่ โดยผ่านการพิจารณาของ
ผูเ้ ชี่ ยวชาญของหน่ วยงานของรัฐก็ได้

มาตรา 95 สัญญาที่ทาในราชอาณาจักรต้องมีขอ้ ตกลงในการห้ามคู่สญ ั ญาไปจ้างช่วง


ให้ผอู ้ ่ืนทาอีกทอดหนึ่ ง ไม่ว่าทัง้ หมดหรือแต่บางส่วน เว้นแต่การจ้างช่วงแต่บางส่วนที่
ได้รบั อนุญาตจากหน่ วยงานของรัฐที่เป็ นคู่สญ ั ญาแล้ว ถ้าคู่สญ
ั ญาไปจ้างช่วงโดยฝ่ าฝื น
ข้อตกลงดังกล่าว ต้องกาหนดให้มีค่าปรับสาหรับการฝ่ าฝื นข้อตกลงนัน้ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ
สิบของวงเงินของงานที่จา้ งช่วงตามสัญญา
การจัดทาข้อตกลงเป็ นหนังสือโดยไม่ตอ้ งทาตามแบบสัญญา

มาตรา 96 หน่ วยงานของรัฐอาจจัดทาข้อตกลงเป็ นหนังสือโดยไม่ทาตามแบบสัญญา


ตามมาตรา 93 ก็ได้ เฉพาะในกรณี ดังต่อไปนี้
(1) การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีคดั เลือกตามมาตรา 56 (1) (ค) หรือการจัดซื้อจัด
จ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจงตามมาตรา 56 (2) (ข) (ง) หรือ (ฉ) หรือการจ้างที่ปรึกษา
โดยวิธีเฉพาะเจาะจงตามมาตรา 70 (3) (ข)
(2) การจัดซื้อจัดจ้างจากหน่ วยงานของรัฐ
(3) กรณี ที่ค่สู ญ
ั ญาสามารถส่งมอบพัสดุได้ครบถ้วนภายในห้าวันทาการ นับตัง้ แต่
วันถัดจากวันทาข้อตกลงเป็ นหนังสือ
(4) การเช่าซึ่งผูเ้ ช่าไม่ตอ้ งเสียเงินอื่นใดนอกจากค่าเช่า
(5) กรณี อื่นตามที่คณะกรรมการนโยบายประกาศกาหนดในราชกิจจานุ เบกษา
ในกรณี ท่ีการจัดซื้อจัดจ้างมีวงเงินเล็ กน้อยตามที่กาหนดในกฎกระทรวง จะไม่ทา
ข้อตกลงเป็ นหนังสือไว้ต่อกันก็ได้ แต่ตอ้ งมีหลักฐานในการจัดซื้อจัดจ้างนัน้
ในการออกกฎกระทรวงตามวรรคสอง จะกาหนดวงเงินเล็กน้อยให้แตกต่างกันตาม
ขนาดหรือประเภทของหน่ วยงานของรัฐก็ได้
การกาหนดอัตราค่าปรับในสัญญา
(ระเบียบฯ ข้อ 162-163)
ระเบียบฯ ข้อ 162 การทาสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือ นอกจากการจ้างที่ปรึกษา ให้กาหนดค่าปรับ
เป็ นรายวันในอัตราตายตัวระหว่างร้อยละ 0.01-0.20 ของราคาพัสดุที่ยงั ไม่ได้รบั มอบ เว้นแต่การจ้างซึ่ง
ต้องการผลสาเร็จของงานทัง้ หมดพร้อมกัน ให้กาหนดค่าปรับเป็ นรายวันเป็ นจานวนเงินตายตัวในอัตรา
ร้อยละ 0.01-0.10 ของราคางานจ้างนัน้ แต่จะต้องไม่ตา่ กว่าวันละ 100 บาท สาหรับงานก่อสร้าง
สาธารณูปโภคที่มีผลกระทบต่อการจราจร ให้กาหนดค่าปรับเป็ นรายวันในอัตราร้อยละ 0.25 ของราคางาน
จ้างนัน้ แต่อาจจะกาหนดขัน้ สูงสุดของการปรับก็ได้ ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด
ในการทาสัญญาจ้างที่ปรึกษา หากหน่ วยงานของรัฐเห็นว่า ถ้าไม่กาหนดค่าปรับไว้ในสัญญา
จะเกิดความเสียหายแก่หน่ วยงานของรัฐ ให้หน่ วยงานของรัฐผูจ้ ดั ทาสัญญากาหนดค่าปรับไว้ในสัญญาเป็ น
รายวันในอัตราหรือจานวนเงินตายตัวในอัตราร้อยละ 0.01 - 0.10 ของราคางานจ้างนัน้
การกาหนดค่าปรับตามวรรคหนึ่ งและวรรคสองในอัตราหรือเป็ นจานวนเงินเท่าใด ให้หวั หน้า
หน่ วยงานของรัฐ คานึ งถึงราคา กาหนดระยะเวลาของการใช้งาน และลักษณะของพัสดุ ซึ่งอาจมีผลกระทบ
ต่อการที่ค่สู ญ
ั ญาของหน่ วยงานของรัฐจะหลี กเลี่ ยงไม่ปฏิ บตั ิตามสัญญา หรือกระทบต่อการจราจร หรือ
ความเสียหายแก่ประโยชน์สาธารณะ แล้วแต่กรณี
ในกรณี การจัดหาสิ่งของที่ประกอบกันเป็ นชุด ถ้าขาดส่วนประกอบส่วนหนึ่ งส่วนใดไปแล้วจะไม่
สามารถใช้การได้โดยสมบูรณ์ แม้ค่สู ญ ั ญาจะส่งมอบสิ่งของภายในกาหนดตามสัญญา แต่ยงั ขาดส่วนประ-
กอบบางส่วน ต่อมาได้ส่งมอบส่วนประกอบที่ยงั ขาดนัน้ เกินกาหนดสัญญา ให้ถือว่าไม่ได้ส่งมอบสิ่งของนัน้
เลย ให้ปรับเต็มราคาของทัง้ ชุด
ในกรณี ที่การจัดหาสิ่งของคิ ดราคารวมทัง้ ค่าติดตัง้ หรือทดลองด้วย ถ้าติดตัง้ หรือทดลองเกินกว่า
กาหนดตามสัญญาเป็ นจานวนวันเท่าใด ให้ปรับเป็ นรายวันในอัตราที่กาหนดของราคาทัง้ หมด
ทัง้ นี้ ให้กาหนดเรื่องค่าปรับไว้ในเอกสารเชิ ญชวนให้ชดั เจนด้วย
สรุปการกาหนดอัตราค่าปรับในสัญญา
(ตามระเบียบฯ ข้อ 162)

3
การกาหนดค่าปรับในสัญญา (ต่อ)

ระเบียบฯ ข้อ 163 ในกรณี ที่หน่ วยงานของรัฐเห็นว่ามีความจาเป็ นจะต้อง


กาหนดค่าปรับนอกเหนื อจากที่กาหนดไว้ในข้อ 162 เนื่ องจากถ้าไม่กาหนด
ค่าปรับไว้ในสัญญาจะเกิดความเสียหายแก่หน่ วยงานของรัฐ เช่น งานที่เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรืองานที่อยู่ระหว่างการรับประกันความชารุดบกพร่อง
จากการซื้อขายคอมพิวเตอร์ ให้พิจารณากาหนดอัตราค่าปรับในกรณี ดงั กล่าว
โดยคานึ งถึงความสาคัญและลักษณะของงานที่จะกาหนด และความเสี ยหาย
ที่อาจเกิดขึ้นแก่หน่ วยงานของรัฐเป็ นสาคัญ
หลักประกันการเสนอราคา
(ระเบียบฯ ข้อ 166)

ระเบียบฯ ข้อ 166 เพื่อประกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากกรณี ที่ผยู ้ ื่นข้อเสนอ ผูเ้ สนอราคา


หรือผูใ้ ห้บริการ ไม่ปฏิบตั ิตามกระบวนการซื้อหรือจ้าง หรือการจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง
ให้หน่ วยงานของรัฐกาหนดหลักประกันการเสนอราคา สาหรับการซื้อหรือจ้างด้วยวิธีประกวดราคา
อิเล็กทรอนิ กส์ งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างด้วยวิธีประกาศเชิ ญชวนทัว่ ไป ที่มีวงเงิน
ซื้อหรือจ้างหรือวงเงินงบประมาณค่าก่อสร้าง เกินกว่า 5,000,000 บาท ดังนี้
การซื้อหรือจ้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส์ ให้มีการวางหลักประกันการ
เสนอราคาโดยให้ใช้หลักประกันอย่างหนึ่ งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารเซ็นสัง่ จ่าย ซึ่งเป็ นเช็คหรือดราฟท์ลงวันที่ที่ใช้เช็คหรือดราฟท์
นัน้ ชาระต่อเจ้าหน้าที่ หรือก่อนวันนัน้ ไม่เกิน 3 วันทาการ
(2) หนังสือค้าประกันอิเล็กทรอนิ กส์ของธนาคารภายในประเทศ ตามแบบที่คณะกรรมการ
นโยบายกาหนด
(3) พันธบัตรรัฐบาลไทย
(4) หนังสือค้าประกันของบริษทั เงินทุนหรือบริษทั เงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รบั อนุญาตให้ประกอบ
กิจการเงินทุนเพื่อการพาณิ ชย์และประกอบธุรกิจค้าประกัน ตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศ-
ไทย ตามรายชื่อบริษทั เงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตาม
ตัวอย่างหนังสือค้าประกันของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด
หลักประกันการเสนอราคา (ต่อ)
(ระเบียบฯ ข้อ 166)

สาหรับงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างด้วยวิธีประกาศเชิ ญชวนทัว่ ไป
ให้มีการวางหลักประกันการเสนอราคา โดยให้ใช้หลักประกันอย่างหนึ่ งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) เงินสด
(2) เช็คหรือดราฟท์ท่ีธนาคารเซ็นสัง่ จ่าย ซึ่งเป็ นเช็ คหรือดราฟท์ลงวันที่ท่ีใช้เช็คหรือดราฟท์
นัน้ ชาระต่อเจ้าหน้าที่ หรือก่อนวันนัน้ ไม่เกิน 3 วันทาการ
(3) หนังสือค้าประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามแบบที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด
(4) หนังสื อค้าประกันของบริษทั เงินทุนหรือบริษทั เงินทุนหลักทรัพย์ ที่ได้รบั อนุญาตให้ประกอบ
กิจการเงินทุนเพื่อการพาณิ ชย์และประกอบธุรกิจค้าประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย
ตามรายชื่อบริษทั เงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่าง
หนังสือค้าประกันของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด
(5) พันธบัตรรัฐบาลไทย
หลักประกันการเสนอราคา (ต่อ)
(ระเบียบฯ ข้อ 166)

กรณี เป็ นการยื่นข้อเสนอจากต่างประเทศสาหรับการประกวดราคานานาชาติ ให้ใช้หนังสือ


ค้าประกันของธนาคารในต่างประเทศที่มีหลักฐานดีและหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐเชื่ อถือ เป็ น
หลักประกันการเสนอราคาได้อีกประเภทหนึ่ ง
ในกรณี ที่ผยู ้ ื่นข้อเสนอหรือผูเ้ สนอราคานาหลักประกันการเสนอราคา ตามวรรคสอง (1)
(3) หรือ (4) ให้ผยู ้ ื่นข้อเสนอหรือผูเ้ สนอราคาส่งหลักประกันการเสนอราคาในรูปแบบ PDF File
(Portable Document Format) ในวันเสนอราคา และให้หน่ วยงานของรัฐกาหนดให้ผยู ้ ่ื นข้อ-
เสนอหรือผูเ้ สนอราคาส่งต้นฉบับเอกสารดังกล่าวมาให้หน่ วยงานของรัฐตรวจสอบความถูกต้อง
ตามวันและเวลาที่กาหนด โดยจะต้องดาเนินการวันใดวันหนึง่ ภายใน 5 วันทาการ นับถัดจาก
วันเสนอราคา เว้นแต่ไม่อาจดาเนิ นการวันใดวันหนึ่ งได้ ให้หน่ วยงานของรัฐพิจารณากาหนด
มากกว่า 1 วันได้ แต่จานวนวันดังกล่าวต้องไม่เกิน 5 วันทาการ นับถัดจากวันเสนอราคา
ทัง้ นี้ ให้ระบุไว้เป็ นเงื่อนไขในเอกสารเชิ ญชวนให้ชดั เจนด้วย

กรณีการซือ้ หรือจ้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์
หลักประกันสัญญา
(ระเบียบฯ ข้อ 167)

ระเบียบฯ ข้อ 167 หลักประกันสัญญาให้ใช้หลักประกันอย่างหนึ่ งอย่างใด ดังต่อไปนี้


(1) เงินสด
(2) เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารเซ็นสัง่ จ่าย ซึ่งเป็ นเช็ คหรือดราฟท์ลงวันที่ที่ใช้เช็คหรือ
ดราฟท์นนั้ ชาระต่อเจ้าหน้าที่ หรือก่อนวันนัน้ ไม่เกิน 3 วันทาการ
(3) หนังสือค้าประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามตัวอย่างที่คณะกรรมการนโยบาย
กาหนด โดยอาจเป็ นหนังสือค้าประกันอิเล็ กทรอนิ กส์ตามวิธีการที่กรมบัญชี กลางกาหนดก็ได้
(4) หนังสือค้าประกันของบริษทั เงินทุนหรือบริษทั เงินทุนหลักทรัพย์ ที่ได้รบั อนุญาตให้
ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิ ชย์และประกอบธุรกิจค้าประกันตามประกาศของธนาคาร
แห่งประเทศไทย ตามรายชื่อบริษทั เงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดย
อนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่างหนังสื อค้าประกันของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด
(5) พันธบัตรรัฐบาลไทย
กรณี เป็ นการยื่ นข้อเสนอจากต่างประเทศสาหรับการประกวดราคานานาชาติ ให้ใช้
หนังสือค้าประกันของธนาคารในต่างประเทศที่มีหลักฐานดี และหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐเชื่ อ
ถือเป็ นหลักประกันสัญญาได้อีกประเภทหนึ่ ง
มูลค่าหลักประกันการเสนอราคาและหลักประกันสัญญา
(ระเบียบฯ ข้อ 168-169)

ระเบียบฯ ข้อ 168 หลักประกันการเสนอราคาและหลักประกันสัญญา ให้กาหนดมูลค่าเป็ นจานวน


เต็ม ในอัตราร้อยละห้าของวงเงินงบประมาณหรือราคาพัสดุที่จดั ซื้อจัดจ้างครัง้ นัน้ แล้วแต่กรณี เว้นแต่ การ
จัดซื้อจัดจ้างที่หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐเห็ นว่ามีความสาคัญเป็ นพิเศษ จะกาหนดอัตราสูงกว่าร้อยละห้าแต่ไม่
เกินร้อยละสิบ ก็ได้
ในการทาสัญญาจัดซื้อจัดจ้างที่มีระยะเวลาผูกพันตามสัญญาเกิน 1 ปี และพัสดุนนั้ ไม่ตอ้ งมีการประกัน
เพื่อความชารุดบกพร่อง เช่น พัสดุใช้ส้ ินเปลื อง ให้กาหนดหลักประกันในอัตราร้อยละห้าของราคาพัสดุที่ส่ง
มอบในแต่ละปี ของสัญญา โดยให้ถือว่าหลักประกันนี้ เป็ นการค้าประกันตลอดอายุสญ ั ญา และหากในปี ต่อไป
ราคาพัสดุท่ีส่งมอบแตกต่างไปจากราคาในรอบปี ก่อนให้ปรับปรุงหลักประกันตามอัตราส่วนที่เปลี่ ยนแปลงไป
นัน้ ก่อนครบรอบปี ในกรณี ที่หลักประกันต้องปรับปรุงในทางที่เพิ่มขึ้ นและคู่สญ ั ญาไม่นาหลักประกันมาเพิ่ม
ให้ครบจานวนภายใน 15 วัน ก่อนการส่งมอบพัสดุงวดสุดท้ายของปี นัน้ ให้หน่ วยงานของรัฐหักเงินค่าพัสดุ
งวดสุดท้ายของปี นัน้ ที่หน่ วยงานของรัฐจะต้องจ่าย ให้เป็ นหลักประกันในส่วนที่เพิ่มขึ้ น
การกาหนดหลักประกันตามวรรคหนึ่ ง จะต้องระบุไว้เป็ นเงื่อนไขในเอกสารเชิ ญชวนให้เข้ายื่ นข้อเสนอ
หรือในสัญญาด้วย
ในกรณี ที่ผยู ้ ื่ นข้อเสนอหรือคู่สญ
ั ญาวางหลักประกันที่มีมูลค่าสูงกว่าที่กาหนดไว้ในระเบียบ เอกสารเชิ ญ
ชวน หรือสัญญา ให้อนุโลมรับได้

ระเบียบฯ ข้อ 169 ในกรณี ที่หน่ วยงานของรัฐเป็ นผูย้ ื่ นข้อเสนอหรือเป็ นคู่สญ


ั ญาไม่ตอ้ งวาง
หลักประกัน
การคืนหลักประกันการเสนอราคาและหลักประกันสัญญา
(ระเบียบฯ ข้อ 170)

ระเบียบฯ ข้อ 170 ให้หน่ วยงานของรัฐคืนหลักประกันให้แก่ผยู ้ ่ืนข้อเสนอ คู่สญั ญา หรือผูค้ ้า


ประกัน ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้
(1) หลักประกันการเสนอราคา ให้คืนให้แก่ผยู ้ ื่ นข้อเสนอ หรือผูค้ ้าประกัน ภายใน 15 วัน
นับถัดจากวันที่หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐได้พิจารณาเห็นชอบรายงานผลคัดเลือกผูช้ นะการซื้อหรือ
จ้างเรียบร้อยแล้ว เว้นแต่ผยู ้ ื่นข้อเสนอรายที่คดั เลือกไว้ซึ่งเสนอราคาตา่ สุดไม่เกิน 3 ราย ให้คืน
ได้ต่อเมื่อได้ทาสัญญาหรือข้อตกลง หรือผูย้ ื่ นข้อเสนอได้พน้ จากข้อผูกพันแล้ว
(2) หลักประกันสัญญา ให้คืนให้แก่ค่สู ญ ั ญา หรือผูค้ ้าประกันโดยเร็ว และอย่างช้าต้องไม่
เกิน 15 วัน นับถัดจากวันที่ค่สู ญ ั ญาพ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาแล้ว
การจัดซื้อจัดจ้างที่ไม่ตอ้ งมีการประกันเพื่อความชารุดบกพร่อง ให้คืนหลักประกันให้แก่
ั ญาหรือผูค้ ้าประกันตามอัตราส่วนของพัสดุซึ่งหน่ วยงานของรัฐได้รบั มอบไว้แล้ว แต่ทงั้ นี้
คู่สญ
จะต้องระบุไว้เป็ นเงื่อนไขในเอกสารเชิญชวนและในสัญญาด้วย
การคืนหลักประกันที่เป็ นหนังสือค้าประกันของธนาคาร บริษทั เงินทุน หรือบริษทั เงินทุน
หลักทรัพย์ ในกรณี ที่ผยู ้ ื่นข้อเสนอหรือคู่สญ ั ญาไม่มารับภายในกาหนดเวลาข้างต้น ให้รีบส่ง
ต้นฉบับหนังสือค้าประกันให้แก่ผยู ้ ื่นข้อเสนอหรือคู่สญ ั ญา โดยทางไปรษณี ยล์ งทะเบียนโดยเร็ว
พร้อมกับแจ้งให้ธนาคารบริษทั เงินทุนหรือบริษทั เงินทุนหลักทรัพย์ ผูค้ ้าประกันทราบด้วย สาหรับ
หนังสือค้าประกันอิเล็กทรอนิ กส์ของธนาคาร ให้คืนแก่ธนาคารผูอ้ อกหนังสือค้าประกันอิเล็ก-
ทรอนิ กส์ผ่านทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิ กส์
การเปลี่ยนแปลงหลักประกันสัญญา
(ระเบียบฯ ข้อ 171)

ระเบียบฯ ข้อ 171 ในการทาสัญญาหากมีการแก้ไขสัญญาและมีผลทาให้วงเงิน


ตามสัญญานัน้ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ในกรณี เพิ่มขึ้ น คู่สญ ั ญาต้องนาหลักประกัน
สัญญามาวางเท่ากับวงเงินหลักประกันสัญญาที่ได้เพิ่มนัน้
ถ้าหลักประกันสัญญาที่ค่สู ญ
ั ญานามามอบไว้เพื่อเป็ นหลักประกันการปฏิบตั ิตาม
สัญญาลดลงหรือเสื่อมค่าลง หรือมีอายุไม่ครอบคลุมถึงความรับผิดของคู่สญ
ั ญา
ตลอดอายุสญ ั ญา ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม รวมถึงส่งมอบงานล่าช้าเป็ นเหตุให้ระยะ-
เวลาแล้วเสร็จ หรือวันครบกาหนดความรับผิดในความชารุดบกพร่องตามสัญญา
เปลี่ยนแปลงไป คู่สญั ญาต้องหาหลักประกันใหม่หรือหลักประกันเพิ่มเติมให้มีจานวน
ครบถ้วนตามมูลค่าที่กาหนดในสัญญามามอบให้ภายในระยะเวลาที่หน่ วยงานของรัฐ
กาหนด
แนวทางปฏิบตั ิในการนาหลักประกันการเสนอราคามาเป็ นหลักประกันสัญญา
(หนังสือเวียน)
การจ่ายเงินล่วงหน้าและหลักประกัน
ระเบียบฯ ข้อ 89 การจ่ายเงินค่าพัสดุล่วงหน้าให้แก่ผปู ้ ระกอบการที่เป็ นคู่สญั ญาจะกระทามิได้
เว้นแต่หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐเห็นว่ามีความจาเป็ นจะต้องจ่าย และมีการกาหนดเงื่อนไขไว้ก่อน
การทาสัญญาหรือข้อตกลง ให้กระทาได้เฉพาะกรณี และตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
(1) การซื้อหรือการจ้างจากหน่ วยงานของรัฐ จ่ายได้ไม่เกินร้อยละห้าสิบของราคาซื้อ
หรือราคาจ้าง
(2) การซื้อพัสดุจากสถาบันของรัฐในต่างประเทศ หรือจากหน่ วยงานอื่นในต่างประเทศ
ซึ่งต้องดาเนิ นการผ่านองค์การระหว่างประเทศ หรือการซื้อเครื่องมือวิทยาศาสตร์ หรือพัสดุอ่ืนที่
ผูร้ กั ษาการตามระเบียบประกาศกาหนด ซึ่งจาเป็ นต้องซื้อจากผูผ้ ลิตหรือผูแ้ ทนจาหน่ ายโดยตรง
ในต่างประเทศ ให้จ่ายได้ตามที่ตกลงกับสถาบันของรัฐหรือองค์การระหว่างประเทศ หรือตามเงื่อนไข
ที่ผขู ้ ายกาหนด แล้วแต่กรณี
(3) การบอกรับวารสารหรือการสัง่ จองหนังสื อ หรือการจัดซื้อฐานข้อมูลสาเร็จรูปที่มี
ลักษณะจะต้องบอกรับเป็ นสมาชิกก่อน และมีกาหนดการออกเป็ นวาระดังเช่นวารสาร หรือการบอก
รับเป็ นสมาชิกเพื่อการใช้ประโยชน์เรียกค้นหาข้อมูลข่าวสารจากแหล่งข้อมูลต่างๆ โดยอาศัยระบบ
เครือข่ายสารสนเทศ ให้จ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง
(4) การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีประกาศเชิ ญชวนทัว่ ไป วิธีคดั เลื อก และวิธีเฉพาะเจาะจง
นอกจากกรณี ตามมาตรา 56 วรรคหนึ่ ง (2) (ข) ให้จ่ายได้ไม่เกินร้อยละสิบห้าของราคาซื้อหรือ
ราคาจ้าง แต่ทงั้ นี้ จะต้องกาหนดอัตราค่าพัสดุที่จะจ่ายล่วงหน้าไว้เป็ นเงื่อนไขในประกาศและ
เอกสารเชิญชวนหรือหนังสือเชิญชวน แล้วแต่กรณี ดว้ ย วงเงินไม่เกิน 500,000 บาท ซึ่งให้ใช้
วิธีเฉพาะเจาะจง ตามกฏกระทรวง
การจ่ายเงินล่วงหน้าและหลักประกัน (ต่อ)
ระเบียบฯ ข้อ 90 การจ่ายเงินตามแบบธรรมเนี ยมการค้าระหว่างประเทศ โดยเปิ ดเลตเตอร์ออฟ
เครดิต หรือโดยวิธีใช้ดราฟต์กรณี ท่ีวงเงินไม่เกิน 500,000 บาท หรือการจ่ายเงินตามความก้าวหน้า
ในการสัง่ ซื้อพัสดุ ให้กระทาได้โดยไม่ถือว่าเป็ นการจ่ายเงินล่วงหน้า
ระเบียบฯ ข้อ 91 การจ่ายเงินค่าพัสดุล่วงหน้าตามข้อ 89 (1) (2) และ (3) ไม่ตอ้ งเรียก
หลักประกัน
ส่วนการจ่ายเงินค่าพัสดุล่วงหน้าตามข้อ 89 (4) ผูป้ ระกอบการที่เป็ นคู่สญ ั ญาจะต้อง
นาพันธบัตรรัฐบาลไทย หรือหนังสือค้าประกันหรือหนังสือค้าประกันอิเล็กทรอนิ กส์ของธนาคารใน
ประเทศ มาค้าประกันเงินที่รบั ล่วงหน้าไปนัน้ และให้หน่ วยงานของรัฐคืนหนังสือค้าประกันดังกล่าว
ั ญาเมื่อหน่ วยงานของรัฐได้หกั เงินที่ได้จ่ายล่วงหน้าจากเงินค่าของหรือค่าจ้างในแต่ละงวด
ให้แก่ค่สู ญ
ครบถ้วนแล้ว ทัง้ นี้ ให้กาหนดเป็ นเงื่อนไขไว้ในสัญญาด้วย การจ่ายเงินล่วงหน้ากรณี การจ้างที่ปรึกษา

ระเบียบฯ ข้อ 172 หลักประกันการรับเงินล่วงหน้าตามข้อ 91 วรรคสอง หรือข้อ 130 วรรคหนึ่ ง


แล้วแต่กรณี เมื่อหน่ วยงานของรัฐได้หกั เงินที่จะจ่ายแต่ละครัง้ ที่จะใช้คืนเงินล่วงหน้าที่ค่สู ญ
ั ญาได้รบั
ไปเป็ นจานวนเท่าใดแล้ว หรือนาหลักประกันมาวางเท่ากับมูลค่าของเงินที่ตอ้ งหัก คู่สญ ั ญาสามารถ
ขอคืนหลักประกันการรับเงินล่วงหน้าแต่บางส่วนได้ ทัง้ นี้ จะต้องระบุไว้เป็ นเงื่อนไขในเอกสารเชิญ
ชวนและในสัญญาด้วย
หลักประกันผลงานแต่ละงวด

ระเบียบฯ ข้อ 173 ในการจ้างงานก่อสร้างที่หน่ วยงานของรัฐกาหนดแบ่งการชาระเงินค่าจ้าง


ออกเป็ นงวดและมีความประสงค์ให้มีการหักเงินประกันผลงานในแต่ละงวด ให้กาหนดการหักเงิน
ตามอัตราที่หน่ วยงานของรัฐกาหนดของเงินที่ตอ้ งจ่ายในงวดนัน้ เพื่อเป็ นหลักประกัน ในกรณี ที่
เงินประกันผลงานถูกหักไว้แล้วเป็ นจานวนไม่ตา่ กว่าอัตราที่หน่ วยงานของรัฐกาหนด คู่สญ ั ญามี
สิทธิที่จะขอเงินประกันผลงานคืน โดยคู่สญ ั ญาจะต้องนาหนังสือค้าประกันของธนาคารหรือหนังสือ
ค้าประกันอิเล็กทรอนิ กส์ของธนาคารภายในประเทศมาค้าประกันแทนการหักเงิน โดยมีอายุการค้า
ประกันตามที่ผวู ้ ่าจ้างจะกาหนด ก็ได้

ระเบียบฯ ข้อ 174 ในการจ้างที่ปรึกษาจากหน่ วยงานของรัฐที่แบ่งการชาระเงินออกเป็ นงวด


ให้ผูว้ ่าจ้างหักเงินที่จะจ่ายแต่ละครัง้ ในอัตราไม่ตา่ กว่าร้อยละห้า แต่ไม่เกินร้อยละสิบของเงินค่าจ้าง
เพื่อเป็ นการประกันผลงาน หรือจะให้หน่ วยงานของรัฐที่เป็ นที่ปรึกษาใช้หนังสื อค้าประกันของ
ธนาคาร หรือหนังสื อค้าประกันอิเล็กทรอนิ กส์ของธนาคารภายในประเทศที่มีอายุการค้าประกันตาม
ที่ผวู ้ ่าจ้างจะกาหนดมาวางค้าประกันแทนเงินที่หกั ไว้ ก็ได้ ทัง้ นี้ ให้กาหนดเป็ นเงื่อนไขไว้ในสัญญา
ด้วย
การประกาศเผยแพร่
สาระสาคัญของสัญญาหรือข้อตกลง
มาตรา 98 ให้หน่ วยงานของรัฐประกาศเผยแพร่สาระสาคัญ
ของสัญญาหรือข้อตกลงที่ได้ลงนามแล้ว รวมทัง้ การแก้ไข
เปลี่ ยนแปลงสัญญาหรือข้อตกลง ในระบบเครือข่ายสารสนเทศ
ของกรมบัญชีกลางและของหน่ วยงานของรัฐตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการที่กรมบัญชี กลางกาหนด

การส่งสาเนาสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือ
ให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินและกรมสรรพากร
ระเบียบฯ ข้อ 164 ให้หน่ วยงานของรัฐส่งสาเนาสัญญาหรือข้อ-
ตกลงเป็ นหนังสือซึ่งมีมลู ค่าตัง้ แต่หนึ่ งล้านบาทขึ้นไป ให้สานักงาน
การตรวจเงินแผ่นดินและกรมสรรพากร ภายใน 30 วัน นับแต่วนั
ทาสัญญาหรือข้อตกลง หรือตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกาหนด
การบริหารสัญญาและตรวจรับพัสดุ
การบริหารสัญญาและตรวจรับเป็ นการดาเนิ นการเพื่อให้ค่สู ญ ั ญาดาเนิ นการให้แล้วเสร็จ
และเป็ นไปตามข้อกาหนดตามสัญญาหรือข้อตกลง ซึ่งเป็ นหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจ
รับพัสดุ ผูค้ วบคุมงาน (กรณี งานก่อสร้าง) เจ้าหน้าที่ และผูท้ ี่เกี่ยวข้องต้องดาเนิ นการ
การบริหารสัญญาและตรวจรับ ประกอบด้วยการดาเนิ นการในเรื่องต่างๆ ดังนี้
➢ การบริ หารสัญญาหรื อข้อตกลง (การกากับดูแล เร่งรัด ติ ดตามการดาเนิ นการ
ให้เป็ นไปตามสัญญาหรือข้อตกลง)
➢ การตรวจรับพัสดุ
➢ การควบคุมงานก่อสร้าง (กรณี งานจ้างก่อสร้าง)
➢ การปรับปรุงแก้ไขสัญญาหรื อข้อตกลง
➢ ค่าปรับ การงดหรื อลดค่าปรับ และการขยายเวลาทาการตามสัญญาหรื อข้อตกลง
➢ การบอกเลิ กสัญญาหรื อข้อตกลง
➢ การดาเนิ นการเกี่ ยวกับการรับประกันความชารุดบกพร่อง
➢ การประเมิ นผลการปฏิ บต ั ิงานของผูป้ ระกอบการ
➢ การลงโทษเป็ นผูท ้ ้ ิงงาน
การบริหารสัญญา การตรวจรับ และการควบคุมงานก่อสร้าง
(มาตรา 100-101 : ระเบียบฯ ข้อ 175-180)

มาตรา 100 ในการดาเนิ นการตามสัญญาหรือข้อตกลง ให้ผมู ้ ีอานาจแต่งตัง้


คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ เพื่อรับผิดชอบการบริหารสัญญาหรือข้อตกลงและ
การตรวจรับพัสดุ
องค์ประกอบ องค์ประชุม และหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ให้เป็ น
ไปตามระเบียบที่รฐั มนตรีกาหนด
ในกรณี ที่การจัดซื้อจัดจ้างมีวงเงินเล็กน้อยตามที่กาหนดในกฎกระทรวง จะ
แต่งตัง้ บุคคลหนึ่ งบุคคลใดเป็ นผูต้ รวจรับพัสดุนนั้ โดยให้ปฏิ บตั ิหน้าที่เช่นเดียวกับ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุก็ได้ และให้นาบทบัญญัติมาตรา 96 วรรคสาม มาใช้
บังคับโดยอนุโลม
ผูร้ บั ผิดชอบการบริหารสัญญาหรือข้อตกลงและการตรวจรับพัสดุตามวรรคหนึ่ ง
และวรรคสามซึ่งไม่ใช่ผทู ้ ี่ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่ งที่ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการจัดซื้อ
จัดจ้างหรือการบริหารพัสดุให้ได้รบั ค่าตอบแทนตามที่กระทรวงการคลังกาหนด
หมายถึงผูท้ ี่เป็ นเจ้าหน้าที่และหัวหน้าเจ้าหน้าที่โดยตาแหน่งเท่านัน้
หลักเกณฑ์การตรวจรับพัสดุ
➢ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานซื้อหรืองานจ้าง
➢ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้าง
หลักการ และผูค้ วบคุมงาน (กรณี งานจ้างก่อสร้าง)
มาตรา 100,101+ ระเบียบฯ ข้อ 175-178 ➢ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา
➢ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างออกแบบหรือ
ควบคุมงานก่อสร้าง

การซื้อหรือจ้าง วงเงินจัดหาไม่เกิน 100,000 บาท


แต่งตัง้ บุคคลหนึ่ งบุคคลใด เป็ น “ผูต้ รวจรับ” ข้อยกเว้น
(ตามกฎกระทรวงฯ)

“การซื้อหรือจ้าง วงเงินจัดหาไม่เกิน 500,000 บาท


(ตามกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา 56 (2) (ข))”
กรณี จาเป็ นเร่งด่วนที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดหมายไว้ก่อน
ใช้ “รายงานขอความเห็นชอบ” เป็ น “หลักฐานการตรวจรับ” โดยอนุโลม
ตามข้อ 79 วรรคสอง
การตรวจรับพัสดุ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ระเบียบฯ
งานซื้อหรืองานจ้าง ข้อ 175

ระเบียบฯ
งานจ้างก่อสร้าง ข้อ 176-178

งานจ้างที่ปรึกษา ระเบียบฯ
ข้อ 179

ระเบียบฯ
งานจ้างออกแบบควบคุมงานก่อสร้าง ข้อ 180
หน้าที่และภารกิจ
ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานซื้อหรืองานจ้าง
ระเบียบฯ ข้อ 175 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานซื้อหรืองานจ้าง มีหน้าที่ดงั นี้
(1) ตรวจรับพัสดุ ณ ที่ทาการของผูใ้ ช้พสั ดุนนั้ หรือสถานที่ซึ่งกาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง
การตรวจรับพัสดุ ณ สถานที่อื่น ในกรณี ที่ไม่มีสญ ั ญาหรือข้อตกลง จะต้องได้รบั อนุมตั ิจากหัวหน้า
หน่ วยงานของรัฐก่อน
(2) ตรวจรับพัสดุให้ถกู ต้องครบถ้วนตามหลักฐานที่ตกลงกันไว้ สาหรับกรณี ที่มีการทดลองหรือ
ตรวจสอบในทางเทคนิ คหรือทางวิทยาศาสตร์ จะเชิ ญผูช้ านาญการหรือผูท้ รงคุณวุฒิเกี่ยวกับพัสดุนนั้
มาให้คาปรึกษา หรือส่งพัสดุนนั้ ไปทดลองหรือตรวจสอบ ณ สถานที่ของผูช้ านาญการหรือผูท้ รงคุณวุฒิ
นัน้ ๆ ก็ได้
ในกรณี จาเป็ นที่ไม่สามารถตรวจนับเป็ นจานวนหน่ วยทัง้ หมดได้ ให้ตรวจรับตามหลักวิชาการสถิติ
(3) ให้ตรวจรับพัสดุในวันที่ผขู ้ ายหรือผูร้ บั จ้างนาพัสดุมาส่ง และให้ดาเนิ นการให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว
ที่สดุ
(4) เมื่อตรวจถูกต้องครบถ้วนแล้ว ให้รบั พัสดุไว้และถือว่าผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างได้ส่งมอบพัสดุถกู
ต้องครบถ้วนตัง้ แต่วนั ที่ผขู ้ ายหรือผูร้ บั จ้างนาพัสดุนนั้ มาส่ง แล้วมอบแก่เจ้าหน้าที่พร้อมกับทาใบตรวจรับ
โดยลงชื่ อไว้เป็ นหลักฐานอย่างน้อย 2 ฉบับ มอบแก่ผขู ้ ายหรือผูร้ บั จ้าง 1 ฉบับ และเจ้าหน้าที่ 1 ฉบับ
เพื่อดาเนิ นการเบิกจ่ายเงินตามระเบียบของหน่ วยงานของรัฐและรายงานให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐทราบ
ในกรณี ที่เห็นว่าพัสดุที่ส่งมอบ มีรายละเอียดไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดในสัญญาหรือข้อตกลง ให้
รายงานหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่ เพื่อทราบและสัง่ การ
หน้าที่และภารกิจ
ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานซื้อหรืองานจ้าง (ต่อ)

(5) ในกรณี ท่ีผขู ้ ายหรือผูร้ บั จ้างส่งมอบพัสดุถกู ต้องแต่ไม่ครบจานวน หรือส่งมอบครบจานวนแต่


ไม่ถกู ต้องทัง้ หมด ถ้าสัญญาหรือข้อตกลงมิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ให้ตรวจรับไว้เฉพาะจานวนที่
ถูกต้อง โดยถือปฏิ บตั ิตาม (4) และให้รีบรายงานหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่เพื่อแจ้ง
ให้ผขู ้ ายหรือผูร้ บั จ้างทราบภายใน 3 วันทาการ นับถัดจากวันตรวจพบ แต่ทงั้ นี้ ไม่ตดั สิทธิ์หน่ วยงานของ
รัฐที่จะปรับผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างในจานวนที่ส่งมอบไม่ครบถ้วนหรือไม่ถกู ต้องนัน้
(6) การตรวจรับพัสดุที่ประกอบกันเป็ นชุดหรือหน่ วย ถ้าขาดส่วนประกอบอย่างใดอย่างหนึ่ ง
ไปแล้วจะไม่สามารถใช้การได้โดยสมบูรณ์ ให้ถือว่าผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างยังมิได้ส่งมอบพัสดุนนั้ และโดย
ปกติให้รีบรายงานหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐเพื่อแจ้งให้ผขู ้ ายหรือผูร้ บั จ้างทราบภายใน 3 วันทาการ นับ
ถัดจากวันที่ตรวจพบ
(7) ถ้ากรรมการตรวจรับพัสดุบางคนไม่ยอมรับพัสดุโดยทาความเห็นแย้งไว้ ให้เสนอหัวหน้า
หน่ วยงานของรัฐเพื่อพิจารณาสัง่ การ ถ้าหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐสัง่ การให้รบั พัสดุนนั้ ไว้ จึงดาเนิ นการ
ตาม (4) หรือ (5) แล้วแต่กรณี
ภาพรวมกระบวนการพิจารณาตรวจรับของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานซื้อหรืองานจ้าง
(ระเบียบฯ ข้อ 175)
ทราบ
มติองค์ประชุม รายงานหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ (ตามมติ)
: เห็นว่า ไม่ถกู ต้อง เพื่อทราบและสัง่ การ
สัง่ การ
: รับพัสดุไว้ ถือว่าส่งมอบถูกต้อง
ณ วันที่ส่ง : ส่งมอบพัสดุให้ จนท.

ภายใน 3 วันทาการ
มติองค์ประชุม ทาใบตรวจรับ อย่างน้อย 2 ฉบับ
: เห็นว่า ถูกต้อง ให้ผูข้ าย/ผูร้ บั จ้าง 1 และ จนท. 1
แจ้ง
คู่สญ
ั ญา
คณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุ
(ครบองค์ รายงานหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ เพื่อทราบ
ประชุม)

มติองค์ประชุม สัญญา รับไว้เฉพาะที่ถกู ต้อง


: เห็นว่า ถูกต้อง ไม่ได้กาหนด
เพียงบางส่วน เป็ นอย่างอื่น รายงาน
หัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ

เสนอหัวหน้าหน่ วยงาน ให้รบั


มติองค์ประชุม ของรัฐเพื่อสัง่ การ
: กรรมการบางคน ไม่รบั
ไม่รบั
ทาบันทึกความเห็นแย้ง
หน้าที่และภารกิจ
ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้าง
ระเบียบฯ ข้อ 176 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้าง มีหน้าที่ดงั นี้
(1) ตรวจสอบคุณวุฒิของผูค้ วบคุมงานก่อสร้างของผูร้ บั จ้างให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วย
การควบคุมอาคาร (แบบสัญญาก่อสร้าง ข้อ 10 การควบคุมงานของผูร้ บั จ้าง )
(2) ตรวจสอบรายงานการปฏิบตั ิงานของผูร้ บั จ้าง และเหตุการณ์แวดล้อมที่ผคู ้ วบคุมงาน
ของหน่ วยงานของรัฐรายงาน โดยตรวจสอบกับแบบรูปรายการละเอียดและข้อกาหนดใน
สัญญาหรือข้อตกลงทุกสัปดาห์ รวมทัง้ รับทราบหรือพิจารณาการสัง่ หยุดงานหรือพักงานของผู ้
ควบคุมงาน แล้วรายงานหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐเพื่อพิจารณาสัง่ การต่อไป
(3) ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือกรรมการที่ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ
ตรวจรับพัสดุออกตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ที่กาหนดไว้ในสัญญาหรือที่ตกลงให้ทางานจ้างนัน้ ๆ
ตามเวลาที่เหมาะสมและเห็นสมควร และจัดทาบันทึกผลการออกตรวจงานจ้างนัน้ ไว้เพื่อเป็ น
หลักฐานด้วย
(4) นอกจากการดาเนิ นการตาม (1) และ (2) ในกรณี มีขอ้ สงสัยหรือมีกรณี ท่ีเห็นว่า
แบบรูปรายการละเอียดและข้อกาหนดในสัญญาหรือข้อตกลงมีขอ้ ความคลาดเคลื่ อนเล็ กน้อย
หรือไม่เป็ นไปตามหลักวิชาการช่าง ให้มีอานาจสัง่ เปลี่ ยนแปลงแก้ไขเพิ่มเติม หรือตัดทอนงาน
จ้างได้ตามที่เห็นสมควรและตามหลักวิชาการช่าง เพื่อให้เป็ นไปตามแบบรูปรายการละเอียด
หน้าที่และภารกิจ
ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้าง (ต่อ)

(5) โดยปกติให้ตรวจผลงานที่ผรู ้ บั จ้างส่งมอบภายใน 3 วันทาการ นับแต่วนั ที่ประธาน


กรรมการได้รบั ทราบการส่งมอบงาน และให้ทาการตรวจรับให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็วที่สดุ
(6) เมื่อตรวจเห็นว่าเป็ นการถูกต้องครบถ้วน เป็ นไปตามแบบรูปรายการละเอียดและ
ข้อกาหนดในสัญญาหรือข้อตกลงแล้ว ให้ถือว่าผูร้ บั จ้างส่งมอบงานครบถ้วนตัง้ แต่วนั ที่ผู ้
รับจ้างส่งงานจ้างนัน้ และให้ทาใบรับรองผลการปฏิบตั ิงานทัง้ หมดหรือเฉพาะงวด แล้วแต่
กรณี โดยลงชื่อไว้เป็ นหลักฐานอย่างน้อย 2 ฉบับ มอบให้แก่ผรู ้ บั จ้าง 1 ฉบับ และเจ้าหน้าที่
1 ฉบับ เพื่อทาการเบิกจ่ายเงินตามระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินของหน่ วยงานของรัฐ และ
รายงานให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐทราบ
ในกรณี ที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเห็นว่า ผลงานที่ส่งมอบทัง้ หมดหรืองวดใด
ก็ตามไม่เป็ นไปตามแบบรูปรายการละเอียดและข้อกาหนดในสัญญาหรือข้อตกลง ให้
รายงานหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่เพื่อทราบหรือสัง่ การ แล้วแต่กรณี
(7) ในกรณี ที่กรรมการตรวจรับพัสดุบางคนไม่ยอมรับงานโดยทาความเห็นแย้งไว้ ให้
เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐเพื่อพิจารณาสัง่ การ ถ้าหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐสัง่ การให้
ตรวจรับงานจ้างนัน้ ไว้ จึงดาเนิ นการตาม (6)
หน้าที่และภารกิจ
ของผูค้ วบคุมงานก่อสร้าง
ระเบียบฯ ข้อ 178 ผูค้ วบคุมงาน มีหน้าที่ดงั นี้
(1) ตรวจและควบคุมงาน ณ สถานที่ที่กาหนดไว้ในสัญญา หรือที่ตกลงให้ทางานจ้าง
นัน้ ๆ ทุกวัน ให้เป็ นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกาหนดในสัญญาทุกประการโดย
สัง่ เปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิ่มเติม หรือตัดทอนงานจ้างได้ตามที่เห็นสมควร และตามหลักวิชา-
ช่างเพื่อให้เป็ นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกาหนดในสัญญา ถ้าผูร้ บั จ้างขัดขืน
ไม่ปฏิบตั ิตาม ก็สงั ่ ให้หยุดงานนัน้ เฉพาะส่วนหนึ่ งส่วนใดหรือทัง้ หมด แล้วแต่กรณี ไว้ก่อน
จนกว่าผูร้ บั จ้างจะปฏิ บตั ิให้ถกู ต้องตามคาสัง่ และให้รายงานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
หรือผูท้ ่ีได้รบั มอบหมายให้ทาหน้าที่รบั ผิ ดชอบการบริหารสัญญาหรือข้อตกลงและการตรวจ
รับพัสดุที่เป็ นงานจ้างก่อสร้างทันที
(2) ในกรณี ที่ปรากฏว่าแบบรูปรายการละเอียด หรือข้อกาหนดในสัญญามีขอ้ ความ
ขัดกันหรือเป็ นที่คาดหมายได้ว่า ถึงแม้ว่างานนัน้ จะได้เป็ นไปตามแบบรูปรายการละเอียด
และข้อกาหนดในสัญญาแต่เมื่อสาเร็จแล้วจะไม่มนั ่ คงแข็ งแรง หรือไม่เป็ นไปตามหลักวิชา
ช่างที่ดี หรือไม่ปลอดภัย ให้สงั ่ พักงานนัน้ ไว้ก่อน แล้วรายงานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
หรือผูท้ ี่ได้รบั มอบหมายให้ทาหน้าที่รบั ผิดชอบการบริหารสัญญาหรือข้อตกลงและการตรวจ
รับพัสดุที่เป็ นงานจ้างก่อสร้างโดยเร็ว
ระเบียบฯ ข้อ 178 (ต่อ)

(3) จดบันทึกสภาพการปฏิบตั ิงานของผูร้ บั จ้างและเหตุการณ์แวดล้อมเป็ นรายวัน พร้อมทัง้ ผล


การปฏิบตั ิงาน หรือการหยุดงานและสาเหตุท่ีมีการหยุดงาน อย่างน้อย 2 ฉบับ เพื่อรายงานให้
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือผูท้ ่ีได้รบั มอบหมายให้ทาหน้าที่รบั ผิ ดชอบการบริหารสัญญาหรือข้อ-
ตกลงและการตรวจรับพัสดุที่เป็ นงานจ้างก่อสร้าง ทราบทุกสัปดาห์ และเก็บรักษาไว้เพื่อมอบให้แก่
เจ้าหน้าที่เมื่อเสร็จงานแต่ละงวด โดยถือว่าเป็ นเอกสารสาคัญของทางราชการเพื่อประกอบการ
ตรวจสอบของผูม้ ีหน้าที่
การบันทึกการปฏิบตั ิงานของผูร้ บั จ้างให้ระบุรายละเอียดขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงานและวัสดุท่ีใช้ดว้ ย
(4) ในวันกาหนดเริ่มงานของผูร้ บั จ้างตามสัญญา และในวันถึงกาหนดส่งมอบงานแต่ละงวดให้
รายงานผลการปฏิบตั ิงานของผูร้ บั จ้างว่าเป็ นไปตามสัญญาหรือไม่ ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
หรือผูท้ ี่ได้รบั มอบหมายให้ทาหน้าที่รบั ผิ ดชอบการบริหารสัญญาหรือข้อตกลงและการตรวจรับพัสดุที่
เป็ นงานจ้างก่อสร้าง ทราบ ภายใน 3 วันทาการ นับแต่วนั ถึงกาหนดนัน้ ๆ
ประเด็นปั ญหาและข้อสังเกต
เกี่ยวกับค่าตอบแทนผูค้ วบคุมงานงานก่อสร้าง
1. เบิกจ่ายได้ไม่เกินอัตราที่กาหนดตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0402.5/ว 85 ลง
วันที่ 6 กันยายน 2561 คือ หัวหน้าผูค้ วบคุมงานก่อสร้างในอัตราไม่เกิน 350 บาทต่อวันต่องาน และผู-้
ควบคุมงานก่อสร้าง (ผูป้ ฏิบตั ิการ) ในอัตราไม่เกิน 300 บาทต่อวันต่องาน
2. เบิกจ่ายได้ตามอายุสญ
ั ญา/ข้อตกลง
3. กรณีมีการปรับปรุงแก้ไขสัญญา/ข้อตกลงและมีการขยายอายุสญ ั ญา/ข้อตกลง ให้เบิกจ่ายได้ตาม
ั ญา/ข้อตกลงที่ได้ปรับปรุงแก้ไขแล้ว (อายุสญ
อายุสญ ั ญา/ข้อตกลงเดิม + ที่ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม)
4. ส่งมอบงานงวดสุดท้ายก่อนสิ้นสุดสัญญาและอยู่ระหว่างการตรวจรับ แต่มีการเพิ่มงานจากที่กาหนด
ในสัญญา/ข้อตกลง ให้ผูร้ บั จ้างต้องดาเนิ นการเพิ่มเติมซึ่งเกิดขึ้นจากความต้องการของหน่ วยงานของรัฐและ
ผูร้ บั จ้างยินยอม หากมีความจาเป็ นต้องควบคุมงานในส่วนที่เพิ่มเติมนี้ การเบิกจ่ายค่าตอบแทนผูค้ วบคุมงาน
ควรเป็ นความรับผิ ดชอบของหน่วยงานของรัฐ (ตามข้อเท็จจริงไม่ควรมีประเด็นนี้ )
5. สิ้นสุดสัญญาแล้วแต่ยงั ดาเนิ นการไม่แล้วเสร็จและมีค่าปรับเกิดขึ้นแล้ว การเบิ กจ่ายค่าตอบแทน
ผูค้ วบคุมงานหลังวันสิ้นสุดสัญญา/ข้อตกลง (นับถัดจากวันที่ครบกาหนดเวลาแล้วเสร็จของงานตามสัญญา/
ข้อตกลง หรือวันที่ผูว้ ่าจ้างได้ขยายเวลาทางานให้ จนถึงวันที่ทางานแล้วเสร็จจริง) เป็ นความรับผิ ดชอบของ
ผูร้ บั จ้าง นอกจากนี้ ผูว้ ่าจ้างยังสามารถเรียกค่าเสียหายอันเกิดขึ้นจากการที่ผูร้ บั จ้างทางานล่าช้าเฉพาะส่วนที่
เกินกว่าจานวนค่าปรับและค่าตอบแทนผูค้ วบคุมงานได้อีก (แบบสัญญาจ้างก่อสร้าง ข้อ 17 และข้อ 19)
6. ในกรณีที่ผูว้ ่าจ้างบอกเลิกสัญญา ผูว้ ่าจ้างอาจทางานนัน้ เองหรือว่าจ้างผูอ้ ื่นให้ทางานนัน้ ต่อจนแล้ว
เสร็จ กรณีที่มีค่าใช้จ่ายในการควบคุมงาน ผูว้ ่าจ้างสามารถหักเอาจากเงินประกันผลงานหรือจานวนเงินใดๆ
ที่จะจ่ายให้แก่ผูร้ บั จ้างก็ได้ (แบบสัญญาจ้างก่อสร้าง ข้อ 18)
ภาพรวมกระบวนการพิจารณาตรวจรับงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างก่อสร้าง
(ระเบียบฯ ข้อ 176-178)

ทราบ
มติองค์ประชุม รายงานหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ (ตามมติ)
: เห็นว่า ไม่ถกู ต้อง เพื่อทราบหรือสัง่ การ
สัง่ การ

: ถือว่าส่งมอบครบถ้วน ณ วันที่ส่งมอบ
ทาใบรับรองผลการปฏิบตั ิ งาน
อย่างน้อย 2 ฉบับ
ให้ผรู ้ บั จ้าง 1 และ จนท. 1
ผูค้ วบคุมงาน คณะกรรมการ มติองค์ประชุม แจ้งคู่สญ
ั ญา
(มาตรา 101 + ตรวจรับพัสดุ : เห็นว่า ถูกต้อง ดาเนิ นการ
ระเบียบฯ ข้อ 177- งานจ้างก่อสร้าง ทัง้ หมด/เฉพาะงวด รายงานหัวหน้าหน่ วยงาน
ข้อ 178) (ครบองค์ประชุม) ของรัฐ เพื่อทราบ

ให้รบั
เสนอหัวหน้าหน่ วยงาน
ของรัฐ เพื่อสัง่ การ
มติองค์ประชุม
: บางคนไม่รบั มอบ ไม่รบั

ทาบันทึกความเห็นแย้งไว้
หน้าที่และภารกิจ
ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา

ระเบียบฯ ข้อ 179 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา มีหน้าที่ดงั นี้


(1) กากับและติดตามงานจ้างที่ปรึกษาให้เป็ นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง
(2) ตรวจรับงานจ้างที่ปรึกษา ณ ที่ทาการของผูว้ ่าจ้าง หรือสถานที่ซ่ึงกาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง
(3) โดยปกติให้ตรวจรับงานจ้างที่ปรึกษาในวันที่ท่ีปรึกษานาผลงานมาส่ง และให้ดาเนิ นการให้เสร็จสิ้น
ไปโดยเร็วที่สดุ
(4) เมื่อตรวจถูกต้องและครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลงแล้ว ให้รบั งานจ้างที่ปรึกษา
ไว้ และถือว่าที่ปรึกษาได้ส่งมอบงานถูกต้องครบถ้วนตัง้ แต่วนั ที่ ท่ีปรึกษานาผลงานมาส่ง แล้วมอบแก่เจ้า-
หน้าที่ พร้อมกับทาใบตรวจรับ โดยลงชื่ อไว้เป็ นหลักฐานอย่างน้อย 2 ฉบับ มอบแก่ที่ปรึกษา 1 ฉบับ และ
เจ้าหน้าที่ 1 ฉบับ เพื่อทาการเบิกจ่ายเงินตามระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินของหน่ วยงานของรัฐ และ
รายงานให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐทราบ
ในกรณี ที่เห็นว่าผลงานที่ส่งมอบทัง้ หมดหรืองวดใดก็ตามไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดในสัญญาหรือ
ข้อตกลง มีอานาจสัง่ ให้แก้ไขเปลี่ ยนแปลงเพิ่มเติมหรือตัดทอนซึ่งงานตามสัญญา แล้วให้รายงานหัวหน้า
หน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่เพื่อทราบหรือสัง่ การ แล้วแต่กรณี
(๕) ในกรณี กรรมการตรวจรับพัสดุบางคนไม่ยอมรับงาน ให้กรรมการดังกล่าวทาความเห็ นแย้งไว้
แล้วให้เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐเพื่อพิจารณาสัง่ การ ถ้าหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐสัง่ การให้รบั ผลงานนัน้
ไว้ จึงดาเนิ นการตาม (4)
หน้าที่และภารกิจ
ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง
ระเบียบฯ ข้อ 180 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างมีหน้าที่ ดังนี้
(1) ตรวจให้ถกู ต้องตามที่ระบุไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง
(2) ตรวจรับงาน ณ ที่ทาการของผูว้ ่าจ้าง หรือสถานที่ซึ่งกาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง
(3) โดยปกติให้ตรวจรับงานในวันที่ผใู ้ ห้บริการนาผลงานมาส่ง และให้ดาเนิ นการให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็ว
ที่สดุ
(4) ในกรณี ที่ผลงานบกพร่องหรือไม่เป็ นไปตามความประสงค์ของหน่ วยงานของรัฐอันเนื่ องมาจากไม่ได้
ดาเนิ นการให้ถกู ต้องตามหลักวิชาการทางสถาปั ตยกรรมและหรือวิศวกรรม ต้องรีบแจ้งให้ผใู ้ ห้บริการดาเนิ น-
การแก้ไขให้เป็ นที่เรียบร้อยโดยเร็ว
(5) เมื่อตรวจถูกต้องและครบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลงแล้ว ให้รบั งานไว้และถือว่าผู ้
ให้บริการได้ส่งมอบงานถูกต้องครบถ้วนตัง้ แต่วนั ที่ผใู ้ ห้บริการนาผลงานมาส่ง แล้วมอบแก่เจ้าหน้าที่พร้อมกับ
ทาใบตรวจรับ โดยลงชื่ อไว้เป็ นหลักฐานอย่างน้อย 2 ฉบับ มอบแก่ผใู ้ ห้บริการ 1 ฉบับ และเจ้าหน้าที่ 1 ฉบับ
เพื่อทาการเบิกจ่ายเงินตามระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงิ นของหน่ วยงานของรัฐ และรายงานให้หวั หน้าหน่ วย-
งานของรัฐทราบ
ในกรณี ที่เห็นว่าผลงานที่ส่งมอบทัง้ หมดหรืองวดใดก็ตาม ไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดในสัญญาหรือ
ข้อตกลง มีอานาจสัง่ ให้แก้ไขเปลี่ ยนแปลงเพิ่มเติ ม หรือตัดทอนซึ่งงานตามสัญญา หากคู่สญ ั ญาไม่ปฏิ บตั ิ
ตาม มีอานาจที่จะสัง่ ให้หยุดงานนัน้ ชัว่ คราวได้ หรือให้รายงานหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่
เพื่อทราบหรือสัง่ การ แล้วแต่กรณี
(6) ในกรณี กรรมการตรวจรับพัสดุบางคนไม่ยอมรับงาน ให้กรรมการดังกล่าวทาความเห็นแย้งไว้ แล้ว
ให้เสนอหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐเพื่อพิจารณาสัง่ การ ถ้าหัวหน้าหน่ วยงานของรัฐสัง่ การให้รบั ผลงานนัน้ ไว้ จึง
ดาเนิ นการตาม (5)
ภาพรวมกระบวนการพิจารณาตรวจรับงานของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา/
จ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง
(ระเบียบฯ ข้อ 179-180)
ทราบ
รายงานหัวหน้าหน่ วยงาน (ตามมติ)
มติองค์ประชุม
ของรัฐ
: เห็นว่า ไม่ถกู ต้อง เพื่อทราบหรือสัง่ การ
สัง่ การ

: ถือว่าส่งมอบครบถ้วน ณ วันที่ส่ง
ทาใบรับรองผลการปฏิบตั ิ งาน
อย่างน้อย 2 ฉบับ
คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ให้ค่สู ญ
ั ญา 1 และ จนท. 1
มติองค์ประชุม แจ้งคู่สญ
ั ญา
งานจ้างที่ปรึกษา/ออกแบบ/คุมงาน
: เห็นว่า ถูกต้อง
(องค์ประชุมครบ) รายงานหัวหน้าหน่ วยงานของ
รัฐ เพื่อทราบ

ให้รบั
เสนอหัวหน้าหน่ วยงาน
มติองค์ประชุม ของรัฐ เพื่อสัง่ การ
: บางคนไม่รบั มอบ ไม่รบั
ทาบันทึกความเห็นแย้งไว้
แนวทางปฏิ บตั ิในการรับส่วนแถมพิเศษ ส่วนชดเชย ส่วนสนับสนุน หรือส่วนอื่นใดเพิ่มเติม
จากที่กาหนดไว้ในขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ
การปรับปรุงแก้ไขสัญญา
(มาตรา 97 , ระเบียบฯ ข้อ 165)

มาตรา 97 สัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือที่ ได้ลงนามแล้วจะแก้ไขไม่ได้ เว้นแต่ในกรณี ดงั ต่อไปนี้ ให้


อยู่ในดุลพินิจของผูม้ ี อานาจ ที่จะพิจารณาอนุมตั ิให้แก้ไขได้
(1) เป็ นการแก้ไขตามมาตรา 93 วรรคห้า แก้ไขตามความเห็นของสานักงานอัยการสูงสุด
(2) ในกรณี ที่มีความจาเป็ นต้องแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลง หากการแก้ไขนัน้ ไม่ทาให้หน่ วยงาน
ของรัฐเสียประโยชน์
(3) เป็ นการแก้ไขเพื่อประโยชน์แก่หน่ วยงานของรัฐหรือประโยชน์สาธารณะ
(4) กรณี อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ในกรณี การแก้ไขสัญญาที่หน่ วยงานของรัฐเห็นว่าจะมีปัญหาในทางเสียประโยชน์หรือไม่รดั กุมพอ
ก็ให้ส่งร่างสัญญาที่แก้ไขนัน้ ไปให้สานักงานอัยการสูงสุดพิจารณาให้ความเห็ นชอบก่อน
การแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลงตามวรรคหนึ่ งหรือวรรคสอง จะต้องปฏิ บตั ิตามกฎหมายว่าด้วย
วิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่ นที่เกี่ยวข้อง หากมีความจาเป็ นต้องเพิ่มหรือลดวงเงิน หรือเพิ่มหรือลด
ระยะเวลาส่งมอบหรือระยะเวลาในการทางาน ให้ตกลงพร้อมกันไป
ในกรณี ที่มีการแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลงเพื่อเพิ่มวงเงิน เมื่อรวมวงเงินตามสัญญาหรือข้อตกลง-
เดิมและวงเงินที่เพิ่มขึ้ นใหม่แล้ว หากวงเงินรวมดังกล่าวมีผลทาให้ผมู ้ ีอานาจอนุ มตั ิสงั ่ ซื้อหรือสัง่ จ้าง
เปลี่ ยนแปลงไป จะต้องดาเนิ นการให้ผมู ้ ีอานาจอนุมตั ิสงั ่ ซื้อหรือสัง่ จ้างตามวงเงินรวมดังกล่าวเป็ นผูอ้ นุมตั ิ การ
แก้ไขสัญญาหรือข้อตกลงด้วย
ในกรณี ที่มีการแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลงเพื่อลดวงเงิน ให้ผมู ้ ีอานาจอนุมตั ิสงั ่ ซื้อหรือสัง่ จ้างตาม
วงเงินเดิมเป็ นผูอ้ นุมตั ิ การแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลง
การปรับปรุงแก้ไขสัญญา (ต่อ)
ระเบียบฯ ข้อ 165 การแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลงตามมาตรา 97 ต้องอยู่ภายใน
ขอบข่ายแห่งวัตถุประสงค์เดิมของสัญญาหรือข้อตกลงนัน้ โดยหน่ วยงานของรัฐต้อง
พิจารณาเปรียบเทียบคุณภาพของพัสดุ หรือรายละเอียดของงาน รวมทัง้ ราคาของพัสดุ
หรืองานตามสัญญาหรือข้อตกลงกับพัสดุท่ีจะทาการแก้ไขนัน้ ก่อนแก้ไขสัญญาหรือ
ข้อตกลงด้วย
ในกรณี ที่เป็ นการจัดซื้อจัดจ้างที่เกี่ยวกับความมัน่ คงแข็ งแรงหรืองานเทคนิ ค
เฉพาะอย่าง จะต้องได้รบั การรับรองจากวิศวกร สถาปนิ กและวิศวกรผูช้ านาญการ หรือ
ผูท้ รงคุณวุฒิ ซึ่งรับผิดชอบหรือสามารถรับรอง คุณลักษณะเฉพาะ แบบและรายการของ
งานก่อสร้าง หรืองานเทคนิ คเฉพาะอย่างนัน้ แล้วแต่กรณี ดว้ ย
เมื่อผูม้ ีอานาจอนุมตั ิสงั ่ ซื้อหรือสัง่ จ้างแล้วแต่กรณี ได้อนุมตั ิการแก้ไขสัญญา
หรือข้อตกลงแล้ว ให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐเป็ นผูล้ งนามในสัญญาหรือข้อตกลงที่ได้
แก้ไขนัน้

มาตรา 98 ให้หน่ วยงานของรัฐประกาศเผยแพร่สาระสาคัญของสัญญาหรือข้อตกลง


ที่ได้ลงนามแล้ว รวมทัง้ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาหรือข้อตกลง ในระบบเครือข่าย
สารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของหน่ วยงานของรัฐ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
กรมบัญชีกลางกาหนด
ประเด็นปั ญหาและข้อสังเกต
เกี่ยวกับการปรับปรุงแก้ไขสัญญา

➢ ไม่มีขอ้ กาหนดช่วงเวลาในการปรับปรุงแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลง ว่าจะต้องดาเนิ นการในช่วงเวลาใด แต่โดยหลัก


ปฏิบตั ิแล้วจะต้องดาเนิ นการก่อนที่จะมีการตรวจรับมอบงานเสร็จสมบูรณ์เป็ นอย่างช้า ถ้ามีการตรวจรับมอบงาน
ตามสัญญาเสร็จสมบูรณ์แล้ว (คณะกรรมการตรวจรับฯ ได้ตรวจรับเรียบร้อยแล้ว) ถือว่าสัญญาได้ส้ ินสุดลงแล้ว
จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาไม่ได้ (หลักการตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค (กวพ) 0408.4/24379 ลงวันที่ 1
กันยายน 2548) แต่อย่างไรก็ดี หากเป็ นการแก้ไขในส่วนที่เป็ นรายละเอียดของงาน จะต้องดาเนิ นการก่อนการ
ตรวจรับงานงวดสุดท้าย แต่หากเป็ นการแก้ไขในส่วนที่มิใช่รายละเอียดของเนื้ องาน แม้จะมีการตรวจรับงานงวด
สุดท้ายแล้วก็ย่อมสามารถกระทาได้ (หลักการตามหนังสือตอบข้อหารือของคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ)
0405.4/22315 ลงวันที่ 17 พฤษภาคม 2564)
➢ ในการปรับปรุงแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลง คู่สญ ั ญาจะต้องมีการตกลงกันในเรื่องของเนื้ องานที่เปลี่ยนแปลงไป และ
ราคาจ้าง รวมทัง้ ระยะเวลาที่เปลี่ยนแปลงพร้อมกันไปด้วย (มาตรา 97 วรรคสาม และหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัย
ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว118 ลงวันที่ 12 มีนาคม 2562)
➢ การลงนาม ในสัญญาและการแก้ไขสัญญา เป็ นอานาจของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ (ระเบียบฯ ข้อ 161 วรรคหนี่ง)
ั อนุมตั ิจากผูม้ ีอานาจอนุมตั ิสงั ่ ซื้อสัง่ จ้าง ส่วนการลงนามในสัญญาที่แก้ไข
➢ การแก้ไขสัญญาไม่ว่ากรณี ใด ต้องได้รบ
เป็ นอานาจของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ (หนังสือคณะกรรมการวินิจฉัย ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.3/ว476 ลงวันที่
30 กันยายน 2562)
➢ การแก้ไขงานและงานพิเศษ ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดตามสัญญา (แบบสัญญาจ้างก่อสร้างที่คณะกรรมการนโยบาย
กาหนด ตามประกาศคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้ อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ เรื่อง แบบสัญญาเกีย่ วกับการจัดซื้ อ
จัดจ้างตามพระราชบัญญัตกิ ารจัดซื้ อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
➢ ในการทาสัญญา หากมีการแก้ไขสัญญาและมีผลทาให้วงเงินตามสัญญานัน้ เปลีย่ นแปลงไปจากเดิม ในกรณี
เพิ่มขึ้น คูส่ ัญญาต้องนาหลักประกันสัญญามาวางเท่ากับวงเงินหลักประกันสัญญาที่ได้เพิ่มนัน้ (ระเบียบฯ ข้อ 171
วรรคหนึ่ง)
ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับผูม้ ีอานาจอนุมตั ิแก้ไขสัญญา
ค่าปรับ การงดหรือลดค่าปรับ และการขยายเวลาทาการ
ตามสัญญาหรือข้อตกลง
(มาตรา 102 , ระเบียบฯ ข้อ 181-183)

มาตรา 102 การงดหรือลดค่าปรับให้แก่ค่สู ญ


ั ญา หรือการขยายเวลาทาการตามสัญญาหรือ
ข้อตกลง ให้อยู่ในดุลพินิจของผูม้ ีอานาจที่จะพิจารณาได้ตามจานวนวันที่ มีเหตุเกิดขึ้ นจริง เฉพาะ
ในกรณี ดงั ต่อไปนี้
(1) เหตุเกิดจากความผิ ดหรือความบกพร่องของหน่ วยงานของรัฐ
(2) เหตุสดุ วิสยั
(3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์อนั หนึ่ งอันใดที่ค่สู ญ
ั ญาไม่ตอ้ งรับผิ ดตามกฎหมาย
(4) เหตุอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
หลักเกณฑ์และวิธีการของดหรือลดค่าปรับให้แก่ค่สู ญ ั ญา หรือการขยายเวลาทาการ
ตามสัญญาหรือข้อตกลง ให้เป็ นไปตามระเบียบที่รฐั มนตรีกาหนด
ระเบียบฯ ข้อ 181 กรณี ที่สญ
ั ญาหรือข้อตกลงได้ครบกาหนดส่งมอบแล้วและมีค่าปรับ
เกิดขึ้ น ให้หน่ วยงานของรัฐแจ้งการเรียกค่าปรับตามสัญญาหรือข้อตกลงจากคูส่ ญ
ั ญาภายใน
7 วันทาการ นับถัดจากวันครบกาหนดส่งมอบ และเมื่อคู่สญ ั ญาได้ส่งมอบพัสดุ ให้หน่ วยงาน
ของรัฐบอกสงวนสิทธิ์การเรียกค่าปรับในขณะที่ รบั มอบพัสดุนนั้ ด้วย

ระเบียบฯ ข้อ 181


ค่าปรับ การงดหรือลดค่าปรับ
หรือการขยายเวลาทาการตามสัญญาหรือข้อตกลง
(ต่อ)

ระเบียบฯ ข้อ 182 การงดหรือลดค่าปรับให้แก่ค่สู ญ ั ญา หรือการขยายเวลาทาการตามสัญญาหรือ


ข้อตกลงตามมาตรา 102 ในกรณี ที่มีเหตุเกิดจากความผิ ดหรือความบกพร่องของหน่ วยงานของรัฐหรือ
เหตุสดุ วิสยั หรือเกิดจากพฤติการณ์อนั หนึ่ งอันใดที่ค่สู ญ
ั ญาไม่ตอ้ งรับผิ ดตามกฎหมาย หรือเหตุอ่ืนตามที่
กาหนดในกฎกระทรวง ทาให้ค่สู ญ ั ญาไม่สามารถส่งมอบสิ่งของหรืองานตามเงื่อนไขและกาหนดเวลาแห่ง
สัญญาได้ ให้หน่ วยงานของรัฐระบุไว้ในสัญญาหรือข้อตกลงกาหนดให้ค่สู ญ ั ญาต้องแจ้งเหตุดงั กล่าวให้
หน่ วยงานของรัฐทราบภายใน 15 วัน นับถัดจากวันที่เหตุนนั้ ได้ส้ ินสุดลง หรือตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
หากมิได้แจ้งภายในเวลาที่กาหนด คู่สญ ั ญาจะยกมากล่าวอ้างเพื่อของดหรือลดค่าปรับ หรือขอขยายเวลาใน
ภายหลังมิได้ เว้นแต่กรณี เหตุเกิดจากความผิ ดหรือความบกพร่องของหน่ วยงานของรัฐซึ่งมีหลักฐานชัดแจ้ง
หรือหน่ วยงานของรัฐทราบดี อยู่แล้วตัง้ แต่ตน้
ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการงดหรือลดค่าปรับหรือขยายเวลาทาการตามสัญญา
(หนังสือเวียน)
ประเด็นปั ญหาและข้อสังเกตุในการคานวณค่าปรับ

การคิดคานวณค่าปรับต้องเป็ นไปตามที่กาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง ซึ่งกาหนดตามระเบียบฯ ข้อ 162-163 และมี


ข้อสังเกตุ ดังนี้
1. การคิดคานวณค่าปรับในงานซื้อหรือจ้างที่ไม่ตอ้ งการผลสาเร็จพร้อมกัน
คิดค่าปรับเป็ นรายวันในอัตราตายตัวระหว่างร้อยละ 0.01-0.20 ของราคาพัสดุท่ียงั ไม่ได้รบั มอบ
2. การคิดคานวณค่าปรับในงานจ้างซึ่งต้องการผลสาเร็จของงานทัง้ หมดพร้อมกัน
- คิดค่าปรับเป็ นรายวัน เป็ นจานวนเงินตายตัวในอัตราร้อยละ 0.01-0.10 ของราคางานจ้างนัน้ แต่จะต้องไม่ตา่ กว่าวันละ
100 บาท
- งานก่อสร้างสาธารณูปโภคที่มีผลกระทบต่อการจราจร คิดค่าปรับเป็ นรายวัน ในอัตราร้อยละ 0.25 ของราคางานจ้างนัน้
3. การคิดคานวณค่าปรับในงานจ้างที่ปรึกษา
คิดค่าปรับเป็ นรายวันในอัตราหรือจานวนเงินตายตัวในอัตราร้อยละ 0.01-0.10 ของราคางานจ้างนัน้
4. การคิดคานวณค่าปรับในการจัดหาสิ่งของที่ประกอบกันเป็ นชุด ถ้าขาดส่วนประกอบส่วนหนึ่ งส่วนใดไปแล้วจะไม่สามารถใช้การได้
โดยสมบูรณ์ แม้ค่สู ญ ั ญาจะส่งมอบสิ่งของภายในกาหนดตามสัญญาแต่ยงั ขาดส่วนประกอบบางส่วน ต่อมาได้ส่งมอบส่วนประกอบ
ที่ยงั ขาดนัน้ เกินกาหนดสัญญา ให้ถือว่าไม่ได้ส่งมอบสิ่งของนัน้ เลย ให้ปรับเต็มราคาของทัง้ ชุด
5. การคิดคานวณค่าปรับในการจัดหาสิ่งของที่คิดราคารวมค่าติดตัง้ หรือทดลองด้วย ถ้าติดตัง้ หรือทดลองเกินกว่ากาหนดตามสัญญา
เป็ นจานวนวันเท่าใด ให้ปรับเป็ นรายวันในอัตราที่กาหนดของราคาทัง้ หมด
6. การคิดคานวณค่าปรับที่กาหนดตามระเบียบฯ ข้อ 163 (ระเบียบฯ ข้อ 163 : ในกรณี ที่หน่ วยงานของรัฐเห็นว่ามีความจาเป็ นจะต้องกาหนด
ค่าปรับนอกเหนื อจากที่ กาหนดไว้ในข้อ 162 เนื่ องจากถ้าไม่กาหนดค่าปรับไว้ในสัญญาจะเกิดความเสี ยหายแก่หน่ วยงานของรัฐ เช่น งานที่เกี่ยว-
กับเทคโนโลยี สารสนเทศ หรืองานที่อยู่ระหว่างการรับประกันความชารุดบกพร่องจากการซื้อขายคอมพิวเตอร์ ให้พิจารณากาหนดอัตราค่าปรับ
ในกรณี ดงั กล่าว โดยคานึ งถึ งความสาคัญและลักษณะของงานที่จะกาหนด และความเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้ นแก่หน่ วยงานของรัฐ เป็ นสาคัญ
ประเด็นปั ญหาและข้อสังเกตุในการคานวณค่าปรับ
(ต่อ)

7. การคิดคานวณค่าปรับในงานจ้างที่กาหนดการส่งมอบงานเป็ นรายงวด
7.1 สัญญาหรือข้อตกลงกาหนดให้ปรับเป็ นรายงวด
หากในสัญญาหรือข้อตกลงกาหนดให้คิดค่าปรับ กรณี ผูร้ บั จ้างหรือคู่สญ ั ญาไม่สามารถทางานให้แล้วเสร็จใน
แต่ละงวดตามระยะเวลาที่กาหนดสาหรับงานงวดนัน้ ๆ ไว้ กรณี น้ ี ผูว้ ่าจ้างมีสิทธิตามสัญญา โดยคิดค่าปรับแยกตามงาน
แต่ละงวดที่ผูร้ บั จ้างหรือคู่สญ
ั ญาทางานแล้วเสร็จล่าช้า โดยคานวณนับตัง้ แต่วนั ถัดจากวันที่ครบกาหนดแล้วเสร็จของงาน
งวดนัน้ ๆ ไปจนถึงวันที่ผูร้ บั จ้างหรือคู่สญ
ั ญาทางานงวดนัน้ ๆ แล้วเสร็จ (คาวินิจฉัยข้อหารือของสานักงานอัยการสูงสุด เรื่องหารือที่
41/2553)
7.2 สัญญาหรือข้อตกลงมิได้กาหนดหรือระบุให้ปรับเป็ นรายงวด
หากในสัญญาหรือข้อตกลงมิได้กาหนดหรือระบุให้ปรับเป็ นรายงวดในแต่ละงวด แม้สญ ั ญาจ้างจะกาหนดเวลา
แล้วเสร็จของงวดงานแต่ละงวดไว้และผูร้ บั จ้างหรือคู่สญ ั ญาส่งงานล่าช้าไม่ทนั ภายในกาหนดเวลาในแต่ละงวด แต่ผูร้ บั -
จ้างหรือคู่สญ
ั ญาสามารถส่งมอบงานทัง้ หมดตามสัญญาได้ทนั ภายในกาหนดเวลาแล้วเสร็จสมบูรณ์ตามสัญญา กรณี น้ ี
ย่อมถือไม่ได้ว่าผูร้ บั จ้างผิดสัญญา เพราะเวลาแล้วเสร็จของแต่ละงวดงานที่กาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลงนัน้ เป็ นการ
กาหนดไว้เพื่อการแบ่งจ่ายค่างานเป็ นงวดตามผลงานที่ได้ดาเนิ นการไปแล้ว ไม่ใช่เป็ นกาหนดเวลาแล้วเสร็ จตามสัญญา
หรือข้อตกลง (คาวินิจฉัยข้อหารือของสานักงานอัยการสูงสุด เรื่องหารือที่ 168/2551)
8. การนับวันคิดค่าปรับ ให้เริ่มนับวันถัดจากวันครบกาหนดตามสัญญาหรือข้อตกลง จนถึงวันที่ส่งมอบถูกต้องครบถ้วน หรือ
จนถึงวันบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลง หักด้วย ระยะเวลาที่คณะกรรมการฯ และหน่ วยงานใช้ในการตรวจรับ เหตุที่
สามารถนามางดหรือลดค่าปรับได้ตามที่กาหนดตามมาตรา 102 และระเบียบฯ ข้อ 182 และหรือ กรณี อ่ืนๆ ตามที่
คณะรัฐมนตรีหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกาหนด
กรณี วนั ครบกาหนดส่งมอบตามสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นวันหยุด ให้ถือเอาวันครบกาหนดส่งมอบตามสัญญา
หรือข้อตกลงนัน้ เป็ นวันทาการถัดไป เช่น วันครบกาหนดส่งมอบตามสัญญาหรือข้อตกลง เป็ นวันเสาร์ที่ 29 กุมภาพันธ์
2563 ซึ่งเป็ นวันหยุด กรณี น้ ี ให้เลื่อนวันครบกาหนดส่งมอบตามสัญญาหรือข้อตกลง เป็ นวันทาการถัดไป คือวันจันทร์
ที่ 2 มีนาคม 2563 และเริ่มนับวันคิดค่าปรับ ตัง้ แต่วนั ที่ 3 มีนาคม 2563 เป็ นต้นไป เป็ นต้น
สูตรการคานวณค่าปรับ
มูลค่าของสัญญาหรือข้อตกลง
ค่าปรับ = อัตราค่าปรับ × หรือมูลค่าพัสดุที่ยงั ไม่ได้รบั มอบ
แล้วแต่กรณี
× จานวนวันที่ผิดนัด

➢ ค่าปรับ หมายถึง จานวนค่าปรับที่ค่สู ญ


ั ญาต้องชาระ
➢ อัตราค่าปรับ หมายถึ ง อัตราค่าปรับที่ กาหนดในสัญญาหรื อข้อตกลง (ซึ่ งกาหนดตามระเบี ยบฯ ข้อ 162-163)

▪ งานซื้อหรือจ้างที่ ไม่ตอ้ งการผลสาเร็จพร้อมกัน ร้อยละ 0.01-0.20 ของราคาพัสดุที่ยงั ไม่ได้รบั มอบ


▪ งานจ้างซึ่งต้องการผลสาเร็จของงานทัง้ หมดพร้อมกัน ร้อยละ 0.01-0.10 ของราคางานจ้างนัน้ แต่จะต้องไม่ตา่ กว่าวันละ 100 บาท
▪ งานก่อสร้างสาธารณูปโภคที่มีผลกระทบต่อการจราจร ร้อยละ 0.25 ของราคางานจ้างนัน้
▪ งานจ้างที่ปรึกษา ร้อยละ 0.01-0.10 ของราคางานจ้างนัน้
➢ มูลค่าของสัญญาหรือข้อตกลงหรือมูลค่าพัสดุที่ยงั ไม่ได้รบั มอบ หมายถึง มูลค่าของสัญญาหรือข้อตกลง กรณีงาน
ซื้อหรือจ้างที่ตอ้ งการผลสาเร็จทัง้ หมดพร้อมกัน หรือมูลค่าของพัสดุท่ียงั ไม่ได้รบั มอบ กรณี ของงานซื้อหรือจ้างที่ไม่
ต้องการผลสาเร็จพร้อมกัน
➢ จานวนวันที่ ผิดนัด หมายถึ ง จานวนวันที่ นามาคิ ดคานวณค่าปรับ ให้เริ่ มนับวันถัดจากวันครบกาหนดตามสัญญา
หรือข้อตกลง จนถึงวันที่ส่งมอบถูกต้องครบถ้วน หรือจนถึงวันบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลง หักด้วย ระยะเวลาที่
คณะกรรมการฯ และหน่วยงานใช้ในการตรวจรับ เหตุที่สามารถนามางดหรือลดค่าปรับได้ตามที่กาหนดตามมาตรา
102 และระเบียบฯ ข้อ 182 และหรือ กรณีอ่ืนๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกาหนด
ตัวอย่างการคานวณจานวนวันเพื่อนามาคานวณค่าปรับ

วันเริม่
คิดค่าปรับ

จานวนวันที่นาไปคานวณค่าปรับ

วันที่สามารถนามาหักลบจานวนวันที่ผิดสัญญาหรือไม่ถือเป็ นวันผิ ดสัญญา


1. จานวนวันที่อยู่ระหว่างการดาเนิ นการของคณะกรรมการและหน่วยงานของรัฐ
2. เหตุที่นามางดหรือลดค่าปรับได้ตามที่กาหนดตามมาตรา 102 และระเบียบฯ ข้อ 182
3. กรณี อื่นๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกาหนด
ตัวอย่างและแนวทางการคานวณค่าปรับ
ในงานซื้อหรือจ้างที่ไม่ตอ้ งการผลสาเร็จพร้อมกัน

คิดค่าปรับเป็ นรายวันในอัตราตายตัวระหว่างร้อยละ 0.01-0.20 ของราคาพัสดุที่ยงั ไม่ได้รบั มอบ


จัดซื้อพัสดุรวม 3 รายการ มูลค่าตามสัญญา 5 ล้านบาท ลงนามสัญญาวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 กาหนดส่งมอบภายใน 30
วัน นับแต่วนั ลงนามในสัญญา (วันที่ 30 พฤศจิกายน 2562) กาหนดค่าปรับร้อยละ 0.10 ของราคาพัสดุที่ยงั ไม่ได้รบั มอบ
ั ญาได้ส่งมอบพัสดุ จานวน 2 รายการ มูลค่า 4 ล้านบาท ในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2562 และคณะกรรมการตรวจรับ
คู่สญ
เรียบร้อยในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2562 ส่วนรายการที่ 3 มูลค่า 1 ล้านบาท คู่สญ ั ญาได้ส่งมอบในวันที่ 16 ธันวาคม 2562
และคณะกรรมการตรวจรับเรียบร้อยในวันที่ 20 ธันวาคม 2562

▪ รายการที่ 1 และรายการที่ 2 มูลค่ารวม 4 ล้านบาท คู่สญ


ั ญาได้ส่งมอบและคณะกรรมการตรวจรับได้ดาเนิ นการตรวจรับเรียบร้อย
ก่อนวันครบกาหนดส่งมอบ จึงไม่มีประเด็นเรื่องค่าปรับ
▪ รายการที่ 3 มูลค่า 1 ล้านบาท คู่สญ
ั ญาได้ส่งมอบหลังวันครบกาหนดส่งมอบ จึงมีประเด็นการคิดคานวณค่าปรับ ดังต่อไปนี้

วันครบกาหนด วันครบกาหนด เอกสารส่งมอบงาน


ส่งมอบตามสัญญา รายการที่ 3 ตรวจรับเรียบร้อย
วันลงนามสัญญา ส่งมอบ วันเริม่ คิดค่าปรับ

1 พย. 30 พย. 2 ธค. 3 ธค. 16 ธค. 20 ธค.


62 62 62 62 62 62

ระยะเวลาตรวจรับ
วันเสาร์ วันจันทร์
จานวนวันผิ ดนัด 14 วัน

ค่าปรับ
รายการที่ 3 = อัตราค่าปรับ
0.10/100 × มูลค่าพัสดุที่ยงั ไม่ได้รบั มอบ
1,000,000 × จานวนวันที่ ผิดนัด
14

= 14,000 บาท
ตัวอย่างและแนวทางการคิดคานวณค่าปรับ
งานซื้อหรือจ้างที่คิดค่าปรับตามมูลค่าพัสดุที่ยงั ไม่ได้รบั มอบ
และกาหนดส่งมอบงานเป็ นงวด

สัญญามูลค่า 1,000,000 บาท กาหนดค่าปรับเป็ นรายวันในอัตราร้อยละ 0.10 ของราคาพัสดุท่ียงั ไม่ได้รบั มอบของแต่ละงวด โดย
กาหนดส่งมอบงานไว้ 3 งวด งวด 1 และงวด 2 มูลค่างวดละ 250,000 บาท และงวด 3 มูลค่า 500,000 บาท คู่สญ ั ญาได้
ส่งมอบงานทัง้ 3 งวด หลังวันครบกาหนดตามสัญญา

แนวทางการคานวณค่าปรับ
ค่าปรับงวด 1 = (0.10/100)  1,000,000  จานวนวันนับถัดจากวันครบกาหนดตามสัญญาถึงวันส่งมอบงวด 1

ค่าปรับงวด 2 = (0.10/100)  (1,000,000-250,000)  จานวนวันนับถัดจากวันส่งมอบงานงวด 1 ถึงวัน


ส่งมอบงานงวด 2

ค่าปรับงวด 3 = (0.10/100)  (1,000,000-250,000-250,000)  จานวนวันนับถัดจากวันส่งมอบงานงวด 2


ถึงวันส่งมอบงานงวด 3

กรณี น้ ี ค่าปรับทัง้ หมด = ค่าปรับงวด 1 + ค่าปรับงวด 2 + ค่าปรับงวด 3


ตัวอย่างวิธีการคานวนค่าปรับในงานก่อสร้าง
และงานจ้างซึ่งต้องการผลสาเร็จของงานทัง้ หมดพร้อมกัน
- คิดค่าปรับเป็ นรายวัน เป็ นจานวนเงินตายตัวในอัตราร้อยละ 0.01-0.10 ของราคางานจ้างนัน้ แต่จะต้องไม่ตา่ กว่าวันละ 100 บาท
- งานก่อสร้างสาธารณูปโภคที่มีผลกระทบต่อการจราจร คิดค่าปรับเป็ นรายวัน ในอัตราร้อยละ 0.25 ของราคางานจ้างนัน้
- งานจ้างที่ปรึกษา คิดค่าปรับเป็ นรายวัน ในอัตราหรือจานวนเงินตายตัวในอัตราร้อยละ 0.01-0.10 ของราคางานจ้างนัน้
วันเริม่ คิดค่าปรับ
วันครบ
กาหนด
ตาม
สัญญา
หรือ
ข้อตกลง
วันเริม่ คิดค่าปรับ
วันเริม่
คิดค่าปรับ
วันครบ
กาหนด
ตาม
สัญญา
หรือ
ข้อตกล
ง วันเริ่ม
คิดค่าปรับ
วันเริ่ม
คิดค่าปรับ

7+9 32
ตัวอย่างและแนวทางการคิดคานวณค่าปรับ
ในงานก่อสร้างและงานจ้างซึ่งต้องการผลสาเร็จของงานทัง้ หมดพร้อมกัน
และกาหนดส่งมอบงานเป็ นงวด

สัญญามูลค่า 1,000,000 บาท กาหนดค่าปรับเป็ นรายวันในอัตราร้อยละ 0.10 ของราคางานจ้าง กาหนดส่งมอบไว้ 3


งวด งวด 1 และงวด 2 มูลค่างวดละ 250,000 บาท และงวด 3 มูลค่า 500,000 บาท คู่สญ ั ญาได้ส่งมอบงานทัง้ 3
งวด หลังวันครบกาหนดตามสัญญา

แนวทางการคานวณค่าปรับ

ค่าปรับงวด 1 = (0.10/100)  1,000,000  จานวนวันนับถัดจากวันครบกาหนดตามสัญญาถึงวันส่งมอบงวด 1

ค่าปรับงวด 2 = (0.10/100)  1,000,000  จานวนวันนับถัดจากวันส่งมอบงานงวด 1 ถึงวันส่งมอบงานงวด 2

ค่าปรับงวด 3 = (0.10/100)  1,000,000  จานวนวันนับถัดจากวันส่งมอบงานงวด 2 ถึงวันส่งมอบงานงวด 3

กรณี น้ ี ค่าปรับทัง้ หมด = ค่าปรับงวด 1 + ค่าปรับงวด 2 + ค่าปรับงวด 3


การบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลง
(มาตรา 103 ; ระเบียบฯ ข้อ 183 และข้อ 187-189)

มาตรา 103 ในกรณี ที่มีเหตุบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลงต่อไปนี้ ให้อยู่ในดุลพินิจของผูม้ ีอานาจที่จะบอกเลิกสัญญาหรือ


ข้อตกลงกับคู่สญ ั ญา
(1) เหตุตามที่กฎหมายกาหนด
(2) เหตุอนั เชื่อได้ว่าผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้างไม่สามารถส่งมอบงานหรือทางานให้แล้วเสร็จได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด
(3) เหตุอ่ืนตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติน้ ี หรือในสัญญา หรือข้อตกลง
(4) เหตุอื่นตามระเบียบที่รฐั มนตรีกาหนด (ระเบียบฯ ข้อ 183)
การตกลงกับคู่สญ ั ญาที่จะบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลง ให้ผูม้ ีอานาจพิจารณาได้เฉพาะในกรณี ท่ีเป็ นประโยชน์แก่
หน่ วยงานของรัฐโดยตรงหรือเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือเพื่อแก้ไขข้อเสียเปรียบของหน่ วยงานของรัฐในการที่จะปฏิบตั ิตามสัญญา
หรือข้อตกลงนัน้ ต่อไป
ในกรณี ที่หน่ วยงานของรัฐมิได้เป็ นฝ่ ายบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลง หรือการบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลงนัน้ เป็ น
กรณี ที่หน่ วยงานของรัฐมิได้เรียกค่าปรับ แล้วแต่กรณี หากคู่สญ ั ญาเห็นว่า หน่ วยงานของรัฐต้องรับผิ ดชดใช้ค่าเสียหาย คู่สญ
ั ญา
จะยื่นคาขอต่อหน่ วยงานของรัฐให้พิจารณาชดใช้ค่าเสียหายก็ได้ ในการนี้ หน่ วยงานของรัฐต้องออกใบรับคาขอให้ไว้เป็ นหลักฐาน
และพิจารณาคาขอนัน้ โดยไม่ชกั ช้า เมื่อหน่ วยงานของรัฐมีหนังสือแจ้งผลการพิจารณาเป็ นเช่นใดแล้ว หากคู่สญ ั ญายังไม่พอใจใน
ผลการพิจารณาก็ให้มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลเพื่อเรียกให้ชดใช้ค่าเสียหายตามสัญญาต่อไป ทัง้ นี้ หลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลา
ในการพิจารณาคาขอของหน่ วยงานของรัฐให้เป็ นไปตามระเบียบที่รฐั มนตรีกาหนด ซึ่งอย่างน้อยต้องกาหนดให้หน่ วยงานของรัฐ
แต่งตัง้ คณะกรรมการขึ้นเพื่อพิจารณาค่าเสียหายและการกาหนดวงเงินค่าเสียหายที่ตอ้ งรายงานต่อกระทรวงการคลังเพื่อพิจารณาให้
ความเห็นชอบ

ระเบียบฯ ข้อ 183 นอกจากการบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลงตามมาตรา 103 หากปรากฏว่าคู่สญ ั ญาไม่สามารถปฏิบตั ิ


ตามสัญญาหรือข้อตกลงได้ และจะต้องมีการปรับตามสัญญาหรือข้อตกลงนัน้ หากจานวนเงินค่าปรับจะเกินร้อยละสิบของวงเงินค่า
พัสดุหรือค่าจ้าง ให้หน่ วยงานของรัฐพิจารณาดาเนิ นการบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลง เว้นแต่ค่สู ญ ั ญาจะได้ยินยอมเสียค่าปรับให้
แก่หน่ วยงานของรัฐโดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทัง้ สิ้น ให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐพิจารณาผ่อนปรนการบอกเลิกสัญญาได้เท่าที่จาเป็ น
ซักซ้อมความเข้าใจการบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลง ตามระเบียบฯ ข้อ 183
(หนังสือเวียน)
การดาเนิ นการเกี่ยวกับการรับประกันความชารุดบกพร่อง
(ระเบียบฯ ข้อ 184-186)

ระเบียบฯ ข้อ 184 ภายหลังจากสิ้นสุดสัญญา ระหว่างที่อยู่ในระหว่างระยะเวลารับประกัน


ความชารุดบกพร่อง ให้หวั หน้าหน่ วยงานผูค้ รอบครองพัสดุหรือผูท้ ่ีได้รบั มอบหมายมีหน้าที่
รับผิ ดชอบดูแลบารุงรักษาและตรวจสอบความชารุดบกพร่องของพัสดุ เว้นแต่ กรณี ที่ไม่มีผู ้
ครอบครองพัสดุหรือมีหลายหน่ วยงานครอบครอง ให้หวั หน้าเจ้าหน้าที่มีหน้าที่รบั ผิ ดชอบดูแล
บารุงรักษาและตรวจสอบความชารุดบกพร่องของพัสดุนนั้

ระเบียบฯ ข้อ 185 ในกรณี ท่ีปรากฏความชารุดบกพร่องของพัสดุภายในระยะเวลาของ


การประกันความชารุดบกพร่องตามสัญญา ให้ผมู ้ ีหน้าที่รบั ผิ ดชอบตามข้อ 184 รีบรายงาน
หัวหน้าหน่ วยงานของรัฐ เพื่อแจ้งให้ผขู ้ ายหรือผูร้ บั จ้างดาเนิ นการแก้ไขหรือซ่อมแซมทันที
พร้อมทัง้ แจ้งให้ผคู ้ ้าประกัน (ถ้ามี) ทราบด้วย

ระเบียบฯ ข้อ 186 เมื่อได้ดาเนิ นการตามข้อ 185 แล้ว กรณี ที่สญ


ั ญาจะครบกาหนด
รับประกันความชารุดบกพร่อง ให้หน่ วยงานของรัฐพิจารณาถึงความชารุดบกพร่องของพัสดุ
เพื่อป้ องกันความเสียหาย จากนัน้ ให้คืนหลักประกันสัญญาต่อไป
การดาเนิ นการเกี่ยวกับการรับประกันความชารุดบกพร่อง (ต่อ)
การรับประกันความชารุดบกพร่องหรือการรับประกันผลงาน เป็ นเงื่อนไขที่ตอ้ งกาหนดไว้ใน
สัญญา เช่น กรณี ของงานจ้างก่อสร้าง ได้กาหนดไว้ในแบบสัญญาจ้างก่อสร้าง ดังนี้
“เมื่องานแล้วเสร็จบริบรู ณ์ และผูว้ ่าจ้างได้รบั มอบงานจากผูร้ บั จ้างหรือจากผูร้ บั จ้างรายใหม่ใน
กรณี ที่มีการบอกเลิ กสัญญาตามข้อ.... หากมีเหตุชารุดบกพร่องหรือเสียหายเกิดขึ้ นจากการจ้างนี้
ภายในกาหนด.........…..(……..….…..) ปี ………(………....….) เดือน นับถัดจากวันที่ได้รบั มอบงานดังกล่าว
ซึ่งความชารุดบกพร่องหรือเสียหายนัน้ เกิดจากความบกพร่องของผูร้ บั จ้าง อันเกิดจากการใช้วสั ดุที่
ไม่ถกู ต้องหรือทาไว้ไม่เรียบร้อย หรือทาไม่ถกู ต้องตามมาตรฐานแห่งหลักวิชา ผูร้ บั จ้างจะต้องรีบทา
การแก้ไขให้เป็ นที่เรียบร้อยโดยไม่ชกั ช้า โดยผูว้ ่าจ้างไม่ตอ้ งออกเงินใดๆ ในการนี้ ทงั้ สิ้น หากผู ้
รับจ้างไม่กระทาการดังกล่าวภายในกาหนด…...…..(…....……) วัน นับถัดจากวันที่ได้รบั แจ้งเป็ นหนังสือ
จากผูว้ ่าจ้างหรือไม่ทาการแก้ไขให้ถกู ต้องเรียบร้อยภายในเวลาที่ผวู ้ ่าจ้างกาหนด ให้ผวู ้ ่าจ้างมีสิทธิท่ี
จะทาการนัน้ เองหรือจ้างผูอ้ ื่นให้ทางานนัน้ โดยผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายเองทัง้ สิ้ น
ในกรณี เร่งด่วนจาเป็ นต้องรีบแก้ไขเหตุชารุดบกพร่องหรือเสี ยหายโดยเร็ว และไม่อาจรอ
ให้ผรู ้ บั จ้างแก้ไขในระยะเวลาที่กาหนดไว้ตามวรรคหนึ่ งได้ ผูว้ ่าจ้างมีสิทธิเข้าจัดการแก้ไขเหตุชารุด
บกพร่องหรือเสียหายนัน้ เองหรือจ้างผูอ้ ื่นให้ซ่อมแซมความชารุดบกพร่องหรือเสียหาย โดยผูร้ บั จ้าง
ต้องรับผิ ดชอบชาระค่าใช้จ่ายทัง้ หมด
การที่ผวู ้ ่าจ้างทาการนัน้ เองหรือจ้างผูอ้ ื่ นให้ทางานนัน้ แทนผูร้ บั จ้าง ไม่ทาให้ผรู ้ บั จ้างหลุด
พ้นจากความรับผิ ดตามสัญญา หากผูร้ บั จ้างไม่ชดใช้ค่าใช้จ่ายหรือค่าเสียหายตามที่ ผวู ้ ่าจ้างเรียก-
ร้อง ผูว้ ่าจ้างมีสิทธิบงั คับจากหลักประกันการปฏิ บตั ิ ตามสัญญาได้”
วิธีปฏิบตั ิเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตรวจสอบความชารุดบกพร่องก่อนการคืนหลักประกัน
(หนังสือเวียน)
การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูป้ ระกอบการ
(มาตรา 106-108 และระเบียบฯ ข้อ 190-191)

มาตรา 106 เพื่อประโยชน์ของหน่ วยงานของรัฐ ในการพิจารณาคัดเลือกผูย้ ื่นข้อเสนอ


ที่จะเข้ามาเป็ นคู่สญ
ั ญากับหน่ วยงานของรัฐให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ ให้หน่ วยงานของ
รัฐประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูป้ ระกอบการที่เข้าร่วมการจัดซื้อจัดจ้างกับหน่ วยงานของ
รัฐ
การประเมินผลการปฏิบตั ิงานตามวรรคหนึ่ ง ให้พิจารณาถึงความสามารถในการ
ปฏิบตั ิงานให้แล้วเสร็จตามสัญญาของคู่สญั ญาเป็ นสาคัญ
ผูป้ ระกอบการรายใดที่มีผลการประเมินไม่ผ่านเกณฑ์ที่กาหนดจะถูกระงับการยื่น
ข้อเสนอหรือทาสัญญากับหน่ วยงานของรัฐไว้ชวั ่ คราว จนกว่าจะมีผลการปฏิ บตั ิงานเป็ นไป
ตามเกณฑ์ที่กาหนด
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูป้ ระกอบการตามวรรคหนึ่ ง
วรรคสอง และวรรคสาม ให้เป็ นไปตามระเบียบที่รฐั มนตรีกาหนด
การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูป้ ระกอบการ (ต่อ)

มาตรา 107 ผลการประเมินการปฏิบตั ิงานของผูป้ ระกอบการตามมาตรา 106


ให้เป็ นส่วนหนึ่ งของเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกผูย้ ื่ นข้อเสนอกับหน่ วยงานของรัฐ

มาตรา 108 ในกรณีท่ีเห็นสมควร รัฐมนตรีอาจออกระเบียบกาหนดการประเมิน


ผลการปฏิบตั ิงานอื่นนอกเหนื อจากความสามารถในการปฏิบตั ิงานให้แล้วเสร็ จตาม
สัญญาก็ได้ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดซื้อจัดจ้าง
และการบริหารพัสดุภาครัฐให้มีประสิทธิภาพยิ่ งขึ้น และให้นาบทบัญญัติมาตรา 106
วรรคสามและวรรคสี่ มาใช้บงั คับกับการประเมินผลการปฏิบตั ิงานอื่นโดยอนุโลม
การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูป้ ระกอบการ (ต่อ)
ระเบียบฯ ข้อ 190 เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาคัดเลือกผูย้ ื่นข้อเสนอที่จะเข้ามาเป็ นคู่สญั ญา
กับหน่ วยงานของรัฐให้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ให้มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูป้ ระกอบ-
การตามที่กาหนดในหมวดนี้
การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูป้ ระกอบการตามวรรคหนึ่ ง ให้พิจารณาถึงความสามารถ
ในการปฏิบตั ิงานให้แล้วเสร็จตามสัญญาของคู่สญ ั ญาที่ทาไว้กบั หน่ วยงานของรัฐเป็ นสาคัญ โดยให้
ตรวจสอบจากผลการปฏิบตั ิงานของคู่สญ ั ญาที่ผ่านมา ตัง้ แต่วนั ที่ระเบียบนี้ มีผลใช้บงั คับ ทัง้ นี้
หน่ วยงานของรัฐจะต้องกาหนดไว้ในประกาศและเอกสารเชิ ญชวน เพื่อให้ผปู ้ ระกอบการที่จะเข้ายื่ น
ข้อเสนอกับหน่ วยงานของรัฐทราบเงื่อนไขการประเมินผลการปฏิ บตั ิงานดังกล่าวด้วย
การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูป้ ระกอบการ ให้ดาเนิ นการผ่านทางระบบจัดซื้อจัดจ้าง
ภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิ กส์ตามวิธีการที่กรมบัญชี กลางกาหนด
ในกรณี ที่เห็นสมควร รัฐมนตรีอาจออกระเบียบเพื่อกาหนดหลักเกณฑ์การประเมินผล
การปฏิบตั ิงานของที่ปรึกษาไว้เป็ นการเฉพาะก็ได้
ระเบียบฯ ข้อ 191 การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูป้ ระกอบการตามข้อ 190 นอกเหนื อจาก
ความสามารถในการปฏิบตั ิงานให้แล้วเสร็จตามสัญญา อาจกาหนดให้มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน
ในด้านอื่นๆ ด้วยก็ได้ ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกาหนด โดยให้คานึ งถึงคุณภาพและคุณสมบัติที่
เป็ นประโยชน์ต่อหน่ วยงานของรัฐ ทัง้ นี้ เพื่อให้การพิจารณาคัดเลื อกข้อเสนอของผูย้ ่ื นข้อเสนอที่
จะเข้ามาเป็ นคู่สญ
ั ญากับหน่ วยงานของรัฐเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การลงโทษเป็ นผูท้ ้ ิงงาน
มาตรา 109-111 และระเบียบฯ ข้อ 192–201)

1. การกระทาการอันมีลกั ษณะเป็ นการทิ้งงาน


(มาตรา 109 วรรคหนึ่ ง)
2. การดาเนิ นการสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน
(มาตรา 109 วรรคสองและวรรคสาม ; ระเบียบฯ ข้อ 193-197)
3. ผลของการสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน
(มาตรา 111 ; ระเบียบฯ ข้อ 192)
4. การเพิกถอนจากการเป็ นผูท้ ้ ิงงาน
(มาตรา 110 และระเบียบฯ ข้อ 198-201)
1. การกระทาการอันมีลกั ษณะเป็ นการทิ้งงาน
(มาตรา 109 วรรคหนึ่ ง)
ในกรณี ปรากฏว่าผูย้ ื่ นข้อเสนอหรือคู่สญ
ั ญาของหน่ วยงานของรัฐกระทาการดังต่อไปนี้ โดยไม่มีเหตุอนั ควร
ให้ถือว่ากระทาการอันมีลกั ษณะเป็ นการทิ้งงาน
เป็ นผูย้ ื่นข้อเสนอที่ได้รบั การคัดเลือกแล้วไม่ยอมไปทาสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือ
1. กับหน่วยงานของรัฐภายในเวลาที่กาหนด
ั ญาของหน่วยงานของรัฐหรือผูร้ บั จ้างช่วงที่หน่วยงานของรัฐอนุญาตให้รบั ช่วงงานได้
คู่สญ
ไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาหรือข้อตกลงเป็ นหนังสือนัน้
2.

เมื่อปรากฏว่าผูย้ ื่นข้อเสนอหรือคู่สญ
ั ญาของหน่วยงานของรัฐกระทาการอันมีลกั ษณะเป็ น
การขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็ นธรรม หรือกระทาการโดยไม่สุจริต
3.
เมื่อปรากฏว่าผลการปฏิบตั ิตามสัญญาของที่ปรึกษาหรือผูใ้ ห้บริการงานจ้างออกแบบ
หรือควบคุมงานก่อสร้างมีขอ้ บกพร่อง ผิ ดพลาด หรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่หน่วยงาน
4. ของรัฐอย่างร้ายแรง
เมื่อปรากฏว่าผูใ้ ห้บริการงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างหรือผูป้ ระกอบการ
5. งานก่อสร้างไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 88 ผูใ้ ห้บริการงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างที่เป็ นคู่สญ
ั ญากับ
หน่วยงานของรัฐต้องไม่มีส่วนได้เสียกับผูป้ ระกอบการงานก่อสร้างในงานนั้น

6. การกระทาอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
2. การดาเนิ นการสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน
(มาตรา 109 วรรคสองและวรรคสาม ; ระเบียบฯ ข้อ 193-ข้อ 197)
มาตรา 109 วรรคสอง : ให้ปลัดกระทรวงการคลังเป็ นผูม้ ีอานาจสัง่ ให้ผยู ้ ื่ นข้อเสนอหรือคู่สญั ญาเป็ น
ผูท้ ้ ิงงาน และให้แจ้งเวียนรายชื่ อผูท้ ้ ิงงานให้หน่ วยงานของรัฐทราบ กับแจ้งเวียนในระบบเครือข่ายสาร-
สนเทศของกรมบัญชี กลาง รวมทัง้ แจ้งให้ผทู ้ ้ ิงงานทราบด้วย
มาตรา 109 วรรคสาม : ในกรณี ท่ีนิติบุคคลเป็ นผูท้ ้ ิงงาน ถ้าการกระทาดังกล่าวเกิดจากหุน้ ส่วน
ผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ ผูบ้ ริหาร หรือผูม้ ีอานาจในการดาเนิ นงานในกิจการของนิ ติบุคคลนัน้ ให้
สัง่ ให้บุคคลดังกล่าวเป็ นผูท้ ้ ิงงานด้วย

ระเบียบฯ ข้อ 193 ในกรณี ที่ปรากฏว่าผูย้ ื่นข้อเสนอหรือคู่สญั ญาของหน่ วยงานของรัฐกระทาการ


อันมีลกั ษณะเป็ นการทิ้งงานตามความในมาตรา 109 ให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐพิจารณาให้ผยู ้ ื่ น
ข้อเสนอ คู่สญั ญา หรือผูร้ บั จ้างช่วงที่หน่ วยงานของรัฐอนุญาตให้รบั ช่วงงานได้ หรือที่ปรึกษา หรือผู ้
ให้บริการออกแบบหรือควบคุมงาน เป็ นผูท้ ้ ิงงาน แล้วแต่กรณี พร้อมความเห็นของตนเสนอไปยังปลัด
กระทรวงการคลังเพื่อพิจารณาสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานโดยเร็ว (โดยให้ใช้แบบแจ้งผูท้ ้ิงงาน (แบบ ทง.) และถือ
ปฏิบตั ติ ามหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุดที่ กค(กวจ) 0405.2/ว496 ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2560)
เมื่อปลัดกระทรวงการคลังได้พิจารณา หลังจากที่ได้ฟังความเห็นของคณะกรรมการวินิจฉัยตาม
มาตรา 29 (5) แล้ว และเห็นว่าบุคคลดังกล่าวสมควรเป็ นผูท้ ้ ิงงาน ก็ให้ปลัดกระทรวงการคลังสัง่ ให้
บุคคลดังกล่าวเป็ นผูท้ ้ ิงงาน โดยระบุชื่อผูท้ ้ ิงงานไว้ในบัญชี รายชื่ อผูท้ ้ ิงงาน พร้อมทัง้ แจ้งเวียนชื่ อผูท้ ้ ิงงาน
ให้หน่ วยงานของรัฐต่างๆ ทราบ รวมทัง้ แจ้งให้ผทู ้ ้ ิงงานรายนัน้ ทราบทางไปรษณี ยล์ งทะเบี ยนด้วย
ในกรณี ปลัดกระทรวงการคลังเห็ นว่าบุคคลดังกล่าวไม่สมควรเป็ นผูท้ ้ ิงงาน ให้แจ้งผลการพิจารณา
ไปให้หน่ วยงานของรัฐนัน้ ทราบด้วย
การดาเนิ นการสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน (ต่อ)
การดาเนิ นการกรณี ที่มีกระทาการอันเป็ นการขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม
หรือกระทาการโดยไม่สุจริต
ระเบียบฯ ข้อ 194 ในกรณี มีเหตุอนั ควรสงสัยปรากฏในภายหลังว่า ผูย้ ่ื นข้อเสนอรายหนึ่ งหรือหลายราย
ไม่ว่าจะเป็ นผูย้ ื่ นข้อเสนอที่ได้รบั การคัดเลื อกหรือไม่ก็ตาม กระทาการอันเป็ นการขัดขวางการแข่งขันอย่าง
เป็ นธรรมหรือกระทาการโดยไม่สจุ ริต เช่น การเสนอเอกสารอันเป็ นเท็จ หรือใช้ช่ื อบุคคลธรรมดาหรือนิ ติ-
บุคคลอื่นมาเสนอราคาแทน ให้หน่ วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องดาเนิ นการตรวจสอบข้อเท็จจริงว่าบุคคลดังกล่าว
สมควรเป็ นผูท้ ้ ิงงานหรือไม่ โดยมีหนังสือแจ้งเหตุที่หน่ วยงานของรัฐสงสัยไปยังผูย้ ื่ นข้อเสนอที่ ถกู สงสัยทราบ
พร้อมทัง้ ให้ช้ ี แจงรายละเอียดข้อเท็จจริงภายในเวลาที่หน่ วยงานของรัฐกาหนด แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 15 วัน นับ
แต่วนั ที่ได้รบั หนังสือแจ้งจากหน่ วยงานของรัฐ
เมื่อหน่ วยงานของรัฐได้รบั คาชี้ แจงจากผูย้ ื่ นข้อเสนอที่ถกู สงสัยตามวรรคหนึ่ งแล้ว ให้หวั หน้าหน่ วยงาน
ของรัฐพิจารณาว่าบุคคลดังกล่าวสมควรเป็ นผูท้ ้ ิงงานหรือไม่
หากผูย้ ่ื นข้อเสนอที่ถกู สงสัยไม่ช้ ี แจงภายในกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ ง ให้ถือว่ามีเหตุอนั ควรเชื่ อได้ว่ามี
การกระทาอันเป็ นการขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม หรือมีการกระทาโดยไม่สุจริต ให้หวั หน้าหน่ วยงาน
ของรัฐเสนอความเห็นไปยังปลัดกระทรวงการคลัง เพื่อพิจารณาให้ผนู ้ นั้ เป็ นผูท้ ้ ิงงาน

ระเบียบฯ ข้อ 195 ในกรณี ที่ผยู ้ ื่ นข้อเสนอร่วมกระทาการอันเป็ นการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็ น


ธรรมหรือกระทาการโดยไม่สุจริตรายใด ซึ่งมิใช่เป็ นผูร้ ิเริ่มให้มีการกระทาดังกล่าว ได้ให้ความร่วมมือเป็ น
ประโยชน์ต่อการพิจารณาของหน่ วยงานของรัฐ ให้หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐพิจารณาให้ผยู ้ ื่ นข้อเสนอรายนัน้
ได้รบั การยกเว้นที่จะไม่เป็ นผูท้ ้ ิงงานได้ โดยแสดงเหตุผลหรือระบุเหตุผลไว้ในการเสนอความเห็ นหรือในการ
สัง่ การ แล้วแต่กรณี
การดาเนิ นการสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน (ต่อ)
การดาเนิ นการสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานต้องครอบคลุมถึงนิ ติบุคลและหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องด้วย

ระเบียบฯ ข้อ 196 ในกรณี ท่ีนิติบุคคลใดถูกสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานตามข้อ 193 ข้อ 194 หรือข้อ
195 ถ้าการกระทาดังกล่าวเกิดจากหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ ผูบ้ ริหาร หรื อผูม้ ีอานาจใน
การดาเนิ นงานในกิจการของนิ ติบคุ คลนัน้ ให้ปลัดกระทรวงการคลังสัง่ ให้บุคคลดังกล่าวเป็ นผูท้ ้ ิงงาน
ด้วย
ในกรณี ที่นิติบุคคลรายใดถูกสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานตามข้อ 193 ข้อ 194 หรือข้อ 195 ให้คาสัง่
ดังกล่าวมีผลไปถึงนิ ติบุคคลอื่นที่ดาเนิ นธุรกิจประเภทเดียวกัน ซึ่งมีหนุ ้ ส่วนผูจ้ ดั การ กรรมการ-
ผูจ้ ดั การ ผูบ้ ริหาร หรือผูม้ ีอานาจในการดาเนิ นงานในกิจการของนิ ติบคุ คลนัน้ เป็ นบุคคลเดียวกันกับ
หุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ ผูบ้ ริหาร หรือผูม้ ีอานาจในการดาเนิ นงานในกิ จการของนิ ติบุคคล
ที่ถกู พิจารณาให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานด้วย
ในกรณี ที่บุคคลธรรมดารายใดถูกสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานตามข้อ 193 ข้อ 194 หรือข้อ 195 ให้
คาสัง่ ดังกล่าวมีผลไปถึงนิ ติบุคคลอื่นที่เข้ายื่นข้อเสนอ ซึ่งมีบุคคลดังกล่าวเป็ นหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ
กรรมการผูจ้ ดั การ ผูบ้ ริหาร หรือผูม้ ีอานาจในการดาเนิ นงานในกิจการของนิ ติบคุ คลนั้นด้วย
การดาเนิ นการสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน (ต่อ)
การดาเนิ นการกรณี ที่มีขอ้ เหตุสงสัยว่ามีการกระทา
อันเป็ นการขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็ นธรรมหรือกระทาการโดยไม่สุจริต
แต่หน่ วยงานของรัฐไม่ได้เสนอให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน
ระเบียบฯ ข้อ 197 เพื่อประโยชน์ในการดาเนิ นการให้เป็ นไปตามระเบียบนี้ เมื่อปรากฏ
ข้อเท็จจริงอันควรสงสัยว่ามีการกระทาตามข้อ 193 ข้อ 194 หรือข้อ 195 และหน่ วยงานของรัฐ
นัน้ ยังไม่ได้รายงานไปยังปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการคลังอาจเรียกให้ผยู ้ ่ืนข้อเสนอ
หรือคู่สญ ั ญา ที่มีขอ้ เท็จจริงอันควรสงสัยว่ามีการกระทาอันเป็ นการขัดขวางการแข่งขันอย่าง
เป็ นธรรม หรือกระทาการโดยไม่สุจริตมาชี้แจงข้อเท็จจริงต่อปลัดกระทรวงการคลัง ทัง้ นี้ โดยมี
หนังสือแจ้งเหตุที่ปลัดกระทรวงการคลังสงสัยไปยังบุคคลดังกล่าว พร้อมทัง้ แจ้งให้บุคคลนัน้ ชี้แจง
รายละเอียดข้อเท็จจริงภายในเวลาที่ปลัดกระทรวงการคลังกาหนด แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 15 วัน
นับแต่วนั ที่ได้รบั หนังสือแจ้งจากปลัดกระทรวงการคลัง
เมื่อปลัดกระทรวงการคลังได้รบั คาชี้ แจงจากผูไ้ ด้รบั การคัดเลื อก ผูย้ ื่ นข้อเสนอ หรือคู่สญ
ั ญา
ที่ถกู สงสัยตามวรรคหนึ่ งแล้ว ให้ปลัดกระทรวงการคลังพิจารณาคาชี้ แจงดังกล่าว หากคาชี้แจง
ไม่มีเหตุผลรับฟั งได้ ให้ปลัดกระทรวงการคลังพิจารณาให้บุคคลดังกล่าวเป็ นผูท้ ้ งิ งาน พร้อมทัง้
แจ้งผลการพิจารณาไปให้หน่ วยงานของรัฐทราบด้วย
หากผูย้ ื่นข้อเสนอ หรือคู่สญ ั ญา ที่ถกู สงสัยตามวรรคหนึ่ ง ไม่ช้ ีแจงภายในกาหนดเวลาที่ปลัด
กระทรวงการคลังจะได้กาหนดไว้ ให้ถือว่ามีเหตุอนั ควรเชื่ อได้ว่ามีการกระทาอันเป็ นการขัดขวาง
การแข่งขันอย่างเป็ นธรรม หรือมีการกระทาโดยไม่สุจริต ให้ปลัดกระทรวงการคลังพิจารณา
ให้บุคคลดังกล่าวเป็ นผูท้ ้ ิงงาน พร้อมทัง้ แจ้งผลการพิจารณาไปให้หน่ วยงานของรัฐทราบด้วย
ประเด็นปั ญหาและข้อสังเกตเพิ่มเติม
ในการดาเนิ นการเพื่อสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน
1. การสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานส่วนใหญ่ จะเป็ นประเด็นที่เกี่ยวเนื่ องกับการบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลงตามมาตรา 103
วรรคหนึ่ ง (2) (3) และ (4)
มาตรา 103 ในกรณีที่มีเหตุบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลงต่อไปนี้ ให้อยู่ในดุลพินิจของผูม้ ีอานาจที่จะบอกเลิกสัญญาหรือ
ข้อตกลงกับคู่สัญญา
(1) เหตุตามที่กฎหมายกาหนด
(2) เหตุอนั เชื่อได้ว่าผูข้ ายหรือผูร้ ับจ้างไม่สามารถส่งมอบงานหรือทางานให้แล้วเสร็จได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด
(3) เหตุอื่นตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติน้ี หรือในสัญญา หรือข้อตกลง
(4) เหตุอื่นตามระเบียบที่รัฐมนตรีกาหนด (ระเบียบฯ ข้อ 183)
การตกลงกับคู่สัญญาที่จะบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลง ให้ผูม้ ีอานาจพิจารณาได้เฉพาะในกรณีที่เ ป็ นประโยชน์แก่
หน่วยงานของรัฐโดยตรงหรือเพือ่ ประโยชน์สาธารณะ หรือเพือ่ แก้ไขข้อเสียเปรียบของหน่วยงานของรัฐในการที่จะปฏิบัตติ ามสัญญา
หรือข้อตกลงนั้นต่อไป
ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐมิได้เป็ นฝ่ ายบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลง หรือการบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลงนั้นเป็ น
กรณีที่หน่วยงานของรัฐมิได้เรียกค่าปรับ แล้วแต่กรณี หากคู่สัญญาเห็นว่า หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย คู่สัญญา
จะยื่นคาขอต่อหน่วยงานของรัฐให้พจิ ารณาชดใช้ค่าเสี ยหายก็ได้ ในการนี้ หน่วยงานของรัฐต้องออกใบรับคาขอให้ไว้เป็ นหลักฐาน
และพิจารณาคาขอนั้นโดยไม่ชักช้า เมือ่ หน่วยงานของรัฐมีหนังสือแจ้งผลการพิจารณาเป็ นเช่ นใดแล้ว หากคู่สั ญญายังไม่พอใจใน
ผลการพิจารณาก็ให้มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลเพือ่ เรียกให้ชดใช้ค่าเสียหายตามสัญญาต่อไป ทัง้ นี้ หลักเกณฑ์ วิ ธีการ และระยะเวลา
ในการพิจารณาคาขอของหน่วยงานของรัฐให้เป็ นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรีกาหนด ซึ่งอย่างน้อยต้องกาหนดให้หน่ วยงานของรัฐ
แต่งตัง้ คณะกรรมการขึ้นเพือ่ พิจารณาค่าเสี ยหายและการกาหนดวงเงินค่าเสียหายที่ตอ้ งรายงานต่อกระทรวงการคลังเพื่อพิจารณาให้
ความเห็นชอบ

2. ในการดาเนิ นการเพื่อเสนอปลัดกระทรวงการคลังพิจารณาสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน ให้หน่วยงานของรัฐมีหนังสือแจ้งเหตุ


ที่จะมีการพิจารณาลงโทษเป็ นผูท้ ้ ิงงานให้ผูท้ ี่สมควรถูกสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานทราบ และขอให้ช้ ีแจงข้อเท็จจริงพร้อมยื่น
เอกสารหลักฐานประกอบ (ถ้ามี) ภายในระยะเวลาที่กาหนดแต่จะต้องไม่นอ้ ยกว่า 15 วัน นับแต่วนั ที่ได้รบั หนังสือ
แจ้ง โดยให้แจ้งไปด้วยว่า ถ้าไม่ช้ ีแจงภายในกาหนดเวลา จะถือว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรและจะพิจารณาไปตาม
ข้อเท็จจริงของหน่วยงานของรัฐแต่เพียงฝ่ ายเดียว (ข้อกาหนดตามหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุดที่ กค(กวจ)
0405.2/ว496 ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2560)
ประเด็นปั ญหาและข้อสังเกตเพิ่มเติม
ในการดาเนิ นการเพื่อสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน
(ต่อ)

3. ตามระเบียบฯ ข้อ 193 วรรคสอง “เมื่อปลัดกระทรวงการคลังได้พิจารณา หลังจากที่ได้ฟังความเห็น


ของคณะกรรมการวินิจฉัยตามมาตรา 29 (5) แล้ว และเห็นว่าบุคคลดังกล่าวสมควรเป็ นผูท้ ้ ิงงาน ก็ให้
ปลัดกระทรวงการคลังสัง่ ให้บุคคลดังกล่าวเป็ นผูท้ ้ ิงงาน โดยระบุชื่อผูท้ ้ ิงงานไว้ในบัญชีรายชื่อผูท้ ้ ิงงาน
พร้อมทัง้ แจ้งเวียนชื่อผูท้ ้ ิงงานให้หน่วยงานของรัฐต่างๆ ทราบ รวมทัง้ แจ้งให้ผูท้ ้ ิงงานรายนัน้ ทราบทาง
ไปรษณียล์ งทะเบียนด้วย”
ในกรณีท่ีผูท้ ่ีถกู สัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานเห็นว่าเป็ นคาสัง่ ที่ไม่ถกู ต้องและไม่เป็ นธรรม ก็สามารถที่จะยื่น
อุทธรณ์ต่อกรมบัญชีกลางได้ ภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ได้รบั หนังสือแจ้ง (หนังสือเวียนแนวทางปฏิบตั ฯิ
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม)

4. ในกรณีที่ผูท้ ี่จะถูกสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานเป็ นหน่วยงานของรัฐ ก็ตอ้ งพิจารณาว่า เข้าข่ายที่ตอ้ งดาเนิ นการ
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพิจารณาชี้ขาดการยุติขอ้ พิพาทระหว่างหน่วยงานของรัฐและ
การดาเนิ นคดี พ.ศ. 2561 หรือไม่
ที่ผ่านมาเคยมีหน่วยงานของรัฐดาเนิ นการเสนอเรื่องเพื่อให้ปลัดกระทรวงการคลังพิจารณาสัง่ ให้
หน่วยงานของรัฐซึ่งเป็ นคู่สญ ั ญาเป็ นผูท้ ้ ิงงาน แต่กรมบัญชีกลางได้ส่งเรื่องคืนและแจ้งให้ส่งเรื่องให้
สานักงานอัยการสูงสุดพิจารณาตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพิจารณาชี้ขาดการยุติขอ้ -
พิพาทระหว่างหน่วยงานของรัฐและการดาเนิ นคดี พ.ศ. 2561
3. ผลของการสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน
(มาตรา 111 ; ระเบียบฯ ข้อ 192)

มาตรา 111 เมื่อได้มีการแจ้งเวียนรายชื่อผูท้ ้ ิงงานตามมาตรา 109 แล้ว ห้ามหน่ วยงานของรัฐ


ทาการจัดซื้อจัดจ้างกับผูท้ ้ ิงงานซึ่งรวมถึงนิ ติบุคคลที่ผทู ้ ้ ิงงานเป็ นหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ
ผูบ้ ริหาร หรือผูม้ ีอานาจในการดาเนิ นงานในกิจการของนิ ติบคุ คลนัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้มีการเพิกถอน
การเป็ นผูท้ ้ ิงงานตามมาตรา 110 แล้ว
ระเบียบฯ ข้อ 192 ห้ามหน่ วยงานของรัฐก่อนิ ติสมั พันธ์กบั ผูท้ ้ ิงงานที่ปลัดกระทรวงการคลังได้
ระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผูท้ ้ ิงงานและได้แจ้งเวียนชื่อแล้ว เว้นแต่จะได้มีการเพิกถอนการเป็ นผูท้ ้ ิงงาน
การห้ามหน่ วยงานของรัฐก่อนิ ติสมั พันธ์กบั ผูท้ ้ ิงงานตามวรรคหนึ่ ง ให้ใช้บงั คับกับบุคคลตามข้อ
196 วรรคสอง และวรรคสาม ด้วย
บุคคลธรรมดาหรือนิ ติบคุ คลใดที่อยู่ในระหว่างการพิจารณาให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน ตามข้อกาหนดใน
ส่วนนี้ ให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิยื่นข้อเสนอให้แก่หน่ วยงานของรัฐได้ แต่ถา้ ผลการพิจารณาต่อมา
ปลัดกระทรวงการคลังได้สงั ่ ให้บุคคลธรรมดาหรือนิ ติบุคคลนัน้ เป็ นผูท้ ้ ิงงาน ให้หน่ วยงานของรัฐ
ตัดรายชื่อบุคคลดังกล่าวออกจากรายชื่ อผูม้ ีสิทธิได้รบั การคัดเลื อกหรือยกเลิ กการซื้อหรือจ้าง หรือ
ยกเลิกการลงนามในสัญญาซื้อหรือจ้างที่ได้กระทาก่อนการสัง่ การของปลัดกระทรวงการคลัง เว้นแต่
ในกรณี ที่หวั หน้าหน่ วยงานของรัฐพิจารณาเห็นว่าจะเป็ นประโยชน์แก่หน่ วยงานของรัฐอย่างยิ่ง หัว-
หน้าหน่ วยงานของรัฐจะไม่ตดั รายชื่ อบุคคลดังกล่าวออกจากรายชื่ อผูม้ ีสิทธิได้รบั การคัดเลือก หรือ
จะไม่ยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้าง หรือจะไม่ยกเลิ กการลงนามในสัญญาซื้อหรือจ้างที่ได้กระทาก่อนการ
สัง่ การของปลัดกระทรวงการคลังก็ได้
4. การเพิกถอนจากการเป็ นผูท้ ้ ิงงาน
(มาตรา 110 และระเบียบฯ ข้อ 198-201)

มาตรา 110 ผูท้ ี่ถกู สัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานตามมาตรา 109 อาจร้องขอให้ได้รบั การ
เพิกถอนการเป็ นผูท้ ้ ิงงานได้ โดยอย่างน้อยต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้

1. เป็ นผูท้ ี่มีฐานะการเงินมัน่ คง

2. มีการชาระภาษีโดยถูกต้องตามกฎหมาย และ

3. ได้พน้ กาหนดระยะเวลาการแจ้งเวียนรายชื่ อให้เป็ น


ผูท้ ้ ิงงานตามระเบียบที่รฐั มนตรีกาหนด (ระเบียบฯ ข้อ 198-ข้อ 201)
การเพิกถอนจากการเป็ นผูท้ ้ ิงงาน (ต่อ)
ผูท้ ี่ถกู สัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานสามารถยื่ นคาร้องขอเพิกถอนการเป็ นผูท้ ้ ิงงานได้ โดยต้องแสดง
หลักฐานประกอบการพิจารณา และต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ดงั นี้
1. ถูกขึ้ นบัญชี เป็ นผูท้ ้ ิงงานมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี โดยจะต้องไม่ได้ถกู สัง่ ให้เป็ นผู ้
ทิ้งงาน เนื่ องจากมีการกระทาการอันมีลกั ษณะเป็ นการขัดขวางการแข่งขันราคา
อย่างเป็ นธรรม หรือกระทาการโดยไม่สุจริต ทัง้ นี้ ผูข้ อเพิกถอนที่จะได้รบั การเพิก
ถอนในข้อนี้ ต้องไม่เคยมีผลการประเมินเป็ นผูไ้ ม่ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนด และถูกระงับ
ไม่ให้เข้ายื่ นข้อเสนอหรือทาสัญญากับหน่ วยงานของรัฐ (ระเบียบฯ ข้อ 198 (1))

2. ถูกขึ้นบัญชีเป็ นผูท้ ้ ิงงานมาแล้วตัง้ แต่ 5 ปี ขึ้นไป และจะต้องไม่ได้ถกู สัง่


หรือแจ้งเวียนให้เป็ นผูท้ ้ ิงงาน เนื่ องจากมีการกระทาการอันมีลกั ษณะเป็ น
การขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็ นธรรม หรือกระทาการโดยไม่สุจริ ต
(ระเบียบฯ ข้อ 198 (2))

3. ถูกขึ้นบัญชีเป็ นผูท้ ้ ิงงานมาไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี คณะกรรมการวินิจฉัย


อาจเสนอความเห็นต่อปลัดกระทรวงการคลัง เพื่อให้มีการเพิกถอนออก
จากบัญชีรายชื่อผูท้ ้ ิงงานก็ได้ (ระเบียบฯ ข้อ 199)
การเพิกถอนจากการเป็ นผูท้ ้ ิงงาน (ต่อ)
4 . ผูท้ ้ ิงงานรายใดที่ถกู เพิกถอนชื่อจากการเป็ นผูท้ ้ ิงงานไปแล้ว หากผูท้ ้ ิงงาน
รายนัน้ ถูกสัง่ ให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานซา้ อีก ภายในระยะเวลา 3 ปี นับถัดจากวันที่
ได้รบั การเพิกถอนชื่อออกจากการเป็ นผูท้ ้ ิงงานแล้ว การเพิกถอนการเป็ น
ผูท้ ้ ิงงานในครัง้ หลัง ผูท้ ้ ิงงานจะไม่มีสิทธิได้เพิกถอนตามข้อ 198 (1) แต่
จะมีสิทธิได้เพิกถอนตามข้อ 198 (2) ได้ เมื่อครบกาหนดระยะเวลา 8 ปี
นับตัง้ แต่วนั ที่ถกู สัง่ และแจ้งเวียนให้เป็ นผูท้ ้ ิงงานในครัง้ หลัง
(ระเบียบฯ ข้อ 200)

5. ผูท้ ้ ิงงานที่ประสงค์จะขอใช้สิทธิเพิกถอนการเป็ นผูท้ ้ ิงงานตามข้อ 198 (1)


และข้อ 198 (2) ต้องยื่ นคาขอเพิกถอนมายังปลัดกระทรวงการคลัง
พร้อมทัง้ เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง มาเพื่อประกอบการพิจารณาด้วย
(โดยให้ใช้แบบคาร้องขอเพิกถอนการเป็ นผูท้ ้ ิงงาน (แบบ พถ.) และถือปฏิบตั ติ ามหนังสือ
คณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุดที่ กค(กวจ) 0405.7/ว224 ลงวันที่ 15 พฤษภาคม
2562)
การเพิกถอนการเป็ นผูท้ ้ ิงงานจะมีผลต่อเมื่อปลัดกระทรวงการคลังได้
สัง่ เพิกถอนการเป็ นผูท้ ้ ิงงานและได้แจ้งเวียนการเพิกถอนชื่ อผูท้ ้ ิงงานแล้ว
(ระเบียบฯ ข้อ 201)
การอุทธรณ์ผลการจัดซื้ อจัดจ้า ง
(พรบ. มาตรา 114-มาตรา 119)

มาตรา 114 ผูซ้ ึ่งได้ยื่นข้อเสนอเพื่อทาการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุกบั หน่ วยงานของรัฐ มีสิทธิ


อุทธรณ์เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ในกรณี ท่ีเห็นว่าหน่ วยงานของรัฐมิได้ปฏิบตั ิให้เป็ นไป
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในพระราชบัญญัติน้ ี กฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศที่
ออกตามความในพระราชบัญญัติน้ ี เป็ นเหตุให้ตนไม่ได้รบั การประกาศผลเป็ นผูช้ นะหรือไม่ได้
รับการคัดเลือกเป็ นคู่สญ
ั ญากับหน่ วยงานของรัฐ
มาตรา 115 ผูม้ ีสิทธิอุทธรณ์จะยื่นอุทธรณ์ในเรื่องดังต่อไปนี้ ไม่ได้
(1) การเลือกใช้วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง หรือเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาผลการจัดซื้อ
จัดจ้างตามพระราชบัญญัติน้ ี ของหน่ วยงานของรัฐ
(2) การยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้างตามมาตรา 67
(3) การละเว้นการอ้างถึงพระราชบัญญัติน้ ี กฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศที่ออก
ตามพระราชบัญญัติน้ ี ในส่วนที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการจัดซื้อจัดจ้างในประกาศ เอกสาร หรือ
หนังสือเชิญชวนของหน่ วยงานของรัฐ
(4) กรณี อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
การอุทธรณ์ผลการจัดซื้อจัดจ้าง
(ต่อ)

มาตรา 116 การอุทธรณ์ตอ้ งทาเป็ นหนังสือลงลายมือชื่อผูอ้ ุทธรณ์


ในหนังสืออุทธรณ์ตามวรรคหนึ่ ง ต้องใช้ถอ้ ยคาสุภาพ และระบุขอ้ เท็จจริงและเหตุผล
อันเป็ นเหตุแห่งการอุทธรณ์ให้ชดั เจน พร้อมแนบเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องไปด้วย
ในกรณี ที่เห็นสมควร รัฐมนตรีอาจออกระเบียบกาหนดวิธีการอุทธรณ์เป็ นอย่างอื่นหรือ
รายละเอียดเกี่ยวกับการอุทธรณ์อ่ืนด้วยก็ได้

มาตรา 117 ให้ผมู ้ ีสิทธิอุทธรณ์ยื่นอุทธรณ์ต่อหน่ วยงานของรัฐนัน้ ภายในเจ็ดวันทาการ นับแต่


วันประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้างในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง
การอุทธรณ์ผลการจัดซื้อจัดจ้าง
(ต่อ)

มาตรา 118 ให้หน่ วยงานของรัฐพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายในเจ็ดวันทาการ


นับแต่วนั ที่ได้รบั อุทธรณ์ ในกรณี ที่เห็นด้วยกับอุทธรณ์ก็ให้ดาเนิ นการตามความเห็นนัน้ ภายใน
กาหนดเวลาดังกล่าว
ในกรณี ที่หน่ วยงานของรัฐไม่เห็นด้วยกับอุทธรณ์ ไม่ว่าทัง้ หมดหรือบางส่วน ให้เร่ง
รายงานความเห็นพร้อมเหตุผลไปยังคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ตามมาตรา 119 ภายใน
สามวันทาการ นับแต่วนั ที่ครบกาหนดตามวรรคหนึ่ ง
การอุทธรณ์ผลการจัดซื้อจัดจ้าง
(ต่อ)
มาตรา 119 เมื่อได้รบั รายงานจากหน่ วยงานของรัฐตามมาตรา 118 ให้คณะกรรมการพิจารณา
อุทธรณ์พิจารณาอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้รบั รายงานดังกล่าว หากเรื่องใด
ไม่อาจพิจารณาได้ทนั ในกาหนดนัน้ ให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ขยายระยะเวลาออกไปได้ไม่
เกินสองครัง้ ครัง้ ละไม่เกินสิบห้าวันนับแต่วนั ที่ครบกาหนดเวลาดังกล่าว และแจ้งให้ผอู ้ ุทธรณ์และผู ้
ชนะการจัดซื้อจัดจ้างหรือผูไ้ ด้รบั การคัดเลือกทราบ
ในกรณี ที่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เห็นว่า อุทธรณ์ฟังขึ้นและมีผลต่อการจัดซื้อจัด-
จ้างอย่างมีนยั สาคัญ ให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์สงั ่ ให้หน่ วยงานของรัฐดาเนิ นการให้มีการ
จัดซื้อจัดจ้างใหม่หรือเริ่มจากขัน้ ตอนใดตามที่เห็นสมควร ในกรณี ที่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
เห็นว่าอุทธรณ์ฟังไม่ข้ ึนหรือไม่มีผลต่อการจัดซื้อจัดจ้างอย่างมีนยั สาคัญ ให้แจ้งหน่ วยงานของรัฐเพื่อ
ทาการจัดซื้อจัดจ้างต่อไป
การวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ให้เป็ นที่สุด
ในกรณี ที่พน้ กาหนดระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่ งแล้ว คณะกรรมการพิจารณา
อุทธรณ์ยงั พิจารณาไม่แล้วเสร็จ ให้ยุติเรื่อง และให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แจ้งผูอ้ ุทธรณ์และ
ผูช้ นะการจัดซื้อจัดจ้างหรือผูไ้ ด้รบั การคัดเลือกทราบ พร้อมกับแจ้งให้หน่ วยงานของรัฐทาการจัดซื้อ
จัดจ้างต่อไป
ผูอ้ ุทธรณ์ผใู ้ ดไม่พอใจคาวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ หรือการยุติเรื่องตาม
วรรคสี่ และเห็นว่าหน่ วยงานของรัฐต้องรับผิ ดชดใช้ค่าเสี ยหาย ผูน้ นั้ มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลเพื่อเรียก
ให้หน่ วยงานของรัฐชดใช้ค่าเสียหายได้ แต่การฟ้ องคดีดงั กล่าวไม่มีผลกระทบต่อการจัดซื้อจัดจ้างที่
หน่ วยงานของรัฐได้ลงนามในสัญญาจัดซื้อจัดจ้างนัน้ แล้ว
แนวทางปฏิ บตั ิการพิจารณาเรื่องที่ย่ืนอุทธรณ์
ภาพรวมสรุปกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์การจัดซื้อจัดจ้าง
(พรบ. มาตรา 114-มาตรา 119)

ประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้างในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชี กลาง

ผูย้ ื่นข้อเสนอที่ประสงค์จะอุทธรณ์ยื่นเรื่องอุทธรณ์ต่อหน่ วยงานของรัฐพร้อมแนบเอกสารหลักฐาน


ที่เกี่ยวข้อง (แบบ อธ.2) ภายในเจ็ดวันทาการ นับแต่วนั ประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(เว้นแต่กรณี ขอ้ ห้ามอุทธรณ์ตามมาตรา 115 + กฎกระทรวง)

หน่ วยงานของรัฐพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายในเจ็ดวันทาการ นับแต่วนั ที่ได้รบั อุทธรณ์


ไม่เห็นด้วยกับผูอ้ ุทธรณ์ไม่ว่าทัง้ หมดหรือบางส่วน เห็นด้วยกับผูอ้ ุทธรณ์
เร่งรายงานความเห็ นพร้อมเหตุผลไปยังคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ภายใน เนิ นการตามความเห็ นภายในเจ็ดวันทาการ
สามวันทาการ นับแต่วนั ที่ครบกาหนดเจ็ดวันทาการนับแต่วนั ที่ได้รบั อุทธรณ์ (แบบ อธ. 1) นับแต่วนั ที่ได้รบั อุทธรณ์


คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์พิจารณา อุทธรณ์ฟังขึ้นและมีผลต่อการจัดซื้อจัดจ้างอย่างมีนยั สาคัญ สัง่ ให้หน่ วยงานของ
อุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายในสามสิ บวันนับแต่ รัฐดาเนิ นการให้มีการจัดซื้อจัดจ้างใหม่หรือเริ่มจากขัน้ ตอนใดตามที่เห็นสมควร
วันที่ได้รบั รายงาน หากเรื่องใดไม่อาจ

พิจารณาได้ทนั ในกาหนดนัน้ ให้ อุทธรณ์ฟังไม่ข้ ึนหรือไม่มีผลต่อการจัดซื้อจัดจ้างอย่างมีนยั สาคัญ แจ้งหน่ วยงาน
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ขยาย ของรัฐเพื่อทาการจัดซื้อจัดจ้างต่อไป
ระยะเวลาออกไปได้ไม่เกินสองครัง้ ครัง้ ละ
ไม่เกินสิบห้าวันนับแต่วนั ที่ ครบกาหนดเวลา พ้นกาหนดระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์ (60 วัน) คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
ดังกล่าว และแจ้งให้ผอู ้ ุทธรณ์และผูช้ นะการ
จัดซื้อจัดจ้างหรือผูไ้ ด้รบั การคัดเลื อกทราบ
ยังพิจารณาไม่แล้วเสร็จ ให้ยุติเรื่อง และแจ้งผูอ้ ุทธรณ์และผูช้ นะการจัดซื้อจัดจ้าง
หรือผูไ้ ด้รบั การคัดเลือกทราบ พร้อมกับแจ้งให้หน่ วยงานของรัฐทาการจัดซื้อจัด 
จ้างต่อไป
7+7+3+30+15+15 = 77 วัน

ผูอ้ ุทธรณ์ผูใ้ ดไม่พอใจคาวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ หรือการยุติเรื่องกรณี พน้ กาหนดระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์ (60 วัน) และเห็นว่าหน่ วยงานของรัฐต้องรับ
ผิ ดชดใช้ค่าเสียหาย ผูน้ นั้ มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลเพื่อเรียกให้หน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าเสียหายได้ แต่การฟ้ องคดีดงั กล่าวไม่มีผลกระทบต่อการจัดซื้อจัดจ้างที่หน่ วยงานของ
รัฐได้ลงนามในสัญญาจัดซื้อจัดจ้างนัน้ แล้ว
การร้องเรียน
(ระเบียบฯ หมวด 10 ข้อ 220-ข้อ 223)

ข้อ 220 ผูใ้ ดเห็นว่าหน่ วยงานของรัฐมิได้ปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ


ที่กาหนดในกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กฎกระทรวง
ระเบียบ หรือประกาศ ที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการ
บริหารพัสดุภาครัฐ มีสิทธิรอ้ งเรียนไปยังหน่ วยงานของรัฐนัน้ หรือคณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์ แล้วแต่กรณี ก็ได้
การยื่ นข้อร้องเรียนตามวรรคหนึ่ ง ต้องดาเนิ นการภายใน 15 วัน นับแต่วนั
ที่รหู ้ รือควรรูว้ ่าหน่ วยงานของรัฐนัน้ มิได้ปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
กาหนดในกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กฎกระทรวง
ระเบียบ หรือประกาศ ที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการ
บริหารพัสดุภาครัฐ
ข้อ 221 การร้องเรียนต้องทาเป็ นหนังสือลงลายมือชื่ อผูร้ อ้ งเรียน ในกรณี ผรู ้ อ้ งเรียน
เป็ นนิ ติบุคคลต้องลงลายมือชื่ อของกรรมการซึ่งเป็ นผูม้ ีอานาจกระทาการแทนนิ ติ-
บุคคลและประทับตราของนิ ติบุคคล(ถ้ามี)
หนังสือร้องเรียนตามวรรคหนึ่ ง ต้องใช้ถอ้ ยคาสุภาพ และระบุขอ้ เท็ จจริงและ
เหตุผลอันเป็ นเหตุแห่งการร้องเรียนให้ชดั เจน พร้อมแนบเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
ไปด้วย
การร้องเรียน (ต่อ)
ข้อ 222 ในกรณี ที่หน่ วยงานของรัฐได้รบั เรื่องร้องเรียนตามข้อ 220 ให้หน่ วยงาน
ของรัฐพิจารณาข้อร้องเรียนให้แล้วเสร็จโดยเร็ว แล้วแจ้งผลให้ผรู ้ อ้ งเรี ยนทราบโดย
ไม่ชกั ช้า พร้อมทัง้ แจ้งให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ทราบด้วย

ข้อ 223 ในกรณี ที่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้รบั เรื่องร้องเรียนตามข้อ 220


ให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์พิจารณาข้อร้องเรียนให้แล้วเสร็จโดยเร็ว โดยให้
ดาเนิ นการตามมาตรา 43 วรรคสี่ (ในกรณีที่พิจารณาข้อร้องเรียนตาม (2) แล้วรับฟังได้ว่าหน่วยงาน
ของรัฐมิได้ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ี หรือกฎกระทรวงหรือระเบียบที่ออกตามความในพระราชบัญญัติน้ ี ให้คณะ-
กรรมการพิจารณาอุทธรณ์มีอานาจสัง่ ระงับการจัดซื้อจัดจ้างไว้ก่อนได้ เว้นแต่จะได้ลงนามในสัญญาจัดซื้อจัด
จ้างแล้ว) แล้วแจ้งผลให้ผรู ้ อ ้ งเรียนและหน่ วยงานของรัฐทราบด้วย
คาวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ให้เป็ นที่สุด
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์อาจกาหนดรายละเอียดอื่นเพิ่มเติมได้ตาม
ความจาเป็ นเพื่อประโยชน์ในการดาเนิ นการ
แนวทางการแก้ปัญหาการจัดซื้อจัดจ้าง
ในช่วงที่ได้รบั ผลกระทบจากกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19

คณะกรรมการวินิจฉัยปั ญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐและกรมบัญชี กลาง ได้มีหนังสือ


แจ้งเวียนแนวทางการดาเนิ นการจัดซื้อจัดจ้าง ในช่วงที่ได้รบั ผลกระทบจากกรณี โรคติดเชื้ อไวรัสโควิด 19
รวม 5 เรื่อง (ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2564)
1. ซักซ้อมความเข้าใจการบริหารสัญญาจ้างเหมาบริการศึ กษาดูงานในและต่างประเทศ
2. การดาเนิ นการกรณี จดั ซื้อยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา หรืออุปกรณ์การแพทย์ หรือการจัดซื้อจัดจ้าง
เพื่อให้ได้มาซึ่งพัสดุสาหรับการป้ องกัน ควบคุม หรือรักษาโรคติดเชื้ อไวรัสโควิด 19
3. แนวทางการกาหนดและประกาศเปิ ดเผยราคากลาง และการประกาศเผยแพร่การดาเนิ นการ
จัดซื้อจัดจ้างในการดาเนิ นการเพื่อให้ได้มาซึ่งพัสดุสาหรับการป้ องกัน ควบคุม หรือรักษาโรค
ติดเชื้ อไวรัสโควิด 19 ที่ได้ดาเนิ นการตามหนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สดุ ที่ กค
(กวจ) 0405.2/ว115 ลงวันที่ 27 มีนาคม 2563
5. ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการลงนามสัญญา การบริหารสัญญา และการตรวจรับพัสดุ ในช่วงเวลา
ที่ได้รบั ผลกระทบจากกรณี โรคติดเชื้ อไวรัสโควิด 19
6. แนวทางปฏิ บตั ิเกี่ยวกับการพิจารณางดหรือลดค่าปรับ หรือขยายระยะเวลาทาการตามสัญญาหรือ
ข้อตกลง ให้แก่ค่สู ญั ญา กรณี ท่ีได้รบั ผลกระทบจากกรณี โรคติดเชื้ อไวรัสโควิด 19
ซักซ้อมความเข้าใจ
การบริหารสัญญาจ้างเหมาบริการศึกษาดูงานในและต่างประเทศ

หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สดุ ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว83 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2563


หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สดุ ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว83 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2563 (ต่อ)

มาตรา 97 วรรคหนึ่ง (3) เป็ นการแก้ไขเพือ่ ประโยชน์แก่หน่วยงานของรัฐหรือประโยชน์สาธารณะ


การดาเนิ นการกรณี จดั ซื้อยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา หรืออุปกรณ์การแพทย์
หรือการจัดซื้อจัดจ้างเพื่อให้ได้มาซึ่งพัสดุสาหรับการป้ องกัน ควบคุม หรือรักษา
โรคติดเชื้อไวรัสโควิด19

หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สดุ ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว115 ลงวันที่ 27 มีนาคม 2563


หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สดุ ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว115 ลงวันที่ 27 มีนาคม 2563 (ต่อ)
แนวทางการกาหนดและประกาศเปิ ดเผยราคากลาง และการประกาศเผยแพร่การดาเนิ นการ
จัดซื้อจัดจ้างในการดาเนิ นการเพื่อให้ได้มาซึ่งพัสดุสาหรับการป้ องกัน ควบคุม หรือรักษาโรค
ติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่ได้ดาเนิ นการตามหนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่
กค(กวจ) 0405.2/ว115 ลงวันที่ 27 มีนาคม 2563

หนังสือเวียนกรมบัญชี กลาง ด่วนที่สดุ ที่ กค (กวจ) 0433.2/ว120 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2563




หนังสือเวียนกรมบัญชี กลาง ด่วนที่สดุ ที่ กค (กวจ) 0433.2/ว120 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2563 (ต่อ)
หนังสือเวียนกรมบัญชี กลาง ด่วนที่สดุ ที่ กค (กวจ) 0433.2/ว120 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2563 (ต่อ)
สิ่งทีส่ ่ งมาด้ วย 1
หนังสือเวียนกรมบัญชี กลาง ด่วนที่สดุ ที่ กค (กวจ) 0433.2/ว120 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2563 (ต่อ)

สิ่งทีส่ ่ งมาด้ วย 2
หนังสือเวียนกรมบัญชี กลาง ด่วนที่สดุ ที่ กค (กวจ) 0433.4/ว563 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2563
หนังสือเวียนกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0433.4/ว563 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2563 (ต่อ)
ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการลงนามสัญญา การบริหารสัญญา และการตรวจรับพัสดุ
ในช่วงเวลาที่ได้รบั ผลกระทบจากกรณี โรคติดเชื้ อไวรัสโควิด 19

หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สดุ ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว171 ลงวันที่ 24 เมษายน 2563


หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สดุ ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว171 ลงวันที่ 24 เมษายน 2563 (ต่อ)

งดหรือลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา
ทาการตามสัญญาหรือข้อตกลงได้
หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สดุ ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว171 ลงวันที่ 24 เมษายน 2563 (ต่อ)
แนวทางปฏิบตั ิเกี่ยวกับการพิจารณางดหรือลดค่าปรับ หรือขยายระยะเวลาทาการตามสัญญา
ั ญา กรณี ที่ได้รบั ผลกระทบจากกรณี โรคติดเชื้ อไวรัสโควิด 19
หรือข้อตกลง ให้แก่ค่สู ญ

หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว423 ลงวันที่ 10 กันยายน 2563


หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว423 ลงวันที่ 10 กันยายน 2563 (ต่อ)

เหตุส้ ิ นสุดลงแล้ว และ


หนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว423 ลงวันที่ 10 กันยายน 2563 (ต่อ)

ประเด็นข้อหารือแนวทางปฏิบตั ิตามหนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยฯ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว171 ลงวันที่ 24 เมษายน


2563 และด่วนที่สุด ที่ กค(กวจ) 0405.2/ว423 ลงวันที่ 10 กันยายน 2563
บุญทิพย์ ชูโชนาค
อดีตผูอ้ านวยการสานักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง

You might also like