You are on page 1of 21

ข้อสอบในสายงานอำนวยการ

(งานส่งกำลังบำรุง)

1. หลักการการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข้อใดถูกต้อง
ก. คุ้มค่า โปร่งใส มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตรวจสอบได้
ข. คุ้มค่า โปร่งใส ตรวจสอบได้ไร้ทุจริต
ค. โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม
ง. โปร่งใส ตรวจสอบได้
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 8)

2.
ใครเป็นผู้รักษาการและมีอำนาจออกกฎกระทรวงและระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัด
จ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ค. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ข้อ 3)

3. ข้อใดคือความหมายของ “วิธีคัดเลือก”
ก. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการทั่วไปที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐ
กำหนดให้เข้ายื่นข้อเสนอ
ข. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรั ฐกำหนด
รายใดรายหนึ่ งให้ เข้ายื่ น ข้อ เสนอหรื อ ให้ เข้ ามาเจรจาต่ อรองราคารวมทั้ งการจั ดซื้ อ จัด จ้ างพั ส ดุ กั บ
ผู้ประกอบการโดยตรงในวงเงินเล็กน้อยตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ค. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่รู้จักที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐ
กำหนดให้เข้ายื่นข้อเสนอ
ง. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรั ฐ
กำหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสามรายให้ เข้ายื่นข้อเสนอ เว้นแต่ในงานนั้นมีผู้ประกอบการที่มีคุณ สมบัติ
ตรงตามที่กำหนดน้อยกว่าสามราย
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 55 (2))

4. เป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาดโดยหน่วยงานของรัฐ องค์การระหว่างประเทศหรือหน่วยงานของต่างประเทศ
“หากท่านเป็นเจ้าหน้าที่จะเลือกใช้วิธีการจัดซื้อจัดจ้างแบบใด”
ก. ประกวดราคา
ข. ประกาศเชิญชวนทั่วไป
ค. เฉพาะเจาะจง
ง. คัดเลือก
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข้อ 215 (ข))
5. อัตราค่าปรับ กรณีคู่สัญญาไปจ้างช่วงให้ผู้อื่นไปทำต่ออีกทอดหนึ่ง โดยฝ่าฝืนข้อตกลงกับหน่วยงานของรัฐ
ต้องมีค่าปรับไม่น้อยกว่าร้อยละเท่าใด ของวงเงินของงานจ้างช่วงตามสัญญา
ก. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20
ข. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10
ค. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 15
ง. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25
(ตอบข้อ ข.) (ประกาศคณะกรรมการกำหนดนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ เรื่อง
แบบสัญญาเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างตาม พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ฉบับที่ 2 ข้อ 8)

6. ข้อใดไม่เป็น “งานก่อสร้าง” ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560


ก. การรื้อถอน
ข. การซ่อมแซม
ค. งานจ้างออกแบบ
ง. งานก่อสร้างอาคาร
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

7. ข้อใดคือความหมายของ “วิธีเฉพาะเจาะจง”
ก. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนด
รายใดรายหนึ่ งให้ เข้ายื่ น ข้อ เสนอหรื อ ให้ เข้ ามาเจรจาต่ อรองราคารวมทั้ งการจั ดซื้ อ จัด จ้ างพั ส ดุ กั บ
ผู้ประกอบการโดยตรงในวงเงินเล็กน้อยตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข. การซื้อหรือการจ้างจากส่วนราชการหน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่น
หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ
ค. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่รู้จักที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐ
กำหนดให้เข้ายื่นข้อเสนอ
ง. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐ
กำหนดซึ่งต้องไม่น้ อยกว่าสามรายให้เข้ายื่นข้อเสนอ เว้นแต่ในงานนั้นมีผู้ประกอบการที่มีคุณ สมบัติ
ตรงตามที่กำหนดน้อยกว่าสามราย
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 55 (3))

8.
ผู้ใดเป็นเจ้าหน้าที่หรือเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือบริหารพัสดุปฏิบัติห
รือละเว้นการปฏิบัติหรือกระทำโดยมิชอบต้องระวางโทษตามข้อใด
ก. จำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 10 ปี หรือปรับตั้งแต่ 30,000 บาทถึง 300,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. จำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 10 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. จำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 15 ปี หรือปรับตั้งแต่ 30,000 บาทถึง 300,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. จำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 15 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
จ. จำคุกตั้งแต่ 1 ถึง 15 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 250,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 120)
9. การลงนามในสัญญาจัดซื้อจัดจ้างจะกระทำได้ต่อเมื่อใด
ก. อยู่ในกรอบระยะเวลาของสัญญา
ข. ได้รับอนุมัติงบประมาณ
ค. ล่วงพ้นระยะเวลาอุทธรณ์และไม่มีผู้ใดอุทธรณ์
ง. ผ่านการตรวจสอบจาก ค.ป.ท. แล้วอย่างน้อย 30 วัน
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 66)

10. คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียนใครเป็นประธาน
ก. อธิบดีกรมบัญชีกลาง
ข. ปลัดกระทรวงการคลัง
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ง. เลขาธิการสำนักนายกรัฐมนตรี
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 41)

11. พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับในการจัดซื้อจัดจ้างใด
ก. การจัดซื้อจัดจ้างของรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวกับการพาณิชย์โดยตรง
ข. การจัดซื้อจัดจ้างยุทโธปกรณ์
ค. การจัดซื้อจัดจ้างเพื่อการวิจัยและพัฒนา
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 7)

12. ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี และประกาศเผยแพร่ ตามความในข้อใด


ก. ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของสำนักงบประมาณและของหน่วยงานของรัฐ
ข. ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกระทรวงการคลังและของหน่วยงานของรัฐ
ค. ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของหน่วยงานของรัฐ
ง. ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของจังหวัดและของหน่วยงานของรัฐ
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 11)

13. ข้อใดคือความหมายของ “วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป”


ก. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการทั่วไปที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐ
กำหนดให้เข้ายื่นข้อเสนอ
ข. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนด
รายใดรายหนึ่ งให้ เข้ายื่น ข้ อเสนอหรือให้ เข้ามาเจรจาต่อรองราคารวมทั้งการจัดซื้อจัดจ้างพัส ดุกับ
ผู้ประกอบการโดยตรงในวงเงินเล็กน้อยตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ค. การซื้อหรือการจ้างจากส่วนราชการหน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ
ง. การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐ
กำหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสามรายให้เข้ายื่นข้อเสนอ เว้นแต่ในงานนั้นมีผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรง
ตามที่กำหนดน้อยกว่าสามราย
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 55 (1))

14. ใครเป็นผู้มีอำนาจสั่งให้ผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญาเป็นผู้ทิ้งงาน
ก. ค.ป.ท.
ข. ปลัดกระทรวงการคลัง
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ง. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 109 วรรค 2)

15. การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการให้พิจารณาข้อใดสำคัญที่สุด
ก. แล้วเสร็จตามสัญญา
ข. คุณภาพของงาน
ค. บริการและคุณภาพ
ง. คุณภาพและความคงทนถาวร
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 106)

16. พัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งาน หรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะ


ให้เลือกวิธีจัดซื้อจัดจ้างวิธีใด
ก. วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์
ข. วิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์
ค. วิธีสอบราคา
ง. วิธีคัดเลือก
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 56 (1) (ง))

17. “การรับขนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จากบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล” คือความหมาย


ของข้อใด
ก. งานบริการ
ข. งานก่อสร้าง
ค. งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง
ง. งานจ้างที่ปรึกษา
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

18. ข้อใดไม่เป็น “สินค้า” ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560


ก. วัสดุ
ข. ที่ดิน
ค. สิ่งปลูกสร้าง
ง. งานจ้างที่ปรึกษา
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

19. กรณีใด ก่อนลงนามในสัญญา หน่วยงานของรัฐไม่สามารถยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้างที่ได้ดำเนินการไปแล้ว


ก. หน่วยงานของรัฐไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
ข. เงินงบประมาณที่ได้จัดสรรไม่เพียงพอที่จะทำการจัดซื้อจัดจ้าง
ค. การทำการจัดซื้อจัดจ้างต่อไปอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐ
ง. ทุกข้อสามารถยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้างได้
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 67)

20. “เป็นพัสดุที่จำเป็นต้องซื้อโดยตรงจากต่างประเทศ หรือดำเนินการโดยผ่านองค์การระหว่างประเทศ”


หากท่านเป็นเจ้าหน้าที่จะเลือกใช้วิธีการจัดซื้อจัดจ้างแบบใด
ก. คัดเลือก
ข. เฉพาะเจาะจง
ค. ประกาศเชิญชวนทั่วไป
ง. ประกวดราคา
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 56(1) (จ))

21. ข้อใดไม่เป็น “พัสดุ” ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560


ก. สินค้า
ข. งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง
ค. งานบริการ
ง. วัสดุ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

22. งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างที่มีลักษณะไม่ซับซ้อน ต้องเลือกใช้วิธีจ้างแบบใด


ก. วิธีเฉพาะเจาะจง
ข. วิธีประกวดแบบ
ค. วิธีคัดเลือก
ง. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 80)

23. กรณีที่มีหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ยื่นข้อเสนอตั้งแต่กี่ราย มิให้ถือว่ามีผลประโยชน์ร่วมกัน


ก. 2 รายขึ้นไป
ข. 3 ราย
ค. 2 ราย
ง. 3 รายขึ้นไป
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา67 วรรค 4)

24. คณะกรรมการชุดใด มีหน้าที่กำหนดแบบของข้อตกลงคุณธรรมและแบบรายงานของผู้สังเกตการณ์


ก. คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
ข. คณะกรรมการราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ
ค. คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ง. คณะกรรมการ ค.ป.ท.
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 39 (2))
25. ใครมีหน้าที่รับผิดชอบการบริหารสัญญา
ก. หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
ข. เจ้าหน้าที่
ค. หัวหน้าเจ้าหน้าที่
ง. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 100)

26. พัสดุ หมายถึงข้อใด


ก. สินค้า
ข. งานบริการ งานก่อสร้าง
ค. งานจ้างที่ปรึกษา งานจ้างออกแบบ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

27. การจัดซื้อจัดจ้างในหมวด 6 ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560


มีกี่วิธี อะไรบ้าง
ก. 3 วิธี คือ วิธีตกลงราคา วิธเี ฉพาะเจาะจง วิธีคัดเลือก
ข. 3 วิธี คือ วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะเจาะจง
ค. 3 วิธี คือ วิธี e-market วิธี e-bidding วิธีเฉพาะเจาะจง
ง. 3 วิธี คือ วิธีตกลงราคา วิธี e-market วิธี e-bidding
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 55)
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 8)

2 9 .
เพื่อประโยชน์ในการจัดทำร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดของพัสดุที่จะทำการจัดซื้อจัดจ้างหน่วยงานขอ
งรัฐต้องดำเนินการอย่างไร
ก. จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นร่างขอบเขตของงาน
ข. รายละเอียดของพัสดุ
ค. ร่างเอกสารเชิญชวนจากผู้ประกอบการ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 59)

2 9 . ก า ร ไ ด้ ม า ข อ ง ร า ค า ก ล า ง
เพื่ อ ใช้ เป็ น ฐานสำหรั บ เปรี ย บเที ย บราคาที่ ผู้ ยื่ น ข้ อ เสนอได้ ยื่ น ข้ อ เสนอไว้ซึ่ งสามารถจั ด ซื้ อ จั ด จ้า งได้ จริ ง
ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ราคาที่ได้มาจากการคำนวณตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการราคากลางกำหนด
ข. ราคาที่ได้มาจากฐานข้อมูลราคาอ้างอิงของพัสดุที่กรมบัญชีกลางจัดทำ
ค. ราคามาตรฐานที่กระทรวงอุตสาหกรรมกำหนด
ง. ราคามาตรฐานที่สำนักงบประมาณหรือหน่วยงานกลางอื่นกำหนด
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

30. ที่ปรึกษาที่จะเข้าร่วมการเสนองานกับหน่วยงานของรัฐต้องขึ้นทะเบียนไว้กับที่ใด
ก. กรมการค้า กระทรวงพาณิชย์
ข. ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษา กรมบัญชีกลาง
ค. ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษา กระทรวงการคลัง
ง. ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สำนักนายกรัฐมนตรี
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
หมวด 3 ข้อ 101)

31. ข้อมูลใดดังต่อไปนี้ หน่วยงานของรัฐต้องเปิดเผยและเผยแพร่


ก. ผลการจัดซื้อจัดจ้าง
ข. แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ค. สาระสำคัญของสัญญา
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 11 ,66 และ 98,
หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค.0433.2/ว206 ลง 1 พ.ค.62)

32. ข้อใดไม่ได้อยู่ในรายงานขอซื้อขอจ้าง
ก. ราคากลางของพัสดุที่จะซื้อหรือจ้าง
ข. กำหนดเวลาที่ต้องการใช้พัสดุนั้นหรือให้งานนั้นแล้วเสร็จ
ค. ความเป็นมาที่ต้องซื้อหรือจ้าง
ง. หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ข้อ 22)

33. ใครเป็นผู้มีสิทธิอุทธรณ์ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560


ก. ผู้ซื้อ/ผู้มาขอรับเอกสาร
ข. ผู้ซึ่งได้ยื่นข้อเสนอเพื่อทำการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุกับหน่วยงานของรัฐ
ค. ผู้ที่ได้มีการวิจารณ์ร่างขอบเขตของงาน
ง. หน่วยงานของรัฐ
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 114)

34. ข้อใดไม่ใช่เกณฑ์ประกอบการพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปหรือวิธีคัดเลือก
ก. ต้นทุนของพัสดุนั้นตลอดอายุการใช้งาน
ข. บริการหลังการขาย
ค. การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ
ง. คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 65)
35. กรณีใดที่หน่วยงานของรัฐไม่ต้องจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี เพื่อประกาศเผยแพร่ในระบบ
เครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง
ก. กรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วน หรือเป็นพัสดุที่ใช้ในราชการลับ
ข. กรณี ที่ มี ว งเงิน ในการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ างตามที่ ก ำหนดในกฎกระทรวงหรือ มี ค วามจำเป็ น ต้ อ งใช้ พั ส ดุ
โดยฉุกเฉิน หรือเป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาด
ค. กรณีที่เป็นงานจ้างที่ปรึกษาที่มีวงเงินค่าจ้างตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 11 (1) – (3))

36. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ หน่วยงานของรัฐต้องเลือกใช้วิธีใดก่อน


ก. วิธีคัดเลือก
ข. วิธีประกวดราคา
ค. วิธีเฉพาะเจาะจง
ง. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 56)

37. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุกรณีตามข้อใดให้ใช้วิธีคัดเลือก
ก. มีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องใช้พัสดุนั้นอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดหมายได้
ข. มีความจำเป็นต้องใช้พัสดุนั้นโดยฉุกเฉิน เนื่องจากเกิดอุบัติภัยหรือภัยธรรมชาติ
ค. เป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาดโดยหน่วยงานของรัฐ
ง. เชิญชวนผู้ประกอบการทั่วไปที่คุณสมบัติตรวจตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดให้เข้ายื่นเสนอ
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 56(1) (ค))

38. กฎกระทรวงได้กำหนดวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ไว้ตามข้อใด


ก. วงเงินไม่เกิน 10,000 บาท
ข. วงเงินไม่เกิน 50,000 บาท
ค. วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท
ง. วงเงินไม่เกิน 500,000 บาท
(ตอบข้อ ง.) (กฎกระทรวง กำหนดวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง วงเงินการจัดซื้อ
จัดจ้างที่ไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือ และวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างในการแต่งตั้งผู้ตรวจรับพัสดุ พ.ศ.2560 ข้อ 1)

39. การจัดซื้อจัดจ้างในกรณีใดหน่วยงานของรัฐอาจจัดทำข้อตกลงเป็นหนังสือ โดยไม่ทำตามแบบสัญญาก็ได้


ก. เป็นพัสดุที่จำเป็นต้องซื้อโดยตรงจากต่างประเทศ
ข. จัดซื้อจัดจ้างกรณีมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องใช้พัสดุนั้นอันเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่อาจคาดหมายได้
ค. เป็นพัสดุที่ใช้ในราชการลับ
ง. จัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่มีผู้ประกอบการซึ่งมีคุณสมบัติโดยตรงเพียงรายเดียว
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 96 (1))

40. การจัดซื้อจัดจ้างที่มีวงเงินตามข้อใด จะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็นผู้ตรวจรับพัสดุก็ได้


ก. วงเงิน 5,000 บาท
ข. วงเงิน 10,000 บาท
ค. วงเงิน 50,000 บาท
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (กฎกระทรวง กำหนดวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง วงเงินการจัดซื้อ
จัดจ้างที่ไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือ และวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างในการแต่งตั้งผู้ตรวจรับพัสดุ พ.ศ.2560 ข้อ 5)

41. วิธีการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคัดเลือก หน่วยงานของรัฐเชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติ


ตรงตามเงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่ากี่ราย
ก. อย่างน้อย 1 ราย
ข. ไม่น้อยกว่า 2 ราย
ค. ไม่น้อยกว่า 3 ราย
ง. ไม่น้อยกว่า 4 ราย
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข้อ 74 (1))

42. ในการซื้อหรือจ้างครั้งเดียวกันห้ามแต่งตั้งผู้ที่เป็นกรรมการชุดใดซ้ำกัน
ก. กรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคัดเลือกเป็นกรรมการกำหนดราคากลาง
ข. กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์เป็นกรรมการกำหนดราคากลาง
ค. กรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจงเป็นกรรมการตรวจรับพัสดุ
ง. กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์เป็นกรรมการตรวจรับพัสดุ
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข้อ 26 วรรค 3)

43. ข้อใดมิใช่ความหมายของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
ก. องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หมายถึง ผู้พิพากษา
ข. ราชการส่วนกลาง หมายถึง อธิบดี
ค. ราชการส่วนภูมิภาค หมายถึง ผู้ว่าราชการจังหวัด
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ก.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซือ้ จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ข้อ 4)

44. ข ้ อ ใ ด ไ ม ่ ใ ช ่ ห ล ั ก ป ร ะ ก ั น ส ั ญ ญ า ต า ม ร ะ เ บี ย บ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ค ลั ง
ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐
ก. หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุนที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และ
ประกอบธุรกิจค้ำประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย
ข. พันธบัตรรัฐบาลไทย
ค. เช็คที่ธนาคารสั่งจ่ายซึ่งเป็นเช็คลงวันที่ที่ใช้เช็คนั้นชำระต่อเจ้าหน้าที่หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน 3 วันทำการ
ง. เช็คที่ผู้เสนอราคาสั่งจ่ายซึ่งเป็นเช็คลงวันที่ที่ใช้เช็คนั้นชำระแก่เจ้าหนี้ ซึ่งเป็นเช็คลงวันที่ที่ใช้เช็คนั้นไม่เกิน
3 วันทำการ
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐
ข้อ ๑๖๗)

45. การประชุมของคณะกรรมการแต่ละคณะต้องมีองค์ประชุมอย่างไร
ก. ต้องมีกรรมการมาประชุมจำนวนหนึ่งในสาม
ข. ต้องมีกรรมการมาประชุมจำนวนกี่คนก็ได้
ค. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
ง. ไม่มีข้อใดถูก
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐพ.ศ. ๒๕๖0
ข้อ ๒๗)

46. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของการจัดซื้อจัดจ้าง
ก. การซื้อ
ข. การจ้าง
ค. การเช่าซื้อ
ง. การแลกเปลี่ยน
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๔)

47. คณะกรรมการราคากลางต้องพิจารณาทบทวนหลักเกณฑ์และวิธีการกำหนดราคากลางอย่างน้อยปีละ
กี่ครั้ง
ก. อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ข. อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
ค. อย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง
ง. อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๓๕)

48. การจัดซื้อจัดจ้างประเภทงานจ้างออกแบบ หรือควบคุมงานก่อสร้าง กำหนดการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีใด


ก. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะเจาะจง วิธีปิดประกาศ
ข. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดสรร วิธีเฉพาะเจาะจง วิธีประกวดแบบ
ค. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีตกลงราคา วิธีสอบราคา วิธีปิดประกาศ
ง. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะเจาะจง วิธีประกวดแบบ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๗๙)

49. การกระทำอันมีลักษณะเป็น “การทิ้งงาน” ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร


พัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ข้อใดถูกต้อง
ก. เป็นผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับการคัดเลือกแล้วไม่ไปทำสัญญากับหน่วยงานของรัฐภายในเวลาที่กำหนด
ข. ผู้ยื่นข้อเสนอกระทำการอันมีลักษณะเป็นการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม
ค. ผู้ให้บ ริการงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรั ฐ
อย่างร้ายแรง
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๑๐๙)

50. ก ร ณี ที่ ห น่ ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ ไ ม่ ไ ด้ ท ำ สั ญ ญ า ต า ม แ บ บ สั ญ ญ า
ไม่แก้ไขสัญญาตามความเห็นของสำนักงานอัยการสูงสุดหรือไม่ตกลงหรือยินยอมให้แก้ไขสัญญาตามความเห็น
ข อ ง ส ำ นั ก ง า น อั ย ก า ร สู ง สุ ด
หากข้อสัญญาที่แตกต่างจากแบบสัญญาหรือสัญญาที่ไม่แก้ไขตามความเห็นของสำนักงานอัยการสูงสุดในส่วน
ทีเ่ ป็นสาระสำคัญหรือ เป็นกรณีผิดพลาดอย่างร้ายแรง สัญญานั้นมีผลเป็นอย่างไร

ก. โมฆียะ
ข. สมบูรณ์
ค. ไม่สมบูรณ์
ง. โมฆะ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 93 วรรค 6)

51. หน่วยงานของรัฐใดไม่ต้องอยู่ในบังคับของพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ.2560
ก. องค์กรอิสระ
ข. องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
ค. องค์การมหาชน
ง. ทุกข้ออยู่ในบังคับกฎหมายนี้
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๔)

52. คณะกรรมการตรวจรั บ พั ส ดุ ในงานจ้ างก่ อ สร้า ง โดยปกติ ให้ ต รวจผลงานที่ ผู้ รับ จ้ างส่ งมอบภายใน
ระยะเวลาใดนับแต่วันที่ประธานกรรมการ ได้รับทราบการส่งมอบงาน
ก. ภายใน 3 วัน
ข. ภายใน 3 วันทำการ
ค. ภายใน 5 วัน
ง. ภายใน 5 วันทำการ
(ตอบข้อ ข.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐
ข้อ ๑๗๖ (5))

53. กรณีผู้ขายหรือผู้รับจ้างส่งมอบพัสดุถูกต้อง แต่ไม่ครบจำนวน ให้รีบรายงานหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ


ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่ เพื่อแจ้งให้ผู้ขายหรือผู้รับจ้างทราบภายในระยะเวลาใดนับจากวันตรวจพบ
ก. ภายใน 3 วัน
ข. ภายใน 3 วันทำการ
ค. ภายใน 5 วัน
ง. ภายใน 5 วันทำการ
(ตอบข้อ ข.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐
ข้อ ๑๗๕ (5))

54. ผู้ควบคุมงาน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ


พ.ศ.๒๕๖๐ มีหน้าที่จดบันทึกสภาพการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างและเหตุการณ์แวดล้อมทุกกี่วัน
ก. เป็นรายวัน
ข. เป็นราย 3 วัน
ค. เป็นราย 5 วัน
ง. เป็นรายสัปดาห์
(ตอบข้อ ก.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐
ข้อ 178 (3))

55. หน่วยงานใดอาจจัดให้มีระเบียบ ข้อบังคับ


หรือข้อบัญญัติเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุขึ้นใช้เองทั้งหมดหรือแต่บางส่วนได้
ก. รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน องค์กรอิสระ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
ข. องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หน่วยธุรการของศาล
ค. รัฐวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ หน่วยงานของรัฐในต่างประเทศหรือส่วนงานของหน่วยงาน
ของรัฐที่ตั้งอยู่ในต่างประเทศ หรือหน่วยงานของรัฐอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ง. องค์กรมหาชน องค์กรอิสระ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ หน่วยงานในสังกัดรัฐสภาหรือในกำกับของ
รัฐสภาหน่วยงานอิสระของรัฐ
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๖ วรรค 2)

56. หน่วยงานของรัฐต้องทำสัญญาตามแบบที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด โดยต้องได้รับความ


เห็นชอบจากใคร
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ข. ปลัดกระทรวงการคลัง
ค. นายกรัฐมนตรี
ง. สำนักงานอัยการสูงสุด
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 93)

57. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ผู้ที่มีหน้าที่ดำเนินการ


ต้องไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียกับผู้ใด
ก. ผู้ยื่นข้อเสนอ
ข. คู่สัญญาในงานนั้น
ค. ผู้มีอำนาจอนุมัติ
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา ๑๓)

58. หลักประกันการเสนอราคาและหลักประกันสัญญา
ให้กำหนดมูลค่าเป็นจำนวนเต็มในอัตราร้อยละเท่าใดของวงเงินงบประมาณหรือราคาพัสดุที่จัดซื้อจัดจ้างครั้งนั้

ก. ร้อยละ 3
ข. ร้อยละ 5
ค. ร้อยละ 7
ง. ร้อยละ 10
(ตอบข้อ ข.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐
ข้อ ๑๖๘)
59. ข้อใดคือความหมายของ “คณะกรรมการวินิจฉัย”
ก. คณะกรรมการวินิจฉัยความร่วมมือป้องกันการทุจริต
ข. คณะกรรมการวินิจฉัยนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ค. คณะกรรมการวินิจฉัยราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ
ง. คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

60. คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
มีกี่คน
ก. ไม่น้อยกว่า 6 คน ไม่เกิน 8 คน
ข. ไม่น้อยกว่า 7 คน ไม่เกิน 9 คน
ค. ไม่น้อยกว่า 9 คน ไม่เกิน 11 คน
ง. ไม่น้อยกว่า 5 คน ไม่เกิน 7 คน
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 20 (3))

61. ข้อใดคือความหมายของ “คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์”


ก. คณะกรรมการวินิจฉัยการอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
ข. คณะกรรมการพิจารณานโยบายการอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
ค. คณะกรรมการความร่วมมือการอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
ง. คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

62. งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างอาจกระทำได้โดยวิธีใด
ก. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป
ข. วิธีคัดเลือก
ค. วิธีเฉพาะเจาะจง
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 79)

63. ข้อใดไม่เป็น “การจัดซื้อจัดจ้าง” เพื่อให้ได้มาซึ่งพัสดุ


ก. งานบริการ
ข. จ้าง
ค. เช่า
ง. แลกเปลี่ยน
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

64. ข้ อ ใดคื อ ความหมายของ “เจ้ าหน้ า ที่ ” ตาม พ.ร.บ. การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งและการบริห ารพั ส ดุ ภ าครั ฐ
พ.ศ. 2560
ก. ผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ
ข. ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้มีอำนาจให้ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุของ
หน่วยงานของรัฐ
ค. ถูกเฉพาะข้อ ข
ง. ถูกข้อ ก และ ข
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

6 5 . ร า ค า ก ล า ง คื อ
ราคาเพื่ อใช้เป็ น ฐานสำหรับ เปรีย บเทีย บราคาที่ผู้ ยื่นข้อเสนอได้ยื่นเสนอไว้ซึ่งสามารถจัดซื้อจัดจ้างได้จริง
โดยพิจารณาข้อใดเป็นลำดับแรก
ก. ราคาที่เคยซื้อหรือจ้างครั้งหลังสุดภายในระยะเวลาสองปีงบประมาณ
ข. ราคาที่ได้มาจากการคำนวณตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการราคากลางกำหนด
ค. ราคาที่ได้มาจากฐานข้อมูลราคาอ้างอิงของพัสดุที่กรมบัญชีกลางจัดทำ
ง. ราคามาตรฐานที่สำนักงบประมาณหรือหน่วยงานกลางอื่นกำหนด
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4)

66.
หน่วยงานใดมีหน้าทีจ่ ัดทำแนวทางปฏิบัติในการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างผ่านทางระบบจัดซื้อจัดจ้าภาครัฐด้วย
อิเล็กทรอนิกส์
ก. สำนักงบประมาณ
ข. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ค. กรมบัญชีกลาง
ง. กระทรวงการคลัง
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ข้อ 10)

67. คณะกรรมการชุดใด มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและจรรยาบรรณของเจ้าหน้าที่


ก. คณะกรรมการราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ
ข. คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
ค. ค.ป.ท.
ง. คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 24 (5))

68. ห้ามมิให้กำหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุให้ใกล้เคียงกับยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง เว้นแต่เหตุผลข้อใด


ก. มียี่ห้อเดียว
ข. ยี่ห้อนั้นมีคุณภาพดีเป็นที่ยอมรับ
ค. ยี่ห้อนั้นราคาถูก
ง. ยี่ห้อนั้นสะดวกในการใช้งาน
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 9)

69. ให้ ผู้มีสิทธิอุทธรณ์ ยื่ นอุทธรณ์ต่อหน่ วยงานของรัฐภายในกี่วัน นับแต่วัน ประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้าง


ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง
ก. 5 วันทำการ
ข. 6 วันทำการ
ค. 7 วันทำการ
ง. 10 วันทำการ
(ตอบข้อ ค.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 117)

70. เมื่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ พิจารณาอุทธรณ์ไม่แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับรายงาน


หากเรื่องใดไม่อาจพิจารณาได้ทันในเวลาที่กำหนดต้องดำเนินการอย่างไร
ก. ขยายระยะเวลาออกไปได้ไม่เกิน 1 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 15 วัน
ข. ขยายระยะเวลาออกไปได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 15 วัน
ค. ขยายระยะเวลาออกไปได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 14 วัน
ง. ขยายระยะเวลาออกไปได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 30 วัน
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 119)

71.
ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐได้ทำการจัดซื้อจัดจ้างขั้นตอนหนึ่งขั้นตอนใดผิดพลาดและไม่มีผลต่อการจัดซื้อจัดจ้า
งอย่างมีนัยสำคัญ ให้ถือว่าการจัดซื้อจัดจ้างนั้นเป็นอย่างไร
ก. การจัดซื้อจัดจ้างนั้นย่อมไม่เสียไป
ข. การจัดซื้อจัดจ้างนั้นเสียไป
ค. การจัดซื้อจัดจ้างนั้นเป็นโมฆะ
ง. การจัดซื้อจัดจ้างนั้นผิดระเบียบการจัดซื้อจัดจ้าง
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 14)

72. ข้อใดเป็นงานจ้างซ่อมพัสดุที่จำเป็นต้องถอด ให้ทราบความชำรุดเสียหายจึงจะประมาณค่าซ่อมได้


ก. เครื่องจักร
ข. เครื่องมือกล
ค. เครื่องยนต์
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 56 (1) (ช))

73. งานจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก ให้กระทำได้ในกรณีใด


ก. ใช้วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปแล้ว แต่ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ
ข. เป็นงานที่ซับซ้อน
ค. เป็นงานจ้างที่มีที่ปรึกษาในงานที่จะจ้างนั้นจำนวนจำกัด
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 70 (2))

74. กรณีจำเป็นในการจัดซื้อจัดจ้างต้องทำสัญญาเป็นภาษาต่างประเทศ ต้องใช้ภาษาใดในการทำสัญญา


ก. ภาษาจีน
ข. ภาษาอังกฤษ
ค. ภาษาญี่ปุ่น
ง. ภาษาฝรั่งเศส
(ตอบข้อ ข.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 93 วรรค 4)

75. การงดหรือลดค่าปรับให้แก่คู่สัญญา หรือการขยายเวลาทำการตามสัญญาหรือข้อตกลง เฉพาะในกรณีใด


ก. เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐ
ข. เหตุสุดวิสัย
ค. เหตุเกิดจากพฤติการณ์อันหนึ่งอันใดที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 102)

76. ในกรณี ที่พัส ดุสู ญ ไปไม่ป รากฏตัวผู้รับ ผิ ดหรือมีตัว ผู้รับผิ ดแต่ไม่ส ามารถชดใช้ได้ ให้ จำหน่ายพัส ดุนั้น
เป็นสูญ ตามหลักเกณฑ์ในข้อใด
ก. ถ้าพัสดุนั้นมีราคาซื้อ หรือได้มารวมกันไม่เกิน 500,000 บาท
ข. ถ้าพัสดุนั้นมีราคาซื้อ หรือได้มารวมกันไม่เกิน 1,000,000 บาท
ค. ถ้าพัสดุนั้นมีราคาซื้อ หรือได้มารวมกันไม่เกิน 1,200,000 บาท
ง. ถ้าพัสดุนั้นมีราคาซื้อ หรือได้มารวมกันไม่เกิน 1,500,000 บาท
(ตอบข้อ ข.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข้อ 217)

77. เมื่อได้รับอนุมัติให้จำหน่ายพัสดุแล้วเจ้าหน้าที่พัสดุต้องดำเนินการอย่างไร
ก. ให้เจ้าหน้าทีจ่ ำหน่ายออกจากบัญชีหรือทะเบียน
ข. ให้เจ้าหน้าทีล่ งจ่ายพัสดุออกจากบัญชีหรือทะเบียนทันที
ค. ให้เจ้าหน้าทีต่ ัดออกจากบัญชีหรือทะเบียน
ง. ให้เจ้าหน้าทีล่ บออกจากบัญชีหรือทะเบียน
(ตอบข้อ ข.) (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข้อ 218)

7 8 .
ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการควบคุมและดูแลพัสดุที่อยู่ในความครอบครองให้มีการใช้และการบริหารพัสดุตา
มข้อใด
ก. เหมาะสม
ข. คุ้มค่า
ค. เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานของรัฐมากที่สุด
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 112)

79. ปัจจุบัน ตร. ใช้กฎหมายใดในการปฏิบัติงานด้านพัสดุเป็นหลัก


ก. พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ข. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
ค. ประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดีลักษณะที่ 35 (เดิม)
ง. ประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดีลักษณะที่ 34 (เดิม)
(ตอบข้อ ก.) (พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560)

80. รถยนต์ของ ตร. ระเบียบกำหนดให้ใช้สีใด


ก. สีดำ
ข. สีเลือดหมู
ค. สีขาว
ง. สีบอร์นเงิน
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบ ตร. ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ สี ของอาคารสถานีตำรวจ ที่พักสายตรวจ และ
ยานพาหนะหน่วยงานใน ตร. พ.ศ.2556 ข้อ 4 (1) (ก))

81. รถราชการมีกี่ประเภท
ก. 1 ประเภท รถประจำตำแหน่ง
ข. 2 ประเภท รถประจำตำแหน่ง และ รถส่วนกลาง
ค. 3 ประเภท รถประจำตำแหน่ง รถส่วนกลาง และ รถอารักขา
ง. 5 ประเภท รถประจำตำแหน่ง รถส่วนกลาง รถรับรอง รถรับรองประจำจังหวัด และ รถอารักขา
(ตอบข้อ ง.) (ระเบียบสำนั กนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยรถราชการ พ.ศ.2523 ข้อ 4 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2530 (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2535 (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2538 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2541 (ฉบับที่
6) พ.ศ.2545)

82. รถส่วนกลางให้เก็บรักษาไว้ที่ใด
ก. คลัง
ข. บ้านพัก
ค. สถานที่ราชการ
ง. บ้านพักส่วนตัว
(ตอบข้อ ค.) (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยรถราชการ พ.ศ.2523 ข้อ 16)

83. ผู้ทไี่ ม่สามารถมีรถประจำตำแหน่งได้ แต่นำรถส่วนกลางไปใช้เสมือนรถประจำตำแหน่ง


มีหน่วยงานใดชี้ไว้ว่าผู้นั้นกระทำความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ก. สตง.
ข. ตร.
ค. ปปช.
ง. จต.
(ตอบข้อ ค.) (หนังสือสำนักงาน ป.ป.ช. ที่ ปช 0003/0094 ลง 19 ก.ย.59 เรื่อง ข้อสังเกตการนำ
รถยนต์ส่วนกลางไปใช้เสมือนเป็นรถประจำตำแหน่ง)

84.
การโอนกรรมสิทธิ์ที่ราชพัสดุเฉพาะที่ดินทีเ่ ป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉ
พาะ ให้ตราเป็นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ
ข. พระราชกำหนด
ค. พระราชกฤษฎีกา
ง. กฎกระทรวง
(ตอบข้อ ก.) (พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ.2562 มาตรา ๓๐)

85. กรมธนารักษ์ สามารถเรียกคืนที่ราชพัสดุจากส่วนราชการหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ยกเว้นข้อใด


ก. เลิกใช้ที่ราชพัสดุ
ข. ไม่ใช้ที่ราชพัสดุภายในระยะเวลา 3 ปีนับแต่วันที่ทำความตกลงกับกรมธนารักษ์
ค. ครอบครองที่ราชพัสดุโดยไม่ได้รับอนุญาต
ง. ไม่ใช้ที่ราชพัสดุภายในระยะเวลา 5 ปีนับแต่วันที่ทำความตกลงกับกรมธนารักษ์
(ตอบข้อ ง.) (พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ.2562 มาตรา ๒๒)

8 6 .
การจัดหาประโยชน์ที่ราชพัสดุจากบุคคลที่มิใช่ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐต้องเป็นเพื่อให้เกิดประโยชน์แ
ก่ทางราชการโดยต้องคำนึงถึงข้อต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
ก. วัตถุประสงค์ในการจัดหาประโยชน์
ข. ผลประโยชน์ตอบแทนอื่นนอกเหนือจากค่าเช่าที่จะได้รับ
ค. อัตราเช่าตามปกติในท้องตลาด
ง. มูลค่าอสังหาริมทรัพย์บนที่ดินที่ตกหรือจะตกเป็นของกระทรวงการคลัง อันเป็นมูลค่า ณ ระยะเวลาเช่า
(ตอบข้อ ง.) (พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ.2562 มาตรา ๒๗)

87.
การจัดทำรายงานการปกครองดูแลและใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
(แบบ ธร.3801) ต้องรายงานแก่กรมธนารักษ์ภายในเดือนใดของทุกปี
ก. มกราคม
ข. มีนาคม
ค. สิงหาคม
ง. กันยายน
(ตอบข้อ ง.) (หน่วยงานในสังกัด ตร. ทุกหน่วย จะต้องถือปฏิบัติตามหนังสือ ตร. ที่ ๐๕๑๔.๕๑๔/๗๙๓๓
ลง ๑๕ มิ.ย.๒๕๓๘)

88. ผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุ ต้องเข้าทำประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ขออนุญาตภายในกำหนดเวลาใด


นับแต่วันที่ได้รับอนุญาต
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 3 ปี
ง. 4 ปี
(ตอบข้อ ค.) (กฎกระทรวงการใช้ที่ราชพัสดุ พ.ศ.2563 ข้อ 22)
8 9 . ก า ร ส่ ง คื น ที่ ร า ช พั ส ดุ ที่ เ ลิ ก ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์
ต้องส่งคืนให้แก่กรมธนารักษ์ภายในระยะเวลาใดนับแต่วันที่เลิกใช้ประโยชน์นั้น
ก. ภายใน 7 วัน
ข. ภายใน 10 วัน
ค. ภายใน 14 วัน
ง. ภายใน 30 วัน
(ตอบข้อ ง.) (กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์
เกี่ยวกับที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2545 และที่แก้ไขเพิ่มเติมฯ ข้อ 34 วรรคสอง ในกรณี (1)

90. ข้อใดต่อไปนี้ถือว่าเป็นที่ราชพัสดุ ตาม พ.ร.บ.ที่ราชพัสดุ พ.ศ.2562


ก. อสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินทุกชนิด
ข. ที่ดินที่ซึ่งมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดยประการอื่นตามกฎหมายที่ดิน
ค. ที่ดินรกร้างว่างเปล่า
ง. อสังหาริมทรัพย์ขององค์กรมหาชน ซึ่งได้มาโดยการซื้อจากรายได้ขององค์กรมหาชนนั้น
(ตอบข้อ ก.) (พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ.2562 มาตรา ๖)

91. สิทธิในที่ดิน หมายถึงข้อใด


ก. สิทธิครอบครอง
ข. กรรมสิทธิ์
ค. สิทธิเหนือพื้นดิน
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
(ตอบข้อ ง.) (ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 1)

92. ที่ดินที่มีโฉนดที่ดิน หากเจ้าของทอดทิ้งไม่ทำประโยชน์เป็นระยะเวลาเท่าใด


ที่ดินนั้นอาจกลับคืนมาเป็นของรัฐได้
ก. เกิน 1 ปีติดต่อกัน
ข. เกิน 3 ปีติดต่อกัน
ค. เกิน 5 ปีติดต่อกัน
ง. เกิน 10 ปีติดต่อกัน
(ตอบข้อ ง.) (ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 6)

93. หนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดิน และใหหมายความรวมถึงโฉนด แผนที่ โฉนดตราจอง


และตราจองที่ตราวา “ไดทําประโยชนแลว” คือความหมายของข้อใด
ก. โฉนดแผนที่
ข. โฉนดตราจอง
ค. นส. 3 ก
ง. โฉนดที่ดิน
(ตอบข้อ ง.) (ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 1)

94. ข้อใดเป็นความหมายของคำว่าที่ดิน ตามประมวลกฎหมายที่ดิน


ก. พื้นที่ดินทั่วไป
ข. คลอง
ค. ที่ชายทะเล
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 1)

95. ข้อใดต่อไปนี้คือความหมายของ “อาคารสูง”


ก. อาคารที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ ที่มีความสูงตั้งแต่ 20.00 เมตรขึ้นไป
ข. อาคารที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ ที่มีความสูงตั้งแต่ 23.00 เมตรขึ้นไป
ค. อาคารที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ ที่มีความสูงตั้งแต่ 25.00 เมตรขึ้นไป
ง. อาคารที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ ที่มีความสูงตั้งแต่ 27.00 เมตรขึ้นไป
(ตอบข้อ ข.) (พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 มาตรา 4)

96. อาคารประเภทควบคุมการใช้อาคาร คืออาคารประเภทใด


ก. อาคารสำหรับใช้เป็นคลังสินค้า
ข. อาคารสำหรับใช้เป็น โรงแรม อาคารชุด หรือสถานพยาบาล
ค. อาคารสำหรับใช้เพื่อกิจการพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม การศึกษา การสาธารณสุขหรือกิจการอื่นๆ
ง. ถูกทุกข้อ
(ตอบข้อ ง.) (พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 มาตรา 32)

97. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522


ข้อ 20 ห้องนอนในอาคารให้มีความกว้างด้านแคบที่สุดไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร
และให้มีพื้นที่ไม่น้อยกว่ากี่ตารางเมตร
ก. 6.00 ตารางเมตร
ข. 8.00 ตารางเมตร
ค. 10.00 ตารางเมตร
ง. 12.00 ตารางเมตร
(ตอบข้อ ข.) (กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญ ญั ติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522 ขอ 20)

98. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522


ข้อ 29 บันไดหนีไฟภายนอกอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่าเท่าไร
ก. 60 เซนติเมตร
ข. 80 เซนติเมตร
ค. 100 เซนติเมตร
ง. 120 เซนติเมตร
(ตอบข้อ ก.) (กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญ ญั ติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522 ขอ 29)
99. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
ข้ อ 3 1 ป ระ ตู ห นี ไฟ ต้ อ งท ำด้ ว ย วั ส ดุ ท น ไฟ ต้ อ งมี ค ว าม ก ว้ า งสุ ท ธิ ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า กี่ เซ น ติ เม ต ร
และสูงไม่น้อยกว่ากี่เมตร
ก. มีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า 60 เซนติเมตร สูงไมนอยกวา 1.90 เมตร
ข. มีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า 80 เซนติเมตร สูงไมนอยกวา 1.90 เมตร
ค. มีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า 100 เซนติเมตร สูงไมนอยกวา 1.90 เมตร
ง. มีความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า 120 เซนติเมตร สูงไมนอยกวา 1.90 เมตร
(ตอบข้อ ข.) (กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญ ญั ติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522 ขอ 31)

100. ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522


ข้อ 41 อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะที่มีความกว้างน้อยกว่า 6.00 เมตร
ให้ร่นแนวอาคารห่างจากกึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อยกี่เมตร
ก. 1.00 เมตร
ข. 2.00 เมตร
ค. 3.00 เมตร
ง. 4.00 เมตร
(ตอบข้อ ค.) (กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญ ญั ติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522 ขอ 41)

......................................................

You might also like