You are on page 1of 55

ข้อตรวจพบและข้อเสนอแนะปฏิบตั ิงานด้านการเงิน บัญชี และการพัสด ุ

สานักงานสรรพสามิตภาคที่ 5
วันที่ 27 มีนาคม 2567
ณ โรงแรมอโมรา ท่าแพ ตาบลช่างม่อย
อ.เมือง จ.เชียงใหม่
2

3. แนวทางปฏิบตั ิและประเด็นปัญหาเกี่ยวกับ
การพัสด ุ

ไปรยา อาจเลิศ นักวิชาการตรวจสอบภายในชานาญการพิเศษ


รักษาราชการแทน ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านตรวจสอบภายใน
ประภัสสร เสนาพล นักวิชาการตรวจสอบภายในชานาญการพิเศษ
3
กฎหมาย ระเบียบ หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง
o พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
o ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
o หนังสือคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซือ้ จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง ที่เกี่ยวข้อง
o หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ ว 546 ลงวันที่ 11 ธันวาคม 2561 เรื่อง ซ้อมความเข้าใจการจาหน่ายพัสดุ
ด้วยวิธีการโอน ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 215
วรรค (3)
o หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ ว 82 ลงวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 เรื่อง การซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการ
ดาเนินการจาหน่ายพัสดุ โดยวิธีการขายทอดตลาด ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการ
บริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 215 วรรค (1)
o ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 509 – 517
o ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรถราชการ ( ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2530
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 (ฉบับที่ 4) 2538 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2541 (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2545
o ระเบียบกรมสรรพสามิตว่าด้วยการใช้รถยนต์สว่ นกลาง พ.ศ. 2553
o หนังสือกรมสรรพสามิต ที่ กค 0617/ว 17 ลงวันที่ 18 มกราคม 2567 เรื่องซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการ
ควบคุมดูแลและการใช้รถราชการ
4

แนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการบริหารพัสด ุ
5
การดาเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งพัสดุ
“การจัดซื้อจัดจ้าง” และ การดาเนินการให้ได้ซึ่ง “พัสดุ”
ตามนัยมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัตกิ ารจัดซื้อจัดจ้างและ
การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ตามกฎหมายหมายจัดซื้อจัดจ้าง
ไม่ต้องดาเนินการจัดซื้อจัดจ้าง เช่น
สินค้า / งานบริการ / งานก่อสร้าง • การจัดอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม และค่า
เช่าที่พักของหน่วยงานของรัฐตามระเบียบการ
ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้าง โดย ฝึกอบรมฯ ค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน หรือ
ผ่านระบบ e-GP
 วิธีประกาศเชิญชวนทัว ่ ไป ระเบียบที่เกี่ยวข้อง (ว 395)
 วิธีคัดเลือก • ค่าประกันภัยรถราชการ ประกันภัยทรัพย์สิน
 วิธีเฉพาะเจาะจง
ไม่ผ่านระบบ e-GP
ของทางราชการ ค่าประกันชีวิต การจัดทา
ประกันสุขภาพ การให้เช่าพัสดุ การให้ทุน
ว 119 (ตาราง 1) ว 179 ว 322 (แนววินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหา การ
ค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน การจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิง (1) กรณีราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค จัดซื้อ จัดจ้างและการบริหารพัสดุ)
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานตาม และราชการส่วนท้องถิ่น วงเงินต่ากว่า 5,000 บาท • ค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ค่าใช้จ่ายใน
การจัดงาน และการประชุม ภารกิจของหน่วยงานของรัฐ (2) วงเงินต่ากว่า 100,000 บาท กรณีมิใช่ (1)
ของหน่วยงานของรัฐ
การฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมของ
(บางกรณี) (3) กรณีดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างตาม ข้อ 79 วรรคสอง
(วงเงินไม่เกิน 10,000 บาท) (4) กรณีจ้างเหมาบุคคลธรรมดา หนังสือ ว 82 หน่วยงานของรัฐ (ว 119 ตาราง 2)
(5) กรณีการจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิงไม่ถึง 10,000 ลิตร
และไม่มีภาชนะเก็บรักษาน้ามันเชื้อเพลิง
กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ 6
จัดทาโครงการและของบประมาณ งบประมาณ

แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
(ม. 11 + ข้อ 11 – 13)
• การซื้อหรือจ้างที่มิใช่งานจ้างก่อสร้าง (ข้อ 21 วรรคหนึ่ง)
• การจ้างก่อสร้าง (ข้อ 21 วรรคสาม)
จัดทาราคากลาง ร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ • งานจ้างที่ปรึกษา (ข้อ 103)
(ม. 4) หรือแบบรูปรายการงานก่อสร้าง (ม. 9) • งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง (ข้อ 139)

เอกสารการซื้อหรือจ้าง
• การซื้อหรือจ้าง (ข้อ 22)
• จัดซื้อจัดจ้าง (ซื้อ/จ้าง/เช่า/แลกเปลี่ยน)
• การซื้อที่ดนิ หรือสิ่งปลูกสร้าง (ข้อ 23)
(พรบ. หมวด 6 + ระเบียบ หมวด 2)
จัดทารายงานขอซื้อขอจ้าง • งานจ้างที่ปรึกษา (ข้อ 104)
• จ้างที่ปรึกษา
• งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง (ข้อ 140)
(พรบ. หมวด 7 + ระเบียบ หมวด 3)
• งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง ดาเนินการซื้อหรือจ้าง
(พรบ. หมวด 8 + ระเบียบ หมวด 4) พรบ. หมวด 9 + ระเบียบ หมวด 5
• การทาสัญญา (มาตรา 93) พรบ. หมวด 14
พรบ. หมวด 10 + ระเบียบ หมวด 6 ทาสัญญา • การทาข้อตกลงเป็นหนังสือ (มาตรา 96) • การอุทธรณ์
• การบริหารสัญญา (มาตรา 100) • การไม่ทาข้อตกลงเป็นหนังสือ (มาตรา 96 วรรคสอง)
• การงดหรือลดค่าปรับ หรือขยายเวลาทาการ (มาตรา 102)
• การบอกเลิกสัญญา (มาตรา 103) บริหารสัญญา / ตรวจรับพัสดุ พรบ. หมวด 13 + ระเบียบ หมวด 9
• คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ข้อ 175 ข้อ 176 ข้อ 179 ข้อ 180) • การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย
พรบ. หมวด 12 + ระเบียบ หมวด 8 การบริหารพัสดุ • การยืม
• การลงโทษผู้ทิ้งงาน • การบารุงรักษา การตรวจสอบ
• การจาหน่ายพัสดุ
7
จัดทาราคากลาง (มาตรา 4 , มาตรา 63)

ราคาเพื่อใช้เป็นฐานสาหรับเปรียบเทียบราคาที่ผู้ยื่นข้อเสนอได้ยื่นเสนอไว้
ซึ่งสามารถจัดซื้อจัดจ้างได้จริงตามลาดับ ดังนี้
 มีราคาตาม (1) ให้ใช้ราคาตาม (1) ก่อน
 ไม่มีราคาตาม (1) แต่มีราคาตาม (2) หรือ (3)
(1) ราคาตามที่คานวณตามหลักเกณฑ์
ให้ใช้ราคาตาม (2) หรือ (3)
คณะกรรมการราคากลางกาหนด
 ไม่มีราคาตาม (1) (2) หรือ (3)
ให้ใช้ราคาตาม (4) (5) หรือ (6)
คานึงถึงประโยชน์ของหน่วยงานของรัฐ (2) ราคาอ้างอิง (3) ราคามาตรฐานของสานักงบประมาณ
ของกรมบัญชีกลาง หรือหน่วยงานกลางอื่น
เป็นสาคัญ

(4) สืบราคา (5) ราคาที่เคยซื้อ/จ้างครั้งหลังสุด (6) ราคาตามหลักเกณฑ์อื่น


จากท้องตลาด ภายใน 2 ปีงบประมาณ ของหน่วยงานของรัฐ
8

หลักการแต่งตั้งคณะกรรมการซื้อหรือจ้าง
(ข้อ 26)
องค์ประกอบ

ลว 23 ส.ค.60
การจัดทารายงานขอซื้อขอจ้าง ข้อ 22

ขอบเขตของงาน หรือรายละเอียด วงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง โดยระบุ วิธีที่จะซื้อหรือจ้างและ ข้อเสนออื่น ๆ เช่น การขออนุมัติแต่งตั้ง


คุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ หรือ วงเงินงบประมาณ ถ้าไม่มีวงเงิน เหตุผลที่ต้องซื้อหรือจ้าง คณะกรรมการต่าง ๆ ที่จาเป็นในการซื้อหรือจ้าง
แบบรูปรายการงานก่อสร้างที่จะ ดังกล่าวให้ระบุวงเงินที่ประมาณ โดยวิธีนั้น การออกประกาศและเอกสารเชิญชวน และ
ซื้อหรือจ้าง แล้วแต่กรณี ว่าจะซื้อหรือจ้าง หนังสือเชิญชวน
2 4 6 8

1 3 5 7
เหตุผลความจาเป็นที่ ราคากลางของพัสดุที่ กาหนดเวลาที่ต้องการใช้พัสดุ หลักเกณฑ์การพิจารณา
ต้องซื้อหรือจ้าง จะซื้อหรือจ้าง นั้นหรือให้งานนั้นแล้วเสร็จ คัดเลือกข้อเสนอ
10
สัญญาเต็มรูปแบบ (ม.93)

1000 ละ 1 บาท หลักประกันสัญญา

 เงินสด
 เช็คธนาคารสั่งจ่าย
 หนังสือค้าประกันของธนาคาร
ค่าจ้างตั้งแต่ 200,000 ขึ้น ภายในประเทศ
ไป  หนังสือค้าประกัน ของบริษัทเงินทุน
หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับ
อนุญาต กิจการเงินทุนเพื่อการ
พาณิชย์ และประกอบธุรกิจค้า
ประกัน ตามประกาศของธนาคาร
สัญญาจ้างออกแบบและควบคุมงานก่อสร้าง
แห่งประเทศไทย ตามรายชื่อ บริษัท
เงินทุน ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย
 พันธบัตรรัฐบาลไทย
ประมวลรัษฎากรพุทธศักราช 2481 หมวด 6
11

สัญญาแบบลดรูปและไม่มีรูปแบบ

สัญญาลดรูป

ใบสั่งซื้อ/จ้าง

ข้อตกลงซื้อ/จ้าง
12
การบริหารสัญญาและการตรวจรับ (มาตรา 100 – มาตรา 105)

ให้ผู้มีอำนำจแต่งตั้ง “คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ” รับผิดชอบในกำรบริหำรสัญญำและกำรตรวจรับพัสดุ


 ผู้รับผิดชอบกำรบริหำรสัญญำและกำรตรวจรับพัสดุ ไม่ใช่ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่ปฏิบัติงำน
เกี่ยวกับกำรจัดซื้อจัดจ้ำง หรือกำรบริหำรพัสดุ
1. หนังสือกระทรวงกำรคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0402.5/ว 85 ลงวันที่
 ให้ได้รับค่ำตอบแทนตำมที่กระทรวงกำรคลังกำหนด 6 กันยำยน 2561 เรื่อง หลักเกณฑ์กำรเบิกจ่ำยค่ำตอบแทนบุคคล
หรือคณะกรรมกำร
2. หนังสือกรมสรรพสำมิต ที่ กค 0617/ว 3290 ลงวันที่ 8 ตุลำคม
2561 เรื่อง กำรกำหนดหลักเกณฑ์กำรเบิกจ่ำยค่ำตอบแทนบุคคล
หรือคณะกรรมกำรสำหรับโครงกำรก่อสร้ำง

การจัดซื้อจัดจ้างวงเงินเล็กน้อย
จะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็นผู้ตรวจรับพัสดุก็ได้
(กฎกระทรวง ลว. 23 ส.ค. 2560 (ข้อ 5)
13
องค์ประชุมคณะกรรมการ (ข้อ 27) ส่วนในการประชุมนั้นกาหนดว่า...

องค์ประชุม
การประชุมของคณะกรรมการแต่ละคณะต้องมีกรรมการ
มาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมด (1) ประธานกรรมการจะต้องอยู่ด้วยทุกครั้งทีม่ ีการประชุม
(2) หากประธานกรรมการไม่สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ได้
หลักการลงมติ (2.1) รอ...จนกว่ำประธำนกรรมกำรจะมำปฏิบัติหน้ำที่
(1) มติของคณะกรรมกำรให้ถือเสียงข้ำงมำก (2.2) ให้หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐแต่งตัง้ ประธำน
(2) ถ้ำคะแนนเสียงเท่ำกัน ให้ประธำนกรรมกำรออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นชี้ขำด กรรมกำรคนใหม่เป็นกรรมกำรแทน

กรณีมีความเห็นแย้ง
เว้นแต่ การตรวจรับพัสดุ
กรรมกำรคนใดที่ไม่เห็นด้วยกับมติคณะกรรมกำร
คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุให้ถือมติเอกฉันท์
ให้ทำบันทึกควำมเห็นแย้งไว้ด้วย
แลวเสนอหัวหนาราชการตัดสินใจผล
14
หน้าที่ของ คกก.ตรวจรับกรณีงานซื้อหรืองานจ้าง

ใบตรวจรับอย่างน้อย 2 ฉบับ ****


ลงลายมือชื่อ

รายงานหัวหน้าหน่วยงานรัฐ
ตรวจรับ ณ ที่ทาการ/ ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
สถานที่กาหนด
ณ วันที่ผู้ขายส่งมอบ

ถูกต้อง-ไม่ครบ
ส่งมอบเป็นชุด
ครบ-ไม่ถูกต้อง
ขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ให้ตรวจรับในสิ่งที่ถูกต้องและ
ให้ถือว่ายังขาดส่งทั้งชุด
ครบได้

ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุดาเนินการตรวจรับในวันที่คู่สัญญานาพัสดุมาส่งมอบ
และให้ดาเนินการให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็ว
15
ข้อควรระวังของคณะกรรมการตรวจรับ

การแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลง (พ.ร.บ.มาตรา 97)

หลัก แก้ไม่ได้ เว้นแต่ ในกรณีดังต่อไปนี้ให้อยู่ในดุลพินิจของผู้มีอานาจที่จะ


พิจารณาให้แก้ไขได้
1.แก้ไขตาม ม.93 วรรค 5 คือ สนง. อัยการสูงสุดเห็นชอบให้แก้ไข
2.มีความจาเป็นต้องแก้ไข หากการแก้ไขนั้นไม่ทาให้หน่วยงานเสียประโยชน์
3.การแก้ไขเพื่อประโยชน์แก่หน่วยงานของรัฐหรือประโยชน์สาธารณะ
4.กรณีอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
หากมีการเพิ่มลดวงเงินหรือเพิ่มลดระยะเวลาส่งมอบหรือทางานให้ตกลงไป
พร้อมการแก้ไขที่มีการเพิ่มวงเงิน เมื่อรวมวงเงินตามสัญญาหรือข้อตกลงเดิมทา
ให้ผู้มีอานาจอนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้างเปลี่ยนแปลงไปจะต้องให้ผู้มีอานาจอนุมัตสิ ั่งซื้อ
สั่งจ้างตามวงเงินรวมเห็นชอบแก้ไขด้วย
16
ข้อควรระวังของคณะกรรมการตรวจรับ

การไขสัญญาหรือข้อตกลง (ระเบียบพัสดุ ข้อ 165)

ต้องอยู่ภายในขอบข่ายแห่งวัตถุประสงค์เดิมของสัญญาหรือ
ข้อตกลง

ต้องพิจารณาเปรียบเทียบคุณภาพของพัสดุหรือรายละเอียด
รวมทั้งราคาหรืองานก่อนการแก้ไข

เกี่ยวกับความมั่นคงแข็งแรงจะต้องได้รับความยินยอมจาก
วิศวกรสถาปนิก

ผู้มีอานาจสั่งซื้อสั่งจ้าง อนุมัติให้แก้ไขแล้ว ให้หัวหน้า


หน่วยงานของรัฐลงนามในสัญญาหรือข้อตกลงแก้ไข
17

2
3

5
18

การงดหรือลดค่าปรับหรือขยายเวลาตามสัญญาหรือข้อตกลง
(พ.ร.บ.มาตรา 102) (ระเบียบพัสดุ ข้อ 182 )

เหตุเกิดจากความผิด
หรือบกพร่องของ
หน่วยงานของรัฐ เหตุสุดวิสัย

ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้มีอานาจที่จะ
เหตุเกิดจาก
พิจารณาได้ตามจานวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง
พฤติการณ์อันใด เหตุอื่น เฉพาะกรณี
อันหนึ่งที่คู่สัญญา ตามที่กาหนดไว้ใน
ไม่ต้องรับผิด กฎกระทรวง
ตามกฎหมาย
19
การควบคุมและการบริหารพัสดุ

วัสดุ
ครุภัณฑ์
บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย บันทึกเป็นสินทรัพย์ กรรมการตรวจรับ

กรรมการตรวจรับ กรรมการตรวจรับ จนท.ให้รหัสครุภัณฑ์


ลงทะเบียนครุภัณฑ์
จนท.ส่งวัสดุให้ผู้ใช้ จนท.เก็บวัสดุเข้าคลัง 1.แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง
(หากมีการซ่อม)
บันทึกประวัติการซ่อม 2.อนุมัติขอจาหน่าย
ผู้ใช้ทาใบเบิก จนท.ลงทะเบียนรับ ชารุด 3.จาหน่าย(ขายทอดตลาด)
วัสดุ สารวจครุภัณฑ์
จนท.ลงทะเบียน ผู้ใช้ทาใบเบิก ประจาปี
รับ-จ่ายวัสดุ ปกติ จัดทาบัญชีรายละเอียดประจาปี
ค่าเสื่อมราคาสะสมครุภัณฑ์
จนท.ลงทะเบียนจ่ายวัสดุ
ตรวจนับวัสดุคงเหลือ ปรับปรุงวัสดุ GFMIS
20

การตรวจสอบพัสด ุประจาปี
และแนวทางการจาหน่ายพัสด ุ
21

การตรวจสอบพัสด ุประจาปี
ข้อ 213 ระยะเวลาตรวจสอบ
ภายในเดือนส ุดท้าย o ตรวจสอบการรับจ่ายพัสด ุในงวด 1 ปีที่ผา่ นมา
ก่อนสิ้นปี งบประมาณของท ุกปี o ตรวจสอบพัสด ุท ุกประเภทคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด
o ให้เริม่ ดาเนินการตรวจสอบพัสด ุในวันเปิดทาการ
ค ุณสมบัติ องค์ประกอบ
วันแรกของปีงบประมาณ
หัวหน้า ตามความจาเป็นและ
o ตรวจสอบให้เสร็จสิ้นภายใน 30 วันทาการ นับแต่วนั ที่
หน่วยงาน เหมาะสม
เริม่ ทาการตรวจสอบพัสด ุ
ของรัฐ การตรวจสอบ
แต่งตัง้ ผูร้ บั ผิดชอบใน  การรับ – จ่ายพัสด ุว่าถ ูกต้องหรือไม่
 พัสด ุคงเหลือมีตวั ตนอยูต่ ามบัญชีหรือทะเบี ยนหรือไม่
การตรวจสอบพัสด ุ  พัสด ุชาร ุด เสื่อมสภาพ หรือสูญหายเพราะเหต ุใด หรือ
หัวหน้า พัสด ุใดไม่จาเป็นต้องใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไป
หน่วยพัสด ุ ดาเนินการตามข้อ
รายงานผลการตรวจสอบ
 ผูแ้ ต่งตัง้ ได้รบั รายงานจากผูร้ บั ผิดชอบ
ไม่ใช่เจ้าหน้าที่พสั ด ุ 214 ต่อไป

ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ 1 ช ุด สาเนา
รายงาน สตง.1ช ุด และหน่วยงานต้นสังกัด
1 ช ุด (ถ้ามี)
22

การตรวจสอบพัสด ุประจาปี
ข้อ 214

ผู้รับผิดชอบในการ
กรณี หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
 พัสดุชารุด ดาเนินการตามกฎหมายและ
ตรวจสอบพัสดุรายงาน  เสื่อมคุณภาพ
ตาม ข้อ 213 ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
 ไม่จาเป็นต้องใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไป
แต่งตัง้ ต้องหาผู้รับผิด
หัวหน้า คณะกรรมการสอบหา ผลการ
หน่วยงาน ข้อเท็จจริง พิจารณา ไม่ต้องหาผู้รับผิด
ของรัฐ ปรากฎว่า
องค์ประกอบและการประชุมของคณะกรรมการ
ให้นาระเบียบข้อ 26 และข้อ 27 มาใช้โดยอนุโลม หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
สั่งจาหน่าย
เว้นแต่ กรณีที่เห็นได้ชัดเจนว่า เป็นการเสื่อมสภาพ
จากการใช้งานตามปกติ หรือสูญไปตามธรรมชาติ
23

01 02 03 04 05 06
จัดเตรียม อานวยความ
หน้าที่ของเจ้าหน้าที่พสั ด ุ
ทะเบียน
เสนอแต่งตัง้
คณะกรรมการที่ สะดวกให้ ก บ

เสนอความเห็น
เกีย่ วกับวิธีการ
ลงจ่ายพัสด ุ
ตามที่ได้รบั
รวบรวมเอกสาร
ที่เกีย่ วข้องกับ
คร ุภัณฑ์ของ เกีย่ วข้องกับการ คณะกรรมการ จาหน่ายพัสด ุ อน ุมัติให้ การตรวจสอบ
หน่วยงาน ตรวจสอบพั ส ด ุ
ตรวจสอบพัสด ุ ชาร ุด จาหน่ายพัสด ุ พัสด ุประจาปี
และเอกสารที่ ประจาปี และ ประจ าปี และ
คณะกรรมการสอบ เสื่อมสภาพ ออกจากบัญชี รายงาน หัวหน้า
เกีย่ วข้อง การจาหน่าย ข้อเท็จจริงในการ เพื่อให้หวั หน้า หรือทะเบียน หน่วยงานของ
พัสด ุที่ชาร ุด ตรวจสอบพัสด ุ หน่วยงานของ รัฐ และสตง.
รัฐสัง่ การ ทราบ
24

หน้าที่ของผูร้ บั ผิดชอบตรวจสอบพัสด ุ
ตรวจสอบการรับ – จ่ายของพัสด ุในงวด 1 ปี
ที่ผา่ นมา

ตรวจนับจานวนวัสด ุคงเหลือ ณ วันที่ส้ นิ งวด


(30 กันยายน) เฉพาะวัสด ุที่ยงั ไม่ได้เบิกไปใช้

ตรวจนับจานวนคร ุภัณฑ์ที่มีอยูท่ งั้ หน่วยงาน


ณ วันสิ้นส ุด (30 กันยายน) ว่าตรงกับบัญชีหรือไม่

จัดทารายงานผลการตรวจสอบพัสด ุประจาปี
เสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ภายใน 30 วันทาการ
25

หน้าที่ของคณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริง
26
การจัดส่งเอกสาร

สาเนาเอกสารหลักฐานการจาหน่ายพัสด ุประจาปี
ที่จะต้องแจ้งให้หน่วยงานต้นสังกัด และ สตง.ทราบ

คาสัง่ แต่งตัง้ รายงานผล


คณะกรรมการ การ
ตรวจสอบพัสด ุ ตรวจสอบ
ประจาปี พัสด ุประจาปี
27
การจาหน่ายพัสด ุ ข้อ 215
ข้อ 215

ระเบียบฯ ข้อ 215 หลังจากการตรวจสอบแล้ว พัสด ุใดหมด


ความจาเป็ น หรือหากใช้หน่วยงานของรัฐต่อไปจะสิ้นเปลือง
ค่าใช้จ่ายมาก ให้เจ้าหน้าที่เสนอรายงานต่อหัวหน้าหน่วยงาน
ของรัฐ หรือผูไ้ ด้รบั มอบอานาจ เพื่อพิจารณาสัง่ ให้ดาเนินการ
ตามวิธีการอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
28
วิธีการจาหน่ายพัสด ุ

ขาย ให้ขายโดยวิธีทอดตลาดก่อน ถ้าไม่ได้ผลดีให้นาวิธีการซื้อมาใช้โดยอนุโลม


เว้นแต่ ก. การขายพัสด ุครัง้ หนึ่ง ซึ่งมีราคาซื้อหรือได้มารวมกันไม่เกิน 500,000 บาท จะขาย
โดยวิธีเฉพาะเจาะจง โดยการเจรจาตกลงราคากัน โดยไม่ตอ้ งทอดตลาดก่อนก็ได้
ข. การขายให้แก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การสถานสาธารณก ุศล ตามมาตรา 47 (7)
แห่งประมวลรัษฎากร ให้ขายโดยวิธีเฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคากัน
ค. การขายอ ุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ การขายอ ุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่
แท็บเล็ต ให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐที่หน่วยงานของรัฐมอบให้ไว้ใช้งานในหน้าที่ เมื่อบ ุคคล
ดังกล่าวพ้นจากหน้าที่หรืออ ุปกรณ์ดงั กล่าวพ้นระยะเวลาการใช้งานแล้ว ให้ขายให้แก่
บ ุคคลดังกล่าวโดยวิธีเฉพาะเจาะจง โดยการเจรจาตกลงราคากัน
แลกเปลีย่ น ตามวิธีการแลกเปลี่ยนที่กาหนดไว้ในระเบียบ (ข้อ 96-100)

โอนให้แก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การสาธารณก ุศล ตามมาตรา 47 (7)


โอน แห่งประมวลรัษฏากร
แปรสภาพ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่หน่วยงานของรัฐกาหนด
29
การจาหน่ายพัสด ุด้วยวิธีการขายโดยวิธีเฉพาะเจาะจง
การแต่งตัง้ คณะกรรมการ
01 ตรวจสอบการจัดทาคาสัง่ แต่งตัง้
การแต่งตัง้ คณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง
.
ตรวจสอบการจัดทาคาสัง่ แต่งตัง้ 02
คณะกรรมการประเมินราคาขัน้ ต่า การกาหนดราคาขัน้ ต่า
.
ตรวจสอบประเมินราคาขัน้ ต่าก่อน
การอน ุมัติ 03 การขายทอดตลาด โดยวิธี
ตรวจสอบการจัดทาบันทึก เฉพาะเจาะจง
ขออนุมตั ิขายทอดตลาด 04 .

การจัดทารายงาน การติดต่อผูซ้ ้ ือ
ตรวจสอบการจัดทารายงานการจาหน่าย 05
เจ้าหน้าที่ติดต่อผูซ้ ้ ือ
การนาส่งเงิน การลงจ่ายพัสด ุออกจาก .

บัญชีหรือทะเบียนค ุม และรายงาน สตง. 06


ภายใน 30 วัน.
การจาหน่ายพัสด ุด้วยวิธีการขาย โดยวิธีขายทอดตลาด 30

หนังสือ ด่วนที่ส ุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ ว 82 ลว. 22 ก ุมภาพันธ์ 2562

การซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับ
การดาเนินการจาหน่ายพัสด ุ
ด้วยวิธีการขายทอดตลาด
การจาหน่ายพัสด ุด้วยวิธีการขาย โดยวิธีขายทอดตลาด 31
หนังสือ ด่วนที่ส ุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ ว 82 ลว. 22 ก ุมภาพันธ์ 2562

1 2
ปฏิบตั ิตามแนวทางการขายทอดตลาด
ประเมินราคาทรัพย์สินก่อน
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 509 – 517
การประกาศขายทอดตลาด

2.1 2.2
พัสดุที่มีการจาหน่ายเป็ นการทัว่ ไป พัสดุที่ไม่มีการจาหน่ายทัว่ ไป

ราคาที่ซื้อขายกันตามปกติในท้องตลาด
ประเมินราคาตามลักษณะ ประเภทชนิด
หรือราคาท้องถิ่นของสภาพปั จจุบนั ของ
ของพัสดุ และอายุการใช้งาน รวมทัง้
พัสดุนนั้ ณ เวลาที่จะทาการขาย
สภาพและสถานที่ตงั้ ของพัสดุ
(ควรมีการเปรียบเทียบราคาตามความเหมาะสม)

หัวหน้าหน่วยงานของรัฐพิจารณาให้ความ
เห็นชอบราคาประเมิน โดยคานึงถึงประโยชน์
ของหน่วยงานของรัฐ
32
ขัน้ ตอนการจาหน่ายพัสด ุโดยวิธีขายทอดตลาด
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสด ุภาครัฐ พ.ศ. 2560

เจ้าหน้าที่พสั ด ุ เสนอแต่งตัง้ คณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริง ระเบี ยบฯ ข้อ 213 ขัน้ ตอนที่ 1

เสื่อมสภาพจากการใช้งานปกติ มีผร้ ู บั ผิดชอบ / ชดใช้

คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง รายงานผลการตรวจสอบ

ขัน้ ตอนที่ 2
เจ้าหน้าที่พสั ด ุจัดทาบันทึกข้ออน ุมัติเสนอจาหน่ายโดยวิธีขายทอดตลาด (ระเบียบ ข้อ 215)
แต่งตัง้ คณะกรรมการประเมินราคาขัน้ ต่า

ประเมินราคาขัน้ ตา่
คณะกรรมการประเมินราคาขัน้ ต่า รายงาน  ....................................
 ......................................
33
ขัน้ ตอนการจาหน่ายพัสด ุโดยวิธีทอดตลาด
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสด ุภาครัฐ พ.ศ. 2560

เจ้าหน้าที่พสั ด ุจัดทาบันทึกเสนอเห็นควรขายตามบัญชีที่คงเหลือและใช้ราคา ขัน้ ตอนที่ 3


ขัน้ ต่าที่นาเสนอมาและจัดทาเอกสาร ดังนี้
1. ประกาศการขายทอดตลาดพร้อมบัญชีรายละเอียด
2. แต่งตัง้ คณะกรรมการจาหน่ายพัสด ุ

ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
ดาเนินการขายทอดตลาด
พาณิชย์ มาตรา 509 – 517
คณะกรรมการขายทอดตลาด รายงานผลการดาเนินการ

เจ้าหน้าที่พสั ด ุจัดทาบันทึกรายงานผลการจาหน่ายและอน ุมัติให้ผซ้ ู ้ ือขนย้าย ขัน้ ตอนที่ 4


นาของที่จาหน่ายออกไป (ทาเอกสารส่งมอบ)

ปรับปร ุงข้อมูลในสมุด/ระบบงานพัสด ุ/ระบบ GFMIS ให้ รายงานสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ระเบียบ ขัน้ ตอนที่ 5


ถ ูกต้องเป็นปัจจุบัน ข้อ 218
34
การจาหน่ายพัสด ุด้วยวิธีการขาย โดยวิธีขายทอดตลาด
7. ตรวจสอบการรายงานการ
1. ตรวจสอบการจัดทาคาสัง่ 3. ตรวจสอบการประเมินราคา จาหน่าย การนาส่งเงิน และรายงาน
แต่งตัง้ คณะกรรมการ ขัน้ ต่าก่อนการขายทอดตลาด 5. การประกาศขายทอดตลาด ลงจ่ายพัสด ุออกจากบัญชีหรือ
ตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยวิธีขายทอดตลาด
ทะเบี ยนค ุม

1 2 3 4 6 7 8
5

2.ตรวจสอบการจัดทาคาสัง่
แต่งตัง้ คณะกรรมการประเมิน 4. ตรวจสอบการจัดทาบันทึก 6. ตรวจสอบขัน้ ตอนการการ
ราคาขัน้ ต่า ขายทอดตลาด 8. ตรวจสอบการจัดทารายงาน
ขออน ุมัติขายทอดตลาด หัวหน้าส่วนราชการและ สตง.
ทราบภายใน 30 วันนับแต่วนั
ลงจ่ายพัสด ุ
ข้อสังเกต
การจาหน่ายพัสด ุโดยวิธีการขาย

แต่งตัง้ เจ้าหน้าที่พสั ด ุเป็ นกรรมการ

การแต่งตัง้ คณะกรรมการประเมินราคา
การแต่งตัง้ คณะกรรมการ ขัน้ ต่า และคณะกรรมการขายทอดตลาด
เป็ นคณะกรรมการช ุดเดียวกัน

องค์ประกอบและการประชุมของคณะกรรมการ
ไม่ได้สืบราคาที่ซ้ ือขายกันตามปกติใน
ให้นาระเบียบข้อ 26 และข้อ 27 มาใช้โดยอนุโลม ท้องตลาด หรือราคาท้องถิ่นของสภาพ
ปัจจ ุบันของพัสด ุนัน้ ณ เวลาที่จะทาการขาย
35
ข้อสังเกต
การจาหน่ายพัสด ุโดยวิธีการขาย

ไม่ได้จดั ทาหนังสือขออน ุมัติให้ดาเนินการ


ขายทอดตลาด

การอน ุมัติ
อน ุมัติโดยไม่ได้รบั มอบอานาจ โดยต้อง
อน ุม้ติในนาม สรรพสามิตพื้นที่....... ปฏิบตั ิ
ราชการแทน อธิบดีกรมสรรพสามิต

36
ข้อสังเกต
การจาหน่ายพัสด ุโดยวิธีการขาย

ที่ไม่ได้จดั ทาหลักฐานทะเบียนผูเ้ ข้าร่วม


ประมูลตามที่ประกาศกาหนด

ที่ไม่ดาเนินการตามที่ประกาศกาหนด
การดาเนินการขาย เช่น ประกาศกาหนดต้องวางเงินมัดจา
ทอดตลาด ให้บ ุคคลที่ไม่ได้ลงชื่อเข้าประมูล เข้าประมูล
เป็ นต้น

หลักฐาน การส่งมอบคร ุภัณฑ์

37
ข้อสังเกต
การจาหน่ายพัสด ุโดยวิธีการขาย

ที่ไม่ลงจ่ายพัสด ุออก
จากบัญชีหรือทะเบียนค ุม

รายงานการจาหน่ายและ ไม่รายงานผลการขายทอดตลาด
การขออน ุมัติลงจ่ายพัสด ุ ให้หวั หน้าส่วนราชการทราบ
ออกจากบัญชีหรือทะเบียนค ุม

ไม่รายงานการขายทอดตลาดให้ สตง.
ทราบภายใน 30 วันนับแต่วนั ลงจ่ายพัสด ุ
นัน้
38
39

การจัดส่งเอกสาร
สาเนาเอกสารหลักฐานการจาหน่ายพัสด ุประจาปี
ที่จะต้องแจ้งให้สานักงานตรวจเงินแผ่นดินทราบ

คาสัง่ แต่งตัง้ คณะกรรมการ

รายงานผลการจาหน่ายพัสด ุ

รายการพัสด ุที่ลงจ่ายออกจาทะเบียน

สาเนาใบเสร็จรับเงินแสดงการนาเงินส่งเป็นรายได้
แผ่นดิน (กรณีขาย)
40

การใช้รถราชการ
41

ข้าราชการผู้ใดที่ไม่ได้ดารงตาแหน่งที่มีรถประจาตาแหน่ง
จะนารถราชการไปใช้เสมือนรถประจาตาแหน่งไม่ได้
ถ้านาไปใช้ถือว่ามีความผิดวินัยร้ายแรง

หนังสือสานักนายกรัฐมนตรี ด่วนมาก ที่ นร 0106/ว 527 ลว 29 มี.ค.60


42

สาระสาคัญการใช้รถราชการ

ผู้ที่มีสิทธิได้รับรถประจาตาแหน่ง ได้แก่ ผู้ที่มีตาแหน่งตั้งแต่ระดับผู้ช่วย


หัวหน้าส่วนราชการ รองหัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการขึ้นไป
ผู้ทรงคุณวุฒิในระดับ 10 และระดับ 11 ซึ่งเคยดารงตาแหน่งที่มีสิทธิได้รบั การ
จัดรถประจาตาแหน่งมาแล้ว และได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการให้
รับผิดชอบงานด้านบริหารมีอานาจบังคับบัญชา
“รถส่วนกลาง รถรับรอง และรถรับรองประจาจังหวัด ให้ใช้เพื่อกิจการอันเป็นส่วนรวมของส่วนราชการ
หรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการ ตามหลักเกณฑ์ที่ส่วนราชการเจ้าของรถนั้นกาหนดขึ้น ห้ามผู้มีสิทธิได้รับรถประจา
ตาแหน่ง ซึ่งได้รถประจาตาแหน่งแล้วนารถส่วนกลางไว้ใช้อีก เว้นแต่มีเหตุผลความจาเป็นเฉพาะคราว ทั้งนี้ ให้ระบุเหตุผล
ความจาเป็น ที่ต้องใช้รถส่วนกลางไว้ด้วย”

*** นอกราชการ ไปเรื่องส่วนตัว เช่น ชื้อของ/ไปธนาคาร กรณีส่วนตัว /ธุระ / งานเลี้ยง / ซื้อของ


ฝาก / เที่ยว / ไหว้พระ / ทาบุญ / ส่งเจ้าหน้าที่ที่บ้าน
43

เอกสารเกี่ยวกับการใช้รถยนต์ส่วนกลาง
 ใบขออนุญาตใช้รถยนต์ส่วนกลาง รถรับรอง และรถประจาจังหวัด ให้ใช้ตามแบบ 3 ท้ายระเบียบ
 ให้ส่วนราชการจัดให้มีสมุดบันทึกการใช้รถส่วนกลาง รถรับรอง ประจารถแต่ละคัน สมุดบันทึกให้
มีข้อความตามแบบ 4
ส่วนราชการต้องควบคุมพนักงานขับรถให้ลงรายการไปตามความจริง
44

การเก็บรักษาและซ่อมบารุง
“การเก็บรักษารถส่วนกลาง รถรับรอง และรถรับรองประจาจังหวัด ให้อยู่ในความควบคุมและ
รับผิดชอบของส่วนราชการ โดยเก็บรักษาในสถานที่เก็บหรือบริเวณของส่วนราชการ
สาหรับรถส่วนกลาง หัวหน้าส่วนราชการ หรือ ผู้ที่ได้รับมอบอานาจจากหัวหน้าส่วนราชการ
จะพิจารณาอนุญาตให้นารถไปเก็บรักษาที่อื่นเป็นการชั่วคราวหรือเป็นครั้งคราวได้ ในกรณีต่อไปนี้ คือ
(1) ส่วนราชการไม่มีสถานที่เก็บรักษาปลอดภัยเพียงพอ หรือ
(2) มีราชการจาเป็นและเร่งด่วนหรือการปฏิบัติราชการลับ”
การอนุญาตให้นารถส่วนกลางไปเก็บรักษาที่อื่นเป็นการชั่วคราว อันเนื่องมาจากส่วนราชการไม่มีสถานที่
เก็บรักษาปลอดภัยเพียงพอ ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการเก็บรักษารถส่วนกลางจัดทารายงานขออนุญาต
พร้อมด้วยเหตุผลความจาเป็นและรายละเอียดของสถานที่ที่จะนารถส่วนกลางไปเก็บรักษา ซึ่งแสดงให้เห็น
ได้อย่างชัดเจนว่ามีความปลอดภัยเพียงพอ เสนอประกอบการพิจารณาของผู้มีอานาจอนุญาตด้วยทุกครั้ง
คาสั่งกรมสรรพสามิต ที่ 330/2564
เรื่อง มอบอานาจหน้าที่ให้สรรพสามิตพื้นที่ปฏิบัติหน้าที่แทนอธิบดีกรมสรรพสามิต
การอนุญาตให้นารถส่วนกลางที่อยู่ในความรับผิดชอบของสานักงานไปเก็บรักษาไว้ที่อื่นนอกสถานที่บริเวณของส่วนราชการเป็นครั้งคราว
45

ผู้มีอานาจใช้รถส่วนกลาง

(1) รองอธิบดีกรมสรรพสามิต มีอานาจสั่งใช้รถส่วนกลางได้ทุกประเภท


(2) ผู้อานวยการสานักงานสรรพสามิตภาค มีอานาจสั่งใช้รถที่ได้รับอนุมัติให้นาไปใช้
ประจาหน่วยงานของตน รวมทั้งนาไปใช้ประจาหน่วยงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ
(3) สรรพสามิตพื้นที่ มีอานาจสั่งใช้รถที่ได้รับอนุมัติให้นาไปใช้ประจาหน่วยงานของตน
รวมทั้งนาไปใช้ประจาหน่วยงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ เพื่อภารกิจของหน่วยงานนั้น
(4) นักวิชาการสรรพสามิตหรือเจ้าพนักงานสรรพสามิต ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะหัวหน้า
สานักงานสรรพสามิตพื้นที่สาขา มีอานาจสั่งใช้รถที่ได้รับอนุมัติให้นาไปใช้ประจาหน่วยงานของ
ตน เพื่อภารกิจของหน่วยงานได้ตามเหตุผลและความสมควร
46

การจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิง (ว 179)

แนวปฏิบัติในการจัดซือ้ น้ามันเชื้อเพลิงเพือ่ ใช้ในการ


ปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงานของรัฐตาม
หนังสือด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว 179
ลงวันที่ 9 เมษายน 2561
1. วิธีเฉพาะเจาะจง ตามมาตรา 56 (2) (ข)
กรณีไม่มีภาชนะจัดเก็บน้ามันเชื้อเพลิง
 สถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิงให้เครดิต
 สถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิงไม่ให้
เครดิต
2. การจัดทาเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง
47
48

ข้อสังเกตในการตรวจสอบที่พบบ่อย
49

ทะเบียนคุมการจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิง (ว 179)
หนังสือด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว 179 ลงวันที่ 9 เมษายน 2561
50

ข้อตรวจพบเกี่ยวกับการใช้รถราชการ
1 ไม่จัดทาใบขออนุญาตใช้รถส่วนกลาง แบบ 3

2 พนักงานขับรถไม่จัดทาบันทึการใช้รถหรือบันทึกไม่ครบถ้วน ตามแบบ 4

3 ไม่จัดทาประวัติการซ่อมแซมรถส่วนกลางตามแบบ 6

4 รายงานการใช้น้ามันเชื้อเพลิงหรือการบันทึกระยะทางไม่ครบถ้วน

เมื่อนารถราชการไปใช้ ผู้ขอใช้รถให้จัดทาใบขออนุญาตเสนอหัวหน้าส่วนราชการ
และพนักงานขับรถบันทึกการใช้รถทุกครั้ง (ออกเดินทาง – กลับถึงหน่วยงาน)
ค่าน้ามันเชื้อเพลิงให้บันทึกในทะเบียนคุมการใช้น้ามันเชื้อเพลิงทุกครั้ง แล้วสรุป
รายงานมาใช้น้ามันเชื้อเพลิงรถราชการประจาทุกเดือน
51

ข้อตรวจพบเกี่ยวกับการใช้รถราชการ
ข้อตรวจพบ ข้อหารือ แนวทางแก้ไข

พนักงานขับรถยนต์ขอใช้ กรณีนี้เป็นการเดินทางไปราชการ
รถยนต์ส่วนกลางเพื่อไปรับ สรรพสามิตพื้นที่สามารถเบิกค่าใช้จ่ายใน
การเดินทางไปราชการจากสถานที่ที่ไป
สรรพสามิตพื้นที่ที่ต่างจังหวัด
ราชการมายังสานักงานได้ และกาชับให้
ซึ่งเป็นจังหวัดใกล้เคียงกัน ดาเนินการตามหนังสือสานัก
โดยเป็นการกลับจากการเดินทาง นายกรัฐมนตรี ด่วนมาก ที่ นร 0106/ว
ไปราชการ สามารถกระทาได้ 427 ลงวันที่ 29 มีนาคม 2560 เรื่อง
หรือไม่ ซักซ้อมความข้าใจแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับ
การใช้รถส่วนกลาง
พนักงานขับรถ มีหน้าที่ขับรถตาม
มอบหมายงาน
52

ข้อตรวจพบเกี่ยวกับการใช้รถราชการ
ข้อตรวจพบ ข้อหารือ แนวทางแก้ไข
สรรพสามิตพื้นที่ไม่สามารถนารถส่วนกลางไป
สรรพสามิตพื้นที่สามารถนา ใช้เสมือนรถประจาตาแหน่งได้ ตามระเบียบสานัก
รถส่วนกลางไปใช้เสมือนรถ นายกรัฐมนตรีว่าด้วยรถราชการ พ.ศ. 2523 และ
ประจาตาแหน่งและเบิกค่าน้ามัน ที่แก้ไขเพิ่มเติม และหนังสือสานักนายกรัฐมนตรี
เชื้อเพลิงจากส่วนราชการได้ ด่วนมาก ที่ นร 0106/ว 527 ลงวันที่ 29 มีนาคม
2560 เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจแนวทางปฏิบัติ
หรือไม่ เกี่ยวกับการใช้รถส่วนกลาง
ข้าราชการผู้อยู่ในข่ายที่จะเลือกรับค่าตอบแทน
เหมาจ่ายฯ ต้องเป็นข้าราชการผู้ดารงตาแหน่งระดับ
รองอธิบดีหรือเทียบเท่า ระดับอธิบดี รองปลัดกระทรวง
หรือเทียบเท่า และระดับปลัดกระทรวงหรือเทียบเท่า
ซึ่งมีสิทธิได้รถประจาตาแหน่งตามระเบียบสานัก
นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยรถราชการ พ.ศ. 2523 และที่
แก้ไขเพิ่มเติม
53

ข้อตรวจพบเกี่ยวกับการใช้รถราชการ
ข้อตรวจพบ ข้อหารือ แนวทางแก้ไข

การขออนุญาตให้ใช้รถราชการ สามารถอนุญาตใช้รถราชการได้ ตาม


หัวหน้าสานักงานสรรพสามิต ระเบียบกรมสรรพสามิตว่าด้วยการใช้รถ
ส่วนกลาง พ.ศ. 2553 ข้อ 8 ผู้มีอานาจ
พื้นที่สาขา สามารถอนุญาตใช้รถ
สั่งให้ใช้รถส่วนกลาง
ราชการได้หรือไม่
(4) นักวิชาการสรรพสามิตหรือ
เจ้าพนักงานสรรพสามิต ซึ่งปฏิบัติงาน
ในฐานะหัวหน้าสานักงานสรรพสามิต
พื้นที่สาขา มีอานาจสัง่ ใช้รถทีไ่ ด้รบั
อนุมัติให้นาไปใช้ประจาหน่วยงานของ
ตน เพื่อภารกิจของหน่วยงานได้ตาม
เหตุผลและความเหมาะสม
54

ข้อตรวจพบเกี่ยวกับการใช้รถราชการ
ข้อตรวจพบ ข้อหารือ แนวทางแก้ไข

กรณีรถยนต์ของหน่วยงานไป 1. ดาเนินการรายงานการเกิดอุบตั ิเหตุ


ราชการ เกิดอุบัติเหตุกระจกหน้า ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่า
รถยนต์ถูกก้อนหินกระเด็นใส่แตก ด้วยรถราชการ พ.ศ. 2523 และที่
ทั้งแผ่น ซึ่งผู้ที่ไปราชการได้ แก้ไขเพิ่มเติม ตามแบบ 5
ดาเนินการเปลีย่ นกระจกและ 2. ให้ดาเนินการตามระเบียบ
สารองเงินไปก่อน พร้อมได้ใบเสร็จ กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อ
ค่าเปลี่ยนกระจกมา เมื่อไปราชการ จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
แล้วเสร็จ จะต้องดาเนินการอย่างไร พ.ศ. 2560 ข้อ 79
บ้าง
55

THANKS!
Any questions?

You might also like