You are on page 1of 26

อาจารย์ชยธวัช อติแพทย์

นิ ติศาสตร์บณ
ั ฑิต, เนติบณ
ั ฑิตไทย, มหาบัณฑิตบริหารธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

ผูอ้ านวยการสานักฝึ กอบรมวิชาว่าความ แห่งสภาทนายความ


เค้าโครงคาบรรยาย 2

❖บทนา
❖ประเภทของทรัพย์สินทางปั ญญาและความคุม้ ครอง
❖การค้าระหว่างประเทศ
❖หลักเกณฑ์เบื้องต้นภายใต้วิธีพิจารณาความ

❖กระบวนพิจารณาคดีในศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศ
❖พ.ร.บ.จัดตัง้ ศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง
❖ข้อกาหนด คดีทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๖ (บังคับใช้ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๖)

❖สรุป
3
4

ประเภทของทรัพย์สินทางปั ญญา
และ
ความคุม้ ครอง
5
6

ประเภทความคุม้ ครองทรัพย์สินทางปั ญญา


Protections of IP
7

(สัมปทานแห่ งความคิด)
(Concession for Idea)

Commercial Right - ในการใช้ /โอนถ่ ายสิทธิ/อนุญาตให้ ใช้ สิทธิ


Moral Right –ในการประกาศสิทธิ/ปกป้องเกียรติคุณแห่ งตน
ต้ องมีการรับรองสิ ทธิโดยผลของกฎหมายทรัพย์ สินทางปัญญาของท้ องถิ่นนั้นๆ จึงจะสามารถปกป้องสิ ทธิเหนือทรัพย์ สิน
ทางปัญญาของตนเองได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
Note: Validated local law for IPRs protection is a must for ultimate protection of owners’ rights.
ขัน้ ตอนการยื่นคาขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
▪ การยืน่ คาขอจดทะเบียน
▪ การตรวจสอบคาขอเบื้องต้น
▪ การตรวจสอบเครื่องหมายการค้า
▪ การประกาศโฆษณา
▪ การคัดค้านก่อนรับจดทะเบียน 60 วันหลัง
ประกาศโฆษณา
▪ การรับจดทะเบียน การนาไปใช้
คิดสร้ างสรรค์ และ
(Creating of TM) ยื่นคาขอรับความคุ้มครอง รับจดทะเบียน การบังคับใช้ สิทธิ
(Filing of Application) หลัง
ประกาศโฆษณา (Grant of Application)
รับจดทะเบียน
การเตรียมยื่นคาขอจดทะเบียน
รับคาขอ (Publication of Application)

(Receipt of Application)
Preparation for Application คัดค้ านหลังจดทะเบียน
Post-granted
Opposition
ตรวจสอบคาขอเบื้องต้ น ตรวจสอบ การคัดค้ าน ก่อนรับจดทะเบียน
เครื่ องหมายการค้ า ภายใน60 วันหลังโฆษณา
การเพิ
ก ถอนเครื ่ อ งหมาย
(Preliminary Examination) (Revocation)
(Examination (Pre-granted
prior to issuance) Opposition)
9

การค้าระหว่างประเทศ
• การลงทุนระหว่างประเทศ/การซื้อขายสินค้าและ/หรือการให้บริการระหว่างคู่คา้ ที่อยู่ต่างประเทศซึ่งกันและกันโดยตรง หรือ
ผ่านตัวแทนที่ได้รบั การแต่งตัง้ ในประเทศของคู่คา้ นัน้ ๆ รายใดรายหนึ่ งหรือหลายราย รวมถึงกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง

• เหตุผล- เพื่อผลสัมฤทธิ์สงู สุดทางการค้า เช่น


• การเข้ามาตัง้ องค์กรธุรกิจในรัฐคู่คา้ ได้ง่าย /สะดวก/รวดเร็ว/
• ต้นทุนการบริหารจัดการในรัฐคู่คา้ ตา่ กว่า –วัตถุดิบ ค่าแรงงาน ความสามารถของแรงงาน ค่าพลังงาน
• การเข้ามาทางานของคนงานต่างด้าวได้รบั การสนับสนุน
• มีระบบภาษีที่เอื้อต่อการเข้ามาลงทุนในรัฐคู่คา้ (ภาษีศุลกากร ภาษีเงินได้ VAT) มีอภิสิทธิทางภาษีให้แก่ผูล้ งทุนต่างประเทศ (BoI/นิ คม
อุตสาหกรรม)
• มีการกากับดูแลของรัฐคู่คา้ ที่ไม่เข้มงวดเกินสมควร เช่น มีระบบการเงินที่ผ่อนปรน สะดวกต่อโอนเงินเข้าหรือถ่ายโอนกาไรกลับสู่ประเทศได้
• มีความคุม้ ครองสิทธิที่มีประสิทธิผล โดยเฉพาะการถือครองทรัพย์สิน อสังหาริมทรัพย์ และทรัพย์สินทางปั ญญา ของคนต่างด้าว
• มีระบบการบังคับใช้กฎหมายที่มีประสิทธิภาพ –ศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศ (ของไทยเป็ นแห่งแรกของโลก) /ระบบ
อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศซึ่งสามารถบังคับตามคาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการได้โดยง่าย
• ประเทศคู่คา้ เป็ นสมาชิกของ อนุสญ ั ญา/กฎหมายระหว่างประเทศ ต่างๆ ที่เอื้อต่อการลงทุน เช่น อนุสญ ั ญาขจัดการเก็บภาษีซอ้ น อนุสญ ั ญาว่า
ด้วยการยอมรับนับถือและการบังคับตามคาชี้ขาดอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ เป็ นต้น
9
10

หลักเกณฑ์เบื้องต้น
ภายใต้
วิธีพิจารณาความ
11

ที่มา: Lawyer Guide (2019), ณัฐพิมล สมเจษ และธีระศักดิ์ สุโชตินนั ท์.


12

พระราชกฤษฎีกา
จัดตัง้
ศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศ
และ
วิธีพิจารณาความศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและ
การค้าระหว่างประเทศ
พ.ศ.๒๕๓๙
12
13

คดีท่ีศาล IPIT มีอานาจพิจารณาพิพากษา

13
14

คดีทรัพย์สินทางปั ญญาภายใต้ ม.๗ พ.ร.บ.จัดตัง้ ศาล IPIT


1. คดีอาญาเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์และสิทธิบตั ร
2. คดีอาญาเกี่ยวกับความผิ ดตาม ป.อ. ๒๗๑ ถึง ๒๗๕
3. คดีแพ่งเกี่ยวกับ เครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์ สิทธิบตั ร และคดีพิพาทตามสัญญาถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือสัญญา
อนุญาตให้ใช้สิทธิ
4. คดีแพ่งอันเนื่ องมาจากการระทาความผิ ดตาม ป.อ. ๒๗๑ ถึง ๒๗๕
5. คดีแพ่งหรือคดีอาญาที่เกี่ยวกับข้อพิพาทในการออกแบบผังภูมิวงจรรวม การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ ชื่อทางการ
ค้า ชื่อทางภูมิศาสตร์ที่แสดงถึงแหล่งกาเนิ ดของสินค้า ความลับทางการค้า และการคุม้ ครองพันธุพ์ ืช
6. คดีแพ่งเกี่ยวกับอนุญาโตตุลาการเพื่อระงับข้อพิพาทคดีท่ีเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปั ญญา
7. คดีแพ่งหรือคดีอาญาที่มีกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอานาจของศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศ

14
15

คดีการค้าระหว่างประเทศภายใต้ ม.๗ พ.ร.บ.จัดตัง้ ศาล IPIT


1. คดีแพ่งเกี่ยวกับการซื้อขายแลกเปลี่ ยนสิ นค้า หรือการซื้อขายตราสารการเงินระหว่างประเทศ
2. คดีแพ่งเกี่ยวกับการให้บริการระหว่างประเทศ
3. คดีแพ่งเกี่ยวกับการขนส่งระหว่างประเทศ
4. คดีแพ่งการประกันภัยและนิ ติกรรมอื่นที่เกี่ยวข้องกับ 1, 2, และ 3
5. คดีแพ่งเกี่ยวกับเลตเตอร์ออฟเครดติท่ีออกเกี่ยวเนื่ องกับกิจกรรมตาม 1, 2, 3, และ4
6. คดีแพ่งเกี่ยวกับการส่งเงินเข้ามาในราชอาณาจักร หรือส่งออกไปนอกราชอาณาจักร ทรัสต์รีซีท(สินเชื่อเพื่อการ
นาเข้า) รวมถึ งการประกันที่ เกี่ยวข้องกับกิจการดังกล่าว
7. คดีแพ่งเกี่ยวกับการกักเรือ
8. คดีแพ่งเกี่ยวกับการทุ่มตลาด และการอุดหนุนสิ นค้าหรือการให้บริการจากต่างประเทศ
9. คดีแพ่งเกี่ยวกับอนุญาโตตุลาการเพื่อระงับข้อพิพาทคดีการค้าระหว่างประเทศ

15
16

คดีอ่ืน ภายใต้ ม.๗ พ.ร.บ.จัดตัง้ ศาล IPIT

• คดีแพ่งหรือคดีอาญาที่มีกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอานาจของศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและ
การค้าระหว่างประเทศ เช่น
• คดีอุทธรณ์คาสัง่ คกก. ภายใต้ พ.ร.บ. ตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุ นซึ่งสิ นค้าจากต่างประเทศ พ.ศ.๒๕๔๒
• คดีความรับผิดทางแพ่งต่อ พ.ร.บ. ความเสียหายจากมลพิษน้ามันอันเกิดจากเรือ พ.ศ. ๒๕๖๐
• คดีความรับผิดทางแพ่งต่อ พ.ร.บ. การเรียกเงินสมทบเข้ากองทุนระหว่างประเทศเพื่อชดใช้ความเสี ยหายจากมลพิษ
น้ามันอันเกิดจากเรือ พ.ศ. ๒๕๖๐
• คดีเกี่ยวกับ พรบ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจยั และนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๕
ฯลฯ
• คดีอนุ ญาโตตุลาการเพื่อระงับข้อพิพาท ข้างต้น

16
ขั้นตอนการดาเนินคดี(แพ่ง)
/ศาลทรัพย์ สินทางปัญญาและการค้ าระหว่ างประเทศ

สอบ ยื่นหนังสื อเตือน เตรียมคดี พิจารณาการขอ


ก่อนฟ้อง ข้อเท็จจริ ง (ถ้ ามี)
พิจารณาการขอรับการคุ้มครอง
ชั่วคราวก่ อนฟ้ อง สื บพยานล่ วงหน้ าก่ อนฟ้ อง
“อย่ างละเอียด”
ขอคุ้มครอง
ยื่นคาฟ้ อง/ คาพิพากษาศาล
ฟ้องคดี ยื่นคาให้ การ
ขอสื บพยานล่ วงหน้ าหลัง
ฟ้ อง
ชั่วคราว ตรวจ
พยานหลักฐาน สื บพยาน ชั้นต้ น
ระหว่างคดี

ศาลอุทธรณ์
(อุทธรณ์ คดี) ชานัญพิเศษ
(ศาลฎีกา) คาพิพากษาศาลสู ง คดีถึงที่สุด

แต่งตั้งเจ้าพนักงาน ขาย
บังคับคดี บังคับคดี
สื บหาทรัพย์สิน ยึด/อายัดทรัพย์สิน
ทอดตลาด
ชาระหนี้ตามคาพิพากษา
ขั้นตอนการดาเนินคดี(อาญา)
ร้ องทุกข์ / ติดต่ อพนักงาน ประสานงานให้ แจ้ งข้ อหาจาเลย/ ติดตามความเห็น ติดตามอัยการสัง่
ความร่ วมมือ พนักงานอัยการ
สอบสวนแจ้ ง ระหว่างการ จาเลยขอปล่ อย ส่ งฟ้ องพนักงาน ฟ้อง/สัง่ สอบสวน (ขอเป็ นโจทก์ร่วม)
กล่าวโทษ ความร้ องทุกข์ สื บสวน+สอบสวน ตัวชั่วคราว สอบสวน เพิ่มเติม ยื่นคาฟ้ อง

สอบ ยื่นหนังสื อเตือน เตรียมคดี พิจารณา การขอรับคุ้มครอง พิจารณา การขอสื บพยาน


ฟ้ องคดีเอง ข้ อเท็จจริง ชั่วคราวก่อนฟ้ อง ก่อนฟ้ อง
ยื่นคาฟ้อง
(ถ้ ามี) อย่ างละเอียด

ไต่ สวนมูลฟ้ อง สื บพยาน ฟังคาสั่ ง


(เอกชนฟ้ องเอง) (ฝ่ ายเดียว) คดีมีมูล/ไม่ มีมูล

คดีมีมูล จาเลยขอ
จาเลยยื่น ประกันตัว/ ขอสื บพยานล่วงหน้ า คาพิพากษา
ฟ้ องคดี ศาลประทับ ปล่ อย สื บพยาน
คาให้ การ หลังฟ้ อง ศาลชั้นต้ น
รับฟ้ อง ชั่วคราว

ศาลอุทธรณ์
(อุทธรณ์ คดี) ชานัญพิเศษ
(ศาลฎีกา) คาพิพากษาศาลสู ง คดีถงึ ที่สุด

บังคับคดี แต่ งตั้งเจ้ าพนักงาน ชาระหนีต้ าม


สื บหาทรัพย์ สิน/ทีอ่ ยู่จาเลย ยึด/อายัดทรัพย์ สิน/จับกุม ขายทอดตลาด
บังคับคดี คาพิพากษา
(แพ่งเกีย่ วเนื่อง)
19

ข้อกาหนด
คดีทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศ
พ.ศ.๒๕๖๖
(มีผลบังคับใช้ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๖)

19
20

ลักษณะ ๑ ความแพ่ง
• หมวด ๑ บททัว่ ไป
• การแก้ไขกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบหรือผิ ดหลง ตามข้อ ๕
• การดาเนิ นกระบวนพิจารณาตามที่ค่คู วามตกลงกัน ตามข้อ ๖
• วิธีการติดต่อ การยื่น ส่ง และรับคาคู่ความและเอกสาระหว่างศาล คู่ความและบุคคลที่เกี่ยวข้อง ตามข้อ ๗ ถึงข้อ ๑๑
• หมวด ๒ การดาเนิ นกระบวนพิจารณา
• คาฟ้ อง ตามข้อ ๑๒
• เอกสารท้ายคาฟ้ องหรือคาให้การ ตามข้อ ๑๓
• การยื่นคาคู่ความต่อศาลจังหวัด ตามข้อ ๑๔ ถึงข้อ ๑๖
• คดีขอให้เพิกถอนหรืออุทธรณ์คาสัง่ หรือคาวินิจฉัยของคณะกรรมการ ตามข้อ ๑๗ ถึงข้อ ๑๘
• การส่งประธานศาลอุทธรณ์คดีชานัญพิเศษวินิจฉ้ยอานาจศาล ตามข้อ ๑๙
• การขอให้คมุ ้ ครองชัว่ คราวก่อนฟ้ อง ตามข้อ ๒๐ ถึงข้อ ๒๗
• การขอให้สืบพยานหลักฐานไว้ก่อน ตามข้อ ๒๘ ถึงข้อ ๓๐
• เอกสารภาษาต่างประเทศ ตามข้อ ๓๑ ถึงข้อ ๓๓
• การพิจารณาลับและห้ามโฆษณา ตามข้อ ๓๔
• การบันทึกคาเบิกความของพยาน ตามข้อ ๓๕ ถึงข้อ ๓๖
20
21

ความแพ่ง (ต่อ)
• หมวด ๓ พยานหลักฐาน
• การกาหนดแนวทางการดาเนิ นคดี ตามข้อ ๓๗
• การเปิ ดเผยพยานหลักฐาน ตามข้อ ๓๘ ถึงข้อ ๔๒
• การคืนพยานหลักฐาน ตามข้อ ๔๓
• การทบทวนความจาของพยาน ตามข้อ ๔๔
• การเสนอบันทึกถ้อยคาในการสืบพยานบุคคล ตามข้อ ๔๕ ถึงข้อ ๔๖
• บันทึกถ้อยคาแทนการสืบพยานบุคคลของผูใ้ ห้ถอ้ ยคาซึ่งอยู่ต่างประเทศ ตามข้อ ๔๗
• การวินิจฉับชัง่ น้าหนักพยานหลักฐานบันทึกถ้อยคาที่ผูใ้ ห้ถอ้ ยคามิได้มาศาล ตามข้อ ๔๘
• การสืบพยานบุคคลโดยระบบการประชุมทางจอภาพ ตามข้อ ๔๙
• พยานหลักฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์ ตามข้อ ๕๐ ถึงข้อ ๕๒
• การตัง้ ผูท้ รงคุณวุฒิหรือผูเ้ ชี่ยวชาญเพื่อทาความเห็นเป็ นหนังสือ ตามข้อ ๕๓
• การสืบพยานหลักฐานเพิ่มเติมของศาล ตามข้อ ๕๔

21
22

ความแพ่ง (ต่อ)
• หมวด ๔ วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิ กส์
• การดาเนิ นกระบวนพิจารณาด้วยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิ กส์ ตามข้อ ๕๕
• การยื่น ส่ง รับ คาคู่ความ หรือเอกสารทางอิเล็กทรอนิ กส์ ตามข้อ ๕๖ ถึงข้อ ๕๗
• การนัง่ พิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ ตามข้อ ๕๘ ถึงข้อ ๖๕
• สิ่งพิมพ์ออก ตามข้อ ๖๖
• การลงลายมือชื่อในรายงานกระบวนพิจารณาและบันทึกคาเบิกความพยาน ตามข้อ ๖๗
• คาพิพากษา ตามข้อ ๖๘ ถึงข้อ ๖๙
• การดาเนิ นกระบวนพิจารณาในชัน้ อุทธรณ์และฎีกา ตามข้อ ๗๐

22
23

ลักษณะ ๒ ความอาญา
• หมวด ๑ การนาบทบัญญัติลกั ษณะ ๑ มาใช้บงั คับโดยอนุ โลม

• วิธีการติดต่อ การยื่ น ส่ง และรับคาคูค่ วามและเอกสารระหว่างศาล คูค่ วาม • พยานหลักฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์ตามข้อ ๕๐ ถึงข้อ ๕๒
และบุคคลที่เกี่ยวข้อง ตามข้อ ๗ ถึงข้อ ๙ • การตัง้ ผูท้ รงคุณวุฒิหรื อผูเ้ ชี่ยวชาญเพื่ อทาความเห็ นเป็ นหนังสื อตามข้อ ๕๓
• การส่งประธานศาลอุทธรณ์คดีชานัญพิเศษวินิจฉัยอานาจศาลตามข้อ ๑๙ • การสื บพยานหลักฐานเพิ่มเติมของศาลตามข้อ ๕๔
• การขอให้คุม้ ครองชัว่ คราวก่อนฟ้องตามข้อ ๒๐ ถึงข้อ ๒๗
• การดาเนิ น กระบวนพิจารณาด้วยวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิ กส์ตามข้อ
• การขอให้สืบพยานหลักฐานไว้กอ่ น ตามข้อ ๒๘ ถึงข้อ ๓๐ ๕๕
• เอกสารภาษาต่างประเทศตามข้อ ๓๑ วรรคหนึ่ ง ข้อ ๓๒ และข้อ ๓๓ • การยื่ น ส่ง รับ คาคูค่ วามหรื อ เอกสารทางระบบรับส่งอิเล็กทรอนิ กส์ตาม
• การพิจารณาลับและการห้ามโฆษณาตามข้อ ๓๔ ข้อ ๕๖ และข้อ ๕๗
• การบันทึกคาเบิกความของพยานตามข้อ ๓๕ และ ข้อ ๓๖ • การนั่งพิจารณาโดยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิ กส์ตามข้อ ๕๘ ถึงข้อ ๖๕
• การทบทวนความจาของพยานตามข้อ ๔๔
• สิ่ งพิมพ์ออกตามข้อ ๖๖
• การวินิจฉัยชัง่ น้าหนักพยนหลักฐานบันทึกถ้อยคาที่ผูใ้ ห้ถอ้ ยคามิได้มาศาล
ตามข้อ ๔๘ • การลงลายมื อชื่ อในรายงาน กระบวนพิจารณาและบันทึกคาเบิกความตาม
• การสื บพยานบุคคลโดยระบบการประชุมทางจอภาพตามข้อ ๔๙ ข้อ ๖๗ และ
• คาพิพากษาตามข้อ ๖๘

23
24

ลักษณะ ๒ ความอาญา
• หมวด ๒ การดาเนิ นกระบวนพิจารณา
• การยื่นคาร้องขอหมายค้น ผัดฟ้ องหรือฝากขังต่อศาลจังหวัด ตามข้อ ๗๒
• การยื่นคาฟ้ องต่อศาลจังหวัด ตามข้อ ๗๓
• การเสนอบันทึกถ้อยคาในการซักถามพยานบุคคล ตามข้อ ๗๔
• การดาเนิ นกระบวนพิจารณาด้วยวิธีพิจาณาคดีทางอิเล็กทรอนิ กส์ ตามข้อ ๗๕ ถึงข้อ ๗๘

24
25

ลักษณะ ๓ แบบพิมพ์
• การแต่งตัง้ บุคคลเพื่อรับคาคู่คามหรือเอกสารแทน (ศปก.๑) ตามข้อ ๗๙
• หนังสือขอให้เป็ นผูท้ รงคุณวุฒิหรือผูเ้ ชี่ ยวชาญที่ศาลขอให้ทาความเห็นเป็ นหนังสื อ (ศปก.๒) ตามข้อ ๘๐

ลักษณะ ๔ อื่นๆ
• อธิบดีมีอานาจออกประกาศ ระเบียบ คาสัง่ คาแนะนา หรือแนวปฏิ บตั ิเพื่อให้การปฏิบตั ิตามข้อกาหนดนี้ เป็ นไปโดย
เรียบร้อย ตามข้อ ๘๑
• ข้อกาหนดนี้ ไม่มีผลกระทบถึงกระบวนพิจารณาที่ได้กระทาไปแล้วก่อนข้อกาหนดนี้ มีผลใช้บงั คับ ตามข้อ ๘๒

25
Chayatawatch Atibaedya
+66 81 8380181
chayatawatch@gmail.com

You might also like