You are on page 1of 10

ในทางทฤษฎี

เบียร์ สด
ค่าความร้ อนจำเพาะ 0.92 Kcal/Kg-Degree C
ค่าความร้ อนแฝงของการเยือกแข็ง 129 Kcal/Kg
อุณหภูมิจดุ เยือกแข็ง -2.2 Degree C หรื อ 28 Degree F

1 Kcal = 4 BTU
1 Kg = 2.2 Lb
1 Degree C = 0.55 Degree F

0.92 Kcal/Kg-Degree C = (0.92*4) = 3.68 BTU/ Kg-Degree C


129K cal/Kg = (129*4) = 516 BTU/Kg

คอมเพรสเซอร์ AE4400Y
ถ่ายเทความร้ อน 4400 BTU/Hr = 73 BTU/Min

ทำให้ เบียร์ เย็นลงจาก 25 องศาซี ถึง 2 องศาซี เท่ากับ ลดลง 23 องศาซี


ต้ องถ่ายเทความร้ อนเท่ากับ 23*3.68 = 84.7 บีทีย/ู กิโลกรัม

ดังนัน้ เครื่ องทำความเย็น AE4400Y จะลดอุณหภูมิ เบียร์ ให้ เย็นจัด (2 องศาซี) ได้ นาทีละ 73*1000/84.7
เท่ากับ 0.861 กิโลกรัม

เบียร์ สดมีคา่ ความถ่วงจำเพาะ 1.1


ดังนัน้ เบียร์ 0.861 กิโลกรัม จึงเท่ากับ 0.861/1.1 หรื อ 0.783 ลิตร
เท่ากับ 783 ซีซี ต่อ นาที

และ ทำให้ เยือกแข็งได้ นาทีละ 73*1000/516


เท่ากับ 141.47 ซีซี ต่อ นาที
การคำนวณและออกแบบ ในส่ วน ระบบทำความเย็น

ส่ วนทำความเย็น มีสองส่ วน คือ คูลแบงค์ และ คูลเลอร์


ส่วนที่เป็ นคูลแบงค์ คือส่วนที่ใช้ สร้ าง สารสะสมความเย็น ซึง่ เป็ น ไกคอลผสมน้ำในอัตราส่วนที่ทำให้ ยังคงเป็ นของเหลวอยู่ แม้
อุณหภูมิจะลดลงถึง -23 องศาซีแล้ วก็ตาม
และ สารสะสมความเย็นที่ได้ จะถูกนำไปใช้ ในการแลกเปลี่ยนความร้ อนกับ เครื่ องดื่มที่ต้องการทำให้ เป็ นวุ้น ในส่วนต่างๆ

ห้ องคูลแบงค์ ผลิตสารสะสมความเย็นด้ วย ระบบทำความเย็นมาตรฐาน

คอมเพรสเซอร์ ที่ใช้ คือ AE4440Y ซึง่ ใช้ น้ำยา R134a


ซึง่ ออกแบบให้ ใช้ ระบบการแลกเปลี่ยนความร้ อน แทน การใช้ วาวล์หวั ฉีดน้ำยา
ท่อทองแดงยาว เบอร์ 22 ขนาด เส้ นผ่าศูนย์กลาง 9.75 ม.ม. ยาว 13.5 เมตร
ท่อแคปทิ ้ว ขนาด 0.050 นิ ้ว ยาว 10 ฟุต
ประกอบเป็ นระบบทำความเย็นตามรูป

การออกแบบและประกอบ ในส่ วน ระบบทำความเย็นและคูลแบงค์


จากการคำนวณในขันต้ ้ น ทำให้ ร้ ูขนาดของ อ่าง คูลแบงค์ จึงสามารถขดท่ออีแวปที่ต้องบรรจุลงใน อ่าง คูลแบงค์ ซึง่ ประกอบ
ระบบความความเย็นขึนมาได้ ดงั นี ้
เริ่ มจากการเลือกใช้ ภาชนะที่เป็ น เครื่ องภายนอก
ซึง่ มีขนาดที่เหมาะสม จากนันจึ
้ งทำการขด ท่อทองแดงที่ยาว 13.5 เมตร ขึ ้นเป็ น ท่อ อีแวป สำหรับอ่าง คูลแบงค์
เมื่อได้ ทอ่ อีแวป ตามที่กำหนดจากการคำนวณ และ ขดขึ ้นรูปเรี ยบร้ อยแล้ ว ก็พร้ อมที่จะประกอบลงกล่อง ที่เตรี ยมไว้
ดังนี ้
หมายเหตุ ภาชนะที่ใช้ เป็ น คูลแบงค์ ใช้ กระติกน้ำสี่เหลี่ยมที่มีขนาดใกล้ เคียงกับที่คำนวณ ไว้ ตอนต้ น
การประกอบชุดระบบทำความเย็น บนโต๊ ะประกอบ ตามรูป
เมื่อประกอบระบบทำความเย็น และ กล่องคูลแบงค์ แล้ ว จึงประกอบ คูลเลอร์

You might also like