You are on page 1of 79

The International Amateur Radio Union

Since 1925, the Federation of National Amateur Radio Societies


Representing the Interests of Two-Way Amateur Radio Communication

จริยธรรม
และ
ขนตอนในการออกอากาศ
ั้
สาหร ับ
น ักวิทยุสม ัครเล่น

พิมพ์ครัง้ ที่ 3
(มิถน
ุ ายน 2553)

โดย John Devoldere, ON4UN


และ Mark Demeuleneere, ON4WW
ตรวจสอบอ ักษรและความถูกต้องโดย Bob Whelan, G3PJT

แปลและเรียบเรียงโดย ธีรเดช สกุลณียา Dave, HS1LCI

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 1


PowerPoint version:

เอกสารฉบับนีจ
้ ัดให ้มีไว ้ในรูปแบบของ PowerPoint ด ้วย โดยทัง้ สองรูปแบบในหลายภาษา สามารถ
ดาวน์โหลดได ้จาก
http://www.ham-operating-ethics.org
ในแบบ PDF นัน ้ มีให ้ไว ้มากกว่า 25 ภาษา

การแปลเอกสารฉบ ับนี:้

หากท่านใดยินดีจะช่วยผู ้เขียนแปลเอกสารฉบับนีเ้ ป็ นภาษาอืน


่ โปรดติดต่อผู ้เขียนคนใดคนหนึง่ ก่อน
(on4un@uba.be หรือ on4ww@uba.be) เนือ ่ งจากอาจมีผู ้ทีก่ ําลังแปลเอกสารฉบับนีใ้ นภาษานัน้ อยู่

ิ ธิ:์
ลิขสท

ข ้อมูลทีป
่ รากฏในเอกสารฉบับนี้ จัดทําและเขียนขึน ้ โดย John Devoldere ON4UN and Mark
Demeuleneere ON4WW (ซึง่ ต่อไปนีเ้ รียกว่า ผู ้เขียน) เว ้นแต่ระบุไว ้เป็ นอย่างอืน
่ เอกสารฉบับนีถ ้ อ
ื เป็ น
ทรัพย์สนิ ของผู ้เขียนและได ้รับการคุ ้มครองโดยกฎหมายลิขสิทธิ์ การให ้ความเห็น การคัดลอก พิมพ์และ
เผยแพร่ เนือ ้ หาสาระของเอกสารฉบับนี้ เว ้นแต่ระบุไว ้เป็ นอย่างอืน
่ จะกระทําได ้ ต ้องอยูภ
่ ายใต ้เงือ
่ นไข
ดังต่อไปนี้

1. เพือ
่ เป็ นข ้อมูลทีม
่ ใิ ช่เพือ
่ ประโยชน์ทางการค ้าเท่านัน้
2. การคัดลอกส่วนหนึง่ ส่วนใด มีการอ ้างอิงชือ ่ ของผู ้เขียนในฐานะเจ ้าของลิขสิทธิ์ ด ้วยเครือ
่ งหมาย
และอักษรทีป ่ รากฏในวงเล็บนี้ (@John Devoldere ON4UN and Mark Demeuleneere
ON4WW)
3. ไม่ปรับแต่ง หรือ แก ้ไขเปลีย ่ นแปลง ส่วนหนึง่ ส่วนใดของข ้อมูลโดยมิได ้รับความเห็นชอบเป็ นลาย
ลักษณ์อก ั ษรจากผู ้เขียน

การขออนุญาตใช ้ข ้อมูลของเอกสารฉบับนี้ เพือ ่ วัตถุประสงค์นอกเหนือจากเงือ ่ นไขทีไ่ ด ้ระบุไว ้ข ้างต ้น


หรือ ใช ้ข ้อมูลไปในทางอืน
่ ใดก็ตาม ต ้องทําเป็ นลายลักษณ์อก ั ษรถึงผู ้เขียนคนใดคนหนึง่

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 2


สารบาญ
หน้า
จรรยาบรรณของน ักวิทยุสม ัครเล่น.......................................................................... 6
I. อาร ัมภบท............................................................................................................ 6
I.1. ยินดีตอ ้ นร ับ........................................................................................................ 6
I.2. จรรยาบรรณของวิทยุสม ัครเล่น....................................................................... 7
I.2.1. หล ักการพืน ้ ฐาน………….................................................................................. 7
I.2.2. อ ันตรายจากความข ัดแย้ง .............................................................................. 7
I.2.3. จะหลีกเลีย ่ งความข ัดแย้งได้อย่างไร......................................................ใ..........8
I.2.4. หน่วยงานด้านคุณธรรม.................................................................................. 8
I.2.5. จรรยาบรรณ (The code of conduct)............................................................ 8
I.2.6. คูม่ อ ื เล่มนี… ้ ................................................................................................... 9
II. การออกอากาศโดยทวไป ่ั (GENERAL OPERATING).......................................... 9
II.1. ภาษาของน ักวิทยุสม ัครเล่น…......................................................................... 9
II.2. ฟัง................................................................................................................... 10
II.3. ขานสญญาณเรีั ยกขานของตนเองให้ถก ู ต้อง............................................. 11
II.4. เป็นสุภาพชนเสมอ......................................................................................... 11
II.5. บนสถานีทวนสญญาณ ั .................................................................................. 11
II.6. เราจะติดต่อ (QSO) ก ันอย่างไร?................................................................... 12
II.7. สนทนาเรือ ่ งอะไรบนความถีว่ ท ิ ยุสม ัครเล่น?................................................ 12
II.8. ทาการติดต่อสอ ื่ สารประเภทเสย ี ง................................................................. 13
II.8.1. จะเรียกขาน CQ อย่างไร? .......................................................................... 13
II.8.2. ‘CQ DX’ หมายถึงอะไร?.............................................................................. 14
II.8.3. เรียกขานสถานีหนึง่ เป็นการเฉพาะ ............................................................... 15
II.8.4. ทาการติดต่อสอ ื่ สารประเภทเสย ี งก ันอย่างไร?................................................ 15
II.8.5. การสล ับไปมาอย่างรวดเร็ ว ..........................................................................17
II.8.6. ออกอากาศอย่างไรในการแข่งข ันประเภทเสย ี ง.............................................. 18
II.8.7. การใชค ้ าว่า ‘QRZ’ ทีถ ่ ก ู ต้อง....................................................................... 20
II.8.8. ตรวจสอบคุณภาพในการออกอากาศ............................................................ 22
II.9. ศลิ ปะของระบบโทรเลข (CW, รห ัสมอร์ส).................................................... 22
II.9.1. คอมพิวเตอร์ในฐานะผูช ้ ว ่ ยของเรา?............................................................. 23
II.9.2. การเรียกขาน CQ....................................................................................... 24
II.9.3. อ ักษรเครือ ่ งหมายทีใ่ ชแ ้ ทนข้อความ (Prosigns)........................................... 25
II.9.4. การเรียกขาน ‘CQ DX’................................................................................ 25
II.9.5. การเรียกขานเฉพาะสถานีทต ี่ อ้ งการ............................................................. 26
II.9.6. ติดต่อและจบการติดต่อแบบคลืน ่ ต่อเนือ ่ ง (CW QSO).................................... 26
II.9.7. การใชค ้ าว่า ‘BK’........................................................................................ 29
II.9.8. ถึงอย่างไรก็ ย ังเร็วกว่า................................................................................. 29
II.9.9. การใชเ้ ครือ ่ งหมาย ‘AS’ (ดิท ดา ดิท ดิท ดิท)................................................ 29
II.9.10. การใชค ้ าว่า ‘KN’..................................................................................... 29
II.9.11. จะขานตอบ CQ อย่างไร?.......................................................................... 30
II.9.12. เมือ ่ สถานีหนึง่ สง ั
่ สญญาณเรี ยกขานเรามาไม่ถก ู ต้อง.................................... 30
II.9.13. เรียกขานสถานีทเี่ พิง่ จบการติดต่อก ัน......................................................... 30
II.9.14. การใชเ้ ครือ ่ งหมาย ‘=’ หรือ ‘ดา ดิท ดิท ดิท ดา’.......................................... 30
II.9.15. สง ่ รห ัสเสย ี งทีด ่ อ
ี อกไป.............................................................................. 31
II.9.16. เมือ ่ เราเป็นสถานี QRP (= กาล ังสง ่ ตา่ )....................................................... 32
II.9.17. การใช ้ ‘QRZ?’ ทีถ ่ ก ู ต้อง........................................................................... 32
II.9.18. การใช ้ ‘?’ แทนทีจ ่ ะเป็น ‘QRL’................................................................... 33

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 3


II.9.19. การสง ่ คาว่า ‘ดิท ดิท’ ในตอนท้ายของ QSO................................................ 33
II.9.20. การแก้ไขข้อความทีส ่ ง ่ ผิด......................................................................... 33
II.9.21. การแข่งข ัน CW....................................................................................... 33
II.9.22. ต ัวเลขย่อ (เลขทีต ่ ัดออก) เพือ ่ ใชใ้ นการแข่งข ัน.......................................... 35
II.9.23. การปร ับความถีใ่ ห้ตรงก ันโดยสมบูรณ์ (Zero beat).................................... 35
II.9.24. จะพบชอ ่ ง CW ทีร่ ับ/สง ่ แบบชา้ ได้ทใี่ ด?.................................................... 36

II.9.25. มีเสยง key clicks หรือไม่? (Do I have key clicks?)................................ 36
II.9.26. เร็ วเกินไปหรือไม่?.................................................................................... 37
II.9.27. ซอฟท์แวร์สาหร ับฝึ กฝน CW..................................................................... 37
II.9.28. คาย่อ สว่ นใหญ่ทใี่ ชใ้ น CW....................................................................... 37
II.10. โหมดอืน ่ ทีใ่ ช.้ .............................................................................................. 40
II.10.1. วิทยุโทรพิมพ์ หรือ RTTY (Radioteletype)............................................... 40
II.10.2. PSK 31 (Phase Shift Keying)................................................................ 44
II.10.3. โทรท ัศน์แบบกราดภาพชา้ , SLOW SCAN TV (SSTV)................................. 47
III. การออกอากาศขนสู ั้ ง (ADVANCED OPERATING).......................................... 49
III.1. เมือ ่ ถูกรุมเรียกขาน (PILESUPS) ................................................................ 49
III.1.1. รุมเรียกขานบนความถีเ่ ดียว …………………………........................................... 49
III.1.2. รุมเรียกขานแบบต่างความถี… ่ ……………….................................................... 49
III.1.3. จะปฏิบ ัติตนเชน ่ ไรเมือ ่ มีการรุมเรียกขานก ันอยู? ่ ........................................... 50
III.1.4. การถูกรุมเรียกขานบนความถีเ่ ดียวประเภทเสย ี ง.......................................... 50
III.1.5. การถูกรุมเรียกขานบนความถีเ่ ดียวของ CW................................................ 52
III.1.6. ร ับ/สง ่ ต่างความถีใ่ นประเภทเสย ี ง (phone)................................................ 53
III.1.7. การรุมเรียกขานบนความถีแ ่ บบ split ใน CW............................................... 54
III.2. การท ับซอ ้ นข้อความตอนท้าย (TAIL ENDING).......................................... 55
III.3. การไปออกอากาศในสถานที่ ทีห ่ ายาก (DXPEDITIONS).......................... 56
III.4. DX NETS.........................................................................................................57
III.5. การใชส ้ ญญาณเรี
ั ยกขานเพียงบางสว่ น (THE USE OF PARTIAL
CALLS)………………………………………………………………………………………………………………58
III.6. DX CLUSTERS................................................................................................ 59
III.6.1. ว ัตถุประสงค์หล ัก...................................................................................... 59
III.6.2. ป้อนข้อมูลของผูใ้ ด?................................................................................. 60
III.6.3. มีขอ ้ มูลแบบใดอยูบ ่ า้ ง จะนาออกมาใชไ้ ด้อย่างไร......................................... 60
III.6.4. เมือ ่ มี spot ใหม่ขน ึ้ มา: ประเทศใหม่สาหร ับเรา ทาอย่างไรดี? ....................... 60
III.6.5. สงิ่ ทีไ่ ม่ควรปฏิบ ัติใน DX Cluster................................................................ 61
III.7. ชอ ่ งทางการติดต่อทางไกล........................................................................... 63
III.7.1. ชอ ่ งทางการติดต่อทางไกลในย่าน HF........................................................ 63
III.7.2. สาหร ับ VHF-UHF..................................................................................... 63
III.8. ขนตอนการออกอากาศเฉพาะส
ั้ าหร ับ VHF และความถีท ่ สี่ ูงกว่า.............. 64
III.9. สถานการณ์แห่งความข ัดแย้ง..................................................................... 64
III.10. ผูค ้ มุ ้ กฎ (ตารวจความถี)่ ........................................................................... 65
III.10.1. ชนิดของผูค ้ ม ุ ้ กฎ.................................................................................... 65
III.10.2. อะไรทาให้ผค ู้ ม ุ ้ กฎปรากฏต ัวขึน ้ ?............................................................. 65
III.10.3. ผูท ้ ค ี่ วรให้อภ ัย (The good sinners)....................................................... 65
III.10.4. …และผูท ้ ไี่ ม่ควรให้อภ ัย (…and the bad sinners)................................... 66
III.10.5. เราต้องการจะเป็นผูค ้ ม ุ ้ กฎอีกผูห ้ นึง่ หรือไม่?............................................... 66
III.10.6. จะปฏิบ ัติตนเชน ่ ไรท่ามกลางขบวนผูค ้ ม
ุ ้ กฎ?.............................................. 67
III.11. เคล็ดล ับสาหร ับสถานี DX และน ักวิทยุสม ัครเล่นประจาสถานี
DXPEDITION…..…………..…………………….…………………………………………….………… 67

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 4


เอกสารแนบ 1: การออกเสย ี งสะกดและสทอ ั ักษรสากล....................................... 73
เอกสารแนบ 2: รห ัสคิว (The Q code)……………………………………………………………… … 74
เกีย
่ วก ับผูเ้ ขียน (THE AUTHORS):........................................................................... 75
ข้อความจากผูแ ้ ปล (Translator Note and Acknowledgement)............................. 77

การใช ้เครือ
่ งหมายจุลภาคและจุด: ในเอกสารฉบับนีจ ุ ทศนิยมใช ้เครือ
้ ด ่ งหมายจุลภาค (comma) แทน
ตัวอย่าง: 3,51 MHz = 3.510 kHz, 1.000.000 = หนึง่ ล ้าน

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 5


จรรยาบรรณของน ักวิทยุสม ัครเล่น

น ักวิทยุสม ัครเล่นคือผูท
้ ี่

มีเมตตาและเห็นใจก ัน (CONSIDERATE)… ไม่ออกอากาศ ในลักษณะจงใจ เพือ่ บัน่ ทอน


ความสุขของผู ้อืน

ร ักและภ ักดี (LOYAL)... แสดงความภักดี ให ้กําลังใจ และเกือ้ หนุน เพือ่ นนักวิทยุสมัครเล่น ชมรม
สมาคมท ้องถิน
่ สมาคมทีเ่ ป็ นตัวแทนของประเทศตนเองในเวทีสากล

มีห ัวก้าวหน้า (PROGRESSIVE)... ดํารงไว ้ซึง่ สถานีวท


ิ ยุของตนเองให ้ทันสมัย สร ้างและ
ประกอบขึน ้ เป็ นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ มีวถ
ิ แ
ี ห่งการปฏิบ ัติในการออกอากาศ อยูเ่ หนือสิง่ ทีจ่ ะ
ก่อให ้เกิดความเสือ่ มเสียต่อตนเอง

ปฏิบ ัติตอ
่ ก ันฉ ันมิตร (FRIENDLY)... ส่งสัญญาณช ้าลงด ้วยความอดทน เมือ่ ถูกร ้องขอ; ให ้
แนวคิดและคําปรึกษากับผู ้มาใหม่ด ้วยความเป็ นกันเอง; มีเมตตาช่วยเหลือ ให ้ความร่วมมือและเอือ
้ อาทร
กัน เพือ
่ ประโยชน์ของผู ้อืน
่ ทัง้ หมดนีค
้ อ
ื เครือ
่ งหมายแห่งความมีนํ้าใจ ของนักวิทยุสมัครเล่น

มีสมดุล (BALANCED)... วิทยุสมัครเล่นเป็ นงานอดิเรกชนิดหนึง่ ต ้องไม่กอ่ ให ้เกิดอุปสรรคต่อ


หน ้าทีค
่ วามรับผิดชอบทีม
่ ต
ี อ
่ ครอบครัว หน ้าทีก
่ ารงาน การเรียน หรือ สังคมรอบตัว

ร ักชาติ (PATRIOTIC)... สถานีและทักษะทีต่ นเองมีอยู่ พร ้อมทุกเมือ่ เพือ่ ประเทศชาติและสังคม

--ปรับปรุงมาจาก Amateur’s Code ฉบับดั่งเดิม เขียนโดย Paul M. Segal, W9EEA, ในปี ค.ศ.1928
(พ.ศ. 2471)

I. อาร ัมภบท (INTRODUCTION)

I.1 ยินดีตอ
้ นร ับ

นักวิทยุสมัครเล่นส่วนมาก หรือนักวิทยุสมัครเล่นทีต ่ ้องการประสบความสําเร็จ ผู ้ซึง่ กําลังอ่านคูม ่ อ


ื เล่มนี้
อยู่ คือ ผู ้ทีอ
่ าจจะยังใหม่ตอ ่ วงการวิทยุสมัครเล่น และทีผ ่ า่ นมาจนถึงเมือ ่ ไม่นานมานี้ บรรดาผู ้มาใหม่
เกือบทัง้ หมด มักจะถูกปล่อยให ้อยูบ ่ นความถี่ โดยได ้รับการช่วยเหลือ หากจะมีอยูบ ่ ้าง ก็เพียงน ้อยนิด
ปราศจากการชีแ ้ นะในเรือ ่ งแนวทางและวิธก ี ารทีช ั เจน หรือ การให ้ความรู ้ การสอนในเรือ
่ ด ่ งทีจ
่ ะต ้องถือ
ปฏิบต ิ ละประพฤติอย่างไร ขณะกําลังออกอากาศ เราพอจะนึกภาพออกกันได ้หรือไม่ ขณะเมือ
ั แ ่ ถูกปล่อย
ให ้ขับขีร่ ถยนต์อยูบ ่ นถนนทีม ่ กี ารจราจรคับคั่ง โดยปราศจากผู ้ทีค ่ อยชีแ้ นะว่า ควรจะขับขีอ ่ ย่างไร หรือ
ควรจะประพฤติ ปฏิบต ั เิ ช่นไร บนถนน? เหตุการณ์เช่นนัน ้ ดูเหมือนว่า จะทําให ้ตัวเรารู ้สึกประหม่า
หวาดหวั่นได ้ไม่น ้อยเลยทีเดียว ฉั นใด การขึน ้ ไปอยูบ ่ นความถี่ โดยทีม ่ ไิ ด ้มีการเตรียมตัวให ้พร ้อมมาก่อน
เพือ
่ สัมผัสกับประสบการณ์อน ั น่าพิศวง หากจะกล่าวไป อย่างน ้อย ก็สร ้างความประหม่าหวาดหวั่น และ
ทําให ้ตัวเราขาดความมัน ่ ใจได ้ เช่นกัน ฉั นนัน้ กระนัน ้ ก็ด ี จงอย่าได ้ตระหนกตกใจไป เราทุกคน ครัง้ หนึง่
ต่างก็เคยขับขีร่ ถยนต์เป็ นครัง้ แรกบนถนนมาแล ้ว และเมือ ่ แรกเริม่ นักวิทยุสมัครเล่นทุกคนก็เคยเป็ นเด็ก
ใหม่ในวงการนีม ้ าด ้วยกันทัง้ นัน ้

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 6


ยินดีต ้อนรับ เข ้าสูโ่ ลกแห่งวิทยุสมัครเล่น ยินดีต ้อนรับ เข ้าสูย
่ า่ นความถีว่ ท
ิ ยุสมัครเล่นของพวกเราทุกคน
เอกสารฉบับนี้ จะช่วยให ้เราทัง้ หลาย มีความสนุกสนานกับงานอดิเรกทีม ่ หัศจรรย์นม ี้ ากขึน
้ ตัง้ แต่เริม
่ แรก
จงอย่าลืมว่า วิทยุสมัครเล่นเป็ นงานอดิเรกชนิดหนึง่ และคําว่า งานอดิเรก โดยความหมายแล ้ว คือ สิง่ ที่
จะทําให ้เราได ้รับความสนุกสนาน!

ผู ้ทีอ
่ า่ นไม่ควรทําให ้ตนเองรู ้สึกเบือ
่ หน่ายหรือท ้อแท ้ เมือ
่ พบกับบรรดากฎ กติกา ทีป
่ รากฏอยูใ่ นคูม
่ อ
ื เล่ม
นี้ แล ้วคิดว่า สิง่ นัน
้ จะทําให ้ความสุขหรือความพึงพอใจของตนเองบนความถีล ่ ดลง กฎ กติกาเหล่านี้ ง่าย
ต่อการเข ้าใจ และจะกลายเป็ น วินัย/จรรยาบรรณ (code of conduct) ทีต ่ ด
ิ ตัวไปได ้อย่างรวดเร็วโดย
ปริยาย สําหรับนักวิทยุสมัครเล่นผู ้มีจต ิ ใจอันงดงาม ทุกท่าน

คูม
่ อ
ื เล่มนีม
้ ส
ี ามส่วน ประกอบด ้วย:

I. บทนา (Introduction)
เหตุใดต ้องมีคม
ู่ อ
ื เล่มนี้

II. การออกอากาศโดยทว่ ั ไป (General Operating)


้ ามารถใช ้ได ้กับนักวิทยุสมัครเล่นทุกท่าน ไม่วา่ จะติดต่อกันด ้วยวิธใี ดก็ตาม (สนทนา
ส่วนนีส
กันแบบยาวต่อเนือ ่ ง ค ้นหาสถานีทางไกล การแข่งขัน)

III. การออกอากาศขนสู ั้ ง (Advanced Operating)


ส่วนนีค
้ รอบคลุม เรือ
่ งทัง้ หลายทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการติดต่อทางไกล (DXing): แบบโดนรุม
เรียกขาน (pileup) การใช ้ DX Cluster DX nets การเป็ นนักวิทยุสมัครเล่นประจําสถานี
ออกอากาศในประเทศ/พืน ้ ทีท
่ ห
ี่ ายาก สถานการณ์ทม ี่ ค
ี วามขัดแย ้ง

I.2. จรรยาบรรณของวิทยุสม ัครเล่น

I.2.1. หล ักการพืน ้ ฐาน


หลักการพืน ้ ฐานซึง่ จะช่วยสร ้าง จรรยาบรรณ บนความถีว่ ท ิ ยุสมัครเล่น ของเรา มีดงั นี:้
 ความรูส ้ กึ ทางสงคม ั ความรูส ึ ฉ ันพีน
้ ก ่ อ้ ง นา้ ใจแห่งความเป็นพีน ่ อ
้ งก ัน: พวกเราจํานวนมาก
ต่างก็สนุกอยูก ่ บ ั วิทยุสอ ื่ สาร กับคลืน ่ เดียวกันบนอากาศ (สนามของเรา) เราไม่เคยอยูโ่ ดดเดีย ่ ว นัก
วิทยุสมัครเล่นทัง้ หมดเป็ น พวกพ ้องเรา เป็ นพีน ่ ้องเราทัง้ ชายและหญิง เป็ นเพือ ่ นเรา จงปฏิบต ั ต
ิ อ

กันด ้วยความถูกต ้องและเหมาะสม รู ้จักกาลเทศะ มีเมตตา ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน
 อดทน อดกลน: ั้ นักวิทยุสมัครเล่นทุกคน ไม่จําเป็ นจะต ้องมีความเห็นตรงกับเราเสมอไป และความ
คิดเห็นของเราก็อาจใช่วา่ จะ ดีทส ี่ ด
ุ เสมอไป เช่นกัน ควรเข ้าใจไว ้ว่า ยังมีผู ้อืน ่ ทีอ่ าจเห็นต่างจาก
เรา ไม่วา่ ในเรือ ่ งใดก็ตาม จงอดกลัน ้ ไว ้ โลกนีม ้ ไิ ด ้เป็ นเฉพาะของเราคนเดียว
 สุภาพอ่อนโยน: จงอย่าใช ้ภาษาทีห ่ ยาบคาย หรือ ภาษารุนแรง บนความถี่ โดยเด็ดขาด การ
กระทําเยีย ่ งนัน ้ มิได ้บ่งบอกสิง่ ใดทีเ่ กีย ่ วกับ บุคคล ผู ้ถูกกระทําเลย แต่จะแสดงให ้เห็นถึงพฤติกรรม
ของ บุคคลผู ้ทีก ่ ระทํา ได ้มากมาย (สําเนียงส่อภาษา กิรย ิ าส่อสกุล) จงควบคุมตนเองไว ้ตลอดเวลา
 เข้าใจสถานการณ์: โปรดเข ้าใจไว ้ว่า ทุกคนมิใช่จะฉลาดปราดเปรือ ่ ง เปรียบเสมือนดั่งมืออาชีพ
่ วชาญ อย่างเช่นตัวเราเอง (ถ ้าคิดว่ามี) ดังนัน
หรือ ดั่งผู ้เชีย ้ หากจะกระทําสิง่ ใดลงไป ก็ ขอให้
เป็นไปในทางบวก (เราจะช่วยได ้อย่างไร ทําให ้ถูกต ้องได ้อย่างไร สอนได ้อย่างไร) มากกว่าจะ
เป็ นไปในทางลบ (เกรีย ้ วกราด ทําให ้ผู ้อืน ่ ได ้อาย)

I.2.2. อ ันตรายจากความข ัดแย้ง


มีพน ื้ ทีบ
่ ริเวณแห่งเดียวทีเ่ ราเพลิดเพลินก ันอยู่ คือ บนอากาศ: เมือ ่ ว่าเป็ น นักวิทยุสมัครเล่น
่ ได ้ชือ
แล ้ว ทุกคนต ้องการเล่นเกมส์ หรือ ฝึ กซ ้อมกีฬาทีเ่ ป็ นของตนเอง แต่ทัง้ หลายทัง้ ปวง เราทุกคนถูก
กําหนดให ้เล่นอยูใ่ นสนามแข่งขันผืนเดียวกัน เท่านัน ้ : นั่นคือ ย่านความถีว่ ท
ิ ยุสมัครเล่น การทีม ่ ผ
ี ู ้เล่น
หรือนักกีฬานับแสนอยูใ่ นสนามแข่งเพียงสนามเดียว บางครัง้ จึงอาจทําให ้เกิดความขัดแย ้งระหว่างกัน
ขึน
้ ได ้

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 7


ตัวอย่างอันหนึง่ : ทันใดนัน ้ เอง เราก็ได ้ยินสถานีอน ื่ เรียกขาน CQ บนความถี่ ทีเ่ รากําลัง
ออกอากาศอยู่ หรือ กําลังสนทนากับสถานีอน ื่ อยู่ (ความถีท ่ เี่ ราได ้ใช ้ออกอากาศมาระยะหนึง่
แล ้ว) เหตุการณ์เช่นนี้ เป็ นไปได ้หรือไม่? ทัง้ ทีเ่ ราได ้อยูบ ่ นความถีท ่ วี่ า่ งสนิท มามากว่าครึง่
ชัว่ โมงแล ้วก็ตาม! เป็นไปได้ แน่นอน ทีส ่ ถานีดังกล่าวอาจคิดว่า เราเข ้ามาล่วงลํ้าความถี่
ของเขา ก็ได ้ บางที เราอาจจะอยูใ่ นบริเวณทีค ่ ลืน
่ ความถีล ่ งมาไม่ถงึ ทีข ่ ้ามเราไป (skip) หรือ
สภาพการแพร่กระจายคลืน ่ (propagation) มีการเปลีย ่ นแปลงไป (จึงทําให ้เราไม่ได ้ยิน)

I.2.3. จะหลีกเลีย ่ งความข ัดแย้งได้อย่างไร?


 โดยการบอกกล่าวผู ้เล่นหรือนักกีฬาทุกคนว่า เรามี กฎ/ระเบียบ อะไรอยูบ ่ ้าง พร ้อมทัง้ ชักจูงให ้เขา
เหล่านัน้ ปฏิบต ั ต
ิ ามกฎ กติกาทีม ่ ี ความขัดแย ้งส่วนใหญ่เกิดจาก การขาดความรู ้ (ignorance) มี
นักวิทยุสมัครเล่นจํานวนไม่น ้อยทีย ่ งั ไม่ทราบ กฎ กติกา ดีพอ
 คูม ่ อ
ื เล่มนี้ จัดทําขึน ้ เพือ
่ เติมเต็มในส่วนทีข ่ าดดังกล่าว และมุง่ เน ้นไปที่ การหลีกเลีย ่ งความขัดแย ้ง
ในทุกรูปแบบ เป็ นหลัก

I.2.4. หน่วยงานด้านคุณธรรม
 ในประเทศสมาชิกส่วนใหญ่ หน่วยงานทีก ่ ํากับดูแลวิทยุสมัครเล่นไม่ได ้ให ้ความสําคัญมากนักใน
รายละเอียดว่า นักวิทยุสมัครเล่นได ้ปฏิบต ั ก ิ น
ั เช่นไรบ ้างบนความถี่ ตราบเท่าทีเ่ ขาเหล่านัน ้ ได ้กระทํา
ตามกฎ/ระเบียบพืน ้ ฐานทีว่ างไว ้
 สังคมแห่งวิทยุสมัครเล่นได ้ชือ ่ ว่า เป็ นองคาพยพทีม ่ ก
ี ารควบคุมและดูแลกันเองเป็ นส่วนใหญ่
(largely self policing) ซึง่ หมายความว่า มีการควบคุมตนเอง (self discipline) ทีต ่ งั ้ อยูบ
่ น
พืน
้ ฐานแห่งจรรยาบรรณ กระนัน ้ ก็ด ี มิได ้หมายความว่า สังคมนักวิทยุสมัครเล่นจําเป็ นจะต ้องมี
หน่วยผูค้ ม
ุ ้ กฎเพือ
่ ทาหน้าทีเ่ ป็นตารวจความถีโ่ ดยเฉพาะเป็นของตนเอง!

I.2.5. จรรยาบรรณ (The code of conduct)


อะไรคือ ความหมายของคําว่า จรรยาบรรณ? จรรยาบรรณ คือ ชุดของกฎ/ระเบียบ ทีต ่ งั ้ อยูบ่ นพืน ้ ฐาน
ของหลักจริยธรรม รวมทัง้ ความเอือ ้ อาทรก ันในการออกอากาศ (operational considerations)
ด ้วย
 จริยธรรม (Ethics): จะกําหนดทัศนคติ (attitude) ของบุคคล กําหนดพฤติกรรม (behaviour)
ของตัวเราในฐานะนักวิทยุสมัครเล่น จริยธรรมต ้องมีควบคูก ่ บั คุณธรรม (moral) จริยธรรมคือ
หลักการของคุณธรรม
ตัวอย่าง: จริยธรรมบอกเราว่า จงอย่าเข ้าไปรบกวนการออกอากาศของสถานีอน ื่ สิง่ นีค
้ อ ื
กฎแห่งคุณธรรม ต ้องไม่ดํารงตนอยูเ่ ยีย ่ ง ผู ้ไร ้ซึง่ คุณธรรม ด ้วยการทุจริตในการแข่งขัน
 กฎทีใ่ ชถ ้ อ ื ปฏิบ ัติ (Practical rules): ในการควบคุมเรือ ่ งของพฤติกรรมนัน ้ มีมากว่า จริยธรรม
นักวิทยุสมัครเล่นยังมีกฎทีต ่ งั ้ อยูบ
่ น ความเห็ นอกเห็ นใจก ันในการออกอากาศ (operational
considerations) และ การถือปฏิบ ัติและนิสย ั ของตัวนักวิทยุสมัครเล่นเองด ้วย เพือ ่ หลีกเลียง
ความขัดแย ้ง นักวิทยุสมัครเล่นจําต ้องมี กฎ/ระเบียบไว ้ เพือ ่ ใช ้ถือปฏิบต
ั บ
ิ นความถี่ เนือ ่ งจากการ
ติดต่อกันบนความถีเ่ ป็ นกิจกรรมหลักอันหนึง่ ของชาวเรา เราจึงได ้พูดถึง บรรดากฎ/ระเบียบทีม ่ ไี ว้
เพือ
่ ใชถ้ อ ื ปฏิบ ัติ (practical rules) และ แนวทางปฏิบ ัติ (guidelines) เพือ ่ ควบคุมสิง่ ทีม ่ ไิ ด ้
เกีย ้ ตอนการออกอากาศ (operating procedures) ทีใ่ ช ้กันส่วน
่ วข ้องกับจริยธรรมด ้วย บรรดาขัน
ใหญ่ (เช่น จะทําการติดต่ออย่างไร เรียกขานเช่นไร ออกอากาศทีใ่ ด QRZ แปลว่าอะไร จะใช ้รหัส
Q อย่างไร? ฯลฯ) คือองค์ประกอบส่วนหนึง่ ของแนวทางเหล่านัน ้ การเคารพต่อขัน ้ ตอนการปฏิบต ั ิ
จะเป็ นหลักประกันทีจ ่ ะก่อให ้เกิดสมรรถนะและประสิทธิผลสูงสุดในการติดต่อ และเป็ นกุญแจสําคัญ
ในการแก ้ไขปั ญหาความขัดแย ้งได ้ ขัน ้ ตอนอันเป็ นทีป ่ ู ้เขียนได ้ใช ้
่ ระจักษ์ เหล่านี้ เกิดจากการทีผ
ปฏิบตั อ
ิ ยูเ่ ป็ นประจํา ทุกวัน ตลอดระยะหลายปี ทผ ี่ า่ นมา และเป็ นผลมาจากเทคโนโลยีทถ ี่ ก
ู พัฒนา
ไปอย่างต่อเนือ ่ งด ้วย

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 8


I.2.6. คูม ่ อื เล่มนี้
 คูม ่ อ ื เล่มนี้ เขียนขึน ้ เพือ่ เป็ นการอุทศ ิ ให ้กับ จรรยาบรรณของนักวิทยุสมัครเล่น องค์ประกอบหลัก
ของคูม ่ อ ื จึงประกอบด ้วย ขัน ้ ตอนปฏิบต ั ใิ นการออกอากาศทีต ่ งั ้ อยูบ ้ ฐานของหลักคุณธรรม ซึง่
่ นพืน
เป็ นรากฐานสําคัญสําหรับพฤติกรรมทั่วไป ดังทีไ่ ด ้อธิบายมาแล ้วข ้างต ้น
 ความรู ้เกีย ่ วกับ จรรยาบรรณน ักวิทยุสม ัครเล่น (amateur code of conduct) เป็ นเรือ ่ งสําคัญ
สําหรับนักวิทยุสมัครเล่น เช่นเดียวกันกับ ความรู ้ทีเ่ กีย ่ วกับบรรดากฎและระเบียบของประเทศตนเอง
และความรู ้พืน ้ ฐานทางไฟฟ้ า อีเลกโทรนิกส์ สายอากาศ การแพร่กระจายคลืน ่ ความปลอดภัย ฯลฯ
 คูม ่ อ ื เล่มนีม ้ วี ัตถุประสงค์ เพือ ่ ให ้นักวิทยุสมัครเล่น ได ้คุ ้นเคยกับจรรยาบรรณบนความถี่ ไม่วา่ จะเป็ น
นักวิทยุรน ุ่ เก่า หรือ ผู ้มาใหม่ หรือ ผู ้ทีก ่ ําลังจะก ้าวเข ้ามาสูว่ งการนี้
 นับถึงปั จจุบน ั เอกสารทีม ่ รี ายละเอียดมากมายเช่นนี้ ยังไม่เคยมีการจัดทํามาก่อน และความรู ้อย่าง
ละเอียดในเรือ ่ งจรรยาบรรณ ก็ยงั ไม่เคยได ้รับการบรรจุไว ้ในหลักสูตรการอบรม และนํ าไปออกเป็ น
ข ้อสอบ เพือ ่ รับใบอนุญาตนักวิทยุสมัครเล่น มาก่อนเลยด ้วยเช่นกัน ปรากฏการณ์เช่นนี้ บ่งบอกถึง
เหตุผลหนึง่ ทีว่ า่ เหตุใดเราจึงได ้เห็น ความล ้มเหลวในการสร ้างมาตรฐาน การปฏิบต ั ท
ิ ฝ
ี่ ่ าฝื น การ
ละเมิดจรรยาบรรณบนความถี่ ของนักวิทยุสมัครเล่น อย่างมากมาย ซํ้าแล ้วซํ้าเล่า
 การสอนหรือการให ้ความรู ้กับบรรดาผู ้มาใหม่ และการทดสอบความรู ้โดยการสอบ ถือเป็ นสิง่ ทีท ่ กุ
คนคาดหวังว่า จะช่วยลดระดับความจําเป็ นของการเข ้าไปสร ้างความถูกต ้องบนความถีล ่ งได ้ และจะ
ทําให ้ความถีซ ่ งึ่ เป็ นพืน้ ทีข ่ องนักวิทยุสมัครมีความดึงดูดมากขึน ้ สําหรับทุกคน อันจะทําให ้การเกรีย ้ ว
กราดกัน การรบกวนกัน การตะโกนใส่กน ั อย่างทีเ่ ป็ นอยู่ กลายเป็ นเพียงอดีตแห่งความทรงจําทีไ่ ม่
พึงประสงค์ ไปในไม่ช ้า
 นักวิทยุสมัครเล่นทีก ่ ระทําผิดพลาด ในเรือ ่ งขัน้ ตอนการออกอากาศ ส่วนใหญ่เกิดจากการทีเ่ ธอ
เหล่านัน ้ ไม่เคยได ้รับการเรียนรู ้ (การสัง่ สอน) ในเรือ ่ งการปฏิบต ั ต
ิ นทีถ
่ กู ต ้อง และแทบจะไม่เคย
ได ้รับการอบรม ฝึ กฝน (training) ในเรือ ่ งนีม ้ าก่อนเลย เราจึงไม่ควรไปตําหนิ ว่ากล่าวเขา แต่ควร
ให ้ความรู ้และฝึ กฝนเขาเหล่านัน ้ แทน
 คูม ่ อ ื เล่มนี้ ครอบคลุม ขัน ้ ตอน การปฏิบต ั ใิ นการออกอากาศ ในเกือบทุกรูปแบบ (mode) ทีม ่ ใี ช ้กัน
อยูท ่ ัง้ หมด (SSB CW RTTY และ PSK)

II. การออกอากาศโดยทว่ ั ไป (GENERAL OPERATING)

II.1. ภาษาของน ักวิทยุสม ัครเล่น

 คําว่า ham (แฮม) หมายถึง นักวิทยุสมัครเล่น


 ในฐานะ hams เราทักทายและเรียกกันด ้วย ชือ ่ หน ้า (หรือชือ ่ เล่น) เราไม่เรียก นาย (mister)
นางสาว (miss) นาง (misses) หรือ เรียกนามสกุล (family name) การเรียกชือ ่ กันเช่นนี้ ก็ถอ ื เป็ น
สิง่ ทีถ
่ ก
ู ต ้องสําหรับ การติดต่อสือ ่ สารแบบใช ้ลายลักษณ์อก ั ษร ระหว่างบรรดานักวิทยุสมัครเล่น ด ้วย
เช่นกัน
 มารยาทของนักวิทยุสมัครเล่น บัญญัตไิ ว ้ว่า เราจะทักทายกัน หรือ ส่งความปรารถนาดีให ้กันและกัน
โดยใช ้คําว่า ‘73’ (ไม่ใช่ best 73 หรือ many 73) และไม่ใช่ด ้วยคําว่า ด ้วยความจริงใจ (sincerely)
หรือ ด ้วยแบบอืน ่ ทีใ่ ช ้คําคล ้ายคลึงกัน
 หากท่านใด เคยเป็ นนักวิทยุยา่ นประชาชน (CB operator) มาก่อน ให ้ลบศัพท์แสง ทีเ่ คยใช ้ในวิทยุ
ย่านประชาชนออกจากความทรงจําให ้หมด แล ้วมาเรียนรู ้ภาษาของวิทยุสมัครเล่น (ศัพท์เฉพาะ/
แสลง) ในฐานะทีเ่ ป็ นสมาชิกของสังคมวิทยุสมัครเล่น ทุกคนถูกคาดหวังว่า ต ้องทราบ คําเฉพาะ ที่
ใช ้แทนคําอธิบาย และ กลุม ่ คําผสม ซึง่ จะช่วยให ้เราได ้รับการยอมรับจากสังคมวิทยุสมัครเล่นอย่าง
เต็มภาคภูม ิ
 ระหว่างการออกอากาศติดต่อกัน จงใช ้รหัสคิว (Q code) ให้ถก ู ต้อง (เอกสารแนบ 2) หลีกเลีย ่ งสิง่
ทีจ ่ ะก่อให ้เกิดการด ้อยประสิทธิภาพจากการใช ้ Q code ทีม ่ ากจนเกินไป สําหรับการติดต่อสือ ่ สาร

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 9


ประเภทเสียง (phone) เราควรใช ้การสือ ่ ความตามมาตรฐานทั่วไปทีท ่ ก ุ สถานีสามารถเข ้าใจได ้
ปั จจุบนั Q code บางคําได ้กลายเป็ นคํามาตรฐานในการสือ ่ ข ้อความกันไปแล ้ว แม ้แต่ในการ
ออกอากาศประเภทเสียง (phone) อย่างเช่น
The QRG ความถี่
QRM การรบกวน
QRN การรบกวนจากชัน ้ บรรยากาศ (เสียงรบกวนทางไฟฟ้ า)
A QRP เด็กน ้อยคนหนึง่ (a child)
Going QRT ลงความถี่ หยุดออกอากาศ
Being QRV พร ้อมออกอากาศ พร ้อมรับการติดต่อ
QRX รอสักครู่ รอฟั ง (standby)
QRZ ผู ้ใดเรียกขานผม/ดิฉัน
QSB สัญญาณจางหาย
QSL (card) บัตรหรือการ์ดซึง่ ยืนยันการติดต่อ
QSL ผม/ดิฉัน ยืนยัน (ข ้อความ)
A QSO การติดต่อกันหนึง่ ครัง้
QSY เปลีย ่ นความถีไ่ ปยัง
QTH บริเวณทีต ่ งั ้ สถานี (เมือง หมูบ ่ ้าน)
 เช่นเดียวกับการใช ้ Q code (ดังทีก ่ ล่าวมาข ้างต ้น) ซึง่ ถือเป็ นเรือ ่ งปกติไปแล ้วใน phone กระนัน ้ ก็
ยังมีการใช ้ข ้อความแบบสัน ้ หรือกระชับอืน ่ อีกจํานวนหนึง่ แม ้จะไม่มากนัก ทีน ่ ํ ามาจากคําทีใ่ ช ้กันใน
CW (ดู § II.9.28.) อย่างเช่น 73, 88, OM (old man), YL (young lady) ฯลฯ
 ให ้ใช ้ สทอ ั ักษร หรือ การออกเสย ี งสะกดพย ัญชนะแบบสากล (International spelling
alphabet) ทีม ่ อี ยูเ่ พียงชุดเดียวและเป็ นแบบเดียว เท่านัน ้ ให ้ถูกต ้อง (ดู เอกสารแนบ 1) ให ้
หลีกเลีย ่ งการใช ้ภาษาสวยหรู (fantasies) ซึง่ อาจฟั งแล ้วดูขําดี หรือ ฟั งแล ้วสนุกในภาษาของ
ตนเอง แต่ผู ้ทีต ่ ด ิ ต่อกับสถานีเรา ฟั งไม่เข ้าใจในสิง่ ทีเ่ รากําลังบอกกล่าวอยูน ่ ัน้ … จงอย่าออกเสียง
คําสะกดของอักษรทัง้ หลายให ้แตกต่างกัน ในประโยคเดียวกัน ตัวอย่างเช่น: ‘CQ from ON9UN,
oscar november nine uniform november, ocean nancy nine united nation…’
 ภาษาทีใ่ ช ้กันอย่างแพร่หลายในวิทยุสมัครเล่น โดยมิต ้องสงสัย คือ ภาษาอังกฤษ ดังนัน ้ หากสถานี
ใดจะติดต่อกับบรรดานักวิทยุสมัครเล่นทั่วโลก ก็ให ้เป็ นทีเ่ ข ้าใจไว ้ว่า นักวิทยุสมัครเล่นส่วนใหญ่
เกือบทัง้ หมด ใช ้ ภาษาอังกฤษ ในการติดต่อกัน จึงไม่จําเป็ นต ้องอธิบาย เมือ ่ ถานีใดก็ตามทีใ่ ช ้
่ คูส
ภาษาทีต ่ า่ งจากภาษาอังกฤษ จะติดต่อกัน ก็จะเปลีย ่ นมาใช ้ภาษากลาง อันนี้
 การติดต่อในแบบรหัสมอร์ส (CW) นัน ้ เป็ นไปได ้ตลอดการติดต่อ ทีค ่ สู่ ถานีจะไม่ต ้องใช ้ภาษาแม่
ของตนเอง แม ้แต่เพียงคําเดียว
 เป็ นทีช
่ ด ั เจนว่า เราสามารถใช ้งานอดิเรกชนิดนี้ เป็ นเครือ ่ งมืออันวิเศษในการเรียนรู ้
ภาษาต่างประเทศได ้ ขณะอยูบ ่ นความถีเ่ ราจะได ้พบกับบรรดาผู ้ทีเ่ ต็มใจคอยช่วยเหลือเรือ ่ งภาษาที่
ใหม่สําหรับเราอยูเ่ สมอ

II.2. ฟัง

 นักวิทยุสมัครเล่นทีด่ ี ควรเริม
่ ด ้วยการฟั งไว ้ให ้มาก
 เราสามารถเรียนรู ้ได ้มากมายจากการฟั ง แต่ทัง้ นีต ้ ้องระมัดระวังไว ้ด ้วยว่า ไม่ใช่ ทัง้ หมดทีเ่ ราได ้ยิน
ได ้ฟั งบนความถี่ จะเป็ นตัวอย่างทีด ่ เี สมอไป และแน่นอน เราจะได ้เห็นการออกอากาศทีไ่ ม่ถก ู ต ้อง
ตามขัน ้ ตอนมากมาย เช่นกัน
 หากตนเองยังคงออกอากาศอยูเ่ ป็ นประจํา (active) จงปฏิบต ั ต
ิ นให ้เป็ น แบบอย่างทีด ่ ี ในการ
ออกอากาศ และขอให ้ปฏิบต ั ติ ามข ้อแนะนํ าทีไ่ ด ้อธิบายไว ้ในคูม่ อ
ื เล่มนี้

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 10



II.3. ขานสญญาณเรี
ยกขานของตนเองให้ถก
ู ต้อง

 แทนทีจ ั
่ ะขาน สญญาณเรี ยกขาน หรือ อ ักษรเรียกขาน ทัง้ หมดทีต ่ นเองมี นักวิทยุสมัครเล่น
จํานวนไม่น ้อย ใช ้วิธข ั
ี าน สญญาณเรี ยกขานของตนเอง แบบสัน ้ หรือย่อ (short)
 จงขานสัญญาณเรียกขานของเราที่ ครบถ้วน เพียงวิธเี ดียวเท่านัน ้ เพือ ่ ระบุตวั ตนเรา จงอย่าเริม

ออกอากาศ โดยระบุตวั ตนทัง้ ของตนเองและของคูส ่
่ ถานี โดยเรียกเพียงชือ (name) ทัง้ ของตัวเรา
และผู ้ทีเ่ รากําลังติดต่อด ้วย (เช่น Hello Mike, this is Louis… = สวัสดี ไมค์ นีห ่ ลุยส์ นะ…)
 ระบุตัวตนเราด ้วยสัญญาณเรียกขานที่ ครบถ้วน ไม่ใช่แค่เพียงแค่สว่ นท ้าย (suffix) เท่านัน ้ การ
ขานเพียงอักษรส่วนท ้ายถือเป็ นการกระทําทีผ ่ ด
ิ กฎ/ระเบียบ
 ระบุตัวตนของเราให ้ บ่อย เข ้าไว ้

II.4. เป็นสุภาพชนเสมอ

 จงอย่าใช ้คําพูดทีร่ น
ุ แรงและหยาบคาย ร ักษาความสุภาพ นอบน้อม และ อ่อนโยน ในทุก
สถานการณ์ (stay polite, courteous and gentle, under all circumstances)
 ์ นาด ชอร์ (George Bernard Shaw) ครัง้ หนึง่ เคยเขียนเป็ นสํานวนไว ้ว่า: ไม่ม ี
จอร์ช เบิรน
ความสําเร็จใดทีไ่ ด ้มาอย่างง่ายดายเช่นกับการใช ้ความสุภาพอ่อนโยน และไม่มกี ารลงทุนใดที่
ให ้ผลกําไรมากไปกว่านีแ ้ ล ้ว (There is no accomplishment so easy to acquire as politeness
and none more profitable)


II.5. บนสถานีทวนสญญาณ

 สถานีทวนสัญญาณ (repeater) เป็ นสถานีทม ี่ ห


ี น ้าที่ อันดับแรกคือ ช่วยให ้สถานีพกพา (portable)
และสถานีเคลือ ่ นที่ (mobile) ในย่าน VHF/UHF ติดต่อกันได ้ไกลมากขึน ้
 หากเป็ นไปได ้ ให ้ใช ้ความถีต ่ รงหรือการติดต่อทางเดียว (simplex) ในทุกที่ ส่วนสถานีประจําที่
(fixed station) ควรละเว ้นการติดต่อผ่านสถานีทวนสัญญาณ
 หากต ้องการจะใช ้สถานีทวนสัญญาณขณะทีก ่ ําลังมีผู ้ใช ้อยู่ ให ้รอจนกว่าผู ้ทีใ่ ช ้อยูน
่ ัน้ ทิง้ จังหวะการ
ติดต่อเสียก่อน แล ้วค่อยแจ ้งสัญญาณเรียกขานเราเข ้าไป
 กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินขึน ้ หรือ เหตุอน ั ตรายต่อชีวต ิ ให ้ใช ้เพียงคําว่า ‘เบรก’ (‘break’) หรือ จะเป็ นการ
ดีกว่า ด ้วยคําว่า ‘เบรก เบรก เบรก’ (‘break break break’) และจะเป็ นการเหมาะสมมากยิง่ ขึน ้ หาก
จะใช ้คําว่า ‘เบรก เบรก เบรก มีเหตุดว่ น’ (‘break break break with emergency traffic’)
 ขณะทีใ่ ช ้สถานีทวนสัญญาณ ควรเว ้นคีย ์ (pause) จนกระทั่งสัญญาณพาห์ (carrier) หรือเสียงหาง
คียห์ มดลงก่อน หรือ เมือ ่ เสียงบิ๊ บ (beep) ดังขึน ้ ตามแต่กรณี เพือ ่ หลีกเลีย ่ งสัญญาณกดทับกัน
(ออกอากาศพร ้อมกัน) และเพือ ่ เปิ ดโอกาสให ้สถานีอน ื่ สามารถติดต่อเข ้ามาได ้บ ้าง การเว ้นคีย ์ ปกติ
จะช่วยให ้ตัวควบคุมจังหวะเวลา (timer) เริม ่ ตัง้ ค่าเวลาใหม่ได ้ การทํางานของเครือ ่ งฯ จะไม่ถก ู ตัด
(time-out)
 จงอย่าเข ้าไปครอบครองความถีบ ่ นสถานีทวนสัญญาณเพียงผู ้เดียว สถานีทวนสัญญาณมีไว ้ มิใช่
เพียงเพือ ่ สําหรับเราหรือเพือ ่ นเราเท่านัน ้ ให ้ระลึกไว ้เสมอว่า สถานีอน ื่ ก็ต ้องการใช ้สถานีทวน
สัญญาณด ้วยเช่นกัน จงพร ้อมทีจ ่ ะช่วยเหลือซึง่ กันและกัน
 ณ เวลาใด เวลาหนึง่ จงใช ้สถานีทวนสัญญาณให ้สัน ้ ทีส ุ และ ตรงประเด็น (อย่ายืดเยือ
่ ด ้ )
 สถานีทวนสัญญาณมิได ้มีไว ้เพือ ่ ใช ้บอกภรรยา/คนรัก (XYL) ว่าตนเองกําลังเดินทางกลับบ ้าน จึง
ขอให ้เธอช่วยเตรียมสํารับอาหารกลางวัน ไว ้ให ้พร ้อม...การติดต่อทางวิทยุสมัครเล่นจะเกีย ่ วข ้องกับ
บรรดาเทคนิคการสือ ่ สารทางวิทยุโทรคมนาคม เป็ นหลัก

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 11


 อย่าแทรก (break) เข ้าไประหว่างการสนทนาขณะทีม ี ารติดต่อกันอยู่ เว ้นแต่วา่ เรามีสงิ่ สําคัญทีจ
่ ก ่ ะ
เพิม
่ เติม การขัดจังหวะกันบนความถีน ่ ัน
้ ก็เป็ นความไม่สภ ุ าพ มิได ้ต่างจากการพูดขัดคอเวลาอยูต ่ อ่
หน ้ากันสักเท่าไรนัก
 การขัดหรือสอดขึน ้ มากลางคัน (ทะลุกลางปล ้อง) โดยไม่ระบุตัวตน เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ถก ู ต ้อง และใน
หลักการแล ้ว ถือเป็ นการสร ้างการรบกวนทีเ่ ป็ นความผิดตามกฎ/ระเบียบด ้วย (illegal interference)
 หากจําเป็ นต ้องใช ้สถานีทวนสัญญาณอยูเ่ ป็ นประจํา ให ้พิจารณาช่วยเหลือสนับสนุนเพือ ่ ให ้สถานี
ทวนสัญญาณนัน ้ สามารถใช ้งานได ้ต่อเนือ
่ งตลอดไป

II.6. เราจะติดต่อ (QSO) ก ันอย่างไร

 QSO คือการติดต่อกันทางวิทยุฯ ระหว่างนักวิทยุสมัครเล่นสองสถานีหรือมากกว่า


 เราสามารถเรียกขานกันแบบทั่วไป (เรียกขาน CQ) ตอบการเรียกขาน CQ จากสถานีอน ื่ หรือ เรียก
ขานสถานีทเี่ พิง่ หมดข ้อความกันไป ส่วนทีน ่ อกเหนือออกไป มีดังนี้ ...
 ในการสนทนากัน สถานีใด (call sign) จะเป็ นผู ้เริม ่ ก่อน? สิง่ ทีถ่ ก
ู คือ: ‘W1ZZZ from G3ZZZ’ หรือ
‘W1ZZZ จาก G3ZZZ’ (เราคือ G3ZZZ ส่วน W1ZZZ คือสถานีทเี่ ราเรียกขาน) ดังนัน ้ ให ้ขาน
สัญญาณเรียกขานของสถานีทเี่ ราจะติดต่อด ้วยก่อน แล ้วจึงตามด ้วยสัญญาณเรียกขานของเรา
 ควรจะขานสัญญาณเรียกขานบ่อยเพียงใด? กฎของประเทศสมาชิกส่วนใหญ่ กําหนดไว ้ว่า: ในตอน
เริม
่ และตอนจบของการออกอากาศ ทัง้ นีต ้ ้องไม่ตํ่ากว่าทุก 5 นาที โดยให ้ถือว่าข ้อความแบบสัน ้ แต่
ต่อเนือ่ งหลายครัง้ ติดต่อกัน (หลาย เปลีย ่ น หรือ overs) เป็ นการออกอากาศหรือติดต่อกัน (QSO)
หนึง่ ครัง้ เท่านัน
้ ในมุมมองของผู ้บัญญัตก ิ ฎนีข ้ นึ้ มา เห็นว่า สําหรับเวลาแข่งขัน (contest)
ข ้อกําหนดนี้ ไม่ถอ ื เป็ นเรือ
่ งเคร่งครัดสําหรับการขานสัญญาณเรียกขานเมือ ่ จบทุก QSO ส่วนการให ้
ขานกันทุก 5 นาที เป็ นเรือ ่ น่วยงานซึง่ มีหน ้าทีค
่ งทีห ่ วบคุมดูแลได ้กําหนดไว ้ เพือ ่ ให ้ง่ายต่อการรับรู ้
ว่า สถานีใดกําลังออกอากาศอยู่ อย่างไรก็ตาม จากการมองในมุมของหลักปฏิบต ั ใิ นการออกอากาศ
แล ้ว การปฏิบต ั ทิ ด
ี่ เี พียงแบบเดียว (only good procedure) คือ ระบุต ัวตนทุกครงในแต่ ั้ ละการ
ติดต่อหรือ QSO (ดูคําอธิบายในหน ้า 69)
 การหยุดหรือปล่อยคียใ์ ห ้ว่าง: เมือ ่ คูส
่ ถานีปล่อยคียเ์ พือ ่ เปลีย่ นให ้เราพูด จะถือเป็ นนิสย ั ทีด
่ ต
ี ด
ิ ตัวเรา
ไป หากจะเว ้นคียไ์ ว ้สัก 1 วินาที ก่อนจะออกอากาศตอบกลับ ทัง้ นีเ้ พือ ่ จะให ้ได ้ทราบว่า มีผู ้ใด
ประสงค์จะเข ้ามาร่วมสนทนา หรือ จะใช ้ความถีห ่ รือไม่ (เปิ ดโอกาสให ้สถานีอน ื่ แทรกเข ้ามาได ้เมือ ่
เขามีความจําเป็ น)
 ออกอากาศสนทนาแบบสัน ้ หรือยาวดี? แบบสัน ้ จะเป็ นทีต ่ ้องมากกว่า แบบยาว กรณีจะทําให ้คูส ่ ถานี
มีความสะดวกมากขึน ้ เมือ ่
่ ต ้องการให ้ข ้อคิดเห็นต่อสิงทีเ่ ราได ้พูดออกไป

II.7. สนทนาเรือ
่ งอะไรบนความถีว่ ท
ิ ยุสม ัครเล่น

หัวข ้อหรือประเด็นทีจ ่ ะสนทนาสือ ่ สารกัน ควรเป็ นเรือ


่ งทีเ่ กีย
่ วกับงานอดิเรกวิทยุสมัครเล่น วิทยุสมัครเล่น
เป็ นงานอดิเรกทีเ่ กีย ่ ื
่ วข ้องกับ เทคนิคในการสอสารด้วยวิทยุโทรคมนาคม ในวงกว ้าง (broad sense
of term) ไม่ควรใช ้วิทยุสมัครเล่นเพือ ่ ส่งรายการกับข ้าวทีต ้ (shopping list) สําหรับอาหารมือ
่ ้องซือ ้ เย็น
...

เรือ
่ งบางหัวข ้อทีจ่ ะต ้อง ละเว้นโดยเด็ดขาด (no no) ในการสนทนาบนความถีว่ ท ิ ยุสมัครเล่น:
 ศาสนา
 การเมือง
 ธุรกิจ (พูดเรือ ่ งอาชีพของตนเองได ้ แต่ต ้องไม่ใช่การเสนอขายสินค ้า)
 แสดงการไม่ยอมรับ การไม่เคารพ ต่อบุคคลกลุม ่ ใด กลุม
่ หนึง่ (ชนชาติ ศาสนา เชือ ้ สาย เพศ ฯลฯ)
 เรือ ่ งขําขันใต ้สะดือ (bath room humor): เรือ่ งขําขันใดทีเ่ ราไม่คด
ิ จะเล่าให ้ลูกหลานอายุ 10 ขวบ
ฟั งแล ้วละก็ จงอย่านํ ามาออกอากาศบนความถี่

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 12


 เรือ
่ งใดก็ตาม ทีไ่ ม่เกีย ้ เชิง
่ วข ้องกับงานอดิเรกวิทยุสมัครเล่น โดยสิน

ื่ สารประเภทเสย
II.8. ทาการติดต่อสอ ี ง

II.8.1. จะเรียกขาน CQ อย่างไร?


บางครัง้ ก่อนออกอากาศ เราจําเป็ นทีจ ่ ะต ้องปรับแต่ง (tune) เครือ ่ งวิทยุฯ (หรือ antenna tuner =
เครือ
่ งปรับค่าสายอากาศ) การปรับแต่ง เมือ ่ เริม ่ แรก ควรใช ้กับ dummy load (แทนสายอากาศ) หาก
จําเป็ น การปรับแต่งอย่างละเอียด ก็สามารถกระทําได ้บนความถีท ่ วี่ า่ ง ด ้วยการใช ้กําลังส่งในระดับตํ่า
หลังได ้สอบถามไปก่อนแล ้วว่า มีผู ้ใดใช ้ความถีอ ่ ยูห่ รือไม่? (is this frequency in use?) จากนัน ้
 ควรจะกระทําสิง่ ใด เมือ ่ เริม ่ แรกสุด?
 ให ้ตรวจสอบดูวา่ จะใช ้ย่านความถีใ่ ด เพือ ่ ให ้ครอบคลุมระยะและทิศทางทีต ่ ้องการ ตารางแสดง
ความถีท ่ ใี่ ช ้ได ้ดีทส ี่ ด ุ (MUF Charts) จะช่วยคาดการณ์การแพร่กระจายคลืน ่ ย่าน HF
 แล ้วตรวจสอบว่าช่วงใดของย่านความถี่ ทีค ่ วรใช ้เพือ ่ ติดต่อประเภทเสียง (phone) ควรมีตาราง
กําหนดย่านความถีใ่ นการออกอากาศของ IARU (band Plan) ติดไว ้ทีโ่ ต๊ะวิทยุฯ ของตนเองอยู่
เสมอ (ของไทย ใช ้ตามประกาศ กสทช. เรือ ่ ง หลักเกณฑ์การอนุญาตและกํากับดูแลวิทยุ
สมัครเล่น ทีม ่ ผ ี ลบังคับใช)้
 จําให ้ขึน ้ ใจว่า การออกอากาศแบบ SSB (single side band) ทีต ่ ํา่ กว่า 10 MHz จะเป็ น LSB
(lower single side band) เหนือ 10 MHz ขึน ้ ไปเป็ น USB (upper single side band)
 เมือ ่ ออกอากาศแบบ USB บนความถีท ่ รี่ ะบุ (suppressed carrier) อันใดอันหนึง่ การกระจาย
คลืน ่ จะต ้องขยายเพิม ่ ออกไปด ้านบนอย่างน ้อย 3 kHz ส่วนใน LSB จะกลับกัน ความถีท ่ ี่
ออกอากาศไปนัน ้ จะตํา่ กว่าทีเ่ ห็นบนหน ้าจอ 3 kHz กรณีหมายความว่า: ต ้องไม่ออกอากาศ
LSB บนความถีท ่ ตี่ ํ่ากว่า 1.843 kHz (1.840 kHz คือความถีต ่ ํ่าสุดของส่วนความถีข ่ ้างทีถ ่ ก
ู จํากัด
ไว ้); ไม่ออกอากาศ LSB ตํ่ากว่า 3.603 kHz หรือ USB สูงกว่า 14.347 kHz ฯลฯ โดยเด็ดขาด
 แล ้วทําอย่างไรต่อ?
 ณ ขณะนี้ เราพร ้อมทีจ ่ ะเริม ่ รับฟั งแล ้ว ทัง้ นีใ้ ห ้ใช ้เวลาสักระยะหนึง่ บนย่านความถีห ่ รือความถีท ่ ี่
ต ้องการจะใช ดต่อ... ้ติ
 หากเห็นว่าความถีน ่ ัน ้ ว่างสําหรับเรา ก็ให ้สอบถามก่อนว่า ความถีถ ่ ก ู ใช ้อยูห
่ รือไม่ (‘anyone
using this frequency?) หรือ (‘is this frequency in use?’) บ ้างก็ใช ้ (‘is this frequency
clear?’) ซึง่ แบบหลังนี้ อาจทําให ้สับสนได ้ เนือ ่ งจากคําถามดังกล่าว มิได ้หมายความว่า เมือ ่
ความถีน ่ ถ ี้ กู เลิกใช ้ (clear) โดยสถานีใด สถานีหนึง่ แล ้ว ความถีน ่ ัน้ จะว่างลงจริง ดังนัน ้ ให ้
ช่วยกันค ้นหาก่อนว่า ยังมีสถานีอน ื่ ทีย่ งั คงใช ้ความถีน ่ อ ี้ ยูอ ่ ก ี หรือไม่ โดยการถามว่า ‘anyone
using this frequency?’ หรือ ‘is this frequency in use’ (‘มีทา่ นใดใช ้ความถีน ่ อ
ี้ ยู่ หรือไม่?’
หรือ ‘ความถีน ่ ถ ี้ กู ใช ้อยู่ หรือไม่?’)
 หากได ้เฝ้ าฟั งอยูเ่ ป็ นระยะเวลาหนึง่ แล ้ว บนความถีท ่ ป ี่ รากฏชัดเจนว่าว่าง โดยไร ้ข ้อสงสัยแล ้ว
เหตุใดจึงยังต ้องสอบถามไปอีกว่า มีผู ้ใดใช ้ความถีน ่ อ ี้ ยูห ่ รือไม่? (is this frequency in use?)
เหตุทต ี่ ้องถามอีก ก็เนือ ่ งจากว่า อาจมีสถานีหนึง่ ทีเ่ ป็ นคูส ่ นทนากับสถานีอน ื่ ออกอากาศอยูใ่ น
บริเวณทีก ่ ารแพร่กระจายคลืน ่ ลงมาไม่ถงึ หรือข ้ามไป (skip zone) ซึง่ เป็ นบริเวณเดียวกันกับ
สถานีเรา กรณีหมายความว่าสถานีเราจะไม่ได ้ยินสถานีนัน ้ (และสถานีนัน ้ ก็ไม่ได ้ยินเราเช่นกัน)
เนือ่ งจากอยูไ่ กลเกินไปสําหรับการแพร่กระจายคลืน ่ บนพืน ้ ผิวโลก (ground wave) และใกล ้กัน
เกินไปสําหรับการกระจายคลืน ่ ผ่านชัน ้ บรรยากาศไอโอโนสเฟี ยร์ ส่วนย่าน HF ทีส ่ งู ขึน้ ไป โดย
ปกติ ลักษณะเช่นนีจ ้ ะเป็ นการบ่งบอกว่า สถานีเหล่านัน ้ อยูห ่ า่ งจากเราไปประมาณสองสามร ้อย
กิโลเมตรเท่านัน ้ เมือ ่ ได ้ถามไปเช่นนัน ้ แล ้ว คูส ่ ถานีของเขาอาจได ้ยินแล ้วตอบมา (ว่ากําลังใช ้
ความถีอ ่ ยู)่ แต่ถ ้าเราออกอากาศไปโดยมิได ้ถามไถ่กน ั ก่อน เราก็จะกลายเป็ น QRM ได ้อย่าง
น ้อยก็กบ ั หนึง่ สถานีทก ี่ ําลังใช ้ความถีน ่ ัน้ อยู่

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 13


 หากความถีไ่ ม่วา่ ง สถานีทก ี่ ําลังใช ้ความถีอ ่ ยูจ
่ ะตอบกลับมาเองว่า ‘yes’ (‘ใช่’) หรืออย่างสุภาพ
ขึน้ ว่า ‘yes, thank you for asking’ (‘ใช่ ครับ/ค่ะ ขอบคุณทีส ่ อบถามมา’) กรณีเราต ้องหา
ความถีใ่ หม่ในการ CQ
 แล ้วถ ้าไม่มผ ี ู ้ใดตอบมาเล่า?
 ถามอีกครัง้ ว่า: ‘is this frequency in use?’
 แล ้วก็ยงั ไม่มผ ี ู ้ใดตอบมาอีก?
 ให ้เรียกขาน CQ ออกไปดังนี:้ ‘CQ from G3ZZZ, G3ZZZ calling CQ, golf three zulu zulu zulu
calling CQ and listening’ ในตอนท ้ายของประโยคอาจจะใช ้ว่า ‘…calling CQ and standing by’
แทนทีจ ่ ะเป็ น ‘…and listening’ คําว่า ‘…and standing by for any call’ ก็ใช ้ได ้เช่นกัน
 พูดให ้ชัดถ่อย ชัดคํา ออกเสียงคําทัง้ หลายให ้ถูกต ้องอยูเ่ สมอ
 ขานสัญญาณเรียกขานของตนเองออกไป 2 ถึงมากสุด 4 ครัง้ ระหว่างการ CQ
 จงใช ้การสะกดคําแทนพยัญชนะตามมาตรฐานสากล หรือ สัทอักษรสากล (ในการสะกดสัญญาณ
เรียกขานของเรา) หนึง่ หรือสองครัง้ ระหว่างการ CQ
 การ CQ แบบสัน ้ กระชับติดต่อกันหลายครัง้ จะดีกว่าแบบครัง้ เดียวแต่ยด ื ยาว
 ต ้องไม่จบการ CQ ด ้วยคําว่า ‘over’ (‘เปลีย ่ น’) เช่นดังตัวอย่างนี้ ‘CQ CQ G3ZZZ golf three zulu
zulu zulu calling CQ and standing by. Over’ คําว่า ‘Over’ แปลว่า ‘over to you’ (‘เปลีย ่ นเป็ นที
คุณบ ้าง’) เมือ ่ จบการเรียกขาน CQ แล ้ว เรายังไม่สามารถจะเปลีย ่ นไปให ้ผู ้ใดพูดต่อได ้ทัง้ นัน ้ ทัง้ นี้
่ งจากว่าเรายังติดต่อผู ้ใดไม่ได ้เลยแม ้แต่สถานีเดียว! (แล ้วจะมีผู ้ใดมารับไมโครโฟนจากเราไป
ก็เนือ
ได ้ จริงหรือไม่?)
 ต ้องไม่ลงท ้าย CQ ด ้วยคําว่า ‘QRZ’ เพราะ ‘QRZ’ แปลว่า ‘ผู ้ใดเรียกขานผม/ดิฉันมา?’ ในเมือ ่ เป็ นที่
ชัดเจนอยูแ ่ ล ้วว่า ยังไม่ปรากฏว่า มีผู ้ใดทีเ่ รียกขานเรามาก่อนทีจ ่ ะเริม ่ CQ แม ้แต่คนเดียวเลย! วิธล ี ง
ท ้าย CQ ทีผ ่ ด ้
ิ โดยสินเชิง เป็ นดังนี:้ ‘CQ 20 CQ 20 from G3ZZZ golf three zulu zulu zulu
calling CQ 20, QRZ’ หรือ ‘…calling CQ 20 and standing by. QRZ’
 ในการ CQ หากต ้องการจะรับฟั งในอีกความถีห ่ นึง่ ทีไ่ ม่ใช่ความถีท ่ ใี่ ช ้ส่ง ก็ขอให ้ ต่อท้าย CQ ใน
แต่ละครงั้ ด ้วยการแจ ้งความถีท ่ ต
ี่ นเองต ้องการรับฟั ง ตัวอย่างเช่น: ‘…listening 5 to 10 up’ หรือ
ด ้วย ‘…listening 14295’ ฯลฯ การกล่าวเพียง ‘listening up’ หรือ ‘up’ นัน ้ ไม่เพียงพอ เนือ ่ งจาก
การกล่าวเช่นนัน ้ มิได ้บ่งบอกว่าตนเองจะไปรับฟั งอยูท ่ ค
ี่ วามถีใ่ ด วิธก ี ารติดต่อรูปแบบนีเ้ รียกว่า การ
รับ/ส่งต่างความถี่ (split frequency)
 หากต ้องการจะออกอากาศด ้วยวิธ ี split frequency ให ้ตรวจสอบก่อนเสมอว่า ความถีท ี่ ้องการใช ้
่ ต
รับฟั ง ว่างอยูจ ่ ริงเช่นเดียวกับความถีท ี่ ะใช ้เรียกขาน CQ หรือไม่
่ จ
 การออกอากาศด ้วยคําว่า ‘CQ from Victor Romeo two Oscar Portable’ เป็ นสิง่ ทีข ่ าดความ
ชัดเจน อาจเป็ นได ้ทัง้ VR2OP เรียกขาน CQ โดยใช ้สัทอักษร (phonetic) ทีผ ่ ดิ หรือสถานี
VR2O/p ขณะเรียกขาน CQ อยู่ แล ้วละเลยการใช าว่า ‘stroke’ ก็เป็ นได ้ กรณีจงึ เป็ นการใช ้คําทีท
้คํ ่ ํา
ให ้เกิดความสับสนได ้มากมาย ให ้ใช ้คําว่า ‘stroke’ ไว ้เสมอ เมือ ่ เราเป็ นสถานีประเภทพกพา
(portable) หรือสถานีเคลือ ่ นที่ (mobile) ฯลฯ

II.8.2. ‘CQ DX’ หมายถึงอะไร?


 หากต ้องการติดต่อกับสถานี DX หรือสถานีโพ ้นทะเล ให ้เรียกขานว่า ‘CQ DX’
 DX คืออะไร?
 ในย่าน HF: คือ บรรดดาสถานีทอ ี่ ยูต
่ า่ งทวีป หรือ สถานีของประเทศทีม ่ ก
ี จิ กรรมวิทยุสมัครเล่นอยู่
อย่างจํากัด (เช่น Mount Athos, Order of Malta ฯลฯ ในทวีปยุโรป)
 ในย่าน VHF-UHF: คือ สถานีทห ี่ า่ งออกไปเกินกว่า 300 กม. โดยประมาณ
 ระหว่างทีเ่ รียกขาน CQ อยู่ เราสามารถเจาะจงได ้ว่า ต ้องการติดต่อกับสถานี DX เท่านัน ้ ดังนี:้ ‘CQ
DX, outside Europe, this is…’ (‘ซีควิ ดีเอกซ์ นอกยุโรป นีค ่ อ
ื ...’)
 เอือ ้ อาทรกัน (be obliging): บางครัง้ อาจมีสถานีหนึง่ สถานีใด ของประเทศหรือท ้องถิน ่ ใกล ้เคียงที่
ยังใหม่อยู่ ขานตอบมา หลังจากทีเ่ ราเรียกขาน CQ DX ไป และสถานีเราอาจจะเป็ น ประเทศใหม่

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 14


้ ก็ได ้ แล ้วเหตุใดจะไม่ขานตอบไปแบบรวบรัดสักหน่อยหรือ? (ผู ้เขียนกล่าวเป็ นนัย
สําหรับสถานีนัน
ว่า ควรขานตอบไปเพือ่ เป็ นการรักษานํ้ าใจและเอือ
้ อาทรกัน แม ้ว่าผู ้เรียกขานเข ้ามานัน
้ จะไม่ได ้
ปฏิบตั ต
ิ ามกฎเกณฑ์ทเี่ รากําหนดไว ้ ก็ตาม)

II.8.3. เรียกขานสถานีหนึง่ เป็นการเฉพาะ


 เมือ ่ ต ้องการจะเรียกขานสถานี DL1ZZZ ผู ้ซึง่ ไดนั้ ดหมาย กันไว ้แล ้ว (schedule, rendez-vous)
เหล่านี้ คือคําทีค
่ วรจะต ้องเรียกขานออกไป: ‘DL1ZZZ, DL1ZZZ this is G3ZZZ calling on sked
and listening for you’ (‘DL1ZZZ, DL1ZZZ นีค ่ อ ื G3ZZZ เรียกขานตามนัด และกําลังรอฟั งท่าน
อยู’่ )
 ถึงแม ้ว่าการเรียกขานเช่นนัน ้ จะเป็ นแบบเจาะจงก็ตาม หากมีบางสถานีขานตอบหรือเรียกขานเข ้ามา
ก็ขอให ้คงความสุภาพไว ้ โดยรายงานการรับฟั งกลับไปอย่างรวบรัดและแจ ้งสถานีนัน ้ ไปว่า ‘sorry, I
have a sked with DL1ZZZ…’ (‘ขออภัย ผม/ดิฉัน มีนัดเรียกขานกับ DL1ZZZ อยู่ ครับ/ค่ะ…’)

II.8.4. ทาการติดต่อสอ ื่ สารประเภทเสย ี งก ันอย่างไร?


 สมมติวา่ สถานีเราได ้รับการขานตอบกลับจากการ CQ มา เช่น: ‘G3ZZZ from W1ZZZ, whisky
one zulu zulu zulu is calling you and listening’ หรือ ‘G3ZZZ from W1ZZZ, whisky one zulu
zulu zulu over’
 ดังได ้อธิบายไว ้ในตอนต ้นแล ้วว่า เหตุใดจึงไม่ให ้จบการเรียกขาน CQ ด ้วยคําว่า ‘over’ (§ II.8.1)
เมือ
่ สถานีใดสถานีหนึง่ ขานตอบ CQ มา แสดงว่าสถานีนัน ้ ต ้องการส่งไมโครโฟนกลับให ้เรา (ขอ
คําตอบจากเรา) ซึง่ หมายความว่า สถานีทข ี่ านตอบ CQ มานัน ้ สามารถจบข ้อความของเขาด ้วยคํา
ว่า ‘over’ ได ้ (เปลีย ่ นเป็ นทีเรากดคียบ ์ ้าง)
 หากมีสถานีใดตอบ CQ มา สิง่ แรกทีเ่ ราต ้องกระทําคือ ขานสัญญาณเรียกขานของสถานีนัน ้ ก่อน
(แล ้วตามด ้วยของเรา) จากนัน ้ รายงายงานการรับฟั ง แล ้วแจ ้งชือ ่ และสถานทีอ ่ อกอากาศ (QTH-
location) ของสถานีเราไป: ‘W1ZZZ from G3ZZZ (ระวัง เรียงลําดับให ้ถูก) thanks for your call,
I am receiving you very well, readability 5 and strength 8 (ปกติดจ ู าก S-meter ทีห ่ น ้าจอ
เครือ่ งวิทยุฯ). My QTH is London and my name is John’ (ไม่ใช่ ‘ชือ ่ ตัว’ หรือ ‘เรือ
่ งของส่วนตัว’

หรือ ‘ชือแรก’’ ในทีน ่ จ ี้ ะไม่มส ่ ่
ี งทีเ่ ป็ น ชือตนเอง หรือ ชือทีไ่ ม่ใช่ของตนเอง) ‘How do you copy
่ ิ
me? W1ZZZ from G3ZZZ. Over’ (‘รับฟั งได ้เป็ นเช่นไร? W1ZZZ จาก G3ZZZ เปลีย ่ น’)
 ถ ้าเราขานตอบ สถานีทก ี่ ําลังเรียกขาน CQ (หรือ QRZ) อยู่ ให ้ขานสัญญาณเรียกขานของสถานีนัน ้
ไปเพียงครัง้ เดียวเท่านัน ้ และจะเป็ นการดียงิ่ กว่า ถ ้าไม่ต ้องขานออกไปเสียเลย ทัง้ นีเ้ นือ ่ งจากผู ้ที่
กําลังออกอากาศอยูข ่ ณะนัน ้ ย่อมทราบสัญญาณเรียกขานของตนเองดีอยูแ ่ ล ้ว ส่วนในการแข่งขัน
(§ II.8.6) ต ้องไม่ขานสัญญาณเรียกขานของสถานีทเี่ ราจะตอบ CQ ไปโดยเด็ดขาด (never)
 ในการติดต่อสือ ่ สารประเภทเสียง คูส ่ ถานีจะแลกรายงานการรับฟั งกัน รายงานความชัดเจนของเสียง
(Readability) และความแรงหรือความเข ้มของสัญญาณ (Strength)
 ดังทีไ่ ด ้กล่าวมาแล ้วว่า จะต ้องไม่ใช ้ รหัสคิว (Q Code) มากจนเกินความจําเป็ นในการติดต่อสือ ่ สาร
ประเภทเสียง แต่หากจะต ้องการใช ้ จงใช ้ให ้ถูกต ้อง QRK คือ ความชัดเจนของสัญญาณ
เช่นเดียวกันกับ R ในระบบรายงานแบบ RS ส่วน QSA หมายถึง ความแรงหรือความเข ้มของ
สัญญาณ เช่นเดียวกับ S ในรายงาน RS
 สิง่ เดียวทีแ ่ ตกต่างกันก็คอ ื ช่วงของ S ในรายงานแบบ RS มีตงั ้ แต่ระดับ 1 ถึง 9 ส่วน QSA เริม ่
จากระดับ 1 ไปถึง 5 เท่านัน ้
 ดังนัน ้ ต ้องไม่รายงานไปว่า ‘you’re QSA 5 and QRK 9’ (ซึง่ บางครัง้ เราจะได ้ยิน) แต่หาก
ต ้องการใช ้ Q Code ก็ให ้ใช ้ว่า ‘you’re QRK 5 and QSA 5’ แน่นอน และจะง่ายขึน ้ ถ ้าจะใช ้
เพียงว่า ‘you’re 5 and 9’ ส่วนใน CW การใช ้ QRK และ QSA แทบจะไม่หลงเหลืออยูอ ่ ก
ี ต่อไป
แล ้ว ส่วนใหญ่ใช ้รายงานแบบ RST แทน (§ II.9.6)

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 15



ความชดเจน ั
ความแรงของสญญาณ
R1 รับไม่ได ้ S1 สัญญาณเบาบางรับเกือบไม่ได ้
R2 รับเกือบไม่ได ้ S2 สัญญาณอ่อนมาก
R3 รับได ้ลําบาก S3 สัญญาณอ่อน
R4 รับได ้ไม่มป
ี ั ญหา S4 สัญญาณมาดีปานกลาง
R5 รับได ้สมบูรณ์แบบ S5 สัญญาณมาดีพอสมควร
S6 สัญญาณมาดี
S7 สัญญาณมาแรงพอควร
S8 สัญญาณมาแรง
S9 สัญญาณมาแรงมาก

 การใช ้คําว่า ‘over’ (‘เปลีย ่ น’) ในตอนท ้ายของการหมดข ้อความคือสิง่ ที่ แนะนํ าให ้ถือปฏิบต ั ิ แต่ก็
ไม่ถงึ กับต ้องถือปฏิบต ั โิ ดยไม่มข ี ้อยกเว ้น เนือ่ งจาก ในทางปฏิบตั ิ การติดต่อกันในแต่ละ QSO
อาจจะมีการกดคียห ์ รือเปลีย ่ นสลับไปมากันบ่อยครัง้ ‘Over’ ย่อมาจาก ‘over to you’
 เมือ
่ สัญญาณไม่คอ ่ ยแรงนัก และหากความชัดเจนของสัญญาณก็ไม่ดส ี มบูรณ์แบบด ้วยเช่นกัน เราก็
สามารถสะกดชือ ่ ของเราและข ้อมูลอืน ่ ได ้ ตัวอย่างเช่น: ‘My name is John spelled juliett, oscar,
hotel, november…’ จงอย่าพูดว่า ‘juliett juliett, oscar oscar, hotel hotel, november
november’ แบบนีถ ื ว่า ไม่ใช่ การสะกดชือ
้ อ ่ ของ John
 ส่วนใหญ่ของการ QSO แบบสันกระชับ ทีเ่ รียกกันว่า rubber stamp QSOs (แปลตรงตัวว่า

ติดต่อกันแบบประทับตรายาง) นักวิทยุสมัครเล่นมักให ้รายละเอียดเกีย ่ วกับสายอากาศ และบ่อยครัง้
จะแลกเปลีย ่ นข ้อมูลอืน ่ กันด ้วย อย่างเช่น ข ้อมูลสภาพอากาศ (เกีย ่ วกับการกระจายคลืน ่ ของ VHF
และทีส ่ งู กว่า) ตามกฎ กติกาแล ้ว สถานีทอ ี่ ยูบ่ นความถีม ่ าก่อน (เช่น สถานีทเี่ รียกขาน CQ อยู)่
ควรจะเป็ นผู ้เริม ่ ต ้นหัวข ้อหรือประเด็นสนทนา บางครัง้ สถานีดังกล่าวอาจต ้องการให ้เป็ นเพียงการ
ติดต่อกันในแบบกระชับ จึงแค่ทักทายแล ้วก็บอกลาไป
 ใช ้ศัพท์เฉพาะทาง (terminology) ให ้ถูกต ้อง เมือ ่ อธิบายเรือ ่ งสถานีของตนเอง ต ้องไม่แจ ้งไปว่า ‘I
am working with 5 whisky…' (ผม/ดิฉันกําลังออกอากาศด ้วยกําลังส่ง 5 วิสกี)้ สิง่ นีม ้ ใิ ช ้คํา
มาตรฐานของวิทยุสมัครเล่น พูดให ้ง่าย เพียงว่า ‘I am running 5 watts’ (ผม/ดิฉันกําลัง
ออกอากาศด ้วยกําลังส่ง 5 วัตต์)
 แม ้ว่า ในระหว่างการติดต่อกันตามแบบทีย ่ ด
ึ ถือปฏิบต ั ก ั มาซึง่ ไม่คอ
ิ น ่ ยจะถูกต ้องนัก (stereotype
QSO) เราจะเห็นว่า บ่อยครัง้ ข ้อสนทนากันในเรือ ่ งเทคนิคจะถูกหยิบยกขึน ้ มา และมีการแลกเปลีย ่ น
ผลการค ้นคว ้า ทดสอบทดลองกัน คล ้ายกับการสนทนากันในงานพบปะสังสรรค์ (eyeball
conversations) และ ถือเป็ นสิง่ ทีม ่ ป
ี ระโยชน์ ควรค่าจะนํ ามากล่าว ณ ทีน ่ ดี้ ้วยว่า มิตรภาพอันมาก
ล ้นทีถ่ กู หล่อหลอมให ้เกิดขึน ้ เป็ นผลมาจากการติดต่อกันบนความถี่ (radio contacts) ของบรรดา
นักวิทยุสมัครเล่น (hams) งานอดิเรกชนิดนีค ้ อื ผู ้สร ้างการเชือ ่ มต่อทีแ ่ ท ้จริงระหว่าง สังคม
วัฒนธรรม และความศิวไิ ลซ์!
 หากเราประสงค์จะ QSL กัน (แลกการ์ดยืนยันการติดต่อกัน) ก็ให ้แจ ้งไปว่า: ‘Please QSL, I will
send my card to you via the QSL bureau and would appreciate your card as well’ (‘โปรด
ยืนยันการติดต่อด ้วย ผม/ดิฉันจะจัดส่งการ์ดผ่านไปทาง QSL Bureau และจะยินดีเป็ นอย่างยิง่ กับ
การได ้รับการ์ดจากท่าน’) QSL คือ แผ่นกระดาษรายงานการติดต่อทีม ่ ข ี นาดเท่าไปรษณียบัตร
(post card)
 QSL การ์ด อาจส่งให ้ผู ้รับโดยตรงทางไปรษณีย ์ หรือ ส่งผ่าน QSL Bureau (หน่วยจัดส่ง QSL
การ์ด) เกือบในทุกสังคมของวิทยุสมัครเล่นทีเ่ ป็ นสมาชิกของ IARU จะมีการแลกเปลีย ่ น QSL การ์ด
กันสําหรับสมาชิก บางสถานี QSL กัน โดยผ่าน ผู ้จัดการ QSL ซึง่ เป็ นผู ้รับหน ้าทีใ่ นการจัดส่ง QSL
cards ทางไปรษณียใ์ ห ้กับนักวิทยุสมัครเล่น สําหรับรายละเอียดเรือ ่ งนีส ้ ามารถค ้นดูได ้ในหลาย
เว็บไซต์ทเี่ กีย ่ วข ้อง

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 16


 จริยธรรม (ethics) กําหนดให ้นักวิทยุสมัครเล่น ควรเต็มใจในการแลกเปลีย ่ น QSL การ์ดกันโดย
ปราศจากการเรียกร ้องเงินทอง เว ้นแต่ เป็ นค่าไปรษณียากร กรณีสง่ ตรง (บางราย แนบมาพร ้อมกับ
QSL card เป็ นธนบัตร ดอลล่าสหรัฐ หรือทีเ่ รียกว่า Green stamp)
 เพือ่ จบหรือยุตก ิ ารติดต่อ (QSO): ขอให ้แจ ้งไปว่า ‘W1ZZZ, this is G3ZZZ signing with you and
listening for any other calls’ (‘W1ZZZ, ผม/ดิฉัน G3ZZZ ขอจบการติดต่อกับคุณเพียงนีก ้ อ
่ น
ครับ/ค่ะ และจะขอรับฟั งการเรียกขานจากสถานีอน ื่ ต่อไป’) หรือหากเราคิดจะหยุดออกอากาศด ้วย ก็
ให ้ต่อด ้วยคําว่า ‘…and closing down the station’ (‘...และขอปิ ดสถานี’)
 อาจเพิม ่ คําว่า ‘out’ ในตอนท ้ายก่อนหยุดออกอากาศ ซึง่ เป็ นการบ่งบอกว่าสถานีเราขอหยุด
ออกอากาศ และจงอย่าใช ้คําว่า ‘over and out’ เนือ ่ งจาก ‘over’ หมายถึงเปลีย่ นให ้คูส
่ ถานีพดู ต่อ
และในกรณีนี้ เราจะไม่มค ี ส
ู่ ถานีอน
ื่ อีกต่อไปแล ้ว!

การติดต่อแบบ SSB สาหร ับผูเ้ ริม


่ ต้น (beginner)

Is this frequency in use? This is W1ZZZ


Is this frequency in use? This is W1ZZZ
CQ CQ CQ from W1ZZZ whiskey one zulu zulu zulu calling CQ and listening
W1ZZZ from ON6YYY Oscar november six yankee yankee yankee calling and standing by

ON6YYY from W1ZZZ, good evening, thanks for your call, you are 59. My name is Robert, I
spell Romeo Oscar Bravo Echo Romeo Tango and my QTH is Boston. How copy? ON6YYY
from W1ZZZ. Over.

W1ZZZ from ON6YYY, good evening Robert, I copy you very well, 57, readability 5 and
strength 7. My name is John, Juliette Oscar Hotel November, and my QTH is near Ghent.
Back to you Robert. W1ZZZ from ON6YYY. Over.

ON6YYY from W1ZZZ, thanks for the report John. My working conditions are a 100 Watt
transceiver with dipole 10 meter high. I would like to exchange QSL cards with you, and will
send you my card via the bureau. Many thanks for the contact, 73 and see you soon again,
I hope. ON6YYY from W1ZZZ.

W1ZZZ from ON6YYY, all copy 100%, on this side I am using 10 Watt with an inverted-V
antenna with apex of 8 meter. I will also send you my QSL card via the bureau, Robert. 73
and hope to meet you again soon. W1ZZZ from ON6YYY clear with you.

73 John and see you soon from W1ZZZ now clear (…and listening for any station calling)

II.8.5. การสล ับไปมาอย่างรวดเร็ ว


 หากได ้สัมผัสกับการสนทนาทีต ่ อบโต ้กันไปมาแบบฉั บไว ทีเ่ ป็ นการออกอากาศแบบกระชับ ก็ไม่
จําเป็ นต ้องระบุตัวตน (identify) ในทุกครัง้ ทีม ี าร over (เปลีย
่ ก ่ น) แต่จะต ้องขานสัญญาณเรียกขาน
อย่างน ้อยทุก 5 นาที (ในบางประเทศ ทุก 10 นาที) รวมทัง้ ขณะเมือ ่ เริม
่ ต ้นและจบการ QSO ด ้วย
 เราสามารถเปลีย ่ ถานีโต ้ตอบกับเราด ้วยการใช ้คําธรรมดาว่า ‘over’ ซึง่ แปลว่า เรายืน
่ นให ้คูส ่
ไมโครโฟนให ้คูส ่ ถานีเพือ ้ ด ้วยหากจะหยุดไว ้ชัว่ ขณะแทนการ
่ ขานตอบเรา กรณีจะทําให ้เร็วยิง่ ขึน
กล่าวคําว่า เปลีย ่ น หากหยุดเกิน 1 หรือ 2 วินาที คูส ่ ถานีก็จะทราบได ้เอง (ว่าเราเปลีย ่ น) และจะกด
คียอ์ อกอากาศต่อไป

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 17


II.8.6. ออกอากาศอย่างไรในการแข่งข ันประเภทเสย ี ง
 การแข่งข ันวิทยุสม ัครเล่น หรือทีเ่ รียกว่า Contest เป็ นคําทีใ่ ช ้สําหรับการแข่งขันวิทยุสมัครเล่น
ในหมูน ่ ักวิทยุสมัครเล่น (ทัว่ โลก)
 การแข่งข ัน (contest) คืออะไร? คือ เรือ ่ งทีเ่ กีย่ วกับการแข่งขันของวิทยุสมัครเล่น (Ham
Radio)
 เหตุใดต้องมีการแข่งข ันก ัน? เนือ ่ งจาก จะทําให ้สามารถวัดสมรรถนะ (performance) ของสถานี
และสายอากาศ รวมทัง้ สมรรถนะของบุคคลผู ้นัน ้ ในฐานะนักวิทยุประจําสถานี (Operators) ด ้วย
ดังเช่น ทีช ่ าวอังกฤษผู ้หนึง่ ได ้กล่าวเป็ นสํานวนไว ้ว่า The proof of pudding is in the eating ซึง่
มีความหมายว่า สิง่ เดียวทีจ ่ ะใช ้พิสจ ุ ภาพของสิง่ ของได ้ก็คอ
ู น์คณ ื เมือ่ ได ้ทดลอง ได ้ใช ้ หรือได ้
สัมผัสดูกอ ่ นแล ้ว เท่านัน ้ (ซึง่ ถ ้าแปลตามตัวอักษร ก็จะเป็ นว่า เครือ ่ งตรวจพิสจ ู น์ขนมพุดดิงอยูท ่ ก
ี่ าร
รับประทาน)
 จะเป็นน ักแข่งข ันทีด ่ ไี ด้อย่างไร? ผู ้แข่งขันระดับแชมป์ จะเริม ่ ต ้นจากการแข่งขันในระดับท ้องถิน ่
ก่อน เช่นเดียวกับทีใ่ ช ้ถือปฏิบต ั ก
ิ น
ั ในกีฬาทุกประเภท ผู ้ทีจ ่ ะเป็ นผู ้ชนะเลิศการแข่งขัน (champion)
ได ้ ก็ต ้องผ่านการฝึ กซ ้อมมาอย่างโชกโชนก่อน
 มีการแข่งข ันก ันมากหรือไม่? การแข่งขันมีทก ุ สัปดาห์ ในหนึง่ ปี มม ี ากกว่า 200 รายการ แต่จะมี
เพียง 20 รายการ เท่านัน ้ ทีเ่ ป็ นรายการสําคัญในระดับสากล (เทียบได ้เหมือนกับการแข่งขันรถฟอร์
มุลา่ วัน: F-1)
 ปฏิทน ิ การแข่งข ัน (Contest Calendar) ดูได ้จาก
http://www.ng3k.com/Contest/index.html
 ในรายการแข่งขันเกือบทัง้ หมด ผู ้เข ้าร่วมแข่งขันต ้องติดต่อให ้ได ้จํานวนสถานีมากทีส ่ ด ุ เท่าทีจ ่ ะ
กระทําได ้ เช่น กับประเทศ (หรือรัฐ จังหวัด หรือโซน ฯลฯ) ทีแ ่ ตกต่างกันไปเท่าทีจ ่ ะเป็ นไปได ้:
เงือ่ นไขดังกล่าวจะเป็ น ต ัวคูณ (Multipliers) ทีจ ่ ะนํ าไปประกอบกับจํานวนสถานีทต ี่ ดิ ต่อได ้ใน
การคิดคะแนนทีผ ่ ู ้เข ้าร่วมแข่งขันจะได ้รับ การแข่งขันรายการใหญ่ระดับสากลจะใช ้เวลา 24-48
ชัว่ โมง การแข่งขันย่อยบางรายการอาจใช ้เวลาและสิน ้ สุดลงเพียง 3-4 ชัว่ โมง เท่านัน ้ การแข่งขัน
จึงมีให ้เลือกหลากหลาย
 การแข่งขันจัดขึน ้ ในความถีต ่ งั ้ แต่ยา่ น HF จนถึง SHF
 จะไม่มก ี ารแข่งขันในย่านความถีท ่ เี่ รียกว่า WARC bands ได ้แก่ 10, 18 และ 24 MHz เนือ ่ งจากใน
ย่านความถีเ่ หล่านีม ้ ชี ว่ งความถี่ (band width) ทีใ่ ช ้ได ้แคบมาก การแข่งขันในย่านความถีด ่ ังกล่าว
จะทําให ้มีความแออัดมากเกินไป เป็ นผลให ้เกิดความไม่สะดวกและอาจสร ้างความรําคาญใจให ้กับ
ผู ้อืน
่ ทีป่ ระสงค์จะใช ้ความถีใ่ นย่านนี้ ในขณะนัน ้ ด ้วย
 ในการแข่งขันใดก็ตาม การติดต่อทีจ ่ ะทําให ้ได ้คะแนน (valid QSO) จะต ้องมีการแลกเปลีย ่ น
สัญญาณเรียกขาน (call sign) การรายงานการรับฟั ง และบ่อยครัง้ ทีก ่ ําหนดให ้แลกเปลีย ่ นเลข
ลําดับการติดต่อ (Serial number หรือ Radio Zone, Locator, อายุ ฯลฯ)
 การออกอากาศแข่งขัน (CQ contest) จะเกีย ่ วข ้องกับ ความเร็ ว ประสท ิ ธิภาพ และ ความ
ถูกต้องแม่นยา ผู ้เข ้าแข่งขันจะต ้องแจ ้ง เฉพาะในสิง่ ทีถ ่ ก
ู กําหนดไว ้อย่างเคร่งครัดและถูกต ้อง
เท่านัน ้ กรณีมใิ ช่เวลาทีจ ่ ะต ้องมาแสดงภูมวิ า่ เป็ นผู ้มีการศึกษาดี และการใช ้คําว่า thank you
(ขอบคุณ) 73, see you later (แล ้วพบกันใหม่) ฯลฯ ล ้วนเป็ นคําพูดทีท ่ ําให ้เสียเวลาโดยเปล่า
ประโยชน์ทงั ้ สิน ้
 สําหรับผู ้ทีย ่ งั ใหม่ตอ ่ การแข่งขัน ขอแนะนํ าให ้ไปร่วมสังเกตการณ์หรือพบปะกับผู ้เข ้าแข่งขันใน
ขณะทีก ่ ําลังมีการแข่งขันกันอยู่ เราสามารถเริม ่ ในก ้าวแรกของการแข่งขันโดยเข ้าไปมีสว่ นร่วมใน
สมาคม/ชมรม ในท ้องถิน ่ ของเรา ขณะทีม ่ ก
ี ารแข่งขัน เช่น Field Day Contest
 หากเมือ ่ ได ้ตัดสินใจจะลองลงแข่งขันเป็ นครัง้ แรก ให ้เริม ่ ต ้นด ้วยการฟั งก่อนประมาณครึง่ ชัว่ โมง (ยิง่
นานยิง่ ดี) เพือ ่ ให ้ทราบถึงสิง่ อันเป็ นปกติทต ี ้องพึงปฏิบต ั ิ (routine) ค ้นหาและกําหนดขัน ้ ตอนที่
ถูกต ้องเพือ ่ ให ้เกิดความรวดเร็วในการติดต่อ ให ้ระลึกไว ้เสมอว่าทัง้ หมดทีจ ่ ะได ้ยินได ้ฟั ง ใช่วา่ จะ
เป็ นตัวอย่างทีด ่ เี สมอไป ข ้อผิดพลาดทีเ่ กิดอยูเ่ ป็ นปกติ 2-3 ตัวอย่าง ผู ้เขียนจะได ้นํ ามากล่าวต่อไป

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 18


 ตัวอย่างในการใช ้คําอันหนึง่ ทีถ ่ อ ื ว่ามีประสิทธิภาพสมบูรณ์สําหรับการแข่งขันคือ ‘G3ZZZ, Golf
Three Zulu Zulu Zulu Contest’ เรียกขานไป 2 ครัง้ เสมอ โดยออกคําสะกดแบบโฟเนติก
(phonetic) หรือ สัทอักษรหนึง่ ครัง้ เว ้นแต่วา่ กําลังโดนรุมเรียกขานอยู่ (pile up) ก็ให ้ขานสัญญาณ
เรียกขานสถานีเราไปเพียงครัง้ เดียวโดยไม่ต ้องตามด ้วยการสะกดแบบโฟเนติกทุกครัง้ ไปก็ได ้
(forget about spelling it out every time) เหตุทต ี่ ้องลงท ้ายด ้วยคําว่า contest (ออกเสียงว่า ค ัน
เทสทึ) ในการ CQ แข่งขัน ก็เนือ ่ งจากว่า หากมีสถานีใดสถานีหนึง่ ปรับเปลีย ่ นความถีผ ่ า่ นเข ้ามา
แล ้วได ้ยินเข ้า สถานีดังกล่าวจะได ้ทราบว่า ขณะนีก ้ ําลังมีการออกอากาศแข่งขันกันอยูใ่ นความถีน ่ ี้
หากไม่จบด ้วยคําว่า contest เพราะเห็นว่าเป็ นสิง่ ไม่สําคัญแล ้ว สมมติวา่ เมือ ่ มีสถานีหนึง่ ผ่านเข ้ามา
ในความถีแ ่ ละได ้ยินเข ้า (โดยแทนทีเ่ ราจะจบด ้วยคําว่า contest) โดยสถานีนัน ้ ต ้องการจะลง Log
กับสถานีทเี่ รียกขาน contest อยู่ แต่ไม่ทราบว่าสถานี contest อยูน ่ ัน ้ กําลังออกอากาศแบบใด
เป็ นแบบทัว่ ไป หรือ แบบเข ้าร่วมแข่งขัน สถานีดังกล่าว ก็จะต ้องรอการเรียกขานของสถานี contest
อีกรอบหนึง่ เพือ ่ ให ้แน่ใจว่าสถานีทต ี่ นเองได ้ยินครัง้ แรกออกอากาศแบบใด ซึง่ จะเป็ นการทําให ้
เสียเวลาโดยใช่เหตุ กรณีจงึ เป็ นเหตุผลว่า เหตุใดจึงต ้องลงท ้ายด ้วยคําว่า contest ขณะที่ CQ
แข่งขัน
 สถานีทเี่ รียกขานเข ้ามา ควรแจ ้งสัญญาณเรียกขานของตนเองเพียงครัง้ เดียวด ้วย เช่นกัน
ตัวอย่างเช่น ‘golf three x-ray x-ray x-ray’ หากสถานีทก ี่ ําลังเรียกขาน contest ไม่ขานตอบ
กลับไปภายในหนึง่ วินาที สถานีนัน ้ ก็ควรจะเรียกขานกลับไปอีกเพียงครัง้ เดียวเท่านัน ้ (just once)
 แต่ถ ้าเมือ ่ รับฟั ง (copy) สัญญาณเรียกขานสถานีนัน ้ ได ้ สถานี (ผู ้ CQ contest) จะต ้องตอบกลับไป
ทันทีวา่ ‘G3XXX 59001’ หรือแม ้แต่แบบสัน ้ และเร็วกว่านัน ้ : ‘G3XXX 591’ (ควรตรวจสอบก่อนว่า มี
การอนุญาตให ้แจ ้งแบบกระชับโดยตัดเลขศูนย์ข ้างหน ้าออกได ้หรือไม่ด ้วย) ในการแข่งขันส่วนใหญ่
คูส
่ ถานีต ้องแลกเปลีย ่ นรายงานสัญญาณแบบ RS (เช่น 59) และเลขลําดับการติดต่อ (serial
number เช่น 001 หรือ 1) เพียงเท่านีก ้ ็ถอ ื ว่า เป็ นการสิน ้ สุดการติดต่อทีส ่ มบูรณ์ ครบถ ้วนแล ้ว ส่วน
อืน่ นอกจากนี้ ถือว่าไม่จําเป็ นต ้องบอกกล่าวเพิม ่ เติม (ให ้เสียเวลา)
 หากสถานีเรา (G3ZZZ) รับสัญญาณเรียกขานสถานีนัน ้ ได ้บางส่วน (เช่น ON4X..) ให ้ตอบกลับไป
ดังนี้ ‘ON4X 59001’ อย่าตอบไปว่า ‘QRZ ON4X’ หรืออย่างอืน ่ เมือ ่ เราได ้รับทราบตัวตน (สัญญาณ
เรียกขานบางส่วน) ของสถานีนัน ้ แล ้ว ให ้เดินหน ้าต่อไปกับส่วนทีร่ ับมาเลย การใช ้คําอืน ่
นอกเหนือจากนี้ จะทําให ้เสียเวลาไปโดยเปล่าประโยชน์ และด ้วยการเป็ นนักวิทยุสมัครเล่นประจํา
สถานีทด ี่ ี (Being a good operator) ON4XXX ก็จะตอบกลับมาด ้วยข ้อความว่า ‘ON4XXX x-ray
x-ray x-ray, you are 59012’ (โดย “ยํ้า" สัญญาณเรียกขานส่วนทีถ ่ กู ต ้องครบถ ้วนกลับมาให)้
 จงอย่าไปพูดว่า ‘ON4XXX please copy 59001’ หรือ ‘ON4XXX copy 59001’ ซึง่ ถือเป็ นคําทีใ่ ช ้
ไม่ได ้ (bad) พอกันทัง้ สองแบบ (equally bad) คําว่า ‘please copy’ หรือ ‘copy’ ไม่ได ้ให ้
ความหมายอะไร (ทีเ่ ป็ นประโยชน์) เพิม ่ ขึน ้ เลย
 ด ้วยการเป็ นผู ้เข ้าร่วมแข่งขันทีม ่ ป ี ระสบการณ์ ON4XXX ก็จะตอบกลับมาว่า: ‘59012’ และหากรับ
การรายงาน (copy report) ของเราไม่ได ้ เขาก็จะขาน (กลับ) มาว่า ‘report again’ หรือ ‘please
again’ (‘รายงานอีกครัง้ ’ หรือ ‘ขอใหม่อก ี ครัง้ ครับ/ค่ะ’)
 ทัง้ หมดหมายความว่า ไม่วา่ จะเป็ นคําว่า ‘thanks 59012’ หรือ ‘QSL 59012’ ‘roger 59012’ ส่วน
ใหญ่มก ั จะเป็ นคําพูดทีม ่ าจาก ผู ้ทีย ่ งั ขาดประสบการณ์ในการแข่งขัน (less experienced
contesters) ทัง้ สิน ้
 ส่วนเหลือทีต ่ ้องเดินหน ้าต่อไปก็คอ ื ยุตห ิ รือจบการติดต่อ โดยให ้ใช ้คําว่า ‘thanks G3ZZZ contest’
(คําว่า thanks สัน ้ กว่าและเร็วกว่า thank you) ด ้วยการขานแบบนีเ้ ราจะได ้ 3 สิง่ ทีช ่ ด ั เจน คือ 1)
ได ้จบการติดต่อ (ด ้วยคําว่า thanks) 2) ได ้แจ ้งสัญญาณเรียกขานของเราให ้สถานีทก ี่ ําลังรอติดต่อ
เราอยูท ่ ราบ (G3ZZZ) และ 3) ได ้ CQ ต่อ (ด ้วยคําว่า contest) ทีส ่ ด ุ แห่งประสิทธิภาพก็จะบังเกิด!
 จงอย่าจบการติดต่อด ้วยคําว่า ‘QSL QRZ’ เพราะเหตุใดรึ? คําว่า ‘QSL QRZ’ มิได ้บ่งบอกอะไรที่
เกีย ่ วกับตัวเราเลย และเนือ ่ งจากเราต ้องการให ้ ผู ้ทีเ่ ข ้ามาบนความถีท ่ เี่ ราใช ้ออกอากาศอยู่ ได ้ทราบ
ในตอนท ้ายของข ้อความ (QSO) ว่าเราคือใครและกําลัง CQ เพือ ่ การแข่งขันอยู่ มิใช่ร?ึ ดังนัน ้ ให ้

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 19


จบข ้อความด ้วยคําว่า ‘thanks G3ZZZ contest’ (หรือ ‘QSL G3ZZZ contest’) หรือหากเรารีบมาก
ก็แจ ้งไปเพียงว่า ‘G3ZZZ contest’ (แบบนีอ ้ าจนํ าไปสูค่ วามสับสนหรือความไม่เป็ นมิตรต่อกันได ้)
‘QSL’ หมายความว่า ผม/ดิฉัน ยืนยันข ้อความความ จงอย่าขานคําว่า ‘QRZ’ เพราะเป็ นคําทีม ่ ี
ความหมายว่า ‘who call me’ (‘ท่านใดกําลังเรียกขานผม/ดิฉัน’) เว ้นแต่เสียว่า ขณะนัน ้ มีหลาย
สถานีเรียกขานเข ้ามาพร ้อมกันขณะทีเ่ ราขานตอบ G3XXX ไป
 แน่นอน อาจจะมีการใช ้คําพูดทีม ่ แ
ี บบอย่างแตกต่างกันออกไปบ ้าง แต่ทส ี่ ําคัญต่อเรือ่ งนีก
้ ็คอื :
ความเร็ว ประสิทธิภาพ ความถูกต ้องแม่นยํา และการใช ้ Q code ทีถ ่ ก
ู ต ้อง
 นักวิทยุสมัครเล่นประจําสถานีแข่งขัน (contest operators) ส่วนมาก มักใช ้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
บันทึกการติดต่อหรือลง log ดังนัน ้ ควรทดสอบอย่างละเอียดรอบคอบ และทดลองใช ้โปรแกรม
เหล่านัน ่ ให ้แน่ใจว่า สามารถใช ้งานได ้จริงในวันแข่งขัน
้ เสียก่อน เพือ
 นอกเหนือจากการเรียกขาน CQ ในการแข่งขัน เพือ ่ ให ้ได ้จํานวนการติดต่อจํานวนมากสุดแล ้ว เรายัง
สามารถค ้นหาสถานีอน ื่ ในย่านความถีท ่ ัง้ หลาย (bands) ทีใ่ ช ้แข่งขันเพือ ่ เพิม ่ ตัวคูณ (multipliers)
หรือ ค ้นหาสถานีทเี่ รายังไม่เคยติดต่อได ้มาก่อน ในแบบทีเ่ รียกว่า ค ้นหาแล ้วคว ้าไว ้ (search and
pounce) แล ้วจะกระทําได ้อย่างไร? สิง่ แรก ต ้องให ้แน่ใจก่อนว่า ความถีข ่ องเราและของสถานีนัน ้
ตรงกันอย่างสมบูรณ์ หรือทีเ่ รียกกันว่า Zero beat (ดูทฟ ่ RIT) เสียก่อน จากนัน
ี่ ั งชัน ้ เรียกขานไป
โดยขานสัญญาณเรียกขานเราเพียง ครงเดี ั้ ยว และต ้องไม่เรียกขาน เช่นนี้ ‘DL1ZZZ from G3ZZZ’
เนือ
่ งจาก DL1ZZZ ทราบสัญญาณเรียกขาน ตนเอง ดีอยูแ ่ ล ้ว และ ก็ทราบดีอก ี เช่นกันว่า สถานีเรา
กําลังเรียกขาน เขา เนือ ่ งจากเรากําลังเรียกขานอยูบ ่ นความถีข ่ องเขา
 ดังนัน
้ ขอให ้ขานสัญญาณเรียกขานของเราเพียงครัง้ เดียว หากสถานีทเี่ ราเรียกไปยังไม่ตอบมา
ภายใน 1 วินาที ก็เรียกขานกลับไปอีก (เพียงครัง้ เดียว) ฯลฯ

ี ง:
ต ัวอย่างการติดต่อในการแข่งข ันประเภทเสย
whiskey one zulu zulu zulu contest (CQ contest โดย W1ZZZ)
oscar november six zulu zulu zulu (ON6ZZZ ตอบ W1ZZZ)
ON6ZZZ five nine zero one (W1ZZZ รายงานการรับฟั งให ้ ON6ZZZ)
five nine zero three (ON6ZZZ รายงานการรับฟั งให ้ W1ZZZ)
thanks W1ZZZ contest (W1ZZZ หมดข ้อความการติดต่อ ระบุตวั ตน แล ้ว CQ contest ต่อ)

 ระหว่างการแข่งขันรายการใหญ่ระดับสากลทีส ่ ําคัญ (CQWW, WPX, ARRL DX, CQ-160m


contest -ทัง้ ในแบบ Phone และแบบ CW-) ผู ้เข ้าร่วมแข่งขันจะไม่ได ้ใช ้ย่านความถี่ (Band Plan)
ทัง้ หมดตามที่ IARU กําหนดไว ้ การแข่งขันส่วนมาก มักเกิดขึน ้ นอกย่านความถี่ 160m และ 40m
เนือ่ งจากเป็ นย่านความถีท ่ แ ี่ คบมาก นับว่าเป็ นสิง่ ดี ทีน ่ ักวิทยุสมัครเล่นจํานวนหลายพันคน ตัง้ ใจเข ้า
มาใช ้ย่านความถีท ่ เี่ รามี กันอย่างหนาแน่นในช่วงทีม ี ารแข่งขัน ซึง่ ถือเป็ นเรือ
่ ก ่ งดีในแง่ทวี่ า่ มีนัก
วิทยุสมัครเล่นได ้เข ้ามาใช ้สิทธิใ์ นความถีย ่ า่ นทีพ ่ วกเราต ้องการ (จะใช ้ประโยชน์หรือจะเสียมันไปดี)
ดังนัน้ ความไม่สะดวกทีเ่ กิดขึน ่
้ เป็ นการชัวคราวจากเหตุการณ์พเิ ศษเช่นนี้ ควรมองกันด ้วยทัศนคติท ี่
เป็ นบวกไว ้ จะเป็ นการดีทส ี่ ด ุ

II.8.7. การใชค้ าว่า QRZ ทีถ ่ กู ต้อง


 ‘QRZ’ หมายถึง ‘who call me?’ ('ผู ้ใดเรียกขานผม/ดิฉัน') ไม่มากไม่น ้อย ไปกว่านี.้ ..
 การใช ้ ‘QRZ’ ทีเ่ ป็ นอมตะทีส
่ ดุ (most classical use) ก็คอ
ื กล่าวคํานีห
้ ลังจากเมือ่ CQ ไปแล ้วมีคน
ขานตอบมา แต่เราไม่สามารถรับสัญญาณเรียกขาน (call) ของสถานีนัน ้ ได ้เลย (ไม่วา่ เพียงสถานี
เดียวหรือหลายสถานีพร ้อมกัน) กรณี (QRZ) จึงหมายความว่า ‘I am sorry, I heard you calling

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 20


me, but could not get your call. Please call again’ ('ขอโทษด ้วย ผม/ดิฉัน ได ้ยินท่านเรียก
ขานมา แต่รับฟั งสัญญาณเรียกขานของท่านไม่ได ้เลย กรุณาเรียกขานมาใหม่อก ี ครัง้ นะครับ/คะ')
 มิได ้หมายความว่า ‘who’s there?’ ('มีผู ้ใดอยูท ่ น
ี่ ั่นไหม?') หรือหมายความว่า ‘who is on the
frequency?’ ('มีทา่ นใดอยูใ่ นความถีบ ่ ้าง?') หรือ ทีผ ่ ด
ิ เพีย
้ นไปยิง่ กว่านัน
้ ‘please call me’ ('กรุณา
เรียกขานผม/ดิฉัน มาด ้วย')
 หากสถานีใดก็ตามเข ้ามาในช่องความถีท ่ วี่ า่ งอยูแ ่ ละต ้องการตรวจสอบว่า ความถีน ่ ัน
้ ว่างหรือมีผู ้ใด
ใช ้อยูห่ รือไม่ ก็ไม่ควรใช ้คําว่า ‘QRZ’ เพือ่ สอบถาม ให ้ใช ้เพียงคําว่า ‘Is this frequency in use?’
(‘ความถีน ่ ถ ู ใช ้อยูห
ี้ ก ่ รือไม่?’)
 เมือ
่ ต ้องการทราบสัญญาณเรียกขานของสถานีทไี่ ม่ขานหรือไม่ระบุตวั ตน (call sign) ทัง้ ทีผ ่ ู ้นัน
้ ได ้
ออกอากาศมานานพอควรแล ้วก็ตาม (ซึง่ เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ควรกระทําอย่างยิง่ ) เราก็สามารถสอบถาม
สถานีนัน ้ ได ้ ด ้วยข ้อความว่า 'your call please' หรือ 'please identify’ (‘ขอทราบสัญญาณเรียก
ขานท่านหน่อย ครับ/ค่ะ’ หรือ ‘โปรดระบุตวั ตนด ้วย ครับ/ค่ะ’) แล ้วก็ต ้องตามด ้วยสัญญาณเรียกขาน
เราด ้วย ห ้ามละเลยโดยเด็ดขาด เพราะเราจําเป็ นต ้องระบุตัวตนเราด ้วยเช่นกัน (ตามกฎ/ระเบียบ)
 ‘QRZ’ ไม่ได ้แปลว่า ‘call me please’ (‘กรุณาเรียกขานผม/ดิฉัน’) ปั จจุบน ั เราจะได ้ยินกันมาก
ขึน้ อยูเ่ ป็ นนิตย์ สําหรับการเรียกขาน CQ แล ้วจบด ้วยคําว่า ‘QRZ’ กรณีฟังดูแล ้วไม่เข ้าท่าแม ้แต่น ้อย
(makes no sense) จะเป็ นไปได ้อย่างไร ทีผ ่ ู ้ใดจะเรียกขานเข ้ามา หากเราเพิง่ จบการเรียกขาน CQ
ไปประเดีย ๋ วนีเ้ อง?
 การใช ้ ‘QRZ’ กันผิดอีกอันหนึง่ ก็คอ ื ในขณะทีเ่ รากําลัง CQ contest อยูน ่ ัน ้ เกิดมีสถานีหนึง่ เปลีย ่ น
ความถีเ่ ข ้ามา แล ้วเพียงจับความตอนท ้ายของ CQ ได ้โดยไม่ได ้ยินสัญญาณเรียกขานของเรา ใน
เหตุการณ์เช่นนี้ บ่อยครัง้ เรามักจะได ้ยินบรรดาสถานีเช่นว่า ใช ้คําว่า ‘QRZ’ ซึง่ ถือว่า ผิดอย่างไร ้ข ้อ
กังขา (Totally wrong) ในเมือ ่ ยังไม่มผ ี ู ้ใดได ้เรียกขานสถานีดังกล่าวนัน ้ ไปเลยแม่แต่สถานีเดียว
(แล ้วกลับถามมาเราได ้อย่างไรว่า สักครู่ ท่านใดเรียกขานผม/ดิฉัน มา) ซึง่ ทีถ ่ ก
ู แล ้ว เขาควรจะรอ
ให ้เรา CQ อีกครัง้ หนึง่ ก่อน แน่นอน ใน CW ก็ไม่ควรเป็ นเช่นนีด ้ ้วย เช่นกัน
 การใช ้คําทีค ่ ล ้ายกันซึง่ ฟั งดูแล ้วขําดี แต่ก็เป็ นการใช ้อธิบายความทีไ่ ม่ถก ู ต ้อง อีกเช่นกัน คือ ‘QRZ
is this frequency in use?’ (‘ท่านใดเรียกขานผม/ดิฉันมา ความถีน ่ ถ ู ใช ้อยูห
ี้ ก ่ รือไม่?’) หรือ ‘QRZ
the frequency’ (แทนทีจ ่ ะเป็ น 'is this frequency in use?' = ความถีน ่ ถ ี้ ก ู ใช ้อยูห ่ รือไม่?’)
 อีกกรณีหนึง่ ทีม ั ใช ้ ‘QRZ’ กันผิด อย่างแพร่หลาย: 'CQ DX CQ this is UR5ZZZ QRZ DX' ทีถ
่ ก ่ ก
ู ก็
เพียงพูดแค่วา่ 'CQ DX CQ this is UR5ZZZ calling CQ DX and listening' ก็พอแล ้ว
 ยังมีเพิม ่ อีกกรณีหนึง่ ทีใ่ ช ้กันผิด คือคําว่า 'Give me your QRZ' เพือ ่ ต ้องการให ้หมายความว่า ‘give
me your call’ (‘แจ ้งสัญญาณเรียกขานของท่าน ให ้ผม/ดิฉัน ทราบด ้วย’) เป็ นทีเ่ ห็นได ้ชัดเจน ดัง
ได ้กล่าวมาแล ้วทัง้ หมดข ้างต ้นว่า การใช ้ QRZ ทีผ ่ ด ิ มักจะเกีย
่ วพันกับเรือ ่ งสัญญาณเรียกขาน (call
sign) แต่ขอความกรุณาเถอะครับ ขอให ้ใช ้คํานี้ ในความหมายเพียงหนึง่ เดียวทีม ่ เี ท่านัน
้ คือ ‘who
call me’ ('ท่านใดเรียกขานผม/ดิฉัน มา')
 เมือ ่ ขณะโดนรุมเรียกขาน (ดู § III.1) เรามักจะได ้ยิน สถานี DX (ที่ CQ DX อยูน ่ ัน
้ ) พูดคําว่า QRZ
อยูเ่ สมอ ทีม ่ ใิ ช่เพือ่ จะแจ ้งว่า เขาพลาดการรับฟั งในครัง้ แรกจากสถานีทรี่ ม ุ เรียกขานอยู่ แต่เพียงจะ
่ ให ้ทราบว่า ในขณะนีต
สือ ้ นเองพร ้อมจะตอบรับการเรียกขานใหม่แล ้วจากบรรดาสถานีทรี่ ม ุ เรียกขาน
อยู่ การใช ้ ‘QRZ’ ในลักษณะเช่นนีก ้ ถ
็ อ
ื ว่า ไม่ถก ู ต ้องโดยแท ้ (not quite correct) อีกเช่นกัน

ตัวอย่าง:
CQ ZK1DX ZK1DX กําลังเรียกขาน CQ
ON4YYY you’re 59 ON4YYY เรียกขาน ZK1DX พร ้อมรายงานการรับฟั ง
QSL QRZ ZK1DX ZK1DX ยืนยัน รายงานทีไ่ ด ้รับ (‘QSL’) และเพิม ่ คําว่า ‘QRZ’ ในกรณีนี้
หมายความว่า ‘ผมพร ้อมรอรับฟั งอีกครัง้ จากสถานีทไี่ ด ้เรียกขานผมมา
ก่อนหน ้านี้ มากกว่าทีจ่ ะหมายถึง สักครูใ่ ครเรียกขานผมมา?’ ซึง่ เป็ น
ความหมายทีแ ่ ท ้จริงของ ‘QRZ’ แม ้ว่าเราอาจจะเห็นว่า เขาอาจจะได ้ยิน

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 21


สถานีอน ้ จึงใช ้คําว่า ‘QRZ’ ได ้ ก็ตาม การ
ื่ เรียกขานมาก่อนหน ้านี้ ดังนัน
ใช ้ ‘QRZ’ แล ้วตามด ้วย ‘ZK1DX’ ถือว่า ไม่ใช่วธิ ท ี ใี่ ห ้ประสิทธิภาพสูงสุด
อย่างแน่นอน

สิง่ ทีเ่ ราได ้ยินได ้ฟั งกันมากกว่านี้ ซึง่ ถือเป็ นเรือ


่ งทีผ ่ ด ้ เชิง อีกด ้วยเช่นกัน:
ิ โดยสิน

QSL QRZ ในกรณีนี้ ZK1DX ไม่ได ้บ่งบอกเลยว่าตนเองเป็ น
สถานีใด สถานีทก ี่ ําลังรุมเรียกขานต ้องการทราบว่า
สถานีท ี่ DX อยูน ่ ัน ้ คือ สถานีใด (ใช่หรือไม่?)

สิงทีถ ่ ก
ู ต ้องและมีประสิทธิภาพสูงสุดมีดังนี:้

QSL ZK1DX ZK1DX ยืนยัน รายงานทีไ่ ด ้รับโดยการพูดคําว่า ‘QSL’ แล ้วตามด ้วย
สัญญาณเรียกขานของตนเอง ซึง่ ถือเป็ นการส่งสัญญาณบอกให ้ผู ้ที่
กําลังรุมเรียกขาน เรียกขานเข ้ามาได ้

II.8.8. ตรวจสอบคุณภาพในการออกอากาศ
 เราได ้ปรับแต่งวิทยุสอ ื่ สารให ้เหมาะสม แล ้วหรือยัง?
 อัตราขยายของไมโครโฟน (gain) ถูกตัง้ ค่าไว ้ทีร่ ะดับไม่สงู
เกินไปแล ้ว หรือไม่?
 ระดับความเร็วในการประมวลผลสัญญาณเสียงไม่สงู
เกินไป หรือไม่? ให ้มีระดับ background noise level ควร
ตํ่ากว่า 25dB เป็ นอย่างน ้อย จากระดับเสียงสูงสุด (voice
peak level) ทีเ่ ราออกได ้ กรณีหมายความว่า เมือ ่ เราหยุด
พูด output level ของเครือ ่ งวิทยุฯ จะต ้องมีคา่ ตํา่ กว่า
300 เท่าของกําลังส่งสูงสุด (peak power) ขณะเราเปล่ง
เสียงพูด
 ให ้สอบถามเพือ ่ นนักวิยส ุ มัครเล่นในท ้องถิน ่ หรือบริเวณใกล ้เคียงว่า เสียงออกอากาศ จากสถานีเรา
พร่า ฟุ้ งกระจาย (splatter) หรือไม่
 การมี oscilloscope ต่อผ่านเข ้ากับส่วนทีส ่ ญั ญาณถูกส่งออก เพือ ่ จะทําให ้เราเห็นรูปแบบของคลืน

(flat topping) ได ้ เป็ นระบบการเฝ้ าสังเกตแบบต่อเนือ ่ งทีด
่ ท
ี ส
ี่ ด

ิ ปะของระบบโทรเลข (CW, รห ัสมอร์ส)


II.9. ศล

 รหัสมอร์ส คือ รหัสทีใ่ ช ้สําหรับการส่งตัวอักษร ตัวรหัสถูก


กําหนดขึน ้ โดยเสียงโทน (audio tone) ทีส ั ้ ยาว เรียง
่ น
ตามลําดับตามกันไป ช่วงเสียงสัน ้ เรียกว่า ดิท (DIT)
ช่วงเสียงยาว เรียกว่า ดา (DAH) เสียง ดา จะยาวกว่า
เสียง ดิท 3 เท่า บ่อยครัง้ มีการเรียกอย่างไม่ถก ู ต ้อง เป็ น
ดอท (DOTs) และ แดชเชส (DASHES) ซึง่ จะทําให ้เรา
นึกถึงสิง่ ทีเ่ ป็ นภาพ มากกว่า ทีเ่ ป็ นเสียง
 รหัสมอร์ส ไม่ใช่ ลําดับของ DOTs และ DASHES ทีไ่ ด ้ถูกเขียนขึน ้ แม ้ว่าเริม
่ แรกในช่วงศตวรรษที่
19 รหัสมอร์ส จะถูกเขียนเป็ น DOTs และ DASHES ลงบนแถบกระดาษทีไ่ หลเลือ ่ นไป ก็ตาม แต่
หลังจากนัน ้ ไม่นาน นักพิมพ์โทรเลขก็ค ้นพบว่า การคัดลอกโทรเลขโดยการฟั งเสียงแต่ละคํา
(buzz) จากเครือ ่ งพิมพ์จะง่ายกว่าการอ่านบนแถบกระดาษทีพ ่ ม
ิ พ์จากเครือ ่ ง ดังนัน้ อักษร ‘R’ จึง

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 22


ไม่ใช่เครือ ่ งหมาย สัน ้ ยาว สัน้ หรือ DOTs DASHES DOTs หรือ .-. แต่เป็ นเสียง ดิท ดา ดิท
(DIT DAH DIT )
 อักษร R ในบางภาษาจะถูกเขียนเป็ น ดิท ดา ดิท (DIT DAH DIT) ขณะทีใ่ นอีกภาษาหนึง่ จะ
เขียนเป็ น ดิ ดา ดิท (DI DAH DIT) สิง่ ทีผ ่ ู ้เขียนพยายามจะทําให ้มีความชัดเจน คือ เรามีเพียง

เสียงสัน (DIT หรือ DI) กับเสียงยาว (DAH) เท่านัน ้ การมีเพียงแค่สองเสียง แต่ไปใช ้คําสามคํา
ในการสือ ่ แทน อาจจะทําให ้สับสนได ้ ดังนัน ้ ผู ้เขียน จึงขอใช ้เพียงเสียง DIT กับ DAH เท่านัน ้ ใน
คูม
่ อ ื เล่มนี้
 CW ทําให ้มีการใช ้รหัสคิว (Q Codes) อักษรย่อ (abbreviation) และอักษรผสมทีเ่ ป็ นสัญลักษณ์
(prosign) อย่างมากมาย (intensive) สิง่ เหล่านี้ ถือเป็ นทางลัดทีห ่ ลากหลาย (shortcuts) เพือ ่ จะ

ทําให ้การติดต่อสือสารเป็ นไปด ้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน ้
้ ทัง้ สิน
 โดยปกติ บรรดานักวิทยุสมัครเล่นจะใช ้คําว่า CW สําหรับ ระบบโทรเลข (telegraphy) คําว่า CW
ก่อกําเนิดมาจากคําว่า Continuous Wave (คลืน ่ ต่อเนือ ่ ง) แม ้ว่า โดยความเป็ นจริง CW ได ้ก ้าวหน ้า
ไปไกลเกินจากการเป็ นคลืน ่ ต่อเนือ่ งแล ้วก็ตาม แต่แท ้จริง CW ก็เป็ นคลืน ่ ต่อเนือ่ งทีไ่ ด ้รับการการ
ขัดจังหวะโดยจังหวะของรหัสมอร์สอย่างต่อเนือ ่ ง เสียมากกว่า นักวิทยุสมัครเล่นจะใช ้คําว่า มอร์ส
(Morse) และ CW ในความหมายทีใ่ ช ้แทนกันได ้ (interchangeably) - คําทัง้ สองมีความหมาย
เช่นเดียวกัน
 สัญญาณ CW ในความกว ้างแถบคลืน ่ ลบ 6 ดีบ ี (-6dB bandwidth) ทีม ่ รี ปู ทรงคลืน ่ ทีเ่ หมาะสม จะ
สามารถส่งข ้อความในอัตราความเร็วคําต่อนาที (WPM = Words Per Minute) ได ้ เป็ น 4 เท่าตัว
โดยประมาณ ตัวอย่างเช่น CW ทีส ่ ง่ ด ้วยความเร็ว 25 คําต่อนาที จะใช ้ความถี่ 100 เฮิรตซ์ (ที่ -
6dB) ขณะที่ แถบคลืน ่ ความถี่ (spectrum) ทีต ่ ้องการใช ้ส่งสัญญาณ SSB (Voice) ครัง้ หนึง่ (2.7
kHz) สามารถรองรับการส่งสัญญาณ CW ได ้มากกว่าหนึง่ โหล (a dozen)!
 แถบความถีภ ่ ายในทีแ ่ คบของ CW ส่งผลให ้มีอต ั ราส่วนสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน (noise-to-
signal ratio) ทีด ่ กี ว่ามาก ภายใต ้สภาวะทีไ่ ม่เอือ ้ อํานวย เมือ ่ เทียบกับสัญญาณทีใ่ ช ้แถบความถีท ่ ี่
กว ้างกว่า อย่างเช่น SSB (ความกว ้างแถบคลืน ่ ทีม ่ ากกว่า จะมีพลังการรบกวน มากกว่าความกว ้าง
แถบความถีท ่ แี่ คบกว่า) และสิง่ นีก ้ ็เป็ นเหตุผลหนึง่ ที่ การติดต่อทางไกล (DX) ภายใต ้สภาพทีไ่ ม่
เอือ้ อํานวย (เช่น การออกอากาศติดต่อทวีปอืน ่ ทีค ่ วามถี่ 160 เมตร และการส่งคลืน ่ สะท ้อนจากผิว
ดวงจันทร์- EME) การรับ/ส่งแบบ CW จะถูกนํ ามาใช เป็ นส่วนใหญ่ ้
 ความเร็วขัน ้ ตํ่าทีต ่ ้องใช ้ในการรับ เพือ ่ ให ้สามารถออกอากาศติดต่อด ้วยรหัสมอร์สได ้อย่างคงที่ ควร
เป็ นเท่าไร?
- 5 คําต่อนาที จะทําให ้เราได ้รับประกาศนียบัตรขัน ้ ต ้น แต่จะได ้การติดต่อ (contacts) ไม่มาก เว ้น
แต่วา่ ไปติดต่อในช่องความถีท ่ ม ี่ ก ี ารส่งแบบช ้าเป็ นพิเศษ หรือ special QRS frequencies
(QRS แปลว่า: ลดความเร็วในการส่งหรือส่งให ้ช ้าลง) ความถีท ่ ก ี่ ําหนดให ้ส่งแบบช ้าดังกล่าว
สามารถตรวจสอบจากแผนผังหรือตารางกําหนดความถีข ่ องสหภาพวิทยุสมัครเล่นระหว่าง
ประเทศ (IARU Band Plan) ได ้
- 12 คําต่อนาที เป็ น ความเร็วตํ่าสุด แต่นักวิทยุสมัครเล่น (operator) ส่วนใหญ่ทม ี่ ป
ี ระสบการณ์
สูง มักจะติดต่อกันด ้วยความเร็วที่ 20-30 คําต่อนาที และอาจสูงกว่านีด ้ ้วยซํ้า
 ไม่มส ี ต
ู รลับอืน ่ ใดในการสร ้างสรรค์ ศล ิ ปะ ของ CW นอกจาก: ฝึ กฝน ฝึ กฝน ฝึ กฝน เท่านัน ้
เช่นเดียวกันกับการเล่นกีฬา
 CW เป็ นภาษาเฉพาะชนิดหนึง่ ภาษาทีใ่ ช ้กันในทุกประเทศทัว่ โลก!

II.9.1. คอมพิวเตอร์ในฐานะผูช ่ ยของเรา?


้ ว
 เราจะไม่ได ้เรียนรู ้ CW ได ้มาก ด ้วยการใช ้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพือ ่ ช่วยถอดรหัส CW
 กระนัน ้ ก็ด ี ยังเป็ นทีย ้ ทีบ
่ อมรับกันสําหรับการส่งรหัส CW จากคอมพิวเตอร์ (บรรดาข ้อความสัน ่ น
ั ทึก
ไว ้ล่วงหน ้าในโปรแกรม) ปกติ เราจะใช ้โปรแกรมลง log (logging program) ในขณะแข่งขัน

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 23


 สําหรับผู ้มาใหม่ เราอาจจะต ้องใช ้ โปรแกรมถอดรหัส CW ในการ ชว ่ ย ถอดคําเพือ ่ จะทําให ้สามารถ
ตรวจสอบความถูกต ้องในการถอดรหัสคําทัง้ หลาย อย่างไรก็ตาม หากต ้องการเรียนรู ้ รหัสฯ อย่าง
จริงจัง จะต ้องถอดรหัสเหล่านัน ้ โดย หูและสมอง ของเราเอง
 โปรแกรมถอดรหัส CW จะทํางานได ้ดีก็เฉพาะในสภาพทีม ่ กี ารรับ/ส่งทีส
่ มบูรณ์เท่านัน ้ หูและสมอง
ของเราจะทํางานได ้เหนือกว่ามาก เนือ ่ งจาก รหัสมอร์สมิได ้ถูกพัฒนาขึน ้ มาเพือ
่ ให ้รับหรือส่งได ้แบบ
อัตโนมัต ิ อย่างเช่นทีเ่ ป็ นอยูใ่ นระบบของรหัสดิจต ิ อล (RTTY, PSK ฯลฯ)
 น ักวิทยุสม ัครเล่น CW (CW operators) ทีเ่ ป็ นคนกลุม ่ ใหญ่จํานวนมาก ใช ้คันเคาะแบบ
อิเลคทรอนิคส์ (electronic keyer) ทีม ี ผ่นคันเคาะแบบใบพาย (paddle) แทนการใช ้คันเคาะแบบ
่ แ
ดัง้ เดิมในการเคาะระหัสมอร์ส กรณีทําให ้ง่ายขึน ้ กว่ามาก สําหรับการส่งรหัสมอร์สทีม ่ คี ณ
ุ ภาพด ้วย
คันเคาะแบบอิเลคทรอนิคส์ เมือ ้มื
่ เทียบกับแบบใช อเคาะ (hand key)

II.9.2. การเรียกขาน CQ
 ควรจะต ้องกระทําสิง่ ใดบ ้าง เมือ ่ เริม ่ แรก?
้ย่
- ให ้เลือกว่าจะใช านความถีใ่ หน ทีม ่ กี ารแพร่กระจายคลืน ่ ได ้ดี (good propagation) ในทิศทาง
(path) ทีเ่ ราต ้องการให ้ครอบคลุม ในขณะนัน ้ ? MUF Charts (ตารางแสดงความถีท ่ ไี่ ช ้ได ้ดี
สูงสุด รายเดือน) ทีต ่ พี มิ พ์ในวารสารและทีป ่ รากฏอยูใ่ นเว็บไซท์วท ิ ยุสมัครเล่นหลายฉบับ จะเป็ น
ประโยชน์มากในเรือ ่ งนี้
- ให ้ตรวจสอบว่า ช่วงความถีต ่ รงไหนบ ้างทีถ ่ กู จัดสรรไว ้ให ้ใช ้ออกอากาศแบบ CW ซึง่ ส่วนใหญ่
แล ้วจะอยูท ่ ตี่ ้นย่าน (band) หรือจะขอคําแนะนํ าเรือ ่ ง IARU Band Plan จากเวปไซท์ของ
IARU ก็ได ้ (สําหรับประเทศไทย ดูจาก ประกาศคณะกรรมการ กสทช. เรือ ่ งหลักเกณฑ์การ
อนุญาตและกํากับดูแลกิจการวิทยุสมัครเล่น ทีม ี ลบังคับใช)้
่ ผ
- ขอให ้เฝ้ าฟั งดูสก ั พักหนึง่ ก่อนในช่องความถีท ่ เี่ ราต ้องการจะใช ้ เพือ ่ ให ้ทราบว่า ความถีน ่ ัน
้ ว่าง
อยูห่ รือไม่
- แล ้วทําอะไรต่อ?
- หากเห็นว่าความถีน ่ ัน ้ ว่างลงแล ้ว ก็ให ้สอบถามไปว่า ความถีถ ู ใช ้อยูห
่ ก ่ รือไม่ โดยส่งคําว่า ‘QRL?’
ไปอย่างน ้อย 2 ครัง้ ห่างกันครัง้ ละ 2-3 วินาที การส่งเพียงคําว่า ‘?’ ไป ถือเป็ นวิธก ี ารทีไ่ ม่
เหมาะสม เครือ ่ งหมายคําถามหมายถึง ‘I asked a question’ (‘ผม/ดิฉัน ขอถามคําถาม’) ปั ญหา
ก็จะเกิดขึน ้ ทันที เพราะว่า ก่อนหน ้านีเ้ รายังไม่ได ้ถามอะไรไปเลย
- ‘QRL?’ (ทีม ่ เี ครือ
่ งหมายคําถามอยูด ่ ้วย) หมายความว่า ‘is this frequency in use?’ (‘ความถีน ่ ี้
ถูกใช ้อยูห ่ รือไม่?’)
- จงอย่าส่งคําว่า ‘QRL? K’ ไป ซึง่ บางครัง้ เราคงเคยได ้ยินมาบ ้าง กรณีแปลว่า ‘is this frequency
in use? Over to you’ (‘ความถีน ่ ถ
ี้ ก ู ใช ้อยูห
่ รือไม่ เปลีย ่ น’) เมือ ่ เรายังไม่ได ้ยินสถานีใดตอบหรือ
เรียกขานมาเลย แล ้วจะไปเปลีย ่ นให ้ผู ้ใดตอบมาได ้เล่า ใช่หรือไม่? เพียง ‘QRL?’ เท่านัน ้ คือสิง่
ทีถ
่ กู ต ้องแล ้ว (ครับ)
- หากปรากฏว่ามีเพือ ่ นใช ้ความถีอ ่ ยู่ เพือ ่ นก็จะขานตอบเรามาเองว่า ‘R’ (roger=ทราบ) ‘Y’ (yes=
มี) หรือ ‘R QSY’ หรือ ‘QRL’ ‘C’ (I confirm=ยืนยัน) ฯลฯ
- ‘QRL’ (ทีไ่ ม่มเี ครือ ่ งหมายคําถาม) หมายความว่า ความถีถ ่ ก
ู ใชอ ้ ยู่ กรณีเราต ้องไปหาความถีอ ่ นื่
ใช ้ต่อไป
 และหากพบว่ามีความถีว่ า่ งอยูล ่ ะ่ ?
 ให ้เรียกขาน CQ แล ้วจะกระทําได ้อย่างไร?
 ให ้ส่งคําว่า CQ ไปด ้วยความเร็วเท่ากับทีเ่ ราต ้องการรับ จงอย่าได ้ส่งสัญญาณไปด ้วยความเร็วทีเ่ กิน
ความสามารถในการรับของตนเอง
 ‘CQ CQ G3ZZZ G3ZZZ G3ZZZ AR’
 ‘AR’ แปลว่า ‘จบหรือหมดข ้อความ’ (end of message) หรือ ‘ผม/ดิฉันหมดข ้อความทีส ่ ง่ แล ้วนะ’ (‘I
am through with this transmission’) ในขณะที่ ‘K’ แปลว่า ‘เปลีย ่ นเป็ นทีคณ ุ ส่งบ ้าง’ (‘over to

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 24


you’) ฯลฯ กรณีหมายความว่า เราควรจบ CQ ด ้วยคําว่า ‘AR’ และจะไม่จบด ้วย ‘K’ โดยเด็ดขาด
เนือ ่ งจาก ไม่มผ ี ู ้ใดอยูใ่ นความถีท ่ เี่ ราจะไปเปลีย ่ นให ้ขานตอบเรามาได ้ในขณะนัน ้ (จริงหรือไม่?)
 อย่าจบ CQ ด ้วยคําว่า ‘AR K’ เนือ ่ งจากมันหมายถึง ‘end of message over to you’ (‘หมด
ข ้อความแล ้ว ขอให ้คุณตอบกลับมาได ้’) ในเมือ ่ ยังไม่มผ ี ู ้ใดทีเ่ ราจะเปลีย ่ นให ้ออกอากาศต่อได ้
ดังนัน ้ จึงขอให ้จบข ้อความ CQ ด ้วยคําว่า ‘AR’ ในทางปฏิบต ั ท ิ เี่ ป็ นเรือ่ งจริง เรามักจะได ้ยินคําว่า
‘AR K’ กันอยูเ่ สมอบนความถี่ แต่นั่นมิใช่วธิ ก ี ารทีเ่ หมาะสมทีพ ่ งึ จะกระทํา
 การใช ้คําว่า ‘PSE’ ของคําว่า CQ (เช่น ‘CQ CQ de… PSE K’) ซึง่ หลายท่านเห็นว่า เป็ นการสุภาพ
แต่แท ้จริง ก็มใิ ช่สงิ่ ทีจ ่ ําเป็ นเท่าไรนัก กรณีมไิ ด ้ให ้มูลค่าเพิม ่ (value added) ขึน ้ เท่าไร นอกจากนัน ้
แล ้ว การใช ้คําว่า ‘K’ ยังถือเป็ นสิง่ ไม่ถก ู ต ้องเสียด ้วยซํา้ ใช ้แบบธรรมดาลงท ้าย CQ ด ้วยคําว่า ‘AR’
ก็เพียงพอแล ้ว
 ส่ง CQ ไป 2 ถึง 4 ครัง้ และอย่าให ้มากกว่านี้!
 จงอย่าส่ง CQ ทีย ่ ด
ื ยาวต่อเนือ ่ งแบบไม่รู ้จบ และให ้ระบุสญ ั ญาณเรียกขานเราไปเพียงครัง้ เดียว
เท่านัน ้ ในตอนท ้าย การคิดว่าการขาน CQ แบบยาวแล ้วจะเพิม ่ โอกาสในการตอบสนองถือเป็ นเรือ ่ ง
ทีเ่ ข ้าใจผิด แท ้จริงแล ้วกลับจะส่งผลในทางตรงกันข ้ามเสียด ้วยซํา้ สถานีทเี่ ฝ้ าฟั งเราอยูก ่ ําลังสนใจ
และอยากทราบสัญญาณเรียกขานของเรามากกว่าคําว่า CQ CQ CQ... อย่างยืดยาวแทบจะไม่มส ี ิ้
สุดแบบนัน ้ ถูกต ้องหรือไม่?
 จะเป็ นการดียงิ่ ขึน ้ อีก หากจะส่งคําว่า CQ แบบกระชับไป (‘CQ CQ de F9ZZZ F9ZZZ AR’) แต่
บ่อยครัง้ ขึน ้ แทนการส่งแบบยืดยาวต่อเนือ ่ ง ซํ้าแล ้วซํา้ เล่า (CQ CQ CQ… -15 ครัง้ - de F9ZZZ
CQ CQ CQ … -อีก 15 ครัง้ - de F9ZZZ AR’)
 หากขาน CQ แล ้วต ้องการจะรับ/ส่งแบบ split (รับจากความถีท ่ ต ี่ า่ งจากทีใ่ ช ้ส่ง) ก็ให ้ระบุความถีท ่ ี่
เราใช ้รับในการขาน CQ แต่ละครงั้ ตัวอย่างเช่น การลงท ้าย CQ ด ้วยคําว่า ‘UP 5/10 หรือ UP 5
หรือ QSX 1822 …’ (ซึง่ หมายถึง เราจะรับฟั งทีค ่ วามถี่ 1.822 kHz) ‘QSX’ แปลว่า ‘เราจะรอเฝ้ าฟั ง
อยูท ่ ี่ ....’

II.9.3. อ ักษรเครือ ่ งหมายทีใ่ ชแ ้ ทนข้อความ (Prosigns)


 Prosigns (ย่อให ้สัน ้ ลงเพือ ่ งหมายทีใ่ ช ้ในการรับ/ส่งข ้อความ) คือ เครือ
่ ให ้เป็ นเครือ ่ งหมาย
(symbol) ทีถ ่ ก
ู กําหนดขึน ้ ประกอบด ้วยอักษร (ภาษาอังกฤษ) 2 ตัว เรียงกันโดยปราศจากช่องว่าง
ระหว่างกลาง หรือ ไม่มก ี ารเว ้นวรรค
 ‘AR’ ทีใ่ ช ้ในการจบหรือลงท ้ายข ้อความของ CQ เป็ นคําย่อ หรือ เป็ นเครือ ่ งหมายทีใ่ ช ้แทนข ้อความ
(prosign) เชิงขัน ้ ตอน
 Prosign อืน ่ ทีถ ่ กู ใช ้เป็ นประจํา คือ
- ‘AS’ (ดู § II.9.9)
- ‘CL’ (ดู § II.9.6)
- ‘SK’ (ดู § II.9.6)
- ‘HH’ (ดู § II.9.20)
 ‘BK’ (ดู § II.9.7) และ ‘KN’ (ดู § II.9.10) ไม่ถอ ื เป็ น prosign เนือ่ งจากอักษรสองตัวของรหัส
ดังกล่าว มีชอ ่ งว่างขัน ้ ระหว่างกลาง ขณะถูกส่งไป

II.9.4. การเรียกขาน ‘CQ DX’


 เพียงส่ง คําว่า ‘CQ DX’ แทนทีจ ่ ะเป็ น ‘CQ’ และถ ้าต ้องการจะรับสัญญาณ DX จากพืน ้ ทีห
่ รือภูมภ
ิ าค
ใดเป็ นการเฉพาะ ก็ให ้เรียกขานดังนี้ ‘CQ JA CQ JA I1ZZZ I1ZZZ JA AR’ (เรียกขานสถานีจาก
ประเทศญีป ่ น) ุ่ หรือ ‘CQ NA CQ NA…’ (เรียกขานสถานีทอ ี่ ยูใ่ นอเมริกาเหนือ) ฯลฯ หรืออาจจะทํา
ให ้ CQ DX ชัดเจนยิง่ ขึน ้ โดยเพิม
่ ข ้อความเข ้าไปเพือ
่ ให ้เห็นว่า เราไม่ต ้องการสถานีจากยุโรป: ‘CQ
DX CQ DX I1ZZZ I1ZZZ DX NO EU AR’ ก็ได ้เช่นกัน แต่ก็จะทําให ้ดูคล ้ายเป็ นการก ้าวร ้าวอยูบ ่ ้าง
เล็กน ้อย

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 25


 เราสามารถกําหนดทวีปได ้เช่นกัน: NA = North America, SA = South America, AF = Africa,
EU = Europe, OC = Oceana
 กระนัน้ ก็ตาม หากมีสถานีในทวีปเดียวกันเรียกขานมา เราควรแสดงความมีนํ้าใจและรักษามารยาท
ไว ้เสมอ สถานีดังกล่าวอาจยังใหม่อยู่ ก็เป็ นได ้ ให ้ขานตอบไปแบบรวบรัด แล ้วก็ลง log สถานีนัน
้ ไว ้

เพราะสถานีเราอาจจะเป็ นประเทศใหม่สาหรับสถานีนัน ้ ก็ได ้!

II.9.5. การเรียกขานเฉพาะสถานีทต ี่ อ
้ งการ
 ให ้สมมติวา่ เราต ้องการจะเรียกขาน DL0ZZZ สถานีซงึ่ ได้น ัดหมาย (sked) กันไว ้ก่อนแล ้ว
(schedule, rendez-vous) และ ต่อไปนีค ้ อ
ื วิธท
ี ค ี่ วรจะเรียกขานไป: ‘DL0ZZZ DL0ZZZ SKED DE
G3ZZZ KN’ ให ้จําไว ้ว่า การจบด ้วยคําว่า ‘KN’ นัน ้ หมายความว่า เราไม่ต ้องการให ้ใครอืน ่ ขึน
้ มาขาน
ตอบเรา (นอกจากสถานีทเี่ ราเรียกขานไป เท่านัน ้ )
 หากแม ้ว่า ขณะทีเ่ รากําลังเรียกขานแบบเจาะจงสถานีอยู่ เกิดมีสถานีอน ื่ ได ้ยินเข ้า แล ้วขึน
้ มาเรียก
ขานเรา ก็ให ้ตอบไปแบบกระชับหรือรวบรัดว่า ‘SRI HVE SKED WID DL0ZZZ 73…’

II.9.6. ติดต่อและจบการติดต่อแบบคลืน ่ ต่อเนือ ่ ง ( CW QSO)


 สมมติวา่ W1ZZZ ตอบ CQ เรามา: ‘G3ZZZ DE W1ZZZ W1ZZZ AR’ หรือ ‘G3ZZZ DE W1ZZZ
W1ZZZ K’ หรือแม ้กระทั่ง ‘W1ZZZ W1ZZZ AR’
 ในขณะทีต ่ อบ CQ ต ้องไม่ขานสัญญาณเรียกขานของสถานีทเี่ รากําลังตอบไปนัน ้ มากกว่า 1 ครัง้
ถ ้าไม่ขานเลยได ้ จะเป็ นการดีทส ี่ ด
ุ (เราต ้องเชือ ่ ว่าผู ้ที่ CQ อยูน ่ ัน้ ทราบดีอยูแ ่ ล ้วว่า สัญญาณเรียก
ขานของตนเอง คืออะไร)
 สถานีทเี่ รียกขานเรามา ควรจบหรือลงท ้ายข ้อความด ้วยคําว่า ‘AR’ หรือ ‘K’? คําตอบ ก็คอ ื ใชไ้ ด้
ทงคูั้ ่ ‘AR’ แปลว่า ‘สิน ้ สุดหรือหมดข ้อความ’ (‘end of message’) ขณะที่ ‘K’ แปลว่า ‘เปลีย ่ นเป็ นที
ของคุณ’ (‘over it to you’) แม ้ว่า แบบหลังจะดูเป็ นการมองในแง่ด ี (optimistic) อยูบ ่ ้างเล็กน ้อยก็
ตาม เนือ ่ งจากเราเห็นว่า สถานีทเี่ ราติดต่ออยูด ่ ้วยนัน ้ อาจจะขานตอบสถานีอน ื่ ต่ออีกก็ได ้...(เลย
เปลีย ่ นให ้เขาเพือ ่ ว่าเขาอาจจะไปพูดกับสถานีอน ื่ ต่อ ถ ้ามี)
 อย่างไรก็ตาม ยังมีเหตุผลทีด ่ กี ว่าในการใช ้ ‘AR’ แทนการใช ้ ‘K’ คําว่า ‘AR’ เป็ น prosign (ดู §
II.9.3) ซึง่ หมายความว่า ‘A’ กับ ‘R’ จะถูกส่งไปติดกันโดยไม่มช ี อ่ งว่างระหว่างกัน แต่หากใครคนใด
คนหนึง่ ส่งด ้วยตัว ‘K’ แทนทีจ ่ ะเป็ น ‘AR’ และหากอักษร ‘K’ เกิดถูกส่งไปอยูต ่ ด ิ กับสัญญาณเรียก
ขาน จะด ้วยเหตุใดก็ตาม อาจทําให ้ผู ้รับเข ้าใจว่า ‘K’ คือ อักษรตัวท ้ายของสัญญาณเรียกขานนัน ้ ก็
ได ้ เหตุการณ์แบบนีเ้ กิดขึน ้ อยูเ่ สมอ ดังนัน ้ การจบด ้วยคําว่า ‘AR’ โอกาสทีจ ่ ะเกิดการเข ้าใจผิดจึง
เป็ นไปได ้ยากมาก เนือ ่ งจาก ‘AR’ ไม่ใช่ตวั อักษร (แต่เป็ นเครือ ่ งหมาย) บ่อยครัง้ พบว่า การไม่ใช ้คํา
ลงท ้ายใดเลย (ไม่วา่ ‘AR’ หรือ ‘K’) จะช่วยลดความเสีย ่ งทีจ่ ะก่อให ้เกิดข ้อผิดพลาดดังกล่าวได ้
 สมมติวา่ เราต ้องการตอบสถานี W1ZZZ ทีก ่ ําลังเรียกขานเราอยู่ สามารถกระทําได ้ดังนี:้ ‘W1ZZZ
DE G3ZZZ GE (good evening) TKS (thanks) FER (for) UR (your) CALL UR RST 589
589 NAME BOB QTH LEEDS LEEDS HW CPY (how copy) W1ZZZ DE G3ZZZ K’ ณ เวลานี้
เป็ นเวลาทีต ่ ้องจบด ้วยคําว่า ‘K’ แล ้ว เพราะว่า ‘K’ แปลว่า เปลีย ่ นเป็ นทีคณ ุ พูดบ ้าง และคุณในทีน ่ ี้ ก็
คือ W1ZZZ
 ต ้องไม่จบข ้อความโดยใช ้คําว่า ‘AR K’: ด ้วยเหตุทค ี่ ําเหล่านีแ ้ ปลว่า ‘สิน ้ สุดหรือหมดข ้อความ
เปลีย ่ น (ให ้ท่านส่ง)’ ค่อนข ้างชัดเจนอยูแ ่ ล ้วว่า เมือ ่ ขานคําว่า เปลีย ่ น ก็หมายความว่าเราหมด
ข ้อความทีจ ่ ะส่งในช่วงนีแ ้ ล ้ว จึงเปลีย ่ นให ้คูส ่ ถานีสง่ มาบ ้าง กรณีจงึ ไม่จําเป็ นต ้องใช ้คําเช่นนัน ้ ให ้
จบข ้อความระหว่างการติดต่อกัน ด ้วยคําว่า ‘K’ (หรือ ‘KN’ เมือ ่ จําเป็ น ดู § II.9.10) เป็ นเรือ ่ งจริงที่
บ่อยครัง้ เรามักจะได ้ยินการใช ้ ‘AR K’ ซึง่ ถือว่าไม่ถก ู ต ้องนัก
 เหตุผลทีท ่ ําให ้มีการใช ้อย่างไม่เหมาะสม ของบรรดาคําทัง้ หลาย อันได ้แก่ ‘AR’ ‘K’ ‘KN’ ‘AR K’
หรือ ‘AR KN’ เป็ นเพราะเหตุทวี่ า่ นักวิทยุสมัครเล่นประจําสถานี (operator) ไม่ทราบความหมายที่

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 26


แท ้จริงของ prosign แต่ละคํา หรือ ของคําเหล่านัน ้ จึงขอให ้เราท่านทัง้ หลายใช ้ให ้ถูกต ้องด ้วย นะ
ครับ!
 ผู ้เขียนได ้อธิบายมาแล ้วว่า ไม่มค ี วามจําเป็ นจะต ้องใช ้คําว่า ‘PSE’ (please =กรุณา/โปรด) ในการ
ลงท ้าย CQ: แล ้วก็ต ้อง ไม่ไปใช ้ร่วมกับคําว่าเปลีย ่ น (over) ด ้วย ดังนัน ้ ต ้องไม่ม ี ‘PSE K’ หรือ
้ให
‘PSE KN’ ใช ้ง่ายเข ้าไว ้ โดยการตัดคําว่า ‘PSE’ ทิง้ ไปเถิด ได ้โปรด (please)…
 บนความถี่ VHF (และทีส ่ งู กว่า) ถือเป็ นธรรมเนียมทีต ่ ้องมีการแลกเปลีย ่ นสถานทีอ ่ อกอากาศ หรือ
ตําแหน่งทีต ่ งั ้ ของสถานีทใี่ ช ้ออกอากาศอยูใ่ นขณะนัน ้ (QTH-locator) ซึง่ เป็ นรหัสแสดงทีต ่ งั ้ ทาง
ภูมศ ิ าสตร์ของสถานีของนักวิทยุสมัครเล่น (ตัวอย่าง: JM12ab)
 รายงานแบบ RST: R และ S ย่อมาจาก Readability หรือผลการรับฟั ง (1-5) และ signal
Strength หรือความแรงของสัญญาณ (1-9) ตามลําดับ ซึง่ ใช ้สําหรับการติดต่อแบบสัญญาณ
เสียงพูดหรือ phone signal (ดู § II.8.4) ส่วน T (1-9) ในการรายงานสัญญาณ ย่อมาจาก Tone ที่
บ่งบอกถึงความสะอาดของเสียงจากสัญญาณ CW ซึง่ ควรจะมีเสียงคล ้ายกับคลืน ่ ไซน์บริสท ุ ธิ์
(pure sine wave) ทีป ่ ราศจากการรบกวนอันใด
 การกําหนดความสดใสของเสียงโดยค่า T ทีแ ่ ตกต่างกันไปนัน ้ ดัง้ เดิมเกิดในยุคต ้นของวงการวิทยุ
สมัครเล่น ทีม ่ ก ี ารยอมรับกันในเรือ ่ งการวัดความสะอาดของเสียง CW โดยมิได ้มีกฎหรือข ้อบังคับใด
กําหนดไว ้ ตารางทีแ ่ สดงข ้างล่าง ได ้จัดเรียงลําดับระดับเสียง CW (tone) ทีม ่ อ
ี ยูล่ า่ สุด ตีพม ิ พ์ไว ้
เมือ ่ ปี 1995 หรือ พ.ศ. 2538 (ทีม ่ า: W4NRL)

T1 60 Hz (หรือ 50Hz) ความถี่ AC หรือน ้อยกว่า หยาบและแรงมาก


T2 ความถี่ AC หยาบ ระคายหูมาก
T3 ความถี่ AC หยาบพอได ้ยิน เข ้าทีเ่ ข ้าทางแต่ไม่ถงึ กับถูกกรองออก
T4 หยาบอยูบ ่ ้าง มีการกรองพอฟั งรู ้ได ้
T5 เข ้าทีเ่ ข ้าทาง มีการกรองได ้บ ้าง แต่ยงั มีการกลํ้าสัญญาณเป็ นระลอกอยูม
่ าก
T6 เสียงถูกกรอง การกลํ้าสัญญาณเป็ นระลอกยังมีพอควร
T7 เสียงเกือบสะอาด การกลํ้าสัญญาณเป็ นระลอกเบาบางลง
T8 เสียงเกือบสมบูรณ์ การกลํ้าสัญญาณมีน ้อยมาก
T9 เสียงสมบูรณ์ ไม่ได ้ยินการกลํ้าสัญญาณใดเลย

 ในทางปฏิบต ั แิ ล ้ว นักวิทยุสมัครเล่นใช ้ระดับเสียง T เพียงไม่กรี่ ะดับเท่านัน ้ ในความหมายหรือคํา


จํากัดความทีส่ อดคล ้องกับสภาพเทคโนโลยีในปั จจุบน ั :
- T1: สัญญาณ CW กลํ้ากันอย่างหนัก มีการรบกวนแบบไฟฟ้ า
กระแสสลับ (AC) อย่างมาก (หมายถึงการออกอากาศด ้วยสัญญาณทีไ่ ม่
มีคณ ุ ภาพ!)
- T5: รับฟั งเสียงรบกวนจากไฟฟ้ ากระแสสลับได ้ (บ่อยครัง้ เกิดจากภาค
จ่ายไฟกระแสตรงของเครือ ่ งวิทยุฯ ขาดความสมบูรณ์)
- T7 – T8: ั
มีสญญาณกวนเล็กน ้อยจากองค์ประกอบของไฟฟ้ ากระแสสลับ (AC)
- T9: เสียงสมบูรณ์ เป็ น sine waveform ทีป ่ ราศจากการรบกวน
 ในปั จจุบน
ั สัญญาณทีด ่ ้อยคุณภาพของ CW ทีพ ่ บกันประจํา ส่วนมากเกิดปรากฏการณ์ทเี่ รียกว่า
chirp (จากสัญญาณทีม ่ าจากความถีท
่ ก
ี่ ระชากขึน้ หรือลง) และทีม ่ ากไปกว่านัน
้ ก็คอื key clicks
(สัญญาณรบกวนทีค ่ ล ้ายกับการทํางานของคันเคาะ) (ดู § II.9.25)
 นานมาแล ้ว ทีป ่ ั ญหาเรือ ่ ง Chirp และ key clicks ถือเป็ นสิง่ ปกติของสัญญาณ CW: นักวิทยุ
สมัครเล่น CW ทุกคนทราบว่า รายงาน 579C หมายถึง สัญญาณมี chirp และ 589K สัญญาณมี
key clicks ในปั จจุบน ั มีนักวิทยุสมัครเล่นจํานวนน ้อยมากทีจ ่ ะทราบว่า C และ K ทีใ่ ส่ไว ้ในรายงาน
สัญญาณการรับฟั ง ย่อมาจากอะไร ดังนัน ้ ควรส่งด ้วยคําเต็ม ‘CHIRP’ หรือ ‘BAD CHIRP’ และ
‘CLICK’ หรือ ‘BAD CLICKS’ ในรายงานการรับฟั ง ซึง่ จะเป็ นการดีกว่า

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 27


 วิธก ี าร อันเป็ นทีน
่ ยิ มใช ้กันในการจบข ้อความอย่างสุภาพและนิม ่ นวล ก็คอ
ื : ‘…TKS (thanks-
ขอบคุณมาก) FER QSO 73 ES (and-แล ้วค่อย) CUL (see you later-พบกันใหม่) W1ZZZ de
G3ZZZ SK’ คําว่า ‘SK’ เป็ น prosign ทีห ่ มายความว่า ‘จบการติดต่อกัน’ (‘end of contact’)
 ‘ดิท ดิท ดิท ดา ดิท ดา’ (‘DIT DIT DIT DAH DIT DAH’) คือ prosign ‘SK’ (from stop keying)
และไม่ใช่ ‘VA’ ทีม ่ ตี พ
ี ม
ิ พ์ไว ้ในบางที่ (การส่งคําว่า SK ติดกันโดยไม่มวี รรคตอนทีถ ่ ก
ู จะทําให ้เสียง
ออกมาเช่นเดียวกันกับการส่งคําว่า VA)
 จงอย่าส่งคําว่า ‘…AR SK’ เพราะจะฟั งแล ้ว ไม่เข ้าท่าเลย เมือ ่ เราไปบอกว่า ‘สิน ้ สุดการส่งหรือหมด
ข ้อความ + จบหรือยุตก ิ ารติดต่อกัน’ ในเมือ ่ ก็ปรากฏเป็ นทีช่ ดั เจนอยูแ
่ ล ้วว่า หลังหมดข ้อความกัน
แล ้ว เราก็หยุดส่งสัญญาณไปด ้วยโดยปริยาย หลายท่านมักจะได ้เห็นการใช ้ ‘…AR SK’ อยูเ่ ป็ น
เนืองนิตย์ ทว่า AR เป็ นคําเฝื อ ดังนัน ้ ขอให ้ละเว ้นคําดังกล่าวเสีย
 เมือ่ จบการการติดต่อ (end of QSO) แล ้ว ต ้องการจะปิ ดสถานีด ้วย เราควรส่งคําเหล่านีไ ้ ป:
‘…W1ZZZ DE G3ZZZ SK CL’ (‘CL’ คือ เครือ ่ งหมายของ การแจ ้งปิ ดสถานี- ‘closing’ or ‘closing
down’)

แบบอย่างทีใ่ ชใ้ นการติดต่อแบบ CW สาหร ับผูเ้ ริม


่ ต้น

QRL?

QRL?

CQ CQ CQ G4ZZZ G4ZZZ CQ CQ G4ZZZ G4ZZZ AR

G4ZZZ DE ON6YYY ON6YYY AR

ON6YYY DE G4ZZZ GE TKS FER CALL UR RST 579 579 MY NAME BOB BOB QTH HARLOW
HARLOW HW CPY? ON6YYY DE G4ZZZ K

G4ZZZ DE ON6YYY FB BOB TKS FER RPRT URRST 599 599 NAME JOHN JOHN QTH NR
GENT GENT G4ZZZ DE ON6YYY

ON6YYY DE G4ZZZ MNI TKS FER RPRT TX 100 W ANT DIPOLE AT 12M WILL QSL VIA BURO
PSE UR QSL TKS QSO 73 ES GE JOHN ON6YYY DE G4ZZZ K

G4ZZZ DE ON6YYY ALL OK BOB, HERE TX 10 W INV V AT 8M MY QSL OK VIA BURO 73 ES


TKS QSO CUL BOB G4ZZZ DE ON6YYY SK

73 JOHN CUL DE G4ZZZ SK

 รหัสทีเ่ กีย ้ สุดการออกอากาศโดยสรุป


่ วข ้องกับการจบหรือสิน
รห ัส ความหมาย การใช ้
AR ้ สุดข ้อความ/การส่ง
สิน เมือ
่ สิน้ สุด CQ และ เมือ ้ สุดการเรียกขานสถานีใดสถานี
่ สิน
สัญญาณ หนึง่ (1)
K เปลีย่ นเป็ นทีทา่ นพูดต่อ เมือ่ สิน้ สุดข ้อความเพือ
่ เปลีย ่ น (2) และ เมือ ้ สุดการเรียก
่ สิน
ขานสถานีใดสถานีหนึง่ (1)
KN เปลีย
่ นเป็ นทีทา่ นพูดเท่านัน
้ พูดเมือ ่ จบข ้อความ
AR K ้
สินสุดข ้อความ + ไม่ใช ้
เปลีย่ นเป็ นทีทา่ นพูดต่อ

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 28


AR KN ้ สุดข ้อความ + เปลีย
สิน ่ นให ้ ไม่ใช ้
ท่านพูดเท่านัน ้
SK สิน้ สุดการติดต่อ (สิน ้ สุด เมือ
่ จบการติดต่อ (QSO)
QSO)
AR SK หมดข ้อความ + สิน ้ สุดการ ไม่ใช ้
ติดต่อ
SK CL สิน ้ สุดการติดต่อ + ปิ ดสถานี เมือ ่ ปิ ดสถานี
(1) เมือ
่ เราตอบสถานีทเี่ รียกขาน CQ หรือ QRZ อยู่
(2) กดคีย/์ ส่ง หรือ เปลีย ่ น ครัง้ หนึง่ ไม่ใช่ การ QSO ครัง้ หนึง่ ในการ QSO ครัง้ หนึง่ จะประกอบด ้วย
คําว่าเปลีย ่ น (over) ทีต ่ ด
ิ ต่อกันหลายครัง้

II.9.7. การใชค ้ าว่า ‘BK’


 ‘BK’ (break) ใช ้ในกรณีทม ี่ กี ารสลับการติดต่อกันแบบรวดเร็วระหว่างคูส
่ ถานี โดยไม่ระบุสญ ั ญาณ
เรียกขานกันเมือ ่ หมดข ้อความแต่ละครัง้ ใช ้แทน คําว่า ‘over’ (‘เปลีย
่ น’) เหมือนกับทีใ่ ช ้กันในการ
รับ/ส่งประเภทเสียง (phone)
 ตัวอย่าง: W1ZZZ ต ้องการทราบชือ ่ ของ G3ZZZ ขณะกําลังติดต่อกันอยู่ จึงส่งข ้อความ: ‘…UR
NAME PSE BK’ ไป จากนัน ้ G3ZZZ ก็รบ ี ตอบมาทันทีวา่ : ‘BK NAME JOHN JOHN BK’
 คําว่า เบรก (break) ดังกล่าวข ้างต ้น แสดงด ้วยเครือ ่ งหมาย ‘BK’ และ การเริม ่ ส่งข ้อความของคู่
สถานีก็จะขึน ่ งหมาย ‘BK’ ด ้วยเช่นกัน แต่อย่างไรก็ตาม BK แบบหลัง ก็ไม่จําเป็ นต ้อง
้ ต ้นด ้วยเครือ
ส่งไปทุกครัง้

II.9.8. ถึงอย่างไรก็ ย ังเร็วกว่า


 บ่อยครัง้ ทีไ่ ม่มก ี ารใช ้รหัส ‘BK’ กัน นักวิทยุสมัครเล่น ก็ใช ้วิธเี ว ้นการหยุดส่งสัญญาณชัว่ ขณะ (ใน
โหมด break in ซึง่ เป็ นโหมดทีจ ่ ะทําให ้เราสามารถฟั งสัญญาณระหว่างคําหรือเครือ ่ งหมาย
ทัง้ หลายได ้) เพือ ่ เปิ ดโอกาสให ้สถานีอน ื่ แทรกส่งเข ้ามาได ้บ ้าง กรณีเสมือนว่าเรากําลังนั่งสนทนา
อยูต ่ อ
่ หน ้ากันเป็ นแบบปกติ โดยโต ้ตอบคําพูดกันไปมาแบบไม่มพ ี ธิ รี ต
ี อง (formality) อันใด

II.9.9. การใชเ้ ครือ ่ งหมาย ‘AS’ (ดิท ดา ดิท ดิท ดิท)


 หากขณะกําลัง QSO กันอยู่ แล ้วปรากฏว่ามีสถานีหนึง่ เบรกเข ้ามา (โดยส่งสัญญาณเรียกขานของ
ตนเองมาขณะทีค ่ ส
ู่ ถานีกําลังติดต่อกับเราอยู่ หรือ ขณะทีเ่ ราเว ้นจังหวะไว ้หลังคําว่า เปลีย ่ น) และ
เราต ้องการให ้สถานีนัน ้ ทราบว่า เรายังไม่ได ้จบการติดต่อ (QSO) หรือข ้อความ ก็เพียงส่งคําว่า ‘AS’
ไป ซึง่ เป็ นการแจ ้งว่า ‘รอสักครู’่ (‘hold on’) ‘รอก่อน’ (‘wait’) หรือ ‘เฝ้ าฟั งไว ้ก่อน’ (‘stand by’)

II.9.10 การใชค ้ าว่า ‘KN’


 ‘K’ = เปลีย ่ น (‘over’) การส่งเพียงคําว่า ‘K’ ในตอนท ้ายของข ้อความคือ การเปิ ดโอกาสให ้สถานีอน ื่
แทรกเข ้ามาได ้ หากไม่ต ้องการทีจ ่ ะถูกขัดจังหวะก็สง่ คําว่า ‘KN’ ไป
 ‘KN’ แปลว่า เราต ้องการได ้ติดต่อเฉพาะกับสถานีทเี่ ราเพิง่ ส่งสัญญาณเรียกขานไปเท่านัน ้ (= ‘เข ้า
มาได ้ สถานีอน ื่ รอก่อน’ หรือ ‘เปลีย่ นให ้ท่านเท่านัน ้ ขานตอบมา’) อีกนัยหนึง่ ก็คอ ื ขอความกรุณา
(สถานีอน ื่ ) อย่าเพิง่ ขัดจังหวะ (break) เข ้ามาในตอนนี้ นะครับ/คะ
 ‘KN’ ใช ้ในยามโกลาหน ตอนอยูต ่ ด ิ มุม สภาพดังกล่าวคือ: มีสถานีจํานวนมากตอบ CQ มา และเรา
รับฟั ง call sign สถานีหนึง่ ได ้บางส่วน จึงตอบไปว่า: ‘ON4AB? DE G3ZZZ PSE UR CALL AGN
(again=อีกครัง้ ) K’ สถานี ON4AB? ก็ขานตอบเรามา ในขณะทีส ่ ถานีอน ื่ อีกจํานวนหนึง่ ก็ขานตอบ
มาด ้วย ทําให ้เราไม่สามารถรับข ้อความ (copy) หรือฟั งได ้ชัดเจนและรู ้ความได ้ วิธก ี ารก็คอ ื ส่ง
ข ้อความกลับไปหา ON4AB? อีกครัง้ แล ้วลงท ้ายด ้วย ‘KN’ แทนทีจ ่ ะเป็ นเพียง ‘K’ เพือ ่ เน ้นให ้
ON4AB? ขานตอบเรามาก่อนเท่านัน ้ ตัวอย่าง: ‘ON4AB?’ DE G3ZZZ KN’ หรือแม ้แต่ ‘ONLY
ON4AB? DE G3ZZZ KN’ หากยังไม่มผ ่ ฟั งและยังรุมเรียกขานอยูอ
ี ู ้ใดเชือ ่ ก
ี ต่อไป อาจจะต ้องลอง

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 29


ส่ง: ‘ON4AB? DE G3ZZZ KN N N N’ (ปล่อยให ้มีชอ ่ งว่างระหว่างตัว N เพิม ่ ขึน
้ เล็กน ้อย) กรณี
เป็ นการแจ ้งเป็ นนัยว่า เรากําลังขุน
่ ในอารมณ์อยู่ รับรู ้ไว ้ด ้วย (really getting nervous)

II.9.11. จะขานตอบ CQ อย่างไร?


สมมติวา่ W1ZZZ กําลังเรียกขาน CQ อยู่ และเราต ้องการติดต่อด ้วย ควรจะต ้องปฏิบต ั อ
ิ ย่างไร?
 ต ้องไม่สง่ ข ้อความด ้วยความเร็วทีส ่ งู กว่า ของสถานีทเี่ รากําลังเรียกขานไป (อย่าอวด)
 จงอย่าเรียกขานหรือส่งข ้อความออกไป มากกว่าหนึง่ ครัง้
 เราสามารถใช ้ ‘K’ หรือไม่ก็ ‘AR’ ในตอนท ้ายของข ้อความได ้ (ดู § II.9.6): ‘W1ZZZ DE G3ZZZ
G3ZZZ K’, ‘W1ZZZ DE G3ZZZ G3ZZZ AR’
 ในหลายกรณี บางสถานีจะส่งเพียงสัญญาณเรียกขานไปโดยไม่มรี หัสคําใดลงท ้าย (AR หรือ K)
เลย กรณีก็ถอ ื เป็ นเรือ
่ งปกติระหว่างการแข่งขันด ้วย เช่นกัน
 จงอย่าจบข ้อความด ้วยคําว่า ‘…PSE AR’ หรือ ‘…PSE K’ (ดู § II.9.6)

II.9.12. เมือ
่ สถานีหนึง่ สง ั
่ สญญาณเรี ยกขานเรามาไม่ถก ู ต้อง
 สมมติวา่ W1ZZZ ไม่สามารถรับสัญญาณเรียกขานของเราได ้ทัง้ หมดอย่างถูกต ้อง แล ้วขานตอบมา
ว่า: ‘G3ZZY DE W1ZZZ TKS FOR CALL UR RST 479 479 NAME JACK JACK QTH BOSTON
BOSTON G3ZZY DE W1ZZZ K’
 ให ้เราขานตอบกลับไปดังนี:้ ‘W1ZZZ de G3ZZZ ZZZ G3ZZZ TKS FER RPRT…’ โดยขานซํ้า
อักษรสัญญาณเรียกขานทีร่ ับขาดหายหรือทีไ่ ม่ถก ู ต ้อง ไป 2-3 ครัง้ ทีต
่ ้องเน ้นเฉพาะส่วนของ
สัญญาณเรียกขานส่วนทีไ่ ม่ถกู ต ้อง ก็เพือ
่ ให ้คูส
่ ถานีมส ี มาธิในการรับฟั ง จนสามารถแก ้ไขให ้ถูกต ้อง
ต่อไปได ้

II.9.13. เรียกขานสถานีทเี่ พิง่ จบการติดต่อก ัน


 เมือ ่ มีคส
ู่ ถานีหนึง่ ติดต่อกันอยูแ ่ ละกําลังจะจบลง และถ ้าปรากฏว่า สถานีทัง้ สองจบลงด ้วยคําว่า ‘CL’
(‘closing down’) กรณีหมายความว่า ความถีน ่ ัน
้ กําลังจะว่างลง หลังจากทัง้ คูจ ่ บการติดต่อกันแล ้ว
หากสถานีใดสถานีหนึง่ หรือทัง้ คูจ ่ บด ้วยคําว่า ‘SK’ (จบการออกอากาศติดต่อกัน) อาจเป็ นไปได ้ว่า
สถานีใดสถานีหนึง่ จะยังคงอยูบ ่ นความถีต ่ อ ่ ไป เพือ ่ ติดต่อหรือรับ QSO เพิม ่ (โดยหลักแล ้ว คือผู ้ที่
เริม
่ เรียกขาน CQ ในความถีน ่ ัน
้ )
 ต่อกรณีข ้างต ้น ควรรอจนกว่าสถานีใดสถานีหนึง่ จะเรียกขาน CQ ใหม่อก ี ครัง้ จะเป็ นการดีทส
ี่ ด

(อย่าเรียกขานเข ้าไปทันทีทน ั ใด เมือ่ ทัง้ คูเ่ พิง่ จบการติดต่อกัน)
 ตัวอย่าง: W1ZZZ ได ้จบการติดต่อกับ F1AA: ‘…73 CUL (see you later = แล ้วพบกันใหม่)
F1AA de W1ZZZ SK’
 หากปรากฏว่าทัง้ คู่ ไม่มส ี ถานีใดเรียกขาน CQ ต่ออีกแล ้ว สถานีอน ื่ หรือสถานีเรา ก็สามารถเรียก
ขานสถานีใดสถานีหนึง่ (ทีเ่ พิง่ จบการติดต่อกันไปนัน ้ ) ได ้เลย
 สมมติวา่ สถานีเรา (G3ZZZ) ต ้องการเรียกขาน F1AA แล ้วจะปฏิบต ั เิ ช่นไร? โดยไม่ยงุ่ ยากแม ้แต่
น ้อย ก็เพียงส่ง ‘F1AA de G3ZZZ G3ZZZ AR’ ไป เท่านัน ้
 การไม่ขานสัญญาณเรียกขานสถานีทเี่ ราต ้องการติดต่อด ้วย ถือว่าไม่เหมาะสม ส่งสัญญาณเรียก
ขานสถานีทเี่ ราต ้องการติดต่อไป 1 ครัง้ แล ้วตามด ้วยสัญญาณเรียกขานของเรา 1 หรือ 2 ครัง้
ขอให ้ปฏิบต ั เิ ช่นนี้

II.9.14. การใชเ้ ครือ่ งหมาย ‘=’ หรือ ‘ดา ดิท ดิท ดิท ดา’
 บางสถานีเรียกสิง่ นีว้ า่ ‘BT’ เพราะจะดูคล ้ายตัวอักษร B และ T เมือ
่ ส่งไปโดยไม่เว ้นวรรค (เหมือน
่ ง่ ไปโดยไม่เว ้นวรรคระหว่างตัวอักษร) แต่คํานีม
‘AR’ ทีส ้ ค
ี วามหมายเช่นเดียวกับ เครือ่ งหมายเท่ากับ
(=) ใน CW นั่นเอง

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 30


 ดา ดิท ดิท ดิท ดา (DAH DIT DIT DIT DAH) ถูกใช ้เป็ นต ัวเสริม (filler) เพือ ่ ให ้ผู ้ส่งสัญญาณ
CW หยุดสัก 1 วินาที ขณะทีก ่ ําลังคิดว่าจะส่งคําอะไรต่อไปอีก นอกจากนัน ้ ยังถูกใช ้เป็ น ต ัวแบ่ง
(separator) ระหว่างข ้อความทีย ่ าว (chunks) ด ้วย
 ตัวเสริม จะถูกใช ้เพือ่ ป้ องกันมิให ้คูส ่ ถานีของเรา ตอบเราหรือออกอากาศในระหว่างทีเ่ รายังไม่ได ้จบ
ประโยคหรือข ้อความ หรือเรายังไม่สน ิ้ สุดสิง่ ทีเ่ ราต ้องการส่งไปทัง้ หมด คํานีจ ้ ะคล ้ายกับคําว่า เออ
เออ หรือ อ ้า อ ้า ในภาษาพูด นั่นเอง
 ผู ้ทีอ
่ อกอากาศ CW บางราย ดูเสมือนว่าจะส่ง ดา ดิท ดิท ดิท ดา (DAH DIT DIT DIT DAH ให ้
เป็ น ตัวขัน
้ ระหว่างคํา (text separator) ตลอดการติดต่อ (QSO) เพือ ่ ทําให ้ข ้อความทีส ่ ง่ ทีไ่ ปนัน

อ่านได ้ง่ายขึน ้ ตัวอย่าง: ‘W1ZZZ DE G4YYY = GM = TU FER CL = NAME CHRIS QTH
SOUTHAMTON = RST 599 = HW CPI? W1ZZZ DE G4YYY KN’ การใช ้ตัวขัน ้ เช่นนีด ้ คู ล ้ายว่า
จะไม่ใช่เรือ ่ งปกติในปั จจุบนั แล ้ว และหลายสถานีกค ็ ดิ ว่าจะทําให ้เสียเวลาด ้วย: ‘W1ZZZ DE
G4YYY GM TU FER CL NAME CHRIS QTH SOUTHAMTON RST 599 HW CPI? W1ZZZ DE
G4YYY KN’ แท ้จริงแล ้ว แบบนีก ้ ็สามารถอ่านได ้ง่ายเท่ากับแบบทีม ่ ต
ี วั ขัน
้ เช่นกัน

II.9.15. สง ่ รห ัสเสย
ี งทีด
่ อ ี อกไป
 การฟั งสัญญาณ CW ควรจะต ้องคล ้ายกับฟั งเพลงทีไ่ พเราะ เมือ ่ ผู ้ใดก็ตาม ในขณะฟั งอยู่ ต ้องไม่
รู ้สึกว่าคล ้าย เป็ นการ ถอดรหัส ทีต ่ นเองไม่เคยรู ้จักมาก่อน หรือ เหมือนเล่นเกมส์ตอ ่ คํา (puzzle)
อยู่
 ควรให ้แน่ใจว่าได ้เว ้นช่องว่างระหว่าง ตัวอักษร และคําทัง้ หลาย ได ้อย่างถูกต ้อง การส่งแบบเร็ว
โดยเว ้นวรรคให ้มากขึน ้ อีกเล็กน ้อย ปกติแล ้วจะช่วยให ้การรับข ้อความทัง้ หมดโดยทั่วไปง่ายขึน ้
 เหล่านักวิทยุสมัครเล่น CW ทีม ี ระสบการณ์สงู (ขัน
่ ป ้ เทพ) ไม่ได ้ฟั งเพียงตัวอักษร แต่จะฟั งทัง้ คํา
เป็ นทีแ ่ น่นอนว่า สิง่ นีจ
้ ะเกิดขึน้ ได ้ ก็ด ้วยจากการส่งทีม ่ ช ่ งว่างระหว่างคําทีเ่ หมาะสม เมือ
ี อ ่ เราเริม ่ ได ้
ยินเป็ นคําแทนการได ้ยินเป็ นตัวอักษรทีไ่ ล่เรียงตามกันมาแต่ละตัวได ้เมือ ่ ใด เมือ
่ นัน
้ เราก็กําลังไปถึง
จุดนัน ้ แล ้ว! ในการสนทนาทีค ่ สู่ นทนาอยูต ่ อ่ หน ้ากัน (face-to-face conversation) ทัง้ คูจ ่ ะฟั งจาก
คําทีพ ่ ดู ออกมา มิใช่จากตัวอักษร ใช่หรือไม่? ฉั นใดก็ฉันนัน ้
 เมือ ่ ใช ้คันเคาะอัตโนมัต ิ (automatic keyer) เราควรปรับ อัตราส่วนระหว่างสัดส่วนช่องว่างของดิท
หรือนํ้ าหนัก (DIT/space ratio หรือ weight) ให ้ถูกต ้องด ้วย คันเคาะจะให ้เสียงทีด ่ ที ส
ี่ ด
ุ (ไพเราะ
ทีส ่ ดุ ) หากได ้ปรับให ้นํ้ าหนักไปอยูท ่ างด ้านสูง (ดิท ยาวกว่าช่องว่างเล็กน ้อย) เมือ ่ เทียบกับ
อัตราส่วนมาตรฐานทีเ่ ป็ น 1/1 (standard 1/1 ratio)
 ข ้อควรคํานึง: นํ้ าหนัก ไม่ใช่ อัตราส่วน ดิท/ดา ทีป ่ กติกําหนดไว ้เป็ น 1/3 ในคันเคาะส่วนใหญ่ (ซึง่
ไม่สามารถปรับแต่งได ้)

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 31


II.9.16. เมือ ่ ตา่ )
่ เราเป็นสถานี QRP (= กาล ังสง

 สถานีกําลังส่งตํา่ หรือ QRP station คือสถานีทอ ี่ อกอากาศด ้วยกําลังส่งสูงสุดไม่เกิน 5 วัตต์ (CW)


และไม่เกิน 10 วัตต์ (SSB)
 จงอย่าส่งสัญญาณเรียกขานของเราไปว่า ‘G3ZZZ/QRP’ ซึง่ ถือเป็ นเรือ ่ งที่ ผิดกฎ ด ้วย ในหลาย
ประเทศสมาชิก (เช่น เบลเยีย ่ ม) คําว่า QRP ไม่ถอ ื ว่าเป็ นส่วนหนึง่ ของสัญญาณเรียกขาน ดังนัน ้
จึงไม่สามารถส่งรหัสดังกล่าวไปเป็ นส่วนหนึง่ ของสัญญาณเรียกขานได ้ ในบางประเทศจะอนุญาต
ให ้ส่งเครือ
่ งหมายต่อท ้ายฯ เช่น /P, /A, /M, /MM และ /AM ได ้เท่านัน ้
 หากเป็ นสถานี QRP ทีแ ่ ท ้จริง เราอาจจะเป็ นสถานีทม ี่ ส ั ญาณอ่อนหรือด ้อย สําหรับสถานีทเี่ รา
ี ญ
กําลังเรียกขานอยูไ่ ด ้ การเพิม ่ ตัวเหนีย
่ วรัง้ เข ้าไปในสัญญาณเรียกขานของเราโดยไม่จําเป็ น
(เครือ่ งหมายทับและตัวอักษร QRP) ยิง่ จะทําให ้การอ่านหรือถอดรหัสสัญญาณเรียกขานเรา (โดยคู่
สถานี) ลําบากมากขึน ้ ไปอีก!
 แน่นอน เราสามารถแจ ้งได ้ตลอดเวลาระหว่างการติดต่อกันว่า เราเป็ นสถานี QRP ดังตัวอย่าง:
‘…PWR 5W 5W ONLY…’
 หากจะเรียกขาน CQ เป็ นแบบสถานี QRP และต ้องการให ้ผู ้รับทราบตลอดเวลาที่ CQ ก็สามารถ
บอกกล่าวได ้ดังนี:้ ‘CQ CQ G3ZZZ G3ZZZ QRP AR’ โดยเพิม ่ ระยะช่องว่างระหว่างสัญญาณเรียก
ขานของเรากับ ‘QRP’ ขึน ้ อีกเล็กน ้อย และให ้ละเว ้นการส่งเครือ ่ งหมาย ทับ (slash) ไประหว่าง
สัญญาณเรียกขานของเรากับ ‘QRP’
 หากต ้องการจะเรียกขานสถานี QRP เป็ นการเฉพาะ ให ้เรียกขาน CQ ดังนี:้ ‘CQ QRP CQ QRP
G3ZZZ G3ZZZ QRP STNS (stations) ONLY AR’

II.9.17. การใช ้ ‘QRZ?’ ทีถ ่ ก


ู ต้อง
 ‘QRZ?’ แปลว่า ‘ผู ้ใดเรียกขานผม/ดิฉัน?’ และมิได ้หมายความเป็ นอย่างอืน ่ ใช ้เมือ
่ ไม่สามารถรับ
ข ้อความจากสถานีทเี่ รียกหรือขานตอบเรามาได ้ครบถ ้วน
 สําหรับ CW ให ้ส่งคําว่า QRZ แล ้วตามด ้วย เครือ ่ งหมายคาถาม (‘QRZ?’) ไปเสมอ เช่นเดียวกับที่
ใช ้ในรหัสคิว (Q code) เมือ ่ เป็ นคําถาม
 แบบอย่างทีใ่ ช ้กัน: หลังจากทีข ่ าน CQ ออกไปแล ้วปรากฏว่า F9ZZZ ไม่สามารถรับหรือถอดรหัส
ของสถานีใดทีข ่ านตอบมาได ้เลย จากนัน ้ F9ZZZ ก็จะส่งข ้อความ: ‘QRZ? F9ZZZ’ ออกไป
 หากเรารับสัญญาณเรียกขานได ้บางส่วน (ON4…) และหากมีหลายสถานีรม ุ เรียกขานเข ้ามา จงอย่า
ส่ง ‘QRZ’ แต่ให ้เป็ น ‘ON4 AGN (again-อีกครัง้ ) K’ หรือ ‘ON4 AGN KN’ (‘KN’ ระบุไว ้ให ้ชัดเจนว่า
เราต ้องการรับฟั งจากสถานี ON4 เท่านัน ้ ) จงจําไว ้ด ้วยว่า เราจะใช ้ ‘K’ หรือ ‘KN’ และ ไม่ใช่ ‘AR’
เพราะเป็ นการขานกลับไปให ้สถานี ON4 ขานตอบเรามาเป็ นการเฉพาะ ซึง่ เรารับอักษรตัวท ้ายของ
สัญญาณเรียกขาน (suffix) ไม่ได ้ กรณีจะต ้องไม่สง่ ‘QRZ’ ออกไป เพราะหาไม่แล ้ว สถานีอน ื่ ที่
กําลังเฝ้ ารออยูก ่ ็จะรุมเรียกขานเข ้ามาอีก
 ‘QRZ’ ไม่ได ้หมายความว่า ‘who is there?’ (‘มีทา่ นใดอยูต ่ รงนัน ้ หรือไม่?’) หรือ ‘who is on the
frequency?’ (‘มีทา่ นใดอยูใ่ นความถีบ ่ ้าง?’) สมมติวา่ เกิดมีบางสถานีผา่ นเข ้ามาในความถีท ่ ก ี่ ําลัง
เรียกขานกันอยูอ ่ ย่างหนาแน่น และหยุดฟั ง เมือ ่ ได ้เฝ้ าฟั งอยูพ่ ักหนึง่ แล ้วก็ยงั ไม่ปรากฏว่ามีสถานีใด
ขานสัญญาณเรียกขานของตนเองแม ้แต่สถานีเดียว และเมือ ่ สถานีดังกล่าวต ้องการทราบ วิธท ี ถ ี่ ก
ู ที่
ควรก็คอ ื ส่งคําว่า ‘CALL?’ หรือ ‘UR CALL?’ (หรือ ‘CL?’, ‘UR CL?’) ไป การใช ้ ‘QRZ’ ในทีน ่ จ ี้ งึ ไม่
เหมาะสม เมือ ่ ส่งคําว่า ‘CALL?’ ไป ในหลักการแล ้ว ก็ควรจะต ้องแจ ้งสัญญาณเรียกขาน (call) ของ
เราไปด ้วยเช่นกัน หาไม่แล ้ว ก็จะกลายเป็ นการออกอากาศทีไ่ ม่แสดงตัวตน ซึง่ ถือว่าเป็ นการกระทํา
ทีผ่ ด
ิ กฎ (illegal) ด ้วยเช่นกัน

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 32


II.9.18. การใช ้ ‘?’ แทนทีจ ่ ะเป็น ‘QRL’
 ก่อนทีจ ่ ะใช ้ความถี่ ซึง่ แม ้จะปรากฏว่า ว่างอยูอ ่ ย่างไร ้ข ้อสงสัยแล ้วก็ตาม เราจําเป็ นต ้องตรวจสอบ
ให ้แน่ใจว่าไม่มผ ี ู ้ใดกําลังใช ้ความถีน ่ ัน
้ อยูอ
่ ย่างแท ้จริงอีก โดยไม่ควรละเลย (บางทีเราอาจจะไม่ได ้
ยินสถานีอก ี ฟากหนึง่ ของ QSO ทีก ่ ําลังออกอากาศอยู่ เนือ ่ งจากสภาพการแพร่กระจายคลืน ่ ก็ได ้)
 ขัน ้ ตอนปกติ มีดังนี:้ ส่งคําว่า ‘QRL?’ (ใน CW) ไป หรือถามไปว่า ‘is this frequency in use?’ (‘มี
ท่านใดใช ้ความถีน ่ อ
ี้ ยูบ
่ ้าง?’) ในการออกอากาศประเภทเสียง (phone)
 ส่วนแบบ CW ง่ายทีส ่ ดุ ก็เพียงส่ง ‘?’ ไปเท่านัน ้ เพราะเหตุวา่ การส่งแบบนีไ ้ ปจะทําให ้เกิดการไป
รบกวน (QRM) น ้อยลง หากปรากฏว่ามีผู ้อืน ่ กําลังใช ้ความถีน ่ ัน
้ อยู่
 แต่ทว่า ‘?’ สามารถถูกแปลความหมายไปได ้หลายอย่าง (บ่งบอกว่า: ผม/ดิฉัน กําลังถามคําถามอยู่
แต่ไม่ได ้ระบุวา่ เป็ นคําถามใด...) ดังนัน ้ จงใช ้คําว่า ‘QRL?’ เสมอ การส่งเพียงเครือ ่ งหมายคําถามไป
จะสร ้างความสับสนได ้มากมาย

II.9.19. การสง ่ คาว่า ‘ดิท ดิท’ ในตอนท้ายของ QSO


 เมือ่ คูส
่ ถานีทัง้ สองจบการติดต่อ (QSO) กันแล ้ว ทัง้ คูม
่ ก
ั จะส่งรหัสตัวท ้ายสุดด ้วยคําว่า ดิท (DIT)
สองครัง้ โดยเว ้นระยะห่างกันมากกว่าปกติพอควร (เช่น e e) กรณีหมายความและฟั งได ้ว่า เป็ น
การบอกลากัน (‘bye bye’)

II.9.20. การแก้ไขข้อความทีส ่ ง ่ ผิด


 สมมติวา่ เราได ้ส่งข ้อความทีผ ่ ด ิ พลาดไป ให ้หยุดส่งต่อทันที รอเพียงเสีย ้ ววินาที หรืออึดใจหนึง่

แล ้วก็สงเครือ่ งหมาย (prosign) ‘HH’ (= 8 ดิท) ไป แต่ทัง้ นี้ ก็มใิ ช่เรือ ่ งง่ายเสมอไปทีจ ่ ะส่ง 8 ดิท
ไปได ้โดยไม่ขาดไม่เกิน ในขณะทีเ่ ราก็ยงั กังวลอยู่ จากการทีไ่ ด ้ส่งข ้อความผิดพลาดไปแล ้ว และ
สถานีเหล่านัน ้ ก็ต ้องการให ้เราส่ง 8 ดิท ไปให ้ได ้พอดิบพอดีด ้วย: ดิท ดิท ดิท ดิท ดิท ดิท ดิท ดิท
ไม่ใช่ 7 หรือ 9!
 ตามความเป็ นจริงในทางปฏิบต ั แ ิ ล ้ว นักวิทยุสมัครเล่นจะส่งไปเพียงไม่ก ี่ ดิท (เช่น 3) ด ้วยช่องว่างที่
มากกว่าปกติระหว่างเสียงดิท: ‘ดิท _ ดิท _ ดิท’ ช่องระหว่างดิท ดังกล่าวบ่งบอกว่า ผู ้ส่งไม่ได ้
กําลังส่งรหัสอักษรหรือตัวเลข
 ส่งคํา (ทีถ ่ ก
ู ต ้อง) ใหม่อก ี ครัง้ เมือ ่ เราได ้ส่งผิดพลาดไป และก็ใช ้วิธเี ช่นนีท ้ ก
ุ ครัง้ เมือ
่ เกิดความ
ผิดพลาดซํา้ ขึน ้ อีก
 บ่อยครัง้ เช่นกัน ทีม ่ ก
ี ารส่ง ดิท สามครัง้ ติดกันไป เมือ ่ ผู ้ส่งเห็นว่าตนเองส่งข ้อความผิด จากนัน ้ ก็จะ
หยุดรอประมาณ 1 วินาที แล ้วจึงส่งข ้อความเดิมทีถ ่ ก
ู ต ้องไปใหม่

II.9.21. การแข่งข ัน CW
 ดู § II.8.6 ประกอบด ้วย
 Contest หรือ การแข่งขันหมายถึง ความเร็ว ประสิทธิภาพ และความถูกต ้องแม่นยํา ดังนัน ้ ให ้ส่ง

เฉพาะสิงทีจ ่ ําเป็ นไปเท่านัน้ โดยเคร่งครัด
 การเรียกขาน CQ แข่งขัน (contest CQ) มีวธิ ด ี ังนี:้ ‘G3ZZZ G3ZZZ TEST’ คําว่า TEST ควรจะอยู่
ในตอนท ้ายของการเรียกขาน CQ
- เพราะเหตุใดรึ? เพราะว่าสถานีใดก็ตาม ทีผ ่ า่ นเข ้ามาในความถีแ
่ ล ้วได ้ยินในตอนท ้าย จะทราบได ้
ทันทีวา่ เรากําลังเรียกขาน CQ แข่งขันอยู่
- สมมติวา่ เราจบการเรียกขาน CQ contest ด ้วยสัญญาณเรียกขานของเรา (เพียงอย่างเดียว):
แล ้วบังเอิญมีผู ้เข ้ามาได ้ยินเข ้าและต ้องการติดต่อกับสถานีเรา แต่ไม่อาจทราบในขณะนัน ้ ได ้ว่า
เรากําลังเรียกขานผู ้อืน ่ อยู่ หรือว่ากําลังเรียกขาน CQ contest ดังนัน ้ สถานีดังกล่าวก็จําต ้องรอ
ให ้เราเริม่ ขานใหม่อก ี รอบหนึง่ : เป็ นการเสียเวลาไปโดยเปล่าประโยชน์ (a waste of time)

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 33


- ดังนัน ้ จงจบการ CQ แข่งขันด ้วยคําว่า TEST ไว ้เสมอ จําไว ้ด ้วยว่า แม ้แต่คําว่า CQ ก็ยงั ถูกตัด
ออกด ้วยซํา้ ในขณะแข่งขัน เพราะคํานีม ้ ไิ ด ้ให ้ข ้อมูลอะไรเพิม ่ ขึน ้ เลย (no additional
information)
 ผู ้เข ้าแข่งขันทีม ่ ป
ี ระสบการณ์ จะขานตอบเราด ้วยสัญญาณเรียกขานของเขาเพียงครัง้ เดียวเท่านัน ้
ไม่มากไม่น ้อยไปกว่านี้ ตัวอย่างเช่น ‘W1ZZZ’ หากเราซึงเป็ นผู ้ CQ ไม่ขานตอบกลับไปภายใน 1 ่
วินาที สถานีดังกล่าวก็จะส่งฯ มาอีกครัง้ เว ้นแต่วา่ เราได ้ตอบกลับไปยังสถานีอน ื่ ก่อนแล ้ว
 เมือ ่ เรารับทราบ (copy) สัญญาณเรียกขานสถานีดังกล่าวได ้เรียบร ้อยแล ้ว ก็ตอบสถานีนัน ้ ไปดังนี:้
‘W1ZZZ 599001’ หรือ ‘W1ZZZ 5991’ เมือ ่ กฎของการแข่งขันอนุญาตให ้ตัดเลขศูนย์หน ้าเลข
ลําดับออกได ้ หากจะให ้เร็วขึน ้ ก็ให ้ใช ้ ตัวเลขย่อ (abbreviated number): ‘W1ZZZ 5NNTT1’ หรือ
‘W1ZZZ 5NN1’ (ดู § II.9.22)
 ในการแข่งขันส่วนใหญ่ การแลกเปลีย ่ นข ้อมูลกันจะประกอบด ้วย รายงานแบบ RST แล ้วตามด ้วย
เช่น เลขลําดับ ต ้องไม่สง่ สิง่ อืน ่ ใดนอกเหนือจากนี้ ไม่มค ี ําว่า ‘K’ ต่อท ้าย ไม่มค ี ําว่า ‘73’ ไม่มค ี ําว่า
‘CUL’ (แล ้วพบกันใหม่) ไม่มค ี ําว่า‘GL’ (โชคดีนะ); ไม่มช ่ งว่างสําหรับคําประเภทนีใ้ นการแข่งขัน
ี อ
ที่ ความเร็ว เป็ นสิง่ สําคัญทีส ุ (speed is the name of the game)
่ ด
 ด ้วยการเป็ นแบบอย่างทีด ่ ี W1ZZZ จะขานตอบกลับมาดังนี:้ ‘599012’ หรือ ‘5NNT12’
 หากสถานีนัน ้ ไม่สามารถรับรายงานฯ เราได ้ เขาก็ควรจะส่งคําว่า ‘AGN?’ มา หากไม่สง่ คําดังกล่าว
กลับมา ก็แสดงว่าสถานีนัน ้ รับรายงานฯ เราได ้เรียบร ้อยแล ้ว ไม่มค ี วามจําเป็ นจะต ้องส่งคําว่า ‘TU’
‘QSL’ ‘R’ หรืออะไรก็ตาม กลับไปเพือ ่ ยืนยันการรับรายงานฯ กรณีจะทําให ้เป็ นการเสียเวลาโดย
เปล่าประโยชน์ ทัง้ สิน ้
 ทัง้ หลายทัง้ ปวงทีต ่ ้องปฏิบต ั ก ิ ค ็ อ ื จบการติดต่อ (ให ้เร็ว) วิธป ี ฏิบต ั ทิ ส ี่ ภ ุ าพในเรือ ่ งนี้ (ขณะแข่งขัน)
ก็คอ ื : ‘TU GM3ZZZ TEST’ คําว่า TU (ขอบคุณครับ/ค่ะ) เป็ นคําทีบ ่ ง่ บอกว่า การติดต่อทีเ่ กิดขึน ้
เสร็จสิน ้ จบลงแล ้ว คําว่า GM3ZZZ ระบุตัวตนเราให ้กับบรรดาสถานีทต ี่ ้องการเรียกขานเราต่อ และ
คําว่า TEST หมายถึงการเรียกขาน CQ contest รอบใหม่ หากอัตราการติดต่อมีสงู (ถูกรุมฯ) ก็ให ้
ตัดคําว่า TU ออกไปเสีย
 แน่นอน อาจมีการปฏิบต ั ทิ แี่ ตกต่างกันออกไปบ ้างเล็กน ้อย แต่สงิ่ สําคัญทีค ่ วรระลึกไว ้เสมอ ก็คอ ื
ความเร็ว ประสิทธิภาพ และ ความถูกต ้องแม่นยํา
 ผู ้เข ้าแข่งขันส่วนใหญ่ ใช ้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สําหรับการแข่งขัน ซึง่ นอกเหนือจากการใช ้ลง log
แล ้ว ทุกคนยังสามารถตัง้ โปรแกรมดังกล่าวเพือ ่ ให ้ส่งรหัส CW ทีเ่ ป็ นข ้อความแบบสัน ้ ได ้ (การ CQ
รายงานสัญญาณ ฯลฯ) คันเคาะแบบ paddle (ใบพาย) และ keyer ทีแ ่ ยกต่างหากออกมาจะช่วยให ้
ผู ้แข่งขันสามารถสอดแทรกเพิม ่ เติมข ้อความด ้วยมือได ้หากมีความจําเป็ น การใช ้เครือ ่ งมือใน
ลักษณะนี้ จะช่วยลดอาการเหนือ ่ ยล ้าและช่วยเพิม ่ ความถูกต ้องแม่นยําได ้ด ้วย สําหรับการแข่งขันที่
ใช ้เวลายาวนาน ส่วนการลง log ด ้วยการใช ้ดินสอและกระดาษ ปั จจุบน ั กลายเป็ นตํานานทีถ ่ ก ู ลืม
เลือนไปเกือบหมดแล ้ว
 หากต ้องการ ตัวคูณ เพิม ่ หรือ ติดต่อกับสถานีทย ี่ งั ไม่เคยติดต่อมาก่อนเลย ก็ต ้องเปลีย ่ นความถี่
ค ้นหา (scan) ไปเรือ ่ ยๆ และหากไปพบเข ้าสถานีหนึง่ ก็ให ้เรียกขานไปว่า ‘GM3ZZZ’ ไม่ต ้องขาน
สัญญาณเรียกขานของสถานีทเี่ ราพบออกไป จะเป็ นการเสียเวลา ให ้มัน ่ ใจได ้เลยว่า สถานีดังกล่าว
ทราบสัญญาณเรียกขานของตนเองดีอยูแ ่ ล ้ว และก็ยงั ทราบอีกด ้วยว่า ผู ้ใดกําลังเรียกขานตนเองอยู่
จากเหตุการณ์และข ้อเท็จจริงทีว่ า่ เราได ้ขานสัญญาณเรียกขานของเราออกไปบนความถีท ่ ส ี่ ถานีนัน ้
กําลังออกอากาศอยู่ จงอย่าส่งข ้อความว่า ‘DE GM3ZZZ’ กลับไปด ้วย คําว่า DE ไม่ได ้มี
ความหมายอะไรเพิม ่ เติมขึน ้ เลย (ในขณะแข่งขัน)
 หากสถานีดังกล่าวไม่ตอบกลับมาหลังจากทีเ่ ราได ้เรียกขานไปแล ้ว ให ้รอ 1 วินาที แล ้วเรียกขาน
กลับไปใหม่อก ี ครัง้ หนึง่ ฯลฯ

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 34


ต ัวอย่างการติดต่อขณะแข่งข ันแบบ CW (Example of a CW contest QSO):

DL0ZZZ TEST (CQ จาก DL0ZZZ)

G6XXX (G6XXX เรียกขาน DL0ZZZ)

G6XXX 599013 (DL9ZZZ รายงานการรับฟั งให ้ G6XXX)

599010 (G6ZZZ รายงานการรับฟั งให ้ DL0ZZZ)

TU DL0ZZZ TEST (DL0ZZZ ยืนยันการรับรายงานฯ แล ้ว เรียกขาน CQ contest ต่อ)

II.9.22. ต ัวเลขย่อ (เลขทีต ่ ใชใ้ นการแข่งข ัน


่ ัดออก) เพือ
 รหัสทีใ่ ช ้แลกเปลีย
่ นกันในการแข่งขันส่วนมาก จะประกอบด ้วยชุดของตัวเลข ได ้แก่ตัวเลขของ
RST ตามด ้วยตัวเลข 3 หลักของลําดับ QSO
 เพือ ้ ลง
่ ประหยัดเวลา รหัส CW สําหรับตัวเลขบางตัว จะถูกตัดให ้สัน

1 = A (ดิท ดา แทนทีจ ่ ะเป็ น ดิท ดา ดา ดา ดา)


2, 3 และ 4 ใช ้ตามปกติ ไม่ยอ ่
5 = E (ดิท แทนทีจ ่ ะเป็ น ดิท ดิท ดิท ดิท ดิท)
6, 7 และ 8 ปกติจะไม่ยอ ่
9 = N (ดา ดิท แทนทีจ ่ ะเป็ น ดา ดา ดา ดา ดิท)
0 = T (ดา แทนทีจ ่ ะเป็ น ดา ดา ดา ดา ดา)

 ตัวอย่าง: แทนทีจ ่ ะส่ง ‘599009’ ทุกคนสามารถส่งเป็ น ‘ENNTTN’ ได ้ บ่อยครัง้ เราจะได ้เห็นเป็ น


‘5NNTTN’ เนือ ่ งจากเราต ้องการตัวเลข และถึงแม ้ว่าจะรับรายงานมาเป็ นตัวอักษรก็ตาม เราจะ
บันทึกลง log เป็ นตัวเลข โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพือ ่ การแข่งขันทีเ่ หนือกว่าทั่วไป จะทําให ้เรา
สามารถพิมพ์เป็ นตัวอักษรได ้ (ในช่องแลกเปลีย ่ น) แล ้วก็จะเปลีย
่ นเป็ นตัวเลขให ้โดยอัตโนมัต ิ
 พิมพ์ A4 แทนที่ 14 (หรือ A5 แทนทีจ ่ ะเป็ น 15 ฯลฯ) ในการแข่งขันบางรายการ (เช่น CQ WW)
เราต ้องส่ง ตัวเลขเขตของการติดต่อ (CQ zone number) ให ้เป็ นส่วนหนึง่ ของการแลกเปลีย ่ น
สําหรับการแข่งขันนัน ้ ด ้วย แทนทีจ
่ ะส่ง เช่น ‘59914’ เรามักส่งเป็ น ‘5NNA4’ หรือแม ้แต่ ‘ENNA4’

II.9.23 การปร ับความถีใ่ ห้ตรงก ันโดยสมบูรณ์ (Zero beat)


 ข ้อได ้เปรียบหลักของการติดต่อแบบ CW คือการใช ้แถบความถี่ ทีแ ่ คบกว่า (สองถึงสามร ้อยเฮิรตซ์)
ทัง้ นีค
้ ส
ู่ ถานีต ้องปรับความถีข ่ องคลืน่ ให ้ตรงกันอย่างสมบูรณ์ด ้วย
 การติดต่อทีเ่ ป็ นมาตรฐานส่วนใหญ่ ทัง้ สองสถานีจะออกอากาศทีค ่ วามถีเ่ ดียวและตรงกัน
(simplex operation) อย่างสมบูรณ์ กรณีเรียกว่า ทัง้ คูเ่ ป็ น zero beat ซึง่ กันและกัน
 คําว่า Zero beat มาจากความจริงทีว่ า่ หากสองสถานีออกอากาศในความถีเ่ ดียวตรงกันกันอย่าง
สมบูรณ์แล ้ว จังหวะการเปลีย ่ นแปลง (beat) ทีไ่ ด ้ออกมาจากการผสมสัญญาณทัง้ ของสองสถานีจะ
มีคา่ ของความถีเ่ ท่ากับศูนย์เฮิรตซ์ (Zero Hz): สัญญาณเหล่านี้ จึงถูกเรียกว่าเป็ น zero beat
 อย่างไรก็ตาม มีบอ ่ ยครัง้ ทีส
่ ญ ั ญาณถูกส่งออกมาไม่เท่ากันอย่างสมบูรณ์ ด ้วยสองเหตุผล (และ
บ่อยครัง้ จากทัง้ สองเหตุผลประกอบกัน)
- เหตุผลอันแรก ก็คอ ื การใช ้ฟั งชัน
่ RIT (Receiver Incremental Tuning) ของเครือ ่ งวิทยุสอ ื่ สาร
ไม่ถก ู ต ้อง เครือ ่ งวิทยุฯ สมัยใหม่ม ี ฟั งชัน ่ RIT ทีท
่ ําให ้เราสามารถฟั งในความถีห ่ นึง่ ซึง่ ต่างจาก
ความถีท ้ส่
่ ใี่ ช งเล็กน ้อยได ้
- เหตุผลทีส ่ อง ผู ้ออกอากาศไม่ได ้ใช ้ขัน ้ ตอนการปรับ zero beat ทีถ ่ ก
ู ต ้อง ขัน
้ ตอนการปรับ zero
beat ของเครือ ่ งวิทยุฯ สมัยใหม่ประกอบด ้วย การทําให ้โทนเสียงของ CW ทีส ่ ง่ ออกไป (CW

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 35


monitor signal) มีความถีท ่ เี่ ป็ นอันเดียวกับทีไ่ ด ้รับมา หากเรารับทีค
่ วามถี่ 600 Hz และ side
tone pitch ถูกตัง้ ไว ้ที่ 1000 Hz เราก็จะส่งต่างไป 400 Hz จากสถานีทเี่ ราเรียกขานอยู่

 สําหรับเครือ ่ งวิทยุสมัยใหม่นัน ้ เราสามารถปรับความถีข่ อง CW side tone monitor (pitch) ได ้ แล ้ว


คอยสังเกตการชดเชยความถี่ BFO
 นักวิทยุสมัครเล่น CW ทีม ่ ปี ระสบการณ์ จํานวนมาก จะรับฟั งทีโ่ ทนเคาะเสียงตํ่า หรือ low beat
tone (400-500 Hz บางครัง้ ก็ตํ่าลงถึง 300 Hz) เสียมากกว่า แทนทีจ ่ ะเป็ นประมาณ 600-1000 Hz
ซึง่ โดยมากจะใช ้กันเป็ นปกติ สําหรับ operator เกือบทุกคน การใช ้ความถี่ pitch ทีต ่ ํ่า จะทําให ้
เหนือ ่ ใช ้ระยะเวลาฟั งทีย
่ ยล ้าน ้อยกว่า เมือ ่ าวนาน และยังจะทําให ้สามารถแยกแยะช่องว่างระหว่าง
สัญญาณของคําทีช ิ กัน (closed spaced signal) ได ้ดีกว่าด ้วย
่ ด

II.9.24. จะพบชอ ่ แบบชา้ ได้ทใี่ ด?


่ ง CW ทีร่ ับ/สง
- 80 m: 3.550 – 3.570 kHz
- 20 m: 14.055 – 14.060 kHz
- 15 m: 21.055 – 21.060 kHz
- 10 m: 28.055 – 28.060 kHz

 QRS หมายถึง : ส่งช ้าลงอีก


 QRQ หมายถึง : ส่งให ้เร็วขึน

II.9.25. มีเสย ี ง key clicks หรือไม่? (Do I have key clicks?)


 ไม่เพียงเฉพาะเนือ ้ หาและรูปแบบของสิง่ ทีเ่ ราส่งไปเท่านัน ้ ทีต ่ ้องเป็ นไปอย่างถูกต ้อง แต่ยงั รวมถึง
คุณภาพของสัญญาณ CW ทีส ่
่ งไป ทีต ่ ้องดีด ้วย
 ปั ญหาคุณภาพ อันดับ 1 คือ key clicks
 Key click มักจะมีออกมาให ้เห็นเสมอ ในลักษณะของรูปคลืน ่ ทีม ่ ขี อบสัญญาณ (envelope
waveform) ผสมกับ สัญญาณทีเ่ ราส่งออกไปทีด ่ ค
ู ล ้ายคลืน ่ จัตรุ ัส (square wave) ที่ (เกือบ)
สมบูรณ์ โดยปราศจากขอบมนหรือเส ้นโค ้ง รวมทัง้ บ่อยครัง้ ทีม ่ กี ารกระชากขึน ้ ทีป
่ ลายขอบบน/
ล่าง คล ้ายหนาม (spike) สภาพดังกล่าวจะส่งผลให ้เกิดแถบความถีข ่ ้างทีก ่ ว ้างขึน ้ (wide side
band) ซึง่ จะทําให ้เกิดเป็ น เสียงคลิก (click) ทัง้ ซ ้ายและขวาของสัญญาณ CW สาเหตุหลักทาง
เทคนิคทีส ่ ร ้างปั ญหาในเรือ ่ งนีม ้ อ ี ยู่ 3 ประการด ้วยกัน
- ประการแรก คือ รูปทรงคลืน ่ เสียงของสัญญาณทีเ่ คาะไม่เหมาะสม (improperly shaped
keying waveform) มีคลืน ่ ฮาร์โมนิค (square edges) มาก สาเหตุหลักมาจากการออกแบบ
วงจรทีด ่ ้อยคุณภาพของผู ้ผลิต แต่ก็ยงั โชคดีทไี่ ด ้มีผู ้นํ าเรือ ่ งการเปลีย ่ นแปลงวงจรในการแก ้ไข
ปั ญหาดังกล่าวเป็ นจํานวนมากมาลงไว ้ในอินเตอร์เน็ต
- ประการทีส ่ อง คือ การใช ้กําลังส่งในการขับเครือ ่ งขยายกําลังส่ง (amplifier) สูงมากเกินไป
ผสมผสานกับการตัง้ ค่า ALC (automatic level control) ทีไ่ ม่เหมาะสม (improper) ในลักษณะ
ทีเ่ ป็ นการหน่วงเวลาการตอบสนองมากเกินไป (too slow attack time) กรณีจะส่งผลให ้เกิด
หนามแหลม (spike) ยาวออกมาทีข ่ อบฯ จึงมีข ้อแนะนํ าไว ้เสมอว่า ให ้ปรับกําลังส่งของเครือ ่ ง
ขยายฯ ตัวมือ (manually) และไม่ควรไปพึง่ พาอยูก ่ บ
ั การทํางานของวงจร ALC
- ประการทีส ่ าม คือ เวลาการปิ ด/เปิ ด สเควลซ์ (open/closure squelch timing) ทีไ่ ม่เหมาะสม
ของรีเลย์คลืน ่ วิทยุ (RF relays) ในขณะทีเ่ ป็ น full brake in
 เราจะทราบได ้อย่างไรว่ามี key click เกิดขึน ้ จากสถานีเราเอง? เพือ ่ นทีม ่ ป
ี ระสบการณ์ทอ ี่ ยูใ่ น
ท ้องทีใ่ กล ้เคียงจะสามารถบอกเราได ้
 และจะเป็ นการดียงิ่ ขึน ้ หากได ้ใช ้ Oscilloscope เฝ้ าตรวจวัดดูการกระจายคลืน ่ (ออกอากาศ) ซึง่ จะ
ทําให ้เราเห็นได ้อย่างต่อเนือ ่ งในรูปแบบคลืน ่ (waveform) ของสัญญาณทีส ่
่ งออกไป

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 36


 จงระลึกไว ้ด ้วยว่า แม ้แต่เครือ
่ งรับ/ส่งฯ สมัยใหม่บางรุน ่ ทีก
่ ําลังเป็ นทีน
่ ย
ิ มกันในเชิงพาณิชย์ก็
สามารถทําให ้เกิด key clicks อย่างอือ ้ อึง ได ้เช่นกัน
 หากสังเกตและได ้ยิน key clicks จากเครือ ่ งรับ/ส่งฯ หรือได ้รับแจ ้งว่ามีมากเกินไป ให ้แก ้ไขปั ญหา
หรือมองหาความช่วยเหลือเพือ ่ แก ้ไข ด ้วย key clicks จะสร ้างปั ญหาให ้กับบรรดาสถานีอน ื่ ดังนัน

การขจัด key clicks ให ้หมดไป จึงเป็ นเรือ ่ วข ้องกับจริยธรรม (ethics) ด ้วย!
่ งทีเ่ กีย

II.9.26. เร็ วเกินไปหรือไม่?


 ความเร็วทีต ่ นเองใช ้ส่ง CW ไม่สงู พอทีจ ่ ะทําให ้ได ้การติดต่อ (QSO) เป็ นจํานวนมากรึ?
 เพือ ่ เพิม ่ ความเร็วในการรับ ทุกคนจําเป็ นต ้องฝึ กซ ้อม ณ ระดับความเร็วสูงสุดทีต ่ นเองจะเคาะได ้
ก่อน จากนัน ้ จึงค่อยปรับความเร็วเพิม ่ ขึน
้ ไป และอย่างสมํา่ เสมอ (a‘ la RUFZ, ดู § II.9.27)
 เมือ ่ ระดับความเร็วสูงขึน ้ ได ้ถึงประมาณ 15 คํา/นาที ตนเองก็จะสามารถเขียนตัวอักษรทีใ่ ช ้ส่ง CW
ลงในกระดาษได ้ทีละตัว
 และเมือ ่ ได ้เกิน 15 หรือ 20 คํา/นาที ไปแล ้ว ตนเองควรจะสามารถจดจําได ้เป็ นคํา และเขียนเฉพาะ

สิงทีจ ่ ําเป็ นลงบนกระดาษ (เช่น ชือ ่ QTH WX กําลังส่ง สายอากาศ ฯลฯ)

II.9.27. ซอฟท์แวร์สาหร ับฝึ กฝน CW


 หลักสูตร UBA CW ใน UBA-Website (www.uba.be)
 G4FON Koch method trainer (www.g4fon.net)
 Just learn Morse code (www.justlearnmorsecode.com)
 Contest simulation (www.dxatlas.com/MorseRunner)
 Increase your speed using RUFZ (www.rufzxp.net)
 ฯลฯ

ข ้อแนะนํ าสําคัญสองสามประการ:

 อย่าเรียน CW โดยการนับจํานวน ดิท (DITs) และ ดา (DAHs) โดยเด็ดขาด....


 อย่าเรียน CW โดยการจัดกลุม ่ ลักษณะตัวอักษรทีค
่ ล ้ายกันไว ้ด ้วยกัน (ตัวอย่าง e, i, s, h, 5) โดย
เด็ดขาด วิธน ี จ
ี้ ะทําให ้เรานับจํานวน ดิท ดา ไปตลอดชีวต ิ !
 จงอย่าคิดถึงรหัสอักษร CW โดยใช ้ คําว่า ดอท (dot) และ แดสเชส (dashes) โดยเด็ดขาด แต่ให ้
ใช ้ คําว่า ดิท และ ดา ดอท และ แดสเชส จะทําให ้เราคิดถึงสิง่ ทีเ่ ป็ นภาพในขณะที่ ดิท และ ดา
จะทําให ้เรานึกถึงเสียงมากกว่า

II.9.28. คาย่อ สว่ นใหญ่ทใี่ ชใ้ น CW


AGN: อีกครัง้ (again)
ANT: สายอากาศ (antenna)
AR: จบข ้อความ (prosign) (end of message)
AS: รอนิดหนึง่ รอก่อนนะ (prosign) (wait a second, hold on)
B4: ก่อน (before)
BK: หยุดก่อน (break)
BTW: เอ ้อ มีอก
ี เรือ
่ งหนึง่ นะ (by the way)
CFM: (ผม/ดิฉัน) ยืนยัน (confirm)
CL: สัญญาณเรียกขาน/การเรียกขาน (call)
CL: ปิ ดสถานี (prosign) (closing)
CQ: เรียกขานทัว่ ไปกับสถานีใดก็ได ้ (general call to any other
station)
CU: แล ้วพบกันใหม่ (see you)

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 37


CUL: โอกาสหน ้าพบกันใหม่ (see you later)
CPI: รับทราบข ้อความ/รับข ้อความได ้ (copy)
CPY: รับทราบข ้อความ/รับข ้อความได ้ (copy)
DE: จาก (เช่น W1ZZZ de G3ZZZ) (from)
DWN: ลง (down)
ES: และ (and)
FB: ดี เยีย่ ม (fine business)
FER: สําหรับ (for)
GA: พูดหรือส่งต่อไป (go ahead)
GA: สวัสดียามบ่าย (good afternoon)
GD: ดี (good)
GD: สวัสดี (ไม่เจาะจงเวลา) (good day)
GE: สวัสดียามเย็น/คํา่ (good evening)
GL: โชคดี (good luck)
GM: อรุณสวัสดิ์ (good morning)
GN: ราตรีสวัสดิ์ (good night)
GUD: ดี (good)
HI: หัวเราะใน CW (laughing in CW)
HNY: สวัสดีปีใหม่ (Happy New Year)
HR: ตรงนี/้ ทีน ่ ี่ (here)
HW: เป็ นเช่นไร (เช่น HW CPY) (how)
K: เปลีย่ นเป็ นทีคณุ (over to you)
KN: เปลีย ่ นเป็ นทีของคุณคนเดียว โปรดขานต่อเลย (over to you only,
ท่านอืน ่ รอก่อน go ahead please and
others keep out)
LP: การกระจายคลืน ่ สะท ้อนหรืออ ้อมหากัน (long path)
LSN: ฟั งนะ (listen)
MX: สุขสันต์วันคริสมาส (Merry Christmas)
N: ไม่ (ปฏิเสธ) (no -negation)
NR: ตัวเลข (number)
NR: ใกล ้กับ (near)
NW: ณ เวลานี้ (now)
OM: นักวิทยุสมัครเล่นชาย (old man, male ham)
OP: นักวิทยุสมัครเล่นประจําสถานี (operator)
OPR: นักวิทยุสมัครเล่นประจําสถานี (operator)
PSE: กรุณา/โปรด (please)
PWR: กําลังส่ง (เป็ นคํานาม) (power)
R: รับทราบข ้อความ ใช่ ผม/ดิฉัน ยืนยัน (roger, yes, I confirm,
ได ้รับแล ้ว received)
RCVR: เครือ่ งรับวิทยุฯ (receiver)
RX: เครือ ่ งรับวิทยุฯ (receiver)
RIG: อุปกรณ์/เครือ ื่ สาร
่ งมือวิทยุสอ (equipment)
RPT: ้
ส่งหรือพูดซําอีก (repeat)
RPRT: รายงานการรับฟั ง (report)
SK: สิน้ สุดการติดต่อ (end of contact)

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 38


SK: นักวิทยุฯ ทีเ่ สียชีวต
ิ แล ้ว (silent key, a
deceased ham)
SP: การกระจายคลืน ่ แบบตรงหากัน (short path)
SRI: ขออภัย/ขอโทษ (sorry, excuse me)
TMW: พรุง่ นี้ (tomorrow)
TMRW: พรุง่ นี้ (tomorrow)
TKS: ขอบคุณ (แบบเป็ นกันเอง) (thanks)
TNX: ขอบคุณ (แบบเป็ นกันเอง) (thanks)
TRX: เครือ ่ งรับ/ส่งวิทยุโทรคมนาคม (transceiver)
TU: ขอบคุณ (thank you)
TX: เครือ ่ งส่ง/ภาคส่ง (transmitter)
UFB: ทําได ้เยีย ่ มมาก (ultra fine business)
UR: ของคุณ (your)
VY: มาก (very)
WX: สภาพอากาศ (weather)
XMAS: เทศกาลคริสมาส (Christmas)
XYL: ภรรยา คูค ่ รอง (wife, spouse, ex-
สตรีคนพิเศษ young lady)
YL: หญิงสาว สุภาพสตรี (young lady)
YR: ปี (year)
51 & 55 คือคําไม่สภ ุ าพสําหรับ CB ไม่ต ้องใช ้
73: ด ้วยความปรารถนาดี (ทีส ่ ด
ุ ) (best regards)
73 ก็ใช ้กับ phone ด ้วย: ต ้องไม่พด ู หรือเขียนคําว่า 73s best 73 หรือ best
73s; ทัง้ หมดเป็ นภาษาวิบต ั ิ ให ้พูดคําว่า seventy three และไม่ใช ่ seventy
threes
88: รักและจุมพิต (หลายครัง้ ) (love and kisses)
เป็ นคํากล่าวลา เช่นเดียวกันกับ ‘73’

สรุป (รห ัสคิวและเครือ ่ งหมายทีส ่ าค ัญสุด)


 AR: สิน้ สุดการออกอากาศ: บ่งบอกถึงการหยุดส่ง ซึง่ มิได ้ระบุหรือเรียกขาน
สถานีใดสถานีหนึง่ เป็ นการเฉพาะ (เช่น ในตอนท ้ายของ CQ)
 K: เปลีย ่ นเป็ นทีคณ
ุ : หมดข ้อความสนทนาทีส ่ ง่ ไประหว่างสองสถานีหรือ
มากกว่า
 KN: เปลีย ่ นให ้เฉพาะคุณเท่านัน ้ : เหมือนกับคําว่า ‘K’ แต่เน ้นว่า ไม่
ต ้องการได ้ยินจากผู ้ใดทัง้ สิน ้ ทีเ่ รียกขานมา (callers) หรือ ทีแ ่ ทรก เข ้า
มา (breakers)
 SK: สิน ้ สุดการติดต่อ (QSO): ถูกใช ้เมือ ่ จบการติดต่อ (SK = Stop Keying)
 CL: ปิ ดสถานี: เป็ นรหัสปิ ดท ้ายก่อนทีเ่ ราจะปิ ดสถานี (CL = Closing Down)
 QRL?: มีผู ้ใดใช ้ความถีน ่ อ
ี้ ยูบ
่ ้าง?: เราต ้องใช ้ประโยคนีท ้ ก
ุ ครัง้ ก่อนเรียกขาน CQ บน
ความถีใ่ หม่
 QRZ?: ผู ้ใดเรียกขานผม/ดิฉัน?: QRZ ไม่ม ี ความหมายอืน ้ นอกจากนี้
่ ใดทัง้ สิน
 QRS: ลดความเร็วในการส่ง
 AS: รอสักครู่
 =: กําลังคิดอยู่ รอหน่อย อ ้า... (ใช ้เป็ นตัวขัน ้ ระหว่างกลุม ่ อักษรทีถ ่ ก
ู แบ่ง
ออกจากกันด ้วย)

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 39


่ ทีใ่ ช ้
II.10. โหมดอืน

ทีผ
่ า่ นมา ผู ้เขียนได ้กล่าวถึงวิธปี ฏิบต
ั เิ ชิงพฤติกรรมทีล ่ งในรายละเอียดไว ้มากมาย (great details) ใน
่ ง การออกอากาศประเภทเสียง (phone) และประเภทใช ้คลืน
เรือ ่ ต่อเนือ
่ ง (CW) เนือ
่ งจากโหมด
(รูปแบบ) ดังกล่าว ตัง้ แต่อดีตจนถึงปั จจุบน ั เป็ นโหมดทีน ่ ักวิทยุสมัครเล่นใช ้กันมากทีส่ ด
ุ เราจะ
สังเกตเห็นได ้ว่าพฤติกรรมในการออกอากาศโดยทัว่ ไป ของทัง้ สองโหมดมีความคล ้ายคลึงกันมาก ที่
ต่างกันส่วนใหญ่กค ื การใช ้ รหัสคิว (Q code) เครือ
็ อ ่ งหมายทีใ่ ช ้อักษร (prosign) และศัพท์เฉพาะ
(terminology) อืน ่

ขัน้ ตอนปฏิบตั พ
ิ น
ื้ ฐานสําหรับ phone และ CW ทีไ่ ด ้ลําดับมาทัง้ หมดในตอนต ้นนัน
้ ส่วนมากจะถูก
นํ าไปใช ้ในความถีข ่ องโหมดอืน
่ ด ้วยเช่นกัน อย่างเช่น RTTY PSK(31) SSTV ฯลฯ

ี ารใช ้ โหมดทีพ
วิทยุสมัครเล่นก็มก ่ เิ ศษขัน
้ สูง (highly specialized modes) ด ้วยเช่นกัน เช่น Fax Hell
(schreiber) การติดต่อสือ ่ สาร ผ่านดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น EME (สะท ้อนผิวดวงจันทร์- Earth Moon
Earth) สะท ้อนหางดาวตก (meteor scatter) ผ่านแสงเหนือ/ใต ้ (aurora) ผ่านทาง ATV (wideband
amateur television) ฯลฯ ซึง่ ในระดับหนึง่ อาจต ้องใช ้ขัน ้ ตอนการออกอากาศเป็ นการเฉพาะ

ในลําดับต่อไปอีกประมาณสองถึงสามหน ้า ผู ้เขียนจะได ้กล่าวถึงบรรดาโหมดหรือรูปแบบอืน


่ บ ้าง

II.10.1. วิทยุโทรพิมพ์ หรือ RTTY (Radioteletype)

II.10.1.1. RTTY คืออะไร?


 หากไม่รวมถึง CW แล ้ว RTTY ถือเป็ นการ
ติดต่อสือ ่ สารในโหมดดิจต ิ อล เก่าแก่ทส ี่ ด

ทีน่ ักวิทยุสมัครเล่นมีใช ้กันมา ซึง่ แท ้จริง
แล ้ว CW ก็ถอ ื เป็ นโหมดดิจต ิ อลด ้วยเช่นกัน
RTTY ใช บ/ส่งตัวอักษร รหัสทีใ่ ช ้กับ
้รั
RTTY ถูกพัฒนาขึน ้ มาเพือ ่ ให ้
เครือ ่ งประมวลผลทีป ่ ระดิษฐ์ขน ึ้ (machine)
เป็ นตัวสร ้างและถอดรหัส ในยุคก่อน (สมัยเมือ ่ มีการประดิษฐ์เครือ่ งสร ้างและถอดรหัสในการพิมพ์
ขึน
้ ในปี ค.ศ. 1870 หรือ พ.ศ.2413) อักษรแต่ละตัวทีพ ่ ม
ิ พ์ในแป้ นพิมพ์ของเครือ่ งจะถูกเปลีย
่ นให ้
เป็ นรหัสแบบ 5 บิท (5 bit code) เริม ่ ต ้นด ้วย บิทเริม ่ (start bit) แล ้วตามด ้วยบิทหยุด (stop bit)
ภายใน 5 บิท จะสามารถผสมกันได ้ 32 แบบ (2 ยกกําลัง 5 = 2x2x2x2x2) และเนือ ่ งจากมี อักษร
26 ตัว (อักษรตัวใหญ่จะมีใน RTTY เท่านัน ้ ) รวมกับ 10 ตัวเลขและสัญลักษณ์อก ี มากมาย รหัส
Baudot สามารถให ้ความหมายทีต ่ า่ งกันของอักษรได ้ 2 แบบ ในแต่ละรหัสแบบ 5 บิท ขึน ้ อยู่
สถานะของเครือ ่ ง RTTY ทีเ่ ป็ นอยูข ่ ณะนัน ้ สถานะดังกล่าวได ้แก่ สถานะอักษร และ สถานะ
ตัวเลข (LETTERS and FIGURES states) หากเครือ
่ งกําลังส่งอักษรอยูแ
่ ละจําเป็ นจะต ้องส่ง
ตัวเลข เริม ่ แรกเครือ ่ งก็จะส่งด ้วยรหัส 5 บิททีส ่ อดคล ้องกับการส่งตัวเลข รหัสนีจ
้ ะกําหนดหรือตัง้ ค่า
ขึน
้ เพือ
่ ให ้เครือ่ งฯ (หรือ software) ทํางานใน สถานะตัวเลข หากเครือ ่ งไม่ได ้รับรหัสข ้างต ้น ตัว
เลขทีถ ่ ก
ู ส่งต่อมาก็จะถูกพิมพ์ (ด ้วยรหัสทีเ่ ท่ากัน) ออกมาเป็ นตัวอักษร ความผิดพลาดเช่นนีเ้ กิดขึน ้
ได ้บ่อยครัง้ ทีท ่ ําให ้ผู ้รับ/ส่งวิทยุ (operator) ในโหมดนี้ ตระหนักกันเป็ นอย่างดี อย่างเช่น ในขณะ
รับรายงานการรับฟั ง (599 กลับถูกรับมาเป็ น TOO) ในปั จจุบน ั สัญญาณ RTTY เกือบทัง้ หมดจะถูก
แปลโดยเครือ ่ งคอมพิวเตอร์ (PC) ทีม ่ ก
ี าร์ดเสียง (sound card) และ software ทีถ ่ ก
ู พัฒนาขึน ้ มา
เพือ่ การนีโ้ ดยเฉพาะ

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 40


 ในย่านความถีว่ ท ิ ยุสมัครเล่น รหัส Baudot ถูกส่งโดย FSK (Frequency Shift Keying) คลืน ่ พาห์
ของเครือ ่ งส่งจะเปลีย ่ นหรือเคลือ ่ นย ้าย (shift) ไป 170 Hz ระหว่างเปิ ดและปิ ด (เรียกว่า mark
and space ใน RTTY) ในยุคแรกของ RTTY การเคลือ ่ นย ้ายไป คือ 850 Hz รหัส Baudot ไม่ม ี
กลไกในการแก ้ไขข ้อผิดพลาด ความเร็วมาตรฐานทีใ่ ช ้ในวิทยุสมัครเล่น คือ 45 Baud เมือ ่ ใช ้
ความถีเ่ คลือ
่ นย ้าย 170 Hz ความกว ้างแถบความถีท ่ ี่ -6dB ของสัญญาณ FSK จะเป็ นประมาณ
250Hz
 โดยที่ RTTY เป็ นการเคลือ ่ นย ้าย (คงที)่ ของคลืน ่ พาห์ (carrier) duty cycle (อัตราร ้อยละระหว่าง
สัญญาณทีส ่ ง่ หรือระบบทีท ่ ํางานกับเวลาทีส ่ ง่ ) คือ 100% (เทียบเป็ นประมาณ 50% ของ CW และ
30-60% ในแบบ SSB ขึน ้ อยูก่ บ ั ระดับการประมวลผลของคํา (speech processing) กรณี
หมายความว่าเราจะต ้องไม่ใช อ ้เครื ่ งส่ง (ทีม
่ กี ําลังส่ง 100 วัตต์ สําหรับ SSB และ CW) ออกอากาศ
ในโหมด RTTY ด ้วยกําลังส่งเกิน 50 วัตต์ โดยเด็ดขาด (สําหรับการออกอากาศทีน ่ านเกินกว่า 2-3
วินาที)

II.10.1.2. ความถีข ่ อง RTTY


 ก่อนปี ค.ศ. 2005 (พ.ศ. 2548) IARU ได ้จัดแบ่ง แถบคลืน ่ หรือตารางการใช ้ย่านความถี (band
plan) ของวิทยุสมัครเล่นออกมาเป็ นย่าน โดยยึดถือตามโหมด (ช่วงความถี phone ช่วงความถี CW
ช่วงความถี RTTY ฯลฯ) เนือ ่ งจาก band plan ทีเ่ ริม่ มาในปี ดังกล่าวนัน ้ ตัง้ อยูบ ้ ฐานของแถบ
่ นพืน
ความกว ้างของความถีท ่ ใี่ ช ้ออกอากาศ (transmitted signal bandwidth) มากกว่า บนโหมดของ
การใช ้งาน Band Plan ของปี 2005 ดังกล่าว จึงสามารถสร ้างความสับสนให ้กับทัง้ ผู ้ทีเ่ ป็ น HAM
ใหม่และทีเ่ ป็ นมานานแล ้วได ้
 ดังนัน้ ผู ้เขียนจึงจัดเรียงลําดับแถบคลืน ่ ทีม ี ารใช ้กันมากทีส
่ ก ่ ด
ุ ในแต่ละโหมด ช่วงความถีเ่ หล่านี้
อาจจะต่างจากที่ IARU กําหนดไว ้เล็กน ้อย ตราบเท่าทีผ ่ ู ้เขียนสามารถเปรียบเทียบระหว่าง mode
กับ bandwidth ออกมาได ้ ซึง่ ก็มใิ ช่วา่ จะเป็ นทีช ั เจนแน่นอนเสมอไป และก็มไิ ด ้หมายความว่า
่ ด
ตารางแสดงความถีข ่ ้างล่างนี้ จะใช ้แทนตารางกําหนดย่านความถี่ (band plan) ของ IARU ได ้

160m: 1.838 – 1.840 kHz RTTY ใน 160m มีอยูใ่ น


ความทีก ่ ําหนดไว ้ตามตารางนี้น ้อยมาก
สหรัฐฯ: 1.800 – 1.810 MHz
80m: 3.580 – 3.600 kHz ญีป
่ น: ุ่ 3.525 kHz
40m: 7.035 – 7.043 kHz
30m: 10.140 – 10.150 kHz
20m: 14.080 – 14.099 kHz
17m: 18.095 – 18.105 kHz
15m: 21.080 – 21.110 kHz
12m: 24.915 – 24.929 kHz
10m: 28.080 – 28.150 kHz

II.10.1.3. ขนตอนเฉพาะในการออกอากาศ
ั้
 ใช ้มาตรฐานขั ้ ตอนการออกอากาศทัง้ หมดเช่นเดียวกับทีใ่ ช ้ในแบบ Phone และ CW

 RTTY มีความอ่อนไหวต่อการรบกวนจาก QRM มากทีส ่ ดุ (มีทกุ ชนิดของการรบกวน) จึงควรต ้อง
รับ/ส่งในแบบต่างความถี่ (split) เมือ ่ โดนรุมเรียกขาน (ดู § III.1)
 บรรดารหัสคิว (Q codes) ทัง้ หลาย เริม ่ แรกถูกพัฒนาขึน ่ ใช ้กับ CW ต่อมานักวิทยุสมัครเล่นเริม
้ เพือ ่
นํ า Q codes มาใช ้กับ phone มากขึน ้ และได ้รับการยอมรับกันอย่างแพร่หลาย แน่นอน ผู ้ใดก็
สามารถนํ า Q code เหล่านีม ้ าใช ้กับโหมดดิจต ิ อล อย่างเช่น RTTY และ PSK (ดู § II.10.2) ได ้ ซึง่
ก็ยงั จะดีกว่าทีจ ่ ะไปคิดค ้นรหัสแบบอืน ่ มาใช นใหม่ ทีร่ งั แต่จะนํ ามาซึง่ ความสับสนทีย
้กั ่ ากจะ
หลีกเลีย ่ งได ้ในทีส ่ ด

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 41


 ในโหมดดิจต ิ อล โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทัง้ หมดมีความสามารถทีจ ่ ะช่วยสร ้างไฟล์ด ้วยข ้อความสัน ้ ที่
เป็ นมาตรฐาน (short prepackage standard message) ซึง่ สามารถนํ ามาใช ้ในการติดต่อ (QSO)
กันได ้ ตัวอย่างอันหนึง่ ทีเ่ รียกกันว่า ช่อง brag tape ทีส ่ ามารถใส่ข ้อมูลได ้อย่างไม่จํากัดเกีย ่ วกับ
สถานีของเราและ PC ทีเ่ รากําลังใช ้อยูเ่ พือ ่ ส่งเป็ นข ้อมูลออกไป โปรดอย่าส่งข ้อมูลรายละเอียด
เหล่านีอ ้ อกไป เว ้นแต่คส
ู่ ถานีจะร ้องขอมา ข ้อมูลทีก ่ ระชับเพียง ‘TX 100 W, and dipole’ ก็
เพียงพอแล ้ว ให ้ส่งข ้อความทีค ่ ส
ู่ ถานีเราสนใจอยากจะทราบไปเท่านัน ้ ไม่ต ้องจบการติดด ้วยการ
บอกเวลา จํานวน QSO ใน log ของเรา ทัง้ หมดเป็ นข ้อมูลทีป ่ ราศจากคุณค่าอันใดทัง้ สิน ้ คูส
่ ถานีเรา

มีนาฬกาใช ้ และคงไม่ยห ี่ ระว่า สถานีเราจะติดต่อได ้กี่ QSO แล ้วด ้วย จงให ้ความสําคัญกับความ
ต ้องการของคูส ่ ถานี โดยการไม่ไปบังคับให ้ท่านเหล่านัน ้ ต ้องมาฟั งในสิง่ ทีท
่ า่ นมิได ้ปรารถนาจะฟั ง
(garbage=ขยะมูลฝอย) แม ้แต่น ้อยเลย

ล ักษณะจาเพาะของ RTTY QSO

QRL? DE PA0ZZZ

QRL? DE PA0ZZZ

CQ CQ DE PA0ZZZ PA0ZZZ PA0ZZZ AR

PA0ZZZ DE G6YYY G6YYY K


G6YYY DE PA0ZZZ GA (good afternoon) OM TKS FER CALL UR RST 599 599 NAME BOB BOB
QTH ROTTERDAM ROTTERDAM HW CPI? G6YYY DE PA0ZZZ K

PA0ZZZ DE G6YYY GA BOB UR RST 599 599 NAME JOHN JOHN QTH LEEDS LEEDS PA0ZZZ
DE G6YYY K

G6YYY DE PA0ZZZ TKS RPRT JOHN STN 100 W ANT 3 EL YAGI AT 18M WX RAIN PSE QSL
MY QSL VIA BUREAU 73 AND CUL G6YYY DE PA0ZZZ K

PA0ZZZ DE G6YYY ALL OK BOB QSL VIA BUREAU 73 AND TKS QSO PA0ZZZ DE G6YYY SK

73 G6YYY DE PA0ZZZ SK

II.10.1.4. ความถีส ่ ง ่ ทีร่ ะบุในโหมด RTTY (Nominal transit frequency in RTTY)


 ได ้มีการกําหนดความหมายไว ้ 2 แบบ มานานแล ้วดังนี:้

1. สญญาณเครื อ
่ งหมาย (mark signal) เป็ นตัวกําหนด ความถีท ่ รี่ ะบุ (nominal
frequency) ของสัญญาณ RTTY (อันใด อันหนึง่ )

2. สญญาณเครื อ่ งหมาย จะต ้องถูกส่งทีร่ ะดับ ความถีส ่ ง ู สุด (highest frequency) เสมอ
 หากได ้ฟั งแล ้วจะทราบได ้อย่างไรว่า สัญญาณใดของเสียงทัง้ สองทีไ่ ด ้ยินเป็ น สัญญาณ
เครือ
่ งหมาย? คําตอบคือ หากเราฟั งจากสัญญาณในแถบความถีข ่ ้างด ้านสูง (upper side band)
สัญญาณเครือ ่ งหมาย คือ สัญญาณทีม ่ โี ทนเสียงสูงกว่า (higher audio tone) และหากเป็ นในแถบ
ความถีข ่ ้างด ้านตํา่ (lower side band) ก็จะเป็ นไปในทางกลับกัน
 ปกติสญ ั ญาณ RTTY จะถูกสร ้างขึน ้ โดยการใช ้วิธใี ดวิธห
ี นึง่ ในสามวิธท ี ม ี่ อี ยูใ่ นเครือ
่ งวิทยุฯ ดังนี:้
1. FSK (Frequency Shift Keying) หรือ การกลํ้าสัญญาณเชิงตัวเลขทางความถี่ (ขนาดของ
คลืน ่ พาห์จะไม่เปลีย ่ นแปลง ส่วนทีเ่ ปลีย
่ นแปลงคือความถีข ่ องคลืน ่ พาห์) ซึง่ คลืน ่ พาห์จะ

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 42


เปลีย ่ นไปตามการกลํ้าสัญญาณ (mark or space) RTTY เป็ นคลืน ่ แบบกลํ้าความถี่ (Frequency
Modulation) หรือ FM สําหรับเครือ ่ งวิทยุฯ สมัยใหม่จะมี FSK ให ้เลือกอยูท ่ ปี่ มปรัุ่ บโหมด เครือ ่ ง
วิทยุฯ ดังกล่าวจะแสดงความถีท ่ ถ ี่ กู ต ้องในหน ้าจอแบบดิจต ิ อล (เป็ นความถีท ่ ก ี่ ําหนด) โดยมีข ้อ
แม ้ว่า สัญญาณทีถ ่ กู กลํ้านัน ้ (รหัส Baudot) ต ้องมีสภาพขัว้ ทีถ ่ กู ต ้อง (correct polarity) เรา
สามารถกลับขัว้ ได ้ ไม่วา่ จะโดยใช โปรแกรม RTTY หรือโปรแกรมในเครือ ้ ่ งวิทยุฯ เอง หรือทัง้
สองอย่าง (ปรับที่ normal และ reverse) หากปรับไม่ถก ู ต ้อง ก็จะทําให ้การส่งออกเป็ นแบบ
กลับหัวกลับหาง ได ้
2. AFSK (Audio Frequency Shift Keying): ด ้วยวิธก ี ารนี้ รหัส Baudot จะเปลีย ่ นตัวกําเนิด
สัญญาณ ซึง่ จะสร ้างโทนเสียงขึน ้ มาสองแบบ แบบหนึง่ สําหรับสัญลักษณ์หรือเครือ ่ งหมาย
(mark) อีกแบบหนึง่ สําหรับช่องว่าง (space) โทนเสียงทัง้ สองต ้องอยูใ่ น audio passband
ของเครือ ่ งวิทยุฯ โปรแกรมสมัยใหม่ สําหรับ RTTY ใน PC สร ้างเสียงทัง้ สองได ้โดย การ์ดเสียง
(sound card) โทนเสียงดังกล่าวจะช่วยกลํ้าสัญญาณของเครือ ่ งส่งในโหมด SSB
a. แบบ USB: ในการส่งคลืน ่ แบบความถีข ่ ้างด ้านสูง (upper side band position) จะถูก
กลํ้าโดยเสียงโทน AFSK สมมติวา่ เราส่งทีค ่ วามถี่ 14.090 kHz (ความถี่ Zero beat หรือ
เป็ นความถีพ ่ าห์ทถ ี่ ก
ู จํากัดใน SSB) แล ้วหากเรากลํ้าสัญญาณของเครือ ่ งส่งด ้วยโทนเสียง
สองเสียง เช่น 2,295 Hz สําหรับความถีร่ ะบุ และ 2,125 Hz สําหรับความถีช ่ งว่าง
่ อ
(space) สัญญาณระบุจะถูกส่งทีค ่ วามถี่ 14.092,295 kHz และสัญญาณช่องว่างที่
14.092,125 kHz กรณีจะสอดคล ้องกับความหมายทีไ่ ด ้กล่าวไว ้ข ้างต ้น (ความถี่
เครือ ่ งหมาย  ความถีส ่ งู สุด/mark  highest frequency) เมือ ่ สังเกตทีห ่ น ้าจอวิทยุฯ
เราจะพบว่า คลืน ่ ทีเ่ ห็นคือ 14.090 kHz หรืออีกนัยหนึง่ ก็คอ ื หากกลํ้าสัญญาณได ้อย่าง
ถูกต ้อง (ไม่กลับหัวกลับหาง) และในขณะทีใ่ ช ้ความถี ่ 2,125 Hz (ช่องว่าง) และ 2,295
(ระบุ) เป็ นโทนเสียงกลํ้า (modulation tones) เราก็กาล ังเพิม ่ ความถีเ่ ข้าไปใน
ความถี่ SSB ( ความถี่ SSB ทีร่ ะบุ) จากทีป ่ รากฏบนจออีก 2.295 Hz เพือ ่ ให ้เป็ น
ความถีท ่ รี่ ะบุของ RTTY
b. แบบ LSB: ในการส่งโหมดนี้ เป็ นเช่นเดียวกันกับทีก ่ ล่าวมาแล ้วข ้างต ้น เพียงแต่คลืน ่ ทัง้
สองทีส ่ ง่ ออกไป จะอยูต ่ ํา่ กว่าคลืน ่ พาห์ทจ ี่ ํากัดหรือกําหนดไว ้ หากใช ้ความถี่
้ใน
เช่นเดียวกับทีใ่ ช SSB เป็ นความถีเ่ ครือ ่ งหมาย และความถีช ่ งว่าง (กําหนด = 2,295
่ อ
และ ช่องว่าง = Hz 2,125 Hz) สญญาณเครื ั อ
่ งหมาย (mark signal) จะเป็ น 14.090
kHz– 2.295 Hz = 14.087,705 kHz และ สัญญาณช่องว่าง คือ 14.087,875 kHz
เช่นนี้ ก็จะดูไม่สอดคล ้องกับความหมายทีก ่ ล่าวมาแล ้วข ้างต ้นทีว่ า่ สัญญาณเครือ ่ งหมาย
จะต ้องอยูท ่ รี่ ะดับความถีส ่ งู สุดเสมอ ดังนัน ้ จะต ้องกลับโทนเสียงทีก ่ ลํ้าใน LSB ให ้สังเกต
ด ้วยว่า ความถีท ่ ห ี่ น ้าจอเครือ ่ งส่งจะเป็ น 14.090 kHz! กรณีเช่นนี้ (ทีค ่ วามถีเ่ ครือ ่ งหมาย
คือ 2,125 Hz และ ความถีช ่ อ ่ งว่าง คือ 2,295 Hz) เรา ต้องลบ ความถีข ่ องโทนเสย ี งที่
กาหนด (subtract the frequency of the mark tone) ออกจาก ความถี่ SSB ที่
ระบุ หรือ nominal SSB frequency (ทีเ่ ห็นบนจอของเครือ ่ งวิทยุฯ) เพือ ่ ทีจ่ ะให ้ได ้
ความถีเ่ ครือ ่ งหมาย ของ RTTY และหากใช ้ตัวอย่างเดียวกับข ้างบน ก็จะได ้ออกมาเป็ น:
14.090 kHz – 2,125 kHz = 14.087,875 kHz
 เหตุใดจึงเป็ นเรือ ่ งสําคัญมาก ทีต ่ ้องทราบ ความถีเ่ ครือ ่ งหมาย (nominal frequency) ทีถ ่ ก
ู ต ้อง?
สมมติวา่ เราต ้องการจะแจ ้ง (spot) สถานี RTTY ใน DX Cluster จะเป็ นการดีกว่า หากมีการระบุ
ความถีท ่ ถี่ กู ต ้องทีม ่ ใิ ช่ทต ี่ ํ่าไป 2 kHz
 อีกเหตุผลหนึง่ ก็คอ ื เราจะต ้องอยูภ ่ ายในย่านความถีข ่ อง IARU ทีก ่ ําหนดไว ้สําหรับ RTTY เสมอ
ตัวอย่าง ความถี่ 14.099 – 14.101 ได ้ถูกกําหนดไว ้เพือ ่ กระจายคลืน ่ อ ้างอิง หรือ Beacon (เช่น
ของเครือข่ายของ NCDXF) กรณีหมายความว่า หากเราออกอากาศ AFSK โดยใช ้ความถี่ 2.125
(ช่องว่าง) และ 2.295 Hz (เครือ ่ งหมาย) เป็ นการกลํ้าสัญญาณเสียงใน USB เราจะต ้องไม่
ออกอากาศใน ความถีท ่ ป ี่ รากฏบนจอ สูงไปกว่า 14.099,000 – 2.95 = 14.096,705 kHz เมือ ่

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 43


พิจารณาถึงผลทีจ ่ ะตามมาของการใช ้ ไซด์แบนด์ (SB) จะเป็ นการปลอดภัยกว่าทีจ ่ ะปรับความถี่
ดังกล่าวให ้เป็ น 14.096,5 kHz
 เหตุใดเราต ้องใช ้ความถีส ่ งู เช่นนัน
้ (2.125 และ 2.295 Hz) เพือ
่ สร ้างสัญญาณ AFSK? คําตอบ ก็
เพือ
่ ให ้สามารถลดการรบกวนจากคลืน ่ harmonic ของสัญญาณเสียงได ้มากขึน ้ โดยการกําหนดให ้
harmonic ทัง้ หมดตกอยูน ่ อก SSB passband
 ทุกครัง้ ทีเ่ ป็ นไปได ้ ให ้ใช ้ FSK ออกอากาศในโหมด RTTY แทนทีจ ่ ะเป็ น AFSK ส่วนใหญ่แล ้ว FSK
จะให ้คุณภาพสัญญาณสูงกว่า AFSK มากนัก (far superior)

II.10.2. PSK31 (Phase shift keying)


II.10.2.1. PSK31 คือ อะไร?
 PSK31 เป็ น ระบบดิจต ิ อล (digital mode) ทีถ ่ กู
ออกแบบมาเพือ ่ ใช ้ติดต่อสือ ่ สาร แบบแป้ นพิมพ์ตอ ่
แป้ นพิมพ์ (keyboard-to-keyboard) ผ่านเครือ ่ ง
วิทยุสอ ื่ สารฯ โหมดดังกล่าวนีจ ้ ะใช ้ การ์ดเสียงใน
คอมพิวเตอร์ เปลีย ่ นข ้อความทีพ ่ มิ พ์ให ้กลายเป็ น
สัญญาณเสียงทีถ ่ ก ู กลํ้า (modulated audio
signal) และเปลีย ่ นสัญญาณเสียง PSK31 ทีร่ ับมา
ให ้เป็ นตัวอักษร
 สัญญาณ PSK31 ทํางานที่ 31.25 bauds (ซึง่
มากเกินพอสําหรับข ้อความทีพ ่ ม ิ พ์ด ้วยมือ) ซึง่
ตามทฤษฎีแล ้ว ถือเป็ นช่วงความถีข ่ องคลืน ่ วิทยุท ี่
แคบมากทีส ่ ด
ุ เพียง 31 Hz ที่ -6 dB (ในทาง
ปฏิบต ั แ ิ ล ้วช่วงความถีฯ่ จะเป็ นประมาณ 80 Hz) PSK31 ไม่มค ี ําสัง่ ในการแก ้ไขข ้อผิดพลาด
(algorithm) รวมอยูด ่ ้วย แต่สําหรับทีอ ่ ตั ราส่วนสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน (S/N ratios) สูงกว่า
10 dB แล ้ว PSK31 แทบจะไม่มข ี ้อผิดพลาดใดทีจ ่ ะเกิดขึน
้ ได ้เลย (error free) ในระดับ S/N ratio
ทีต
่ ํา่ กว่า PSK31 จะดีกว่า RTTY ถึงประมาณ 5 เท่า
 ลักษณะแต่ละตัวของรหัส Baudot ทีใ่ ช ้ใน RTTY เป็ นรหัสฐานสอง (binary code) ประกอบด ้วย
ตัวเลขคงที่ 5 บิท ซึง่ หมายความว่า ความยาวของรหัสแต่ละตัวจะเท่ากันหมด อย่างไรก็ตาม PSK31
ก็ใช ้รหัสผันแปร (varicode) ซึง่ หมายความว่า ใช ้ รห ัสทีม ่ ค
ี วามยาวไม่เท่าก ัน (variable
length) ด ้วย ตัวอย่าง: อักษร ‘q’ ถูกเข ้ารหัสทีไ่ ม่น ้อยกว่า 9 บิท (‘110111111’) ขณะที่ ‘e’ มีแค่
2 บิท (‘11’) โดยเฉลีย ่ แล ้ว อักษร หนึง่ ตัวจะใช ้ 6.15 บิท อักษรตัวเล็ก (lower case) ส่วนใหญ่
ของ PSK31 จะใช ้บิทตํา่ กว่าเล็กน ้อย เมือ ่ เทียบกับทีใ่ ช ้กับตัวอักษรใหญ่ (upper case) ดังนัน ้ การ
ส่งด ้วยตัวอักษรเล็กจึงใช ้เวลาน ้อยกว่า
 ต่างจาก RTTY การส่งสัญญาณ PSK31 จะไม่ได ้ส่งโดยใช ้ บิทเริม ่ และ บิทหยุด แทนทีจ ่ ะใช ้สอง
ความถีส ่ ง่ รหัสอย่างทีใ่ ช ้ใน RTTY (ใช ้ FSK) PSK31 ใช ้เพียงความถีเ่ ดียว ทีว่ ัฏภาค (phase) จะถูก
เปลีย ่ น (ไป 180 องศา) เพือ ่ ส่งคลืน ่ เป็ นระบบเชิงตัวเลขหรือวงจรดิจต ิ อล (logic states) 1 และ 0

II.10.2.2. ความถี่ PSK31


ตารางแสดงช่วงความถีข ่ ้างล่างมิใช่เป็ นการเปลีย ่ นแปลงหรือให ้ใช ้แทนตารางความถีท
่ ี่ IARU กําหนดไว ้
แต่นํามาแสดงให ้เห็นถึงการแบ่งช่วงความถีท ่ ใี่ ช ้กันในโหมด PSK31 ในปั จจุบน
ั :

160m: 1.838 – 1.840 kHz


80m: 3.580 – 3.585 kHz
40m: 7.035 – 7.037 kHz (7.080 ใน Region 2)
30m: 10.140 – 10.150 kHz

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 44


20m: 14.070 – 14.075 kHz
17m: 18.100 – 18.102 kHz
15m: 21.070 – 21.080 kHz
12m: 24.920 – 24.925 kHz
10m: 28.070 – 28.080 kHz

II.10.2.3. การปร ับแต่งวิทยุสอ ื่ สารสาหร ับ PSK31


PSK31 เป็ นโหมดหรือระบบดิจต ิ อลซึง่ เป็ นทีน ่ ยิ ม ซึง่ เราสามารถนํ าเอาผลเลิศของโหมดนีม ้ าใช ้ให ้เป็ น
ประโยชน์ได ้ โดยสูญเสียพลังงานน ้อยมาก และสามารถใช ้กับสายอากาศแบบธรรมดาก็ได ้ ความกว ้าง
ภายในของแถบความถีโ่ หมดก็แคบมาก แต่การกลํ้าสัญญาณเกินขนาด (overmodulate) หรือภาวะที่
สัญญาณเสียงมีความแรงมากกว่าขนาดของคลืน ่ พาห์ในการส่งสัญญาณ ก็สามารถเกิดขึน ้ ได ้ง่ายมาก
ด ้วยเช่นกัน ซึง่ จะส่งผลให ้สัญญาณมีขนาดกว ้างขึน ้ มาก ดังนัน ้ จึงจําเป็ นอย่างยิง่ ทีต่ ้องปรับแต่งเครือ ่ ง
วิทยุฯ ให ้ถูกต ้อง กรณีมข ี ้อแนะนํ าสองสามประการดังนี:้
 ให ้ปิ ดสวิทซ์ audio processing และ/หรือ speech processing ไว ้ตลอดเวลา
 ตัง้ เครือ ่ งวิทยุฯ ไว ้ในโหมด USB (LSB ก็อาจได ้เช่นกัน แต่ปกติแล ้วจะใช ้ USB)
้กํ
 ใช าลังส่งตํา่ เท่าทีจ ่ ําเป็ น เพือ ่ ให ้ได ้การติดต่อทีแ ่ น่นอน (solid QSO)
 ใช ้ oscilloscope เพือ ่ เฝ้ าดูรป ู แบบคลืน ่ (waveform) ของสัญญาณทีส ่ ง่ ออกไป รูปภาพข ้างล่าง
แสดงให ้เห็นรูปแบบคลืน ่ ของสัญญาณ PSK31 ทีถ ู ปรับแต่งไว ้อย่างดีแล ้ว ซึง่ จะดูคล ้ายกับรูปแบบ
่ ก
คลืน ่ two-tone test ทีใ่ ช ้วัดค่า PEP ของกําลังส่งในโหมด SSB
 ปกติเมือ ่ ออกอากาศด ้วยกําลังส่ง 100 วัตต์
PEP เข็มหรือมาตรวัดทีห ่ น ้าจอของเครือ ่ งวิทยุ
ฯ จะอยูท ่ ี่ 50 วัตต์ ทัง้ นีส ั ญาณจะต ้องไม่
้ ญ
กลํ้ากันเกินขนาด (overmodulate) เครือ ่ ง
วิทยุฯ ทีม ่ ก ี ําลังส่ง 100 วัตต์ จะสามารถถูก
กําหนดให ้ส่งออกด ้วยกําลังส่ง 100 วัตต์ PEP
(ทีไ่ ม่ใช่คา่ เฉลีย ่ !) เป็ นระยะเวลายาวนานได ้
(เข็มวัดวัตต์แสดงบนหน ้าปั ดที่ 50 วัตต์) ลักษณะเช่นนี้ duty cycle คือ 50%
 เครือ ่ งมือทดสอบขนาดเล็กกะทัดรัดเพือ ่ ใช ้ในการเฝ้ าสังเกตคุณภาพของสัญญาณทีส ่ ง่ ออก ปั จจุบน ั
มีจําหน่ายแล ้ว เช่น PSKMETER โดย KF6VSG (www.ssiserver.com/info/pskmeter/) หรือ
IMDmeter โดย KK7UQ (kk7uq.com/html/imdmeter.html) ขอแนะนํ าให ้ใช ้เครือ ่ งมือเหล่านี้
หรือ oscilloscope เป็ นอย่างยิง่

II.10.2.4. การร ับสญญาณ ั PSK31


 ซอฟท์แวร์บางชนิด สามารถถอดรหัส PSK31 จํานวนมากมายได ้พร ้อมกัน ด ้วยซอฟท์แวร์ดังกล่าว
เราจึงสามารถมองเห็นแถบคลืน ่ ความถี่ (spectrum) หลากหลายบนจอ หากเราใช ้ตัวกรองผ่าน
เฉพาะย่านความถี่ (passband filter) ทีก ่ ว ้าง ในภาครับ (เช่น 2.7 kHz) แถบสัญญาณแบบนํ้ าตก
บนจอ PC จะแสดงให ้เห็นสัญญาณทีผ ่ า่ นมาได ้ทัง้ หมด และรหัสเหล่านี้จะถูกถอดออกมาให ้เห็นบน
หน ้าจอ กรณีจงึ เป็ นวิธท ี ด
ี่ ท
ี ส
ี่ ดุ ในการออกอากาศ (operating) ในแบบ เฝ้าติดตาม/monitoring
หรือ เมือ ่ ใช ้วิธ ี ค้นหาแล้วคว้าไว้ หรือ search and pounce (เปลีย ่ นไปมาระหว่างบรรดาสถานี
ทีอ
่ ยูใ่ นย่านความถีน ่ ัน
้ )
 หากต ้องการป้ องกันการกวน (noise) อย่างเอาจริงเอาจัง หรือ ต ้องการเพียงติดต่อบรรดาสถานี
ทัง้ หลาย บนความถีอ ่ นั เดียวกันเท่านัน ้ filter ชนิดแคบสุด (เช่น 200 Hz) ทีอ ่ ยูใ่ นตัวเครือ ่ งวิทยุฯ
จะช่วยให ้ได ้ผลออกมาดียงิ่ ขึน ้ (ให ้ S/N ratio ทีด ่ ก
ี ว่า ปราศจากการไปลดความไวของภาครับที่
เกิดจากปฏิกริ ย ิ าของ AGC ทีม ่ ตี อ
่ ความแรงสัญญาณของสถานีข ้างเคียงในย่านความถีท ่ ก
ี่ ําหนดให ้

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 45


ผ่านเข ้ามาในภาครับ ลดโอกาสในการกลํ้าสัญญาณระหว่างกัน ฯลฯ) กรณีจะทําให ้จอภาพนํ้ าตก
(waterfall display) แสดงให ้เราเห็นเพียงสถานีเดียว เท่านัน

II.10.2.5. ความถีท ่ รี่ ะบุของ PSK31


 หากเรา operate ในโหมดช่วงความถีก ่ ว ้าง ด ้วย
2,7 kHz bandwidth วิธท ี งี่ า่ ยทีส่ ด
ุ คือ ให ้ตัง้
ค่าความถีใ่ นเครือ่ งวิทยุฯ ให ้เป็ นตัวเลขกลมพอดี
ไว ้ เช่น 14.070,000 kHz เมือ ่ เลือกสถานีท ี่
ปรากฏบนแถบนํ้ าตก (ปกติเราต ้องคลิกไปทีแ ่ ถบ
ของสถานีทเี่ ราต ้องการ) ได ้แล ้ว ซอฟท์แวร์ ก็จะ
แสดงความถีเ่ สียงทีร่ ะบุ (nominal audio
frequency) ทีเ่ ราเลือก เช่น 1.361 Hz กรณีหาก
สมมติวา่ เราออกอากาศแบบ USB ความถีท ่ ใี่ ช ้ส่ง
ของสถานีนัน ้ ก็จะเป็ น 14.070,000 kHz +
1.361 Hz = 14.071,361 kHz

II.10.2.6. ระบบการรายงาน RSQ


การรายงานแบบ RST ทีใ่ ช ้กันมาเป็ นประเพณีนัน ้ โดย
แท ้จริง ถือว่าไม่เหมาะสมมากนักทีจ ่ ะนํ ามาใช ้เพือ ่ ให ้
ได ้ความหมายได ้อย่างถูกต ้องในโหมดดิจต ิ อล
อย่างเช่น PSK31 เป็ นเหตุให ้นักวิทยุสมัครเล่นจํานวน
มากรายงานกันแบบ 599 ในการ contest โดยไม่
คํานึงถึงประโยชน์ทแ ี่ ท ้จริงในเรือ ่ งการสือ ่ สาร การราย
ในแบบ RSQ (Readability, Strength, Quality) จึง
ได ้รับการปรับเปลีย ่ นมาจากแบบ RST เพือ ่ ให ้ได ้
ความหมายทีถ ่ ก
ู ต ้องตรงตามความเป็ นจริงมากขึน ้ ในโหมด HF ทีเ่ ป็ นดิจต ิ อล
 RSQ Readability: ตารางแสดงรายละเอียด (ข ้างล่าง) เกีย ่ วข ้องกับช่วงอัตราร ้อยละของอักษร
ทีร่ ับได ้ กรณีถอ ื เป็ นเรือ ่ งทีส่ อดคล ้องกับหลักปฏิบต ั ทิ วั่ ไปของการรายงานทีเ่ ป็ นตัวเลขอัตราร ้อยละ
ระหว่างการ QSO
 RSQ Strength: โปรแกรมส่วนมากในโหมด HF ทีเ่ ป็ นดิจต ิ อลให ้ช่วงความถีบ ่ นจอนํ้ าตกหรือจอ
แสดงแถบสัญญาณ (spectrum) ได ้กว ้างมาก ดังนัน ้ การวัดค่าทีม ่ องเห็นได ้ของร่องสัญญาณที่
เกีย ่ วข ้องกับการรบกวน จึงมีความหมายมากกว่าการอ่านค่า S-meter ซึง่ เป็ นการเฉลีย ่ ค่าความแรง
ของสัญญาณทัง้ หมดทีร่ ับได ้ในช่วงความถีผ ่ า่ น (pass band)
 RSQ Quality: การทีก ่ ารกลํ้าสัญญาณทีเ่ ป็ นร่องซึง่ ถือเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ ปรากฏเพิม ่ ขึน
้ อยู่
บนหน ้าจอนํ้ าตก หรือจอแสดงแถบสัญญาณ (spectrum) ชีให ้เห็นว่า กรณีอาจมีคลืน ้ ่ รบกวน หรือ
คลืน ่ ความถีท ่ แ ี่ ตกออกมาจากความถีท ่ เี่ ราออกอากาศอยู่ ทีเ่ รียกว่า spurious emission (ซึง่
ส่วนมากเกิดจากการกลํ้าสัญญาณทีเ่ กินความต ้องการ) และจะใช ้เป็ นพืน ้ ฐานในการวัดคุณภาพ
สัญญาณในโหมดดิจต ิ อลได ้ (สรุปในระบบนีจ ้ ะต ้องรายงานเป็ น RSQ ว่า 595 เมือ ่ สัญญาณดีและ
แรงทีส ่ ด
ุ )

Readability R5 > 95% เข ้าใจได ้อย่างสมบูรณ์


R4 80% ไม่มปี ั ญหาในทางปฏิบต ั ิ พลาดบางคําในบางครัง้
R3 40% ค่อนข ้างลําบาก รับไม่ได ้หลายคํา
R2 20% มีคําทีแ ่ ตกต่างผิดเพีย
้ นในบางครัง้
R1 0% รับไม่ได ้เลย

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 46


Strength S9 แรงมาก
S7 แรง
S5 แรงปานกลาง
S3 อ่อน
S1 มีเพียงเล็กน ้อย
Quality Q5 สัญญาณใสสะอาด (ไม่มส ี งิ่ แปลกปลอมข ้างเคียง)
Q4 เห็นชัดเจน เพียงคูเ่ ดียว
Q3 เห็นได ้ง่าย เพียงคูเ่ ดียว
Q2 เห็นหลายคู่
Q1 พร่าฟุ้ งในจอแสดงช่วงความถี่ (spectrum)
(ทีม
่ า: http://www.rsq-info.net/)

II.10.3. โทรท ัศน์แบบกราดภาพชา้ , SLOW SCAN TV (SSTV)

II.10.3.1. SSTV คือ อะไร


 ทีวแ ี บบกราดภาพช ้าของวิทยุสมัครเล่น (SSTV) คือ รูปแบบ (mode) การส่งรูปภาพ ทีส ่ ามารถส่ง
และรับภาพนิง่ ผ่านวิทยุโทรคมนาคม เป็ น โทรท ัศน์ยา่ นความถีแ ่ คบ (Narrow band
Television) โดยทั่วไปแล ้ว การถ่ายทอด
โทรทัศน์ทม ี่ ค
ี ณุ ภาพ ต ้องใช ้ความกว ้างแถบ
ความถี่ 5 ถึง 10 MHz และส่งด ้วยความเร็ว
25 หรือ 30 ภาพต่อวินาที ความกว ้างแถบ
ความถีส ่ งู สุดของ SSTV มีเพียงประมาณ
2,7 kHz เท่านัน ้ (เป็ นความกว ้างแถบความถี่
ของสัญญาณ SSB) ส่วนการส่งภาพ สีดําจะ
ใช ้ระดับเสียงที่ 1.500 Hz และสีขาวใช ้ที่
2.300 Hz ด ้วย sync pulse ที่ 1.200 Hz ซึง่
ตํ่ากว่าสีดํามาก จนกระทั่ง ทําให ้เราไม่
สามารถมองเห็นได ้ sync pulse ทีถ ่ กู
ส่งออกไปในตอนท ้ายของแต่ละเส มีความ ้น
ยาวเท่ากับ 5ms (millisecond) และใน
ตอนท ้ายของแต่ละกรอบภาพ (frame) มีความยาว 30ms
 SSTV มิใช่ โหมดดิจต ิ อล อย่างเช่น RTTY และ PSK31 แต่เป็ นโหมดอนาลอก (analog)
เช่นเดียวกับ SSB ทีใ่ ช ้การกลํ้าความถี่ (frequency modulation) ขณะทีท ่ ก
ุ ค่าความแตกต่างของ
ความสว่าง (brightness) ของจุดใดจุดหนึง่ ในภาพจะแทนด ้วยความถีข ่ องเสียงทีแ ่ ตกต่างกันไป
ส่วนสีของภาพจะถูกสร ้างโดยการส่งค่าความสว่างของแต่ละองค์ประกอบสี (ปกติคอ ื แดง เขียว
และนํ้ าเงิน) ไปแบบแยกและเรียงลําดับกัน ในย่าน HF สัญญาณเสียงดังกล่าวจะถูกป้ อนเข ้าภาคส่ง
SSB ของเครือ ่ งวิทยุฯ ส่วนในย่าน VHF การกลํ้าความถี่ (FM) ก็ถก ู ใช ้ด ้วยเช่นกัน วิธก ี ารส่ง SSTV มี
แตกต่างกันไปถึง 27 แบบ (บางครัง้ ก็เรียกว่า protocols) ด ้วยกัน วิธท ี น ิ มใช ้กันมากทีส
ี่ ย ่ ด
ุ คือ
Scottie One และ Martin One ซอฟท์แวร์ทใี่ ช ้ ส่วนใหญ่สามารถใช ้ส่งในแบบทีต ่ า่ งกันได ้
 ในปั จจุบน ั เราใช ้คอมพิ ่
วเตอร์สวนบุคคล (PC) ในการถอดและสร ้างรหัส SSTV กันอย่างแพร่หลาย
โปรแกรม SSTV จะใช ้การ์ดเสียงในการสร ้างสัญญาณทีจ ่ ะส่งภาพ ในขณะทีส ั ญาณเสียงของ
่ ญ
SSTV ทีร่ ับมาได ้ จะถูกเปลีย ่ นในการ์ดเสียงอันเดียวกันนัน้ ให ้เป็ นข ้อมูลดิจต ิ อล เพือ ่ นํ ามา
เปลีย ่ นเป็ นภาพโดยโปรแกรม SSTV
 เนือ ่ งจาก SSTV เป็ นการส่งโทนเสียง (tone) อย่างต่อเนือ ่ งในความถีท ่ เี่ ปลีย ่ นแปลงและความสูง
ของคลืน ่ ทีค่ งที่ (constant amplitude) ซึง่ หมายความว่ามี duty cycle ในระดับ 100% สําหรับ

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 47


เครือ
่ งวิทยุฯ ทีม ี ําหน่ายในตลาดทั่วไปแล ้ว จะต ้องใช ้กําลังส่งเพียง 50% ของกําลังส่งสูงสุด
่ จ
่ งวิทยุฯ จะใช ้ส่ง SSB ได ้ เช่นเดียวกับทีใ่ ช ้ใน RTTY ทุกประการ
(PEP) ทีเ่ ครือ

II.10.3.2. ความถีข ่ อง SSTV


ตารางข ้างล่างนีแ
้ สดงช่วงความถีท ่ ใี่ ช ้กับ SSTV ในปั จจุบนั โดยสังเขป แต่มไิ ด ้หมายความว่าให ้ใช ้ความถี่
ในตารางนี้ แทนช่วงความถีท ่ ก
ี่ ําหนดโดย IARU
80m: 3.735 +/- 5 kHz ใน LSB
40m: 7.035 – 7.050 kHz ใน LSB
30m: ใช ้น ้อยมากใน SSTV (ช่วงความถีแ ่ คบ)
20m: 14.220 – 14.235 kHz ใน USB
17m: ใช ้น ้อยมากใน SSTV (ช่วงความถีแ ่ คบ)
15m: 21.330 – 21.346 kHz ใน USB
12m: ใช ้น ้อยมากใน SSTV (ช่วงความถีแ ่ คบ)
10m: 28.670 – 28.690 MHz ใน USB

II.10.3.3. การร ับ/สง ่ SSTV


เพือ่ ให ้อยูใ่ นขอบเขตของกฎ และเพือ ่ วกับวิทยุสมัครเล่นซึง่
่ ให ้เป็ นพฤติกรรมอันดีงาม ควรส่งภาพทีเ่ กีย
เป็ นงานอดิเรกชนิดหนึง่ ของเราเท่านัน ้ (ภาพเพือ ่ การทดสอบ ภาพหรือแบบวงจร ภาพหรือแบบทีว่ าด
ด ้วยมือ รวมทัง้ บรรดาเครือ ่ สาร สายอากาศ ฯลฯ) หรือ ภาพธรรมชาติ (ทิวทัศน์ ดอกไม ้ QSL
่ งมือสือ
การ์ด) โดยทัว่ ไปแล ้ว ชนิดหรือประเภทของภาพทีจ ่ ะส่งไป ควรเป็ นไปตามกฎทีร่ ะบุไว ้ใน § II.7.

่ ง SSTV ขอให ้ใช ้เวลาเฝ้ าติดตามฟั ง อยูบ


หากสนใจในเรือ ่ นความถีข
่ อง SSTV ให ้มาก และมัน
่ ทดสอบ
บรรดาซอฟท์แวร์ทม ี่ อ
ี ยูเ่ ข ้าไว ้

ข ้อแนะนํ าบางประการในเรือ ่ งขัน ้ ตอนการออกอากาศ (operational hints):


 ก่อนการติดต่อทุกครัง้ ควรเฝ้ าฟั งก่อนสักครู่ เพือ ่ ให ้แน่ใจว่าความถีท
่ จี่ ะใช ้นัน
้ ว่างอยู่
 จากนัน ้ ให ้ถามไป 2-3 ครัง้ ว่า ‘is this frequency in use?’ (‘ความถีน ่ ถ ู ใช ้อยูห
ี้ ก ่ รือไม่?’) หากไม่ม ี
สถานีใดตอบมา ก็ให ้เริม ่ การติดต่อ CQ ได ้ (make your CQ call);
 สิง่ ทีด ่ อี นั หนึง่ คือ ให ้ CQ ถามโดยใช ้เสียง (phone CQ) ไปก่อนการส่งภาพทุกครัง้ เสมอ (‘CQ
SSTV this is…’);
 ให ้แจ ้งโหมด (protocol) ทีใ่ ช ้ไปเสมอ ก่อนการส่งภาพ;
 อย่าขัดจังหวะ (break) ด ้วยการส่งภาพ แต่ให ้ใช ้ SSB (phone) แทน;
 อย่าส่งภาพไปให ้สถานีอน ื่ หากไม่ได ้รับเชิญ/
อนุญาตให ้ส่ง โดยเด็ดขาด;
 อย่าส่งภาพตามกันไปเป็ นชุดโดยปราศจากการ
เว ้นช่วง โดยเด็ดขาด วัตถุประสงค์ของ SSTV คือ
การได ้ติดต่อกัน (make a QSO) มิใช่ การแสดง
ชุดภาพนิง่ (slide show);
 ให ้ถามคูส ่ ถานีเราเสมอว่า พร ้อมทีจ ่ ะรับภาพแล ้ว
หรือยัง (ก่อนส่งภาพ);
 บรรดาสถานีทางไกล (DX station) มักจะ
ติดต่อกันจากตารางกําหนดการทีม ่ ใี ห ้ไว ้ ซึง่
สถานีเหล่านัน ้ ได ้เคยใช ้ความถีน ่ ัน
้ ติดต่อกันมา
ก่อนแล ้ว;
 ถือเป็ นแบบอย่างทีน ่ ่ารักอันหนึง่ ทีจ ่ ะแสดงสัญญาณเรียกขานทัง้ ของสถานีเราและของคูส ่ ถานีไว ้ใน
ภาพทีส ่ ง่ ไป;

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 48


 พยายามใช ้ภาพทีม่ ค
ี วามคมชัดสูง (high contrast) หากภาพนัน
้ มีอก
ั ษรเป็ นส่วนประกอบด ้วย ก็ให ้
ใช ้แบบตัวใหญ่และหนา

II.10.3.4. รายงานแบบ RSV ทีใ่ ชใ้ น SSTV


 ในโหมด SSTV จะไม่มก ี ารแลกเปลีย ่ นการรายงานแบบ RS (phone) หรือ RST (CW) กัน แต่จะ
เป็ นแบบ RSV-report เมือ่ V ย่อมาจาก Video (ภาพ) และใช ้เพือ ่ รายงานคุณภาพของภาพ
(Image Quality)
 R ย่อมาจากคําว่า readability (1 to 5) และ S ย่อมาจาก strength (1 to 9) เช่นเดียวกับทีใ่ ช ้ใน
phone และ CW
V=1 มีการรบกวนสูงมาก ภาพผิดเพีย ้ น บางส่วนขาดหาย
V=2 ภาพยังเพีย
้ นมาก สัญญาณเรียกขานบางตัวขาดหายไป
V=3 ภาพชัดระดับปานกลาง
V=4 ภาพชัดเจนดี มีเพีย
้ นบ ้างเล็กน ้อย การรบกวนแทบไม่ม ี
V=5 ภาพชัดเจนสมบูรณ์แบบ

III. การออกอากาศขนสู
ั้ ง (ADVANCED OPERATING)

III.1. เมือ
่ ถูกรุมเรียกขาน (PILESUPS)
 โอกาสทีจ ้ กับตนเองได ้ในไม่ช ้าก็เร็ว หากผู ้นัน
่ ะเกิดขึน ้ าก่อน สิง่ นัน
้ ยังไม่เคยถูกกระทําเช่นนีม ้ ก็คอ

การถูกบรรดาหมูแ ่ มลงแห่งสถานี DX รุมล ้อมเข ้ามา และแล ้วผู ้นัน ้ ก็จะไม่สามารถหลีกเลีย ่ งการ
เผชิญกับสถานการณ์ทเี่ รียกว่า ถูกรุมเรียกขาน (pileups) ได ้เลย

III.1.1. รุมเรียกขานบนความถีเ่ ดียว


 เมือ ่ สถานี DX กับบรรดาสถานีทเี่ รียกขานมา (callers) อยูบ ่ นความถีเ่ ดียว (และในโหมดเดียว) กัน
 ข ้อดีของวิธน ี ก
ี้ ค
็ อื ไม่เปลืองความถีช ่ าวบ ้าน (เพราะใช ้เพียงความถีเ่ ดียวเท่านัน ้ )
 การออกอากาศทีข ่ าดประสิทธิภาพจะเกิดขึน ้ เมือ ่ มีสถานีจํานวนมากเรียกขานเราเข ้ามา มากน ้อย
ขึน
้ อยูก
่ บ
ั ความชํานาญของแต่ละบุคคล ในทีน ่ อ
ี้ าจหมายถึงเพียงแค่ 5 สถานีกเ็ ป็ นได ้ ภายใต ้
สถานการณ์เช่นนี้ อัตราทีจ ่ ะติดต่อกันได ้จะลดลง
 บ่อยครัง้ การเริม ่ ด ้วยการใช ้ความถีเ่ ดียวหรือการติดต่อทางเดียว (simplex) มักจะนํ าไปสูก ่ ารรับ/ส่ง
แบบต่างความถี่ (split pileups)

III.1.2. รุมเรียกขานแบบต่างความถี่
 การติดต่อ (QSO) ทีเ่ กิดขึน ้ จะสําเร็จลงได ้ เมือ
้ เกือบทัง้ สิน ่ คูส
่ ถานีออกอากาศบนความถีเ่ ดียวที่
ตรงกันโดยสมบูรณ์
 เมือ ่ สถานี DX ต ้องเผชิญกับ การถูกรุมเรียกขานทีม ่ จ
ี ํานวนเพิม ่ ขึน้ แบบทีไ่ ม่เคยพบมาก่อน อัตราการ
ติดต่อกันได ้ก็จะลดลง ด ้วยเหตุผลหนึง่ เหตุผลใดหรือมากกว่า ดังนี:้
- การรบกวนจากบรรดาสถานีทเี่ รียกขานสถานีหนึง่ ทับซ ้อนกับสถานีอน ื่ ทีก
่ ําลังเรียกขานสถานีนัน ้
อยูด่ ้วย
- สถานีทเี่ รียกขานกลับไปยังสถานี DX จะมีความลําบากในการรับฟั งสถานี DX เนือ ่ งจากมีบาง
สถานี (ทีม ่ ากอยูเ่ หมือนกัน) เรียกขานทับขึน ้ มา ขณะทีส ่ ถานี DX กําลังขานตอบผู ้ทีเ่ รียกมาอยู่
นัน
้ ;
- สถานีทไี่ ม่ได ้ยินหรือไม่ปฏิบต ั ต
ิ ามวิธกี ารหรือหลักเกณฑ์ทส ี่ ถานี DX กําหนดไว ้ มีจํานวนเพิม ่
มากขึน ้ อย่างต่อเนือ ่ ง
 เพือ ่ ทําให ้สถานีทเี่ รียกขานตอบมารับฟั งสถานี DX ได ้ สถานี DX จะให ้บรรดาผู ้ทีร่ ม ุ เรียกขานมานัน ้ :
ไปฟั งทีค ่ วามถีห่ นึง่ ทีอ
่ ยูห
่ า่ งจากความถีท ่ ต ้ส่
ี่ นเองใช ง (ส่วนใหญ่ 5 kHz หรือมากกว่า) ผลดีทส ี่ ดุ

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 49


คือ บรรดาสถานีทเี่ รียกขานติดต่อมาในความถีเ่ ดียวกัน จะไม่ไปรบกวนการส่งสัญญาณของสถานี
DX อีกต่อไป เนือ ่ งจากได ้ย ้ายไปอยูใ่ นความถีท ่ ต ี่ า่ งกันไปแล ้ว
 อย่างไรก็ตาม ปั ญหาก็ยงั คงมีขน ึ้ อีกอยูด่ ี เนือ
่ งจากสถานี DX ก็ยงั จะต ้องรับฟั งการรุมเรียกขานบน
ความถีต ่ รง ทีต ่ นเองกําลังใช ้รับฟั งอยูน ่ ัน้ เพือ ่ ไล่เรียงขานตอบแต่ละสถานีทรี่ ม ุ เรียกขานตนเองอยู่
 เพือ ่ เพิม
่ โอกาสในการขานรับสถานีให ้ได ้จํานวนสูงสุด สถานี DX จะทําการกระจายสถานีทรี่ ม ุ เรียก
ขานมานัน ้ ออกไป และจะไปรับฟั งอยูใ่ นช่วงความถีอ ่ นั หนึง่ อันใด เช่น ‘5 to 10 up’
 วิธกี ารเช่นนี้ แน่นอน จะทําให ้มีการใช ้ช่วงความถีเ่ พิม ่ ขึน
้ เกินความจําเป็ นจากทีไ่ ด ้กําหนดไว ้อย่าง
เคร่งครัด ดังนัน ้ เราควรใช ้ช่วงความถีใ่ ห ้แคบทีส ่ ด ุ เท่าทีจ ่ ะกระทําได ้ เพือ
่ เป็ นการเปิ ดโอกาสให ้
สถานีอน ื่ ได ้ใช ้ความถีย ่ า่ นนัน้ บ ้าง
 ด ้วยเหตุผลในเรือ ่ งความเอือ ้ อาทรต่อผู ้อืน ่ ทีต่ ้องการใช ้ความถี่ (นอกเหนือจากสถานีทต ี่ ้องการจะ
ออกอากาศทางไกล) จึงให ้เป็ นข ้อแนะนํ าไว ้อันหนึง่ ว่า ควรออกอากาศแบบ split เฉพาะกรณีท ี่
pileup เพิม ่ ขึน
้ มากจนเกินทีจ ่ ะรับได ้ หากยังต ้องออกอากาศในแบบความถีเ่ ดียวอยูต ่ อ
่ ไป เท่านัน ้

III.1.3. จะปฏิบ ัติตนเชน ่ ไรเมือ


่ มีการรุมเรียกขานก ันอยู? ่
 ต ้องไม่เรียกขานสถานี DX โดยเด็ดขาด หากยังไม่สามารถรับสัญญาณของสถานีดังกล่าวได ้ดีพอ
 ตรวจสอบให ้แน่ใจก่อนว่าได ้ปรับแต่งเครือ ่ งวิทยุฯ ของสถานีเราไว ้อย่างถูกต ้องแล ้ว ก่อนทีจ ่ ะเรียก
ขานไป
 จงอย่าปรับแต่งเครือ ่ งส่ง (tune) ของเราบนความถีท ่ ม ี ถานี DX กําลังใช ้อยู่
ี่ ส
 สายอากาศ หันไปในทิศทางทีถ ่ ก
ู ต ้องตามต ้องการแล ้วหรือไม่?
 ตนเอง ได ้ยินข ้อกําหนดทีใ่ ห ้ต ้องปฏิบต ั ต
ิ ามทัง้ หมด (instructions) จากสถานี DX แล ้วหรือยัง?
หากยัง ก็ให ้รอฟั งจนกว่าจะได ้ทราบและเข ้าใจเสียก่อน
 ฟั ง
 ฟั ง
 ฟั ง แล ้วก็ทําความคุ ้นเคยกับ ลีลาจ ังหวะจะโคน ของสถานี DX นัน ้ เสียก่อน
 หากได ้ยินนักวิทยุสมัครเล่นทีก ่ ําลังหงุดหงิด พรํา่ บ่นอยูบ ่ นความถีใ่ นขณะนัน ้ : ให ้เงียบไว ้ แล ้วรอ
จนกว่าเหตุยงุ่ เหยิงจะทุเลาเบาบางลง

ทัง้ หมดทีก
่ ล่าวมาเป็ นข ้อกําหนดทีค
่ วรต ้องมีให ้พร ้อมสรรพ ก่อนทีจ
่ ะเรียกขานสถานี DX นัน
้ ไป

III.1.4. การถูกรุมเรียกขานบนความถีเ่ ดียวประเภทเสย ี ง


จะทําเช่นไร เราถึงจะสามารถแทรกหรือเจาะเข ้าไปในสถานการณ์ทม ี่ ก
ี ารรุมเรียกขานได ้?
 จงอย่าเรียกขานเข ้าไปโดยเด็ดขาด ก่อนทีก ่ ารติดต่อกันในขณะนัน ้ จะจบลงอย่างสมบูรณ์ ซึง่
หมายความว่า ต ้องไม่มก ี ารไปกดคียท ์ บ
ั ส่วนท ้าย QSO ของสถานีอน ื่ ขณะทีส
่ ถานีนัน
้ ยังไม่หมด
ข ้อความโดยสมบูรณ์ หรือ ในลักษณะทีเ่ รียกว่า tail-ending (ดู § III.2)
 กาหนดชว ่ งเวลาให้ถก
ู ต้องเหมาะสมก่อน คือ จุดสําคัญแห่งความสําเร็จ จงอย่าเรียกขาน
ออกไปทันที ทันควัน ให ้รอจนกว่าการรบกวนทีม ่ อ ่ ะจางหายไปก่อน และสิง่ ทีจ
ี ยูใ่ นความถีจ ่ ะตามมา
ก็คอ ื โอกาสแห่งความสําเร็จในการติดต่อกันได ้จะสูงขึน ้ กรณีมใิ ช่การแข่งขันทีเ่ ราจําเป็ นต ้องติดต่อ
ได ้เป็ นคนแรกและรวดเร็ว สิง่ ทีส่ ําคัญคือการเรียกขานไปให ้ถูกจังหวะ รอจนกระทั่งสถานีอน ื่ ทีก
่ ําลัง
ตืน
่ เต ้นกับการเรียกขาน เสร็จสิน้ การติดต่อและหมด QRM ก่อน แล ้วจึงแจ ้งสัญญาณเรียกขานเรา
เข ้าไป ซึง่ อาจจะต ้องใช ้เวลารอหลายวินาที (5 หรือแม ้อาจถึง 7 วินาที)
 สถานีเราควรจะเรียกขานอย่างไร? ไม่ต ้องขานสัญญาณเรียกขาน (call) ของสถานี DX ทีก ่ ําลังจะ
ติดต่อออกไป ให ้แจ ้งสัญญาณเรียกขานของเราทีค ่ รบถ ้วนไปเพียงครัง้ เดียว เท่านัน ้ การขานเพียง
บางส่วนถือ เป็นสงิ่ ผิด (bad) ไม่ใช่ ‘zulu zulu zulu’ แต่เป็ น ‘golf three zulu zulu zulu’ การ
ขานสัญญาณเรียกขานไปเพียงบางส่วนจะทําให ้เกิดความสับสน และทําให ้ขัน ้ ตอนการออกอากาศ
ยืดยาวขึน ้ ด ้วย

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 50


 เป็ นเรือ ่ งจริง ทีเ่ ราจะได ้ยินสถานีจํานวนมาก ขานสัญญาณเรียกขานตนเองเพียงบางส่วน เท่านัน ้
กรณีเป็ นการปฏิบต ั ทิ ไี่ ม่ด ี (bad practice) และผิดกฎ (illegal) ด ้วย
 อย่าพูดเร็วหรือช ้าเกินไป พูดออกเสียงเป็ นแบบปกติ (ไม่ต ้องตระโกน)
 สาหร ับการออกเสย ี งสะกดอ ักษรหรือพย ัญชนะ ให้ใชเ้ ฉพาะ สทอ ั ักษรสากล เท่านน ั้ (use
only international spelling alphabet) (ดูเอกสารแนบหมายเลข 1) ไม่ต ้องใช ้ภาษาสวยหรู
(no fantasies!)
- บนเส ้นทางแห่งวิทยุสอ ื่ สารฯ เราใช ้ สัทอักษร (phonetic alphabet) หรือ การออกเสียงสะกด
ตัวอักษร (Alpha จนถึง Zulu) ที่ ITU กําหนดไว ้ เพือ ่ ป้ องกันความผิดพลาด (mistake) ระหว่าง
การแลกเปลีย ่ นบรรดาตัวอักษรและคําทัง้ หลายกัน การจะบรรลุถงึ เป้ าหมายดังกล่าวได ้นั น ้ ได ้มี
การคิดค ้นและกําหนดให ้ใช ้ เอกล ักษณ์เฉพาะ (unique) ในการออกเสียงสะกดไว ้อย่าง
เหมาะสมในเชิงคุณภาพสําหรับพยัญชนะแต่ละตัวแล ้ว จงจําไว ้ว่า เรามีเพียงชุดลําดับการออก
เสียงสะกดตัวอักษรทัง้ หมดเพียงชุดเดียว เท่านัน ้ และมิใช่มแ ี ต่ละชุดในแต่ละภาษา! สถานี DX
จะคอยฟั งการออกเสียงคําทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์เฉพาะเหล่านี้ ในสถานการณ์ทเี่ อือ ้ อึงเมือ ่ ถูก pileup
หูเขาจะถูกทารุณจากการออกเสียงสะกดตัวอักษร (และตัวเลข) ทีไ่ ม่ใช่ระบบการออกเสียง
ตัวอักษร (phonetic) ทีถ ่ ก ู ต ้อง และจะเหนือ ่ ยล ้ายิง่ ขึน ้ หากนักวิทยุสมัครเล่นใช ้การออกเสียง
คําสะกดพยัญชนะแบบอืน ่ นอกเหนือจากคํามาตรฐานทีก ่ ําหนดให ้ใช ้สะกด ขัน ้ ตอนการติดต่อ
อาจจะขาดประสิทธิภาพยิง่ ขึน ้ เนือ
่ งจากเขาเหล่านนัน ้ กําลังใช ้คําทัง้ หลาย ทีส ่ ถานี DX ไม่
คาดคิดว่าจะได ้ยิน
- บ่อยครัง้ มาก ในสถานการณ์แบบ pileup ทีเ่ รามักจะเห็น สถานี DX พลาด คา ทีใ่ ช ้การสะกด
ต่างจากแบบมาตรฐานไปอย่างน่าเสียดาย และแล ้ว ก็ต ้องมาไล่เรียงถามซํ้ากันใหม่อก ี ครัง้
ตัวอย่างเช่น การสะกดคําว่า ‘Lima’ (ลี้ มะ) ซึง่ มีเสียงสะกดทีส ่ นั ้ มากคล ้ายถูกมีดโกนตัด จนทํา
ให ้ บ่อยครัง้ จะได ้ยินคําทีเ่ ป็ นทางเลือก คือ ‘London’ (ล ัน ดัน) เข ้ามาแทนที่ หากเมือ ่ สัญญาณ
ของเราอ่อนลงมากหรือถูกรบกวน สถานี DX อาจจะรับรู ้ คําว่า ‘Lima’ ได ้ แต่ไม่ไช่คําว่า
‘London’!
- สถานี DX ไม่เพียงแต่จะกําลังฟั งคําสะกดทีถ ่ ก
ู ต ้องและชัดเจนทีส ่ ดุ เท่านัน ้ แต่กําลังต ้องการฟั ง
การออกเสียงของคําเหล่านัน ้ และจํานวนพยางค์ทส ี่ ะกดออกมาด ้วย ดังนัน ้ เมือ ่ จํานวนพยางค์ใด
พยางค์หนึง่ ของคําขาดหายไปจากการรบกวนจากธรรมชาติ (QRN) หรือจากมนุษย์ (QRM)
สถานี DX ทีก ่ ําลังฟั งอยู่ ก็จะสามารถฟื้ นคํา (reconstruct the word) โดยการเติมเต็มการออก
เสียง (consonants) และ/หรือ จํานวนพยางค์ (syllables) ทีข ่ าดหายไปจากคํานัน ้ ขึน ้ มาได ้โดย
ไม่ยาก (จากความคุ ้นเคยกับคําสะกดมาตรฐานทีเ่ ขายึดถือตามกฎของ ITU)
- ใชก ้ ารออกเสย ี งคาภาษาอ ังกฤษทีถ ่ ก
ู ต้อง เท่านน ั้ สําหรับการสะกดคํา เอกสารแนบ 1 ได ้
เรียงลําดับสัทอักษรสากลของพยัญชนะแต่ละตัวเหล่านัน ้ ไว ้ เมือ ่ เราออกเสียงตามสําเนียงใน
ภาษาของตนเองซึง่ แตกต่างจากภาษาอังกฤษ แน่นอน ก็ยอ ่ มเกิดความผิดเพีย ้ นในสําเนียงทีพ ่ ดู
ออกไปบ ้าง ซึง่ เราจะได ้รับการผ่อนปรนไปบ ้างเล็กน ้อย
 เมือ่ สถานี DX รับสัญญาณเรียกขานเราได ้บางส่วน และตอบกลับมาว่า ‘3ZZZ you’re 59 QSL?’
กรณีหมายความว่า: สถานีทส ี่ ญั ญาณเรียกขานลงท ้ายด ้วย 3ZZZ รายงานของคุณคือ 59 รับได ้
หรือไม่? (the station with the call ending 3ZZZ you’re 59, copy?)
 เมือ ่ จะขานตอบ เราควรจะเน ้นเฉพาะส่วนของสัญญาณเรียกขานทีข ่ าดหายไป ‘this is _golf three,
_golf three zulu zulu zulu, 59 QSL?’ (เครือ ่ งหมาย _ แสดงการเว ้นช่วงคําให ้มากกว่าเดิมอีก
เล็กน ้อย)
 โดยปกติแล ้ว สถานี DX ควรจะขานตอบมาว่า ‘G3ZZZ’ thanks’ เพือ ่ ยืนยันความถูกต ้องของ
สัญญาณเรียกขานทีเ่ ขารับได ้ หากไม่ขานตอบยืนยันมา ให ้เรียกขานกลับไปอีกครัง้ และถามว่า
‘please confirm my call G3ZZZ over’ (‘กรุณายืนยันสัญญาณเรียกขานของ ผม/ดิฉัน ด ้วย
G3ZZZ เปลีย ่ น’) ยํ้าถึงความต ้องการในการยืนยันสัญญาณเรียกขานทีถ ่ ก
ู ต ้องของเราเพือ ่ หลีกเลีย ่ ง

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 51


การลง log ทีค ่ ลาดเคลือ ่ น หากยังไม่ตอบยืนยันกลับมาอีก ก็ไม่มเี หตุผลทีจ ่ ะต ้องหยุดเรียกขานหรือ
ขอคํายืนยัน ต่อไปอีกจนกว่าจะได ้ยินว่า สถานีดังกล่าวขานสัญญาณเรียกขานเราได ้ถูกต ้องแล ้ว
 หากสถานี DX ขานสัญญาณเรียกขานเรากลับมายังไม่ถก ู ต ้อง ให ้ตอบส่วนทีไ่ ม่ถก ู ต ้องกลับไป 2-3
ครัง้ ตัวอย่าง: เมือ ่ สถานี DX ขานตอบมาว่า ‘G3ZZW 59’ ให ้ขานตอบไปหาสถานี DX นัน ้ ว่า ‘this
is G3ZZZ zulu zulu zulu G3ZZZ 59’ โดยปกติแล ้วสถานี DX ก็จะตอบมาว่า ‘G3ZZZ thanks’ หรือ
คําทีค ่ ล ้ายกัน จงให ้แน่ใจไว ้ว่า ข ้อมูลทีถ ่ ก ู ต ้องของเราได ้รับการยืนยันจากคูส ่ ถานี ดังทีก ่ ล่าวข ้างต ้น
 หากสถานี DX ขานตอบกลับมาด ้วยสัญญาณเรียกขานบางส่วนทีไ่ ม่ใช่ของเรา หรือกําลังขานตอบ
สถานีอน ื่ อยู่ ก็ให ้ เงียบไว้และฟังต่อไป เนือ ่ งจาก หากเรายังเรียกขานไปอย่างต่อเนือ ่ ง จะ
ก่อให ้เกิดสิง่ หนึง่ สิง่ ใดขึน ้ ได ้ดังต่อไปนี:้
- สถานี DX เห็นว่าเราไม่ปฏิบต ั ต ิ ามวิธก ี ารทีส ่ ถานี DX ได ้กําหนดไว ้ เราก็จะถูกหมายหัวอยูใ่ น
บัญชีดําของสถานี DX นัน ้ ในทีส ่ ดุ ซึง่ หมายความว่าเราจะไม่ได ้รับโอกาสติดต่อกับสถานี DX นัน ้
ได ้ต่อไปอีกได ้ภายในสองสาม (หลาย) นาที ทีเ่ ป็ นผลมาจากพฤติกรรมทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ของเรา
(สถานี DX รักการออกอากาศ แต่จะไม่พอใจเมือ ่ ถูกรบกวน ไม่วา่ จะโดยตัง้ ใจหรือไม่ก็ตาม!)
- อีกหนทางหนึง่ สถานี DX อาจรายงานการรับฟั ง (RS) ให ้เราว่า ‘00’ ซึง่ หมายถึงว่าเรากําลังถูก
มองว่าเป็ น ผู ้ฝ่ าฝื น (offender) จึงได ้รับการแสดงออก เช่นนัน ้
 หากสถานีเรายังคงเรียกขานไปอยูอ ่ ก ่ ่
ี ซึงเป็ นสิงทีไ่ ม่ควรกระทํา ในขณะทีส ่ ถานี DX กําลังพยายาม
ติดต่อ (is working) กับสถานีอน ื่ อยู่ เราก็จะกลายเป็ น QRM ของสถานีนัน ้ อยูเ่ พียงสถานีเดียว และ
ตัวเราเองก็จะทําให ้กระบวนการติดต่อทัง้ หมดช ้าลง ซึง่ ไม่เฉพาะสถานีดังกล่าวจะได ้รับความ
เดือดร ้อนเพียงผู ้เดียวเท่านัน ้ แต่สถานีเราเองก็ต ้องลําบากตามไปด ้วย เช่นกัน
 หากสถานี DX เรียกขานมาว่า ‘1AB only, you are 59, over’ (‘สําหรับ 1AB เท่านน ั้ รับฟั งท่านได ้
59 เปลีย ่ น’) กรณีหมายความว่า สถานี DX เกิดปั ญหากับบรรดาสถานีอน ื่ ทีข ่ าดวินัยซึง่ ได ้เรียกขาน
เข ้ามาโดยไม่คํานึงถึงกาลเทศะว่า เป็ นทีของตนเองหรือไม่ (สถานี DX จึงต ้องเจาะจงทีจ ่ ะขานตอบ
เฉพาะสถานี 1AB เท่านัน ้ )
 จงฟั งอย่างระมัดระวังว่า สถานี DX ไม่ได ้กําลังเรียกขานแบบเจาะจงเขตหรือภูมภ ิ าคเป็ นการเฉพาะ
อยู่ ‘Japan only’ (‘ญีป ่ น ุ่ เท่านัน
้ ’) หมายถึง บรรดาสถานีจากประเทศอืน ่ นอกจาก ญีป ่ น ุ่ ให ้รอก่อน
เมือ ่ มีกรณีเช่นนีเ้ กิดขึน ้ ให้เงียบไว้ เว ้นแต่วา่ ตนเองจะอยูใ่ นประเทศญีป ่ น ุ่
 อาจเป็ นไปได ้ทีส ่ ถานี DX กําลังเรียกขานโดยกําหนดเป็ นตัวเลข (หรือบางครัง้ กําหนดเป็ นบริเวณ
หรือพืน ้ ที)่ ‘listening for sixes only’ (‘ต ้องการเฉพาะผู ้ทีม ่ เี ลข 6 เท่านัน ้ ’) หมายความว่า สถานี
DX ต ้องการรับฟั งเฉพาะสถานีทส ี่ ญั ญาณเรียกขานมีเลข 6 เท่านัน ้ ทีจ ่ ะเรียกขานเข ้ามาได ้ สถานี
อืน
่ รอ เงียบ ไว ้ก่อน
 หากเราเป็ นสถานีทใี่ ช ้กําลังส่งตํ่า (QRP) อย่าเรียกขานโดยใช ้คําว่า ‘G3ZZZ stroke QRP’
เนือ่ งจากสถานี DX ก็ยงุ่ ยากกับการโดนรุมเรียกขาน (pileup) มากพออยูแ ่ ล ้ว สถานี DX จึงไม่
ต ้องการคําเฝื อ ‘stroke QRP’ จงจําไว ้เสมอว่า ในหลายประเทศสมาชิก การใช ้ ‘stroke QRP’ หลัง
สัญญาณเรียกขาน ถือเป็ นการกระทําทีผ ่ ด ิ กฎ (illegal)
 เมือ ่ สถานี DX ตอบกลับมาด ้วยรายงานการรับฟั ง (‘G3ZZZ 59’) ให ้ตอบยืนยันและรายงานกลับไป
แบบกระชับว่า ‘thanks, 59 also’ (or ’59 thanks’) ไม่ต ้องเพิม ่ สิง่ อืน
่ เข ้าไป เพราะยังมีอก ี หลาย
สถานีกําลังรอการติดต่อกับสถานี DX อยู่ (อย่าไปเยิน ่ เย ้อกับสถานี DX นัน ้ )

III.1.5. การถูกรุมเรียกขานบนความถีเ่ ดียวของ CW


 กฎทั่วไปและขัน ้ ตอนในการปฏิบต ั ด ู นํ ามาใช ้ในการติดต่อ
ิ ังได ้อธิบายมาแล ้วดังกล่าวข ้างต ้น ก็ถก
แบบ CW ด ้วย เช่นกัน
 จงอย่าขึน ้ ต ้นการเรียกขานด ้วยคําว่า ‘DE DL9ZZZ’ โดยเด็ดขาด (never) DE เป็ นคําเฝื อทีเ่ กิน
ความจําเป็ น (superfluous) และก็ไม่ได ้ให ้สาระอะไรเพิม ่ เติม DE อาจจะหมายถึงอักษรสองตัวแรก
(prefix) ของสัญญาณเรียกขานนักวิทยุสมัครเล่นชาวเยอรมัน กรณีจะก่อให ้เกิดความสับสนได ้

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 52


 จงอย่าจบข ้อความด ้วย ‘K’ โดยเด็ดขาด (K คือ เชิญส่งมาได ้) เนือ ่ งจากคํานีจ ้ ะสร ้างความสับสนได ้
เช่นกัน หากเราส่งคําว่า ‘K’ (ซึง่ บางทีอ ่ าจอยูห ่ ลังช่องว่างระหว่างคําทีแ ่ คบมาก) สถานี DX อาจ
เข ้าใจว่า เป็ นอักษรตัวสุดท ้ายของสัญญาณเรียกขานเราก็ได ้ ดังนัน ี ําว่า ‘K’ (ให ้ส่งเฉพาะ
้ ต ้องไม่มค
call sign เพียงอย่างเดียว)
 ฟั งการ pileup แล ้วพิจารณาดูวา่ เราควรจะใช ้ความเร็วเท่าไรในการส่ง สถานี DX กําลังติดต่อกับ
สถานีทส ี่ ง่ ช ้ากว่า หรือ เร็วกว่า อย่าอวดฝี มอ ื (show off) ด ้วยการส่งด ้วยความเร็วทีม ่ ากเกินไป
อย่างทีบ่ างครัง้ ผู ้เขียนเคยได ้ยินมา กรณีจะยิง่ ทําให ้มีผลในทางลบ (counter productive)
 ใน CW ‘KN’ ในตอนท ้ายของข ้อความทีส ่ ง่ ออกไป หมายถึง ‘over to you only’ (‘เปลีย ่ นเป็ นทีของ
คุณคนเดียวเท่านัน ้ ’) เมือ
่ สถานี DX ส่งมาว่า ‘W1Z? KN’ (หรือ ‘W1Z KN’) สถานี DX ต ้องการฟั ง
จากสถานีทม ี่ อ ั ษร W1Z เท่านัน
ี ก ้ สถานีอน ื่ นอกเหนือจากนี้ ควรรอเพือ ่ รับการติดต่อ (standby)
ก่อน
 หากสถานี DX ส่งมาว่า ‘CQ NA’ หรือ ‘QRZ NA’ กรณีหมายความว่าสถานี DX กําลังค ้นหาสถานี
จาก อเมริกาเหนือ เท่านัน ้ (NA = North America, SA = South America, AF = Africa, AS =
Asia, PAC = Oceania /Pacific, EU = Europe, JA = Japan, USA = United States of
America) ดังนัน ้ ให ้ปฏิบต ั ต
ิ ามทีส
่ ถานี DX ต ้องการ

III.1.6. ร ับ/สง ่ ต่างความถีใ่ นประเภทเสย ี ง (phone)


หากปรากฏว่า มีสถานีจํานวนมาก กําลังเรียกขานบนความถีข ่ องสถานี DX หนึง่ สถานี DX นัน ้ ก็จําเป็ น
จะต ้องปรับให ้เป็ นแบบ ร ับ/สง ่ ต่างความถี่ (split frequency) เพือ ่ จะทําให ้สามารถเพิม ่ อัตราการ
ติดต่อขึน ้ ได ้ แล ้วเราจะต ้องปฎิบต ั อิ ย่างไร? จะต ้องทราบและกระทําสิงใดบ ้าง เพือ ่ ่ ทีจ ่ ะได ้เป็ นหนึง่ ใน
กลุม
่ ทีต่ ด ิ ต่อกับสถานี DX นัน ้ ได ้ในตอนแรก ในขณะ pileups แบบ split อยู?่
 เริม ่ โดยการฟั ง จากนัน ้ ก็ให ้ฟั งมากขึน ้ !
 มีอยู่ 2-3 สิง่ ทีค ่ วรทราบก่อนทีเ่ ราจะเริม ่ เรียกขาน:
- สถานี DX เฝ้ าฟั งอยูท ่ ค ี่ วามถีใ่ ด? สถานี DX เฝ้ าฟั งอยูบ ่ นความถีเ่ ดียวเท่านัน ้ หรือ บนช่วง
ความถีห่ นึง่ ?
- สถานี DX กําลังเฝ้ ารอฟั งสถานีใดก็ได ้ ทีเ่ รียกขานมาแบบไม่เจาะจง (at random) หรือไม่?
- ...หรือเฉพาะบางพืน ้ ทีข ่ องโลก?
- ...หรือเฉพาะบางตัวเลข (ตัวเลขในสัญญาณเรียกขาน)?
- สถานี DX จะบอกได ้อย่างไรว่า ตนเองกําลังรอรับการติดต่อทีค ่ วามถีใ่ ด? ปกติสถานี DX จะแจ ้ง
ตามตัวอย่างนี้ ‘up’, ‘down’, ‘up 5’, down 10’, ‘listening between 200 and 210’ ฯลฯ
 นักวิทยุสมัครเล่นติดต่อระยะไกล (DX operator) ทีด ่ กี ว่าทั่วไป จะแจ ้งความถีใ่ นการรับฟั งของ
สถานีตนเอง หล ังการได้ QSO ก ันแต่ละครงั้ เสมอ อย่างไรก็ตาม ไม่ควรคาดหวังว่าทุกสถานีจะ
ปฏิบต ั ต
ิ ามแบบอย่างเช่นนัน ้ เสมอไป ถ ้าสถานการณ์ทม ี่ ี pileups หนาแน่นมาก operator ของสถานี
DX อาจจะคิดว่าสามารถเพิม ่ จํานวนการติดต่อได ้มากขึน ้ (ลดเวลาลงได ้ 1 วินาทีตอ ่ การติดต่อหนึง่
ครัง้ ) โดยการไม่แจ ้งบรรดาสถานีทเี่ ฝ้ ารอเรียกขานตนเองอยู่ ให ้ทราบความถีท ่ ตี่ นเองใช ้รับฟั ง เมือ ่
จบการ QSO แต่ละครัง้ การกระทําเช่นนัน ้ จึงไม่ใช่หลักปฏิบต ั ท
ิ ด
ี่ โี ดยแท ้ และยังจะทําให ้ผู ้ทีเ่ พิง่ เข ้า
มาในความถีก ่ ระวนกระวายใจได ้ด ้วยเมือ ่ ได ้ยินสถานี DX ติดต่อจนได ้ QSO เป็ นจํานวนมากมายแล ้ว
แต่กลับมิได ้ขานสัญญาณเรียกขานของตนเองแม ้แต่ครัง้ เดียว
 จงให ้แน่ใจก่อนว่า เราทราบช่วงความถีใ่ นการรับฟั งทีส ่ ถานี DX ได ้กําหนดไว ้ดีแล ้ว
 หากเราไม่ได ้อยูใ่ นบริเวณหรือพืน ่ งึ่ สถานี DX เจาะจงเรียกขานอยูน
้ ทีซ ่ ัน
้ ให ้ผ่อนคลาย หา
อะไรมาดืม ่ แล ้วเฝ้ าฟั งต่อไปก่อน
 บางทีสถานี DX อาจจะกําลังรับฟั งเฉพาะต ัวเลขทีก ่ ําหนดไว ้อยู่ หากตัวเลขสัญญาณเรียกขานที่
สถานี DX ต ้องการไม่ตรงกับของเรา ให ้เอนหลังลง แล ้วใจเย็นไว ้ก่อน…
 หากสถานี DX ระบุวา่ ‘listening 14200 to 14225’ กรณีจะไม่ตา่ งกับการเล่น roulette เว ้นแต่เสีย
ว่าเราได ้ทราบแน่ชด ั แล ้วว่า สถานี DX รับฟั งอยูท ่ ใี่ ด ดังนัน ้ จงฟั งต่อไปและค ้นหาให ้ได ้แน่ชด ั ก่อน

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 53


ว่า บรรดาสถานีทเี่ รียกขานสถานี DX อยู่ ใช ้ความถีใ่ ดทีท ่ ําให ้สถานี DX ติดต่อเขาเหล่านัน ้ ได ้
สถานี DX ส่วนใหญ่เปลีย ่ นความถีข ่ นึ้ ลงแบบค่อยเป็ นค่อยไปในย่านทีก ่ ําลังออกอากาศ บางสถานีก็
กระโดดข ้ามไปมาคล ้าย จิงโจ ้ โดยทัว่ ไปแล ้วโอกาสดีทส ี่ ดุ ทีเ่ ราจะสามารถติดต่อกับสถานี DX ได ้
ก็ด ้วยการเรียกขานไปบนความถีท ่ ส
ี่ งู กว่าหรือตํา่ กว่าเล็กน ้อยจากของความถีท ี่ ถานี DX ใช ้ติดต่อ
่ ส
ได ้กับสถานีท ้ายสุด
 พยายามให ้ทราบ วิธก ี ารติดต่อของสถานี DX ให ้มากทีส ่ ด ุ เท่าทีจ ่ ะกระทําได ้ สถานี DX เป็ น
ประเภทจิงโจ ้ หรือ เป็ นแบบเดินทอดน่อง? ยิง่ ได ้ทราบโหมดการติดต่อทีถ ่ ก ู ต ้อง (modus
operandi) ของสถานี DX ได ้มากเท่าไรด ้วยแล ้ว โอกาสในการติดต่อกับสถานี DX ได ้เร็วขึน ้ ก็ม ี
มากเท่านัน ้
 ให ้แน่ใจไว ้ว่า ตนเองได ้ทราบ จ ังหวะลีลา (rhythm) และ รูปแบบ (pattern) ของสถานี DX นัน ้
แล ้ว นักวิทยุสมัครเล่นประจําสถานี (Operator) ทีด ี องสถานี DX จะใช ้รูปแบบทีค
่ ข ่ งที่ ไม่
เปลีย ่ นแปลง (fixed pattern) ขอให ้จับคําท ้ายก่อนคําว่า listening ทีส ่ ถานี DX ออกอากาศให ้ได ้
เสียก่อน (ปกติจะเป็ นสัญญาณรียกขานของสถานี DX หรือ ‘thank you’ หรือ ‘5 UP’ ฯลฯ)
 ทุกครัง้ ก่อนจะออกอากาศ ต ้องให ้แน่ใจว่าบรรดาปุ่ มควบคุมของวิทยุฯ ทีจ ่ ะใช ้ออกอากาศได ้ถูก
ปรับแต่งไว ้อย่างถูกต ้องแล ้ว ได ้ตัง้ การออกอากาศเป็ นแบบ split ทีเ่ ครือ ่ งฯ ไว ้แล ้วหรือยัง? ได ้ตัง้
ความถีภ ่ าคส่งไว ้ถูกต ้องแล ้วหรือไม่ ให ้ตรวจซํา (double check)! ้
 หากพบความถีท ่ สี่ ถานี DX ติดต่อได ้ครัง้ ล่าสุด ให ้ปรับกลยุทธ์ให ้เข ้ากับรูปแบบการออกอากาศของ
สถานี DX แล ้วขานสัญญาณเรียกขานสถานีเราออกไป เพียงครงเดี ั้ ยว แล ้วรอฟั ง
 ถ ้าไม่ตอบกลับมาภายใน 1-2 วินาที ก็เรียกขานกลับไปอีกในความถีเ่ ดียวกัน ทําแบบนีซ ้ ํ้าไป
จนกระทั่งสถานี DX ตอบใครคนใดคนหนึง่ ขึน ้ มา (หวังว่าให ้เป็ นสถานีเรา)
 หากสถานี DX ตอบสถานีอน ื่ ให ้ หยุดเรียกขาน และเริม ่ ค ้นหาว่าสถานีทส ี่ ถานี DX ตอบไปนัน ้ ส่ง
หรือออกอากาศมาจากบริเวณใด เสมือนกับเกม แมวไล่จับหนู ซึง่ มีแมวใหญ่อยูเ่ พียงตัวเดียวและมี
หนูตวั เล็กอยูม ่ ากมายรวมทัง้ ตัวเรา แต่เป็ นตัวเดียวทีแ ่ มวจับได ้
 บางครัง้ ก็เป็ นเรือ ่ งน่าอาย ทีห ่ ลายคนมักจะได ้ยินเสมอว่า สถานีบางประเภทก็มงุ่ แต่เรียกขานแบบ
ไม่หยุดหย่อน แม ้ว่าในขณะทีส ่ ถานี DX นัน ้ ก็กําลังติดต่อกับบางสถานีอยู่ ดูเสมือนว่าสถานีวท ิ ยุ
สมัครเล่นส่วนมากจะใช ้วิธน ี ก ี้ น ั ซึง่ โดยความเป็ นจริงแล ้ว การกระทําเช่นนัน ้ ก็เปรียบเสมือนว่าสถานี
เหล่านัน ้ กําลังสร ้าง QRM และทําให ้การติดต่อได ้ผลช ้าลงไปกว่ าทีค ่ วรจะเป็ นเมือ ่ เทียบกับการมีวน ิ ัย
ขึน้ อีกเล็กน ้อย
 บรรดานักวิทยุสมัครเล่นทีส ่ นุกและชืน ่ ชอบกับขัน ้ ตอนการปฏิบต ั ทิ ัง้ หลายทีก ่ ล่าวมาแล ้วข ้างต ้นได ้
รวดเร็ว ก็จะกลายเป็ นผู ้ทีม ่ ชี อ ื่ เสียงในการเป็ นบุคคลทีไ่ ม่เห็นแก่ได ้ ไร ้ซึง่ ความอิจฉาริษยา (non-
enviable reputation) ขัน ้ ตอนการปฏิบต ิ ังกล่าวมาคือสิง่ ทีเ่ ป็ นหลักประกันได ้ดีทส
ั ด ี่ ด
ุ ทีจ ่ ะทําให ้
เขาเหล่านัน ้ สามารถคงอยูใ่ นวงการและออกอากาศไปได ้อีกยาวนาน ขัน ้ ตอนดังว่าเป็ นตัวอย่าง
อันหนึง่ ทีแ ่ สดงให ้เห็นอย่างชัดเจนว่า อะไรบ ้างทีเ่ ราไม่สมควรกระทํา
 บางครัง้ Operator ของสถานี DX คนหนึง่ อาจเห็นว่าบุคคลผู ้ซึง่ ไม่เคารพกฎ ทีช ่ อบเรียกขานไป
อย่างต่อเนือ ่ งไม่รู ้จบ เป็ น operator ทีไ่ ม่ด ี (poor) จึงได ้รายงานการรับฟั ง RS ‘00’ ไปให ้ เราคง
ต ้องช่วยกันหวังว่า ผู ้ทีไ่ ด ้รับรายงานดังกล่าวคงเข ้าใจว่ารายงานแบบนัน ้ หมายความว่าอะไร (ผู ้เขียน
ประสงค์จะให ้เห็นว่าบางครัง้ การรายงานไปเช่นนัน ้ ก็สมควรกระทํา ทัง้ นีเ้ พือ
่ ให ้ผู ้ทีไ่ ม่เคารพกฎ

กติกา ได ้รับรู ้ถึงสิงทีต
่ นเองไม่ควรจะกระทําบ ้าง)

III.1.7. การรุมเรียกขานบนความถีแ ่ บบ split ใน CW


 โดยทั่วไป กฎ กติกา และขัน ้ ตอนการปฏิบต ั ิ ดังทีอ
่ ธิบายมาแล ้ว สําหรับการรับ/ส่งต่างความถีใ่ นการ
ติดต่อแบบ phone และแบบ simplex ใน CW ก็ยงั คงถูกนํ ามาใช ้ (สําหรับ split CW)
 สถานี DX แสดงให ้เราทราบได ้อย่างไร ว่ากําลัง operate แบบ split อยู?่ ในการหมดข ้อความแต่
ละครัง้ สถานี DX จะส่งข ้อความ ดังตัวอย่างต่อไปนี:้ ‘UP’, ‘DWN’, ‘UP 5’, ‘DWN 10’, ‘QSX 3515’,

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 54


‘UP 10/20’ การบอกเพียง ‘UP’ หรือ ‘DWN’ ปกติจะหมายความว่า สถานี DX จะรอฟั งอยูท ่ ี่
ความถีท ี่ งู หรือตํา่ กว่าทีใ่ ช ้ออกอากาศอยูข
่ ส ่ ณะนัน
้ 1-2 kHz
 จะเป็ นการดีทส ุ หากเราสามารถส่งและรับ (ฟั ง) ในขณะเดียวกันได ้ ซึง่ เราสามารถกระทําให ้ไกล ้
ี่ ด
เคียงกับสิง่ ทีเ่ ราต ้องการดังว่าได ้ โดยการออกอากาศแบบ full break-in (เรียกว่า QSK ด ้วย
เช่นกัน) ขณะทีเ่ ป็ น full break-in เราจะสามารถฟั งบรรดาคําว่า ดิท และ ดา ระหว่างคําของเราที่
กําลังส่งไปได ้ กรณีหมายความว่า เราสามารถได ้ยินสถานี DX ส่งสัญญาณในเสีย ้ ววินาทีเดียวกันกับ
ช่องว่างระหว่างคําทีเ่ รากําลังส่งไป อย่างไรก็ตาม มิได ้หมายความว่าเครือ ่ งวิทยุฯ (และเครือ ่ งขยาย
กําลังส่ง) ทัง้ หมดจะมีการติดตัง้ วงจรประมวลผลสําหรับ QSK ไว ้ นอกจากนัน ้ เรายังสามารถ
ออกอากาศ (work) แบบ semi break in (break in แบบช ้ากว่า) ได ้ด ้วยเช่นกัน ซึง่ เครือ ่ งวิทยุฯ
จะเปลีย ่ นสลับจาก การส่งไปเป็ นการรับและจากการรับเป็ นการส่ง ระหว่างคําหรือแม ้กระทั่งตัวอักษร
ส่วนเวลาในการหน่วงของแต่ละคํา/อักษร สามารถปรับแต่งให ้เหมาะกับความต ้องการ (ชอบ) ของ
แต่ละบุคคลได ้ full break-in คือข ้อได ้เปรียบในการป้ องกันข ้อผิดพลาดจากการเรียกขานกัน
(calling) ในขณะทีม ่ ก
ี ารรุมเรียกขานแบบรับ/ส่งต่างความถี่ (split frequency pileups) อีกทัง้ ยังจะ
ช่วยป้ องกันหรือหลีกเลีย ่ งมิให ้มีการส่งสัญญาณทีไ่ ม่ต ้องการออกไปโดยมิได ้ตัง้ ใจด ้วยในขณะที่
สถานี DX กําลังออกอากาศอยู่ ปั ญหาทัง้ หลายทีไ่ ด ้สาธยายมาข ้างต ้นก็เนือ ่ งจากเราต ้องการฟั งว่า
สถานี DX กําลังส่งข ้อความใดมา ใช่หรือไม่?

้ นข้อความตอนท้าย (TAIL ENDING)


III.2. การท ับซอ

 การทับซ ้อนข ้อความตอนท ้าย (Tail ending) คืออะไร? บุคคลทีไ่ ด ้ชือ ่ ว่าเป็ น นักเหยียบหาง (tail
ender) คือผู ้ทีพ่ ยายามเอาชนะการแข่งขัน โดยการออกอากาศใหได ้ ้เร็วยิง่ กว่าเงาของตนเอง (เป็ น
สํานวนเปรียบเปรยว่า จะให ้เร็วกันไปถึงใหนกัน) เขาคือผู ้เฝ้ าฟั งสถานีทก ี่ ําลังติดต่อกับสถานี DX
อยูใ่ นขณะนัน ้ ด ้วย และเพียงเสีย ้ ววินาทีกอ
่ นทีส ่ ถานีนัน
้ จะพูดคําว่า เปลีย ่ น กับสถานี DX ตนเองก็
จะรีบขานสัญญาณเรียกขานออกไป ซึง่ โดยปกติจะกลบคําว่า เปลีย ่ น เสียครึง่ หนึง่ ผู ้นัน
้ คือผู ้ทีก
่ ําลัง
เหยียบลงบนหางของคําดังกล่าว (is stepping on its tail)
 ขอกล่าวอย่างจริงจังและเข ้มงวดว่า การทับซ ้อนข ้อความส่วนท ้าย (tail ending) ถือเป็ นการกระทํา
ทีฝ ่ งจากผู ้กระทํามีเจตนาจงใจออกอากาศทับซ ้อนสถานีอน
่ ่ าฝื นกฎ ระเบียบอีกด ้วย เนือ ื่ ดังนัน
้ จึง
เป็ นการรบกวนสถานีนัน ้ (เป็ น QRM)
 ในหลายกรณี ไม่เพียงแต่จะทับเฉพาะข ้อความส่วนท ้ายเท่านัน ้ แต่ได ้กดทับข ้อความเกือบทัง้ หมด
 การออกอากาศเช่นนี้ นอกจากจะเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่สภ ุ าพอย่างยิง่ แล ้ว ยังถือว่าเป็ นการกระทําทีก ่ ้าวร ้าว
(aggressive) อย่างมากอีกด ้วย ความเห็นทีม ่ รี ว่ มกันคือ จงอย่าได ้กระทําเยีย ่ งนัน
้ เลย

บรรดาผูเ้ รียกขานไม่รจ
ู ้ บ (THE ENDLESS CALLERS)

ถูกต ้องแล ้ว บุคคลประเภทนีย ้ งั มีอยู่ และมีมากด ้วย เขาเหล่านัน ้ เพียงต ้องการจะติดต่อกับสถานีทห ี่ า


ยากอันใหม่ให ้ได ้เท่านัน ้ ไม่วา่ จะด้วยวิธใี ดก็ ตาม ทีต ่ นเองสามารถจะกระทาได้ เป็ นบุคคลทีไ่ ม่เคย
นึกถึงหัวอกของสถานีอน ื่ แม ้แต่น ้อย จะทําการออกอากาศแบบต่อเนือ ่ ง คล ้ายกับสถานีวท ิ ยุกระจายเสียง
และจะไม่รับฟั งผู ้ใดทัง้ สิน ้ บ่อยครัง้ ไม่วา่ ใครก็ตาม จะได ้ยินสถานี DX ขานตอบสถานีประเภทนีม ้ าสอง
สามครัง้ แต่ก็ไม่ได ้รับการตอบรับ สถานีประเภทนีจ ้ ะไม่ได ้ยินสถานี DX ใดเลย เนือ ่ งจากตนเอง (แทบ
จะ) ไม่ได ้รับฟั งใครทัง้ สิน ้ และอาจเป็ นเพราะว่า ตนเองมีสถานี ‘จะเข ้น ้อย’ พิลก ึ (typical ‘alligator’
station) การเรียกขานสถานี DX ดูคล ้ายว่าจะเป็ นเสมือนงานอดิเรกของตนเอง ไม่ใช่เพือ ่ การติดต่อกับ
สถานี DX อย่างแท ้จริง

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 55


ทัง้ หลายเหล่านี้ จะไม่กลายเป็ นเรือ
่ งเลวร ้ายและน่าเบือ่ หน่ายเลย หากมนุษย์ประเภทนี้ ไม่ไปก่อให ้เกิด
QRM อันมากมายกับสถานีอน ื่ จากการกระทําทีห ่ น ้าสมเพศเยีย ้ สิง่ ทีเ่ ขาได ้กระทําลงไปก็คอ
่ งนัน ื การ
รบกวนทีป ่ ราศจากสิง่ แปลกปลอมเจือปน ธรรมดา นั่นเอง

การเรียกขานต่อเนือ
่ งแบบไร ้จุดจบ เป็ น เครือ
่ งพิสจ
ู น์ทไี่ ร้ขอ ้ ก ังขาในพฤติกรรมของบุคคลทีค ่ ด
ิ ว่า
ตนเองสาค ัญเลิศลา้ กว่าผูอ
้ นื่ (ultimate proof of egoistic behavior): เป็ นเรือ ่ งทีน
่ ่าอับอาย ไร ้

ซึงเกียรติและความเคารพนับถือ สําหรับเหล่ามนุษย์ทป ี่ ฏิบตั เิ ยีย
่ งนี้

III.3. การไปออกอากาศในสถานที่ ทีห


่ ายาก (DXPEDITIONS)

 นักวิทยุสมัครเล่นจํานวนมากทีค ่ อยเฝ้ าติดต่อสถานีในประเทศทีห ่ ายาก หรือ ในบริเวณทีไ่ ม่คอ ่ ยมี


นักวิทยุสมัครเล่นอาศัยอยู่ หรือ ไม่มอ ี าศัยอยูเ่ ลย ณ ทีน ่ ัน

 ตัวบ่งชีหรือสิงทีใ่ ช าหนดว่า บริเวณใดเป็ น ประเทศ หรือ จะเป็ นการเหมาะสมกว่าถ ้าจะเรียกว่า
้ ่ ้กํ
บริเวณ/จุด (entity) ทีถ ่ ก
ู กําหนดขึน ้ โดย DXCC (DX Century Club) องค์กรซึง่ ออก
ประกาศนียบัตรรางวัล DXCC (DXCC Award) ดูได ้ที่ www.arrl.org/awards/dxcc/.
 นักวิทยุสมัครเล่นทีเ่ ป็ นนักสะสมประเทศใหม่ จะพยายามและชอบทีจ ่ ะติดต่อกับ entity แต่ละที่ (ซึง่
ปั จจุบน ั มีอยูท่ ัง้ หมดประมาณเกือบ 340 แห่ง) โดยเฉพาะอย่างยิง่ ใน band และ mode ทีต ่ า่ งกันไป
สิง่ เหล่านีเ้ ปรียบเสมือน กีฬาทีเ่ รียกว่า DXpeditions ส่วนรายการใหญ่ของการออกอากาศ
ประเภทนีจ ้ ะถูกจัดขึน ้ โดยกลุม ่ นักวิทยุสมัครเล่นทีไ่ ปกันเป็ นคณะ บางครัง้ มีจํานวนถึงหนึง่ โหล
เดินทางไปยังสถานทีท ี่ ายาก แล ้วใช ้เวลาทัง้ วันทัง้ คืนออกอากาศ บางครัง้ อาจจะใช ้เวลาทัง้ สิน
่ ห ้
หลายสัปดาห์
 รายการ DXpeditions ใหญ่บางรายการ สามารถติดต่อกันได ้มากกว่า 100,000 QSO จากการใช ้
เวลาเพียง 1 หรือ 2 สัปดาห์ สําหรับใน DXpeditions ทีม ่ น ี ักวิทยุประจําสถานีหลายคน (multi-
operator DXpedition) จะมีการออกอากาศพร ้อมกันหลายสถานีในย่านความถีแ ่ ละโหมดทีต ่ า่ งกัน
ไป
 หากต ้องการจะทราบว่า ขณะนีม ้ ี DXpeditions ทีไ่ หนบ ้าง และทีก ่ ําลังจะมีขน ึ้ ทีใ่ ด และทีม ่ ไี ปแล ้ว
นัน้ สามารถเข ้าไปค ้นหาได ้ที่ ng3k.com/Misc/adxo.html.
 ระหว่างการ DXpeditions ความถีย ่ า่ นวิทยุสมัครเล่น (HF) ในบางย่านหรือช่วงความถี่ (band) อาจ
คับคั่ง ดังนัน ้ ผู ้ทีอ่ อกอากาศ DXpeditions ในขณะนัน ้ ควรคํานึงถึงความรับผิดชอบต่อผู ้อืน ่ ทีอ ่ ยูบ ่ น
ย่านความถีท ่ ัง้ หมดด ้วยเสมอ และต ้องไม่รก ุ ลํ้าความถีห ่ ลักของย่าน (band) นัน ้ เพือ ่ ใช ้ในกิจกรรม
ใดก็ตาม ทีไ่ ม่ได ้มีนักวิทยุสมัครเล่นทุกสถานีเข ้ามามีสว่ นด ้วย (มีมารยาท)
 การติดต่อกับสถานี DXpeditions โดยปกติแล ้วต ้องเป็ นแบบกระชับ คล ้ายกับการติดต่อขณะแข่งขัน
(contest): แลกเปลีย ่ นสัญญาณเรียกขานและรายงานการรับฟั งกัน เท่านัน ้
 การติดต่อกับ DXpeditions เกือบทัง้ หมดจะเป็ นในรูปแบบรับ/ส่งต่างความถี่ (split mode)
 คุณภาพและความชํานาญของ operator ประจําสถานี DXpeditions ถูกชีว้ ัดจากจํานวนย่านความถี่
ทัง้ หมดทีใ่ ช ้ออกอากาศ ในแบบรุมเรียกขานต่างความถี่ (split pileups)
 ขณะที่ DXpeditions รายการสําคัญกําลังดําเนินการอยู่ จะมีนักวิทยุสมัครเล่นจําไม่น ้อยออกมา
กระทําตนเสมือนว่า ข ้าฯ ได ้ถูกร ้องขอให ้มาปฏิบต ั ห
ิ น ้าทีส ่ ําคัญพิเศษให ้ลุลว่ งไปอย่างสมบูรณ์โดย
แสดงตนเป็ น ตํารวจความถี’่ (frequency cop) โปรดกรุณาอย่าหลงกระทําตนให ้เป็ นบุคคลประเภท
นัน ้ อีกรายหนึง่ เลย เพราะเราท่านทัง้ หลายมีตํารวจประเภทนีม ้ ากมายอยูแ ่ ล ้ว (ดู § III.10)
 บุคคลอีกประเภทหนึง่ ส่วนใหญ่จะมากด ้วย ความหงุดหงิด ไม่ได ้ดังใจ ดูเสมือนว่าจะมีความสนุกใน
การก่อกวน DXpeditions ทีต ่ นเองได ้ตัง้ ใจไว ้ บุคคลประเภทนีก ้ ําลังสร ้าง การรบกวนแบบตงใจ ั้
หรือ deliberate QRM (DQRM) หากเราพบกับเหตุการณ์เช่นนี้ ขอให ้วางเฉยไว ้ อย่าตอบโต ้

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 56


แล ้วบุคคลผู ้นัน ้ จะเลิกราไปเองเมือ ่ ไม่มผ ี ู ้ใดให ้ความสนใจหรือตอบโต ้ ในบางครัง้ ก็เป็ นเรือ ่ งยากอีก
เช่นกันทีเ่ ราจะวางเฉยอยูไ่ ด ้ แต่การเข ้าไปต่อคํากับบุคคลประเภทนีจ ้ ะยิง่ ทําให ้เหตุการณ์วน ุ่ วายที่
เป็ นอยูข ่ ณะนัน
้ เลวร ้ายลงไปอีก (ดู § III.11) ฉะนัน ้ หากมัน
่ ใจว่าได ้ทราบตัวตนผู ้กระทํา
(DQRMers) คนใด คนหนึง่ แล ้ว ก็ให ้พิจารณาร ้องเรียนอย่างเป็ นทางการไปยังหน่วยงานทีก ่ ํากับ
ดูแลเรือ ่ งใบอนุญาตวิทยุสมัครเล่นต่อไป
 เมือ่ ต ้องการข ้อมูลเกีย ่ วกับ DXpeditions กรุณาอย่าสอบถามกันบนความถีท ี่ ําลังใช ้ออกอากาศ
่ ก
DXpeditions อยูข ่ ณะนัน ้ ขอให ้ไปค ้นหาใน เวปไซท์ หรือในหนังสือ DX Bulletins ทีส ่ ามารถพบ
รายละเอียดได ้ทัง้ หมด: ตัง้ แต่ ทีอ ่ ยูเ่ พือ
่ ส่งบัตรยืนยันการติดต่อ ความถีท ่ ใี่ ช ้ นักวิทยุประจําสถานี
และ หมายเลขโทรศัพท์ตด ิ ต่อ (ถ ้ามีและใช ้) ของบุคคลทีเ่ ป็ นผู ้จัดการหรือทีเ่ ป็ นประชาสัมพันธ์
(pilot stations) ของ DXpedition
 Pilot stations คือบุคคลทีจ ่ ัดการด ้านประชาสัมพันธ์และรับการติดต่อของ DXpedition หาก
ต ้องการทราบข ้อมูลบางอย่างทีไ่ ม่สามารถค ้นหาได ้จากเวปไซท์ ก็ให ้ส่งอีเมล์ไปสอบถาม pilot
station บุคคลดังกล่าวอาจจะช่วยได ้
 ต ้องไม่ถามคําถามบนความถีท ่ ี่ DXpeditions กําลังใช ้ออกอากาศอยู่ อย่างเช่น ‘QSL MGR’ หรือ
‘PSE SSB’ หรือ ‘QSY 20M’ ฯลฯ โดยเด็ดขาด (never) และจะเป็ นการดียงิ่ ขึน ้ หากจะไม่ไปใช ้
ความถีข ่ องสถานีเหล่านัน ้ เลย ไม่วา่ ในกรณีใดก็ตาม (บนสมมติฐานว่า ในขณะนัน ้ มีการติดต่อแบบ
รับ/ส่งต่างความถีอ ่ ยู)่

III.4. DX NETS
 ในยุคทีย ่ งั มิได ้มีการใช ้อินเตอร์เน็ ตกันอย่างแพร่หลายในสังคมวิทยุสมัครเล่น ข ้อมูลของ DX Nets
(DX Information Nets) ได ้ถูกส่งออกอากาศบนความถีว่ ท ิ ยุสมัครเล่นในหลายย่าน การ
ออกอากาศเป็ นประจําวัน ทําให ้ทราบข ้อมูลทีเ่ กีย ่ วข ้องกับรายการทีก ่ ําลังจะเกิดและทีไ่ ด ้กําหนดไว ้
ล่วงหน ้า เป็ นเวลาหลายปี มาแล ้วทีเ่ ครือข่ายดังกล่าวถูกทดแทนโดยระบบสารสนเทศหลายชนิด
ผ่านทาง radio package และอินเตอร์เน็ ท
 นอกเหนือจาก DX nets ทีม ่ ป
ี ระโยชน์แล ้ว ยังมี DX net ในรูปแบบอืน ่ อีกหนึง่ ชนิดทีม่ เี ป้ าหมายเพือ ่
ช่วยสถานีทงั ้ หลายในการติดต่อทางไกล (to work DX) การติดต่อ DX โดยใช ้ DX net ก็คอ ื การ
ติดต่อทางไกลแบบมีตวั ช่วย (assisted category) หรือแบบทีไ่ ด ้รับการช่วยเหลือ นั่นเอง
 DX net หลายแห่งส่วนใหญ่เกิดขึน ้ เพือ
่ จะเพิม ่ ความสําคัญ (ego) ให ้กับผู ้ทีท ่ ําหน ้าทีค่ วบคุม DX
net เหล่านัน ้ (control operators)
 ต่อไปนีเ้ ป็ นการแสดงให ้เห็นว่า โดยปกติ มีการปฏิบต ั เิ ช่นไร ในเรือ ่ งนี:้
- สถานีควบคุมข่าย หรือ ทีเ่ รียกว่า สถานีแม่ขา่ ย (Master of Ceremony) จะเรียกขานสถานีท ี่
ต ้องการติดต่อ DX ทีเ่ ฝ้ ารออยูใ่ นความถีข ่ อง DX net
- ส่วนใหญ่แล ้ว สถานีแม่ขา่ ยจะขอให ้สถานีทรี่ ออยูเ่ รียกขานเข ้ามาด ้วยอักษรท ้ายของสัญญาณ
เรียกขาน เท่านัน ้ ซึง่ ถือเป็ นการปฏิบต ั ทิ ขี่ ด ั ต่อกฎ กติกา ในเรือ ่ งการแสดงตัวตนทีป ่ ระเทศ
สมาชิกส่วนใหญ่ได ้กําหนดให ้ถือปฏิบต ั ิ จากนัน ้ ผู ้ควบคุมหรือแม่ขา่ ยก็จะจัดลําดับก่อนหลัง เมือ ่
รวบรวมได ้ทัง้ หมดแล ้ว ก็จะขานส่งไปยังสถานี DX ทีละสถานี เพือ ่ ทําการติดต่อกันเรียง
ตามลําดับไป ถ ้าการติดต่อดังกล่าวไม่สําเร็จ นายสถานีจะยินดีเข ้ามาช่วยเหลือ (ตัง้ แต่การช่วย
แจ ้งว่า ‘…SS station, call again…’ (แปลว่า ‘...สถานีทล ี่ งท ้ายด ้วย SS เรียกขานใหม่อก ี ครัง้
...’) รวมไปถึงการช่วยรายงานผลการรับฟั ง ให ้ด ้วยถึงครึง่ หนึง่ : ‘…you have the readability
correct, but the signal strength is better than what you said…’ (‘...รายงานความชัดเจน
ของท่านถูกต ้อง แต่ความแรงของสัญญาณดีกว่าทีท ่ า่ นแจ ้งมา...’) บ่อยครัง้ ทีน ่ ายสถานี (MC)
จะพูดส่งข ้อความให ้เสียครึง่ หนึง่ ของการติดต่อ (QSO) จึงไม่ใช่เรือ ่ งแปลกทีบ ่ างครัง้ เรามักได ้
ยินการพูดเชิงเย ้าเล่นกันว่า ‘make one more guess…’ (‘เดาให ้อีกสักครัง้ ซิ…’)

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 57


 เป็ นทีช ั เจนว่า เราจะได ้เห็นสิง่ ทีก
่ ด ่ ล่าวมาข ้างต ้นได ้น ้อยมากใน การแข่งข ันติดต่อทางไกลทีเ่ ป็น
จริงเป็นจ ัง (real sport of DXing) บรรดาผู ้ร่วมแข่งขันทางไกล (DXers) ทีเ่ อาจริงเอาจัง และ
สถานี DX ทีม ่ ากด ้วยประสบการณ์ หากเป็ นไปได ้ จะอยูห ่ า่ งจาก DX net ในทุกกรณี
 การใช ้ DX net ทีก ่ ล่าวมาแล ้ว ถือว่ามิใช่สถานที่ สําหรับนักวิทยุสมัครเล่นทีจ ่ ะได ้เรียนรู ้เรือ
่ งกีฬา
ของการแข่งขันติดต่อทางไกล (sport of DXing) หรือ ได ้เรียนรู ้วิธท ี จ
ี่ ะปรับปรุงสถานี หรือ เพิม ่ พูน
ความสามารถในการติดต่อของตนเองได ้เลย

้ ญญาณเรี
III.5. การใชส ั ยกขานเพียงบางสว่ น (THE USE OF PARTIAL CALLS)

 ผู ้เขียนได ้กล่าวถึงเรือ ่ งนีม้ าก่อนแล ้ว และเนือ ่ งจากสิง่ นีเ้ ป็ นเรือ่ งเกีย


่ วกับนิสยั ทีไ่ ม่ด ี (bad habit)
และเป็ นสิง่ ทีช ่ ใี้ ห ้เห็นถึง คุณภาพทีด ่ ้อยของการปฏิบต ั ใิ นการออกอากาศของนักวิทยุสมัครเล่น
ผู ้เขียน จึงขอกลับมากล่าวถึงเรือ ่ งนีอ้ ก
ี ครัง้
- ใน DX net ส่วนใหญ่ ผู ้ควบคุมหรือนายสถานี (MC) จะเรียกขานสถานีทไี่ ด ้ขึน ้ บัญชีรอไว ้
(callers) ด ้วยอักษร 2 ตัวสุดท ้ายของสัญญาณเรียกขานของผู ้นัน ้ แท ้จริงแล ้วไม่ได ้เป็ นผลดี
และยังเป็ นการกระทีฝ ่ ่ าฝื นกฎของประเทศสมาชิกเกือบทัง้ หมดอีกด ้วย (ควรแจ ้งสัญญาณเรียก
ขานให ้ครบถ ้วนตามทีไ่ ด ้รับอนุญาตมา)
- ผู ้ควบคุมสถานีให ้เหตุผลในแง่ทวี่ า่ ตนเองไม่ต ้องการทีจ ่ ะรับทราบสัญญาณเรียกขานเต็มของ
สถานีทเี่ รียกขานเข ้ามา จึงไม่เรียกขานแบบเต็มในการออกอากาศ ทัง้ ทีจ ่ ะได ้เป็ นหนทางทีจ ่ ะทํา
ให ้สถานี DX ได ้ทราบสัญญาณเรียกขานของสถานีทก ี่ ําลังจะได ้สิทธิเรียกขานสถานี DX ได ้ก่อน
ในขณะนัน ้ เลย กรณีคล ้ายว่าจะเป็ นความคิดทีเ่ ลิศหรู แต่แท ้จริง ฟั งไม่เข ้าท่าเลย
- ผู ้ควบคุมสถานีสามารถทีจ ่ ะใช ้สัญญาณเรียกขานทีค ่ รบถ ้วนเพือ ่ ลงในรายการให ้ถูกต ้องได ้ ซึง่
หมายความว่า ถ ้าสถานี DX ในขณะนัน ้ ทราบสัญญาณเรียกขานของสถานีทจ ี่ ะเรียกขานเข ้ามา
ได ้ก่อนแล ้ว ก็จะเป็ นการดียงิ่ ขึน ้ สําหรับตัวสถานี DX เอง

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 58


- ในแบบหลังนี้ เมือ ่ ผู ้ควบคุมสถานีเรียกขานสถานีทอ ี่ ยูใ่ นบัญชีรอเรียกขาน สถานี DX ก็สามารถ
จะใช ้อักษรเพียง 2 ตัวเรียกขานได ้ และ ไม่ถอ ื ว่าผิดกฎ เนือ ่ งจากกฎได ้กําหนดไว ้ให ้นักวิทยุ
สมัครเล่นต ้องระบุตนเองด ้วยสัญญาณเรียกขานทีค ่ รบถ ้วน แต่มไิ ด ้ห ้ามให ้ขานสัญญาณเรียกขาน
ผู ้อืน
่ แบบไม่ครบทัง้ หมดทุกตัวอักษร
ตัวอย่าง:
 MC เรียกขาน: ‘Stations ZK1DX, check in please’ (‘สถานี ZK1DX เข ้ามาได ้ครับ’)
 OH9ZZZ แจ ้งสัญญาณเรียกขาน (เต็ม): ‘OH9ZZZ’
 หากต่อมาภายหลัง ตามขัน ้ ตอน เมือ ่ MC จะเรียกขาน OH9ZZZ ก็เพียงพูดว่า ‘station
with ZZ at the end of call, make your call’ (‘สถานีทล ี่ งท ้ายด ้วย ZZ เรียกขานเข ้ามา
ได ้’)
 OH9ZZZ จึงเรียกขาน สถานี DX : ‘this is OH9ZZZ, Oscar hotel nine zulu zulu zulu
calling ZK1DX your are 55 over’ (‘จากสถานี OH9ZZZ ออสการ์ โฮเทล นายน์ ซูลู ซูลู
ซูลู เรียกขาน ZK1DX รับท่านได ้ 55 เปลีย ่ น’)
 ฯลฯ
ไม่มแ ี บบอืน ่ ทีง่ า่ ยไปกว่านีแ ้ ล ้ว และทัง้ หมดก็เป็ นขัน ้ ตอนการปฏิบต ั ทิ ถ
ี่ ก
ู ต ้อง ไม่ฝ่าฝื นกฎแต่
อย่างใดด ้วย
 นักวิทยุสมัครเล่นบางรายก็เริม ่ ใช ้การขานแบบสองตัวอักษรด ้วยเช่นกัน นอกเหนือจากทีม ่ ใี ช ้กันใน
DX nets เช่น ใน DX pileup
 นอกจากจะทําผิดกฎแล ้ว ยังจะทําให ้ขาดประสิทธิภาพอีกด ้วย เพราะเหตุใดรึ?
- คณิตศาสตร์แบบง่ายจะช่วยอธิบายได ้ สมมุตวิ า่ สัญญาณเรียกขานเรามี 6 ตัวอักษร (รวมตัวเลข)
และถ ้าขานส่งไปแค่ 2 ตัว ก็เท่ากับว่า อย่างน ้อยการรับสัญญาณเรียกขานของเราจะน ้อยลงไป
ถึงสามเท่า จากถ ้าเราแจ ้งไปตามจริงทีม ่ อี ยู่ 6 ตัว
- สัญญาณเรียกขานเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ การใช ้เพียงแค่สองตัวทําให ้ผิดเพีย ้ นไปจากความเป็ น
เอกลักษณ์ของตนเองมาก กรณีหมายความว่า วิธก ี ารขานเช่นนัน ้ จะยิง่ นํ าไปสูค ่ วามสับสน (เมือ ่
มีหลายสถานีใช ้สัญญาณเรียกขานแค่สองตัวเรียกขานมาพร ้อมกัน)
- หากสถานี DX รับสัญญาณเรียกขานสองตัวทีเ่ ราขานไปได ้ (โดยหวังว่าขณะนัน ้ จะมีเพียงเราผู ้

เดียวทีใ่ ช call sign เพียงสองตัวในการเรียกขาน) สถานี DX ก็ยงั คงต ้องถามสัญญาณเรียกขาน
ของเราทีเ่ หลือให ้ครบถ ้วน อีกอยูด ่ ี กรณีเป็ นเรือ ่ งทีท ่ ําให ้เสียเวลาอย่างเห็นได ้ชัดเจน ในเมือ ่
สามารถรับอักษรสองตัวได ้ สถานีดังกล่าว ก็มโี อกาสทีจ ่ ะรับได ้ตัวอักษรทัง้ หกได ้ เช่นกัน
ทัง้ หมดก็ต ้องใช ้เวลาเพิม ่ ขึน้ สร ้างความสับสน และ เพิม ่ โอกาสในการเกิด QRM ด ้วย

ข ้อสรุป (Conclusion): จงอย่าส่งสัญญาณเรียกขานเพียงบางส่วน น่าอับอายมากนักหรือ กับสัญญาณ


เรียกขาน (call or call sign) ทีต ่ นเองได ้รับอนุญาตมา? ฉะนัน ้ ขาน call sign ให ้ครบตลอดเวลา จง

ภูมใิ จในสญญาณเรี ยกขานของตนเองเสมอ! (be proud of it!) ภายใต ้สถานการณ์แบบใดก็ตาม
หากมีผู ้ขอให ้เราแจ ้ง call sign เพียง 2 ตัว จงขานกลับไปด ้วย call sign ทีค ่ รบถ ้วน และอาจจะแจ ้ง
สถานีนัน้ ไปด ้วยว่า เราไม่สามารถปฏิบต ั ต
ิ ามทีเ่ ขาขอมาได ้ เนือ
่ งจากจะเป็ นการกระทําทีผ่ ด
ิ กฎ ระเบียบ

III.6. DX CLUSTERS

ั DX Cluster ได ้เข ้ามาแทนที่ DX information nets ทีใ่ ช ้กันในอดีต ทัง้ ในระดับท ้องถิน
ปั จจุบน ่ และใน
ระดับสากล อย่างขว ้างขวาง

III.6.1 ว ัตถุประสงค์หล ัก
 สถานี DX ใดทีก ่ ําลังออกอากาศอยูข
่ ณะนี้ และบนความถีใ่ ด?
่ ระจายข ้อมูลแบบเป็ นปั จจุบน
 DX Cluster เป็ นส่วนหนึง่ ของเครือข่ายระดับสากล ทีก ั (real time)

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 59


 ่ สารระบบสองทาง (two-way system):
เป็ นการสือ
- การป้ อนข ้อมูล (Spotting): ป้ อนข ้อมูล DX ทีน
่ ่าสนใจเพือ ่ จะได ้ใช ้ประโยชน์จากข ้อมูล
่ ว่าผู ้อืน
เหล่านัน้ ได ้
- การใช ้ประโยชน์ข ้อมูลทีป
่ ้ อน (Using spots): เราใช ้ประโยชน์จากข ้อมูลสถานี DX ทีเ่ ราสนใจ

III.6.2. ป้อนข้อมูลของผูใ้ ด?
 ของสถานี DX ทีห ่ รรดานักล่า DX กําลังตามหากันอยู่ ตัวอย่างอันหนึง่ : 14025 ZK1DX
่ ายาก ทีบ
QSX UP5
 จงอย่าได ้ป้ อนข ้อมูลทีป ่ ราศจากมูลค่าเพิม ่ เข ้าไป และก็ไม่ควร spot สถานีแบบธรรมดาทั่วไปด ้วย
ตัวอย่างได ้แก่ สถานีจากประเทศทีม ่ ก
ี จิ กรรมมากมายอย่างเช่น W F G ON ฯลฯ เว ้นแต่วา่ มีเหตุผล
อันควร ทีจ ่ ะทําให ้การ spot มีคา่ ขึน้ เราสามารถ spot อย่างเช่น W6RJ จากยุโรป ที่ 160m
เนือ
่ งจากเราไม่คอ ่ ยได ้ติดต่อ W6 จากยุโรปบน 160m ทุกวัน
 ก่อนทีจ ่ ะ spot สถานี DX อันดับแรกให ้ตรวจสอบก่อนว่า ไม่มผ ี ู ้อืน
่ ทีเ่ พิง่ ได ้ spot สถานีทเี่ รากําลัง
จะป้ อนข ้อมูลเข ้าไป
 ระวังข ้อผิดพลาดจากการพิมพ์ของผู ้ที่ spot เข ้ามา บางครัง้ ก็มก ี ารนํ าเอาสัญญาณเรียกขานทีไ่ ม่
ถูกต ้องมาลง log ของตนเอง เนือ ่ งจาก operator ผู ้นัน ้ ได ้ติดต่อกับสถานีทแ ี่ ม ้แต่ตนเองก็ยงั ไม่ได ้
ยินสัญญาณเรียกขานมากับหูเลย แต่ก็ยงั หลับหูหลับตา บันทึกสัญญาณเรียกขานทีไ่ ด ้ถูก spot ผิด
ไว ้ใน DX cluster ลงใน log ของตนเอง

III.6.3. มีขอ ่ า้ ง จะนาออกมาใชไ้ ด้อย่างไร


้ มูลแบบใดอยูบ
 ข้อมูลด้านกิจกรรม: เมือ ่ เข ้าไปใน DX spots แล ้ว spot จะปรากฏบนจอแบบอัตโนมัต ิ เรียงลําดับ
ก่อนหลังตามเวลา เราสามารถเลือก spot ตามย่านความถี่ (band) ได ้ (เช่น sx/dx on 20m จะ
แสดง สถานีทถ ี่ ก
ู ป้ อนข ้อมูลไว ้ 10 สถานีสด ุ ท ้าย ในย่านความถี่ 20m sx/dx 25 on 20m ก็จะ
แสดงเฉพาะ 25 สถานีสด ุ ท ้าย ในย่านฯ 20m) โดยสญญาณเรี ั ยกขาน หรือ by call (เช่น sh/dx
ZK1DX, หรือ sh/dx ZK1DX 20 ) หรือแบบ ผสมก ันระหว่าง ย่านความถีแ ั
่ ละสญญาณเรี ยก
ขาน (เช่น sh/dx ZK1DX 20 on 15m)
 WWV (ดูได ้ที่ https://en.wikipedia.org/wiki/WWV_%28radio_station%29), Solar Flux
Index: (หรือ ดัชนีการกระจายคลืน ่ ทีเ่ ป็ นผลมาจากบรรดาปรากฏการณ์ทัง้ หลายทีเ่ กิดขึน ้ บนพืน
้ ผิว
ของดวงอาทิตย์ ทีก ่
่ ําหนดโดย WWV ซึงเป็ นสัญญาณเรียกขานของ United States National
Institute of Standards and Technology's -NIST) คําสัง่ ทัว่ ไปคือ sh/wwv หรือ sh/wcy
 ข้อมูล QSL: ใน DX Clusters ส่วนมาก เราจะสามารถดึงข ้อมูล QSL ออกมาใช ้ได ้ โดยใช ้คําสัง่
sh/qsl cal (สัญญาณเรียกขาน) ถ ้าไม่มค ี ําสัง่ นี้ ก็ให ้พิมพ์ SH/DX call 25 เข ้าไป เราจะได ้ spot 25
ครัง้ สุดท ้ายของสถานีทเี่ ราพิมพ์สญ ั ญาณเรียกขานเข ้าไปนัน ้ ออกมา และจะเป็ นไปได ้สูงมากทีห ่ นึง่
ในนัน ้ จะมีข ้อมูลรายละเอียด QSL ของสถานีทเี่ รากําลังค ้นหาปรากฏอยูใ่ นช่อง commentary field
ความเป็ นไปได ้ทางทีส ่ ามคือ พิมพ์ SH/DX call QSL ซึง่ จะแสดง spot 10 อันสุดท ้ายสําหรับสถานี
นัน
้ ออกมา โดยคําว่า QSL หรือ via จะปรากฏให ้เห็นใน commentary field
- บาง DX Cluster อาจจะไม่มค ี ําสัง่ ทัง้ หมดดังทีก ่ ล่าวมา กรณีเราสามารถเข ้าไปค ้นหาข ้อมูล QSL
ทางอินเตอร์เน็ ต (ผ่านทาง internet search engine) ได ้
- สิง่ ทีถ่ อ
ื ว่าเป็ นการปฏิบต ั ทิ ด
ี่ ี คือ ให ้ spot สถานีทเี่ ราต ้องการข ้อมูล QSL ด ้วยการพิมพ์คําว่า
QSL info please (ขอข ้อมูล QSL ด ้วยครับ/ค่ะ) ลงในช่อง commentary field วัตถุประสงค์
ของช่อง commentary field มีไว ้เพือ ่ ให ้ข ้อมูลทีเ่ ป็ นประโยชน์เพิม
่ เติมเกีย่ วกับสถานี DX แต่
ไม่ใช่ชอ ่ งทางทีม ่ ไี ว ้เพือ ่ การสอบถาม
- คําสัง่ ทีก ่ ล่าวมาแล ้วข ้างต ้น อาจแตกต่างกันไปบ ้างเล็กน ้อย ขึน ้ อยูก
่ บ
ั ซอฟท์แวร์ของแต่ละ DX
Cluster ขอให ้เข ้าไปดูในไฟล์ชว่ ยเหลือ (help file) ของ DX Cluster นัน ้ ๆ เมือ่ มีข ้อสงสัย

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 60


III.6.4. เมือ ึ้ มา: ประเทศใหม่สาหร ับตนเอง ทาอย่างไรดี?
่ มี spot ใหม่ขน
 อย่าเรียกขานสถานี DX ไปโดยไม่ดต ู าม ้าตาเรือ
 ให ้แน่ใจก่อนว่า ตนเองรับสัญญาณจากสถานีนัน ้ ได ้ชัดเจนเพียงพอ ตรวจสอบด ้วยว่าสัญญาณเรียก
ขานทีถ ่ ก ู spot มานัน ้ ถูกต ้องหรือไม่
 ให ้แน่ใจก่อนว่า ตนเองทราบและเข ้าใจถึงวิธก ี ารทีส
่ ถานี DX ได ้กําหนดไว ้ ก่อนทีจ
่ ะเรียกขาน
ออกไป (ความถีท ี่ ถานี DX ใช ้รับ สถานี DX ติดต่อกับทุกสถานี หรือเจาะจงตัวเลข หรือ ตามพืน
่ ส ้ ที่
ทางภูมศ ิ าสตร์?)
 ใช ้วิธท
ี อี่ ธิบายไว ้ใน § III.1. (pileups) ขอให ้ทุกท่านโชคดี

III.6.5. สงิ่ ทีไ่ ม่ควรปฏิบ ัติใน DX Cluster


 Spot ตนเอง (Self spotting)
้ คืออะไร? คือการโฆษณาตนเองให ้ชาวโลกได ้รับรู ้ โดยการไปพูดว่า ตนเองอยูท
- สิง่ นัน ่ น
ี่ ี่ บน
ความถีน
่ ี้ ช่วยเรียกขานมาหน่อยนะ
- จึงไม่ต ้องมีคําอธิบาย เพราะสิง่ นี้ มิใช่สงิ่ ทีใ่ ช ้ถือปฏิบต
ั ก
ิ น
ั ในวงการวิทยุสมัครเล่น ถ ้าต ้องการ
ติดต่อบนความถี่ ก็เรียกขาน CQ ไป หรือไม่กข ็ านตอบเมือ ่ มีสถานีอน
ื่ เรียกขาน CQ มา
- การ spot ตนเองในการแข่งขัน (contest) จะทําให ้ถูกลงโทษ ตัดออกจากการแข่งขัน
(disqualification) ด ้วย

 Spot ตนเอง ทีน ่ า่ ร ังเกียจ (Disgusted spotting)


- ตัวอย่างเช่น: เมือ ่ ตนเองติดต่อได ้กับสถานี DX สถานีหนึง่ ทีส ่ ภ
ุ าพน่ารักทีข ่ านตอบ CQ กลับมา
และหลังหมดข ้อความกันแล ้ว ตนเองก็ spot สถานีนัน ้ ตามความถีท ่ ไี่ ด ้ติดต่อกัน แม ้ว่าหลังจาก
หมดข ้อความกัน สถานีดังกล่าวจะลงความถีไ่ ปแล ้วก็ตาม การ spot แบบนี้ มิได ้ให ้สิง่ ทีม ่ ี
ประโยชน์อน ั ใด กับบรรดานักวิทยุสมัครเล่น DX เลย แต่ในขณะเดียวกัน กลับจะไปดึงให ้นักวิทยุ
สมัครเล่นจํานวนมากมายเข ้ามาในความถีท ่ ต
ี่ นเองกําลัง CQ อยู่ โดยหวังว่าจะทําให ้ได ้ QSO
ทางไกลกับสถานีอน ื่ เพิม
่ ขึน
้ อีกต่อไป การกระทําเช่นนี้ จะทําให ้สถานี DX เหล่านัน ้ เสียอารมณ์
หรือร ้อนเป็ นไฟขึน ้ ได ้

 การแสดงความภูมใิ จ (Bragging)
- การ spot มิใช่การไปโพนทะนาให ้ชาวโลกรู ้ว่า ตนเองรู ้สึกปลืม ้ ปี ตอ
ิ ย่างล ้นเหลือ: อย่า spot
สถานี DX (ทีไ่ ด ้ถูก spot มาหลายครัง้ แล ้วก็ตาม) ด ้วยข ้อความ: I finally did it… (และแล ้วใน
ทีส
่ ด
ุ ข ้าฯ ก็ทําได ้...) ลักษณะเช่นนี้ ผู ้นัน
้ ไม่ได ้แจ ้งข ้อมูลของสถานี DX แต่อย่างใดเลย แต่
เพียงเป็ นการแสดงความดีใจและบอกชาวโลกให ้รู ้ว่า ตนเองปราบปลืม ้ มากขนาดใหนเท่านัน ้ ...
ความสงบเสงีย ่ มเป็ นคุณธรรมทีด่ ี จงจดจําไว ้

 Spot ให้เพือ ่ น
- เมือ
่ เพือ ่ ํ้าแล ้ว ซํ้าเล่า แต่ก็ไม่มส
่ นเรียกขาน CQ อยูซ ี ถานีใดขานตอบมา ตนเองอยากให ้เพือ ่ น
ได ้รับการตอบสนองบ ้าง ก็เลย spot ให ้เพือ ่ นไป ทัง้ ทีส
่ ถานีเพือ
่ นเองก็ไม่ได ้เป็ นสถานี DX แต่
อย่างใด จงอย่ากระทําเช่นนัน ้ เนือ
่ งจากไม่วา่ เพือ ่ นคนนัน ้ หรือแม ้แต่ตนเองก็ตาม จะไม่ได ้รับการ
ยอมรับนับถือในสายตาของสังคมนักวิทยุสมัครเล่นด ้วยกันเลย

 การเป็นเชย ี ร์หลีดเดอร์:
- บุคคลทีช ่ อบ spot สถานีทเี่ ป็ นพรรคพวกกันหรือสถานีทต ี่ นเองชอบ ขณะมีการแข่งขัน กระทํา
ตนเยีย
่ งผู ้ช่วยเหลือทีค
่ อยดันท ้ายจักรยานทีอ
่ ยูร่ ะหว่างการแข่งขันประเภทเสือภูเขา การกระทํา
้ ขาดความยุตธิ รรมและไร ้ซึง่ นํ้ าใจนักกีฬา
เช่นนี้ ถือว่าบุคคลนัน

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 61


 ่ spot ทีเ่ ป็นข้อความสว่ นบุคคล
สง
- ต ้องตระหนักไว ้เสมอว่า การ spot แต่ละครัง้ ข ้อความแต่ละข ้อความใน DX Cluster จะถูกส่งไป
ยังเพือ
่ นนักวิทยุสมัครจํานวนนับพันคนทัว่ โลก DX Cluster ได ้ถูกเชือ ่ มโยงเข ้ากับอินเตอร์เน็ ตมา
นานหลายปี แล ้ว และ DX Cluster ในประเทศใด ประเทศหนึง่ ก็ไม่ได ้เป็ นแบบเฉพาะท ้องถิน ่ อีก
ต่อไป เช่นกัน แต่ได ้กลายเป็ นส่วนหนึง่ ในเครือข่ายของสังคมโลกไปแล ้ว
- นับเป็ นเรือ ่ งทีไ่ ม่คอ
่ ยจะดีงามนักที่ การ spot บางประเภทก็เป็ นเรือ
่ งส่วนตัวเสียมากกว่า ดัง
ตัวอย่างต่อไปนี:้ HA7xx ส่ง spot ไปว่า: VK3IO on 1827 พร ้อมด ้วยข ้อความ QRV??? ซึง่ จะ
เห็นได ้ว่า ไม่ใช่ข ้อความของการ spot แต่เป็ นข ้อความส่วนตัว (ทีไ่ ด ้พิมพ์ลงใน commentary
field)
- อีกตัวอย่างหนึง่ ก็คอ ื : UA0xxx spots ZL2yyy on 3.505 kHz และเพิม ่ คําว่า ur 339, my RST
449? Pse confirm (โปรดยืนยัน) บุคคลผู ้นีก ้ ําลังแสดงความเขลาออกมา ชือ ่ เสียงของตนเอง
ในหมูผ ่ ู ้ทีก
่ ําลัง DX อยู่ จะถูกทําลายไปสิน้ !

 การใช ้ DX Cluster เป็นชอ ่ งสนทนาไปทว่ ั โลก


- เมือ ้
่ ใช TALK function (ฟั งชัน ่ ในการส่งข ้อความสนทนา) เราสามารถส่งข ้อความส่วนบุคคล
ไปยังเพือ ่ นนักวิทยุสมัครเล่นคนอืน ่ ได ้ใน DX Cluster ท ้องถิน ่ DX Cluster บางอันมี Talk
function ทีค ่ ล ้ายกัน ซึง่ ทําให ้เราสามารถพูดคุยแบบส่วนตัวกับผู ้ทีก ่ ําลังใช ้ DX Cluster อืน ่ อยู่
ได ้ แน่นอน ทัง้ นีท ้ ัง้ นัน
้ ก็ต ้องขึน ้ อยูก ่ บั ว่า Cluster เหล่านีไ ้ ด ้มีการเชือ ่ มโยงกันอยูห ่ รือไม่ (โดย
เช่น วิทยุสอ ื่ สาร หรือ อินเตอร์เน็ ต)
- Announce Full (To All) หรือเป็ นการส่งข ้อความเพือ ่ ให ้ทุคนได ้เห็น เป็ นเรือ ่ งทีแ
่ ตกต่างจาก
ทีก ่ ล่าวมาแล ้วโดยสิน ้ เชิง ข ้อความใดทีถ ่ ก
ู ส่งโดยวิธน ี ี้ จะถูกส่งไปยังผู ้รับทัว่ โลกในทุก DX
Cluster ทีเ่ ชือ ่ มโยงกันอยูเ่ ป็ นจํานวนนับพันคน ณ เวลานัน ้ จงระม ัดระว ังให้มากไว้ เมือ ่ ใช ้
ฟั งชัน ่ นี้ การส่งข ้อความแบบ ข ้อความTo All ส่วนใหญ่ เป็ นการตัง้ ใจทีจ ่ ะส่งไปให ้เพียงบุคคล
เดียวเป็ นการเฉพาะ แต่กลับเป็ นการไปบังคับให ้บุคคลอืน ่ อีก 9,999 คน จําเป็ นต ้องอ่านข ้อความ
ทีไ่ ม่มค ี วามหมายใดต่อเขาเหล่านัน ้ เลยด ้วย (เพราะความผิดพลาด) ตัวอย่าง: ข ้อความแบบ To
All จาก ON4xx อ่านแล ้วจะเป็ นว่า ON4xx, good morning Frans ตัวอย่างอีกอันหนึง่ คือ To
All de DF0xx: wir warten auf K3714 ไม่วา่ ข ้อความดังกล่าวจะหมายความว่าอย่างไรก็ตาม
ยังมีตัวอย่างทีค ่ ล ้ายคลึงกันเช่นนี้ ให ้เห็นอีกมากมายนับพัน
- ต้องไม่ใชฟ ้ ง ั ชน ่ ั Announcement Full เป็นชอ ่ งสนทนาโดยเด็ดขาด รวมทัง้ ไม่ใช ้
ช่องทางนีเ้ พือ ่ การถกเถียงกัน หรือ ทําให ้ผู ้ใดบางคนเสียหน ้าโดยเด็ดขาดด ้วยเช่นกัน เนือ ่ งจาก
ชาวโลกกําลังจับตามองเราอยู!่
- จงส่งเฉพาะข ้อความทีน ่ ่าสนใจสําหรับคนส่วนใหญ่ทเี่ ป็ นนักติดต่อทางไกล (DXers) ตัวอย่าง:
เราสามารถแจ ้งหรือประกาศว่า DXpedition เพิง่ เปลีย ่ นย่านความถี่ หรือ เปลีย ่ นความถี่ หรือ จะ
ไปอยูท ่ ค ี่ วามถีใ่ หน เวลาใดบ ้าง ฯลฯ
- กฎทั่วไปคือ: ข ้อความสําหรับทุกคน To All messages ควรเป็ นเรือ ่ งทีท ่ ก
ุ คนสนใจอย่างแท ้จริง
ถ ้าข ้อความใดทีไ่ ม่ได ้เป็ นสิง่ ทีอ ่ ยูใ่ นความสนใจของทุกคน (หรือทีค ่ นส่วนใหญ่สนใจ) จงอย่าได ้
ส่งข ้อความนัน ้ ไปโดยใช องทาง To All ฟั งชัน
้ช่ ่
 ใชส ้ ญญาณเรี
ั ยกขานของบุคคลอืน ่ ใน DX Cluster
เป็ นทีป ่ รากฏให ้เห็นอยูเ่ สมอว่า บุคคลทีม ่ อี าการป่ วยทางจิตบางราย จะใช ้สัญญาณเรียกขานของ
่ spot เข ้าไปใน DX Cluster แล ้วก็กระทําในสิง่ ทีน
ผู ้อืน ่ ่ารังเกียจจนไม่มผ ี ู ้ใดสามารถรับได ้ กรณีถอ ื
ว่าเลวร ้ายยิง่ กว่าการออกอากาศโดยไม่แสดงตัวตนเสียอีก ซํา้ ร ้าย ยังจะก่อให ้เกิดความเสียหายต่อ
่ เสียงของนักวิทยุสมัครเล่นผู ้เป็ นเจ ้าของสัญญาณเรียกขานนัน
ชือ ้ โดยไม่รู ้ตัวอีกด ้วย
ต ้องไม่ตอบโต ้อะไรลงไปใน DX Cluster ทัง้ สิน ้ เมือ
่ เราต ้องเผชิญกับสถานการณ์เช่นนี้

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 62


่ งทางการติดต่อทางไกล
III.7. ชอ

 ตารางกําหนดย่านความถีข ่ อง IARU ถือเป็ นสัญญาสุภาพบุรษ ุ อันเป็ นทีย


่ อมรับกันอย่างแพร่หลาย
ทัว้ โลก ทีน
่ ักวิทยุสมัครเล่นร ้อยละ 99 ยืดถือปฏิบต ั ก
ิ น

 ตารางกําหนดย่านความถีด ่ ังกล่าว ได ้จัดลําดับช่องทางอย่างเป็ นทางการไว ้ 2 ช่องทาง โดยมีการ
ตกลงกันไว ้ว่า จะให ้เป็ นสิทธิของการติดต่อทางไกล (DX contacts) เป็ นอันดับแรกก่อน

่ งทางการติดต่อทางไกลในย่าน HF
III.7.1. ชอ
 ปั จจุบนั นักวิทยุสมัครเล่นมีชอ ่ งทางในการติดต่ออยู่ 3 ช่องทาง ในสหภาพวิทยุสมัครเล่นระหว่าง
ประเทศ เขต 1 หรือ IARU R1 (ยุโรป อัฟริกา และ ตะวันออกกลาง): 3.500-3.510 kHz
(CW), 3.755-3.800 kHz (SSB) และ 14.190-14.200 kHz (SSB) ใน IARU R2 (อเมริกา
เหนือและใต ้) ผู ้เขียนนับได ้อยู่ 6 ช่องทาง: 1.830-1.840 kHz (CW), 1.840-1.850 kHz
(SSB), 3.500-3.510 kHz (CW), 3.775-3.800 kHz (SSB), 7.000-7.025 kHz (CW),
7.175-7.200 kHz (SSB) และ 14.000-14.025 kHz (CW)
 ช่องทางของการติดต่อทางไกล (DX) ในย่าน 80m: ณ เวลาเทีย ่ งวัน คลืน ้ ามารถใช ้ได ้ในบริเวณ
่ นีส
ท ้องถิน ่ (local traffic) หรือประเทศใกล ้เคียง เนือ ่ งจากคลืน ่ ย่านนีแ ้ พร่กระจายไปได ้ไม่ไกลใน
ช่วงเวลาดังกล่าว แต่ก็ควรตระหนักไว ้ด ้วยว่า แม ้หลังเทีย ่ งวันไปแล ้วเพียงเล็กน ้อยก็ตาม การติดต่อ
แบบท ้องถิน ่ ในช่องทาง DX นี้ สามารถไปรบกวนสถานีอน ื่ ทีอ่ ยูห
่ า่ งออกไป 1,000 ถึง 2,000
กิโลเมตรได ้ในทิศทางของ terminator (เส ้นทีแ ่ บ่งระหว่างซีกโลกด ้านทีส ่ ว่างและด ้านทีม ่ ด ื )
ตัวอย่าง: ณ เวลา 13.00 UTC ช่วงกลางฤดูหนาวของประเทศเบลเยีย ่ มซึง่ เป็ นเวลาก่อนทีต ่ ะวันจะ
ตกดิน 3 ชัว่ โมง ณ เวลานัน ้ แทบจะเป็ นไปไม่ได ้เลยทีเ่ ราจะสามารถติดต่อสถานี DX จากประเทศ
เบลเยีย ั
่ มได ้ แต่สญญาณของสถานีจากเบลเยีย ่ ม ก็สามารถได ้ยินได ้อย่างชัดเจนไปถึงแถบ
สแกนดิเนเวีย ทีม ่ รี ะยะห่างออกไปเพียง 1,000 ถึง 2,000 กม. ซึง่ ณ บริเวณนัน ้ ตะวันได ้ลับฟ้ าไป
หลายชัว่ โมงแล ้ว แม ้ว่า ณ เวลานัน ้ สถานีเบลเยีย ่ มอาจจะไม่ได ้ยินสถานี DX จากแถบ
สแกนดิเนเวียก็ตาม สถานีในเบลเยีย ่ มจึงสามารถกลายเป็ น QRM ต่อบรรดาสถานีอน ื่ ทีอ ่ ยูใ่ กล ้กับ
บริเวณทีพ ่ ระอาทิตย์กําลังจะตกดินในขณะนัน ้ ได ้ สรุป: จงหลีกเลีย ่ งการใช ้ย่านความถีแ ่ ถบนี้
ตลอดเวลา เว ้นแต่วา่ เราเองต ้องการออกอากาศแบบ DX
 ขณะกําลังมีการออกอากาศ สถานี DXpeditions มีสท ิ ธิในการใช ้ย่านความถี่ 20m ทีเ่ ป็ น DX
window (ช่วงความถีส ่ ําหรับ DXpedition ย่าน 20m) ดังทีก ่ ล่าวมาแล ้วข ้างต ้น ได ้อย่างเต็มที่
ภายใต ้สภาวการณ์เช่นนี้ สถานีอน ื่ ทัง้ หมดควรเว ้นความถีใ่ นช่วงนีใ้ ห ้ว่างไว ้ และปฏิบต ั ต
ิ อ ่ กันด ้วย
ความมีนํ้าใจตามสัญญาสุภาพบุรษ ุ ของ IARU ช่องทางทีเ่ รียกว่า 20m DXpedition window ถูก
กําหนดไว ้เมือ ่ ปี ค.ศ. 2006 (พ.ศ. 2549) ซึง่ เป็ นผลจากปั ญหาทีเ่ กิดขึน ้ โดย IT9 สถานีหนึง่
 นอกจากช่องทางทีเ่ ป็ นทางการนีแ ้ ล ้ว ก็ยงั มีชองทางแบบไม่เป็ นทางการ (de facto) ดังนี:้

- ใน SSB: 28.490-28.500, 21.290-21.300, 18.145, 14.190-14.200, 7.045 และ 1.845 kHz
- ใน CW: 5 kHz ของแต่ละย่าน และ 28.020-28.025, 24.895, 21.020-21.025, 18.075,
14.020-14.030 และ 1.830-1.835 kHz
- ใน RTTY: ± 28.080, ± 21.080 และ ± 14.080 kHz
หลีกเลีย ่ งการติดต่อกับสถานีท ้องถิน ่ (local contacts) ในช่องทางดังกล่าวข ้างต ้นทัง้ หมด
เนือ่ งจากเป็ นช่วงความถีท ่ ใี่ ช ้ค ้นหาสถานี DX ทีน ่ ่าสนใจ

III.7.2. สาหร ับ VHF-UHF ดูตารางกําหนดความถีอ


่ ย่างเป็ นทางการของ IARU ได ้ที:่
http://www.iaru.org/bandplans.html

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 63


III.8. ขนตอนการออกอากาศเฉพาะส
ั้ าหร ับ VHF และความถีท
่ ส
ี่ ูงกว่า

 วิธก
ี ารและขัน ้ ตอนการออกอากาศในย่านความถีน ่ ตี้ งั ้ อยูบ ่ นหลักการเดียวกันกับทีใ่ ช ้ในย่านความถี่
HF
 การ QSO ผ่านการแพร่กระจายเคลือ ่ นในบรรยากาศชัน ้ ล่างสุดหรือ Tropospheric propagation
(ในท ้องถิน ่ หรือผ่านอุณหภูมท ิ ผ
ี่ กผัน) บนความถีย ่ า่ น 50, 144 และ 430 MHz นัน ้ ใช ้ขัน ้ ตอนการ
ปฏิบต ั เิ ช่นเดียวกับทีใ่ ช ้ในย่าน HF ทุกประการ ทีแ ่ ตกต่างกันก็คอ ื เราใช ้ช่องเรียกขานเป็ นการเริม ่
การติดต่อ เมือ ่ ติดต่อกันได ้แล ้วก็จะย ้ายไปใช ้ความถีอ ่ นื่ ของย่านนัน ้ ต่อไป (เช่น ประเทศไทยใช ้
145.000 MHz สําหรับย่าน 2m)
 QTH-locator: ในย่านความถี่ VHF และทีส ่ งู กว่า จะใช ้การกําหนดตําแหน่งทีเ่ รียกว่า locator (หรือ
grid square locator) ในการระบุสถานทีอ ่ อกอากาศ หรือ QTH-locator และมีการใช ้คําว่า
Maidenhead locator ด ้วย QTH-locator คือ ชุดของจุดตัด (coordinates) แบบไม่สลับซับซ ้อน
(เช่น JO11) ซึง่ จะทําให ้ผู ้ใช ้ระบบนีส ้ ามารถค ้นหาทิศทางและระยะทางของสถานีทก ี่ ําลังติดต่ออยู่
ได ้อย่างรวดเร็ว
 ยังมีขน ั ้ ตอนออกอากาศเฉพาะอืน ่ ในย่านความถี่ VHF และทีส ่ งู กว่าอีกดังนี:้
- การติดต่อสือ ่ สารผ่านดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น
- การติดต่อสือ ่ สารแบบสะท ้อนผิวดวงจันทร์ (EME QSOs)
- การสะท ้อนผ่านหางดาวตก (Meteor scatter QSOs)
- การติดต่อผ่านแสงขัว้ โลกเหนือ-ไต ้ (Aurora QSOs)
- โทรทัศน์วท ิ ยุสมัครเล่นแถบความถีก ่ ว ้าง (ATV- wideband amateur television)
 การลงในรายละเอียดในเรือ ่ งเหล่านี้ จะทําให ้เป็ นการออกนอกเรือ ่ งของคูม่ อ
ื เล่มนี้ ทัง้ นี้ ไม่วา่ กรณี
ใดก็ตาม พฤติกรรมในการออกอากาศก็ยงั คงตัง้ อยูบ ่ นหลักการทีไ่ ด ้อธิบายไว ้ใน § I.2

III.9. สถานการณ์แห่งความข ัดแย้ง

ดังได ้อธิบายไว ้แล ้วใน § I.2 ว่า แท ้จริงแล ้วเราทัง้ หลาย (เหล่านักวิทยุสมัครเล่นนับหลายแสนคนทั่ว
โลก) เล่นสนุก อยูก ่ บ
ั กิจกรรมงานอดิเรกอันหนึง่ ในสนามผืนเดียวกันคือ คลืน ่ วิทยุบนอากาศ (the ether)
ในบางครัง้ จึงทําให ้เกิดความขัดแย ้งอย่างทีม ่ อ
ิ าจหลีกเลีย ่ งได ้ คําถามก็คอ ื เราจะรับกับสถานการณ์
ดังกล่าวได ้อย่างไร? พฤติกรรมของนักวิทยุสมัครเล่นบนความถี่ ควรตัง้ อยูบ ่ นพืน ้ ฐานแห่ง สาม ัญสานึก
(common sense) การวางต ัวหรือการปฏิบ ัติตอ ่ ก ันในทางทีด ่ ี (good manners) และ การ
เคารพให้เกียรติซงึ่ ก ันและก ัน (mutual respect)
 กฎข ้อที่ 1 จงอย่ากระทาหรือใชว้ าจาในสงิ่ ทีเ่ ราไม่ประสงค์ให้เพือ ่ นทีแ ่ สนดีของเรา หรือ
ผูอ้ นื่ ในโลก ได้ยน ิ ได้ฟง ั ด้วย
 ปั ญหาคือ การออกอากาศ โดยปราศจากการแสดงต ัวตน (พีแ ่ หลม) นัน ้ กระทําได ้ง่าย ผู ้ที่
ต ้องการจะกระทําเยีย ่ งนัน ้ เพียงเพือ่ สร ้างความเสียหายให ้กับผู ้อืน ่ ถือเป็ นบุคคลทีไ่ ร ้ค่าในการเป็ น
นักวิทยุสมัครเล่น
 ขอจงอย่าได ้คิดทีจ ่ ะสง ั
่ สญญาณรบกวนการออกอากาศของสถานี อน ื่ โดยเด็ดขาด (never ever)
ด ้วยเหตุทก ี่ ารรบกวนเยีย ่ งนัน้ เป็ นกระทําทีม ่ ไิ ด ้แสดงตัวตน เป็ นการบ่งบอกให ้เห็นได ้อย่างชัดเจน
ว่า บุคคลผู ้กระทํา เป็ นพวกขีข ้ ลาดตาขาว (cowardliness)
 ไม่มข ี ้อแก ้ตัวใดสําหรับพฤติกรรมเยีย ่ งนี้ แม ้เราจะเห็นว่าสถานีทถ ี่ ก
ู กระทําสมควรได ้รับการรบกวน
เช่นนัน ้ ก็ตาม
 ดังนัน ้ ในบางครัง้ อาจจะมีสถานการณ์ซงึ่ เราคิดว่าต ้องกระทําสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ลงไป เพือ ่ ให ้เกิดความ
ถูกต ้อง? บางทีการกระทําดังกล่าวอาจจะถูกต ้อง แต่จงไตร่ตรองให ้รอบคอบเสียก่อนว่า สิง่ ใดทีจ ่ ะ
เพิม ่ คุณค่า ให ้กับงานอดิเรกของพวกเรา ของตัวเราเอง และต่อชือ ่ เสียงของตนเอง ก่อนทีจ ่ ะเริม

กระทําหรือกล่าวสิง่ ใดออกไป

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 64


 จงอย่าเปิ ดการ อภิปราย บนความถีด ่ ้วยเหตุทวี่ า่ อาจมีความเป็ นไปได ้ทีจ
่ ะทําให ้มีสถานีอน
ื่ เข ้า
มาร่วมวงด ้วย และมิตรภาพทีเ่ กิดขึน
้ ในช่วงแรกของการสนทนาอาจจะพังทลายลงได ้อย่างรวดเร็ว
ฉะนัน
้ ต ้องไม่นําความขัดแย ้งส่วนตัวมาพูดบนความถี่ จงนํ าข ้อโต ้แย ้งทัง้ หลายไปพูดคุยกันทาง
โทรศัพท์ ทางอินเตอร์เน็ต หรือ เมือ ่ พบกันเป็ นการส่วนตัว

III.10. ผูค
้ ม
ุ ้ กฎ (ตารวจบนความถี)่

 บรรดาผู ้คุ ้มกฎ (cops) คือ ว่าที่ ตํารวจความถี่ (frequency police) ทีแ ่ ต่งตัง้ ตนเองขึน ้ มา เป็ นผู ้ซึง่
คิดว่าตนเองจําเป็ นต ้องทําให ้นักวิทยุสมัครเล่นทีม ่ ขี ้อผิดพลาด ได ้ประพฤติตนให ้ถูกต ้องตาม
ครรลอง บนความถีแ ่ ละใน spot ทัง้ หลายทีม ่ อ ี ยู่
 ในบางครัง้ ก็มค ี วามจําเป็ นอยูม ่ ากเช่นกันทีผ ่ ู ้ทีก่ ระทําผิดกฎ อย่างต่อเนือ ่ ง (เช่น ผู ้ทีเ่ รียกขาน
แบบต่อเนือ ่ งในความถีท ่ ใี่ ช ้ส่งของสถานี DX ทีอ ่ อกอากาศแบบ split อยู)่ ควรได ้รับการบอกกล่าว
ว่า เขาเหล่านัน ้ กําลังสร ้างปั ญหา แต่ถงึ กระนัน ้ ก็มอ ี ยูห่ ลายหนทางทีส่ ามารถนํ ามาใช ้บอกกล่าว...
 ครัง้ แล ้วครัง้ เล่าที่ ผู ้เขียน พบว่าผู ้คุ ้มกฎทีแ ่ ทรกเข ้ามามักจะก่อให ้เกิดความสับสนวุน ่ วายมากมาย
และสร ้างความเสียหายมากกว่าสถานีทผ ี่ ู ้คุ ้มกฏต ้องการ ให ้กระทําเพือ ่ ความถูกต ้องเสียอีก

III.10.1 ชนิดของผูค
้ ม
ุ ้ กฎ
 ผู ้คุ ้มกฎส่วนใหญ่ (Most cops) มีความตัง้ ใจดี และจะละเว ้นการใช ้ภาษาทีห ่ ยาบคาย จะรักษาความ
สุภาพ และมักประสบความสําเร็จในความพยายามทีจ ่ ะทําให ้ความถีเ่ พือ ่ การติดต่อทางไกล (DX)
ว่างลงได ้
 ผู ้คุ ้มกฎบางรายมีความตัง้ ใจดี แต่โดยการใช ้ภาษาและการปฏิบต ั ท
ิ ไี่ ม่เหมาะสม (bad language
and manners) จึงไม่สามารถบรรลุผลในการทําให ้ความถีน ่ ัน
้ ว่างลงได ้ ผู ้คุ ้มกฎประเภทนี้ มักจะ
สร ้างความสับสนวุน ่ วายขึน้ แทนทีจ ่ ะทําให ้เกิดความสงบสันติ
 สําหรับประเภททีส ่ าม จะประกอบด ้วยเหล่าผู ้ทีต ่ ้องการใช ้ภาษารุนแรง ด ้วยต ้องการสร ้างความ
่ วาย ภาษาทีใ่ ช ้และวิธก
วุน ี ารปฏิบต ั ข ิ องผู ้คุ ้มกฎประเภทนีจ ้ ะโน ้มนํ าให ้บรรดาเพือ ่ นผู ้คุ ้มกฎด ้วยกัน
พากันเข ้ามาตักเตือนต่อการกระทําทีไ่ ม่เหมาะสมของตนเอง ผลทีไ่ ด ้ก็คอ ื เกิดสถานการณ์แห่ง
ความวุน ่ วายโกลาหล ไปด ้วยกันทัง้ หมด
จงอย่าแสดงปฏิกริ ย ิ าตอบโต ้อันใด เมือ ่ ได ้ยินผู ้คุ ้มกฎประเภทใดก็ตามทีส ่ ถาปนาตนเองขึน ้ มา คนใดคน
หนึง่ กําลังปฏิบต ั ก
ิ ารอยู่ ให ้ถอยห่างออกมาและละความสนใจไปจากท่านทัง้ หลายเหล่านัน ้ เสียให ้หมด
้ กรณีเป็ นหนทางเดียวทีจ
สิน ่ ะทําให ้ผู ้มีอท ิ ธิฤทธิเ์ หล่านัน้ สงบสติอารมณ์ลงได ้

III.10.2 สงิ่ ใดทาให้ผค


ู้ ม ้
ุ ้ กฎปรากฏต ัวขึน
 ผู ้คุ ้มกฎจะปรากฏตัวขึน ้ บนความถีข ่ องสถานี DX และของ DXpedition ทีห ่ ายาก โดยปกติในขณะที่
กําลังมีการติดต่อกันอยูแ ่ บบ split
 เหตุทท ี่ ําให ้มนุษย์ประเภทนีป ้ รากฏตัวขึน้ ก็คอ
ื เมือ
่ operator คนใดคนหนึง่ ลืมตัง้ ฟั งชัน ่ split ใน
เครือ ่ งวิทยุฯ แล ้วเริม่ เรียกขานสถานี DX โดยใช ้ความถีท ่ สี่ ถานี DX ใช ้ส่ง (transmitted
frequency) นั่นคือ เวลาที่ ผู ้คุ ้มกฎ จะเริม ่ ลั่นไกปื น/บริภาษ ออกมา

III.10.3. ผูท
้ ค
ี่ วรให้อภ ัย (The good sinners…)
 นักวิทยุสมัครเล่นจํานวนไม่น ้อย เพียงแต่ไม่ทราบถึงวิธก ี ารออกอากาศทีถ ่ ก
ู ต ้อง ภายใต ้สภาพการณ์
หลายอย่างทีอ ่ าจเกิดขึน ้ ได ้ ทัง้ นี้ มิใช่เพราะไม่ต ้องการจะเป็ น operator ทีด ่ ี แต่เพราะความไม่รู ้ จึง
ทําให ้ตนเองต ้องเรียนรู ้ด ้วยการล ้มและลุก เหตุผลก็เนือ ่ งมาจากว่า เธอทัง้ หลายเหล่านัน ้ ไม่เคย
ได ้รับการเรียนรู ้ในสิง่ ทีถ
่ กู ต ้องมาก่อน บุคคลประเภทนีจ ้ งึ ถือเป็ น ผูก
้ ระทาผิดทีค ่ วรให้อภ ัย
(good sinner)

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 65


 ความผิดพลาดเป็นเรือ
่ งปกติของมนุษย์ (Errare humanum est หรือ to err is human):
่ ว่าเป็ น ผู ้เชีย
แม ้แต่ผู ้ทีไ่ ด ้ชือ ่ วชาญ ก็ยงั ผิดพลาดได ้ ไม่มม ี นุษย์แม ้เพียงคนเดียวทีส
่ มบูรณ์แบบ (No
single human being is perfect) ทุกคนในบางครัง้ ก็ไปออกอากาศในช่อง VFO ทีผ ่ ด
ิ (หมายถึง
ในช่องความถีส ่ ง่ ของสถานี DX ทีต ่ งั ้ แบบ split ไว ้) ทัง้ นี้ อาจเป็ นเพราะขาดความระมัดระวัง อาจ
เป็ นเพราะเหนือ ่ ยล ้าหรือโดนรบกวนสมาธิ ทัง้ หลายทัง้ ปวง นักวิทยุสมัครเล่นก็เป็ นเพียงปุถช ุ นคน
หนึง่ เช่นกัน
 สิง่ แรกทีค ่ วรพิจารณา เมือ ่ เกิดสถานการณ์ทข ี่ ้อผิดพลาดของใครบางคนต้องได ้รับการแก ้ไข คือ จะ
มีวธ ิ ส
ี ง่ ข้อความให้ผน ู ้ นทราบ
ั้ ได้อย่างไร
 เมือ ่ ใครคนใดคนหนึง่ ได ้รับคําสัง่ เพือ ่ แก ้ไขให ้ถูกต ้องจากผู ้คุ ้มกฎทีบ ่ ริภาษออกมาว่า ‘up you idiot’
(‘ขยับขึน ้ ไป ไอ ้บือ ้ ’) บางครัง้ เราก็อดไม่ได ้ทีจ ่ ะตอบโต ้ไปใน spot ด ้วยคําว่า ‘have you never
made a mistake, you arrogant cop?’ (‘แล ้วผู ้ยิง่ ใหญ่อย่างเอ็ง ไม่เคยทําผิดมาบ ้างรึ ไอ ้บ ้า
อํานาจ?)
 กระนัน ้ ก็ด ี จงอย่าได ้ตอบโต ้ออกไปเช่นนัน ้ เพราะสิง่ ทีจ ่ ะได ้ตามมาอาจจะตรงกันข ้ามกับทีเ่ รา
ต ้องการ (รังแต่จะทําให ้ผู ้ยิง่ ใหญ่ของขึน ้ )

III.10.4. …และผูท
้ ไี่ ม่ควรให้อภ ัย (…and the bad sinners)
 นักวิทยุสมัครเล่นบางราย ดูเหมือนว่าจะสุขใจเมือ ่ ได ้แสดงนิสย ั ทีส ่ ดุ ทรามของตนเองในการ
ออกอากาศ กรณีต ้องใช กทีว่ า่ ถ ้ายังกระทําซําต่ออีกให ้ถือว่าเป็ น พวกปี ศาจ หรือ
้หลั ้
Perseverare diabolicum (to persist is devilish) ทีม ่ าจากสุภาษิตลาติน ซึง่ แปลว่า ‘การ
กระทําความผิดเป็ นธรรมดาของมนุษย์ แต่การกระทําความผิดทีซ ่ ํ้าซาก เป็ นการกระทําของปี ศาจ’
 เป็ นทีป่ รากฏให ้เห็นว่า บุคคลทีช ่ อบก่อกวนประเภทนี้ มีจํานวนเพิม ่ มากขึน้ เป็ นลําดับ ซึง่ เป็ นพวกทีม ่ ี
ความสุขอยูก ่ บ
ั การสร ้างความยุง่ ยากให ้กับชีวต ิ ความเป็ นอยูข ่ องนักวิทยุสมัครเล่นทีเ่ ป็ นคนดี
ทัง้ หลาย (well behaved operators) เป็ นมนุษย์ประเภททีพ ่ ยายามทุกวิถท ี างเพือ ่ ก่อกวนสถานีท ี่
ติดต่อทางไกล (DXers) ในบางกรณีบค ุ คลจําพวกนีก ้ ็คอื นักวิทยุสมัครเล่นทีม ่ ค ี วามหงุดหงิดไม่ได ้
อย่างใจ จากการไม่ประสบความสําเร็จในการติดต่อทางไกล ซึง่ เป็ นผลมาจากการขาดความรู ้และ
ด ้อยซึง่ สติปัญญา แล ้วกลายเป็ นผู ้ทีต ่ ้องการจะระบายอารมณ์ทห ี่ งุดหงิดไปยังบรรดาเพือ ่ นทีป
่ ระสบ
ความสําเร็จ
 บางครัง้ ผู ้เขียนได ้เห็นการใช ้วาจาทีห ่ ยาบคายและลามกทีส ่ ด ุ จากมนุษย์ประเภทนี้
 ่
สิงทีม่ นุษย์เหล่านีต ้ ้องการก็คอ ื ให ้ผู ้อืน
่ ตอบโต ้ตนเอง เพือ ่ ให ้เกิดความวุน ่ วายโกลาหลขึน ้ บนความถี่
 คําแนะนํ าทีด ่ :ี จงอย่าตอบโต้ เมือ ่ ได ้เผชิญกับเหตุการณ์ดังกล่าว หากไม่มผ ี ู ้ใดตอบโต ้ มนุษย์ร ้าย
เหล่านีก ้ ็จะหายไปเองจากการทีไ่ ม่ผู ้ใดสนใจ (ดู § III.11 ประกอบด ้วย) ถ ้าหากมัน ่ ใจว่า ได ้ทราบ
ตัวตนของบุคคล ผู ้ซึง่ ตงใจสร้ั้ าง QRM ได ้เป็ นทีแ ่ น่ชดั ก็ให ้พิจารณารายงานอย่างเป็ นทางการไป
ยังหน่วยงานทีก ่ ํากับดูแลวิทยุสมัครเล่น (authorities) ต่อไป
 ต ้องไม่ตอบโต ้ ผ่านทาง DX Cluster ไม่วา่ จะเป็ น cluster ใหนก็ตาม ซึง่ แน่นอนเป็ นธรรมดา ทีใ่ น
ขณะเดียวกัน บรรดาพวกจิตวิปริตเหล่านัน ้ ก็คงคอยเฝ้ ามอง DX Cluster ทัง้ หลายอยูด ่ ้วย เช่นกัน

III.10.5. เราต้องการจะเป็นผูค ้ ม
ุ ้ กฎอีกผูห ้ นึง่ หรือไม่?
 เมือ ่ กระทําผิดร ้ายแรง หรือ ผิดซํา้ ซาก จงจําไว ้ว่า ทีผ
่ เราพบว่ามีผู ้อืน ่ า่ นมาตัวเราก็เคยกระทําผิด
มาแล ้วเช่นกัน จริงหรือไม่? จงอดทนและให ้อภัย
 หากจําเป็ นต ้องการจะบอกกล่าวบางสิง่ บางอย่าง (เพือ ่ แก ้ไขสิง่ ผิดทีเ่ กิดอยูป ่ ระจําโดยบุคคลผู ้นัน ้ )
ให ้ใช ้วาจาไปในลักษณะทีเ่ ป็ นมิตรและเป็ นไปในทางบวก โดยไม่ทําให ้บุคคลนัน ้ ต ้องได ้อาย หรือ
ฟั งแล ้วไม่ทําให ้บุคคลนัน ้ รู ้สึกว่า ตนเองเป็ นผู ้ด ้อยปั ญญาหรือไร ้ซึง่ ความสําคัญ ถ ้า ON9XYZ
ออกอากาศผิดพลาดซํา้ กันหลายครัง้ บนความถีใ่ นฟั งชัน ่ VFO ก็ให ้แจ ้งไปว่า ‘9xyz up please’
(‘9xyz ขยับขึน ้ ไปหน่อย นะครับ/คะ’) ไม่ใช่ ‘up you idiot’ (‘ขยับขึน ้ ไป ไอ ้โง่’) การทําให ้ผู ้อืน ่
ได ้รับความอับอายขายหน ้า มิได ้นํ ามาซึง่ คุณค่าทีง่ อกเงยกับถ ้อยคําทีผ ่ ู ้นัน
้ ได ้ส่งออกไปแม ้แต่อย่าง

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 66


ใดเลย กรณีเพียงแสดงให ้ทราบถึงบางสิง่ บางอย่างในตัวตนของบุคคลทีก ่ ําลังกระทําให ้ผู ้อืน
่ ได ้อาย
อยูเ่ ท่านัน้ (สําเนียงส่อภาษา กิรย ิ าส่อสกุล)
 จงตระหนักไว ้เสมอว่า การเข ้าไปสอดแทรก (ด ้วยความประสงค์ด)ี อาจจะนํ ามาซึง่ การรบกวนที่
มากกว่าข ้อผิดพลาด ทีเ่ รากําลังต ้องการจะเข ้าไปแก ้ไขให ้ถูกต ้อง!
 ก่อนทีจ ่ ะแสดงบทเป็ น ผู ้คุ ้มกฎ ควรคิดทบทวนดูให ้ดี พิจารณาว่าหนทางใดทีก ่ ารกระทําของเราจะมี
ผลไปในทางบวก หากเห็นว่า จําเป็ นจะต ้องกระทําเช่นนัน ้ ให ้ขยับลิน
้ ม ้วนไปมาสักสามครัง้ ก่อนทีจ ่ ะ
เดินหน ้าต่อไป (สํานวนเป็ นนัยว่า คิดให ้ละเอียดรอบคอบเสียก่อน)
 สุภาพและสร ้างสรรค์ไว ้เสมอ
 หากต ้องการจะบอกกล่าวผู ้ใดบางคนทีก ่ ําลังออกอากาศในความถีท ่ ไี่ ม่ถก ั ญาณเรียก
ู ต ้อง ให ้ระบุสญ
ขานสถานีนัน ้ ไว ้ด ้วยเสมอ หาไม่แล ้วสถานีดังกล่าวจะทราบได ้อย่างไรว่า เรามีข ้อความถึงเขา?
ดังนัน้ ใช ้คําว่า ‘9XYZ up please’ ไม่ใช่ ‘up please’ หรือ ‘up up up up’
 หากตนเองเป็ นสถานี 9xyz ก็ไม่ต ้องเกรงว่าจะเป็ นการอับอายขายหน ้าจนเกินไป ความผิดพลาด
เป็ นเรือ
่ งธรรมดาของมนุษย์ การขอโทษของเราจะยิง่ ทําให ้เกิด QRM เพิม ้ (กรณีเป็ นการแนะว่า
่ ขึน
หากเราโดนตักเตือนมาก็ไม่ต ้องรู ้สึกอับอายขายหน ้าจนเกินไปและไม่จําเป็ นต ้องขอโทษหรือแสดง
ความเสียใจใดๆ ออกไป เพราะถือว่าเป็ นข ้อผิดพลาดทีใ่ ห ้อภัยกันได ้ ดังนัน
้ จึงไม่ควรต่อความยาว
สาวความยืด เพราะจะกลายเป็ นการเพิม ่ QRM เข ้าไปอีก)
 จงอย่าลืมว่าผู ้คุ ้มกฎทุกท่าน ทีก ่ ระทําตนเยีย
่ งตํารวจอยูน ่ ัน
้ ก็กําลังกระทําผิดหรือฝ่ าฝื นกฎระเบียบ
อยูด
่ ้วยเช่นกัน: เราเคยได ้ยินตํารวจบนความถีห ่ น ้าใหน ระบุตัวตน ตามทีค ่ วรจะต ้องกระทําบ ้าง
หรือไม่?
 อีกแนวคิดหนึง่ : มีผู ้คุ ้มกฎทีด
่ ค
ี นเดียว ถือเป็ นเรือ
่ งทีย
่ อมรับกันได ้ แต่ถ ้ามีถงึ สองคน คงจะแออัด
เกินไป

III.10.6. จะปฏิบ ัติตนเชน ่ ไรท่ามกลางขบวนผูค ้ ม


ุ ้ กฎ
เมือ่ เป็ น DXer แล ้ว จะทราบได ้อย่างรวดเร็วว่า ตัวเราจะได ้หลายสิง่ หลายอย่างมากมายกว่า จากการที่
ไม่เข ้าไปข ้องเกีย ่ วกับบรรดาผู ้คุ ้มกฎทัง้ หลาย พยายามเปลีย ่ นวิกฤติให ้เป็ นโอกาส จงฟังต่อไป (วลีนี้
เป็ นคําทีม ่ หัศจรรย์อก ี เช่นกัน) ท่ามกลางเสียงทีต ่ ระโกนบริภาษไปยังสถานี DX อยูน ่ ัน
้ และในหลายครัง้
ขณะทีผ ่ ู ้คุ ้มกฎกําลังมีความเพลิดเพลิน อยูก ั การก่นด่า เราจะสามารถลง log กับสถานี DX ได ้ (แอบ
่ บ
โป่ งยิงเสือ)

III.11. เคล็ดล ับสาหร ับสถานี DX และน ักวิทยุสม ัครเล่นประจาสถานี


DXPEDITION
บางที ในอีกไม่ช ้าไม่นาน เราอาจจะได ้ออกอากาศอยูอ ่ ก
ี ฟากหนึง่ ในสถานการณ์แบบ pileup อาจจะได ้
ทําหน ้าที่ operator ของ DXpedition ซึง่ ถือเป็ นความใฝ่ ฝั นของนักวิทยุสมัครเล่นจํานวนมาก สําหรับผู ้ที่
คิดจะเอาจริงเอาจังในเรือ ่ งนีแ
้ ล ้ว ผู ้เขียนมีข ้อแนะนํ าและวิธกี ารอยูห่ ลายประการทีส ่ ามารถนํ าไปใช ้อย่าง
ได ้ผล หากต ้องการจะเป็ น operator ทีไ่ ด ้รับความสําเร็จ และสิงทีจ ่ ่ ะกล่าวต่อไปนีค ้ อ
ื เคล็ดลับบาง
ประการ:
 แจ ้ง call sign ของตนเองหลังจบการติดต่อทุกการติดต่อ หาก call sign เรายาว (เช่น
SV9/G3ZZZ/P) ให ้ขานไปทุก 2-3 QSO เป็ นอย่างน ้อย
 หากเมือ ่ ติดต่อแบบ simplex และไม่สามารถรับสัญญาณเรียกขานสถานีอน ื่ ได ้ชัดเจนพอ (เนือ่ งจาก
หลายสถานีเรียกขานเข ้ามาในความถีพ ่ ร ้อมกัน) ให ้เปลีย
่ นการรับ/ส่งไปเป็ นแบบ split และแจ ้งให ้ผู ้
ทีเ่ รียกขานสถานีเราอยูใ่ นขณะนัน ้ ทราบโดยทัว่ กัน ต ้องไม่ลม ื แจ ้ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมือ ่ อยูใ่ น
ย่านความถีต ่ ํา่ ทีส ั ญาณจากสถานี DX ซึง่ อยูไ่ กลออกไปจะเบาบางมาก สถานีของเราจะถูกกลบ
่ ญ
ทับรับฟั งไม่ได ้เลย อย่างง่ายดาย เพียงด ้วยความแรงมากกว่าเราแค่ 50 dB เท่านัน ้ สําหรับสถานี
DX ทีห ่ ายากด ้วยแล ้ว split คือคําตอบสุดท ้าย

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 67


 ก่อนทีจ ่ ะเปลีย ่ นไปเป็ น split mode ตรวจสอบดูกอ ่ นว่า ความถีท ี่ ้องการใช ้ฟั ง (use for listening)
่ ต
นัน้ ว่างอยูจ ่ ริง
 ถ ้าใช ้แบบ split ให ้บอกกล่าวออกไป หล ังจบการติดต่อ (QSO) แต่ละครงั้ ตัวอย่าง แบบ CW:
‘UP 5, UP 5/10 QSX 1820’ ฯลฯ แบบ SSB: ‘listening 5 up, listening 5 to 10 up, listening
on 14273, up 5, down 12’ ฯลฯ
 จงอย่าแจ ้งการออกอากาศแบบ split แบบห่างครัง้ (‘every now and then’) ซึง่ อาจทําให ้ความ
หนาแน่นหรือจํานวนของสถานีทรี่ อเรียกขาน (pile) อยูล ่ ดลง และสร ้างความความสับสนวุน ่ วายขึน ้
บนความถีท ่ เี่ รากําลังใช ้ส่งอยูท ่ ยี่ ากจะหลีกเลีย ่ งได ้ รวมทัง้ ยังจะทําให ้ย่านความถีท ่ ใี่ ช ้ split นัน ้
ขยายกว ้างออกไปเกินจากทีต ่ ้องการ กรณีถอ ื เป็ นวิธป ี ฏิบต ั ทิ ไี่ ม่เหมาะสมในทุกแง่ของมุมมอง
 ใน CW แบบ split ควรปรับไปฟั งอย่างน ้อยที่ 2 kHz เหนือ (หรือตํ่ากว่า) ความถีท ่ เี่ ราใช ้ส่ง
(transmit frequency) เพือ ่ หลีกเลีย ่ งการรบกวนทีม ่ ต ี อ
่ สัญญาณจาก key clicks ทีเ่ กิดจากบรรดาผู ้
ทีเ่ รียกขานเข ้ามา (callers) ปกติการ split เพียง 1 kHz ทีน ่ ย ิ มใช ้กันอยูน ่ ัน
้ ถือว่าไม่เพียงพอ
 ใน SSB อย่างน ้อยควรเป็ น 5 แต่ท ี่ 10 kHz จะเหมาะสมกว่า สัญญาณบางสถานีทเี่ รียกขานมา
บางครัง้ ก็กว ้างมาก ทําให ้เกิดการฟุ้ งกระจายเข ้ามาในความถีท ่ เี่ ราใช ้ส่งออกได ้อย่างมากมาย
 หากเราเป็ นสถานี DX ออกอากาศแบบ split ในย่าน 80m (window of 80m) ทีก ่ ําหนด (ใน
Region 1: 3.50-3.51 kHz แบบ CW หรือ 3.775-3.800 kHz แบบ phone) ให้ร ับฟัง pileup
นอกย่านทีก ่ าหนดเพือ ่ การออกอากาศแบบ DX (listen for the pileup outside the DX
window) หากออกอากาศ เช่น ที่ 3.795 ให ้ฟั ง pileup ที่ 3.775 kHz (แบบ CW เหนือขึน ้ ไป
3.510 kHz)
 รักษาช่องทางในการรับฟั ง (listening window) ให ้แคบทีส ่ ดุ เท่าทีจ ่ ะกระทําได ้ เพือ ่ หลีกเลีย ่ งการ
ไปรบกวนบรรดาผู ้ใช ้ความถีย ่ า่ นอืน ่ อยูใ่ นขณะนัน ้
 ในแบบ SSB หากรับสัญญาณเรียกขานของคูส ่ ถานีได ้เพียงบางส่วน ให ้ขานตอบกลับไปด ้วย
สัญญาณเรียกขานทีร่ ับมาได ้นัน ้ แล ้วรายงานการรับฟั งไปพร ้อมเลย เช่น ‘Yankee Oscar 59’ (‘แยง
กี้ ออสการ์ ห ้าเก ้า’) จงอย่าพูดว่า ‘Yankee Oscar, again please’ (‘แยงกี้ ออสการ์ ขออีกครัง้
ครับ/ค่ะ’ รับประกันได ้เลยว่า การตอบไปแบบนัน ้ จะทําให ้บรรดา Yankee Oscar ทีม ่ อ
ี ยูท่ ัง้ หมด หู
ผึง่ ! ขณะเมือ ่ เราได ้รายงานคําว่า 59 ไปด ้วยแล ้ว ก็เสมือนว่าเราติดต่อได ้ครึง่ หนึง่ แล ้ว (half of the
QSO) และก็จะไม่ทําให ้บรรดาสถานีอน ื่ ทีร่ ออยู่ เรียกขานซ ้อนเข ้ามาด ้วย (disorderly callers)
 กรณีเช่นเดียวกัน ในแบบ CW ไม่ต ้องส่งเครือ ่ งหมายคําถามต่อท ้ายไป (เช่นรับได ้มาเพียง 3TA)
เครือ ่ งหมายคําถามจะไปลั่นไกให ้ครึง่ หนึง่ ของบรรดาสถานีท ี่ pileup อยู่ ทะลักเข ้ามาหาเราทันที
ดังนัน ้ ให ้ส่งคําว่า ‘3TA 599’ ไป และ ไม่ใช:่ ‘?3TA 599’ ต ้องไม่สง่ เครือ ่ งหมายคําถามไปด ้วย
โดยเด็ดขาด (never) เมือ ่ เกิดสถานการณ์ pileup
 สิง่ ทีจ ่ ะกล่าวต่อไปนี้ สามารถใช ้ได ้กับทุกโหมด: หากครัง้ แรกเรารับ call sign ได ้มาไม่ครบ ต่อมา
รับได ้ครบแล ้วก็ขาน call sign ทีค ่ รบนัน ้ กลับไป เพือ ่ ว่าสถานีนัน ้ จะได ้แน่ใจว่าติดต่อกับเราได ้
สมบูรณ์แล ้ว (worked you) และนํ าไปลง log ต่อไป ตัวอย่าง: สมมติวา่ ในครัง้ แรก รับ call sign
ได ้ไม่ครบ เพียง: ‘3TA’ ให ้ตอบกลับไปว่า ‘3TA 599’ (ในประเภทเสียง เป็ น ‘3TA 59’) สถานีนัน ้ ก็
จะยืนยันกลับมาว่า ‘TU DE OH OH3TA 599’ (ประเภทเสียงก็จะเป็ น Oscar Hotel, Oscar Hotel
Three Tango Alpha you’re 59 QSL?) หากไปขานตอบยืนยันสถานีดังกล่าวด ้วยเพียงคําว่า ‘QSL
TU’ (ประเภทเสียง: QSL thank you) OH3TA ก็จะไม่สามารถแน่ใจได ้ว่า เราติดต่อกับเขาได ้
สมบูรณ์แล ้ว (you worked him) ดังนัน ้ ให ้ยืนยันไปว่า: ‘OH3TA TU’ หรือ ‘OH3TA thanks’
 เมือ ่ รับ (copy) สัญญาณเรียกขานบางส่วนได ้แล ้ว ยึดโยงอยูก ่ บั สถานีนัน ้ อย่าให ้สถานีอน ื่ เบียดเข ้า
มาได ้ เราเป็ นเจ ้าของความถีห ่ รือผู ้เป็ นนาย (boss) อยูใ่ นขณะนัน ้ แสดงให ้บรรดาสถานีเหล่านัน ้ ได ้
รับรู ้ว่า เราเท่านัน ้ มิใช่ผู ้อืน
่ ทีจ ่ ะเป็ นผู ้ตัดสินว่า จะลง log กับสถานีใด สถานีท ี่ pileup อยู่ มักจะ
ขาดวินัย แต่บอ ่ ยครัง้ สภาพดังกล่าวก็เกิดจากการที่ operator ของสถานี DX (สถานีทเี่ รียกขาน
CQ DX) ไม่ใช ้สิทธิในการควบคุม หากสถานี DX เหล่านัน ้ สังเกตเห็นได ้ว่า เรากําลังยึดโยงอยูก ่ บั

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 68


สถานีทรี่ ับ call sign ได ้มาบางส่วนอยู่ และยังไม่ (ว่าง) ถึงทีเขาทีจ ่ ะเรียกขานเข ้ามา เหล่าสถานี
DX ทีร่ ม ุ เรียกขานมา ก็จะหยุดรอและแสดงความมีวน ิ ัยมากขึน ้ ให ้เห็นเอง
 หากเราหยุดและละทิง้ สถานีทรี่ ับ call sign ได ้มาไม่ครบ แล ้วไปขานรับสถานีใดสถานีหนึง่ ทีเ่ สียง
ดัง แต่ไร ้ซึง่ วินัยเข ้า ก็เท่ากับว่า ไปยอมให ้สถานีบาตรใหญ่นัน ้ เป็ นผู ้บริหารความถีแ ่ ทนเรา ณ เวลา
นัน
้ ปั ญหาก็จะเกิดกับเราทันที ในหลายกรณี ความยุง่ เหยิงไม่เป็ นระเบียบเกิดขึน ้ ก็เพราะด ้วยเหตุ
ทีว่ า่ operator ไม่แสดงสิทธิและใช ้อํานาจตามกฎ หรือไม่ยน ื หยัดและยึดโยงกับกฎเกณฑ์ทต ี่ นเอง
ได ้วางไว ้ (ไม ้หลักปั กเลน หรือ พวกมากลากไป)
 หากสถานีท ี่ call sign ไม่ครบ ไม่ขานตอบกลับมา หรือ หายไป จงอย่าเรียกสถานีซงึ่ ขาดวินัยใดที่
ได ้สร ้างปั ญหาในช่วงสุดท ้ายหลายนาทีทผ ี่ า่ นมา ให ้เรียก CQ ต่อ แล ้วขยับขึน ้ หรือลง สองสาม
kHz เพือ ่ ให ้เป็ นช่องรับฟั ง จงอย่าสร้างความพึงพอใจให้ก ับบุคคลทีเ่ ราตราหน้าไว้แล้วว่า เป็น
พวกขาดวิน ัย จงแสดงให ้บรรดาพวกทีช ่ อบแหกกฎได ้เห็นว่า การเรียกขานแบบขาดการเคารพซึง่
กฎ กติกา เป็ นเรือ ่ งทีไ่ ร ้ค่า (useless) ไม่คค ู่ วรทีจ ่ ะตอบสนอง
 เมือ่ เรากลับไปเรียกขาน (ตอบสนอง) สถานีทอ ี่ ยูใ่ น pileup (เช่น JA1ZZZ) และได ้ลง log กันไว ้
แล ้ว ในบางครัง้ สถานีนัน ้ ก็ยงั คงเรียกขานเราอยูอ ่ กี เนือ่ งจากไม่ได ้ยินทีเ่ รารายงานการรับฟั งไปให ้
จงอย่าเรียกขานกลับไปด ้วยคําว่า ‘JA1ZZ. You are in the log’ (‘ท่านอยูใ่ น log ผม/ดิฉันแล ้ว’ -
ในประเภทเสียง) หรือ ‘JA1ZZZ QSL’ (ใน CW) แต่ให้เรียกขานเขากล ับไปอีกครงั้ พร้อม
รายงานการร ับฟังไปอีก แท ้จริงแล ้ว สถานีนัน ้ ต ้องการรายงานการรับฟั งจากสถานีเรามากกว่า
(จึงได ้เรียกขานเรามาอีกครัง้ )
 จงปฏิบต ั ติ าม รูปแบบมาตรฐาน (standard pattern) อยูต ่ ลอดเวลาในการออกอากาศ ตัวอย่าง
(สมมติวา่ ตัวเราคือ ZK1DX):
ZK1DX 5 to 10 up → เราได ้ยิน ON4XYZ เรียกขานมา
ON4XYZ 59 → เรารายงานการรับฟั งให ้ไป
QSL ZK1DX 5 to 10 up → เรายืนยัน บอกตัวตน แล ้วเรียกขานต่อ
 หากรักษารูปแบบทีเ่ หมือนกันเช่นนีไ ้ ว ้ตลอดเวลา ผู ้ที่ pileup อยูก ่ ็จะทราบได ้ว่า ขณะทีเ่ ราแจ ้งไปว่า
‘5 to 10 up’ เราพร ้อมแล ้ว ทีจ ่ ะรับการเรียกขานต่อจากสถานีทรี่ ออยูต ่ ไป ให ้คงไว ้ซึง่ รูปแบบอัน
่ อ
เดียวกัน ความเร็วทีเ่ ท่ากัน จ ังหวะทีค ่ ล้ายคลึงก ัน เช่นนีแ ้ ล ้ว ทุกสถานีก็จะทราบเองได ้ว่า ควรจะ
เรียกขานเราเข ้ามาเมือ ่ ใด คล ้ายกับการทํางานของนาฬกา ิ
 หากบรรดาพวก pileup ยังคงขาดวินัยอยู่ ก็ไม่ต ้องตืน ่ เต ้นมากกับปรากฏการณ์ดังกล่าว และหาก
สภาวการณ์ยงั ไม่ดข ี น
ึ้ ก็ให ้เปลีย ่ นไปใช ้โหมดหรือย่านความถีอ ่ น ื่ เสีย แต่ต ้องแจ ้งให ้สถานีเหล่านัน ้
ทราบก่อนทีจ ่ ะเปลีย ่ นความถีไ่ ป
 จงเยือกเย็นไว ้เสมอ อย่าได ้ไปแสดงสิง่ ใดทีจ ่ ะทําให ้ผู ้ที่ pileup อยู่ ได ้อาย ทัง้ หลายทัง้ ปวง สิง่ ที่
ควรและต ้องกระทําเพือ ่ ให ้สถานีเหล่านัน ้ ทราบคือ ขณะนี้ เราเป็ นเจ ้าของความถีอ ่ ยู่ เราเป็ นคน
กําหนดกฎเกณฑ์ เราคือผู ้มีสทธิขาด ิ
 อย่ากระทําการติดต่อกันในแบบทีเ่ รียกว่า call sign 2 ตัว หากเมือ ่ ได ้ยินเช่นนัน ้ ก็ให ้แจ ้งกลับไปว่า
เราต ้องการ call sign ทีค ่ รบถ ้วนเท่านัน ้
 หากออกอากาศในแบบ split mode แล ้วปรากฏว่า หลายสถานีรับเราได ้ไม่คอ ่ ยดี กรณีเป็ นไปได ้
มากทีค ่ วามถีท ี่ ําลังใช ้ส่งอยูน
่ ก ่ ัน ้ มีปัญหาจากการรบกวน (interference) หากปั ญหายังคงต่อไป
สําหรับในโหมด SSB ให ้ลองเปลีย ่ นความถีภ ่ าคส่งไปสัก 5 kHz พร ้อมบอกกล่าวกับบรรดาเหล่า
pileup ในขณะนัน ้ ก่อนด ้วย ส่วนในแบบ CW เปลีย ่ นไปเพียง 0.5 kHz ก็พอ
 ในโหมด CW ความเร็วในการส่ง 40 คําต่อนาที (40 WPM) เป็ นความเร็วสูงสุดทีใ่ ช ้กันสําหรับการ
รับ/ส่งทีร่ าบเรียบอย่างต่อเนือ ่ งใน HF ย่านตํ่า (40-160m) และจะเป็ นการดียงิ่ ขึน ้ หากจะลด
ความเร็วลงสักเล็กน ้อย (20-30 WPM ขึน ้ อยูก ่ บ
ั สภาวการณ์)
 แจ ้งกับบรรดาผู ้ที่ pileup ให ้ทราบถึงแผนหรือกําหนดการของตนเองอยูเ่ สมอ จะหยุดออกอากาศ
(QRT) เมือ ่ ใด ก็แจ ้งไป เมือ ่ จะหยุดพัก ก็บอกกล่าว: ‘ORX 5’ (‘QRX 5 นาที’ ‘standby’) หากจะ
เปลีย ่ นย่านความถี่ ก็ประกาศไปด ้วยเช่นกัน

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 69


 ถ ้าต ้องการจะให ้ pileup ลดความหงุดหงิดลง และเป็ นระเบียบเรียบร ้อยขึน ้ รวมทัง้ ทําให ้ความถีท ่ ใี่ ช ้
ส่งอยูว่ า่ งลง (clear) วิธท ี มี่ ป ี ระสิทธิภาพมากสุดคือ ทําให ้สถานีทรี่ ม ุ เรียกขานอยูน ่ ัน
้ มีความพึงพอใจ
ทําให ้บรรดาเพือ ่ นของเราเหล่านัน ้ ทราบว่า เรากําลังกระทําสิง่ ใดอยู่ เรารับทราบแล ้วว่าสถานี
เหล่านัน ้ (อาจยกเว ้นหนึง่ หรือสองสถานี) กําลังต ้องการติดต่อกับเรา สถานีเรากําลังขึน ้ หม ้อ (Hot)!
 Operator ของสถานี DX บางครัง้ ติดต่อ (work)โดยการกําหนดตัวเลข หรือ กําหนดพืน ้ ทีข ่ องคู่
สถานี กรณีหมายความว่าสถานี DX จะตอบรับเฉพาะสถานีทม ี่ ต
ี วั เลขในส่วนหน ้า (prefix) ของ call
sign ทีต ่ นเองได ้กําหนดไว ้เท่านัน ้ ตามสถิตแ ิ ล ้ว วิธก
ี ารนีจ ้ ะทําให ้ pileup เบาบางลงได ้ถึง 10 เท่า
 จงหลีกเลีย ่ งให ้มากทีส ่ ด ุ เท่าทีจ ่ ะกระทําได ้ สําหรับการติดต่อ (work) แบบกําหนดตัวเลข เพราะเป็ น
ระบบทีไ่ ม่ดม ี ากนักเท่าไร
 หากต ้องการใช ้วิธก ี ําหนดตัวเลขเพือ ่ เรียกขานติดต่อ ก็ให ้ใช ้กติกาดังต่อไปนี:้
- เมือ ่ เริม ่ การติดต่อแบบกําหนดตัวเลขไปแล ้ว ให ้ไล่เรียงตัวเลขตามลําดับจนครบ 1 รอบ หากเรา
ไปหยุด (QRT) ครึง่ ทางระหว่างลําดับเลขเข ้าแล ้ว หรือ เปลีย ่ นมาใช ้แบบการสุม ่ ตัวเลข กลางคัน
ตัวเราก็กําลังจะกลายเป็ นผู ้สร ้างความสับสนวุน ่ วายเสียเอง
- จงอย่าลืมโดยเด็ดขาดว่า ขณะทีใ่ ช ้การติดต่อแบบกําหนดตัวเลขอยูน ่ ัน
้ ร ้อยละ 90 ของ DXers
กําลังเฝ้ าสงบรอ ขบเล็บนิว้ มือของตนเองอยู!่ สถานี DX เหล่านัน ้ เฝ้ าฟั งเราอยูอ ่ ย่างใจจดใจจ่อ
และนับอย่างละเอียดว่า เราติดต่อแต่ละตัวเลขได ้กีส ่ ถานีแล ้ว และให ้มัน ่ ใจได ้เลยว่า operator
บางสถานีจะอดใจไม่ไหว หากเรายังไปไม่ถงึ ตัวเลขของเขาในภายในระยะเวลาทีค ่ วรจะเป็ น
- ให ้ขึน ้ ต ้นการเรียงลําดับด ้วยเลข 0 เสมอ แล ้วเพิม ่ ขึน ้ ทีละเลขเรียงลําดับกันไป โดยไม่มต ี ัวแทรก
บริหารให ้ง่ายเข ้าไว ้
- อย่ากําหนดตัวเลขทีเ่ ป็ นการสุม ่ (random): อันแรก 0 จากนัน ้ 5 แล ้วก็ 8 ตามด ้วย 1 ฯลฯ เนือ ่ ง
การจัดลําดับเช่นนัน ้ จะทําให ้ เพือ ่ นที่ pileup อยูห ่ งุดหงิด หากเราเรียงลําดับตัวเลขไปอย่าง
ปกติ สถานีทัง้ หลายเหล่านัน ้ ก็จะกะเกณฑ์ได ้ว่าเมือ ่ ใดจะถึงทีของตนเอง การใช ้วิธส ุ่ ตัวเลขจะ
ี ม
ทําให ้ผู ้ทีร่ ออยูก ่ ระวนกระวาย ร ้อนรนใจได ้อย่างมากมายก่ายกอง เลยทีเดียว
- ให ้ติดต่ออย่างมากทีส ่ ด ุ 10 สถานีในแต่ละตัวเลข และให ้แน่ใจไว ้เสมอว่า จํานวนสถานีทไี่ ด ้ของ
แต่ละตัวเลขมีจํานวนใกล ้เคียงกัน หากสามารถจัดการให ้ได ้นาทีละ 5 สถานี ก็เท่ากับว่าเราจะใช ้
เวลาประมาณ 20 นาทีตอ ่ รอบ กรณีหมายความว่า บางสถานีอาจจะต ้องหยุดรอ อีกประมาณ 20
นาที กว่าจะวนกลับมาถึงทีของตนเองอีกครัง้ ซึง่ ถือว่านานมากพอควรเลยทีเดียว เวลาทีต ่ ้องรอ
คอยโดยเฉลีย ่ ทั่วไป จะอยูป ่ ระมาณ 10 นาที แล ้วก็จงอย่าลืมด ้วยว่า ภาวะของการแพร่กระจาย
คลืน ่ (propagation) ในระยะเวลา 20 นาที หรือแม ้แต่เพียง 10 นาทีก็ตาม สามารถทําให ้สภาพ
การติดต่อเปลีย ่ นแปลงไปได ้มาก
- บอกกล่าวบรรดาสถานีท ี่ pileup อยูเ่ สมอ ถึงจํานวนสถานีทก ี่ ําหนดไว ้ เพือ ่ ทีเ่ ราจะติดต่อด ้วยใน
แต่ละตัวเลข และแจ ้งข ้อมูลนีซ ้ ํ้าทุกครัง้ หลังจบการติดต่อได ้แต่ละ call sign
 วิธก ี ารทีใ่ ช ้เรียกขานแบบกําหนดตัวเลขจาก call sign นัน ้ ไม่นย ิ มใช ้ใน CW
 เทคนิคทีด ่ ก ี ว่า ทีส ่ ามารถทําให ้สถานี pileup ทัง้ หลายเบาบางลงได ้บ ้างเล็กน ้อย ก็คอ ื การ work
แบบกําหนดทวีป และ แบบตามพืน ้ ทีท ่ างภูมศ ิ าสตร์ การติดต่อแบบนีจ ้ ะเป็ นการเปิ ดโอกาสทีม ่ ากกว่า
ให ้กับสถานีทอ ี่ ยูห
่ า่ งไกลออกไปของโลกทีส ่ ญ ั ญาณมักจะอ่อน และอากาศเปิ ดให ้เป็ นเวลาไม่มาก
นัก
 กรณีเรากําหนดทวีปเพือ ่ การติดต่อ ซึง่ หมายความว่า เราต ้องการจะให ้สถานีในพืน ้ ทีท ่ รี่ ะบุไปเท่านัน ้
ทีค่ วรจะขานตอบเรามา ตัวอย่าง: หากเราต ้องการจะ work เฉพาะสถานีในอเมริกาเหนือ ให ้เรียก
ขานไปดังนี้ ‘CQ North America ONLY’ หรือใน CW: ก็เป็ น ‘CQ NA’
 ใช ้เทคนิคอันนีเ้ ป็ นหลักเพือ ่ ให ้เข ้าถึงพืน ้ ทีข
่ องโลกทีม ่ สี ภาพการแพร่กระจายคลืน ่ ไม่ด ี (bad) และมี
อากาศเปิ ดให ้เราเป็ นแบบครัง้ คราว (สัน ้ )
 หากเราใช ้เทคนิคอันนีเ้ พราะเหตุวา่ pileup เกิดความหนาแน่นมากเกินไป ก็ให ้สับเปลีย ่ นหมุนเวียน
ไปมาอย่างรวดเร็ว ระหว่างทวีปหรือพืน ้ ที่ กฎหัวแม่มอ ื (rule of thumb) ทีด ่ ก
ี ค็ อ
ื ไม่วา่ ผู ้ใดก็ตาม
ไม่ควรเรียกขานเพียงพืน ้ ทีเ่ ดียวเกินกว่า 15 นาที ถึงสูงสุดไม่เกิน 30 นาที

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 70


 ให ้แจ ้งบรรดาเพือ ่ นที่ pileup อยู่ ทราบถึงแผนการของเรา แจ ้งไปว่าเราจะเปลีย ่ นพืน
้ ทีอ่ ย่างไร และ
ให ้สถานีท ี่ pileup ปฏิบต ั ต ิ ามแผนทีเ่ ราวางไว ้
 ให ้เปลีย ่ นกลับมา work แบบไม่เจาะจงพืน ้ ที่ ให ้เร็วทีส ่ ด ุ เท่าทีจ ่ ะกระทําได ้ เมือ ่ อากาศเปิ ด
 ควรหลีกเลีย ่ งการใช ้เทคนิคทัง้ สองทีก ่ ล่าวมาแล ้วข ้างต ้น ให ้มากทีส ่ ด ุ เท่าทีจ ่ ะกระทําได ้ เว ้นแต่กรณี
ทีเ่ รากําลังค ้นหาพืน ้ ทีท ่ ยี่ ากลําบากในการเข ้าถึง เท่านัน ้
 ปั ญหาหลักของการใช ้วิธก ี ารแบบเจาะจง (selective method) ก็คอ ื วิธน ี จ
ี้ ะทําให ้นักวิทยุสมัครเล่น
ส่วนใหญ่นั่งรอและเกิดความเครียด และพวกทีเ่ ครียดเหล่านีเ้ อง จะกลายเป็ นผู ้คุ ้มกฎทีเ่ ก็บกดได ้
อย่างง่ายดาย ยิง่ หากเราปิ ดสถานี (QRT) ไปก่อนทีจ ่ ะถึงทีทเี่ ป็ นตัวเลขของท่านทัง้ หลายเหล่านัน ้
ด ้วยแล ้ว ให ้เชือ ่ ขนมกินได ้เลยว่า ชือ ่ ของเราจะถูกตระโกนเรียก (called names) ในความถีท ่ ใี่ ช ้ส่ง
อยูน ่ ัน
้ อย่างอือ ้ อึงโดยมิต ้องสงสัย
 ผู ้เขียนเคยได ้เห็น DX operator บางรายทีพ ่ ยายามจะ work แบบเจาะจงประเทศมาแล ้ว เห็นว่า
ควรหลีกเลีย ่ งวิธก ี ารนีใ้ นทุกโอกาส ด ้วยเหตุผลทีไ่ ด ้เคยประสพมาดังนี:้ วิธน ี จ ี้ ะทําให ้ DXers ร ้อยละ
99 ทีต ่ ้องการจะติดต่อกับสถานีเรา ต ้องเฝ้ ารอ จึงขอรับประกันได ้เลยว่า ทันใดนัน ้ ในเวลาเพียงชัว่
อึดใจ ความวุน ่ วายจะเกิดขึน ้ ทันที
 จงระวังไว ้ด ้วยว่า เมือ ่ จะใช ้วิธเี จาะจงแบบนีก ้ บ ่ นเรา หรือ กับสถานีในประเทศเราเอง ให ้ใช ้อย่าง
ั เพือ
ระมัดระวังและอย่าให ้เป็ นการโจ่งแจ ้งเกินไป ทางทีด ่ แ ี ล ้ว อย่าใช ้เลยจะดีกว่า
 ถึงตอนนี้ ผู ้เขียนได ้ลําดับเรือ ่ งราวมาแล ้วหลายประเด็น ทัง้ หมดเกีย ่ วข ้องกับบรรดาขัน ้ ตอนของการ
ออกอากาศ โดยมุง่ เป้ าไปยังการค ้นหาสถานี DX ให ้ได ้อย่างสนุกสนานสําหรับผู ้ทีเ่ ปรียบเสมือน
นายพรานตามล่าสถานี DX และ DXpedition ดังเป็ นทีท ่ ราบกันดีอยูแ ่ ล ้วว่า การให ้ความรู ้และการ
ฝึ กอบรม ให ้กับ operator ทัง้ สองกลุม ่ จะช่วยปรับปรุงการ operate และทําให ้เขาเหล่านัน ้ สามารถ
ก ้าวไปพบกับสถานการณ์แบบ ชนะกับชนะ (win win situation) ในทัง้ สองเรือ ่ งได ้: เหนือกว่าและ
สนุกสนานมากว่า ในโลกของการ DX (DXing world)
- ณ เวลาหนึง่ หรือเวลาใดทีผ ่ า่ นมา พวกเราเกือบทัง้ หมด ได ้เคยเผชิญกับสถานการณ์ทเี่ หล่า
ผู ้สร ้าง QRM (QRMers) ได ้ปรากฏตัวออกมาเพือ ่ ทําลายความสนุกสนานเพลิดเพลินของบรรดา
นายพราน DX นับหลายพันคนทีก ่ ําลังรืน ่ รมย์อยู่ สถานีจําพวกนีจ ้ ะสร ้าง QRM ขึน ้ ในความถี่
ภาคส่งของสถานี DX ไม่วา่ จะด ้วยการไม่ขานสัญญาณเรียกขานตนเองก็ด ี หรือ ขอยืมสัญญาณ
เรียกขานของสถานีอน ื่ มาใช ้แสดงพฤติกรรมทีไ่ ร ้ซึง่ จริยธรรมก็ด ี สิง่ เหล่านี้ โดยแท ้จริงแล ้ว ถือ
เป็ น เรือ ่ งของจริยธรรม หรือ ethical issue (ดู § I.2.5) เป็ นเรือ ่ งของคําว่า ดี (good) และ
เลว (bad) มิใช่เรือ ่ งทีเ่ กีย ่ วข ้องกับขัน ้ ตอนการออกอากาศ (operating procedures) และ
ผู ้สร ้าง QRM ประเภทนีจ ้ ํานวนมาก จะไม่สามารถถูกขัดเกลาตนเองได ้ด ้วยการศึกษาและการ
ฝึ กอบรม
- การรบกวนทีเ่ กิดจากความจงใจของมนุษย์ หรือ D(eliberate)QRM เกิดจากคนส่วนน ้อยทีน ่ ยิ ม
ความรุนแรงในสังคมทีม ่ าตรฐานแห่งคุณธรรมในระดับหนึง่ ตกหล่นหายไป การกระทําของบุคคล
เหล่านี้ ก็เป็ นเพียงการแสดงให ้เห็นถึงระดับความเห็นแก่ตัวทีเ่ พิม ่ ขึน ้ อย่างคงเส ้นคงวา เรา
ทัง้ หลาย ด ้วยโชคทีไ่ ม่ดน ี ัก จึงดูเหมือนว่า จะได ้เห็นสิง่ เหล่านีไ ้ ด ้ในทุกระดับของสังคมปั จจุบน ั
- หากเราได ้รับความเดือดร ้อนจาก DQRM ก็ให ้เปลีย ่ นความถีไ่ ปเล็กน ้อย เช่น 500 Hz ใน CW
เป็ นต ้น ให ้ส่งสัญญาณเรียกขานเราไปแล ้วตามด ้วยเสียง ดิท (DIT) ต่อกันไปขณะทีเ่ ราเปลีย ่ น
ความถีไ่ ปอย่างช เพือ ้าๆ ่ ทีบ ่ รรดาเพือ ่ นที่ pileup อยูจ ่ ะได ้เข ้าใจว่าเรากําลังทําอะไรอยู่ หรือ ใน
ประเภทเสียง ปรับขึน ้ หรือลงไป 5 kHz หลังจากได ้แจ ้ง QSY ไปแล ้ว โดยไม่ต ้องบอกเหตุผล
(ว่าเหตุใดเราถึงหลีกไป)
- จงอย่าไปแสดงออกว่า เราได ้รับความเดือดร ้อนจาก DQRM ดังทีป ่ รากฏให ้เห็น บ่อยครัง้ มาก ที่
คนจํานวนน ้อยพวกนี้ ทีส ่ ร ้าง DQRM ขึน ้ จะเลิกลาไปเอง เมือ ่ ไม่มผ ี ู ้ใดให ้ความสนใจ หรืออีกนัย
หนึง่ เมือ ่ ไม่มผ ี ู ้ใดใส่ใจการยัว่ ยุของตนเอง ดังนัน ้ จงอย่าไปสนใจให ้ความสําคัญกับมนุษย์
ประเภทนี:้ ยึดถือกฎข ้อนีไ ้ ว้

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 71


มีผลบ ังค ับทางกฎหมายหรือไม่? (LEGALLY BINDING?)

ขัน
้ ตอนของการปฏิบต ั ท ิ แ
ี่ สดงให ้เห็นเป็ นลําดับมาทัง้ หมดในเอกสารฉบับนี้ มีข ้อผูกพันทางกฎหมายหรือไม่?
ส่วนใหญ่เกือบทัง้ หมดแล ้ว ไม่มข ี ้อผูกพัน ตัวอย่างเช่น: กฎหรือระเบียบของเกือบทุกประเทศสมาชิก กําหนดไว ้
ว่า ผู ้ใดก็ตาม ควรต ้องขานสัญญาณเรียกขานทุก 5 (บางประเทศ 10) นาที กฎนีม ้ ขี นึ้ ไว ้ เพือ่ ให ้สถานีควบคุม
ข่าย (monitoring stations) และหน่วยงานทีม ่ ห ี น ้าทีก่ ํากับดูแลวิทยุสมัครเล่น (control authorities) สามารถ
ทราบถึงตัวตนของผู ้ทีก ่ ําลังออกอากาศอยูไ ่ ด ้ ส่วนการกําหนดไว ้ทุก 5 นาที เป็ นตัวเลขขัน ้ ตํ่าทีก่ ําหนดไว ้ในกฎ
หรือระเบียบ แต่ในแง่ของการปฏิบต ั ท
ิ ด
ี่ ี (good practice) และ ตามทีน ่ ยิ มถือปฏิบตั กิ น ั มา (sound custom)
รวมทัง้ เพือ่ ให ้ได ้มาซึง่ ประสิทธิภาพและการปฏิบต ั ท
ิ ด
ี่ ตี อ
่ กัน ‘การปฏิบต ั ใิ นการออกอากาศทีถ ่ ก
ู ต ้อง’ (‘correct
operating practice’) ในทีน ่ ี้ บอกให ้เราทราบว่า ให ้ระบุตัวตนในแต่ละ QSO ด ้วยเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่
หากมีการติดต่อกันแบบกระชับ เช่น ขณะทีอ ่ ยูร่ ะหว่าง contest หรือออกอากาศแบบ pileup บรรดาขัน ้ ตอน
วิธกี ารออกอากาศทัง้ หลายเหล่านี้ ควรต ้องให ้มีการยึดถือปฏิบต ั ใิ นสังคมวิทยุสมัครเล่นอย่างทั่วถึง เพือ ่ ให ้เรา
สามารถได ้รืน ่ รมย์กบ ั งานอดิเรกชนิดนี้ ด ้วยความเข ้าใจให ้มากทีส ่ ดุ (in best understanding)

่ ล ้ายคลึงกัน ซึง่ เกีย


ตัวอย่างทีค ่ วข ้องกับแผนหรือตารางกําหนดย่านความถีข ่ องสหภาพวิทยุสมัครเล่นระหว่าง
ประเทศ (IARU Band Plan) ทีป ่ ระเทศสมาชิกส่วนใหญ่ ก็มไิ ด ้นํ าไปบังคับใช ้เป็ นกฎหมาย แต่กป ็ รากฏเป็ นที่
ชัดเจนว่า ตารางดังกล่าวถูกใช อ ้เพื ่ ให ้การอาศัยอยูร่ ว่ มกันในย่านความถีท
่ ม
ี่ ผี ู ้คนเป็ นจํานวนมาก เปี่ ยมด ้วย
ความสุขสําราญยิง่ ขึน้

การละเลยไม่ปฏิบต ั ต
ิ าม ขัน
้ ตอนวิธกี ารออกอากาศ ทีไ่ ด ้กล่าวมาทัง้ หมดในเอกสารฉบับนี้ อาจจะไม่ทํา ให ้เรา
ต ้องเข ้าไปอยูใ่ นเรือนจําได ้ แต่จะส่งผลให ้เกิดการปฏิบต
ั ใิ นการออกอากาศทีไ่ ม่ดไี ม่งามกับตนเองได ้อย่าง
แน่นอน

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 72


เอกสารแนบ 1: การออกเสียงสะกดและสัทอักษรสากล (International spelling and phonetic
Alphabet)
อ ักษร ั ักษร
สทอ การออกเสียง อ ักษร ั ักษร
สทอ การออกเสียง
A Alpha al fah (อ ัล ฝ่ า) N November no vemm ber (นา เฟวม เบอะ)
B Bravo bra vo (บร่า โฟว) O Oscar oss kar (ออส ก ้า)
C Charlie tchar li (ทช่า ลี) P Papa pah pah (ปา ป้า)
D Delta del tha (เดว ท่า) Q Quebec kwe bek (ควึ เบ็ค)
E Echo ek o (เอค โอ ้) R Romeo ro me o (โร้ มี โอ)
F Foxtrot fox trot (ฟอกซ ทรอท) S Sierra si er rah (ซิ เอีย ร่า)
G Golf golf (กอฟ) T Tango tang go (แท้ง โก ้)
H Hotel ho tell (โฮ เท็ล) U Uniform you ni form (หยู นิ ฟอม)
I India in di ah (อิน
๊ ดิ อ ้า) V Victor vik tor (วิค เท่อ)
J Juliette djou li ett (ดจู ลิ เอ็ท) W Whiskey ouiss ki (อูอสิ กี)้
K Kilo ki lo (คี้ โล) X X-ray ekss re (เอ็คซะ เร)
L Lima li ma (ลี้ ม่า) Y Yankee yang ki (แยง คี)่
M Mike ma ik (มา ไอค) Z Zulu zou lou (ซุอู ลู)

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 73


เอกสารแนบ 2: รหัสคิว (The Q code)

รห ัส แบบเป็นคาถาม แบบเป็นคาตอบ หรือ ข้อความ


QRG ความถีท ่ ถ
ี่ ก
ู ต ้องคืออะไร? ความถีท ่ ถ
ี่ ก
ู คือ ...
QRK ความชัดเจนสัญญาณของผม/ดิฉัน รับได ้ชัดเจนระดับ 1: ไม่ดเี ลย 2: ไม่ดน ี ัก 3: ดี
เป็ นเช่นไร? พอสมควร 4: ดี 5: เยีย ่ มมาก
QRL ่ รือไม่? มีทา่ นใดใช ้ความถีอ
ยุง่ อยูห ่ ยูบ
่ ้าง? กําลังยุง่ อยู่ ความถีม ี นใช ้อยูค
่ ค ่ รับ/ค่ะ
QRM ท่านถูกรบกวนด ้วยสิง่ ใดหรือไม่? ผม/ดิฉันถูกรบกวน 1: ไม่มเี ลย 2: มีเล็กน ้อย
3: มีปานกลาง 4: มีมาก 5: มีหนักมาก
QRN ท่านประสบปั ญหาเกีย่ วกับ ผม/ดิฉันมีปัญหากับสภาพอากาศ 1: ไม่มเี ลย
สภาพอากาศอยูห ่ รือไม่? 2: มีเล็กน ้อย 3: มีปานกลาง 4: มีมาก
5: มีหนักมาก
QRO ผม/ดิฉัน ควรเพิม
่ กําลังส่งหรือไม่? เพิม่ กําลังส่งด ้วย ครับ/ค่ะ
QRP ผม/ดิฉัน ควรลดกําลังส่งหรือไม่? ลดกําลังส่งด ้วย ครับ/ค่ะ
QRS ผม/ดิฉัน ควรลดความเร็วการส่ง? ลดความเร็วการส่งด ้วย ครับ/ค่ะ
QRT ผม/ดิฉัน ควรหยุดออกอากาศหรือไม่? ปิ ดสถานีของคุณเสีย
QRU ท่านมีอะไรสําหรับผม/ดิฉัน หรือไม่? ผม/ดิฉันไม่มส ี งิ่ ใดสําหรับคุณ ครับ/ค่ะ
QRV ท่านพร ้อมหรือยัง? ผม/ดิฉันพร ้อมแล ้ว ครับ/ค่ะ
QRX ท่านจะเรียกขานผม/ดิฉัน อีกเมือ ่ ใด? ผม/ดิฉันจะเรียกขานกลับมาอีกเมือ ่ ...หมายรวมถึง:
รอ เฝ้ าฟั ง ด ้วย
QRZ ท่านใดเรียกขานผม/ดิฉัน? ... เรียกขานท่านอยู่
QSA ความเข ้มสัญญาณของผม/ดิฉัน ความเข ้มระดับ 1: ไม่ดเี ลย 2: ไม่ด ี
เป็ นเช่นไร? 3: ดีพอสมควร 4: ดี 5: เยีย ่ มมาก
QSB สัญญาณของผม/ดิฉัน สัญญาณของท่าน จางหาย
จางหายไปหรือไม่?
QSL ท่านสามารถรับข ้อความ รับข ้อความได ้ครบถ ้วน ยืนยัน
ได ้ครบถ ้วนหรือไม่?
QSO ท่านติดต่อ (ผม/ดิฉัน) มาได ้หรือไม่? ผม/ดิฉันสามารถติดต่อ (ท่าน) ได ้ ครับ/ค่ะ
QSX ท่านไปรับฟั งที่ ...ได ้หรือไม่? ผม/ดิฉันรับฟั งอยูท ่ ี่ ...
QSY ผม/ดิฉันจะเริม
่ ออกอากาศ ความถีอ ่ น
ื่ ได ้หรือไม่ เริม
่ ออกอากาศอยูท ่ ี่ ... รวมทัง้ : เปลีย ่ น
ความถีไ่ ป (ยัง ...)
QTC ท่านมีข ้อความถึงผม/ดิฉันหรือไม่? ผม/ดิฉันมีข ้อความอันหนึง่ ถึงท่าน
QTH สถานีของท่านอยูบ ่ ริเวณใด สถานีของผม/ดิฉันตัง้ อยูท ่ ี่ เส ้นรุ ้งที่ ...
(เส ้นรุ ้งเส ้นแวงใด หรือ บริเวณใด)? เส ้นแวงที่ ... หรือ บริเวณ ... (เชียงใหม่ ขอนแก่น)
QTR ขอทราบเวลาทีถ ่ ก
ู ต ้องแน่นอน? เวลาทีถ่ ก
ู ต ้องแน่นอนคือ ...

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 74


เกีย
่ วก ับผูเ้ ขียน
จอห์น (John) ON4UN ได ้ถูกชักจูงเข ้ามา
สัมผัสโลกแห่งความมหัศจรรย์ของวิทยุ
สมัครเล่นโดยคุณลุงของเขา แกสตัน
(Gaston) ON4GV ขณะทีม ่ อ
ี ายุเพียง 10
ขวบเท่านัน ้ 10 ปี ให ้หลัง เขาก็ได ้รับสัญญาณ
เรียกขาน ON4UN ความสนใจของจอห์น ใน
เรือ่ งเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ ได ้ชักนํ าให ้
เขากลายมาเป็ นวิศวกร และได ้ใช ้เวลา
ทัง้ หมดในอาชีพ คลุกคลีอยูใ่ นโลกของการ
่ สาร ระหว่างนัน
สือ ้ เขายังคงไว ้ซึง่ กิจกรรมใน
ย่านความถีอ ่ ยูต
่ ลอดเวลา ทําให ้จอห์นมี
contact เกือบครึง่ ล ้านอยูใ่ น log ของตนเอง
ในปี ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2505) 1 ปี หลังจาก
ได ้รับสัญญาณเรียกขาน จอห์น ได ้มีสว่ นร่วม
ในการ contest เป็ นครัง้ แรกใน รายการ UBA CW Contest และเขาก็ชนะการแข่งขัน สิง่ นี้ เป็ นจุดเริม ่ ต ้น
ของเวลาเกือบ 50 ปี ทอ ่ ว่ นใหญ่เกีย
ี่ ยูใ่ นวงการวิทยุสมัครเล่น ทีส ่ วข ้องกับการ contest และ DXing ใน
ย่านความถีต
่ ํา่ ของ HF ในย่าน 80m จอห์น ได ้รับจํานวนประเทศทีย ่ นื ยันการติดต่อทั่วโลกสูงสุด ของ
DXCC (ได ้รับรางวัลอันดับ 1 DXCC 80m ด ้วยจํานวนกว่า 355 ประเทศทีต ่ อบยืนยันมา) และในย่าน
160m ได ้คะแนนสูงสุดสําหรับประเทศทีอ ่ ยูน
่ อกสหรัฐอเมริกาด ้วยจํานวนมากกว่า 300 ประเทศทีต ่ อบ
ยืนยัน จอห์น ยังเป็ นสถานีแรกของโลกทีไ่ ด ้รับรางวัลทีส ่ ําคัญ 5B-WAZ อีกด ้วย

ในปี ค.ศ. 1996 (พ.ศ. 2539) จอห์น ยังได ้เป็ นตัวแทนประเทศเบลเยีย ่ ม เข ้าร่วมแข่งขันในรายการ
WRTC (World Radio Team Championship) ที่ ซานฟรานซิสโก (San Francisco) กับ แฮรี่ ON9CIB
ผู ้เป็ นเพือ
่ น WRTC เปรียบเสมือนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิ กของวิทยุสมัครเล่น

ความโดดเด่นในชีวต ิ การเป็ นนักวิทยุสมัครเล่นของ จอห์น คือ การมีชอ ื่ ให ้เป็ นบุคคลใน CQ Contest


Hall of Fame ในปี 1977 (พ.ศ. 2520) และ CQ DX Hall of Fame ในปี 2008 (พ.ศ. 2551) รางวัล
เกียรติยศ เหล่านี้ ในขณะนัน ้ มีน ้อยมากทีน ่ ักวิทยุสมัครเล่นทีไ่ ม่ใช่คนสัญชาติอเมริกน ั จะได ้รับ จอห์น ได ้
เขียนหนังสือเทคนิคทีเ่ กีย ่ วกับงานอดิเรกชนิดนีข ้ องพวกเราไว ้มากมายซึง่ ส่วนมากได ้รับการตีพม ิ พ์โดย
ARRL (American IARU Society- American Radio Relay League) ทีเ่ ป็ นเรือ ่ งเกีย
่ วกับ สายอากาศ
การแพร่กระจายคลืน ่ วิธปี ฏิบตั ท
ิ เี่ กีย
่ วข ้องกับ HF ความถีย ่ า่ นตํา่ เขายังเขียนหนังสือเกีย ่ วกับซอฟท์แวร์
ของสายอากาศและเสา (tower) จอห์น ยังได ้ร่วมกับ ริค (Rik) ON7YD ในฐานะผู ้ประพันธ์รว่ มของ UAB
handbook สําหรับ HAREC-license (หนังสือคูม ่ อื การสอบ) ในปี 1963 (พ.ศ. 2506) ขณะทีย ่ งั อายุน ้อย
อยู่ เขามีสว่ นเกีย
่ วข ้องกับกิจการของสมาคมวิทยุสมัครเล่น และได ้รับมอบหมายให ้ดํารงตําแหน่ง
ผู ้จัดการฝ่ าย HF ของ UBA ในช่วงสัน ้ ๆ อีกด ้วย และทีผ ่ า่ นมา จอห์น ยังได ้ดํารงตําแหน่งนายกสมาคม
วิทยุสมัครเล่น UBA ในปี 1998 (พ.ศ. 2541) และ 2007 (พ.ศ. 2550)

จอห์น ได ้ผสมผสานประสบการณ์และความเชีย ่ วชาญของเขากับของเพือ ่ นรุน


่ น ้องคือ มาร์ค ON4WW
มาใช ้เขียนคูม ื จริยธรรมและขัน
่ อ ้ ตอนวิธป ี ฏิบต
ั สิ าํ หรับนักวิทยุสมัครเล่น เล่มนี้ ซึง่ มีเอกลักษณ์เฉพาะ จุด
เริม่ ของการเขียนคูม
่ อื เล่มนีเ้ กิดจาก ความสําเร็จทีม ่ อ
ี ยูม
่ ากมายของ ON4WW ในการเขียนบทความ
่ ง Operation Practice (วิธป
เรือ ี ฏิบต
ั ใิ นการออกอากาศ) ซึง่ ได ้ถูกผนวกไว ้ในหนังสือคูม ่ อ
ื ของ UBA
HAREC บทความเรือ ่ ง Operation Practice ถูกแปลเป็ นภาษาต่างๆ มากกว่า 15 ภาษาในเวปไซท์ ของ
มาร์คเอง (Mark’s Website) และได ้ถูกตีพม ิ พ์ เป็ นจํานวนมากในวารสารทีเ่ กีย ่ วกับวิทยุสมัครเล่นทั่วโลก

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 75


มาร์ค (Mark) ON4WW ก็เช่นกัน มีอายุเพียงแค่
10 ขวบ เท่านัน ้ ขณะทีเ่ ขาถูกแมลงแห่งวิทยุ
สมัครเล่นต่อยเข ้า (bitten by the radio bug)
สัญญาณเรียกขานอันแรกของ มาร์ค คือ ON4AMT
ได ้รับอนุญาตเมือ่ ปี 1988 (พ.ศ. 2531) จากนัน ้
สองสามปี ตอ ่ มา ก็ได ้ขอเปลีย่ นเป็ น ON4WW
มาร์ค สนใจการ contest เป็ นการเฉพาะ มาตัง้ แต่
่ แรกของการเป็ นนักวิทยุสมัครเล่น ซึง่ อาจจะ
เริม
เป็ นเหตุผลหนึง่ สําหรับความสนใจพิเศษของเขาที่
ต ้องการจะให ้มีขนั ้ ตอนการปฏิบตั ทิ ถ
ี่ กู ต ้องบน
ความถี่ ในปี ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) เขาได ้พบ
กับ ON4UN และ หลังจากได ้พบกันอีกไม่กค ี่ รัง้ ที่
บ ้านของจอห์น มาร์คก็กลายเป็ น บุคคลแห่ง CW
และกลายเป็ นกําลังบุคลากรทีเ่ พิม ่ ขึน ้ สําหรับย่านความถีท ่ ย
ี่ ากของ HF: 80m และ 160m ในช่วงกลาง
ศตวรรษที่ 19 มาร์ค กลายเป็ นบุคคลสําคัญในในสถานี OTxT contest ในคลับท ้องถิน ่ (club TLS) ของ
่ ้แข่
UBA ซึงเป็ นคลับทีใ่ ช งขัน สถานีตงั ้ อยูใ่ นบ ้านของ ON4UN ในช่วงเวลาดังกล่าว คลับนี้ ได ้รับรางวัล
ที่ 1 ในการการแข่งขัน (multi-single) ทั่วโลก ถึง 3 ครัง้ และ ชนะที่ 1 ของทวีปยุโรป หลายครัง้ ใน
รายการ COWW contest

ในปี 1995 (พ.ศ. 2538) มาร์ค ได ้ไปทํางานที่ สหประชาชาติ และเดินทางไปปฏิบต ั ห


ิ น ้าที่ ในประเทศ
รึวัลด ้า (Rwanda) ในปี ตอ
่ ๆ มา เขาถูกส่งไปปฏิบต ั ภ
ิ ารกิจขององค์การสหประชาชาติในหลายประเทศ
ของทวีปแอฟริกาใต ้ และในแต่ละครัง้ ทีอ่ ยูใ่ นประเทศเหล่านัน ้ เขาก็จะออกอากาศในย่านความถีต ่ า่ งๆ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในย่าน 160m และ 80m (9X4WW S07WW EL2WW ฯลฯ) หลังจากนัน ้ เขาก็ยงั
ไปปรากฏตัวออกอากาศที่ ปากีสถาน (AP2ARS) และ อัฟกานิสถาน (YA5T) รวมทัง้ อีรัก
(YI/ON4WW) ด ้วย สัญญาณเรียกขานอืน ่ ทีม่ าร์คใช ้ในช่วงเวลานัน้ คือ JY8WW J28WW
9K2/ON4WW ภารกิจสุดท ้ายกับสหประชาชาติของมาร์คคือ ทีป ่ ระเทศแกมเบีย (Gambia) ในปี ค.ศ.
2003 (พ.ศ. 2546) ใช ้สัญญาณเรียกขาน C5WW

ในปี 2000 (พ.ศ. 2543) มาร์ค ต ้องการให ้ความฝั นของเขาเป็ นจริงในการไป DXpedition รายการใหญ่
สักครัง้ หนึง่ แรงจูงใจนีท
้ ําให ้มาร์ค ได ้เป็ นส่วนหนึง่ ของ FO0AAA expedition ทีเ่ กาะคลิปเปอร์ตัน
(Clipperton Island) ในมหาสมุทรปาซิฟิก ทีท ่ ม
ี นักวิทยุสมัครเล่นประจําสถานี สามารถติดต่อได ้ถึง
75,000 QSOs ในเพียงแค่ 6 วัน และในปี เดียวกันนัน ้ เอง เขาก็ได ้เป็ นส่วนหนึง่ ของ A52A DXpedition
ที่ ประเทศภูฐาน (Bhutan) และเป็ นตัวแทนประเทศเบลเยีย ่ ม ร่วมกับ ปี เตอร์ ON6TT เข ้าร่วมการ
แข่งขันในรายการ WRTC ณ ประเทศสโลเวเนีย ได ้คะแนนสูงสุดทัว่ โลกในประเภท SSB สองปี ตอ ่ มา
ในปี ค.ศ. 2002 (พ.ศ. 2545) ทีมเดียวกันนี้ ก็ได ้เป็ นตัวแทนไปแข่งขัน WRTC ทีป ่ ระเทศฟิ นแลนด์

ตลอดระยะเวลาหลายปี มาร์คได ้รับประสบการณ์ทเี่ กีย ่ วข ้องกับวิธป


ี ฏิบต
ั ใิ นการออกอากาศอย่างมากมาย
มาร์คได ้ออกอากาศติดต่อกันมาเป็ นระยะเวลาทีย ่ าวนาน ใน pileup ทัง้ สองแบบ เป็ นการเฉพาะ อีกทัง้
ยังได ้เห็นวิธแี ละขัน้ ตอนปฏิบต ั ใิ นเรือ
่ งดังกล่าวมามากมาย ทัง้ ทีเ่ คยเป็ นและยังคงเป็ นพลังทีช ่ ว่ ยให ้มีการ
ปรับปรุง เรือ่ งนีไ้ ด ้อย่างมหันต์ ส่งผลให ้มีการตีพม ิ พ์บทความของเขา เรือ ่ ง Operation Practice และ มี
ส่วนช่วยให ้เอกสารฉบับนีถ ้ ก
ู ตีพม ิ พ์ได ้อย่างละเอียดลออตามมา

______________

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 76


ข้อความจากผูแ
้ ปล (Translator Note and Acknowledgement):

แรงบันดาลใจทีท ่ ําให ้ ผู ้แปล ในฐานะผู ้เรียนรู ้คนหนึง่ อุทศิ เวลาและสติปัญญาเพือ



แปลและเรียบเรียงเอกสารเรือ ่ ง ‘จริยธรรมและขัน ้ ตอนการออกอากาศของนักวิทยุ
สมัครเล่น’ (‘Ethics and Operating Procedures for the Radio Amateur’) ฉบับ
นี้ ก็เนือ
่ งจาก เห็นว่าจะเป็ นประโยชน์มาก สําหรับนักวิทยุสมัครเล่นชาวไทย ผู ้ที่
ต ้องการเพิม ่ พูนความรู ้และพัฒนาตนเอง แต่มข ี ้อจํากัดในเรือ
่ งภาษาอังกฤษ

ตลอดระยะเวลาทีผ ่ า่ นมาของ ผู ้แปล ในการเป็ นนักวิทยุสมัครเล่น (ได ้รับใบ


ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นขัน ้ ต ้น เมือ
่ ปลายปี พ.ศ. 2531 ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 จึงได ้รับ
ใบอนุญาตฯ พร ้อมสัญญาณเรียกขาน และปั จจุบน ั ได ้รับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่น US FCC
Amateur Extra และขัน ้ สูงของไทย) พบว่า ตนเอง ยังต ้องการความรู ้และประสบการณ์อก ี มาก ที่
เกีย่ วกับขัน
้ ตอน วิธกี ารออกอากาศ รวมทัง้ จริยธรรม (นอกเหนือจากเรือ ่ งเทคนิคอืน่ ) โดยเฉพาะการ
ออกอากาศย่าน HF ในโหมดทีน ่ ย ้กั
ิ มใช น แต่ด ้วยข ้อจํากัดของแหล่งข ้อมูลทีเ่ ป็ นภาษาไทย ทําให ้ต ้อง
พยายามแสวงหาความรู ้ จากเอกสาร หนังสือ ตําราของต่างประเทศ เป็ นส่วนใหญ่ และพบว่า คูม ่ อื เล่มนี้
เป็ นพืน้ ฐานทีม
่ ป
ี ระโยชน์กบ ั ตนเองอย่างยิง่ เนือ ่ งจากเนือ ้ หาสาระในเล่ม ได ้ตอบข ้อสงสัยของผู ้แปลและ
ให ้ความกระจ่างขึน ้ มากในหลายเรือ ่ ําคัญ จึงอยากแบ่งปั นให ้เพือ
่ งทีส ่ นนักวิทยุสมัครเล่นและผู ้ทีส
่ นใจ
ได ้มีโอกาสและความสะดวกในการศึกษาหาความรู ้จากเอกสารฉบับนีด ้ ้วยตนเองบ ้าง

สําหรับผู ้แปลเอง ขณะอยูบ่ นความถีย ่ า่ น HF จะรู ้สึกเสมือน ตนเองได ้เข ้าไปอยูใ่ นสังคมอีกแห่งหนึง่ ทีม
่ ี
วัฒนธรรม มีวถ ิ แ
ี ห่งการปฏิบต
ั ต
ิ น ค่านิยม ฯลฯ ทีต ่ า่ งออกไป ทําให ้ต ้องตระหนัก ระมัดระวังในเรือ
่ ง
พฤติกรรมและการวางตน การรักษามารยาท การปฏิบต ั ต
ิ ามธรรมเนียม ประเพณี ฯลฯ ให ้ถูกต ้อง
สอดคล ้องกับบริบทของสังคมนัน ้

คําพังเพยไทยทีว่ า่ ‘เข ้าเมืองตาหลิว่ ต ้องลิว่ ตาตาม’ ก็เป็ นอีกเหตุหนึง่ ทีท ่ ําให ้ผู ้แปลเอง ต ้องการค ้นหา
แนวทางทีค ่ วรปฏิบตั ใิ ห ้ถูกต ้อง เหมาะสม เพือ่ ว่า ตนเองจะได ้เข ้ากับสังคมนัน ้ ได ้อย่างกลมกลืน โดย
ปราศจากอุปสรรค ไร ้ข ้อครหา เป็ นทีย ่ อมรับ และไม่ถก ู ตราหน ้าว่าเป็ น ‘แกะดํา’ และยังเชือ ่ ว่า การมี
ระเบียบ วินัย ปฏิบต ั ติ ามกฎ กติกา มารยาท ของสังคม ถือเป็ นการรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม อันหนึง่ และ
่ เสียงให ้กับประเทศได ้ ไม่มากก็น ้อย
จะสร ้างชือ

ดังนัน้ ความรู ้จากเอกสารฉบับนี้ ผู ้แปลเชือ่ ว่า นอกจากจะมีสว่ นช่วยให ้นักวิทยุสมัครเล่นไทยทีม ่ าใหม่


หรือทีก ่ ําลังจะก ้าวเข ้ามาวงการนี้ สามารถเห็นแนวทางทีจ่ ะก ้าวขึน้ ไปบนเวทีโลกได ้ ด ้วยความมัน ่ ใจ และ
สง่างามแล ้ว ยังจะช่วยให ้ได ้เข ้าใจ วิทยุสมัครเล่นตามหลักสากล และเป็ นการเพิม ่ โอกาสให ้กับนักวิทยุ
สมัครเล่นไทยได ้เข ้าถึงแหล่งข ้อมูล องค์ความรู ้ ประสบการณ์ทม ี่ ป ่ ถือได ้ อีกช่องทาง
ี ระโยชน์และน่าเชือ
หนึง่ ด ้วย

ความรู ้และประสบการณ์ของผู ้เขียนทัง้ สองทีถ ่ า่ ยทอดไว ้ในเอกสารฉบับนี้ ยังให ้ข ้อเท็จจริงเชิงประจักษ์ ท ี่


สําคัญอันหนึง่ ด ้วยว่า ความขัดแย ้งบนความถีใ่ นหมูน ่ ักวิทยุสมัครเล่นทัว่ โลก ส่วนใหญ่มส ี าเหตุมาจาก
การฝ่ าฝื นกฎ หรือ การไม่ปฏิบต ั ใิ ห ้ถูกต ้องตามขัน ้ ตอน ทีเ่ กิดจาก ความไม่รู ้ (ignorance) หรือรู ้แต่ยงั ไม่
่ ้
เพียงพอ ซึงเป็ นตัวบ่งชีให ้เห็นเป็ นนัยว่า หากนักวิทยุสมัครเล่นทัง้ หลายได ้ทราบ ได ้เข ้าใจ และปฏิบต ั ิ
ตามวิธก ี ารขัน้ ตอนทีถ ู มีมารยาท รักษาจรรยาบรรณ ดํารงไว ้ซึง่ จริยธรรมของการเป็ นนักวิทยุสมัครเล่น
่ ก
ได ้เพียบพร ้อม ถูกต ้องและเข ้าใจตรงกันแล ้ว บรรดาปั ญหาความขัดแย ้ง ความไม่เข ้าใจกันจากการปฏิบต ั ิ
ทีม
่ แี ละเป็ นอยูใ่ นแต่ละแห่ง ทีม่ ากน ้อยแตกต่างกันไป นอกจากจะไม่เพิม ่ ขึน
้ แล ้ว ยังจะบรรเทาเบาบาง
ลงได ้ด ้วย และในทีส ่ ดุ สังคมวิทยุสมัครเล่น รวมทัง้ ของไทยเราด ้วย ก็จะกลายเป็ นสังคมทีน ่ ่าอยู่ มีผู ้คน
ทีต่ ้องการความสุขสําราญ เข ้ามาใช ้พืน ้ ทีเ่ พิม
่ มากขึน ้ ส่งผลให ้พืน
้ ทีแ
่ ห่งงานอดิเรกอันวิเศษ ทีม ่ อ
ี ยูเ่ พียง

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 77


ผืนเดียว ทีเ่ ป็ นของเราทุกคน ทีเ่ ราทุกคนสามารถเข ้ามาใช ้ และเข ้ามามีความสุขร่วมกันได ้ จะเป็ นอาณา
บริเวณทีม่ แ
ี ต่ความน่าอยู่ ความรืน ่ รมย์ และมีเกียรติ

ด ้วยการเป็ นนักวิทยุสมัครเล่นทีม
่ ากด ้วยความรู ้ ประสบการณ์ และมีผลงานมายาวนาน อันเป็ นทีป ่ ระจักษ์
ต่อสายตาในสังคมวิทยุสมัครเล่นของโลกของผู ้เขียน เอกสารฉบับนี้ จึงได ้รับความเห็นชอบจากสหภาพ
วิทยุสมัครเล่นระหว่างประเทศ (IARU) ให ้เป็ นเอกสารแนะนํ าในเรือ ่ งจริยธรรมและขัน ้ ตอนในการ
ออกอากาศ ดังนัน ้ ข ้อสงสัยในความน่าเชือ่ ถือ การนํ าไปใช ้อ ้างอิงและถือปฏิบตั ิ จึงไม่จําเป็ นต ้อง
กล่าวถึง

ขอมอบคําขอบคุณจากใจจริงให ้กับ John, ON4UN และ Mark, ON4WW ผู ้เขียนทัง้ สองท่าน ด ้วย
ความซาบซึง้ ทีไ่ ด ้กรุณาอนุญาตให ้แปลและเรียบเรียงเอกสารฉบับบนีเ้ ป็ นภาษาไทย อีกทัง้ ยังเป็ นผู ้
นํ าเสนอ ให ้คณะกรรมการ IARU เห็นชอบ ให ้นํ าเอกสารทีแ ่ ปลฉบับนี้ บรรจุไว ้ในเวปไซท์ทเี่ กียวข ้องของ
IARU หากปราศจากความเอือ ้ เฟื้ อ การสนับสนุน และการอนุญาต จากผู ้เขียนทัง้ สอง การแปลและเรียบ
เรียงเอกสารฉบับนี้ ย่อมเป็ นไปไม่ได ้ ดังทีป่ รากฏให ้เห็น และในโอกาสนี้ ใคร่ขอขอบคุณ เจ ้าหน ้าทีผ ่ ู ้ที่
ส่วนมีสว่ นเกีย
่ วข ้องของ IARU ทุกท่าน ด ้วยเช่นกัน

ขอขอบคุณ Don, G3BJ, G5W, President IARU Region I ผู ้ทีไ่ ด ้รับมอบหมายให ้รับผิดชอบในเรือ ่ งนี้
ในส่วนของ IARU ซึง่ ได ้ให ้ความสนใจ ให ้คําแนะนํ า และกรุณาเสนอความช่วยเหลือ โดยการนํ าภาพวาด
และรูปภาพจากต ้นฉบับ มาประกอบไว ้ในเอกสารทีแ ่ ปลเป็ นไทยฉบับนี้ ด ้วยตนเอง เพือ่ ให ้เอกสารทีแ
่ ปล
มีความสมบูรณ์ยงิ่ ขึน
้ มิตรจิตและความเอือ
้ เฟื้ อ ทีม
่ อบให ้ในครัง้ นี้ คงมิอาจถูกลบเลือนจากความทรงจํา
ของผู ้แปลได ้

นอกจากนัน ้ คําขอบคุณ ยังมีไปถึง Dr. Barry, ZL1DD, XU7AEL ชาวนิวซีแลนด์ และ Bob, HS0ZIA,
N6BK ชาวสหรัฐฯ ทีพ ่ ํานักอยูใ่ นจังหวัดเชียงใหม่ ผู ้ซึง่ เป็ นทัง้ เจ ้าของภาษา และนักวิทยุสมัครเล่น
อาวุโสทีม ่ ากด ้วยประสบการณ์ ทีไ่ ด ้กรุณาให ้ความกระจ่างในความหมายของคําศัพท์เฉพาะ รวมทัง้
ศัพท์เทคนิคภาษาอังกฤษบางคํา ทีไ่ ม่มค ี ําจํากัดความปรากฏอยูใ่ นพจนานุกรมไทย และหรือในเอกสาร
อืน
่ ทีส
่ ามารถนํ าอ ้างอิงได ้ คําอธิบายของท่านทัง้ สอง ทําให ้ผู ้แปลเข ้าใจความหมายของคําเหล่านั น ้ และ
สามารถนํ ามาร ้อยเรียงเป็ นคําไทย มีความหมายถูกต ้องตามทีค ่ วรจะเป็ น

Pat, HS5QAD, KD0RFV (หรือโอ๋) เพือ ่ นนักวิทยุสมัครเล่นขัน ่ ข่าวท ้องถิน


้ กลาง และ ผู ้สือ ่ จังหวัด
เชียงใหม่ ผู ้ซึง่ รับอาสาตรวจความถูกต ้องด ้านภาษาไทย และอ่านร่างแปลเพือ ่ ทดสอบความเข ้าใจใน
ถ ้อยคําทีแ
่ ปล ด ้วยความเต็มใจและมิตรภาพอันดีทม ี่ ต
ี อ
่ กัน เป็ นผลให ้เอกสารฉบับนี้ เกิดความถูกต ้อง
สมบูรณ์ในหลักภาษาไทยเพิม ่ ขึน
้ จึงขอได ้รับคําขอบคุณจากใจของผู ้แปลไว ้ด ้วย เช่นกัน

ในฐานะสมาชิกผู ้หนึง่ ใคร่ขอขอบคุณ Dr. Jack, HS1FVL, AF1VL นายกสมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่ง


ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ทีใ่ ห ้การส่งเสริม สนับสนุนการแปล และแสดงเจตน์จํานงทีจ
่ ะช่วย
เผยแพร่เอกสารฉบับนี้

ท ้ายสุดนี้ ต ้องขอบคุณเพือ ่ นนักวิทยุสมัครเล่นทัง้ ไทยและต่างประเทศทุกท่าน (ทีม ่ อ ่ มาระบุได ้


ิ าจนํ าชือ
ทัง้ หมดในทีน ่ )ี้ รวมทัง้ สมาชิกในครอบครัวของผู ้แปลเอง ผู ้ซึง่ เป็ นกําลังใจและสนับสนุนงานแปลชิน ้ นี้
เมือ่ ได ้ทราบ

กระนัน้ ก็ด ี ข ้อผิดพลาด อันอาจเกิดจากการพิมพ์ ความเข ้าใจทีค


่ ลาดเคลือ ่ นในข ้อความและศัพท์เฉพาะ
บางคํา หากมีปรากฏ ผู ้แปล ขอน ้อมรับข ้อบกพร่องดังกล่าวไว ้แต่ผู ้เดียวโดยดุษณี และยินดีรับฟั ง ข ้อ
แก ้ไข ข ้อเสนอแนะ รวมทัง้ ความคิดเห็นในทุกกรณี โดยส่งได ้ที่ sakulneya@yahoo.com

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 78


ในทางกลับกัน ประโยชน์และความดีทัง้ หลายทีพ
่ งึ มี ผู ้แปล ขอมอบให ้เพือ
่ นนักวิทยุสมัครเล่นชาวไทย
ทุกท่าน ทุกสถานี ด ้วยความจริงใจ

ขอให ้ผู ้อ่านทุกท่านโชคดี มีความสุข สนุกกับวิทยุสมัครเล่น ครับ

ธีรเดช สกุลณียา ผู ้แปลและเรียบเรียง


Dave, HS1LCI, W1LCI, Translator.
20th July 2016.
-----------------

หมายเหตุ:

1. เพือ ่ ความเหมาะสมในการสือ ่ ความหมายและอรรถรสในการอ่าน คําว่า You หรือ you ส่วนใหญ่


จะถูกแปลเป็ นคําว่า ‘เรา’ You should…หมายถึง เราควรจะ…รวมทัง้ คําว่า we ด ้วย ทีเ่ ป็ นคํา
สรรพนามแทน หรือ หมายถึง พวกเรา ชาวเรา หรือ ตนเอง เป็ นต ้น
2. การแปลและเรียบเรียงจะให ้มีความหมายสอดคล ้องกับสํานวนโวหารในต ้นฉบับมากทีส ุ และใช ้
่ ด
คําทับศัพท์เท่าทีจ ่ ําเป็ น ส่วนคําศัพท์และหรือวลีใด ทีย ่ งั ไม่มค
ี ําแปลเป็ นทีช ั เจนในพจนานุกรม
่ ด
หรือหนังสืออืน ่ จะคัดลอกคําภาษาอังกฤษมาวางไว ้ในวงเล็บหลังคําหรือวลีทแ ี่ ปลเป็ นภาษาไทย
เพือ ่ ให ้ทราบคําทีม ่ า และให ้คงไว ้ซึง่ ความหมายของคําและประโยคเดิม
3. กรณีต ้องอธิบายเพิม ่ เติมจากข ้อความต ้นฉบับเพือ ่ ให ้เกิดความเข ้าใจ โดยผู ้แปลเอง จะพิมพ์ไว ้
เป็ น ตัวอักษรเอียงสีเขียว อยูใ่ นวงเล็บ
4. ในหลายประโยค และ/หรือ วลี มีคําว่า กรณี นํ าหน ้า เช่น กรณีแสดงว่า .....คําว่า กรณี ในทีน ่ ี้
เป็ นคําเชือ ่ ม หรือ คําคุณศัพท์ ทีห ่ มายถึง เนือ ้ ความ หรือ ความหมาย หรือ คําอธิบาย ทีไ่ ด ้กล่าว
หรืออ ้างอิงไว ้ ในประโยคหรือวรรคก่อน เพือ ่ ให ้เกิดความกระชับ
5. เอกสารฉบับนีไ้ ด ้รับการคุ ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู ้ใดจะนํ าเอกสารนีไ้ ป วิจารณ์ คัดลอก
เผยแพร่ อ ้างอิง ตีพม ิ พ์ เพือ
่ วัตถุประสงค์อนื่ เว ้นแต่กรณีมใิ ช่เพือ ่ การค ้า ขอได ้โปรดอ่านและทํา
ความเข ้าใจเงือ ่ นไขและข ้อกําหนดทีร่ ะบุไว ้ในหน ้า 2 ของเอกสารต ้นฉบับและหรือฉบับแปลก่อน
ผู ้แปลขอปฏิเสธความรับผิดชอบและการมีสว่ นร่วม ไม่วา่ ในกรณีใดก็ตาม ทีเ่ กิดจากมีผู ้หนึง่ ผู ้ใด
ใช ้ประโยชน์จากเอกสารทีแ ่ ปลเป็ นภาษาไทยฉบับนีไ้ ปโดยมิได ้ปฏิบต ั ต
ิ ามเงือ
่ นไขทางกฎหมาย
ทีผ ่ ู ้เขียนแจ ้งไว ้
6. IARU โดยคณะกรรมการบริหาร เห็นชอบให ้เอกสารคูม ่ อื ฉบับนีเ้ ป็ นเอกสารข ้อแนะนํ าเกีย ่ วกับ
จริยธรรมและขัน ้ ตอนในการออกอากาศ เมือ ่ ปี พ.ศ. 2551 (The guide was accepted by the
IARU Administrative Council in 2008 as the recommended manual covering the
subject of ethics and operational procedures.) สามารถ download เอกสารต ้นฉบับ
(ภาษาอังกฤษ) ได ้จาก http://www.arrl.org/files/file/DXCC/Eth-
operating-EN-ARRL-CORR-JAN-2011.pdf ซึง่ เป็ นช่องทางหนึง่

---------------------------

Ethics and Operating Procedures for the Amateur Radio 79

You might also like