You are on page 1of 85

FIO / GA Working Document

November 2012

คู่มือปฏิบัติงาน
สานักอานวยการ
ตัวอย่างสัญญารูปแบบต่างๆ

สำนักอำนวยกำร
องค์กำรอุตสำหกรรมป่ำไม้
พฤศจิกำยน 2555
ตัวอย่างสัญญาจ้างทั่วไป

ส่วนพัสดุ
สำนักอำนวยกำร
ตัวอย่ างสัญญา
สัญญาจ้ าง
แบบสัญญาจ้ างทั่วไป

สัญญาเลขที่…………………………………
สัญญาฉบับนี ้ทาขึ ้น ณ…………………..……...ตาบล/แขวง……………………..….อาเภอ/เขต
……………………..จังหวัด…….…………….เมื่อวันที่…..……เดือน…………………..พ.ศ……………
ระหว่าง…………………………………..โดย………...………………………ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้เรี ยกว่า
“ผู้วา่ จ้ าง” ฝ่ ายหนึง่ กับ………………………….ซึง่ จดทะเบียนเป็ นนิติบคุ คล ณ………………….……..มี
สานักงานใหญ่อยูเ่ ลขที่………ถนน………………………..ตาบล/แขวง…….……………....อาเภอ/
เขต……………….จังหวัด……...……….โดย……………………...ผู้มีอานาจลงนามผูกพันนิตบิ คุ คล
ปรากฏตามหนังสือรับรองของสานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท………….…..ลงวันที่…………(และหนังสือ
มอบอานาจลงวันที่……………..)* แนบท้ ายสัญญานี ้ (ในกรณี ที่ผ้ รู ับจ้ างเป็ นบุคคลธรรมดาให้ ใช้
ข้ อความว่ากับ………………………….อยู่บ้านเลขที่………..….ถนน………...……ตาบล/
แขวง……..………….อาเภอ/เขต…………..…..จังหวัด…………..……..)* ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้เรี ยกว่า
“ผู้รับจ้ าง” อีกฝ่ ายหนึง่
คูส่ ญ
ั ญาได้ ตกลงกันมีข้อความดังต่อไปนี ้

ข้ อ 1. ข้ อตกลงว่ าจ้ าง
ผู้วา่ ตกลงจ้ างและผู้รับจ้ างตกลงรับจ้ างทางาน……………………………ณ…..…………….....
ตาบล/แขวง…………………..อาเภอ/เขต…………..…………จังหวัด……………….…..ตามข้ อกาหนด
และเงื่อนไขสัญญานี ้รวมทังเอกสารแนบท้
้ ายสัญญา
ผู้รับจ้ างตกลงที่จะจัดหาแรงงานและวัสดุ เครื่ องมือเครื่ องใช้ ตลอดจนอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ชนิดดีเพื่อใช้
ในงานจ้ างตามสัญญานี ้

ข้ อ 2. เอกสารอันเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญญา


เอกสารแนบท้ ายสัญญาดังต่อไปนี ้ให้ ถือเป็ นส่วนหนึง่ ของสัญญานี ้
2.1 ผนวก 1.…………………(แบบรูป)………………จานวน……….………หน้ า
2.2 ผนวก 2……………...(รายการละเอียด)…………..จานวน…………….....หน้ า
2.3 ผนวก 3………(ใบจ้ างปริมาณงานและราคา)……..จานวน……………….หน้ า
2.4 ผนวก 4………………(ใบเสนอราคา)…………….จานวน………………หน้ า
2.5 …………………………….ฯลฯ………………………….
-2-
____________________________________________________________________________________
หมายเหตุ * ตัดออกหรื อใส่ไว้ ตามความเหมาะสม
-2-
ความใดในเอกสารแนบท้ ายสัญญาที่ขดั แย้ งกับข้ อความในสัญญานี ้ ให้ ใช้ ข้อความในสัญญานี ้
บังคับ และในกรณีที่เอกสารแนบท้ ายสัญญาขัดแย้ งกันเอง ผู้รับจ้ างจะต้ องปฏิบตั ติ ามคาวินิจฉัยของผู้
ว่าจ้ าง

ข้ อ 3. หลักประกันการปฏิบัตติ ามสัญญา
ในขณะทาสัญญานี ้ผู้รับจ้ างได้ นาหลักประกันเป็ น………………………………………..………
เป็ นจานวนเงิน…………………บาท (…………….………….) มามอบให้ แก่ผ้ วู า่ จ้ างเพื่อเป็ นหลักประกัน
การปฏิบตั ิตามสัญญานี ้
หลักประกันที่ผ้ รู ับจ้ างนามามอบไว้ ตามวรรคหนึง่ ผู้ว่าจ้ างจะคืนให้ เมื่อผู้รับจ้ างพ้ นจากข้ อผูกพัน
ตามสัญญานี ้แล้ ว

ข้ อ 4. ก. ค่ าจ้ างและการจ่ ายเงิน


(สาหรับสัญญาที่เป็ นราคาต่อหน่วย)
ผู้วา่ จ้ างตกลงจ่ายและผู้รับจ้ างตกลงรับเงินค่าจ้ างเป็ นจานวนเงิน……………………………บาท
(……………………….…..) ซึง่ ได้ รวมภาษีมลู ค่าเพิ่มจานวน……………..บาท ตลอดจนภาษีอากรอื่น ๆ
และค่าใช้ จา่ ยทังปวงด้
้ วยแล้ ว โดยถือราคาต่อหน่วยเป็ นเกณฑ์ ตามรายการ แต่ละประเภท ดังที่ได้ กาหนด
ไว้ ในใบแจ้ งปริมาณงานและราคา
คูส่ ญั ญาทังสองฝ่
้ าย ต่างตกลงว่า จานวนปริมาณงานที่กาหนดไว้ ในบัญชีรายการก่อสร้ าง หรื อใบ
แจ้ งปริมาณงาน และราคานี ้ เป็ นจานวนโดยประมาณเท่านัน้ จานวนปริมาณงานที่แท้ จริ งอาจจะมาก หรื อ
น้ อยกว่านี ้ก็ได้ ซึง่ ผู้วา่ จ้ าง จะจ่ายเงินค่าจ้ าง ให้ แก่ผ้ รู ับจ้ าง ตามราคาต่อหน่วยของงาน แต่ละรายการที่ได้
ทาเสร็จจริง คูส่ ญ ั ญาทังสองฝ่
้ าย ต่างตกลง ที่จะไม่เปลี่ยนแปลงราคาต่อหน่วย หรื อเรี ยกร้ องค่าสินไหม
ทดแทน อันเกิดจาก การที่จานวนปริมาณงานในแต่ละรายการ ได้ แตกต่าง ไปจากที่กาหนดไว้ ในสัญญา
ทังนี
้ ้ นอกจากในกรณีตอ่ ไปนี ้*
4.1 เมื่อปริมาณงานที่ทาเสร็ จจริงในส่วนที่เกินกว่า ร้ อยละ125 (หนึง่ ร้ อยยี่สิบห้ า) แต่ไม่เกินร้ อย
ละ 150 (หนึง่ ร้ อยห้ าสิบ) ของปริมาณงาน ที่กาหนดไว้ ในสัญญา หรื อใบแจ้ งปริมาณงาน และราคา จะจ่าย
ให้ ในอัตราร้ อยละ 90 (เก้ าสิบ) ของราคาต่อหน่วย ตามสัญญา
4.2 เมื่อปริมาณงาน ที่ทาเสร็จจริง ในส่วนที่เกินกว่า ร้ อยละ 150 (หนึง่ ร้ อยห้ าสิบ) ของปริมาณงาน
ที่กาหนดไว้ ในสัญญา หรื อใบแจ้ งปริมาณงาน และราคาจะจ่ายให้ ในอัตราร้ อยละ 83 (แปดสิบสาม) ของ
ราคาต่อหน่วย ตามสัญญา
4.3 เมื่อปริมาณงานที่ทาเสร็ จจริง น้ อยกว่าร้ อยละ 75 (เจ็ดสิบห้ า) ของปริมาณงาน ที่กาหนดไว้ ใน
สัญญา หรื อใบแจ้ งปริมาณงานและราคา จะจ่ายให้ ตามราคาต่อหน่วยในสัญญา และจะจ่ายเพิ่มชดเชย
เป็ นค่า overhead และ mobilization สาหรับงานรายการ นันในอั ้ ตราร้ อยละ 17 (สิบเจ็ด) ของผลต่าง
____________________________________________________________________________________
หมายเหตุ * อัตราร้ อยละที่ระบุไว้ ตอ่ ไปนี ้ อาจพิจารณาแก้ ไขได้ ตามความเหมาะสม
-3-
ระหว่างปริมาณงานทังหมด ้ ของงานรายการนัน้ ตามสัญญาโดยประมาณ กับปริ มาณงานที่ทาเสร็จจริง
คูณด้ วย ราคาต่อหน่วยตามสัญญา
4.4 ผู้วา่ จ้ าง จะจ่ายเงินที่เพิ่มขึ ้น หรื อหักลดเงิน ในแต่ละกรณี ดังกล่าวข้ างต้ น ในงวดสุดท้ าย ของ
การจ่ายเงิน หรื อก่อนงวดสุดท้ าย ของการจ่ายเงิน ตามที่ผ้ วู า่ จ้ าง จะพิจารณาเห็นสมควร
ผู้วา่ จ้ าง ตกลงที่จะจ่ายเงินค่าจ้ าง ให้ แก่ผ้ รู ับจ้ าง เป็ นรายเดือน ตามเนื ้องานที่ทาเสร็จจริง เมื่อ ผู้วา่
จ้ าง หรื อเจ้ าหน้ าที่ ของผู้วา่ จ้ างได้ ทาการตรวจสอบผลงาน ที่ทาเสร็จแล้ ว และปรากฏว่าเป็ นที่พอใจ ตรง
ตามข้ อกาหนด แห่งสัญญานี ้ ทุกประการ ผู้วา่ จ้ าง จะออกหนังสือรับรอง การรับมอบงานนัน้ ให้ ไว้ แก่ผ้ ู
รับจ้ าง
การจ่ายเงินงวดสุดท้ าย จะจ่ายให้ เมื่องานทังหมด ้ ตามสัญญา ได้ แล้ วเสร็จทุกประการรวมทังการ ้
ทาสถานที่ก่อสร้ าง ให้ สะอาดเรี ยบร้ อย ตามที่กาหนดไว้ ในข้ อ 20

ข้ อ 4. ข. ค่ าจ้ างและการจ่ ายเงิน


(สาหรับสัญญาที่เป็ นราคาเหมารวม)
ผู้วา่ จ้ าง ตกลงจ่าย และผู้รับจ้ างตกลงรับเงินค่าจ้ างจานวนเงิน…………………….………..บาท
(……………………) ซึง่ ได้ รวมภาษีมลู ค่าเพิ่ม จานวน………………บาท ตลอดจน ภาษีอากรอื่น ๆ และ
ค่าใช้ จา่ ยทังปวงด้
้ วยแล้ ว โดยถือราคาเหมารวม เป็ นเกณฑ์ และกาหนดการจ่ายเงิน เป็ นงวด ๆ ดังนี ้
งวดที่ 1 เป็ นจานวนเงิน………………..บาท (…………………………..………….) เมื่อผู้รับจ้ าง
ได้ ปฏิบตั งิ าน………………ให้ แล้ วเสร็จภายใน………………………………………………
งวดที่ 2 เป็ นจานวนเงิน……………………..บาท (………………………..……….) เมื่อผู้รับจ้ าง
ได้ ปฏิบตั งิ าน………………ให้ แล้ วเสร็จภายใน………………………………………………ฯลฯ
งวดสุดท้ าย เป็ นจานวนเงิน……..………...บาท (…………………………...……..) เมื่อผู้รับจ้ างได้
ปฏิบตั งิ านทังหมด ้ ให้ แล้ วเสร็จเรี ยบร้ อย ตามสัญญา รวมทัง้ ทาสถานที่ก่อสร้ าง ให้ สะอาดเรี ยบร้ อย ตามที่
กาหนดไว้ ในข้ อ 20
การจ่ายเงิน ตามเงื่อนไข แห่งสัญญานี ้ ผู้วา่ จ้ าง จะโอนเงินเข้ า บัญชีเงินฝากธนาคารของผู้รับจ้ าง
ชื่อธนาคาร…………………….สาขา……………..ชื่อบัญชี…………………เลขที่บญ ั ชี…………………
ทังนี
้ ้ ผู้รับจ้ าง ตกลงเป็ นผู้รับภาระ เงินค่าธรรมเนียม หรื อค่าบริ การอื่นใดเกี่ยวกับการโอนที่ธนาคารเรี ยก
เก็บ และยินยอม ให้ มีการหักเงินดังกล่าว จากจานวนเงินโอนในงวดนัน้ ๆ (ความในวรรคนี ้ ใช้ สาหรับ กรณี
ที่ ส่วนราชการจะจ่ายเงินตรงให้ แก่ผ้ รู ับจ้ าง (ระบบ Direct Payment) โดยการโอนเงินเข้ าบัญชีเงินฝาก
ธนาคาร ของผู้รับจ้ าง ตามแนวทาง ที่กระทรวงการคลังกาหนด)
-4-
*ข้ อ 5. เงินค่ าจ้ างล่ วงหน้ า
ผู้วา่ จ้ าง ตกลงจ่ายเงินค้ าจ้ างล่วงหน้ า ให้ แก่ผ้ รู ับจ้ าง เป็ นจานวนเงิน……………………..…บาท
(………………..……) ซึง่ เท่ากับร้ อยละ………………ของราคาค่าจ้ าง ตามสัญญาที่ระบุไว้ ในข้ อ 4
เงินจานวนดังกล่าว จะจ่ายให้ ภายหลังจาก ที่ผ้ รู ับจ้ าง ได้ วางหลักประกัน การรับเงินค่าจ้ าง
ล่วงหน้ า เต็มตามจานวนเงินค่าจ้ างล่วงหน้ านัน้ ให้ แก่ผ้ วู า่ จ้ าง ผู้รับจ้ าง จะต้ องออกใบเสร็จรับเงินค่าจ้ าง
ล่วงหน้ า ตามแบบที่ผ้ วู า่ จ้ าง กาหนดให้ และผู้รับจ้ างตกลงที่จะกระทาตามเงื่อนไขอันเกี่ยวกับการใช้ จา่ ย
และการใช้ คืนเงินค่าจ้ างล่วงหน้ านัน้ ดังต่อไปนี ้
5.1 ผู้รับจ้ าง จะใช้ เงินค่าจ้ างล่วงหน้ านัน้ เพื่อเป็ นค่าใช้ จ่าย ในการปฏิบตั งิ าน ตามสัญญาเท่านัน้
หากผู้รับจ้ าง ใช้ จา่ ยเงินค่าจ้ างล่วงหน้ า หรื อส่วนใดส่วนหนึง่ ของเงินค่าจ้ างล่วงหน้ านัน้ ในทางอื่น ผู้วา่ จ้ าง
อาจจะเรี ยกเงินค่าจ้ างล่วงหน้ าคืน จากผู้รับจ้ าง หรื อบังคับแก่หลักประกัน การปฏิบตั ิตามสัญญาได้ ทนั ที
5.2 เมื่อผู้วา่ จ้ างเรี ยกร้ อง ผู้รับจ้ าง ต้ องแสดงหลักฐาน การใช้ จา่ ยเงินค่าจ้ างล่วงหน้ า เพื่อพิสจู น์วา่
ได้ เป็ นไปตามข้ อ 5.1 ภายในกาหนด 15 วัน นับถัดจากวัน ได้ รับแจ้ งจาก ผู้วา่ จ้ าง หากผู้รับจ้ าง ไม่อาจ
แสดงหลักฐานดังกล่าว ภายในกาหนด 15 วัน ผู้วา่ จ้ างอาจเรี ยกเงินค่าจ้ างล่วงหน้ าคืน จากผู้รับจ้ าง หรื อ
บังคับแก่ หลักประกันการรับเงินค่าจ้ างล่วงหน้ า ได้ ทนั ที
* 5.3 (สาหรับสัญญาที่เป็ นราคาต่อหน่วย)
ในการจ่ายเงินค่าจ้ าง ให้ แก่ผ้ รู ับจ้ างตามข้ อ 4 ก. ผู้วา่ จะหักเงินค่าจ้ าง ในแต่ละเดือนไว้ จานวน
ทังหมด*
้ ทังนี้ ้ จนกว่าจานวนเงินที่หกั ไว้ จะครบตามจานวน เงินค่าจ้ างล่วงหน้ า ที่ผ้ รู ับจ้ างได้ รับไปแล้ ว
5.4 เงินจานวนใด ๆ ก็ตาม ที่ผ้ รู ับจ้ าง จะต้ องจ่ายให้ แก่ ผู้วา่ จ้ างเพื่อชาระหนี ้ หรื อเพื่อชดใช้ ความ
รับผิดต่าง ๆ ตามสัญญา ผู้วา่ จ้ าง จะหักเอาจากเงินค่าจ้ างงวด ที่จะจ่ายให้ แก่ ผู้รับจ้ าง ก่อนที่จะหักชดใช้
คืน เงินค่าจ้ างล่วงหน้ า
5.5 ในกรณีที่มีการบอกเลิกสัญญา หากเงินค่าจ้ างล่วงหน้ าที่เหลือ เกินกว่าจานวนเงิน ที่ผ้ รู ับจ้ าง
จะได้ รับ หลังจากหักชดใช้ ในกรณีอื่นแล้ ว ผู้รับจ้ าง จะต้ องจ่ายคืนเงิน จานวนที่เหลือนัน้ ให้ แก่ผ้ วู ่าจ้ าง
ภายใน 7 วัน นับถัดจากวัน ได้ รับแจ้ ง เป็ นหนังสือ จากผู้ว่าจ้ าง
5.5 ก. (สาหรับสัญญาที่เป็ นราคาต่อหน่วย)
ผู้วา่ จ้ าง จะคืนหลักประกันเงินล่วงหน้ า ให้ แก่ผ้ รู ับจ้ าง ต่อเมื่อผู้ว่าจ้ าง ได้ หกั เงินค่าจ้ างไว้ ครบ
จานวนเงินล่วงหน้ า ตาม 5.3
5.5 ข. (สาหรับสัญญาที่เป็ นราคาเหมารวม)
ผู้วา่ จ้ างจะคืนหลักประกันเงินล่วงหน้ าให้ แก่ผ้ รู ับจ้ าง**………………………………………………
-5-
*** ข้ อ 6. การหักเงินประกันผลงาน
ในการจ่ายเงินให้ แก่ผ้ รู ับจ้ างแต่ละงวด ผู้วา่ จ้ าง จะหักเงิน จานวนร้ อยละ 10 ของเงินที่ต้องจ่าย ใน
งวดนัน้ เพื่อเป็ นประกันผลงาน ในกรณีที่ เงินประกันผลงาน จะต้ องถูกหักไว้ ทงสิ ั ้ ้น ไม่ต่ากว่า 6 เดือน
(สาหรับสัญญาที่เป็ นราคาต่อหน่วย) หรื อจานวน…………......บาท (สาหรับสัญญาที่เป็ นราคาเหมารวม)
ผู้มีรับจ้ าง มีสิทธิที่จะขอเงินประกันผลงานคืน โดยผู้รับจ้ าง จะต้ องวางหนังสือค ้าประกัน ของธนาคาร ซึง่
ออกโดยธนาคารภายในประเทศ มาวางไว้ ตอ่ ผู้วา่ จ้ างเพื่อเป็ นหลักประกันแทนก็ได้
ผู้วา่ จ้ าง จะคืนเงินประกันผลงาน และ/หรื อ หนังสือค ้าประกัน ของธนาคารดังกล่าว ตามวรรคหนึง่
ให้ แก่ผ้ รู ับจ้ าง พร้ อมกับ การจ่ายเงิน งวดสุดท้ าย

ข้ อ 7 ก. กาหนดเวลาแล้ วเสร็จและสิทธิของผู้ว่าจ้ างในการบอกเลิกสัญญา


ภายในกาหนด…………..วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา ผู้รับจ้ าง จะต้ องเสนอแผนงานให้ เป็ น
ที่พอใจ แก่ผ้ วู า่ จ้ าง โดยแสดงถึงขันตอน ้ ของการทางาน และกาหนดเวลาที่ต้องใช้ ในการทางานหลักต่าง ๆ
ให้ แล้ วเสร็จ***
ผู้รับจ้ าง ต้ องเริ่มทางานที่รับจ้ าง ภายในกาหนด………….วัน นับถัดจาก วันได้ รับหนังสือ แจ้ งให้
เริ่มงานและจะต้ อง ทางานให้ แล้ วเสร็จ ภายในกาหนด……...วัน นับถัดจากวันที่ได้ รับหนังสือแจ้ ง ดังกล่าว
นัน้
ถ้ ามิได้ เสนอแผนงาน หรื อ ไม่สามารถทางานให้ แล้ วเสร็จ ตามกาหนดเวลา หรื อจะแล้ วเสร็จ ล่าช้ า
เกินกว่ากาหนดเวลา หรื อผู้รับจ้ าง ทาผิดสัญญา ข้ อใดข้ อหนึง่ หรื อ ตกเป็ นผู้ล้มละลาย หรื อเพิกเฉยไม่
ปฏิบตั ิตามคาสัง่ ของคณะกรรมการ ตรวจการจ้ าง หรื อผู้ควบคุมงานหรื อบริ ษัทที่ปรึกษา ซึง่ ได้ รับมอบ
อานาจ จากผู้วา่ จ้ าง ผู้วา่ จ้ าง มีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญานี ้ได้ และมีสิทธิจ้าง ผู้รับจ้ างรายใหม่ เข้ าทางาน
ของผู้รับจ้ างให้ ลลุ ่วงไปได้ ด้วย
การที่ผ้ วู า่ จ้ าง ไม่ใช้ สิทธิเลิกสัญญา ดังกล่าวข้ างต้ นนัน้ ไม่เป็ นเหตุให้ ผู้รับจ้ าง พ้ นจาก ความรับผิด
ตามสัญญา
____________________________________________________________________________________
หมายเหตุ * ในกรณีที่หน่วยงานผู้วา่ จ้ างพิจารณาเห็นเป็ นการจาเป็ นและสมควร จะหักค่าจ้ าง ในแต่ละ
เดือนไว้ เพียงบางส่วน ก็ได้ โดย แก้ ไขจานวนร้ อยละ……….ของค่าจ้ างในแต่ละเดือน ตามความเหมาะสมก็
ได้
** หากการจ่ายเงิน ค่าจ้ างงวดที่ 2 เป็ นการจ่ายตาม ผลงานของผู้รับจ้ าง ในส่วนที่ปฏิบตั งิ าน เกิน
กว่าจานวนเงินล่วงหน้ า ให้ ผ้ วู า่ จ้ าง คืนหลักประกัน เงินล่วงหน้ า พร้ อมกับจ่าย เงินค่าจ้ างงวดที่ 2 แต่ถ้าการ
จ่ายค่างจ้ างงวดที่ 2 เป็ นการจ่ายตามผลงานของผู้รับจ้ าง โดยเฉลี่ยหักเงินล่วงหน้ าออกตามส่วนของค่าจ้ าง
ในแต่ละงวดให้ ผ้ วู า่ จ้ างคืนหลักประกันเงินล่วงหน้ าพร้ อมกับการจ่ายเงินค่างวดสุดท้ าย
*** ตัดออกหรื อใส่ไว้ ตามความเหมาะสม
-6-
ข้ อ 7 ข. กาหนดเวลาแล้ วเสร็จ และสิทธิของผู้ว่าจ้ างในการบอกเลิกสัญญา
ผู้รับจ้ างต้ องเริ่ ม ทางานที่ รั บจ้ างภายในวันที่ ….. เดื อน…..…. พ.ศ. ………….และจะต้ อง
ทางานให้ แล้ วเสร็จริ บรู ณ์ภายในวันที่….. เดือน……….. พ.ศ. ………..ถ้ าผู้รับจ้ างมิได้ ลงมือทางานภายใน
กาหนดเวลา หรื อไม่สามารถทางานให้ แล้ วเสร็จตามกาหนดเวลา หรื อมีเหตุให้ เชื่อได้ วา่ ผู้รับจ้ างไม่สามารถ
ให้ แล้ วเสร็จภายในกาหนดเวลา หรื อจะแล้ วเสร็จล่าช้ าเกินกว่ากาหนดเวลา หรื อผู้รับจ้ างทาผิดสัญญาข้ อใด
ข้ อหนึง่ หรื อตกเป็ นผู้ล้มละลาย หรื อเพิกเฉยไม่ปฏิบตั ติ ามคาสัง่ ของคณะกรรมการ ตรวจการจ้ าง หรื อผู้
ควบคุมงานหรื อบริษัทที่ปรึกษา ซึง่ ได้ รับมอบอานาจจากผู้วา่ จ้ าง ผู้วา่ จ้ างมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญานี ้ได้
และมีสิทธิจ้างผู้รับจ้ างรายใหม่ เข้ าทางานของผู้รับจ้ างให้ ลลุ ว่ งไปด้ วย
การที่ผ้ วู ่าจ้ างไม่ใช้ สิทธิเลิกสัญญาดังกล่าวข้ างต้ นไม่เป็ นเหตุให้ ผ้ รู ับจ้ างพ้ นจากความรับผิดตาม
สัญญา

ข้ อ 8 .ความรับผิดชอบ ในความชารุด บกพร่ องของงานจ้ าง


เมื่องานแล้ วเสร็จบริบรู ณ์ และผู้วา่ จ้ าง ได้ รับมอบงาน จากผู้รับจ้ าง หรื อจากผู้รับจ้ างรายใหม่ ใน
กรณีที่ มีการบอกเลิกสัญญา ตามข้ อ 7 หากมีเหตุชารุด บกพร่อง หรื อ เสียหายเกิดขึ ้นจากการจ้ างนี ้ ภายใน
กาหนด* ………………ปี ……………เดือน นับถัดจาก วันที่ได้ รับมอบงานดังกล่าว ซึง่ ความชารุดบกพร่อง
หรื อ เสียหายนัน้ เกิดจากความบกพร่อง ของผู้รับจ้ าง อันเกิดจาก การใช้ วสั ดุ ที่ไม่ถกู ต้ อง หรื อทาไว้ ไม่
เรี ยบร้ อย หรื อทาไม่ถกู ต้ อง ตามมาตรฐานแห่งหลักวิชา ผู้รับจ้ าง จะต้ องรี บทาการแก้ ไข ให้ เป็ นที่
เรี ยบร้ อย โดยไม่ชกั ช้ า โดยผู้วา่ จ้ างไม่ ต้ องออกเงินใด ๆ ในการนี ้ทังสิ
้ ้น หากผู้รับจ้ างบิดพลิ ้ว ไม่กระทา
การดังกล่าว ภายในกาหนด…...วัน นับแต่วนั ที่ได้ แจ้ งเป็ นหนังสือ จากผู้วา่ จ้ าง หรื อ ไม่ทาการแก้ ไข ให้
ถูกต้ องเรี ยบร้ อย ภายในเวลา ที่ผ้ วู า่ จ้ างกาหนดให้ ผู้วา่ จ้ าง มีสิทธิที่จะทาการนันเอง้ หรื อ จ้ างผู้อื่น ให้
ทางานนัน้ โดยผู้รับจ้ าง ต้ องเป็ นผู้ออกค่าใช้ จา่ ย

ข้ อ 9. การจ้ างช่ วง
ผู้รับจ้ าง จะต้ องไม่เอางานทังหมด
้ หรื อ บางส่วนแห่งสัญญานี ้ ไปจ้ างช่วงอีกต่อหนึ่งโดยไม่ได้ รับ
ความยินยอมเป็ นหนังสือ จากผู้วา่ จ้ างก่อน ทังนี ้ ้ นอกจากในกรณี ที่สญ ั ญานี ้จะได้ ระบุไว้ เป็ นอย่างอื่น
ความยินยอมดังกล่าวนัน้ ไม่เป็ นเหตุให้ ผ้ รู ับจ้ าง หลุดพ้ นจากความรับผิด หรื อ พันธะหน้ าที่ตามสัญญานี ้
และผู้รับจ้ าง จะยังคงต้ องรับผิด ในความผิด และความประมาทเลินเล่อ ของผู้รับจ้ างช่วง หรื อ ของตัวแทน
หรื อลูกจ้ างรับจ้ างช่วงนันทุ ้ กประการ
____________________________________________________________________________________
หมายเหตุ *กาหนดเวลาที่ผ้ รู ับจ้ างจะผิด ในความชารุด บกพร่อง โดยปกติจะเป็ นเวลาที่ 1 ปี แต่ในกรณีงาน
จ้ าง ผู้วา่ ข้จ้อางควร
10. การควบคุ ม งานของผู
จะรับผิดมากกว่ า 1 ปี้ รับตามลั
จ้ าง กษณะงาน หรื อ ด้ วยเหตุใดก็ตาม ก็ให้ กาหนด ระยะเวลา
ดังกล่าว ตามที่ ผู้วา่ จ้ าง เห็นเหมาะสม
-7-
ผู้รับจ้ าง ต้ องควบคุมงานที่รับจ้ าง อย่างเอาใจใส่ ด้ วยประสิทธิภาพ และความชานาญ และใน
ระหว่างทางาน ที่รับจ้ าง จะต้ องจัดให้ มีผ้ แู ทน ซึง่ ทางานเต็มเวลา เป็ นผู้ควบคุมงาน ผู้ควบคุมงานดังกล่าว
จะต้ องเป็ นผู้แทน ได้ รับมอบอานาจ จากผู้รับจ้ างคาสัง่ หรื อคาแนะนาต่างๆที่ได้ แจ้ ง แก่ผ้ แู ทน ผู้ได้ รับมอบ
อานาจนัน้ ให้ ถือว่าเป็ นคาสัง่ หรื อคาแนะนา ที่ได้ แจ้ งแก่ผ้ รู ับจ้ าง การแต่งตังผู
้ ้ ควบคุมงาน นันจะต้
้ องทา
เป็ นหนังสือ และต้ องได้ รับความเห็นชอบจากผู้ว่าจ้ าง การเปลี่ยนตัว หรื อแต่งตังผู ้ ้ ควบคุมงานใหม่ จะทา
มิได้ หากไม่ได้ รับความเห็นชอบ จากผู้วา่ จ้ างก่อน
ผู้วา่ จ้ าง มีสิทธิที่จะขอให้ เปลี่ยนตัวแทน ได้ รับมอบอานาจนัน้ โดยแจ้ งเป็ นหนังสือไปยัง ผู้รับจ้ าง
และผู้รับจ้ างจะต้ องทาการเปลี่ยนตัวโดยพลัน โดยไม่คดิ ราคาเพิ่ม หรื ออ้ างเป็ นเหตุเพื่อขยายอายุ สัญญา
อันเนื่องมาจากเหตุนี ้

ข้ อ 11. ความรั บผิดชอบผู้รับจ้ าง


ผู้รับจ้ างจะต้ องรับผิดต่ออุบตั เิ หตุ ความเสียหาย หรื อภยันตรายใด ๆ อันเกิดจากการปฏิบตั งิ านของ
ผู้รับจ้ าง และจะต้ องรับผิด ต่อความเสียหาย จากการกระทา ของลูกจ้ าง ของผู้รับจ้ าง
ความเสียหายใด ๆ อันเกิดแก่งาน ที่ผ้ รู ับจ้ าง ได้ ทาขึ ้น แม้ จะเกิดขึ ้นเพราะ เหตุสดุ วิสยั นอกจาก
กรณี อันเกิดจากความผิด ของผู้วา่ จ้ างดังกล่าว ในข้ อนี ้จะสิ ้นสุดลง เมื่อผู้วา่ จ้ างได้ รับมอบงาน ครัง้ สุดท้ าย
ซึง่ หลังจากนัน้ ผู้รับจ้ างคงต้ องรับผิด เพียงในกรณีชารุด บกพร่อง หรื อ ความเสียหาย ดังกล่าวในข้ อ 8
เท่านัน้

ข้ อ 12. การจ่ ายเงินแก่ ลูกจ้ าง


ผู้รับจ้ าง จะต้ องจ่ายเงินแก่ลกู จ้ าง ที่ผ้ รู ับจ้ างได้ จ้างมา ในอัตราและตามกาหนดเวลาที่ผ้ รู ับจ้ างได้
ตกลง หรื อทาสัญญาไว้ ต่อลูกจ้ างดังกล่าว
ถ้ าผู้รับจ้ าง ไม่จา่ ยเงินค่าจ้ าง หรื อค่าทดแทนอื่นใด แก่ลกู จ้ างดังกล่าว ในวรรคแรก ผู้วา่ จ้ าง มี
สิทธิที่จะเอาเงินค่าจ้ าง ที่จะต้ องจ่ายแก่ผ้ รู ับจ้ าง มาจ่ายให้ แก่ผ้ รู ับจ้ างดังกล่าว และให้ ถือว่าผู้วา่ จ้ าง ได้
จ่ายเงินจานวนนัน้ เป็ นค่าจ้ างให้ แก่ผ้ รู ับจ้ าง ตามสัญญาแล้ ว
ผู้รับจ้ าง จะต้ องจัดให้ มีประกันภัย สาหรับลูกจ้ างทุกคน ที่จ้างมาทางาน โดยให้ ครอบคลุมถึง ความ
รับผิดทังปวง
้ ของผู้รับจ้ าง รวมทังผู ้ ้ รับจ้ างช่วง อันหากจะพึงมี ในกรณีความเสียหาย ที่คดิ ค่าสินไหม
ทดแทนได้ ตามกฎหมาย ซึง่ เกิดจากอุปัทวเหตุ หรื อภยันตรายใด ๆ ต่อลูกจ้ าง หรื อบุคคลอื่นที่ผ้ รู ับจ้ าง หรื อ
ผู้รับจ้ างช่วงจ้ าง มาทางานผู้รับจ้ าง จะต้ องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าว พร้ อมทังหลั ้ กฐานการชาระ
เบี ้ยประกัน ให้ แก่ผ้ วู า่ จ้ าง เมื่อผู้วา่ จ้ างเรี ยกร้ อง
-8-
ข้ อ 13. การตรวจงานจ้ าง
ถ้ าผู้วา่ จ้ าง แต่งตังกรรมการตรวจการจ้
้ าง ผู้ควบคุมงาน หรื อบริ ษัทที่ปรึกษา เพื่อควบคุม การ
ทางานของผู้รับจ้ าง กรรมการตรวจการจ้ าง หรื อผู้ควบคุมงาน หรื อบริษัทที่ปรึกษานันมี ้ อานาจเข้ าไป ตรวจ
การงาน ในโรงงาน และสถานที่ที่ก่อสร้ าง ได้ ทกุ เวลา และผู้รับจ้ าง จะต้ องอานวยความสะดวก และให้
ความช่วยเหลือ ในการนันตามสมควร

การที่มีกรรมการตรวจการจ้ าง ผู้ควบคุมงาน หรื อบริ ษัทที่ปรึกษา ทาให้ ผ้ รู ับจ้ างพ้ น ความ
รับผิดชอบ ตามสัญญานี ้ข้ อหนึง่ ข้ อใดไม่

ข้ อ 14. แบบรู ปและรายการละเอียดคลาดเคลื่อน


ผู้รับจ้ างจะต้ องรับรองว่า ได้ ตรวจสอบ และทาความเข้ าใจ ในรูปแบบ รูปรายการละเอียด โดย ถี่
ถ้ วนแล้ ว หากปรากฏว่า แบบรูปและรายการละเอียดนัน้ ผิดพลาดหรื อคลาดเคลื่อน ไปจากหลักการ ทาง
วิศวกรรม หรื อทางเทคนิค ผู้รับจ้ าง ตกลงที่จะปฏิบตั ติ าม คาวินิจฉัยของกรรมการตรวจการจ้ าง หรื อผู้
ควบคุมงานหรื อ บริษัทที่ปรึกษา ที่ผ้ วู า่ จ้ างแต่งตังเพื
้ ่อให้ งานแล้ วเสร็จบริ บรู ณ์ โดยจะคิดค่าใช้ จา่ ยใด ๆ
เพิ่มขึ ้น จากผู้วา่ จ้ างไม่ได้

ข้ อ 15. การควบคุมงานโดยผู้ว่าจ้ าง
ผู้รับจ้ าง ตกลงว่า กรรมการตรวจการจ้ าง ผู้ควบคุมงาน หรื อบริ ษัทที่ปรึกษา ที่ผ้ วู า่ จ้ างแต่งตัง้ มี
อานาจที่จะตรวจสอบ และควบคุมงาน เพื่อให้ เป็ นไปตามเอกสารสัญญา และมีอานาจที่จะสัง่ ให้ แก้ ไข
เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม หรื อตัดทอน ซึง่ งานตามสัญญานี ้ หากผู้รับจ้ างขัดขืน ไม่ปฏิบตั ติ าม กรรมการตรวจ
การจ้ าง ผู้ควบคุมงาน หรื อบริษัทที่ปรึกษา มีอานาจที่จะสัง่ ให้ หยุดกิจการนันชั
้ ว่ คราวได้ ความล่าช้ าในกรณี
เช่นนี ้ ผู้รับจ้ างจะถือเป็ นเหตุ ขอขยายวันทาการออกไปมิได้

ข้ อ 16. งานพิเศษและการแก้ ไขงาน


ผู้วา่ จ้ าง มีสิทธิที่จะสัง่ ให้ ผ้ รู ับจ้ าง ทางานพิเศษ ซึง่ ไม่ได้ แสดงไว้ หรื อรวมอยูใ่ นเอกสารสัญญา หาก
งานพิเศษนัน้ ๆ อยูใ่ นขอบข่ายทัว่ ไป แห่งวัตถุประสงค์ของสัญญานี ้ นอกจากนี ้ ผู้วา่ จ้ างยังมีสิทธิสงั่ ให้
เปลี่ยนแปลงหรื อแก้ ไขแบบรูป และข้ อกาหนดต่าง ๆ ในเอกสารสัญญานี ้ด้ วย โดยไม่ทาให้ สญ ั ญา เป็ น
โมฆะแต่อย่างใด
อัตราค่าจ้ าง หรื อราคาที่กาหนดไว้ ในสัญญานี ้ให้ กาหนดไว้ สาหรับงานพิเศษ หรื องานที่เพิ่มเติม
ขึ ้น หรื อตัดทอนลงทังปวง ้ ตามคาสัง่ ของผู้ว่าจ้ าง หากในสัญญา ไม่ได้ กาหนดไว้ ถึงอัตราค่าจ้ าง หรื อราคา
ใดๆที่จะนามาใช้ สาหรับงานพิเศษ หรื องานที่เพิ่มขึ ้นดังกล่าว ผู้วา่ จ้ าง และผู้รับจ้ างจะได้ ตกลงกัน ที่จะ
กาหนดอัตรา หรื อราคา รวมทังการขยายระยะเวลา
้ (ถ้ ามี) กันใหม่ เพื่อความเหมาะสม ในกรณีที่ตกลงกัน
-9-
ไม่ได้ ผู้วา่ จ้ างจะ กาหนดอัตราจ้ าง หรื อราคาตายตัวตามแต่ผ้ วู า่ จ้ าง จะเห็นว่าเหมาะสม และถูกต้ อง ซึง่
ผู้รับจ้ าง จะต้ องปฏิบตั งิ าน ตามคาสัง่ ของผู้วา่ จ้ างแต่อาจสงวนสิทธิ์ที่จะดาเนินการ ตามข้ อ 21 ต่อไปได้

ข้ อ 17. ค่ าปรับ
หากผู้รับจ้ าง ไม่สามารถทางานให้ แล้ วเสร็จ ตามเวลาที่กาหนดไว้ ในสัญญา และผู้วา่ จ้ าง ยังมิได้
บอกเลิกสัญญา ผู้รับจ้ าง จะต้ องชาระค่าปรับ ให้ แก่ผ้ วู า่ จ้ าง เป็ นจานวนเงิน วันละ ……………..บาท และ
จะต้ องชาระค่าใช้ จา่ ย ในการควบคุมงาน ในเมื่อผู้วา่ จ้ างต้ องควบคุมงานอีกต่อหนึ่งเป็ นจานวนเงิน วัน
ละ……………..บาท นับถัดจาก วันที่กาหนดแล้ วเสร็จตามสัญญา หรื อวันที่ผ้ วู า่ จ้ างได้ ขยายให้ จนถึงวันที่
ทางานแล้ วเสร็จจริง นอกจากนี ้ ผู้รับจ้ างยอมให้ ผ้ วู า่ จ้ าง เรี ยกค่าเสียหาย อันเกิดขึ ้นจากการ ที่ผ้ รู ับจ้ าง
ทางานล่าช้ าเฉพาะส่วนที่เกินกว่าจานวนค่าปรับและค่าใช้ จา่ ยดังกล่าวได้ อีกด้ วย
ในระหว่างที่ผ้ วู า่ จ้ างยังมิได้ บอกเลิกสัญญานัน้ หากผู้ว่าจ้ างเห็นว่าผู้รับจ้ างจะไม่สามารถ ปฏิบตั ิ
ตามสัญญาต่อไปได้ ผู้วา่ จ้ างจะใช้ สิทธิบอกเลิกสัญญาและใช้ สิทธิตามข้ อ 18 ก็ได้ และถ้ าผู้วา่ จ้ างได้ แจ้ ง
ข้ อเรี ยกร้ องไปยังผู้รับจ้ างเมื่อครบกาหนดแล้ วเสร็จของงานขอให้ ชาระค่าปรับแล้ ว ผู้วา่ จ้ างมีสิทธิที่จะปรับ
ผู้รับจ้ างจนถึงวันบอกเลิกสัญญาได้ อีกด้ วย

ข้ อ 18. สิทธิของผู้ว่าจ้ างภายหลังบอกเลิกสัญญา


ในกรณีที่ผ้ วู ่าจ้ างบอกเลิกสัญญา ผู้วา่ จ้ างอาจทางานนันเองหรื ้ อว่าจ้ างผู้อื่นให้ ทางานนันต่้ อ จน
แล้ วเสร็จได้ ผู้วา่ จ้ างหรื อผู้ที่รับจ้ างทางานนันต่
้ อมีสิทธิใช้ เครื่ องใช้ การก่อสร้ างสิ่งที่สร้ างขึ ้นชัว่ คราว สาหรับ
งานก่อสร้ างและวัสดุตา่ ง ๆ ซึง่ เห็นว่าจะต้ องสงวนเอาไว้ เพื่อการปฏิบตั งิ านตามสัญญาตามที่จะเห็นสมควร
ในกรณีดงั กล่าวผู้ว่าจ้ างมีสิทธิริบหลักประกันการปฏิบตั ิตามสัญญาทังหมดหรื ้ อบางส่วน ตามแต่
จะเห็นสมควร นอกจากนันผู ้ ้ รับจ้ างจะต้ องรับผิดชอบในค่าเสียหาย ซึง่ เป็ นจานวนเกินกว่าหลักประกัน การ
ปฏิบตั งิ าน และค่าเสียหายต่าง ๆ ที่เกิดขึ ้น รวมทังค่ ้ าใช้ จา่ ยที่เพิ่มขึ ้นในการทางานนันต่ ้ อให้ แล้ วเสร็จตาม
สัญญา และค่าใช้ จ่ายในการควบคุมงานเพิ่ม (ถ้ ามี) ซึง่ ผู้วา่ จ้ างจะหักเอาจากเงินประกันผลงานหรื อจานวน
เงิน ใด ๆ ที่จะจ่ายให้ แก่ผ้ รู ับจ้ างก็ได้

ข้ อ 19. การกาหนดค่ าเสียหาย


ค่าปรับหรื อค่าเสียหายซึง่ เกิดขึ ้นจากผู้รับจ้ างตามสัญญานี ้ ผู้วา่ จ้ างมีสิทธิที่จะหักเอาจากจานวน
เงินค่าจ้ างที่ค้างจ่าย หรื อจากเงินประกันผลงานของผู้รับจ้ าง หรื อบังคับจากหลักประกันการปฏิบตั ิตาม
สัญญาก็ได้
หากมีเงินค่าจ้ างตามสัญญาที่หกั ไว้ จ่ายเป็ นค่าปรับ และค่าเสียหายแล้ วยังเหลืออยูอ่ ีกเท่าใด ผู้วา่
จ้ างจะคืนให้ แก่ผ้ รู ับจ้ างทังหมด

-10-

ข้ อ 20. การทาบริเวณก่ อสร้ างให้ เรียบร้ อย


ผู้รับจ้ าง จะต้ องรักษาบริเวณ สถานที่ปฏิบตั งิ านตามสัญญานี ้ รวมทังโรงงานหรื
้ อสิ่งอานวย ความ
สะดวกใน การทางานของผู้รับจ้ าง ลูกจ้ าง ตัวแทน หรื อของผู้รับจ้ างช่วงให้ อยูใ่ นความสะอาด ปลอดภัย
และมีประสิทธิภาพ ในการใช้ งานตลอด ระยะเวลาการจ้ างและเมื่อทางานเสร็จสิ ้นแล้ ว จะต้ องขนย้ าย
บรรดาเครื่ องใช้ ในการทางานจ้ างรวมทังวั ้ สดุ ขยะมูลฝอย และสิ่งก่อสร้ างชัว่ คราวต่าง ๆ (ถ้ ามี) ทังจะต้
้ อง
กลบเกลี่ยพื ้นดินให้ เรี ยบร้ อย เพื่อให้ บริเวณทังหมดอยู
้ ่ในสภาพที่สะอาด และใช้ การได้ ทนั ที

*ข้ อ 21. กรณีพพ ิ าทและอนุญาโตตุลาการ


21.1 ในกรณีที่มี ข้ อโต้ แย้ งเกิดขึ ้น ระหว่างคูส่ ญั ญา เกี่ยวกับข้ อกาหนด แห่งสัญญานี ้หรื อเกี่ยวกับ
การปฏิบตั สิ ญั ญานี ้ และคูส่ ญั ญาไม่สามารถตกลงกันได้ ให้ เสนอข้ อโต้ แย้ งหรื อข้ อพิพาทนัน้ ต่อ
อนุญาโตตุลาการเพื่อพิจารณาชี ้ขาด
21.2 เว้ นแต่คสู่ ญ
ั ญาทังสองฝ่
้ าย จะเห็นพ้ องกันให้ อนุญาโตตุลาการคนเดียว เป็ นผู้ชี ้ขาดการระงับ
ข้ อพิพาท ให้ กระทาโดยอนุญาโตตุลาการ 2 คน โดยคูส่ ญ ั ญาฝ่ ายหนึง่ จะทาหนังสือ แสดงเจตนาจะให้ มี
อนุญาโตตุลาการ ระงับข้ อพิพาทและระบุชื่ออนุญาโตตุลาการคนที่ตนแต่งตัง้ ส่งไปยังคูส่ ญ ั ญา อีกฝ่ าย
หนึง่ จากนัน้ ภายในระยะเวลา 30 วัน นับถัดจากวันที่ได้ รับแจ้ งดังกล่าว คูส่ ญ ั ญาฝ่ ายที่ได้ รับแจ้ ง
จะต้ องแต่งตังอนุ
้ ญาโตตุลาการคนที่สอง ถ้ าอนุญาโตตุลาการทังสองคน ้ ดังกล่าวไม่สามารถประนีประนอม
ระงับข้ อพิพาทนัน้ ได้ ให้ อนุยาโตตุลาการทังสองคนร่
้ วมกันแต่งตัง้ อนุญาโตตุลาการ ผู้ชี ้ขาด ภายใน
กาหนดเวลา 30 วัน นับจากวันที่ไม่สามารถตกลงกัน ผู้ชี ้ขาดดังกล่าว จะพิจารณาระงับข้ อพิพาทต่อไป
กระบวนพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ ให้ ถือตามข้ อบังคับอนุญาโตตุลาการของสถาบันอนุญาโตตุลาการ
อนุญาโตตุลาการกระทรวงยุตธิ รรมโดยอนุโลม หรื อตามข้ อบังคับอื่นที่คสู่ ญ ั ญาทังสองฝ่
้ ายเห็นชอบ และให้
กระทาในกรุงเทพมหานคร โดยใช้ ภาษาไทยหรื อภาษาอังกฤษ เป็ นภาษาในการดาเนินกระบวนการ
พิจารณา
21.3 ในกรณีที่คสู่ ญ
ั ญา ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ไม่แต่งตังอนุ
้ ญาโตตุลาการฝ่ ายตนหรื อในกรณีที่
อนุญาโตตุลาการทังสองคน
้ ไม่สามารถตกลงกันแต่งตังอนุ ้ ญาโตตุลาการผู้ชี ้ขาดได้ คูส่ ญ ั ญา แต่ละฝ่ าย
ต่างมีสิทธิร้อง ขอต่อศาลแพ่งเพื่อแต่งตังอนุ้ ญาโตตุลาการผู้ชี ้ขาดได้ แล้ วแต่กรณี
21.4 คาชี ้ขาดของอนุญาโตตุลาการ หรื อของอนุญาโตตุลาการผู้ชี ้ขาดแล้ วแต่กรณี ให้ ถือเป็ น
เด็ดขาดและถึงที่สดุ ผูกพันคูส่ ญ ั ญา
21.5 คูส่ ญ
ั ญา แต่ละฝ่ ายเป็ น ผู้รับภาระค่าธรรมเนียมอนุญาโตตุลาการฝ่ ายตนและออกค่าใช้ จ่าย
อื่น ๆ ในการดาเนินกระบวนพิจารณาฝ่ ายละครึ่ง ในกรณีที่มีการแต่งตังอนุ ้ ญาโตตุลาการคนเดียวหรื อ มี
การแต่งตังอนุ
้ ญาโตตุลาการผู้ชี ้ขาด ให้ อนุญาโตตุลาการหรื ออนุญาโตตุลาการผู้ชี ้ขาด เป็ นผู้กาหนดภาระ
-11-
ค่าธรรมเนียมอนุญาโตตุลาการคนเดียวหรื อภาระค่าธรรมเนียมอนุญาโตตุลาการคนเดียวหรื อภาระ
ค่าธรรมเนียมอนุญาโตตุลาการผู้ชี ้ขาดคนเดียว แล้ วแต่กรณี

ข้ อ 22. การขยายเวลาปฏิบัตงิ านตามสัญญา


ในกรณีที่มี เหตุสดุ วิสยั หรื อเหตุใด ๆ อันเนื่องมาจากความผิด หรื อความบกพร่องของฝ่ าย ผู้ว่า
จ้ าง หรื อพฤติการณ์อนั หนึง่ อันใดที่ผ้ รู ับจ้ าง ไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย ทาให้ ผ้ รู ับจ้ างไม่สามารถทางานให้
แล้ วเสร็จ ตามเงื่อนไขและกาหนดเวลาแห่งสัญญานี ้ได้ ผู้รับจ้ างจะต้ องแจ้ งเหตุหรื อพฤติการณ์ดงั กล่าว
พร้ อมหลักฐานเป็ นหนังสือ ให้ ผ้ วู า่ จ้ างทราบ เพื่อขอขยายเวลาทางานออกไปภายใน 15 วัน นับถัดจาก
วันที่เหตุนนสิ
ั ้ ้นสุดลง
ถ้ าผู้รับจ้ าง ไม่ปฏิบตั ใิ ห้ เป็ นไปตาม ความในวรรคหนึง่ ให้ ถือว่าผู้รับจ้ างได้ สละสิทธิ์เรี ยกร้ อง ใน
การที่จะขอขยายเวลาทางานออกไปไม่มีเงื่อนไขใด ๆ ทังสิ ้ ้น เว้ นแต่กรณีเหตุเกิดจากความผิด หรื อความ
บกพร่องของฝ่ ายผู้วา่ จ้ าง ซึง่ มีหลักฐานชัดแจ้ ง หรื อผู้วา่ จ้ างทราบดีอยูแ่ ล้ วตังแต่
้ ต้น
การขยายกาหนด เวลาทางานตามวรรคหนึง่ อยูใ่ นดุลพินิจ ของผู้วา่ จ้ างที่จะพิจารณาตามที่
เห็นสมควร

*ข้ อ 23 การใช้ เรือไทย


ในการปฏิบตั ิตามสัญญานี ้ หากผู้รับจ้ าง จะต้ องสัง่ หรื อนาของเข้ ามาจากต่างประเทศรวมทัง้
เครื่ องมือและอุปกรณ์ ที่ต้องนาเข้ ามาเพื่อปฏิบตั งิ านตามสัญญา ไม่วา่ ผู้รับจ้ างจะเป็ นผู้ที่นา ของเข้ ามาเอง
หรื อนาเข้ ามา โดยผ่านตัวแทนหรื อบุคคลอื่นใด ถ้ าสิ่งของนันต้ ้ องนาเข้ ามา โดยทางเรื อในเส้ นทางเดินเรื อที่
มีเรื อไทยเดินอยู่ และสามารถให้ บริ การรับขนได้ ตามที่ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงคมนาคมประกาศกาหนด
ผู้รับจ้ างต้ องจัดการให้ สิ่งของดังกล่าวบรรทุกโดยเรื อไทยหรื อเรื อที่มีสิทธิ เช่นเดียวกับเรื อไทยจาก
ต่างประเทศมายังประเทศไทยเว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจาก สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชย์
นาวีก่อน บรรทุกของนันลงเรื ้ ออื่นที่มิใช่เรื อไทย หรื อ เป็ นของที่รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคมประกาศ
ยกเว้ นให้ บรรทุกโดยเรื ออื่นได้ ทังนี ้ ้ไม่วา่ การสัง่ หรื อ สัง่ ซื ้อสิ่งของดังกล่าวจากต่างประเทศจะเป็ นแบบ เอฟ
โอบี, ซีเอฟอาร์ , ซีไอเอฟ หรื อแบบอื่นใด
____________________________________________________________________________________
ในการส่งมอบงาน ตามสัญญาให้ แก่ผ้ วู ่าจ้ าง ถ้ างานนันมี ้ สิ่งของตามวรรคแรก ผู้รับจ้ างจะต้ องส่ง
มอบใบตราส่* ตัง ด(Bill
หมายเหตุ ออกหรื
of อLading)
ใส่ไว้ ตามความเหมาะสม
หรื อสาเนาใบตรา ส่งสาหรับของนัน้ ซึง่ แสดงว่าได้ บรรทุกมา โดยเรื อไทย
หรื อเรื อที่มีสิทธิ เช่นเดียวกับเรื อไทยให้ แก่ผ้ วู า่ จ้ าง พร้ อมกับการส่งมอบงานด้ วย
-12-
ในกรณีที่ สิ่งของดังกล่าว ไม่ได้ บรรทุก จากต่างประเทศ มายังประเทศไทย โดยเรื อไทยหรื อเรื อที่มี
สิทธิ เช่นเดียวกับเรื อไทย ผู้รับจ้ าง ต้ องส่งมอบหลักฐาน ซึง่ แสดงว่าได้ รับอนุญาตจาก สานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชย์นาวี ให้ บรรทุกของโดยเรื ออื่นได้ หรื อหลักฐาน ซึง่ แสดงว่าได้ ชาระ
ค่าธรรมเนียมพิเศษ เนื่องจากการไม่บรรทุกของโดยเรื อไทยตามกฎหมาย ว่าด้ วยการส่งเสริมการพาณิชย์
นาวีแล้ วอย่างใดอย่างหนึง่ แก่ผ้ วู า่ จ้ างด้ วย
ในกรณีที่ผ้ รู ับจ้ าง ไม่สง่ มอบหลักฐาน อย่างใดอย่างหนึง่ ดังกล่าว ในสองวรรคข้ างต้ นให้ แก่ ผู้วา่
จ้ าง แต่จะขอส่งมอบงานดังกล่าว ให้ ผ้ วู า่ จ้ างก่อน โดยไม่รับชาระเงินค่าจ้ าง ผู้วา่ จ้ างมีสิทธิ รับงานดังกล่าว
ไว้ ก่อน และชาระเงินค่าจ้ างเมื่อผู้รับจ้ าง ได้ ปฏิบตั ถิ กู ต้ องครบถ้ วนดังกล่าวแล้ วได้

ข้ อ 24. มาตรฐานฝี มือช่ าง


ผู้รับจ้ าง ตกลงเป็ นเงื่อนไขสาคัญว่า ผู้วา่ จ้ างจะต้ องมีและใช้ ผ้ ผู า่ นการทดสอบมาตรฐานฝี มือช่าง
จากหรื อผู้มีวฒ
ุ ิบตั รระดับ ปวช. ปวส. และปวท. หรื อเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาที่ ก.พ.รับรองให้ ให้ เข้ า
รับราชการได้ ในอัตราไม่ต่ากว่าร้ อยละ…………ของแต่ละสาขาช่าง แต่จะต้ องมีชา่ งจานวนอย่างน้ อย 1
คน ในแต่ละสาขาช่างดังต่อไปนี ้
24.1 ……………………………………………………
24.2 ……………………………………………………
…………………………..ฯลฯ………………………...

ผู้รับจ้ าง จะต้ องจัดทาบัญชี แสดงจานวนช่างทังหมด ้ โดยจาแนกตามแต่ละสาขาช่างและ ระดับ


ช่าง พร้ อมกับระบุรายชื่อช่าง ผู้ที่ผา่ นการทดสอบมาตรฐานฝี มือช่างหรื อผู้มีวฒ ุ ิบตั รดังกล่าว ในวรรคแรก
นามาแสดงพร้ อมหลักฐานต่าง ๆ ต่อคณะกรรมการการตรวจการจ้ างหรื อผู้ควบคุมงาน ก่อนเริ่มลงมือ
ทางาน และพร้ อมที่จะให้ ผ้ วู ่าจ้ าง หรื อเจ้ าหน้ าที่ของผู้ว่าจ้ าง ตรวจสอบดูได้ ตลอดเวลาทางาน ตามสัญญา
นี ้ของผู้รับจ้ าง
สัญญานี ้ทาขึ ้นเป็ นสองฉบับ มีข้อความถูกต้ องตรงกัน คูส่ ญ ั ญาได้ อ่านและเข้ าใจข้ อความ โดย
ละเอียดตลอดแล้ ว จึงได้ ลงลายมือชื่อ พร้ อมทังประทั ้ บตรา (ถ้ ามี) ไว้ เป็ นสาคัญต่อหน้ าพยาน และคูส่ ญั ญา
ต่างยึดถือไว้ ฝ่ายละหนึง่ ฉบับ

(ลงชื่อ)…………………………ผู้วา่ จ้ าง (ลงชื่อ)…………………………ผู้รับจ้ าง
(………………………..………) (…………………………….…)

(ลงชื่อ)…………………………พยาน (ลงชื่อ)…………………………พยาน
(…………………..……………) (……………….………………)
-13-
แบบหนังสือค้ำประกัน
(หลักประกันซอง)

เลขที่…………………. วันที่…………………………..

ข้าพเจ้า………..(ชื่อธนาคาร/บริษัทเงินทุน)……….สานักงานตั้งอยู่เลขที่…………ถนน……….ตาบล/
แขวง……………..อาเภอ/เขต…………….จังหวัด…………….โดย……..ผู้มีอานาจลงนามผูกพันธนาคาร/บริษัทเงินทุน
ขอทาหนังสือค้าประกันฉบับนี้ให้ไว้ต่อ……..(ชื่อส่วนราชการผู้ประกวดราคา)………….ดังมีข้อความต่อไปนี้
1.ตามที่…………………...(ชื่อผู้เสนอราคา)………………...…..ได้ยื่นซองประกวดราคาสาหรับการจัด
จ้าง……………………ตามเอกสารประกวดราคาเลขที่……….….ซึ่งต้องวางหลักประกันซองตามเงื่อนไขการประกวด
ราคาต่อ…………………..(ชื่อส่วนราชการผู้ประกวดราคา)……………..เป็นจานวนเงิน…………..บาท
(………………………..) นั้น
ข้าพเจ้ายอมผูกพันตน โดยไม่มีเงื่อนไข ที่จะค้าประกันชนิดเพิกถอน ไม่ได้เช่นเดียวกับลูกหนี้ชั้นต้น ใน
การชาระเงินตามสิทธิเรียกร้องของ…………….(ชื่อส่วนราชการผู้ประกวดราคา)………..……..จานวนไม่เกิน…………
บาท (………………..) ในกรณี……….…..(ชื่อผู้เสนอราคา)…………………..ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในการประกวดราคา
อันเป็นเหตุให้………...………(ชื่อส่วนราชการผู้ประกวดราคา) ...................................มีสทิ ธิริบหลักประกันซอง
ประกวดราคาหรือให้ชดใช้ค่าเสียหายใดๆ รวมทั้งกรณีที่……………..(ชื่อผู้เสนอราคา)………..…..ได้ถอนใบเสนอ
ราคาของตน ภายในระยะเวลาที่ใบเสนอราคายังมีผลอยู่ หรือมิได้ไปลงนามในสัญญาเมื่อได้รับแจ้งไปทาสัญญา
หรือมิได้วางหลักประกันสัญญา ภายในระยะเวลาที่กาหนดในเอกสารประกวดราคา โดยข้าพเจ้าจะไม่อ้างสิทธิ
ใดๆ เพื่อโต้แย้งและ…………………..(ชื่อส่วนราชการผู้ประกวดราคา)……………………..………ไม่จาเป็นต้อง
เรียกร้องให้………………….….(ชื่อผู้เสนอราคา)……………..ชาระหนี้นั้นก่อน
2. หนังสือค้าประกันนี้มีผลใช้บังคับตั้งแต่………………ถึง………….และข้าพเจ้าจะไม่เพิกถอนการค้า
ประกันนี้ภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้
3. ถ้า………..…….(ชื่อผู้เสนอราคา)….……………….ขยายกาหนดเวลายืนราคาของการเสนอราคาออกไป
ข้าพเจ้ายินยอม ที่จะขยายกาหนดระยะเวลาการค้าประกันนี้ ออกไปตลอดระยะเวลายืนราคาที่ได้ขยายออกไป
ดังกล่าว
ข้าพเจ้าได้ลงนามและประทับตราไว้ต่อหน้าพยานเป็นสาคัญ

(ลงชื่อ)…………………………………..ผู้ค้าประกัน
(…………………………………………)
ตาแหน่ง…………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………..พยาน
(………………………………………….)

(ลงชื่อ)……………………………………พยาน
(………………………………………….)
-14-
แบบหนังสือค้ำประกัน
(หลักประกันสัญญา)

เลขที่………………… วันที่….………………………..

ข้าพเจ้า……………..(ชื่อธนาคาร)…………..สานักงานตั้งอยู่เลขที่……..ถนน……………….....ตาบล/
แขวง…………..อาเภอ/เขต……….จังหวัด………………………..โดย………...………ผู้มีอานาจลงนามผูกพันธนาคารขอ
ทาหนังสือค้าประกันฉบับนี้ไว้ต่อ……………………………...(ชื่อส่วนราชการผู้ว่าจ้าง)………………..….ซึ่งต่อไปนี้
เรียกว่า “ผู้ว่าจ้าง” ดังมีข้อความต่อไปนี้
1. ตามที่……..(ชื่อผู้รับจ้าง) ……...ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “ผู้รับจ้าง” ได้ทาสัญญาจ้าง….…..กับผู้ว่าจ้างตาม
สัญญาเลขที่…….ลงวันที่.……ซึ่งผู้รับจ้างต้องวางหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาต่อผู้ว่าจ้างเป็นจานวน
เงิน……..บาท(….….....…)ซึ่งเท่ากับร้อยละ…...(….…….…..)ของมูลค่าทั้งหมดของสัญญา
ข้าพเจ้ายอมผูกพันตนโดยไม่มีเงื่อนไขที่จะค้าประกันชนิดเพิกถอนไม่ได้เช่นเดียวกับลูกหนี้ชั้นต้น ใน
การชาระเงินให้ตามสิทธิเรียกร้องของผู้รับจ้าง จานวนไม่เกิน…….…บาท(……….…………..) ในกรณีที่ผู้รับจ้าง
ก่อให้เกิดความเสียหายใด ๆ หรือต้องชาระค่าปรับ หรือค่าใช้จ่ายใด ๆ หรือผู้รับจ้างมิได้ปฏิบัติตามภาระหน้าที่
ใดๆ ที่กาหนดในสัญญาดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ โดยข้าพเจ้าจะไม่อ้างสิทธิใด ๆ เพื่อโต้แย้งและผู้ว่าจ้างไม่
จาเป็นต้องเรียกร้องให้ผู้รับจ้างชาระหนี้นั้นก่อน
2. หากผู้ว่าจ้างได้ขยายระยะเวลาให้แก่ผู้รับจ้าง หรือยินยอมให้ผู้รับจ้างปฏิบัติผิดแผกไปจากเงื่อนไข
ใด ๆ ในสัญญา ให้ถือว่าข้าพเจ้าได้ยินยอมในกรณีนั้น ๆ ด้วย
3. หนังสือค้าประกัน นี้มีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันทาสัญญาจ้างดังกล่าว ข้างต้นจนถึงวันที่ภาระหน้าที่
ทั้งหลายของผู้รับจ้างจะได้ปฏิบัติให้สาเร็จลุล่วงไป และข้าพเจ้าจะไม่เพิกถอนการค้าประกันไม่ว่ากรณีใด ๆ
ตราบเท่าที่ผู้รับจ้างยังต้องรับผิดชอบ ต่อผู้ว่าจ้างตามสัญญาจ้างอยู่
ข้าพเจ้าได้ลงนามและประทับตราไว้ต่อหน้าพยานเป็นสาคัญ

(ลงชื่อ)……………………ผู้ค้าประกัน
(…………………………...)
ตาแหน่ง…………………...

(ลงชื่อ)…………………….พยาน
(……………………………)

(ลงชื่อ)……………………..พยาน
(…………………………….)
-15-
แบบหนังสือค้ำประกัน
(หลักประกันการรับเงินค่าจ้างล่วงหน้า)

เลขที่……………… วันที่………………………..
ข้าพเจ้า……..(ชื่อธนาคาร).…….สานักงานตั้งอยู่เลขที่…….ถนน………..ตาบล/แขวง…….......อาเภอ/
เขต…………จังหวัด……..โดย…………..มีอานาจลงนามผูกพันธนาคาร ขอทาหนังสือค้าประกันฉบับนี้ให้ไว้
ต่อ……..(ชื่อส่วนราชการผู้ว่าจ้าง).………ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “ผู้ว่าจ้าง” ดังมีข้อความต่อไปนี้
1. ตามที่…..(ชื่อผู้รับจ้าง)….ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “ผู้รับจ้าง” ได้ทาสัญญากับผู้ว่าจ้างตามสัญญาเลขที่…...
ลงวันที่.…..ซึ่งผู้รับจ้างมีสิทธิที่จะขอรับเงินค่าจ้างล่วงหน้าเป็นจานวนเงิน……..บาท (………..)
2. ข้าพเจ้ายินยอมค้าประกันการจ่ายเงินค่าจ้างล่วงหน้าที่ผู้รับจ้างได้รับไป ภายในวงเงินไม่
เกิน…………..บาท (…………………..)
3. หากผู้รับจ้าง ซึ่งได้รับเงินค่าจ้าง ล่วงหน้าตามข้อ 1 จากผู้ว่าจ้างไปแล้ว ไม่ปฏิบัติตามสัญญาหรือ
ตามเงื่อนไขอื่น ๆ แนบท้ายสัญญา อันเป็นเหตุให้ต้องจ่าย เงินค่าจ้างล่วงหน้าที่ได้รับไปดังกล่าวคืนให้แก่ผู้ว่า
จ้างหรือผู้รับจ้างมีความผูกพัน ที่จะต้องจ่ายคืนเงินค่าจ้างล่วงหน้าแก่ผู้ว่าจ้างไม่ว่ากรณีใด ๆ ข้าพเจ้าตกลงที่จะ
จ่ายคืนเงินค่าจ้างล่วงหน้าเต็มตามจานวน………บาท (………………….) หรือตามจานวนที่ยังค้างอยู่ให้แก่ผู้ว่าจ้าง
ภายใน 7 วัน นับถัดจากวันที่ได้รับคาบอกล่าวเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง โดยผู้ว่าจ้างไม่จาต้องเรียกร้องให้ผู้รับ
จ้างชาระหนี้นั้นก่อน
4. หากผู้ว่าจ้างได้ขยายระยะเวลาให้แก่ผู้รับจ้างหรือยินยอม ให้ผู้รับจ้างปฏิบัติผิดแผกไปจากเงื่อนไข
ใด ๆ ในสัญญา ให้ถือว่าข้าพเจ้าได้ยินยอมในกรณีนั้น ๆ ด้วย
5. ข้าพเจ้าจะไม่เพิกถอนการค้าประกันไม่ว่ากรณีใด ๆ ตราบเท่าที่ผู้รับจ้างยังต้องรับผิดชอบต่อผู้
ว่าจ้างตามสัญญาอยู่
ข้าพเจ้าได้ลงนามและประทับตราไว้ต่อหน้าพยานเป็นสาคัญ

(ลงชื่อ)……………………………ผูค้ ้าประกัน
(……………………….…………..)
ตาแหน่ง…………………………..

(ลงชื่อ)…………………………….พยาน
(……………………………………)

(ลงชื่อ)……………………………..พยาน
(……………………………………)
-16-

แบบหนังสือค้ำประกัน
(หลักประกันการรับเงินประกันผลงาน)

เลขที่………………….. วันที่…………………………….
ข้าพเจ้า……..(ชื่อธนาคาร)………..สานักงานตั้งอยู่เลขที่………ถนน……...ตาบล/แขวง………อาเภอ/
เขต………จังหวัด………..โดย…………ผู้มีอานาจลงนามผูกพันธนาคารขอทาหนังสือค้าประกันฉบับนี้ให้ไว้
ต่อ………(ชื่อส่วนราชการผู้ว่าจ้าง)……….ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “ผู้รับจ้าง” ดังมีข้อความต่อไปนี้
1.ตามที่…………….(ชื่อผู้รับจ้าง)……ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “ผู้รับจ้าง” ได้ทาสัญญาจ้างกับผู้ว่าจ้างตาม
สัญญาเลขที่………..ลงวันที่………..โดยตามสัญญาดังกล่าวผู้ว่าจ้างจะหักเงินประกันผลงานไว้ในอัตราร้อย
ละ………….(……..%) ของค่าจ้างแต่ละงวดที่ถึงกาหนดจ่ายให้แก่ผู้รับจ้างนั้น
2. ข้าพเจ้ายอมผูกพันตนเป็นผู้ค้าประกันผู้รับจ้าง สาหรับเงินประกันผลงาน ซึ่งผู้ว่าจ้างได้หักไว้จาก
ค่าจ้างที่ได้จ่ายให้แก่ผู้รับจ้างตั้งแต่งวดที่……ถึงงวดที่…………..เป็นจานวนเงินทั้งสิ้น………..บาท (………………….)
ซึ่งผู้รับจ้างได้ขอรับคืนไป กล่าวคือหากผู้รับจ้างปฏิบัติบกพร่อง หรือผิดสัญญา ข้อใดข้อหนึ่งอันก่อให้เกิดความ
เสียหาย ใดแก่ผู้ว่าจ้าง หรือจะต้องรับผิดชดใช้หนี้แก่ผู้ว่าจ้าง ไม่ว่ากรณีใดข้าพเจ้ายอมชาระเงินค่าเสียหาย
หรือ หนี้ดังกล่าวข้างต้นให้แก่ผู้ว่าจ้างทันทีที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง โดยผู้ว่าจ้าง ไม่ต้องบอกกล่าว
ล่วงหน้า หรือไม่ต้องใช้สิทธิ ทางศาลก่อนทั้งผู้ว่าจ้าง ไม่มีหน้าที่ต้องพิสูจน์ถึงข้อบกพร่องดังกล่าว ของผู้รับจ้าง
แต่ประการใดอีกด้วย
3. หากผู้ว่าจ้าง ได้ขยายระยะเวลาให้แก่ผู้รับจ้าง หรือ ยินยอมให้ผู้รับจ้างปฏิบัติผิดแผกไปจากเงื่อนไข
ใด ๆ ในสัญญา ให้ถือว่าข้าพเจ้าได้ยินยอมในกรณีนั้น ๆ ด้วย
4. ข้าพเจ้าจะไม่เพิกถอน การค้าประกันไม่ว่ากรณีใด ๆ ตราบเท่าที่ผู้รับจ้างยังต้องรับผิดชอบต่อผู้
ว่าจ้างตามสัญญาอยู่
ข้าพเจ้าได้ลงนามและประทับตราไว้ต่อหน้าพยานเป็นสาคัญ

(ลงชื่อ)…………………………..ผู้ค้าประกัน
(………………………………….)
ตาแหน่ง………………………….

(ลงชื่อ)……………………………พยาน
(…………………………………..)

(ลงชื่อ)…………………………….พยาน
(……………………………………)
ตัวอย่างสัญญา
จ้างทาความสะอาดอาคาร

ส่วนพัสดุ
สำนักอำนวยกำร
ตัวอย่ าง
สัญญาจ้ างทาความสะอาดอาคาร

สัญญาเลขที่……………./……………
สัญญาฉบับนี ้ทาขึ ้น ณ ……………………………ตาบล/แขวง.……….อาเภอ/เขต……………
จังหวัด………………เมื่อวันที่………เดือน…………….พ.ศ. ……… ..ระหว่าง….……………..
โดย……………………ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้เรี ยกว่า “ผู้วา่ จ้ าง”ฝ่ ายหนึง่ กับ…………………ซึง่ จด
ทะเบียนเป็ นนิติบคุ คล ณ…………………..มีสานักงานใหญ่ตงอยูั ้ เ่ ลขที่…………………
ถนน…………….…….ตาบล/แขวง………………….อาเภอ/เขต……...………จังหวัด…………………
โดย…………..………...ผู้มีอานาจนามผูกพันนิตบิ คุ คล ปรากฏตามหนังสือรับรองของสานักทะเบียน
หุ้นส่วนบริ ษัท…………….ลงวันที่……..เดือน………พ.ศ. ….แนบท้ ายสัญญานี ้ ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้
เรี ยกว่า “ผู้รับจ้ าง” อีกฝ่ ายหนึง่
คูส่ ญ
ั ญาได้ ตกลงกันมีข้อความดังต่อไปนี ้

ข้ อ 1. ผู้วา่ จ้ างตกลงจ้ างผู้รับจ้ างให้ ทาความสะอาดอาคาร…………...………………………..


ตาบล/แขวง…………………อาเภอ/เขต……………….จังหวัด……………………โดยมีรายละเอียด
และเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ ในสัญญาข้ อ 9 และผู้รับจ้ างให้ ถูกต้ องครบถ้ วนตามสัญญาทุกประการมี
กาหนดเวลา………..เดือน นับตังแต่ ้ วนั ที่………….เดือน………………พ.ศ. ……….ถึงวันที่…...
เดือน………………พ.ศ. ……….…เป็ นราคาค่าจ้ างทังสิ ้ น……………….บาท (……………………)

ข้ อ 2. ผู้รับจ้ างตกลงรับจ้ างทาการตามสัญญาข้ อ1. โดยต้ องจัดหาพนักงานที่มีความประพฤติดี มี


ความสามารถปฏิบตั ิงานด้ วยความเรี ยบร้ อย ใช้ วสั ดุเครื่ องมือเครื่ องใช้ และอุปกรณ์ทาความสะอาดชนิด
ดี โดยผู้รับจ้ างเป็ นผู้ออกค่าจ่ายเองทังสิ ้ ้น เพื่อประกอบการรับจ้ างตามสัญญานี ้ ด้ วยความประณีต
เรี ยบร้ อยจนสิ ้นอายุสญ ั ญา ยกเว้ นน ้าและไฟฟ้า ซึ่งผู้ว่าจ้ างยินยอมให้ ใช้ พอสมควรแก่การปฏิบตั ิงาน
ตามสัญญา ข้ อ 1 รวมทังสถานที ้ ่เก็บเครื่ องมือ เครื่ องใช้ และวัสดุอปุ กรณ์ตา่ ง ๆในการทาความสะอาด ซึ่ง
ผู้ว่าจ้ างเป็ นผู้จัดหาให้ แต่ผ้ ูรับจ้ างต้ องจัดกุญแจ และต้ องรับผิดชอบเครื่ องมือ เครื่ องใช้ และวัสดุ
อุปกรณ์ที่นาไปเก็บไว้ ในสถานที่ดงั กล่าวด้ วยตนเอง

ข้ อ 3. ในวันทาสัญญานี ้ผู้รับจ้ างได้ นาหลักประกันเป็ น…………………………………………


………………………………………………………………………….เป็ นจานวนร้ อยละ………..ของราคา
ค่าจ้ างเป็ นเงินจานวน……………….บาท(……………….)มามอบไว้ แก่ผ้ วู า่ จ้ างเพื่อเป็ นประกันความรับผิด
ในการปฏิบตั ิตามสัญญา โดยมีอายุการประกันตลอดไปจนกว่าผู้รับจ้ างจะหลุดพันจากหน้ าที่ และความ
รับผิดตามสัญญานี ้ และหากจานวนเงินในหลักประกันถูกหักลดน้ อยลดน้ อยลง เพราะผู้รับจ้ างต้ องรับผิด
ชาระค่าปรับ หรื อค่าเสียหาย เนื่องจากการปฏิบตั ผิ ิดสัญญานี ้ไม่วา่ กรณีใด ๆ ผู้รับจ้ างสัญญา
หลักประกันที่ผ้ รู ับจ้ างนามามอบไว้ ตามวรรคหนึง่ ผู้วา่ จ้ างจะคืนให้ เมื่อผู้รับจ้ างพ้ นจากความผิดและ
ข้ อผูกพันตามสัญญาแล้ วทุกประการ

ข้ อ 4. ผู้วา่ จ้ างตกลงชาระค่าจ้ างเป็ นงวด งวดละหนึง่ เดือน รวมทังหมด…………………....งวด



ในอัตรางวดละ………………..บาท (………………) โดยผู้ว่าจ้ างจะชาระค่าจ้ างให้ ผ้ รู ับจ้ างหลังจากผู้รับจ้ าง
ได้ ทางานเสร็ จ เรี ยบร้ อย และผู้ว่าจ้ าง หรื อผู้แ ทนของผู้ว่าจ้ างได้ ตรวจรั บมอบงาน ที่ ส่ง มอบในแต่
ละงวดเรี ยบร้ อยแล้ ว

ข้ อ 5. ผู้รับจ้ างสัญญาว่าจะเริ่มลงมือทางานจ้ างตามสัญญาข้ อ 1 ณ……………………………


ตาบล/แขวง…………………..…อาเภอ/เขต………………………จังหวัด……...………………..ตังแต่ ้
วันที่…………………….…เป็ นต้ นไป และสิ ้นสุดในวันที่…….…..……..โดยผู้รับจ้ างจะส่งพนักงานตาม
รายชื่อที่แจ้ งให้ ทราบล่วงหน้ า มาทาความสะอาดและปฏิบตั ิงานตามรายการละเอียดและเงื่อนไขตาม
เอกสารแนบท้ ายสัญญานี ้
กาหนดเวลาทางานให้ เ ป็ นไปตามที่ ร ะบุใ นรายละเอี ย ด ที่ แ นบท้ า ยสัญ ญานี ้ ส่ว นการทา
ความสะอาดเป็ นรายเดือน ให้ นบั ระยะเวลาแรกตังแต่
้ วนั ที่กาหนด ให้ เริ่ มลงมือทางานดังกล่าวเป็ นต้ น
ไป และให้ นบั ระยะเวลาต่อ ๆ ไปตังแต่
้ วนั ต่อจากวันสุดท้ ายแห่งระยะเวลาก่อนนัน้ โดยให้ นบั วันหยุดทา
การและวันหยุดประจาสัปดาห์รวมด้ วย

ข้ อ 6. ในกรณีพนักงานของผู้รับจ้ างไม่มาปฏิบตั งิ าน หรื อมาปฏิบตั งิ านไม่ครบจานวนตามที่


กาหนดไว้ ในรายละเอียดแนบท้ ายสัญญา ทังสองฝ่ ้ ายตกลงให้ เป็ นไปตามข้ อกาหนดดังต่อไปนี ้
6.1 ถ้ าไม่มีพนักงานของผู้รับจ้ างมาปฏิบตั ิงานหรื อมาปฏิบตั ิงาน ไม่ครบจานวนในวันใด ผู้รับ
จ้ างยอมให้ ผ้ วู ้ าจ้ างหักเงินค่าจ้ าง ที่จะได้ รับตามอัตราค่าจ้ างขัน้ ต่าต่อคนต่อวันที่ใช้ บงั คับในเขต
กรุงเทพมหานครในวันนัน้ และยินยอมให้ ผ้ วู า่ จ้ างปรับเป็ นรายวัน ในอัตราร้ อยละ 0.10 ของราคาที่ตกลง
จ้ างทังหมดตามสั
้ ญญานี ้ แต่ไม่ต่ากว่าวันละ 100 บาท (หนึ่งร้ อยบาทถ้ วน) นับตังแต่ ้ วนั ที่ไม่มีพนักงาน
มาปฏิบตั งิ าน หรื อมาปฏิบตั ิงานไม่ครบจานวนเป็ นต้ นไป จนกว่าจะมีพนักงานมาปฏิบตั งิ านครบจานวน
6.2 ถ้ าไม่มีพนักงาน ของผู้รับจ้ างมาปฏิบตั ิงาน หรื อมาแต่ไม่ปฏิบตั ิงาน สามวันติดต่อกัน
นอกจากผู้รับจ้ างจะต้ องรับผิดตามข้ อ 6.1 แล้ ว เมื่อผู้ว่าจ้ างได้ แจ้ งให้ ผ้ รู ับจ้ างทราบแล้ ว ผู้รับจ้ างยัง
ไม่ดาเนินการแก้ ไข หรื อจัดส่งพนักงานมาปฏิบตั งิ านให้ ครบตามสัญญาภายใน ……….วัน ผู้วา่ จ้ างมีสิทธิ
บอกเลิก
การที่ผ้ ูว่าจ้ างไม่บอกเลิ กสัญญา ตามความในข้ อ 6.2 นัน้ ไม่เป็ นเหตุให้ ผ้ ูรับจ้ างพ้ นจาก
ความรั บผิดตามสัญญานี ้

ข้ อ 7. ในการทางานจ้ าง ถ้ าเกิดความเสียหายใด ๆ ไม่ว่าจะเกิดขึน้ แก่บุคลากรของผู้ว่าจ้ าง


หรื อบุคคลภายนอก ซึ่งก่อให้ เกิ ดความชารุ ดบกพร่ องเสี ยหาย หรื อการสูญหายแก่ทรัพย์ สินของผู้
ว่าจ้ างหรื อของบุคลากรของผู้วา่ จ้ าง หรื อของบุคลากรภายนอก อันเป็ นผลสืบเนื่องมาจากการกระทาหรื อ
ละเว้ นการกระทาของผู้รับจ้ าง พนักงาน หรื อบุคลากรของผู้รับจ้ าง ผู้รับจ้ างต้ องรับผิดชดใช้
ค่าเสียหาย ให้ แก่ผ้ วู ่าจ้ าง หรื อบุคลากรของผู้ว่าจ้ าง หรื อบุคคลภายนอก ตามจานวนที่เสียหายจริ ง
ภายในระยะเวลาที่ผ้ วู า่ จ้ างกาหนด

ข้ อ 8. ในกรณีที่ตวั ผู้รับจ้ างเอง หรื อพนักงานของผู้รับจ้ างทางานจ้ างบกพร่ องโดยทาไว้ ไม่


สะอาดก็ดีไม่เรี ยบร้ อยก็ดี ใช้ วสั ดุอุปกรณ์หรื อน ้ายาที่ไม่มีคณ ุ ภาพตามมาตรฐานหรื อคุณภาพไม่ดี หรื อ
ทาไม่ถกู ต้ องตามสัญญาข้ อหนึ่งข้ อใดก็ดี เมื่อผู้ว่าจ้ างแจ้ งให้ ผ้ รู ับจ้ างทราบแล้ ว ผู้รับจ้ างจะต้ องรี บแก้ ไข
งานที่บกพร่องให้ เรี ยบร้ อยโดยเร็ว โดยไม่คดิ ค่าจ้ าง ค่าวัสดุอปุ กรณ์ ค่าแรงงานหรื อค่าใช้ จา่ ยอื่นใดจากผู้
ว่าจ้ างอีก ถ้ าผู้รับจ้ างไม่รีบดาเนินการแก้ ไข หรื อไม่ปฏิบตั ภิ ายใน………………วัน ตามที่ผ้ วู า่ จ้ างยังไม่ใช้
สิทธิบอกเลิกผู้รับจ้ างยอมให้ ผ้ วู า่ จ้ างดาเนินการดังนี ้
1. ระงับการจ่ายค่าจ้ างทังหมดหรื
้ อบางส่วนตามที่ผ้ วู า่ จ้ างเห็นสมควร
2. ยอมให้ ผ้ วู ่าจ้ างเปรี ยบเป็ นรายวันในอัตราวันละ……..………บาท(…………………..)
นับแต่วันที่ผ้ ูรับจ้ างผิดสัญญาจนถึงวันที่ผ้ รู ับจ้ าง ได้ แก้ ไขงานที่บกพร่ องให้ เรี ยบร้ อยตามสัญญา หรื อ
วันที่บอกเลิกสัญญาในเมื่อผู้ว่าจ้ างเห็นว่าผู้รับจ้ าง ไม่อาจปฏิบตั ิตามสัญญาต่อไปได้ ให้ ผ้ วู ่าจ้ างมีสิทธิ
บอกเลิกสัญญาได้
3. ให้ บุค คลอื่ น ทางานแทนผู้รั บ จ้ า ง โดยผู้รั บ จ้ า งต้ อ งรั บ ผิ ด ในค่า ใช้ จ่า ย ที่ ผ้ ูว่า จ้ า งต้ อ ง
เสี ย ไปทังหมดโดยสิ
้ ้นเชิง
4. เรี ยกค่าเสียหายใด ๆ อันพึงมี

ผู้ว่าจ้ างมีสิทธิหกั เงินค่าจ้ าง ที่ยงั ไม่ได้ จ่ายแก่ผ้ รู ับจ้ างไว้ เพื่อชาระค่าปรับหรื อค่าเสียหายที่ผ้ ู
รับจ้ างต้ องรับผิดตามสัญญานี ้ แต่ถ้าจานวนเงินค่าจ้ างไม่เพียงพอให้ หกั ชาระหนี ้ ผู้รับจ้ างยินยอมให้ หกั
จากหลักประกันสัญญาได้ ทนั ทีอีกด้ วย
ผู้รับจ้ างต้ องควบคุมดูแลให้ พนักงานของผู้รับจ้ างปฏิบตั ิงานให้ สะอาดเรี ยบร้ อยตามสัญญา
ตลอดเวลาที่ปฏิบตั งิ านตามสัญญา หากปรากฏว่าพนักงานของผู้รับจ้ างปฏิบตั งิ านไม่เรี ยบร้ อย มีความ
ประพฤติไม่เหมาะสม ผู้รับจ้ างยินยอมเปลี่ยนพนักงานให้ ใหม่ หรื อแก้ ไขอุปสรรคข้ อขัดข้ องของการ
ปฏิบตั งิ านจ้ างตามที่ผ้ วู า่ จ้ างได้ แจ้ งให้ ทราบภายใน……………วัน
ผู้รับจ้ างต้ องแจ้ งรายชื่อ ที่อยูป่ ั จจุบนั และภาพถ่ายบัตรประจาตัวประชาชน ของผู้ควบคุมงาน
และพนักงาน ที่มาทางานจ้ างทังหมดทุ ้ กคนตามสัญญา ให้ ผ้ วู ่าจ้ างทราบในวันทาสัญญานี ้ หากมีการ
เปลี่ยนแปลง ก็ต้องแจ้ งให้ ผ้ วู า่ จ้ างทราบก่อน มาทางานทุกครัง้ และในระหว่างที่ปฏิบตั งิ านจะต้ องติดป้าย
ชื่อตามที่ผ้ วู า่ จ้ างออกให้
ในกรณีที่ผ้ วู ่าจ้ าง หรื อผู้ที่ได้ รับมอบหมายจากผู้วา่ จ้ าง ได้ แจ้ งให้ ผ้ รู ับจ้ างเปลี่ยนตัวพนักงานหรื อ
เปลี่ยนวัสดุอปุ กรณ์ น ้ายา เครื่ องมือเครื่ องใช้ ผู้รับจ้ างต้ องปฏิบตั ิตาม โดยไม่ทกั ท้ วงใด ๆ ทังสิ ้ ้น

ข้ อ 9. สัญญานี ้มีเอกสารรายละเอียดประกอบสัญญาซึง่ ให้ ถือว่าเป็ นส่วนหนึง่ ของสัญญา ดังนี ้


ข้ อ 9.1 รายละเอียดแนบท้ ายสัญญาว่าจ้ างทาความสะอาดอาคาร…………………………….
…………………………..…………จานวน……………..……..หน้ า
ข้ อ 9.2 ……………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
ข้ อ 9.3………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………..
ในกรณีที่ข้อความในเอกสารแสดงรายละเอียด ประกอบสัญญาขัดแย้ งกับข้ อความในสัญญานี ้ให้
ใช้ ข้อความในสัญญานี ้บังคับ
ถ้ าสิ่งใดหรื อการอันหนึ่ง อันใด ที่มิได้ ระบุไว้ ในรายละเอี ยด แนบท้ ายสัญญานี ้ แต่เป็ นการ
อันจาเป็ นต้ องทาเพื่อให้ งานแล้ วเสร็จบริ บรู ณ์ถกู ต้ อง ตามวัตถุประสงค์แห่งสัญญานี ้ ผู้รับจ้ างต้ องจัดทา
การนัน้ ๆ ให้ โดยไม่คดิ เอาค่าตอบแทน เพิ่มเติมอีกแต่อย่างใด

ข้ อ 10. ผู้รับจ้ างจะเอางานทังหมด


้ หรื อส่วนหนึง่ ส่วนใด แห่งสัญญานี ้ไปให้ ผ้ อู ื่นรับจ้ างช่วงทาโดย
ไม่ได้ รับอนุญาต เป็ นหนังสือจากผู้วา่ จ้ างไม่ได้ ในกรณีผ้ รู ับจ้ างได้ รับอนุญาตดังกล่าว ผู้รับจ้ างยังต้ อง
รับผิดชอบงาน ที่ได้ จ้างช่วงไปนันทุ ้ กประการ
ผู้รับจ้ างจะโอนผลประโยชน์ หรื อสิทธิเรี ยกร้ องทังหมด
้ หรื อส่วนหนึ่งส่วนใด ตามสัญญานี ้
ให้ แก่บคุ คลอื่น โดยมิได้ รับอนุญาตเป็ นหนังสือ จากผู้วา่ จ้ างก่อนมิได้
ข้ อ 11. ผู้รับจ้ างต้ องจัดให้ มีผ้ คู วบคุมงาน….……….คน เพื่อควบคุมการทางานให้ เป็ นไปตาม
สัญญานี ้ และเพื่อเป็ นตัวแทนในการประสานงานกับผู้วา่ จ้ างคาสัง่ ใด ๆ หรื อหนังสือแจ้ งเรื่ องใด ๆ อันเกี่ยวข้ องกับ
สัญญานี ้ ที่ผ้ วู ้ าจ้ างได้ แจ้ งแก่ผ้ คู วบคุมงานนัน้ ให้ ถือว่าได้ แจ้ งแก่ผ้ รู ับจ้ างแล้ วโดยชอบ

ข้ อ 12. ในกรณี ท่ีผ้ ูรับจ้ างตังตั


้ วแทนไปควบคุมงานตามข้ อ 11 ถ้ าผู้ว่าจ้ างขอให้ เปลี่ยนตัว ผู้
ควบคุมงานใหม่ ผู้รับจ้ างยินยอมเปลี่ยนตัวให้ ทนั ที โดยจะไม่เรี ยกร้ องค้ าเสียหายใด ๆ จากผู้ว่าจ้ าง ถ้ าผู้
รับจ้ างจะเปลี่ยนตัวผู้ควบคุมงาน ต้ องแจ้ งชื่อผู้นนให้
ั ้ ผ้ วู ่าจ้ างทราบล่วงหน้ าเป็ นหนังสือทุกครัง้ ด้ วย
ในกรณี ที่ เ กิ ด ปั ญ หาแรงงานผู้รั บ จ้ า ง ผู้รั บ จ้ า งจะยกเหตุที่ มี ปั ญ หาแรงงาน มาเป็ นเหตุ
สุด วิ สัย หรื อมาเป็ นข้ ออ้ างที่จะเปลี่ยนแปลง แก้ ไข หรื อไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาข้ อหนึง่ ข้ อใดมิได้

ข้ อ 13. ถ้ าผู้วา่ จ้ างแต่งตังกรรมการตรวจรั


้ บพัสดุ หรื อผู้ควบคุมงานไว้ ประจา ณ ที่ทาการจ้ างนี ้ใน
เวลาที่ผ้ รู ับจ้ าง เตรี ยมการหรื อกาลังทางานจ้ างนี ้อยู่ ก็ดีกรรมการตรวจรับพัสดุ หรื อผู้ควบคุมงานมีสิทธิ
จะเข้ าไปตรวจงานได้ ทุกเวลา ผู้รับจ้ างหรื อผู้แทน ของผู้รั บจ้ างต้ องให้ ความสะดวก และช่วยเหลือ
ตามสมควร
การที่มีกรรมการตรวจรับพัสดุ หรื อผู้ควบคุมงานแทนคณะกรรมการ ตรวจรับพัสดุหาทาให้ ผ้ ูรับ
จ้ าง พ้ นจากความรับผิดตามสัญญา ข้ อหนึง่ ข้ อใดไม่

ข้ อ 14. ผู้วา่ จ้ าง มีสิทธิที่จะทาการแก้ ไข เพิ่มเติมหรื อลดงานจากรายละเอียด แนบท้ ายสัญญาได้


ทุกกรณีโดยไม่ต้องเลิกสัญญานี ้ การเพิ่มหรื อลดงานต้ องทาความตกลงกันใหม่เป็ นหนังสือ และถ้ า
จะต้ องเพิ่มหรื อลดเงินหรื อยืดเวลาออกไปอีก ก็จะได้ ตกลงกัน ณ บัดนัน้

ข้ อ 15. ในกรณี ที่ผ้ วู ่าจ้ าง ใช้ สิทธิ บอกสัญญา เพราะเหตุที่ผ้ ูรับจ้ างผิดสัญญา ตามความใน
สัญญาข้ อ 6.2 หรื อข้ อ 8. แห่งสัญญานี ้ ผู้รับจ้ างยอมให้ ผ้ วู า่ จ้ างริบหลักประกันสัญญา ตามสัญญาข้ อ 3
ทังหมด
้ และผู้วา่ จ้ างมีสิทธิที่จะจ้ าง ผู้อื่นทางานต่อไปได้ โดยผู้รับจ้ างยินยอม ให้ ผ้ วู า่ จ้ างเรี ยกเอาค่าจ้ าง
ส่วนที่เพิ่มขึ ้นเพราะการจ้ างบุคคลอื่นทาการนี ้ต่อไปจนงานแล้ วเสร็จบริ บรู ณ์จากผู้รับจ้ าง นอกจากนัน้
ผู้รับจ้ างยินยอมให้ ผู้วา่ จ้ างเรี ยกค่าเสียหายประการอื่นใดอันพึงมีขึ ้นจากการผิดสัญญาของผู้รับจ้ างได้ อีก
ด้ วย

ข้ อ 16. ในกรณีที่ครบกาหนดสัญญาจ้ างนี ้แล้ ว หากผู้ว่าจ้ างมีความจาเป็ นต้ องจ้ างผู้รับจ้ างให้
ปฏิบตั หิ น้ าที่ตามสัญญาจ้ างต่อไป ผู้รับจ้ างยินดีปฏิบตั ิตามสัญญาจ้ างต่อไปอีกมีกาหนดไม่เกินหนึง่ เดือน ใน
อัตราค่าจ้ างและเงื่ อนไขเดิม โดยผู้ว่าจ้ างจะต้ องแจ้ งให้ ผ้ รู ับจ้ างทราบล่วงหน้ าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน ก่อน
ครบกาหนดสัญญา

ข้ อ 17. ผู้ว่าจ้ างหรื อกรรมการตรวจรับพัสดุ หรื อผู้ควบคุมงานมีสิทธิตรวจและควบคุมงานให้


เป็ นไปตามที่ระบุในสัญญาและรายละเอียดที่แนบท้ ายสัญญา โดยมีสิทธิสงั่ การใด ๆ เกี่ยวกับงานที่จ้างนี ้
ได้ และผู้รับจ้ างต้ องปฏิบตั ิตามคาสัง่ นันทุ
้ กประการ

ข้ อ 18. การวินิจ ฉัย ว่าผลงานที่ ผ้ ูรั บจ้ างทานัน้ เสร็ จ เรี ยบร้ อย ถูกต้ องตามสัญ ญาหรื อ ตาม
ความประสงค์ของผู้วา่ จ้ างหรื อไม่ก็ดี อย่างไรเป็ นเหตุสดุ วิสยั หรื อไม่ เหตุใด ๆ อันเนื่องมาจากความผิด
หรื อความบกพร่ องของฝ่ ายผู้ว่าจ้ าง หรื อพฤติการณ์ อันใดที่ผ้ ูรับจ้ างไม่ต้องรั บผิดตามกฎหมายก็ดี
ในกรณี ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการตีความสัญญานี ้หรื อเกี่ ยวด้ วยเรื่ องใด ๆ ที่เกิดขึน้ ตามสัญญานี ้ หรื อ
เกี่ยวพันกับสัญญานี ้ไม่วา่ ปั ญหานันจะเกิ
้ ดขึ ้นในระหว่างดาเนินงาน หรื อภายหลังจากที่ระยะเวลาการ
จ้ างตามสัญญานี ้สิ ้นสุดลงหรื อภายหลังจากที่ผ้ รู ับจ้ างทิ ้งงานก็ดี ผู้รับจ้ างยอมให้ ถือเอาคาวินิจฉัยของผู้
ว่าจ้ างเป็ นเด็ดขาด และผู้รับจ้ างยอมผูกพันตนตามผลแห่งคาวินิจฉัยนันทุ ้ กประการ
สัญ ญานี ท้ าขึน้ สองฉบับ มี ข้อ ความเป็ นอย่างเดี ยวกัน คู่สัญญาได้ อ่ านเข้ าใจข้ อความโดย
ละเอียดตลอดแล้ ว จึงได้ ลงลายมือชื่อพร้ อมทังประทั ้ บตรา (ถ้ ามี) ไว้ เป็ นสาคัญต่อหน้ าพยาน และเก็บไว้
ฝ่ ายละฉบับ
(ลงชื่อ)………………………………………….ผู้วา่ จ้ าง
(………………………………………..)

(ลงชื่อ)………………………………………….ผู้รับจ้ าง
(………………………………………..)

(ลงชื่อ)………………………………………….พยาน
(………………………………………..)

(ลงชื่อ)………………………………………….พยาน
(………………………………………..)
ตัวอย่างสัญญา
จ้างผู้เชี่ยวชาญรายบุคคล
หรือจ้างบริษัทที่ปรึกษา

ส่วนพัสดุ
สำนักอำนวยกำร
ตัวอย่ าง
สัญญาจ้ างผู้เชี่ยวชาญรายบุคคล หรื อจ้ างบริษัทที่ปรึ กษา

สัญญาเลขที่………………………..
สัญญาฉบับนี ้ทาขึ ้น ณ…………ตาบล/แขวง…………….อาเภอ/เขต…………จังหวัด…………
เมื่อวันที่….เดือน………..พ.ศ……….ระหว่าง……….…….โดย…..…………ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้เรี ยกว่า
"ผู้วา่ จ้ าง" ฝ่ ายหนึง่ กับ………..อยูเ่ ลขที่………ถนน…………….ตาบล/แขวง……………..อาเภอ/
เขต…………….จังหวัด…………… (ในกรณีเป็ นบริษัทที่ปรึกษาให้ ใช้ ข้อความว่า……………ซึง่ จด
ทะเบียนเป็ นนิติบคุ คล ณ………………………..มีสานักงานใหญ่อยูเ่ ลขที่…… ถนน…………….ตาบล/
แขวง………..….อาเภอ/เขต………..…..จังหวัด……………..โดย……………………ผู้มีอานาจลงนาม
ผูกพันนิติบคุ คลปรากฏตามหนังสือรับรองของสานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริ ษัท…….…….……ลง
วันที่.…….… (และหนังสือมอบอานาจลงวันที่………………………..)* แนบท้ ายสัญญานี ้ ซึ ้งต่อไปใน
สัญญานี ้เรี ยกว่า "ที่ปรึกษา" อีกฝ่ ายหนึง่

โดยที่ผ้ วู า่ จ้ างมีความประสงค์จะจ้ างที่ปรึกษาเพื่อปฏิบตั งิ านตามโครงการต่อไปนี ้.


…………………….(บรรยายลักษณะงานโดยย่อ)………………………………………………………
และปรึกษา มีความประสงค์ จะรับจ้ างทางานดังกล่าวข้ างต้ น

ทังสองฝ่
้ ายจึงตกลงทาสัญญากัน มีข้อความดังต่อไปนี ้
ผู้วา่ จ้ างตกลงจ้ าง และที่ปรึกษาตกลงรับจ้ าง เพื่อปฏิบตั งิ าน ตามรายละเอียดที่กาหนดไว้ ใน
เอกสารแนบท้ ายสัญญา ซึง่ ประกอบด้ วยเงื่อนไขของสัญญา และภาคผนวกดังต่อไปนี ้
ภาคผนวก ก : ขอบข่ายของงาน และกาหนดระยะเวลาการทางาน
ภาคผนวก ข : กาหนดระยะเวลาการทางานของที่ปรึกษา
ภาคผนวก ค : ค่าจ้ างและวิธีการจ่ายค่าจ้ าง
ภาคผนวก ง : แบบหนังสือค ้าประกัน (หลักประกันรับเงินค่าจ้ างที่ปรึกษาล่วงหน้ า)
ภาคผนวก จ : แบบหนังสือค ้าประกัน (หลักประกันการรับเงินประกันผลงาน)

…………………ฯลฯ…………………….

เอกสารแนบท้ ายสัญญาดังกล่าวข้ างต้ น ให้ ถือเป็ นส่วนหนึง่ ของสัญญานี ้ ในกรณีที่มีความ


ขัดแย้ งกัน ระหว่างข้ อความในเงื่อนไขของสัญญา กับข้ อความในภาคผนวก ให้ ถือข้ อความในเงื่อนไขของ
สัญญาบังคับ และในกรณีที่เอกสารแนบท้ ายสัญญา ขัดแย้ งกันเอง ที่ปรึกษาจะต้ องปฏิบตั ติ ามคาวินิ จฉัย
ของผู้วา่ จ้ าง
สัญญานี ้ทาขึ ้นสองฉบับ มีข้อความถูกต้ องตรงกัน คูส่ ญ
ั ญาได้ อา่ นและเข้ าใจข้ อความ ในสัญญา
โดยละเอียดตลอดแล้ ว จึงได้ ลงลายมือชื่อไว้ เป็ นสาคัญ ต่อหน้ าพยานและคูส่ ญ ั ญา ต่างยึดถือไว้ ฝ่ายละ
ฉบับ

(ลงชื่อ)…………………………ผู้วา่ จ้ าง
(……………………………….)

(ลงชื่อ)………………………….ที่ปรึกษา
(……………………………….)

(ลงชื่อ)………………………….พยาน
(………………………………..)

(ลงชื่อ)………………………….พยาน
(………………………………….)
เงื่อนไขของสัญญา

1. ข้ อความทั่วไป
1.1 ขอบข่ายของงาน
งานซึง่ ที่ปรึกษาจะต้ องปฏิบตั ติ ามสัญญานี ้ (ต่อไปในสัญญาเรี ยกว่า "งาน " ให้ เป็ นไปตาม
ขอบข่ายของงานที่ระบุไว้ ในภาคผนวก ก. และงานซึง่ ที่ปรึกษา และผู้วา่ จ้ าง ตกลงเพิ่มเติมจาก
ภาคผนวก ก.
1.2 กฎหมายที่จะต้ องปฏิบตั ิตาม
ในการปฏิบตั งิ านตามสัญญานี ้ ที่ปรึกษาจะต้ องเคารพ และปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบและ
ข้ อบังคับต่าง ๆ ของทางราชการ
1.3 หัวเรื่ อง
ชื่อหัวเรื่ อง ของเงื่อนไขของสัญญา ข้ อหนึง่ ข้ อใด จะไม่ถือว่าเป็ นส่วนหนึง่ ของเงื่อนไขของสัญญา
ข้ อนัน้ หรื อนาไปประกอบการพิจารณา ในการตีความวินิจฉัย ความหมายของข้ อความในข้ อนัน้ ๆ หรื อ
ข้ อความอื่นใดของสัญญานี ้
1.4 การบอกกล่าว
บรรดาคาบอกกล่าว หรื อการให้ ความยินยอม หรื อความเห็นชอบใด ๆ ตามสัญญานี ้ ต้ องทาเป็ น
หนังสือ และจะถือว่าได้ สง่ ไปโดยชอบแล้ ว หากได้ จดั ส่งโดยทางหนึง่ ทางใด ดังต่อไปนี ้ คือ
- ส่งมอบโดยบุคคล แก่ผ้ แู ทนที่ได้ รับมอบหมายของคูส่ ญ ั ญาแต่ละฝ่ าย
- ทางไปรษณีย์ลงทะเบียน
- ทางโทรเลข โทรพิมพ์ หรื อโทรสาร แล้ วยืนยันเป็ นหนังสือโดยเร็ว ไปยังชื่อและที่อยูข่ องคูส่ ญ ั ญา
ดังต่อไปนี ้
ผู้วา่ จ้ าง …………………………………
…………………………………
ที่ปรึกษา ………………………………..
………………………………….

2. การเริ่มงาน การสิน้ สุดของงาน การเปลี่ยนแปลงแก้ ไข และการบอกเลิกสัญญา


2.1 การเริ่มมีผลบังคับของสัญญา
สัญญานี ้เริ่มมีผลใช้ บงั คับทันทีเมื่อคูส่ ญ
ั ญาได้ ลงนาม
2.2 วันเริ่มปฏิบตั งิ าน
ที่ปรึกษาจะต้ องเริ่มปฏิบตั งิ านภายในวันที่………………………………….
2.3 วันสิ ้นสุดของสัญญา
ที่ปรึกษาจะต้ องปฏิบตั งิ านให้ แล้ วเสร็จภายในวันที่……………………………..
2.4 การเปลี่ยนแปลงแก้ ไขสัญญา
ถ้ ามีเหตุจาเป็ น ต้ องมีการเปลี่ยนแปลงแก้ ไขสัญญา ให้ ทาเป็ นหนังสือ ตามแบบและพิธีการ
เช่นเดียวกับการทาสัญญานี ้
2.5 การโอนงาน
2.5.1 ที่ปรึกษาจะต้ องไม่ให้ ชว่ งงาน มอบหมายงาน โอนงาน หรื อละทิ ้งงาน ให้ ผ้ อู ื่นเป็ นผู้ทางาน
ตามสัญญานี ้แทน ไม่วา่ ทังหมด ้ หรื อแต่เพียงบางส่วนด้ วยประการใด ๆ โดยไม่ได้ รับความยินยอมจาก
ผู้วา่ จ้ างก่อน และแม้ จะได้ รับความยินยอมดังกล่าว ที่ปรึกษาก็ยงั ต้ องรับผิดชอบ อย่างเต็มที่ตามสัญญานี ้
ต่อไปทุกประการ
2.5.2 ที่ปรึกษา จะต้ องไม่โอนสิทธิประโยชน์ใด ๆ ตามสัญญานี ้ให้ แก่ผ้ อู ื่น โดยไม่ได้ รับความ
ยินยอม จากผู้ว่าจ้ างก่อน เว้ นแต่การโอนเงิน ที่ถึงกาหนดชาระ หรื อที่จะถึงกาหนดชาระ
2.6 การระงับงานชัว่ คราว และการบอกเลิกสัญญา
2.6.1 การบอกเลิกสัญญา หรื อให้ หยุดงานชัว่ คราวโดยผู้วา่ จ้ าง
(ก) ผู้วา่ จ้ าง มีสิทธิบอกเลิกสัญญานี ้ได้ ถ้ าผู้ว่าจ้ างเห็นว่า ที่ปรึกษามิได้ ปฏิบตั งิ าน ด้ วยความ
ชานาญ หรื อด้ วยความเอาใจใส่ในวิชาชีพของที่ปรึกษา เท่าที่พงึ คาดหมายได้ จากที่ปรึกษาในระดับ
เดียวกัน หรื อมิได้ ปฏิบตั ติ ามข้ อสัญญา และเงื่อนไขที่กาหนด ในสัญญานี ้ ในกรณีเช่นนี ้ ผู้ว่าจ้ างจะบอก
กล่าวให้ ที่ปรึกษาทราบ ถึงเหตุผลที่จะบอกเลิกสัญญา ถ้ าที่ปรึกษามิได้ ดาเนินการแก้ ไขให้ ผ้ วู า่ จ้ างพอใจ
ภายในระยะเวลา 30 วัน นับแต่วนั ที่ได้ รับคาบอกกล่าว ผู้วา่ จ้ างมีสิทธิบอกเลิกสัญญา โดยการส่งคาบอก
กล่าวแก่ที่ปรึกษา เมื่อที่ปรึกษาได้ รับหนังสือบอกกล่าวนันแล้ ้ ว ที่ปรึกษาต้ องหยุดปฏิบตั งิ านทันที และ
ดาเนินการทุกวิถีทาง เพื่อลดค่าใช้ จา่ ยใด ๆ ที่อาจมีในระหว่างการหยุดปฏิบตั งิ านนัน้ ให้ น้อยที่สดุ
(ข) ผู้วา่ จ้ างอาจมีหนังสือบอกกล่าว ให้ ที่ปรึกษาทราบล่วงหน้ าเมื่อใดก็ได้ ว่าผู้วา่ จ้ างมีเจตนาที่
จะระงับการทางานทังหมด ้ หรื อแต่บางส่วน หรื อจะบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผ้ วู า่ จ้ างจะบอกเลิกสัญญา
การบอกเลิกสัญญาดังกล่าว จะมีผลในเวลาไม่น้อยกว่า 60 วัน นับจากวันที่ ที่ปรึกษาได้ รับหนังสือบอก
กล่าวนัน้ หรื ออาจเร็ วกว่า หรื อช้ ากว่ากาหนดเวลานันก็ ้ ได้ แล้ วแต่คสู่ ญ ั ญาจะทาความตกลงกัน เมื่อที่
ปรึกษาได้ รับหนังสือบอกกล่าวนันแล้ ้ ว ที่ปรึกษาต้ องหยุดปฏิบตั งิ านทันที และดาเนินการทุกวิถีทางเพื่อ
ลดค่าใช้ จา่ ยใด ๆ ที่อาจมีในระหว่างการหยุดปฏิบตั งิ านนัน้ ให้ น้อยที่สดุ
2.6.2 การบอกเลิกสัญญาโดยที่ปรึกษา
ที่ปรึกษามีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ ถ้ าผู้ว่าจ้ างมิได้ ปฏิบตั หิ น้ าที่ความรับผิดชอบ ตามที่สญ ั ญา
ระบุไว้ ในกรณีเช่นนี ้ ที่ปรึกษาจะมีหนังสือถึงผู้ว่าจ้ าง ระบุรายละเอียดถึงสาเหตุและเหตุผลในการขอเลิก
สัญญา ถ้ าผู้วา่ จ้ างมิได้ ดาเนินการแก้ ไข ให้ ที่ปรึกษาพอใจภายในระยะเวลา 30 วัน นับแต่วนั ที่ได้ รับ
หนังสือบอกกล่าวนัน้ ที่ปรึกษามีสิทธิบอกเลิกสัญญา
2.6.3 เหตุสดุ วิสยั
(ก) "เหตุสดุ วิสยั " หมายความว่า เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ ้นก็ดี จะให้ ผลพิบตั ิก็ดี ไม่มีใครจักอาจ
ป้องกันได้ แม้ ทงบุ ั ้ คคลผู้ต้องประสบ หรื อใกล้ จะต้ องประสบเหตุนนั ้ จะได้ จดั การระมัดระวังตามสมควร
อันพึงคาดหมายได้ จากบุคคลนันในฐานนะเช่ ้ นนัน้
(ข) ถ้ าคูส่ ญั ญาฝ่ ายหนึง่ ฝ่ ายใด ไม่สามารถปฏิบตั ิหน้ าที่ตามสัญญานี ้ได้ เพราะเหตุสดุ วิสยั
คูส่ ญ
ั ญาฝ่ ายนัน้ จะต้ องบอกกล่าวให้ คสู่ ญ ั ญาอีกฝ่ ายหนึง่ ทราบภายใน 14 วัน นับแต่เหตุนนเกิ ั ้ ดขึ ้น และ
คูส่ ญั ญาฝ่ ายที่ได้ รับแจ้ ง ต้ องพิจารณาว่าจะยอมรับเหตุดงั กล่าว ว่าเป็ นเหตุสดุ วิสยั หรื อไม่ แล้ วแจ้ งให้
คูส่ ญ ั ญาฝ่ ายแรกทราบในเวลาอันควร
(ค) ในระหว่างที่มีเหตุสดุ วิสยั เกิดขึ ้น ให้ หน้ าที่และความรับผิดชอบ ของคูส่ ญ ั ญาทังสองฝ่้ าย
ระงับลงชัว่ คราว เว้ นแต่จะระบุไว้ ในสัญญานี ้เป็ นประการอื่น อย่างไรก็ตาม ที่ปรึกษามีสิทธิจะได้ รับการ
ขยายเวลาทางานออกไป เท่ากับระยะเวลาที่ต้องเสียไป อันเนื่องจากเหตุสดุ วิสยั นัน้
(ง) ในกรณีที่คสู่ ญ ั ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ไม่สามารถปฏิบตั งิ าน หรื อยินยอมให้ มีการปฏิบตั งิ านตาม
สัญญานี ้ได้ ทงหมดั้ หรื อแต่เพียงบางส่วน เนื่องจากเหตุสดุ วิสยั ต่อเนื่องกัน เป็ นเวลาเกินกว่า 60 วัน นับ
จากวันแจ้ งเหตุสดุ วิสยั ตามข้ อ (ข) คูส่ ญ ั ญาแต่ละฝ่ าย มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ โดยส่งคาบอกกล่าวไปยัง
คูส่ ญ ั ญาอีกฝ่ ายหนึง่ ล่วงหน้ า เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 15 วัน
2.7 สิทธิของคูส่ ญ ั ญาเมื่อมีการระงับงานชัว่ คราว หรื อบอกเลิกสัญญา
2.7.1 เมื่อมีการระงับการทางาน ตามสัญญานี ้ชัว่ คราว ตามสัญญาข้ อ 2.6.1 (ข) ผู้วา่ จ้ างจะ
จ่ายเงินให้ แก่ที่ปรึกษา เป็ นค่าใช้ จา่ ยเท่าที่จาเป็ น ตามจานวนเงินที่ค่สู ญ ั ญาจะได้ ตกลงกัน
2.7.2 เมื่อมีการบอกเลิกสัญญาตามข้ อ 2.6.1 (ก) ผู้วา่ จ้ างจะชาระค่าจ้ าง ตามส่วนที่เป็ นธรรม
และเหมาะสม ที่กาหนดในภาคผนวก ค. ให้ แก่ที่ปรึกษา โดยคานวณตังแต่ ้ วนั เริ่ มปฏิบตั งิ าน จนถึงวัน
บอกเลิกสัญญา ในกรณีเช่นนี ้ ผู้วา่ จ้ างมีสิทธิที่จะยึดเงินประกันผลงาน หรื อบังคับเอาแก่หนังสือค ้า
ประกัน ตามที่ระบุไว้ ในภาคผนวก ค. แล้ วแต่กรณีได้
2.7.3 เมื่อมีการเลิกสัญญาตามข้ อ 2.6.1 (ข) หรื อข้ อ 2.6.2 ผู้วา่ จ้ างจะชาระค่าจ้ างตามส่วนที่
เป็ นธรรมและเหมาะสม ที่กาหนดในภาคผนวก ค. ให้ แก่ที่ปรึกษา โดยคานวณตังแต่ ้ วนั เริ่มปฏิบตั งิ าน
จนถึงวันบอกเลิกสัญญา นอกจากนี ้ผู้วา่ จ้ างจะจ่ายคืนเงินประกันผลงาน ที่หกั ไว้ ทงหมดหรื ั้ อคืนหนังสือ
ค ้าประกันที่ยึดไว้ ตามภาคผนวก ค. แล้ วแต่กรณี รวมทังเงิ ้ นชดเชยค่าเดินทาง และเงินค่าใช้ จา่ ยที่ได้ ทด
รองจ่าย ไปตามสมควรและตามความเป็ นจริง ซึง่ ผู้ว่าจ้ างยัง มิได้ ชาระให้ แก่ที่ปรึกษาด้ วย อย่างไรก็ตาม
เงินชดเชยและเงินที่ได้ ชาระไปแล้ วทังหมด ้ จะต้ องไม่เกินยอดเงินตามสัญญาที่กาหนด ในภาคผนวก ค. หรื อ
ตามที่ได้ ตกลงแก้ ไขกันไว้
2.7.4 เมื่อมีการเลิกสัญญาตามข้ อ 2.6.3 (ง) ผู้วา่ จ้ างจะชาระค่าจ้ างตามสัดส่วนที่เป็ นธรรมและ
เหมาะสม ตามที่กาหนดในภาคผนวก ค. ให้ แก่ที่ปรึกษา โดยคานวณตังแต่ ้ วนั เริ่มปฏิบตั งิ าน จนถึงวันเลิก
สัญญา นอกจากนี ้ ผู้วา่ จ้ างจะจ่ายคืนเงินประกันผลงาน ที่หกั ไว้ ทงหมด
ั้ หรื อคืนหนังสือค ้าประกันที่ยึดไว้
ตามภาคผนวก ค. แล้ วแต่กรณี
2.8 สิทธิเรี ยกร้ องเมื่อมีการบอกเลิกสัญญา เนื่องจากผิดสัญญา
เมื่อมีการบอกเลิกสัญญา เนื่องจากผิดสัญญา ผู้วา่ จ้ างและที่ปรึกษา จะทาความตกลงกันในเรื่ อง
ค่าเสียหาย อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่การบอกเลิกสัญญาเกิดขึ ้น เนื่องจากที่ปรึกษาเป็ นฝ่ ายผิดสัญญาผู้
ว่าจ้ างมีสิทธินาเงินประกันผลงาน ที่ยดึ ไว้ ตามสัญญา ข้ อ 2.7.2 หรื อเงินที่ธนาคารผู้ค ้าประกัน ส่งมาให้
มาชดใช้ เป็ นค่าเสียหายเบื ้องต้ นได้

3. สิทธิและหน้ าที่ของที่ปรึกษา
3.1 ที่ปรึกษาจะต้ องใช้ ความชานาญ ความระมัดระวัง และความขยันหมัน่ เพียร ในการ
ปฏิบตั งิ าน ตามสัญญาอย่างมีประสิทธิภาพ และจะต้ องปฏิบตั หิ น้ าที่ตามความรับผิดชอบ ให้ สาเร็จลุลว่ ง
เป็ นไปตามมาตรฐานของวิชาชีพที่ยอมรับนับถือกัน โดยทัว่ ไป
3.2 ค่าจ้ างซึง่ ผู้วา่ จ้ างจะชาระแก่ที่ปรึกษา ตามภาคผนวก ค. นัน้ เป็ นค่าตอบแทนเพียงอย่าง
เดียว ซึง่ ที่ปรึกษาจะได้ รับ เกี่ยวกับการปฏิบตั งิ านตามสัญญานี ้ ที่ปรึกษาจะต้ องไม่รับค่านายหน้ าทาง
การค้ า ส่วนลด เบี ้ยเลี ้ยง เงินช่วยเหลือใด ๆ โดยตรงหรื อโดยอ้ อม หรื อสิ่งตอบแทนใด ๆ ในส่วนที่
เกี่ยวข้ องกับสัญญานี ้ หรื อที่เกี่ยวกับการปฏิบตั หิ น้ าที่ตามสัญญานี ้
3.3 ที่ปรึกษาจะต้ องไม่มีผลประโยชน์ใด ๆ ไม่วา่ โดยตรงหรื อโดยอ้ อม ในเงินค่าสิทธิ เงินบาเหน็จ
หรื อค่านายหน้ าใด ๆ ที่เกี่ยวกับการนาสิ่งของ หรื อกรรมวิธีใด ๆ ที่มีทะเบียนสิทธิบตั ร หรื อได้ รับการ
คุ้มครองมาใช้ เพื่อวัตถุประสงค์ของสัญญานี ้ เว้ นแต่คสู่ ญ ั ญาจะได้ ตกลงกันเป็ นหนังสือว่าที่ปรึกษาอาจ
ได้ ผลประโยชน์ หรื อเงินเช่นว่านันได้ ้
3.4 ลิขสิทธิ์ในเอกสารทุกฉบับซึง่ ที่ปรึกษาได้ ทาขึ ้นเกี่ยวกับสัญญานี ้ ให้ ตกลงเป็ นของผู้วา่ จ้ าง
บรรดาเอกสาร ที่ที่ปรึกษาได้ จดั ทาขึ ้นเกี่ยวกับสัญญานี ้ ให้ ถือเป็ นความลับ และให้ ตกเป็ นกรรมสิทธิ์ของผู้
ว่าจ้ าง ที่ปรึกษาจะต้ องส่งมอบบรรดาเอกสารดังกล่าว ให้ แก่ผ้ วู า่ จ้ างเมื่อสิ ้นสุดสัญญานี ้ ที่ปรึกษาอาจ
เก็บสาเนาเอกสาร ไว้ กบั ตนได้ แต่ต้องไม่นาข้ อความในเอกสารนัน้ ไปใช้ ในกิจการอื่น ที่ไม่เกี่ยวกับงาน
โดยไม่ได้ รับความยินยอมล่วงหน้ า จากผู้ว่าจ้ างก่อน
3.5 บรรดาเครื่ องมือ เครื่ องใช้ และวัสดุอปุ กรณ์ทงหลายั้ ซึง่ ผู้วา่ จ้ างได้ จดั ให้ ที่ปรึกษาใช้ หรื อซึง่ ที่
ปรึกษาซื ้อมา ด้ วยทุนทรัพย์ของผู้วา่ จ้ าง หรื อซึง่ ผู้ว่าจ้ างเป็ นผู้จา่ ยชดใช้ คืนให้ ถือว่าเป็ นกรรมสิทธิ์ของผู้
ว่าจ้ าง และต้ องทาเครื่ องหมาย แสดงว่าเป็ นของผู้ว่าจ้ าง ที่ปรึกษาต้ องใช้ เครื่ องมือเครื่ องใช้ และวัสดุ
อุปกรณ์ดงั กล่าวอย่างเหมาะสม ตามระเบียบของทางราชการ เพื่อกิจการที่เกี่ยวกับการจ้ างที่ปรึกษา
เท่านัน้
เมื่อทางานเสร็จ หรื อมีการเลิกสัญญา ที่ปรึกษาจะต้ องทาบัญชี แสดงรายการเครื่ องมือเครื่ องใช้
และวัสดุอปุ กรณ์ทงหลายข้
ั้ างต้ น ที่ยงั คงเหลืออยู่ และจัดการโยกย้ ายไปเก็บรักษา ตามคาสัง่ ผู้วา่ จ้ าง ที่
ปรึกษาต้ องดูแลเครื่ องมือเครื่ องใช้ และวัสดุอปุ กรณ์ดงั กล่าว อย่างเหมาะสม ตลอดเวลาที่ครอบครอง แล้ ว
ต้ องคืนเครื่ องมือเครื่ องใช้ และวัสดุอปุ กรณ์ดงั กล่าว ให้ ครบในสภาพดีตามความเหมาะสม แต่ไม่ต้อง
รับผิดชอบ สาหรับความเสื่อมสภาพตามปกติ

4. ความรับผิดชอบของที่ปรึกษา
4.1 ที่ปรึกษาจะต้ องชดใช้ คา่ เสียหาย ให้ แก่ผ้ วู า่ จ้ าง และป้องกันมิให้ ผ้ วู า่ จ้ าง ต้ องรับผิดชอบใน
บรรดาสิทธิเรี ยกร้ องค่าเสียหาย ค่าใช้ จา่ ย หรื อราคา รวมตลอดถึงการเรี ยกร้ อง โดยบุคคลที่สาม อันเกิด
จากความผิดพลาด หรื อการละเว้ นไม่กระทาการของที่ปรึกษา หรื อของลูกจ้ างของที่ปรึกษา
4.2 ที่ปรึกษาจะต้ องรับผิด ต่อการละเมิดบทบัญญัติแห่งกฎหมาย หรื อสิทธิใด ๆ ในสิทธิบตั รหรื อ
ลิขสิทธิ์ของบุคคลที่สาม ซึง่ ที่ปรึกษานามาใช้ ในการปฏิบตั งิ าน ตามสัญญานี ้
*4.3 ที่ปรึกษาจะต้ องจัดการประกันภัย เพื่อความรับผิดต่อบุคคลภายนอก และเพื่อความสูญ
หายหรื อเสียหายในทรัพย์สิน ซึง่ ผู้วา่ จ้ างเป็ นผู้จดั หาให้ หรื อสัง่ ซื ้อโดยทุนทรัพย์ของผู้วา่ จ้ าง เพื่อให้ ที่
ปรึกษาไว้ ใช้ ในการปฏิบตั งิ านตามสัญญานี ้ โดยที่ปรึกษาเป็ นผู้ออกค่าใช้ จา่ ย ในการประกันภัยเอง ทังนี ้ ้
เว้ นแต่จะมีการตกลงกันไว้ เป็ นอย่างอื่นในสัญญานี ้

5. พันธะหน้ าที่ของผู้ว่าจ้ าง
ผู้วา่ จ้ างจะมอบข้ อมูลและสถิติตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง ซึง่ ผู้วา่ จ้ างมีอยูใ่ ห้ แก่ที่ปรึกษา โดยไม่คดิ มูลค่า
และภายในเวลาอันควร
ในกรณีที่ที่ปรึกษาร้ องขอความช่วยเหลือ ผู้วา่ จ้ างจะให้ ความช่วยเหลืออานวยความสะดวกตาม
สมควร ทังนี
้ ้ เพื่อให้ การปฏิบตั งิ านของที่ปรึกษาตามสัญญานี ้ ลุลว่ งไปได้ ด้วยดี

6. ค่ าจ้ างของที่ปรึกษา
6.1 ผู้วา่ จ้ างจะชาระค่าจ้ างปฏิบตั งิ านให้ ที่ปรึกษา ตามเงื่อนไขที่ระบุในภาคผนวก ค.
6.2 ในกรณีที่ที่ปรึกษาต้ องปฏิบตั งิ านอย่างใดอย่างหนึง่ เพิ่มเติมนอกเหนือจากที่ระบุใน
ภาคผนวก ก. เนื่องจากมีเหตุใด ๆ นอกเหนือจากการควบคุมของที่ปรึกษาเกิดขึ ้น และซี่งที่ปรึกษาไม่อาจ
คาดหมายล่วงหน้ าได้ หรื อเนื่องจากคูส่ ญ
ั ญา ได้ ตกลงเปลี่ยนแปลง หรื อแก้ ไขงาน อันสืบเนื่องมาจากการ
เรี ยกร้ องของฝ่ ายผู้ว่าจ้ าง ที่ปรึกษาจะได้ รับค่าจ้ าง รวมทังค่ ้ าใช้ จา่ ยที่เบิกคืนได้ (ถ้ ามี) เพิ่มเติมโดย
คานวณตามอัตราเดียวกับอัตราที่ระบุในภาคผนวก ค.
6.3 ในกรณีที่ความล่าช้ าเกิดจากฝ่ ายผู้วา่ จ้ างและความล่าช้ านันท ้ าให้ ต้องเสียค่าใช้ จา่ ยเพิ่มขึ ้น
เป็ นพิเศษ ที่ปรึกษามีสิทธิได้ รับค่าจ้ างเพิ่มเติมโดยคูส่ ญ
ั ญาทังสองฝ่
้ ายจะได้ ตกลงกันในเรื่ องค่าจ้ าง
เพิ่มเติมนัน้
*7 การชาระเงินให้ ท่ ปี รึกษา
7.1 เงินสกุลต่างประเทศที่ ที่ปรึกษาได้ รับชาระทุกครัง้ ผู้ว่าจ้ างจะช่วยเหลือให้ ที่ปรึกษา สามารถ
ส่งกลับไปต่างประเทศได้ ภายใต้ บทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย
7.2 เมื่อใดที่จาเป็ นต้ องตีราคาเงินตราสกุลหนึง่ เป็ นเงินตราอีกสกุลหนึง่ เพื่อการชาระเงินจานวน
ที่ระบุในภาคผนวก ค. ให้ ใช้ อตั ราขายตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ในวันที่ถึงกาหนดชาระ
เงิน เป็ นอัตราแลกเปลี่ยน
(ข้ อ 7 นี ้ ใช้ ในกรณีผ้ เู ชี่ยวชาญต่างประเทศ หรื อบริษัทที่ปรึกษาต่างประเทศ)

____________________________________________________________________________________
หมายเหตุ * เป็ นข้ อความ หรื อเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึง่ ส่วนราชการผู้ทาสัญญา อาจเลือกใช้ หรื อตัดออกได้
ตามข้ อเท็จจริง
ภาคผนวก ก.

วันทาสัญญา……………………………………………………………….
ขอบข่ายของงานและกาหนดระยะเวลาทางาน
ภาคผนวก ข.

วันทาสัญญา……………………………………………………………….
กาหนดระยะเวลาทางานของที่ปรึกษา
ภาคผนวก ค.

วันทาสัญญา………………………………………………………………
ค่าจ้ างและวิธีการจ่ายค่าจ้ าง
ภาคผนวก ค. แบบที่ 1
(แบบเหมาจ่ าย)
ค่ าจ้ างและวิธีการจ่ ายค่ าจ้ าง

1. ค่ าจ้ างส่ วนที่เหมาจ่ าย


1.1 จานวนเงินเหมาจ่าย
ผู้วา่ จ้ างจะจ่ายค่าจ้ างสาหรับการทางานของที่ปรึกษาเป็ นการเหมาเป็ นเงิน…………….(เงินตรา
ต่างประเทศ)………….และ…………………บาท (………………………………..)
1.2 งวดเงินค่าจ้ างส่วนที่เหมาจ่าย
ค่าจ้ างส่วนที่เหมาจ่ายจะแบ่งออกเป็ นเงิน……………………..(เงินตราต่างประเทศ)…………...
จานวน……….งวด และเงินบาท จานวน………งวด ซึง่ แต่ละงวดจะถึงกาหนดชาระเมื่อผู้วา่ จ้ างได้ รับใบ
เรี ยกเก็บเงินจากที่ปรึกษา ส่วนใบเรี ยกเก็บเงินนัน้ ให้ ยื่นเมื่อวันสุดท้ ายของเดือนสาหรับเงินค่าจ้ างของ
งวดเดือนนัน้
เงินค่าจ้ างในแต่ละงวดทังส่ ้ วนที่เป็ นเงิน……..….(เงินตราต่างประเทศ)……...…..…และเงินบาท
จะจ่ายตามกาหนดเวลาดังต่อไปนี ้

งวดการจ่ายเงิน เงินตราต่างประเทศ เงินบาท

เดือนที่ 1 - ……………………………….. ………………………………...


รวม ……………………………….. ………………………………..

ผู้วา่ จ้ างอาจจะยึดหน่วงเงินค่าจ้ าง งวดใดงวดหนึง่ ไว้ ก็ได้ หากที่ปรึกษาปฏิบตั งิ านไม่เป็ นไปตาม


กาหนดเวลาการทางาน ในภาคผนวก ก. และจะจ่ายให้ ตอ่ เมื่อที่ปรึกษา ได้ ทาการแก้ ไขข้ อบกพร่องนันแล้ ้ ว

2. ค่ าใช้ จ่ายส่ วนที่เบิกคืนได้


2.1 รายการค่าใช้ จา่ ยส่วนที่เบิกคืนได้
ผู้วา่ จ้ างจะจ่ายเงินคืนให้ แก่ที่ปรึ กษา สาหรับบรรดาค่าใช้ จา่ ยซึง่ ที่ปรึกษาได้ ใช้ จา่ ยไป ตามความ
เป็ นจริงดังต่อไปนี ้ ก)
ข)
ค)
2.2 ประมาณการค่าใช้ จา่ ย ส่วนที่เบิกคืนได้
ประมาณการของค่าใช้ จา่ ย ส่วนที่เบิกคืนได้ ตามข้ อ 2.1 ปรากฏอยูใ่ นเอกสารแนบ ค – 1 และ
ค – 2 และของภาคผนวกนี ้
2.3 การจ่ายเงินค่าใช้ จา่ ยส่วนที่เบิกคืนได้
ที่ปรึกษาจะต้ องส่งใบเรี ยกเก็บเงิน พร้ อมด้ วยเอกสารที่จาเป็ น เพื่อขอเบิกคืนเงินค่าใช้ จา่ ยตาม
จานวนที่ได้ จ่ายไปจริง ต่อผู้วา่ จ้ างเป็ นระยะ ๆ ไป ผู้วา่ จ้ างจะทาการจ่ายคืนค่าใช้ จ่ายดังกล่าว ให้ แก่ที่
ปรึกษาภายใน 45 วัน นับแต่ได้ รับใบเรี ยกเก็บเงินนัน้ ในกรณีที่มีคา่ ใช้ จา่ ยบางรายการ ซึง่ ยังเป็ นข้ อ
โต้ แย้ งกันอยู่ ระหว่างผู้วา่ จ้ างกับที่ปรึกษา ผู้วา่ จ้ างจะจ่ายเฉพาะค่าใช้ จา่ ย ส่วนที่ไม่มีการโต้ แย้ งให้ แก่ที่
ปรึกษา ภายใน 45 วัน นับแต่วนั ที่ได้ รับใบเรี ยกเก็บเงินนัน้

3. วิธีการจ่ ายเงิน
3.1 การจ่ายเงินส่วนที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ
(แบบที่ 1) 1. การจ่ายเงินส่วนที่เป็ นเงิน…………….(เงินตราต่างประเทศ) ………นัน้ ผู้วา่ จ้ างจะ
เป็ นผู้สงั่ ให้ ….…(แหล่งเงินกู้)…….จ่ายเงินดังกล่าวให้ แก่ที่ปรึกษาในนามของผู้วา่ จ้ าง โดยจ่ายเข้ าบัญชี
ของธนาคารซึง่ ที่ปรึกษาจะได้ กาหนด
(แบบที่ 2) 2. การจ่ายเงินส่วนที่เป็ นเงิน………..(เงินตราต่างประเทศ)……………….ผู้วา่ จ้ างจะ
เป็ นผู้จา่ ยโดยตรง โดยจ่ายเข้ าบัญชีของธนาคารซึง่ ที่ปรึกษาจะได้ กาหนด
3.2 การจ่ายเงินส่วนที่เป็ นเงินบาท
(แบบที่ 1) 1. ผู้วา่ จ้ างจะเป็ นผู้จา่ ยเงินซึง่ เป็ นเงินบาทโดยตรงให้ แก่ที่ปรึกษา
(แบบที่ 2) 2. ผู้วา่ จ้ างจะเป็ นผู้สงั่ ให้ ……….(แหล่งเงินกู้)…………จ่ายเงินส่วนที่เป็ นเงินบาท
ให้ แก่ที่ปรึกษาในนามของผู้ว่าจ้ าง โดยจ่ายเข้ าบัญชีของธนาคารซึง่ ที่ปรึกษาจะได้ กาหนด

4. เงินประกันผลงานและหนังสือคา้ ประกัน
ในการจ่ายเงินค่าจ้ าง ในแต่ละงวดตามข้ อ 1.2 ผู้วา่ จ้ างจะหักเงินค่าจ้ างไว้ ร้ อยละ……..(……%)
เพื่อมารวมไว้ เป็ นเงินประกันผลงาน และจะจ่ายคืนให้ ที่ปรึกษา ภายใน 45 วัน นับแต่………..(ตัวอย่าง
เช่น “การจ่ายเงินงวดสุดท้ าย” เป็ นต้ น)
อย่างไรก็ตาม ที่ปรึกษาอาจจะขอให้ ผ้ วู า่ จ้ าง จ่ายเงินประกันผลงาน คื นให้ แก่ที่ปรึกษาได้ แต่ที่
ปรึกษา จะต้ องนาหนังสือค ้าประกันของธนาคาร ซึง่ มีวงเงินค ้าประกัน เท่ากับจานวนเงินประกันผลงาน ที่
ขอรับคืน มามอบให้ แก่ผ้ วู ่าจ้ างไว้ แทน หนังสือค ้าประกันดังกล่าว จะต้ องออกโดยธนาคารในประเทศไทย
ตามแบบที่แนบท้ ายสัญญานี ้ (ภาคผนวก จ.) และจะต้ องมีอายุการค ้าประกันตลอดไป จนกว่า
ภาระหน้ าที่ของที่ปรึกษา ตามสัญญานี ้สิ ้นสุดลง ผู้วา่ จ้ าง จะคืนหนังสือค ้าประกันดังกล่าว ให้ แก่ที่ปรึกษา
ภายใน 7 วัน นับแต่วนั ที่หนังสือค ้าประกันนัน้ ได้ หมดอายุแล้ ว

เอกสารแนบ ค-1
ค่าใช้ จา่ ยที่เบิกคืนได้ ส่วนที่เป็ นเงิน……….(เงินตราต่างประเทศ)……………
1)
2)
3)
ฯลฯ

เอกสารแนบ ค – 2
ค่าใช้ จา่ ยที่เบิกคืนได้ ส่วนที่เป็ นเงินบาท
1)
2)
3)
ฯลฯ
รวม
ภาคผนวก ง.

แบบหนังสือค้าประกัน
(หลักประกันการรับเงินค่าจ้างที่ปรึกษาล่วงหน้า)

เลขที่………….….. วันที่……………….
ข้าพเจ้า…………..…(ชื่อธนาคาร)…………..….สานักงานตั้งอยู่เลขที่………………ถนน…………ตาบล/
แขวง………อาเภอ/เขต…………..จังหวัด……………….โดย…….…ผู้มีอานาจลงนามผูกพันธนาคารขอทาหนังสือค้า
ประกันฉบับนี้ให้ไว้ต่อ…..(ชื่อส่วนราชการผู้ว่าจ้าง…...ซึ่งต่อไปนี้ เรียกว่า “ผู้ว่าจ้าง” ดังมีข้อความต่อไปนี้
1. ตามที…่ ……….(ชื่อที่ปรึกษา)…………..ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “ที่ปรึกษา” ได้ทาสัญญากับผู้ว่าจ้างตาม
สัญญาเลขที่ …………….ลงวันที่…………….ซึ่งที่ปรึกษามีสิทธิที่จะขอรับเงินค่าจ้างล่วงหน้าเป็น
จานวน…………………บาท (………………………)
2. ข้าพเจ้ายินยอมค้าประกันการจ่ายเงินค่าจ้างล่วงหน้าที่ที่ปรึกษาได้รับไปภายในวงเงินไม่
เกิน……………..บาท (…………………………)
3. หากที่ปรึกษาซึ่งได้รับเงินค่าจ้างล่วงหน้า ตามข้อ 1 จากผู้ว่าจ้างไปแล้ว ไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือ
ตามเงือ่ นไขอื่น ๆ แนบท้ายสัญญา อันเป็นเหตุให้ ต้องจ่ายเงินค่าจ้างล่วงหน้าที่ได้รับไปดังกล่าว คืนให้แก่ผู้ว่า
จ้าง หรือที่ปรึกษามีความผูกพัน ที่จะต้องจ่ายคืนเงินค่าจ้างล่วงหน้า แก่ผู้ว่าจ้างไม่ว่ากรณีใด ๆ ข้าพเจ้าตกลง
ที่จะจ่ายคืนเงินค่าจ้างล่วงหน้า เต็มจานวน……………….บาท (……………) หรือตามจานวนที่ยังค้างอยู่ ให้แก่ผู้
ว่าจ้างภายใน 7 วัน นับถัดจากวันที่ได้รับคาบอกกล่าว เป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง โดยผู้ว่าจ้างไม่จาต้อง
เรียกร้อง ให้ที่ปรึกษาชาระหนี้นั้นก่อน
4. หากผู้ว่าจ้างได้ขยายเวลาให้แก่ที่ปรึกษา หรือยินยอมให้ที่ปรึกษา ปฏิบัติผิดแผกไปจากเงื่อนไขใด
ๆ ในสัญญาจ้าง ให้ถือว่าข้าพเจ้าได้ยินยอมในกรณีนั้น ๆ ด้วย
5. ข้าพเจ้าจะไม่เพิกถอนการค้าประกัน ไม่ว่ากรณีใด ๆ ตราบเท่าที่ที่ปรึกษายังต้องรับผิดชอบต่อผู้
ว่าจ้าง ตามสัญญาอยู่
ข้าพเจ้าได้ลงนามและประทับตราไว้ต่อหน้าพยานเป็นสาคัญ

(ลงชื่อ)…………………………..ผู้ค้าประกัน
(………………………..)
ตาแหน่ง………………………………

(ลงชื่อ)…………………………พยาน
(…………………………)

(ลงชื่อ)………………………....พยาน
(…………………………)
ภาคผนวก จ.

แบบหนังสือค้าประกัน
(หลักประกันการรับเงินประกันผลงาน)
เลขที่……………….. วันที่…………….
ข้าพเจ้า…………(ชื่อธนาคาร)………สานักงานตั้งอยู่เลขที่……..ถนน……………ตาบล/แขวง…………
อาเภอ/เขต………..จังหวัด…………โดย………….ผู้มีอานาจลงนามผูกพันธนาคารขอทาหนังสือค้าประกันฉบับนี้
ให้ไว้ต่อ………….(ชื่อส่วนราชการผู้ว่าจ้าง)………………..ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “ผู้ว่าจ้าง” ดังมีข้อความต่อไปนี้
ข้อ 1. ตามที่……....(ชื่อที่ปรึกษา)…….…ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า “ ที่ปรึกษา” ได้ทาสัญญาจ้างกับ
ผู้ว่าจ้าง ตามสัญญาเลขที่……....ลงวันที่…………โดยตามสัญญาดังกล่าวผู้ว่าจ้างจะหักเงินประกันผลงานไว้ใน
อัตราร้อยละ…………(………..%) ของค่าจ้างแต่ละงวดที่ถึงกาหนดจ่ายให้แก่ที่ปรึกษานั้น
ข้อ 2. ข้าพเจ้ายอมผูกพันตนเป็นผู้ค้าประกันที่ปรึกษา สาหรับเงินประกันผลงาน ซึ่งผู้ว่าจ้างได้หักไว้
จากค่าจ้างที่ได้จ่ายให้แก่ที่ปรึกษา ตั้งแต่งวดที่………..ถึงงวดที่……………เป็นจานวนเงินทั้งสิ้น……….บาท
(…………………..) ซึ่งที่ปรึกษา ได้ขอรับคืนไปกล่าวคือ หากที่ปรึกษาปฏิบัติบกพร่อง หรือผิดสัญญาข้อใดข้อ
หนึ่ง อันก่อให้เกิดความเสียหายใด ๆ แก่ผู้ว่าจ้าง หรือจะต้องรับผิดชดใช้หนี้แก่ผู้ว่าจ้าง ไม่ว่ากรณีใด ข้ าพเจ้า
ยอมชาระเงินค่าเสียหาย หรือหนี้ดังกล่าวข้างต้น ให้แก่ผู้ว่าจ้างทันทีที่ได้รับแจ้ง เป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง โดย
ผู้ว่าจ้างไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า หรือไม่ต้องใช้สิทธิทางศาลก่อน ทั้งผู้ว่าจ้างไม่มีหน้าที่ต้องพิสูจน์ถึง
ข้อบกพร่องดังกล่าว ของที่ปรึกษาแต่ประการใดอีกด้วย
ข้อ 3. หากผู้ว่าจ้างได้ขยายระยะเวลาให้แก่ที่ปรึกษา หรือยินยอมให้ที่ปรึกษา ปฏิบัติผิดแผกไปจาก
เงื่อนไขใด ๆ ในสัญญา ให้ถือว่าข้าพเจ้าได้ยินยอมในกรณีนั้น ๆ ด้วย
ข้อ 4. ข้าพเจ้าจะไม่เพิกถอนการค้าประกัน ไม่ว่ากรณีใด ๆ ตราบเท่าที่ที่ปรึกษา ยังต้องรับผิดชอบ
ต่อผู้ว่าจ้างตามสัญญาอยู่
ข้าพเจ้าได้ลงนามและประทับตราไว้ต่อหน้าพยานเป็นสาคัญ

(ลงชื่อ)…………………………….ผู้ค้าประกัน
(……………………………………)
ตาแหน่ง…………………………..

(ลงชื่อ)……………………….พยาน
(……………………………..)

(ลงชื่อ)……………………….พยาน
(………………………..…..)
ตัวอย่างสัญญา
จ้างให้บริการรักษา
ความปลอดภัย

ส่วนพัสดุ
สำนักอำนวยกำร
ตัวอย่ าง
สัญญาจ้ างให้ บริการรักษาความปลอดภัย

สัญญาเลขที่…………/……………..
สัญญาฉบับที่ทาขึ ้น ณ………………………………………………………………...ตาบล/
แขวง…………อาเภอ/เขต……….....…จังหวัด……………..เมื่อวันที่……….เดือน………….…พ.ศ
............…ระหว่าง.………..โดย.………………ตาแหน่ง…………….ต่อไปในสัญญานี ้เรี ยกว่า“ผู้ ว่ า
จ้ าง” ฝ่ ายหนึ่ ง กั บ องค์ ก ารสงเคราะห์ ท หารผ่ า นศึ ก ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์
โดย…………..…...(ชื่อผู้รับมอบอานาจ)………..……...ผู้รับมอบอานาจจากผู้อานวยการองค์การ
สงเคราะห์ ทหารผ่านศึก ตามหนังสือมอบอานาจลงวันที่ …………..…….…..….…แนบท้ ายสัญญานี ้ ซึง่
ต่อไปในสัญญานี ้เรี ยกว่า “ผู้รับจ้ าง” อีกฝ่ ายหนึง่ ทังสองฝ่
้ ายได้ ตกลงกันมีข้อความดังต่อไปนี ้

ข้ อ1. “ผู้รับจ้ าง” ตกลงจ้ างและ “ผู้รับจ้ าง” ตกลงรับจ้ างบริ การจ้ างความปลอดภัยแก่……….……ของ
“ผู้รับจ้ าง” ณ บริเวณ………..ตังอยู ้ เ่ ลขที่……………หมูท่ ี่……ถนน………………..ตาบล/แขวง...……..
อาเภอ/เขต……………...จังหวัด………..……..ตามรายละเอียดและเงื่อนไขแนบท้ ายสัญญาซึง่ ถือว่าเป็ น
ส่วนหนึง่ ของสัญญานี ้โดยกาหนดระยะเวลาการจ้ าง….…ปี …...…เดื อ น…..…...วัน นับตังแต่

วันที่…..……เดือน………………พ.ศ. ………ถึง วันที่…………..เดือน….…….พ.ศ.……....

ข้ อ2. “ผู้รับจ้ าง” ต้ องจัดเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย มาปฏิบตั ิหน้ าที่ตามสัญญานี ้ตังแต่
้ วนั ที่
ได้ ระบุไว้ ในข้ อ 1 เป็ นประจาทุกวัน ตามรายละเอียดและเงื่อนไขแนบท้ ายสัญญาซึ่งถือว่าเป็ นส่วนหนึ่ง
ของสัญญานี ้
กรณี เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยผลัดใด ไม่ม าปฏิบตั ิงาน หรื อมาปฏิบัติง านแต่ไม่
ครบถ้ วน “ผู้รั บ จ้ า ง” ต้ อ งรี บ ดาเนิ น การ จัด หาเจ้ า หน้ า ที่ รั ก ษาความปลอดภัย มาแทนเจ้ าหน้ าที่
รั กษาความปลอดภัย ที่ ไ ม่ม าปฏิ บัติง านทันที แต่ต้ องไม่ใช้ เจ้ าหน้ าที่ รักษาความปลอดภัยที่
ปฏิบตั ิงานมาแล้ วในผลัดก่อน

ในกรณีเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย ปฏิบตั ิงานไม่ครบถ้ วยตามสัญญา “ผู้รับจ้ าง” ยอมให้


“ผู้ว่าจ้ าง” ปรับในอัตราผลัดละ……………บาท (………….) และในแต่ละผลัดหากปฏิบตั ิงานไม่
ครบ…………..ชัว่ โมงให้ คิดค่าปรับ ในอัตราชัง่ โมงละ…………….บาท(……………………………..)
จนถึง เวลาที่ “ผู้รับจ้ าง”จัดหน้ าที่ รั กษาความปลอดภัย มาปฏิบตั ิงานครบถ้ วนตามสัญญาหรื อจนถึง
วันที่ “ผู้ว่าจ้ าง” บอกเลิกสัญญา แล้ วแต่กรณี
ข้ อ3. “ผู้รับจ้ าง” ตกลงจ้ างค่าจ้ างตามสัญญา ข้ อ 1 ให้ แก่ “ผู้รับจ้ าง” เป็ นรายเดือนในอัตราเดือน
ละ…………………..บาท (………..……) ซึง่ ได้ รวมภาษีอากรต่างๆ และค่าใช้ จา่ ยทัง้ ปวงด้ ว ยแล้ ว โดย
จะจ่ายให้ เ มื่ อ “ผู้รับจ้ าง” ได้ ให้ บริ ก าร รั กษาความปลอดภัยครบในแต่ล ะเดื อ นและ “ผู้ว่า จ้ า ง”
หรื อ ผู้แ ทนของ “ผู้ว่า จ้ า ง” หรื อ ผู้แ ทนของ “ผู้รั บ จ้ า ง”ได้ ต รวจสอบการให้ บริ การดัง กล่าวเรี ย บร้ อย
โดยชาระเป็ น……..…………….ในนาม “สานักงานรักษาความปลอดภัยองค์การสงเคราะห์ทหารผ่าน
ศึก” ภายในกาหนด 7 (เจ็ด) วันนับแต่วนั ที่ได้ รับใบแจ้ งหนี ้ โดยผู้รับจ้ างจะส่งใบแจ้ งหนี ้ให้ ผ้ วู ่าจ้ างเมื่อ
ครบ 8 (แปด) วัน นับแต่วนั ที่ให้ บริ การครบทุก ๆ 1 (หนึ่ง) เดือน

ข้ อ 4. “ผู้รั บ จ้ า ง” ตกลงจะจัด เจ้ า หน้ า ที่ รั ก ษาความปลอดภัย ที่ ซื่ อ สัต ย์ สุจ ริ ต มีสขุ ภาพดี
แข็งแรงขยันหมัน่ เพียร ไม่เป็ นโรคติดร้ ายแรง มีการศึกษา ไม่ต่ากว่าชันประโยคประถมศึ
้ กษาตอนปลาย
มีอายุไม่ต่ากว่า 18 (สิบแปด) ปี และไม่เกิน 50 (ห้ าสิบ) ปี หรื อตามข้ อตกลง เพื่อปฏิบตั ิงานตาม
สัญญานี ้

ข้ อ 5. “ผู้รับจ้ าง” มีหน้ าที่ต้องปฏิบตั ิหรื อควบคุมดูแลให้ เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยปฏิบตั ิดงั นี ้
5.1 จัดให้ มีเจ้ าหน้ าที่ รักษาความปลอดภัย ตรวจตราดูแลทรัพย์สินของ “ผู้ว่าจ้ าง” ที่นาเข้ า –
ออก บริ เวณที่เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย รับผิดชอบในเวลาที่ปฏิบตั ิหน้ าที่
5.2 จัดให้ มี เ จ้ าหน้ าที่ รัก ษาความปลอดภัย รั กษาความสงบเรี ย บร้ อย ป้ องกัน การโจรกรรม
และระมัดระวังป้องกันอัคคีภัย อันจะเกิดแก่ทรัพย์สินของ “ผู้ว่าจ้ าง”
5.3 แจ้ งหรื อให้ เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยแจ้ งให้ “ผู้รับจ้ าง” หรื อเจ้ าหน้ าที่ของ“ผู้รับจ้ าง”
ทราบทันทีเมื่อมีเหตุการณ์ผิดปกติใด ๆ เกิดขึ ้น
5.4 ควบคุมดูแลให้ เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย ให้ ความสะดวกแก่ผ้ ทู ี่มาติดต่อกับ“ผู้รับจ้ าง”
ด้ วยมารยาทที่สภุ าพ
5.5 ควบคุมดูแลให้ เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยให้ ความเคารพผู้บริ หารระดับสูง เจ้ า หน้ า ที่
ของ “ผู้ว่ า จ้ า ง” และปฏิ บัติ ต่อ ผู้ม าติ ด ต่อ หรื อ ใช้ บ ริ ก ารของ “ผู้ว่ า จ้ า ง” ด้ วยความสุภ าพ
เรี ยบร้ อย
5.6 ควบคุม ดูแ ลให้ เ จ้ า หน้ า ที่ รั ก ษาความปลอดภัย ปฏิ บัติ ห น้ า งานให้ เ ป็ นไปตามสัญญา
ด้ วยความซื่อสัตย์ สุจริ ต ตังใจและเข้
้ มแข็ง ต้ องลงเวลา ไปและกลับด้ วยตนเองทุ ก ครั ง้ ที่ ม าปฏิ บัติ
หน้ าที่ หากมี เ หตุจาเป็ น ที่ ไ ม่ อ าจหลี ก เลี่ ย งได้ เช่ น เจ้ าหน้ า ที่ รักษาความปลอดภัย เจ็บป่ วยจนไม่
สามารถปฏิบตั ิงานได้ “ผู้รับจ้ าง” ต้ องจัดให้ เจ้ าหน้ าที่ รักษาความปลอดภัยอื่ นปฏิบตั ิงานแทนโดย
“ผู้รับจ้ าง” จะต้ องแจ้ งให้ “ผู้ว่าจ้ าง” หรื อผู้แทนของ “ผู้วา่ จ้ าง” ทราบก่อนทุกครัง้ ด้ วย
หากเจ้ า หน้ า ที่ รั ก ษาความปลอดภัย หรื อ ผู้ป ฏิ บัติง านแทนดัง กล่า วกระทาด้ ว ย ประการใด ๆ
เป็ นที่เสี ยหาย หรื อเสื่ อมเสียแก่ผ้ ูว่าจ้ าง ไม่ว่ากรณี ใดๆ ให้ ถือเสมื อนว่า เป็ นการกระทาของ “ผู้รับ
จ้ าง” ซึ่ง “ผู้รับจ้ าง” ต้ องรั บผิ ดชอบทุก ประการ
5.7 ควบคุม ดูแลให้ เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย ปฏิบตั ิตามระเบียบ ข้ อบังคับ และคาสัง่
โดยชอบของ “ผู้วา่ จ้ าง” และ/หรื อผู้แทนของ “ผู้วา่ จ้ าง” ที่ใช้ อยูใ่ นขณะทาสัญญานี ้ และที่จะออกใช้ ในภาย
หน้ า เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยโดยเคร่งครัด
“ผู้ว่าจ้ าง” จะเป็ นผู้ออกคาสั่งหรื อวางระเบียบให้ “ผู้รับจ้ าง” ทาการตรวจค้ น ตัว บุค คล หรื อ
ยานพาหนะที่ ผ่า นเข้ าออก บริ เ วณสถานที่ ที่ “ผู้รับจ้ า ง” รั บบริ ก ารรั กษาความปลอดภัยได้ ในกรณีที่
มีเหตุสงสัยตามสมควร “ผู้รับจ้ าง” จะวางกฎเกณฑ์หรื อระเบียบ ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามสัญญานี ้ โดย
ไม่ได้ รับความเห็นชอบจาก “ผู้ว่าจ้ าง” ไม่ได้ ทงสิ ั ้ น้ ในกรณีที่มีข้อสงสัยในการปฏิบตั หิ น้ าที่ “ผู้รับจ้ าง”
ต้ องปรึกษาและปฏิบตั ติ ามคาแนะนาของ “ผู้ว่าจ้ าง” เท่านัน้ ห้ าม “ผู้รับจ้ าง” กระทาไปโดยพลการ
เว้ นแต่ในกรณีจะเป็ นและเร่งด่วน ซึ่ง “ผู้รับจ้ าง” ต้ องปฏิบตั ิไปในแนวทางสร้ างสรรค์ และสุภ าพ โดย
ถื อประโยชน์ ของ “ผู้ว่าจ้ าง” เป็ นสาคัญ
5.8 แจ้ งรายชื่อพร้ อมประวัติเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยของ “ผู้รับจ้ าง” ที่จะปฏิบตั งิ านตาม
สัญ ญานี ใ้ ห้ แ ก่ “ผู้ว่า จ้ า ง” ภายใน ……….…(………) วัน นับ แต่วัน ลงนามในสัญญานี ้ และเมื่อมี
การเปลี่ ยนตัวบุคคลดัง กล่าว “ผู้รับจ้ าง” ต้ องแจ้ ง ให้ “ผู้รั บจ้ าง” ทราบอย่างน้ อยก่อน 1 (หนึ่ง ) วันทา
การทุกครัง้
5.9 ให้ มีการเปลี่ยนตัวเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยของ “ผู้รับจ้ าง” ในกรณีที่ “ผู้รับจ้ า ง” เห็ น ว่ า
ปฏิ บ ัติ ห น้ าที่ บ กพร่ อ งไม่ เ หมาะสม หรื อมี ค วามประพฤติ ไ ม่ ดี หรื อไม่มีค วามสามารถในทัน ที
โดยไม่มี ข้ อ แม้ ใ ด ๆ ทัง้ สิ น้ แต่ถ้ า ปรากฏว่า เจ้ า หน้ า ที่ รั ก ษาความปลอดภัยของ “ผู้รับจ้ าง”
ที่เปลี่ยนมาใหม่ ยังคงบกพร่ องต่อหน้ าที่ หรื อมีพฤติการณ์ ที่ไม่เหมาะสมต่อการปฏิบตั ิหน้ าที่อีกและ
“ผู้วา่ จ้ าง”ตรวจพบให้ ถือว่า “ผู้รับจ้ าง” ผิดสัญญา “ผู้รับจ้ าง” มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและจ้ างผู้อื่นทางาน
จ้ างนี ้ต่อจาก “ผู้รับจ้ าง” ได้
5.10 จัดอบรมเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยของ "ผู้รับจ้ าง" ให้ อยูใ่ นระเบียบวินยั และมี
ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิหน้ าที่ก่อนส่งไปปฏิบตั หิ น้ าที่ตามสัญญานี ้
5.11 จัดหาเครื่ องแบบ นกหวีด กระบอง ไฟฉาย หรื ออุปกรณ์อื่นที่จาเป็ น ในการปฏิบตั งิ านตาม
สัญญานีใ้ ห้ แก่เจ้ าหน้ าที่ รักษาความปลอดภัยของ “ผู้รับจ้ าง” เอง
ข้ อ 6 “ผู้รับจ้ าง” ต้ องรับผิดต่อ “ผู้รับจ้ าง” ดังนี ้
6.1 ความเสียหายที่เกิดขึ ้นจริง และอยู่ในความรับผิดชอบของ “ผู้รับจ้ าง” ตามสัญญานี ้“ผู้รับจ้ าง”
ต้ องชดใช้ ตามมูลค่าที่เสียหายจริง ภายในวงเงินไม่เกินครัง้ ละ………………....บาท
6.2ความเสี ย หายหรื อสูญ หายอันเกิ ดจากการโจรกรรมทรั พ ย์ สินซึ่ง เก็ บไว้ ในอาคารสถานที่
และปรากฏร่ อ งรอยการงัด แงะ หรื อ ทาลายเครื่ อ งกี ด ขวาง หรื อ ทาลายสิ่งกีดกันส ้ าหรับคุ้มครอง
ทรัพย์สินที่ “ผู้วา่ จ้ าง” จะต้ องมีหลักฐาน เพื่อพิสจู น์วา่ มีทรัพย์สินนันอยู ้ ก่ ่อนหน้ า การเกิดโจรกรรม
6.3 ความเสียหาย หรื อสูญหายอันเกิดแก่ทรัพย์สิน ซึ่งอยู่นอกอาคารสถานที่ แต่อยู่ในบริ เวณที่
ระบุตามสัญญาข้ อ 1 จะต้ องเป็ นทรัพย์สินที่เห็นประจักษ์ ตามปกติด้วยสายตาหรื อเป็ นทรัพย์สินที่
“ผู้ว่าจ้ าง” ได้ แจ้ งให้ “ผู้รับจ้ าง” ทราบเป็ นหนังสื อและ หรื อได้ มี การตรวจสอบบันทึกประเภท ชนิด
จานวน โดยเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยของ “ผู้รับจ้ าง” แล้ ว
6.4 “ผู้ รั บ จ้ าง” มี สิ ท ธิ ที่ จ ะเลื อ กรั บ ผิ ด ชอบ ชดใช้ ค่ า ความเสี ย บหายให้ แก่ “ผู้รับจ้ าง”
โดยชดใช้ ให้ เป็ นทรัพย์สินประเภทและชนิดเดียวกัน หรื อโดยชดใช้ ราคาให้ ตามราคาหรื อ ค่ า เสี ย หาย
จริ ง ในปั จ จุ บัน แต่ไ ม่ เ กิ น ราคาเดิ ม ที่ “ผู้ รั บ จ้ าง” จัด หามาโดยหัก ค่า เสื่อมราคาตามอายุการใช้ งาน
ของทรัพย์สิน ทังนี ้ ้ไม่เกินวงเงินตาม ข้ อ 6.1
6.5 ในกรณีเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยปฏิบตั ิหน้ าที่บกพร่ อง ไม่เป็ นไปตามระเบียบ
ข้ อบังคับ หรื อคาสัง่ โดยชอบของ “ผู้ว่าจ้ าง” หรื อผู้แทนของ “ผู้ว่าจ้ าง” มีสิทธิปรับ “ผู้รับจ้ าง” ได้ ครัง้
ละ……….(…………) บาทต่อหนึ่งเหตุการณ์โดย “ผู้ว่าจ้ าง” จะต้ องแจ้ งความบกพร่ อ ง ในแต่ล ะครั ง้
เป็ นหนัง สื อ ให้ “ผู้รั บ จ้ า ง” หรื อ ผู้แ ทนของ “ผู้รั บ จ้ า ง” ทราบภายใน…………(……..) วันทาการ นับ
แต่วนั ทราบเหตุ และเมื่อสัญญาทาการตกลงกันเป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว จึงสามารถดาเนินการปรับได้
6.6 ในกรณี ที่เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย ไม่มาปฏิ บัติหน้ าที่ ให้ ครบถ้ วนตาม
กาหนดเวลาในข้ อ 2 หากเกิ ด ความเสี ยหายใด ๆ ขึน้ แก่ “ผู้ว่าจ้ าง” หรื อ ทรั พ ย์ สินของ “ผู้รับจ้ าง”
“ผู้วา่ จ้ าง” ต้ องรับผิดชดใช้ คา่ เสียหายให้ แก่ “ผู้วา่ จ้ าง” แต่ไม่เกินวงเงินในข้ อ 6.1
6.7 ในระหว่างปฏิบตั ิงาน ถ้ า “ผู้รับจ้ าง” ได้ กระทาการใด ๆ อันเป็ นการละเมิดต่อบุคคล หรื อ
ทรั พ ย์ สิ นของบุค คลอื่ น “ผู้รับจ้ าง” จะต้ องรั บผิด ในบรรดา ความเสี ยหายที่ ไ ด้ กระทาขึ ้นนันเอง ้
6.8 หากความเสียหาย หรื อสูญหายของทรัพย์สินซึง่ “ผู้รับจ้ าง” ต้ องรับผิดชอบเกิดขึ ้นเพราะ
“ผู้รับจ้ าง” หรื อเจ้ าหน้ าที่ของ “ผู้ว่าจ้ าง” มีส่วนผิดอยู่ด้วย คูส่ ญ ั ญาจะร่วมกันรับผิด โดยให้ ความรั บผิด
ของคูส ัญญา แต่ละฝ่ ายขึน้ อยู่กับ การที่ ค่สู ัญญาแต่ละฝ่ ายได้ มีส่วนในความผิด นันยิ ้ ่งหย่อนกว่ากัน
เพียงไร
ข้ อ 7. “ผู้รับจ้ าง” ไม่ต้องรับผิดต่อ “ผู้วา่ จ้ าง” ในกรณีดงั ต่อไปนี ้
7.1 ความเสียหายหรื อ สูญหายอันเกิดจากเหตุสุดวิสยั ผลของสงคราม การรุ กราน การกระทา
ของข้ าศึกต่างชาติ สงครามกลางเมือง การเกิดจลาจล ภัยธรรมชาติ
7.2 ความเสี ยหาย หรื อ สูญ หายอันเกิ ดจาก “ผู้ว่า จ้ าง” ลูกจ้ างหรื อผู้แทนของ “ผู้ว่าจ้ าง”
เป็ นผู้กระทาเสียเอง หรื อให้ ความร่ วมมือกันบุคคล ภายนอกในกรณีที่สามารถรู้ ตัวผู้กระทาผิด
7.3 ความเสียหาย หรื อสูญหาย อันเกิดจากการปล้ น อัคคีภยั หรื อภัยต่าง ๆ ซึง่ ไม่อยู่ในวิ สั ย ที่ จ ะ
ป้ องกั น ได้ เว้ นแต่ ค วามเสี ย หายนัน้ เกิ ด ขึ น้ จากความจงใจ หรื อ ประมาทเลินเล่อ หรื อละเลยต่อ
การปฏิบตั ิหน้ าที่ ของผู้รับจ้ างหรื อเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยของผู้รับจ้ าง
7.4 “ผู้รับจ้ าง” ไม่ต้องรับผิดชอบชดใช้ คา่ เสียหายไม่ว่ากรณีใด ๆ ที่เกิดขึ ้นกับทรัพย์สินส่วนตัวของ
เจ้ าหน้ าที่ของ “ผู้วา่ จ้ าง” หรื อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก ที่มิใช่คสู่ ญ ั ญา เว้ นแต่ทรัพย์สินส่วนตัว ที่
เจ้ าหน้ าที่ของ “ผู้วา่ จ้ าง” นามาใช้ ในสานักงาน ของผู้วา่ จ้ างเพื่อประโยชน์ในการปฏิบตั งิ าน และได้ แจ้ งให้
“ผู้รับจ้ าง” ทราบรายการของทรัพย์สินนันแล้ ้ ว
ข้ อ 8. หน้ าที่และความรับผิดชอบของ “ผู้วา่ จ้ าง” มีดงั นี ้
8.1 จัดให้ มีระเบียบข้ อบังคับเกี่ยวกับ การรักษาความปลอดภัย ใช้ บงั คับแก่เจ้ าหน้ าที่ฯ หรื อลูกจ้ าง
หรื อพนักงานของ “ผู้วา่ จ้ าง” หรื อบุคคลที่ผา่ นเข้ า – ออกในบริเวณเขตรับผิดชอบ “ผู้รับจ้ าง” เช่น การตรวจ
ค้ นตัว และยานพาหนะเมื่อมีกรณีสงสัยและมีความจาเป็ น
8.2 กาหนดหน้ าที่และจุดปฏิบตั ิงานของเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยโดยชัด เจนและจัดทา
ประกาศกาหนดหน้ าที่และจุดปฏิบตั งิ านดังกล่าวติดประกาศไว้
8.3 กรณีทรัพย์สินของ “ผู้ว่าจ้ าง” เกิดความเสียหายหรื อเกิดสูญหายอันเนื่องมาจากการ
โจรกรรม ซึง่ “ผู้รับจ้ าง” จะต้ องรับผิดตามสัญญานี ้ “ผู้วา่ จ้ าง” จะต้ องแจ้ งเป็ นหนังสือให้ “ผู้รับจ้ าง” ทราบ
โดยด่วนที่สดุ อย่างช้ าไม่เกิน…………(……..) วันทาการ พร้ อมระบุ ชนิด ประเภท จานวน และมูลค่าของ
ทรัพย์สินที่แท้ จริงพร้ อมหลักฐานอื่น ๆ ประกอบด้ วย
8.4 “ผู้ว่าจ้ าง” จะต้ องให้ เวลาแก่ “ผู้รับจ้ าง” ในการติดตามเอาทรัพย์สินที่สูญหายคืนภายใน
30 (สามสิบ) วัน นับแต่วนั ที่ทราบผลการสอบสวน ของพนักงานสอบสวนและหากครบกาหนดแล้ วยัง
ไม่ได้ คืน “ผู้รับจ้ าง” จะต้ องชดใช้ คา่ ความเสียหายให้ แก่ “ผู้วา่ จ้ าง” ตามที่กาหนดไว้ ในสัญญานี ้
8.5 ในกรณีที่ “ผู้ว่าจ้ าง” ต้ องการให้ “ผู้รับจ้ าง” ดูแลรักษาทรัพย์สินที่ต้องรักษาความปลอดภัย
เป็ นพิเศษชัว่ คราว “ผู้วา่ จ้ าง” จะต้ องแจ้ งให้ “ผู้รับจ้ าง” ทราบเป็ นหนังสือ
8.6 ในกรณีที่รัฐบาลประกาศเปลี่ยนแปลง กาหนดอัตราค่าจ้ างแรงงานขันต ้ ่าภายหลังสัญญานี ้มี
ผลใช้ บงั คับ “ผู้รับจ้ าง” มีสทิ ธิร้องขอเพิ่มอัตราค่าจ้ างเฉพาะค่าแรงของเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยตาม
อัตราส่วนต่างของค่าจ้ าง ขันต ้ ่าที่รัฐบาลกาหนดเพิ่มขึ ้นซึ่ง “ผู้รับจ้ าง” จะพิจารณาด้ วยเหตุผลที่
สมควรและเป็ นธรรม หาก “ผู้ว่าจ้ าง” ไม่สามารถตกลงตามที่ ร้องขอเพราะเหตุขดั ข้ องด้ าน
งบประมาณหรื อเพราะเหตุอื่นใด “ผู้รับจ้ าง” มีสิทธิบอกเลิกสัญญา ในกรณีนี ้ “ผู้รับจ้ าง” จะไม่เรี ยกร้ อง
ค่าเสียหายใด ๆ ทังสิ ้ ้น
ข้ อ 9 “ผู้รับจ้ าง” ยินยอมให้ ผ้ วู ่าจ้ างหักเงินค่าจ้ างที่ “ผู้รับจ้ าง” จะได้ รับตามสัญญาข้ อ 3 ชาระ
บรรดาค่าปรับและค่าเสียหายที่ “ผู้รับจ้ าง” ต้ องรับผิดตามสัญญานี ้ หากเงินที่หกั ไว้ ยังไม่พอชาระค่าปรั บ
และค่าเสี ยหายดังกล่าว “ผู้รับจ้ าง” ยินยอมชาระส่วนที่ยัง ขาดอยู่ จนครบถ้ วนภายใน
กาหนด……..…..(…..………) วัน นับแต่วนั ที่ได้ รับแจ้ งเป็ นหนังสือจาก “ผู้วา่ จ้ าง”
10 ในกรณีที่คสู่ ญ ั ญาฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดละเลย หรื อละเว้ นไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาข้ อหนึ่ง ข้ อใดเป็ น
เหตุ ให้ เกิดความเสียหายขึ ้นไม่วา่ กรณีใด ๆ คูส่ ญ ั ญาฝ่ ายที่ละเลย หรื อละเว้ นดังกล่าวจะต้ องรับผิดชอบโดย
สิ ้นเชิงและคูส่ ญ
ั ญาอีกฝ่ ายหนึ่ง มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ ทนั ที ในกรณีที่ “ผู้วา่ จ้ าง” ใช้ สิทธิบอกเลิก
สัญญา “ผู้รับจ้ าง” ยอมให้ “ผู้วา่ จ้ าง” ดาเนินการดังต่อไปนี ้
10.1 เรี ยกเอาค่าจ้ างที่เ พิ่มขึน้ เพราะต้ องจ้ าง บุคคลอื่ นให้ บริ การดูแลและรักษาความ
ปลอดภัยต่อไปจนครบกาหนดเวลาตามสัญญานี ้
10.2 เรี ยกค่าเสียหายอื่นอันพึงมีจาก “ผู้รับจ้ าง”
10.3 ระงับการจ่ายค่าจ้ างที่ค้างชาระสาหรับ การให้ บริ การที่ได้ ดาเนินการไปแล้ ว เพื่อเป็ น
ประกันการชาระค่าเสียหาย
10.4 ริบหลักประกันสัญญาตามข้ อ 13
ข้ อ 11 การว่าจ้ างตามสัญญานี ้ไม่ทาให้ “ผู้รับจ้ าง” และเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยของ “ผู้รับ
จ้ าง” มีฐานะเป็ นลูกจ้ างของทางราชการ หรื อมีความสัมพันธ์ ในฐานะเป็ นลูกจ้ างของ “ผู้วา่ จ้ าง”ตาม
กฎหมายแรงงาน
ข้ อ 12 ห้ าม “ผู้รับจ้ าง” เอางานทังหมดหรื
้ อส่วนใดส่วนหนึง่ แห่งสัญญานี ้ไปให้ ผ้ อู ื่นรับจ้ างช่วงอีก
ทอดหนึง่
ข้ อ 13 ในวันทาสัญญานี ้ “ผู้รับจ้ าง” ได้ นาหลักประกันเป็ นเงินจานวน…………บาท
(………….….) หรื อเป็ นหนังสือค ้าประกันของ………………ลงวันที่…………………เป็ นจานวนร้ อย
ละ…………….ของราคาค่าจ้ างทังสิ ้ ้นเป็ นเงิน……………บาท (………….) มามอบให้ แ ก่ “ผู้ว่าจ้ าง”
เพื่ อเป็ นประกันการปฏิ บัติตามสัญ ญา และเป็ นหลัก ประกัน ความเสีย หายทังปวง ้ ตามสัญญานี ้
หลักประกันที่ “ผู้รับจ้ าง” นามามอบไว้ ตามวรรค 1 “ผู้วา่ จ้ าง” จะคืนให้ เมื่อ “ผู้รับจ้ าง” พ้ นจากข้ อ
ผูกพันตามสัญญานี ้แล้ ว
สัญญานีท้ าขึ ้นสองฉบับ มีข้อความอย่างเดียวกัน คู่สัญญาได้ อ่านข้ อความเข้ าใจโดยตลอด
แล้ วจึงลงลายมือชื่อพร้ อมประทับตรา (ถ้ ามี) ไว้ เป็ นสาคัญต่อหน้ าพยาน และได้ เก็บสัญญานี ้ไว้ ฝ่าย
ละฉบับ
(ลงชื่อ)……………………………………….ผู้วา่ จ้ าง
(……………………………….)

(ลงชื่อ)……………………………………….ผู้รับจ้ าง
(……………………………….)
(ลงชื่อ)……………………………………….พยาน
(……………………………….)

(ลงชื่อ)……………………………………….พยาน
(……………………………….)
รายละเอียดและเงื่อนไขแนบท้ ายสัญญาจ้ าง

เลขที่สญ
ั ญา…………./…………
ขอบเขตของงาน

“ผู้รับจ้ าง” ต้ องจัดเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยเพื่อปฏิบตั หิ น้ าที่รักษาความปลอดภัย ดังนี ้


1. รายละเอียดสถานที่ของ“ผู้วา่ จ้ าง”….………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..

2. รายละเอียดเจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยของ “ผู้รับจ้ าง” เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยจะ


ประกอบด้ วย
2.1 หัวหน้ าชุด…………………………..…….คน
2.2 รองหัวหน้ าชุด……………………….……คน
2.3 หัวหน้ าผลัด………………………….……คน
2.4 ระดับผู้ควบคุม……………………………คน
2.5 เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัย……………..คน
2.6 สารองปฏิบตั หิ น้ าที่………………………..คน
2.7 อื่น ๆ……………………………………….คน
2.8 รวมทังสิ ้ ้น………………………………….คน
เจ้ าหน้ าที่รักษาความปลอดภัยต้ องปฏิบตั หิ น้ าที่ประจาทุกวัน ดังนี ้
(1) วันปฏิบตั ริ าชการตามปกติ……..ผลัด ๆ ละ………ชัว่ โมง โดย
ผลัดที่ 1 เริ่มตังแต่
้ เวลา………ถึง…………และ
ผลัดที่ 2 เริ่มตังแต่
้ เวลา………ถึง…………
(2) วันหยุดราชการปฏิบตั หิ น้ าที่………ผลัด ๆ ละ………..ชัว่ โมง โดย
ผลัดที่ 1 เริ่มตังแต่
้ เวลา………ถึง…………และ
ผลัดที่ 2 เริ่มตังแต่้ เวลา………ถึง…………

3. …………….………..ฯลฯ…………………………
ตัวอย่างสัญญา
จ้างที่ปรึกษาออกแบบ
และควบคุมงาน

ส่วนพัสดุ
สำนักอำนวยกำร
ตัวอย่ าง
สัญญาจ้ างที่ปรึกษาออกแบบและควบคุมงาน

สัญญาเลขที่…………….
สัญญาฉบับนี ้ทาขึ ้น ณ…...……………………………………………………………
ตาบล/แขวง………….…อาเภอ/เขต……………….จังหวัด………………เมื่อวันที่……..…..
เดือน……..….พ.ศ. ………..ระหว่าง……...………..โดย……………….ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้จะเรี ยกว่า
“ผู้วา่ จ้ าง” ฝ่ ายหนึง่ กับ………….ซึง่ จดทะเบียนเป็ นนิตบิ คุ คล ณ………………….มีสานักงานใหญ่อยู่
เลขที่……….ถนน…………..ตาบล/แขวง…………..อาเภอ/เขต..……….จังหวัด………..โดย……….ผู้มี
อานาจลงนามผูกพันนิติบคุ คล ปรากฏตามหนังสือรับรองของสานักงานทะเบียนหุ้นส่วน
บริษัท………………..ลงวันที่………………….(และหนังสือมอบอานาจลงวันที่…………)* แนบท้ าย
สัญญานี ้ (ในกรณีที่ที่ปรึกษาเป็ นบุคคลธรรมดาให้ ใช้ ข้อความว่ากับ……….อยูบ่ ้ านเลขที่…….
ถนน…………..ตาบล/แขวง…………………อาเภอ/เขต………………..จังหวัด…………….)* ซึง่ ต่อไป
ในสัญญานี ้จะเรี ยกว่า “ที่ปรึกษา” อีกฝ่ ายหนึง่
ทังสองฝ่
้ ายได้ ตกลงทาสัญญากันมีข้อความดังต่อไปนี ้

ภาค ก. การออกแบบ
ข้ อ 1. ผู้วา่ จ้ างตกลงจ้ างและที่ปรึกษาตกลงรับจ้ างออกแบบ………….……………...
(ชื่อโครงการพร้ อมวัตถุประสงค์ของการจ้ างที่สาคัญและรายละเอียดทุกรายการ)…………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………ตามความต้ องการของผู้วา่ จ้ าง ทังนี ้ ้ ที่
ปรึกษาจะต้ องปฏิบตั งิ าน ให้ เป็ นไปตามหลักวิชาการ ทางด้ านสถาปั ตยกรรมและวิศวกรรม และ
บทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง
ข้ อ 2. ที่ปรึกษาจะลงมือทางานภายในวันที่…………เดือน……………..พ.ศ..………
และจะดาเนินการออกแบบตามสัญญานี ้ให้ แล้ วเสร็จภายในวันที่ …...เดือน………พ.ศ………
ข้ อ 3. ผู้วา่ จ้ างและที่ปรึกษา ได้ ตกลงราคาค่าจ้ างออกแบบตามสัญญานี ้ เป็ นจานวนเงิน
ทังสิ
้ ้น………………….บาท (…………………………..)
ข้ อ 4 ผู้วา่ จ้ างตกลงจ่ายค่าจ้ างให้ แก่ที่ปรึกษาเป็ นงวด ๆ ดังนี ้
งวดที่ 1 จานวนร้ อยละ……………..ของค่าจ้ างออกแบบตามข้ อ 3 เป็ นเงิน…………...
บาท(……………………) จะจ่ายให้ เมื่อ…………………
งวดที่ 2 จานวนร้ อยละ …………….ของค่าจ้ างออกแบบตามข้ อ 3 เป็ นเงิน…………..
บาท(…………………...) จะจ่ายให้ เมื่อ………………….
งวดที่ 3 จานวนร้ อยละ……………..ของค่าจ้ างออกแบบตามข้ อ 3 เป็ นเงิน………….
บาท(……………..……) จะจ่ายให้ เมื่อ…………………..
งวดที่ 4 …………………………………………………………………….....
…………………………………..……ฯลฯ…………….…………………....
งวดสุดท้ ายเงินที่เหลือจานวน………………..บาท (………..……………….) จะจ่ายให้
เมื่อผู้วา่ จ้ าง ได้ รับมอบงานออกแบบจากที่ปรึกษาครบบริ บรู ณ์ เป็ นที่เรี ยบร้ อยตามสัญญาแล้ ว
การจ่ ายเงินตามเงื่อนไขแห่ งสัญญานี ้ ผู้ว่าจ้ างจะโอนเงินเข้ าบัญชีเงินฝากธนาคารของ
ที่ปรึกษา ชื่อธนาคาร……………………………..…สาขา…………………………………ชื่อ
บัญชี……………………….เลขที่บัญชี……………………ทัง้ นี ้ ที่ปรึกษาตกลงเป็ นผู้รับภาระเงิน
ค่ าธรรมเนียม หรือค่ าบริการอื่นใด เกี่ยวกับการโอนที่ธนาคารเรียกเก็บ และยินยอมให้ มีการ
หักเงินดังกล่ าว จากจานวนเงินโอนในงวดนัน้ ๆ (ความในวรรคนี ้ ใช้ สาหรับกรณีท่ สี ่ วนราชการ
จะจ่ ายเงินตรงให้ แก่ ท่ ปี รึกษา (ระบบ Direct Payment) โดยการโอนเงินเข้ าบัญชีธนาคารของ
ที่ปรึกษา ตามแนวทางที่กระทรวงการคลังกาหนด)
ข้ อ 5. ที่ปรึกษาจะส่งมอบผลงาน พร้ อมทังแบบและรายละเอี ้ ยดประกอบแบบ
จานวน………ชุด ให้ แก่ผ้ วู า่ จ้ าง ในวันส่งมอบงานตามสัญญา
ข้ อ 6. ผู้วา่ จ้ างเป็ นเจ้ าของลิขสิทธิ์ในผลงานที่ที่ปรึกษาได้ ออกแบบตามสัญญานี ้ และที่
ปรึกษาจะนาผลงาน และรายละเอียดของงานตามสัญญานี ้ไปใช้ หรื อเผยแพร่ในกิจการอื่น
นอกเหนือจากที่ได้ ระบุไว้ ในสัญญานี ้ไม่ได้ เว้ นแต่ได้ รับอนุญาตเป็ นลายลักษณ์อกั ษร จากผู้วา่ จ้ างก่อน
ข้ อ 7 ในกรณีที่ผลงานของที่ปรึกษาบกพร่อง หรื อไม่เป็ นไปตามความประสงค์ ของผู้วา่
จ้ างอันเนื่องมาจากผู้รับจ้ าง มิได้ ดาเนินการให้ ถกู ต้ องตามหลักวิชาการทางสถาปั ตยกรรม และ/หรื อ
วิศวกรรม ที่ปรึกษาต้ องรี บทาการแก้ ไข ให้ เป็ นที่เรี ยบร้ อย โดยไม่คิดค่าบริการจากผู้วา่ จ้ างอีก ถ้ าที่ปรึกษา
หลีกเลี่ยงหรื อบิดพริ ว้ ไม่รีบจัดการแก้ ไขให้ เป็ นที่เรี ยบร้ อย ในกาหนดเวลา ที่ผ้ วู า่ จ้ างแจ้ งเป็ นลายลักษณ์
อักษร ผู้วา่ จ้ างมีสิทธิจ้างที่ปรึกษารายอื่นทาการแทน โดยที่ปรึกษาจะต้ องรับผิดชอบ จ่ายเงินค่าจ้ างใน
การนี ้แทนผู้วา่ จ้ างโดยสิ ้นเชิง
ถ้ ามีความเสียหายเกิดขึ ้น แก่งานที่ออกแบบ อันเนื่องมาจากการที่ที่ปรึกษาได้ ออกแบบ
งานไม่ถกู ต้ องตามหลักวิชาการทางสถาปั ตยกรรม และ/หรื อวิศวกรรม ที่ปรึกษาจะต้ องทาการแก้ ไขความ
เสียหายดังกล่าว ภายในเวลาที่ผ้ วู า่ จ้ างกาหนดให้ ถ้ าที่ปรึกษาไม่สามารถแก้ ไขได้ ที่ปรึกษาจะต้ องชดใช้
ค่าเสียหายที่เกิดขึ ้น โดยสิ ้นเชิง ซึง่ หมายความรวมทังความเสี ้ ยหาย ที่เกิดขึ ้นโดยตรง และโดยส่วนที่
เกี่ยวเนื่องกับความเสียหายที่เกิดขึ ้น จากงานบริการนี ้ด้ วย
ถ้ าที่ปรึกษาไม่เริ่มปฏิบตั งิ าน ภายในกาหนด หรื อมีเหตุให้ ผ้ วู า่ จ้ างเชื่อได้ วา่ ที่ปรึกษาไม่
สามารถทางานให้ แล้ วเสร็จ ภายในกาหนด หรื อล่วงเลยกาหนดเวลาแล้ วเสร็จไปแล้ ว หรื อที่ปรึกษา ทาผิด
สัญญาข้ อหนึง่ ข้ อใด ผู้วา่ จ้ างมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ และเมื่อบอกเลิกสัญญาแล้ ว ผู้วา่ จ้ างมีสิทธิริบหรื อ
บังคับจากหลักประกัน และมีสิทธิเรี ยกค่าเสียหายอื่น (ถ้ ามี) จากที่ปรึกษาด้ วย

ภาค ข. การควบคุมงาน
ข้ อ 8 ผู้วา่ จ้ างตกลงจ้ าง และที่ปรึกษาตกลงรับจ้ างควบคุมงานก่อสร้ าง……….……
………………….(ชื่อโครงการพร้ อมรายละเอียดการจ้ างที่สาคัญทุกรายการ)…..…………………….…
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………ตามความต้ องการของผู้วา่ จ้ าง ทังนี ้ ้ ที่ปรึกษาจะเป็ น
ผู้ควบคุมงานแทนผู้วา่ จ้ าง ตามสัญญาจ้ างเหมาก่อสร้ าง ระหว่างผู้วา่ จ้ างกับผู้รับจ้ างเหมาก่อสร้ าง ซึง่
ต่อไปในสัญญานี ้จะเรี ยกว่า “สัญญาก่อสร้ าง” และ “ผู้รับจ้ าง” ตามลาดับ
ข้ อ 9.ที่ปรึกษาจะควบคุมงานให้ เป็ นไปตามสัญญาก่อสร้ างและถูกต้ องตามหลักวิชาการ
ทางด้ านสถาปั ตยกรรมและวิศวกรรม และจะต้ องรับผิดชอบต่อผู้ว่าจ้ างจนกว่างานตามสัญญาก่อสร้ างจะ
แล้ วเสร็จตามรูปแบบและรายละเอียดของแบบงานในภาค ก. ของสัญญานี ้
ข้ อ 10. ผู้วา่ จ้ างและที่ปรึกษา ได้ ตกลงราคาค่าจ้ างควบคุมงานตามสัญญานี ้ เป็ นจานวน
เงินทังสิ
้ ้น………………บาท (…………………………) โดยผู้ว่าจ้ างจะแบ่งจ่ายค่าจ้ างให้ แก่ที่ปรึกษา
เป็ นรายเดือนเดือนละเท่า ๆ กัน ตามอายุสญ ั ญาก่อสร้ างเป็ นเงิน เดือนละ…………………….…….บาท
(…………….……)โดยจะจ่ายให้ เมื่อที่ปรึกษาได้ ควบคุมงาน และทารายงานการควบคุมงานและผลงาน
ตามโครงการในเดือนนัน้ ๆ เสนอต่อผู้วา่ จ้ างเป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว
การจ่ ายเงินตามเงื่อนไขแห่ งสัญญานี ้ ผู้ว่าจ้ างจะโอนเงินเข้ าบัญชีเงินฝาก
ธนาคารของที่ปรึกษา ชื่อธนาคาร……………………………………สาขา…………………………
ชื่อบัญชี……………………………….เลขที่บัญชี……………………ทัง้ นี ้ ที่ปรึ กษาตกลงเป็ นผู้รับ
ภาระเงินค่ าธรรมเนียม หรือค่ าบริการอื่นใด เกี่ยวกับการโอนที่ธนาคารเรียกเก็บ และยินยอม
ให้ มีการหักเงินดังกล่ าว จากจานวนเงินโอนในงวดนัน้ ๆ (ความในวรรคนี ้ ใช้ สาหรับกรณีท่ ี
ส่ วนราชการจะจ่ ายเงินตรงให้ แก่ ท่ ปี รึกษา (ระบบ Direct Payment) โดยการโอนเงินเข้ าบัญชี
ธนาคารของที่ปรึกษา ตามแนวทางที่กระทรวงการคลังกาหนด)
ข้ อ 11. ที่ปรึกษาจะจัดให้ มีผ้ คู วบคุมงาน ที่มีความรู้และความชานาญงาน ให้ เหมาะสม
กับสภาพการควบคุมงานตามสัญญา และให้ สอดคล้ องกับแผนการทางานของที่ปรึกษา ที่ปรากฏใน
เอกสารภาคผนวก………..แนบท้ ายสัญญานี ้
ข้ อ 12. ในกรณีที่ผ้ วู า่ จ้ างพิจารณาเห็นว่า การดาเนินงานของผู้ควบคุมงาน จะเกิดความ
เสียหายแก่งาน ตามสัญญาก่อสร้ าง ไม่วา่ ในกรณีใดก็ตาม ผู้วา่ จ้ างมีสิทธิที่จะให้ ที่ปรึกษาเปลี่ยนผู้
ควบคุมงานบางคน หรื อทังหมดนั ้ นได้
้ และที่ปรึกษาต้ องดาเนินการตามความประสงค์ ของผู้วา่ จ้ าง
โดยเร็ ว
การเปลี่ยนผู้ควบคุมงาน ตามความในวรรคแรก ที่ปรึกษาจะต้ องเสนอรายชื่อผู้ควบคุม
งาน ที่จะปฏิบตั งิ านแทนนัน้ ต่อผู้ว่าจ้ างเพื่อพิจารณาให้ ความเห็นชอบก่อน
ข้ อ 13. ถ้ าปรากฏว่าผู้รับจ้ าง ไม่ปฏิบตั ใิ ห้ เป็ นไปตามรายละเอียด ที่ระบุไว้ ในสัญญา
ก่อสร้ างเป็ นหน้ าที่ของที่ปรึกษา จะสัง่ ให้ ผ้ รู ับจ้ างดาเนินการแก้ ไขเปลี่ยนแปลงให้ ถกู ต้ อง ตาม
รายละเอียดดังกล่าว
ในกรณีที่มีความจาเป็ น ทางด้ านสถาปั ตยกรรม และ/หรื อวิศวกรรมที่จะต้ อง
แก้ ไขปรับปรุงแบบหรื อรายการที่กาหนดไว้ เพื่อให้ เหมาะสมกับสภาพข้ อเท็จจริง และสิ่งแวดล้ อม ซึง่
มิฉะนันจะเกิ ้ ดความเสียหายได้ ที่ปรึกษามีอานาจสัง่ ระงับการดาเนินงาน ของผู้รับจ้ างไว้ ก่อน หรื อใน
กรณีเร่งด่วนอาจสัง่ การแก้ ไขได้ ตามความจาเป็ น และเมื่อได้ ดาเนินการไปแล้ ว จะต้ องทาหนังสือรายงาน
ให้ ผ้ วู า่ จ้ างทราบโดยเร็วที่สดุ อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่จะทาให้ ผ้ วู า่ จ้ าง ต้ องรับภาระการเงินเพิ่มขึ ้นแล้ ว
ที่ปรึกษาต้ องได้ รับความเห็นชอบจากผู้วา่ จ้ างก่อน
ข้ อ 14. ถ้ าหากสัญญาก่อสร้ าง ระหว่างผู้รับจ้ างกับผู้วา่ จ้ างต้ องเลิกไป หรื อระงับลง
ชัว่ คราวด้ วยเหตุใด ๆ ก็ตาม ที่ปรึกษาไม่มีสิทธิได้ รับค่าจ้ างควบคุมงานในเดือนนัน้ จนกว่างานก่อสร้ าง
อาคารในเดือนนัน้ ๆ ได้ ทาการแล้ วเสร็จตามสัญญา ไม่ว่าโดยผู้รับจ้ างรายเดิมหรื อผู้รับจ้ างรายใหม่ หรื อ
จนกว่าจะมีการบอกเลิกสัญญาจ้ างที่ปรึกษา ผู้วา่ จ้ างจึงจะจ่ายเงินค่าจ้ างเดือนนันให้ ้ แก่ที่ปรึกษา
ข้ อ 15 ในกรณีที่สญ ั ญาก่อสร้ างระหว่างผู้ว่าจ้ างกับผู้รับจ้ างต้ องเลิกไป หรื อระงับลง
ชัว่ คราวด้ วยเหตุใด ๆ ก็ตาม ผู้วา่ จ้ างมีสิทธิปฏิบตั กิ ารอย่างใดอย่างหนึง่ ดังนี ้
(1) งดจ่ายเงินค่าจ้ างควบคุมงานให้ แก่ที่ปรึกษา ตลอดระยะเวลาที่สญ ั ญา
ก่อสร้ างต้ องเลิกไปหรื อระงับลงชัว่ คราว แต่จะจ่ายเงินค่าจ้ างให้ แก่ที่ปรึกษา เมื่องานจ้ างตามสัญญา
ก่อสร้ างนัน้ ได้ ดาเนินการต่อไป ไม่วา่ จะโดยผู้รับจ้ างรายเดิมหรื อรายอื่น
(2) บอกเลิกสัญญาจ้ าง ที่ปรึกษาควบคุมงานรายนี ้ได้ ทนั ที หากสัญญาก่อสร้ าง
ระงับลงชัว่ คราวเกิน………..วัน หรื อมีการบอกเลิกสัญญาก่อสร้ าง และผู้วา่ จ้ างไม่สามารถหาผู้รับจ้ าง
รายใหม่ได้ จนเกิน…………….วัน นับถัดจากวันที่สญ ั ญาก่อสร้ างเลิกกัน ที่ปรึกษามีสิทธิบอกเลิกสัญญา
ได้
ข้ อ 16. ในแต่ละเดือน ที่ปรึกษาจะทารายงานผลงานและอุปสรรคของผู้รับจ้ าง ที่ได้
ปฏิบตั ไิ ปแล้ วให้ ผ้ วู ่าจ้ างทราบ ในกรณีที่ครบอายุสญ ั ญาก่อสร้ าง หากผู้รับจ้ างไม่สามารถปฏิบตั งิ านแล้ ว
เสร็จตามสัญญา ที่ปรึกษาจะต้ องรี บรายงานสรุปผลงานทังหมด ้ และอุปสรรคที่เป็ นเหตุทาให้ การ
ปฏิบตั งิ านของผู้รับจ้ าง ไม่เป็ นไปตามแผนงานที่กาหนดไว้ เสนอต่อผู้วา่ จ้ าง
ข้ อ 17 การควบคุมงานตามสัญญานี ้ ที่ปรึกษาจะปฏิบตั ดิ งั นี ้
(1) จะดาเนินการควบคุมงาน นับตังแต่ ้ วนั ที่ผ้ รู ับจ้ างเริ่มปฏิบตั งิ าน จนกว่างาน
ตามสัญญาก่อสร้ างจะแล้ วเสร็จตามสัญญา
(2) จะไม่ละเลย หรื อละทิ ้งหน้ าที่การควบคุมงาน หรื อกระทาการมิชอบในหน้ าที่
ของตน ก่อให้ เกิดความเสียหาย หรื อทาให้ งานตามสัญญาก่อสร้ าง ดาเนินไปโดยไม่สะดวกล่าช้ า หรื อเกิด
ความเสียหายแก่ผ้ รู ับจ้ าง
(3) จะไม่มีผลประโยชน์สว่ นได้ เสียใด ๆ ร่วมกับผู้วา่ จ้ าง และจะไม่ร่วมกับผู้รับ
จ้ าง กระทาการหรื องดเว้ นกระทาการอย่างใดอย่างหนึง่ อันอาจเป็ นเหตุให้ ผ้ วู า่ จ้ าง ได้ รับความเสียหาย
ถ้ าที่ปรึกษาหลีกเลี่ยงหรื อกระทาการใด ๆ ขัดต่อข้ อกาหนดประการใดประการ
หนึง่ ดังกล่าวข้ างต้ น หรื อที่ปรึกษาปฏิบตั ผิ ิดสัญญาข้ อใดข้ อหนึง่ ผู้ว่าจ้ างมีสิทธิบอกเลิกสัญญานี ้ได้ ทนั ที
และมีสิทธิเรี ยกค่าเสียหายที่เกิดขึ ้น จากที่ปรึกษา พร้ อมทังริ้ บหรื อบังคับจากหลักประกัน ที่ที่ปรึกษามอบ
ไว้ แก่ผ้ วู า่ จ้ างตามสัญญานี ้ได้
ข้ อ 18. ในกรณีที่มีความเสียหายเกิดขึ ้น แก่งานตามสัญญาก่อสร้ าง อันเนื่องมาจากการ
กระทาของที่ปรึกษา จะโดยการละเลยต่อหน้ าที่ หรื อมิได้ ใช้ ความรู้ที่เหมาะสมกับการควบคุมงาน หรื อ
มิได้ ควบคุมตรวจสอบ ให้ ผ้ รู ับจ้ างดาเนินการดังกล่าวก็ตาม ที่ปรึกษาต้ องรี บหาทางแก้ ไขให้ เรี ยบร้ อยด้ วย
ค่าใช้ จา่ ยของที่ปรึกษาเอง และถ้ าที่ปรึกษาหลีกเลี่ยง หรื อบิดพริว้ ไม่แก้ ไขให้ เป็ นที่เรี ยบร้ อย ในเวลาที่ผ้ ู
ว่าจ้ างกาหนดให้ ผู้วา่ จ้ างมีสิทธิวา่ จ้ างผู้อื่น ดาเนินการแทน โดยที่ปรึก ษาจะต้ องชดใช้ คา่ เสียหาย ทังใน ้
ส่วนที่เกิดขึ ้นโดยตรง และในส่วนที่เกี่ยวเนื่อง อันเกิดจากความเสียหายดังกล่าวนันด้ ้ วย
ข้ อ 19. ในกรณีที่ผ้ รู ับจ้ างปฏิบตั งิ านล่วงเลยกาหนด ตามสัญญาก่อสร้ าง เนื่องจาก
ความผิดของผู้รับจ้ าง ที่ปรึกษาจะได้ รับค่าจ้ างตามจานวนวันที่ได้ ปฏิบตั ลิ ่วงเลยกาหนดเวลานัน้ ต่อเมื่อผู้
ว่าจ้ างได้ เรี ยกร้ องเอาจากผู้รับจ้ าง มาจ่ายให้ ที่ปรึกษาในอัตราวันละ………….บาท (………………….)
ในกรณีที่ผ้ รู ับจ้ างได้ ปฏิบตั งิ านล่วงเลยกาหนดเวลา ตามสัญญาจ้ างก่อสร้ าง
เนื่องจากเหตุที่มิได้ เกิดจากความผิดของผู้รับจ้ าง และมิได้ เกิ ดจากความผิดของที่ปรึกษา ที่ปรึกษาจะ
ได้ รับค่าจ้ างตามจานวนวันที่ ปฏิบตั ลิ ว่ งเลยกาหนดเวลานัน้ ตามจานวนที่เหมาะสม และเป็ นธรรม แต่ไม่
เกินกว่าอัตราค่าจ้ าง รายเดือนตามที่กาหนดในสัญญาข้ อ 10
ข้ อ 20. ในขณะทาสัญญานี ้ที่ปรึกษาได้ นาหลักประกันเป็ น……………………………
เป็ นจานวนเงิน…..……………บาท (……………………………) ซึง่ เท่ากับร้ อยละ………..(…….%)ของ
ราคาค่าจ้ างตามสัญญาข้ อ 3 และ ข้ อ 10 รวมกัน มามอบไว้ แก่ผ้ วู า่ จ้ าง เพื่อเป็ นหลักประกันการปฏิบตั ิ
ตามสัญญานี ้
เมื่อที่ปรึกษาได้ ปฏิบตั งิ านตามภาค ก. ของสัญญานี ้ เสร็จสิ ้นสมบูรณ์แล้ ว ผู้วา่
จ้ างจะคืนหลักประกันจานวนครึ่งหนึง่ ให้ แก่ที่ปรึกษา ส่วนหลักประกันที่เหลืออีกครึ่งหนึง่ ผู้วา่ จ้ างจะคืน
ให้ เมื่อที่ปรึกษาปฏิบตั งิ านในภาค ข. ของสัญญานี ้ เสร็จเรี ยบร้ อยแล้ ว
ข้ อ 21. เอกสารแนบท้ ายสัญญาดังต่อไปนี ้ ให้ ถือเป็ นส่วนหนึง่ ของสัญญานี ้
21.1 ผนวก 1 (…………….) จานวน………..หน้ า
21.2 ผนวก 2 (………….…) จานวน………..หน้ า
21.3 …………………..ฯลฯ…………………….
ความใดในเอกสารแนบท้ ายสัญญา ที่ขดั แย้ งกับข้ อความในสัญญานี ้ ให้ ใช้
ข้ อความในสัญญานี ้บังคับ และในกรณีที่เอกสารแนบท้ ายสัญญา ขัดแย้ งกันเอง ที่ปรึกษาจะต้ องปฏิบตั ิ
ตามคาวินิจฉัย ของผู้ว่าจ้ าง
สัญญานี ้ทาขึ ้นสองฉบับ มีข้อความถูกต้ องตรงกัน คูส่ ญ ั ญาได้ อา่ นและเข้ าใจข้ อความ
โดยละเอียดตลอดแล้ ว จึงได้ ลงลายมือชื่อพร้ อมทังประทั ้ บตรา (ถ้ ามี) ไว้ เป็ นสาคัญ ต่อหน้ าพยานและ
คูส่ ญ
ั ญา ต่างยึดถือไว้ ฝ่ายละฉบับ

(ลงชื่อ)…………………………..ผู้วา่ จ้ าง
(…………………………………)

(ลงชื่อ)…………………………..ที่ปรึกษา
(…………………………………)

(ลงชื่อ)……………………….…พยาน
(…………………………………)

(ลงชื่อ)………………………….พยาน
(…………………………………)

____________________________________________________________________________________
หมายเหตุ *เป็ นข้ อความหรื อเงื่อนไขเพิ่มเติมซึง่ ส่วนราชการผู้ทาสัญญาอาจเลือกใช้ หรื อตัดออกได้ ตาม
ข้ อเท็จจริง
ตัวอย่างสัญญาเช่ารถยนต์

ส่วนพัสดุ
สำนักอำนวยกำร
สัญญาเช่าเลขที่
สัญญาเช่ารถยนต์

สัญญาฉบับนี ้ทาขึ ้น ณ.......................................................................ตาบล / แขวง.....................................


อาเภอ/ เขต...................................จังหวัด....................................เมื่อวันที่..........เดือน.........................พ.ศ....................
ระหว่าง..........................................................................โดย..............................................ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้เรี ยกว่า “ผู้เช่า”
ฝ่ ายหนึง่ กับ.................................................................................................ซึง่ จดทะเบียนเป็ นนิติบคุ คล ณ สานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท
...........................................................................มีสานักงานอยูเ่ ลขที่............................................................................................................ ......โดย
...................................................................ผู้มีอานาจลงนาม ผูกพันนิติบคุ คล ปรากฏตามหนังสือรับรองของสานักงาน
ทะเบียนหุ้นส่วนบริ ษัท..................................ลงวันที่.......................เดือน....................................พ.ศ. .........................
(และหนังสือมอบอานาจลงวันที่.............เดือน......................พ.ศ. .....................) แนบท้ ายสัญญานี ้ ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้
เรี ยกว่า “ผู้ให้ เช่า” อีกฝ่ ายหนึง่

คูส่ ญ
ั ญาทังสองฝ่
้ ายได้ ตกลงทาสัญญากันมีข้อความดังต่อไปนี ้

ข้ อ ๑ ข้ อตกลงเช่า
ผู้เช่าตกลงเช่าและผู้ให้ เช่าตกลงให้ เช่ารถยนต์...................................................................................................
ยี่ห้อ..........................รุ่น.........................................ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้ เรี ยกว่า “รถยนต์ที่เช่า” จานวน................(.................) คัน
เพื่อใช้ ในราชการของผู้เช่า ดังรายละเอียดปรากฎตามผนวกแนบท้ ายสัญญานี ้

การเช่ารถยนต์ตามวรรคหนึ่งมีกาหนดระยะเวลา ๕ ปี (ห้ า)ปี นับตังแต่ ้ วนั ที่................เดือน...........................


พ.ศ. .............................ถึงวันที.่ ..........................เดือน................................พ.ศ. ...............

ผู้ให้ เช่ารับรองว่ารถยนต์ที่เช่าตามสัญญานี ้เป็ นรถยนต์ใหม่ที่ไม่เคยใช้ งานมาก่อน ผู้ให้ เช่าได้ ชาระภาษี


ค่ า ธรรมเนี ย มต่ า ง ๆ ครบถ้ วนถูก ต้ อ งตามกฎหมายแล้ ว ผู้ ให้ เ ช่ า มี สิ ท ธิ น ามาให้ เ ช่ า โดยปราศจากการ รอนสิ ท ธิ
ทัง้ รั บ รองว่ า รถยนต์ ดัง กล่ า วมี คุณ ภาพและคุ ณ สมบัติ ไ ม่ ต่ า กว่ า ที่ ก าหนดไว้ ใ นผนวกแนบท้ ายสัญ ญา มี อุ ป กรณ์
และเครื่ องมือประจารถตามมาตรฐานของผู้ผลิตรถยนต์ที่เช่าและตามความต้ องการของผู้เช่าโดยครบถ้ วน และผู้ให้ เช่า
ได้ ตรวจสอบแล้ วว่ารถยนต์ที่เช่าตลอดจนอุปกรณ์ทงปวงปราศจากความช
ั้ ารุดบกพร่อง
สัญญานี ้มีผลบังคับใช้ ตงั ้ แต่วันที่ลงนามในสัญญา แต่การคานวณค่าเช่าสาหรับรถยนต์ที่เช่าแต่ละคัน
ให้ เริ่ มนับตังแต่
้ วนั ที่ผ้ เู ช่าได้ รับมอบรถยนต์ที่เช่าคันนัน้ ๆ ไว้ เป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว

ข้ อ ๒ ค่าเช่ารถยนต์
ผู้เ ช่ า ตกลงช าระค่ า เช่ า ในอัต ราตายตัว ที่ จ ะไม่ เ ปลี่ย นแปลงตลอดอายุสัญ ญาให้ แ ก่ ผ้ ูใ ห้ เ ช่ า
เป็ นรายเดือนตามเดือนแห่งปฏิทินในอัตราค่าเช่าเดือนละ......................................... (..........................) บาทต่อรถยนต์
ที่เช่าหนึ่งคัน ซึ่งรวมภาษี มูลค่าเพิ่ม ค่าใช้ จ่ายในการบารุ งรักษา ค่าภาษี รถยนต์ ค่าตรวจสภาพ ค่าอะไหล่สิ ้นเปลือง
ค่า น า้ มัน หล่อ ลื่ น ทุก ชนิ ด และค่า ซ่ อ มแซมรถยนต์ ในการใช้ งานตามปกติ ไ ว้ ด้ ว ยแล้ ว ส่ว นค่ า น า้ มัน เชื อ้ เพลิ ง ที่ ใ ช้
ผู้เช่าเป็ นผู้รับผิดชอบ
ในการช าระค่ า เช่ า ผู้ใ ห้ เ ช่ า ต้ อ งส่ง ใบแจ้ งหนี เ้ รี ย กเก็ บ ค่ า เช่ า ล่ว งหน้ า ไม่ น้ อ ยกว่ า ๑๐(สิ บ )
วันก่อนครบกาหนดการชาระค่าเช่าในแต่ละเดือนแล้ ว ผู้เช่าจะชาระค่าเช่าในวันครบกาหนดชาระค่าเช่า หรื อภายหลัง
จากนัน้ โดยให้ ผ้ ใู ห้ เช่ามารับเช็ค ณ ที่ทาการ...............................................................ของผู้เช่า หรื อ โดยวิธีโอนเงิน
เข้ าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้ให้ เช่าโดยตรง ชื่อธนาคาร........................................สาขา............................. ............
ชื่อบัญชี.................................................................................เลขที่บญ
ั ชี........................................ทังนี
้ ้ ผู้ให้ เช่าตกลง
เป็ นผู้รับภาระเงินค่าธรรมเนียม หรื อค่าบริ การอื่นใดอันเกี่ยวกับการโอนเงินที่ธนาคารเรี ยกเก็บ และยินยอมให้ มีการหักเงิน
ดังกล่าวจากจานวนเงิ นที่โอนในเดือนนัน้ ๆ เมื่อได้ รับเงิ นค่าเช่าดังกล่าวแล้ วผู้ให้ เช่าจะต้ องส่งใบเสร็ จรับเงิ นค่าเช่า
ให้ แก่ผ้ เู ช่าภายใน ๗ (เจ็ด) วัน
ในกรณีที่การเช่าเดือนแรกและเดือนสุดท้ ายเป็ นการเช่าไม่เต็มเดือนปฏิทิน ให้ คิดค่าเช่าเป็ นรายวัน
ตามจานวนวันที่เช่าจริ ง
ผู้เช่ามีสิทธิ หกั ค่าเช่าเป็ นรายวันได้ ในกรณีที่ผ้ เู ช่าไม่ได้ ใช้ รถยนต์ที่เช่าเพราะความผิดของผู้ให้ เช่า
หรื อเพราะความบกพร่องของรถยนต์ที่เช่า
การคานวณค่าเช่ารายวันตามสัญญานี ้ให้ ถือว่าหนึง่ เดือนมี ๓๐ (สามสิบ) วัน ซึ่งเมื่อคานวณค่าเช่า
ตามสัญญานี ้เป็ นรายวันจะตกวันละ.......................................................(..............................................................) บาท

ข้ อ ๓ เอกสารอันเป็ นส่วนหนึง่ ของสัญญา


เอกสารแนบท้ ายสัญญาดังต่อไปนี ้ให้ ถือเป็ นส่วนหนึง่ ของสัญญานี ้
๓.๑ ผนวก ๑ ใบเสนอราคา จานวน................................................(.................................)หน้ า
๓.๒ ผนวก ๒ แคตตาล็อก และรายละเอียดของรถยนต์ที่เช่า จานวน...............................................หน้ า
๓.๓ ผนวก ๓ รายการอุปกรณ์และเครื่ องมือประจารถ จานวน..........................................................หน้ า
๓.๔ ผนวก ๔ กาหนดการบารุงรักษา จานวน..............................หน้ า
๓.๕ ผนวก ๕ เงื่อนไขการเช่าเพิ่มเติมตามความต้ องการของหน่วยงานผู้เช่า (ถ้ ามี) จานวน............หน้ า
๓.๖ ผนวก ๖...................................ฯลฯ......................................

ความใดในเอกสารแนบท้ ายสัญญาที่ขดั แย้ งกับข้ อความในสัญญานี ้ ให้ ใช้ ข้อความในสัญญานี ้บังคับ และ
กรณีที่เอกสารแนบท้ ายสัญญาขัดแย้ งกันเอง ผู้ให้ เช่าจะต้ องปฏิบตั ิตามคาวินิจฉัยของผู้เช่า โดยผู้ให้ เช่าไม่อาจเรี ยกร้ อง
ค่าเสียหายใดๆ เอากับผู้เช่าได้

ข้ อ ๔ การส่งมอบ
ผู้ให้ เช่ าจะต้ องส่งมอบรถยนต์ ที่ เช่ าให้ แก่ ผ้ ูเช่ า ณ................................................................
ภายในวันที่....................เดือน................................พ.ศ. ...........................ในสภาพที่ดีเรี ยบร้ อย พร้ อมด้ วยอุปกรณ์และเครื่ องมือ
ประจารถตามมาตรฐานของผู้ผลิตอย่างครบถ้ วนถูกต้ อง ตามรายละเอียดที่กาหนดไว้ ในผนวกแนบท้ ายสัญญา

ข้ อ ๕ การตรวจรับ
เมื่อคณะกรรมการตรวจรับพัสดุของผู้เช่าได้ ตรวจรับรถยนต์ที่สง่ มอบตามข้ อ ๔ และเห็นว่าถูกต้ อง
ครบถ้ วนตามสัญ ญานี แ้ ล้ ว ผู้เช่ า จะออกหลักฐานการรั บ มอบรถยนต์ ที่ เ ช่า เพื่ อให้ ผ้ ูใ ห้ เ ช่ า ใช้ เ ป็ นหลัก ฐานประกอบ
การขอรับเงินค่าเช่ารถยนต์คนั นันๆ ้
ถ้ า ผลของการตรวจรั บ ปรากฏว่ า รถยนต์ ซึ่ ง ผู้ใ ห้ เ ช่ า ส่ง มอบไม่ ถูก ต้ อ งครบถ้ วนตามสัญ ญา
ผู้เช่าทรงไว้ ซงึ่ สิทธิที่จะไม่รับรถยนต์นนั ้ ในกรณีเช่นว่านี ้ ผู้ให้ เช่าต้ องรี บนารถยนต์นนกลั ั ้ บคืนไปทันที และต้ องนารถยนต์
คันอื่นมาส่งมอบให้ ใหม่ หรื อต้ องทาการแก้ ไขให้ ถกู ต้ องตามสัญญาด้ วยค่าใช้ จ่ายของผู้ให้ เช่าเองและระยะเวลาที่เสียไป
เพราะเหตุดงั กล่าว ผู้ให้ เช่าจะนามาอ้ างเป็ นเหตุขอขยายเวลาส่งมอบ เพื่อของดหรื อลดค่าปรับไม่ได้
หากผู้ ให้ เ ช่ า ไม่ น ารถยนต์ ที่ ส่ ง มอบไม่ ถู ก ต้ องกลับ คื น ไปในทัน ที ดัง กล่ า วในวรรคสองและ
เกิดความเสียหายแก่รถยนต์นนั ้ ผู้เช่าไม่ต้องรับผิดในความเสียหายดังกล่าว
ในกรณีที่ผ้ ใู ห้ เช่าส่งมอบรถยนต์ที่เช่าถูกต้ องแต่ไม่ครบจานวน หรื อส่งมอบครบจานวนแต่ไม่ถกู ต้ อง
ทัง้ หมด ผู้เ ช่า มี สิท ธิ จะรั บ มอบเฉพาะส่ว นที่ ถูกต้ อง โดยออกหลัก ฐานการรั บ มอบเฉพาะส่วนนัน้ ก็ ได้ ในกรณี เช่ น นี ้
ผู้เช่าจะชาระค่าเช่าเฉพาะรถยนต์ที่เช่าที่รับมอบไว้

ข้ อ ๖ การขอขยายระยะเวลาส่งมอบ
ในกรณี ที่ ผ้ ู ให้ เช่ า ไม่ ส ามารถส่ ง มอบรถยนต์ ที่ เ ช่ า ให้ แ ก่ ผ้ ูเ ช่ า ได้ โ ดยครบถ้ วนถู ก ต้ อ งภายใน
กาหนดเวลาตามสัญญาข้ อ ๔ อันเนื่องมาจากเหตุสดุ วิสยั หรื อพฤติการณ์ใด ๆ ซึง่ ผู้ให้ เช่าไม่ต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย
ผู้ให้ เช่ามีสิทธิ ขอขยายกาหนดเวลาส่งมอบรถยนต์ที่เช่า โดยจะต้ องแจ้ งเหตุหรื อพฤติการณ์ ดงั กล่าว พร้ อมหลักฐาน
เป็ นหนัง สื อ ให้ ผ้ ูเ ช่ า ทราบภายใน ๑๕ (สิบ ห้ า ) วัน นับ แต่ วัน ที่ เ หตุนัน้ เกิ ด ขึน้ การอนุญ าตให้ ข ยายเวลาส่ง มอบ
เป็ นดุลพินิจของผู้เช่า โดยผู้ให้ เช่าไม่อาจเรี ยกร้ อง ค่าเสียหายใดๆ เอากับผู้เช่าได้

ข้ อ ๗ หน้ าที่ของผู้ให้ เช่า


๗.๑ การประกันภัยรถยนต์ที่เช่า
ตลอดอายุก ารเช่ า ตามสัญ ญานี ้ ผู้ใ ห้ เช่ า จะต้ อ งท าประกันภัย รถยนต์ ที่ เ ช่ า หรื อ รถยนต์
ที่นามาเปลี่ยนหรื อทดแทนรถยนต์ที่เช่าประเภทชัน้ หนึ่งและประกันภัยตามพระราชบัญญัติค้ มุ ครองผู้ประสบภัยจากรถ
พ.ศ. ๒๕๓๕ ด้ วยค่าใช้ จ่ายของผู้ให้ เช่า โดยทาประกันภัย กับบริ ษัท ประกันภัยซึ่ง ได้ จ ดทะเบีย นเป็ นบริ ษัทมหาชน
ที่ผ้ ูเช่า ให้ ความเห็นชอบและต้ องมอบสาเนากรมธรรม์ ประกันภัยและหลักฐานการเอาประกันภัยดังกล่าวให้ แก่ผ้ ูเช่า
ในวัน ท าสัญ ญาเช่ า และทุ ก ครั ง้ ที่ มี ก ารต่ อ อายุ สัญ ญาหรื อ มี ก ารเปลี่ ย นรถยนต์ ที่ เ ช่ า ตามข้ อ๗.๓ หรื อ ข้ อ ๗.๔
หรื อข้ อ ๗.๕ หรื อมีการจัดหารถยนต์ ทดแทนตามข้ อ ๗.๖ หรื อมีก ารทาสัญญาประกัน ภัยใหม่ โดยการประกันภัย
ต้ องรวมถึงการคุ้มครองต่อไปนี ้
(ก) คุ้ มครองการบาดเจ็ บ และเสี ย ชี วิ ต ของบุ ค คลภายนอกในวงเงิ น ๑,๐๐๐,๐๐๐
(หนึง่ ล้ าน) บาท / คน และไม่เกิน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ (สิบล้ าน) บาท / ครัง้
(ข) คุม้ ครองทรัพย์สินของบุคคลภายนอกในวงเงิน ๕,๐๐๐,๐๐๐ (ห้าล้าน) บาท / ครั้ง
(ค) คุ ้ม ครองค่ า รั ก ษาพยาบาล และการเสี ย ชี วิ ต ส าหรั บ ผู ้ข ับ ขี่ แ ละผู ้โ ดยสารรถยนต์
คันที่เอาประกันภัยในวงเงินไม่ต่ากว่า ๒๐๐,๐๐๐ (สองแสน) บาท / คน
๗.๒ การจดทะเบียนและเสียภาษี ประจาปี ของรถยนต์ที่เช่า
ผู้ใ ห้ เ ช่ า จะต้ อ งจดทะเบี ย นรถยนต์ ที่ เ ช่ า กับ กรมการขนส่ง ทางบกและเสี ย ภาษี ป ระจ าปี
ตามกฎหมายด้ ว ยค่ า ใช้ จ่ า ยของผู้ใ ห้ เช่ า ให้ แล้ ว เสร็ จ ก่ อ นวัน ครบก าหนดส่ง มอบรถยนต์ ที่ เ ช่ าตามสัญ ญาข้ อ ๔
รวมทังต้ ้ องเสียภาษี ประจาปี สาหรับปี ต่อๆไปภายในกาหนดเวลาทุกปี
๗.๓ ความบกพร่องในรถยนต์ที่เช่า
ในกรณีที่รถยนต์ ที่เช่าคันใดขัดข้ องใช้ งานไม่ได้ ตามปกติไม่ว่าจะเกิดจากเหตุใด ผู้ให้ เช่า
จะต้ อ งน ารถยนต์ คัน ใหม่ ที่ มี ข นาดและประสิ ท ธิ ภ าพเช่ น เดี ย วกับ รถยนต์ ที่ เ ช่ า และมี ส ภาพที่ เ ที ย บเท่ า หรื อ ดี ก ว่ า
ทังในเรื
้ ่ องความนิยมในยี่ห้อรถยนต์ (brand name) และราคาซื ้อขายรถยนต์ (price list) ในท้ องตลาดมาเปลี่ยนให้ ผ้ เู ช่า
ทันทีที่ผ้ ใู ห้ เช่าได้ รับแจ้ งจากผู้เช่าด้ วยค่าใช้ จ่ายของผู้ให้ เช่าเองทังสิ
้ ้น
หากผู้ให้ เช่ าไม่น ารถยนต์ มาเปลี่ยนให้ ไม่ว่ากรณี ใดๆก็ ตาม นอกจากผู้เช่ ามีสิทธิ หักค่าเช่ า
คิ ด เป็ นรายวัน ต่ อ คัน ตามสัญ ญาข้ อ ๒ วรรคสี่ แ ละวรรคห้ า แล้ ว ผู้ เช่ า มี สิ ท ธิ ป รั บ ผู้ ให้ เ ช่ า เป็ นรายวัน ในอัต รา
วันละ*......................(...................................) บาท ต่อคัน นับตังแต่ ้ วนั ที่ผ้ ใู ห้ เช่าได้ รับแจ้ งจากผู้เช่า ให้ นารถยนต์
มาเปลีย่ น จนถึงวันที่ผ้ ใู ห้ เช่านารถยนต์คนั ใหม่มาเปลีย่ นให้
หากผู้ใ ห้ เ ช่ า ไม่ น ารถยนต์ ม าเปลี่ ย นให้ ต ามวรรคหนึ่ ง เมื่ อ ได้ รั บ แจ้ งจากผู้เ ช่ า แล้ ว เป็ น
ระยะเวลาติ ดต่อกันเกิ น ๑๐(สิบ) วัน ผู้เช่ ามิ สิท ธิ ที่จ ะบอกเลิก สัญ ญาทัง้ หมดหรื อแต่บ างส่วนได้ โดยท าเป็ นหนัง สือ
แจ้ งไปยังผู้ให้ เช่า
ในกรณี ผ้ ูใ ห้ เ ช่ า ไม่ น ารถยนต์ ม าเปลี่ ย นให้ ต ามวรรคหนึ่ง หรื อ ผู้ใ ห้ เ ช่ า จัด หารถย นต์ อื่ น
มาเปลีย่ นซึง่ สภาพ ขนาด หรื อประสิทธิภาพของรถยนต์ ไม่ตรงตามที่กาหนดไว้ ไม่วา่ ด้ วยเหตุใดๆ ผู้เช่ามีสทิ ธิเช่ารถยนต์
จากบุคคลอื่นมาใช้ งานแทนได้ จนกว่าผู้ให้ เช่าจะจัดหารถยนต์มาเปลี่ยนให้ โดยถูกต้ อง โดยผู้ให้ เช่าจะต้ องรับภาระค่าเช่า
ที่เพิ่มขึ ้น
๗.๔ การรับประกันความเสียหาย
ในกรณี ที่ มี บุค คลภายนอกมากล่า วอ้ า ง และใช้ สิ ท ธิ เ รี ย กร้ องใดๆ ว่ า การครอบครอง
ใช้ สอยรถยนต์ ที่ เ ช่ า ของผู้เ ช่ า เป็ นการละเมิ ด หรื อ มี บุคคลภายนอกมาก่ อ การรบกวนขัด สิท ธิ เ กี่ ย วกับ รถยนต์ ที่ เ ช่ า
ตามสัญญานี ้ ผู้ให้ เ ช่าจะต้ องดาเนินการทัง้ ปวงเพื่อให้ การเรี ยกร้ อง หรื อการรบกวนสิทธิ ดังกล่าวหมดสิ ้นไปโดยเร็ ว
หากผู้ให้ เช่ามิอาจดาเนินการดังกล่าวได้ ผู้ให้ เช่าจะต้ องจัดหารถยนต์คันใหม่ที่มีสภาพเทียบเท่า หรื อดีกว่า รวมทัง้
ในเรื่ องความนิยมในยี่ห้อรถยนต์ (brand name) และราคาซื ้อขายรถยนต์ (price list) ในท้ องตลาดมาทดแทนให้ ทนั ที
โดยไม่ มี ข้ อ อ้ า งใดๆ ทัง้ สิ น้ และหากการเรี ย กร้ องหรื อ การรบกวนสิ ท ธิ เป็ นเหตุใ ห้ ผ้ ูเ ช่ า ต้ อ งชดใช้ ค่ า เสี ย หายต่ อ
บุคคลภายนอก หรื อผู้เช่าได้ รับความเสียหายจากการถูกรบกวนขัดสิทธิ ดังกล่าว ผู้ให้ เช่า ต้ องเป็ นผู้ชาระค่าเสียหาย
และค่าใช้ จ่ายรวมทังค่ ้ าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความแทนผู้เช่า หรื อชดใช้ คา่ เสียหายให้ แก่ผ้ เู ช่าโดยสิ ้นเชิง
๗.๕ การโอนกรรมสิทธิ์ให้ บคุ คลอื่น
ในกรณีที่ผ้ ใู ห้ เช่าเป็ นเจ้ าของกรรมสิทธิ์ ในรถยนต์ ที่นามาให้ เช่า ผู้ให้ เช่าจะโอนกรรมสิทธิ์
ในรถยนต์ ที่ เช่ าแก่บุคคลอื่ นโดยไม่ได้ รั บความเห็น ชอบเป็ นหนัง สือ จากผู้เช่ าและโดยไม่นารถยนต์ คันใหม่ที่มี สภาพ
ขนาด ประสิทธิภาพเท่า เทียบเท่าหรื อดีกว่า รวมทังในเรื ้ ่ องความนิยมใน ยี่ห้อรถยนต์ (brand name) และราคาซื ้อ
ขายรถยนต์ (price list) ในท้ องตลาดมาส่งมอบแก่ผ้ เู ช่าทดแทนก่อนไม่ได้ หากฝ่ าฝื นผู้ให้ เช่าต้ องรับผิดชดใช้ ค่าเสียหาย
(ถ้ ามี) ให้ แก่ผ้ เู ช่า
๗.๖ การบารุงรักษาตรวจสภาพและซ่อมแซมรถยนต์ที่เช่า
ผู้ใ ห้ เ ช่ า มี ห น้ า ที่ บ ารุ ง รั ก ษา ตรวจสภาพ เปลี่ ย นชิ น้ ส่ว นของอะไหล่สิ น้ เปลื อ งรวมทัง้
นา้ มันหล่อลื่ นทุกชนิดและซ่อมแซมรถยนต์ ที่เช่า ในกรณี ความเสื่อมสึก หรอและความเสียหายอันเกิ ดจากการใช้ งาน
ตามปกติเยี่ยงวิญญูชนให้ อยูใ่ นสภาพที่พร้ อมใช้ งานได้ ตลอดเวลา ซึ่งผู้ให้ เช่ามีหน้ าที่บารุ งรักษาตรวจสภาพรถยนต์ที่เช่า
เมื่อครบระยะเวลาหรื อครบกาหนดระยะทางที่ใช้ งานตามที่กาหนดในผนวกแนบท้ ายสัญญา รวมทังจะต้ ้ องบารุ งรักษา
หรื อ ซ่อมแซมเพิ่ มเติ มทันทีเ มื่อ ได้ รั บแจ้ งจากผู้เช่ า เพื่อ ให้ รถยนต์ ที่ เช่ าใช้ ในราชการของผู้เ ช่า ได้ ใ นสภาพที่สมบูร ณ์
ปลอดภัย
ในการบ ารุ ง รั ก ษาตรวจสภาพและซ่อ มแซมตามวรรคหนึ่ง ผู้ใ ห้ เ ช่ า จะต้ อ งเป็ นผู้ม ารั บ
รถยนต์ที่เช่าจากผู้เช่าและจัดหารถยนต์สารองที่มีสภาพ ขนาด ประสิทธิภาพ และอายุการใช้ งาน เช่นเดียวกับรถยนต์
ที่เช่ามาให้ ผ้ ูเช่าใช้ ทันที และถ้ าหากผู้ให้ เช่าไม่อาจดาเนินการตามเงื่ อนไขนี ้ได้ ผู้เช่ามีสิทธิ ดาเนินการตามข้ อ ๗.๓
วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ โดยอนุโลม
ในการซ่อมแซม บารุงรักษารถยนต์ที่เช่าผู้ให้ เช่าต้ องนารถยนต์ที่เช่า เข้ าซ่อมแซมบารุ งรักษา
ที่ศนู ย์บริ การมาตรฐานของรถยนต์ที่เช่าเท่านัน้ ยกเว้ นกรณีฉกุ เฉิน
การน ารถยนต์ ไ ปซ่ อ มหรื อ บ ารุ ง รั ก ษา ผู้ใ ห้ เ ช่ า ต้ อ งตรวจสอบน า้ มัน เชื อ้ เพลิ ง ในถัง ว่ า
มีระดับเท่าใด เมื่อส่งรถยนต์กลับมาให้ ผ้ เู ช่าน ้ามันเชื ้อเพลิงในถังจะต้ องอยู่ในระดับเดิม ถ้ าต่ากว่าเดิม ผู้ให้ เช่าจะต้ อง
เติมให้ อยูใ่ นระดับเดิม
เมื่อ รถยนต์ คันที่เ ช่าได้ ผ่า นการใช้ งานและยางรถยนต์ เ ส้ นใดเส้ นหนึ่งมีสภาพความลึก ของ
ดอกยางต่ากว่า ๓ (สาม) มิลลิเมตร หรื อตามที่ผ้ เู ช่าเห็นว่าจะไม่ปลอดภัย ผู้ให้ เช่าต้ องเปลีย่ นยางรถยนต์ที่มีสภาพใหม่
ให้ โดยห้ ามใช้ ยางหล่อดอก
กรณี ที่ ผ้ ูใ ห้ เ ช่ าน ารถยนต์ ที่ เช่ าไปบ ารุ ง รั ก ษาหรื อซ่อ มแซม ผู้ใ ห้ เช่ าต้ องนารถยนต์ คัน อื่ น
มาทดแทนทันที โดยในระหว่างเวลาที่ผ้ ใู ห้ เช่ายังมิได้ นารถยนต์มาทดแทน ผู้ให้ เช่าไม่สามารถคิดค่าเช่าจากผู้เช่าได้
การจัดหารถยนต์ทดแทน ผู้ให้ เช่าจะต้ องจัดหารถยนต์ซงึ่ มีสภาพและขนาดเทียบเท่า หรื อดีกว่า
รวมทังในเรื
้ ่ องความนิยมในยี่ห้อรถยนต์ (brand name) และราคาซื ้อขายรถยนต์ (price list) ในท้ องตลาดมาทดแทน
เพื่อให้ ผ้ เู ช่าใช้ งานทันทีจนกว่ารถยนต์คนั ที่อยูร่ ะหว่างบารุงรักษาหรื อ ซ่อมแซมจะเรี ยบร้ อยพร้ อมใช้ งานได้ หากผู้ให้ เช่า
ละเลยไม่จดั หารถยนต์ทดแทนให้ ผู้เช่ามีสทิ ธิ ที่จะเช่ารถยนต์จากผู้อื่นมาใช้ งานแทน โดยผู้ให้ เช่าจะต้ องรับภาระค่าเช่า
ที่เพิ่มขึ ้นจนกว่าผู้ให้ เช่าจะนารถยนต์ทดแทนมาส่งมอบให้ ผ้ เู ช่าหรื อจนกว่ารถยนต์ที่เช่าจะบารุงรักษาซ่อมแซมเสร็ จ

ข้ อ ๘ การบอกเลิกสัญญา
๘.๑ ผู้เ ช่ า มี สิ ท ธิ บ อกเลิก สัญ ญาทัง้ หมดหรื อ บางส่ว นได้ หากผู้ใ ห้ เ ช่ า ส่ง มอบรถยนต์ ที่ เ ช่ า
ไม่ถูกต้ อ ง ไม่ครบถ้ ว น ไม่ ส่งมอบภายในกาหนด หรื อส่งมอบภายในก าหนด แต่ใ ช้ ง านไม่ได้ ครบถ้ ว นตามสัญญา
หรื อผู้ให้ เช่าไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาข้ อหนึง่ ข้ อใด
ในกรณี ดัง กล่า วในวรรคก่อ น ผู้เ ช่ า มี สิทธิ ริ บ หลักประกัน การปฏิ บัติ ต ามสัญญาหรื อ เรี ย กร้ อง
จากธนาคารผู้ออกหนังสือค ้าประกันตามสัญญาข้ อ ๑๓ เป็ นจานวนเงินทังหมดหรื ้ อบางส่วน ก็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร
และถ้ าผู้เช่าต้ องเช่ารถยนต์จากบุคคลอื่นทังหมดหรื ้ อแต่บางรายการภายในกาหนด..................(..........................) เดือน
นับแต่วนั บอกเลิกสัญญา ผู้ให้ เช่ายอมรับผิดชดใช้ คา่ เช่าที่เพิ่มขึ ้นจากค่าเช่าที่กาหนดไว้ ในสัญญานี ้ด้ วย
๘.๒ ในกรณี มีความจาเป็ นทางราชการ ผู้เช่ามีสิทธิ ที่จะบอกเลิกสัญญาเช่านี ้ก่อนครบกาหนด
ระยะเวลาการเช่าได้ โดยแจ้ งเป็ นหนังสือให้ ผ้ ใู ห้ เช่าทราบล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า ๓๐ (สามสิบ) วัน โดยผู้ให้ เช่าจะไม่เรี ยกร้ อง
ค่าเสียหายใดๆ จากผู้เช่าในการเลิกสัญญาดังกล่าว

ข้ อ ๙ ค่าปรับกรณีสง่ มอบล่าช้ า
ในกรณี ที่ ผ้ ูใ ห้ เช่ า ส่ง มอบรถยนต์ ที่ เ ช่า ล่วงเลยก าหนดส่ง มอบตามสัญ ญาข้ อ ๔ แต่ผ้ ูเช่ามิ ได้
ใช้ สิทธิ บอกเลิ กสัญญาตามข้ อ ๘.๑ วรรคหนึ่ ง ผู้ให้ เช่ าจะต้ องช าระค่าปรั บให้ ผ้ ูเช่ าเป็ น รายวันสาหรั บรถยนต์ คันที่
ยังไม่ได้ ส่งมอบตามสัญญา ในอัตราวันละ*...............(...........................) บาทต่อคัน นับตังแต่ ้ วนั ถัดจากวันครบกาหนด
ส่งมอบตามสัญญาจนถึงวันที่ผ้ ใู ห้ เช่าได้ นารถยนต์ที่เช่ามาส่งมอบให้ แก่ผ้ เู ช่าจนถูกต้ องครบถ้ วน
ในระหว่ า งที่ ผ้ ูเ ช่ า ยัง มิ ไ ด้ ใ ช้ สิ ท ธิ บ อกเลิ ก สัญ ญานัน้ หากผู้เ ช่ า เห็ น ว่า ผู้ใ ห้ เ ช่ า ไม่ อ าจปฏิ บัติ
ตามสัญญาต่อไปได้ ผู้เช่าจะใช้ สทิ ธิบอกเลิกสัญญา และริ บหลักประกันการปฏิบตั ิตามสัญญาหรื อเรี ยกร้ องจากธนาคาร
ผู้ออกหนังสือคา้ ประกันตามสัญญาข้ อ ๑๓ กับเรี ย กร้ องให้ ชดใช้ ค่าเช่า ที่เพิ่มขึน้ ตามที่กาหนดไว้ ในสัญญาข้ อ ๘.๑
วรรคสอง ก็ ได้ และถ้ า ผู้เ ช่ า ได้ แ จ้ ง ข้ อ เรี ย กร้ องให้ ช าระค่า ปรั บ ไปยัง ผู้ใ ห้ เ ช่ า เมื่ อ ครบก าหนดส่ง มอบดัง กล่า วแล้ ว
ผู้เช่ามีสทิ ธิที่จะปรับผู้ให้ เช่าจนถึงวันบอกเลิกสัญญาได้ อีกด้ วย

ข้ อ ๑๐ การรับผิดชดใช้ คา่ เสียหาย


ถ้ าผู้ให้ เช่าไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาข้ อหนึง่ ข้ อใดด้ วยเหตุใดๆ ก็ตามจนเป็ นเหตุให้ เกิดความเสียหาย
แก่ผ้ เู ช่าแล้ ว ผู้ให้ เช่าต้ องชดใช้ คา่ เสียหายให้ แก่ผ้ เู ช่าโดยสิ ้นเชิงภายในกาหนด ๓๐(สามสิบ)วันนับแต่วนั ที่ได้ รับหนังสือแจ้ ง
หากผู้ให้ เช่ าไม่ปฏิ บัติตามวรรคหนึ่ง ผู้เช่ามีสิทธิ หักค่าเสียหายออกจากค่าเช่ าประจ าเดือนหรื อ
หลักประกันตามสัญญาข้ อ ๑๓
ผู้เ ช่ า ไม่ต้ องรั บ ผิ ด ชอบต่อ การสูญ หายหรื อเสีย หายใดๆ ที่ เ กิ ด ขึน้ แก่ ร ถยนต์ ที่ เ ช่ า อัน ไม่ใ ช่
ความผิดของผู้เช่า ตลอดระยะเวลาที่รถยนต์อยูใ่ นความครอบครองของผู้เช่า

ข้ อ ๑๑ การใช้ ประโยชน์จากรถยนต์ที่เช่า
เพื่อประโยชน์ในการดูแลรักษาหรื อประโยชน์ในทางราชการของผู้เช่า ผู้เช่ามีสิทธิ ติดป้าย โลหะ
ประทับตรา ทาเครื่ องหมายอื่นใด ติดข้ อความหรื ออุปกรณ์ อื่นใดๆ ที่จาเป็ นในการใช้ งานของผู้เช่า หรื อดาเนินการใดๆ
บนรถยนต์ที่เช่าได้ โดยไม่ต้องได้ รับอนุญาตจากผู้ให้ เช่าก่อน
ข้ อ ๑๒ การรับมอบรถยนต์ที่เช่ากลับคืน
เมื่อสิ ้นสุดสัญญาไม่วา่ จะเป็ นการบอกเลิกสัญญาหรื อด้ วยเหตุใดๆ ผู้ให้ เช่าจะต้ องรับมอบรถยนต์
ที่ เ ช่ า กลับ คื น ไปตามสภาพที่ เ ป็ นอยู่ ใ นขณะนั น้ ภายใน ๗ (เจ็ ด ) วั น นั บ จากวั น ที่ สั ญ ญาสิ น้ สุ ด โดยผู้ ให้ เช่ า
เป็ นผู้เสียค่าใช้ จ่ายเองทังสิ
้ ้น
ถ้ าผู้ให้ เช่าไม่นารถยนต์ที่เช่ากลับคืนไปภายในกาหนดเวลาตามวรรคหนึง่ ผู้เช่าไม่ต้องรับผิดชอบ
ในความเสียหายใดๆ ทังสิ ้ ้นที่เกิดแก่รถยนต์อนั มิใช่ความผิดของผู้เช่ า

ข้ อ ๑๓ หลักประกันการปฏิบตั ิตามสัญญา

ในขณะทาสัญญานี ้ ผู้ให้ เช่าได้ นาหลักประกันเป็ น........................................................


เป็ นจานวนเงิน. .............................................(.................................................) บาท มามอบแก่ผ้ เู ช่าเพื่อเป็ นหลักประกันการปฏิบตั ิ
ตามสัญญานี ้
หลักประกันที่ผ้ ใู ห้ เช่านามามอบไว้ ตามวรรคหนึ่ง ผู้เช่าจะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี ้ย เมื่อผู้ให้ เช่า
พ้ นจากข้ อผูกพันตามสัญญาแล้ ว
สัญญานี ้ทาขึ ้นเป็ นสองฉบับมีข้อความถูกต้ องตรงกัน คู่สญ ั ญาได้ อ่านและเข้ าใจข้ อความโดยละเอียด
แล้ ว จึงได้ ลงลายมือชื่อพร้ อมทังประทั ้ บตรา (ถ้ ามี) ไว้ เป็ นสาคัญต่อหน้ าพยานและคูส่ ญ ั ญาต่างยึดถือไว้ ฝ่ายละหนึง่ ฉบับ

ลงชื่อ ..............................................................ผู้เช่า
(.............................................................)
ลงชื่อ ..............................................................ผู้ให้ เช่า
(.............................................................)
ลงชื่อ ..............................................................พยาน
(.............................................................)
ลงชื่อ ..............................................................พยาน
(.............................................................)

หมายเหตุ * อัตราค่าปรับกรณีผ้ ใู ห้ เช่าปฏิบตั ิผิดสัญญาตามข้ อ ๗.๓ และกรณีที่ผ้ ใู ห้ เช่าส่งมอบรถยนต์ที่เช่าล่วงเลย


ก าหนดเวลา ตามข้ อ ๙ ให้ คิ ด ค่า ปรั บ เป็ นอัต ราตายตัว วัน ละไม่น้ อ ยกว่า อัต ราค่า เช่ า รถยนต์ ร ายวัน
ในปั จจุบนั รวมกับค่าใช้ จ่ายอื่น ๆ ที่ผ้ ใู ห้ เช่ารถยนต์รายใหม่เรี ยกเก็บ ทังนี
้ ้ อัตราค่าเช่ารถยนต์รายวันที่จะ
นามากาหนดเป็ นค่าปรับนัน้ ให้ เปรี ยบเทียบจากอัตราค่าเช่ารายวันของรถยนต์ประเภท และขนาดเดียวกัน
กับรถยนต์ที่เช่ากันตามสัญญา ซึง่ เป็ นราคาที่เช่ากัน ณ ปั จจุบนั ในท้ องถิ่นนัน้ ๆ ด้ วย
ตัวอย่างสัญญา
ซื้อขายคอมพิวเตอร์

ส่วนพัสดุ
สำนักอำนวยกำร
ตัวอย่ าง
สัญญาซือ้ ขายคอมพิวเตอร์

สัญญาเลขที่…………………………………
สัญญาฉบับนี ้ทาขึ ้น ณ …………… ตาบล/แขวง ………….…..… อาเภอ/เขต ……….……….
จังหวัด……………….เมื่อวันที่…………เดือน……………..…พ.ศ.…………….ระหว่าง………………..
โดย………………....ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้เรี ยกว่า “ผู้ซื ้อ” ฝ่ ายหนึง่ กับ…………………….ซึง่ จดทะเบียน
เป็ นนิติบคุ คล ณ…………………....มีสานักงานใหญ่อยูเ่ ลขที่…………...…….... ถนน .......................
ตาบลแขวง....................อาเภอ/เขต…….……..........จังหวัด……………… โดย……………..ผู้มีอานาจ
ลงนามผูกพันนิติบคุ คลปรากฏตามหนังสือรับรองของสานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท .………...………..
ลงวันที่………………………………..(และหนังสือมอบอานาจลงวันที่……………………..….…)* แนบ
ท้ ายสัญญานี ้ (ในกรณีที่ผ้ ขู ายเป็ นบุคคลธรรมดาให้ ใช้ ข้อความว่า กับ................………………………
อยูบ่ ้ านเลขที่……………..ถนน……….……….ตาบล/แขวง....…………............อาเภอ/เขต…………...
จังหวัด…………………………...…….)*ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้เรี ยกว่า “ผู้ขาย”อีกฝ่ ายหนึง่
คูส่ ญ
ั ญาได้ ตกลงกันมีข้อความดังต่อไปนี ้

ข้ อ ๑. ข้ อตกลงซือ้ ขาย
ผู้ซื ้อตกลงซื ้อและผู้ขายตกลงขายและติดตังเครื ้ ่ องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์การประมวลผล
ระบบคอมพิวเตอร์ ซึง่ เป็ นผลิตภัณฑ์ของ……………… ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้เรี ยกว่า “คอมพิวเตอร์ ” ตาม
รายละเอียดแนบท้ ายสัญญาในผนวก ๑. รวมเป็ นราคาคอมพิวเตอร์ และค่าติดตังทั ้ งสิ
้ ้น……………บาท
(………………………..) ซึ่งได้ รวมภาษีมลู ค่าเพิ่ม จานวน…………...…บาท ตลอดจนภาษี อากรอื่น ๆ
และค่าใช้ จา่ ยทังปวงด้
้ วยแล้ ว
ในกรณีที่ผ้ ขู าย ประสงค์จะนาคอมพิวเตอร์ รายการใด ต่างไปจากรายละเอียดที่กาหนดไว้
ในผนวก ๑. มาติดตังให้ ้ ผ้ ซู ื ้อ ผู้ขายจะต้ องได้ รับความเห็นชอบ เป็ นหนังสือจากผู้ซื ้อก่อน และคอมพิวเตอร์
ที่จะนามาติดตังดั
้ งกล่าวนัน้ จะต้ องมีคณ ุ สมบัตไิ ม่ต่ากว่าที่กาหนดไว้ ในผนวก ๑.

ข้ อ ๒. การรับรองคุณภาพ
ผู้ขายรับรองว่าคอมพิวเตอร์ ที่ขายให้ ตามสัญญานี ้ มีคณ
ุ สมบัตไิ ม่ต่ากว่าที่กาหนดไว้ ตาม
รายละเอียด และคุณลักษณะเฉพาะของคอมพิวเตอร์ ที่กาหนดไว้ ในผนวก ๒.
ข้ อ ๓. เอกสารอันเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญญา
เอกสารแนบท้ ายสัญญาดังต่อไปนี ้ ให้ ถือเป็ นส่วนหนึง่ ของสัญญานี ้
๓.๑ ผนวก ๑ รายการคอมพิวเตอร์ ที่ซื ้อขาย
จานวน…………………….หน้ า
๓.๒ ผนวก ๒ รายการคุณลักษณะเฉพาะ
จานวน……………………..หน้ า
๓.๓ ผนวก ๓ รายละเอียดการทดสอบ การใช้ งานคอมพิวเตอร์
จานวน……………………..หน้ า
๓.๔ ผนวก ๔ การกาหนดตัวถ่วงของคอมพิวเตอร์
จานวน…………………….หน้ า
๓.๕ ผนวก ๕ การอบรมวิชาการด้ านคอมพิวเตอร์
จานวน…………………….หน้ า
๓.๖ ผนวก ๖ รายการเอกสารคูม่ ือการใช้ คอมพิวเตอร์
จานวน…………………….หน้ า
ความใดในเอกสารแนบท้ ายสัญญา ที่ขดั แย้ งกับข้ อความในสัญญานี ้ ให้ ใช้ ข้อความใน
สัญญานี ้บังคับ

ข้ อ ๔. การส่ งมอบ
ผู้ขายจะติดตังคอมพิ
้ วเตอร์ ที่ซื ้อขายตามสัญญานี ้ ให้ ถกู ต้ องและครบถ้ วนตามที่กาหนด
ไว้ ในข้ อ ๑ แห่งสัญญานี ้ ให้ พร้ อมที่จะใช้ งานได้ ตามรายละเอียดการทดสอบ แนบท้ ายสัญญาในผนวก
๓. ให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ ณ…………………………………และส่งมอบให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ ภายใน…………วัน นับแต่วนั ลง
นามในสัญญา
ผู้ขายจะต้ องแจ้ งกาหนดเวลาติดตังแล้ ้ วเสร็จพร้ อมที่จะใช้ งานและส่งมอบคอมพิวเตอร์ ได้
โดยทาเป็ นหนังสือยื่นต่อผู้ซื ้อ ณ………………..……..ในเวลาราชการก่อนวันกาหนดส่งมอบไม่น้อย
กว่า……….วันทาการ
ผู้ขายต้ องออกแบบสถานที่ ติดตังคอมพิ ้ วเตอร์ รวมทังระบบอื
้ ่น ๆ ที่เกี่ยวข้ องตาม
มาตรฐาน ของผู้ขาย และได้ รับความเห็นชอบจากผู้ซื ้อ และผู้ขายต้ องจัดหาเจ้ าหน้ าที่ มาให้ คาแนะนา
และตรวจสอบความถูกต้ องเหมาะสม ของสถานที่ ให้ ทนั ต่อการติดตังคอมพิ ้ วเตอร์ โดยไม่คิดค่าใช้ จา่ ยใด ๆ
จากผู้ซื ้อภายใน………..….วัน นับแต่วนั ที่ลงนามในสัญญานี ้
ข้ อ ๕. การใช้ เรือไทย
ถ้ าผู้ขายจะต้ องสัง่ หรื อนาเข้ าคอมพิวเตอร์ มาจากต่างประเทศ และต้ องนาเข้ ามาโดยทาง
เรื อในเส้ นทางเดินเรื อ ที่มีเรื อไทยเดินอยูแ่ ละสามารถให้ บริการรับขนได้ ตามที่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวง
คมนาคม ประกาศกาหนด ผู้ขายต้ องจัดการให้ คอมพิวเตอร์ บรรทุกโดยเรื อไทย หรื อเรื อที่มีสิทธิ
เช่นเดียวกับเรื อไทยจากต่างประเทศมายังประเทศไทย เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาต จากสานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชย์นาวีก่อนบรรทุกคอมพิวเตอร์ ลงเรื ออื่นที่มิใช่เรื อไทย หรื อเป็ นของที่
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงคมนาคม ประกาศยกเว้ น ให้ บรรทุกโดยเรื ออื่นได้ ทังนี ้ ้ ไม่วา่ การซื ้อคอมพิวเตอร์
จากต่างประเทศเป็ นแบบ เอฟโอบี, ซีเอฟอาร์ , ซีไอเอฟ หรื อแบบอื่นใด
ในการส่งมอบคอมพิวเตอร์ ให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ ถ้ าเป็ นกรณีตามวรรคหนึง่ ผู้ขายจะต้ องส่งมอบใบ
ตราส่ง (Bill of Lading) หรื อสาเนาใบตราส่ง สาหรับคอมพิวเตอร์ นนั ้ ซึง่ แสดงว่า ได้ บรรทุกมาโดยเรื อไทย
หรื อเรื อที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรื อไทย ให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ พร้ อมกับการส่งมอบคอมพิวเตอร์ ด้วย
ในกรณีที่คอมพิวเตอร์ ไม่ได้ บรรทุกจากต่างประเทศมายังประเทศไทย โดยเรื อไทย หรื อเรื อ
ที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรื อไทย ผู้ขายต้ องส่งมอบหลักฐาน ซึง่ แสดงว่า ได้ รับอนุญาตจากสานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชย์นาวี ให้ บรรทุกของโดยเรื ออื่นได้ หรื อหลักฐานซึง่ แสดงว่า ได้ ชาระ
ค่าธรรมเนียมพิเศษ เนื่องจากการไม่บรรทุกของโดยเรื อไทย ตามกฎหมายว่าด้ วยการส่งเสริมการพาณิชย์
นาวี แล้ วอย่างใดอย่างหนึง่ แก่ผ้ ซู ื ้อด้ วย
ในกรณีที่ผ้ ขู าย ไม่สง่ มอบหลักฐาน อย่างหนึง่ อย่างใดดังกล่าว ในสองวรรคข้ างต้ น ให้ แก่ผ้ ู
ซื ้อ แต่จะขอส่งมอบคอมพิวเตอร์ ให้ ผ้ ซู ื ้อก่อน โดยยังไม่รับชาระเงินค่าคอมพิวเตอร์ ผู้ซื ้อมีสิทธิรับ
คอมพิวเตอร์ ไว้ ก่อน และชาระเงินค่าคอมพิวเตอร์ เมื่อผู้ขายได้ ปฏิบตั ถิ กู ต้ องครบถ้ วนดังกล่าวแล้ วได้

ข้ อ ๖. การตรวจรับ
เมื่อผู้ซื ้อได้ ตรวจรับคอมพิวเตอร์ ถูกต้ องครบถ้ วนตามสัญญานี ้แล้ ว ผู้ซื ้อ จะออก
หลักฐานการรับมอบ ไว้ เป็ นหนังสือ เพื่อผู้ขายนามาใช้ เป็ นหลักฐาน ประกอบการขอรับเงินค่า
คอมพิวเตอร์
ถ้ าผลของการตรวจรับปรากฏว่า คอมพิวเตอร์ ที่ผ้ ขู ายส่งมอบ ไม่ตรงตามสัญญาข้ อ ๑
หรื อ มีคณ ุ สมบัตไิ ม่ถกู ต้ อง ตามสัญญาข้ อ ๒ หรื อใช้ งานได้ ไม่ครบถ้ วน ตามสัญญาข้ อ ๔ ผู้ซื ้อทรงไว้ ซงึ่
สิทธิที่จะไม่รับคอมพิวเตอร์ นนั ้ ในกรณีเช่นว่านี ้ ผู้ขายต้ องรี บนาคอมพิวเตอร์ นนั ้ กลับคืนโดยเร็วที่สดุ เท่าที่
จะทาได้ และนาคอมพิวเตอร์ มาส่งมอบให้ ใหม่ หรื อต้ องทาการแก้ ไขให้ ถกู ต้ อง ตามสัญญา ด้ วย
ค่าใช้ จา่ ยของผู้ขายเอง และระยะเวลาที่เสียไป เพราะเหตุดงั กล่าว ผู้ขายจะนามาอ้ างเป็ นเหตุขอขยาย
เวลาทาการตามสัญญา หรื อของดหรื อลดค่าปรับไม่ได้
ข้ อ ๗. การชาระเงิน
(ผู้ซื ้อจะชาระเงินค่าคอมพิวเตอร์ ให้ แก่ผ้ ขู าย เมื่อผู้ซื ้อได้ รับมอบคอมพิวเตอร์ ตามข้ อ ๖
ไว้ โดยครบถ้ วนแล้ ว)*
(ผู้ซื ้อตกลงชาระเงิน ค่าคอมพิวเตอร์ ให้ แก่ผ้ ขู าย ดังนี ้
๗.๑ เงินล่วงหน้ า จานวน……………............บาท (…………………………………….)
จะจ่ายให้ ภายใน……........วันนับแต่วนั ทาสัญญานี ้ ทังนี ้ ้โดยผู้ขายจะต้ องนาหลักประกันเงินล่วงหน้ า
เป็ น……………...(หนังสือค ้าประกันของธนาคารภายใน ประเทศ หรื อพันธบัตรรัฐบาล
ไทย)………………. เต็มตามจานวนเงินล่วงหน้ าที่จะได้ รับมามอบให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ เป็ นหลักประกันการชาระ
คืนเงินล่วงหน้ า ก่อนการรับชาระเงินล่วงหน้ านัน้
ผู้ซื ้อจะคืนหลักประกันเงินล่วงหน้ า ให้ แก่ผ้ ขู าย เมื่อผู้ซื ้อได้ รับมอบสิ่งของ ตามข้ อ ๖ ไว้
โดยครบถ้ วนแล้ ว
๗.๒ เงินที่เหลือ จานวน…………………….......บาท (……….………………………)
จะจ่ายให้ เมื่อผู้ซื ้อได้ รับคอมพิวเตอร์ ตามข้ อ ๖ ไว้ โดยครบถ้ วนแล้ ว)*

ข้ อ ๘. การรับประกันความชารุดบกพร่ อง
ผู้ขายยอมรับประกันความชารุดบกพร่อง หรื อขัดข้ องของการติดตัง้ และคอมพิวเตอร์
ตามสัญญานี ้เป็ นเวลา…………ปี …………เดือนนับแต่วนั ที่ผ้ ซู ื ้อได้ รับมอบ ถ้ าภายในระยะเวลาดังกล่าว
การติดตังหรื ้ อคอมพิวเตอร์ ชารุดบกพร่อง หรื อใช้ งานไม่ได้ ทงหมดหรืั้ อแต่บางส่วน และความชารุด
บกพร่องของการติดตัง้ หรื อคอมพิวเตอร์ เกิดขึ ้นโดยมิใช่ความผิดของผู้ซื ้อ ผู้ขายจะต้ องจัดการซ่อมแซม
แก้ ไข ให้ อยูใ่ นสภาพใช้ การได้ ดีดงั เดิม โดยต้ องเริ่มจัดการซ่อมแซมแก้ ไขภายใน………วัน นับแต่วนั เวลา
ที่ได้ รับแจ้ งจากผู้ซื ้อโดยไม่คิดค่าใช้ จา่ ยใด ๆ จากผู้ซื ้อทังสิ
้ ้น ถ้ าผู้ขายไม่ปฏิบตั ิตาม ผู้ซื ้อมีสิทธิจ้าง
บุคคลภายนอก ทาการซ่อมแซมแก้ ไข โดยผู้ขายจะต้ องออกค่าใช้ จ่าย ในการจ้ างบุคคลภายนอก ทาการ
ซ่อมแซมแก้ ไขทังสิ ้ ้น แทนผู้ซื ้อ
ผู้ขายมีหน้ าที่บารุงรักษาและซ่อมแซมแก้ ไขคอมพิวเตอร์ ให้ อยู่ในสภาพใช้ งานได้ ดีอยู่เสมอ
ตลอดระยะเวลาดังกล่าวในวรรคหนึง่ ด้ วยค่าใช้ จา่ ยของผู้ขาย โดยให้ มีเวลาคอมพิวเตอร์ ขดั ข้ องรวม
ตามเกณฑ์การคานวณนับไม่เกินเดือนละ………………………ชัว่ โมง หรื อร้ อยละ……………ของเวลา
ใช้ งานทังหมด
้ ของคอมพิวเตอร์ ของเดือนนัน้ แล้ วแต่ตวั เลขใดจะมากกว่ากัน มิฉะนันผู ้ ้ ขายต้ องยอมให้
ผู้ซื ้อคิดค่าปรับ ในช่วงเวลาที่ไม่สามารถใช้ คอมพิวเตอร์ ได้ ในส่วนที่เกินกาหนดข้ างต้ น ในอัตราชัว่ โมง
ละ…………..บาท
เกณฑ์การคานวณเวลาขัดข้ อง ของคอมพิวเตอร์ ตามวรรคสอง ให้ เป็ นดังนี ้
- กรณีที่คอมพิวเตอร์ เกิดขัดข้ อง พร้ อมกันหลายหน่วย ให้ นบั เวลาขัดข้ อง ของหน่วยที่มี
ตัวถ่วงมากที่สดุ เพียงหน่วยเดียว
- กรณีความเสียหายอันสืบเนื่องมาจากความขัดข้ อง ของคอมพิวเตอร์ แตกต่างกัน เวลา
ที่ใช้ ในการคานวณค่าปรับ จะเท่ากับเวลาขัดข้ องของคอมพิวเตอร์ หน่วยนัน้ คูณด้ วยตัวถ่วงซึง่ มีคา่ ต่าง ๆ
ตามผนวก ๔.
ผู้ขายจะต้ องชาระค่าปรับ ตามวรรคสองให้ แก่ผ้ ซู ื ้อภายใน…………วัน นับแต่วนั ที่ได้ รับ
แจ้ งจากผู้ซื ้อ

ข้ อ ๙. หลักประกันการปฏิบัตติ ามสัญญา
ในวันทาสัญญานี ้ ผู้ขายได้ นาหลักประกันเป็ น…………………..…..เป็ นจานวนร้ อย
ละ…………….ของราคาซื ้อขายคอมพิวเตอร์ ตามสัญญาข้ อ ๑. มามอบให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ เพื่อเป็ นการประกัน
การปฏิบตั ิตามสัญญานี ้
หลักประกัน ที่ผ้ ขู ายนามามอบไว้ ตามวรรคหนึง่ ผู้ซื ้อจะคืนให้ เมื่อผู้ขายพ้ นจาก
ข้ อผูกพันตามสัญญานี ้แล้ ว

ข้ อ. ๑๐. การโอนกรรมสิทธิ์
ั ญาตกลงกันว่า กรรมสิทธิ์ในคอมพิวเตอร์ ตามสัญญา จะโอนไปยังผู้ซื ้อ เมื่อผู้ซื ้อ
คูส่ ญ
ได้ รับมอบคอมพิวเตอร์ ดงั กล่าว ตามสัญญาข้ อ ๖. แล้ ว

ข้ อ ๑๑. การอบรม
ผู้ขาย ต้ องจัดอบรมวิชาการด้ านคอมพิวเตอร์ ให้ แก่เจ้ าหน้ าที่ ของผู้ซื ้อก่อนการติดตัง้
และให้ แล้ วเสร็จ ก่อนพ้ นข้ อผูกพันตามสัญญาข้ อ ๘. โดยไม่คิดค่าใช้ จา่ ยใด ๆ รายละเอียดของการ
ฝึ กอบรมให้ เป็ นไปตามผนวก ๕

ข้ อ ๑๒. คู่มือการใช้ คอมพิวเตอร์


ผู้ขาย ต้ องจัดหาคูม่ ือการใช้ คอมพิวเตอร์ ตามรายละเอียดที่กาหนดไว้ ในผนวก ๖ พร้ อม
ทังปรั
้ บปรุงให้ ทนั สมัย ตลอดระยะเวลาตามสัญญาข้ อ ๘ ทังนี ้ ้ โดยไม่คดิ เงินเพิ่มจากผู้ซื ้อ

ข้ อ ๑๓. การรับประกันความเสียหาย
ในกรณีที่บคุ คลภายนอก กล่าวอ้ างหรื อใช้ สิทธิเรี ยกร้ องใด ๆ ว่ามีการละเมิดลิขสิทธิ์ หรื อ
สิทธิบตั ร เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ตามสัญญานี ้ โดยผู้ซื ้อมิได้ แก้ ไขดัดแปลงไปจากเดิม ผู้ขายจะต้ อง
ดาเนินการทังปวง ้ เพื่อให้ การกล่าวอ้ าง หรื อการเรี ยกร้ องดังกล่าว ระงับสิ ้นไปโดยเร็ว หากผู้ขายมิอาจ
กระทาได้ และผู้ซื ้อต้ องรับผิด ชดใช้ คา่ เสียหาย ต่อบุคคลภายนอก เนื่องจากผลแห่งการละเมิดลิขสิทธิ์
หรื อสิทธิบตั รดังกล่าว ผู้ขายต้ องเป็ นผู้ชาระค่าเสียหาย และค่าใช้ จา่ ย รวมทังค่ ้ าฤชาธรรมเนียม และค่า
ทนายความ แทนผู้ซื ้อ ทังนี ้ ้ ผู้ซื ้อจะแจ้ งให้ ผ้ ขู ายทราบเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ในเมื่อได้ มีการกล่าวอ้ างหรื อ
ใช้ สิทธิเรี ยกร้ องดังกล่าวโดยไม่ชกั ช้ า

ข้ อ ๑๔. การบอกเลิกสัญญา
เมื่อครบกาหนดติดตัง้ และส่งมอบคอมพิวเตอร์ ตามสัญญาข้ อ ๔ แล้ ว ถ้ าผู้ขายไม่ติดตัง้
และส่งมอบคอมพิวเตอร์ บางรายการ หรื อทังหมดให้ ้ แก่ผ้ ซู ื ้อ ภายในกาหนดเวลาดังกล่าว หรื อส่งมอบ
คอมพิวเตอร์ ไม่ตรงตามสัญญาข้ อ ๑ หรื อมีคณ ุ สมบัตไิ ม่ถกู ต้ อง ตามสัญญาข้ อ ๒ หรื อติดตังแล้ ้ วเสร็จ
และส่งมอบภายในกาหนด แต่ใช้ งานไม่ได้ ครบถ้ วน ตามสัญญาข้ อ ๔ ผู้ซื ้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญา ทังหมด ้
หรื อบางส่วนได้
ในกรณีที่ผ้ ซู ื ้อ ใช้ สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ซื ้อมีสิทธิริบหลักประกัน หรื อเรี ยกร้ องจาก
ธนาคารผู้ออกหนังสือค ้าประกัน ตามสัญญา (ข้ อ ๗ และ)* ข้ อ ๙ เป็ นจานวนเงินทังหมด ้ หรื อแต่บางส่วน
ก็ได้ แล้ วแต่ผ้ ซู ื ้อ จะเห็นสมควร และถ้ าผู้ซื ้อ จัดซื ้อสิ่งของจากบุคคลอื่น เต็มจานวนหรื อเฉพาะจานวน ที่
ขาดส่ง แล้ วแต่กรณี ภายในกาหนด………………เดือน นับแต่วนั บอกเลิกสัญญา ผู้ขายจะต้ องชดใช้
ราคาที่เพิ่มขึ ้น จากราคาที่กาหนดไว้ ในสัญญานี ้ด้ วย
ในกรณีที่ผ้ ขู าย ได้ สง่ มอบคอมพิวเตอร์ ให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ และผู้ซื ้อบอกเลิกสัญญา ผู้ขายจะต้ อง
นาคอมพิวเตอร์ กลับคืนไป ภายใน……………..วัน นับแต่วนั ที่ผ้ ซู ื ้อบอกเลิกสัญญา โดยผู้ขายเป็ นผู้เสีย
ค่าใช้ จา่ ยเองทังสิ้ ้น
ถ้ าผู้ขาย ไม่ยอมนาคอมพิวเตอร์ กลับคืนไปภายในกาหนดเวลาดังกล่าว ตามวรรคหนึง่
ผู้ซื ้อจะกาหนดเวลาให้ ผ้ ขู าย นาคอมพิวเตอร์ กลับคืนไปอีกครัง้ หนึง่ หากพ้ นกาหนดเวลาดังกล่าวแล้ ว
ผู้ขายยังไม่นาคอมพิวเตอร์ กลับคืนไปอีก ผู้ซื ้อมีสิทธินาคอมพิวเตอร์ ออกขายทอดตลาด เงินที่ได้ จากการ
ขายทอดตลาด ผู้ขายยอมให้ ผ้ ซู ื ้อหักเป็ นค่าปรับ และหักเป็ นค่าใช้ จา่ ย และค่าเสียหายที่เกิดแก่ผ้ ซู ื ้อ ซึง่
รวมถึงค่าใช้ จา่ ยต่าง ๆ ที่ผ้ ซู ื ้อได้ เสียไป ในการดาเนินการขายทอดตลาดคอมพิวเตอร์ ดังกล่าว
ค่าใช้ จา่ ยในการทาสถานที่ ที่รือ้ ถอนคอมพิวเตอร์ ออกไป ให้ มีสภาพดังที่มีอยูเ่ ดิม ก่อนทาสัญญานี ้ เงินที่
เหลือจากการหักค่าเสียหายแล้ ว ผู้ซื ้อจะคืนให้ แก่ผ้ ขู าย ในระหว่างคอมพิวเตอร์ อยู่ในความครอบครอง
ของผู้ซื ้อ นับแต่วนั ผู้ซื ้อบอกเลิกสัญญา ผู้ซื ้อไม่ต้องรับผิดชอบ ในความเสียหายใด ๆ ทังสิ ้ ้นอันเกิดแก่
คอมพิวเตอร์ อันมิใช่ความผิดของผู้ซื ้อ**
ข้ อ ๑๕. ค่ าปรับ
ในกรณีที่ผ้ ซู ื ้อยังไม่ใช้ สิทธิบอกเลิกสัญญา ตามข้ อ ๑๔ ผู้ขายจะต้ องชาระค่าปรับ ให้ ผ้ ซู ื ้อ
เป็ นรายวัน ในอัตราร้ อยละ…………….(…………%) ของราคาคอมพิวเตอร์ ที่ยงั ไม่ได้ รับมอบ นับแต่วนั
ถัดจากวันครบกาหนดตามสัญญา จนถึงวันที่ผ้ ขู ายได้ นาคอมพิวเตอร์ มาส่งมอบให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ จนถูกต้ อง
ครบถ้ วน
การคิดค่าปรับ ในกรณีที่คอมพิวเตอร์ ที่ตกลงซื ้อขายเป็ นระบบ ถ้ าผู้ขายส่งมอบเพียง
บางส่วน หรื อขาดส่วนประกอบ ส่วนหนึง่ ส่วนใดไป หรื อส่งมอบทังหมด ้ แต่ใช้ งานไม่ได้ ถกู ต้ องครบถ้ วน
ตามผนวก ๓ ให้ ถือว่ายังไม่ได้ สง่ มอบ คอมพิวเตอร์ นนเลย ั้ และคิดค่าปรับ จากราคาคอมพิวเตอร์ ทงั ้
ระบบ
ในระหว่างที่ผ้ ซู ื ้อ ยังไม่ได้ ใช้ สิทธิบอกเลิกสัญญานัน้ ถ้ าผู้ซื ้อเห็นว่าผู้ขาย ไม่อาจปฏิบตั ิ
ตามสัญญาต่อไปได้ ผู้ซื ้อจะใช้ สิทธิบอกเลิกสัญญา และริบหลักประกัน หรื อเรี ยกร้ องจากธนาคารผู้ออก
หนังสือค ้าประกัน ตามสัญญา (ข้ อ ๗ และ)* ข้ อ ๙ กับเรี ยกร้ องให้ ชดใช้ ราคาที่เพิ่มขึ ้น ตามที่กาหนดไว้ ใน
สัญญาข้ อ ๑๔ วรรคสองก็ได้ และถ้ าผู้ซื ้อได้ แจ้ งข้ อเรี ยกร้ อง ให้ ชาระค่าปรับ ไปยังผู้ขายเมื่อครบกาหนด
ส่งมอบแล้ ว ผู้ซื ้อมีสิทธิที่จะปรับผู้ขาย จนถึงวันบอกเลิกสัญญาได้ อีกด้ วย

ข้ อ ๑๖. การรับผิดชอบชดใช้ ค่าเสียหาย


ถ้ าผู้ขายไม่ปฏิบตั ิตามสัญญา ข้ อหนึง่ ข้ อใดด้ วยเหตุใด ๆ ก็ตาม จนเป็ นเหตุให้ เกิดความ
เสียหายแก่ผ้ ซู ื ้อแล้ ว ผู้ขายต้ องชดใช้ คา่ เสียหาย ให้ แก่ผ้ ซู ื ้อโดยสิ ้นเชิง ภายในกาหนด ๓๐ วัน นับแต่วนั ที่
ได้ รับแจ้ งจากผู้ซื ้อ

ข้ อ ๑๗. การขอขยายเวลาส่ งมอบ


ในกรณีที่มีเหตุสดุ วิสยั หรื อเหตุใด ๆ อันเนื่องมาจากความผิด หรื อความบกพร่อง ของ
ฝ่ ายผู้ซื ้อ หรื อจากพฤติการณ์ อันใดอันหนึง่ ซึง่ ผู้ขายไม่ต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย เป็ นเหตุให้ ผ้ ขู ายไม่
สามารถส่งมอบคอมพิวเตอร์ ตามเงื่อนไขและกาหนดเวลาแห่งสัญญานี ้ได้ ผู้ขายมีสิทธิขอขยายเวลาทา
การตามสัญญา หรื อของด หรื อลดค่าปรับได้ โดยจะต้ องแจ้ งเหตุ หรื อพฤติการณ์ดงั กล่าว พร้ อมหลักฐาน
เป็ นหนังสือ ให้ ผ้ ซู ื ้อทราบภายใน ๑๕ วัน นับแต่วนั ที่เหตุนนสิ
ั ้ ้นสุดลง
ถ้ าผู้ขายไม่ปฏิบตั ิ ให้ เป็ นไปตามความในวรรคหนึง่ ให้ ถือว่าผู้ขายได้ สละสิทธิ์เรี ยกร้ อง
ในการที่จะขอขยายเวลาทาการ ตามสัญญา หรื อของด หรื อลดค่าปรับ โดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ ทังสิ ้ ้น เว้ น
แต่กรณีเหตุเกิดจากความผิด หรื อความบกพร่องของฝ่ ายผู้ซื ้อ ซึง่ มีหลักฐานชัดแจ้ ง หรื อผู้ซื ้อทราบดีอยู่
แล้ วตังแต่
้ ต้น
การขยายเวลาทาการตามสัญญา หรื อของดหรื อลดค่าปรับตามวรรคหนึง่ อยูใ่ นดุลพินิจ
ของผู้ซื ้อที่จะพิจารณา
สัญญานี ้ทาขึ ้นสองฉบับ มีข้อความถูกต้ องตรงกัน คูส่ ญ
ั ญาได้ อา่ น และเข้ าใจข้ อความ
โดยละเอียดตลอดแล้ ว จึงได้ ลงลายมือชื่อ พร้ อมทังประทั
้ บตรา (ถ้ ามี) ไว้ เป็ นสาคัญ ต่อหน้ าพยาน และ
คูส่ ญ
ั ญาต่างยึดถือไว้ ฝ่ายละฉบับ

(ลงชื่อ) …………………………………ผู้ซื ้อ
(…………..……………………………….)

(ลงชื่อ) …………………………………ผู้ขาย
(……………….………………………….)

(ลงชื่อ) …………………………………พยาน
(………….……………………………….)

(ลงชื่อ) ………………………………….พยาน
(………………………………..…………)

____________________________________________________________________________________
หมายเหตุ * เป็ นข้ อความหรื อเงื่อนไขเพิ่มเติม ซึง่ ส่วนราชการผู้ทาสัญญา อาจเลือกใช้ หรื อตัดออกได้
ตามข้ อเท็จจริง
** ความในวรรคนี ้ อาจแก้ ไขเปลี่ยนแปลงได้ ตามความเหมาะสม ถ้ าส่วนราชการผู้ทาสัญญา
สามารถกาหนดมาตรการอื่นใดในสัญญา หรื อกาหนดทางปฏิบตั ิ เพื่อแก้ ปัญหาที่ผ้ ขู ายไม่ยอมนา
คอมพิวเตอร์ กลับคืนไปได้
ตัวอย่างสัญญาซื้อขายทั่วไป

ส่วนพัสดุ
สำนักอำนวยกำร
ตัวอย่ างสัญญา
สัญญาซือ้ ขาย

แบบสัญญาซือ้ ขายทั่วไป

สัญญาเลขที่………………………………………..…

สัญญาฉบับนี ้ทาขึ ้น ณ ……………………………..............ตาบล/แขวง…………………...…...


อาเภอ/เขต………….….....จังหวัด………………....เมื่อวันที่………..เดือน……………..พ.ศ… ….…….
ระหว่าง……………….….....โดย.…………….................ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้เรี ยกกว่า “ผู้ซื ้อ” ฝ่ ายหนึง่
กับ…………………....................ซึง่ จดทะเบียนเป็ นนิตบิ คุ คล ณ ………………………………………...
มีสานักงานใหญ่อยูเ่ ลขที่………………..ถนน……………………...ตาบล/แขวง…………………………
อาเภอ/เขต………......จังหวัด……………โดย…………......................ผู้มีอานาจลงนามผูกพันนิติบคุ คล
ปรากฏตามหนังสือรับรองของสานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท…………………………….....................
ลงวันที่……………………………..(และหนังสือมอบอานาจลงวันที่……………..……………………)*
แนบท้ ายสัญญานี ้ (ในกรณีที่ผ้ ขู ายเป็ นบุคคลธรรมดา ให้ ใช้ ข้อความว่ากับ……………………………..
อยูบ่ ้ านเลขที่……......ถนน…………………..ตาบล/แขวง……………….…อาเภอ/เขต………………….
จังหวัด……………………)* ซึง่ ต่อไปในสัญญานี ้เรี ยกว่า “ผู้ขาย” อีกฝ่ ายหนึง่
คูส่ ญ
ั ญาได้ ตกลงกันมีข้อความดังต่อไปนี ้

ข้ อ 1. ข้ อตกลงซือ้ ขาย
ผู้ซื ้อตกลงซื ้อและผู้ขายตกลงขาย………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
จานวน…………………….เป็ นราคาทังสิ ้ ้น……………………...บาท (………………………………….)
ซึง่ ได้ รวมภาษีมลู ค่าเพิ่มจานวน………………………….…บาท ตลอดจนภาษี อากรอื่นๆและค่าใช้ จา่ ย
ทังปวงด้
้ วยแล้ ว
ผู้ขายรับรองว่าสิ่งที่ขายให้ ตามสัญญานี ้เป็ นของแท้ ของใหม่ ไม่เคยใช้ งานมาก่อน ไม่เป็ นของเก่า
เก็บ และมีคณ ุ ภาพ และคุณสมบัตไิ ม่ต่ากว่าที่กาหนดไว้ ในเอกสารแนบท้ ายสัญญา
ในกรณีที่เป็ นการซื ้อสิ่งของซึ่งจะต้ องมีการตรวจทดลอง ผู้ขายรับรองว่า เมื่อตรวจทดสอบแล้ ว
ต้ องมีคณ ุ ภาพและคุณสมบัตไิ ม่ต่ากว่าที่กาหนดไว้ ด้วย
ข้ อ 2. เอกสารอันเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญญา
เอกสารแนบท้ ายสัญญา ดังต่อไปนี ้ ให้ ถือเป็ นส่วนหนึง่ ของ สัญญานี ้
2.1 ผนวก 1………….(รายการคุณลักษณะเฉพาะ) จานวน…….……........หน้ า
2.2 ผนวก 2………….(แค็ตตาล็อก)* จานวน………………..หน้ า
2.3 ผนวก 3………….(แบบรูป)* จานวน………………..หน้ า
2.4 ผนวก 4 …………(ใบเสนอราคา) จานวน………………..หน้ า
2.5 ………………………….ฯลฯ…………………………
ความใด ในเอกสารแนบท้ ายสัญญา ที่ขดั แย้ ง กับข้ อความ ในสัญญานี ้ ให้ ใช้ ข้อความในสัญญา
นี ้บังคับ และในกรณีที่เอกสารแนบท้ ายสัญญา ขัดแย้ งกันเอง ผู้ขายจะต้ องปฏิบตั ิตามคาวินิจของผู้ซื ้อ

ข้ อ 3 การส่ งมอบ
ผู้ขายจะส่งมอบสิ่งของที่ซื ้อขายตามสัญญา ให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ ณ………………………………………..
…………………………..…. ภายในวันที่……………….เดือน………………….พ.ศ. …………………..
ให้ ถกู ต้ อง และครบถ้ วน ตามที่กาหนดไว้ ในข้ อ 1 แห่งสัญญานี ้ พร้ อมทังหี้ บห่อ หรื อเครื่ องรัดพันผูกโดย
เรี ยบร้ อย
การส่งมอบสิ่งของ ตามสัญญานี ้ ไม่วา่ จะเป็ นการส่งมอบ เพียงครัง้ เดียว หรื อส่งมอบหลายครัง้
ผู้ขายจะต้ องแจ้ งกาหนดเวลาส่งมอบ แต่ละครัง้ โดยทาเป็ นหนังสือนาไปยื่นต่อผู้ซื ้อ ณ…………………
ในเวลาราชการ ก่อนวันส่งมอบไม่น้อยกว่า…………วันทาการ

ข้ อ 4. การใช้ เรือไทย
ถ้ าสิ่งของที่ จะต้ องส่งมอบให้ แก่ผ้ ซู ื ้อตามสัญญานี ้ เป็ นสิ่งของที่ผ้ ขู าย จะต้ องสัง่ หรื อนาเข้ ามา
จาก ต่างประเทศ และสิ่งของนัน้ ต้ องนาเข้ ามา โดยทางเรื อ ในเส้ นทางเดินเรื อ ที่มีเรื อไทยเดินอยู่ และ
สามารถ ให้ บริการรับขนได้ ตามที่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงคมนาคมประกาศกาหนด ผู้ขายต้ องจัดการให้
สิ่งของดังกล่าวบรรทุกโดยเรื อไทย หรื อเรื อที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรื อไทยจากต่างประเทศ มายังประเทศไทย
เว้ นแต่จะ ได้ รับอนุญาตจากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการพาณิชยนาวี ก่อนปรรทุกของนัน้ ลงเรื อ
อื่นที่มิใช่เรื อไทย หรื อเป็ นของที่รัฐมนตรี วา่ กระทรวงคมนาคม ประกาศยกเว้ น ให้ บรรทุก โดยเรื ออื่นได้
ทังนี
้ ้ ไม่วา่ การสัง่ หรื อสัง่ ซื ้อสิ่งของ ดังกล่าวจากต่างประเทศ จะเป็ นแบบ เอฟโอบี,ซีเอฟอาร์ ,ซีไอเอฟ
หรื อแบบอื่นใด
ในการส่งมอบสิ่งของ ตามสัญญาให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ ถ้ าสิ่งของนัน้ เป็ นสิ่งของตามวรรคหนึง่ ผู้ขายจะต้ อง
ส่งมอบ ใบตราส่ง (Bill of Lading) หรื อสาเนาใบตราส่งสาหรั บของนัน้ ซึ่งแสดงว่าได้ บรรทุกมา โดย
เรื อไทย หรื อเรื อที่มีสิทธิ เช่นเดียวกับเรื อไทยให้ แก่ผ้ ซู ื ้อพร้ อมกับการส่งมอบสิ่งของด้ วย
ในกรณีที่สิ่งของดังกล่าว ไม่ได้ บรรทุกจากต่างประเทศมายังประเทศไทย โดยเรื อไทย หรื อเรื อที่มี
สิทธิเช่นเดียว กับเรื อไทย ผู้ขายต้ องส่งมอบหลักฐานซึง่ แสดงว่า ได้ รับอนุญาตจากสานักงาน
คณะกรรมการ ส่งเสริมการพาณิชย์นาวี ให้ บรรทุกของ โดยเรื ออื่นได้ หรื อหลักฐาน ซึง่ แสดงว่า ได้ ชาระ
ค่าธรรมเนียมพิเศษ เนื่องจากการไม่บรรทุกของโดยเรื อไทยตามกฎหมายว่าด้ วยการส่งเสริมการพาณิชย์
นาวีแล้ ว อย่างใดอย่างหนึง่ แก่ผ้ ซู ื ้อด้ วย
ในกรณีที่ผ้ ขู าย ไม่สง่ มอบหลักฐานอย่างหนึง่ อย่างใด ดังกล่าวในสองวรรคข้ างต้ นให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ แต่
จะขอส่งมอบสิ่งของ ดังกล่าวให้ ผ้ ซู ื ้อก่อน โดยยังไม่รับชาระเงินค่า สิ่งของ ผู้ซื ้อมีสิทธิรับสิ่งของดังกล่าวไว้
ก่อนและชาระเงินค่าสิ่งของ เมื่อผู้ขายได้ ปฏิบตั ถิ กู ต้ องครบถ้ วนดังกล่าวแล้ วได้

ข้ อ 5. การตรวจรับ
เมื่อผู้ซื ้อได้ ตรวจรับ สิ่งของที่สง่ มอบ และเห็นว่าถูกต้ องครบถ้ วน ตามสัญญาแล้ ว ผู้ซื ้อจะออก
หลักฐานการรับมอบไว้ ให้ เพื่อผู้ขาย นามาเป็ น หลักฐานประกอบการขอรับเงินค่าสิ่งของนัน้
ถ้ าผลของการตรวจรับ ปรากฏว่าสิ่งของ ที่ผ้ ขู ายส่งมอบ ไม่ตรงตามสัญญาข้ อ 1 ผู้ซื ้อทรงไว้ ซึง่
สิทธิที่จะไม่รับสิ่งของนัน้ ในกรณีเช่นว่านี ้ ผู้ขายต้ องรี บนาสิ่งของนันกลั
้ บคืนโดยเร็ วที่สดุ เท่าที่จะทาได้
และนาสิ่งของ มาส่งมอบให้ ใหม่ หรื อต้ องทาการแก้ ไข ให้ ถกู ต้ องตามสัญญาด้ วยค่าใช้ จา่ ยของผู้ขายเอง
และระยะเวลาที่เสียไปเพราะ เหตุดงั กล่าว ผู้ขายจะนามาอ้ างเป็ นเหตุ ขอขยายเวลาทาการตามสัญญา
หรื อของดหรื อลดค่าปรับไม่ได้
ในกรณีที่ผ้ ขู ายส่งมอบ สิ่งของถูกต้ อง แต่ไม่ครบจานวน หรื อส่งมอบครบจานวน แต่ไม่ถกู ต้ อง
ทังหมด
้ ผู้ซื ้อจะตรวจรับ เฉพาะส่วนที่ถกู ต้ อง โดยออกหลักฐานการตรวจรับเฉพาะส่วนนันก็ ้ ได้ * (ความใน
วรรคสามนี ้ จะไม่กาหนดไว้ ในกรณีที่ผ้ ซู ื ้อต้ องการสิ่งของ ทังหมดในคราวเดี
้ ยวกัน หรื อการซื ้อสิ่งของที่
ประกอบ เป็ นชุดหรื อหน่วย ถ้ าขาดส่วนประกอบอย่างหนึง่ อย่างใดไปแล้ ว จะไม่สามารถใช้ งานได้ โดย
สมบูรณ์)

ข้ อ 6. การชาระเงิน
(ผู้ซื ้อตกลงชาระเงิน ค่าสิ่งของตามข้ อ 1 ให้ แก่ผ้ ขู าย เมื่อผู้ซื ้อได้ รับมอบ สิ่งของตามข้ อ 5 ไว้ โดย
ครบถ้ วนแล้ ว)*
(ผู้ซื ้อตกลงชาระเงินค่าสิ่งของตามข้ อ 1 ให้ แก่ผ้ ขู าย ดังนี ้
6.1 เงินล่วงหน้ า จานวน………..............บาท (……………………………..) จะจ่ายให้ ภายใน
…………….วัน นับแต่ วันทาสัญญานี ้ ทังนี ้ ้โดยผู้ขาย จะต้ องนาหลักประกันเงินล่วงหน้ า
เป็ น…………..….. (หนังสือค ้าประกันของธนาคารภายในประเทศหรื อพันธบัตรรัฐบาลไทย)
……….........เต็มตามจานวนเงินล่วงหน้ าที่ จะได้ รับมามอบให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ เป็ นหลักประกันการชาระคืนเงิน
ล่วงหน้ าก่อนการรับชาระเงินล่วงหน้ านัน้
6.2 เงินที่เหลือ จานวน………………บาท (……………………………………….) จะจ่ายให้
เมื่อผู้ซื ้อได้ รับมอบสิ่งของ ตามข้ อ 5 ไว้ โดยครบถ้ วนแล้ ว)*
การจ่ายเงินตามเงื่อน ไขแห่งสัญญานี ้ ผู้ซื ้อจะโอนเงิน เข้ าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้ขาย
ชื่อธนาคาร…………….………..…..สาขา……………….…ชื่อบัญชี……………………………………
เลขที่บญ ั ชี……………………ทังนี ้ ้ ผู้ขายตกลง เป็ นผู้รับภาระเงินค่าธรรมเนียม หรื อค่าบริ การอื่นใด
เกี่ยวกับหารโอน ที่ธนาคารเรี ยกเก็บ และยินยอม ให้ มีการหักเงิน ดังกล่าวจากจานวนเงินโอนใน งวดนันๆ ้
(ความในวรรคนี ้ ใช้ สาหรับ กรณีที่สว่ นราชการ จะจ่ายเงินตรงให้ แก่ผ้ ขู าย (ระบบ Direct Payment) โดย
การโอนเงิน เข้ าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้ขาย ตามแนวทาง ที่กระทรวงการคลังกาหนด)

ข้ อ 7. การรับประกัน ความชารุดบกพร่ อง
ผู้ขายยอมรับประกันความชารุดบกพร่อง หรื อขัดข้ อง ของสิ่งของตามสัญญานี ้เป็ นเวลา………
ปี …………………..เดือน นับแต่ วันที่ผ้ ซู ื ้อได้ รับมอบ โดยภายในกาหนดเวลาดังกล่าว หากสิ่งของตาม
สัญญานี ้ เกิดชารุดบกพร่อง หรื อขัดข้ องอันเนื่องมาจาก การใช้ งานตามปกติ ผู้ขาย จะต้ องจัดการ
ซ่อมแซม หรื อแก้ ไข ให้ อยูใ่ นสภาพ ที่ใช้ การได้ ดีดงั เดิม ภายใน………..วัน นับแต่วนั ที่ ได้ รับแจ้ ง จากผู้ซื ้อ
โดยไม่คิดค่าใช้ จา่ ยใดๆ ทังสิ
้ ้น

ข้ อ 8. หลักประกันการปฏิบัตติ ามสัญญา
ในขณะทาสัญญานี ้ ผู้ขายได้ นาหลักประกันเป็ น………………..เป็ นจานวนเงิน…………บาท
(……………………………) ซึง่ เท่ากับร้ อยละ…………… (……….%) ของราคาทังหมด ้ ตามสัญญา
มามอบให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ เพื่อเป็ นหลักการปฏิบตั ิ ตามสัญญานี ้
หลักประกัน ที่ผ้ ขู ายนามามอบไว้ ตามวรรคหนึง่ ผู้ซื ้อจะคืน ให้ เมื่อผู้ขายพ้ น จากข้ อผูกผัน
ตามสัญญานี ้แล้ ว (ส่วนหลักประกันตามข้ อ 6.1 ผู้ซื ้อจะคืนให้ พร้ อมกับ การจ่ายเงินงวดสุดท้ ายตามข้ อ
6.2)*

ข้ อ 9. การบอกเลิกสัญญา
เมื่อครบกาหนดส่งมอบ สิ่งของต่างสัญญานี ้แล้ ว ถ้ าผู้ขายไม่สง่ มอบสิ่งของ ที่ตกลงขายให้ แก่
ผู้ซื ้อ หรื อส่งมอบไม่ถกู ต้ อง หรื อไม่ครบจานวน ผู้ซื ้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาทังหมดหรื
้ อบางส่วนได้
ในกรณีที่ผ้ ซู ื ้อใช้ สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ซื ้อมีสิทธิริบหลักประกัน หรื อเรี ยกร้ องจากธนาคารผู้ออก
หนังสือค ้าประกันตามสัญญา (ข้ อ 6 และ)* ข้ อ 8 เป็ นจานวนเงินทังหมด ้ หรื อแต่บางส่วนก็ได้ แล้ วแต่ผ้ ซู ื ้อ
จะเห็นสมควร และถ้ าผู้ซื ้อจัดซื ้อสิ่งของ จากบุคคลอื่นเต็มจานวน หรื อเฉพาะจานวนที่ขาดส่ง แล้ วแต่
กรณี ภายในกาหนด……….เดือน นับแต่ วันเลิกสัญญา ผู้ขาย จะต้ องชดใช้ ราคาที่เพิ่มขึ ้น จากราคาที่
กาหนดไว้ ในสัญญานี ้ด้ วย

ข้ อ 10. ค่ าปรับ
ในกรณีที่ ผู้ซื ้อมิได้ ใช้ สิทธิบอกเลิกสัญญา ตามสัญญาข้ อ 9 ผู้ขายจะต้ องชาระค่าปรับให้ ผู้ซื ้อ
เป็ นรายวัน ในอัตราร้ อยละ…………….(…………….%) ของราคาสิ่งของ ที่ยงั ไม่ได้ รับมอบ นับแต่วนั ถัด
จาก วันครบกาหนดตามสัญญา จนถึงวันที่ผ้ ขู าย ได้ นาสิ่งของมาส่งมอบให้ แก่ผ้ ซู ื ้อจนถูกต้ องครบถ้ วน
การคิดค่าปรับ ในกรณีสิ่งของ ที่ตกลงซื ้อขายประกอบกันเป็ นชุด แต่ผ้ ขู ายส่งมอบเพียงบางส่วน
หรื อขาดส่วนประกอบ ส่วนหนึง่ ส่วนใดไป ทาให้ ไม่สามารถใช้ การได้ โดยสมบูรณ์ ให้ ถือว่ายังไม่ได้
ส่งมอบสิ่งของนันเลย ้ และให้ คดิ ค่าปรับ จากราคาสิ่งของเต็มทังชุ้ ด
ในระหว่างที่ผ้ ซู ื ้อยังมิได้ ใช้ สิทธิบอกเลิกสัญญานัน้ หากผู้ซื ้อเห็นว่าผู้ขาย ไม่อาจปฏิบตั ิตาม
สัญญาต่อไปได้ ผู้ซื ้อจะใช้ สิทธิบอกเลิก และริบหลักประกัน หรื อเรี ยกร้ องจากธนาคารผู้ออกหนังสือค ้า
ประกันตามสัญญา (ข้ อ 6 และ)* ข้ อ 8 กับเรี ยกร้ องให้ ชดใช้ ราคาที่เพิ่มขึ ้น ตามที่กาหนดไว้ ในสัญญาข้ อ 9
วรรคสองก็ได้ และถ้ าผู้ซื ้อ ได้ แจ้ งข้ อเรี ยกร้ องให้ ชาระค่าปรับไปยังผู้ขาย เมื่อครบกาหนดส่งมอบแล้ ว
ผู้ซื ้อมีสิทธิที่จะปรับผู้ขาย จนถึงวันบอกเลิกสัญญาได้ อีกด้ วย

ข้ อ 11. การรับผิดชอบชดใช้ ค่าเสียหาย


ถ้ าผู้ขาย ไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญา ข้ อหนึง่ ข้ อใดด้ วยเหตุใดๆ ก็ตาม จนเป็ นเหตุให้ เกิดความเสียหาย
แก่ผ้ ซู ื ้อแล้ ว ผู้ขายต้ องชดใช้ คา่ เสียหาย ให้ แก่ผ้ ซู ื ้อโดยสิ ้นเชิง ภายในกาหนด 30 วัน นับตังแต่
้ วนั ที่ ได้ รับ
แจ้ งจากผู้ซื ้อ

ข้ อ 12. การขอขยายเวลาส่ งมอบ


ในกรณีที่มีเหตุสดุ วิสยั หรื อเหตุใดๆ อันเนื่องมาจากความผิด หรื อบกพร่องของฝ่ ายผู้ซื ้อ หรื อ
พฤติการณ์อนั ใดอันหนึง่ ซึง่ ผู้ขายไม่ต้องรับผิดชอบ ตามกฎหมายเป็ นเหตุให้ ผ้ ขู ายไม่สามารถส่งมอบ
สิ่งของตามเงื่อนไข และกาหนดเวลาแห่งสัญญานี ้ได้ ผู้ขายมีสิทธิขอขยายเวลาทาการตามสัญญา หรื อ
ของด หรื อลดค่าปรับได้ โดยจะต้ องแจ้ งเหตุหรื อพฤติการณ์ ดังกล่าวพร้ อมหลักฐาน เป็ นหนังสือให้ ผ้ ซู ื ้อ
ทราบภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่เหตุนนสิ ั ้ ้นสุดลง
ถ้ าผู้ขายไม่ปฏิบตั ใิ ห้ เป็ นไป ตามความในวรรคหนึง่ ให้ ถือว่าผู้ขายได้ สละสิทธิเรี ยกร้ อง ในการที่
จะขอขยายเวลาทาการตามสัญญา หรื อของดหรื อลดค่าปรับ โดยไม่เงื่อนไขใดๆ ทังสิ ้ น เว้ นแต่กรณีเหตุ
เกิดจากความผิด หรื อบกพร่องของฝ่ ายผู้ซื ้อ ซึง่ มีหลักฐานชัดแจ้ ง หรื อผู้ซื ้อทราบดีอยู่แล้ วตังแต่
้ ต้น
การขยายเวลาทาการตามสัญญา หรื อของด หรื อลดค่าปรับตามวรรคหนึง่ อยูใ่ นดุลพินิจของผู้ซื ้อ
ที่จะพิจารณา
สัญญานี ้ทาขึ ้นสองฉบับ มีข้อความถูกต้ องตรงกัน คูส่ ญ
ั ญาได้ อ่าน และเข้ าใจข้ อความ โดย
ละเอียดตลอดแล้ ว จึงได้ ลงลายมือชื่อ พร้ อมทังประทั
้ บตรา (ถ้ ามี) ไว้ เป็ นสาคัญต่อหน้ าพยาน และ
คูส่ ญ
ั ญาต่างยึดถือไว้ ฝ่ายละฉบับ

(ลงชื่อ)………………………..ผู้ซื ้อ
(………………….……………….)

(ลงชื่อ)………………………..ผู้ขาย
(…………….……………………..)

(ลงชื่อ)………………………..พยาน
(…………………….……………..)

(ลงชื่อ)………………………..พยาน
(…………………………..………..)

_________________________________________________________________________
หมายเหตุ * เป็ นข้ อความหรื อเงื่อนไขเพิ่มเติมซึง่ ส่วนราชการผู้ทาสัญญาอาจเลือกใช้ หรื อตัดออกได้ ตาม
ข้ อเท็จจริง
แบบหนังสือค้ำประกัน
(หลักประกันซอง)

เลขที่…………………….…… วันที่………………..……………….
ข้าพเจ้า……………………...(ชื่อธนาคาร/บริษัทเงินทุน)……………..……สานักงานตั้งอยู่เลขที่…………......
ถนน……………………..ตาบล/แขวง………….….……...อาเภอ/เขต…………………….
จังหวัด……...…..…..….โดย…………………..…….ผู้มีอานาจลงนามผูกผันธนาคาร/บริษัทเงินทุนขอทาหนังสือค้า
ประกันฉบับนี้ให้ไว้ต่อ…….….(ชื่อส่วนราชการผู้ประกวดราคา)…………ดังมีข้อความต่อไปนี้
1. ตามที่ ………….(ชื่อผู้เสนอราคา) ….…………ได้ยื่นซองประกวดราคาสาหรับการจัดซื้อ ..………ตาม
เอกสารประกวดราคา เลขที่ ………..ซึ่งต้องวางหลักประกันซอง ตามเงื่อนไขการประกวดราคาต่อ
…………….(ชื่อส่วนราชการผู้ประกวดราคา)……………เป็นจานวนเงิน …………….บาท (………………..) นั้น
ข้าพเจ้ายอมผูกผันตน โดยไม่มีเงื่อน ไขที่จะค้าประกันชนิดเพิกถอนไม่ได้ เช่นเดียวกับลูกหนี้ชั้นต้น
ในการชาระเงิน ตามสิทธิเรียกร้องของ …….…….………….(ชื่อส่วนราชการ ผู้ประกวดราคา) …………………..
จานวน ไม่เกิน ……………….……….…..บาท (……………………………………)ในกรณี ………………...……… (ชื่อผู้เสนอ
ราคา) ………………..………..……ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข ในการประกวดราคา อันเป็นเหตุให้.………………….(ชื่อ
ส่วนราชการ ผู้ประกวดราคา)…………...…….มีสิทธิริบหลักประกันซอง หรือให้ชดใช้ค่าเสียหายใด ๆ รวมทั้ง
กรณีที่…………..….… (ชื่อผู้เสนอราคา) ……….………ได้ถอนใบเสนอราคา ของตนภายในระยะเวลา ที่ใบเสนอ
ราคา ยังมีผลอยู่ หรือมิได้ไป ลงนามในสัญญา เมื่อได้รับแจ้ง ไปทาสัญญา หรือมิได้วางหลักประกันสัญญา
ภายในระยะเวลาที่กาหนด ในเอกสารประกวดราคา โดยข้าพเจ้า จะไม่อ้างสิทธิใด ๆ เพื่อโต้แย้ง
และ….……………….…….…… (ชื่อส่วนราชการผู้ประกวด)…..….………….…….. ไม่จาเป็นต้องเรียกร้องให้
………………....…...... (ชื่อผู้เสนอราคา)………………………..ชาระหนี้นั้นก่อน
2. หนังสือค้าประกันนี้ มีผลใช้บังคับตั้งแต่ …………….…….. ถึง ......………………………และข้าพเจ้าจะ
ไม่เพิกถอนการค้าประกันนี้ ภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้
3. ถ้า ………………..…….(ชื่อผู้เสนอราคา)………….…...………..ขยายกาหนดเวลายืนราคา ของการเสนอ
ราคาออกไป ข้าพเจ้ายินยอม ที่จะขยายกาหนดเวลา การค้าประกันนี้ ออกไปเวลาเท่ากับระยะเวลายืนราคา
ที่ได้ขยายออกไปดังกล่าว

ข้าพเจ้าได้ลงนาม และประทับตรา ไว้ต่อหน้าพยานเป็นสาคัญ

(ลงชื่อ)……………………..ผู้ค้าประกัน
(……………………………….………)
ตาแหน่ง……………………………….

(ลงชื่อ)…………………..……..พยาน
(………………………………………)

(ลงชื่อ)………………………..พยาน
(………………………….…………)
แบบหนังสือค้ำประกัน
(หลักประกันสัญญา)

เลขที่……………………. วันที่……………………..................
1. ข้าพเจ้า ………...………….(ชื่อธนาคาร)……………….….สานักงานตั้งอยู่เลขที่………………
ถนน ………………....…ตาบล/แขวง ………….…..อาเภอ/เขต ………………จังหวัด …….…………..
โดย ………...…………..ผู้มีอานาจลงนามผูกผันธนาคาร ขอทาหนังสือค้าประกันฉบับนี้ ให้ไว้
ต่อ……...…………(ชื่อส่วนราชการผู้ซื้อ)……………….ซึ่งต่อไปนี้ เรียกว่า “ผู้ขาย” ได้ทาสัญญาซื้อขาย
……………….กับผู้ซื้อ ตามสัญญาเลขที่ ……..….……..ลงวันที่ ..………..………ซึ่งผู้ขาย ต้องวางหลักประกัน การ
ปฏิบัติ ตาม สัญญาต่อผู้ซื้อ เป็นจานวนเงิน………..…..บาท(………….………..…..) ซึ่งเท่ากับร้อยละ
………..(…………..………%) ของราคาทั้งหมดตามสัญญา
ข้าพเจ้ายอมผูกพันตน โดยไม่มีเงื่อนไข ที่จะค้าประกันชนิดเพิกถอนไม่ได้ เช่นเดียวกับลูกหนี้ชั้นต้น
ในการชาระเงิน ให้ตามสิทธิเรียกร้องของผู้ซื้อ จานวนเงินไม่เกิน………………………………บาท
(…………………………..) ในกรณีที่ผู้ขาย ก่อให้เกิดความเสียหายใด ๆ หรือต้องชาระค่าปรับ หรือค่าใช้จ่ายใด ๆ
หรือผู้ขายมิได้ปฏิบัติ ตามภาระหน้าที่ใด ๆ ที่กาหนดสัญญาดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ โดยข้าพเจ้าจะไม่อ้างถึง
สิทธิใด ๆ เพื่อโต้แย้ง และผู้ซื้อไม่จาเป็นต้องเรียกร้องให้ผู้ขายชาระหนี้นั้นก่อน
2. หากผู้ซื้อได้ขยายระยะเวลาให้แก่ผู้ขาย หรือยินยอมให้ผู้ขายปฏิบัติผิดแผก ไปจากเงื่อนไข ๆ ใน
สัญญา ให้ถือว่าข้าพเจ้าได้ยินยอม ในกรณีนั้น ๆ ด้วย
3. หนังสือค้าประกันนี้ มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันทาสัญญาซื้อขาย ดังกล่าวข้างต้นจนถึงวันที่ภาระหน้าที่
ทั้งหลายของผู้ขาย จะได้ปฏิบัติให้สาเร็จลุล่วงไป และข้าพเจ้าจะไม่เพิกถอนการค้าประกัน ไม่ว่ากรณี ใด ๆ
ตราบเท่าที่ผู้ขายยังต้องรับผิดชอบ ต่อผู้ซื้อตามสัญญาซื้อขายอยู่
ข้าพเจ้าได้ลงนามประทับตรา ไว้ต่อหน้าพยานเป็นสาคัญ

(ลงชื่อ)…………….……………ผู้ค้าประกัน
(……………………………………………)
ตาแหน่ง……………………………………

(ลงชื่อ)………………………………พยาน
(………………………………………..…)

(ลงชื่อ)……………………..............พยาน
(……………………………………….…)
แบบหนังสือค้ำประกัน
(หลักประกันการรับเงินค่าพัสดุล่วงหน้า)

เลขที่…………………. วันที่…………..………..……………
ข้าพเจ้า………..…..(ชื่อธนาคาร)………….…….สานักงานตั้งอยู่เลขที่……...……ถนน ………ตาบล/
แขวง…….…อาเภอ/เขต…...…จังหวัด…...….โดย……...…ผู้มีอานาจลงนามผูกพันธนาคารขอทาหนังสือค้าประกัน
ฉบับนี้ให้ไว้ต่อ……(ชื่อส่วนราชการ)………ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า“ผู้ซื้อ” ดังมีข้อความต่อไปนี้
1. ตามที่ …….(ชื่อผู้ขาย)………..ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “ผู้ขาย” ได้ทาสัญญากับผู้ซื้อตามสัญญาเลขที่….
ลงวันที่…….ซึ่งผู้ขายมีสิทธิที่จะขอรับเงินค่าพัสดุล่วงหน้าเป็นจานวนเงิน…..บาท(…………) นั้น
2. ข้าพเจ้ายินยอม ค้าประกันการจ่ายเงินค่าพัสดุหน้า ที่ผู้ขายได้รับไปภายในวงเงิน……..บาท
(……………………)
3. หากผู้ซึ่งได้รับเงิน ค่าพัสดุล่วงหน้าตามข้อ 1 จากผู้ซื้อไปแล้ว ไม่ปฏิบัติตามสัญญาหรือตาม
เงื่อนไขอื่น ๆ แนบท้ายสัญญา อันเป็นเหตุให้ต้องจ่ายเงินค่าพัสดุล่วงหน้า ที่ได้รับไปดังกล่าวคืนให้แก่ผู้ซื้อ
หรือผู้ขายมีความผูกผัน ที่จะต้องจ่ายคืนเงินค่าพัสดุล่วงหน้าแก่ผู้ซื้อไม่ว่ากรณีใดๆ ข้าพเจ้าตกลงที่จะจ่ายคืน
เงินล่วงหน้าเต็มตามจานวน……..…..บาท(……..…….……..)หรือตามจานวนที่ยังค้างอยู่ ให้แก่ผู้ซื้อภายใน 7 วัน
นับถัดจากวันที่ได้รับคาบอกกล่าว เป็นหนังสือจากผู้ซื้อ โดยผู้ซื้อไม่จาต้องเรียกร้อง ให้ผู้ขายชาระหนี้ก่อน
หากผู้ซื้อได้ขยายระยะเวลา ให้แก่ผู้ขาย หรือยินยอมให้ผู้ขายปฏิบัติผิดแผกไปจากเงื่อนไขใดๆ ใน
สัญญา ให้ถือว่าข้าพเจ้าได้ยินยอม ในกรณีนั้น ๆ ด้วย
4. ข้าพเจ้า จะไม่เพิกถอน การค้าประกัน ไม่ว่ากรณีใด ๆ ตราบเท่าที่ผู้ขาย ยังต้องรับผิดชอบ ต่อผู้
ซื้อตามสัญญาอยู่
ข้าพเจ้าได้ลงนาม และประทับตราไว้ต่อหน้าพยานเป็นสาคัญ

(ลงชื่อ)…………………………ผู้ค้าประกัน
(……………………………………..…….)
ตาแหน่ง…………………………………..

(ลงชื่อ)…………………………..…พยาน
(………………………………………….)

(ลงชื่อ)……………………….……พยาน
(…………………………………….….)

You might also like