You are on page 1of 6

หน้า ๗

เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๐๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๙

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ ๔๙๒๒ (พ.ศ. ๒๕๕๙)
ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
พ.ศ. ๒๕๑๑
เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
วิธีทดสอบสี วาร์นิช และวัสดุที่เกี่ยวข้อง
เล่ม ๑๔ การหาความหนืด
และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
วิธีทดสอบสี วาร์นิช และวัสดุที่เกี่ยวข้อง
เล่ม ๑๔ การหาความหนืดโดยเครื่องวัดความหนืดแบบสตอร์เมอร์

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วิธีทดสอบสี วาร์นิช และวัสดุที่เกี่ยวข้อง


เล่ม ๑๔ การหาความหนืด มาตรฐานเลขที่ มอก. 285 เล่ม 14 - 2524
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
พ.ศ. ๒๕๑๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๘
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๕๗๒
(พ.ศ. ๒๕๒๔) ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ ม าตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑
เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วิธีทดสอบสี วาร์นิช และวัสดุที่เกี่ยวข้อง เล่ม ๑๔
การหาความหนืด ลงวันที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
วิธีทดสอบสี วาร์นิช และวัสดุที่เกี่ยวข้อง เล่ม ๑๔ การหาความหนืดโดยเครื่องวัดความหนืดแบบสตอร์เมอร์
มาตรฐานเลขที่ มอก. 285 เล่ม 14 - 2559 ขึ้นใหม่ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้
ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙


อรรชกา สีบุญเรือง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
มอก. 285 เลม 14–2559

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
วิธีทดสอบสี วารนิช และวัสดุที่เกี่ยวของ
เลม 14 การหาความหนืดโดยเครื่องวัดความหนืดแบบสตอรเมอร
1. ขอบขาย
1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้กําหนดการหาความหนืดในหนวยเครบส (Krebs unit, KU) ใชใน
การประเมินความขนเหลวของสี วารนิช และวัสดุที่เกี่ยวของ โดยใชเครื่องวัดความหนืดแบบสตอรเมอร
ที่มีจอแสดงผลเชิงเลข (digital display Stormer-type viscometer) และมีอัตราแรงเฉือนสม่ําเสมอ ที่ความเร็ว
200 รอบตอนาที
2. บทนิยาม
ความหมายของคํ า ที่ ใ ช ใ นมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ อุ ต สาหกรรมนี้ ให เ ป น ไปตาม มอก.285 เล ม 45 และ
ดังตอไปนี้
2.1 ความขนเหลว หมายถึง ความหนืดปรากฏเมื่อมีอัตราแรงเฉือนสม่ําเสมอ
3. เครื่องมือ
3.1 เครื่องวัดความหนืดแบบสตอรเมอรที่มีจอแสดงผลเชิงเลขและมีใบพัด ดังแสดงในรูปที่ 1 และรูปที่ 2
การสอบเทียบเครื่องมือใหเปนไปตามภาคผนวก ก.
3.2 ภาชนะบรรจุที่มีขนาด 500 cm3 และมีเสนผานศูนยกลาง 85 mm
3.3 เทอรโมมิเตอร สําหรับใชกับเครื่องวัดความหนืดแบบสตอรเมอรที่มีชวงอุณหภูมิตั้งแต 20 ๐C ถึง 70 ๐C
ที่มีขีดแบงละเอียดถึง 0.2 ๐C
4. การชักตัวอยาง
4.1 ใหชักตัวอยางตาม มอก.285 เลม 1 แลวตรวจและเตรียมตัวอยางเพื่อการทดสอบตาม มอก.285 เลม 2

-1-
มอก. 285 เลม 14–2559

รูปที่ 1 เครื่องวัดความหนืดแบบสตอรเมอรที่มีจอแสดงผลเชิงเลข
(ขอ 3.1)

รูปที่ 2 ใบพัดสําหรับใชกับเครื่องวัดความหนืดแบบสตอรเมอร
(ขอ 3.1 และขอ ก.1)

-2-
มอก. 285 เลม 14–2559

5. วิธีทดสอบ
5.1 กวนตั ว อย า งให เ ข า กั น แล ว เทลงในภาชนะบรรจุ จ นกระทั่ ง ตั ว อย า งอยู ต่ํ า จากขอบบนของภาชนะ
บรรจุประมาณ 20 mm
5.2 ปรั บ อุ ณ หภู มิ ตั ว อย า งและเครื่ อ งวั ด ความหนื ด ให เ ท า กั บ (25± 0.2) ๐ Cและคงไว ต ลอดเวลาที่ ท ดสอบ
ถาปรับอุณหภูมิไมไดตามที่กําหนดใหบันทึกอุณหภูมิตัวอยางเมื่อเริ่มตนและสิ้นสุดการทดสอบใหละเอียด
ถึง0.2 ๐C
5.3 เมื่ออุณหภูมิถึงจุดสมดุลกวนตัวอยางแรง ๆ ดวยความระมัดระวังไมใหเกิดฟองอากาศแลวเลื่อนดามจับ
ไปที่ตําแหนงบนวางภาชนะบรรจุตัวอยางทันทีบนฐานรองของเครื่องวัดความหนืด
5.4 เปดเครื่องและเลือกใหจอแสดงผลแสดงคาในหนวยเครบส
5.5 เลื่อนดามจับลงเพื่อใหใ บพั ดจุ มลงในตัวอยางจนถึงขีด บนกานใบพั ด แล วเริ่มกดสวิตซ ใหใบพัดหมุน
รอจนคาบนจอแสดงผลคงที่แลวบันทึกไว
5.6 ยกดามจับขึ้นเพื่อใหตัวอยางคอย ๆ ไหลออกจากใบพัด จากนั้นหมุนคลายใบพัดออก แลวทําความสะอาด
6. ความเที่ยง
6.1 ความทวนซ้ําได (repeatability)
ผลตางระหวางคาเฉลี่ยผลการทดสอบ 2 ครั้ง ที่ไดจากตัวอยางทดสอบเดียวกัน โดยผูทดสอบคนเดียวกัน
ใช เ ครื่ อ งมื อ เดี ย วกั น ในช ว งเวลาใกล เ คี ย งกั น ในห อ งปฏิ บั ติ ก ารทดสอบเดี ย วกั น และใช วิ ธี ท ดสอบ
ตามมาตรฐาน ตองไมเกิน 2.0 %
6.2 ความทําซ้ําได (reproducibility)
ผลต า งระหว า งค า เฉลี่ ย ผลการทดสอบ 2 ครั้ ง ที่ ไ ด จ ากตั ว อย า งทดสอบเดี ย วกั น โดยผู ท ดสอบ
ในหองปฏิบัติการทดสอบตางกัน และใชวิธีทดสอบตามมาตรฐาน ตองไมเกิน 5.0 %

-3-
มอก. 285 เลม 14–2559

7. การรายงานผล
7.1 รายงานผลการทดสอบอยางนอยตองแสดงขอความดังตอไปนี้
(1) รายละเอียดที่จําเปนสําหรับการระบุผลิตภัณฑทดสอบ (เชน ผูทํา เครื่องหมายการคา รหัสรุนที่ทํา)
(2) การอางอิงมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้
(3) ความหนืด เปนเครบส
(4) อุณหภูมิทดสอบ
(5) การเบี่ยงเบนใด ๆ ที่แตกตางจากวิธีทดสอบที่กําหนด
(6) ลักษณะผิดปกติใด ๆ ที่สังเกตไดระหวางการทดสอบ
(7) วัน เดือน ปที่ทดสอบ

-4-
มอก. 285 เลม 14–2559

ภาคผนวก ก.
การสอบเทียบเครื่องวัดความหนืดแบบสตอรเมอรที่มีจอแสดงผลเชิงเลข
(ขอ 3.1)
ก.1 ตรวจมิติของใบพัด คามิติตาง ๆ มีเกณฑความคลาดเคลื่อนภายใน ± 0.1 mm จากคาที่กําหนด ดังแสดงในรูป
ที่ 2
ก.2 เลือกน้ํามันมาตรฐาน 2 ชนิด ที่มีคาความหนืดในหนวยเครบสอยูในชวงของคาความหนืดของตัวอยาง
ที่ตองการวัด โดยที่คาความหนืดของน้ํามันมาตรฐานทั้ง 2 ชนิด ที่นํามาใชสอบเทียบนั้น ตองมีคาตางกัน
อยางนอย 25 KU และตองเปนน้ํามันมาตรฐานที่สอบกลับไปยัง National Institute of Standards and
Technology (NIST) ได
ก.3 ปรับอุณหภูมิของน้ํามันมาตรฐานและเครื่องวัดความหนืดใหมีอุณหภูมิ (25 ± 0.2) ๐C
ก.4 ถ า ค า ความหนื ด ในหน ว ยเครบส ข องน้ํ า มั น มาตรฐานอยู ใ นช ว ง ± 5 % ของค า เครบส ที่ กํ า หนด
ใหถือวาเครื่องวัดความหนืดผานการสอบเทียบ

-5-

You might also like