You are on page 1of 11

วิ ทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biological Science)

การประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์ในคนงานทาไม้
ในสวนป่ าไม้สกั จังหวัดแพร่
Ergonomic Risk Assessments of Timber Harvesting Workers
in Teak Plantations, Phrae Province
ชาคริต ณ ตะกัวทุ
่ ่ง* และ ปิ ยวัตน์ ดิลกสัมพันธ์
ภาควิชาวิศวกรรมป่ าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Chakrit Na Takuathung and Piyawat Diloksumpun
Department of Forest Engineering, Faculty of Forestry, Kasetsart University
Received: April 28, 2021 ; Accepted: June 9, 2021

บทคัดย่อ
การศึกษาเรื่องความเสีย่ งทางการยศาสตร์ต่อระบบกล้ามเนื้อและกระดูกในคนงานทาไม้ในสวนป่ าสัก
จ.แพร่ มีวตั ถุประสงค์เพื่อประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์จากท่าทางในการทางานของคนงานทาไม้สกั
เพื่อปรับปรุงความปลอดภัยและสุขภาพทีด่ ขี องคนงาน ดาเนินการศึกษาในพืน้ ทีส่ วนป่ าไม้ สกั จานวน 4 สวน
ป่ า ประเมินท่าทางการทางานด้วยเทคนิค REBA และ RULA และวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิตเิ ชิงพรรณนา ผล
การศึกษาพบว่า การประเมินความเสีย่ งด้วยวิธี REBA ส่วนใหญ่มคี ่าความเสีย่ งอยู่ทร่ี ะดับปานกลาง (action
level 2) (81.25%) คือต้องศึกษาและอาจจะต้องมีการปรับปรุง ส่วนการประเมินความเสีย่ งด้วยวิธี RULA ส่วน
ใหญ่มคี วามเสีย่ งอยู่ทร่ี ะดับสูง (action level 3) (56.25%) คือต้องศึกษาและต้องมีการปรับปรุง งานทีต่ ้องมี
การปรับปรุงอย่างเร่งด่วน ประกอบด้วยงาน ควาญช้าง คนปลดสลิงของรถเครน คนปลดโซ่ของรถแทรคเตอร์
งานตีเลขเรียง งานทอนไม้ และงานล้มไม้ สามารถปรับปรุงโดยพยายามปรับเปลี่ยนท่าทางให้ลดการก้มของ
ลาตัวให้ได้มากที่สุด และอาจมีอุปกรณ์ เพิ่มเติม เช่น ไม้เกี่ยวโซ่ เพิ่มความยาวของบาร์โซ่ให้มากขึ้นหรือ
ปรับเปลี่ยนรูปแบบของเลื่อยยนต์เพื่อให้ท่าทางในการตัดไม้อยู่ในตาแหน่ งหลังตรง หากมีงบประมาณที่
เพียงพอก็อาจจะนาเครื่องจักรทีท่ นั สมัยมากขึน้ มาใช้ในงานทาไม้ได้
คาสาคัญ : ความเสีย่ งทางการยศาสตร์; REBA; RULA; คนงานทาไม้; สวนป่ าไม้สกั

Abstract
The study of the ergonomic risk assessments of timber harvesting workers in teak plantations,
Phrae province was aimed at assessing the ergonomic risks of the work posture of teak workers to
improve safety and health of workers. The study was carried out in four teak plantations. Work postures
were assessed by using REBA and RULA techniques, and analyzed using descriptive statistics. The

*Corresponding author: chakrit.n@ku.ac.th DOI:10.14456/tjst.2021.18


Thai Journal of Science and Technology ปี ที ่ 10 • ฉบับที ่ 2 • มีนาคม - เมษายน 2564
results of the study showed that most of REBA risk assessments had a moderate (action level 2)
(81.25%) risk value, meaning investigations and possible work changes were required. The majority
of RULA risk assessments were at a high (action level 3) (56.25%) risk value, meaning investigations
were required, as well as possible quickly work changes. Tasks that need urgent improvement
consisted of the mahout, crane choker setting, tractor choker setting, log number marking, cutting to
length, and tree feller. The works could be improved by adjusting the posture to minimize the stooping
of the torso as much as possible. Additional tools such as chainsaw hooker, increase the length of the
chainsaw bar, or modify the design of the chainsaw could be applied to keep the cutting posture in a
straight back position. If there is an adequate budget, the modern machinery may be used in the timber
harvesting work.
Keywords: Ergonomics risk assessment; REBA; RULA; Timber harvesting worker; Teak plantation

1. บทนา (Yovi & Yamada, 2019) มีการประมาณการจานวน


ประเทศไทยมีการปลูกสร้างสวนป่ ามาอย่าง การเกิดโรคและอุบตั เิ หตุทวโลกในงานป่
ั่ าไม้ต่อปี ว่า
ยาวนาน โดยเฉพาะไม้สกั ซึง่ ถือเป็ นไม้เศรษฐกิจทีม่ ี มีมากกว่า 170,000 ครัง้ ต่อปี (Garland, 2018) โรค
ความสาคัญในลาดับต้น ๆ ของประเทศ ในปี 2562 กระดูกและกล้ามเนื้อเป็ นหนึ่งในโรคที่พบได้บ่ อ ย
มี ป ริ ม าณไม้ สัก ที่ เ ป็ นไม้ ซุ ง จากสวนป่ ามากถึ ง ที่ สุ ด ในคนงานทั ว่ ไป และจั ด เป็ นโรคจากการ
57, 451. 32 ลู ก บ า ศ ก์ เ ม ต ร (Royal Forest ประกอบอาชีพ ที่ส าคัญ ที่สุ ด ในยุ โ รป (European
Department, 2020) ซึ่ ง มาจากพื้ น ที่ ส วนป่ าของ Agency for Safety and Health at Work, 2007)
องค์ก ารอุ ต สาหกรรมป่ าไม้ท่กี ระจายอยู่ใ นหลาย จากการศึก ษาคนงานป่ าไม้ใ นประเทศโปแลนด์
พืน้ ทีข่ องประเทศ โดยเฉพาะภาคเหนือซึง่ เป็ นพืน้ ที่ พบว่ า มีอ าการปวดบริเ วณหลัง ส่ ว นล่ า งมากที่สุด
กระจายพันธุ์ตามธรรมชาติของไม้สัก (Sungkaew, (65.7%) รองลงมาคื อ หั ว เข่ า (51.7%)(Choina,
2019) ทัง้ นี้ระบบการทาไม้ยงั เป็ นในรูปแบบการ Solecki, Gozdziewska, & Buczaj, 2018) คนงาน
พึ่งพาแรงงานคนและเครื่องจักรเป็ นหลัก เช่น การ ปลูกป่ าในประเทศแคนาดาพบอาการทีเ่ กีย่ วข้องกับ
ล้ม ไม้โ ดยการใช้เ ลื่อ ยยนต์ การชัก ลากไม้โ ดยใช้ โรคกระดูกและกล้ามเนื้อมากในบริเวณ เท้า ข้อมือ
แทรกเตอร์ การขนส่งไม้โดยใช้รถจอหนังหรือ รถ และหลัง (Slot & Dumas, 2010) แม้จ ะไม่ มีสถิติท่ี
เครน เป็ นต้น ชัดเจนในงานทาไม้ในสวนป่ าของประเทศไทย แต่
งานการทาไม้ถอื เป็ นงานทีม่ คี วามเสี่ยงและ จากรายงานภาพรวมของโรคและภัย สุขภาพจาก
อัน ตรายค่ อ นข้า งมาก คนงานเกิ ด โรคจากการ การประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อมของทุกอาชีพใน
ประกอบอาชีพ และการเกษีย ณก่ อ นเวลาปกติ ใ น ปี 2561 พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็ นโรคกระดูกและ
อั ต ราสู ง (ILO, 1998) ในประเทศอิ น โดนี เ ซี ย มี กล้า มเนื้ อ คิด เป็ น อัต ราป่ วยต่อ ประชากรแสนราย
รายงานการเสียชีวิตของคนงานป่ าไม้ 1.3 คนต่อ เท่ า กั บ 189.37 ซึ่ ง เพิ่ ม ขึ้ น จากปี พ.ศ. 2560
การทาไม้ 106 ลูกบาศก์เมตร และอาจจะมีมากกว่า (Bureau of Occupational and Environmental
นี้เพราะเป็ นการศึกษาเฉพาะคนงานในระบบเท่านัน้ Diseases, 2019) สาเหตุ ข องโรคนี้ เ กิ ด จากการ

224
Vol. 10 • No. 2 • March - April 2021 Thai Journal of Science and Technology
ทางานทีม่ กี ารเคลื่อนไหวหรือใช้ท่าทางทีซ่ ้า ๆ หรือ การศึกษาทีเ่ กิดขึน้ (Micheletti et al., 2019; Paini,
ท่าทางที่ไม่ เหมาะสม หรือเป็ นงานที่ต้องออกแรง Lopes, Souza, Oliveira & Rodrigues, 2019) และ
และใช้กาลังมาก ส่งผลให้เกิดความเมื่อยล้า การ เพื่อนาผลที่ได้ไปจัดทาข้อเสนอแนะเพื่อ ปรับ ปรุ ง
บาดเจ็ บ ต่ อ ผู้ ป ฏิ บ ัติ ง าน และโอกาสในการเกิ ด ความปลอดภัยและสุขภาพทีด่ ขี องคนงานต่อไป
อุบตั ิเหตุทางร่างกายและความเจ็บป่ วยตามมาได้
โดยง่าย 2. วิ ธีการ
วิธที างการยศาสตร์ท่ใี ช้ประเมินความเสี่ยง 2.1 พื้นที่ศึกษา
จากสาเหตุทอ่ี าจก่อให้เกิดโรคกระดูกและกล้ามเนื้อ ด าเนิ น การศึ ก ษาในพื้ น ที่ ส วนป่ าไม้ สั ก
สามารถแบ่งได้เป็ น 3 รูปแบบ ได้แก่ การรายงาน จานวน 4 สวนป่ า ได้แก่ สวนป่ าแม่คาปอง สวนป่ า
ด้ว ยตนเอง การสัง เกต และการวัด โดยตรง โดย แม่สรอย สวนป่ าขุนแม่คามี และสวนป่ าวังชิ้น ของ
รู ป แบบที่เ ป็ นที่นิ ย มคือ การสัง เกต เช่ น Ovako องค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดแพร่ ซึ่ง
Working Posture Analyzing System ( OWAS) , เป็ นพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารปลูกสร้างสวนป่ าสักจานวนมาก มี
Checklist, Rapid Upper Limb Assessment เครื่องจักรและคนงานในตาแหน่ งการทาไม้ครบทุก
(RULA), Rapid Entire Body Assessment (REBA), ขัน้ ตอน ทัง้ ในบริเ สณสวนป่ าและหมอนไม้ โดย
NIOSH lifting equation แ ล ะ PLIBLE เ ป็ น ต้ น พื้นที่ปลูกสร้างสวนป่ าส่วนใหญ่มลี กั ษณะเป็ นที่สูง
(David, 2005) การวิเคราะห์ความเสี่ยงทางการย ชัน ส่วนในบริเวณหมอนไม้มลี กั ษณะเป็ นทีร่ าบ ซึ่ง
ศาสตร์ ใ นคนงานท าไม้ ก ระถิ น เทพา ประเทศ เหมาะแก่ ก ารจัด เรี ย งกองและการเข้ า ถึ ง จาก
อินโดนีเซีย ด้วยวิธี REBA พบระดับความเสีย่ งปาน เส้นทางหลัก
กลางถึงสูงมาก ในงานล้มไม้ (12) ลิดกิ่ง (5) ทอน 2.2 การเก็บข้อมูลภาคสนาม
ไม้ (9) และชักลาก (14) (Yovi & Prajawati, 2015) การศึกษานี้เป็ นการวิจยั เชิงสารวจ ใช้วธิ กี าร
การเจ็บป่ วยเหล่านี้ นอกจากจะมีผลโดยตรง สุ่ ม ตั ว แทนแบบเจาะจง ( purposive sampling)
ต่อคนงานแล้ว เมื่อคนงานจาเป็ นต้องหยุดงาน ก็จะ (Chanthalakhana & Uecheawchankit, 2005)
ส่งผลต่อระบบการทางานขององค์กรต่อเนื่องไปกับ สารวจโดยการบันทึก สังเกต และวัด ในคนงานใน
ระบบอื่น ๆ ทาให้เกิดผลกระทบต่อผลผลิตของงาน ขัน้ ตอนการทาไม้ทงั ้ หมดที่ปรากฎว่าทางานอยู่ใน
ในอุ ต สาหกรรมสวนป่ าไม้สัก ของประเทศไทย มี ช่วงเวลาทีเ่ ก็บข้อมูลนัน้ และยินดีให้ความร่วมมือ ใน
การศึก ษาเกี่ย วกับ สุ ข ภาพของคนงานน้ อ ยมาก บางสวนป่ าอาจมีไม่ครบทุกตาแหน่ งงาน เนื่องจาก
ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การศึก ษาเกี่ย วกับ ผลผลิต และการ ความแตกต่างเรื่องอุปกรณ์และเครื่องจักรกลทีม่ กี าร
จัดการสวนป่ า ทาให้ยงั ไม่มขี อ้ มูลทีช่ ดั เจนเกี่ยวกับ ใช้งานในสวนป่ านัน้ ๆ ชีแ้ จงคนงานทาไม้สกั ในสวน
สุขภาพของคนงานซึ่งมีตาแหน่ งงานที่หลากหลาย ป่ าสาหรับผู้ท่จี ะได้รบั การประเมิน เพื่อสื่อสารถึง
ตามขัน้ ตอนการทาไม้ ในการศึกษานี้มวี ตั ถุประสงค์ วัตถุประสงค์ในการประเมินให้กบั คนงานทาไม้สกั
เพื่อประเมินความเสีย่ งทางการยศาสตร์จากท่าทาง ให้ทราบ เพื่อให้คนงานทาไม้สกั ทางานได้อย่างปกติ
ในการท างานของคนงานทาไม้สัก ด้วยวิธี REBA ไม่เกิดอาการเกร็ง หรือทางานในท่าทางทีแ่ ตกต่าง
และ RULA ซึ่ ง ทั ้ง 2 วิ ธี มี วิ ธี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล ที่ ไ ป จ า กกา รท า ง า นที่ ท า เป็ น อยู่ เป็ นป ร ะ จ า
เหมือ นกัน แต่ มีวิธีวิเ คราะห์แ ตกต่ า งกัน เล็กน้ อย ดาเนินการโดยการถ่ายภาพ และบันทึกวิดโี อในการ
ทั ง้ นี้ ก ารศึ ก ษาโดยใช้ 2 วิ ธี เ พื่ อ ช่ ว ยยื น ยัน ผล ท างานของคนงานท าไม้ สัก สัง เกตท่ า ทางการ
225
Thai Journal of Science and Technology ปี ที ่ 10 • ฉบับที ่ 2 • มีนาคม - เมษายน 2564
ทางาน ในรอบเวลาทีใ่ ช้ในการทางาน ตาแหน่ง และ ประเมิ น ท่ า ทางการท างานด้ ว ยเทคนิ ค
ท่ า ทางของคนงานรวมไปถึง อุ ป กรณ์ ท่ีใ ช้ใ นการ (REBA) (Hignett & McAtamney, 2000) ซึ่ ง เ ป็ น
ทางานของคนงาน การประเมินร่างกายโดยพิจารณาการทางานของ
2.3 ประเมิ นความเสี่ยงทางการยศาสตร์ กล้ามเนื้อแบบคงที่ การวัดมุมของการเคลื่อนไหว
ศึ ก ษาท่ า ทางในการท างานของแต่ ล ะ การยกน้าหนัก การทางานซ้า และคุณภาพทีจ่ บั ของ
ตาแหน่ งงาน โดยเลือกท่าทางที่มีความเสี่ยงมาก อุปกรณ์ คะแนนท่าทางจะได้จากการเปรียบเทียบ
ทีส่ ุดใน 1 รอบการทางาน จากการถ่ายวิดโี อในการ กับตารางการพิจารณามุมของอวัยวะต่าง ๆ โดย
ทางานของคนงานทาไม้สกั ประเมินท่าทางฝั ง่ ซ้าย แบ่ ง เป็ น 2 กลุ่ ม ได้แ ก่ ก ลุ่ ม A (หลัง คอและขา)
และฝั ง่ ขวาของร่างกาย และหาค่าเฉลี่ยเพื่อใช้เป็ น และ B (แขนท่ อ นล่ า ง แขนท่ อ นบน และข้อ มือ )
ค่าความเสีย่ งของตัวอย่างในตาแหน่งงานนัน้ (Figure 1)

Figure 1 REBA assessment worksheet.


Source: Neese consulting inc (2004a)

226
Vol. 10 • No. 2 • March - April 2021 Thai Journal of Science and Technology

Figure 2 RULA assessment worksheet.


Source: Neese consulting inc (2004b)

ประเมิ น ท่ า ทางการท างานด้ ว ยเทคนิ ค วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา นา


RULA (McAtamney & Corlett, 1993) ซึ่ ง เป็ นการ ผลของแบบการประเมินทัง้ 2 วิธมี าหาค่าเฉลี่ยของ
ประเมิน การท างานของกล้ า มเนื้ อ แบบคงที่ข อง แต่ ละงาน และความถี่ข องระดับ ความเสี่ย ง เพื่อ
ร่างกายส่วนบน โดยการวัดมุมของการเคลื่อนไหว ประเมินสถานะปั จจุบนั ของงานต่าง ๆ ในขัน้ ตอน
การทางานซ้า และการยกน้าหนัก คะแนนท่าทางจะ การทาไม้ในสวนป่ าไม้สกั และเสนอแนะแนวทางใน
ได้จากการเปรียบเทียบกับตารางการพิจารณามุม การปรับปรุงงานและท่าทางในการทางานเพื่อลด
ของอวัยวะต่าง ๆ โดยแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม ได้แก่กลุ่ม A ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ กับคนงาน
(แขนท่ อ นล่ าง แขนท่ อ นบน ข้อ มือ และการหมุน
ของข้อมือ) และ B (คอ หลังและขา) (Figure 2) 3. ผลการวิ จยั และวิ จารณ์ ผล
คะแนนท่าทางจากการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค จากการเก็บข้อมูลใน 4 สวนป่ า มีตาแหน่ ง
REBA และ RULA สามารถแปลผลระดับความเสีย่ ง งานทีส่ ามารถศึกษาได้ในครัง้ นี้ทงั ้ หมด 16 ตาแหน่ง
และแนวทางการด าเนิ น การส าหรับ แต่ ล ะระดับ จากคนงานทัง้ หมด 118 คน โดยมีผลการประเมิน
แสดงใน Table 1 ความเสี่ยงทางการยศาสตร์ด้วยวิธี REBA และวิธี
RULA (Table 2) ประเภทงานทีพ่ บมากทีส่ ุด ได้แก่

227
Thai Journal of Science and Technology ปี ที ่ 10 • ฉบับที ่ 2 • มีนาคม - เมษายน 2564
Table 1 Interpretation postural results by REBA and RULA methods
Score Action level Risk Action (providence)
REBA (Rapid Entire Body Assessment)
1 0 Insignificant Acceptable posture; actions are not
required
2 or 3 1 Low Actions may be required
4 to 7 2 Medium Actions are required
8 to 10 3 High Actions are quickly required
11 to 15 4 Very high Actions are immediately required
RULA (Rapid Upper-Limb Assessment)
1 or 2 1 Low Acceptable posture if not maintained or
repeated for long period
3 or 4 2 Medium Investigations and possible work
changes are required
5 or 6 3 High Investigations are required, as well as
possible quickly work changes
7 or more 4 Very high Investigations are required, as well as
possible immediately work changes

คนงานทัวไปในหมอนไม้
่ ซึ่งทาหน้ าที่หลายงาน เนื่องจากท่าทางการทางานทีผ่ ดิ ปกติได้มาก แต่จะ
สลับ กัน ไป เช่ น งัด ไม้ และคัด ขนาดไม้ เป็ น ต้ น เจอปั ญ หาเรื่อ งท่ า ทางการท างานที่ซ้ า ๆ แทน
ส่ ว นประเภทงานที่พ บรองลงไป ได้ แ ก่ คนท้า ย (Paini, Lopes, Souza, Oliveira, & Rodrigues,
รถแทร็คเตอร์ ซึ่งทาหน้าที่ปลดและผูกโซ่ สาหรับ 2019) ซึ่งเป็ นปั ญหาที่เบากว่ า อย่างไรก็ตามการ
การชัก ลากในบริเ วณหมอนไม้ และคนวัด ขนาด ทางานโดยยังพึง่ พิงแรงงานในประเทศไทย ก็อาจจะ
ท่อนไม้ ส่วนงานที่พบน้อยที่สุด คือคนขับรถเครน มีความเหมาะสม สาหรับบริบทของประเทศไทยที่
และคนขับรถสกิดเดอร์ เนื่องจากเป็ นเครื่องจักรทีม่ ี ราคาไม้ และปริมาณไม้ทท่ี าออก ยังไม่เหมาะสมที่
จ ากัด แค่ ใ นบางสวนป่ าเท่ า นั น้ จากต าแหน่ ง งาน จะปรับเปลี่ยนเป็ นเครื่องจักรที่ทนั สมัย นอกจากนี้
ทัง้ หมด จะเห็นได้ว่าขัน้ ตอนต่าง ๆ ในการทาไม้สกั การสร้างงานให้กบั ชุมชน ก็ยงั มีความจาเป็ นสาหรับ
ในสวนป่ า ยังพึง่ พิงแรงงานคนเป็ นหลัก ซึง่ แตกต่าง การปลูกสร้างสวนป่ า ทีม่ ชี ุมชนอยู่ล้อมรอบสวนป่ า
จากในต่างประเทศที่มคี วามพร้อมเรื่องอุปกรณ์ มี เช่นกัน
การปรับเปลี่ยนไปใช้เครื่องจัก รทีใ่ ช้คนเพียงแค่คน ผลการวิเ คราะห์ค วามเสี่ย งด้ว ยวิธี RUBA
เดียว แต่สามารถทางานได้หลายประเภท เช่น รถ พบว่ า ส่ ว นใหญ่ มีค วามเสี่ย งอยู่ท่รี ะดับ ปานกลาง
Harvester ที่สามารถท างานล้ม ไม้ ลิด กิ่ง และตัด (action level 2) (81.25%) คือ ต้ อ งมีก ารปรับ ปรุ ง
ทอน ทาให้ลดผลกระทบต่อร่างกายของคนงานอัน รองลงมาคือระดับสูง (action level 3) (18.75%) คือ

228
Vol. 10 • No. 2 • March - April 2021 Thai Journal of Science and Technology
Table 2 REBA and RULA score results from 4 plantations
Score Action level
Work type N
REBA RULA REBA RULA
Skidder driver 1 4.5 (0) 5 (0) 2 3
Crane driver 1 4 (0) 4.5 (0) 2 3
Tractor driver 9 6.28 (1.82) 5.28 (0.83) 2 3
Front-loading tractor driver 2 5 (0) 5 (0) 2 3
Self-loading truck driver 4 4.25 (0.29) 5 (0.82) 2 3
Mahout 6 8.17 (1.17) 6.83 (0.41) 3 4
Log yard general workers 21 6.02 (1.01) 6 (0.89) 2 3
Data recorder 5 4 (1.7) 4 (0.71) 2 2
Log number marking 11 6.77 (0.79) 6.5 (0.32) 2 4
Cutting to length 6 7 (2.49) 6.42 (0.66) 2 4
Skidder choker setting 3 5.5 (0.87) 4.67 (0.29) 2 3
Crane choker setting 3 8 (2.65) 7 (0) 3 4
Tractor choker setting 15 8.27 (1.82) 6.63 (0.77) 3 4
Self-loading truck choker setting 9 6.83 (2.28) 6.22 (0.91) 2 3
Tree feller 7 7.86 (2.85) 6.57 (0.73) 2 4
Log measurement 15 6.7 (2.01) 6.03 (1.06) 2 3
Remarks: the number in parentheses are standard deviation value.
Frequency (%)

100 60
Frequency (%)

40
50
20
0 0
0 1 2 3 4 1 2 3 4
REBA action level RULA action level

Figure 3 Frequency of REBA action level. Figure 4 Frequency of RULA action level.

ต้องมีการปรับปรุงอย่างเร่งด่วน (Figure 3) ในขณะ คือต้องมีการศึกษาและปรับปรุงทันที และระดับปาน


ที่ก ารวิเ คราะห์ ด้ ว ยวิธี RULA พบว่ า ส่ ว นใหญ่ มี กลาง (action level 2) (6.25%) คือต้องมีการศึกษา
ความเสีย่ งอยู่ทร่ี ะดับสูง (action level 3) (56.25%) และอาจจะต้องมีการปรับปรุง ตามลาดับ (Figure 4)
คื อ ต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาและปรับ ปรุ ง อย่ า งเร่ ง ด่ ว น แม้ ว่ า ระดับ คะแนนของทัง้ 2 วิ ธี จ ะมีส เกลที่ไ ม่
รองลงมาคือระดับสูงมาก (action level 4) (37.5%) เท่ า กัน และเกิด จากการประเมิน โดยมีต าแหน่ ง

229
Thai Journal of Science and Technology ปี ที ่ 10 • ฉบับที ่ 2 • มีนาคม - เมษายน 2564
อวัยวะทีใ่ ช้ในการประเมินไม่เหมือนกันทัง้ หมด แต่ ลาตัว และคอ ซึ่ง เป็ น เหตุ ม าจากการลัก ษณะการ
ผลการสรุปเป็ นระดับกิจกรรมทีต่ อ้ งทาเพื่อปรับปรุง ทางาน ที่ต้องก้มเพื่อ ใช้โซ่ผูกไม้ก่อนชักลาก และ
(action level) มี ร ะดับ ที่ เ หมื อ นกั น (Table 1) จึ ง ก้มอีกครัง้ เพื่อปลดโซ่หลังจากชักลากเสร็จ ส่วนวิธี
นิยมศึกษาทัง้ 2 วิธีเพื่อนาผลมาเปรียบเทียบหรือ RULA มี ง านที่ ต้ อ งมีก ารปรับ ปรุ ง อย่ า งเร่ ง ด่ ว น
ยื น ยั น ผลลั พ ธ์ ซ่ึ ง กั น และกั น (Jones & Kumar, เพิม่ เติมอีก 3 งาน ได้แก่ งานตีเลขเรียง งานทอน
2007; Kumar & Jones, 2009; Micheletti et al., ไม้ และงานล้มไม้ ซึ่ง มีสาเหตุหลักมาจากท่าทาง
2019; Paini, Lopes, Souza, Oliveira, & การก้มของหลังและคอเช่นกัน จากผลการวิเคราะห์
Rodrigues, 2019; Qutubuddin, Hebbal, & Kumar, สามารถหาสาเหตุ แ ละให้ ข้ อ เสนอแนะในการ
2013; Unver-Okan, 2018; Yayli & Caliskan, ปรับปรุงท่าทางการทางานได้พยายามปรับเปลี่ยน
2019) ซึ่ ง ผ ลกา รศึ ก ษ า ค รั ้ง นี้ ถื อ ว่ า มี ค ว า ม ท่าทางให้ลดการก้มของลาตัวให้ได้มากที่สุด และ
สอดค ล้ อ ง ใ กล้ เ คี ย ง กั น โ ดย ง า นส่ ว นใ ห ญ่ อาจมีอุปกรณ์เพิม่ เติม เช่น ไม้เกีย่ วโซ่ เพื่อเป็ นการ
จาเป็ นต้องมีการปรับปรุง โดยคะแนนของวิธี RULA ลดองศาการก้มของลาตัวเพื่อผูกหรือปลดโซ่ทท่ี ่อน
มีแนวโน้มทีส่ ูงกว่า ซึ่งในการศึกษาในคนงานบรรจุ ไม้ การปรับ ปรุ ง โดยเพิ่มความยาวของบาร์โซ่ ให้
ไม้ในเครื่องบดไม้ และคนงานในเรือนเพาะชาก็พบ มากขึ้น หรื อ ปลับ เปลี่ ย นรู ป แบบของเลื่ อ ยยนต์
แนวโน้ ม แบบเดี ย วกั น (Micheletti et al., 2019; เพื่อให้ท่าทางในการตัดไม้อยู่ในตาแหน่ งหลังตรง
Unver-Okan, Acar, & Kaya, 2017) ทัง้ นี้น่าจะเกิด หากมีงบประมาณทีเ่ พียงพอก็อาจจะนาเครื่องจักรที่
จากประเมิน ด้ว ยวิธี RULA เน้ น ไปที่ก ารประเมิน ทันสมัยมากขึ้นมาใช้ในงานสวนป่ า การศึกษาใน
ส่วนบน ซึ่งมีรายละเอียดปลีกย่อยเรื่องขององศา เครื่ อ ง Harvester และ Forwarder ในประเท ศ
ของมือ และแขนในแนวราบและการบิด ของลาตัว โครเอเชีย พบว่าความเสี่ยงอยู่ในระดับต่ า ร้อยละ
และมือทีม่ นี ้ าหนักคะแนนมากกว่า REBA ซึ่งมีการ 98.81 และ 100 ตามล าดั บ (Landekic, Katusa,
กระจายคะแนนไปยั ง ส่ ว นขาด้ ว ย เป็ นต้ น Mijoc, & Sporcic, 2019) อย่ า ง ไ รก็ ต า ม กา รใช้
การศึกษาอื่นในประเทศไทย ที่เกี่ยวข้องกับความ เครื่อ งจักรก็มกั จะเกิดปั ญหาเรื่องของการทางาน
เสี่ย งทางการยศาสตร์ ข องคนงานป่ าไม้ พบว่ า ด้ ว ยท่ า ทางที่ ซ้ า ๆ หรื อ อยู่ กั บ ที่ เ ป็ นเวลานาน
คนงานล้มไม้และทอนไม้ยูคาลิปตัสด้วยเลื่อยยนต์ (Paini, Lopes, Souza, Oliveira, & Rodrigues,
และเลื่อยจานมีความเสี่ยงจากการประเมินด้วยวิธี 2019) เกิ ด ผลกระทบต่ อ ร่ า งกายได้เ ช่ น กัน การ
REBA อยู่ใ นระดับ ปานกลางขึ้น ไป (Manavakun, เลือกวิธีปรับปรุงงาน จึงขึ้นอยู่กับปั จจัยอื่น ๆ ใน
2014) คนงานล้มไม้ คนขับรถสกิดเดอร์ และคนงัด สถานทีท่ างานด้วย
ไม้ในสวนป่ าไม้สกั มีความเสีย่ งจากการประเมินด้วย
วิ ธี REBA อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ สู ง (Diloksumpun, Na 4. สรุป
Takuathung, & Niyom, 2016) จากการศึกษาประเมินความเสี่ยงทางการย
งานที่ต้อ งมีก ารปรับปรุง อย่ างเร่ งด่ วน ที่มี ศาสตร์ต่อระบบกล้ามเนื้อและกระดูกในคนงานทา
ข้อ มูลยืน ยัน สอดคล้อ งกันทัง้ 2 วิธี ประกอบด้วย ไม้ในสวนป่ าสัก จ.แพร่ในพื้นที่สวนป่ าแม่คาปอง
งาน ควาญช้า ง คนปลดสลิง ของรถเครน และคน สวนป่ าแม่สรอย สวนป่ าขุนแม่คามี และสวนป่ าวัง
ปลดโซ่ของรถแทรคเตอร์ ซึ่งเมื่อพิจารณาสาเหตุ ชิ้น คนงานที่ทาการประเมินทัง้ หมด 118 คน การ
ของคะแนนความเสี่ย งที่สูง พบว่ า เกิด ในบริเ วณ ประเมินความเสี่ยงด้วยวิธี REBA พบว่างานส่ว น
230
Vol. 10 • No. 2 • March - April 2021 Thai Journal of Science and Technology
ใหญ่มคี วามเสีย่ งอยู่ทร่ี ะดับปานกลาง (action level (2005). Research Scripture and
2) (81.25%) คือ ต้อ งมีก ารปรับ ปรุ ง ส่ ว นของการ International Publication. Bangkok: The
ประเมินความเสีย่ งด้วยวิธี RULA พบว่าส่วนใหญ่ม ี Thailand Research Fund. (in Thai)
ความเสีย่ งอยู่ทร่ี ะดับสูง (action level 3) (56.25%) Choina, P., Solecki, L., Gozdziewska, M., &
งานที่ต้อ งมีก ารปรับ ปรุ ง อย่ า งเร่ ง ด่ ว น ที่มีข้อ มูล Buczaj, A. (2018). Assessment of
ยืน ยัน สอดคล้ อ งกั น ทัง้ 2 วิธี ประกอบด้ ว ยงาน Musculoskeltal System Pain Complaints
ควาญช้าง คนปลดสลิงของรถเครน และคนปลดโซ่ Reported by Forestry Workers. Annals of
ของรถแทรคเตอร์ ส่วนวิธี RULA มีงานทีต่ ้องมีการ Agricultural and Environmental Medicine,
ปรับปรุงอย่างเร่งด่วนเพิม่ เติมอีก 3 งาน ได้แก่ งาน 25(2), 338–344. doi:10.26444/
หมายไม้ งานทอนไม้ และงานล้ ม ไม้ สามารถ aaem/86690
ปรับปรุงท่าทางการทางานโดยพยายามปรับเปลีย่ น David, G. C. (2005). Ergonomic Methods for
ท่าทางให้ลดการก้มของลาตัวให้ได้มากที่สุด และ Assessing Exposure to Risk Factors for
อาจมีอุปกรณ์เพิม่ เติม เช่น ไม้เกีย่ วโซ่ เพื่อเป็ นการ Work-Related Musculoskeletal Disorders.
ลดองศาการก้มของลาตัวเพื่อผูกหรือปลดโซ่ทท่ี ่อน Occupational Medicine, 55(3), 190–199.
ไม้ การปรับ ปรุ ง โดยเพิ่มความยาวของบาร์โซ่ให้ doi:10.1093/occmed/kqi082
มากขึ้น หรื อ ปลับ เปลี่ ย นรู ป แบบของเลื่ อ ยยนต์ Diloksumpun, P., Na Takuathung, C., & Niyom,
เพื่อให้ท่าทางในการตัดไม้อยู่ในตาแหน่ งหลังตรง A. (2016, December). Ergonomics Risk
หากมีงบประมาณทีเ่ พียงพอก็อาจจะนาเครื่องจักรที่ Assessment of Teak Harvesters by REBA
ทันสมัยมากขึน้ มาใช้ในงานสวนป่ าได้ and AI Techniques. In N. Kurusatien, T.
Kawdok, & L. Kanokchaipramote (Eds.),
5.กิ ตติ กรรมประกาศ Thailand national ergonomics conference
ขอขอบคุ ณ สถาบั น วิ จ ั ย และพั ฒ นาแห่ ง 2016 (pp. 140–148). Bangkok:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ท่ใี ห้ทุน สนับ สนุ น การ Ergonomics Society of Thailand. (in Thai)
วิจยั และขอขอบคุณองค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้ ที่ European Agency for Safety and Health at Work.
เอื้ อ เฟื้ อสถานที่ แ ละสนั บ สนุ นการเก็ บ ข้ อ มู ล (2007). Work-Related Musculoskeletal
ภาคสนาม Disorders (MSDs): An Introduction.
Retrieved from https://osha.europa.eu/
5. References en/publications/e-facts/efact09/view
Bureau of Occupational and Environmental Garland, J. J. (2018). Accident Reporting and
Diseases. (2019). Report on Situation of Analysis in Forestry: Guidance on
Occupational Health and Environment Increasing the Safety of Forest Work.
Diseases and Health Hazards 2018. Rome: FAO.
Bangkok: Department of Disease Control. Hignett, S., & McAtamney, L. (2000). Rapid
(in Thai) Entire Body Assessment (REBA). Applied
Chanthalakhana, C., & Uecheawchankit, K. Ergonomics, 31(2), 201–205.

231
Thai Journal of Science and Technology ปี ที ่ 10 • ฉบับที ่ 2 • มีนาคม - เมษายน 2564
ILO. (1998). Safety and Health in Forestry Work: Applied Ergonomics, 24(2), 91–99.
An ILO Code of Practice. Geneva: doi:10.1016/0003-6870(93)90080-S
International Labour Office. Micheletti, M. C., Giustetto, A., Caffaro, F.,
Jones, T., & Kumar, S. (2007). Comparison of Colantoni, A., Cavallo, E., & Grigolato, S.
Ergonomic Risk Assessments in a (2019). Risk Assessment for
Repetitive High-Risk Sawmill Occupation: Musculoskeletal Disorders in Forestry: A
Saw-Filer. International Journal of Comparison between RULA and REBA in
Industrial Ergonomics, 37(9–10), 744–753. the Manual Feeding of a Wood-Chipper.
doi:10.1016/j.ergon.2007.05.005 International Journal of Environmental
Kumar, S., & Jones, T. (2009). Comparison of Research and Public Health, 16(5), 793.
Ergonomic Risk Assessment Methodology doi:10.3390/ijerph16050793
with an Example of a Repetitive Sawmill Neese consulting inc. (2004a). REBA Employee
Board Edgar Occupation. In C. M. Schlick Assessment Worksheet. Retrieved from
(Ed.), Industrial Engineering and https://health.usf.edu/publichealth/tbernard
Ergonomics: Visions, Concepts, Methods /~/media/77A4926D7CCF4F5BBF978846
and Tools (pp. 427–440). Berlin: Springer- 6DD8C949.ashx
Verlag. Neese consulting inc. (2004b). RULA Employee
Landekic, M., Katusa, S., Mijoc, D., & Sporcic, Assessment Worksheet. Retrieved from
M. (2019). Assessment and Comparison of https://health.usf.edu/publichealth/tbernard
Machine Operators’ Working Posture in /~/media/F56F586400444D8EB9D4EE79
Forest Thinning. South-East European 8B27C6B7.ashx
Forestry, 10(1), 29–37. Paini, A. D. C., Lopes, E. D. S., Souza, A. P. D.,
doi:10.15177/seefor.19-02 Oliveira, F. M. D., & Rodrigues, C. K.
Manavakun, N. (2014, September). A (2019). Repetitive Motion and Postural
Comparison of OWAS and REBA Analysis of Machine Operators in
Observational Techniques for Assessing Mechanized Wood Harvesting Operations.
Postural Loads in Tree Felling and CERNE, 25(2), 214–220.
Processing. In C. Kanzian (Ed.), 47th doi:10.1590/01047760201925022617
International Symposium on Forestry Qutubuddin, S. M., Hebbal, S. S., & Kumar, A.
Mechanisation: “Forest engineering: C. S. (2013). An Ergonomic Study of Work
propelling the forest value chain". Related Musculoskeletal Disorder Risks in
Gerardme: Formec. Indian Saw Mills. Journal of Mechanical
McAtamney, L., & Corlett, N. E. (1993). RULA: and Civil Engineering, 7(5), 7–13.
A Survey Method for the Investigation of Royal Forest Department. (2020). Forest
Work-Related Upper Limb Disorders. Statistics Data 2019. Bangkok: Information

232
Vol. 10 • No. 2 • March - April 2021 Thai Journal of Science and Technology
and Communication Technology Center, Methods in Forest Nurseries. Fresenius
Royal Forest Department. (in Thai) Environmental Bulletin, 26(12), 7362–
Slot, T. R., & Dumas, G. A. (2010). 7371.
Musculoskeletal Symptoms in Tree Yayli, D., & Caliskan, E. (2019). Comparison of
Planters in Ontario, Canada. Work, 36(1), Ergonomic Risk Analysis Methods for
67–75. doi:10.3233/WOR-2010-1008 Working Postures of Forest Nursery
Sungkaew, S. (2019). Field Dendrology. Workers. European Journal of Forest
Bangkok: Kasetsart University. (in Thai) Engineering, 5(1), 18–24.
Unver-Okan, S. (2018). Assessment of Working doi:10.33904/ejfe.556997
Postures of Nursery Workers in Seedling Yovi, E. Y., & Prajawati, W. (2015). High Risk
Production Activities. In I. Christov, E. Posture on Motor-Manual Short Wood
Strauss, A. A. Gad, & I. Curebal (Eds.), Logging System in Acacia Mangium
Science, Ecology and Engineering Plantation. Jurnal Manajemen Hutan
Research in the Globalizing World (pp. Tropika, 21(1), 11–18.
344–354). Sofia: St. Kliment Ohridski Yovi, E. Y., & Yamada, Y. (2019). Addressing
University Press. Occupational Ergonomics Issues in Indonesian
Unver-Okan, S., Acar, H. H., & Kaya, A. (2017). Forestry. Croatian Journal of Forest Engineering,
Determination of Work Postures with 40(2), 351–363. doi:10.5552/crojfe.2019.558
Different Ergonomic Risk Assessment

233

You might also like