You are on page 1of 28

Journal of Social Sciences

Faculty of Political Science


Vol. 47 No.2 (2017): 149-176 Chulalongkorn University
http://www.library.polsci.chula.ac.th/journal2

Slavoj Žižek vs Graham Harman:


Debate in Contemporary Philosophy**

Chyatat Supachalasai*

Abstract
This article examines the debate in politics and philosophy between two philosophers, namely
Slavoj Žižek and Graham Harman. The arguments on politics and philosophy laid out by the two thinkers
show a critical dialogue between one who emphasizes human action and the other who is more post-
humanist. Such a debate is not one of disagreement between the Right and the Left in politics. Rather, it
shows a deconstruction of humans as the central agency and concurrently the emergence of non-human
actors participating in creating exciting as well as groundbreaking movements on earth. Therefore, this
article considers that the debate opens up and prompts a rethinking of many significant concepts in the
social sciences and contemporary philosophy such as reality, materialism, the transcendental, truth, New
Realism (Speculative Realism), for instance. Žižek’s main responses to these concepts are rooted in
Lacanian psychoanalysis. Meanwhile, Harman’s key answers to the puzzle are influenced by Bruno
Latour’s ‘Actant’, Alfred North Whitehead’s ‘Prehension’, and Manuel DeLanda’s ‘Flat Ontology’.

Keywords: reality, transcendental, materialism, post-humanism, Speculative Realism

*Lecturer, International Relations and Political Theory, Faculty of Humanities and Social Science (Political Science Program),
Suan Dusit University, Dusit, Bangkok, 10300. Email: chyatats@hotmail.com
**Received April 7, 2017; Accepted May 17, 2017
วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์
ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 (2560): 149-176 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
http://www.library.polsci.chula.ac.th/journal2

‘สลาวอย ชิเชค VS เกรแฮม ฮาแมน’:


วิวาทะปรัชญาร่วมสมัย**

ชญาน์ทัต ศุภชลาศัย*

บทคัดย่อ
บทความเรือ่ งนีน้ ำเสนอวิวาทะทางการเมืองและปรัชญาร่วมสมัยของนักปรัชญาสองท่าน คือ สลาวอย

ชิเชค (Slavoj Žižek) และเกรแฮม ฮาแมน (Graham Harman) ข้อถกเถียงของนักปรัชญาทั้งสองท่าน อาจกล่าว


ได้ว่าเป็นข้อถกเถียงทางปรัชญาและการเมือง ซึ่งไม่ใช่เป็นข้อถกเถียงทางการเมืองในลักษณะความเห็นที

ไม่ลงรอยกันระหว่างฝ่ายขวาและฝ่ายซ้าย แต่เป็นข้อถกเถียงถึงการท้าทายและทลายการเป็นศูนย์กลางของ
ความเป็นภาคแสดงของมนุษย์ ตลอดจนการปะทุขึ้นหรืออุบัติขึ้นของภาคแสดงที่ไม่ใช่มนุษย์ที่เข้ามาร่วมสร้าง
ความเคลื่อนไหวใหม่ ๆ และร่วมสร้างปรากฏการณ์ต่าง ๆ บนโลก ดังนั้น บทความนี้นำเสนอว่าการอภิปราย
ของนักคิดทั้งสองจะเป็นทั้งการเปิดประเด็นทั้งเป็นการขัดเกลาแนวคิดทางสังคมศาสตร์และปรัชญาร่วมสมัย

ที่น่าสนใจ เช่น ภาวะความเป็นจริง อุตระภาวะ สัจธรรม สัจนิยมใหม่ (อนุมานสัจนิยม) และรูปธรรมนิยม


ฯลฯ โดยคำตอบเกี่ยวกับประเด็นสำคัญทางสังคมศาสตร์ของชิเชคมีจิตวิเคราะห์ที่พัฒนาโดย ฌาคส์ ลาก็อง
เป็นแกนกลางสำคัญ ในขณะที่แกนกลางสำคัญของฮาแมนคือแนวคิดว่าด้วย ‘ภาคแสดง’ ของบรูโน่ ลาตู

แนวคิดเรื่อง ‘การคาบเกี่ยวกับของสรรพสิ่ง’ ของอัลเฟรด นอร์ธ ไวท์เฮด ปิดท้ายด้วยแนวคิด ‘ภาวะวิทยา


แบบแบนราบ’ ของ มานูเอล ดีแลนดาเป็นคำตอบสำคัญ

คำสำคัญ: ภาวะความเป็นจริง, อุตระภาวะ, รูปธรรมนิยม, หลังมนุษย์นิยม, อนุมานสัจนิยม

*อาจารย์ทางด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและทฤษฎีการเมือง หลักสูตรรัฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 อีเมล: chyatats@hotmail.com
**ได้รับบทความ 7 เมษายน 2560; อนุมัติให้จัดพิมพ์ 17 พฤษภาคม 2560


150 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
Chyatat Supachalasai

บทนำ ทั้งหลายที่ไม่ใช่มนุษย์ ฮาแมนมองว่าสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่


มนุษย์เป็นภาคแสดงที่สำคัญบนโลก บางครั้งมนุษย์
คลิปวีดิโอที่อภินันทนาการผ่านช่องยูทูปโดย
ไม่อยู่ในสถานะที่จะจัดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่าง
The Žižek Times ซึ่งใช้ชื่อว่า Duel + Duet: Slavoj

สิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ได้เลย มนุษย์ควรจะสังเกตถึง
Žižek and Graham Harman at SCI-Arc on March

ความสัมพันธ์ระหว่างกันของตัวแสดงที่ไม่ใช่มนุษย์
2, 2017 เป็นที่มาสำคัญของข้อมูลสำคัญว่า เมื่อวันที่

บางครั้งมนุษย์ก็ต้องยอมรับด้วยความถ่อมตนว่าภาค
2 มีนาคม 2017 นักปรัชญาผู้มีชื่อเสียงโด่งดังจาก

แสดงหลักของโลกไม่ใช่มนุษย์ และในบางครั้งตัว
ฝั่งโลกตะวันตกสองท่านคือสลาวอย ชิเชค (Slavoj

มนุษย์เองก็เพียงแค่เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับตัวแสดง
Žižek) และ เกรแฮม ฮาแมน (Graham Harman) ได้
เหล่านั้นเท่านั้น มนุษย์ไม่ควรมองข้ามความสำคัญ
รับเกียรติจากสถาบัน Southern California Institute
ระหว่างปฏิสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์ที่ธำรง
of Architecture (SCI-Arc) อันเป็นสถาบันที่มีชื่อเสียง
อยู่บนโลก มนุษย์ควรตระหนักว่าพวกเขามิได้มีพลัง
ด้านสถาปัตยกรรม นักคิดทั้งสองท่านตอบตกลงเข้า
มากพอที่จะเป็นผู้กำหนดทุกสิ่งอย่างให้อุบัติขึ้นบน
ร่ ว มอภิ ป รายเพื ่ อ เปิ ด บทสนทนาเชิ ง ปรั ช ญาครั ้ ง
โลก รวมถึงการควบคุมสรรพสิ่งบนโลกเหมือนดังที่
ประวัติศาสตร์อย่างไม่รีรอ นักคิดทั้งสองท่านรู้จัก

พวกเขาเชื่อในพลังของการปฏิวัติอุตสาหกรรมและ
ชื่อเสียงกันและกันมานานหลายปีแต่กลับไม่มีโอกาส
การปฏิวัติเทคโนโลยี
เปิดบทสนทนาทางปรัชญาอันสร้างสรรค์กันอย่าง
จริงจังเลย ด้วยอาจจะเป็นเหตุผลทางฐานคิดเชิง สำหรับบทความชิ้นนี้ เนื้อหาที่ใช้นำเสนอ
ปรัชญาที่มิได้มีจุดร่วมเดียวกันมากนัก ด้านหนึ่ง
ส่ ว นใหญ่ ม ี ท ี ่ ม าจากคลิ ป วี ด ิ โ อดั ง กล่ า วควบคู ่ ก ั บ
ชิเชคเป็นปัญญาชนฝ่ายซ้ายผู้สนใจความคิดแบบ วรรณกรรมหลักของนักคิดทั้งสองท่าน ซึ่งสำหรับ

คอมมิ ว นิ ส ต์ ความคิ ด ทางปรั ช ญาของชิ เ ชคมี ผู้เขียนแล้ว วิวาทะ ‘ชิเชค-ฮาแมน’ (Žižek-Harman)


พัฒนาการมาจากบูรณการร่วมกันของปรัชญาของ แม้เกิดขึ้นในปี 2017 แต่วิวาทะนี้ก็ถือเป็นวิวาทะ
ลัทธิมาร์กซ์ จิตวิเคราะห์ของลาก็อง และแนวคิดอัต สำคัญของปรัชญาการเมืองตะวันตก เรียกได้ว่าเป็น
วิสัยแฝงของเฮเกล หนึ่งในยุทธศาสตร์ทางปรัชญา วิวาทะแห่งประวัติศาสตร์ไม่แพ้วิวาทะ ‘ชอมสกี้-ฟู
ของชิเชค คือการให้ความสำคัญกับมนุษย์ ชิเชค
โกต์’ (Chomsky-Foucault) ที่เคยเกิดขึ้นในปี 1971เลย
ให้ความสำคัญกับมนุษย์ ชิเชคสนใจความคิดของ ก็ว่าได้ บทความนี้ต้องการชี้ให้เห็นว่านักคิดทั้งสอง
มนุษย์ที่ยากจะสัมพันธ์กับภาวะความเป็นจริง หนึ่ง ท่านมีฐานคิดทางปรัชญาที่ทั้งส่วนที่คล้ายกันและ
ในบทสรุปทางปรัชญาของชิเชคคือความสัมพันธ์ที่ แตกต่างกัน การอภิปรายของทั้งสองท่านครอบคลุม
ยากจะลงรอยกันได้ระหว่างมนุษย์และภาวะความ ตั้งแต่ประเด็นเรื่อง ภาวะความเป็นจริง ข้อจำกัดต่อ
เป็นจริง ขณะที่ยุทธศาสตร์ทางปรัชญาของฮาแมน การเข้าใจภาวะความเป็นจริงของมนุษย์ สัจธรรม
ดำเนินไปทางตรงกันข้าม ความสนใจของฮาแมน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์ ภาวะวิทยา
ไม่ใช่อัตวิสัย ฮาแมนไม่สนใจมนุษย์แต่สนใจสิ่งมีชีวิต

ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 151



Slavoj Žižek vs Graham Harman: Debate in Contemporary Philosophy

รู ป ธรรมนิ ย ม (Materialism) 1 อุ ต ระภาวะ (The กับภาวะความเป็นจริงในฐานะสิ่งที่ดำรงตนอยู่นอก


Transcendental) 2 การเมื อ งสหรั ฐ อเมริ ก าภายใต้ เหนือประสาทสัมผัสของมนุษย์
การนำของโดนัลด์ ทรัมป์ (Donald Trump) ทุนนิยม 2. จุ ด ร่ ว มในการปฏิ เ สธแนวคิ ด เรื ่ อ ง
โลก การปรับเปลี่ยนพันธุกรรม ฯลฯ โดยการนำเสนอ ‘Assemblage’ ของเจน เบนเน็ท (Jane Bennett) สู่
เนื้อหาแบ่งออกเป็นสามหัวข้อหลัก เพื่อให้ง่ายต่อ ความแตกต่างเรื่องรูปธรรมนิยม (Materialism) และ
การเข้าใจวิวาทะ ‘ชิเชค VS ฮาแมน’ ดังนี้ สัจนิยม (Realism)
1. ความแตกต่างระหว่างภาวะความเป็น 3. การเมื อ งของชิ เ ชคและการเมื อ งของ

จริงในฐานะความย้อนแย้งและความไม่สมบูรณ์แบบ ฮาแมน

1เห็นควรต้องทำการเพิ่มเติมคำอธิบายเกี่ยวกับประเด็นเรื่องรูปธรรมนิยม (Materialism) หรือที่ในความคิดแบบมาร์กซิสต์แปลเป็น


ภาษาไทยว่า ‘วัตถุนยิ ม’ นัน้ ความจริงแล้วเรือ่ งนีผ้ เู้ ขียนเองก็ประสบกับปัญหา Lost in translation ในช่วงแรกเช่นกัน เหตุเพราะทัศนะคติ
และฐานการเข้าใจคำว่า Materialism ของทั้งชิเชคและฮาแมนนั้นแตกต่างกันค่อนข้างมาก ถ้าเป็นชิเชค Materialism จะมีฐานคิดมาจาก
วัตถุนิยมแบบมาร์กซ์ ซึ่งเป็นเรื่องของโครงสร้างทางสังคมแห่งการต่อสู้และความขัดแย้งทางความคิดของเหล่าปัจเจกบุคคลผู้ยึดเสรีภาพ
เป็นหลักแห่งการดำเนินชีวิต รวมถึงการต่อสู้ทางอุดมการณ์อันหลากหลาย แต่ภายใน Materialism ที่มีแต่ความขัดแย้งผ่านฐานวิธีคิด
แบบเสรีนิยมเช่นนี้เองที่ความย้อนแย้งเกิดขึ้นนั่นคือเสรีภาพแห่งการคิดกลับไม่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงสภาวะแห่งทุนนิยมที่เป็นอยู่ได้เลย
Materialism เช่นนี้จึงนับว่าขาดความสมบูรณ์แบบภายในฐานคิด ดังนั้น ทุนนิยมจึงเป็นทั้ง ‘ส่วนที่เหลือ’ (Lamella) และเป็นทั้ง ‘ส่วนเกิน’
(Surplus) ที่ไม่ได้บูรณาการมันเข้าเป็นส่วนหนึ่งกับความคิดของคนส่วนใหญ่แต่แรก ประเด็นนี้ชิเชคอภิปรายไว้ชัดในงานเขียนเรื่อง The
Ticklish Subject (2000) ที่เขาคลุกเคล้าวิธีคิดเรื่อง Materialism และการวิพากษ์ Materialism เข้ากับค้านท์ ลาก็อง เฮเกล และไฮเดกเกอร์
ส่วน Materialism ในความคิดแบบฮาแมนไม่ได้เป็นเรื่องของการต่อสู้ทางชนชั้น แต่สื่อถึงภาวะแห่งการธำรงอยู่ของปวงสรรพสิ่ง
ที่เข้ามาสานสัมพันธ์กัน ที่สรรพสิ่งนั้นโรมรันเข้าหากันและบางครั้งก็ ‘กั๊ก’ กันและกันในระหว่างการปฏิสัมพันธ์ จนเกิดเป็นปรากฏการณ์
ต่าง ๆ อันหลากหลาย เช่นนี้แล้ว จึงเป็นการยากที่จะแปลคำว่า Materialism ของฮาแมน ด้วยอาศัยคำว่าวัตถุนิยมในแบบฐานมาร์กซิสต์
ผู้เขียนเลยเลือกใช้คำว่ารูปธรรมนิยมแทน เพื่อสื่อใจความความคิดทางปรัชญาของฮาแมนและในขณะเดียวกันสำหรับเฉพาะในบทความนี้
เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ จึงขอใช้ร่วมกับของทางชิเชคด้วย ซึ่งเนื้อหาใจความทั้งหมดดังกล่าว จะทำการอภิปรายต่อไป
2ดังที่ได้อภิปรายไปแล้วในเชิงอรรถข้างต้น การทำความเข้าใจอุตระภาวะแบบฐานคิดแบบชิเชคให้ได้อย่างละเอียดนั้น ต้องทำควบคู่
กับการเข้าใจความไม่สมบูรณ์แบบภายในตัว Materialism เสียก่อน จึงจะเปิดประเด็นเป็นการก้าวข้าม Materialism อันเป็นตำแหน่งของ
อุตระภาวะ (The Transcendental) ความสับสนคือบ่อยครั้ง Materialism ทำหน้าที่เป็น The Transcendental ไปโดยตัวของมันเอง ในระหว่าง
การอภิปรายกับฮาแมนนั้น ชิเชควิพากษ์วิจารณ์ว่าความสับสนระหว่าง Materialism และ The Transcendental เป็นเรื่องอันตราย เพราะคน
มักเข้าใจว่าประเด็นทางการเมืองที่ตนเองหยิบยกขึ้นมาต่อสู้ เพื่อตัวเอง และเพื่อกลุ่มอื่น ๆ เป็นเรื่องที่ครอบจักรวาล เป็นเรื่องใหญ่ เป็นเรื่อง
หลักที่ต้องทำก่อนเป็นลำดับแรก (Priority) เช่น ต่อต้านเผด็จการ ล้มชายเป็นใหญ่ ต่อสู้เพื่อความหลากหลายทางวัฒนธรรม ฯลฯ
ด้วยวิธีคิดเช่นนี้ Materialism จึงเป็น The Transcendental โดยตัวมันเอง ทว่า The Transcendental ของชิเชคหมายถึงสิ่งที่หลุดออก
ไปจากข้อต่อทางความคิดเหล่านี้ The Transcendental เป็นตัวแนะนำให้เราก้าวพ้นและก้าวข้าม Materialism ไปอีกขั้นหนึ่ง วิธีคิดนี้จริง ๆ
แล้วได้รับอิทธิพลไม่น้อยจากลาก็องเรื่อง “Traversing the Fantasy” ซึ่งผู้เขียนไม่ขอลงรายละเอียดในที่นี้ แต่ต้องการจะสื่อให้เห็นว่า The
Transcendental ของชิเชค สื่อใจความถึงเรื่องความขาดและความล้นออกไปจากฐานคิดและการรับรู้ที่เป็นอยู่ของเหล่าเสรีชน เช่นนั้นแล้ว
The Transcendental แบบชิเชคที่มีทั้งฐานแบบมาร์กซิสต์และ Secularism จึงไม่ได้สื่อใจความถึง ภาวะเหนือธรรมชาติ เช่น พระเจ้า นรก
สวรรค์ บ่วงกรรม ภพหน้า ฯลฯ


152 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
Chyatat Supachalasai

ภาวะความเป็ น จริ ง ในฐานะความ Times 2017) สุภาษิตที่ชิเชคหยิบยกมาจากเฮเกล

นี้ไม่ใช่ประเด็นใหม่ของชิเชคเสียทีเดียว เพราะใน
ย้อนแย้งและความไม่สมบูรณ์แบบ หนังสือเล่มหนึ่งของชิเชค คือ Less Than Nothing:
กับ ภาวะความเป็นจริงในฐานะสิ่งที่ Hegel and the Shadow of Dialectical Materialism
ดำรงตนอยูน่ อกเหนือประสาทสัมผัส
(2012) ชิเชคอ้างข้อความเดียวกันนีข้ น้ึ มา เพือ่ แนะนำ

ว่าสังคมที่เราอาศัยอยู่ตั้งแต่เกิดจนตายคือความลับ
ของมนุษย์
ซ่อนเร้นต่อเรา แม้วา่ เราเกิดมาอยูภ่ ายใต้รม่ โพธิร์ ม่ ไทร

ประเด็นแรกที่จะอภิปรายในบทความนี้ คือ ของมัน แต่แล้วมันคือสิ่งที่เราเองก็เข้าไม่ถึงทั้งหมด


ภาวะความเป็นจริงที่เผยให้เห็นถึงความย้อนแย้งและ มันปกปิดบางอย่างต่อเราไว้ (Žižek 2002) ตรรกะทีว่ า่
ความไม่สมบูรณ์แบบภายในตัวภาวะความเป็นจริง มนุษย์เราเข้าไม่ถึงภาวะความเป็นจริงทั้งหมด เพราะ
เอง ซึ่งเป็นข้อเสนอหลักของชิเชค กับประเด็นที่สอง มันเป็นความลับต่อเราเป็นเงื่อนงำบางประการที่เรา
คือข้อเสนอของฮาแมนที่ดูจะไม่ได้พิจารณาถึงความ ไม่มีวันล่วงรู้ ย่อมแตกต่างกับการที่เราพูดว่า เราไม่รู้
ย้อนแย้งและความไม่สมบูรณ์แบบของภาวะความ ว่าอัตลักษณ์ความเป็นชาติของเราคืออะไร เหตุเพราะ

เป็นจริง แต่ดูจะมุ่งเน้นถึงความสัมพันธ์ที่ศรัทธาใน การพูดเช่นนั้น เรากำลังพูดในระดับที่เราไม่สามารถ


ความเสมอภาคกันของทุกสรรพสิง่ บนโลก โดยผูเ้ ขียน
กำหนดนิยามให้กับสังคมในเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้อย่าง
จะอภิ ป รายความคิ ด ของชิ เ ชคก่ อ นที ่ จ ะอภิ ป ราย บริบูรณ์ได้ อาจด้วยเพราะความสลับซับซ้อนของ

ความคิดของฮาแมนเป็นลำดับถัดไป อัตลักษณ์และความหลากหลายของเชือ้ ชาติ/ชาติพนั ธุ



เกี่ยวกับภาวะความเป็นจริงในความคิดของ จนเป็นการยากทีก่ ารสร้างนิยามอย่างชัดเจนจะสัมฤทธิ

ชิเชค ในระหว่างการอภิปรายนัน้ ชิเชคไม่ได้มคี ำตอบ
ผลขึ้นมาได้ ยกตัวอย่างเช่น เราพูดว่า ‘ความลับ
แก่เราโดยตรงว่าภาวะความเป็นจริงคืออะไร ชิเชค
เกี่ยวกับสังคมไทย ยังคงเป็นความลับแก่คนไทยเสีย
ไม่ได้นิยามสภาวะความเป็นจริงว่าคืออะไร ทุกวันนี้
เอง’ แน่นอนว่าใจความนี้ ย่อมแตกต่างกันกับยามที่
ก็ยังไม่อาจรู้ได้แน่ชัดว่าภาวะความเป็นจริงของชิเชค
เราพูดว่า ‘เราไม่รู้ว่าจะนิยามความเป็นไทยอย่างไร
มีภาพลักษณ์หรือรูปร่างหน้าตาในลักษณะองค์รวม เพราะอัตลักษณ์ความเป็นไทยนั้น หลากหลายและ
อย่างไร ชิเชคเพียงแต่ให้ข้อคิดเป็นแนวทางแก่เราว่า สลับซับซ้อนมาก’ สองคำพูดนี้ อาจดูเหมือนกันตรงที

ภาวะความเป็นจริงคือความไม่รหู้ รือความหยัง่ ไม่ถงึ ของ
เกิดเป็นความไม่ชัดเจนต่อเราเหมือนกัน แต่แฝงด้วย
มนุษย์ ภาวะความเป็นจริงเป็นสิ่งที่มนุษย์เข้าไม่ถึง ตรรกะและใจความหลักทีแ่ ตกต่างกันเหตุเพราะคำพูด

(The Žižek Times 2017) แม้แต่สังคมที่มนุษย์คิดว่า


แรก ใจความหลักพยายามสื่อถึงสิ่งที่หลบซ่อน เป็น
น่าจะรู้จักสังคมของตนเองเป็นอย่างดีก็ยังคงเต็ม ความลับแก่คนไทย ซึ่งอาจจะหมายถึงความลับเพียง
เปี่ยมไปด้วยความลับต่อมนุษย์เอง ชิเชคยกสุภาษิต หนึ่งอย่างหรือมากกว่าหนึ่งอย่างก็ได้ แต่คำพูดหลัง
อันหนึ่งของเฮเกลมาสอนใจเราว่า ‘ท่านทั้งหลาย ใจความหลักสือ่ ถึง การยากทีจ่ ะกำหนดนิยามให้สิ่งใด
ท่านทราบกันไหมว่า แม้แต่ความลับเกี่ยวกับอียิปต์
สิ่งหนึ่งอย่างชัดเจนได้ ส่วนปัจจัยเกิดจากความสลับ
ก็ยังคงเป็นความลับของชาวอียิปต์เอง’ (The Žižek ซับซ้อนทางชาติพันธุ์

ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 153



Slavoj Žižek vs Graham Harman: Debate in Contemporary Philosophy

ชิเชคมีอีกตัวอย่างหนึ่งที่น่าสนุกที่เขาหยิบ
ผู้เล่นเกมเสียเอง (The Žižek Times 2017) ซึ่งถ้าหาก
ยกขึ้นมาอภิปรายเกี่ยวกับมนุษย์กับการเข้าไม่ถึง เราคิดตามข้อเสนอของชิเชคในเรื่องนี้ ก็อาจกล่าวได้
ภาวะความเป็นจริงที่มนุษย์อาศัยอยู่เอง (The Žižek ว่า เราไม่สามารถเข้าถึงความเป็นจริงเกี่ยวกับตัวเกม
Times 2017) ชิเชคแนะนำให้เราจินตนาการยามที่เรา ได้ทั้งหมด การเข้าถึงความจริงเกี่ยวกับตัวเกมไม่ได้
เล่นวีดิโอเกม เมื่อยามที่เราเล่นวีดิโอเกมนั้น จะเห็น ทั้งหมดประกอบด้วยสองเหตุผลด้วยกัน เหตุผลแรก
ว่าจะมีฉากบางฉากเท่านั้นที่เราใช้เป็นหลักในการ คือ ผู้เล่นเกมเล่นเกมไปจนจบ แต่ผู้เล่นเกมกลับไม่รู้
เดินเรื่อง เพื่อมุ่งหมายที่จะพิชิตภารกิจหลักของเกม ความลับเกีย่ วกับเกมทัง้ หมด นัน่ คือ เกมจงใจซุกซ่อน

นัน้ ให้ได้ แต่รว่ มกันนัน้ ก็ยงั มีฉากบางฉากทีเ่ ป็นเพียง


ความลับเกี่ยวกับเกมไว้แก่ผู้เล่นเกม แต่ผู้เล่นเกม
แค่องค์ประกอบของเกมและไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของ กลับหาความลับเหล่านั้นไม่พบเอง กับ เหตุผลที่สอง
เกม แต่ก็ถูกบรรจุไว้ในตัวเกม จนกลายมาเป็นความ คือ ผูเ้ ล่นเกมอุตริอยากรูค้ วามลับเกีย่ วกับเกม แต่เกม

อยากรู้อยากเห็นของผู้เล่นเกมเสียเอง ดังนั้น ถ้าหาก ไม่ได้เขียนโปรแกรมตัวนั้นไว้แต่แรก จนท้ายที่สุดแล้ว


ความลับเกี่ยวกับอียิปต์ก็ยังคงเป็นความลับของชาว ผู้เล่นเกมก็ถูกดันออกจากความอุตริใคร่รู้ของตนเอง

อียิปต์ เช่นนั้นแล้ว ก็อาจกล่าวได้ว่าฉากในเกมบาง ที่สร้างขึ้นมาเองยามเล่นเกม จนเข้าถึงความจริงของ


ฉากก็ยังคงเป็นความลับแก่คนเล่นเกมได้เช่นกัน ยก เกมไม่ได้ทั้งหมดนั่นเอง
ตัวอย่างเช่น เราเล่นเกม ๆ หนึ่ง เราบังคับเป็นตัวเอก
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับภาวะความ
ของเกมนั้น ๆ เราปรารถนาจะเดินไปหลังต้นไม้ต้น
เป็นจริง ที่ตั้งอยู่บนความไม่สามารถของมนุษย์ที่จะ
หนึ่ง เราปรารถนารู้เป็นอย่างมากว่าหลังต้นไม้มีอะไร
เข้าถึงภาวะความเป็นจริงได้ทั้งหมดนั้นจริงแล้วมี
ซุกซ่อนอยู่ฉากหลังต้นไม้จะเป็นฉากอย่างไร แต่ด้วย
ความละม้ายคล้ายคลึงกันกับยามที่เราเล่นเกม หาก
ผลลัพธ์แล้ว เราบังคับตัวละครเกมเดินเข้าไปหลัง
กล่าวตามตรรกะแรก ที่ว่า ‘เกมมีความลับต่อเรา แต่
ต้นไม้ไม่ได้ เพราะโปรแกรมเกมจะดันตัวละครที่เรา
เราหาความลับของเกมไม่พบ’3 ก็เหมือนกันกับที่เรา
บั ง คั บ อยู ่ อ อกมาจากฉากต้ น ไม้ ท ี ่ เ ราพยายามจะ
ไม่อาจรู้ได้เลยว่า ในโลกนี้ ผู้นำระดับสูงคนใดบ้างที่
บังคับตัวละครให้เดินเข้าไป ตรงนี้เองที่ชิเชคขมวด
เป็นผู้ทุจริตคอร์รัปชัน หนีภาษี มีเงินในบัญชีส่วนตัว
เป็นประเด็นปรัชญาให้ขบคิดทันทีว่า โปรแกรมสร้าง
แบบน่าสงสัย ฯลฯ เราไม่รู้เลย จนกระทั่ง เอกสาร
ให้ผู้เล่นเกมไม่อาจเข้าถึงสิ่งที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับเนื้อ
ปานามาเปิดเผยรายชื่อของคนพวกนั้นออกมาแก่

เรื่องของเกมทั้งหมด แต่สิ่งนั้นมันก็ถูกบรรจุอยู่ในตัว
เราซึ่งรายชื่อในนั้นมีทั้งผู้นำระดับสูงของจีน สมาชิก

เกม และกลายมาเป็นความอยากรู้อยากเห็นของ

ในครอบครัว รวมถึงชื่อของลีโอเนล เมซซี่ นักเตะ

3ผู้เขียนขอยกตัวอย่างผ่านเกม Resident Evil อันเป็นเกมสยองขวัญที่มีการซุกซ่อนของใช้จำเป็นไว้มากมายตามฉากต่าง ๆ ผู้เล่น


อาจจะเล่นเกมนี้ไปจนจบ พิชิตสัตว์ประหลาดที่เป็นหุ่นยนต์ทำลายล้างได้ แต่ผู้เล่นไม่รู้เลยว่าผู้เล่นขาดการเก็บไอเท็มไปเยอะมาก จนผู้เล่น
ต้องเล่นใหม่เพื่อค้นหาความลับที่เกมซ่อนอยู่ ถ้าเป็นตรรกะนี้ จะหมายความว่า เกมจงใจซ่อนไอเท็มหรือความลับเกี่ยวกับเกมไว้แต่แรก
แต่ผู้เล่นเองต่างหากที่เข้าไม่ถึงความเป็นจริงของเกมได้ทั้งหมด นั่นคือ เกมมีความลับอยู่ แต่ผู้เล่นกลับหาความลับเกี่ยวกับเกมไม่พบเอง
ผู้เล่นก็เข้าถึงความลับที่ผู้เล่นอุตริหรือ ‘มโน’ ขึ้นมายามเล่นเกมไม่ได้ เพราะโปรแกรมเกมไม่ได้เขียนให้สิ่งเหล่านั้นเป็นเงื่อนไขที่เป็นความ
ลับแต่แรก ผู้เล่นจึงถูกดันออกมาจากความอยากรู้ของตนเองและไม่มีวันเข้าถึงความเป็นจริงของเกมที่ไม่ได้ถูกวางเงื่อนไขไว้แต่แรกเลยใน
ที่สุด


154 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
Chyatat Supachalasai

ดาวดังชาวอาร์เจนตินา การออกมาปรากฏหน้าสื่อ
และเกิดเป็นความขัดแย้งระหว่างการรับรู้ที่เคยเป็น
มวลชนของเอกสารปานามาเป็นทั้งการสะท้อน ทั้ง มากับการรับรู้ใหม่ แน่นอนกระบวนการนี้เกิดขึ้นหลัง
เป็นการแสดงให้เห็นว่า เราไม่อาจเข้าถึงความเป็น จากที่มนุษย์เริ่มเข้าใกล้เบื้องหลังเกี่ยวกับความเป็น
จริ ง เกี ่ ย วกั บ โลกใบนี ้ ไ ด้ ท ั ้ ง หมดแต่ แ รก เอกสาร จริงเหล่านั้นมากขึ้น แม้จะไม่ทั้งหมดก็ตาม (Žižek
ปานามาไม่ ไ ด้ เ ป็ น การเปิ ด ประเด็ น ข้ อ ถกเถี ย งกั น 2014) ดังนั้น ข้อเสนอของชิเชค ก็คือมันจึงมีช่องโหว่
เพียงแค่ว่าเนื้อหาภายในตัวเอกสารนั้นเป็นจริงหรือ หรือช่องว่างระหว่างการรับรู้ของเรากับความเป็นจริง
เป็นเท็จ แต่เป็นการเผยให้เห็นถึงช่องโหว่ระหว่าง
ของโลกใบนี้เสมอ ความไม่สมดุลระหว่างความรู้หรือ
การรับรู้ของเราเกี่ยวกับภาวะความเป็นจริงของโลก การรับรู้ของเรากับภาวะความเป็นจริงถือเป็นภาวะ
ใบนี้มากกว่าสิ่งที่ชิเชคจับจ้องอยู่คือการรับรู้ของเรา มูลฐานที่ชิเชคพิเคราะห์อยู่ในหลักปรัชญาของเขาเอง
กับภาวะความเป็นจริงของโลกใบนี้ซึ่งถือเป็นอะไร
นอกจากนี้ หากกล่าวตามตรรกะที่สองที่ว่า ‘เกม

ที่ไม่เคยอุดช่องว่างกันและกันได้เลยแต่แล้ว ก็ดังที่
ไม่ได้สร้างโปรแกรมให้มีความลับต่อเรา แต่เราอุตริ
ชิ เ ชคอภิ ป รายประเด็ น ดั ง กล่ า วไว้ ใ นหนั ง สื อ เรื ่ อ ง อยากจะค้นความลับเอง และสุดท้ายก็ถูกผลักออก
Absolute Recoil (2014) ว่าเมื่อใดก็ตามที่ความเข้าใจ มา’ 4 ก็ อ าจจะเช่ น เราอาจจะอยากมี ค วามใคร่ รู ้

เกี่ยวกับภาวะความเป็นจริงของมนุษย์แตะหรือสัมผัส ต่ อ ใบหน้ า ที ่ แ ท้ จ ริ ง ของพวกกลุ ่ ม เคลื ่ อ นไหวทาง

เข้ า กั บ ความลั บ ที ่ โ ลกแห่ ง ความเป็ น จริ ง ปกปิ ด ไว้


การเมื อ งบนโลกไซเบอร์ น ามว่ า กลุ ่ ม อโนนิ ม ั ส ท์
เมื่อนั้นเองที่มนุษย์จะเกิดความสะเทือนใจควบคู่กับ (Anonymous) ซึ่งยามที่คนพวกนี้เคลื่อนไหวมักจะ

สำนึกใหม่ว่า ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมานั้น โลกแห่ง ใส่หน้ากากปิดบังใบหน้าตัวเองเอาไว้ เพื่ออำพราง


ความเป็นจริงที่มนุษย์เข้าใจ เอาเข้าจริงทำหน้าที่เป็น ใบหน้า แต่ความอุตริของเรานั้น ก็จะถูกผลักออกมา
เหมือนปริศนา ซ่อนงำหรือซ่อนเงือ่ นความลับเหล่านัน้
เสมอ เพราะพวกอโนนิมัสท์ไม่เคยวางโปรแกรมเปิด
มาโดยตลอด ด้วยเหตุผลเช่นนี้เองที่มนุษย์ควรกล้า
หน้าตัวเองให้เราได้เห็นกัน
ที่จะยอมรับบาดแผลของตนเอง อันเกิดจากความลับ
จากที่อภิปรายมา จะเห็นว่าภาวะความเป็น
บางอย่างของความเป็นจริงที่เริ่มเปิดตัวของมันออกสู่
จริงประกอบไปด้วยสิ่งที่เราเห็น/รับรู้ ธำรงร่วมอยู่กับ
การรับรู้ของเรา แน่นอนว่าความกล้าที่จะยอมรับ
สิ่งที่ขาดไปจากการเห็นหรือรับรู้ของเราเสมอ สิ่งที่
บาดแผลนี้เจือปนด้วยความสะเทือนใจ เพราะรู้สึก
ขาดไปจากการรับรู้ของเราหรือพร่องไปจากการรับรู้
เป็นประหนึ่งว่า การรับรู้ของตัวเองเริ่มที่จะหักหลัง
ของเราคือสิ่งที่ชิเชคเรียกตามจิตวิเคราะห์ของลาก็อง
และหักล้างกับที่มนุษย์เองเคยเข้าใจมาโดยตลอด
ว่าเป็น Object petit a หรือที่รู้จักกันในนาม Object

4ถ้าเป็นเหตุผลที่สอง คือผู้เล่นอุตริจะรู้ความลับเกี่ยวกับเกม แต่เกมนั้น ๆ ไม่ได้สร้างโปรแกรมที่เป็นความลับเอาไว้ ด้วยผลลัพธ์


แล้ว ผู้เล่นก็จะถูกผลักออกมาจากความพยายามจะเข้าถึงความลับของเกมนั้น ถ้าเป็นตรรกะนี้ ก็อาจกล่าวได้ว่าฉากใน Resident Evil
ที่มีองค์ประกอบฉากย่อย ๆ อย่าง รถ รถไฟ ประตู ที่เป็นเพียงแค่ฉากเสริมที่ไม่ได้เกี่ยวข้องเลยกับเนื้อหาหลักของเรื่อง แต่ผู้เล่นดัน
อุตริอยากรู้ว่ารถคันนั้น เปิดประตูแล้วจะเป็นอย่างไร ท้ายรถของรถยนต์คันหนึ่งในฉากของเกมเป็นอย่างไร ประตูที่เป็นเพียงแค่ฉาก
จะมีอะไรซุกซ่อนอยู่ ซึ่งถึงที่สุดแล้ว ผู้เล่นก็เข้าถึงความลับที่ผู้เล่นอุตริหรือ ‘มโน’ ขึ้นมายามเล่นเกมไม่ได้ เพราะโปรแกรมเกมไม่ได้
เขียนให้สิ่งเหล่านั้นเป็นเงื่อนไขที่เป็นความลับแต่แรก ผู้เล่นจึงถูกดันออกมาจากความอยากรู้ของตนเองและไม่มีวันเข้าถึงความเป็น
จริงของเกมที่ไม่ได้ถูกวางเงื่อนไขไว้แต่แรกเลยในที่สุด

ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 155



Slavoj Žižek vs Graham Harman: Debate in Contemporary Philosophy

small a ในโลกภาษาอังกฤษซึ่งโดยความหมายแล้ว เกมที่อยากรู้ว่าอะไรซ่อนอยู่หลังต้นไม้ ประตู หลังรถ


Object petit a หมายถึงสิ่งที่เหนือหรือที่เป็นไปมาก ในฉากเสริ ม ของเกม รวมไปถึ ง เอกสารปานามา
กว่าความรู้และการรับรู้ของเรา อันเป็นตัวสะท้อน ใบหน้าของกลุ่มอโนนิมัสท์ ฯลฯ ที่ ณ ขณะนี้อาจ
กลับให้เห็นถึงการรับรู้ที่ไม่สมบูรณ์แบบของเราเอง กล่าวได้ว่าทั้งหมดนี้ ตั้งวางอยู่ในระดับเป็นสิ่งที่เหนือ
โดยใน The Four Fundamental Concepts of หรือเป็นไปมากกว่าความรูแ้ ละการรับรูข้ องเรา เหล่านี

Psychoanalysis (2004 [1973]) ลาก็ อ งอภิ ป ราย ถือเป็นตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมของ Object petit a
Object petit a ว่าเป็นตัวสะท้อนปมปัญหาที่เกิดขึ้น ของลาก็องทั้งหมด นอกจากนี้ ในเชิงของยุทธศาสตร์
ภายในสมดุล ยากจะที่เป็นไปได้ระหว่างตัวคนกับสิ่ง ทางการทหารและการทำแผนที่เพื่อการยุทธ์ Object
พึงปรารถนา ความสัมพันธ์ระหว่างตัวคนกับสิ่งพึง petit a ของลาก็อง ยังสะท้อนถึงความขัดแย้งกัน
ปรารถนานั้นเมื่อบรรจบเข้ากันอย่างละเมียดหรือ ระหว่างการทำแผนที่ด้วยอาศัยความรู้เรื่องภูมิศาสตร์

อย่างพอดิบพอดีนั้น ภาระการทำงานตรงนี้จะเป็นไป และชัยภูมิของทหาร (หน่วยข่าวกรอง) กับการทำ


ในลักษณะของการที่ตัวคนถูกดึงหรือเชื่อมโยงเข้ากับ แผนที ่ เ พื ่ อ การยุ ท ธ์ ด ้ ว ยอาศั ย เครื ่ อ งบิ น ไร้ ค นขั บ
ความปรารถนาของผู ้ อ ื ่ น ที ่ ท ำหน้ า ที ่ เ ป็ น A หรื อ (Drone) อีกด้วย เพราะมีความเป็นไปได้สูงว่าแผนที่
Other (Lacan 2004) ทว่า Object petit a เป็นตัวแปร เพื่อยุทธศาสตร์การทหารที่ดำเนินการโดยหน่วยข่าว
ทางจิตที่ทำหน้าที่ตรงกันข้าม ตัวแปรตัวเดียวกันนี้ กรองเอง กับ ที่อาศัยตัวกล้องของเครื่องบินไร้คนขับ
เป็ น ตั ว ฟ้ อ งถึ ง ความเป็ น ไปไม่ ไ ด้ ร ะหว่ า งความ อาจจะได้ผลลัพธ์ไม่เหมือนกัน ส่งผลให้เราไม่อาจ
ปรารถนาของคนที่จะถูกดูดซับเป็นประหนึ่งเนื้อนา มั่นใจได้เลยว่าเราควรยึดตามแผนที่ของหน่วยข่าว
บุ ญ เดี ย วกั น กั บ ความปรารถนาของผู ้ อ ื ่ น ลาก็ อ ง กรอง หรือ ควรยึดตามแผนที่ที่จัดการด้วยตัวกล้อง
อภิปรายว่า Object petit a เป็นเหมือนสิ่งที่ขวางทาง ของเครื่องบินไร้คนขับ นอกจากนี้ อีกตัวอย่างที่เป็น
เดินสะดวกของตัวสัญญะซึ่งสัญญะในที่นี้หมายถึง ไปได้เกี่ยวกับ Object petit a หรือ สิ่งที่เหนือหรือเป็น
สมดุลระหว่างความปรารถนาของคนกับสิง่ พึงปรารถนา
มากไปกว่าความรู้และการรับรู้ของเรา เกี่ยวข้องกับ
รวมถึ ง คนกั บ การตกเป็ น เป้ า หมายภายในความ ความรัก เช่น ผู้หญิงคนหนึ่งถามผู้ชายคนหนึ่งว่า
ปรารถนาของผู้อื่น (Lacan 2004) กล่าวอีกนัยหนึ่ง
‘ทำไมคุณถึงรักฉัน’ การที่ผู้หญิงถามเช่นนั้น เป็น
คือ Object petit a สะท้อนถึงตัวสกัดกั้นความสมดุล เพราะเธออยากรู้ถึงความดีในตัวเธอที่เธอมองมันไม่
นั ้ น และนำเสนอถึ ง ตำแหน่ ง แห่ ง ความปรารถนา
ออกด้วยตัวเธอเอง เธอจึงถามผู้ชายถึงความดีในตัว
บางประการที่มนุษย์สามารถเชื่อมความคิดของตน เธอที่เธอเองมองไม่ออก แต่ผู้ชายอาจจะมองออก ดัง
เองไปยังตำแหน่งที่มากไปกว่าที่ตัวสัญญะที่กำหนด นั้น ความดีในตัวผู้หญิงที่อยู่ในตัวเธอ เป็นภาวะ
จนอาจกล่าวได้ว่า Object petit a ทำหน้าที่สะท้อน ความเป็นจริงในตัวเธอ แต่เธอกลับมองไม่ออกนี้คือ
ถึงความไม่สมบูรณ์แบบ ตลอดจนความขาดของตัว Object petit a (The Žižek Times 2017)
สัญญะทีเ่ ป็นทัง้ ตัวกำหนด ทัง้ ประกอบความปรารถนา

จะเห็นว่าเรากับภาวะความเป็นจริงย่อมมี
ให้กับมนุษย์ด้วยนั่นเอง (Lacan 2004, 2007)
ช่องว่างเกิดขึ้นแก่กันและกันเสมอ เราไม่อาจสมาน
ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็น ความลับเกี่ยวกับอียิปต์ ตัวเข้าเป็นส่วนหนึ่งกับภาวะความเป็นจริงได้หมดจด
ความลับเกี่ยวกับประเทศไทย ความอุตริของผู้เล่น วิธีคิดลักษณะนี้ไม่ใช่เป็นเพียงแค่ความสนใจของ


156 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
Chyatat Supachalasai

ชิเชคเท่านั้น หากแต่อยู่ในความสนใจของนักมานุษย
จนเมื่อเอกสารถูกเปิดออก ผลลัพธ์ก็คือการรับรู้ของ
วิทยาชั้นนำอย่าง โคล้ด เลวี่-สโตรส (Claude Levi- เราที่เคยเป็นความขาดถึงค่อย ๆ ถูกผูกโยงเข้ากับ
Strauss) ผู้ที่ชิเชคอ้างถึงระหว่างการอภิปรายอีกด้วย ความจริ ง ที ่ ถู ก เปิ ด ออกมาเหล่ า นั ้ น กลายมาเป็ น
(The Žižek Times 2017) ตัวอย่างคลาสสิกในงาน ความเข้าใจที่ลดช่องโหว่หรือช่องว่างกับภาวะความ
ของเลวี่-สโตรสคือการเรียกผู้นำหมู่บ้านแห่งหนึ่งที่ เป็นจริงมากขึ้น แต่วิธีคิดทางปรัชญาของชิเชคเช่นนี้
ห่างไกลจากตัวเมืองจำนวน 10 คน ออกมา เพื่อวาด ก็ยังเน้นตัวมนุษย์เป็นแกนกลาง ซึ่งจะแตกต่างกับวิถี
แผนที่หมู่บ้านที่ตนเองอาศัยอยู่ซึ่งทั้ง 10 คนวาดภาพ ปรัชญาของฮาแมนที่ดูจะพุ่งความสนใจไปที่สิ่งมีชีวิต
หมู ่ บ ้ า นของตั ว เองแตกต่ า งกั น แต่ ก ลั บ ไม่ ม ี ผู ้ น ำ
ไม่ใช่มนุษย์มากกว่าของชิเชคซึ่งฐานคิดทางปรัชญา
คนใดที่จะวาดแผนที่หมู่บ้านของตนเองได้ถูกต้อง ยังเน้นที่การรับรู้และความไม่สมบูรณ์แบบในการรับรู้
แม่นยำเลย แต่ที่ว่าไม่แม่นยำ เกิดจากความตลกร้าย เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกของมนุษย์
เรื่องหนึ่ง นั่นคือผู้นำทั้ง 10 คนไม่มีใครกล่าวถึง
ฮาแมนเชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้เท่า
ความขั ด แย้ ง ที ่ อ ยู ่ ภ ายในหมู ่ บ ้ า นของตนเองเลย
เที ย มกั น หมด ไม่ ว ่ า สิ ่ ง นั ้ น จะเป็ น จริ ง เกิ ด ขึ ้ น ใน
ฉะนั้น การวาดรูปโดยกดทับความขัดแย้งที่ซ่อนอยู่
จินตนาการ เล็ก ใหญ่ หนัก เบา ฯลฯ (The Žižek
ในหมู่บ้าน ทำให้การวาดรูปที่เป็นแค่เปลือกนั้นไร้
Times 2017) ดังที่เขาอภิปรายภววิทยาของสิ่งต่าง ๆ
ความสมบูรณ์แบบในที่สุด ดังนั้น ณ ประเด็นนี้ย่อม
บนโลกที่เขาเรียกว่าเป็น ‘Object-Oriented Philo-
สะท้อนถึงสุภาษิตตามที่กล่าวไปแล้ว นั่นคือ ความ
sophy’ (OOO) อันเป็นหลักปรัชญาที่สื่อถึงความ
ลับเกี่ยวกับอียิปต์ก็ยังคงเป็นความลับของคนอียิปต์
สัมพันธ์อันสลับซับซ้อนระหว่างสิ่งต่าง ๆ ที่ทั้งมุ่งมาด
อยู่ร่ำไป เว้นเสียแต่ว่าจะมีคนอียิปต์คนหนึ่งพร้อมจะ
เปิดตัวเข้าหากัน ทั้งปิดบังกันและกัน ในหนังสือเรื่อง
ปลุกสังคมอียิปต์ทั้งสังคมให้ตื่นขึ้น ด้วยการยอมพูด
Tool-Being: Heidegger and the Metaphysics of
ถึงความขัดแย้งและความรุนแรงที่ปกปิดอยู่ในสังคม
Object (2002) ฮาแมนอภิปรายว่าภายในอาณาจักร
อียิปต์ เช่นนั้นแล้ว ก็อาจกล่าวได้ว่าชิเชคตระหนักถึง
ของสิ่งต่าง ๆ นั้น สะท้อนถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ง
ความไม่สามารถของมนุษย์ ที่จะเข้าถึงภาวะความ
ต่าง ๆ ที่ทั้งใช้สอยซึ่งกันและกันทั้งทำลายซึ่งกันและ
เป็นจริงได้อย่างทั่วถ้วน นั่นคือ มักมีช่องโหว่เกิดขึ้น
กัน นั่นคือ ในด้านหนึ่ง สิ่งต่าง ๆ ทำหน้าที่สร้าง
เสมอระหว่างการรับรู้ของมนุษย์กับภาวะความเป็น
ความสัมพันธ์ที่เป็นการเปิดหน้าเข้าหากัน ความเป็น
จริง แต่แล้วเมื่อความเป็นจริงที่มันถูกกดทับเหล่านั้น
ไปได้นี้เกิดขึ้นด้วยคุณสมบัติภายในตัวของสิ่งต่าง ๆ
หลั่งไหลออกมาชนิดเราตั้งตัวไม่ทัน สิ่งเหล่านั้นก็
เองที่เสมือนว่ากำลังจุนเจือกันและกัน ใช้สอยซึ่งกัน
สะท้อนให้เห็นถึงความขาดต่อการรับรู้ต่อภาวะความ
และกัน จนเกิดเป็นภาวะต่าง ๆ ขึ้นมาให้เราเห็นบน
เป็นจริงของเรามาโดยตลอดนั่นเอง เช่น เอกสาร
โลก ตามที่ฮาแมนเรียกว่าเป็น ‘Tool-being’ นั่นเอง
ปานามา เป็นดั่งความจริงที่ถูกกดทับไว้ที่หลั่งไหล
ยกตัวอย่างเช่น ความสัมพันธ์ระหว่าง ของหนัก ของ
ออกมา เอกสารกระตุ้นให้เราฉุกคิดถึงความไม่รู้และ
เบา น้ำ เป็นที่ทราบกันดีว่า ของหนักจมน้ำ ของเบา
ความขาดต่อการรับรู้ของเราต่อภาวะความเป็นจริง
ลอยน้ำ การณ์นี้เริ่มต้นจากการที่น้ำเผยศักยภาพ

มาโดยตลอด นั่นแสดงว่า ที่ผ่านมานั้นเราไม่รู้เลยว่า


ของมันออกมา พอ ๆ กับที่ของเบาและของหนักเผย
มีอะไรบางอย่างไม่ชอบมาพากลเกิดขึ้นบนโลกแล้ว
ศักยภาพของมันออกมา เมื่อทั้งหมดนี้เข้ามาสัมพันธ์

ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 157



Slavoj Žižek vs Graham Harman: Debate in Contemporary Philosophy

กัน ก็จะเกิดเป็นภาวะที่เราเห็นและเข้าใจกัน นั่นคือ เปล่า ขวดน้ำจุน้ำได้ แรงโน้มถ่วงที่กดไว้ พื้นห้องที่


ของหนั ก จมน้ ำ ของเบาลอยน้ ำ (Harman 2002) รับการตั้งของขวดน้ำ พายุพัด หน้าต่าง น้ำหกจาก
ตัวอย่างนี้ สะท้อนถึงการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ขวดน้ำ ฯลฯ)
สิ่งต่าง ๆ ที่สุดท้ายแล้ว มันเกิดเป็นภาวะต่าง ๆ ขึ้น
ดั ง นั ้ น เราจะเห็ น ว่ า ฮาแมนเชื ่ อ ว่ า ภาวะ
มาได้ ก็เพราะสิ่งต่าง ๆ เผยศักยภาพซึ่งกันและกัน
ความเป็นจริงเกิดขึ้นจากการเชื่อมโยงเป็นเครือข่าย
ออกมา ทว่าในภาวะวิทยาของสิ่งต่าง ๆ ก็เจือปนไป
ขนาดใหญ่ของสิ่งต่าง ๆ ทั้งที่เล็ก ใหญ่ หนัก เบา
ด้ ว ยสุญ ญากาศ อัน เป็ นห้ว งเวลาหนึ ่ งหรื อสภาพ
ฯลฯ โดยที่มนุษย์ไม่ได้เป็นแกนกลางทั้งหมด มนุษย์
การณ์บางประการที่สรรพสิ่งมิได้สร้างความสัมพันธ์
ไม่ได้เป็นองค์ประธานทั้งหมดของการเกิดขึ้นของ
ซึ่งกันและกัน ก่อนที่มันจะเคลื่อนไปสู่ความสัมพันธ์
สรรพสิ่ง เหตุการณ์ สถานการณ์ และปรากฏการณ์
อื่น ๆ ยกตัวอย่างเช่น ขวดพลาสติกตั้งอยู่บนพื้นห้อง
หากแต่เป็นเครือข่ายของสิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์เหล่านี้
ชายคนหนึ่งเทน้ำใส่ขวด ตรงนี้เริ่มเปิดมุมมองได้ว่า
ต่างหากที่เป็นตัวการของการเกิดขึ้นหรืออุบัติขึ้นของ
เป็นความสัมพันธ์ที่ส่งเสริมกันและกัน เพราะขวดคือ
สรรพสิ่งสิ่งที่ฮาแมนเล็งในวิถีปรัชญาของตนเองนั้น
ภาชนะที่รองรับน้ำได้ น้ำอยู่ในขวดได้ เพราะขวด
ไม่ ใ ช่ เ รื ่ อ งของการรั บ รู ้ ส ิ ่ ง ใดในช่ ว งเวลาหนึ ่ ง ของ
ไม่มีรูรั่ว และในขณะเดียวกันขวดตั้งได้เพราะแรงโน้ม
มนุษย์ ไม่ได้สนใจว่าการรับรู้ของมนุษย์นั้นขาดตก
ถ่วงของโลก ทว่าถ้าตั้งไปแบบนั้นนาน ๆ น้ำในขวด
บกพร่องหรือไม่ และจะมีวันใดที่ความลับของภาวะ
น้ำที่ตั้งอยู่บนพื้นห้องก็จะเป็นเพียงสุญญากาศแห่ง
ความเป็นจริงจะเผยตัวของมันต่อเราเหมือนกับการ
ความสัมพันธ์ นั่นคือ ไม่มีความสัมพันธ์ใด ๆ เกิดขึ้น
รั่วไหลของวิกิลีกส์หรือไม่ แต่สิ่งที่ฮาแมนสนใจใน
หรือ ไม่มีภาวะใด ๆ เกิดขึ้น แต่ถ้าหากสมมติว่าห้อง
หลักปรัชญาของตนเองคืออภิปรัชญาแบบ ‘กองโจร’
นั้นมีหน้าต่างเปิดทิ้งไว้ แล้วในวันนั้นเกิดลมแรงมาก
(Guerilla) ตามที่เขาขนานนามชื่อหนังสือเล่มหนึ่งของ
พายุพัดเข้ามาผ่านหน้าต่าง ๆ นั้น จนกระทั่งขวดน้ำ
เขาเองว่า Guerrilla Metaphysics: Phenomenology
ล้มลง น้ำหกออกมาจากขวด ซึ่งในห้วงเวลาที่น้ำหก
and the Carpentry of Things (2005) ในหนังสือเล่มนี้
ออกมาจากขวดนี้เอง ที่ความสัมพันธ์ใหม่เกิดขึ้น
ฮาแมนเสนอว่าโลกที่มนุษย์คุ้นเคยเป็นสิ่งที่ไม่เคย
เป็นความสัมพันธ์ที่สลัดหลุดออกจากการเกื้อหนุน
สมบูรณ์แบบ แต่สาเหตุไม่ใช่เป็นเพราะเพียงว่าการ
จุนเจือกันและกันระหว่างน้ำกับขวดน้ำ มาเป็นน้ำหก
รับรู้ของมนุษย์นั้นขาดตกบกพร่อง หรือสมองของ
จากขวดน้ำเพราะพายุ ตรงนีเ้ องจะถือว่ามีความสัมพันธ์

มนุษย์มีปัญหาต่อการรับรู้ แต่เป็นเพราะสรรพสิ่ง

ใหม่เกิดขึน้ แล้ว อันเป็นความสัมพันธ์ทส่ี รรพสิง่ ต่าง ๆ

ต่าง ๆ มักซ่อนตัว พรางตัวอย่างลึกลับ ไม่ให้มนุษย์


กำลังทำลายกันและกัน หรือที่ฮาแมนเรียกว่าเป็น
เห็ น ประหนึ ่ ง เหมื อ นสงครามกองโจรที ่ น ั ก รบใน
สภาวะที่สิ่งต่าง ๆ เลิกที่จะใช้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน
อุดมการณ์นี้ต้องพรางตัวไว้ตลอดเวลา ที่สำคัญคือ
แต่เริ่มจะทำลายกันและกัน (Broken-being) (Harman
ด้วยอภิปรัชญาในตัวมันนั้น สรรพสิ่งมีกายกรรมอัน
2002) ซึง่ ทัง้ หมดนีม้ นุษย์ไม่ได้เป็นศูนย์กลางขับเคลือ่ น

ต่อเนื่องในตัวของมันเอง สรรพสิ่งต่าง ๆ มีนาฏกรรม


การเกิดขึ้นของปรากฏการณ์ แต่มนุษย์ทำหน้าที่

อันลึกล้ำ ซ่อนเร้นภายในตัวของมันเอง (Harman


เป็นเพียงภาคแสดงย่อย (เป็นผู้เทน้ำลงในขวดน้ำ)
2005) กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ อภิปรัชญากำลังเล่น
ท่ามกลางความสัมพันธ์ในภาพรวมทั้งหมด (ขวดน้ำ


158 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
Chyatat Supachalasai

สงครามกองโจรกับมนุษย์ และมนุษย์ยากที่จะชนะ ตัวแฮร์รี่ที่เป็นภาพวาด ตัวแฮร์รี่ที่เป็นวีดิโอเกม ตัว


ในสงครามนี้ แฮร์รี่ที่เป็นบอร์ดเกม ตัวแฮร์รี่ที่เป็นเลโก้ (ของเล่น)
ฯลฯ เหล่านี้ฮาแมนมองว่าตัวละครแฮร์รี่ตัวเดียว
ส่วนบุคคลทีฮ่ าแมนอ้างถึงเพือ่ นำมาสนับสนุน

กำลั ง แพร่ ข ยายตั ว มั น เองออกเป็ น สถานการณ์ ท ี ่


ความคิดของตนเองเป็นหลักก็คือนักปรัชญาและนัก
หลากหลาย ดังนั้นแฮร์รี่ที่เกิดในกาลและสถานที่

คณิตศาสตร์นามว่า อัลเฟรด นอร์ธ ไวท์เฮด (Alfred


ต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็น จินตนาการของผูเ้ ขียน ภาพยนตร์

North Whitehead) ฮาแมนอ้างถึงไวท์เฮดผ่านแนวคิด


ภาพวาด วีดิโอเกม บอร์ดเกม และเลโก้ เหล่านี้
เรื่อง การคาบเกี่ยวกันของสิ่งต่าง ๆ ที่นำไปสู่การ
ถือว่าเป็นปรากฏการณ์ สถานการณ์ และเหตุการณ์
สร้างภาวะต่าง ๆ ขึ้นมาโดยที่สิ่งนั้นยังคงเป็นสิ่งนั้น
ที่วางอยู่บนความเท่าเทียมกันของตัวแฮร์รี่ตัวเดียวที่
เหมือนเดิม ไม่ได้เปลี่ยนแปลงตัวตนของมัน สิ่งใดสิ่ง
ปรากฏอยู่ในวิธีคิดแบบของไวท์เฮดที่ฮาแมนนำเสนอ
หนึ่งในตัวมันนั้นสามารถก่อให้เกิดสถานการณ์ที่
มาทั้งสิ้น
หลากหลายขึ้นมาได้ยามที่มันสัมพันธ์กับสิ่งอื่น ๆ
และทุกความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นภายในตัวสิ่งนั้นย่อม ระหว่างการอภิปราย มีประเด็นที่น่าสนใจ
ถือว่าเท่าเทียมกันทางภาวะวิทยา (Harman 2002) คือฮาแมนดูจะจุดประกายให้เรามองโลกสมัยใหม่
หลักปรัชญาที่ว่ามานี้เรียกว่า “ภาวะแห่งการคาบ ออกเป็นสามรูปแบบ รูปแบบแรกคือ Arch-Modernism

เกี่ยวสิ่งต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน” (Prehension) อันหมาย หรือที่รู้จักกันในนาม Pre-Modernism คือโลกสมัย


ถึงการละเล่นภายในจักรวาลแห่งความสัมพันธ์ของ ใหม่ยุคแรก ๆ อันเป็นช่วงที่มนุษย์เพิ่งแยกตัวออก
สิ่งหนึ่งที่เมื่อตัวมันนั้นถูกคาบเกี่ยวหรือพาดเข้ากับอีก
จากความเชื่อไร้เหตุผล มนุษย์ผู้อนุวัตรตัวเองเข้าสู่
สิ่งหนึ่ง ก็จะผันตัวไปเรื่อย ๆ ซึ่งการผันตัวไปเรื่อย ๆ ยุคเจริญทางภูมิปัญญาพยายามสร้างคำอธิบายเชิง
นั้น ก็ยังถือว่าเป็นภววิทยาเกี่ยวกับสิ่ง ๆ นั้นตัวเดียว
วิทยาศาสตร์ จนคำอธิบายเชิงวิทยาศาสตร์กลายมา
กันหมด ไม่ได้มีสถานการณ์หนึ่งเหนือกว่าหรือโดด เป็นอรรถาธิบายหลักต่อสรรพสิ่งต่าง ๆ บนโลก เช่น
เด่นกว่าอีกสถานการณ์หนึ่ง เช่น สถานการณ์ของ กฎแรงโน้มถ่วง การกำเนิดจักรวาล การกำเนิดโลก
โต๊ะตัวหนึ่งที่มีรอยขีด กับโต๊ะตัวเดียวกันที่มีฝุ่นจับ ทฤษฎีบิกแบง ฯลฯ สิ่งเหล่านี้แสดงพลังของการให้
กับ โต๊ะตัว เดี ยวกั นที่ ถูกเช็ดจนสะอาด กับ โต๊ะตั ว คำอธิบายต่อปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของมนุษย์ด้วยตัว
เดียวกันที่สีเริ่มลอก ฯลฯ ทั้งหมดนี้คือสิ่งที่เรียกว่า มนุษย์เอง และภาษามีบทบาทสำคัญอย่างมาก ใน
เป็นภาวะวิทยาแห่งการคาบเกี่ยวระหว่างสิ่งต่าง ๆ โลกสมัยใหม่ยุคต้นเช่นนี้ มนุษย์จำต้องพึ่งพาภาษา
ของโต๊ะตัวเดียวกันที่สถานการณ์ของตัวโต๊ะผันแปร เพื่อสร้างคำอธิบายต่อสรรพสิ่งต่าง ๆ และถ่ายทอด
ไปเรื่อย ๆ ยามที่มันสัมพันธ์กับสิ่งอื่น ๆ (Harman ความรู้นั้นให้แก่กันและกัน (The Žižek Times 2017)
2010) หรืออีกตัวอย่างก็เช่น ตัวละครแฮร์ร่ี พอตเตอร์
ส่ ว นรู ป แบบที ่ ส องคื อ Para-Modernism อั น เป็ น

เพียงแค่ตัวเดียวนั้น ทุกวันนี้ตัวละครตัวเดียวนี้สร้าง โลกสมัยช่วงกลางหรือที่รู้จักกันในนามของ Post-


เหตุการณ์ สถานการณ์ และปรากฏการณ์ที่หลาก Modernism อั น เป็ น ยุ ค สมั ย ที ่ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความไม่
หลายมากเกี่ยวกับตัวแฮร์รี่เอง เริ่มตั้งแต่ตัวละคร
สมบูรณ์แบบของอรรถาธิบายหลักและข้อจำกัดของ
แฮร์รี่ที่อยู่ในจินตนาการจริงของผู้ประพันธ์คือ เจ. เค. ภาษายุ ค นี ้ เ ป็ น ยุ ค ที ่ พ ยายามเปิ ด บทสนทนาเชิ ง

โรว์ลิ่ง (J.K. Rowling) ตัวแฮร์รี่ที่อยู่ในภาพยนตร์ซีรีส์ วิพากษ์กับอรรถาธิบายหลัก พร้อมกันนั้นก็เชื่อใน

ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 159



Slavoj Žižek vs Graham Harman: Debate in Contemporary Philosophy

คุ ณ ค่ า ของความแตกต่ า งหลากหลาย อั น ควรถู ก ที่ขยายตัวจากภายในตัวของมันเอง หลุมดำขยายตัว


ยกไว้ว่าเป็นคุณค่าและศักดิ์ศรีแห่งการมีชีวิตอยู่ของ ได้จากภายในตัวของมันเอง รวมถึงหลุมดำสร้างหลุม
มนุษย์ วิธีคิดแบบ Postmodernism เช่นนี้ เปิดช่อง ดำย่อย ๆ ขึ้นมาในห้วงแห่งเวลาที่เกิดมาก่อนกาล
ทางให้กับพวกเสรีนิยม และเป็นที่มาของการผลิต ธำรงอยู่ของเรา และปรากฏการณ์ดังกล่าวอาจเกิด
คิ ด ค้ น แนวคิ ด ทางสั ง คมศาสตร์ ส ำคั ญ ๆ รวมถึ ง ขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปบนฐานของอสงไขยเวลา ที่
อุดมการณ์การเมือง เช่น แนวคิดสตรีนิยม ความ ผัสสะของมนุษย์ยากที่จะย่างกรายหยั่งถึง สิ่งเหล่านี้
หลากหลายของแนวคิดประชาธิปไตย การท้าทาย มนุ ษ ย์ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ผู ้ ก ำหนดได้ เ องเลย ได้ ก ็ แ ต่ เ ป็ น

อำนาจเผด็จการ เสรีนิยม การเมืองพหุวัฒนธรรม ผู้สังเกตการณ์และรับรู้อย่างห่าง ๆ เท่านั้น แนวคิด


ฯลฯ เงื่อนไขสำคัญของการเกิดขึ้นของความหลาก Multi-verse นอกจากจะท้าทายทฤษฎีบิกแบงแล้ว

หลายทางความรู้และอุดมการณ์ทางการเมืองเหล่านี้ นั้น ยังท้าทายการเป็นตัวแสดงสำคัญของมนุษย์ ใน


ย่อมต้องอาศัยการวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์เป็นกุญแจ ฐานะศูนย์กลางขององค์ความรู้และการรับรู้ต่าง ๆ
สำคัญทั้งสิ้น (The Žižek Times 2017) ด้วย
อย่างไรก็ตาม กิจกรรมดังกล่าวในยุค Post- นอกจากไวท์เฮดแล้ว นักคิดหรือนักปรัชญา
modernism กลับยิ่งส่งเสริมความเป็นศูนย์กลางแห่ง ผู้มีอิทธิพลต่อฮาแมนคือ บรูโน ลาตู (Bruno Latour)
การผลิตองค์ความรู้และยิ่งเป็นการเสริมสร้างอัตตา และมานูเอล ดีแลนดา (Manuel DeLanda) โดยเริ่ม
แก่ตัวมนุษย์ ด้วยเหตุนี้สมัยใหม่ในแบบที่สาม จึงถือ ต้นจากลาตู ผู้เชื่อว่าปรากฏการณ์เกิดจากเครือข่าย
กำเนิดเกิดขึ้น รูปแบบที่สามคือ Neo-Modernism
ของสิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์ ที่ทำหน้าที่เป็นภาคแสดงที่
อันเป็นโลกสมัยใหม่ในปัจจุบัน หรือที่รู้จักกันในนาม กระทำการต่อกันและกัน (Actant) โดยความหมาย
ของ Post-Humanism อันเป็นยุคที่ไม่เน้นมนุษย์เป็น แล้ว Actants หมายถึงองค์ประกอบของสิ่งหนึ่ง ๆ ที่
ศูนย์กลางหรือเป็นแกนกลางในตัวองค์ความรู้ (The
โน้มตัวเข้าไปหาสิง่ อืน่ โดยกระทำการให้สง่ิ อืน่ ขึน้ ตรง

Žižek Times 2017) ในยุคนี้ มนุษย์ควรคำนึงว่า ต่อเจตนารมณ์ของมันเองซึ่งการกระทำการระหว่าง


ตนเองไม่ ใ ช่ ค นควบคุ ม ปรากฏการณ์ ต ่ า ง ๆ เหตุ กันของสิ่งต่าง ๆ นี้เองที่เป็นบ่อเกิดของปรากฏการณ์
เพราะสิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์ทำหน้าที่เป็นตัวแสดงหลัก ต่าง ๆ (Callonand Latour 1981) ส่วนดีแลนดาเชื่อว่า
สำคัญในการขับเคลื่อนปรากฏการณ์ เช่น การเกิด ภววิทยาของสรรพสิง่ ต่าง ๆ ควรถูกมองว่าเป็นภววิทยา

ขึ้นของภัยธรรมชาติ (สึนามิ อุทกภัย) ซึ่งจะเห็นว่า แบบแบนราบ (Flat ontology) นั่นคือ สรรพสิ่งต่าง ๆ


ภัยธรรมชาติไม่ได้เกิดจากมนุษย์เป็นผู้กำหนด ภัย ไม่ควรถูกมองว่ามีลำดับขัน้ หรือมีสง่ิ หนึง่ สิง่ ใดโดดเด่น

ธรรมชาติเกิดจากสิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์เป็นตัวแสดง กว่าสิ่งอื่น ๆ (DeLanda 2013) นักคิดทั้งสองท่าน


สำคัญ บางครั้งสิ่งเหล่านี้มีขุมพลังซ่อนเร้นที่เหนือ ประดิษฐ์แนวคิดที่ส่งผลต่อการมองโลกอันน่าตื่นเต้น
กว่ามนุษย์เสียอีก ตัวอย่างอืน่ ๆ ก็เช่น การเกิดขึน้ ของ
ฮาแมนเชื่อว่าปรัชญาควรเป็นความสนุกสนานและ
เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรียที่แพร่พันธุ์และก่อตัวมากับ สีสันมากกว่าความตึงเครียด และแล้วความบันเทิง
อากาศและทำอันตรายต่อมนุษย์ นอกจากนี้ ก็เช่น ตลอดจนความเพลิดเพลินต่อโลกแห่งปรัชญา ก็เริม่ ต้น

การเกิดขึ้นของจักรวาลด้วยแนวคิด Multi-verse ที่มี ทีค่ วามคิดของลาตู ทีว่ า่ สิง่ มีชวี ติ ไม่ใช่มนุษย์ทง้ั หลาย

สมมติฐานว่าจักรวาลคือห้วงแห่งเวลาและสถานที
่ เป็นภาคปฏิบัติการณ์ต่อกันและกัน หรืออีกนัยหนึ่ง


160 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
Chyatat Supachalasai

ก็คือตัวมันนั้นกำลังกระทำการซึ่งกันและกัน ต่อกัน realism) หรืออีกนัยหนึ่งก็คือปรัชญาสกุลอนุมาน


ไปด้วยความคิดของดีแลนดา ที่ว่าสรรพสิ่งทุกอย่าง สัจนิยม (Speculative Realism) ที่ฮาแมนเป็นหนึ่งใน
เป็นความสัมพันธ์แบบแบนราบ นั่นคือ ไม่มีสิ่งใด สมาชิกผู้ก่อตั้งร่วมกับ เกวียนติน เมลาซูสซ์ (Quentin
ธำรงเหนือกว่าสิ่งใด เมื่อนำนักคิดทั้งสองท่านมา Meillassoux) เรย์ แบรซซิเออร์ (Ray Brassier) และ
หลอมรวมกัน ก็กลายเป็นตรรกะปรัชญาของฮาแมน เอียน แฮมินตัน แกรนท์ (Ian Hamilton Grant) ณ
ที่เชื่อว่าการจำแนกประเภทของสิ่งทั้งหลาย (Taxo- Goldsmith College University of London เมื่อปี 2007
nomy) ออกเป็น ความคิดอ่านกับโลก (Thought and โดยสัจนิยมใหม่นี้วางอยู่บนสมมติฐานของภาคแสดง
world) มนุษย์กับธรรมชาติ (Human and nature)
ของสิ่งไม่มีชีวิตที่สัมพันธ์กันและกันบนภววิทยาแบบ
สิ่งที่จับต้องได้ กับสิ่งที่จับต้องไม่ได้ (Material and แบนราบตามแนวทางของลาตูและดีแลนดาตามลำดับ

immaterial) ฯลฯ เหล่านี้เป็นตัวสกัดกั้นมุมมองทาง จะเห็นว่า ตัวอย่างเกี่ยวกับแฮร์รี่ พอตเตอร์ ที่อธิบาย


ปรัชญาที่สมจริงกว่านั้น เหตุเพราะปรัชญาไม่ควรจับ ไปข้างต้นแล้วว่าไม่ว่าจะเป็นจินตนาการของผู้เขียน
สิ่งเหล่านี้แยกออกจากกัน ถ้าหากเราแยกความคิด ภาพยนตร์ ภาพวาด วีดิโอเกม บอร์ดเกม และเลโก้
อ่านของเราเองออกจากโลก ถ้าอย่างนั้นความคิด เหล่านี้สะท้อนถึงการกระทำการณ์ของสิ่งไม่มีชีวิตที่
ของเราก็เป็นเพียงความเพ้อฝันเท่านั้นเอง ถ้าหากเรา วางอยู่บนระนาบแห่งภววิทยาเดียวกันทั้งสิ้น หาก
แยกมนุษย์กับธรรมชาติ ก็เท่ากับว่าเรามองไม่ออกว่า กล่ า วตามความคิ ด ของฮาแมน ก็ อ าจกล่ า วได้ ว ่ า
ธรรมชาติเข้ามาสัมพันธ์กับการรับรู้ของเราอย่างไร แฮร์รี่ในจินตนาการของผู้เขียนคือ เจ. เค. โรว์ลิ่งไม่ได้

เราจะมองไม่ออกว่าธรรมชาติที่ปฏิสัมพันธ์ของมัน โดดเด่ น หรื อ มี ศ ั ก ดิ ์ ศ รี เ หนื อ กว่ า ตั ว แฮร์ ร ี ่ ท ี ่ เ ป็ น ตั ว


เกิดขึ้นภายในตัวมันเองนั้นกลายเป็นทั้งภาวะและ ภาพยนตร์ หรือแม้แต่ตัวแฮร์รี่ในวีดิโอเกมก็ไม่ได้มี
กลายมาเป็นความรู้และความไม่รู้ของมนุษย์อย่างไร ศักดิ์ศรีเหนือกว่าตัวแฮร์รี่ที่เป็นตัวบอร์ดเกมและตัว

ถ้าหากเราแยกสิ่งที่จับต้องได้ออกจากสิ่งที่จับต้อง
เลโก้ เหตุเพราะแฮร์รี่ในทุกกาล ทุกสถานที่และทุก
ไม่ได้ ก็เท่ากับว่า เรามีอคติยอมรับแต่ว่าสิ่งที่จับต้อง ประเภทของแฮร์รี่ย่อมถือเป็นภววิทยาที่เท่าเทียมกัน
ได้เท่านั้นที่มีตัวตนธำรงอยู่ เท่ากับว่าเราปฏิเสธว่า
หรือมีศักดิ์ศรีเท่าเทียมกันเกี่ยวกับตัวแฮร์รี่ พอตเตอร์
สิ่งที่จับต้องไม่ได้จริง ๆ แล้วก็เป็นสิ่งที่มีตัวตนเช่นกัน เหมือนกันทั้งหมดโดยไม่จำเป็นต้องจับมันแยกออก
การจำแนกแยกแยะประเภทเช่ น นี ้ เ องที ่ ก ลายเป็ น จากกันหรือให้คุณค่ากาลใดกาลหนึ่งและสถานที่ใด
ความเสี่ยงต่อความเข้าใจสัจธรรมของโลกโดยภาพ สถานที่หนึ่งมากกว่ากัน
รวมและเสี่ยงต่อการเข้าใจความสมจริงของสรรพสิ่ง
โดยสรุป จะเห็นว่าทั้งชิเชคและฮาแมนมี
และเสี่ยงต่อการเข้าใจสิ่งที่เป็นอยู่/ตั้งอยู่ของสรรพสิ่ง
สมมติฐานทางปรัชญาทีท่ ง้ั เหมือนกันบ้าง แต่แตกต่าง

บนโลก
กันค่อนข้างมาก นักคิดทั้งสองท่านเชื่อเหมือนกัน

ดังนัน้ การตัง้ แนวทางการรับรูแ้ ละการเข้าใจ


ว่าภาวะความเป็นจริงเป็นสิ่งที่เข้าไม่ถึง โดยสำหรับ

สรรพสิง่ ต่าง ๆ เสียใหม่ดว้ ยสมมติฐานใหม่ โดยสลาย


ชิเชคมนุษย์มีช่องโหว่ในการรับรู้ภาวะความเป็นจริง
ล้างการจำแนะแยกแยะประเภทของสรรพสิ่ง จึงเป็น กระนั้น มนุษย์จะเริ่มตระหนักว่าสิ่งที่ตนเองรับรู้นั้น
ที่มาของสำนักสัจนิยมแขนงใหม่ในปรัชญาร่วมสมัย เป็นความไม่สมบูรณ์แบบมาโดยตลอดหรือมีอะไร
ปัจจุบัน ที่รู้จักกันในนามของ สัจนิยมใหม่ (New บางอย่ า งที ่ ถู ก กดทั บ ภายใต้ ก ารรั บ รู ้ ข องตนเอง

ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 161



Slavoj Žižek vs Graham Harman: Debate in Contemporary Philosophy

เพราะการเผยโฉมหรื อ ปะทุ ข ึ ้ น ของความจริ ง ที ่ อ ยู


่ จุ ด ร่ ว มในการปฏิ เ สธแนวคิ ด เรื่ อ ง
นอกเหนือการรับรู้ของมนุษย์ ซึ่งส่งผลให้มนุษย์ต้อง
ทบทวนการเข้าใจภาวะความเป็นจริงของตนเองเสีย
‘Assemblage’ ของเจน เบนเน็ ท
ใหม่ เพราะการปะทุขึ้นของความจริงตัวดังกล่าวนั้น (Jane Bennett) สู่ ค วามแตกต่ า ง

เองที่เร่งเร้าให้มนุษย์ต้องทบทวนการรับรู้ของตนเอง เรื่ อ งรู ป ธรรมนิ ย ม (Materialism)


ใหม่อีกครั้ง ส่วนฮาแมนนั้นคิดคล้ายคลึงกัน ก็ตรงที่
และสัจนิยม (Realism)
มนุษย์ย่อมเข้าไม่ถึงภาวะความเป็นจริงทั้งหมด แต่
เหตุผลของฮาแมนต่างออกไป อีกทั้งไม่ได้เป็นเหตุผล ในช่วงประมาณกลาง ๆ ของการอภิปราย
ทางจิ ต วิ เ คราะห์ ข องลาก็ อ งเหมื อ นกั บ ของชิ เ ชค
ระหว่างชิเชคและฮาแมน ผู้ดำเนินรายการถามนักคิด
ฮาแมนเชื่อว่าการที่มนุษย์เข้าไม่ถึงภาวะความเป็น ทั้งสองท่านถึงนักรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยจอห์น
จริง เป็นผลโดยตรงจากสิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์ ที่เข้า ฮอปกินส์ นามว่า เจน เบนเน็ท (The Žižek Times
ปฏิสัมพันธ์กันอย่างหลากหลาย มหาศาล จนไม่ 2017) ผู ้ เ ป็ น เจ้ า ของแนวคิ ด ‘การหลอมรวมของ

สามารถลดทอนออกมาเป็ น รู ป แบบที ่ ต ายตั ว ได้


สรรพสิ่ง ณ จุดเดียว’ (Assemblage) เบนเน็ทกล่าว
เหล่านี้คือสิ่งที่มนุษย์ไม่สามารถเข้าถึงมันได้ทั้งหมด ถึ ง ความคิ ด เรื ่ อ ง Assemblage ไว้ ใ นหนั ง สื อ เรื ่ อ ง
เปรี ย บเหมื อ น เรามองเห็ น ได้ แ ต่ ภ าพทิ ว ทั ศ น์ อ ั น Vibrant Matter: A Political Ecology of Things (2010)
สวยงามของทุ่งหญ้าสะวันนา แต่เราไม่อาจมองเห็น ว่าเป็นการขบคิดถึงภาคแสดงที่เหนือกว่าแค่การขับ
อย่างทะลุปรุโปร่งถึงความสัมพันธ์ทั้งหมดของสิ่งมี เคลื่อนด้วยร่างกายของมนุษย์ สู่ขุมพลังของรูปธรรม
ชี ว ิ ต ไม่ ใ ช่ ม นุ ษ ย์ ภ ายในทุ ่ ง หญ้ า สะวั น นา ตั ้ ง แต่ ของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ อันเกี่ยวเนื่องกับการหล่อหลอม
อากาศ ทราย ดิน น้ำ อุณหภูมิ แมลง ฯลฯ ด้วยเหตุ มนุษย์และสิ่งไม่ใช่มนุษย์เข้าไว้ด้วยกัน (Bennett
นี้ นักคิดทั้งสองท่านจึงมีทั้งความเหมือนกันและ 2010) เบนเน็ทมองว่าภาวะต่าง ๆ ธำรงอยู่ได้ด้วย
ความแตกต่างกันในฐานคิดปรัชญา ชิเชคเน้นที่ข้อ อาศัยพลังและประสิทธิภาพของความร่วมมือกันของ
จำกัดในเรื่องการรับรู้ของมนุษย์ต่อภาวะความเป็น สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่ไม่ใช่มนุษย์ การสมาทานตัวเข้า
จริง ชิเชคเน้นที่ช่องว่างระหว่างการรับรู้กับการเผย เป็ น พวกเดี ย วกั น ระหว่ า งกั น และกั น ของสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต
ตัวของความจริงที่ถูกการรับรู้ของมนุษย์กดทับไว้ เหล่านั้น เป็นเงื่อนไขสำคัญของภาวะแห่งการธำรง
ส่วนฮาแมนเน้นที่กิจกรรมของสิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์
อยู่หรือแม้แต่การเข้าแทรกแซงจากสิ่งอื่น ๆ ที่เข้ามา

ที่ทั้งเข้มข้น หลากหลาย ดาษดื่น ที่เป็นตัวฟ้องถึง


สร้างผลกระทบต่อความสัมพันธ์ที่ตั้งอยู่เดิม จนส่ง
ข้ อ จำกั ด การรั บ รู ้ ภ าวะความเป็ น จริ ง ของมนุ ษ ย์ ผลให้ความสัมพันธ์ที่เคยตั้งอยู่เดิมนั้นเปลี่ยนหรือ
ความคิดลักษณะนี้เป็นที่มาสำคัญของปรัชญาสกุล เคลื่อนจากสภาพหนึ่งไปเป็นอีกสภาพหนึ่ง ก็ถือว่า
อนุมานสัจนิยมดังที่ผู้เขียนจะได้อภิปรายถัดไปใน สะท้อนถึงขุมกำลังแห่งการธำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตทั้ง
ส่วนที่สองของบทความ สิ้น (Bennett 2010) ดังเช่นที่เบนเน็ทยกตัวอย่างถึง

ไฟดับในอเมริกาเมื่อปี 2003 ที่มีผลกระทบต่อชาว


อเมริ ก ั น เป็ น จำนวนมาก ไฟดั บ เป็ น เหตุ ก ารณ์ ท ี ่


162 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
Chyatat Supachalasai

สะท้อนถึงรูปธรรมของสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ ที่ขุม ต่างกับของเบนเน็ท ซึ่งในส่วนที่สองนี้ของบทความ


พลังของมันนั้นเข้าแทรกแซงความสัมพันธ์ที่ตั้งอยู่ ผู้เขียนจะอภิปรายถึงประเด็นเรื่องรูปธรรมนิยม อุตร
อย่างเสถียรระหว่างไฟฟ้ากับอาคารและตึกต่าง ๆ ภาวะ และสัจนิยม โดยผู้เขียนจะอภิปรายความคิด
(Bennett 2010) โดยสรุป เบนเน็ทมอง Assemblage ของชิเชคก่อนที่จะอภิปรายความคิดของฮาแมนเป็น
ว่าเป็นการรวมกลุ่มกันขององค์ประกอบที่หลากหลาย
ลำดับถัดไป
นั่นคือ เป็นการหลอมเข้าด้วยกันของสรรพสิ่งที่แฝง
แนวคิดรูปธรรมนิยมของชิเชคไม่ได้เหมือน
ด้วยแรงสัน่ สะเทือนทุกประเภท ประหนึง่ เป็นสมาพันธ์

กับเบนเน็ทเลย ชิเชคไม่ได้มองถึงขุมพลังของสิง่ ต่าง ๆ

ของสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ที่เข้ามาสร้างแรงกระเพื่อม
ที่หลอมรวมตัวเข้าด้วยกันเป็นรากฐานของการอุบัติ
ร่วมกัน ท่ามกลางความเป็นไปได้ว่าแรงกระเพื่อม
ขึ้นเป็นภาวะต่าง ๆ ยิ่งเขาไม่ได้มองถึงศักยภาพของ
เหล่านัน้ อาจประสบพบกับขุมพลังบางอย่างทีส่ ามารถ

การเป็นภาคแสดงของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่กระจายตัว

สร้างผลกระทบในกับมุมกลับแก่ความสัมพันธ์ของสิ่ง
ไปยังสิ่งไม่ใช่มนุษย์ หากแต่รูปธรรมนิยมของชิเชค

มีชีวิตเหล่านั้นที่เคยตั้งอยู่เป็นทุนเดิมหรือกล่าวอีกนัย
หมายถึงปัญหาอันเกิดจากการโครงสร้างสังคมของ
หนึ่งก็คือ Assemblage สะท้อนถึงคุณสมบัติของสิ่ง
การต่อสู้ด้วยความคิดเชิงปรัชญาของคนจำนวนมาก
ต่ า ง ๆ ที ่ ส ร้ า งการกระทบกระเทื อ นแก่ ก ั น และกั น
ที่ไม่อาจระบุได้ว่าจุดยืนของใครหรือความคิดเห็น
(Affect) โดยไม่เชือ่ ว่าสิง่ ใดสิง่ หนึง่ แยกตัวอย่างเด็ดขาด

ส่วนตัวของใครเป็นความจริง สิ่งที่กำลังเกิดขึ้นในทุก
ออกจากสิ่งอีกสิ่งหนึ่ง (Bennett 2010) ฉะนั้น ภายใน
วันนี้คือคนจำนวนมากกำลังต่อสู้เพื่อปกป้องตัวตน
ความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ ๆ หนึง่ กับอีกสิง่ หนึง่ ถ้าหาก

ความคิด และความเป็นตัวของตัวเอง โครงสร้าง


แต่เดิมแล้วเคยเป็นพื้นที่ ๆ แสดงถึงการอุบัติของ
สังคมแบบเสรีเอื้ออำนวยไม่น้อยเลยต่อการต่อสู้กับ

ความสัมพันธ์ชุดหนึ่งได้ ตัวมันก็สามารถสลายพื้นที่
ผูอ้ น่ื ทัง้ เพือ่ พัฒนาทัง้ เพือ่ เข้าใจจุดยืนของตัวเองมาก

แบ่งนั้นด้วยยอมหลอมเข้ากับอีกสิ่งหนึ่งที่เข้ามาสร้าง
ขึ้น ส่วนความย้อนแย้งที่ปรากฏในเรื่องนี้ก็คือจุดยืน
ความแตกต่าง เพื่อสร้างเส้นแบ่งที่ขยายออกไปกว่า
ที่แต่ละคนยึดถืออยู่ท่ามกลางการต่อสู้ทางความคิด
เดิม (Bennett 2010) จากตรงนี้ ฮาแมนสรุปความคิด
เพื ่ อ จุ ด ยื น ของตนเองอย่ า งเสรี เป็ น การขบคิ ด ใน
ของเบนเน็ทในระหว่างการอภิปรายได้อย่างกระชับ
ลักษณะที่ไม่ได้คำนึงมากพอว่ายังคงมีองค์ประกอบ
ว่า เป็นแนวคิดที่เชื่อว่า สรรพสิ่งต่าง ๆ ถูกหลอมขึ้น
ทางความคิดบางอย่างที่หลุดลอยหรือไม่ได้เป็นส่วน
ด้วยองค์ประกอบหลากหลายที่เป็นอิสระออกจากกัน
หนึ่งกับข้อต่อทางความคิดของพวกเขาเองดังที่ชิเชค
อันองค์ประกอบเหล่านั้นมีผลต่อการสร้างสรรพสิ่งใด
เสนอเป็นนัยในหนังสือเรื่อง Disparities (2016) ว่าถ้า
สรรพสิ่งหนึ่งขึ้นมาให้มีความเป็นรูปเป็นร่าง (The

หากปรัชญาคือการต่อสู้ทางความคิดระหว่างชนชั้น
Žižek Times 2017) อย่างไรก็ตาม ฮาแมนและชิเชค
ต่ า ง ๆ ก็ ย ่ อ มไม่ ม ี ค วามคิ ด ของกลุ ่ ม ใดหรื อ คนใด

ไม่คิดเช่นเดียวกันกับเบนเน็ท ถ้าหากรูปธรรมนิยม
คนหนึ่งที่จะระบุว่าเป็นความจริงได้เลย (Žižek 2016)
หรือการเกิดขึ้นสรรพสิ่งบนโลกของเบนเน็ทเกิดจาก
ภายใต้โครงสร้างสังคมเช่นนี้เองที่สมานฉันท์เป็นสิ่งที่
การหลอมรวม ณ จุด ๆ เดียวขององค์ประกอบที่เป็น
เกิดขึ้นได้ยากและคลุกเคล้ากันไปนี้ ชิเชคก็หยิบยก
อิสระอันหลากหลายดังที่ฮาแมนสรุปความอย่างน่า
ประเด็นเรื่องอุตรภาวะขึ้นมา เพื่อคัดง้างกับความ
ฟัง รูปธรรมนิยมของชิเชคและฮาแมนจะมีความแตก
หมกมุ่นในโลกส่วนตัวและในประสบการณ์การคิด

ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 163



Slavoj Žižek vs Graham Harman: Debate in Contemporary Philosophy

แบบเสรีนิยมของปัจเจกชนทั้งหลาย โดยอ้างอิงหลัก วิพากษ์ศาสนาและประเด็นพหุนิยมทางวัฒนธรรม

ของชิเชคในเรื่องนี้คือแนวคิดเรื่อง ‘จินตนาการแห่ง
เป็นหลัก ทว่างานชิ้นนี้ก็ขยายภาพได้ชัดเจนขึ้นว่า
อุ ต ระภาวะ’ (Transcendental Imagination) ของ รู ป ธรรมนิ ย มในความคิ ด ของชิ เ ชคสื ่ อ ถึ ง ความไม่
อิมมานูเอล ค้านท์ (Immanuel Kant) ซึ่งชิเชคระบุไว้ แน่นอนและความไม่คงเส้นคงวาอันเกิดจากการให้
ในหนังสือเรือ่ ง The Ticklish Subject (2000) ว่าแนวโน้ม
เหตุผลของคนแต่ละคน กลุ่มแต่ละกลุ่ม ฝ่ายแต่ละ
การนำเอาประสบการณ์ส่วนตัวและความคิดส่วนตัว ฝ่าย พร้อมกับฟ้องในมุมกลับว่าวิธคี ดิ ของคนเหล่านัน้
ของปัจเจกบุคคลไปวางเป็นพื้นฐานเพื่อการขบคิด มีปมปัญหาเป็นส่วนประกอบอยู่ เหตุเพราะยังมีองค์
เกี่ยวกับอุตระภาวะของโลกโดยภาพรวมนั้นย่อมเป็น ประกอบทางความคิดบางอย่างที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่ง
ปัญหา เพราะการทำเช่นนั้นเป็นการสกัดกั้นการมอง ของข้อต่อทางความคิดของพวกเขา ทว่า องค์ประกอบ

เห็นถึงองค์ประกอบทางความคิดบางอย่างที่หลุด ที่ว่านั้นมีอยู่จริง เป็นภาวะจริง (The Real) ที่อยู่นอก


ลอยหรือพ้นออกไปจากสำนึกของปัจเจกชนเองและ เหนือการผนวกเข้ามายังความคิดของคน องค์ประกอบ

ที่สุดแล้วปัจเจกบุคคลก็จองจำอยู่ภายใน ‘ส่วนนิยม’ นัน้ สามารถกลับเข้ามารบกวนวิธคี ดิ ของพวกเขา และ

(Particularism) ทางความคิดของตนเอง สำหรับชิเชค องค์ประกอบนั้นเองก็คืออุตระภาวะ (Žižek 2001)

อุตระภาวะคือสิ่งที่แยกการเป็นสมาชิกภาพของมัน สังคมไม่ใช่ไม้บรรทัดที่จะขีดเส้นให้ทุกคนเดินความ
ออกไปจากข้อต่อทางความคิดอันคุ้นชินของปัจเจก เห็นไปในทางเดียวกันได้ เหตุผลของมนุษย์ที่ต่างฝ่าย
ชน ชิเชคมองอุตรภาวะว่าหมายถึง หน่อความคิด
ต่างผลิตออกมาแล้วมีน้ำหนักนี้เอง ที่เป็นตัวการของ
ที่หลุดไปจากข้อต่อความคิด (The element out of การที่สังคมไม่อาจมีจุดร่วมกันได้เลย สังคมทุกวันนี้

joint) อันวิธีคิดของชิเชคเกี่ยวกับอุตรภาวะในฐานะ จึงไม่ใช่ความขัดแย้งระหว่างคนมีเหตุผลกับคนไม่มี


องค์ประกอบที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งทางความคิดและ เหตุผลเท่านั้น แต่ยังเป็นความขัดแย้งกันของความ
อุดมการณ์ต่าง ๆ ของปัจเจกชน แต่สามารถแว้งกลับ แตกต่างของตรรกะเหตุผลอันหลากหลายของคนผู้มี
เข้ามารื้อถอนและทำลายความหมกมุ่นกับความคิด เหตุผล ซึ่งล้วนแล้วแต่น่ารับฟังทั้งสิ้น ความขัดแย้ง
บางประการของปัจเจกชนเองนี้จริง ๆ แล้วมีที่มาจาก จึงเกิดจากที่คนแต่ละคน กลุ่มแต่ละกลุ่ม ฝ่ายแต่ละ
ความคิดของเฮเกล (Hegel) ผู้มองว่าสิ่งที่หลุดลอย ฝ่าย มีความนิยมต่อเหตุผลเฉพาะทางที่ไม่เหมือนกัน
ออกไปจากความคิดของคน อันเป็นตัวฟ้องถึงความ และแต่ละฝ่ายต่างอ้างความถูกต้องทางการเมือง
ไม่สมบูรณ์แบบในความคิดของพวกเขานั้น ก็เปรียบ (Political correctness) ทั้งสิ้น เช่นนั้นแล้ว โจทย์ของ

เสมื อ นกั บ ‘ความมื ด มิ ด ของโลก’ (Night of the ชิเชคคือเราจะก้าวข้ามรูปธรรมนิยมหรือโครงสร้าง


World) อันสื่อความถึงความมืดมิดที่หลุดพ้นออกไป ทางสังคมที่ไร้ความสม่ำเสมอนี้อย่างไร ซึ่งคำตอบ
จากการจับกุมมันด้วยความคิดของคน เป็นความมืดมิด
ของชิเชคคือการแสวงหาจุดร่วมนั่นคือ เป็นการมอง
ที่ไม่ได้ธำรงร่วมกันกับการมองโลกของคน ไม่ได้ร่วม ปัญหาร่วมกันที่เกิดขึ้นพร้อมกันทั้งโลก มองเห็นถึง
กับอุดมการณ์การใช้ชีวิตของคน และความมืดมิด
สิ่งที่หลุดออกไปจากข้อต่อทางความคิดของทุกฝ่าย
ตัวนี้เองที่เป็นตำแหน่งของอุตรภาวะ (Žižek 2000) ไม่ใช่มองแบบที่เป็นอยู่ ซึ่งเป็นการติดกับดักการมอง
ณ จุดใดจุดหนึ่งหรือในอุดมการณ์ใดอุดมการณ์หนึ่ง
งานเขียนที่สำคัญอีกชิ้นหนึ่งของชิเชคคือ
ทีเ่ ป็นส่วนตัวมากจนเกินไป (The Žižek Times 2017)

On Belief (2001) แม้ ง านนี ้ จ ะเกี ่ ย วข้ อ งกั บ การ


164 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
Chyatat Supachalasai

สำหรับชิเชค การละวางฐานคิดและความนิยมต่อ ได้ว่า เหตุใดชิเชคจึงปรากฏตัวตามสื่อต่าง ๆ ใน


เหตุผลของตนเองที่แต่ละคนยึดถือ มามองปัญหา ปลายปี 2016 และตอกย้ำ ว่าการเลือกโดนัลด์ ทรัมป์

ร่วมกัน จะเป็นการก้าวข้ามข้อถกเถียงที่ต่างฝ่ายต่าง เป็นประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา เป็นเงื่อนไขจำเป็น


ยึดอยู่ซึ่งชิเชคระบุชัดว่าปัญหาร่วมของเราทุกวันนี้คือ สำหรับการเมืองของฝ่ายซ้าย เหตุเพราะการได้ทรัมป์
ทุนนิยมโลก ทุนนิยมเป็นต้นเหตุสำคัญของการปรับ เป็นประธานาธิบดี คือการเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายมอง
เปลีย่ นพันธุกรรม สิง่ แวดล้อม และการละเมิดลิขสิทธิ
์ เห็นการขยายตัวของทุนนิยมโลกร่วมกันทั้งหมดและ
ทางปัญญา ฯลฯ ดังนั้น การมองปัญหาแต่ละจุด เปิดโอกาสให้คนหลายคนเริ่มที่จะมองเห็นปัญหาชุด
โดยถกเถียงแค่ว่าเป็นประเด็นทางจริยธรรมที่ควร เดียวกันทั้งหมดในที่สุดนั่นเอง
ต้องสำนึก หรือยึดถือว่าการละเมิดจริยธรรมบางครั้ง
ฮาแมนก็พยายามแยกจุดยืนทางปรัชญาของ

เป็นความจำเป็นต่อความก้าวหน้าของสังคมนั้นย่อม
ตนเองออกจากจุดยืนของเบนเน็ท ในขณะที่เบนเน็ท
เป็นการอภิปรายที่ไม่เพียงพอ เพราะต้นตอของมัน
เน้นย้ำถึงการหลอมรวมของสรรพสิง่ เข้าไปทีจ่ ดุ ๆ เดียว

จริง ๆ คือทุนนิยมโลกที่เป็นบ่อเกิดของปัญหาเหล่านี้
ฮาแมนมองว่าสรรพสิ่งไม่ได้เกิดจากการหลอมรวม
เช่น ทุกวันนี้ การปรับเปลี่ยนพันธุกรรมก็มีคู่อภิปราย
ขององค์ประกอบอิสระที่ประกอบขึ้นเป็นจุดเดียว แต่
ที่ขัดแย้งกันเสมอ คือ แวดวงการแพทย์กับนักสิทธิ
เชื่อว่าสิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์เข้ามามีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกัน
มนุษยชน ส่วนสิ่งแวดล้อมก็มีคู่อภิปรายเป็นเจ้าของ
และกันในลักษณะที่เปิดกว้าง จนไม่สามารถลดทอน
โรงงานกับชาวบ้านผู้ได้รับผลกระทบจากมลภาวะ
ลงมาเป็ น รู ป แบบที ่ ต ายตั ว ได้ รู ป ธรรมนิ ย มของ

จากการปล่อยควันของโรงงาน ส่วนการละเมิดลิขสิทธิ

ฮาแมนจึงเข้าข่ายเป็นสิ่งที่ไม่สามารถลดทอนรูปลง
ทางปัญญา ก็จะเป็นขัว้ ตรงข้ามของสิง่ ทีผ่ ลิตโดยแรงงาน

ได้ (Irreducibility) ความน่าสนใจของสิ่งต่าง ๆ คือ


ผู้คิดค้นนวัตกรรม กับ นายทุนที่ขโมยเอานวัตกรรม
เป็นการเป็นภาคแสดงภายในตัวของมันเอง สิง่ ต่าง ๆ

นั้นไปใช้ แต่จะเห็นว่า ไม่มีใครเลยหรือฝ่ายใดเลย

ไม่ได้หลอมรวมที่จุด ๆ เดียวเหมือนที่เบนเน็ทเชื่อ
ที่เปิดประเด็นเรื่องทุนนิยมอย่างจริงจัง ดังนั้น สิ่งที่
(Harman 2016) ประเด็นนี้สะท้อนผ่านฐานคิดปรัชญา
จะต้องถูกอภิปรายจริง ๆ คือทุนนิยมโลก ไม่ใช่การ
ของฮาแมนเอง ที่เชื่อตามหลักการของ Prehension
อภิปรายทางจริยธรรมและความก้าวหน้าของสังคมที

แบบไวท์เฮด ว่าในภววิทยาของสิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์
ดูจะสร้างภาวะตีบตันให้กับการมองปัญหาในระดับ
เพียงสิ่งเดียวถึงเวลาจริงแล้วสามารถประดิษฐ์สร้าง
ภาพที่ใหญ่ไปกว่านั้นอย่างกระจ่างแจ้ง ดังนั้น การ
ความหลากหลายภายในตัวมันเอง เช่น ตัวละครแฮร์ร
่ี
ก้าวข้ามรูปธรรมนิยม ซึง่ ในทีน่ ้ี รูปธรรมนิยมหมายถึง

พอตเตอร์ ที่เป็นได้ทั้งจินตนาการของนักเขียน วีดิโอ


การมองประเด็นเกี่ยวกับสังคมที่แตกต่างกันออกไป

เกม บอร์ดเกม ตัวเลโก้ ฯลฯ ตามที่ยกตัวอย่างไป


จนขัดแย้งกัน เหตุเพราะคนแต่ละคน แต่ละกลุ่ม
ข้างต้น ทว่าเบนเน็ทไม่ได้มองถึงประเด็นนี้ แนวคิด
แต่ละฝ่าย คิดคำนึงประเด็นทางสังคมต่าง ๆ บน

เรื่อง Assemblage ของเขาไม่ได้บ่งบอกอย่างชัดเจน


พื้นฐานเหตุผลที่แตกต่างกันสู่การมองทุนนิยมโลกที่
ถึงความเป็นไปได้ที่สิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์เพียงตัวเดียว
เป็นปัญหาร่วมกัน จึงเป็นเงื่อนไขสำคัญของการก้าว
จะสร้างความหลากหลายขึ้นภายในตัวของมันเอง
ข้ามอุตระภาวะที่เป็นอยู่ การมองทุนนิยมเป็นปัญหา
นอกเหนือจากประเด็นนี้ รูปธรรมนิยมของฮาแมน
ร่วมของโลกเช่นนี้เอง ที่เป็นสาเหตุอธิบายแก่พวกเรา
เป็นคนละอย่างกับพวกหลังสมัยใหม่นิยม ที่เชื่อว่า

ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 165



Slavoj Žižek vs Graham Harman: Debate in Contemporary Philosophy

สิ่งต่าง ๆ เกิดขึ้น เพราะเป็นผลผลิตของสังคมหลัง วิทยา (Phenomenology) สำนักตีความ (Hermeneutics)

สมัยใหม่นิยมมีความเชื่อว่าความจริง สัจธรรม จารีต และหลั ง สมั ย ใหม่ (Postmodernism) มั ก เน้ น เอา


แบบแผน ขนบธรรมเนียม ฯลฯ คือสิ่งที่สังคมสร้าง มนุษย์เป็นศูนย์กลาง การตั้งมนุษย์เป็นศูนย์กลาง

ขึ้นเป็นกิจกรรมการอุปโลกน์ขึ้นระหว่างกันและกัน นำไปสู่การแสวงหาความรู้ โดยการแบ่งแยกออกเป็น


ของมนุษย์ เพื่อให้คนในสังคมยึดถือ อย่างไรก็ตาม องค์ประธาน (Subject) และวัตถุที่ถูกศึกษา (Object
วิธีคิดแบบหลังสมัยใหม่ยังคงเน้นมนุษย์เป็นแกน of study) โดยเน้นให้องค์ประธานเป็นมนุษย์ ส่วนสิ่ง
กลางค่อนข้างมาก หลังสมัยใหม่ไม่มีคำอธิบายถึง ต่าง ๆ เป็นภาคกรรมของการถูกศึกษาโดยมนุษย์ นั่น
ปฏิสมั พันธ์ระหว่างกันและกันของสิง่ มีชวี ติ ไม่ใช่มนุษย์

คือ การศึกษาปรัชญาที่ผ่านมามักนิยมการแบ่งแยก
ที่สมควรถูกนับว่ามีภาวะแห่งการธำรงอยู่อย่างเท่า ออกเป็น Subject-Object อย่างไรก็ตาม รูปธรรมนิยม
เทียมกันกับมนุษย์ตวั อย่างทีฮ่ าแมนนิยมอ้างในโอกาส
ของฮาแมนสร้างจินตนาการใหม่ อันเป็นการสร้าง
ต่าง ๆ ก็คือ ไฟไหม้สำลี (Harman 2010) ซึ่งนักคิด จิ น ตนาการเกี ่ ย วกั บ การเป็ น ภาคแสดงของวั ต ถุ ท ี ่

หลังสมัยใหม่ไม่มีคำอธิบายเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ของ ถูกศึกษา ฉะนั้น วัตถุที่ถูกศึกษา ไม่ใช่สิ่งที่รอคอย

วัตถุเหล่านี้เลย ทว่า ฮาแมนคิดในลักษณะที่ไม่ได้ยึด การศึกษาเกี่ยวกับมันของมนุษย์ แต่ตัวมันนั้นทำ


มนุษย์เป็นศูนย์กลางว่าปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ไฟ กับ หน้าที่เป็นตัวแสดงที่สัมพันธ์กันและกันจนนำไปสู่การ

สำลี ที่เกิดเป็นการเผาไหม้ขึ้นมาได้นั้น นับเป็นเรื่อง อุบัติขึ้นของสรรพสิ่ง อาทิเช่น กิจกรรมภายในตัวของ


อัศจรรย์ เป็นอย่างน้อยที่สุดก็เพราะปรากฏการณ์ ธรรมชาติเอง ที่นำไปสู่การเกิดขึ้นของสึนามิ แผ่นดิน
ไหว พายุไต้ฝุ่น ไฟไหม้สำลี ฯลฯ จะเห็นว่า วัตถุที่ถูก
เช่นนีเ้ กิดขึน้ นอกเหนือการควบคุมของมนุษย์ อุบตั กิ ารณ์
ของการเผาไหม้อันเกิดจากไฟไหม้สำลีจึงควรถูกนับ ศึกษาขณะนี้ไม่ใช่สิ่งที่อยู่เฉย ๆ ไม่มีชีวิต แต่ตัวมัน
ว่ า มี ภ าวะแห่ ง การธำรงอยู ่ ข องมั น ที ่ ม นุ ษ ย์ ไ ม่ ค วร
นั้นมีกิจกรรมและมีการขับเคลื่อนภายในตัวมันเองอีก
ดูแคลนถึงปฏิสัมพันธ์ภายในภววิทยาของธรรมชาติ ด้วย ด้วยเหตุฉะนี้ วิธีคิดของฮาแมนจึงแตกต่างกับ
ของโลก ที ่ ก ารธำรงตั ว เช่ น นั ้ น ของปวงสรรพสิ ่ ง
ปรัชญาสำนักอื่น ๆ ในขณะที่ปรัชญาสำนักอื่น นิยม
ไม่ใช่มนุษย์บ่งให้เห็นถึงการเปิดอภิปรายถึงแนวคิด แบ่งแยกออกเป็น Subject-Object วิธีคิดของฮาแมน
อภิ ป รั ช ญา (Metaphysics) แบบไร้ ซ ึ ่ ง มนุ ษ ย์ เ ป็ น
พยายามมองถึงการเป็น Subject ของตัว Object หรือ
ศูนย์กลาง ตัวอย่างอื่น ๆ ที่ฮาแมนยกมานอกเหนือ นั่นก็คือ การถือตนเองเป็นองค์ประธานเสียเองของ
จากไฟไหม้สำลี ก็เช่น การปะทะกันของวัตถุต่าง ๆ สิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์ ที่สร้างปรากฏการณ์ต่าง ๆ บน
เช่น การชนกันของดาวนพเคราะห์ อุกกาบาต รวม โลกขึ้นมา จินตนาการใหม่นี้นับว่าแตกตัวออกมา
ไปถึงการเกิดขึ้นของดาวตก พฤติกรรมของตั๊กแตน จากวิธีคิดเกี่ยวกับปรัชญาที่ผ่านมา ที่นิยมเข้าใจ

การแปรรูปกระดาษ อากาศอันเบาบางในดาวอังคาร ว่ามนุษย์เท่านั้นที่เป็นองค์ประธานในการศึกษาสิ่ง

ฯลฯ ต่าง ๆ ทว่าขณะนี้ความหมายของคำว่า Subject ถูก


เปลี่ยนแปลงไป จากที่ยึดติดกับมนุษย์ มาเป็นสิ่งมี
ประเด็นทีน่ า่ สนใจอีกประเด็นหนึง่ ของฮาแมน

ชีวิตไม่ใช่มนุษย์ที่เป็นองค์ประธานของการขยับขับ
ก็คือ จากประวัติศาสตร์การศึกษาปรัชญาที่ผ่านมา
เคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ
ไม่วา่ จะเป็นปรัชญาสายวิเคราะห์ (Analytic) ปรากฏการณ์


166 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
Chyatat Supachalasai

ด้ วยเหตุ นี้ สั จนิ ยมของฮาแมนจึ งเป็น สัจ


1) เป็นความตระหนักต่อภาวะแห่งข้อจำกัด
นิยมที่ตระหนักถึงข้อจำกัดของการเป็นศูนย์กลางใน ของมนุษย์ เป็นความถ่อมตัวถึงองค์ความรูเ้ กีย่ วกับสิง่

การกำหนดหรื อ บั ญ ญั ต ิ ก ารธำรงอยู ่ ข องสรรพสิ ่ ง


ต่าง ๆ ที่แคระแกร็นของมนุษย์จากภายในตัวมนุษย์
ต่าง ๆ ของมนุษย์ หากแต่เชื่อว่าสรรพสิ่งต่างหากที่ เอง ความตระหนักเช่นนี้เป็นความถ่อมตนของมนุษย์
กำหนดตัวมันเอง สรรพสิ่งสร้างกิจกรรมขับเคลื่อน ซึ่งเป็นคนละเรื่องกับการมองโลกในแง่ร้ายว่ามนุษย์
ภายในตั ว มั น เอง ชนิ ด อยู ่ น อกเหนื อ การรวบยอด เป็นผู้ไม่รู้อะไรเลย
ความคิดเกี่ยวกับมันโดยมนุษย์ มนุษย์จึงประสบกับ 2) เป็นความตระหนักว่ามนุษย์มคี วามเข้าใจ

สิ่งที่ฮาแมนเรียกตามเมลาสซูส์สหายของเขาเอง ว่า ใดบ้างต่อสรรพสิ่งต่าง ๆ ทั้งที่เป็นมนุษย์ด้วยกันและ


เป็น ‘ภาวะแห่งข้อจำกัด’ (Finitude) นั่นคือ มนุษย์
สิง่ มีชวี ติ ไม่ใช่มนุษย์ แต่ความเข้าใจนัน้ ย่อมเป็นความ

ไม่สามารถดูดซับเอาทุกสิ่งทุกอย่างที่อุบัติขึ้นภายใน เข้าใจที่ไม่สมบูรณ์แบบ สรรพสิ่งที่มนุษย์รับรู้ เห็น


โลกเข้ามาสู่การรับรู้และแปรสภาพเป็นองค์ความรู้ที่ และเข้าใจอยู่เบื้องหน้ามีศักยภาพที่จะเป็นได้มาก
ตายตัวเกีย่ วกับมันของมนุษย์เองได้ เพราะสิง่ เหล่านัน้
กว่าที่มนุษย์เห็นอยู่ในปัจจุบัน ด้วยขุมพลังภายในตัว
มีขอบเขตทีเ่ หนือกว่าภาวะแห่งข้อจำกัดของมนุษย์เอง
มัน ฉะนั้น สรรพสิ่งที่อยู่เบื้องหน้ามนุษย์จึงเป็นความ
(Meillassoux 2008) ฉะนั้น การจะเข้าใจสัจจะของ ขาด เช่น เสื้อโค้ทสีดำตัวหนึ่งที่แขวนอยู่ในตู้เสื้อผ้า
สรรพสิ่ง หรือความจริงเกี่ยวกับสรรพสิ่งตามแนวทาง เป็นภาวะที่เฉพาะเจาะจงเกินไปและไม่ครอบคลุมกับ
ที่ควรจะเป็นของสัจนิยม จึงไม่ใช่การวางสูตรสำเร็จ ความเป็นไปได้ในสถานการณ์อื่น ๆ ว่า เสื้อโค้ทสีดำ
เกี่ยวกับสรรพสิ่งนั้น ๆ ไม่ใช่การวางสูตรสำเร็จว่า
นั้นถูกเจ้าของเอาไปใส่ เดินไปตามสถานที่ต่าง ๆ
ในการเข้าใจสรรพสิ่งต่าง ๆ มนุษย์ต้องใช้ผัสสะอะไร และถอดในยามทีเ่ ขาต้องการ ซึง่ ภาวะดังกล่าวมีพสิ ยั

บ้าง เช่น การมอง การดมกลิ่น ความทรงจำ ฯลฯ กว้างกว่ามาก (Harman 2016)


แต่ถา้ หากมนุษย์คดิ แบบถ่อมตัวจริง ว่าสรรพสิง่ ต่าง ๆ
3) เป็นความตระหนักว่าปฏิสัมพันธ์ของสิ่ง
คือความไม่รขู้ องมนุษย์ มนุษย์ควรตระหนักว่าความรู้
มีชีวิตไม่ใช่มนุษย์ เช่น ภูเขาไฟ ลาวา ภัยพิบัติ
เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ของตนเองเป็นแค่การประมาณค่า ธรรมชาติ เป็นสิ่งที่นอกเหนือการควบคุมของมนุษย์
เป็นแค่การอนุมานว่าเข้าใจสรรพสิ่งนั้นบ้าง แต่ยัง
และเป็นภาวะแห่งการธำรงอยู่บนโลกที่เสมอภาคกับ
ไม่อาจเข้าใจได้ทั้งหมด กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ความรู้ มนุษย์
ของมนุษย์เกี่ยวกับสรรพสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นอยู่ทุกวันนี้ 4) เป็นความตระหนักว่ามนุษย์เขียนสูตร
เป็นเพียงแค่การประมาณค่า เป็นแค่ความพยายามที่ สำเร็จรูปเกี่ยวกับสรรพสิ่งดังที่ว่าไปนั้นไม่ได้ เพราะ
จะเข้าใกล้ นั่นคือ เป็นเพียงแค่การอนุมานความรู้ขึ้น การทำเช่นนั้นเป็นทั้งพฤติการณ์ทั้งพฤติกรรมของ
ท่ามกลางที่ความไม่รู้ยังปรากฏอย่างดาษดื่นรอบตัว กลุ่มที่ฮาแมนเรียกว่าเป็น ‘นักสัจนิยมไร้เดียงสา’
ด้วยเหตุน้ี ปรัชญาสกุล ‘อนุมานสัจนิยม’ หรือ Specu-
(Naive realist) ผู ้ เ ชื ่ อ ว่ า การเขี ย นสู ต รเพื ่ อ เข้ า ใจ
lative Realism จึงถือกำเนิดเกิดขึ้น อันเป็นสัจนิยม ธรรมชาตินั้นเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ นักสัจนิยมไร้เดียงสา
แนวใหม่ซึ่งจากความเข้าใจของผู้เขียน สัจนิยมแนว ที่ชัดเจนที่สุดในสายตาของฮาแมนคือนักปรัชญา

ใหม่ประกอบไปด้วยหลักการสำคัญ 6 ประการดังต่อ สายวิเคราะห์ นั่นคือ พวกปรัชญาสาย Analytics ที่


ไปนี้ นิยมเขียนสูตรเกี่ยวกับสรรพสิ่งในรูปสมการ เช่น

ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 167



Slavoj Žižek vs Graham Harman: Debate in Contemporary Philosophy

คณิตศาสตร์ เป็นต้น นักปรัชญาสายนีเ้ ป็นกลุม่ ปราชญ์


เป็นการอภิปรายที่เปล่าประโยชน์ (A debate for
ผู้มั่นใจความสามารถในการเข้าใจสรรพสิ่งของตนเอง nothing) เพราะเสรีภาพแห่งการถกเถียงที่ต่างฝ่าย
(Harman 2008) ต่างหยิบยกเหตุผลของตนเองขึ้นมา ไม่ได้นำพาไปสู่
5) เป็ น ความตระหนั ก ว่ า ความเป็ น องค์ การหลุดพ้นออกไปจากโลกทุนนิยมที่เป็นปัญหาที่
ประธานไม่ใช่เป็นเรื่องของมนุษย์เท่านั้น หากแต่สิ่ง
ใหญ่กว่าและซับซ้อนกว่านั้นได้ เสรีภาพในการถก
มีชีวิตไม่ใช่มนุษย์สามารถเป็นองค์ประธานหรือเป็น เถียงที่พวกเสรีนิยม เช่น สตรีนิยม ประชาธิปไตย
ภาคแสดงเพื่อการอุบัติขึ้นของปรากฏการณ์ต่าง ๆ นักวิชาการ พหุนิยมทางวัฒนธรรม หลังอาณานิคม
บนโลกได้ด้วย ศึกษา ฯลฯ นิยมชมชอบให้ยดึ ถือเป็นจารีตทางสังคม

6) เป็นความตระหนักว่าสิง่ มีชวี ติ ไม่ใช่มนุษย์


ซึ่งไม่นำพาการหลุดพ้นมาให้มนุษยชาติ จึงเปรียบ
กำลังสัมพันธ์กันบนพื้นฐานที่เท่าเทียมกัน มนุษย์
เสมือนรถไฟอีกขบวนที่วิ่งสวนทางมาอีกทางหนึ่งใน
ไม่ได้หายไปทั้งหมด เพียงแต่เป็นแค่ผู้สังเกตการณ์ ขณะที่มนุษย์กำลังออกจากอุโมงค์เพื่อพบแสงสว่าง
รวมถึ ง ไปภาคแสดงหนึ ่ ง ที ่ ช ่ ว ยการขั บ เคลื ่ อ นของ ทว่ า รถไฟนั ้ น กลั บ นำมนุ ษ ย์ เ ข้ า ไปอุ โ มงค์ ม ื ด มิ ด
สรรพสิ่งต่าง ๆ บนโลก ที่มีความหลากหลายและ เหมือนเดิม อุปมาอุปไมยเรื่องรถไฟสวนทางนี้เป็นสิ่ง
ดาษดื่นกว่ามนุษย์เอง ที่ชิเชคใช้เปิดตัวหนังสือเรื่อง The Courage of Hope-
lessness: Chronicles of a Year of Acting Dangerously

โดยสรุป จะเห็นว่า รูปธรรมนิยมในความคิด (2017) ซึ ่ ง ชิ เ ชคพยายามจะสื ่ อ ว่ า มนุ ษ ย์ ต ้ อ งกล้ า


ของชิเชคก็คืออุตระภาวะของสังคม อันความหมายนี้ ยอมรับการไร้ซึ่งความหวังว่าเสรีภาพของตนเองกลับ
ไม่ได้หมายถึงสิง่ มหัศจรรย์และสิง่ ทีเ่ หนือความคาดหมาย
ยิง่ ส่งผลให้ตนเองอยูใ่ นสภาพแห่งการเป็นทาสเหมือน

ของมนุษย์ อุตระภาวะในความหมายนี้ หมายถึง เดิม ความย้อนแย้งในเรื่องนี้คือยิ่งมนุษย์ใช้เสรีภาพ


สังคมทีม่ ปี ญ
ั ญาชนหลายคน ปัญญาชนคือคนผูพ้ ร้อม
มนุษย์กลับยิ่งไม่ได้ทำให้ทุกอย่างเปลี่ยนแปลงไปใน
ให้เหตุผล และเหตุผลต่าง ๆ ที่ปัญญาชนถ่ายทอด ทางที่ดีขึ้นได้ อนึ่ง วิธีคิดแบบนี้ไม่ได้เพิ่งมาปรากฏ
กั น และกั น ออกมา ก็ น ำไปสู ่ ค วามขั ด แย้ ง กั น จน ในงานชิ้นนี้ของชิเชคเป็นพิเศษ งานอื่น ๆ ที่ผ่านมาที่
สมานฉันท์ไม่อาจเกิดขึน้ ได้หรือเกิดขึน้ ได้ยากในสังคม
สื่อใจความเดียวกันว่าเสรีภาพเป็นเหมือนหุบเหว
เนื่องด้วยปัจจุบัน ปัญญาชนแต่ละคนมีความขัดแย้ง อเวจี (Abyss) ที่ไม่ได้เชื่อมเข้าสู่จิตสำนึกของมนุษย์
กันบนฐานเหตุผลที่ไม่เหมือนกัน ชิเชคจึงแนะนำให้ จนส่งผลให้เสรีภาพของมนุษย์กำลังเล่นงานตัวมนุษย์

ปัญญาชน ผู้มีเหตุผลทั้งหลาย ก้าวพ้นภาวะของ


เอง ก็เช่น The Indivisible Remainder (2007) และ
การถกเถียงลักษณะนี้ และมองปัญหาร่วมกันของ The Metastases of Enjoyment (2006)
ทุนนิยมโลกเป็นองค์สำคัญ ทุนนิยมโลกจึงเป็นอุตระ
ภาวะ เป็นภาวะที่หลุดออกไปจากข้อต่อทางความคิด ส่วนความคิดเกีย่ วกับภาวะความเป็นจริงของ

ท่ามกลางการถกเถียงกันระหว่างปัจเจกชนผู้อาศัย ชิเชค ผู้เขียนได้อภิปรายแล้วว่าภาวะความเป็นจริง


เสรีภาพเต็ม ทว่าไม่เคยหาจุดสิ้นสุดที่ลงรอยกันได้ ประกอบด้วย Object petit a คือมุมมองที่มากไปกว่า
เลย จนข้อถกเถียงที่เต็มไปด้วยบรรยากาศเสรีภาพ หรือล้นกว่าที่คนมองเห็นอยู่ ดังนั้น ถ้าหากสังคม

กลั บ กลายเป็ น ‘การพายเรื อ ในอ่ า ง’ และกลาย มีมุมมองที่มากไปกว่าหรือล้นเกินกว่าที่คนมองเห็น


อยู่ ก็แสดงว่ามุมมองในขณะนี้ของคนเป็นความขาด

168 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
Chyatat Supachalasai

ไม่ใช่ความสมบูรณ์ นั่นคือ เราต้องยอมรับว่าความ ประกอบไปด้วยองค์ประกอบใดบ้าง ซึ่งโดยมากแล้ว


เข้าใจที่เรามีต่อสังคมประกอบไปด้วยมุมมองที่มาก
มักหนีไม่พ้นเรื่อง ความทรงจำ ผัสสะ การรับรู้ การ
กว่าที่เราเข้าใจเสมอ ความขาดจึงเป็นส่วนหนึ่งของ พรรณนา การถกเถียง ฯลฯ อันกิจกรรมเหล่านี้ยึด
ความเป็นจริงที่เราเห็นและเข้าใจ อย่างไรก็ตาม งาน มนุษย์เป็นศูนย์กลางขององค์ความรู้ทั้งสิ้น
ของชิเชคที่ผ่านมาก็ยังเน้นตัวมนุษย์และปัญหาในวิธี
คิดของมนุษย์ ซึ่งจะเป็นคนละจุดเน้นกับงานของ
การเมืองของชิเชคและการเมืองของ

ฮาแมน เพราะถ้าเป็นรูปธรรมนิยมในความคิดของ

ฮาแมน จะหมายถึงการเข้าสังฆกรรมร่วมกันของสิ่งมี
ฮาแมน
ชีวิตไม่ใช่มนุษย์ทั้งหลาย เช่น การเกิดขึ้นของทะเล ก่อ นที่จ ะอภิป รายการเมื องของชิเชคและ
ทีป่ ระกอบไปด้วย หิน เม็ดทราย เกลือ และธรรมชาติ
การเมืองของฮาแมน ผู้เขียนเห็นว่าเราควรย้อนกลับ
ทัง้ ผองเป็นองค์ประกอบ โดยสมมติฐานนีม้ นุษย์ไม่ได้
ไปทำความเข้าใจวิวาทะหนึ่งที่เกิดขึ้นเมื่อปี 1971 ใน
เป็นศูนย์กลางของการเกิดขึ้นของทะเลและความเค็ม ปีนั้น วิวาทะหนึ่งที่โดดเด่นแห่งโลกตะวันตก คือ
ของน้ำทะเล มนุษย์เป็นแค่ผู้สังเกตการณ์ และมนุษย์ วิวาทะระหว่าง โนอม ชอมสกี้ และ มิเชล ฟูโกต์
ไม่ควรทำลายธรรมชาติแห่งปฏิสัมพันธ์ของสิ่งเหล่านี้ วิวาทะในครั้งนั้นถือเป็นการอภิปรายทางความคิด
ฐานคิดเรื่องรูปธรรมนิยมของฮาแมน เป็นใบเบิกทาง ทางปรัชญาที่น่าสนใจ นักคิดทั้งสองท่านเพ่งความ
สำคัญต่อแนวคิดสัจนิยมใหม่ อันสะท้อนหลักอภิปรัชญา
สนใจไปยังประเด็นเรื่องธรรมชาติมนุษย์ ซึ่งในวัน
ที่ว่าสิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์มีศักดิ์ศรีแห่งความเป็นองค์ วานนั้น บริบททางการเมืองโลกสำคัญเป็นเรื่องของ
ประธานเทียบเท่ากับมนุษย์ ความเป็นภาคแสดงหรือ สงครามและความรุนแรงทางการเมือง ทั้งชอมสกี้
ความเป็นตัวแสดงของสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์เป็น
และฟูโกต์ ท่านผ่านประสบการณ์ในโลกที่แบ่งออก
บ่อเกิดของสรรพสิ่งต่าง ๆ บนโลก และบางครั้งก็มี เป็นค่ายเชิงอุดมการณ์ทางการเมืองสองค่าย โลกเพิง่
อานุภาพเหนือกว่ามนุษย์เสียอีก เช่น การเกิดขึ้นของ ผ่านประสบการณ์สงครามโลกทั้งสองครั้งมา อีกทั้ง

ภัยพิบัติตามธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ โลกยังมีสงครามและความขัดแย้งย่อย ๆ เกิดขึ้น เช่น


ในขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ การเกิดขึ้นของแสง สงครามเกาหลี สงครามเวียดนาม และวิกฤตการณ์

เหนื อ แสงใต้ ใ นประเทศแถบสแกนดิ เ นเวี ย ฯลฯ นิวเคลียร์ในคิวบา อิทธิพลของความขัดแย้งทางการ


เหล่านี้เป็นพลังของธรรมชาติที่มนุษย์ไม่อาจเขียน เมืองโลก ส่งผลต่อการตั้งคำถามเกี่ยวกับธรรมชาติ
เป็นสูตรสำเร็จรูปเกี่ยวกับธรรมชาติได้ ดังนั้น วิธีคิด มนุษย์ภายใต้รัฐสมัยใหม่ ทั้งนี้ รัฐสมัยใหม่เป็นรัฐที่
เช่ น นี ้ ข องฮาแมน จึ ง นำมาสู ่ ก ารสถาปนาตั ว ของ พึงควรเป็นรัฐที่มีอารยะ แต่กลับเป็นรัฐที่มนุษย์ผู้ขับ
ปรัชญาสกุลอนุมานสัจนิยม อันเป็นสัจนิยมแนวใหม่ เคลื่อนรัฐเป็นต้นตอแห่งความรุนแรงเสียเอง ด้วยเหตุ
ในศตวรรษที่ 21 ที่แยกตัวออกจากปรัชญาปัจจุบันที่ นี้ ทั้งชอมสกี้และฟูโกต์ จึงได้รับคำเชื้อเชิญให้ตอบ
บางแขนงพยายามเขียนสูตรสำเร็จรูปเกีย่ วกับสรรพสิง่
คำถามเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย์ภายใต้รัฐอารยะที่มี
มิหนำซ้ำ ยังเป็นปรัชญาที่เน้นมนุษย์เป็นศูนย์กลาง ความเป็นสมัยใหม่ นั่นคือ รัฐสมัยใหม่มีความเป็น
เป็ น ปรั ช ญานิ ย มตั ้ ง คำถามว่ า แกนกลางการรั บ รู
้ สถาบันการเมือง มีการเชิดชูคุณค่าและค่านิยมของ
สรรพสิ่งต่าง ๆ เพื่อเป็นองค์ความรู้ของมนุษย์ ต้อง ความเป็นประชาธิปไตย มีการเคารพต่อคุณค่าสิทธิ

ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 169



Slavoj Žižek vs Graham Harman: Debate in Contemporary Philosophy

มนุษยชนและเสรีภาพ มีระบบกฎหมาย ฯลฯ แต่แล้ว


ความเห็นของฟูโกต์จึงไม่ได้รวมศูนย์ แต่กระจายไป
ความรุนแรงก็ยังถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งกับรัฐสมัย ตามสถานที่ต่าง ๆ ในสังคม เช่น สถาบันตำรวจ
ใหม่ โดยชอมสกี้ตอบคำถามเป็นท่านแรกว่าค่านิยม สถาบันทหาร โรงพยาบาล โรงเรียน จิตเวช ฯลฯ ซึ่ง
ต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นนั้นเป็นสิ่งที่ดี มนุษย์โดย แต่ละสถานที่ต่าง ๆ ก็มีการวางกรอบความเข้าใจ
ธรรมชาติ อ าจเป็ น คนดี เพราะมนุ ษ ย์ ส ามารถคิ ด เกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย์ที่แตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ก็
สร้างสรรค์ระบบการเมืองและระบบสังคมที่ดีขึ้นมา เพื่อการควบคุมและสร้างวินัย
เพียงแต่ผู้นำทางการเมืองทำลายระบบที่ดีนี้เสียหมด
วิ ว าทะ ‘ชิ เ ชค-ฮาแมน’ ในปี 2017 เป็ น
มนุษย์ต้องมีเสรีภาพ มนุษย์ต้องไม่ถูกจำกัดด้วย
วิวาทะทางปรัชญาและการเมืองที่เรียกได้ว่ามีความ
อำนาจที่กดขี่พวกเขา (Chomsky and Foucault 2006)
ร่วมสมัย เป็นวิวาทะที่เชื่อมต่อมาจากวิวาทะ ‘ชอม
ส่ ว นฟู โ กต์ น ั ้ น ตอบว่ า ตั ว เขาไม่ ส ามารถตอบได้
สกี-้ ฟูโกต์’ แม้วา่ หัวข้ออภิปรายจะไม่ใช่เรือ่ งธรรมชาติ

ชัดเจนว่ามนุษย์เป็นคนดีหรือไม่ดี ฟูโกต์มองว่าความ
มนุษย์ แต่ว่าท่ามกลางที่บริบทการเมืองโลกมีความ
เข้าใจเกี่ ยวกับ มนุษย์เ ป็น ผลผลิตของสถาบั นทาง
หลากหลายซับซ้อนไม่แพ้กัน นั่นคือ มีทั้งปัญหา
สังคมที่ผลิตองค์ความรู้ ชุดความคิด และวาทกรรม
คาราคาซังจากโลกทุนนิยม มีทั้งการยึดพื้นที่วอล-
เกี่ยวกับมนุษย์ ฉะนั้น จึงไม่สามารถระบุได้อย่าง
สตรีท มีทั้งการทะยานขึ้นสู่อำนาจของนักการเมือง

ชัดเจนว่าธรรมชาติมนุษย์คืออะไร เพราะธรรมชาติ
ผู้มีอุดมการณ์แบบประชานิยม มีทั้งการเกิดขึ้นของ
มนุษย์เป็นเพียงแค่ผลผลิตทางวาทกรรมที่แต่ละฝ่าย
ภัยพิบัติตามธรรมชาติ มีทั้งการเกิดขึ้นของเชื้อไวรัส
ผลิ ต ขึ ้ น สร้ า งขึ ้ น และพู ด ขึ ้ น เกี ่ ย วกั บ มั น เท่ า นั ้ น
อันเป็นตัวแสดงที่ไม่ใช่มนุษย์ มีทั้งการเกิดขึ้นของ
ฉะนั้น การที่สถาบันทางสังคมสามารถผลิตหรือสร้าง
การบิดเบือนความจริง มีทั้งการเกิดขึ้นของความคิด
องค์ความรู้เกี่ยวกับมนุษย์ขึ้นมาได้นั้น ก็นับเป็นการ
ที่เรียกว่าเป็น โลกหลังความจริง (Post-truth world)
สะท้อนให้เห็นถึงเจตนารมณ์แห่งอำนาจที่แฝงด้วย
บริบททางการเมืองโลกเช่นนี้ส่งผลต่อวิธีคิดทางการ
ความรุนแรงและเป้าประสงค์เพื่อการควบคุมมนุษย์
เมืองที่แตกต่างกันของชิเชคและฮาแมน นักคิดทั้ง
ของสถาบันนั้น ๆ เองในทางกลับกัน (Chomsky and
สองท่ า นเชื ่ อ เหมื อ นกั น ว่ า คำว่ า ความจริ ง หรื อ

Foucault 2006) โดยสรุป วิวาทะ ‘ชอมสกี้-ฟูโกต์’


สัจธรรม ที่ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Truth นั้นสะท้อน
เป็นวิวาทะเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย์ที่นักคิดทั้งสอง
นัยยะของการเข้าถึงได้ และเมื่อเข้าถึงได้แล้ว ก็จะ
ท่านตอบออกมาแตกต่างกัน ชอมสกี้เชื่อว่าธรรมชาติ
เป็นข้อพึงตระหนักว่าสัจธรรมเป็นสิ่งที่คงทน ถาวร
มนุษย์ไม่ควรถูกสกัดกั้นความสามารถที่สร้างสรรค์
เปลี่ยนแปลงไม่ได้ (The Žižek Times 2017) ส่วน

และไม่ควรถูกจำกัดเสรีภาพทางการคิดที่จะโค่นล้ม
คำว่า ภาวะความเป็นจริง ที่ตรงกับภาษาอังกฤษว่า
การกดขี่ทางอำนาจโดยรัฐ ชอมสกี้เรียกวิธีคิดของ
Reality นั้น ไม่ใช่สัจธรรม ไม่ใช่สิ่งที่คงทนถาวร
เขาเองว่าเป็น ‘Anarcho-syndicalism’ (ขอสงวนคำ
ภาวะความเป็นจริงเปลี่ยนแปลงได้ ภาวะความเป็น
ภาษาอังกฤษ-ผู้เขียน) ในขณะที่วิธีคิดของฟูโกต์เป็น
จริงเป็นสิ่งที่เราตั้งคำถามกับมันได้ มันเป็นสิ่งที่มาก

แบบ ‘อำนาจ/ความรู้’ (Power/Knowledge) (Chomsky


กว่าที่เรารับรู้ แถมอยู่นอกเหนือความเข้าใจของเรา
and Foucault 2006) โดยสมมติฐานคืออำนาจแพร่
เสมอ นี่คือข้อแตกต่างที่สำคัญระหว่าง Truth และ
กระจายไปตามสถาบันทางสังคมต่าง ๆ อำนาจใน
Reality ที่นักคิดทั้งสองท่านมองและสะท้อนภาพไว้ให้

170 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
Chyatat Supachalasai

เราเป็นอุทาหรณ์ (The Žižek Times 2017) และถ้าจะ ให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพนัน้ เราต้องวิพากษ์ทอ่ี าการ

ว่าไปแล้ว แนวคิดโลกหลังความจริงนั้นไม่ได้เป็น ป่วยของมัน อันเป็นอาการป่วยที่ทุนนิยมสร้างผล


โจทย์เพื่อการเข้าถึงว่าสัจธรรมที่เที่ยงแท้ถาวรนั้นคือ กระทบด้านลบต่อโลก เช่น วิกฤตสิ่งแวดล้อมอันเกิด
อะไร แต่เป็นแนวคิดที่ฉุกให้เราคิดถึงข้อจำกัดของ จากการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง การดัดแปลง
มนุษย์ต่อการเข้าใจสรรพสิ่งต่าง ๆ และความเป็นไป พันธุกรรมเพื่อผลกำไร รวมถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ทาง
ต่าง ๆ ของโลกใบนี้เสียมากกว่า ว่าตัวเรากับสรรพสิ่ง ปัญญา ฯลฯ มากกว่าเล็งที่การทำงานที่เป็นรูปแบบ
ต่ า ง ๆ นั ้ น มี ร ะยะห่ า งซึ ่ ง กั น และกั น เสมออย่ า งไร เดิม ๆ ของมัน เช่น การสะสมทุนและการไหลเวียน
เกี่ยวกับเรื่องนี้ ถ้าเป็นในภาษาของชิเชค ก็จะมอง ของวงจรของทุนเท่านั้น นอกจากนี้ ต้องเข้าใจอีก
แบบเน้นมนุษย์เป็นศูนย์กลาง ว่าเป็นเพราะภาวะ ด้วยว่า ‘ทุนนิยมซ่อมแซมตัวมันเองเสมอ’ (Žižek
ความเป็นจริงนั้นคือสิ่งที่ล้นเกินและมากกว่าความ 2010) ทุนนิยมมีทางออกให้กบั ปัญหาทีต่ วั มันสร้างขึน้

เข้าใจของมนุษย์เสมอ ดังนั้น ความเข้าใจที่มนุษย์มี เช่น ตัวมันผลิตสร้างตัวมันเองให้กลายเป็นทุนนิยม


หรื อ ยึ ด ถื อ อยู ่ น ั ้ น จึ ง เป็ น ความขาดพร่ อ งและไม่ เมตตา ทั้งนี้เพื่อป้องกันภาพลักษณ์ของความละโมบ
สมบูรณ์แบบ ส่วนถ้าเป็นฮาแมน ก็จะมองว่าเป็น ในตัวมัน ทุนนิยมยังมีทางออกให้กับปัญหาอื่น ๆ อีก
เพราะพลังของตัวแสดงที่ไม่ใช่มนุษย์นั้น มีขุมพลังที่ เช่น ข้อเสนอถึงการเปลี่ยนไปใช้พลังงานทดแทน
ทัดเทียมและใกล้เคียงมนุษย์ พลังของตัวแสดงไม่ใช่ ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าไม่เป็น
มนุษย์เป็นภาวะแห่งการธำรงอยู่ประเภทหนึ่งที่มนุษย์
มิตรกับสิ่งแวดล้อม ทุนนิยมยังมีทางออกให้กับการ
ยากจะสัมผัสและเข้าถึงได้ทั้งหมด สำหรับฮาแมน ละเมิดลิขสิทธิท์ างปัญญาและความสร้างสรรค์ของคน

แล้ว ภาวะความเป็นจริงเป็นสิ่งที่อยู่นอกเหนือสัมผัส ด้วยตัวมันนั้นให้ค่าตอบแทนกับนักธุรกิจ Start-up

ของมนุษย์ เหตุเพราะพลังของตัวแสดงที่ไม่ใช่มนุษย์ ผู้สามารถขายความสร้างสรรค์ให้กับบริษัทใหญ่ ๆ

นั้น มีพลังที่มากไปกว่าความเข้าใจและการสัมผัสได้ ผู้เอาความคิดสร้างสรรค์นั้น ๆ ไปใช้ ทั้งนี้การจ่ายเงิน


ของมนุษย์ โดยสรุป จะเห็นว่านักคิดทั้งสองท่านมี ให้กับเจ้าของความคิดสร้างสรรค์ให้เป็นที่พึงพอใจ

ความคิดเกี่ยวกับข้อจำกัดของมนุษย์ในการเข้าถึง ก็เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงภาพลักษณ์จริงที่ว่าตนเอง
ภาวะความเป็นจริงเหมือนกัน แต่เหตุผลของทั้งสอง กำลังหาประโยชน์ทางการค้าต่อหนึ่ง แถมสามารถ
ท่ า นนั ้ น แตกต่ า งกั น คนหนึ ่ ง ยั ง เน้ น ข้ อ จำกั ด ของ ทำกำไรจากความคิดสร้างสรรค์นน้ั ได้มากกว่าเจ้าของ

มนุษย์ในการเข้าใจสรรพสิ่งทั้งหมด ส่วนอีกคนหนึ่ง ความคิดสร้างสรรค์นั้น ๆ เสียเอง ฉะนั้น ชิเชคจึง


ไม่เน้นมนุษย์เป็นศูนย์กลาง แต่เน้นที่พลังแห่งปฏิ เสนอว่าทางออกในเรื่องนี้ ต้องไม่ใช่ด้วยการปล่อยให้
สัมพันธ์เป็นเครือข่ายที่สร้างภาวะแห่งการธำรงอยู่อัน ทุนนิยมซ่อมแซมตัวมันเอง เพราะการซ่อมแซมตัวเอง

หลากหลายขึ้นมา ของทุนนิยมกลับเป็นอัตราเร่งต่อตัวทุนนิยม การซ่อม


ตัวเองของทุนนิยมเป็นแค่การเปลี่ยนวิธีการ แต่ไม่ได้
การเมื อ งของชิ เ ชคเป็ น การเมื อ งแบบ
เป็นการเปลี่ยนจุดมุ่งหมายเลย ทุนนิยมเป็นตัวเร่ง
คอมมิวนิสต์ ชิเชคเชื่อว่า คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx)
ปรากฏการณ์และปฏิกิริยาอันเสื่อมโทรมต่าง ๆ บน
ประดิษฐ์ความคิดหนึ่งให้เราเห็นว่าอาการป่วยของ
โลก และความเสื่อมโทรมเหล่านั้นก็เป็นส่วนหนึ่ง

โลกทุนนิยม ย่อมเป็นส่วนหนึ่งของทุนนิยมอย่างขาด
ของภาวะความเป็นจริง กระนั้น ก็เป็นสิ่งที่มนุษย์

เสียไม่ได้เสมอ (Žižek 1989) การจะวิพากษ์ทุนนิยม


ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 171

Slavoj Žižek vs Graham Harman: Debate in Contemporary Philosophy

ไม่อาจสัมผัสความเสื่อมโทรมเหล่านั้นได้ทั้งหมด ตนเองและทระนงตนว่าสามารถเอาชนะธรรมชาติได้
ความป่วยของทุนนิยมมีมิติที่ทั้งกว้าง ทั้งล้นไปกว่าที่ เพราะธรรมชาติคือสิ่งที่มนุษย์ไม่ล่วงรู้ ธรรมชาติคือ
ประสาทสัมผัสของมนุษย์จะหยั่งถึงทั้งหมด ความ สิ่งที่หลุดพ้นออกไปจากการหยั่งถึงของมนุษย์เสมอ
เข้าใจต่อความเสื่อมของทุนนิยมของมนุษย์จึงเป็นแค่ วิธีคิดของฮาแมนดูจะเชื่อในความเป็นเสรีนิยมของ
การเข้าใจได้ รู้สึกได้ แต่ไม่สามารถเห็นปรากฏการณ์ ธรรมชาติ ไม่ใช่เสรีนิยมของมนุษย์อย่างที่ยึดถือกัน
ความเสื่อมโทรมนั้นได้ทั้งหมด (โปรดดูย่อหน้าที่แล้ว มานับตั้งแต่การปฏิวัติฝรั่งเศส ธรรมชาติพึ่งพากัน มี
ทีก่ ล่าวถึงข้อจำกัดของมนุษย์ในการเข้าถึงภาวะความ
ประโยชน์ต่อกันและกัน ธรรมชาติเป็นภาวะที่เอื้อ
เป็นจริงประกอบ) ดังนั้น ถ้าจะเปลี่ยนจุดมุ่งหมาย
อาทรกัน เป็นภาวะแห่งการเป็นเครื่องมือซึ่งกันและ
ก็ ต ้ อ งเปลี ่ ย นที ่ ว ิ ธ ี ก ารด้ ว ยการถอดทุ น นิ ย มออก
กัน (Tool-Being) เช่น นกน้อยทำรัง แสงเหนือ แสงใต้
จากนั้น จุดมุ่งหมายถึงจะเปลี่ยนโดยพร้อมเพรียงกัน
ที ่ ก ่ อ สุ น ทรี ย ะในท้ อ งฟ้ า ฯลฯ และขณะเดี ย วกั น
ซึ่งชิเชคเสนอว่าคอมมิวนิสต์คือทางออกในเรื่องนี้ ธรรมชาติ ก ็ เ ป็ น ภาวะที ่ ท ำลายกั น และกั น ได้ ด ้ ว ย
คอมมิวนิสต์จะเปลี่ยนทุนนิยมทั้งวิธีการและทางออก (Broken-being) เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ฯลฯ
อย่างไรก็ตาม ข้อเสนอเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์เช่นนี้
(Harman 2011) ผู้เขียนตั้งข้อคิดว่าการเมืองของฮา
ก็ยังเป็นข้อเสนอที่หลายคนมองว่าลม ๆ แล้ง ๆ ไม่มี แมนจึงเป็นการเมืองของธรรมชาติ ธรรมชาติควรมี
ทางเป็นจริงขึ้นมาได้ในปัจจุบัน ปัญหาจึงกลับไปที่ ศักดิ์ศรีและภาวะแห่งการธำรงอยู่เทียบเท่ามนุษย์
ตัวชิเชคเองที่มีแต่แรงขับเพื่อเสนอแนวคิด แต่ทว่า ธรรมชาติมีฐานะเทียบเท่ามนุษย์บนโลก มนุษย์ไม่ใช่
ความน่าเห็นใจที่เรามีต่อชิเชค คือเป้าหมายนั้นกลับ เจ้าของโลก ธรรมชาติเป็นเจ้าของโลกเช่นกัน ดังเช่น
ถูกเลือ่ นออกไปเสมอ แนวคิดทีช่ เิ ชคเสนอกับเป้าหมาย
ที่ประเทศออสเตรเลียประกาศให้ทะเลมีสถานะเป็น
ที่เขาปรารถนาอาจไม่มีวันได้พบเจอกัน (Lacan 2004) บุ ค คล ใครจะล่ ว งละเมิ ด มิ ไ ด้ เป็ น ต้ น ในขณะ
เดียวกันการเมืองของฮาแมนยังยอมรับศักดิ์ศรีแห่ง
ในระหว่างการอภิปราย การเมืองของฮาแมน

การธำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตไม่ใช่มนุษย์ด้วย เช่น หุ่น


แตกต่างกับของชิเชค ฮาแมนไม่เชื่อคอมมิวนิสต์

ยนต์ เครื่องกลอัตโนมัติ (Automation) ที่ทุกวันนี้ใช้


ฮาแมนยังกล่าวหาคอมมิวนิสต์อีกด้วยว่าเป็นสิ่งที่
ทดแทนแรงงานคน ซึ่งมีการกล่าวขานกันในยุโรปว่า
ไม่มีอะไรให้ต้องเรียนรู้เลย (The Žižek Times 2017)

จะมีการให้หุ่นยนต์และเครื่องกลอัตโนมัติมีสถานะ
มิหนำซ้ำ การเมืองแบบคอมมิวนิสต์ก็เป็นการเมือง

เทียบเท่ามนุษย์ แถมมีเงินเดือน มีรายได้ ฯลฯ ซึ่ง


ที่อยู่ในแบบแผนของการเน้นมนุษย์เป็นศูนย์กลาง
ความใกล้ชิดระหว่างคนกับอมนุษย์กำลังกลายเป็น
การเมืองแบบคอมมิวนิสต์เน้นมนุษย์ เน้นจิตสำนึก
ประเด็นร้อนขึ้นมาทุกทีในปัจจุบัน เช่น ข่าวที่มีการ
ร่วม รวมถึงอุดมการณ์ของมนุษย์เป็นตัวขับเคลื่อน
ร่วมเพศระหว่างคนกับสัตว์ ข่าวการตัดไม้ทำลายป่า
สำคั ญ ด้ ว ยเหตุ น ี ้ การเมื อ งของฮาแมนจึ ง เป็ น

รวมถึงในประเทศจีน ชายชาวจีนคนหนึ่งประดิษฐ์หุ่น
การเมืองเชิงอมนุษย์ นั่นคือ การเมืองของฮาแมน
ยนต์ผู้หญิงขึ้นมา เพื่อทดแทนการหาคู่ชีวิตที่เขาไม่
เป็นการเมืองที่ลบภาคแสดงมนุษย์ออก มนุษย์ต้อง
อาจประสบผลสำเร็จจากการหาคู่ในชีวิตจริง ฯลฯ
ไม่กีดขวางการทำงานของธรรมชาติ มนุษย์ต้องไม่
เหล่านี้คือตัวอย่างเกี่ยวกับการเมืองในความคิดของ
กี ด ขวางพฤติ ก รรมและพฤติ ก ารณ์ ข องธรรมชาติ
ฮาแมน ปราชญ์ผู้เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างดำรงอยู่บน
มนุษย์ต้องไม่แทรกแซงธรรมชาติ มนุษย์ต้องไม่หลง

172 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
Chyatat Supachalasai

เส้นตรงแห่งภาวะวิทยาแบบแบนราบ นั่นคือ มนุษย์ เสรีภาพไม่ได้ทำให้คนหลุดพ้นจากทุนนิยม กลับยิ่ง


สัตว์ พืช หุ่นยนต์ หิน ไฟ สำลี ตัวการ์ตูน เชื้อโรค เป็นการทำให้ทุนนิยมดำเนินต่อไปโดยดุษณี ส่วน

ฝุ่น ไต้ฝุ่น แผ่นดินไหว อากาศ ฯลฯ มีความเท่า ฮาแมนจะคิดตรงกันข้าม ฮาแมนไม่ได้คิดเรื่องทุน

เทียมกันหมด พร้อมทั้งสามารถสร้างภาวะแห่งการ นิยมและโครงสร้างทางสังคม แต่เชื่อในหลักการเรื่อง


ธำรงอยู่ที่ตื่นเต้นเหลือคณานับขึ้นอย่างพร้อมเพรียง Prehension แบบไวท์ เ ฮดว่ า ปรากฏการณ์ ต ่ า ง ๆ
กันบนโลก สามารถเกิดขึ้นผ่านการที่สิ่ง ๆ หนึ่งสามารถเชื่อมโยง
กันกับอีกสิ่ง ๆ หนึ่งไปเรื่อย ๆ จนความเชื่อมโยงนี้ส่ง
สรุป ผลต่อการเปลี่ยนปรากฏการณ์ภายในสิ่ง ๆ นั้นไปได้
เรื่อย ๆ เช่น ค้อนที่วางอยู่กับพื้น ค้อนตัวเดียวกันมี
โดยภาพรวมแล้ว บทความชิ้นนี้เริ่มต้นด้วย ฝุ่นจับ มีงูหางกระดิ่งเลื้อยเข้ามาพัน ที่คนหยิบไปใช้
การนำเสนอรากฐานทางปรัชญารวมถึงวิธีการเข้าถึง เพื่อตอกตะปู เพื่อทุบหน้าต่าง ฯลฯ
ความรู้ของชิเชคและฮาแมนผ่านความคิดเกี่ยวกับ
สภาวะความเป็นจริงก่อนเป็นปฐมบท ชิเชคไม่ได้
จากการวางรากฐานทางปรั ช ญาเราอาจ
ระบุชัดเจนว่าสภาวะความเป็นจริงคืออะไร แต่มี อนุมานการเมืองของนักคิดทัง้ สองท่านได้ดงั นี้ เริม่ ต้น

สมมติฐานว่าความเข้าใจต่อสภาวะความเป็นจริง ที่การเมืองแบบคอมมิวนิสต์ของชิเชคเป็นการเมือง
ของมนุษย์เป็นความขาดโหว่ ส่วนฮาแมนมองถึงการ แบบเน้นตัวมนุษย์เป็นศูนย์กลางและให้ความสำคัญ
ธำรงอยู่บนโลกของปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่ กับตัวมนุษย์มาก เป็นการเมืองที่เล็งเห็นถึงการธำรง
ไม่ใช่มนุษย์ โดยมนุษย์ไม่ได้เป็นศูนย์กลางในการณ์ อยู่ของมนุษย์ การเมืองของชิเชคเป็นการเมืองที่เชื่อ
นี้ อันเป็นภาวะวิทยาที่เขาเรียกว่า Object-Oriented ในความขาด รวมถึงการขยายจิตสำนึก ตลอดจน

Ontology (OOO) จากนั้นเมื่อเข้าใจถึงรากฐานความ เล็งเห็นทุนนิยมว่าเป็นปัญหาร่วมกันของโลก การเล็ง


แตกต่างนี้แล้ว จึงนำมาสู่ความเข้าใจที่เฉพาะเจาะจง เห็นปัญหาร่วมของโลกจะเป็นการลดผลกระทบจาก
ขึ้น คือเรื่องของรูปธรรมนิยม อุตรภาวะและสัจนิยม ความขัดแย้งซึ่งกันและกันทางเหตุผลนิยมของมนุษย์
ซึ ่ ง รู ป ธรรมนิ ย มแบบชิ เ ชคเป็ น เรื ่ อ งโครงสร้ า งทาง ทุกวันนี้ความขัดแย้งบนโลกมิได้เกิดจากคนมีเหตุผล
สังคม อันเกี่ยวเนื่องกับการต่อสู้ทางชนชั้นในเรื่อง ถกเถียงกับคนไม่มีเหตุผลเท่านั้น แต่เกิดจากคนมี
ของวิธีคิดที่แตกต่างกันและต่างคนต่างถกเถียงใน
เหตุผลกำลังสร้างข้อถกเถียงที่ต่างฝ่ายต่างน่ารับฟัง
มุมมองของตนเอง ไม่สามารถหาข้อสรุปได้ แต่สิ่งที่ ทั้งสิ้น คนมีเหตุผลหลายคนกำลังยกชูข้อถกเถียงของ
สำคัญกว่านั้นคือการถกเถียงไม่ได้ผนวกเอาปัญหา ตนเองให้กลายมาเป็นความจริง ความน่ารับฟังของ
เรื่องทุนนิยมเข้าไปในข้อถกเถียงเท่าใดนัก ส่งผลให้ แต่ละฝ่ายส่งผลให้เราเคลื่อนเข้าสู่โลกหลังความจริง
เสรีภาพแห่งการถกเถียงเป็นการถกเถียงที่ไม่ก่อให้ อันเป็นโลกที่คนผู้มีเหตุผลหลายคน กำลังแข่งขันกัน
เกิดผลลัพธ์ในทางที่ดีขึ้น ทุนนิยมจึงเป็นอุตระภาวะ สร้างความจริงขึ้นมา จนกระทั่งเราไม่สามารถระบุได้
และเป็นความย้อนแย้งของเสรีภาพ เหตุเพราะมัน อย่างชัดเจนเลยว่าใครพูดจริง ใครพูดเท็จ เพราะต่าง
เป็ น สิ ่ ง ที ่ ห ลุ ด พ้ น ออกไปจากข้ อ ต่ อ ทางความคิ ด ฝ่ายต่างมีเหตุผลที่น่ารับฟังทั้งสิ้น ชิเชคพยายามนำ
ท่ามกลางบรรยากาศแห่งการถกเถียงของคน ดังนั้น เราออกจากอุตระภาวะเหล่านี้ และเล็งเห็นถึงปัญหา

ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 173



Slavoj Žižek vs Graham Harman: Debate in Contemporary Philosophy

ร่วมของทุนนิยมโลกที่ค่อย ๆ กัดเซาะ บ่อนทำลาย เสียอีก ตรงนี้ ผู้เขียนอยากให้ลองจินตนาการกัน


เราลงไปทุก ๆ ขณะที่เราบางคนอาจจะรู้ตัวและเรา ดูเถิดว่า ยอดค้นหาชื่อ ‘แฮร์รี่ พอตเตอร์’ ใน Google
บางคนอาจจะไม่รู้ตัว ขณะที่การเมืองของฮาแมน
นั้น มียอดผลลัพธ์การค้นหามากกว่าชื่อ ‘สลาวอย

ที่ไม่เน้นมนุษย์เป็นศูนย์กลาง เป็นการเมืองแบบหลัง ชิเชค’ ‘เกรแฮม ฮาแมน’ และแน่นอนรวมถึงชื่อ-สกุล


มนุษย์นิยม เป็นการเมืองที่เล็งเห็นถึงการธำรงอยู่ที่ ของคนอีกหลายคนบนโลกเพียงไร เช่นนัน้ ก็อาจกล่าว

เท่าเทียมกันของทุกชีวิตบนโลก ฮาแมนดูจะเชื่อว่า ได้ว่า สิ่งไม่ใช่มนุษย์กำลังโดดเด่นไม่แพ้มนุษย์ และ


ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นภาคแสดงขนาดใหญ่ที่ร่วมกัน มันก็เป็นส่วนหนึ่งของปรากฏการณ์บนโลกไปแล้ว
สร้างและกำหนดปรากฏการณ์บนโลกขึ้นมา ดังนั้น ไม่ว่าเราจะชอบหรือไม่ก็ตาม
ไม่ใช่มนุษย์เท่านั้นที่โดดเด่น เพราะขณะนี้ สัตว์ พืช
สุ ด ท้ า ยนี ้ การเลื อ กที ่ จ ะนำเสนอวิ ว าทะ

เชื้อโรค สึนามิ ฯลฯ ก็มีความโดดเด่นในโลกไม่แพ้


‘ชิ เ ชค-ฮาแมน’ ของบทความนี ้ นอกจากจะเป็ น
มนุษย์ ฉะนั้น ไม่ใช่มนุษย์เท่านั้นที่โดดเด่น เพราะ
เพราะว่าเป็นวิวาทะทางปรัชญาที่ร่วมสมัย เพราะ
ทุกวันนี้หุ่นยนต์ก็มีความโดดเด่น แม้จะมองได้ว่า
เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อเดือนมีนาคมปี 2017 ณ สถาบัน SCI-
มนุษย์สร้างหุ่นยนต์ แต่ที่สุดแล้วสิ่งประดิษฐ์เหล่านั้น
Arc แล้ว ยังเป็นความคาดหวังให้นักวิชาการไทย
ก็เริ่มแย่งพื้นที่ทำมาหากินของมนุษย์ นับเป็นสิ่งที่
นักเรียนปรัชญาของไทย นักวิชาการทางด้านรัฐศาสตร์

สร้างปรากฏการณ์ได้ไม่แพ้มนุษย์ แน่นอนว่าไม่ใช่
และผู ้ ส นใจทั ่ ว ไป ฯลฯ สามารถเชื ่ อ มโยงวิ ว าทะ

มนุษย์เท่านั้นที่โดดเด่น ทุกวันนี้ตัวการ์ตูนหลายตัว

‘ชิเชค-ฮาแมน’ เข้ากับประเด็นต่าง ๆ ทางสังคมศาสตร์

มีความโดดเด่น มีชื่อเสียงมากกว่ามนุษย์เสียอีก

และปรั ช ญาร่ ว มสมั ย ทั ้ ง นี ้ เ พื ่ อ เป็ น บู ร ณการทาง


ไม่ว่าจะเป็น แฮร์รี่ พอตเตอร์ แบทแมน โงกุน จิล
ความคิด และเพื่อเป็นประโยชน์ทางวิชาการ เพื่อการ
วาเลนไทน์ ฯลฯ ตัวละครพวกนี้ทุกวันนี้ยิ่งโด่งดัง
ขบคิดถึงการกำหนดขึ้นเป็นหัวข้อวิจัยใหม่ ตลอดจน
เพราะยุคข้อมูลข่าวสาร ส่งผลให้เรามีเครือ่ งมือค้นหา

เป็นเครื่องมือทางความคิดเพื่อการตั้งโจทย์สำคัญ
(Search tool) ซึ่งส่งผลให้ชื่อเสียงของอมนุษย์พวกนี้
ภายในวงการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ของไทย
เรียกได้ว่าแทบจะกลบชื่อเสียงของมนุษย์หลาย ๆ คน
สืบต่อไป


174 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
Chyatat Supachalasai

References
Bennett, Jane. 2010. Vibrant matter: A political ecology of things. Durham: Duke University Press.
Callon, Michel, and Bruno Latour, eds. 1981. Unscrewing the big Leviathan: How actors macro-structure
reality and how sociologists help them do so. In Advances in social theory and methodology:
Towards an integration of micro- and macro-sociologies, eds. K. Knorr-Cetina, and A.V.
Cicourel. Boston: Routledge & Kegan Paul.
Chomsky, Noam, and Michel Foucault, eds. 2006. The Chomsky-Foucault debate: On human
nature. New York: The New Press.
Debate Noam Chomsky & Michel Foucault: On human nature. YouTube video, 1:10:02, posted by
withDefiance, March 13, 2013. https://www.youtube.com/watch?v=3wfNl2L0Gf8 (Accessed on April

4, 2017)
DeLanda, Manuel. 2013. Intensive science and virtual philosophy. New York: Bloomsbury
Academic.
Duel + Duet: Slavoj Žižek, and Graham Harman at SCI-Arc on March 1, 2017, YouTube video, 2:17:47,
posted by The Žižek Times, March 2, 2017. https://www.youtube.com/watch?v =r1PJo_-n2vI Debate
Slavoj Žižek VS Graham Harman (Accessed on April 4, 2017)
Harman, Graham. 2005. Guerrilla metaphysics: Phenomenology and the carpentry of things.
Chicago, IL: Carus Publishing Company.
-----. 2016. Immaterialism. Malden, MD: Polity.
-----. 2008. On the horror of phenomenology: Lovecraft and Husserl. In Collapse: Philosophical
research and development, ed. Robin James Mackay. Falmouth, United Kingdom: Urbanomic.
-----. 2002. Tool-being: Heidegger and the metaphysics of objects. Chicago, IL: Carus Publishing
Company.
-----. 2010. Towards Speculative Realism: Essays and lectures. Hants: Zero Books.
Lacan, Jacques. 2007. The seminar of Jacques Lacan: The other side of psychoanalysis. Trans.
Russell Grigg. New York: W.W. Norton.

ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 175



Slavoj Žižek vs Graham Harman: Debate in Contemporary Philosophy

-----. 2004. Ecrits: A selection. Trans. Bruce Fink. London: Routledge.


-----. 2007. The four fundamental concepts of psycho-analysis. Trans. Alan Sheridan. London:
Karnac Books.
Meilllassoux, Quentin. 2008. After finitude: An essay on the necessity of contingency. Trans. Ray
Brassier. New York: Continuum.
Žižek, Slavoj. 2014. Absolute recoil. New York: Verso.
-----. 2017. The courage of hopelessness: Chronicles of a year of acting dangerously.
London: Allen Lane.
-----. 2016. Disparities. London and New York: Bloomsbury.
-----. 2007. The indivisible remainder: On Schelling and related matters. New York: Verso.
-----. 2012. Less than nothing: Hegel and the shadow of dialectical materialism. New York:
Verso.
-----. 2010. Living in the end times. New York: Verso.
-----. 2006. The metastases of enjoyment: On women and causality. New York: Verso.
-----. 2001. On belief. London: Routledge.
-----. 1989. The sublime object of ideology. New York: Verso.
-----. 2000. The ticklish subject: The absent centre of political ontology. New York: Verso.


176 วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ

You might also like