You are on page 1of 56

เรี ยนรู ้ระบบงานสําคัญ PCT & RM

นพ.สมคิด เลิศสินอุดม
นพ.อเนก หล้าเพชร
16 กุมภาพันธ์ 2566
บทบาท
หน้าที่ PCT
อยู่ใน
มาตรฐานข้อ
ไหน?
การทบทวนเป็ นพืน้ ฐานสําคัญ
คุณภาพคือการทํางานประจําให้ดี
ทํางานเป็ นทีม ผูป้ ่ วยบางรายไปให้
เรียนรูจ้ ากอุบตั กิ ารณ์ ทํางานประจําให้ดี ATB ที่ ward
IEC
เปลีย่ นความสูญเสียเป็ นคุณค่า ทําทันที ทําต่อเนื่อง
เปลีย่ นวิกฤติเป็ นโอกาส
Information
Education
Trace
Communication
Concepts Action Measure อัตราการได้ ATB
รู้หลัก ให้ ATB ที่ ER ใน 1 ชม = 60%
ช่องทางด่วนที่หอ้ งยา
ให้ทนั ทีก่อนAdmit มีอะไรให้คยุ กัน
Context ปั จจัยที่ทาํ ไม่ได้
รู้โจทย์ Purpose Design Learning ตามที่กาํ หนด
คือ??????
Sepsis ให้ATB
Criteria ใน 1ชม ขยันทบทวน
รู้เกณฑ์ Improve
12 กิจกรรมทบทวน ใบ checklist ก่อน Admit,
Case manager sepsis
ติดตามทุกราย 5
คุณภาพการดูแลผูป้ ่ วย  บทบาทหน้าที่ PCT
1. ทบทวนการดูแลผูป้ ่ วย
2. กําหนดกลุม่ เป้าหมายในการพัฒนา
3. กําหนดและติดตามผลการดูแลผูป้ ่ วย
4. จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา
5. นําแผนพัฒนาคุณภาพไปสูก่ ารปฏิบตั ิ
1. ทบทวนการดูแลผูป้ ่ วย

การทบทวน Core values


• การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย • Holistic care, Teamwork
• การทบทวนข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียน • Patient focus
• การทบทวนการส่งต่อ/ข้อย้าย/ปฏิเสธรักษา • Visionary Leadership
• การทบทวนโดยผู้ทช่ี าํ นาญกว่า • Professionalism
• การทบทวนความเสีย่ ง • Patient focus, CQI
• การทบทวนการติดเชือ้ ในโรงพยาบาล • Learning
1. ทบทวนการดูแลผูป้ ่ วย

การทบทวน Core values


• การทบทวนความคลาดเคลือ่ นทางยา • Professionalism, Patient focus
• การทบทวนเหตุการณ์สาํ คัญ • Management by fact, Teamwork
• การทบทวนเวชระเบียน • Professionalism
• การทบทวนความรู้ทางวิชาการ • Evidence-based Approach
• การทบทวนการใช้ทรัพยากร • Learning
• การทบทวนเครื่องชีว้ ัด • Management by fact
2. กําหนดกลุม่ เป้าหมายในการพัฒนา
3. กําหนดและติดตามผลการดูแลผูป้ ่ วย
(KPI ตามมิติคณ
ุ ภาพที่สาํ คัญ)
4. จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา
(Risk Register, Safety culture)
4. จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา
(CQI, Research, Innovation)
ตอนที่ III- กระบวนการดูแลผูป้ ่ วย Access

Entry

Assessment Investigation

Diagnosis

Plan of Care Discharge Plan

Reassess Care of Patient Communication Information &


Empowerment

Discharge

Continuity of Care
21
มิตคิ ณ
ุ ภาพ ( Quality Dimension)

Accessibility , Coverage
Competency
Timeliness
Appropriate
Safety
Humanize
Equity

Acceptability
Effective
Continuity
Efficient

25
Risk Management System
กรอบงานการบริ หารความเสี่ ยง
(Risk Management Framework)
1. ขอบเขต และวัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยง
2. หน้าที่และความรับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยง
3. รายการความเสี่ยงสําคัญขององค์กร( Strategic risk, Clinical risk, Operational
risk, Financial risk )
4. การรายงานความเสี่ยงและอุบตั กิ ารณ์ (NRLS)
5. สรุปแผนความเสี่ยงสําหรับความเสี่ยงที่สาํ คัญ ( เช่น Sentinel event, มาตรฐานสําคัญ
จําเป็ นเพื่อความปลอดภัย 9 ข้อ)
6. กระบวนการสื่อสารความเสี่ยงให้ผทู้ ่ีเกี่ยวข้อง
7. การเรียนรูแ้ ละพัฒนาบุคลากรในเรือ่ งการบริหารความเสี่ยง
กระบวนการจัดการความเสี่ ยง (Risk Management Process)

1. การระบุความเสี่ยง (Risk Identification)


2. การวิเคราะห์ความเสี่ยง ( Risk analysis)
3. การจัดลําดับความสําคัญของความเสี่ยง ( Risk Prioritization )
4. แผนรับมือและป้องกันความเสี่ยง (Risk Mitigation & Prevention)
5. การกํากับติดตามและทบทวนความเสี่ยง (Risk Monitoring and Review)

Risk Register
Risk Register
การจัดการอุบตั ิการณ์ (Incident Management)
1. การบันทึกและรายงานอุบตั ิการณ์
2. ตอบสนองต่ออุบตั ิการณ์ และทํา RCA
3. พัฒนาและปรับปรุงเพื่อลด/ป้องกันอุบตั ิการณ์ซา้ํ
4. สื่อสารกับผูป้ ่ วยและผูท้ ่ีได้รบั ผลกระทบจากอุบตั ิการณ์
5. อบรมบุคลากรเรือ่ งการรายงานและจัดการความเสี่ยง
6. ดูแลบุคลากรที่ได้รบั ผลกระทบจากอุบตั ิการณ์(2nd Victim)
ประเมินประสิ ทธิภาพระบบบริ หารความเสี่ ยง
1. การค้นหาและรายงานความเสี่ยง
2. การวิเคราะห์ขอ้ มูลความเสี่ยง
3. การตอบสนองและจัดการความเสี่ยง
4. การเรียนรูจ้ ากเหตุไม่พงึ ประสงค์และปรับปรุงระบบเพื่อป้องกันการเกิดเหตุซา้ํ
5. การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
Human Factor Engineering
• คนมีความผันผวนแปรเปลี่ยนได้ตลอดเวลา
• การปรับสิ่งแวดล้อม สิ่งของ อุปกรณ์ตา่ งๆ เพือ่ ให้คนเกิดความผิดพลาด
คลาดเคลื่อนได้ยากขึน้ เกิดความปลอดภัยมากขึน้
• การใช้สื่อ สี ระบบ ป้ าย แบบฟอร์ม เพือ่ ให้เกิดความแน่นอนใน
กระบวนการดูแลรักษา
การลดความเสี่ ยงโดยใช้หลัก
Human Factor Engineering
• Labeling: sticker สีระบุปีทีย่ าหมดอายุ, iv.สีรุ้ง
• Warning or Alarm- การใช้ธงสัญญานระบุอาการไข้ของเด็ก ,ฉลากสีแดงระบุยา
HAD,, ป้ ายระบุผู้ป่วยติดเชือ้ MDR, ป้ ายเตือนผู้ป่วยเสี่ยงตกเตียง
• Software program-การใช้ระบบ pop up เตือนแพ้ยาในระบบคอมพิวเตอร์,
Application ช่วยคํานวนขนาดยาในผู้ป่วยเด็ก
• Information display- จอ monitor และ Alarm ใน ICU, ป้ ายหน้า
counter พยาบาลระบุเตียงผู้ป่วยทีต่ อ้ งส่ง consult
• Paper form-การใช้ใบ check list การเตรียมผ่าตัด
การลดความเสี่ ยงโดยใช้หลัก
Human Factor Engineering
• Cognitive aids: การทําเครื่องหมาย (mark site)ในด้านทีจ่ ะทําการผ่าตัด
• Workplace: การจัดวาง/จัดเก็บเช่น ยา LASA, ยาเสพติดในตูเ้ ก็บแยก,
• Design: หัวต่อท่อ oxygen และNO2 ต่อสลับกันไม่ได้
• Process/Activity flow : CPG,แผนผัง/ Flow การทํางาน
• Training/Education : การอบรม CPR,ซ้อมแผนอุบัตภิ ยั
• Decision support system: ทีมตรวจการพยาบาล
• Policy & Protocol: กําหนดให้มีการทําTime out ก่อนผ่าตัดทุกครั้ง
Process Design & Process Control
Process Design Process Control
• กําหนดให้มีการทํา Time out ทุกครัง้ ก่อน • ถ้าไม่มีการทํา Time Out วิสญ ั ญีแพทย์จะไม่
ผ่าตัด เริม่ ดมยา
• วางระบบในการให้ ATB ในผูป้ ่ วย Fast Tract • กําหนดให้มี Case manager ติดตามผูป้ ่ วย
Sepsis ใน 60 นาที Sepsis จนไปถึงหอผูป้ ่ วย
• กําหนดให้มีการรายงานผล Lab ค่าวิกฤตทุกครัง้ • วางระบบล็อคหน้าจอไม่ให้รายงานผลเข้าระบบ
ถ้าไม่ระบุช่ือพยาบาลที่รบั แจ้งผลค่าวิกฤต
• ใช้เกณฑ์ EWS ในการประเมินผูป้ ่ วยกลุม่ เสี่ยง • ค่าสัญญาณชีพที่วดั ได้จะถูกคํานวนค่า EWS
สูงทุกคน และมีไฟเตือนบนหน้าจอของพยาบาล
Workshop: การทบทวนสู่ การออกแบบระบบงานสําคัญ PCT & RM

• จงเอาประเด็นที่ได้จากการทําRCA ในช่วงเช้า มาออกแบบระบบงาน


( Process design ) และควบคุมระบบงาน ( Process Control) ให้
เกิดการปฏิบตั ิตามแนวทางที่กาํ หนด (30 นาที)
• สุม่ โรงพยาบาลเพื่อนําเสนอการทบทวนในที่ประชุม (30 นาที)

You might also like