You are on page 1of 48

Researcher’s Responsibility

Professor Juntra Karbwang Laothavorn MD, PhD


SIDCER –FERCAP Foundation

Globalizing Ethics for Health Research


1
Learning objectives

•ตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบของนักวิจยั
•กําหนดขั<นตอนความรับผิดชอบของช่วงเวลาที@แตกต่างกัน

Globalizing Ethics for Health Research


Researcher’s Responsibility

•ความรับผิดชอบของผูว้ จิ ยั ที5สอดคล้องตาม
• ICH-GCP
• Declaration of Helsinki (2013)
•ความรับผิดชอบในแต่ละช่วงเวลาที5แตกต่างกันของการทําวิจยั

Globalizing Ethics for Health Research


Good Clinical Practice Guidelines 1996, 2016

Good Clinical Practice is an Design Conduct


International ethical and
Scientific quality standards

Record Report

Globalizing Ethics for Health Research


Good Clinical Practice
• Safeguard the rights, safety
and well being of subjects in research
The Responsibilities Ethics • Credibility of data
Committee

Sponsor

Globalizing Ethics for Health Research


Investigator
(ICH E6 GCP 1.34)

คําจํากัดความ
• ผู้รับผิดชอบในการดําเนินการวิจยั ทีส6 ถานทีว6 จิ ยั
• ถ้ าการวิจยั ดําเนินการโดยทีมงานหลายคน ผู้วจิ ยั ทีร6 ับผิดชอบเป็ น
หัวหน้ าทีมอาจเรียกว่ าผู้วจิ ยั หลัก

Globalizing Ethics for Health Research


Good Clinical Practice: แนวคิดพื)นฐาน
1. การคุม้ ครองสิ ทธิ ความปลอดภัย และความเป็ นอยูท่ ี=ดีของอาสาสมัคร
2. ข้อมูลการวิจยั เชื=อถือได้
การขอความยินยอม

‘หลักการเคารพในบุคคล Risk/benefit
หลักผลประโยชน์ assessment

หลักความยุติธรรม' การคัดเลือก
อาสาสมัคร

Globalizing Ethics for Health Research


Protection of Trial Subjects & Quality of Data
การทดลองทางคลินิกจะต้องดําเนินการตามหลักการ ต่อไปนี9 :

! หลักการจริยธรรม
! ประกาศเฮลซิงกิ Declaration of Helsinki Laws &
Regulations

! Good Clinical Practice


Ethical
! ข้อกําหนดของกฎระเบียบ Standards GCP
Protocol

Globalizing Ethics for Health Research


กระบวนการดําเนินงานวิจยั

Data Data Data Study


Protocol
Collection Management Analysis Report

EC EC IRB/IEC
approval approval approval

Globalizing Ethics for Health Research


9
Investigator’s Responsibilities
(ICH E6 GCP 4)
1. คุณสมบัติของผูว้ จิ ยั และข้อตกลง 8. การให้ความยินยอมของอาสาสมัครใน
2. ทรัพยากรที=พอเพียงในการวิจยั โครงการวิจยั
3. การดูแลรักษาความเป็ นอยูท่ ี=ดีแก่อาสาสมัครในการวิจยั 9. การบันทึกและรายงาน
4. การติดต่อกับคณะกรรมการจริ ยธรรม 10. การรายงานความก้าวหน้าของการวิจยั
5. การปฎิบตั ิตามโครงการวิจยั (Protocol) 11. การรายงานความปลอดภัย
6. เครื= องมือแทรกแซงที=ใช้ในการวิจยั 12. การยุติการวิจยั ก่อนกําหนดหรื อการระงับการวิจยั
7. วิธีดาํ เนินการสุ่ มตัวอย่างและการเปิ ดรหัสข้อมูล 13. การรายงานเมื=อเสร็ จสิQ นการวิจยั
เกี=ยวกับการแทรกแซงที=อาสาสมัครได้รับ

Globalizing Ethics for Health Research


มเี วลาพ
อ เพยี งไห มีความสนใจในการทํา
ม?
มีคุณสมบัตพิ อไหม
วิจยั นีห1 รื อไม่ ?
สํ าหรับการวิจยั นี?7

ิทธิ ภ า พ ไหม?
มที มี ทมี; ปี ระส Is
the
sui faci
tab lity
le
Is population
adequate?
การตัดสินใจทําการวิจยั ที1เกี1ยวข้องกับคน

Globalizing Ethics for Health Research


Globalizing Ethics for Health Research
Investigator responsibilities timeline

During the study

Conduction
Pre-study

Close-out
Initiation

Globalizing Ethics for Health Research


การคุม้ ครองอาสาสมัคร

ก่อนการเริม) การวิจยั

- มีการประเมินความเสีย? ง/ผลประโยชน์
=> ช่วงการพัฒนาโครงร่างการวิจยั

Globalizing Ethics for Health Research


การคุม้ ครองอาสาสมัคร หลักการ
การเริ0มต้นและดําเนินการทดลองต่อ
เมือ? ผลประโยชน์ ต่ออาสาสมัครยังคง
สมเหตุสมผลกับความเสีย? งต่ออันตราย
ของอาสาสมัครเท่านันK
=> ถอนอาสาสมัครออกจากการวิจยั
=> หยุดการวิจยั

Globalizing Ethics for Health Research


Before the study
Qualification and Agreements
•มีคุณสมบัติเหมาะสม โดยแสดงใน up-to-date CV
• Training / experience
•มีความคุน้ เคยกับกระบวนการวิจยั วิธีการวิจยั มีความรู ้เกี4ยวกับสถาณะการหรื อโรคที4เกี4ยวข้องใน
การศึกษา โดยทบทวนเอกสารการวิจยั ที4เกี4ยวข้องและโครงการวิจยั โดยละเอียด
•เขียน ทบทวนแก้ไขเอกสารข้อมูลขอความยินยอม
•ตระหนักและพร้อมปฎิบตั ิตาม GCP, SOP และข้อกําหนดของกฎหมาย
•พร้อมให้ความร่ วมมือในการกํากับดูแลและการตรวจสอบ
•มอบหมายงานสําคัญที=เกี=ยวข้องกับการวิจยั ให้ผทู ้ ี=เหมาะสมและจดบันทึกว่าใครมีหน้าที=
อะไรบ้าง
Globalizing Ethics for Health Research
(ICH-GCP 4.1)
Before the study
ทีมผู้วจิ ยั

•เลือกและอบรมผูช้ ่วยงานวิจยั
• ทีมผูว้ จิ ยั CVs
•บันทึกการมอบหมายงานในเอกสาร

Globalizing Ethics for Health Research


Before the study
การติดต่ อกับกรรมการจริยธรรม
•การส่ งเอกสารไปยังคณะกรรมการพิจารณาสถาบัน / คณะกรรมการจริ ยธรรมที4มีคุณสมบัติตามที4 GCP ได้กาํ หนดไว้
•โครงร่ างวิจยั ฉบับล่าสุ ด
•เอกสารใบยินยอมฉบับล่าสุ ด ใบโฆษณาเชิญชวน และเอกสารอื4นๆสําหรับอาสาสมัคร
•วิธีดาํ เนินการคัดเลือกอาสาสมัคร
•เอกสารข้อมูลเกี4ยวกับการศึกษาผลิตภัณฑ์
•CV ของทีมนักวิจยั
•เอกสารอื4นๆที4คณะกรรมการจริ ยธรรมกําหนด
•ตระหนักในความรับผิดชอบในการรายงานความก้าวหน้าและข้อมูลอืAนๆให้คณะกรรมการจริ ยธรรม
(annual progress reports, safety reports, updates)

Globalizing Ethics for Health Research


(ICH-GCP 4.4)
หน้ าที:ของนักวิจยั

• มีทรัพยากรทีเ* พียงพอในการวิจยั

üคัดเลือกอาสาสมัครทีเ/ หมาะสมอย่างเพียงพอภายในเวลาทีก/ าํ หนด


üมีเวลาเพียงพอทีจ/ ะดําเนินงานวิจยั อย่างถูกต้อง
üมีผชู้ ว่ ยวิจยั ทีม/ คี ณ
ุ สมบัตเิ หมาะสมและมีสงิ/ สนับสนุนการวิจยั อย่างพอเพียง ตลอดระยะเวลาดําเนินการวิจยั
üผูว้ จิ ยั ต้องมีความมันใจว่
/ าผูร้ ว่ มดําเนินการวิจยั ทุกคนทราบข้อมูลเกีย/ วกับโครงการวิจยั และหน้าทีข/ องแต่ละคน

Globalizing Ethics for Health Research


การคุม้ ครองอาสาสมัคร

สิทธิ ความปลอดภัย และความ ต้อง…..เหนือกว่าผลประโยชน์ของ


เป็ นอยูท่ ด?ี ขี องอาสาสมัคร Science & Society เสมอ

เมือ* อันตราย > ผลประโยชน์ ต้อง ถอนอาสาสมัครหรือ จบการวิจยั ก่อนกําหนด

Globalizing Ethics for Health Research


During the study
Screening and Recruitment
• การคัดเลือกอาสาสมัคร (Selection of potential subjects)
• Equal opportunity
• Unbiased
• Adequate number within timeline
• ขัQนตอนการขอความยินยอม
• ใครเป็ นผูข้ อ
• ขอเมื/อไหร่ (before any study procedure)
• ขอที/ไหน
• วิธีการขอ
• อิสระในการเข้าร่ วม
• เอกสารยินยอมเป็ นลายลักษณ์อกั ษรที:เหมาะสม

Globalizing Ethics for Health Research


Obtaining Informed Consent
กระบวนการที5อาสาสมัคร มีความสมัครใจ ยืนยันความเต็มใจเพื5อเข้าร่ วมการวิจยั

• ต้องทําตามขัQนตอนทัQงหมดกับอาสาสมัครแต่ละคน
• อาสาสมัคร ลงนามและลงวันที= ใน ICF
• หากไม่รู้หนังสื อควรมีพยานที=เป็ นกลาง
• สําเนา ICF และข้อมูลให้กบั อาสาสมัคร Informed Consent
• ICF ตัวจริ ง– เก็บไว้ในไฟล์ของอาสาสมัคร 'Freely Given'
• เมื=อมีขอ้ มูลใหม่ที=สาํ คัญเพิ=มเติม ต้องแจ้งให้อาสาสมัครทราบเพื=อการตัดสิ นใจใหม่

Globalizing Ethics for Health Research


(ICH GCP 4.8)
During the study
การดูแลอาสาสมัคร

•รับประกันการดูแลความเป็ นอยูท่ ี7ดีของอาสาสมัคร


•เมื7ออาสาสมัครถอนตัวก่อนเสร็ จสิ@ นการวิจยั แม้วา่
อาสาสมัครไม่จาํ เป็ นต้องแจ้งเหตุผล แต่ผวู ้ จิ ยั ควร
พยายามหาเหตุผลการถอนตัวโดยยังคงเคารพในสิ ทธิ
ของอาสาสมัครอย่างเต็มที7

(ICH-GCP 4.3)
Globalizing Ethics for Health Research
หน้ าที:ของนักวิจยั ในระหว่างการดําเนินการวิจยั

• ดําเนินการวิจยั ตามข้อกําหนดในโครงการวิจยั ทีไ* ด้รบั การอนุมตั จิ ากกรรมการจริยธรรม


• ไม่เบีย* งเบนจากโครงการวิจยั หรือเปลีย* นโดยไม่ได้รบั อนุมตั จิ ากผูใ้ ห้ทนุ และกรรมการจริยธรรม
• บันทึกและอธิบายการดําเนินการวิจยั ทีเ* บีย* งเบน
• ดําเนินการสุม่ ตัวอย่างบันทึกการ screen & enrolment ของอาสาสมัครการวิจยั
• การเปลี=ยนแปลงแก้ไขโครงร่ างการวิจยั ต้องยืน= ขอการอนุมตั ิจากกรรมการจริ ยธรรม
• โครงร่ างการวิจยั ที=แก้ไขจะใช้ได้กต็ ่อเมื=อได้รับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการจริ ยธรรมเท่านัQน

Globalizing Ethics for Health Research


During the study
Randomization and Unblinding

•การปฏิบตั ิตามขัBนตอนการสุ่ มเพืEอหลีกเลีEยงอคติ


•เปิ ดรหัสข้อมูลการรักษาทีEอาสาสมัครได้รับตามทีEกาํ หนดไว้ในโปรโตคอลเท่านัBน
•เปิ ดระหัสเฉพาะในกรณี ฉุกเฉิ นเท่านัBนและควรจดบันทึกและอธิบายให้ผสู ้ นับสนุน และ
กรรมการจริ ยธรรม

(ICH GCP 4.7)


Globalizing Ethics for Health Research
คุณภาพของข้อมูล

ข้อมูลของการวิจยั ด้วยวิธที เ)ี อือ= ให้มคี วามถูกต้อง

} - ในการรายงาน
- การบันทึก
- การควบคุม - ในการแปลผล
- การจัดเก็บ - ในการตรวจสอบ

• ข้อมูลที7บนั ทึกต้องถูกต้อง สมบูรณ์ อ่านออกง่าย


• ผูว้ ิ จยั ให้ความมันใจว่
1 าข้อมูลที1บนั ทึกในเอกสารรายงาน ถูกต้องสมบูรณ์

Globalizing Ethics for Health Research


การคุม้ ครองอาสาสมัคร
• เคารพในความเป็ นส่ วนตัว (privacy)
• การรักษาความลับของข้อมูลบันทึกทีEสามารถระบุตวั ตน
ได้ควรได้รับการปกป้อง
ความปลอดภัยของข้อมูลมีความสําคัญต่อการรักษาความลับ การใช้อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์แบบพกพาในการเก็บ
รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลควรได้รบั การอนุมตั จิ าก กรรมการจริยธรรม และโดยทัวไปต้ K องมีรหัสผ่าน นอกจากนีN ควร
เก็บไฟล์ฉบับพิมพ์ไว้ในตูล้ อ็ คและไฟล์อเิ ล็กทรอนิกส์ทเKี ข้ารหัสไว้บนคอมพิวเตอร์ทมKี กี ารป้ องกันด้วยรหัสผ่าน

Globalizing Ethics for Health Research


During the study
Progress Report
•ในระหว่างการวิจยั หากคณะกรรมการจริ ยธรรมต้องตรวจสอบให้จดั เตรี ยมเอกสารทั@งหมด
ให้คณะกรรมการจริ ยธรรม
•รายงานความก้าวหน้าของการวิจยั อย่างน้อยปี ละหนึ7งครั@ง
•ส่ งข้อมูลให้คณะกรรมการจริ ยธรรมสําหรับ รายงานความปลอดภัย, รายงานการเบี7ยงเบน
•ส่ งรายงานเกี7ยวกับการขอเปลี7ยนแปลงแก้ไขโครงร่ างการวิจยั ที7มีผลกระทบต่อการ
ดําเนินการวิจยั หรื อเพิ7มความเสี7 ยงแก่อาสาสมัครในการวิจยั ส่ งให้ผใู ้ ห้ทุนเพื7อทําความตกลง
และให้คณะกรรมการจริ ยธรรมเพื7ออนุมตั ิ

Globalizing Ethics for Health Research


ICH GCP 4.10
During the study
Premature termination or suspension

➢แจ้งให้อาสาสมัครที=กาํ ลังอยูใ่ นการวิจยั ทราบโดยทันทีเมื=อมีการยุติการวิจยั ก่อนกําหนดหรื อถูกระงับ


ชัว= คราว และให้การรักษาที=เหมาะสมรวมทัQงให้มีการติดตามผลที=เหมาะสม
➢รายงานการจบการวิจยั ก่อนกําหนด หรื อ การระงับชัว= คราว
• สถาบัน
• กรรมการจริ ยธรรม
• องค์กรกํากับดูแล

Globalizing Ethics for Health Research


ICH-GCP 4.12
After the study
Trial materials

➢ ปฏิบตั ิตามคําแนะนําของผูส้ นับสนุนสําหรับการ


ส่ งคืน / ทําลาย / การใช้ผลิตภัณฑ์หรื อวัสดุทดลอง
➢ บันทึกการส่ งคืนเอกสาร / การทําลายผลิตภัณฑ์
หรื อวัสดุที7ใช้ในการวิจยั

Globalizing Ethics for Health Research


After the study
Final Reports

➢ รายงานการเสร็ จสิB นการวิจยั และ


สรุ ปผลการวิจยั :
• สถาบัน
• กรรมการจริ ยธรรม
• องค์กรควบคุม

Globalizing Ethics for Health Research


ICH-GCP 4.13
After the study – Archiving
(ICH E6 GCP 4.9.6)

เอกสารสําคัญควรเก็บรักษาไว้อย่างน้อย 2 ปี หลังจากการการตีพิมพ์
… เอกสารเหล่านี@ควรได้รับการเก็บรักษาไว้เป็ นระยะเวลานานขึ@น อย่างไรก็ตามหากจําเป็ นตาม
ข้อกําหนดด้านกฎระเบียบที7เกี7ยวข้องหรื อโดยข้อตกลงกับผูส้ นับสนุน เป็ นความรับผิดชอบของ
ผูส้ นับสนุนที7จะต้องแจ้งให้ผวู ้ จิ ยั / สถาบันทราบว่าเมื7อใดที7ไม่จาํ เป็ นต้องเก็บเอกสารเหล่านี@อีก
ต่อไป

Globalizing Ethics for Health Research


“…one irresponsible investigator can do grave harm, not only to himself, to his human subject,
to his project, and to his institution, but also to the area of medical experimentation and,
indeed, to the entire field of medicine.”

“นักวิจัยที@ขาดความรั บผิดชอบคนหนึ@งสามารถทําอันตรายร้ ายแรงได้ ไม่ เพียงแต่ กับตัวนักวิจัย


เอง ต่ ออาสาสมัครของเขา ต่ อโครงการของเขาและต่ อสถาบันของเขาเท่ านัMน แต่ ยงั รวมถึงการ
วิจัยทางการแพทย์ และในสาขาการแพทย์ ทัMงหมดด้ วย”

Henry K. Beecher, “Ethics and Clinical Research”,


New England Journal of Medicine. 1966;274(24):pp.1354-1360

Globalizing Ethics for Health Research


”..to preserve public trust in research, the scientific
community must go beyond a culture of compliance-it must
strive for a culture of conscience--one in which we do the
right thing not because we are required to, but because it is
the right thing to do...”

Dr. Koski 16 Oct 2002

Globalizing Ethics for Health Research


Conflict of Interest

Globalizing Ethics for Health Research


Conflict Of Interest (COI)

What A conflict of interest is a set of condition


in which professional judgment on a
is primary interest (such as the validity of
COI? research) tends to be unduly influenced
by a secondary interest (financial,
personal or organizational).

Globalizing Ethics for Health Research


COI

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์เป็ นสถานการณ์ทางการเงินหรือ
ผลประโยชน์สว่ นตัว ทีทC าํ ให้การตัดสินใจขาดความเป็ นมืออาชีพ
มีอคติ และขาดความเป็ นกลาง

Globalizing Ethics for Health Research


The Interest
•The Researcher’s primary interest: the integrity of research
•The secondary interest is usually not illegitimate in itself, and it may even be a
necessary and desirable part of professional practice
•Only its relative weight in professional decisions is problematic

Globalizing Ethics for Health Research


Why does COI matter in research?

อาจเกีย* วข้องกับการ
ทําลายความเชือ* มัน*
คุกคามความสมบูรณ์ บาดเจ็บและการ
ของสาธารณชนใน
ทางวิทยาศาสตร์ เสียชีวติ ของผูเ้ ข้าร่วม
วิทยาศาสตร์
การวิจยั

Globalizing Ethics for Health Research


Bias อคติ
Bias can be too subtle to recognize and too difficult to control

Bias may influence How research questions are selected and framed,

The choice of research design,

The selection of research participants,

How the data are collected, analyzed, interpreted,


published

Globalizing Ethics for Health Research


Type of COI
Tangible Intangible (Vague)
• Financial relationship • Academic COI
• Academic research + commercial • Appointment, promotion, grant
interest • Relationship
• Financial payment • Commitment
• Consulting fee
• Gift, trip etc.

Globalizing Ethics for Health Research


COI สามารถโน้ มน้ าวการตัดสินใจและลดความเป็ นกลาง

แรงกดดันในการหาทุน การตีพมิ พ์
การแต่งตังO ในตําแหน่งสําคัญ การ A desire to validate a
เลือ* นตําแหน่ง การสําเร็จการศึกษา theory or pressures to
การได้รบั ความเคารพจากเพือ* น get a specific result
ร่วมงาน

Globalizing Ethics for Health Research


Financial Conflict of Interest
• Unacceptable risk that primary interest unduly influenced by secondary interest
• Conclusions may be biased

The published VIGOR study Among journal article authors who concluded
obscured the Cardiovascular risk Avandia does NOT increase the risk, 86% had
associated with Vioxx financial relationships with GlaxoSmithKline.

Globalizing Ethics for Health Research


Recognize
COI

Analyze • ผลกระทบ ของ COI ต่อการตัดสินใจ


COI • การตัดสินใจที6อาจได้รบั อิทธิพลหรือ ถูกโน้ มน้ าว โดย COI

Control • การเปิดเผย ไม่เข้าร่วมกิจกรรมบางอย่าง หรือเลิกยุ่งกับ


COI จากกิจกรรมโดยสิFนเชิง หรือ ให้มีการกํากับดูแลเพิ6มเติม
ฯลฯ

Globalizing Ethics for Health Research


Assessing severity of COI

ความเสีย* งต่ออาสาสมัคร • จะเพิม* ความเสีย* งได้มากน้อยแค่ไหน?

ความเสีย* งต่ออคติใน
การเก็บรวบรวม • กระทบต่อความสมบูรณ์ของข้อมูลมากน้อยเพียงใด
วิเคราะห์ และรายงาน

เสีย* งต่อชือ* เสียง • สามารถทําลายชือ* เสียงได้มากน้อยเพียงใด

Source: Adapted from AAMC-AAU 2008


Globalizing Ethics for Health Research
Case study

•นักวิจยั เสนอให้วเิ คราะห์ biomarkers จากตัวอย่างทีเC หลือจากการผ่าตัดเนืHองอกในการ


ดูแลทางการแพทย์ตามปกติ
•ผูว้ จิ ยั เป็ นศัลยแพทย์ระบบประสาท กําลังศึกษาระดับปริญญาเอก
•หลังจากได้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการจริยธรรมแล้ว ผูว้ จิ ยั ได้ทาํ การผ่าตัดมากขึนH กว่าทีC
เคยเป็ นมา รวมทังH การตัดชินH เนืHอจากเนืHองอกในก้านสมอง ส่งผลให้ผปู้ ่ วยทรุดลงอย่าง
รวดเร็ว

Globalizing Ethics for Health Research


Conclusion

•นักวิจยั ต้องตระหนัก ยอมรับ ประเมิน และจัดการ กับ COI เพือ? ปกป้ องความ
สมบูรณ์ของการตัดสินใจอย่างมืออาชีพและเพือ? รักษาความไว้วางใจของสาธารณะชน
•การเปิ ดเผยเป็ นสิง? สําคัญแต่เป็ นแค่ขนั K ตอนแรกในกระบวนการระบุและตอบสนองต่อ
COI

Globalizing Ethics for Health Research


“.....อย่าทํางานด้วยตัณหา อย่าขับเคลือ) นชีวติ ด้วยความอยากมีอยากได้
อยากเป็ น อย่าให้อาํ นาจวัตถุบงั ตาจนไม่รจู้ กั ผิดชอบชัวดี
) จงขับเคลือ) นชีวติ
และการงานด้วยฉันทะ ความรัก ความเมตตา ด้วยประโยชน์ของเพือ) น
มนุษย์...”

จาก สมเด็จพระขนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงกล่าวให้สมั ภาษณ์

Globalizing Ethics for Health Research

You might also like