You are on page 1of 202

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
เรือ่ ง หลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการ

โดยทีป่ ระกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีว


อนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ลงวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2538 กําหนดใหนายจางตองจัดให
มีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ประกอบดวย กรรมการผู
แทนระดับบังคับบัญชา และผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการและตามขอ 8 (2) กําหนดการคัดเลือก
กรรมการผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่อธิบดีกําหนด อธิบดีกรม
สวัสดิการและคุมครองแรงงานจึงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการไวดัง
ตอไปนี้

ขอ 1 การคัดเลือกผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการใหคัดเลือกจากลูกจางระดับปฏิบัติการซึ่งหมายถึง
ลูกจางระดับตํากว
่ าหัวหนาฝาย หัวหนางาน หรือเทียบเทา ซึ่งเปนผูปฏิบัติงานอยูในสถานประกอบกิจการ
นั้น
ผูแ ทนลูกจางระดับปฏิบัติการตามวรรคหนึ่งควรเปนผูมีความรูความเขาใจและเห็นความสําคัญของ
การปฏิบตั หิ นาที่ในฐานะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ทั้งนี้
เพือ่ ใหเปนผูมีสวนรวมในการสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดความปลอดภัยในการทํางานอยางแทจริง

ขอ 2 สถานประกอบกิจการที่มีคณะกรรมการลูกจางตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ
พ.ศ.2518 ใหนายจางแจงคณะกรรมการลูกจางภายในสามวันนับแตวันที่ประกาศกระทรวงแรงงานและ
สวัสดิการสังคม เรื่อง คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานมีผล
ใชบงั คับ หรือภายในสามวันนับแตวันที่มีลูกจางเพิ่มขึ้นครบหาสิบคนหลังจากวันที่ประกาศดังกลาวมีผลใช
บังคับทําการคัดเลือกลูกจางในสถานประกอบกิจการนั้นเปนผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการ
ใหคณะกรรมการลูกจางทําการคัดเลือกผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ได
รับแจงจากนายจางและแจงรายชื่อผูที่ไดรับการคัดเลือกใหนายจางทราบภายในสามวันนับแตวันที่ไดทํา
การคัดเลือก

ขอ 3 สถานประกอบกิจการที่ไมมีคณะกรรมการลูกจางแตมีลูกจางเปนสมาชิกสหภาพแรงงาน
เกินกึง่ หนึง่ ของจํานวนลูกจางทั้งหมดในสถานประกอบกิจการนั้น ใหนายจางแจงตอสหภาพแรงงานภาย
ในสามวันนับแตวันที่ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง คณะกรรมการความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานมีผลใชบังคับ หรือภายในสามวันนับแตวันที่มีลูกจางเพิ่ม
ขึน้ ครบหาสิบคนหลังจากวันที่ประกาศดังกลาวมีผลใชบังคับทําการคัดเลือกผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการ

2- 193
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ใหสหภาพแรงงานทําการคัดเลือกผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับแจง
จากนายจางและแจงรายชื่อผูที่ไดรับการคัดเลือกใหนายจางทราบภายในสามวันนับแตวันที่ไดทําการคัด
เลือก

ขอ 4 ในกรณีที่สถานประกอบกิจการมีทั้งคณะกรรมการลูกจางและสหภาพแรงงานตามขอ 2
และ ขอ 3 ใหนายจางและคณะกรรมการลูกจางดําเนินการตามขอ 2

ขอ 5 กรณีที่สถานประกอบกิจการมีทั้งคณะกรรมการลูกจางและสหภาพแรงงานตามขอ 2 และ


ขอ 3 หรือมีสหภาพแรงงานแตจํานวนลูกจางเปนสมาชิกไมเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนลูกจางทั้งหมดในสถาน
ประกอบกิจการนั้น ใหนายจางแตงตั้งลูกจางระดับปฏิบัติการซึ่งไมประสงคจะรับการคัดเลือกเปนผูแทน
ลูกจางระดับปฏิบัติการจํานวนไมนอยกวาสามคน แตไมเกินหาคน เปนคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือก
ผูแ ทนลูกจางระดับปฏิบัติการภายในสามวัน นับแตวันที่ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
เรือ่ ง คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานมีผลใชบังคับ หรือภาย
ในสามวันนับแตวันที่มีลูกจางเพิ่มขึ้นครบหาสิบคนหลังจากวันที่ประกาศดังกลาวมีผลใชบังคับ

ขอ 6 ใหนายจางแจงใหลูกจางที่ไดรับการแตงตั้งเปนคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกทราบและ
ปดประกาศรายชื่อคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกไวในที่เปดเผยเพื่อใหลูกจางทราบทั่วกันภายในสาม
วันนับแตวันที่แตงตั้ง

ขอ 7 ใหคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกตามขอ 5 ดําเนินการดังนี้


(1) ประกาศกําหนดวัน เวลา และสถานที่รับสมัครเปนผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการภายในสาม
วันนับแตวันไดรับแจงจากนายจาง
(2) กําหนดวัน เวลา เริ่มตน และสิ้นสุดใหลูกจางยื่นใบสมัครไดภายในระยะเวลาไมเกินหาวัน
นับ
จากวันประกาศรับสมัคร
(3) ประกาศจํานวนผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการที่จะไดรับการคัดเลือก(จํานวน 2 คน สําหรับ
สถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแต 50-99 คน จํานวน 3 คน สําหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจาง
ตัง้ แต 100-499 คน จํานวน 5 คน สําหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแต 500 คน ขึ้นไปหรือ
ตามจํานวนที่ฝายนายจางกับฝายลูกจางตกลงกันแตตองไมนอยกวาจํานวนขางตน)

ขอ 8 ใหลกู จางระดับปฏิบัติการในสถานประกอบกิจการทุกคนซี่งมิใชผูไดรับการแตงตั้งเปนคณะ


กรรมการดําเนินการคัดเลือกมีสิทธิสมัครเปนผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการภายในระยะเวลาตามขอ 7(2)

ขอ 9 เมือ่ สิ้นสุดระยะเวลาการรับสมัครตามขอ 7(2) แลว หากปรากฎวามีลูกจางสมัครเขารับ


การคัดเลือกเทากับจํานวนผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการตามขอ 7(3) ใหถือวาลูกจางที่สมัครเขารับการ
คัดเลือกนั้นเปนผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการทุกคน

2- 194
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 10 ในกรณีมีผูสมัครไมครบ ใหคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกแจงชื่อผูสมัครนั้นใหนาย


จางทราบภายในสามวันนับแตวันสิ้นสุดการรับสมัคร โดยใหถือวาผูสมัครนั้นเปนผูแทนลูกจางระดับ
ปฏิบตั กิ าร และใหคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกเปนผูคัดเลือกผูแทนลูกจางในสวนที่ขาด ภายใน
กําหนดเจ็ดวันนับแตวันสิ้นสุดการรับสมัคร
ในกรณีไมมีผูสมัครเขารับการคัดเลือก ใหคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกเปนผูคัดเลือกผูแทน
ลูกจางระดับปฏิบัติการทั้งจํานวน ภายในกําหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง
ใหคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกแจงชื่อผูแทนลูกจางที่ไดรับการคัดเลือกใหนายจางทราบภาย
ในสามวันนับแตวันคัดเลือก

ขอ 11 ในกรณีที่มีผูสมัครเกินกวาจํานวนผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการ ตามขอ 7 (3) ใหคณะ


กรรมการดํ าเนินการคัดเลือกดํ าเนินการเพื่อใหไดรายชื่อผูแทนลูกจางภายในสิบวันนับแตวันสิ้นสุดการ
ประกาศรับสมัคร โดยใหดําเนินการดังนี้
(1) ประกาศรายชื่อและหมายเลขประจําตัวผูสมัคร
(2) ประกาศกําหนดสถานที่ วัน เวลา ลงคะแนนคัดเลือกผูแทนลูกจาง
(3) จัดใหมีบัตรคัดเลือกผูแทนลูกจาง
(4) จัดหีบหรือกลองรับบัตรคัดเลือกผูแทนลูกจาง

ขอ 12 ใหคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกมอบบัตรคัดเลือกใหแกลูกจางผูใชสิทธิ โดยใหคณะ


กรรมการดําเนินการคัดเลือกจดแจงชื่อของลูกจางผูมาใชสิทธิไวเปนหลักฐาน
ใหลกู จางผูใชสิทธิเขียนชื่อหรือหมายเลขประจําตัวของผูสมัครลงในบัตรคัดเลือก แลวมอบใหคณะ
กรรมการดําเนินการคัดเลือกหยอนลงในหีบหรือกลองรับบัตรคัดเลือกผูแทนลูกจาง
ใหคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกตรวจนับคะแนนในที่เปดเผย หลังจากสิ้นสุดเวลาลงคะแนน
คัดเลือกแลว
ใหคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกรวมคะแนนที่ผูสมัครแตละคนไดรับโดยเปดเผยเรียงลําดับ
ตามคะแนนจากมากไปหานอย
ผูไดรับคะแนนสูงสุดตามลําดับเปนผูไดรับการคัดเลือกใหเปนผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการนอก
นัน้ เปนผูแทนสํารอง
ใหคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกประกาศผลการคัดเลือกใหลูกจางทราบทั่วกันและแจงรายชื่อ
ผูแ ทนลูกจางระดับปฏิบัติการและผูแทนสํารองใหนายจางทราบภายในสามวันนับแตการคัดเลือกสิ้นสุดลง

ขอ 13 ใหนายจางแตงตั้งผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการที่ไดรับการคัดเลือกจากคณะกรรมการ
ลูกจาง สหภาพแรงงาน หรือคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกเปนคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีว
อนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานตามกฎหมาย

ขอ 14 ในกรณีที่คณะกรรมการลูกจาง สหภาพแรงงาน หรือคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือก


แลวแตกรณีไมสามารถดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการตามที่กฎหมายกําหนด ให
นายจางเปนผูดําเนินการคัดเลือก

2- 195
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 15 สถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแตหาสิบคนขึ้นไปแตไมถึงหนึ่งรอยคน ซึ่งไมมีทั้ง


คณะกรรมการลูกจางและสหภาพแรงงานตามขอ 2 และขอ 3 คณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกอาจจัด
ประชุมลูกจางพรอมกันทั้งสถานประกอบกิจการเพื่อคัดเลือกผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการก็ใหกระทําได
การประชุมตองประกอบไปดวยลูกจางระดับปฏิบัติการเกินกึ่งหนึ่งของลูกจางระดับปฏิบัติการทั้ง
หมดในสถานประกอบกิจการนั้น
ใหผูไดรับคะแนนสูงสุดตามลํ าดับเปนผูไดรับการคัดเลือกใหเปนผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการ
นอกนั้น เปนผูแทนสํารอง
ใหคณะกรรมการดําเนินการคัดเลือกประกาศผลการคัดเลือกใหลูกจางทราบทั่วกันและแจงรายชื่อ
ผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการที่ไดรับการคัดเลือกและผูแทนสํารองใหนายจางทราบภายในสามวันนับแต
การประชุมคัดเลือกสิ้นสุดลง

ขอ 16 ใหผแู ทนลูกจางระดับปฏิบัติการซึ่งไดรับการแตงตั้งตามขอ 13 มีหนาที่และสิทธิในฐานะ


กรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานนับแตวันที่ไดรับการแตงตั้ง
เปนตนไป

ขอ 17 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายในการปฏิบัติตามประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2538

รังสฤษฏ จันทรัตน
อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

2- 196
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16


มีนาคม 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยสําหรับ
ลูกจางไว ดังตอไปนี้

ความทั่วไป

ขอ 1 ในประกาศนี้
“เครื่องจักร” หมายความวา สิ่งที่ประกอบดวยชิ้นสวนหลายชิ้นสําหรับใหกอกําเนิดพลังงาน
เปลีย่ นหรือแปลง สภาพพลังงาน หรือสงพลังงาน ทั้งนี้ ดวยกําลังนํ้า ไอนํ้า เชื้อเพลิง ลม แกส ไฟฟา หรือ
พลังงานอืน่ อยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึง เครื่องอุปกรณไฟลวีล
ปุลเล สายพาน เพลา เกียร หรือสิ่งอื่นที่ทํางานสัมพันธกัน และรวมถึงเครื่องมือกลดวย
“หมอไอนํา” ้ หมายความวา ภาชนะซึ่งสรางขึ้นเพื่อผลิตไอนํ้า ซึ่งมีความดันสูงกวาความดันของ
บรรยากาศปกติ
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวม
ถึงผูซ งึ่ ไดรับ มอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวาผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคล นั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทํา
การแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจาง
ดวยตนเอง หรือไมก็ตาม และหมายความรวมถึงลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราว แตไมรวมถึงลูกจางซึ่ง
ทํางานเกี่ยวกับงานบาน
“ลูกจางประจํา” หมายความวา ลูกจางซึ่งนายจางตกลงจางไวเปนการประจํา
“ลูกจางชัว่ คราว” หมายความวา ลูกจางซึ่งนายจางตกลงจางไวไมเปนการประจํา เพื่อทํางานอันมี
ลักษณะเปนครั้งคราว เปนการจร หรือเปนไปตามฤดูกาล

หมวด 1
การใชเครื่องจักรทั่วไป

ขอ 2 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักรสวมใสหมวก ถุงมือ แวนตา หนา

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 93 ตอนที่ 101 วันที่ 10 สิงหาคม 2519


2- 1
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

กาก เครือ่ งปองกันเสียง รองเทาพื้นยางหุมสน หรือเครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคลอื่น ๆ ตามสภาพ


และลักษณะของงาน และใหถือเปนระเบียบปฏิบัติงานของสถานประกอบการตลอดเวลาที่ลูกจางปฏิบัติ
งานนั้น

ขอ 3 ใหนายจางดูแลลูกจางสวมใสเครื่องนุงหมใหเรียบรอย รัดกุม ไมขาดรุงริ่ง ในกรณีที่


ทํางานเกีย่ วกับการ ใชไฟฟา จะตองใหลูกจางสวมเครื่องนุงหมที่ไมเปยกนํ้า

ขอ 4 ใหนายจางดูแลมิใหลูกจางซึ่งมีผมยาวเกินสมควร และมิไดรวบหรือทําอยางหนึ่งอยาง


ใดใหอยูใ นลักษณะที่ปลอดภัย หรือสวมใสเครื่องประดับอื่นที่อาจเกี่ยวโยงกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดได เขาทํางาน
เกี่ยวกับเครื่องจักร

ขอ 5 ใหนายจางจัดใหมีอุปกรณเพื่อปองกันอันตรายจากเครื่องจักร ดังตอไปนี้


(1) เครือ่ งจักรทีใ่ ชพลังงานไฟฟา ตองมีสายดินเพื่อปองกันกระแสไฟฟารั่วตามมาตรฐานเพื่อ
ความปลอดภัยทางไฟฟาของสํานักงานพลังงานแหงชาติทุกเครื่อง
(2) เครือ่ งจักรทีใ่ ชพลังงานไฟฟา ตองมีสายไฟฟาเขาเครื่องจักรโดยฝงดินหรือเดินลงมาจากที่
สูง ทัง้ นีใ้ หใช ทอรอยสายไฟฟาใหเรียบรอย เวนแตใชสายไฟฟาชนิดที่มีฉนวนหุมเปนพิเศษ
(3) เครือ่ งจักรสําหรับปมวัตถุซึ่งใชนํ้าหนักเหวี่ยง ใหติดตั้งตัวนํ้าหนักเหวี่ยงไวสูงกวาศีรษะผู
ปฏิบตั งิ านพอสมควร เพื่อไมใหเกิดอันตรายแกผูปฏิบัติงาน หรือใหจัดทําเครื่องปองกันอยางหนึ่งอยางใด
ใหมคี วามปลอดภัยตอลูกจาง และจะตองไมมีสายไฟฟาอยูในรัศมีของนํ้าหนักเหวี่ยง
(4) เครือ่ งจักรสําหรับปมวัตถุโดยใชเทาเหยียบ ตองมีที่พักเทาและมีที่ครอบปองกันมิใหเหยียบ
โดยไมตั้งใจ
(5) เครือ่ งจักรสําหรับปมวัตถุโดยใชมือปอน ตองมีเครื่องปองกันมือใหพนจากแมปมหรือจัด
หาเครื่องปอนวัตถุแทนมือ
(6) เครือ่ งจักรที่ใชพลังงานไฟฟาปมหรือตัดวัตถุที่ใชมือปอน ตองมีสวิตชสองแหงหางกันเพื่อ
ใหผปู ฏิบัติงาน ตองเปดสวิตชพรอมกันทั้งสองมือ
(7) เครือ่ งจักรชนิดอัตโนมัติ ตองมีสีเครื่องหมายปด เปด ที่สวิตชอัตโนมัติตามหลักสากล และ
มีเครือ่ งปองกันมิใหสิ่งหนึ่งสิ่งใดกระทบสวิตช เปนเหตุใหเครื่องจักรทํางานโดยมิไดตั้งใจ
(8) เครือ่ งจักรที่มีการถายทอดพลังงานโดยใชเพลา สายพาน ปุลเล ไฟลวีล ตองมีตะแกรงเหล็ก
เหนียว ครอบสวนที่หมุนไดและสวนสงถายกําลังใหมิดชิด ถาสวนที่หมุนไดหรือสวนสงถายกําลังสูงกวา
สองเมตร ตองมีตะแกรง หรือรั้วเหล็กเหนียวสูงไมตํ่ากวาสองเมตรกั้นลอมใหมิดชิด
สําหรับสายพานแขวนลอยที่มีความเร็วไมนอยกวาหารอยสี่สิบเมตรตอนาที หรือสายพานที่มีชวง
ยาวเกินกวาสามเมตร หรือสายพานที่กวางกวายี่สิบเซนติเมตรหรือสายพานโซ ตองมีที่ครอบรองรับซึ่งเปด
ซอมแซมได
(9) ใบเลื่อยวงเดือนที่ใชกับเครื่องจักรซึ่งอาจเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงานไดตองมีที่ครอบ
ใบเลือ่ ยสวนที่สูงเกินกวาพื้นโตะหรือแทน
(10) เครือ่ งจักรทีใ่ ชเปนเครื่องลับ ฝน หรือแตงผิวโลหะ ตองมีเครื่องปดบังประกายไฟหรือ
เศษวัตถุในขณะใชงาน

2- 2
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 6 กอนการติดตั้งหรือซอมเครื่องจักร หรือเครื่องปองกันอันตรายของเครื่องจักร ใหนาย


จางทําปายปดประกาศไว ณ บริเวณติดตั้งหรือซอมแซม และใหแขวนปายหามเปดสวิตชไวที่สวิตชดวย

ขอ 7 ใหนายจางดูแลใหลูกจางทํางานเกี่ยวกับเครื่องมือกล (Mechanical Equipment) ดังตอ


ไปนี้
(1) ทุกวันกอนนําเครื่องมือกลออกใช ตองตรวจดูใหแนใจวาเครื่องมือกลนั้นอยูในสภาพใชการ
ไดดีและปลอดภัย
(2) เครือ่ งมือกลที่ใชขับเคลื่อนตองมีสภาพที่ผูใชงานสามารถมองเห็นขางหลังได เวนแตจะมี
สัญญาณเสียงเตือน หรือมีผูบอกสัญญาณเมื่อถอยหลัง
(3) ไมนารถยก
ํ รถปนจั่น หรือเครื่องมือสําหรับยกอื่น ๆ ไปใชปฏิบัติงานใกลสายหรืออุปกรณ
ไฟฟาทีม่ กี ระแสไฟฟาใกลกวาระยะหางที่ปลอดภัย ตามที่กําหนดไวในหมวดไฟฟา เวนแต
ก. จะมีแผงฉนวนกั้นระหวางสวนที่มีกระแสไฟฟากับเครื่องมือกลนั้น
ข. เครื่องมือกลนั้นไดตอสายดินไวเรียบรอยแลว
ค. มีฉนวนหุมอยางดี หรือ
ง. ใชมาตรการความปลอดภัยในการใชเครื่องมือกลนั้นเชนเดียวกับวามีกระแสไฟฟาอยู

ขอ 8 หามมิใหนายจางใชหรือยอมใหลูกจางใชเครื่องมือกลทํางานเกินกวาพิกัดที่ผูผลิตกําหนด
ไวสําหรับเครื่องมือกลนั้น

ขอ 9 ใหนายจางจัดใหมีทางเดินเขา ออก จากที่สําหรับปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องจักร มีความ


กวางไมนอยกวา แปดสิบเซนติเมตร

ขอ 10 ใหนายจางจัดทํารั้ว คอกกั้น หรือเสนแสดงเขตอันตราย ณ ที่ตั้งของเครื่องจักร หรือ


เขตทีเ่ ครื่องจักรทํางานที่อาจเปนอันตราย ใหชัดเจนทุกแหง

หมวด 2
ความปลอดภัยเกี่ยวกับหมอไอนํ้า

ยกเลิก โดยขอ 2 แหงประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับ


หมอนํา้ ลงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2535

หมวด 3
การคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

ขอ 19 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานเชื่อมแกสและงานเชื่อมไฟฟา สวมแวน


ตาลดแสงหรือ กระบังหนาลดแสง ถุงมือหนัง รองเทาพื้นยางหุนสนและแผนปดหนาอกกันประกายไฟ
ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

2- 3
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 20 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานลับหรือฝนโลหะดวยหินเจียระไน สวม


แวนตา หรือหนากากชนิดใส ถุงมือผา และรองเทาพื้นยางหุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 21 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานกลึงโลหะ กลึงไม งานไสโลหะ งานไสไม


งานตัดโลหะ สวมแวนตาหรือหนากากชนิดใส ถุงมือผา รองเทาพื้นยางหุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 22 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานปมโลหะ สวมแวนตาชนิดใส ถุงมือผา


และรองเทาพื้นยาง หุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 23 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานชุบโลหะ สวมถุงมือยางและรองเทาพื้น


ยางหุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 24 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานพนสี สวมถุงมือผา และรองเทาพื้นยางหุม


สน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 25 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานยก ขนยาย ติดตั้ง สวมรองเทาหัวโลหะ ถุง


มือหนัง และหมวกแข็ง ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 26 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานควบคุมเครื่องยนต เครื่องจักร หรือเครื่อง


มือกล สวมหมวกแข็ง รองเทาพื้นยางหุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 27 งานใดที่มีลักษณะไมเหมาะสมแกการที่จะใหลูกจางใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัย
สวนบุคคลในการทํ างานตามที่ระบุไวในหมวดนี้ นายจางอาจผอนผันใหลูกจางระงับการใชอุปกรณนั้น
เฉพาะการปฏิบตั ิงานในลักษณะเชนวานั้นเปนการชั่วคราวได

หมวด 4
กําหนดมาตรฐานเกี่ยวกับอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

ขอ 28 อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลตามที่กลาวในหมวด 4 จะตองมีคุณสมบัติ


ไดมาตรฐานขั้นตํ่า ดังตอไปนี้
(1) หมวกแข็ง จะตองมีนํ้าหนักไมเกินสี่รอยยี่สิบสี่กรัม ตองทําดวยวัตถุที่ไมใชโลหะ และตองมี
ความตานทาน สามารถทนแรงกระแทกไดไมนอยกวาสามรอยแปดสิบหากิโลกรัม ภายในหมวกจะตองมี
รองหมวกทําดวยหนัง พลาสติก ผา หรือวัตถุอื่นที่คลายกัน และอยูหางผนังหมวกไมนอยกวาหนึ่ง
เซนติเมตร ซึ่งสามารถปรับระยะไดตามขนาดศีรษะของผูใช เพื่อปองกันศีรษะกระทบกับผนังหมวก
(2) ทีส่ วมรัดผมหรือตาขายคลุมผม ตองทําดวยพลาสติก ผา หรือวัตถุที่คลายกัน หรือใชสวม
หรือคลุมผม แลวสั้นเสมอคอ
(3) แวนตาหรือหนากากชนิดใส ตองมีตัวแวนหรือหนากากทําดวยพลาสติกใส มองเห็นไดชัด
สามารถปองกันแรงกระแทกได กรอบของแวนตาตองมีนํ้าหนักเบา
2- 4
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(4) แวนตาลดแสง ตัวแวนตองทําดวยกระจกสีซึ่งสามารถลดความจาของแสงลงใหอยูในระดับที่


ไมเปนอันตรายตอสายตา กรอบของแวนตาตองมีนํ้าหนักเบาและมีกระบังแสงซึ่งมีลักษณะออน
(5) กระบังหนา ตัวกระบังตองทําดวยกระจกสีซึ่งสามารถลดความจาของแสงลงใหอยูในระดับที่
ไมเปนอันตรายตอสายตา ตัวกรอบตองมีนํ้าหนักเบาและตองไมติดไฟงาย
(6) ปลัก๊ ลดเสียง (ear plugs) ตองทําดวยพลาสติก หรือยาง หรือวัตถุอื่น ใชใสชองหูทั้งสองขาง
ตองสามารถลดระดับเสียงลงไดไมนอยกวา 15 เดซิเบล
(7) ครอบหูลดเสียง (ear muffs) ตองทําดวยพลาสติก หรือยาง หรือวัตถุอื่น ใชครอบหูทั้งสอง
ขาง ตองสามารถลดระดับเสียงลงไดไมนอยกวา 25 เดซิเบล
(8) ถุงมือหนัง ตองมีความยาวหุมถึงขอมือ มีลักษณะใชสวมกับนิ้วมือไดทุกนิ้ว
(9) ถุงมือผา หรือวัตถุอื่นที่มีใยโลหะปน ตองมีความยาวหุมถึงขอมือ มีลักษณะใชสวมกับนิ้วมือ
ไดทุกนิ้ว
(10) รองเทาหนังหัวโลหะ ปลายรองเทาจะตองมีโลหะแข็งหุม สามารถทนแรงกดไดไมนอยกวา
สี่รอยสี่สิบหก กิโลกรัม

ขอ 29 ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวัน นับ


แตวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม 2519

ชูสงา ฤทธิประศาสน
รัฐมนตรีชวยวาการ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 5
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16


มีนาคม 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยสําหรับ
ลูกจางไว ดังตอไปนี้

ความทั่วไป

ขอ 1 ในประกาศนี้
“สภาพความรอน” ความหมายวา อุณหภูมิที่เปนอยูรอบตัวลูกจางในขณะทํางานปกติ
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวม
ถึงผูซ งึ่ ไดรับมอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวา ผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคล นั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทํา
การแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจาง
ดวยตนเองหรือไมก็ตาม และหมายความรวมถึงลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราว แตไมรวมถึงลูกจางซึ่ง
ทํางานเกี่ยวกับงานบาน
“ลูกจางประจํา” หมายความวา ลูกจางซึ่งนายจางตกลงจางไวเปนการประจํา
“ลูกจางชัว่ คราว” หมายความวา ลูกจางซึ่งนายจางตกลงจางไวไมปนการประจํา เพื่อทํางานอันมี
ลักษณะเปนครั้งคราว เปนการจร หรือเปนไปตามฤดูกาล

หมวด 1
ความรอน

ขอ 2 ภายในสถานที่ประกอบการที่มีลูกจางทํางานอยู จะมีสภาพความรอนที่ทําใหอุณหภูมิ


ของรางกายของลูกจางสูงเกินกวา 38 องศาเซลเซียส มิได

ขอ 3 ในกรณีที่ภายในสถานที่ประกอบการมีสภาพความรอนที่ทําใหอุณหภูมิของรางกายของ
ลูกจางสูงกวา 38 องศาเซลเซียส ใหนายจางดําเนินการแกไขหรือปรับปรุงเพื่อลดสภาพความรอนนั้น หาก

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 93 ตอนที่ 148 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2519


2- 6
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แกไข หรือปรับปรุงไมได นายจางจะตองจัดใหลูกจางมีเครื่องปองกันความรอนมิใหอุณหภูมิของรางกาย


ลูกจางสูงกวา 38 องศาเซลเซียส

ขอ 4 ในกรณีที่อุณหภูมิของรางกายลูกจางสูงกวา 38 องศาเซลเซียส นายจางจะตองให


ลูกจางหยุดพักชั่วคราวจนกวาอุณหูมิของรางกายลูกจางจะอยูในสภาพปกติ

ขอ 5 ในที่ที่เปนแหลงกํ าเนิดความรอนที่มีสภาพความรอนสูงถึงขนาดเปนอันตรายแก


สุขภาพอนามัยของบุคคล ใหนายจางปดประกาศเตือนใหทราบ

ขอ 6 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานใกลแหลงกําเนิดความรอนที่ทําใหอุณหภูมิในบริเวณ
นัน้ สูงกวา 45 องศาเซลเซียส สวมชุดแตงกาย รองเทา และถุงมือสําหรับปองกันความรอน ตามมาตรฐาน
ทีก่ าหนดไว
ํ ในหมวด 4 ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

หมวด 2
แสงสวาง

ขอ 7 ภายในสถานที่ประกอบการที่ใหลูกจางทํางาน ดังตอไปนี้


(1) งานทีไ่ มตองการความละเอียด เชน การขนยาย การบรรจุ การบด การเกลี่ยวัตถุชนิดหยาบ
เปนตน ตองมีความเขมของแสงสวางไมนอยกวา 50 ลักซ
(2) งานทีต่ อ งการความละเอียดเล็กนอย เชน การผลิตหรือการประกอบชิ้นงานอยางหยาบ ๆ
การสีขา ว การสางฝาย หรือการปฏิบัติงานขั้นแรกในกระบวนการอุตสาหกรรมตาง ๆ เปนตน ตองมีความ
เขมของแสงสวางไมนอยกวา 100 ลักซ

ขอ 8 ณ ทีท่ ใี่ หลูกจางคนใดคนหนึ่งทํางาน ดังตอไปนี้


(1) งานทีต่ อ งการความละเอียดปานกลาง เชน การเย็บผา การเย็บหนัง การประกอบภาชนะ
เปนตน ตองมีความเขมของแสงสวางไมนอยกวา 200 ลักซ
(2) งานทีต่ อ งการความละเอียดสูงกวาที่กลาวใน (1) แตไมถึง (3) เชน การกลึงหรือแตงโลหะ
การซอมแซมเครื่องจักร การตรวจตราและทดสอบผลิตภัณฑ การตกแตงหนังสัตวและผาฝาย การทอผา
เปนตน ตองมีความเขมของแสงสวางไมนอยกวา 300 ลักซ
(3) งานทีต่ อ งการความละเอียดมากเปนพิเศษ และตองใชเวลาทํางานนาน เชน การประกอบ
เครือ่ งจักรหรืออุปกรณที่มีขนาดเล็ก นาฬิกา การเจียระไนเพชร พลอย การเย็บผาที่มีสีมืดทึบ เปนตน
ตองมีความเขมของแสงสวางไมนอยกวา 1,000 ลักซ

ขอ 9 ถนนและทางเดินภายนอกอาคารในบริเวณสถานที่ประกอบการ ตองมีความเขมของ


แสงสวางไมนอยกวา 20 ลักซ

ขอ 10 ในโกดังหรือหองเก็บวัสดุ ทางเดิน เฉลียง และบันไดในบริเวณสถานที่ประกอบการ


ตองมีความเขมของแสงสวางไมนอยกวา 50 ลักซ
2- 7
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 11 ใหนายจางปองกันมิใหมีแสงตรงหรือแสงสะทอนของดวงอาทิตย หรือเครื่องกําเนิดแสง


ที่มีแสงจาสองเขาตาลูกจางในขณะทํางานในกรณีที่ไมอาจปองกันได ใหนายจางจัดใหลูกจางจัดใหลูกจาง
ซึง่ ทํางานในลักษณะเชนวานั้น สวมใสแวนตา หรือกระบังหนาลดแสง ตามมาตรฐานที่กําหนดไวในหมวด
4 ตลอดเวลาที่ทํางาน

ขอ 12 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานในถํ้า อุโมงค หรือในที่ที่มีแสงสวางไมเพียงพอ สวม


หมวกแข็งที่มีอุปกรณสองแสงสวางตามมาตรฐานที่กําหนดไวในหมวด 4 ตลอดเวลาที่ทํางาน

หมวด 3
เสียง

ขอ 13 ภายในสถานที่ประกอบการที่ใหลูกจางคนใดคนหนึ่งทํางาน ดังตอไปนี้


(1) ไมเกินวันละเจ็ดชั่วโมง ตองมีระดับเสียงที่ลูกจางไดรับติดตอกันไมเกินเกาสิบเอ็ดเดซิเบล
(เอ)
(2) เกินวันละเจ็ดชั่วโมง แตไมเกินแปดชั่วโมง จะตองมีระดับเสียงที่ลูกจางไดรับติดตอกันไม
เกินเกาสิบเดซิเบล (เอ)
(3) เกินวันละแปดชั่วโมง จะตองมีระดับเสียงที่ลูกจางไดรับติดตอกันไมเกินแปดสิบเดซิเบล
(เอ)

ขอ 14 นายจางจะใหลูกจางทํางานในที่ที่มีระดับเสียงเกินกวาหนึ่งรอยสี่สิบเดซิเบล (เอ) มิได

ขอ 15 ภายในสถานที่ประกอบการที่มีระดับเสียงที่ลูกจางไดรับติดตอกันเกินกวาที่กําหนดไว
ในขอ 13 ใหนายจางแกไข หรือปรับปรุงสิ่งที่เปนตนกําเนิดของเสียงหรือทางผานของเสียงมิใหมีระดับ
เสียงดังเกินกวาที่กําหนดไวในขอ 13

ขอ 16 ในกรณีไมอาจปรับปรุงหรือแกไขตามความในขอ 15 ได ใหนายจางจัดใหลูกจางสวม


ใสปลัก๊ ลดเสียง หรือครอบหูลดเสียง ตามมาตรฐานที่กําหนดไวในหมวด 4 ตลอดเวลาที่ทํางาน

หมวด 4
มาตรฐานเกี่ยวกับอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

ขอ 17 หมวกแข็งจะตองมีนํ้าหนักไมเกินสี่รอยยี่สิบสี่กรัม ทําดวยวัตถุที่ไมใชโลหะ และมีความ


ตานทานสามารถทนแรงกระแทกไดไมนอยกวาสามรอยแปดสิบหากิโลกรัม ภายในหมวกจะตองมีรอง
หมวกทําดวยหนัง พลาสติก ผา หรือวัตถุอื่นที่คลายกัน อยูหางผนังหมวกไมนอยกวาหนึ่งเซนติเมตร ซึ่ง
สามารถปรับระยะไดตามขนาดศีรษะของผูใช เพื่อปองกันศีรษะกระทบกับผนังหมวก
สํ าหรับหมวกแข็งที่มีอุปกรณสองแสงสวาง นอกจากจะตองเปนหมวกที่มีมาตรฐานตามวรรค
แรกแลว จะตองมีอุปกรณที่ทําใหมีแสงสวางที่มีความเขมไมนอยกวา 20 ลักซ สองไปขางหนาติดอยูที่
หมวกดวย
2- 8
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 18 ปลัก๊ ลดเสียง (ear Plugs) ตองทําดวยพลาสติก หรือยาง หรือวัตถุอื่นใชใสชองหูทั้งสอง


ขาง ตองสามารถลดระดับเสียงลงไดไมนอยกวา 15 เดซิเบล (เอ)

ขอ 19 ครอบหูลดเสียง (ear Muffs) ตองทําดวยพลาสติก หรือยาง หรือวัตถุอื่น ใชครอบหูทั้ง


สองขาง ตองสามารถลดระดับเสียงลงไดไมนอยกวา 25 เดซิเบล (เอ)

ขอ 20 แวนตาลดแสง ตัวแวนตองทําดวยกระจกสีซึ่งสามารถลดความจาของแสงลงใหอยูใน


ระดับทีไ่ มเปนอันตรายตอสายตา กรอบของแวนตาตองมีนํ้าหนักเบาและมีกระบังแสงซึ่งมีลักษณะออน

ขอ 21 กระบังหนาลดแสง ตัวกระบังตองทําดวยกระจกสี ซึ่งสามารถลดความจาของแสงลงให


อยูใ นระดับที่ไมเปนอันตรายตอสายตา ตัวกรอบตองมีนํ้าหนักเบาและตองไมติดไฟงาย

ขอ 22 ชุดแตงกาย รองเทา และถุงมือ สําหรับปองกันความรอนตามขอ 6 ตองทําดวยวัตถุ


ทีม่ นี าหนั
ํ้ กเบา สามารถกันความรอนจากแหลงกําเนิดความรอนได

หมวด 5
เบ็ดเตล็ด

ขอ 23 ขอกําหนดเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยที่กําหนดไวในประกาศนี้ เปน


มาตรฐานขั้นตํ่าที่จะตองปฏิบัติเทานั้น

ขอ 24 งานใดที่มีลักษณะไมเหมาะสมแกการที่จะใหลูกจางใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัย
สวนบุคคล ดังที่ไดระบุไวในประกาศนี้ นายจางอาจผอนผันใหลูกจางระงับการใชอุปกรณนั้นเฉพาะการ
ปฏิบตั งิ านในลักษณะเชนวานั้นเปนการชั่วคราวได

ขอ 25 ในกรณีทพี่ นักงานเจาหนาที่ตรวจพบวา สภาพความรอน แสงสวางหรือเสียง ในบริเวณ


สถานทีป่ ระกอบการมิไดเปนไปตามที่กําหนดไวในประกาศนี้ ใหพนักงานเจาหนาที่ใหคําแนะนํา ตักเตือน
เปนหนังสือใหนายจางปฏิบัติการใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนดไว

ขอ 26 ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวัน นับ


แตวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2519

คนึง ฤาไชย
รัฐมนตรีชวยวาการฯ รักษาราชการแทน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 9
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม
(สารเคมี)

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16


มีนาคม 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยสําหรับ
ลูกจางไว ดังตอไปนี้

ความทั่วไป

ขอ 1 ในประกาศนี้
“เสนใย” หมายความวา สารที่มีลักษณะเหนียวและยาวคลายเสนดาย มีตนกําเนิดจาก แร พืช
สัตว หรือใยสังเคราะห
“ฝุน ” หมายความวา อนุภาคของของแข็งที่สามารถฟุง กระจาย ปลิว หรือลอยอยูในอากาศได
“ละออง” หมายความวา อนุภาคของของเหลวที่สามารถลอยอยูในอากาศได
“ฟูม” หมายความวา อนุภาคของของแข็งที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวของไอของสาร และสามารถ
ลอยอยูในอากาศได
“แกส” หมายความวา ของไหลมีปริมาตรหรือรูปทรงไมแนนอนที่สามารถฟุง กระจาย และ
เปลีย่ นสภาพเปนของเหลวหรือของแข็งได โดยการเพิ่มความดันหรือลดอุณหภูมิ
“ไอเคมี” หมายความวา ไอที่เกิดขึ้นจากสารเคมีที่เปนของเหลวหรือของแข็งในสภาวะปกติ
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวม
ถึงผูซ งึ่ ไดรับมอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวาผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคลนั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทํา
การแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจาง
ดวยตนเอง หรือไมก็ตาม และหมายความรวมถึงลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราว แตไมรวมถึงลูกจางซึ่ง
ทํางานเกี่ยวกับงานบาน
“ลูกจางประจํา” หมายความวา ลูกจางซึ่งนายจางตกลงจางไวเปนการประจํา
“ลูกจางชัว่ คราว” หมายความวา ลูกจางซึ่งนายจางตกลงจางไวไมเปนการประจํา เพื่อทํางานอันมี
ลักษณะเปนครั้งคราว เปนการจร หรือเปนไปตามฤดูกาล

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 94 ตอนที่ 64 วันที่ 12 กรกฎาคม 2520

2- 10
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

หมวด 1
สารเคมี

ขอ 2 ตลอดระยะเวลาทํางานปกติ ภายในสถานที่ประกอบการที่ใหลูกจางทํางาน จะมีปริมาณ


ความเขมขนของสารเคมีในบรรยากาศของการทํางานโดยเฉลี่ยเกินกวาที่กําหนดไวในตารางหมายเลข 1
ทายประกาศนี้มิได

ขอ 3 ไมว าระยะเวลาใดของการทํ างานปกติ หามมิใหนายจางใหลูกจางทํ างานในที่ที่มี


ปริมาณความเขมขนของสารเคมีเกินกวาที่กําหนดไวในตารางหมายเลข 2 ทายประกาศนี้

ขอ 4 หามมิใหนายจางใหลูกจางทํางานในที่ที่มีปริมาณความเขมขนของสารเคมีเกินกวาที่
กําหนดไวในตาราง หมายเลข 3 ทายประกาศนี้

ขอ 5 หามมิใหนายจางใหลูกจางทํ างานในที่ที่มีปริมาณฝุนแรในบรรยากาศของการทํางาน


ตลอดระยะเวลาการทํางานปกติโดยเฉลี่ยเกินกวาที่กําหนดไวในตารางหมายเลข 4 ทายประกาศนี้

ขอ 6 ภายในสถานที่ประกอบการที่มีการใชสารเคมีที่กําหนดไวในตารางหมายเลข 1, 2, 3
หรือ 4 ซึง่ สภาพของการใชนั้นอาจเปนอันตรายตอผูใชหรือผูอยูใกลเคียง ใหนายจางจัดหองหรืออาคาร
สําหรับการใชสารเคมีไวโดยเฉพาะ

ขอ 7 ในกรณีที่ภายในสถานที่ประกอบการที่มีสารเคมีหรือฝุนแรฟุงกระจายสูบรรยากาศของ
การทํางานเกินกวาที่กําหนดไวในตารางหมายเลข 1, 2, 3, หรือ 4 ใหนายจางดําเนินการแกไขหรือปรับ
ปรุงเพื่อลดความเขมขนของสารเคมี หรือปริมาณฝุนแรมิใหเกินกวาที่กําหนดไวในตารางดังกลาวแลว
หากแกไขหรือปรับปรุงไมได นายจางจะตองจัดใหลูกจางสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวน
บุคคล ตามมาตรฐานที่กําหนดไวในหมวด 2 ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางานเกี่ยวกับสารเคมีที่มีลักษณะหรือ
ปริมาณที่อาจเปนอันตรายตอสุขภาพรางกายของลูกจางดังตอไปนี้
(1) ฝุน ละออง ฟูม แกส หรือไอเคมีตองสวมใสที่กรองอากาศหรือเครื่องชวยหายใจที่เหมาะสม
(2) สารเคมีในรูปของของเหลวที่เปนพิษ ตองสวมใสถุงมือยาง รองเทาพื้นยางหุมแขง กระบัง
หนาชนิดใสและที่กันสารเคมีกระเด็นถูกรางกาย
(3) สารเคมีในรูปของของแข็งที่เปนพิษ ตองสวมใสถุงมือยางและรองเทาพื้นยางหุมสน

หมวด 2
มาตรฐานเกี่ยวกับอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

ขอ 8 ถุงมือยางตองทําดวยยางหรือวัตถุอื่นที่คลายกัน มีความยาวหุมถึงขอมือ มีลักษณะใช


สวมกับนิว้ มือไดทุกนิ้ว มีความเหนียวไมฉีกขาดงาย สามารถกันนํ้าและสารเคมีได

ขอ 9 รองเทายางหุมแขง ตองทําดวยยางหรือยางผสมวัตถุอื่น เมื่อสวมแลวมีความสูงไมนอย


2- 11
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

กวาครึ่งแขง ไมฉีกขาดงาย สามารถกันนํ้าและสารเคมีได

ขอ 10 กระบังหนาชนิดใส ตัวกระบังตองทําดวยพลาสติกใสหรือวัตถุอื่นที่มีลักษณะคลายกัน


มองเห็นไดชัด สามารถปองกันอันตรายจากสารเคมีกระเด็นหรือหกรด และทนแรงกระแทกได ตัวกรอบ
ตองมีนํ้าหนักเบาและตองไมติดไฟงาย

ขอ 11 ที่กรองอากาศสําหรับใชครอบจมูกและปากกันสารเคมี ตองสามารถลดปริมาณความ


เขมขนของสารเคมีมิใหเกินกวาที่กําหนดไวในตารางหมายเลข 1, 2 และ 3

ขอ 12 ที่กรองอากาศสําหรับใชครอบจมูกและปากกันฝุนแร ตองสามารถลดปริมาณฝุนแรมิ


ใหเกินกวาที่กําหนดไวในตารางหมายเลข 4

ขอ 13 เครือ่ งชวยหายใจที่ใชกับ ฟูม แกส หรือไอเคมี ตองเปนแบบหนากากครอบเต็มหนา


ประเภทที่มีถังอากาศสําหรับหายใจอยูในตัว หรือประเภทที่มีทออากาศตอมาจากที่อื่น

ขอ 14 ทีก่ นั อันตรายจากสารเคมีกระเด็น ตองทําดวยผาพลาสติก หนัง หนังเทียม หรือวัตถุอื่น


ที่สามารถกันอันตรายจากสารเคมีได

หมวด 3
เบ็ดเตล็ด

ขอ 15 ขอกําหนดเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยที่กําหนดไวในประกาศนี้เปน
มาตรฐานขั้นตํ่าที่จะตองปฏิบัติเทานั้น

ขอ 16 งานใดที่มีลักษณะไมเหมาะสมแกการที่จะใหลูกจางใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัย
สวนบุคคล ดังที่ระบุไวในประกาศนี้ นายจางอาจผอนผันใหลูกจางระงับการใชอุปกรณนั้นเฉพาะการ
ปฏิบตั งิ านในลักษณะเชนวานั้นเปนการชั่วคราวได

ขอ 17 ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่ตรวจพบวาสารเคมีในบริเวณสถานประกอบการมิไดเปน
ไปตามทีก่ าหนดไว
ํ ในประกาศนี้ ใหพนักงานเจาหนาที่ใหคําแนะนําตักเตือนเปนหนังสือใหนายจางปฏิบัติ
การใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กําหนดไว

ขอ 18 ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับ
แตวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ประกาศ ณ วันที่ 30 พฤษภาคม พุทธศักราช 2520
คนึง ฤาไชย
รัฐมนตรีชวยวาการฯ รักษาราชการแทน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
2- 12
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

บัญชีทา ยประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม (สารเคมี)

ตารางหมายเลข 1

ปริมาณสารเคมี
ลําดับที่ ชื่อสารเคมี สวนในลานสวน มิลลิกรัมตออากาศ
โดยปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร
(p.p.m) (mg/M3)
1. อัลดริน (Aldrin) - 0.25
2. อะซินฟอส-เมทธิล (Azinphos-methyl) - 0.2
3. คลอเดน (Chlordane) - 0.5
4. ดี ดี ที (DDT) - 1
5. ดี ดี วี พี (DDVP) - 1
6. ไดคลอวอส (Dichlorvos) - 1
7. ดิลดริน (Dieldrin) - 0.25
8. ไดเมทธิล 1, 2 ไดโบรโม 2, 2 ไดคลอโรเอทธิลฟอสเฟต (ไดบรอม)
(Dimethyl 1, 2-dibromo 2, 2 dichloroethyl phosphate (Dibrom) - 3
9. เอนดริน (Endrin) - 0.1
10. กูไธออน (Guthion) - 0.2
11. ตะกั่วอารซีเนต (Lead Arsenate) - 0.15
12. ลินเดน (Lindane) - 0.5
13. มาลาไธออน (Malathion) - 15
14. เมธอกซีคลอ (Methoxychlor) - 15
15. นิโคติน (Nicotine) - 0.5
16. ซีสทอกซ (Systox) - 0.1
17. แตลเลียมและสารประกอบที่ละลายได
(Thallium (Soluble compounds) as TI) - 0.1
18. ไธแรม (Tiram) - 5
19. ทอกซาฟน (Toxaphene) - 0.5
20. พาราไธออน (Parathion) - 0.11
21. ฟอสดริน (Pyrethrum) - 0.1
22. ไพริธรัม (Pyrethrum) - 5
23. วารฟฟารีน (Warfarin) - 0.1
24. คารบาริล (เซวิน (อาร)) (Carbaryl (Sevin (R)) - 5
25. 2, 4-ดี (2,4-D) - 10
26. พรารควอท (Paraquat) - 0.5
27. 2, 4,5 ที (2, 4,5 T) - 10
28. กรดนํ้าสม (Acetic Acid) 10 25
29. แอมโมเนีย (Ammonia) 50 35
30. สารหนูและสารประกอบของสารหนู
(Arsenic and Compounds (s As)) - 0.5
31. อารซีน (Arsine 0.05 0.2

2- 13
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

32. ไบฟนิล (Biphenyl) 0.2 1


33. บิสฟนอล เอ (Bisphenol A) 0.5 2.8
34. คารบอนไดออกไซด (Carbon Dioxide) 5,000 9,000
35. คารบอนมอนนอกไวด (Carbon monoxide) 50 55
36. คลอรีน (Chlorine) 1 3
37. คลอรีนไดออกไซด (Chlorine dioxide) 0.1 0.3
38. โครเมี่ยมและสารประกอบของโครเมี่ยม - 1
39. ฟูมของทองแดง - 0.1
40. ฝุนหรือละอองของทองแดง - 1
41. ฝุนฝายดิบ (Cotton Dust (raw)) - 1
42. ไซยาไนด (Chanide as CN) - 5
43. เอทธิล อัลกอฮอล (เอทธานอล) (Ethyl alcohol (Ethanol)) 1,000 1,900
44. ฟลูออไรด (Fluoride (as F)) - 2.5
45. ฟลูออรีน (Fluorine) 0.1 0.2
46. ไฮโดรเจนไซยาไนด (Hydrogen Cyanide) 10 11
47. ฟูมเหล็กออกไซด (Iron Oxide Fume) - 10
48. เมทธิลอัลกอฮอล (เมทะานอล) (Methyl Alcohol (Methanol)) 200 260
49. นิเกิล คารโบนิล (Nickel carbonyl) 0.001 0.007
50. นิเกิล ในรูปของโลหะและสารประกอบที่ละลายได
(Nickel, Metal and Soluble Compounds, as Ni) - 1
51. กรดไนตริค (Nitric acid) 2 5
52. ไนตริคออกไซด (Nitric oxide) 25 30
53. ไนโตรเจนไดออกไซด (Nitroglycerin) 5 9
54. ไนโตรกลีเซอรีน (Nitroglycerin) 0.2 2
55. โซเดียวไฮดรอกไซ (Sodium hydroxide) - 2
56. ซัลเฟอรไดออกไซด (Sulfur dioxide) 5 13
57. กรดกํามะถัน (Sulfuric acid) - 1
58. เตตราเอทธิลเลด (Teriaethyl lead (ad Pb)) - 0.075
59. เตตราเมทธิลเลด (Tetramethyl lead (as Pb)) - 0.07
60. ดีบกุ และสารประกอบอนินทรียของดีบุก - 2
61. ดีบกุ และสารประกอบอินทรียของดีบุก - 0.1
62. ฟนอล (Phenol) 5 19
63. ฟอสจีน (คารโบนิล คลอไรด) (Phosgene (Carbonyl chloride)) 0.1 0.4
64. ฟอสฟน (Phosphine) 0.3 0.4
65. กรดฟอสฟอริค (Phosphoric acid) - 1
66. ฟอสฟอรัส (เหลือง) (Phosphorus (yellow)) - 0.1
67. ฟอสฟอรัส เพนตะคลอไรด ((Phosphorus pentachloride) - 1
68. ฟอสฟอรัส เพนตะซัลไฟด (Phosphorus pentasulfide) - 1
69. ฟอสฟอรัส ไตรคลอไรด (Phosphorus trichoride) 0.5 3
70. ไซลีน (ไซลอล) (Xylene (Xylol)) 100 435
71. ฟูมของสังกะสีคลอไรด (Zinc chloride fume) - 1
72. ฟูมของสังกะสีออกไซด (Zine oxide fume) - 5

2- 14
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ตารางหมายเลข 2

ปริมาณสารเคมี
ลําดับที่ ชื่อสารเคมี สวนในลานสวน มิลลิกรัมตออากาศ
โดยปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร
(p.p.m.) (mg/M3)
1. อัลลิน ไกลซิดิล อีเทอร (Allyl Glycidyl ether (AGE)) 10 45
2. โบรรอน ไตรฟลูออไรด (Boron Tifluoride) 1 3
3. บิวทิลอะไมน (Butylamine) 5 15
4. เทอเทียรี่-บิวทิล โครเมต (Tert-Butyl chromate (as CrO3)) - 0.1
5. คลอรีนไตรฟลูออไรด (Chlorine trifuloride) 0.1 0.4
6. คลอโรอะเซ็ทตัลดีไฮด (Chloroacetaldenyde) 1 3
7. คลอโรฟอรม (ไตรคลอโรมีเทน) (Chloroform (trichloromethane)) 50 240
8. ออโธ-ไดคลอโรเบนซีน (O-Dichlorobenzene) 50 300
9. ไดคลอโรเอทธิล อีเธอร (Dichloroethyl ether) 15 90
10. 1,1-ไดคลอโร-1-ไนโตรอีเทน (1,1-Dichloro-1-nitroethane) 10 60
11. ไดไกลซิดิล อีเทอร (ดี จี อี) (Diglycidyl ether (DGE)) 0.5 2.8
12. เอทธิล เมอรแคปแตน (Ethyl mercaptan) 10 25
13. เอทธีลลีน ไกลคอลไดไนเตรด และ / หรือ ไนโตรไกลเซอรีน
(Ethylene glycol dinitrate and / on Nitroglycerin) 0.2 1
14. ไฮโดรเจน คลอไรด (Hydrogen chloride) 5 7
15. ไอโอดีน (lodine) 0.1 1
16. แมงกานีส (Manganese) - 5
17. เมทธิลโบรไมด (Methyl bromide) 20 80
18. เมทธิล เมอรแคปแตน (Methyl Mercaptan) 10 20
19. แอลฟาเมทธิล สไตรีน (OL Methyl styrene) 100 480
20. เมทธีลลีน บีสฟนิล ไอโซไซยาเนต (เอ็ม ดี ไอ)
(Methylene disphenyl isocyanate (MDI) 0.02 0.2
21. โมโนเมทธิล ไฮดราซิ (Monomethyl hydrazine) 0.2 0.35
22. เทอรเฟนนิลส (Terphenyls) 1 9
23. โทลูอีน-2,4-ไดไอโซไซยาเนต (Toluene-2,4-Diisocyanate) 0.02 0.14
24. ไวนิล คลอไรด (Vinyl chloride) 1 2.8

2- 15
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ตารางหมายเลข 3

ปริมาณสารเคมี
ปริมาณความเขมขนสูงสุด ปริมาณความ
ลําดับ ความเขมขนเฉลี่ย ในชวงเวลาที่จํากัด เขมขนที่อาจยอม
ชื่อสารเคมี
ที่ ตลอดระยะเวลา ระยะเวลาที่ ใหมีได
ทํางานปกติ ปริมาณความเขมขน กําหนดให
ทํางานได
1. เบนซีน (Benzene) 10 สวน/ลานสวน 50 สวน/ลานสวน 10 นาที 25 สวน/ลานสวน
2. เบอริลเลี่ยมและสารประกอบเบอริลเลี่ยม 2 ไมโครกรัม/ 25 ไมโครกรัม/ 30 นาที 5 ไมโครกรัม/
(Berylium and Berylium compounds) ลูกบาศกเมตร ลูกบาศกเมตร ลูกบาศกเมตร
3. ฟูมแคดเมี่ยม (Cadmium fume) 0.1 มิลลิกรัม/ - - 0.3 มิลลิกรัม/
ลูกบาศกเมตร ลูกบาศกเมตร
4. ฝุนแคดเมี่ยม (Cadmium dust) 0.2 มิลลิกรัม/ - - 0.6 มิลลิกรัม/
ลูกบาศกเมตร ลูกบาศกเมตร
5. คารบอนไดซัลไฟด 20 สวน/ลานสวน 100 สวน/ลานสวน 30 นาที 30 สวน/ลานสวน
(Carbondisulfide)
6. คารบอนเตตราคลอไรด 10 สวน/ลานสวน 200 สวน/ลานสวน 5 นาทีใน 25 สวน/ลานสวน
(Carbontetrachloride) ทุกชวงเวลา
4 ชั่วโมง
7. เอทธิลลีน ไดโบรไมด 20 สวน/ลานสวน 50 สวน/ลานสวน 5 นาที 30 สวน/ลานสวน
(Ethylene dibromide)
8. เอทธิลลีน ไดคลอไรด 50 สวน/ลานสวน 200 สวน/ลานสวน 5 นาทีใน 100 สวน/ลานสวน
(Ethylene dichloride) ทุกชวงเวลา
3 ชั่วโมง
9. ฟอรมัลดีไฮด (Formaldehyde) 3 สวน/ลานสวน 10 สวน/ลานสวน 30 นาที 5 สวน/ลานสวน
10. ฝุนฟลูออไรด (Fluoride as dust) 2.5 มิลลิกรัม/ - - -
ลูกบาศกเมตร
11. ตะกั่วและสารประกอบอนินทรียของตะกั่ว 0.2 มิลลิกรัม/ - - -
(Lead and its inorganic compounds) ลูกบาศกเมตร
12. เมทธิล คลอไรด (Methyl chloride) 100 สวน/ลานสวน 300 สวน/ลานสวน 5 นาทีใน 200 สวน/ลานสวน
ทุกชวงเวลา
3 ชั่วโมง
13. เมทธิลลีน คลอไรด 500 สวน/ลานสวน 2,000สวน/ลานสวน 5 นาทีใน 1,000 สวน/
(Methylene chloride) ทุกชวงเวลา ลานสวน
2 ชั่วโมง
14. ออแกนโน (แอลไคล) เมอคิวรี่ 0.01 มิลลิกรัม/ - - 0.04 มิลลิกรัม/
(Organo (alkyl) (mercury)) ลูกบาศกเมตร ลูกบาศกเมตร
15. สไตรีน (Styrene) 100 สวน/ลานสวน 600 สวน/ลานสวน 5 นาทีใน 200 สวน/ลานสวน
ทุกชวงเวลา
3 ชั่วโมง
16. ไตรคลอโร เอทธิลลีน 100 สวน/ลานสวน 300 สวน/ลานสวน 5 นาทีใน 200 สวน/ลานสวน
(Trichloro ethylene) ทุกชวงเวลา
2 ชั่วโมง
17. เตตราคลอโร เอทธิลลีน 100 สวน/ลานสวน 300สวน/ลานสวน 5 นาทีใน 200 สวน/ลานสวน
(Tetrachloro ethylene) ทุกชวงเวลา
3 ชั่วโมง

2- 16
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

18. โทลูอีน (Toluene) 200 สวน/ลานสวน 500 สวน/ลานสวน 10 นาที 300 สวน/ลานสวน
19. ไฮโดรเจน ซัลไฟด (Hydrogen sulfide) - 50 สวน/ลานสวน 10 นาที 20 สวน/ลานสวน
20. ปรอท (Mercury) - - - 0.05 มิลลิกรัม/
ลูกบาศกเมตร
21. กรดโครมิค และเกลือโครเมตส - - - 0.1 มิลลิกรัม/
ลูกบาศกเมตร

2- 17
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ตารางหมายเลข 4
ปริมาณฝุนแร, เฉลี่ยตลอดระยะเวลา
การทํางานปกติ
สวนอนุภาคตอ มิลลิกรัมตออากาศ
ลําดับที่ ชื่อสารเคมี ปริมาตรของอากาศ 1 ลูกบาศกเมตร
1 ลูกบาศกฟุต (mg/M3)
(Mppcf)
1. ซิลิกา (Silica)
คริสตัลลีน (Crystalline)
- ควอรซ (Quartz) ฝุนขนาดที่สามารถเขาถึงและสะสมในถุงลมของ 250 10 mg/M3
ปอดได (Respirable dust) % SiO2+ 5 % SiO2+ 2

- ควอรซ (Quartz) ฝุนทุกขนาด (Total dust) - 30 mg/M3


% SiO2+ 2
- คริสโตบาไลท (Cristobalite) 1 250 1 10 mg/M3
2 % SiO2+ 5 2 % SiO2+ 2

2. เอมอรฟส รวมทั้งแรธรรมชาติ (Amorphus) 20 80 mg/M3


% SiO2
3. ซิลิเคต (ที่มีผสมซิลิกาตํ่ากวา 1%) (Silicates)
- แอสเบสตอส (Asbestos) 5* -
- ทรีโมไลท (Tremolite) 5* -
- ทอลค (Talc) พวกที่เปนเสนใย (Asbestos form) 5* -
- ทอลค (Talc) พวกที่ไมเปนเสนใย (non-asbestos form) 20 -
- ไมกา (Mica) 20 -
- โซปสโตน (Soapstone) 20 -
- ปอรตแลนดซีเมนต (Portland cement) 50 -
- แกรไฟท (Graphite) 15 -
- ฝุนถานหิน (Coal dust) ที่มี SiO2 นอยกวา 5% - 2.4 mg/M3
- ฝุนถานหิน (Coal dust) ที่มี SiO2 มากกวา 5% - 10 mg/M3
% SiO2+ 2
4. ฝุน ที่กอใหเกิดความรําคาญ (Inert or Nuisance dust)
- ฝุนขนาดที่สามารถเขาถึงและสะสมในถุงลมของปอดได 15 5 mg/M3
(respirable dust)
- ฝุนทุกขนาด (Total dust) 50 15 mg/M3

* หมายถึง จํานวนเสนใย/อากาศ 1 ลูกบาศกเซนติเมตร

2- 18
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟา

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16


มีนาคม พุทธศักราช 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความ
ปลอดภัยสําหรับลูกจางไว ดังตอไปนี้

ความทั่วไป

ขอ 1 ในประกาศนี้
“ฉนวน” หมายความวา ฉนวนไฟฟา คือ วัสดุที่มีคุณสมบัติในการกั้น หรือขัดขวางตอการไหล
ของกระแสไฟฟา หรือวัสดุที่กระแสไฟฟาไมสามารถไหลผานไดงาย เชน ยางไฟเบอร พลาสติก ฯลฯ
“แรงดัน” หมายความวา แรงดันไฟฟา คือ คาความตางศักยของไฟฟาระหวางสายกับสาย หรือ
สายกับดิน หรือระหวางจุดหนึ่งกับจุดอื่นๆ อีกแหงหนึ่ง โดยมีหนวยวัดคาความตางศักยเปนโวลท
“กระแส” หมายความวา กระแสไฟฟา คือ อัตราการไหลของอิเล็กตรอนในวงจรไฟฟาจากจุดหนึ่ง
ไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยมีหนวยวัดเปนแอมแปร
“เครือ่ งกําเนิดไฟฟา” หมายความวา เครื่องจักรที่เปลี่ยนแปลงพลังงานกลเปนพลังงานไฟฟาใช
ในการผลิตกระแสไฟฟา
“มอเตอร” หมายความวา เครื่องเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานกล ใชในการขับเคลื่อน
เครือ่ งจักร หรือเครื่องมือกลอื่นๆ ทําใหเกิดการหมุน การฉุด การดึงเพื่อใหเกิดพลังงาน
“อุปกรณไฟฟา” หมายความวา เครื่องมือ เครื่องใช หรือเครื่องจักรที่ใชไฟฟาเปนตนกําลัง หรือ
เปนสวนประกอบ หรือใชเกี่ยวเนื่องกับไฟฟา
“ขดลวดจํากัดกระแส (Reactor)” หมายความวา อุปกรณที่ใชสําหรับจํากัดกระแสไฟฟา
“เครือ่ งปรับแรงดัน (Regulator)” หมายความวา อุปกรณที่ใชสําหรับปรับแรงดันไฟฟา
“หมอแปลง” หมายความวา อุปกรณที่ใชเปลี่ยนแรงดันไฟฟาสูงขึ้นหรือตํ่าลงโดยการเหนี่ยวนํา
ของแมเหล็ก
“หมอแปลงเครื่องวัด (Instrument Transformer)” หมายความวา อุปกรณที่ใชสําหรับแปลง
กระแส หรือแรงดัน เพื่อใชกับเครื่องมือและอุปกรณควบคุมเครื่องปองกันระบบไฟฟา
“สวิตชหรือเครื่องตัดกระแส” หมายความวา เครื่องปดเปดวงจรไฟฟา และอุปกรณไฟฟา ที่ใช
ทําหนาที่ตัดวงจรไฟฟา อาจจะทํางานโดยอาศัยอํานาจแมเหล็กหรือทํางานโดยใชมือสับโยกก็ได

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 96 ตอนที่ 84 วันที่ 21 พฤษภาคม 2522


2- 19
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

“แผงสวิตช” หมายความวา แผงที่รวมของสวิตชตางๆ มีหนาที่รับไฟฟาจากตนกําเนิด และแจก


จายไปยังสายวงจรตางๆ
“ฟวส” หมายความวา เครื่องตัดวงจรไฟฟา โดยอาศัยการหลอมละลายของโลหะ
“สายเคเบิล” หมายความวา สายตัวนําหุมดวยฉนวน สายเดียวหรือหลายสายรวมกัน และอาจจะ
มีสงิ่ อื่นหอหุมอยูอีกชั้นหนึ่งเพื่อความแข็งแรงทนทานดวยก็ได
“สายออน” หมายความวา สายเคเบิลออน ที่ตัวนํามีพื้นที่หนาตัดไมเกิน 4 ตารางมิลลิเมตร
“สายดิน” หมายความวา ตัวนําที่ตอจากโครงโลหะของอุปกรณและเครื่องใชไฟฟา หรือสิ่งที่
เกีย่ วของ เพื่อจะนํากระแสไฟฟาที่ไมตองการใหไหลลงสูดิน
“สายศูนย (Neutral)” หมายความวา สายใดสายหนึ่ง ในระบบไฟฟาสามสายหรือสี่สายซึ่งแรงดัน
ไฟฟาระหวางสายนั้นไปยังสายอยางนอยอีก 2 สายตองเทากันและสายนั้นตองตอลงดินสําหรับระบบไฟฟา
2 สาย ถาสายใดสายหนึ่งไมไดตอมาจากสายศูนยของวงจรอื่นแลว ใหกําหนดเอาสายนั้นเปนสายศูนยได
และสายนั้นตองตอลงดินดวย
“สายลอฟา” หมายความวา อุปกรณที่ติดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงคในการปองกันอันตรายที่อาจ
เกิดขึน้ จากฟาผา ซึ่งจะตองประกอบดวยหลักลอฟา สายนําประจุ ตัวจับยึดสายนําประจุและหลักดิน
“สายนําประจุ (Conductor)” หมายความวา สายตัวนําที่ติดตั้งไวเพื่อนําประจุไฟฟาระหวางหลัก
ลอฟากับดิน
“หลักลอฟา (Air Terminal)” หมายความวา หลักโลหะติดตั้งที่สวนบนของโครงอาคารหรือสิ่ง
กอสราง และมีโลหะปลายแหลมเพื่อคายประจุไฟฟา หรือหลักอยางอื่นที่มีวัตถุประสงคอยางเดียวกัน
“หลักดิน (Ground Rod)” หมายความวา แทงโลหะซึ่งปกลงไปในดินเพื่อจะนําประจุหรือ
กระแสไฟฟาใหไหลลงสูดิน
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวม
ถึงผูซ งึ่ ไดรับมอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวาผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคลนั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทํา
การแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจาง
ดวยตนเองหรือไมก็ตาม และหมายความรวมถึงลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราว แตไมรวมถึงลูกจางซึ่ง
ทํางานเกี่ยวกับงานบาน
“ลูกจางประจํา” หมายความวา ลูกจางซึ่งนายจางตกลงจางไวเปนการประจํา
“ลูกจางชัว่ คราว” หมายความวา ลูกจางซึ่งนายจางตกลงจางไวไมเปนการประจํา เพื่อทํางานอันมี
ลักษณะเปนครั้งคราว เปนการจร หรือเปนไปตามฤดูกาล

หมวด 1
ขอกําหนดทั่วไป

ขอ 2 นายจางตองจัดทําแผนผังวงจรไฟฟาทั้งหมดภายในสถานที่ประกอบการ และไดรับการ


รับรองจากการไฟฟาประจํ าทองถิ่นไวใหตรวจสอบไดตลอดเวลา หากมีการแกไขเพิ่มเติมหรือเปลี่ยน
แปลงใหผิดไปจากเดิมตองดําเนินการแกไขแผนผังนั้นใหถูกตอง

2- 20
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 3 นายจางจะตองจัดใหมีการตรวจสอบสภาพของสายไฟฟาและสภาพของอุปกรณไฟฟา
ถาหากพบวาชํารุดหรือมีกระแสไฟฟารั่ว ใหซอมแซมหรือเปลี่ยนใหมทันที

ขอ 4 ใหนายจางจัดใหมีปายเตือนอันตราย ติดตั้งในบริเวณที่จะเกิดอันตรายจากไฟฟาให


เห็นไดอยางชัดเจน

ขอ 5 หามมิใหนายจางใหลูกจางเขาใกล หรือนําสิ่งที่เปนตัวนําซึ่งไมมีที่ถือเปนฉนวนอยางดี


หุม อยูเ ขาใกลสิ่งที่มีไฟฟานอยกวาระยะหางที่กําหนดไวในตารางที่ 1 ยกเวน
(1) ลูกจางผูน นั้ สวมใสเครื่องปองกันอันตรายจากไฟฟาซึ่งเปนฉนวนที่ใชตานทานแรงดันไดสูง
พอกับสวนที่เปนไฟฟานั้น หรือ
(2) ไดปด หรือนําฉนวนมาหุมสิ่งที่มีไฟฟา โดยฉนวนที่ใชหุมนั้นปองกันแรงดันไฟฟานั้นๆ ได
หรือ
(3) ลูกจางทีป่ ฏิบัติงานกับสิ่งที่มีไฟฟาดวยเทคนิคการปฏิบัติงานดวยมือเปลา และอยูภายใต
การควบคุมจากผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรม (แขนงไฟฟากําลัง) จาก ก.ว.

ตารางที่ 1 ระยะหางตํ่าสุดในการปฏิบัติงาน และการใชฮอทสติก (Hot Stick)


สําหรับไฟฟากระแสสลับ
ระดับแรงดันไฟฟาจากสายถึงสาย (กิโลโวลท) ระยะหาง (เมตร)
2.1 ถึง 15 0.65
15.1 ถึง 35 0.75
35.1 ถึง 46 0.80
46.1 ถึง 72.5 0.95
72.6 ถึง 121 1.05
138 ถึง 145 1.10
161 ถึง 169 1.15
230 ถึง 242 1.55
345 ถึง 362 2.15
500 ถึง 552 3.35
700 ถึง 465 4.60

ขอ 6 ในกรณีที่มีการปฏิบัติงานตรวจสอบ ซอมแซม ติดตั้งไฟฟา นายจางตองผูกปายหามสับ


สวิตช พื้นสีแดง ไวที่สวิตช หรือใชกุญแจปองกันการสับสวิตชไว

ขอ 7 ในกรณีใชลมที่มีกําลังดันสูงทําความสะอาดอุปกรณที่มีไฟฟาอยู ตองใชทอและหัวฉีดที่


เปนฉนวน

ขอ 8 ไฟฉายทีน่ ายจางจัดใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับไฟฟา ตองเปนไฟฉายชนิดที่กระบอกไฟ


ฉายมีฉนวนหุมตลอด

2- 21
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 9 หามมิใหลูกจางสวมใสเครื่องนุงหมที่เปยกนํ้าหรือเปนสื่อไฟฟาปฏิบัติงานขณะที่ไฟฟา
(Hot Line) ยกเวนเมื่อแรงดันไฟฟาตํ่ากวา 50 โวลท หรือสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวน
บุคคล หรือใชเครื่องมือที่เปนฉนวน

ขอ 10 เทปสําหรับวัดที่นายจางจัดใหลูกจางใชปฏิบัติงานใกลกับสิ่งที่มีไฟฟาตองเปนเทป
ชนิดที่ไมเปนโลหะ

ขอ 11 มาตรฐานและขอกําหนดที่กําหนดขึ้นในหมวด 2 ถึงหมวด 4 มีผลบังคับใชภายใน


บริเวณสถานทีป่ ระกอบการที่ใชไฟฟาเปนตนกําลังและมีแรงดันไฟฟาไมเกิน 600 โวลท

หมวด 2
สายไฟฟา

ขอ 12 สายไฟฟาชนิดเปลือย ตองเปนสายทองแดงหรือสายอลูมิเนียม และมีคุณสมบัติตาม


มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ที่ มอก.64-2517 และ มอก.85-2517

ขอ 13 สายไฟฟาที่ใชในอาคาร จะตองเปนสายที่มีฉนวนหุมและมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน


ผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ที่ มอก.11-2518 หามใชสายเปลือย ยกเวนสายสงกําลังสําหรับเครน (Crane)

ขอ 14 สายไฟฟาทีเ่ ดินสายใตดิน ตองใชสายไฟฟาชนิดที่มีฉนวนหุมสองชั้นและมีเปลือกนอก


กันความชื้นไดไมผุกรอนงาย

ขอ 15 สายไฟฟาชนิดมีฉนวนหุมชั้นเดียว ใหใชเดินเฉพาะบนลูกถวย บนตุมพุกประกับ


หรือรอยในทอเทานั้น

ขอ 16 ในสายไฟฟาชนิดออนที่มีฉนวนหุมเปนเทอรโมพลาสติก หรือวัตถุอยางอื่นที่มีคุณ


สมบัติไมนอยกวาเทอรโมพลาสติก ใหใชกับอุปกรณที่ยกยายเคลื่อนที่ไดและโคมแขวน

ขอ 17 ในสายเมนภายในและสายที่เดินสําหรับเตาเสียบ จะตองมีพื้นที่หนาตัดของตัวนําไม


นอยกวา 2 ตารางมิลลิเมตร

ขอ 18 ในสายไฟฟาที่ใชในสถานที่ประกอบการ ตองใชสายไฟฟาขนาดใหเหมาะกับกระแสไฟ


ฟาสูงสุดที่กําหนดไว ตามตารางที่ 2, 3 และ 4

ขอ 19 การเดินสายทีก่ าหนดในตารางที


ํ ่ 2 เฉพาะการเดินสายในทอ ในผนัง ในรางเมื่อเดิน
สายมากกวา 3 เสน จะตองลดกระแสภายในสายลง โดยใชตัวคูณตามตาราง 3

2- 22
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ตารางที่ 2 จํานวนกระแสสูงสุดที่ยอมใหใชกับสายไฟฟาชนิดตางๆ ที่เดินสายในบริเวณที่


อุณหภูมไิ มเกิน 40 องศาเซลเซียส

กระแสสูงสุดสําหรับสายหุม กระแสสูงสุดสําหรับสายหุมเดินในทอ
เดินในอากาศ ในเพดาน ในผนัง ในราง หรือสาย
ขนาดพื้นที่หนาตัด
(แอมแปร) หลายแกน และใชสายไมเกิน 3 เสน
(ตารางมิลลิเมตร)
(แอมแปร)

สายที่ใชงานได อุณหภูมิสูงสุด……….องศาเซลเซียส
สายทองแดง สายอลูมิเนียม 60° ซ. 75° ซ. 60° ซ. 75° ซ.
0.5 - 7 7 4 4
1 - 10 10 6 6
1.5 - 13 13 8 8
2.5 - 18 19 14 15
4 - 24 27 19 21
6 - 35 41 27 30
10 16 53 66 37 45
16 25 72 94 49 63
25 35 96 122 63 84
35 50 120 152 78 104
50 70 152 194 94 129
70 95 191 241 122 159
95 120 233 295 147 190
120 150 270 304 170 220
150 185 300 356 192 228
185 240 - 430 - 260
240 300 - 478 - 292
300 400 - 552 - 336
400 500 - 652 - 392
500 625 - 748 - 436

ขอ 20 การเดินสายในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกวา 40 องศาเซลเซียส กระแสสูงสุดที่กําหนดใน


ตารางที่ 2 จะตองลดกระแสภายในสายลง โดยใชตัวคูณลดกระแสตามตาราง 4

ตารางที่ 3 คาตัวคูณลดกระแสเกี่ยวกับจํานวนสาย

จํานวนสายเปนเสนหรือแกน ตัวคูณ
4 ถึง 6 0.80
7 ถึง 24 0.70
25 ถึง 42 0.60
43 และมากกวา 0.50

2- 23
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ตารางที่ 4 คาตัวคูณลดกระแสเกี่ยวกับอุณหภูมิ

อุณหภูมิบริเวณเดินสาย ตัวคูณสําหรับสายซึ่งทนอุณหภูมิใชงานสูงสุด
(องศาเซลเซียส) 60 องศาเซลเซียส 75 องศาเซลเซียส
45 0.866 0.932
50 0.707 0.850
55 0.5 0.761
60 - 0.659
70 - 0.398
75 - -

ขอ 21 สายไฟฟาทีใ่ ชเดินในสถานที่ประกอบการที่มีอุณหภูมิสูงกวา 40 องศาเซลเซียสจะ


ตองใชสายที่ทนอุณหภูมิใชงานสูงสุด ดังนี้
(1) บริเวณเดินสายอุณหภูมิไมเกิน 50 องศาเซลเซียส ใหใชสายที่ทนอุณหภูมิใชงานสูงสุดไมตํ่า
กวา 60 องศาเซลเซียส
(2) บริเวณเดินสายอุณหภูมิไมเกิน 60 องศาเซลเซียส ใหใชสายที่ทนอุณหภูมิใชงานสูงสุดไมตํ่า
กวา 75 องศาเซลเซียส
(3) บริเวณเดินสายอุณหภูมิไมเกิน 75 องศาเซลเซียส ใหใชสายที่ทนอุณหภูมิใชงานสูงสุดไมตํ่า
กวา 85 องศาเซลเซียส

ขอ 22 สายไฟฟาทีใ่ ชกับเครื่องทําความรอนชนิดตางๆ ตองเปนสายที่มีฉนวนหุม ชนิดทน


ความรอนได

หมวด 3
การเดินสายและเครื่องประกอบการเดินสาย

ขอ 23 การเดินสายและเครื่องประกอบที่กําหนดในหมวดนี้ ไมใหใชในสถานที่ซึ่งอาจจะเกิด


อันตรายเนื่องจากวัตถุไวไฟ หรือในสถานที่ที่อาจเกิดอันตรายจากการระเบิดไดงาย

ขอ 24 การเดินสายภายในอาคาร
(1) การเดินสายเกาะไปตามผนังโดยใช พุกประกับ ตุม ลูกถวย หรือเข็มขัดรัดสาย พุกประกับ ตุม
หรือลูกถวยตองเปนชนิดที่สามารถทนแรงดันไฟฟาที่ใชวงจรนั้นได และใหปฏิบัติตามกฎเกณฑ ดังตอไปนี้
ก. การเดินสายบนพุกประกับ
1. สายไฟฟาที่ใชตองมีพื้นที่หนาตัดของตัวนําไมเกิน 6 ตารางมิลลิเมตร
2. ระยะระหวางชวงพุกประกับไมเกิน 1 เมตร 50 เซนติเมตร
3. ระยะระหวางสายไฟฟาไมตํ่ากวา 2 เซนติเมตร 5 มิลลิเมตร
4. ระยะระหวางสายไฟฟากับสิ่งกอสรางไมตํ่ากวา 5 มิลลิเมตร
ข. การเดินสายบนตุม
1. สายไฟฟาที่ใชตองมีพื้นที่หนาตัดของตัวนําไมเกิน 70 ตารางมิลลิเมตร
2- 24
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

2. ระยะระหวางตุมไมเกิน 2 เมตร 50 เซนติเมตร


3. ระยะระหวางสายไฟฟาไมตํ่ากวา 10 เซนติเมตร
4. ระยะระหวางสายไฟฟากับสิ่งกอสรางไมตํ่ากวา 2 เซ็นติเมตร 5 มิลลิเมตร
ค. การเดินสายบนลูกถวย
1. ระยะระหวางชวงลูกถวยไมเกิน 5 เมตร
2. ระยะระหวางสายไฟฟาไมตํ่ากวา 15 เซนติเมตร
3. ระยะระหวางสายไฟฟากับสิ่งกอสรางไมตํ่ากวา 5 เซนติเมตร
ง. การเดินสายโดยใชเข็มขัดรัดสาย ตองใชสายไฟฟาที่มีฉนวนหุมสองชั้นและยึดดวยเข็มขัด
รัดสายใหมั่นคงโดยมีระยะระหวางเข็มขัดรัดสายไมเกิน 20 เซนติเมตร
(2) การเดินสายฝงในผนังตึก ตองใชสายไฟฟาชนิดฉนวนหุมสองชั้นที่มีเปลือกนอกกันความชื้น
และตองเปนแบบใชฝงในผนัง
(3) การเดินสายในทอโลหะอยางหนา(Rigid Metal Conduit)ตองปฏิบัติตามกฎเกณฑ ดังตอไป
นี้
ก. ใหใชทอ และสวนประกอบ ตองเปนชนิดใชสําหรับเดินสายไฟฟาโดยเฉพาะ ซึ่งมีผิวภาย
ในเรียบและผลิตจากโลหะที่ไมผุกรอนไดงาย หรือมีการปองกันการผุกรอนที่เหมาะสม
ข. หามใชทอที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางเล็กกวา 1.27 เซนติเมตร
ค. การวางทอ ฝงในดิน ในคอนกรีต ในที่เปยก หรือในที่มีเถาถาน ตองใชทอ กลอง ตู ขอ
ตอ หัวตอ เครื่องจับยึด นอต สกรู แหวน และสวนประกอบตางๆ ชนิดที่มีการปองกันการผุกรอนอยาง
เหมาะสม หรือทําดวยวัสดุที่ไมผุกรอนไดงายในสภาพเชนนั้น และกันนํ้าได
ง. ปลายทอทุกแหงที่มีการตัดและทําเกลียว ตองลบคมภายใน
จ. ทุกแหงที่มี สวิตซ เตาเสียบ จุดตอสายออก จุดดึงสายรอยทอ และการตอสาย ตองใช
กลองที่มีขนาดและชนิดที่เหมาะสม
ฉ. ทอ ขอตอ หัวตอ กลอง ตู และสวนประกอบตางๆ ตองตอติดกันโดยใหกระแสไฟฟา
ไหลผานไดตลอด และยึดอยูกับที่อยางมั่นคง พรอมทั้งมีการตอลงดินตามหมวด 6
ช. สายไฟฟาภายในทอตองเปนเสนเดียวตลอดไมมีรอยตอ การตอสายตองทําในตู กลองตอ
สาย กลองตอสวิตซ กลองเตาเสียบ หรือในรางตอสายที่เหมาะสม
(4) การเดินสายในทอโลหะอยางบาง (Electrical Metallic Tubing) หามเดินทอโลหะอยางบางใน
บริเวณทีท่ ออาจไดรับการกระทบกระแทกได เชน บริเวณขนถายสินคา บริเวณที่ยานพาหนะผาน ขอตอ
และหัวตอชนิดที่ไมมีเกลียว เมื่อสวมกับทอตองกระชับแนน และหามใชทอขนาดเล็กกวา 1.27
เซนติเมตร หรือใหญกวา 10 เซนติเมตร นอกจากนี้แลว ใหปฏิบัติตามกฎเกณฑการเดินสายในทอโลหะ
อยางหนาตาม (3)
(5) การเดินสายในทอโลหะชนิดออนตัว (Flexible Metal Conduit) ตองปฏิบัติตามกฎเกณฑ
ดังตอไปนี้
ก. ใหใชทอ-และสวนประกอบชนิดที่ใชสําหรับเดินสายไฟฟาโดยเฉพาะ ซึ่งมีผิวภายในเรียบ
และผลิตจากโลหะที่ไมผุกรอนไดงาย หรือมีการปองกันการผุกรอนที่เหมาะสม
ข. หามใชทอที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางเล็กกวา 1.27 เซนติเมตร เวนแตทอที่ใชสําหรับรอย
สายออนที่มีพื้นที่หนาตัดของตัวนําไมเกิน 6 ตารางมิลลิเมตร ยาวไมเกิน 2 เมตร ในกรณีที่ใชตอเขากับ

2- 25
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

อุปกรณไฟฟาหรือทอที่เปนสวนประกอบของดวงโคมอาจใชทอขนาดเสนผาศูนยกลาง ไมเล็กกวา 0.95


เซนติเมตรได
ค. หามเดินทอในบริเวณที่ทออาจถูกกระทบกระแทกไดงาย ในดิน หรือที่พื้น หรือในบริเวณ
ทีเ่ ปยกชื้น หรือภายในหองแบตเตอรี่ หรือหองที่มีไอของกรดหรือดาง
(6) การเดินสายในทอโลหะชนิดออนตัวไดแบบกันนํ้า (Liquidtight Flexible Metal Conduit)
ตองปฏิบัติตามกฎเกณฑ ดังตอไปนี้
ก. ใหใชทอและสวนประกอบ ชนิดที่ใชสําหรับเดินสายไฟฟาโดยเฉพาะ มีลักษณะเชนเดียว
กับทอโลหะชนิดออนตัวได แตมีเปลือกนอกเปนอโลหะกันนํ้าและทนแสงอาทิตยได
ข. หามใชทอที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางเล็กกวา 1.27 เซนติเมตร หรือใหญกวา 10
เซนติเมตร เวนแตทอที่ใชสําหรับรอยสายออนที่มีพื้นที่หนาตัดของตัวนําไมเกิน 6 ตารางมิลลิเมตร ยาวไม
เกิน 2 เมตร ในกรณีที่ใชตอเขากับอุปกรณไฟฟาหรือทอที่เปนสวนประกอบของดวงโคมอาจใชทอขนาด
เสนผาศูนยกลางไมเล็กกวา 0.95 เซนติเมตรได
ค. หามเดินทอในบริเวณ-ที่ทออาจถูกกระทบกระแทกไดงาย ในที่ซึ่งมีอุณหภูมิของบริเวณ
เดินทอ หรืออุณหภูมิของสายในทอ หรือทั้งสองอยางรวมกันเกินอุณหภูมิใชงานสูงสุดของสายหรือทอและ
ในดิน หรือที่พื้น
(7) การเดินสายในทอที่ไมใชโลหะ (Rigid Non-metallic Conduit) จะตองปฏิบัติตามกฎเกณฑ
ดังตอไปนี้
ก. ใหใชทอที่ทําดวยวัสดุชนิดแข็ง ติดไฟไดยาก และไมผุกรอน หรือเสื่อมสภาพไดงาย
ข. หามใชทอที่มีเสนผาศูนยกลางเล็กกวา 1.27 เซนติเมตร นอกจากจะใชรอยสายเพื่อฝงใน
คอนกรีต
ค. หามเดินทอในบริเวณที่ทออาจไดรับการกระทบกระแทกได
ง. หามเดินทอประเภทพลาสติกในที่ซึ่งถูกแสงอาทิตย นอกจากทอนั้นจะทําดวยพลาสติกที่
สามารถทนตอแสงอาทิตยไดโดยไมเสื่อมคุณภาพ หรือมีการปองกันที่เหมาะสม
จ. หามเดินทอพลาสติกในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงเกินกวาอุณหภูมิใชงานของทอนั้น
ฉ. ขอตอและหัวตอจะเปนชนิดเกลียวหรือชนิดสวมก็ไดถาเปนชนิดสวมจะตองทานํ้ายายึดหัว
ตอใหแนน
ช. การตอทอที่ไมใชโลหะเขากับทอหรือกลองโลหะใหทําได แตกลองโลหะนั้นจะตองมีการ
ตอลงดินดวย
ซ. การเดินสายที่มีแรงดันไฟฟาสูงเกิน 600 โวลทขึ้นไป ใหหุมทอที่ใชเดินสายนี้ดวย
คอนกรีตหนาไมนอยกวา 5 เซนติเมตร
(8) การเดินสายในรางเดินสาย (Wire Way) ตองปฏิบัติตามกฎเกณฑ ดังตอไปนี้
ก. รางเดินสายเปนรางที่ทําดวยโลหะ มีพื้นที่หนาตัดสี่เหลี่ยมและเปนชนิดที่ใชสําหรับงาน
เดินสายไฟฟาโดยเฉพาะ ผลิตจากโลหะที่ผุกรอนไดงาย หรือมีการปองกันการผุกรอนที่เหมาะสม ถาใช
ภายนอกอาคารตองเปนชนิดกันนํ้าได
ข. การตอรางเดินสาย ตองตอใหยึดกันเองอยางมั่นคง และหามติดตั้งรางเดินสายในบริเวณ
ที่อาจมีการกระทบกระแทกไดโดยงาย
ค. หามวางสายในรางเดินสายเกินกวา 30 เสน ไมวาจะเปนขนาดเทาใด และผลรวมของพื้น
ทีห่ นาตัดของสายรวมเปลือกนอก ตองไมเกินรอยละ 20 ของพื้นที่หนาตัดภายในของรางเดินสายเวนแต
2- 26
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

- สายของระบบลิฟท ผลรวมของพื้นที่หนาตัดของสายรวมเปลือกนอกตองไมเกิน
รอยละ 50 ของพื้นที่หนาตัดภายในของรางเดินสาย
- ถาใชตวั คูณลดกระแสตามตารางที่ 3 ในการกําหนดกระแสสูงสุดของสายใหวางสาย
เกิน 30 เสนได แตพื้นที่หนาตัดของสายรวมเปลือกนอก ตองไมเกินรอยละ 20 ของพื้นที่หนาตัดภายใน
ของรางเดินสาย
ง. การตอสายภายในรางเดินสายสามารถทําได แตตองใชหัวตอสายและพันฉนวนทับใหเรียบ
รอย พืน้ ทีห่ นาตัดของหัวตอรวมฉนวนตองไมเกินรอยละ 75 ของพื้นที่หนาตัดภายในของรางเดินสาย ณ
จุดนั้น
จ. รางเดินสายชวงที่ทะลุผานผนังตองเปนชิ้นเดียวตลอด และปลายสุดของรางเดินสายตองมี
แผนปด

ขอ 25 การเดินสายนอกอาคาร ณ สถานประกอบการตองจัดทําใหเหมาะสมตามวิธีการดังตอ


ไปนี้
(1) การเดินสายบนตุม ใหใชสายเดียวหุมฉนวน ตองปฏิบัติเชนเดียวกับขอ 24 (1) ข. เวนแต
ถาเดินผานทีโ่ ลง ใหใชชวงระหวางตุมไมเกิน 5 เมตร และขนาดของสายที่ใชเดินตองไมเล็กกวา 2 ตาราง
มิลลิเมตร
(2) การเดินสายบนลูกถวย ใหใชสายเดี่ยวหุมฉนวน ถาเดินเกาะไปตามสิ่งกอสรางตองปฏิบัติ
เชนเดียวกับขอ 24 (1) ค. เวนแตถาเดินผานที่โลง ปฏิบัติตามตารางที่ 5 ดังนี้

ตารางที่ 5

ระยะระหวางสาย ระยะระหวางสาย ขนาดพื้นที่หนาตัด


ชวงสาย
ไฟฟาไมนอยกวา ไฟฟากับสิ่งกอสราง เล็กที่สุดที่ใช
ไมเกิน 10 เมตร 15 เซนติเมตร 5 เซนติเมตร 2 ตารางมิลลิเมตร
10 - 25 เมตร 20 เซนติเมตร 5 เซนติเมตร 4 ตารางมิลลิเมตร
26 - 40 เมตร 30 เซนติเมตร 5 เซนติเมตร 6 ตารางมิลลิเมตร

(3) การเดินสายดวยพุกประกับและเข็มขัดรัดสาย ใหปฏิบัติเชนเดียวกับขอ 24 (1) ก. และ ง.


(4) การเดินสายฝงลงไปในผนังตึก ใหปฏิบัติเชนเดียวกับขอ 24 (2), (3) และ (4)
(5) การเดินสายภายนอกอาคารดวยวิธีอื่นๆ อาจทําได แตตองไดรับการรับรองจากการไฟฟา
ของทองถิ่นนั้นๆ
(6) สายทีเ่ ดินในระดับที่สูงกวาพื้นดินไมเกิน 2 เมตร 50 เซนติเมตร ตองเดินในทอโลหะหรือ
ทอพลาสติกอยางหนา หรือทอไฟเบอร หรือครอบดวยรางโลหะ
(7) สายไฟฟาทีเ่ ดินผานที่โลงและเปนบริเวณที่มียานพาหนะผาน ตองสูงไมนอยกวา 5 เมตร
60 เซนติเมตร

ขอ 26 การเดินสายฝงดิน อาจรอยในทอโดยปฏิบัติตามขอ 24 (3), (4) และ (7) สวนการ


เดินสายฝงดินโดยตรง ตองใชสายชนิดที่มีฉนวนหุมอยางนอยสองชั้น และฉนวนชั้นนอกตองเปนเทอรโม
พลาสติกหรือตะกั่ว โดยตองฝงใหลึกไมนอยกวา 50 เซนติเมตร และใชทรายกลบแลววางแผนคอนกรีต
2- 27
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

หรือแผนอิฐทับตลอดสายกอนใชดินกลบ ตอนที่สายโผลจากพื้นดิน จะตองปองกันโดยการรอยผานทอ


โลหะหรือวิธีอื่นที่เหมาะสม

ขอ 27 การเดินสายขนาดตางๆ ไมเทากัน อาจเดินรวมกันในทอเดียวกันไดในกรณีตอไปนี้


(1) ขนาดพืน้ ทีห่ นาตัดของตัวนําของสายไฟฟารวมกันไมเกินรอยละ 10 ของขนาดพื้นที่หนาตัด
ของทอ
(2) พืน้ ทีห่ นาตัดของสายไฟฟาซึ่งรวมฉนวนและเปลือกนอกรวมกันไมเกินรอยละ 30 ของพื้นที่
หนาตัดของทอ

ขอ 28 การเดินสายในทอโลหะที่เปนสารแมเหล็ก ถาเปนไฟฟาระบบชนิด 3 ยก (Three


Phases) ใหเดินรวมไปในทอเดียวกัน หามเดินแยก

ข อ 29 การเดิ น สายในท อ โลหะที่ เ ป น สารแม เ หล็ ก ต อ งจั ด ให เ ส น แรงแม เ หล็ ก


(Electromagnetic Flux) ที่เกิดขึ้นจากการไหลของกระแสในทอนั้นสมดุลกัน

ขอ 30 การโคงทอเดินสาย ตองไมทําใหเสนผาศูนยกลางของทอตรงสวนที่โคงเล็กลง รัศมี


ความโคงดานในของทอที่ใชรอยสายชนิดที่มีปลอกตะกั่ว จะตองไมนอยกวา 10 เทาของเสนผาศูนยกลาง
ของทอ เวนแตทอที่มีเสนผาศูนยกลาง 1.27 เซนติเมตร
รัศมีความโคง ตองไมนอยกวา 12 เทาสําหรับสายที่มีปลอกตะกั่วหุม

ขอ 31 ในกรณีทเี่ ดินสายผานทะลุสิ่งกอสราง เชน ผนังตึก หรือฝาสังกะสี จะตองมีปลอก


ฉนวนปองกันสาย

ขอ 32 ความตานทานของฉนวนที่วัดระหวางสายกับสาย และสายกับดิน ตองเปน ดังนี้


(1) การวัดความตานทานของฉนวนของสายไฟฟาในขณะที่สับสวิตชและตอฟวสไว เมื่อถอด
หลอดไฟฟาและเครื่องใชไฟฟาออกทั้งหมด ตองวัดไดไมตํ่ากวา 0.5 เมกะโอหม
(2) การติดตัง้ สายไฟฟาทั้งหมดหรือวงจรยอย ตองใหมีความตานทานไมตํ่ากวา 0.5 เมกะ
โอหม มิฉะนั้นจะตองแบงวงจรยอยเพิ่มขึ้นอีกจนกระทั่งมีความตานทานของแตละวงจรยอยไมตํ่ากวา 0.5
เมกะโอหม
(3) การวัดคาความตานทานของฉนวน ใหกระทําโดยใชแรงดันไฟฟากระแสตรงไมตํ่ากวา500
โวลท เปนเวลาตอเนื่องกันไมนอยกวา 30 วินาที

หมวด 4
ระบบการปองกันกระแสไฟฟาเกินขนาด

ขอ 33 การเดินสายไฟฟาในสถานที่ประกอบการ จะตองมีเครื่องตัดกระแสติดตั้งไว ณ ที่


ดังตอไปนี้

2- 28
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(1) ระหวางเครื่องวัดไฟฟากับสายภายในสถานที่ประกอบการ ในกรณีที่มีมากกวาหนึ่งอาคาร


ขึน้ ไป จะตองติดตั้งไวระหวางสายภายนอกอาคารกับสายภายในอาคารดวย
(2) จุดทีม่ ีการเปลี่ยนขนาดสาย ยกเวนกรณีที่
ก. เมือ่ ขนาดของเครื่องตัดกระแสไฟเกินขนาดตนทาง สามารถตัดกระแสไฟฟาสูงสุดที่ยอม
ใหใชสําหรับสายตอแยกนั้น
ข. สายที่ตอลงเครื่องตัดกระแสชนิดอัตโนมัติซึ่งมีความยาวไมเกิน 3 เมตร
ค. สายที่ตอแยกมีความยาวไมเกิน 7 เมตร 50 เซนติเมตร และมีพื้นที่หนาตัดไมนอยกวา
1/3 ของสายเมนที่จายไฟฟาใหกับสายแยกนั้น

ขอ 34 เครื่องตัดกระแสตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้


(1) ตองสามารถตัดกระแสไฟฟาลัดวงจรได (Interrupting Capacity) ไมนอยกวากระแสลัดวงจร
ณ จุดนั้นโดยไมระเบิด
(2) ตองตัดกระแสไฟฟาลัดวงจรในสายขนาดเล็กที่สุดในวงจรนั้นไดกอนที่จะรอน
(3) ทําหนาที่ตัดกระแสไฟฟาเกินขนาดไดทันทีกอนที่สายจะรอน
(4) เครือ่ งตัดกระแสในระบบ 3 ยก ตองใชเครื่องตัดกระแสชนิดที่ออกแบบใชเฉพาะสําหรับ
ระบบ 3 ยก เทานั้น และหามติดตั้งเครื่องตัดกระแสในเสนศูนย

ขอ 35 เครื่องตัดกระแสชนิดมือโยก แบบใบมีด ตองมีคุณสมบัติ ดังนี้


(1) ติดตัง้ ไวในตูเหล็ก มีฝาปดมิดชิด และมีเครื่องปองกันมิใหฝาเปดกอนที่จะยกใบมีด
(2) ติดตัง้ ในลักษณะที่ใบมีดไมสามรถสับสวิตซดวยตัวเองได และเมื่อยกใบมีดแลวดานใบมีด
ตองไมมีกระแสไฟฟา

ขอ 36 เมือ่ ใชอปุ กรณไฟฟาทั้งหมดพรอมกัน ในวงจรแตละวงจรจะตองมีกระแสไฟฟาไมเกิน


ขนาดของกระแสไฟฟาสูงสุดที่ยอมใหใชกับสายไฟฟาของวงจรนั้น และตองไมทําใหแรงดันไฟฟาตกเกิน
กวารอยละ 2 ระหวางเครื่องวัด หนวยไฟฟากับสายภายในตอนใดตอนหนึ่งเมื่อใชกระแสไฟฟาเต็มที่

ขอ 37 การตอสายตองตอใหแนนดวยวิธีบีบอัด หรือแบบสลักเกลียว หรือแบบบัดกรีหรือ


เชือ่ ม หรือใชอุปกรณอื่นดวยวิธีที่ถูกตองเพื่อใหไดผลดีทางไฟฟาและทางกล และตองใชฉนวนหุมรอยตอ
ใหมีคุณสมบัติเทากับฉนวนที่หุมตัวนํานั้น ขณะใชงานในอุณหภูมิของรอยตอตองไมสูงกวาอุณหภูมิของ
สาย

ขอ 38 การตอสายทุกแหงตองทําในที่ซึ่งตรวจไดสะดวก การตอสายในรางเดินสาย (Wire


Way) รางเดินสายตองเปนแบบที่เปดฝาออกตรวจได

ขอ 39 การเดินสายบนตุมหรือพุกประกับ รอยตอแยกตองอยูหางจากตุมหรือพุกประกับไมเกิน


15 เซนติเมตร

2- 29
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 40 การเดินสายดวยบัสเวย (Bus Way) หรือบัสดัคท (Bus Duct) ตัวนําที่ใชในรางจะหุม


ฉนวนหรือไมก็ได แตตองมีฉนวนรองรับ การตอสายแยกจากรางประเภทนี้ตองทํา ณ จุดที่เปดไวเพื่อการ
ตอโดยเฉพาะ การตอแยกใหใชบัสเวย (Bus Way) ถาหากจะตอดวยสายตองใชสายที่มีฉนวนหุมโดยรอย
ในทอ หรือใชสายประเภทที่ใชกับอุปกรณไฟฟาเคลื่อนยายได แตตองมีการปองกันไมใหฉนวนหุมสาย
ชํารุดจากการเสียดสีกับราง
ขอ 41 สายเคเบิ้ลออน (Flexible cable) และสายออน (Flexible cord) ที่ใชกับอุปกรณไฟ
ฟาชนิดเคลื่อนยายได ตองเปนเสนยาวโดยตลอด ไมมีรอยตอ หรือรอยตอแยก

ขอ 42 เตาเสียบและกระจุบเสียบหลายทางหรือทางเดียว หามใชกระแสไฟฟาเกินขนาดของ


สายที่ตอแยกเขาเตาเสียบและกระจุบเสียบเหลานั้น และตัวเตาเสียบหรือกระจุบเสียบที่ใชตองมีขนาดที่
สามารถทนกระแสไฟฟาไมตํ่ากวากระแสไฟฟาที่กําหนดใหใชสําหรับสายนั้น

ขอ 43 ในสถานทีป่ ระกอบการ ตองติดตั้งเตาเสียบไวใหเพียงพอแกการใชงาน เพื่อมิใหมีการ


ตอไฟโดยใชวิธีที่ไมปลอดภัย

ขอ 44 อุปกรณไฟฟาและสวนประกอบตองมีขนาดการใชกระแสไฟฟาไมเกินกระแสไฟฟาที่
ยอมใหใช ณ จุดนั้น

ขอ 45 สวนของอุปกรณไฟฟาที่ใชแรงดันตั้งแต 50 โวลทขึ้นไป ตองมีที่ปดกันอันตราย ใน


กรณีทสี่ ว นทีม่ ีไฟฟานั้นไมมีที่ปด ตองมีแผนยาง (Rubber Matting) ปูไวที่พื้น เพื่อปองกันอันตรายจาก
การสัมผัสโดยไมตั้งใจ

ขอ 46 อุปกรณไฟฟาที่ติดตั้งหรือนําไปใชงานในบริเวณที่มีไอระเหยของสารที่มีความไวไฟ
หรือบริเวณทีอ่ าจเกิดเพลิงไหมได ตองใชอุปกรณชนิดที่กันไอระเหยได (Explosion Proof)

ขอ 47 อุปกรณไฟฟาตางๆ ที่ติดตั้งหรือนําไปใชงานในที่มีละอองนํ้า หรือมีความชื้นหรือไอ


ระเหยกรดตองใชอุปกรณชนิดที่ปองกันนํ้าหรือไอระเหยของกรดได

ขอ 48 เครือ่ งมือไฟฟาชนิดถือหรือชนิดเคลื่อนยายได ตองมีลักษณะ ดังนี้


(1) ตองมีสายดินติดอยูที่ครอบโลหะของเครื่องมือนั้นอยางถาวร หรือ
(2) เปนแบบทีม่ ฉี นวนหุม 2 ชั้น และประทับคําวา “ฉนวน 2 ชั้น” ดวย หรือ
(3) เครือ่ งมือนัน้ ใชไฟฟาที่มีแรงดันไมเกิน 50 โวลทซึ่งตอจากหมอแปลงแบบแยกขดลวด และ
ขดลวดทางดานแรงตํ่าไมไดตอลงดิน
(4) ใชกบั วงจรที่ใชเครื่องตัดกระแสไฟฟารั่วโดยอัตโนมัติ (Ground Fault Circuit Interrupter)

2- 30
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

หมวด 5
การออกแบบติดตั้งอุปกรณไฟฟา

ขอ 49 หมอแปลงไฟฟา หมอแปลงเครื่องวัด ขดลวดจํากัดกระแส และเครื่องปรับแรงดัน


เมือ่ ติดตั้งใชงานตองตอเปลือกหุมที่เปนโลหะลงดิน

ขอ 50 หมอแปลงไฟฟา (Power Transformer) ที่มีแรงดันสูงกวา 600 โวลทขึ้นไป


(1) ติดตัง้ ภายนอกอาคาร ตองใหเปนไปตามกฎเกณฑ ดังตอไปนี้
ก. การติดตั้งบนเสาหรือโครงสรางที่มีเสา ตองปฏิบัติดังนี้
1. เสาหรือโครงสรางตองสามารถรับนํ้าหนักของหมอแปลงไฟฟาไดโดยปลอดภัย
2. ไมกดี ขวางการปฏิบัติงานของผูปฏิบัติงานไฟฟา
3. ตองไมอยูในบริเวณที่สํารองไวสําหรับการปนเสา
4. สวนที่มีไฟฟาของหมอแปลงและสวนประกอบ ตองมีระยะหางจากอาคารและสิ่งกอ
สรางอื่นๆ ตามระยะที่กําหนด ดังนี้
- แรงดันไมเกิน 5 กิโลโวลท ระยะหางตํ่าสุด 1 เมตร ถาเปนผนังปดมิดชิดระยะหาง
ตําสุ
่ ด 30 เซนติเมตร
- แรงดันเกินกวา 5 กิโลโวลท ถึง 8.75 กิโลโวลท ระยะหางตํ่าสุด 1 เมตร
- แรงดันเกินกวา 8.75 กิโลโวลท ถึง 15 กิโลโวลท ระยะหางตํ่าสุด 1 เมตร 5
เซนติเมตร
- แรงดันเกินกวา 15 กิโลโวลท ถึง 50 กิโลโวลท ระยะหางตํ่าสุด 2 เมตร 50
เซนติเมตร
5. ถาอยูในสถานที่ไมมียานพาหนะผาน ตองสูงเหนือพื้นไมนอยกวา 3 เมตร 40
เซนติเมตร ถาอยูในสถานที่ที่ยานพาหนะผานได ตองสูงไมนอยกวา 4 เมตร
ข. การติดตั้งกับกําแพงอาคาร ตองไดรับการรับรองจากการไฟฟาในเขตนั้นกอน
ค. การติดตั้งบนพื้น ตองปฏิบัติ ดังนี้
1. จัดใหมีรั้วลอมรอบ ปองกันมิใหผูไมมีหนาที่เกี่ยวของเขาไป
2. รัว้ ตองหางจากหมอแปลงไฟฟาอยางนอย 1 เมตร และถาเปนรั้วโลหะตองตอลงดิน
3. ประตูรั้วตองเปดออกขางนอกได
4. จัดใหมีแสงสวางในเวลากลางคืน
(2) ติดตั้งภายนอกอาคาร ตองใหเปนไปตามกฎเกณฑ ดังตอไปนี้
ก. ถาเปนหมอแปลงไฟฟาประเภทที่บรรจุนํ้ามันซึ่งติดไฟได ตองติดตั้งในหองที่มีฝาทั้ง 4
ดาน และฝาผนังตองมีระยะหางจากหมอแปลงไฟฟาไมนอยกวา 1 เมตร และประตูตองมีธรณี เพื่อกันนํ้า
มัน ทีอ่ าจจะรัว่ ออกมา หรือจัดใหมีทางระบายนํ้ามันโดยเฉพาะ ผนังหองและเพดาน ตองทนไฟไดนานไม
นอยกวา 3 ชั่วโมง หองหมอแปลงไฟฟา ตองมีชองระบายอากาศเพียงพอโดยไมทําใหอุณหภูมิของหมอ
แปลงไฟฟาสูงเกินกําหนด
ข. หมอแปลงไฟฟาประเภทบรรจุของเหลวที่ไมติดไฟ ถาขนาดไมเกิน 25 เค.วี.เอ. ตองมีทอ
ระบายความดัน (Pressure Relief Vent) หองหมอแปลง ตองมีทางระบายอากาศเพียงพอโดยไมทําให

2- 31
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

อุณหภูมขิ องหมอแปลงสูงเกินกําหนด และถาการระบายอากาศไมดีพอ ตองตอทอจากทางระบายความดัน


ออกสูบรรยากาศภายนอก
ค. หมอแปลงไฟฟาแบบแหง (Dry Type Transformer) หรือหมอแปลงไฟฟาประเภทบรรจุ
ของเหลว ที่ไมติดไฟและขนาดตํ่ากวา .25 เค.วี.เอ. ติดตั้งที่ใดก็ไดแตตองมีรั้วลอมรอบปองกันมิใหบุคคล
ทีไ่ มมหี นาที่เกี่ยวของเขาไปได และตองมีระยะหางจากหมอแปลงไฟฟาอยางนอย 1 เมตร

ขอ 51 หมอแปลงเครือ่ งวัด (Instrument Transformer) ที่มีแรงดันสูงกวา 600 โวลทขึ้นไป


ตองปฏิบัติตามกฎเกณฑ ดังตอไปนี้
(1) สายทางดานแรงดันตํ่าตองตอลงดิน เวนแตสายแรงดันตํ่านั้นเปนสายหุมฉนวนชนิดมี
เปลือกโลหะซึ่งตอลงดินและรอยอยูในทอโลหะที่ตอลงดินดวย หรือทอชนิดอื่นที่เหมาะสม
(2) ถาเปนหมอแปลงไฟฟาประเภทแปลงกระแส (Current Transformer) วงจรทางดานแรงดัน
ตําต
่ องตอใหเปนวงจรปดอยูเสมอ

ขอ 52 แผงสวิตช ตองมีลักษณะและติดตั้งตามกฎเกณฑ ดังตอไปนี้


(1) สวิตชทุกตัวและทุกแบบที่ติดตั้งบนแผงสวิตช ตองสามารถตัดกระแสไฟฟาไดตามอัตราที่
กําหนดไวสาหรั
ํ บสวิตชนั้น ถาเปนชนิดที่ไมไดออกแบบใหทํางานตัดวงจรขณะมีกระแสไฟ จะตองระบุไว
ใหชัดเจน
(2) สวิตชทุกตัว ตองมีอัตรากระแส (Ampere Rating) สูงพอที่จะใชกับกระแสสูงสุดที่ยอม
ใหใชในวงจรที่สวิตชนั้นควบคุมอยู ถาเปนสวิตชประเภทอัตโนมัติ ตองมีความสามารถตัดกระแสไฟฟาได
ไมนอยกวากระแสไฟฟาลัดวงจรสูงสุด ณ จุดที่ตั้งสวิตชนั้น
(3) สวิตชทกุ ตัวบนแผงสวิตช ตองเขาถึงไดงายเพื่อความสะดวกในการปลดและสับ
(4) ตองมีพนื้ ที่ทํางานเพียงพอที่จะทําการซอมแซมหรือเปลี่ยนอุปกรณตางๆ ได
(5) แผงสวิตช ตองมีตูปดมิดชิด และตองติดตั้งหางจากเครื่องจักรพอที่ผูปฏิบัติจะไมไดรับ
อันตรายจากเครื่องจักร และตองมีแสงสวางเพียงพอ ในกรณีที่ไมมีตูปดมิดชิด ตองมีรั้วลอมรอบเพื่อ
ปองกันมิใหผูไมมีหนาที่เกี่ยวของเขาไป
(6) แผงสวิตชตองทําดวยวัสดุทนไฟ และไมดูดความชื้น
(7) แผงสวิตช ตองติดตั้งใหมีความแข็งแรงเพียงพอที่จะทนแรงปลดและสับไดเปนอยางดี
(8) การติดตั้งและการตอสายที่แผงสวิตชตองเปนระเบียบ สวิตชทุกตัวตองมีอักษรกํากับบอก
ถึงวงจรที่สวิตชนั้นควบคุมอยู และตองมีแผนผังทางไฟฟาใหตรวจสอบได
(9) สวนทีเ่ ปนโลหะของแผงสวิตช ตองตอลงดิน

ขอ 53 เครื่องกําเนิดไฟฟา
(1) เครือ่ งกําเนิดไฟฟา ตองติดตั้งในบริเวณพื้นที่กวางพอที่จะปฏิบัติงานซอมแซมได
(2) ถาติดตัง้ ภายในหองตองมีทางระบายอากาศเพียงพอ และทอไอเสียจากเครื่องยนตตองตอ
ออกภายนอก
(3) ตองมีเครื่องปองกันกระแสไหลเกินขนาด
(4) ตองมีเครือ่ งดับเพลิงชนิดที่ใชดับเพลิงซึ่งเกิดจากไฟฟา และตองมีขนาดโตพอที่จะดับ
เพลิงทีเ่ กิดจากนํ้ามันที่เก็บไวในหองเครื่องไดเพียงพอ
2- 32
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(5) ในกรณีทมี่ เี ครื่องกําเนิดไฟฟาสํารอง จะตองตอผานสวิตช 2 ทาง หรืออุปกรณอยางอื่นซึ่ง


มีจดุ ประสงคเหมือนกันเทานั้น

หมวด 6
สายดินและการตอสายดิน

ขอ 54 หามมิใหใชสายศูนยเปนสายดินหรือใชสายดินเปนสายศูนย

ขอ 55 สายดินตองเปนโลหะที่ไมผุกรอนงาย

ขอ 56 รอยตอหรือตอแยก ตองไมเปนเหตุใหเกิดความตานทานสูงกวาที่กําหนดไวในสายดิน


นั้น

ขอ 57 หามตอฟวสหรือเครื่องตัดกระแสอัตโนมัติไวในสายดิน ยกเวนในกรณีที่เครื่องตัด


กระแสอัตโนมัตินั้นจะทํางานพรอมกันกับเครื่องตัดกระแสที่จายไฟฟาใหอุปกรณนั้นทุกทาง

ขอ 58 หามตอสวิตชไวในสายดิน ยกเวนในกรณีที่ติดตั้งไวในที่เห็นไดชัด โดยทําเครื่องหมาย


แสดงใหรชู ดั เจนวาเปนสวิตชสายดิน และใหใชไดเฉพาะผูมีหนาที่โดยตรงเทานั้น

ขอ 59 สายดินของเครื่องลอฟา (Lightning Arrester) ตองตรงและสั้นเทาที่จะทําไดโดย


ปราศจากมุม

ขอ 60 ขนาดของสายดินที่ใช ตองมีขนาด ดังนี้


(1) สําหรับวงจรไฟฟากระแสตรง ขนาดของสายดินตองไมเล็กกวาสายตัวนําที่ใหญที่สุดในวงจร
นัน้ และไมเล็กกวาสายทองแดงที่มีขนาดพื้นที่หนาตัด 8 ตารางมิลลิเมตร หรือโลหะชนิดอื่นที่มีความแข็ง
แรงและความเปนตัวนําไมนอยกวานั้น
(2) สําหรับวงจรไฟฟากระแสสลับ ขนาดของสายดินตองไมเล็กกวา 1/5 ของสายตัวนําที่ใหญที่
สุดในวงจรนัน้ และไมเล็กกวาสายทองแดงที่มีพื้นที่หนาตัด 8 ตารางมิลลิเมตร หรือโลหะชนิดอื่นที่มีความ
แข็งแรงและความเปนตัวนําไมนอยกวานั้น
(3) สําหรับวงจรของหมอแปลงหรือเครื่องวัด (Instrument Transformer) ขนาดของสายดินตอง
มีพนื้ ทีห่ นาตัดไมนอยกวาสายทองแดงขนาด 3.6 ตารางมิลลิเมตร หรือโลหะชนิดอื่นที่มีความแข็งแรงและ
ความเปนตัวนําไมนอยกวานั้น
(4) สําหรับเครื่องลอฟาแรงสูง (Lightning Arrester) ขนาดของสายดินตองมีพื้นที่หนาตัดไม
นอยกวาสายทองแดงขนาด 14 ตารางมิลลิเมตร หรือโลหะชนิดอื่นที่มีความแข็งแรงและความเปนตัวนํา
ไมนอยกวานั้น
(5) สําหรับอุปกรณที่หอยแขวนหรือเคลื่อนยายไดซึ่งมีเครื่องตัดกระแสอัตโนมัติหรือฟวสไม
เกิน 20 แอมแปร ขนาดของสายดินตองมีพื้นที่หนาตัดไมนอยกวาสายทองแดงขนาด 0.8 ตาราง
มิลลิเมตร หรือโลหะชนิดอื่นที่มีความแข็งแรงและความเปนตัวนําไมนอยกวานั้น
2- 33
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 61 การตอสายดินตองตอตัวนํ าอยางถาวรกับดินโดยผานรอยตอซึ่งมีความตานทาน


กระแสไฟฟาตํ่ าเพียงพอและสามารถรับกระแสที่ไหลผานลงดินไดโดยไมเกิดมีแรงดันไฟฟาขึ้นระหวาง
สายกับดิน

ขอ 62 สิง่ ตอไปนี้ตอสายดิน


(1) สายศูนย
(2) อุปกรณเครื่องมือเครื่องใชไฟฟาตางๆ ที่มีเปลือกหุมภายนอกเปนโลหะ
(3) สวนของแผงสวิตชที่เปนโลหะ
(4) โครงเหล็กหรือสิ่งที่เกี่ยวของที่เปนโลหะอันอาจมีกระแสไฟฟา
ยกเวนในกรณีดังตอไปนี้ ไมตองตอสายดิน
(1) เครือ่ งมือเครื่องใชไฟฟาที่มีลักษณะตามขอ 48 (2), (3) และ (4)
(2)เครือ่ งมือเครือ่ งใชประจําสํานักงานที่ไมไดอยูในที่ชื้นแฉะหรือบนพื้นที่ทําการซึ่งเปนสื่อไฟฟา

ขอ 63 ในกรณีที่ระบบจําหนายแรงตํ่า มีการตอลงดินที่หมอแปลงหรือที่ใดที่หนึ่งแลวสายดิน


ภายในอาคารอาจใชสายดินเดินรวมกันระหวางอุปกรณไฟฟาได ถาเปนไปตามขอ 60

ขอ 64 สายดินสําหรับอุปกรณและวงจรที่กลาวขางลางนี้ ตองใชสายดินแยกตางหากเพื่อตอ


กับหลักดินหรือสิ่งอื่นที่เปนโลหะ มีความคงทนและมีคุณสมบัติเปนตัวนําไฟฟาไดดีไมนอยกวาหลักดินที่
กําหนดไวเปนมาตรฐาน
(1) เครือ่ งลอฟาแรงสูง (Lightning Arrester) ยกเวนในกรณีที่นายจางมีวิศวกรไฟฟากําลังที่ได
ใบอนุญาตจาก ก.ว. เปนผูออกแบบ
(2) สายแรงตําที ่ ต่ อใชกับไฟฟาและไฟแสงสวาง ยกเวนกรณีที่ระบบสายจําหนายแรงตํ่านั้นเปน
ระบบจําหนายแรงตํ่านั้นเปนระบบที่มีสายดินไมนอยกวา 2 แหง
(3) เปลือกโลหะของอุปกรณรถรางไฟฟาที่ใชกระแสตรงและของอุปกรณที่ใชแรงดันสูงกวา
600 โวลท
(4) หลักลอฟา

ขอ 65 หลักดินและสิ่งที่ใชแทนหลักดิน ตองมีมาตรฐาน ดังนี้


(1) แทงเหล็กอาบโลหะชนิดกันผุกรอน ตองมีขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 1 เซนติเมตร
6 มิลลิเมตร ยาวไมนอยกวา 2 เมตร 40 เซนติเมตร และปลายขางหนึ่งปกลึกลงดินไมนอยกวา 2 เมตร
40 เซนติเมตร
(2) ทอเหล็กอาบสังกะสีหรือโลหะกันผุกรอนชนิดอื่น มีขนาดเสนผาศูนยกลางภายในไมนอย
กวา 1 เซนติเมตร 9 มิลลิเมตร ยาวไมนอยกวา 2 เมตร 40 เซนติเมตร และปลายขางหนึ่งปกลึกลงดินไม
นอยกวา 2 เมตร 40 เซนติเมตร
(3) โครงสรางอาคารที่เปนเหล็กซึ่งเชื่อมติดตอกันทั้งอาคารและมีการตอลงดินอยางถูกตอง
(4) แผนเหล็กทีม่ พี ื้นที่ไมนอยกวา 1,800 ตารางเซนติเมตร ถาเปนเหล็กอาบโลหะชนิดกันผุ
กรอน ตองหนาไมนอยกวา 6 มิลลิเมตร ถาเปนโลหะอื่นซึ่งไมผุกรอน ตองหนาไมนอยกวา 1.5 มิลลิเมตร
ฝงลึกจากผิวดินไมนอยกวา 2 เมตร 40 เซนติเมตร
2- 34
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(5) เหล็กเสนหรือสายทองแดงเปลือยขนาดพื้นที่หนาตัดไมนอยกวา 25 ตารางมิลลิเมตร ยาว


ไมนอ ยกวา 6 เมตร มวนเปนขด แลวฝงลึกลงดินไมนอยกวา 2 เมตร 40 เซนติเมตร และเทคอนกรีตทับ
หนาไมนอยกวา 5 เซนติเมตร

ขอ 66 ความตานทานของดินตองไมเกิน 24 โอหม ณ จุดที่ปกหลักดิน

ขอ 67 วงจรหรือระบบไฟฟาตอไปนี้ ใหยกเวนไมตองตอลงดิน


(1) ระบบไฟฟากระแสตรง
ก. เมือ่ วงจรนั้นมีเครื่องมือชี้บอกกระแสไฟรั่ว (Ground Detector) และเปนการใชอุปกรณ
ไฟฟาทางอุตสาหกรรมในบริเวณจํากัด
ข. เมือ่ ระบบจายกระแสไฟนั้นมีความตางศักยไมเกิน 50 โวลทระหวางสายกับสาย
ค. เมือ่ ระบบจายกระแสไฟมีความตางศักยเกิน 300 โวลท ระหวางสายกับสาย
ง.ระบบไฟฟากระแสตรงนั้นไดมาจากเครื่องแปลงกระแสสลับเปนกระแสตรง (Rectifier) ซึ่ง
ตานกระแสสลับไดตอลงดินไวแลว
จ.วงจรทีใ่ ชกับสัญญาณแจงเพลิงไหมซึ่งมีกระแสสูงสุดในวงจรไมเกิน 30 มิลลิแอมแปร
(2) ระบบไฟฟากระแสสลับ
ก. เมือ่ ระบบไฟฟานั้นมีแรงดันไฟฟาระหวางสายกับสายนอยกวา 50 โวลท
ข. ระบบไฟฟาที่จะจายกระแสไฟใหกับเตาหลอมไฟฟา (Arc Furnace)
ค.วงจรไฟฟาเหลานั้นมีการปองกันไวดวยเครื่องตัดวงจรกระแสไฟรั่วโดยอัตโนมัติ (Ground
Fault Circuit Interrupter)

หมวด 7
การติดตั้งสายลอฟา

ขอ 68 ปลองควันที่เปนโลหะ ตองมีการปองกันฟาผา ดังนี้


(1) ปลองควันที่เปนโลหะไมจําเปนตองติดตั้งสายลอฟาแตตองมีสายดินตอไวใหถูกตองตาม
หมวด 6
(2) สายลวดโลหะที่ยึดปลองควัน (Metal Guy Wires) ตองตอลงดิน แตถาสายลวดโลหะยึด
ปลองควันนีย้ ดึ ติดกับสมอเหล็กที่ฝงลึกลงไปในดิน และมีความตานทานของดิน (Ground Redistance)
ไมเกิน 25 โอหม ใหถือวาไดตอลงดินแลว

ขอ 69 ปลองควันที่เปนอิฐกอหรือคอนกรีตตองมีการปองกันฟาผา ดังนี้


(1) ติดตัง้ หลักลอฟา (Air Terminal) ที่ปลายของปลองควัน ดังนี้
ก. หลักลอฟาตองเปนเหล็กที่แข็งแรงไมเปนสนิมหรือโลหะชนิดอื่นที่มีความคงทนตอการผุ
กรอนได และมีความนําไฟฟาไมนอยกวาทอทองแดงที่มีเสนผาศูนยกลาง 16 มิลลิเมตร และมีความหนา
ของทอไมนอยกวา 0.8 มิลลิเมตร
ข. ติดตัง้ รอบปลองโดยใหมีระยะหางกันไมเกิน 2 เมตร 40 เซนติเมตร และมีสายตอเชื่อม
ถึงกันใหครบวงจร (Closed Loop) ถาปลองควันที่มีฝาครอบโลหะอยูดวยก็ใหตอกับหลักลอฟาดวย
2- 35
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ค. ความสูงของหลักลอฟาเหนือขอบปลองควันใหเปน ดังนี้
1. ปลองควันทัว่ ไป สูงไมนอยกวา 50 เซนติเมตร และไมเกินกวา 75 เซนติเมตร
2. ปลองระบายควันที่เปนฝุน ไอ หรือแกส ซึ่งระเบิดไดเมื่อมีประกายไฟจะตอง สูงไม
นอยกวา 1 เมตร 50 เซนติเมตร แตถาเปนปลองชนิดปลายเปด หลักลอฟาจะตองติดตั้งใหสูงกวาปลาย
ปลองไมนอยกวา 4 เมตร 50 เซนติเมตร
(2) หลักลอฟา ตองตอลงดินดวยสายดิน ดังนี้
ก. สายดินทีใ่ ชตองเปนทองแดงชนิดที่มีคุณสมบัติใชในงานไฟฟา ซึ่งมีความนําไฟฟาไดตาม
มาตรฐานอุตสาหกรรมที่ มอก. 64-2517 และตองมีขนาดพื้นที่หนาตัดไมเล็กกวา 70 ตารางมิลลิเมตร
ข. สายทีเ่ ปนทอกลวง ตองเปนทองแดง โดยมีพื้นที่หนาตัดของเนื้อทองแดงและความนําไฟ
ฟาไมนอยกวาขอ ก. และความหนาของทอ ตองไมนอยกวา 1.5 มิลลิเมตร
ค. สายที่เปนแผนยาวหรือสายถัก ความหนาตองไมนอยกวา 2 มิลลิเมตร โดยตองมีพื้นที่
หนาตัดของเนื้อทองแดงและความนําไฟฟาไมนอยกวาขอ ก.
ง. ถามีหลักลอฟามากกวาหนึ่งหลัก ตองมีสายดินอยางนอย 2 สายตรงขามกัน โดยตอจาก
สายทีต่ อ เชือ่ มครบวง (Closed Loop) จากสวนบนของปลองไปยังดิน สายดินทั้ง 2 นี้ จะตองตอเชื่อมกัน
ทีฐ่ านของปลองควันและแตละสายแยกตอกับหลักดิน
จ. ถาปลองควันสูงตั้งแต 50 เมตรขึ้นไป ตองตอเชื่อมครบวงจรสายดินที่ตรงจุดกึ่งกลางของ
ปลองควัน ใหถึงกัน
(3) ตัวจับยึดสายดิน ตองมีระยะหางและลักษณะ ดังนี้
ก. ตองเปนทองแดงหรือโลหะผสมทองแดง
ข. ระยะหางระหวางตัวจับยึดในการยึดลงดินตองไมหางเกิน 1 เมตร 20 เซนติเมตรตาม
แนวตัง้ และ 60 เซนติเมตร ตามแนวนอน

ขอ 70 หลักลอฟาที่เปนทองแดง สายดินและตัวจับยึด จะตองฉาบผิวดวยตะกั่วหนาอยางนอย


1.6 มิลลิเมตร ในระยะ 7 เมตร 50 เซนติเมตร จากปลายปากปลองลงมา และสูงขึ้นไปตลอดจนถึงปลาย
หลักลอฟา

ขอ 71 สายดิน ตองมีรอยตอนอยที่สุดเทาที่จะทําได และตองมีความแข็งแรงรับแรงดึงไดไม


นอยกวารอยละ 50 ของความแข็งแรงของสาย และจะตองไมมีมุม

ขอ 72 การตอลงดิน จะตองทําเชนเดียวกับการตอสายดินตามหมวด 6

ขอ 73 สวนของสายดินที่สูงจากพื้นดิน 2 เมตร 50 เซนติเมตร ตองมีการปองกันการกระทบ


กระแทก โดยใชไมหรือวัสดุที่ไมเปนสารแมเหล็กหอหุม ถาใชทอโลหะที่ไมเปนสารแมเหล็กหอหุม สายดิน
ตองตอเชื่อมปลายดานบนและลางของทอเขากับสายดวย

ขอ 74 ปลองควันที่บุผิวดานโลหะหรือมีบันไดเปนโลหะ ตองตอผิวโลหะหรือบันไดนั้นเขากับ


สายดินดวยทั้งสวนบนและสวนลาง

2- 36
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 75 ปลองควันที่อยูในกรอบรัศมีคุมกันของระบบปองกันฟาผาซึ่งมีรัศมีที่พื้นดินเปน 2
เทาของความสูงของสายหลักลอฟา ไมตองติดตั้งสายลอฟา

ขอ 76 ถังซึง่ เก็บของเหลวไวไฟหรือแกสไวไฟ ตองมีการปองกันอันตรายจากฟาผาถังโดยติด


ตั้งระบบลอฟาในกรณีที่เปนถังเหล็กและมีหลังคาไมเปนโลหะ ตองติดหลักลอฟาหรือสายลอฟาหรือทั้ง
สองอยาง ใหมีความสูงและจํานวนเพียงพอที่จะปองกันฟาผาถังไดโดยตัวถังตองอยูภายในกรวยของรัศมี
คุม กันของหลักลอฟาหรือสายลอฟา ซึ่งทํามุมไมเกิน 45 องศากับแนวดิ่ง สายลอฟาและ/หรือหลักลอฟา
นัน้ ตองตอเชื่อมกับถังเหล็กและตอลงดินโดยถูกตอง
ยกเวนในกรณีที่ถังนั้นตั้งอยูภายในรัศมีคุมกันของสายลอฟาหรือเสาลอฟา (Mast) ที่ติดตั้งอยูแลว
กรณีทหี่ ลังคาที่มีบางสวนเปนโลหะอยูบาง ใหตอเชื่อมสวนที่เปนโลหะนั้นเขากับระบบสายลอฟา
ดวย
ยกเวนในกรณี ดังตอไปนี้
(1) ถังเหล็กที่มีหลังคาเปนโลหะมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้
ก. ทุกๆ รอยตอระหวางแผนเหล็ก จะตองยึดโดยใชหมุดยํ้า สลักยึดหรือเชื่อมถึงกัน
ข. ทอทุกทอที่ตอกับถัง จะตองมีการตอชนิดโลหะตอโลหะกับถังทุกจุดที่ตอ
ค. ทางออกของไอหรือแกส จะตองปดแนน
ง. หลังคา จะตองมีความหนาไมนอยกวา 2.7 มิลลิเมตร
จ. หลังคาสวนบนของถัง จะตองเชื่อม หรือยํ้าหมุด หรือใชสลักเกลียวยึดกับเปลือกถัง และ
อุดรอยรั่วตามตะเข็บกันรั่ว ทุกสวนจะตองมีการตอเนื่องทางไฟฟาถึงกันตลอด
ฉ. ตัวถังตองตอลงดินโดยถูกตอง
(2) ถังเก็บของเหลวไวไฟภายใตความกดดัน ไมจําเปนตองมีการปองกันฟาผา

หมวด 8
การใชอุปกรณปองกันอันตรายจากไฟฟา

ขอ 77 นายจางตองจัดหาอุปกรณปองกันอันตรายจากไฟฟา เชน ถุงมือยาง แขนเสื้อยาง ถุง


มือหนัง ถุงมือทํางาน แผนยาง ผาหมยาง ฉนวนคลอบลูกถวย ฉนวนหุมสาย หมวกแข็งกันไฟฟา ฯลฯ ให
แกลกู จางทีจ่ ะปฏิบัติเกี่ยวกับงานไฟฟาตามความเหมาะสมของงาน ในเมื่ออุปกรณไฟฟาเหลานั้นมีแรงดัน
ไฟฟามากกวา 50 โวลท หรือในกรณีที่อุปกรณไฟฟาที่มีแรงดันตํ่ากวา 50 โวลท แตมีโอกาสที่จะเกิดแรง
ดันสูงเพิ่มขึ้นในกรณีผิดปกติ

ขอ 78 ลูกจางทีต่ อ งขึ้นปฏิบัติงานสูงกวาพื้นดินตั้งแต 4 เมตรขึ้นไป นายจางจะตองจัดหาเข็ม


ขัดนิรภัย (Safety Belt) หมวกแข็งชนิด ค. ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง มาตรฐานของอุปกรณ
คุม ครองความปลอดภัยสวนบุคคล วาดวยหมวกแข็งและอุปกรณอื่นๆ ที่เหมาะสมกับงานนั้นๆ ใหลูกจาง
สวมใสตอดเวลาที่ปฏิบัติงานอยู เวนแตอุปกรณนั้นจะทําใหลูกจางเสี่ยงอันตรายมากกวาเดิม ในกรณีนี้ให
ใชอุปกรณเพื่อความปลอดภัยอยางอื่นแทน

2- 37
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 79 นายจางตองจัดหารองเทาพื้นยางหุมขอชนิดมีสน ใหกับลูกจางสวมใสตลอดเวลาของ


การทํางาน

ขอ 80 อุปกรณปองกันอันตรายจากไฟฟา จะตองมีคุณสมบัติไดมาตรฐาน ดังตอไปนี้


(1) อุปกรณฉนวนที่ใชกันกระแสไฟฟา จะตองมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับแรงดันสูงสุดในบริเวณที่
ปฏิบัติงานใกลเคียง และมีมาตรฐานตามขอกํ าหนดในมาตรฐานอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวน
บุคคล
(2) อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลเกี่ยวกับไฟฟา ตองมีคุณสมบัติเหมาะสมกับแรง
ดันสูงสุดในบริเวณที่ปฏิบัติงานหรือใกลเคียง และมีมาตรฐานตามขอกําหนดในมาตรฐานอุปกรณคุมครอง
ความปลอดภัยสวนบุคคล
(3) ถุงมือหนังที่ใชสวมทับถุงมือยาง ตองมีความยาวหุมถึงขอมือ มีลักษณะใชสวมทับถุงมือยาง
ไดพอเหมาะ และมีความคงทนตอการฉีกขาดไดดี
(4) ถุงมือยางกันไฟฟา มีลักษณะสวมกับนิ้วมือไดทุกนิ้ว และตองใชคูกับถุงมือหนังตามขอ (3)
ทุกครั้งที่ใชปฏิบัติงาน โดยมีคุณสมบัติที่กําหนดไวตามมาตรฐานอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวน
บุคคล

หมวด 9
เบ็ดเตล็ด

ขอ 81 ขอกําหนดมาตรฐานและการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟาที่กําหนดไว
ในประกาศนี้เปนมาตรฐานขั้นตํ่าที่จะตองปฏิบัติเทานั้น

ขอ 82 นายจางตองจัดทําขอบังคับเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานดวยความปลอดภัย โดยใหมีมาตร


ฐานไมตากว
ํ่ าที่กําหนดไวในประกาศนี้ เพื่อแจกจายใหเปนคูมือสําหรับลูกจางถือปฏิบัติ

ขอ 83 นายจางตองจัดใหมีการฝกอบรมใหกับลูกจางที่ทํางานเกี่ยวของกับไฟฟามีความรูและ
ความสามารถในเรื่องตอไปนี้
(1) วิธปี ฏิบัติเมื่อมีลูกจางประสบอันตรายจากไฟฟา
(2) การปฐมพยาบาลและการชวยชีวิตโดยวิธีใชปากเปาอากาศเขาทางปากหรือจมูกของผูประสบ
อันตราย และวิธีการนวดหัวใจจากภายนอก

ขอ 84 ถาปฏิบัติงานในเวลากลางคืน นายจางตองจัดใหมีแสงสวางในบริเวณที่ปฏิบัติงาน


อยางเพียงพอ โดยใหเปนไปตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ภาวะแวดลอมเกี่ยวกับเรื่องแสง

ขอ 85 เมือ่ ลูกจางตองปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาในบริเวณที่อยูใกลหรือเหนือนํ้า จะตองจัดให


มีเครื่องชูชีพกันจมนํ้าดวย

2- 38
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 86 งานใดทีม่ ีลักษณะไมเหมาะสมแกการที่จะใหลูกจางใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัย


สวนบุคคลดังที่ระบุไวในหมวดนี้ นายจางอาจผอนผันใหลูกจางระงับการใชอุปกรณนั้นเฉพาะการปฏิบัติ
งานในลักษณะเชนวานั้นเปนการชั่วคราวได แตนายจางตองเปนผูรับผิดชอบตามประกาศนี้

ขอ 87 สถานประกอบการใดที่มิไดปฏิบัติใหเปนไปตามที่กําหนดไวในประกาศนี้ พนักงานเจา


หนาที่อาจออกคําเตือนหรือคําแนะนําเปนลายลักษณอักษรใหนายจางปฏิบัติใหถูกตองภายในระยะเวลาที่
กําหนดกอนก็ได

ขอ 88 ขอความใดในประกาศนี้ที่อาจตีความไดหลายนัย นัยใดจะทําใหเกิดความปลอดภัยแก


ชีวิตหรือทรัพยสินใหถือเอานัยนั้น

ขอ 89 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายตามประกาศนี้

ขอ 90 ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับตั้ง
แตประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 8 มีนาคม พุทธศักราช 2522

ดําริ นอยมณี
รัฐมนตรีชวยวาการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 39
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม
(ประดานํ้า)

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16


มีนาคม 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยสําหรับ
ลูกจางไว ดังตอไปนี้

ความทั่วไป

ขอ 1 ในประกาศนี้
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวม
ถึงผูซ งึ่ ไดรับมอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวา ผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคลนั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทํา
การแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจางดวย
ตนเอง หรือไมก็ตาม และหมายความรวมถึงลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราว แตไมรวมถึงลูกจางซึ่ง
ทํางานเกี่ยวกับงานบาน
“ลูกจางประจํา” หมายความวา ลูกจางซึ่งนายจางตกลงจางไวเปนการประจํา
“ลูกจางชัว่ คราว” หมายความวา ลูกจางซึ่งนายจางตกลงจางไวไมเปนการประจํา เพื่อทํางานอันมี
ลักษณะเปนครั้งคราว เปนการจร หรือเปนไปตามฤดูกาล
“หัวหนาประดานํ้า” หมายความวา ผูซึ่งทําหนาที่วางแผนงานและควบคุมในการดํานํ้าทั้งหมด
“พีเ่ ลีย้ งดํานํ้า” หมายความวา ผูซึ่งทําหนาที่ติดตอกับประดานํ้าตลอดเวลาที่ดํานํ้า
“ผูร กั ษาเวลา” หมายความวา ผูซึ่งทําหนาที่จับเวลาและบันทึกเวลาใหแกประดานํ้าตามเวลาที่ได
กําหนด
“ประดานํา” ้ หมายความวา ผูซึ่งปฏิบัติงานใตนํ้าโดยใชเครื่องประดานํ้า
“ความกดดัน” หมายความวา แรงที่กดลงบนพื้นที่หนึ่งตารางหนวย หรือขนาดของแรงที่อนุภาค
กระทําตอหนึ่งหนวยพื้นที่
“เครือ่ งประดานํ้าประเภทใชถังอัดอากาศ” หมายความวา อุปกรณที่ใชในการดํานํ้า ซึ่งประกอบ
ดวยถังอัดอากาศ หนากากดํานํ้าแบบเปดหรือแบบปดและอุปกรณดํานํ้าที่จําเปนอื่นๆ ซึ่งตองมีคุณสมบัติ
ตามขอกําหนดเกี่ยวกับอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 97 ตอนที่ 172 วันที่ 11 พฤศจิกายน 2523


2- 40
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

เครือ่ งประดานํ้าประเภทใชถังอัดอากาศ อาจเปนแบบอิสระหรือแบบที่มีเชือกนําก็ได


“เครือ่ งประดานํ้าประเภทใชอัดอากาศจากผิวนํ้า” หมายความวา อุปกรณที่ใชในการดํานํ้า ซึ่ง
ประกอบดวย ชุดดํานํ้า หัวครอบประดานํ้า ทอสงอากาศ เครื่องอัดอากาศและอุปกรณดํานํ้าที่จําเปนอื่นๆ
ซึง่ ตองมีคุณสมบัติตามขอกําหนดเกี่ยวกับอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่กําหนด

หมวด 1
งานประดานํ้า

ขอ 2 ความในประกาศนี้ ใชบังคับสําหรับงานประดานํ้าที่ทําในนํ้าลึกเกินกวาสิบเมตร แตไม


เกินหกสิบเมตร

ขอ 3 กอนทีน่ ายจางจะใหลูกจางทํางานประดานํ้า ตองจัดใหลูกจางไดตรวจสุขภาพตามบัตร


ตรวจสุขภาพทายประกาศนี้

ขอ 4 ในการทํางานประดานํ้าทุกครั้ง ตองมีหัวหนาประดานํ้าอยางนอยหนึ่งคน และผูชวย


เหลืออืน่ เทาที่จําเปนตามรายละเอียดในหมวด 2

ขอ 5 ลูกจางผูมีหนาที่เกี่ยวของกับงานประดานํ้า ตองมีประสบการณหรือไดรับการฝกอบรม


เกีย่ วกับงานประดานํ้า โดยมีคุณสมบัติและหนาที่ ดังตอไปนี้
(1) หัวหนาประดานํา้ ตองเปนผูที่มีความรูความชํานาญในงานประดานํ้าเปนอยางดี มีหนาที่
ก.วางแผนการทํางานและแผนการปองกันอันตรายอันอาจจะเกิดขึ้นจากงานประดานํ้า
ข.ชี้แจงและแนะนํ าหนาที่ความรับผิดชอบของผูปฏิบัติงานแตละคนตามแผนแตละครั้ง
ตลอดถึงวิธปี ฏิบัติในการทํางานและการปองกันอันตรายอันอาจจะเกิดขึ้นจากงานประดานํ้า และดูแลใหผู
ปฏิบตั งิ านทุกคนตรวจตราเครื่องมือและอุปกรณที่จะใชใหอยูในสภาพพรอมที่จะปฏิบัติงาน
ค. ตองอยูสั่งการและควบคุมตลอดเวลาที่มีการทํางานประดานํ้า
(2) ประดานําต ้ องเปนผูที่มีสภาพทางรางกายและจิตใจสมบูรณ ไมเปนอุปสรรคตองานประดา
นํามี
้ ความสามารถในการใชและดูแลรักษาเครื่องประดานํ้า มีความสามารถในการวายนํ้าและดํานํ้ามีหนาที่
ก. ศึกษาและทําความเขาใจแผนการทํางานที่ไดรับมอบหมายโดยตลอด
ข. ปฏิบัติตามแผนการทํางาน โดยเฉพาะอยางยิ่งแผนการดําขึ้นโดยเครงครัด
ค. ตองตรวจตราเครื่องประดานํ้าใหอยูในสภาพพรอมที่จะใชปฏิบัติงาน
(3) พีเ่ ลีย้ งดํานํา้ ตองเปนผูที่มีความรูและประสบการณเกี่ยวกับงานประดานํ้า และสามารถแก
ไขสภาพอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากงานประดานํ้าได มีหนาที่
ก. ศึกษาและทําความเขาใจแผนการทํางานที่ไดรับมอบหมายโดยตลอด
ข. ซักซอมและทําความเขาใจในแผนการทํางานและแผนการปองกันอันตรายอันอาจจะเกิด
ขึน้ กับประดานํ้า
ค. เตรียมพรอมเพื่อชวยเหลือประดานํ้าตลอดเวลาที่ปฏิบัติหนาที่
(4) ผูรักษาเวลา ตองเปนผูที่มีความรูและประสบการณเกี่ยวกับงานประดานํ้าและสามารถใช
เครื่องประดานํ้าและอุปกรณ มีหนาที่
2- 41
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ก. ศึกษาและทําความเขาใจแผนการทํางานแตละครั้ง
ข. บันทึกเวลาในการดํานํ้าตั้งแตเริ่มดํา เวลาตามขั้นตอนการดํานํ้า และเวลาโผลถึงผิวนํ้า
ค. รายงานการบันทึกเวลาใหหัวหนาประดานํ้าทราบทุกขั้นตอน

ขอ 6 ระยะเวลาในการดํานํ้ารวมถึงระยะเวลาที่พัก ณ จุดตางๆ และระยะเวลาการดําขึ้น ตอง


ใหเปนไปตาม “ตารางกําหนดเวลา” ที่ไดกําหนดไวทายประกาศนี้

หมวด 2
การคุมครองความปลอดภัยในงานประดานํ้า

ขอ 7 นายจางที่ใหลูกจางดํานํ้าในระดับความลึกตางๆ ตองใหมีระยะเวลาทํางาน เวลาพัก


และการลดความกดดัน เปนไปตามตารางที่กําหนดไวในขอ 6

ขอ 8 นายจางตองจัดใหมีอุปกรณดํานํ้า และลูกจางในงานประดานํ้า ตามตารางขางลางนี้

จํานวนลูกจางที่เกี่ยวของ
อุปกรณดํานํ้าที่ลูกจาง
ขอ ความลึกที่ดําและการดํา ผูคุมเครื่อง
ตองใชในขณะปฏิบัติงาน ประดานํ้า พี่เลี้ยง ผูรักษาเวลา
อัดอากาศ
1. เกิน 10 เมตร แตไมเกิน ก. เครื่องประดานํ้าประเภทใชถังอัด 1 1 - -
40 เมตร อากาศแบบอิสระ
ข. เครื่องประดานํ้าประเภทใชถังอัด
อากาศจากผิวนํ้าและเครื่องจับเวลา

2. เกิน 10 เมตร แตไมเกิน 40 ก. เครื่องประดานํ้าประเภทใชถังอัด 1 1+ - -


เมตร เมื่อมีกระแสนํ้าแรงเกิน อากาศแบบมีเชือกนํา และเครื่องจับ
1.6กิโลเมตรตอชั่วโมง และ/ เวลา หรือ 1 1+ -+ -
หรือเมื่อประดานํ้าตองทํางาน ข. เครื่องประดานํ้าประเภทใชถังอัด
ในที่แคบหรือในซากเรือที่จม อากาศจากผิวนํ้าและเครื่องจับเวลา

3. เกิน 40 เมตร แตไมเกิน เครื่องประดานํ้าประเภทใชถังอัด 1 1 1 1


60 เมตร อากาศจากผิวนํ้า และเครื่องจับเวลา
+ พีเ่ ลี้ยงทําหนาที่รักษาเวลาดวย

ขอ 9 ในงานประดานํ้า นายจางตองจัดใหมีบริการการปฐมพยาบาลและเครื่องชวยชีวิตพรอม


ทีจ่ ะชวยเหลือประดานํ้าตลอดระยะเวลาที่มีการดํานํ้า

ขอ 10 ในงานประดานํา้ นายจางตองจัดใหมีประดานํ้าสํารองและอุปกรณดํานํ้าสํารอง ตลอด


ระยะเวลาที่มีการดํานํ้า พรอมทั้งตองมีถังอากาศสํารองเพื่อใชในการชวยเหลือดวย

ขอ 11 ลูกจางจะไมดํานํ้าก็ไดถาเห็นวาไมปลอดภัย
2- 42
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 12 นายจางตองยินยอมใหลูกจางยุติการดํานํ้า ในกรณีตอไปนี้


(1) เมือ่ ประดานํ้าไมสามารถโตตอบสัญญาณไดถูกตอง
(2) เมือ่ พีเ่ ลีย้ งไมสามารถติดตอกับประดานํ้าได (ในกรณีที่ไมไดใชเครื่องประดานํ้าประเภทมีถัง
อัดอากาศ แบบอิสระ)
(3) เมือ่ ประดานํ้าตองใชอากาศสํารอง

หมวด 3
ขอกําหนดอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

ขอ 13 อุปกรณคมุ ครองความปลอดภัยสวนบุคคลตามที่กลาวในหมวดนี้จะตองเปนไปตามที่


กําหนด ดังตอไปนี้
(1) เครื่องประดานํ้าประเภทใชถังอัดอากาศแบบอิสระสําหรับติดกับรางกายของประดานํ้าใน
ขณะดํานํ้า
(2) เครือ่ งประดานํ้าประเภทใชถังอัดอากาศจากผิวนํ้า ใชสําหรับเปนถังเก็บและจายอากาศ มี
สายยางตอจากถัง ปลายสายยางติดกับหนากากดํานํ้า
(3) เชือกนํา เปนเชือกผูกติดกับรางกายของประดานํ้า ใชสําหรับเปนเครื่องสงสัญญาณ และ/
หรือเปนเครื่องนําทางกลับ
(4) เครือ่ งจับเวลา เปนนาฬิกาสําหรับบอกเวลาการดํานํ้า
(5) เครือ่ งวัดระดับความลึก เปนอุปกรณสําหรับบอกระดับความลึกในการดํานํ้า

หมวด 4
เบ็ดเตล็ด

ขอ 14 ขอกําหนดเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยที่กําหนดในประกาศนี้ เปน


มาตรฐานขั้นตํ่าที่จะตองปฏิบัติเทานั้น

ขอ 15 ขอความใดในประกาศนี้ที่อาจตีความไดหลายนัย นัยใดจะทําใหเกิดความปลอดภัยแก


ชีวติ และรางกายของลูกจาง ใหถือเอานัยนั้น

ขอ 16 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายตามประกาศนี้

ขอ 17 ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแต
วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.2523

ประเทือง กีรติบุตร
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
2- 43
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

"ตารางกําหนดเวลา" ระดับความลึกที่
ดํา และรหัสที่ใช

เวลา
(นาที) 10 15 20 25 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120 130 140 150

ความลึก
(ฟุต)

40 เวลาทํางานใตนาและความลึ
ํ้ กทีด่ าโดยไม
ํ ตอ งลดความดัน
50 ก ก ข ข ค
60 ก ข ค ง จ ฉ ช ช
70 ข ค ง จ ซ 5ญ 5ญ
80 ข ง จ 10ฉ 15ช 35ญ รหัสทีใ่ ชเวลาทีต่ อ งพัก
90 ข ง จ 10ฉ 15ช 35ญ ในระดับความลึกตางๆ
100 ก ค 5จ 10ฉ 30ช 35ญ 40 30 20 10
110 ก ข 5จ 10ฉ 30ช 48ญ รหัส
120 ก ข ค 5จ 15ช 35ญ ก - - - 5
130 ก ข 5ง 15จ 30ช 5ก - - 5 5
140 ก ข 5ค 5จ 30ฉ 35ญ ข - - - 10
150 ก ก 5ข 5ค 15จ 30ช 5ข - - 5 10
160 ก 5ก 5ค 15ง 20จ 35ช ค - - - 15
170 ก 5ก 5ค 15จ 30ฉ 35ญ 5ค - - 5 15
180 ก 5ข 15จ 30ฉ 45ญ ง - - - 20
190 5ก 5ข 15ข 20จ 35ช 5ง - - 5 20
15 ง - 5 10 20
จ - - - 25
5จ - - 5 25
15 จ - 5 10 25
20 จ - 5 15 25
ฉ - - - 30
คําแนะนําในการใชตารางกําหนดเวลา จากความลึกที่ดํา 10 ฉ - - 10 30
และเวลาจะไดรหัส ซึ่งเมื่อนําไปดูจากตารางควบจะแสดงเวลาที่ตอง 30 ฉ - 10 20 30
พัก เพือ่ ปรับสภาพรางกายที่ระดับความลึกตาง ๆ กอนขึ้นสูผิวนํ้า ช - - - 40
15 ช - 5 10 40
การดําซํ้า ในกรณีที่ตองดําซํ้า ใหปฏิบัติดังนี้คือ ภายในระยะ 30 ช - 10 20 40
เวลาไมเกิน 12 ชั่วโมง ถาตองดําซํ้าใหนับเวลาที่ดําครั้งแรกและครั้ง 15 ช 5 10 20 40
หลังรวมกันเปนเวลาที่ตองปรับสภาพรางกายในครั้งหลัง ตัวอยางเชน ญ - - - 50
ครัง้ แรกดําลึก 90 ฟุต และดําอยูนาน 60 นาที ครั้งที่สองดําลึก 90 5 ญ - - 5 50
ฟุตอีกเปนเวลา 20 นาที ครั้งที่สองนี้จะตองปรับสภาพรางกาย 15 ญ - - 15 50
เทากับไดดํามา 80 นาที ทั้งนี้จะตองมีชั่วโมงทํางานไมเกินสัปดาหละ 35 ญ - 10 25 50
42 ชั่วโมง 45 ญ 5 15 25 50

2- 44
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

การตรวจสุขภาพและโรคที่ขัดตอการทํางานใตนํ้า

ในงานทีต่ อ งทําใตนํ้า นายจางจะตองจัดใหมีการตรวจสุขภาพของลูกจางกอนเขาทํางาน และตอง


ตรวจเปนระยะเปนประจําทุก 6 เดือน หรือตรวจทุกครั้งที่ลูกจางหายจากการเจ็บปวย (ปวยเกิน 7 วัน)
ดวยโรคใดโรคหนึ่งที่ขัดตอการทํางานใตนํ้า

โรคหรือสภาพของรางกายที่ขัดตอการทํางานใตนํ้า
1. โรคจิตและระบบประสาท - โรคลมชัก โรคจิต ไมเกรน
2. โรคระบบหายใจ - โพรงอากาศอักเสบจนเปนหนอง หอบหืด ปอดอักเสบ
3. โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด - หัวใจรั่ว ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสวนปลาย
4. โรคหู - เยื่อหูทะลุ หูนํ้าหนวก โรคเมาคลื่น
5. โรคเกี่ยวกับกระดูก - กระดูกแขนหรือขาเคยหัก มีอาการเจ็บปวดเมื่อเคลื่อน
ไหว แขน ขา และหลัง
6. โรคระบบทางเดินอาหาร - โรคตับ โรคแผลในกระเพาะหรือลําไส ไสเลื่อน
7. โรคระบบขับถาย - ปสสาวะมีไขขาว
8. โรคระบบตอมไรทอ - เบาหวาน
9. โรคตา - สายตาเสียมากกวา 20/30
10.โรคโลหิตจาง - เฉพาะที่มีอาการ
11.โรคอื่น ๆ - ติดยาเสพติด พิษสุราเรื้อรัง กําลังไดรับยาพวก
สเตอรอยด เปนตะคริวบอยๆ

2- 45
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานในสถานที่อับอากาศ

โดยทีเ่ ห็นสมควรออกประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานในสถานที่อับ


อากาศ เพื่อกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยสําหรับลูกจางที่ทํางานในสถานที่
อับอากาศใหเหมาะสม อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลง
วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงออกประกาศไว ดังตอไปนี้

ขอ 1 ประกาศนีเ้ รียกวาประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานในสถานที่


อับอากาศ

ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเปนตนไป

ขอ 3 ในประกาศนี้
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวมถึง
ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวาผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคล นั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทํา
การแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจางดวย
ตนเอง หรือไมก็ตาม แตไมรวมถึงลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานบาน
“สถานที่อับอากาศ” หมายความวา สถานที่ทํางานที่มีทางเขาออกจํากัด มีการระบายอากาศตาม
ธรรมชาติ ไมเพียงพอที่จะใหอากาศภายในอยูในสภาพถูกสุขลักษณะและปลอดภัย ซึ่งอาจเปนที่สะสมของ
สารเคมีเปนพิษ สารไวไฟรวมทั้งออกซิเจนไมเพียงพอ เชน ถังนํ้ามัน ถังหมัก ไซโล ทอ เตา ถัง บอ ถํ้า
อุโมงค หองใตดิน ภาชนะ หรือสิ่งอื่นใดที่มีลักษณะคลายกัน
“ความเขมขนตํ่าสุดที่จะติดไฟหรือระเบิดได” (Lower Flammable Limit หรือ Lower Explosive
Limit) หมายความวา ความเขมขนตํ่าสุดของสารเคมีชนิดนั้นในอากาศที่จะติดไฟหรือระเบิดไดเมื่อมีสิ่งที่
ทําใหเกิดประกายไฟหรือการลุกไหม

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 107 ตอนที่ 159 วันที่ 30 สิงหาคม 2533


2- 46
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

หมวด 1
การทํางานในสถานที่อับอากาศ

ขอ 4 หามนายจางใหลูกจางทํางานในสถานที่อับอากาศจนกวาจะไดดําเนินการใหปลอดภัย

ขอ 5 กอนใหลกู จางทํางานในสถานที่อับอากาศใหนายจางจัดการดําเนินการใหปลอดภัยดังนี้


(1) ตรวจสอบปริมาณออกซิเจน สารเคมี และสิ่งปนเปอนในอากาศวาจะทําใหเกิดการขาด
ออกซิเจน การระเบิด และการเปนพิษหรือไม และเก็บบันทึกผลการตรวจไวใหเจาหนาที่แรงงานสามารถ
ตรวจสอบได
(2) ถาการตรวจสอบใน (1) พบวาปริมาณออกซิเจนตํ่ากวารอยละสิบแปดโดยปริมาตร หรือมี
สารเคมีที่ติดไฟไดในปริมาณความเขมขนเกินกวารอยละยี่สิบของความเขมขนตํ่าสุดที่จะติดไฟหรือระเบิด
ได (Lower Flammable Limit หรือ Lower Explosive Limit) หรือสารเคมีอื่นๆ อยูในระดับเกินกวาคา
ความปลอดภัยที่กําหนดไวในประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะ
แวดลอม (สารเคมี) ใหทําการระบายอากาศ หรือขจัดหรือทําความสะอาดสถานที่นั้น จนกวาจะอยูใน
สภาพที่ปลอดภัย
(3) ใหนายจางจัดอุปกรณชวยหายใจ เข็มขัดนิรภัย สายชูชีพ (Life Line) และอุปกรณคุมครอง
ความปลอดภัยสวนบุคคลอื่นๆ ที่เหมาะกับสภาพของงานตามมาตรฐานที่กรมแรงงานยอมรับ เพื่อใหลูก
จางทํางานในสถานที่อับอากาศไดอยางปลอดภัย และใหลูกจางใชในกรณีที่ดําเนินการแกไขตาม (2) แลว
แตไมสามารถแกไขได
(4) จัดใหมใี บอนุญาตใหลูกจางเขาทํางานในสถานที่อับอากาศทุกครั้งตามแบบที่อธิบดีกําหนด

ขอ 6 ในระหวางทีล่ กู จางปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ นายจางจะตองจัดใหมีการปฏิบัติ ดังนี้


(1) ตรวจสอบสภาพอากาศเปนระยะๆ และจัดการใหเปนไปตามขอ 5 (1) (2) และ (3)
(2)จัดใหมีผูชวยเหลือที่ผานการอบรมการชวยเหลือผูประสบภัยคอยดูแลเฝาที่ปากทางเขาออก
สถานที่อับอากาศตลอดเวลา และสามารถติดตอสื่อสารกับลูกจางที่ทํ างานในสถานที่อับอากาศพรอม
อุปกรณชว ยชีวิตที่เหมาะสมตามลักษณะงาน คอยใหความชวยเหลือลูกจางไดทันทีตลอดเวลาการทํางาน

ขอ 7 ใหนายจางจัดอุปกรณไฟฟาและอุปกรณประกอบ ที่ใชทํางานในสถานที่อับอากาศ เปนชนิด


ทีส่ ามารถปองกันความรอน ฝุน การระเบิด การลุกไหม และไฟฟาลัดวงจร อยางมีประสิทธิภาพ

ขอ 8 ใหนายจางติดตั้งและเดินสายไฟฟาในสถานที่อับอากาศดวยวิธีการที่ปลอดภัย และมีการ


ปองกันมิใหเกิดความเสียหายทางกายภาพ

ขอ 9 ใหนายจางจัดใหมีผูควบคุมงานที่มีความรูความสามารถเพื่อปฏิบัติหนาที่ ดังตอไปนี้


(1) วางแผนการปฏิบัติงานและการปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทํางานและติดประกาศ
หรือแจงใหลูกจางทราบเปนลายลักษณอักษร
(2) ชีแ้ จงและซักซอมหนาที่ความรับผิดชอบ วิธีการปฏิบัติงานและวิธีการปองกันอันตรายใหเปน
ไปตามแผนที่กําหนดไว
2- 47
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(3) ควบคุมดูแลใหลูกจางใชและตรวจตราเครื่องปองกัน และอุปกรณคุมครองความปลอดภัยที่ใช


ใหอยูในสภาพพรอมที่จะใชงาน

ขอ 10 ใหนายจางหามลูกจางสูบบุหรี่หรือพกพาอุปกรณสําหรับจุดไฟหรือติดไฟเขาไปในสถานที่
อับอากาศ

ขอ 11 หามนายจางใหลูกจางทํางานที่กอใหเกิดความรอน หรือประกายไฟ เชน การเชื่อม การ


เผาไหม การยํ้าหมุด การเจาะ การขัด ในสถานที่อับอากาศ เปนตน จนกวาจะไดปฏิบัติตามขอ 5 และขอ
6 และจัดมาตรการปองกันที่เหมาะสม

ขอ 12 หามนายจางใหลูกจางพนสี หรือทาสีที่ใชสารนํ้ามันชนิดระเหยไดในสถานที่อับอากาศจน


กวาจะไดปฏิบัติตามขอ 5 และขอ 6 และจัดมาตรการปองกันที่เหมาะสม

ขอ 13 ใหนายจางจัดใหมีเครื่องดับเพลิงที่มีประสิทธิภาพและจํานวนพอเพียงที่จะใชไดทันทีเมื่อ
ทําการเชื่อม ตัดโลหะ หรือปฏิบัติงานอื่นใดที่อาจกอใหเกิดการลุกไหม

ขอ 14 ใหนายจางหามลูกจางที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของ เขาไปในสถานที่อับอากาศ

ขอ 15 สถานทีอ่ บั อากาศที่มีลักษณะเปนชองโพรง ถังเปดหรือที่มีลักษณะคลายกันใหนายจางจัด


ใหมสี ิ่งปดกั้นไมใหคนเขาหรือตกลงไปได

ขอ 16 ใหนายจางจัดใหมีปายแจงขอความวา “บริเวณอันตรายหามเขาโดยไมไดรับอนุญาต”


ปดประกาศไวในบริเวณสถานที่อับอากาศซึ่งสามารถมองเห็นไดชัดเจนตลอดเวลา

ขอ 17 ใหนายจางจัดสถานที่ทํางานในบริเวณสถานที่อับอากาศและบริเวณใกลเคียงใหสะอาด
และถูกสุขลักษณะเปนระเบียบเรียบรอย เชน การแบงพื้นที่ทํางานและทางเดิน การกองและจัดเก็บวัสดุ
พืน้ หองทํางานที่แหงไมเปยกลื่น เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการทํางาน

หมวด 2
การคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

ขอ 18 ลูกจางตองใชหรือสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ใหนายจางสั่งหยุด


การทํางานของลูกจางไดทันที และไมยินยอมใหลูกจางเขาทํางานจนกวาจะใชหรือสวมใสอุปกรณ

ขอ 19 อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลอื่นๆ ที่เหมาะสมกับสภาพของงานซึ่งนายจาง


ตองจัดตามขอ 5 (3) นั้น ตองไดมาตรฐาน ดังตอไปนี้
(1) หมวกนิรภัย ใหเปนไปตามมาตรฐานของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
(2) รองเทาหนังหัวโลหะใหเปนไปตามมาตรฐานของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
2- 48
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(3) รองเทาหุม สนพื้นยาง ทําดวยหนังหรือผาหุมตลอด และมีพื้นรองเทาเปนยางสามารถปอง


กันการลื่นได
(4) รองเทายางหุมแขง ตองทําดวยยาง หรือยางผสมวัตถุอื่น เมื่อสวมแลวมีความสูงไมนอย
กวาครึ่งแขงไมฉีกขาดงาย สามารถกันนํ้าและสารเคมีได
(5) ถุงมือตองมีความเหนียว ไมฉีกขาดงาย มีความยาวหุมถึงขอมือ และใชสวมนิ้วมือไดทุก
นิว้ เมือ่ สวมแลวสามารถเคลื่อนไหวนิ้วมือไดสะดวก ถาเปนถุงมือยางตองสามารถกันนํ้าและกรดไดดวย
(6) เข็มขัดนิรภัย ตองทําดวยหนัง ในลอน ผาฝายถักหรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติเหมือนกัน
และสามารถทนแรงดึงไดไมนอยกวาหนึ่งพันหนึ่งรอยหาสิบกิโลกรัม สําหรับสวนที่รัดเอวตองมีความกวาง
ไมนอยกวาหาเซนติเมตร

ขอ 20 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายในการดําเนินการใหเกิดความปลอดภัยตามประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2533

บรรหาร ศิลปอาชา
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 49
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

อ.1
ใบอนุญาตใหปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ

เลขที่ …………/พ.ศ. ……………..

ตามที่ นาย/นาง/นางสาว…………………………………………………………………………………………………………………
ขออนุญาตเขาปฏิบัติงาน จํานวน ……………. คน ดังมีรายชื่อตอไปนี้
1. ……………………………………………………………….
2. ……………………………………………………………….
3. ……………………………………………………………….
4. ……………………………………………………………….
5. ……………………………………………………………….
ซึง่ ทํางานในแผนก/หนวยงาน ……………………………………………………………………………………..
เขาไปปฏิบัติงานเกี่ยวกับ ……………………………………………………………………………………………..
สถานที่ที่ปฏิบัติงาน ……………………………………………………………………………………………………..
ในวันที่ ………………………………………………….ระหวางเวลา ………………………………………………….

บริษัท ……………………………………………………….................อนุญาตให
นาย/นาง/นางสาว …………………………………………………....................และผูปฏิบัติงานจํานวน ……………………คน
ตามรายชือ่ ขางตนเขาปฏิบัติงานตามวัน เวลา และสถานที่ดังกลาวได ทั้งนี้ จะนําเครื่องมือและอุปกรณ
เขาไปปฏิบัติงานได เฉพาะ …………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………..เทานั้น

ออกให ณ วันที่ …………………………………………………………

(ลายมือชื่อ) …………………………………………………………………
( …………………………………………………………..)
ผูอนุญาต

2- 50
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

คําแนะนํา กอนทีน่ ายจางจะอนุญาตใหลูกจางเขาปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ จะตองทําการ


ตรวจสอบสถานที่อับอากาศ ดังนี้

1. ตรวจสอบสิ่งที่จะกอใหเกิดอันตรายในการปฏิบัติงานนี้
มี ไมมี มี ไมมี
1. สารไวไฟ/ลุกไหม/ระเบิด 5. เครื่องจักร/เครื่องมือ/อุปกรณ
2. สารกัดกรอน 6. ประกายไฟ/ความรอน
3. สารมีพิษ/ฝุน/ฟูม/แกส 7. อื่นๆ ……………………….
4. กระแสไฟฟา ……………………….

2. ตรวจสอบความปลอดภัยกอนการปฏิบัติงาน และกําลังปฏิบัติงาน
มี ไมมี
1. ตรวจสอบไฟฟาใหปลอดภัย 10. ผลการตรวจสารเคมี
2. ตรวจสอบเครื่องจักรใหปลอดภัย ผลการตรวจ
3. ตรวจสอบเครื่องมือใหปลอดภัย - ออกซิเจนมากกวา 18 %……………………..%
4. มีการระบายของเสียทิ้ง - สารไวไฟ 20% LEL .…………………………%
5. มีการระบายอากาศ - สารเคมีอื่นๆ (ระบุ)
6. มีการทําความสะอาด ……………… ……………….ppm หรือ …………mg/m3
7. ปด/ลดระบบความดัน/ความรอน …………….. ………………..ppm หรือ ………..mg/m3
8. ปดแยกระบบวาลว …………….. ………………..ppm หรือ ………..mg/m3
9. อื่นๆ ………………………….. ชือ่ ผูต รวจ ……………………………….วันที่ตรวจ ……………………

3. จัดมาตรการดานความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
ตองการ ไมตอง ตองการ ไมตอง
1. หมวกนิรภัย 11. ผูชวยเหลือ
2. แวนตานิรภัย 12. ผูควบคุมงาน
3. ถุงมือ 13. แผนการชวยเหลือฉุกเฉิน
4. รองเทา 14. ติดตั้งปายเตือนตางๆ
5. แวนตาลดแสง 15. เครื่องตรวจวัดสารเคมี
6. กระบังหนา 16. อุปกรณในการดับเพลิง
7. หนากากปองกันฝุน/ฟูม/แกส 17. เสื้อทนไฟ
8. เครื่องชวยหายใจแบบมีถังอากาศ 18. แสงสวาง
9. เข็มขัดนิรภัยและสายชูชีพ 19. อื่นๆ …………………………………….
10. อุปกรณสื่อสาร …………………………………….

หมายเหตุ งานทีก่ อใหเกิดประกายไฟ/ความรอน หมายความรวมถึง งานเชื่อม งานเผาไหม


งานเจียร งานลับ งานแผนโลหะ งานบัดกรี งานขัด งานตอกยํ้าหมุด งานเจาะ แฟลชจากการถายภาพ
งานเครือ่ งมือที่ใชกําลัง เชน งานควบคุมเครื่องยนต งานที่มีเปลวไฟ เปนตน

2- 51
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16


มีนาคม พ.ศ. 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
สําหรับลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายไว ดังตอไปนี้

ความทั่วไป

ขอ 1 ประกาศนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหกสิบวัน นับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา


เปนตนไป

ขอ 2 ในประกาศนี้
“สารเคมีอนั ตราย” หมายความวา สาร สารประกอบ สารผสม ซึ่งอยูในรูปของ ของแข็ง ของเหลว
หรือแกส ที่มีลักษณะอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางดังตอไปนี้
(1) มีพษิ กัดกรอน ระคายเคือง ทําใหเกิดอาการแพ กอมะเร็ง หรือทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพ
อนามัย
(2) ทําใหเกิดการระเบิด เปนตัวทําปฏิกิริยาที่รุนแรง เปนตัวเพิ่มออกซิเจนหรือไวไฟ
(3) มีกัมมันตภาพรังสี
ทัง้ นี้ ตามชนิดและประเภทที่อธิบดีประกาศกําหนด
“ผลิต” หมายความวา ทํา ผสม ปรุง ปรุงแตง เปลี่ยนรูป แปรสภาพ และหมายความรวมถึงการ
บรรจุ เก็บ เคลื่อนยาย และการติดฉลากหรือตราหรือสัญลักษณบนหีบหอ ภาชนะบรรจุ หรือสิ่งหอหุมสาร
เคมีอันตราย
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวมถึง
ผูซ งึ่ ไดรบั มอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวา ผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคล นั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายในการทํางานแทนผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจางดวย
ตนเอง หรือไมก็ตาม
“อธิบดี” หมายความวา อธิบดีกรมแรงงาน

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 108 ตอนที่ 167 วันที่ 24 กันยายน 2534


2- 52
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16


มีนาคม พ.ศ. 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
สําหรับลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายไว ดังตอไปนี้

ความทั่วไป

ขอ 1 ประกาศนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหกสิบวัน นับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา


เปนตนไป

ขอ 2 ในประกาศนี้
“สารเคมีอนั ตราย” หมายความวา สาร สารประกอบ สารผสม ซึ่งอยูในรูปของ ของแข็ง ของเหลว
หรือแกส ที่มีลักษณะอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางดังตอไปนี้
(1) มีพษิ กัดกรอน ระคายเคือง ทําใหเกิดอาการแพ กอมะเร็ง หรือทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพ
อนามัย
(2) ทําใหเกิดการระเบิด เปนตัวทําปฏิกิริยาที่รุนแรง เปนตัวเพิ่มออกซิเจนหรือไวไฟ
(3) มีกัมมันตภาพรังสี
ทัง้ นี้ ตามชนิดและประเภทที่อธิบดีประกาศกําหนด
“ผลิต” หมายความวา ทํา ผสม ปรุง ปรุงแตง เปลี่ยนรูป แปรสภาพ และหมายความรวมถึงการ
บรรจุ เก็บ เคลื่อนยาย และการติดฉลากหรือตราหรือสัญลักษณบนหีบหอ ภาชนะบรรจุ หรือสิ่งหอหุมสาร
เคมีอันตราย
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวมถึง
ผูซ งึ่ ไดรบั มอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวา ผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคล นั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายในการทํางานแทนผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจางดวย
ตนเอง หรือไมก็ตาม
“อธิบดี” หมายความวา อธิบดีกรมแรงงาน

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 108 ตอนที่ 167 วันที่ 24 กันยายน 2534


2- 52
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

หมวด 1
การทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย

ขอ 3 การขนสง เก็บรักษา เคลื่อนยาย และกําจัดหีบหอ ภาชนะบรรจุ หรือวัสดุหอหุมสารเคมี


อันตราย ใหนายจางปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีการที่อธิบดีกําหนด

ขอ 4 หามมิใหนายจางขนสง เก็บรักษา เคลื่อนยาย หรือนําสารเคมีอันตรายเขาไปในสถาน


ประกอบการ จนกวานายจางจะไดจัดใหมีฉลากขนาดใหญพอสมควรปดไวที่หีบหอภาชนะบรรจุหรือวัสดุ
หอหุม สารเคมีอันตรายทุกชิ้นฉลากนั้นจะตองมีรายละเอียดอยางนอย ดังตอไปนี้
(1) สัญลักษณที่แสดงถึงอันตราย และคําวา “สารเคมีอันตราย” หรือ “วัตถุมีพิษ” หรือคําอื่นที่
แสดงถึงอันตรายตามชนิดสารเคมีอันตรายนั้น เปนอักษรสีแดงหรือดําขนาดใหญกวาอักษรอื่นซึ่งเห็นได
ชัดเจน
(2) ชือ่ ทางเคมีหรือชื่อทางวิทยาศาสตรของสารเคมีอันตราย
(3) ปริมาณและสวนประกอบของสารเคมีอันตราย
(4) อันตรายและอาการเกิดพิษจากสารเคมีอันตราย
(5) คําเตือนเกี่ยวกับวิธีเก็บ วิธีใช วิธีเคลื่อนยายสารเคมีอันตรายและวิธีกําจัดหีบหอ ภาชนะบรรจุ
หรือวัสดุหอหุมสารเคมีอันตรายอยางปลอดภัย ทั้งนี้ ใหมีสาระสําคัญโดยสรุปตามหลักเกณฑและวิธีการที่
อธิบดีกําหนดตามขอ 3
(6) วิธปี ฐมพยาบาลเมื่อมีอาการหรือความเจ็บปวยเนื่องจากสารเคมีอันตราย และคําแนะนําใหรับ
สงผูปวยไปหาแพทย
สําหรับรายละเอียดตาม (4) (5) และ (6) จะพิมพไวในใบแทรกกํากับในภาชนะบรรจุก็ได
ฉลากและใบแทรกกํากับใหจัดทําเปนภาษาไทย เวนแตรายละเอียดตาม (2) และ (3) จะใชเปน
ภาษาอังกฤษก็ได

ขอ 5 ใหนายจางที่มีสารเคมีอันตรายในสถานประกอบการแจงรายละเอียดตออธิบดี ผูวาราชการ


จังหวัด หรือผูซึ่งไดรับมอบหมายภายในเจ็ดวันนับแตวันที่มีสารเคมีอันตรายไวในครอบครอง
การแจงตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามแบบที่อธิบดีกําหนด

ขอ 6 ใหนายจางที่มีสารเคมีอันตรายในสถานประกอบการจัดทํารายงานความปลอดภัยและ
ประเมินการกออันตรายของสารเคมีอยางนอยปละหนึ่งครั้ง และแจงใหอธิบดี ผูวาราชการจังหวัดหรือผู
ซึง่ ไดรับมอบหมายภายในสิบหาวันนับแตวันที่ประเมิน
การแจงตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามแบบที่อธิบดีกําหนด

ขอ 7 นายจางจะตองดูแลหรือแกไขปรับปรุงมิใหมีปริมาณความเขมขนของสารเคมีอันตรายภาย
ในสถานที่ที่ใหลูกจางทํางานเกินกวาที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด
ในกรณีที่ไดมีการกําหนดปริมาณความเขมขนของสารเคมีอันตรายใดไวในกฎหมายวาดวยความ
ปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม (สารเคมี) ไวแลว ใหเปนไปตามนั้น

2- 53
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 8 ใหนายจางจัดสถานที่ทํางานของลูกจางซึ่งเกี่ยวของกับสารเคมีอันตรายใหมีสภาพและคุณ
ลักษณะ ดังตอไปนี้
(1) ถูกสุขลักษณะ สะอาดและเปนระเบียบเรียบรอย
(2) มีการระบายอากาศที่เหมาะสม โดยเฉพาะออกซิเจนตองมีไมตํ่ากวารอยละสิบแปด โดย
ปริมาตรของบรรยากาศ
(3) มีระบบปองกันและกําจัด เชน ใชระบบระบายอากาศเฉพาะที่ ระบบเปยก การปดคลุม เพื่อ
มิใหมีสารเคมีอันตรายในบรรยากาศเกินปริมาณที่กําหนด

ขอ 9 นายจางจะตองแจงและปดประกาศไวในที่เปดเผยหามลูกจางเขาพักในสถานที่ทํางานเกี่ยว
กับสารเคมีอันตราย สถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย หรือยานพาหนะขนสงสารเคมีอันตราย

ขอ 10 ใหนายจางจัดใหมีปายแจงขอความวา “สถานที่เก็บสารเคมีอันตราย หามเขาโดยไมไดรับ


อนุญาต” ปดประกาศไวที่ทางเขาสถานที่นั้นใหเห็นชัดเจนตลอดเวลา

ขอ 11 ใหนายจางปดประกาศ หรือจัดทําปายแจงขอความ “หามลูกจางสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่ม รับ


ประทานอาหาร หรือเก็บอาหาร” ดวยตัวอักษรขนาดที่เห็นไดชัดเจนติดไวบริเวณที่เก็บรักษาที่ผลิตหรือที่
ขนยายสารเคมีอันตราย และจะตองควบคุมดูแลมิใหลูกจางกระทําการตามขอหามนั้นดวย

ขอ 12 ใหนายจางจัดชุดทํางานสําหรับลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย และจัดใหมีที่เก็บ


ชุดทํางานนั้นแยกไวโดยเฉพาะ

ขอ 13 ใหนายจางจัดใหมีที่ชําระลางสารเคมีอันตราย เชน ฝกบัว ที่ลางตา ไวในบริเวณที่ลูกจาง


ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย เพื่อใหลูกจางสามารถใชไดทันทีเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

ขอ 14 ใหนายจางจัดที่ลางมือ ลางหนา สําหรับลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายไวโดย


เฉพาะ ไมนอ ยกวาหนึ่งที่ตอลูกจางสิบหาคน และใหเพิ่มจํานวนขึ้นตามสัดสวนของลูกจาง สวนที่เกินเจ็ด
คนใหถอื เปนสิบหาคน เพื่อใชกอนรับประทานอาหาร กอนดื่มเครื่องดื่ม และกอนออกจากที่ทํางานทุกครั้ง

ขอ 15 ใหนายจางจัดใหมีหองอาบนํ้าสําหรับลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายไวโดยเฉพาะ
เพื่อใชชําระรางกายไมนอยกวาหนึ่งหองตอลูกจางสิบหาคนและใหเพิ่มจํานวนขึ้นตามสัดสวนของลูกจาง
สวนทีเ่ กินเจ็ดคนใหถือเปนสิบหาคน ทั้งนี้ จะตองจัดของใชที่จําเปนสําหรับการชําระสารเคมีอันตรายออก
จากรางกายใหเพียงพอและมีใชตลอดเวลา

ขอ 16 ใหนายจางจัดใหมีการตรวจวัดปริมาณความเขมขนของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศ
บริเวณสถานทีท่ ํางานและสถานที่เก็บเปนประจํา ทั้งนี้ ตามสภาพหรือคุณลักษณะของสารเคมีอันตราย ซึ่ง
อยางชาที่สุดจะตองไมเกินหกเดือนตอหนึ่งครั้ง และใหรายงานผลการตรวจตามแบบที่อธิบดีกําหนดตอ
อธิบดี ผูวาราชการจังหวัด หรือผูซึ่งไดรับมอบหมายภายในสามสิบวันนับแตวันตรวจ

2- 54
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 17 ใหนายจางจัดใหมีการอบรมลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายหรือเมื่อมีการเปลี่ยน
แปลงกระบวนการผลิต เพื่อใหทราบและเขาใจถึงกระบวนการผลิต การเก็บรักษา การขนสง อันตรายที่
เกิดจากสารเคมี วิธีการควบคุมและปองกัน วิธีกําจัดมลภาวะ วิธีอพยพเคลื่อนยายลูกจางออกจากบริเวณที่
เกิดอันตราย และวิธีปฐมพยาบาลผูไดรับอันตราย

ขอ 18 ในกรณีที่สารเคมีอันตรายรั่วไหลหรือฟุงกระจาย หรือเกิดอัคคีภัยหรือเกิดการระเบิดอัน


อาจทําใหลกู จางประสบอันตราย เจ็บปวย หรือตายอยางเฉียบพลัน นายจางตองใหลูกจางทุกคนที่ทํางาน
ในบริเวณนัน้ หรือในบริเวณใกลเคียงหยุดทํางานทันที และออกไปใหพนรัศมีที่อาจไดรับอันตราย และให
นายจางดําเนินการใหผูที่เกี่ยวของตรวจสอบโดยมิชักชา
ใหนายจางแจงการเกิดเหตุตามวรรคหนึ่งเปนหนังสือใหอธิบดี ผูวาราชการจังหวัด หรือผูซึ่งไดรับ
มอบหมายทราบภายในยี่สิบสี่ชั่วโมง และรายงานสาเหตุ สารเคมีอันตรายที่เกี่ยวของ ตลอดจนการดําเนิน
การแกไขปองกันภายในสิบหาวันนับแตวันที่เกิดเหตุ

ขอ 19 ใหนายจางจัดใหมีการตรวจสุขภาพลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย ตามหลัก


เกณฑและวิธีการที่อธิบดีกําหนด การตรวจสุขภาพทุกครั้งใหนายจางปฏิบัติดังตอไปนี้
(1) ใหรายงานผลการตรวจสุขภาพของลูกจางตามแบบที่อธิบดีกําหนดตออธิบดี ผูวาราชการ
จังหวัด หรือผูซึ่งไดรับมอบหมายภายในสามสิบวันนับแตวันที่ทราบผลการตรวจ
(2) เก็บผลการตรวจสุขภาพของลูกจางไว ณ สถานประกอบการพรอมที่จะใหพนักงานเจาหนาที่
ตรวจสอบได เปนเวลาไมนอยกวาสองปนับแตวันสิ้นสุดของการจางของลูกจางแตละราย เวนแตมีการรอง
ทุกขวา นายจางไมปฏิบัติตามประกาศนี้ หรือมีการฟองรองคดี แมจะพนเวลาที่กําหนด ใหนายจางเก็บ
รักษาเอกสารนั้นไวจนกวาจะมีคําสั่งหรือคําพิพากษาถึงที่สุดเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว

ขอ 20 การตรวจสุขภาพของลูกจางตามขอ 19 หากพบความผิดปกติในรางกายของลูกจาง หรือ


ลูกจางเกิดเจ็บปวยเนื่องจากการทํางานเกี่ยวของกับสารเคมีอันตราย ใหนายจางจัดการใหลูกจางไดรับการ
รักษาพยาบาลทันที

หมวด 2
การคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

ขอ 21 ใหนายจางจัดอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล เชน ถุงมือ รองเทาหุมแขง


กระบังหนาที่กันอันตรายจากสารเคมีกระเด็น ที่กรองอากาศ เครื่องชวยหายใจ หรืออุปกรณอื่นที่จําเปน
ซึ่งทํ าจากวัสดุที่มีคุณสมบัติสามารถปองกันสารเคมีอันตราย เพื่อใหลูกจางที่ทํ างานเกี่ยวกับสารเคมี
อันตรายใชหรือสวมใส ทั้งนี้ตามความเหมาะสมแกสภาพและคุณลักษณะของสารเคมีอันตรายแตละชนิด
ลูกจางที่ทํ างานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายตองใชหรือสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวน
บุคคลที่นายจางจัดไวใหตามวรรคหนึ่ง ถาลูกจางไมใชหรือไมสวมใสอุปกรณดังกลาวใหนายจางสั่งหยุด
การทํางานของลูกจางทันทีจนกวาจะไดใชหรือสวมใส

2- 55
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 22 ใหนายจางจัดอุปกรณและเวชภัณฑที่จําเปนแกการปฐมพยาบาลลูกจางที่ไดรับอันตราย
จากสารเคมี ทั้งนี้ ตามที่อธิบดีกําหนด

หมวด 3
เบ็ดเตล็ด

ขอ 23 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายในการดําเนินการใหเกิดความปลอดภัยตามประกาศนี้

ขอ 24 เมือ่ ปรากฏวานายจางฝาฝน หรือไมปฏิบัติตามขอกําหนดในประกาศนี้ พนักงานเจาหนาที่


อาจใหคาเตื
ํ อนเพื่อใหนายจางไดปฏิบัติการใหถูกตองภายในเวลาที่กําหนดไวในคําเตือนเสียกอนก็ได

ประกาศ ณ วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2534

พลเอกอิสระพงศ หนุนภักดี
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 56
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

สารเคมีชนิดและประเภทดังตอไปนี้ เปนสารเคมีอันตราย
(ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย ขอ 2)
ชื่อสาร ชื่อสาร
1. 4-อะมิโนไดฟนิล 25. เอทธิลีน ออกไซด
(4-AMINODIPHENYL) (ETHYLENE OXIDE)
2. เบนซิดีน 26. โพรพิลีน ออกไซด
(BENZIDINE) (PROPYLENE OXIDE)
3. เกลือของเบนซิดีน 27. 2-ไซยาโนโพรพาน-2-ออล (อะซีโตน ไซยาโนไฮดริน)
(BENZIDINE SALTS) [2-CYANOPROPAN-2-OL(ACETONE CYANOHYDRIN)]
4.ไดเมทธิลไนโตรซามีน 28. 2-โพรพีนอล (อะโครลีน)
(DIMETHYLNITROSAMINE) [2-PROPENAL (ACROLEIN)]
5. 2-แนพธิลอะมีน 29. 2-โพรเพน-1-ออล (อัลลิล แอลกอฮอล)
(2-NAPTHYLAMINE) [2-PROPEN-1-OL(ALLYL ALCOHOL)]
6. เบอริลเลียม (ผง, สารประกอบ) 30. อัลลิลลามีน
[BERYLLIUM (POWDERS. COMPOUNDS)] (ALLYLAMINE)
7. บิส (คลอโรเมทธิล) อีเธอร 31. แอนติโมนี ไฮไดรด (สติบีน)
[BIS (CHLOROMETHYL) ETHER)] [ANTIMONY HYDRIDE (STIBINE)]
8. 1,3-โพรเพนซัลโทน 32. เอทธิลีนอิมีน
(1,3-PROPANESULTONE) (ETHYLENEIMINE)
9. 2,3,7,8-เตตระคลอโรโตเบนโซ-พี-ไดออกซิน (ทีซีดีดี) 33. ฟอรมัลดีไฮด (ความเขมขน >=90%)
[2,3,7,8-TETRACGKIRIDIBENZO-P-DIOXIN (TCDD)] [FORMALDEHYDE (CONCENTRATION >=90%)]
10. อารเซนิค เพนตอกไซด, กรดและเกลือของอารเซนิค (V) 34. ไฮโดรเจน ฟอสไฟด (ฟอสผีน)
(ARSENIC PENTOXIDE, ARDENIC (V) ACID AND [HYDROGEN PHOSPHIDE (PHOSPHINE)]
SALTS) 35. โบรโมมีเธน (เมทธิลโบรไมด)
11.อารเซนิค ไตรออกไซด,กรดและเกลือของอารเซเนียส(III) [BROMOMETHANE (METHYL BROMIDE)]
(ARSENIC PENTOXIDE, ARDENIOUS (III) ACIDS AND 36. เมทธิล ไอโซไซยาเนท
SALTS) (METHYL ISOCYANATE)
12. อารเซนิค ไฮไดรด (อารซีน) 37. ไนโตรเจนออกไซด
[ARSENIC HYDRIDE (ARSINE)] (NITROGEN OXIDES)
13. ไดเมทธิลคารบาโมอิล คลอไรด 38. โซเดียม เซเลไนท
(DIMETYLCARBAMOYL CHLORIDE) (SODIUM SELENITE)
14. 4-(คลอโรฟอรมิล) มอรโฟไลน 39. บิส (2-คลอโรเอทธิล) ซัลไฟต
[4-(CHLOROFORMYL) MORPHOLINE] [BIS (2-CHLOROETHYL) SULPHIDE)]
15. คารโบนิล คลอไรด (ฟอสจีน) 40. โฟซาเซทิม
[CARBONYL CHLORIDE (PHOSGENE)] (PHOSACETIM)
16. คลอรีน 41. เตตระเอทธิล เลด
(CHLORINE) (TETRAETHYL LEAD)
17. ไฮโดรเจน ซัลไฟต 42. เตตระเมทธิล เลด
(HYDROGEN SULPHIDE) (TETRAMETHYL LEAD)
18. อะครีโลไนไตรล 43. โพรมูริท (1-(3,4-ไดคลอโรฟนิล)-3-ไตรอะซีน ไธโอ
(ACRYLONITRILE) คารบอกซามไมด
19. ไฮโดรเจน ไซยาไนด [PROMURIT (1-(3,4-DICHLOROPHENYL)-3-
(HYDROGEN CYANIDE) TRIZENETHIOCARBOXAMIDE)]
20. คารบอน ไดซัลไฟต 44. คลอรเฟนวินฟอส
(CARBON DISULPHIDE) (CHLOFENVINPHOS)
21. โบรมีน 45. คริมิดีน
(BROMINE) 22. แอมโมเนีย (CRIMIDINE)
(AMMONIA) 46. คลอโรเมทธิล เมทธิล อีเธอร
23. อะเซทิลีน (เอททีน) (CHLOROMETHYL METHYL ETHER)
[(ACETYLENE (ETHYNE)] 47. กรดไดเมทธิล ฟอสฟอรามิโดไซยานิติค
24. ไฮโดรเจน (DIMETHYL PHOSPHORAMIDOCYANIDIC ACID)
(HYDROGEN) 48. คารโบฟโนไธออน
(CARBOPHENOTHION)

2-57
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
49. ไดอะไลฟอส 71. พาราไธออน-เมทธิล
(DIALIFOS) (PARATHION-METHYL)
50. ไซยานโธเอท 72. อะซินฟอส-เมทธิล
(CYANTHOATE) (AZINPHOS-METHYL)
51. อะมิทอน 73. ไซโคลเฮกซิไมด
(AMITON) (CYCLOHEXIMIDE)
52. ออกซีไดซัลโฟทอน 74. ไดฟาซิไมด
(OXYDISULFOTON) (DIPHACINONE)
53. โอโอ-ไดเอทธิล เอส-เอทธิลซัลไฟนิล เมทธิล ฟอสฟอโร ไธโอเอท 75. เตตระเมทธิลีนไดซัลโฟเตตระมีน
(OO-DIETHYL S-ETHYLSULPHINYLMETHYL (TETRAMETHYLENEDISULPHOTETRAMINE)
PHOSPHOROTHIOATE) 76. อีพีเอ็น
64. โอโอ-ไดเอทธิล เอส-เอทธิลซัลโฟนิล เมทธิล ฟอสฟอโร ไธโอเอท (EPN)
(OO-DIETHYL S-ETHYLSULPHONYLMETHYL 77. กรด 4-ฟลูออโรบิวไทริค
PHOSPHORTHIOATE) (4-FLUOROBUTYRIC ACID)
55. ไดซัลโฟทอน 78. กรดและเกลือของ 4-ฟลูออโรบิวไทริค
(DISULFOTON) (4-FLUOROBUTYRIC ACID,SALTS)
56. ดีมีทอน 79. กรดและเอสเทอรของ 4-ฟลูออโรบิวไทริค
(DEMETON) (4-FLUOROUTYRIC ACID,ESTERS)
57. โฟเรท 80. กรดและเอไมดของ 4-ฟลูออโรบิวไทริค
(PHORATE) (4-FLUOROBUTYRIC ACID,AMIDES)
58. โอโอ-ไดเอทธิล เอส-เอทธิลไธโอเมทธิล ฟอสฟอโรไธโอเอท 81. กรด 4-ฟลูออโรโครโทนิค
(OO-DIETHYL S-ETHYLTIOETHYL PHOSPHOROTHIOATE) (4-FLUOROCROTONIC ACID)
59. โอโอ-ไดเอทธิล เอส-ไอโซโพรพิลไธโอเมทธิล ฟอสฟอ โรไธโเอท 82. กรดและเกลือของ 4-ฟลูออโรโครโทนิค
(OO-DIETHYL S-ISOPROPYLTIOETHYL (4-FLUOROCROTONIC ACID, SALTS)
PHOSPHOROTHIOATE) 83. กรดและเอสเทอรของ 4-ฟลูออโรโครโทนิค
60. ไพราซอกซอน (4-FLUOROCROTONIC ACID, ESTERS)
(PYRAZOXON) 84. กรดและเอไมดของ 4-ฟลูออโรโครโทนิค
61. เพนซัลโฟไธออน (4-FLUOROCROTONIC ACID, AMIDES)
(PENSULFOTHION) 85. กรดฟลูออโรอะซีติค
62. พาราออกซอน (ไดเอทธิล-4-ไนโตรฟนิล ฟอสเฟท) (FLUOROACETIC ACID)
[PARAOXON(DIETHYL-4-NITROPHENYL PHOSPHATE)] 86. กรดและเกลือของฟลูออโรอะซีติค
63. พาราไธออน (FLUOROACETIC ACID, SALTS)
(PARATHION) 87. กรดและเอสเทอรของฟลูออโรอะซีติค
64. อะซินฟอส-เอทธิล (FLUOROACETIC ACID, ESTERS)
(AZINPHOS-ETHYL) 88. กรดและเอไมดของฟลูออโรอะซีติค
65. โอโอ-ไดเอทธิล เอส - โพรพิลไธโอ เมทธิล (FLUOROACETIC ACID, AMIDES)
(OO-DIETHYL S - PROPYLTHIOMETHYL 89. ฟลูเอนทิล
PHOSPHORODITHIOATE) (FLUENETIL)
66. ไธโอนาซิน 90. กรด 4-ฟลูออโร-2-ไฮดรอกซีบิวไทริค
(THIONAZIN) (4-FLUORO-2-HYDROXYBUTYRIC ACID)
67. คารโบฟวเรน 91. กรดและเกลือของ 4-ฟลูออโร-2-ไฮดรอกซีบิวไทริค
(CARBOFURAN) (4-FLUORO-2-HYDROXYBUTYRIC ACID,SALTS)
68. ฟอสฟามิตอน 92. กรดและเอสเทอรของ 4-ฟลูออโร-2-ไฮดรอกซีบิวไทริค
(PHOSPHAMIDON) (4-FLUORO-2-HYDROXYBUTYRIC ACID,ESTERS)
69. ไทรเพท 2,4-ไดเมทธิล-1,3-ไดไธโอเลน-2 93. กรดและเอไมดของ 4-ฟลูออโร-2-ไฮดรอกซีบิวไทริค
-คารบอกซัลดีไฮด โอ-เมทธิลคารบาโมอิลออกซิม (4-FLUORO-2-HYDROXYBUTYRIC ACID,AMIDES)
(TRIPATE 2,4-DIMETHYL-1,3-DITHIOLANE-2 94. ไฮโดรเจน ฟลูออไรด
-CARBOXALDEHYDE O-METYLCARBAMOYLOXIME) (HYDROGEN FLUORIDE)
70. เมวินฟอส 95. ไฮดรอกซีอะซีโตไนไตรล (ไกลโคโลไนไตรส)
(MEVINPHOS) [HYDROXYACETONITRILE (GLYCOLONITRILE)]

2-58
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
96. 1,2,3,7,8,9-เฮกซะคลอโรไดเบนโซ-พี-ไดออกซิน 120. อะนาบาซีน
(1,3,7,8,9-HEXACHLOROCIBENZO-P-DIOXIN) (ANABASINE)
97. ไอโซดริน 121. เทลลูเรียม เฮกซะฟลูออไรด
(ISODRIN) (TELLURIUM HEXAFLUORIDE)
98. เฮกซะเมทธิลฟอสฟอราไมด 122. ไตรคลอโรมีเธนซัลฟนิล คลอไรด
(HEXAMETHYLPHOSPHORAMIDE) (TRICHLOROMETHANESULPHENYL CHLORIDE)
99. จักโลน (5-ไฮดรอกซีแนพธาลีน-1,4-ไดโอน) 123. 1,2-ไดโบรโมอีเธน
[JUGLONE (5-HYDROXYNAPHTHALENE-1,4-DIONE)] (1,2-DIBROMOETHANE)
100. วารฟาริน 124. กาซไวไฟ
(WARFARIN) (FLAMMABLE GASES)
101. 4,4-เมทธิลีนบิส (2-คลอโรอะนิลีน) 125. ของเหลวไวไฟสูง
[4,4-METHYLENEBIS(2-CHLOROANILINE)] (HIGHLY FLAMMABLE LIQUID)
102. เอทไธออน 126. ไดอะโซโตไนโตรฟนอล
(ETHION) (DIAZODINITROPHENOL)
103. อัลดิคารบ 127. ไดเอทธิลีน ไกลคอล ไดไนเตรต
(ALDICARB) (DIETHYLENE GLCOL DINITRATE)
104. นิเกิล เตตระคารบอนิล 128. ไดไนโตรฟนอล, เกลือ
(NICKEL TETRACARBONYL) (DENITROPHENOL, SALTS)
105. ไอโซเบนซาน 129. 1-กัวนิล-4-ไนโตรซามิโนกัวนิล-1-เตตระซีน
(ISOBENZAN) (1-GUANYL-4-NITROSAMINOGUANYL-TETRAZENE)
106. เพนตะบอแรน 130. บิส (2,4,6-ไตรไนโตรฟนิล) เอมีน
(PENTABORANE) (BIS (2,4,6-TRINITROPHENYL) AMINE)
107. 1-โพรพีน-2-คลอโร-1-3-ไดออล-ไออะซีเตท 131. ไฮดราซีน ไนเตรท
(1-PROPEN-2-CHLORO-1,3-DIOL-DIACETATE) (HYDRAZENE NETRATE)
108. โพรพิลีนอิมีน 132. ไนโตรกลีเซอรีน
(PROPYLENEIMINE) (NITROGLYCERINE)
109. ออกซิเจน ไดฟลูออไรด 133. เพนตะอีรีไธรทอล เตตระไนเตรท
(OXYGEN DIFLUORIDE) (PENTAERYTHRITOL TETRANITRATE)
110. ซัลเฟอร ไดคลอไรด 134. ไซโครไตรเมทธิลีน ไตรไนตระมีน
(SULPHUR DICHORIDE) (CYCLOTRIMETHYLENE TRINITRAMINE)
111. เซเลเนียม เฮกซะฟลูออไรด 135. ไตรไนโตรอะนิลีน
(SELENIUM HEXAFLUORIDE) (TRINITROANILENE)
112. ไฮโดรเจน เซเลไนด 136. 2,4,6-ไตรไนโตรอะนิโซล
(HYDROGEN SELENIDE) (2,4,6-TRINITROANISOLE)
113. ทีอีพีพี 137. ไตรไนโตรเบนซีน
(TEPP) (TRINITROBENZENE)
114. ซัลโฟเทพ 138. กรดไตรไนโตรเบนโซอิค
(SULFOTEP) (TRINITROBENZOIC ACID)
115. ไดมีฟอกซ 139. คลอโรไตรไนโตรเบนโซอิค
(DIMEFOX) (CHLOROTRINITROBENZENE)
116. 1-ไตร(ไซโคลเฮกซิล) สแตนนิล-1เอช-1,2,4-ไตรอะโซล 140. เอ็น-เมทธิล-เอ็น,2,4,6-เอ็น-เตตระไนโตรอะนิลีน
(1-TRI(CYCLOHEXYL) STANNYL-1H-1,2,4- TRIAZOLE) (N-METHYL-N,2,4,6-N-TETRANITROANILENE)
117. ไตรเอทธิลีนเมลามีน 141. 2,4,6-ไตรไนฟนอล (กรดพิคริค)
(TRIETHYLENEMELAMINE) (2,4,6-TRINITROPHENOL (PICRIC ACID0))
118.โคบอลท(โลหะ,ออกไซด,คารบอเนท,ซัลไฟตลักษณะเปนผง) 142. ไตรไนโตรครีซอล
(COBALT (METAL,OXIDES,CARBONATES, SULPHIDES (TRINITROCRESOL)
AS POWDERS)) 143. 2,4,6-ไตรไนโตรฟนีโทล
119. นิเกิล(โลหะ,ออกไซด,คารอบอเนท,ซัลไฟตลักษณะเปนผง) (2,4,6-TRINITROPHENETOLE)
(NICKEL (METAL, OXIDES, CARBONATES, SULPHIDES 144. 2,4,6-ไตรไนโตรรีซอรซินอล (กรดสไตฟนิค)
AS POWDERS)) (2,4,6-TRINITRORESORCINOL (STYPHNIC ACID))

2-59
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
145. 2,4,6-ไตรไนโตรโทลูอีน 161. ได-เอ็น-โพรพิล เพอรออกซีไดคารบอเนท
(2,4,6-TRINITROTOLUENE) (ความเขมขน >= 80%)
146. (A) แอมโมเนียม ไนเตรท (DI-N-PROPYL PERODICARBONATE (CONCENTRATION >=
([A] AMMONIUM NITRATES) 80 %))
(B) แอมโมเนียมไนเตรตในรูปของปุย 162. 3,3,6,6,9,9-เฮกซะเมทธิล-1,2,4,5-เตตรอกซะไซโคลโนเนน
([B] AMMONIUM NITRATES IN THE FORM OF FERTILISERS) (ความเขมขน >=75%)
147. เซลลูโลส ไนเตรท (ประกอบดวยไนโตรเจน > 12.6%) (3,3,6,6,9,9,-HEXAMETHYL-1,2,4,5-
(CELLULOSE NITRATE (CONTAINING > 12.6 % NITROGEN)) TETROXACYCOLNONANE (CONCENTRATION >= 75 %))
148. ซัลเฟอรไดออกไซด 163. เมทธิลเอทธิล คีโตน เพอรออกไซด (ความเขมขน >=60%)
(SULPHUR DIOXIDE) (METHYL ETHYL KETONE PEROXIDE
149. ไฮโดรเจน คลอไรด (กาซเหลว) (CONCENTRATION >= 60 %))
((HYDROGEN CHLORIDE (LIQUEFIED GAS)) 164. เมทธิล ไอโซบิวทิล คีโทน-เพอรออกไซด (ความเขมขน >=60%)
150. ของเหลวไวไฟ** (METHYL ISOBYTYL KETONE PEROXIDE
(FLAMMABLE LIQUID) (CONCENTRATION >= 60 %))
**เปนของเหลวที่มีจุดวาบไฟตํ่ากวา 55 องศาเซลเซียส และยังคงสภาพ 165. กรดพารอะซีติค (ความเขมขน >=60%)
เปนของเหลวภายใตความดันซึ่งมีสภาวะการผลิตที่มีลักษณะเฉพาะ เชน (PARACETIC ACID (CONCENTRATION >= 60 %))
การใชความดันสูง และอุณหภูมิสูง อาจกอใหเกิดอุบัติภัยรายแรงได 166. เลด อะไซด
151. โซเดียม คลอเรท (LEAD AZIDE)
(SODIUM CHLORATE) 167. เลด 2,4,6-ไตรไนโตรรีซอรซินอกไซด (เลด สไตฟเนท)
152. เทอรท-บิวทิล เพอรออกซีอะซีเตท (ความเขมขน >= 70 %) (LEAD 2,4,6-TRINITRORESORCINOXIDE (LEAD
(TERT-BUTYL PEROXYACETATE STYPHANTE))
(CONCENTRATION >= 70 %)) 168. เมอรคิวรี่ ฟลูมิเนท
153. เทอรท-บิวทิล เพอรออกซีไอโซบิวไทเรท (ความเขมขน >= 80 %) (MERCURY FULMINATE)
(TERT-BUTYL PEROXYISOBUTYRATE 169. ไซโคลเตตระเมทธิลีนเตตระไนตรามีน
(CONCENTRATION >= 80 %)) (CYCLOTETRAMETHYLENETETRANITRAMINE)
154. เทอรท-บิวทิล เพอรออกซีมาลีเอท (ความเขมขน >= 80 %) 170. 2,2',4,4',6,6'-เฮกซะไนโตรสติลบีน
(TERT-BUTYL PEROXYMALEATE (2,2',4,4',6,6'-HEXANITROSTILBENE)
(CONCENTRATION >= 80%)) 171. 1,3,5-ไตรอะมิโน-2,4,6-ไตรไนโตรเบนซีน
155. เทอรท-บิวทิล เพอรออกซีไอโซโพรพิล คารบอเนท (1,3,5-TRIAMINO-2,4,6-TRINITROBENZENE)
(ความเขมขน >= 80 %) 172. เอทธิลีน ไกลคอล ไดไนเตรท
(TERT-BYTYL PEROXYISOPROPYL CARBONATE (ETHYLENE GLYCOL DINITRATE)
(CONCENTRATION >= 80 %)) 173. เอทธิล ไนเตรท
156. ไดเบนซิล เพอรออกซีไดคารบอเนท (ความเขมขน >= 90%) (ETHYL NITRATE)
(DIBENZYL PEROXYDICARBONATE 174. โซเดียม พิคราเมท
(CONCENTRATION >= 90 %)) (SODIUM PICROMATE)
157. 2,2-บิส (เทอรท-บิวทิลเพอรออกซี) บิวเทน 175. แบเรียม อะไซด
(ความเขมขน >= 70%) (BARIUM AZIDE)
(2,2-BIS (TERT-BUTYLPEROXY) BUTANE 176. ได-ไอโซบิวไทริล เพอรออกไซด (ความเขมขน >=75%)
(CONCENTRATION >= 70 %)) (DI-ISOBUTYRYL PEROXIDE (CONCENTRATION >= 75 %))
158. 1,1-บิส (เทอรท-บิวทิลเพอรออกซี) ไซโคลเฮกเซน 177. ไดเอทธิล เพอรออกซีไดคารบอเนท (ความเขมขน >=30%)
(ความเขมขน >=80%) (DIETHYL BUTYL PEROXYPIVALATE
(1,1-BIS (TERT-BUTYLPEROXY) CYCLOHEXANE (CONCENTRATION >= 30 %))
(CONCENTRATION >= 80 %)) 178. เทอร-บิวทิล เพอรออกซีไพวาเลท (ความเขมขน >=77%)
159. ได-เซค-บิวทิล เพอรออกซีไดคารบอเนท (TERT-BUTYL PEROXYPIVALATE
(ความเขมขน >=80%) (CONCENTRATION >=77 %))
(DI-SEC-BUTYL PEROXYDICARBONATE 179. ออกซีเจนเหลว
(CONCENTRATION >= 80 %)) (LIQUID OXYGEN)
160. 2,2-ไดไฮโดรเพอรออกซีโพรเพน (ความเขมขน >=30%) 180. ซัลเฟอรไตรออกไซด
(2,2-DIHYDROPEROXYPROPANE (SULPHUR TRIOXIDE)
(CONCENTRATION >= 30 %)) 181. อะเซเฟท
(ACEPHATE)

2-60
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
182. อะเซตัล 208. อัลลิล แอลกอฮอล
(ACETAL) (ALLYL ALCOHOL)
183. อะเซตัลดีไฮด 209. อัลลิล คลอไรด
(ACETALDEHYDE) (ALLYL CHLORIDE)
184. กรดอะซีติค, กรดนํ้าสม 210. อัลลิล 2,3-อีพอกซีโพรพิล อีเธอร
(ACETIC ACID) (ALLYL 2,3-EPOXYPROPYL ETHER)
185. อะซีติค แอนไฮไดรด 211. อัลลิลไกลซิติล อีเธอร
(ACETIC ANHYDRIDE) (ALLYL GLYCIDYL ETHER)
186. อะซีโตน 212. อัลลิลไอโอไดด
(ACETONE) (ALLYL IODIDE)
187. อะซีโตน ไซยาโนไฮดริน 213. (+)-3-อัลลิล-2-เมทธิล-4-ออกโซโซโคลเพนท-2-เอ็นอิล 2,2
(ACETONE CYANOHYDRIN) -ไดเมทธิล-3-(2-เมทธิลพรอพ-เอ็นอิล)-ไซโคลโพรพิล คารบอกซีเลท
188. อะซีโตไนไตรส [(+)-3-ALLYL -2-METHYL-4-OXOCYCLOPENT-2-ENYL
(ACETONITIRLE) 2, 2-DIMETHYL-3-(2-METHYLPROP-1-ENYL)
189. อะซีติลอะซีโตน -CYCLOPROPYLCARBOXYLATE]
(ACETYLACETONE) 214. อัลลิล โพรพิล ไดซัลไฟด
190. อะซีติล คลอไรด (ALLYL PROPHYL DISULFIDE)
(ACETYL CHLORIDE) 215. อะลูมิเนียม อัลคิล
191. กรดอะซีติลซาลิไซลิค (ALUMINIUM ALKYLS)
(ACETYLSALICYLIC ACID) 216. สารประกอบอะลูมิเนียมอัลคีลิค
192. อะโคนิทีน (ALUMINIUM ALKYLIC COMPOUNDS)
(ACONITINE) 217. อะลูมิเนียม คลอไรด แอนไฮดรัส
193. อะโคนิทีน (เกลือ) (ALUMINIUM CHLORIDE ANHYDROUS)
(ACONITINE (SALTS)) 218. อะลูมิเนียม ลิเทียม ไฮไดรส
194. อะโครลีน (ALUMINIUM LITHIUM HYDRIDE)
(ACROLEIN) 219. อะลูมิเนียม, ฟอสไฟด
195. อะครีอัลดีไฮด (ALUMINIUM PHOSPHIDE)
(ACRYALDEHYDE) 220. อะลูมิเนียม ผงไพโร
196. อะครีลาไมด (ALUMINIUM, PYRO POWDERS, as Al)
(ACRYLAMIDE) 221. ผงอะลูมิเนียม (ลักษณะคงตัว)
197. อะครีเลท (ALUMINIUM POWDER (STABILISED))
(ACRYLATE) 222. ฟูมอะลูมิเนียม
198. กรดอะครีลิค (ALUMINIUM, FUMES, as Al)
(ACRYLIC ACID) 223. โลหะและออกไซดของอะลูมิเนียม
199. 2,2-บิส (อะครีโลอิลออกซีเมทธิล) บิวทิล อะครีเลท (ALUMINIUM METAL & OXIDE, as Al)
(2,2-BIS (ACRYLOYLOXYMETHYL) BUTYL ACRYLATE) 224. อะลูมิเนียม, โซลูเบิลซอลส
200. กรดอะติพิค (ALUMINIUM-TRI-ISOPROPOXIDE)
(ADIPIC ACID) 225. อะลูมิเนียม-ไตร-ไอโซโพรพอกไซด
201. อัลดริน (ALUMINIUM-TRI-ISOPROPOXIDE)
(ALDRIN) 226. อะเมทรีน
202. อัลคาไล เอทธอกไซด (AMETRYNE)
(ALKALI ETHOXIDES) 227. อะมิไดไธออน
203. อัลคาไล ฟลูออโรซิลิเคทส (AMIDITHION)
(ALKALI FLUOROSILICATES) 228. กรด 3-อะมิโนเบนซีน ซัลโฟนิค
204. อัลคาไล เมทธอกไซด (3-AMINOBENZENE SULPHONIC ACID)
(ALKALI METHOXIDES) 229. กรด 4-อะมิโนเบนซีน ซัลโฟนิค
205. เกลืออัลคาไลของเพนตะคลอโรฟนอล (4-AMINOBENZENE SULPHONIC ACID)
(ALKALI FLUOROSILICATES) 230. 2-อะมิโนเบนซิดีน
206. อัลเลธริน (2-AMINOBENZIDENE)
(ALLETHRIN) 231. 4-อะมิโนไบฟนิล
207. อัลลิโดคลอร (4-AMINOBIPHENYL)
(ALLIDOCHLOR)

2-61
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
232. 4-อะมิโนไบฟนิล (เกลือ) 256. แอมโมเนียม โพลีซัลไฟด
(4-AMINOBIPHENYL (SALTS)) (AMMONIUM POLYSULPHIDES)
233. 5-อะมิโน-1-(บิสไดเมทธิลอะมิโนฟอสไฟนิล)-3-ฟนิล- 257. เกลือแอมโมเนียม ของดีเอ็นโอซี
1,2,4-ไตรอะโซล (AMMONIUM SALT OF DNOC)
(5-AMINO-1-(BISDIMETHYL AMINOPHOSPHINYL) 258. แอมโมเนียม ซัลฟาเมท
-3-PHENYL-1,2,4-TRIAZONE) (AMMONIUM SULFAMATE)
234. 2-อะมิโนบิวเทน 259. แอมโมเนียม บิส (2,4,6-ไตรไนโตรฟนิล) อะไมด
(2-AMINOBUTANE) (AMMONIUM BIS (2,4,6-TRINITROPHENYL AMIDE)
235. อะมิโนคารบ 260. เอมิล อะซีเตท, ไอโซเมอรทุกตัว
(AMINOCARB) (AMYL ACETATE,ALL ISOMERS)
236. 4-อะมิโน-เอ็น-เอ็น, เอ็น-ไดเอทธิลอะนิลีน 261. เอมิล แอลกอฮอล
(4-AMINO-N,N-DIETHYLANILINE) (AMYL ALCLHOL)
237. 2-อะมิโน-4,6-ไดไนโตรฟนอล 262. เอมิล ฟอรเมท
(2-AMINO-4,6-DINITROPHENOL) (AMYL FORMATE)
238. 2-อะมิโนเอทธานอล 263. เอมิล โพรพิโอเนท
(2-AMINOETHANOL) (AMYL PROPIONATE)
239. 2-อะมิโนเอทธิล ไดเมทธิลอะมีน 264. อะนิลีน
(2-AMINOETHYLDIMETHYLAMINE) (ANILINE)
240. 2-อะมิโน-2-เมทธิล โพรพานอล 265. อะนิลีน (เกลือของสาร)
(2-AMINO-2-METHYLPROPANOL) (ANILINE (SALTS))
241. 3-อะมิโนเมทธิล-3,5,5-ไตรเมทธิลไซโคลเฮกซิลอะมีน 266. โอ-อะนิซิดีน
(3-AMINOMETHYL-3,5,5- (O-ANISIDINE)
TRIMETHYLCYCLOHEXYLAMINE) 267. พี-อะนิซิดีน
242. อะมิโนฟนอล (P-ANISIDINE)
(AMINOPHENOL) 268. สารประกอบแอนติโมนี
243. 2-อะมิโนโพรเพน (ANTIMONY COMPOUNDS, as Sb)
(2-AMINOPROPANE) 269. แอนติโมนี เพนตะคลอไรด
244. 1-อะมิโนโพรเพน-2-ออล (ANTIMONY PENTACHLORIDE)
(1-AMINOPROPAN-2-OL) 270. แอนติโมนี ไตรคลอไรด
245. 3-อะมิโนโพรพิลไดเอทธิลอะมีน (ANTIMONY TRICHLORIDE
(3-AMINOPRORYLDIETHYLAMINE) 271. แอนติโมนี ไตรฟลูออไรด
246. 3-อะมิโนโพรพิลไดเมทธิลอะมีน (ANTIMONY TRIFLUORIDE)
(3-AMINOPROPYLDIMETHYLAMINE) 272. เอเอ็นทียู
247. 2-อะมิโนไพริดีน (ANTU)
(2-AMINOPYRIDINE) 273. สารหนู
248. อะมิโทรล (ARSENIC)
(AMITROLE) 274. สารหนู (สารประกอบ)
249. แอมโมเนียม, แอนไฮดรัส [ARSENIC (COMPOUNDS)]
(AMMONIA, ANHYDRAUS) 275. อารซีน
250. แอมโมเนียม ไบฟลูออไรด (ARSINE)
(AMMONIUM BIFLUORIDE) 276. แอสพัลท (ปโตรเลียม) ฟูม
251. ฟูมของแอมโมเนียมคลอไรด [ASPHAL (PETROLEUM) FUMES]
(AMMONIUM CHLORIDE FUME) 277. อะทราซีน
252. แอมโมเนียม ไดโครเมท (ATRAZINE)
(AMMONIUM DICHROMATE) 278. อะโทรพีน
253. แอมโมเนียม ฟลูออไรด (ATROPINE)
(AMMONIUM FLUORIDE) 279. อะโทรพีน (เกลือ)
254. แอมโมเนียม ไฮโดรเจน ไดฟลูออไรด (ATROPINE SALTS)
(AMMONIUM HYDROGEN DIFLUORIDE) 280. อะซิริดีน
255. แอมโมเนีย เพอรคลอเรท (AZIRIDINE)
(AMMONIUM PERCHLORATE) 281. อะโซเบนซีน
(AZOBENZENE)

2-62
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
282. อะโซอิไมด 307. เบนโซไตรคลอไรด
(AZOIMIDE) (BENZOTRICHLORIDE)
283. อะโซโธเอท 308. เบนโซไตรฟลูออไรด
(AZOTHOATE) (BENZOTRIFUORIDE)
284. อะโซซีเบนซีน 309. เบนโซอิล คลอไรด
(AZOXYBENZENE) (BENZOYL CHLORIDE)
285. บารบาน 310. 4-เบนโซอิลไฮดราโซโน-1,4-เบนโซควิโนน ออกซีม
(BARBAN) (4-BENAOYLHYDRAZONO-1,4-BENZOQUINONE OXIME)
286. แบเรียม. สารประกอบที่ละลายได 311. เบนโซอิล เพอรออกไซด
(BARIUM, SOLUBLE COMPOUNDS, as Ba) (BENZOYL PEROXIDE)
287. แบเรียม คลอเรท 312. เบนซไธอะซูรอน
(BARIUM CHLORATE) (BENZTHIAZURON)
288. แบเรียรม เพอรคลอเรท 313. เบนซิลแอลกอฮอล
(BARIUM PERCHLORATE) (BENZYL ALCOHOL)
289. แบเรียม เพอรออกไซด 314. เบนซิลอะมีน
(BARIUM PEROXIDE) (BENZYLAMINE)
290. แบเรียม โพลีซัลไฟต 315. เบนซิล เบนโซเอท
(BARIUM POLYSULPHIDES) (BENZYL CHLORFOMATE)
291. แบเรียม ซัลไฟต 316. เบนซิล โบรไมด
(BARIUM SULPHIDE) (BENZYL BROMIDE)
292. เบนโนมิล 317. เบนซิล คลอรฟอรเมท
(BENOMYL) (BENZYL CHLORFOMATE)
293. เบนควินอกซ 318. เบนซิล คลอไรด
(BENQUINOX) (BENZYL CHLORIDE)
294. เบนซัลไลด 319. เบนซิลไดเมทธิลอะมีน
(BENSULIDE) (BENZYLDIMETHYLAMINE)
295. เบนทะโซน 320. เบนซิลิดีน คลอไรด
(BENTAZONE) (BENZYLIDENE CHLORIDE)
296. เบนซัลคลอไรด 321. บีเอชซี
(BENZAL CHLORIDE) (BHC)
297. เบนซัลดีไฮด 322. Y-บีเอชซี
(BENZALDEHYDE) (Y-BHC)
298. เบนซีน 323. ไนนาพาคริล
(BENZENE) (BINAPACRYL)
299. 1,3-เบนซีนไดออล 324. ไบฟนิล
(1,3-BENZENEDIOL) (BIPHENYL)
300. เบนซีน-1,2,4,5-เตตระคารบอกซีลิค ไดแอนไฮไดรด 325. ไบฟนิล-4-อิลอะมีน
(BENZENE-1,2,4,5-TETRACARBOXYLIC DIANHYDRIDE) (BIPHENYL-4-YLAMINE)
301. เบนซีน-1,2,4,-ไตรคารบอกซีลิค-1,2-แอนไฮไดรด 326. ไบฟนิล-4-อิลอะมีน (เกลือของสาร)
(BENZENE-1,2,4-TRICARBOXYLIC-1}2-ANHYDRIDE) (BIPHENYL-4-YLAMINE (SALS))
302. เบนโซกัวนามีน 327. ไบฟนิล-4, 4'-อิลลีนไดอะมีน
(BENZONITRILE) (BIPHENYL-4, 4'-YLENEDIAMINE)
303. เบนโซโนไตรล 328. บิสมัท เทลลูไรด
(BENZONITRILE) (BISMUTH TELLURIDE)
304. เบนโซฟโนน-3,3',4,4'-เตตระคารบอกซีลิค ไดแอนไฮไดรด 329. บิส คลอโรเมทธิล อีเธอร
(BENZOPHENONE-3-,3',4,4'-TETRACARBOXYLIC (BIS-(CHLOROMETHYL)-ETHER)
DIANHYDRIDE) 330. บิสฟนอล เอ-(อีพิคลอรไฮดริน) อีพอกซีเรซิน
305. พี-เบนโซควิโนน (รีแอคชัน โพรดัคท)
(P-BENZOQUINONE) (BISPHENOL A-(EPICHLORHYDRIN) EPOXY RESIN
306. 1-(2-เบนโซไธอะโซลิล) -3-เมทธิลยูเรีย (REACTION PRODUCT)
[1-(2-BENZOTHIAZOLYL)-3-METHYLUREA] 331. บอเรทส, เตตรา, เกลือโซเดียม, แอนไฮดรัส
(BORATES, TETRA, SODIUM SALTS, ANHYDROUS)

2-63
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
332. บอเรทส, เตตรา, เกลือโซเดียม, เดคะไฮเครท 357. 2-บิวทะโนน ออกซิน
(BORATES, TETRA, SODIUM SALTS, DECAHYDRATE) (2-BUTANONE OXIME)
333. บอเรทส,เตตรา, เกลือโซเดียม, เพนตะไฮเดรท 358. 2-บิวทีนอล
(BORATES, TETRA, SODIUM SALTS, PENTAHYDRATE) (2-BUTENAL)
334. โบรอน ออกไซด 359. บิวทีน
(BORON OXIDE) (BUTENE)
335. โบรอน ไตรโบรไมด 360. 2-บิวทอกซีเอทธานอล
(BORON TRIBROMIDE) (2-BUTOXYETHANOL)
336. โบรอน ไตรคลอไรด 361. 2-บิวทอกซีเอทธิล อะซีเตท
(BORON TRICHLORIDE) (2-BUTOXYETHYL ACETATE)
337. โบรอน ไตรฟลูออไรด 362. 3-บิวทอกซีโพรเพน-2-ออล
(BORON TRIFLUORIDE) (3-BUTOXYPROPANE -2-OL)
338. โบรมาซิล 363. 1-(2-บิวทอกซีโพรพอกซี) โพรพาน-2-ออล
(BROMACIL) [1-(2-BUTOXYRPOROXY) PROPAN-2-OL)
339. โบรมีน เพนตะฟลูออไรด 364. บิวทิล อะซีเตท, ไดโซเมอรทุกตัว
(BROMINE PENTAFLUORIDE) (BUTYL ACETATE, ALL ISOMERS)
340. กรดโบรโมอะซีติค 365. บิวทิล อะครีเลท
(BROMOACETIC ACID) (BUTYL ALCOHOL, ALL ISOMERS)
341. โบรโมเบนซีน 366. บิวทิล แอลกอฮอล, ไอโซเมอรทุกตัว
(BROMOBENZENE) (BUTYLAMINE, ALL ISOMERS)
342.โอ-(4-โบรโม-2,5-ไดคลอโรฟนิล)โอโอ 367. บิวทิลอะมีน, ไอโซเมอรทุกตัว
-ไดเอทธิลฟอสฟอโรไธโอเอท (BUTYLLAMINE, ALL ISOMERS)
(O-(4-BROMO-2,5-DICHLROPHENYL) OO-DIETHYLPHOS 368. 2-เทอรท-บิวทิลอะมิโนเอทธิล เมทธาครีเลท
PHOROTHIOATE) (2-TERT-BUTYLAMINOETHYL METHACRYLATE)
343. โบรโมอีเธน 369. บิวทิล บิวไทเรท
(BROMOETHANE) (BUTYL BUTYRATE)
344. โบรโมฟนอกซิม 370. บิวทิล คลอไรด
(BROFENOXIM) (BUTYL CHLOROFORMATE)
345. โบรโมฟอรม 371. บิวทิล คลอโรฟอรเมท
(BROMOFORM) (BUTYL CHLOROFORMATE)
346. โบรโมฟอส-เอทธิล 372. 4-เทอรท-บิวทิล-2-คลอโรฟนิล-เมทธิล
(BROMOPHOS-ETHYL) -เมทธิลฟอสโฟโรอะมิเตท
347. 1-โบรโมโพรเพน (4-TERT-BUTYL-2-CHLOROPHENYL-METHYL-METHYL
(1-BROMOPROPANE) PHOSPHOROAMIDATE)
348. แอลฟา-โบรโมโทลูอีน 373. เทอรท-บิวทิลอะมิโนเอทธิล เมทธาครีเลท
(Alpha-BROMOTOLUENE) (TERT-BUTYLAMINOETHYL METHARYLATE)
349. โบรมอกซีนิล 374. เทอรท-บิวทิล-แอลฟา, แอลฟา-ไดเมทธิลเบนซิล เพอร
(BROMOXYNIL) ออกไซด
350. บรูซีน (TERT-BUTYL-ALPHA, ALPHA-DIMETHYLBENZYL
(BRUCINE) PEROXIDE)
351. 1,3-บิวตะไดอีน 375. 6-เซค-บิวทิล-2,4-ไดไนโตรีนอล
(1,3-BUTADIENE) (6-SEC-BUTYL-2,4-DINIROPHENOL)
352. บิวตะไดอีน ไดอีพอกไซด 376. 2-เทอร-บิวทิล-4,6,-ไดไนโตรฟนอล
(BUTADIENE DIEPOXIDE) (2-TERT-BUTYL-4,6-DINITROPHENOL)
353. บิวเทน 377.2-เซค-บิวทิล-4,6-ไดไนโตรฟนิล ไอโซโพรพิล คารบอเนท
(BUTANE) (2-SEC-BUTYL-4,6-DINITROPHENYL
354. บิวเทนไดออลไดไกลซิดิล อีเธอร ISOPROPYL CARBONATE)
(BUTANEDIOLDIGLYCIDYL ETHER) 378. 2-เซค-บิวทิล-4,6-ไดไนโตรฟนิล-3-เมทธิลโครโทเนท
355. บิวทะนอล (2-SEC-BUTYL-4,6-DINITROPHENYL
(BUTANOL) -3-METHYLCROTONATE)
356. บิวทาโนน 379. บิวทิลีน
(BUTANONE) (BUTYLENE)

2-64
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
380. 1,3-บิวทิลีนไกลคอล ไดอะครีเลท 406. แคดเมียม ฟลูออโรซิลิเคท
(1,3-BUTYLENEGLYCOL DIACRYLATE) 381. 1,4-บิวทิลีน (CADMIUM FLUOROSILICATE)
ไกลคอล ไดอะครีเลท 407. แคดเมียม ฟอรเมท
(1,4-BUTYLENEGLYCOL DIACRYLATE) (CADMIUM FORMATE)
382. บิวทิล-2,3-อีพอกซีโพรพิล อีเธอร 408. แคดเมียม ไอโอไดด
(BUTYL ETHYL KETONE) (CADMIUM IODIDE)
383. บิวทิล เอทธิล คีโตน 409. แคดเมียม ออกไซด
(BUTYL ETHYL KETONE) (CADMIUM OXSIDE)
384. บิวทิล ฟอรเมท 410. แคลเซียม
(BUTYL FORMATE) (CALCIUM)
385. บิวทิล ไกลซิดิล อีเธอร 411. แคลเซียม คารไบด
(BUTYL GLYCIDYL ETHER) (CALCIUM CARBIDE)
386. บิวทิลไกลคอล อะซีเตท 412. แคลเซียม คลอไรด
(BUTYLGLYCOL ACETATE) (CALCIUM CHLORIDE)
387. เอ็น-บิวทิล แลคเตท 413. แคลเซียม โครเมท
(N-BUTYL LACTATE) (CALCIUM CHROMATE)
388. บิวทิล เมอแคพแทน 414. แคลเซียม ไซยานาไมด
(BUTYL MERCAPAN) (CALCIUM CYANAMIDE)
389. เอ็น-บิวทิล เมทธาครีเลท 415. แคลเซียม ไฮไดรด
(n-BUTYL METHACRYLATE) (CALCIUM HYDRIDE)
390. โอ-เซค-บิวทิลฟนอล 416. แคลเซียม ไฮดรอกไซด
(o-sec-BUTYLPHENOL) (CALCIUM HYDROXIDE)
391. พี-เทอรท-บิวทิลฟนอล 417. แคลเซียม ไฮโปคลอไรด
(p-tert-BUTYLPHENOL) (CALCIUM HYPOCHLORITE)
392. บิวทิล โพรพิโอเนท 418. แคลเซียม ไอโอดอกซีเบนโซเอท
(BUTYL PROPIONATE) (CALCIUM IODOXYBENZOATE)
393. พี-เทอรท-บิวทิลโทลูอีน 419. แคลเซียม ออกไซด
(p-tert-BUTYLTOLUENE) (CALCIUM OXIDE)
394. บิวท-2-อิน-1,4-ไดออล 420. แคลเซียม ฟอสไฟด
(BUT-2-YNE-1,4-DIOL) (CALCIUM PHOSPHIDE)
395. 2-บิวทีน-1,4-ไดออล 421. แคลเซียม โพลีซัลไฟด
(2-BUTYNE-1,4-DIOL) (CALCIUM POLYSULPHIDES)
396. บิวไทรัลดีไฮด 422. แคลเซียม ซัลไฟด
(BUTYRALDEHYDE) (CALCIUM SULPHIDE)
397. บิวไทรัลดีไฮด ออกซีม 423. คาโลเมล
(BUTYRALDEHYDE OXIME) (CALOMEL)
398. กรดบิวไทริค 424. แคมฟคลอร
(BUTYRIC ACID) (CAMPHECHLOR)
399. เอ็น-บิวไทโรไนไตรล 425. คารบาโมไนไตรล
(n-BUTYRONITRILE) (CARBAMONITRILE)
400. ฝุนแคดเมียมและเกลือของแคดเมียม 426. คารบามิล
(CADMIUM, DUST & SALTS, as Cd) (CARBARYL)
401. ออกไซดของแคดเมียม, ฟูมของแคดเมี่ยม 427. คารบอนมอกนอกไซด
(CADMIUM OXIDE, FUME, as Cd) (CARBON MONOXIDE)
402. แคดเมียม คลอไรด 428. คารบอนเตตระคลอไรด
(CADMIUM CHLORIDE) (CARBON TETRACHLORIDE)
403. สารประกอบแคดเมียม 429. 4,4'-คารบอนิลได (พธาลิค แอนไฮไดรด)
(CADMIUM COMPOUNDS) (4,4'-CARBONYLDI (PHTHALIC ANHYDRIDE))
404. แคดเมียม ไซยาไนด 430. คอสติค โปแตช
(CADMIUM CYANIDE) (CAUSTIC POTAH)
405. แคดเมียม ฟลูออไรด 431. เซลลูโลส ไนเตรท
(CADMIUM FLUORIDE) (CELLULOSE NITRATE)

2-65
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
432. ซีเรียม ไฮดรอกไซด 458. 4-คลอโรเบนโซอิล เพอรออกไซด
(CALCIUM HYDROXIDE) (4-CHLOROBENZOYL PEROXIDE)
433. คลอรัล ไฮเตรท 459. 2-คลอโรบิวเทน
(CHLORAL HYDRATE) (2-CHLOROBUTA-1,3-DIENE)
434. คลอรัลโลส 460. 1-คลอโรบิวเทน
(CHLORALOSE) (1-CHLOROBUTANE)
435. คลอรามีน ที (เกลือโซเดียม) 461. 4-คลอโรบิวท-2-อินอิล-3-คลอโรฟนิลคารบาเมท
(CHLORAMINE T (SODIUM SALT)) (4-CHLOROBUT-2-YNYL-3
436. คลอรเดน CHLOROPHENYLCARBAMATE)
(CHLORDANE) 462. 4-คลอโร-เอ็ม-ครีซอล
437. คลอรดีโคน (4-CHLORO-M-CRESOL)
(CHLORDECONE) 463. 2-คลอโร-4-(1-ไซยาโน-1-เมทธิลเอทธิลอะมิโน)
438. คลอรไดมีฟอรม -6-เอทธิลอะมิโน-1,3,5- ไตรอะซีน
(CHLORDIMEFORM) {2-CHLORO-4-(1-CYANO-1-METHYLETHYLAMINO)
439. คลอรไดมีฟอรม ไฮโดรคลอไรด -6-ETHYLAMINO-1,3,5-TRIZINE}
(CHLORDIMEFORM HYDROCHLORIDE) 464. 2-คลอโร-1-(2,4-ไดคลอโรฟนิล) ไวนิล ไดเอทธิล ฟอสเฟต
440. คลอเรนดิค แอนไฮไดรด {2-CHLORO-1-(2,4-DICHLOROPHENYL) VINYL
(CHLORENDIC ANHYDRIDE) DIETHYL PHOSPHATE)
441. คลอรฟแนค 465. 2-คลอโร- 2-ไดเอทธิลคารบาโมอิล- 1- เมทธิลไวนิลไดเม
(CHLORFENAC) ทธิลฟอสเฟต
442. คลอรเฟนธอล (2-CHLORO-2-DIETHYLCARBOMOYL-1-METHYK
(CHLORFENETHOL) VINYLDIMETHYL PHOSPHATE)
443. คลอรเฟนพรอพ-เมธิล 466. คลอโรไดฟลูออโรมีเทน
(CHLORFENPROP-METHYL) (CHLORODIFLUOROMETHANE)
444. คลอริเนเทด แคมฟน 467. 2-คลอโร-4-ไดเมทธิลอะมิโน-6-เมทธิลไพริมิดีน
(CHLLORINATED CAMPHENE) (2-CHLORO-4-DIMETHYLAMINO-6 METHYLPYRIMIDINE)
445. คลอรมีควอท 468. คลอโรไดเมทธิล อีเธอร
(CHLORMEQUAT) (CHLORODIMETHYL ETHER)
446. คลอรเมทธิล เมทธิล อีเธอร 469. 1-คลอโร-2,3-อีพอกซีโพรเพน
(CHLORMETHLY METHLY ETHER) (1-CHLORO-2,3-EPOXYPROPANE)
447. กรดคลอโรอะซีติค 470. คลอโรอีเธน
(CHLOROACETIC ACID) (CHLOROETHANE)
448. คลอโรอะซีโตไนไตรล 471. 2-คลอโรเอทธานอล
(CHLOROACETONITRILE) (2-CHLOROETHANOL)
449. คลอโรอะซีติลคลอไรด 472. บิส (2-คลอโรเอทธิล) อีเธอร
(CHLOROACETYL CHLORIDE) (BIS (2-CHLOROETHYL) ETHER)
450. เอส-2-คลอโรอัลลิล (ไดเอทธิล) ไดไธโอคารบาเมท 473. เกลือ 2-คลอโรเอทธิลไตรเมทธิล แอมโมเนีย
(S-2-CHLOROALLYL (DIETHYL) DITHIOCARBAMATE) (2-CHLOROETHYLTRIMETHYL AMMONIUM SALT)
451. คลอโรอะนิลีน (โมโน, ไดและไตร) 474. คลอโรฟอรม
(CHLOROANILINE (MONO, DI AND TRI)) (CHLOROFORM)
452. 2-คลอโรเบนซัลดีไฮด 475. คลอโรฟอรมิค แอซิด บิวทิล เอสเทอร
(2-CHLOROBENZALDEHYDE) (CHLOROFORMIC ACID BUTYL ESTER)
453. โอ-คลอโรเบนซัลดีไฮด 476. คลอโรฟอรมิค แอซิด โพรพิลเอสเทอร
(O-CHLOROBENZALDEHYDE) (CHLOROFORMIC ACID PROPYLESTER)
454. คลอโรเบนซีน 478. คลอโรมีเธน
(CHLOROBENZENE) (CLOROMETHANE)
455. โอ-คลอโรเบนซิลิดีนมาโลไนไตรล 479. 3- (3-คลอโร-4-เมทธอกซีฟนิล) -1,1- ไดเมทธิลยูเรีย
(O-CHLOROBENZILIDENE MALONITRILE) {3-(3-CHLORO-4-METHOXYPHENYL)-1,1
456. 2-คลอโรเบนโซไนไตรล DIMETHYLUREA}
(2-CHLOROBENZONITRILE)
457. บิส(4-คลอโรเบนโซอิล) เพอรออกไซด
(BIS-(4-CHLOROBENZOYL) PEROXIDE)

2-66
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
480. โอ-(3-คลอโร-4-เมทธิลคูมาริน-7-อิล) โอโอ-ไดเอ 502. 4-(2-คลอโรฟนิลไฮดราโซโน) -3- เมทธิลไอซอกซาซอล
ทธิลฟอสฟอโรไธโอเอท -5-โอน
{O-(3-CHLORO-4-METHYLCOUMARIN-7-YL)OO- {4-(2-CHLOROPHENYLHYDRAZONO)-3-
DIETHYL PHOSPHOROTHIOATE} METHYLISOXAZOL-5-ONE}
481. บิส (คลอโรเมทธิล) อีเธอร 503. 3-(4-คลอโรฟนิล) -1-เมทธ็อกซี-1-เมทธิลยูเรีย
{BIS (CHLOROMETHYL) ETHER} {3-(4-CHLOROPHENYL)-1METHOXY-1-METHYLUREA}
482. 4-คลอโร-3-เมทธิลฟนอล 504. 2-(2-พี-คลอโรฟนิล-2-ฟนิลอะซีติค) อินเดน-1,3-ไดโอน
(4-CHLORO-3-METHYLPHENOL) {2-(2-P-CHLOROPHENYL)-2-PHENYLACETYL INDAN-
483. กรด 4- คลอโร - 2 - เมทธิลฟนอกซีอะซีติค (เอ็มซีพีเอ) 1,3-DIONE)
{4-CHLORO-2-METHYLPHENOXYACETIC ACID (MCPA)} 505. เอส-(4-คลอโรฟนิลไธโอเมทธิล) โอโอ-ไดเอทธิล ฟอสฟอโร
484. กรด 4 - (4- คลอโร-2-เมทธิลฟนอกซี) บิวไทริค (เอ็มซีพีบี) ไดไธโอเอท
{4-(4-CHLORO-2-METHYLPHENOXY( BUTYRIC ACID {S-(4-CHLOROPHENYLTHIOMETHYL) OO-
(MCPB)} DIETHYLPHOSPHORODITHIOATE}
485. กรด 2-(4-คลอโร-2-เมทธิลฟนอกซี) โพรพิโอนิค 506. เอส-(2-คลอโร-1-พธาลิมิโดเอทธิล) โอโอ-ไดเอทธิล
{2-(4-CLORO-2-METHYLPHENOXY) PROPIONIC ACID} ฟอสฟอโรไดไธโอเอท
486. 3-คลอโร-2-เมทธิลโพรพีน {S-(2-CHLORO-1-PHTHALIMIDOETHYL) OO-
(3-CHLORO-2-METHYLPROPENE) DIETHYLPHOSPHORODITHIOATE}
487. คลอโรไนโตรอะนิลีน 507. คลอโรพิคริน
(CHLORONITROANILINE) (CHLOROPICRIN)
488. 1-คลอโร-4-ไนโตรเบนซีน 508. คลอโรพรีน
(1-CHLORO-4-NITROBENZENE) (CHLOROPRENE)
489. พี-คลอโรไนโตรเบนซีน 509. คลอโรโพรเพน
(P-CHLORONITROBENZENE) (CHLOROPROPANE)
490. โอ-3-คลอโร-4-ไนโตรฟนิล โอโอ-ไดเมทธิลฟอสฟอโรไธโอเอท 510. 3-คลอโรโพรพีน
(O-3-CHLORO-4-NITROPHENYL OO- (3-CHLOROPROPENE)
DIMETHYLPHOSPHORO THIOATE) 511. กรด 2- คลอโรโพรพิโอนิค
491. โอ-4-คลอโร-3-ไนโตรฟนิล โอโอ-ไดเมทธิล ฟอสฟอโรไธโอเอท (2-CHLOROPROPIONIC ACID)
(O-4-CHLORO-3-NITROPHENYL OO- 512. โอ- คลอโรสไตรีน
DIMETHYLPHOSPHORO THIOATE) (O-CHLOROSTYRENE)
492. 1-คลอโร-1-ไนโตรโพรเพน 513. กรดคลอโรซัลโฟนิค
(1-CHLORO-1-NITROPROPANE) (CHLOROSULPHONIC ACID)
493. คลอโรเพนเทน 514. โอ-คลอโรโทลูอีน
(CHLOROPENTANE) (O-CHLOROTOLUENE)
494. คลอโรเพนตะฟลูออโรอีเธน 515. เอ็น2 –(4-คลอโร-โอ-โทลิล)- เอ็น1 ,เอ็น1,
(CHLOROPENTAFLUOROETHANE) ไดเมทธิลฟอรมามิดีน
495. คลอโรฟาซิโนน {N2 – (4-CHLORO-O-TOLYL)- N1 ,N1,
(CHLOROPHACINONE) DIMETHYLFORMAIDINE}
496. คลอโรฟนอล 516. เอ็น2 –(4-คลอโร-โอ-โทลิล)- เอ็น1 ,เอ็น1,
(CHLOROPHENOL) ไดเมทธิลฟอรมามิดีน ไฮโดรคลอไรด
497. กรด 4-คลอโรฟนอกซีอะซีติค {N2 – (4-CHLORO-O-TOLYL)- N1 ,N1,
(4-CHLOROPHENOXYACETIC ACID) DIMETHYLFORMAIDINE} HYDROCHLORIDE}
498. โอโอ-บิส (4-คลอโรฟนิล) อะเซติมิโดอิล ฟอสฟอรามิโดไธโอเอท 517. คลอรโฟเนียม
(OO-BIS(4-CHLOROPHENYL) (CHLOPHONIUM)
ACETIMIDOYLPHOSPHORAMIDOTHIAOTE) 518. คลอรไพริฟอส
499.โอ-4-(4-คลอโรฟนิลอะโซ)ฟนิล โอโอ-ไดเมทธิล ฟอสฟอโรไธ (CHORPYRIPHOS)
โอเอท 519. คลอรไธอะมีด
{O-4-(4-CHLOROPHENYLAZO) PHENYL OO-DIMETHYL (CHLOTHIAMID)
PHOSPHOROTHIOATE} 520. คลอรไธออน
500. 4-คลอโรฟนิล เบนซีนซัลโฟเนท (CHLORTHION)
(4-CHLOROPHENYL BENZENESULPHONATE) 521. โครมิค ออกซีคลอไรด
501. 1,1-บิส (4-คลอโรฟนิล) เอทธานอล (CHROMIC OXYCHLORIDE)
{1,1-BIS(4-CHLOROPHENYL) ETHANOL}

2-67
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
522. โครเมียม ไตรคลอโรด 547. เอส-{เอ็น-(1-ไซยาโน-1-เมทธิลเอทธิล) คารบาโมอิลเมทธิล}
(CHROMIUM TRIOXIDE) (S-(N-(1-CYANO-1-METHYLETHYL)
523. โครมิล คลอไรด CARBAMOYLMETHYL)
(CHROMYL CHLORIDE) 548. ไซยาโนฟอส
524. ซิเนอริน I (CYANAPHOS)
(CINERIN I) 549. โอ-4-ไซยาโนฟนิล โอโอ-ไดเมทธิล ฟอสฟอโรไธโอเอท
525. ซิเนอริน II (0-4-CYANOPHENYL OO-DIMETHYL
(CINERIN II) PHOSPHOROTHIOATE)
526. โคลซิซิน 550. ไซยานโธเอท
(COLCHICINE) (CYANTHOATE)
527. คอปเปอร คลอไรด 551. ไซยานูริค คลอไรด
(COPPER CHLORIDE) (CYANURIC CHLORIDE)
528. คอปเปอร (I) คลอไรด 552. ไซโคลบิวเทน-1,3-ไดโอน
(COPPER (I) CHLORIDE) (CYCLOBUTANE-1,3-DIONE)
529. คอปเปอร แนพธีเนท 553. ไซโคลเฮกเซน
(COPPER NAPHTHENATE) (CYCLOHEXANE)
530. คอปเปอร (I) ออกไซด 554. ไซโคลเฮกเซน-1,2-ไดคารบอกซีลิค แอนไฮไดรด
(COPPER (I) OXIDE) (CYCLHEXANE-1,2-DICARBOXYLIC ANHYDRIDE)
531. คูมาคลอร 555. ไซโคลเฮกซานอล
(COUMACHLOR) (CYCLOHEXANOL)
532. คูมาฟอส 556. ไซโคลเฮกซะโนน
(COUMAPHOS) (CYCLOHEXANONE)
533. คูมาเตตระลิล 557. ไซโคลเฮกซะโนน ไฮโดรเพอรออกไซด
(COUMATETRALYL) (CYCLOHEXANONE HYDROPEROXIDE)
534. คูมิโธเอท 558. ไซโคลเฮกซะโนน เพอรออกไซด
(COUMITHOATE) (CYCLHEXANONE PEROXIDE)
535. 4-ซีพีเอ 559. ไซโคลเฮก-4-อีน-1,2-ไดคารบอกซีลิค แอนไฮไดรด
(4-CPA) (CYCLOHEX-4-ENE-1,2-DICARBOXYLIC ANHYDRIDE)
536. ครีซอล, ไอโซเมอรทุกตัว 560. ไซโคลเฮกซิล อะครีเลท
(CRESOL, ALL ISOMERS) (CYCLOHEXYL ACRYLATE)
537. ครีซิล ไกลซิติล อีเธอร 561. ไซโคลเฮกซิลอะมีน
(CRESYL GLYCIDYL ETHER) (CYCLOHEXYLAMINE)
538. คริมิดีน 562. 2-ไซโคลเฮกซิล-4,6-ไดไนโตรฟนอล
(CRIMIDINE) (2-CYCLOHEXYL-4,6-DINITROPHENOL)
539. โครโทนัลดีไฮด 563. 3-ไซโคล-ออคทิล-1,1-ไดเมทธิลยูเรีย
(CROTONALDEHYDE) (3-CYCLO-OCTYL-1, 1-DIMETHYLUREA)
540. ครูโฟเมท 564. ไซโคลเพนเทน
(CRUFOMATE) (CYCLOPENTANE)
541. คูมีน 565. ไซโคลเพนเทน-1,2,3,4-เตตระคารบอกซีลิค ไดแอนไฮไดรด
(CUMENE) (CYCLOPENTANE-1,2,3,4-TETRACARBOXYLIC
542. คูมีน ไฮโดรเพอรออกไซด DIANHYDRIDE)
(CUMENE HYDROPEROXIDE) 566. ไซโคลเพนทะโนน
543. ไซยานาไมด (CYCLOPENTANONE)
(CYANAMIDE) 567. ไซโคลโพรเพน
544. ไซยานาซีน (CYCLOPROPANE)
(CYANAZINE) 568. ไซคลูรอน
545. โอ-อัลฟา-ไซยาโนเบนซิลิดีนอะมิโน โอโอ (CYCLURON)
-ไดเอทธิลฟอสฟอโรไธโอเอท 569. ไซเฮกซะติน
(O- a , CYANOBENZYLIDENEAMINO OO- (CYHEXATIN)
DIETHYLPHOSPHOROTHIOATE) 570. 2,4-ดี
546. ไซยาโนเจน (2,4-D)
(CYANOGEN)

2-68
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
571. 2,4-ดี (เกลือและเอสเทอร) 596. เอส-(4,6-ไดอะมิโน-1,3,5-ไตรอะซิน-2-อิลเมทธิล) โอโอ-
(2,4-D (SALTS AND ESTERS)} ไดเมทธิลฟอสฟอโรไดไธโอเอท
572. ดาโซเมท (S-(4,6-DIAMINO-1,3,5-TRIAZIN-2-YLMETHYL) OO-
(DAZOMATE) DIMETHYLPHOSPHORODITHIOATE)
573. 2,4-ดีบี 597. โอ-ไดอะนิซิดีน
(2,4-DB) (O-DIANISIDINE)
574. 2,4-ดีบี (เกลือ) 598. โอ-ไดอะนิซิดีน (เกลือ)
(2,4-DB (SALTS)) (O-DIANISIDINE (SALTS))
575. ดีดีที 599. ไดอารเซนิค ไตรออกไซด
(DDT) (DIARSENIC TRIOXIDE)
576. เดคะคลอโรเพนตะไซโคล (5.2.1.02, 603, 905, 2) 600. 3,6-ไดอะซาออคเทนเอทธิลีนไดอะมีน
(DECACHLOROPENTACYCLO (5.2.1.02, 603, 905, 2) (3,6-DIAZAOCTANETHYLINEDIAMIN)
DE CAN-4-ONE 601. ไดอะซินอน
577. ดีคารโบฟวแรน (DIAZINON)
(DECARBOFURAN) 602. ไดเบนโซอิล เพอรออกไซด
578. ดีมีทอน-โอ (DIBENZOYL PEROXIDE)
(DEMETON-O) 603. 1,2-ไดโบรโม-3-คลอโรโพรเพน
579. ดีมีทอน-เอส (1,2-DIBROMO-3-CHLOROPROPANE)
(DEMETON-S) 604.1,2-ไดโบรโม-2,2-ไดคลอโรเอทธิล ไดเมทธิล ฟอสเฟท
580. ดีมีทอน-โอ-เมทธิล (นาเลด)
(DEMETON-O-METHYL) (1,2-DIBROMO-2,2-DICHLOROETHYL DIMETHYL
581. ดีมีทอน-เอส-เมทธิล PHOSPHATE (NALED))
(DEMETON-S-METHYL) 605. 3,5-ไดโบรโม-4-ไฮดรอกซีเบนซัลดีไฮด โอ-(2,4-ไดไนโตร
582. ดีมีทอน-เอส-เมทธิล ซัลโฟน ฟนิล) ออกซีม
(DEMETON-S-METHYL SULPHONE) (3,5-DIBROMO-4-HYDROXYBENZALDEHYDE O-(2,4-
583. 2,4-ดีอีเอส DINITROPHENYL) OXIME)
(2,4-DES) 606. 3,5-ไดโบรโม-4-ไฮดรอกซี เบนโซไนไตรล
584. เดสเมทรีน (3,5-DIBROMO-4-HYDROXY BENZONITRILE)
(DESMETRYNE) 607. ไดโบรโมมีเธน
585. ไดอะซีโตน แอลกอฮอล (DIBROMOMETHANE)
(DIACETONE ALCOHOL) 608. ได-เอ็น -บิวทิลอะมีน
586. ไดอะซีโตน แอลกอฮอล, เทคนิคอล (DI-N-BUTYLAMINE)
(DIACETONE ALCOHOL, TECHNICAL) 609. ได-เซค-บิวทิลอะมีน
587. เอ็น, เอ็น1-ไดอะซีติลเบนซิดีน (DI-SEC-BUTYLLAMINE)
(N, N1-DIACETYLBENZIDENE) 610. ไดบิวทิล อีเธอร
588. ไดอัลเลท (DIBUTYL ETHER)
(DIALLATE) 611. ได-เอ็น-บิวทิล อีเธอร
589. เอ็น, เอ็น-ไดอัลลิลคลอโรอะเซตาไมด (DI-N-BUTYL ETHER)
(N,N-DIALLYLCHLOROACETAMIDE) 612. ได-เทอรท-บิวทิล เพอรออกไซด
590. ไดอัลลิล พธาเลท (DI-TERT-BUTYL PEROXIDE)
(DIALLYL PHTHALATE) 613. ไดแคมบา
591. 4,41 -ไดอะมิโนไบฟนิล (DICAMBA)
(4,41 - DIAMINOBIPHENYL) 614. ไดแคมบา (เกลือ)
592. 4,41 -ไดอะมิโนไดฟนิลมีเธน (DICAMBA (SALTS))
(4,41 - DIAMINODIPHENYLMETHANE) 615. ไดคลอเฟนไธออน
593. 1,2-ไดอะมิโนอีเธน (DICHLOFENTHION)
(1,2-DIAMINOETHANE) 616. ไดคลอฟลูอะนิด
594. 2,4-ไดอะมิโนโทลูอีน ซัลเฟท (DICHLOFLUANID)
(2,4-DIAMINOTOLUENE SULPHATE) 617. ไดโคลน
595. 2,5-ไดอะมิโนโทลูอีน ซัลเฟท (DICHLONE)
(2,5-DIAMINOTOLUEN SULPHATE) 618. กรดไดคลอโรอะซีติค
(DICHLOROACETIC ACID)

2-69
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
619. ไดคลอโรอะซีติล คลอไรด 643. 1,1-ไดคลอโร-1-ไนโตรอีเธน
(DICHLOROACETIC CHLORIDE) (1,1 - DICHLORO - 1- NITROETHANE)
620. เอส-2,3-ไดคลอโรอัลลิล ไดไอโซโพรพิลไธโอคารบาเมท 644. 2,4-ไดคลอโรฟนอล
(S-2,3-DICHLOROALLYL DISOPROPYLTHIOCARBAMATE) (2,4 - DICHLOROPHENOL)
621. 1,2-ไดคลอโรเบนซีน 645. กรด 2,4-ไดคลอโรฟนอกซีอะซีติค
(1,2-DICHLOROBENZENE) (2,4- DICHLOROPHENOXYACETATE ACID)
622. โอ-ไดคลอโรเบนซีน 646. กรด 4-(2,4-ไดคลอโรฟนอลกซี) บิวไทริค
(O-DICHLOROBENZENE) (4- (2,4- DICHLOROPHENOXY) BUTYIC ACID)
623. 1,4-ไดคลอโรเบนซีน 647. 2-(2,4-ไดคลอโรฟนอลกซี) เอทธิล ไฮโดรเจนซัลเฟท
(1,4-DICHLOROBENZENE) (2-(2,4 - DICHLOROPHENOXY) ETHYL
624. พี-ไดคลอโรเบนซีน HYDROGENSULPHATE)
(P-DICHLOROBENZENE) 648. กรด 2- (2,4-ไดคลอโรฟนอกซี) โพรพิโอนิค
625. 3,31-ไดคลอโรเบนซิดีน (2- (2,4 - DICHLOROPHENOXY) PROPIONIC)
(3,31-DICHLOROBENZEDINE) 649. โอ-(2,4-ไดคลอโรฟนิล) โอโอ-ไดเอทธิล ฟอสฟอโรไธโอเอท
626. 3,31-ไดคลอโรเบนซิดีน (เกลือ) (O-(2,4 - DICHLOROPHENYL) OO-DIETHYL
(3,31-DICHLOROBENZEDINE (SALTS)) PHOSPHOROTHIOATE)
627. 3,31-ไดคลอโรไบฟนิล-4,41 -อิลลีนไดอะมีน 650. 3-(3,4-ไดคลอโรฟนิล)-1,1-ไดเมทธิลยูเรีย
(3,31-DICHLOROBIPHENYL-4,41 - YLENEDIAMINE) (3-(3,4- DICHOROPHENYL) -1-1- DIMETHYLUREA)
628. 3,31-ไดคลอโรไบฟนิล-4,41 -อิลลีนไดอะมีน (เกลือ) 651. 3-(3,4-ไดคลอโรฟนิล) -1-เมธอกซี-1-เมทธิลยูเรีย
(3,31-DICHLOROBIPHENYL-4,41 - YLENEDIAMINE (3-(3,4-ไดคลอโรฟนิล) -1- METHOXY-1-METHYLUREA)
(SALTS)) 652. เอส-(2,5-ไดคลอโรฟนิลไธโอเมทธิล) โอโอ-ไดเอทธิล
629. 1,1-ไดคลอโรอีเธน ฟอสฟอโรไดไธโอเอท
(1,1-DICHLOROETHANE) (S- (2,5- DICHLOROPHENYLTHIOMETHYL) OO-
630. 1,2-ไดคลอโรอีเธน DIETHYL PHOSPHORODITHIOATE)
(1,2-DICHLOROETHANE) 653. ไดคลอโรโพรเพน
631. 1,1-ไดคลอโรเอทธิลีน (DICHLOROPROPANE)
(1,1- DICHLOROETHYLENE) 654. 1,1-ไดคลอโรโพรพีน
632. 1,2-ไดคลอโรเอทธิลีน (1,1-DICHLOROPROPENE)
(1,2 - DICHLOROETHYLENE) 655. 1,2-ไดคลอโรโพรพีน
633. เอ็น-ไดคลอโรฟลูออโรเมธิลไธโอ-เอ็นเอ็น-ไดเมทธิล -เอ็น-ฟ (1,2- DICHLOROPROPENE)
นิลซัลฟาไมด 656. 1,3-ไดคลอโรโพรพีน
(N-DICHLORO;LUOROMETHYLTHIO- NN-DIMETHYL-N- (1,3- DICHLOROPROPENE)
PHENYLSULPHAMIDE) 657. 2,3-ไดคลอโรโพรพีน
634. เอ็น-(ไดคลอโรฟลูออโรเมทธิลไธโอ) พธาลิไมด (2,3- DICHLOROPROPENE)
(N - (DICHLOROFLUOROMETHYLTHIO) PHTHALIMIDE) 658. 3,3-ไดคลอโรโพรพีน
635. กรดไดคลอโรไอโซไซยานูริค (3,3- DICHLOROPROPENE)
(DICHLOROISOCYANURIC ACID) 659. 3141-ไดคลอโรโพรพิโอนอะนิไลด
636. เกลือโปแตสเซียมของกรดไดคลอโรไอโซไซยานูริค (3141- DICHLOROPROPIONANILIDE)
(DICHLOROISOCYANURIC ACID POTASSIUM SALT) 660. 2,4-ไดคลอโร-แอลฟา (ไพริมิดิน-5-อิล) เบนซไฮดริล
637. เกลือโซเดียมของกรดไดคลอโรไอโซไซยานูริค แอลกอฮอล
(DICHLOROISOCYANURIC ACID, SODIUM SALT) (2,4 - DICHLORO- a (PIRIMIDIN-5-YL)
638. ไดคลอโรมีเธน BENZHYDRYL ALCOHOL)
(DICHLOROMETHANE) 661. 2,6-ไดคลอโรไธโอเบนซะไมด
639. กรด 3-6-ไดคลอโร-2-เมทธอกซีเบนโซอิค (2,6-DICHLOROTHIOBENZAMIDE)
(3-6-DICHORO-2- METHOXYBENZOIC ACID) 662. แอฟา, แอลฟา-ไดคลอโรโทลูอีน
640. 2,2-ไดคลอโร-4,41-เมทธิลีนไดอะนิลีน (a , a - DICHLOROTOLUENE
(2,2-DICHLORO-4,41-METHYLENEDIANILENE) 663. ไดคลอโร-1,3,5- ไตรอะซีนไตรโอน
641. 2,2-ไดคลอโร-4,41-เมทธิลีนไดอะนิลีน (เกลือ) (DICHLORO-1,3,5-TRIAZENETRIONE)
(2,2-DICHLORO-4,41-METHYLENEDIANILENE (SALTS)) 664. เกลือโปแตสเซียมของไดคลอโร-1,3,5-ไตรอะซีนไตรโอน
642. 2,3-ไดคลอโร-1,4-แนพโธควิโนน (DICHLORO-1,3,5-TRIAZINETRIONE, POTASSIUM SALT)
(2,3 - DICHLORO-1.4 NAHTOQUINONE) 665. เกลือโซเดียมของไดคลอโร-1,3,5-ไตรอะซีนไตรโอน
(DICHLORO-1,3,5-TRIAZINETIRONE, SODIUM SALT)

2-70
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
690. ไดเอทธิล อีเธอร
666. 2,2-ไดคลอโรไวนิล ไดเมทธิล ฟอสเฟท
(DIETHYL ETHER)
(2,2-DICHLOROVINYL DIMETHYL PHOSPHATE)
691. โอโอ-ไดเอทธิล เอส-{2-(เอทธิลซัลไฟนิล) เอทธิล} ฟอสฟอ
667. 2,2-ไดคลอโรไวนิล-2-เอทธิลซัลโฟนิลเอทธิล เมทธิลฟอสเฟท
โรไดไธโอเอท
(2,2-DICHLOROVINYL-2-ETHYLSULPHONYLETHYL
(OO-DIETHYL S- (2-(ETHYLSULPHINYL) ETHYL)
METHYLPHOSPHATE)
PHOSPHORO DITHIOATE)
668. ไดคลอรพรอพ
692. โอโอ-ไดเอทธิล โอ-{2-(เอทธิลไธโอ) เอทธิล}
(DICHLORPROP)
ฟอสฟอโรไธโอเอท
669. ไดคลอรพรอพ (เกลือ)
(OO-DIETHYL O-(2-ETYLTHIO) ETHYL) PHOSPHORO
(DICHLORPROP (SALTS))
THIOATE)
670. ไดคลอรวอส
693. โอโอ-ไดเอทธิล เอส-{2-(เอทธิลไธโอ) เอทธิล}
(DICHLOVOS)
ฟอสฟอโรไธโอเอท
671. ไดโคฟอล
(OO-DIETHYL S- (2- ETHYLTHIO) ETHYL)
(DICOFOL)
PHOSPHOROTHIOATE)
672. ไดคอปเปอร ออกไซด
694. โอโอ-ไดเอทธิล โอ-{2-(เอทธิลไธโอ) เอทธิล}
(DICOPPER OXIDE)
ฟอสฟอโรไดไธโอเอท
673. ไดคูมาริน
(OO-DIMETHYL O- (2-(ETHYLTHIO) ETHYL)
(DICUMARIN)
PHOSPHODITHIOATE)
674. ไดโครโตฟอส
695. โอโอ-ไดเอทธิล เอส- (เอ็น-ไอโซโพรพิลคารบาโมอิลเมทธิล)
(DICROTOPHOS)
ฟอสฟอโรไดไธโอเอท
675. ไดคูมิล เพอรออกไซด
(OO-DIETHYL S- (N-ISOPROPYLCARBAMOYLMETHYL)
(DICUMIL PEROXIDE)
PHOSPHORODITHIOATE)
676. 2,3-ไดไซยาโน-1,4-ไดไธอะ-แอนธราควินโนน
696. โอโอ-ไดเอทธิล โอ- (2-ไอโซโพรพิล-6-เมทธิลไพริมิดีน
(2,3-DICYANO-1,4 - DITHIA- ANTHRAQUINONE)
-4-อิล) ฟอสฟอโรไธโอเอท
677. ไดโซโคลเฮกซิลอะมีน
(OO-DIETHYL O- (2-ISOPROPYL-6-
(DICYCLOHEXYLAMINE)
METHYLPYRIMIDINE -4-YL) PHOSPHOROTHIOATE)
678. ไดโซโคลเฮกซิลแอมโมเนียม ไนไตรท
697. ไดเอทธิล คีโตน
(DICYCLOHEXYLAMMONIUM NITRILE)
(DIETHYL KETONE)
679. ไดไซโคลเฮกซิลมีเธน-4,41-ไดไอโซไซยาเนท
698. โอโอ-ไดเอทธิล โอ- (4-เมทธิลคูมาริน-7-อิล)
(DICYCLOHEXYLMETHANE-4,41- DIISOCYANATE)
ฟอสฟอโรไธโอเอท
680. ดีลดริน (เอช อี โอ ดี 85% )
(OO-DIETHYL O-(4-METHYLCUMARIN-7-YL)
(DIELDRIN (HEOD 85 %)
PHOSPHOROTHIOATE)
681. 1,2,3,4-ไดอีพอกซีบิวเทน
699. ไดเอทธิล 4-เมทธิล-1,3-ไดไธโอแลน-2-อิลลิดีน
(1,2,3,4- DIEPOXYBUTANE)
ฟอสฟอรามิเดท
682. ไดเอทธาโนลามีน
(DIATETHYL 4-METHYL-1,3- DITHIOLAN-2-YLLIDINE
(DIETHANOLAMINE)
PHOSPORAMIDANE)
683. 2-ไดเอทธิลอะมิโนเอทธานอล
700. ไดเอทธิล 3-เมทธิลไพราซอล-5-อิล ฟอสเฟท
(2-DIETHYLAMINOETHANOL)
(DIETHYL 3-METHYLPRAZOL-5-YL PHOSPHATE)
684. 2-ไดเอทธิลอะมิโนเอทธิล เมทธาครีเลท
701. โอโอ-ไดเอทธิล โอ-{4-(เมทธิลซัลไฟนิล) ฟนิล}
(2- DIETHYLAMINOETHYL METHACRELATE)
ฟอสฟอโรไธโอเอท
685. โอ-(2-ไดเอทธิลอะมิโน-6-เมทธิลไพริมิดีน-4-อิล) โอโอ
(OO-DIETHYL O-(4-(METHYLSULPHINYL) PHENYL)
-ไดเอทธิล ฟอสฟอโรไธโอเอท
PHOSPHOROTHIOATE)
(O- (2- DIETHYLAMINO- 6 –METHYLPYRIMIDINE
702. โอโอ-ไดเอทธิล โอ-4-ไนโตรฟนิล ฟอสฟอโรไธโอเอท
-4 -YL) OO-DIETHYL PHOSPHOROTHIOATE)
(OO-DIETHYL O-4- NITROPHENYL
686. เอ็นเอ็น-ไดเอทธิลอะนิลีน
PHOSPHOROTHIOATE)
(NN-DIATETHYLANILINE)
703. ไดเอทธิล ออกซาเลท
687. เอ็นเอ็น-ไดเอทธิล-1,3-ไดอะมิโนโพรเพน
(DIETHYL OXALATE)
(NN-DIETHYL-1,3-DIAMINOPROPANE)
704. เอ็น,เอ็น-ไดเอทธิล-พี-ฟนิลลีนไดอะมีน
688. ไดเอทธิลีน ไกลคอล ไดอะครีเลท
(N,N-DIETHYL-P-PHENYLENEDIAMINE)
(DIETHYLENE GLYCOL DIACRELATE)
705. ไดเอทธิล ซัลเฟท
689. ไดเอทธิลีน ไตรอะมีน
(DIETHYL SULPHATE)
(DIETHYLENE TRIAMINE)

2-71
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
706. โอโอ-ไดเอทธิล โอ-(7,8,9,10-เตตระไฮโดร-6-ออกโซเบนโซ 725. ไดคีเทน
(ซี) โครเมน-3-อิล) ฟอสฟอโรไธโอเอท (DIKETEN)
(OO-DIETHYL O-(7,8,9,10-TETRAHYDRO-6-OXOBENZO 726. ไดคีทีน
(C) CHROMEN-3-YL) PHOSPHOROTHIOATE) (DIKETENE)
707. โอโอ-ไดเอทธิล โอ-(3,5,6-ไตรคลอโร-2-ไพริดิล) 727. ไดออโรอิล เพอรออกไซด
ฟอสฟอโรไธโอเอท (DIAUROYL PEROXIDE)
(OO-DIETHYL O-(3,5,6-TRICHLORO-2-PYRIDYL) 728. ไดมีพรานอล
PHOSPHOROTHIOATE) (DIMERPANOL)
708. ดิจิทอกซิน 729. ไดมีแทน
(DIGITOXIN) (DIMETANE)
709. ไดกอล ไดไนเตรท 730. ไดเมทโธเอท
(DIGOL DINITRATE) (DIMATETHOATE)
710. 9,10-ไดไฮโดร-8 เอ, 10 เอ-ไดอะโซเนียฟแนนธรีน ไอออน 731. 3,31 --ไดเมทธอกซีเบนซิดีน
(9,10-DIHYDRO-8A, 10A - DIAZONIAPHECANTHRENE ION) (3,31 -- DIMETHOXYBENZIDINE)
711. 2,3-ไดไฮโดร-2,2-ไดเมทธิลเบนโซฟวแรน 732. 3,31 --ไดเมทธอกซีเบนซิดีน (เกลือ)
-7-อิลเมทธิลคารบาเมท (3,31 -- DIMETHOXYBENZIDINE(SALT))
(2,3-DIHYDRO-2,2-DIMETHYLBENZOFURAN-7- 733. 1,1-ไดเมทธอกซีอีเทน
YLMETHYLCARBAMATE) (1,1-DIMETHOXYETHANE)
712. เอส-(2,3-ไดไฮโดร-5-เมทธอกซี-2-ออกโซ-1,3, 734. 1,2-ไดเมทธอกซีอีเธน
4-ไธอะไดซอล-3-อิลเมทธิล) โอโอ-ไดเมทธิล ฟอสฟอโรไดไธโอเอท (1,2-DIMETHOXYETHANE)
(S(2,3-DIHYDRO-5-METHOXY-2-OXO-1,3,4- 735. ไดเมทธิล อะเซตัล
THIADIZOL-3-YLMETHYL) OO-DIMETHYL (DIMETHYL ACETAL)
PHOSPHORODITHIOATE) 736. เอ็น,เอ็น-ไดเมทธิลอะเซตาไมด
713. 2,3-ไดไฮโดร-2-เมทธิลเบนโซฟวแรน-7-อิลเมทธิลคารบาเมท (N,N-DIMETHYLACETAMIDE)
(2,3-DIHYDRO-2-METHYLBENZOFURAN-7- 737. โอ,เอส-ไดเมทธิล อะซีติลฟอสฟอรามิโดไธโอเอท
YLMETHYLCARBAMATE) (O,S-DIMETHYL ACETYLPHOSPHORAMIDOTHIOATE)
714. เอส-(3,4-ไดไฮโดร-4-ออกโซเบนโซ (ดี) -(1,2,3) 738. 2-ไดเมทธิลอะมิโน-5,6-ไดเมทธิลไพริมิดีน-4-อิล
-ไตรอะซิน-3-อิลเมทธิล) โอโอ-ไดเอทธิล ฟอสฟอโรไดไธโอเอท ไดเมทธิลคารบาเมท
{S-(3,4-DIHYDRO-4-OXOBENZO (D)-(1,2,3)-TRIAZIN- (2-DIMETHYLAMINO-5,6-DIMETHYLPYRIMIDENE
3-YLMETHYL) OO-DIETHYL PHOSPHORODITHIOATE) -4-YL DIMETHYLCARBAMATE)
715. 1,2-ไดไฮดรอกซีเบนซีน 739. 2-ไดเมทธิลอะมิโนเอทธานอล
(1,2-DIHYDROXYBENZENE) (2-DIMETHYLAMINOETHANOL)
716. 1,4-ไดไฮดรอกซีเบนซีน 740. 2-ไดเมทธิลอะมิโนเอทธิลอะมีน
(1,4-DIHYDROXYBENZENE) (2-DIMETHTYLAMINOETHYLAMINE)
717. ได-ไอโซบิวทิลีน 741. 2-ไดเมทธิลอะมิโนเอทธิล เมทธาครีเลท
(DI-ISOBUTYLENE) (2-DIMETHYLAMINOETHYL METHACREATE)
718. ได-ไอโซบิวทิล คีโตน 742. 3-ไดเมทธิลอะมิโนเมทธิลลีนอะมิโน ฟนิล เมทธิลคารบาเมท
(DI-ISOBUTYL KETONE) (3-DIMETHYLAMINOMETHYLENEAMINO PHENYL
719. ได-โอโซโพรพาโนลามีน METHYLCARBAMATE)
(DI-ISOPROPANOLAMINE) 743. 4-ไดเมทธิลอะมิโน-3-เมทธิลฟนิล เมทธิลคารบาเมท
720. ได-โอโซโพรพิลอะมีน (4-DIMETHYLAMINO-3-METHYLPHENYL
(DI-ISOPROPYLAMINE) METHYLCARBAMATE)
721. ได-โอโซโพรพิล อีเธอร 744. 1-ไดเมทธิลอะมิโนโพรพาน-2-ออล
(DI-ISOPROPYL ETHER) (1-DIMETHYLAMINOPROPAN-2-AL)
722. ได-โอโซโพรพิล คีโตร 745. เอ็น, เอ็น-ไดเมทธิลอะนิลีน
(DI-ISOPROPYL KETONE) (N,N-DIMETHYLANILENE)
723. โอโอ-ได-โอโซโพรพิล เอส-(2-ฟนิล ซัลโฟนิลอะมิโนเอทธิล) 746. 3,31 -ไดเมทธิลเบนซิดีน
ฟอสฟอโรไดไธโอเอท ( 3,31 - DIMETHYLBENCIDENE)
(OO-DI-ISOPROPYL S-(2-PHENYL 747. 3,31 -ไดเมทธิลเบนซิดีน (เกลือ)
SULPHONYLAMINOETHYL PHOSPHORODITHIOATE) ( 3,31 - DIMETHYLBENCIDENE (SALT))
724. เอ็น,เอ็น-ได-ไอโซโพรพิลฟอสฟอโรไดอะมิดิค ฟลูออไรด 748. เอ็น,เอ็น-ไดเมทธิลเบนซิดีน
(N.N-DI-ISOPROPYLPHOSPHORODIAMIDIC PLUORIDE) (N,N-DIMETHYLBENCIDENE)

2-72
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
749. แอลฟา,แอลฟา-ไดเมทธิลเบนซิล ไฮโดรเพอรออกไซด 769. โอโอ-ไดเมทธิล-โอ-(3-เมทธิล-4-เมทธิลไธโอ ฟนิล)
(a , a -DIMETHYLBENZYL HYDROPEROXIDE) ฟอสฟอโรไธโอเอท
750. บิส (2,2-ไดเมทธิลเบนซิล) เพอรออกไซด (OO-DIMETHYL-O-(3-METHYLTHIO PHENYL)
(BIS (2,2-DIMETHYLBENZYL) PEROXIDE) PHOSPHOROTHIOATE)
751. 1,1-11 -ไดเมทธิล- 4,41 ไบไพริไดเลียม ไอออน 770. โอโอ-ไดเมทธิล-โอ-(3-เมทธิล-4-ไนโตรฟนนิล)
(1,1-11 - DIMETHYL-4,41 BIPYRIDILIAM ION) ฟอสฟอโรไธโอเอท
752. 1-ไดเมทธิลคารบาโมอิล-5-เมทธิลไพราซอล-3-อิล (OO-DIMETHYL-O-(3-METHYL-4-NITROPHENYL)
ไดเมทธิลคารบาเมท PHOSPHOROTHIOATE)
(1-DIMETYLCARBAMOYL-5-METHYLPYRAZOL-3-YL 771. 1,11-บิส (3,5-ไดเมทธิล มอรโฟลิโน คารโบนิลเมทธิล)
DIMETHYLCARBAMATE) -4,41 ไบไพริไดเลียม ไอออน
753. ไดเมทธิล คารบอเนท (1,11 -BIS(3,5-DIMETHYL MORPHOLINO
(DIMETHYL CARBONATE) CARBONYLMETHYL) -4,41 BIPYRIDILIAM ION)
754. 1,4-ไดเมทธิลไซโคลเฮกเซน 772. โอโอ-ไดเมทธิล-เอส-(มอรโฟลิโน คารโบนิลเมทธิล)
(1,4-DIMETHYLCYCLOHEXANE) ฟอสฟอโรไธโอเอท
755. เอ็น,เอ็น-ไดเมทธิล-1,3-ไดอะมิโนโพรเพน (OO-DIMETHYL-S-(MORPHOLINO CARBONYLMETHYL)
(N,N-DIMETHYL-1,3-DIAMINOPROPANE) PHOSPHOROTHIOATE)
756. ไดเมทธิลไดคลอโรไซเลน 773. โอโอ-ไดเมทธิล-โอ-4-ไนโตรฟนิล ฟอสฟอโรไธโอเอท
(DIMETHYLDICHLOROCYLANE) (OO-DIMETHYL-O-4-NIROPHENYL PHOSPHOROTHIOATE)
757. ไดเมทธิลไดคลอโรไซเลน 774. 5,51-ไดเมทธิล-3-ออกโซไซโคลเฮก-1-เอ็นอิล
(DIMETHYLDICHLOROCYLANE) ( 5,51- DIMETHYL-3-OXOCYCLOHEX-1-ENYL
758. ไดเมทธิล ซิส-2-ไดเมทธิลคารบาโมอิล-1 -DIMETHYL CARBAMATE)
-เมทธิลไวนิล ฟอสเฟต 775. 2,4-ไดเมทธิลเพนทาน-3-โอน
(DIMETHYL CIS-2-DIMETHYLCARBAMOYL (2,4-DIMETHYLPENTAN-3-ONE)
-1-METHYLVINYL PHOSPHATE) 776. เอ็น,เอ็น - ไดเมทธิลฟนิลลีนไดอะมีน (โอ,เอ็ม,พี)
759. เอ็น,เอ็น-ไดเมทธิลไดฟนิลอะเซตาไมด (N,N-DIMETHYLPHENYLENEDIAMINE (O,M,P)
(N,N-DIMETHYLDIPHENYLACETAMIDE) 777. โอเอส-ไดเมทธิล ฟอสฟอรามิโดไธโอเอท
760. ไดเมทธิล อีเธอร (OS-DIMETHYL PHOSPHOROMIDOTHIOATE)
(DIMETHYL ETHER) 778. โอโอ-ไดเมทธิล เอส-พธาลิมิโดเมทธิล ฟอสฟอโรไดไธโอเอท
761. ไดเมทธิล ฟอรมาไมด (OO-DIMETHYL S-PHTHALIMIDOMETHYL
(DIMETHYL FORMAMIDE) PHOSPHORODIHYIOATE)
762. 2,6-ไดเมทธิลเฮพเทน-4-โอน 779. 2,2-ไดเมทธิลโพรเพน
(2,6-DIMETHYLHEPTANE-4-ONE) (2,2-DIMETHYLPROPANE)
763. เอ็น,เอ็น-ไดเมทธิลไฮดราซีน 780. ไดเมทธิล ซัลเฟท
(N,N-DIMETHYLHYDRAZENE) (DIMETHYL SULPHATE)
764. 1,2-ไดเมทธิลอิมิดาโซล 781. 3,5-ไดเมทธิล-1,3,5-ไธอะไดอะซีน-2-ไธโอน
(1,2-DIMETHYLIMIDAZOLE) (3,5-DIMETHYL-1,3,5-THIADIAZINE-2-THIONE)
765. โอโอ-ไดเมทธิล-เอส(2-(1-เมทธิลคารบาโมอิล เอทธิลไธโอ 782. เอ็น,เอ็น-ไดเมทธิลโทลูอิดีน
เอทธิลฟอสฟอโรไธโอเอท (N,N-DIMETHYLTOLUIDENE)
(OO-DIMETHYL-S(2-(1-METHYLCARBAMOYL 783. ไดเมทธิล 2,2,2-ไตรคลอโร-1-ไฮดรอกซีเอทธิล ฟอสโฟเนท
ETHYLTHIO ETHYLPHOSPHOROTHIOATE) (DIMETHYL 2,2,2-TRICHLORO-1-HYDROXYETHYL
766. โอโอ-ไดเมทธิล-เอส(เอ็น-เมทธิลคารบาโมอิล) PHOSPHONATE)
เมทธิลฟอสฟอโรไดไธโอเอท 784. โอโอ-ไดเมทธิล-โอ-(2,4,5-ไตรคลอโรฟนิล)
(OO-DIMETHYL-S(N-METHYLCARBAMOYL) ฟอสฟอโรไธโอเอท
METHYLPHOSPHORODITHIOATE) (OO-DIMETHYL-O-(2,4,5-TRICHLOROPHENYL)
767. โอโอ-ไดเมทธิล-เอส(เอ็น-เมทธิลคารบาโมอิล เมทธิล) PHOSPHOROTHIOATE)
ฟอสฟอโรไธโอเอท 785. 2,6-ไดเมทธิล-4-ไตรเดซิลมอรโฟไลน
(OO-DIMETHYL-S(N-METHYLCARBAMOYL METHYL (2,6-DIMETHYL-4-TRIDECYLMORPHOLINE)
PHOSPHOROTHIOATE) 786. 2,2-ไดเมทธิลไตรเมทธิลลีน ไดอะครีเลท
768. ไดเมทธิล ซิส-1-เมทธิล-2-เมทธิลคารบาโมอิล ไวนิลฟอสเฟต (2,2-DIMETHYLTRIMETHYLENE DIACRELATE)
(DIMETHYL CIS-1-METHYL-2-METHYLCARBAMOYL 787. ไดมีทิแลน
VINYLPHOSPHATE) (DIMETILAN)

2-73
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
788. ไดมีแซน 811. ไดออกซะไธออน
(DIMEZAN) (DIOXATHION)
789. ไดเนกซ 812. 1,3-ไดออกโซเลน
(DINEX) (1,3-DIOXOLANE)
790. ไดเนกซ (เกลือและเอสเทอร) 813. 2-(1,3-ไดออกโซเลน-2-อิล) ฟนิล
(DINEX (SALTS AND ESTERS) (2-(1,3-DIOXOLANE-2-YL) PHENYL)
791. 2,4-ไดไนโตรอะนิลีน 814. ไดเพนทีน
(2,4-DINITROANILINE) (DIPENTENE)
792. ไดไนโตรเบนซีน 815. ไดฟนามิด
(DINITROBENZENE) (DIPHENAMID)
793. 4,6-ไดไนโตร-โอ-ครีซอล 816. ไดฟนิลอะมีน
(4,6-DINITRO-O-CRESOL) (DIPHENYLAMINE)
794. ไดไนโตรเจน เตตรอกไซด 817. ไดฟนิลมีเธน-4,41-ได-ไอโซไซยาเนท (1)
(DINITROGEN TETROXIDE) [DIPHENYLMETHANE-4,41-DI-ISOCYANATE (1)]
795. 2,6-ไดไนโตร-4-ออคทิลฟนิล และ 2,4-ไดไนโตร –6 818. ไดฟนิลมีเธน-4,41-ได-ไอโซไซยาเนท, โอโซเมอร
-ออคทิลฟนิล โครโทเนทส และโฮโมโลกัส
(2,6-DINITRO-4-OCTYLPHENYL AND 2,4-DINITRO-6 (DIPHENYLMETHANE-4,41-DISOCYANATE, ISOMERS
-OCTYLPHENYL CROTONATE) AND HOMOLOGOUS)
796. ไดไนโตรฟนอล 819. ได-เอ็น-โพรพิลีนอะมีน
(DINITROPHENOL) (DI-N-PROPYLAMINE)
797. ไดไนโตรโทลูอีน 820. ไดโพรพิลีนไตรอะมีน
(DINITROTOLUENE) (DIPROPYLENETRIAMINE)
798. ไดโนบิวทอน 821. ได-เอ็น-โพรพิล อีเธอร
(DINOBUTON) (DI-N-PROPYL ETHER)
799. ไดโนแคพ 822. ได-เอ็น-โพรพิล คีโตน
(DINOCAP) (DI-N-PROPYL KETONE)
800. ไดนอคทอน 823. ไดควอท และเกลือ
(DINOCTON) (DIQUAT AND SALTS)
801. 8,9-ไดนอรบอรน-5-อีน-2,3-ไดคารบอกซีลิค แอนไฮไดรด 824. ไดโซเดียม 3,6-อีพอกซีไซโคลเฮกเซน-1,2-ไดคารบอกซีเลท
(8,9-DINORBORN-5-ENE-2,3-DICARBOXYLIC (DISODIUM 3,6-EPOXYCYCLOHEXANE-1,2-
ANHYDRIDE) DICARBOXYLATE)
802. ไดโนแซม 825. ไดโซเดียม เอทธิลีนบิสไดไธโอคารบาเมท (นาแบม)
(DINOSAM) (DISODIUM ETHYLENEBISDITHIOCARBAMATE (NABAM))
803. ไดโนแซม (เกลือและเอสเทอร) 826. ไดซัลเฟอร ไดคลอไรด
(DINOSAM (SALTS AND ESTHERS) (DISULPHUR DICHLORIDE)
804. ไดโนเซบ 827. ไดไธอะนอน
(DINOSEB) (DITHIANON)
805. ไดโนเซบ (เกลือ และเอสเทอร) 828. ไดยูรอน
(DINOSEB (SALTS AND ESTHERS) (DIURON)
806. ไดโนเทอรบ 829. ดีเอ็นโอซี
(DINOTERB) (DNOC)
807. ไดโนเทอรบ (เกลือและเอสเทอร) 830. ดีเอ็นโอซี (เกลือแอมโมเนียม)
(DINOTERB (SALTS AND ESTHERS) (DNOC (AMMONIUM SALT))
808. ไดออกซาคารบ 831. ดีเอ็นโอซี (เกลือโปแตสเซียม)
(DIOXACZRB) (DNOC (POTASSIUM SALT))
809. 1,4-ไดออกแซน 832. ดีเอ็นโอซี (เกลือโซเดียม)
(1,4-DIOXAN) (DNOC (SODIUM SALT))
810. 1,4-ไดออแซน-2,3-ไดอิล บิส 833. โดดีน (โดเดซิลกัวนิดีน อะซีเตท)
(โอโอ-ไดเมทธิล ฟอสฟอโรไดไธโอเอท) [DODINE (DODECYLGUANIDINE ACETATE)]
(1,4-DIOXAN-2,3-DIYL BIS (OO-DIMETHYL 834. ดราซอกโซลอน
PHOSPHORODITHIOATE) (DRAZOXOLON)

2-74
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
835. เอ็นโดซัลแฟน 860. เอทธาโนลามีน
(ENDOSULFAN) (ETHANOLAMINE)
836. เอ็นโดธาล-โซเดียม 861. เอทโธเอท-เมทธิล
(ENDOTHAL-SODIUM) (ETHOATE-METHYL)
837. เอ็นโดไธออน 862. 2-เอทธอกซีอะนิลีน
(ENDOTHION) (2-ETHOXYANILINE)
838. เอ็นดริน 863. 4-เอทธอกซีอะนิลีน
(ENDRIN) (4-ETHOXYANILINE)
839. อีฟดรีน 864. 6-เอทธอกซี-1,2-ไดไฮโดร-2,2,4-ไตรเมทธิลควิโนลีน
(EPHEDRINE) (6-ETHOXY-1,2-DIHYDRO-2,2,4 TRIMETHYLQUINOLINE)
840. อีฟดรีน (เกลือ) 865. 2-เอทธอกซีเอทธานอล
[EPHEDRINE (SALTS)] (2-ETHOXYETHANOL)
841. อีพิคลอโรไฮดริน 866. 2-เอทธอกซีเอทธิล อะซีเตท
(EPICHLOROHYDRIN) (2-ETHOXYETHYL ACETATE)
842. 1,2-อีพอกซี-4-อีพอกซีเอทธิลไซโคลเฮกเซน 867. เอทธอกซีควิน
(1,2-EPOXY-4-EPOXYETHYLCYCLOHEXANE) (ETHYLAMINE)
843. 1,2-อีพอกซี-3-ฟนอกซีโพรเพน 868. เอทธิล อะซีเตท
(1,2-EPOXY-3-PHENOXYPROPANE) (ETHYL ACETATE)
844. 1,2-อีพอกซีโพรเพน 869. เอทธิล อะครีเลท
(1,2-EPOXYPROPANE) (ETHYL ACRELATE)
845. 2,3-อีพอกซี-1-โพรพานอล 870. เอทธิลอะมีน
(2,3-EPOXY-1-PROPANOL) (ETHYLAMINE)
846. 1,3-บิส (2,3-อีพอกซีโพรพอกซี) เบนซีน 871. 2-เอทธิลอะมิโน-4-ไอโซโพรพิลอะมิโน-6-เมทธิลไธโอ
(1,3-BIS(2,3-EPOXYPROPOXY) BENZENE) 1,3,5-ไตรอะซีน
847. 1,4-บิส (2,3-อีพอกซีโพรพอกซี) บิวเทน (2-ETHYLAMINO-4-ISOPROPYLAMINO-6-METHYLTHIO
(1,4-BIS(2,3-EPOXYPROPOXY) BUTANE) 1,3,5-TRIAZINE)
848. บิส (4-(2,3-อีพอกซีโพรพอกซี) ฟนิล) โพรเพน 872. เอ็น-เอทธิลอะนิลีน
(BIS (4-(2,3-EPOXYPROPOXY) PHENYL) PROPANE) (N-ETHYLANILINE)
849. 2,3-อีพอกซีโพรพิล อะครีเลท 873. เอทธิล เบนซีน
(2,3-EPOXYPROPYL ACRELATE) (ETHYL BENZINE)
850. 2,3-อีพอกซีโพรพิล-2-เอทธิลไซโคลเฮกซิล อีเธอร 874. เอทธิล โบรไมด
(2,3-EPOXYPROPYL-2-ETHYLCYCLOHEXYL ETHER) (ETHYL BROMIDE)
851. 2,3-อีพอกซีโพรพิล เมทธาครีเลท 875. เอทธิล โบรโมอะซีเตท
(2,3-EPOXYPROPYL METHACRELATE) (ETHYL BROMOACETATE)
852. 1,2-อีพอกซี-3-(โทลิลออกซี) โพรเพน 876. 2-เอทธิลบิวทาน-1-ออล
(1,2-EPOXY-3-(TOLIOXY) PROPANE) (2-ETHYLBUTAN-1-OL)
853. อีพีทีซี (เอส-เอทธิล ไดโพรพิลไธโอคารบาเมท) 877. เอส-(เอ็น-เอทธิลคารบาโมอิลเมทธิล) โอโอ-ไดเมทธิล
(EPTC (S-ETHYL DIPROPYL THIOCARBAMATE)) ฟอสฟอโรไดไธโอเอท
854. เออรบอน (2-(2,4,5-ไตรคลอโรฟนอกซี) (S-(N-ETHYLCARBAMOYLMETHYL) OO-DIMETHYL
เอทธิล 2,2-ไดคลอโรโพรพิโอเนท PHOSPHORODITHIOATE)
(ERBON (2-(2,4,5-TRICHLOROPHENOXY) ETHYL 2, 878. เอทธิล คลอไรด
2-DICHLOROPROPIONATE))] (ETHYL CHLORIDE)
855. อีเธน 879. เอทธิล คลอโรอะซีเตท
(ETHANE) (ETHYL CHLOROACETATE)
856. อีเธนไดออล 880. เอทธิล คลอโรอะซีเตท
(ETHANEDIOL) (ETHYL CHLOROACETATE)
857. อีเธน-1,2-ไดโอน 881. เอทธิลไซโคลเฮกซิลไกลซิดิล อีเธอร
(ETHANE-1,2-DIONE) (ETHYLCYCLOHEXYL GLYCIDYL ETHER)
858. อีเธนไธออล 882. เอทธิลไดเมทธิลอะมีน
(ETHANETHIOL) (ETHYLDIMETHYLAMINE)
859. เอทธานอล (เอทธิล แอลกอฮอล) 883. เอทธิลีน
[ETHANOL (ETHYL ALCOHOL)] (ETHYLENE)

2-75
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
884. เอทธิลีน คลอโรไฮดริน 910. โอ-เอทธิล โอ-4-ไนโตรฟนิล ฟอสฟอโนไธโอเอท
(ETHYLENE CHLOROHYDRIN) (O-ETHYL O-4-NITROPHENYL PHOSPHONOTHIOATE)
885. เอทธืลีน ไดอะมีน 911. โอ-เอทธิล เอส-ฟนิล เอทธิล ฟอสฟอโนไดไธโอเอท
(ETHYLENE DIAMINE) (O-ETHYL S-PHENYL ETHYL PHOSPHONODITHIOATE)
886. เอทธิลีน ไดโบรไมด 912. เอทธิล โพรพิโอเนท
(ETHYLENE DIBROMIDE) (ETHYL PROPIONATE)
887. เอทธิลีน ไดคลอไรด 913. เอทธิล ซิลิเคท
(ETHYLENE DICHLORIDE) (ETHYL SILICATE)
888. เอทธิลีน ไดเมทธาครีเลท 914. เอส-(2-(เอทธิลซัลไฟนิล) เอทธิล) โอโอ-ไดเมทธิล
(ETHYLENE DIMETHACRELATE) ฟอสฟอโรไดโอเอท
889. เอทธิลีน ไดไนเตรท (S-(2-(ETHYLSULPHONYL) ETHYL) OO-DIMETHYL
(ETHYLENE DINITRATE) PHOSPHORODIOATE)
890. 2,21-(เอทธิลีนไดออกซีน) ไดเอทธิล ไดอะครีเลท 915. เอทธีน
(2,21-(ETHYLENEDIOXINE) DIETHYL DIACRELATE) (ETHYNE)
891. เอทธิลีน ไกลคอล 916. ฟนามิโนซัลฟ
(ETHYLENE GLYCOL) (FENAMINOSULF)
892. เอทธิลีน ไกลคอล ไดเมทธาครีเลท 917. ฟนาซาฟลอร
(ETHYLENE GLYCOL DIMETHACRELATE) (FENOZAFLOR)
893. เอทธิลีน ไกลคอล ไดเมทธิล อีเธอร 918. เฟนคลอรฟอส
(ETHYLENE GLYCOL DIMETHYL ETHER) (FENCHLORPHOS)
894. เอทธิลีน ไกลคอล โมโนบิวทิล อีเธอร 919. ฟโนไตรไธออน
(ETHILENE GLYCOL MONOBUTYL ETHER) (FENOTRITHEON)
895. เอทธิลีน ไกลคอล โมโนเอทธิล อีเธอร 920. ฟโนพรอพ
(ETHYLENE GLYCOL MONOETHYL ETHER) (FENOPROP)
896. เอทธิลีน ไกลคอล โมโนไอโซโพรพิล อีเธอร 921. ฟโนพรอพ (เกลือ)
(ETHYLENE GLYCOL MONOISOPROPYL ETHER) (FENOPROP (SALTS))
897. เอทธิลีน ไกลคอล โมโนเมทธิล อีเธอร 922. เฟนซัน
(ETHYLENE GLYCOL MONOMETHYL ETHER) (FENSON)
898. เอทธิล ฟอรเมท 923. เฟนซัลโฟไธออน
(ETHYL FORMATE) (FENSULFOTHION)
899. เอทธิลไกลคอล อะซีเตท 924. เฟนไธออน
(ETHYL GLYCOL ACETATE) (FENTHION)
900. 2-เอทธิลเฮกซิล อะครีเลท 925. เฟนทิน อะซีเตท
(2-ETHYLHEXYL ACRELATE) (FENTIN ACETAE)
901. เอทธิลลิดีน คลอไรด 926. เฟนทิน ไฮดรอกไซด
(ETHYLIDINE CHLORIDE) (FENTIN HYDROXIDE)
902. เอทธิล แลคเตท 927. ฟลูออรีน
(ETHYL LACTATE) (FLUORINE)
903. เอทธิล เมอรแคพแทน 928. ฟลูออโรอะเซตาไมด
(ETHYL MERCAPTAN) (FLUOROACETAMIDE)
904. เอทธิล เมทธาครีเลท 929. ฟลูออโรอะซีเตท (สารละลาย)
(ETHYL METHACRELATE) (FLUOROACETAMIDE (SOLUBLE))
905. เอทธิล เมทธิล อีเธอร 930. กรดฟลูออโรบอริค
(ETHYL METHYL ETHER) (FLUOROBORIC ACID)
906. เอทธิล เมทธิล คีโตน 931. เอ็น-(ฟลูออโรไดคลอโรเมทธิลไธโอ) พธาลิไมด
(ETHYL METHYL KETONE) [N-(FLUORODICHLOROMETHYLTHIO) PTHALIMIDE)
907. เอทธิล เมทธิล คีโตน ออกซิม 932. 2-ฟลูออโรเอทธิล ไบฟนิล-4-อิลอะซีเตท
(ETHYL METHYL KETONE OXIME) (2-FLUOROETHYL BIPHENYL-4-YLACETATE)
908. เอทธิล เมทธิล ดีตอกซิม 933. ฟลูออโรซิลิเคทส
(ETHYL METHYL DETOXIME) (FLUOROSILICATES)
909. เอทธิล ไนไตรท 934. กรดฟลูออโรซิลิซิค
(ETHYL NITRILE) (FLUOROSILICIC ACID)

2-76
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
935. กรดฟลูออโรซัลโฟนิค 960. เฮฟตะคลอร อีพอกไซด
(FLUOROSULPHONIC ACID) (HEPTACHLOR EPOXIDE)
936. โฟโนฟอส 961. 1,4,5,6,7,8,8-เฮพตะคลอร-2,3-อีพอกซี-3เอ,4,7,
(FONOFOS) 7เอ เตตระไฮโดร-4,7-มีธาโนอินเดน
937. ฟอรมีทาเนท (1,4,5,6,7,8,8-HEPTACHLOR-2,3-EPOXY-3A,4,7,7A
(FORMETANATE) TETRAHYDRO-4,7-METHANOINDANE)
938. กรดฟอรมิค 962. 1,4,5,6,7,8,8-เฮพตะคลอร-3เอ,4,7,7เอ เตตระไฮโดร
(FORMIC ACID) -4,7-มีธาโนอินดีน
939. ฟอรโมไธออน (1,4,5,6,7,8,8-HEPTACHLOR-3A,4,7,7A TETRAHYDRO
(FORMOTHION) -4,7-METHANOINDINE)
940. เอส-(เอ็น-ฟอรมิล-เอ็น-เมทธิลคารบาโมอิลบาโมอิลเมทธิล) 963. เฮพเทน
โอโอ-ไดเมทธิล ฟอสฟอโรไดไธโอเอท (HEPTANE)
(S-(N-FORMYL-N-METHYLCARBAMOYLBAMOYLMETHYL) 964. เฮพเทน-2-โอน
OO-DIMETHYL PHOSPHORODITHIOATE) (HEPTANE-2-ONE)
941. ฟวเบอริดาโซล 965. เฮพเทน-3-โอน
(FUBERRIDAZOLE) (HEPTANE-3-ONE)
942. ฟลูมิเนท ของปรอท 966. เฮพเทน-4-โอน
(FLUMINATE OF MERCURY) (HEPTANE-4-ONE)
943. กรดฟูมาริค 967. เฮกซะคลอโรฟน
(FUMARIC ACID) (HEXACHLOROPHENE)
944. ฟูมาริน 968. เฮกซะฟลูออโรโพรพีน
(FUMARIN) (HEXAFLUOROPROPINE)
945. 2-ฟวรัลดีไฮด 969. เฮกซะไฮโดรพธาลิค แอนไฮไดรด
(2-FURALDEHYDE) (HEXAHYDROPTHALIC ANHYDRIDE)
946. เฟอรฟวรัล 970. เฮกซะเมทธิลีน ไดอะครีเลท
(FURFURAL) (HEXAMETHYLENE DIACRELATE)
947. เฟอรฟวรัลดีไฮด 971. เฮกซะเมทธิลีน-ได-ไอโซไซยาเนท
(FURFURALDEHYDE) (HEXAMETHYLENE-DI-ISOCYANATE)
948. เฟอรฟวริล แอลกอฮอล 972. เฮกซะเมทธิล ฟอสฟอริค ไตรอะไมด
(FURFURYL ALCOHOL) (HEXAMETHYL PHOSPHORIC TRIAMIDE)
949. 2-(2-ฟวริล) เบนซิมิดาโซล 973. เฮกเซน
(2-(2-FURYL) BENZIMIDAZOLE) (HEXANE)
950. กลีเซอรอล ไตรไนเตรท 974. เฮกเซน-1,6-ไดออล ไดอะครีเลท
(GYLCEROL TRINITRATE) (HEXANE-1,6-DIOL DIACRELATE)
951. ไกลซีดอล 975. เกลือแอมโมเนียของเฮกซะไนโตรไดฟนิลอะมีน
(GLYCIDOL) (HEXANITRODIPHENYLAMINE AMMONIUM SALT0
952. ไกลซิดิล อะครีเลท 976. เฮกเซน-1-ออล
(GLYCIDYL ACRELATE) (HEXANE-1-OL)
953. ไกลซิดิล เมทธาครีเลท 977. เฮกเซน-2-โอน
(GLYCIDYL METHACRELATE) (HEXANE-2-OL)
954. ไกลออกซาล 978. เฮกซิล
(GYLOXAL) (HEXYL)
955. กัวนาดีน ไฮโดรคลอไรด 979. ไฮดราซีน
(GUANADINE HYDROCHLORIDE) (HYDRAZINE)
956. กัวนาดีน ไฮโดรคลอไรด 980. สารละลายไฮดราซีน
(GUANADINE HYDROCHLORIDE) (HYDRAZINE SOLUBLE)
957. กัวนาดิเนียม คลอไรด 981. กรดไฮโดรโอดิค
(GUANADINE CHLORIDE) (HYDRIODIC ACID)
958. เอชซีเอช (1,2,3,4,5,6-เฮกซะคลอโรไซโคลเฮกเซน) 982. กรดไฮโดรโบรมิค
(HCH (1,2,3,4,5,6-HEXACHLOROCYCLOHEXANE) (HYDROBROMIC ACID)
959. เฮฟตะคลอร 983. กรดไฮโดรคลอริค
(HEPTACHLOR) (HYDROCHLORIC ACID)

2-77
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
984. กรดไฮโดรไซยานิค 1008. 2,21-อิมมิโนไดเอทธานอล
(HYDROCYANIC ACID) (2,21-IMMINODIETHANOL)
985. กรดไฮโดรฟลูออริค 1009. 2,21-อิมมิโนไดเอทธิลอะมีน
(HYDROFLUORIC ACID) (2,21-IMMINODIETHYLAMINE)
986. ไฮโดรเจน โบรไมด แอนไฮดรัส 1010. 1,11-อิมมิโนไดโพรพาน-2-ออล
(HYDROGEN BROMIDE ANHYDRUS) (1,11-IMMINODIPROPAN-2-OL)
987. ไฮโดรเจน คลอไรด แอนไฮดรัส 1011. 3,31-อิมมิโนโพรพิลอะมีน
(HYDROGEN CHLORIDE ANDYDRUS) (3,31-IMMINOPROPYLAMINE)
988. ไฮโดรเจน ไซยาไนด (เกลือ) 1012. ไอโอดีน
(HYDROGEN CYANIDE (SALTS)) (IODINE)
989. ไฮโดรเจนฟลูออไรด แอนไฮดรัส 1013. กรดไอโอโดอะซีติค
(HYDROGEN FLUORIDE ANHYDRUS) (IODOACETIC ACID)
990. ไฮโดรเจน ไอโอไดด แอนไฮดรัส 1014. ไอโอโดอีเธน
(HYDROGEN IODIDE ANHYDRUS) (IODOETHANE)
991. ไฮโดรเจน เพอรออกไซด 1015. ไอโอดอกซีเบนซีน
(HYDROGEN PEROXIDE) (IODOXYBENZENE)
992. ไฮโดรควิโนน 1016. 3-ไอโอโดโพรพีน
(HYDROQUINONE) (3-IODOPROPENE)
993. 4-ไฮดรอกซี-3,5-ได-ไอโอโดเบนโซไนไตรล 1017. ไออกซีนิล
(4-HYDROXY-3,5-DI-IODOBENZONITRILE) (IOXYNYL)
994. 2-ไฮดรอกซีเอทธิล อะครีเลท 1018. ไอโซบิวทิล เมทธาครีเลท
(2-HYDROXYETHYL ACRELATE) (ISOBUTYL METHACRELATE)
995. 2-ไฮดรอกซีเอทธิล เมทธาครีเลท 1019. ไอโซบิวทิล อะครีเลท
(2-HYDROXYETHYL METHACRELATE) (ISOBUTYL ACRELATE)
996. 4-ไฮดรอกซี-4-เมทธิลเพนทาน-2-โอน 1020. ไอโซบิวทิล เมทธาครีเลท
(4-HYDROXY-4-METHYLPENTAN-2-ONE) (ISOBUTYL METHACRELATE)
997. 4-ไฮดรอกซี-3-(3-ออกโซ-1-(4-คลอโรฟนิล) บิวทิล) 1021. กรดไอโซบิวไทริค
คูมาริน (ISOBUTYRIC ACID)
[4-HYDROXY-3-(3-OXO-1-(4-CHLOROPHENYL) BUTYL) 1022. ไอโซบิวไทริค คลอไรด
CUMARIN] (ISOBUTYRIC CHLORIDE)
998. 4-ไฮดรอกซี-3-(3-ออกโซ-1-(2-ฟวริล) บิวทิล) คูมาริน 1023. 3-ไอโซไซยานาโตเมทธิล-3,5,
[4-HYDROXY-3-(3-OXO-1-(2-PURYL)BUTYL) 5-ไตรเมทธิลไซโคลเฮกซิล ไอโซไซนาเนท
CUMARIN] (3-ISOCYANATOMETHYL-3,5,5-
999. 4-ไฮดรอกซี-3-(3-ออกโซ-1-ฟนิลบิวทิล) คูมาริน TRIMETHYLCYCLOHEXYL ISOCYANATE)
[4-HYDROXY-3-(3-OXO-1-PHENYLBUTYL) CUMARIN] 1024. 4-ไอโซไซยานาโตซัลโฟนิลโทลูอีน
1000. ไฮดรอกซีโพรพิล อะครีเลท (4-ISOCYANATOSULPHONYLTOLUENE)
(HYDROXYPROPYL ACRELATE) 1025. ไอโซแลน
1001. ไฮดรอกซีโพรพิล เมทธาครีเลท (ISOLAN)
(HYDROXYPROPYL METHACRELATE) 1026. ไอโซเพนเทน
1002. 8-ไฮดรอกซีควิโนลีน ซัลเฟท (ISOPENTANE)
(8-HYDROXYQUINOLINE SULPHATE) 1027. ไอโซฟอโรน
1003. 4-ไฮดรอกซี-3-(1,2,3,4-เตตระไฮโดร-1-แนพธิล) คูมาริน (ISOPHORONE)
[4-HYDROXY-3-(1,2,3,4-TETRAHYDRO-1-NAPTHYL) 1028. ไอโซฟอโรน ไดอะมีน
CUMARIN] (ISOPHORONE DIAMINE)
1004. ไฮออสซีน 1029. ไอโซฟอโรน ได-ไอโซไซยาเนท
(HYOSCINE) (ISOPHORONE DI-ISOCYANATE)
1005. ไฮออสซีน (เกลือ) 1030. ไอโซพรีน
[HYOSCINE(SALTS) ] (ISOPRINE)
1006. ไฮออสไซยาไมน 1031. ไอโซโพรพาโนลามีน
(HYOSCYAMIDE) (ISOPROPANOLAMINE)
1007. ไฮออสไซยาไมน (เกลือ) 1032. ไอโซโพรพีนิลเบนซีน
[HYOSCYAMIDE (SALTS)] (ISOPROPENYLBENZENE)

2-78
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
1033. 2-ไอโซโพรพอกซีเอธานอล 1056. ลิเทียม
(2-ISOPROPOXYETHANOL) (LITHIUM)
1034. 2-ไอโซโพรพอกซีฟนิล เมทธิลคารบาเมท 1057. แมกนีเซียม อัลคิล
(2-ISOPROPOXYPHENYL METHYLCARBAMATE) (MAGNESIUM ALKYKS)
1035. ไอโซโพรพิล อะซีเตท 1058. แมกนีเซียม ฟอสไฟด
(ISOPROPYL ACETATE) (MAGNESIUM PHOSPHIDE)
1036. ไอโซโพรพิล แอลกอฮอล 1059. ผงแมกนีเซียม
(ISOPROPYL ALCOHOL) (MAGNESIUM POWDER (PYROPHORIC))
1037. ไอโซโพรพิลอะมีน 1060. แมกนีเซียม เทอรนนิ่ง
(ISOPROPYLAMINE) (MAGNESIUM TURNINGS)
1038. 2-ไอโซโพรพิลอะมิโน-4-เมทธิลอะมิโน-6 1061. มาลาไธออน
-เมทธิลไธโอ 1,3,5-ไตรอะซีน (MALATHION)
(2-ISOPROPYLAMINO-4-METHYLAMINO-6 1062. กรดมาลีอิค
-METHYLTHIO 1,3,5-TRIAZINE) (MALEIC ACID)
1039. ไอโซโพรพิลเบนซีน 1063. มาลีอิค แอนไฮไดรด
(ISOPROPYLBENZENE) (MALEIC ANHYDRIDE)
1040. ไอโซโพรพิล ฟอรเมท 1064. มาโลโนไนไตรล
(ISOPROPYL FORMATE) (MALONONITRILE)
1041. 3-ไอโซโพรพิล-5-เมทธิลฟนิล เมทธิลคารบาเมท 1065. แมงกานีสไดออกไซด
(3-ISOPROPYL-5-METHYLPHENYL METHYLCARBAMATE) (MANGANESE DIOXIDE)
1042. 1-ไอโซโพรพิล-3-เมทธิลไพราซอล-5-อิล ไดเมทธิลคารบาเมท 1066. แมนนิทอล เฮกซะไนเตรท
(1-ISOPROPYL-3-METHYLPYRAZOL-5-YL (MANNITOL HEXANITRATE)
DIMETHYLCARBAMATE) 1067. เอ็มซีพีเอ (เกลือและเอสเทอร)
1043. เอส-{2-(ไอโซโพรพิลซัลไฟนิล) เอทธิล } โอไอ-ไดเม (MCPA (SALTS AND ESTHERS)
ทธิลฟอสฟอโรไธโอเอท 1068. เอ็มซีพีบี (เกลือและเอสเทอร)
(S-(2-ISOPROPYLSULPHINYL) ETHYL) OO-DIMETHYL (MCPB (SALTS AND ESTHERS)
PHOSPHOROTHIOATE) 1069. มีคารแบม
1044. คีลีแวน (MECARBAM)
(KELEVAN) 1070. มีโคพรอพ
1045. แลค อัลคิล (MECOPROP)
(LAC ALKYLS) 1071. มีโคพรอพ (เกลือ)
1046. เลด อะไซด (MECOPROP (SALTS))
(LEAD AZIDE) 1072. มีนาซอน
1047. เลด โครเมท (MENOZON)
(LEAD CROMATE) 1073. พี-เมนธา-1,8(9)-ไดอีน
1048. ตะกั่ว (สารประกอบ) (p-MENTHA-1,8(9)-DIENE)
(LEAD (COMPOUNDS)) 1074. พี-เมนเธน ไฮโดรเพอรออกไซด
1049. เลด เฮกซะฟลูออโรซิลิเคท (p-MENTHANE HYDROPEROXIDE)
(LEAD HEXAFLUOROSILICATE) 1075. 8-พี-เมนธิล-ไฮโดรเพอรออกไซด
1050. เลด สไตฟเนท (8-p-MENTHYL-HYDROPEROXIDE)
(LEAD STYPHNATE) 1076. มีฟอสโฟแลน
1051. เลด 2,4,6-ไตรไนโตรรีซอรีซินอกไซด (MEPHOSPHOLAN)
(LEAD 2,4,6-TRINITRORESORCINOXIDE) 1077. เมอรคิวริค ฟูลมิเนท
1052. เลพโตฟอส (MERCURIC FULMINATE)
(LEPTOPHOS) 1078. เมอรคิวริค ออกซีไซยาไนด
1053. ลินเดน (MERCURIC OXYCYANIDE)
(LINDANE) 1079. เมอรคิวรัส คลอไรด
1054. ไลนูรอน (MERCURUS CHLORIDE)
(LINURON) 1080. ปรอท
1055. อากาศเหลว (MERCURY)
(LIQUID AIR) 1081. เมอรคิวรี อัลคิล
(MERCURY ALKYL)

2-79
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
1080. ปรอท 1105. 4-เมทธอกซี-4-เมทธิลเพนทาน-2-โอน
(MERCURY) (4-METHOXY-4-METHYLPENTAN-2-ONE)
1081. เมอรคิวรี อัลคิล 1106. 4-เมทธอกซี-2-ไนโตรอะนิลีน
(MERCURY ALKYL) (4-METHOXY-2-NITROANILINE)
1082. ปรอท (สารประกอบอนินทรีย) 1107. 1-เมทธอกซี-2-โพรพานอล
(MERCURY (INORGANIC COMPOUNDS)) (1-METHOXY-2-PROPANOL)
1083. ปรอท (สารประกอบอินทรีย) 1108. เอส-(5-เมทธอกซี-4-ไพรอน-2-อิลเมทธิล)
(MERCURY (ORGANIC COMPOUNDS)) (S-(5-METHOXY-4-PYRON-2-YLMETHYL)
1084. เมสิทิล ออกไซด 1109. บิส (เมทธอกซีไธโอคารบาโมอิล) ไดซัลไฟต
(MESITYL OXIDE) (BIS (METHOXYTHIOCARBAMOYL) DISULPHIDE)
1085. เมทัลดีไฮด 1110. เมทธิล อะซีเตท
(METALDEHYDE) (METHYL ACETATE)
1086. กรดเมทานิลิค 1111. เมทธิล อะซีโตอะซีเตท
(METANILIC ACID) (METHYL ACETOACETATE)
1087. เมทธาครีเลท 1112. เมทธิล อะครีเลท
(METHACRELATE) (METHYL ACRELATE)
1088. กรดเมทธาครีลิค 1113. เมทธิลอะมีน (โมโน, ได และไตร)
(METHACRELATE ACID) [METHYLAMINE (MONO, DI AND TRI)
1089. เมทธาครีโลไนไตรล 1114. 2-เมทธิลอะมิโนเอทธานอล
(METHACRELONITRILE) (2-METHYLAMINOETHANOL)
1090. เมทัลลิล คลอไรด 1115. เอ็น-เมทธิล-2-อะมิโน เอทธานอล
(METHALLYL CHLORIDE) (N-METHYL-2-AMINO ETHANOL)
1091. เมทธามิโดฟอส 1116. เอ็น-เมทธิลอะนิลีน
(METHAMIDOPHOS) (N-METHYLANILINE)
1092. มีแธม-โซเดียม 1117. 2-เมทธิลอะซิริดีน
(METHAM-SODIUM) (2-METHYLAZIRIDINE)
1093. มีเธน 1118. เมทธิลโบรไมด
(METHANE) (METHYLBROMIDE)
1094. กรดมีเธนซัลโฟนิค 1119. 2-เมทธิลบิวตะ-1,3-ไดอีน
(METHANESULPHONIC ACID) (2-METHYLBUTA-1,3-DIENE)
1095. มีเธนไธออล 1120. 2-เมทธิลบิวทาน-2-ออล
(METHANETHIOL) (2-METHYLBUTAN-2-OL)
1096. เมทธานอล (เมทธิล แอลกอฮอล) 1121. 3-เมทธิลบิวทาน-2-โอน
(METHANOL (METHYL ALCOHLO)) (3-METHYLBUTAN-2-ONE)
1097. เมทไธดาไธออน 1124. เมทธิล คลอไรด
(METHIDATHION) (METHYL CHLORIDE)
1098. เมทไธโอคารบ 1125. เมทธิล 2-คลอโร-3(4-คลอโรฟนิล) โพรพิโอเนท
(METHIOCARB) (METHYL 2-CHLORO-3(4-CHLOROPHENYL)
1099. 2-เมทธอกซีอะนิลีน PROPIONATE)
(2-METHOXYANILINE) 1126. เมทธิล คลอโรฟอรม
1100. 4-เมทธอกซีอะนิลีน (METHYL CHLOROFORM)
(4-METHOXYANILINE) 1127. เมทธิล คลอโรฟอรเมท
1101. 2-เมทธอกซีคารบอนิล-1-เมทธิลไวนิล ไดเมทธิล ฟอสเฟต (METHYL CHLOROFORMATE)
(2-METHOXYCARBONYL-1-METHYLVINYL DIMETHYL 1128. เมทธิล ไซโคลเฮกเซน
PHOSPHATE) (METHYL CYCLOHEXANE)
1102. 2-เมทธอกซีเอทธานอล 1129. 2-เมทธิลไซโคลเฮกซะนอล
(2-METHOXYETHANOL) (2-METHYLCYCLOHEXANOL)
1103. 2-เมทธอกซีเอทธิล อะซีเตท 1130. 2-เมทธิลไซโคลเฮกซะโนน
(2-METHOXYETHYL ACETATE) 1104. เอส-(N-2-เมทธอกซี (2-METHYLCYCLOHEXANONE)
เอทธิลคารบาโมอิลเมทธิล) โอโอ-ไดเมทธิล ฟอสฟอโรไดไธโอเอท 1131. เอ็น-เมทธิล ไดเอทธาโนลามีน
(S-(N-2-METHOXYETHYLCARBAMOYLMETHYL) OO (N-METHYL DIETHANOLAMINE)
-DIMETHYL PHOSPHORODITHIOATE)

2-80
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
1132. 4,4'-เมทธิลีน บิส (2-คลอโรอะนิลีน) 1157. เมทธิล 2-(1-เมทธิลเฮพทิล) -4,6-ไดไนโตรพีนิล คารบอเนท
(4,4'- METHYLENE BIS (2-CHLOROANILINE)) (METHYL 2-(1-METHYLHAPTYL)4,6-DINITROPHENYL
1133. 4,4'-เมทธิลีน บิส (2-คลอโรอะนิลีน) (เกลือ) CARBONATE)
(4,4'- METHYLENE BIS (2-CHLOROANILINE)(SALTS)) 1158. 2-เมทธิล -2-เมทธิลไธไอโพรพิโอนัลดีไซด โอ-เมทธิลคาร
1134. 4,4'-เมทธิลีนไดอะนิลีน บาโมอิลออกซึม
(4,4'- METHYLENE DIANILINE) (2-METHYL-2-METHYLTHIOPROPIONALDEHYDE O
1135. เมทธิลีน ไดโบรไมด -METHYLCARBAMOYLOXIME)
(METHYLENE DIBROMIDE) 1159. 2-เมทธิลเพนเทน-2,4- ไดออล
1136. เมทธิลีน ไดคลอไรด (2-METHYLPENTANE-2,4--DIOL)
(METHYLENE DICHLORIDE) 1160. 4-เมทธิลเพนทาน-2-ออล
1137. 4,4'-เมทธิลีนได (ไซโคลเฮกซิล ไอโซไซยาเนท) (4-METHYLPENTAN-2-OL)
(4,4'-METHYLENEDI (CYCLOHEXYL ISOCYANATE) 1161. 4-เมทธิลเพนทาน-2-โอน
1138. 3,3'-เมทธิลีน (4-ไฮดรอกซีคูมาริน) (4-METHYLPENTAN-2-ONE)
(3,3'-METHYLENE (4-HYDROXYCUMARIN)) 1162. 4-เมทธิลเพนทาน-3 อีน-2-โอน
1139. 2,2-เมทธิลีน บิส -(3,4,6-ไตรคลอโรฟนอล) (4-METHYLPENTAN-3-ENE-2-ONE)
(2,2-METHYLENE BIS-(3,4,6-TRICHLOROPHENOL) 1163. 3-เมทธิล-พี-ฟนิลลีนไดอะมีน ซัลเฟท
1140. เอ็น-เมทธิล-2-เอทธาโนลามีน (3-METHYL-P-PHENYLENEDIAMINE SULPHATE)
(N-METHYL-2-ETHANOLAMINE) 1164. 4-เมทธิล-เอ็น-ฟนิลลีนไดอะมีน ซัลเฟท
1141. เมทธิล เอทธิล คีโตน (4-METHYL-N-PHENYLENEDIAMINE SULPHATE)
(METHYL ETHYL KETONE) 1165. 2-เมทธิลโพรพาน-2-ออล
1142. เมทธิล ฟอรเมท (2-METHYLPROPAN-2-OL)
(METHYL FORMATE) 1166. 2-เมธิล -2-โพรพีน ไนไตรล
1143. เมทธิลไกลคอล อะซีเตท (2-METHYL-2-PROPENE NITRILE)
(METHYLGLYCOL ACETATE) 1167. กรด 2-เมทธิลโพรพีโนอิค
1144. 5-เมทธิลแฮพทาน-3-โอน (2-METHYLPROPINOIC ACID)
(5-METHYLHAPTAN-3-ONE) 1168. เมทธิลโพรพิโอเนท
1145. 5-เมทธิลเฮกซาน-2-โอน (METHYLPROPIONATE)
(5-METHYLHEXAN-2-ONE) 1169. 3-เมทธิลไพราซอล-5-อิล-ไดเมทธิลคารบาเมท
1146. 1-เมทธิลอิมมิดาโซล (3-METHYLPIRAZOL-5-YL-DIMETHYLCARBAMATE)
(1-METHYLIMMIDAZOLE) 1170. 2-เมทธิลไพริดีน
1147. 2,2'-(เมทธิลอิมมิโน) ไดเอทธานอล (2-METHYLPIRIDINE)
(2,2'-(METHYLIMMINO) DIETHANOL) 1171. 4-เมทธิลไพริดีน
1148. เมทธิล ไอโอไดด (4-METHYLPIRIDINE)
(METHYL IODIDE) 1172. เอ็น-เมทธิล-2-ไพรโรลิโดน
1149. เมทธิล ไอโซเอมิล คีโตน (N-METHYL-2-PIROLIDONE)
(METHYL ISOAMYL KETONE) 1173. แอลฟา-เมทธิลสไตรีน
1150. เมทธิล ไอโซบิวทิล คารบินอล (a ,-METHYLSTYRENE)
(METHYL ISOBUTYL CARBINOL) 1174. โอ-เมทธิลสไตรีน
1151. เมทธิลไอโซบิวทิล คีโตน (O-METHYLSTYRENE)
(METHYLISOBYTYL KETONE) 1175. เมทธิล-2,3,5,6-เตตระคลอโร-4,-ไพริดิล ซัลโฟน
1152. เมทธิล ไอโซโพรพิล คีโตน (METHYL-2,3,5,6-TETRACHLORO-4,-PYRIDYL
(METHYL ISOPROPYL KETONE) SULPHONE)
1153. เมทธิล ไอโซไธโอไซยาเนท 1176. เอ็น-เมทธิลโทลูอิดีน
(METHYL ISOTHIOCYANATE) (N-METHYLTOLUIDINE)
1154. เมทธิล แลคเตท 1177. เมทธิลไตรคลอโรไซเลน
(METHYL LACTATE) (METHYLTRICHLOROCYLANE)
1155. เมทธิล เมอรแคพแทน 1178. 1-เมทธิลไตรเมทธีลีน ไดอะครีเลท
(METHYL MERCAPTAN) (1-METHYLTRIMETHYLENE DIACRELATE)
1156. เมทธิล เมทธาครีเลท 1179. เมทธิล ไวนิล อีเธอร
(METHYL METHACRELATE) (METHYL VINYL ETHER)
1180. เมทธอกซูรอน
(METHOXURON)

2-81
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
1181. ไมพาฟอกซ 1207. 2-ไนโตร-พี-อะนิซิดีน
(MIPAFOX) (2-NITRO-P-ANISIDINE)
1182. โมโนโครโตฟอส 1208. ไนโตรเบนซีน
(MONOCROTOPHOS) (NITROBENZENE)
1183. โมโนไลนูรอน 1209. ไนโตรเซลูโลส
(MONOLINURON) (NITROCELLULOSE)
1184. โมโนโพรพิลีน ไกลคอล เมทธิล อีเธอร 1210. ไนโตรอีเธน
(MONOPROPYLENE GLYCOL METHYL ETHER) (NITROETHANE)
1185. มอรแฟมควอท และเกลือ 1211. ไนโตรเจน ไดออกไซด
(MERFAMQUAT AND SALTS) (NITROGEN DIOXIDE)
1186. มอรโฟไลน 1212. ไนโตรแมนไนท
(MORPHOLINE) (NITROMANNITE)
1187. มอรโฟไธออน 1213. ไนโตรมีเธน
(MORPHOTHION) (NITROMETHANE)
1188. 2-แนพธอล 1214. 2-ไนโตรแนพธาลีน
(2-NAPTHOL) (2-NITRONAPTHALENE)
1189. บี-แนพธอล 1215. 4-ไนโตรฟนอล
(B-NAPTHOL) (4-NITROPHENOL)
1190. กรด 1- แนพธิลอะซีติค 1216. พี-ไนโตรฟนอล
(1-NAPTHYLACETIC ACID) (P-NITROPHENOL)
1191. 1-แนพธิลอะมีน 1217. 1-ไนโตรโพรเพน
(1-NAPTHYLAMINE) (1-NITROPROPANE)
1192. แอลฟา-แนพธิลอะมีน 1218. 2-ไนโตรโพรเพน
(a -NAPTHYLAMINE) (2-NITROPROPANE)
1193. 2-แนพธิลอะมีน (เกลือ) 1219. 4-ไนโตรโซอะนิลีน
(2-NAPTHYLAMINE (SALTS)) (4-NITROSOANILINE)
1194. 1,5-แนพธิลีน ได-ไอ โซไซยาเนท 1220. เอ็น-ไนโตรโซไดเมทธิลอะมีน
(1,5-NAPTHYLENE DI-ISOCYANATE) (N-NITROSODIMETHYLAMINE)
1195. แนพธิลอินแดนไดออน 1221. 2-ไนโตรโทลูอีน
(NAPTHYLINDANDION) (2-NITROTOLUENE)
1196. 2-(1-แนพธิล) อินแดน-1,3-ไดโอน 1222. 4-ไนโตรโทลูอีน
(2-(1-NAPTHYL)INDAN-1,3-DIONE) (4-NITROTOLUENE)
1197. 1-แนพธิล เมทธิลคารบาเมท 1223. ไนโตรโทลูอิดีน
(1-NAPTHYL METHYLCARBAMATE) (NITROTOLUIDENE)
1198. 1-(1-แนพธิล)-2-ไธโอยูเรีย, (เอเอ็นทียู) 1224. นอรบอรไมด
(1-(1-NAPTHYL)-2-THIOUREA,(ANTU) (NORBORMIDE)
1199. นีโอเพนเทน 1225. ออคตะเมทธิลไพโรฟอสฟอราไมด
(NEOPENTANE) (OCTAMETHYLPIROPHOSPHOROMIDE)
1200. นีโอเพนทิล ไกลคอล ไดอะครีเลท 1226. ออคเทน
(NEOPENTYL GLYCOL DIACRELATE) (OCTANE)
1201. นิโคติน 1227. โอเลียม
(NICOTIN) (OLEUM)
1202. นิโคติน (เกลือ) 1228. โอมีโธเอท
(NICOTIN (SALTS)) (OMETHOATE)
1203. กรดไนตริค 1229. กรดออโธฟอสฟอริค
(NITRIC ACID) (ORTHOPHOSPHORIC ACID)
1204. กรดไนตริคและซัลฟูริค (สารผสม) 1230. กรดออสมิค
(NITRIC ACID AND SULPHURIC ACID (MIXTURE)) (OSMIC ACID)
1205. 5-ไนโตรอะซีแนพธีน 1231. ออสเมียม เตตรอกไซด
(5-NITROACENAPHTHENE) (OSMIUM TETROXIDE)
1206. ไนโตรอะนิลีน 1232. เออรเบน
(NITROANILINE) (OUABAIN)

2-82
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
1233. กรดออซาลิค 1259. กรดเพรอรอะซีติค
(OXALIC ACID) (PERACETIC ACID)
1234. ออกซาลิค แอซิดไดเอทธิลเอสเทอร 1260. กรดเพอรคลอริค
(OXALIC ACID DIETHYLESTER) (PERCHLORIC ACID)
1235. กรดออกซาลิค (เกลือ) 1261. เพอรคลอโรเอทธิลีน
(OXALIC ACID (SALTS)) (PERCHLOROETHYLENE)
1236. ออกไซเรน 1262. ปโตรเลียม และโคลทาร ดิสทิลเลทส
(OXIRANE) (PETROLEUM AND COAL TAR DISTILLATES)
1237. ออกซีดีมีทอน-เมทธิล 1263. โอ-ฟนีทิดีน
(OXYDEMETON-METHYL) (o-PHENETIDINE)
1238. 2,2'-ออกซีไดเอทธิล ไดอะครเลท 1264. พี-ฟนีทิดีน
(2,2'-OXYDIETYL DIACRYLATE) (P-PHENETIDINE)
1239. ออกซีไดเอทธิลีน บิส (คลอโรฟอรเมท) 1265. เฟนแคพทัน
(OXYDIETHYLENE BIS (CHLOROFORMAE)) (PHENKAPTON)
1240. พาพาเวอรีน 1266. ฟนอล
(RARAVERINE) (PHENOL)
1241. พาพาเวอรีน (เกลือ) 1267. เฟนโธเอท
(PAPAVERINE) (PHENTHOATE)
1242. พารัลดีไฮด 1268. ผีนอล 5,6-ไดคลอโร-2-ไตรฟลูออโรเทธิล
(PARALDEHYDE) เบนซิมิดาโซล-1-คารบอกซีเลท
1243. พาราควอท และเกลือ (PHENYL 5,6-DICHLORO-2-
(PARAQUAT AND SALTS) TRIFLUOROMETHYLBENZIMIDAZOLE-1
1244. พีซีบี -CARBOXYLATE)
(PCB) 1269. ฟนิลลีนไดอะมีน
1245. พีบูเลท (PHENYLENEDIAMINE)
(PEBULATE) 1270. เอ็ม-ฟนิลลีนไดอะมีน ไดไฮโดรคลอไรด
1246. เพนตะคลอโรอีเธน (m-PHENYLENEDIAMINE DIHYDROCHLORIDE)
(PENTACHLOROETHANE) 1271. พี-ฟนิลลีนไดอะมีน ไดไฮโดรคลอไรด
1247. เพนตะคลอโรแนพธาลีน (p-PHENYLENEDIAMINE DIHYDROCHLORIDE)
(PENTACHLORONAPHTHALENE) 1272. ฟนิล ไกลซิดิล อีเธอร
1248. เพนตะคลอโรฟนอล (PHENYL GLYCIDYL ETHER)
(PENTACHLOROPHEN0L) 1273. ฟนิลไฮดราซีน
1249. เพนตะอีรีไธรทอล เตตระอะครีเลท (PHENYLHYDRAZINE)
(PENTAERYTHRITOL TETRAITRATE (P.E.T.N.)) 1274. 1-ฟนอล-3-ไพราโซลิโดน
1250. เพนตะอีรีไธรทอล เตตระไนเตรท (พี.อี.ที.เอ็น) (1-PHENYL-3-PYRAZOLIDONE)
(PENTAERYTHITOL TRIACRYLATE) 1275. 6-ฟนิล-1,3,5-ไตรอะวีน-2,4-ไดอะมีน
1251. เพนตะอีรีไธรทอล ไตรอะครีเลท (6-PHENYL-1}3}5-TRIAZINE-2}4-DIAMINE)
(PENTAERYTHITOL TRIACRYLATE) 1276. ฟอสซาโลน
1252. เพนตะเอทธิลีนเฮกซะมีน (PHOSALONE)
(PENTAETHYLENEHEXAMINE) 1277. ฟอสจีน
1253. เพนเทน (PHOSGENE)
(PENTANE) 1278. ฟอสเมท
1254. เพนเทน-2,4-ไดโอน (PHOSMATE)
(PENTANE-2}4-DIONE) 1279. ฟอสนิคลอร
1255. เทอรท-เพนทานอล (PHOSNICHLOR)
(TERT-PENTANOL) 1280. กรดฟอสฟอริค
1256. เพนทาน-3-โอน (PHOSPHORIC ACID)
(PENTAN-3-ONE) 1281. ฟอสฟอรัส ออกซีคลอไรด
1257. เพนทิล อะซีเตท (PHOSPHORUS OXYCHLORIDE)
(PENTYL ACETATE) 1282. ฟอสฟอรัส เพนตะลอไรด
1258. เพนทิล โพรพิโอเนท (PHOSPHORUS PENTACHLORIDE)
(PENTYL PROPIONATE)

2-83
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
1283. ฟอสฟอรัส เพนตะซัลไฟต 1309. 2-พิวาโลอิลอินแดน-1,3-ไดโอน
(PHOSPHORUS PENTASULPHIDE) (2-PIVALOYLINDAN-1,3-DIONE)
1284. ฟอสฟอรัส เพนตอกไซด 1310. โพลีคลอโรไบฟนิลส
(PHOSPHORUS PENTOXIDE) (POLYCHLOROBIPHENYLS)
1285. ฟอสฟอรัส (แดง) 1311. โพลีเอทธิลีนอะมีนส
{(PHOSPHORUS, (RED)} (POLYETHYLENEAMINES)
1286. ฟอสฟอรัส เซสควิซัลไฟด 1312. โปแตสเซียม
(PHOSPHORUS SESQUISULPHIDE) (POTASSIUM)
1287. ฟอสฟอรัส ไตรโบรไมด 1313. โปแตสเซียม ไบฟลูออไรด
(PHOSPHORUS TRIBROMIDE) (POTASSIUM BIFLUORIDE)
1288. ฟอสฟอรัส ไตรคลอไรด 1314. โปแตสเซียม โบรเมท
(PHOSPHORUS TRICHLORIDE) (POTASSIUM BROMATE)
1289. ฟอสฟอรัส (ขาว) 1315. โปแตสเซียม คลอเรท
{(PHOSPHORUS (WHITE)} (POTASSIUM CHLORATE)
1290. ฟอสฟอริล คลอไรด 1316. โปแตสเซียม โครเมท
(PHOSPHORYL CHLORIDE) (POTASSIUM CHROMATE)
1291. โฟซิม 1317. โปแตสเซียม ไดโครเมท
(PHOXIM) (POTASSIUM DICHROMATE)
1292. พธาลิค แอนไฮไดร 1318. โปแตสเซียม ฟลูออไรด
(PHTHALIC ANHYDRIDE) (POTASSIUM HYDROGEN DIFLUORIDE0
1293. ไฟโซสติกมีน 1319. โปแตสเซียม ไฮโตรเจน ไดฟลูออไรด
(PHYSOSTIGMINE) (POTASSIUM HYDROGEN DIFLUORIDE)
1294. ไฟโซสติกมีน (เกลือ) 1320. โปแตสเซียม ไฮดรอกไซด
(PHYSOSTIGMINE (SALT)) (POTASSIUM HYDROXIDE)
1295. 2-พิโคไลน 1321. สารละลายโปแตสเซียมไฮดรอกไซด
(2-PICOLINE) (POTASSIUM HYDROXIDE SOLUTION)
1296. 4-พิโคไลน 1322. โปแตสเซียม ไนไตรท
(4-PICOLINE) (POTASSIUM PERMANGANATE)
1297. กรดพิครามิค 1323. โปแตสเซียม เพอรคลอเรท
(PICRAMIC ACID) (POTASSIUM PERCHLORATE)
1298. กรดพิคริค 1324. โปแตสเซียม เพอรแมงกาเนท
(PICRIC ACID) (POTASSIUM PERMANGANTE)
1299. กรดพิคริค (เกลือ) 1325. โปแตสเซียม โพลีซัลไฟต
(PICRIC ACID (SALT)) (POTASSIUM POLYSULPHIDES)
1300. พิโลคารไพน 1326. เกลือโปแตสเซียมของกรดไดคลอโรไอโซไซยานูริค
(PILOCARPINE) (POTASSIUM SALT OF DICHLOROISOCYANURIC ACID)
1301. พิโลคารไพน (เกลือ) 1327. เกลือโปแตสเซียม ของดีเอ็นโอซี
(PILOCARPINE (SALTS)) (POTASSIUM SALT OF DNOC)
1302. พินเน ไฮโตรเพอรออกไซด 1328. โปแตสเซียม ซัลไฟต
(PINANE HYDROPEROXIDE) (POTASSIUM SULPHIDE)
1303. พินเน-2-อิล ไฮโดรเพอรออกไซด 1329. โพรมีคารบ
(PINAN-2-YL HYDROPEROXIDE) (PROMECARB)
1304. พินโดน 1330. โพรพาคลอร
(PINDONE) (PROPACHLOR)
1305. ไพเพอราซีน 1331. โพรพานอล
(PIPERAZINE) (PROPANAL)
1306. ไพเพอริดีน 1332. โพรเพน
(PIPERAZINE) (PROPANE)
1307. พิริมิคารบ 1333. 1,3-โพรเพนซัลโทน
(PIRIMICARB) (1}3-PROPANESULTONE)
1308. พิริมิฟอส-เอทธิล 1334. โพรพานิล
(PIRIMIPHOS-ETHYL) (PROPANIL)

2-84
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
1335. โพรเพน-1-ออล 1361. โพรโธเอท
(PROPANE-1-OL) (PROTHOATE)
1336. โพรเพน-2-ออล 1362. โพรแซน - โซเดียม
(PROPANE-2-OL) (PROXAN-SODIUM)
1337. 3-โพรพาโนไลด 1363. ไพเรธริน I
(3-PROPANOLIDE) (PYRETHRIN I)
1338. โพรพากิล แอลกอฮอล 1364. ไพเรธริน II
(PROPARHYL ALCOHOL) (PYRETHRIN II)
1339. โพรพีน 1365. ไพเรธิน
(PROPENE) (PYRETHRINS)
1340. 1,3-โพรพิโอแลคโทน 1366. ไพริดีน
(1,3-PROPIOLACTONE) (PYRIDINE)
1341. โพรพิโอนัลดีไฮด 1367. ไพโรแคททีคอล
(PROPIONALDEHYDE) (PYROCATECHOL)
1342. กรดโพรพิโอนิค 1368. ไพโรแกลลอล
(PROPIONIC ACID) (PYROGALLOL)
1343. โพรพิโอนิค แอนไฮไดรด 1369. ไพโรเมลลิติค ไดแอนไฮไดร
(PROPIONIC ANHYDRIDE) (PYROMELLITIC DIANHYDRIDE)
1344. โพรพิโอนิล คลอไรด 1370. ควินอล
(PROPIONY CHORIDE) (QUINOL)
1345. โพรพอกเซอร 1372. รีซอรซินอล
(PROPIONYL CHORIDE) (RISORCINOL)
1346. โพรพิล อะซีเตท 1373. รีซอรซินอล ไดไกลซิดิล อีเธอร
(PROPYL ACETATE) (RESORCINOL DIGLYCIDYL ETHER)
1347. โพรพิล แอลกอฮอล 1374. โรทีโนน
(PROPYL ALCOHOL) (ROTENONE)
1348. โพรพิลเบนซีน 1375. ชราดาน
(PROPYLBENZENE) (SCHRADAN)
1349. โพรพิล โบรไมด 1376. ซีลีเนียม
(PROPYL BROMIDE) (SELENIUM)
1350. เอส-โพรพิล-เอ็น-บิวทิล-เอ็น-เอทะิลไธโอคารบาเมท 1377. สารประกอบซีลีเนียม
(S-PROPYL-N-BUTYL-N-ETYLTHIOCARBAMATE) (SELENIUM COMPOUNDS)
1351. โพรพิล คลอไรด 1378. ซิลิคอน เตตระคลอไรด
(PROPYL CHLORIDE) (SILICON TETRACHLORIDE)
1352. โพรพิล คลอโรฟอรเมท 1379. ซิลเวอรไนเตรท
(PROPYL CHOROFORMATE) (SILVER NITRATE)
1353. เอ็น-โพรพิล คลอโรฟอรเมท 1380. โซเดียม
(N-PROPYL CHLOROFORMATE) (SODIUM)
1354. โพรพิลีน 1381. โซเดียม อะไซด
(PROPYLENE) (SODIUM AZIDE)
1355. โพรพิลีน ไกลคอล โมโนบิวทิล อีเธอร 1382. โซเดียม ไบฟลูออไรด
(PROPYLENE GLYCOL MONOBUTYL ETHER) (SODIUM BIFLUORIDE)
1356. 1,2-โพรพิลีน ออกไซด 1383. โซเดียม คารบอเนท
(1,2-PROPYLENE OXIDE) (SODIUM CARBONATE)
1357. 1,3-โพรพิลีน ออกไซด 1384. โซเดียม-เอ็น-คลอโร-พี-โทลูอีนซัลโฟนาไมด
(1}3-PROPYLENE OXIDE) (SODIUM-N-CHLORO-P-TOLUENESULPHONAMIDE)
1358. โพรพิล ฟอรเมท 1385. โซเดียม ไดคลอโรไอโซไซยานูเรท,ไดไฮเดรท
(PROPYL FORMATE) (SODIUM DICHLOROISOCYANURATE, DIHYDROATE)
1359. โพรพิล โพรพิโอเนท 1386. โซเดียม ไดโครเมท
(PROPYL PROPIONATE) (SODIUM DICROMATE)
1360. พรอพ-2-อีน-1-ออล
(PROP-2-YN-1-OL)

2-85
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
1387. โซเดียม-4- ไดเมทธิลอะมิโนเบนซีน ไดอะโซซัลโฟเนท 1412. สไตรีน
(SODIUM-4-DIMETHYL AMINOBENZENE (STYRENE)
DIAZOSULPHONATE) 1413. ซัคซินิค แอนไฮไดรด
1388. โซเดียม ไดไธโอไนท (SUCCINIC ANDYDRIDE)
(SODIUM DITHIONITE) 1414. ซัลฟอลเลท
1389. โซเดียม ฟลูออไรด (SULFALLATE)
(SODIUM FLUORIDE) 1415. กรดซัลฟามิค
1390. โซเดียม ไฮไดร (SULPHAMIC ACID)
(SODIUM HYDRIDE) 1416. กรดซัลฟานิลิค
1391. โซเดียม ไฮโดรเจน ไดฟลูออไรด (SULPHANILIC ACID)
(SODIUM HYDROGEN DEFLURIDE) 1417. ซัลโฟเลน
1392. โซเดียม ไฮไดรซัลไฟต (SULPHOLANE)
(SODIUM HYDROSULPHITE) 1418. กรดซัลฟูริค
1393. โซเดียม ไฮดรอกไซด (SULPHURIC ACID)
(SODIUM HYDROXIDE) 1419. ซัลเฟอร เตตระคลอไรด
1394. โซเดียม ไฮดรอกไซด, แอนไฮดรัส (คอสติค โซดา) (SULPHUR TETRACHLORIDE)
{SODIUM HYDROXIDE, ANHYDROUS (CAUSTIC SODA)} 1420. ซัลฟูริค คลอไรด
1395. โซเดียม ไฮโปคลอไรท (SULPHURYL CHLORIDE)
(SODIUM HYPOCHLORITE) 1421. 2,4,5-ที
1396. โซเดียม ไอโซโพรพิลแซนเธท (2,4,5-T)
SODIUM ISOPROPYLXANTHATE) 1422. 2,4,5-ที (เกลือและเอสเทอร)
1397. โซเดียม เมทธิลไดไธโอคารบาเมท {2,4,5-T(SALTS AND ESTERS)}
(SODIUM METHYLDITHIOCARBAMATE) 1423. 3,6,9,12-เตตระ-อะซาเตตราดีคาเมทธิลีน ไดอะมีน
1398. โซเดียม ไนไตรท (3,6,9,12-TETRA-AZATETRADECAMETHYLENE
(SODIUM NITRITE) DIAMINE)
1399. โซเดียม เพอรคลอเรท 1424. 1,1,2,2-เตตระโบรโมอีเธน
(SODIUM PEROXIDE) (1,1,2,2-TETRABROMOETHANE)
1400. โซเดียม เพอรออกไซด 1425. 1,1,2,2-เตตระคลอโรอีเธน
(SODIUM PEROXIDE) (1,1,2,2-TETRACHLOROETHANE)
1401. โซเดียม โพลีซัลไฟด 1426. เตตระคลอโรเอทธิลีน
(SODIUM POLYSULPHIDES) (TETRACHLOROETHYLENE)
1402. เกลือโซเดียมของกรดไดคลอโรไอโซไซยานูริค 1427. เตตระคลอโรมีเทน
(SODIUM SALT OF DICHLOROISOCYANURIC ACID) (ETRACHLOROMETHANE)
1403. เกลือโซเดียม ของ ดีเอ็นโอซี 1428. 2,3,5,6-เตตระคลอโร-4-(เมทธิลซัลโฟนิล) ไพริดีน
(SODIUM SALT OF DNOC) (2,3,5,6-TETRACHLORO-4-(METHYLSULPHONYL)
1404. โซเดียม ซัลไฟต PYRIDINE)
(SODIUM SULPHIDE) 1429. 2,3,4,6-เตตระคลอโรฟนอล
1405. โซเดียม ไตรคลอไรอะซีเตท (ทีซีเอ) (2,3,4,6-TETRACHLOROPHENOL)
{SODIUM TRICHLOROACETATE (TCA)} 1430. โอโอโอ'โอ' -เตตระเอทธิล ไดไธโอไพโรฟอสเฟต
1406. สแตนนิค คลอไรด {OOO'O'-TETRAETHYL SS'-METHYLENE DI
(STANNIC CHLORIDE) (PHOSPHORODITHIOATE)}
1407. สตรอนเทียม โครเมท 1431. เตตระเอทธิลีนเพนตามีน
(STRONTIUM CHROMATE) (TETRAETHYLENEPENTAMINE)
1408. สโตรแพนทิน-เค 1432. โอโอโอ'โอ' -เตตระเอทธิล เอสเอส'-เมทธิลีน ได
(STROPHANTIN-K) (ฟอสฟอโรไดไธโอเอท)
1409. สตริคนิน (OOO'0'-TETRAETHYL SS'-METHYLENE DI
(STRYCHNINE) (PHOSPHORODITHIOAE))
1410. สตริคนิน (เกลือ) 1433. เตตระเอทธิล ไพโรฟอสเฟต
(STRYCHNINE (SALT)) (TETRAETHYL PYROPHOSPHATE)
1411. กรดสไตฟนิค 1434. เตตระเอทธิล ซิลิเกต
(STYPHNIC ACID) (TETRAETHYL SILICATE)

2-86
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
1460. ไธโอมีตัน
1435. เตตระไฮโดรฟวแรน
(THIOMETON)
(TETRAHYDROFURAN)
1461. ไธโอนิล คลอไรด
1436. เตตระไฮโดรฟวแรน-2,5-ไดอิลไดเมทธานอล
(THIONYL CHLORIDE)
(TETRAHYDROFURAN-2,5 -DIYLDIMETHANOL)
1462. ไธโอควินนอกซ
1437. เตตระไฮโดรเฟอฟวริล แอลกอฮอล
(THIOQUINOX)
(TETRAHYDROFURFURYL ALCOHOL)
1463. ไธโอยูเรีย
1438. เตตระไฮโดร-2-ฟวริล แอลกอฮอล
(THIQUREA)
(TETRAHYDRO-2-FURYL ALCLHOL)
1464. ไธแรม
1439. 1,2,3,4-เตตราไฮโดร-1-แนพธิล ไฮโดรเพอรออกไซด
(THIRAM)
(1,2,3,4-TETRAHYDRO-1-NAPHTYL HYDROPEROXIDE)
1465. ไทเทเนียม เตตระคลอไรด
1440. เตตระไฮโดรพธาลิค แอนไฮไดร
(TITANIUM TETRACHLORIDE)
(TETRAHYDROPHTHALIC ANHYDRIDE)
1466. โอ-โทลิดีน
1441. เตตระไฮโดรไธโอฟน-1,1-ไดออกไซด
(O-TOLIDINE)
(TETRAHYDROTHIOPHENE-1,1-DIOXIDE)
1467. โอ-โทลิดีน (เกลือ)
1442. เตตระลิน ไฮโดรเพอรออกไซด
[O-TOLIDINE (SALTS)]
(TETRALIN HYDROPEROXIDE)
1468. โทลูอีน
1443. เตตระเมทธิลีน ไดอะครีเลท
(TOLUENE)
(TETRAMETHYLENE DIACRYLATE)
1469. โทลูอีน-2,4-ได-ไอโซไซยาเนท (1), โทลูอีน-2,
1444. เอ็นเอ็นเอ็น'เอ็น'-เตตระเมทธิล-พี-ฟนิลีนไดอะมีน
6-ไดไอโซไซยาเนท (2), สารผสมของ (1) และ (2)
(NNN' N'-TETRAMETHYL-P-PENYLENEDIAMINE)
(TOLUENE-2,4-DI-ISOCYANATE (1), TOLUENE-2,
1445. เอ็นเอ็นเอ็น'เอ็น'-เตตระเมทธิลฟอสฟอโรไดอะมิดิค ฟลูออไรด
6-DIISOCYANATE (2), MIXTURES OF (1) AND (2)]
(NNN' N'-TETRAMETHYLPHOSPHORODIAMIDIC
1470. กรดพี-โทลูอีนซัลโฟนิค
FLUORIDE)
(P-TOLUENESULPHONIC ACID)
1446. เตตระเมทธิลไธยูแรม ไดซัลไฟต
1471. โทลูอิดีน
(TETRAMETHYLTHIURAM DISULPHIDE)
(TOLUIDINE)
1447. 1,2,3,4-เตระไนโตรคารบาโซล
1472. โทซิล ไอโซไซยาเนท
(1,2,3,4-TETRANITROCARBAZOLE)
(TOSYL ISOCYANATE)
1448. เตตระไนโตรแนพธาลีน
1473. ไตรอัลคิลโบเรนส
(TETRANIRONAPHTHALENE)
(TRIALKYLBORANES)
1449. โอโอโอ'โอ'- เตตระโพรพิล ไดไธโอไพโรฟอสเฟต
1474. ไตร-อัลเลท
(OOO'O'-TETRAPROPYL-DITHIOPYROPHOSPHATE)
(TRI-ALLATE)
1450. เตตริล
1475. ไตรอะมิฟอส
(TETRYL)
(TRIAMIPHOS)
1451. แทลเลียม
1476. ไตรอะริมอล
(THALLIUM)
(TRIARIMAL)
1452. สารประกอบแทลเลียม
1477. 3,6,9-ไตรอะซาอันดีคาเมธิลีนไดอะมีน
(THALLIUM COMPOUNDS)
(3,6,9-TRIAZAUNDECAMETHYLENEDIAMINE)
1453. ไธโอคารบาไมด
1478. 1,2,4-ไตรอะซอล-3-อิลอะมีน
(THIOCARBAMIDE)
(1,2,4-TRIAZOL-3-YLAMINE)
1454. กรดไธโอไซยานิค
1479. ไตรโบรโมมีเธน
(THIOCYANIC ACID)
(TRIBROMOMETHANE)
1455. กรดไธโอไซยานิค (เกลือ)
1480. ไตรบิวทิล-2,4-ไดคลอโรเบนซิลฟอสโฟเนียม
(THIOCYANIC ACID (SALTS))
(TRIBUTYL-2,4-DICHLOROBENZYLPHOSPHONIUM)
1456. 2,2'-ไธโอไดเอทธานอล
1481. ไตรบิวทิล ฟอสเฟต
(2,2'-THIODIETHANOL)
(TRIBUTYL PHOPHATE)
1457. ไธโอไดไกลคอล
1482. สารประกอบไตรบิวทิลทิน
(THIODIGLYCOL)
[TRIBUTYLTIN (COMPOUNDS)]
1458. 2-ไธโอ-1,3--ไดไธโอโล (4,5,6) ควินอกซาลีน
1483. ไตรบิวทิลทิน ลิโนลีเอท
{2-THIO-1,3-DITHIOLO (4,5.6) QUINOXALINE)
(TRIBUTYLTIN OLEATE)
1459. กรดไธโอไกลโคลิค
1484. ไตรบิวทิลิทน แนพธีเนท
(THIOGLYCOLIC ACID)
(TRIBUTYLTIN LINOLEATE)

2-87
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
1485. ไตรบิวทิลทิน โอลีเอท 1507. 1,2,3-ไตรคลอโรโพรเพน
(TRIBUTYLTIN NAPHTHENATE) (1,2,3-TRICHLOROPROPANE)
1486. กรดไตรคลอโรอะซีติค 1508. ไตรคลอโรโซเลน
(TRICHLOROACETONITRILE) (TRICHLOROSILANE)
1487. ไตรคลอโรอะซีโตไนไตรส 1509. แอลฟา, แอลฟา, แอลฟา-ไตรคลอโรโทลูอีน
(TRICHLOROACETONITRILE) [a , a , a -TRICHLOROTOLUENE)
1488. เอส,2,3,3-ไตรคลอโรอัลลิล-(ได-ไอโซโพรพิล) 1510. 2,4,6-ไตรคลอโร-1,3,5-ไตรอะซีน
-ไธโอคารบาเมท [2,4,6-TRICHLORO-1,3,5-TRIAZINE)
(S-2,3,3-TRICHLOROALLYL-(DI-ISOPROPYL)- 1511. ไตรคลอโร-1,3,5-ไตรอะซีนไตรโอน
THIOCARBAMATE) (TRICHLORO-1,3,5-TRIAZINETRIONE)
1489. 1,1,1-ไตรคลอโร-2,2-บิส (4-คลอโรฟนิล) อีเทน 1512. ไตรคลอรฟอน
(1,1.1-TRICHLORO-2,2-BIS (4-CHLOROPHENYL) (TRICHORPHON)
ETHANE) 1513. ไตรครีซิล ฟอสเฟต
1490. 2,2,2-ไตรคลอโร-1,1-บิส (4-คลอโรฟนิล) เอทธานอล (TRICRESYL PHOSPHATE)
(2,2,2-TRICHLORO-1,1-BIS (4-CHLOROPHENYL) 1514. สารประกอบไตรโซโคลเฮกซิลทิน
ETHANOL) (TRICYCLOHEXYLTIN HYDROXIDE)
1491. 1,1,1-ไตรคลอโรอีเทน 1515. ไตรโซโคลเฮกซิลทิน ไฮดรอกไซด
(1,1,1-TRICHLOROETHANE-1,1-DIOL) (TRICYCLOHEXYLTIN HYDROXIDE)
1492. 1,1,2-ไตรคลอโรอีเทน 1516. ไตรดีมอรพ
(1,1,2-TRICHLOROETHANE) (TRIEMORPH)
1493. 2,2,2-ไตรคลอโรอีเทน-1,1-ไดออล 1517. ไตรเอทธิลอะมีน
(2,2,2-TRICHLOROETHANE-1,1-DIOL) (TRIETHYLAMINE)
1494. ไตรคลอโรเอทธิลีน 1518. ไตรเอทธิลีน ไกลคอล ไดอะครีเลท
(TRICHLOROETHYLENE) (TRIETHYLENT GLYCOL DIACRYLATE)
1495. อาร-1,2-โอ-(2,2,2-ไตรคลอเอทธิลิดีน) กลูโคฟูราโนส 1519. ไตรเอทธิลีนเตตระมีน
(R-1,2-O-(2,2,2-TRICHLOROETHYLIDENE) (TRIETHYLENTETRAMINE)
GLUCOFURANOSE) 1520. ไตรเอทธิล ฟอสเฟต
1496. กรดไตรคลอโรไอโซไซยานูริค (TRIETHYL PHOSPHATE)
(TRICHOROISOCYANURIC ACID) 1521. สารประกอบไตรเอทธิลทิน
1497. ไตรคลอโรมีเธน (TRIETHYLTIN COMPOUNDS)
(TRICHLOROMETHANE) 1522. กรดไตรฟลูออโรอะซีติค
1498. ไตรคลอโร (เมทธิล) ไซเลน (TRIFLUOROACETIC ACID)
(TRICHLORO (METHYL) SILANE) 1523. แอลฟา, แอลฟา, แอลฟา-ไตรฟลูออโรโทลูอีน
1499. ไตรคลอโรเนท [a , a , a -TRIFLUOROTOLUENE]
(TRICHLORONATE) 1524. สารประกอบไตรเฮกซิลทิน
1500. ไตรคลอโรไนโตรมีเธน (TRIHEXYLTIN COMPOUNDS)
(TRICHLORONITROMETHANE) 1525. 1,2,3-ไตรไฮดรอกซีเบนซีน
1501. 2,4,5-ไตรคลอโรฟนอล (1,2,3-TRIHYDROXYBENZENE)
(2,4,5-TRICHLOROPHENOL) 1526. ไตรเมลลิติค แอนไฮไดร
1502. 2,4,6-ไตรคอลโรฟนอล (TRIMELLITIC ANHYDRIDE)
(2,4,6-TRICHLOROPHENOL) 1527. ไตรเมทธิล โบเรท
1503. กรด 2,4,5-ไตรคลอโรฟนอกซีอะซีติค (TRIMETHYL BORATE)
(2,4,5-TRICHLOROPHENOXYACTIC ACID) 1528. 3,5,5-ไตรเมทธิลไซโคลเฮก-2-อีโนน
1504. 2-(2,4,5-ไตรคลอโรฟนอกซี) เอทธิล 2, (3,5,5-TRIMETHYLCYCLOHEX-2-ENONE)
2-ไดคลอโรโพรไพโอเนท 1529. 2,2,4-ไตรเมทธิลเฮกซาเมทธิลีน-1,6-ได-ไอโซไซยาเนท (1)
[2-(2,4,5-TRICHLOROPHENOXY) ETHYL 2, (2,2,4-TRIMETHYLHEXAMETHYLENE-1,
2-DICHLOROPROPIONATE] 6-DI-ISOCYLANATE (1) )
1505. กรด 2-(2,4,5-ไตรคลอโรฟนอกซี) โพรพิโอนิค 1530. 2,4,4-ไตรเมทธิลเฮกซาเมทธิลีน-1,6-ได-ไอโซไซยาเนท
(2-(2,4,5-TRICHLOROPHENOXY) PROPIONIC ACID) (2) สารผสมของ (1) และ (2)
1506. กรด 2,3,6-ไตรคลอโรฟนิลอะซีติค (2,4,4-TRIMETHYLHEXAMETHYLENE-1,6-DI-
(2,3,6-TRICHOROPHENYLACETIC ACID) ISOCYANATE (2) MIXTURE OF (1) AND (2)

2-88
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ชื่อสาร
1531. ไตรเมทธีลอลโพรเพน ไตรอะครีเลท 1556. วาเนเดียม เพนทอกไซด
(TRIMETHYLOLPROPANE TRIACRYLATE) (VANADIUM PENTOXIDE)
1532. 2,4,4-ไตรเมทธิลเพน-1-อีน 1557. ไวนิล อะซีเตท
(2,4,4-TRIMETHYLPNNE-1-ENE) (VINYL ACETATE)
1533. สารประกอบไตรเมทธิลทิน 1558. ไวนิล โบรไมด
(TRIMETHYLTIN COMPOUNDS) (VINYL BROMIDE)
1534. 2,4,6-ไตรเมทธิล-1,3,5-ไตรออกแซน 1559. ไวนิล คลอไรด
(2,4,6-TRIMETHYL-1,3,5-TRIOXAN) (VINYL CHLORIDE)
1535. ไตรไนโตรไซลีน 1560. ไวนิลไซโคลเฮกเซน ไดอีพอกไซด
(TRINITROXYLENE) (VINYLCYCLOHEXANE DIEPOXIDE)
1536. 8,9,10-ไตรนอรบอรน-5-อีน-2, 1561. ไวนิลิดีน คลอไรด
3-ไดคารบอกซีลิคแอนไฮไดรด (VINYLDENE CHLORIDE)
(8,9,10-TRINORBORN-5-ENE-2,3- 1562. 2-ไวนิลโทลูอีน
DICARBOXYLICANHYDRIDE) (2-VINYLTOLUENE)
1537. 8,9,10-ไตรนอรบอรน-2-อิล อะครีเลท 1563. ซีนิลอะมีน
(8,9,10-TRINORBORN-2-YL ACRYLATE) (XENYLAMINE)
1538. สารประกอบไตรออกทิลทิน 1564. เกลือซีนิลอะมีน
(1,3,5-TRIOXAN) (XENYLAMINE (SALTS))
1539. 1,3,5-ไตรออกแซน 1565. ไซลีน
(1,3,5-TRIOXAN) (XYLENE)
1540. ไตรออกซีเมทธิลีน 1566. ไซลีนอล
(TRIOXYMETHYLENE) (XYLENOL)
1541. สารประกอบไตรเพนทิลทิน 1567. ไซลิดีน
(TRIPENTYLTIN COMPOUNDS) (XYLIDINE)
1542. ไตรฟนิล ฟอสไฟท 1568. สังกะสี อัลคิล
(TRIPHENYL PHOSPHITE) (ZINC ALKYLS)
1543. ไตรฟนิลทิน อะซีเตท 1569. สังกะสี คลอไรด
(TRIPHENYLTIN COMPOUNDS) (ZINC CHLORIDE)
1544. สารประกอบไตรฟนิลทิน 1570. สังกะสี โครเมท
(TRIPHENYLTIN COMPOUNDS) (ZINC CHROMATES)
1545. ไตรฟนิลทิน ไฮดรอกไซด 1571. สังกะสี ไดเมทธิลไดไธโอคารบาเมท
(TRIPHENYLTIN HYDROXIDE) (ZINC DIMETHYLDITHIOCARBAMATE)
1546. สารประกอบไตรโพรพิลทิน 1572. ฝุนสังกะสี
(TRIPROPYLTIN HYDROXIDE) (ZINC DUST)
1547. ทริส (2-คลอโรเอทธิล) ฟอสเฟต 1573. ฝุนสังกะสี, ไพโรโฟริค
(TRIS (2-CHLOROETHYL) PHOSPHATE) (ZINC DUST, PYROPHORIC)
1548. 24,6-ทริส (ไดเมทธิลอะมิโนเมทธิล) ฟนอล 1574. สังกะสี ฟอสไฟด
(2,4.6-TRIS (DIMETHYLAMINOMETHYL) PHENOL) (ZINC PHOSPHIDE)
1549. ไตรโทลิล ฟอสเฟต 1575. สังกะสี ผง
(TRITOLYL PHOSPHATE) (ZINC POWDER)
1550. ไตรโทลิล ฟอสเฟตส 1576. สังกะสี ผง, ไพโรโฟริค
(TRITOLYL PHOSPHATE) (ZINC POWDER, PYROPHORIC)
1551. เทอรเพนทีน 1577. ไซแรม
(TURPENTINE) (ZIRAM)
1552. ยูเรเนียม 1578. เซอรโคเนียม ผง (นอน ไพโรโฟริค)
(URANIUM) [ZIRCONIUM POWDER (NON PYROPHORIC)]
1553. สารประกอบยูเรเนียม 1579. เซอรโคเนียม ผง (ไพโรโฟริค)
(URANIUM COMPOUNDS) (ZIRCONIUM POWDER (PYROPHORIC))
1554. กรดวาเลริค 1580. ผลิตภัณฑเคมีที่มีสารดังกลาวขางตนเปนองคประกอบ
(VALERIC ACID)
1555. วามิโดไธออน
(VAMIDOTHION)

2-89
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

2. สารเคมีชนิดและประเภทตอไปนี้ ซึ่งมีปริมาณตั้งแตที่กําหนดขึ้นไปเปนสารเคมีอันตราย
(ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย ขอ 2)

ชื่อสาร ปริมาณ ชื่อสาร ปริมาณ


1. 4-อะมิโนไดฟนิล. 1 ก.ก 22. แอมโมเนีย 500 ตัน
(4-AMINODIPHENYL) (AMMONIA)
2. เบนซิดีน 1 ก.ก. 23. อะเซทิลีน (เอททีน) 50 ตัน
(BENZIDINE) [(ACETYLENE (ETHYNE)]
3. เกลือของเบนซิดีน 1 ก.ก. 24. ไฮโดรเจน 50 ตัน
(BENZIDINE SALTS) (HYDROGEN)
4.ไดเมทธิลไนโตรซามีน 1 ก.ก. 25. เอทธิลีน ออกไซด 50 ตัน
(DIMETHYLNITROSAMINE) (ETHYLENE OXIDE)
5. 2-แนพธิลอะมีน 1 ก.ก. 26. โพรพิลีน ออกไซด 50 ตัน
(2-NAPTHYLAMINE) (PROPYLENE OXIDE)
6. เบอริลเลียม (ผง, สารประกอบ) 10 ก.ก. 27. 2-ไซยาโนโพรพาน-2-ออล 200 ตัน
[BERYLLIUM (POWDERS. COMPOUNDS)] (อะซีโตน ไซยาโนไฮดริน)
7. บิส (คลอโรเมทธิล) อีเธอร 1 ก.ก. [2-CYANOPROPAN-2-OL
[BIS (CHLOROMETHYL) ETHER)] (ACETONE CYANOHYDRIN)]
8. 1,3-โพรเพนซัลโทน 1 ก.ก. 28. 2-โพรพีนอล (อะโครลีน) 200 ตัน
(1,3-PROPANESULTONE) [2-PROPENAL (ACROLEIN)]
9. 2,3,7,8-เตตระคลอโรโตเบนโซ-พี-ไดออกซิน 1 ก.ก. 29. 2-โพรเพน-1-ออล (อัลลิล แอลกอฮอล) 200 ตัน
(ทีซีดีดี) [2-PROPEN-1-OL(ALLYL ALCOHOL)]
[2,3,7,8-TETRACGKIRIDIBENZO-P-DIOXIN 30. อัลลิลลามีน 200 ตัน
(TCDD)] (ALLYLAMINE)
10. อารเซนิค เพนตอกไซด, กรดและเกลือของ 500 ก.ก. 31. แอนติโมนี ไฮไดรด (สติบีน) 100 ก.ก.
อารเซนิค (V) [ANTIMONY HYDRIDE (STIBINE)]
(ARSENIC PENTOXIDE, ARDENIC (V) ACID 32. เอทธิลีนอิมีน 50 ตัน
AND SALTS) (ETHYLENEIMINE)
11. อารเซนิค ไตรออกไซด, กรดและเกลือ 100 ก.ก. 33. ฟอรมัลดีไฮด (ความเขมขน >=90%) 50 ตัน
ของอารเซเนียส (III) [FORMALDEHYDE (CONCENTRATION >=90%)]
(ARSENIC PENTOXIDE, ARDENIOUS (III) 34. ไฮโดรเจน ฟอสไฟด (ฟอสผีน) 100 ก.ก.
ACIDS AND SALTS) [HYDROGEN PHOSPHIDE (PHOSPHINE)]
12. อารเซนิค ไฮไดรด (อารซีน) 10 ก.ก. 35. โบรโมมีเธน (เมทธิลโบรไมด) 200 ตัน
[ARSENIC HYDRIDE (ARSINE)] [BROMOMETHANE (METHYL BROMIDE)]
13. ไดเมทธิลคารบาโมอิล คลอไรด 1 ก.ก. 36. เมทธิล ไอโซไซยาเนท 150 ก.ก.
(DIMETYLCARBAMOYL CHLORIDE) (METHYL ISOCYANATE)
14. 4-(คลอโรฟอรมิล) มอรโฟไลน 1 ก.ก. 37. ไนโตรเจนออกไซด 50 ตัน
[4-(CHLOROFORMYL) MORPHOLINE] (NITROGEN OXIDES)
15. คารโบนิล คลอไรด (ฟอสจีน) 750 ก.ก. 38. โซเดียม เซเลไนท 100 ก.ก.
[CARBONYL CHLORIDE (PHOSGENE)] (SODIUM SELENITE)
16. คลอรีน 25 ตัน 39. บิส (2-คลอโรเอทธิล) ซัลไฟต 1 ก.ก.
(CHLORINE) [BIS (2-CHLOROETHYL) SULPHIDE)]
17. ไฮโดรเจน ซัลไฟต 50 ตัน 40. โฟซาเซทิม 100 ก.ก.
(HYDROGEN SULPHIDE) (PHOSACETIM)
18. อะครีโลไนไตรล 200 ตัน 41. เตตระเอทธิล เลด 50 ตัน
(ACRYLONITRILE) (TETRAETHYL LEAD)
19. ไฮโดรเจน ไซยาไนด 20 ตัน 42. เตตระเมทธิล เลด 50 ตัน
(HYDROGEN CYANIDE) (TETRAMETHYL LEAD)
20. คารบอน ไดซัลไฟต 200 ตัน 43. โพรมูริท (1-(3,4-ไดคลอโรฟนิล)-3-ไตรอะซีน 100 ก.ก.
(CARBON DISULPHIDE) ไธโอคารบอกซามไมด
21. โบรมีน 500 ตัน [PROMURI (1-(3,4-DICHLOROPHENYL)-3-
(BROMINE) TRIZENETHIOCARBOXAMIDE)]

2-90
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ปริมาณ ชื่อสาร ปริมาณ


44. คลอรเฟนวินฟอส 100 ก.ก. 65. โอโอ-ไดเอทธิล เอส - โพรพิลไธโอ เมทธิล 100 ก.ก.
(CHLOFENVINPHOS) (OO-DIETHYL S - PROPYLTHIOMETHYL
45. คริมิดีน 100 ก.ก. PHOSPHORODITHIOATE)
(CRIMIDINE) 66. ไธโอนาซิน 100 ก.ก.
46. คลอโรเมทธิล เมทธิล อีเธอร 1 ก.ก. (THIONAZIN)
(CHLOROMETHYL METHYL ETHER) 67. คารโบฟวเรน 100 ก.ก.
47. กรดไดเมทธิล ฟอสฟอรามิโดไซยานิติค 1 ตัน (CARBOFURAN)
(DIMETHYL PHOSPHORAMIDOCYANIDIC ACID) 68. ฟอสฟามิตอน 100 ก.ก.
48. คารโบฟโนไธออน 100 ก.ก. (PHOSPHAMIDON)
(CARBOPHENOTHION) 69. ไทรเพท 2,4-ไดเมทธิล-1,3-ไดไธโอเลน-2 100 ก.ก.
49. ไดอะไลฟอส 100 ก.ก. -คารบอกซัลดีไฮด โอ-เมทธิลคารบาโมอิลออกซิม
(DIALIFOS) (TRIPATE 2,4-DIMETHYL-1,3-DITHIOLANE-
50. ไซยานโธเอท 100 ก.ก. 2-CARBOXALDEHYDE O-
(CYANTHOATE) METYLCARBAMOYLOXIME)
51. อะมิทอน 1 ก.ก. 70. เมวินฟอส 100 ก.ก.
(AMITON) (MEVINPHOS)
52. ออกซีไดซัลโฟทอน 100 ก.ก. 71. พาราไธออน-เมทธิล 100 ก.ก.
(OXYDISULFOTON) (PARATHION-METHYL)
53. โอโอ-ไดเอทธิล เอส-เอทธิลซัลไฟนิล เมทธิล 100 ก.ก. 72. อะซินฟอส-เมทธิล 100 ก.ก.
ฟอสฟอโรไธโอเอท (AZINPHOS-METHYL)
(OO-DIETHYL S-ETHYLSULPHINYLMETHYL 73. ไซโคลเฮกซิไมด 100 ก.ก.
PHOSPHOROTHIOATE) (CYCLOHEXIMIDE)
54. โอโอ-ไดเอทธิล เอส-เอทธิลซัลโฟนิล เมทธิล 100 ก.ก. 74. ไดฟาซิไมด 100 ก.ก.
ฟอสฟอโรไธโอเอท (DIPHACINONE)
(OO-DIETHYL S-ETHYLSULPHONYLMETHYL 75. เตตระเมทธิลีนไดซัลโฟเตตระมีน 1 ก.ก.
PHOSPHORTHIOATE) (TETRAMETHYLENEDISULPHOTETRAMINE)
55. ไดซัลโฟทอน 100 ก.ก. 76. อีพีเอ็น 100 ก.ก.
(DISULFOTON) (EPN)
56. ดีมีทอน 100 ก.ก. 77. กรด 4-ฟลูออโรบิวไทริค 1 ก.ก.
(DEMETON) (4-FLUOROBUTYRIC ACID)
57. โฟเรท 100 ก.ก. 78. กรดและเกลือของ 4-ฟลูออโรบิวไทริค 1 ก.ก.
(PHORATE) (4-FLUOROBUTYRIC ACID,SALTS)
58. โอโอ-ไดเอทธิล เอส-เอทธิลไธโอเมทธิล ฟอสฟอโร 100 ก.ก. 79. กรดและเอสเทอรของ 4-ฟลูออโรบิวไทริค 1 ก.ก.
ไธโอเอท (4-FLUOROUTYRIC ACID,ESTERS)
(OO-DIETHYL S-ETHYLTIOETHYL 80. กรดและเอไมดของ 4-ฟลูออโรบิวไทริค 1 ก.ก.
PHOSPHOROTHIOATE) (4-FLUOROBUTYRIC ACID,AMIDES)
59. โอโอ-ไดเอทธิล เอส-ไอโซโพรพิลไธโอเมทธิล 100 ก.ก. 81. กรด 4-ฟลูออโรโครโทนิค 1 ก.ก.
ฟอสฟอโรไธโอเอท (4-FLUOROCROTONIC ACID)
(OO-DIETHYL S-ISOPROPYLTIOETHYL 82. กรดและเกลือของ 4-ฟลูออโรโครโทนิค 1 ก.ก.
PHOSPHOROTHIOATE) (4-FLUOROCROTONIC ACID, SALTS)
60. ไพราซอกซอน 100 ก.ก. 83. กรดและเอสเทอรของ 4-ฟลูออโรโครโทนิค 1 ก.ก.
(PYRAZOXON) (4-FLUOROCROTONIC ACID, ESTERS)
61. เพนซัลโฟไธออน 100 ก.ก. 84. กรดและเอไมดของ 4-ฟลูออโรโครโทนิค 1 ก.ก.
(PENSULFOTHION) (4-FLUOROCROTONIC ACID, AMIDES)
62. พาราออกซอน (ไดเอทธิล-4-ไนโตรฟนิล ฟอสเฟท) 100 ก.ก. 85. กรดฟลูออโรอะซีติค 1 ก.ก.
[PARAOXON(DIETHYL-4-NITROPHENYL (FLUOROACETIC ACID)
PHOSPHATE)] 86. กรดและเกลือของฟลูออโรอะซีติค 1 ก.ก.
63. พาราไธออน 100 ก.ก. (FLUOROACETIC ACID, SALTS)
(PARATHION) 87. กรดและเอสเทอรของฟลูออโรอะซีติค 1 ก.ก.
64. อะซินฟอส-เอทธิล 100 ก.ก. (FLUOROACETIC ACID, ESTERS)
(AZINPHOS-ETHYL)

2-91
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ปริมาณ ชื่อสาร ปริมาณ


88. กรดและเอไมดของฟลูออโรอะซีติค 1 ก.ก. 110. ซัลเฟอร ไดคลอไรด 1 ตัน
(FLUOROACETIC ACID, AMIDES) (SULPHUR DICHORIDE)
89. ฟลูเอนทิล 100 ก.ก. 111. เซเลเนียม เฮกซะฟลูออไรด 10 ก.ก.
(FLUENETIL) (SELENIUM HEXAFLUORIDE)
90. กรด 4-ฟลูออโร-2-ไฮดรอกซีบิวไทริค 1 ก.ก. 112. ไฮโดรเจน เซเลไนด 10 ก.ก.
(4-FLUORO-2-HYDROXYBUTYRIC ACID) (HYDROGEN SELENIDE)
91. กรดและเกลือของ 4-ฟลูออโร-2-ไฮดรอกซีบิวไทริค 1 ก.ก. 113. ทีอีพีพี 100 ก.ก.
(4-FLUORO-2-HYDROXYBUTYRIC (TEPP)
ACID,SALTS) 114. ซัลโฟเทพ 100 ก.ก.
92. กรดและเอสเทอรของ 4-ฟลูออโร-2-ไฮดรอกซีบิว 1 ก.ก. (SULFOTEP)
ไทริค 115. ไดมีฟอกซ 100 ก.ก.
(4-FLUORO-2-HYDROXYBUTYRIC (DIMEFOX)
ACID,ESTERS) 116. 1-ไตร (ไซโคลเฮกซิล) สแตนนิล-1เอช-1,2,4- 100 ก.ก.
93.กรดและเอไมดของ 4-ฟลูออโร-2-ไฮดรอกซีบิวไทริค 1 ก.ก. ไตรอะโซล
(4-FLUORO-2-HYDROXYBUTYRIC (1-TRI(CYCLOHEXYL) STANNYL-1H-1,2,4-
ACID,AMIDES) TRIAZOLE)
94. ไฮโดรเจน ฟลูออไรด 50 ตัน 117. ไตรเอทธิลีนเมลามีน 10 ก.ก.
(HYDROGEN FLUORIDE) (TRIETHYLENEMELAMINE)
95. ไฮดรอกซีอะซีโตไนไตรล (ไกลโคโลไนไตรส) 100 ก.ก. 118. โคบอลท (โลหะ,ออกไซด,คารบอเนท,ซัลไฟต 1 ตัน
[HYDROXYACETONITRILE ลักษณะเปนผง)
(GLYCOLONITRILE)] (COBALT (METAL, OXIDES, CARBONATES,
96. 1,2,3,7,8,9-เฮกซะคลอโรไดเบนโซ-พี-ไดออกซิน 100 ก.ก. SULPHIDES AS POWDERS))
(1,3,7,8,9-HEXACHLOROCIBENZO-P-DIOXIN) 119. นิเกิล (โลหะ,ออกไซด,คารอบอเนท,ซัลไฟต 1 ตัน
97. ไอโซดริน 100 ก.ก. ลักษณะเปนผง)
(ISODRIN) (NICKEL (METAL, OXIDES, CARBONATES,
98. เฮกซะเมทธิลฟอสฟอราไมด 1 ก.ก. SULPHIDES AS POWDERS))
(HEXAMETHYLPHOSPHORAMIDE) 120. อะนาบาซีน 100 ก.ก.
99. จักโลน (5-ไฮดรอกซีแนพธาลีน-1,4-ไดโอน) 100 ก.ก. (ANABASINE)
[JUGLONE (5-HYDROXYNAPHTHALENE-1, 121. เทลลูเรียม เฮกซะฟลูออไรด 100 ก.ก.
4-DIONE)] (TELLURIUM HEXAFLUORIDE)
100. วารฟาริน 100 ก.ก. 122. ไตรคลอโรมีเธนซัลฟนิล คลอไรด 100 ก.ก.
(WARFARIN) (TRICHLOROMETHANESULPHENYL
101. 4,4-เมทธิลีนบิส (2-คลอโรอะนิลีน) 10 ก.ก. CHLORIDE)
[4,4-METHYLENEBIS(2-CHLOROANILINE)] 123. 1,2-ไดโบรโมอีเธน 50 ตัน
102. เอทไธออน 100 ก.ก. (1,2-DIBROMOETHANE)
(ETHION) 124. กาซไวไฟ 200 ตัน
103. อัลดิคารบ 100 ก.ก. (FLAMMABLE GASES)
(ALDICARB) 125. ของเหลวไวไฟสูง * 50000 ตัน
104. นิเกิล เตตระคารบอนิล 10 ก.ก. (HIGHLY FLAMMABLE LIQUID)
(NICKEL TETRACARBONYL) * เปนของเหลวที่มีจุดวาบไฟตํ่ากวา 21 0 ซ และมีจุด
105. ไอโซเบนซาน 100 ก.ก. เดือดที่ความดันปกติสูงกวา 20 0 ซ
(ISOBENZAN) 126. ไดอะโซโตไนโตรฟนอล 10 ตัน
106. เพนตะบอแรน 100 ก.ก. (DIAZODINITROPHENOL)
(PENTABORANE) 127. ไดเอทธิลีน ไกลคอล ไดไนเตรต 10 ตัน
107. 1-โพรพีน-2-คลอโร-1-3-ไดออล-ไออะซีเตท 10 ก.ก. (DIETHYLENE GLCOL DINITRATE)
(1-PROPEN-2-CHLORO-1,3-DIOLD-IACETATE) 128. ไดไนโตรฟนอล, เกลือ 50 ตัน
108. โพรพิลีนอิมีน 50 ตัน (DENITROPHENOL, SALTS)
(PROPYLENEIMINE) 129. 1-กัวนิล-4-ไนโตรซามิโนกัวนิล-1-เตตระซีน 10 ตัน
109. ออกซิเจน ไดฟลูออไรด 10 ก.ก. (1-GUANYL-4-NITROSAMINOGUANYL-1-
(OXYGEN DIFLUORIDE) TETRAZENE)

2-92
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ปริมาณ ชื่อสาร ปริมาณ


130. บิส (2,4,6-ไตรไนโตรฟนิล) เอมีน 50 ตัน 151. โซเดียม คลอเรท 250 ตัน
(BIS (2,4,6-TRINITROPHENYL) AMINE) (SODIUM CHLORATE)
131. ไฮดราซีน ไนเตรท 50 ตัน 152. เทอรท-บิวทิล เพอรออกซีอะซีเตท 50 ตัน
(HYDRAZENE NETRATE) (ความเขมขน >= 70 %)
132. ไนโตรกลีเซอรีน 10 ตัน (TERT-BUTYL PEROXYACETATE
(NITROGLYCERINE) (CONCENTRATION >= 70 %))
133. เพนตะอีรีไธรทอล เตตระไนเตรท 50 ตัน 153. เทอรท-บิวทิล เพอรออกซีไอโซบิวไทเรท 50 ตัน
(PENTAERYTHRITOL TETRANITRATE) (ความเขมขน >= 80 %)
134. ไซโครไตรเมทธิลีน ไตรไนตระมีน 50 ตัน (TERT-BUTYL PEROXYISOBUTYRATE
(CYCLOTRIMETHYLENE TRINITRAMINE) (CONCENTRATION >= 80 %))
135. ไตรไนโตรอะนิลีน 50 ตัน 154. เทอรท-บิวทิล เพอรออกซีมาลีเอท 50 ตัน
(TRINITROANILENE) (ความเขมขน >= 80 %)
136. 2,4,6-ไตรไนโตรอะนิโซล 50 ตัน (TERT-BUTYL PEROXYMALEATE
(2,4,6-TRINITROANISOLE) (CONCENTRATION >= 80 %))
137. ไตรไนโตรเบนซีน 50 ตัน 155. เทอรท-บิวทิล เพอรออกซีไอโซโพรพิล คารบอเนท 50 ตัน
(TRINITROBENZENE) (ความเขมขน >= 80 %)
138. กรดไตรไนโตรเบนโซอิค 50 ตัน (TERT-BYTYL PEROXYISOPROPYL
(TRINITROBENZOIC ACID) CARBONATE (CONCENTRATION >= 80 %))
139. คลอโรไตรไนโตรเบนโซอิค 50 ตัน 156. ไดเบนซิล เพอรออกซีไดคารบอเนท 50 ตัน
(CHLOROTRINITROBENZENE) (ความเขมขน >= 90%)
140. เอ็น-เมทธิล-เอ็น,2,4,6-เอ็น-เตตระไนโตรอะนิลีน 50 ตัน (DIBENZYL PEROXYDICARBONATE
(N-METHYL-N,2,4,6-N-TETRANITROANILENE) (CONCENTRATION >= 90 %))
141. 2,4,6-ไตรไนฟนอล (กรดพิคริค) 50 ตัน 157. 2,2-บิส (เทอรท-บิวทิลเพอรออกซี) บิวเทน 50 ตัน
(2,4,6-TRINITROPHENOL (PICRIC ACID0)) (ความเขมขน >= 70%)
142. ไตรไนโตรครีซอล 50 ตัน (2,2-BIS (TERT-BUTYLPEROXY) BUTANE
(TRINITROCRESOL) (CONCENTRATION >= 70 %))
143. 2,4,6-ไตรไนโตรฟนีโทล 50 ตัน 158. 1,1-บิส (เทอรท-บิวทิลเพอรออกซี) ไซโคลเฮก 50 ตัน
(2,4,6-TRINITROPHENETOLE) เซน (ความเขมขน >=80%)
144. 2,4,6-ไตรไนโตรรีซอรซินอล (กรดสไตฟนิค) 50 ตัน (1,1-BIS (TERT-BUTYLPEROXY)
(2,4,6-TRINITRORESORCINOL (STYPHNIC ACID)) CYCLOHEXANE (CONCENTRATION >= 80 %))
145. 2,4,6-ไตรไนโตรโทลูอีน 50 ตัน 159. ได-เซค-บิวทิล เพอรออกซีไดคารบอเนท 50 ตัน
(2,4,6-TRINITROTOLUENE) (ความเขมขน >=80%)
146. (A) แอมโมเนียม ไนเตรท 2500 ตัน (DI-SEC-BUTYL PEROXYDICARBONATE
([A] AMMONIUM NITRATES) (CONCENTRATION >= 80 %))
(B) แอมโมเนียมไนเตรตในรูปของปุย 5000 ตัน 160. 2,2-ไดไฮโดรเพอรออกซีโพรเพน 50 ตัน
([B] AMMONIUM NITRATES IN THE FORM OF (ความเขมขน >=30%)
FERTILISERS) (2,2-DIHYDROPEROXYPROPANE
147. เซลลูโลส ไนเตรท (ประกอบดวยไนโตรเจน > 100 ตัน (CONCENTRATION >= 30 %))
12.6%) 161. ได-เอ็น-โพรพิล เพอรออกซีไดคารบอเนท 50 ตัน
(CELLULOSE NITRATE (CONTAINING > 12.6 % (ความเขมขน >=80%)
NITROGEN)) (DI-N-PROPYL PERODICARBONATE
148. ซัลเฟอรไดออกไซด 250 ตัน (CONCENTRATION >= 80 %))
(SULPHUR DIOXIDE) 162. 3,3,6,6,9,9-เฮกซะเมทธิล-1,2,4,5-เตตรอกซะ 50 ตัน
149. ไฮโดรเจน คลอไรด (กาซเหลว) 250 ตัน ไซโคลโนเนน (ความเขมขน >=75%)
((HYDROGEN CHLORIDE (LIQUEFIED GAS)) (3,3,6,6,9,9,-HEXAMETHYL-1,2,4,5-
150. ของเหลวไวไฟ * 200 ตัน TETROXACYCOLNONANE
(FLAMMABLE LIQUID) (CONCENTRATION >= 75 %))
* เปนของเหลวที่มีจุดวาบไฟตํ่ากวา 55 0 ซ และยังคง 163. เมทธิลเอทธิล คีโตน เพอรออกไซด 50 ตัน
สภาพเปนของเหลวภายใตความดันซึ่งมีสภาวะการผลิตที่ (ความเขมขน >=60%)
มีลักษณะเฉพาะเชน การใชความดันสูง และอุณหภูมิสูง (METHYL ETHYL KETONE PEROXIDE
อาจกอใหเกิดอุบัติภัยรายแรงได (CONCENTRATION >= 60 %))

2-93
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ชื่อสาร ปริมาณ ชื่อสาร ปริมาณ


164. เมทธิล ไอโซบิวทิล คีโทน-เพอรออกไซด 50 ตัน 173. เอทธิล ไนเตรท 50 ตัน
(ความเขมขน >=60%) (ETHYL NITRATE)
(METHYL ISOBYTYL KETONE PEROXIDE 174. โซเดียม พิคราเมท 50 ตัน
(CONCENTRATION >= 60 %)) (SODIUM PICROMATE)
165. กรดพารอะซีตคิ (ความเขมขน >=60%) 50 ตัน 175. แบเรียม อะไซด 50 ตัน
(PARACETIC ACID (CONCENTRATION >= 60 %)) (BARIUM AZIDE)
166. เลด อะไซด 50 ตัน 176. ได-ไอโซบิวไทริล เพอรออกไซด 50 ตัน
(LEAD AZIDE) (ความเขมขน >=75%)
167. เลด 2,4,6-ไตรไนโตรรีซอรซินอกไซด 50 ตัน (DI-ISOBUTYRYL PEROXIDE
(เลด สไตฟเนท) (CONCENTRATION >= 75 %))
(LEAD 2,4,6-TRINITRORESORCINOXIDE 177. ไดเอทธิล เพอรออกซีไดคารบอเนท 50 ตัน
(LEAD STYPHANTE)) (ความเขมขน >=30%)
168. เมอรคิวรี่ ฟลูมิเนท 10 ตัน (DIETHYL BUTYL PEROXYPIVALATE
(MERCURY FULMINATE) (CONCENTRATION >= 30 %))
169. ไซโคลเตตระเมทธิลีนเตตระไนตรามีน 50 ตัน 178. เทอร-บิวทิล เพอรออกซีไพวาเลท 50 ตัน
(CYCLOTETRAMETHYLENETETRANITRAMINE) (ความเขมขน >=77%)
170. 2,2',4,4',6,6'-เฮกซะไนโตรสติลบีน 50 ตัน (TERT-BUTYL PEROXYPIVALATE
(2,2',4,4',6,6'-HEXANITROSTILBENE) (CONCENTRATION >=77 %))
171. 1,3,5-ไตรอะมิโน-2,4,6-ไตรไนโตรเบนซีน 50 ตัน 179. ออกซีเจนเหลว 2000 ตัน
(1,3,5-TRIAMINO-2,4,6-TRINITROBENZENE) (LIQUID OXYGEN)
172. เอทธิลีน ไกลคอล ไดไนเตรท 10 ตัน 180. ซัลเฟอรไตรออกไซด 75 ตัน
(ETHYLENE GLYCOL DINITRATE) (SULPHUR TRIOXIDE)

2-94
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ สอ. 1
แบบแจงรายละเอียดของสารเคมีอันตรายในสถานประกอบการ
(ตามขอ 5 แหงประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย)

วันที่…………….เดือน………………………….พ.ศ…………….
(Date)
1. รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)
1.1 ชือ่ ทางการคา………………………………………………..ชื่อทางเคมี………………………………………………..สูตรทางเคมี……………………………..
(Trade Name)
1.2 การใชประโยชน………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(Use)
1.3 ปริมาณสูงสุดที่มีไวในครอบครอง……………………………………………………………………………………………………………………………………...
(Max Quantity Storage)
1.4 ผูผ ลิต / ผูนําเขา…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
(Manufacturer / Import)
ทีอ่ ยู………………….ถนน………………………….......แขวง………………………...........เขต………………………….…..จังหวัด…………..………...
(Address) รหัสไปรษณีย……………………..โทรศัพท………………………………...โทรสาร……………………..................

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย (Chemical Classification)


2.1 U.N.Number 2.2 CAS No. 2.3 สารกอมะเร็ง

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients)

คามาตรฐานความปลอดภัย
3.1 ชื่อสารเคมี (Substances) เปอรเซ็นต (Percent)
TLV LDSO

4. ขอมูลทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Data)


4.1 จุดเดือด 0C 4.2 จุดหลอมเหลว 0C
(Boiling Point) (Melting Point)
4.3 ความดันไอ kPa 4.4 การละลายไดในนํ้า
(Vapour Pressure) (Solubility in Water)
4.5 ความถวงจําเพาะ H2O 4.6 อัตราการระเหย
(Speedlife Gravity) (Evaporating Rate)
4.7 ลักษณะ สี และกลิ่น 4.8 ความเปนกรดดาง
(Appcarance Colour and Odor) (pH-value)

2- 95
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data)


5.1 จุดวาบไฟ
(Flash Point)
5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ - คาตํ่าสุด (LEL)% คาสูงสุด (UEL)%
(Flammable limits-LEL)
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง
(Autoignition Temperature)
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี
(Chemical Reactivity)
5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน
(Materials to Avoid)
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว
(Hazardous Decomposition Products)

6. ขอมูลเกี่ยวกับอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)


6.1 ทางเขาสูรางกาย
(Ways of Exposure)
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ)
(Local Effects (Skin Eyes Moucous Membranes))
6.3 ผลจากการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้นๆ
(Effects of Overexposure Short-term)
6.4 ผลจากการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว
(Effects of Overexposure Long-term)
6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย TLV

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)


7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)
7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด
(Fire and Explosion Prevention)
7.1.2 การระบายอากาศ
(Ventilation)
7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ
(Respiratory Protection Type)
7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ
(Hand Protection)
7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา
(Eye Protection)
7.1.6 การปองกันอื่นๆ
(Other Protection)

2- 96
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)


7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง
7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา
7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ
7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล
(ระบุการรักษาหรือการแกพิษ)

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ (Special Instructions)


8.1 การขนยายและการจัดเก็บ
(Handling and Storing)
8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี
(Corrosiveness)
8.3 การปองกันการรั่วและการหก
(Spill and Leak Procedures)
8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี
(Disposal Methods)
8.5 การใชสารดับเพลิง
(Extingulishing Media)

ลงชื่อ …………………………………………………………………….
(………………………………………………………..)
ตําแหนง…………………………………………………………………......
ชือ่ สถานประกอบการ………………………………………………………
ทีต่ งั้ ...................................................................
..........................................................................
โทรศัพท…………………………….......โทรสาร………………………..

หมายเหตุ

ขอขอมูลเพิ่มเติมไดจาก
(Additional Information
Avaliable form)

ชือ่ …………………………………………….
ทีอ่ ยู………………………………………...
โทรศัพท…………………………………..

2- 97
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ สอ.2
แบบรายงานความปลอดภัยและประเมินการกออันตรายของสารเคมีอันตราย
ในสถานประกอบการ
ตามขอ 6 แหงประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย

เขียนที่…………………………………………………………..
วันที่……………………………………………………………...

ขาพเจา (นาย/นาง/นางสาว)………………………………………………………………..ตําแหนง………………….…………………………………………………..
ชือ่ สถานประกอบการ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เลขที…่ ……………หมูที่………………….ตรอก/ซอย………………………………………….ถนน…………………………………………………………………………….
แขวง/ตําบล…………………………………………………………..เขต/อําเภอ…………………………………………………………………………………………………..
จังหวัด………………………………………....รหัสไปรษณีย…………………..……….โทรศัพท………………….………..โทรสาร………………………………..
สถานที่ใกลเคียง…………………………………………………………………………..
ประเภทกิจการ…………………………………………………………………………….
ขอรายงานความปลอดภัยและประเมินการกออันตรายของสารเคมีอันตรายในสถานประกอบการดังรายละเอียด
ตามหัวขอตอไปนี้
สวนที่ 1 ขอมูลที่เกี่ยวกับสารเคมีอันตรายทุกชนิด
1) รายชือ่ ของสารเคมีอันตราย (ชื่อทางการคา ชื่อทางเคมี สูตรทางเคมี)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2) ความบริสุทธิ์ของสารเคมีอันตราย ชื่อและเปอรเซ็นตของสารหลักที่เจือปนอยูในสารเคมีอันตราย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3) วิธกี ารตรวจวิเคราะหเพื่อหาสารเคมีอันตรายที่อาจรั่วไหล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4) อันตรายตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากสารเคมีอันตราย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สวนที่ 2 ขอมูลที่เกี่ยวกับสถานประกอบการ
1) แผนทีแ่ สดงที่ตั้งของสถานประกอบการ และสิ่งตางๆ ที่อยูรอบบริเวณสถานประกอบการ โดยใหมี
มาตราสวนพอที่จะแสดงใหเห็นไดอยางชัดเจน เชน โรงเรียน โรงพยาบาล ทัณฑสถาน ที่พักอาศัย
โรงงาน เสนทางจราจรซึ่งที่มีความสํ าคัญตอการประเมินอันตราย หรือความเสี่ยงภัยของสถาน
ประกอบการนั้น
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2- 98
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

2) แผนผังที่ไดมาตราสวนของสถานประกอบการแสดงที่เก็บและปริมาณของสารเคมีอันตรายที่เก็บไว
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3) รายละเอียดเกี่ยวกับการจัดเก็บสารเคมีอันตรายในสภาวะปกติของอุณหภูมิ ความดัน ความชื้นที่สถาน
ประกอบการตั้งอยู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4) จํานวนคนที่สูงสุดที่คาดวาจะอยูในสถานประกอบการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5) สภาพแวดลอม เชน การใชที่ดิน สิ่งกอสราง แมนํ้า คลอง จํานวนและการกระจายของประชากรใน
บริเวณใกลเคียงสถานประกอบการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สวนที่ 3 ขอมูลเกีย่ วกับการควบคุมการดําเนินงานของสถานประกอบการ


1) การจัดเตรียมบุคลากรตางๆ ในการควบคุมการดําเนินงานในสถานประกอบการและระบุชื่อบุคคลที่
รับผิดชอบเกี่ยวกับความปลอดภัยในสถานประกอบการ ชื่อบุคคลตางๆ ที่ไดรับมอบอํานาจหนาที่
ในการดําเนินการตามแผนฉุกเฉิน และแจงหนวยราชการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2) การดําเนินการเกี่ยวกับ การออกแบบ การกอสราง การทดสอบ การตรวจสอบ การปฏิบัติอื่นๆ และ
การบํารุงรักษาใหเปนไปอยางถูกตอง เพื่อความปลอดภัยของสถานประกอบการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3) การฝกอบรมเกี่ยวกับการปองกันอันตรายจากสาราเคมีอันตราย แกบุคคลตางๆ ที่ปฏิบัติงานใน
สถานประกอบการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สวนที่ 4 ขอมูลเกี่ยวกับอุบัติภัยที่อาจเกิดขึ้น
1) รายละเอียดเกี่ยวกับสาเหตุที่อาจทําใหเกิดอุบัติภัยรายแรง เงื่อนไขหรือเหตุการณ ที่มีสวนใหเกิด
อุบัติภัยรายแรง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2- 99
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

2) แผนผังของโรงงานที่แสดงถึงสิ่งที่มีความสําคัญตอการเกิด การปองกัน หรือการควบคุมอุบัติภัยราย


แรง เชน ภาชนะเก็บสารเคมีอันตราย ภาชนะที่ใชผสมสารเคมีเพื่อใหทําปฏิกิริยาตอกัน ขอตอของ
ทอสงสารเคมีอันตราย อุปกรณความปลอดภัย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3) รายละเอียดเกี่ยวกับมาตรการตางๆ ที่จะปองกัน ควบคุม หรือลดความรุนแรงของอุบัติภัย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4) แผนปฏิบตั ิเพื่อระงับอุบัติภัยที่เกิดขึ้นในสถานประกอบการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5) ขอมูลเกีย่ วกับความเร็วและทิศทางลมโดยรอบสถานประกอบการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6) จํานวนคนในสถานประกอบการที่คาดวาจะไดรับผลกระทบจากอุบัติภัยที่เกิดขึ้น
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ …………………………………………………………..
(……………………………………………………...)
ตําแหนง………………………………………………………

ผูรายงาน

หมายเหตุ กรณีทเี่ นือ้ หามากไมสามารถกรอกลงในแบบไดครบถวนใหจัดพิมพโดยใชหัวขอตามที่กําหนด

2- 100
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ สอ.3

แบบรายงานผลการตรวจวัดปริมาณความเขมขนของสารเคมีอันตราย
ในบรรยากาศบริเวณสถานที่ทํางานและสถานที่เก็บสารเคมีอันตราย
ตามขอ 16 แหงประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย

เขียนที่…………………………………………….................
วันที่………………………………………………..................

ขาพเจา (นาย/นาง/นางสาว……………………………………………………ตําแหนง………………….………………..................
ชื่อสถานประกอบการ………………………………………………………………………………………………………….........................
เลขที่………...............หมูที่……………ตรอก/ซอย………………………………........ถนน……………………………………………..
แขวง/ตําบล……………………………………………...........เขต/อําเภอ………………………………………………………….............
จังหวัด……………………..รหัสไปรษณีย…………………….โทรศัพท…………………...........โทรสาร……………………….......
สถานที่ใกลเคียง…………………………………………………..ประเภทกิจการ……………………………………………………………………

ขอรายงานผลการตรวจวัดปริมาณความเขมขนของสารเคมีอันตราย ดังตอไปนี้

วิธีเก็บ-วิเคราะห
ปริมาณที่ แผนกที่เก็บ ชือ่ เครื่องมือ วันที่ ชือ่ เครื่องมือ
ชื่อสาร
วิเคราะหได ตัวอยาง วันที่เก็บ เวลาที่เก็บ วัสดุอุปกรณที่ อัตราการ วิเคราะห วิเคราะห
ตัวอยาง ใชเก็บตัวอยาง ดูดอากาศ
1.
2.
3.

ชื่อผูเก็บตัวอยาง…………………………..................ชื่อหนวยงานที่เก็บตัวอยาง……………………………………………………
ชื่อหนวยงานที่วิเคราะหตัวอยาง…………………………………………………………..………………………………….....................
ลงชื่อ………………………………....................
(……………………………..........................)
ตําแหนง……………………………...............
ผูรายงาน

หมายเหตุ 1. การเก็บ การวิเคราะห ใหใชมาตรฐานของ NIOSH JISHA หรือมาตรฐานสากลอื่นๆ


2. ผูเ ก็บตัวอยางควรมีความรูทางดานสุขศาสตรอุตสาหกรรม (Industrial Hygiene)

2- 101
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ สอ.4
แบบรายงานผลการตรวจสุขภาพลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ตามขอ 19 แหงประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมี
อันตราย

เขียนที่……………………………………………...............
วันที่………………………………………………................

ขาพเจา (นาย/นาง/นางสาว…………………………………………………….....ตําแหนง………………….………………..............
ชื่อสถานประกอบการ…………………………………………………………………………………………………………..........................
เลขที่………..หมูที่……………ตรอก/ซอย……………………………….........ถนน……………………………………………..............
แขวง/ตําบล…………………………………………….เขต/อําเภอ………………………………………จังหวัด............................
รหัสไปรษณีย…………………….โทรศัพท………………….....................โทรสาร………………………..........................
สถานที่ใกลเคียง…………………………………………………………ประเภทกิจการ……………………………………………………………

ขอรายงานผลการตรวจสุขภาพลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย ดังตอไปนี้

จํานวนลูกจาง ผลการตรวจ การดําเนินการ


สารเคมี สิ่งที่ตรวจ ชี้แจงรายละเอียด
กรณีผิดปกติ
แผนกงาน อันตราย (เลือด ปสสาวะ หนวยงาน ทั้งหมด ที่ตรวจ ปกติ ผิดปกติ ความผิดปกติอื่น
(ตรวจซํ้า รับการ
ที่เกี่ยวของ เนื้อเยื่อ ฯลฯ) ที่ตรวจ (ราย) (ราย) (ราย) (ราย) เพิ่มเติม
รักษา ฯลฯ)

ไดสงผลการตรวจสุขภาพเฉพาะรายที่ผิดปกติ (ถามี) ตามหลักเกณฑและวิธีการตรวจ


สุขภาพลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย มาพรอมรายงานนี้แลว

ลงชื่อ……………………………….........................
(………………………...............................…….)
ตําแหนง…………………………….....................
ผูร ายงาน

2- 102
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานกอสรางวาดวยเขตกอสราง

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) และขอ 14 แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่


16 มีนาคม พ.ศ. 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอด
ภัยสําหรับลูกจางไว ดังตอไปนี้

ขอ 1 ในประกาศนีเ้ รียกวา “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางาน


กอสรางวาดวยเขตกอสราง”

ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดสามสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป

ขอ 3 ประกาศนี้มิใหใชบังคับแกงานกอสรางอาคารที่สรางขึ้นเพื่อเปนที่อยูอาศัยของตนเอง
ทีม่ คี วามสูงจากพื้นดินถึงคานรับหลังคาไมเกิน 7.00 เมตร

ขอ 4 ในประกาศนี้
“นายจาง” หมายความวา นายจางตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุมครองแรงงาน
ลงวันที่ 16 เมษายน 2515 และใหหมายความรวมถึงผูรับจางชวงถัดขึ้นไป หากมีตลอดสายจนถึงผูรับจาง
ชัน้ ตนดวย
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจาง
ดวยตนเอง หรือไมก็ตาม
“งานกอสราง” หมายความวา การประกอบการเกี่ยวกับการกอสราง อาคาร สนามบิน ทางรถไฟ
ทางรถราง ทาเรือ ทางนํ้า ถนน การโทรเลข โทรศัพท ไฟฟา กาซ หรือประปา และหมายความรวมถึงการ
ตอเติม ซอมแซม ซอมบํารุง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร หรือสิ่งกอสรางนั้นๆ
“เขตกอสราง” หมายความวา พื้นที่ดินบริเวณโดยรอบพื้นที่ที่ดําเนินการกอสราง ซึ่งนายจางได
จัดทํารั้วหรือคอกกั้นไวตามประกาศนี้
“เขตอันตราย” หมายความวา บริเวณที่กําลังกอสราง หรือบริเวณที่ใชปนจั่น หรือบริเวณที่ติดตั้ง
นัง่ ราน หรือติดตั้งลิฟทขนสง หรือสวนของการกอสรางอาคาร หรือทางลําเลียงวัสดุเพื่อการกอสราง หรือ
สถานที่เก็บเชื้อเพลิงหรือวัสดุเพื่อการกอสราง หรือบริเวณที่ใชเครื่องจักรกลหรือกระแสไฟฟาเพื่อการ
กอสราง

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เลม 102 ตอนที่ 134 วันที่ 26 กันยายน 2528


2- 103
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 5 ใหนายจางจัดทํ ารั้วหรือคอกกั้นและปดประกาศแสดงเขตกอสรางในบริเวณที่ดําเนิน


การกอสราง

ขอ 6 ใหนายจางกําหนดเขตอันตรายในงานกอสราง โดยจัดใหมีรั้วหรือคอกกั้น หรือแผงกั้น


กันของตก และเขียนปายแจง “เขตอันตราย” ปดประกาศใหชัดเจน ในเวลากลางคืนใหมีสัญญาณไฟสี
แดงแสดงตลอดเวลาดวย

ขอ 7 หามมิใหนายจางยินยอมหรือปลอยปละละเลยใหลูกจางผูไมเกี่ยวของเขาไปในเขต
อันตรายนั้น

ขอ 8 นายจางตองแจงและปดประกาศหามลูกจางและไมยินยอมใหลูกจางเขาพักอาศัยใน
อาคารที่กําลังกอสราง
การปดประกาศ ใหปดไวในที่เปดเผยตลอดเวลา ณ เขตกอสราง

ขอ 9 หามลูกจางเขาไปในอาคารที่กําลังกอสราง หรือเขตกอสรางนอกเวลาทํางานโดยมิไดรับ


มอบหมาย หรือไดรับอนุญาตจากนายจาง

ประกาศ ณ วันที่ 10 กันยายน 2528

พลเอก สิทธิ จิรโรจน


รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 104
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) และขอ 14 แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวัน


ที่ 16 มีนาคม 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
สําหรับลูกจางไว ดังตอไปนี้

ขอ 1 ประกาศนีเ้ รียกวา “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยว


กับปนจั่น”

ขอ 2 ประกาศนีใ้ หใชบงั คับเมือ่ พนกําหนดหนึง่ รอยแปดสิบวันนับแตวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ขอ 3 ประกาศนี้มิใหใชบังคับแก
(1) ราชการสวนกลาง
(2) ราชการสวนภูมิภาค
(3) ราชการสวนทองถิ่น
(4) กิจการอื่นตามที่กระทรวงมหาดไทยจะไดประกาศกําหนด

ขอ 4 ในประกาศนี้
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวมถึง
ผูซึ่งไดรับ มอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวาผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคล นั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทํา
การแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจางดวย
ตนเอง หรือไมก็ตาม และหมายความรวมถึงลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราว แตไมรวมถึงลูกจางซึ่ง
ทํางานเกี่ยวกับงานบาน
“ปน จัน่ ” (Cranes หรือ Derricks) หมายความวา เครื่องจักรกลที่ใชยกสิ่งของขึ้นลงตามแนวดิ่ง
และเคลือ่ นยายสิ่งของเหลานั้นในลักษณะแขวนลอยไปตามแนวราบ
“ปน จัน่ ชนิดอยูกับที่” หมายความวา ปนจั่นที่ประกอบดวยอุปกรณควบคุมและเครื่องตนกําลังอยู
ในตัวซึ่งติดตั้งอยูบนหอสูง ขาตั้ง หรือบนลอเลื่อน
“ปน จัน่ ชนิดเคลื่อนที่” หมายความวา ปนจั่นที่ประกอบดวยอุปกรณควบคุมและเครื่องตนกําลังอยู
ในตัว ซึ่งติดตั้งอยูบนยานที่ขับเคลื่อนในตัวเอง
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 104 ตอนที่ 94 วันที่ 21 พฤษภาคม 2530
มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 17 พฤษภาคม 2530 เปนตนไป
2- 105
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

“ลวดวิง่ ” หมายความวา เชือกลวดเหล็กกลาที่เคลื่อนที่ในขณะปนจั่นทํางาน


“ลวดโยงยึด” หมายความวา เชือกลวดเหล็กกลาที่ยึดสวนใดสวนหนึ่งของปนจั่นใหมั่นคง
“ผูบ งั คับปนจั่น” หมายความวา ผูทําหนาที่บังคับการทํางานของปนจั่น
“วิศวกร” หมายความวา วิศวกรซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่
คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมกําหนดตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพวิศวกรรม
“สวนความปลอดภัย” หมายความวา อัตราสวนระหวางแรงดึงที่เชือกลวดเหล็กกลารับไดสูงสุดตอ
แรงดึงที่เชือกลวดเหล็กกลารับอยูจริง

หมวด 1
ขอกําหนดทั่วไป

ขอ 5 ใหนายจางที่ใชปนจั่นปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษณะของปนจั่น และคูมือการใช


งานที่ผูผลิตปนจั่นกําหนดไว
ในการประกอบ การทดสอบ การซอมบํารุง และการตรวจสอบปนจั่นใหนายจางปฏิบัติตามราย
ละเอียด คุณลักษณะและคูมือการใชงานตามวรรคหนึ่งดวย
ในกรณีที่มีอุปกรณอื่นใชกับปนจั่น หามมิใหนายจางใชอุปกรณนั้นเกินหรือไมถูกตองตามราย
ละเอียดคุณลักษณะตามวรรคหนึ่ง
ถาไมมีรายละเอียดคุณลักษณะหรือคูมือการใชงาน หรือผูผลิตปนจั่นมิไดกําหนดไวใหนายจาง
ปฏิบตั ติ ามรายละเอียดคุณลักษณะที่วิศวกรไดกําหนดขึ้นเปนหนังสือ

ขอ 6 ใหนายจางติดปายบอกพิกัดนํ้าหนักยกไวที่ปนจั่น ปดคําเตือนใหระวังอันตรายและติดตั้ง


สัญญาณเตือนอันตรายใหผูบังคับปนจั่นเห็นไดชัดเจน

ขอ 7 ในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น ใหนายจางจัดใหมีการใหสัญญาณการใชปนจั่นที่เขาใจใน


ระหวางผูเกี่ยวของ
ในกรณีทกี่ ารใชสัญญาณตามวรรคหนึ่งเปนการใชสัญญาณมือ ใหนายจางจัดใหมีรูปภาพหรือคูมือ
การใชสญ
ั ญาณมือตามที่กําหนดไวทายประกาศนี้ติดไวที่ปนจั่นและบริเวณที่ทํางาน

ขอ 8 ใหนายจางจัดใหมีการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นทุก ๆ สามเดือน ตาม


แบบที่กรมแรงงานกําหนด
ใหนายจางบันทึกเวลาที่ตรวจสอบและผลการตรวจสอบ โดยมีวิศวกรเปนผูรับรองไวเปนหลักฐาน
ใหพนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบไดในระหวางเวลาทํางาน

ขอ 9 ในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น หามมิใหนายจางใชเชือกลวดเหล็กที่มีลักษณะดังตอไปนี้


(1) ลวดวิง่ ทีม่ เี สนลวดในหนึ่งชวงเกลียว ขาดตั้งแตสามเสนขึ้นไปในเกลียวเดียวกัน หรือขาดตั้ง
แตหกเสนขึ้นไปในหลายเกลียวรวมกัน
(2) ลวดโยงยึดทีม่ เี สนลวดในหนึ่งชวงเกลียวขาดตั้งแตสองเสนขึ้นไป
(3) ลวดเสนนอกสึกไปหนึ่งในสามของเสนผาศูนยกลาง
2- 106
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(4) ลวดวิง่ หรือลวดโยงยึดที่ขมวด ถูกบดกระแทก แตกเกลียวหรือชํารุด ซึ่งเปนเหตุใหการรับนํ้า


หนักของเชือกลวดเหล็กกลาเสียไป
(5) เสนผาศูนยกลาง มีขนาดเล็กลงเกินรอยละหาของเสนผาศูนยกลางเดิม
(6) ถูกความรอนทําลายหรือเปนสนิมมากจนเห็นไดชัดเจน

ขอ 10 หามมิใหนายจางใชรอก ในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่นที่มีอัตราสวนระหวางเสนผาศูนย


กลางของรอกหรือลอใดๆ กับเสนผาศูนยกลางของเชือกลวดเหล็กกลาที่พันอยูนอยกวามาตรฐานที่กําหนด
ดังตอไปนี้
18 ตอ 1 สําหรับรอกปลายแขนปนจั่น
16 ตอ 1 สําหรับรอกของตะขอ
15 ตอ 1 สําหรับรอกหลังแขนปนจั่น

ขอ 11 ในขณะทํางาน ใหนายจางจัดใหมีการควบคุมใหมีเชือกลวดเหล็กกลาเหลืออยูในที่มวน


เชือกลวด ไมนอยกวาสองรอบ
เชือกลวดเหล็กกลาที่ใช ตองมีสวนความปลอดภัยดังนี้
(1) เชือกลวดเหล็กกลาที่เปนลวดวิ่ง ไมนอยกวา 6
(2) เชือกลวดเหล็กกลาที่เปนลวดโยงยึด ไมนอยกวา 3.5

ขอ 12 ใหนายจางจัดใหมีสิ่งครอบปดสวนที่หมุนรอบตัวเองหรือสวนที่เคลื่อนไหวไดของเครื่อง
จักรเพื่อใหลูกจางทํางานดวยความปลอดภัย

ขอ 13 ใหนายจางจัดทําเครื่องหมายแสดงเขตอันตรายหรือเครื่องกั้นเขตอันตรายในรัศมีสวนรอบ
ของปนจั่นที่หมุนกวาดระหวางทํ างานเพื่อเตือนลูกจางใหระวังอันตรายอันอาจเกิดขึ้นในรัศมีของสวนที่
หมุนได

ขอ 14 ปน จัน่ ทีม่ ีความสูงเกินสามเมตร ใหนายจางจัดใหมีบันไดพรอมราวจับและโครงโลหะกัน


ตกใหแกลูกจางที่ทํางาน

ขอ 15 ใหนายจางจัดทําพื้นและทางเดินบนปนจั่นชนิดกันลื่น

ขอ 16 ใหนายจางติดตั้งเครื่องดับเพลิงชนิดที่เหมาะสมและใชการไดที่หองบังคับปนจั่น

ขอ 17 ใหนายจางจัดใหมีสิ่งครอบปดหรือฉนวนหุมทอไอเสียของปนจั่นเพื่อปองกันอันตรายอัน
อาจเกิดจาก ความรอนของทอไอเสีย

ขอ 18 ปน จัน่ ทีใ่ ชเครื่องยนต นายจางตองจัดใหมีถังเก็บเชื้อเพลิงและทอสงเชื้อเพลิงติดตั้งอยูใน


ลักษณะที่จะไมเกิดอันตรายเมื่อเชื้อเพลิงหก ลน หรือรั่วออกมา

2- 107
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 19 ใหนายจางเก็บและเคลื่อนยายเชื้อเพลิงที่ใชกับปนจั่นดวยความระมัดระวังมิใหเกิด
อันตรายได

ขอ 20 เมือ่ มีการใชปนจั่นใกลสายไฟฟา ใหนายจางปฏิบัติ ดังตอไปนี้


(1) ถาสายไฟฟามีแรงดันไฟฟาไมเกินหาสิบกิโลโวลท ใหระยะหางระหวางสายไฟฟานั้นกับสวน
หนึง่ สวนใดของปนจั่น หรือกับสวนหนึ่งสวนใดของวัสดุที่ปนจั่นกําลังยกอยูตองไมนอยกวาสามเมตร
(2) ถาสายไฟฟามีแรงดันไฟฟาเกินหาสิบกิโลโวลท ใหระยะหางระหวางสายไฟฟานั้นกับสวนหนึ่ง
สวนใดของปน จั่น หรือกับสวนหนึ่งสวนใดของวัสดุที่ปนจั่นกําลังยกอยูเพิ่มขึ้นจากระยะหางตาม (1) อีก
หนึง่ เซ็นติเมตร สําหรับแรงดันไฟฟาที่เพิ่มขึ้นหนึ่งกิโลโวลท
(3)ในกรณีที่ปนจั่นเคลื่อนที่โดยไมยกวัสดุและไมลดแขนปนจั่นลงใหระยะหางระหวางสวนหนึ่ง
สวนใดของปนจั่นกับสายไฟฟาเปน ดังนี้
(ก) สําหรับสายไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟาไมเกินหาสิบกิโลโวลทไมนอยกวาหนึ่งเมตรยี่สิบหา
เซ็นติเมตร
(ข) สํ าหรับสายไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟาเกินหาสิบกิโลโวลทแตไมเกินสามรอยสี่สิบหากิโล
โวลทไมนอยกวาสามเมตร
(ค) สําหรับสายไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟาเกินสามรอยยี่สิบหากิโลโวลทแตไมเกินเจ็ดรอยหาสิบ
กิโลโวลทไมนอยกวาหาเมตร

ขอ 21 ถาปน จัน่ หรือวัสดุที่จะยกตั้งอยูใกลเสาสงคลื่นโทรคมนาคมกอนใชปนจั่นใหนายจางจัดให


มีการตรวจตัวปนจั่นและวัสดุนั้นวาเกิดประจุไฟฟาเหนี่ยวนําหรือไม ถาพบวามีประจุไฟฟาเหนี่ยวนําที่ตัว
ปน จัน่ และวัสดุทจี่ ะยกใหนายจางตอสายตัวนํากับปนจั่นและวัสดุนั้นใหประจุไฟฟาไหลลงดิน ตลอดเวลาที่
มีการใชปนจั่นทํางานใกลเสาสงคลื่นโทรคมนาคม

ขอ 22 ถามีสารไวไฟอยูในบริเวณที่ใชปนจั่น ใหนายจางนําสารไวไฟออกจากบริเวณที่ใชปนจั่น


กอนปฏิบัติงาน

ขอ 23 หามมิใหนายจางใหลูกจางทํางานเกี่ยวกับปนจั่นที่ชํารุดเสียหายหรืออยูในสภาพที่ไม
ปลอดภัย

ขอ 24 ถามีการทํางานเกี่ยวกับปนจั่นในเวลากลางคืน ใหนายจางจัดใหมีแสงสวางทั่วบริเวณตลอด


เวลาที่ลูกจางทํางาน ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะ
แวดลอม

ขอ 25 หามมิใหนายจางหรือลูกจางดัดแปลงหรือแกไขสวนใดสวนหนึ่งของปนจั่น หรือยินยอมให


ผูอ นื่ กระทําการเชนวานั้น อันอาจทําใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับปนจั่นมีความปลอดภัยนอยลง

2- 108
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

หมวด 2
ปนจั่นชนิดอยูกับที่

ขอ 26 ใหนายจางติดตั้งปนจั่นบนฐานที่มั่นคงโดยมีวิศวกรเปนผูรับรอง และใหสวนที่เคลื่อนที่


หรือหมุนไดของปนจั่นอยูหางจากสิ่งกอสรางหรือวัตถุอื่นไมนอยกวาหาสิบเซ็นติเมตร

ขอ 27 ปน จัน่ เคลือ่ นที่บนรางหรือปนจั่นที่มีรางลอเลื่อนที่อยูบนแขนปนจั่น ใหนายจางจัดใหมี


สวิตชใหหยุดปนจั่นไดโดยอัตโนมัติ และใหมีกันชนหรือกันกระแทกที่ปลายทั้งสองขางของรางดวย

ขอ 28 ในขณะปน จัน่ เคลื่อนที่ ใหนายจางจัดใหมีสัญญาณเสียงและแสงวับวาบเตือนใหลูกจาง


ทราบ

ขอ 29 ใหนายจางจัดใหมีเครื่องกวาดสิ่งของหนาลอทั้งสองขางของปนจั่น

ขอ 30 ถาลูกจางปฏิบัติงานบนแขนปนจั่น ใหนายจางจัดใหมีราวกันตกไว ณ บริเวณที่ปฏิบัติงาน


และจัดใหลูกจางสวมใสเข็มขัดนิรภัยและสายชูชีพตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน

หมวด 3
ปนจั่นชนิดเคลื่อนที่

ขอ 31 ใหนายจางที่ใชปนจั่นจัดใหมีอุปกรณปองกันแขนตอไมใหอยูหางจากแนวเสนตรงของแขน
ปน จั่นนอยกวาหาองศา

ขอ 32 ใหนายจางที่นําปนจั่นชนิดเคลื่อนที่ไปติดตั้งอยางชั่วคราวอยูบนเรือ แพ หรือพาหนะลอย


นํา้ ปฏิบัติดังตอไปนี้
(1) ยึดปน จัน่ ไวกับเรือ แพ หรือพาหนะลอยนํ้าใหมั่นคงโดยมีวิศวกรเปนผูรับรอง
(2)เปลี่ยนปายบอกพิกัดนํ้ าหนักยกของปนจั่นใหตรงตามความสามารถในการยกสิ่งของไดโดย
ปลอดภัย โดยนํ้าหนักของปนจั่นรวมกับพิกัดนํ้าหนักยกจะตองไมเกินระวางบรรทุกเต็มที่ของเรือ แพ หรือ
พาหนะลอยนํ้านั้น

หมวด 4
เบ็ดเตล็ด

ขอ 33 ใหนายจางจัดใหมีและใหลูกจางใชหมวกแข็ง ถุงมือ รองเทาหัวโลหะ หรืออุปกรณความ


ปลอดภัยอืน่ ๆ ตามลักษณะและสภาพของงานตลอดเวลาที่ทํางานเกี่ยวกับปนจั่น
ใหนายจางจัดอบรมลูกจางใหรูจักวิธีใช วิธีทํ าความสะอาดและวิธีบํ ารุงรักษาอุปกรณความ
ปลอดภัย ตลอดจนขอจํากัดของอุปกรณเหลานั้น

2- 109
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 34 ใหนายจางออกขอบังคับการทํางานเกี่ยวกับปนจั่นกําหนดรายละเอียดในการใชอุปกรณ
ความปลอดภัยไว

ขอ 35 ใหนายจางจัดใหมีคูมือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับปนจั่นเปนภาษาไทย ใหลูกจางศึกษาและ


ปฏิบัติตามโดยถูกตอง

ขอ 36 ใหนายจางจัดใหมีผูควบคุมทํ าหนาที่ควบคุมการใชปนจั่นใหเปนไปโดยถูกตองและ


ปลอดภัย

ขอ 37 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายตามประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2530

พลเอก ประจวบ สุนทรางกูร


รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 110
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ คป.1
แบบตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นชนิดอยูกับที่
(Stationary Cranes)
กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย

ขาพเจา ………………………………………………………………….………………อายุ…………ป
ที่อยูเลขที่…………………หมูที่……………ตรอก/ซอย…………………..ถนน…………………….แขวง/ตําบล………….……………
เขต/อําเภอ………………………………………จังหวัด……………………..รหัสไปรษณีย…………………….โทรศัพท………………..
สถานที่ทํางาน…………………………………………………………………………………………….เลขที่…………………………………………….
ตรอก/ซอย…………………..ถนน……………………………………..…………แขวง/ตําบล………….……………………………………….
เขต/อําเภอ…………………………….จังหวัด………………………….รหัสไปรษณีย…………………….โทรศัพท……………………..
ไดรบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาเครื่องกล ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพ
วิศวกรรม พ.ศ. 2505
ประเภท…………………………………………………………เลขทะเบียน……………………………….ตั้งแต…………………………………….
--------------------------------------------------
ขาพเจาไดทําการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณปนจั่นของ…………………………………………………..
โดย……………………………………………………………เจาของ/ผูจัดการ…………………………………………………………………………..
ที่อยูเลขที่……………….หมูที่……………ตรอก/ซอย………………………ถนน…………………….…แขวง/ตําบล………….……….
เขต/อําเภอ…………………………….จังหวัด……………………..รหัสไปรษณีย…………………….โทรศัพท………………………….
เมือ่ วันที่………………………………………..ขณะตรวจสอบปนจั่นใชงานอยูที่……………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………

ข า พเจ า ได ทํ าการตรวจสอบป  น จั่ น และอุ ป กรณตามรายการตรวจสอบที่ระบุไวใน


เอกสารแนบทาย พรอมทั้งไดปรับปรุงแกไขสวนที่ชํารุดหรือบกพรองจนใชงานไดถูกตองปลอดภัย และขอ
รับรองวาปนจั่นเครื่องนี้ใชงานไดอยางปลอดภัย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัย
ในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น

(ลงชื่อ)…………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………………………………………
(……………………………………………) (……………………………………………….…)
วิศวกรผูตรวจสอบ เจาของ/ผูจัดการ

สําหรับเจาหนาที่

2- 114
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ คป.1
รายการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณปนจั่นชนิดอยูกับที่

1. แบบปนจั่น ปน จั่นหอสูง (Tower Crane)


ปน จั่นเหนือศีรษะ (Overhead Crane)
ปน จั่นขาสูง (Gantry Grane)
อืน่ ๆ (ระบุ)…………………………………………………………………………………………….
2. ผูผลิต สรางโดย……………………………………………………… ประเทศ……………………………..
ตามมาตรฐาน…………………………………………………………………………………………….
ออกแบบใหยกนํ้าหนักไดสูงสุดที่ปลายแขนปนจั่น…………..ตัน (ยาวสุด)
ออกแบบใหยกนํ้าหนักไดสั้นสุดที่ตนแขนปนจั่น………..…….ตัน (สั้นสุด)
3. รายละเอียดคุณลักษณะ (Specification) และคูมือการใชงาน การประกอบ การทดสอบ การซอม
บํารุงและการตรวจสอบ
มีมาพรอมกับปนจั่น
มีโดยวิศวกรกําหนดขึ้น
ไมมี
4. สภาพโครงสราง
4.1 สภาพโครงสรางปนจั่น
เรียบรอย
แตก ชํารุด บิดเบี้ยว ตองแกไข
4.2 สภาพรอยเชื่อมตอ (Joints)
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
4.3 สภาพของนอตและหมุดยํ้า
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
5. มีการตรวจสอบปนจั่น
5.1 หลังประกอบเสร็จ มี ไมมี
5.2 หลังซอมสวนสําคัญ มี ไมมี
5.3 หลังเกิดอุบัติเหตุ มี ไมมี

6. รอก กวานและตะขอยก
6.1 เสนผาศูนยกลางรอกปลายแขนปนจั่น……………………………………………………………………………………………..
6.2 เสนผาศูนยกลางรอกของตะขอยก…………….……………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………วิศวกรผูตรวจสอบ
2- 115
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ คป.1

6.3 สภาพ กวานและตะขอยก


เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
7. สภาพของสลัก ลูกปน เพลา เฟอง โรลเลอร (Rollers)
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
8. สภาพของเบรคและคลัทช
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
9. สภาพของลวดวิ่ง (Running Ropes)
9.1 ขนาดเสนผาศูนยกลาง………………………………………………..สวนความปลอดภัย (Safety Factor)
เทากับ…………………………………….อายุการใชงาน………..ป
9.2 ในหนึง่ ชวงเกลียวมีลวดขาดตั้งแต 3 เสนขึ้นไปในเกลียวเดียวกัน
มี ไมมี
9.3 มีลวดขาดตั้งแต 6 เสนขึ้นไปในหลายเกลียวรวมกัน
มี ไมมี
10. สภาพของลวดโยงยึด (Standing Ropes)
10.1 ขนาดเสนผาศูนยกลาง………………………………สวนความปลอดภัย………………………………..
อายุการใชงาน………….ป
10.2 เสนลวดในหนึ่งชวงเกลียวขาดตั้งแตสองเสนขึ้นไป
มี ไมมี
11. ลวดวิ่ง และ/หรือ ลวดโยงยึด
11.1 เสนผาศูนยกลางเล็กลงเกินรอยละ 5 ของเสนผาศูนยกลางเดิม
มี ไมมี
11.2 ลวดเสนนอกสึกไปหนึ่งในสามของเสนผาศูนยกลาง
มี ไมมี
11.3 ขมวด ถูกกระแทก แตกเกลียวหรือชํารุดจนเปนเหตุใหการรับนํ้าหนักเสีย
มี ไมมี
11.4 ถูกความรอนทําลายหรือเปนสนิมมากจนเห็นไดชัด
มี ไมมี
12. สภาพของนํ้ามันไฮดรอลิกและทอลม
12.1 มีการรั่วของนํ้ามันและทอลมหรือขอตอ
มี ไมมี

…………………………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ
2- 116
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ คป. 1
12.2 มีการบิดตัวอยางผิดปกติของทอนํ้ามัน
มี ไมมี
12.3 มีนามั
ํ้ นรั่วที่บริเวณขอตอที่ไมสามารถขันนอตใหหายรั่วได
มี ไมมี
12.4 มีรอยสึกบริเวณเปลือกนอกของทอ
มี ไมมี
13. สภาพการสึกหรอของกลไกระบบควบคุม
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
14. สภาพการหลอลื่นโดยทั่วไป
เรียบรอย
บกพรองตองแกไข
15. มีครอบปด (Guard) สวนที่หมุนได ที่อาจเปนอันตราย
มี ไมมี
16. การยึดโยงปนจั่นและนํ้าหนักถวง (Counterweight) ใหมั่นคง
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
17. อุปกรณไฟฟา
17.1 สภาพแผงสวิตชไฟฟา รีเลยและอุปกรณอื่น
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
17.2 สภาพมอเตอรไฟฟา
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
18. ความตึงของสายพานตัววี
ปกติ
ตองปรับ
19. การทํางานของ Limit Switches ของ
19.1 ชุดตะขอยก
ถูกตองเรียบรอย
ตองปรับแตงใหม
19.2 ชุดลอเลื่อน
ถูกตองเรียบรอย
ตองปรับแตงใหม

………………………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ
2- 117
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ คป. 1
19.3 มุมแขนปนจั่น (เฉพาะ Derricks)
ถูกตองเรียบรอย
ตองปรับแตงใหม
19.4 การเคลื่อนที่บนรางของปนจั่น
ถูกตองเรียบรอย
ตองปรับแตงใหม
19.5 ชุดพิกัดนํ้าหนักยก
ถูกตองเรียบรอย
ตองปรับแตงใหม
20. ปน จั่นชนิดเคลื่อนที่บนรางหรือมีรางลอเลื่อนอยูบนแขนมีกันชนหรือกันกระแทกที่ปลายทั้งสองขาง
ของราง
มี ไมมี
21. มีอปุ กรณปองกันไมใหลอเลื่อนตกจากรางดานขาง
มี ไมมี
22. มีการดัดแปลงแกไขสวนหนึ่งสวนใดของปนจั่น
มี ไมมี
23. ปน จัน่ ทีม่ ีความสูงเกินสามเมตร มีบันไดพรอมราวจับและโครงโลหะกันตกใหแกลูกจางที่ทํางาน
มี ไมมี
24. มีการจัดทําพื้นและทางเดินบนปนจั่นเปนชนิดกันลื่น
มี ไมมี

…………….……………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ
2- 118
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ คป.1
รายการแกไข ซอมแซม ปรับแตง สิ่งชํารุดบกพรอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2- 119
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ คป.2
แบบตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นชนิดเคลื่อนที่
(Mobile Cranes)
กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย

ขาพเจา ………………………………………………………………….………………อายุ…………ป
ที่อยูเลขที่…………………หมูที่……………ตรอก/ซอย…………………..ถนน…………………….แขวง/ตําบล………….……………
เขต/อําเภอ………………………………………จังหวัด……………………..รหัสไปรษณีย…………………….โทรศัพท………………..
สถานที่ทํางาน…………………………………………………………………………………………….เลขที่…………………………………………….
ตรอก/ซอย…………………..ถนน……………………………………..…………แขวง/ตําบล………….……………………………………….
เขต/อําเภอ…………………………….จังหวัด………………………….รหัสไปรษณีย…………………….โทรศัพท……………………..
ไดรบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาเครื่องกล ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพ
วิศวกรรม พ.ศ. 2505
ประเภท…………………………………………………………เลขทะเบียน……………………………….ตั้งแต…………………………………….
--------------------------------------------------
ขาพเจาไดทําการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณปนจั่นของ…………………………………………………..
โดย……………………………………………………………เจาของ/ผูจัดการ…………………………………………………………………………..
ที่อยูเลขที่……………….หมูที่……………ตรอก/ซอย………………………ถนน…………………….…แขวง/ตําบล………….……….
เขต/อําเภอ…………………………….จังหวัด……………………..รหัสไปรษณีย…………………….โทรศัพท………………………….
เมือ่ วันที่………………………………………..ขณะตรวจสอบปนจั่นใชงานอยูที่……………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………

ข า พเจ า ได ทํ าการตรวจสอบป  น จั่ น และอุ ป กรณตามรายการตรวจสอบที่ระบุไวใน


เอกสารแนบทาย พรอมทั้งไดปรับปรุงแกไขสวนที่ชํารุดหรือบกพรองจนใชงานไดถูกตองปลอดภัย และขอ
รับรองวาปนจั่นเครื่องนี้ใชงานไดอยางปลอดภัย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัย
ในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น

(ลงชื่อ)…………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………………………………………
(……………………………………………) (……………………………………………….…)
วิศวกรผูตรวจสอบ เจาของ/ผูจัดการ

สําหรับเจาหนาที่

2- 120
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ คป.2
รายการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณปนจั่นชนิดเคลื่อนที่

1. แบบปนจั่น ไฮดรอลิก ลอยาง


ลอตีนตะขาบ
อืน่ ๆ
2. ผูผลิต สรางโดย……………………………………………………… ประเทศ……………………………..
ตามมาตรฐาน…………………………………………………………………………………………….
ออกแบบใหยกนํ้าหนักไดสูงสุดที่ปลายแขนปนจั่น…………..ตัน (ยาวสุด)
ออกแบบใหยกนํ้าหนักไดสั้นสุดที่ตนแขนปนจั่น………..…….ตัน (สั้นสุด)
4. รายละเอียดคุณลักษณะ (Specification) และคูมือการใชงาน การประกอบ การทดสอบ การซอม
บํารุงและการตรวจสอบ
มีมาพรอมกับปนจั่น
มีโดยวิศวกรกําหนดขึ้น
ไมมี
4. สภาพโครงสราง
4.1 สภาพโครงสรางปนจั่น
เรียบรอย
แตก ชํารุด บิดเบี้ยว ตองแกไข
4.2 สภาพรอยเชื่อมตอ (Joints)
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
4.3 สภาพของนอตและหมุดยํ้า
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
5. มีการตรวจสอบปนจั่น
5.1 หลังประกอบเสร็จ มี ไมมี
5.2 หลังซอมสวนสําคัญ มี ไมมี
5.3 หลังเกิดอุบัติเหตุ มี ไมมี

6. รอก กวานและตะขอยก
6.1 เสนผาศูนยกลางรอกปลายแขนปนจั่น……………………………………………………………………………………………..
6.2 เสนผาศูนยกลางรอกของตะขอยก…………….……………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………วิศวกรผูตรวจสอบ
2- 121
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ คป.2

6.3 สภาพ กวานและตะขอยก


เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
7. สภาพของสลัก ลูกปน เพลา เฟอง โรลเลอร (Rollers)
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
8. สภาพของลวดวิ่ง (Running Ropes)
8.1 ขนาดเสนผาศูนยกลาง………………………………………………..สวนความปลอดภัย (Safety Factor)
เทากับ…………………………………….อายุการใชงาน………..ป
8.2 ในหนึง่ ชวงเกลียวมีลวดขาดตั้งแต 3 เสนขึ้นไปในเกลียวเดียวกัน
มี ไมมี
8.3 มีลวดขาดตั้งแต 6 เสนขึ้นไปในหลายเกลียวรวมกัน
มี ไมมี
9. สภาพของลวดโยงยึด (Standing Ropes)
9.1 ขนาดเสนผาศูนยกลาง………………………………สวนความปลอดภัย………………………………..
อายุการใชงาน………….ป
9.2 เสนลวดในหนึ่งชวงเกลียวขาดตั้งแตสองเสนขึ้นไป
มี ไมมี
10. ลวดวิ่ง และ/หรือ ลวดโยงยึด
10.1 เสนผาศูนยกลางเล็กลงเกินรอยละ 5 ของเสนผาศูนยกลางเดิม
มี ไมมี
10.2 ลวดเสนนอกสึกไปหนึ่งในสามของเสนผาศูนยกลาง
มี ไมมี
10.3 ขมวด ถูกกระแทก แตกเกลียวหรือชํารุดจนเปนเหตุใหการรับนํ้าหนักเสีย
มี ไมมี
10.4 ถูกความรอนทําลายหรือเปนสนิมมากจนเห็นไดชัด
มี ไมมี
11. สภาพการหลอลื่นโดยทั่วไป
เรียบรอย
บกพรองตองแกไข
12. มีครอบปด (Guard) สวนที่หมุนได ที่อาจเปนอันตราย
มี ไมมี

…………………………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ
2- 122
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ คป. 2
13. มีที่ครอบหรือฉนวนหุมทอไอเสียของปนจั่น
มี ไมมี
14. ความตึงของสายพานตัววี
ปกติ
ตองปรับ
15. สภาพของฐานชวยรับนํ้าหนัก
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
16. มีอปุ กรณปองกันแขนตอ ใหอยูหางจากแนวเสนตรงของแขนปนจั่น เกิน 5 องศา
มี ไมมี
17. เครื่องดับเพลิง
มี ไมมี
18. มีการดัดแปลงแกไขสวนหนึ่งสวนใดของปนจั่นหรือไม
มี ไมมี

………………..………………………………………….วิศวกรผูตรวจสอบ
2- 123
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบ คป.2
รายการแกไข ซอมแซม ปรับแตง สิ่งชํารุดบกพรอง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2- 124
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับการตอกเสาเข็ม

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16


มีนาคม 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยสําหรับ
ลูกจางไว ดังตอไปนี้

ความทั่วไป

ขอ 1 ในประกาศนีเ้ รียกวา “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางาน


เกี่ยวกับการตอกเสาเข็ม”

ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป

ขอ 3 ในประกาศนี้
“นายจาง” หมายความวา นายจางตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุมครองแรงงานลง
วันที่ 16 เมษายน 2515 และใหความรวมถึงผูรับจางชวงถัดขึ้นไปหามีตลอดสายาจนถึงผูรับจางชั้นตน
ดวย
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจาง
ดวยตนเอง หรือไมก็ตาม
“วิศวกร” หมายความวา วิศวกรซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตาม
ทีค่ ณะกรรมการควบคุมการประกอบอาชีพวิศวกรรมกําหนดตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพวิศวกรรม
“ผูค วบคุมงาน” หมายความวา ผูซึ่งรับผิดชอบในการควบคุมการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการตอก
เสาเข็ม
“ผูค วบคุมเครื่องตอกเสาเข็ม” หมายความวา ผูซึ่งทําหนาที่ควบคุมเครื่องตอกเสาเข็มใหทํางาน
ตามความตองการ
“ผูใ หสญ
ั ญาณ” หมายความวา ผูซึ่งทําหนาที่ใหสัญญาณในการตอกเสาเข็ม จะเปนสัญญาณมือ
สัญญาณธง สัญญาณเครื่องสงวิทยุ หรือสัญญาณอื่น ซึ่งเปนที่เขาใจระหวางผูใหสัญญาณกับผูควบคุม
เครื่องตอกเสาเข็ม

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 106 ตอนที่ 12 วันที่ 19 มกราคม 2532


มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 19 เมษายน 2532
2- 125
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

“งานกอสราง” หมายความวา การประกอบการเกี่ยวกับการกอสรางอาคาร สนามบิน ทางรถไฟ


ทางรถราง ทาเรือ อุโมงค ทางนํ้า สะพาน อูเรือ สะพานเทียบเรือ ทอระบายนํ้า ถนน โทรเลข โทรศัพท
ไฟฟา กาซ หรือประปา และหมายความรวมถึงการตอเติม ซอมแซม ซอมบํารุง ดัดแปลง เคลื่อนยาย
หรือการรื้อถอนทําลายอาคาร หรือสิ่งกอสรางนั้นดวย
“อาคาร” หมายความวา อาคารตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร
“การตอกเสาเข็ม” หมายความวา วิธีการทําใหเสาเข็มจมลงไปในพื้นดินตามความตองการ
“เสาเข็ม” หมายความวา สิ่งซึ่งทําใหจมลงไปในพื้นดิน เพื่อรับนํ้าหนักของโครงสรางตางๆ โดย
ถายนําหนั
้ กจากโครงสรางอาคารหรือสิ่งกอสรางอื่นๆ สูดินชั้นลาง หรือเพื่อใชเปนกําแพงกันดิน
“เครือ่ งตอกเสาเข็ม” หมายความวา เครื่องจักรกลที่ใชตอกเสาเข็ม ประกอบดวยโครงสรางและ
เครือ่ งตนกําลังอาจแยกจากกันหรือรวมกันอยูในชุดเดียวกันก็ได
“โครงเครือ่ งตอกเสาเข็ม” หมายความวา โครงสรางซึ่งเปนที่ติดตั้งรางนําสงเสาเข็มใหไดแนว
“รางนําสง” หมายความวา รางเหล็กหรือรางวัสดุอื่นใดที่มีคุณสมบัติเทียบเทา ใหนําสงเสาเข็ม
ใหไดแนว
“รางเลือ่ น” หมายความวา รางเหล็ก หรือรางวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติเทียบเทาวางในแนวนอน
สําหรับเคลื่อนเครื่องตอกเสาเข็มจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
“แผนครอบหัวเสาเข็ม” หมายความวา แผนครอบเหล็ก แผนไม กระสอบปาน ผาหรือวัสดุอื่น
ใด ทีใ่ ชวางบนหัวเสาเข็มเพื่อมิใหเสาเข็มเกิดความเสียหายเมื่อรับแรงกระแทก
“ลูกตุม ” หมายความวา แทงโลหะที่กดหรือตอกเสาเข็มใหเสาเข็มจมลงไปในพื้นดิน
“แครลอย” หมายความวา เรือ แพ หรือฐานลอยนํ้าที่ใชรองรับเครื่องตอกเสาเข็มในนํ้า
“สวนปลอดภัย” หมายความวา อัตราสวนของหนวยแรงหรือนํ้าหนักบรรทุก คาดวาจะทําใหเกิด
การวิบัติกับหนวยแรงหรือนํ้าหนักบรรทุกใชงาน

หมวด 1
ขอกําหนดทั่วไป

ขอ 4 ใหนายจางจัดสถานทีกอสรางใหเปนไปตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความ


ปลอดภัยในการทํางานกอสรางวาดวยเขตกอสราง

ขอ 5 ใหนายจางที่ใชเครื่องตอกเสาเข็มปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษระของเครื่องตอกเสา
เข็มและคูมือการใชงานที่ผูผลิตเครื่องตอกเสาเข็มกําหนดไว
ในการประกอบ การทดสอบ การซอมบํารุง และการตรวจสอบเครื่องตอกเสาเข็ม ใหนายจาง
ปฏิบตั ติ ามรายละเอียดคุณลักษณะและคูมือการใชงานตามวรรคหนึ่งดวย
ในกรณีที่มีอุปกรณอื่นใชกับเครื่องตอกเสาเข็ม หามมิใหนายจางใชอุปกรณนั้นเกินหรือไมถูก
ตองตามรายละเอียดคุณลักษณะตามวรรคหนึ่ง
ถาไมมีรายละเอียดคุณลักษณะหรือคูมือการใชงาน หรือผูผลิตเครื่องตอกเสาเข็มมิไดกําหนดไว
ใหนายจางปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษณะที่วิศวกรไดกําหนดขึ้นเปนหนังสือ

2- 126
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 6 กอนเริ่มทําการตอกเสาเข็มใหนายจางจัดใหมีการตรวจอุปกรณยก รางเลื่อน แมแรง


และสวนประกอบที่สําคัญทั้งหมดของเครื่องตอกเสาเข็มใหมีความปลอดภัยในการทํางาน โดยผูควบคุม
งานการตอกเสาเข็มเปนผูบันทึกวันเวลาที่ตรวจและผลการตรวจไวเปนหลักฐาน
ใหนายจางเก็บเอกสารผลการตรวจไวใหพนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบไดตลอดเวลาที่ทําการ
ตอกเสาเข็ม

ขอ 7 ใหนายจางจัดใหมีคูมือการใชเครื่องตอกเสาเข็ม และวิธีการใชรหัสสัญญาณในการควบ


คุมการตอกเสาเข็ม ใหลูกจางไดศึกษาและใชเปนที่เขาใจในระหวางลูกจางที่เกี่ยวของ

ขอ 8 ใหนายจางจัดใหมีปายพิกัดนํ้าหนักยก และคําแนะนําการใชเครื่องตอกเสาเข็มไวที่จุด


หรือตําแหนงที่ผูควบคุมเครื่องตอกเสาเข็มเห็นไดชัดเจน

ขอ 9 เครื่องจักรและอุปกรณอื่นที่ใชกับเครื่องตอกเสาเข็ม ใหนายจางจัดใหเปนไปตาม


ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร

ขอ 10 ถามีการทํางานเกี่ยวกับเครื่องตอกเสาเข็มในเวลากลางคืน ใหนายจางจัดใหมีแสงสวาง


ทัว่ บริเวณตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน ใหเปนไปตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยใน
การทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม

ขอ 11 เสียงที่เกิดจากเครื่องตอกเสาเข็ม ใหนายจางจัดใหเปนไปตามประกาศกระทรวง


มหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม

ขอ 12 ใหนายจางจัดใหมีการปองกันมิใหควันไอเสียของเครื่องตอกเสาเข็มฟุงกระจายเปน
อันตรายตอลูกจาง หรือเปนควันหนาทึบจนผูควบคุมเครื่องตอกเสาเข็ม หรือลูกจางอื่นมองไมเห็นการ
ทํางานของเครื่องตอกเสาเข็ม และจัดใหมีระบบระบายอากาศเสียออกจากบริเวณนั้น

ขอ 13 เมือ่ มีการติดตั้งหรือเคลื่อนยายเครื่องตอกเสาเข็มใกลสายไฟฟาใหนายจางปฏิบัติ ดัง


ตอไปนี้
(1) ถาสายไฟฟามีแรงดันไฟฟาไมเกินหาสิบกิโลโวลท ใหมีระยะหางไมนอยกวาสามเมตร
ระหวางสายไฟฟากับสวนหนึ่งสวนใดของเครื่องตอกเสาเข็ม หรือกับสวนหนึ่งสวนใดของวัสดุที่เครื่องตอก
เสาเข็มกําลังยกอยู
(2) ถาสายไฟฟามีแรงดันไฟฟาเกินหาสิบกิโลโวลท ใหระยะหางตาม (1) เพิ่มขึ้นอีกหนึ่ง
เซนติเมตร สําหรับแรงดันไฟฟาที่เพิ่มขึ้นหนึ่งกิโลโวลท
(3) ในกรณีทเี่ ครือ่ งตอกเสาเข็มเคลื่อนที่ใหระยะระหวางสวนหนึ่งสวนใดของเครื่องตอกเสาเข็ม
กับสายไฟฟาเปน ดังนี้
ก. สําหรับสายไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟาไมเกินหาสิบกิโลโวลทไมนอยกวาหนึ่งเมตรยี่สิบหา
เซนติเมตร

2- 127
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ข. สํ าหรับสายไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟาเกินหาสิบกิโลโวลทแตไมเกินสามรอยยี่สิบหากิโล
โวลทไมนอยกวาสามเมตร
ค. สําหรับสายไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟาเกินสามรอยสี่สิบหากิโลโวลท แตไมเกินเจ็ดรอยหา
สิบกิโลโวลท ไมนอยกวาหาเมตร

ขอ 14 ถาเครื่องตอกเสาเข็มหรือวัสดุที่จะยกตั้งอยูใกลเสาสงคลื่นโทรคมนาคมกอนใชเครื่อง
ตอกเสาเข็มนัน้ ใหนายจางจัดใหมีการตรวจตัวเครื่องตอกเสาเข็มและวัสดุนั้นวาเกิดประจุไฟฟาเหนี่ยวนํา
หรือไม ถาพบวามีประจุไฟฟาเหนี่ยวนําที่ตัวเครื่องตอกเสาเข็มและวัสดุที่จะยก ใหนายจางตอสายตัวนํากับ
เครือ่ งตอกเสาเข็มและวัสดุนั้นใหประจุไฟฟาไหลลงดิน ตลอดเวลาที่มีการใชเครื่องตอกเสาเข็มทํางานใกล
เสาสงคลื่นโทรคมนาคม

ขอ 15 การใชเชือกลวดเหล็กกลาสําหรับเครื่องตอกเสาเข็ม นายจางตองปฏิบัติตามคําแนะนํา


ของผูผลิต และหรือตามมาตรฐานของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

ขอ 16 ใหนายจางจัดใหมีการควบคุมใหมีเชือกลวดเหล็กกลาเหลืออยูในที่มวนเลือกลวดไม
นอยกวาสองรอบขณะที่ใชเครื่องตอกเสาเข็ม

ขอ 17 ใหนายจางใชเชือกลวดเหล็กกลา ที่มีสวนปลอดภัยของเชือกลวดเหล็กกลา ดังนี้


(1) เชือกลวดเหล็กกลาที่มีลวดวิ่ง ไมนอยกวา 6
(2) เชือกลวดเหล็กกลาที่เปนลวดโยงยึด ไมนอยกวา 3.5

ขอ 18 ในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องตอกเสาเข็ม หามใชเลือกลวดเหล็กกลาที่มีลักษณะดังตอ


ไปนี้
(1) ลวดวิง่ ทีม่ เี สนลวดในหนึ่งชวงเกลียวขาดตั้งแตสามเสนขึ้นไปในเกลียวเดียวกัน หรือขาดั้ง
แตหกเสนขึ้นไปในหลายเกลียวรวมกัน
(2) ลวดโยงยึดทีม่ เี สนลวดในหนึ่งชวงเกลียวขาดตั้งแตสองเสนขึ้นไป
(3) ลวดเสนนอกสึกไปหนึ่งในสามของเสนผาศูนยกลาง
(4) ลวดวิง่ หรือลวดโยงยึดที่ขมวด ถูกบดกระแทก แตกเกลียวหรือชํารุด ซึ่งเปนเหตุใหการรับ
นําหนั
้ กของเชือกลวดเหล็กกลาเสียไป
(5) เสนผาศูนยกลางมีขนาดเล็กลงเกินรอยละหาของเสนผาศูนยกลางเดิม
(6) ถูกความรอนทําลายหรือเปนสนิมมากจนเห็นไดชัดเจน

ขอ 19 หามนายจางใชรอกในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องตอกเสาเข็มที่มีอัตราสวนระหวางเสน
ผาศูนยกลางของรอกหรือลอใดๆ กับเสนผาศูนยกลางของเชือกลวดเหล็กกลาที่พันอยูนอยกวามาตรฐานที่
กําหนด ดังตอไปนี้
(1) 18 ตอ 1 สําหรับรอกของเครื่องตอกเสาเข็ม
(2) 16 ตอ 1 สําหรับรอกของตะขอ
(3) 15 ตอ 1 สําหรับรอกของตัวลากเสาเข็ม
2- 128
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

หมวด 2
ความปลอดภัยในการตอกเสาเข็ม

ขอ 20 ใหนายจางจัดใหมีผูควบคุมงาน ทําหนาที่ตรวจความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับ


การตอกเสาเข็มกอนการทํางานและขณะทํางานทุกขั้นตอน เพื่อใหเกิดความปลอดภัยภายใตการควบคุม
ของวิศวกร

ขอ 21 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งมีความชํานาญ และไดรับการฝกอบรมวิธีการใชเครื่องตอก


เสาเข็มอยางถูกตองและปลอดภัยเปนผูควบคุมเครื่องตอกเสาเข็ม

ขอ 22 ใหนายจางจัดใหมีผูใหสัญญาณในการตอกเสาเข็มและสัญญาณที่ใชตองเปนที่เขาใจ
ระหวางผูที่เกี่ยวของ

ขอ 23 ใหนายจางจัดใหบริเวณที่ตอกเสาเข็มมิใหมีสิ่งกีดขวางสายตาผูควบคุมเครื่องตอกเตา
เข็มที่จะมองเห็นการทํางานตอกเสาเข็ม

ขอ 24 ทีท่ างานของผู


ํ ควบคุมเครื่องตอกเสาเข็ม ใหนายจางจัดใหมีโครงเหล็กและหลังคาลวด
ตาขายกันของตกอยูเหนือศีรษะ ขนาดชองลวดตาขายไมเกินสิบสามมิลลิเมตร ซึ่งมีความแข็งแรงตาม
มาตรฐาน ยู.เอส.เกจ. ไมนอยกวาเบอรสิบแปดหรือเทียบเทา

ขอ 25 ใหนายจางควบคุมดูแลลูกจางที่ทําหนาที่เปลี่ยนแผนครอบหัวเสาเข็มปฏิบัติ ดังตอไปนี้


(1) เปลีย่ นแผนครอบหัวเสาเข็ม เมื่อลูกตุมหยุดทํางานและอยูในตําแหนงที่ปลอดภัย
(2) เมือ่ การเปลีย่ นแผนครอบหัวเสาเข็มไดดําเนินการแลวเสร็จ และลูกจางผูทําหนาที่เปลี่ยน
แผนครอบหัวเสาเข็มพนออกจากบริเวณรางนําสงแลว ผูใหสัญญาณจึงใหสัญญาณแกผูควบคุมเครื่องตอก
เสเข็ม ทํางานตอไป

ขอ 26 ใหนายจางจัดทําพื้นรองรับใหมีความมั่นคงแข็งแรง สามารถรองรับนํ้าหนักเครื่องตอก


เสาเข็มและเครื่องจักรอื่น

ขอ 27 รางเคลื่อนเสาเข็มไปยังเครื่องตอกเสาเข็ม ใหนายจางจัดวางใหไดระดับและมีหมอน


รองรับมั่นคง

ขอ 28 การยกเสาเข็มขึ้นตั้งในรางนําสงเสาเข็ม ใหนายจางควบคุมใหลูกจางใชรอกหรือเชือก


ลวดยึดเสาเข็มที่ตําแหนงซึ่งวิศวกรไดออกแบบกําหนดไว

ขอ 29 ถาใชเสาเข็มกลางที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางของดานในเกินสิบหาเซนติเมตร เมื่อทํา


การตอกเสาเข็มแลวแตละหลุม ใหนายจางจัดใหมีการปดปากรูเสาเข็มโดยทันทีดวยวัสดุที่มีความแข็งแรง
สามารถปองกันมิใหสิ่งของ หรือผูใดพลาดตกลงไปในรูได
2- 129
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 30 หามนายจางใหลูกจางทํางานเกี่ยวกับเครื่องตอกเสาเข็มในขณะที่มีพายุ ฝนหรือฟา


คะนอง

ขอ 31 ใหนายจางจัดใหลูกจางเฉพาะที่วายนํ้าได ทํางานเกี่ยวกับเครื่องตอกเสาเข็มบนแคร


ลอย

ขอ 32 ใหนายจางจัดใหมีการดูแลรักษาความสะอาดพื้นแครลอยที่มีเครื่องตอกเสาเข็มติดตั้ง
อยู

ขอ 33 ใหนายจางจัดใหมีการยึดโยง หรือตรึงโครงเครื่องตอกเสาเข็มและอุปกรณซึ่งติดตั้งบน


แครลอย ดังตอไปนี้ใหมั่นคงปลอดภัย
(1) โครงสรางรองรับอุปกรณการตอกเสาเข็ม
(2) สะพานทางเดินและบันไดเชื่อมตอระหวางแครลอยกับฝงที่อยูใกลเคียงกัน
(3) สะพานทางเดินเชื่อมระหวางแครลอยที่อยูใกลเคียงกัน
(4) เครื่องตอกเสาเข็ม อุปกรณหรือเครื่องมือที่ตองยึดกับแครลอยในการตอกเสาเข็ม

ขอ 34 หามนายจางใหลูกจางทํ างานเกี่ยวกับเครื่องตอกเสาเข็มที่ชํารุดหรืออยูในสภาพที่ไม


ปลอดภัยจนกวาจะไดมีการซอมแซมแกไขใหอยูในสภาพที่ใชงานไดอยางปลอดภัยเสียกอน

ขอ 35 การซอมแซมเครื่องตอกเสาเข็ม ใหนายจางปฏิบัติ ดังตอไปนี้


(1) เครื่องตอกเสาเข็มระบบไอนํ้า ลม หรือไฮดรอลิค ใหลดแรงดันลงใหอยูในระดับปลอดภัย
(2) เครือ่ งตอกเสาเข็มระบบเครื่องยนตเผาไหมภายใน หรือระบบดีเซลแฮมเมอร ใหดับเครื่อง
ยนตเสียกอน

หมวด 3
โครงสรางเครื่องตอกเสาเข็ม

ขอ 36 กรณีทนี่ ายจางเปนผูจัดทําโครงสรางเครื่องตอกเสาเข็ม ใหนายจางจัดใหมีวิศวกรเปนผู


ออกแบบคํานวณโครงสราง และกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะของโครงเครื่องตอกเสาเข็มและลูกตุม
อยางนอยใหเปนไปตามขอกําหนด ดังตอไปนี้
(1) โครงเครือ่ งตอกเสาเข็ม ตองมีสวนปลอดภัยไมนอยกวาสองขางนํ้าหนักการใชงาน
(2) โครงเครื่องตอกเสาเข็ม ตองสรางดวยโลหะที่มีจุดครากไมนอยกวาสองพันสี่รอยกิโลกรัมตอ
ตารางเซนติเมตร
(3) รางเลือ่ นเครื่องตอกเสาเข็ม ตองสามารถรับนํ้าหนักไดไมนอยกวาสองเทาของนํ้าหนักเครื่อง
ตอกเสาเข็ม
(4) คานติดตัง้ รอกและฐานรองรับคาน ตองสามารถรับนํ้าหนักรอก ลูกตุม และนํ้าหนักเสาเข็ม
รวมกันโดยมีสวนปลอดภัยไมนอยกวาหา
(5) โครงเครื่องตอกเสาเข็มตองมีการยึดโยง คํ้ายันหรือตรึงใหมั่นคงแข็งแรงและปลอดภัย
2- 130
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(6) อุปกรณที่ใชยึดเครื่องตอกเตาเข็มระบบดีเซลแฮมเมอรกับโครงเครื่องตอกเสาเข็มตองมี
สวนปลอดภัยไมนอยกวาหก

ขอ 37 เมือ่ นายจางติดตั้งเครื่องตอกเสาเข็มแลวเสร็จ ใหนายจางจัดใหมีวิศวกรตรวจบันทึกวัน


เวลาทีต่ รวจและผลการตรวจรับรองวาไดสรางถูกตองตามขอ 36 แลวจึงใชเครื่องตอกเสาเข็มนั้นได
ใหนายจางเก็บเอกสารการตรวจไวใหพนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบไดตลอดเวลาที่ทําการ
ตอกเสาเข็ม

หมวด 4
เครือ่ งตอกเสาเข็มระบบเครื่องยนตเผาไหมภายใน

ขอ 38 เชือกลวดเหล็กกลาที่ใชกับเครื่องตอกเสาเข็มระบบเครื่องยนตเผาไหมภายใน ใหนาย


จางใชเชือกลวดเหล็กกลาชนิดอิมปรูฟพลาวสตีล หรือเอ็กซตราอิมปรูฟพลาวสตีล และใหนายจางจัดใหมี
การตรวจสอบการหลอลื่นเชือกลวดเหล็กกลากอนและหลังการใชงานทุกครั้ง

ขอ 39 ใหนายจางจัดใหมีแผนเหล็กเหนียวกั้นหรือลูกกลิ่งบริเวณเหนือรองรอกสวนบนของ
เครื่องตอกเสาเข็มเพื่อมิใหเชือกลวดเหล็กกลาหลุดออกมารองรอก

ขอ 40 ใหนายจางจัดใหมีการยึดปลายสลักของลูกตุมเพื่อปองกันมิใหลูกตุมหลุด

ขอ 41 เมือ่ ไมมีการตอกเสาเข็ม ใหนายจางดูแลใหผูควบคุมเครื่องตอกเสาเข็มลดระดับลูกตุม


ไวที่ตําแหนงตํ่าสุด ของรางนําสง

ขอ 42 ใหนายจางจัดใหมีสิ่งครอบปดคลัตช และกวานหรือสวนที่หมุนไดของเครื่องตอกเสา


เข็มใหมีความปลอดภัย

ขอ 43 ใหนายจางจัดใหมีการตรวจสอบกวาง ล็อคกวาน หามลอ และสวนที่หมุนไดของเครื่อง


ตอกเสาเข็มใหอยูในสภาพที่ปลอดภัยตลอดเวลาใชงาน

ขอ 44 ใหนายจางจัดใหมีสลักที่แมรองเพื่อปองกันแกนแมแรงเคลื่อนสูงเลยปลายแกน หรือมี


เครื่องชี้บอกตําแหนงที่ถูกตองของสลัก

ขอ 45 ใหนายจางจัดใหมีการตรวจสอบแมแรงเครื่องตอกเสาเข็มรวมทั้งการหลอลื่นทุกครั้ง
เมือ่ มีการติดตั้ง ถาแมแรงมีรอยราว รอยบิด หรือชิ้นสวนสึกหรอ ใหเปลี่ยนทันที

ขอ 46 เมื่อใชแมแรงยกเครื่องตอกเสาเข็มถึงระดับความสูงที่ตองการ ใหนายจางจัดใหมีการ


สอดหมอนไมรองรับไวขางใตทันที

2- 131
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

หมวด 5
เครือ่ งตอกเสาเข็มระบบไอนํ้า ลม หรือไฮดรอลิค

ขอ 47 ใหนายจางจัดใหมีการยึดโยงทอไอนํ้า ทอลม หรือทอไฮดรอลิค กับตัวลูกตุมของ


เครื่องตอกเสาเข็มใหมั่นคงปลอดภัยดวยโซหรือเชือกลวดขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอยกวาหกมิลลิเมตร
เพื่อปองกันมิใหทอหลุดสะบัดออก

ขอ 48 ใหนายจางจัดใหมีการติดตั้งลิ้นควบคุมแรงดันของไอนํ้า ลม หรือไฮดรอลิคของเครื่อง


ตอกเสาเข็ม ใหสูงกวาแรงดันใชงานปกติ ไมเกินรอยละยี่สิบ

ขอ 49 หมอไอนํ้าและมาตรฐานความปลอดภัยเกี่ยวกับหมอไอนํ้าของเครื่องตอกเสาเข็ม ให


นายจางจัดใหเปนไปตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่อง
จักร

ขอ 50 ขณะใชเครื่องตอกเสาเข็มระบบไอนํ้า ลม หรือไฮดรอลิค ถาทอไอนํ้า ทอลม หรือทอ


ไฮดรอลิค ชํารุดใหนายจางจัดใหมีการเปลี่ยนทอดังกลาวทันที

หมวด 6
เครือ่ งตอกเสาเข็มระบบดีเซลแฮมเมอร

ขอ 51 ใหนายจางจัดใหมีบันไดพรอมราวจับ และโครงกันตกทําดวยโลหะติดโครงเครื่องตอก


เสาเข็มระบบดีเซลแฮมเมอร

ขอ 52 ถาโครงเครื่องตอกเสาเข็มระบบดีเซลแฮมเมอรมีชั้นพัก ใหนายจางจัดทําพื้นและทาง


เดินบนชั้นพักเปนแบบกันลื่น และมีราวกันตกโดยรอบ

ขอ 53 ใหนายจางจัดใหมีเครื่องหยุดอัตโนมัติ หยุดเครื่องดีเซลแฮมเมอรไดในทันทีในกรณี


ฉุกเฉิน

หมวด 7
การคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

ขอ 54 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับการประกอบ ติดตั้งหรือถอดถอนโครงเครื่อง


ตอกเสาเข็ม ซอมแซม ซอมบํารุง หรือการขน ยก แบก หาบหาม วัสดุและอุปกรณเครื่องตอกเสาเข็มและ
ขณะปฏิบตั งิ านตอกเสาเข็ม สวมใสหมวกนิรภัย ถุงมือหนัง รองเทานิรภัย หรืออุปกรณคุมครองความ
ปลอดภัยสวนบุคคลอื่นๆ ตามลักษณะและสภาพของงานที่เกี่ยวของ และใหถือเปนระเบียบปฏิบัติงานของ
สถานประกอบการตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

2- 132
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 55 ลูกจางตองใชหรือสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล หรืออุปกรณปอง


กันอันตรายจากเครื่องจักรอื่นๆ ที่นายจางจัดไวใหตามลักษณะและสภาพของงาน ถาลูกจางไมใชหรือไม
สวมใสอปุ กรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ใหนายจางสั่งหยุดการทํางานของลูกจางทันทีจนกวาจะ
ไดใช

ขอ 56 ใหนายจางจัดใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับวานเชื่อม หรือตัดชิ้นงานดวยกาซ ไฟฟา หรือ


พลังงานอืน่ สวมใสแวนตาลดแสง หรือกระบังลดแสง ถุงมือหนัง รองเทาพื้นยางหุมสน และแผนปดหนา
อกกันประกายไฟตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 57 ใหนายจางจัดใหลูกจางที่ทํางานบนแครลอย สวมใสชูชีพตลอดเวลาทํางาน หากนาย


จางใหลกู จางทํางานในเวลากลางคืน ชูชีพตองติดพรายนํ้าหรือวัสดุเรืองแสง

ขอ 58 ใหนายจางจัดอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลใหลูกจางใชหรือสวมใสตาม
มาตรฐาน ดังตอไปนี้
(1) หมวกนิรภัยใหเปนไปตามมาตรฐานของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
(2) ถุงมือหนังตองมีความยาวหุมถึงขอมือ มีลักษณะใชสวมถึงนิ้วมือไดทุกนิ้ว
(3) รองเทานิรภัย ใหเปนไปตามมาตรฐานของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
(4) เข็มขัดนิรภัย ตองทําดวยหนังไนลอน ผาฝายถัก หรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติเหมือนกัน และ
สามารถทนแรงดึงไดไมนอยกวาหนึ่งพันหนึ่งรอยหาสิบกิโลกรัม สําหรับสวนที่รัดเอวตองมีความกวางไม
นอยกวาหาเซนติเมตร

ขอ 59 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายตามประกาศนี้

ขอ 60 เมื่อปรากฏวานายจางฝาฝนประกาศนี้ พนักงานตรวจแรงงานอาจใหคําเตือนเพื่อให


นายจางไดปฏิบัติการใหถูกตองภายในเวลาที่กําหนดไวในคําเตือนเสียกอนก็ได

ประกาศ ณ วันที่ 21 ธันวาคม 2531

พลตรี ประมาณ อดิเรกสาร


รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 133
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานกอสราง
วาดวยลิฟทขนสงวัสดุชั่วคราว

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16 มีนาคม


พ.ศ.2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดการคุมครองแรงงานในสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและ
ความปลอดภัยสําหรับลูกจางไว ดังตอไปนี้

ขอ 1 ในประกาศนี้
“งานกอสราง” หมายความวา การประกอบการเกี่ยวกับการกอสรางอาคาร สนามบิน ทางรถไฟ
ทางรถราง ทาเรือ ทางนํ้า สะพาน ถนน การโทรเลข โทรศัพท ไฟฟา กาซ หรือการประปา และหมายความ
รวมถึงการตอเติม ซอมแซม ซอมบํารุง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร หรือสิ่งกอสรางนั้นๆ ดวย
“อาคาร” หมายความวา อาคารตามความหมายที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร
“ลิฟทขนสงวัสดุชั่วคราว” หมายความวา เครื่องใชในการกอสรางเพื่อขนสงวัสดุในทางดิ่ง
ประกอบดวยทอลิฟทหรือปลองลิฟท ตัวลิฟท และเครื่องจักร
“หอลิฟท” หมายความวา โครงสรางเปนหอสูงจากพื้นสําหรับเปนที่ติดตั้งตัวลิฟทในงานกอสราง
เปนการชั่วคราว
“ปลองลิฟท” หมายความวา ชองที่อยูภายในสิ่งกอสรางสําหรับใชเปนทางเคลื่อนขึ้นลงของ
ตัวลิฟทในงานกอสรางเปนการชั่วคราว
“ตัวลิฟท” หมายความวา ที่สําหรับรองรับหรือบรรจุวัสดุ สามารถเคลื่อนยายขึ้นลงไดโดยใชเครื่อง
จักรในหรือนอกหอลิฟทหรือปลองลิฟท

หมวด 1
การสรางลิฟทขนสงวัสดุชั่วคราว

ขอ 2 ลิฟททมี่ คี วามสูงเกินเกาเมตร นายจางจะตองจัดใหมีผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบ


วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา จาก ก.ว. เปนผูออกแบบและคํานวณโครงสราง พรอมทั้ง
กําหนดรายละเอียดของหอลิฟทและตัวลิฟท อยางนอยใหเปนไปตามขอกําหนด ดังตอไปนี้
(1) หอลิฟท ตองสามารถรับนํ้าหนักไดไมนอยกวาสองเทาของนํ้าหนักแหงการใชงาน (Working
Load)

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 98 ตอนที่ 28 วันที่ 20 กุมภาพันธ 2524


2- 134
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(2) คานสําหรับติดตั้งรอกและฐานที่รองรับคาน ตองมีความแข็งแรงพอที่จะรับนํ้าหนักรอก


นํ้าหนักตัวลิฟท และนําหนั
้ กบรรทุก (Live Load) โดยมีสวนปลอดภัย (Factor of Safety) ไมนอย
กวาหา
(3) หอลิฟททสี่ รางดวยไม ตองสรางดวยไมที่มีหนวยแรงดัดประลัย (Ultimate Bending Stress)
ไมนอ ยกวาแปดรอยกิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร และมีสวนปลอดภัยไมนอยกวาแปด
(4) หอลิฟทที่สรางดวยโลหะ ตองเปนโลหะที่มีจุดคราก (Yield Point) ไมนอยกวาสองพันสี่
รอยกิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร และมีสวนปลอดภัยไมนอยกวาสอง
(5) ฐานรองรับหอลิฟท ตองมีความมั่นคง สามารถรับนํ้าหนักไดไมนอยกวาสองเทาของนํ้าหนัก
หอลิฟท นํ้าหนักตัวลิฟท และนํ้าหนักบรรทุก
(6) ตัวลิฟทตองมั่นคงแข็งแรง สามารถรับนํ้าหนักบรรทุกไดไมนอยกวาหาเทาของนํ้าหนักแหง
การใชงาน และตองมีขอบกันของตกสูงไมนอยกวาเจ็ดเซนติเมตรจากพื้นของตัวลิฟทโดยของและดานที่
มิใชทางขนของเขาออกตองมีผนังปดกั้นดวยไมหรือลวดตาขาย มีความสูงจากพื้นของตัวลิฟทไมนอยกวา
หนึง่ เมตร เวนแตตัวลิฟททมี่ ีลักษณะเปนถังโลหะ ไมตองมีผนังปดกั้นก็ได
ในกรณีที่ติดตั้งลิฟทอยูภายนอกหอลิฟท ไมตองมีผนังปดกั้นตัวลิฟทก็ได
(7) หอลิฟท ตองมีการยึดโยง คํ้ายัน หรือตรึงกับพื้นดินหรือตัวอาคารใหมั่นคงแข็งแรงและ
ปลอดภัย

ขอ 3 เครื่องจักรและอุปกรณอื่นๆ ที่ใชยกตัวลิฟท นายจางตองจัดใหเปนไปตามประกาศกระทรวง


มหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร

ขอ 4 ในการสรางลิฟท นายจางตองดําเนินการตามแบบและรายละเอียดตามขอ 2 ขอ 3 และ


ตามขอกําหนด ดังตอไปนี้
(1) ในกรณีติดตั้งตัวลิฟทภายในหอลิฟทตองมีลาดตาขายหรือไมตีเวนชองหางกันไมนอยกวา
สามเซนติเมตร แตไมเกินสิบเซนติเมตร ปดยึดแนนกับโครงหอลิฟททุกดาน สูงไมนอยกวาสองเมตรจาก
พื้นของหอลิฟท เวนแตชองที่ใชเปนทางขนของเขาออก
(2) ในกรณีติดตั้งตัวลิฟทภายนอกหอลิฟท ตองมีรั้วกั้นปองกันมิใหบุคคลเขาไปในบริเวณที่อาจ
เปนอันตรายเนื่องจากของตกใตตัวลิฟทนั้น
(3) ทางเดินระหวางลิฟทกับสิ่งกอสราง ตอง
(ก) มีราวกันตกสูงไมนอยกวาเกาสิบเซนติเมตร และไมเกินหนึ่งเมตรสิบเซนติเมตรจากพื้นทางเดิน
(ข) มีขอบกันของตกสูงไมนอยกวาเจ็ดเซนติเมตรจากพื้นทางเดิน
(ค) มีไมหรือโลหะขวางกั้นที่สามารถปด-เปดได มีความสูงไมนอยกวาเเกาสิบเซนติเมตร
แตไมเกินหนึ่งเมตรสิบเซนติเมตร จากพื้นทางเดิน อยูหางจากลิฟทไมนอยกวาหกสิบเซนติเมตร บนทาง
เดินนั้น
(4) ในกรณีที่ปลองลิฟทไมมีผนังกั้น ตองมีรั้วที่มีความมั่นคงแข็งแรงปดกั้นทุกดาน สูงไมนอยกวา
สองเมตรจากพื้นแตละชั้น เวนแตทางเขาออก ตองมีไมหรือโลหะขวางกั้นที่สามารถปดเปดได มีความสูง
ไมนอ ยกวาเกาสิบเซนติเมตร และไมเกินหนึ่งเมตรสิบเซนติเมตร จากพื้น

2- 135
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 5 เมื่อนายจางไดสรางลิฟทแลว ตองใหวิศวกรผูออกแบบตามขอ 2 หรือวิศวกรผูควบคุมงาน


ตรวจรับรอง วาไดสรางถูกตอง ตามแบบรายละเอียดและขอกําหนดตามขอ 4 แลว จึงจะใชลฟิ ทนั้นได
และใบรับรองของวิศวกรดังกลาว นายจางจะตองเก็บรักษาไวเพื่อใหพนักงานเจาหนาที่กรมแรงงานตรวจดู
ไดตลอดเวลาการใชลิฟทนั้น

ขอ 6 การใชลฟิ ท นายจางตองปฏิบัติ ดังนี้


(1) ใหมีผูที่ไดรับการฝกอบรมการใชลิฟทมาแลวทําหนาที่บังคับลิฟทประจําตลอดเวลาที่ใชลิฟท
(2) ใหมีขอบังคับการใชลฟิ ทตดิ ไวใหเห็นชัดเจนในบริเวณลิฟท และผูทําหนาที่บังคับลิฟทตาม
(1) ตองปฏิบัติตามขอบังคับนั้นโดยเครงครัด
(3) ใหมีการตรวจสอบลิฟททุกวัน ถามีสวนใดชํารุดเสียหาย ตองซอมใหเรียบรอยกอนที่จะใช
(4) ติดปาย “หามใชลฟิ ท” ใหลูกจางทราบ ในกรณีที่ลฟิ ทไมอยูในสภาพพรอมใชงาน หรือไมมี
ผูทําหนาที่บังคับลิฟทตาม (1)
(5) หามมิใหบุคคลใดใชลฟิ ทขนึ้ ลงอยางเด็ดขาด เวนแตในกรณีตรวจสอบหรือซอมแซมลิฟท
(6) ติดปายบอกพิกัดนํ้าหนักบรรทุกไวที่ลฟิ ทใหเห็นไดชัดเจน
(7) ตองจัดวางและปองกันมิใหวัสดุตกหรือยื่นออกมาขัดกับโครงหอลิฟท
(8) ในการใชลฟิ ทขนรถขนของหรือเครื่องมือที่มีลอ ตองปองกันมิใหรถหรือเครื่องมือนั้นเคลื่อน
ที่ได

ขอ 7 ในกรณีที่นายจางใชลฟิ ทในการทํางานกอสราง หามมิใหใชลฟิ ทที่มีลักษณะใชกระปองหรือ


ภาชนะอื่นที่คลายกัน เกี่ยวหรือเกาะเคลื่อนยายพรอมกับสายพาน ลวด หรือเชือก แทนตัวลิฟทในงาน
กอสราง

หมวด 2
การคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

ขอ 8 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับการประกอบหรือติดตั้งโครงลิฟท ซอมบํารุงลิฟท


หรือการขน ยก แบก หาบ หาม สิ่งของหรือวัสดุขึ้นลงลิฟท สวมหมวกแข็ง ถุงมือหนัง รองเทาหนังหัว
โลหะ ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 9 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับการควบคุมบังคับลิฟท สวมหมวกแข็ง และรอง


เทาพืน้ ยางหุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 10 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานมีลักษณะโดดเดี่ยวในที่สูงเกินสี่เมตร และไมมีเครื่อง


ปองกันอันตราย หรือการปองกันอันตรายอยางอื่น สวมเข็มขัดนิรภัยและเชือกนิรภัย ตลอดเวลาที่ลูกจาง
ทํางาน

ขอ 11 อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ตองเปนไปตามมาตรฐาน ดังตอไปนี้

2- 136
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(1) หมวกแข็ง ตองมีนํ้าหนักไมเกินสี่รอยยี่สิบสี่กรัม ทําดวยวัตถุที่ไมใชโลหะและมีความตาน


ทานสามารถทนแรงกระแทกไดไมนอยกวาสามรอยแปดสิบหากิโลกรัม ภายในหมวกตองมีรองใน
หมวกทําดวยหนัง พลาสติก ผา หรือวัตถุอื่นที่คลายกัน อยูหางผนังหมวกไมนอยกวาหนึ่งเซนติเมตร
ซึง่ สามารถปรับระยะไดตามขนาดศีรษะของผูใช เพื่อปองกันศีรษะกระทบกับผนังหมวก
(2) ถุงมือหนัง ตองมีความยาวหุมถึงขอมือ มีลักษณะใชสวมกับนิ้วมือไดทุกนิ้ว
(3) รองเทาหนังหัวโลหะปลายรองเทาตองมีโลหะแข็งหุม สามารถทนแรงกดไดไมนอยกวาสี่รอย
สี่สิบหกกิโลกรัม
(4) เข็มขัดนิรภัยและเชือกนิรภัย ตองทําดวยหนัง ไนลอน ผาฝายถักหรือวัตถุอื่นที่คลายกัน และ
สามารถทนแรงดึงไดไมนอยกวาหนึ่งพันหนึ่งรอยหาสิบกิโลกรัม สําหรับเข็มขัดนิรภัยตองมีความกวางไม
นอยกวาหาเซนติเมตร

ขอ 12 ขอกําหนดตามประกาศนี้ ถือเปนมาตรฐานขั้นตํ่าที่ตองปฏิบัติเทานั้น

ขอ 13 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายตามประกาศนี้

ขอ 14 ประกาศกระทรวงมหาดไทยนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2524

ประเทือง กีรติบุตร
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 137
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานกอสราง
วาดวยนั่งราน

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16 มีนาคม


พ.ศ.2515 จึงเห็นสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานกอสราง
ลงวันที่ 10 มิถุนายน 2519 เพื่อกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความ ปลอดภัยสําหรับลูก
จางในงานกอสรางไดเปนไปโดยเหมาะสมยิ่งขึ้น กระทรวงมหาดไทยจึงออกประกาศดังตอไปนี้

ขอ 1 ใหยกเลิกประกาศประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานกอสราง


ลงวันที่ 10 มิถุนายน 2519

ขอ 2 ประกาศกระทรวงมหาดไทยนี้เรียกวา “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัย


ในการทํางานกอสราง วาดวยนั่งราน”

ขอ 3 ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

ขอ 4 ในประกาศนี้
“งานกอสราง” หมายความวา การประกอบการเกี่ยวกับการกอสรางอาคาร สนามบิน ทางรถไฟ
ทางรถราง ทาเรือ ทางนํ้า ถนน การโทรเลข โทรศัพท ไฟฟา กาซ หรือประปา และหมายความรวมถึงการ
ตอเติม ซอมแซม ซอมบํารุง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร หรือสิ่งกอสรางนั้นๆ ดวย
“อาคาร” หมายความวา อาคารตามความหมายที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร
“นัง่ ราน” หมายความวา ที่ปฏิบัติงานซึ่งจัดไวสูงจากพื้นดิน หรือสวนของอาคาร หรือสวนของงาน
กอสราง สําหรับเปนที่รองรับของผูปฏิบัติงาน และ หรือวัสดุในงานกอสรางเปนการชั่วคราว
“นัง่ รานเสาเรียงเดี่ยว” หมายความวา นั่งรานซึ่งมีที่ปฏิบัติงานเปนคานยึดติดกับเสาแถวเดี่ยว

ขอ 5 ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้มิใหใชบังคับแก
(1) งานกอสรางอาคารที่ใชไมเปนสวนใหญและมีความสูงจากพื้นดินถึงคานรับหลังคา ไม
เกิน 7.00 เมตร
(2) งานซอมแซม หรือตกแตงอาคาร โดยใชผูปฏิบัติงานคราวละไมเกินสองคน
(3) งานติดตัง้ ประปา ไฟฟา หรืออุปกรณอื่นๆ โดยใชผูปฏิบัติงานนั้นคราวละไมเกินสองคน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เลม 99 ตอนที่ 103 วันที่ 30 กรกฎาคม 2525
2- 138
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

หมวด 1
งานกอสราง

ขอ 6 การทํางานกอสรางซึ่งมีความสูงเกิน 2.00 เมตรขึ้นไป นายจางตองจัดใหมีนั่งรานสําหรับ


การกอสรางงานนั้น

หมวด 2
แบบนั่งราน

ขอ 7 นัง่ รานเสาเรียงเดี่ยวที่สูงเกิน 7.00 เมตรขึ้นไป หรือนั่งรานที่สูงเกิน 21.00 เมตรขึ้นไป


นายจางตองจัดใหผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่ ก.ว กําหนด เปนผู
ออกแบบและกําหนดรายการละเอียดนั่งราน

ขอ 8 นัง่ รานเสาเรียงเดียวที่สูงไมเกิน 7.00 เมตร หรือนั่งรานที่สูงไมเกิน 21.00 เมตร นายจาง


ตองจัดใหผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่ ก.ว. กําหนด เปนผูออกแบบ
และกําหนดรายการละเอียดนั่งราน หรือจะใชตามนั่งรานมาตรฐานประเภทตางๆ ตามกําหนดในขอ 12 ก็
ได

ขอ 9 ในกรณีทนี่ ายจางจะใหผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมที่ ก.ว.


กําหนดเปนผูออกแบบและกําหนดรายการละเอียดนั่งราน อยางนอยตองเปนไปตามขอกําหนด ดังตอไปนี้
(1) นัง่ รานที่สรางดวยไมตองใชไมที่ไมผุเปอย ไมมีรอยแตกราวหรือชํารุดอื่นๆ ที่จะทําใหไมขาด
ความแข็งแรงทนทาน และจะตองมีหนวยแรงตัดประลัย (Ultimate Bending Stress) ไมนอยกวา 500
กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร และมีสวนปลอดภัยไมนอยกวาสี่เทาของแรงดัดประลัย เวนแตไมที่ใชเปนไม
ไผตอ งมีหลักฐานเอกสารในการทดสอบความแข็งแรงของวัสดุที่จะใชจากสถาบันที่ทางราชการเชื่อถือได มี
สวนปลอดภัยเพียงพอ และใหเปนไปตามที่กําหนดไวในขอ 11 (6)
ถาสรางดวยโลหะ ตองเปนโลหะที่มีจุดคราก (Yield Point) ไมนอยกวา 2,400 กิโลกรัมตอตาราง
เซนติเมตร และมีสวนปลอดภัยไมนอยกวาสองเทาของจุดคราก
(2) นัง่ รานตองสามารถรับนํ้าหนักบรรทุกไดไมนอยกวาสองเทาของนํ้าหนักแหงการใชงานสําหรับ
นัง่ รานทีส่ รางดวยโลหะ และไมนอยกวาสี่เทาของนํ้าหนักแหงการใชงานสําหรับนั่งรานที่สราง ดวยไม
(3) ทีร่ องรับนั่งรานตองมีความมั่นคงแข็งแรง สามารถรับนํ้าหนักบรรทุกไดไมนอยกวาสองเทา
ของนํ้าหนักแหงการใชงาน
(4) โครงนัง่ รานตองมีการยึดโยง คํ้ายันหรือตรึงกับพื้นดิน หรือสวนของงานกอสราง เพื่อปองกัน
มิใหเซหรือลม
(5) ตองมีราวกันตกมีความสูงไมนอยกวา 90 เซนติเมตร และไมเกิน 1.10 เมตร จากพื้นนั่งราน
ตลอดแนวยาวดานนอกของพื้นนั่งราน นอกจากเฉพาะชวงที่จําเปนเพื่อขนถายสิ่งของ ยกเวนนั่งรานเสา
เรียงเดี่ยว
(6) ตองจัดใหมีพื้นนั่งรานปูติดตอกันมีความกวางไมนอยกวา 35 เซนติเมตร ยึดกับตงใหแนน
ยกเวนนั่งรานเสาเรียงเดี่ยว
2- 139
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(7) ตองจัดใหมบี นั ไดภายในของนั่งราน โดยใชไมหรือโลหะ มีความเอียงลาดไมเกิน 45 องศา


ยกเวนนั่งรานเสาเรียงเดี่ยว
(8) ตองออกแบบเผื่อไวใหนั่งรานสามารถรับนํ้าหนักผาใบ สังกะสี ไมแผน หรือวัสดุอื่นที่คลายกัน
ตามทีก่ าหนดไว
ํ ในขอ 10 และขอ 11 (7) ดวย

หมวด 3
การสรางนั่งราน

ขอ 10 การสรางนั่งราน นายจางตองดําเนินการตามแบบและรายละเอียดตามขอ 9 และตามขอ


กําหนด ดังตอไปนี้
(1) นัง่ รานทีส่ รางดวยไม ถายึดดวยตะปู จะตองใชตะปูขนาดและความยาวเหมาะสม และจะตอง
ตอกใหมจี านวนเพี
ํ ยงพอสําหรับขอตอหนึ่งๆ เพื่อใหมีความมั่นคงแข็งแรง จะตอกตะปูในลักษณะรับแรง
ถอนโดยตรงมิได และตองตอกใหสุดความยาวของตะปู เมื่อรื้อนั่งรานออก จะตองถอนตะปูจากไมนั่งราน
หรือตีพับใหหมด
(2) นั่งรานที่มีการใชลฟิ ทขนสงวัสดุขึ้นลง ตองจัดใหมีการปองกันไมใหเกิดการกระแทกนั่งรานใน
ระหวางนําวัสดุขึ้นลงได
(3) หามมิใหสรางนั่งรานยึดโยงกับหอลิฟท
(4) ตองจัดใหมีผาใบ หรือสังกะสี หรือไมแผน หรือวัสดุอื่นที่คลายกันปดรอบนอกของนั่งราน
ยกเวนนัง่ รานเสาเรียงเดี่ยว เพื่อปองกันอันตรายจากสิ่งของตก
(5) เหนือชองทีก่ ําหนดใหเปนทางเดินตองปดคลุมดวยผาใบ หรือสังกะสี หรือไมแผน หรือวัสดุ
อืน่ ทีค่ ลายกัน เพื่อปองกันอันตรายแกผูใชทางเดินนั้น

หมวด 4
การใชนั่งราน

ขอ 11 นายจางตองจัดใหมีการใชนั่งรานเปนไปตามขอกําหนด ดังตอไปนี้


(1) ถานัง่ รานสวนใดชํารุด หรือนาจะเปนอันตรายตอการใชนั่งรานนั้น ตองทําการซอมแซมสวน
นัน้ ทันที และหามมิใหลูกจางทํางานบนนั่งรานสวนนั้นจนกวาจะซอมแซมเสร็จ
(2) ในขณะมีพายุ หามมิใหลูกจางทํางานบนนั่งราน
(3) กรณีทพี่ นื้ นัง่ รานลื่น หามมิใหใชลูกจางทํางานบนนั่งรานสวนนั้น
(4) ในกรณีทลี่ กู จางทํางานใกลสายหรืออุปกรณไฟฟาที่ไมมีฉนวนหุม ตองไมใหใกลเกินระยะที่
กําหนดไว สําหรับแรงดันแตละระดับขางลางนี้ ทั้งในแนวระดับและแนวดิ่ง เวนแตนายจางจะไดจัดใหมี
การปองกันอันตรายจากไฟฟานั้น เชน ใชฉนวนหุมที่เหมาะสม
ระยะหางไมนอยกวา 2.40 เมตร สําหรับแรงดันไฟฟาที่เกิน 50 โวลท ถึง 12,000 โวลท
“ 3.00 “ “ 12,000 “ “ 33,000 “
“ 3.30 “ “ 33,000 “ “ 69,000 “
“ 3.90 “ “ 69,000 “ “ 115,000 “
“ 5.30 “ “ 115,000 “ “ 230,000 “
2- 140
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(5) ในกรณีที่มีการทํางานแบบนั่งรานหลายๆ ชั้นพรอมกัน ตองจัดใหมีสิ่งปองกันมิใหเกิด


อันตรายตอผูที่ทํางานอยูชั้นลางได
(6) ในกรณีที่ใชสารเคมีที่มีปฏิกิริยาทําใหเชือกหรือปอที่ผูกหรือมัดนั่งรานเสื่อมคุณภาพได เชน
การใชโซดาไฟบนนั่งรานเพื่อทําความสะอาดภายนอกอาคาร หามมิใหใชนั่งรานที่ผูกหรือมัดดวยเชือก
หรือปอ
(7) ในกรณีทใี่ ชมาตรฐานนั่งรานประเภทตางๆ ตามกําหนดในขอ 12 หามมิใหใชนํ้าหนักบรรทุก
นัง่ รานโดยเฉลี่ยเกินกวา 150 กิโลกรัมตอตารางเมตร ระหวางชองเสา
สําหรับนั่งรานเสาเรียงเดี่ยว หามมิใหใชนํ้าหนักบรรทุกบนนั่งรานแตละชั้นโดยเฉลี่ยแลวเกินกวา
50 กิโลกรัมตอความยาว 1.00 เมตร

หมวด 5
นั่งรานมาตรฐาน

ขอ 12 นัง่ รานทีส่ งู ไมเกิน 21.00 เมตร และนายจางมิไดใหผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบ


วิชาชีพวิศกรรมควบคุมตามที่ ก.ว.กําหนด เปนผูออกแบบนั่งราน นายจางตองจัดทํานั่งรานใหเปนไปตาม
ขอกําหนดตามที่ระบุไวในขอ 9 และขอ 10 กับขอกําหนดสําหรับนั่งรานมาตรฐานประเภทตางๆ ดัง
ตอไปนี้
(1) ประเภทนัง่ รานเสาเรียงเดี่ยว สูงไมเกิน 7.00 เมตร สําหรับปฏิบัติงานทาสี
(ก) ถาใชไมไผทํานั่งราน ไมไผทุกลําจะตองมีขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยไมตํ่ากวา 6
เซนติเมตร วัดตรงกลางทอน การตอไมไผใหตอทาบ มีความยาวของสวนที่ทาบนั้นไมนอยกวา 1.00
เมตร มัดใหตดิ กันดวยวิธีขันชะเนาะไมนอยกวาสองเปลาะ เชือกหรือปอที่ใชสําหรับผูกลําไมไผจะตองเปน
เชือกหรือปอใหมมีความเหนียวพอสมควร และจะตองมีขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 2 เซนติเมตร
การตัง้ เสาไมไผ ใหตั้งหางกันไมเกิน 1.50 ไมไผที่ทําคานใหผูกติดกับเสาทุกตน เมื่อตั้งเสา
ใหใชไมไผทะแยงมุมไมเกิน 45 องศา กับแนวราบ โดยใหมัดยึดโยงกับเสาทุกตนสลับฟนปลาตลอดแนว
แลวใหใชไมไผผูกยึดนั่งรานกับเสาสมอฝงดิน โดยมีระยะหางกันไมเกิน 4.50 เมตร
ชั้นของนั่งรานแตละชัน้ จะมีระยะหางกันเกิน 2.00 เมตรไมได
(ข) ถาใชไมชนิดอื่นทํานั่งราน ไมทุกชิ้นจะตองมีขนาดพื้นที่หนาตัดไมนอยกวา 24 ตาราง
เซนติเมตรและมีหนาแคบไมนอยกวา 3 เซนติเมตร ระยะหางของเสาคานและระยะระหวางชั้นของนั่งราน
ใหจดั ทําเชนเดียวกับนั่งราน ไมไผ และใชตะปูเปนเครื่องยึดนั่งราน
นัง่ รานประเภทนี้ จะใชรับนํ้าหนักเกินนํ้าหนักผูปฏิบัติงานและวัสดุเบาที่จะนํามาใชงานไมได
(2) ประเภทนัง่ รานสูงไมเกิน 7.00 เมตร สําหรับงานกอสราง
(ก) ถาใชไมไผทํานั่งรานไมไผทุกลําจะตองมีขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยไมตํ่ากวา 6
เซนติเมตร วัดตรงกลางทอน การตอไมไผใหตอทาบมีความยาวของสวนที่ทาบกันไมนอยกวา 1.00
เมตร โดยมัดใหติดกันดวยวิธีขันชะเนาะไมนอยกวาสองเปลาะ เชือกหรือปอที่ใชสําหรับผูกลําไมไผ
จะตองเปนเชือกหรือปอใหม มีความเหนียวพอสมควรและจะตองมีขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอย
กวา 2 เซนติเมตร

2- 141
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

การตัง้ เสาไมไผ ใหตั้งหางกันไมเกิน 1.50 เมตร เปนสองแถว และระยะระหวางแถวคูเสาตองหาง


กันไมนอ ยกวา 50 เซนติเมตร และไมเกิน 79 เซนติเมตร โดยใชไมไผผูกเปนคานยึดกับเสาทุกตนทั้งสอง
ขาง ตงสําหรับรองรับพื้นใหใชไมเครา ซึ่งมีพื้นที่หนาตัดไมนอยกวา 24 ตารางเซนติเมตร ผูกติดกับคาน
ไมไผในระยะหางกันไมเกิน 50 เซนติเมตร ไมที่ใชปูนั่งรานใหใชไมที่มีความหนาไมนอยกวา 2 เซนติเมตร
ยึดติดตงใหแนน
เมือ่ ตัง้ เสาและผูกคานแลว ใหใชไมไผผูกทะแยงกับเสาทุกตน โดยทํามุมกับแนวราบไมเกิน 45
องศา โดยผูกสลับฟนปลาตลอดทั้งแถวหนาและแถวหลัง
ใหใชไมไผผูกยึดนั่งรานกับสวนของอาคารซึ่งแข็งแรงพอ หรือผูกยึดกับเสาสมอฝงดิน แตจะหาง
กันเกิน 4.50 เมตรมิได
ชัน้ ของนัง่ รานแตละชั้น จะมีระยะหางกันเกิน 2.00 เมตร มิได
(ข) ใหจัดทําราวกันตก โดยใชไมไผผูกกับเสาตามแนวนอน ระยะความสูงจากพื้นนั่งราน
แตละชัน้ ไมตํ่ากวา 90 เซนติเมตร และสูงไมเกิน 1.10 เมตร ทุกชั้นของนั่งราน
นัง่ รานประเภทนี้ จะใชรับนํ้าหนักจนเกิน 150 กิโลกรัมตอตารางเมตร มิได
(3) ประเภทนัง่ รานสูงไมเกิน 12.00 เมตร สําหรับงานกอสราง
(ก) ตองใชเสาไมที่มีพื้นที่หนาตัดไมนอยกวา 33 ตารางเซนติเมตร และหนาแคบไมนอย
กวา 3 เซนติเมตร การตั้งเสาแตละตนหางกันไมเกิน 2.00 เมตร โดยตั้งเปนสองแถวและระยะระหวาง
แถวคูเ สาตองหางกันไมนอยกวา 50 เซนติเมตร และไมเกิน 75 เซนติเมตร เสาไมตองตั้งใหไดดิ่งกับพื้น
ดิน การตอเสาไมทุกแหงตองตอดวยวิธีชนกัน และมีทาบรอยชนกันทั้งสองดาน ไมทาบตองมีพื้นที่หนาตัด
ไมนอ ยกวาหนาตัดของเสาและมีความยาวไมนอยกวา 60 เซนติเมตร
ไมทใี่ ชทําคาน ตองมีพื้นที่หนาตัดไมนอยกวา 33 ตารางเซนติเมตร ไมดังกลาวตองมีหนาแคบไม
นอยกวา 3 เซนติเมตร และมีหนากวางไมนอยกวา 9 เซนติเมตร ระยะหางคานแตละชั้นไมเกิน 2.00
เมตร การตอคานใหตอที่เสา คานใหยึดติดกับเสา และตองมีพุกรับทุกแหง
ไมทใี่ ชทําตง ตองมีพื้นที่หนาตัดไมนอยกวา 24 ตารางเซนติเมตร หนาแคบไมนอยกวา 3
เซนติเมตร ระยะหางของตงแตละอันไมเกิน 50 เซนติเมตร และตงทุกอันตองยื่นปลายออกจากคานไม
นอยกวา 10 เซนติเมตร โดยยึดใหติดกับคานทุกแหง
ไมทใี่ ชทาคํ
ํ ้ายัน ตองมีขนาดไมนอยกวาไมที่ใชทําตง คํ้ายันจากพื้นดินขึ้นไปโดยตลอดเปนรูปสลับ
ฟนปลา และทะแยงมุม 45 องศา ถึง 60 องศา
พืน้ นัง่ รานใหใชไมที่มีความหนาไมนอยกวา 2 เซนติเมตร ปูทับตรงรอยตอของพื้นตองปูชนและให
เสริมตงรับปลายของพื้นทุกแหงที่มีรอยตอแลวยึดกับตงใหแนน
อุปกรณที่ใชยึดนั่งรานใหใชตะปูที่มีความยาวพอเหมาะ หรือสลักเกลียวยึดทุกจุด
การยึดนั่งรานติดกับอาคาร คาน หรือเสาคอนกรีตรอบนอกของอาคาร ใหฝงเหล็กกลมขนาดเสน
ผาศูนยกลาง 6 มิลลิเมตร ยาวไมนอยกวา 30 เซนติเมตร ไวในคอนกรีตยื่นจากผิวคอนกรีตและมีระยะ
หางกันไมเกิน 2.00 เมตร เหล็กกลมดังกลาวใหปลอยโผลไว เพื่อยึดเสานั่งรานโดยรอบอาคาร และใหจัด
ทําไมคํ้ายันปองกันนั่งรานเซหรือลมเขาหาอาคารทุกชั้นของอาคาร
นัง่ รานตองทําบันไดสําหรับขึ้นไวภายใน โดยใชไมขนาดหนาแคบไมนอยกวา 3 เซนติเมตร และ
หนากวางไมนอยกวา 7 เซนติเมตร ตีเปนลูกขั้นบันได ระยะของลูกขั้นบันไดหางกันไมเกิน 50 เซนติเมตร
ตอขัน้ บันไดแตละขั้นตองทําใหเยื้องกัน แตไมเกิน 10.00 เมตร

2- 142
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(ข) ใหจดั ทําราวกันตก โดยใชไมขนาดหนาแคบไมนอยกวา 3 เซนติเมตร และหนากวาง


ไมนอ ยกวา 7 เซนติเมตร ติดตั้งเคราดานในของเสาโดยรอบนั่งราน ราวดังกลาวตองสูงไมนอยกวา 90
เซนติเมตร แตไมเกิน 1.10 เมตร
นัง่ รานประเภทนี้ จะใชรับนํ้าหนักจรเกิน 10 กิโลกรัมตอตารางเมตร มิได
(4) ประเภทนัง่ รานสูงไมเกิน 21.00 เมตร สําหรับงานกอสราง ใหเปนไปตาม (3) ทุกประการ
เวนแตเสาไมสี่เหลี่ยมตองมีหนาแคบไมนอยกวา 7 เซนติเมตร และใหเสาตั้งอยูหางกันไมเกิน 1.50 เมตร

หมวด 6
การคุมครองความปลอดภัย

ขอ 13 นายจางตองจัดใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับนั่งราน หรือบนหรือภายใตนั่งราน หรือบริเวณ


ใกลเคียงกับนัง่ ราน ตามประเภทและลักษณะการทํางาน อันอาจไดรับอันตรายจากการทํางานนั้นๆ สวมใส
อุปกรณคุมครองความปลอดภัยที่เหมาะสมกับลักษณะการทํางานและภาวะอันตรายที่อาจไดรับตลอดเวลา
ทีล่ กู จางทํางาน ดังตอไปนี้
(1) งานชางไม สวมหมวกแข็งและรองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง
(2) งานชางเหล็ก สวมหมวกแข็ง ถุงมือผาหรือหนัง และรองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง
(3) งานผสมปูนซีเมนต สวมหมวกแข็ง ถุงมือยาง หรือถุงมือที่ทําดวยวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติ
คลายคลึงกันและรองเทายางชนิดหุมแขง
(4) งานกออิฐ ฉาบปูน หรือตกแตงผิวปูน สวมหมวกแข็ง ถุงมือยาง หรือถุงมือที่ทําดวยวัสดุอื่น
ทีม่ คี ณ
ุ สมบัติคลายคลึงกัน และรองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง
(5) งานประกอบโครงสราง ขนยาย และติดตั้ง สวมหมวกแข็ง ถุงมือผาหรือหนัง และรองเทา
ชนิดหุมสนพื้นยาง
(6) งานทาสี สวมหมวกแข็ง และรองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง
(7) งานประปา สวมหมวกแข็ง ถุงมือผาหรือหนัง และรองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง
(8) งานชางกระจก สวมหมวกแข็ง ถุงมือผาหรือหนัง และรองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง

ขอ 14 นายจางตองจัดใหลูกจางซึ่งทํางานในที่สูงเกิน 4.00 เมตร ซึ่งมีลักษณะโดดเดี่ยวและไมมี


อุปกรณคุมครองความปลอดภัยหรือการปองกันอันตรายอยางอื่น สวมเข็มขัดนิรภัยและเชือกนิรภัยตลอด
เวลาในการทํางาน

หมวด 7
มาตรฐานเกี่ยวกับอุปกรณคุมครองความปลอดภัย

ขอ 15 อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลตองเปนไปตามาตรฐาน ดังตอไปนี้


(1) หมวกแข็ง ตองเปนรูปโดมชั้นเดียว ไมมีตะเข็บ ไมมีรูทะลุ ตัวหมวกทําดวยวัตถุที่ไมใชโลหะ
หรือมีสว นที่เปนโลหะ มีนํ้าหนักไมเกิน 420 กรัม เมื่อทดสอบการรับแรงกระแทก และการรับแรงเจาะ
ตามวิธีทดสอบตองลึกไมเกิน 1 เซนติเมตร ตามลําดับ
สวนบนสุดของรองในหมวกตองมีระยะหางจากยอดหมวกดานในไมนอยกวา 3 เซนติเมตร
2- 143
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(2) ถุงมือ ตองมีความเหนียว ไมฉีกขาดงาย มีความยาวหุมถึงขอมือ และเปนชนิดที่สวมนิ้วมือได


ทุกนิ้วเมื่อสวมแลวสามารถเคลื่อนไหวนิ้วมือไดสะดวก ถาเปนถุงมือยางตองสามารถกันนํ้าและกรดหรือ
ดางไดดวย
(3) รองเทาชนิดหุมสนพื้นยาง ตองทําดวยหนังหรือผาหุมเทาตลอดและมีพื้นรองเทาเปนยาง
สามารถปองกันการลื่นได
(4) เข็มขัดนิรภัยตองทําดวยหนัง หรือทําดวยดาย หรือใยไนลอน หรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติ
คลายคลึงกันถักเปนแถบมีความกวางไมนอยกวา 5 เซนติเมตร สามารถทนแรงดึงไดไมนอยกวา 1,150
กิโลกรัม
(5) เชือกนิรภัย ตองสามารถทนแรงไดไมนอยกวา 1,150 กิโลกรัม ถาเปนลวดสลิงตองมีเครื่อง
ชวยรับแรงกระตุกติดตั้งไวดวย
(6) รองเทายางชนิดหุมแขง ตองทําดวยยางหรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติคลายคลึงกันหุมเทาตลอด
ขึน้ ไป มีความสูงไมตํ่ากวาครึ่งหนึ่งของหนาแขง สามารถกันนํ้าและกรดหรือดางไดดวย

หมวด 8
เบ็ดเตล็ด

ขอ 16 ขอกําหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยตามประกาศนี้ เปนมาตรฐานขั้นตํ่าที่ตองปฏิบัติเทานั้น

ขอ 17 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายในการปฏิบัติตามประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2525

พลเอก สิทธิ จิรโรจน


รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 144
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานในสถานที่ที่มีอันตราย
จากการตกจากที่สูง วัสดุกระเด็น ตกหลน และการพังทลาย

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16


มีนาคม พ.ศ.2515 กระทรวงมหาดไทยจึงออกประกาศกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและ
ความปลอดภัยสําหรับลูกจางที่ทํางานในสถานที่ที่มีอันตรายจากการตกจากที่สูง วัสดุกระเด็น ตกหลน
และการพังทลายไว ดังตอไปนี้

ขอ 1 ในประกาศนีเ้ รียกวา “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานใน


สถานที่ที่มีอันตรายจากการตกจากที่สูง วัสดุกระเด็น ตกหลน และการพังทลาย”

ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกํ าหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา


เปนตนไป

ขอ 3 ในประกาศนี้
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวมถึง
ผูซ งึ่ ไดรบั มอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวาผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคล นั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทํา
การแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจางดวย
ตนเอง หรือไมก็ตาม
“การทํางานในลักษณะโดดเดี่ยว” หมายความวา การทํางานบนที่ที่อาจตกหลนลงมาไดงาย เชน
การทํางานบนเสา ตอมอ หลังคา ระเบียง

หมวด 1
การปองกันการตกจากที่สูง
สวนที่ 1
ขอกําหนดทั่วไป

ขอ 4 ในกรณีทนี่ ายจางใหลูกจางทํางานสูงจากพื้นที่ที่ปฏิบัติงานเกินสองเมตรขึ้นไป เชน บนหลัง

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 108 ตอนที่ 200 วันที่ 19 พฤศจิกายน 2534


2- 145
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

คา บนขอบ ระเบียงดานนอก จะตองปองกันการตกหลนของลูกจางโดยจัดใหมีนั่งรานมาตรฐานตามที่


กํ าหนดไวในกฎหมายความปลอดภัยในการทํ างานกอสรางวาดวยนั่งราน สํ าหรับลูกจางใชในขณะ
ปฏิบัติงาน

ขอ 5 ในกรณีทนี่ ายจางใหลูกจางทํางานในลักษณะโดดเดี่ยวที่สูงเกินสี่เมตรขึ้นไป เชน บนหลังคา


หรือบนขอบ ระเบียงดานนอก ตองปองกันการตกหลนของลูกจางและสิ่งของ โดยจัดทําราวกันตกหรือ
ตาขายนิรภัย หรือจัดใหมีเข็มขัดนิรภัยและสายชวยชีวิต หรืออุปกรณปองกันอื่นใดที่มีลักษณะคลายกัน
ตลอดระยะเวลาที่มีการทํางาน
ในกรณีใชเข็มขัดนิรภัยและสายชวยชีวิต นายจางจะตองจัดทําที่ยึดตรึงสายชวยชีวิตไวกับสวนหนึ่ง
สวนใดของอาคาร หรือโครงสราง

ขอ 6 ชองเปดหรือปลองตางๆ นายจางตองจัดทําผาปดหรือรั้วกันที่มีความสูงไมนอยกวาเกาสิบ


เซนติเมตรเพื่อปองกันการตกหลน

ขอ 7 หามนายจางใหลูกจางทํางานบนที่สูงตามขอ 4 และขอ 5 ในขณะที่มีพายุ ลมแรง ฝนตก


หรือฟาคะนอง

สวนที่ 2
การปองกันอันตรายจากการตกลงไปในภาชนะเก็บหรือรองรับวัสดุ

ขอ 8 หามนายจางใหลูกจางทํางานบนหรือในถัง บอหรือกรวยสําหรับเทวัสดุหรือภาชนะอื่นใดที่


ลูกจางอาจตกลงไปหรืออาจถูกวัสดุพังทับ เวนแตนายจางไดจัดใหลูกจางสวมใสเข็มขัดนิรภัยหรือสิ่งปดกั้น
หรือทํารั้ว หรืออุปกรณปองกันอื่นใดที่มีลักษณะคลายกัน

ขอ 9 ใหนายจางปดกั้น หรือจัดทํารั้วที่แข็งแรงมีความสูงไมนอยกวาเกาสิบเซนติเมตร ลอมรอบ


ภาชนะบรรจุของรอน กรวย ภาชนะ หรือสิ่งอื่นใดที่มีลักษณะคลายกันเพื่อปองกันการตกหลนของ ลูกจาง

สวนที่ 3
การปองกันการตกหลนจากที่ลาดชัน

ขอ 10 หามนายจางใหลูกจางทํางานบนที่ลาดชันที่ทํามุมเกินสามสิบองศาจากแนวราบ
ในกรณีที่มีการทํ างานบนที่ลาดชันเกินสิบหาองศา นายจางตองจัดใหมีนั่งรานมาตรฐานตามที่
กําหนดไวในกฎหมายความปลอดภัยในการทํางานกอสรางวาดวยนั่งราน หรือเข็มขัดนิรภัยและสายชวย
ชีวติ หรืออุปกรณอื่นใดที่มีลักษณะคลายกัน สําหรับลูกจางใชในการปฏิบัติงาน

ขอ 11 ในกรณีทลี่ กู จางตองใชบันไดไตชนิดเคลื่อนยายไดเพื่อปฏิบัติงานบนที่สูง นายจางตองดูแล


การตัง้ บันไดใหระยะระหวางฐานบันไดถึงผนังที่วางพาดบันไดกับความยาวของชวงบันไดนับจากฐานถึงจุด
พาด มีอตั ราสวนหนึ่งตอสี่ หรือมีมุมบันไดที่ตรงขามผนังประมาณเจ็ดสิบหาองศา
2- 146
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 12 ในกรณีที่ลูกจางตองปฏิบัติงานโดยใชบันไดไตชนิดติดตรึงกับที่ที่มีความสูงเกินสิบเมตร
ขึน้ ไปจากพืน้ ดินหรือพื้นอาคาร บันไดนั้นตองมีโครงสรางที่แข็งแรง ไมผุกรอนและตองจัดทําโกรงบันได
ปองกันการตกหลนของลูกจาง

ขอ 13 ในกรณีทลี่ ูกจางตองใชขาหยั่งหรือมายืนในการปฏิบัติงาน นายจางตองดูแลขาหยั่งหรือ


มายืนนัน้ ใหมีโครงสรางที่แข็งแรงปลอดภัย ขาแตละขางตองทํามุมกับพื้นในองศาที่เทากันโดยอยูระหวาง
หกสิบถึงเจ็ดสิบองศา ถาขาหยั่งมายืนนั้นเปนชนิดมีบันไดขึ้นตองมีพื้นที่สํ าหรับยืนปฏิบัติงานอยาง
เพียงพอ

หมวด 2
การปองกันอันตรายจากการพังทลาย วัสดุกระเด็น ตกหลน

ขอ 14 นายจางที่ใหลูกจางทํางานในบริเวณที่อาจมีการพังทลายตกหลนของหิน ดิน ทราย หรือ


วัสดุตางๆ ตองปฏิบัติดังนี้
(1) จัดทําไหลหิน ดิน ทราย หรือวัสดุอื่นใหลาดเอียงเปนมุมที่ไมทําใหเกิดการพังทลาย และทํา
การปองกันการกัดเซาะของนํ้า เชน การอัดไหลหิน ดิน ทราย ใหแนน หรือใชวัสดุอื่นใดที่สามารถปองกัน
การรั่วซึมได
ในกรณีขดุ ดินลึกทํามุมเกาสิบองศา ซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายแกลูกจางใหนายจางจัดทําผนังกั้น
หรือวัสดุกันพรอมคํ้ายัน หรือใชวิธีการอื่นใดที่สามารถปองกันอันตรายจากการพังทลายของดินได
(2) ในกรณีที่ใหลูกจางทํางานในทอ ชอง โพรง อุโมงค ถํ้า บอ ที่อาจมีการพังทลาย จะตองจัดทํา
ผนังกัน้ คํายั
้ น หรือใชวิธีการอื่นใดที่สามารถปองกันอันตรายที่สามารถปองกันอันตรายนั้นได

ขอ 15 ใหนายจางปองกันการกระเด็น ตกหลนของวัสดุโดยใชแผนกั้น ผาใบหรือตาขาย ปดกั้น


หรือรองรับ
ในกรณีทมี่ กี ารลําเลียงวัสดุจากที่สูง นายจางตองจัดทําราง ปลอง หรือใชเครื่องมือลําเลียงจากที่สูง

ขอ 16 ใหนายจางปดประกาศแสดงเขตที่มีการเหวี่ยง สาด เททิ้งหรือโยนวัสดุจากที่สูง และมีผู


ควบคุมดูแลมิใหมีการเขาออกขณะปฏิบัติงานจนกวางานจะแลวเสร็จ

ขอ 17 ในกรณีที่นายจางใหลูกจางทํางานใกลสถานที่กอสรางที่มีความสูงหรือสถานที่ที่อาจมีการ
ปลิวหรือตกหลนของวัสดุ รวมทั้งการใหทํางานที่อาจมีวัสดุกระเด็นตกหลนลงมา เชน งานตอเรือ งานเจาะ
งานสกัด งานรื้อถอนทําลาย ตองจัดหมวกแข็งปองกันศีรษะใหลูกจางใชตลอดเวลาการทํางาน

หมวด 3
เบ็ดเตล็ด

ขอ 18 ลูกจางจะตองใชหรือสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่นายจางจัดใหใช
ตามลักษณะและสภาพของงานตลอดเวลาที่ทํางาน
2- 147
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 19 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายในการปฏิบัติตามประกาศนี้

ขอ 20 เมือ่ ปรากฏวานายจางฝาฝนประกาศนี้ พนักงานเจาหนาที่อาจใหคําเตือนเพื่อใหนายจาง


ไดปฏิบตั ิการใหถูกตองภายในเวลาที่กําหนดไวในคําเตือนเสียกอนก็ได

ประกาศ ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2534

เจริญจิตต ณ สงขลา
รัฐมนตรีชวยวาการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 148
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับหมอนํ้า

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16


มีนาคม 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการ
ทํางานสําหรับลูกจางไว ดังตอไปนี้

ขอ 1 ในประกาศนีเ้ รียกวา “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางาน


เกี่ยวกับหมอนํ้า”

ขอ 2 ใหยกเลิกหมวด 2 ความปลอดภัยเกี่ยวกับหมอไอนํ้าแหงประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง


ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ลงวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2519

ขอ 3 ในประกาศนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป

ขอ 4 ในประกาศนี้
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวมถึง
ผูซ งึ่ ไดรบั มอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวาผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคลนั้น และหมายความรวมถึงผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทํา
การแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจางดวย
ตนเอง หรือไมก็ตาม
“หมอนํา”
้ หมายความวา ภาชนะปดที่ใชผลิตนํ้ารอนหรือไอนํ้าที่มีความดันสูงกวาบรรยากาศ โดย
ใชความรอนจากการเผาไหมของเชื้อเพลิงหรือจากไฟฟาหรือจากพลังงานนิวเคลียร
“หมอนําทํ
้ าความรอน” หมายความวา หมอนํ้าที่ใชผลิตไอนํ้าความดันไมเกิน 1 บาร หรือไอนํ้า
อุณหภูมไิ มเกิน 120 องศาเซลเซียส หรือนํ้ารอนความดันไมเกิน 10 บาร
“หมอนํามื้ อสอง” หมายความวา หมอนํ้าที่เปลี่ยนทั้งเจาของและที่ติดตั้งหลังจากใชครั้งแรก
“หมอนํ้าที่ยายที่ติดตั้ง” หมายความวา หมอนํ้าที่ถอดออกจากที่ตั้งเดิมและติดตั้งอีกครั้ง ณ ที่เดิม
หรือติดตั้ง ณ ที่ติดตั้งใหโดยไมเปลี่ยนเจาของ
“ผูค วบคุม” หมายความวา ผูที่นายจางจัดใหมีหนาที่ควบคุมการทํางานและการใชหมอนํ้า

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 108 ตอนที่ 200 วันที่ 19 พฤศจิกายน 2534


2- 149
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

“การดัดแปลง” หมายความวา การเปลี่ยนแปลงหมอนํ้าที่เปนการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดที่


สําคัญไปจากการออกแบบเดิม ซึ่งจะมีผลกระทบตอความปลอดภัยของผูใชหมอนํ้า
“การตรวจทดสอบ” หมายความวา การตรวจอยางละเอียดดวยสายตา และเครื่องมือทั้งภายใน
และภายนอกหมอนํ้าโดยเปดฝาตางๆ ในขณะหยุดใชงานหมอนํ้า รวมถึงการตรวจการทํางานของอุปกรณ
ประกอบตางๆ ตลอดจนการทดสอบเกี่ยวกับความแข็งแรงของหมอนํ้า

หมวด 1
ขอกําหนดทั่วไป

ขอ 5 ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้มิใหใชบังคับแกหมอนํ้าทําความรอนแบบทอขดที่ไมมีที่
พักไอเวนแต
(1) มีทพี่ กั ไอ และขนาดเสนผาศูนยกลางภายนอกทอนํ้าหรือหลอดนํ้าเกิน 19 มิลลิเมตร
(2) ความจุของนํ้าเกิน 23 ลิตร
(3) อุณหภูมขิ องนํ้าเกิน 177 องศาเซลเซียส
(4) ในหลอดนํ้ามีไอนํ้าเกิดขึ้น

ขอ 6 ใหนายจางที่ใชหมอนํ้าจัดหาหมอนํ้าและสวนประกอบตางๆ ที่มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน


ผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ISO ASME JIS DIN BS หรือมาตรฐานอื่นที่กรมแรงงานรับรอง

ขอ 7 ใหนายจางที่ใชหมอนํ้ามือสองหรือที่ยายที่ตั้งใหมซึ่งไดมาตรฐานตามขอ 6 ตองกําหนด


ความดันที่อนุญาตใหใชไดสูงสุดเสียใหมตามหลักวิชาการดานวิศวกรรม โดยอัดนํ้าทดสอบดวยความดัน
1.5 เทาของความดันที่ปรับตั้งลิ้นนิรภัยใหเปด แตไมเกิน 1.5 เทาของความดันสูงสุดที่ออกแบบ ถาความ
ดันทีใ่ ชงานอยูระหวาง 4 หรือ 5 บาร ใหอัดนํ้าทดสอบดวยความดัน 8 บาร หรือวาความดันใชงานตํ่ากวา
4 บารลงไป ใหอัดนํ้าดวยความดันเปน 2 เทาของความดันที่ใชงานสูงสุด ทั้งนี้ใหพิจารณาสภาพของหมอ
นําประกอบด
้ วย ผลการทดสอบตองไดรับการรับรองจากวิศวกรที่มีวุฒิตามขอ 39 และเก็บไวเปนหลัก
ฐานเพือ่ ใหพนักงานเจาหนาที่สามารถตรวจสอบได

ขอ 8 เมือ่ เกิดอุบัติเหตุที่มีผลกระทบกระเทือนตอการใชงานของหมอนํ้าซึ่งอาจทําใหเกิดความไม


ปลอดภัยตอลูกจาง ใหนายจางแจงใหกรมแรงงานทราบโดยทันที ในกรณีเกิดอุบัติเหตุรายแรง เชน เกิด
การระเบิด ตองแจงโดยดวนทางโทรศัพท โทรเลข หรือใชบุคคลสงขาว

ขอ 9 ใหนายจางจัดทําปายระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกตอง ปลอดภัยในการ


ใชหมอนํ้า การตรวจอุปกรณหมอนํ้าทุกอยางกอนลงมือปฏิบัติงาน รวมทั้งวิธีการแกไขขอขัดของตางๆ ติด
ไวบริเวณหองหมอนํ้าใหผูควบคุมเห็นไดชัดเจนพรอมทั้งชี้แจงใหเขาใจและถือปฏิบัติ

ขอ 10 ใหนายจางจัดใหมีผูควบคุมประจําหมอนํ้าที่มีคุณวุฒิไดรับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาชางยนต หรือชางกลโรงงาน หรือชางผูชํานาญงานที่ผานการทดสอบจากสถาบันของทางราชการ หรือ
รัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันอื่นซึ่งกรมแรงงานรับรองวาเปนผูสามารถควบคุมหมอนํ้าได หรือชางผูชํานาญงาน
2- 150
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ที่ปฏิบัติงานภายใตการควบคุมของวิศวกรเครื่องกลตามกฎหมายวาดวยการควบคุมการประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรม

ขอ 11 ใหนายจางจัดใหมีการปรับปรุงคุณภาพนํ้าที่ใชกับหมอนํ้าใหอยูในสภาพใสสะอาด มี
ตะกอนแขวนลอยและสารละลายนอย ไมกระดางและไมเปนกรด ใหเหมาะสมกับชนิดและประเภทของ
หมอนํ้าตามหลักวิชาการดานวิศวกรรม

ขอ 12 ใหนายจางดูแลใหมีการระบายอากาศเพื่อไลกาซพิษหรือกาซไวไฟตลอดเวลากอนที่จะให
ลูกจางตรวจหรือซอมภายในหมอนํ้า

หมวด 2
การติดตั้งหมอนํ้าและอุปกรณ

ขอ 13 การดําเนินการติดตั้งหมอนํ้าและอุปกรณ ใหนายจางปฏิบัติตามขอกําหนดในหมวดนี้

ขอ 14 จัดใหมีการติดตั้งหมอนํ้าและอุปกรณประกอบและทดสอบกอนใชงานโดยวิศวกรเครื่อง
กลประเภทสามัญวิศวกรหรือวุฒิวิศวกร แลวแตกรณีตามกฎหมายวาดวยการควบคุมการประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรม

ขอ 15 การติดตั้งหมอนํ้าและอุปกรณประกอบ
(1) ใหตดิ ตัง้ หมอนํ้าและอุปกรณแยกเปนสัดสวนโดยเฉพาะออกจากเครื่องจักร อุปกรณและวัสดุ
อืน่ ๆ ไมนอยกวา 2.50 เมตร
(2) กรณีติดตั้งหมอนํ้าอยูในหองโดยเฉพาะตองจัดใหมีระยะหางระหวางตัวหมอนํ้ากับผนังหอง
โดยรอบไมนอยกวา 1.50 เมตร
(3) ถาติดตั้งหมอนํ้ามากกวา 1 เครื่องตองจัดใหมีระยะหางระหวางเปลือกหมอนํ้าของแตละ
เครื่องไมนอยกวา 1.50 เมตร
(4) ตองจัดใหมรี ะยะหางระหวางเปลือกหมอนํ้าดานบนถึงเพดานหรือหลังคาไมนอยกวา 1.50
เมตร
(5) ตองจัดใหมีเหล็กยึดโยงทอที่ตอจากหมอนํ้าที่มั่นคงแข็งแรงและอยูในลักษณะที่สามารถรับ
การขยายตัวและหดตัวของทออยางเหมาะสมตามหลักวิชาการดานวิศวกรรม

ขอ 16 หมอนําที
้ ส่ งู เกิน 3 เมตร จากพื้นเปลือกหมอนํ้าดานบน นายจางตองจัดทําบันไดและทาง
เดินเพื่อใหผูควบคุมซอมแซมหรือเดินไดสะดวกปลอดภัย พรอมจัดใหมีราวจับและขอบกั้นของตกและ
พืน้ ทีท่ างานทุ
ํ กชั้น และตองจัดใหมีทางออกอยางนอยสองทาง

ขอ 17 หองหมอนํ้าหรือหองควบคุมตองจัดใหมีทางออกไมนอยกวาสองทาง ซึ่งอยูคนละดานกัน

ขอ 18 พืน้ หอง ชัน้ บันไดและพื้นตางๆ ตองใชวัสดุกันลื่น และชองเปดที่พื้นตองมีขอบกั้นของตก


2- 151
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 19 หองหมอนํ้าตองจัดใหมีแสงสวางอยางเพียงพอ เครื่องวัดตางๆ และอุปกรณประกอบ


ตองมีแสงสวางใหเพียงพอที่จะอานคาและควบคุมไดสะดวก สิ่งกีดขวางทางเดินหรือสิ่งกีดขวางพาดตํ่า
กวาระดับศีรษะตองทําเครื่องหมาย โดยทาสีหรือใชเทปสะทอนแสงติดไวใหเห็นไดอยางชัดเจน

ขอ 20 จัดใหมีระบบไฟแสงสวางฉุกเฉินสองไปยังทางออก และเครื่องวัดตางๆ รวมทั้งแผงควบ


คุมใหเห็นอยางชัดเจนในกรณีไฟฟาดับ

ขอ 21 จัดใหมีฐานรากที่ตั้งของหมอนํ้าที่มั่นคงแข็งแรงและทนตอแรงดันและแรงกดรวมถึงแรง
ดันจากการขยายตัวของหมอนํ้า การออกแบบและคํานวณใหเปนไปตามหลักวิชาการดานวิศวกรรม

ขอ 22 จัดใหมปี ลองควันและฐานที่มั่นคงแข็งแรง เปนไปตามหลักวิชาการดานวิศวกรรม

ขอ 23 จัดใหมีฉนวนที่เหมาะสมหุมเปลือกหมอนํ้าและทอที่รอนทั้งหมด

ขอ 24 จัดใหมีลิ้นนิรภัยและการติดตั้งที่มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน ISO ASME JIS DIN BS


หรือมาตรฐานอื่นที่กรมแรงงานรับรองและตองปฏิบัติเพิ่มเติมดังนี้
(1) หมอนําทุ
้ กเครื่องตองมีลิ้นนิรภัยอยางนอยหนึ่งตัว แตถามีผิวรับความรอนมากกวา 50
ตารางเมตร ตองมีลิ้นนิรภัยอยางนอยสองตัวและลิ้นนิรภัยตัวเล็กที่สุดบาลิ้นตองมีเสนผาศูนยกลางภายใน
ไมนอยกวา 15 มิลลิเมตร
(2) ลิน้ นิรภัยทุกตัวที่ตั้งความดันไอออกไวสูงสุดตองตั้งไมเกินรอยละสิบของความดันที่ใชอยูสูง
สุด และตองไมเกินรอยละสามของความดันที่อนุญาตใหใชไดสูงสุด
(3) หามติดตัง้ ลิน้ หรือสิ่งกีดขวางอื่นๆ ระหวางหมอนํ้ากับลิ้นนิรภัยและตองติดตั้งลิ้นนิรภัยใหใกล
หมอนํามากที
้ ่สุด หนาตัดของทอสวนที่ตอเขากับลิ้นนิรภัยตองมีขนาดไมนอยกวาหนาตัดของรูลิ้นนิรภัย
(4) ทอระบบไอออกของลิ้นนิรภัยที่ตอยื่นออกไปใหตอประจําลิ้นแตละตัว พื้นที่หนาตัดของทอ
ระบายตองมีขนาดเหมาะไดมาตรฐาน และทอตอระบายไอออกตองยึดใหแนนและไมแตะกับลิ้นนิรภัยโดย
ตรงเพือ่ ไมใหเกิดแรงดันกระทําบนตัวลิ้นนิรภัยไมวาจะอยูในสภาพรอนหรือเย็น
(5) ทอระบายไอออกที่ตอจากลิ้นนิรภัยตองมีสวนโคงงอ 90 หรือ 45 องศา ไมเกิน 2 โคง สวน
ปลายทอระบายไออกตองไมมีสิ่งกีดขวางหรืออุดตันและไอที่ระบายออกตองไมเปนอันตรายตอบุคคลหรือ
อุปกรณอื่นๆ

ขอ 25 จัดใหมมี าตรวัดระดับนํ้าและการติดตั้งที่เปนไปตามมาตรฐาน ISO ASME JIS DIN BS


หรือมาตรฐานอื่นที่กรมแรงงานรับรอง และตองปฏิบัติเพิ่มเติมดังนี้
(1) มาตรวัดระดับนํ้าแบบหลอดแกวตองเปนหลอดแกวนิรภัย มีครอบปองกันซึ่งสามารถดูระดับ
นําได
้ ชัดเจน
(2) กรณีหมอนํ้ามีความสูงและหองควบคุมจําเปนตองอยูหางจากหมอนํ้าและการสังเกตระดับนํ้า
ในหลอดแกวทําไดลําบาก จะตองหาวิธีการที่สามารถสังเกตระดับนํ้าในหลอดแกวได อาจใชกระจกเงา
สะทอน ระบบโทรทัศนหรือวิธีอื่นที่เหมาะสม
(3) ตองติดตัง้ สัญญาณแสงและเสียงเตือนเมื่อระดับนํ้าตํ่ากวาขีดอันตราย
2- 152
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(4) ทอทางนําและไอนํ
้ ้าที่เขามาตรวัดระดับนํ้าตองมีลิ้นปด-เปด คั่นระหวางหมอนํ้ากับมาตรวัด
ระดับนํ้ าปลายทอระบายนํ้ าของมาตรวัดระดับนํ้ า ชุดควบคุมระดับนํ้ าและกอกทดสอบตองตอในที่ที่
ปลอดภัยและอยูในตําแหนงที่สามารถเห็นหรือไดยินเสียงไดชัดเจน
(5) ทอหรืออุปกรณประกอบที่ตอระหวางหมอนํ้ากับมาตรวัดระดับนํ้าตองใหสั้นที่สุดและตอง
ระบายนําในท
้ อหรืออุปกรณประกอบออกไดหมด หามตอเอาไอจากสวนนี้ไปใชงาน

ขอ 26 จัดใหมมี าตรวัดความดันไอนํ้าและการติดตั้งที่เปนไปตามมาตรฐาน ISO ASME JIS


DIN BS หรือมาตรฐานอื่นที่กรมแรงงานรับรอง และปฏิบัติเพิ่มเติมดังนี้
(1) จัดใหมสี เกลทีว่ ัดไดระหวางหนึ่งเทาครึ่งถึงสองเทาของความดันที่ใชงานสูงสุดและมีขีดสีแดง
บอกความดันใชงานสูงสุดของหมอนํ้าไวดวยเสนผาศูนยกลางหนาปทมของมาตรวัดไอนํ้า ตองไมนอยกวา
100 มิลลิเมตร
(2) จัดใหมีการติดตั้งมาตรวัดความดันไอนํ้าที่ไมสัมผัสกับไอนํ้าโดยตรง โดยใหมีทอขดเปนวง
กลมที่มีนํ้าขังอยู หรืออุปกรณอื่นที่ทํางานคลายกันเปนตัวถายทอดแรงดันอีกตอหนึ่ง
(3) ดูแลรักษามาตรวัดความดันไอนํ้าใหอยูในสภาพดีและอานคาไดถูกตองชัดเจน
(4) ติดตัง้ มาตรวัดความดันไอนํ้าในตําแหนงที่ไมมีการสั่นสะเทือนและสะดวกในการเขาปรับแตง
และอยูใ นตําแหนงที่ควบคุมสามารถมองเห็นไดชัดเจนโดยไมมีสิ่งกีดขวางบังสายตาในขณะปฏิบัติงาน
(5) ติดตัง้ มาตรวัดความดันไอนํ้าและขอตอในบริเวณที่มีอุณหภูมิไมตํ่ากวา 4 องศาเซลเซียสและ
ไมเกิน 60 องศาเซลเซียส
(6) ในกรณีที่มีความจําเปนตองเอียงมาตรวัดความดันไอนํ้าใหเอียงหนาลงเพื่อใหเห็นไดชัดโดย
ทํามุมไมเกิน 30 องศาจากแนวดิ่ง

ขอ 27 จัดใหมสี วนระบายนํ้าทิ้งและการติดตั้งที่เปนไปตามมาตรฐาน ISO ASME JIS DIN BS


หรือมาตรฐานอื่นที่กรมแรงงานรับรองและตองปฏิบัติเพิ่มเติมดังนี้
(1) ตองติดตั้งลิ้นระบายที่หมอนํ้าทุกเครื่อง แตละทอระบายตองมีลิ้นระบายไมนอยกวา 2 ตัว
โดยติดตัง้ ณ จุดตํ่าสุดของหมอนํ้า ทอระบายนํ้าทิ้งที่ตอระหวางหมอนํ้ากับลิ้นระบายตองใหสั้นที่สุด
(2) ทอระบายและขอตอตองติดตั้งในบริเวณที่ไมชื้นแฉะหรืออับอากาศอันอาจเกิดการผุกรอนได
(3) ลิน้ ปด-เปด ทอระบายตองอยูในตําแหนงที่เขาไปปฏิบัติงานไดงาย ถาติดตั้งอยูตํ่ามากหรือ
ในบริเวณทีค่ บั แคบเขาไปปด-เปด ไมสะดวกตองตอกานสําหรับปด-เปด ใหสามารถปด-เปด ไดสะดวก
ปลอดภัย
(4) ติดตัง้ ทอระบายลงในที่ที่เห็นไดงายเมื่อเกิดการรั่วและปลายทอระบายตองตอลงในที่ที่ปลอด
ภัยและอยูในตําแหนงที่สามารถมองเห็นและไดยินเสียงไดชัดเจน
(5) ทอที่ตอจากทอระบายตองมีเหล็กยึดโยงใหมั่นคงแข็งแรงและตอในลักษณะที่รับการขยายตัว
และหดตัวของทออยางเหมาะสมตามหลักวิชาการดานวิศวกรรม

ขอ 28 จัดใหมีสูบนํ้าเขาหมอนํ้าและอุปกรณดังนี้
(1) เครื่องสูบนํ้าเขาหมอนํ้าตองสามารถทําความดันไดไมนอยกวาหนึ่งเทาครึ่งของความดันใชงาน
สูงสุดและมีมาตรวัดความดันติดอยูทางทอสงของเครื่องสูบนํ้า

2- 153
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(2) เครื่องสูบนํ้ าเขาหมอนํ้ าตองสามารถสูบนํ้าเขาหมอไดปริมาณไมนอยกวาหนึ่งเทาครึ่งของ


อัตราการผลิตไอสูงสุดของหมอนํ้า
(3) หมอนําที ้ ่มีผิวรับความรอนมากกวา 50 ตารางเมตร ตองมีเครื่องสูบนํ้าเขาหมอนํ้าอยางนอย
สองชุด
(4) ทอนําเข ้ าของหมอนํ้าแตละเครื่องตองมีลิ้นกันกลับและลิ้นปด-เปดติดตั้งใกลกับหมอนํ้าใน
กรณีทมี่ อี ปุ กรณชวยประหยัด (Economizer) ติดตั้งกับหมอนํ้าใหติดตั้งลิ้นดังกลาว ณ ทางเขาอุปกรณ
ชวยประหยัด

ขอ 29 ถาใชปลั๊กหลอมละลาย (Fusible plugs) ตองปฏิบัติดังนี้


(1) โลหะผสมทีใ่ ชทําปลั๊กหลอมละลายตองมีคุณสมบัติหลอมละลายระหวาง 230-232 องศา
เซลเซียส สําหรับหมอนํ้าที่มีความดันไมเกิน 10 บาร
(2) ตองหมัน่ ตรวจดูสภาพของปลั๊กอยูเสมอ หากพบวาอยูในสภาพที่ไมดีใหถอดเปลี่ยนใหมและ
หามใชงานเกินกวาหนึ่งป
(3) เกลียวที่ใชขันเขาทอไฟใหญตองเปนลักษณะเรียวลงตรงจุดคอคอดโตไมนอยกวา 9
มิลลิเมตร ความยาวสวนที่หลอมละลายไมนอยกวา 25 มิลลิเมตร และปลายทางออกดานไฟไมนอยกวา
12.5 มิลลิเมตร

ขอ 30 แผงควบคุมอัตโนมัติและเครื่องวัดตางๆ ของหมอนํ้าตองติดตั้งไว ณ ที่ซึ่งผูควบคุม


สามารถมองเห็นไดงายและชัดเจน สายไฟฟาที่ตอจากอุปกรณไปยังแผงควบคุมอัตโนมัติและเครื่องวัด
ตองรอยในทอใหเรียบรอย

ขอ 31 ทอไอนํ้า ทอนํ้ารอนหรือทออื่นๆในระบบตองออกแบบและติดตั้งตามหลักวิชาการดาน


วิศวกรรม ทอที่ใชตองเปนชนิดและแบบที่เหมาะสม

ขอ 32 กรณีทมี่ ีหมอนํ้าตั้งแตสองเครื่องขึ้นไปใชทอจายไอรวมกันตองติดตั้งลิ้นกันกลับที่ทอหลัง


ลิน้ จายไอของหมอนํ้าแตละเครื่อง

หมวด 3
คณะกรรมการที่ปรึกษาเกี่ยวกับหมอนํ้า

ขอ 33 ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการที่ปรึกษาเกี่ยวกับหมอนํ้ า”


ประกอบดวยอธิบดีกรมแรงงานเปนประธานกรรมการ ผูแทนกรมแรงงานเปนกรรมการและเลขานุการ
และใหอธิบดีกรมแรงงานแตงตั้งผูมีประสพการณหรือผูทรงคุณวุฒิทางวิศวกรรมเครื่องกลที่ปฏิบัติงาน
เกีย่ วกับการใชหมอนํ้าความดันสูง ผูมีประสบการณหรือผูทรงคุณวุฒิทางวิศวกรรมเครื่องกลที่ปฏิบัติงาน
เกีย่ วกับการใชหมอนํ้าความดันตํ่า วิศวกรที่มีประสบการณเกี่ยวกับหมอนํ้ามาไมนอยกวาหาป ผูผลิตหมอ
นํา้ ผูแ ทนคณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมหรือวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยและผู
ทรงคุณวุฒิอื่น เปนกรรมการซึ่งทั้งคณะมีจํานวนรวมกันไมเกินสิบคน

2- 154
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 34 คณะกรรมการที่ปรึกษาเกี่ยวกับหมอนํ้ามีหนาที่ดังตอไปนี้
(1) เสนอความเห็นเกี่ยวกับนโยบายดานความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับหมอนํ้า
(2) เสนอความเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงหรือแกไขเพิ่มเติมมาตรฐานความปลอดภัยในการทํางาน
เกี่ยวกับหมอนํ้า
(3) ใหคาปรึ
ํ กษาแนะนําแกกรมแรงงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการติดตั้ง ซอมแซม ตรวจ และ
อื่นๆ เกี่ยวกับหมอนํ้า

ขอ 35 ใหกรรมการที่ปรึกษาเกี่ยวกับหมอนํ้าซึ่งอธิบดีกรมแรงงานแตงตั้งอยูในตําแหนงคราวละ
สองป กรรมการซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งใหมไดแตตองไมเกินสองวาระติดตอกัน

ขอ 36 นอกจากการพนตําแหนงตามขอ 35 กรรมการที่ปรึกษาเกี่ยวกับหมอนํ้า ซึ่งอธิบดีกรม


แรงงานแตงตั้งจะพนจากตําแหนงเมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) อธิบดีกรมแรงงานใหออก
(4) เปนบุคคลลมละลาย
(5) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ
(6) ไดรบั โทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทํา
โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

ขอ 37 ในกรณีที่กรรมการที่ปรึกษาเกี่ยวกับหมอนํ้าซึ่งอธิบดีกรมแรงงานแตงตั้งพนจากตําแหนง
กอนวาระอธิบดีกรมแรงงานอาจแตงตั้งผูอื่นเปนกรรมการแทนได และใหผูที่ไดรับแตงตั้งอยูในตําแหนง
เทากับวาระที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน
กรณีที่กรรมการที่ปรึกษาเกี่ยวกับหมอนํ้าซึ่งอธิบดีกรมแรงงานแตงตั้งดํารงตําแหนงครบวาระแลว
แต ยั ง ไม มี ก ารแตงตั้งกรรมการขึ้นใหม ใหกรรมการเดิมปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวาจะมีการแตงตั้ง
กรรมการขึ้นใหม การแตงตั้งตองใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่กรรมการเดิมครบวาระ

ขอ 38 การประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาเกี่ยวกับหมอนํ้าตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวา
กึง่ หนึง่ ของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงเปนองคประชุม
มติทปี่ ระชุมตองถือเสียงขางมากกรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทา
กันใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเปนเสียงชี้ขาด

หมวด 4
การควบคุม

ขอ 39 ใหนายจางจัดใหมีการตรวจ ทดสอบ และรับรองความปลอดภัยในการใชงานของหมอนํ้า


อยางนอยปละหนึ่งครั้ง โดยวิศวกรเครื่องกลประเภทสามัญวิศวกร วุฒิวิศวกรหรือผูไดรับอนุญาตพิเศษให
ตรวจทดสอบหม อ นํ้ าไดแลวแตกรณีตามกฎหมายวาดวยการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
2- 155
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แลวเก็บเอกสารรับรองความปลอดภัยในการใชหมอนํ้าไวเพื่อใหพนักงานเจาหนาที่สามารถตรวจสอบได
ตลอดเวลา
กรณีมีการซอมที่มีผลตอความแข็งแรงของหมอนํ้าตองเปนไปตามหลักวิชาการดานวิศวกรรมทั้ง
การเลือกใชวัสดุ เทคนิคและวิธีการซอม ภายหลังการซอมตองจัดใหมีวิศวกรตรวจทดสอบกอนใชงานโดย
บุคคลผูม คี ณ
ุ วุฒิดังกลาวขางตน แลวเก็บเอกสารรับรองความปลอดภัยในการใชหมอนํ้าไวเปนประวัติของ
หมอนํานั
้ ้นๆ เพื่อใหพนักงานเจาหนาที่สามารถตรวจสอบได

ขอ 40 นายจางที่ดัดแปลงหมอนํ้าตองจัดใหมีวิศวกรที่มีคุณสมบัติตามขอ 39 ออกแบบ ควบคุม


และรับรองความปลอดภัยของหมอนํ้าพรอมทั้งเก็บรายละเอียดการดัดแปลงไวเปนประวัติของหมอนํ้าเพื่อ
ใหพนักงานเจาหนาที่สามารถตรวจสอบได

ขอ 41 ในกรณีพนักงานเจาหนาที่ตรวจพบวาหมอนํ้าชํารุดหรือบกพรองอยูในสภาพไมปลอดภัย
ในการใชงานพนักงานเจาหนาที่อาจเตือนใหนายจางปรับปรุง ซอมแซม แกไขใหอยูในสภาพเรียบรอย
ปลอดภัยตามหลักวิชาการดานวิศวกรรมภายในระยะเวลาที่กําหนดกอนใชงานตอไป หรือใหลดความดัน
ใชงานลงจนปลอดภัย และหมอนํ้าใดอยูในสภาพที่ชํารุดทรุดโทรมมากเนื่องจากหมดอายุใชงานไมสมควร
ทีจ่ ะใหใชงานอีกตอไป ใหพนักงานเจาหนาที่ออกคําสั่งหามใช
คําเตือนหรือคําสั่งดังกลาวขางตนใหพนักงานเจาหนาที่ปดสําเนาไว ณ บริเวณหมอนํ้าใหเห็นได
ชัดเจน

ขอ 42 เมือ่ นายจางพบหรือไดรับแจงวามีการชํารุดเสียหายของหมอนํ้าที่มีผลตอความปลอดภัย


ในการใชงานจะตองหยุดใชหมอนํ้านั้นทันทีจนกวาจะไดมีการแกไขใหอยูในสภาพที่ปลอดภัยเสียกอน

ขอ 43 หามนายจางใหลูกจางใชหมอนํ้าที่อยูในสภาพที่ไมปลอดภัยในการใชงาน

หมวด 5
การคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

ขอ 44 ใหนายจางจัดใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับหมอนํ้าสวมใสแวนตา หนากาก เครื่องปองกัน


เสียง ทีป่ อ งกันความรอน รองเทาพื้นยางหุมสนหรือเครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคลอื่นๆ ตามสภาพและ
ลักษณะของงาน และใหถือเปนระเบียบปฏิบัติงานของสถานประกอบการตลอดเวลาที่ลูกจางปฏิบัติงานนั้น

ขอ 45 ใหลกู จางสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลตามขอ 44 ตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน

ขอ 46 หามนายจางยินยอมหรือปลอยปละละเลยใหลูกจางที่ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย
สวนบุคคล ทํางานถาการทํางานลักษณะเชนวานั้นจําเปนตองสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
ตามขอ 44

2- 156
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 47 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลตามขอ 44 ใหเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ


อุตสาหกรรมหรือตามที่กระทรวงมหาดไทยประกาศกําหนด

ขอ 48 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายตามประกาศนี้

หมวด 6
เบ็ดเตล็ด

ขอ 49 ขอกําหนดเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยที่กําหนดไวในประกาศนี้เปนมาตร
ฐานขั้นตํ่าที่จะตองปฏิบัติเทานั้น

ขอ 50 สถานประกอบการที่ติดตั้งหมอนํ้ าหลังจากที่ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้มีผล


บังคับใชใหเปนไปตามขอกําหนดตามประกาศนี้ทุกประการ สําหรับสถานประกอบการที่ติดตั้งหมอนํ้ากอน
ประกาศนีม้ ผี ลบังคับใช ใหนายจางทําการปรับปรุง แกไขหมอนํ้า ตามหลักวิชาการดานวิศวกรรม ตาม
ชนิด ประเภท รายละเอียดและระยะเวลาที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด

ประกาศ ณ วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2534

เจริญจิตต ณ สงขลา
รัฐมนตรีชวยวาการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 157
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

กองตรวจความปลอดภัย
กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

เอกสารรับรองความปลอดภัยในการใชหมอไอนํ้า

ขาพเจา………………………………………. อายุ……….ป อาชีพ………………………………..….............


พักอยูบานเลขที่………….หมูที่………………..ตรอก/ซอย…………………………….ถนน………………………………...............
ตําบล/แขวง………………………. อําเภอ/เขต………………………….. จังหวัด…………………….โทรศัพท………….............
สถานที่ทํางาน………………………………………….ตั้งอยู ณ………………………………………..โทรศัพท…………...................
ไดรบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ตามพระราชบัญญัติวิชา
ชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 เลขทะเบียน………………………… ตั้งแตวันที่…………………………................................
ถึงวันที่…………………………….............................

ขาพเจาไดทําการอัดนํ้าทดสอบและตรวจสภาพหมอไอนํ้าของโรงงาน ………………………………………………….......
ซึ่งตั้งอยูเลขที่ ………….หมูที่………………..ตรอก/ซอย…………………………….ถนน……………………………….................
ตําบล/แขวง………………………. อําเภอ/เขต………………………….. จังหวัด…………………….โทรศัพท…………..............
ประกอบกิจการ………………………… ทะเบียนโรงงานเลขที่…………………………….. หมดอายุ…………………….............
ผูร บั ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานชื่อ………………………………………………….…..จํานวนคนงาน………………….คน
ตรวจสอบเรียบรอยเมื่อวันที่……………………………..เวลา……………..น. โรงงานมีหมอไอนํ้าทั้งหมด…….……เครื่อง
หมอไอนํ้าเครื่องนี้หมายเลข……………………………………………….………ขณะตรวจ หมอไอนํ้าเครื่องอื่นอยูในสภาพ
กําลังใชงาน หยุด

ขาพเจาไดตรวจทดสอบหมอไอนํ้าเครื่องนี้ โดยการอัดนํ้า (Hydrostatic Test) ที่ความดันไมนอย


กวาเกณฑการอัดนํ้าทดสอบตามที่ระบุในหนา 4 ของเอกสารนี้ และขอรับรองวา หมอไอนํ้าและอุปกรณทุก
สวนของหมอไอนําเป้ นไปตามรายละเอียดแสดงไวในหนา 2 และ 3 ของเอกสารนี้ ขาพเจาไดทําการตรวจ
สภาพและหรือทดสอบอยางถูกตองตามหลักวิศวกรรม และหมอไอนํ้าเครื่องนี้สามารถใชงานไดโดยปลอด
ภัยไมนอ ยกวา 1 ป นับตั้งแตวันตรวจสอบ ที่ความดันซึ่งไดปรับลิ้นนิรภัยใหเปดระบายไดที่ความดันไม
เกิน……………………………………………………………………..ขาพเจาจึงลงลายมือชื่อไวเปนหลักฐาน

(ลงชื่อ)………………………………………........ ... (ลงชื่อ)………………………………………….................


(……………………………………......) (………………………………….................)
วิศวกรผูตรวจทดสอบ ผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน

2- 158
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

กอนการตรวจทดสอบฯ โปรดอานรายละเอียดทายเอกสารนี้

หมอไอนํ้าเครื่องนี้ เปนแบบหมอไอนํ้า เรือ รถไฟ ลูกหมู ทอนํ้าขวาง ทอไฟนอน (Package)


ดัดแปลงเตาจากหมอไอนํ้า………………………………อื่นๆ (ระบุ) …………………………………………………….............................
ใชงานมาแลว………ป หมายเลขเครื่อง………………….สรางโดย…………………..........................................................
โดยออกแบบความดันสูงสุดไวที่……………………….......อุณหภูมิ………………………....................................................
อัตราการผลิตไอ…………………..พื้นผิวระดับความรอน………………..แรงมา หมอไอนํ้า…………………………......................
การเคลื่อนยายหมอไอนํ้า ไมเคย เคย เมื่อ………………………........จาก (ที่ใด)………………………............
ชื่อผูควบคุมหมอไอนํ้า………………………………..................................คุณวุฒิ……………………………............................
.................................……………………………….คุณวุฒิ……………………………............................
.................................……………………………….คุณวุฒิ……………………………............................

1. ตัวหมอไอนํ้า
การตอแผนเหล็กหมอไอนํ้า เปนแบบ เชื่อม หมุดยํ้า, เปลือกหมอไอนํ้าหนา…………………………….............
ฉนวนหุมหมอไอนํ้า ไมมี มี เปนแบบ ใยแกว Asbestos อิฐทนไฟ อื่นๆ……………......
ขนาดหมอไอนํ้า…………………….................ยาว……………………………...............
ทอไฟใหญ ขนาด……………………...............ยาว……………………………...............จํานวน……………….ทอ
ทอไฟเล็ก ขนาด……………………................ยาว……………………………….............จํานวน……………….ทอ
ทอนํ้า (สําหรับหมอไอนํ้าแบบทอนํ้าขวาง) ขนาด………………………..............จํานวน……………….ทอ
ผนังเตาขนาด…………………………..หนา…………………….ผนังดานหนา-หลัง (End Plates) หนา……………….....................
ถังพักไอนํ้า (Header or Steam Dome) ขนาด……………………………………………………………………………............................
ชองคนลง (Man Hole) ไมมี มี จํานวน………………ชอง
ชองมือลอด (Hand Hole) ไมมี มี จํานวน………………ชอง
ชองทําความสะอาดทอนํ้า (สําหรับหมอนํ้าตั้งแบบทอนํ้าขวาง) ไมมี มี จํานวน………………..ชอง
เหล็กยึดโยง เปนแบบ Stay Rod ขนาด……………………………............ จํานวน………………..ชุด
Stay Tube ขนาด………………………………...........จํานวน………………..ชุด
Gusset Stay ขนาด………….............ดานหนา…… ..ชุด ดานหลัง………..……ชุด
อื่นๆ …………………………………….………...........................จํานวน………………..ชุด

2. สภาพอุปกรณของหมอไอนํ้า
2.1 ลิ้นนิรภัย (Safety Valve) มีจํานวน………………ชุด เปนแบบ
แบบนํ้าหนักถวง ขนาด………………………….ระบายไอนํ้าที่ความดัน……………………………
แบบสปริงมีคานงัด ขนาด………………………….ระบายไอนํ้าที่ความดัน……………………………
แบบ………………....... ขนาด………………………….ระบายไอนํ้าที่ความดัน……………………………
2.2 ระบบความดัน
ความดันใชงานปกติ………………………………………………………………..(Working Pressure)
สเกลวัดความดัน (Pressure Guage) จํานวน………………ชุด สเกลสูงสุดอานไดที่…………………..
สวิตชควบคุมความดัน (Pressure Control Switch) ไมมี มี จํานวน………………….ชุด
ตัง้ ไวที่ความดัน………………………………………..Diff, Pressure…………………………………..

2- 159
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

2.3 ระบบนํ้า
หลอดแกวและวาลวบังคับ มีจํานวน……………….ชุด พรอมทอระบายวาลวหลอดแกวถึงระดับพื้น
เครื่องควบคุมระดับนํ้า (Water Level Control) ไมมี มี เปนแบบ
ลูกลอย (Float Type) Electrode อื่นๆ (ระบุ)………………จํานวน………….ชุด
เครื่องสูบนํ้าเขาหมอไอนํ้า เปนแบบ
Reciprocating Turbine อืน่ ๆ…………………….... จํานวน………….ชุด
โดยใชพลังงานจาก ไฟฟา ไอนํ้า อื่นๆ……………………............................................
วาลวกันกลับ (Check Valve) ที่ทอนํ้า เขาหมอไอนํ้า ขนาด………………………………..………. ..จํานวน………….ชุด
นํ้าที่เขาหมอนํ้า นําประปา
้ นํ้าบาดาล นํ้าบอ นํ้าคลอง อื่นๆ (ระบุ)………….........
กรรมวิธีการปองกันสภาพนํ้า ไมมี มี เปนแบบ………………………………………............................
คุณสมบัติของนํ้าเขาหมอไอนํ้า pH………………………….Hardness………………………..อื่นๆ (ถามี)……………..........
วาลวถายนํ้า (Blow Down Valve) ขนาด………………………………………………………...........จํานวน………………..ชุด
2.4 ระบบการจายไอนํ้า
วาลวจายไอนํ้า (Mian Steam Valve) ขนาด……………………………….จํานวน…………..ชุด
วาลวกันกลับที่ทอจายไอ (Check Valve) ขนาด…………………………จํานวน…………..ชุด
ทอจายไอนํ้า (Steam Pipe) ขนาด………………………………………..
ฉนวนหุมทอจายไอนํ้า ไมมี มี เปนแบบ……………………………………..
2.5 ระบบสัญญาณเตือนภัย ไมมี มี เปนแบบ กระดิ่งไฟฟา อื่นๆ (ระบุ)………........
2.6 ระบบการเผาไหม
เชือ้ เพลิงที่ใช ฟน แกลบ ขี้เลื่อย นํามั
้ นดีเซล
นํ้ามันเตาเกรด……………………............. อื่นๆ (ระบุ)……………………………................
ปริมาณการใช…………………………(ตอหนวยเวลา )
มีระบบควบคุมการจายเชื้อเพลิง เปนแบบ……………......ขนาดความสามารถ………………………
การจัดทิศทางเปลวไฟ 1 Pass 2 Pass 3 Pass 4 Pass
ปลองไฟขนาด……………………………..................................สูง...................………………………………
ลมชวยในการเผาไหม ธรรมชาติ พัดลมขนาด……………………………….................
2.7 ปลั๊กหลอมละลาย (Fusible Plug) ไมมี มี จํานวน…………….ชุด
2.8 ระบบปรับปรุงประสิทธิภาพ
เครื่องอุนนํ้ามัน (Oil Heater) ไมมี มี เปนแบบ……………...อุนถึงอุณหภูมิ……………….....
เครื่องอุนอากาศ (Air Heater) ไมมี มี เปนแบบ……………...อุนถึงอุณหภูมิ……………….....
เครื่องอุนนํ้า (Economizer) ไมมี มี เปนแบบ……………...อุนถึงอุณหภูมิ……………….....
การนําคอนเดนเสดกลับมาใช ไมมี มี ปริมาณ………………………………………………..............
2.9 ภาชนะรับแรงดันไอนํ้า (Pressure Vessel) ไมมี มี (ระบุ)……………………………………........
เครือ่ งจักรไอนํ้า ขนาดไอดี (High Pressure)……………….ขนาดไอเสีย (Low Pressure)……………….
จํานวน……….ชุด

2- 160
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

เครื่อง………………………….ขนาด…………………….จํานวน…………………ชุด ใชความดัน………………….........
มีลิ้นนิรภัยสภาพเรียบรอยตั้งความดันที่………………...........................
เครื่อง……………….........ขนาด…………………………..จํานวน………………..ขุด ใชความดัน…………………………
มีลิ้นนิรภัยสภาพเรียบรอยตั้งความดันที่………………...........................
เครื่อง……………….........ขนาด…………………………..จํานวน………………..ขุด ใชความดัน…………………………
มีลนิ้ นิรภัยสภาพเรียบรอยตั้งความดันที่………………..……………………………..

รายงานผลการตรวจหมอไอนํ้ากอนรับรอง

ทอไฟใหญ เรียบรอย บกพรอง ทอไฟเล็ก เรียบรอย บกพรอง


ผนังดานหนา-หลัง เรียบรอย บกพรอง ผนังเตา เรียบรอย บกพรอง
เหล็กยึดโยง เรียบรอย บกพรอง ชองมือลอด เรียบรอย บกพรอง
เกจวัดความดัน เรียบรอย บกพรอง ลิ้นนิรภัย เรียบรอย บกพรอง
เครื่องสูบนํ้าเขาหมอ เรียบรอย บกพรอง สวิตชควบคุมความดัน เรียบรอย บกพรอง
ระบบสัญญาณเตือนภัย เรียบรอย บกพรอง เครื่องควบคุมระดับนํ้า เรียบรอย บกพรอง

รายละเอียดของสวนที่บกพรองและอื่นๆ
…………………………………………………………………………………………………………………………….......................................
…………………………………………………………………………………………………………………………….......................................
…………………………………………………………………………………………………………………………….......................................
ไดดําเนินการซอมแซมแกไขจนเปนที่เรียบรอยสมบูรณกอนลงลายมือชื่อรับรองแลว

....................………………………………………..(วิศวกร ผูตรวจทดสอบ)

2- 161
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอกําหนดในการตรวจทดสอบฯ และกรอกรายงาน
ในเอกสารรับรองความปลอดภัยในการใชหมอนํ้า

ชื่อโรงงาน - ใชตามที่ระบุไวในใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ถาไมมีใหใชชื่อผูรับใบอนุญาตฯ


ประกอบกิจการโรงงาน - ใชตามที่ระบุในบรรทัดที่ 7 ของใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (นับจากวันที่ลงมา)
ทะเบียนโรงงานเลขที่ - ใชตามที่ระบุในบรรทัดที่ 12 ของใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (นับจากวันที่ลงมา)
หมอไอนํ้าหมายเลข - หมอไอนํ้าที่ติดตั้งกอนถือวาเปนหมายเลข 1
ออกแบบความดันสูงสุด - ความดันสูงสุดที่ผูสรางกําหนดใหใช (Max.Allowable Working Pressure)
สวิตชควบคุมความดัน - (ถามี) จะตองตั้งไวไมเกินความดันใชงานสูงสุด (Max.Working Pressure)
ลิ้นนิรภัย - ตองติดตั้งที่เปลือกพักไอ และตองไมมีวาลวตอคั่นกลาง
- ตองเปนแบบนํ้าหนักถวงหรือแบบสปริงที่มีคานงัด (ไมมีคานงัดหามใช) หรือแบบอื่นที่สามารถตรวจ
สอบการเปดไดงาย มีขนาดที่สามารถระบายไอนํ้าไดทันเมื่อความดันเกินกําหนดและปรับตั้งใหระบายที่ความดัน
ไมเกิน 10% ของความดันใชงานสูงสุด (Max.Working Pressure) แตตองไมเกิน 3% ของการออกแบบความดัน
สูงสุด (Max.Working Pressure)
- ตองมีไมนอยกวา 2 ชุด สําหรับหมอไอนํ้าที่มีพื้นที่ผิวความรอนตั้งแต 50 ตารางเมตรขึ้นไป
ตะกรัน - ถามีหนากวา 1/16 จะตองลางออก
การอัดนํ้าทดสอบ - ตองใชความดันไมนอยกวา 1.5 เทาของความดันที่ปรับตั้ง ลันนิรภัยใหเปด แตไมเกิน 1.5
เทาของความดันสูงสุดที่ออกแบบ (Max. Allowable Working Pressure) ถาความดันใชงานสูงสุดตํ่ากวา 60
ปอนดตอตารางนิ้วตองใชความดันไมนอยวา 2 เทา ของความดันที่ใชงานสูงสุดอยูในระหวาง 60-80 ปอนด ตอ
ตารางนิ้ว ตองใชความดันไมนอยกวา 120 ปอนดตอตารางนิ้ว
เครื่องสูบนํ้า - ตองมีความสามารถในการอัดนํ้าไมตํ่ากวาเกณฑการอัดนํ้าทดสอบ

หมายเหตุ

1. ในการตรวจทดสอบ หากพบวา สวนประกอบและหรืออุปกรณของหมอไอนํ้าสวนหนึ่งสวนใดมีขอบกพรอง


ชํารุดหรือไมทํางาน วิศวกรผูตรวจทดสอบ ตองแจงใหผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ดําเนินการซอม
ปรับปรุงแกไขหรือเปลี่ยนใหมใหอยูในสภาพเรียบรอยใหแลวเสร็จกอนลงลายมือชื่อรับรอง
2. ตองกรอกขอความใหครบทุกขอ ขอความใดที่ไมกรอก ตองแสดงเหตุผล มิฉะนั้น เจาหนาที่จะถือวาไมได
ตรวจทดสอบหรือดูสภาพ สวนประกอบหรืออุปกรณของหมอไอนํ้านั้นและอาจพิจารณาไมรับเอกสารฉบับนี้
3. ขอความนอกเหนือจากที่ระบุในขอกําหนด ใหใชหลักวิชาการทางวิศวกรรม

2- 162
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง การปองกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการ
เพื่อความปลอดภัยในการทํางานสําหรับลูกจาง

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) และขอ 14 แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่


16 มีนาคม 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
สําหรับลูกจางไว โดยวางมาตรการปองกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการไว ดังตอไปนี้

ขอ 1 ในประกาศนีใ้ หใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจา


นุเบกษา เปนตนไป

ขอ 2 ในประกาศนี้
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวมถึง
ผูซึ่งไดรับ มอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวาผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคล นั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทํา
การแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจางดวย
ตนเอง หรือไมก็ตาม และหมายความรวมถึงลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราว แตไมรวมถึงลูกจางซึ่ง
ทํางานเกี่ยวกับงานบาน
“อาคาร” หมายความวา อาคารตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร
“อาคารไม” หมายความวา โครงสรางของอาคารในสวนที่เปนผนัง พื้น หรือหลังคาที่ทําดวยไม
“อาคารทีไ่ หมไฟชา” หมายความวา โครงสรางของอาคารในสวนที่เปนกําแพงปูน และเสาไมที่ลุก
ไหมไดชา
“อาคารทนไฟ” หมายความวา โครงสรางของอาคารในสวนที่เปนผนัง แผนกั้น พื้น บันได หลังคา
ขอบโครงหนาตาง กรอบกระจก ประตู และสิ่งตกแตงภายในที่ไมพังทลายขณะเผาไหมในชวงเวลาหนึ่ง
“สถานทีซ่ ึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยอยางเบา” หมายความวา สถานที่ที่อาจเกิดเพลิงไหม
ได โดยเพลิงนั้นเกิดจากวัตถุหรือของเหลวที่มีอยูหรือใชในบริเวณนั้น ซึ่งไหมไฟไดอยางชาหรือมีควันนอย
หรือไมระเบิด
“สถานที่ซึ่งมีสภาพเสีย่ งตอการเกิดอัคคีภัยอยางปานกลาง” หมายความวา สถานที่ที่อาจเกิดเพลิง
ไหมได โดยเพลิงนั้นเกิดจากวัตถุหรือของเหลวที่มีอยูหรือใชในบริเวณนั้น ซึ่งไหมไฟไดอยางปานกลาง มี
ควันปานกลางหรือมากแตไมเปนพิษหรือไมระเบิดได

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 108 ตอนที่ 217 วันที่ 10 ธันวาคม 2534


2- 163
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

“สถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยอยางรายแรง” หมายความวา สถานที่ที่อาจเกิดเพลิง


ไหมได โดยเพลิงนั้นเกิดจากวัตถุหรือของเหลวที่มีอยูหรือใชในบริเวณนั้นซึ่งไหมไฟไดอยางรวดเร็ว หรือมี
ควันซึง่ เปนพิษหรือระเบิดได
“เพลิงประเภท เอ” หมายความวา เพลิงที่เกิดจากเชื้อเพลิงธรรมดา เชน ไม ผา กระดาษ ยาง
พลาสติก
“เพลิงประเภท บี”หมายความวา เพลิงที่เกิดจากของเหลวติดไฟ กาซ และนํ้ามันประเภทตางๆ
“เพลิงประเภท ซี” หมายความวา เพลิงที่เกิดจากอุปกรณไฟฟา หรือวัตถุที่มีกระแสไฟฟา
“เพลิงประเภท ดี” หมายความวา เพลิงที่เกิดจากโลหะตางๆ ที่ติดไฟ แมกนีเซียม เซอรโคเนียม
ไวเทเนียม
“วัตถุไวไฟ” หมายความวา วัตถุที่มีคุณสมบัติ ติดไฟไดงาย สันดาปเร็ว
“วัตถุไวไฟชนิดของเหลว” หมายความวา ของเหลวที่มีคุณสมบัติที่สามารถระเหยเปนไอที่อุณหภูมิ
ไมเกินหนึ่งรอยองศาเซลเซียส ไอระเหยนี้เมื่อสัมผัสกับอากาศถาจุดไฟก็จะติดได
“วัตถุระเบิด” หมายความวา วัตถุระเบิดตามกฎหมายวาดวยอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ
ระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน
“ระบบปองกันและระงับอัคคีภัย” หมายความวา สิ่งที่จัดทําหรือติดตั้งเพื่อวัตถุประสงคในการปอง
กันและระงับอัคคีภัย
“แผนปองกันและระงับอัคคีภัย” หมายความวา แนวทางปฏิบัติที่จะใชในการปองกันและระงับ
อัคคีภัย ผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
“อธิบดี” หมายความวา อธิบดีกรมแรงงานหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย

หมวด 1
ขอกําหนดทั่วไป

ขอ 3 ใหนายจางจัดใหมีระบบปองกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการ เกี่ยวกับการจัด


อุปกรณดบั เพลิงการเก็บรักษาวัตถุไวไฟและวัตถุระเบิด การกําจัดของเสียที่ติดไฟไดงาย การปองกันฟาผา
การติดตัง้ ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม การจัดทําทางหนีไฟ รวมถึงการกอสรางอาคารที่มีระบบปอง
กันอัคคีภัย

ขอ 4 ใหนายจางจัดใหมีแผนปองกันภัยในสถานประกอบการที่เกี่ยวกับการตรวจตรา การอบรม


การรณรงคปองกันอัคคีภัย การดับเพลิง การอพยพหนีไฟ การบรรเทาทุกข และการปฏิรูปฟนฟูเมื่อเกิด
อัคคีภัยขึ้นแลว
ใหนายจางเก็บแผนปองกันและระงับอัคคีภัยไว ณ สถานที่ทํางานพรอมที่จะใหพนักงานเจาหนาที่
ตรวจสอบได

ขอ 5 อาคารที่มีหลายสถานประกอบการตั้งอยู ใหนายจางของแตละสถานประกอบการรวมกันจัด


ใหมรี ะบบและแผนปองกันและระงับอัคคีภัยในสวนของอาคารที่ใชรวมกัน

2- 164
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

หมวด 2
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอาคารและทางหนีไฟ

ขอ 6 ในกรณีทอี่ าคารกอสรางดวยวัตถุซึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยดังตอไปนี้ นายจางจะ


ใหลกู จางทํางานไดไมเกินจํานวนชั้นของอาคารตามที่กําหนด ดังนี้
(1) สถานทีซ่ ึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอันตรายจากอัคคีภัยอยางเบา สําหรับอาคารไมไมเกินสาม
ชัน้ อาคารที่ไหมไฟชาไมเกินเจ็ดชั้น และอาคารทนไฟไมจํากัดจํานวนชั้น
(2) สถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยอยางปานกลาง สําหรับอาคารไมไมเกินสองชั้น
อาคารทีไ่ หมไฟชาไมเกินหกชั้น และอาคารทนไฟไมจํากัดจํานวนชั้น
(3) สถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยอยางรายแรง สําหรับอาคารไมไมเกินหนึ่งชั้น
อาคารทีไ่ หมไฟชาไมเกินสี่ชั้น และอาคารทนไฟไมจํากัดจํานวนชั้น
ในกรณีทนี่ ายจางจัดใหมีระบบนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติหรือสารเคมีฉีดดับเพลิงอัตโนมัติไว จํานวนชั้น
ของอาคารที่ใหลูกจางทํางานตามวรรคหนึ่งสามารถเพิ่มขึ้นไดอีกสองชั้น

ขอ 7 ในกรณีที่นายจางประกอบกิจการผลิตโดยมีหรือใชสิ่งใดที่อาจกอใหเกิดการระเบิดอยาง
รายแรง หรือติดไฟไดงาย นายจางตองปฏิบัติดังนี้
(1) จัดแยกอาคารที่ใชเปนสถานประกอบกิจการผลิตดังกลาวออกตางหากจากอาคารอื่น
(2) ใหมลี กู จางทํางานในอาคารดังกลาวในจํานวนนอยที่สุดเฉพาะที่จําเปน

ขอ 8 นายจางตองจัดใหมีชองทางผานสูทางออกซึ่งมีความกวางของชองทางไมนอยกวาหนึ่งเมตร
สิบเซ็นติเมตร
สํ าหรับบริเวณที่มีเครื่องจักรตั้งอยูหรือมีกองวัสดุสิ่งของหรือผนังหรือสิ่งอื่นนายจางตองจัดใหมี
ทางผานสูทางออกซึ่งมีความกวางของชองทางไมนอยกวาแปดสิบเซ็นติเมตร
ในกรณีที่พนักงานตรวจแรงงานพบวาอาจเกิดอันตรายไดจากเครื่องจักร ขนาดของชิ้นงาน เศษ
วัสดุ การวางตั้งหรือกองวัสดุสิ่งของ จะกําหนดใหมีชองทางผานสูทางออกที่กวางกวาที่กําหนดในวรรคสอง
ก็ไดตามความเหมาะสม

ขอ 9 ใหนายจางจัดใหมีทางออกและทางออกสุดทาย ดังตอไปนี้


(1) ใหมีทางออกทุกชั้นอยางนอยสองทางที่สามารถอพยพลูกจางทั้งหมดออกจากที่ทํางานออกสู
ทางออกสุดทายไดภายในเวลาไมเกินหานาทีโดยปลอดภัย
(2) ชองทางผานไปสูทางออกหรือหองบันไดฉุกเฉินตองมีระยะหางจากจุดที่ลูกจางทํางานไมเกิน
สิบหาเมตร สําหรับสถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอันตรายจากอัคคีภัยอยางรายแรงและไมเกินสามสิบ
เมตร สําหรับสถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอันตรายจากอัคคีภัยอยางปานกลางหรืออยางเบา
หองบันไดฉุกเฉินจะตองสามารถปองกันไฟและควันหรือมีชองทางฉุกเฉินที่มีผนังทนไฟ
(3) ชองทางผานสูประตูทางออกสุดทายภายนอกอาคารตองมีความกวางอยางนอยไมตํ่ากวาหนึ่ง
เมตรสิบเซ็นติเมตร ในกรณีที่มีคนงานเกินหาสิบคนขึ้นไป ขนาดของความกวางของทางออกสุดทายตอง
กวางขึ้นอีกหกสิบเซ็นติเมตร หรือมีชองทางเพิ่มขึ้นอีกอยางนอยหนึ่งชองทาง
(4) ทางออกสุดทายตองไปสูบริเวณที่ปลอดภัย เชน ถนน สนาม
2- 165
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 10 บันไดในสถานประกอบการ ใหนายจางปฏิบัติดังตอไปนี้


(1) บันไดและบานบันไดในอาคารตั้งแตสี่ชั้นขึ้นไปใหสรางดวยวัสดุทนไฟ
(2) อาคารตัง้ แตสามชั้นขึ้นไป ถาหลังคามีความลาดเอียงหนึ่งในสี่หรือนอยกวา จะตองมีบันได
หนีไฟทีอ่ อกสูหลังคาที่สรางดวยวัสดุทนไฟอยางนอยหนึ่งบันได
(3) ใหทาเครื
ํ ่องหมายหรือสัญลักษณที่เห็นไดเดนชัดเจนนําจากบันไดสูทางออกภายนอก
ในกรณีทใี่ ชปลองทางหนีไฟแทนบันได เสนทางลงสูปลองทางลงภายในปลองตลอดจนพื้นฐานของ
ปลองจะตองใชวัสดุทนไฟ และประตูปลองตองสรางดวยวัสดุทนไฟและปลอดภัยจากควันไฟ นํ้า หรือสิ่ง
อืน่ ใดที่ใชในการดับเพลิง

ขอ 11 ประตูทใี่ ชในเสนทางหนีไฟ จะตองมีลักษณะแลคุณสมบัติดังตอไปนี้


(1) ติดตัง้ ในจุดที่เห็นชัดเจนโดยไมมีสิ่งของกีดขวาง
(2) ตองเปนชนิดที่เปดเขาออกไดทั้งสองดาน
(3) ตองมิใชประตูเลื่อนแนวดิ่ง ประตูมวน และประตูหมุน
(4) ประตูบนั ไดจะตองมีความกวางไมนอยกวาความกวางของบันได
(5) ประตูทเี่ ปดสูบ นั ไดจะตองไมเปดตรงบันได และมีชานประตูอยางนอยเทากับความกวางของ
ประตูในทุกจุดที่ประตูเปดออกไป
(6) ประตูเปดออกสูภายนอกอาคารตองเปนชนิดเปดออกภายนอก หามปด ผูกหรือลามโซประตู
เขาออกจากอาคารในขณะที่มีลูกจางปฏิบัติงาน
(7) สวนของประตูตองสรางดวยวัตถุทนไฟ

ขอ 12 ใหนายจางจัดเก็บวัตถุตางๆ ดังตอไปนี้


(1) วัตถุเมื่อรวมกันแลวจะเกิดการลุกไหมใหแยกเก็บโดยมิใหปะปนกัน
(2) วัตถุซงึ่ โดยสภาพสามารถอุมนํ้าหรือซับนํ้าไดมาก ใหจัดเก็บไวบนพื้นของอาคารซึ่งรองรับนํ้า
หนักที่เพิ่มขึ้นได

ขอ 13 ใหนายจางจัดใหมีเสนทางหนีไฟที่ปราศจากสิ่งกีดขวาง จากจุดที่ลูกจางทํางานในแตละ


หนวยงานไปสูสถานที่ที่ปลอดภัย

หมวด 3
การดับเพลิง
ขอ 14 ใหนายจางจัดใหมีอุปกรณดับเพลิง ดังตอไปนี้
(1) ระบบดับเพลิงและอุปกรณประกอบ
(2) เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ

ขอ 15 ใหนายจางจัดระบบนํ้าดับเพลิงและอุปกรณประกอบเพื่อใชในการดับเพลิง ดังตอไปนี้


(1) จัดเตรียมนําสํ
้ ารองไวใชในการดับเพลิงโดยมีอัตราสวนปริมาณนํ้าที่สํารองตอเนื้อที่อาคาร
ตามตารางตอไปนี้ ในกรณีที่ไมมีทอนํ้าดับเพลิงของทางราชการในบริเวณที่สถานประกอบการตั้งอยูหรือมี
แตปริมาณนํ้าไมเพียงพอ
2- 166
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

เนื้อที่
ไมเกิน 250 ตารางเมตร 9,000 ลิตร
เกิน 250 ตารางเมตรไมเกิน 500 ตารางเมตร 15,000 ลิตร
เกิน 500 ตารางเมตรแตไมเกิน 1,000 ตารางเมตร 27,000 ลิตร
เกิน 1,000 ตารางเมตร 36,000 ลิตร

(2) ระบบการสงนํ้า ที่เก็บกักนํ้า ปม นําและการติ


้ ดตั้งจะตองไดรับการตรวจสอบและรับรองจาก
วิศวกรโยธา ซึ่งคณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปตยกรรมรับรอง และตองมี
การปองกันไมใหเกิดความเสียหายเมื่อเกิดเพลิงไหม
(3) ขอตอสายสงนํ้าดับเพลิงเขาอาคารและภายในอาคารจะตองเปนแบบเดียวกันหรือขนาดเทากัน
กับที่ใชในหนวยดับเพลิงของทางราชการในทองถิ่นนั้น การติดตั้งตองมีสิ่งปองกันความเสียหายที่จะเกิด
จากยานพาหนะหรือสิ่งอื่น
(4) ขอตอสายสงนํ้าดับเพลิงและกระบอกฉีดที่ใชฉีดเพลิงโดยทั่วไป จะตองเปนแบบเดียวกันหรือ
ขนาดเทากันกับที่ใชในหนวยดับเพลิงของทางราชการในทองถิ่นนั้นซึ่งสามารถตอเขาดวยกันได และตอง
อยูใ นสภาพที่ใชงานไดดี
(5) สายสงนําดั
้ บเพลิงตองมีความยาวหรือตอกันใหมีความยาวเพียงพอที่จะควบคุมบริเวณที่เกิด
เพลิงได

ขอ 16 การใชเครื่องมือดับเพลิงแบบมือถือนายจางตองปฏิบัติดังตอไปนี้
(1) ใหนายจางจัดใหมีเครื่องดับเพลิงแบบมือถือตามประเภทของเพลิงดังตอไปนี้
ก.ใหใชเครื่องดับเพลิงแบบมือถือที่ใชนํ้ าสะสมแรงดันหรือสารเคมีดับเพลิงที่สามารถดับเพลิง
ประเภท เอ
ข. ใหใชเครื่องดับเพลิงแบบมือถือที่ใชสารเคมีดับเพลิงชนิดคารบอนไดออกไซดหรือโฟม หรือผง
เคมีแหง หรือสารเคมีดับเพลิงที่สามารถดับเพลิงประเภทบี
ค. ใหใชเครื่องดับเพลิงแบบมือถือที่ใชสารเคมีดับเพลิงชนิดคารบอนไดออกไซด หรือผงเคมีแหง
หรือสารเคมีดับเพลิงที่สามารถดับเพลิงประเภท ซี
ง. ใหใชเครื่องดับเพลิงแบบมือถือตามชนิดของสารเคมีที่สามารถดับเพลิงประเภท ดี
จ. หามใชเครื่องดับเพลิงที่อาจเกิดไอระเหยของสารพิษ เชน คารบอนเตตราคลอไรด
(2) ใหนายจางจัดใหมีเครื่องดับเพลิงตามชนิด จํานวน และใหทําการติดตั้งดังตอไปนี้
ก. เครือ่ งดับเพลิงแบบมือถือชนิดที่ใชดับเพลิงประเภท เอ ชนิดของเครื่องดับเพลิงที่ใช
ใหคานวณตามพื
ํ ้นที่ของสถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยที่กําหนดตามตาราง ดังตอไปนี้

พืน้ ที่ของสถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยง พืน้ ที่ของสถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงตอ พืน้ ที่ของสถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงตอ


ชนิดของ
ตอการเกิดอัคคีภัย อยางเบา การเกิดอัคคีภัย อยางปานกลาง การเกิดอัคคีภัย อยางรายแรง
เครื่องดับเพลิง
ตอเครื่องดับเพลิง 1 เครื่อง ตอเครื่องดับเพลิง 1 เครื่อง ตอเครือ่ งดับเพลิง 1 เครื่อง
1 - เอ 200 ตร.ม. ไมอนุญาตใหใช ไมอนุญาตใหใช
2 - เอ 560 ตร.ม. 200 ตร.ม. ไมอนุญาตใหใช
3 - เอ 840 ตร.ม. 420 ตร.ม. 200 ตร.ม.
4 - เอ 1,050 ตร.ม. 560 ตร.ม. 370 ตร.ม.

2- 167
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

5 - เอ 1,050 ตร.ม. 840 ตร.ม. 560 ตร.ม.


10 - เอ 1,050 ตร.ม. 1,050 ตร.ม. 840 ตร.ม.
20 - เอ 1,050 ตร.ม. 1,050 ตร.ม. 840 ตร.ม.
40 - เอ 1,050 ตร.ม. 1,050 ตร.ม. 1,050 ตร.ม.

นายจางจะใชเครื่องดับเพลิงชนิดสูงกวาความสามารถในการดับเพลิงตามพื้นที่ที่กําหนดใน
ตารางตามวรรคหนึ่งก็ได แตในกรณีที่ใชเครื่องดับเพลิงชนิดที่ตํ่ากวาความสามารถในการดับเพลิง
ตามพืน้ ที่ที่กําหนดในวรรคหนึ่ง ใหเพิ่มจํานวนเครื่องดับเพลิงชนิดนั้นใหไดสัดสวนกับพื้นที่ที่กําหนด
การคํานวณใชชนิดเครื่องดับเพลิงตามสัดสวนพื้นที่ของสถานที่ที่กําหนดในวรรคหนึ่ง และวรรค
สอง ถามีเศษของพื้นที่ใหนับเปนพื้นที่เต็มสวน ที่ตองเพิ่มจํานวนเครื่องดับเพลิงขึ้นอีกหนึ่งเครื่อง
ในกรณีที่สถานที่มีพื้นที่เกินกวากําหนดไวในตารางตามวรรคหนึ่ง นายจางจะตองเพิ่มเครื่องดับ
เพลิงโดยคํานวณตามสัดสวนของพื้นที่ ตามที่กําหนดไวในตารางดังกลาว
ในกรณีที่นายจางติดตั้งเครื่องดับเพลิงตั้งแตสองเครื่องขึ้นไป เครื่องดับเพลิงแตละเครื่องตองมี
ระยะหางกันไมเกินยี่สิบเมตร
ข. เครื่องดับเพลิงแบบมือถือชนิดที่ใชดับเพลิงประเภท บี ชนิดของเครื่องดับเพลิงที่ใชติด
ตัง้ โดยมีระยะหางจากวัสดุที่จะกอใหเกิดเพลิงประเภท บี ในสถานที่ตามสภาพเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัย
ตามที่กําหนดในตารางตอไปนี้

สถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัย ชนิดของเครื่องดับเพลิง ระยะหางจากวัสดุที่กอใหเกิดเพลิงประเภท บี


5 - บี 9 เมตร
อยางเบา
10 - บี 15 เมตร
10 - บี 9 เมตร
อยางปานกลาง
20 - บี 15 เมตร
20 - บี 9 เมตร
อยางรายแรง
40 - บี 15 เมตร

ค. เครื่องดับเพลิงที่กําหนดไวใน (2) ตองมีมาตรฐานที่ทางราชการกําหนดหรือยอมรับ


ง. เครื่องดับเพลิงแบบมือถือทุกเครื่องตองมีเครื่องหมายหรือสัญลักษณ แสดงวาเปนชนิด
ใด ใชดบั ไฟประเภทใด เครื่องหมายหรือสัญลักษณตองมีขนาดที่มองเห็นไดชัดจนในระยะไมนอยกวาหนึ่ง
เมตรหาสิบเซ็นติเมตร
(3) ขอปฏิบัติทั่วไปเกี่ยวกับเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ
ก. ตองมีการซอมบํารุงและตรวจตราใหมีสารที่ใชในการดับเพลิงตามปริมาตรที่ทางราชการ
กําหนดตามชนิดของเครื่อง
ข. ตองจัดใหมีการตรวจสอบสภาพของเครื่องดับเพลิงไมนอยกวาหกเดือนตอหนึ่งครั้งและ
เก็บผลไวใหพนักงานเจาหนาที่ตรวจไดตลอดเวลา
ค. เครื่องดับเพลิงแตละเครื่องตองมีนํ้าหนักสุทธิไมเกินยี่สิบกิโลกรัม ติดตั้งสูงจากพื้น
ทีท่ ํางานไมนอยกวาหนึ่งเมตร แตไมเกินหนึ่งเมตรสี่สิบเซ็นติเมตร
ง. ตองมีการตรวจสอบการติดตั้งใหอยูในสภาพที่ดีอยูเสมอ
2- 168
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

จ. ตองมีรายละเอียดเกี่ยวกับชนิด และวิธีใช เปนภาษาไทยที่เห็นไดชัดเจนติดไว ณ จุดติดตั้ง

ขอ 17 ในกรณีที่นายจางจัดใหมีระบบนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติ ตองปฏิบัติดังนี้


(1) ระบบดับเพลิงอัตโนมัติตองไดมาตรฐานที่ทางราชการกําหนดหรือยอมรับ
(2) ตองเปดวาลวประธานที่ควบคุมระบบจายนํ้าเขาอยูตลอดเวลา และจัดใหมีผูควบคุมดูแลให
ใชงานไดตลอดเวลาที่มีการทํางาน
(3) ตองติดตัง้ สัญญาณเพื่อเตือนภัยในขณะที่ระบบนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติกําลังทํางาน หรือกรณี
อุปกรณตัวหนึ่งตัวใดในระบบผิดปกติ
(4) ตองไมมสี งิ่ กีดขวางทางนํ้าจากหัวฉีดนํ้าดับเพลิงของระบบนี้อยางนอยหกสิบเซนติเมตรโดย
รอบ

ขอ 18 ในสถานที่ทํางานที่มีการติดตั้งระบบนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติ หรือระบบสารเคมีอัตโนมัติ ให


นายจางจัดใหมีเครื่องดับเพลิงแบบมือถือตามที่กําหนดในขอ 16 ดวย

ขอ 19 ใหนายจางปฏิบัติเกี่ยวกับอุปกรณดับเพลิงดังตอไปนี้
(1) ติดตัง้ อุปกรณดับเพลิงในที่เห็นไดชัดเจนและสามารถหยิบใชงานไดสะดวกโดยไมมีสิ่งกีดขวาง
(2) จัดใหมกี ารดูแลรักษาอุปกรณดับเพลิง และตรวจสอบใหอยูในสภาพที่ใชงานไดดีอยางนอย
เดือนละหนึง่ ครั้ง หรือตามระยะเวลาที่ผูผลิตอุปกรณนั้นกําหนด เวนแตเครื่องดับเพลิงแบบมือถือใหตรวจ
สอบตามระยะเวลาที่กําหนดในขอ16 (3) ข. และติดปายแสดงผลการตรวจสอบ วันที่ทําการตรวจครั้งสุด
ทายไวทอี่ ุปกรณดังกลาวและเก็บผลไวใหพนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบไดตลอดเวลา
(3) จัดใหลกู จางเขารับการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตนจากหนวยงานที่ทางราชการกําหนด หรือ
ยอมรับไมนอยกวารอยละสี่สิบของจํานวนลูกจางในแตหนวยงานของสถานประกอบการ

ขอ 20 ใหนายขางจัดลูกจางเพื่อทําหนาที่ดับเพลิงโดยเฉพาะอยูตลอดเวลาที่มีการทํางาน

ขอ 21 ใหนายจางจัดหาอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่ใชในการดับเพลิงและการฝกซอม
ดับเพลิงโดยเฉพาะ เชน เสื้อผา รองเทา ถุงมือ หมวก หนากากปองกันความรอน หรือควันพิษ เปนตน ไว
ใหลูกจางใชในการดับเพลิง
หมวด 4
การปองกันแหลงกอเกิดการกระจายตัวของความรอน

ขอ 22 ใหนายจางปองกันแหลงกอเกิดการกระจายตัวของความรอนดังตอไปนี้
(1) ปองกันมิใหเกิดกระแสไฟฟาลัดวงจรตามกฏหมายวาดวยความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟา
(2) ปองกันอัคคีภัยจากเครื่องยนตหรือปลองไฟเพื่อมิใหเกิดลูกไฟหรือเขมาไฟกระเด็นถูกวัตถุที่
ติดไฟได เชน นําวัตถุติดไฟออกจากบริเวณนั้น หรือจัดทําที่ครอบปองกันลูกไฟหรือเขมาไฟ
(3) ปองกันอัคคีภัยที่เกิดจากการแผรังสี การนําหรือการพาความรอนจากแหลงกําเนิดความรอน
สูงไปสูว ัสดุที่ติดไฟไดงาย เชน จัดทําฉนวนหุมหรือปดกั้น

2- 169
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(4) ปองกันอัคคีภัยจากการทํางานที่เกิดจาการเสียดสีเสียดทานของเครื่องจักร เครื่องมือที่เกิด


ประกายไฟหรือความรอนสูงที่อาจทําใหเกิดการลุกไหมได เชน การซอมบํารุง หรือหยุดพักการใชงาน
(5) เพือ่ ปองกันการสะสมการไฟฟาสถิตยใหตอสายดินกับถังหรือทอนํ้ามัน เชื้อเพลิง สารเคมี
หรือของเหลวไวไฟ โดยใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟา

หมวด 5
วัตถุไวไฟและวัตถุระเบิด

ขอ 23 ในกรณีที่นายจางมีหรือเก็บรักษาวัตถุไวไฟและวัตถุระเบิดไวในสถานประกอบการให
ปฏิบัติดังตอไปนี้
(1) วัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดรวมตลอดถึงวัตถุที่เมื่ออยูรวมกันแลวจะเกิดปฏิกิริยาหรือการ
หมักหมมทําใหกลายเปนวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิด ใหแยกเก็บโดยไมใหปะปนกันและตองเก็บในหองที่มี
ผนังทนไฟและประตูทนไฟที่ปดไดเองและปดกุญแจหองทุกครั้งเมื่อไมมีการปฏิบัติงานในหองนั้นแลว
(2) วัตถุที่เปนตัวเติมออกซิเจน หรือวัตถุที่ไวตอการปฏิกิริยาแลวเกิดการลุกไหมได ใหแยกเก็บ
ไวตา งหากในอาคารทนไฟ ซึ่งอยูหางจากอาคารหรือวัตถุติดไฟในระยะที่ปลอดภัย
(3) ภาชนะที่ใชบรรจุวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดรวมทั้งอุปกรณประกอบตองมีสภาพที่แข็งแรงทน
ทานไดรับการดูแลใหอยูในสภาพที่ปลอดภัยตอการใชงานอยูเสมอ
(4) ภาชนะที่ใชในการขนถายวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดตองเปนแบบที่เคลื่อนยายไดดวยความ
ปลอดภัย
(5) หามเก็บวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดไวที่บริเวณประตูเขา-ออก บันไดหรือทางเดิน
(6) จัดใหมกี ารระบายอากาศที่เหมาะสมเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในหองเก็บและหองปฏิบัติงาน
(7) ควบคุมมิใหเกิดการรั่วไหลหรือการระเหยของวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดที่จะเปนสาเหตุใหเกิด
การติดไฟ
(8) ตองจัดทําปาย “วัตถุระเบิดหามสูบบุหรี่” หรือ “วัตถุไวไฟหามสูบบุหรี่” แลวแตกรณีดวย
ตัวอักษรสีแดงขนาดไมตํ่ ากวายี่สิบเซนติเมตรบนพื้นสีขาวติดไวใหเห็นไดชัดเจนที่หนาหองเก็บวัตถุ
ดังกลาว และหามบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของเขาไป
(9) ตองจัดใหลกู จางที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดซึ่งอาจเกิดอันตรายตอการ
ปฏิบัติงานในหนาที่สวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลตามความเหมาะสมตอการปฏิบัติ
งานนั้น
(10) อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช และอุปกรณคุมครองความปลอดภัยตางๆ ตองเปนชนิดไมกอ
ใหเกิดประกายไฟ หรือเปนสาเหตุของการเกิดเพลิงไหมได

ขอ 24 ในกรณีทวี่ ัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดเปนของเหลว นอกจากการปฏิบัติตามขอ 23 นายจาง


ตองปฏิบัติดังตอไปนี้
(1) การเก็บรักษาและขนถายนํ้ามันเชื้อเพลิงใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการเก็บรักษานํ้ามัน
เชื้อเพลิง
(2) การเก็บรักษาวัตถุไวไฟและวัตถุระเบิดชนิดของเหลวไวในอาคาร

2- 170
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ก. ตองเก็บไวในหองที่มีประตูชนิดที่ปด-เปด ไดเอง ประตูและผนังหองตองสรางดวยวัตถุ


ทนไฟ และสามารถกักของเหลวมิใหไหลออกภายนอกได พื้นตองมีความลาดเอียง หรือเปนรางระบายของ
เหลวซึ่งออกไปยังที่ปลอดภัยได
ข. การเก็บวัตถุไวไฟและวัตถุระเบิดชนิดของเหลวในหองเก็บภายในอาคารก็ตองมีปริมาณ
ขนาดความทนไฟและพื้นที่ของหองเปนอัตราสวนตอปริมาณวัตถุดังกลาว ดังตอไปนี้
1. หองที่มีขนาดตั้งแตสิบสี่ตารางเมตรแตไมถึงยี่สิบเจ็ดตารางเมตร ซึ่งไมมีการจัด
ระบบปองกันอัคคีภัยไว หองนั้นตองทนไฟไดไมนอยกวาหนึ่งชั่วโมง จึงสามารถเก็บวัตถุระเบิดหรือวัตถุไว
ไฟชนิดของเหลวไดไมเกินแปดสิบสี่ลิตรตอหนึ่งตารางเมตร
2. หองที่มีขนาดตั้งแตสิบสี่ตารางเมตรแตไมถึงสี่สิบเจ็ดตารางเมตร และมีการจัด
ระบบปองกันอัคคีภัยไว หองนั้นตองทนไฟไดไมนอยกวาหนึ่งชั่วโมง จึงสามารถเก็บวัตถุระเบิดหรือวัตถุไว
ไฟชนิดของเหลวไดไมเกินสองรอยสี่ลิตรตอหนึ่งตารางเมตร
3. หองที่มีขนาดสี่สิบเจ็ดตารางเมตร ซึ่งไมมีการจัดระบบปองกันอัคคีภัยไว หองนั้น
ตองสามารถทนไฟไดไมนอยกวาสองชั่วโมง จึงสามารถเก็บวัตถุระเบิดหรือวัตถุไวไฟชนิดของเหลวไดไม
เกินหนึ่งรอยหกสิบสามลิตรตอหนึ่งตารางเมตร
4. หองที่มีขนาดสี่สิบเจ็ดตารางเมตร และมีการจัดระบบปองกันอัคคีภัยไว สามารถ
เก็บวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดชนิดของเหลวไดไมเกินสี่รอยแปดลิตรตอตารางเมตร
ค. ภายในหองเก็บวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดชนิดของเหลวตองจัดใหมีทางเดินสูประตูทาง
ออกกวางอยางนอยหนึ่งเมตร และหามมิใหมีสิ่งกีดขวางทาง
ง. วัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดของเหลวที่มีปริมาณมากกวาที่อนุญาตใหเก็บในหองเก็บของ
ภายในอาคาร ตองนําไปเก็บไวนอกอาคารโดยใหปฏิบัติตามขอ 24 (3)
(3) การเก็บวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดชนิดเหลวไวนอกอาคาร นายจางตองปฏิบัติดังนี้
ก. ปริมาณวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดชนิดของเหลวที่บรรจุในภาชนะแตละใบ จะตองไมเกิน
สองรอยสี่สิบลิตร
ข. ในกรณีที่ภาชนะที่ใชบรรจุเปนชนิดยกเคลื่อนยายได และสามารถบรรจุวัตถุไวไฟหรือ
วัตถุระเบิดชนิดของเหลวไดเกินสองรอยสี่สิบลิตร ตองมีชองระบายอากาศฉุกเฉินและมีเครื่องดูดถายวัตถุ
ไวไฟหรือวัตถุระเบิดชนิดของเหลวจากขางบนของภาชนะ หรือใชทอปดที่มีกอกปดไดเองจะใชความดัน
จากภาชนะหรืออุปกรณอื่นในการถายเทไมได
ค. กองวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดที่มีปริมาณรวมกันไมเกินสี่พันสี่รอยลิตร แตละกองตอง
หางกันไมนอยกวาหนึ่งเมตรหาสิบเซ็นติเมตร กรณีที่มีปริมาณเกินสี่พันสี่รอยลิตรแตไมเกินแปดพันแปด
รอยลิตร แตละกองตองหางกันไมนอยกวาหาเมตร
ง. หามกองวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดที่มีปริมาณรวมกันเกินแปดพันแปดรอยลิตร
จ. ตองมีชองทางเดินจากจุดติดตั้งเครื่องดับเพลิงไปสูกองวัตถุซึ่งมีความกวางไมนอยกวาสี่
เมตรและไมมีสิ่งกีดขวางทาง
ฉ. บริเวณพืน้ ที่ใชวางภาชนะบรรจุวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดชนิดของเหลวตองมีลักษณะ
ลาดเอียง หรือมีรางนํ้า หรือเขื่อนกั้นที่สามารถระบายสิ่งที่รั่วไหล หรือระบายนํ้าบนดิน หรือนํ้าฝนได
ปลายทางที่ระบายออกตองเปนที่ปลอดภัยจากอัคคีภัย
ช. บริเวณที่ใชเก็บวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดตองไมปลอยใหมีหญาขึ้นรก มีขยะ หรือวัตถุ
ติดไฟประเภทอื่นๆ ที่อาจทําใหเกิดอัคคีภัยได
2- 171
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(4) การปองกันอัคคีภัยบริเวณที่เก็บวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดชนิดของเหลว
ก. นายจางตองติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือชนิดไมตํ่ากวา 20-บี ไมนอยกวาหนึ่ง
เครือ่ งบริเวณหนาหองที่ใชเก็บวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดชนิดของเหลว โดยมีระยะหางจากประตูหองนั้นไม
นอยกวาสามเมตร
ข. ในกรณีที่เก็บวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดของเหลวไวภายนอกอาคาร ตองจัดใหมีเครื่อง
ดับเพลิงแบบมือถือชนิด 20-บี ไมนอ ยกวาหนึ่งเครื่อง โดยมีระยะหางจากบริเวณที่เก็บวัตถุไวไฟหรือวัตถุ
ระเบิดชนิดของเหลวไมนอยกวาแปดเมตรและไมเกินยี่สิบสี่เมตร
(5) การปองกันอันตรายจากการขนถายวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดชนิดของเหลว
ก.บริเวณที่มีการถายเทวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดชนิดของเหลวที่มีปริมาณตั้งแตยี่สิบลิตร
ขึน้ ไป ตองหางจากบริเวณปฏิบัติงานอื่นๆ ไมนอยกวาแปดเมตร หรือมีผนังปดกั้นที่สรางดวยวัตถุทนไฟ
อยางนอยหนึ่งชั่วโมง และตองจัดใหมีการระบายอากาศเพื่อมิใหมีความเขมขนของไอระเหยที่สามารถติด
ไฟได
ข. การขนถายจากภาชนะหรือถังที่อยูภายในหรือนอกอาคารชนิดติดตรึงกับที่ ตองใชระบบ
ทอปดในกรณีที่ใชภาชนะขนาดเล็กชนิดที่เคลื่อนยายได อาจเลือกใชวิธีกาลักนํ้า หรือปมที่มีวาลวซึ่ง
สามารถปดไดเองในการขนถาย หามใชวิธีอัดอากาศ
ค. ตองปองกันมิใหมีการรั่วไหลหรือหกของวัตถุไฟไฟหรือวัตถุระเบิดชนิดของเหลว ถามี
การรั่วไหล หรือหกตองขจัดโดยการดูด ซับ หรือระบายใหออกในที่ปลอดภัย
ง. วัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดชนิดของเหลวที่นําไปใชในบริเวณที่ปฏิบัติงาน ตองหางจาก
แหลงกําเนิดความรอนไมนอยกวาสิงหกเมตร เวนแตจะมีการปองกันไวอยางปลอดภัย
จ.วัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดชนิดของเหลวเมื่อยังไมตองการใชงานตองเก็บไวในภาชนะที่
ปดมิดชิด
ฉ. ตองจัดใหมีเครื่องดับเพลิงชนิดไมตํ่ากวา 20-บี ไมนอยกวาหนึ่งเครื่องไวบนยาน
พาหนะทีใ่ ชในการขนสงหรือขนถายวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิด

ขอ 25 การเก็บถังกาซชนิดเคลื่อนยายได ชนิดของเหลว ใหนายจางปฏิบัติดังตอไปนี้


(1) ในกรณีทเี่ ก็บถังกาซไวภายนอกอาคารตองเก็บไวในที่เปดโลง ที่มีการปองกันความรอนมิให
มีอุณหภูมิสูงกวาที่ผูผลิตกําหนดไว
(2) ถาเก็บถังกาซไวภายในอาคารตองแยกเก็บไวในหองที่มีผนังทนไฟ
(3) หามเก็บถังกาซไวใกลวัตถุที่ลุกไหมไดงาย

ขอ 26 การปองกันอันตรายจากถานหิน เซลลูลอยด หรือของแข็งที่ติดไฟงายใหนายจางปฏิบัติ


ดังนี้
(1) การเก็บถานหินในที่โลงแจงตองพรมนํ้าใหเปยกขึ้นตลอดเวลาและอัดทึบใหแนนเพื่อปองกัน
การลุกไหมเอง และหามกองสูงเกินสามเมตร
(2) ถานหินทีบ่ ดแลวหรือชนิดผงที่มีอุณหภูมิสูงกวาหกสิบหาองศาเซลเซียส ตองทําใหเย็นกอน
นําไปเก็บใสไวในถังหรือภาชนะทนไฟ

2- 172
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(3) ถังหรือภาชนะที่ใชเก็บถานหิน หรือผงแรที่ลุกไหมไดงายตองสรางดวยวัตถุทนไฟที่มีฝาปด


มิดชิดและตองเก็บไวใหหางไกลจากแหลงความรอน
(4) การเก็บเซลลูลอยดหรือของแข็งที่ติดไฟไดงายในไซโล ถัง หรือภาชนะ ตองทําการปองกัน
การผสมกับอากาศที่จะลุกไหมได เชน การระบายอากาศ และการปองกันการลุกไหมจากแหลงความรอน

ขอ 27 การเก็บวัตถุที่ติดไฟไดงาย เชน ไม กระดาษ ขนสัตว ฟาง หรือสิ่งอื่นใดที่มีคุณสมบัติ


คลายคลึงกันในกรณีที่มีจํานวนมากใหนายจางแยกเก็บไวในอาคารตางหาก หรือเก็บในหองทนไฟ หลังคา
หรือฝาหองตองไมทําดวยแกวหรือวัตถุโปรงใสที่แสงแดดสองตรงเขาไปได ถามีจํานวนนอยใหเก็บไวใน
ภาชนะทนไฟ หรือถังโลหะที่มีฝาปด

ขอ 28 ใหนายจางจัดใหลูกจางที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิด สวมใสอุปกรณ


คุม ครองความปลอดภัยสวนบุคคล เชน ถุงมือ หนากาก เสื้อผา รองเทา ที่สามารถปองกันวัตถุไวไฟ หรือ
วัตถุระเบิดชนิดนั้นได

หมวด 6
การกําจัดของเสียที่ติดไฟไดงาย

ขอ 29 ใหนายจางปฏิบัติเกี่ยวกับของเสียที่ติดไฟงายตามขั้นตอน ดังตอไปนี้


(1) ตองเก็บรวบรวมของเสียที่ติดไฟไดงายไวในภาชนะปดที่เปนโลหะ
(2) จัดใหมีการทําความสะอาดมิใหมีการสะสมหรือตกคางของของเสียที่ติดไฟไดงายไมนอยกวา
วันละหนึง่ ครัง้ ถาเปนงานกะไมนอยกวากะละหนึ่งครั้ง เวนแต วัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดที่ลุกไหมไดเอง
ตองจัดใหมีการทําความสะอาดทันที
(3) ใหนาของเสี
ํ ยที่เก็บรวบรวมตาม (1) ออกไปจากบริเวณที่ลูกจางทํางานไมนอยกวาวันละหนึ่ง
ครัง้ ในกรณีทยี่ งั ไมไดกําจัดทันทีใหนําไปเก็บไวในหองหรืออาคารทนไฟ และตองนําไปกําจัดใหหมดอยาง
นอยเดือนละครั้งโดยวิธีการที่ปลอดภัย เชน การเผา การฝง หรือการใชสารเคมีเพื่อใหของเสียนั้นสลายตัว

ขอ 30 การกําจัดของเสียโดยการเผาใหนายจางปฏิบัติ ดังตอไปนี้


(1) ใหเผาในเตาที่ออกแบบสําหรับการเผาโดยเฉพาะ ถาเผาในที่โลงแจง ตองหางจากที่ลูกจาง
ทํางานในระยะที่ปลอดภัยและอยูใตลม
(2) ลูกจางทีท่ ําหนาที่เผาตองสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล เชน หนากาก
ถุงมือ เปนตน
(3) ใหนายจางจัดเก็บเถาถานที่เหลือจากการเผาของเสียนั้นไวในภาชนะ หอง สถานที่
ปลอดภัย หรือเก็บไวในภาชนะที่ปดมิดชิดเพื่อปองกันการรั่วไหล หรือนําไปฝงในสถานที่ปลอดภัย

2- 173
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

หมวด 7
การปองกันอันตรายจากฟาผา

ขอ 31 ใหนายจางจัดใหมีสายลอฟาเพื่อปองกันอันตรายจากฟาผาสําหรับอาคาร สิ่งกอสรางหรือ


ภาชนะ ดังตอไปนี้
(1) อาคารที่มีวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิด
(2) อาคารที่มิไดอยูในรัศมีการปองกันสายลอฟาจากอาคารอื่น
(3) สิง่ กอสรางหรือภาชนะที่มีสวนสูง เชน ปลองไฟ หอคอย เสาธง ถังเก็บนํ้า หรือสารเคมี
การติดตั้งสายลอฟา ใหปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟา

ขอ 32 ใหนายจางจัดใหมีการปองกันไมใหเกิดการไหลของกระแสไฟฟาจากสายไฟฟาแรงสูง
สายโทรเลข เสาวิทยุสื่อสาร หรือสิ่งอื่นใดที่มีคุณสมบัติคลายกันสูสายลอฟา โดยติดตั้งสายลอฟาใหมีระยะ
หางที่ปลอดภัยหรือปดกั้นมิใหมีการรั่วไหลของกระแสไฟฟา

หมวด 8
ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมและการฝกซอมดับเพลิง

ขอ 33 ใหนายจางจัดใหมีระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมในสถานประกอบการโดยใหปฏิบัติ
ดังตอไปนี้
(1) สถานประกอบการตั้งแตสองชั้นขึ้นไปตองติดตั้งระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมชนิดเปลง
เสียงใหลกู จางที่ทํางานภายในอาคารไดยินอยางทั่วถึง โดยมีระดับความดังของเสียงไมนอยกวาหนึ่งรอย
เดซิเบล (เอ) วัดหางจากจุดกําเนิดของเสียงหนึ่งเมตรโดยรอบ
(2) อุปกรณทที่ ําใหเสียงสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมทํางาน ตองอยูใ นที่เดนชัดเขาไปถึงงายหรือ
อยูใ นเสนทางหนีไฟ โดยตองติดตั้งทุกชั้นและมีระยะหางจากจุดที่ลูกจางทํางานไมเกินสามสิบเมตร
(3) สัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมจะตองมีเสียงที่แตกตางไปจากเสียงที่ใชในสถานประกอบการทั่ว
ไป และหามใชเสียงดังกลาวในกรณีอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน
(4) ตองจัดใหมีการทดสอบประสิทธิภาพในการทํางานของระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมอยาง
นอยเดือนละหนึ่งครั้ง
(5) สําหรับกิจการโรงพยาบาลหรือสถานที่ที่ไมตองการใหใชเสียงจะตองจัดใหมีอุปกรณ หรือ
มาตรการอืน่ ใด เชน สัญญาณไฟ รหัสที่สามารถแจงเหตุเพลิงไหมไดอยางมีประสิทธิภาพ

ขอ 34 ใหนายจางจัดใหมีการฝกซอมดับเพลิง ดังตอไปนี้


(1) สถานประกอบการที่มีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยอยางปานกลางหรืออยางรายแรงตองจัด
ใหมีกลุมพนักงานเพื่อปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย และมีผูอํานวยการปองกันและ
ระงับอัคคีภยั เปนผูอํานวยการในการดําเนินงานทั้งระบบประจําสถานประกอบการตลอดเวลา
(2) ตองจัดใหผูมีหนาที่เกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัยเขารับการฝกอบรมเกี่ยวกับการ
ปองกันและระงับอัคคีภัย การใชอุปกรณตางๆ ในการดับเพลิง การปฐมพยาบาลและการชวยเหลือกรณี
ฉุกเฉิน
2- 174
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 35 ใหนายจางจัดใหมีการฝกซอมอพยพลูกจางออกจากอาคารไปตามเสนทางหนีไฟตามที่
กําหนดในขอ 13

ขอ 36 ใหนายจางจัดใหมีการฝกซอมดับเพลิงและการฝกซอมหนีไฟ อยางนอยปละหนึ่งครั้ง


ในกรณีที่นายจางจัดใหมีการฝกซอมดับเพลิงหรือฝกซอมหนีไฟเอง ใหสงแผนและรายละเอียด
เกี่ยวกับการฝกซอมตออธิบดี เพื่อใหความเห็นชอบกอนการฝกซอมไมนอยกวาสามสิบวัน
ถานายจางไมสามารถฝกซอมดับเพลิงหรือหนีไฟไดเองใหขอความรวมมือหนวยงานดับเพลิงทอง
ถิน่ หรือหนวยงานที่ทางราชการรับรองวาชวยดําเนินการฝกซอม
ใหนายจางจัดทํารายงานผลการฝกซอมตามแบบที่อธิบดีกําหนดยื่นตอพนักงานเจาหนาที่ภายใน
สามสิบวันนับแตวันเสร็จสิ้นการฝกซอม

หมวด 9
เบ็ดเตล็ด

ขอ 37 ลูกจางตองใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่นายจางจัดใหตามประกาศนี้

ขอ 38 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายในการปฏิบัติตามประกาศนี้

ขอ 39 เมือ่ ปรากฏวานายจางหรือลูกจางฝาฝนประกาศนี้ พนักงานเจาหนาที่อาจใหคําเตือนเพื่อ


ใหปฏิบตั ใิ หถูกตองภายในเวลาที่กําหนดไวในคําเตือนเสียกอนก็ได

ประกาศ ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534

นายเจริญจิตต ณ สงขลา
รัฐมนตรีชวยวาการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 175
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

แบบรายงานผลการฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมหนีไฟ
(ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การปองกันและระงับอัคคีภัย
ในสถานประกอบการเพื่อความปลอดภัยในการทํางานสําหรับลูกจาง ขอ 36)

ชื่อสถานประกอบการ…………………………………………………………………………………………………………..........................
ที่อยู เลขที่………………หมูที่…………..ซอย………………………………...........ถนน………………………………………..............
แขวง/ตําบล………………………………… เขต/อําเภอ…………………………….........จังหวัด………………………………...........
รหัสไปรษณีย………………………………… โทรศัพท……………………………………….
จํานวนพนักงานรวมทั้งสิ้น……………….คน
1. รายการการฝกดับเพลิง
1.1 ชือ่ หนวยงานที่ฝกอบรมที่ทางราชการรับรองหรือยอมรับ
(ใหแนบหนังสือรับรองของทางราชการมาดวย)
1.2 วันที่ทําการฝกซอม………………………..สถานที่ฝกซอม………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
1.3 จํานวนพนักงานที่ผานการอบรมการฝกซอมดับเพลิงในปที่รายงาน
หลักสูตรการดับเพลิงขั้นตน จํานวน………………………คน
หลักสูตรการดับเพลิงขั้นรุนแรง จํานวน………………………คน
(ใหแนบรายชื่อผูเขารับการอบรมการฝกซอมดับเพลิงมาดวย)
2. รายการการฝกซอมหนีไฟ……………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2.1 ชื่อหนวยงานที่ฝกอบรมที่ทางราชการรับรองหรือยอมรับ………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2.2 วันที่ทําการฝกซอม……………………………………..สถานที่ฝกซอม………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2.3 จํานวนพนักงานที่เขารวมในการฝกซอมในปที่รายงาน………………………คน
(ใหแนบรายชื่อผูที่เขารวมการฝกซอมมาดวย)
3. ผลการดําเนินงานการฝกซอมดับเพลิงและการซอมหนีไฟ
ไมดี พอใช
ดี ดีมาก

ลงชื่อ……………………………………….......................
ผูรายงาน
ตําแหนง…………………………………….....................
วันที่………../……………/………….

2- 176
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
เรื่อง หลักเกณฑการขอใบรับรองเปนหนวยงานฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตน
และหลักเกณฑการขอใบรับรองเปนหนวยงานฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมหนีไฟ

โดยทีป่ ระกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การปองกันและระงับอัคคึภัยในสถานประกอบการเพื่อ


ความปลอดภัยในการทํางานสําหรับลูกจาง ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 ขอ 19 (3) กําหนดให
นายจางตองจัดใหลูกจางเขารับการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตนจากหนวยงานที่ทางราชการกําหนดหรือ
ยอมรับไมนอยกวารอยละสี่สิบของจํานวนลูกจางในแตละหนวยงานของสถานประกอบการ และขอ 36
วรรคสาม กําหนดใหนายจางจัดใหมีการฝกซอมหนีไฟอยางนอยปละหนึ่งครั้ง ถานายจางไมสามารถฝก
ซอมดับเพลิงหรือหนีไฟไดเองใหขอความรวมมือหนวยงานดับเพลิงทองถิ่น หรือหนวยงานที่ทางราชการ
รับรองชวยดําเนินการฝกซอม ดังนั้นเพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดดังกลาว อธิบดีกรมสวัสดิการและ
คุม ครองแรงงานจึงกําหนดหลักเกณฑการขอใบรับรองเปนหนวยงานฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตน และ
หลักเกณฑการขอใบรับรองเปนหนวยงานฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมหนีไฟไวดังตอไปนี้

สวนที่ 1
หลักเกณฑการขอใบรับรองเปนหนวยงานฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตน

ขอ 1 ผูใ ดประสงคจะขอใบรับรองเปนหนวยงานฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตนใหยื่นคําขอตออธิบดี


กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายพรอมทั้งแนบเอกสารหลักฐานดังตอไปนี้
(1) สําเนาทะเบียนบาน จํานวนหนึ่งฉบับ
(2) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน จํานวนหนึ่งฉบับ
(3) กรณีเปนนิติบุคคล ใหแสดงหลักฐานการจดทะเบียนนิติบุคคล จํานวนหนึ่งฉบับ
(4) เอกสารแสดงที่ตั้งหนวยงานพรอมแผนที่แสดงที่ตั้งโดยสังเขป จํานวนหนึ่งฉบับ
(5) รายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาที่อบรม การฝกภาคสนาม ระยะเวลาที่ทําการฝกอบรม
อุปกรณที่ใชในการฝกอบรมและสถานที่ฝกภาคสนาม จํานวนหาชุด
(5) รายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติวิทยากรผูทําการฝกอบรม พรอมดวยหลักฐานจํานวนหาชุด

ขอ 2 หนวยงานทีจ่ ะขอใบรับรองเปนหนวยงานฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตน ที่ตั้งอยูในเขต


กรุงเทพมหานครใหยื่นเอกสารหลักฐานผานผูอํานวยการกองตรวจความปลอดภัย และที่ตั้งอยูในสวนภูมิ
ภาคใหยนื่ เอกสารหลักฐานผานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดในเขตพื้นที่

ขอ 3 การดําเนินการฝกอบรม ตองจัดใหมีการฝกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคสนาม

2- 177
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 4 การฝกอบรมภาคทฤษฎีตามขอ 3 อยางนอยตองประกอบดวยเนื้อหาวิชาที่อบรมดังตอไปนี้


(1) ทฤษฎีการเกิดเพลิงไหม
(2) การแบงประเภทของเพลิง
(3) จิตวิทยาเมื่อเกิดอัคคีภัย
(4) การปองกันแหลงกําเนิดของการติดไฟ
(5) วิธดี บั เพลิงประเภทตาง ๆ
(6) เครื่องมือดับเพลิงชนิดตาง ๆ
(7) วิธกี ารใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่ใชในการดับเพลิง
(8) แผนปองกันและระงับอัคคีภัย
(9) การจัดระบบปองกันและระงับอัคคีภัย และการประยุกตใชระบบและอุปกรณที่มีอยูในสถาน
ประกอบการ

ขอ 5 การฝกภาคสนามตามขอ 3 ผูเขารับการฝกอบรมจะตองไดรับการฝกใชอุปกรณที่ใชใน


การฝกอบรมอยางทั่วถึงทุกคน และอยางนอยตองประกอบดวยการฝกอบรมดังตอไปนี้
(1) การดับเพลิงจากเพลิงประเภท เอ และเพลิงประเภท บี โดยผูเขารับการฝกอบรมตองฝก
ปฏิบตั จิ ริงในการใชผงเคมีแหง นํ้ายาโฟม หรือคารบอนไดออกไซด
(2) การดับเพลิงจากเพลิงประเภท ซี และการดับเพลิงจากเพลิงประเภท ดี ในกรณีที่สถาน
ประกอบการมีโลหะตาง ๆ ที่ติดไฟ อาทิ แมกนีเซียม เซอรโคเนียม ไทเทเนียม เปนตน โดยวิทยากรผูฝก
ทําการดับเพลิงจริงเพื่อสาธิตตอผูเขารับการฝก
(3) การดับเพลิงโดยใชเครื่องดับเพลิงชนิดมือถือ
(4) การดับเพลิงโดยใชสายดับเพลิง หัวฉีด

ขอ 6 คุณสมบัติวิทยากรผูทําการฝกอบรม ตองมีคุณสมบัติขอใดขอหนึ่งดังตอไปนี้


(1) จบปริญญาตรีหรือสูงกวาดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยหรือเทียบเทาในเรื่องอัคคีภัย
และมีประสบการณเปนวิทยากรในการอบรมไมนอยกวาหนึ่งป
(2) ผานการอบรมดานอัคคีภัยในหลักสูตรการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตนจากหนวยงานที่กรม
สวัสดิการและคุมครองแรงงานรับรองและผานการอบรมหลักสูตรการดับเพลิงขั้นกาวหนาหรือขั้นสูงหรือ
ทีมดับเพลิง โดยมีประสบการณเปนวิทยากรในการอบรมเกี่ยวกับอัคคีภัยไมนอยกวาสองป หรือผานการ
อบรมหลักสูตรครูฝกดับเพลิงหรือครูฝกปองกันบรรเทาสาธารณภัยจากหนวยงานราชการ โดยมีประสบ
การณเปนวิทยากรในการฝกอบรมเกี่ยวกับอัคคีภัยไมนอยกวาสองป
(3) ปฏิบตั งิ านในหนวยงานราชการที่เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน หรือเปนพนักงานดับ
เพลิงในทีมดับเพลิงของสถานประกอบการที่ผานการฝกอบรมในหลักสูตรการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตน
จากหนวยงานที่กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานรับรอง โดยมีประสบการณในการทํางานไมนอยกวา
สามป และมีประสบการณเปนวิทยากรในการฝกอบรมเกี่ยวกับอัคคีภัยไมนอยกวาหนึ่งป
(4) เคยปฏิบตั งิ านในหนวยงานราชการที่เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน หรือเคยเปน
พนักงานดับเพลิงในทีมดับเพลิงของสถานประกอบการที่ผานการฝกอบรมหลักสูตรการดับเพลิงขั้นตน
จากหนวยงานที่กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานรับรอง โดยมีประสบการณในการทํางานไมนอยกวาหา
ป และมีประสบการณเปนวิทยากรในการฝกอบรมเกี่ยวกับอัคคีภัยไมนอยกวาหนึ่งป
2- 178
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(5) ปฏิบตั งิ านหรือเคยปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานดับเพลิงของหนวยงานราชการที่ผานการฝก


อบรมหลักสูตรการดับเพลิงขั้นตน โดยมีประสบการณในการทํางานไมนอยกวาสามป และมีประสบการณ
เปนวิทยากรในการฝกอบรมเกี่ยวกับอัคคีภัยไมนอยกวาหนึ่งป

ขอ 7 สถานที่ฝกภาคสนาม ตองมีลักษณะอยางนอยดังตอไปนี้


(1) ตองไมอยูในบริเวณที่ซึ่งอาจเปนเหตุใหเกิดการระเบิดหรือติดไฟไดงายของสถานที่ใกลเคียง
(2) ตองไมกอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอมหรือมีระบบกําจัดที่เหมาะสม
(3) ตองมีความปลอดภัยตอชุมชนใกลเคียงและมีสถานที่เปนสัดสวน

ขอ 8 อุปกรณที่ใชในการฝกอบรม อยางนอยตองมีรายการดังตอไปนี้


(1) เครื่องดับเพลิงชนิดมือถือ
(2) สายดับเพลิง หัวฉีด
(3) อุปกรณดับเพลิงที่จําเปนตองใชในสถานประกอบการ
(4) อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล
ทัง้ นี้ อุปกรณตาม (1) – (4) ตองสามารถใชงานไดและมีความปลอดภัยตอการฝกโดยมีจํานวน
เพียงพอตามจํานวนผูเขารับการฝกอบรม

ขอ 9 ผูเ ขารับการฝกอบรมและเวลาที่ใชในการฝกอบรม ตองมีจํานวนและระยะเวลา ดังตอไปนี้


(1) การอบรมภาคทฤษฎีตองมีจํานวนผูเขารับการอบรมไมเกินหกสิบคนตอหนึ่งหองอบรม
(2) การฝกภาคสนามตองมีจํานวนผูเขารับการฝกไมเกินยี่สิบคนตอวิทยากรผูฝกปฏิบัติหนึ่งคน
(3) การอบรมภาคทฤษฎีตองมีระยะเวลาการอบรมไมนอยกวาสามชั่วโมง และการฝกภาคปฏิบัติ
ตองมีระยะเวลาไมนอยกวาสามชั่วโมงตอหลักสูตร

สวนที่ 2
หลักเกณฑการขอใบรับรองเปนหนวยงานฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมหนีไฟ

ขอ 10 ผูใ ดประสงคจะขอใบรับรองเปนหนวยงานฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมหนีไฟ ใหยื่นคํา


ขอตออธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานหรือผูที่อธิบดีมอบหมาย พรอมทั้งแนบเอกสารหลักฐาน
ดังตอไปนี้
(1) สําเนาทะเบียนบาน จํานวนหนึ่งฉบับ
(2) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน จํานวนหนึ่งฉบับ
(3) กรณีเปนนิติบุคคล ใหแสดงหลักฐานการจดทะเบียนนิติบุคคล จํานวนหนึ่งฉบับ
(4) เอกสารแสดงที่ตั้งหนวยงานพรอมแผนที่แสดงที่ตั้งโดยสังเขป จํานวนหนึ่งฉบับ
(5) รายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาที่อบรม การฝกซอม และอุปกรณที่ใชในการฝกอบรมและฝก
ซอม จํานวนหาชุด
(6) รายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติวิทยากรผูทําการฝกอบรมและฝกซอม พรอมดวยหลักฐาน
จํานวนหาชุด

2- 179
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 11 หนวยงานที่จะขอใบรับรองเปนหนวยงานฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมหนีไฟ ที่ตั้งอยูใน


เขตกรุงเทพมหานครใหยื่นเอกสารหลักฐานผานผูอํานวยการกองตรวจความปลอดภัย และที่ตั้งอยูในสวน
ภูมภิ าคใหยื่นเอกสารหลักฐานผานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดในเขตพื้นที่

ขอ 12 การดําเนินการฝกซอม จะตองทําการฝกอบรมและฝกซอมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

ขอ 13 การฝกอบรมภาคทฤษฎีตามขอ 12 อยางนอยตองประกอบดวยเนื้อหาวิชาที่อบรมดัง


ตอไปนี้
(1) แผนการดับเพลิงและวิธีการดับเพลิง
(2) แผนการอพยพหนีไฟและวิธีการอพยพหนีไฟ
(3) การคนหาและชวยเหลือผูประสบภัย

ขอ 14 การฝกภาคปฏิบัติตามขอ 12 อยางนอยตองประกอบดวย


(1) การฝกซอมดับเพลิงดวยเครื่องดับเพลิงชนิดมือถือและสายดับเพลิง และการดับเพลิง
ประเภทตาง ๆ ที่สอดคลองกับสถานประกอบการ
(2) การฝกซอมหนีไฟตามแผนของสถานประกอบการ
(3) การฝกการคนหาและชวยเหลือเคลื่อนยายผูประสบภัย
การฝกภาคปฏิบัติตามขอ (1) และ (2) ใหมีการฝกปฏิบัติจริงในสถานประกอบการที่ผูเขารับการ
ฝกปฏิบัติงานอยู

ขอ 15 คุณสมบัติของวิทยากรผูทําการฝกอบรมและฝกซอมตองมีคุณสมบัติขอใดขอหนึ่งดัง
ตอไปนี้
(1) จบปริญญาตรีหรือสูงกวาดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยหรือเทียบเทาในเรื่องอัคคีภัย
และมีประสบการณในการปองกันและระงับอัคคีภัยไมนอยกวาสองป
(2) ผานการอบรมดานอัคคีภัยในหลักสูตรผูอํานวยการการดับเพลิง หรือผานการอบรมหลักสูตร
ครูฝก ดับเพลิงหรือครูฝกปองกันบรรเทาสาธารณภัยจากหนวยงานราชการ โดยมีประสบการณในการปอง
กันและระงับอัคคีภัยไมนอยกวาสองป หรือผานการอบรมทั้งหลักสูตรการดับเพลิงขั้นตนจากหนวยงานที่
กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานรับรอง และหลักสูตรการดับเพลิงขั้นกาวหนา หรือขั้นสูงหรือทีมดับ
เพลิง โดยมีประสบการณในการปองกันและระงับอัคคีภัยไมนอยกวาสองป
(3) ปฏิบตั งิ านหรือเคยปฏิบัติงานในหนวยงานราชการที่เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานโดย
มีประสบการณในการปองกันและระงับอัคคีภัยไมนอยกวาหาป
(4) ปฏิบตั งิ านหรือเคยปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานดับเพลิงของหนวยงานราชการ โดยมีประสบ
การณในการปองกันและระงับอัคคีภัยไมนอยกวาหาป

ขอ 16 การฝกอบรมและการฝกซอม ตองจัดใหมีอุปกรณที่จําเปนตอการฝกอบรมและการฝก


ซอม โดยอุปกรณดังกลาวตองสามารถใชงานไดและมีความปลอดภัยตอการฝกอบรม และการฝกซอม
และมีจานวนเพี
ํ ยงพอตามจํานวนผูเขารับการฝก

2- 180
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 17 การฝกซอมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติของการฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมหนีไฟตอง
ใชระยะเวลาในการฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมหนีไฟที่เหมาะสมและเพียงพอ เพื่อใหผูเขารับการฝกทุก
คนเขาใจในบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของตน และใหสามารถบรรลุวัตถุประสงคในการฝกซอม
ของสถานประกอบการ

สวนที่ 3
การควบคุม การเพิกถอนและการผอนผัน

ขอ 18 ใหหนวยงานที่ไดรับใบรับรอง แจงการฝกอบรมและหรือการฝกซอมทุกครั้งตออธิบดี


กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานหรือผูที่อธิบดีมอบหมายทราบไมนอยกวาเจ็ดวันกอนดําเนินการ

ขอ 19 ใหหนวยงานที่ไดรับใบรับรอง รายงานสรุปผลการฝกอบรมและหรือการฝกซอมทุกครั้ง


แลวแจงผลการดําเนินการดังกลาว พรอมทั้งระบุรายชื่อและคุณสมบัติของวิทยากรใหอธิบดีกรมสวัสดิการ
และคุมครองแรงงานหรือผูที่อธิบดีมอบหมายทราบภายในสามสิบวัน นับแตวันที่เสร็จสิ้นการฝกอบรม
และหรือการฝกซอม

ขอ 20 ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจเขาไปในหนวยงานหรือสถานที่ของหนวยงานที่ไดรับใบรับ
รอง เพือ่ ตรวจตราควบคุมใหการปฏิบัติของหนวยงานเปนไปตามประกาศนี้
ในการปฏิบตั กิ ารของพนักงานเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่ง ใหผูซึ่งเกี่ยวของอํานวยความสะดวกหรือ
ชวยเหลือตามสมควร หรือใหคําชี้แจงแกพนักงานเจาหนาที่ตามที่รองขอ

ขอ 21 กรณีที่ตรวจพบหรือไดรับการรองเรียนวาหนวยงานที่ไดรับใบรับรอง ไมปฏิบัติตาม


ประกาศนี้และมีเหตุสมควร ใหอธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานมีอํานาจสั่งการตามควรแกกรณี
ดังตอไปนี้
(1) สัง่ ใหหยุดการดําเนินงานเปนการชั่วคราว
(2) เพิกถอนใบรับรอง

ขอ 22 หนวยงานที่ไดรับใบรับรองใหเปนหนวยงานฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตนจากอธิบดีกรม
สวัสดิการและคุมครองแรงงานกอนที่ประกาศนี้มีผลบังคับใช ใหใชใบรับรองนั้นไดตอไปอีกสามปนับแต
วันทีป่ ระกาศนี้มีผลบังคับใช ทั้งนี้ใหปฏิบัติตามหลักเกณฑที่ไดกําหนดไวในประกาศนี้

ขอ 23 ใบรับรองที่ออกใหมีผลใชบังคับสามปนับแตวันที่ออกใบรับรอง หนวยงานที่ไดรับใบ


รับรองใดประสงคจะดําเนินกิจการตอไป ใหยื่นคําขอตออายุใบรับรองกอนวันที่ใบรับรองหมดอายุไมนอย
กวาสามสิบวัน
ประกาศ ณ วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2539

รังสฤษฏ จันทรัตน
อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
2- 181
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
เรื่อง คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทํางาน

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) และขอ 14 แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่


16 มีนาคม พุทธศักราช 2515 กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม จึงกําหนดใหมีคณะกรรมการความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน เพื่อจัดเปนสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
และความปลอดภัยสําหรับลูกจางไวดังตอไปนี้

ขอ 1 ประกาศนีเ้ รียกวา “ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง คณะกรรมการ


ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน”

ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยยี่สิบวัน นับแตวันประกาศในราชกิจจา


นุเบกษาเปนตนไป

ขอ 3 ประกาศนี้ใหใชบังคับแกนายจางที่ประกอบกิจการ ดังตอไปนี้


(1) การทําเหมืองแร เหมืองหิน กิจการปโตรเลียมหรือปโตรเคมี
(2) การทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง เก็บรักษา ปรับปรุง ตกแตง เสริมแตง ดัดแปลง
แปรสภาพ ทําใหเสีย หรือทําลายซึ่งวัตถุหรือทรัพยสินและรวมถึงการตอเรือ การใหกําเนิด แปลง และจาย
ไฟฟา หรือพลังงานอยางอื่น
(3) การกอสราง ตอเติม ติดตั้ง ซอม ซอมบํารุง ดัดแปลงหรือรื้อถอน อาคาร สนามบิน ทางรถไฟ
ทางรถราง ทาเรือ อูเรือ สะพานเทียบเรือ ทางนํ้า ถนน เขื่อน อุโมงค สะพาน ทอระบาย ทอนํ้า โทรเลข
โทรศัพท ไฟฟา กาซหรือประปา หรืองานกอสรางอื่นๆ รวมทั้งการเตรียมหรือวางรากฐานของการกอสราง
(4) การขนสงคนโดยสารหรือสินคาโดยทางบก ทางนํ้า และทางอากาศ และรวมถึงการบรรทุกขน
ถายสินคาดวย
(5) โรงแรม
(6) หางสรรพสินคา
(7) สถานีบริการหรือจําหนายนํ้ามันเชื้อเพลิงหรือกาซ
(8) สถานพยาบาล
(9) สถาบันทางการเงิน
(10) กิจการอื่นตามที่กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมประกาศกําหนด

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เลม 112 ตอนพิเศษ 24ง. ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2538

2- 182
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 4 ประกาศนี้มิใหใชบังคับแก
(1) ราชการสวนกลาง
(2) ราการสวนภูมิภาค
(3) ราชการสวนทองถิ่น
(4) กิจการอื่นตามที่กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมประกาศกําหนด

ขอ 5 ในประกาศนี้
“ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน” หมายความวา การกระทําและ
หรือสภาพการทํางานซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทําใหเกิดการประสบอันตราย การเจ็บปวยอันเนื่องจากการ
ทํางานตอผูปฏิบัติงานหรือความเดือดรอนรําคาญเนื่องจากการทํางาน หรือเกี่ยวกับการทํางาน
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอม
ในการทํางาน
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวมถึง
ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวาผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคล นั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทํา
การแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจางดวย
ตนเองหรือไมก็ตาม และหมายความรวมถึงลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราว แตไมรวมถึงลูกจางซึ่งทํางาน
เกี่ยวกับงานบาน
“คาจาง” หมายความวา เงินหรือเงินและสิ่งของที่นายจางจายใหแกลูกจางเปนการตอบแทนการ
ทํางานในเวลาทํางานปกติของวันทํางาน หรือจายใหโดยคํานวณตามผลงานที่ลูกจางทําได และหมายความ
รวมถึงเงินหรือเงินและสิ่งของที่จายใหในวันหยุดซึ่งลูกจางไมไดทํางานและในวันลาดวย ทั้งนี้ ไมวาจะ
กําหนดคํานวณ หรือจายเปนการตอบแทนโดยวิธีใด และไมวาจะเรียกชื่ออยางไร
“ผูแทนนายจาง” หมายความวา ลูกจางตั้งแตระดับบริหารหรือจัดการขึ้นไปซึ่งมีอํานาจหนาที่ทํา
การแทนนายจางสําหรับกรณีการจาง การลดคาจาง การเลิกจาง การใหบําเหน็จ การลงโทษ หรือการ
วินจิ ฉัยขอรองทุกข และไดรับมอบหมายเปนลายลักษณอักษรใหกระทําการแทนนายจางเพื่อปฏิบัติใหเปน
ไปตามประกาศนี้
“ผูแ ทนระดับบังคับบัญชา” หมายความวา ลูกจางตั้งแตระดับหัวหนาฝาย หัวหนางาน หรือเทียบ
เทาขึ้นไปไดรับการคัดเลือกจากนายจางใหเปนกรรมการในคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทํางาน เพื่อปฏิบัติใหเปนไปตามประกาศนี้
“แทนลูกจางระดับปฏิบัติการ” หมายความวา ลูกจางที่ทําหนาที่เปนผูปฏิบัติงานซึ่งไดรับการคัด
เลือกจากลูกจางใหเปนกรรมการในคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ
ทํางานเพื่อปฏิบัติใหเปนไปตามประกาศนี้
“สถานประกอบกิจการ” หมายความวา หนวยงานแตละแหงของนายจางที่ดําเนินกิจการตามลําพัง
เปนหนวยๆ และมีลูกจางทํางานอยู
“เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน” หมายความวา เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน
ตามที่กฎหมายกําหนด
“อธิบดี” หมายความวา อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
2- 183
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

หมวด 1
คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน

ขอ 6 นายจางที่มีลูกจางตั้งแตหาสิบคนขึ้นไปในสถานประกอบกิจการ ตองจัดใหมีคณะกรรมการ


ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ภายในสามสิบวัน นับแตวันที่ประกาศนี้มี
ผลบังคับใชหรือภายในสามสิบวันนับแตวันที่มีลูกจางเพิ่มขึ้นครบหาสิบคน
ใหนายจางคงคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งไวแมวาในภายหลังจะมีจํานวนลูกจางลดลงนอยกวา
หาสิบคนก็ตาม
สําหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจางไมถึงหาสิบคน ใหลูกจางคัดเลือกผูแทนลูกจางอยางนอย
หนึง่ คน เพือ่ ทําหนาที่รวมกับนายจางในการดูแลความปลอดภัยในการทํางานของสถานประกอบกิจการ
ขอ 7 คณะกรรมการตองมีองคประกอบ ดังตอไปนี้
(1) สถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแตหาสิบคนขึ้นไปแตไมถึงหนึ่งรอยคนใหมีกรรมการไม
นอยกวาหาคน ประกอบดวยนายจางหรือผูแทนนายจางเปนประธานคณะกรรมการ ผูแทนระดับบังคับ
บัญชาสองคน และผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการสองคนเปนกรรมการ โดยใหประธานคณะกรรมการเลือก
กรรมการหนึ่งคนเปนเลขานุการ
(2) สถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแตหนึ่งรอยคนขึ้นไปแตไมถึงหารอยคน ใหมีกรรมการไม
นอยกวาเจ็ดคน ประกอบดวยนายจางหรือผูแทนนายจางเปนประธานคณะกรรมการ ผูแทนระดับบังคับ
บัญชาสองคนและผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการสามคนเปนกรรมการ โดยมีเจาหนาที่ความปลอดภัยใน
การทํางานเปนกรรมการและเลขานุการ
(3) สถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแตหารอยคนขึ้นไปใหมีกรรมการไมนอยกวาเจ็ดคน
ประกอบดวยนายจางหรือผูแทนนายจางเปนประธานคณะกรรมการ ผูแทนระดับบังคับบัญชาสี่คน และ
ผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการหาคนเปนกรรมการ โดยมีเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํ างานเปน
กรรมการและเลขานุการ
ในกรณีทสี่ ถานประกอบกิจการมีเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานมากกวาหนึ่งคน ใหนายจาง
แตงตัง้ เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานหนึ่งคนเปนกรรมการและเลขานุการตาม (2) และ (3)
สําหรับสถานประกอบกิจการตาม (2) และ (3) ที่ไมมีเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน ให
นายจ า งคั ด เลื อ กผู  แ ทนระดั บ บั ง คั บ บั ญชาหนึ่งคนเปนกรรมการและใหประธานคณะกรรมการเลือก
กรรมการหนึ่งคนเปนเลขานุการ
หากมีกรรมการเพิ่มขึ้นมากกวา (1) (2) หรือ (3) แลวแตกรณี ใหมีกรรมการจากผูแทนระดับ
บังคับบัญชา และผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการเพิ่มขึ้นในสัดสวนที่เทากัน

ขอ 8 การคัดเลือกกรรมการ ใหเปนไปดังนี้


(1) กรรมการผูแทนระดับบังคับบัญชา ใหนายจางเปนผูคัดเลือก
(2) กรรมการผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการ ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่อธิบดีกําหนด

ขอ 9 กรรมการอยูในตําแหนงคราวละไมเกินสองป แตอาจไดรับการคัดเลือกใหมได

ขอ 10 นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระตามขอ 9 กรรมการพนจากตําแหนงเมื่อ


2- 184
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ
(4) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดย
ประมาทหรือความผิดลหุโทษ
การคัดเลือกกรรมการแทนตําแหนงที่วาง ใหเปนไปตามขอ 8 โดยอนุโลม และใหกรรมการที่ไดรับ
คัดเลือกใหดํารงตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน

ขอ 11 ใหนายจางปดประกาศรายชื่อและหนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการโดยเปด
เผยเพื่อใหลูกจางไดทราบ ณ สถานประกอบกิจการ
เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงกรรมการ ใหนายจางปดประกาศรายชื่อตามวรรคหนึ่ง ภายในสามสิบวันนับ
แตวันที่เปลี่ยนแปลง
การประกาศรายชื่อตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ตองปดไวอยางนอยสิบหาวัน

ขอ 12 ใหนายจางสงสําเนารายชื่อคณะกรรมการตามขอ 11 และหนาที่รับผิดชอบตามขอ 18


ตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายภายในสิบหาวัน นับแตวันที่แตงตั้งกรรมการหรือคณะกรรมการ
ชุดใหม
การเปลี่ยนกรรมการหรือหนาที่รับผิดชอบของคณะกรรมการ ใหนายจางเก็บหลักฐานการเปลี่ยน
แปลงกรรมการหรือหนาที่รับผิดชอบของคณะกรรมการไวในสถานประกอบกิจการเปนเวลาไมนอยกวา
สองป เพือ่ ใหพนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบ สําหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแตหนึ่งรอยคนขึ้นไป
และมีเจาหนาทีค่ วามปลอดภัยในการทํางาน ใหนายจางแจงการเปลี่ยนแปลงดังกลาวเปนประจําทุกหก
เดือน โดยใหสงพรอมกับรายงานการดําเนินการเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน การปฏิบัติหนาที่
ของเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 13 ใหนายจางรับมติ ผลการประชุมหรือขอเสนอตามที่คณะกรรมการเสนอและพิจารณา


ดําเนินการแกไขโดยมิชักชา ทั้งนี้ขอเสนอดังกลาวองมีเหตุผลอันสมควรและสอดคลองกับมาตรฐานที่ทาง
ราชการกําหนด
กรณีที่ไมสามารถดําเนินการแกไขได ใหนายจางปรึกษาหารือกับคณะกรรมการเพื่อกําหนดระยะ
เวลาและแผนการดําเนินงานที่ชัดเจนเปนลายลักษณอักษรพรอมเหตุผลเพื่อกอใหเกิดความปลอดภัยและ
สุขภาพอนามัยในการทํางานที่ดีของลูกจาง
ในกรณีที่ไมอาจตกลงกันได ใหคณะกรรมการนําเรื่องเสนออธิบดีเพื่อชี้ขาดตอไป

ขอ 14 นายจางตองจัดใหมีคูมือเกี่ยวกับมาตรฐานวาดวยความปลอดภัยในการทํางานไวใน
สถานประกอบกิจการ เพื่อใหลูกจางหรือผูที่เกี่ยวของไดใชประโยชน

2- 185
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

หมวด 2
การประชุมคณะกรรมการ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน

ขอ 15 ใหนายจางจัดใหคณะกรรมการประชุมอยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง โดยแจงกําหนดการ


ประชุ ม และระเบี ย บวาระการประชุมใหกรรมการทราบอยางนอยสามวันกอนถึงวันประชุม และให
กรรมการเขาประชุมตามที่ไดกําหนด

ขอ 16 ในการประชุมคณะกรรมการครั้งแรก นายจางตองชี้แจงนโยบายและแนวทางการดําเนิน


งาน ตลอดจนหนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการที่เกี่ยวกับดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดลอมในการทํางาน รวมถึงขอกําหนดที่ตองปฏิบัติตามประกาศนี้ตอที่ประชุม

ขอ 17 การประชุมของคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวน
กรรมการทั้งหมดและตองมีกรรมการซึ่งเปนผูแทนระดับบังคับบัญชาและผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการเขา
รวมประชุมดวยจึงจะเปนองคประชุม
มติของที่ประชุมคณะกรรมการใหถือเสียงขางมาก กรรมการหนึ่งคนมีหนึ่งเสียงในการลงคะแนน
ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเปนชี้ขาด

หมวด 3
หนาที่คณะกรรมการ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน

ขอ 18 คณะกรรมการมีหนาที่ ดังตอไปนี้


(1) ประชุมอยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง
(2) สํารวจดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานอยางนอยเดือนละ
หนึ่งครั้ง
(3) รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแกไขเพื่อใหถูกตองตามกฎหมายวาดวย
ความปลอดภัยในการทํ างานและหรือมาตรฐานความปลอดภัยในการทํ างานเพื่อความปลอดภัยในการ
ทํางานของลูกจาง ผูรับเหมาและบุคคลภายนอกที่เขามาปฏิบัติงานหรือเขามาใชบริการในสถานประกอบ
กิจการ ตอนายจาง
(4) สงเสริม สนับสนุนกิจกรรมดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ
ทํางานของสถานประกอบกิจการ
(5) กํ าหนดกฎระเบียบดานความปลอดภัย มาตรฐานความปลอดภัยในการทํางานของสถาน
ประกอบกิจการเสนอตอนายจาง
(6) จัดทํานโยบาย แผนงานประจําป โครงการ หรือกิจกรรมดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทํางาน รวมทั้งความปลอดภัยนอกงาน เพื่อปองกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ
การประสบอันตรายหรือการเจ็บปวยอันเนื่องจากการทํางาน หรือความไมปลอดภัยในการทํางานเสนอตอ
นายจาง
2- 186
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(7) จัดทําโครงการหรือแผนการฝกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวด


ลอมในการทํางาน รวมถึงการอบรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบในดานความปลอดภัยของ
ลูกจาง หัวหนางาน ผูบริหาร นายจางและบุคลากรทุกระดับเพื่อเสนอตอนายจาง
(8) ติดตามผลความคืบหนาเรื่องที่เสนอนายจาง
(9) รายงานผลการปฏิบัติงานประจําป รวมทั้งระบุปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะในการปฏิบัติ
หนาที่ของคณะกรรมการ เมื่อปฏิบัติหนาที่ครบหนึ่งปเพื่อเสนอตอนายจาง
(10) ปฏิบตั หิ นาที่เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานอื่นตาม
ที่นายจางมอบหมาย

ขอ 19 ใหประธานคณะกรรมการเสนอผลการประชุมใหนายจางดําเนินการในเรื่องความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานตอนายจางภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ที่ประชุมมีมติ

ขอ 20 เมือ่ เกิดอุบัติเหตุจนเปนเหตุใหลูกจางหรือบุคคลภายนอกสูญเสียอวัยวะหรือทุพพลภาพ


หรือเสียชีวิตหรือเกิดอัคคีภัย หรือการระเบิดหรือสารเคมีอันตรายรั่วไหล ใหนายจางเรียกประชุมคณะ
กรรมการโดยมิชักชาเพื่อดําเนินการชวยเหลือและเสนอแนะแนวทางปองกันแกไขตอนายจาง

ขอ 21 ในการดําเนินการของคณะกรรมการ นายจางตองจัดทําสําเนาบันทึกหรือรายงานการ


ดําเนินงานหรือรายงานการประชุม โดยใหเก็บไวในสถานประกอบกิจการเปนเวลาไมนอยกวาสองป และ
พรอมที่จะใหพนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบไดตลอดเวลา

หมวด 4
เบ็ดเตล็ด

ขอ 22 การเขารวมประชุมและการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการตามประกาศนี้ ถือวาการได


ปฏิบตั งิ านใหนายจางโดยไดรับคาจางตามปกติ

ขอ 23 นายจางตองใหการสนับสนุนและสงเสริมการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการและเจาหนาที่
ความปลอดภัยในการทํางาน ทั้งในหนาที่ประจําและหนาที่ในฐานะกรรมการ

ขอ 24 หามมิใหนายจาง ขัดขวางการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการ หรือกระทําการใดๆ อันอาจ


เปนผลใหกรรมการไมสามารถทํางานตอไปได

ขอ 25 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายในการปฏิบัติตามประกาศนี้

ขอ 26 ขอความใดในประกาศนี้ที่อาจตีความไดหลายนัย นัยใดจะทําใหเกิดความปลอดภัยแก


ชีวติ หรือทรัพยสินทั้งของนายจางและลูกจาง ใหถือเอานัยนั้น

2- 187
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 27 เมื่อปรากฏวานายจางฝาฝนประกาศนี้ พนักงานเจาหนาที่อาจใหคําเตือนเพื่อใหนาย


จางไดปฏิบัติการใหถูกตองภายในเวลาที่กําหนดไวในคําเตือนเสียกอนก็ได

ประกาศ ณ วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2538

นายสมพงษ อมรวิวัฒน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

2- 188
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

คําชี้แจงประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
เกี่ยวกับประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
เรื่อง คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทํางาน

กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ไดอาศัยอํานาจตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103


ลงวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2515 ออกประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่องคณะกรรมการ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ลงวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2538 เพื่อให
การดําเนินงานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานของลูกจางเปนไปดวย
ความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
เพื่อความเขาใจและการปฏิบัติอยางถูกตองตามประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมเรื่อง
คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ลงวันที่ 27 มิถุนายน
พ.ศ.2538 ดังกลาว กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมขอชี้แจงสาระสําคัญดังตอไปนี้

1. วันใชบังคับ
ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมฉบับนี้ มีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนด 120 วัน นับแต
วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา กลาวคือ มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2538 เปนตนไป

2. ประเภทกิจการที่อยูในขายบังคับ
ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมใชบังคับกับนายจางที่ประกอบกิจการดังตอไปนี้
2.1 การทําเหมืองแร เหมืองหิน กิจการปโตรเลียมหรือปโตรเคมี
2.2 การทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง เก็บรักษา ปรับปรุง ตกแตง เสริมแตง ดัดแปลง
แปรสภาพ ทําใหเสีย หรือทําลายซึ่งวัตถุหรือทรัพยสิน และรวมถึงการตอเรือ การใหกําเนิด แปลง และ
จายไฟฟาหรือพลังงานอยางอื่น
2.3 การกอสราง ตอเติม ติดตั้ง ซอม ซอมบํารุง ดัดแปลงหรือรื้อถอน อาคาร สนามบิน ทางรถไฟ
ทางรถราง ทาเรือ อูเรือ สะพานเทียบเรือ ทางนํ้า ถนน เขื่อน อุโมงค สะพาน ทอระบาย ทอนํ้า โทรเลข
โทรศัพท ไฟฟา กาซหรือประปา หรืองานกอสราง
2.4 การขนสงคนโดยสารหรือสินคาโดยทางบก ทางนํ้า และทางอากาศ และรวมถึงการบรรทุกขน
ถายสินคาดวย
2.5 โรงแรม
2.6 หางสรรพสินคา
2.7 สถานีบริการหรือจําหนายนํ้ามันเชื้อเพลิงหรือกาซ
2.8 สถานพยาบาล
2.9 สถาบันทางการเงิน
2.10 กิจการอื่นตามที่กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมประกาศกําหนด

3. ขนาดสถานประกอบกิจการในขายบังคับ

2- 189
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

3.1 สถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแต 50 คนขึ้นไปจะตองจัดใหมีคณะกรรมการความปลอด


ภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ภายใน 30 วัน นับแตวันที่ประกาศนี้มีผลใชบังคับ
(ภายในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2538) หรือภายใน 30 วัน นับแตวันที่มีลูกจางเพิ่มขึ้นครบ 50 คน
3.2 สําหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแต 1-49 คน จะตองมีผูแทนลูกจางอยางนอย 1
คน เพือ่ ทําหนาที่รวมกับนายจางในการดูแลความปลอดภัยในการทํางานของลูกจาง

4. องคประกอบของคณะกรรมการฯ
คณะกรรมการความปลอดภัยฯ เปนองคกรทวิภาคี ประกอบดวยนายจาง ผูแทนระดับบังคับบัญชา
ผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการ และเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน โดยมีจํานวนคณะกรรมการฯ
ตามขนาดของสถานประกอบกิจการ ดังนี้
4.1 จํานวนไมนอยกวา 5 คน ประกอบดวยนายจาง 1 คน กรรมการผูแทนระดับบังคับบัญชา 2
คน และกรรมการผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการ 2 คน สําหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแต
50-99 คน
4.2 จํานวนไมนอยกวา 7 คน ประกอบดวยนายจาง 1 คน กรรมการผูแทนระดับบังคับบัญชา 2
คน กรรมการผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการ 3 คน และเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน 1 คน
สําหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแต 100-499 คน
4.3 จํานวนไมนอยกวา 11 คนประกอบดวยนายจาง 1 คน กรรมการผูแทนระดับบังคับบัญชา 4
คน กรรมการผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการ 5 คน และเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน 1 คน
สําหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจางตั้งแต 500 คนขึ้นไป
4.4 หากตองการใหมีองคประกอบของคณะกรรมการมากกวาตามที่กําหนดไวในขอ 4.1 - 4.3
ตองเพิ่มกรรมการผูแทนระดับบังคับบัญชาและกรรมการผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการในจํานวนที่เทากัน
เชน ถาเพิ่มกรรมการผูแทนระดับบังคับบัญชา 1 คน ก็ตองเพิ่มกรรมการผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการ 1
คน เชนกัน
4.5 สถานประกอบกิจการที่มีเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานมากกวา 1 คน ใหนายจาง
แตงตัง้ เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน 1 คน เปนกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการ
4.6 สถานประกอบกิจการที่ไมตองมีเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานตามที่กฎหมายกําหนด
ใหนายจางแตงตั้งกรรมการผูแทนระดับบังคับบัญชาเพิ่มขึ้นอีก 1 คน และใหประธานคณะกรรมการเลือก
กรรมการหนึ่งคนเปนเลขานุการ

5. การคัดเลือกกรรมการ
5.1 นายจางเปนผูคัดเลือกผูแทนระดับบังคับบัญชา
5.2 การคัดเลือกผูแทนลูกจางระดับปฏิบัติการใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่อธิบดีกรม
สวัสดิการและคุมครองแรงงานกําหนด ทั้งนี้ กรรมการอยูในตําแหนงคราวละไมเกิน 2 ป

6. หนาทีข่ องคณะกรรมการความปลอดภัย
ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทํางาน กําหนดใหคณะกรรมการความปลอดภัยฯ มีหนาที่ดังตอไปนี้
6.1 คณะกรรมการตองประชุมอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง
2- 190
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

6.2 สํารวจดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานอยางนอยเดือนละ


1 ครั้ง
6.3 รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแกไขเพื่อใหถูกตองตามกฎหมายวาดวย
ความปลอดภัยในการทํ างานและหรือมาตรฐานความปลอดภัยในการทํ างานเพื่อความปลอดภัยในการ
ทํางานของลูกจาง ผูรับเหมาและบุคคลภายนอกที่เขามาปฏิบัติงานหรือเขามาใชบริการในสถานประกอบ
กิจการ เพื่อนําเสนอตอนายจาง
6.4 สงเสริม สนับสนุนกิจกรรมดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ
ทํางานของสถานประกอบการ
6.5 กําหนดระเบียบดานความปลอดภัย มาตรฐานความปลอดภัยในการทํางานของสถานประกอบ
กิจการ เพื่อนําเสนอตอนายจาง
6.6 จัดทํานโยบาย แผนงานประจําป โครงการ หรือกิจกรรมดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทํางาน รวมทั้งความปลอดภัยนอกงาน เพื่อปองกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ
การประสบอันตราย หรือการเจ็บปวยอันเนื่องจากการทํางาน หรือความไมปลอดภัยในการทํางานเพื่อนํา
เสนอตอนายจาง
6.7 จัดทําโครงการหรือแผนการฝกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวด
ลอมในการทํ างานรวมถึงการอบรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบในดานความปลอดภัยของลูก
จาง หัวหนางานผูบริหาร นายจางและบุคลากรทุกระดับ เพื่อนําเสนอตอนายจาง
6.8 ติดตามผลความคืบหนาเรื่องที่เสนอนายจาง
6.9 รายงานผลการปฏิบัติงานประจําป รวมทั้งระบุปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะในการปฏิบัติ
หนาที่ของคณะกรรมการ เมื่อปฏิบัติหนาที่ครบหนึ่งป เพื่อนําเสนอตอนายจาง
6.10 ปฏิบตั หิ นาที่เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานอื่นตาม
ที่นายจางมอบหมาย

7. หนาที่ประธานคณะกรรมการ
ประธานคณะกรรมการตองเสนอผลการประชุมในเรื่องที่ใหนายจางดําเนินการเกี่ยวกับความปลอด
ภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ตอนายจางภายใน 7 วัน นับแตวันที่ที่ประชุมมีมติ

8. หนาที่ที่นายจางตองปฏิบัติ
8.1 นายจางตองปดประกาศรายชื่อและหนาที่รับผิดชอบของคณะกรรมการ โดยเปดเผยในสถาน
ประกอบกิจการอยางนอย 15 วัน และสงสําเนาตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายภายใน 15 วัน นับแต
วันที่แตงตั้งคณะกรรมการชุดแรกหรือคณะกรรมการชุดใหม
8.2 นายจางตองเก็บหลักฐานเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงกรรมการ สําเนา บันทึก หรือรายงานการ
ดําเนินงาน หรือรายงานการประชุมของคณะกรรมการ ไวในสถานประกอบกิจการไมนอยกวา 2 ป เพื่อให
ทําการตรวจสอบได
8.3 นายจางตองจัดใหคณะกรรมการประชุมอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง และจะตองไมขัดขวางการ
ปฏิบตั หิ นาที่ของกรรมการ โดยแจงกําหนดการประชุมและระเบียบวาระการประชุมใหกรรมการทราบเปน
การลวงหนาอยางนอย 3 วัน กอนถึงวันประชุม

2- 191
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

8.4 นายจางตองชี้แจงนโยบาย และแนวทางดําเนินงานตลอดจนความรับผิดชอบของคณะ


กรรมการตอที่ประชุมคณะกรรมการในการประชุมครั้งแรก
8.5 ในกรณีเกิดอุบัติเหตุจนเปนเหตุใหลูกจางหรือบุคคลภายนอกสูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพ
หรือเสียชีวติ ใหเรียกประชุมคณะกรรมการโดยมิชักชาเพื่อเสนอแนะแนวทางปองกันแกไขตอนายจางตอไป
8.6 นายจางตองรับมติผลการประชุมหรือขอเสนอของคณะกรรมการฯ และดําเนินการแกไขโดยมิ
ชักชา ในกรณีที่ไมสามารถแกไขไดนายจางตองปรึกษาหารือคณะกรรมการฯ เพื่อกําหนดระยะเวลาและ
แผนการดําเนินงานเปนลายลักษณอักษร
8.7 นายจางตองใหการสนับสนุนและสงเสริมการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการและเจาหนาที่ความ
ปลอดภัยในการทํางาน ทั้งในหนาที่ประจําและหนาที่ในฐานะกรรมการ
8.8 นายจางตองจัดใหมีคูมือเกี่ยวกับมาตรฐานวาดวยความปลอดภัยในการทํางานไวในสถาน
ประกอบกิจการ เพื่อใหลูกจางหรือผูที่เกี่ยวของไดใชประโยชน

9. เบ็ดเตล็ด
9.1 การปฏิบตั ิหนาที่หรือการเขารวมประชุมของคณะกรรมการความปลอดภัยฯ ใหถือวาเปนการ
ปฏิบตั งิ านใหแกนายจาง ซึ่งนายจางตองจายคาจางให
9.2 หามมิใหนายจางขัดขวางการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการในฐานะหนาที่ของการเปนกรรมการ
ตลอดจนหามกระทําการใด ๆ อันอาจเปนผลใหกรรมการไมสามารถทํางานในหนาที่ประจําตามปกติตอไป
ได
9.3 ในกรณีทมี่ กี ารฝาฝนประกาศกระทรวงแรงงานฯ ดังกลาว พนักงาน เจาหนาที่อาจใหคําเตือน
เพือ่ ใหนายจางปฏิบัติใหถูกตองกอนได
9.4 การฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎหมายดังกลาว จะตองไดรับโทษจําคุกไมเกิน 6 เดือน หรือ
ปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
หากมีขอสงสัยประการใดใหติดตอสอบถามไดที่ กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและ
คุม ครองแรงงาน โทรศัพท 448-6401-5 สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานเขตทุกเขต และสํานัก
งานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดทุกจังหวัด

จึงเรียนมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน

กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
มิถนุ ายน 2538

2- 192
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16


มีนาคม 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยสําหรับ
ลูกจางไว ดังตอไปนี้

ความทั่วไป

ขอ 1 ในประกาศนี้
“เครื่องจักร” หมายความวา สิ่งที่ประกอบดวยชิ้นสวนหลายชิ้นสําหรับใหกอกําเนิดพลังงาน
เปลีย่ นหรือแปลง สภาพพลังงาน หรือสงพลังงาน ทั้งนี้ ดวยกําลังนํ้า ไอนํ้า เชื้อเพลิง ลม แกส ไฟฟา หรือ
พลังงานอืน่ อยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึง เครื่องอุปกรณไฟลวีล
ปุลเล สายพาน เพลา เกียร หรือสิ่งอื่นที่ทํางานสัมพันธกัน และรวมถึงเครื่องมือกลดวย
“หมอไอนํา” ้ หมายความวา ภาชนะซึ่งสรางขึ้นเพื่อผลิตไอนํ้า ซึ่งมีความดันสูงกวาความดันของ
บรรยากาศปกติ
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวม
ถึงผูซ งึ่ ไดรับ มอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวาผูมีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคล นั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทํา
การแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจาง
ดวยตนเอง หรือไมก็ตาม และหมายความรวมถึงลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราว แตไมรวมถึงลูกจางซึ่ง
ทํางานเกี่ยวกับงานบาน
“ลูกจางประจํา” หมายความวา ลูกจางซึ่งนายจางตกลงจางไวเปนการประจํา
“ลูกจางชัว่ คราว” หมายความวา ลูกจางซึ่งนายจางตกลงจางไวไมเปนการประจํา เพื่อทํางานอันมี
ลักษณะเปนครั้งคราว เปนการจร หรือเปนไปตามฤดูกาล

หมวด 1
การใชเครื่องจักรทั่วไป

ขอ 2 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักรสวมใสหมวก ถุงมือ แวนตา หนา

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 93 ตอนที่ 101 วันที่ 10 สิงหาคม 2519


2- 1
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

กาก เครือ่ งปองกันเสียง รองเทาพื้นยางหุมสน หรือเครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคลอื่น ๆ ตามสภาพ


และลักษณะของงาน และใหถือเปนระเบียบปฏิบัติงานของสถานประกอบการตลอดเวลาที่ลูกจางปฏิบัติ
งานนั้น

ขอ 3 ใหนายจางดูแลลูกจางสวมใสเครื่องนุงหมใหเรียบรอย รัดกุม ไมขาดรุงริ่ง ในกรณีที่


ทํางานเกีย่ วกับการ ใชไฟฟา จะตองใหลูกจางสวมเครื่องนุงหมที่ไมเปยกนํ้า

ขอ 4 ใหนายจางดูแลมิใหลูกจางซึ่งมีผมยาวเกินสมควร และมิไดรวบหรือทําอยางหนึ่งอยาง


ใดใหอยูใ นลักษณะที่ปลอดภัย หรือสวมใสเครื่องประดับอื่นที่อาจเกี่ยวโยงกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดได เขาทํางาน
เกี่ยวกับเครื่องจักร

ขอ 5 ใหนายจางจัดใหมีอุปกรณเพื่อปองกันอันตรายจากเครื่องจักร ดังตอไปนี้


(1) เครือ่ งจักรทีใ่ ชพลังงานไฟฟา ตองมีสายดินเพื่อปองกันกระแสไฟฟารั่วตามมาตรฐานเพื่อ
ความปลอดภัยทางไฟฟาของสํานักงานพลังงานแหงชาติทุกเครื่อง
(2) เครือ่ งจักรทีใ่ ชพลังงานไฟฟา ตองมีสายไฟฟาเขาเครื่องจักรโดยฝงดินหรือเดินลงมาจากที่
สูง ทัง้ นีใ้ หใช ทอรอยสายไฟฟาใหเรียบรอย เวนแตใชสายไฟฟาชนิดที่มีฉนวนหุมเปนพิเศษ
(3) เครือ่ งจักรสําหรับปมวัตถุซึ่งใชนํ้าหนักเหวี่ยง ใหติดตั้งตัวนํ้าหนักเหวี่ยงไวสูงกวาศีรษะผู
ปฏิบตั งิ านพอสมควร เพื่อไมใหเกิดอันตรายแกผูปฏิบัติงาน หรือใหจัดทําเครื่องปองกันอยางหนึ่งอยางใด
ใหมคี วามปลอดภัยตอลูกจาง และจะตองไมมีสายไฟฟาอยูในรัศมีของนํ้าหนักเหวี่ยง
(4) เครือ่ งจักรสําหรับปมวัตถุโดยใชเทาเหยียบ ตองมีที่พักเทาและมีที่ครอบปองกันมิใหเหยียบ
โดยไมตั้งใจ
(5) เครือ่ งจักรสําหรับปมวัตถุโดยใชมือปอน ตองมีเครื่องปองกันมือใหพนจากแมปมหรือจัด
หาเครื่องปอนวัตถุแทนมือ
(6) เครือ่ งจักรที่ใชพลังงานไฟฟาปมหรือตัดวัตถุที่ใชมือปอน ตองมีสวิตชสองแหงหางกันเพื่อ
ใหผปู ฏิบัติงาน ตองเปดสวิตชพรอมกันทั้งสองมือ
(7) เครือ่ งจักรชนิดอัตโนมัติ ตองมีสีเครื่องหมายปด เปด ที่สวิตชอัตโนมัติตามหลักสากล และ
มีเครือ่ งปองกันมิใหสิ่งหนึ่งสิ่งใดกระทบสวิตช เปนเหตุใหเครื่องจักรทํางานโดยมิไดตั้งใจ
(8) เครือ่ งจักรที่มีการถายทอดพลังงานโดยใชเพลา สายพาน ปุลเล ไฟลวีล ตองมีตะแกรงเหล็ก
เหนียว ครอบสวนที่หมุนไดและสวนสงถายกําลังใหมิดชิด ถาสวนที่หมุนไดหรือสวนสงถายกําลังสูงกวา
สองเมตร ตองมีตะแกรง หรือรั้วเหล็กเหนียวสูงไมตํ่ากวาสองเมตรกั้นลอมใหมิดชิด
สําหรับสายพานแขวนลอยที่มีความเร็วไมนอยกวาหารอยสี่สิบเมตรตอนาที หรือสายพานที่มีชวง
ยาวเกินกวาสามเมตร หรือสายพานที่กวางกวายี่สิบเซนติเมตรหรือสายพานโซ ตองมีที่ครอบรองรับซึ่งเปด
ซอมแซมได
(9) ใบเลื่อยวงเดือนที่ใชกับเครื่องจักรซึ่งอาจเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงานไดตองมีที่ครอบ
ใบเลือ่ ยสวนที่สูงเกินกวาพื้นโตะหรือแทน
(10) เครือ่ งจักรทีใ่ ชเปนเครื่องลับ ฝน หรือแตงผิวโลหะ ตองมีเครื่องปดบังประกายไฟหรือ
เศษวัตถุในขณะใชงาน

2- 2
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 6 กอนการติดตั้งหรือซอมเครื่องจักร หรือเครื่องปองกันอันตรายของเครื่องจักร ใหนาย


จางทําปายปดประกาศไว ณ บริเวณติดตั้งหรือซอมแซม และใหแขวนปายหามเปดสวิตชไวที่สวิตชดวย

ขอ 7 ใหนายจางดูแลใหลูกจางทํางานเกี่ยวกับเครื่องมือกล (Mechanical Equipment) ดังตอ


ไปนี้
(1) ทุกวันกอนนําเครื่องมือกลออกใช ตองตรวจดูใหแนใจวาเครื่องมือกลนั้นอยูในสภาพใชการ
ไดดีและปลอดภัย
(2) เครือ่ งมือกลที่ใชขับเคลื่อนตองมีสภาพที่ผูใชงานสามารถมองเห็นขางหลังได เวนแตจะมี
สัญญาณเสียงเตือน หรือมีผูบอกสัญญาณเมื่อถอยหลัง
(3) ไมนารถยก
ํ รถปนจั่น หรือเครื่องมือสําหรับยกอื่น ๆ ไปใชปฏิบัติงานใกลสายหรืออุปกรณ
ไฟฟาทีม่ กี ระแสไฟฟาใกลกวาระยะหางที่ปลอดภัย ตามที่กําหนดไวในหมวดไฟฟา เวนแต
ก. จะมีแผงฉนวนกั้นระหวางสวนที่มีกระแสไฟฟากับเครื่องมือกลนั้น
ข. เครื่องมือกลนั้นไดตอสายดินไวเรียบรอยแลว
ค. มีฉนวนหุมอยางดี หรือ
ง. ใชมาตรการความปลอดภัยในการใชเครื่องมือกลนั้นเชนเดียวกับวามีกระแสไฟฟาอยู

ขอ 8 หามมิใหนายจางใชหรือยอมใหลูกจางใชเครื่องมือกลทํางานเกินกวาพิกัดที่ผูผลิตกําหนด
ไวสําหรับเครื่องมือกลนั้น

ขอ 9 ใหนายจางจัดใหมีทางเดินเขา ออก จากที่สําหรับปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องจักร มีความ


กวางไมนอยกวา แปดสิบเซนติเมตร

ขอ 10 ใหนายจางจัดทํารั้ว คอกกั้น หรือเสนแสดงเขตอันตราย ณ ที่ตั้งของเครื่องจักร หรือ


เขตทีเ่ ครื่องจักรทํางานที่อาจเปนอันตราย ใหชัดเจนทุกแหง

หมวด 2
ความปลอดภัยเกี่ยวกับหมอไอนํ้า

ยกเลิก โดยขอ 2 แหงประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับ


หมอนํา้ ลงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2535

หมวด 3
การคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

ขอ 19 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานเชื่อมแกสและงานเชื่อมไฟฟา สวมแวน


ตาลดแสงหรือ กระบังหนาลดแสง ถุงมือหนัง รองเทาพื้นยางหุนสนและแผนปดหนาอกกันประกายไฟ
ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

2- 3
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

ขอ 20 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานลับหรือฝนโลหะดวยหินเจียระไน สวม


แวนตา หรือหนากากชนิดใส ถุงมือผา และรองเทาพื้นยางหุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 21 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานกลึงโลหะ กลึงไม งานไสโลหะ งานไสไม


งานตัดโลหะ สวมแวนตาหรือหนากากชนิดใส ถุงมือผา รองเทาพื้นยางหุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 22 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานปมโลหะ สวมแวนตาชนิดใส ถุงมือผา


และรองเทาพื้นยาง หุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 23 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานชุบโลหะ สวมถุงมือยางและรองเทาพื้น


ยางหุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 24 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานพนสี สวมถุงมือผา และรองเทาพื้นยางหุม


สน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 25 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานยก ขนยาย ติดตั้ง สวมรองเทาหัวโลหะ ถุง


มือหนัง และหมวกแข็ง ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 26 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานควบคุมเครื่องยนต เครื่องจักร หรือเครื่อง


มือกล สวมหมวกแข็ง รองเทาพื้นยางหุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 27 งานใดที่มีลักษณะไมเหมาะสมแกการที่จะใหลูกจางใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัย
สวนบุคคลในการทํ างานตามที่ระบุไวในหมวดนี้ นายจางอาจผอนผันใหลูกจางระงับการใชอุปกรณนั้น
เฉพาะการปฏิบตั ิงานในลักษณะเชนวานั้นเปนการชั่วคราวได

หมวด 4
กําหนดมาตรฐานเกี่ยวกับอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล

ขอ 28 อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลตามที่กลาวในหมวด 4 จะตองมีคุณสมบัติ


ไดมาตรฐานขั้นตํ่า ดังตอไปนี้
(1) หมวกแข็ง จะตองมีนํ้าหนักไมเกินสี่รอยยี่สิบสี่กรัม ตองทําดวยวัตถุที่ไมใชโลหะ และตองมี
ความตานทาน สามารถทนแรงกระแทกไดไมนอยกวาสามรอยแปดสิบหากิโลกรัม ภายในหมวกจะตองมี
รองหมวกทําดวยหนัง พลาสติก ผา หรือวัตถุอื่นที่คลายกัน และอยูหางผนังหมวกไมนอยกวาหนึ่ง
เซนติเมตร ซึ่งสามารถปรับระยะไดตามขนาดศีรษะของผูใช เพื่อปองกันศีรษะกระทบกับผนังหมวก
(2) ทีส่ วมรัดผมหรือตาขายคลุมผม ตองทําดวยพลาสติก ผา หรือวัตถุที่คลายกัน หรือใชสวม
หรือคลุมผม แลวสั้นเสมอคอ
(3) แวนตาหรือหนากากชนิดใส ตองมีตัวแวนหรือหนากากทําดวยพลาสติกใส มองเห็นไดชัด
สามารถปองกันแรงกระแทกได กรอบของแวนตาตองมีนํ้าหนักเบา
2- 4
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(4) แวนตาลดแสง ตัวแวนตองทําดวยกระจกสีซึ่งสามารถลดความจาของแสงลงใหอยูในระดับที่


ไมเปนอันตรายตอสายตา กรอบของแวนตาตองมีนํ้าหนักเบาและมีกระบังแสงซึ่งมีลักษณะออน
(5) กระบังหนา ตัวกระบังตองทําดวยกระจกสีซึ่งสามารถลดความจาของแสงลงใหอยูในระดับที่
ไมเปนอันตรายตอสายตา ตัวกรอบตองมีนํ้าหนักเบาและตองไมติดไฟงาย
(6) ปลัก๊ ลดเสียง (ear plugs) ตองทําดวยพลาสติก หรือยาง หรือวัตถุอื่น ใชใสชองหูทั้งสองขาง
ตองสามารถลดระดับเสียงลงไดไมนอยกวา 15 เดซิเบล
(7) ครอบหูลดเสียง (ear muffs) ตองทําดวยพลาสติก หรือยาง หรือวัตถุอื่น ใชครอบหูทั้งสอง
ขาง ตองสามารถลดระดับเสียงลงไดไมนอยกวา 25 เดซิเบล
(8) ถุงมือหนัง ตองมีความยาวหุมถึงขอมือ มีลักษณะใชสวมกับนิ้วมือไดทุกนิ้ว
(9) ถุงมือผา หรือวัตถุอื่นที่มีใยโลหะปน ตองมีความยาวหุมถึงขอมือ มีลักษณะใชสวมกับนิ้วมือ
ไดทุกนิ้ว
(10) รองเทาหนังหัวโลหะ ปลายรองเทาจะตองมีโลหะแข็งหุม สามารถทนแรงกดไดไมนอยกวา
สี่รอยสี่สิบหก กิโลกรัม

ขอ 29 ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวัน นับ


แตวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม 2519

ชูสงา ฤทธิประศาสน
รัฐมนตรีชวยวาการ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

2- 5

You might also like