You are on page 1of 2

รูปแบบ (Model) ธนาคารเวลา

ร าย ละเอยี ด

สอบถา ม่ิ เตมิ ไดท้ ่ี
เพ

B A NK
M E

TI
โทรศัพท์ 0 2642 4306
กองส่งเสริมสวัสดิการ
JULY
และคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ
TIME BANK 22
กรมกิจการผู้สูงอายุ
กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์

ธนาคารเวลา
กลไกการบริหารจัดการธนาคารเวลา (4M) ส�ำหรับการดูแลผู้สูงอายุของประเทศไทย
สายด่วน 1300
ศูนย์ช่วยเหลือสังคม

กรมกิจการผู้สูงอายุ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
กรอบแนวคิดธนาคารเวลา
ขั้นตอนเชิงปฏิบัติการ
ธนาคารเวลา
12
11 1
10 2

9 3

จัดตั้งธนาคารเวลาในพื้นที่
8 4

คืออะไร?
7 5
6

1 จัดให้มีคณะทำ�งานเตรียมการจัดทำ�ธนาคารเวลาในพื้นที่
ประกอบด้วยบุคคล หน่วยงานในพืน้ ที/่ ภาคีเครือข่าย
2 รณรงค์ทำ�ความเข้าใจให้สังคมยอมรับและมีส่วนร่วม

ธนาคารเวลา (Time bank) เป็นรูปแบบกิจกรรมที่ช่วย 3 เตรียมความพร้อมความร่วมมือ


ส่งเสริมให้ชุมชนดูแลซึ่งกันและกันด้วยการแลกเปลี่ยนทักษะ 4 จัดทำ�ฐานข้อมูล
ประสบการณ์ บริการขั้นพื้นฐาน และสามารถสะสมเวลาไว้ 4.1 สมาชิก (ข้อมูลทั่วไป ทักษะ ความเชี่ยวชาญ)
เสมื อ นเราออมเงิ น ในบั ญ ชี ธ นาคารของเรา เมื่ อ ยามจำ � เป็ น 4.2 ผู้รับบริการช่วยเหลือ (ปัญหาความต้องการ)
ที่ ต้ อ งการได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ ก็ ส ามารถเบิ ก เวลามาใช้ ไ ด้
ธนาคารเวลาจะเกิดขึ้นเมื่อเครือข่ายสมาชิกมีข้อตกลงร่วมกันว่า ประเภทกิจกรรมและตัวอย่างกิจกรรม 5 จัดตัง้ คณะกรรมการกำ�หนดรูปแบบ เกณฑ์ กติกา โครงสร้าง
5.1 รูปแบบบริการ เพื่อนบ้านช่วยเพื่อนบ้าน
มีการแลกเปลีย่ นทักษะประสบการณ์ในรูปแบบบริการขัน้ พืน้ ฐาน เป็นการทำ�กิจกรรมที่เป็นความช่วยเหลือขั้นพื้นฐาน หรือเป็น 5.2 กำ�หนดโครงสร้างการบริหารงานผู้จัดการธนาคารเวลา
โดยยึดหลักคิดทีว่ า่ ทุกคนมีเวลาเท่าเทียมกัน จะนำ�ไปสูก่ ารสร้าง บริการทีเ่ ป็นอาชีพ วิชาชีพ หรือการบริการตามกฎหมายทีเ่ ป็นไปตาม ผู้ประสานงานที่มุ่งมั่น เข้มแข็ง
เครือข่ายทางสังคมที่เข้มแข็งในการดูแลซึ่งกันและกัน เครือข่าย ความสามารถทัก ษะ ประสบการณ์ และความถนั ดของสมาชิก 5.3 กติกา มาตรการต่างๆ เพื่อเฝ้าระวังผลกระทบเชิงลบ
เหล่านี้เรียกว่า “ธนาคารเวลา” ธนาคารเวลาตรงกับความต้องการและยินยอมร่วมกันทั้งสองฝ่าย เช่น ความปลอดภัยของผู้บริการ การออมเวลาเท็จ ฯลฯ
** มิใช่การแลกเปลีย่ นเป็นสินค้า ไม่ใช่กจิ กรรมทีแ่ ลกเปลีย่ นเป็นเงิน ** 5.4 จัดหาซอฟต์แวร์จัดการข้อมูล อาจใช้ของต่างประเทศ
5.5 จัดหางบประมาณ กำ�หนดรูปแบบการพิจารณาค่าสมาชิก
คุณสามารถ
ทำ�อะไรได้บ้าง? 6 ตั้งธนาคารเวลาในพื้นที่ที่มุ่งมั่น เข้มแข็ง
คุณสามารถ ตัวอย่างกิจกรรม 6.1 กำ�หนดสถานที่ตั้งธนาคารเวลาในพื้นที่
ทำ�อะไรได้บ้าง 6.2 ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของคนในพื้นที่ร่วมก่อตั้ง เช่น
งานช่าง งานซ่อมบำ�รุง ใช้งบประมาณในพื้นทีี่การบริจาค
เช่น ซ่อมแซมอุปกรณ์ต่างๆ
คุณชอบทำ�อะไร 7 เปิดรับสมัครสมาชิก ปฐมนิเทศ จัดการเชื่อมโยงบริการ
งานให้บริการอำ�นวยความสะดวก
เช่น พาไปหาหมอ พาไปธุระ ออกก�ำลังกาย ช่วยเหลือ
ป้อนข้าว อาบน�้ำ จัดบริการขั้นพื้นฐาน โดยพิจารณาความต้องการของสมาชิก,
งานนันทนาการ กำ�หนดเกณฑ์การแปลงเวลา, ควรมีคะแนนตั้งต้นให้กับพื้นที่
เช่น กิจกรรมดนตรี กีฬา ลีลาศ สิ่งประดิษฐ์ ศิลปะ ฝาก คะแนนตั้งต้น 10 คะแนน สำ�หรับ
1 คะแนน
งานบ้าน - งานครัว 1 ชั่วโมง ผู้ที่เข้ามาสมัครสมาชิก
เช่น ท�ำความสะอาดบ้าน ท�ำอาหาร ขนม ซักผ้า รีดผ้า
8 เสริมพลังอำ�นาจ อบรม แลกเปลี่ยนประสบการณ์
งานส่งเสริมการเรียนรู้
เช่น อ่านหนังสือ ให้ความรู้ด้านกฎหมายพิทักษ์สิทธิ 9 ถอดบทเรียน ติิดตาม ประเมินผล
ผู้สูงอายุ การใช้สมาร์ทโฟน สอนภาษาอาชีพ
10 สังเคราะห์บทเรียนรายงานผล
อื่นๆ

You might also like