You are on page 1of 2

คำถำม : กำรนอนตะแคงในผู้ป่วยที่มีภำวะกำรนอนกรนหรือหยุดหำยใจขณะนอนหลับ

สำมำรถลดกำรเกิดควำมดันหลอดเลือดปอดสูงได้แตกต่ำงกับกำรนอนหงำย
ควำมสำคัญ
เนื่องจำกปัญหำกำรนอนกรนพบได้มำกขึ้นในเวชปฏิบัติ โดยเฉพำะเพศชำยที่มีอำยุเพิ่ม
มำกขึ้น จะพบได้มำกกว่ำเพศหญิง จำกอุบัติกำรณ์กำรนอนกรนและภำวะหยุดหำยใจใน
ต่ำงประเทศ กำรนอนกรนในช่วงอำยุ 30-35ปี พบในเพศชำยประมำณร้อยละ 20 เพศหญิง
ประมำณร้อยละ 5 เมื่ออำยุ 60 ปีขึ้นไปพบในเพศชำยประมำณร้อยละ 60 และเพศหญิงประมำณ
ร้อยละ 40 ส่วนภำวะหยุดหำยใจพบในเพศชำยประมำณร้อยละ 4 และในเพศหญิงประมำณร้อย
ละ 2 เมื่อร่ำงกำยมีกำรหยุดหำยใจบ่อยขณะนอนหลับส่งผลต่อสุขภำพทำงร่ำงกำยหลำยอย่ำง
เช่น ง่วงนอนมำกผิดปกติในช่วงกลำงวัน ควำมจำถดถอย หรือเสี่ยงต่อภำวะแทรกซ้อนต่ำงๆ อย่ำง
ควำมดันในปอดสูงซึ่งเสี่ยงที่จะทำให้เกิดภำวะหัวใจล้มเหลวได้ ดังนั้นจึงควรลดกำรเกิดภำวะ
ดังกล่ำว ซึ่งมีกำรรักษำแบ่งเป็นกำรผ่ำตัดอำจจะเป็นทำงเลือกสำหรับผู้ป่วยที่พร้อมเข้ำรับกำร
รักษำ ส่วนกำรไม่ผำ่ ตัดอำจทำได้โดยกำรลดน้ำหนัก กำรใช้เครื่องมือช่วย หรือกำรปรับเปลี่ยน
ท่ำทำงในกำรนอนเป็นต้น
ควำมรู้เบื้องต้น
พื้นฐำนกำรนอนหลับในช่วงREM sleep จะมีควำมตึงตัวของกล้ำมเนื้อลดลง โดยเฉพำพก
ล้ำมเนื้อ genioglossus ทำให้ลิ้นตกอยู่ด้ำนหลัง เกิดกำรอุดกั้นทำงเดินหำยใจได้ง่ำย ทำให้เกิดกำรคั่ง
ของคำร์บอนไดออกไซด์สูงขึ้นในเลือด กระตุ้นกำร chemoreceptor ทำให้ผู้ป่วยสะดุ้งตื่นกลำงดึก
และกำรที่ออกซิเจนเข้ำสู่ปอดลดลงยังทำให้เส้นเลือดที่ปอดหดตัวซึ่งเสี่ยงทำให้เกิดควำมดันหลอด
เลือดปอดปอดสูงตำมมำ และอำจเกิดโรคหัวใจล้มเหลวได้
คำจำกัดควำม
Pulmonary hypertension (ควำมดันหลอดเลือดปอดสูง) คือภำวะที่หลอดเลือดในปอดมีควำม
ต้ำนทำนเพิ่มขึ้น ทำให้ควำมดันเฉลี่ยนหลอดเลือดแดงปอด(mean arterial pulmonary pressure; mPAP)
เท่ำกับหรือสูงกว่ำ 25 มม.ปรอทขณะพักโดยวินิจฉัยได้จำกกำรตรวจสวนหัวใจ
กำรวินิจฉัยควำมดันหลอดเลือดปอดสูง

Population : ผู้ป่วยเพศชำยช่วงอำยุ ที่มีภำวะกำรนอนกรนหรือหยุดหำยใจขณะนอนหลับ

Intervention : ท่ำทำงกำรนอน กำรนอนตะแคง

Comparison: ท่ำทำงกำรนอน กำรนอนหงำย

O : กำรนอนตะแคงในผู้ป่วยที่มีภำวะกำรนอนกรนหรือหยุดหำยใจขณะนอนหลับ สำมำรถ
ลดกำรเกิดควำมดันหลอดเลือดปอดสูงได้แตกต่ำงกับกำรนอนหงำย

You might also like