You are on page 1of 39

คู่มือการจัดการเร ียนการสอนว ิเคราะห์สถานการณ์กระบวนการพยาบาลชุมชน

รายว ิชา พยชช 82121 การพยาบาลสุขภาพชุมชน

ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ภาคว ิชาการพยาบาลชุมชน

ว ิทยาลัยพยาบาลศาสตร์อัครราชกุมาร ี ราชว ิทยาลัยจุฬาภรณ์


คํานํา

คู่มือการว ิเคราะห์ สถานการณ์ กระบวนการพยาบาลชุ มชนฉบับนี้จด


ั ทําขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการ
จัดการเร ียนการสอนเกี่ยวกับกระบวนการพยาบาลชุมชนในรายว ิชา พยชช 82121 การพยาบาลสุขภาพชุมชน
มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นเครอื่ งมือให้ นักศึ กษาให้ มีความรู ้ ความเข้าใจ เกี่ ยวกั บกระบวนการพยาบาลชุ มชน
ทั้งกระบวนการตั้ งแต่ กระบวนการประเมินสุขภาพชุมชน การว ินิจฉัยชุมชน การวางแผน การจัดทําโครงการ
แก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน และการประเมินผลการจัดโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน

ผู้จด
ั ทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือฉบับนี้จะสามารถสร้างประโยชน์ให้กับผู้ที่สนใจศึกษาไม่มากก็น้อย
หากมีข้อผิดพลาดประการใด ทางผู้จด
ั ทําขออภัยมา ณ ทีน
่ ี้

ผู้จด
ั ทํา

เอกลักษณ์ ฟักสุข

สารบัญ

เรอื่ ง หน้า
แนวทางการจัดการเร ียนการสอน 1
รายชือ
่ กลุ่มนักศึกษาในทํากิจกรรมกลุ่ม 2
สถานการณ์ทจ
ี่ าํ ลอง 1 – 6 8
แบบฟอร์มรายงานสถาการณ์ 20
เอกสารอ้างอิง
1

แนวทางการจัดการเร ียนการสอน

1. นักศึกษาแต่ละกลุ่มศึกษาสถานการณ์จาํ ลองของกลุ่มตนเองร่วมกัน
2. วันที่ 11 มกราคม 2566 เวลา 13.00 – 16.00 น. ประชุมกลุ่ม เพื่อปร ึกษาหาร ือกับอาจารย์ประจํา
กลุ่ม ณ ว ิทยาลัยพยาบาลศาสตร์อัครราชกุมาร ี
3. วันที่ 13 มกราคม 2566 เวลา 13.00 – 16.00 น. นักศึกษานํารายงานกระบวนการพยาบาลประชุม
กลุ่ม เพื่อปร ึกษากับอาจารย์ทป
ี่ ร ึกษาในการปรับปรุงแก้ไข
4. สรุปแผนผังความคิดกระบวนการพยาบาลชุมชน 1 หน้ากระดาษ A4 เท่านั้น
5. วันที่ 16 มกราคม 2566 เวลา 13.00 – 15.00 น. นักศึกษาแต่ละกลุ่มนําเสนองานกระบวนการ
พยาบาลชุมชนร่วมกันห้องละ 2 กลุ่ม ดังนี้
ห้องที่ 1 ผู้นําเสนอ กลุ่ม 1 และ กลุ่ม 6
ห้องที่ 2 ผู้นําเสนอ กลุ่ม 2 และ กลุ่ม 5
ห้องที่ 3 ผู้นําเสนอ กลุ่ม 3 และ กลุ่ม 4
การนําเสนอกลุ่มละ 15 นาที และอาจารย์ให้คําแนะนํา 15 นาที
6. ส่งรายงานกระบวนการพยาบาลชุมชนภายในวันที่ 17 มกราคม 2565 เวลา 16.00 น. โดยส่งเป็น
file (word และ pdf.) ลงใน MS TEAMS
7. ในส่วนของเครอื่ งมือ 7 ชิน
้ ให้นักศึกษาอธิบายความหมายสั้น ๆ อาจหาตัวอย่างประกอบจาก
อินเทอร์เน็ตพร้อมอภิปรายกันภายในกลุ่ม
8. เนื้อหาจากสถานการณ์สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตามความเหมาะสมขึน
้ กับดุลยพินิจของอาจารย์
ทีป
่ ร ึกษาประจํากลุ่ม
2

รายชือ
่ กลุ่มนักศึกษาในทํากิจกรรมกลุ่มของรายว ิชา พยชช 82121 การพยาบาลสุขภาพชุมชน

กลุ่มที่ รหัสนักศึกษา รายชือ


่ นักศึกษา อาจารย์ประจํากลุ่ม

6413001 นางสาวกมลวรรณ ขจรนาม

6413016 นางสาวญาโณบล ธิธรรม

6413026 นายธนวัฒน์ บุญคง

6413043 นางสาวปิยาพร สวัสดิโกมล

6413053 นางสาวไพลิน บัวดี

6413073 นางสาวศษิณา ไถวสิน

6413091 นางสาวจุฑารัตน์ กรวยทอง

6413075 นางสาวศุภาพิชญ์ โชคณัติ


ผศ. ดร.นันทวัน
กลุ่มที่ 1
6413012 นางสาวจุฑารัตน์ สุกโฮก สุวรรณรูป
(สถานการณ์ที่ 1) อาจารย์จน
ั สุดา
6413030 นางสาวนพรัตน์ โพธิท
์ อง ทว ีชัยทรัพย์

6413038 นางสาวปพิชญา กาญจนสิงห์

6413056 นางสาวภัทราวดี สุขณะล`า

6413070 นายวุฒิไกร คaาคูณ

6413088 นางสาวอังสุมาร ินทร์ จันทร์โสภา

6413101 นางสาววัชราภรณ์ เพชรแบน


3

กลุ่มที่ รหัสนักศึกษา รายชือ


่ นักศึกษา อาจารย์ประจํากลุ่ม

6413005 นางสาวกัลยาณี ภูแสงสั้น

6413018 นายฐิติกร ว ิชัยศึก

6413027 นายธนารัตน์ หมัดเชีย


่ ว

6413045 นางสาวพรนภา กันธุ

6413055 นางสาวภัททิราพร วังแก้ว

6413077 นางสาวสาธิตา บุญตา

6413102 นายอดิศักดิ์ แสนอุบล

6413086 นางสาวอรญา ใจกล้า

6413015 นางสาวชัชชา เอี่ยมสอาด ผศ. ดร.ว ิไลพรรณ


กลุ่มที่ 2
สมบุญตนนท์
(สถานการณ์ที่ 2) 6413031 นางสาวนภสร จีระภา อาจารย์รชั นีภรณ์
ณ ถลาง
6413040 นางสาวปลายฟ้า ศิร ิประไพ

6413061 นายรชต นามวงษ์

6413071 นายวุฒิภัทร์ น่วมมี

6413090 นางสาวจิดาภา ทองอยู่สุข

6413103 นางสาวอสมาภรณ์ บรรลือโชคชัย


4

กลุ่มที่ รหัสนักศึกษา รายชือ


่ นักศึกษา อาจารย์ประจํากลุ่ม

6413007 นางสาวเกษร เลพล

6413022 นางสาวณัฐธิดา จันทบุตร

6413032 นางสาวนฤมล ช่วยหลํา

6413047 นางสาวพลอยชมพู พรนิมิตวงศ์

6413057 นายภานุพงศ์ เสมเหม็น

6413079 นางสาวสุณิสา มั่งสาคร

6413010 นางสาวจิดาภา จุลพูล

6413098 นางสาวรุจรี า วันทาวงษ์

6413017 นางสาวฐิตากร ช่วยจวน ผศ. ดร.เบญจมาศ


กลุ่มที่ 3
ศิร ิกมลเสถียร
(สถานการณ์ที่ 3) 6413034 นายเนติธร สิร ิพรว ิทยา
อาจารย์ธเนษฐ เทียนทอง

6413044 นางสาวปุญชรัศมิ์ สุปน

6413063 นางสาวรุง่ ตะวัน อ้นพวงรัตน์

6413080 นางสาวสุนันทา บุตรทร

6413093 นางสาวดวงจันทร์ บุตรวัน

6413104 นางสาวชนมน เอมะสุวรรณ


5

กลุ่มที่ รหัสนักศึกษา รายชือ


่ นักศึกษา อาจารย์ประจํากลุ่ม

6413008 นางสาวขนิษฐา ขาวผ่อง

6413023 นายณัฐพงษ์ สุขเนาวรัตน์

6413039 นางสาวปร ียานุช ห้วยทราย

6413048 นางสาวพิชชาพร พรหมสุข

6413058 นางสาวมัตติกา พั้ววงค์

6413081 นางสาวสุปราณี ทองคง

6413014 นางสาวชลิสรา อภิชญาชัยกุล

6413002 นางสาวกรวรรณ ปาชม

6413020 นางสาวณัฏฐนิช หนูสาย อาจารย์กนกวรรณ


กลุ่มที่ 4
ไชยลาภ
(สถานการณ์ที่ 4) 6413035 นางสาวบุญญานุช จรัสสิร ิระพี อาจารย์กัญชร ีย์ พัฒนา

6413046 นางสาวพลอยชนก ตุ้ยบุญมา

6413064 นางสาวรุจริ ต
ั น์ อุดรสวาท

6413082 นางสาวสุพิชชา เตไชยา

6413094 นางสาวเบญจวรรณ คล่องการเง ิน

6413105 นางสาวพิชญ์ศุภา จันทราภิรมย์


6

กลุ่มที่ รหัสนักศึกษา รายชือ


่ นักศึกษา อาจารย์ประจํากลุ่ม

6413009 นางสาวขวัญชนก บุญวัฒนวงศ์

6413024 นายณัฐวุฒิ เจร ิญกูล

6413041 นางสาวปิยวรรณ จันทร์สุข

6413049 นางสาวพิชชาภา ศรวงษ์

6413069 นายว ีรวัฒน์ ไชยโยธา

6413085 นางสาวอนงนุช เหลืองงาม

6413019 นางสาวณฐมน ศร ีศาสนา

6413004 นางสาวกัญติญา บุตรดา

6413021 นางสาวณัฏฐยา ศร ีเว ียง อาจารย์อนงค์นุช


กลุ่มที่ 5
สารจันทร์
(สถานการณ์ที่ 5) 6413036 นางสาวบุญสิตา บัวแก้ว อาจารย์เอกลักษณ์ ฟักสุข

6413051 นางสาวพีรญา เพ็งนอก

6413066 นางสาวรัญชนา ทองเชือ


่ ม

6413083 นางสาวสุร ีรัตน์ บุตรทร

6413096 นางสาวมาร ิษา ซังทิพย์

6413106 นางสาวมลฤดี พรหมน้อย


7

กลุ่มที่ รหัสนักศึกษา รายชือ


่ นักศึกษา อาจารย์ประจํากลุ่ม

6413011 นางสาวจิรารัตน์ บัวสิม

6413025 นางสาวดุษฎี เบ็ญจชาติ

6413042 นางสาวปิยะพร มาแสวง

6413050 นางสาวพิมพ์ชนก เอกาชัย


กลุ่มที่ 6
6413072 นางสาวศศิกานต์ ทิพสนธิ์
(สถานการณ์ที่ 6)

6413087 นางสาวอร ิสา วะบุตรดี

6413052 นางสาวแพรวพรรณ ด้วงชืน



อาจารย์มัตติกา ใจจันทร์

6413006 นางสาวเกวลี หาสุข อาจารย์นร ิศรา ศร ีโพธิ์

6413029 นายธีรพล เชีย


่ วชูศักดิ์

6413037 นางสาวบุศร ิน เจร ิญกิจสุพัฒน์

6413054 นายภทรพล โพธิม


์ ่วงพันธ์

6413067 นางสาววร ิษา พรมมา

6413084 นางสาวหทัยรัตน์ นามเสถียร

6413100 นางสาววรัญญา พานิชย์


8

สถานการณ์ที่ 1 ชุมชนใจพัฒนา

ข้อมูลทั่วไป ชุมชนใจพัฒนาเป็นชุมชนเมือง มีพื้นทีป


่ ระมาณ 8 ไร่ 21 ตารางวา 1 งาน อาณาเขตทิศเหนือ
ติ ดกั บหมู่ บ้านชายคลองบางบัว ทิศใต้ ติดกั บหมู่ บ้านเชิงสะพานไม้ 1 ทิศตะวันออกติ ดกั บคลองลาดพร้าว
ช่วงบางบัว (คลองถนน) และทิศตะวันตกติ ดกับหมู่บ้านอาทิตย์ พบว่ามีบ้านเร ือนทั้งหมด 254 หลังคาเร ือน
เป็ น บ้ า นเดี่ ย ว จํา นวน 90 หลั ง คาเร ือน ทาวน์ เ ฮาส์ จํา นวน 92 หลั ง คาเร ือน บ้ า นเร ือนแถว จํา นวน 72
หลังคาเร ือน ร้านขายของชํา จํานวน 3 แห่ ง ร้านขายอาหารและเครอื่ งดื่ ม จํานวน 8 แห่ ง อาคารส่ วนกลาง
ชุมชน จํานวน 1 แห่ ง บร ิเวณเร ือเทียบท่า จํานวน 3 แห่ ง ลานทํากิจกรรมชุมชน จํานวน 1 แห่ ง ตู้กดน`าดื่ ม
จํานวน 2 แห่ง จุดติดตั้งถังดับเพลิง จํานวน 11 แห่ง จุดติดตั้งกล้องวงจรปิด จํานวน 12 แห่ง ลําโพงกระจาย
เสี ย ง จํา นวน 12 แห่ ง กระจกโค้ ง จราจร จํา นวน 6 แห่ ง และถนนคอนกร ีต สํ า รวจข้ อ มู ล ได้ จ ํา นวน 83
ครัวเร ือน จากทั้งหมด 254 หลังคาเร ือน และสํารวจประชากรในชุมชนได้ จาํ นวน 113 คน แบ่งเป็นเพศชาย
จํานวน 33 คน และเพศหญิง จํานวน 80 คน จากประชากรทัง้ หมด 1139 คน เส้นทางคมนาคมของประชากร
ในชุมชน 2 เส้นทาง คือ การเดินทางบกและมีการเก็บขยะทางน`า
ข้ อ มู ล ประชากร เพศชาย อายุ 0 - 4 ปี จํา นวน 1 คน, อายุ 15- 19 ปี จํา นวน 1 คน, อายุ 20 – 24 ปี
จํานวน 4 คน, อายุ 25 – 29 ปี จํานวน 3 คน, อายุ 30 – 34 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 35 – 39 ปี จํานวน 1 คน,
อายุ 45 – 49 ปี จํ า นวน 2 คน อายุ 50 – 54 ปี จํ า นวน 2 คน อายุ 55 – 59 ปี จํ า นวน 3 คน, อายุ
60 – 64 ปี จํานวน 4 คน, อายุ 65 – 69 ปี จํานวน 4 คน, อายุ 70 – 74 ปี จํานวน 3 คน, อายุ 80 ปี จํานวน
1 คน และอายุ 85 ปี จํานวน 3 คน เพศหญิง อายุ 0- 4 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 15 – 19 ปี จํานวน 2 คน, อายุ
20 – 24 ปี จํานวน 3 คน, อายุ 25 – 29 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 30 – 34 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 35 – 39 ปี
จํา นวน 2 คน, อายุ 40 – 44 ปี จํา นวน 2 คน, อายุ 45 – 49 ปี จํา นวน 7 คน, อายุ 50 – 54 ปี จํา นวน
8 คน, อายุ 55 – 59 ปี จํา นวน 11 คน, อายุ 60 – 64 ปี จํา นวน 9 คน, อายุ 65 – 69 ปี จํา นวน 9 คน
อายุ 70 – 74 ปี จํานวน 8 คน และอายุ 75 – 80 ปี จํานวน 15 คน
สถานภาพโสด จํานวน 27 คน สมรส จํานวน 55 คน หม้าย จํานวน 25 คน แยกกั นอยู่ จํานวน 5 คน
หย่าร้าง จํานวน 1 คน
นับถือศาสนาพุทธ จํานวน 90 คน ศาสนาคร ิสต์ จํานวน 10 คน และศาสนาอิสลาม 13 คน
ข้ อ มู ล ด้ า นเศรษฐกิ จ และสั ง คม อาศั ย ในบ้ า นของตนเอง จํา นวน 75 ครัว เร ือน อาศั ย ผู้ อื่ น จํา นวน 6
ครัวเร ือน บ้านเช่า จํานวน 2 ครัวเร ือน จบการศึ กษาระดั บประถมศึ กษา จํานวน 62 คน ระดั บมัธยมศึ กษา
ตอนต้ น จํา นวน 15 คน และระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายหร ือ ปวช. จํา นวน 14 คน และที่เ หลื อ ไม่ ไ ด้ ร บ

การศึ กษา พบประชากรว่างงาน จํานวน 53 คน ประกอบอาชีพค้ าขาย จํานวน 20 คน ข้าราชการ จํานวน
8 คน รับจ้าง จํานวน 4 คน และพนักงานบร ิษัทเอกชน จํานวน 4 คน
ข้ อ มู ล ด้ า นสุ ข ภาพ ประชากรมี ค่ า ดั ช นี ม วลกาย (BMI) ในช่ว ง 18.5-22.9 กก./ม. 2 จํา นวน 39 คน
ช่วง 25.0-29.9 กก./ม.2 จํานวน 29 คน และอยู่ในช่วง 23.0-24.9 กก./ม.2 จํานวน 25 คน ประชากรป่วย
ด้ วยโรคความดั นโลหิ ตสู ง จํานวน 46 คน โรคเบาหวาน จํานวน 45 คน และโรคไขมันในเลือดสู ง จํานวน
19 คน
1 ปีที่ผ่านมา พบประชาชนในชุ มชนป่วยด้ วยโรคโคว ิด-19 จํานวน 79 คน และได้ รบ
ั อุ บัติเหตุ จากการ
ทํางาน จํานวน 9 คน
ข้อมูลด้ านพฤติ กรรมสุขภาพ พบประชากรไม่สูบบุหร ี่ จํานวน 99 คน ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ จํานวน 98 คน
รับ ประทานรสเค็ ม จํ า นวน 38 คน รับ ประทานอาหารรสหวาน จํ า นวน 32 ประชากรส่ ว นใหญ่ ไ ม่
9

ออกกําลังกาย จํานวน 65 คน ออกกําลังกายน้อยกว่า 3 ครัง้ ต่ อสัปดาห์ จํานวน 37 คน และออกกําลังกาย


มากกว่า 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ จํานวน 11 คน
ข้อมูลด้ านอนามัยและสิ่งแวดล้อม พบบ้านที่มีอากาศถ่ายเทดี ไม่อับชืน
้ จํานวน 77 ครัวเร ือน ครัวเร ือน
ส่วนใหญ่บร ิโภคน`ากรอง (เปลี่ยนไส้กรองอย่างน้อยทุก 6 เดือน) จํานวน 76 ครัวเร ือน บร ิโภคน`าซือ
้ จํานวน
6 ครัวเร ือน และน`ากรอง (เปลี่ยนไส้ กรองมากกว่า 6 เดื อน) จํานวน 1 ครัวเร ือน สํ าหรับน`าใช้ทุกครัวเร ือน
ใช้น`าประปา พบสั ตว์นําโรค เช่น ยุง จํานวน 71 ครัวเร ือน หนู จํานวน 44 ครัวเร ือน แมลงสาบ จํานวน 44
ครัวเร ือน แมลงวัน จํานวน 43 ครัวเร ือน และงู จํานวน 10 ครัวเร ือน
ข้อมูลด้ านการบร ิการสุขภาพ ประชาชนมีสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า จํานวน 71 คน สิทธิประกันสังคม
จํา นวน 28 คน และสิ ท ธิร ฐั ว สิ าหกิ จ จํา นวน 13 คน ประชากรไม่ ไ ด้ ร บ
ั การตรวจสุ ข ภาพฟั น และช่อ งปาก
จํานวน 86 คน ประชากรส่ วนใหญ่ได้ รบ
ั การตรวจสุ ขภาพ จํานวน 73 คน ประชากรเพศหญิงอายุ มากกว่า
35 ปี ไม่ได้รบ
ั การตรวจมะเร็งปากมดลูก จํานวน 26 คน และไม่ได้รบ
ั การตรวจมะเร็งเต้านม จํานวน 29 คน

จากข้อมูลชุมชนข้างต้นจงแสดงข้อมูลดังต่อไปนี้

1. นําเสนอข้อมูลชุมชนในแต่ละด้านตามหลักการนําเสนอข้อมูล โดยเลือกรูปแบบการนําเสนอ
อย่างน้อยด้านละ 1 แผนภูมิ/ตาราง
2. แสดงการระบุปัญหาของชุมชนทัง้ หมดทีพ
่ บในสถานการณ์จาํ ลอง
3. ปร ึกษาหาร ือร่วมกันภายในกลุ่ม (Nominal Group Discussion) และเลือกปัญหาของชุมชน
จากสถานการณ์จาํ ลองมา 3 ปัญหา และจัดลําดับความสําคัญของปัญหา (Priority Setting)
พร้อมแสดงเหตุผลการให้คะแนนในแต่ละเกณฑ์ของการจัดลําดับของปัญหาทุกเกณฑ์
(คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาว ิทยาลัยมหิดล)
4. ทําการว ิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามทฤษฎี (Theoretical web of causation) ของปัญหาทีม
่ ี
คะแนนเป็นลําดับที่ 1
5. เขียนโครงการแก้ไขปัญหาลําดับที่ 1 ซึง่ ได้จากการจัดลําดับความสําคัญของปัญหาตามแบบฟอร์ม
ทีก
่ ําหนด
6. แสดงตัวอย่างการประเมินโครงการประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของโครงการ

หมายเหตุ : ข้ อ มู ล สถานการณ์ เ ป็ น เหตุ ก ารณ์ ส มมุ ติ เ ท่ า นั้ น อาจมี ก ารเปลี่ ย นแปลงตามความเหมาะสม


ขึน
้ อยู่กับดุลยพินิจของอาจารย์ทป
ี่ ร ึกษาประจํากลุ่ม
10

สถานการณ์ที่ 2 ชุมชนเมืองทิพย์

ข้ อ มู ล ทั่ ว ไป ชุ ม ชนเมื อ งทิ พ ย์ เ ป็ น ชุ ม ชนบ้ า นจัด สรร มี พื้ น ที่ ป ระมาณ 18 ไร่ ทิ ศ เหนื อ : ติ ด กั บ ชุ ม ชน
การเคหะทุ่งสองห้ อง ทิศใต้ : ติ ดกั บหมู่บ้านชวนชืน
่ ทิศตะวันออก: ติ ดกั บชุ มชนพินิจสิ นลออ ทิศตะวันตก:
ติ ดกั บหมู่ บ้านชวนชืน
่ บางเขน มี บ้านเร ือนทั้งหมด 154 หลังคาเร ือน สํ ารวจข้อมู ลสุ ขภาพชุ มชนได้ จาํ นวน
80 หลังคาเร ือน จากทั้งหมด 154 หลังคาเร ือน และสํารวจประชากรในชุ มชนได้ จาํ นวน 108 คน แบ่งเป็น
เพศชาย จํานวน 39 คน และเพศหญิง จํานวน 69 คน จากประชากรทั้งหมด 554 คน เส้ นทางคมนาคม
ของประชากรในชุมชนหลัก คือ การเดินทางบกโดยรถยนต์
ข้อมู ลประชากร เพศชาย อายุ 0 - 4 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 10 – 14 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 20 – 24 ปี
จํานวน 2 คน, อายุ 30 – 34 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 35 – 39 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 45 – 49 ปี จํานวน 2 คน
อ า ยุ 50 – 54 ปี จํ า น ว น 4 ค น อ า ยุ 55 – 59 ปี จํ า น ว น 3 ค น , อ า ยุ 60 – 64 ปี จํ า น ว น 9 ค น ,
อายุ 65 – 69 ปี จํานวน 4 คน, อายุ 70 – 74 ปี จํานวน 4 คน, อายุ 75 – 79 ปี จํานวน 3 คน, อายุ 80-84
ปี จํานวน 1 คน, อายุ 90 – 94 ปี จํานวน 1 คน เพศหญิง อายุ 0- 4 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 5- 9 ปี จํานวน
1 คน, อายุ 20 – 24 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 25 – 29 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 35 – 39 ปี จํานวน 1 คน, อายุ
40 – 44 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 45 – 49 ปี จํานวน 5 คน, อายุ 50 – 54 ปี จํานวน 7 คน, อายุ 55 – 59 ปี
จํา นวน 7 คน, อายุ 60 – 64 ปี จํา นวน 13 คน, อายุ 65 – 69 ปี จํา นวน 11 คน, อายุ 70 – 74 ปี จํา นวน
8 คน, อายุ 75 – 79 ปี จํานวน 5 คน, อายุ 80 – 84 ปี จํานวน 3 คน, อายุ 85 – 89 ปี จํานวน 1 คน, อายุ
90 – 94 ปี จํานวน 1 คน
สถานภาพโสด จํานวน 19 คน สมรส จํานวน 64 คน หม้าย จํานวน 16 คน แยกกั นอยู่ จํานวน 6 คน
หย่าร้าง จํานวน 3 คน
นับถือศาสนาพุทธ จํานวน 79 คน ศาสนาคร ิสต์ จํานวน 13 คน และศาสนาอิสลาม จํานวน 16 คน
ข้ อ มู ล ด้ า นเศรษฐกิ จ และสั ง คม อาศั ย ในบ้ า นของตนเอง จํา นวน 66 ครัว เร ือน อาศั ย ผู้ อื่ น จํา นวน 7
ครัวเร ือน บ้านเช่า จํานวน 7 ครัวเร ือน ประชาชนในชุมชนไม่ได้รบ
ั การศึกษา จํานวน 5 คน จบการศึกษาระดับ
ก่อนประถมศึกษา จํานวน 1 คน ระดับประถมศึกษา จํานวน 29 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จํานวน 16 คน
ระดั บมั ธยมศึ กษาตอนปลายหร ือ ปวช. จํานวน 34 คน อนุปร ิญญา/ปวส. จํานวน 9 คน ระดั บปร ิญญาตร ี
จํานวน 10 คน และยังไม่ถึงวัยเร ียน จํานวน 4 คน ประชากรว่างงาน จํานวน 62 คน ประกอบอาชีพรับจ้าง
จํานวน 15 คน อาชีพค้าขาย จํานวน 10 คน ข้าราชการ จํานวน 8 คน รัฐว ิสาหกิจ จํานวน 4 คน และลูกจ้าง
จํานวน 3 คน
ข้ อ มู ล ด้ า นสุ ข ภาพ ประชากรมี ค่ า ดั ช นี ม วลกาย (BMI) ในช่ว ง 18.5-22.9 กก./ม. 2 จํา นวน 24 คน
ช่ว ง 25.0-29.9 กก./ม. 2 จํา นวน 44 คน และอยู่ ใ นช่ว ง 23.0-24.9 กก./ม. 2 จํา นวน 24 คน ประชากร
ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จํานวน 41 คน โรคเบาหวาน จํานวน 14 คน และโรคไขมันในเลือดสูง จํานวน
21 คน และโรคอื่น ๆ จํานวน 12 คน
1 ปีที่ผ่านมาประชาชนในชุ มชนป่วยด้ วยโรคโคว ิด-19 จํานวน 88 คน และเคยได้ รบ
ั อุ บัติเหตุ จากการ
ทํางาน จํานวน 15 คน
ข้ อมู ลด้ า นพฤติ กรรมสุ ขภาพ ประชากรไม่ สูบบุ หร ี่ จํานวน 90 คน ไม่ ดื่มแอลกอฮอล์ จํานวน 73 คน
รับ ประทานรสเค็ ม จํา นวน 40 คน รับ ประทานอาหารรสหวาน จํา นวน 23 คน ประชากรออกกํ า ลั ง กาย
น้อยกว่า 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ จํานวน 64 คน และออกกําลังกายมากกว่า 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ จํานวน 11 คน
ข้ อ มู ล ด้ า นอนามั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม พบบ้ า นที่ มี อ ากาศถ่ า ยเทดี ไม่ อั บ ชื้ น จํ า นวน 66 ครัว เร ือน
ครัว เร ือนส่ ว นใหญ่ บ ร ิโภคน` า กรอง (เปลี่ ย นไส้ ก รองอย่ า งน้ อ ยทุ ก 6 เดื อน) จํ า นวน 55 ครัว เร ือน
11

บร ิโภคน` า ซื้อ จํา นวน 20 ครัวเร ือน และน` า กรอง (เปลี่ ย นไส้ กรองมากกว่ า 6 เดื อน) จํา นวน 5 ครัวเร ือน
สําหรับน`าใช้ทุกครัวเร ือนใช้น`าประปา พบสัตว์นําโรค เช่น ยุง จํานวน 58 ครัวเร ือน หนู จํานวน 33 ครัวเร ือน
แมลงสาบ จํานวน 43 ครัวเร ือน แมลงวัน จํานวน 29 ครัวเร ือน และงู จํานวน 11 ครัวเร ือน
ข้อมูลด้ านการบร ิการสุขภาพ ประชาชนมีสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า จํานวน 64 คน สิทธิประกันสังคม
จํานวน 21 คน ข้าราชการ จํานวน 22 คน และผู้พิการ จํานวน 1 คน ประชากรไม่ได้ รบ
ั การตรวจสุ ขภาพฟั น
และช่องปาก จํานวน 73 คน ประชากรได้รบ
ั การตรวจสุขภาพประจําปี จํานวน 50 คน ประชากรเพศหญิงอายุ
มากกว่ า 30 ปี ไม่ ไ ด้ ร บ
ั การตรวจมะเร็ง ปากมดลู ก จํา นวน 41 คน และไม่ ไ ด้ ร บ
ั การตรวจมะเร็ง เต้ า นม
จํานวน 30 คน

จากข้อมูลชุมชนข้างต้นจงแสดงข้อมูลดังต่อไปนี้

1. นําเสนอข้อมูลชุมชนในแต่ละด้านตามหลักการนําเสนอข้อมูล โดยเลือกรูปแบบการนําเสนอ
อย่างน้อยด้านละ 1 แผนภูมิ/ตาราง
2. แสดงการระบุปัญหาของชุมชนทัง้ หมดทีพ
่ บในสถานการณ์จาํ ลอง
3. ปร ึกษาหาร ือร่วมกันภายในกลุ่ม (Nominal Group Discussion) และเลือกปัญหาของชุมชน
จากสถานการณ์จาํ ลองมา 3 ปัญหา และจัดลําดับความสําคัญของปัญหา (Priority Setting)
พร้อมแสดงเหตุผลการให้คะแนนในแต่ละเกณฑ์ของการจัดลําดับของปัญหาทุกเกณฑ์
(คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาว ิทยาลัยมหิดล)
4. ทําการว ิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามทฤษฎี (Theoretical web of causation) ของปัญหาทีม
่ ี
คะแนนเป็นลําดับที่ 1
5. เขียนโครงการแก้ไขปัญหาลําดับที่ 1 ซึง่ ได้จากการจัดลําดับความสําคัญของปัญหาตามแบบฟอร์ม
ทีก
่ ําหนด
6. แสดงตัวอย่างการประเมินโครงการประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของโครงการ

หมายเหตุ : ข้ อ มู ล สถานการณ์ เ ป็ น เหตุ ก ารณ์ ส มมุ ติ เ ท่ า นั้ น อาจมี ก ารเปลี่ ย นแปลงตามความเหมาะสม


ขึน
้ อยู่กับดุลยพินิจของอาจารย์ทป
ี่ ร ึกษาประจํากลุ่ม
12

สถานการณ์ที่ 3 ชุมชนเคหะเคใจ

ข้อมูลทั่วไป ชุมชนเคหะเคใจ มีพื้นที่ประมาณ 9 ไร่ มีอาณาเขตทิศเหนือจรดแขวงดอนเมือง ทิศใต้ จรด


แขวงลาดยาว ทิศตะวันออกจรดแขวงตลาดบางเขน และทิศตะวันตกจรดเขตบางตลาด มีบ้านเร ือนทั้งหมด
143 หลั ง คาเร ือน ลงสํ า รวจชุ ม ชนได้ จ ํา นวน 58 หลั ง คาเร ือน จากทั้ ง หมด 143 หลั ง คาเร ือน และสํ า รวจ
ประชากรในชุ ม ชนได้ จ ํ า นวน 103 คน พบเพศหญิ ง จํ า นวน 69 คน จากประชากรทั้ ง หมด 332 คน
เส้นทางคมนาคมของประชากรในชุมชนหลัก คือ การเดินทางบกโดยรถยนต์
ข้อมูลประชากร เพศชาย อายุ 0 - 4 ปี จํานวน 3 คน, อายุ 10 – 14 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 15 – 19 ปี
จํา นวน 1 คน, อายุ 20 – 24 ปี จํา นวน 2 คน, อายุ 25 – 29 ปี จํา นวน 3 คน, อายุ 35 – 39 ปี จํา นวน
1 คน, อายุ 40 – 44 ปี จํา นวน 3 คน, อายุ 45 – 49 ปี จํา นวน 3 คน, อายุ 50 – 54 ปี จํา นวน 2 คน,
อายุ 55 – 59 ปี จํา นวน 4 คน, อายุ 60 – 64 ปี จํา นวน 3 คน, อายุ 70 – 74 ปี จํา นวน 4 คน และอายุ
75 – 79 ปี จํานวน 4 คน เพศหญิง อายุ 0- 4 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 10- 14 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 15 – 19
ปี จํานวน 3 คน, อายุ 20 – 24 ปี จํานวน 3 คน, อายุ 25 – 29 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 30 – 34 ปี จํานวน
1 คน, อายุ 35 – 39 ปี จํานวน 3 คน, อายุ 40 – 44 ปี จํานวน 3 คน, อายุ 45 – 49 ปี จํานวน 8 คน, อายุ
50 – 54 ปี จํานวน 6 คน, อายุ 55 – 59 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 60 – 64 ปี จํานวน 11 คน, อายุ 65 – 69 ปี
จํานวน 5 คน, อายุ 70 – 74 ปี จํานวน 9 คน, อายุ 75 – 79 ปี จํานวน 9 คน
สถานภาพโสด จํานวน 20 คน สมรส จํานวน 65 คน หม้าย จํานวน 9 คน แยกกันอยู่ จํานวน 5 คน
หย่าร้าง จํานวน 4 คน
นับถือศาสนาพุทธ จํานวน 78 คน ศาสนาคร ิสต์ จํานวน 10 คน และศาสนาอิสลาม จํานวน 15 คน
ข้อมูลด้ านเศรษฐกิจและสังคม อาศัยในบ้านของตนเอง จํานวน 45 ครัวเร ือน อาศัยผู้อื่น จํานวน 4
ครัว เร ือน บ้ านเช่า จํานวน 9 ครัว เร ือน ประชาชนในชุ มชนไม่ ไ ด้ รบ
ั การศึ กษา จํานวน 1 คน จบการศึ กษา
ก่อนประถมศึกษา จํานวน 3 คน ระดับประถมศึกษา จํานวน 31 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จํานวน 22 คน
ระดั บมั ธยมศึ กษาตอนปลายหร ือ ปวช. จํานวน 22 คน อนุปร ิญญา/ปวส. จํานวน 8 คน ระดั บปร ิญญาตร ี
จํานวน 11 คน และยังไม่ถึงวัยเร ียน จํานวน 5 คน พบประชากรว่างงาน/ไม่ประกอบอาชีพ จํานวน 50 คน
ประกอบอาชีพรับจ้าง จํานวน 11 คน อาชีพค้าขาย จํานวน 2 คน ข้าราชการ จํานวน 9 คน รัฐว ิสาหกิจ จํานวน
6 คน แม่บ้าน/พ่อบ้าน จํานวน 6 คน ประกอบธุรกิจส่วนตัว จํานวน 5 คน และลูกจ้าง จํานวน 14 คน
ข้ อ มู ล ด้ า นสุ ข ภาพ ประชากรมี ค่า ดั ชนี มวลกาย (BMI) ในช่ว ง 18.5-22.9 กก./ม. 2 จํา นวน 42 คน
ช่วง 25.0-29.9 กก./ม.2 จํานวน 34 คน และอยู่ในช่วง 23.0-24.9 กก./ม.2 จํานวน 18 คน ประชากรป่วย
ด้ วยโรคความดั นโลหิตสูง จํานวน 36 คน โรคเบาหวาน จํานวน 12 คน และโรคไขมันในเลือดสูง จํานวน 22
คน และโรคอื่น ๆ จํานวน 10 คน
1 ปีทผ
ี่ ่านมาประชาชนในชุมชนป่วยด้วยโรคโคว ิด-19 จํานวน 68 คน และเคยได้รบ
ั อุบัติเหตุจากการ
ทํางาน จํานวน 5 คน
ข้อมูลด้ านพฤติ กรรมสุขภาพ ประชากรไม่สูบบุหรจี่ าํ นวน 80 คน ไม่ดื่มแอลกอฮอล์ จํานวน 79 คน
รับ ประทานรสเค็ ม จํา นวน 30 คน รับ ประทานอาหารรสหวาน จํา นวน 33 คน ประชากรออกกํ า ลั ง กาย
น้อยกว่า 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ จํานวน 54 คน และออกกําลังกายมากกว่า 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ จํานวน 16 คน
ข้ อ มู ล ด้ า นอนามั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม พบบ้ า นที่ มี อ ากาศถ่ า ยเทดี ไม่ อั บ ชื้น จํา นวน 49 ครัว เร ือน
ครัวเร ือนส่วนใหญ่บร ิโภคน`ากรอง (เปลี่ยนไส้กรองอย่างน้อยทุก 6 เดื อน) จํานวน 48 ครัวเร ือน บร ิโภคน`า
ซือ
้ จํานวน 7 ครัวเร ือน และน`ากรอง (เปลี่ยนไส้ กรองมากกว่า 6 เดื อน) จํานวน 3 ครัวเร ือน สํ าหรับน`าใช้
13

ทุกครัวเร ือนใช้น`าประปา พบสัตว์นําโรค เช่น ยุง จํานวน 48 ครัวเร ือน หนู จํานวน 38 ครัวเร ือน แมลงสาบ
จํานวน 39 ครัวเร ือน แมลงวัน จํานวน 49 ครัวเร ือน และงู จํานวน 6 ครัวเร ือน
ิ า ร สุ ข ภ า พ ประ ชา ชนมี สิ ทธิ ป ระ กั นสุ ขภาพถ้ วนหน้ า จํ า นวน 60 คน
ข้ อ มู ล ด้ า น ก า ร บ ร ก
สิ ท ธิป ระกั น สั ง คม จํา นวน 29 คน ข้ า ราชการ จํา นวน 14 คน ประชากรไม่ ไ ด้ ร บ
ั การตรวจสุ ข ภาพฟั น
และช่องปาก จํานวน 37 คน ประชากรได้ รบ
ั การตรวจสุ ขภาพประจําปี จํานวน 50 คน ประชากรเพศหญิง
อายุ มากกว่า 30 ปี ไม่ได้ รบ
ั การตรวจมะเร็งปากมดลูก จํานวน 15 คน และไม่ได้ รบ
ั การตรวจมะเร็งเต้ านม
จํานวน 36 คน

จากข้อมูลชุมชนข้างต้นจงแสดงข้อมูลดังต่อไปนี้

1. นําเสนอข้อมูลชุมชนในแต่ละด้านตามหลักการนําเสนอข้อมูล โดยเลือกรูปแบบการนําเสนอ
อย่างน้อยด้านละ 1 แผนภูมิ/ตาราง
2. แสดงการระบุปัญหาของชุมชนทัง้ หมดทีพ
่ บในสถานการณ์จาํ ลอง
3. ปร ึกษาหาร ือร่วมกันภายในกลุ่ม (Nominal Group Discussion) และเลือกปัญหาของชุมชน
จากสถานการณ์จาํ ลองมา 3 ปัญหา และจัดลําดับความสําคัญของปัญหา (Priority Setting)
พร้อมแสดงเหตุผลการให้คะแนนในแต่ละเกณฑ์ของการจัดลําดับของปัญหาทุกเกณฑ์
(คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาว ิทยาลัยมหิดล)
4. ทําการว ิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามทฤษฎี (Theoretical web of causation) ของปัญหาทีม
่ ี
คะแนนเป็นลําดับที่ 1
5. เขียนโครงการแก้ไขปัญหาลําดับที่ 1 ได้จากการจัดลําดับความสําคัญของปัญหาตามแบบฟอร์ม
ทีก
่ ําหนด
6. แสดงตัวอย่างการประเมินโครงการประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของโครงการ

หมายเหตุ : ข้ อ มู ล สถานการณ์ เ ป็ น เหตุ ก ารณ์ ส มมุ ติ เ ท่ า นั้ น อาจมี ก ารเปลี่ ย นแปลงตามความเหมาะสม


ขึน
้ อยู่กับดุลยพินิจของอาจารย์ทป
ี่ ร ึกษาประจํากลุ่ม
14

สถานการณ์ที่ 4 ชุมชนร่วมใจ

ข้อมูลทัว่ ไป ชุมชนร่วมใจเป็นชุมชนเมืองร ิมคลองมีพื้นทีป


่ ระมาณ 10 ไร่ อาณาเขตชุมชนทิศเหนือ: ติดต่อ
กับชุมชนร่วมมิตรแรงศรัทธา ทิศใต้ : ติ ดต่ อกับสะพานประดิ ษฐ์กลการ แจ้งวัฒนะ ทิศตะวันออก: ติ ดต่ อกับ
คลองบางเขน ทิศตะวันตก: ติดต่อกับทีด
่ ินของกองทัพอากาศและทีด
่ ินส่วนบุคคล ถนนว ิภาวดีรงั สิต มีจาํ นวน
ครัวเร ือน 185 หลังคาเร ือน  เป็นบ้านเดี่ยว จํานวน 85 หลังคาเร ือน บ้านทาวน์เฮาส์ จํานวน50 หลังคาเร ือน
บ้านเร ือนแถว จํานวน 50 หลังคาเร ือน ร้านขายของชํา จํานวน 5 แห่ง ร้านขายอาหารและเครอื่ งดื่ม จํานวน
2 แห่ ง อาคารส่ วนกลางชุ มชน จํานวน 1 แห่ ง บร ิเวณเร ือเทียบท่า จํานวน 4 แห่ ง ลานทํากิ จกรรมชุ มชน
จํานวน 1 แห่ ง ตู้ กดน`าดื่ ม จํานวน 4 แห่ ง สํ ารวจบ้านเร ือนได้ จาํ นวน 49 หลังคาเร ือน สํ ารวจประชากรใน
ชุมชนได้จาํ นวน 173 คน แบ่งเป็นเพศชาย จํานวน 64 คน และเพศหญิง จํานวน 109 คน
ข้อมูลประชากร เพศชาย อายุ 0 - 4 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 15- 19 ปี จํานวน 5 คน, อายุ 20 – 24 ปี
จํานวน 5 คน, อายุ 25 – 29 ปี จํานวน 5 คน, อายุ 30 – 34 ปี จํานวน 3 คน, อายุ 35 – 39 ปี จํานวน 3
คน, อายุ 45 – 49 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 50 – 54 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 55 – 59 ปี จํานวน 6 คน, อายุ 60
– 64 ปี จํานวน 7 คน, อายุ 65 – 69 ปี จํานวน 10 คน, อายุ 70 – 74 ปี จํานวน 10 คน, อายุ 80 ปี จํานวน
2 คน, อายุ 85 ปี จํานวน 3 คน เพศหญิง อายุ 0- 4 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 15 – 19 ปี จํานวน 20 คน, อายุ
20 – 24 ปี จํานวน 13 คน, อายุ 25 – 29 ปี จํานวน 10 คน, อายุ 30 – 34 ปี จํานวน 5 คน, อายุ 35 – 39
ปี จํานวน 10 คน, อายุ 40 – 44 ปี จํานวน 12 คน, อายุ 45 – 49 ปี จํานวน 17 คน, อายุ 50 – 54 ปี จํานวน
8 คน, อายุ 55 – 59 ปี จํานวน 8 คน, อายุ 60 – 64 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 65 – 69 ปี จํานวน 1 คน, อายุ
70 – 74 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 75 – 80 ปี จํานวน 1 คน
สถานภาพโสด จํานวน 55 คน สมรส จํานวน 83 คน หม้าย จํานวน 20 คน แยกกันอยู่ จํานวน 10 คน
หย่าร้าง จํานวน 5 คน
นับถือศาสนาพุทธ จํานวน 98 คน ศาสนาคร ิสต์ จํานวน 20 คน และศาสนาอิสลาม จํานวน 55 คน
ข้ อ มู ล ด้ า นเศรษฐกิ จ และสั ง คม อาศั ย ในบ้ า นของตนเอง จํา นวน 35 ครัว เร ือน อาศั ย ผู้ อื่ น จํา นวน 2
ครัวเร ือน บ้านเช่า จํานวน 12 ครัวเร ือน ประชาชนในชุมชนไม่ได้รบ
ั การศึกษา จํานวน 13 คน จบการศึกษาชัน

อนุบาล จํานวน 3 คน ระดั บประถมศึ กษา จํานวน 63 คน ระดั บมัธยมศึ กษาตอนต้ น จํานวน 35 คน ระดั บ
มัธยมศึกษาตอนปลายหร ือ ปวช. จํานวน 40 คน ระดั บปร ิญญาตร ี จํานวน 18 คน ระดั บปร ิญญาโท จํานวน
1 คน เกษียณ/ประชากรว่างงาน จํานวน 47 คน นักเร ียน/นักศึกษา จํานวน 8 ประกอบอาชีพค้าขาย จํานวน
จํานวน 39 คน แม่บ้าน/พ่อบ้าน จํานวน 14 คน ข้าราชการ จํานวน 4 คน และอาชีพรับจ้าง จํานวน 61 คน
ข้ อ มู ล ด้ า นสุ ข ภาพ ประชากรมี ค่ า ดั ช นี ม วลกาย (BMI) ในช่ว ง 18.5-22.9 กก./ม. 2 จํา นวน 18 คน
ช่วง 25.0-29.9 กก./ม.2 จํานวน 15 คน และอยู่ในช่วง 23.0-24.9 กก./ม.2 จํานวน 20 คน ประชากรป่วยด้วย
โรคความดันโลหิตสูง จํานวน 33 คน โรคเบาหวาน จํานวน 18 คน และโรคไขมันในเลือดสูง จํานวน 16 คน
1 ปีที่ผ่านมาประชาชนในชุ มชนป่วยด้ วยโรคโคว ิด-19 จํานวน 80 คน และเคยได้ รบ
ั อุ บัติเหตุ จากการ
ทํางาน จํานวน 3 คน
ข้ อ มู ล ด้ า นพฤติ ก รรมสุ ข ภาพ ประชากรสู บ บุ ห ร ี่ จํา นวน 55 คน ไม่ ดื่ ม แอลกอฮอล์ จํา นวน 90 คน
รับประทานรสเค็ม จํานวน 48 คน รับประทานอาหารรสหวาน จํานวน 42 คน ออกกําลังกายน้อยกว่า 3 ครัง้
ต่อสัปดาห์ จํานวน 69 คน และออกกําลังกายมากกว่า 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ จํานวน 25 คน
ข้อมูลด้ านอนามัยและสิ่งแวดล้อม พบบ้านที่มีอากาศถ่ายเทดี ไม่อับชืน
้ จํานวน 41 ครัวเร ือน ครัวเร ือน
ส่วนใหญ่บร ิโภคน`ากรอง (เปลี่ยนไส้กรองอย่างน้อยทุก 6 เดื อน) จํานวน 30 ครัวเร ือน บร ิโภคน`าซือ
้ จํานวน
15 ครัวเร ือน และน`ากรอง (เปลี่ยนไส้กรองมากกว่า 6 เดื อน) จํานวน 4 ครัวเร ือน สําหรับน`าใช้ทุกครัวเร ือน
15

ใช้น`าประปา พบสั ตว์นําโรค เช่น ยุง จํานวน 48 ครัวเร ือน หนู จํานวน 35 ครัวเร ือน แมลงสาบ จํานวน 38
ครัวเร ือน แมลงวัน จํานวน 43 ครัวเร ือน และงู จํานวน 2 ครัวเร ือน
ข้ อ มู ล ด้ า นการบร ิการสุ ข ภาพ ประชาชนมี สิ ท ธิป ระกั น สั ง คม จํา นวน 61 คน และข้ า ราชการ/สิ ท ธิ
รัฐว ิสาหกิ จ จํานวน 12 คน ประชากรไม่ ได้ รบ
ั การตรวจสุ ขภาพฟั นและช่องปาก จํานวน 80 คน ประชากร
ได้รบ
ั การตรวจสุขภาพประจําปี จํานวน 70 คน ประชากรเพศหญิงอายุมากกว่า 35 ปี ไม่ได้รบ
ั การตรวจมะเร็ง
ปากมดลูก จํานวน 15 คน และไม่ได้รบ
ั การตรวจมะเร็งเต้านม จํานวน 15 คน

จากข้อมูลชุมชนข้างต้นจงแสดงข้อมูลดังต่อไปนี้

1. นําเสนอข้อมูลชุมชนในแต่ละด้านตามหลักการนําเสนอข้อมูล โดยเลือกรูปแบบการนําเสนอ
อย่างน้อยด้านละ 1 แผนภูมิ/ตาราง
2. แสดงการระบุปัญหาของชุมชนทัง้ หมดทีพ
่ บในสถานการณ์จาํ ลอง
3. ปร ึกษาหาร ือร่วมกันภายในกลุ่ม (Nominal Group Discussion) และเลือกปัญหาของชุมชนจาก
สถานการณ์จาํ ลองมา 3 ปัญหา และจัดลําดับความสําคัญของปัญหา (Priority Setting)
พร้อมแสดงเหตุผลการให้คะแนนในแต่ละเกณฑ์ของการจัดลําดับของปัญหาทุกเกณฑ์
(คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาว ิทยาลัยมหิดล)
4. ทําการว ิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามทฤษฎี (Theoretical web of causation) ของปัญหาทีม
่ ี
คะแนนเป็นลําดับที่ 1
5. เขียนโครงการแก้ไขปัญหาลําดับที่ 1 ได้จากการจัดลําดับความสําคัญของปัญหาตามแบบฟอร์ม
ทีก
่ ําหนด
6. แสดงตัวอย่างการประเมินโครงการประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของโครงการ

หมายเหตุ : ข้อมูลสถานการณ์เป็นเหตุการณ์สมมุติเท่านั้นอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสมขึ้นอยู่
กับดุลยพินิจของอาจารย์ทป
ี่ ร ึกษาประจํากลุ่ม
16

สถานการณ์ที่ 5 ชุมชนสามัคคี

ข้อมูลทั่วไป ชุ มชนสามัคคี เป็นชุ มชนเมืองมีพื้นที่ประมาณ 37 ไร่ พื้นที่ด้านทิศเหนื อติ ดกั บชุ มชนโกสุ ม
ร่วมใจ 2 ด้านทิศใต้ติดกับหมู่บ้านเจร ิญสุข ด้านทิศตะวันออกติดกับหมู่บ้านเกิดใหม่ ด้านทิศตะวันตกติดกับ
หมู่ บ้ า นสราญรมณ์ มี จ ํ า นวนครัว เร ือน 441 หลั ง คาเร ือน  เป็ น บ้ า นเดี่ ย ว จํ า นวน 285 หลั ง คาเร ือน
บ้านทาวน์เฮาส์ จํานวน 100 หลังคาเร ือน บ้านเร ือนแถว จํานวน 56 หลังคาเร ือน ร้านขายของชํา จํานวน 10
แห่ ง ร้า นขายอาหารและเคร อื่ งดื่ ม จํา นวน 7 แห่ ง สํ า รวจบ้ า นเร ือนได้ จ ํา นวน 116 หลั ง คาเร ือน สํ า รวจ
ประชากรในชุมชนได้จาํ นวน 160 คน แบ่งเป็นเพศชาย จํานวน 62 คน และเพศหญิง จํานวน 98 คน
ข้อมูลประชากร เพศชาย อายุ 0 - 4 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 15- 19 ปี จํานวน 5 คน, อายุ 20 – 24 ปี
จํานวน 5 คน, อายุ 25 – 29 ปี จํานวน 5 คน, อายุ 30 – 34 ปี จํานวน 3 คน, อายุ 35 – 39 ปี จํานวน 3
คน, อายุ 45 – 49 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 50 – 54 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 55 – 59 ปี จํานวน 6 คน, อายุ 60
– 64 ปี จํานวน 5 คน, อายุ 65 – 69 ปี จํานวน 10 คน, อายุ 70 – 74 ปี จํานวน 10 คน, อายุ 80 ปี จํานวน
2 คน, อายุ 85 ปี จํานวน 3 คน เพศหญิง อายุ 0- 4 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 15 – 19 ปี จํานวน 20 คน, อายุ
20 – 24 ปี จํานวน 13 คน, อายุ 25 – 29 ปี จํานวน 10 คน, อายุ 30 – 34 ปี จํานวน 5 คน, อายุ 35 – 39
ปี จํานวน 10 คน, อายุ 40 – 44 ปี จํานวน 7 คน, อายุ 45 – 49 ปี จํานวน 13 คน, อายุ 50 – 54 ปี จํานวน
8 คน, อายุ 55 – 59 ปี จํานวน 6 คน, อายุ 60 – 64 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 65 – 69 ปี จํานวน 1 คน, อายุ
70 – 74 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 75 – 80 ปี จํานวน 1 คน
สถานภาพโสด จํานวน 57 คน สมรส จํานวน 63 คน หม้าย จํานวน 25 คน แยกกันอยู่ จํานวน 10 คน
หย่าร้าง จํานวน 5 คน
นับถือศาสนาพุทธ จํานวน 110 คน ศาสนาคร ิสต์ จํานวน 20 คน และศาสนาอิสลาม จํานวน 30 คน
ข้ อมู ลด้ านเศรษฐกิ จและสั งคม อาศั ยในบ้านของตนเอง จํานวน 88 ครัวเร ือน อาศั ยผู้ อื่น จํานวน 11
ครัวเร ือน บ้านเช่า จํานวน 17 ครัวเร ือน ประชาชนในชุมชนจบการศึ กษาตaากว่าประถมศึ กษา จํานวน 11 คน
ระดั บประถมศึ กษา จํานวน 75 คน ระดั บมัธยมศึ กษาตอนต้ น จํานวน 17 คน และระดั บมัธยมศึ กษาตอน
ปลายหร ือ ปวช. จํานวน 28 คน ระดั บอนุปร ิญญา จํานวน 11 คน ระดั บปร ิญญาตร ี จํานวน 9 คน ไม่ได้ รบ

การศึกษา จํานวน 9 คน พบประชาชนในชุมชนว่างงาน จํานวน 59 คน ประกอบอาชีพค้าขาย จํานวน 30 คน
แม่บ้าน/พ่อบ้าน จํานวน 2 คน รับจ้างทั่วไป จํานวน 17 คน กําลังศึกษาเล่าเร ียน จํานวน 9 คน ลูกจ้างประจํา
จํานวน 9 คน ข้าราชการ จํานวน 7 คน รัฐวสิ าหกิ จ จํานวน 7 คน ธุรกิ จส่ วนตั ว จํานวน 19 คน และอื่ น ๆ
จํานวน 2 คน
ข้ อ มู ล ด้ า นสุ ข ภาพ ประชากรมี ค่ า ดั ช นี ม วลกาย (BMI) ในช่ว ง 18.5-22.9 กก./ม. 2 จํา นวน 70 คน
ช่วง 25.0-29.9 กก./ม.2 จํานวน 56 คน และอยู่ในช่วง 23.0-24.9 กก./ม.2 จํานวน 15 คน ประชากรป่วย
ด้ วยโรคความดั นโลหิตสูง จํานวน 49 คน โรคเบาหวาน จํานวน 25 คน และโรคไขมันในเลือดสูง จํานวน 21
คน
1 ปีที่ผ่านมาประชาชนในชุ มชนป่วยด้ วยโรคโคว ิด-19 จํานวน 90 คน และเคยได้ รบ
ั อุ บัติเหตุ จากการ
ทํางาน จํานวน 2 คน
ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ ประชากรสูบบุหร ี่ จํานวน 18 คน ดื่มแอลกอฮอล์ จํานวน 41 คน รับประทาน
รสเค็ม จํานวน 40 คน รับประทานอาหารรสหวาน จํานวน 37 คน ออกกําลังกายน้อยกว่า 3 ครัง้ ต่ อสัปดาห์
จํานวน 69 คน
ข้อมูลด้านอนามัยและสิ่งแวดล้อม พบบ้านที่มีอากาศถ่ายเทดี ไม่อับชืน
้ จํานวน 114 ครัวเร ือน ครัวเร ือน
ส่วนใหญ่บร ิโภคน`ากรอง (เปลี่ยนไส้กรองอย่างน้อยทุก 6 เดื อน) จํานวน 90 ครัวเร ือน บร ิโภคน`าซือ
้ จํานวน
17

20 ครัวเร ือน และน`ากรอง (เปลี่ยนไส้กรองมากกว่า 6 เดื อน) จํานวน 6 ครัวเร ือน สําหรับน`าใช้ทุกครัวเร ือน
ใช้น`าประปา พบสัตว์นําโรค เช่น ยุง จํานวน 98 ครัวเร ือน หนู จํานวน 30 ครัวเร ือน แมลงสาบ จํานวน 47
ครัวเร ือน แมลงวัน จํานวน 56 ครัวเร ือน และงู จํานวน 5 ครัวเร ือน

ข้อมู ลด้ านการบร ิการสุ ขภาพ ประชาชนใช้สิทธิบัตรทอง จํานวน 83 คน สิ ทธิประกั นสั งคม จํานวน 61 คน
และข้าราชการ/สิทธิรฐั ว ิสาหกิจ จํานวน 16 คน ประชากรไม่ได้ รบ
ั การตรวจสุขภาพฟันและช่องปาก จํานวน
30 คน ประชากรได้ ร บ
ั การตรวจสุ ข ภาพประจํา ปี จํา นวน 70 คน ประชากรเพศหญิ ง อายุ ม ากกว่ า 35 ปี
ไม่ได้รบ
ั การตรวจมะเร็งปากมดลูก จํานวน 25 คน และไม่ได้รบ
ั การตรวจมะเร็งเต้านม จํานวน 12 คน

จากข้อมูลชุมชนข้างต้นจงแสดงข้อมูลดังต่อไปนี้

1. นําเสนอข้อมูลชุมชนในแต่ละด้านตามหลักการนําเสนอข้อมูล โดยเลือกรูปแบบการนําเสนอ
อย่างน้อยด้านละ 1 แผนภูมิ/ตาราง
2. แสดงการระบุปัญหาของชุมชนทัง้ หมดทีพ
่ บในสถานการณ์จาํ ลอง
3. ปร ึกษาหาร ือร่วมกันภายในกลุ่ม (Nominal Group Discussion) และเลือกปัญหาของชุมชนจาก
สถานการณ์จาํ ลองมา 3 ปัญหา และจัดลําดับความสําคัญของปัญหา (Priority Setting)
พร้อมแสดงเหตุผลการให้คะแนนในแต่ละเกณฑ์ของการจัดลําดับของปัญหาทุกเกณฑ์
(คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาว ิทยาลัยมหิดล)
4. ทําการว ิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามทฤษฎี (Theoretical web of causation) ของปัญหาทีม
่ ี
คะแนนเป็นลําดับที่ 1
5. เขียนโครงการแก้ไขปัญหาลําดับที่ 1 ได้จากการจัดลําดับความสําคัญของปัญหาตามแบบฟอร์ม
ทีก
่ ําหนด
6. แสดงตัวอย่างการประเมินโครงการประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของโครงการ

หมายเหตุ : ข้อมูลสถานการณ์เป็นเหตุการณ์สมมุติเท่านั้นอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสมขึ้นอยู่
กับดุลยพินิจของอาจารย์ทป
ี่ ร ึกษาประจํากลุ่ม
18

สถานการณ์ที่ 6 ชุมชนสุขใจ

ข้ อมู ลทั่วไป ชุ มชนสุ ขใจเป็นชุ มชนเมื อง มี พื้นที่ประมาณ 57 ไร่ พื้ นที่ด้านทิศเหนื อติ ดกั บวัดพรมรังษี
ด้านทิศใต้ติดกับหมู่บ้านโกสุมสามัคคี ด้านทิศตะวันออกติดกับหมู่บ้านธารดา ด้านทิศตะวันตกติดกับหมู่บ้าน
บูรพา มีจาํ นวนครัวเร ือน 1,005 หลังคาเร ือน สํารวจได้ จาํ นวน 95 หลังคาเร ือน เป็นบ้านเดี่ ยว จํานวน 60
หลังคาเร ือน บ้านทาวน์เฮาส์ จํานวน 28 หลังคาเร ือน บ้านเร ือนแถว จํานวน 7 หลังคาเร ือน ร้านขายของชํา
จํานวน 11 แห่ ง ร้านขายอาหารและเครอื่ งดื่ ม จํานวน 7 แห่ ง สํ ารวจประชากรในชุ มชนได้ จาํ นวน 153 คน
แบ่งเป็นเพศชาย จํานวน 62 คน และเพศหญิง จํานวน 91 คน
ข้อมูลประชากร เพศชาย อายุ 0 - 4 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 15- 19 ปี จํานวน 5 คน, อายุ 20 – 24 ปี
จํานวน 5 คน, อายุ 25 – 29 ปี จํานวน 5 คน, อายุ 30 – 34 ปี จํานวน 3 คน, อายุ 35 – 39 ปี จํานวน 3
คน, อายุ 45 – 49 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 50 – 54 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 55 – 59 ปี จํานวน 6 คน, อายุ 60
– 64 ปี จํานวน 5 คน, อายุ 65 – 69 ปี จํานวน 10 คน, อายุ 70 – 74 ปี จํานวน 10 คน, อายุ 80 ปี จํานวน
2 คน, อายุ 85 ปี จํานวน 3 คน เพศหญิง อายุ 0- 4 ปี จํานวน 2 คน, อายุ 15 – 19 ปี จํานวน 20 คน, อายุ
20 – 24 ปี จํานวน 13 คน, อายุ 25 – 29 ปี จํานวน 10 คน, อายุ 30 – 34 ปี จํานวน 5 คน, อายุ 35 – 39
ปี จํานวน 10 คน, อายุ 40 – 44 ปี จํานวน 7 คน, อายุ 45 – 49 ปี จํานวน 6 คน, อายุ 50 – 54 ปี จํานวน 8
คน, อายุ 55 – 59 ปี จํานวน 6 คน, อายุ 60 – 64 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 65 – 69 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 70
– 74 ปี จํานวน 1 คน, อายุ 75 – 80 ปี 1 คน
สถานภาพโสด จํานวน 37 คน สมรส จํานวน 65 คน หม้าย จํานวน 25 คน แยกกันอยู่ จํานวน 15 คน
หย่าร้าง จํานวน 11 คน
นับถือศาสนาพุทธ จํานวน 98 คน ศาสนาคร ิสต์ จํานวน 35 คน ศาสนาอิสลาม จํานวน 20 คน
ข้อมู ลด้ านเศรษฐกิ จและสั งคม อาศั ยในบ้านของตนเอง จํานวน 62 ครัวเร ือน อาศั ยผู้ อื่น จํานวน 15
ครัวเร ือน บ้านเช่า จํานวน 18 ครัวเร ือน ประชาชนในชุมชนจบการศึกษาตaากว่าประถมศึกษา จํานวน 20 คน
ระดั บประถมศึ กษา จํานวน 70 คน ระดั บมัธยมศึ กษาตอนต้ น จํานวน 10 คน ระดั บมัธยมศึ กษาตอนปลาย
หร ือ ปวช. จํานวน 20 คน ระดั บอนุปร ิญญา จํานวน 10 คน ระดั บปร ิญญาตร ี จํานวน 10 คน และไม่ได้ รบ

การศึกษา จํานวน 3 คน พบประชาชนในชุมชนว่างงาน จํานวน 30 คน ประกอบอาชีพค้าขาย จํานวน 30 คน
แม่ บ้ า น/พ่ อ บ้ า น จํ า นวน 20 คน รับ จ้ า งทั่ ว ไป จํ า นวน 15 คน กํ า ลั ง ศึ ก ษาเล่ า เร ียน จํ า นวน 10 คน
ลูกจ้างประจํา จํานวน 15 คน รับราชการ จํานวน 10 คน รัฐว ิสาหกิจ จํานวน 10 คน ธุรกิจส่วนตั ว จํานวน 10
คน อื่น ๆ จํานวน 3 คน
ข้ อ มู ล ด้ า นสุ ข ภาพ ประชากรมี ค่ า ดั ช นี ม วลกาย (BMI) ในช่ ว ง 18.5-22.9 kg/m2 จํ า นวน 34 คน
ช่วง 25.0-29.9 kg/m2 จํานวน 15 คน และอยู่ในช่วง 23.0-24.9 kg/m2 จํานวน 30 มากกว่า 30.0 kg/m2
จํานวน 17 คน น้อยกว่า 18.5 kg/m2 จํานวน 5 คน ประชากรป่วยด้ วยโรคความดั นโลหิตสูง จํานวน 37 คน
โรคเบาหวาน จํานวน 19 คน และโรคไขมันในเลือดสูง จํานวน 26 คน
1 ปีที่ผ่านมาประชาชนในชุ มชนป่วยด้ วยโรคโคว ิด-19 จํานวน 100 คน และเคยได้ รบ
ั อุบัติเหตุ จากการ
ทํางาน จํานวน 1 คน
ข้ อ มู ล ด้ า นพฤติ ก รรมสุ ข ภาพ ประชากรสู บ บุ ห ร ี่ จํ า นวน 12 คน ดื่ ม แอลกอฮอล์ จํ า นวน 24 คน
รับประทานรสเค็ม จํานวน 40 คน รับประทานอาหารรสหวาน จํานวน 76 คน ออกกําลังกายน้อยกว่า 3 ครัง้
ต่อสัปดาห์ จํานวน 70 คน
ข้อมูลด้ านอนามัยและสิ่งแวดล้อม พบบ้านที่มีอากาศถ่ายเทดี ไม่อับชืน
้ จํานวน 88 ครัวเร ือน ครัวเร ือน
ส่วนใหญ่บร ิโภคน`ากรอง (เปลี่ยนไส้กรองอย่างน้อยทุก 6 เดื อน) จํานวน 80 ครัวเร ือน บร ิโภคน`าซือ
้ จํานวน
19

10 ครัวเร ือน และน`ากรอง (เปลี่ยนไส้กรองมากกว่า 6 เดื อน) จํานวน 5 ครัวเร ือน สําหรับน`าใช้ทุกครัวเร ือน
ใช้น`าประปา พบสัตว์นําโรค เช่น ยุง จํานวน 38 ครัวเร ือน หนู จํานวน 33 ครัวเร ือน แมลงสาบ จํ า น ว น 44
ครัวเร ือน แมลงวัน จํานวน 40 ครัวเร ือน และ งู จํานวน 52 ครัวเร ือน
ข้อมูลด้ านการบร ิการสุ ขภาพ ประชาชนใช้สิทธิบัตรทอง จํานวน 107 คน สิ ทธิประกั นสั งคม จํานวน 17
คน และข้ า ราชการ/สิ ท ธิร ฐั ว สิ าหกิ จ จํา นวน 29 คน ประชากรไม่ ไ ด้ ร บ
ั การตรวจสุ ข ภาพฟั น และช่อ งปาก
จํานวน 45 คน ประชากรได้รบ
ั การตรวจสุขภาพประจําปี จํานวน 80 คน ประชากรเพศหญิงอายุมากกว่า 35
ปี ไม่ได้รบ
ั การตรวจมะเร็งปากมดลูก จํานวน 15 คน ไม่ได้รบ
ั การตรวจมะเร็งเต้านม จํานวน 12 คน

จากข้อมูลชุมชนข้างต้นจงแสดงข้อมูลดังต่อไปนี้

1. นําเสนอข้อมูลชุมชนในแต่ละด้านตามหลักการนําเสนอข้อมูล โดยเลือกรูปแบบการนําเสนอ
อย่างน้อยด้านละ 1 แผนภูมิ/ตาราง
2. แสดงการระบุปัญหาของชุมชนทัง้ หมดทีพ
่ บในสถานการณ์จาํ ลอง
3. ปร ึกษาหาร ือร่วมกันภายในกลุ่ม (Nominal Group Discussion) และเลือกปัญหาของชุมชนจาก
สถานการณ์จาํ ลองมา 3 ปัญหา และจัดลําดับความสําคัญของปัญหา (Priority Setting)
พร้อมแสดงเหตุผลการให้คะแนนในแต่ละเกณฑ์ของการจัดลําดับของปัญหาทุกเกณฑ์
(คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาว ิทยาลัยมหิดล)
4. ทําการว ิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามทฤษฎี (Theoretical web of causation) ของปัญหาทีม
่ ี
คะแนนเป็นลําดับที่ 1
5. เขียนโครงการแก้ไขปัญหาลําดับที่ 1 ได้จากการจัดลําดับความสําคัญของปัญหาตามแบบฟอร์ม
ทีก
่ ําหนด
6. แสดงตัวอย่างการประเมินโครงการประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของโครงการ

หมายเหตุ : ข้ อ มู ล สถานการณ์ เ ป็ น เหตุ ก ารณ์ ส มมุ ติ เ ท่ า นั้ น อาจมี ก ารเปลี่ ย นแปลงตามความเหมาะสม


ขึน
้ อยู่กับดุลยพินิจของอาจารย์ทป
ี่ ร ึกษาประจํากลุ่ม

20

ตารางเกณฑ์การให้คะแนนการว ิเคราะห์สถานการณ์กระบวนการพยาบาลชุมชน (รายกลุ่ม)


รายว ิชา พยชช 82121 การพยาบาลสุขภาพชุมชน ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2565
ภาคว ิชาการพยาบาลชุมชน ว ิทยาลัยพยาบาลศาสตร์อัครราชกุมาร ี
กลุ่มที่ …………………………………………………

นJาหนัก ระดับคะแนน คะแนนทีไ่ ด้


หัวข้อการประเมิน
คะแนน X ค่านJาหนัก
4 3 2 1

1. การนําเสนอข้อมูลครบถ้วน ได้แก่ นําเสนอ นําเสนอ นําเสนอ นําเสนอครบ


- ทัว
่ ไปของชุมชน ข้อมูลครบ ครบ ครบ น้อยกว่า
- ข้อมูลด้านประชากร ≥ ร้อยละ 80 ร้อยละ ร้อยละ 60 - ร้อยละ 59
- ข้อมูลด้านเศรษฐกิจสังคม 2 70 - 79 69 ของ ของข้อมูล
- ข้อมูลสุขภาพ ของข้อมูล ข้อมูล
- ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ
- ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
- ข้อมูลด้านบร ิการสุขภาพ
2. เลือกว ิธีการนําเสนอข้อมูลได้เหมาะสมดังนี้ นําเสนอได้ นําเสนอได้ นําเสนอได้ นําเสนอได้
- การนําเสนอข้อมูลด้วยข้อความ: สั้น ไม่ซบ
ั ซ้อน ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้อง ถูกต้องน้อย
- ตาราง: ประกอบด้วย ลําดับตาราง ชือ
่ ตาราง หัวข้อตาราง ตัวเลขค่าสถิติ ≥ ร้อยละ 80 ร้อยละ ร้อยละ กว่าร้อยละ
2
- กราฟเส้น: นําเสนอค่าสถิติกับเวลา ของข้อมูล 70 - 79 60 - 69 59
- กราฟแท่ง: ข้อมูลแยกกันเพื่อเปร ียบเทียบ เร ียงลําดับความมากน้อย ของข้อมูล ของข้อมูล
- แผนภูมิวงกลม: นําเสนอข้อมูลไม่เกิน 5 กลุ่มสถิติ ไม่ใกล้เคียงกัน โดย
เรมิ่ ต้นจํานวนสถิติค่ามากทีส
่ ุดเว ียนจากขวามาซ้ายมือ
21

นJาหนัก ระดับคะแนน คะแนนทีไ่ ด้


หัวข้อการประเมิน
คะแนน X ค่านJาหนัก
4 3 2 1

- ปิรามิดประชากร : นําเสนออายุประชาชนในชุมชนโดย นําเสนอข้อมูลเรมิ่


จาก 0 – 4 ปี ช่วงกลุ่มอายุ 5 ปี
- ทุกแผนภูมิ และกราฟต้องมีชอ
ื่ แผนภูมิ จํานวน n
3. ระบุปัญหาของชุมชนได้ถูกต้อง ระบุปัญหา ระบุปัญหา ระบุปัญหา ระบุปัญหา
- มีการแสดงว ิธีการระบุปัญหาอย่างน้อย 1 อย่างตามหลักการดังต่อไปนี้ ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
1. การเทียบเกณฑ์มาตรฐาน 2 ≥ ร้อยละ 80 ร้อยละ ร้อยละ น้อยกว่า
2. ใช้หลักการ 5D ของข้อมูล 70 - 79 60 - 69 ร้อยละ 59
3. Nominal group discussion ของข้อมูล ของข้อมูล

4. การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา การจัดลําดับ การ การ การจัดลําดับ


- แสดงเหตุผลการเลือกปัญหามาใช้ในการจัดลําดับของปัญหา ความสําคัญ จัดลําดับ จัดลําดับ ความสําคัญ
- แสดงตารางการจัดลําดับความสําคัญของปัญหาได้ถูกต้องตามหลักการ ของปัญหา ความสําคัญ ความสําคัญ ของปัญหา
ให้คะแนน ถูกต้อง ของปัญหา ของปัญหา ถูกต้องน้อย
- ตารางแสดงการจัดลําดับความสําคัญของปัญหาครบองค์ประกอบ ได้แก่ 3 ครบถ้วน ถูกต้อง ถูกต้อง กว่าร้อยละ
ปัญหา ขนาด ความรุนแรง ความยากง่าย ความตระหนัก ผลรวมการบวก
≥ร้อยละ 80 ครบถ้วน ครบถ้วน 59
ผลรวมการคูณ สรุปลําดับปัญหา
ร้อยละ ร้อยละ
70 - 79 60 - 69
ของข้อมูล ของข้อมูล
22

นJาหนัก ระดับคะแนน คะแนนทีไ่ ด้


หัวข้อการประเมิน
คะแนน X ค่านJาหนัก
4 3 2 1

5. การโยงใยสาเหตุของปัญหา ข้อมูลครบ ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล


- แสดงการโยงใยปัญหาเชิงทฤษฎีโดยแสดงให้เห็นปัญหา สาเหตุ โยง ≥ร้อยละ 80 ครบถ้วน ครบถ้วน ถูกต้องน้อย
2
ลูกศรได้ถูกต้อง ร้อยละ ร้อยละ กว่าร้อยละ
- ข้อมูลสนับสนุนด้านประชากร (KAP) ข้อมูลสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อม 70 - 79 60 - 69 59
- แสดงปัจจัยนํา ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสร ิม ได้ถูกต้อง
6. การวางแผนโครงการ ข้อมูลครบ ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล
ชือ
่ โครงการ ≥ ร้อยละ 80 ครบถ้วน ครบถ้วน ถูกต้องน้อย
- แสดงให้เห็นถึงว่า ใคร ทําอะไร ทีไ่ หน อย่างไร ดึงดูดความสนใจ ร้อยละ ร้อยละ กว่าร้อยละ
วัตถุประสงค์ของโครงการ 70 - 79 60 - 69 59

- แสดงการเขียนตามหลักการ SMART โดยมีเพียงวัตถุประสงค์หลักก็ได้


3
หร ือสามารถแยกเป็นวัตถุประสงค์เฉพาะ เป้าหมาย ได้
แผนการจัดโครงการ
- แสดงระยะเวลา กิจกรรม ผู้ผิดชอบ (GANTT CHART)
กิจกรรม
- มีการนําเสนอกิจกรรมการดําเนินงานสอดคล้องกับวัตถุประสงค์

7.การประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ข้อมูลครบ ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล


1
- แสดงการคํานวณประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ≥ ร้อยละ 80 ครบถ้วน ครบถ้วน ถูกต้องน้อย
23

นJาหนัก ระดับคะแนน คะแนนทีไ่ ด้


หัวข้อการประเมิน
คะแนน X ค่านJาหนัก
4 3 2 1

ร้อยละ ร้อยละ กว่าร้อยละ


70 - 79 60 - 69 59

8. การสืบค้นข้อมูล ข้อมูลครบ ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล


- มีการอ้างอิงบทความว ิชาการ บทความว ิจัย อย่างน้อย 2 เรอื่ ง อายุ ≥ ร้อยละ 80 ครบถ้วน ครบถ้วน ถูกต้องน้อย
บทความไม่เกิน 5 ปี 1
ร้อยละ ร้อยละ กว่าร้อยละ
- การเขียนอ้างอิงถูกต้องตามหลัก APA Version 7 ความสอดคล้องกับ 70 - 79 60 - 69 59
เนื้อหา และการอ้างอิง

รวมคะแนน (คะแนนเต็ม 64 คะแนน)

อาจารย์ประเมิน……………………………………วันที…่ …………………
ก24

รายงานการว ิเคราะห์สถาการณ์…………………………....................................

จัดทําโดย

นางสาว……………………………………………. รหัสประจําตัว ……………….


นางสาว……………………………………………. รหัสประจําตัว ……………….
นางสาว……………………………………………. รหัสประจําตัว ……………….
นางสาว……………………………………………. รหัสประจําตัว ……………….
นางสาว……………………………………………. รหัสประจําตัว ……………….
นางสาว……………………………………………. รหัสประจําตัว ……………….
นางสาว……………………………………………. รหัสประจําตัว ……………….
นางสาว……………………………………………. รหัสประจําตัว ……………….
นางสาว……………………………………………. รหัสประจําตัว ……………….
นางสาว……………………………………………. รหัสประจําตัว ……………….
นางสาว……………………………………………. รหัสประจําตัว ……………….

อาจารย์ทป
ี่ ร ึกษา
อาจารย์………………………………..
อาจารย์………………………………..

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของว ิชา พยชช 82121 การพยาบาลสุขภาพชุมชน


ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2565
ว ิทยาลัยพยาบาลศาสตร์อัครราชกุมาร ี ราชว ิทยาลัยจุฬาภรณ์
25

คํานํา

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

คณะผู้จด
ั ทํา
ข26

สารบัญ

เรอื่ ง หน้า

ส่วนของชุมชน

คํานํา ก

สารบัญ ข

สารบัญตาราง ค

สารบัญแผนภูมิ ง
ค27

สารบัญตาราง

เรอื่ ง หน้า

ตารางที่ 1 แสดงจํานวนและร้อยละ สถานภาพ


28

สารบัญแผนภูมิ

เรอื่ ง หน้า

แผนภูมิแท่งที่ 1 แสดงร้อยละของประชากรจําแนกตามเพศและช่วงอายุ ปี 2565 18

แผนภูมิแท่งที่ 2 แสดงจํานวนและร้อยละประชากร จําแนกตามระดับการศึกษา 21


29

การประเมินชุมชน (Community Assessment)

ข้อมูลชุมชน

1. ข้อมูลทัว่ ไปชุมชน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. ข้อมูลด้านประชากร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

3. ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
4. ข้อมูลด้านสุขภาพ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
5. ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

6. ข้อมูลด้านอนามัยและสิ่งแวดล้อม

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
30

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

7. ข้อมูลด้านการบร ิการสุขภาพ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
31

การว ินิจฉัยชุมชน
1. การระบุปัญหาสุขภาพชุมชน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา และเหตุผลการให้คะแนนในแต่ละองค์ประกอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. Theoretical web of causation

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

4. ข้อว ินิจฉัยชุมชน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
5. ข้อสนับสนุน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
32

การวางแผนแก้ไขปัญหา

ชือ
่ โครงการ……………………………………………………….

หลักการและเหตุผล
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

วัตถุประสงค์
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

เป้าหมาย/ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

ผู้รบ
ั ผิดชอบโครงการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

กลุ่มเป้าหมาย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

สถานทีด
่ ําเนินการ
33

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ระยะเวลาดําเนินการ/ผู้รบ
ั ผิดชอบหน้าที่ (Gantt chart)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ว ิธีดําเนินการ
ขั้นเตร ียมการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
ขั้นดําเนินงาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
ขั้นประเมินผล
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

งบประมาณ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
34

ผลทีค
่ าดว่าจะได้รบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
35

การประเมินผลการดําเนินการ

ประสิทธิภาพ (Efficiency)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
ประสิทธิผล (Effectiveness)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
36

สรุปแผนผังความคิดกระบวนการพยาบาลชุมชน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

เอกสารอ้างอิง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………

You might also like