You are on page 1of 92

แบบบันทึกผลการร่วมจัดกิจกรมการเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 1 ระหว่างวันที่ 30 มกราคม 2566 ถึง วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566


ชื่อ นางสาวอริสรา สาหินกอง รหัสนักศึกษา 64121080130 สาขาวิชาพลศึกษา
ชื่อครูพี่เลี้ยง นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล
โรงเรียนเมืองอุบล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1
วันที่ 2 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 คาบที่ 2 เวลา 10.00-11.00 น.
1.สรุปโครงสร้างการจัดการเรียนรู้และรายละเอียดการจัดการเรียนรู้ร่วมกับครูพี่เลี้ยง ตลอดทั้งสัปดาห์
(ก่อนการปฏิบัติหน้าที่ผู้ร่วมสอน นักศึกษาจะต้องศึกษา/ร่วมกาหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้)
ครูสารวจรายชื่อนักเรียน ชี้แจงกิจกรรมการเรียนการสอน ครูสอบถามนักเรียนว่าสามารถออกกาลัง
กายได้หรือไม่ และมีโรคประจาตัวหรือไม่
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียนบอกทาความเคารพคุณครู
2. ครูสารวจรายชื่อนักเรียนว่าใครมา,ป่วย,ขาด
3. ครูตรวจความเรียบร้อยของนักเรียน
- เครื่องแต่งกาย
- สุขภาพของนักเรียน
4. ครูทบทวนบทเรียนที่เรียนมาในคาบสัปดาห์ก่อน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
1. ครูเกริ่นนาเข้าสู่บทเรียนเรื่อง ไข้เลือดออก ว่า ‘มีใครที่เคยป่วยเป็นไข้เลือดออกบ้างไหม’
2. ครูอธิบายลักษณะอาการ วิธีป้องกัน และวิธีรักษาอาการไข้เลือดออก
3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องไข้เลือดออก
4. ครูนาเข้าสู่เกมการสอนตอบคาถามกระตุ้นความเข้าใจ นาลักษณะอาการ วิธีป้องกัน และวิธีการรักษา
อาการไข้เลือดออก เข้ามาสอดแทรกในคาถาม
5. ครูให้นักเรียนจัดโต๊ะเป็นวงกลม และยืนตามโต๊ะของตนเอง
6. และร่วมกันเล่นเกมตอบคาถาม โดยการเปิดเพลง และกระดาษไปหยุดอยู่ที่นักเรียนคนใดเมื่อ
เสียงเพลงหยุด นักเรียนคนนั้นจะต้องเป็นคนตอบคาถาม ตามความเข้าใจของนักเรียน

การใช้สื่อ นวัตกรรม การเรียนรู้


1. ใบความรู้ประกอบการบรรยาย
2. รูปภาพลักษณะอาการไข้เลือดออก
3. เพลง และลาโพง สื่อในการสอนทาให้เด็กสนใจในการเรียนมากขึ้น
การสรุปบทเรียน
1. ครูให้นักเรียนร่วมกันจัดโต๊ะให้เป็นสภาพเดิมตั้งแต่เริ่มคาบ
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องไข้เลือดออกตามที่เรียนและเล่นเกมอีกครั้ง
3. ครูนัดหมายนักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน และการเรียนในชั่วโมงถัดไป
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. การประเมินเจตคติ
2. แบบประเมินความตั้งใจและสนใจ
3. แบบทดสอบหลังเรียน
2.สิ่งที่นักศึกษาปฏิบัติได้ดี
ความมุ่งมั่นตั้งใจความรับผิดชอบในงานการสอน มีทัศนคติในแง่บวก และมีความกระตือรือร้นในขณะ
ฝึกสอน
3.สิ่งที่นักศึกษาต้องการพัฒนาตนเองเพิ่มเติม
พยายามอัพเดตความรู้ในการทางานอยู่เสมอ การเพิ่มพูนความรู้ เพื่อไปปรับใช้ในกลยุทธ์ในการทางาน
4.สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากการร่วมสอน (สามารถนามาใช้ปรับกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างไร)
การนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integration) มาปรับใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน
การเรียนรู้แบบบูรณาการ คือ การจัดการเรียนรู้โดยการนาสาระที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน นามาจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจในลักษณะที่เป็นองค์รวม และสามารถนาความรู้ความเข้าใจไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

ลงชื่อ.................................................นักศึกษา
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)

ลงชื่อ.................................................ครูพี่เลี้ยง
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)

ลงชื่อ.................................................อาจารย์นิเทศก์
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นเรศ ขันธะรี)
ภาพถ่ายการจัดการเรียนรู้

แบบบันทึกผลการร่วมจัดกิจกรมการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ 2 ระหว่างวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566
ชื่อ นางสาวอริสรา สาหินกอง รหัสนักศึกษา 64121080130 สาขาวิชาพลศึกษา
ชื่อครูพี่เลี้ยง นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล
โรงเรียนเมืองอุบล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1
วันที่ 9 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 คาบที่ 4 เวลา 10.00-11.00 น.
1.สรุปโครงสร้างการจัดการเรียนรู้และรายละเอียดการจัดการเรียนรู้ร่วมกับครูพี่เลี้ยง ตลอดทั้งสัปดาห์
(ก่อนการปฏิบัติหน้าที่ผู้ร่วมสอน นักศึกษาจะต้องศึกษา/ร่วมกาหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้)
ครูสารวจรายชื่อนักเรียน ชี้แจงกิจกรรมการเรียนการสอน ครูสอบถามนักเรียนว่าสามารถออกกาลัง
กายได้หรือไม่ และมีโรคประจาตัวหรือไม่
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียนบอกทาความเคารพคุณครู
2. คุณครูเช็คความเรียบร้อยของห้องเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเริ่มการเรียนการสอน
3. คุณครูให้นักเรียนทากิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน โดยการให้นักเรียนเขียนชื่อตนเองโดยการใช้ร่างกาย
(เอว) ในการเขียน เพื่อเตรียมความพร้อมของนักเรียนและทาให้นักเรียนสนุกเพลิดเพลินพร้อมที่จะ
เรียนและสนใจในการเรียน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
1. เข้าสู่บทเรียน คุณครูอธิบายหน่วยการเรียนรู้ที่จะเรียนในวันนี้ และอธิบายเรื่องการปฐมพยาบาล
เบื้องต้น โดยการใช้ผ้าพันคอลูกเสือ
2. ครูให้นักเรียนจัดโต๊ะโดยเว้นที่ว่างตรงกลางของห้อง เพื่อให้นักเรียนได้มีพื้นที่ในการจัดกิจกรรมการ
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยการใช้ผ้าพันคอลูกเสือ
3. ครูให้นักเรียนนั่งรวมกันเป็นวงกลมเพื่อจัดกิจกรรม
4. ครูสาธิตการเกิดอุบัติเหตุ และวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยการใช้ผ้าพันคอลูกเสือ โดยจะขอ
ตัวแทนนักเรียน 1 คน มาเป็นคนสาธิตให้เพื่อนๆในห้องดูและสังเกต
5. ครูให้นักเรียนจับคู่กัน 2 คน เพื่อซ้อมเตรียมตัวสอบเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยการใช้
ผ้าพันคอลูกเสือ
การใช้สื่อ นวัตกรรม การเรียนรู้
1. ผ้าพันคอ
2. ใบความรู้
การสรุปบทเรียน
1. ครูให้นักเรียนจัดโต๊ะกลับที่เดิมเหมือนตอนเริ่มคาบเมื่อทากิจกรรมเสร็จ
2. ครูถามคาถามกระตุ้นความคิดนักเรียนหลังจากที่เรียนไป ว่านักเรียนได้ความรู้จากที่เรียนไปมากน้อย
เพียงใด
3. ครูนัดหมายการเรียนในคาบต่อไป
4. เช็คความเรียบร้อยนักเรียนก่อนให้นักเรียนบอกทาความเคารพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. แบบประเมินเจตคติ
2. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3. แบบสังเกตการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน
4. ใบบันทึกผลการปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยการใช้ผ้าพันคออย่างถูกต้อง
2.สิ่งที่นักศึกษาปฏิบัติได้ดี
วางตนได้เหมาะสมกับสถานการณ์และพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่นักเรียน
3.สิ่งที่นักศึกษาต้องการพัฒนาตนเองเพิ่มเติม
พยายามอัพเดตความรู้ในการทางานอยู่เสมอ การเพิ่มพูนความรู้ เพื่อไปปรับใช้ในกลยุทธ์ในการทางาน
4.สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากการร่วมสอน (สามารถนามาใช้ปรับกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างไร)
สอนให้นักเรียนหรือศิษย์ของตนมีความสุขเพลิดเพลินกับการเล่าเรียนไม่เบื่อหน่าย และอยากที่จะ
เรียนอยู่เสมอ

ลงชื่อ.................................................นักศึกษา
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)

ลงชื่อ.................................................ครูพี่เลี้ยง
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)

ลงชื่อ.................................................อาจารย์
นิเทศก์
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นเรศ ขันธะรี)
ภาพถ่ายการจัดการเรียนรู้
แบบบันทึกผลการร่วมจัดกิจกรมการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ 3 ระหว่างวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566
ชื่อ นางสาวอริสรา สาหินกอง รหัสนักศึกษา 64121080130 สาขาวิชาพลศึกษา
ชื่อครูพี่เลี้ยง นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล
โรงเรียนเมืองอุบล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1
วันที่ 13 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 คาบที่ 3 เวลา 10.00-11.00 น.
1.สรุปโครงสร้างการจัดการเรียนรู้และรายละเอียดการจัดการเรียนรู้ร่วมกับครูพี่เลี้ยง ตลอดทั้งสัปดาห์
(ก่อนการปฏิบัติหน้าที่ผู้ร่วมสอน นักศึกษาจะต้องศึกษา/ร่วมกาหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้)
ครูสารวจรายชื่อนักเรียน ชี้แจงกิจกรรมการเรียนการสอน ครูสอบถามนักเรียนว่าสามารถออกกาลัง
กายได้หรือไม่ และมีโรคประจาตัวหรือไม่
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียนบอกทาความเคารพคุณครู
2. ครูสารวจรายชื่อนักเรียนว่าใครมา,ป่วย,ขาด
3. ครูตรวจความเรียบร้อยของนักเรียน
- เครื่องแต่งกาย
- สุขภาพของนักเรียน
4. ครูทบทวนบทเรียนที่เรียนมาในคาบสัปดาห์ก่อน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
1. คุณครูถามคาถามกระตุ้นความคิดนักเรียน
5. แหล่งใดที่สามารถทาให้เกิดยุงลายได้บ้าง
2. คุณครูให้นักเรียนบอกวิธีการกาจัดยุงลาย
3. คุณครูพานักเรียนออกไปศึกษาสถานที่ที่ทาให้เกิดยุงลาย และวิธีการกาจัดยุงลาย
การใช้สื่อ นวัตกรรม การเรียนรู้
1. รูปสื่อการสอน
2. ปากกา
3. ใบความรู้

การสรุปบทเรียน
1. ครูให้นักเรียนเดินกลับห้องอย่างเป็นระเบียบหลังจากการออกสารวจ
2. ครูถามคาถามกระตุ้นความคิดนักเรียนหลังจากที่เรียนไป ว่านักเรียนได้ความรู้จากที่เรียนไปมากน้อย
เพียงใด
3. ครูนัดหมายการเรียนในคาบต่อไป
4. เช็คความเรียบร้อยนักเรียนก่อนให้นักเรียนบอกทาความเคารพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. แบบประเมินเจตคติ
2. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3. แบบสังเกตการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน
2.สิ่งที่นักศึกษาปฏิบัติได้ดี
วางตนได้เหมาะสมกับสถานการณ์และประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่นักเรียน
3.สิ่งที่นักศึกษาต้องการพัฒนาตนเองเพิ่มเติม
พยายามอัพเดตความรู้ในการทางานอยู่เสมอ การเพิ่มพูนหาความรู้ เพื่อไปปรับใช้ในกลยุทธ์ในการ
ทางาน
4.สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากการร่วมสอน (สามารถนามาใช้ปรับกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างไร)
สอนให้นักเรียนหรือศิษย์ของตนมีความสุขเพลิดเพลินกับการเล่าเรียนไม่เบื่อหน่ายอยากจะเรียนอยู่
เสมอ

ลงชื่อ.................................................นักศึกษา
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)

ลงชื่อ.................................................ครูพี่เลี้ยง
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)

ลงชื่อ.................................................อาจารย์
นิเทศก์
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นเรศ ขันธะรี)

ภาพถ่ายการจัดการเรียนรู้
แบบบันทึกผลการร่วมจัดกิจกรมการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ 4 ระหว่างวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566
ชื่อ นางสาวอริสรา สาหินกอง รหัสนักศึกษา 64121080130 สาขาวิชาพลศึกษา
ชื่อครูพี่เลี้ยง นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล
โรงเรียนเมืองอุบล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1
วันที่ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 คาบที่ เวลา 10.00-11.00 น.
1.สรุปโครงสร้างการจัดการเรียนรู้และรายละเอียดการจัดการเรียนรู้ร่วมกับครูพี่เลี้ยง ตลอดทั้งสัปดาห์
(ก่อนการปฏิบัติหน้าที่ผู้ร่วมสอน นักศึกษาจะต้องศึกษา/ร่วมกาหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้)
ครูสารวจรายชื่อนักเรียน และตรวจสอบความเรียบร้อยของอุปกรณ์ ชี้แจงกิจกรรมการเรียนการสอน
ครูสอบถามนักเรียนว่าสามารถออกกาลังกายได้หรือไม่ และมีโรคประจาตัวหรือไม่
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. แบ่งกลุ่มนักเรียนแถวตอนเรียง 5 สารวจนักเรียนในเรื่องการแต่งกาย อุปกรณ์ให้หัวแถวแต่ละกลุ่ม
รายงานจานวนสมาชิกในกลุ่ม
2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนให้นักเรียนทราบ
3. จากนั้นให้ยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนการเรียน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกายของผู้เรียน
โดยให้ตัวแทนนักเรียน 1 คน นายืดเหยียดกล้ามเนื้อและข้อต่อส่วนต่างๆ เช่น หัวไหล่ หัวเข่า แขน
ข้อมือ ข้อเท้า เป็นต้น
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
1. ครูผู้สอนสนทนากับนักเรียนถึงให้นักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็น
2. ครูสาธิตท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์นี้ ให้นักเรียนดู ดังนี้
1) ขว้างลูกบอลเข้าประตู
2) โยนลูกบอลลงตะกร้า
3) นั่งทุ่มลูกบอลกับคู่
4) ยืนโยนและรับลูกบอลกับคู่
การใช้สื่อ นวัตกรรม การเรียนรู้
1. ลูกบอล
2. นกหวีด
3. แบบบันทึกการควบคุมท่าทางการเคลื่อนไหว
การสรุปบทเรียน
1. ให้นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบควรใช้ท่าทาง
ที่เหมาะสมกับอุปกรณ์นั้นๆ เพื่อให้การเคลื่อนไหวมีปะสิทธิภาพและปลอดภัยขณะปฏิบัติ
2. ให้นักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็น
3. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนเรียง 5 บอกให้นักเรียนทาความสะอาดก่อนไปเรียนในคาบต่อไป หัวหน้าสั่ง
แถวตรง เลิกแถว
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2.สิ่งที่นักศึกษาปฏิบัติได้ดี
ตรงต่อเวลา โดยการเข้าสอนและสอนตามเวลา ทางานสาเร็จครบถ้วนตามเวลาและรักษาเวลาที่นัด
หมายปฏิบัติงาน ทางานในหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
3.สิ่งที่นักศึกษาต้องการพัฒนาตนเองเพิ่มเติม
พยายามอัพเดตความรู้ในการทางานอยู่เสมอ การเพิ่มพูนหาความรู้ เพื่อไปปรับใช้ในกลยุทธ์ในการ
ทางาน
4.สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากการร่วมสอน (สามารถนามาใช้ปรับกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างไร)
สอนให้นักเรียนหรือศิษย์ของตนมีความสุขเพลิดเพลินกับการเล่าเรียนไม่เบื่อหน่าย อยากจะเรียนอยู่
เสมอ

ลงชื่อ.................................................นักศึกษา
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)

ลงชื่อ.................................................ครูพี่เลี้ยง
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)

ลงชื่อ.................................................อาจารย์
นิเทศก์
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นเรศ ขันธะรี)

ภาพถ่ายการจัดการเรียนรู้
แบบบันทึกผลการร่วมจัดกิจกรมการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ 5 ระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง วันที่ 3 มีนาคม 2566
ชื่อ นางสาวอริสรา สาหินกอง รหัสนักศึกษา 64121080130 สาขาวิชาพลศึกษา
ชื่อครูพี่เลี้ยง นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล
โรงเรียนเมืองอุบล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1
วันที่ เดือน มีนาคม พ.ศ.2566 คาบที่ เวลา 10.00-11.00 น.
1.สรุปโครงสร้างการจัดการเรียนรู้และรายละเอียดการจัดการเรียนรู้ร่วมกับครูพี่เลี้ยง ตลอดทั้งสัปดาห์
(ก่อนการปฏิบัติหน้าที่ผู้ร่วมสอน นักศึกษาจะต้องศึกษา/ร่วมกาหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้)
ครูสารวจรายชื่อนักเรียน และตรวจสอบความเรียบร้อยของอุปกรณ์ ชี้แจงกิจกรรมการเรียนการสอน
ครูสอบถามนักเรียนว่าสามารถออกกาลังกายได้หรือไม่ และมีโรคประจาตัวหรือไม่
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. .แบ่งกลุ่มนักเรียนแถวตอนเรียง 5 สารวจนักเรียนในเรื่องการแต่งกาย อุปกรณ์ให้หัวแถวแต่ละกลุ่ม
รายงานจานวนสมาชิกในกลุ่ม
2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนให้นักเรียนทราบ
3. จากนั้นให้ยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนการเรียน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกายของผู้เรียน
โดยให้ตัวแทนนักเรียน ๑ คน นายืดเหยียดกล้ามเนื้อและข้อต่อส่วนต่างๆ เช่น หัวไหล่ หัวเข่า แขน
ข้อมือ ข้อเท้า เป็นต้น
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
1. ครูผู้สอนสนทนากับนักเรียนถึงให้นักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นโดยครูถามดังนี้
2. ควรปฏิบัติตนอย่างไร เมื่อเล่นเกมรับส่งบอลโยนลงตะกร้า (ตัวอย่างคาตอบ เล่นตามกฎ กติกา มีน้าใจ
นักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย )
3. ครูอธิบายวิธีการเล่นเกมรับส่งบอลโยนลงตะกร้า และสาธิตการเล่นเกมร่วมกับผู้แทนนักเรียน
การใช้สื่อ นวัตกรรม การเรียนรู้
1. ลูกบอล
2. ตะกร้า
3. นกหวีด
4. แบบบักทึกการเล่นเกมรับส่งบอลโยนลงตะกร้า
การสรุปบทเรียน
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการรับส่งบอลโยนลงตะกร้าการ
เคลื่อนไหวที่ถูกต้อง โดยครูผู้สอนชี้แจงและแนะนาเพิ่มเติมให้นักเรียน และให้นักเรียนไปสืบค้นข้อมูล
ทักษะการส่งรูปแบบต่างๆจากอินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นความรู้
2. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนเรียง 5 และครูเปิดโอกาสให้นักเรียนถาม
3. บอกให้นักเรียนทาความสะอาดก่อนไปเรียนในคาบต่อไป หัวหน้าสั่งแถวตรง เลิกแถว
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2.สิ่งที่นักศึกษาปฏิบัติได้ดี
ตรงต่อเวลา โดยการเข้าสอนและสอนตามเวลา ทางานสาเร็จครบถ้วนตามเวลาและรักษาเวลาที่นัด
หมายปฏิบัติงาน ทางานในหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
3.สิ่งที่นักศึกษาต้องการพัฒนาตนเองเพิ่มเติม
การบริหารจัดการชั้นเรียน ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
4.สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากการร่วมสอน (สามารถนามาใช้ปรับกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างไร)
สร้างเทคนิคเฉพาะการให้กาลังใจนักเรียนเพราะ นักเรียนบางส่วนในห้องเรียนจะมีความกังวลว่า
ตัวเอง ทาแบบฝึกทักษะไม่ได้ ในขณะที่ยังไม่ได้ลงมือทา ฉะนั้นครูผู้สอนควร ฝึกให้เด็กเผชิญความกลัว เปิด
โอกาสให้ เด็กแสดงออก ทีละน้อยและให้กาลังใจ

ลงชื่อ.................................................นักศึกษา
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)

ลงชื่อ.................................................ครูพี่เลี้ยง
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)

ลงชื่อ.................................................อาจารย์
นิเทศก์
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นเรศ ขันธะรี)
ภาพถ่ายการจัดการเรียนรู้
แบบบันทึกผลการร่วมจัดกิจกรมการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ 6 ระหว่างวันที่ 6 มีนาคม 2566 ถึง วันที่ 10 มีนาคม 2566
ชื่อ นางสาวอริสรา สาหินกอง รหัสนักศึกษา 64121080130 สาขาวิชาพลศึกษา
ชื่อครูพี่เลี้ยง นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล
โรงเรียนเมืองอุบล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1
วันที่ เดือน มีนาคม พ.ศ.2566 คาบที่ เวลา 10.00-11.00 น.
1.สรุปโครงสร้างการจัดการเรียนรู้และรายละเอียดการจัดการเรียนรู้ร่วมกับครูพี่เลี้ยง ตลอดทั้งสัปดาห์
(ก่อนการปฏิบัติหน้าที่ผู้ร่วมสอน นักศึกษาจะต้องศึกษา/ร่วมกาหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้)
ครูสารวจรายชื่อนักเรียน และตรวจสอบความเรียบร้อยของอุปกรณ์ ชี้แจงกิจกรรมการเรียนการสอน
ครูสอบถามนักเรียนว่าสามารถออกกาลังกายได้หรือไม่ และมีโรคประจาตัวหรือไม่
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียนบอกทาความเคารพคุณครู
2. ครูสารวจรายชื่อนักเรียนว่าใครมา,ป่วย,ขาด
3. ครูตรวจความเรียบร้อยของนักเรียน
- เครื่องแต่งกาย
- สุขภาพของนักเรียน
4. ครูทบทวนบทเรียนที่เรียนมาในคาบสัปดาห์ก่อน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
1. ครูผู้สอนให้นักเรียนดูลูกแชร์บอลและบอกถึงกติกาการเล่นแชร์บอล
2. ครูอธิบายขั้นตอนการฝึกความคุ้นเคยกับลูกบอลทีละแบบฝึก
- การการควบคุมลูกบอล
- การโยนรับลูกบอล
- การส่งลูกบอล
- การรับ-ส่งลูกบอลเป็นสี่เหลี่ยม
การใช้สื่อ นวัตกรรม การเรียนรู้
1. ตะกร้า
2. ลูกแชร์บอล
3. นกหวีด
4. มาร์คเกอร์
5. เก้าอี้
การสรุปบทเรียน
1. เรียกนักเรียนรวมโดยให้นักเรียนเข้าแถวหน้ากระดาน 2 แถวตามเดิม
- ยืดกล้ามเนื้อหลังทากิจกรรมเสร็จ
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะพื้นฐานกีฬาแชร์บอล โดยครูผู้สอนชี้แจง
และแนะนาเพิ่มเติมให้นักเรียน
3. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนถาม และนัดหมายนักเรียนในคาบเรียนต่อไป เพื่อให้นักเรียนทราบ
4. ให้นักเรียนทาความสะอาดร่างกายก่อนไปเรียนในคาบต่อไป หัวหน้าสั่งเลิกแถวบอกทาความเคารพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
2.สิ่งที่นักศึกษาปฏิบัติได้ดี
ปฏิบัติตามกฎระเบียบของหน่วยสถานศึกษา ปฏิบัติตาม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติครูและ
จรรยาบรรณครูเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์
3.สิ่งที่นักศึกษาต้องการพัฒนาตนเองเพิ่มเติม
เพิ่มทักษะการสื่อสาร การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพเป็นสิ่งจาเป็นต่อการเพิ่มศักยภาพการทางาน
4.สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากการร่วมสอน (สามารถนามาใช้ปรับกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างไร)
ครูต้องมีความสามารถนา และแนะแนวทางแก่นักเรียนในห้องเรียน บริหารจัดการนักเรียนที่มีความ
แตกต่างทางบุคลิก ตลอดจนช่วยควบคุมนักเรียน ที่มีความบกพร่องด้านคุณธรรม และครูควรนาทางนักเรียนให้
ประพฤติไปในแนวทางที่ดี และสุดท้ายครูต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน

ลงชื่อ.................................................นักศึกษา
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)

ลงชื่อ.................................................ครูพี่เลี้ยง
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)

ลงชื่อ.................................................อาจารย์
นิเทศก์
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นเรศ ขันธะรี)
ภาพถ่ายการจัดการเรียนรู้
แบบบันทึกผลการร่วมจัดกิจกรมการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ 7 ระหว่างวันที่ 13 มีนาคม 2566 ถึง วันที่ 17 มีนาคม 2566
ชื่อ นางสาวอริสรา สาหินกอง รหัสนักศึกษา 64121080130 สาขาวิชาพลศึกษา
ชื่อครูพี่เลี้ยง นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล
โรงเรียนเมืองอุบล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1
วันที่ เดือน มีนาคม พ.ศ.2566 คาบที่ เวลา 10.00-11.00 น.
1.สรุปโครงสร้างการจัดการเรียนรู้และรายละเอียดการจัดการเรียนรู้ร่วมกับครูพี่เลี้ยง ตลอดทั้งสัปดาห์
(ก่อนการปฏิบัติหน้าที่ผู้ร่วมสอน นักศึกษาจะต้องศึกษา/ร่วมกาหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้)
ครูสารวจรายชื่อนักเรียน และตรวจสอบความเรียบร้อยของอุปกรณ์ ชี้แจงกิจกรรมการเรียนการสอน
ครูสอบถามนักเรียนว่าสามารถออกกาลังกายได้หรือไม่ และมีโรคประจาตัวหรือไม่
กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียนบอกทาความเคารพคุณครู
2. ครูสารวจรายชื่อนักเรียนว่าใครมา,ป่วย,ขาด
3. ครูตรวจความเรียบร้อยของนักเรียน
- เครื่องแต่งกาย
- สุขภาพของนักเรียน
4. ครูทบทวนบทเรียนที่เรียนมาในคาบสัปดาห์ก่อน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
1. ครูผู้สอนให้นักเรียนดูลูกแชร์บอลและบอกถึงกติกาการเล่นแชร์บอล
2. ครูอธิบายขั้นตอนการฝึกความคุ้นเคยกับลูกบอลทีละแบบฝึก
- การการควบคุมลูกบอล
- การโยนรับลูกบอล
- การส่งลูกบอล
- การรับ-ส่งลูกบอลเป็นสี่เหลี่ยม
การใช้สื่อ นวัตกรรม การเรียนรู้
1. ตะกร้า
2. ลูกแชร์บอล
3. นกหวีด
4. มาร์คเกอร์
5. เก้าอี้
การสรุปบทเรียน
1. เรียกนักเรียนรวมโดยให้นักเรียนเข้าแถวหน้ากระดาน 2 แถวตามเดิม
- ยืดกล้ามเนื้อหลังทากิจกรรมเสร็จ
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะพื้นฐานกีฬาแชร์บอล โดยครูผู้สอนชี้แจง
และแนะนาเพิ่มเติมให้นักเรียน
3. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนถาม และนัดหมายนักเรียนในคาบเรียนต่อไป เพื่อให้นักเรียนทราบ
4. ให้นักเรียนทาความสะอาดร่างกายก่อนไปเรียนในคาบต่อไป หัวหน้าสั่งเลิกแถวบอกทาความเคารพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
2.สิ่งที่นักศึกษาปฏิบัติได้ดี
ปฏิบัติตามกฎระเบียบของหน่วยสถานศึกษา ปฏิบัติตาม ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติครูและ
จรรยาบรรณครูเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์
3.สิ่งที่นักศึกษาต้องการพัฒนาตนเองเพิ่มเติม
เพิ่มทักษะการสื่อสาร การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพเป็นสิ่งจาเป็นต่อการเพิ่มศักยภาพการทางาน
4.สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับจากการร่วมสอน (สามารถนามาใช้ปรับกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างไร)
ครูต้องมีความสามารถนา และแนะแนวทางแก่นักเรียนในห้องเรียน บริหารจัดการนักเรียนที่มีความ
แตกต่างทางบุคลิก ตลอดจนช่วยควบคุมนักเรียน ที่มีความบกพร่องด้านคุณธรรม และครูควรนาทางนักเรียนให้
ประพฤติไปในแนวทางที่ดี และสุดท้ายครูต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน

ลงชื่อ.................................................นักศึกษา
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)

ลงชื่อ.................................................ครูพี่เลี้ยง
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)

ลงชื่อ.................................................อาจารย์
นิเทศก์
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นเรศ ขันธะรี)
ภาพถ่ายการจัดการเรียนรู้
แบบรายงานผลการศึกษาบริบทสถานศึกษาและชุมชน

โดย
นางสาวอริสรา สาหินกอง
รหัสนักศึกษา 64121080130 สาขาวิชาพลศึกษา
ฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน ณ โรงเรียนเมืองอุบล

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565


คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี

ส่วนที่ 1.1
แบบบันทึกการสังเกตบริบทชั้นเรียน (งานเดี่ยว)
ศึกษาวันที่ 6 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 เวลา 15.00 น
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 3
1. จานวนนักเรียน
ชาย 89 คน หญิง 103 คน รวม 192 คน
2. สิ่งสนับสนุนการเรียน (เช่น จอทีวี มุมศึกษาด้วยตนเอง ป้ายนิเทศ สัญญาณอินเตอร์เน็ต ฯลฯ)
1. โต๊ะเก้าอี้นักเรียนก่อนประถมศึกษา จานวน 30
2. เครื่องถ่ายเอกสาร จานวน 1
3. เครื่องโทรสาร จานวน 1
4. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จานวน 2
5. เครื่องพิมพ์ จานวน 2
6. เครื่องเจาะกระดาษและเข้าเล่ม จานวน 1
7. คอมพิวเตอร์พกพา(Tablet)(ใช้บริหารจัดการ) จานวน 1
8. คอมพิวเตอร์พกพา(Notebook)(ใช้บริหารจัดการ) จานวน 1
9. โต๊ะเก้าอี้นักเรียน ประถมศึกษา จานวน 100
10. โต๊ะเก้าอี้นักเรียน มัธยมศึกษา จานวน 80
11. ครุภัณฑ์การสอนวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา จานวน 1
12. ครุภัณฑ์อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ม.ต้น จานวน 1
13. หุ่นจาลองแสดงอวัยวะภายในมนุษย์ จานวน 1
14. ครุภัณฑ์งานอาหารและโภชนา จานวน 1
15. ครุภัณฑ์วิชาคหกรรม จานวน 1
16. เครื่องดนตรีสากล จานวน 1
17. เครื่องดนตรีไทย ชุดเล็ก ประถมศึกษา จานวน 1
18. ชุดอุปกรณ์เปตอง จานวน 1
19. โทรทัศน์สี จานวน 29
20. จานรับสัญญาณดาวเทียม จานวน 2
21. เครื่องมัลติมีเดีย โปรเจคเตอร์ LCD จานวน 2
22. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จานวน 17
23. เครื่องพิมพ์ (Printer) จานวน 1
24. คอมพิวเตอร์พกพา(Notebook)(ใช้ในการเรียนการสอน) จานวน 10
25. โทรทัศน์สีชนิดจอแบน (LCD) จานวน 11
26. เครื่องตัดกระแสไฟฟ้า จานวน 3
27. เครื่องขยายเสียง จานวน 1
28. เครื่องปรับอากาศ จานวน 8
29. เครื่องกรองน้า จานวน 2
30. ตู้เย็น จานวน 2
31. รถโดยสาร 12 ที่นั่ง จานวน 1
32. รถกระบะ จานวน 1
3. การจัดสภาพของห้องเรียน เช่น แสง เสียง อุณหภูมิห้อง ความเป็นระเบียบ ความสะอาด การ
ตกแต่ง (จัดอะไรบ้าง จัดอย่างไร)
การจัดสภาพห้องเรียนมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ร่มรื่น เหมาะต่อการจัดการเรียนการสอน ภายใน
ห้องเรียนมีสื่อการสอนชนิดต่างๆ เช่น มุมวิทยาศาสตร์ มุมคณิตศาสตร์ มุมภาษาไทย มุมภาษาอังกฤษ อีก
ทั้งยังมีเกียรติบัตรและผลงานของนักเรียนติดไว้ที่มุมหลังห้องเรียน เพื่อเป็นความภาคภูมิของตนเองที่มี
ความรู้ความสารถในด้านต่างๆ ภาพในห้องเรียนมีบรรยากาศที่ถ่ายเท ไม่ร้อนและเหมาะที่จะเป็นโรงเรียนสี
เขียว ปราศจากบุหรี่ และสารเสพติด

ลงชื่อ....................................................ผู้สังเกต
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)

ลงชื่อ....................................................ครูที่ปรึกษา
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)

ส่วนที่ 1.2
แบบรายงานศึกษาบริบทสถานศึกษา (งานกลุ่ม)
ประเด็นที่ 1 บริบทสถานศึกษา
วันที่ศึกษา วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 แหล่งข้อมูล ข้อมูลในเว็บไซต์โรงเรียนเมืองอุบล
1) ประวัติความเป็นมาของโรงเรียน
โรงเรียนเมืองอุบล เดิมชื่อโรงเรียนประชาบาลตาบลขามใหญ่ (วัดบ้านนาควาย) เป็นโรงเรียนสาขาของ
โรงเรียนประชาบาลตาบลขามใหญ่ ตั้งเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2490 ครั้งแรกอาศัยอยู่ศาลาวัดบ้านนาควาย
เป็นที่เรียน เปิดเรียนครั้งแรกตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 4 มีนักเรียน จานวน 30 คน ครู 1 คน คือนายชู
เพิ่มพูล เป็นครูใหญ่คนแรกของโรงเรียนนี้
วันที่ 10 กันยายน 2490 ได้ตั้งเป็นโรงเรียนประชาบาลตาบลขามใหญ่ 5 (วัดบ้านนาควาย) แต่ยังใช้
ศาลาวัดบ้านนาควายเป็นสถานที่เรียนเหมือนเดิม
วันที่ 23 กรกฎาคม 2496 ได้เปลี่ยนชื่อจากเดิมเป็น “โรงเรียนบ้านนาควาย”
วันที่ 24 ธันวาคม 2500 ได้สร้างอาคารเรียนถาวรเป็นหลังแรกบนเนื้อที่ 12 ไร่ 2 งาน โดยได้รับ
บริจาคที่ดินจาก นายยิ้ม โกศัลวิทย์ ซึ่งเป็นที่ดินที่เป็นที่ตั้งโรงเรียนในปัจจุบัน ทิศเหนือจดที่ดินที่ตั้งตารวจ
ทางหลวง ทิศใต้จดซอยชยางกูร 18 ทิศตะวันตกจดถนนชยางกูร ทิศตะวันออกจดถนนสาธารณประโยชน์
ปี พ.ศ. 2524 นายพร อาษาพล ได้บริจาคที่ดินจานวน 10 ไร่ 3 งาน บริเวณที่ตั้งดินดังกล่าวอยู่
ทางเข้าวัดบ้านนาควาย อยู่ทางทิศเหนือสถานีตารวจทางหลวงที่ 4 ถนนสุขาสงเคราะห์ใช้ประโยชน์เพื่อ
การศึกษาของโรงเรียนและปัจจุบันทางราชการได้ใช้เป็นสถานที่ก่อสร้างบ้านพักครูจานวน 50 หลังเพื่อใช้
เป็นที่พักอาศัยของข้าราชการครู ในเขตพื้นที่การศึกษา ตั้งชื่อว่า “หมู่บ้านคุรุมิตร”และได้แบ่งเนื้อที่
ประมาณ 3 ไร่ ให้ชุมชนบ้านนาควายเข้าพักอาศัยตามความประสงค์ของผู้บริจาค รวมที่ดินของโรงเรียนทั้ง
2 แปลง เนื้อที่จานวน 23 ไร่ 1 งาน
ปัจจุบัน มีอาคารเรียนถาวร แบบ 004 ขนาด 2 ชั้น 8 ห้องเรียน ก่อสร้าง พ.ศ.2519 ใช้เป็นอาคาร
สานักงาน จานวน 1 หลัง อาคารเรียน แบบจังหวัด ขนาด 8 ห้องเรียน ก่อสร้าง พ.ศ.2525 จานวน 1 หลัง
อาคารเรียน แบบ สปช. 105/ 29 ก่อสร้าง พ.ศ.2530 ขนาด 6 ห้องเรียน จานวน 1 หลัง อาคารเรียน
แบบ สปช. 2/28 ขนาด 9 ห้องเรียน ก่อสร้าง พ.ศ. 2531 จานวน 1 หลัง อาคารเรียน แบบ สปช. 2/28
ขนาด 9 ห้องเรียน ก่อสร้าง พ.ศ. 2551 จานวน 1 หลัง อาคารอเนกประสงค์ (แบบสร้างเอง : อาคาร
ฉัตรชมพู) ก่อสร้าง พ.ศ. 2524 จานวน 1 หลัง อาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช. 206/ 26 (หอประชุมบุษ
บัน) ก่อสร้าง พ.ศ. 2533 จานวน 1 หลัง อาคารห้องสมุด (แบบสร้างเอง) ก่อสร้างพ.ศ. 2525 จานวน 1
หลัง อาคาร โรงอาหาร (แบบสร้างเอง) ก่อสร้าง พ.ศ. 2521 จานวน 1 หลัง อาคารโครงการอาหาร
กลางวัน (แบบสร้างเอง) ก่อสร้าง พ.ศ. 2552 จานวน 1 หลัง
วันที่ 25 กันยายน 2524 ได้เปลี่ยนชื่อจาก “โรงเรียนบ้านนาควาย” เป็น “โรงเรียนเมืองอุบล”
อักษรย่อโรงเรียน “ม.อ.”
วันที่ 9 มกราคม 2555 เปลี่ยนชื่ออักษรย่อโรงเรียนจาก “ม.อ.” เป็น “ม.อบ.”จนถึงปัจจุบัน
โรงเรียนเมืองอุบลจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 1 (3 ขวบ) ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ปีการศึกษา 2563 มีนักเรียนทั้งสิ้น 247 คน (ข้อมูล 10 มิถุนายน 2563) จานวนข้าราชการครูตามบัญชี
ถือจ่าย 18 อัตรา ปฏิบัติหน้าที่จริง 17 อัตรา ไปช่วยราชการต่างสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 1 อัตรา
ลูกจ้างประจา (ช่างไม้) 1 อัตรา เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 อัตรา พี่เลี้ยงเด็กพิการ 1 อัตรา ครูอัตราจ้าง (เงิน
อุดหนุนการจัดการศึกษา) 2 อัตรา
ปัจจุบันมี นายณัฐพงษ์ ดาขวา ผู้อานวยการสถานศึกษาชานาญการพิเศษเป็นผู้อานวยการโรงเรียน

2) บุคลากร
ครู มีทั้งหมด 19 คน เพศชาย 4 คน เพศหญิง 15 คน
ซึ่งแยกตามวุฒิดังนี้
ปริญญาเอก จานวน 1 คน
ปริญญาโท จานวน 10 คน
ปริญญาตรี จานวน 7 คน
ป.กศ.ชั้นสูง จานวน 1 คน
อื่นๆ จานวน 0 คน
นักการภารโรง มีทั้งหมด 1 คน เพศชาย 1 คน เพศหญิง 0 คน
นักเรียน มีทั้งหมด 192 คน เพศชาย 89 คน เพศหญิง 103 คน
โดยแบ่งเป็นระดับชั้น ดังนี้
ระดับอนุบาลก่อนวัยเรียน จานวน 27 คน จานวนห้อง 3 ห้อง
ระดับประถมศึกษา 1 – 6 จานวน 109 คน จานวนห้อง 6 ห้อง
ระดับมัธยมศึกษา 1 – 3 จานวน 56 คน จานวนห้อง 3 ห้อง
อัตราส่วนครู อาจารย์ต่อจานวนนักเรียนประมาณ 1 คน ต่อ 12 คน

3) โครงสร้างการบริหารงาน (แผนผัง)

แผนผังโรงเรียน
จานวนพื้นที่ทั้งหมดของโรงเรียน 23 ไร่ 1 งาน

4) ระบบการบริหารจัดการในโรงเรียน
ส่วนที่ 1.3
การศึกษาบริบทชุมชน
ชื่อชุมชนที่ศึกษา ชุมชนบ้านนาควาย
สถานที่ตั้ง ถนน ชยางกูร หมู่ 23 ตาบล ในเมือง อาเภอ เมืองอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี
แหล่งเรียนรู้ในชุมชน (ข้อมูลโดยสังเขปและภาพประกอบ)
1) สถานที่สาคัญหรือโบราณสถาน/โบราณวัตถุ
สิมวัดบ้านนาควาย
ลักษณะของสิมวัดนาควายเป็นสถาปัตยกรรมแบบอีสาน แปลนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีขนาด กว้าง 11 ศอก 1
คืบ ยาว 18 ศอก 1 คืบ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ตัวอาคารก่อด้วยอิฐฉาบปูน ฐานเอวขันธ์แบบปาก
พาน บันใดขึ้นด้านหน้า บันใดเดียว (ภายหลังต่อมาด้านหน้ารื้นออก โดยรื้อส่วนหน้าออกแล้วเทปูนออกมา
ทาเป็นที่สาหรับนั่ง) หน้าต่างด้านข้างด้านละ 1 ช่อง ผนังด้านหลังก่อทึบถึง จั่วไม่มีหน้าบัน เสาด้านหน้า
สันนิฐาน ว่าคงมีเสาไม้ 2 ต้น หน้าบันสลักไม้ธรรมดาลวดลายแบบพื้นบ้าน คันทวยไม้จาหลักเรียบง่าย ข้าง
ละ 4 ตัว หลังคาชั้นเดียว คงจะไม่มีโหง่ (ช่อฟ้า) ไม่มีใบระกาและหางหงส์ เดิมมุงแป้นไม้ ต่อมาเปลี่ยนเป็น
มุงด้วยสังกะสี พระประธานเป็นลักษณะล้านช้าง แกะสลักจากไม้ มีประตูทางเข้าด้านหน้า 1 ด้าน บนผนัง
ด้านนอกมีภาพวาดฝีมือแบบชาวบ้านแต่ลักษณะน่าจะได้รับอิทธิภาคกลางมามาก มีทั้งเรื่องราว นรกไว้
สอนชาวบ้านด้วย ภาพ ผจญพญามาร ภาพพระแม่ธรณี ภาพธิดาพญามารทั้ง 3 นางกิเลศ นางตัณหา นาง
ราคะ ที่ไปรายั่วพระพุทธองค์ เมื่อไม่สาเร็จก็กลายร่างเป็นหญิงชราทั้ง 3 นาง ในปี พ.ศ. 2530 กรม
ศิลปากร ได้ขึ้นทะเบียนสิม (โบสถ์) ของวัดนาควายเป็นโบราณวัตถุ โดยกรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียน
สิมวัดนาควาย พื้นที่ 1 ไร่ 69 ตารางวา ลาดับที่ 1 เล่มที่ 11 ตอนที่ 85ง วันประกาศ 25 ตุลาคม พ.ศ.
2537 ต่อมาปี พ.ศ. 2553 มีการบูรณะอีกครั้งหนึ่ง ภายในผนังมีจิตกรรมฝาผนังทีมีคุณค่า โดยจิตรกรรมฝา
ผนังเขียนเป็นภาพเทพชุมนุมพุทธประวัติ ตอนผจญมารและปรินิพพาน ภาพชาดก ได้แก่ ปาจิตต์กุมาร
ชาดก และมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ์ต่างๆ ภาพจิตรกรรมเหล่านี้สะท้อนให้เห็นสภาพสังคม วิธีชีวิต ความ
เป็นอยู่ ความเจริญของเมือง การประกอบอาชีพ การละเล่น พิธีกรรม การแต่งกาย ทรงผม นอกจาก
ชาวบ้านพื้นถิ่นอีสานและคนลาวแล้ว ยังแสดงภาพชาวต่างชาติ ทั้งจีน ฝรั่ง แขก ซึ่งเข้ามามีบทบาทใน
ประเทศสมัยนี้อีกด้วย
2) บุคคลสาคัญของชุมชน
1. พระมหาบุญสี อภิวโร
2. นางพวงเพชร สงสาคร
3) วัฒนธรรมประเพณี
พิธีบรรพชาอุปสมบท ณ สิมโบราณบ้านนาควาย
4) ผลิตภัณฑ์ในชุมชน
ส้มตากกขาม บ้านนาควาย หมูปิ้งนมสด

แผนผังของชุมชนโดยรอบโรงเรียน
ภาคผนวก ข
แบบฟอร์มสาหรับตอนที่ 2
การออกแบบการจัดการเรียรรู้และนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหา/พัฒนาผู้เรียนผ่านกระบวนการชุมชนการ
เรียนรู้วิชีพ (PLC)
1) แผนการจัดการเรียนรู้ตามวงจร PLC จานวน 3 แผน
2) รายงานผลการสังเกตชั้นเรียนตามกระบวนการชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ
3) รายงานผลการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน
4) หลักฐานการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนในรูปแบบวิดิโอชั้นเรียน

แผนการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 1 PLC วงรอบที่ 1


กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา พลศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การควบคุมท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบ
วันที่สอน 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 เวลา 60 นาที
ชื่อผู้สอน นางสาวอริสรา สาหินกอง สาขาวิชาพลศึกษา

1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด
มาตรฐานการเรียนรู้ พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมละกีฬา
ตัวชี้วัด พ 3.1 ป.3/1 ควบคลุมการเคลื่อนไหวร่างกายขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์
2.สาระสาคัญ
การเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบต้องปฏิบัติท่าทางให้เหมาะสม
3.จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบ (K)
ปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบ (S)
มีความสนใจและให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (A)
4.สาระการเรียนรู้
ความรู้
การเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบต้องปฏิบัติท่าทางให้เหมาะสม
ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1) ขว้างลูกบอลเข้าประตู
2) โยนลูกบอลลงตะกร้า
3) นั่งทุ่มลูกบอลกับคู่
4) ยืนโยนและรับลูกบอลกับคู่
คาศัพท์
1) ความเร็ว (Speed)
2) การคล่องแคล่ว (Ability)
3) การทรงตัว (Balance)
4) พลัง (Power)
5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
4. กล้าแสดงออก
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นเตรียมและอบอุ่นร่างกาย (10 นาที)
1. แบ่งกลุ่มนักเรียนแถวตอนเรียง 5 สารวจนักเรียนในเรื่องการแต่งกาย อุปกรณ์ให้หัวแถวแต่ละกลุ่ม
รายงานจานวนสมาชิกในกลุ่ม
2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนให้นักเรียนทราบ
3. จากนั้นให้ยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนการเรียน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกายของผู้เรียน
โดยให้ตัวแทนนักเรียน 1 คน นายืดเหยียดกล้ามเนื้อและข้อต่อส่วนต่างๆ เช่น หัวไหล่ หัวเข่า แขน
ข้อมือ ข้อเท้า เป็นต้น
ขั้นอธิบายและสาธิต (5 นาที)
1. ครูผู้สอนสนทนากับนักเรียนถึงให้นักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นโดยครูถามดังนี้
2. นักเรียนรู้สึกอย่างไรเมื่อได้เคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบ
(ตัวอย่างคาตอบ สนุกสนาน เพลิดเพลิน)
3. นักเรียนจะนาท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบไปปฏิบัติเมื่อมีเวลาว่างหรือไม่ (ตัว
อย่าคาตอบ นาไปปฏิบัติ)
4. การฝึกเคลื่อนไหวด้วยท่าทางที่มีอุปกรณ์ประกอบเป็นประจาจะส่งผลอย่างไร
(ตัวอย่างคาตอบ ทาให้ร่างกายแข็งแรง เคลื่อนไหวทากิจกรรมต่างๆได้ดี)
5. ครูสาธิตท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์นี้ ให้นักเรียนดู ดังนี้
1) ขว้างลูกบอลเข้าประตู
2) โยนลูกบอลลงตะกร้า
3) นั่งทุ่มลูกบอลกับคู่
4) ยืนโยนและรับลูกบอลกับคู่
ขั้นฝึกปฏิบัติ ( 30 นาที)
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่มเท่าๆกัน
2. ครูแบ่งฐานฝึกปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบคือลูกบอล แบ่งออกเป็น
4 ฐาน โดยกาหนดให้แต่ละฐานฝึกปฏิบัติท่าทางเป็นเวลา 10 นาที เมื่อครบ 10 นาทีแล้ว ให้วน
ทาแบบนี้ให้ครบทั้ง 4 ฐาน โดยจะมีครูเป็นผู้ให้สัญญาณนกหวีดเพื่อบอกเวลาและคอยแนะนาดูแล
อย่างใกล้ชิด
ขั้นนาไปใช้ (10 นาที)
แข่งขันเกมกลุ่มใดปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบได้ถูกต้องมากที่สุดทั้ง 4
ฐาน กลุ่มนั้นจะได้คะแนนมากกว่ากลุ่มอื่นดังนี้
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มเข้าฐานฝึกปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบคือลูก
บอล
2. ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มพร้อมกลางสนามรอสัญญาณนกหวีด
3. นักเรียนกลุ่มใดปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบได้ถูกต้องมากที่สุดทั้ง
4 ฐาน กลุ่มนั้นจะได้คะแนนมากกว่ากลุ่มอื่น
ขั้นสรุป ( 5 นาที)
1. ให้นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบควรใช้
ท่าทางที่เหมาะสมกับอุปกรณ์นั้นๆ เพื่อให้การเคลื่อนไหวมีปะสิทธิภาพและปลอดภัยขณะปฏิบัติ
2. ให้นักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็น โดยครูถามคาถามท้าทายดังนี้
5. ถ้านักเรียนเป็นผู้ปฏิบัติการเคลื่อนไหวร่างกายได้ดี นักเรียนจะนาคุณสมบัตินี้ไปใช้ทาอะไรได้บ้าง
3. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนเรียง 5 บอกให้นักเรียนทาความสะอาดก่อนไปเรียนในคาบต่อไป หัวหน้า
สั่งแถวตรง เลิกแถว
6.สื่อการเรียนรู้
1. ลูกบอล
2. นกหวีด
3. ตะกร้า

7.การวัดและประเมินผล
รายการประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
ด้านความรู้ ให้ตอบคาถามใน ข้อคาถาม ตอบถูกได้ = 1
อธิบายความหมายและประโยชน์ ชั่วโมงเรียน ตอบผิดได้ = 0
ของการเคลื่อนไหวร่างกายแบบใช้ ผ่านร้อยละ 60 %
อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง
ด้านทักษะกระบวนการ ทดสอบทักษะ แบบประเมินผลการ เกณฑ์การประเมิน
นักเรียนสามารถปฏิบัติการ ปฏิบัติ - ทาถูกต้องทุก
เคลื่อนไหวร่างกายแบบใช้อุปกรณ์ ขั้นตอนต่อเนื่อง
คือลูกบอล ได้อย่างถูกวิธี ถูกต้อง = 3
- ทาถูกต้องทุก
ขั้นตอน = 2
- ทาถูกต้องไม่ครบ
ทุกขั้นตอน = 1
ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สังเกตตามแบบ แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์ระดับ
นักเรียนมีเจตคติ มีความสนใจ มี ประเมิน คุณลักษณะอันพึง คะแนน 2 ขึ้นไป
ความกระตือรือร้นที่จะเรียน มีวินัย ประสงค์
ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางานกล้า
แสดงออก

แบบบันทึกท้ายแผนการจัดการเรียนรู้
ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง
...............................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

(ลงชื่อ)............................................................
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)
วันที่..........เดือน.......................... พ.ศ. ................
ความคิดเห็นของครูนิเทศประจาโรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้มีความถูกต้องสอดคล้องกับทุกองค์ประกอบเห็นควรไปใช้ ในการจัดการเรียนรู้
ได้
เห็นควรปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ในเรื่อง.................................................................................
(ลงชื่อ)............................................................
(นางอาพร ทีสี)
วันที่..........เดือน..........................พ.ศ.................
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
อนุญาตให้นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้
ไม่อนุญาตให้นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้
(ลงชื่อ).............................................................
(นายณัฐพงษ์ ดาขวา)
ผู้อานวยการโรงเรียนเมืองอุบล
วันที่..........เดือน..........................พ.ศ....................

บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรค
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ปัญหาในครั้งต่อไป
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................... .............
(ลงชื่อ).......................................................ผู้สอน
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)
วันที่..........เดือน.............................พ.ศ....................

ข้อเสนอแนะจากสมาชิกในทีม (ผู้สอนเป็นผู้บันทึกโดยสรุปจากการสะท้อนผลหลังการจัดการเรียนรู้)
ผู้เสนอแนะ สิ่งที่นักเรียนพัฒนาได้ดี สิ่งที่ควรปรับปรุงได้ดีขึ้น
ผู้อานวยการโรงเรียน/ผู้แทน

ครูนิเทศประจาโรงเรียน

นักศึกษาร่วมสังเกต1

นักศึกษาร่วมสังเกต2

ครูพี่เลี้ยง

อาจารย์นิเทศ

นักศึกษาฝึกสอน
*หมายเหตุ : นักศึกษาร่วมสังเกตอย่างน้อย 1 คน
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................นักศึกษาร่วมสังเกต 1
(นายอิสระ กาละไชย)
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................นักศึกษาร่วมสังเกต 2
( )
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................ครูพี่เลี้ยง
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................ครูนิเทศก์ประจาโรงเรียน
(นางอาพร ทีสี)
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................ผู้อานวยการโรงเรียน/ผู้แทน
(นายณัฐพงษ์ ดาขวา)
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................อาจารย์นิเทศก์
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นเรศ ขันธะรี)

แบบรายงานผลการสังเกตชั้นเรียน
ชื่อ นางสาวอริสรา สาหินกอง………………………………………………………………………………
โรงเรียนเมืองอุบล
วันที่..........เดือน..........................พ.ศ..............เวลา
ประเด็นปัญหา
จานวนสมาชิกในทีม คน โดยมีรายชื่อและบทบาทดังต่อไปนี้
ลาดับที่ ชื่อ - สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชื่อ
ผู้อานวยการโรงเรียน
รองผู้อานวยการโรงเรียน
หัวหน้ากลุ่มสาระ
Model teacher
Buddy 1
Buddy 2
Mentor (ครูพี่เลี้ยง)
Expert (อาจารย์นิเทศก์)

ผลการดาเนินกิจกรรม
...............................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
ผลที่ได้จากการจัดกิจกรรมครั้งนี้
ประเด็นคาถามนาสู่การสังเกตชั้นเรียน
1. สิ่งที่ครูผู้สอนทาได้ดี และควรรักษาไว้ให้มีต่อไป
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2. สิ่งที่เป็นปัญหาและอุปสรรคที่ทาให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครั้งนี้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
...............................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

3. สิ่งที่ครูต้องปรับให้ดีขึ้นเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนมีประเด็นใดบ้าง และจะทาอย่างไร
........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
4. นักเรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในครั้งนี้จานวนกี่คน
........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
5. วิธีการแก้ปัญหาที่นามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกิดผลอย่างไร
................................................................................................................................... .....................................
.......................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................ผู้บันทึก (นักศึกษา)
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)

ลงชื่อ....................................................ครูพี่เลี้ยง
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)

ลงชื่อ....................................................ผู้อานวยการโรงเรียน
(นายณัฐพงษ์ ดาขวา)
วันที่..........เดือน.......................... พ.ศ. ................
(แบบภาพถ่ายกิจกรรมเปิดชั้นเรียน/สังเกตชั้นเรียน)

แผนการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 2 PLC วงรอบที่ 2


กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา พลศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องการเล่นเกมรับ-ส่งบอลโยนลงตะกร้า
วันที่สอน 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 เวลา 60 นาที
ชื่อผู้สอน นางสาวอริสรา สาหินกอง สาขาวิชาพลศึกษา
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด
มาตรฐานการเรียนรู้ พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมละกีฬา
ตัวชี้วัด พ 3.1 ป.3/2 เคลื่อนไหวร่างกายที่ใช้ทักษะการเคลื่อนไหวแบบบังคับทิศทางในการเล่นเกม
เบ็ดเตล็ด
2.สาระสาคัญ
การเล่นเกมรับ-ส่งบอลโยนลงตะกร้า ควรปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎกติกา เพื่อให้ การเล่นเกมเป็นไป
อย่างราบรื่น
3.จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายวิธีการเล่นเกมรับ-ส่งบอลโยนลงตะกร้า (K)
รับ-ส่งบอลโยนลงตะกร้าถูกต้องตามกฎกติกา (S)
มีความกระตือรือร้นและสนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน (A)
4.สาระการเรียนรู้
ความรู้
เกมรับ-ส่งบอลโยนลงตะกร้า
ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
การให้เหตุผล การสรุปความรู้ การปฏิบัติ/การสาธิต
คาศัพท์
1) ความเร็ว (Speed)
2) การคล่องแคล่ว (Ability)
3) การทรงตัว (Balance)
4) พลัง (Power)
5) อบอุ่นร่างกาย (Warm up)
6) ยืดเหยียดร่างกาย (Cool down)
5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6. มีวินัย
7. ใฝ่เรียนรู้
8. มุ่งมั่นในการทางาน
9. กล้าแสดงออก
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นเตรียมและอบอุ่นร่างกาย (10 นาที)
1. แบ่งกลุ่มนักเรียนแถวตอนเรียง 5 สารวจนักเรียนในเรื่องการแต่งกาย อุปกรณ์ให้หัวแถวแต่ละกลุ่ม
รายงานจานวนสมาชิกในกลุ่ม
2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนให้นักเรียนทราบ
3. จากนั้นให้ยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนการเรียน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกายของ
ผู้เรียน โดยให้ตัวแทนนักเรียน 1 คน นายืดเหยียดกล้ามเนื้อและข้อต่อส่วนต่างๆ เช่น หัวไหล่ หัวเข่า
แขน ข้อมือ ข้อเท้า เป็นต้น
ขั้นอธิบายและสาธิต (5 นาที)
1. ครูผู้สอน (ตัวอย่างคาตอบ เล่นตามกฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย )
2. ครูอธิบายวิธีการเล่นเกมรับส่งบอลโยนลงตะกร้า และสาธิตการเล่นเกมร่วมกับผู้แทนนักเรียน
ขั้นฝึกปฏิบัติ ( 30 นาที)
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆกัน เล่นเกมรับส่งบอลโยนลงตะกร้า โดยครูคอยดูแลและแนะนา
เพิ่มเติม
2. หลังจากนักเรียนเล่นเกมรับส่งบอลโยนลงตะกร้า ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนา แสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับการเล่นเกมรับส่งบอลโยนลงตะกร้าโดยครูถามคาถามดังนี้
- นักเรียนรู้สึกอย่างไรเมื่อเล่นเกมรับส่งบอลโยนลงตะกร้า
(ตัวอย่างคาตอบ สนุกสนาน มีความสุข คลายเครียด)

ขั้นนาไปใช้ (10 นาที)


1. ครูเรียกนักเรียนรวมกันโดยสัญญาณนกหวีด ครูอธิบายและสาธิตวิธีการเล่นเกม และบอก
ถึงกฎ กติกาและวิธีการเล่นให้นักเรียนทราบ
2. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละเท่าๆกัน หากแบ่งนักเรียนไม่ลงตัว ให้นักเรียนที่
เศษมาเป็นกรรมการหรือไปอยู่กับทีมใดทีมหนึ่ง ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของครูผู้สอน
3. กติกาการเล่น ให้ทั้ง 2 กลุ่ม เลือกผู้ป้องกันตะกร้ากลุ่มละ 1 คน ส่วนคนที่เหลือให้เป็นผู้เล่น
ในสนาม โดยการแข่งกันจะให้ผู้เล่นในสนามส่งบอลให้กับคนในกลุ่มตนเอง กลุ่มใดส่งบอลและโยนลง
ตะกร้าของฝ่ายตรงข้ามได้ก่อน กลุ่มนั้นจะถือว่าเป็นฝ่ายชนะ
ขั้นสรุป ( 5 นาที)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการรับส่งบอลโยนลงตะกร้าการ
เคลื่อนไหวที่ถูกต้อง โดยครูผู้สอนชี้แจงและแนะนาเพิ่มเติมให้นักเรียน และให้นักเรียนไปสืบค้นข้อมูล
ทักษะการส่งรูปแบบต่างๆจากอินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นความรู้
2. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนเรียง 5 และครูเปิดโอกาสให้นักเรียนถาม
3. บอกให้นักเรียนทาความสะอาดก่อนไปเรียนในคาบต่อไป หัวหน้าสั่งแถวตรง เลิกแถว
6.สื่อการเรียนรู้
1. ลูกบอล
2. ตะกร้า
3. นกหวีด
4. แบบบักทึกการเล่นเกมรับส่งบอลโยนลงตะกร้า

7.การวัดและประเมินผล
รายการประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
ด้านความรู้ ให้ตอบคาถามใน ข้อคาถาม ตอบถูกได้ = 1
อธิบายความหมายและประโยชน์ ชั่วโมงเรียน ตอบผิดได้ = 0
ของการเล่นเกมรับส่งบอลโยนลง ผ่านร้อยละ 60 %
ตะกร้าได้อย่างถูกต้อง
ด้านทักษะกระบวนการ ทดสอบทักษะ แบบประเมินผลการ เกณฑ์การประเมิน
นักเรียนสามารถปฏิบัติการเล่น ปฏิบัติ - ทาถูกต้องทุก
เกมรับส่งบอลโยนลงตะกร้า(แชร์ ขั้นตอนต่อเนื่อง
บอล) ได้ถูกต้องตามกฎ และกติกา ถูกต้อง = 3
- ทาถูกต้องทุก
ขั้นตอน = 2
- ทาถูกต้องไม่ครบ
ทุกขั้นตอน = 1
ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สังเกตตามแบบ แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์ระดับ
นักเรียนมีเจตคติ มีความสนใจ มี ประเมิน คุณลักษณะอันพึง คะแนน 2 ขึ้นไป
ความกระตือรือร้นที่จะเรียน มี ประสงค์
วินัย
ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางานกล้า
แสดงออก
แบบบันทึกท้ายแผนการจัดการเรียนรู้
ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง
...............................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

(ลงชื่อ)............................................................
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)
วันที่..........เดือน.......................... พ.ศ. ................
ความคิดเห็นของครูนิเทศประจาโรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้มีความถูกต้องสอดคล้องกับทุกองค์ประกอบเห็นควรไปใช้ ในการจัดการเรียนรู้
ได้
เห็นควรปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ในเรื่อง.................................................................................
(ลงชื่อ)............................................................
(นางอาพร ทีสี)
วันที่..........เดือน..........................พ.ศ.................
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
อนุญาตให้นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้
ไม่อนุญาตให้นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้
(ลงชื่อ).............................................................
(นายณัฐพงษ์ ดาขวา)
ผู้อานวยการโรงเรียนเมืองอุบล
วันที่..........เดือน..........................พ.ศ....................
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรค
........................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................. ..................................
ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ปัญหาในครั้งต่อไป
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

(ลงชื่อ).......................................................ผู้สอน
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)
วันที่..........เดือน.............................พ.ศ....................

ข้อเสนอแนะจากสมาชิกในทีม (ผู้สอนเป็นผู้บันทึกโดยสรุปจากการสะท้อนผลหลังการจัดการเรียนรู้)
ผู้เสนอแนะ สิ่งที่นักเรียนพัฒนาได้ดี สิ่งที่ควรปรับปรุงได้ดีขึ้น
ผู้อานวยการโรงเรียน/ผู้แทน
ครูนิเทศประจาโรงเรียน

นักศึกษาร่วมสังเกต1

นักศึกษาร่วมสังเกต2

ครูพี่เลี้ยง

อาจารย์นิเทศ

นักศึกษาฝึกสอน

*หมายเหตุ : นักศึกษาร่วมสังเกตอย่างน้อย 1 คน
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................ ....

ลงชื่อ....................................................นักศึกษาร่วมสังเกต 1
(นายอิสระ กาละไชย)
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................นักศึกษาร่วมสังเกต 2
( )
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................ครูพี่เลี้ยง
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ลงชื่อ....................................................ครูนิเทศก์ประจาโรงเรียน
(นางอาพร ทีสี)
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................ผู้อานวยการโรงเรียน/ผู้แทน
(นายณัฐพงษ์ ดาขวา)
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................อาจารย์นิเทศก์
( )

แบบรายงานผลการสังเกตชั้นเรียน
ชื่อ นางสาวอริสรา สาหินกอง
โรงเรียนเมืองอุบล
วันที่ เดือน ปี เวลา
ประเด็นปัญหา
จานวนสมาชิกในทีม คน โดยมีรายชื่อและบทบาทดังต่อไปนี้
ลาดับที่ ชื่อ - สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชื่อ
ผู้อานวยการโรงเรียน
รองผู้อานวยการโรงเรียน
หัวหน้ากลุ่มสาระ
Model teacher
Buddy 1
Buddy 2
Mentor (ครูพี่เลี้ยง)
Expert (อาจารย์นิเทศก์)
ผลการดาเนินกิจกรรม
...............................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
ผลที่ได้จากการจัดกิจกรรมครั้งนี้
ประเด็นคาถามนาสู่การสังเกตชั้นเรียน
1. สิ่งที่ครูผู้สอนทาได้ดี และควรรักษาไว้ให้มีต่อไป
...............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2. สิ่งที่เป็นปัญหาและอุปสรรคที่ทาให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครั้งนี้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
...............................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

3. สิ่งที่ครูต้องปรับให้ดีขึ้นเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนมีประเด็นใดบ้าง และจะทาอย่างไร
........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
4. นักเรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในครั้งนี้จานวนกี่คน
........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
5. วิธีการแก้ปัญหาที่นามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกิดผลอย่างไร
........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................ผู้บันทึก (นักศึกษา)
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)

ลงชื่อ....................................................ครูพี่เลี้ยง
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)

ลงชื่อ....................................................ผู้อานวยการโรงเรียน
(นายณัฐพงษ์ ดาขวา)
วันที่..........เดือน.......................... พ.ศ. ................
(แบบภาพถ่ายกิจกรรมเปิดชั้นเรียน/สังเกตชั้นเรียน)

แผนการจัดการเรียนรู้ แผนที่ 3 PLC วงรอบที่ 3


กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชา พลศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องการเล่นกีฬาพื้นฐาน (กีฬาแชร์บอล)
วันที่สอน 7 มีนาคม พ.ศ.2566 เวลา 60 นาที
ชื่อผู้สอน นางสาวอริสรา สาหินกอง สาขาวิชาพลศึกษา

1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัด
มาตรฐานการเรียนรู้ พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจา
อย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมใน
สุนทรียภาพของการกีฬา
ตัวชี้วัด พ 3.2 ป.3/2 ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงของการออกกาลังกาย การเล่นเกมการละเล่น
พื้นเมืองได้ด้วยตนเอง
2.สาระสาคัญ
การสร้างความคุ้นเคยกับลูกบอลช่วยให้สามารถเล่นกีฬาแชร์บอลได้ง่ายขึ้น ทาให้การฝึกมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เนื่องจากเราสามารถคานวณหาน้าหนัก คาดคะเนระยะทางได้ ทาให้การเล่นเกิดความ
สนุกสนามมากขึ้น
3.จุดประสงค์การเรียนรู้
สามารถบังคับบอลได้ สามารถเคลื่อนที่ในการเล่นบอลได้และสามารถเล่นกีฬาแชร์บอลได้ (K)
พร้อมที่จะฝึกทักษะของกีฬาแชร์บอล และสามารถสนุกสนานในการเรียนทักษะกีฬาแชร์บอล (S)
มีความกระตือรือร้นและสนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน (A)
4.สาระการเรียนรู้
1. การออกกาลังกาย เกม และการละเล่นพื้นเมือง
2. กฎ กติกา และข้อตกลง ในการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการละเล่นพื้นเมือง
ความสามารถในการคิด
ทักษะการจัดกลุ่ม
- การการควบคุมลูกบอล
- การโยนรับลูกบอล
- การส่งลูกบอล
- การรับ-ส่งลูกบอลเป็นสี่เหลี่ยม
ทักษะการนาความรู้ไปใช้
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
คาศัพท์
1) ความเร็ว (Speed)
2) การคล่องแคล่ว (Ability)
3) การทรงตัว (Balance)
4) พลัง (Power)
5) อบอุ่นร่างกาย (Warm up)
6) ยืดเหยียดร่างกาย (Cool down)
5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย มีความรับผิดชอบ
2. ตรงต่อเวลา รักความเป็นไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นเตรียมและอบอุ่นร่างกาย (10 นาที)
1. แบ่งกลุ่มนักเรียนเข้าแถวหน้ากระดาน 2 แถว สารวจจานวนนักเรียนที่เข้าเรียนทั้งหมด (ขาด ลา
มาสาย) หรือมีนักเรียนคนใดไม่สบายไม่พร้อมในการเรียนทักษะกีฬาแชร์บอล และสารวจในเรื่องการ
แต่งกาย
2. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนให้นักเรียนทราบ
3. จากนั้นให้ยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนการเรียน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกายของ
ผู้เรียน โดยให้ตัวแทนนักเรียน 1 คน นายืดเหยียดกล้ามเนื้อและข้อต่อส่วนต่างๆ เช่น หัวไหล่ หัว
เข่า แขน ข้อมือ ข้อเท้า เป็นต้น

นักเรียน

ครู

ขั้นอธิบายและสาธิต (5 นาที)
1. ครูผู้สอนให้นักเรียนดูลูกแชร์บอลและบอกถึงกติกาการเล่นแชร์บอล
2. ครูอธิบายขั้นตอนการฝึกความคุ้นเคยกับลูกบอลทีละแบบฝึก
ขั้นฝึกปฏิบัติ ( 30 นาที)
ครูแบ่งกลุ่มให้นักเรียนจานวน 2 กลุ่มกลุ่มละเท่าๆกัน แล้วฝึกปฏิบัติเพื่อสร้างความคุ้นเคยกับลูกบอล
1. การการควบคุมลูกบอล โดย
- ให้เลี้ยงลูกบอลกับพื้นอยู่กับที่ 5 ครั้ง เมื่อครบแล้วให้เลี้ยงลูกบอลโดยการเคลื่อนที่ จากนั้นส่งบอล
ให้เพื่อนแล้วปฏิบัติเช่นเดียวกัน ทาทั้งหมด 2 รอบ
2. การโยนรับลูกบอล ดังนี้
- โยนลูกบอลขึ้นไปทางอากาศ แล้วรับลูกบอลโดยไม่ให้ลูกบอลตกพื้น ทาทั้งหมด 5 ครั้ง
แล้วสลับให้เพื่อนภายในกลุ่มปฏิบัติเช่นเดียวกัน
3. การส่งลูกบอล ดังนี้
- ให้นักเรียนภายในกลุ่ม จับคู่กัน ยืนห่างกัน 2-3 เมตร ส่งลูกบอลไปมา 10 ครั้งสลับกัน เมื่อครบแล้ว
ให้คู่ถัดไปปฏิบัติเช่นเดียวกัน
- ยืนห่างจากคู่ 2-3 เมตร ทุ่มลูกบอลลงพื้นกระดอนไปมา 10 ครั้งสลับกันเมื่อครบแล้วให้คู่ถัดไป
ปฏิบัติเช่นเดียวกัน
4. การรับ-ส่งลูกบอลเป็นสี่เหลี่ยม
คนที่ 1 ส่งลูกบอลให้คนที่ 2 ในทิศทางตรง
คนที่ 2 ส่งลูกบอลให้คนที่ 3 ทางด้านข้าง
คนที่ 3 ส่งลูกบอลให้คนที่ 4 ในทิศทางตรง
คนที่ 4 ส่งลูกบอลให้คนที่ 1 ทางด้านข้าง

2 1

3 4

นักเรียน

ทิศทางการส่งบอล
ขั้นนาไปใช้ (10 นาที)
1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน 2 กลุ่มเท่าๆกัน
2. จากนั้นให้นักเรียนนาทักษะพื้นฐานกีฬาแชร์บอลที่ฝึกปฏิบัติมา นามาปฏิบัติการเล่นกีฬาแชร์บอล โดยมี
ครูคอยดูแลและให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด
ขั้นสรุป ( 5 นาที)
1. เรียกนักเรียนรวมโดยให้นักเรียนเข้าแถวหน้ากระดาน 2 แถวตามเดิม
2. ยืดกล้ามเนื้อหลังทากิจกรรมเสร็จ
3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะพื้นฐานกีฬาแชร์บอล โดยครูผู้สอนชี้แจง
และแนะนาเพิ่มเติมให้นักเรียน
4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนถาม และนัดหมายนักเรียนในคาบเรียนต่อไป เพื่อให้นักเรียนทราบ
5. ให้นักเรียนทาความสะอาดร่างกายก่อนไปเรียนในคาบต่อไป หัวหน้าสั่งเลิกแถวบอกทาความเคารพ
6.สื่อการเรียนรู้
1. ตะกร้า
2. ลูกแชร์บอล
3. นกหวีด
7.การวัดและประเมินผล
รายการประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
ด้านความรู้ ให้ตอบคาถามใน ข้อคาถาม ตอบถูกได้ = 1
นักเรียนรู้การบังคับบอล และการ ชั่วโมงเรียน ตอบผิดได้ = 0
เคลื่อนที่ในการเล่นบอลและกติกา ผ่านร้อยละ 60 %
การเล่นกีฬาแชร์บอลได้อย่าง
ถูกต้อง
ด้านทักษะกระบวนการ ทดสอบทักษะ แบบประเมินผลการ เกณฑ์การประเมิน
นักเรียนมีทักษะของกีฬาแชร์บอล ปฏิบัติ - ทาถูกต้องทุก
และสามารถสนุกสนานในการเรียน ขั้นตอนต่อเนื่อง
ทักษะกีฬาแชร์บอล ถูกต้อง = 3
- ทาถูกต้องทุก
ขั้นตอน = 2
- ทาถูกต้องไม่ครบ
ทุกขั้นตอน = 1
ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สังเกตตามแบบ แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์ระดับ
นักเรียนมีเจตคติ มีความสนใจ มี ประเมิน คุณลักษณะอันพึง คะแนน 2 ขึ้นไป
ความกระตือรือร้นที่จะเรียน มีวินัย ประสงค์
ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางานกล้า
แสดงออก
แบบบันทึกท้ายแผนการจัดการเรียนรู้
ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง
...............................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

(ลงชื่อ)............................................................
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)
วันที่..........เดือน.......................... พ.ศ. ................
ความคิดเห็นของครูนิเทศประจาโรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้มีความถูกต้องสอดคล้องกับทุกองค์ประกอบเห็นควรไปใช้ ในการจัดการเรียนรู้
ได้
เห็นควรปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ในเรื่อง.................................................................................
(ลงชื่อ)............................................................
(นางอาพร ทีสี)
วันที่..........เดือน..........................พ.ศ.................
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
อนุญาตให้นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้
ไม่อนุญาตให้นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้
(ลงชื่อ).............................................................
(นายณัฐพงษ์ ดาขวา)
ผู้อานวยการโรงเรียนเมืองอุบล
วันที่..........เดือน..........................พ.ศ....................
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรค
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ปัญหาในครั้งต่อไป
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

(ลงชื่อ).......................................................ผู้สอน
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)
วันที่..........เดือน.............................พ.ศ....................

ข้อเสนอแนะจากสมาชิกในทีม (ผู้สอนเป็นผู้บันทึกโดยสรุปจากการสะท้อนผลหลังการจัดการเรียนรู้)
ผู้เสนอแนะ สิ่งที่นักเรียนพัฒนาได้ดี สิ่งที่ควรปรับปรุงได้ดีขึ้น
ผู้อานวยการโรงเรียน/ผู้แทน

ครูนิเทศประจาโรงเรียน

นักศึกษาร่วมสังเกต1

นักศึกษาร่วมสังเกต2

ครูพี่เลี้ยง

อาจารย์นิเทศ

นักศึกษาฝึกสอน

*หมายเหตุ : นักศึกษาร่วมสังเกตอย่างน้อย 1 คน
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................นักศึกษาร่วมสังเกต 1
(นายอิสระ กาละไชย)
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................นักศึกษาร่วมสังเกต 2
( )
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................ครูพี่เลี้ยง
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................ครูนิเทศก์ประจาโรงเรียน
(นางอาพร ทีสี)
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................ ....

ลงชื่อ....................................................ผู้อานวยการโรงเรียน/ผู้แทน
(นายณัฐพงษ์ ดาขวา)
ข้อคิดเห็น
........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................อาจารย์นิเทศก์
( )
(แบบภาพถ่ายกิจกรรมเปิดชั้นเรียน/สังเกตชั้นเรียน)
รายงานผลการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน
รายวิชา ปฏิบัติสอนในสถานศึกษา 1

ชื่อ นางสาวอริสรา สาหินกอง รหัสประจาตัว 64121080130


หลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต 4ปี สาขาวิชาพลศึกษา
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
โรงเรียนเมืองอุบล
ตาบลในเมืองอุบลราชธานี อาเภอเมืองอุบลราชธานี
จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34000
ระยะเวลาในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 7 สัปดาห์
ชื่อหัวหน้าสถานศึกษา
ชื่ออาจารย์นิเทศ
ชื่อครูพี่เลี้ยง นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล
ปฏิบัติการสอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 4 5 และ 6

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี
รายงานผลการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จานวนนักเรียน 16 คน
โรงเรียนเมืองอุบล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต1
ระยะเวลาที่ดาเนินการพัฒนา วันที่ 30 มกราคม 2566 – วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.2566

สภาพปัญหา/ประเด็นที่ต้องการพิจารณา
ปัญหาสาคัญที่พบคือ การจัดการเรียนการสอนในสัปดาห์แรก ผู้เรียนไม่ค่อยสนใจในการสอน เกิดความ
เบื่อหน่าย และไม่ตั้งใจเรียนเท่าที่ควร เด็กเบื่อหน่ายในการเรียนซึ่งอาจเป็นเพราะการสอนของครูไม่มีอะไร
แปลกใหม่ หรือไม่น่าสนใจเลยโดยเฉพาะกับวิชาพลศึกษา นักเรียนจึงไม่ค่อยให้ความร่วมมือ ในการจัด
กิจกรรมการเรียน
ระบุนวัตกรรม/วิธีการที่ใช้ในการแก้ปัญหา/พัฒนาผู้เรียน

1. สื่อการสอน สื่อการสอนจะช่วยเสริมสร้างบรรยากาศภายในห้องเรียนและการเรียนให้ผ่อนคลาย
ขึ้น ได้ เนื่องจากรูปแบบของการสอนก็จะเปลี่ยนแปลงไปตามแต่ละรูปแบบของสื่อที่ถูกนามาใช้รวมกับ
การสอน ทาให้ผู้เรียนสนุกสนานกับการเรียนการสอนได้มากขึ้น ไม่ซ้าอยู่กับแค่การบรรยายของผู้สอน
เพียงอย่างเดียวเท่านั้น

2. คะแนนเก็บ/คะแนนชิ้นงาน/คะแนนปฏิบัติ เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ในการช่วยเหลือนักเรียนให้
เป็นผู้ที่สามารถตัดสินคุณภาพขึ้นงานอย่างมีเหตุผล ที่งานของตนเองและผู้อื่น นักเรียนจะรู้
ข้อผิดพลาดของคนเองและผู้อื่น การทาเช่นนี้บ่อยช่วยให้นักเรียนเกิดความรับผิดชอบในงานของ
ตนเองมากยิ่งขึ้น

3. ตัวชี้วัดของการมีวินัยของนักเรียน พฤติกรรมของนักเรียนที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง
กฎเกณฑ์ และระเบียบ ข้อบังคับของโรงเรียน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสาเร็จตามความมุ่งหมายในเวลา
ที่กาหนดและ มีความรับผิดชอบและการตรงต่อเวลา
เครื่องมือทีใ่ ช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน
1. แผนการจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา จานวน 3 แผน
1.1 แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการควบคุมท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบ
1.2 แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องการเล่นเกมรับ-ส่งบอลโยนลงตะกร้า
1.3 แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องการเล่นกีฬาพื้นฐาน (กีฬาแชร์บอล)
2. แบบฝึกปฏิบัติ
3. ใบความรู้
4. ใบบันทึกผลการทดสอบทักษะ
5. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน
6. แบบประเมินคุณคุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีการดาเนินการพัฒนา
1. ศึกษาข้อมูลและสภาพการจัดการเรียนรู้
ทาการสังเกตชั้นเรียน ระหว่างวันที่ 30 มกราคม 2566 – วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566
พบว่า จากการสังเกตชั้นเรียนในวิชาพลศึกษา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมืองอุบล ผู้เรียน
ส่วนมากสนใจในการสอน แต่มีส่วนน้อยที่ไม่สนใจเรียน ขาดแรงจูงใจ ไม่รู้ว่าเรียนแล้วจะ นาความรู้นั้นไปใช้
ประโยชน์ในอนาคตได้อย่างไร ครูอาจจะต้องทดลองหาว่าวิธีไหนจะกระคุ้นให้เด็กอยาก เรียนรู้ได้มากที่สุด ครู
อาจจะต้องลองโยนคาถามชวนคิดให้พวกเขา เพิ่มการทากิจกรรมลงไปในกระบวนการ เรียนรู้ หรือเพิ่มสื่อการสอน
หน้าที่ของครูต้องช่วยสนับสนุนเด็กๆ เช่น
1. กระคุ้นให้เด็กรู้สึกอยากเรียน เช่น เรียนแล้วจะนาไปใช้ในชีวิตประจาวันยังไง
2. สร้างความมั่นใจให้เด็กเชื่อว่าเขาทาได้ หลายครั้งที่เราอยากจะทาอะไรสักอย่าง แต่สุดท้ายไปไม่รอด
เพราะลึกๆ แล้ว เราเองไม่เชื่อว่าจะทาได้จริงๆ
3. การใช้จิตวิทยาการศึกษาแกไขปัญหาพฤติกรรมเด็ก
2. นาเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และขอคาชี้แนะจากครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศในวันที่ 3กุมภาพันธ์ 2566 ด้วยวิธีการ
(Face to face/Online) ผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีดังนี้
1. เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
การจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีบทบาทสาคัญในการเป็นผู้เรียนรู้โดยพยายามจัดกิจกรรมให้ ผู้เรียนได้
สร้างความรู้ ได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สื่อ และสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ โดยใช้กระบวนการต่าง ๆ เป็นเครื่องมือ
ในการเรียนรู้ และนักเรียนมีโอกาสนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์อื่นๆ
2. การวางแผนการเรียนรู้
การบริหารชั้นเรียนให้สอดคล้องกับรูปแบบหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แต่ละครั้ง และต้องมีชั้นตอน สาคัญ
คือ กาหนดจุดประสงค์ ประเมินพฤติกรรมหรือความสามารถของผู้เรียน
3. การบริหารจัดการชั้นเรียน
การจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ห้องเรียน เพื่อสนับสนุนให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างมี
ความสุข การจัดสภาพแวดล้อมจะต้องคานึงถึง ความสะอาด ความปลอดภัย ความมีอิสระอย่างมี
ขอบเขตในการเล่น และ ความสะดวกในการทากิจกรรม
4. การจัดทาแผนการเรียนรู้หรือแผนการสอน
แผนการสอน โดยแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดี ควรมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง เหมาะสม
กับความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้ค้นพบคาตอบหรือการ กระทาด้วย
ตนเอง ให้ผู้เรียนรับรู้และนากระบวนการไปใช้จริงในชีวิตประจาวัน รวมทั้ง ส่งเสริมการใช้ วัสดุอุปกรณ์ที่
สามารถจัดหาไดในท้องถิ่น โดยครูคอยให้คาแนะนาและดูแลนักเรียน
5. แรงจูงใจกับการเรียนการสอน
การยกย่องชมเชย คาชมที่เหมาะกับโอกาสและเหมาะสมกับการกระทาของนักเรียนย่อมเป็นแรง จูง ใจ
ให้แก่เด็กเป็นอย่างดี คาชมของครูมีค่าสาหรับเด็กทุกคน
3. ออกแบบแผนจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
3.1 เรื่อง การควบคุมท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบ จานวน 1 แผน
3.2 เรื่อง การเล่นเกมรับ-ส่งบอลโยนลงตะกร้าจานวน 1แผน
3.3 เรื่อง การเล่นกีฬาพื้นฐาน (กีฬาแชร์บอล)
โดยแผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้รูปแบบ/วิธ/ี เทคนิค
1. Active learning ( เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ) กระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องเน้นให้ผู้เรียน
สามารถแสวงหาความรู้ และพัฒนาความรู้ได้ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพของตนเอง รวมทั้ง
สนับสนุนให้มีการ'ฟิกและปฏิบัติในสภาพจริง
2. การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ(cooperative Learning) เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่แบ่ง
นักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกันโดยในกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มี
ความสามารถแตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมี ความ
รับผิดชอบร่วมกัน ทั้งในส่วนตนและส่วนรวม เพื่อให้ตนเองและสมาขิกทุกคนในกลุ่มประสบ ความสาเร็จ
ตามเป้าหมายที่วางไว้
3. Technological Pedagogical and Content Knowledge (TRACK) (การนาเทคโนโลยีเข้า
มาร่วมในการสอน )เพื่อส่งเสริมผู้เรียนให้มีความพร้อมในการอยู่ในสังคมยุคใหม่พัฒนากระบวนการ เรียน
การสอน ที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
4. การลงมือปฏิบัติจริง (CommunityBased Learning) (CBL) ผู้เรียนได้กระทาสิ่งต่างๆด้วยตนเอง
ผ่านการปฏิบัติการจริงคือ ผู้เรียนได้ฟิกในสภาพสิ่งแวดล้อมจริง ได้ฟิกคิดและลงมือทาสิ่งต่างๆด้วย ตนเอง
ทั้งนี้ การสนับสนุนให้เด็กได้พัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามวัย
5. Content and Language Integrated Learning (CLIL) การนาภาษาเข้ามาร่วมในการเรียน การ
สอน สนับสนุนให้ผู้เรียนใช้ความคิด สติปัญญา และมีความรู้สึกที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษเน้น การ
พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน และระหว่างนักเรียนด้วยกัน ทาให้ผู้เรียนเกิด ความรู้สึกว่าเป็น
ส่วนหนึ่งของกลุ่ม
4. นาแผนการจัดการเรียนรู้เสนออาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง เพื่อขอรับข้อเสนอแนะเพิ่มเดิม เมื่อวันที่ 3
กุมภาพันธ์ 2566 สรุปข้อเสนอแนะของครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์มีดังนี้
4.1) ให้ทาจุดประสงค์ 3 จุดประสงค์ (Objective)
4.1.1 ด้านความรู้ (พุทธิพิสัย) (Knowledge)
4.1.2 ด้านทักษะ (ทักษะพิสัย) (Psychomotor Development)
4.1.3 ด้านคุณธรรมจริยธรรม (จิตพิสัย) (Affective Development)
4.2) ให้แทรก TRACK CILL CBL เข้าไปในขั้นสอน การใช้การสอนแบบแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา
แบบการสอน ตามแนวทาง CBL-ได้โดยจัดรูปแบบการสอนเป็น 5 ขั้นตอนด้งนี้
4.2.1 ขั้นตอนที่ 1 กระตุ้นความสนใจ
4.2.2 ขั้นตอนที่ 2 ตั้งปัญหาและแบ่งกลุ่มตามความสนใจ
4.2.3 ขั้นตอนที่ 3 ค้นคว้าและคิด
4.2.4 ขั้นตอนที่ 4 นาเสนอ
4.2.5 ขั้นตอนที่ 5 ประเมินผล
4.3) การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการสอน เทคโนโลยีสารสนเทศที่นามาใช้สาหรับการเรียน การสอน เช่น
4.3.1วิดีโอ (video) เป็นเครื่องมือสาคัญที่ช่วยในการจดจาข้อมูลที่เคยเรียนมาแล้ว ผู้เรียนสามารถ ไป
ค้นหาข้อมูลต้องการหรือยังไม่เข้าใจได้รวดเร็ว ง่ายต่อการเข้าถึง
4.3.2 ส่งงานทางผ่าน e - mail
4.3.3 ทดสอบโดยโปรแกรม kahoot.itKahoot!
5.นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 ขั้นประถมศึกษาปีที่ 3
โรงเรียนเมืองอุบล จานวนนักเรียน 16 คนโดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับครูพี่เลี้ยง ภายหลังจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ได้ร่วมสะท้อนผลกับครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศกิ สรุปสาระสาคัญของ ข้อเสนอแนะ คือ
1. ทักษะการอธิบาย ในการพูดแสดงรายละเอียดและให้ตัวอย่างให้ผู้เรียนเข้าใจ หายจากข้อสงสัย เกิดความ
ชัดเจนในสิ่งนั้น หรือขยายความในลักษณะที่ช่วยให้นักเรียนเข้าใจเรื่องราวต่าง ๆ ได้ซัดเจนขึ้น ซึ่งอาจกระทา ได้
โดยการบอก การดีความ การสาธิต การยกตัวอย่างประกอบ และเวลาที่ใช้ในการอธิบายไม่ควรนานเกินไป และ
การอธิบายควรเริ่มจากเรื่องที่เข้าใจง่ายไปหาเรื่องที่เข้าใจยาก
2. เตรียมพร้อม ความมั่นใจต้องมาจากความพร้อมในสิ่งที่เราจะพูด ในเรื่องที่เราจะสอน
ประเมินมาจากแผนการเรียนรู้ที่ 1
นักเรียนคนที่ คะแนน ร้อยละ ระดับ
1 10 100 ดี
2 10 100 ดี
3 9 90 ดี
4 10 100 ดี
5 9 90 ดี
6 10 100 ดี
7 10 100 ดี
8 8 80 ดี
9 10 100 ดี
10 9 90 ดี
11 8 80 ดี
12 9 90 ดี
13 9 90 ดี
14 10 100 ดี
15 9 90 ดี
16 8 80 ดี
สรุป ผลการจัดการเรียนรู้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/4โรงเรียนม่วงสามสิบอัมพวันวิทยา แผนที่ 1 ผู้เรียนได้
ระดับคุณภาพ ดี คิดเป็นร้อยละ 100
ผู้เรียนได้ระดับคุณภาพ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0
ผู้เรียนได้ระดับคุณภาพ ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0

เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ
ดี = ร้อยละ 80 ชั้นไป , ปานกลาง = ร้อยละ 50-79 , ปรับปรุง = ต่ากว่าร้อยละ 50
แบบบันทึกหลังแผนการสอน
แผนการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การควบคุมท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบ

• ด้านความรู้
เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬาและ การ'ฟิกความคุ้นเคยกับ ลูก
บอลนั้น เป็นการ'ฟิกประสาทตา และร่างกายส่วนที่ใช้สัมผัสกับลูกบอล จังหวะระยะรับรู้ ความเร็ว ของ
การตอบสนอง ท่าทางการเล่น กลไกการเคลื่อนไหว การคาดคะเน ขนาด น้าหนัก และความหยุ่น ของลูก
บอล ผู้เล่นควรจะคุ้นเคยกับลูกบอลเพื่อฝึกประสาทและร่างกายส่วนที่จะใช้สัมผัสกับลูกบอลให้เกิด
ความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันอย่างสมบูรณ์ เมื่อลูกบอลอยู่ในลักษณะอย่างไรก็สามารถเคลื่อนที่ ไปเล่นลูกบอล
ได้และสามารถใช้มือบังคับลูกบอลนั้นให้ไปในทิศทางที่ต้องการ
• ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญ ได้
อย่างลูกต้องเหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเหตุผล
• ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการทางาน
3. มีจิตสาธารณะ
• ปัญญา/อุปสรรค
นักเรียนขาดความเชื่อมั่นในตนเอง ไม่กล้าเผชิญกับสิ่งแปลกใหม่ หรือทาสิ่งใด ที่ครูให้ปฏิบัติเพราะ กลัว
ความล้มเหลว หรือกลัวทาให้คนอื่นผิดหวัง สิ่งเหล่านี้จะเป็นตัวถ่วงในการประสบความสาเร็จ ใน
อนาคต
• แนวทางการแก้ไข
ทักษะการเสริมกาลังใจ การเสริมกาลังใจ ให้แก่ผู้เรียนว่าผู้เรียนสามารถทาได้ ที่มุ่งไปสู่จุดประสงค์ที่
กาหนดไว้ เมื่อนักเรียนทาพฤติกรรมลูกต้องเหมาะสมในอันที่จะเป็นผลสาเร็จตามจุดประสงค์ที่ครู กาหนด
ไว้ ครูก็เสริมกาลังใจให้ผู้เรียน เพื่อผู้เรียนจะให้พฤติกรรมนั้นต่อไปและเข้มข้นขึ้น
5. นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2566 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
จานวนนักเรียน 16 คน โรงเรียนเมืองอุบล โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับครูพี่เลี้ยง ภายหลัง จัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ได้ร่วมสะท้อนผลกับครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์ สรุปสาระสาคัญของข้อเสนอแนะ คือ
6.1.การปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ที่ไม่เคยเกิดขึ้น (Adaptability)
6.2ครูต้องมีความมั่นใจ (Confidence จะไม่สามารถเป็นครูที่ดีได้หากครูไม่มีความมั่นใจในตนเอง การ ที่
จะยืนหน้าห้องได้อย่างสง่าผ่าเผยนั้น ครูต้องมีบุคลิกภาพที่เข็มแข็ง ตอบคาถามนักเรียนได้ และต้อง ใส่ใจ
ที่จะทาให้ตนเองเกิดความมั่นใจในขณะสอนในชั้นเรียน
ประเมิน มาจากแผนการเรียนร้ที่2
นักเรียนคนที่ คะแนน ร้อยละ ระดับ
1 9 90 ดี
2 10 100 ดี
3 8 80 ดี
4 8 80 ดี
5 9 90 ดี
6 10 100 ดี
7 9 90 ดี
8 10 100 ดี
9 10 100 ดี
10 8 80 ดี
11 9 90 ดี
12 10 10 ดี
13 9 90 ดี
14 9 90 ดี
15 10 100 ดี
16 10 100 ดี
สรุปผลการจัดการเรียนรู้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมืองอุบล แผนที่ 2 ผู้เรียนได้ระดับคุณภาพ
ดี คิดเป็นร้อยละ 100
ผู้เรียนได้ระดับคุณภาพ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0
ผู้เรียนได้ระดับคุณภาพ ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0

เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ
ดี = ร้อยละ 80 ชั้นไป , ปานกลาง = ร้อยละ 50-79 , ปรับปรุง = ต่ากว่าร้อยละ 50
แบบบันทึกหลังแผนการสอน
แผนการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2566
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องการเล่นเกมรับ-ส่งบอลโยนลงตะกร้า

• ด้านความรู้
ทักษะการรับลูกและทักษะการส่งลูกเป็นทักษะที่สาคัญหรือเป็นหัวใจสาคัญในการเล่นกีฬา แชร์
บอลเพราะทักษะการรับส่งเป็นพื้นฐานของกีฬาแชร์บอลเพื่อจะต่อยอดไปในการเล่น เป็นทีมใน
การเป็นฝ่ายรุกหรือฝ่ายรับก็ตามและถ้า'ฟิกฝนจนเกิดความชานาญและแม่นยาใน การรับส่งแล้ว
ความสาเร็จและความสะดวกในการเล่นเป็นทีม การรุกการรับและ ความสามารถของผู้เล่นและ
ทีมจะมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
• ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญ ได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล
• ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการทางาน
3. มีจิตสาธารณะ
• ปัญญา/อุปสรรค
นักเรียนขาดความเชื่อมั่นในตนเอง ไม่กล้าเผชิญกับสิ่งแปลกใหม่ หรือทาสิ่งใด ที่ครูให้ปฏิบัติเพราะ กลัว
ความล้มเหลว หรือกลัวทาให้คนอื่นผิดหวัง สิ่งเหล่านี้จะเป็นตัวถ่วงในการประสบความสาเร็จ ใน
อนาคต
• แนวทางการแก้ไข
ทักษะการเสริมกาลังใจ การเสริมกาลังใจ ให้แก่ผู้เรียนว่าผู้เรียนสามารถทาได้ ที่มุ่งไปสู่จุดประสงค์ที่
กาหนดไว้ เมื่อนักเรียนทาพฤติกรรมถูกต้องเหมาะสมในอันที่จะเป็นผลสาเร็จตามจุดประสงค์ที่ครู กาหนด
ไว้ ครูก็เสริมกาลังใจให้ผู้เรียน เพื่อผู้เรียนจะให้พฤติกรรมนั้นต่อไปและเข้มข้นขึ้น
6. นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในวันที่ 7 มีนาคม 2566 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3จานวน
นักเรียน 16 คน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับครูพี่เลี้ยง ภายหลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ ร่วมสะท้อนผลกับ
ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์ สรุปสาระสาคัญของข้อเสนอแนะ คือ
1. ปรับปรุงเรื่องการอธิบายการปฏิบัติชัดเจนมากขึ้นเพื่อนักเรียนจะได้เข้าใจว่า ต้องทาแบบไหนจึงจะ
ถูกต้องและเพื่อความซัดเจนมากขึ้น ควรสาธิตและบอกนักเรียนให้ละเอียด
2. ควรขยายระยะเวลาในการให้นักเรียนฝีกปฏิบัติมากขึ้น เนื่องจากทักษะการยิงประตูเป็นทักษะที่
ค่อนข้างยาก นักเรียนอาจจะไม่สามารถปฏิบัติได้ ดังนั้นต้องเพิ่มระยะเวลาในการปฏิบัติให้กับนักเรียน
เพื่อให้เกิดความชานาญ
นักเรียนคนที่ ประเมิน มาจากแผนการเรียนร้ที่ร
คะแนน ร้อยละ ระดับ
1 7 70 ปานกลาง
2 10 100 ดี
3 10 100 ดี
4 7 70 ปานกลาง
5 7 90 ดี
6 9 90 ดี
7 8 80 ดี
8 7 70 ปานกลาง
9 9 90 ดี
10 8 80 ดี
11 6 60 ปานกลาง
12 6 60 ปานกลาง
13 6 60 ปานกลาง
14 6 60 ปานกลาง
15 7 70 ปานกลาง
16 8 80 ดี
สรุป ผลการจัดการเรียนรู้คือ นักเรียนชั้นชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมืองอุบล แผนที่ 3 ผู้เรียนได้ระดับ
คุณภาพ ดี คิดเป็นร้อยละ 50
ผู้เรียนได้ระดับคุณภาพ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 50
ผู้เรียนได้ระดับคุณภาพ ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0

เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ
ดี = ร้อยละ 80 ชั้นไป , ปานกลาง = ร้อยละ 50-79 , ปรับปรุง = ต่ากว่าร้อยละ 50
แบบบันทึกหลังแผนการสอน
แผนการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 วันที่ 7 มีนาคม 2566
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องการเล่นกีฬาพื้นฐาน (กีฬาแชร์บอล)

• ด้านความรู้
การแข่งขันกีฬาแชร์บอลเป็นเกมการแข่งขันที่สร้างความสนุกสนาน ตื่นเต้น เร้าใจแก่ผู้ชมเป็นอย่าง ยิ่ง
เนื่องจากมีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนการทาประตูอย่างรวดเร็ว ในการแข่งขันครั้งหนึ่งๆ ผู้เล่นทั้ง สองฝ่าย
สามารถทาประตูได้มากถือว่าเป็นทีมชนะ ดังนั้นแต่ละทีมผู้เล่นจะมีความสามารถมากน้อย เพียงใดก็ตาม
สิ่งสาคัญที่สุดที่จะทาให้ที่ชนะได้อยู่ในการยิงประตูของผู้เล่น อยู่ที่ความสามารถของผู้ เล่นว่ามี
ความสามารถมากน้อยเพียงใด ดังนั้นผู้เล่นควร'ฟิกฝนทักษะการยิงประตูให้ได้หลายๆแบบและ ฝึก
อย่างสม่าเสมอ
• ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่ เผชิญ
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล
- ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์
• ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการทางาน
3. มีจิตสาธารณะ
• ปัญญา/อุปสรรค
นักเรียนขาดความเชื่อมั่นในตนเอง ไม่กล้าเผชิญกับสิ่งแปลกใหม่ หรือทาสิ่งใด ที่ครูให้ปฏิบัติเพราะ กลัว
ความล้มเหลว หรือกลัวทาให้คนอื่นผิดหวัง สิ่งเหล่านี้จะเป็นตัวถ่วงในการประสบความสาเร็จ ใน
อนาคต
• แนวทางการแก้ไข
ทักษะการเสริมกาลั งใจ การเสริมกาลังใจ ให้ แก่ผู้ เรียนว่าผู้เรียนสามารถท าได้ ที่มุ่ งไปสู่ จุดประสงค์ที่
กาหนดไว้ เมื่อนักเรียนทาพฤติกรรมถูกต้องเหมาะสมในอันที่จะเป็นผลสาเร็จตามจุดประสงค์ที่ครู กาหนด
ไว้ ครูก็เสริมกาลังใจให้ผู้เรียน เพื่อผู้เรียนจะให้พฤติกรรมนั้นต่อไปและเข้มข้นขึ้น
ตารางสรุปผลการจัดการเรียนรู้ บันทึกผลลงในตาราง การวิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล โดยการหาค่าร้อยละ ผลการพัฒนาผู้เรียน
1. ผลเชิงปริมาณ

นักเรียน ประเมิน (มาจากแผนการเรียนรู้ที่!-ร)


1 2 3
คนที่ คะแนน ร้อยละ ระดับ คะแนน ร้อยละ ระดับ คะแนน ร้อยละ ระดับ
1 10 100 ดี 9 90 ดี 7 70 ปานกลาง
2 10 100 ดี 10 100 ดี 10 100 ดี
3 9 90 ดี 8 80 ดี 10 100 ดี
4 10 100 ดี 8 80 ดี 7 70 ปานกลาง
5 9 90 ดี 9 90 ดี 7 90 ดี
6 10 100 ดี 10 100 ดี 9 90 ดี
7 10 100 ดี 9 90 ดี 8 80 ดี
8 8 80 ดี 10 100 ดี 7 70 ปานกลาง
9 10 100 ดี 10 100 ดี 9 90 ดี
10 9 90 ดี 8 80 ดี 8 80 ดี
11 10 100 ดี 9 90 ดี 6 60 ปานกลาง
12 9 90 ดี 10 10 ดี 6 60 ปานกลาง
13 9 90 ดี 9 90 ดี 6 60 ปานกลาง
14 10 100 ดี 9 90 ดี 6 60 ปานกลาง
15 9 90 ดี 10 100 ดี 7 70 ปานกลาง
16 10 100 ดี 10 100 ดี 8 80 ดี
หมายเหตุ
แผนที่1 วิชาพลศึกษา เรื่อง การควบคุมท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบ
แผนที่2 วิชาพลศึกษา เรื่อง การเล่นเกมรับ-ส่งบอลโยนลงตะกร้า
แผนที่3 วิชาพลศึกษา เรื่อง การเล่นกีฬาพื้นฐาน (กีฬาแชร์บอล)

เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ
ดี = ร้อยละ 80 ขึ้นไป , ปานกลาง = ร้อยละ 50-79 , ปรับปรุง = ต่ากว่าร้อยละ 50
2. ผลเชิงคุณภาพ
เขียนบรรยายเพิ่มเดิมเกี่ยวกับผลการจัดการเรียนรู้ 3 ครั้ง นาเสนอประเด็นที่น่าสนใจที่พบในการจัดการ เรียนรู้
ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่กาลังดาเนินการแกไข ดังนี้
1. การนาเกมพร้อมรูปแบบชุดฝึกที่แตกต่างกันและความหลากหลายในการลงมือปฏิบัติทาให้ผู้เรียน สนใจ
และกระตือรือร้นในการอยากเรียนมากขึ้นเนื่องจากผู้เรียนอยากลงมือปฏิบัติ เพราะการนาเกม เข้ามามี
ส่วนร่วมในการเรียนการสอนทาให้ดึงดูดผู้เรียนได้เป็นอย่างดี
2. การใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานช่วยสร้างความสามัคคีและทาให้การจัดกิจกรรมประสบ ความสาเร็จ
ได้ดียิ่งขึ้น
3. ชี้จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ให้พวกเขาตระหนักถึงคุณค่าในสาระสาคัญที่ว่า พวกเขาเรียนสิ่งนี้ไปเพื่ออะไร
วิชา/กิจกรรมนี้ช่วยให้พวกเขาจะพัฒนาทักษะด้านใดได้บ้าง
4. กระคุ้นส่งเสริมบรรยากาศในทางบวกให้พวกเขามีความมั่นใจและกล้าคิดกล้าทา
ข้อเสนอแนะ
จากการจัดการเรียนรู้ทั้ง 3 แผนในรายวิชาพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเมืองอุบล คือ ใช้วิธีการ
เสริมแรงทางบวกและปรับพฤติกรรมการสอนเพื่อให้เป็นที่สนใจของนักเรียนขณะที่คุณครูผู้สอน กาลังทาการสอน
เช่น การชมเชยจากผู้สอน คะแนนความรู้สึกที่ได้รับ ความสาเร็จและโอกาสที่ได้ทาในสิ่งที่ ต้องการ เป็นด้น และ
พยายามชี้จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ให้นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าในสาระสาคัญที่ว่า นักเรียน เรียนสิ่งนี้ไปเพื่ออะไร
วิชา/กิจกรรมนี้ช่วยให้พวกเขาจะพัฒนาทักษะด้านใดได้บ้าง ให้นักเรียนเกิด ความเข้าใจมากที่สุด
ลงชื่อผู้ร่วมกระบวนการชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ
ลาดับที่ ชื่อ – สกุล บทบาทในทีม ลายมือชื่อ
1 นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล Model teacher
2 ต้องมี Buddy teacher อย่างน้อย 1 Buddy teacher
คน
3 นายอิสระ กาละไชย Buddy teacher
4 นายณัฐพงษ์ ดาขวา Administrator
5 ต้องมีอาจารย์นิเทศ Mentor/Expert Mentor/Expert
อย่างน้อย 1 คน
6 ผศ.ดร.นเรศ ขันธะรี Mentor/Expert
ภาคผนวก
ภาพการดาเนินการ บรรยากาศในชั้นเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 เรื่องการควบคุมท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อมีอุปกรณ์ประกอบ
ภาคผนวก
ภาพการดาเนินการ บรรยากาศในชั้นเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่2 เรื่อง การเล่นเกมรับ-ส่งบอลโยนลงตะกร้า
ภาคผนวก
ภาพการดาเนินการ บรรยากาศในชั้นเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่3 เรื่อง การเล่นกีฬาพื้นฐาน (กีฬาแชร์บอล)
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครู
รายวิชา ปฏิบัติสอนในสถานศึกษา 1

ชื่อ นางสาวอริสรา สาหินกอง รหัสประจาตัว 64121080130


หลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต 4ปี สาขาวิชาพลศึกษา
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
โรงเรียนเมืองอุบล
ตาบล อาเภอ จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์
ระยะเวลาในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 7 สัปดาห์
ชื่อหัวหน้าสถานศึกษา
ชื่ออาจารย์นิเทศ
ชื่อครูพี่เลี้ยง นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล
ปฏิบัติการสอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 4 5 และ 6

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี
คาชี้แจง
นักศึกษารายงานผลการปฏิบัติงานหน้าที่ครูที่ได้ร่วมปฏิบัติกับโรงเรียนโดยนาเสนอกิจกรรมภาพประกอบ
การทากิจกรรม หน้าที่หรือสิ่งที่ได้ปฏิบัติ และที่ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติกิจรรม/งาน
สรุปในภาพรวมตลอดทั้งการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2

วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติงานหน้าที่ครู
1. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานในหน้าที่ครูร่วมกับผู้อื่นในสถานศึกษา ชุมชน
2. เพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะความเป็นครู ตระหนักและเห็นความสาคัญของวิชาชีพครู
สรุปการปฏิบัติงานหน้าที่ครู
ชื่อ นางสาวอริสรา สาหินกอง รหัส 64121080130 สาขาวิชาพลศึกษา
โรงเรียนเมืองอุบล

ตอนที่ 1 รายการที่ปฏิบัติ
ลาดับที่ ว/ด/ป งาน/กิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย กลุ่มงาน
1 30 มกราคม 2566 แนะนาตัวเองหน้าเสาธงโรงเรียนเมือง กลุ่มงานบริหาร
อุบล ทั่วไป

2 30 มกราคม 2566 เข้าร่วมประชุมกับผู้อานวยการ กลุ่มงานบริหาร


โรงเรียน และคณะครูโรงเรียนเมือง ทัว่ ไป
อุบล แต่งตั้งครูนิเทศประจาโรงเรียน
และครูพี่เลี้ยง และมอบหมายหน้าที่
พิเศษ ให้ปฏิบัติงามตามกลุ่ม
บริหารงานของ โรงเรียน ในเวลาว่าง
จากการสอน และ มอบหมายให้
นักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู
ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆตาม ความสามารถ

3 1 กุมภาพันธ์ 2566 เข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงเป็นประจา กลุ่มงานบริหาร


ทุก วันในตอนเช้า ก่อนเข้าเรียน เป็น ทั่วไป
กิจกรรม ที่นักเรียนทุกคนและครูต้อง
ร่วมกิจกรรม โดยมีกิจกรรมสาคัญ คือ
การเข้าแถว
เคารพธงชาติ สวดมนตร์ การอบรม
โดยครู เวรประจาวัน การทากิจกรรม
น้องไหว้พี่-พี่ รับไหว้น้อง การแจ้ง
ข่าวสารประชาสัมพันธ์ ประจาวัน
4 2 กุมภาพันธ์ 2566 ปฏิบัติการสังเกตการสอนในระดับชั้น กลุ่มงานสาระ
ประถมศึกษาปีที่ 4 รายวิชาสุขศึกษา การ เรียนรู้สุข
เวลา 10.00-11.00 น. ศึกษา
และ พลศึกษา

5 3 กุมภาพันธ์ 2566 ปฏิบัติการสังเกตการสอนในระดับชั้น กลุ่มงานสาระ


ประถมศึกษาปีที่ 5 รายวิชาสุขศึกษา การ เรียนรู้สุข
เวลา 10.00-11.00 น. ศึกษา
และ พลศึกษา

6 6 กุมภาพันธ์ 2566 ได้รับมอบหมายให้ดาเนินการดูแล กลุ่มงานบริหาร


จัดการการรับประทานอาหารกลางวัน ทั่วไป
ของนักเรียนในระดับปฐมวัย
7 21 กุมภาพันธ์ 2566 เริ่มปฏิบัติการสอนแผนการจัดการ กลุ่มงานสาระ
เรียนรู้ที่ 1 ในระดับชั้นประถมศึกษาปี การ เรียนรู้สุข
ที่ 3 รายวิชาพลศึกษา ศึกษา
เวลา 09.00-10.00 น. และ พลศึกษา

8 22 กุมภาพันธ์ 2566 ได้รับมอบหมายให้ดาเนินการจัดทา กลุ่มงาน


ฐานกิจกรรมค่ายลูกเสือสารอง บริหาร ทั่วไป

9 23 กุมภาพันธ์ 2566 ได้รับมอบหมายให้จัดทานิทรรศการ กลุ่มงาน


ภาคีเครือค่ายสถานศึกษา ระดับ บริหาร ทั่วไป
ปฐมวัย
10 28 กุมภาพันธ์ 2566 เริ่มปฏิบัติการสอนแผนการจัดการ กลุ่มงานสาระ
เรียนรู้ที่ 2 ในระดับชั้นประถมศึกษาปี การ เรียนรู้สุข
ที่ 3 รายวิชาพลศึกษา ศึกษา
เวลา 09.00-10.00 น. และ พลศึกษา

11 7 มีนาคม 2566 เริ่มปฏิบัติการสอนแผนการจัดการ กลุ่มงานสาระ


เรียนรู้ที่ 3 ในระดับชั้นประถมศึกษาปี การ เรียนรู้สุข
ที่ 3 รายวิชาพลศึกษา ศึกษา
เวลา 09.00-10.00 น. และ พลศึกษา
1.กิจกรรมเข้าแถวหน้าเสาธง

หน้าที่หรือสิ่งที่ได้ปฏิบัติกิจกรรม/งาน
เข้าแถวหน้าเสาธงเป็นประจาทุกวันในตอนเช้า ก่อนเข้าเรียน เป็นกิจกรรมที่นักเรียนทุกคนและครูต้อง ร่วม
กิจกรรม โดยมีกิจกรรมสาคัญ คือ การเข้าแถว เคารพธงชาติ สวดมนตร์ การอบรมโดยครูเวรประจาวัน
การทากิจกรรมน้องไหว้พี่-พี่รับไหว้น้อง การแจ้งข่าวสารประชาสัมพันธ์ประจาวัน
ประโยชน์ที่ได้รับจาการปฏิบัติกิจกรรม/งาน
ประโยชน์ต่อตนเอง
ฝึกตรงต่อเวลาและความชัดเจนในการปฏิบัติตามกฎและหน้าที่ และฝึกเป็นระเบียบเรียบร้อย
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
สร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมแก่นักเรียนและส่งเสริมให้พฤติกรรมที่พึงประสงค์พัฒนายิ่งขึ้น
ความมีวินัยเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งในสังคมเพราะวินัยเป็นเสมือนกติกาที่ทาให้ทุกคนอยู่ร่วมกันในสังคม
อย่าง เป็นสุข
ประโยชน์ต่อผู้รับบริการ
ฝึกความเป็นระเบียบวินัยให้นักเรียน การเสียสละเพื่อส่วนรวม มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์
2.กิจกรรม เข้าร่วมประชุมกับผู้อานวยการโรงเรียนและคณะครูโรงเรียนเมืองอุบล แต่งตั้ง ครูนิเทศประจา
โรงเรียนและครูพี่เลี้ยง

หน้าที่หรือสิ่งที่ได้ปฏิบัติกิจกรรม/งาน
เข้าร่วมประชุมกับผู้อานวยการโรงเรียนและคณะครูโรงเรียนม่วงสามสิบอัมพวันวิทยาแต่งตั้งครูนิเทศก์
ประจาโรงเรียนและครูพี่เลี้ยง และมอบหมายหน้าที่พิเศษให้ปฏิบัติงามตามกลุ่มบริหารงานของโรงเรียน ใน
เวลาว่างจากการสอน และมอบหมายให้นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆตาม
ความสามารถและแนะนาให้นักศึกษารู้จักกับผู้บริหารโรงเรียน เช่น ผู้อานวยการ ผู้ช่วยผูอ้ านวยการ หัวหน้า
หมวดวิชา และบุคลากรอื่นๆ ตลอดจนแนะนาเกี่ยวกับระเบียบวินัย ข้อบังคับต่างๆ ที่ใช้ในโรงเรียน ข้อตกลง
ร่วมกันระหว่างครูและนักเรียนในชั้น เพื่อนักศึกษาจะได้ปฏิบัติภารกิจได้ถูกต้อง
ประโยชน์ที่ได้รับจาการปฏิบัติกิจกรรม/งาน
ประโยชน์ต่อตนเอง
เข้าใจในเรื่องการพัฒนาเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู และการปฏิบัติตนตามระเบียบข้าราชการและ
จรรยาบรรณครูเพิ่มมากขึ้น รับผิดชอบต่อการสอนและงานที่ได้รับมอบหมายด้วยความเอาใจใส่และเป็นผลดี
ต่อสถาบันปฏิบัติการสอน
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
ประสานงานวิชาการกับอาจารย์พี่เลี้ยง เพื่อให้การปฏิบัติงานเกิดผลดีต่อสถาบันฝึกประสบการณ์
วิชาชีพ
ประโยชน์ต่อผู้รับบริการ
1. ประเมินผลการเรียนของนักเรียนอย่างสม่าเสมอปราศจากอคติต่อนักเรียน
2. อบรมแนะนานักเรียนเกี่ยวกับความประพฤติให้ถูกต้องด้วยความหวังดี
3.เริ่มปฏิบัติการสอน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รายวิชาพลศึกษา เวลา 09.00-10.00 น.

หน้าที่หรือสิ่งที่ได้ปฏิบัติกิจกรรม/งาน
ปฏิบัติการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รายวิชาพลศึกษา เวลา 09.00-10.00 น.
ประโยชน์ที่ได้รับจาการปฏิบัติกิจกรรม/งาน
ประโยชน์ต่อตนเอง
1. ได้ประสบการณ์วิชาชีพเพิ่มเติม นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียน และสามารถนาความรู้จาก
ทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
2. มีโอกาสเรียนรู้ลักษณะงานและเลือกงานในสายวิชาชีพ ได้ถูกต้องตรงกับความต้องการของตนเอง
3. เกิดการพัฒนาตนเอง มีความมั่นใจตนเองมากขึ้น และมีความพร้อมในการรับผิดชอบต่อหน้าที่การ
งานที่ได้รับมอบหมาย
4. ได้เสริมทักษะด้านการนาเสนอ การสื่อสารข้อมูล การมีมนุษย์สัมพันธ์ การทางานร่วมกับผู้อื่น
5. เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษาเกิดความรัก และความศรัทธาในวิชาชีพครูจากการปฏิบัติจริง
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
1. รายงานความเป็นไปของนักเรียนให้ทราบ เช่น พฤติกรรมทางบวกและทางลบ ตลอดจนปัญหาต่าง ๆ
ที่เกิดขึ้น
2. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนเป็นรายคน
3. ช่วยกันแก้ปัญหานักเรียน
ประโยชน์ต่อผู้รับบริการ
1. การเอาใจใส่ในผลการเรียนและความประพฤติของนักเรียน
2. รักษาความดีงามของตนที่เป็นผลให้นักเรียนยอมรับด้วยความเคารพเลื่อมใส
3. ให้ความยุติธรรมในการตัดสินการกระทาของนักเรียน
4. มีความเมตตากรุณาต่อนักเรียนโดยเสมอภาค
4.ได้รับมอบหมายให้ดาเนินการจัดทาฐานกิจกรรมค่ายลูกเสือสารอง

หน้าที่หรือสิ่งที่ได้ปฏิบัติกิจกรรม/งาน
จัดทาฐาน ประสาทสัมผัส กิจกรรมค่ายลูกเสือสารอง
ประโยชน์ที่ได้รับจาการปฏิบัติกิจกรรม/งาน
ประโยชน์ต่อตนเอง
1. ได้ประสบการณ์วิชาชีพเพิ่มเติม นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียน และสามารถนาความรู้จาก
ทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
2. มีโอกาสเรียนรู้ลักษณะงานและเลือกงานในสายวิชาชีพ ได้ถูกต้องตรงกับความต้องการของตนเอง
3. เกิดการพัฒนาตนเอง มีความมั่นใจตนเองมากขึ้น และมีความพร้อมในการรับผิดชอบต่อหน้าที่การ
งานที่ได้รับมอบหมาย
4. ได้เสริมทักษะด้านการนาเสนอ การสื่อสารข้อมูล การมีมนุษย์สัมพันธ์ การทางานร่วมกับผู้อื่น
5. เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษาเกิดความรัก และความศรัทธาในวิชาชีพครูจากการปฏิบัติจริง
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
1. ทราบพัฒนาการในด้านประสาทสัมผัสในตัวนักเรียนแต่ละบุคคล ในกระบวนการที่จัดขึ้นมาให้เกิด
ความสนุกสนามร่วมด้วย
2. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนเป็นรายคน
3. ช่วยกันแก้ปัญหานักเรียน
ประโยชน์ต่อผู้รับบริการ
1. การเอาใจใส่ในความประพฤติของนักเรียน
2. รักษาความดีงามของตนที่เป็นผลให้นักเรียนยอมรับด้วยความเคารพเลื่อมใส
5.ได้รับมอบหมายให้จัดทานิทรรศการภาคีภาคเครือข่ายสถานศึกษา ระดับปฐมวัย

หน้าที่หรือสิ่งที่ได้ปฏิบัติกิจกรรม/งาน
จัดทานิทรรศการภาคีภาคเครือข่ายสถานศึกษา ระดับปฐมวัย
ประโยชน์ที่ได้รับจาการปฏิบัติกิจกรรม/งาน
ประโยชน์ต่อตนเอง
1. ได้ประสบการณ์วิชาชีพเพิ่มเติม นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียน และสามารถนาความรู้จาก
ทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
2. มีโอกาสเรียนรู้ลักษณะงานและเลือกงาน
3. เกิดการพัฒนาตนเอง มีความมั่นใจตนเองมากขึ้น และมีความพร้อมในการรับผิดชอบต่อหน้าที่
การ งานที่ได้รับมอบหมาย
4. ได้เสริมทักษะด้านการนาเสนอ การสื่อสารข้อมูล
ประโยชน์ต่อหน่วยงาน
1. มีการติดตามและประเมินผลการทางาน ทาให้การประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่างๆทั่วถึงทั้งองค์กรภายใน
หน่วยงานและกระจายสู่ภายนอก
ประโยชน์ต่อผู้รับบริการ
1. การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ศิษย์เกิดการเรียนรู้แก่ตนเองมากที่สุด
สะท้อนผลการปฏิบัติงานหน้าที่ครู
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565

คาชี้แจง นักศึกษาสะท้อนผลการปฏิบัติงานหน้าที่ครู
(Learning Reflection) ตลอด 2 เดือนที่ได้ปฏิบัติการสอน
สถานศึกษา 1 เกี่ยวข้องกับระบบการเรียนรู้ของ
นักศึกษาทั้งด้านความคิด (Head) ความรู้สึก (Heart) และ
การต่อยอดไปสู่การปฏิบัติ (Hand)

ในช่วงวันที่ 30 มกราคม – วันที่ 17 มีนาคม 2566 (รวมเป็นระยะเวลา7สัปดาห์) ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติหน้าที่


ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในโรงเรียนเมืองอุบล สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา เขต 1
อย่างสุดความสามารถ โดยมีรายละเอียดดังนี้ การปฏิบัติหน้าที่ ด้านการจัดการเรียน การสอนข้าพเจ้าได้
รับผิดชอบหน้าที่การสอนตามตารางสอน8คาบ/สัปดาห์ รวมจานวน 56 ชั่วโมงโดยสอนใน ระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3 - 6 มีกาหนดการสอน และรายงานการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ประกอบด้วยการ
วิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐาน ตัวชี้วัด ตามหลักสูตรสถานศึกษาข้าพเจ้าได้ปฏิบัติหน้าที่เต็มความสามารถ มี
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้อย่างเหมาะสม มีการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาหรือ
พัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน มีการจัดการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติจริง สามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ข้อมูลสะท้อนกลับ นา
ผล มาพัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนรู้ รักษาคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพและ
จรรยาบรรณ วิชาชีพ โดยสร้างให้ผู้เรียนมีทั้งความรู้ความสามารถเป็นคนเก่ง และเป็นคนดีมีความสุข ด้าน
การบริหาร จัดการชั้นเรียน มีการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ข้าพเจ้าได้ใช้วิธีที่หลากหลายโดยการบูรณา
การเครื่องมือและเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบันเพื่อช่วยในการ จัดการเรียนการสอนเช่น การนา Google
Classroom, Google meet, Zoom มาช่วยเสริมการเรียนรู้ นา เว็บไซต์Youtube มาช่วยถ่ายทอดความรู้
โดยนักเรียนสามารถทบทวนได้ทุกที่ทุกเวลาและ นา Social Network เช่น Line, FaceBook มาช่วยใน
การบริหารจัดการชั้นเรียน เช่น ติดตามงานของนักเรียน เป็นต้น ในด้านการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
มีการศึกษาค้นคว้า เข้ามาพัฒนา และแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง ในส่วนงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย
ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายด้วยความมุ่งมั่น ทุ่มเท เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ตามคาสั่งทุกคาสั่งของโรงเรียนอย่างเต็ม ความสามารถ ด้านการปฏิบัติตนในการรักษา
วินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ข้าพเจ้าอยู่ ในระเบียบวินัยของโรงเรียน ปฏิบัติตาม
ระเบียบ กฎหมาย นโยบาย และคาสั่งของผู้บังคับบัญชา ประพฤติตน เป็นตัวอย่างที่ดีแก่นักเรียน เพื่อน
ร่วมงานเป็นครูผู้สอนที่ไม่ละทิ้งการสอนมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ ไม่ข้อง เกี่ยวกับอบายมุขต่าง ๆ ไม่ดื่มของ
มึนเมา และไม่เล่นการพนัน เป็นตัวอย่างที่ดีแก่นักเรียนและเพื่อนร่วมงาน มีความเคารพต่อผู้บังคับบัญชา
ปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชาอย่างเต็มความสามารถ ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ ผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่ม
งาน ครูกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษาที่ได้ช่วยให้ คาปรึกษา คาแนะนา ในเรื่องการสอน การจัดการ
ห้องเรียน รวมไปถึงเรื่องอื่นๆ
ลงชื่อ....................................................ผู้บันทึก (นักศึกษา)
(นางสาวอริสรา สาหินกอง)

ลงชื่อ....................................................ครูพี่เลี้ยง
(นางสุภาภรณ์ ศิริชัยวัฒนกุล)

ลงชื่อ....................................................ผู้อานวยการโรงเรียน
(นายณัฐพงษ์ ดาขวา)

You might also like