You are on page 1of 55

รายงานสถิติการขนส่ง

ประจาปี 2565
กรมการขนส่งทางบก
กองแผนงาน กลุม่ สถิติการขนส่ง

TRANSPORT
STATISTICS REPORT
2022

DEPARTMENT OF LAND TRANSPORT


PLANNING DIVISION
TRANSPORT STATISTICS GROUP
ทะเบียนและภาษีรถ

ใบอนุญาต ใบอนุญาตขับรถ
ประกอบการขนส่ง และผู้ประจารถ

รายงานสถิติการขนส่ง
การจัดเก็บรายได้ สถานีขนส่งผู้โดยสาร
ประจาปี 2565

โรงเรียนสอนขับรถ

กลุ่มสถิติการขนส่ง กองแผนงาน
กรมการขนส่งทางบก
กุมภาพันธ์ 2566
สารบัญ
เรื่อง หน้า
 จานวนรถจดทะเบียนสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 1
 รถจดทะเบียนสะสมตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 จาแนกตามลักษณะรถ 3
และมาตรฐานรถ
 จานวนรถจดทะเบียนสะสมตากฎหมายว่าด้วยรถยนต์และตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก จาแนก 8
ตามชนิดเชื้อเพลิง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
 จานวนรถที่ใช้พลังงานไฟฟ้า (สะสม) ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ 10
 จานวนรถที่ใช้พลังงานไฟฟ้า (สะสม) ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก 11
 จานวนรถจดทะเบียนใหม่ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์และตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ทั่วประเทศ 12
ปีงบประมาณ 2563 - 2565
 จานวนรถจดทะเบียนใหม่ ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์และตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก จาแนก 14
ตามเชื้อเพลิง พ.ศ. 2565
 จานวนรถจดทะเบียนใหม่พลังงานไฟฟ้า ปี พ.ศ. 2563 - 2565 16
 จานวนรถจดทะเบียนครั้งแรก ทั่วประเทศ ปีงบประมาณ 2563 - 2565 17
 เปรียบเทียบจานวนรถจดทะเบียนครั้งแรกทั่วประเทศ โดยแยกยี่ห้อรถ ปีงบประมาณ 2564 และ 2565 18
รถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์
 เปรียบเทียบจานวนรถจดทะเบียนครั้งแรกทั่วประเทศ โดยแยกยี่ห้อรถ ปีงบประมาณ 2564 และ 2565 20
รถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก
 สถิติการดาเนินการเกี่ยวกับทะเบียนและภาษีรถ รวมทั่วประเทศ ปีงบประมาณ 2565 21
 เปรียบเทียบสถิติการดาเนินการเกี่ยวกับทะเบียนรถและภาษีรถ รวมทั่วประเทศ ปีงบประมาณ 2564 และ 2565 22
 จานวนรถที่เข้ารับการตรวจสภาพที่กรมการขนส่งทางบกทั่วประเทศ ปีงบประมาณ 2563 - 2565 23
 จานวนสถานตรวจสภาพรถเอกชนทั่วประเทศ จาแนกตามผู้ได้รับอนุญาตจัดตั้ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 28
 จานวนใบอนุญาตประกอบการขนส่ง (สะสม) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 30
 การดาเนินการเกี่ยวกับใบอนุญาตประกอบการขนส่ง ปีงบประมาณ 2564 – 2565 32
 จานวนใบอนุญาตขับรถและใบอนุญาตผู้ประจารถ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 35
 การดาเนินการเกี่ยวกับใบอนุญาตขับรถและใบอนุญาตผู้ประจารถ ปีงบประมาณ 2563 - 2565 38
 รายได้จากเงินภาษีรถ เงินเพิ่มค่าธรรมเนียมที่จัดเก็บได้ จาแนกตามประเภทของรายได้ ปีงบประมาณ 2564 41
และ 2565
 เปรียบเทียบจานวนรถทีช่ าระภาษีประจาปี จาแนกตามช่องทางการชาระภาษี ปีงบประมาณ 2564 และ 2565 42
 สถิติการใช้สถานีขนส่งผู้โดยสารที่กรมการขนส่งทางบกกากับดูแล ปีงบประมาณ 2565 43
 เปรียบเทียบสถิติการใช้สถานีขนส่งผู้โดยสารที่กรมการขนส่งทางบกกากับดูแล ปีงบประมาณ 2562 – 2565 44
 สถานีขนส่งผู้โดยสารที่มีจานวนผู้เข้าใช้มากที่สุด 10 ลาดับแรก ปีงบประมาณ 2565 45
 สถิติการรับเรื่องร้องเรียนผ่านศูนย์คุ้มครองผู้โดยสารรถสาธารณะ โทร. 1584 ปีงบประมาณ 2565 46
 เปรียบเทียบจานวนการร้องเรียน จาแนกตามประเภทรถ ปีงบประมาณ 2564 – 2565 47
 สถิติการรับเรื่องร้องเรียนตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ จาแนกตามข้อหา 10 อันดับแรก ปีงบประมาณ 2564 - 2565 48
 สถิติการรับเรื่องร้องเรียนตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก จาแนกตามข้อหา 10 อันดับแรก ปีงบประมาณ 2564 - 2565 49
 สถิติโรงเรียนสอนขับรถ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 50
1

จานวนรถจดทะเบียนสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565


รถจดทะเบียน (สะสม) ณ วันที่ 31 ธันวาคมคม 2565 มีจานวนทั้งสิ้น 43,394,104 คัน จาแนกเป็นรถตาม
กฎหมายว่ า ด้ ว ยรถยนต์ จ านวน 42,035,133 คั น (ร้ อ ยละ 96.87 ของรถจดทะเบี ย นสะสมทั้ ง หมด) โดยเป็ น
รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล (รย.12) มากที่สุด จานวน 22,137,636 คัน (ร้อยละ 52.66) รองลงมา คือ รถยนต์นั่งส่วนบุคคล
ไม่เกิน 7 คน จานวน 11,344,873 คัน (ร้อยละ 26.99) และรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจานวน 7,085,910 คัน (ร้อยละ
16.86) ตามลาดับ อื่นๆ
1,020,852 คัน
2.43%

รถยนต์นั่งไม่เกิน 7 คน
11,344,873 คัน
26.99%
รถตามกฎหมาย
รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล
22,137,636 คัน ว่าด้วยรถยนต์ รถยนต์นั่งเกิน 7 คน
445,862 คัน
52.66%
1.06%
42,035,133 คัน
รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล
7,085,910 คัน
16.86%

และรถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก จานวน 1,358,971 คัน (ร้อยละ 3.13 ของรถจดทะเบียนสะสม


ทั้งหมด) เป็นรถบรรทุก 1,225,549 คัน (ร้อยละ 90.18) และเป็นรถโดยสาร 132,806 คัน (ร้อยละ 9.77) ซึ่งรถบรรทุก
ส่วนบุคคลมีจานวนมากที่สุด 823,817 คัน (ร้อยละ 60.62) รองลงมา คือ รถบรรทุกไม่ประจาทาง จานวน 401,732 คัน
(ร้อยละ 29.56) และรถโดยสารประจาทาง จานวน 60,346 คัน (ร้อยละ 4.44) ตามลาดับ

รถขนาดเล็ก รถโดยสารประจาทาง
616 คัน 60,346 คัน
0.05% 4.44%
รถโดยสารไม่ประจาทาง
58,587 คัน
4.31%
รถโดยสารส่วนบุคคล
รถบรรทุกส่วนบุคคล 13,873 คัน
823,817 คัน 1.02%
60.62%
รถตามกฎหมายว่าด้วย
การขนส่งทางบก
1,358,971 คัน
รถบรรทุกไม่ประจาทาง
401,732 คัน
29.56%

นิยาม ”รถจดทะเบียนสะสม” หมายถึง รถที่มีอยู่ทั้งสิ้น ณ วันที่ รวมถึงรถจดทะเบียนใหม่ รถจดทะเบียนใหม่(ป้ายแดง)


และรถเก่าที่ใช้งานอยู่ ซึ่งไม่รวมรถทะเบียนระงับ และรถแจ้งไม่ใช้ตลอดไป

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
2

เปรียบเทียบจานวนรถจดทะเบียนสะสม จาแนกตามประเภทรถ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2565
จานวนรถ (คัน) ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ประเภทรถ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2565/2564
2564 2565 [เพิ่มขึ้น , (ลดลง)]
รวมทั้งสิ้น 42,313,968 43,394,104 2.55
ก. รวมรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ 40,971,246 42,035,133 2.60
รย. 1 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน 10,854,640 11,344,873 4.52
รย. 2 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน 439,409 445,862 1.47
รย. 3 รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล 6,984,420 7,085,910 1.45
รย. 4 รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล 1,377 1,362 (1.09)
รย. 5 รถยนต์รับจ้างระหว่างจังหวัด - - 0.00
รย. 6 รถยนต์รับจ้างบรรทุกคนโดยสารไม่เกิน 7 คน 84,733 82,499 (2.64)
รย. 7 รถยนต์สี่ล้อเล็กรับจ้าง 2,368 2,247 (5.11)
รย. 8 รถยนต์รับจ้างสามล้อ 19,107 18,622 (2.54)
รย. 9 รถยนต์บริการธุรกิจ 3,835 3,610 (5.87)
รย. 10 รถยนต์บริการทัศนาจร 4,248 4,093 (3.65)
รย. 11 รถยนต์บริการให้เช่า 67 77 14.93
รย. 12 รถจักรยานยนต์สว่ นบุคคล 21,685,858 22,137,636 2.08
รย. 13 รถแทรกเตอร์ 600,039 630,103 5.01
รย. 14 รถบดถนน 16,121 16,474 2.19
รย. 15 รถใช้งานเกษตรกรรม 109,642 109,974 0.30
รย. 16 รถพ่วง 7,398 8,098 9.46
รย. 17 รถจักรยานยนต์สาธารณะ 157,984 143,099 (9.42)
รย. 18 รถยนต์รับจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ - 594 100.00
ข. รวมรถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก 1,342,722 1,358,971 1.21
รวมรถโดยสาร 140,268 132,806 (5.32)
แยกเป็น – ประจาทาง 64,646 60,346 (6.65)
– ไม่ประจาทาง 61,763 58,587 (5.14)
– ส่วนบุคคล 13,859 13,873 0.10
รวมรถบรรทุก 1,201,832 1,225,549 1.97
แยกเป็น – ไม่ประจาทาง 381,427 401,732 5.32
– ส่วนบุคคล 820,405 823,817 0.42
รถขนาดเล็ก 622 616 (0.96)
รวมรถทั้ง 2 พรบ. รถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ รถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก

2.55% 2.60% 1.21%

42,313,968 43,394,104 40,971,246 42,035,133 1,342,722 1,358,971

31 ธ.ค. 64 31 ธ.ค. 65 31 ธ.ค. 64 31 ธ.ค. 65 31 ธ.ค. 64 31 ธ.ค. 65


สถิติการขนส่งประจําปี 2565
3

รถจดทะเบียนสะสมตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565


จาแนกตามลักษณะรถและมาตรฐานรถ
จานวนรถบรรทุกจาแนกตามลักษณะรถที่จดทะเบียนสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
หน่วย : คัน
กระบะ บรรทุก บรรทุก บรรทุก กึง่ พ่วง
ประเภทรถ รวม บรรทุก ตูบ้ รรทุก ของเหลว วัสดุ เฉพาะกิจ พ่วง กึง่ พ่วง บรรทุก ลากจูง ไม่ระบุ
อันตราย วัสดุยาว
ไม่ประจำทำง 401,732 95,433 52,721 2,919 7,362 27,134 36,963 99,277 540 78,415 968
ส่วนบุคคล 823,817 538,776 46,347 20,146 3,971 72,986 75,106 33,128 1,048 25,248 7,061
รวม 1,225,549 634,209 99,068 23,065 11,333 100,120 112,069 132,405 1,588 103,663 8,029

บรรทุกวัสดุอันตราย, 7,362 คัน, 1.83% บรรทุกของเหลว, 2,919 คัน, 0.73%


ไม่ระบุ, 968 คัน, 0.24%
บรรทุกเฉพาะกิจ, 27,134 คัน, 6.75% กึ่งพ่วงบรรทุกวัสดุยาว, 540 คัน, 0.13%

พ่วง, 36,963 คัน, 9.20% รถบรรทุก กึ่งพ่วง, 99,277 คัน, 24.71%


ตู้บรรทุก, 52,721 คัน, 13.12%
ไม่ประจาทาง
401,732 คัน

ลากจูง, 78,415 คัน, 19.52% กระบะบรรทุก, 95,433 คัน, 23.76%

จานวนรถบรรทุกไม่ประจาทางสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีทั้งสิ้น 401,732 คัน เมื่อพิจารณาตามลักษณะรถ


พบว่า รถกึ่งพ่วง มีจานวนมากที่สุด จานวน 99,277 คัน คิดเป็นร้อยละ 24.71 ของจานวนรถบรรทุกไม่ประจาทาง
ที่จดทะเบียนสะสมทั่วประเทศ รองลงมา คือ กระบะบรรทุก จานวน 95,433 คัน (ร้อยละ 23.76) และรถลากจูง จานวน
78,415 คัน (ร้อยละ 19.52) ตามลาดับ
บรรทุกของเหลว, 20,146 คัน, 2.45% ไม่ระบุ, 7,061 คัน, 0.86%
ลากจูง, 25,248 คัน, 3.06% บรรทุกวัสดุอันตราย, 3,971 คัน, 0.48%
กึ่งพ่วง, 33,128 คัน, 4.02%
กึ่งพ่วงบรรทุกวัสดุยาว, 1,048 คัน, 0.13%
ตู้บรรทุก, 46,347 คัน, 5.63%
รถบรรทุก
บรรทุกเฉพาะกิจ, 72,986 คัน, 8.86% ส่วนบุคคล
823,817 คัน กระบะบรรทุก, 538,776 คัน, 65.40%
พ่วง, 75,106 คัน, 9.12%

จานวนรถบรรทุกส่วนบุคคลสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีทั้งสิ้น 823,817 คัน เมื่อพิจารณาตามลักษณะรถ


พบว่า รถกระบะบรรทุก มีจานวนมากที่สุด จานวน 538,776 คัน คิดเป็นร้อยละ 65.40 ของจานวนรถบรรทุกส่วนบุคคล
ที่จดทะเบียนสะสมทั่วประเทศ รองลงมา คือ รถพ่วง จานวน 75,106 คัน (ร้อยละ 9.12) และรถบรรทุกเฉพาะกิจ จานวน
72,986 คัน (ร้อยละ 8.86) ตามลาดับ
สถิติการขนส่งประจําปี 2565
4

ตารางเปรียบเทียบจานวนรถบรรทุกจาแนกตามประเภทรถ
ทั่วประเทศ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ประเภทรถ
ธ.ค. 64 ธ.ค. 65 ธ.ค. 64 ธ.ค. 65 ธ.ค. 64 ธ.ค. 65 (ธ.ค.65 / ธ.ค.64)
ไม่ประจาทาง 381,427 401,732 91,132 93,440 290,295 308,292 5.32
ส่วนบุคคล 820,405 823,817 65,070 64,270 755,335 759,547 0.42
รวม 1,201,832 1,225,549 156,202 157,710 1,045,630 1,067,839 1.97
เปรียบเทียบจานวนรถบรรทุกจาแนกตามประเภทรถที่จดทะเบียนสะสมทั้งหมด พบว่า จานวนรถสะสม ณ วันที่
31 ธันวาคม 2565 มีอัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ร้อยละ 1.97 โดยจานวนรถบรรทุก
ไม่ประจาทาง มีอัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.32 และจานวนรถบรรทุกส่วนบุคคล มีอัตราการเปลี่ยนแปลง
เพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.42 เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนจานวนรถบรรทุก 2 ประเภท พบว่า รถบรรทุกไม่ประจาทางมีสัดส่วน
เพิ่มขึ้นเล็กน้อย
แผนภูมิเปรียบเทียบจานวนรถบรรทุกจาแนกตามประเภทรถที่จดทะเบียนสะสม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 กับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
หน่วย : คัน ธ.ค. 64 ธ.ค. 65
0.42%
1,000,000
820,405 823,817
800,000
5.32%
600,000
381,427 401,732
400,000

200,000

-
ส่วนบุคคล ไม่ประจาทาง

แผนภูมิเปรียบเทียบสัดส่วนจานวนรถบรรทุกไม่ประจาทางและรถบรรทุกส่วนบุคคลที่จดทะเบียนสะสม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 กับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565

ส่วนบุคคล ไม่ประจาทาง
100%

80% 31.74 % 32.78 %

60%

40%
68.26 % 67.22 %
20%

0%
ธ.ค. 64 ธ.ค. 65

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
5

เปรียบเทียบจานวนรถโดยสารทั่วประเทศจาแนกตามมาตรฐานรถและประเภทการประกอบการที่จดทะเบียนสะสม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
หน่วย : คัน
ประเภทการประกอบการ
รถโดยสารประจาทาง รถโดยสารไม่ประจาทาง รถโดยสารส่วนบุคคล
มาตรฐานรถ
ร้อยละการ ร้อยละการ ร้อยละการ
2564 2565 2564 2565 2564 2565
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง
ปรับอากาศพิเศษ 3,079 2,956 (3.99) 6,894 6,584 (4.50) 306 307 0.33
ปรับอากาศ ชั้น2 6,864 7,114 3.64 8,304 8,149 (1.87) 2,235 2,289 2.42
รถตู้ปรับอากาศ 10,403 8,859 (14.84) 24,753 22,787 (7.94) 1,553 1,542 (0.71)
ไม่มีเครื่องปรับอากาศ 42,125 39,341 (6.61) 16,124 15,433 (4.29) 8,953 8,934 (0.21)
รถสองชั้น 1,608 1,508 (6.22) 5,318 5,197 (2.28) 72 71 (1.39)
รถพ่วง - - 0.00 1 1 0.00 2 2 0.00
รถกึ่งพ่วง - - 0.00 - - 0.00 - 0 0.00
รถโดยสารเฉพาะกิจ - - 0.00 263 335 27.38 613 605 (1.31)
ไม่ระบุ 567 568 0.18 106 101 (4.72) 125 123 (1.60)
รวม 64,646 60,346 (6.65) 61,763 58,587 (5.14) 13,859 13,873 0.10

เปรี ย บเทีย บจ านวนรถโดยสารทั่วประเทศจาแนกตามประเภทการประกอบการที่จดทะเบียนสะสม พบว่า


จานวนรถโดยสารประจาทางและรถโดยสารไม่ประจาทาง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลง
จาก ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2564 ร้อยละ 6.65 และร้อยละ 5.14 ตามลาดับ ขณะที่จานวนรถโดยสารส่วนบุค คล
มีอัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.10
สัดส่วนรถโดยสารจาแนกตามประเภทการประกอบการที่จดทะเบียนสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
ส่วนบุคคล
13,873 คัน
10.45%

ประจาทาง
60,346 คัน
45.44%

ไม่ประจาทาง 132,806 คัน


58,587 คัน
44.11%

สัดส่วนรถโดยสารจาแนกตามประเภทประกอบการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 พบว่า รถโดยสารไม่ประจาทาง


และรถโดยสารประจาทางมีสัดส่วนใกล้เคียงกัน โดยรถโดยสารประจาทาง มีสัดส่วนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 45.44
รองลงมา คือ รถโดยสารไม่ประจาทาง ร้อยละ 44.11 และรถโดยสารส่วนบุคคล ร้อยละ 10.45 ตามลาดับ

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
6

เปรียบเทียบจานวนรถโดยสารจาแนกตามมาตรฐานรถ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565

จานวนรถ (คัน) ร้อยละการ


มาตรฐานรถ
ณ 31 ธ.ค.64 ณ 31 ธ.ค.65 เปลี่ยนแปลง
ปรับอากาศพิเศษ 10,279 9,847 (4.20)
ปรับอากาศ ชั้น2 17,403 17,552 0.86
รถตู้ปรับอากาศ 36,709 33,188 (9.59)
ไม่มเี ครื่องปรับอากาศ 67,202 63,708 (5.20)
รถสองชั้น 6,998 6,776 (3.17)
รถพ่วง 3 3 0.00
รถกึ่งพ่วง - - -
รถโดยสารเฉพาะกิจ 876 940 7.31
ไม่ระบุ 798 792 (0.75)
รวม 140,268 132,806 (5.32)

ณ 31 ธ.ค. 64
หน่วย : คัน ณ 31 ธ.ค. 65
80,000
70,000 67,202 63,708
60,000
50,000
40,000 36,709
33,188
30,000
17,552
20,000 17,403
10,279 9,847 6,998 6,776
10,000
3 3 0 0 876 940 798 792
0

เปรี ย บเทีย บจ านวนรถโดยสาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 มีอัตราการ
เปลี่ยนแปลงลดลง ร้อยละ 5.32 เมื่อจาแนกตามมาตรฐานรถ พบว่า มีอัตราการเปลี่ยนแปลงที่ลดลงเกือบทุกมาตรฐานรถ
โดยรถตู้ปรับอากาศ มีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลงมากที่สุด ร้อยละ 9.59 รองลงมา คือ รถไม่มีเครื่องปรับอากาศ และ
รถปรับอากาศพิเศษ ลดลงร้อยละ 5.20 และร้อยละ 4.20 ตามลาดับ ขณะที่รถโดยสารเฉพาะกิจ และรถปรับอากาศชั้น 2
มีอัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.31 และร้อยละ 0.86 ตามลาดับ

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
7

จานวนรถโดยสารประจาทาง จาแนกตามมาตรฐานรถ
รถสองชั้น, 1,508 คัน, 2.50%
รถโดยสารเฉพาะกิรถกึ
จ, 0่งพ่คัวนง,, 0.00%
0 คัน, 0.00% รถพ่ไม่วง,ระบุ0 ,คั568
น, 0.00%
คัน, 0.94%

ปรับอากาศพิเศษ, 2,956 คัน, 4.90%

ไม่มีเครื่องปรับอากาศ, 39,341 คัน, 65.19% รถโดยสาร


ปรับอากาศ ชั้น2, 7,114 คัน, 11.79%
ประจาทาง
60,346 คัน
รถตู้ปรับอากาศ, 8,859 คัน, 14.68%

รถโดยสารประจาทาง มีจานวนทั้งสิ้น 60,346 คัน ส่วนใหญ่เป็นรถที่ไม่มีเครื่องปรับอากาศ (ม.3) คิดเป็นร้อยละ


65.19 รองลงมา คือ รถตู้ปรับอากาศ (ม.2จ) และรถปรับอากาศชั้น 2 (ม.2 ไม่รวม ม.2จ) คิดเป็นร้อยละ 14.68 และ
11.79 ตามลาดับ
จานวนรถโดยสารไม่ประจาทาง จาแนกตามมาตรฐานรถ

ไม่มีเครื่องปรับอากาศ, 15,433 คัน, 26.34% รถสองชั้น, 5,197 คัน, 8.87%

รถกึ่งพ่วง, 0 คัน, 0.00% รถโดยสารเฉพาะกิจ, 335 คัน, 0.57%


รถพ่วง, 1 คัน, 0.00%
รถโดยสาร
ไม่ประจาทาง ไม่ระบุ, 101 คัน, 0.17%

รถตู้ปรับอากาศ, 22,787 คัน, 38.89% 58,587 คัน ปรับอากาศพิเศษ, 6,584 คัน, 11.24%

ปรับอากาศ ชั้น2, 8,149 คัน, 13.91%


รถโดยสารไม่ประจาทาง มีจานวนทั้งสิ้น 58,587 คัน เป็นรถตู้ปรับอากาศ (ม.2(จ)) มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ
38.89 รองลงมา คือ รถที่ไม่มีเครื่องปรับอากาศ (ม.3) และรถปรับอากาศชั้น 2 (ม.2 ไม่รวม ม.2จ) คิดเป็นร้อยละ 26.34
และ 13.91 ตามลาดับ
จานวนรถโดยสารส่วนบุคคล จาแนกตามมาตรฐานรถ
รถกึ่งพ่วง, 0 คัน, 0.00% รถโดยสารเฉพาะกิจ, 605 คัน, 4.36% ไม่ระบุ, 123 คัน, 0.89%

รถพ่วง, 2 คัน, 0.01% ปรับอากาศพิเศษ, 307 คัน, 2.21%

รถสองชั้น, 71 คัน, 0.51% ปรับอากาศ ชั้น2, 2,289 คัน, 16.50%


รถโดยสาร
ส่วนบุคคล รถตู้ปรับอากาศ, 1,542 คัน, 11.12%

ไม่มีเครื่องปรับอากาศ, 8,934 คัน, 64.40% 13,873 คัน

รถโดยสารส่วนบุคคล มีจานวนทั้งสิ้น 13,873 คัน ส่วนใหญ่เป็นรถที่ไม่มีเครื่องปรับอากาศ (ม.3) คิดเป็นร้อยละ


64.40 รองลงมา คือ รถปรับอากาศชั้น 2 (ม.2 ไม่รวม ม.2จ) และรถตู้ปรับอากาศ คิดเป็นร้อยละ 16.50 และ 11.12
ตามลาดับ
สถิติการขนส่งประจําปี 2565
8

จานวนรถจดทะเบียนสะสมตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์และตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก
จาแนกตามชนิดเชื้อเพลิง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
หน่วย : คัน
รถตามกฎหมาย รถตามกฎหมาย
ชนิดเชื้อเพลิง รวมทั้งสิ้น ร้อยละ
ว่าด้วยรถยนต์ ว่าด้วยการขนส่งทางบก
เบนซิน 29,486,075 4,604 29,490,679 67.96
ดีเซล 11,353,253 1,047,797 12,401,050 28.58
LPGและเบนซิน 569,772 3,080 572,852 1.32
ไม่ใช้เชื้อเพลิง 8,098 246,080 254,178 0.59
CNG-เบนซิน 241,350 11,103 252,453 0.58
เบนซิน-ไฟฟ้า 247,986 0 247,986 0.57
เบนซิน-ไฟฟ้าแบบเสียบปลั๊ก 42,336 0 42,336 0.10
CNG 6,323 34,747 41,070 0.09
ไฟฟ้า 30,843 1,238 32,081 0.07
ก๊าซ LPG 15,778 503 16,281 0.04
ดีเซล-ไฟฟ้า 11,607 2 11,609 0.03
CNG-ดีเซล 713 568 1,281 0.003
เบนซิน-เอทานอล 1,069 0 1,069 0.002
LPGและดีเซล 679 108 787 0.002
LPG-เบนซิน-ไฟฟ้า 217 0 217 0.0005
CNG-LPG-เบนซิน 141 42 183 0.0004
CNG-LPG 166 10 176 0.0004
LNG 0 127 127 0.000293
ดีเซล-ไฟฟ้าแบบเสียบปลั๊ก 79 0 79 0.000182
CNG-LPG-ดีเซล 1 0 1 0.000002
ไม่ระบุ 18,647 8,962 27,609 0.06
รวม 42,035,133 1,358,971 43,394,104 100.00

แผนภูมิ แสดงจานวนรถทั้งหมด จาแนกตามชนิดเชื้อเพลิง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565

หน่วย : คัน

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
9

จานวนรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ จาแนกตามชนิดเชื้อเพลิง
CNG, 248,386 คัน, 0.59% ไฮบริด, 302,225 คัน, 0.72%
อื่น ๆ, 28,122 คัน, 0.07%

LPG, 586,229 คัน, 1.39%


ไฟฟ้า, 30,843 คัน, 0.07%
ดีเซล, 11,353,253 คัน, 27.01%
รถตามกฎหมาย
ว่าด้วยรถยนต์ เบนซิน, 29,486,075 คัน, 70.15%
42,035,133 คัน

หมายเหตุ : CNG หมายถึง CNG, CNG - เบนซิน และ CNG - ดีเซล


: LPG หมายถึง LPG, LPG - เบนซิน และ LPG - ดีเซล
: ไฮบริด หมายถึง เบนซิน – ไฟฟ้า, เบนซิน – ไฟฟ้าแบบเสียบปลั๊ก, ดีเซล – ไฟฟ้า, LPG – เบนซิน – ไฟฟ้า และ ดีเซล – ไฟฟ้าแบบเสียบปลั๊ก
: อื่น ๆ หมายถึง ไม่ใช้เชื้อเพลิง, CNG - LPG, CNG – LPG - เบนซิน, CNG – LPG - ดีเซล, เบนซิน - E20, เบนซิน - เอทานอล และไม่ระบุ

รถจดทะเบี ย นสะสมตามกฎหมายว่าด้ว ยรถยนต์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีจานวน 42,035,133 คัน


เป็นรถที่ใช้น้ามันเบนซินเป็นเชื้อเพลิง มากที่สุด ซึ่งมีจานวน 29,486,075 คัน คิดเป็นร้อยละ 70.15 รองลงมา คือ รถที่
ใช้น้ามันดีเซล จานวน 11,353,253 คัน คิดเป็นร้อยละ 27.01 และรถที่ใช้ก๊าซ LPG มีจานวน 586,229 คัน คิดเป็น
ร้อยละ 1.39
จานวนรถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก จาแนกตามชนิดเชื้อเพลิง
ไม่ใช้เชื้อเพลิง, 246,080 คัน, 18.11% ไฟฟ้า, 1,238 คัน, 0.09%
อื่น ๆ, 9,143 คัน, 0.67%

CNG, 46,418 คัน, 3.42% เบนซิน, 4,604 คัน, 0.34%

รถตามกฎหมายว่าด้วย
LPG, 3,691 คัน, 0.27% การขนส่งทางบก
1,358,971 คัน
ดีเซล, 1,047,797 คัน, 77.10%

หมายเหตุ : รถไม่ใช้เชือ้ เพลิง หมายถึง รถพ่วง, กึ่งพ่วงและกึ่งพ่วงบรรทุกวัสดุยาว


: CNG หมายถึง CNG, CNG - เบนซิน และ CNG - ดีเซล
: LPG หมายถึง LPG, LPG - เบนซิน และ LPG - ดีเซล
: อื่น ๆ หมายถึง ไฮบริด, CNG - LPG, CNG – LPG - เบนซิน, CNG – LPG - ดีเซล, เบนซิน - E20, เบนซิน - เอทานอล และไม่ระบุ

รถจดทะเบียนสะสมตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีจานวน 1,358,971 คัน


เป็นรถที่ใช้น้ามันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง มากที่สุด ซึ่งมีจานวน 1,047,797 คัน คิดเป็นร้อยละ 77.10 รองลงมาคือ รถที่
ไม่ใช้เชื้อเพลิ ง จ านวน 246,080 คัน คิดเป็ น ร้อยละ 18.11 และรถที่ใช้ก๊าซ CNG มีจานวน 46,418 คัน คิดเป็ น
ร้อยละ 3.42

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
10

รถที่ใช้พลังงานไฟฟ้า (สะสม) ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ มีจานวนทั้งสิ้น 333,068 คัน

จานวนรถไฟฟ้าแบตเตอรี่ (BEV) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีจานวน 30,843 คัน เมื่อจาแนกตามประเภทรถ


พบว่า เป็นรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลมากที่สุด จานวน 16,468 คัน (ร้อยละ 53.39) รองลงมา คือ รถยนต์นั่งส่วนบุคคล
ไม่เกิน 7 คน จานวน 13,551 คัน (ร้อยละ 43.94) และรถรับจ้างสามล้อ จานวน 437 คัน (ร้อยละ 1.42) ตามลาดับ

รถยนต์รับจ้างสามล้อ, 437 คัน, 1.42%

รถยนต์นั่งไม่เกิน 7 คน, รถแท็กซี่, 155 คัน, 0.50%


13,551 คัน, 43.94% รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล, 73 คัน, 0.24%
จยย. สาธารณะ, 72 คัน, 0.23%
รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล, 61 คัน, 0.20%
จยย. ส่วนบุคคล,
รถยนต์รับจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์, 11 คัน, 0.04%
16,468 คัน, 53.39% รถยนต์บริการธุรกิจ, 7 คัน, 0.02%
รถยนต์นั่งเกิน 7 คน, 5 คัน, 0.02%
รถยนต์บริการทัศนาจร, 3 คัน, 0.01%

จานวนรถไฟฟ้าแบบไฮบริด (Hybrid) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีจานวน 259,810 คัน เมื่อจาแนกตาม


ประเภทรถ พบว่า เป็นรถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คนมากที่สุด จานวน 250,158 คัน (ร้อยละ 96.28) รองลงมา คือ
รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล จานวน 9,023 คัน (ร้อยละ 3.47) และรถยนต์รับจ้างบรรทุกคนโดยสารไม่เกิน 7 คน จานวน
488 คัน (ร้อยละ 0.19) ตามลาดับ
จยย. ส่วนบุคคล, 9,023 คัน, 3.47%
รถแท็กซี่, 488 คัน, 0.19%
รถยนต์บริการทัศนาจร, 83 คัน, 0.03%
รถยนต์บริการธุรกิจ, 28 คัน, 0.01%
รถยนต์รับจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์, 25 คัน, 0.01%
รถยนต์นั่งไม่เกิน 7 คน, รถยนต์บริการให้เช่า, 3 คัน, 0.001%
250,158 คัน, 96.28%
รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล, 1 คัน, 0.0004%
รถยนต์นั่งเกิน 7 คน, 1 คัน, 0.0004%

จานวนรถไฮบริดแบบเสียบปลั๊ก (PHEV) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีจานวน 42,415 คัน เมื่อจาแนกตาม


ประเภทรถ พบว่า เป็น รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คนมากที่สุด จานวน 42,352 คัน (ร้อยละ 99.85) รองลงมา คือ
รถยนต์บริการธุรกิจจานวน 40 คัน (ร้อยละ 0.09) และรถยนต์บริการทัศนาจร จานวน 20 คัน (ร้อยละ 0.05) ตามลาดับ

รถยนต์บริการธุรกิจ, 40 คัน, 0.09%

รถยนต์บริการทัศนาจร, 20 คัน, 0.05%

รถยนต์นั่งไม่เกิน 7 คน, รถยนต์บริการให้เช่า, 3 คัน, 0.01%


42,352 คัน, 99.85%

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
11

รถที่ใช้พลังงานไฟฟ้า (สะสม) ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก มีจานวนทั้งสิ้น 1,240 คัน

จานวนรถไฟฟ้าแบตเตอรี่ (BEV) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีจานวน 1,238 คัน เมื่อจาแนกตามประเภทรถ


พบว่า เป็นรถโดยสารประจาทางหมวด 1 มากที่สุด จานวน 953 คัน (ร้อยละ 76.98) รองลงมา คือ รถโดยสารไม่ประจาทาง
จานวน 153 คัน (ร้อยละ 12.36) และรถโดยสารประจาทาง หมวด 2 จานวน 56 คัน (ร้อยละ 4.52) ตามลาดับ

รถโดยสารไม่ประจาทาง, 153 คัน, 12.36%


BEV
รถโดยสารประจาทาง หมวด 2, 56 คัน, 4.52%

รถโดยสารส่วนบุคคล, 42 คัน, 3.39%

รถบรรทุกไม่ประจาทาง, 24 คัน, 1.94%


รถโดยสารประจาทาง หมวด 1,
953 คัน, 76.98% รถโดยสารประจาทาง หมวด 4, 8 คัน, 0.65%
รถบรรทุกส่วนบุคคล, 2 คัน, 0.16%

จานวนรถไฟฟ้าแบบไฮบริด (Hybrid) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีจานวน 2 คัน เมื่อจาแนกตามประเภทรถ


พบว่า เป็นรถโดยสารประจาทางหมวด 1 จานวน 1 คัน (ร้อยละ 50.00) และรถโดยสารส่วนบุคคล จานวน 1 คัน (ร้อยละ
50.00)

Hybrid รถโดยสารประจาทาง หมวด 1,


1 คัน, 50.00% รถโดยสารส่วนบุคคล,
1 คัน, 50.00%

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
12

รถจดทะเบียนใหม่ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์และตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ทั่วประเทศ
ปีงบประมาณ 2563 - 2565
จานวนรถจดทะเบียนใหม่ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ปีงบประมาณ 2563 - 2565
จานวนรถ (คัน) ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ประเภทรถ ปีงบประมาณ [ เพิ่ม , (ลด) ]
2563 2564 2565 2564/2563 2565/2564
รวมรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ 2,585,677 2,599,926 2,890,747 0.55 11.19
รย. 1 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน 569,926 553,567 602,848 (2.87) 8.90
รย. 2 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน 25,888 22,654 23,270 (12.49) 2.72
รย. 3 รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล 223,720 229,032 241,340 2.37 5.37
รย. 4 รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล 57 58 79 1.75 36.21
รย. 5 รถยนต์รับจ้างระหว่างจังหวัด - - - - -
รย. 6 รถยนต์รับจ้างบรรทุกคนโดยสารไม่เกิน 7 คน 4,888 1,525 1,253 (68.80) (17.84)
รย. 7 รถยนต์สี่ล้อเล็กรับจ้าง 8 16 2 100.00 (87.50)
รย. 8 รถยนต์รับจ้างสามล้อ 170 120 224 (29.41) 86.67
รย. 9 รถยนต์บริการธุรกิจ 93 21 46 (77.42) 119.05
รย. 10 รถยนต์บริการทัศนาจร 241 6 99 (97.51) 1,550.00
รย. 11 รถยนต์บริการให้เช่า 4 - 8 (100.00) 100.00
รย. 12 รถจักรยานยนต์สว่ นบุคคล 1,701,139 1,725,603 1,946,386 1.44 12.79
รย. 13 รถแทรกเตอร์ 54,768 63,051 71,442 15.12 13.31
รย. 14 รถบดถนน 768 1,061 965 38.15 (9.05)
รย. 15 รถใช้งานเกษตรกรรม 460 721 478 56.74 (33.70)
รย. 16 รถพ่วง 1,060 995 1,121 (6.13) 12.66
รย. 17 รถจักรยานยนต์สาธารณะ 2,487 1,496 1,186 (39.85) (20.72)
รถอื่นๆ, 75,650 คัน, 2.62% รถยนต์นั่งไม่เกิน 7 คน, รถจดทะเบียนใหม่ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์
602,848 คัน, 20.85% ปีงบประมาณ 2563 - 2565
หน่วย : คัน
รถยนต์นั่งเกิน 7 คน, 3,000,000
23,270 คัน, 0.80% 2,890,747
รถจักรยานยนต์
รถตามกฎหมาย
รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล, 2,800,000
ส่วนบุคคล ว่าด้วยรถยนต์ 241,340 คัน, 8.35% 2,585,677
2,599,926
1,946,386 คัน 2,600,000
67.33% 2,890,747 คัน รถยนต์รับจ้างบรรทุกคน
โดยสารไม่เกิน 7 คน,
1,253 คัน, 0.04% 2,400,000
2563 2564 2565
รถจดทะเบียนใหม่ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ปีงบประมาณ 2565 มีจานวนทั้งสิ้น 2,890,747 คัน เพิ่มขึ้น
จากปี งบประมาณ 2564 ร้ อยละ 11.19 และปี งบประมาณ 2564 เพิ่มขึ้น จากปี งบประมาณ 2563 ร้อยละ 0.55
เมื่อพิจารณาตามประเภทรถ พบว่า รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลมีจานวนมากที่สุด คือ 1,946,386 คัน (ร้อยละ 67.33)
รองลงมา คือ รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน จานวน 602,848 คัน (ร้อยละ 20.85) และรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล
จานวน 241,340 คัน (ร้อยละ 8.35) ตามลาดับ

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
13

จานวนรถจดทะเบียนใหม่ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ปีงบประมาณ 2563 - 2565


จานวนรถ (คัน) ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ประเภทรถ ปีงบประมาณ [ เพิ่ม , (ลด) ]
2563 2564 2565 2564/2563 2565/2564
รวมรถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก 71,383 82,274 80,788 15.26 (1.81)
รวมรถโดยสาร 8,694 3,796 3,917 (56.34) 3.19
แยกเป็น - ประจาทาง 2,890 1,202 975 (58.41) (18.89)
- ไม่ประจาทาง 5,120 1,897 2,484 (62.95) 30.94
- ส่วนบุคคล 684 697 458 1.90 (34.29)
รวมรถบรรทุก 62,688 78,478 76,871 25.19 (2.05)
แยกเป็น - ไม่ประจาทาง 27,290 38,789 36,605 42.14 (5.63)
- ส่วนบุคคล 35,398 39,689 40,266 12.12 1.45
รถขนาดเล็ก 1 - - (100.00) -
รถโดยสารประจาทาง, รถโดยสารไม่ประจาทาง,
975 คัน, 1.21% 2,484 คัน, 3.07% รถจดทะเบียนใหม่ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก
รถโดยสารส่วนบุคคล,
หน่วย : คัน
ปีงบประมาณ 2563 - 2565
458 คัน, 0.57%
รถบรรทุกส่วน 85,000
บุคคล รถตามกฎหมายว่า 80,000
40,266 คัน 82,274
49.84% ด้วยการขนส่งทางบก 80,788
75,000
80,788 คัน รถบรรทุกไม่ประจาทาง, 70,000
36,605 คัน, 45.31% 71,383
65,000
2563 2564 2565
รถขนาดเล็ก, 0 คัน, 0.00%

รถจดทะเบียนใหม่ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ปีงบประมาณ 2565 มีจานวนทั้งสิ้น 80,788 คัน


ลดลงจากปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ 1.81 ขณะที่ปีงบประมาณ 2564 เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2563 ร้อยละ 15.26
เมื่อพิจารณาตามประเภทรถ พบว่า รถบรรทุกส่วนบุคคลมีจานวนมากที่สุด คือ 40,266 คัน (ร้อยละ 49.84) รองลงมา
คือ รถบรรทุกไม่ประจาทาง จานวน 36,605 คัน (ร้อยละ 45.31) และรถโดยสารไม่ประจาทาง จานวน 2,484 คัน (ร้อยละ
3.07) ตามลาดับ

นิยาม "รถจดทะเบียนใหม่" หมายถึง


1. รถจดทะเบียนครั้งแรก และ
2. รถที่นามาจดทะเบียนใหม่อื่นๆ ได้แก่
- รถที่เคยจดทะเบียนตามกฎหมายอื่น
- รถยนต์ใช้แล้ว ที่นาเข้ามาใช้ในราชอาณาจักร
- รถที่ประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนอุปกรณ์รถเก่า
- รถที่ประกอบขึ้นใช้ในกิจการตนเอง
- รถที่เคยแจ้งไม่ใช้ตลอดไปแล้วนามาจดทะเบียนใหม่
เป็นต้น

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
14

จานวนรถจดทะเบียนใหม่ ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์และตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก
จาแนกตามชนิดเชื้อเพลิง ปี พ.ศ. 2565
(หน่วย : คัน)
รถตามกฎหมาย รถตามกฎหมาย
ชนิดเชื้อเพลิง รวมทั้งสิ้น ร้อยละ
ว่าด้วยรถยนต์ ว่าด้วยการขนส่งทางบก
เบนซิน 2,255,196 96 2,255,292 74.669716
ดีเซล 582,463 61,540 644,003 21.322082
เบนซิน-ไฟฟ้า 63,909 - 63,909 2.115942
ไฟฟ้า 19,817 1,000 20,817 0.689223
ไม่ใช้เชื้อเพลิง 1,132 17,243 18,375 0.608372
เบนซิน-ไฟฟ้าแบบเสียบปลั๊ก 11,258 - 11,258 0.372737
CNG-เบนซิน 2,753 218 2,971 0.098366
LPGและเบนซิน 2,237 96 2,333 0.077243
CNG 39 1,013 1,052 0.034830
ดีเซล-ไฟฟ้า 125 1 126 0.004172
ก๊าซ LPG 109 6 115 0.003807
ดีเซล-ไฟฟ้าแบบเสียบปลั๊ก 73 - 73 0.002417
LNG - 15 15 0.000497
CNG-ดีเซล 2 11 13 0.000430
LPGและดีเซล 2 - 2 0.000066
CNG-LPG-เบนซิน 2 - 2 0.000066
เบนซิน-เอทานอล 1 - 1 0.000033
รวม 2,939,118 81,239 3,020,357 100.00

แผนภูมิ แสดงจานวนรถจดทะเบียนใหม่ จาแนกตามชนิดเชื้อเพลิง ปี พ.ศ. 2565

จานวน (คัน)

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
15

จานวนรถจดทะเบียนใหม่ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ จาแนกตามชนิดเชื้อเพลิ ง
CNG, 2,794 คัน, 0.10% ไฮบริด, 75,365 คัน, 2.56%
อื่น ๆ, 1,135 คัน, 0.04%

LPG, 2,348 คัน, 0.08%


ไฟฟ้า, 19,817 คัน, 0.67%
ดีเซล, 582,463 คัน, 19.82% รถตามกฎหมาย
ว่าด้วยรถยนต์
เบนซิน, 2,255,196 คัน, 76.73%
2,939,118 คัน

หมายเหตุ : CNG หมายถึง CNG, CNG และเบนซิน และ CNG และดีเซล


: LPG หมายถึง LPG, LPG และเบนซิน และ LPG และดีเซล
: อื่น ๆ หมายถึง ไม่ใช้เชื้อเพลิง, CNG-LPG, CNG-LPG-เบนซิน, CNG-LPG-ดีเซล และเบนซิน-เอทานอล

รถจดทะเบียนใหม่ ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ปี พ.ศ.2565 มีจานวน 2,939,118 คัน เป็นรถที่ใช้ น้ามั น


เบนซินเป็นเชื้อเพลิงมากที่สุด ซึ่งมีจานวน 2,255,196 คัน คิดเป็นร้อยละ 76.73 รองลงมา คือ รถที่ใช้น้ามันดีเซล จานวน
582,463 คัน คิดเป็นร้อยละ 19.82 รถใช้เชื้อเพลิงไฮบริด จานวน 75,365 คัน คิดเป็นร้อยละ 2.56 และรถที่ใช้ไฟฟ้า
จานวน 19,817 คัน คิดเป็นร้อยละ 0.67

จานวนรถจดทะเบียนใหม่ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก จาแนกตามชนิดเชื้ อเพลิง


ไฟฟ้า, 1,000 คัน, 1.23%
LPG, 102 คัน, 0.13%
CNG, 1,242 คัน, 1.53% เบนซิน, 96 คัน, 0.12%
อื่น ๆ, 16 คัน, 0.02%
ไม่ใช้เชื้อเพลิง, 17,243 คัน, 21.23%
รถตามกฎหมายว่า
ด้วยการขนส่งทางบก
81,239 คัน ดีเซล, 61,540 คัน, 75.75%

หมายเหตุ : รถไม่ใช้เชือ้ เพลิง หมายถึง รถพ่วง, กึ่งพ่วงและกึ่งพ่วงบรรทุกวัสดุยาว


: CNG หมายถึง CNG, CNG และเบนซิน และ CNG และดีเซล
: LPG หมายถึง LPG, LPG และเบนซิน และ LPG และดีเซล
: อื่น ๆ หมายถึง ไฮบริด, LNG

รถจดทะเบียนใหม่ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ปี พ.ศ. 2565 มีจานวน 81,239 คัน เป็นรถที่ใช้น้ามัน


ดีเซลเป็นเชื้อเพลิงมากที่สุด ซึ่งมีจานวน 61,540 คัน คิดเป็นร้อยละ 75.75 รองลงมาคือ รถที่ไม่ใช้เชื้อเพลิง จานวน
17,243 คัน คิดเป็นร้อยละ 21.23 รถที่ใช้ก๊าซ CNG มีจานวน 1,242 คัน คิดเป็นร้อยละ 1.53 และรถที่ใช้ไฟฟ้า จานวน
1,000 คัน คิดเป็นร้อยละ 1.23

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
16

จานวนรถจดทะเบียนใหม่พลังงานไฟฟ้า ปี พ.ศ. 2563 – 2565


(หน่วย : คัน)
ปี พ.ศ. อัตราการเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)
รถพลังงานไฟฟ้า
2563 2564 2565 2564/2563 2565/2564
รถไฟฟ้าแบตเตอรี่ (BEV) 2,999 5,889 20,817 96.37 253.49
รถไฟฟ้าแบบไฮบริด (HEV) 31,180 35,794 64,035 14.80 78.90
รถไฮบริดแบบเสียบปลั๊ก (PHEV) 1,091 7,060 11,331 547.11 60.50
รวม 35,270 48,743 96,183 38.20 97.33

แผนภูมิแสดงจานวนรถจดทะเบียนใหม่พลังงานไฟฟ้า ปี พ.ศ. 2563 – 2565


2563 2564 2565
จานวน (คัน) 78.90%
70,000 64,035
60,000
50,000 253.49%
40,000 35,794
31,180 60.50%
30,000 20,817
20,000
10,000 2,999 5,889 7,060 11,331
1,091
-
BEV HEV PHEV

จานวนรถจดทะเบียนใหม่พลังงานไฟฟ้า ปี พ.ศ. 2565

BEV 20,817 คัน HEV 64,035 คัน PHEV 11,331 คัน

รถโดยสาร, รถสามล้อ, 227 คัน, 1.09%


976 คัน, 4.69% รถจักรยานยนต์, รถโดยสาร,
รถบรรทุก, 466 คัน, 0.73%
24 คัน, 0.12% 1 คัน, 0.002%

รถยนต์, รถจักรยานยนต์, รถยนต์,


9,674 คัน, 9,916 คัน, 11,331 คัน,
46.47% 47.63% รถยนต์, 100.00%
63,568 คัน,
99.27%

จานวนรถจดทะเบียนใหม่พลังงานไฟฟ้า ปี พ.ศ. 2565 มีจานวนทั้งสิ้น 96,183 คัน เป็นรถไฟฟ้าแบตเตอรี่ (BEV)


จานวน 20,817 คัน เมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2564 เพิ่มขึ้นร้อยละ 253.49 ส่วนใหญ่เป็นรถจักรยานยนต์ จานวน
9,916 คัน คิดเป็นร้อยละ 47.63 รองลงมาคือ รถยนต์ จานวน 9,674 คัน คิดเป็นร้อยละ 46.47 และรถโดยสาร จานวน
976 คัน คิดเป็นร้อยละ 4.69 ตามลาดับ ส่วนรถไฟฟ้าไฮบริด (HEV) มีจานวน 64,035 คัน เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2564 ร้อยละ
78.90 และรถไฮบริดแบบเสียบปลั๊ก (PHEV) มีจานวน 11,331 คัน เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2564 ร้อยละ 60.50

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
17

จานวนรถทีจ่ ดทะเบียนครั้งแรก ทั่วประเทศ ปีงบประมาณ 2563 - 2565


ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
จานวนรถ (คัน)
ประเภทรถ [ เพิ่ม , (ลด) ]
2563 2564 2565 2564/2563 2565/2564
รวมทั้งสิ้น 2,421,704 2,437,525 2,709,067 0.65 11.14
รวมรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ 2,386,201 2,399,779 2,666,538 0.57 11.12
รย. 1 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน 553,544 536,139 582,448 (3.15) 8.64
รย. 2 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน 15,303 11,788 15,405 (22.97) 30.68
รย. 3 รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล 208,074 212,365 222,249 2.06 4.65
รย. 6 รถยนต์รับจ้างบรรทุกคนโดยสารไม่เกิน 7 คน 4,325 957 430 (77.87) (55.07)
รย. 12 รถจักรยานยนต์สว่ นบุคคล 1,549,083 1,575,447 1,775,009 1.70 12.67
รย. 17 รถจักรยานยนต์สาธารณะ 2,396 389 1,071 (83.76) 175.32
รถอื่นๆ 53,466 62,694 69,926 17.26 11.54
รวมรถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก 35,503 37,746 42,529 6.32 12.67
รถโดยสาร 4,445 1,540 1,580 (65.35) 2.60
รถบรรทุก 31,058 36,206 40,949 16.58 13.10
ในภาพรวมของจานวนรถที่จดทะเบียนครั้งแรก ปีงบประมาณ 2565 มีจานวนทั้งสิ้น 2,709,067 คัน เพิ่มขึ้นจาก
ปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ 11.14 และเมื่อพิจารณาตามการจดทะเบียน พบว่ารถที่จดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วย
รถยนต์ มีจานวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.12 และรถที่จดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก มีจานวนเพิ่มขึ้นร้อยละ
12.67
รถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ รถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก
หน่วย : คัน จดใหม่ หน่วย : คัน จดใหม่
100,000 จดใหม่ จดใหม่
3,000,000 2,890,747 82,274 80,788
จดใหม่ จดใหม่ 71,383
75,000
2,585,677 2,599,926
2,500,000 ครั้งแรก 50,000
ครั้งแรก ครั้งแรก 92.24% ครั้งแรก ครั้งแรก ครั้งแรก
25,000 52.64%
92.29% 92.30% ป้ายแดง 49.74% 45.88%
2,000,000 - ป้ายแดง
2563 2564 2565 2563 2564 2565
รถจดทะเบี ยน ค รั้ งแ รก ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของรถจดทะเบี ย นใหม่ ปี ง บประมาณ 25 65 พบว่ า
รถจดทะเบียนใหม่ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์นั้น มีสัดส่วนรถจดทะเบียนครั้งแรก ร้อยละ 92.24 ส่วนรถจดทะเบียนใหม่
ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก มีสัดส่วนรถจดทะเบียนครั้งแรก ร้อยละ 52.64

นิยาม "รถจดทะเบียนครั้งแรก" หมายถึง รถที่จดทะเบียนใหม่ซึ่งเป็นรถที่ไม่เคยจดทะเบียนจากที่ใดมา


ก่อน แต่มาจดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์หรือกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบกครั้งนี้เป็นครั้ง
แรก และได้ชาระภาษีแล้ว เฉพาะกรณีดังต่อไปนี้
1. รถใหม่ที่ผลิตจากโรงงานภายในประเทศ หรือรถที่นาเข้าจากต่างประเทศเพื่อจาหน่าย
2. รถที่ได้มาจากการขายทอดตลาดของกรมศุลกากร เฉพาะที่ไม่เคยจดทะเบียนมาก่อน
3. รถใหม่ที่นาเข้ามาจากต่างประเทศที่มิใช่เพื่อจาหน่าย

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
18

เปรียบเทียบจานวนรถจดทะเบียนครั้งแรกทั่วประเทศ จาแนกตามยี่ห้อรถ ปีงบประมาณ 2564 และ 2565


รถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์
รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน (รย.1)

จานวนรถ (คัน) เพิ่ม , (ลด)


ลาดับ ยี่ห้อรถ อื่นๆ
2564 2565 (ร้อยละ) BMW
SUZUKI 5.66% TOYOTA
1 TOYOTA 156,380 173,196 10.75 2.19%
3.41% 29.74%
NISSAN
2 ISUZU 84,454 104,671 23.94 3.79%
3 HONDA 88,050 88,684 0.72 FORD
4.15%
4 MITSUBISHI 37,743 38,542 2.12
MG
5 MAZDA 37,483 36,085 (3.73) 5.04%
6 MG 26,988 29,364 8.80 MAZDA
7 FORD 22,856 24,162 5.71 6.20%
582,448 คัน
8 NISSAN 30,160 22,082 (26.78)
9 SUZUKI 21,239 19,862 (6.48)
MITSUBISHI
10 BMW 10,116 12,767 26.21 6.62%
อื่นๆ 20,670 33,033 59.81 ISUZU
HONDA
17.97%
รวม 536,139 582,448 8.64 15.23%

รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน (รย.2)

MERCEDES BENZ SUZUKI MITSUBISHI จานวนรถ (คัน) เพิ่ม , (ลด)


MG 0.39% ลาดับ ยี่ห้อรถ
0.53% 0.41% (ร้อยละ)
0.69% 2564 2565
VOLKSWAGEN อื่นๆ 1 TOYOTA 6,704 8,782 31.00
1.20% NISSAN 0.41%
1.47% 2 HYUNDAI 2,457 3,873 57.63
ISUZU
2.49%
3 KIA 1,275 1,581 24.00
4 ISUZU 376 383 1.86
KIA 5 NISSAN 360 226 (37.22)
10.26%
6 VOLKSWAGEN 163 185 13.50
7 MG 140 106 (24.29)
15,405 คัน 8 MERCEDES BENZ 66 81 22.73
HYUNDAI 9 SUZUKI 52 63 21.15
25.14% TOYOTA
57.01%
10 MITSUBISHI 48 62 29.17
อื่นๆ 147 63 (57.14)
รวม 11,788 15,405 30.68

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
19

เปรียบเทียบจานวนรถจดทะเบียนครั้งแรกทั่วประเทศ จาแนกตามยี่ห้อรถ ปีงบประมาณ 2564 และ 2565


รถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์
รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล (รย.3)

จานวนรถ (คัน) เพิ่ม , (ลด) MAZDA HINO SOKON


ลาดับ ยี่ห้อรถ MG
2564 2565 (ร้อยละ) 0.49% 0.34% 0.30% 0.03%
SUZUKI
1 TOYOTA 88,126 95,872 8.79
1.43% อื่นๆ
2 ISUZU 86,029 91,691 6.58 NISSAN 0.10%
3 MITSUBISHI 13,638 14,042 2.96 FORD 2.29%
4 FORD 9,415 9,581 1.76 4.31%
5 NISSAN 6,511 5,084 (21.92) MITSUBISHI
6 SUZUKI 2,261 3,180 40.65 6.32%
7 MG 2,157 1,085 (49.70)
8 MAZDA 1,829 752 (58.88)
222,249 คัน
9 HINO 616 673 9.25
10 SOKON - 65 100.00 ISUZU TOYOTA
อื่นๆ 1,783 224 (87.44) 41.25% 43.14%
รวม 212,365 222,249 4.65

รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล (รย.12)

จานวนรถ (คัน) เพิ่ม , (ลด)


KAWASAKI ลาดับ ยี่ห้อรถ
RYUKA 0.36% LAMBRETTA
ROYAL ENFIELD
DECO 2564 2565 (ร้อยละ)
0.32% 0.15%
0.49% 0.15% 1 HONDA 1,214,624 1,350,562 11.19
SUZUKI 2 YAMAHA 255,374 291,539 14.16
0.52% อืน่ ๆ
GPX 1.00% 3 VESPA 30,835 45,341 47.04
1.95% 4 GPX 28,702 34,625 20.64
VESPA 5 SUZUKI 8,589 9,302 8.30
2.55%
6 RYUKA 7,113 8,649 21.59
YAMAHA 7 KAWASAKI 8,380 6,365 (24.05)
16.42%
8 LAMBRETTA 3,936 5,592 42.07
1,775,009 คัน 9 ROYAL ENFIELD 2,014 2,695 33.81
10 DECO 1,652 2,589 56.72
อื่นๆ 14,228 17,750 24.75
HONDA
รวม 1,575,447 1,775,009 12.67
76.09%

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
20

เปรียบเทียบจานวนรถจดทะเบียนครั้งแรกทั่วประเทศ จาแนกตามยี่ห้อรถ ปีงบประมาณ 2564 และ 2565


รถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก

รถโดยสาร

อื่นๆ
11.83%
จานวนรถ (คัน) เพิ่ม , (ลด)
ลาดับ ยี่ห้อรถ
2564 2565 (ร้อยละ) ISUZU
7.02%
1 TOYOTA 716 801 11.87
2 NEX - 197 100.00
MINE BUS
3 HINO 384 172 (55.21) 7.09%
4 MINE BUS - 112 100.00
5 ISUZU 232 111 (52.16) 1,580 คัน
HINO
อื่นๆ 208 187 (10.10) 10.89%
รวม 1,540 1,580 2.60 NEX TOYOTA
12.47% 50.70%

รถบรรทุก

FOTON อื่นๆ
1.12% 4.55%
ISUZU จานวนรถ (คัน) เพิ่ม , (ลด)
UD TRUCKS ลาดับ ยี่ห้อรถ
2.19% 35.89% 2564 2565 (ร้อยละ)
1 ISUZU 11,850 14,695 24.01
2 HINO 11,762 12,917 9.82
พ่วง/กึ่งพ่วง 3 พ่วง/กึ่งพ่วง 9,160 10,118 10.46
24.71%
4 UD TRUCKS 994 896 (9.86)
40,949 คัน
5 FOTON 236 461 95.34
อื่นๆ 2,204 1,862 (15.52)
รวม 36,206 40,949 13.10
HINO หมายเหตุ : พ่วง/กึ่งพ่วง ไม่ได้ระบุยี่ห้อรถ
31.54%

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
สถิตกิ ารดาเนินการเกีย่ วกับทะเบียนและภาษีรถ รวมทัว่ ประเทศ ประจาปีงบประมาณ 2565
(Statistics on operation relating to motor vehicle registration and tax in Thailand for Fiscal Year 2022)
ต่ ออายุ แจ้งเลิกใช้ แจ้งไม่เสียภาษี เปลีย่ นแปลง
ประเภทการขนส่ง / จานวนรถ ทะเบียนและ จดทะเบียน เปลีย่ น เปลีย่ น ย้ายเข้า ย้ายออก โอน ตาม ม.79 / ตาม ม.89 / สาระสาคั ญ / อืน่ ๆ
ประเภทรถ ทีม่ าดาเนินการ ชาระภาษี รถใหม่ ประเภท ลักษณะ แจ้งไม่ใช้รถ แจ้งไมใช้รถ เปลีย่ นแปลง
ตลอดไป ชั่วคราว รายการในทะเบียน
รวมทัง้ สิน้ 38,574,467 33,421,288 2,971,535 29,539 9,996 1,071,644 112,294 3,244,423 164,138 14,952 585,299 3,009,720
รวมรถตามกฎหมายว่าด้ วยรถยนต์ 37,395,260 32,276,832 2,890,747 19,438 - 1,017,979 55,714 3,170,827 124,203 5,808 559,663 2,895,958
รย. 1 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน 12,207,958 10,211,790 602,848 4,557 315,922 22,328 1,218,111 10,746 3,014 207,078 1,156,983
รย. 2 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน 458,090 350,402 23,270 1,243 10,567 804 40,662 3,704 404 7,651 44,689
รย. 3 รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล 7,159,501 6,135,909 241,340 3,637 199,269 12,046 574,797 7,359 986 199,829 557,615
รย. 4 รถยนต์สำมล้อส่วนบุคคล 856 801 79 3 3 1 7 3 11 44 33
รย. 5 รถยนต์รบั จ้ำงระหว่ำงจังหวัด - - - - - - - - - - -
รย. 6 รถยนต์รบั จ้ำงบรรทุกคนโดยสำรไม่เกิน 7 คน 85,220 75,335 1,253 18 60 98 9,061 228 124 6,194 5,721
รย. 7 รถยนต์สลี่ ้อเล็กรับจ้ำง 1,747 1,659 2 - - - 109 2 24 133 135
รย. 8 รถยนต์รบั จ้ำงสำมล้อ 13,971 13,009 224 - - - 1,163 138 468 1,260 1,462
รย. 9 รถยนต์บริกำรธุรกิจ 3,771 3,453 46 9 3 17 251 57 1 140 200
รย.10 รถยนต์บริกำรทัศนำจร 4,178 3,785 99 15 - 30 306 81 2 141 272
รย.11 รถยนต์บริกำรให้เช่ำ 85 74 8 5 - - 6 1 - 1 4
รย.12 รถจักรยำนยนต์ส่วนบุคคล 16,777,033 14,907,801 1,946,386 7,478 477,296 20,071 1,282,728 97,889 529 133,544 1,098,563
รย.13 รถแทรกเตอร์ 501,245 441,385 71,442 - 14,192 264 39,624 1,734 207 2,203 23,939
รย.14 รถบดถนน 15,489 12,641 965 - 264 10 498 215 32 250 688
รย.15 รถใช้งำนเกษตรกรรม 38,144 - 478 - 40 14 571 22 - 240 418
รย.16 รถพ่วง 5,469 4,544 1,121 - 44 4 81 44 2 9 191
รย.17 รถจักรยำนยนต์สำธำรณะ 122,464 114,240 1,186 2,438 319 27 2,852 1,980 4 945 5,045
รย. 18 รถยนต์รบั จ้ำงผ่ำนระบบอิเล็กทรอนิ กส์ 39 4 - 35 - - - - - 1 -
รวมรถตามกฎหมายว่าด้ วยการขนส่งทางบก 1,179,207 1,144,456 80,788 10,101 9,996 53,665 56,580 73,596 39,935 9,144 25,636 113,762
รถโดยสำรประจำทำง 50,141 50,118 975 27 81 175 846 2,332 4,733 1,256 606 4,308
รถโดยสำรไม่ประจำทำง 50,231 50,138 2,484 33 85 831 1,272 3,272 5,620 1,427 1,224 4,031
รถบรรทุกไม่ประจำทำง 375,612 374,750 36,605 6,879 2,640 18,431 20,729 32,355 15,029 2,969 10,917 70,312
รถโดยสำรส่วนบุคคล 10,491 5,456 458 62 9 161 205 214 373 27 132 328
รถบรรทุกส่วนบุคคล 692,693 663,955 40,266 3,100 7,181 34,067 33,528 35,423 14,179 3,465 12,757 34,781
รถขนำดเล็ก 39 39 - - - - - - 1 - - 2

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
21
22

เปรียบเทียบสถิติการดาเนินการเกี่ยวกับทะเบียนรถและภาษีรถ รวมทั่วประเทศ ปีงบประมาณ 2564 และ 2565


หน่วย : คัน
อัตราการเปลี่ยนแปลง
การดาเนินการ ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565
2565/2564
ต่ออายุทะเบียนและชาระภาษี 31,411,642 33,421,288 6.40
จดใหม่ 2,682,200 2,971,535 10.79
ย้าย 1,075,266 1,183,938 10.11
โอน 3,850,190 3,244,423 (15.73)
แจ้งเลิกใช้ 176,293 164,138 (6.89)
แจ้งไม่ใช้รถชั่วคราว/แจ้งไม่เสียภาษี 16,579 14,952 (9.81)
เปลี่ยนแปลงสาระสาคัญ 572,191 585,299 2.29
อื่นๆ 2,736,305 3,049,255 11.44
รวม 42,520,666 44,634,828 4.97
หมายเหตุ : อื่นๆ หมายถึง การเปลี่ยนประเภท การเปลีย่ นลักษณะ และอื่นๆ
สัดส่วนการดาเนินการเกี่ยวกับทะเบียนรถและภาษี ปีงบประมาณ 2565
เปลี่ยนแปลงสาระสาคัญ, 585,299 คัน, 1.31% สถิติก ารดาเนิน การเกี่ย วกับ ทะเบีย นรถ
แจ้งไม่ใช้รถชั่วคราว/แจ้งไม่เสียภาษี อื่นๆ
14,952 คัน, 0.03% 3,049,255 คัน, 6.83% แ ล ะ ภ า ษ ีร ถ ป ีง บ ป ร ะ ม า ณ 2 5 6 5 พ บ ว ่า
แจ้งเลิกใช้, 164,138 คัน, 0.37% มีการดาเนินการต่ออายุทะเบียนและชาระภาษี มาก
โอน, 3,244,423 คัน, 7.27%
ที่ สุ ด จ านวน 33,421,288 คั น (ร้ อ ยละ 74.88)
ย้าย, 1,183,938 คัน, 2.65%
รองลงมา คื อ การด าเนิ น การโอน จ านวน
จดใหม่, 2,971,535 คัน, 6.66%
3,244,423 คัน (ร้อยละ 7.27) และจดทะเบียนใหม่
44,634,828 คัน
ต่ออายุทะเบียนและชาระภาษี, จานวน 2,971,535 คัน (ร้อยละ 6.66) ตามลาดับ
33,421,288 คัน, 74.88%

แผนภูมิเปรียบเทียบสถิติการดาเนินการเกี่ยวกับทะเบียนรถและภาษี ปีงบประมาณ 2564 และ 2565


6.40% ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565
หน่วย : คัน
35,000,000
30,000,000
25,000,000
20,000,000 10.79% (15.73)% 11.44%
10.11% (6.89)% (9.81)% 2.29%
15,000,000
10,000,000
5,000,000
-
ต่ออายุ แจ้งไม่ใช้รถ
เปลี่ยนแปลง
ทะเบียนและ จดใหม่ ย้าย โอน แจ้งเลิกใช้ ชั่วคราว/แจ้ง อื่นๆ
สาระสาคัญ
ชาระภาษี ไม่เสียภาษี
ปีงบประมาณ 2564 31,411,642 2,682,200 1,075,266 3,850,190 176,293 16,579 572,191 2,736,305
ปีงบประมาณ 2565 33,421,288 2,971,535 1,183,938 3,244,423 164,138 14,952 585,299 3,049,255

เปรี ย บเทีย บการดาเนิ นการฯ ปี งบประมาณ 2565 กับปีงบประมาณ 2564 พบว่า มีอัตราการเปลี่ยนแปลง
เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.97 โดยการดาเนินการอื่นๆ เพิ่มขึ้นมากที่สุด (เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.44) รองลงมา คือ การจดทะเบียนใหม่
(เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.79) และการดาเนินการแจ้งย้าย (เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.11) ตามลาดับ ขณะที่การดาเนินการโอน แจ้งไม่
ใช้รถชั่วคราว/แจ้งไม่เสียภาษี และแจ้งเลิกใช้ มีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลงร้อยละ 15.73, 9.81 และ 6.89 ตามลาดับ

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
23

จานวนรถที่เข้ารับการตรวจสภาพที่กรมการขนส่งทางบกทั่วประเทศ ปีงบประมาณ 2563 - 2565

ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
จานวนรถ (คัน)
ประเภทรถ [ เพิ่ม , (ลด) ]
2563 2564 2565 2564/2563 2565/2564
รวมทั้งสิ้น 5,466,565 5,288,463 5,864,722 (3.26) 10.90
รวมรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ 4,182,917 4,035,245 4,566,144 (3.53) 13.16
รย. 1 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน 934,736 906,084 994,608 (3.06) 9.77
รย. 2 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน 72,646 76,612 96,853 5.45 26.42
รย. 3 รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล 572,256 554,180 615,664 (3.16) 11.09
รย. 4 รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล 852 720 762 (15.49) 5.83
รย. 5 รถยนต์รับจ้างระหว่างจังหวัด 2 1 - (50.00) (100.00)
รย. 6 รถยนต์รับจ้างบรรทุกคนโดยสารไม่เกิน 7 คน 147,331 73,017 121,678 (50.44) 66.64
รย. 7 รถยนต์สี่ล้อเล็กรับจ้าง 1,783 1,514 1,692 (15.09) 11.76
รย. 8 รถยนต์รับจ้างสามล้อ 14,594 10,523 12,814 (27.90) 21.77
รย. 9 รถยนต์บริการธุรกิจ 3,818 2,726 3,506 (28.60) 28.61
รย. 10 รถยนต์บริการทัศนาจร 6,705 4,621 5,671 (31.08) 22.72
รย. 11 รถยนต์บริการให้เช่า 122 82 81 (32.79) (1.22)
รย. 12 รถจักรยานยนต์สว่ นบุคคล 2,228,188 2,219,509 2,516,603 (0.39) 13.39
รย. 13 รถแทรกเตอร์ 59,441 67,978 77,425 14.36 13.90
รย. 14 รถบดถนน 902 1,228 1,066 36.14 (13.19)
รย. 15 รถใช้งานเกษตรกรรม 693 968 703 39.68 (27.38)
รย. 16 รถพ่วง 1,124 1,036 1,172 (7.83) 13.13
รย. 17 รถจักรยานยนต์สาธารณะ 137,724 114,446 115,812 (16.90) 1.19
รย. 18 รถยนต์รับจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ - - 34 - 100.00
รวมรถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก 1,283,648 1,253,218 1,298,578 (2.37) 3.62
รวมรถโดยสาร 205,544 148,289 146,255 (27.86) (1.37)
แยกเป็น - ประจาทาง 98,360 75,971 70,908 (22.76) (6.66)
- ไม่ประจาทาง 96,185 61,669 64,580 (35.89) 4.72
- ส่วนบุคคล 10,999 10,649 10,767 (3.18) 1.11
รวมรถบรรทุก 1,078,028 1,104,866 1,152,323 2.49 4.30
แยกเป็น - ไม่ประจาทาง 383,797 414,422 437,596 7.98 5.59
- ส่วนบุคคล 694,231 690,444 714,727 (0.55) 3.52
รถขนาดเล็ก 76 63 - (17.11) (100.00)

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
24

แผนภูมิเปรียบเทียบจานวนรถที่เข้ารับการตรวจสภาพทั่วประเทศ ปีงบประมาณ 2563 - 2565

หน่วย : คัน รวมรถที่เข้ารับการตรวจสภาพครั้งที่ 1 2563 2564 2565


10.90%
6,000,000 5,864,722
(3.26)%
5,466,565
5,288,463
5,000,000

4,000,000

จานวนรถที่เข้ารับการตรวจสภาพครั้งที่ 1 ปีงบประมาณ 2565 มีทั้งสิ้น 5,864,722 คัน เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ


2564 ร้อยละ 10.90 และปีงบประมาณ 2564 มีทั้งสิ้น 5,288,463 คัน ลดลงจากปีงบประมาณ 2563 ร้อยละ 3.26

หน่วย : คัน รถที่เข้ารับการตรวจสภาพครั้งที่ 1 ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์


2563 2564 2565
5,000,000
13.16%
4,566,144
4,500,000 (3.53)%
4,182,917
4,035,245
4,000,000

3,500,000

จานวนรถที่เข้ารับการตรวจสภาพครั้งที่ 1 ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ปีงบประมาณ 2565 มีทั้งสิ้น 4,566,144 คัน


เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ 13.16 และปีงบประมาณ 2564 มีทั้งสิ้น 4,035,245 คัน ลดลงจากปีงบประมาณ
2563 ร้อยละ 3.53
หน่วย : คัน รถที่เข้ารับการตรวจสภาพครั้งที่ 1 ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก
2563 2564 2565
1,420,000
3.62%
(2.37)% 1,298,578
1,320,000 1,283,648
1,253,218
1,220,000

1,120,000

จ านวนรถที่เข้ารับการตรวจสภาพครั้งที่ 1 ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ปีงบประมาณ 2565 มีทั้งสิ้ น


1,298,578 คัน เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ 3.62 และปีงบประมาณ 2564 มีทั้งสิ้น 1,253,218 คัน ลดลงจาก
ปีงบประมาณ 2563 ร้อยละ 2.37

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
25

จานวนรถที่เข้ารับการตรวจสภาพทั่วประเทศ ปีงบประมาณ 2565

จานวนรถที่เข้าตรวจสภาพครั้งที่ 1 (คัน)
ประเภทรถ จานวนรถที่ไม่ผ่านเนื่องจากสาเหตุต่างๆ
ผ่าน ไม่ผ่าน รวม
ส.1 ส.2 ส.3 ส.4 ส.5 ส.6 ส.7 ส.8
รถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ 4,528,711 37,433 4,566,144 2,296 4,044 7,628 512 3,170 8,010 - 474
รย. 1 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน 990,156 4,452 994,608 671 788 1,552 84 198 778 - 2
รย. 2 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน 94,688 2,165 96,853 350 159 957 38 314 179 - -
รย. 3 รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล 607,413 8,251 615,664 1,194 1,270 2,998 278 529 1,381 - 1
รย. 4 รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล 759 3 762 - 1 - - 1 1 - -
รย. 5 รถยนต์รับจ้างระหว่าง
- - - - - - - - - - -
จังหวัด
รย. 6 รถยนต์รับจ้างบรรทุกคน
102,900 18,778 121,678 16 81 1,981 11 1,861 14,285 - 471
โดยสารไม่เกิน 7 คน
รย. 7 รถยนต์สลี่ ้อเล็กรับจ้าง 1,547 145 1,692 8 2 14 - 2 117 - -
รย. 8 รถยนต์รับจ้างสามล้อ 12,069 745 12,814 - 46 - - 2 696 - -
รย. 9 รถยนต์บริการธุรกิจ 3,444 62 3,506 11 3 31 1 2 10 - -
รย. 10 รถยนต์บริการทัศนาจร 5,581 90 5,671 13 1 33 2 2 37 - -
รย. 11 รถยนต์บริการให้เช่า 81 - 81 - - - - - - - -
รย. 12 รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล 2,513,961 2,642 2,516,603 32 1,638 61 97 252 500 - -
รย. 13 รถแทรกเตอร์ 77,414 11 77,425 - 3 - - 1 3 - -
รย. 14 รถบดถนน 1,066 - 1,066 - - - - - - - -
รย. 15 รถใช้งานเกษตรกรรม 699 4 703 - 3 - - 1 - - -
รย. 16 รถพ่วง 1,170 2 1,172 - 1 - - - 1 - -
รย. 17 รถจักรยานยนต์สาธารณะ 115,729 83 115,812 1 48 1 1 5 22 - -
รย. 18 รถยนต์รับจ้างผ่านระบบ
34 - 34 - - - - - - - -
อิเล็กทรอนิกส์
รถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่ง
1,174,202 124,376 1,298,578 23,369 20,181 10,875 1,206 2,579 249 200 64,973
ทางบก
รวมรถโดยสาร 122,076 24,179 146,255 6,299 2,391 3,322 141 1,106 33 63 10,574
แยกเป็น - ประจาทาง 60,099 10,809 70,908 3,180 1,247 1,827 39 476 7 31 3,331
- ไม่ประจาทาง 52,407 12,173 64,580 2,397 853 1,244 88 531 25 25 6,984
- ส่วนบุคคล 9,570 1,197 10,767 722 291 251 14 99 1 7 259
รวมรถบรรทุก 1,052,126 100,197 1,152,323 17,070 17,790 7,553 1,065 1,473 216 137 4,399
แยกเป็น - ไม่ประจาทาง 397,006 40,590 437,596 4,668 4,715 921 228 396 102 24 25,323
- ส่วนบุคคล 655,120 59,607 714,727 2,402 13,075 6,632 837 1,077 114 113 29,076

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
26

จานวนและสัดส่วนของประเภทรถที่เข้ารับการตรวจสภาพมากที่สุด 3 อันดับแรก ปีงบประมาณ 2565

รถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์
4,566,144 คัน
77.86% 714,727 (55.04%) รถบรรทุกส่วนบุคคล
437,596 (33.70%) รถบรรทุกไม่ประจาทาง
รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล 2,516,603 (55.11%) 70,908 (5.46%) รถโดยสารประจาทาง
รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน 994,608 (21.78%)
รถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก
รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล 615,664 (13.48%) 1,298,578 คัน
22.14%
1 100 10,0001,000,000

จานวนรถที่เข้ารับการตรวจสภาพ ปีงบประมาณ 2565 มีทั้งสิ้น 5,864,722 คัน เป็นรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ จานวน


4,566,144 คัน (ร้อยละ 77.86) และรถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก จานวน 1,298,578 คัน (ร้อยละ 22.14)
รถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ที่เข้ารับการตรวจสภาพมากที่สุด คือ รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล จานวน 2,516,603 คัน
(ร้อยละ 55.11) รองลงมาเป็นรถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน จานวน 994,608 คัน (ร้อยละ 21.78) และรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล
จานวน 615,664 คัน (ร้อยละ 13.48)
รถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบกที่เข้ารับการตรวจสภาพมากที่สุด คือ รถบรรทุกส่วนบุคคล จานวน 714,727 คัน
(ร้อยละ 55.04) รองลงมาเป็นรถบรรทุก ไม่ประจาทาง จานวน 437,596 คัน (ร้อยละ 33.70) และรถโดยสารประจาทาง จานวน
70,908 คัน (ร้อยละ 5.46)

สัดส่วนของรถที่ผ่าน/ไม่ผ่านการตรวจสภาพ ปีงบประมาณ 2565


สัดส่วนของรถที่ผ่าน/ไม่ผา่ นการตรวจสภาพ ปีงบประมาณ 2565

รถตามกฎหมาย
ว่าด้วยรถยนต์ 99.18% 0.82%
รถตามกฎหมาย
ว่าด้วยการขนส่งทางบก 90.42% 9.58%

0% 20% 40% 60% 80% 100%


รถผ่านการตรวจสภาพ รถไม่ผ่านการตรวจสภาพ
สัดส่วนของรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ทไี่ ม่ผ่าน
สัดส่วนรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ที่เข้ารับ
การตรวจสภาพมากที่สุด 3 อันดับแรก
รถยนต์รับจ้างบรรทุก การตรวจสภาพ ปีงบประมาณ 2565 ผ่านการตรวจสภาพ
84.57% 15.43%
คนโดยสารไม่เกิน 7 คน ร้อยละ 99.18 และไม่ผ่านการตรวจสภาพ ร้อยละ 0.82
รถยนต์สี่ล้อเล็กรับจ้าง 91.43% 8.57% โดยสัดส่วนรถยนต์รับจ้างบรรทุกคนโดยสารไม่เกิน 7 คน
รถยนต์รับจ้างสามล้อ 94.19% 5.81% ไม่ผ่านการตรวจสภาพมากที่สุด ร้อยละ 15.43 รองลงมา
เป็นรถยนต์สี่ล้อเล็กรับจ้าง ร้อยละ 8.57 และรถยนต์
0% 20% 40% 60% 80% 100% รับจ้างสามล้อ ร้อยละ 5.81
รถผ่านการตรวจสภาพ รถไม่ผ่านการตรวจสภาพ

สัดส่วนของรถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก
สัดส่วนรถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก
ทีไ่ ม่ผ่านการตรวจสภาพมากที่สุด 3 อันดับแรก
ที่เข้ารับ การตรวจสภาพ ปีงบประมาณ 2565 ผ่านการ
รถโดยสารไม่ประจาทาง 81.15% 18.85%
ตรวจสภาพ ร้อยละ 90.42 และไม่ผ่านการตรวจสภาพ
รถโดยสารประจาทาง 84.76% 15.24% ร้อยละ 9.58 โดยสัดส่วนรถโดยสารไม่ประจาทางไม่ผ่าน
รถโดยสารส่วนบุคคล 88.88% 11.12%
การตรวจสภาพมากที่สุด ร้อยละ 18.85 รองลงมาเป็น
รถโดยสารประจาทาง ร้อยละ 15.24 และรถโดยสาร
0% 20% 40% 60% 80% 100% ส่วนบุคคล ร้อยละ 11.12
รถผ่านการตรวจสภาพ รถไม่ผ่านการตรวจสภาพ
สถิติการขนส่งประจําปี 2565
27

สาเหตุที่รถไม่ผ่านการตรวจสภาพ ปีงบประมาณ 2565


รถกฎหมาย รถกฎหมายว่าด้วย
สาเหตุที่รถไม่ผ่านการตรวจสภาพรถ
ว่าด้วยรถยนต์ การขนส่งทางบก
1. เนื่องจากระบบห้ามล้อชารุดบกพร่องหรือประสิทธิภาพห้ามล้อไม่ถูกต้องตามเกณฑ์ที่
2,296 23,369
กาหนด (ส.1)
2. เนื่องจากระบบไฟฟ้ารถยนต์ ระบบไฟส่องสว่าง ระบบสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณ
4,044 20,181
ไฟเลี้ยว กริ่งสัญญาณ ชารุดบกพร่องหรือไม่ถูกต้อง (ส.2)
3. เนื่องจากมลภาวะจากไอเสียรถยนต์ เช่น ควันดา ไฮโดรคาร์บอนคาร์บอนมอนอกไซด์
7,628 10,875
ฯลฯ เกินเกณฑ์ที่กาหนด (ส.3)
4. เนื่องจากระดับเสียงดังของรถที่เกิดจากเครื่องยนต์ แตรสัญญาณเกินเกณฑ์ที่กาหนด (ส.4) 512 1,206
5. เนื่องจากสภาพตัวถังโดยทั่วไป โครงรถ สีรถ ที่นั่ง ชารุดบกพร่อง หรือไม่ถูกต้อง (ส.5) 3,170 2,579
6. เนื่องจากบังคับเลี้ยวชารุดบกพร่อง หรือศูนย์ล้อหน้าไม่ถูกต้อง (ส.6) 18,010 249
7. เนื่องจากเครื่องยนต์ ระบบส่งกาลัง ระบบรองรับน้าหนัก หรือระบบผ่อนคลายความ
- 200
สั่นสะเทือนชารุดบกพร่อง (ส.7)
8. เนื่องจากแก้ไขเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงเครื่องอุปกรณ์หรือส่วนควบของรถก่อนได้รับ
474 64,973
อนุญาต และข้อบกพร่องอื่น ๆ นอกเหนือจากสาเหตุที่ 1 - 7 (ส.8)
รวม (สาเหตุ) 36,134 123,632

สัดส่วนของสาเหตุที่รถไม่ผ่านการตรวจสภาพ ปีงบประมาณ 2565


รถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ รถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก
ส.7, 0,
ส.8, 474 คัน, ส.1 ส.1
0.00%
1.31% 2,296 คัน 23,369 คัน
6.36% 18.90%
ส.2 ส.8,
4,044 คัน 64,973 คัน,
11.19% 52.55% ส.2
ส.6 36,134 คัน 123,632 คัน 20,181 คัน
18,010 คัน ส.3 16.32%
49.84% ส.7
7,628 คัน
200 คัน
21.11% ส.3, 10,875 คัน, 8.80%
0.16%
ส.6, 249 คัน, 0.20%
ส.5, 3,170 คัน, 8.77% ส.4, 512 คัน, 1.42% ส.5, 2,579 คัน, 2.09% ส.4, 1,206 คัน, 0.98%

สาเหตุที่รถไม่ผ่านการตรวจสภาพตามกฎหมาย สาเหตุที่รถไม่ผ่านการตรวจสภาพตามกฎหมายว่า
ว่าด้ว ยรถยนต์มากที่สุ ด คือ บังคับเลี้ยวช ารุ ดบกพร่ อง ด้ว ยการขนส่ งทางบกมากที่สุด คือ แก้ไขเพิ่มเติมหรือ
หรือศูนย์ล้ อหน้ าไม่ถูกต้อง (ส.6) จ านวน 18,010 คัน เปลี่ยนแปลงเครื่องอุปกรณ์หรือส่วนควบของรถก่อนได้รับ
(ร้อยละ 49.84) รองลงมาเป็นสาเหตุมลภาวะจากไอเสีย อนุญาต และข้อบกพร่องอื่น ๆ นอกเหนือจากสาเหตุที่ 1 - 7
รถยนต์ เช่น ควันดา ไฮโดรคาร์บอน คาร์บอนมอนอกไซด์ (ส.8) จานวน 64,973 คัน (ร้อยละ 52.55) รองลงมาเป็น
ฯลฯ เกินเกณฑ์ที่กาหนด (ส.3) จานวน 7,628 คัน (ร้อยละ ระบบห้ามล้อชารุดบกพร่องหรือประสิทธิภ าพห้ามล้อ
21.11) และสาเหตุร ะบบไฟฟ้ารถยนต์ ระบบไฟส่ อ ง ไม่ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กาหนด (ส.1) จานวน 23,369 คัน
สว่าง ระบบสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณไฟเลี้ยว กริ่ง (ร้อยละ 18.90) และระบบไฟฟ้ารถยนต์ ระบบไฟส่อง
สั ญญาณ ช ารุ ดบกพร่ องหรื อไม่ถูกต้อง (ส.2) จานวน สว่าง ระบบสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณไฟเลี้ยว กริ่ง
4,044 คัน (ร้อยละ 11.19) ตามลาดับ สั ญญาณ ช ารุดบกพร่องหรือ ไม่ ถูก ต้อ ง (ส.2) จานวน
20,181 คัน (ร้อยละ 16.32) ตามลาดับ
สถิติการขนส่งประจําปี 2565
28

จานวนสถานตรวจสภาพรถเอกชนทั่วประเทศ จาแนกตามผู้ได้รับอนุญาตจัดตั้ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565


หน่วย : แห่ง
ผู้ได้รับอนุญาตจัดตั้ง
ประเภทของสถานตรวจสภาพรถเอกชน รวม
นิติบุคคล บุคคลธรรมดา
ตรวจสภาพรถขนส่ง รถยนต์ และรถจักรยานยนต์
18 44 62
(ทุกประเภทและทุกขนาด)
ตรวจสภาพรถยนต์ (น้าหนักไม่เกิน 2,200 กิโลกรัม)
650 2,646 3,296
และรถจักรยานยนต์
ตรวจสภาพรถจักรยานยนต์ 60 146 206
รวม 728 2,836 3,564

สัดส่วนประเภทของสถานตรวจสภาพรถเอกชน
ตรวจสภาพรถขนส่ง รถยนต์ และรถจักรยานยนต์
(ทุกประเภทและทุกขนาด)
62 แห่ง
1.74% ตรวจสภาพรถยนต์ (น้าหนักไม่เกิน 2,200 กก.) และ
รถจักรยานยนต์
3,296 แห่ง
ตรวจสภาพรถจักรยานยนต์ 92.48%
206 แห่ง
5.78%

สัดส่วนของสถานตรวจสภาพรถเอกชน สถานตรวจสภาพรถเอกชนทั่วประเทศ มีทั้งสิ้น 3,564 แห่ง


จาแนกตามผู้ได้รับอนุญาตจัดตั้ง
เป็นสถานตรวจสภาพรถเอกชนที่ตรวจสภาพรถยนต์ (น้าหนักไม่เกิน
นิติบุคคล 2,200 กิโลกรัม) และรถจักรยานยนต์มากที่สุด จานวน 3,296 แห่ง
728 แห่ง บุคคลธรรมดา
20.43% 2,836 แห่ง (ร้อยละ 92.48) รองลงมาเป็นสถานตรวจสภาพรถจักรยานยนต์
79.57% จานวน 206 แห่ง (ร้อยละ 5.78) และสถานตรวจสภาพรถขนส่ง
รถยนต์และรถจักรยานยนต์ (ทุกประเภทและทุกขนาด) จานวน 62 แห่ง
(ร้อยละ 1.74) เมื่อจาแนกตามผู้ได้รับอนุญาตจัดตั้ง พบว่า เป็นสถาน
จังหวัดที่มีจานวนสถานตรวจสภาพรถเอกชน ตรวจสภาพรถเอกชนโดยนิติบุคคล จานวน 728 แห่ง (ร้อยละ 20.43)
มากที่สุด 5 อันดับแรก โดยบุคคลธรรมดา จานวน 2,836 แห่ง (ร้อยละ 79.57)

กรุงเทพมหานคร 227 แห่ง กรุงเทพมหานครมีจานวนสถานตรวจสภาพรถเอกชนมากที่สุด


นครราชสีมา 143 แห่ง 227 แห่ง รองลงมา คือ จังหวัดนครราชสีมา จานวน 143 แห่ง และ
เชียงใหม่ 140 แห่ง
จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 140 แห่ง ตามลาดับ

ชลบุรี 133 แห่ง


เชียงราย 100 แห่ง

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
29

จานวนรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ที่เข้ารับการตรวจสภาพจากสถานตรวจสภาพรถเอกชนทั่วประเทศ ปี พ.ศ. 2565


หน่วย : คัน
รถที่เข้ารับการตรวจสภาพ
ประเภทรถ
ผ่าน ไม่ผ่าน รวม
รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน (รย.1) 6,013,905 16,235 6,030,140
รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน (รย.2) 226,482 1,231 227,713
รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล (รย.3) 4,405,262 20,116 4,425,378
รถจักรยานยนต์ (รย.12) 8,447,781 8,578 8,456,359
รวม 19,093,430 46,160 19,139,590
สัดส่วนรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ที่เข้ารับการตรวจสภาพจากสถานตรวจสภาพรถเอกชน
รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน (รย.1)
รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน (รย.2)
6,030,140 คัน
227,713 คัน
31.51%
1.19%

รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล (รย.3)
รถจักรยานยนต์ (รย.12) 4,425,378 คัน
8,456,359 คัน 23.12%
44.18%

สัดส่วนของรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ที่ผ่านและไม่ผ่าน
การตรวจสภาพจากสถานตรวจสภาพรถเอกชน รถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ที่เข้ารับการตรวจสภาพ
รย.1 99.73% 0.27%
จากสถานตรวจสภาพรถเอกชนทั่วประเทศ มีทั้งสิ้น 19,139,590 คัน
โดยรถจักรยานยนต์ (รย.12) เข้ารับการตรวจสภาพมากที่สุด
รย.2 99.46% 0.54%
8,456,359 คัน (ร้อยละ 44.18) รองลงมา คือ รถยนต์นง่ั ส่วนบุคคล
รย.3 99.55% 0.45%
ไม่เกิน 7 คน (รย.1) จานวน 6,030,140 คัน (ร้อยละ 31.51)
รย.12 99.90% 0.10% รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล (รย.3) จานวน 4,425,378 คัน (ร้อยละ
รวม 99.76% 0.24% 23.12) และรถยนต์นั่งส่ วนบุคคลเกิน 7 คน (รย.2) จานวน
227,713 คัน (ร้อยละ 1.19) จากการตรวจสภาพทั้งสิ้นมีรถที่
รถผ่านการตรวจสภาพ รถไม่ผ่านการตรวจสภาพ
ผ่านการตรวจสภาพ จานวน 19,093,430 คัน (ร้อยละ 99.76)
จังหวัดที่มีจานวนรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ไม่ผ่านการตรวจสภาพ 46,160 คัน (ร้อยละ 0.24)
ที่เข้ารับการตรวจสภาพจากสถานตรวจสภาพรถ
เอกชน มากที่สุด 10 อันดับแรก
กรุงเทพมหานคร 2,199,093 คัน กรุง เทพมหานครมีรถตามกฎหมายว่า ด้ว ยรถยนต์
ชลบุรี 853,286 คัน เข้ารับการตรวจสภาพมากที่สุด 2,199,093 คัน รองลงมา คือ
เชียงใหม่ 773,225 คัน จั ง หวั ด ชลบุ รี จ านวน 853,286 คั น และจั ง หวั ด เชี ย งใหม่
จานวน 773,225 คัน ตามลาดับ
นครราชสีมา 663,248 คัน
ปทุมธานี 519,352 คัน

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
30

จานวนใบอนุญาตประกอบการขนส่ง (สะสม) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565


จานวนใบอนุญาตประกอบการขนส่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีจานวน 434,007 ฉบับ โดยใบอนุญาตฯ
ประเภทรถโดยสาร มี จ านวน 45,495 ฉบั บ (ร้ อ ยละ 10.48) และใบอนุ ญ าตฯ ประเภทรถบรรทุ ก มี จ านวน
388,512 ฉบับ (ร้อยละ 89.52) เมื่อพิจารณาจาแนกตามประเภทและลักษณะรถ พบว่า
- ใบอนุญาตประกอบการขนส่งประเภทรถโดยสาร ส่วนใหญ่เป็นใบอนุญาตประกอบการขนส่งด้วยรถโดยสาร
ไม่ประจาทาง ร้อยละ 75.92 รองลงมาเป็นใบอนุญาตประกอบการขนส่งด้วยรถโดยสารส่วนบุคคล ร้อยละ 17.32 และ
ใบอนุญาตประกอบการขนส่งด้วยรถโดยสารประจาทาง ร้อยละ 6.11 ตามลาดับ
ใบอนุญาตประกอบการขนส่ง ประเภทรถโดยสาร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
ส่วนบุคคล, 7,879 ฉบับ, 17.32%

ไม่ประจาทาง, ประจาทาง, 2,781 ฉบับ, 6.11%


34,539 ฉบับ,
75.92% ไม่ประจาทาง ระหว่างประเทศ,
280 ฉบับ, 0.62%

ประจาทาง ระหว่างประเทศ, 15 ฉบับ,


0.03%
ส่วนบุคคล ระหว่างประเทศ, 1 ฉบับ, 0.002%

ทั่วประเทศ จานวน 45,495 ฉบับ


- ใบอนุญาตประกอบการขนส่งประเภทรถบรรทุก ส่วนใหญ่เป็นใบอนุญาตประกอบการขนส่งด้วยรถบรรทุก
ส่วนบุคคล ร้อยละ 89.73 รองลงมาเป็นใบอนุญาตประกอบการขนส่งด้วยรถบรรทุก ไม่ประจาทาง ร้อยละ 9.55 และ
ใบอนุญาตประกอบการขนส่งด้วยรถบรรทุกไม่ประจาทางระหว่างประเทศ ร้อยละ 0.68 ตามลาดับ

ใบอนุญาตประกอบการขนส่ง ประเภทรถบรรทุก
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
ไม่ประจาทาง,
37,085ฉบับ,
9.55%

ส่วนบุคคล, ไม่ประจาทาง ระหว่าง


348,602 ฉบับ, ประเทศ,
89.73% 2,650 ฉบับ, 0.68%

ส่วนบุคคล ระหว่าง
ประเทศ, 175 ฉบับ,
0.05%

ทั่วประเทศ จานวน 388,512 ฉบับ

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
31

เปรียบเทียบจานวนใบอนุญาตประกอบการขนส่ง (สะสม)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
จานวนใบอนุญาต จานวน จานวนใบอนุญาต จานวน จานวนใบอนุญาต
ลักษณะรถ
ประกอบการขนส่ง ผู้ประกอบการขนส่ง ประกอบการขนส่ง ผู้ประกอบการขนส่ง ประกอบการขนส่ ง
(ฉบับ) (ราย) (ฉบับ) (ราย) [เพิ ม
่ ขึ น
้ ,(ลดลง)]
รถโดยสารประจาทาง 2,816 1,470 2,796 1,445 (0.71)
- ประจาทาง 2,801 1,469 2,781 1,444 (0.71)
- หมวด 1 582 216 622 209 6.87
- หมวด 2 198 1 199 1 0.51
- หมวด 3 476 302 463 303 (2.73)
- หมวด 4 1,545 950 1,497 931 (3.11)
- ประจาทาง ระหว่างประเทศ 15 1 15 1 0.00
รถโดยสารไม่ประจาทาง 37,506 37,506 34,819 34,819 (7.16)
- ไม่ประจาทาง 37,170 37,170 34,539 34,539 (7.08)
- ไม่ประจาทาง ระหว่างประเทศ 336 336 280 280 (16.67)
รถโดยสารส่วนบุคคล 7,815 7,815 7,880 7,880 0.83
- ส่วนบุคคล 7,812 7,812 7,879 7,879 0.86
- ส่วนบุคคล ระหว่างประเทศ 3 3 1 1 (66.67)
รวมรถโดยสารทั้งหมด 48,137 46,791 45,495 44,144 (5.49)
รถบรรทุกไม่ประจาทาง 37,866 37,866 39,735 39,735 4.94
- ไม่ประจาทาง 35,425 35,425 37,085 37,085 4.69
- ไม่ประจาทาง ระหว่างประเทศ 2,441 2,441 2,650 2,650 8.56
รถบรรทุกส่วนบุคคล 349,472 349,472 348,777 348,777 (0.20)
- ส่วนบุคคล 349,292 349,292 348,602 348,602 (0.20)
- ส่วนบุคคล ระหว่างประเทศ 180 180 175 175 (2.78)
รวมรถบรรทุกทัง้ หมด 387,338 387,338 388,512 388,512 0.30
รถขนาดเล็ก 2 1 - - (100.00)
รวมทั้งสิ้น 435,477 434,130 434,007 432,656 (0.34)

จานวนใบอนุญาตประกอบการขนส่ง (สะสม)
31 ธ.ค. 2564 31 ธ.ค. 2565
หน่วย : ฉบับ (0.34)%
500,000
435,477 434,007 0.30%
387,338 388,512
400,000

300,000

200,000
(5.49)%
100,000 48,137 45,495 (100.00)%
2 -
-
รวมทั้งสิ้น รถบรรทุก รถโดยสาร รถโดยสารขนาดเล็ก

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
32

จานวนใบอนุญาตประกอบการขนส่งประเภทรถโดยสาร จานวนใบอนุญาตประกอบการขนส่งประเภทรถบรรทุก
(สะสม) (สะสม)
31 ธันวาคม 2564 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 31 ธันวาคม 2565
(0.20)%
(7.16)% 348,777
37,506 34,819 400,000 349,472
40,000
300,000
30,000
200,000 4.94%
20,000 0.83%
(0.71)% 100,000 39,735
7,815 7,880 37,866
10,000 2,816 2,796
0
0

จานวนใบอนุญาตประกอบการขนส่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีจานวน 434,007 ฉบับ ผู้ประกอบการ


ขนส่ งจ านวน 432,656 ราย เมื่อเปรี ย บเทีย บกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 พบว่า ภาพรวมจานวนใบอนุญ าต
ประกอบการขนส่งมีอัตราลดลงเล็กน้อย ร้อยละ 0.34 โดยลดลงจากใบอนุญาตประกอบการขนส่งประเภทรถโดยสาร
ร้อยละ 5.49 ซึ่งมาจากการลดลงของใบอนุญาตประกอบการขนส่งด้วยรถโดยสารไม่ประจาทาง ร้อยละ 7.16 และ
ใบอนุญาตประกอบการขนส่งด้วยรถโดยสารประจาทาง ลดลงร้อยละ 0.71 ขณะที่ใบอนุญาตประกอบการขนส่งด้วยรถ
โดยสารส่วนบุคคล มีอัตราเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.83 ด้านใบอนุญาตประกอบการขนส่งประเภทรถบรรทุกมีอัตราเพิ่มขึ้น
เล็กน้อยร้อยละ 0.30 โดยเพิ่มขึ้นจากใบอนุญาตประกอบการขนส่งด้วยรถบรรทุกไม่ประจาทาง ร้อยละ 4.94 ขณะที่
ใบอนุญาตประกอบการขนส่งด้วยรถบรรทุกส่วนบุคคลมีอัตราลดลง ร้อยละ 0.20
การดาเนินการเกี่ยวกับใบอนุญาตประกอบการขนส่ง ปีงบประมาณ 2564 - 2565
หน่วย : ฉบับ
ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 ปีงบประมาณ 2565/2564
ประเภทการขนส่ง [เพิ่ม , (ลด)]
ออกใหม่ ต่ออายุ ออกใหม่ ต่ออายุ ออกใหม่ ต่ออายุ
ประจาทาง หมวด 1 1 76 79 29 7,800.00 (61.84)
หมวด 2 - 8 - 10 0.00 25.00
หมวด 3 1 24 - 52 0.00 116.67
หมวด 4 26 231 9 216 (65.38) (6.49)
รวม 28 339 88 307 214.29 (9.44)
ไม่ประจาทาง รถโดยสาร 1,314 2,461 1,795 2,620 36.61 6.46
รถบรรทุก 4,468 2,697 4,306 3,414 (3.63) 26.59
รวม 5,782 5,158 6,101 6,034 5.52 16.98
ส่วนบุคคล รถโดยสาร 448 190 440 201 (1.79) 5.79
รถบรรทุก 49,101 15,816 54,517 16,703 11.03 5.61
รวม 49,549 16,006 54,957 16,904 10.91 5.61
ระหว่างประเทศ รถโดยสาร - 20 16 16 100.00 (20.00)
รถบรรทุก 368 171 413 186 12.23 8.77
รวม 368 191 429 202 16.58 5.76
โดยสารรถขนาดเล็ก - - - - 0.00 0.00
รวมทั้งหมด 55,727 21,694 61,575 23,447 10.49 8.08

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
33

แผนภูมิ การดาเนินการด้านใบอนุญาตประกอบการขนส่ง ปีงบประมาณ 2564 - 2565


หน่วย : ฉบับ
ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565
80,000
10.49%
61,575
60,000 55,727

40,000 8.08%
21,694 23,447
20,000

0
ออกใหม่ ต่ออายุ

สถิ ติ จ านวนใบอนุ ญ าตประกอบการขนส่ ง ออกใหม่ แ ละต่ อ อายุ ปี ง บประมาณ 256 5 เปรี ย บเที ย บกั บ
ปีงบประมาณ 2564 สามารถจาแนกได้ดังนี้
- จานวนใบอนุญาตประกอบการขนส่งออกใหม่ ปีงบประมาณ 2565 มีอัตราการออกใบอนุญาตประกอบการใหม่
เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.49 จากปีงบประมาณ 2564
- จ านวนการต่ อ อายุ ใ บอนุ ญ าตประกอบการขนส่ ง ปี ง บประมาณ 2565 มี อั ต ราการต่ อ อายุ ใ บอนุ ญ าต
ประกอบการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 8.08 จากปีงบประมาณ 2564

ใบอนุญาตประกอบการขนส่งประจาทางด้วยรถโดยสาร (ออกใหม่) ใบอนุ ญ าตประกอบการขนส่ ง ประจ าทาง


ปีงบประมาณ 2564 - 2565
ด้ ว ยรถโดยสารที่ อ อก ใหม่ 2565 มี อั ต ราการ
ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565
100
เปลี่ ยนแปลงเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ
79 214.29 เมื่อพิจารณาตามหมวดรถ พบว่า มีการออก
75
ใบอนุญาตใหม่เพียง 2 หมวด คือ รถหมวด 1 มีการ
50
ออกใบอนุญาตประกอบการขนส่งประจาทางด้ว ยรถ
26
25
9
โดยสาร จานวน 79 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 89.77 และ
1 0 0 1 0
0 รถหมวด 4 มีการออกใบอนุญาตใหม่ จานวน 9 ฉบับ
หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4
คิดเป็นร้อยละ 10.23
การต่ อ อายุ ใ บอนุ ญ าตประกอบการขนส่ ง
ใบอนุญาตประกอบการขนส่งประจาทางด้วยรถโดยสาร (ต่ออายุ) ประจาทางด้วยรถโดยสาร ปีงบประมาณ 2565 มีอัตรา
ปีงบประมาณ 2564 - 2565
ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 การเปลี่ยนแปลงลดลงจากปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ
300
231
9.44 เมื่อพิจารณาตามหมวดรถ พบว่า รถหมวด 4 มีการ
216
ต่ออายุใบอนุญาตประกอบการขนส่งประจาทางด้วยรถ
200
โดยสารมากที่สุด จานวน 216 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 70.36
100 76 ของการต่ออายุใบอนุญาตประกอบการขนส่งประจาทาง
52
29 24 ด้วยรถโดยสาร รองลงมาคือ รถหมวด 3 จานวน 52 ฉบับ
8 10
0 ร้อยละ 16.94 และรถหมวด 1 จานวน 29 ฉบับ คิดเป็น
หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4
ร้อยละ 9.45 ตามลาดับ
สถิติการขนส่งประจําปี 2565
34

ใบอนุญาตประกอบการขนส่งไม่ประจาทาง (ออกใหม่) ใบอนุญาตประกอบการขนส่งไม่ประจาทาง


ปีงบประมาณ 2561 - 2565
8,000

7,000 ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565


ที่ออกใหม่ ปีงบประมาณ 2565 มีอัตราการเปลี่ยนแปลง
6,000 (3.63)% เพิ่ ม ขึ้ น จากปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ 5.52 โดย
4,468 4,306
5,000

4,000
เพิ่มขึ้นจากใบอนุญาตประกอบการขนส่งไม่ประจาทาง
3,000
36.61% ด้ว ยรถโดยสาร ร้อ ยละ 36.61 ขณะที่ ใ บอนุญ าต
1,795
1,314
2,000

1,000
ประกอบการขนส่ ง ไม่ประจาทางด้วยรถบรรทุก ลดลง
0 ร้อยละ 3.63
รถโดยสาร รถบรรทุก

ใบอนุญาตประกอบการขนส่งไม่ประจาทาง (ต่ออายุ)
ปีงบประมาณ 2564 - 2565
การต่ออายุใ บอนุญาตประกอบการขนส่ ง
8,000
ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 ไม่ ป ระจ าทาง ปี ง บประมาณ 2565 มี อั ต ราการ
7,000

6,000
26.59% เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ
5,000
6.46% 3,414 16.98 โดยการต่ออายุใบอนุญาตประกอบการขนส่ง
4,000
2,461 2,620 2,697
3,000

2,000
ไม่ประจาทางด้วยรถบรรทุกเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.59 และ
1,000
การต่ออายุใบอนุญาตประกอบการขนส่งไม่ประจาทาง
0

รถโดยสาร รถบรรทุก ด้วยรถโดยสารเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.46

ใบอนุญาตประกอบการขนส่งส่วนบุคคล (ออกใหม่)
ปีงบประมาณ 2564 - 2565 ใบอนุญาตประกอบการขนส่งส่วนบุคคลที่
ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 ออกใหม่ ปีงบประมาณ 2565 มีอัตราการเปลี่ยนแปลง
70,000
11.03%
60,000
49,101
54,517 เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ 10.91 โดย
50,000

40,000
เพิ่มขึ้นจากใบอนุญ าตประกอบการขนส่ งส่ ว นบุ ค คล
30,000

20,000
(1.79)% ด้ว ยรถบรรทุ ก ร้ อ ยละ 11.03 ขณะที่ ใ บอนุ ญ าต
10,000
448 440 ประกอบการขนส่ งส่ ว นบุคคลด้วยรถโดยสารมีอัตรา
การเปลี่ยนแปลงลดลงร้อยละ 1.79
0

รถโดยสาร รถบรรทุก

ใบอนุญาตประกอบการขนส่งส่วนบุคคล (ต่ออายุ)
ปีงบประมาณ 2564 - 2565
การต่ออายุใ บอนุญาตประกอบการขนส่ ง
ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 ส่วนบุคคล ปีงบประมาณ 2565 มีอัตราการเปลี่ยนแปลง
เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ 5.61 โดยการ
30,000

5.61%
20,000
15,816 16,703 ต่ออายุใบอนุญาตประกอบการขนส่งส่วนบุคคลด้วยรถ
โดยสารเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.79 และการต่ออายุใบอนุญาต
10,000
5.79%
190 201
ประกอบการขนส่ งส่ ว นบุค คลด้ว ยรถบรรทุ ก เพิ่ ม ขึ้ น
0
ร้อยละ 5.61
รถโดยสาร รถบรรทุก

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
35

ใบอนุญาตประกอบการขนส่งระหว่างประเทศ (ออกใหม่) ใบอนุญาตประกอบการขนส่งระหว่างประเทศ


ปีงบประมาณ 2564 - 2565
ที่ออกใหม่ ปีงบประมาณ 2565 มีอัตราการเปลี่ยนแปลง
ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565
700
เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ 16.58 โดย
600
12.23%
500
413 เพิ่มขึ้นจากจานวนใบอนุญาตประกอบการขนส่งระหว่าง
368
ประเทศด้วยรถโดยสาร ร้อยละ 100.00 และใบอนุญาต
400

300

200
100.00% ประกอบการขนส่ ง ระหว่ า งประเทศด้ ว ยรถบรรทุ ก
100
0 16
0 เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.23
รถโดยสาร รถบรรทุก

ใบอนุญาตประกอบการขนส่งระหว่างประเทศ (ต่ออายุ) การต่ออายุใ บอนุญาตประกอบการขนส่ ง


ปีงบประมาณ 2564 - 2565
ระหว่ า งประเทศ ปี ง บประมาณ 2565 มี อั ต ราการ
ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565
300 เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ
8.77%
200 171 186 5.76 โดยการต่ อ อายุ ใ บอนุ ญ าตประกอบการขนส่ ง
ระหว่างประเทศด้ว ยรถบรรทุ กเพิ่ มขึ้นร้ อยละ 8.77
(20.00)
100

%
ขณะที่ ก ารต่ อ อายุ ใ บอนุ ญ าตประกอบการขนส่ ง
20 16
0 ระหว่างประเทศด้วยรถโดยสารลดลงร้อยละ 20.00
รถโดยสาร รถบรรทุก

จานวนใบอนุญาตขับรถและใบอนุญาตผู้ประจารถ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565


หน่วย : ฉบับ
ทั่วประเทศ
ประเภทใบอนุญาต ส่วนกลาง ภูมิภาค
จานวน ร้อยละ
ใบอนุญาตผูป้ ระจารถ (ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก) 1,774,025 5.43 141,150 1,632,875
ใบอนุญาตขับรถ (ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์) 30,913,411 94.57 4,845,995 26,067,416
รวมใบอนุญาตทั้งสิ้น 32,687,436 100.00 4,987,145 27,700,291
หมายเหตุ : ตั้งแต่ ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2556 ปรับปรุงข้อมูลจากใบอนุญาตที่มีทั้งหมด (ใบอนุญาตที่ไม่สิ้นอายุ+ใบอนุญาตที่สิ้นอายุ) เป็นใบอนุญาตที่ไม่สิ้นอายุ
(ไม่รวมจานวนใบอนุญาตที่สิ้นอายุแล้ว)
ใบอนุญาตผู้ประจารถ
1,774,025 ฉบับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีจานวนใบอนุญาตขับรถ
5.43% และใบอนุ ญ าตผู้ ป ระจ ารถ รวมทั้ ง สิ้ น 32,687,436 ฉบั บ
ในจานวนนี้เป็นใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์
ร้อยละ 94.57 ที่เหลืออีกร้อยละ 5.43 เป็นใบอนุญาตผู้ประจารถ
32,687,436 ฉบับ ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก
ใบอนุญาตขับรถ
30,913,411 ฉบับ
94.57%

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
36

จานวนใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ จาแนกตามชนิดใบอนุญาตขับรถ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 - 2565
อัตราการเปลี่ยนแปลง [ เพิ่ม , (ลด) ]
ชนิดใบอนุญาตขับรถ 31 ธ.ค. 2563 31 ธ.ค. 2564 31 ธ.ค. 2565
2564/2563 2565/2564
รถยนต์ส่วนบุคคล*
17,942,080 17,691,403 18,059,318 (1.40) 2.08
รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล* 13,875 11,775 10,576 (15.14) (10.18)
รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล* 13,243,640 12,750,149 12,506,048 (3.73) (1.91)
รถยนต์สาธารณะ 104,369 93,938 92,928 (9.99) (1.08)
รถยนต์สามล้อสาธารณะ 7,883 7,031 6,257 (10.81) (11.01)
รถจักรยานยนต์สาธารณะ 175,755 155,348 128,897 (11.61) (17.03)
รถระหว่างประเทศ 31,250 25,155 95,544 (19.50) 279.82
รถอื่น ๆ 19,310 15,368 13,843 (20.41) (9.92)
รวมทั้งสิ้น 31,538,162 30,750,167 30,913,411 (2.50) 0.53
* รวมใบอนุญาตขับรถชนิดชัว่ คราว, 5 ปี และตลอดชีพ
ใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีจานวนทั้งสิ้น 30,913,411 ฉบับ
เพิ่มขึ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ร้อยละ 0.53 โดยใบอนุญาตขับรถระหว่างประเทศ มีอัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น
มากที่สุด (เพิ่มขึ้นร้อยละ 279.82) รองลงมา คือ ใบอนุญาตขับรถยนต์ส่วนบุคคลเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.08 ขณะที่ใบอนุญาต
ขับรถชนิดอื่นๆ มีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลง ซึ่งใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต์สาธารณะ มีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลง
มากที่สุด (ลดลงร้อยละ 17.03) รองลงมา คือ ใบอนุญาตขับรถยนต์สามล้อสาธารณะลดลงร้อยละ 11.01 และใบอนุญาต
ขับรถยนต์สามล้อส่วนบุคคลลดลงร้อยละ 10.18 ตามลาดับ
สัดส่วนของใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
รถยนต์สาธารณะ, รถระหว่างประเทศ, รถยนต์สามล้อสาธารณะ,
รถจักรยานยนต์สาธารณะ, 92,928 ฉบับ, 0.30% 95,544 ฉบับ, 0.31% 6,257 ฉบับ, 0.02%
128,897 ฉบับ, 0.42%
รถอื่น ๆ ,
13,843 ฉบับ, 0.04%
รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล,
12,506,048 ฉบับ, 40.46%
30,913,411 ฉบับ
รถยนต์ส่วนบุคคล,
รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล, 18,059,318 ฉบับ, 58.42%
10,576 ฉบับ, 0.03%
เมื่อพิจารณาสัดส่วนใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 พบว่า ใบอนุญาต
ขับรถที่มีจานวนมากที่สุด คือ ใบอนุญาตขับรถยนต์ส่วนบุคคล คิดเป็นร้อยละ 58.42 ของจานวนใบอนุญาตขับรถทั้งหมด
รองลงมา ได้แก่ ใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล คิดเป็นร้อยละ 40.46 ในขณะที่ใบอนุญาตขับรถยนต์สาธารณะ
ใบอนุญาตขับรถยนต์สามล้อสาธารณะ และใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต์สาธารณะ มีจานวนรวมกัน คิดเป็นร้อยละ 0.74
ที่เหลือเป็นใบอนุญาตขับรถระหว่างประเทศ คิดเป็นร้อยละ 0.31 ใบอนุญาตขับรถยนต์สามล้อส่วนบุคคล คิดเป็น ร้อยละ
0.03 และใบอนุญาตขับรถอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 0.04 ตามลาดับ
สถิติการขนส่งประจําปี 2565
37

จานวนใบอนุญาตผู้ประจารถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก จาแนกตามประเภทใบอนุญาต
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 – 2565

อัตราการเปลี่ยนแปลง [ เพิ่ม , (ลด) ]


ประเภทใบอนุญาต 31 ธ.ค. 2563 31 ธ.ค. 2564 31 ธ.ค. 2565
2564/2563 2565/2564
ผู้ขับรถ 1,860,515 1,708,306 1,762,434 (8.18) 3.17
- ใบอนุญาตขับรถ ชนิดที่ 1 18,749 17,460 18,566 (6.88) 6.33
- ใบอนุญาตขับรถ ชนิดที่ 2 1,346,118 1,224,181 1,253,719 (9.06) 2.41
- ใบอนุญาตขับรถ ชนิดที่ 3 357,187 334,074 351,121 (6.47) 5.10
- ใบอนุญาตขับรถ ชนิดที่ 4 138,461 132,591 139,028 (4.24) 4.85
นายตรวจ 563 444 362 (21.14) (18.47)
ผู้เก็บค่าโดยสาร 12,629 11,003 9,843 (12.88) (10.54)
ผู้บริการ 3,140 2,169 1,386 (30.92) (36.10)
รวมทั้งสิ้น 1,876,847 1,721,922 1,774,025 (8.25) 3.03

สัดส่วนจานวนใบอนุญาตผู้ประจารถ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565


ผู้บริการ, 1,386 ฉบับ, 0.08%
ผู้เก็บค่าโดยสาร, 9,843 ฉบับ, 0.55% นายตรวจ, 362 ฉบับ, 0.02%

1,774,025 ฉบับ ผู้ขับรถ


1,762,434 ฉบับ
99.35%

ใบอนุญาตผู้ประจารถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 มีจานวน 1,774,025 ฉบับ


โดยใบอนุ ญ าตผู้ ป ระจารถที่ มี จานวนมากที่สุ ด ได้แก่ ใบอนุญาตผู้ประจารถ หน้าที่ผู้ขับรถ (ร้อยละ 99.35) รองลงมา
คือ ใบอนุญาตผู้ประจารถ หน้าที่ผู้เก็บ ค่าโดยสาร (ร้อยละ 0.55) ใบอนุญาตผู้ประจารถ หน้าที่ผู้บริการ (ร้อยละ 0.08)
และใบอนุญาตผู้ประจารถ หน้าที่นายตรวจ (ร้อยละ 0.02) ตามลาดับ
สัดส่วนจานวนใบอนุญาตผู้ขับรถ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
ชนิดที่ 4, 139,028 ฉบับ, 7.89% ชนิดที่ 1
18,566 ฉบับ
1.05%
ชนิดที่ 3
351,121 ฉบับ
19.92%

1,762,434 ฉบับ ชนิดที่ 2


1,253,719 ฉบับ
71.14%

ใบอนุญาตผู้ขับรถมีจานวน 1,762,434 ฉบับ โดยใบอนุญาตผู้ขับรถที่มีจานวนมากที่สุด ได้แก่ ใบอนุญาตผู้ขับรถ


ชนิดที่ 2 (ร้อยละ 71.14) รองลงมา คือ ใบอนุญาตผู้ขับรถ ชนิดที่ 3 (ร้อยละ 19.92) ใบอนุญาตผู้ขับรถ ชนิดที่ 4 (ร้อยละ
7.89) และใบอนุญาตผู้ขับรถ ชนิดที่ 1 (ร้อยละ 1.05) ตามลาดับ

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
การดาเนินการเกีย่ วกับใบอนุญาตขับรถและใบอนุญาตผู้ประจารถ ปีงบประมาณ 2563 - 2565
(หน่วย : ฉบับ)
ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
ประเภทใบอนุญาต 2564 / 2563 2565 / 2564
ออกใหม่ ต่ออายุ ออกใหม่ ต่ออายุ ออกใหม่ ต่ออายุ ออกใหม่ ต่ออายุ ออกใหม่ ต่ออายุ
ใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ 2,067,896 2,130,196 1,913,745 2,076,150 2,353,773 2,618,815 (7.45) (2.54) 22.99 26.14

ใบอนุญำตขับรถยนต์สว่ นบุคคลชั่วครำว 611,829 - 535,707 - 766,532 - (12.44) - 43.09 -


ใบอนุญำตขับรถยนต์สำมล้อส่วนบุคคลชั่วครำว 209 - 59 - 328 - (71.77) - 455.93 -
ใบอนุญำตขับรถจักรยำนยนต์สว่ นบุคคลชั่วครำว 411,400 - 330,582 - 413,031 - (19.64) - 24.94 -
ใบอนุญำตขับรถยนต์สว่ นบุคคล 639,772 1,365,793 662,861 1,304,085 712,571 1,590,483 3.61 (4.52) 7.50 21.96
ใบอนุญำตขับรถยนต์สำมล้อส่วนบุคคล 304 803 195 669 204 781 (35.86) (16.69) 4.62 16.74
ใบอนุญำตขับรถจักรยำนยนต์สว่ นบุคคล 330,720 711,710 362,155 732,390 383,438 959,808 9.51 2.91 5.88 31.05
ใบอนุญำตขับรถยนต์สำธำรณะ 3,346 22,675 1,169 14,913 5,944 22,567 (65.06) (34.23) 408.47 51.32
ใบอนุญำตขับรถยนต์สำมล้อสำธำรณะ 206 1,536 75 991 97 1,631 (63.59) (35.48) 29.33 64.58
ใบอนุญำตขับรถจักรยำนยนต์สำธำรณะ 4,712 25,635 1,899 21,318 2,087 41,624 (59.70) (16.84) 9.90 95.25
ใบอนุญำตขับรถระหว่ำงประเทศ 64,111 - 18,525 - 68,897 - (71.10) - 271.91 -
ใบอนุญำตขับรถอื่น ๆ 1,287 2,044 518 1,784 644 1,921 (59.75) (12.72) 24.32 7.68
ใบอนุญาตผู้ประจารถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก 105,648 408,123 80,774 410,182 153,260 639,764 (23.54) 0.50 89.74 55.97

ผู้ขับรถ 104,000 405,092 79,886 407,932 152,433 636,604 (23.19) 0.70 90.81 56.06
นำยตรวจ 20 135 17 62 13 97 (15.00) (54.07) (23.53) 56.45
ผู้เก็บค่ำโดยสำร 1,264 2,444 802 1,884 753 2,777 (36.55) (22.91) (6.11) 47.40
ผู้บริกำร 364 452 69 304 61 286 (81.04) (32.74) (11.59) (5.92)
รวมการดาเนินการทัง้ สิ้ น 2,173,544 2,538,319 1,994,519 2,486,332 2,507,033 3,258,579 (8.24) (2.05) 25.70 31.06

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
38
39

หน่วย : ฉบับ การออกใบอนุญาตขับรถและผู้ประจารถใหม่


4,000,000
22.99%
3,000,000 2,353,773
2,067,896 1,913,745
2,000,000
89.74%
1,000,000
105,648 80,774 153,260
-
ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก

ใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ออกใหม่ ปีงบประมาณ 2565 มีจานวนทั้งสิ้น 2,353,773 ฉบับ


เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2564 คิดเป็นร้อยละ 22.99
ใบอนุญาตผู้ประจ ารถตามกฎหมายว่า ด้วยการขนส่งทางบกออกใหม่ ปีงบประมาณ 2565 เพิ่มขึ้น จาก
ปีงบประมาณ 2564 คิดเป็นร้อยละ 89.74

สัดส่วนใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ออกใหม่ ปีงบประมาณ 2565


รถจักรยานยนต์สาธารณะ, รถระหว่างประเทศ,
รถยนต์สาธารณะ, 2,087 ฉบับ, 0.09% 68,897 ฉบับ, 2.93%
5,944 ฉบับ, 0.25%
รถยนต์สามล้อสาธารณะ,
97 ฉบับ, 0.00% รถอื่น ๆ, 644 ฉบับ, 0.03%

รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล,
383,438 ฉบับ, 16.29%
รถยนต์ส่วนบุคคลชั่วคราว,
766,532 ฉบับ, 32.57%

รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล,
204 , 0.01%
2,353,773 ฉบับ รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล
ชั่วคราว, 328 ฉบับ,
0.01%

รถยนต์ส่วนบุคคล, รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลชั่วคราว,
712,571 ฉบับ, 30.27% 413,031 ฉบับ, 17.55%

เมื ่อ พิจ ารณาสัด ส่ว นใบอนุญ าตขับ รถตามกฎหมายว่า ด้ว ยรถยนต์อ อกใหม่ ปีง บประมาณ 2565 พบว่า
ใบอนุญาตขับรถยนต์ส่วนบุคคลชั่วคราวมีการออกใหม่มากที่สุด จานวน 766,532 ฉบับ (ร้อยละ 32.57) รองลงมา
เป็น ใบอนุญ าตขับ รถยนต์ส่ว นบุค คล จานวน 712,571 ฉบับ (ร้อยละ 30.27) และใบอนุญาตขับ รถจัก รยานยนต์
ส่วนบุคคลชั่วคราว จานวน 413,031 ฉบับ (ร้อยละ 17.55) ตามลาดับ

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
40

หน่วย : ฉบับ การต่ออายุใบอนุญาตขับรถและผู้ประจารถ 26.14%


3,000,000 2,618,815
2,130,196 2,076,150
2,000,000
55.97%
1,000,000 639,764
408,123 410,182

-
ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก

การต่ออายุใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ปีงบประมาณ 2565 มีจานวนทั้งสิ้น 2,618,815 ฉบับ


เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2564 คิดเป็นร้อยละ 26.14
การต่ออายุใบอนุญาตผู้ประจารถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ปีงบประมาณ 2565 เพิ่มขึ้นจาก
ปีงบประมาณ 2564 คิดเป็น ร้อยละ 55.97
สัดส่วนการต่ออายุใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ปีงบประมาณ 2565

รถระหว่างประเทศ,
รถยนต์สาธารณะ, 22,567 ฉบับ, 0.86%
รถอื่น- ๆ,ฉบั1,921
บ, 0.00%
ฉบับ,
0.07% รถจักรยานยนต์สาธารณะ,
41,624 ฉบับ, 1.59%
รถยนต์สามล้อสาธารณะ,
1,631 ฉบับ, 0.06%

รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล,
959,808 ฉบับ, 36.65%
รถยนต์ส่วนบุคคล,
2,618,815 ฉบับ 1,590,483 ฉบับ, 60.73%

รถยนต์สามล้อส่วนบุคคล,
781 ฉบับ, 0.03%

เมื่อพิจ ารณาสั ดส่ ว นการต่ อ อายุ ใบอนุญ าตขับรถตามกฎหมายว่าด้ว ยรถยนต์ ปีงบประมาณ 2565 พบว่า
ใบอนุญาตขับรถยนต์ ส่วนบุค คลมีก ารต่ ออายุ มากที่ สุด จานวน 1,590,483 ฉบับ (ร้อยละ 60.73) รองลงมาเป็ น
ใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล จานวน 959,808 ฉบับ (ร้อยละ 36.65) และใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต์
สาธารณะ จานวน 41,624 ฉบับ (ร้อยละ 1.59) ตามลาดับ

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
41

รายได้จากเงินภาษีรถ เงินเพิ่มค่าธรรมเนียมที่จัดเก็บได้ จาแนกตามประเภทของรายได้ ปีงบประมาณ 2564 และ 2565


หน่วย : ล้านบาท
ประเภทรายได้ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
2564 2565
1. เงินภาษีและเงินเพิ่ม 34,600.24 37,480.75 8.33
- ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ 31,033.11 33,741.63 8.73
- ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก 3,567.12 3,739.12 4.82
2. ค่าธรรมเนียม 1,158.03 1,234.05 6.56
- ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ 1,138.12 1,212.43 6.53
- ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก 19.91 21.63 8.64
3. ค่าแผ่นป้าย 565.44 626.37 10.78
- ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ 539.10 599.54 11.21
- ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก 26.35 26.83 1.82
4. ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตขับรถ / ผู้ประจารถ 1,569.13 1,936.00 23.38
- ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ (ขับรถ) 1,470.62 1,777.07 20.84
- ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก (ผู้ประจารถ) 98.50 158.93 61.35
5. ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบการขนส่ง 53.09 58.40 10.00
รวม 37,945.93 41,335.58 8.93
สัดส่วนรายได้จากเงินภาษี เงินเพิ่มและค่าธรรมเนียมที่จัดเก็บได้
ปีงบประมาณ 2565 มีการจัดเก็บรายได้
ใบอนุญาตขับรถ/ผู้ประจารถ
1,936.00 ล้านบาท, 4.68% รวมทั้ ง สิ้ น 41,335.58 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น จาก
ค่าธรรมเนียม ปี งบประมาณ 2564 ร้อยละ 8.93 โดยประเภท
1,234.05 ล้านบาท, 2.99% รายได้ที่จัดเก็บมากที่สุด คือ รายได้จากเงินภาษีและ
เงินภาษีและเงินเพิ่ม
37,480.75 ล้านบาท แผ่นป้าย เงิ นเพิ่ ม เป็ นเงิ น 37,480.75 ล้ า นบาท (ร้ อ ยละ
90.67% 626.37 ล้านบาท, 1.52%
90.67 ของรายได้ที่จัดเก็บทั้งหมด) รองลงมา คือ
ใบอนุญาตประกอบการขนส่ง ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตขับรถ/ผู้ประจารถ เป็นเงิน
58.40 ล้านบาท, 0.14%
1,936.00 ล้านบาท (ร้อยละ 4.68) และค่าธรรมเนียม
เป็นเงิน 1,234.05 ล้านบาท (ร้อยละ 2.99) ตามลาดับ
8.33% ปีงบประมาณ 2563 ปีงบประมาณ 2564 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบปีงบประมาณ
ล้านบาท 2565 กับปีงบประมาณ 2564 พบว่า ในภาพรวม
6.56% 23.38%
มีอัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.93 โดย
10.78%
10.00% ค่า ธรรมเนีย มใบอนุญ าตขับ รถ/ผู ้ป ระจารถ
มี อั ต ราการเปลี่ ย นแปลงเพิ่ ม ขึ้ น มากที่ สุ ด คื อ
ร้อยละ 23.38 รองลงมา คือ ค่าแผ่นป้ายเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 10.78 และค่าธรรมเนียมใบประกอบการ
ขนส่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.00 ตามลาดับ
สถิติการขนส่งประจําปี 2565
42

เปรียบเทียบจานวนรถทีช่ าระภาษีประจาปี จาแนกตามช่องทางการชาระภาษี ปีงบประมาณ 2564 และ 2565


หน่วย : คัน
ช่องทางการชาระภาษี ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ที่สานักงาน 26,322,068 27,738,785 5.38
DRIVE THRU FOR TAX 4,252,634 4,739,341 11.44
SHOP THRU FOR TAX 254,721 157,823 (38.04)
ทางไปรษณีย์ 11,694 9,908 (15.27)
ผ่าน internet 499,862 733,833 46.81
ออกหน่วยเคลื่อนที่ 60,061 12,652 (78.93)
ธนาคารพาณิชย์ 10,602 28,946 173.02
รวม 31,411,642 33,421,288 6.40

สัดส่วนจานวนรถที่ชาระภาษีตามช่องทางต่างๆ

DRIVE THRU FOR TAX,


4,739,341 คัน, 14.18%
ปีงบประมาณ 2565 มี รถมาช าระภาษีประจาปี
SHOP THRU FOR TAX ทั้งสิ้ น 33,421,288 คัน เพิ่มขึ้น จากปี งบประมาณ 2564
157,823 คัน, 0.47%
ทางไปรษณีย์ 9,908 คัน ร้อยละ 6.40 โดยช่องทางที่ชาระภาษีรถมากที่สุด คือ ที่
, 0.03%
ที่สานักงาน สานักงาน 27,738,785 คัน หรือร้อยละ 83.00 ของจานวน
ผ่าน internet
27,738,785 คัน
83.00%
733,833 คัน, 2.20% รถที่มาชาระภาษีทั้งหมด รองลงมา คือ DRIVE THRU FOR
ออกหน่วยเคลื่อนที,่
12,652 คัน, 0.04%
TAX 4,739,341 คัน หรือร้อยละ 14.18 และ ผ่าน internet
ธนาคารพาณิชย์ 733,833 คัน หรือร้อยละ 2.20
28,946 คัน, 0.09%

(100) (50)
ปีง-บประมาณ
50
2564 100 ปีงบประมาณ
150
2565
200
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบปีงบประมาณ 2565
5.38 %
กั บ ปี ง บประมาณ 2564 พบว่ า ช่ อ งทางที่ มี อั ต ราการ
11.44 % เปลี่ ย นแปลงเพิ่ ม ขึ้ น มากที่ สุ ด คื อ ธนาคารพาณิ ช ย์
เพิ่มขึ้นร้อยละ 173.02 รองลงมา คือ Internet เพิ่มขึ้น
46.81 %
ร้ อ ยละ 46.81 DRIVE THRU FOR TAX เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ
(38.04) % 11.44 และที่ส านักงานเพิ่ม ขึ้นร้ อยละ 5.38 ตามล าดั บ
ส่วนช่องทางที่มีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลง ได้แก่ ออก
(78.93) %
หน่ว ยเคลื่ อนที่ล ดลงร้อยละ 78.93 SHOP THRU FOR
(15.27) % TAX ลดลงร้อยละ 38.04 และทางไปรษณีย์ ลดลงร้อยละ
15.27 ตามลาดับ
173.02 %

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
43

สถิติการใช้สถานีขนส่งผู้โดยสารที่กรมการขนส่งทางบกกากับดูแล ปีงบประมาณ 2565

องค์การ
ประเภทการ กรมการ
บริหาร บขส. เอกชน เทศบาล รวม
ดาเนินการ ขนส่งทางบก
ส่วนจังหวัด
จานวนสถานี (แห่ง) 1 37 9 15 62 124
ร้อยละ 0.81 29.84 7.26 12.10 50.00 -
จานวนเที่ยว (เที่ยว) 30,841 1,261,365 1,081,213 889,567 4,236,821 7,499,807
ร้อยละ 0.41 16.82 14.42 11.86 56.49 -
ค่าเฉลี่ย/สถานี/เดือน 2,570.08 2,840.91 10,011.23 4,942.04 5,694.65 5,040.19
ผู้โดยสาร (คน) 43,413 14,224,216 12,541,453 8,850,125 38,094,422 73,753,629
ร้อยละ 0.06 19.29 17.00 12.00 51.65 -
ค่าเฉลี่ย/สถานี/เดือน 3,617.75 32,036.52 116,124.56 49,167.36 51,202.18 49,565.61
เงินค่าบริการ (บาท) 153,766 12,514,782 7,109,555 7,763,921 24,320,522 51,862,546
ร้อยละ 0.30 24.13 13.71 14.97 46.89 -
ค่าเฉลี่ย/สถานี/เดือน 12,813.83 28,186.45 65,829.21 43,132.89 32,688.87 34,853.86

แผนภูมิเปรียบเทียบสถิติการใช้สถานีขนส่งผู้โดยสาร ปีงบประมาณ 2565


แยกตามประเภทการดาเนินการ

องค์การบริหารส่วนจังหวัด (37 แห่ง) บขส. (9 แห่ง)


1.26 ล้านเที่ยว 1.08 ล้านเที่ยว
14.22 ล้านคน 12.54 ล้านคน
12.51 ล้านบาท 7.10 ล้านบาท

เอกชน (15 แห่ง)


0.88 ล้านเที่ยว
เทศบาล (62 แห่ง)
8.85 ล้านคน
4.23 ล้านเที่ยว
7.76 ล้านบาท
38.09 ล้านคน
24.32 ล้านบาท
กรมการขนส่งทางบก (1 แห่ง)
0.03 ล้านเที่ยว
0.04 ล้านคน
0.15 ล้านบาท

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
44

เปรียบเทียบสถิติการใช้สถานีขนส่งผู้โดยสารที่กรมการขนส่งทางบกกากับดูแล
ปีงบประมาณ 2562 - 2565

สถิติการใช้ อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)


ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ
สถานีขนส่ง ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ
2562 2563 2564 2565
ผู้โดยสาร 63/62 64/63 65/64
จานวนเทีย่ ว
20,682,418 14,660,538 9,674,179 7,499,807 (29.12) (34.01) (22.48)
(เที่ยว)
ผู้โดยสาร
282,891,534 173,875,649 97,606,820 73,753,629 (38.54) (43.86) (24.44)
(คน)
เงินค่าบริการ
199,345,346 125,941,688 67,838,806 51,862,546 (36.82) (46.13) (23.55)
(บาท)
จากรายงานสถิติการใช้สถานีขนส่งผู้โดยสารที่กรมการขนส่งทางบกกากับดูแลทั่วประเทศ ปีงบประมาณ 2565
พบว่า จานวนเที่ยวและจานวนผู้โดยสารลดลง ร้อยละ 22.48 และ 24.44 เป็นผลให้เงินค่าบริการลดลง ร้อยละ 23.55
เมื่อเปรียบเทียบกับปีงบประมาณ 2564 เนื่องจากช่วงปีงบประมาณ 2565 ยังมีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 หรือ โควิด - 19 อย่างต่อเนื่อง ทาให้จานวนการเข้าใช้สถานีขนส่งผู้โดยสารทั่วประเทศในปีงบประมาณ 2565
มีจานวนลดลง

แผนภูมิ แสดงจานวนเที่ยว ปีงบประมาณ 2562 - 2565


หน่วย : เที่ยว
30,000,000 20,682,418
14,660,538
20,000,000
9,674,179 7,499,807
10,000,000

-
2562 2563 2564 2565

แผนภูมิ แสดงจานวนผู้โดยสาร ปีงบประมาณ 2562 - 2565


หน่วย : คน 282,891,534
300,000,000
173,875,649
200,000,000
97,606,820 73,753,629
100,000,000

-
2562 2563 2564 2565

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
45

สถานีขนส่งผู้โดยสารที่มีจานวนผู้เข้าใช้สถานีมากที่สุด 10 ลาดับแรก ปีงบประมาณ 2565


หน่วย : คน
หมวดรถ
ลาดับ รถโดยสาร
สถานีขนส่งผู้โดยสาร รวม
ที่ หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 ระหว่าง
ประเทศ
1 จ.กรุงเทพมหานคร (จตุจักร) 5,751,020 - 5,751,020 - - -
2 จ.เชียงใหม่ แห่งที่ 1 4,427,969 - - 440,714 3,987,255 -
3 จ.นครศรีธรรมราช 4,371,884 45,710 140,342 1,405,977 2,779,855 -
4 จ.นครราชสีมา แห่งที่ 2 3,299,403 - 1,731,222 1,380,658 182,515 5,008
5 จ.กรุงเทพมหานคร (เอกมัย) 2,949,809 - 2,949,809 - - -
6 จ.ขอนแก่น แห่งที่ 3 2,857,908 - 779,800 1,864,368 213,740 -
7 จ.พิษณุโลก แห่งที่ 2 2,472,609 - 695,250 1,762,459 14,900 -
8 อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา แห่งที่ 1 2,384,835 - 129,023 1,302,586 953,226 -
9 จ.กรุงเทพมหานคร (ถ.บรม
2,246,223 - 2,246,223 - - -
ราชชนนี)
10 จ.ระยอง แห่งที่ 1 1,607,351 - 9,324 6,216 1,591,811 -

หมายเหตุ : 1. ข้อมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2565


2. คานิยาม
หมวด 1 หมายถึง รถโดยสารที่มีเส้นทางการขนส่งประจาทางภายในเขตกรุงเทพมหานคร เทศบาล สุขาภิบาล เมือง และ
เส้นทางต่อเนื่อง
หมวด 2 หมายถึง รถโดยสารที่มีเส้นทางการขนส่งประจาทาง ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากกรุงเทพมหานครไปยังส่วนภูมิภาค
หมวด 3 หมายถึง รถโดยสารที่มีเส้นทางการขนส่งประจาทาง ซึ่งมีเส้นทางระหว่างจังหวัด หรือคาบเกี่ยวระหว่างเขตจังหวัดใน
ส่วนภูมิภาค
หมวด 4 หมายถึง รถโดยสารที่มีเส้นทางการขนส่งประจาทางในเขตจังหวัด ซึ่งอาจจะประกอบด้วยเส้นทางสายหลักสาย
เดียวหรือเส้นทางสายหลักและเส้นทางสายย่อยซึ่งแยกออกจากเส้นทางสายหลักไปยังอาเภอ หมู่บ้าน หรือเขตชุมชน
รถโดยสารระหว่างประเทศ หมายถึง รถโดยสารประจาทางซึ่งเดินรถระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
46

สถิติการรับเรื่องร้องเรียนผ่านศูนย์คุ้มครองผู้โดยสารรถสาธารณะ โทร. 1584 ปีงบประมาณ 2565

ทั่วประเทศ ส่วนกลาง ภูมิภาค


การรับแจ้งเรื่องร้องเรียนและผลดาเนินการ ข้อหา ข้อหา ข้อหา
ร้องเรียน ร้องเรียน ร้องเรียน
ร้องเรียน ร้องเรียน ร้องเรียน
(ครั้ง) (ครั้ง) (ครั้ง)
(ข้อหา) (ข้อหา) (ข้อหา)
1. รับเรื่องร้องเรียน 142,876 155,742 93,474 102,964 49,402 52,778
2. ดาเนินการแก้ไขปัญหาจนแล้วเสร็จ 132,741 140,600 87,436 92,177 45,305 48,423
3. อยู่ระหว่างขั้นตอนดาเนินการ 10,135 15,142 6,038 10,787 4,097 4,335
หมายเหตุ : จานวนข้อหาที่ร้องเรียน อาจจะมีมากกว่า 1 ข้อหาการร้องเรียน ในแต่ละครั้งที่มีการร้องเรียน
แผนภูมิสัดส่วนการดาเนินการรับเรื่องร้องเรียนและผลดาเนินการ ปีงบประมาณ 2565

อยู่ระหว่างขั้นตอน
ดาเนินการแก้ไขปัญหา ดาเนินการ
จนแล้วเสร็จ รับเรื่องร้องเรียน 10,135 ครั้ง
132,741 ครั้ง 142,876 ครั้ง 7.09%
92.91%

ตารางเปรียบเทียบจานวนการร้องเรียน จาแนกตามประเภทรถ ปีงบประมาณ 2564 - 2565


หน่วย : ครั้ง
จานวนรถ ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
ประเภทรถ
ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 [เพิ่ม,(ลด)]
ทั่วประเทศ 127,832 142,876 11.77
ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ 101,124 117,208 15.91
รถแท็กซี่ 10,633 15,198 42.93
รถสามล้อรับจ้าง 69 72 4.35
รถสี่ล้อเล็กรับจ้าง 172 126 (26.74)
รถจักรยานยนต์รับจ้าง 1,580 1,218 (22.91)
รถอื่นๆ 88,670 100,594 13.45
ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก 26,708 25,668 (3.89)
ขสมก. 4,427 3,814 (13.85)
รถร่วมบริการ (ธรรมดา) 1,264 806 (36.23)
รถร่วมบริการ (ปรับอากาศ) 1,893 1,551 (18.07)
รถมินิบัส 712 471 (33.85)
รถตู้โดยสารปรับอากาศ 950 642 (32.42)
รถโดยสารสองแถว 1,651 622 (62.33)
บขส.และรถเอกชนร่วมบริการ 6,346 4,831 (23.87)
รถอื่นๆ 9,465 12,931 36.62

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
47

แผนภูมิเปรียบเทียบการรับเรื่องร้องเรียนผ่านศูนย์คุ้มครองผู้โดยสารรถสาธารณะ โทร. 1584


ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ปีงบประมาณ 2564 - 2565
ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565
หน่วย : ครั้ง
120,000 13.45%
100,594
100,000 88,670
80,000
60,000
42.93%
40,000 (22.91)% (26.74)% 4.35%

20,000 15,198
10,633 1,580 1,218 172 126 69 72
0
รถแท็กซี่ รถจักรยานยนต์รับจ้าง รถสี่ล้อเล็กรับจ้าง รถสามล้อรับจ้าง รถอื่น ๆ

การรับเรื่องร้องเรียนผ่านศูนย์คุ้มครองผู้โดยสารสาธารณะ โทร. 1584 ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ปีงบประมาณ


2565 มีจานวน 117,208 ครั้ง โดยรถแท็กซี่มีจานวนการรับเรื่องร้องเรียนมากที่สุด 15,198 ครั้ง (ร้อยละ 12.97 ของ
จานวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด) เมื่อเปรียบเทียบกับปีงบประมาณ 2564 พบว่า มีอัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ร้อยละ
15.91 โดยรถแท็กซี่และรถสามล้อรับจ้าง เพิ่มขึ้นร้อยละ 42.93 และร้อยละ 4.35 ตามลาดับ ขณะที่รถสี่ล้อเล็กรับจ้าง
และรถจักรยานยนต์รับจ้าง ลดลงร้อยละ 26.74 และร้อยละ 22.91 ตามลาดับ
แผนภูมิเปรียบเทียบการรับเรื่องร้องเรียนผ่านศูนย์คุ้มครองผู้โดยสารรถสาธารณะ โทร. 1584
ตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ปีงบประมาณ 2564 - 2565
หน่วย : ครั้ง ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565
14,000 12,931 36.62%
12,000
10,000 (23.87)% 9,465
8,000 (13.85)%
6,346
(18.07)% (36.23)%
6,000 4,831 4,427 (32.42)% (62.33)% (33.85)%
4,000 3,814
1,893
2,000 1,551 1,264 950 642 1,651622 712471
806
-

การรับเรื่องร้องเรียนผ่านศูนย์คุ้มครองผู้โดยสารสาธารณะ โทร. 1584 ตามกฎหมายว่า ด้วยการขนส่งทางบก


ปีงบประมาณ 2565 มีจานวน 25,668 ครั้ง โดยรถบขส. และรถเอกชนร่วมบริการมีจานวนการรับเรื่องร้องเรียนมาก
ที่สุด 4,831 ครั้ง (ร้อยละ 18.82 ของจานวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด) เมื่อเปรียบเทียบกับ ปีงบประมาณ 2564 พบว่า
มีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลงร้อยละ 3.89 โดยรถโดยสารสองแถว มีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลงมากที่สุด ร้อยละ 62.33
รองลงมา คือ รถร่วมบริการ (ธรรมดา) ลดลงร้อยละ 36.23 รถมินิบัส ลดลงร้อยละ 33.85 และรถตู้โดยสารปรับอากาศ
ลดลงร้อยละ 32.42 ตามลาดับ

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
48

สถิติการรับเรื่องร้องเรียนตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ จาแนกตามข้อหา 10 อันดับแรก ปีงบประมาณ 2564 - 2565


หน่วย : ข้อหา
ทั่วประเทศ
ลาดับ ข้อหาร้องเรียน ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
2564 2565
2565 / 2564
1. ล้อล้นเกินตัวถัง 28,393 70,149 147.06
2. ดัดแปลงสัญญาณไฟ 13,800 17,228 24.84
3. แสดงแผ่นป้ายทะเบียนไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง 5,165 8,287 60.45
4. แสดงกิริยาวาจาไม่สภุ าพ 3,271 5,137 57.05
5. ขับรถประมาทน่าหวาดเสียว 3,968 4,489 13.13
6. ปฏิเสธไม่รับผูโ้ ดยสาร 1,229 3,722 202.85
7. ใช้รถผิดประเภท (รถป้ายดา) 3,740 2,003 (46.44)
8. อุปกรณ์ส่วนควบไม่มั่นคงแข็งแรง 29,481 1,710 (94.20)
9. เรียกเก็บค่าโดยสารเพิม่ จากมาตรค่าโดยสาร 1,083 1,418 30.93
10. ไม่ส่งผู้โดยสารตามที่ตกลงกัน 791 1,305 64.98
11. อื่นๆ 17,475 12,488 (28.54)
รวม 108,396 127,936 18.03

แผนภูมิเปรียบเทียบข้อหาการร้องเรียนตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ 10 อันดับแรก ปีงบประมาณ 2564 – 2565


ทั่วประเทศ
147.06%
หน่วย : ข้อหา ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565
80,000
70,149
60,000
24.84%
40,000 60.45% 57.05% 13.13% 202.85% 64.98%
28,393 29,481
17,228 (46.44)% (94.20)% 30.93%
20,000 13,800 8,287 4,489 3,722 3,740
5,165 3,2715,137 3,968 1,229 2,003 1,710 1,083 1,418 7911,305
0

ปีงบประมาณ 2565 มีข้อหาร้องเรียนรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ทั้งสิ้น 127,936 ข้อหา โดยข้อหาล้อล้น


เกินตัวถัง มีการร้องเรียนมากที่สุด จานวน 70,149 ข้อหา (ร้อยละ 54.83 ของจานวนข้อหาทั้งหมด) เมื่อเปรียบเทียบกับ
ปีงบประมาณ 2564 พบว่า มีอัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.03 โดยข้อหาปฏิเสธไม่รับผู้โดยสาร มีอัตรา
การเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นมากที่สุด ร้อยละ 202.85 รองลงมา คือ ข้อหาล้อล้นเกินตัวถัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 147.06 และข้อหา
ไม่ส่งผู้โดยสารตามที่ตกลงกัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 64.98 ตามลาดับ ขณะที่ ข้อหาอุปกรณ์ส่วนควบไม่มั่นคงแข็งแรง และ
ข้อหาใช้รถผิดประเภท (รถป้ายดา) มีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลงร้อยละ 94.20 และร้อยละ 46.44 ตามลาดับ

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
49

สถิติการรับเรื่องร้องเรียนตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก จาแนกตามข้อหา 10 อันดับแรก ปีงบประมาณ 2564 - 2565


หน่วย : ข้อหา
ทั่วประเทศ
ลาดับ ข้อหาร้องเรียน ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
2564 2565
2565 / 2564
1. ขับรถประมาท น่าหวาดเสียว 5,518 4,657 (15.60)
2. ไม่หยุดรับ-ส่งผู้โดยสารที่ป้าย 3,163 2,697 (14.73)
3. พกส.,พขร.แสดงกิริยาวาจาไม่สุภาพ 2,691 1,835 (31.81)
4. อุปกรณ์ส่วนควบไม่ถูกต้อง (บังโคลน) 773 1,610 108.28
5. ดัดแปลงสัญญาณไฟ 1,091 1,496 37.12
6. สภาพรถไม่สมบูรณ์ (ควันดา) 2,360 1,092 (53.73)
7. ล้อล้นเกินตัวถัง 235 587 149.79
8. เก็บค่าโดยสารเกินอัตราที่ทางราชการกาหนด 612 581 (5.07)
9. จอดรถขวางทางจราจรขวางป้ายหยุดรถ 1,548 578 (62.66)
10. บรรทุกผูโ้ ดยสารเกินจานวนที่นั่ง 877 416 (52.57)
11. อื่นๆ 13,735 12,257 (10.76)
รวม 32,603 27,806 (14.71)

แผนภูมิเปรียบเทียบข้อหาการร้องเรียนตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก 10 อันดับแรก ปีงบประมาณ 2564 – 2565


ทั่วประเทศ
หน่วย : ข้อหา (15.60)% ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565
6,000 5,518
4,657
(14.73)%
4,000 (31.81)%
3,163 108.28% 37.12%
2,697 2,691 2,360(53.73)%
1,835 149.79% (5.07)% (62.66)% (52.57)%
2,000 1,610 1,548
1,496 1,092
773 1,091 877
612 581
235 587 578 416
0

ปีงบประมาณ 2565 มีข้อหาร้องเรียนรถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ทั้งสิ้น 27,806 ข้อหา โดยข้อหา


ขับรถประมาท น่าหวาดเสียว มีการร้องเรียนมากที่สุด จานวน 4,657 ข้อหา (ร้อยละ 16.75 ของจานวนข้อหาทั้งหมด)
เมื่อเปรียบเทียบกับปีงบประมาณ 2564 พบว่า มีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลงร้อยละ 14.71 โดยข้อหาจอดรถขวางทาง
จราจร ขวางป้ายหยุดรถ มีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลงมากที่สุด ร้อยละ 62.66 รองลงมา คือ ข้อหาสภาพรถไม่สมบูรณ์
(ควันดา) ลดลงร้อยละ 53.73 และข้อหาบรรทุกผู้โดยสารเกินจานวนที่นั่ง ลดลงร้อยละ 52.57 ตามลาดับ ขณะที่ข้อหา
ล้อล้นเกินตัวถัง ข้อหาอุปกรณ์ส่วนควบไม่ถูกต้อง (บังโคลน) และข้อหาดัดแปลงสัญญาณไฟ มีอัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 149.79 ร้อยละ 108.28 และร้อยละ 37.12 ตามลาดับ

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
50

สถิติโรงเรียนสอนขับรถ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565


หน่วย : แห่ง
โรงเรียนสอนขับรถที่ได้รับการรับรอง
รายการ หลักสูตรการสอน
จานวนโรงเรียน จานวนจังหวัด
รถจักรยานยนต์ รถยนต์ รถขนส่ง
ทั่วประเทศ 314 74 301 306 107
ส่วนกลาง 31 1 29 31 8
ส่วนภูมิภาค 283 73 272 275 99
ภาคกลาง 55 9 54 52 18
ภาคตะวันออก 39 8 39 39 20
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 76 20 72 75 27
ภาคเหนือ 44 16 42 42 9
ภาคตะวันตก 32 8 32 31 14
ภาคใต้ 37 12 33 36 11
ที่มา : สานักสวัสดิภาพการขนส่ง
แผนภูมิแสดงสัดส่วนโรงเรียนสอนขับรถที่ได้รับการรับรอง จาแนกตามส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
ทั่วประเทศ มีโรงเรียน 314 แห่ง

ส่วนกลาง, ส่วนภูมิภาค,
31 โรงเรียน, 283 โรงเรียน,
9.87% 90.13%

โรงเรียนสอนขับรถที่ได้รับการรั บรองจากกรมการขนส่ งทางบกทั่วประเทศมีจานวน 314 แห่ง ใน 74 จังหวัด


แยกเป็ น ส่ ว นกลาง (กรุ งเทพฯ) จ านวน 31 แห่ ง คิดเป็นร้อยละ 9.87 และส่ ว นภูมิภ าค จานวน 283 แห่ ง คิดเป็น
ร้อยละ 90.13 ของจานวนโรงเรียนสอนขับรถทั้งหมด
จานวนโรงเรียนสอนขับรถทั่วประเทศที่กรมให้การรับรอง และหลักสูตรการสอนที่ได้รับอนุญาต
หน่วย : แห่ง
หลักสูตรการสอน จานวนโรงเรียน ร้อยละ
รถจักรยานยนต์ 8 2.55
รถยนต์ 13 4.14
รถขนส่ง - -
รถจักรยานยนต์ และรถยนต์ 186 59.24
รถจักรยานยนต์ และรถขนส่ง - -
รถยนต์ และรถขนส่ง - -
รถจักรยานยนต์ รถยนต์ และรถขนส่ง 107 34.08
รวม 314 100

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
51

หลักสูตรรถยนต์ 13 186 8 หลักสูตร


107
จักรยานรถยนต์
0 0

หลักสูตรรถขนส่ง

1. โรงเรียนที่มีหลักสูตรการสอนเพียงหลักสูตรเดียว มีจานวน 21 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 6.69 โดยแบ่งเป็น


- หลักสูตรการสอนขับรถจักรยานยนต์ จานวน 8 แห่ง
- หลักสูตรการสอนขับรถยนต์ จานวน 13 แห่ง
2. โรงเรียนที่มีหลักสูตรการสอนในโรงเรียน 2 หลักสูตร มีจานวน 186 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 59.24 โดยทั้งหมดเป็น
หลักสูตรการสอนขับรถจักรยานยนต์และรถยนต์
3. โรงเรียนที่มีหลักสูตรการสอนในโรงเรียน 3 หลักสูตร มีจานวน 107 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 34.08 โดยเป็น หลักสูตรการ
สอนขับรถจักรยานยนต์ รถยนต์ และรถขนส่ง
จานวนโรงเรียนสอนขับรถ จาแนกตามจังหวัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565
1. จั ง หวั ด ที่ มี โ รงเรี ย นสอนขั บ รถ 1 แห่ ง มี จ านวน 20 จั ง หวั ด ได้ แ ก่ จั ง หวั ด พะเยา น่ า น ล าพู น พิ จิ ต ร
เพชรบูรณ์ บึงกาฬ หนองบัวลาภู มุกดาหาร อานาจเจริญ อุทัยธานี สิงห์บุรี อ่างทอง สมุทรสงคราม นครนายก
สระแก้ว ตราด ระนอง พังงา ยะลา และนราธิวาส
2. จัง หวัด ที่มีโ รงเรีย นสอนขับ รถ 2 แห่ง มีจานวน 13 จัง หวัด ได้แ ก่ จังหวัดลาปาง แพร่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย เลย
สกลนคร นครพนม ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ชัยนาท ประจวบคีรีขันธ์ และกระบี่
3. จังหวัดที่มีโรงเรีย นสอนขับ รถ 3 แห่ง มีจานวน 11 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดตาก พิษณุโลก นครสวรรค์ หนองคาย
ยโสธร ศรีสะเกษ สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ชุมพร ตรัง และพัทลุง
4. จังหวัดที่มีโ รงเรีย นสอนขับ รถมากกว่า 3 แห่ง มีจานวน 30 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เชียงราย เชียงใหม่
ก าแพงเพชร อุ ด รธานี ขอนแก่ น กาฬสิ น ธุ์ นครราชสี ม า บุ รี รั ม ย์ สุ ริ น ทร์ อุ บ ลราชธานี ลพบุ รี สระบุ รี
พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ นครปฐม สมุทรสาคร ราชบุรี เพชรบุรี ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี ระยอง จันทบุรี สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต นครศรีธรรมราช และสงขลา
5. จังหวัดที่ไม่มีโรงเรียนสอนขับรถ มีจานวน 3 จังหวัด ได้แก่ แม่ฮ่องสอน สตูล และปัตตานี

สถิติการขนส่งประจําปี 2565
52

จานวนโรงเรียนสอนขับรถที่กรมการขนส่งทางบกให้การรับรอง จาแนกตามปีที่ได้รับการรับรอง
โรงเรี ย นสอนขั บ รถที่ ก รมการขนส่ ง ทางบกให้ ก ารรั บ รอง ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2565 มี จ านวน
314 แห่ ง โดยปี พ.ศ. 2561 มี ก ารรั บ รองโรงเรี ย นสอนขั บ รถสู ง สุ ด จ านวน 77 แห่ ง คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 24.52
ซึ่ ง ช่ ว งปี พ.ศ. 2557-2564 โรงเรี ย นสอนขั บ รถที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รอง มี จ านวนเพิ่ ม สู ง ขึ้ น อย่ า งก้ า วกระโดด
เนื่ อ งจากกรมการขนส่ ง ทางบกได้ มี ม าตรการแนะน า ส่ ง เสริ ม พร้ อ มให้ ค าปรึ ก ษากั บ เอกชนที่ มี ค วามพร้ อ ม
เปิดโรงเรียนสอนขับรถที่ได้มาตรฐาน ภายใต้การกากับดูแลของกรมการขนส่งทางบก สาหรับในปี พ.ศ. 2565 มีการรับรอง
โรงเรียนสอนขับรถเพียง 2 แห่ง
แผนภูมิแสดงจานวนโรงเรียนสอนขับรถเอกชนที่ได้รับการรับรอง จาแนกตามปี พ.ศ. (มกราคม – ธันวาคม)
(จานวน : แห่ง)
100
77
75 71

50 37
33
20 22
25 16 14
1 3 6 1 4 1 3 2 4 2
0
0

สถิติการขนส่งประจําปี 2565

You might also like