You are on page 1of 138

รายงานผลการดำำ�เนิินงานของรััฐบาล พลเอก ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔

(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) 1


รายงานผลการดำำ�เนิินงานของรััฐบาล พลเอก ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
2 (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕)
รายงานผลการดาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔ (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)

รายงานผลการดำำ�เนิินงานของรััฐบาล พลเอก ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔


(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) 3
รายงานผลการดำำ�เนิินงานของรััฐบาล พลเอก ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
4 (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕)
คานา

รายงานผลการดาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔ (๒๕ กรกฎาคม -


๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) เป็นการรวบรวมผลการดาเนินงานของรัฐบาลต่อเนื่องเป็นปีที่ ๔ นับตั้งแต่ พลเอก ประยุ ทธ์
จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒

การบริหารราชการแผ่นดินในปีที่ ๔ รัฐบาลได้ดาเนินการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ โดยยึดมั่นการปกครอง


ในระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย์ ท รงเป็ น ประมุ ข ซึ่ ง มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ หมวด ๕ หน้ า ที่ ข องรั ฐ
และหมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ตลอดจนยุทธศาสตร์ชาติ
พุทธศักราช ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ โดยในรอบปีที่ ๔ ของการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐบาลได้เดินหน้าแก้ไขปัญหาที่สาคัญต่าง ๆ
ของประเทศอย่างต่อเนื่องผ่านโครงการระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว โดยมีประเด็นนโยบายและมาตรการที่สาคัญ
เช่น การบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้ อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ไปสู่การประกาศ
เป็นโรคติดต่อเฝ้าระวัง การเปิดประเทศรับนักท่องเที่ยว มาตรการรักษาระดับการบริโภคภายในประเทศและเพิ่มกาลังซื้อ
ให้แก่กลุ่มผู้มีรายได้น้อยและประชาชนทั่ วไป มาตรการช่วยเหลือภาคธุรกิจ และผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อม การเป็นเจ้าภาพในการประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC)
รวมทั้ ง ได้ ร วบรวมผลการด าเนิ น งานจากทุ ก ส่ ว นราชการที่ เ ป็ น ผลการด าเนิ น งานตามนโยบายหลั ก ๑๒ ด้ า น
และผลการดาเนินงานตามนโยบายเร่งด่วน ๑๒ เรื่อง

รายงานผลการดาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔ จัดทาขึ้นเพื่อเป็น


ประโยชน์ในการสร้างการรับรู้และความเข้าใจแก่ประชาชนทุกภาคส่ วน รวมทั้งเพื่อใช้ประโยชน์สาหรับนักเรียน
นักศึกษา และผู้ที่สนใจในการศึกษา ค้นคว้า อ้างอิง และติดตามผลการดาเนินงานของรัฐบาลต่อไป

กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖

รายงานผลการดาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔


รายงานผลการดำำ�เนิินงานของรััฐบาล พลเอก ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) ๑1
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕)
รายงานผลการดำำ�เนิินงานของรััฐบาล พลเอก ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
2 (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕)
สารบัญ

หน้า
คานา ๑
๑. สภาพปัญหาก่อนเข้าบริหารประเทศ ๕
๒. สถานการณ์หลังการเข้าบริหารประเทศ ๕
๓. แนวนโยบายของรัฐบาล ๖
๔. การประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคหรือความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ๗
๕. สรุปผลการดาเนินงานการบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ๑๓
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ไปสู่การประกาศเป็นโรคติดต่อเฝ้าระวัง
๖. ผลการดาเนินงานที่สาคัญของรัฐบาลในช่วงปีที่ ๔ ๑๖
๗. ผลการดาเนินงานตามแนวนโยบายรัฐบาล
ผลการดาเนินงานตามนโยบายหลัก ๑๒ ด้าน
นโยบายหลัก ข้อ ๑ การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ ๒๗
นโยบายหลัก ข้อ ๒ การสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ ๓๓
และความสงบสุขของประเทศ
นโยบายหลัก ข้อ ๓ การทานุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ๓๙
นโยบายหลัก ข้อ ๔ การสร้างบทบาทของไทยในเวทีโลก ๔๒
นโยบายหลัก ข้อ ๕ การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขันของไทย ๔๘
นโยบายหลัก ข้อ ๖ การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและการกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค ๖๔
นโยบายหลัก ข้อ ๗ การพัฒนาสร้างความเข้มแข็งของฐานราก ๖๖
นโยบายหลัก ข้อ ๘ การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพ ๗๑
ของคนไทยทุกช่วงวัย
นโยบายหลัก ข้อ ๙ การพัฒนาระบบสาธารณสุข และหลักประกันทางสังคม ๘๒
นโยบายหลัก ข้อ ๑๐ การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อม ๘๖
เพื่อสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน
นโยบายหลัก ข้อ ๑๑ การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ ๙๑
นโยบายหลัก ข้อ ๑๒ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ๙๗
และกระบวนการยุติธรรม

รายงานผลการดำำ
รายงานผลการด �เนิิาเนิ
นงานของรัั ฐบาล
นงานของรั ฐบาลพลเอก
พลเอกประยุุ
ประยุ ทธ์์ทธ์จัันจัทร์์นโทร์
อชา นายกรัั
โอชา ฐมนตรีี
นายกรั ฐมนตรีปีีที่่ปี� ๔ที่ ๔
(๒๕
(๒๕กรกฎาคม
กรกฎาคม- ๓๑
- ๓๑ธัันธัวาคม
นวาคม๒๕๖๕)
๒๕๖๕) ๓3
๘. ผลการดาเนินงานตามแนวนโยบายรัฐบาลเร่งด่วน ๑๒ เรื่อง
นโยบายเร่งด่วน ๑ การแก้ไขปัญหาในการดารงชีวิตของประชาชน ๙๙
นโยบายเร่งด่วน ๒ การปรับปรุงระบบสวัสดิการและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ๑๐๕
นโยบายเร่งด่วน ๓ มาตรการเศรษฐกิจเพื่อรองรับความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ๑๐๘
นโยบายเร่งด่วน ๔ การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนานวัตกรรม ๑๑๑
นโยบายเร่งด่วน ๕ การยกระดับศักยภาพของแรงงาน ๑๑๔
นโยบายเร่งด่วน ๖ การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต ๑๑๗
นโยบายเร่งด่วน ๗ การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ ๒๑ ๑๑๙
นโยบายเร่งด่วน ๘ การแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ ๑๒๑
ทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายราชการประจา
นโยบายเร่งด่วน ๙ การแก้ไขปัญหายาเสพติดและสร้างความสงบสุขในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ ๑๒๓
นโยบายเร่งด่วน ๑๐ การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชน ๑๒๕
นโยบายเร่งด่วน ๑๑ การจัดเตรียมมาตรการรองรับภัยแล้งและอุทกภัย ๑๒๘
นโยบายเร่งด่วน ๑๒ การสนับสนุนให้มีการศึกษา การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ๑๓๑
และการดาเนินการเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
ภาคผนวก
กฎหมายที่ประกาศราชกิจจานุเบกษา ระหว่างเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๕ - มกราคม ๒๕๖๖ ๑๓๒

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์ โอชา ประยุุ
พลเอก นายกรั ทธ์์ฐมนตรี
จัันทร์์โปีอชา
ที่ ๔นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
4 (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๔
๑. สภาพปัญหาก่อนเข้าบริหารประเทศ
ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากบริบทการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศมาอย่างต่อเนื่อง
โดยในส่ ว นของบริ บ ทการเปลี่ ย นแปลงภายนอก ประเทศไทยได้ รั บ ผลกระทบจากสถานการณ์ เ ศรษฐกิ จ โลก
ที่ชะลอตัว ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างประเทศ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ที่ส่ งผลให้ การพัฒ นา
ในอนาคตปรับเปลี่ ยนไปได้อย่ างพลิ กผัน การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของโลกมีสัดส่วนผู้สูงอายุเ พิ่ มขึ้น
อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและรุนแรง
นอกจากนี้ ยังต้องเผชิญกับสภาวะแวดล้อมภายในประเทศที่มีความผันผวน เช่น อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ลดต่าลง ซึ่งเป็นผลจากการชะลอตัวลงของการบริโภค การลงทุน และการส่งออก ส่งผลให้อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้น
หนี้ สิ น ครั ว เรื อ นต่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) มี แ นวโน้ ม สู ง ขึ้ น
การเข้าสู่สังคมสู งวัยส่งผลต่ออุปทานแรงงานในประเทศ การศึกษายังมีปัญหาทางด้านคุณภาพและความเท่าเทียม
มีความเหลื่อมล้ า เป็นต้น รวมทั้งยังมีปั ญหาภัยแล้ ง น้าท่วม มลพิษ ฝุ่นควัน ตลอดจนความแตกต่างด้านอุดมการณ์
ทางการเมือง การทุจริตและประพฤติมิชอบ
สภาพการณ์ดังกล่ าวนี้ เ ป็ น ความท้ าทายของรั ฐ บาลในการแก้ ไ ขปัญ หาเฉพาะหน้า ที่เ ป็นประเด็ นเร่ ง ด่ ว น
ขณะเดี ย วกั น ต้ อ งมี ก ารวางรากฐานการพั ฒ นาและการปฏิ รู ป ในด้ า นต่ า ง ๆ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งขี ด ความสามารถ
ในการแข่งขัน ของประเทศ และความอยู่ เย็น เป็น สุขของคนไทยในระยะยาว โดยต้องสร้ างสมดุลของการพัฒนา
ทั้ ง ในมิ ติ เ ศรษฐกิ จ สั ง คม ทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม และการบริ ห ารจัด การที่ ดี ภายใ ต้ ห ลั ก ปรัช ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป
๒. สถานการณ์หลังการเข้าบริหารประเทศ
รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งตามวิถีทางประชาธิปไตย
เมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๒ ซึ่งพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้รับมติรับรองจากเสียงส่วนใหญ่ในการประชุมร่วมกัน
ของรั ฐ สภาตามมาตรา ๒๗๒ ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย เมื่ อ วั น ที่ ๕ มิ ถุ น ายน ๒๕๖๒ ให้ เ ป็ น
นายกรั ฐ มนตรี อี ก วาระหนึ่ ง และได้ มี พ ระบรมราชโองการโปรดเกล้ า ฯ แต่ ง ตั้ ง พลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา
เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๖๒ โดยรัฐบาลได้เข้ามาบริหารราชการแผ่นดิน เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม
๒๕๖๒ ได้ ก าหนดนโยบายการบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ที่ ยึ ด มั่ น ในการปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยอั นมี
พระมหากษั ต ริ ย์ ท รงเป็ น ประมุ ข ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ หมวด ๕ หน้ า ที่ ข องรั ฐ และหมวด ๖ แนวนโยบายแห่ ง รั ฐ
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) เพื่อพัฒนาประเทศไทยให้ก้าวไป
ข้างหน้าอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
ทั้งนี้ ในช่วงสามปีของการบริหารราชการแผ่นดิน (๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ - ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๕) รัฐบาล
ได้ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ โดยยึดโยงกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) และ ๑๓ หมุดหมายมุ่งพลิ กโฉมประเทศไทยสู่ “สั งคมก้าวหน้า เศรษฐกิจสร้างมู ล ค่ า
อย่างยั่งยืน” ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ทั้งในด้านความมั่นคง
การสร้างความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ การสร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางสั ง คม การสร้ า งการเติ บ โตบนคุ ณ ภาพชีวิต ที่ เ ป็น มิ ตรต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม และการปรั บ สมดุ ล และพั ฒ นาระบบ
การบริหารจัดการภาครัฐ รวมถึงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานทั้งทางบก น้า ราง อากาศ และด้านดิจิทัลอย่างต่อเนื่อง

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๕5
รั ฐ บาลได้เร่ งดาเนิน มาตรการที่สาคัญ ต่าง ๆ เพื่อลดผลกระทบจากการชะลอตัว ทางเศรษฐกิจซึ่งเกิดจาก
การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก และวิกฤตราคาน้ามันที่มีผลจากสงครามระหว่างสหพันธรัฐรัสเซียและยูเครนที่เริ่มต้น
ในช่วงต้นปี ๒๕๖๕ และการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์
๒๕๖๓ ต่ อ เนื่ อ งมาจนถึ งกลางปี ๒๕๖๕ ซึ่ ง รั ฐ บาลได้ ค วบคุ ม การแพร่ร ะบาด โดยได้ จั ด หาและฉี ด วัค ซี น ให้ กับ
ประชาชนอย่างครอบคลุ ม ทั่วถึง และรวดเร็ว เพื่อลดความเจ็บป่วยรุนแรงและเสียชีวิต ควบคู่ไปกับการดาเนิน
มาตรการทางการเงิน การคลัง และกึ่งการคลัง ทั้งในด้านมาตรการสินเชื่อ การพักชาระหนี้ การปรับโครงสร้างหนี้
การปรับลดภาระภาษี และเลื่อนการชาระภาษี เพื่อบรรเทาผลกระทบต่อประชาชนและภาคธุรกิจนาไปสู่การเปิดประเทศ
รับนักท่องเที่ยว เพื่อฟื้นฟูและขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยให้เดินหน้าต่อไปได้
รั ฐ บาลยื น ยั น ถึงความมุ่งมั่น ที่จ ะน าพาประเทศให้ ร อดพ้นจากวิก ฤตครั้ง นี้ไปได้โ ดยเร็ว ที่สุ ด และพลิ กฟื้ น
ประเทศให้ก้าวไปข้างหน้าได้อย่างเข้มแข็งภายใต้ “ชีวิตวิถีใหม่ ” โดยเฉพาะการเสริมสร้างความมั่นคงของมนุษย์
การสร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ของเศรษฐกิ จ ในภาพรวมและฐานราก การดู แ ลสภาพแวดล้ อ มและการใช้ ท รั พ ยากร
อย่างมีประสิทธิภาพควบคู่ไปกับการบริหารจัดการผลกระทบจากการพัฒนาเศรษฐกิจในด้านต่าง ๆ ที่ทั่วโลกให้ความสาคัญ
รวมทั้งการลดภาวะโลกร้อน เพื่อวางรากฐานของประเทศไทยให้สามารถรับมือกับวิกฤตการณ์ในอนาคตที่ยากจะคาดเดา
ได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ

๓. แนวนโยบายของรัฐบาล
รัฐบาลได้กาหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งได้แถลงต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒
ประกอบด้วย นโยบายหลัก ๑๒ ด้าน ได้แก่ (๑) การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ (๒) การสร้างความมั่นคง
และความปลอดภัย ของประเทศ และความสงบสุ ขของประเทศ (๓) การทานุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
(๔) การสร้ า งบทบาทของไทยในเวที โ ลก (๕) การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และความสามารถในการแข่ ง ขั น ของไทย
(๖) การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและการกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค (๗) การพัฒนาสร้างความเข้มแข็งจากฐานราก
(๘) การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย (๙) การพัฒนาระบบสาธารณสุข
และหลักประกันทางสังคม (๑๐) การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน
(๑๑) การปฏิรูปการบริห ารจัดการภาครัฐ และ (๑๒) การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิช อบ
และกระบวนการยุติธรรม ขณะเดียวกัน ได้เสนอนโยบายเร่งด่วน ๑๒ เรื่อง ได้แก่ (๑) การแก้ไขปัญหาการดารงชีวิต
ของประชาชน (๒) การปรับปรุงระบบสวัส ดิการและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (๓) มาตรการเศรษฐกิจ
เพื่อรองรับความผันผวนของเศรษฐกิจโลก (๔) การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนานวัตกรรม (๕) การยกระดับ
ศักยภาพของแรงงาน (๖) การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต (๗) การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ ๒๑
(๘) การแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายราชการประจา (๙) การแก้ไขปัญหา
ยาเสพติ ด และสร้ า งความสงบสุ ข ในพื้ น ที่ ช ายแดนภาคใต้ (๑๐) การพั ฒ นาระบบการให้ บ ริ ก ารประชาชน
(๑๑) การจัดเตรียมมาตรการรองรับภัยแล้งและอุทกภัย และ (๑๒) การสนับสนุนให้มีการศึกษา การรับฟังความคิดเห็น
ของประชาชน และการดาเนินการเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
6(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๖
๔. การประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคหรือ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
(Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC)
๔.๑ การประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค ประจาปี ๒๕๖๕ ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับสูง
ในห้วงสัปดาห์ผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค เมื่อวันที่ ๑๔ - ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการปิ ดฉากการเป็ นเจ้ าภาพเอเปค ปี ๒๕๖๕ ภายใต้หัวข้อหลั ก “เปิดกว้าง สร้างสั มพั นธ์
เชื่อมโยงกันสู่สมดุล” หรือ “Open Connect Balance” อย่างสมบูรณ์หลังจากที่ได้จัดการประชุมต่อเนื่องมาตลอดทั้งปี
ประกอบด้ว ย การประชุมระดับ เจ้ าหน้ า ที่ อาวุโ ส ๔ ครั้ง ซึ่งครอบคลุ มกลไกการประชุ มของคณะทางานต่ าง ๆ
ประมาณ ๔๐ กลุ่ม และการประชุมระดับรัฐมนตรี รายสาขา ๘ สาขา ได้แก่ การค้า การท่องเที่ยว ป่าไม้ สาธารณสุข
สตรี SMEs ความมั่นคงทางอาหาร และการคลัง
ประเทศไทยต้อนรับผู้นา ๑๓ เขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค (ออสเตรเลีย บรูไนดารุ สซาลาม แคนาดา ชิลี
สาธารณรัฐประชาชนจีน จีนฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ ปาปัวนิวกินี สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม)
และผู้แทนของผู้นา ๗ เขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค (สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย เม็กซิโก สาธารณรัฐเกาหลี เปรู สหพันธรัฐ
รัสเซีย และจีนไทเป) รวมทั้งแขกพิเศษจาก ๒ ประเทศ คือ นายเอมานูว์แอล มาครง ประธานาธิบดี แห่งสาธารณรัฐ
ฝรั่งเศส และเจ้าชายมุฮัมมัด บิน ซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูด มกุฎราชกุมารและนายกรัฐมนตรี แห่งราชอาณาจักร
ซาอุดีอาระเบีย ตลอดจนผู้เข้าร่วมประชุมและสื่อต่างชาติ รวมทั้งสิ้นกว่า ๔,๐๐๐ คน ถือเป็นครั้งแรกในรอบ ๔ ปี
ที่ผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคได้เดินทางมาประชุมร่วมกัน และเป็นครั้งแรกในรอบเกือบ ๓ ปี ที่ไทยได้ต้อนรับผู้มาเยือน
จานวนมากเช่น นี้ หลั งจากเผชิญสถานการณ์การแพร่ ร ะบาดของโควิด -๑๙ ซึ่งการประชุมผู้ น าฯ ประกอบด้ว ย
(๑) การประชุมรัฐมนตรีเอเปค ครั้งที่ ๓๓ (๒) การหารือระหว่างผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคกับแขกพิเศษ และ (๓) การประชุม
ผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ ๒๙ นอกจากนี้ ยังมีการจัดกิจกรรมคู่ขนานจานวนมาก เพื่อสร้างการมีส่ว นร่ว ม
ของภาคเอกชน เยาวชน และเปิดโอกาสให้มีการนาเสนอศักยภาพ นวัตกรรม และภูมิปัญญาของไทยในมิติต่าง ๆ
๔.๒ ผลการประชุมที่สาคัญ และกิจกรรมคู่ขนาน
๔.๒.๑ การประชุ ม รั ฐ มนตรี เ อเปค ครั้ ง ที่ ๓๓ จั ด ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ ๑๗ พฤศจิ ก ายน ๒๕๖๕ โดยมี
นายดอน ปรมัตถ์วินัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์
รองนายกรั ฐ มนตรี และรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงพาณิ ช ย์
เป็นประธานร่วม แบ่งเป็น ๓ ช่วง ได้แก่ (๑) การประชุมเต็มคณะ
หั ว ข้ อ “การเจริ ญ เติ บ โตที่ ส มดุ ล ครอบคลุ ม และยั่ ง ยื น ”
(๒) การหารื อ ในช่ ว งอาหารกลางวั น หั ว ข้ อ “การฟื้ น ฟู
ความเชื่อมโยงในภูมิภ าค” และ (๓) การประชุมเต็มคณะ
หั ว ข้ อ “การค้ า และการลงทุ น ที่ เ ปิ ด กว้ า งและยั่ ง ยื น ”
โดยที่ประชุมสนับสนุนประเด็นสาคัญในการเป็นเจ้าภาพเอเปค
ของไทย การฟื้นฟูการเดินทางที่ปลอดภัย การปรับโครงสร้างพื้นฐานทางสาธารณสุข และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล
เพื่อรับมือกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในอนาคต รวมถึงแนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสี เขี ยว
(Bio-Circular-Green Economy: BCG Economy) หรือเศรษฐกิจ BCG ที่สร้างโอกาสความร่วมมือระหว่างเขตเศรษฐกิจ

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินนงานของรั
งานของรััฐบาล
ฐบาลพลเอก
พลเอกประยุ
ประยุุททธ์ธ์์ จัจัันนทร์
ทร์์โโอชา
อชา นายกรั
นายกรััฐฐมนตรี
มนตรีี ปีปีีทที่่ี่ � ๔๔
(๒๕กรกฎาคม
(๒๕ กรกฎาคม- -๓๑๓๑ธันธัันวาคม
วาคม๒๕๖๕)
๒๕๖๕) ๗ 7
ในการรับมือกับความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน และสนับสนุน
การเปลี่ยนผ่านไปสู่พลังงานสะอาด ตลอดจนส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ครอบคลุมบุคคลทุกกลุ่ม
๔.๒.๒ การหารือระหว่างผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคกับแขกพิเศษ จัดขึ้นเมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๕
โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และมีประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รวมทั้ง มกุฎราชกุมารและนายกรัฐมนตรี
แห่ ง ราชอาณาจั ก รซาอุ ดี อ าระเบี ย เข้ า ร่ ว มในฐานะ
แขกพิเศษ แบ่งเป็น ๒ ช่วง ได้แก่ (๑) การหารืออย่างไม่เป็น
ทางการ หัวข้อ “การค้าและการลงทุนที่ยั่งยืนระหว่าง
เอเปคกับหุ้นส่วนด้านการค้า” และ (๒) การหารือในช่วง
อาหารกลางวัน หั ว ข้อ “การส่ งเสริ ม การเจริ ญ เติ บ โต
ที่ครอบคลุมในช่วงเศรษฐกิจถดถอยและวิกฤตเงินเฟ้อ ”

โดยที่ ป ระชุ ม เห็ น พ้ อ งและสนั บ สนุ น การสร้ า งหุ้ น ส่ ว น


ความร่วมมือระหว่างเอเปคกับมิตรนอกเอเปค ในประเด็น
ความมั่ น คงทางอาหารและพลั ง งาน การสร้ า งห่ ว งโซ่
อุปทานที่ยืดหยุ่น พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง และการเติบโต
ทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน โดยคานึงถึงการทาธุรกิจที่เป็น
มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม การส่ ง เสริ ม พลั ง งานหมุ น เวี ย น
การปฏิรูปกฎระเบียบโดยมุ่งเน้นการใช้นวัตกรรม นอกจากนี้ ที่ประชุมยังเน้นย้าความสาคัญของการเติบโตอย่างครอบคลุม
รวมถึงธุรกิจรายย่อย การเสริมพลังทางเศรษฐกิจของสตรี และการเพิ่มพูนทักษะทางดิจิทัล โดยที่ประชุมชื่นชมแนวคิด
เศรษฐกิจ BCG ว่า เป็นบทพิสูจน์ถึงความสาคัญของเอเปคที่ดาเนินการในประเด็นสาคัญของโลกอย่างทันการณ์
๔.๒.๓ การประชุมผู้น าเขตเศรษฐกิ จ
เอเปค ครั้ ง ที่ ๒๙ เมื่ อ วั น ที่ ๑๘ - ๑๙ พฤศจิ ก ายน
๒๕๖๕ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน แบ่งเป็น ๒ ช่วง
ได้แก่ (๑) การประชุมรูปแบบ Retreat ช่วงที่ ๑ หัวข้อ
“การเจริ ญ เติ บ โตที่ ส มดุ ล ครอบคลุ ม และยั่ ง ยื น ”
และ (๒) การประชุ มรู ปแบบ Retreat ช่วงที่ ๒ หั ว ข้อ
“การค้ า และการลงทุ น ที่ ยั่ ง ยื น ” โดยที่ ป ระชุ ม ย้ า
ความมุ่งมั่นในการส่งเสริมการเติบโตที่ยั่งยืนและครอบคลุม
๔.๒.๔ กิจกรรมคู่ขนาน
๑) APEC CEO Summit จัดขึ้นเมื่อวันที่ ๑๖ - ๑๘ พฤศจิ กายน ๒๕๖๕ ภายใต้หั ว ข้อ หลั ก
“Embrace, Engage, Enable” มีผู้นาทางด้านธุรกิจของเอเปคเข้าร่วม มากกว่า ๑,๐๐๐ คน เพื่อแลกเปลี่ยนมุมมอง
กับผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคในหัวข้อสาคัญกว่า ๗๐ หัวข้อ โดยมีผู้นาเขตเศรษฐกิจสาคัญในภูมิภาค ผู้แทนองค์การ

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
8(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๘
ระหว่ า งประเทศ ผู้ แ ทนภาคธุ ร กิ จ ไทย ผู้ น าภาคเอกชนชั้ น น าของภู มิ ภ าคเข้ า ร่ ว ม ซึ่ ง ที่ ป ระชุ ม ให้ ค วามส าคั ญ
กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน การเติบโตอย่างครอบคลุม และการสร้างความเป็นหุ้นส่วนในภูมิภาค
๒) กิจกรรม APEC Voices of the Future 2022 จัดขึ้นระหว่างวันที่ ๑๒ - ๑๙ พฤศจิกายน
๒๕๖๕ โดยเชิ ญ ผู้ แ ทนเยาวชนจากเขตเศรษฐกิ จ สมาชิก เอเปคเข้ า ร่ ว มแสดงความคิ ด เห็ น ต่ อ ทิ ศ ทางการพั ฒ นา
ของภูมิภาคฯ และได้ร่วมกันจัดทาปฏิญญาเยาวชน APEC Voices of the Future 2022 ที่แสดงมุมมองสอดคล้อง
ต่อการทางานของเอเปค ๒๕๖๕ และได้นาเสนอปฏิญญาดังกล่าวต่อนายกรัฐมนตรีในฐานะประธานการประชุมผู้นา
เขตเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ ๒๘ เมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ที่ทาเนียบรัฐบาล
๓) นิทรรศการ Thailand BCG ในช่วงสัปดาห์การประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค ได้มีการจัด
นิ ท รรศการถ่ า ยทอดเรื่ อ งราวการขั บ เคลื่ อ น BCG ใน ๓ ส่ ว น ได้ แ ก่ (๑) โครงการส าคั ญ ต่ า ง ๆ ของภาครั ฐ
ในมิ ติ ก ารเกษตร อุ ต สาหกรรม และท่ อ งเที่ ย ว และมี “เป้ า หมายกรุ ง เทพมหานครว่ า ด้ ว ยเศรษฐกิ จ ชี ว ภาพ
เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว” เป็นตัวเชื่อมต่อแนวคิดเศรษฐกิจ BCG กับวาระสาคัญด้านความยั่งยืนของโลก
(๒) การต่อยอดแนวคิด BCG ผ่านสินค้าและผลิตภัณฑ์ และการเสนอตัว เป็นเจ้าภาพจัดงาน “Expo 2028-Phuket”
ของไทย ซึ่งแนวคิดจัดงานสอดคล้องกับแนวทาง BCG และความยั่งยืน และ (๓) นาเสนอความสาเร็จของธุรกิจที่ยั่งยืน
ของภาคเอกชนไทย
๔.๓ เอกสารผลลัพธ์ การประชุมระดับสูงในห้วงสัปดาห์การประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคได้รับรองเอกสารผลลัพธ์
๓ ฉบับ โดยฉันทามติ ดังนี้ (๑) ถ้อยแถลงร่วมรัฐมนตรีเอเปคประจาปี ค.ศ. ๒๐๒๒ ในการร่วมกันสร้างประชาคม
ในภูมิภาคเอเชีย -แปซิฟิกตามวิสัยทัศน์ปุตราจายา ค.ศ. ๒๐๔๐ ของเอเปค ซึ่งสอดคล้องกับผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม
๓ ด้าน ที่ประเทศไทยผลักดัน คือ การทบทวนการหารือเรื่องเขตการค้าเสรีเอเชีย -แปซิฟิก (Free Trade Area of the
Asia-Pacific: FTAAP) การฟื้นฟูการเดินทางอย่างปลอดภัยและไร้รอยต่อ และการผลักดันเป้าหมายกรุงเทพมหานครว่าด้วย
เศรษฐกิ จ ชี ว ภาพ เศรษฐกิ จ หมุ น เวี ย น และเศรษฐกิ จ สี เ ขี ย ว (๒) ปฏิ ญ ญาผู้ น าเขตเศรษฐกิ จ เอเปคประจ าปี
ค.ศ. ๒๐๒๒ ซึ่งสอดคล้องกับถ้อยแถลงร่วมรัฐมนตรีเอเปคประจาปี ค.ศ. ๒๐๒๒ และ (๓) เป้าหมายกรุงเทพมหานคร
ว่าด้วยเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว เป็นผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมสูงสุดในการเป็นเจ้าภาพ
เอเปคของไทยในปีนี้ โดยได้รับการรับรองในระดับผู้นา เป็นแผนขับเคลื่อนงานด้านความยั่งยืนของเอเปคในระยะยาว
อย่างบูรณาการฉบับแรกของเอเปค เน้นเป้าหมาย ๔ ด้าน ได้แก่ การจัดการกับความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อม การผลักดัน
การค้าและการลงทุนที่ยั่งยืน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อลดขยะและของเสีย โดยมีการเปิดตัวเว็บไซต์ www.bangkokgoals.apec.org เพื่อเป็นฐานข้อมูล
เกี่ยวกับการดาเนินการเรื่อง BCG
การเจรจาเอกสารผลลัพธ์ทั้งสามฉบับบรรลุฉันทามติถือเป็นความสาเร็จที่สาคัญของไทยในการขับเคลื่อน
ให้เอเปคเดินหน้า สร้างผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมไม่หยุดชะงัก ท่ามกลางสถานการณ์โลกที่ท้าทาย โดยเฉพาะเป้าหมาย
กรุงเทพเทพมหานครที่เขตเศรษฐกิจสมาชิกต่างชื่นชมความเป็นผู้นาของไทยในการหารือกับเขตเศรษฐกิจ จนทาให้
ทุ ก เขตเศรษฐกิ จ สมาชิ ก ยอมรั บ ถ้ อ ยแถลงร่ ว มรั ฐ มนตรี เ อเปคและปฏิ ญ ญาผู้ น าเขตเศรษฐกิ จ เอเปคร่ ว มกั น ได้
โดยเอกสารผลลัพธ์ทั้งสามฉบับเป็นพื้นฐานสาคัญในการขับเคลื่อนความร่วมมือในกรอบเอเปคต่อไปในอนาคต

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินนงานของรั
งานของรััฐบาล
ฐบาลพลเอก
พลเอกประยุ
ประยุุททธ์ ธ์์ จัจัันนทร์
ทร์์โโอชา
อชา นายกรั
นายกรััฐฐมนตรี
มนตรีี ปีปีีทที่่ี่ � ๔๔
(๒๕กรกฎาคม
(๒๕ กรกฎาคม- -๓๑๓๑ธันธัันวาคม
วาคม๒๕๖๕)
๒๕๖๕) ๙ 9
๔.๔ ความสาเร็จของการประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ ๒๙ และการเป็นเจ้าภาพเอเปคปี ๒๕๖๕
ประเทศไทยได้ผลักดันให้เอเปค ๒๕๖๕ บรรลุผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม ๓ ประการ ตามเป้าหมาย ดังนี้ (๑) เปิดกว้าง
สร้างสัมพันธ์ (Open) ริเริ่มการทบทวนการหารือเรื่องการขับเคลื่อนการเจรจาเขตการค้าเสรีเอเชียแปซิฟิก (Free
Trade Area of the Asia Pacific: FTAAP) ในบริบทหลังโควิด-๑๙ และบรรลุการจัดทาแผนงานขับเคลื่อนที่ต่อเนื่อง
หลายปีในเรื่องดังกล่าว (ค.ศ. ๒๐๒๓ - ๒๐๒๖) ภายใต้คณะกรรมการว่าด้วยการค้าและการลงทุน (Committee on Trade
and Investment: CTI) ของเอเปค เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของสมาชิกในการรับมือประเด็นการค้าการลงทุนใหม่ ๆ ในบริบท
ของโลกยุ คหลังโควิด -๑๙ เช่น การค้าและเศรษฐกิจดิจิทัล e-commerce การค้าและสิ่ งแวดล้อม ความเชื่อมโยง
ของห่ ว งโซ่อุป ทาน การตอบสนองต่อการเปลี่ ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป็น ต้น โดยเน้น การเสริมสร้างศักยภาพ
และลดช่องว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ระหว่างกัน เพื่อเป้าหมายสูงสุด คือ การเปิดโอกาสให้คนทุกกลุ่มเข้าถึงโอกาส
ทางเศรษฐกิจจากการค้าการลงทุนที่เปิ ดกว้างและเสรีได้อย่างเท่าเทียม ซึ่งประเทศไทยจะร่วมกับเขตเศรษฐกิจสมาชิก
ขับเคลื่อนการดาเนินการตามแผนงานดังกล่าว และติดตามผลผ่าน CTI และรายงานต่อที่ประชุมรัฐมนตรีเอเปคทุกปี
และในปลายปี ๒๕๖๙ CTI จะทบทวนรายละเอี ย ดและกรอบเวลาของแผนงานดั ง กล่ า วต่ อ ไป นอกจากนี้
หน่วยสนับสนุนด้านนโยบาย (Policy Support Unit: PSU) ของเอเปคจะประเมินความคืบหน้าการดาเนินการเรื่อง
FTAAP ทุก ๆ สองปี (๒) เชื่อมโยงกัน (Connect) นับตั้งแต่การแพร่ระบาดของโควิด-๑๙ ข้อจากัดหรืออุปสรรค
ของการเดิ น ทางข้ า มพรมแดนท าให้ เ อเปคเสี ย โอกาสทางการค้ า ไปถึ ง ประมาณ ๕ - ๗ แสนล้ า นดอลลาร์ ส หรัฐ
และสูญเสียกิจกรรมทางเศรษฐกิจคิดเป็นมูลค่าประมาณ ๑.๒ ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเทศไทยสามารถผลั กดัน
การจัดตั้งคณะทางานเฉพาะกิจในเรื่องดังกล่าวและบรรลุข้อริเริ่มที่เป็นรูปธรรมหลายประการ เพื่ออานวยความสะดวก
และกระตุ้นการเดินทางและการท่องเที่ยวข้ามพรมแดน เช่น การจัดทาระบบฐานข้อมูลที่รวบรวมระเบียบและข้อจากัด
การเดินทางในเอเปค การจัดทาหลักการเพื่อส่งเสริมการยอมรับใบรั บรองการฉีดวัคซีนระหว่างกัน การเสนอให้เอเปค
มีกลไกการทางานเพื่อรับมือกับวิกฤตในอนาคต การผลักดันการออกบัตรเดินทางนักธุรกิจเอเปค (APEC Business
Travel Card: ABTC) ให้ครอบคลุมนักธุรกิจรายย่อยมากขึ้น เป็นต้น โดยไทยจะดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อออกบัตร
ABTC ให้ครอบคลุมมากขึ้น และผลักดัน ให้เอเปคสานต่องานด้านการเดินทางที่ปลอดภัยในปี ๒๕๖๖ ที่สหรัฐอเมริกา
เป็นเจ้าภาพต่อไป และ (๓) สู่สมดุล (Balance) ประเทศไทยได้วางรากฐานให้เศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย -แปซิฟิก
เติบโตอย่างสมดุล ครอบคลุม ยั่งยืน โดยเฉพาะการรับรอง “เป้าหมายกรุงเทพมหานครว่าด้วยเศรษฐกิจชีวภาพ
เศรษฐกิจหมุน เวียน และเศรษฐกิจสีเ ขียว” เป็น เอกสารฉบับ แรกในประวัติศาสตร์ ของเอเปคที่ว างบรรทัดฐาน
และระบุ เ ป้ า หมายการท างานที่ ชั ด เจนอย่ า งเป็ น ระบบเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การเติ บ โตที่ ค รอบคลุ ม และยั่ ง ยื น ซึ่ ง เป็ น
“ภาพจาแห่งความสาเร็จ” ของการเป็นเจ้าภาพเอเปคของไทยในปีนี้ โดยเน้นให้เอเปคมุ่งส่งเสริมการค้าและการลงทุน
ควบคู่ไปกับการสร้างความเติบโตอย่างยั่งยืน ประเทศไทยจะขับเคลื่อนการดาเนินการตามเป้าหมายกรุงเทพมหานคร
ภายในประเทศให้เกิดความคืบหน้าผ่านความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศจะประสานงาน
กับคณะกรรมการบริห ารการพัฒ นาเศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green
Economy: BCG Model) เพื่อผลั กดัน การดาเนิ นการอย่างบูรณาการภายใต้กลไกจตุภาคี ซึ่ งประกอบด้ว ยภาครัฐ
ภาคเอกชน สถาบันวิจัย สถาบันการศึกษา และภาคประชาชน

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
10
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๑๐
๔.๕ ประโยชน์ที่คนไทยได้รับ
๔.๕.๑ เพิ่มมูลค่าทางธุรกิจ ได้รับการประเมินว่าการประชุมและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเอเปคได้นา
เม็ดเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจไทยกว่า ๒ หมื่นล้านบาท และการลงทุนที่จะมีขึ้นของภาคเอกชน โดยเฉพาะข้อตกลง
เพื่อพัฒ นาโครงการไฮโดรเจนสี เ ขีย วระหว่ า งภาคเอกชนของซาอุ ดี อ าระเบี ย กับ บริ ษั ท ปตท. จากัด (มหาชน)
และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย มูลค่า ๒.๕ แสนล้านบาท
๔.๕.๒ เพิ่มบทบาทไทยในเวทีโลก และกระชับความร่วมมือทวิภาคีในมิติต่าง ๆ เกิดโอกาสในการหารือ
ทวิภาคีระดับผู้นาที่นาไปสู่ข้อริเริ่มและความตกลงต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้ภาคธุรกิจและประชาชนไทย โดยในห้วง
การประชุมเอเปคได้หารือทวิภาคีกับเขตเศรษฐกิจต่าง ๆ ได้แก่ (๑) ต้อนรับการเยือนทวิภาคีอย่างเป็นทางการ จานวน
๓ เขตเศรษฐกิจ ได้แก่ เวียดนาม ซาอุดีอาระเบีย และจีน (๒) หารือทวิภาคีกับ ๗ เขตเศรษฐกิจ ได้แก่ ประธานาธิบดี
แห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส ผู้บริหารสูงสุดฮ่องกง นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น นายกรัฐมนตรีแคนาดา นายกรัฐมนตรีเครือ
รัฐออสเตรเลีย นายกรัฐมนตรีนิวซีแลนด์ และรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา รวมทั้งได้หารือกับกรรมการ
ผู้จัดการกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งนาไปสู่การลงนามเอกสารผลลัพธ์ ๑๕ ฉบับ เพื่อกระชับและวางรากฐาน
ความร่วมมือระหว่างไทยกับประเทศยุทธศาสตร์ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการส่งเสริมการแก้ไขปัญหา รับมือความท้าทาย
และผลักดันประเด็นที่เป็นผลประโยชน์แห่งชาติของไทย อาทิ การค้า การลงทุน รวมถึงในอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า
ความเชื่ อ มโยง การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ และการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ตลอดจนการฟื้ น ฟู ก ารท่ อ งเที่ ย ว
และการเดินทางระหว่างกัน
๔.๕.๓ การส่งเสริมความยั่งยืนภายในประเทศผ่านเป้าหมายกรุงเทพมหานคร ได้แก่ (๑) จุดประกาย
ความสนใจเรื่องการดาเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบในไทย (๒) ขับเคลื่อนการสร้างเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืน
และครอบคลุมในประเทศอย่างเป็นรูปธรรม (๓) วางแนวทางและกรอบแนวคิดในการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจ
ระหว่างประเทศในระดับโลกด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาอย่างยั่งยืน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอ ากาศ
และการเผชิญความท้าทายด้านความมั่นคงด้านอาหาร น้า สาธารณสุข และพลังงาน โดยมีการนาโมเดลเศรษฐกิจ
BCG ของไทยไปขยายผลต่อในเวทีความร่วมมือต่าง ๆ (๔) ส่งเสริมและอานวยความสะดวกการค้าและการลงทุน
และยกระดั บ มาตรฐานในการประกอบธุ ร กิ จ ในสาขา
ที่เกี่ยวข้องกับโมเดลเศรษฐกิจ BCG นาไปสู่ การลงทุน
สร้างงานและพัฒนานวัตกรรมในห่วงโซ่อุปทานเศรษฐกิจ
BCG ทั้ ง ระบบและ (๕) ในระยะยาว ผลประโยชน์
ที่ประเทศไทยได้รับทั้งหมดข้างต้นจะทาให้สามารถแสดง
บทบาทน าในเรื่ อ งดั ง กล่ า วในเวที ร ะหว่ า งประเทศ
และช่ ว ยเพิ่ ม อ านาจการต่ อ รองด้ า นการต่ า งประเทศ
โดยเฉพาะในบริบทการแข่งขันระหว่างมหาอานาจ

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ เนิินนงานของรัั
งานของรัฐฐบาล
บาล พลเอก
พลเอก ประยุุ
ประยุททธ์์ธ์ จัันจันทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐมนตรีี
ฐมนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕
(๒๕ กรกฎาคม
กรกฎาคม -- ๓๑
๓๑ ธััธันนวาคม
วาคม ๒๕๖๕)
๒๕๖๕) ๑๑11
๔.๕.๔ สร้างความเชื่อมั่นให้โลกเห็นความพร้อมในการต้อนรับนักธุรกิจและนักท่องเที่ยวกลับสู่
ประเทศไทยอีกครั้ง โดยได้ถ่ายทอดความโดดเด่นและศักยภาพทางเศรษฐกิจที่จะนาไปสู่โอกาสการค้าและการลงทุน
ที่เพิ่มมากขึ้น ทั้งด้านอาหารและศิลปวัฒนธรรมสู่สายตาของผู้นา คณะผู้แทน และสื่อต่างชาติ ตลอดห่ วงสัปดาห์
การประชุมผู้นาเอเปค สื่อต่างชาตินาเสนอข่าวการไปชมมวยไทยที่สนามมวยราชดาเนิน การรับประทานอาหารที่เยาวราช
และการเยี่ ย มชมวั ด โพธิ์ ข องประธานาธิ บ ดี แ ห่ ง สาธารณรั ฐ ฝรั่ ง เศส การเข้ า เฝ้ า สมเด็ จ พระอริ ย วงศาคตญาณ
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณ ายก และเยี่ยมชมตลาดสดองค์การตลาดเพื่อการเกษตรของนางคามาลา
แฮร์ ริ ส รองประธานาธิ บ ดี แ ห่ ง สหรั ฐ อเมริ ก า หรื อ การที่ น ายลี เซี ย นลุ ง นายกรั ฐ มนตรี สาธารณรั ฐ สิ ง คโปร์
ลงคลิปวิดีโอการเยือนประเทศไทยและภาพอาหารไทยในโซเชียลมีเดียของตนเอง ซึ่งภาคธุรกิจของไทยสามารถ
ต่อยอดจากกระแสความสนใจในห้วงการประชุมเอเปคที่เกิดขึ้นเพื่อสร้างประโยชน์และโอกาสทางธุรกิจต่อไปได้

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
12
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๑๒
๕. สรุปผลการดาเนินงานการบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ไปสู่การประกาศเป็นโรคติดต่อเฝ้าระวัง
ในปี ๒๕๖๕ การแพร่ระบาดของโรคโควิด -๑๙ ในประเทศไทยเริ่มคลี่คลายมากขึ้น จานวนยอดผู้ติ ดเชื้อยืนยัน
ลดลงอย่างต่อเนื่ องและอัตราผู้ เสี ยชีวิตอยู่ ในเกณฑ์ที่คงตัว โดยรัฐบาลได้ว างแผนการรับ มือการแพร่ร ะบาดของ
โรคโควิด-๑๙ และได้ปรับมาตรการต่าง ๆ ดังนี้
๕.๑ ปรับแนวทางเวชปฏิบัติการวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลกรณีโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ ๒๕ เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๖๕ มีประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
๑) เปลี่ยนการแยกกักผู้ติดเชื้อเป็นการแนะนาการปฏิบัติตนเพื่อลดความเสี่ยงการแพร่เชื้อ
๒) ปรับการให้บริการทางการแพทย์แบบผู้ป่วยนอกหรือผู้ป่วยในขึ้นกับอาการของผู้ป่วยและดุลยพินิจของ
แพทย์ในการประเมินความเสี่ยงต่อโรครุนแรง
๓) ปรับคาแนะนาในการรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล (Admission)
๔) ปรับการให้ยาต้านไวรัสในกลุ่มอาการต่าง ๆ
๕) ปรับคาแนะนาในการปฏิบัติตนสาหรับผู้ป่วยโรคโควิด-๑๙
๕.๒ มาตรการรองรับการเดินทางเข้าประเทศไทยเพื่อป้องกันควบคุมโรคโควิด-๑๙ จานวน ๓ เรื่อง ดังนี้
๑) มาตรการด้านสาธารณสุ ขในการป้ องกันควบคุมโรคโควิด -๑๙ ของประเทศไทยส าหรับผู้ เดินทาง
เข้าประเทศให้มีการบูรณาการความร่วมมือด้านการท่องเที่ยว คมนาคม ต่างประเทศ สาธารณสุข และหน่วยงานอื่น
ที่เกี่ย วข้อง เตรี ย มความพร้ อมดูแลนั กท่องเที่ยวและมาตรการด้านสาธารณสุข เช่น เฝ้ าระวังโรคกลุ่ มผู้เดินทาง
ที่มีอาการเกี่ยวกับทางเดินหายใจให้ได้รับการตรวจด้วยตนเอง (Antigen Test Kit: ATK) และการตรวจด้วยวิธี Real
Time PCR (RT-PCR) ตรวจสายพันธุ์ของเชื้อโควิด -๑๙ เพิ่มกลไกการรายงานผ่านเว็บไซต์ กรมควบคุมโรค เฝ้าระวัง
และตรวจสายพันธุ์ของเชื้อโควิด-๑๙ ในน้าเสียจากเครื่องบิน เป็นต้น
๒) แนวทางการทาประกันภัยสาหรับนักท่องเที่ยว เน้นผู้เดินทางจากประเทศที่กาหนดให้ขากลับประเทศ
ต้นทางจากจีนและอินเดียต้องมีผลตรวจ RT-PCR คือ โดยต้องมีประกันสุขภาพวงเงินไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ
ครอบคลุมการรักษาโรคโควิด-๑๙ ตลอดช่วงระยะเวลาที่อยู่ในประเทศไทยและบวกเพิ่มอีก ๗ วัน กรมธรรม์ประกันภัย
คุ้มครองผู้ที่เดินทางเข้าประเทศไทย (เงื่อนไขตามที่กาหนด) สาหรับผู้มาประกอบภารกิจ รวมถึงลูกเรือหรือนักเรียน
ให้ใช้หนังสือรับรองจากหน่วยงานเจ้าภาพหรือเอกสารแสดงถึงการมีประกันรูปแบบอื่นรั บรองแทน โดยเจ้าหน้าที่
ด่านควบคุมโรคติดต่อจะสุ่ มตรวจเอกสารรั บรองประกัน สุ ขภาพของผู้ เดิน ทางจากประเทศดัง กล่ าว หากพบว่า
ไม่มีเอกสารประกันสุขภาพต้องซื้อประกันสุขภาพก่อนเข้าเมือง
๓) แนวทางปฏิบั ติส าหรั บผู้ ประกอบการท่องเที่ ยว เพื่อป้องกันควบคุมโรคโควิด -๑๙ เน้นผู้ ประกอบการ
ท่องเที่ยวและประชาชนได้รับวัคซีนโควิด-๑๙ ครบ ๔ เข็ม เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการป้องกันการป่วยหนัก
๕.๓ แนวทางการจัดบริการผู้ป่วยสาหรับสถานพยาบาลกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เป็นโรคติดต่อ
ที่ต้องเฝ้าระวัง ผู้ป่วยโรคโควิด-๑๙ ส่วนใหญ่รับบริการทางการแพทย์แบบ OPSI (Out-Patient With Self-Isolation)
แต่ยังมีผู้ป่วยโรคโควิด-๑๙ บางส่วนที่ต้องเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยใน การให้บริการผู้ป่วยดังกล่าวอาจส่งผลกระทบ
ต่อผู้ป่วยอื่น ๆ ที่เข้ารับบริการในสถานพยาบาล ดังนั้น จึงต้องมีการบริหารจัดการทั้งระบบ ประกอบด้วย คลินิกตรวจโรค
ระบบทางเดินหายใจ (ARI Clinic) การดูแลผู้ป่วยนอกทั่วไป (OPD non-COVID-19) ห้องฉุกเฉิน (ER) ห้องผ่าตัด (OR)

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
�เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์
ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๑๓13
รวมถึ ง การท าหั ต ถการอื่ น ๆ หอผู้ ป่ ว ยใน (หอผู้ ป่ ว ย สามั ญ ทั่ ว ไป หอผู้ ป่ ว ยพิ เ ศษ หอผู้ ป่ ว ย ICU) การส่ ง ต่ อ
และ Elective rotation ของนักศึกษาและบุคลากรทางการแพทย์ระหว่างสถาบัน ซึ่งแต่ละสถานพยาบาลสามารถ
ปรับให้เหมาะสมตามศักยภาพและความพร้อมของทรัพยากร
๕.๔ การให้บริการภูมิคุ้มกันสาเร็จรูปหรือ Long Acting Antibody (LAAB) ป้องกันโรคโควิด-๑๙ สาหรับ
ผู้ป่วยภูมิคุ้มกัน ต่า เช่น ผู้ ป่ ว ยไตวายเรื้อรั งที่ได้รับการฟอกไต ผู้ปลู กถ่ายอวัยวะหรือไขกระดูกที่ได้รับยากดภูมิ
โดยประเทศไทยมีจานวนผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันร่างกายต่าประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ ราย เป็นต้น โดยให้บริหารจัดการ
LAAB ให้เป็นไปด้วยความเสมอภาคและประโยชน์สู งสุ ดแก่ประชาชน รวมถึงสังเกตอาการภายหลั งได้รับ LAAB
ตามมาตรฐาน
๕.๕ การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดและลดอัตราการป่วยตาย ประเทศไทยได้กาหนดเป้าหมาย
ให้ประชาชนต้องรับการฉีดวัคซีนให้ถึงร้ อยละ ๗๐ ของประชากรหรือประมาณ ๕๐ ล้านคน โดยให้บริการฉีดวั คซีน
โควิด-๑๙ สะสมจานวนทั้งสิ้น ๑๔๔,๒๘๒,๒๓๗ โดส จาแนกเป็น เข็มที่ ๑ จานวน ๕๗,๑๖๖,๒๖๓ โดส คิดเป็นร้อยละ
๘๒.๑๙ เข็มที่ ๒ จานวน ๕๓,๖๓๘,๖๒๕ โดส คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๑๒ และเข็มที่ ๓ จานวน ๓๓,๔๗๗,๓๔๙ โดส
คิดเป็นร้อยละ ๔๘.๑๓ (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) แม้ว่าการได้รับวัคซีนของประชาชนจะมีแนวโน้ม
ที่มากขึ้นกว่าในปีที่ผ่านมา แต่กระทรวงสาธารณสุขยังคงต้องดาเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้ารับการฉีด
วั ค ซี น เข็ ม กระตุ้ น เพื่ อ เป็ น การป้ อ งกั น และลดระดั บ ความรุ น แรงของโรค โดยประชาชนสามารถเข้ า รั บ บริ ก าร
ตามโรงพยาบาลของรัฐ ได้ทั้งหมดโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ณ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน
หรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.)
๕.๖ ด้านการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-๑๙ ประชาชนทุกคนยังคงได้รับการรักษาฟรีตามสิทธิ ทั้งสิทธิบัตรทอง
สิทธิประกันสังคม และสิทธิข้าราชการและพนั กงานรัฐวิสาหกิจ ขณะที่ ผู้ป่วยอาการสีแดงที่เข้าข่ายวิกฤตฉุ กเฉิน
สามารถใช้สิทธิ UCEP เข้ารักษาแห่งใดก็ได้ ดังนี้
๑) ผู้มีสิทธิบัตรทองสามารถติดต่อเข้าสู่กระบวนการรักษาที่ศูนย์บริการสาธารณสุข คลินิกชุมชนอบอุ่น
หน่วยบริการปฐมภูมิของโรงพยาบาล ตามนโยบาย ๓๐ บาท รักษาทุกที่ สถานพยาบาลที่ลงทะเบียนไว้หรือ ร้านยา
ในโครงการ “เจอ แจก จบ”
๒) ผู้ มีสิ ทธิป ระกันสั งคม ส านั กงานประกัน สั งคมออกประกาศคณะกรรมการการแพทย์ พร้อ มดูแ ล
ผู้ ป ระกั น ตนติ ด เชื้ อ โควิ ด -๑๙ โดยผู้ ป ระกั น ตนที่ ป่ ว ยด้ ว ยโรคโควิ ด -๑๙ สามารถเข้ า รั บ บริ ก ารทางการแพทย์
ณ สถานพยาบาลตามสิ ทธิหรื อสถานพยาบาลอื่นในท้องที่เดียวกันกับสถานพยาบาลตามสิ ทธิห รือเข้ารับบริ การ
ต่ า งท้ อ งที่ กั บ สถานพยาบาลตามสิ ท ธิ ทั้ ง นี้ เป็ น ไปตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ
ประกันสังคม เรื่อง หลักเกณฑ์และจานวนเงินทดแทนค่าบริการทางการแพทย์กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
ฉุกเฉิน ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
๓) ข้ า ราชการและพนั ก งานรั ฐ วิ ส าหกิ จ สามารถเข้ า รั บ การรั ก ษากั บ สถานพยาบาลของรั ฐ ทุ ก แห่ ง
หรือกรณีหน่วยงานใดมีสิทธิรักษาในโรงพยาบาลเอกชนได้ก็รักษาตามสิทธิที่องค์กรกาหนด
๕.๗ เปิดสานักงานเลขาธิการศูนย์อาเซียนด้านการรับมือกับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและโรคอุบัติใหม่
(ASEAN Centre for Public Health Emergencies and Emerging Diseases: ACPHEED) การระบาดใหญ่
ของโรคโควิ ด -๑๙ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ความมั่ น คงด้ า นสุ ข ภาพ ตลอดจนความเสี ย หายทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
14
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๑๔
อย่างมหาศาล ประเทศทั่วโลกเห็นพ้องการเพิ่มความร่วมมือกันยกระดับขีดความสามารถทั้งระดับชาติและระดับ
ภูมิภาครับมือกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ ซึ่งในภูมิภาคอาเซียน ๑๐ ประเทศได้ให้ความสาคัญกับเรื่องนี้ โดยมีประกาศ
จัดตั้งศูนย์อาเซียนสาหรับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขและโรคอุบัติใหม่ (ACPHEED) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน
ครั้งที่ ๓๗ เมื่อปี ๒๕๖๓ โดยในการประชุมรัฐมนตรีสาธารณสุขอาเซียน ครั้งที่ ๑๕ ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย
มีฉันทามติให้จัดตั้งส านั กงานเลขาธิการ ACPHEED ที่ประเทศไทย และในระยะแรกมี ๓ ประเทศ คือ เวียดนาม
อินโดนีเซีย ไทย ที่รับเป็นแกนนาดาเนินการด้านการป้องกัน (Prevention) การตรวจจับ (Detection) และการตอบโต้
(Response) ตามลาดับ โดยประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ และเป็นตัวอย่างในการถอดบทเรียน
แลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการและควบคุมสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-๑๙
ได้มีการเปิดตัวสานักงานเลขาธิการศูนย์ ACPHEED เป็นศูนย์กลางการประสานงานให้ทุกประเทศอาเซียน
เฝ้าระวังป้องกัน ตรวจจับ และตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขและโรคอุบัติใหม่ได้ทันสถานการณ์ เมื่อวันที่ ๒๖
สิงหาคม ๒๕๖๕ ณ อาคารศูนย์การแพทย์
บางรั ก ถนนสาทร กรุ ง เทพมหานคร
มี ก ารติ ด ตั้ ง ระบบอ านวยความสะดวก
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ พร้อมสิ่งอานวย
ความสะดวกจ านวนมาก เช่ น พื้ น ที่
ส่ ว นกลางขนาดใหญ่ ส าหรั บ ผู้ รั บ บริ ก าร
ศูนย์ปฏิบัติตรวจการวิเคราะห์ ศูนย์ฉีดวัคซีน
ศู น ย์ วิ จั ย และฝึ กอบรมที่ พั ก ห้ องประชุ ม
ที่ทันสมัย
๕.๘ การประกาศโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ไปสู่การประกาศเป็นโรคติดต่อเฝ้าระวัง
กระทรวงสาธารณสุข ได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการสาคัญของโรคติดต่อ ที่ต้องเฝ้าระวัง
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๕ เพื่อเป็นการยกเลิกโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโควิด-๑๙ (Coronavirus Disease
2019: COVID-19) จากการเป็นโรคติดต่ออันตราย และกาหนดให้เป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๑
ตุลาคม ๒๕๖๕ เป็นต้นไป

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุุ
ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๑๕15
๖. ผลการดาเนินงานที่สาคัญของรัฐบาลในช่วงปีที่ ๔
ในช่วงปีที่ ๔ ของการบริหารราชการแผ่นดิน (วันที่ ๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) รัฐบาลได้มุ่งมั่น
ทุ่มเท และระดมสรรพกาลังต่าง ๆ ในการดาเนินงานสาคัญต่าง ๆ ดังนี้
๖.๑ การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์
รัฐบาลได้จัดงานเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสต่าง ๆ ประกอบด้ วย การจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็ จพระเจ้ าอยู่ หั ว เนื่ องโอกาสวั น เฉลิ มพระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๕ การจั ดนิ ทรรศการ
เฉลิ มพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริ กิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา ๙๐ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๕ “ด้วยรักแห่งแผ่นดิน : With love for the Nation” เพื่อเผยแพร่
พระเกียรติคุณและพระมหากรุณาธิคุณ โดยเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้ร่วมแสดงออกถึงความจงรั กภั กดี และสานึก
ในพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการ เพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย การจัดกิจกรรม
น้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๕ การดาเนินโครงการปลูกจิตสานึกและสร้างความภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย
“ธงไตรรงค์ ธารงไทย” เพื่อน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชทาน
ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย การจัดกิจกรรมเนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (วันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ ๕ ธันวาคม ๒๕๖๕) โดยมีการจัดกิจกรรม
จิตอาสาบริการประชาชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความสุขของประชาชน รวมทั้งจัดทาสารคดีโทรทัศน์เฉลิมพระเกียรติ
เนื่องในโอกาสวันส าคั ญที่ เกี่ ยวเนื่ องกั บสถาบั นพระมหากษัตริย์ นาเสนอเรื่ องราวเกี่ ยวกั บสถาบันพระมหากษั ตริ ย์
ที่ได้ทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจและพระกรณียกิจมาโดยตลอด เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
ขณะเดียวกัน รัฐบาลได้ต่อยอดการดาเนินการของหน่วยพระราชทานและประชาชนจิตอาสาพระราชทาน
ตามแนวพระราชดาริ โดยดาเนินการโครงการจิตอาสาพระราชทาน “เราทาความดี ด้วยหัวใจ” ปัจจุบันมีจิตอาสา
พระราชทานรวมทั้งสิ้น ๗,๐๐๔,๕๖๒ คน โดยมีการจัดกิจกรรมจิตอาสาจาแนกตามประเภท ประกอบด้วย จิตอาสา
พัฒนา จิตอาสาภัยพิบัติ และจิตอาสาเฉพาะกิจ รวมการจัดกิจกรรมตั้ งเเต่เดือนกรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕
จานวน ๓๘,๔๒๔ ครั้ง โดยมีจิตอาสาที่เข้าร่วมกิจกรรม จานวน ๒,๔๒๖,๐๑๖ คน
๖.๒ การบริหารจัดการการระบาดของโควิด-๑๙
๖.๒.๑ การยกเลิกระบบ Thailand Pass ซึ่งมีผลตั้งแต่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๕ เป็นต้นไป โดยนับตั้งเเต่
เปิดประเทศ เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕ มีนักท่องเที่ยวเข้ามาในประเทศไทย จานวน ๙,๐๗๓,๐๗๖ คน
และสร้างรายได้ ๒๔๗,๑๙๔.๑๖ ล้านบาท
นักท่องเที่ยว ปี ๒๕๖๕ รายได้ ปี ๒๕๖๕
2,500,000 2,241,195 80,000.00 67,429.15
2,000,000 1,748,366
1,475,430 60,000.00
1,500,000 1,124,227 1,174,743 1,309,115 40,383.40 40,828.72
40,000.00 31,687.82 32,047.21 34,817.86
1,000,000
500,000 20,000.00
0 0.00
กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม

นักท่องเที่ยว (ราย) รายได้ (ล้านบาท)

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
16(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๑๖
๖.๒.๒ การดาเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๕ เรื่อง การบริหารจัดการ
การทางานของคนต่างด้าวสัญชาติกัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม เพื่อรองรับการฟื้นฟูประเทศภายหลัง
การผ่อนคลายมาตรการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เพื่อเป็นการผ่อนผัน ให้คนต่า งด้า ว
กลุ่ม เป้า หมาย ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีความสาคัญในการฟื้นฟูประเทศภายหลังสถานการณ์ก ารระบาดของโรคคลี่คลาย
ให้สามารถอยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพื่อทางานต่อไปได้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการช่วยเหลือสนับสนุนให้กับนายจ้าง/สถานประกอบการที่ยังคงมีความต้องการ
และมีความประสงค์จ้างแรงงานเหล่านั้นต่อไป โดยที่แรงงานยังคงอยู่ในการกากับและบริหารจัดการของหน่วยงาน
ภาครัฐ ทั้งในมิติความมั่นคงและการสาธารณสุข และเป็นผลให้คนต่างด้าวได้รับการจ้างงานโดยถูกต้องตามกฎหมาย
ได้ รั บ ความคุ้ ม ครองและมี สิ ท ธิ ป ระโยชน์ สวั ส ดิ ก าร และการคุ้ ม ครองตามสิ ท ธิ ที่ พึ ง ได้ รั บ โดยมี ก ารอนุ ญ าต
ให้กลุ่มแรงงานที่อยู่ในราชอาณาจักรและทางานถึงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ อยู่ในราชอาณาจักรและทางานได้
ต่อไปไม่เกินวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๘ จานวน ๑๔๕,๕๙๙ คน (ข้อมูล ณ วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๕)
นอกจากนี้ ได้ดาเนินการออกเอกสารรับรองบุคคล (Certificate of Identity: CI) ของทางการเมียนมาให้แก่
แรงงานเมียนมาที่ดาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๕ จานวน ๑๕๕,๒๕๑ คน เพื่อให้
แรงงานเมี ย นมาที่ มี เ อกสารรั บ รองบุ ค คล (Certificate of Identity: CI) ฉบั บ เดิ ม และที่ ไ ม่ มี เ อกสารประจ าตั ว
ได้รับสิทธิการอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรและการอนุญาตทางานโดยถูกต้องตามกฎหมาย ได้รับการคุ้มครอง
และมีสิทธิประโยชน์สวัสดิการคุ้มครองตามสิทธิที่พึงได้รับ
๖.๓ มาตรการการคลั ง ที่ รั ฐ บาลได้ ด าเนิ น การเพื่ อ เยี ย วยาและฟื้ น ฟู ผ ลกระทบจากการแพร่ ร ะบาด
ของโควิด-๑๙ และมาตรการเพื่อลดผลกระทบจากการปรับตัวขึ้นของราคาสินค้า
๖.๓.๑ มาตรการรักษาระดับการบริโภคภายในประเทศและเพิ่มกาลังซื้อให้แก่กลุ่มผู้มีรายได้น้ อ ย
และประชาชนทั่วไป
๑) โครงการเพิ่มกาลังซื้อให้แก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (บัตรสวัสดิการฯ) เป็นการช่วยเหลือ
วงเงินค่าซื้อสินค้าบริโภคอุปโภคที่จาเป็นจากร้านธงฟ้าราคาประหยัดพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น (ร้านธงฟ้าฯ) ให้แก่
ผู้มีบัตรสวัสดิการฯ จานวน ๑๔ ล้านคน โดยดาเนินงานอย่างต่อเนื่องมาแล้วรวม ๕ ระยะ เพื่อให้การช่วยเหลือเยียวยา
และลดภาระค่าใช้จ่ ายให้ แก่กลุ่ มผู้ มีบั ตรสวัส ดิการฯ เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ (๑) ระยะที่ ๑ เดือนตุล าคม -
ธันวาคม ๒๕๖๓ ช่วยเหลือในวงเงิน จานวน ๕๐๐ บาทต่อคนต่อเดือน (๒) ระยะที่ ๒ เดือนมกราคม - มีนาคม ๒๕๖๔
ช่วยเหลือในวงเงิน จานวน ๕๐๐ บาทต่อคนต่อเดือน (๓) ระยะที่ ๓ เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๔ ช่วยเหลือ
ในวงเงิน จานวน ๒๐๐ บาทต่อคนต่อเดือน และระยะที่ ๓ เพิ่มเติม เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๖๔ ช่วยเหลือ
ในวงเงิน จานวน ๓๐๐ บาทต่อคนต่อเดือน (๔) ระยะที่ ๔ เดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน ๒๕๖๕ ช่วยเหลือในวงเงิน
จานวน ๒๐๐ บาทต่อคนต่อเดือน และ (๕) ระยะที่ ๕ เดือนกันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๕ ช่วยเหลือในวงเงิน จานวน
๒๐๐ บาทต่อคนต่อเดือน
๒) โครงการคนละครึ่ ง เป็ น โครงการที่ ป ระชาชนที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการจะได้ รั บ สิ ท ธิ ภ าครั ฐ
ร่วมจ่ายร้อยละ ๕๐ สาหรับการซื้ออาหาร เครื่องดื่ม สินค้าทั่วไป บริการ (นวด สปา ทาผม ทาเล็บและบริการขนส่ง
สาธารณะ) ไม่รวมถึงสลากกินแบ่งรัฐบาล เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยาสูบ บัตรกานัล บัตรเงินสด และบริการรูปแบบอื่น ๆ
ที่เป็ น การช าระค่าสิ นค้าหรื อบริ การล่ วงหน้ า โดยจะต้องช าระเงิน ผ่ านระบบช าระเงิน อิ เล็กทรอนิกส์ โ ดยภาครัฐ

รายงานผลการดำำาเนิ
รายงานผลการด �เนิินนงานของรัั
งานของรัฐฐบาล
บาล พลเอก
พลเอก ประยุุ
ประยุททธ์์ธ์ จััจันนทร์์
ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม
(๒๕ กรกฎาคม -- ๓๑
๓๑ ธััธันนวาคม
วาคม ๒๕๖๕)
๒๕๖๕) ๑๗17
(G-Wallet) บนแอปพลิเคชัน “เป๋าตัง” กับร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการที่ติดตั้งแอปพลิเคชัน “ถุงเงิน” ดาเนินงานไปแล้ว
๕ ระยะ ได้แก่
ระยะที่ ๑ ประชาชนที่เข้าร่ว มโครงการไม่เกิน ๑๐ ล้ านคน ผู้ เข้าร่ว มได้รับสิ ทธิภ าครัฐ
ร่วมจ่ายไม่เกิน ๑๕๐ บาทต่อคนต่อวัน หรือไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาทต่อคน ระยะเวลาการใช้สิทธิตั้งแต่วันที่ ๒๓ ตุลาคม -
๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๓
ระยะที่ ๒ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการไม่เกิน ๑๕ ล้านคน โดยแบ่งเป็นผู้ได้รับสิทธิโครงการ
คนละครึ่ง ระยะที่ ๑ จานวน ๑๐ ล้านคน และผู้ได้รับสิทธิโครงการคนละครึ่ง ระยะที่ ๒ จานวน ๕ ล้านคน ผู้เข้าร่วม
ได้รับสิทธิภาครัฐ ร่วมจ่ายไม่เกิน ๑๕๐ บาทต่อคนต่อวัน หรือไม่เกิน ๓,๕๐๐ บาทต่อคน (กรณีผู้ได้รับสิทธิระยะที่ ๑
ได้รับ ๕๐๐ บาท) ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม - ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔
ระยะที่ ๓ ประชาชนที่เข้าร่ว มโครงการไม่เกิน ๒๘ ล้ านคน ผู้ เข้าร่ว มได้รับสิ ทธิภ าครัฐ
ร่วมจ่ายไม่เกิน ๑๕๐ บาทต่อคนต่อวัน หรือไม่เกิน ๔,๕๐๐ บาทต่อคน (๓ รอบ รอบละ ๑,๕๐๐ บาท) ตั้งแต่วันที่ ๑
กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔
ระยะที่ ๔ ประชาชนที่เข้าร่ว มโครงการจากระยะที่ ๓ และลงทะเบี ยนใหม่ ๑ ล้ านคน
รวมไม่เกิน ๒๙ ล้านคน ผู้เข้าร่วมได้รับสิทธิภาครัฐร่วมจ่ายไม่เกิน ๑๕๐ บาทต่อคนต่อวัน หรือไม่เกิน ๑,๒๐๐ บาทต่อคน
ตั้งแต่วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ - ๓๐ เมษายน ๒๕๖๕
ระยะที่ ๕ ประชาชนที่ใช้สิ ทธิโ ครงการจากระยะที่ ๔ และลงทะเบี ยนใหม่ รวมไม่เ กิ น
๒๖.๕ ล้านคน ผู้เข้าร่วมได้รับสิทธิภาครัฐร่วมจ่ายไม่เกิน ๑๕๐ บาทต่อคนต่อวัน หรือไม่เกิน ๘๐๐ บาทต่อคน ตั้งแต่
วันที่ ๑ กันยายน - ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๕
๖.๓.๒ มาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่าของสถาบันการเงินเฉพาะกิจสาหรับลูกค้ารายย่อย ประกอบด้วย
มาตรการสินเชื่อสู้ ภัยโควิด-๑๙ ส าหรั บผู้มีรายได้ประจา ผู้ ประกอบอาชีพอิส ระ และเกษตรกรรายย่อยหรือลู กจ้าง
ภาคการเกษตร วงเงิน ๒๐,๐๐๐ ล้านบาท และมาตรการสินเชื่อสร้างงาน สร้างอาชีพ สาหรับผู้ประกอบอาชีพอิสระ
ผู้ประกอบการรายย่อย และผู้ขับขี่รถสาธารณะ วงเงิน ๕,๐๐๐ ล้านบาท โครงการสินเชื่อแก้หนี้เพิ่มทุน สาหรับ
ผู้ มีร ายได้ ป ระจ า ผู้ป ระกอบอาชีพอิส ระ และผู้ ประกอบการรายย่อยที่เข้าร่วมงานมหกรรมร่ว มใจแก้ห นี้ วงเงิน
๒,๐๐๐ ล้านบาท
๖.๓.๓ มาตรการภาษี เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เยี ย วยา และบรรเทาผลกระทบ ประกอบด้ ว ย มาตรการ
ลดค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมสาหรับที่อยู่อาศัย โดยการลดค่าธรรมเนียมการโอนจากร้อยละ ๒
ลงเหลือร้อยละ ๐.๐๑ และลดค่าธรรมเนียมการจานองจากร้อยละ ๑ ลงเหลือร้อยละ ๐.๐๑ มีผลการโอนกรรมสิทธิ์
ตามมาตรการฯ สะสมถึง ณ เดือนกันยายน ๒๕๖๕ จานวน ๕๒,๑๑๐ หน่วยต่อครัวเรือน มาตรการปรับลดอัตราภาษี
สรรพสามิ ตส าหรั บ น้ ามั น เชื้ อ เพลิ งเครื่ อ งบิ น ไอพ่ น ที่ น าไปใช้ เป็ น เชื้ อ เพลิ งส าหรั บ อากาศยานภายในประเทศ
โดยลดอัตราภาษีตามปริ มาณของน้ามันเชื้อเพลิงส าหรับเครื่องบินไอพ่นที่ใช้บินในประเทศ จากลิตรละ ๔.๗๒๖ บาท
เหลือลิตรละ ๐.๒๐ บาท โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม - ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๖ มาตรการยกเว้นค่าธรรมเนียม
การอนุญาตขายสุรา ยาสูบ และไพ่ สาหรับการต่ออายุใบอนุญาตของสถานประกอบการเดิมในปี ๒๕๖๕ - ๒๕๖๖

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
18(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๑๘
๖.๓.๔ มาตรการช่ ว ยเหลื อ ภาคธุ ร กิ จ และผู้ ป ระกอบการวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม
(Small and Medium Enterprises: SMEs) อาทิ
๑) มาตรการด้ า นการเงิน เพื่อช่วยเหลื อลู กหนี้ SMEs อาทิ สนับ สนุน การรับ โอนทรัพย์สิ น
หลักประกันเพื่อชาระหนี้ (มาตรการพักทรัพย์ พักหนี้) ภายใต้พระราชกาหนดการให้ความช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจ
ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ พ.ศ. ๒๕๖๔ วงเงิน ๑๐๐,๐๐๐ ล้านบาท
โครงการสนับสนุนสินเชื่อ SMEs เชื่อมไทย เชื่อมโลก ด้วยการค้าการลงทุนระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนธันวาคม
๒๕๖๕ มีผู้ประกอบการ SMEs ที่ได้รับการสนับสนุนทางการเงิน จานวน ๕,๑๔๗ ราย
๒) มาตรการเพื่อเสริมสภาพคล่องสาหรับผู้ประกอบการ อาทิ การสนับสนุนการให้สินเชื่อ
แก่ผู้ประกอบธุรกิจ (มาตรการสินเชื่อฟื้นฟู) วงเงินรวม ๒๕๐,๐๐๐ ล้านบาท ภายใต้พระราชกาหนดการให้ความช่วยเหลือ
ฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจฯ โครงการสินเชื่อฟื้นฟูท่องเที่ยวไทย วงเงินรวม ๕,๐๐๐ ล้านบาท โครงการสินเชื่อดอกเบี้ยต่า
(Soft Loan) Re-open ธุรกิจโรงแรมและ Supply Chain โรงแรม วงเงินรวม ๕,๐๐๐ ล้านบาท และโครงการสินเชื่อ
EXIM Biz Transformation Loan วงเงินรวม ๕,๐๐๐ ล้านบาท
๓) มาตรการเสริ มสภาพคล่ อง (ด้านการค้าประกันสินเชื่อ) เช่น โครงการค้าประกันสิ นเชื่ อ
Portfolio Guarantee Scheme ระยะที่ ๙ โดยให้การค้าประกันสินเชื่อไปแล้ว จานวน ๕,๒๐๒ ราย วงเงิน ๑๒,๘๒๑ ล้านบาท
โครงการค้าประกันสินเชื่อ Portfolio Guarantee Scheme ระยะพิเศษ Soft Loan Extra ให้การค้าประกันสินเชื่อไปแล้ว
จานวน ๗๐๗ ราย วงเงิน ๕๗๑ ล้านบาท และโครงการค้าประกันสินเชื่อภายใต้พระราชกาหนดการให้ความช่วยเหลือ
ฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจฯ ให้การค้าประกันสินเชื่อไปแล้ว จานวน ๔,๕๑๔ ราย วงเงิน ๑๗,๑๘๔ ล้านบาท

๖.๓.๕ มาตรการให้ความช่วยเหลือนายจ้าง ลูกจ้าง และผู้ประกันตนที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาด


ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙)
๑) มาตรการป้องกันและรักษา
(๑) การให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้ประกันตนที่ป่วยเป็นโรคโควิด-๑๙ สามารถเข้ารั บ
การรักษาพยาบาลได้ในสถานพยาบาลทุกแห่งทั้งภาครัฐและเอกชนโดยไม่ต้องสารองจ่าย ซึ่งสานักงานประกันสังคม
จะจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ให้แก่สถานพยาบาล เช่น ค่าตรวจวินิจฉัยโรค ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่า ยาต้า นไวรัส
หรือ ยาที่เ ป็น การรัก ษาเฉพาะโรคโควิด -๑๙ เป็น ต้น ทั้ง นี้ มีสถานพยาบาลยื่นเบิกแล้ ว จานวน ๑,๕๗๔ แห่ ง
มีผู้ประกันตนที่เบิกสิทธิประโยชน์ จานวน ๓๔๓,๐๔๕ ราย รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๕๑๓.๖๘๒ ล้านบาท (ตั้งแต่เดือน
กรกฎาคม - กันยายน ๒๕๖๕)

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๑๙19
(๒) จั ด ตั้ ง ศู น ย์ บ ริ ห ารสถานการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาดของโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โควิ ด -๑๙
และสายด่วน ๑๕๐๖ กด ๑ กด ๖ และกด ๗ เพื่อให้บริการสอบถามข้อมูล ประสาน และจัดหาสถานพยาบาล
ในการดูแล รักษา และการให้บริการฉีดวัคซีน โควิด-๑๙ (ตั้งแต่วันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๖๔ - ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๕)
มีผู้ใช้บริการทั้งสิ้น ๑๘,๔๑๑,๘๐๓ ราย
๒) การช่วยเหลือเยียวยานายจ้าง ผู้ประกันตน
(๑) ลดอัตราเงินสมทบนายจ้าง ผู้ประกันตนมาตรา ๓๓ และมาตรา ๓๙ ระหว่างเดือนตุลาคม
- ธันวาคม ๒๕๖๕ นายจ้างและผู้ประกันตนมาตรา ๓๓ ลดจากอัตราร้อยละ ๕ เหลืออัตราร้อยละ ๓ และผู้ประกันตน
มาตรา ๓๙ ลดจากเดือนละ ๔๓๒ บาท เหลือเดือนละ ๒๔๐ บาท ทาให้นายจ้างและผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบลดลง
เพื่อบรรเทาผลกระทบความเดือดร้อน ลดค่าใช้จ่ายและมีเงินนาไปใช้จ่ายหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจเป็นเงินทั้งสิ้น
๑๗,๐๔๔ ล้านบาท
(๒) โครงการสินเชื่อที่อยู่อาศัยเพื่อผู้ประกันตน โดยสานักงานประกันสังคมร่วมกับธนาคาร
อาคารสงเคราะห์ (ธอส.) เพื่อให้ผู้ประกันตนสามารถใช้สิทธิในการไถ่ถอนจานองที่อยู่อาศัยจากสถาบันการเงินอื่น
และลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่อยู่อาศัยในบัญชีเงินกู้ที่กู้อยู่กับธนาคารเดิม รายละไม่เกิน ๒ ล้านบาท วงเงิน ๓๐,๐๐๐ ล้านบาท
โดยสามารถขอรับรหัส ผ่าน GHB Buddy ใน Line Application ได้ตั้ง แต่วัน ที่ ๒๐ ธัน วาคม ๒๕๖๕ เป็นต้นไป
โดย ณ วันที่ ๙ มกราคม ๒๕๖๖ มียอดผู้ประกันตนลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการแล้ว จานวน ๔๙,๐๕๑ ราย โดยยื่นขอ
สินเชื่อ จานวน ๒,๐๐๔ ราย เป็นจานวนเงิน ๒,๓๗๗ ล้านบาท ทั้งนี้ ผู้ประกันตนที่ได้รับการอนุมัติสินเชื่อแล้ว จานวน
๑,๗๖๒ ราย รวมจานวนเงินทั้งสิ้น ๒,๐๖๑ ล้านบาท
๓) จ่ายสิทธิประโยชน์กรณีว่างงาน
(๑) จ่ า ยสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท ดแทนกรณี ว่ า งงานจากเหตุ สุ ด วิ สั ย ในอัต ราร้อ ยละ ๕๐
ของค่าจ้างที่ส่งเงินสมทบ (ตั้งแต่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๓ เป็นต้นไป) โดยจ่ายให้เป็นเวลาไม่เกิน ๙๐ วัน ตั้งแต่เดือน
กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๕ มีผู้ประกันตนใช้สิทธิ จานวน ๔,๒๘๑ ราย เป็นเงิน ๑๔.๐๘ ล้านบาท
(๒) จ่ า ยสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ก รณี ว่ า งงาน เนื่ อ งจากถู ก เลิ ก จ้ า ง/ลาออก/สิ้ น สุ ด สั ญ ญาจ้ า ง
มีผลบังคับใช้เป็นระยะเวลา ๒ ปี (ตั้งแต่วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๓ - ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕) หลังจากนั้นให้กลับไปใช้อัตราเดิม
โดยกรณีเลิกจ้างได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ ร้อยละ ๗๐ ของค่าจ้างรายวัน ให้ได้รับครั้งละไม่เกิน ๒๐๐ วัน (เดิมร้อยละ
๕๐ ของค่าจ้างไม่เกิน ๑๘๐ วัน) และกรณีลาออก/สิ้นสุดสัญญาจ้าง ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ ร้อยละ ๔๕ ของค่าจ้าง
รายวัน ให้ได้รับครั้งละไม่เกิน ๙๐ วัน (เดิมร้อยละ ๓๐ ของค่าจ้างไม่เกิน ๙๐ วัน) ทั้งนี้ ผลการจ่ายสิทธิประโยชน์กรณีว่างงาน
ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๕ มีผู้ประกันตนใช้สิทธิ รวมจานวน ๓๙๑,๐๙๕ คน เป็นเงิน ๔,๖๘๘.๗๑ ล้านบาท
๖.๓.๖ การจ่ายเงินช่วยเหลือพิเศษแก่ผู้สูงอายุเพื่อบรรเทาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ ในช่วงสถานการณ์
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ๖ เดือน (เดือนเมษายน - กันยายน ๒๕๖๕) จานวน
๑๐,๙๔๖,๖๔๖ ราย โดยมีอัตราการจ่ายเงินช่วยเหลือพิเศษแก่ผู้สูงอายุ (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕) ดังนี้
๑) ผู้ได้รับเบี้ยผู้สูงอายุ ๖๐๐ บาท ได้รับเงิน ๑๐๐ บาท
๒) ผู้ได้รับเบี้ยผู้สูงอายุ ๗๐๐ บาท ได้รับเงิน ๑๕๐ บาท
๓) ผู้ได้รับเบี้ยผู้สูงอายุ ๘๐๐ บาท ได้รับเงิน ๒๐๐ บาท
๔) ผู้ได้รับเบี้ยผู้สูงอายุ ๑,๐๐๐ บาท ได้รับเงิน ๒๕๐ บาท

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
20
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๒๐
๖.๔ การให้ความช่วยเหลือเกษตรกร
โครงการประกั น รายได้ เ กษตรกรผู้ ป ลู ก ข้ า ว ปี ๒๕๖๔/๖๕ รอบที่ ๑ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เกษตรกร
ผู้ปลูกข้าวและป้องกันความเสี่ยงด้านราคาไม่ให้ประสบปัญหาขาดทุนมีกลุ่มเป้าหมายเป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียน
เกษตรกรผู้ปลูกข้าวในปีการผลิต ๒๕๖๔/๖๕ ช่วยเหลือเกษตรกร จานวน ๔,๖๗๕,๒๓๘ ครัวเรือน โดยโอนเงินชดเชย
ส่วนต่างราคาประกันเข้าบัญชีให้เกษตรกร จานวน ๘๖,๑๖๙.๔๕ ล้านบาท และยังดาเนินมาตรการคู่ขนาน ได้แก่
(๑) โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี โดยจ่ายสินเชื่อให้แก่เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรที่เข้าร่วม
โครงการ จานวน ๓๐๙,๒๔๐ ราย วงเงินสินเชื่อ จานวน ๑๙,๗๔๖.๒๘ ล้านบาท (๒) โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าว
และสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร โดยจ่ายสินเชื่อให้แก่สถาบันเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จานวน ๖๗ แห่ง
วงเงินสินเชื่อ จานวน ๗,๘๙๙.๐๙ ล้านบาท (๓) โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก
และ (๔) โครงการสนับสนุนค่าบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ช่วยเหลือเกษตรกร
จานวน ๔,๖๗๕,๔๔๗ ครัวเรือน โดยโอนเงินช่วยเหลือเข้าบัญชีให้เกษตรกร จานวน ๕๔,๑๕๖.๐๑ ล้านบาท
๖.๕ การบรรเทาผลกระทบจากราคาพลังงาน
๖.๕.๑ การดาเนินการโดยใช้กลไกภาษีสรรพสามิตและเงินกองทุนน้ามันเชื้อเพลิง โดยลดภาษีสรรพสามิต
ดีเซลลงลิตรละ ๕ บาท ตั้งแต่วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ - ๒๐ มกราคม ๒๕๖๖ ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน เช่น
อุด หนุน ราคาน้ ามัน ดีเ ซลตามสถานการณ์พลั งงานในระดับราคาที่เหมาะสม เฉลี่ ย ๒ บาทต่อลิตรต่อเดือน ตั้งแต่
เดือนกรกฎาคม - พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ตรึง ราคาก๊า ซหุงต้ม LPG (๔๐๘ บาทต่อถัง ๑๕ กิโลกรัม) ตั้งแต่เดือนตุลาคม
๒๕๖๕ - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ เพิ่ม ส่ว นลดค่า ซื้อ ก๊า ซหุง ต้ม LPG แก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ตั้งแต่เดือนเมษายน
๒๕๖๕ - มีนาคม ๒๕๖๖ ให้ส่วนลดค่าซื้อก๊าซหุงต้ม LPG กลุ่มร้านค้า หาบเร่ แผงลอยอาหารที่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
ต่อเนื่องจนถึงเดือนมีนาคม ๒๕๖๖ ตรึงราคา ก๊าซ NGV (ที่ ๑๓.๖๒ บาท/กิโลกรัม) ให้ผู้ขับรถแท็กซี่ในโครงการเอ็นจีวี
เพื่อลมหายใจเดียวกันต่อ เนื่องจนถึงวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๖ ลดค่าไฟฟ้าผันแปร (ค่า Ft) กลุ่มบ้านอยู่อาศัยที่ใช้ไฟฟ้า
ไม่เกิน ๓๐๐ หน่วยต่อเดือน (เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๕) และไม่เกิน ๕๐๐ หน่วย/เดือน (เดือนกันยายน -
ธันวาคม ๒๕๖๕) ตามเงื่อนไขที่กาหนด
๖.๕.๒ การลดต้ น ทุ น ค่ า เชื้ อ เพลิ ง ผลิ ต ไฟฟ้ า โดยในปี ๒๕๖๕ ได้ ด าเนิ น มาตรการบริ ห ารจั ด การ
ด้านพลังงานในสถานการณ์วิกฤตราคาพลังงาน เพื่อลดการนาเข้า Spot LNG สาหรับการผลิตไฟฟ้า เช่น การใช้น้ามัน
ดีเซลและน้ามันเตา การจัดหาก๊าซในประเทศและเพื่อนบ้านให้ได้มากที่สุด เพิ่มการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะ
เป็นต้น ซึ่งช่วยลดผลกระทบต่อค่าไฟฟ้า โดยลดต้นทุนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าในปี ๒๕๖๕ คิดเป็นผลประโยชน์
ทางการเงินประมาณ ๗๘,๙๖๙ ล้านบาท
๖.๖ การปรับปรุงระบบที่ดินทากินและลดความเหลื่อมล้าด้านการถือครองที่ดิน
๖.๖.๑ การจัดที่ดินทากินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล โดยได้จัดสรรที่ดินทากินและที่อยู่อาศัยให้แก่
ราษฎรที่ยากไร้และเกษตรกรตามหลักการของคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) โดยออกหนังสืออนุญาต
แล้วใน ๓๗๐ พื้นที่ ๖๕ จังหวัด เนื้อที่ ๑.๑๘ ล้านไร่ จัดคนลงพื้นที่ จานวน ๗๘,๑๐๙ ราย ๙๖,๕๓๖ แปลง ใน ๓๕๑ พื้นที่
พื้นที่ ๖๗ จังหวัด เนื้อที่ ๕๒๙,๘๕๓ ไร่ และส่งเสริมและพัฒนาอาชีพใน ๒๗๑ พื้นที่ ๖๕ จังหวัด เนื้อที่ ๓๒๗,๙๗๖ ไร่
รวมทั้งได้มอบสมุดประจาตัวผู้ที่ได้รับการคัดเลือกการจัดที่ดินทากิน จานวน ๖๐,๗๖๖ เล่ม ใน ๕๔ จังหวัด และจัดตั้ง
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่ คทช. จานวน ๘๓ แห่ง

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๒๑21
๖.๖.๒ การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ใน ๓๐ พื้นที่ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพประมงเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดิน
ทากินให้กับเกษตรกรภายใต้ การจัดสรรที่ดินให้กับผู้ยากไร้ โดยคัดเลือกเกษตรกร จานวน ๑,๙๕๐ ราย เพื่อส่งเสริม
ความรู้และสนับสนุนปัจจัยการผลิต รวมทั้งพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม จานวน ๑,๙๕๐ ราย นอกจากนี้ ได้ส่งเสริม
และพัฒนาอาชีพให้แก่ผู้ที่ได้รับการจัดที่ดินทากินให้ชุมชนหรือที่อยู่อาศัย เช่น เทคโนโลยีการจัดการฟาร์ม การเพิ่ม
ผลผลิตและการตลาด จานวน ๙๐๐ ราย ส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า จานวน ๑,๙๕๐ ราย
๖.๗ การป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย (ระหว่างวันที่ ๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)
ในห้ วงเดื อนกรกฎาคม - ตุ ลาคม ๒๕๖๕ ประเทศไทยได้ รั บอิ ทธิ พลจากร่ องมรสุ มและพายุ โซนร้ อน
“มู่หลาน” พายุโซนร้อน “หมาอ๊อน (MA-ON)” และพายุโซนร้อนกาลังแรง “โนรู (NORU)” ทาให้เกิดน้าท่วมฉับพลัน
น้าป่าไหลหลาก น้าล้นตลิ่ง และน้าท่วมขังในหลายจังหวัดทั่วประเทศ สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและบ้านเรือนประชาชน
รัฐบาลได้ดาเนินการ ดังนี้
มาตรการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากอุทกภัยก่อนเกิดภัย โดยพัฒ นาระบบระบายน้าอาคาร
ควบคุ มและสิ่ งก่อสร้ างในการบริห ารจั ดการน้าในพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่เขตเศรษฐกิจ และดาเนิ น การตาม
มาตรการรับมือฤดูฝน ปี ๒๕๖๕ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ประกอบด้วย ๑๓ มาตรการ
ได้จัดเตรียมพื้นที่อพยพและซักซ้อมแผนเผชิญเหตุระดับต่าง ๆ ดาเนินการฝึกเตรียมความพร้อมของศูนย์บริหารจัดการน้า
ส่ วนหน้ าในพื้ นที่ เสี่ ยงอุ ทกภั ยในการรองรั บสถานการณ์ อุ ทกภั ยในฤดู ฝน และการเตรี ยมความพร้ อมด้ านบุ คลากร
ทรัพยากร สถานที่ และสิ่งอานวยความสะดวก ทบทวนและจัดทาแผนเผชิญเหตุภัยแล้ง/อุทกภัยของจังหวัดให้สอดคล้อง
และเหมาะสมกั บสถานการณ์ ในพื้ นที่ และวางแผนการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรน้ า ตลอดจนมาตรการรองรั บ
สถานการณ์ภัยอุทกภัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันและบรรเทาปัญหาอุทกภัย เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของ
ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ ดังนี้
๑) สถานการณ์พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบในช่วงเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๕ มีสถานการณ์พื้นที่
ที่ประสบอุทกภัยได้รับผลกระทบ จานวน ๗๖ จังหวัด ๗๓๗ อาเภอ ๔,๔๗๐ ตาบล ๓๔,๐๒๙ หมู่บ้าน ๑๑๒ องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ๑,๑๓๙ ชุมชน (กรุงเทพมหานคร จานวน ๒๘ เขต ๕๐ แขวง) มีประชาชนได้รับความเดือดร้อน
จานวน ๓,๑๗๓,๕๒๔ คน ๑,๔๙๘,๕๗๖ ครัวเรือน
๒) การดาเนินการก่อน ระหว่าง และหลังน้าท่วม กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
ได้สั่งการให้กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ดาเนินการเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์
อุทกภัยในช่วงฤดูฝน ปี ๒๕๖๕ โดยมีแนวทางในการดาเนินการ ดังนี้

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
22(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๒๒
๒.๑) การเตรียมความพร้อม
(๑) การเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์อุทกภัย โดยให้จัดตั้งคณะทางานติดตามสถานการณ์
โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามแผนเผชิญเหตุอุทกภัย ทาหน้าที่ติดตาม วิเคราะห์ ข้อมูลสภาพอากาศ สถานการณ์น้า
และประเมินสถานการณ์ที่อาจส่งผลให้เกิดสาธารณภัยในช่วงฤดูฝน เสนอต่อผู้อานวยการจังหวัด ในการเตรียมการ
เผชิญเหตุได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และสภาพพื้นที่
(๒) การจัดทาแผนเผชิญเหตุอุทกภัย ได้ ทบทวนและปรับปรุงแผนเผชิญเหตุอุทกภัยของจังหวัด
โดยให้ความสาคัญกับการจัดทารายละเอียดในประเด็นสาคัญ เช่น ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย ดินถล่มในระดับหมู่บ้าน/
ชุมชน รายการเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลสาธารณภัยของหน่วยงานต่าง ๆ พร้อมทั้งกาหนดให้มีการซักซ้อม
แนวทางการปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุอุทกภัยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง เพื่อสร้างความเข้าใจถึงกลไกการปฏิบัติงาน
ร่วมกันเมื่อเกิดสถานการณ์อุทกภัย
(๓) การระบายน้าและการเพิ่มพื้นที่รองรับน้า โดยกองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ในแต่ละระดับ วางแผนการติดตั้งเครื่องจักรกลสาธารณภัยในพื้นที่ เสี่ยงอุทกภัยไว้เป็น การล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ
โดยเฉพาะพื้นที่เสี่ยงในเขตชุมชน พื้นที่สาคัญทางเศรษฐกิจ และเส้นทางคมนาคมที่มักเกิดอุทกภัยเป็นประจา
(๔) การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงสถานที่ใช้กักเก็บน้า/กั้นน้า เช่น อ่างเก็บน้า พนังกั้นน้า
โดยหน่วยงานทีร่ ับผิดชอบทาการสารวจ ตรวจสอบ และปรับปรุงให้เกิดความมั่นคง แข็งแรงตามหลักวิศวกรรม
(๕) การแจ้ ง เตื อ นภั ย ตรวจสอบ จั ด ระบบแจ้ ง เตื อ นภั ย ในระดั บ หมู่ บ้ า น/ชุ ม ชน เช่ น
หอกระจายข่าว ระบบเสียงตามสาย ให้พร้อมใช้งาน และซักซ้อมแนวทางการแจ้งเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
เมื่อมีแนวโน้มการเกิดสถานการณ์อุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม ให้แจ้งเตือนไปยังกองอานวยการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยในแต่ระดับ เพื่อเตรียมการให้ความช่วยเหลือตามแผนเผชิญเหตุอุทกภัย
๒.๒) การเผชิญเหตุ
(๑) จั ด ตั้ ง ศู น ย์ บั ญ ชาการเหตุ ก ารณ์ จั ง หวั ด อ าเภอ และศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น ท้ อ งถิ่ น
เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ค วบคุ ม สั่ ง การ และอ านวยการหลั ก ในการระดมสรรพก าลั ง ตลอดจนการประสานการปฏิ บั ติ
ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทั้งฝ่ายพลเรือน หน่วยทหาร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรสาธารณกุศล
(๒) พื้ น ที่ ฝ นตกหนั ก เมื่ อ เกิ ด น้ าท่ ว มขั ง สร้ า งความเสี ย หายต่ อ ทรั พ ย์ สิ น ของประชาชน
ให้มอบหมายฝ่ ายปกครอง กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาชุมชน อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ ายพลเรือน ตลอดจนเชิญชวน
ประชาชนจิตอาสา ร่วมเฝ้าระวัง และร่วมกันกาจัดสิ่งกีดขวางทางน้า พร้อมทั้งบูรณาการหน่วยงานฝ่ายพลเรือน
หน่วยทหาร ภาคเอกชน ในการใช้เครื่องจักรกลสาธารณภัยเปิดทางน้าหรือสูบน้าระบายออกจากพื้นที่
(๓) จัดชุดปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือประชาชนแต่ละด้านให้ครอบคลุม เช่น ด้านการดารงชีพ
ให้จัดตั้งโรงครัวพระราชทาน ให้ความช่วยเหลือด้านอาหาร น้าดื่ม การรักษาพยาบาลแก่ประชาชนที่ประสบภัย
ตามวงรอบอย่างต่อเนื่อง ด้านที่อยู่อาศัย ให้บูรณาการหน่วยงานทั้งฝ่ายพลเรือน หน่วยทหาร อาสาสมัคร ประชาชน
จิ ตอาสา และองค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่น เพื่อเร่งซ่อมแซมบ้านเรือนประชาชนโดยเร็ว และให้ จัดตั้ง ศูนย์ พักพิง
และวางแผนบริหารจัดการเพื่อรองรับการอพยพของประชาชนอย่างเป็นระบบในกรณีจังหวัดที่ยังคงมีสถานการณ์
อุทกภัย ด้านเส้นทางคมนาคมที่มีน้าท่วมขัง หรือได้รับความเสียหายจากอุทกภัย ให้จัดทาป้ายแจ้งเตือน จัดเจ้าหน้าที่

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำ�าเนิ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๒๓23
อานวยความสะดวกแนะนาเส้นทางที่ปลอดภัย รวมทั้งจัดยานพาหนะที่เหมาะสม เช่น เรือ รถยกสูง เพื่อให้ความช่วยเหลือ
ประชาชน พร้อมทั้งเร่งซ่อมแซมเส้นทางที่ชารุด/ถูกตัดขาด เพื่อให้ประชาชนสามารถกลับมาใช้ชีวิตได้ตามปกติโดยเร็ว
๒.๓) หลังสถานการณ์อุทกภัย
(๑) ให้กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสารวจผลกระทบและความเสียหาย
จากอุทกภัย โดยบูรณาการหน่วยงานในพื้นที่ร่วมกับอาเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการสารวจข้อมูลผลกระทบ
ความเสียหายจากอุทกภัยที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งให้จัดทาข้อมูลผลการสารวจตามแบบฟอร์มที่กาหนด
(๒) ดาเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติให้ครอบคลุมทุกมิติและทุกด้านให้ผู้ประสบภัยพิบัติ
ได้รั บ ความช่วยเหลื อโดยเร็ว และเมื่อจั งหวัดสารวจความเสียหายด้านใดเรียบร้อยแล้วให้ เร่งดาเนินการประชุม
คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติอาเภอ และคณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบั ติ
จังหวัด โดยไม่ต้องรอการสารวจความเสียหายให้เสร็จสิ้นครบทุกด้าน และให้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยเคร่งครัด
๓) การช่วยเหลือเยียวยา ดาเนินการใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย ตามระเบียบ
กระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๖๒ กรณีอุทกภัย
(เดือนกรกฎาคม - ธัน วาคม ๒๕๖๕) ในประเภทวงเงิน เชิง ป้ องกัน ยับยั้ ง (๑๐ ล้ านบาทต่ อจังหวัด ) และวงเงิ น
เชิงบรรเทาความเดือดร้อน (๒๐ ล้านบาทต่อจังหวัด) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๕๔๑,๔๗๒,๖๔๘.๖๘ บาท
๔) การดาเนินงานเมื่อสถานการณ์คลี่คลายแล้ว เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๕ ซึ่งข้อมูลเปรียบเทียบ
ความเสียหายระหว่างเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ เสียหายมากกว่าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ดังนี้
๔.๑) ข้ อ มู ล ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ มี พื้ น ที่ ไ ด้ รั บ ความเสี ย หาย จ านวน ๗๑ จั ง หวั ด ๖๒๔ อ าเภอ
๓,๕๖๒ ตาบล ๒๕,๘๒๗ หมู่บ้าน ๖๖ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๖๔๘ ชุมชน ๙ เขต ๑๒ แขวง ประชาชนได้รับ
ความเดือดร้อน จานวน ๒,๒๔๕,๗๘๐ คน ๙๙๒,๕๖๓ ครัวเรือน เสียชีวิต ๕๔ คน บ้านพักอาศัยเสียหาย จานวน
๒๓๓,๘๙๓ หลัง สัตว์เลี้ยง จานวน ๑๐๒,๗๒๗ ตัว บ่อปลา/กุ้ง จานวน ๑๗,๔๓๑ บ่อ นาข้าว จานวน ๓,๑๐๔,๒๑๔ ไร่
พืชสวน/พืชไร่/พืชต้นทุนสูง จานวน ๑,๐๒๖,๖๗๗ ไร่ ถนน จานวน ๘,๗๕๐ สาย สะพาน/คอสะพาน จานวน ๔๘๑ แห่ง
ทานบ/ฝาย จานวน ๓๒๙ แห่ง วัด/มัสยิด จานวน ๓๒๕ แห่ง โรงเรียน จานวน ๕๓ แห่ง โรงพยาบาล จานวน ๙ แห่ง
สถานที่ราชการ จานวน ๑๑๒ แห่ง และท่อระบายน้า จานวน ๒๖๔ แห่ง
๔.๒) ข้อมูล ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ มีพื้นที่ได้รับความเสียหาย จานวน ๗๖ จังหวัด ๗๓๗ อาเภอ ๔,๔๗๐ ตาบล
๓๔,๐๒๙ หมู่ บ้ า น ๑๑๒ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ๑,๑๓๙ ชุ ม ชน ๒๘ เขต ๕๐ แขวง มี ป ระชาชนได้ รั บ
ความเดือดร้อน จานวน ๓,๑๗๓,๕๒๔ คน ๑,๔๙๘,๕๗๖ ครัวเรือน เสียชีวิต ๖๒ คน บ้านพักอาศัยเสียหาย จานวน
๒๑๕,๑๒๘ หลัง สัตว์เลี้ยง จานวน ๓๓๙,๓๒๒ ตัว บ่อปลา/กุ้ง จานวน ๒๗,๖๓๐ บ่อ นาข้าว จานวน ๒,๙๒๕,๒๓๕ ไร่
พืชสวน/พืชไร่/พืชต้นทุนสูง จานวน ๑,๙๓๙,๖๑๙ ไร่ ถนน จานวน ๑๐,๑๒๐ สาย สะพาน/คอสะพาน จานวน ๗๕๑ แห่ง
ทานบ/ฝาย จานวน ๗๗๑ แห่ง วัด/มัสยิด จานวน ๒๔๔ แห่ง โรงเรียน จานวน ๒๐๘ แห่ง โรงพยาบาล จานวน ๒๐ แห่ง
สถานที่ราชการ จานวน ๑๐๓ แห่ง และท่อระบายน้า จานวน ๓๐๔ แห่ง

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
24(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๒๔
๖.๘ การจัดทาและประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐)
รัฐบาลได้จัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) แล้วเสร็จ โดยรัฐสภา
ได้มีมติรับทราบแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๓ เมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๖๕ และราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ
๒๕๘ ง ได้เผยแพร่ประกาศใช้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๓ ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๗๐
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) เป็นแผนระดับที่ ๒ ที่แปลง
ยุทธศาสตร์ชาติไปสู่การปฏิบัติโดยได้กาหนดทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ ๕ ปีข้างหน้า บนพื้นฐานของหลักการ
แนวคิดที่สาคัญ ๔ ประการ ได้แก่ (๑) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (๒) แนวคิดการปรับตัวได้ทันต่อสถานการณ์
(Resilience) (๓) เป้ าหมายการพัฒ นาอย่ างยั่งยืน ของสหประชาชาติ (SDGs) และ (๔) โมเดลเศรษฐกิจชีว ภาพ
หมุนเวียน และสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy: BCG) โดยได้กาหนดวัตถุประสงค์หลักของแผนพัฒนาฯ คือ
การ “พลิกโฉม” ประเทศไทย สู่ “สังคมก้าวหน้า เศรษฐกิจสร้างมูลค่าอย่างยั่งยืน ” แผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ ถือเป็น
แผนพัฒ นาฯ ฉบั บ ที่ภ าคีทุกภาคส่ ว นในสั งคมไทยทุกระดับได้มีส่ ว นร่ว มดาเนินการ เพื่อใช้เป็นแผนยุทธศาสตร์
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างแท้จริง
เพื่ อ ให้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ า งต้ น แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) จึงได้กาหนดเป้าหมาย
หลั ก ๕ ประการ คื อ (๑) การปรั บ โครงสร้ า งภาคการผลิ ต และบริ ก าร
สู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรม (๒) การพัฒนาคนสาหรับโลกยุคใหม่ (๓) การมุ่งสู่
สั ง คมแห่ ง โอกาสและความเป็ น ธรรม (๔) การเปลี่ ย นผ่ า นการผลิ ต
และการบริโภคไปสู่ความยั่งยืน และ (๕) การสร้างความสามารถในการรับมือ
กั บ การเปลี่ ย นแปลงและความเสี่ ย งภายใต้ บ ริ บ ทโลกใหม่ โดยก าหนด
หมุ ดหมายการพั ฒนาประเทศ ๑๓ หมุ ดหมาย ครอบคลุ ม ๔ มิ ติ การพั ฒนา
ได้แก่
๑) มิติภาคการผลิตและบริการเป้าหมาย ประกอบด้วย ๖ หมุดหมาย ได้แก่ หมุดหมายที่ ๑ ไทยเป็น
ประเทศชั้นนาด้านสินค้าเกษตร และเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง หมุดหมายที่ ๒ ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ย ว
ที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน หมุดหมายที่ ๓ ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าที่สาคัญของโลก หมุดหมายที่ ๔
ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง หมุดหมายที่ ๕ ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุนและยุทธศาสตร์
ทางโลจิ ส ติกส์ ที่ส าคัญของภูมิภ าค และหมุด หมายที่ ๖ ไทยเป็น ศูน ย์กลางอุตสาหกรรมอิเล็ กทรอนิกส์ อัจ ฉริยะ
และอุตสาหกรรมดิจิทัลของอาเซียน
๒) มิ ติ โ อกาสและความเสมอภาคทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม ประกอบด้ ว ย ๓ หมุ ด หมาย ได้ แ ก่
หมุดหมายที่ ๗ ไทยมี SMEs ที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสูง และสามารถแข่งขันได้ หมุดหมายที่ ๘ ไทยมีพื้นที่และเมือง
อัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน หมุดหมายที่ ๙ ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และมีความคุ้มครอง
ทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม
๓) มิ ติ ค วามยั่ ง ยื น ของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ประกอบด้ ว ย ๒ หมุ ด หมาย ได้ แ ก่
หมุดหมายที่ ๑๐ ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่า และ หมุดหมายที่ ๑๑ ไทยสามารถลดความเสี่ยง
และผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๒๕25
๔) มิ ติ ปั จ จั ย ผลั ก ดั น การพลิ ก โฉมประเทศ ประกอบด้ว ย ๒ หมุดหมาย ได้แก่ หมุ ด หมายที่ ๑๒
ไทยมีกาลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต หมุดหมายที่ ๑๓ ไทยมีภาครัฐ
ที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน
๖.๙ ผลการจัดอันดับประเทศไทยในเวทีโลก
๖.๙.๑ ประเทศไทยเป็น อัน ดับ ๑ ของโลก ด้ า นสถานบริ การเพื่อสุขภาพ (Wellness Retreats)
และอันดับที่ ๒ ประเทศที่มีกิจกรรมเชิงสุขภาพที่ได้รับความนิยมมากที่สุด (Highest-rated wellness activities)
จากการจัดอันดับเว็บไซต์ Travel Daily News เมื่อวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๖๕
๖.๙.๒ จังหวัดเชียงใหม่ได้รับเลือกเป็นเมืองเทศกาลโลก World Festival and Event City ประจาปี
๒๐๒๒ เมื่อวัน ที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๖๕ ซึ่ งจั ดโดยสมาคมงานเทศกาลนานาชาติ (International Festivals and
Events Association: IFEA)
๖.๙.๓ เกาะหมาก จังหวัดตราด ติดอันดับ Top 100 Green Destination ประจาปี ๒๐๒๒ เมื่อวันที่
๓๐ กัน ยายน ๒๕๖๕ ซึ่งเป็ น การจั ดอัน ดับ โดยหน่ว ยงานระดับ โลก Green Destinations Foundation ประเทศ
เนเธอร์แลนด์ ร่วมกับคณะผู้จัดงานส่งเสริมการท่องเที่ยวระดับโลก (Internation Tourism Borse: ITB) กรุงเบอร์ลิน
ประเทศเยอรมนี
๖.๙.๔ ประเทศไทยได้คัดเลือกเป็นอันดับ ๓ “ประเทศระดับท็อปของโลก” (Top Countries in the
World) และกรุ ง เทพฯ ได้ อั น ดั บ ๔ “เมื อ งที่ ดี ที่ สุ ด ในโลก” รางวั ล Conde Nast Traveler Readers’ Choice
Awards 2022 จากรายงานผลการประกาศรางวัล Conde Nast Traveler Readers’ Choice Awards 2022 เมื่อวันที่
๖ ตุลาคม ๒๕๖๕
๖.๙.๕ ประเทศไทยติด อัน ดับ ๒ ของอาเซียน อัน ดั บ ๒๘ ของโลก ประเทศที่ดีที่สุดในปี ๒๐๒๒
เมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๖๕ ซึ่งจัดโดย U.S. News & World Report Best Countries Rankings
๖.๙.๖ กรุงเทพฯ คว้ารางวัล Most Improved Award 2022 พัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์และท่องเที่ยว
อย่างก้าวกระโดด ซึ่งเป็นการประกาศผลภายในงาน ICCA Annual Congress 2022 ซึ่งเป็นงานประชุมประจาปีของ
สมาคมอุตสาหกรรมการประชุมนานาชาติ หรือ International Congress and Convention Association ที่จัดขึ้น
เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ณ เมืองคราโคว ประเทศโปแลนด์
๖.๙.๗ กรุงเทพมหานครได้ อันดับ ๖ เมืองน่าอยู่ที่สุดในปี ๒๐๒๒ จาก InterNations เมื่อวันที่ ๓๐
พฤศจิกายน ๒๕๖๕

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
26(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๒๖
๗. ผลการดาเนินงานตามแนวนโยบายรัฐบาลหลัก ๑๒ ด้าน
๗.๑ นโยบายหลักที่ ๑ การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์
รัฐบาลให้ความสาคัญสูงสุดต่อการเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์และปกป้องรักษาพระบรมเดชานุภาพ
ด้วยความจงรักภักดี และเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์และพระราชกรณียกิจ
โดยมีผลการดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี้
๗.๑.๑ การสื บ สาน รั ก ษา ต่ อ ยอดศาสตร์ พ ระราชาและโครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด าริ
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นหลักสาคัญ
๑) จัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี
และพระบรมวงศานุวงศ์เนื่องในโอกาสต่าง ๆ
(๑) กิ จ กรรมน้ อ มร าลึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ เนื่ อ งในวั น คล้ า ยวั น สวรรค ต
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๕ โดยจัดพิธี
ท าบุ ญ ตั ก บาตร และพิ ธี ส วดพระพุ ท ธมนต์
ถวายพระราชกุ ศ ล จั ด นิ ท รรศการแสดงถึ ง
พระราชกรณี ยกิ จ ด้ า นต่ า ง ๆ ตลอดรั ช สมั ย
ของพระองค์ และจัดงานสานสัมพันธ์เครือข่าย
รวมใจราลึกในพระมหากรุณาธิคุณ “อัครศิลปิน”
เนื่ อ งในวั น คล้ า ยวั น สวรรคต และครบรอบ
๓๖ ปี การถวายพระราชสมัญญา “อัครศิลปิน”
ณ หออั ครศิ ล ปิ น อ าเภอคลองหลวง จั ง หวั ด
ปทุ ม ธานี เผยแพร่ ภ าพยนตร์ ข่ า วบั น ทึ ก
เหตุการณ์เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชชนนี พั นปี ห ลวงเสด็จ พระราชดาเนิ น เยื อ นสหราชอาณาจั กร ในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ทางช่องยู ทู บ ของ
หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) และโครงการ ๔๕ ปี หมู่บ้านสหกรณ์สันกาแพง อาเภอแม่ออน ตามพระราชดาริ
น้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณ รัชกาลที่ ๙ เพื่อน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระราชดาริพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และเผยแพร่พระราชกรณียกิจด้านการสร้างงาน
และส่งเสริมอาชีพ สืบสานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(๒) กิจกรรมน้อมร าลึกในพระมหากรุ ณ าธิ คุณ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิ เ บศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในวัน คล้า ยวัน พระบรมราชสมภพ ๕ ธั น วาคม ๒๕๖๕
มี พิ ธี เ จริ ญ พระพุ ท ธมนต์ และมอบพั น ธุ์ ป ลา จ านวน ๙,๐๐๐ ตั ว ให้ แ ก่ เ กษตรกร กิ จ กรรมงานแสดงดนตรี
เทิดพระเกียรติ สถาบันพระมหากษัตริ ย์ เทศกาลดนตรี Ministry of Culture Music Festival (MOC MU FES) ร่วมกับ
กรมศิลปากร วงเฉลิมราชย์ และมูลนิธิสุนทราภรณ์ฯ จัดงานเทศกาลดนตรี Ministry of Culture Music Festival
(MOC MU FES) การแสดง “Winter Love Songs : บทเพลงพระราชนิพนธ์” การแสดง “ลีลาศสร้างสุขกับสุนทราภรณ์”

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชา นายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรี ปีีปีที่่ท� ี่ ๔๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๒๗27
(๓) กิ จ กรรมเฉลิม พระเกี ย รติพ ระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู่ หั ว เนื่ อ งในโอกาสวั น เฉลิม
พระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๕ มีกิจกรรมทางศาสนามหามงคล ๕ ศาสนา และพิธีเจริญนวัคคหายุสมธัมม์
เฉลิมพระเกียรติฯ จัดกิจกรรม “แสงนาใจไทยทั้งชาติ เดิน วิ่ง ปั่น ป้องกันอัมพาต ครั้งที่ ๘ เฉลิมพระเกียรติ ”
พร้อมกันทั่วประเทศ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี
และส่งเสริมการจัดกิจกรรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) มีผู้สมัครเข้าร่วมกิจกรรม จานวน ๑๓๖,๑๑๘ คน
และโครงการรั กษ์ค ลองคูเ มื อ งเดิ มเฉลิ ม พระเกีย รติ พระบาทสมเด็จ พระวชิ ร เกล้า เจ้า อยู่ หัว เนื่องในโอกาส
เฉลิมพระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๕ การจัดโครงการฯ ระหว่างวันที่ ๑๘ - ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๕ ในพื้นที่
กรุงเทพมหานคร โดยมีกิจกรรมที่สาคัญ เช่น ขุดลอกคลองคูเมืองเดิมด้วยเรือผลักดันโคลน ทาความสะอาดผนังคลองคู
เมืองเดิมและเก็บขยะในคลอง ตัดแต่งกิ่งไม้และจัดระเบียบต้นไม้ริมคลองคูเมืองเดิม และทาสีผนังคลองคูเมืองเดิม
(๔) กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี
พันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๙๐ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๕ จัดพิธีทางศาสนา
มหามงคล ๕ ศาสนา ถวายพระราชกุศล ได้แก่ ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
และศาสนาซิ ก ข์ ในวั น ที่ ๑๒ สิ ง หาคม ๒๕๖๕ ณ ท้ อ งสนามหลวง และงาน “ภู ษ าศิ ล ป์ จากท้ อ งถิ่ น สู่ ส ากล”
เพื่ อ น้ อ มส านึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมร าชิ นี น าถ พระบรมราชชนนี
พันปีหลวงที่ทรงมีพระวิริยอุตสาหะ ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการส่งเสริมเรื่อง “ผ้าไทย” เป็นที่ประจักษ์ยาวนาน
ตลอด ๗๐ ปี ให้เป็นที่รู้จักในระดับสากล โดยคณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้ วันที่ ๑๒ สิงหาคมของทุกปี เป็นวันผ้าไทย
แห่งชาติ ภายในงานมีการจัดนิทรรศการ การเสวนา การแสดงทางศิลปวัฒนธรรม และการแสดงแบบผ้าไทย การออกร้าน
และจาหน่ายผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้าแบบครบวงจร การเปิดเจรจาธุรกิจ (Business Matching) ในอุตสาหกรรมผ้า
ทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งดาเนิ น โครงการ ๙๙ ดวงตาเพื่อทหารกล้าถวายเป็ น พระราชกุศล เนื่ องในโอกาส
มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๙๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๕ โดยกระทรวงกลาโหมให้บริการเปลี่ยนดวงตาเทียม
ให้แก่ทหารผ่านศึกที่สูญเสียดวงตา โดยสามารถเข้ารับบริการตรวจสุขภาพ
ดวงตา ณ โรงพยาบาลทหารผ่านศึก กรุงเทพมหานคร โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาปรับปรุงซ่อมแซมกาแพงรั้วรอบวัดชินวราราม
วรวิหารที่มีสภาพเก่าทรุดโทรมและชารุดให้มีสภาพมั่นคงและมีความปลอดภัย
เพื่อถวายเป็น พระราชกุศล ระหว่างวันที่ ๑๘ กรกฎาคม - ๔ สิงหาคม
๒๕๖๕ และทูลเกล้าฯ ถวายผ้าไทยลายอั ตลักษณ์ ๗๖ จังหวัด หนังสือ
“ภูษาศิลป์ จากท้องถิ่นสู่สากล”และวีดิทัศน์สรุปการจัดงาน “ภูษาศิลป์
จากท้องถิ่นสู่สากล” แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินี เมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๕ เนื่องในโอกาสมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา ๙๐ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๕

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
28(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๒๘
(๕) การจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิรา
เทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันประสูติ ๗ ธันวาคม ๒๕๖๕
จั ด พิ ธี เ จริ ญ พระพุ ท ธมนต์ และกิ จ กรรมมอบถุ ง ยั ง ชี พ จ านวน ๔๕ ชุ ด แก่ ผู้ สู ง อายุ ใ นชุ ม ชน ถวายพระกุ ศ ลฯ
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา เนื่องใน
โอกาสวันคล้ายวันประสูติ ๗ ธันวาคม ๒๕๖๕
๒) ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานตามพระราโชบายและการส่งเสริมการดาเนิน งาน
อันเนื่องมาจากพระราชดาริ
(๑) ดาเนินโครงการพระราชทานในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว “โคกหนองนา
แห่ ง น้ าใจ และความหวั ง กรมราชทั ณ ฑ์ ” เพื่ อ ใช้ เ ป็ น หลั ก สู ต รอบรมให้ แ ก่ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ พระราชทานอภั ย โทษ
โดยมีผู้เข้ารับการอบรม จานวน ๒๒,๕๔๑ คน
(๒) ส่งเสริมการดาเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ด้านการเกษตร อบรมถ่ายทอด
เทคโนโลยีในพื้นที่โครงการฯ ด้านพืช ประมง ปศุสัตว์ การจัดทาบัญชี แก่เกษตรกร นักเรียน และประชาชนที่สนใจ
จานวน ๔,๗๕๘ ราย เพาะพันธุ์สัตว์น้าปล่อยในแหล่งน้าธรรมชาติ จานวน ๔.๖๖ ล้านตัว พัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์
และกลุ่มเกษตรกร ๓๔ แห่ง สนับสนุนโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า (ทาหมัน) จานวน
๗,๗๗๐ ตัว จัดทาระบบอนุรักษ์ดินและน้า และส่งเสริมการปรับปรุงบารุงดิน ก่อสร้างแหล่งน้าสนับสนุนโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จานวน ๙๙ แห่ง

(๓) พัฒนาและดาเนินกิจกรรมบนพื้นที่โครงการหลวง โดยช่วยชาวเขาให้ช่วยเหลือตนเอง


ปลูกพืชที่มีประโยชน์ การเลี้ยงสัตว์น้า และปศุสัตว์ตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง จานวน ๑๑,๕๑๖ ราย กิจกรรมโครงการหลวง
๒๕๖๕ “สุ ข ภาพดี ชี วี สุ ข สั น ต์ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ ครงการหลวง ”
ณ อุ ท ยานราชพฤกษ์ อ าเภอเมื อ งเชี ย งใหม่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่
กลุ่มอาชีพราษฎรบนพื้นที่สูงในพื้นที่โครงการหลวง ๘ กลุ่ม ๒๓ คน
สาธิตการทอผ้ าจากเส้ นใยกัญชงโดยกี่ทอม้งกี่ทอเอวกึ่งอัตโนมัติ
และสาธิตการลอกเปลือกกัญชง การต่อเส้นกัญชง การเขียนเทียน
เป็นต้น และจาหน่ายสินค้าหัตถกรรมโดยมีผู้เยี่ยมชมบูทกว่า ๕๐๐ คน ทาให้กลุ่มอาชีพมีรายได้จากการจาหน่าย
ผลิตภัณฑ์ ๑๗๐,๙๑๙ บาท และสามารถนาไปต่อยอดขยายผลเพิ่มรายได้ครัวเรือนต่อไป

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๒๙29
(๔) โครงการแว่ น ตาผู้ สู ง วั ย ในสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี
ให้ บ ริ ก ารแก่ ผู้ สู ง วั ย ด้ อ ยโอกาสที่ มี อ ายุ ตั้ ง แต่ ๔๕ ปี ให้ บ ริ ก ารความรู้ ด้ า นสวั ส ดิ ก ารสั ง คม การพั ฒ นาอาชี พ
และให้บริการสวัสดิการสังคม จานวน ๒,๓๖๐ คน และส่งเสริมความรู้และพัฒนาอาชีพรายได้ตามแนวทางหลั ก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่ราษฎรในชุมชนพื้นที่สูง หมู่บ้านสหกรณ์ นิคมสร้างตนเอง โดยสร้างรายได้ระดับ
ครัวเรือน จานวน ๑,๙๙๖ ราย
(๕) โครงการพระราชดาริฝนหลวง โดยดาเนินการปรับปรุงสนามบินท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
ในระยะที่ ๒ จัดทาพิธีวันพระบิดาแห่งฝนหลวง ประจาปี ๒๕๖๕ ในโอกาสครบปีที่ ๖๗ ณ ศูนย์ฝนหลวงหัวหิน อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพื่อแสดงความจงรักภักดีและน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระบิดาแห่งฝนหลวง และเผยแพร่โครงการพระราชดาริฝนหลวง
(๖) โครงการสนับสนุนการดาเนินงานโครงการทุนการศึกษาพระราชทานสมเด็จพระบรม
โอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร ภายใต้ มู ล นิ ธิ ทุ น การศึ ก ษาพระราชทานสมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ
สยามมกุฎราชกุมาร (ม.ท.ศ.) คณะกรรมการ ม.ท.ศ. พิจารณาอนุมัติให้เป็นผู้เ ข้าเฝ้าฯ รับทุนพระราชทานระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลายแล้ว จานวน ๑๔ รุ่น รวม ๒,๒๔๐ คน ในปี ๒๕๖๔ มีนักเรียนทุนฯ รุ่น ๑-๗ จบการศึกษาระดับ
ปริญญาตรีตามระยะเวลาหลักสูตรกาหนดแล้ว จานวน ๗๖๗ ราย เข้าสู่การทางานทั้งภาครัฐและเอกชนแล้ว จานวน
๕๙๖ ราย คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๗ และคัดเลือกผู้รับทุนเฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีบรมราชาภิเษก รุ่นที่ ๒
ประจาปี ๒๕๖๕ จานวน จานวน ๑๐ ราย
(๗) สนับสนุนการดาเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ แผนงานในปีงบประมาณ
๒๕๖๕ (วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕) เพื่อให้ดาเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
รวมทั้งสิ้น ๑๔๙ โครงการ ประกอบด้วย โครงการด้านพัฒนาแหล่งน้า จานวน ๓๘ โครงการ ด้านสิ่งแวดล้อม จานวน
๓๘ โครงการ ด้านคมนาคม/สื่อสาร จานวน ๓ โครงการ ด้านบูรณาการ/อื่น ๆ จานวน ๖๒ โครงการ ด้านส่งเสริม
อาชีพ จานวน ๓ โครงการ ด้านสาธารณสุข จานวน ๑ โครงการ ด้านเกษตร จานวน ๑ โครงการ และด้านการศึกษา
จานวน ๓ โครงการ สามารถดาเนินงานให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน จานวน ๔๓,๓๔๗ ครัวเรือน ๑๑๐,๕๒๖ คน
พื้นที่การเกษตรและพื้นที่ป่ากว่า ๘๖๒,๕๖๑ ไร่ ตลอดจนเป็นแหล่งศึกษาดูงานที่ประชาชนและเยาวชน สามารถ
นาแนวพระราชดาริไปปรับและประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมในการดารงชีวิต และประกอบอาชีพของตนเองได้
(๘) สืบสาน รักษาและต่อยอดพระราชดารัสและพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระนางเจ้า
สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โดยได้คัดเลือกให้ “ดอนกอยโมเดล” ซึ่งเป็นกลุ่มผ้าทอ
ต้นแบบของอาเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ที่ได้รับพระกรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี
นารีรัตนราชกัญญา พระราชทานแนวทางการพัฒนาครามและสีย้อมธรรมชาติสู่คอลเลคชันผ้าไทยร่วมสมัย มาร่วม
นาเสนอนิทรรศการและสาธิตในการประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค (APEC 2022) เมื่อวันที่ ๑๔ - ๑๘ พฤศจิกายน
๒๕๖๕ ณ ศู น ย์ ก ารประชุ ม แห่ ง ชาติ สิ ริ กิ ติ์ ซึ่ ง สร้ า งความภาคภู มิ ใ จให้ แ ก่ ก ลุ่ ม ผ้ า ทอ และสร้ า งรายได้ ม ากกว่ า
๑๔๓,๙๐๐ บาท

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
30(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๓๐
๗.๑.๒ การต่ อ ยอดการด าเนิ น การของหน่ ว ยพระราชทานและประชาชนจิ ต อาสาพระราชทาน
ตามแนวพระราชดาริ
๑) ดาเนินโครงการจิตอาสา โดยดาเนินโครงการจิตอาสาพัฒนาสังคมด้วยพลังคน พส. จานวน
๒ รุ่น เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่บุคลากร สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปขยายผล และต่อยอดสู่การปฏิบัติตน
เป็ น แบบอย่ า งในการท างานจิ ต อาสาให้ ป ระชาชน เพื่ อ ประโยชน์ ส่ ว นรวมอย่ า งสร้ า งสรรค์ จ านวน ๑๔๐ คน
และสร้างนวัตกรรมอื่น ๆ จากโครงการจิตอาสา อาทิ สร้างระบบบาบัดนาเสียชุมชนใน ๑ แห่ง สร้างและปรับปรุง
กังหันน้าเติมอากาศพลังงานแสงอาทิตย์ จานวน ๕ เครื่อง ติดตั้งถังดักไขมัน จานวน ๒,๑๙๐ ถัง ติดตั้งถังหมักรักษ์โลก
จานวน ๑๕๘ ถัง ติดตั้งเสวียนรักษ์โลก จานวน ๒ จุด
๒) กิจกรรมส่งเสริมการอยู่ร่วมกันภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม โดยสมาชิกชมรมกตัญญูคลับ
ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ร่วมกับเครือข่ายจิตอาสาประชาสังคมจัดกิจกรรมส่งเสริมการอยู่ร่วมกันภายใต้สังคม
พหุวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมความรักความสามัคคีและการอยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุข ส่วนในพื้นที่ภาคเหนือได้จัดกาลังพล
เข้าช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบภัยหนาว โดยมอบผ้าห่ม จานวน ๓๓,๒๖๖ ผืน และเสื้อกันหนาว จานวน ๕,๑๑๖ ตัว
๓) ขยายพื้ น ที่ สี เ ขี ย ว เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ
พระบรมราชชนนี พันปี ห ลวง เนื่ องในโอกาสมหามงคลเฉลิ มพระชนมพรรษา ๙๐ พรรษา ๑๒ สิ งหาคม ๒๕๖๕
โครงการ จป. ร่วมใจปลูกความดี เครือข่ายเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานทุกระดับจากสถานประกอบกิจการ
และหน่วยงานต่าง ๆ ทั่วประเทศ จานวน ๖๙๔ แห่ง ดาเนินการปลูกต้นไม้พันธุ์ต่าง ๆ รวมจานวนทั้งสิ้น ๑๓๐,๐๙๘ ต้น
และกิจกรรมจิตอาสา “วัฒนธรรมอาสา ทาความดีทั้งแผ่นดิน” ปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติฯ จานวน ๗๐๐ ต้น
๗.๑.๓ การสร้างความตระหนักรู้ เผยแพร่ และปลูกฝังให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
และเป็นจริงเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์และพระราชกรณียกิจเพื่อประชาชน ตลอดจนพระมหากรุณาธิคุณ
ของพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์
๑) ด าเนิน โครงการตามรอยเบื้ อ งพระยุค ลบาท จัดนิทรรศการเผยแพร่ พระราชกรณี ย กิ จ
ด้านการสร้างงานและส่งเสริมอาชีพ สืบสานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระดาริ แสดงผลการดาเนินงานของ
สมาชิกฯ ผลิตภัณฑ์จากการส่งเสริมอาชีพของหมู่บ้านสหกรณ์สัน กาแพง อาเภอแม่ออน ตามพระราชดาริ จังหวัด
เชียงใหม่ ร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ แสดงนิทรรศการเพื่อเผยแพร่การดาเนินการของจิตอาสาภัยพิบัติ และจิตอาสาเฉพาะกิจ
ในการร่วมกับส่วนราชการต่าง ๆ ลงพื้นที่ให้ความช่วยเหลือและดาเนินกิจกรรมกับประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อน
ผ่านสื่อทุกรูปแบบ เว็บไซต์และสื่อสังคมออนไลน์ในความรับผิดชอบ จานวน ๒,๒๖๓ ครั้ง (ข้อมูล ณ เดือนกรกฎาคม
- ธันวาคม ๒๕๖๕)
๒) ประชาสัมพัน ธ์การดาเนินงานของมูลนิธิต่าง ๆ ในพระบรมราชานุเคราะห์ อาทิ มูลนิธิ
ราชประชานุเคราะห์ฯ มูลนิธิพัชรสุธาคชานุรักษ์ มูลนิธิภูบดินทร์ มูลนิธิราชทัณฑ์ปันสุข ทาความดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์
เป็นต้น รวมถึงถ่ายทอดสดพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ณ อุทยานเฉลิ มพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๕

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๓๑31
๓) ถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยถ่ายทอดองค์ความรู้
พระอัจฉริยภาพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ด้านการเกษตร ภูมิปัญญา นวัตกรรมเกษตรเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่
จัดนิทรรศการ “ในหลวงในความทรงจา” นิทรรศการหมุนเวียน “ในความทรงจานิรันดร์” นิทรรศการสัญจร ภายใต้
แนวคิด “๙ ทศวรรษ ใต้ร่ มพระบารมี สดุดีส ภานายิกาสภากาชาดไทย” และนิทรรศการ “พัฒ นาปรับ ปรุงฐาน
การเรียนรู้ ๑ ไร่ พอเพียง” นิทรรศการ “พัฒนาและปรับปรุงอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ๑๖ ไร่”

๔) ผลิตหนังสือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้ ประกอบด้วย หนังสือ “๙๐ พรรษา เส้นทาง


ตามรอยพระบาทสมเด็จ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง” จานวน ๑,๐๐๐ เล่ม หนังสือ “คืนชีวิต ลุ่มน้าปากพนัง ”
จานวน ๓,๐๐๐ เล่ม หนังสือ “ครองแผ่นดิน” จานวน ๑,๐๐๐ เล่ม และบันทึกโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
จานวน ๖,๐๐๐ เล่ม
๕) ผลิตสารคดีโทรทัศน์เฉลิมพระเกียรติ ชุด “ร้อยไทยด้วยดวงใจ” ประกอบด้วย สารคดีสั้น
เฉลิมพระเกียรติ และสารคดีผลสาเร็จ ชุด “ความสุขของแผ่นดิน ” ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ สารคดีเชิงข่าว
ชุด “สืบสาน สร้างสุข ปวงประชา” สารคดีเชิงท่องเที่ยวการพัฒนาตามรอยพระราชดาริ ชุด ท่องไทย และรายการ
วิทยุชุด “สืบสาน ธารงไทย ด้วยใจภักดิ์”
๖) โครงการค่ายเยาวชนงานสืบสานพระราชดาริ รุ่นที่ ๑๒ จานวน ๘๐ คน โดยมีการติดตาม
ความส าเร็ จ ของอดีต เยาวชนที่ เข้ าร่ ว มโครงการค่ ายฯ มีการนาองค์ ความรู้ ตามแนวพระราชดาริ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้
ในการดาเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ ก่อเกิดประโยชน์แก่ตนเอง/ครอบครัว/ชุมชน/สิ่งแวดล้อม/สังคม
๗) การให้ความสาคัญการขับเคลื่อนการเสริ มสร้ างความมั่น คงของสถาบันหลักของชาติ
ภายใต้แผนปฏิบั ติการด้านการธ ารงรั กษาสถาบั น หลั กของชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๐) เช่น เสริ มสร้ างความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาทและความส าคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อสั งคมไทย น้อมนาแนวพระราชดาริ
และผลสาเร็จของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริไปขับเคลื่อนและขยายผลสู่ประชาชนในทุกภาคส่วน

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
32(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๓๒
๗.๒ นโยบายหลักที่ ๒ การสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ
รั ฐ บาลด าเนิ น การด้ า นความมั่ น คงและความปลอดภั ย ของประเทศและความสงบสุ ข ของประเทศ
ในทุกระดับ อย่ า งครบวงจรเพื่ อ เตรี ย มพร้ อ มรั บมื อภั ย คุก คามทุ ก รูป แบบ และเสริมสร้างการเมื อ งการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยมีผลการดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี้
๗.๒.๑ การรั ก ษาและป้ อ งกั น อธิ ป ไตยและความมั่ น คงภายในประเทศ เช่ น ป้ อ งกั น ชายแดน
ได้ดาเนินการจัดวางกาลังทหารและตารวจตระเวนชายแดน กาลังพล จานวน ๕๙,๐๐๐ นาย เพื่อรักษาและป้องกัน
อธิปไตยของชาติ ด้วยการลาดตระเวน เฝ้าตรวจ รักษาและควบคุมภูมิประเทศและช่องทางผ่านเข้า - ออกสาคัญ
ตามแนวชายแดน ด าเนิ น การจั ด ระเบี ย บพื้ น ที่ แ ละรั ก ษาความสงบเรี ย บร้ อ ยตามแนวชายแดน รวมทั้ ง พั ฒ นา
ความสัมพันธ์และเสริมสร้างความไว้วางใจกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อป้องกันและลดปัญหาความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้น
ยกระดับการบริหารจัดการชายแดนเพื่อความมั่นคง เศรษฐกิจ และสังคม ได้จัดทาแผนปฏิบัติการด้านการบริหาร
จัดการชายแดนด้านความมั่นคง (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) โดยมีแนวทางในการยกระดับการบริหารจัดการชายแดน
อาทิ การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน หรือจุดผ่านแดนประเภทต่าง ๆ การเสริมสร้างเอกภาพและประสิทธิภาพ
ในการบูรณาการการดาเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการพื้นที่ชายแดน การพัฒนาประสิทธิภาพ
การด าเนิ น งานในการจั ด ระบบการป้ อ งกั น พื้ น ที่ ช ายแดน ให้ ค วามส าคั ญ กั บ การขั บ เคลื่ อ นยุ ท ธศาสตร์ ช าติ
และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นความมั่นคง รวมทั้งการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม
(Comprehensive Security) โดยกาหนดนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๖ -
๒๕๗๐) และแผนต่าง ๆ อาทิ แผนความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) แผนเตรียมพร้อมแห่งชาติ
และแผนบริหารวิกฤตการณ์ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) แผนปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการชายแดนด้านความมั่นคง
(พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) แผนปฏิบัติการด้านการต่อต้านการก่อการร้าย (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) และแนวทางเสริมสร้ าง
การอยู่ร่วมกันบนความหลากหลายทางสั งคม รวมทั้งการฝึกการบริ หารวิกฤตการณ์ระดับชาติ นอกจากนี้ ได้ส่งเสริม
และสนับสนุนภาคีเครื อข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในงานด้านความมั่นคง ตลอดจนมีความร่วมมือด้านความมั่น คงกับ
หน่วยงานในต่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ
๗.๒.๒ การปลูกจิตสานึก เกียรติภูมิ และศักดิ์ศรีความเป็นชาติไทย การมีจิตสาธารณะ และการมีส่วนร่วม
ทาประโยชน์ให้ประเทศรั กษาผลประโยชน์ข องชาติ ความสามัคคีปรองดองและความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ระหว่างกั น
ของประชาชน ได้ ด าเนิ นการลาดตระเวนคุ้ มครองผลประโยชน์ ชองชาติ ทางทะเล เพื่ อช่ วยเหลื อ ด้ า นมนุ ษ ยธรรม
แก่ผู้โยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติในมหาสมุทรอินเดีย รวมทั้งช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติทางทะเลเมื่อเกิดสาธารณภัย
ทางทะเลขนาดใหญ่ โดยจัดกาลังประกอบด้วย เรือหลวงจักรีนฤเบศร เรือหลวงบางปะกง เฮลิคอปเตอร์ หน่วยทาลายใต้น้า
จู่โจม ชุดควบคุมการปฏิบัติ และเรือยาง โดยพร้อมปฏิบัติภายใน ๔๘ ชั่วโมง
๗.๒.๓ การพัฒนาและเสริมสร้างการเมืองการปกครองในระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์
ทรงเป็น ประมุขที่มีธ รรมาภิบาล ความรั กชาติ และความเป็น น้าหนึ่งใจเดียวกัน ได้ดาเนิ น การส่ งเสริมสั งคม
พหุวัฒนธรรมที่เข้มแข็งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนามิติทางศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม มาสนับสนุนการแก้ไข
ปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ จัดกิจกรรมต่าง ๆ ภายใต้
“โครงการเสริมสร้างสังคมพหุวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง ” เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชนในพื้นที่ เกิดการรับรู้ เข้าใจ
มีค่านิยมการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางศาสนาและวัฒนธรรม สามารถอยู่

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๓๓33
ร่ ว มกั น ได้ อ ย่ า งสั น ติ สุ ข และเกิ ด การน าทุ น ทางวั ฒ นธรรมมาสร้ า งคุ ณ ค่ า และมู ล ค่ า เพิ่ ม ทางเศรษฐกิ จ โดยมี
การดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี้
๑) กิจกรรมขับเคลื่อนพิพิธภัณฑ์เมืองนราธิวาสเพื่อการอยู่ร่ วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม
โดยจัดแสดงนิทรรศการถาวร เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่นักท่องเที่ยวและผู้มาเยือน รวมทั้งเด็ก เยาวชน
และประชาชน เช่น การจัดแสดงเรื่องความจงรักภักดีของชาวนราธิวาสที่มีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย การจัดแสดง
เรื่องราวความหลากหลายทางชาติพัน ธุ์ ศาสนา ประเพณี และสถาปัตยกรรม ซึ่งแสดงให้ เห็ นถึงการอยู่ร่ว มกัน
อย่างมีความสุขของประชาชนหลากหลายเชื้อชาติ ศาสนา ในสังคมพหุวัฒนธรรม

๒) กิจ กรรมส่งเสริ มการอยู่ร่ วมกัน ในสังคมพหุวัฒนธรรมเพื่อสร้ างคุณค่าและเพิ่มรายได้


โดยดาเนิ น การในพื้น ที่จั งหวัดปัตตานี ยะลา นราธิว าส และสงขลา ประกอบด้ว ย (๑) กิจกรรมเทิดทูนสถาบั น
พระมหากษัตริย์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ อาทิ การประกวดสุนทรพจน์ หัวข้อ “ในหลวงของฉัน” จังหวัดนราธิวาส
นิทรรศการภาพถ่าย “การเสด็จยาตราจังหวัดปัตตานี ” ของรัชกาลที่ ๕ - ๗ (๒) กิจกรรมโขนเยาวชนชายแดนใต้
(๓) กิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม โดยใช้กระบวนการชุมชน
คุณธรรม และ (๔) กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นชายแดนใต้ตามความต้องการของพื้นที่ อาทิ นิทรรศการ
อาหาร ๓ วิถี จังหวัดปัตตานี
ทั้งนี้ ในการดาเนินโครงการส่งเสริมพหุวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง มีประชาชนให้ความสนใจเข้าร่วม
กิจกรรมกับหน่วยงานของภาครัฐ เกิดเป็นเครือข่ายความร่วมมือที่เข้มแข็ง มีค่านิยมและทัศนคติที่ดีในการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมพหุวัฒนธรรมเพิ่มมากขึ้น จากกิจกรรมด้านการเสริมสร้างความรู้ มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ และการจัดการ
องค์ความรู้ในพื้นที่ เสริมความเข้าใจที่ถูกต้องในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ พัฒนาสังคมพหุวัฒนธรรม
ที่เข้มแข็ง เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีภูมิคุ้มกัน ลดความหวาดระแวง สร้างความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนต่างศาสนา
ขยายการรับรู้เพื่อสร้างภาพลักษณ์จัง หวัดชายแดนภาคใต้ รวมถึงขยายพื้นที่การรับรู้และกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งจะนาไปสู่
การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ความรุนแรงในพื้นที่ลดลง ประชาชนมีความมั่นคง ปลอดภัย และพร้อมพัฒนาสู่ความยั่งยืน

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
34(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๓๔
๗.๒.๔ การสร้างความสงบและความปลอดภัยตั้งแต่ระดับชุมชน ดาเนินการจับกุมผู้กระทาความผิด (ข้อมูล
ณ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔ - ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๕) ดังนี้
การกระทาความผิด ดาเนินการจับกุม ผู้ต้องหา
ความผิดเกี่ยวกับการพนัน ๕๘,๔๐๓ ราย ๗๒,๒๓๗ คน
ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ๑๙๗,๑๔๘ ราย ๑๙๔,๐๗๒ คน
ความผิดเกีย่ วกับพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง ๔๗,๗๘๔ ราย ๖๓,๐๔๖ คน
ความผิดเกี่ยวกับอาวุธปืน ๕๐,๖๒๒ ราย ๔๗,๖๓๐ คน
ความผิดตามพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ ๖๑๒ ราย ๕๑๖ คน
จับกุมบุคคลตามหมายจับ ๕๙,๖๒๕ หมายจับ ๕๘,๒๓๒ คน
ความผิดเกี่ยวกับสถานบริการ ๔,๑๓๔ ราย ๔,๔๐๐ คน
ความผิดเกี่ยวกับการหลอกลวงออนไลน์ทางด้านการเงิน ๑,๕๑๙ ราย ๑,๕๒๒ คน
ความผิดเกี่ยวกับการหลอกลวงจาหน่ายสินค้าออนไลน์และสินค้าผิดกฎหมาย ๒,๒๐๙ ราย ๒,๐๘๗ คน
ความผิดเกี่ยวกับการเผยแพร่ข่าวปลอมและคดีความผิดตามพระราชบัญญัติ ๔,๓๓๐ ราย ๓,๖๕๕ คน
คอมพิวเตอร์
ความผิดเกี่ยวกับการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กหรือสตรีทางอินเตอร์เน็ต ๑,๓๐๙ ราย ๑,๒๗๓ คน
และค้ามนุษย์
ความผิดเกี่ยวกับการพนันออนไลน์ อาชญากรรมข้ามชาติ และอื่น ๆ ๑๓,๖๕๔ ราย ๑๓,๘๗๘ คน

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินนงานของรั
งานของรััฐฐบาล
บาล พลเอก
พลเอก ประยุ
ประยุุททธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๓๕35
รวมทั้งมีโครงการ SMART SAFETY ZONE 4.0 เพื่อใช้ในการควบคุมอาชญากรรมในเขตพื้น ที่
เซฟตี้โซน โดยพัฒนารูปแบบวิธีการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกโดยใช้นวั ตกรรมและยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางตาม
แนวคิดเรื่ อง “เมืองอัจ ฉริ ย ะ” ซึ่งได้รั บ รางวัล The Best Experience in Community Policing ในด้าน Crime
Prevention จากการประชุมสุดยอดตารวจโลก World Police Summit 2022
๗.๒.๕ การแก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด อย่ า งจริ ง จั ง ทั้ ง ระบบ ได้ เ น้ น ย้ าให้ ทุ ก จั ง หวั ด และทุ ก อ าเภอ
วางระบบในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในทุกมิติ โดยใช้กลไกทางสังคมและภาคีเครือข่ายทั้งหน่วยงาน
ความมั่ น คงและหน่ ว ยงานในพื้ น ที่ เพื่ อ เร่ ง ด าเนิ น การปราบปรามยาเสพติ ด อย่ า งเข้ ม ข้ น และจริ ง จั ง รวมทั้ ง
บาบัดรักษาและฟื้นฟูให้ผู้ติดยาเสพติดกลับมาใช้ชีวิตร่วมกับครอบครัว ชุมชนและสังคม ตลอดจนดาเนินการให้ความรู้
และความเข้ า ใจแก่ เ ด็ก และเยาวชนถึ งพิ ษ ภั ยของยาเสพติด จั ด กิ จ กรรมนั น ทนาการสร้ างพลั ง เชิง บวกในพื้นที่
สุ่ ม ตรวจ Re X-Ray พื้ น ที่ สุ่ ม เสี่ ย ง และวางระบบติ ด ตามผู้ ผ่ า นการบ าบั ด รั ก ษาให้ ห ลุ ด พ้ น จากวงจรยาเสพติ ด
อย่างแท้จริง โดยดาเนินการ ดังนี้
๑) มาตรการป้ องกั นยาเสพติ ด เช่น การป้องกันยาเสพติดในกลุ่ มประชากรและการป้ องกั น
ในกลุ่มเด็กและเยาวชน โดยเสริมสร้างความรู้เท่าทัน พัฒนาหลักสูตรและส่งเสริมการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้ อง
ในสถานศึกษาทุกระดับ ขยายความร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาสื่อการเรียนรู้และกิจกรรมนอกหลักสูตร
การป้องกัน ในกลุ่มแรงงาน โดยสร้ างความร่ ว มมือกับ สถานประกอบการ จัดให้ มีร ะบบเฝ้ าระวั งตามมาตรฐาน
การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการ (มยส.) โครงการโรงงานสีขาว ให้ผู้ผ่านการบาบัดรักษา
มีโอกาสกลับเข้าทางาน รวมถึงสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายป้องกันยาเสพติดในกลุ่มแรงงานนอกระบบ

สื่อการเรียนรู้ด้านการป้องกันยาเสพติด

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
36
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๓๖
๒) มาตรการปราบปรามยาเสพติด ดาเนิ น การสกัดกั้น ยาเสพติด สารตั้งต้น และเคมีภัณฑ์
บูรณาการและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ ปราบปรามการลักลอบลาเลียงยาเสพติดพื้นที่ตอนใน
ของประเทศ โดยผลการสกัดกั้นยาเสพติดสามารถจับกุมของกลาง ได้แก่ ยาบ้า จานวน ๙,๙๗๗,๗๔๗ เม็ด ไอซ์
จานวน ๙๒๕.๙๘ กิโลกรัม คีตามีน จานวน ๙.๖๗ กิโลกรัม เฮโรอีน จานวน ๑๔๕.๔๕ กิโลกรัม และได้ดาเนินการ
ควบคุมสารโชเดียมไซยาไนต์ สารเบนซิลคลอไรค์ และสารเบนซิลไซยาไนต์ ที่สามารถนาไปใช้ในกระบวนการยาเสพติด
๓) มาตรการยึด ทรั พย์สิน คดียาเสพติด มุ่งทาลายเครื อข่ายการค้ายาเสพติดด้วยมาตรการ
ทางทรัพย์สิน การยึด/อายัดทรัพย์สินแบบเฉพาะเจาะจง การยึด/อายัดทรัพย์สินทดแทน และการริบทรัพย์สินตามมูลค่า
(Value Based Confiscation) โดยสามารถยึดและอายัดทรัพย์สินคดียาเสพติด มูลค่ารวม ๘,๓๙๐ ล้านบาท

สถิติการยึด/อายัดทรัพย์สินคดียาเสพติด ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕


๔) มาตรการบาบัด รั กษาผู้ติดยาเสพติด น าผู้ เสพยาเสพติดเข้าสู่ กระบวนการบ าบั ดรักษา
ดาเนินการพัฒนาศักยภาพหน่วยบาบัด เพื่อเพิ่มอัตราการบาบัดสาเร็จไม่ให้เกิดการกลับมาเสพซ้า เพิ่มศักยภาพ
บุคลากรและการบริหารจัดการอัตรากาลังรองรับการดูแลผู้ป่วย รวมทั้งขยายบริการสุขภาพจิตเวชและยาเสพติด
เชิงรุก ควบคู่ไปกับการทาข้อตกลงความร่วมมือ ๑๕ หน่วยงาน เพื่อร่วมแก้ไขปัญหาผู้ที่มีอาการทางจิตจากการใช้ยาเสพติด
และพัฒนารูปแบบการบาบัดรักษาและฟื้นฟู สภาพทางสังคมให้ เหมาะสมกับแต่ละบุคคล สร้างการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง (Community Based Treatment: CBTx) พัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาผู้เสพยาเสพติด
ในกระบวนการยุติธรรม โดยมีผลดาเนินการ ได้แก่ บาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด จานวน ๕๖,๓๑๔ ราย
พัฒนาพฤตินิสัยโดยกระบวนการยุติธรรม จานวน ๘๓๙ ราย และฟืน้ ฟูสภาพทางสังคม จานวน ๑,๒๑๔ ราย
๕) มาตรการความร่วมมือระหว่างประเทศ เป็นแกนกลางในการเสริมสร้างความร่วมมือกับ
ประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง อาเซียน นอกภูมิภาคอาเซียน และองค์การระหว่างประเทศในการแก้ไ ขปัญหา
ยาเสพติดในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคาและภูมิภาค พัฒนาสู่การเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพ
บุคลากรด้านยาเสพติดระหว่างประเทศ จากแผนปฏิบัติการร่วมแม่น้าโขงปลอดภัย ๖ ประเทศ (กัมพูชา จีน สปป.ลาว
เมียนมา ไทย และเวียดนาม)

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๓๗37
๖) มาตรการบริ หารจั ด การ เน้นการบริหารจัดการงานป้องกันปราบปรามและแก้ไขปั ญหา
ยาเสพติดให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของประมวลกฎหมายยาเสพติด โดยให้เป็นเอกภาพในการบริหารจัดการ พัฒนา
กลไกระบบอานวยการ พัฒนาสนับสนุนการดาเนินงานให้มีการเชื่อมโยงประสานสอดคล้องในทุกระดับได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ให้เท่าทันขบวนการค้ายาเสพติด

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
38(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๓๘
๗.๓ นโยบายหลักที่ ๓ การทานุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
รั ฐ บาลให้ ค วามส าคั ญ ในการส่ ง เสริ ม ให้ ส ถาบั น ทางสั ง คมร่ ว มปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มและวั ฒ นธรรมที่ ดี
การท านุ บ ารุ ง พระพุ ท ธศาสนาและศาสนาอื่ น ที่ ท างราชการรั บ รอง เพื่ อ ให้ สั ง คมอยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งมี ค วามสุ ข
สร้างความภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์และความเป็นไทย โดยมีผลการดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี้
๗.๓.๑ ส่งเสริมวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของชาติ ได้จัดกิจกรรมที่สาคัญ เช่น ส่งเสริมวัฒนธรรมผ่าน
การแสดงทางศิ ล ปวั ฒ นธรรมและการจั ด นิ ท รรศการด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรม อาทิ (๑) เปิ ด ตั ว หนั ง สื อ แนวโน้ม
และทิศทางผ้าไทยและการออกแบบเครื่องแต่งกายด้วยผ้าไทย เล่มที่ ๓ (Thai Textiles Trend Book Spring/Summer
2023) สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา เสด็จทรงเป็นองค์ประธาน เมื่อวันที่ ๓ พฤศจิกายน
๒๕๖๕ (๒) จัดงานนิทรรศการ “Thai 5F Soft Power” ในงานคอนเสิร์ต SINGING BIRD LIFETIME SOUNDTRACK
เมื่อวันที่ ๑๑ - ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ณ อิมแพคอารีนา เมืองทองธานี (๒) จัดงานมหกรรมวัฒนธรรมแห่งชาติ
“วิถีถิ่น วิถีไทย” ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภายใต้ชื่องาน “หุ่นกระติบ งึดอีหลี ยลวิถี ของดีอีสาน” เมื่อวันที่
๒๓ - ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๕ ณ พระบรมธาตุนาดูน จังหวัดมหาสารคาม มีรายได้หมุนเวียนไม่น้อยกว่า ๓๗,๒๕๓,๔๓๓ บาท
ยกย่องเชิดชูเกียรติบุคคลต้นแบบ ได้แก่ ศิลปินร่วมสมัยดีเด่นรางวัล “ศิลปาธร” (สาขาทัศนศิลป์ สาขาสถาปัตยกรรม
สาขาวรรณศิลป์ สาขาดนตรี สาขาศิลปะการแสดง สาขาศิลปะการออกแบบ และสาขาภาพยนตร์และสื่อเคลื่อนไหว)
ยกย่องเชิดชูเกียรติจ่าสิบเอกทวี บูรณเขตต์ ศิลปาจารย์ ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ และเผยแพร่ผลงานศิลปะของ
ศิลปินแห่งชาติ “๘๘ ปี การเดินทางของชีวิตอินสนธิ์ วงค์สาม” ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์และวีดิทัศน์ของ
ประเทศไทย อาทิ เปิดตัว “โขนภาพยนตร์ห นุมาน WHITE MONKEY” ฉายรอบปฐมทัศน์ เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม
๒๕๖๕ จัดกิจกรรมอนุรักษ์ สืบสาน วัฒนธรรม ประเพณี อัตลักษณ์ความเป็นไทย อาทิ จัดงาน “ลอยกระทงวิถีใหม่
สืบสาน ประเพณีไทย สู่ความยั่งยืน” เพื่ออนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมไทยให้คงอยู่สืบไป และจัดกิจกรรม “ส่งสุขวิถีใหม่
สืบสานวิถีไทย ปลอดภัยสร้างสรรค์” เช่น จัดกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี ต้อนรับศักราชใหม่ ๒๕๖๖ เป็นต้น

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๓๙39
๗.๓.๒ ปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีทางด้านคุณธรรม จริยธรรม กตัญญู ความซื่อสัตย์ การมีวินัย
เคารพกฎหมาย มีจิตสาธารณะและมีส่วนร่วมทาประโยชน์ให้ประเทศและเป็นพลเมืองที่ดี ได้จัดกิจกรรมที่สาคัญ
เช่น ปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม และค่านิยมความเป็นไทย ผ่านโครงการ
เข้าวัดปฏิบัติธรรมวันธรรมสวนะ อบรมผู้นาเยาวชนศาสนิกสัมพันธ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ เพื่อให้
เยาวชนได้มีโอกาสทากิจกรรมร่วมกัน เข้าใจข้อปฏิบัติที่ต่างกัน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน จัดงาน “สมัชชา
คุณ ธรรมแห่งชาติ ครั้ งที่ ๑๒ ภายใต้ แ นวคิด Sustainable with Moral : อยู่ร อด อยู่ร่ วม สังคมไทยเป็น สุข
อย่ า งยั่ ง ยื น ” เพื่อเป็ น เวที กลางขององค์ กรเครื อ ข่า ยทางสั ง คมให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ “ชม แชร์ เชียร์ ”
การกาหนดแนวทางการส่งเสริมคุณธรรม ส่งเสริมเครือข่ายทางสังคมต่อต้านการทุจริตด้วยมิติทางวัฒนธรรม
และมิติด้านสังคม “MORAL FIGHT CORRUPTION” เพื่อพัฒนายกระดับกลไกเครือข่า ยทางสังคม มอบรางวัล
ผู้ทาคุณ ประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม รางวัล “วัฒนคุณ าธร” ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยมี
ผลการคัดเลือก จานวน ๓๙๕ รางวัล ใน ๓ ประเภท ได้แก่ ประเภทเด็กและเยาวชน ประเภทบุคคล และประเภท
นิติบุคคลหรือคณะบุคคล และเปิดตัวสื่อสร้างสรรค์การ์ตูนแอนิเมชัน ชุดขบวนการแก้จน เมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม
๒๕๖๕ เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเด็กเยาวชนและผู้รับชมทั่วไปให้หันมาสนใจอาหารไทย

๗.๓.๓ ทานุบารุงศาสนาให้มีความเข้มแข็ง ได้จัดกิจกรรมที่สาคัญ เช่น จัดถวาย “ทุนการศึกษาสาหรับ


พระภิกษุสามเณร” ที่กาลังศึกษาในสานักเรียนพระปริยัติธรรม แผนกบาลี ระดับเปรียญธรรม ประโยค - เปรียญธรรม
๘ ประโยค ในส่วนกลาง (กรุงเทพมหานคร) จานวน ๒๒๐ ทุน ๆ ละ ๕,๐๐๐ บาท จัดงาน “มหกรรมพุทธธรรม
นาสื่อสร้างสันติสุข ” เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชนเข้าถึงคาสอนนาไปใช้ในชีวิต อาทิ กิจกรรม Walk rally
สายบุญไหว้พระรัตนตรัย บูรณปฏิสังขรณ์วัดและพระอารามหลวง จานวน ๑,๐๓๕ แห่ง อุดหนุนสมทบการก่อสร้าง
ปรั บ ปรุ ง เตาเผาศพปลอดมลพิ ษ รวมทั้ ง สิ้ น ๓๔ แห่ ง ด าเนิ น โครงการค่ า ยคุ ณ ธรรมและศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้
พระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล มีประชาชนและเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม จานวน ๓,๓๑๑ คน จัดกิจกรรมวันสาคัญ
ทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา และวันอื่น ๆ เพื่อให้ พุทธศาสนิกชน
เข้าร่วมบาเพ็ญกุศล

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
40(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๔๐
๗.๓.๔ สร้ า งความรู้ ความเข้า ใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของเพื่อนบ้า น ยอมรั บ
และเคารพในประเพณี วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์และชาวต่างชาติที่มีความหลากหลายในลักษณะพหุสังคม
ที่อยู่ร่วมกัน ได้จัดกิจกรรมที่สาคัญ เช่น โครงการเยาวชนเชื้อสายไทยคืนถิ่น ประจาปี ๒๕๖๕ เพื่อให้เยาวชนไทย
ในต่างประเทศได้มีโอกาสกลับมาเยื อนแผ่นดินของบรรพบุรุษ ตระหนักถึงความเป็นไทย ในปี ๒๕๖๕ มีเยาวชนไทย
เข้าร่วมจากถิ่นพานัก ๑๕ ประเทศทั่วโลก เช่น ญี่ปุ่น เบลเยียม และฝรั่งเศส เป็นต้น รวม ๔๐ คน จัดกิจกรรมเนื่องใน
โอกาสสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างประเทศไทยกับนานาชาติ อาทิ การจัดงานเนื่องในโอกาสครบรอบ
๑๓๕ ปี แห่งการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น ขับเคลื่อนงานด้านชาติพันธุ์
อาทิ การประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการพัฒนาฐานข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ จัดกิจกรรม “ภูษาอาเซียน” เพื่อน้อมสานึก
ในพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงพระวิริยะอุตสาหะปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการส่งเสริม อนุรักษ์ สืบสาน และต่อยอด
มรดกภูมิปัญญา “ผ้าไทย” จัดอบรมหลักสูตรพัฒนาภาวะความเป็นผู้นาศาสนามุสลิมยุคใหม่ ขับเคลื่อนสังคม
พหุวัฒนธรรมไทยสู่สันติ สุข เพื่อให้ผู้นาศาสนามีศักยภาพในการบริหารองค์กรและชุมชน และทาให้ศาสนิกชน
ที่มีความเชื่อถือในหลั กศาสนาที่แตกต่างกัน สามารถอยู่ร่วมกันได้ด้วยความเข้าใจอันดี จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
“เครื่ อ งมื อ เจ็ ด ชิ้ น ” ณ ชุ ม ชนมุ ส ลิ ม บ้ า นฮ่ อ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น พั ฒ นาศั ก ยภาพ
และตระหนักถึงความสาคัญ ในการเก็บข้อมูลชุมชนของตนเอง เพื่อเป็นรากฐานด้านทุนทางสังคมและวั ฒนธรรม
ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมอัตลักษณ์ และคุณค่าทางประวัติศาสตร์

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๔๑41
๗.๔ นโยบายหลักที่ ๔ การสร้างบทบาทของไทยในเวทีโลก
รั ฐ บาลให้ ค วามส าคั ญ กั บ การสร้ า งบทบาทของประเทศไทยในเวที โ ลกให้ มี บ ทบาทในการพั ฒ นา
และสร้างความร่วมมือกับประเทศต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมีผลดาเนินการที่สาคัญ ดังนี้
๗.๔.๑ การสร้างบทบาทที่สร้างสรรค์ของไทยในภูมิภาคและเวทีโลก ประเทศไทยได้ให้การต้อนรับ
และแลกเปลี่ยนการเยือนกับ ประเทศต่าง ๆ รวมทั้งเป็นเจ้าภาพและเดินทางไปเข้าร่วมการประชุมระหว่างประเทศ
ทั้งในกรอบทวิภาคี พหุภาคี รวมถึงเข้าร่วมการประชุมทางไกล
กับผู้แทนระดับสูงของมิตรประเทศอย่างต่อเนื่อง นามาสู่ผลงาน
ที่สาคัญ เช่น เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค
ครั้ ง ที่ ๒๙ (ระหว่ า งวั น ที่ ๑๘ - ๑๙ พฤศจิ ก ายน ๒๕๖๕)
รวมถึงการเยือนประเทศไทยในช่วงดังกล่าวของประธานาธิบดี
แห่ งสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ประธานาธิบ ดีแห่ งสาธารณรัฐ
ฝรั่งเศส และประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
การเสด็จพระราชดาเนิน เยือนประเทศไทยอย่างเป็น ทางการ
ของเจ้ า ชายมุ ฮั ม มั ด บิ น ซั ล มาน บิ น อั บ ดุ ล อะซี ซ อาล
ซะอูด มกุฎ ราชกุมาร และนายกรัฐ มนตรี แห่ งราชอาณาจั ก ร
ซาอุ ดี อ าระเบี ย (เมื่ อ วั น ที่ ๑๗ - ๑๙ พฤศจิ ก ายน ๒๕๖๕)
เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยเฉพาะในด้านการค้า
การลงทุ น และพลั ง งาน รวมถึ ง การจั ดตั้ งสภาความร่ วมมื อ
ซาอุดี - ไทย การขับเคลื่อนความร่วมมือตามแถลงการณ์ว่าด้วย
ความเป็ น พั น ธมิ ต รและหุ้ น ส่ ว นทางยุ ทธศาสตร์ ระหว่ า งไทย
และสหรั ฐ อเมริ ก า และบั น ทึ กความเข้ าใจระหว่ างรั ฐบาลไทย
กับรัฐบาลสหรัฐอเมริกาว่าด้วยการส่งเสริมความเข้มแข็งของห่วงโซ่
อุปทาน การลงนามร่ างกรอบความตกลงว่าด้วยความเป็นหุ้ นส่ วน
และความร่วมมือรอบด้านระหว่างไทยกับสหภาพยุโรปและรัฐสมาชิก
(Thailand - EU Comprehensive Partnership and Cooperation
Agreement: Thai - EU PCA) แผนปฏิ บั ติ ก ารร่ ว มว่ า ด้ ว ย
ความเป็ น หุ้ น ส่วนทางยุ ทธศาสตร์ร ะหว่างไทยกับออสเตรเลีย
ค.ศ. ๒๐๒๒ - ๒๐๒๕ (Joint Plan of Action to Implement the
Thailand - Australia Strategic Partnership 2022 - 2025)
ถ้อยแถลงร่วมระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลญี่ปุ่น เรื่องการยกระดับ
ความสั ม พั น ธ์ เ ป็ น หุ้ น ส่ ว นทางยุ ท ธศาสตร์ อ ย่ า งรอบด้ า น
แผนปฏิบัติการร่วมว่าด้วยความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ไทย - จีน
ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) แผนความร่วมมือไทย - จีน ว่าด้วย

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
42
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๔๒
การร่ ว มกั น ส่ ง เสริ ม เส้ น ทางเศรษฐกิ จ สายไหมและเส้ น ทาง
สายไหมทางทะเลแห่งศตวรรษที่ ๒๑ แผนปฏิบัติการเพื่อดาเนิน
ความเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ที่เข้มแข็งระหว่างไทย - เวียดนาม
ระยะปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ การขั บ เคลื่ อ นความร่ ว มมื อ
ด้านความมั่น คง เศรษฐกิจ การพัฒ นา สั งคมและวัฒ นธรรม
และการเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานระหว่างไทยกับมาเลเซีย ครั้งที่ ๑๔
และการประชุมคณะกรรมการว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วม
สาหรับพื้นที่ชายแดนระดับรัฐมนตรีไทย - มาเลเซีย ครั้งที่ ๕
การฟื้นฟูพลวัต และขับ เคลื่ อ นความร่ว มมื อ ด้านความมั่ น คง
เศรษฐกิจ การวิจัย สังคมและวัฒนธรรมระหว่างไทยกับอินเดีย
ในการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมคณะกรรมาธิ การร่วมว่าด้วย
ความร่ ว มมื อ ทวิ ภ าคี ไ ทย - อิ น เดี ย ครั้ ง ที่ ๙ เมื่ อ วั น ที่
๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๕ ซึ่งทั้งสองฝ่ายได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ
๒ ฉบั บ ได้ แ ก่ (๑) บั น ทึ ก ความเข้ า ใจว่ า ด้ ว ยการวิ จั ย
ทางการแพทย์ และ (๒) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือ
การกระจายเสียงและแพร่ภ าพ นอกจากนี้ รัฐบาลยังประสบ
ความสาเร็จในการสนับสนุนให้สานักงานคณะกรรมการกิจการ

กระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น์ และกิ จ การโทรคมนาคม


แห่ ง ชาติ (กสทช.) ได้ รั บ เลื อ กตั้ ง เป็ น สมาชิ ก สภาบริ ห าร
ของสหภาพโทรคมนาคมระหว่ า งประเทศ (Council of
International Telecommunication Union: ITU Council)
วาระปี ค.ศ. ๒๐๒๓ - ๒๐๒๖ และผลั ก ดั น ให้ ก ารสมั ค ร
ของประเทศไทยในตาแหน่งสมาชิก คณะมนตรีสิทธิมนุษยชน
แห่งสหประชาชาติ (United Nations Human Rights Council:
UNHRC) วาระปี ค.ศ. ๒๐๒๕ - ๒๐๒๗ ได้รับการรับรองให้เป็น
ผู้สมัครอาเซียน (ASEAN Candidate)

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๔๓43
๗.๔.๒ การสร้ างความเป็นปึ กแผ่นของอาเซี ยน เช่น การประชุมสุ ดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๔๐ และ ๔๑
และการประชุมสุดยอดที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ ๑๐ - ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ที่กรุงพนมเปญ ซึ่งจัดขึ้นในหัวข้อ “อาเซียน
เอ.ซี .ที : รั บ มื อ ความท้ า ทายร่ ว มกั น ” (ASEAN A.C.T.: Addressing Challenges Together) โดยไทยได้ ผ ลั ก ดั น
ประเด็นการเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน การเติบโตสีเขียว การพัฒนาที่ยั่งยืน การเกษตรอัจฉริยะ
โมเดลเศรษฐกิจ BCG ตลอดจนการส่งเสริมบรรยากาศแห่งสันติภาพและความร่วมมือที่สร้างสรรค์ในภูมิภาค และการจัดทา
วิสัยทัศน์ประชาคมอาเซียนภายหลังปี ค.ศ. ๒๐๒๕ การแก้ไข
ปัญหาสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงและสันติภาพ
ของอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานการณ์ในเมียนมา โดยไทย
แสดงความพร้อมให้ความร่วมมือกับทุกฝ่าย และให้ความสาคัญ
กับการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ประชาชนเมียนมา
รักษาการมีปฏิสัมพันธ์กับเมียนมา การจัดทาแผนการดาเนินงาน
ตามฉัน ทามติ ๕ ข้อ ของผู้ นาอาเซียน การหาจุ ดเชื่อมโยง
ระหว่างฉันทามติ ๕ ข้อของอาเซียนกับแผนงาน ๕ ข้อของเมียนมา (5-Point Roadmap) การส่งเสริมความเป็นหุ้นส่วน
ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการพัฒนาที่ยั่งยืนในประชาคมอาเซียน โดยสนับสนุนการให้สัตยาบันความตกลงหุ้นส่วน
ทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP) ของประเทศภาคีทุกประเทศ
เพื่อช่วยขยายโอกาสการค้าการลงทุนให้ผู้ประกอบการไทย และจัดกิจกรรมในกรอบอาเซียนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน
เ ช่ น ASEAN BCG Knowledge Sharing Series: Planting the Seeds for Sustainable Agriculture in ASEAN
ด้านพลังงานทดแทน เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๕ และ Regional Pathways to the Global Goals: ASEAN’s
Approach towards SDGs Implementation and Sustainable Post-COVID-19 Recovery ในช่ ว งการประชุ ม
สมัชชาสหประชาชาติ สมัยสามัญ ครั้งที่ ๗๗ เมื่อเดือนกันยายน ๒๕๖๕ รวมทั้งเข้าร่วมการประชุมผู้นาสตรีอาเซียน
ครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๕ ที่กรุงพนมเปญ เพื่อส่งเสริมบทบาทของสตรีในอาเซียนในการประกอบธุรกิจ
อย่างยั่งยืน และส่งเสริมบทบาทของผู้ประกอบการสตรีในการสนับสนุนเศรษฐกิจของอาเซียน

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
44(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๔๔
๗.๔.๓ การส่งเสริมความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม เช่น ใช้โอกาสการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม
ผู้ น าเขตเศรษฐกิ จ เอเปค ผลั ก ดั น การรั บ รองเอกสารผลลั พ ธ์ ก ารประชุ ม ที่ จ ะช่ ว ยทบทวนการหารื อ เรื่ อ ง
เขตการค้าเสรีเอเชีย-แปซิฟิก ซึ่งมีการรับรองแผนงานที่ต่อเนื่องถึงปี ๒๕๖๙ และการฟื้นฟูการเดินทางข้ามพรมแดน
ที่ปลอดภัยและไร้รอยต่อ โดยได้ผลักดันข้อเสนอ Inclusive APEC Business Travel Card (ABTC) เพื่อฟื้นฟูการเดินทาง
ข้ ามพรมแดนและเศรษฐกิ จ จากสถานการณ์ ก ารระบาดของโควิ ด -๑๙ ซึ่ ง ได้ รั บ ฉั น ทามติ จ ากกลุ่ ม ผู้ เ ชี่ ย วชาญ
ด้านการเคลื่อนย้ายนักธุรกิจ (Business Mobility Group: BMG) ภายใต้คณะกรรมการว่าด้วยการค้าและการลงทุน
ของเอเปค เมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๕ ส่งผลให้มีการใช้บัตร ABTC อย่างครอบคลุมมากขึ้นสาหรับกลุ่มผู้ประกอบการ
SMEs และผู้ บริหารระดับกลางของภาคเอกชนให้ สามารถสมัครบั ตร ABTC ได้ เพื่อเดินทางในเขตเศรษฐกิจเอเปคได้
โดยไม่ต้องขอรับการตรวจลงตรา (ยกเว้นสหรัฐอเมริกาและแคนาดา) รวมทั้งได้สิทธิ์ในการใช้ Fast Lane ในการเข้าเมือง
เพื่อเดินทางไปติดต่อธุรกิจ รวมทั้งการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล การเสริมพลังสตรี การมีส่วนร่วมของวิสาหกิจขนาดกลาง
ขนาดเล็ก และรายย่อย และการผลักดันเป้าหมายกรุงเทพฯ ว่าด้วยเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ
สีเขียว เพื่อให้โมเดลเศรษฐกิจ BCG เป็นมาตรฐานสากลในการดาเนินธุรกิจ การค้า การลงทุนอย่างเป็นธรรม นอกจากนี้
ยังได้ส่งเสริมความร่วมมือเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน อาทิ จัดทาบทความภาษาต่างประเทศ เพื่อเผยแพร่พระราชกรณียกิจ
และพระเกี ยรติ คุ ณด้ านการพั ฒนาที่ ยั่ งยื นของสถาบันพระมหากษั ตริ ย์ ไทย ด าเนิ นความร่ วมมื อเพื่ อ การพั ฒ นากั บ
ต่างประเทศอย่ างต่อเนื่ อง ขับ เคลื่ อนภารกิจ การทูตเพื่อการพัฒ นาที่ยั่งยืน (SDGs Diplomacy) ผ่านการเข้าร่วม
หรือจัดประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ และจัดงาน Global
South - South Development Expo 2022 (GSSD Expo
2022) เพื่ อแลกเปลี่ ย นองค์ ความรู้ และแนวปฎิ บั ติ ที่ ดี
ด้ า นความร่ ว มมื อ เพื่ อ การพั ฒ นา และหารื อ แนวทาง
ในการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมจากสถานการณ์โควิด-๑๙
สู่อนาคตที่ยั่งยืนที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๑๒ - ๑๔ กันยายน
๒๕๖๕ ในหั วข้ อ “Advancing South - South and
Triangular Cooperation for Sustainable COVID-19
Recovery: Towards a Smart and Resilient Future”
รวมทั้งจัดกิจกรรมศึกษาดูงาน และประชาสัมพันธ์สินค้า
และวั ฒ นธรรมไทยในต่ า งประเทศ อาทิ การจั ด งาน
เทศกาลไทยในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วโลก ตลอดจนจัดการศึกษา
ดูงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ อาทิ โครงการ
น าคณะทูตและกงสุ ล ต่างประเทศประจาประเทศไทย
พร้ อ มคู่ ส มรสทั ศ นศึ ก ษาโครงการอั น เนื่ อ งมาจาก
พระราชดาริ ประจาปี ๒๕๖๕ ที่จังหวัดลพบุรี และจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ ๑๐ - ๑๑ สิงหาคม ๒๕๖๕ และการนาคู่สมรสผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์
ศิลป์แผ่นดินจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในช่วงการประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปค เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๕

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชา นายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรี ปีีปีที่่ท� ี่ ๔๔
(๒๕ กรกฎาคม
(๒๕ กรกฎาคม -- ๓๑
๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๔๕45
การจั ด ประชุ มใหญ่ สหพั น ธ์ สภาบิ ชอปแห่ งเอเชี ย (Summit of the Federation of Asian
Bishops’ Conferences) เนื่องในโอกาสครบรอบ ๕๐ ปี โดยสภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทย
ซึ่งเป็นองค์การทางศาสนาในความอุปถัมภ์ของกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรมเป็นเจ้าภาพการจัดการประชุมใหญ่
สหพันธ์สภาบิชอปแห่งเอเชีย เนื่องในโอกาสครบรอบ ๕๐ ปี (Summit of the Federation of Asian Bishops’ Conferences)
จัดการประชุมระหว่างวันที่ ๙ - ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๕ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจากสมาชิกของสหพันธ์บิชอปแห่งเอเชีย
จานวน ๓๑ ประเทศ และผู้เข้าร่วมประชุมในนามรัฐบาลไทย รวมทั้งสิ้น ๒๗๐ คน ซึ่งการประชุมในครั้งนี้ประกอบด้วย
๓ ประเด็นหลัก ได้แก่ (๑) การหารือเรื่องสถานการณ์ปัจจุบัน ของเอเชียในบริบ ททางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง
ศาสนาและวัฒ นธรรม (๒) การไตร่ต รองร่ว มกัน ถึง แนวทางการใช้คาสอนของศาสนจัก รให้ส อดคล้ อ งกั บ
สถานการณ์ ต่ า ง ๆ ในเอเชี ย และ (๓) ทบทวนหลั ก ธรรมเพื่ อ ก าหนดแนวทางการด าเนิ น งานของศาสนจั ก ร
ในช่วงศตวรรษต่อไป

การประชุมใหญ่สามัญประจาปี ๒๐๒๒ Advisory Committee and Annual General Assembly


and Scientific Symposian 2022 ของสภาการโบราณสถานระหว่างประเทศ (ICOMOS) และการประชุมวิชาการ
นานาชาติในการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรม ระหว่างวันที่ ๒๕ - ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ ณ หอวชิราวุธานุสรณ์ หอสมุด
แห่งชาติ โดยมีสมาชิกอิโคโมสจากนานาประเทศเข้าร่วมกว่า ๑๒๐ คน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและรับทราบ
ความคืบหน้าของกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ซึง่ การประชุมครั้งนี้
นับเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม โดยมีกิจกรรมแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ การประชุมใหญ่สามัญ
ของอิโคโมส ซึ่งจากัดเฉพาะผู้ที่เป็นสมาชิกอิโคโมสสากลเท่านั้น และการประชุมวิชาการนานาชาติประจาปีที่เปิดให้บุคคล
ทั่วไปที่มีความสนใจในเรื่ องของการอนุรั กษ์แหล่งมรดกวัฒ นธรรมเข้ารับฟัง และร่วมแสดงความคิดเห็นได้ ทั้งนี้
ประเทศไทยมี ก ารน าเสนอแหล่ ง มรดกทางวั ฒ นธรรมที่ ก าลั ง เสนอเพื่ อ ขึ้ น บั ญ ชี ม รดกโลก ในปี ๒๕๖๖ ได้ แ ก่
เมืองโบราณศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ และอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี เพื่อแสดงให้อิโคโมส
ได้เห็ น ความคืบ หน้ าการดาเนิน การเสนอแหล่ งมรดกโลกทางวัฒนธรรมของ ๒ แหล่ งนี้ รวมทั้งแผนงานอนุรักษ์
และพัฒนาที่ประเทศไทยได้ทาควบคู่กันไป ซึ่งจะทาให้ได้ประโยชน์ทางอ้อมในการสนับสนุนการนาเสนอมรดกโลก
ครั้งนี้ และเป็นการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ให้ทั่วโลกได้รับรู้ว่าประเทศไทยมีมรดกมีอารยธรรมที่น่าสนใจ

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
46(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๔๖
๗.๔.๔ การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศด้านความมั่นคง ส่งเสริมให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้เป็นเขตปลอดและไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค และผลักดัน
ประเด็นด้านการแก้ไขปัญหาอาชญากรรมไซเบอร์ที่สอดคล้องกับประโยชน์ของไทย และให้ความช่วยเหลือด้านภัยพิบัติ
และมนุษยธรรมแก่มิตรประเทศ อาทิ ยูเครน เมียนมา อินโดนีเซีย ศรีลังกา อิหร่าน อัฟกานิสถาน และปากีสถาน
๗.๔.๕ การขับเคลื่อนการทูตเชิงรุกเพื่อประชาชน พัฒนางานการให้บริการด้านกงสุลได้จัดหน่วยหนังสือ
เดิ น ทางเคลื่ อ นที่ ใ ห้ บ ริ ก ารประชาชนในจั ง หวั ด ต่ า ง ๆ ตลอดจนเปิ ด
ให้ บ ริ การหนั ง สื อ เดิ น ทาง ๗ วั น ที่ส านั กงานหนั งสื อเดิน ทางชั่ ว คราว
ปทุมวันและบางใหญ่ พร้อมทั้งพัฒนาเครื่องรับคาร้องขอหนังสือเดินทาง
แบบบริ การด้วยตนเอง (เครื่ อง Kiosk) ให้ ส ามารถรับคาร้ องและชาระ
ค่าธรรมเนี ย มแบบเบ็ ดเสร็ จ ที่จุ ดเดี ย ว ให้ บริการด้านนิติกรณ์เ อกสาร
โดยจั ด หน่ ว ยบริ ก ารนิ ติ ก รณ์ เ อกสารเคลื่ อ นที่ เสริ ม สร้ า งบทบาท
และความเข้มแข็งของชุมชนไทยในต่างประเทศ โดยสถานเอกอัครราชทูต
และสถานกงสุลใหญ่ของไทยในต่างประเทศได้จัดกิจกรรมนันทนาการ
เชื่ อ มความสามั ค คี ใ นกลุ่ ม ชุ ม ชนไทยในต่ า งประเทศ กิ จ กรรมดนตรี
ศาสนา ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และกิ จ กรรมในโอกาสวั น ส าคั ญ ต่ า ง ๆ เช่ น
การสอนดนตรีไทยให้แก่ชุมชนไทยในเนเธอร์แลนด์ นอกจากนี้ ได้ร่วมกับ
ภาคประชาชน ภาคธุรกิจและภาคส่วนต่าง ๆ กาหนดประเด็นที่ประสงค์
จะดาเนินการร่ว มกับฝ่ายต่างประเทศหรือ เรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดีของต่างประเทศ
อันนามาซึ่ง ๓ ประเด็นจุดเน้น ได้แก่ การส่งเสริมขีดความสามารถของผู้ประกอบการ
ไทยในด้าน BCG การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับมาตรฐานการค้าด้านสิ่งแวดล้อม
ใหม่ ๆ และการเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดีด้านพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง รวมทั้ง
จั ด กิ จ กรรม APEC Media Focus Group และงานเสวนาทางวิ ช าการ หั ว ข้ อ
“ย้อนอดีต แลอนาคต : ถอดบทเรียนจากสนธิสัญญาไมตรีสาหรับการต่างประเทศ
ของไทย” เมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๕

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ เนิินนงานของรัั
งานของรัฐฐบาล
บาล พลเอก
พลเอก ประยุุ
ประยุททธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๔๗47
๗.๕ นโยบายหลักที่ ๕ การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขันของไทย
รั ฐ บาลได้รั กษาเสถียรภาพทางการคลั งของประเทศและเพิ่ มประสิ ทธิภ าพการบริห ารจัดการรายได้
และรายจ่ายภาครัฐ รักษาเสถียรภาพระบบการเงิน สร้างบรรยากาศส่งเสริมการลงทุนของภาคธุรกิจและการจับจ่าย
ใช้สอยของภาคครัวเรือน โดยมีผลการดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี้
๗.๕.๑ เศรษฐกิจมหภาค การเงินและการคลัง
๑) ดาเนินนโยบายการเงินการคลัง เพื่อให้เศรษฐกิจไทยสามารถตอบสนองต่อความผันผวน
ของเศรษฐกิจโลก เช่น ส่งเสริมการเข้าถึงแหล่งเงินทุน ให้แก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคโควิด-๑๙ โดยสนับสนุนสินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยเป็นธรรมให้แก่กลุ่มประชาชนฐานรากและผู้ประกอบการรายย่อย
ตั้งแต่ปี ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ จานวน ๕.๘๒ ล้านราย เป็นเงิน ๗๕๕,๑๙๒ ล้านบาท ปรับลดโครงสร้างดอกเบี้ย/ลดภาระ
ดอกเบี้ยสินเชื่อ เช่น ปรับลดอัตราดอกเบี้ยจานาทะเบียนรถในตลาด จากร้อยละ ๒๘ ต่อปี เป็นร้อยละ ๑๖ - ๑๘ ต่อปี
มีผู้ได้รับสินเชื่อ จานวน ๑.๔๓ ล้านราย เป็นเงิน ๓๑,๖๐๑ ล้านบาท ดาเนินโครงการสินเชื่อต่าง ๆ เช่น (๑) โครงการ
ให้สินเชื่อแก่ผู้ประกอบธุรกิจภายใต้พระราชกาหนดการให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบ
จากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยมีผู้ประกอบการได้รับความช่วยเหลือ จานวน
๙๖๑ ราย วงเงิน ๒,๕๙๑.๔๘ ล้านบาท (๒) โครงการสินเชื่อ SMEs Re - Start มีผู้ประกอบการได้รับความช่วยเหลือ
จานวน ๑,๑๔๐ ราย วงเงิน ๒,๐๓๒.๖๖ ล้านบาท (๓) โครงการสินเชื่อธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (BCG Loan)
มีผู้ประกอบการได้รับความช่วยเหลือ จานวน ๒๖๙ ราย วงเงิน ๑,๖๗๐.๖๐ ล้านบาท
๒) กากับดูแลวินัยการเงินการคลัง รัฐบาลได้ดาเนินการตามพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลัง
ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ และติดตามกากับดูแลการดาเนินการตามพระราชบัญญัติดังกล่าว เช่น จัดทารายงานความเสี่ยง
ทางการคลังประจาปีงบประมาณ จัดทาแผนการคลังระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ - ๒๕๗๐)
๓) ปฏิรูปโครงสร้างรายได้ภาครัฐ เช่น จัดทาแผนการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการให้บริการ
ทางอิเล็กทรอนิกส์จากต่างประเทศ (e-Service) เช่น พัฒนาระบบการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มทางอิเล็กทรอนิกส์
(VAT for Electronic Service: VES) มีผู้ประกอบการลงทะเบียนผ่านระบบฯ จานวน ๑๔๕ ราย ติดตามการเบิกจ่าย
งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ ในปี ๒๕๖๕ รัฐวิสาหกิจมีผลการเบิกจ่ายงบลงทุนมากกว่า ๓๒๕,๐๐๐ ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
๙๓ ของกรอบลงทุนทั้งปี
๔) ปฏิรูประบบการออม เช่น โครงการส่งเสริมการออม
ผ่านการลงทุนในพันธบัตรออมทรัพย์ (Savings Bond) และเผยแพร่ความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับตราสารหนี้ภาครัฐแก่ประชาชนทั่วไป โดยจาหน่ายพันธบัตร
ออมทรัพย์ จานวน ๒ ครั้ง วงเงินรวม ๕๙,๑๗๕.๐๙๔ ล้านบาท การพัฒนา
แพลตฟอร์มสนับสนุน/ส่งเสริมการปลูกฝังการออม ให้ความรู้ทางการเงิน
และสร้างวินัยทางการเงิน ยกระดับสู่การออมเพื่อวัยเกษียณ หรือการวางแผน
การออมเพื่ อการเกษี ยณ ผ่ านเครื่ องมื อวางแผนทางการเงิ นบน Mobile
Application (โค้ชออม) มีผู้เข้าใช้งานสะสม จานวน ๖,๓๖๒ ราย โครงการ
เพิ่มสมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติ มีสมาชิกสะสม จานวน ๒.๕๑ ล้านราย

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
48(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๔๘
๕) สร้ า งแพลตฟอร์ ม เพื่ อ ใช้ ใ นการออกแบบนวั ต กรรม โดยพั ฒ นาแพลตฟอร์ ม ดิ จิ ทั ล
เพื่อสนับสนุนการให้บริการทางการเงิน และการให้บริการสินเชื่อ การพักชาระหนี้ และการปรับโครงสร้างหนี้ให้กับ
ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-๑๙ มีประชาชนที่ได้รับความช่วยเหลือ จานวน ๒.๓๓ ล้านราย
๗.๕.๒ การพัฒนาภาคอุตสาหกรรม
๑) พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมภายใต้ BCG Economy
Model เช่น การส่งเสริมการออกแบบตามหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน
(Design for Circular Economy) เพื่ อ การใช้ ท รั พ ยากรอย่ า งยั่ ง ยื น
การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสาหรับอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ
การพัฒนาต้นแบบการจัดการแบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้าใช้แล้วเพื่อนากลับมา
ใช้เป็นอุปกรณ์กักเก็บพลังงาน

๒) พัฒนาอุตสาหกรรมไทยให้สามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีหรือแนวโน้ม
การค้าโลก เช่น พัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมด้วยหุ่นยนต์ระบบอัตโนมัติและดิจิทัล โดยให้คาปรึกษาแนะนาเชิงลึก
ในการพัฒนาต้นแบบและการปรับปรุงประสิทธิภาพต้นแบบเทคโนโลยีและนวัตกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติให้แก่
ผู้ประกอบการ/สถานประกอบการ ดาเนินโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Innovation
and Technology Assistance Program: ITAP) โดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ
ในประเทศไทย (Center of Robotic Excellence: CORE) โครงการอบรมหลั ก สู ต ร (๑) System Integrator (SI)
และผู้ใช้งาน (Users) รวมทั้งสิ้น ๒,๘๐๙ คน (ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๕) บ่มเพาะ Startup ที่เป็น System Integrator
(SI Startup) จานวน ๗๐ กิจการ (ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓) และขึ้นทะเบียน System Integrator (SI) รวมจานวน
๑๒๐ กิจการ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) รวมทั้งดาเนินโครงการที่สนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย เช่น การพัฒนา
Smart Mine การพัฒนาและยกระดับสถานประกอบการอุตสาหกรรมพื้นฐานเข้าสู่อุตสาหกรรม ๔.๐

๓) ส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยในปี ๒๕๖๕ (เดือนมกราคม - ธันวาคม ๒๕๖๕)


มีโครงการขอรับการส่งเสริมการลงทุนทั้งสิ้น ๒,๑๑๙ โครงการ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๔๑ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกับปี ๒๕๖๔
(เดือนมกราคม - ธันวาคม ๒๕๖๕) และมีเงินลงทุน ๖๖๔,๖๓๐ ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ ๓๙ ซึ่งเป็นมูลค่าสูงสุด
นับตั้งแต่เกิดสถานการณ์โรคโควิด-๑๙ โดยเป็นการขอรับการส่งเสริมการลงทุนใน ๑๒ อุตสาหกรรมเป้าหมาย มูลค่า
๔๖๘,๖๖๘ ล้ า นบาท คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ ๗๑ ของมู ล ค่ า การขอรั บ การส่ ง เสริ ม ทั้ ง หมด โดยเงิ น ลงทุ น ส่ ว นใหญ่
อยู่ในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มูลค่า ๑๒๙,๔๗๕ ล้านบาท และอุตสาหกรรมอื่น เช่น อุตสาหกรรม

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๔๙49
ยานยนต์และชิ้นส่วน มูลค่า ๑๐๕,๓๗๑ ล้านบาท อุตสาหกรรมเกษตรและแปรรูปอาหาร มูลค่า ๘๑,๗๓๑ ล้านบาท
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ มูลค่า ๕๙,๗๖๒ ล้านบาท และอุตสาหกรรมดิจิทัล มูลค่า ๔๙,๔๕๘ ล้านบาท
๔) สนับสนุน การลงทุน ในโครงสร้ า งพื้น ฐานสาหรั บอุ ต สาหกรรมดิ จิ ทัล โดยในปี ๒๕๖๕
(เดือนมกราคม - ธันวาคม ๒๕๖๕) คณะกรรมการส่ งเสริมการลงทุน (The Board of Investment of Thailand: BOI)
ได้ อ นุ มั ติ ใ ห้ ก ารส่ ง เสริ ม การลงทุ น กิ จ การ Data Center ในประเทศไทยของ Amazon Web Services (AWS)
ซึ่งเป็นบริษัทเทคโนโลยีชั้นนาของสหรัฐอเมริกา มูลค่าเงินลงทุน ๒๔,๘๑๐ ล้านบาท โดยจะมีการพัฒนา Region
ในประเทศไทย ที่ชื่อว่า AWS Asia Pacific (Bangkok) ซึ่ง Region แห่งใหม่นี้จะประกอบด้วย Availability Zone
จานวน ๓ แห่ง เพิ่มเติมจากที่มีอยู่แล้ว ๘๗ แห่งใน ๒๗ ภูมิภาคทั่วโลก ทั้งนี้ AWS วางแผนที่จะลงทุนในประเทศไทย
มากกว่ า ๕,๐๐๐ ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ หรื อ ๑.๙ แสนล้ า นบาท ในระยะเวลา ๑๕ ปี นอกจากนี้ ยั ง ได้ อ นุ มั ติ
ให้การส่งเสริมการลงทุนกิจการ Data Center อีก ๒ โครงการ รวมมูลค่าการลงทุน ๕,๕๒๕ ล้านบาท
๕) สร้างกลไกสนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถของผู้ประกอบการรายใหม่ โดยพัฒนาระบบบริการ
ภาครัฐ เช่น ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสาหรับวิสาหกิจขนาดกลาง ขนาดย่อม และขนาดย่อย (Micro, Small
and Medium Enterprise: MSME) ปรับปรุงและพัฒนาฐานข้อมูลให้ทันสมัยและมีประสิ ทธิภาพ อานวยความสะดวก
ในด้านการต่ออายุ ห นั งสื อรั บ รองการขึ้นทะเบี ย นให้ แก่ MSME ผ่ าน www.thaismegp.com โดยมีผู้ ล งทะเบียน
ในระบบฯ จานวนกว่า ๑๔๒,๐๐๐ ราย มีสินค้าและบริการ จานวนกว่า ๑.๑๐๗ ล้านรายการ มีผู้เข้าใช้บริการระบบ
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐสาหรับ MSME จานวนกว่า ๒.๐๔ ล้านครั้ง และมีผู้ประกอบการขอต่ออายุหนังสือรับรอง
การขึ้นทะเบียน จานวนกว่า ๕๑,๐๐๐ ราย ให้บริการคาปรึกษาด้านทรัพย์สินทางปัญญาผ่านศูนย์ให้คาปรึกษา
ด้ า นทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา (Intellectual Property Advisory Center: IPAC) มี ผู้ เ ข้ า รั บ บริ ก าร จ านวนกว่ า
๓,๖๐๐ ครั้ง
๖) พั ฒ นาระบบและกลไกภาครั ฐ และสภาพแวดล้ อ มให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการสนับสนุน
ผู้ประกอบการ เช่น ส่งเสริมและสนับสนุนการรับซื้อไฟฟ้าจากวัสดุเหลือใช้จากอ้อย (ใบและยอดอ้อย) มาเป็น
พลังงานทางเลือกเป็นการเฉพาะเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า โดยไม่ต้องขออนุญาตเพิ่มเติมประเภท/โครงการใหม่ในการจัดทา
รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ให้กับโรงงานน้าตาลทรายและโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าชีวมวล
ซึ่งคณะกรรมการกากับกิจการพลังงานได้ให้ความเห็นชอบเรียบร้อยแล้ว
๗) ส่งเสริมการผลิตรถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า
(๑) มาตรการสนับสนุนการใช้ยานยนต์ไฟฟ้ารถยนต์และรถจักรยานยนต์ โดยแบ่งเป็น รถยนต์
จานวน ๑๘,๑๐๐ คัน ซึ่งจะได้รับเงินอุดหนุนคันละ ๑๕๐,๐๐๐ บาท รถจักรยานยนต์ จานวน ๘,๘๐๐ คัน ซึ่งจะได้รับ
เงินอุดหนุนคันละ ๑๘,๐๐๐ บาท และเงินสาหรับโครงการออกแบบและพัฒนาระบบการบริหารจัดการตามมาตรการ
สนับสนุนการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าประเภทรถยนต์และรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า
(๒) คณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น (The Board of Investment of Thailand: BOI)
ได้อนุมัติการส่งเสริมการลงทุนในกิจการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าแล้ว รวมทั้งสิ้น ๒๖ โครงการ (จาก ๑๗ บริษัท) มูลค่าเงินลงทุน
(ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) จานวน ๘๐,๑๖๒ ล้านบาท ดังนี้

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
50(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๕๐
ตารางเเสดงการส่งเสริมการลงทุนในกิจการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า
มูลค่าเงินลงทุน
การส่งเสริมการลงทุนในกิจการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า
(ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน)
การผลิต Hybrid Electric Vehicle (HEV) จานวน ๗ โครงการ ๓๘,๖๒๔ ล้านบาท
การผลิต Plug-in Hybrid Electric Vehicle (PHEV) จานวน ๘ โครงการ ๑๑,๖๑๙ ล้านบาท
ผลิต Battery Electric Vehicle (BEV) จานวน ๑๕ โครงการ ๑๑,๖๑๙ ล้านบาท
การผลิต Battery Electric Bus จานวน ๒ โครงการ ๒,๑๗๔ ล้านบาท
รวมกาลังการผลิตยานยนต์ที่ได้รับอนุมัติ จานวน ๘๓๘,๗๗๕ คัน ทั้งนี้ คณะกรรมการ
ส่งเสริมการลงทุนได้ออกบัตรส่งเสริมแล้ว จานวน ๑๗ โครงการ และมีแบรนด์ที่ผลิตเชิงพาณิชย์แล้ว จานวน ๑๑ แบรนด์
นอกจากนี้ ยังอนุมัติการส่ งเสริ มในกิจ การผลิ ตชิ้นส่ว นและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับยานพาหนะไฟฟ้าแล้ว จานวน
๓๖ โครงการ มูลค่าเงินลงทุน (ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน) ๑๘,๓๕๘ ล้านบาท รวมถึงกิจการสถานีบริการ
อัดประจุไฟฟ้าสาหรับยานพาหนะไฟฟ้า (Charging Station) จานวน ๕ โครงการ มูลค่าเงินลงทุน (ไม่รวมค่าที่ดิน
และทุนหมุนเวียน) ๒,๑๗๕ ล้านบาท รวมจานวน ๙,๐๓๖ หัวจ่าย (ข้อมูล ณ วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๕)
(๓) ผลั กดัน การส่ งเสริ มกลไกเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยให้ ความส าคัญกับ
การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น จัดทามาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับยานยนต์ไฟฟ้าและสถานีอัดประจุไฟฟ้ารวมทั้งสิ้น
๑๒๒ เรื่อง จากแผนการจัดทาทั้งหมด ๑๓๘ เรื่อง (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม ๒๕๖๕) และได้ส่งเสริมให้เกิดการวิจัย
และพัฒนา โดยการสร้างศูนย์ทดสอบยานยนต์และยางล้อแห่งชาติ รวมทั้งศูนย์ ทดสอบและรับรองแบตเตอรี่สาหรับ
ยานยนต์ไฟฟ้าตามมาตรฐานสากลตั้งอยู่ในบริเวณศูนย์ทดสอบยานยนต์และยางล้อแห่งชาติ (Automotive and Tyre
Testing, Research and Innovation Center: ATTRIC) จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นศูนย์ทดสอบแห่งแรกในอาเซียน
๗.๕.๓ การพัฒนาภาคเกษตร
๑) ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตที่เหมาะสม และไม่ก่อให้เกิดภาระทางการเงินการคลัง
ของภาครัฐ เช่น จัดให้มีมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มรายได้และลดต้นทุนการเกษตรครบวงจร เช่น จัดหา
แม่พันธุ์พืชพันธุ์ดี จานวน ๕๗,๕๐๙ ต้น ผลิตพันธุ์สัตว์พันธุ์ดี จานวน ๐.๑๑ ล้านตัว พัฒนาทรัพยากรดิน เช่น พัฒนา
คุณภาพดินตามปัญหาดินให้เหมาะสมในการทาเกษตรกรรม จานวน ๑๕๐ ไร่ ยกระดับการพัฒนาหมอดินอาสาให้มีส่วนร่วม
และต่อยอดศูนย์ปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน จานวน ๙,๙๙๓ ราย พัฒนาแหล่งน้า เช่น ขุดสระน้าในไร่นานอกเขตชลประทาน
จานวน ๗๘ บ่ อ ระบบส่งเสริ มเกษตรแบบแปลงใหญ่ โดยส่ งเสริมและพัฒนาเกษตรแปลงใหญ่ จานวน ๙ แปลง
ยกระดับและส่งเสริมมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP)/หลักเกณฑ์วิธีการที่ดี
ในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practice: GMP) ฝึกอบรมการจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพแก่เกษตรกร

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๕๑51
๒) พัฒนาองค์กรเกษตรกรและเกษตรกรรุ่นใหม่ โดยพัฒนาเกษตรกรให้เป็น Young Smart
Farmer และพัฒนาให้เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) จานวน ๑,๐๓๙ ราย
๓) ส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตร เช่น ส่งเสริมเกษตรปลอดภัย โดยกาหนด
มาตรฐาน ตรวจสอบปัจจัยการผลิตและศัตรูพืช จานวน ๑๖,๙๕๕ ตัวอย่าง ออกใบรับรอง จานวน ๑,๔๕๑ ฉบับ
และตรวจปัจจัยการผลิตนาเข้าและสินค้าจากผู้จาหน่ายปุ๋ย วัตถุอันตราย เมล็ดพันธุ์ ๒๗,๗๙๖ ราย ตรวจรับรอง
มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) จานวน ๑๗,๗๐๓ แปลง ๑๔๔,๖๕๗ ไร่
ตรวจรับรองมาตรฐานหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practice: GMP) จานวน ๔๘ โรงงาน
ตรวจประเมินแหล่งผลิตสัตว์น้า จานวน ๑,๗๘๙ แห่ง ตรวจประเมินฟาร์มและร้านค้าจาหน่ายสินค้าปศุสัตว์ จานวน
๑๓,๙๒๗ แห่ ง ๔๓,๔๒๙ ตั ว อย่ า ง ส่ ง เสริ ม เกษตรอิ น ทรี ย์ โดยตรวจรั บ รองแหล่ ง ผลิ ต พื ช และโรงงานแปรรูป
เพื่อรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ จานวน ๑๑๑ แปลง ๑,๙๒๘.๖๔ ไร่ ถ่ายทอดความรู้เกษตรอินทรีย์ ด้านพืช
ประมง ปศุสัตว์ ๓๙๙ ราย ส่งเสริมเกษตรชีวภาพ โดยส่งเสริมการผลิตแมลงเศรษฐกิจ (จิ้งหรีด) การผลิตพืชและแปรรูป
พืช สมุน ไพร ส่งเสริ มเกษตรแปรรู ป โดยส่ งเสริมการแปรรูป ในสหกรณ์ กลุ่ มเกษตรกร วิส าหกิจชุมชน จานวน
๒๒ แห่ง พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปข้าว ประมง และส่งเสริมเกษตรอัจฉริยะ โดยจัดทาแปลงเรียนรู้เกษตรอัจฉริ ยะ
จานวน ๕ แปลง ๑ โรงเรือน

๔) ดูแลเกษตรกรผู้มีรายได้น้อยให้สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ในที่ดินทากิน แหล่งเงินทุน
โครงสร้างพื้นฐาน และปัจจัยการผลิตต่าง ๆ เช่น จัดสรรที่ดินทากินให้แก่คนยากจนและกลุ่มเปราะบาง จานวน
๒๔๓ ราย พื้นที่ ๒๙๖ แปลง ๑,๔๖๓-๓-๓๒.๘๐ ไร่ และดาเนินโครงการสินเชื่อชุมชนสร้างไทย อัตราดอกเบี้ยร้อยละ
๐.๐๑ ต่อปี ระยะเวลา ๓ ปี มีการจ่ายสินเชื่อ จานวน ๑,๘๐๘ ราย เป็นเงิน ๗,๒๗๔.๖๙ ล้านบาท (ข้อมูล ณ วันที่ ๒๕
กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)
๕) ส่งเสริมการปลูกไม้มีค่าเป็นพืชเศรษฐกิจ โดยดูแลบารุงรักษาพื้นที่ส่งเสริมปลูกไม้เศรษฐกิจ
ขององค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้ แปลงปี ๒๕๖๓ จานวน ๒๒,๕๖๐ ไร่ และแปลงปี ๒๕๖๔ จานวน ๑๖,๐๐๐ ไร่
และกรมป่าไม้ แปลงปี ๒๕๖๓ จานวน ๒๐,๒๕๐ ไร่ และแปลงปี ๒๕๖๔ จานวน ๑๔,๗๓๐ ไร่
๖) ส่งเสริมการทาปศุสัตว์ให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนาอาชีพ
การผลิตพืชอาหารสัตว์ การเลี้ยงปศุสัตว์ และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
52(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๕๒
๗) ฟื้ น ฟู แ ละสนั บ สนุน อาชี พ การท าประมงให้เ กิด
ความยั่ ง ยื น บนพื้ น ฐานของการรั ก ษาทรั พ ยากรทางการประมง
และทรัพยากรทางทะเลให้มีความสมบูรณ์อย่างต่อเนื่อง โดยส่งเสริมอาชีพ
ประมง พัฒ นาแหล่ งอาศัยสั ตว์น้ าเพื่ อเพิ่ มผลผลิ ตสั ตว์น้า อบรมให้ ความรู้
การทาประมงที่ถูกกฎหมาย และพัฒนารูปแบบการแปรรูปสัตว์น้าตามมาตรฐาน
และความปลอดภัยต่อผู้บริโภค
๗.๕.๔ การพัฒนาภาคการท่องเที่ยว
๑) พัฒนาคุณภาพและความหลากหลายของแหล่งท่องเที่ยว เช่น การส่งเสริมการใช้ศักยภาพ
Soft Power ของไทย โดยดาเนิ นการสื บ สานอนุรักษ์วัฒ นธรรมไทยให้ คงอยู่ การส่ งเสริมการถ่ายทาภาพยนตร์
ต่างประเทศในประเทศไทย (Incentive Measures) ในรูปแบบการคืนเงิน (Cash Rebate) สูงสุดร้อยละ ๑๕ - ๒๐
ให้แก่ผู้สร้างภาพยนตร์ที่มีเงินลงทุนในประเทศไทยไม่น้อยกว่า ๕๐ ล้านบาท การพัฒนาเกาะหมาก จังหวัดตราด
ให้ เ ป็ น ต้ น แบบแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ มี แ ผนจั ด การขยะการท่ อ งเที่ ย วของประเทศไทย ซึ่ ง ในปี ๒๕๖๕ เกาะหมาก
ได้ผ่านการคัดเลือกติด ๑ ใน ๓ แหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับรางวัลพิเศษ ระดับโลก“Story Award” ในประเภท Governance,
Reset and Recovery (ระบบการจั ด การและการฟื้ น ฟู )
จากแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วยั่ ง ยื น ๑๐๐ แห่ ง ของโลกที่ ไ ด้ รั บ
การประกาศให้เป็น Green Destinations Top 100 Stories
รวมทั้งในห้วงปี ๒๕๖๕ มีกองถ่ายทาภาพยนตร์ต่างประเทศ
เข้ามาถ่ายทาภาพยนตร์ จานวน ๓๑๖ เรื่อง ก่อให้เกิดรายได้
ทางเศรษฐกิจ จานวน ๓,๙๐๔.๘๗ ล้านบาท (ข้อมูล ณ วันที่
๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๕)
๒) ดึ งดู ดนั กท่ องเที่ ยวที่ มี คุ ณภาพและรายได้ สู ง โดยด าเนิ นการสื่ อสารการตลาดส่ งเสริ ม
ปีท่องเที่ยวไทย ๒๕๖๕ “Visit Thailand Year 2022 : Amazing New Chapters” ดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติ
ด้วยการสร้างคุณค่าและประสบการณ์การท่องเที่ยวมิติใหม่จากสินค้าและบริการที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นและแตกต่าง
จากประเทศคู่แข่ง เจาะกลุ่มนักท่องเที่ยวคุณภาพ กาลังซื้อสูง ควบคู่กับการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างรับผิ ดชอบ
ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม (Responsible Tourism) ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ BCG model ส่งเสริมการท่องเที่ยว
เชิงกีฬา (Sports Tourism) ได้ดาเนินการจัดโครงการและกิจกรรมที่สาคัญ เช่น โครงการมหกรรมท่องเที่ยวเชิงกีฬา
๒ มหาสมุ ท ร “AIR SEA LAND SOUTHERN SPORTS TOURISM FESTIVAL” การจั ด มหกรรมกี ฬ า SONGKLA
BEACH FESTIVAL 2022 (จังหวัดสงขลา) โดยในปี ๒๕๖๕ การท่องเที่ยวเชิงกีฬาสามารถดึงดูดนักท่องเที่ย วคุณภาพ

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินนงานของรั
งานของรััฐฐบาล
บาล พลเอก
พลเอก ประยุ
ประยุุททธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๕๓53
และสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับประเทศทั้งสิ้น ๑๔,๖๙๒ ล้านบาท เทียบกับเป้าหมายที่ได้กาหนดไว้ ๙,๑๐๓ ล้านบาท
การแข่งขันกีฬากระดานโต้คลื่นในระดับนานาชาติรายการ PHUKET BEACH FESTIVAL 2022 ระหว่างวันที่ ๒๓ - ๒๘
สิ งหาคม ๒๕๖๕ มีผู้ เข้าร่ ว มงานกว่า ๔๒,๔๘๔ คน สร้ างกระแสเงิน สดหมุน เวียนในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวกว่า
๑๗๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท โครงการพัฒนาเมืองกีฬา (Sport City) โดยได้จัดตั้งเมืองกีฬา ทั้งสิ้น ๑๖ จังหวัด ส่งเสริม
การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพ (Wellness Tourism) เช่ น การเปิ ด ตั ว ๖ เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย วกั ญ ชาเพื่ อ สุ ข ภาพ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (MEDICAL HUB) การแต่งตั้ง
คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนพัฒนาและฟื้นฟูการท่องเที่ยวอันดามันอย่างยั่งยืน (ภูเก็ต พังงา กระบี่)
๓) พั ฒ นาคุ ณ ภาพ
และมาตรฐานธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับ
การท่ อ งเที่ ย ว เช่ น การตรวจประเมิ น
ผู้ประกอบการและชุมชนให้เข้าสู่มาตรฐาน
อาเซี ย น เช่ น ด้ า นที่ พั ก ด้ า นบริ ก าร
ท่ อ งเที่ ย ว ด้ า นกิ จ กรรมท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชน
โฮมสเตย์ไทย จานวน ๑๒๗ แห่ง การพัฒนา
ห้ อ งน้ าสาธารณะตามเส้ น ทางท่ อ งเที่ ย ว
รองรับการท่องเที่ยววิถีใหม่ ให้เป็นเส้นทาง
ต้นแบบ ๕ เส้นทาง
๔) ดูแลความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวอย่างเข้มงวด โดยได้ดาเนินการ เช่น โครงการส่งเสริม
อาสาสมัครท่องเที่ยวและกีฬา ทาหน้าที่ให้การสนับสนุนภารกิจด้านการท่องเที่ยวและกีฬา และเสริมสร้างองค์ความรู้
ให้ มีมาตรฐานและมีการทางานในทิศทางเดียวกัน การจั ดเก็บค่าธรรมเนียมการท่องเที่ยวภายในประเทศของ
นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวต่ า งชาติ โดยกองทุ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วไทย เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ทุ น หมุ น เวี ย นในการพั ฒ นา
การท่องเที่ยว รวมทั้งการจัดให้มีการประกันภัยแก่นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในระหว่างท่องเที่ยวภายในประเทศ
การเปิ ด ตั ว โครงการ “Tourist Police i lert u” Mobile Application ส าหรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว
สามารถกดปุ่ม Alert ขอความช่วยเหลือจากตารวจท่องเที่ยวได้โดยตรงตลอด ๒๔ ชั่วโมง และจัดโครงการฝึกอบรม
พั ฒ นาศั ก ยภาพด้ า นเทคโนโลยี แ ละระบบสารสนเทศ (Crimes) โดยการน าเทคโนโลยี ม าใช้ ใ นงานสื บ สวน
ในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม
๕) ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การกระจายรายได้ จ ากธุ ร กิ จ ท่ อ งเที่ ย วสู่ ชุ ม ชน โดยด าเนิ น การ เช่ น
การส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาศั ก ยภาพที่ พั ก นั ก เดิ น ทาง (Home Lodge) เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารของ
ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กรวมถึงชุมชน โครงการ Local X รวมพลังพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้เติบโต
แบบ Exponential ยกก าลั ง ทวี คู ณ โดยสรรหาพั น ธมิ ต รเพื่ อ ร่ ว มมื อ ในรู ป แบบ Collaboration เพื่ อ ยกระดั บ
การเปิดตลาดนักท่ องเที่ยวกลุ่มใหม่ มีผลิตภัณฑ์ชุมชนรูปแบบใหม่ และสร้างช่องทางรายได้ใหม่ (New Revenue
Model) โครงการพั ฒ นาเส้ น ทางท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชนต้ น แบบ BCG & Happy Model เพื่อสร้างมูล ค่ าเพิ่ ม ให้ แ ก่
การท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชน โดยได้ คั ด สรรชุ ม ชน ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ อทอป และสิ น ค้ า บ่ ง ชี้ ท างภู มิ ศ าสตร์ (Geographical
Indications: GI) ภายใต้แนวคิ ด BCG & Happy และนาไปต่ อยอดการตลาดร่ว มกับ พั นธมิต รส่ งเสริ ม การตลาด

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
54
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๕๔
และการขาย เช่น การท่องเที่ ย วชุ มชน ๑๓ รูปแบบ ผลิ ตภัณฑ์ท้อ งถิ่น สิ นค้าบ่งชี้ทางภูมิ ศาสตร์ และส่ ง เสริ ม
การท่องเที่ยวชุมชน โดยพัฒนาให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงวิชาการภายในพื้นที่อุทยานธรณี ๗ แห่ง ได้แก่ น้าตกธารสวรรค์
แหล่งนอติลอยด์ห้วยบ้า และเกาะลิดีเล็ก จังหวัดสตูล แหล่งหินตัดสูงเนิน และบ่อทรายแหล่งซากช้างดึกดาบรรพ์
จังหวัดนครราชสีมา เวียงหนองหล่ม และพุน้าร้อนป่าตึง จังหวัดเชียงราย
๗.๕.๕ การพัฒนาการค้าการลงทุนเพื่อมุ่งสู่การเป็นชาติการค้า การบริการ และการลงทุนในภูมิภาค
ได้ส่งเสริมการค้าชายแดนและแก้ไขปัญหาการค้าชายแดน เช่น จัดกิจกรรมส่งเสริมการค้าชายแดนไทยกับประเทศ
เพื่อนบ้าน โดยการค้าชายแดนและผ่านแดนระหว่างเดือนมกราคม - ธันวาคม ๒๕๖๕ มีมูลค่า ๑,๗๙๐,๕๒๐ ล้านบาท
ขยายตัวร้อยละ ๑.๔๔ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และบูรณาการการทางานร่วมกันในรูปแบบคณะกรรมการ
ร่ ว มภาครั ฐ และเอกชนด้ านการพาณิช ย์ ในการแก้ไ ขปั ญหาอุปสรรคและส่ งเสริม การค้าชายแดนและผ่ า นแดน
โดยดาเนินการ (๑) การผลักดันเปิดด่านภาพรวมฝั่งไทยเปิดแล้ว จานวน ๗๗ แห่ง จากทั้งหมด ๙๗ แห่ง (ประเทศ
เพื่อนบ้านเปิด ๖๕ แห่ง) และ (๒) การผลักดันเปิดด่านเพื่อการขนส่งสินค้า จานวน ๙ แห่ง ตามแผนปี ๒๕๖๕ ภายใต้
มาตรการป้องกันโควิด-๑๙ ด่านฝั่งไทย เปิดแล้วรวม ๗ แห่ง (ประเทศเพื่อนบ้านเปิด ๖ แห่ง)

๗.๕.๖ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
๑) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมให้ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศและสามารถรองรับ
การขนส่งและการเดินทางต่อเนื่องหลายรูปแบบได้อย่างไร้รอยต่อ ได้ดาเนินการ
(๑) พัฒนาโครงสร้างพื้น ฐานด้านคมนาคมทางบก เช่น พัฒนาศูนย์การขนส่งทางบก
๒ แห่ง ได้แก่ โครงการศูนย์เปลี่ยนถ่ายรูปแบบการขนส่งสินค้าเชียงของ จังหวัดเชียงราย และโครงการศูนย์การขนส่ง
ชายแดนจั ง หวัด นครพนม (อยู่ ใ นขั้ น ตอนการคั ด เลื อ กเอกชน) พั ฒ นาระบบรถไฟฟ้ า เช่ น รถไฟฟ้ า สายสี ช มพู
ช่วงแคราย-มีนบุรี ระยะทาง ๓๔.๕๐ กิโลเมตร และรถไฟฟ้าสายสีเหลืองช่วงลาดพร้าว-สาโรง ระยะทาง ๓๐.๔๐ กิโลเมตร
ซึ่งงานก่อสร้างทั้งสองโครงการใกล้แล้วเสร็จ และคาดว่าจะสามารถเปิดให้บริการเต็มรูปแบบภายในปี ๒๕๖๖ และเร่งรัด
โครงการที่อยู่ระหว่างก่อสร้างอีก ๒ สาย ได้แก่ โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม ช่วงศูนย์วั ฒนธรรมแห่งประเทศไทย-มี นบุรี
มีความคืบหน้างานโยธาร้อยละ ๙๘.๖๕ เปิดให้บริการ ๒๕๖๘ และรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน -ราษฎร์บูรณะ
(วงแหวนกาญจนาภิเษก) ระยะทาง ๒๓.๖๐ กิโลเมตร มีความคืบหน้างานโยธาร้อยละ ๕.๔๕ เปิดให้บริการ ๒๕๗๐

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๕๕55
ความก้าวหน้าโครงการรถไฟทางคู่และรถไฟความเร็วสูง เช่น โครงการรถไฟทางคู่ระยะที่ ๑
สายตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ช่ ว งมาบกะเบา-ชุ ม ทางถนนจิ ร ะ ร้ อ ยละ ๙๕.๒๒ สายเหนื อ ช่ ว งลพบุ รี - ปากน้ าโพ
ร้ อ ยละ ๗๘.๒๓ สายใต้ ช่ ว งนครปฐม-หั ว หิ น ร้ อ ยละ ๙๖.๑๖ ช่ ว งหั ว หิ น -ประจวบคี รี ขั น ธ์ ก่ อ สร้ า งแล้ ว เสร็จ
ช่วงประจวบคีรีขันธ์ -ชุมพร ร้ อยละ ๙๑.๙๗ โครงการรถไฟความเร็วสูง (ไทย-จี น) สั ญญาที่ ๒-๑ ช่วงสี คิ้ว -กุดจิก
ร้อยละ ๙๖.๐๐ โดยรถไฟทางคู่ และรถไฟความเร็วสูงในช่วงระยะดังกล่าว คาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จในปี ๒๕๖๖
และโครงการรถไฟสายใหม่ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ๒ สาย ระยะทาง ๖๗๗ กิโลเมตร ช่วงเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ
และช่วงบ้านไผ่-มุกดาหาร-นครพนม เปิดให้บริการปี ๒๕๖๙

(๒) พัฒนาโครงสร้ า งพื้น ฐานด้า นคมนาคมทางน้า เช่น เปิดให้บริ การเดิน เรื อ RoRo
Ferry สาหรับขนส่งผู้โดยสาร รถยนต์ และรถบรรทุกสินค้า ได้ทดลองเปิดให้บริการเส้นทางสัตหีบ-เกาะสมุย จังหวัด
สุราษฎร์ธานี เมื่อเดือนตุลาคม ๒๕๖๕ และดาเนินโครงการก่อสร้างเสริมทรายหาดจอมเทียน (Beach Nourichment)
ระยะที่ ๑ อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ความยาวชายหาด ๓ กิโลเมตร เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ
ชายฝั่งทะเล พื้นฟูสภาพชายหาดเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)
56 (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๕๖
(๓) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมทางอากาศ เช่น โครงการพัฒนาท่าอากาศยาน
สุวรรณภูมิ โดยมีกิจกรรมที่ดาเนินการแล้วเสร็จ เช่น งานจ้างก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค (CC3) งานติดตั้งระบบ
ขนส่งผู้โดยสารอัตโนมัติ (APM) โครงการจัดสร้างอาคารหอควบคุมการจราจรทางอากาศและอาคารสานักงานแห่งใหม่
ณ ศูนย์ควบคุมการบินเชียงใหม่ ปัจจุบันมีผลการดาเนินงาน ร้อยละ ๗๐ การพัฒนาท่าอากาศยานภูมิภาค โครงการ
ที่อยู่ระหว่างดาเนินการ เช่น โครงการก่อสร้างต่อเติมความยาวทางวิ่ง ท่าอากาศยานแม่สอด โครงการก่อสร้างอาคาร
ที่พักผู้โดยสารหลังใหม่ ท่าอากาศยานขอนแก่น
๒) แก้ไขปัญหาจราจรติดขัดในพื้นที่เขตเมือง ได้ดาเนินการ
(๑) พัฒนาระบบเรือโดยสารสาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครโดยการผลักดันเทคโนโลยี
ยานยนต์ไฟฟ้าสาหรับเรือโดยสารสาธารณะ ปัจจุบันมีจานวน ๕๑ ลา ตลอดจนการพัฒนา Smart Pier ในแม่น้า
เจ้าพระยา ซึ่งมีท่าเรือที่ดาเนินการแล้วเสร็จพร้อมใช้งาน จานวน ๘ แห่ง พร้อมทั้งพัฒนาระบบโทรทัศ น์วงจรปิด
(CCTV) ในท่าเรือดังกล่าว โดยท่าเรือที่อยู่ระหว่างดาเนินการ จานวน ๓ แห่ง ได้แก่ ท่าเรือท่าเตียน ท่าเรือพระราม ๗
และท่าเรือเกียกกาย คาดว่าจะเปิดใช้งานภายในปี ๒๕๖๖

ท่าเรือสาทร ท่าเรือราชินี

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินนงานของรั
งานของรััฐฐบาล
บาล พลเอก
พลเอก ประยุ
ประยุุททธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๕๗57
(๒) พัฒนาระบบ Feeder เชื่อมต่อเข้าสู่ระบบขนส่งมวลชนและแผนพัฒนาการเชื่อมต่อ
การเดินทาง เช่น จัดทาแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาการเดินทางทางน้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริ มณฑล
(พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๕) เพื่ อ มุ่ ง เน้ น ให้ เ กิ ด เส้ น ทางในการเดิน ทางทางน้า จ านวน ๑๐ เส้ น ทาง ระยะทางรวม
๑๙๖.๖ กิโลเมตร โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันจัดทารายละเอียดของแต่ละเส้นทางเพื่อผลักดันแผนไปสู่การปฏิบัติ
และการเชื่อมต่อรถไฟฟ้าชานเมือง (สายสีแดง) โดยกาหนด (ปรับปรุง) เส้นทางรถโดยสารประจาทาง หมวด ๑
ในเขตกรุ งเทพมหานคร และจั งหวัดที่มีเส้น ทางต่อเนื่อง เชื่อมต่อกับโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสี แดง)
สถานีกลางบางซื่อ และแอร์พอร์ต เรล ลิงค์ ตามสถานีต่าง ๆ
(๓) พั ฒนาด้ านการบริ หารจั ดการจราจร เช่ น จั ดท าโมเดลการพั ฒนาระบบเทคโนโลยี
เพื่อการบริหารจัดการจราจรกรุงเทพมหานคร มีความก้าวหน้า ร้อยละ ๗๙
(๔) พัฒนาถนนเพื่อแก้ไขปัญหาจราจรติดขัด เช่น ดาเนินโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษ
ระหว่างเมืองหมายเลข ๘๒ สายบางขุนเทียน-เอกชัย-บ้านแพ้ว ระยะทาง ๒๔.๗ กิโลเมตร โดยมีผลการดาเนินงาน
ด้านโยธา ช่วงที่ ๑ บางขุนเทียน-เอกชัย ร้อยละ ๗๙.๓๒ และช่วงที่ ๒ เอกชัย-บ้านแพ้ว ร้อยละ ๑๕.๘๒ โดยคณะรัฐมนตรี
ได้ อ นุ มั ติ ห ลั ก การร่ ว มลงทุ น แล้ ว จะด าเนิ น การคั ด เลื อ กเอกชนในปี ๒๕๖๖ คาดว่ าจะเปิ ดบริ การในปี ๒๕๖๘
และโครงการทางพิเศษ สายพระราม ๓-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกด้านตะวั นตก มีผ ลการดาเนิ นงานภาพรวม
ร้อยละ ๔๔.๔๘

ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข ๘๒ ทางพิเศษ สายพระราม ๓-ดาวคะนอง-วงแหวน


สายบางขุนเทียน-เอกชัย-บ้านแพ้ว รอบนอกด้านตะวันตก
๓) เสริ มสร้ างความมั่นคงทางด้านพลังงานให้สามารถพึ่ งพาตนเองได้ ได้ส ่ง เสริม สนับ สนุน
ให้ม ีก ารลงทุน โครงการด้า น พลั ง งาน ทั้ ง ด้ า นน้ ามั น ก๊ า ซธรรมชาติ ไฟฟ้ า และโครงการพลั ง งานทดแทน
ซึ่งช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ ของประเทศ โดยมีโครงการที่สาคัญ เช่น การพัฒนาระบบการขนส่ งน้ามันทางท่อเส้ น ทาง
ภาคเหนือ การขยายระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติเส้นที่ ๕ การก่อสร้างท่าเทียบเรือและสถานีรับ-จ่ายก๊าซธรรมชาติเหลว
(LNG) แห่ ง ใหม่ จั ง หวั ด ระยอง การพั ฒ นาระบบส่ ง ไฟฟ้ า ของการไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทยทั่ ว ประเทศ
การลงทุนโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก ๔๓ โครงการ เป็นต้น จัดทาแผนพลังงานชาติ (NEP) และแผนย่อย
รายสาขา ๕ สาขาแผน ได้แก่ แผนพัฒ นากาลั งผลิตไฟฟ้าของประเทศ (Power Development Plan: PDP)
แผนอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน (Energy Efficiency Plan: EEP) แผนพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและพลั ง งานทางเลื อ ก
(Alternative Energy Development Plan: AEDP) แผนบริหารจัดการน้ามันเชื้อเพลิง (Oil Plan) และแผนบริหาร
จัดการก๊าซธรรมชาติ (Gas Plan) เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการดาเนินนโยบายเพื่อพัฒนาด้านพลังงานของประเทศไทย

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
58
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๕๘
ในอนาคต และทาให้ประเทศบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ภายในปี ค.ศ. ๒๐๕๐
ดาเนินโครงการโซล่าร์ภาคประชาชน ได้สนับสนุนกลุ่มบ้านอยู่อาศัย และกลุ่มโรงเรียน สถานศึกษา โรงพยาบาล
และสูบน้าเพื่อการเกษตร ผลิตไฟฟ้าใช้เอง รวมทั้งเปิดรับซื้อไฟฟ้าส่วนที่เหลือใช้เข้าระบบการไฟฟ้า ฝ่ายจาหน่าย
กลุ่มละ ๑๐ เมกะวัตต์ ซึ่งการรับซื้อปี ๒๕๖๕ ได้ลงนามในสัญญาซื้อขายไฟฟ้าแล้วรวม ๓,๔๗๖ ราย กาลังการผลิตติดตั้ง
๑๙,๗๕๕ kWp
๔) ยกระดับโครงข่า ยระบบไฟฟ้า และพลังงานให้มีค วามทัน สมั ย ทั่วถึง เพียงพอ มั่น คง
และมี เ สถี ย รภาพ ได้ ด าเนิ น การ เช่ น โครงการ Smart Metro Grid (ระบบโครงข่ า ยอั จ ฉริ ย ะในพื้ น ที่
กรุงเทพมหานคร) ดาเนินการในพื้นที่นาร่องบริเวณถนนพระราม ๔ พญาไท เพชรบุรี และรัชดาภิเษก ซึ่งได้ติดตั้ง
มาตรอัจฉริยะ (Smart Meter) แล้ว จานวน ๓๓,๒๑๔ ชุด จากทั้งหมด ๓๓,๒๖๕ ชุด และการดาเนินงานในส่วน
Software ของระบบ ผ่านการทดสอบ Site Acceptance Test (SAT) เรียบร้อยแล้ว การส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้า
และสถานีอัด ประจุ ไ ฟฟ้า เช่น ส่งเสริมการพัฒนาโครงข่ายสถานีอัดประจุไฟฟ้า โดยติดตั้งสถานี อัดประจุไฟฟ้า
สาธารณะในประเทศแล้ว จานวน ๑,๒๑๒ สถานี รวม ๓,๖๔๑ หัวจ่าย รวมทั้งมีการส่งเสริมแบตเตอรี่ยานยนต์ไฟฟ้า
ซึ่ ง อยู่ ร ะหว่ า งเสนอแผนปฏิ บั ติ ก ารการส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมระบบกั ก เก็ บ พลั ง งานประเภทแบตเตอรี่ ข องไทย
ต่อคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
๕) พัฒนาระบบบริ หารจัดการน้าประปา ได้ดาเนิ น โครงการขยายเขตบริ การให้เ ต็มพื้นที่
ทั่วชุมชนเมือง โดยการประปานครหลวงอยู่ระหว่างการก่อสร้างวางท่อประปาในเขตพื้นที่รับ ผิดชอบ ระยะทางสะสม
เดื อ นสิ ง หาคม - กั น ยายน ๒๕๖๕ จ านวน ๒๖.๓๙ กิ โ ลเมตร และในปี ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ได้ ก าหนด
ค่าเป้าหมายวางท่อประปาใหม่ไม่ต่ากว่า ๗๐ กิโลเมตร โดยมีผลการดาเนินงานเดือนตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๕
เป็นระยะทางสะสม ๖.๑๔๒ กิโลเมตร ขณะที่การประปาส่วนภูมิภาค ให้บริการน้าประปาลูกค้าเพิ่มขึ้น ๒๑๘,๘๑๕ ราย
(มาตรวั ด น้ า) มี ลู ก ค้ า รวม ๕,๑๒๕,๓๓๕ ราย (มาตรวั ด น้ า) ความยาวท่ อ จ่ า ยน้ ารวม ๑๕๑,๗๙๙ กิ โ ลเมตร
กาลังการผลิตรวม ๖.๘๙ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน ปริมาณน้าจาหน่ายรวม ๑,๓๕๕ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
๖) แก้ปัญหาระบบระบายน้าและระบบบาบัดน้าเสีย ได้ดาเนินโครงการก่อสร้างศูนย์บริหาร
จัดการคุณภาพน้า จานวน ๗ แห่ง โครงการก่อสร้างและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการคุณภาพน้า จานวน ๕ แห่ง
การบริ หารจัดการระบบบาบัด น้าเสี ย ชุ มชน โดยแบ่งออกเป็น ระบบ
บ าบั ดน้ าเสี ย ชุมชนขององค์ กรปกครองส่ ว นท้ องถิ่น จานวน ๒๙ แห่ ง
และศูนย์บริหารจัดการคุณภาพน้าที่ก่อสร้างโดยองค์การจัดการน้าเสี ย
จานวน ๒๐ แห่ง รวมทั้งสิ้น ๔๙ แห่ง มีปริมาณน้าเสียที่บาบัดได้สะสม
เท่ากับ ๘๔,๗๓๙,๒๘๑ ลูกบาศก์เมตร และสามารถนาน้าที่ผ่านการบาบัด
ได้คุณภาพตามมาตรฐานนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่เท่ากับ ๑,๐๙๐,๐๐๐
ลูกบาศก์เมตร และโครงการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมความรู้ด้านการจัดการ
น้ าเสี ย ในการติ ด ตั้ ง ถั ง ดั ก ไขมั น เพื่ อ ช่ ว ยลดความสกปรกของน้ าทิ้ ง
ณ แหล่งกาเนิดก่อนระบายลงสู่แหล่งน้าสาธารณะ

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๕๙59
๗.๕.๗ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัลและการมุ่งสู่การเป็นประเทศอัจฉริยะ
๑) รักษาคลื่นความถี่และสิทธิ์ในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมอันเป็นสมบัติของชาติให้เกิด
ประโยชน์แก่ประเทศชาติ และประชาชน และลงทุนในอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ และเทคโนโลยีสื่อสารไร้สายในระบบ 5G
เช่น โครงการเน็ตประชารัฐ ให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแก่หมู่บ้านในพื้นที่ห่างไกล จานวน ๒๔,๗๐๐ หมู่บ้าน
มีผู้ลงทะเบียนทั้งหมด จานวน ๑๑.๔๒ ล้านคน โครงการยกระดับโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมเพื่อขับเคลื่อน
เศรษฐกิจ ของประเทศ เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภ าพโครงข่ายอิน เทอร์ เน็ ต
ระหว่างประเทศสู่การเป็น ASEAN Digital Hub โดยขยายความจุระบบ
เคเบิลใต้น้าในโครงการสร้างโครงข่ายเคเบิลใต้น้า (ASIA Direct Cable :
ADC) ระหว่างประเทศเส้นใหม่ ร่วมกับภาคีสมาชิก ๖ ประเทศ ในภูมิภาค
เอเชีย แปซิฟิก โครงการติ ด ตั้ งเทคโนโลยี 5G สาหรั บระบบบริ หาร
จัดการเมืองอัจฉริยะ (โครงการบ้านฉาง 5G Smart City) ในพื้นที่เทศบาล
ต าบลบ้ า นฉาง จั ง หวั ด ระยอง โดยการใช้ ศั ก ยภาพของเทคโนโลยี
และสื่อสารโทรคมนาคมอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยี 5G เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
ในการให้ บ ริ ก ารแก่ ป ระชาชนและบริ ก ารสาธารณะ อี ก ทั้ ง ยั ง ท าให้
การติดต่อสื่อสารเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว โดยได้ดาเนินการติดตั้งเสาอัจฉริยะ
(Smart Pole) การพัฒนา Smart City Mobile Application รวมทั้งระบบ
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นไปตามนโยบายของเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพื่อเป็นพื้นที่เศรษฐกิจชั้นนาในอาเซียน
และเป็ น ศูน ย์ กลางเศรษฐกิจ ที่ส าคัญ ของประเทศ การน าร่ องการพั ฒนาย่า นเทคโนโลยี 5G ต้น แบบ ส าหรับ
ให้บริการประชาชน (5G District) จังหวัดเชียงใหม่ ในส่วน Smart Health ซึ่งเป็นโครงการที่โรงพยาบาลมหาราช
นครเชียงใหม่ โดยคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้น าร่องการพัฒ นาแนวทางและประยุกต์ใช้ ร ะบบ
เทคโนโลยี 5G ในการส่งเสริมการให้บริการทางการแพทย์ 5G Smart Ambulance สาหรับบริหารจัดการรถพยาบาล
แบบรวมศูน ย์ และระบบแพทย์ ทางไกล (Telemedicine) ส าหรับ โรงพยาบาลประจาอาเภอในจั งหวัดเชียงใหม่
และโรงพยาบาลในจังหวัดใกล้เคียงรวม ๒๐ แห่ง
ตลอดจนได้ดาเนินการในนามรัฐเพื่อให้ได้มาและรักษาไว้ซึ่งสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียม
และดาเนินการให้มีการใช้สิทธิดังกล่าว โดยในปี ๒๕๖๕ ได้ดาเนินการสาคัญ อาทิ (๑) อนุญาตให้สถาบันวิจัยดาราศาสตร์
แห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นผู้รับอนุญาตให้ใช้สิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมขั้นต้น สาหรับข่ายงานดาวเทียม TSC-P
(NGSO) (๒) ดาเนินการจัดส่งชุดข้อมูลข่ายงานดาวเทียม (Satellite Network Filing) เพื่อแจ้งขอใช้งานข่ายงานดาวเทียม
ในนามประเทศไทยต่ อ สหภาพโทรคมนาคมระหว่ า งประเทศ (International Telecommunication Union: ITU)
ประกอบด้วย ชุดข้อมูลขั้น C (Request for coordination) สาหรับข่ายงานดาวเทียม THAISAT-142E ณ ตาแหน่งวงโคจร
๑๔๒ องศาตะวันออก เมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๕ และชุดข้อมูลขั้น A (Advance Publication Information) สาหรับ
ข่ายงานดาวเทียม TSC-P (NGSO) เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๕ และ (๓) ได้มีการประสานงานคลื่นความถี่ในกิจการ
ดาวเทียมกับหน่ วยงานภายในประเทศและประเทศสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International
Telecommunication Union: ITU) ตามขั้นตอน และกระบวนการประสานงานคลื่นความถี่ในกิจการดาวเทียมที่กาหนดไว้
ในข้อบังคับวิทยุ (Radio Regulations: RR) เพื่อให้ได้มาและรักษาไว้ซึ่งสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมของประเทศไทย

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
60(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๖๐
๒) พัฒนาการอานวยความสะดวกเพื่อสนับสนุนธุรกิจการค้า การนาเข้า ส่งออก และโลจิสติกส์
ในรูปแบบดิจิทัล เช่น โครงการพัฒนาระบบการพิมพ์ใบเสร็จรับเงินและเอกสารการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
โดยผู้ ป ระกอบการ ส าหรั บ การช าระค่ า ภาษี อ ากร ค่ า ธรรมเนี ย ม รายได้ อื่ น และ/หรื อ เงิ น ประกั น ผ่ า นระบบ
e-Payment การช าระเงิ น ทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ผ่ า นช่ อ งทางการให้ บ ริ ก ารของธนาคารและตั ว แทนรั บ ช าระ
(Bill Payment) โดยผู้ ประกอบการสามารถพิ มพ์ ใบเสร็ จรั บเงิ นได้ ด้ วยตนเองที่ สถานประกอบการ ทั้ งนี้ เนื่ องจาก
มีผู้ประกอบการบางกลุ่มไม่สามารถเข้าถึงระบบการพิมพ์ใบเสร็จรับเงินได้ จึงมีการพัฒนาระบบพิมพ์ใบเสร็จรับเงิน
ผ่านระบบ e-Payment โดยตรง เพื่อให้เข้าสู่การเป็นระบบ e-Payment อย่างเต็มรูปแบบ และอยู่ระหว่างการจัดทา
ประกาศกรมศุลกากรเพื่อเปิดใช้งานระบบอย่างเป็นทางการ
๓) ส่งเสริมการค้าในรูปแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเพิ่มโอกาสให้ผู้ประกอบการรายย่อย
ทั้ ง ในภาคการผลิ ต และบริ ก ารในการเข้ า ถึ ง ตลาด เช่ น ส่ ง เสริ ม การจ าหน่ า ยสิ น ค้ า สิ่ ง บ่ ง ชี้ ท างภู มิ ศ าสตร์
(Geographical Indications: GI) ผ่ า นช่ อ งทางออนไลน์ และแพลตฟอร์ ม ซื้ อ ขายสิ น ค้ า ออนไลน์ รวมทั้ ง
ประชาสั ม พั น ธ์ แ ละส่ ง เสริ ม การจ าหน่ า ยสิ น ค้ า ผ่ า นผู้ มี อิ ท ธิพ ลต่ อ ความคิ ด และการตั ดสิ น ใจของกลุ่ ม เป้ าหมาย
(Influencer) ทาให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงสินค้า GI ได้หลากหลายช่องทาง ส่งผลให้เกษตรกรและผู้ประกอบการ
วิสาหกิจชุมชนมีโอกาสสร้างรายได้อย่างยั่งยืน กิจกรรมการตลาดออนไลน์แบบครบวงจร โดยอบรมและให้คาปรึกษา
แนะน าเชิงลึ กเพื่ อ พัฒ นาศั กยภาพผู้ ป ระกอบการให้ ส ามารถท าการค้า ออนไลน์ ทั้ง ในประเทศและต่ า งประเทศ
ดาเนิ น การแล้ วเสร็ จ ๓๐๐ กิจ การ โครงการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของวิสาหกิจไทยด้วยดิจิทัล
โดยส่ ง เสริ ม การน าเทคโนโลยี ด้ า นการตลาดออนไลน์ ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นธุ ร กิ จ เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพธุ ร กิ จ สู่ ส ากล
ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่น DIProm Branding ปั้นนักขายแบบมืออาชีพ DIProm Shift on the fly เพิ่มศักยภาพธุรกิจ
สู่สากล และให้คาปรึกษาแนะนาเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ จานวน ๓๐๐ กิจการ
๔) พัฒนาแพลตฟอร์มการค้าดิจิทัลระหว่างประเทศของไทย (Thailand National Digital
Trade Platform: NDTP) เป็นระบบบริการดิจิทัลสาหรับการค้าระหว่างประเทศในการอานวยความสะดวกสาหรับ
การนาเข้าและส่งออกสินค้าให้แก่ภาคเอกชน ซึ่ง พัฒนาโดยคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน ๓ สถาบัน (กกร.) ร่วมกับ
หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ได้นาเสนอผลการทดสอบและสาธิตการใช้งานระบบให้กับประเทศคู่ค้าในเวที
การประชุมเอเปค เมื่อวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๕

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๖๑61
๗.๕.๘ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการวิจัยและพัฒนา และนวัตกรรม
๑) พั ฒ นาสภาพแวดล้ อ มและระบบนิ เ วศที่ เ อื้ อ ต่ อ การส่ ง เสริ ม วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
การวิจั ย และพัฒนา และนวัต กรรม เช่น บริ หารจัดการพื้น ที่ใ ห้เ อื้อต่อการส่งเสริ มวิทยาศาสตร์ โดยพัฒ นา
เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor of Innovation: EECi) ในพื้นที่
วังจันทร์วัลเลย์ จังหวัดระยอง และดาเนินโครงการต่าง ๆ
เช่น เมืองนวัตกรรมระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และระบบ
อิเล็ กทรอนิ กส์ อัจฉริ ยะ (ARIPOLIS) โครงการสร้าง
เครื่องกาเนิดแสงซินโครตรอนระดับพลังงาน 3 GeV
โครงการสร้างสนามทดสอบรถอัตโนมัติ ศูนย์ทดสอบ
มาตรฐานชิ้นส่วนอากาศยานและดาวเทียมแห่งชาติ
จัดทากรอบนโยบายและยุทธศาสตร์การอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อววน.) พ.ศ. ๒๕๖๖ -
๒๕๗๐ จั ดตั้งเขตเศรษฐกิจ พิ เศษด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
๒) สร้ า งระบบจั ด การข้ อ มู ล เพื่ อ รองรั บ การบริ ห ารจั ด การงานวิ จั ย อย่ า งมี ป ระสิ ทธิ ภ าพ
โดยพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (National Research and Innovation Information
System: NRIIS) และการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (National Science
and Technology Information System: NSTIS) เพื่ อ เชื่ อ มโยงฐานข้ อ มู ล โครงสร้ า งพื้ น ฐานทางวิ ท ยาศาสตร์
และเทคโนโลยีและข้อมูลบุคลากรวิจัยของประเทศ
๓) เสริมสร้างการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เช่น โครงการส่งเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์เป็นพื้นที่และสถานที่อานวยความสะดวก
สนับสนุนเอกชนทาวิจัยและพัฒนา มุ่ง เน้นขับเคลื่อนงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากโครงสร้าง
พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (National S&T Infrastructure: NSTI) ด้านความหลากหลาย
ทางชีวภาพ โดยมีการจัดตั้งธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (National Biobank of Thailand: NBT) ศูนย์โอมิกส์
แห่ ง ชาติ (National Omics Center: NOC) ศู น ย์ ท รั พ ยากรคอมพิ ว เตอร์ เ พื่ อ การค านวณขั้ น สู ง ที่ ไ ด้ พั ฒ นา
“ระบบซูเปอร์คอมพิว เตอร์ LANTA” เป็นเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีการระบายความร้อนด้ว ยน้า
ช่ว ยลดค่าใช้จ่ายด้านพลั งงานได้ในระยะยาว ส่งเสริ มการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีมาตรวิทยา ประยุกต์ใช้
วิทยาศาสตร์ทุกแขนงเพื่อให้สามารถทาการวัดได้อย่างแม่นยา ถูกต้อ ง เป็นไปตามมาตรฐานสากล เช่น เครื่องมือวัด
ด้านมิติ การควบคุมคุณภาพ เครื่องมือวัด การสั่ นสะเทือน ระบบวัดสภาพน าความร้ อนของวัส ดุฉนวนความร้อน
ซึ่ ง จะเกิ ด การสร้ า งความรู้ แ ละเทคโนโลยี ที่ เ ป็ น ประโยชน์ กั บ บริ ก ารทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข รวมทั้ ง
เกิดอุตสาหกรรมใหม่ที่เกี่ยวข้องต่อไป
๔) สนับสนุนการพัฒนาโรงงาน ห้องปฏิบัติการต้นแบบที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรมในระดับต้นน้า เช่น พัฒนาศักยภาพและมาตรฐานด้านการผลิตและวิเคราะห์ทดสอบ
ผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางในระดับอุตสาหกรรม

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
62
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๖๒
๗.๕.๙ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจยุคใหม่
๑) พัฒนาระบบนิเวศเพื่อรองรับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจยุคใหม่ เช่น พัฒนาการให้บริการ
ด้านทรัพย์สินทางปัญญา เช่น การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าเร่งด่วน (Fast Track) การสืบค้นข้อมูลสิทธิบัตรไทย
ด้วยปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) และการให้บริการข้อมูลด้านทรัพย์สินทางปัญญาแก่ประชาชน
ผ่านระบบตอบกลับอัตโนมัติ (Chatbot) ซึ่งมีการเข้าใช้บริการแล้วกว่า ๑๑,๘๐๐ ครั้ง แก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติ
ลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๖๕ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการคุ้มครองงานอันมีลิขสิทธิ์ในยุคดิจิทัล มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๕ บังคับใช้พระราชบัญญัติ
คุ้ ม ครองข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คล พ.ศ. ๒๕๖๒ เพื่ อ สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ กั บ ทุ ก ภาคส่ ว นในการน าข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คล
ไปใช้พัฒนานวัตกรรมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล โดยจัดทากฎหมายลาดับรองไปแล้วกว่า ๒๐ ฉบับ
๒) เร่ ง รั ด พั ฒ นาศั ก ยภาพผู้ ป ระกอบการขนาดกลางและขนาดย่ อ มทั้ ง ในภาคการผลิ ต
และบริการให้สามารถแข่งขันได้ เช่น ดาเนินโครงการเร่งรัดการจดทะเบียนเครื่องจักรของวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อม มีสถานประกอบการ SME ได้รับการวิเคราะห์ประสิทธิภาพเครื่องจักร จานวน ๕๐ ราย ๑,๓๐๙ เครื่องจักร
วงเงิ น ลงทุ น รวม ๑๙๓,๘๖๐,๗๘๙ บาท คิ ด เป็ น ผลตอบแทนการลงทุ น ที่ ป ระเมิ น เป็ น มู ล ค่ า ทางเศรษฐกิ จ ได้
๖๒,๖๗๑,๙๔๘ บาท พัฒนาผู้ประกอบการสู่เศรษฐกิจยุคใหม่ ผ่านกิจกรรมอบรม/สั มมนาในช่องทางออนไลน์
จานวน ๗,๙๓๘ ราย สร้าง “แบรนด์กีฬา” เพื่อให้คนไทยเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์กีฬาในระดับโลก โดยมีต้นแบบ
จากผลงานทัวร์น าเมนต์เจ็ ตสกีชิงแชมป์โ ลก WGP#1 ที่สามารถออกอากาศบนช่องโทรทัศน์ กว่า ๑๒๑ ประเทศ
สร้างรายได้ทั้งทางตรงและทางอ้อมให้แก่ประเทศไทยกว่า ๕,๐๐๐ ล้านบาท ส่งเสริม NFT Art ไทยด้วยลิขสิทธิ์
โดยส่ ง เสริ ม ศิ ล ปิ น ผู้ ส ร้ า งสรรค์ น าผลงานศิ ล ปะดิ จิ ทั ล (Non-Fungible Token: NFT Art) จดแจ้ ง ข้ อ มู ล ลิ ข สิ ทธิ์
ก่อนทาการซื้อขายบนแพลตฟอร์มซื้อขาย NFT เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้ซื้อ NFT Art และสร้างภาพลักษณ์ที่ดี
ให้กับ NFT Art Marketplace ของไทย โดยมีผลงาน NFT Art ที่จดแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์แล้ว จานวนกว่า ๕๐ ผลงาน
จัดการประกวด MSME National Award โดยมี MSME ได้รับการพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการสู่มาตรฐาน
การบริหารจัดการธุรกิจ จานวน ๙๓๗ ราย ๔๔๐ กิจการ และได้รับรางวัล จานวน ๔๗ ราย
๓) ส่งเสริมเยาวชนและบทบาทสตรีในการเป็นผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่
เช่น โครงการนาร่ อง “Local SME Startup & Scale Up Development: วิศวกรสังคม (ซ่อมและสร้างให้สั งคม
เข้มแข็ง)” ระยะที่ ๑ ผ่านระบบ SME Academy 365 ภายใต้งานพัฒนาระบบให้บริ การ SME ACCESS ซึ่งได้ลงนาม
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ๓๘ แห่ง เพื่อร่วมกันพัฒนาศักยภาพและทักษะที่จาเป็น (Soft Skill)
สาหรับศตวรรษที่ ๒๑ ให้แก่นักศึกษาเพื่อนาไปเริ่มธุรกิจหรือต่อยอดธุรกิจผ่านแพลตฟอร์ม SME Academy 365
๔) ดึงดูดบุคลากรที่มีทักษะสูงเข้ามาบ่มเพาะผู้ประกอบการขนาดกลาง และขนาดย่อมยุคใหม่
ของไทย โดยยกระดั บ ระบบการพั ฒ นาโค้ ช เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระกอบการ SME ด้ ว ยระบบ Online Coaching
โดยการอบรมเชิงลึก (SME Coach) เกี่ยวกับความรู้ทางธุรกิจและการจัดการธุรกิจให้ แก่คณาจารย์มหาวิทยาลั ย
ราชภัฏ ๓๘ แห่ง และเพิ่มพูนองค์ความรู้ในหลักสูตรเฉพาะผ่านทางเว็บไซต์ https://www.smeacademy365.com
พร้อมทั้งมีโค้ชแนะนาให้คาปรึกษาแก่ คณาจารย์ และสอนเทคนิคการเป็นที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยง เพื่อให้มีศักยภาพ
ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่ต่าง ๆ โดยมีผู้ประกอบการได้รับคาปรึกษา จานวน ๑,๐๑๗ ราย
เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจกว่า ๔๐๐ ล้านบาท

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๖๓63
๗.๖ นโยบายหลักที่ ๖ การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและการกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค
๗.๖.๑ การส่งเสริมพื้นที่เศรษฐกิจเพื่อเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเอเชีย
๑) พัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) อย่างต่อเนื่อง
ตั้ ง แต่ ปี ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ มี ก ารลงทุ น ทั้ ง จากภาครั ฐ และภาคเอกชนประมาณ ๑.๙๓ ล้ า นล้ า นบาท ซึ่ ง เป็ น ไป
ตามเป้าหมาย ๑.๗ ล้านล้านบาท โดยเป็นการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานหลัก ๔ โครงการ มูลค่า ๖๕๕,๘๒๑ ล้านบาท

๒) ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้และการพัฒนาจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ เช่น พัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ มีโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแล้วเสร็จ
ในปี ๒๕๖๕ เช่น การขยายทางหลวงหมายเลข ๔ ช่วงชุมพร-ระนอง และโครงการที่จะแล้วเสร็จในปี ๒๕๖๖ เช่น
การพัฒนาถนนเลียบชายฝั่งทะเล (Royal Coast) เชื่อมโยงจังหวัดสมุทรสงคราม-เพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์-ชุมพร-ระนอง
ระยะทางรวม ๖๕๘.๘๗ กิโลเมตร ซึ่งปัจจุบันก่อสร้างแล้วเสร็จ ๔๗๕ กิโลเมตร
๓) เพิ่มพื้น ที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจแห่งใหม่ในภูมิภาค เช่น ขับเคลื่อนกลไกการดาเนินงาน
พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ครอบคลุมทั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ๑๐ แห่ง และระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ
ใน ๔ ภาค ภายใต้ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๔ ซึ่งมีคณะกรรมการ
นโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (กพศ.) ทาหน้าที่กาหนดนโยบายและขับเคลื่อนการพัฒนา
๔) เร่งขับเคลื่อนการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดนอย่างต่อเนื่อง โดยมีการลงทุน
ของภาคเอกชนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (ปี ๒๕๕๘ - ธันวาคม ๒๕๖๕) มูลค่าการลงทุนรวมประมาณ ๓๘,๘๙๕ ล้านบาท
และมีกิจการเป้าหมายที่ได้รับสิทธิประโยชน์ในระดับสูงสุดสาหรับการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดนเป็น
๑๓ กลุ่มกิจการ ๘๙ ประเภทกิจการ รวมทั้งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทั้งด้านการคมนาคมขนส่ง ระบบสาธารณูปโภค/
สาธารณูปการ การพัฒนาด่านพรมแดน/ด่านศุลกากร การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม และโครงสร้ างพื้นฐานด้านสังคม
ทั้งนี้ ได้จัดตั้งศูนย์บริการเบ็ดเสร็จด้านแรงงานในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ๑๐ จังหวัด โดยมีแรงงานต่างด้าว
ได้รับอนุญาตให้ทางานในเขตพัฒนาฯ รวม ๕๓๒,๓๓๐ คน และมีแรงงานไทยได้รับการอบรมยกระดับทักษะแรงงาน
ในพื้นที่รองรับการลงทุนตามกลุ่มกิจการเป้าหมายของแต่ละจังหวัดในเขตพัฒนาฯ จานวน ๗,๕๙๔ คน

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
64(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๖๔
๗.๖.๒ การส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนาเมืองอัจฉริยะน่าอยู่ทั่วประเทศ (Smart City) ได้ดาเนินการ
(๑) ขั บ เคลื่ อ นเมื อ งอั จ ฉริ ย ะทุ ก ภู มิ ภ าคด้ ว ย 7 Smart (Economy, Environment, Energy, Mobility, Living,
People and Governance) ตามศักยภาพและความต้องการของแต่ล ะเมือง โดยมีพื้นที่ที่ได้รับประกาศเป็ นเขต
ส่งเสริมเมืองอัจฉริยะแล้ว จานวน ๖๑ พื้นที่ ใน ๓๔ จังหวัด (๒) วางและจัดทาผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน (ระดับอาเภอ)
จ านวน ๙๔ ผั ง (๓) ประกาศและเห็ น ชอบมอบตราสั ญ ลั ก ษณ์ เ มื อ งอั จ ฉริ ย ะประเทศไทย จ านวน ๓๐ พื้ น ที่
และ (๔) ประยุกต์ใช้แพลตฟอร์มข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อการพัฒนาเมืองน่าอยู่และเมืองทันสมัย (City Data Platform)
ใน ๗ พื้นที่ ได้แก่ จังหวัดภูเก็ต ฉะเชิงเทรา ขอนแก่น เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลเมืองแสนสุข เทศบาลตาบล
ศรีมหาโพธิ์ และสามย่านเมืองอัจฉริยะ

๗.๖.๓ การขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ ระดับภาค กลุ่มจังหวัด และจังหวัด ผ่านกลไกคณะกรรมการ


นโยบายการบริ ห ารงานเชิ ง พื้ น ที่ แ บบบู ร ณาการ (ก.น.บ.) ได้ มี ก ารประกาศใช้ พ ระราชกฤษฎี ก าว่ า ด้ ว ย
การบริหารงานเชิงพื้นที่แบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๖๕ และระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ยกเลิกระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยการบริ หารงานเชิ งพื้ นที่ แบบบู รณาการ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๕ ซึ่งกาหนดให้ มี “คณะกรรมการนโยบาย
การบริหารงานเชิงพื้นที่แบบบูรณาการ (ก.น.บ.)” เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่แบบบูรณาการ
เพื่อให้การบริหารงานจังหวัด กลุ่มจังหวัด และภาค เกิดการบูรณาการการทางานร่วมกัน

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๖๕65
๗.๗ นโยบายหลักที่ ๗ การพัฒนาสร้างความเข้มแข็งจากฐานราก
รัฐบาลให้ความสาคัญกับการพัฒนาให้ชุมชนเป็นกลไกหลักในการเพิ่มศักยภาพของเศรษฐกิจฐานราก
ให้สามารถสร้างรายได้ กระจายรายได้สู่ชุมชน พัฒนาช่องทางการตลาดโดยใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์มาสนับสนุน เพื่อให้
ชุ ม ชน ซึ่ ง เป็ น รากฐานของประเทศมี ค วามเข้ ม แข็ ง และพึ่ ง พาตนเองได้ อ ย่ า งยั่ งยื น โดยมี ผ ลการด าเนิ น งาน
ที่สาคัญ ดังนี้
๗.๗.๑ การส่งเสริ มวิสาหกิจ ชุมชนและผลิตภัณ ฑ์ชุมชน ได้ดาเนิ น การสร้ างมูล ค่าเพิ่มธุร กิจชุมชน
ผ่านอัตลักษณ์ของพื้นที่ ได้เเก่
๑) พัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ผู้ผลิต
ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)
มีผลการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ในปี ๒๕๖๕ จานวน
๒๔๔,๑๘๙.๐๐๓ ล้ านบาท สร้ างมูล ค่าเพิ่มให้ แก่ผ ลิ ตภัณฑ์
ชุมชน จานวน ๓,๗๒๐ ผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมผู้ผลิต ผู้ประกอบการ
OTOP/ชุมชนท่องเที่ยว OTOP และบริการด้านการท่องเที่ยว
ของชุมชน รวมจานวน ๒๖,๐๕๖ ครั้ง
๒) พัฒนาธุรกิจฐานรากด้วยพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) โดยสร้างและพัฒนา
นักการค้า “Smart Trader Online” เพื่อเป็นผู้ช่วยนาสินค้าชุมชนเข้าสู่แพลตฟอร์มออนไลน์ จานวน ๗๑๒ ราย
ขยายช่องทางการตลาดสินค้า โดยลงนามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านพาณิชย์อิ เล็กทรอนิกส์ระหว่าง
กระทรวงพาณิชย์แห่งราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน และการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
(Geographical Indications: GI) ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน เป็นที่รู้จักและยอมรับทั้งในและต่างประเทศ
๓) พัฒนาการท่องเที่ยวภูมิวัฒนธรรมบนพื้นที่สูง โดยพัฒนาสถานที่ท่องเที่ยวภูมิวัฒนธรรม
บนพื้นที่สูง ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูง จานวน ๑๖ แห่ง ครอบคลุมราษฎรบนพื้นที่สูง ส่งเสริมให้ราษฎรบนพื้นที่สูง
เข้าถึงบริการขั้นพื้นฐาน โดยใช้ทุนทางสังคม ขนบธรรมเนียม ประเพณี อันเป็นอัตลักษณ์ สร้างโอกาสให้ราษฎรบนพื้นที่สูง
มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผ่านกลไกสนับสนุนการท่องเที่ยวในชุมชน เกิดภาคีเครือข่าย จานวน ๒๒ หน่วยงาน จัดตั้งเป็น
กลุ่มอาชีพ จานวน ๕๓ แห่ง และเกิดกองทุนสวัสดิการชุมชน จานวน ๒๓ แห่ง
๔) ส่งเสริมอัตลักษณ์และภูมิปัญญาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน “งานอัตลักษณ์ลายผ้า สร้างศิลปะ
จิตราพัฒนาวิถีชน” ส่งเสริมอัตลักษณ์ วิถีชีวิตของชาวไทยบนพื้นที่สูงผ่านลายผ้า และเสริมพลังการขับเคลื่อนมรดก
วัฒ นธรรมและเศรษฐกิจ สู่ การเพิ่มมูล ค่า อีกทั้งเป็นการนา Soft Power เช่ น ลายผ้ าที่ได้รับรางวัล ที่บอกเล่ าถึ ง
อัตลักษณ์เรื่องราวของกลุ่มชาติพันธุ์ ศิลปะที่กลุ่มราษฎรบนพื้นที่สูงสร้างสรรค์ พัฒนาและนามาเป็นกลไกขับเคลื่อน
เศรษฐกิจ เพื่อสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืนให้แก่ชุมชนบนพื้นที่สูง
๕) พัฒนาเยาวชนชนเผ่าเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ร่วมกับ DTAC ยกระดับขีดความสามารถ
ของกลุ่มชนเผ่าพื้นเมืองสู่การเป็นผู้ประกอบการออนไลน์และผู้ประกอบการหน้าใหม่ จานวน ๓๑๐ คน เพื่อเสริมสร้าง
ทักษะทางดิจิทัลด้านการประกอบธุรกิจหรือวิสาหกิจชุมชน มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๕ - ๕๐

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
66(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๖๖
๖) ยกระดับผู้ประกอบการรายย่อย (MSME Step up) โดยส่ งเสริม ผู้ป ระกอบการ OTOP
ให้ ได้รั บ การยกระดับ จากผู้ป ระกอบการรายย่อยสู่การเป็น Formulization รองรับ การประกอบการในยุค Next
Normal รวมทั้งสิ้น ๑,๖๐๖ ราย
๗) สนับสนุน ความเข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชนผ่า นเทคโนโลยี โดยส่ งเสริมและสนับสนุน
ผู้ประกอบการ SME ให้เข้าถึงการรับบริการผ่านระบบการให้บริการสนับสนุนทางด้านการพัฒนาธุรกิจ (Business
Development Service: BDS) โดยมีผู้ประกอบการ SME ที่ลงทะเบียนบนระบบ BDS รวมทั้งสิ้น ๑,๑๘๑ ราย
๘) สร้างโอกาสและส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยและบริ การทางการเงินของ
วิสาหกิจชุมชน ผ่านการพัฒนาระบบให้บริการ SME ACCESS โดยเชื่อมต่อระบบการให้บริการ ๔ แพลตฟอร์ม
และบูรณาการข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม SME จานวน ๕๙ หน่วยงาน มีผู้เข้าใช้บริการผ่านระบบ
SME Access และเข้ารับคาปรึกษาจาก SME Coach รวมทั้งสิ้น ๖๕๖,๐๘๐ ราย
๙) สร้างสภาพแวดล้อมที่เ อื้อต่อการดาเนินธุ รกิจของวิสาหกิจชุมชน ศูนย์ให้บริการ SME
ครบวงจร (SME One-stop Service Center: OSS) บริการให้คาปรึกษาแนะนาในการดาเนินธุรกิจแก่วิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อมในด้านต่าง ๆ ได้แก่ บัญชีและการเงิน การตลาด การบริหารจัดการ การผลิต กฎหมาย และด้านอื่น ๆ
รวมถึงบูรณาการความร่วมมือในการส่งต่อความช่วยเหลือไปยังโครงการต่าง ๆ ทั้งของสานักงานส่งเสริมวิสาหกิ จ
ขนาดกลางและขนาดย่อม หรือภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ ทั้ง ๗๗ จังหวัด โดยมีผู้เข้ารับบริการ จานวน ๑๙๔,๒๗๓ ราย
ผู้ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบการ จานวน ๑๓๒,๗๓๔ ราย และมีหน่วยงานเครือข่ายที่ได้รับการพัฒนา
การให้บริการการส่งเสริม SME จานวน ๒๕๑ หน่วยงาน
๗.๗.๒ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยส่งเสริมพัฒนาและยกระดับคุณภาพตลาดชุมชนให้เป็น
ช่องทางในการจาหน่ายสินค้า/บริการและเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว เพื่อสร้างรายได้ที่ยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจฐานราก
ผ่านโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการพัฒนาตลาดชุมชนเพื่อธุรกิจท้องถิ่น มีตลาดต้องชม รวม ๒๓๘ แห่ง สามารถสร้างมูลค่า
การค้ า จ านวน ๑,๓๙๙.๘๖ ล้ า นบาท (ข้ อ มู ล ณ วั น ที่ ๓๑ ธั น วาคม ๒๕๖๕) โครงการหมู่ บ้ า นท ามาค้ า ขาย
จานวน ๓๗ แห่ง โดยพัฒนาสินค้าและจัดกิจกรรมเชื่อมโยงขยายช่องทางการจาหน่ายสินค้า/ผลิตภัณฑ์ของหมู่บ้านฯ
ผ่านช่องทางออนไลน์และออฟไลน์ ส่งผลให้เกิดมูลค่าการซื้อขาย ๑๓๕.๙๐ ล้านบาท (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)
การพัฒนาศักยภาพผู้น าอาสาพัฒนาชุมชนเพื่อขับเคลื่อน
งานพัฒนาชุมชน โดยสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้นาอาสา
พั ฒ นาชุ ม ชน จ านวน ๑๓,๕๐๐ คน เกี่ ย วกั บ แนวทาง
การด าเนิ น งาน และร่ ว มกั น พั ฒ นาศั ก ยภาพของผู้ น าอาสา
พั ฒ นาชุ ม ชนในการบริ ห ารจั ด การชุ ม ชนตามหลั ก ปรั ช ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครพัฒนาสังคม
และความมั่น คงของมนุ ษ ย์ (อพม.) ส่ งเสริ ม ให้ ป ระชาชน
เข้ามาเป็นอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
จานวน ๔,๔๓๕ คน และพัฒนาศักยภาพสร้างความรู้แก่ อพม. ในหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพขั้นพื้นฐาน “ผู้จัดการ
รายกรณี” และที่ปรึกษาภาคสนาม จานวน ๔๒๙ คน ส่งผลให้ครัวเรือนเปราะบางได้รับการช่วยเหลือตามสภาพปัญหา
และความจาเป็น มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น หลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น หลักสูต รด้านกฎหมาย หลักสูตรการใช้

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก
เนิินงานของรัั พลเอก ประยุุ
ประยุททธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕)
๒๕๖๕) ๖๗67
เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อสังคมและการถอดบทเรียน “จุดแข็ง อพม. สานต่อความยั่งยืน ” รวมทั้งสิ้น ๖๖๐ คน
จัดกิจกรรมการมอบรางวัลผู้เสียสละเพื่อสังคม เพื่อสร้างขวัญกาลังใจ และเสริมสร้างแรงจูงใจให้กับ “ผู้เสียสละ
เพื่อสังคม” จานวน ๑๐ คน ซึ่งเป็นภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือสังคมของกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ มอบรางวั ล “ประชาบดี ” แก่ ผู้ ท าคุ ณ ประโยชน์ ดี เ ด่ น ผู้ อ ยู่ ใ นสภาวะยากล าบาก
และผู้อยู่ในสภาวะยากลาบากที่ประพฤติตนดีเด่น เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจแก่ผู้ที่ดูแลช่วยเหลื อผู้อยู่ในสภาวะยากลาบาก
จานวน ๔๙ ราย ๔ ประเภท ได้แก่ ๑) ประเภทบุคคลผู้ทาคุณประโยชน์ จานวน ๑๐ ราย ๒) ประเภทองค์กรที่ทา
คุณประโยชน์ จานวน ๑๒ ราย ๓) ประเภทสื่อสร้างสรรค์ จานวน ๑๓ ราย และ ๔) ประเภทต้นแบบคนสู้ชีวิต จานวน
๑๔ ราย ทาให้ เกิดความร่ ว มมื อจากภาคส่ ว นต่า ง ๆ ในการสนับสนุ น และส่ งเสริ ม การพัฒ นาสั ง คม การพิ ทั ก ษ์
และคุ้มครองสิทธิประชาชน และมอบโล่ เข็ม และประกาศเกียรติคุณ ระดับภาค ให้แก่อาสาสมัครพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ดีเด่น ดีเด่นพิเศษ อาสาสมัครดีเด่น จานวน ๓๒ คน และองค์การที่มีกิจกรรมทางสังคม
ดีเด่น จานวน ๑ องค์กร ซึ่งมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในการเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาสังคม จัดสวัสดิการ เฝ้าระวังเตือนภัย
และให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม ตลอดจนประสานส่งต่อข้อมู ลให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทาให้
ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางได้รับสวัสดิการและบริการของรัฐอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เปิดศูนย์ช่วยเหลือ
สังคมชุมชน เพื่อให้บริการสวัสดิการสังคมในชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมและครอบคลุมทุกมิติแบบองค์รวม ผ่านกลไก
การขับเคลื่อนเชิงพื้นที่ในรูปแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) และความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการพัฒนา
คุณภาพชีวิตประชาชนทุกช่วงวัย สามารถได้รับการคุ้มครองทางสังคมได้อย่างทั่วถึง โดยดาเนินการเปิดศูนย์ช่วยเหลือ
สังคม ๔ พื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานคร การสร้างเครือข่ายชุมชนที่เข้มแข็ง เช่น พัฒนากิจการสภาองค์กรชุมชน
โดยดาเนินการผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนอันเป็นประชาธิปไตยชุมชนจากฐานราก มีสภาองค์กรชุมชน
ที่จัดตั้งแล้วมีคุณภาพเพิ่มขึ้น จานวน ๑๘๖ ตาบล เป็นกลไกกลางในการแก้ไขและพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในตาบล
จากการจัดทาแผนพัฒนาชุมชนท้องถิ่นระดับตาบล พัฒนาศักยภาพองค์กรสาธารณประโยชน์และองค์กรสวัสดิการชุมชน
จานวน ๓๑๕ คน ให้มีองค์ความรู้ ความเข้าใจในการจัดสวัสดิการสังคม และเสริมสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่าย
องค์การสวัสดิการสังคม ซึ่งเป็นกลไกสาคัญในการให้ความช่วยเหลือแก้ไขปัญหา ตลอดจนขับเคลื่อนงานด้านการจัด
สวั ส ดิ ก ารสั ง คมในระดั บ พื้ น ที่ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งให้ ชุ ม ชนมี ค วามเข้ ม แข็ ง และสามารถพึ่ ง พาตนเองได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น
ขับเคลื่อนการดาเนินภารกิจด้านการคุ้มครอง ได้แก่ การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ทาการขอทาน โดยจัดทา (ร่าง)
แผนปฏิบัติการตามแผนขับเคลื่อนการควบคุมการขอทาน ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) และ (ร่าง) หลักสูตรการอบรม
พนักงานเจ้าหน้าที่ฯ แบบออนไลน์ จัดตั้งทีมร่วมปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กที่มีพฤติการณ์ขายสิ นค้า
หรือบริการที่มีความเสี่ยง การหาพื้นที่เอกชนและพื้นที่สาธารณะสาหรับผู้แสดงความสามารถในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
การคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ ให้ส่วนราชการดาเนินการ
ตามประกาศคณะกรรมการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่นด้านการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง เพื่อให้
กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการสวัสดิการขั้นพื้นฐานและเป็นไปตามกรอบแนวทางกฎหมาย และการคุ้มครองต่าง ๆ โดยมี
กรอบแนวทางร่วมกัน การผลักดันตาแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ขับเคลื่อน
แนวทางผลักดันตาแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ใน อปท. ร่วมกับสภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ฯ กรมส่งเสริมการปกครอง
ท้องถิ่น สมาคมนักสังคมสงเคราะห์ฯ สถาบันการศึกษา เพื่อขับเคลื่อนให้มีนักสั งคมสงเคราะห์ใน อปท. ทุกจังหวัด
ทาให้ประชาชนได้รับการส่งเสริม คุ้มครอง พิทักษ์สิทธิ และได้รับบริการสวัสดิการสังคมอย่างทั่วถึง การประชุมหารือ

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
68
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๖๘
ร่วมกับองค์การแพลน อินเตอร์เนชันแนล ประเทศไทย จัดทาบันทึกข้อตกลงขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิต
กลุ่มเป้าหมายพิเศษ เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาเด็กนักเรียนไร้รัฐ ไร้สัญชาติในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิง
อุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ขับเคลื่อนพื้นที่นาร่องโรงเรียนเพียงหลวง ๑ (บ้านท่าตอน) จังหวัดเชียงใหม่
พร้อมทั้งวางแผนขยายผลให้ครอบคลุมในพื้นที่โรงเรียนเพียงหลวง ๑๘ จังหวัด ตลอดจนพัฒนาทักษะผู้ประกอบการ
ยุ ค ดิ จิ ทั ล ให้ ก ลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ใ นประเทศไทยสู่ ก ารเป็ น ผู้ ป ระกอบการหน้ า ใหม่ เพื่ อ ให้ เ ข้ า ถึ ง สิ ท ธิ ส วั ส ดิ ก ารสั ง คม
และสร้างงาน สร้างรายได้ในระยะต่อไป

๗.๗.๓ การส่งเสริมบทบาทภาคเอกชนในการช่วยพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจฐานราก
๑) อาสาสมัครส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (อสสว.) ภายใต้งานศูนย์ให้บริการ
SME แบบครบวงจร ทาหน้าที่ให้คาปรึ กษาและถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ SME รวมทั้งสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ
และจัดทาเว็บไซต์ www.อสสว.net เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อน อสสว. โดยมี อสสว. ในฐานข้อมูล จานวน ๑,๘๒๓ ราย
๒) จัดทาร่างแผนปฏิบัติการด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กรภาคประชาสังคม ระยะที่ ๒
(พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ทาให้เกิดแผนงานสาคัญ ๔ แผนงาน ซึ่งส่งผลให้องค์กรภาคประชาสังคมเกิดความเข้มแข็ง
และสามารถตอบสนองต่อปัญหาสังคมได้อย่างรวดเร็ว
๓) พัฒนาศักยภาพเพื่อเป็นผู้นาด้านการส่งเสริ มความรั บผิดชอบต่อสังคมของภาคธุ ร กิจ
(CSR Leader) จานวน ๖๐ คน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ ยวกับการส่งเสริมความรับผิดชอบ
ต่อสังคม
๔) พัฒนาสิทธิประโยชน์และผลักดันให้เกิดขึ้นจริงเพื่อการประกอบการ มีผู้ประกอบการ SME
ได้รับสิ ทธิป ระโยชน์ ร วม ๒,๓๔๒ ราย และสามารถขยายช่องทางการตลาดร่ ว มกับแพลตฟอร์ ม e-Commerce
จานวน ๒,๑๐๘ ร้านค้า เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจรวม จานวน ๒๖๓.๑๕ ล้านบาท

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๖๙69
๕) กิจกรรมส่งเสริมช่องทางการตลาดเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมช่องทาง
การตลาดเครื อข่ายเกษตรปลอดภัยในพื้นที่ ๘ จั งหวัดภาคเหนื อตอนบน ได้แก่ จั งหวัดเชียงใหม่ ล าพูน ล าปาง
แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา แพร่ และน่าน โดยมีผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์ จานวน ๘๐ กลุ่ม และเจ้าหน้าที่
ที่เกี่ย วข้อง รวม ๒๘๘ คน และกิจกรรมส่ งเสริ มช่องทางการตลาดเครื อข่ายเกษตรปลอดภัย ในพื้นที่ ๙ จังหวัด
ภาคเหนื อตอนล่ าง ได้แก่ จั งหวัดพิษณุโ ลก ตาก อุตรดิตถ์ สุ โ ขทัย เพชรบู ร ณ์ นครสวรรค์ กาแพงเพชร พิจิต ร
และอุทัยธานี โดยมีผู้ประกอบการเกษตรปลอดภัย จานวน ๙๐ กลุ่ม และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง รวม ๓๒๔ คน
๗.๗.๔ แก้ ไ ขปั ญ หาที่ อ ยู่ อ าศั ย ที่ ดิ น ท ากิ น สร้ า งชุ ม ชนที่ น่ า อยู่ โดยพั ฒ นาที่ อ ยู่ อ าศั ย ส าหรั บ
ผู้มีรายได้น้อยให้มีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเองที่ได้ มาตรฐานในระดับราคาที่รับภาระได้ในรูปแบบอาคารชุดพักอาศัย
และอาคารแนวราบ เช่น บ้ านเดี่ย ว บ้ านแฝด ทาวน์ เฮ้าส์ ขึ้น อยู่ กับ ความเหมาะสมของแต่ล ะพื้น ที่ ซึ่งสามารถ
ด าเนิ น การพั ฒ นาที่ อ ยู่ อ าศั ย จ านวน ๑๐,๖๒๗ หน่ ว ย และประชาชนได้ รั บ ประโยชน์ป ระมาณ ๓๑,๘๘๑ คน
จั ด หาและส่ ง มอบที่ อ ยู่ อ าศั ย ในระดั บ ราคา/อั ต ราค่ า เช่ า ที่ ป ระชาชนรั บ ภาระได้ รวมจ านวน ๓๓,๑๓๕ หน่ ว ย
หรื อประชาชนได้รั บ ประโยชน์ ป ระมาณ ๙๙,๔๐๕ คน และการพัฒ นาโครงการบ้ านเช่าส าหรั บผู้ มีรายได้ น้ อ ย
“บ้านเคหะสุขประชา” แผนงานนาร่อง รวมจานวน ๕๗๒ หน่วย รวมทั้งได้ พัฒนาที่อยู่อาศัยให้กับผู้มีรายได้น้อย
ในชุมชนแออัด/ชุมชนบุกรุก จานวน ๔,๓๓๔ ครัวเรือน ส่งผลให้ผู้มีรายได้น้อยมีความมั่นคงในการอยู่อาศัย มีคุณภาพชีวิต
และการอยู่อาศัยที่ดีขึ้น สามารถแก้ปัญหาชุมชนแออัด ชุมชนบุกรุก สร้างสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ของเมืองและชุมชน
และซ่อมแซม ปรับปรุง สร้างที่อยู่อาศัยให้กับผู้ด้อยโอกาส จานวน ๒,๓๑๒ ครัวเรือน
๗.๗.๕ สร้ า งเครื อ ข่ า ยชุ ม ชน พั ฒ นาชุ ม ชนต้ น แบบการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น (Smart Sustainable
Community: SSC) จานวน ๕ ชุมชน ประกอบด้ว ย โครงการบ้านเอื้ อ อาทร จังหวัดสมุทรปราการ (บางโฉลง)
และดาเนินการพัฒนาชุมชนต้นแบบการพัฒนาที่ยั่งยืน (SSC) อีก ๔ ชุมชน คือ โครงการบ้านเอื้ออาทรบางบั วทอง
โครงการบ้ า นเอื้ อ อาทรรั ง สิ ต โครงการบ้ า นเอื้ อ อาทรระยอง และโครงการบ้ า นเอื้ อ อาทรเมื อ งใหม่ บ างพลี
โดยประชาชนกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ครอบคลุมทั้ง ๓ มิติ ได้แก่ มิติที่ ๑ ด้านผู้นาชุมชนและการบริหาร
จัดการชุมชน มิติที่ ๒ ด้านเศรษฐกิจ มิติที่ ๓ ด้านคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม จานวน ๑๑ ชุมชน ๒,๕๗๐ ครัวเรือน
หรือประมาณ ๗,๗๑๐ คน

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
70
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๗๐
๗.๘ นโยบายหลักที่ ๘ การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย
รั ฐ บาลมุ่ ง พั ฒ นาคนไทยให้ มี ทั ก ษะส าหรั บ การด ารงชี วิ ต ในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่ อ เป็ น พลั ง ขั บ เคลื่ อ น
การพัฒนาประเทศ และมุ่งพัฒนาคนในทุกมิติตามความเหมาะสมในแต่ละช่วงวัยให้มีความสมบูรณ์ รวมทั้งให้ความสาคัญ
กับการสร้างหลักประกันทางสังคมที่เหมาะสมแก่ประชาชนในทุกกลุ่ม โดยมีผลการดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี้
๗.๘.๑ การส่งเสริ มการพัฒนาเด็ กปฐมวัย โดยจัดให้มีระบบพัฒนาเด็กแรกเกิดอย่างต่อเนื่องจนถึ ง
เด็กวัยเรียนให้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพ
๑) ขับเคลื่อนแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๐ ไปสู่การปฏิบัติ เพื่อกาหนด
แนวทางการติดตามการดาเนินงานและจัดทาแผนปฏิบัติการตามแผนพัฒนา
เด็กปฐมวัย ประสานและเตรียมการจัดทาแผนงบประมาณและแผนการดาเนินงาน
ประจาปีแบบบูรณาการให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๔ -
๒๕๗๐ รวมทั้ งติ ดตามการด าเนินงานตามมาตรฐานสถานพั ฒนาเด็ กปฐมวัย
แห่งชาติ
๒) พั ฒ นาการจั ด ประสบการณ์ แ บบ Active Learning สู่ ส มรรถนะผู้ เ รี ย นระดั บ ปฐมวั ย
และจัดทาเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สาหรับครูผู้สอนเกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรียน
ปฐมวัย เพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนปฐมวัย
๓) ดาเนินโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด โดยให้เงินอุดหนุนฯ ตั้งแต่แรกเกิด
จนถึง ๖ ปี ที่อาศัยอยู่ในครอบครัวที่มีรายได้ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาทต่อคนต่อปี ผลการดาเนินงานในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๕ และปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ (ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๕) ดังนี้
๓.๑) เด็กได้รับเงินอุดหนุน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ จานวน ๒,๗๐๓,๒๘๕ คน เป็นเงิน
๑๗,๖๒๑,๖๕๑,๔๐๐ บาท และปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ (เดือนตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๕) มีเด็กได้รับเงินอุดหนุน
จานวน ๒,๓๒๑,๖๕๓ คน เป็นเงิน ๔,๓๗๔,๗๑๒,๐๐๐ บาท
๓.๒) ระเบียบกรมกิจการเด็กและเยาวชน ว่าด้วยการจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด
พ.ศ. ๒๕๖๕ ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกยุคดิจิทัล โดยมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่
๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๕ และมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๕
๓.๓) ระบบยื่นคาขอลงทะเบียนออนไลน์ ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
และตรวจสอบง่าย ผ่าน Mobile Application “เงินเด็ก” โดยได้เปิดตัว Application เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๕
ประกอบด้วย ๖ เมนู ได้แก่ เมนูลงทะเบียน ตรวจสอบสิทธิ ติดตามสถานะการรับเงิน ติดต่อสอบถาม ขอเปลี่ยนแปลงสิทธิ
และแบบประเมินความพึงพอใจ
๓.๔) พัฒนาเชื่อมต่อฐานข้อมูลพัฒนาการเด็กที่ได้รับเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด
กับกระทรวงสาธารณสุข ที่เชื่อมโยงสอดคล้องกับการยื่นคาขอลงทะเบียนผ่านระบบดิจิทัล จานวน ๑๐ ตัวชี้วัด ได้แก่
(๑) การฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ (๒) เด็กแรกเกิดมีน้าหนักตามเกณฑ์ (๓) เด็กได้รับนมแม่อย่างเดียวตามเกณฑ์
(๔) เด็กได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ (๕) เด็กได้รับการชั่งน้าหนักและวัดส่วนสูง (๖) เด็กสูงดีสมส่วน (๗) เด็กได้รับ
การคัดกรองพัฒนาการตามเกณฑ์อายุ (๘) เด็กมีพัฒนาการสมวัย (๙) เด็กได้รับการคัดกรองช่องปาก และ (๑๐) เด็กมี
สุขภาพฟันดี

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๗๑71
๓.๕) ดาเนินการเชื่อมโยงส่งต่อข้อมูลเพื่อพัฒนากลุ่มเป้าหมาย ส่งต่อข้อมูลแม่เลี้ยงเดี่ยว
และแม่วัยรุ่ นในโครงการฯ เพื่อต่อยอดการช่วยเหลื อคุ้มครองทางสั งคม โดยมีแม่เลี้ ยงเดี่ยว จานวน ๑๐๘,๙๒๒ คน
แม่วัยรุ่น (อายุต่ากว่า ๒๐ ปี) จานวน ๒๙๔,๙๗๙ คน และแม่เลี้ยงเดี่ยวที่เป็นแม่วัยรุ่น จานวน ๑๗,๗๖๗ คน (ข้อมูล
ณ เดื อ นธั น วาคม ๒๕๖๕) ทั้ ง นี้ ได้ มี ก ารส่ ง ต่ อ ชุ ด ข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วให้ แ ก่ ห น่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ใช้ ป ระโยชน์
ในการให้บริการคลินิกแม่เลี้ยงเดี่ ยว การสร้างอาชีพ การคุ้มครอง การให้ช่วยเหลือ และจัดสวัสดิการที่เหมาะสม
สาหรับแม่วัยรุ่นในระดับพื้นที่
๓.๖) ผลักดันสวัสดิการแบบถ้วนหน้า โดยรัฐบาลได้ตระหนักถึงความสาคัญในการช่วยเหลือ
และจั ดสวัสดิการเงินอุดหนุ นฯ ให้ ครอบคลุ มเด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจนอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการกาหนดแนวทาง
การจัดสวัสดิการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดแบบถ้วนหน้าให้แก่เด็กแรกเกิด ถึง ๖ ปี ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่าง
การพิจารณาเพื่อให้ ได้รู ป แบบและแนวทางการจัดสวัส ดิการฯ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ และบริบทของประเทศ
๔) ดาเนินโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัย
๔.๑) ส่งเสริมและพัฒนาสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสถานพัฒนา
เด็กปฐมวัยแห่งชาติ โดยในปีการศึกษา ๒๕๖๔ มีสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเข้ามาในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ
การพัฒ นาเด็กปฐมวัย ตามมาตรฐานชาติ เพื่ อประเมิน ตนเอง จานวน ๔๐,๙๗๐ แห่ ง ผ่ านการประเมิน คุณ ภาพ
ตามมาตรฐาน จานวน ๓๙,๕๘๑ แห่ง (คิดเป็นร้อยละ ๙๖.๖๑) ต้องปรับปรุง จานวน ๑,๓๘๙ แห่ง (คิดเป็นร้อยละ
๓.๓๙)
๔.๒) พัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติ งานด้ า นเด็ ก ปฐมวั ยส่ วนกลางและส่ว นภูมิภ าค เพื่อให้
ผู้ปฏิบัติงานด้านเด็กนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กปฐมวัยในสถานรับเลี้ยงเด็ก โดยมีผู้ปฏิบัติงาน
ด้านเด็กเข้าร่วมการอบรม ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ จานวน ๒,๙๕๘ คน
๔.๓) ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานของสถานรับเลี้ยงเด็กที่ เก็บค่าบริการไม่เ กิน
๒,๐๐๐ บาทต่ อคนต่ อเดื อ น โดยมีเด็กได้รั บการสนั บ สนุน ด้านอาหารเสริ มและสื่อพัฒ นาการ ในปี งบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๕ จานวน ๓๐,๓๙๑ คน เป็นเงิน ๙,๑๑๗,๓๐๐ บาท และปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ (ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม -
ธันวาคม ๒๕๖๕) จานวน ๑๗๘ คน เป็นเงิน ๕๓,๔๐๐ บาท
๕) ปรั บ เพิ่ ม อั ต ราค่ า อาหารกลางวั น ของนั ก เรี ย น ตั้ ง แต่ ร ะดั บ ชั้ น อนุ บ าลปี ที่ ๑ จนถึ ง
ประถมศึกษาปีที่ ๖ ครอบคลุมนักเรียนจานวนทั้งสิ้น ๕,๗๙๒,๑๑๙ คน แบ่งออกเป็น ๔ กลุ่ม ดังนี้
ลาดับ ประเภทโรงเรียน จานวนเงินค่าอาหารกลางวันที่ได้รับ
๑. โรงเรียนที่มีจานวนนักเรียน ๑ - ๔๐ คน ๓๖ บาทต่อคนต่อวัน
๒. โรงเรียนที่มีจานวนนักเรียน ๔๑ - ๑๐๐ คน ๒๗ บาทต่อคนต่อวัน
๓. โรงเรียนที่มีจานวนนักเรียน ๑๐๑ - ๑๒๐ คน ๒๔ บาทต่อคนต่อวัน
๔. โรงเรียนที่มีจานวนนักเรียนตั้งแต่ ๑๒๑ คนขึ้นไป ๒๒ บาทต่อคนต่อวัน

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
72
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๗๒
๗.๘.๒ การพัฒนาบัณฑิตพันธุ์ใหม่
๑) โครงการผลิ ต บั ณ ฑิ ต พั น ธุ์ ใ หม่ เพื่ อ ให้ มี ค วามสามารถในการท างานได้ ห ลากหลาย
ตามความต้องการของผู้เรียน และตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรมและสถานประกอบการ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรม
เป้าหมายของประเทศ (First and New S-Curve) มีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วมโครงการ จานวน ๘๙ แห่ง ซึ่งได้จัดทา
หลักสูตรทีเ่ ป็นความร่วมมือกับภาคเอกชน สถานประกอบการอุตสาหกรรม ชุมชน และสังคม จานวน ๕๗๑ หลักสูตร
ผู้เรียนรวมทั้งสิ้น ๖๒,๖๐๑ คน ในปี ๒๕๖๕ มีนักศึกษาบัณฑิตพันธุ์ใหม่ที่มีศักยภาพ สมรรถนะ และทักษะที่สามารถ
ตอบโจทย์อุตสาหกรรม จานวน ๘,๑๘๗ คน
๒) พัฒนาหลักสูตรแซนด์บ็อกซ์ เป็นการจัดการศึกษาที่แตกต่างจากมาตรฐานการอุดมศึกษา
(Higher Education Sandbox) สร้ า งนวั ต กรรมการอุ ด มศึ ก ษา มุ่ ง เน้ น ผลิ ต คนให้ ต อบโจทย์ ค วามต้ อ งการของ
ภาคการผลิต (Demand Driven) และเท่าทันความต้องการของประเทศและยุทธศาสตร์ชาติ นาร่อง ๔ หลักสูตร
ได้ แ ก่ หลั ก สู ต รการผลิ ต และพั ฒ นาก าลั ง คนสาขาฉุ ก เฉิ น การแพทย์ หลั ก สู ต รการผลิ ต บุ ค ลากร High-tech
Entrepreneur หลักสูตรการผลิตบุคลากรด้านวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์และดิจิทัล และหลักสูตรการผลิตกาลังคน
ศักยภาพสูงที่มีความรู้เชิงลึกด้านวิทยาศาสตร์และแนวคิดเชิงนวัตกรรม
๓) จัดทาระบบคลังหน่วยกิตแห่งชาติ (National Credit Bank System: NCBS) เพื่อส่งเสริม
การเรียนรู้ตลอดชีวิต รองรับการพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้ผู้เรียนซึ่งไม่จาเป็นต้องมีสถานภาพเป็นนักศึกษาสามารถ
นาผลการเรียนและผลลัพธ์การเรียนรู้จากวิชาและหลักสูตรต่าง ๆ มาเทียบโอนและสะสมหน่วยกิตไว้ที่คลังหน่วยกิต
แห่ ง ชาติ แล้ ว สามารถน ามาขอรั บ ปริ ญ ญาบั ต รจากสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของไทย หรื อ เพื่ อ เป็ น รายงานผลลั พ ธ์
การเรียนรู้สะสมของผู้เรียน โดยดาเนินการนาร่องในสถาบันการศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รวมทั้งเปิดลงทะเบียนเรียนรายวิชา
ข้ามสถาบันระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสแสวงหาความรู้ตามรายวิชาที่สนใจและได้รับ ประสบการณ์
ที่หลากหลายจากมหาวิทยาลัย
๗.๘.๓ การพัฒนาอาชีวะ พัฒนาคุณภาพวิชาชีพ และพัฒนาแรงงานรองรับอุตสาหกรรม ๔.๐
๑) ยกระดั บ สถาบั น การอาชี ว ศึ ก ษาในการจั ด การศึ ก ษาปริ ญ ญาตรี สายเทคโนโลยี
หรื อ สายปฏิ บั ติ ก าร จ านวน ๒๓ แห่ ง ทั่ ว ประเทศ พั ฒ นาคุ ณ ภาพการจั ด การอาชี ว ศึ ก ษา ยกระดั บ สถาบั น
การอาชีวศึกษา จานวน ๒๓ แห่ง ทั่วประเทศ ในการจัดการศึกษาปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบั ติการ
และเพิ่มประสิ ทธิภ าพการบริ ห ารจั ดการให้ มีความเข้มแข็งทางวิช าการและวิช าชีพในการจั ด การเรี ยนการสอน
ในสาขาวิช าที่มี ความเป็ น เลิ ศเฉพาะทาง ยกระดับ การพัฒ นาศูน ย์ ท ดสอบมาตรฐานคุ ณวุฒิ วิช าชี พ ของสถาบั น
การอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติและกรอบคุณวุฒิอ้างอิง
อาเซียนในสถาบันการอาชีวศึกษา จานวน ๒๓ แห่งทั่วประเทศ
๒) พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา เพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
คุ ณ ภาพสู ง ระดั บ จั ง หวั ด ขั บ เคลื่ อ นได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิภ าพ มี ก ารบู ร ณาการท างานร่ ว มกั น ระหว่า งหน่ว ยงาน
ที่เกี่ยวข้องในจังหวัด สามารถผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาสมรรถนะสูงให้สอดคล้องกับความต้องการกาลังคน
ในจังหวัด พื้นที่ใกล้เคียงและของประเทศ โดยมีสานักงานอาชีวศึกษาจังหวัดทาหน้าที่ ขับเคลื่อนในพื้นที่ และได้มี

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๗๓73
การพัฒนาสมรรถนะครูให้มีความเป็นเลิศและเชี่ยวชาญเฉพาะ (Excellent Teacher) พัฒนาครูฝึกในสถานประกอบการ
จานวน ๗๓๗ คน
๓) พัฒนาหลักสูตรการเรี ยนการสอนตามกรอบคุณ วุฒิแ ห่งชาติ ในระดับ ประกาศนียบัตร
วิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาในการผลิตกาลังคน
ด้านอาชีวศึกษาทุกระดับ ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน มีสมรรถนะพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน ขับเคลื่อนการพัฒ นา
คุ ณ ภาพมาตรฐานการศึ ก ษาวิ ช าชี พ รองรั บ อุ ต สาหกรรมในอนาคต สนั บ สนุ น การขั บ เคลื่ อ นยุ ท ธศาสตร์ ช าติ
และการปรับโครงสร้างประเทศไทย ๔.๐
๔) พัฒนาอาชีวะและยกระดับแรงงานไทย ดาเนินการขับเคลื่อนศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิต
และพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management: CVM) เพื่อผลิต
และพั ฒ นาก าลั ง คนให้ มี ทั ก ษะและความเชี่ ย วชาญเฉพาะทางสอดคล้ อ งกั บ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมเป้ า หมาย
ของประเทศ ตลอดจนพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ พัฒนาครู พัฒนานักเรียนนักศึกษา และพัฒนาความร่วมมือกับ
สถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาสู่ความเป็นเลิศ โดยมีสถานศึกษาที่เข้าร่วมในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
จานวน ๕๐ แห่ง แบ่งเป็นสถานศึกษาภาครัฐ ๔๕ แห่ง และภาคเอกชน ๕ แห่ง
๕) จัดทาโครงการยกระดับเพื่อเพิ่มศักยภาพฝีมือและสมรรถนะแรงงาน เพื่อพัฒนาศักยภาพ
แรงงานใหม่ให้มีทักษะ องค์ความรู้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดแรงงานและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
และนวั ต กรรม และเพื่ อ Upskill และ Reskill แรงงาน ให้ ส ามารถท างานที่ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของ
ตลาดแรงงาน เตรี ยมความพร้ อมรองรั บ การเปลี่ ยนแปลงเทคโนโลยีของภาคอุตสาหกรรม/บริการ และรองรับ
การปรับเปลี่ยนอาชีพ
๖) จัดตั้งศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it center) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ดาเนินกิจกรรม
ได้แก่ (๑) บริการซ่อม (Repair) เครื่องมือ/เครื่องจักรกลการเกษตร ยานพาหนะ เครื่องใช้ไฟฟ้า/เครื่องใช้ในครัวเรือน
และอื่น ๆ ให้คาแนะนาวิธีการใช้ การดูแลรักษา จานวน ๙๖,๐๖๑ รายการ (๒) บริการสร้าง (Build) อาชีพใหม่
หรือต่อยอดอาชีพ จานวน ๗๘๑ ราย
และ (๓) บริการพัฒนา (Top Up)
ผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยครูนานักเรียน
นักศึกษาไปศึก ษาเรี ย นรู้ และน า
เทคโนโลยี ห รื อ สร้ า งนวั ต กรรม
ร่ ว มกั บ ชุ ม ชน เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า
และส่งเสริมการรับรองมาตรฐาน
คุณภาพ จานวน ๔๑๗ ราย
๗) ขั บ เคลื่ อ นโครงการอาชี ว ะสร้ า งโอกาสทางการศึ ก ษาให้ เ ยาวชน เพื่ อ ผลิ ต ก าลั ง คน
ของประเทศ ได้ดาเนินการโครงการอาชีวะอยู่ประจา เรียนฟรี มีอาชีพ โดยมีสถานศึกษาเข้าร่วม จานวน ๘๘ แห่ง
จัดกิจ กรรมพัฒ นาทักษะชีวิตที่ห ลากหลาย มีครู ห อพักดูแลความปลอดภัยตลอด ๒๔ ชั่ว โมง เพื่อรองรับเยาวชน
และนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั่วประเทศ จานวน ๔,๐๗๔ คน

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
74
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๗๔
๘) จัดโครงการพัฒนาศักยภาพแรงงานเพื่อรองรับการจ่ายค่าจ้างตามระดับมาตรฐานฝีมือ
แรงงาน มีผู้ผ่านการทดสอบจะได้รับ หนังสือรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานเพื่อเป็นหลักฐานรองรับการจ่ายค่าจ้าง
ตามมาตรฐานฝีมือ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ มีผู้เข้ารับการฝึกอบรม/ทดสอบ จานวน ๓๑,๓๔๗ คน และผู้ผ่าน
การฝึ กอบรม/ทดสอบ จานวน ๒๐,๙๙๑ คน และปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ มี ผู้ เข้ารับการฝึกอบรม/ทดสอบ
จานวน ๖,๒๒๐ คน และผู้ผ่านการฝึกอบรม/ทดสอบ จานวน ๔,๑๗๙ คน (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม ๒๕๖๕)
๙) โครงการจัดการศึกษาด้านอาชีพเพื่อรองรั บการพัฒนาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
(Eastern Economic Corridor: EEC) ในโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นที่ EEC จานวน ๘๐ โรงเรียน โดยการสร้าง
หรือพัฒนารายวิชาเพิ่มเติมหลักสูตรสถานศึกษา สื่อ นวัตกรรมที่สอดคล้องกับอุตสาหกรรมเป้าหมายในพื้นที่ EEC
ตามบริ บ ทของแต่ ล ะโรงเรี ย น รวมทั้ ง จั ด กิ จ กรรม Show & Share Metaverse นิ ท รรศการเสมื อ นจริ ง ให้ ค รู
ในพื้นที่ EEC ได้ร่วมแบ่งปั นไอเดียผลงานการออกแบบกิจกรรมสร้างสมรรถนะ และการพัฒนารายวิชาเพิ่ มเติม
ที่ส อดคล้ องกับ อุตสาหกรรมเป้ าหมายในพื้น ที่ EEC สู่ ห ลั กสู ตรสถานศึกษา ประกอบด้ว ย หลั กสู ตร “ยานยนต์
และขนส่งสมัยใหม่” หลักสูตร “อาหารและอาหารเพื่ออนาคต” และหลักสูตร “อุตสาหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
๑๐) โครงการผลิตและพัฒนากาลังคนสนับสนุนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพื่อผลิต
และพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลมีทักษะความรู้
ความสามารถตรงกั บ ความต้ อ งการของสถานประกอบการในพื้ น ที่ สามารถรองรั บ คว ามต้ อ งการก าลั ง คน
ใน ๑๐ อุตสาหกรรมเป้าหมายในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกได้อย่างเพียงพอ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ตรง
กับ ความต้องการอุตสาหกรรมเป้ าหมาย ฝึกอบรมให้ มีความสอดคล้ องกั บ ความต้องการของสถานประกอบการ
โดยดาเนินกิจกรรมพัฒนาบุคลากรร่วมกับสถานประกอบการในรูปแบบ EEC Model Type A โดยได้พัฒนาสมรรถนะ
ผู้เรียนอาชีวศึกษาไปแล้ว จานวน ๔,๒๑๑ คน นักเรียนในสถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
และแรงงานในสถานประกอบการที่ ได้จัดทาบันทึกความร่วมมือกับสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
จั ง หวั ด ชลบุ รี ระยอง ฉะเชิ ง เทรา จ านวน ๒๐ แห่ ง มี ค วามรู้ ทั ก ษะ นิ สั ย อุ ต สาหกรรม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม
และความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกับการประกอบอาชีพ และการดารงชีวิตในเขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก
๑๑) พัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับการพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรม ๔.๐ ดาเนินการในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๕ เช่ น พั ฒ นาองค์ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ อุ ต สาหกรรมชี ว ภาพ กระบวนการแปรรู ป ด้ ว ยนวั ต กรรม
และเทคโนโลยีชีวภาพ จานวน ๒๐๐ คน พัฒนาองค์ความรู้และทักษะการปฏิบัติงานของอุตสาหกรรมและบริการ
ทางการแพทย์ จานวน ๒๑๒ คน พัฒนาด้านเทคโนโลยีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติและดิจิทัล พัฒนาองค์ความรู้
ด้าน Lean Automation จานวน ๓๗๒ คน พัฒ นาองค์ความรู้ ด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ส มัยใหม่เพื่อยกระดั บ
กระบวนการผลิตด้วยระบบอัตโนมัติและอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ จานวน ๒๐๐ คน เป็นต้น ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๖ ได้ดาเนินการพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับการพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรม ๔.๐ อาทิ พัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
กับอุตสาหกรรมชีวภาพด้วยองค์ความรู้เกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจใหม่ BCG และอุตสาหกรรมชีวภาพ จานวน ๕๐ คน
พัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีหุ่นยนต์ระบบอัตโนมัติและดิจิทัลให้สามารถประกอบ ติดตั้ง และเชื่อมโยงระบบทางกล
ระบบควบคุม ระบบประมวลผล และซอฟต์แวร์ปฏิบัติการ ให้เกิดการทางานร่วมกันเป็นอัตโนมัติ/พัฒนาบุคลากร
ให้มีองค์ความรู้เทคโนโลยีอัตโนมัติผ่านกลไกความร่วมมือต่างประเทศ จานวน ๔๐ คน

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๗๕75
๗.๘.๔ การดึ ง ดู ด คนเก่ ง จากทั่ ว โลกเข้ า มาท างานกั บ คนไทยและส่ ง เสริ ม ผู้ มี ค วามสามารถสู ง
โดยอานวยความสะดวกแก่บุคลากรทักษะสูง ผู้เชี่ยวชาญ นักลงทุน ผู้บริหาร และผู้ประกอบการวิสาหกิจเริ่มต้น
(Startup) ที่ประสงค์จะเข้ามาทางานหรือลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศผ่านวีซ่าประเภทพิเศษ (SMART
VISA) ภายใต้โครงการ Thailand Plus Package เป็นมาตรการทางภาษีเพื่อส่งเสริมการจ้างบุคลากรที่มีทักษะสูง
และการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะสูง ให้ผู้ประกอบการได้รับสิทธิประโยชน์ในการนาค่าใช้จ่ายในการอบรมไปหักภาษี
ได้ร้อยละ ๒๕๐ โดยมีผู้ขอรับรองคุณสมบัติรับรองหลักสูตร จานวน ๕๒๘ หลักสูตร จาก ๕๐ หน่วยฝึกอบรม และรับรอง
การจ้างงาน STEM จานวน ๑,๓๒๙ ตาแหน่งงาน จาก ๕๓ บริษัท ทั้งนี้ ดาเนินการขยายระยะเวลาให้สิทธิประโยชน์
ทางภาษีเป็นระยะเวลา ๓ ปี
๗.๘.๕ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมที่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ โดยส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา
นวัตกรรมเพื่อขจัดความเหลื่อมล้าและความยากจนผ่านการผลักดันนวัตกรรมชุมชนเข้าสู่การทาแผนพัฒนาตาบล/
ท้องถิ่น ที่เชื่อมต่อกับแผนจังหวัด พัฒนาระบบข้อมูลครัวเรือนยากจนระดับพื้นที่ (Practical Poverty Platform-PPP
Connext) จนสามารถสร้ า งวิ ส าหกิ จ เชิ ง วั ฒ นธรรม จ านวน ๖,๐๐๐ ราย สร้ า งนวั ต กรรมพร้ อ มใช้ จ านวน
๗๖๓ นวัตกรรม พัฒนาให้เกิดธุรกิจชุมชน จานวน ๙๙๕ กลุ่ม และพัฒนาให้เกิดชุมชนนวัตกรรม จานวน ๕๔๖ ชุมชน
ใน ๔๘ จังหวัด ครอบคลุม ๒๗๖ อาเภอ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง
โดยขับเคลื่อนบัญชีนวัตกรรมไทย ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ มีผู้ยื่นขอขึ้นบัญชีนวัตกรรม จานวน ๑๔๓ ผลงาน
ประกาศขึ้นบัญชีนวัตกรรมไทยแล้ว ๑๐๐ ผลงาน นอกจากนี้ ได้จัดตั้ง “ธัชวิทย์” วิทยสถานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
(Thailand Academy of Sciences: TAS) เพื่อให้เป็นศูนย์กลาง (Hub) ในการเชื่อมโยงเครือข่ายนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์
สถาบันวิจัยแห่งชาติ และมหาวิทยาลัยมาทางานร่วมกัน
๗.๘.๖ การส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะทุกช่วงวัย ดาเนินการ ดังนี้
๑) ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสถานศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เพื่อให้
เป็นสถานศึกษาเพื่อการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการและพัฒนาทักษะด้าน Coding, STEM, IoT และ AI และเป็นศูนย์กลาง
ในการผลิตบุคลากรดิจิทัล โดยมีเป้าหมายโรงเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จานวน ๘๐ แห่ง สถานศึกษา
ระดับอาชีวะ จานวน ๙ แห่ง ครูและบุคลากรทางการศึกษา จานวน ๑๖๙ คน รวมถึงสร้างความตระหนัก ความรู้
ความเข้ า ใจการใช้ ไ ซเบอร์ ป ลอดภั ย และสร้ า งสรรค์ ใ ห้ แ ก่ ผู้ สู ง วั ย และผู้ ด้ อ ยโอกาสให้ มี ก ารปรั บ ตั ว ในการใช้
ไซเบอร์อย่างเหมาะสม ปลอดภัย และสร้างสรรค์ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาทักษะให้ผู้สูงวัยสามารถเผยแพร่ความรู้
ด้านการค้าขายและการตลาดออนไลน์สู้ภัยไซเบอร์ และความรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล จานวน ๑,๖๙๐ คน
๒) โครงการพาน้องกลับมาเรียน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ สามารถติดตามและค้นหาเด็ก
ที่อยู่ในวัยการศึกษาภาคบังคับที่ตกหล่นและออกกลางคัน จานวน ๒๔,๗๗๓ ราย กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาแล้ว
จานวน ๑๗,๔๐๙ ราย คิดเป็ นร้ อยละ ๗๐.๒๗ และติดตาม ค้น หา เด็กพ้น เกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ ที่ตกหล่ น
และออกกลางคัน จานวน ๓,๓๖๑ ราย กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาแล้ว จานวน ๒,๕๙๗ ราย คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๒๗
และสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใน ๕ รายการพื้นฐาน ได้แก่
ค่าจัดการเรียนการสอน ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนให้กับนักเรีย นทุกคน จานวน ๖,๖๒๗,๒๖๔ คน รวมงบประมาณทั้งสิ้น ๓๖,๕๔๗,๓๓๐,๙๐๐ บาท รวมทั้ง
ปรับเพิ่มค่าใช้จ่ายอุดหนุนรายหัว ตั้งแต่ระดับอนุบาล - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิช าชีพ

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
76
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๗๖
(ปวช.) ในสถานศึกษาของรัฐและเอกชน ทั้งในระบบและนอกระบบ โดยปรับต่อเนื่อง ๔ ปี ตั้งแต่ปี ๒๕๖๖ - ๒๕๖๙
ซึ่งจะครอบคลุมค่าจัดการเรียนการสอน อาทิ สื่ อ วัสดุการสอน ค่าน้า ค่าไฟ และสอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ
ในปัจจุบัน
๓) ส่งเสริ มและพัฒนาด้ านเคหกิจเกษตรในครัวเรื อนเกษตรสูงวัย เพื่อพัฒ นาคุณภาพชีวิต
และเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่สังคมเกษตรสูงวัย รวมทั้งส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อสร้างรายได้เสริมจากการประกอบ
อาชีพในกลุ่มเกษตรสูงวัย จานวน ๔๒ ราย
๔) พัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนไทยสู่การเป็นผู้นาในศตวรรษที่ ๒๑ ได้แก่ (๑) การพัฒนา
ทักษะทางด้านอาชีพสู่ การเป็ น นั กวิทยาศาสตร์ รุ่ น เยาว์ ตามแนวทาง RF 21 ด้าน Scientists (นั กวิทยาศาสตร์)
(๒) การพัฒนาเด็กในสถานรองรับ ผ่านการจัดกิจกรรมสาคัญ อาทิ การจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กได้มีวินัยในตนเอง
ด้วยกิจกรรมการเล่านิทาน ศิลปะสร้างสรรค์ และมอนเตสซอรี่ (๓) การขับเคลื่อนกิจกรรมด้านการพัฒนาและแก้ไข
ปัญหาสังคมของสภาเด็กและเยาวชน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ดาเนินกิจกรรม จานวน ๔,๖๑๒ กิจกรรม มีเด็ก
และเยาวชนที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ จานวน ๒๕๔,๕๙๗ คน และในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ดาเนินกิจกรรม
จานวน ๖๕ กิจกรรม มีเด็กและเยาวชนที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ จานวน ๒,๔๙๘ คน
๕) ส่งเสริมอาชีพและการจ้างงานทุกช่วงวัย (แรงงานทั่วไป แรงงานสูงอายุ และแรงงานพิการ)
เพื่อเตรียมทรัพยากรมนุษย์เข้าสู่ตลาดแรงงานที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ Thailand 4.0 โดยให้บริการ
จัดหางาน จานวน ๕๙,๒๕๐ คน เพิ่มอาชีพ เพิ่มรายได้ ให้ผู้ว่างงาน ผู้ถูกเลิกจ้าง ผู้ประสบภัยธรรมชาติ แรงงาน
นอกระบบ คนพิการ หรือผู้ดูแลคนพิการ และประชาชนทั่วไป ได้รับการส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระ จานวน
๑,๐๕๓ คน และส่งเสริมการรับงานไปทาที่บ้าน ทาให้มีงานทา มีรายได้ จานวน ๓๔๖ คน ให้บริการจัดหางานแก่
กลุ่มคนพิเศษ (คนพิการ ผู้พ้นโทษ และนักเรียน/นักศึกษา) จานวน ๑,๘๖๓ คน ส่งเสริมการจ้างงานคนพิการเชิงสังคม
จานวน ๓,๒๗๗ คน เน้นการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง โดยเฉพาะกลุ่มคนพิการ มีอาชีพ มีรายได้ ทางานในพื้นที่ ใกล้
ที่พักตนเอง มีคุณภาพชีวิตดี ลดความเหลื่อมล้าทางสังคม การพัฒนาทักษะและต่อยอดอาชีพของเยาวสตรี สตรี
และครอบครั ว ดาเนิ น การฝึ กอบรมทักษะอาชีพให้ แก่ เยาวสตรี สตรี และครอบครั ว เพื่อให้ ส ามารถน าความรู้
และทักษะที่ได้รับไปประกอบอาชีพ สามารถลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ของครัวเรือนได้ ในศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรี
และครอบครั ว และสถานคุ้ ม ครองและพั ฒ นาอาชี พ รวม ๑๒ แห่ ง รวมทั้ ง ริ เ ริ่ ม และยกระดั บ อาชี พ ใหม่
ทักษะการขายสินค้าออนไลน์ให้มีคุณภาพและตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน จานวน ๑,๗๖๕ คน
๗.๘.๗ การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดาเนินโครงการ
โรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร์ คณิต ศาสตร์ และเทคโนโลยี ตามมาตรฐานสถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (สสวท.) จานวน ๓๕๘ โรงเรียน โดยมีการดาเนินการ ดังนี้ (๑) พัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนการสอน
และการเลือกใช้สื่อการสอนสาหรั บครู ผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ระดับ ประถมศึกษาตอนปลาย
และมัธยมศึกษาตอนต้น แก่ครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มีผู้เข้าร่วมการอบรม จานวน ๕๕๐ คน จาก ๓๕๘ โรงเรียน
(๒) พัฒนาครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มีครูที่เข้าร่วม
กิจกรรม จ านวน ๕๔๒ คน จาก ๓๕๘ โรงเรี ยน (๓) พัฒนาผู้บริ หารโรงเรียนเอกชน เพื่อเป็นผู้ นาด้านจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยมีผู้เข้าอบรม จานวน ๑๙๖ คน จาก ๑๔๕ โรงเรียน (๔) พัฒนาการจัด
การเรียนการสอนสาหรับครูระดับประถมศึกษาตอนปลาย และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน ๑๔๖ คน จาก ๕๘ โรงเรียน

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๗๗77
๗.๘.๘ การฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพให้กับประชาชน เพื่อให้ประชาชน
มี ค วามรู้ พื้ น ฐานภาษาต่ า งประเทศเพื่ อ การสื่ อ สารด้ า นอาชีพ และสามารถน าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ใ นการดาเนินชีวิต
โดยมี ก ารจั ด อบรมภาษาต่ า งประเทศเพื่ อ การสื่ อ สารด้ า นอาชี พ ให้ กั บ ประชาชนในพื้ น ที่ ร่ ว มกั บ ภาคี เ ครื อ ข่ า ย
ทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน มีผู้ผ่านการอบรม จานวน ๑๔,๒๒๘ คน
๗.๘.๙ การส่งเสริมหลักคิดมีจิตสาธารณะ ส่งเสริมให้ลูกเสือและเนตรนารี มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง
กฎหมายจราจร และการใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย มีทักษะการใช้สัญญาณมือ สัญญาณนกหวีด ในการปฏิบัติหน้าที่
การอานวยความสะดวกด้านการจราจรร่วมกับเจ้าหน้าที่ตารวจจราจร จานวน ๖๒ รุ่น มีลูกเสือและเนตรนารี เข้ารับ
การฝึ ก อบรมทั้ ง สิ้ น จ านวน ๔,๙๖๐ คน ตลอดจนพั ฒ นาแกนน าส่ ง เสริม ความประพฤติ นั ก เรีย นและนั ก ศึ กษา
มีนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ จานวน ๑,๗๒๗ คน นักเรียนที่เข้าร่วมขยายผล จานวน ๒,๖๒๑ คน รวมทั้งสิ้น ๔,๓๔๘ คน
รวมทั้งปลูกจิตสานึกในการอนุรักษ์และเห็นถึงคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้แก่เยาวชน มีเจตคติ
และเกิดจิตสานึกที่ดี มีส่วนร่วมในการป้องกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จานวน ๑๐ รุ่น จานวน ๑,๒๘๔ คน
๗.๘.๑๐ การส่งเสริ มหลักคิดด้ า นความเสมอภาคระหว่า งเพศ จัดทาหลั กสู ตรและพัฒ นาหลักสูตร
“ธรรมาภิบาลกับการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศสาหรับผู้บริหาร” เพื่อส่งเสริมแนวคิดความเสมอภาคระหว่างเพศ
และความเชื่อมโยงของหลักการดังกล่าวกับหลักประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลสาหรับผู้บริหาร โดยเฉพาะผู้บริหาร
ระดับ สู ง ให้ มีความรู้ ความเข้าใจประเด็น การส่ งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศ และเปิดอบรมหลั กสูตรเรื่อง
“ธรรมาภิบาลกับการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศสาหรับผู้บริหาร” โดยมีผู้ได้รับการคัดเลือกให้เข้าอบรม
หลักสูตรฯ จานวน ๖๐ คน
๗.๘.๑๑ พั ฒ นาทั ก ษะการอ่ า นและการเขี ย นภาษาไทยในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น
ผ่ านกิจ กรรม ๑) อบรมสร้ างประสบการณ์การสอน ฟัง พูด อ่าน เขียน ผ่ านประสบการณ์ตรง/สถานการณ์จริง
หลักสูตร “พัฒนาการอ่าน มุ่งสมรรถนะการสื่อสาร” ให้แก่ครูโรงเรียนเอกชนที่สอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ๖
จานวน ๕๕๒ คน และ ๒) อบรมเชิงปฏิบั ติการส่ งเสริ ม พัฒ นาทั กษะภาษาไทย เพื่อการเรี ยนรู้ และการสื่ อ สาร
ในศูนย์การศึกษาอิสลามประจามัสยิด (ตาดีกา) หลักสูตร “พัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน โดยใช้สื่อและภาษา
อย่างสร้างสรรค์” โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น ๗๖๑ คน
๗.๘.๑๒ พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงผู้สูงอายุ
๑) ส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัย ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาทางด้าน
ร่ า งกาย อารมณ์ จิ ต ใจ สั ง คมและสติ ปั ญ ญาอย่ า งเต็ ม ตามศั ก ยภาพ สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ โรงเรี ย นเอกชน
ที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย โดยดาเนินการดังนี้ (๑) พัฒนาบุคลากรผู้ดูแลเด็กปฐมวัย โดยอบรมพี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย
ในโรงเรียนเอกชนในกรุงเทพมหานครให้มีทักษะในการดูแลเด็กปฐมวัยได้อย่างเหมาะสม โดยมีผู้เข้ารับการอบรม
จานวน ๒๑๕ คน และ (๒) พัฒนาสมรรถนะครูเพื่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสมสาหรับเด็กปฐมวัย
โดยส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ บ ริ ห ารและครู ส ามารถเป็ น ครู นั ก ออกแบบการเรี ย นรู้ สะท้ อ นห้ อ งเรี ย นสู่ ก ารเปลี่ ย นแปลง
(Classroom Reflection to Change: CRC) ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning: PL)
โดยพัฒนาโรงเรียนนาร่องในหลักสูตร “สมรรถนะครูปฐมวัยหัวใจใหม่ (Holistic Teacher)” เพื่อให้มีความเข้าใจ

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
78
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๗๘
หลักคิดการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม (Holistic Learning) ผ่านกิจวัตรประจาวันสู่การออกแบบกิจกรรมที่เน้น
สมรรถนะสาหรับเด็กปฐมวัยการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม (Holistic Education) จานวน ๔๔๕ คน
๒) ส่งเสริมทักษะอาชีพให้กับประชากรวัยแรงงาน จัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องหลักสู ตร
อาชีพตามความต้องการของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จานวน ๔๑๔,๕๐๑ คน ผ่านกิจกรรมหลักสูตร ๑ - ๓๐ ชั่วโมง
มีผู้ผ่านการอบรม จานวน ๒๐๐,๓๐๗ คน กิจกรรมชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตร ๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป มีผู้ผ่านการอบรม
จานวน ๑๘๗,๔๘๙ คน และกิจกรรม ๑ อาเภอ ๑ อาชีพ มีผู้ผ่านการอบรม จานวน ๒๖,๗๐๕ คน
๓) ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ผู้ สู ง อายุ ผ่ า นการจั ด และส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาตลอดชี วิ ต
เพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ภายใต้สโลแกน “สูงวัยใจสมาร์ท สุขใจวัยเก๋า ” โดยอบรม
พัฒนาครู กศน. ทั่วประเทศแบบออนไลน์ จานวน ๘ รุ่น มีผู้เข้ารับการอบรม จานวน ๗,๔๙๘ คน มีผู้ผ่านการอบรม
เป็นวิทยากร จานวน ๖,๕๐๐ คน และส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมอง
ของผู้สูงอายุ ผ่านกิจกรรมให้ กับ ผู้สูงอายุ กลุ่ มติดสังคม จานวน ๒๔๗,๔๙๐ คน เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุ ขภาวะที่ดี ขึ้น
ดูแลตนเองได้ มีรายได้มีเงินออม สามารถใช้เทคโนโลยีเบื้องต้นได้อย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐาน เพื่อเตรียมความพร้อม
เข้าสู่สังคมสูงวัย (Aging Society) และผลิตผู้ดูแลผู้สูงอายุ เป็นการบูรณาการความร่วมมือการผลิตผู้ดูแลผู้สูงอายุ
ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุ ข ใน ๒ หลักสูตร ได้แก่ (๑) หลักสูตร จานวน ๗๐ ชั่วโมง
เป็นการจัดฝึกอบรมให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ไปปฏิบัติหน้าที่ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Caregiver)
ในระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) หรือประชาชนที่มีผู้มีภาวะพึ่งพิงในครอบครัว (๒) หลักสูตร
จานวน ๔๒๐ ชั่วโมง เป็นการจัดฝึกอบรมให้แก่ประชาชนทั่วไปที่มีความประสงค์จะประกอบอาชีพเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุ
โดยจั ด อบรมผู้ ดู แ ลผู้ สู ง อายุ “หลั ก สู ต ร ๗๐ ชั่ ว โมง” ให้ กั บ ประชาชนทั่ ว ไปที่ มี อ ายุ ตั้ ง แต่ ๑๘ ปี ขึ้ น ไป
จบการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับประถมศึกษาหรือเทียบเท่าที่มีความประสงค์จะ “ดูแลบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง” มีผู้ผ่านการอบรม
จานวน ๓,๒๐๔ คน
๗.๘.๑๓ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
๑) จัดสรรทุนการศึกษาเพื่อเด็กสภาวะยากลาบากในเขตพื้นที่สูงภาคเหนือ ให้แก่เด็กชาวเขา
ยากจนด้อยโอกาสในเขตพื้นที่สูงภาคเหนือ ๘ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชีย งใหม่ เชียงราย น่าน แม่ฮ่องสอน ตาก ลาพูน
พะเยา และแพร่ โดยมีผู้ได้รับทุนการศึกษาเพื่อใช้จ่ายในการศึกษาเล่าเรียนและประกอบอาชีพ จานวน ๖,๓๘๕ คน
๒) ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาสาหรับเด็กที่มี ค วามต้องการจาเป็นพิเศษและเด็ก
ที่มีความสามารถพิเศษ ดังนี้ (๑) พัฒนาครูผู้สอนคนพิการ จานวน ๖๔๕ คน ให้สามารถขึ้นทะเบียนเป็นผู้ดาเนินการ
คัดกรองคนพิการทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ (๒) พัฒนาครู จานวน ๒๔๗ คน จาก ๑๐๗ โรงเรียน และครู
จ านวน ๑๒๘ คน จากศู น ย์ ก ารศึ ก ษาพิ เ ศษ ๖๖ ศู น ย์ ให้ ส ามารถจั ด ท าแผนการจั ด การศึ ก ษาเฉพาะบุ ค คล
(Individualized Education Program: IEP) เพื่อช่วยเหลือนักเรียนพิการในโรงเรี ยนเอกชนในการขอรับสิ่งอานวย
ความสะดวก สื่อ บริหาร และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓) ขยายผลโครงการหลวงเพื่อแก้ปัญหาพื้นที่ปลูกฝิ่นอย่างยั่งยืน เป็นการพัฒนาประชาชน
ในพื้นที่เป้าหมาย ๗ อาเภอ ใน ๓ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ แม่ ฮ่องสอน และตาก ด้วยกระบวนการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้รู้หนังสือ สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทยในชีวิตประจาวัน มีการพัฒ นา
คุณภาพชีวิตที่เหมาะสมตามบริบ ทชุมชน สามารถหารายได้จากอาชีพทดแทนที่มั่น คงเหมาะสมต่อสภาพสั งคม

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชา นายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรี ปีีปีที่่ท� ี่ ๔๔
(๒๕ กรกฎาคม
(๒๕ กรกฎาคม -- ๓๑
๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๗๙79
ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้ อ ม และมีร ายได้ เ พีย งพอต่ อ การครองชี พ สามารถลด ละ และเลิ กการปลู กฝิ่ น ในพื้ น ที่
โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟัง - พูด - อ่านภาษาไทย และเข้าใจภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร จานวน
๑,๗๗๕ คน และกิจกรรมการพัฒนาทักษะชีวิตให้แก่ประชาชน จานวน ๑๓,๒๘๘ คน
๔) ส่งเสริมการพัฒนาโรงเรียนเอกชนในโครงการตามพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดย (๑) พัฒนาศักยภาพด้านวิชาการตามความพร้อม
และความต้องการของผู้เรียนทั้งด้านภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ อีกทั้งยังมีการพัฒนาทักษะ
ทางด้านวิชาการ โดยมีการจัดแสดงผลงานของผู้เรียน จานวน ๑๒ ผลงาน มีครูและนักเรียนเข้าร่วมทั้งสิ้น ๓,๕๘๔ คน
และ (๒) ประชุมวิชาการ “การพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุ รกันดารตามพระราชดาริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ” โดยมีการจัดแสดงนิทรรศการด้านโภชนาการสุขอนามัย
เรื่อง อาหารดี มีสุขอนามัย ร่างกายปลอดภัย โดยโรงเรียนอนุกูลวิทยา (วัดดอนแก้ว) จังหวัดตาก มีสถานศึกษา
เข้าร่วม จานวน ๒๐ แห่ง และผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม ๔๕ คน
๗.๘.๑๔ พัฒนาคุณภาพสื่อการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัลและแหล่งเรียนรู้ที่เข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต
๑) ส่งเสริ มการศึกษานอกระบบผ่า นทีวีสาธารณะ (ติวเข้มเต็มความรู้ ) เพื่อให้ นักเรียน
นักศึกษา ประชาชนที่อยู่ในและนอกระบบโรงเรียน ได้เรียนกับครูผู้ส อนที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิช าโดยตรง
ผ่านทางสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (NBT)
และสถานีวิทยุโทรทัศน์อื่น ๆ โดยดาเนินการ (๑) ผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาที่ทันสมัยและสามารถตอบสนอง
ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายทุกช่วงวัย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน จานวน ๖๓๗ รายการ ประกอบด้วย
รายการติ ว เข้ ม เติม เต็ ม ความรู้ จ านวน ๑๒๐ รายการ รายการสารคดี ส่ ง เสริม การศึ ก ษา จ านวน ๕๒ รายการ
เพื่อพัฒนาประชาชนตลอดช่วงวัย จานวน ๓๘๐ รายการ และรายการตามหลักสูตรขั้นพื้นฐานของสานักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน ๘๕ รายการ และ (๒) จัดกิจกรรมติวเข้มเติมเต็มความรู้สัญจร
โดยมีนักเรียนนักศึกษาที่ได้รับบริการติวเข้มเต็มความรู้ จานวน ๒,๗๒๓,๘๘๖ คน
๒) จั ด สร้ า งแหล่ ง การเรี ย นรู้ ใ นระดั บ ต าบล โดยการพั ฒ นาส านั ก งานส่ ง เสริม การศึ กษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาบล/แขวง และหน่วยงาน/สถานศึกษา ให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และการจัด
กิ จกรรมการศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ให้ ป ระชาชนได้ รั บ การศึ ก ษาตลอดชี วิ ต อย่ า งทั่ ว ถึ ง
และมีคุณภาพ เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงบริการการศึกษาที่หลากหลาย สอดคล้องกับสภาพและความต้องการ
ของตนเองให้บริการกับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ จานวน ๗,๔๓๒ แห่ง
๓) ศูน ย์ดิ จิ ทัลชุมชน เป็ นการพัฒ นาวิทยากรแกนน าและประชาชนทั่ว ไป มีทักษะการใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลให้ เป็ นประโยชน์ ให้มีความตระหนักรู้ด้านดิจิทัล สามารถใช้ประโยชน์จากเครื่องมือด้านดิ จิทัล
สร้างโอกาสในการมีงานทาและช่องทางการหารายได้เสริมให้ กับตนเองได้ ผ่านกระบวนการ (๑) อบรมขยายผล
ในพื้นที่สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด (ครู ข และครู ค) จานวน ๘,๑๘๖ คน
ประกอบด้วย วิทยากรแกนนาระดับอาเภอ (ครู ข) จานวน ๑,๐๗๕ คน วิทยากรแกนนาระดับตาบล (ครู ค) จานวน
๗,๑๑๑ คน (๒) อบรมประชาชนในพื้นที่สานักงานส่งเสริ มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาบล
จานวน ๙,๐๓๓ คน และ (๓) ติดตามและประเมินผลโครงการ โดยให้ประชาชนผู้เข้ารับการอบรมตอบแบบสอบถาม
ความพึงพอใจผ่านออนไลน์

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
80
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๘๐
๔) การสนับสนุนอุปกรณ์สาหรับใช้ในการเรียนออนไลน์ของนักเรียน (Smart Devices)
ผ่ า นโครงการ “คนละเครื่ อ ง (พี่ แ บ่ ง ให้ น้ อ งได้ เ รี ย น)” โดยมี แ นวทางการรั บ บริ จ าคอุ ป กรณ์ ๒ รู ป แบบ
คือ (๑) การบริจาคเป็นเงินสด และ (๒) การบริจาคเป็นอุปกรณ์ พร้อมทั้งนาส่งต่อส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อจัดสรรไปยัง
สถานศึกษา รวมทั้งส่ งต่อให้ กับ นั กเรี ย นที่ ขาดแคลนอุป กรณ์การเรี ยนยืมเรียนต่อไปซึ่งมียอดรับบริจาคอุปกรณ์
๕,๓๒๒,๒๗๓ บาท ไปยังสถานศึกษา จานวน ๓,๘๗๙,๔๘๘ แห่ง นอกจากนี้ ได้จัดทาแผนและงบประมาณเพื่อขอรับ
การสนั บ สนุ น งบประมาณจากกองทุ น การจั ด ให้ มี บ ริ ก ารโทรคมนาคมพื้ น ฐานโดยทั่ ว ถึ ง และบริ ก ารเพื่ อ สั ง คม
(Universal Service Obligation: USO) ของคณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น์ และกิ จ การ
โทรคมนาคมแห่งชาติผ่านกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม โดยมีนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จานวน ๑๗๗,๒๔๓ คน

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๘๑81
๗.๙ นโยบายหลักที่ ๙ การพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลักประกันทางสังคม
รัฐบาลได้ให้ความสาคัญต่อสุขภาพและสุขภาวะของประชาชน โดยการจัดบริการสาธารณสุขและระบบ
ความคุ้มครองทางสังคมที่ครอบคลุมประชากรทุกกลุ่มอย่างเหมาะสม เพื่อนาไปสู่ความเสมอภาค มีผลการดาเนินงาน
สาคัญ ดังนี้
๗.๙.๑ การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข แพทย์สมัยใหม่ และแพทย์แผนไทย นอกจากการรักษา
ทั่วไปแล้ว ยังมีการพัฒนาบริการที่ดีมากขึ้น ได้แก่
๑) พัฒนาระบบบริการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ (One Day Surgery) ด้วยนวัตกรรมการแพทย์
สมั ย ใหม่ มี ผู้ ป่ ว ยที่ เ ข้ า รั บ การผ่ า ตั ด แล้ ว จ านวน ๓๗,๒๓๙ คน สามารถลดค่ า ใช้ จ่ า ยภาคประชาชน จ านวน
๕๙,๕๘๐,๐๐๐ บาท
๒) เพิ่ มทางเลื อกในการให้ บริ การผู้ ป่ วยนอกด้ วยการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ ผสมผสาน
ที่มีพัฒนารูปแบบแนวทางการให้บริการ ขยายผลบูรณาการเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพ มีผู้ใช้บริการกว่า ๒๗,๐๐๐,๐๐๐ ครั้ง
๓) พัฒนากลไกการดาเนินงานปฐมภูมิ จัดทาแผนปฏิบัติการด้านระบบสุขภาพปฐมภูมิ (พ.ศ. ๒๕๖๔
- ๒๕๗๓) โดยการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ๓,๑๙๑ ทีม
๔) คนไทยทุกครอบครัว มีห มอประจาตัว ๓ คน ปรับเปลี่ยนการดูแลให้ใกล้ชิดกับประชาชน
มากยิ่ ง ขึ้ น เน้ น การเสริ ม สร้ า งสุ ข ภาพ และความรู้
ด้ า นสุ ข ภาพ การดู แ ลสุ ข ภาพองค์ ร วม ทั้ ง ร่ า งกาย
จิตใจ สังคม ได้จัดทาทะเบียนแพทย์เวชศาสตร์ฯ คู่กับ
ประชาชน ร่ ว มกั บ ส านั ก งานหลั ก ประกั น สุ ข ภาพ
แห่ ง ชาติ ไ ด้ ด าเนิ น การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล ที ม หมอ
ครอบครั ว (PCU/NPCU) กั บ ระบบข้ อ มู ล ทะเบี ย น
หน่ ว ยบริ การ (Contracting Provider Profile: CPP)
โดยเชื่อมฐานข้อมูลแพทย์กับ ประชาชนที่รับผิ ดชอบ
ส่ ง ผลให้ ป ระชาชนคนไทยมี ห มอประจ าตั ว ๓ คน
จานวน ๓๓,๐๐๐,๐๐๐ คน
๕) พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสถานบริการสาธารณสุข เพื่อให้ประชาชนเกิดความมั่นใจต่อคุณภาพ
และความปลอดภัยของสถานบริการสุขภาพ จึงได้ขับเคลื่อนให้สถานพยาบาลผ่านกระบวนการรับรองระบบคุณภาพ
ของสถานพยาบาลอย่างต่อเนื่อง โดยปัจจุบันมีโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง
Hospital Accreditation (HA) ขั้น ๓ จานวน ๑๒๑ แห่ง จาก ๑๒๑ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ โรงพยาบาลสังกัด
กรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค และกรมสุขภาพจิต มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น ๓ จานวน ๔๘ แห่ง
จาก ๔๙ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๙๗.๙ และโรงพยาบาลชุมชน มี คุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น ๓ จานวน
๖๗๓ แห่ง จาก ๗๕๑ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๘๙.๖

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
82
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๘๒
๗.๙.๒ การส่งเสริมการป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ได้มีการขับเคลื่อนการดาเนินงาน
ทีส่ าคัญ ดังนี้
๑) บู ร ณาการดู แ ลผู้ สู ง อายุ ค รบด้ า น BMTEC (Brain-Mental-Teeth-Eye & Ear-Cardio)
ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ได้ประชาสัมพันธ์และใช้งาน Application สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
(Blue Book) โดยมีฐานข้อมูลคัดกรองสุขภาพของผู้สูงอายุและส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)
จานวน ๔,๓๒๕,๕๐๔ คน และได้จัดทาแผนการดูแลส่งเสริมสุ ขภาพผู้สูงอายุรายบุคคล ด้า นการดูแลรักษาโรค
และฟื้นฟูสุขภาพ ได้รับการประเมินมีพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุ จานวน ๑,๕๙๕,๙๐๙ คน พบว่ามีพฤติกรรมสุขภาพ
ที่พึงประสงค์ จานวน ๑,๑๕๔,๖๗๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๒.๓ ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมได้รับ
การคัดกรอง จานวน ๑๑,๙๐๐ คน พบว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมและได้รับการดูแลรักษาในคลินิก
ผู้สูงอายุ จานวน ๔,๑๖๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๕ และผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหกล้มได้รับการคัดกรอง
จานวน ๑๐,๒๙๔ คน พบว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหกล้มและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ จานวน
๘,๒๖๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐.๓ ด้านการดูแลระยะยาวได้พัฒนาระบบ Long Term Care โดยมีตาบลที่มีระบบ
การส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพดู แ ลผู้ สู ง อายุ ร ะยะยาว (Long Term Care) ในชุ ม ชนผ่ า นเกณฑ์ จ านวน ๗,๑๒๑ ต าบล
จาก ๗,๒๕๕ ต าบล คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ ๙๘.๑ และขั บ เคลื่ อ นการดู แ ลผู้ สู ง อายุ แ ละผู้ ป่ ว ยระยะกลางในชุ ม ชน
(Intermediate care in Community)
๒) พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตเชิงรุก ได้มีการติดตามเด็กที่มีพัฒ นาการล่าช้าให้ ได้รับ
การกระตุ้ น พั ฒ นาการด้ ว ย TDA4I หรื อ เครื่ อ งมื อ
มาตรฐานอื่ น จนมี พั ฒ นาการสมวั ย มี เ ด็ ก ปฐมวั ย
กลุ่ มเสี่ ยงที่ได้รับการคัดกรองแล้ ว พบว่า สงสั ยล่าช้า
และได้ รั บ การกระตุ้ น จนมี พั ฒ นาการสมวั ย จ านวน
๓๘,๑๖๕ คน จากกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการติดตามประเมิน
พัฒนาการ จานวน ๓๘,๔๐๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๔
สนั บ สนุ น งบประมาณด าเนิ น งาน ( Prevention)
การพัฒนาระบบจัดบริการดูแลช่วยเหลือเด็กพัฒนาการ
ล่าช้าอย่างต่อเนื่อง และสื่อสารสร้างความเข้าใจร่วมกับพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูและเผยแพร่ความรู้เรื่องการดูแลเด็กปฐมวัย
เฝ้าระวังและป้องกันผลกระทบด้า นสุขภาพจิตจากการระบาดของโควิด-๑๙ โดยมีประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อปัญหา
สุขภาพจิตและยินยอมให้ ติดตามดูแลสุขภาพจิต จานวน ๑๔,๓๖๐ คน ได้รับการติดตามให้การช่วยเหลือจิตใจไปแล้ว
ทั้งสิ้น จานวน ๑๓,๑๒๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๑.๔
๗.๙.๓ การพัฒนาและยกระดับความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) เช่น พัฒนา
ศักยภาพ อสม. สู่ การเป็ นสมาร์ ท อสม. และ อสม. หมอประจาบ้าน ๘๑,๘๓๑ คน สามารถดูแลคุณภาพชี วิ ต
กลุ่ ม เป้ า หมายได้ ดี ขึ้ น จ านวน ๑.๓๐ ล้ า นราย พั ฒ นาระบบดู แ ลและคุ้ ม ครองสิ ท ธิ ผู้ สู ง อายุ มี ผู้ สู ง อายุ ไ ด้ รั บ
การดูแล คุ้มครอง และช่วยเหลืออย่างมีมาตรฐาน จานวน ๑๕,๓๗๕ คน โดยอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์เชี่ยวชาญด้านผู้สูงอายุ จานวน ๑,๐๒๕ คน (ข้อมูล ณ เดือนกรกฎาคม ๒๕๖๕ - ธันวาคม ๒๕๖๕)

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๘๓83
๗.๙.๔ การสร้างหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมด้านการศึกษา สุขภาพ การมีงานทาที่เหมาะสม
กับประชากรทุกกลุ่ม
๑) เสริ ม สร้ า งหลั ก ประกั น สุ ข ภาพถ้ ว นหน้ า ประชากรไทยทั้ ง ประเทศผู้ มี สิ ท ธิ ใ นระบบ
หลั กประกัน สุ ขภาพถ้ว นหน้า จ านวน ๖๖,๙๘๑,๙๙๘ คน ลงทะเบียนสิ ทธิในระบบหลักประกัน สุ ขภาพ จ านวน
๖๖,๔๙๒,๐๕๕ คน คิ ด เป็ น ความครอบคลุ ม สิ ท ธิ ใ นระบบหลั ก ประกั น สุ ข ภาพถ้ ว นหน้ า ( Universal Health
Coverage: UHC) ร้อยละ ๙๙.๒๗ ประกอบด้วย ผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จานวน ๔๖,๙๑๓,๔๑๑ คน
ผู้ มีสิ ทธิป ระกัน สั งคม จานวน ๑๒,๗๘๘,๓๑๗ คน และผู้ มีสิ ทธิส วัส ดิการข้าราชการ จานวน ๕,๒๗๖,๑๘๐ คน
สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น จานวน ๖๗๓,๓๘๙ คน สิทธิประกันตนคนพิการ จานวน ๑๒,๖๘๖ คน สิทธิครูเอกชน
จานวน ๗๔,๓๕๑ คน และบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ
จานวน ๗๕๓,๗๒๑ คน และยังได้ยกระดับระบบหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ ๔ บริการ ดังนี้ (๑) ประชาชนที่เจ็บป่วย
ไปรับบริการกับหมอครอบครัว ในหน่วยบริการปฐมภูมิระบบ
บัตรทองที่ไหนก็ได้ทั่วประเทศ (OP anywhere) (๒) ผู้ป่วยใน
ไม่ต้องกลับไปรับใบส่งตัวครอบคลุมหน่วยบริการทั่วประเทศ
(IP anywhere) (๓) โรคมะเร็งไปรับบริการที่ไหนก็ได้ทั่วประเทศ
(Cancer anywhere) และ (๔) ย้ายหน่วยบริการได้สิทธิทันที ไม่ต้องรอ ๑๕ วัน
๒) เสริ ม สร้ า งสุ ข ภาพในกลุ่ ม วั ย แรงงาน ด าเนิ น การ อาทิ การตรวจแรงงานในระบบ
โดยตรวจสถานประกอบกิจการ จานวน ๖,๓๙๗ แห่ง ลูกจ้างได้รับการคุ้มครอง จานวน ๒๑๗,๒๖๑ คน โครงการ
ความปลอดภั ย และอาชี ว อนามั ย ของประเทศไทย (Safety Thailand) ในปี ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ อั ต รา
การประสบอันตรายจากการทางานกรณีร้ายแรง สามารถคานวณได้ ๒.๒๒ ต่อลูกจ้าง ๑,๐๐๐ ราย ซึ่งลดลง ร้อยละ
๑.๗๗ เมื่ อ เที ย บกั บ ปี ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่ ค านวณได้ ๒.๒๖ ต่ อ ลู ก จ้ า ง ๑,๐๐๐ ราย โครงการส่ งเสริม
ความปลอดภัยให้แก่เครือข่ายแรงงานนอกระบบ จานวน ๑,๑๒๖ คน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและสุขอนามัยในกลุ่ม
แรงงานนอกระบบอย่างยั่งยืน โครงการจัดสวัสดิการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานและครอบครัว ยกระดับคุณภาพ
ชีวิตแรงงานนอกระบบโดยจัดโครงการสร้างความเข้มแข็งชมรมแรงงานนอกระบบ จานวน ๗๗๐ คน โครงการบริหาร

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)
84 (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๘๔
จัดการแรงงานนอกระบบ แรงงานสูงอายุ และแรงงานพิการ มีการส่งเสริม คุ้มครอง และพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน
นอกระบบเพิ่มขึ้น จานวน ๑๖.๖๗ ล้านคน โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตและผลิตภาพแรงงาน มีแรงงานได้รับ
การส่งเสริมคุณภาพชีวิต จานวน ๙๒,๘๒๖ คน สถานประกอบกิจการ จานวน ๓๓๗ แห่ง
๓) การดาเนินการด้านประกันสังคม อาทิ คุ้มครองประชาชนวัยแรงงานที่เป็นลูกจ้างในสถาน
ประกอบการและผู้ ป ระกอบอาชี พ อิ ส ระให้ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ภ ายใต้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ป ระกั น สั ง คม
และพระราชบั ญ ญั ติ เ งิ น ทดแทน มี ผู้ ป ระกั น ตนในระบบประกั น สั ง คม จ านวนทั้ ง สิ้ น ๒๔.๔๒ ล้ า นคน
สถานประกอบการ จานวน ๕๐๖,๒๙๙ แห่ง จ่ายสิทธิประโยชน์ กองทุนประกันสังคม (ข้อมูล ณ เดือนมกราคม -
พฤศจิกายน ๒๕๖๕) จานวน ๖๖๓,๓๗๑ ครั้ง เป็นเงิน ๒๐,๙๓๖.๖๕ ล้านบาท และกองทุนเงินทดแทน จานวน
๗๐,๐๘๓ ครั้ง เป็นเงิน ๑,๓๘๑.๐๒ ล้านบาท พัฒนาสิทธิประโยชน์และเพิ่มประสิทธิภาพในการเข้าถึงบริการ เช่น
(๑) ประกันเงินบานาญชราภาพขั้นต่า ผู้รับบานาญได้รั บการคุ้มครองที่เป็นธรรมมากขึ้น (๒) ปรับเพิ่มสิทธิประโยชน์
ทดแทนกรณีชราภาพ (๓) พัฒนาบริการทางการแพทย์ (๔) เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาของผู้ประกันตน
ในระบบประกันสังคม เพื่อให้ผู้ประกันตนที่เจ็บป่วยและมีความจาเป็นต้องเข้ารับการรักษาด้วยการผ่าตัด สามารถ
เข้าถึงบริการทางการแพทย์ในระบบประกันสังคม ซึ่งเป็นการลดระยะเวลาการรอคอย ลดภาวะแทรกซ้อน ไม่ให้อาการของ
โรคมีความรุนแรงมากขึ้น และ (๕) โครงการดูแลสุขภาพผู้ประกันตนเชิงรุกในสถานประกอบการ โดยเริ่มดาเนินการ
Kick off มีผู้ประกันตนได้รับการตรวจสุขภาพแล้ว จานวน ๓,๐๑๔ ราย
๔) พั ฒ นาชี วิ ต กลุ่ ม เปราะบางในการดูแล ติดตาม ช่ว ยเหลื อกลุ่ มคนไร้ที่ พึ่ ง ผู้ ติดเชื้อเอดส์
และครอบครัว ผู้ตกทุกข์ได้ยาก รายได้น้อย และไร้ที่พึ่ง ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และพัฒนาชีวิต กลุ่มเปราะบาง
ในการดูแล ติดตาม ช่วยเหลือกลุ่มคนไร้ที่พึ่ง ผู้ติดเชื้อเอดส์และครอบครัว ผู้ตกทุกข์ ได้ยาก รายได้น้อย และไร้ที่พึ่ง
ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ผ่านโครงการและกิจกรรม อาทิ โครงการ “เป๋าบุญ...หนุนขา” จัดทาผลิตภัณฑ์จาก
ถุงปูนซิเมนต์สนับสนุนจากมูลนิธิเอสซีจี ส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้แก่ผู้ใช้บริการในสถานคุ้มครองคนไร้ที่ พึ่ง
จ านวน ๑๔๕ ราย โดยมอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ านวน ๖,๑๒๙ ชิ้ น ให้ กั บ มู ล นิ ธิ ศิ ริ ร าชและออกบู ธ สาธิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์
กิจกรรม Homeless ไม่ Hopeless เสียงสะท้อนความหวัง อนาคต และชีวิตในภาวะไร้บ้าน ร่วมกับภาคีเครือข่าย
ทั้งภาครัฐและเอกชน จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านสิ ทธิต่าง ๆ บริการจากศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งกรุงเทพมหานคร
และรับฟังเสียงสะท้อนจากคนไร้บ้านได้สะท้อนความรู้สึกความต้องการให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ช่วยเหลือ นามาสู่การวางแผนในการช่วยเหลือคนไร้บ้าน ดูแลฟื้นฟูผู้ใช้บริการที่มีอาการทางจิตเวช
ในสถานรองรับของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และในสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งอย่างครบวงจร
และติดตั้งระบบ Telemedicine ในสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง ๑๑ แห่ ง ส่ งเสริม ป้องกัน บ าบัด ฟื้น ฟูมรรถภาพ
ครอบคลุมทุกมิติให้แก่ผู้ใช้บริการ จานวน ๙๗๓ คน และดาเนินโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลการดาเนินงาน
โครงการฯ จานวน ๗๐ คน พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายการคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสาหรับผู้ป่วยจิตเวชไร้บ้าน
ในสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง ๕ ด้าน ได้แก่ ด้านการแรกรับและคัดกรอง ด้านการคุ้มครองและฟื้นฟู ด้านการส่งกลับ
คืน สู่ สั งคม ด้านการป้ องกัน และด้านการขับ เคลื่ อนข้อเสนอเชิงนโยบายอย่างเป็น รูป ธรรม และโครงการสร้ า ง
เครือข่ายการคุ้มครองแรงงานนอกระบบในสังคมสูงวัย และโครงการส่งเสริมสิทธิหน้าที่แรงงานนอกระบบผู้สูงอายุ
สู่เส้นทางใหม่ หลังวัย ๖๐ ปี จานวน ๒๕๘ คน เพื่อส่งเสริมให้แรงงานนอกระบบในกลุ่มผู้สูงอายุรับรู้ สิทธิและเข้าถึง
บริการของภาครัฐ

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๘๕85
๗.๑๐ นโยบายหลักที่ ๑๐ การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน
รัฐบาลให้ความสาคัญต่อการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะการรับมือ
กั บ ภั ย ธรรมชาติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ไม่ ว่ า จะเป็ น ปั ญ หาอุ ท กภั ย หรื อ ภั ย แล้ ง เพื่ อ น าไปสู่ ก ารฟื้ น ฟู แ ละอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร
ซึ่งมีผลการดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี้
๗.๑๐.๑ การปกป้องรักษา ฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ดาเนินการป้องกันรักษาป่าและแก้ไ ข
ปัญหาไฟป่า โดยลดจุดความร้อนลง ร้อยละ ๒๐ จากค่าเฉลี่ย ๕ ปี ปลูกป่าฟื้นฟูโครงสร้างระบบนิเวศ จานวน ๑๑,๐๐๐ ไร่
และดาเนินโครงการป่าในเมือง “สวนป่าประชารัฐ เพื่อความสุขของคนไทย” ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานภายใน
สวนพฤกษศาสตร์ สวนรุกขชาติ เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วนอุทยาน และป่าอนุรักษ์อื่น ๆ ให้อยู่ในรูปแบบกิจกรรมโครงการ
ป่ า ในเมื อ ง จ านวน ๕๔ แห่ ง พื้ น ที่ ด าเนิ น การ จ านวน ๑๙๔,๔๙๙ ไร่ พร้ อ มทั้ ง ร่ ว มมื อ กั บ ท้ อ งถิ่ น /ชุ ม ชน
ในการด าเนิ น การเพิ่ ม พื้ น ที่ ป ลู ก ต้ น ไม้ ที่ ตั้ ง อยู่ ใ นเมื อ งหรื อ ใกล้ เ มื อ ง รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม ให้ ค นอยู่ กั บ ป่ า พึ่ ง พากั น
อย่ างมีความสุ ข โดยจั ดทาโครงการเสริ มรายได้ให้ กับ ประชาชนที่อยู่ในพื้น ที่ป่าและพื้น ที่ร อบป่า เช่น โครงการ
ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ
นอกจากนี้ ได้ดาเนินคดีกับผู้กระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับการป่าไม้ เช่น คดีบุกรุกพื้นที่ป่าอนุรักษ์
จานวน ๖๒๕ คดี จับกุมผู้ต้องหา จานวน ๑๒๐ คน เนื้อที่ ๓,๔๖๑.๘๖ ไร่ หยุดยั้งการบุกรุกทาลายทรัพยากรป่าไม้
โดยจั บ กุ ม ด าเนิ น คดี กั บ ผู้ ก ระท าความผิ ด ส่ ง เสริ ม และผลั ก ดั น ให้ ก ารอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ป่ า ไม้
และการอนุรักษ์สัตว์ป่า โดยการเพาะพันธุ์และปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ จานวน ๓๓ ชนิด ๑,๙๑๕ ตัว ควบคุมประชากรลิง
เพื่อลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างคนกับลิง จานวน ๔,๔๖๓ ตัว รวมทั้งแก้ไขปัญหาช้างป่าที่สร้างผลกระทบต่อราษฎร
โดยดาเนินการในพื้นที่ ๑๓ กลุ่มป่า ทั้งนี้ ได้นาเสนอพื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจาน เนื้อที่ ๒.๕๖ ล้านไร่ ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์
ด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ และเป็ น แหล่ ง ถิ่ น อาศั ย ที่ ส าคั ญ ของชนิ ด พั น ธุ์ สั ต ว์ ป่ า ที่ เ สี่ ย งสู ญ พั น ธุ์ แ ละถู ก คุ ก คาม
เป็นมรดกโลกทางธรรมชาติแห่งที่ ๓ ของประเทศไทย
๗.๑๐.๒ การส่งเสริมการบริหารจัดการน้าทั้งระบบ แหล่งน้าชุมชนและทะเล โดยขับเคลื่อนแผนแม่บท
การบริหารจัดการทรัพยากรน้า ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ได้ดาเนินการปรับปรุงกรอบแนวทาง และค่าเป้าหมาย
แผนแม่บทการบริ ห ารจั ด การทรั พยากรน้ า ๒๐ ปี โดยบูร ณาการหน่ว ยงานที่ เ กี่ยวข้ อ ง จานวน ๑๓ กระทรวง
๕๑ หน่วยงาน เพื่อร่วมกันกาหนดกรอบแนวทางการพัฒนาด้านทรัพยากรน้า ค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด กลยุทธ์ แผนงาน
ภายใต้ แ ผนแม่ บ ทการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรน้ า ๒๐ ปี ซึ่ ง ได้ น าปั จ จั ย และสภาพแวดล้ อ มเพื่ อ การรองรั บ
การขับเคลื่อน ประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) การแก้ไขปัญหาโดยการปรับตัว
แบบอาศัยธรรมชาติเป็นฐาน (Nature-Base Solution: NBS) เศรษฐกิจหมุนเวียน การนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยใน
การบริหารจัดการน้า และการลดความเสี่ ยงภายใต้กรอบการดาเนินงานเซนได เพื่อการลดความเสี่ยงจากภัย พิบัติ
พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๗๓ (Sendai Framework for Disaster Risk Reduction 2015 - 2030) เชื่ อ มโยงตั ว ชี้ วั ด
และเป้าหมายกับแผนระดับชาติ และนานาชาติ โดยคานึงถึงจุดสมดุลย์ระหว่างการอนุรักษ์และพัฒ นา พร้อมทั้ง
ได้มีการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น ๒๒ ลุ่มน้า เพื่อรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของผู้แทนคณะกรรมการลุ่มน้า
องค์กรผู้ ใช้น้ า และภาคประชาชน ภายใต้กรอบแนวคิดแผนการจัดการน้าแบบพลวัต โดยประชาชนมีส่ ว นร่วม
ในการจัดการน้า (Water Resilience Management Plan with Citizen Co-Design) โดยมีกรอบการพัฒนา ๕ ด้าน
ได้แก่ (๑) การจั ดการน้ าอุป โภคบริ โ ภค (๒) การสร้ างความมั่น คงของน้าภาคการผลิ ต (เกษตร/อุต สาหกรรม)

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
86(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๘๖
(๓) การจัดการน้าท่วมและอุทกภัย (๔) การอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศทรัพยากรน้า และ (๕) การบริหารจัดการ
และจะถ่ายโอนไปสู่การจัดทาแผนแม่บทลุ่มน้าผ่านกลไกคณะกรรมการลุ่มน้า เพื่อเป็นกรอบในการพัฒนาและบริหารจัดการ
ทรัพยากรน้าในเขตลุ่มน้าต่อไป
นอกจากนี้ ได้ดาเนินโครงการก่อสร้างระบบผลิตน้าดื่มสะอาดในพื้นที่สูงถิ่นทุรกันดารในพื้นที่
รับผิดชอบ ใน ๘ จังหวัดภาคเหนือตอนบน เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าสะอาดสาหรับอุปโภค บริโภค โดยก่อสร้าง
ระบบผลิตน้าดื่มสะอาดชนิดไฟฟ้า สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงและสนับสนุนศูนย์การเรียนรู้
ชุมชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้าหลวง (ศศช.) รวมจานวน ๑๔๔ แห่ง พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการเตือนภั ยให้ครอบคลุม
ทุกพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย ดินถล่ม ในพื้นที่ลาดชันและพื้นที่ราบเชิงเขา โดยได้ติดตั้งระบบเตือนภัย จานวน ๖๔๘ สถานี
๒,๑๓๘ หมู่บ้ าน ในปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ และดาเนิ นการพัฒ นาและเพิ่ มประสิ ทธิภ าพระบบกระจายน้ า
จ านวน ๕๒ แห่ ง สามารถเก็ บ กั ก น้ ารวม ๔.๗๕๔๐ ล้ า นลู ก บาศก์ เ มตร ประชาชนมี น้ าส าหรั บอุ ป โภค/บริโ ภค
และการเกษตร รวม ๙,๕๘๘ ครัวเรือน ประชาชนมีน้าสาหรับทาการเกษตรในพื้นที่ รวม ๓๒,๓๐๑ ไร่
๗.๑๐.๓ การสร้ า งความมั่ น คงของฐานทรั พ ยากรแร่ และทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง
เพื่อการพัฒนาประเทศและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
๑) บริหารจัดการเพื่อสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรแร่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
ได้ดาเนินการจัดทาบัญชีทรัพยากรแร่เพื่อการบริหารจัดการอย่างสมดุล โดยทบทวนบัญชีทรัพยากรแร่ทั่วประเทศ
ไม่ น้ อ ยกว่ า ๑๐ ล้ า นไร่ รวมทั้ ง ท าการส ารวจและประเมิ น ศักยภาพแร่ โพแทช จังหวัดนครพนม และธาตุหายาก
จังหวัดพังงา เพื่อนาไปจัดทาบัญชีทรัพยากรแร่เพิ่มเติม
นอกจากนี้ ได้ ด าเนิ น การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรแร่ เ พื่ อ การพั ฒ นาประเทศและเพิ่ ม
ขีดความสามารถในการแข่งขัน เช่น การส่งเสริมอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมพื้นฐานสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
โดยได้ส่งเสริมการดาเนินกิจการเหมืองแร่ตามหลักธรรมาภิบาลและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green and Smart
Mining) เพื่อให้ผู้ประกอบการเหมืองแร่ได้ประกาศเจตนารมณ์ร่วมเป็นเหมืองแร่ที่มีธ รรมาภิบาลและเป็นมิตรต่อ
สิ่ งแวดล้ อมต่อหน้ าสาธารณชน สร้ างความเชื่อมั่น ในการพัฒ นาแร่อ ย่า งยั่ง ยืน โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๖ ได้จัดท า
หลักเกณฑ์การตรวจประเมินและกาหนดคะแนนประเมินเพื่อพิจารณาคัดเลือกผู้ประกอบการเหมืองแร่และกิจกรรม
เกี่ ย วเนื่ องกั บ การท าเหมื อ งแร่ ที่ มี คุ ณสมบั ติ เ หมาะสมในการเข้ ารั บรางวั ล เหมื อ งแร่ ที่ เป็ นมิ ต รต่ อสิ่ งแวดล้ อ ม
และมีธรรมาภิบาล
๒) บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ได้ ด าเนิ น การส ารวจธรณี วิ ท ยา
เพื่อการบริหารจัดการทางทะเลและชายฝั่ง สารวจจัดทาข้อมูลและแผนที่พื้นที่เปราะบางต่อแผ่นดินทรุดและน้าทะเล
รุกเข้าท่วมชุมชนชายฝั่งทะเลในพื้นที่วิกฤติ เพื่อวิเคราะห์ความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์พื้นที่ในจังหวัดเพชรบุรี
รวมทั้ ง จั ด ท าข้ อ มู ล และแผนที่ ธ รณี วิ ท ยาแหล่ ง ทรายและธรณี สั ณ ฐานทางทะเลชายฝั่ ง ในจั ง หวั ด เพชรบุ รี
และดาเนินการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของระดับน้าทะเลที่มีความสัมพันธ์กับหลักฐานทางธรณีวิทยาและการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศโลก โดยใช้เครื่องมือวัดระดับน้าทะเลขึ้น - ลงแบบอัตโนมัติ ควบคุมตาแหน่งด้วยระบบดาวเทียม ๘ สถานี
ในจังหวัดตราด ระยอง ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร นครศรีธรรมราช ระนอง ภูเก็ต และสตูล
นอกจากนี้ ได้ประกาศกฎกระทรวงกาหนดพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง จานวน ๓ พื้นที่
ได้แก่ หมู่เกาะกระ จังหวัดนครศรีธรรมราช เกาะโลซิน จังหวัดปัตตานี และพื้นที่ชายฝั่งทะเล จังหวัดตรัง รวมทั้ง

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๘๗87
ดาเนินการสารวจประเมิน วิเคราะห์ จัดทาระบบฐานข้อมูลขยะทะเล และศึกษาผลกระทบของขยะทะเลต่อสัตว์ทะเล
หายาก และผลกระทบของขยะทะเลต่อระบบนิเวศแนวปะการัง
๗.๑๐.๔ การแก้ไ ขปัญหาก๊า ซเรื อนกระจกและผลกระทบจากการเปลี่ ยนแปลงสภาพภู มิ อากาศ
ดาเนินการจัดทายุทธศาสตร์ระยะยาวในการพัฒนาแบบปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่าของประเทศไทย เพื่อเป้าหมาย
ความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ในปี พ.ศ. ๒๕๙๓ (ค.ศ. ๒๐๕๐) และการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
สุทธิเป็นศูนย์ (Net-Zero GHG Emissions) ในปี พ.ศ. ๒๖๐๘ (ค.ศ. ๒๐๖๕) รวมถึงส่งเสริมโครงการลดก๊าซเรือนกระจก
ภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program: T-VER) โดยใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๖ มีโครงการที่ได้การรับรองปริมาณก๊าซเรือนกระจก (คาร์บอนเครดิต) จานวน
๖๗ โครงการ รวมปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ทั้งสิ้น จานวน ๕.๑๓๔ ล้านตัน นอกจากนี้ ยังได้ดาเนินกิจกรรม
และโครงการที่สนับสนุนด้านการปรับตัวเพื่อลดความสูญเสียและเสียหายจากภัยธรรมชาติและผลกระทบที่เกี่ยวข้อง
กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อันเป็นผลมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมทั้งดาเนินการจัดทาข้อมูล
และแผนที่เสี่ยงธรณีพิบัติภัยครอบคลุมด้านดินถล่ม แผ่นดินไหว และหลุมยุบ เพื่อประเมินสถานภาพ กาหนดขอบเขต
พื้นที่เสี่ยงภัย และจัดทาแผน มาตรการ และแนวทางในการเตรียมความพร้อมป้องกันบรรเทาผลกระทบจากธรณีพิบัติภัย
ต่าง ๆ ทั้งนี้ ได้ดาเนินการเสริมสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับความเสี่ยงภัยให้แก่ประชาชน ภาคีเครือข่ายเฝ้าระวัง
ในพื้นที่เสี่ยงธรณีพิบัติภัย ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ จานวน ๗๘,๘๖๙ ครัวเรือน
๗.๑๐.๕ การพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน โดยขับเคลื่อน
BCG Economy Model ตามเป้าหมายยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG
พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๗๐ ซึ่งมีการเปิดตัวเครื่องหมายและระบบการรับรอง “คาร์บอนฟุตพรินท์ของผลิตภัณฑ์เศรษฐกิจ
หมุนเวียน” (Carbon Footprint of Circular Economy Product: CE-CFP) โดยมีผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการรับรองเครื่องหมาย
รับรองคาร์บอนฟุตพรินท์ของผลิตภัณฑ์เศรษฐกิจหมุนเวียน จานวน ๔๗ ผลิตภัณฑ์
๗.๑๐.๖ การพัฒนากลไกแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ ดาเนินการพิจารณา
รายงานการประเมิ น ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม (Environmental Impact Assessment: EIA) รวม ๔๙๑ โครงการ
โดยได้พิจารณาและแจ้งผลการพิจารณารายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม จานวนทั้งสิ้ น ๔,๙๐๐ โครงการ คิดเป็น ร้อยละ ๖๙.๖๙
ของจานวนโครงการที่ส่งรายงาน นอกจากนี้ ยังได้มีการจัดทากฎหมายหลักและกฎหมายลาดับรอง จานวน ๘ ฉบับ
๗.๑๐.๗ การแก้ไขปัญหาการจัดการขยะและของเสียอย่างเป็นระบบ
๑) ดาเนินการจัดการขยะและของเสียอันตราย เช่น จัดทาแผนปฏิบัติการด้านการจัดการขยะ
ของประเทศ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐) เพื่อเป็นแผนหลักสาหรับบูรณาการและขับเคลื่อนการดาเนินงาน
การจัดการขยะของประเทศให้เกิดความต่อเนื่อง ครอบคลุมการจัดการขยะพลาสติก ขยะบรรจุภัณฑ์ ขยะอาหาร
ขยะมูลฝอยชุมชน ของเสียอันตรายชุมชน ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มูลฝอยติดเชื้อ
และกากอุตสาหกรรมที่เป็นอันตราย รวมทั้งกาหนดกลไกการบริหารจัดการขยะมูลฝอย เช่น การจัดการฝึกอบรม
“การเสริมสร้างศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการสิ่งแวดล้อม” ใน ๔ ภูมิภาค การติดตามตรวจสอบ
และให้คาแนะนาการปรับปรุงสถานที่กาจัดขยะมูลฝอย การจัดลาดับพื้นที่ที่มี ความสาคัญเพื่อเสนอรูปแบบเทคโนโลยี
ที่เหมาะสมเพื่อยกระดับสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้อง จานวน ๒,๐๒๑ แห่ง การกาหนดอัตราค่าบริการกาจัด

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
88
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๘๘
ขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมาตรา ๘๘ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แห่ ง ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ จ านวน ๔๑ แห่ ง และการออกประกาศกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม
เรื่อง การกาหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิ้งจากสถานที่ฝังกลบมูลฝอยอย่างถูกหลักสุขาภิบาล พ.ศ. ๒๕๖๕
๒) ขยายความร่วมมือระหว่ างภาครัฐและภาคเอกชน โดยร่วมกับกรมส่งเสริมการปกครอง
ท้ อ งถิ่ น และภาคเอกชนในการเป็ น จุ ด เก็ บ รวบรวมของเสี ย อั น ตรายจากชุ ม ชน (Drop Off) เพื่ อ เก็ บ รวบรวม
ของเสียอันตรายจากชุมชนไปกาจัดอย่างถูกต้องให้ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร และ ๗๖ จังหวัดทั่วประเทศ
รวมถึงจัดทาข้อเสนอการเเก้ไขปัญหาทองแดงจากการเผาซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้ประกอบกิจการ ร้านรับซื้อของเก่า โรงหลอมโลหะทองแดง และโรงงานรีไซเคิล
ทองแดง รวม ๑๑๘ แห่ ง และร่ ว มลงนามบั นทึกความร่ วมมือ “การไม่รับซื้อวัส ดุมีค่าจากการเผาซากผลิตภัณฑ์
เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์”
๓) บริ ห ารจั ด การขยะ ได้ ด าเนิ น การให้ เ ป็ น ไปตามพระราชบั ญ ญั ติ รั ก ษาความสะอาด
และความเป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ยของบ้ า นเมื อ ง (ฉบั บ ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยการก าหนดกรอบการดาเนินงาน
๓ ขั้นตอนในการวางแผนและกาหนดมาตรการ คือ ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง และขับเคลื่อนผ่านแผนปฏิบัติ
การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ถึงปัจจุบัน ซึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้ขับเคลื่อน
แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สามารถคัดแยกขยะมูลฝอยชุมชนที่ต้นทางได้ร้อยละ ๙๒.๔๘ จัดฝึกอบรม/ให้คาแนะนาในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
ให้กับส่วนราชการที่มีสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้อง จานวน ๒,๒๗๒ แห่ง รวมถึงดาเนินการโครงการส่งเสริม
สนับสนุนการจัดการสิ่งปฏิ กูลและขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายการค่าครุภัณฑ์สาหรับสนับสนุน
การจั ดการสิ่ งปฏิกูลและขยะมูลฝอย (รถเก็บขนขยะ) ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ รวมจานวน ๘๗๘ คัน งบประมาณ
๑,๙๘๒,๑๔๓,๐๐๐ บาท เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรถเก็บขนขยะที่เพียงพอในการบริการแก่ประชาชน

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๘๙89
๔) ด าเนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หาบ่ อ ขยะที่ ไ ม่ ส ามารถขยายหรื อ จั ด หาพื้ น ที่ ใ หม่ ไ ด้ อี ก รวมทั้ ง
ข้อจากัดของงบประมาณ บุคลากร และการบริหารจัดการของท้องถิ่น ได้แก่ (๑) การรวมกลุ่มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เพื่อลดจ านวนบ่ อขยะลง และใช้เ ทคโนโลยีในการกาจัดขยะให้ห มดไป โดยมีกลุ่ ม Clusters ทั้งหมด ๒๖๖ กลุ่ ม
โดยแบ่งเป็นกลุ่มขนาดเล็ก (S) ปริมาณขยะน้อยกว่าวันละ ๓๐๐ ตัน จานวน ๒๒๒ Clusters กลุ่มขนาดกลาง (M)
ปริมาณขยะ วันละ ๓๐๐ - ๕๐๐ ตัน จานวน ๒๔ Clusters และกลุ่มขนาดใหญ่ (L) ปริมาณขยะวันละ ๕๐๐ ตัน
จานวน ๒๐ Clusters และ (๒) สนับสนุนการมอบหมายให้เอกชนเข้ามาดาเนินการโรงกาจัดขยะระบบปิดหรือกาจัด
ขยะแปรสภาพเป็ น เชื้ อ เพลิ ง RDF หรื อ ผลิ ต พลั ง งานไฟฟ้ า เพื่ อ ลดภาระงบประมาณในการลงทุ น ของภาครั ฐ
และมีบุคลากรที่เชี่ยวชาญในเรื่ องของเทคโนโลยีและการบริหารงานจากภาคเอกชน ทั้งนี้ ได้อนุมัติ แล้ว จานวน
๔๖ โครงการ และรอพิจารณา ๓๓ โครงการ โดยโครงการทั้งหมดจะสามารถกาจัดขยะให้หมดไป จานวน ๑๓ ล้านตันต่อปี
๗.๑๐.๘ การอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรพันธุ์พืชที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ พืชหายากและพืชที่ถูกคุกคาม
เพื่อความมั่นคงของทรัพยากรพันธุ์พืช และความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศ ดาเนินการอนุรักษ์พันธุ์พืช
นอกถิ่ น ก าเนิ ด ไว้ ใ นสวนพฤกษศาสตร์ โดยรวบรวมพรรณไม้ แ ห้ ง เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ตั ว อย่ า งอ้ า งอิ ง ทางพฤกษศาสตร์
ไว้ในหอพรรณไม้ สะสม ๓๓๖ วงศ์ ๓,๐๑๘ สกุล จานวน ๑๔,๗๗๑ ชนิด รวม ๑๓๓,๕๖๔ ตัวอย่าง และมีการรวบรวม
ตัวอย่างพันธุ์พืชที่มีชีวิต โดยรวบรวมและจัดปลูกไว้ใ นสวนพฤกษศาสตร์อย่างเป็นหมวดหมู่ รวมสะสม ๒๔๐ วงศ์
๑,๔๔๐ สกุล จานวน ๕,๔๖๙ ชนิด โดยนามาอนุรักษ์
ในสภาพปลอดเชื้อ จานวน ๔๒๖ ชนิด ประกอบด้วย
กล้วยไม้ ๓๔๐ ชนิด พืชวงศ์ขิงข่า จานวน ๗๐ ชนิด
พื ช ในบั ญ ชี Red List ของประเทศ ๙๗ ชนิ ด
และท าการขยายพั น ธุ์ พื ช ที่ เ สี่ ย งต่ อ การสู ญ พั น ธุ์
นากลับคืนถิ่นร่วมกับชุมชน เครือข่ายรวมจ านวน
๕๑ ชนิด

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
90
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๙๐
๗.๑๑ นโยบายหลักที่ ๑๑ การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ
รัฐบาลได้ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาและปฏิรูประบบราชการให้มีความทันสมัยและอานวยความสะดวก
รวมถึงตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยมีผลการดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี้
๗.๑๑.๑ การพัฒนาโครงสร้างและระบบการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่
๑) ขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นารู ป แบบการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห ารราชการในจั ง หวัด
ให้มีการทางานที่มีผลสัมฤทธิ์สูงในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยกาหนดเกณฑ์การประเมินการพัฒนาจังหวัด
ที่มีผลสัมฤทธิ์สูง จาก ๓ องค์ประกอบ ได้แก่ (๑) รูปแบบ/กลไกการพัฒนา (๒) การบูรณาการการทางานของภาคส่วน
ต่าง ๆ และ (๓) ผลสาเร็จของการดาเนินงาน ในการนี้ จังหวัดทั้ง ๗๖ จังหวัด ได้นาแนวทางการพัฒนาจังหวัดที่มี
ผลสัมฤทธิ์สูงไปขับเคลื่อนประเด็นนโยบายสาคัญรวม ๑๐๐ ประเด็น แบ่งเป็น ๔ ด้าน ประกอบด้วย (๑) นโยบาย
การขจัดความยากจน ลดความเหลื่อมล้า และพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืน (๒) การส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน
แบบมีส่วนร่วม (๓) การจัดการสิ่งแวดล้อม และ (๔) การพัฒนาการบริการประชาชน/การพัฒนาคุณภาพการบริหาร
จัดการภาครัฐ
๒) น าเทคโนโลยี ม าใช้ ใ นการบริ หาร
จั ดการภาครั ฐและให้บริ การประชาชน ได้แก่ (๑) โครงการ
พัฒนาระบบการพิสูจ น์และยืนยันตั วตนทางดิจิทัล (Digital
ID) ด้วยการพัฒนาระบบพิสูจน์และยืนยันตัวตนด้วยใบหน้า
ทางดิจิทัล (Face Verification Service: FVS) เพื่อให้ประชาชน
สามารถพิสูจน์และยืนยันตัวตนได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเดินทาง
ไปยังสานักทะเบียนอาเภอ สามารถทดลองใช้บริการเต็มรูปแบบ
ตั้งแต่วันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๖ โดยประชาชนสามารถดาวน์โหลด
และสมัครเข้าใช้งานแอปพลิ เคชัน D.DOPA ซึ่งมีระบบบริห าร
จั ดการ (Digital ID Management System) ที่ส ามารถรองรั บ
การลงทะเบีย นได้ไม่น้ อยกว่า ๖๐ ล้านราย มีระบบให้บริ ก าร
ท าธุ ร กรรมด้ า นงานทะเบี ย นผ่ า น Digital ID สามารถรองรั บ
การทางานได้ไม่น้อยกว่า ๑๐ ล้านรายการต่อวัน และมีระบบ
เปรียบเทียบภาพใบหน้า (Face Verification System) รองรับ
หน่ ว ยงานทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชน และรองรั บ การท างานได้
ไม่น้อยกว่า ๕ ล้านรายการต่อวัน ทาให้ประชาชนสามารถเข้าใช้งาน
ระบบบริ การและธุร กรรมของภาครั ฐและเอกชนผ่ านช่องทาง
ดิจิทัลได้อย่างสะดวกและปลอดภัย ได้แก่ การขอย้ายทะเบียนบ้าน
ด้ ว ยตนเอง การมอบอ านาจหรื อ มอบหมายให้ บุ ค คลอื่ น
ดาเนินการแทน การคัดหรือคัดและรับรองรายการทะเบียนบ้าน
ทะเบี ย นประวั ติ และทะเบี ย นคนเกิ ด และงานบริ ก ารของ
หน่วยงานอื่น เช่น การเข้าชื่อเสนอกฎหมายทางอิเล็กทรอนิกส์

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๙๑91
การยื่ น ค าขอจดทะเบี ย นทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (e-Filing) การยื่ น แบบเพื่ อ ช าระค่ า ธรรมเนี ย ม
บารุงองค์การบริหารส่วนจังหวัด การเข้าใช้งานระบบทะเบียนประวัติข้าราชการแบบอิเล็กทรอนิกส์ การใช้เป็นเอกสาร
อิเล็ กทรอนิ กส์ แสดงตัว ตนส าหรั บ เที่ยวบิ นภายในประเทศ การยื่น แบบแสดงรายการภาษีเงิน ได้บุค คลธรรมดา
ผ่านอินเทอร์เน็ต (e-Filing) และระบบตรวจสอบค่าลดหย่อน (My Tax Account) เป็นต้น (๒) Application บริการ
ประชาชน“SMARTLAND” ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารประชาชนด้ า นที่ ดิ น มากกว่ า ๑๘ งานบริ ก าร อาทิ e-QLands
การนั ด จดทะเบี ย นสิ ท ธิ แ ละนิ ติ ก รรม
แ ล ะ รั ง วั ด อ อ น ไ ล น์ LandsMaps
การค้นหาแผนที่รูปแปลงที่ดินด้วยระบบ
ภูมิสารสนเทศ e-LandsAnnouncement
ค้ นหาประกาศส านั ก งานที่ ดิ น ออนไลน์
สารานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ ตรวจสอบราคา
ประเมิ น ค านวณภาษี อ ากร สอบถาม
ขั้นตอนการทาธุรกรรมและที่ตั้งสานักงาน
ที่ดิน ร้องเรียนร้องทุกข์ และ Application
คู่คิด Line@teedin ติดต่อสานักงานที่ดินแบบสองทาง รวมทั้งประเมินความพึงพอใจผ่านระบบออนไลน์ เป็ นต้น
พัฒนาระบบการให้บริการจดทะเบียนออนไลน์ต่างสานั กงานให้ครอบคลุมทั่วประเทศ โดยได้นาร่องแล้วที่สานักงาน
ที่ดินในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และในปี พ.ศ. ๒๕๖๖ จะเริ่มขยายพื้นที่ไปจังหวัดอุบลราชธานี เชียงใหม่ สงขลา
หนองคาย บึงกาฬ ขอนแก่น เพชรบุรี และสิงห์บุรี ประชาชนสามารถดาเนินการจดทะเบียนที่ดินต่ างสานักงานได้
โดยไม่ต้องเดินทางไปยังสานักงานที่ดินที่ที่ดินตั้งอยู่ (สานักงานที่ดินปลายทาง) เพียงแต่ไปติดต่อสานักงานที่ดินต้นทาง
ที่สามารถดาเนินการจดทะเบียนต่างสานักงานได้เช่นเดียวกัน ก็สามารถดาเนินการระหว่างสานักงานได้
๓) รั บรองมาตรฐานการให้ บริ การของศู นย์ ราชการสะดวก (Government Easy Contact
Center: GECC) ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ให้แก่หน่วยงานที่ผ่านการรับรองมาตรฐานการให้บริการของศูนย์ราชการ
สะดวก จานวน ๖๖๖ ศูนย์
๔) เร่งรัดการบริหารอัตราว่าง โดยให้ทุกส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐเร่งรัดการบริหาร
อัตราว่างที่มีอยู่ให้แล้วเสร็จโดยเร็วภายใน ๑ ปี เพื่อเพิ่มโอกาสในการทางานของประชาชน พร้อมทั้งให้ สานักงาน
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สานักงบประมาณ และกระทรวงการคลัง
รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันดาเนินการเกี่ยวกับการควบคุมอัตรากาลังบุคลากรและภาระงบประมาณค่าใช้จ่าย
ด้านบุคลากรภาครัฐอย่างบูรณาการ โดยการพิจารณาทบทวนบทบาทภารกิจและโครงสร้างองค์กรภาครัฐและกาหนด
กรอบอัตรากาลังที่เหมาะสม มุ่งเน้นการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิ ทัล (Digital Government) ควบคู่กับการปรับ
รูปแบบและวิธีการทางานให้เหมาะสมกับลั กษณะงาน การโอนงานบางประเภทให้เอกชนดาเนิน การ การเร่งรั ด
การถ่ายโอนภารกิจที่สามารถมอบหรือกระจายอานาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปดาเนินการ รวมทั้งมุ่งเน้น
ให้มีการใช้รูปแบบการจ้างงานที่หลากหลายเพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายด้านบุคคลภาครัฐในระยะยาว

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
92
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๙๒
๗.๑๑.๒ การปรับเปลี่ยนกระบวนการอนุมัติ อนุญาตของทางราชการที่มีความสาคัญต่อการประกอบ
ธุรกิจ และดาเนินชีวิตของประชาชนให้เป็นระบบดิจิทัล
๑) ยกระดับระบบการให้บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จ ทางอิเล็กทรอนิกส์ (BizPortal) โดยมี
จานวนใบอนุญาตที่ให้บริการผ่านระบบ BizPortal ทั้งสิ้น ๑๐๕ ใบอนุญาต ครอบคลุม ๒๕ ประเภทธุรกิจ ในพื้นที่
กรุงเทพมหานครและให้บริการในต่างจังหวัด จานวน ๒๓ ใบอนุญาต ใน ๑๐ ประเภทธุรกิจ รวมทั้งพัฒนาระบบ
ศูนย์กลางการบริการประชาชนในการติดต่อราชการแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร (Citizen Portal) ในชื่อแอปพลิเคชัน “ทางรัฐ”
เป็ นระบบศูนย์ กลางการบริ การประชาชนในการติ ดต่ อราชการแบบเบ็ ดเสร็ จครบวงจรผ่ านแอปพลิ เคชัน “ทางรั ฐ”
ปั จจุ บั นมีบริ การประชาชนกว่ า ๙๐ บริ การ ทั้งนี้ มีผู้ ดาวน์โหลดแอปพลิ เคชั นใช้ งานแล้ ว จานวน ๒๔๑,๙๙๓ ครั้ ง
และมีปริมาณการใช้งานสะสมกว่า ๓.๙ ล้านครั้ง
๒) พัฒนาระบบจดทะเบียนผู้ประกอบธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง (OCPB Direct)
ซึ่ ง เป็ น ระบบอ านวยความสะดวกให้ ผู้ ป ระกอบการ
ที่ ข อยื่ น จดทะเบี ย นธุ ร กิ จ ขายตรงและธุ ร กิ จ ตลาด
แบบตรง รวมถึ ง การติ ด ตามสถานะ การยื่ น แก้ ไ ข
รายงานผลประกอบการผ่านระบบออนไลน์ได้ด้วยตนเอง
ตลอด ๒๔ ชั่วโมง อีกทั้งยังเชื่อมโยงข้อมูลและการทางาน
ร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจดทะเบี ย น
นิ ติ บุ ค คล และหน่ ว ยงานอื่ น ๆ และสอดคล้ อ งกั บ
นโยบายรัฐบาลดิจิทัลอีกด้วย ทั้งนี้ บริษัทที่จดทะเบียน
ธุ ร กิ จ ขายตรงแล้ ว จ านวนทั้ ง สิ้ น ๖๕๖ บริ ษั ท
และบริ ษั ท ที่ จ ดทะเบี ย นธุ ร กิ จ ตลาดแบบตรงแล้ ว
จานวนทั้งสิ้น ๗๘๙ บริษัท (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๖ ธันวาคม
๒๕๖๕)
๗.๑๑.๓ การพัฒนาระบบข้อมูลขนาดใหญ่ในการบริหารราชการแผ่นดิน ได้ดาเนินการ ดังนี้
๑) ขยายผลการส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐ จานวน ๓๕ หน่วยงาน ให้มีระบบบัญชีข้อมูล
หน่วยงาน โดยบริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จากัด (มหาชน) (National Telecom Public Company Limited: NT)
ได้ใช้เครื่ องมือ CKAN Open D และ Thai GDC ที่ส านักงานสถิติแห่ งชาติพัฒ นาขึ้น ไปสนับสนุนให้ ส่ ว นราชการ
จ านวน ๒๖ หน่ ว ยงาน มี ร ะบบบั ญ ชี ข้ อ มู ล หน่ ว ยงาน และได้ ข ยายผลจั ง หวั ด ที่ มี ร ะบบบั ญ ชี ข้ อ มู ล จั ง หวั ด
๗๓ จังหวัด ดังนั้น จึงทาให้ในปี ๒๕๖๕ มีหน่วยงานจานวน ๑๗๕ หน่วยงาน และ ๗๖ จังหวัด ที่มีระบบบัญชีข้อมูล
หน่ ว ยงานที่พ ร้ อมใช้ ง าน โดยมีชุดข้อ มูล ที่ กระจายอยู่ ในแต่ล ะระบบบั ญชี ข้ อ มูล หน่ว ยงานและจัง หวัด จานวน
๑๐,๔๐๒ ชุดข้อมูล ซึ่งในจ านวนนี้ มีชุด ข้ อมูล ที่น ามาลงทะเบี ยนที่ร ะบบบั ญชีข้ อ มูล ภาครัฐ เพื่อแบ่งปันการใช้
ประโยชน์ข้อมูลแก่หน่วยงานภาครัฐและประชาชนทั่วไปแล้ว จานวน ๓,๕๔๖ ชุดข้อมูล

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) ๙๓93
๒) จัดทาฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และพัฒนา
ระบบคลาวด์กลางภาครัฐ (Government Data Center and Cloud Service: GDCC) มีการดาเนินการให้บริการ
GDCC แก่หน่วยงานภาครัฐแล้ว จานวน ๒๒๖ กรม ๙๒๖ หน่วยงาน ๔๐,๗๖๕ ระบบงาน

๗.๑๑.๔ การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ภาครั ฐ สู่ ส าธารณะ ส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ในการเปิ ด ระบบราชการ
(Open Government Partnership: OGP) โดยเปิดช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม
ของภาคส่ ว นต่ า ง ๆ ตลอดจนรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ผ่ า น www.opengovernment.go.th และ Facebook Page:
Opengovthailand เพื่ อ สร้ า งการรั บ รู้ แ ละเปิ ด ให้ ป ระชาชนเข้ า มามี ส่ ว นร่ว มในการแสดงความคิ ด เห็ น เกี่ ยวกับ
การพัฒ นางานภาครั ฐ และมีการให้ บ ริ การศูน ย์กลางข้อมูล เปิดภาครัฐ (Open Data Platform) บน data.go.th
มีชุดข้อมูลเปิดภาครัฐ จานวน ๗,๖๗๘ ชุดข้อมูล
๗.๑๑.๕ การส่ ง เสริ ม ระบบธรรมาภิ บ าลในการบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ ได้ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น
ระบบธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการภาครัฐผ่านการมอบรางวัลเลิ ศรัฐ (Public Sector Excellence Awards:
PSEA) ให้หน่วยงานภาครัฐ รวม ๒๓๘ รางวัล มีหน่วยงานได้รับรางวัล เกียรติยศ ซึ่งมีความโดดเด่นเป็นต้น แบบ
ที่สร้างคุณค่าและมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน จานวน ๒ รางวัล ได้แก่ กรมควบคุมโรค และกรมสรรพากร และส่งเสริม
การเป็นระบบราชการ ๔.๐ ผ่านการบริหารจัดการภาครัฐ ๔.๐ (PMQA 4.0) โดยในปี ๒๕๖๕ มีหน่วยงานภาครัฐ
ผ่านเกณฑ์การประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ ๔.๐ และได้รางวัลคุณภาพการบริหาร
จัดการภาครัฐ ๔.๐ ซึ่งแสดงถึงความโดดเด่นในการนาหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมายกระดับ
การบริหารจัดการใน ๓ มิติ คือ การเปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง และการเป็นหน่วยงาน
ที่มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย จานวน ๒๗ หน่วยงาน

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
94
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๙๔
๗.๑๑.๖ การพัฒนากลไกให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาบริการสาธารณะและการตรวจสอบภาครัฐ
๑) จั ด กิ จ กรรม MY BETTER COUNTRY HACKATHON อย่ า งต่ อ เนื่ อ งตั้ ง แต่ ปี ๒๕๖๒
รวม ๑๒ ครั้ง โดยครั้งที่ ๑๒ จัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๕ ภายใต้หัวข้อ “ส่งเสียง ออกไอเดีย ปรับโฉมภาครัฐ
ให้ ต อบโจทย์ ต รงใจ” ได้ ข้ อ เสนอที่ น่ า สนใจ และมี ห น่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งรั บ ไปด าเนิ น การขั บ เคลื่ อ นแล้ ว เช่ น
การยกระดับสายด่วนและเว็ บไซต์ ๑๑๑๑ รับเรื่องร้องเรียนและให้ การช่วยเหลือประชาชน โดยการพัฒนาระบบ
หลังบ้านของ ๑๑๑๑ เชื่อมโยงข้อมูล ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน และการนาระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial
Intelligence: AI) มาคัดกรองเรื่องร้องเรียนและติดตามสถานะการจัดการเรื่องร้องเรียน
๒) จัดโครงการยกระดับการมีส่วนร่วมในการจัดบริการสาธารณะ เพื่อศึกษาและกาหนด
กรอบแนวทางการขับเคลื่อนการยกระดับการมีส่วนร่วมในการจัดบริการสาธารณะ โดยระยะที่ ๑ ปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๖๕ เป็ น การดาเนิ นการศึกษาสถานการณ์การมีส่ ว นร่ว มในการจัดบริการสาธารณะของไทย การหาตัว แบบ
ความส าเร็ จ จากต่ า งประเทศ ระยะที่ ๒ การคั ด เลื อ กหน่ ว ยงานตั ว อย่ า งเพื่ อ ด าเนิ น โครงการทดลองตั ว แบบ
และเครื่องมือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดบริการสาธารณะ (Service Design Lab) ระยะที่ ๓ การพัฒนา
แนวทางและหลักเกณฑ์การคัดเลือกองค์กรภาคประชาสังคมเพื่อร่วมจัดทาบริการสาธารณะกับหน่วยงานภาครัฐ
และระยะที่ ๔ การจัดทาแผนปฏิบัติการรัฐบาลที่เปิดรับการมีส่วนร่วม (Open Government Action Plan) เพื่อเป็น
การวางกรอบแนวทางการยกระดั บ และเร่ ง รั ด การปฏิ รู ปการบริ หารงานภาครั ฐของไทยที่ มุ่ งเน้ นการมี ส่ วนร่ ว ม
ของประชาชนในเชิงรุก โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เพื่อเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกกรอบความร่วมมือ
ว่าด้วยหุ้นส่วนรัฐบาลที่เปิดรับการมีส่วนร่วม (Open Government Partnerships: OGPs)
๗.๑๑.๗ การปรับปรุงระเบียบ กฎหมาย เพื่อเอื้อต่อการทาธุรกิจและการใช้ชีวิตประจาวัน
๑) ปรับปรุงขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการ การอานวยความสะดวกต้นทุนค่าใช้จ่าย
กฎหมาย กฎ และระเบียบต่าง ๆ ของภาครัฐ ได้พัฒนาระบบกลางด้านกฎหมาย (Law Portal) โดยมีกฎหมายเข้าสู่
ระบบเพื่อรับฟังความคิดเห็นและประเมินผลสัมฤทธิ์ จานวน ๓๐๑ ฉบับ จาก ๘๓ หน่วยงาน และมีผู้เข้าเยี่ยมชม
เว็บไซต์สะสม จานวน ๓๒๒,๗๒๐ ครั้ง
๒) อนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายบาเหน็จบานาญแห่งชาติ พ.ศ. ....
ซึ่งร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวจะเป็ นแนวทางการพัฒนาระบบบาเหน็จบานาญให้ครอบคลุมผู้พ้นวัยทางานทั้งหมด
และเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับระบบบาเหน็จบานาญของภาครัฐและเอกชน เพื่อให้นโยบายด้านบาเหน็จบานาญ
เป็นไปในแนวทางเดียวกัน
๓) การประกาศใช้พระราชบัญญัติการปฏิบัติ ร าชการทางอิเ ล็ก ทรอนิก ส์ พ.ศ. ๒๕๖๕
เมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๕ เพื่อเป็นกฎหมายกลางที่ทาให้หน่วยงานภาครัฐต้องนาวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้
ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานและการให้บริการประชาชน
๔) การทบทวนและจั ด ท าแนวทางปรั บ ปรุ ง พระราชบั ญ ญั ติ ก ารอ านวยความสะดวก
ในการพิ จารณาอนุ ญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ หลั งจากที่ มี ผลบั งคั บใช้ ครบ ๕ ปี เพื่ อให้ สอดคล้ องกั บ
สภาพสังคมและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๙๕95
๗.๑๑.๘ การกระจายอานาจ ความรับผิ ดชอบ และเพิ่มบทบาทการปกครองขององค์กรปกครอง
ส่ ว นท้ อ งถิ่ น และส่ ง เสริ ม บทบาทของเอกชนและชุ ม ชนในการให้ บ ริ ก ารสาธารณะพั ฒ นาประสิ ทธิ ภ าพ
ในการจัดบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น
๑) จัดทาบริการสาธารณะให้กับประชาชนในพื้นที่ตามแผนปฏิบัติการกาหนดขั้นตอน
การกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๕ ซึ่งกาหนดให้มีภารกิจที่ต้องถ่ายโอน
ทั้งสิ้น จานวน ๒๔๕ ภารกิจ ถ่ายโอนแล้ว จานวน ๑๘๖ ภารกิจ และแผนปฏิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจาย
อานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ มีภารกิจที่ต้องถ่ายโอนทั้งสิ้น จานวน ๔๕ ภารกิจ
รวม ๑๑๔ งาน/โครงการ/กิจกรรม มีการถ่ายโอนแล้ วหรือทยอยถ่ายโอน จานวน ๗๖ งาน/โครงการ/กิจกรรม
รวมภารกิจถ่ายโอนตามแผนปฏิบัติการฯ ทั้ง ๒ ฉบับ มีจานวนทั้งสิ้น ๓๕๙ ภารกิจ ถ่ายโอนแล้ว จานวน ๒๖๒ ภารกิจ
คิดเป็นร้อยละ ๗๒.๙๘ สาหรับร่างแผนปฏิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ฉบั บ ที่ ๓ พ.ศ. .... ได้กาหนดให้ มีการถ่ายโอนภารกิจ ๓ ด้าน ได้แก่ (๑) ด้านโครงสร้ างพื้น ฐาน (๒) ด้านสั งคม
และ (๓) ด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
๒) ขั บ เคลื่ อ นการถ่ า ยโอนภารกิ จ ที่ ส าคั ญ อาทิ การถ่ า ยโอนภารกิ จ สถานี อ นามั ย
เฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินีและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด
การแก้ไขปัญหาการถ่ายโอนภารกิจด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกรณีการจัดสรรเงินอุดหนุนสาหรับภารกิจ
ป้องกันและควบคุมไฟป่า การกาหนดกิจการด้านการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งให้เป็นอานาจและหน้าที่ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น การพิจารณาแนวทางการแก้ปัญหาการจัดสรรงบประมาณพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดให้แก่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น การพิจารณาแนวทางการสนับสนุนงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสาหรับบุคลากรที่ถ่ายโอนไปยัง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การกาหนดสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
และการแก้ไขกฎหมายตามแผนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและแผนปฏิบัติการกาหนด
ขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๓) แก้ไขและประกาศใช้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพื่อช่วยเหลือ
ประชาชนตามอานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๕ ให้ผู้บริหารองค์กรปกครอง
ส่ ว นท้องถิ่น สามารถพิจารณาช่ว ยเหลื อประชาชนในกรณีที่มีความจาเป็ นเร่ งด่ว นได้ตามความจาเป็ น เหมาะสม
ซึ่งระเบียบดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๕ เป็นต้นมา
๔) คั ด เลื อ กและมอบรางวั ล องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ มี ก ารบริ ห ารจั ดการที่ดี
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลฯ ทั้งประเภทดีเลิศ ประเภทโดดเด่น
ประเภททั่วไป รวม ๒๗๑ รางวัล รวมทั้งได้มีการจัดเสวนาวิชาการ เพื่อเผยแพร่ผลงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ เพื่อเป็นตัวอย่างต้นแบบของการเรียนรู้และสร้างแรงบันดาลใจ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ๆ นาไปเป็นแบบอย่างและประยุกต์ใช้ต่อไป

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
96
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๙๖
๗.๑๒ นโยบายหลักที่ ๑๒ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และกระบวนการยุติธรรม
รั ฐ บาลได้ ด าเนิ น การมาตรการต่ า ง ๆ เพื่ อ ปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย ม คุ ณ ธรรม และจิ ต ส านึ ก ในการป้ อ งกั น
และปราบปรามการทุ จ ริ ต ในทุ ก รู ป แบบ และการพั ฒ นากระบวนการยุ ติ ธ รรมเพื่ อ เสริ ม สร้ า งประสิ ท ธิ ภ าพ
ของกระบวนการยุติธรรม โดยมีผลการดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี้
๗.๑๒.๑ การแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยดาเนินการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
ทางวิชาการ เมื่อวัน ที่ ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๖๕ ระหว่างกระทรวงกลาโหมกับสานั กงานศาลปกครอง เพื่อส่ งเสริม
และพัฒนาความร่วมมือ ได้แก่ การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในสังคม การพัฒนาบุคลากร และการจัดการทรัพยากร
สารสนเทศ เพื่อจะได้นาไปเป็นแนวทางในการพัฒนาความร่วมมือด้านอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานภายใต้
กรอบภารกิจให้เกิดความสอดคล้อง เชื่อมโยง ส่งเสริม และสนับสนุนในการปฏิบัติภารกิจหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมี
ประสิ ทธิภ าพและบรรลุ ผ ลดีต่อประเทศและประชาชน และรณรงค์ส่งเสริ มคุณ ธรรมจริ ยธรรมกรมราชทั ณ ฑ์
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ภายในเรือนจาและทัณฑสถาน จานวน ๑๔๓ แห่ง
๗.๑๒.๒ การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม และศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายต่าง ๆ เพื่ออานวยความยุติธรรม
ลดความเหลื่อมล้าแก่ประชาชน โดยการพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือกในด้านของการไกล่เกลี่ยเพื่อเพิ่มโอกาส
ให้ประชาชนได้เข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางเลือกได้ง่ายและสะดวก
๑) โครงการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชั้นบังคับคดี เพื่อเพิ่มทางเลือกให้ประชาชนในการยุติข้อพิพาท
โดยการเจรจาไกล่เกลี่ยด้วยความยินยอมสมัครใจของเจ้าหนี้และลูกหนี้ มีความสะดวก รวดเร็ว ไม่เสียค่าใช้จ่าย ทาให้
เจ้าหนี้ได้รับชาระหนี้ ลูกหนี้สามารถชาระหนี้ได้ ไม่ถูกบังคับคดี หรือถูกฟ้องล้มละลาย ส่งผลให้ประชาชนมีคุณภาพ
ชีวิตที่ดีขึ้น โดยตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๖๕ มีเรื่องเข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ย จานวน ๒๖,๓๒๘ เรื่อง
ทุ น ทรั พ ย์ จ านวน ๑๐,๕๘๒,๕๔๑,๓๔๘.๗๖ บาท ไกล่ เ กลี่ ย ส าเร็ จ จ านวน ๒๕,๕๗๕ เรื่ อ ง ทุ น ทรั พ ย์ จ านวน
๙,๗๔๐,๓๑๑,๐๙๑.๑๙ บาท คิดเป็นผลสาเร็จร้อยละ ๙๗.๑๔ ของเรื่องที่เข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ย และสามารถ
ลดค่าใช้จ่ายประชาชน จานวน ๓๕๖,๑๔๖,๘๓๒.๗๔ บาท
๒) ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนฟ้องคดี ผ่านการขับเคลื่อนตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
พ.ศ. ๒๕๖๒ และจั ดงานมหกรรมไกล่ เกลี่ ยหนี้สินครัว เรือน และยุติธ รรมพบประชาชน คลอบคลุ ม ๗๗ จังหวัด
ทั่วประเทศ ส่งผลให้ลดปริมาณคดีขึ้นสู่ศาล จานวน ๕๐,๔๔๐ เรื่อง ลดค่าใช้จ่ายประชาชน และภาครัฐ รวมทั้งสิ้น
๖,๔๘๘ ล้านบาท
๓) ลดความแออัดของเรือนจา โดยใช้มาตรการทางกฎหมายเพื่อลดจานวนผู้ต้องขัง การพัก
การลงโทษ การลดวันต้องโทษ การเลื่อนขั้น และการพระราชทานอภัยโทษและการนาใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์
ติดตามตัว (Electronic Monitoring: EM) มาใช้เพื่อ เป็นมาตรการทางเลื อกแทนการจาคุกกับกลุ่ มเป้าหมายแล้ว
จานวน ๙๑,๙๐๐ ราย
๔) ป้องกัน การกระทำความผิดซ้า โดยดาเนินโครงการคืนคนดีสู่ สั งคมด้ว ยการสนับสนุน
การสร้างอาชีพ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน ๒๙,๖๗๓ ราย และเข้าทางานในภาคอุตสาหกรรม จานวน ๒๐ ราย
๕) ขับเคลื่อนแนวทางเผยแพร่กฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม เช่น จัดทาสื่อสร้างการรับรู้
กฎหมายและกระบวนการยุ ติธรรม เช่น Infographic, Motion Graphic, Clip Viral, Animation และรูปแบบสื่ ออื่น ๆ
จ านวน ๕๑ เรื่ อง และผลิ ตรายการเสี ยงเผยแพร่ความรู้กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม (Podcast) จานวน

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๙๗97
๑๒ ตอน และสรุปข้อมูลกฎหมายในรายการเสียงเผยแพร่ความรู้กฎหมายฯ สาหรับจัดทาสื่อ Infographic จานวน
๑๒ เรื่อง โดยเผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์ของสานักงานกิจการยุติธรรม ได้แก่ คลังความรู้ (justicechannel.org),
Youtube (Justice Channel.TV), Facebook Fanpage (สานักงานกิจการยุติธรรม)

๖) ผลักดันพระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทาความผิดซ้าในความผิดเกี่ยวกับเพศ
หรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยปรับปรุงกฎหมายเพื่อพัฒนาระบบป้องกันอาชญากรรมด้วยการแก้ไขฟื้นฟู
และเฝ้าระวัง และเพื่อทาให้สังคมรู้สึกปลอดภัยจากบุคคลอันตรายมากยิ่งขึ้น รวมถึงเป็นการปฏิรูปกระบวนการ
ยุติธรรมให้มีความทันสมัยตามหลักสากล โดยพระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทาความผิดซ้าในความผิด
เกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. ๒๕๖๕ ประกาศในราชกิจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๕ และมีผลใช้
บังคับในวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๖
๗) โครงการตรวจสารพันธุกรรมและจัดทาฐานข้อมูล เพื่อสนับสนุนกระบวนการยุติธรรม
เพื่อนาผลการตรวจสารพันธุกรรมมาเป็นหลักฐานประกอบการพิสูจน์สถานะบุคคลที่มีปัญ หาทางทะเบียนราษฎร
ให้ได้รับสิทธิสวัสดิการและเพื่อลดความเหลื่อมล้าในสังคม และดาเนินการจัดเก็บสารพั นธุกรรมของผู้ต้องขังสาหรับ
จัดทาฐานข้อมูลสนับสนุนการป้องปรามและปราบปรามการกระทาผิดซ้าของผู้ที่พ้นโทษ
๘) โครงการตรวจพิสูจน์สารเสพติดในเส้นผมผู้กระทาความผิด เพื่อสนับสนุนกระบวนการ
ยุติธรรม เป็นการตรวจติดตามการใช้สารเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในความดูแลของกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก
และเยาวชนทั่วประเทศและกลุ่มผู้ถูกคุมประพฤติที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดที่ได้ รับการปล่อยตัวชั่วคราวและนาผล
ที่ ไ ด้ ไ ปบ าบั ด แก้ ไ ข เพื่ อ ลดการเสพซ้ าและให้ มี ฐ านข้ อ มู ล ส าหรั บ การวิ เ คราะห์ ป ระวั ติ ห รื อ แนวโน้ ม การใช้ ย า
หรือสารเสพติดของกลุ่มผู้ที่อยู่ในการคุมประพฤติ
๙) บูรณาการการติดตามคนหายและพิสูจน์ศพนิรนามของประเทศไทย ซึ่งเป็นการปฏิบัติการ
เชิงรุก โดยมีการลงพื้นที่เพื่อติดตามคนหายและพิสูจน์ศพนิรนามในรูปแบบของทีมบูรณาการ เพื่อให้การช่วยเหลือ
และบริ ก ารประชาชน ด าเนิ น โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพผู้ ป ฏิ บั ติ ง านด้ า นคนหาย คนนิ ร นามและศพนิ ร นาม
ของประเทศไทย เพื่อให้เจ้าหน้าที่ได้ทราบแนวทางปฏิบัติการบันทึกข้อมูลในแบบฟอร์มกลาง และระบบฐานข้อมูลกลาง
ได้ถูกต้อง

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
98
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) ๙๘
๘. ผลการดาเนินงานตามแนวนโยบายเร่งด่วน ๑๒ เรื่อง
๘.๑ นโยบายเร่งด่วนที่ ๑ การแก้ไขปัญหาในการดารงชีวิตของประชาชน
๘.๑.๑ การลดข้อจากัดในการประกอบอาชีพ
๑) โครงการยกระดับผลิตภาพและพัฒนากาลังคนเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ภาคอุต สาหกรรม เพื่อยกระดับ Up skill และ Re skill ให้กับบุคลากรและกาลั งแรงงานในอุตสาหกรรมเป้าหมาย
ให้สามารถทางานที่สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการ
และเพื่อผลิตแรงงานสมรรถนะสูงรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในอุตสาหกรรม โดยมีผู้ผ่านการฝึกอบรม
จานวน ๕,๑๓๒ คน และมีงานทาคิดเป็ นร้ อยละ ๘๒.๑๗ มีรายได้เฉลี่ ย ๒๒,๕๙๖ บาทต่อคนต่อเดือน คิดเป็นมู ลค่า
ทางเศรษฐกิจ ๑,๑๔๓.๔๔ ล้านบาทต่อปี และได้ดาเนินการสารวจสถานประกอบการทุกขนาดและบันทึกข้อมูลความต้องการ
แรงงานของสถานประกอบการ จานวน ๑๒,๔๕๗ แห่ง (เป้าหมาย ๑๐,๙๔๑ แห่ง) คิดเป็นร้อยละ ๑๑๓.๘๖ ของจานวน
เป้ าหมายการส ารวจ รวมทั้ งได้ จั ดท ารายงานผลการวิ เคราะห์ ข้ อมู ลอุ ปสงค์ และอุ ปทานแรงงาน จ านวน ๗๘ เล่ ม
ประกอบด้วย ระดับประเทศ ๑ เล่ม และระดับจังหวัด ๗๗ เล่ม เผยแพร่ผ่านระบบฐานข้อมูลอุปสงค์และอุปทานกาลังคน
เพื่อรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย (https://ldls.mol.go.th/reportSource?type=p) และในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
(เดือนตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๕) ได้ดาเนินโครงการสารวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ

https://citly.me/4rB7w
Qr Code เล่มรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลอุปสงค์และอุปทานแรงงาน
ระดับจังหวัดและระดับประเทศปี ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕
๒) เปิดช่องทางให้บริการระบบการให้สิทธิและขอรับสิทธิ์สาหรับผู้พิการ ตามมาตรา ๓๕
ดาเนิ น การยกระดับการให้บ ริการประชาชนผ่านบริการอิเล็กทรอนิกส์ ภาครัฐรับบริบทสั งคมที่เปลี่ยนแปลงตาม
เทคโนโลยี Digital Platform โดยให้ผู้มีรายได้น้อย ผู้ด้อยโอกาส และผู้พิการ สามารถเข้าถึงโอกาส มีงาน มีรายได้
พึ่ ง พาตนเองได้ ต ามศั ก ยภาพผ่ า นเว็ บ ไซต์ e-service.doe.go.th โดยนายจ้ า งหรื อ เจ้ า ของสถานประกอบการ
และคนพิการที่ประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐
สามารถดาเนินการผ่านระบบออนไลน์ได้ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕
๘.๑.๒ การพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการขนส่งทางถนน (Innovation and Transport Technology
Center) โดยการทางานของศูนย์นวัตกรรมฯ จะเป็นแบบเรียลไทม์ตลอด
๒๔ ชั่ ว โมง มี การตรวจสอบและควบคุ มการใช้ ความเร็ วของรถโดยสาร
สาธารณะและรถบรรทุ ก ซึ่ งจะสามารถส่ งข้ อ มู ล แจ้ งต าแหน่ ง ของรถ
เพื่อประสานสั่งการสานักงานขนส่งทั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และสานักงาน
ขนส่ งจังหวั ด ๗๖ แห่ งทั่ ว ประเทศ ซึ่ ง ถื อ เป็ น การเก็ บ ข้ อ มู ล ขนาดใหญ่
ที่เชื่อมโยงกันทั่วประเทศ

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) ๙๙99
๘.๑.๓ การจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยในพื้นที่กรุ งเทพมหานคร โดยส่งเสริมให้แผงลอยที่จาหน่ าย
อาหารริมบาทวิถีได้รับ การพัฒ นาเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร และมีมาตรการป้ อ งกัน
โควิด-๑๙ ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข จานวน ๘๐๙ ราย ซึ่งในจานวนนี้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับซี/
เกรด C จานวน ๘๐๙ รายคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ และมีการปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน โควิด-๑๙ จานวน ๘๐๙ ราย
คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
๘.๑.๔ การแก้ไขปัญหาหนี้ ดาเนินการ แก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบอย่างบูรณาการและยั่งยืน โดยลดภาระ
ดอกเบี้ ย ให้ ส มาชิ ก สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร จ านวน ๖๒๐ แห่ ง
๑๗๕,๗๐๑ ราย และส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้ค้าง (NPL)
ได้รับการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ ดาเนินการอย่างจริงจัง
กั บ เจ้ า หนี้ น อกระบบที่ ผิ ด กฎหมาย จ านวน ๑๑,๗๒๑ ราย (ข้ อ มู ล
ณ เดื อ นตุ ล าคม ๒๕๕๙ - ตุ ล าคม ๒๕๖๕) เพิ่ ม ช่ อ งทางการเข้ า ถึง
สินเชื่อในระบบ (สินเชื่อพิโกไฟแนนซ์) ณ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๕
มีผู้ได้รับอนุญาตและเปิดดาเนินการประกอบธุรกิจสินเชื่อพิโกไฟแนนซ์สะสมสุทธิ ๑,๐๙๑ ราย และข้อมูล ณ เดือนตุลาคม
๒๕๖๕ มียอดสินเชื่ออนุมัติสะสมรวมทั้งสิ้น ๒.๕๗ ล้านบัญชี เป็นเงินรวม ๒๗,๔๕๒.๕๖ ล้านบาท แก้ไขปัญหาหนี้
กองทุ น เงิ น ให้ กู้ ยื ม เพื่ อ การศึ ก ษา (กยศ.) เช่ น (๑) ลดเบี้ ย ปรั บ หรื อ ค่ า ธรรมเนี ย มกรณี ผิ ด นั ด ช าระเงิ น คื น
ร้อยละ ๑๐๐ สาหรับผู้กู้ยืมทุกรายที่ชาระหนี้ปิดบัญชีในครั้งเดียว มีผู้กู้ยืมเงินเข้ามาใช้สิทธิ์ จานวน ๒๖,๗๒๓ ราย
รวมเงินรับชาระหนี้ ๑,๑๖๐.๗๗ ล้านบาท (๒) ลดเบี้ยปรับหรือค่าธรรมเนียมกรณีผิดนัดชาระเงินคืนร้อยละ ๘๐
สาหรับผู้กู้ยืมเงินที่ยังไม่ถูกดาเนินคดีที่ชาระหนี้ค้างทั้ งหมดให้มีสถานะปกติ (ไม่ค้างชาระ) มีผู้กู้ยืมเงินเข้ามาใช้สิทธิ์
จานวน ๒๒๐,๗๐๗ ราย รวมเงินรับชาระหนี้ ๑,๐๑๕.๑๙ ล้านบาท เป็นต้น พักชาระหนี้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
จานวน ๑๑,๑๐๑ กองทุน จานวนสมาชิก ๘๒๖,๗๔๓ ราย วงเงินกู้ที่พักชาระเป็นเงิน ๒๕,๗๗๖,๗๕๓,๓๓๒ บาท
และจัดมหกรรมร่วมใจแก้หนี้ “มีหนี้ต้องแก้ไข เริ่มต้นใหม่อย่างยั่งยืน” ครั้งที่ ๑ เพื่อช่วยเหลือแก้ไขหนี้ให้กับประชาชน

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
100
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๐๐ ๒๕๖๕)
รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ เนิินนงานของรัั
งานของรัฐฐบาล
บาลพลเอก
พลเอกประยุุ
ประยุททธ์์ธ์จัันจัทร์์
นทร์ โอชานายกรัั
โอชา นายกรั ฐมนตรีปีีที่่ปี� ท๔ี่ ๔
ฐมนตรีี
(๒๕กรกฎาคม
(๒๕ กรกฎาคม- -๓๑
๓๑ธััธันนวาคม
วาคม๒๕๖๕)
๒๕๖๕) ๑๐๑
101
๘.๑.๕ การปราบปรามการฉ้ อโกงหลอกลวงประชาชน ได้ดาเนินคดีที่ มี ความเกี่ยวเนื่ องหรื อเกี่ ยวพั น
กับฐานความผิดแชร์ลูกโซ่และฐานความผิดเกี่ยวกับการฟอกเงิน ประกอบด้วย (๑) เรื่องสืบสวน รับมา จานวน ๗๘ เรื่อง
ยุติเรื่องแล้ว จานวน ๕๒ เรื่อง อยู่ระหว่างดาเนินการ จานวน ๒๖ เรื่อง และ (๒) คดีพิเศษ รับมา จานวน ๕๔ เรื่อง
ยุติเรื่องแล้ว จานวน ๒ เรื่อง อยู่ระหว่างดาเนินการ จานวน ๒๔ เรื่อง และฐานตามกฎหมายว่าด้วยการป้ อ งกัน
และปราบปรามการฟอกเงิน (๑) เรื่องสืบสวน จานวน ๑๘ เรื่อง ยุติเรื่องแล้ว จานวน ๒ เรื่อง อยู่ระหว่างดาเนินการ
จานวน ๓ เรื่อง และ (๒) คดีพิเศษ รับมา จานวน ๗ เรื่อง ยุติเรื่องแล้ว จานวน ๒ เรื่อง อยู่ระหว่างดาเนินการ จานวน
๕ เรื่ อง และดาเนิ นการจั บ กุมเกี่ยวกับ การฉ้อโกงหลอกประชาชน ๑,๗๔๕ ราย ดาเนิน การเสร็จสิ้ น ๑๙๙ ราย
และอยู่ระหว่างดาเนินการ ๑,๔๓๐ ราย
๘.๑.๖ การปรับปรุงระบบภาษีและการขยายโอกาสการเข้าถึงสินเชื่อที่อยู่อาศัย โดยดาเนินโครงการ
สิน เชื่อเพื่อที่อยู่อาศั ยแห่ งรั ฐ (โครงการบ้ านล้ านหลั ง ระยะที่ ๒) มีประชาชนได้รับประโยชน์และมีที่อยู่อาศั ย
จานวน ๓,๙๒๕ ราย จานวนเงินให้สินเชื่อโครงการ (วงเงินนิติกรรมสะสม) จานวน ๓,๙๗๖.๙๙ ล้านบาท สาหรับ
ประชาชนกลุ่ มผู้ มี รายได้ น้ อยที่ ต้ องการมี ที่ อยู่ อาศั ยเป็ นของตนเองและไม่ สามารถเข้ าถึ งแหล่ งสิ นเชื่ อที่ อยู่ อาศั ย
จากสถาบันการเงินในตลาดปกติได้ โดยได้อนุมัติสินเชื่อให้แก่ผู้มีรายได้น้อย ณ เดือนธันวาคม ๒๕๖๕ จานวน ๑,๙๔๙ ราย
รวมวงเงิน ๑,๒๗๖.๐๔๐ ล้านบาท
๘.๑.๗ การปรั บปรุ งระบบที่ดินทากิน ให้เกษตรกรเข้าถึงได้
จัดที่ดินทากินแก่เกษตรกรรายย่อยและผู้ด้อยโอกาส โดยจัดที่ดินให้เกษตรกร
ได้รับสิทธิเข้าทาประโยชน์ในที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน จานวน ๓,๓๗๖ ราย

๘.๑.๘ การลดอุปสรรคการประกอบอาชีพและให้ค วามช่วยเหลือประมงพาณิ ชย์ ประมงชายฝั่ง


และประมงพื้นบ้านให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล เช่น การจัดการทรัพยากรประมง โดยผลิตลูกพันธุ์สัตว์น้า
ปล่อยลงสู่แหล่งน้าธรรมชาติ จานวน ๒๖ ล้านตัว ขุดลอกและกาจัดวัชพืชเพื่อฟื้นฟูแหล่งน้า ๔๕,๗๘๘ ลูกบาศก์เมตร
ป้องกันและแก้ไขปัญหาการทาประมงผิดกฎหมาย โดยดาเนินการ
ตรวจสอบ ติดตาม และเฝ้าระวังการทาประมงของเรือประมงไทย
ให้เป็นไปตามกฎหมาย จานวน ๓๑,๑๖๒ ครั้ง ควบคุมและเฝ้าระวัง
การทาการประมงในทะเล จานวน ๔๐ ครั้ง ตรวจสอบการนาเข้าสินค้า
ประมงจากเรื อประมงต่ างประเทศ จานวน ๔,๕๗๓ ครั้ง ตรวจสอบ
ระบบตรวจสอบย้ อ นกลั บ ของโรงงาน (Traceability) ๔๙ โรงงาน
ออกใบรั บ รองการจั บ สั ต ว์ น้ า และ Annex4 จ านวน ๘๖๓ ฉบั บ
สุ่มตรวจชนิดและปริมาณวัตถุดิบสัตว์น้าหน้าสถานประกอบการ (Sizing) จานวน ๓๔๕ ครั้ง สนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ยต่า
เพื่อเสริมสภาพคล่องผู้ประกอบการประมง ระยะที่ ๒ วงเงิน ๒,๐๐๐ ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยจากผู้กู้ร้อยละ ๔ ต่อปี
เป็นระยะเวลา ๗ ปีนับตั้งแต่วันทีก่ ู้ เป็นต้น

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
102
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๐๒ ๒๕๖๕)
๘.๑.๙ การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและบรรเทาภาระค่าครองชีพ เช่น โครงการ “พาณิชย์ลดราคา
ช่วยประชาชน” ลดภาระค่าครองชีพให้ประชาชน ๑๖,๓๐๐ ล้านบาท ธงฟ้าราคาประหยัดลดค่าครองชีพประชาชน
มีประชาชนเข้าร่วมงานกว่า ๐.๕๙ ล้านคน ลดภาระค่าครองชีพให้ประชาชน ๓๕.๑๓ ล้านบาท ร้านอาหารธงฟ้า
มี ร้ า นเข้ า ร่ ว มโครงการฯ รวมจ านวน ๕,๖๕๖ ร้ า น ลดค่ า ใช้ จ่ า ยในการซื้ อ อาหารได้ วั น ละ ๒.๗๓ ล้ า นบาท
ร้านค้าธงฟ้าพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น ผลการจ่ายเงินสวัสดิการแห่งรัฐให้ร้านค้าฯ ณ วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๕
รวม ๒๖๒,๖๒๑.๕๔ ล้านบาท แบ่งเป็น ร้านค้าที่ติดตั้ง อุปกรณ์รับชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data
Capture : EDC) มูลค่า ๑๙๘,๒๔๐.๙๒ ล้านบาท และแอปพลิเคชัน “เป๋าตัง” จานวน ๖๔,๓๘๐.๖๑ ล้านบาท

๘.๑.๑๐ การให้ความช่วยเหลือและเยียวยาประชาชนที่ประสบสาธารณภัย อาทิ การให้ความช่วยเหลือ


ผู้ประสบภัยจากสถานการณ์อุทกภัย ปี ๒๕๖๕ คณะรัฐมนตรีอนุมัติงบประมาณในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย
และมอบหมายให้ธนาคารออมสินจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัย จานวน ๑,๐๔๖,๔๖๐ ครัวเรือน วงเงินช่วยเหลือ
๖,๒๕๘,๕๔๐,๐๐๐ บาท การให้ ความช่ วยเหลื อกรณี เหตุ การณ์ สาธารณภั ยที่ จั งหวั ดหนองล าภู (กรณี กราดยิ ง
ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตาบลอุทัยสวรรค์) เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๖๕ ผ่านกองทุนเงินช่วยเหลือ
ผู้ประสบสาธารณภัย สานักนายกรัฐมนตรี รวม ๔๖ ราย รวมเป็นเงิน ๔๔,๐๑๔,๐๐๐ บาท และเงินช่วยในการจัดหา
ถุงยังชีพเหตุอุทกภัย จานวน ๑๒๓,๗๕๙ ชุด เป็นเงิน ๘๖,๖๓๑,๓๐๐ บาท
๘.๑.๑๑ การจ่ายเงินเยียวยาศิลปินอายุเกิน ๖๕ ปี ที่ได้รับผลกระทบจากโควิด -๑๙ ซึ่งคณะรัฐมนตรี
มีมติเห็นชอบอนุมัติ โครงการเยียวยาศิลปินที่มีอายุเกิน ๖๕ ปี ของกระทรวงวัฒนธรรม โดยได้ดาเนินการโอนเงิน
เยียวยา จานวนทั้งสิ้น ๒,๑๔๕ ราย วงเงินรวมทั้งสิ้น ๑๐,๗๒๕,๐๐๐ บาท
๘.๑.๑๒ การให้ความช่วยเหลือด้านที่อยู่อาศัยสาหรับคนไร้ที่พึ่งและคนไร้บ้าน เช่น “แชร์” ค่าเช่า
ที่อยู่อาศัย เพื่อให้คนไร้บ้านเตรียมความพร้อมในการตั้งหลักชีวิตอย่างยั่งยืน ร่วมกับภาคีเครือข่าย มีเป้าหมายจัดการ
เรื่องที่อยู่อาศัยให้คนไร้บ้าน ผ่านการมีส่วนร่วมของคนไร้บ้ าน ปัจจุบันมีจานวน ๓๗ คน ๒๓ ห้อง ร่วมกับกองทุน
ที่เครือข่ายคนไร้บ้านและมูลนิธิพัฒนาที่อยู่อาศัย โดยคนไร้บ้านจะต้องสมทบค่าเช่าห้องร่วมกับโครงการฯ ในสัดส่วน
๖๐ : ๖๐ ของค่าเช่าห้อง ซึ่งส่วนเพิ่มร้อยละ ๒๐ ของการสมทบจากคนไร้บ้าน นาไปเป็นเงินกองทุนเพื่อช่วยเหลื อ
สมาชิกกลุ่มด้านอื่น ๆ ต่อไป ปัจจุบันมีเงินกองทุน ๓๐๒,๒๐๐ บาท ขับเคลื่อนจัดระเบียบคนไร้ที่พึ่งและคนขอทาน
ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง ๗๖ จังหวัด ร่วมกับภาคีเครือข่าย และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
(อพม.) ลงพื้นที่จัดระเบียบคนขอทานในพื้นที่สาธารณะและงานเทศกาลประจาปีของจังหวัดทั่วประเทศ เพื่อจัดระเบียบ
คนไร้ที่พึ่งและคนขอทาน ประชาสัมพันธ์เชิงรุกให้ทราบว่า “การขอทานผิดกฎหมาย” ตามพระราชบัญญัติควบคุม
การขอทาน พ.ศ. ๒๕๕๙ กิจกรรม “อิ่มใจ อุ่นกาย คลายหนาว เพื่อคนไร้ บ้าน” คนไร้บ้านบริเวณสนามหลวง

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) 103
๑๐๓
จานวน ๒๐๐ คน ได้ความรู้และเข้าถึงสวัสดิการ เพื่อคนไร้บ้าน เช่น ที่พักอาศัยชั่วคราว “บ้านปันสุข” บริการให้
คาปรึกษาแนะนา การตรวจสุขภาพให้คนไร้บ้าน รวมทั้งกิจกรรมอื่น ๆ เพื่อให้ความช่วยเหลือคนไร้บ้าน และเก็บข้อมูล
ปัญหาและความต้องการของคนไร้บ้านนาไปวิเคราะห์ และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยให้คนไร้บ้านเข้าถึง
สวัสดิการที่เหมาะสม
๘.๑.๑๓ การดาเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องทุกข์ผ่านช่องทางการร้องทุกข์ ๑๑๑๑ มีผลการดาเนินงาน
เรื่องราวร้องทุกข์ ระหว่างวันที่ ๒๕ กรกฎาคม - ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ มีประชาชนใช้บริการร้องทุกข์ จานวนทั้งสิ้น
๕,๔๗๙ เรื่อง สามารถดาเนินการจนได้ข้อยุติ จานวน ๕,๐๓๒ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๙๑.๘๔ อยู่ระหว่างดาเนินการ
๔๔๗ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๘.๑๖ รวมทั้งดาเนินโครงการจัดตั้งศูนย์รับเรื่องร้องเรียนแบบเบ็ดเสร็จ เพื่อให้ส่วนราชการ
ที่มีระบบสารสนเทศการจัดการเรื่องร้องทุกข์เป็นของตนเองและมีความพร้อมดาเนินการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเรื่องร้องทุกข์
กับศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล ๑๑๑๑ ให้เป็นฐานข้อมูลเดียว (Big Data) ตลอดจนพัฒนาระบบการจัดการ
เรื่องราวร้องทุกข์ของสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี เพื่ออานวยความสะดวกให้กับประชาชนในการยื่นเรื่องร้องทุกข์
โดยมีการพัฒนาให้มีระบบ อาทิ ระบบการรายงานผล (Dashboard) ระบบติดตามผลเรื่องร้องทุกข์ (Tracking System)
การส ารวจความต้ องการจากสื่ อสั งคมออนไลน์ (Social Monitoring Tool) ระบบส ารวจความพึ งพอใจประชาชน
(Satisfaction Survey) และการรับเรื่องราวร้องทุกข์ผ่านไลน์สร้างสุข (@PSC1111) เป็นช่องทางในการให้บริการประชาชน
ได้แจ้งร้องเรียน/ร้องทุกข์เสนอข้อคิดเห็น และติชมผ่านแอปพลิเคชันไลน์

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
104
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๐๔ ๒๕๖๕)
๘.๒ นโยบายเร่งด่วนที่ ๒ การปรับปรุงระบบสวัสดิการและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
๘.๒.๑ การจัดสวัสดิการทางสังคม ได้ดาเนินการ เช่น การให้ความช่วยเหลือประชาชนผู้มีรายได้น้อย
เป็นเงินผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรั ฐ ประกอบด้วย (๑) สวัสดิการที่ให้เป็นวงเงินในบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ จานวน
๑๘,๖๗๘.๙๓ ล้านบาท และ (๒) สวัสดิการที่ให้ผ่านกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ในบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (e-Money)
จานวน ๑,๕๗๓.๘๙ ล้านบาท รวมทั้งสิ้น ๒๐,๒๕๒.๘๒ ล้านบาท นอกจากนี้ ได้ดูแลและให้ความช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง
และผู้ประสบปัญหาทางสังคมให้เข้าถึงการลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ปี ๒๕๖๕ จานวน ๑๕๕,๔๔๓ ราย
และแนะนาช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการยื่นสิทธิลงทะเบียน จานวน ๓๐,๔๒๑ ราย โครงการขับเคลื่อน
การจัดสวัสดิการแม่เลี้ยงเดี่ยวและครอบครัว ภายใต้แนวคิด “Strong Mom: 4 Smarts ๔ รู้ ๔ สร้างครอบครัว
แม่เลี้ยงเดี่ยวเข้มแข็ง” ซึ่งมีแม่เลี้ยงเดี่ยวและครอบครัวเข้ารับบริการ จานวน ๗๖๕ ราย สวัสดิการเบี้ยความพิการ
สาหรับคนพิการทุกคนที่มีบัตรประจาตัวคนพิการ จานวน ๒,๐๒๓,๔๖๐ คน เป็นเงิน ๑,๘๕๔.๘๑๙๔ ล้านบาทต่อปี
(ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) และจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดสวัสดิการสังคม เพื่อผลักดันให้งาน
สวัสดิการสังคมมุ่งสู่การจัดสวัสดิการถ้วนหน้าได้ทาการพัฒนาและจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายด้านสวัสดิการสั งคม
ได้ดาเนินการขับเคลื่ อนข้อ เสนอเชิงนโยบาย ๒ เรื่อง ได้แก่ (๑) แผนพัฒนางานสวัสดิการสั งคมไทย ระยะ ๕ ปี
(พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) และ (๒) การส่ ง เสริ ม การบริ ห ารจั ด การด้ า นสวั ส ดิ ก ารสั ง คม รวมทั้ ง ได้ จั ด ท าระบบ
เพื่อนครอบครัว (Family Line) เป็นแพลตฟอร์มรวมความรู้และให้คาปรึกษาออนไลน์แบบครบวงจรสาหรับสมาชิก
ครอบครัว โดยมีผู้เข้าใช้งาน จานวน ๖,๔๐๑ ครั้ง
๘.๒.๒ การเร่ งรั ด การพัฒนาระบบบริ การสุขภาพเพื่อลดความเหลื่อมล้าของคุณ ภาพการบริการ
ทั้งระบบ โดยดาเนินนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่ (Universal Coverage for Emergency Patients: UCEP)
เพื่อให้บริการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตได้เข้ารับ การรักษาในโรงพยาบาลทุกแห่งที่ใกล้ที่สุดได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
จนพ้นวิกฤตภายใน ๗๒ ชั่วโมง ทั้งนี้ มีผู้ป่วยฉุกเฉินที่เข้าระบบบันทึกและประเมินผู้ป่วย UCEP จานวน ๙๗๖,๕๙๖ ราย
เป็นผู้ที่เข้าเกณฑ์ UCEP จานวน ๑๒๒,๕๕๖ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๕๕ และไม่เข้าเกณฑ์ UCEP จานวน ๘๕๔,๐๔๐ ราย
คิดเป็นร้อยละ ๘๗.๔๕
๘.๒.๓ มาตรการเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ที่มีรายได้น้อยและขยายสิทธิ กลุ่มมารดาตั้งครรภ์
เด็กแรกเกิด และเด็กวัยเรียน โดยดาเนินการ เช่น การให้ความช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายในรูปแบบเงินอุดหนุนหรือ
เงินสงเคราะห์ และการให้คาแนะนาปรึกษาในเรื่องต่าง ๆ ได้แก่ การช่วยเหลือเฉพาะหน้าผ่านเงินสงเคราะห์แก่เด็ก
ในครอบครั ว ยากจน โดยในปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้ให้ ความช่ว ยเหลื อ จานวน ๑๔๐,๕๐๓ ราย เป็นเงิน
๑๗๔,๔๘๗,๐๐๐ บาท ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ (เดือนตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๕) ได้ให้ความช่วยเหลือ จานวน ๓,๕๑๘ ราย
เป็ น เงิน ๑๑,๐๘๑,๐๐๐ บาท และการให้ การสนับสนุนเงินอุดหนุนช่วยเหลื อค่าเลี้ยงดูเด็กในครอบครัวอุปถัมภ์
โดยให้การช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายรายละ ๒,๐๐๐ บาทต่อเดือน ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้ให้การช่วยเหลือ
จานวน ๕,๔๑๓ ราย เป็นเงิน ๑๑๙,๓๑๒,๐๐๐ บาท ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ (เดือนตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๕)
ได้ให้การช่วยเหลือ จานวน ๕,๒๙๗ ราย เป็นเงิน ๓๗,๐๕๐,๕๐๐ บาท การให้ความช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับ
ผลกระทบจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ได้แก่ การคุ้มครอง
และช่วยเหลือเด็ก กาพร้าจากสถานการณ์โควิด -๑๙ จานวน ๔๖๓ คน ให้ได้รับการช่วยเหลือตามแผนการพัฒนา
เด็กรอบด้านตามช่วงวัย การสนับสนุนทุนการศึกษาแก่เด็กกาพร้าทั้งพ่อและแม่ตามระเบียบและกฎเกณฑ์ ที่กองทุน

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) 105
๑๐๕
เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กาหนดไว้ จนจบระดับปริญญาตรี จานวน ๑๑๓ ราย การพัฒนาระบบ
แจ้งเหตุของ Line OA @savekidscovid19 และระบบสารสนเทศเพื่อการคุ้มครองเด็ก (CPIS) โครงการพัฒนา
คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน โดยบูรณาการความร่วมมือร่วมกับ ๑๒ กระทรวง ๑ หน่วยงาน ทั้งนี้
มีการให้ความช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง จานวน ๗๑๑,๑๑๓ ครัวเรือน และมีการบันทึกข้อมูลครัวเรือนเปราะบาง
ลงในระบบสมุ ด พกครอบครั ว อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (MSO-Logbook) จ านวน ๕๖๐,๗๑๐ ครั ว เรื อ น และโครงการ
ศูนย์ช่วยเหลือสังคมตาบล ได้ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือสังคมตาบลทั่วประเทศ จานวน ๘,๐๑๒ ศูนย์
มีผู้ใช้บริการจากศูนย์ฯ จานวน ๑,๐๓๖,๙๙๒ ราย และมีการประเมินผลการดาเนินงานของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตาบล
ทั้งนี้ มีการจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือสังคมชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (๕๐ เขต) ดาเนินการจัดตั้งแล้วทั้งสิ้นในพื้นที่
๘ เขต ๕๙ ศูนย์
๘.๒.๔ โครงการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต กลุ่ ม เปราะบางรายครั ว เรื อ น โดยจั ด ให้ มี ส มุ ด พกครอบครัว
เป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาครัวเรือนทั้ง ๕ มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ความเป็นอยู่ การศึกษา รายได้ และการเข้าถึง
บริการรัฐ ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ มีการให้ความช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง จานวน ๗๑๑,๑๑๓ ครัวเรือน
และมีการบันทึกข้อมูลครัวเรือนเปราะบางลงในระบบสมุดพกครอบครัวอิเล็กทรอนิกส์ (MSO-Logbook) จานวน
๕๖๐,๗๑๐ ครัวเรือน
๘.๒.๕ โครงการศูนย์ช่วยเหลือสังคมตาบล ได้จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือสังคมตาบลทั่วประเทศ จานวน
๘,๐๑๒ ศูนย์ เพื่อยกระดับการทางานเชิงพื้นที่แบบบูรณาการ และให้บริการสวัสดิการสังคม ณ จุดเดียวเป็นองค์รวม
หรือการให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ซึ่งมีผู้ใช้บริการจากศูนย์ จานวน ๑,๐๓๖,๙๙๒ ราย
โดยมีศูนย์ที่มีการดาเนินการและจัดกิจกรรม จานวน ๕,๖๑๓ ศูนย์ และมีการจัดกิจกรรม จานวน ๒๑,๗๔๖ กิจกรรม
รวมทั้งมีการประเมินผลการดาเนินงานของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตาบล ครบทั้ง ๘,๐๑๒ ศูนย์ นอกจากนั้นมีการจัดตั้ง
ศูนย์ช่วยเหลือสังคมชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (๕๐ เขต) ซึ่งได้ดาเนินการจัดตั้งแล้วทั้งสิ้น ๘ เขต ๕๙ ศูนย์
๘.๒.๖ การส่ ง เสริ ม การออกก าลั ง กาย และกี ฬ าขั้ น พื้ น ฐานให้ ก ลายเป็ น วิ ถี ชี วิ ต และส่ ง เสริ ม
ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการออกกาลังกาย กีฬาและนันทนาการ
๑) โครงการเด็กไทยว่ายน้าได้ เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทักษะการว่ายน้าเบื้องต้นที่ถูกต้อง สามารถ
เอาชี วิ ต รอดจากการจมน้ า และรู้ ห ลั ก การใช้ อุ ป กรณ์ ใ นการช่ ว ยชี วิ ต ผู้ ป ระสบภั ย ทางน้ า โดยด าเนิ น การ
ในกรุ ง เทพมหานครและ ๓๗ จั ง หวั ด ทั้ ง นี้ มี เ ด็ ก และเยาวชนเข้ า ร่ ว มฝึ ก ทั ก ษะว่ า ยน้ าเพื่ อ ป้ อ งกั น การจมน้ า
ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค จานวนทั้งสิ้น ๙,๓๑๑ คน

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
106
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๐๖ ๒๕๖๕)
๒) โครงการส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมนันทนาการในเด็กและเยาวชน โดยจัดกิจกรรมที่สาคัญ
เช่น การประกวดดนตรี พื้น บ้ า นวงโปงลางชิง ถ้ว ยพระราชทานฯ สมเด็จพระนางเจ้ าสิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ
พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในวันที่ ๑๒ - ๑๔ สิงหาคม ๒๕๖๕ ณ จังหวัดนครราชสีมา มีผู้เข้าร่วมการประกวด
รวมทั้งสิ้ น ๑๓ วง จานวน ๔๕๕ คน จาก ๑๘ วงที่ส มัครเข้าร่วม การประกวดศิล ปะการแสดงพื้นบ้านมโนราห์
ในงานมหกรรมภูมิปั ญญานั นทนาการท้องถิ่นภาคใต้ “มโนราห์ ” ประจาปี ๒๕๖๕ เยาวชนต้น กล้ านัน ทนาการ
โดยดาเนินการในระดับภูมิภาค ๒๔ จังหวัด มีเด็ก เยาวชน และประชาชน เข้าร่วมกิจกรรมรวมทั้งสิ้น ๕,๐๓๐ คน
เด็ก เยาวชนและประชาชนได้รับการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านนันทนาการหรือเข้าชมกิจกรรมนันทนาการที่จัดผ่านทาง
สื่ อสาธารณะ และอื่น ๆ จานวน ๗๕,๓๘๖ คน ผลิ ตสื่ อวีดิทัศน์ กิจ กรรมนั น ทนาการเผยแพร่ ท างโซเชียลมี เ ดี ย
ประกอบด้วย นันทนาการสู้ภัยโควิด x 3 “Recreation Party Game” จานวน ๒๐ คลิป และ “Get Inspired by
Recreation” จานวน ๑๐ คลิป และศูนย์นันทนาการ กรมพลศึกษา ให้บริการทางด้านนันทนาการแก่เด็ก เยาวชน
และประชาชนในวันจันทร์ - ศุกร์ (ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์) ณ ศูนย์นันทนาการ กรมพลศึกษา โดยมีเด็ก เยาวชน
และประชาชน ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาด้วยการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการที่จัด จานวน ๒๘,๖๐๐ คน และได้รับ
การเผยแพร่องค์ความรู้ด้านนันทนาการ หรือเข้าชมกิจกรรมนันทนาการที่จัดผ่านทางสื่อสาธารณะ และอื่น ๆ จานวน
๔๕๓,๑๕๓ คน

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) 107
๑๐๗
๘.๓ นโยบายเร่งด่วนที่ ๓ มาตรการเศรษฐกิจเพื่อรองรับความผันผวนของเศรษฐกิจโลก
๘.๓.๑ การเร่งรัดจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ เพื่อเป็นกลไกการพัฒนา
ประเทศและช่ว ยเหลื อผู้ ได้รั บผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ร ะบาดของโควิด -๑๙ ตลอดจนฟื้น ฟูเศรษฐกิจ
และสังคมให้กลับเข้าสู่สภาวะปกติ โดยได้จัดทายุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๖ เพื่อให้ ห น่ ว ยรั บ งบประมาณใช้ เป็ น แนวทางในการจั ดท างบประมาณให้ ส อดคล้ องและตอบสนอง
ต่ อ เป้ า หมายของยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แผนการปฏิ รู ป ประเทศ (ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง ) แผนแม่ บ ทภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ
แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ ๑๓ นโยบายและแผนระดั บ ชาติ ว่ า ด้ ว ยความมั่ น คงแห่ ง ชาติ
และนโยบายสาคัญของรัฐบาล โดยเฉพาะโครงการสาคัญ ๔๐๖ โครงการ การจัดทางบประมาณเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน
แบบพุ่งเป้า และการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศหลังได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-๑๙ ตลอดจนการให้
ความสาคัญกับผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ รวมทั้งให้ความสาคัญกับ
การจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการทั้ง ๓ มิติ ประกอบด้วย มิติกระทรวง/หน่วยงาน (Function) มิตินโยบาย
(Agenda) และมิติพื้นที่ (Area) ดังนี้ (๑) จัดทาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๖๖ จ านวน ๓,๑๘๕,๐๐๐ ล้ า นบาท ตามแนวทางและหลั ก เกณฑ์ ที่ไ ด้รั บความเห็ นชอบจากคณะรัฐ มนตรี
และอยู่ภายในกรอบพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ และพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๑ (๒) จัดสรรงบประมาณให้แก่หน่วยรับงบประมาณ จานวน ๑,๙๑๐,๖๘๙.๖๒๙๔ ล้านบาท หรือคิดเป็น
ร้อยละ ๕๙.๙๙ ของงบประมาณทั้งสิ้น ๓,๑๘๕,๐๐๐ ล้านบาท (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๓) หน่วยรับ
งบประมาณสามารถด าเนิ น ภารกิ จ ได้ อย่ างต่ อเนื่ องภายใต้ กรอบระยะเวลา เพื่ อให้ บรรลุ เป้ าหมายตามตั วชี้ วั ด
ที่สอดคล้ องและตอบสนองต่ อยุ ทธศาสตร์ ชาติ แผนแม่บ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ช าติ และนโยบายส าคัญของรัฐ บาล
และ (๔) จัดทารายงานผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยรับงบประมาณ
และผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ โดยเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ
๘.๓.๒ มาตรการรองรับการกีดกันทางการค้าและมาตรการสนับสนุนเพื่อเพิ่มช่องทางการส่ง ออก
ได้ดาเนินการ (๑) เร่งรัดขยายตลาดส่งออกเชิงรุก โดยกาหนดกลยุทธ์การตลาดที่สอดคล้องกับตลาดเป้าหมาย เช่น
เจาะตลาดเชิงลึกเข้าสู่เมืองหลักและเมืองรองที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจ มีผู้ประกอบการไทยได้รับการส่งเสริม
จ านวน ๘๖๔ ราย สามารถสร้ า งมู ล ค่ า การค้ า จ านวน ๒,๙๓๘.๔๘ ล้ า นบาท ส่ ง เสริ ม ตลาดพาณิ ช ย์ ดิ จิ ทั ล
ผ่าน Thaitrade.com มีความต้องการซื้อผ่านระบบ Buying Request จานวน ๑๔๘ รายการ เกิดมูลค่าการซื้อขาย
ผ่านระบบ จานวน ๓๑๗.๖๐ ล้านบาท และมูลค่าการซื้อขายผ่าน Thaitrade.com และเครือข่ายพันธมิตรออนไลน์
จานวน ๙๕๑.๔๓ ล้านบาท (๒) ส่งเสริมอุตสาหกรรมรายคลัสเตอร์ เช่น สินค้าเกษตรและอาหาร ได้จัดกิจกรรมจับคู่
เจรจาธุรกิจสินค้าเกษตร/สินค้าผลไม้ และกิจกรรมส่งเสริมการขายสินค้าผลไม้ในต่างประเทศ มีผู้ประกอบการไทย
ได้รับการส่งเสริม จานวน ๓,๑๕๒ ราย เกิดการจับคู่ธุรกิจ จานวน ๑,๑๐๐ คู่ สร้างมูลค่าการค้ารวม ๒๗,๑๘๘.๗๒
ล้านบาท และ (๓) ยกระดับผู้ประกอบการของไทยให้มีความพร้อมในการส่งออก และรับมือกับเศรษฐกิจยุคใหม่
ได้อย่างเป็นระบบและครบวงจร เช่น พัฒนาผู้ประกอบการสู่เศรษฐกิจยุคใหม่ From Gen Z to be CEO การพัฒนา
ผู้ ส่ ง ออกรุ่ น ใหม่ Young Exporter from Local to Global (YELG) มี ผู้ ป ระกอบการได้ รั บ การพั ฒ นา จ านวน
๒๐,๒๔๔ ราย

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
108
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๐๘ ๒๕๖๕)
๘.๓.๓ การส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองหลัก เมืองรอง และการท่องเที่ยวชุมชน ได้ดาเนินการ (๑) ส่งเสริม
และพัฒนาที่พักนักเดินทาง (Home Lodge) มีผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลาง รวมถึงชุมชนที่สนใจเข้ารับ
การตรวจประเมินที่พักนักเดินทาง และมีคุณภาพครบตามหลักเกณฑ์ จานวน ๑,๑๔๔ แห่ง รวม ๓,๐๙๑ ห้อง (๒) โครงการ
การดาเนินการเพื่อรองรับการประกาศกาหนดเขตพื้นที่ในท้องถิ่นหรือชุมชนตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจนาเที่ยว
และมัคคุเทศก์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยตรวจประเมินพื้นที่ในท้องถิ่นหรือชุมชนเพื่อประกาศกาหนดเขตพื้นที่
ในท้องถิ่นหรือชุมชนตามกฎหมายฯ ไปแล้ว จานวน ๖ แห่ง (๓) โครงการ ๑ จังหวัด 1 Sport Event เพื่อเป็ น
เครื่องมือในการฟื้นเศรษฐกิจ ใน ๗๖ จังหวัด (๔) ส่งเสริมการท่องเที่ยวทุกฤดูกาลตลอดทั้งปี เช่น การจัดทาปฏิทิน
กิจกรรมท่องเที่ยวและกีฬา การจัดกิจกรรมเสริมที่เหมาะสมหรือการปรับรูปแบบการให้บริการ (๕) โครงการส่งเสริม
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ จากการดาเนินโครงการพัฒนาภาคการท่องเที่ยว
ทั้ ง ระบบส่ ง ผลให้ อั ต ราการขยายตั ว ของรายได้ จ ากการท่ อ งเที่ ย ว
เชิ ง สร้ า งสรรค์ แ ละวั ฒ นธรรม ในปี ๒๕๖๕ ขยายตั ว ร้ อ ยละ ๑๗.๔๘
ก่อให้เกิดรายได้ท่องเที่ยวชุมชน ปี ๒๕๖๕ จานวน ๕๗,๒๐๗,๒๙๕.๗๐ บาท
เมื่อเทียบกั บปี ๒๕๖๔ จานวน ๔๘,๖๙๖,๔๗๙ บาท และมีจานวนเมื อง
และชุมชนที่มีศักยภาพด้านการท่องเที่ย วเชิงสร้างสรรค์และวัฒ นธรรม
จานวน ๕ เมือง ได้แก่ ภูเก็ต เชียงใหม่ กรุงเทพมหานคร สุโขทัย เพชรบุรี
(๖) ยกระดับเทศกาลประเพณีไปสู่ระดับชาติและนานาชาติ โดยได้คัดเลื อก
งานเทศกาลและประเพณีท่ีมีความโดดเด่นในจังหวัดต่าง ๆ อาทิ ประเพณี
บู ช าพระธาตุ ย้ อ นรอยประวั ติ ศ าสตร์ เ มื อ งคนดี จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี
งานเทศกาลหนั ง ใหญ่ วั ด ขนอน จั ง หวั ด ราชบุ รี ประเพณี ทิ้ ง กระจาด
สุพรรณบุรี ประจาปี ๒๕๖๕ จังหวัดสุพรรณบุรี เทศกาลเสน่ห์ชุมชน ยลวิถีย่านเมือ งเก่า “วิวาห์บาบ๋าภูเก็ต” จังหวัด
ภูเก็ต (๗) การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมผ่านโครงการเที่ยวชุมชน ยลวิถี โดยได้คัดเลือกชุมชนคุณธรรม
น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขับเคลื่อนด้วยพลังบวรที่มีศักยภาพและความพร้อมด้านการท่องเที่ยว
จากชุมชนคุณธรรมฯ ทั่วประเทศ จานวน ๒๒๘ ชุมชน คัดเลือกให้เหลือเพียง ๑๐ ชุมชน ได้แก่ ชุมชนคุณธรรมฯ
แหลมสั ก ต าบลแหลมสั ก อ าเภออ่ า วลึ ก จั ง หวั ด กระบี่ ชุ ม ชนคุ ณ ธรรมฯ บ้ า นเมื อ งรวง ต าบลแม่ ก รณ์ อ าเภอ
เมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ชุมชนคุณธรรมฯ วัดทรายขาว ตาบลทรายขาว อาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ชุมชน
คุณธรรมฯ ย่านเมืองเก่าภูเก็ต ตาบลตลาดใหญ่ อาเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต ชุมชนคุณธรรมฯ บ้านภู ตาบลบ้านเป้า
อาเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร ชุมชนคุณธรรมฯ บ้านบ่อน้าร้อน ตาบลตาเนาะแมเราะ อาเภอเบตง จังหวัดยะลา
ชุมชนคุณธรรมฯ วัดบางน้ าผึ้ งใน ตาบลบางน้าผึ้ ง อาเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ชุมชนคุณธรรมฯ
บ้านหนองบัว ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ชุมชนคุณธรรมฯ บ้านถ้ากลองเพล ตาบลโนนทัน อาเภอ
เมืองหนองบัวลาภู จังหวัดหนองบัวลาภู และชุมชนคุณธรรมฯ บ้านเชียง ตาบลบ้านเชียง อาเภอหนองหาน จังหวัด
อุดรธานี และ (๘) การพัฒนาเมืองต้นแบบด้านศิลปวัฒนธรรมเมืองเก่าสงขลา โดยที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่
๖ กัน ยายน ๒๕๖๕ มีมติเห็ นชอบในหลั ก การโครงการพัฒ นาเมื องต้ น แบบด้า นศิล ปวัฒ นธรรมเมื อ งเก่าสงขลา
(Culture Smart City : Songkhla Old Town) และมีการดาเนินกิจกรรมต่า ง ๆ เช่น ตามรอยประวัติศาสตร์ศิลป์
สุวรรณภูมิสงขลาเมืองเก่าสู่การเป็นเมืองต้นแบบด้านศิลปวัฒนธรรม การจัดงานเทศกาลศิลปวัฒนธรรมนานาชาติ

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) 109
๑๐๙
เชื่อมโยงจากรุ่นสู่ รุ่น New Gen Connected Art and Culture Festival กิจกรรมส่งเสริม Soft Power ในระดับ
นานาชาติ ณ Songkhla Pavilion นครเวนิส สาธารณรัฐอิตาลี การพัฒนาแอปพลิเคชันบนมือถือ Treasure Thailand
รูปแบบของการให้บริการออนไลน์สาหรับนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศ

๘.๓.๔ การส่ ง เสริ ม ผู้ ป ระกอบการขนาดกลางและขนาดย่ อ ม ได้ ด าเนิ น การ เช่ น โครงการ SME
ปรับตัวรับมือ VUCA World เพื่อการยกระดับความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจให้แก่ผู้ประกอบการผ่านโปรแกรม
SME VUCA PROACTIVE โดยส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการ SME ภาคบริการในกลุ่มธุรกิจโรงแรม ร้านอาหาร
การท่องเที่ยว การแพทย์วิถีใหม่ การดูแลผู้สูงอายุ และธุรกิจขนส่งให้เข้ารับการฝึกอบรม พร้อมทั้งมีที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้าน ลงพื้นที่ให้คาปรึกษาเชิงลึก ณ สถานประกอบการ จานวน ๗๖ กิจการ ซึ่งมีผู้ประกอบการได้รับคัดเลือก
และเข้ารับรางวัลจากการประกวด SME VUCA World Award เป็นการค้นหา Role Model ต้นแบบ จานวน ๗ ราย
และส่งผลให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจรวม ๘๖๕.๕๒ ล้านบาท
๘.๓.๕ การสนับสนุนเศรษฐกิจฐานรากและฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศในองค์ร วม ได้ดาเนินการ
โครงการคนละครึ่ง ระยะที่ ๕ (วันที่ ๑ กันยายน - ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๕) มีผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการ จานวน
๙.๗๒ แสนราย ประชาชนเข้าร่วมโครงการ จานวน ๒๔.๐๒ ล้านคน ยอดใช้จ่ายรวม ๓๗,๐๕๘.๕๘ ล้านบาท

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
110
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๑๐ ๒๕๖๕)
๘.๔ นโยบายเร่งด่วนที่ ๔ การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนานวัตกรรม
๘.๔.๑ การจัดพื้นที่การเกษตรให้สอดคล้องกับระบบบริหารจัดการน้าและคุณภาพดินตาม Agri-Map
เช่น พัฒนาที่ดินเพื่อสนับสนุ น การปรับ เปลี่ย นการผลิ ตในพื้นที่ไม่เหมาะสมตาม Agri-Map ส่งเสริมเกษตรเชิ งรุก
ด้ า นการประมง ส่ ง เสริ ม ให้ เ กษตรกรปรั บ เปลี่ ย นมาปลู ก พื ช อาหารสั ต ว์ ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ๒๕ แปลง และจัดทาข้อมูลสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการสินค้าเกษตรในระดับจังหวัด

๘.๔.๒ การสร้างหลักประกันทางรายได้ให้แก่เกษตรกร ดาเนินการแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่า


เช่ น การแก้ ไ ขปั ญ หาข้ า ว โดยการผลิ ต และกระจายเมล็ ดพั น ธุ์ข้ า ว (ชั้ น พั น ธุ์ คั ด พั น ธุ์ ห ลั ก ) ผลิ ต และกระจาย
เมล็ดพันธุ์ข้าวชั้นพันธุ์ขยายและจาหน่าย ๒,๙๒๖ ตัน ก่อสร้างศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว ๒ ศูนย์ (ศูนย์จังหวัดเพชรบูรณ์
และจังหวัดเชียงราย) สนับสนุนค่าใช้จ่ายอุดหนุนเพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว ๔.๖ ล้านครัวเรือน การแก้ไขปัญหายางพารา
โดยดาเนินโครงการประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนยาง (ระยะที่ ๔) โครงการช่วยเหลือเกษตรกรชาวไร่อ้อยตัดอ้อยสด
คุณภาพดีเพื่อลดฝุ่น PM2.5 ส่งโรงงานน้าตาลทราย โรงงานผลิตเอทานอล โรงงานผลิตน้าตาลทรายแดง ในอัตรา
๑๒๐ บาทต่อตัน มีเกษตรกรชาวไร่อ้อยได้รับการช่วยเหลือ จานวน ๑๒๕,๒๗๖ ราย วงเงินที่จ่ายช่วยเหลือทั้งสิ้น
๘,๑๑๐.๙๖ ล้านบาท ปริมาณอ้อยสดคุณภาพดี จานวน ๖๗.๕๙ ล้านตัน ผลการดาเนินโครงการทาให้มีพื้นที่ตัดอ้อยสด
จานวน ๖.๔๙ ล้านไร่ และพื้นที่การเก็บเกี่ยวอ้อยที่ถูกลักลอบเผาเพียง ๒.๔๓ ล้านไร่ จากพื้นที่ทั้งหมด ๘.๙๒ ล้านไร่

๘.๔.๓ การทาเกษตรยุคใหม่โดยใช้นวัตกรรมเพื่อลดต้นทุนการผลิต ได้ดาเนินโครงการต้นแบบเกษตร


อัจฉริยะ เพื่อพัฒนาแปลงปลูก/โรงเรือนเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming) ให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงเทคโนโลยี
การเพาะปลูกแบบเกษตรอัจฉริยะ และทดลองปลูกผักบนแปลงไฮโดรโปนิกส์เพื่อทดสอบระบบการควบคุมต่าง ๆ
รวมถึงการพัฒนาหัววัดในระบบการเพาะปลูกแบบแปลงดิน และพัฒนาวิธีการตรวจหัววัด พร้อมปรับปรุงความแม่นยา
เพื่อใช้สาหรับควบคุมการทางานอุปกรณ์และแสดงผลข้อมูลที่จาเป็นในการเพาะปลูกของเกษตรกร

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) 111
๑๑๑
๘.๔.๔ การส่งเสริมการใช้ผลผลิตทางการเกษตรเพื่อแก้ไขปัญหาสินค้ าเกษตรล้นตลาด ได้ดาเนินการ
ส่งเสริมการใช้ยางในหน่วยงานภาครัฐ เพื่อซ่อมแซมและปรับปรุงคันคลองชลประทาน มีปริมาณการใช้ยางข้น จานวน
๕๐๓.๖๓ ตัน มีการใช้ยางพาราในโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ เช่น งานก่อสร้างและซ่อมบารุงโดยการทาผิวทาง
โดยกรมทางหลวง วงเงิน ๑๙,๒๖๕ ล้านบาท ปริมาณยางดิบ จานวน ๒๐,๗๓๔ ตัน และกรมทางหลวงชนบท วงเงิน
๙,๖๔๖.๖๐ ล้านบาท ปริมาณยางดิบ จานวน ๘,๒๐๐ ตัน รวมทั้งดาเนินโครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อเป็นเงินทุน
หมุน เวีย นแก่ส ถาบั นเกษตรกรเพื่อรวมยางพารา มีส หกรณ์/ กลุ่ มเกษตรกรยื่น ขอกู้ จานวน ๓๙๑ แห่ ง เป็นเงิน
๗,๗๗๑.๕๙ ล้านบาท

๘.๔.๕ โครงการข้าวรักษ์โลกต้นแบบ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ระยะที่ ๑ เพื่อส่งเสริมการทา


เกษตรอินทรีย์หรือการใช้ระบบชีวมวลชีวภาพที่ลดและเลิก การใช้สารเคมีในการเพาะปลูก เพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิต
ลดต้นทุนการผลิต พัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้งเป็นการรักษาสุขภาพให้กับผู้เพาะปลูกและผู้บริโภค โดยมีสมาชิก
เข้าร่วมโครงการฯ รวมทั้งสิ้น ๒,๖๗๔ คน ใช้พื้นที่ดาเนินโครงการฯ รวม ๑๐,๘๓๐ ไร่ ซึ่งการดาเนินโครงการฯ
ในวงรอบการเพาะปลูกครั้งที่ ๑ สามารถเพิ่มผลผลิตให้กับสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการฯ คิดเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ ๒๗.๐๗
และสามารถลดต้นทุนการผลิตให้กับสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการฯ คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ ๓๘.๒๐

๘.๔.๖ การเร่ งศึกษาวิจั ยและพัฒนาเทคโนโลยีสาหรั บกัญชา กัญชง และพืชสมุน ไพรเพื่อน ามา


ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทางการแพทย์ ได้ดาเนินการพัฒนาองค์ความรู้ด้านพันธุ์ การจาแนกกัญชาสายพันธุ์ไทย
รวมถึงพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ให้ได้สายพันธุ์ลูกผสมที่มีความเหมาะสมกับการเพาะปลูกในประเทศไทย และให้สาร THC
(Tetrahydrocannabinol) และ CBD (Cannabidiol) ปริมาณสูง เพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ ตลอดจนดาเนิน
โครงการพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับ การวิจั ยและถ่ายทอดเทคโนโลยี และนวัตกรรมการผลิ ตกัญชาในพื้นที่ศูนย์วิจัยพืช
๓ แห่ง รวมทั้ง ยกระดั บสมุน ไพร กัญชา กัญชงทางการแพทย์ และภูมิปัญญาไทย เพื่อเพิ่มมูลค่า การบริ โภค
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรในประเทศไทย โดยกาหนดมาตรการการดาเนินงานแบ่งเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ๑) ต้นน้า โดยการกาหนด
มาตรฐานเพื่อยกระดับสมุนไพรและสารสกัดที่ได้รับการรับรองความสามารถตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2017

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
112
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๑๒ ๒๕๖๕)
จากสานักมาตรฐานห้ องปฏิบัติการในการทดสอบอาหาร ผลิตภัณฑ์สมุนไพร และยาเสพติด และได้ศึกษา DNA
barcode ของกัญชาสายพันธุ์ไทย ศึกษาคุณสมบัติทางเคมี ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา และพิษวิทยาของกัญชาสายพันธุ์ไทย
พัฒ นาผลิ ตภัณฑ์สุ ขภาพจากสารสกัดกัญชา ๒) กลางน้า ได้ดาเนิ น การสนั บ สนุ น การเพิ่มช่องทางการจาหน่าย
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรและการเจรจาจับคู่ธุรกิจการค้าผู้ประกอบการสมุนไพร เร่งรั ดการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ปรับปรุงหลักเกณฑ์การอนุญาตให้ได้มาตรฐานและเหมาะสมกับความพร้อมของผู้ประกอบการและความเสี่ยงของ
ผลิตภัณฑ์ และ ๓) ปลายน้า เป็นการสร้างการรับรู้และส่งเสริมการใช้สมุนไพร โดยได้ร่วมเป็นเจ้าภาพการจัดงาน
นิ ท รรศการ “Authentic Thai Herbs in Daily life” ประชาสั ม พั น ธ์ สิ น ค้ า สมุ น ไพรคุ ณ ภาพ ณ ราชอาณาจั ก ร
เนเธอร์แลนด์ ระหว่างเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม ๒๕๖๕ จากผลการดาเนินงานส่งผลให้มูลค่า การบริโภคผลิตภัณฑ์
สมุนไพรในประเทศไทยเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ ๘.๓ (ปี ๒๕๖๔ จานวน ๔๘,๑๐๘.๕ ล้านบาท ปี ๒๕๖๕ จานวน
๕๒,๑๐๔.๓ ล้ า นบาท) และมู ล ค่ า การใช้ ย าสมุ น ไพรจั ง หวั ด ในเขตสุ ข ภาพเพิ่ ม ขึ้ น จากปี ที่ ผ่ า นมาร้ อ ยละ ๒๑๙
(ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวน ๑,๖๕๔.๕ ล้านบาท ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ จานวน ๕,๒๘๕.๔ ล้านบาท)

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) 113
๑๑๓
๘.๕ นโยบายเร่งด่วนที่ ๕ การยกระดับศักยภาพของแรงงาน
๘.๕.๑ การยกระดับ รายได้ห รือ ค่า แรงขั ้น ต่ าให้ส อดคล้อ งกับ การพัฒ นาทัก ษะฝีม ือ แรงงาน
ผ่านกลไกคณะกรรมการไตรภาคี คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่า
(ฉบั บ ที่ ๑๑) เมื่ อ วั น ที่ ๑ ๓ กั น ยายน ๒๕๖๕
และประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษา ลงวั น ที่ ๑๙
กันยายน ๒๕๖๕ โดยคณะกรรมการค่าจ้างชุดที่ ๒๑
ในการประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม
๒๕๖๕ ได้มีมติให้ปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่าเพิ่มขึ้นตั้งแต่
อัตราวันละ ๘ - ๒๒ บาท เป็นอัตราวันละ ๓๒๘ - ๓๕๔ บาท
โดยให้ มี ผ ลใช้ บั ง คั บ ตั้ ง แต่ วั น ที่ ๑ ตุ ล าคม ๒๕๖๕
เป็นต้นไป และให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง
เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่า (ฉบับที่ ๑๐)
๘.๕.๒ การสนั บ สนุ น การปรั บ เปลี่ ย นทั ก ษะและเปลี่ ย นสายอาชี พ ให้ ต รงกั บ ความต้ อ งการของ
ตลาดแรงงานอุตสาหกรรมเป้าหมายและความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
๑) โครงการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์แปรรูปเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเตรียมความพร้อม
ในการพัฒนากลุ่ มเกษตรกร กลุ่ มผู้ มีผ ลิ ตภัณ ฑ์ท างการเกษตร แรงงานนอกระบบ และผู้ ที่ได้รับผลกระทบจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙ ให้มีความรู้ มีอาชีพแห่งอนาคตรองรับการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศ โดยมีผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน ๒,๖๙๑ คน และมีงานทาคิดเป็นร้อยละ ๙๗.๒๐ มีรายได้เฉลี่ย ๑๑,๐๐๙ บาท
ต่อคนต่อเดือน คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ ๓๔๕.๕๕ ล้านบาทต่อปี
๒) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ/ผลิตภาพ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่ผู้ประกอบ
กิจการ SMEs หรือกลุ่ม OTOP หรือวิสาหกิจชุมชนผ่านกระบวนการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน ผลักดันให้เกิดความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์ เกิดนวัตกรรมใหม่ และการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี เพื่อรองรับการพัฒนาสู่ SMEs 4.0 โดยมี
ผู้ผ่านการฝึกอบรม จานวน ๘,๓๓๔ คน และมีงานทา คิดเป็นร้อยละ ๙๗.๘๘ มีรายได้เฉลี่ย ๑๒,๕๙๕ บาทต่อคนต่อเดือน
คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ ๑,๒๓๒.๙๐ ล้านบาทต่อปี และได้ให้คาปรึกษาเพื่อเพิ่มผลิตภาพแรงงานแก่สถานประกอบกิจการ
SMEs กลุ่ม OTOP กลุ่มวิสาหกิจชุมชน จานวน ๑๑๔ แห่ง
๓) โครงการการด าเนิ นการขยายตลาดเชิ งรุ กเพื่ อการจ้ างแรงงานไทยในต่ างประเทศ ได้ เก่
สาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐฟินแลนด์ ราชอาณาจักรสวีเดน
และประเทศญี่ ปุ่ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ค นไทยได้ ไ ปท างาน
ในต่างประเทศ มีงานทา มีอาชีพ มีรายได้ที่มั่นคง นาความรู้
มาต่ อ ยอดในการประกอบอาชี พ มี คุ ณ ภาพชี วิ ตที่ ดี ขึ้ น
ทาให้แรงงานไทยได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายการจ้างงาน
และได้ รั บ การจั ด สวั ส ดิ ก ารและสิ ท ธิ ป ระโยชน์ อั น พึ ง มี
อย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกรอบกฎหมาย

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
114
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๑๔ ๒๕๖๕)
๘.๕.๓ การเพิ่มประสิทธิภาพแรงงาน
๑) พัฒนาระบบบริการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติด้วยระบบ e-Testing ได้นา
เทคโนโลยี ส ารสนเทศ (ระบบ e-Testing) ใช้ ใ นการทดสอบมาตรฐานฝี มื อ แรงงานแห่ ง ชาติ โดยมี ก ารทดสอบ
ภาคความรู้และทฤษฎี เพื่อช่วยลดการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ในการประเมินเพิ่มความสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
ถูกต้อง และแม่น ย า รวมทั้งมีการให้ บ ริ การทางอิเล็ กทรอนิกส์ อื่นเพื่อก้าวสู่ รัฐ บาลดิจิทัล เช่น การออกวุฒิ บัตร
อิเล็กทรอนิกส์ให้แก่ผู้ผ่านการอบรมในทุกหลักสูตร ใบรับรองผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน บริการ PRB
e-Service สาหรับการยื่นรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมของสถานประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติ
ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นต้น
๒) การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือบูรณาการการฝึกอบรมมาตรฐานฝีมือแรงงาน
และมาตรฐานอาชีพเพื่อพัฒนากาลังแรงงาน เมื่อวัน ที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ เพื่อบู ร ณาการผลั กดันมาตรฐาน
ฝีมือแรงงานแห่งชาติให้เป็นที่ยอมรับในระบบการจ้างงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน การเชื่อมโยงข้อมูลผู้ผ่านการพัฒนา
ฝีมือแรงงานและหลักสูตรฝึกอบรมที่ประชาชนสนใจ ตลอดจนผลักดันให้ผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกเตรีย ม
เข้า ทางาน ยกระดับ ฝีมือ เสริม ทัก ษะ และผู ้ผ ่า นการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงานแห่ง ชาติ จากกรมพัฒนา
ฝีมือแรงงานให้ได้รับการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพด้วย
๓) ให้บริการทดสอบความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษผ่านเว็บไซต์ “ไทยมีงานทา”
โดยได้เปิดให้บริการทดสอบวัดระดับความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษ ผ่านเว็บไซต์ “ไทยมีงานทา” พร้อมออก
ใบรับรองให้ผู้ที่สอบผ่านการทดสอบเพื่อนาไปประกอบการสมัครงานหรือศึกษาต่อได้ ทั้งนี้ ผู้ ที่สนใจสามารถศึกษา
ข้อมูล เพิ่มเติ ม เช่น ศึกษาคู่มือ เตรี ย มตัว สอบ สาธิตการเตรี ย มทาข้ อสอบ เป็ น ต้น โดยสามารถจองสนา มสอบ
เลือกวันสอบเลือกชุดข้อสอบ และจ่ายเงินค่าดาเนินการผ่าน e-payment ผ่านเว็บไซต์ ไทยมีงานทา.doe.go.th
๔) จัดทาโครงการ “Samart Skills” พัฒนาแรงงานทักษะสูงด้านดิจิทัล โดยกระทรวงดิจิทัล
เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คมร่ ว มมื อ กั บ Google เพื่ อ เสริ ม โอกาสให้ ค นไทยเข้ า ถึ ง การศึ ก ษาเพื่ อ ตอบโจทย์ อ าชี พ
ที่เป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยหลายปีที่ผ่านมาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลไทยมีการเติบโต
อย่ า งก้ า วกระโดดและมี นั ย ส าคั ญ ดั ง นั้ น เพื่ อ รั บ มื อ กั บ ความท้ า ทายดั ง กล่ า ว จึ ง มุ่ ง มั่ น ที่ จ ะสานต่ อ ภารกิ จ โดย
“ไม่ทิ้งคนไทยคนใดไว้เบื้องหลัง”
๕) โครงการยกระดับสมรรถนะแรงงานในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
และฟื้นฟูความสัมพันธ์กับประเทศซาอุดีอาระเบีย เพื่อพัฒนา
ศั ก ยภาพและเตรี ย มความพร้ อ มแรงงานไทยก่ อ นไปท างาน
ต่างประเทศ และเพิ่มขีดความสามารถในการประกอบอาชีพ
ในตาแหน่ งงานที่ตลาดแรงงานต่างประเทศมี ความต้ อ งการ
เป็นกลยุทธ์ในการบริหารเพื่อขยายตลาดแรงงานใหม่ในสาขา
อาชีพต่าง ๆ ที่แรงงานไทยมีความสามารถและเป็นที่ต้องการ
ของตลาดแรงงานต่างประเทศ โดยได้ฝึกแรงงานไทยจบแล้ว
จานวน ๑ รุ่น และอยู่ระหว่างการฝึกรุ่นที่ ๒ - ๕ ต่อไป

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) 115
๑๑๕
๖) การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือว่าด้วยการพัฒนาทักษะและการให้สิทธิประโยชน์
แก่ผู้ขับขี่รถยนต์โดยสารสาธารณะ (แท็กซี่) ผู้จัดส่งอาหาร และผู้จัดส่งพัสดุ เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๕
กระทรวงแรงงาน โดยกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และสานักงานประกันสังคม ร่วมกับบริษัท แกร็บแท็กซี่ (ประเทศไทย)
จากัด เพื่อพัฒ นาศักยภาพแรงงานให้ มี ความรู้ ความสามารถและทั ก ษะต่า ง ๆ ในการประกอบอาชี พ ส่ งเสริม
และแนะน าสิ ทธิป ระโยชน์ ด้ านประกันสั ง คมให้ แก่ แรงงานอิส ระบนแพลตฟอร์ม ดิจิ ทัล และยังเป็นการส่ ง เสริ ม
และสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
116
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๑๖ ๒๕๖๕)
๘.๖ นโยบายเร่งด่วนที่ ๖ การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต
๘.๖.๑ การสนับสนุนการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เขตเศรษฐกิจพิเศษ เมืองอัจฉริยะ
และการลงทุน ในโครงสร้ า งพื้น ฐานที่ทัน สมัย ได้ป ระชาสั มพัน ธ์ให้ มีการลงทุน ในอุตสาหกรรมเป้ าหมายพิเศษ
ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกและความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ส่งเสริมการลงทุน
ในพื้ น ที่ เ ขตพั ฒ นาพิ เ ศษภาคตะวั น ออก โดยตั้ ง แต่ วั น ที่ ๑
สิงหาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕ มีการยื่นขอรับการส่งเสริม
การลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (จังหวัดฉะเชิงเทรา
ชลบุรี และระยอง) จานวน ๔๔๓ โครงการ มูลค่าเงินลงทุนทั้งสิ้น
๒๒๑,๑๖๘ ล้านบาท ควบคู่กับการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
EEC เช่ น โครงการรถไฟความเร็ ว สู ง เชื่ อ มสามสนามบิ น
โครงการพัฒนาสนามบินอู่ตะเภาและเมืองการบินภาคตะวันออก
โครงการพั ฒ นาท่ า เรื อ อุ ต สาหกรรมมาบตาพุ ด ระยะที่ ๓
ซึ่ ง เป็ น โครงการที่ ช่ ว ยเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการขนถ่ าย
ก๊ าซธรรมชาติ และวั ต ถุ ดิ บ เหลวส าหรั บ กลุ่ ม อุ ต สาหกรรม
ปิโตรเคมี รองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นสูง
และอุตสาหกรรม Bio-Economy มีเนื้อที่ประมาณ ๑,๐๐๐ ไร่
โดยแบ่งเป็นพื้นที่ถมทะเลหลังท่าเพื่อใช้งานประมาณ ๕๕๐ ไร่
และพื้นที่บ่อเก็บกักตะกอนประมาณ ๔๕๐ ไร่ ความยาวหน้าท่า
รวมกันประมาณ ๒,๒๐๐ เมตร มู ลค่ าการลงทุ นโครงการฯ รวมประมาณ ๕๕,๔๐๐ ล้ านบาท ปั จจุ บั นอยู่ ระหว่ าง
การก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน มีความคืบหน้าร้อยละ ๓๒.๓๕
๘.๖.๒ การวางรากฐานการพัฒนาเทคโนโลยีสื่อสารไร้สายในระบบ 5G เพื่อพัฒนาทักษะของผู้ประกอบการ
ส่งเสริมการให้บริการสาธารณสุข และการศึกษาทางไกล ด้วยการผลักดันเทคโนโลยี 5G มาใช้ในการขับเคลื่ อน
เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลในอนาคต เช่น ดาเนินโครงการนาร่องโรงพยาบาลอัจฉริยะ (Smart Hospital) โดยดาเนินการ
พัฒนาระบบห้องฉุกเฉินอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีเครือข่าย 5G และระบบปัญญาประดิษฐ์ พัฒนาระบบการแพทย์
ฉุกเฉินอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีเครือข่าย 5G และระบบปัญญาประดิษฐ์ และพัฒนาระบบผู้ช่วยการดูแลและสร้างเสริม
สุขภาพรายบุคคลสาหรับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ ผ่านเครือข่าย 5G (NCD) แล้วเสร็จ ทั้งนี้
ในส่ ว นของการพัฒ นาระบบท านายปริ มาณการใช้เพื่ อบริ ห ารการจั ดการสิ น ค้า คงคลั งผลิ ตภัณ ฑ์ท างการแพทย์
และผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่ทางการแพทย์ มีความคืบหน้าร้อยละ ๗๕ และการจัดหาอุปกรณ์ระบบขนส่งกลางด้วยรถไร้คนขับ
5G มีความคืบหน้าร้อยละ ๙๐
๘.๖.๓ การพัฒนาทักษะของผู้ประกอบการอัจฉริยะทั้งในส่วนผู้ประกอบการขนาดกลาง ขนาดย่อม
เกษตรกร รวมถึงผู้ประกอบการยุคใหม่ เช่น ส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการ SME เฉพาะกลุ่ม ซึ่งมีความต้องการ
ความช่วยเหลือที่แตกต่างกัน ตลอดกระบวนการตั้งแต่ต้นน้า กลางน้า ปลายน้า โดยพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ
ใน ๒ กลุ่มคลัสเตอร์ ได้แก่ (๑) คลัสเตอร์ธุรกิจอาหารแปรรูป ซึ่งได้สนับสนุนเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจอาหารแปรรูป
ในพื้น ที่จั งหวัดแพร่ น่ าน ล าปาง และกรุ งเทพมหานคร ผ่ านการแลกเปลี่ ยนความคิด ตั้ งแต่กระบวนการต้นน้า

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) 117
๑๑๗
กลางน้ า ปลายน้ า ในธุร กิจ ภาคการเกษตรไปสู่ การแปรรูป พัฒนาเป็นอาหารพร้อมทานด้วยเทคโนโลยีที่ทั นสมั ย
เพื่อยกระดับคุณภาพสิ นค้าสู่ การส่ งออก และ (๒) คลั สเตอร์สมุนไพรเพื่อสุ ขภาพกัญชาและกัญชง โดยได้รวมกลุ่ ม
สร้างเครือข่ายในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก เชียงใหม่ นครราชสีมา และกรุงเทพมหานคร ซึ่งในกลุ่มเครือข่ายได้แบ่งปัน
ความรู้ ประสบการณ์ในการปลู กกัญชาทางการแพทย์ กระบวนการปลูก การสกัด เทคโนโลยี และข้อกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการสามารถต่อยอดและผลักดันสินค้าให้ตรงกับความต้องการของตลาด

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
118
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๑๘ ๒๕๖๕)
๘.๗ นโยบายเร่งด่วนที่ ๗ การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ ๒๑
๘.๗.๑ การสร้างแพลตฟอร์มการเรียนรู้ใหม่ในระบบดิจิทัล ดาเนินการที่สาคัญ อาทิ
๑) พัฒนาชุดโปรแกรมและระบบคลังสื่อเทคโนโลยีดิจิทัลระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBEC
Content Center) ที่ ร วบรวม จั ด ท า
รายละเอียดข้อมูล (Metadata) จัดเก็บ
และบริหารจัดการทรัพยากรองค์ความรู้
ด้านการศึกษาเพื่อบริการแบบออนไลน์
ผ่ า นระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต และระบบ
เครื อ ข่ า ยภายในโรงเรี ย นแก่ นั ก เรี ย น
นักศึกษาครูผู้สอน บุคลากรทางการศึกษา
และประชาชน ซึ่ ง มี เ นื้ อ หาทั้ ง หมด
๖๑,๕๖๔ เนื้อหา และผู้ใช้งานระบบฯ
จานวน ๑๓๘,๐๑๒ บัญชี
๒) โครงการเยาวชนสัมมาชีพ (RF’21) เป็นการฝึกอบรมเยาวชนให้สามารถกลับเข้าสู่ระบบ
การศึกษาหรือเข้าสู่ตลาดแรงงานและมีทักษะ เพื่อให้สามารถประกอบอาชีพ มีรายได้ และพึ่งพาตนเองได้
๓) พั ฒ นาจั ด ท าแพลตฟอร์ ม สนั บ สนุ น การเรี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ สั ต ว์ ป่ า ในรู ป แบบดิ จิ ทั ล ให้กับ
ประชาชนไทย (Wildlife Immersive Experience & Education Platform) ส่ งเสริมการเรี ยนรู้ด้ วยความบั นเทิ ง
(Edutainment) โดยน าเอาองค์ ค วามรู้ ด้ า นสั ต ว์ ป่ า ที่ เ ด็ ก เยาวชน นั ก ท่ อ งเที่ ย วและประชาชนทั่ ว ไป ชื่ น ชอบ
มายกระดับให้มีความทันสมัย และมีความอัจฉริยะ (Intelligence) รองรับการศึกษาเรียนรู้ในรูปแบบเสมือน (Virtual
Education) สนับสนุนการเรียนรู้เกี่ยวกับสัตว์ป่าในรูปแบบดิจิทัลให้กับประชาชนไทยที่มีองค์ความรู้ด้านชีวิตสัตว์ป่า
ในรูปแบบสื่อเสมือนจริง ครอบคลุมสัตว์ทุกประเภทรองรับการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย
๔) จัดงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจาปี ๒๕๖๕ ในรูปแบบ Science
Carnival กับงาน “NST Fair Science Carnival Bangkok” ภายใต้แนวคิด “วิทย์ปลุกชีวิต” ที่มาพร้อมคอนเซปต์
“ศิ ล ปะ วิ ท ยาศาสตร์ และนวั ต กรรมเพื่ อ สั ง คมที่ ยั่ ง ยื น (Art-Science-Innovation for Sustainable Society)”
เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนประชาชนไทย เกิดความรู้ความเข้าใจความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาอย่างต่อเนื่อง
ตลอดจนการสร้างวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อการปรับเปลี่ยนโครงสร้างประเทศไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม
ฐานนวัตกรรม นาประเทศไปสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างมั่นคงและยั่งยืน
๕) สร้างความรู้ความเข้าใจการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สื่อออนไลน์และโครงข่ายสังคมออนไลน์
ของคนไทย เพื่อป้ องกัน และลดผลกระทบในเชิงสั งคม ความปลอดภัย อาชญากรรมทางไซเบอร์ : เปิด ตัวเว็บ
www.คลิปหลุดทาไง.com รับแจ้งเหตุล่วงละเมิดทางเพศ สื่อลามกเด็กผ่านออนไลน์ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ได้จัดตั้ง
คณะทางานปราบปรามการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กทางอินเทอร์เน็ต (Thailand Internet Crimes Against Children:
TICAC) เพื่อจัดการปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กทางอินเทอร์เน็ต ภายใต้โครงการประชารัฐยุติธรรมนาเด็กปลอดภัย
โดยจัดทาเว็บไซต์ www.คลิปหลุดทาไง.com เพื่อให้ความช่วยเหลือเด็กเยาวชนผู้เสียหายจากการล่วงละเมิดทางเพศ
และการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม รวมทั้งให้คาแนะนาและคาปรึกษาแก่เด็กผู้เสียหายและผู้ปกครอง

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) 119
๑๑๙
๘.๗.๒ การพัฒนาโรงเรียนคุณภาพ หลักสูตรออนไลน์ และความเชื่อมโยงระหว่างระบบการศึกษา
กับภาคธุรกิจ ดาเนินการ ดังนี้
๑) โครงการเรี ยนภาษาต่ า งประเทศ โดยใช้รู ป แบบการสื่ อสารสองทางจากครู ช าวต่างชาติ
(Native Speaker) และครู ไ ทยที่ มี วิ ธีก ารสอนเป็ นเลิ ศ ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๖๕ เพื่ อ สร้ า งโอกาส
ให้นักเรียนในโรงเรียนที่ไม่มีครูที่สอนภาษาต่างประเทศ ได้เรียนกับครูชาวต่างชาติและครูไทยที่มีวิธีการสอนเป็นเลิศ
ร่วมกับนักเรียนจากโรงเรียนขนาดใหญ่และสามารถเก็บผลการเรียนเข้าระบบ Credit Bank
๒) ขับเคลื่อนโครงการมหาวิทยาลัยสู่ตาบล U2T for BCG ประตูสู่การเปิดตลาดใหม่ให้สินค้า
ท้ อ งถิ่ น ของชุ ม ชนทั่ ว ไทย เพื่ อ สนั บ สนุ น สิ น ค้ า ของชุ ม ชนทั่ ว ประเทศที่ ไ ด้ รั บ การสร้ า งสรรค์ พั ฒ นาคุ ณ ภาพ
จากนักศึกษาและศิษย์เก่าที่เข้าร่วมโครงการ U2T for BCG 2565 และสร้าง Community ใหม่ในการแลกเปลี่ยน
ความรู้ภูมิปัญญาต่อยอดการพัฒนาสินค้า
๓) โครงการพัฒนาความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัลแก่ครูและเยาวชนในพื้นที่เขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก ได้จัดทาเนื้อหาและคู่มือที่เหมาะสมและสอดคล้องกับวิชาวิทยาการคานวณที่กาหนดโดยสถาบัน
ส่ ง เสริ ม การสอนวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี (สสวท.) และจดทะเบี ย นหลั ก สู ต รเพื่ อ พั ฒ นาครู แ ละบุ ค ลากร
ทางการศึกษากับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและจัดกิจกรรมอบรมความรู้และส่งมอบอุปกรณ์ให้ครู
ระดับประถมศึกษาจนถึงระดับอาชีวศึกษาที่สังกัดโรงเรียนในเขตพื้นที่เขตพัฒ นาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern
Economic Corridor: EEC) โดยพั ฒ นาทั ก ษะด้ า นเทคโนโลยี ดิ จิทั ล ให้ แ ก่ ค รู ผ่ า นการจั ดอบรมและกิ จ กรรมแล้ ว
จ านวน ๑,๓๙๗ คน เช่ น การใช้ ง าน KidBright พื้ น ฐานผ่ า น Simulator (ครู ป ระถมศึ ก ษา) KidBright อุ ตุ น้ อ ย
(ครูมัธยมศึกษา) เป็นต้น
๔) โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
เพื่อบ่มเพาะเยาวชนให้กับโรงเรียนในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยจัดอบรมความรู้ให้แก่ครู คัดเลือก
ครูแกนนาและโรงเรียนที่จะเป็นต้นแบบในการขยายผลกิจกรรม จัดทาเป็นรายวิชาเพิ่มเติมให้เกิดขึ้นจริงในโรงเรียน
เน้นการทางานร่วมกับหน่วยงานสถาบันการศึกษาในพื้นที่เพื่อให้เกิดความยั่งยืน รวมทั้งพัฒนาความรู้และทักษะ
ด้าน STEM Education ให้กับครูและนักเรียนแล้ว จานวน ๑,๔๘๗ คน

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
120
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๒๐ ๒๕๖๕)
๘.๘ นโยบายเร่ ง ด่ ว นที่ ๘ การแก้ ไ ขปั ญ หาทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบในวงราชการทั้ ง ฝ่ า ยการเมื อง
และฝ่ายราชการประจา
๘.๘.๑ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในระบบราชการ
๑) ป้องกันการฟอกเงิน ได้ดาเนินการที่สาคัญ เช่น (๑) รับเรื่องราวร้องเรียน ร้องทุกข์ แจ้งเบาะแส
การกระทาความผิดเกี่ยวกับการฟอกเงิน และการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย ผ่านศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์
และ “สายด่วน ปปง. ๑๗๑๐” โดยมีการรับเรื่องฯ จานวน ๕๑๔ เรื่อง เป็นการรับเรื่องฯ เกี่ยวกับมูลฐานทุจริต
ต่ อ ต าแหน่ ง หน้ า ที่ ม.๓ (๕) แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ป้ อ งกั น และปราบปรามการฟอกเงิ น พ.ศ. ๒๕๔๒ จ านวน
๔๐ เรื่อง (๒) จัดทาบันทึกความเข้าใจหรื อบั นทึกข้อตกลง เพื่อประโยชน์ในการประสานงานและการดาเนิน คดี
ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการป้ อ งกั น และปราบปรามการฟอกเงิ น กั บ หน่ ว ยงานภายในประเทศ จ านวน ๔๔ ฉบั บ
และกับหน่วยงานต่างประเทศ จานวน ๕๕ ฉบับ โดยที่ผ่านมาได้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานต่างประเทศ
ท าให้ ส ามารถด าเนิ น การยึ ด ทรั พ ย์ สิ น คดีทุ จ ริ ตในบั ญชี ธ นาคารสิ ง คโปร์ จ านวน ๕๐๐,๐๐๐ ดอลลาร์ สิ ง คโปร์
ได้เป็นผลสาเร็จ โดยอยู่ระหว่างการเจรจาเพื่อติดตามทรัพย์สิ นคื นกลับสู่ ประเทศไทย (๓) ส่งเสริมและประสาน
ความร่วมมือกับภาคประชาชนในการดาเนินการตามพระราชบัญญัติฯ เช่น โครงการสายลับ ปปง. จานวน ๗๕,๔๕๓ คน
เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารในการสอบสวนดาเนินคดีกับผู้กระทาความผิด นอกจากนี้ ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย
ว่ า ด้ ว ยการป้ อ งกั นและปราบปรามการฟอกเงิ น และกฎหมายว่ าด้ ว ยการป้อ งกั น และปราบปรามการสนับสนุน
ทางการเงิ น แก่ ก ารก่ อ การร้ า ยและการแพร่ ข ยายอาวุ ธ ที่ มี อ านุ ภ าพท าลายล้ า งสู ง เพื่ อ ให้ ป ระชาชน มี ค วามรู้
ความเข้าใจ ตระหนักรู้ถึงพิษภัยของการฟอกเงิน และมีส่วนร่วมในการแจ้งเบาะแสผู้กระทาความผิดด้วย
๒) สมั ค รเข้ า เป็ น สมาชิ ก ของคณะท างานเฉพาะกิ จ เพื่ อ ด าเนิ น มาตรการทางการเงิ น
(Financial Action Task Force: FATF) เพื่อยกระดับบทบาทการทางานด้าน AML/CFT ของประเทศไทยในเวที
ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทในการกาหนดนโยบาย/มาตรการในระดับสากล ซึ่งส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดี
ของประเทศไทยในฐานะประเทศที่ มี การด าเนิ นงานตามมาตรฐานสากล อี กทั้ งเป็ นการเสริ มสร้ างความเข้ ม แข็ ง
ของระบบการเงินของไทย และสร้างความน่าเชื่อถือด้านการค้าการลงทุนระหว่างประเทศ รวมทั้งเป็นช่องทางในการเพิ่ม
ความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแนวปฏิบัติที่ดีระหว่างกันในด้าน AML/CFT
๓) ประเมิ น ความเสี่ ยงด้ า นการฟอกเงิ น และการสนับสนุ นทางการเงิ น แก่ การก่ อการร้ าย
และการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูงของประเทศไทย โดยนาผลจากการประเมินความเสี่ยงด้านการฟอกเงิน
และการสนั บ สนุ น ทางการเงิ น แก่ ก ารก่ อ การร้ า ยและการแพร่ ข ยายอาวุ ธ ที่ มี อ านุ ภ าพท าลายล้ า งสู ง (Money
Laundering, Terrorism Financing and Proliferation Financing: ML/TF/TF) ของประเทศไทย ฉบั บ ปี ๒๕๖๕
ที่ระบุว่าการทุจริตและประพฤติมิชอบเป็นความเสี่ยงสูงสุ ดในการฟอกเงิน และควรมีการเฝ้ าระวังการทาธุรกรรม
ที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตอย่างใกล้ชิด และนโยบายรัฐบาล มาจัดทายุทธศาสตร์เพื่อให้บรรลุเป้าหมายด้านการป้องกัน
และปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย (Anti-Money Laundering
and Combating the. Financing of Terrorism: AML/CFT) ได้อย่างเหมาะสม และจัดทายุทธศาสตร์ด้านการป้ องกัน
และปราบปรามการฟอกเงิน และการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่ การก่อการร้าย พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐
เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการด าเนิ น งานให้ กั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งและเพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น การด้ า น AML/CFT
ของประเทศไทยเป็ น ไปอย่างมีป ระสิ ทธิภ าพและเกิดประสิ ทธิผ ล สอดคล้อ งกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายรัฐ บาล

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) 121
๑๒๑
และมาตรฐานสากล รวมถึงสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ ๆ เพื่อพร้อมรับมือกับความเสี่ ยง
และภัยคุกคามจากอาชญากรรมการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธ
ที่มีอานุภาพทาลายล้างสูง โดยยุทธศาสตร์ด้าน AML/CFT พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐ เน้นให้ความสาคัญกับการดาเนินมาตรการ
เชิงป้ องกัน การทางานเชิงรุ ก และบู ร ณาการการทางานระหว่างหน่ว ยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการนานวัตกรรม
และเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ทั้งนี้ ยุทธศาสตร์ด้าน AML/CFT ได้ผ่านความเห็นชอบ
จากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๕
๘.๘.๒ การปราบปรามและการดาเนินการตรวจสอบ สืบสวน สอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน
เพื่อดาเนินการกับทรัพย์สินผู้กระทาความผิด เกี่ยวกับการฟอกเงิน
๑) ออกค าสั่ ง ยึ ด หรื อ อายั ด ทรั พ ย์ สิ น จ านวน ๔๒ ค าสั่ ง ๓๔ รายคดี มู ล ค่ า ทรั พ ย์ สิ น
๖,๐๓๑,๙๗๘,๓๕๗.๙๑ บาท คุ้มครองสิทธิผู้เสียหาย จานวน ๓๕ เรื่อง มูลค่าทรัพย์สิน ๑,๒๒๑,๗๑๙,๗๓๔.๓๘ บาท
และดาเนินการเกี่ย วข้องกับมูลฐานทุจริตต่อตาแหน่งหน้าที่ตามมาตรา ๓ (๕) แห่งพระราชบัญญัติฯ โดยออกคาสั่ง
มอบหมายพนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบธุรกรรมหรือทรัพย์สิน จานวน ๓๔ คาสั่ง และออกคาสั่งยึดหรืออายัดทรัพย์สิน
จานวน ๒ คาสั่ง ๑ รายคดี มูลค่าทรัพย์สิน ๗,๐๖๕,๕๗๙.๓๙ บาท
๒) น าส่งทรั พย์สิน ที่เ กี่ยวกับการกระทาความผิดเป็น ของแผ่น ดิน จานวน ๙๗๙ รายการ
มูลค่าทรัพย์สิน ๔,๑๒๙,๓๐๒,๖๖๘.๑๕ บาท
๓) แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๕
ในส่วนของการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายในความผิดมูลฐานตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
การกาหนดการคุ้มครองสิทธิผู้มีส่วนได้เสีย ในทรัพย์สิน และการกาหนดกระบวนการดาเนินการบังคับคดีกับทรัพย์สิน
ที่เกี่ยวกับการกระทาความผิดซึ่งถูกรวมเข้ากับทรัพย์สินอื่น
๘.๘.๓ การน าเทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ ม าใช้ ใ นการเฝ้ า ระวั ง การทุ จ ริ ต ประพฤติ มิ ช อบอย่ า งจริ ง จั ง
โดยพั ฒนาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ การปราบปรามการฟอกเงิ น เช่ น จั ด ท าระบบบริ ก ารบนเว็ บ ไซต์
เพื่อตรวจสอบรายชื่อบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงด้านการฟอกเงินและรายชื่อบุคคลที่ถูกกาหนด จานวน ๓๑ รายการ
พั ฒ นาระบบบู ร ณาการฐานข้ อ มู ล ประชาชนและการบริ ก ารภาครั ฐ ของส านั ก งาน ปปง. ( AMLink Center)
โดยเชื่อมโยงระบบบูรณาการฐานข้อมูลประชาชนและการบริการภาครัฐ (Linkage Center) จานวน ๑๓ หน่วยงาน
๒๒ ฐานข้อมูล เพื่อลดการขอเอกสารจากประชาชนที่ซ้าซ้อน และพัฒนาระบบคุ้มครองสิทธิผู้ เสียหายเพื่อรองรับ
การดาเนินการยื่นคาร้องขอคุ้มครองสิทธิจากการกระทาความผิดมูลฐานของผู้เสียหาย โดยมีรายคดีที่เปิดรับคาร้อง
การคุ้มครองสิ ทธิผู้เสี ยหายผ่านระบบดังกล่าว จานวน ๑๐ รายคดี และมีผู้เสียหายยื่นคาร้องผ่านระบบ จานวน
๒๓,๖๗๑ ราย
๘.๘.๔ ดัชนีการรับรู้ก ารทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ประจาปี ๒๕๖๕ ที่จัดทา
โดยองค์ ก รเพื่ อ ความโปร่ ง ใสนานาชาติ (Transparency International: TI) มี ป ระเทศที่ ถู ก จั ด อั น ดั บ ทั้ ง สิ้ น
๑๘๐ ประเทศ โดยประเทศไทยได้คะแนนเพิ่มขึ้นเป็น ๓๖ คะแนน จัดอยู่ในอันดับที่ ๑๐๑ ของโลก ดีขึ้นจากปี ๒๕๖๔
ซึ่งมีประเทศที่ถูกจัดอันดับทั้งสิ้น ๑๘๐ ประเทศ โดยประเทศไทยได้คะแนน ๓๕ คะแนน จัดอยู่ในอันดับที่ ๑๑๐
ของโลก

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
122
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๒๒ ๒๕๖๕)
๘.๙ นโยบายเร่งด่วนที่ ๙ การแก้ไขปัญหายาเสพติดและสร้างความสงบสุขในพื้นที่ชายแดนภาคใต้
๘.๙.๑ การส่ ง เสริ ม กระบวนการมี ส่ ว นร่ ว มจากทุ ก ภาคส่ ว น โดยด าเนิ น การ Kick Off เปิ ด งาน
“รวมพลัง สร้างสังคมปลอดภัย ห่างไกลยาเสพติด ” เมื่อวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๕ เพื่อรณรงค์สร้างการรับรู้
และสร้ า งภู มิ คุ้ ม กั น ยาเสพติ ด ให้ แ ก่ วิ น รถจั ก รยานยนต์ รั บ จ้ า ง และผู้ ขั บ ขี่ ร ถจั ก รยานยนต์ ใ นการขนส่ ง สิ น ค้ า
ตามความต้ อ งการ (Rider) โดยสามารถแจ้ ง เบาะแสยาเสพติ ด ได้ ที่ ส ายด่ ว น ป.ป.ส. ๑๓๘๖ ซึ่ ง จะมี ร างวั ล
การแจ้งเบาะแส ร้อยละ ๕ ของมูลค่าทรัพย์ที่ยึดได้ รวมถึงจัดเวทีประชาคมหมู่บ้านเข้าสู่เวทีระดับตาบล จานวน ๕๗๖ เวที
จาก ๒๘๘ ตาบล มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จานวน ๔๖,๐๘๐ คน รับสมัครอาสาชุมชนป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ของแต่ล ะหมู่บ้ านได้ จ านวน ๔,๕๓๙ คน สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด ในสถานประกอบการ เช่น จัดกิจกรรมรณรงค์
ให้ความรู้ในสถานประกอบการขนาดใหญ่ จานวน ๑๑๑ แห่ง โรงงานสีขาว จานวน ๒๘ แห่ง และสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด
ในสถานประกอบการขนาดเล็ก โดยอาสาสมัครแรงงาน (อสร.) จานวน ๔๖๑ แห่ง
๘.๙.๒ การฟื้น ฟู ดู แ ล รั กษาผู้เ สพ การพร้ อมสร้ า งโอกาส อาชีพ และรายได้ใ ห้สามารถกลับ มา
ใช้ชีวิต ปกติ ใ นสังคมได้ ดาเนินการโครงการยกระดับการดูแลเด็กและเยาวชนที่เกี่ยวข้องกับยาหรือสารเสพติด
เพื่อให้เด็กและเยาวชนในสถานที่ควบคุมได้รับการบาบัด แก้ไข ตามการจาแนกสภาพปัญหาการใช้ยาหรือสารเสพติด
จานวน ๙๐๐ คน และยกระดับ หน่ว ยงานเข้าสู่ มาตรฐาน Hospital Accreditation (HA) ดาเนินโครงการรณรงค์
ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันด้านจิตใจในการป้องกันและหลีกเลี่ยง
การยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดให้กับเด็กและเยาวชนในสถานที่ควบคุม ๙๖ แห่ง จานวน ๔,๑๕๘ คน และดาเนินการจัดฝึก
วิชาชีพเพื่อเตรียมความพร้อมในการประกอบอาชีพให้กับเด็กและเยาวชน จานวน ๑,๑๔๑ คน รวมถึงดาเนินกิจกรรม
รณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดในเรือนจาและทัณฑสถาน ๑๔๒ แห่ง โดยมีสมาชิก จานวน ๒๖๒,๓๑๙ คน
๘.๙.๓ การสร้างความสงบสุขในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ น้อมนายุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง
พัฒนา” มาเป็นหลักในการดาเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน เช่น โครงการส่งเสริม
สิทธิเสรีภาพและสิทธิมนุษยชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยจัดอบรมพร้อมสร้างวิทยากรกระบวนการส่งเสริม
สิทธิเสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยผู้นาท้องถิ่น ผู้นาท้องที่ ผู้นาชุมชน คณะกรรมการ
ศูนย์ยุติธรรมชุ มชน คณะทางานบริ ห ารประจาศูน ย์ไกล่ เกลี่ ยข้อพิพาทภาคประชาชน อาสาสมัครประชาชน ครู
บุคลากรทางการศึกษา และองค์กรศาสนา ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และได้ดาเนินการขยายผลการส่งเสริม
ความรู้สิทธิเสรีภาพและสิทธิมนุษยชนผ่านบ้าน วัด โรงเรียน (บวร) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจด้านสิทธิและเสรีภาพ
และสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ รวมจ านวน ๘,๖๗๑ คน รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาอาชี พ
ด้านการเกษตร

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) 123
๑๒๓
นอกจากนี้ ได้ดาเนินโครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพด้านการบังคับคดี การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
และการลดความเหลื่อมล้าในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ดาเนินกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ด้านกฎหมายให้แก่คู่ความ
ประชาชนทั่วไป ผู้นาชุมชน ผู้นาศาสนา และผู้ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมถึงเน้นการเสริมสร้าง
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน กฎหมายด้านการบังคับคดีแพ่ง การบังคับคดีล้มละลาย การไกล่เกลี่ย
ข้อพิพาทชั้น บั งคับ คดี การวางทรั พย์ และการฟื้น ฟูกิจการของลู กหนี้ ซึ่งภายหลั งการจัดโครงการฯ ประชาชน
มีความเชื่อมั่นในกระบวนการบังคับคดีที่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนหรือผู้รับบริการ ร้อยละ ๘๕

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโทอชา
ี่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
124
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๒๔ ๒๕๖๕)
๘.๑๐ นโยบายเร่งด่วนที่ ๑๐ การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชน
๘.๑๐.๑ การพัฒนาระบบจัดเก็บและเปิดเผยข้อมูลของภาครัฐ การอนุมัติหรืออนุญาตทางราชการ
ด้วยระบบดิจิทัลในอนาคต มีการดาเนินงาน เช่น ปรับเปลี่ยนการให้บริการประชาชนเป็นระบบดิจิทัลในรูปแบบ
e-Service เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างทั่วถึงและครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย จานวน ๖ ระบบ
ได้แก่ (๑) ระบบฐานข้อมูลโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด โดยการพัฒนา Mobile Application “เงินเด็ก”
และการตรวจสอบสถานะสิทธิโครงการฯ (๒) ระบบคุ้มครองเด็กผ่าน Mobile Application (๓) ระบบจัดสวัสดิการ
เด็กและครอบครัว ประกอบด้วย การจ่ายเงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน และเงินอุดหนุนช่วยเหลือค่าเลี้ยงดูเด็ก
ในครอบครัวอุปถัมภ์ (๔) ระบบการจองคิวเพื่อยื่นคาขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมไทย (๕) ระบบรับสมัครโครงการ
แลกเปลี่ ย นต่างประเทศแบบออนไลน์ และ (๖) ระบบเว็บไซต์ของกรมกิจการเด็กและเยาวชน เชื่อมโยงข้อมูล
และระบบบริ ห ารจั ด การข้ อ มู ล ขนาดใหญ่ (Big Data Management) เพื่ อ การวิ เ คราะห์ ส ถานการณ์ ด้ า นเด็ ก
และเยาวชนในพื้ น ที่ รวมทั้งแก้ไขปั ญหาได้ อ ย่ างตรงจุ ด จานวน ๓ ระบบ ได้แก่ (๑) ระบบฐานข้อมูล สภาเด็ ก
และเยาวชน (๒) ระบบข้อมูล Big Data ด้านเด็กและเยาวชน และ (๓) ระบบการเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการของเด็ก
และเยาวชน (รายบุคคล) พร้อมเชื่อมโยงกับระบบสมุดพกครอบครัว เช่น ฐานข้อมูลโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็ก
แรกเกิด ฐานข้อมูลสารสนเทศการพัฒนาเด็ กปฐมวั ยตามมาตรฐานชาติ ฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่ อการคุ้ มครองเด็ ก
ฐานข้ อ มู ล การจั ด สวั ส ดิ ก ารเด็ ก และครอบครั ว และฐานข้ อ มู ล สารสนเทศกองทุ น คุ้ ม ครองเด็ ก รวมทั้ ง
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล นิคมสร้ างตนเอง กระบวนงานต่อสั ญญาการใช้ประโยชน์ที่ดิน สงวนเพื่อกิจการนิ คม
ให้ผู้ใช้งานสามารดาเนินงานได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ ทันสมัย เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายยิ่งขึ้น พัฒนาระบบฐานข้อมูล
ของผู้แสดงความสามารถของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการกับระบบการขออนุญาตพื้นที่แสดงความสามารถ
ของกรุงเทพมหานคร จัดทาระบบการขออนุญาตพื้นที่แสดงความสามารถออนไลน์ ทาให้มีการประกาศพื้นที่แสดง
ความสามารถในกรุงเทพมหานคร จานวน ๔๕ เขต ๗๑ พื้นที่ และพัฒนาแพลตฟอร์มระบบศูนย์รับคาขออนุญาตของ
กรุงเทพมหานคร (BMA OSS) ที่เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลผู้ แสดงความสามารถของกรมพัฒนาสังคมและสวัส ดิ การ
และการพัฒนาแบบจาลองมาตรฐานและแบบจาลองข้อมูล (Data Model) ที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง
หน่วยงานเพื่อสนับสนุนศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูลกลางภาครัฐ โดยได้มีการประกาศข้อเสนอแนะมาตรฐานด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารที่จาเป็นต่อธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ETDA Recommendation) ว่าด้วยข้อกาหนด
ทางเทคนิคของชุดข้อมูลร่วมสาหรับการเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๖๔ ให้บริการเฝ้าระวัง
ภัยคุกคามไซเบอร์ให้กับโครงสร้ างพื้นฐานดิจิทัลและบริการออนไลน์ ของหน่วยงานภาครัฐ จานวน ๒๕๐ หน่วยงาน
โดยมีการติดตั้งระบบทดแทนแล้ว จานวน ๒๘๐ หน่วยงาน
๘.๑๐.๒ การลดข้ อ จ ากั ด ด้ า นกฎหมายที่ เ ป็ น ปั ญ หาอุ ป สรรคต่ อ การท าธุ ร กิ จ และการด ารงชี วิ ต
ของประชาชน แก้ไขกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม ล้าสมัย ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ
รั ฐ บาลได้ ด าเนิ น การลดข้ อ จ ากั ด ด้ า นกฎหมายที่ เ ป็ น ปั ญ หาอุ ป สรรคต่ อ การท าธุ ร กิ จ
และการดารงชีวิตของประชาชนในด้านอื่น ๆ ที่สาคัญ เช่น
๑) ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนจากรายได้ที่ลดลง มาตรการเพื่อช่วยเหลือ
ผู้บริโภคและแก้ไขปัญหาหนี้สินของผู้บริโภคที่ทาสัญญาเช่าซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์ รวมถึงเงื่อนไขสัญญา
เช่าซื้อที่ไม่เป็นธรรมโดยการแก้ไขและปรับปรุงประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เรื่อง ให้ธุรกิจให้ เช่าซื้อรถยนต์

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) 125
๑๒๕
และรถจักรยานยนต์เป็นธุรกิจที่ควบคุมสัญญา พ.ศ. ๒๕๖๕ เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวการณ์และสภาพสังคมในปัจจุบัน
อาทิ แก้ไขปรับปรุงอัตราดอกเบี้ยเช่าซื้อ และการได้รับส่วนลดอัตราดอกเบี้ย เป็นต้น
๒) แก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน
(๑) พระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๕ เพื่ออานวยความสะดวก
ให้แก่ประชาชน เอื้อต่อการนาวิธีการทางอิเล็คทรอนิกส์มาใช้อนุญาตการให้บริการ หรือการให้สวัสดิการแก่ประชาชน
ส่งเสริมให้การทางานและการให้บริการของภาครัฐสามารถใช้วิธีการทางอิเล็ กทรอนิ กส์เป็นหลักได้ ส่งผลให้ช่วย
ลดภาระและต้นทุนของประชาชนในการติดต่อกับภาครัฐ และเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
และปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานและการบริการภาครัฐไปสู่ระบบดิจิทัล
ตรวจพิ จ ารณาร่ า งกฎหมายเพื่ อแก้ ไ ขปรั บปรุ ง กฎหมายเกี่ ย วกั บ การอนุ ญ าต
เพื่อให้สอดคล้องกับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ จานวน ๑๗ ฉบับ โดยบางฉบับ
ได้เพิ่มเติมบทบัญญัติให้สามารถดาเนินการทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ เช่น ร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวล
รั ษ ฎากรว่ า ด้ ว ยการยกเว้ น รั ษ ฎากร (ฉบั บ ที่ ๗๕๕) พ.ศ. ๒๕๖๕ [มาตรการภาษี เ พื่ อ สนั บ สนุ น การบริ จ าค
ด้านสาธารณสุข (เพิ่มเติม)] ร่างกฎกระทรวงการผลิตสุรา พ.ศ. .... ร่างกฎกระทรวงกาหนดวิธีปฏิบัติของเจ้าของ
เรือประมงที่ใช้สนับสนุนเรือที่ใช้ทาการประมงหรือเรือขนถ่ายสัตว์น้า พ.ศ. .... และร่างกฎกระทรวงว่าด้วยการจ่ายเงิน
จากกองทุนให้แก่สมาชิก หรือบุคคลซึ่งสมาชิกผู้ตายได้แสดงเจตนาไว้หรือทายาท (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เป็นต้น
(๒) พระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ยการปรั บ เป็ น พิ นั ย พ.ศ. ๒๕๖๕ เพื่ อ เป็ น กฎหมายกลาง
ในการพิจารณาและกาหนดมาตรการสาหรับผู้ที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่ไม่ใช่ความผิดร้ายแรง ซึ่งเป็น
การปฏิรูปกฎหมายครั้งสาคัญที่จะช่วยส่งเสริมความเป็นธรรม ป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน ลดความเหลื่อมล้า
ทางสังคมและเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย โดยกาหนดให้ใช้ “การปรับเป็นพินัย ” เป็นมาตรการใหม่
แทนโทษเดิมที่เป็นการปรับทางอาญาและโทษทางปกครอง โดยกาหนดให้ผู้กระทาความผิดต้องชาระค่าปรับอย่างเดียว
ไม่มีการจาคุกหรือกักขังแทนการปรับ และไม่มีการบันทึกลงในประวัติอาชญากรรม
๓) แก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่ออานวยความยุติธรรม
๓.๑) พระราชบัญญัติกาหนดระยะเวลาการดาเนินงานในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๖๕
โดยให้มีการกาหนดระยะเวลาดาเนินงานในทุกขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมที่ชัดเจน เพื่อให้ประชาชนได้รับ
ความยุ ติ ธ รรมโดยไม่ ล่ า ช้ า เพื่ อ ให้ ผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งทราบได้ ว่ า หน่ ว ยงานในกระบวนการยุ ติ ธ รรมจะพิ จ ารณา
เรื่องที่อยู่ระหว่างการดาเนินงานเสร็จสิ้นเมื่อใด รวมทั้งตรวจสอบความคืบหน้า ซึ่งจะเป็นประโยชน์ให้ประชาชน
ได้รับความยุติธรรมโดยสะดวกและรวดเร็ว
๓.๒) พระราชบัญญัติป้องกันการกระทาความผิดซ้าในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้
ความรุนแรง พ.ศ. ๒๕๖๕ เนื่องจากผู้กระทาความผิดอาญาบางประเภทที่เกี่ยวข้องกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง เช่น
การข่มขืนกระทาชาเรา การกระทาความผิดทางเพศกับเด็ก การฆาตกรรม การทาร้ายจนเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย
การทาร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุ ให้รับอันตรายสาหัส รวมทั้งการนาตัวบุคคลไปเรียกค่าไถ่ เมื่อถูกจาคุกจนพ้นโทษ
และได้รับการปล่อยตัวสู่สังคมแล้ว ถึงแม้ว่าจะมีการติดตามจากเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจบ้างแต่ไม่มีสภาพ
บังคับเป็ นกฎหมายและไม่มีประสิ ทธิผลในการป้ องกันการกระทาความผิดซ้า ผู้กระทาความผิ ดเหล่านี้ส่ วนหนึ่ งยั งมี
แนวโน้มที่จะกระทาความผิดในรูปแบบเดียวกันหรือรูปแบบใกล้เคียงกันซ้าอีก จึงได้กาหนดมาตรการป้องกันการกระทา

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
126
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๒๖ ๒๕๖๕)
ความผิดซ้าในความผิดดังกล่าว โดยการกาหนดให้มีมาตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทาความผิด มาตรการเฝ้าระวังภายหลังพ้นโทษ
และมาตรการคุมขังภายหลังพ้นโทษ เพื่อป้องกันสังคมและผู้เสียหายจากการกระทาความผิดที่อาจเกิดขึ้น
๓.๓) พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทาให้บุคคลสูญหาย
พ.ศ. ๒๕๖๕ เพื่อยกระดับและเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมาย การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย
รวมทั้งได้กาหนดฐานความผิด มาตรการป้องกันและปราบปราม และมาตรการเยียวยาผู้เสียหาย ตลอดจนมาตรการอื่น
ที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
หรือที่ย่ายีศักดิ์ศรี และอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการบังคับให้หายสาบสูญ
๓.๔) พระราชบัญญัติ ป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๕
เพื่อให้การคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายในความผิดมูลฐานและผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์สินเป็นไปอย่างครอบคลุมและทั่วถึง
รวมทั้งการบังคับคดีกับทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทาความผิดมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
๘.๑๐.๓ การอานวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business) ได้ให้บริการวีซ่า
ประเภทพิ เ ศษ (SMART Visa) เพื่ อ อ านวยความสะดวกแก่ บุ ค ลากรทั ก ษะสู ง /ผู้ เ ชี่ ย วชาญ (Talents) นั ก ลงทุ น
(Investors) ผู้บริหาร (Executives) และผู้ประกอบการวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) ที่ประสงค์จะเข้ามาทางานหรือ
ลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศผ่านวีซ่าประเภทพิเศษ SMART Visa โดยตั้งแต่วันที่ ๒๕ กรกฎาคม - ๓๑
ธันวาคม ๒๕๖๕ มีผู้ขอรับรองคุณสมบัติ จานวน ๒๗๕ คาขอ และมีผู้ผ่านการรับรองคุณสมบัติ จานวน ๑๖๘ คาขอ
และได้มีการจัดตั้งกองบริการชาวต่างชาติ (Expatriate Services Division) ภายใต้สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การลงทุน เพื่อให้บริการและอานวยความสะดวกด้านวีซ่า และใบอนุญาตทางานแก่ช่างฝีมือ ผู้ชานาญการต่างประเทศ
รวมถึ ง ชาวต่ า งชาติ ก ลุ่ ม เป้ า หมายตามนโยบายของรั ฐ บาล และบริ ห ารและก ากั บ ดู แ ลศู น ย์ บ ริ ก ารวี ซ่ า
และใบอนุญาตทางาน โดยได้เริ่มให้บริการตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๕ เป็นต้นมา ผลการดาเนินการ LTR Visa
ตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕ มีจานวนคาขอทั้งหมด ๒,๑๕๗ คาขอ โดยมีผู้ขอรับรองคุณสมบัติฯ
ประเภท Wealthy Pensioners มากที่สุด จานวน ๗๘๕ คาขอ (ร้อยละ ๓๖) รองลงมา คือ Work-from-Thailand
Professionals จานวน ๕๙๔ คาขอ (ร้อยละ ๒๘)

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) 127
๑๒๗
๘.๑๑ นโยบายเร่งด่วนที่ ๑๑ การจัดเตรียมมาตรการรองรับภัยแล้งและอุทกภัย
๘.๑๑.๑ การดาเนินมาตรการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากภัยแล้งและอุทกภัย ทั้ง “ก่อน”
เกิดภัย การให้ความช่วยเหลือ “ระหว่าง” และ “หลัง” เกิดภัย และการแก้ไขปัญหาในระยะยาว
๑) การดาเนินมาตรการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากภัยแล้งและอุทกภัยก่อนเกิดภัย
ได้ดาเนินการ ดังนี้ (๑) การจัดการงานชลประทาน ได้ดาเนินการบริหารจัดการน้าและงานชลประทาน ๕๑๘ รายการ
บริหารจัดการน้าในพื้นที่ชลประทานเดิม ๖.๗๔ ล้านไร่ (๒) การจัดการน้าท่วมและอุทกภัย โดยขุดคลองระบายน้า
สายใหม่ เพื่ อ ผั น น้ าเลี่ ย งตั ว เมื อ งนครศรี ธ รรมราชและบริ เ วณใกล้ เ คี ย ง ก่ อ สร้ า งคลองระบายน้ าหลาก
บางบาล-บางไทร ก่อสร้างคลองผันน้าลาปะทาว-สระเทวดา และขุดคลองเชื่อมลาปะทาว-ห้วยดินแดง พร้อมอาคาร
ประกอบ ก่อสร้างประตูระบายน้าพร้อมคลองผันน้าและอาคาร ปรับปรุงคลองยม-น่าน คลองหกบาท และก่อสร้าง
ประตูระบายน้าพร้อมอาคารประกอบ และพัฒนาระบบระบายน้าอาคารควบคุมและสิ่งก่อสร้างในการบริหารจัดการน้า
ในพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่เขตเศรษฐกิจ (๓) โครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม
ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า เช่น การทาขั้นบันไดดิน การปลูกพืชคุลมดิน (๔) โครงการพัฒนาหนองหารด้านการประมง
ดาเนินการกาจัดวัชพืชลอยน้าในหนองหาร ระยะที่ ๒ ในพื้นที่ ๓๐ ไร่ (๕) ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกระทรวงกลาโหม
และศูนย์บรรเทาสาธารณภัยเหล่าทัพ ได้จัดเตรียมกาลังพล จานวน ๒,๖๐๐ คน รถบรรทุกช่วยรบขนาดใหญ่ จานวน
๕๗ คัน กระสอบทราย จานวน ๑๑๐,๐๐๐ กระสอบ และใช้ภาพถ่ายดาวเทียมวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงน้าท่วมและเส้นทางน้าไหล
ใช้ โ ดรนขนาดเล็ ก ลงพื้ น ที่ บั น ทึ ก ภาพเตรี ย มความพร้ อ มช่ ว ยเหลื อ รวมทั้ ง จั ด ก าลั ง พลร่ ว มกั บ ส่ ว นราชการ
และประชาชนจิ ตอาสา ดาเนิ น การป้ องกัน และแก้ไขปัญหาน้ าท่ว มกรุ งเทพมหานคร ด้ว ยการเก็บขยะสิ่ งปฏิกูล
และวั ช พื ช เพื่ อ เปิ ด ทางน้ าไหลลงสู่ แ ม่ น้ าเจ้ า พระยา กรอกกระสอบทรายเพื่ อ ป้ อ งกั น น้ าท่ ว มเข้ า สู่ พื้ น ที่ ชุ ม ชน
และเส้ น ทางคมนาคมต่ าง ๆ ขนย้ ายสิ่ งของของประชาชนไปยัง พื้ นที่ ป ลอดภัย อานวยความสะดวกการจราจร
และจัดรถบริการประชาชนในพื้นที่ ๑๖ เขต ของกรุงเทพมหานคร และจัง หวัดปริมณฑล และ (๖) ทบทวน/จัดทา
แผนเผชิญเหตุ และซักซ้อมแนวทางการปฏิบัติ โดยจัดตั้งคณะทางานติดตามสถานการณ์ภัยแล้ง/ศูนย์บัญชาการ
เหตุ ก ารณ์ จั ง หวั ด กรณี เ กิ ด อุ ท กภั ย /ศู น ย์ พั ก พิ ง ชั่ ว คราวในพื้ น ที่ เ สี่ ย งเตรี ย มความพร้ อ มก าลั ง เจ้ า หน้ า ที่
และเครื่องจักรกลสาธารณภัยและสร้างการรับรู้ให้ประชาชน รวมทั้งมีมาตรการรับมือฤดูฝน ปี ๒๕๖๕ เพื่อเตรียมความพร้อม
รับมือกับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างทันการณ์

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
128
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๒๘ ๒๕๖๕)
๒) การให้ความช่วยเหลือระหว่างประสบภัยและหลังเกิดภัย
(๑) การให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตรหลังเกิดอุทกภัย ในช่วงเดือนสิงหาคม - ๓๐
พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ได้ช่วยเหลือเกษตรกร ด้านพืช จานวน ๗,๕๖๗ ราย พื้นที่ ๒๖,๕๑๑ ไร่ วงเงิน ๖๕.๐๘ ล้านบาท
ด้านประมง จานวน ๔,๖๔๓ ราย พื้นที่ ๕,๖๕๔ ไร่ วงเงิน ๓๓.๖๓ ล้านบาท และด้านปศุสัตว์ จานวน ๔๕ ราย
สั ตว์ตาย/สู ญหาย ๑๗๙,๓๗๗ ตัว วงเงิน ๐.๔๒ ล้ านบาท ได้ตรวจเยี่ยมและติดตามสถานการณ์น้ าตามลุ่ มน้าชี
และลุ่มน้ามูล ณ จังหวัดอุบลราชธานี พร้อมทั้งเยี่ยมเยียนให้กาลังใจกาลังพลที่ปฏิบัติหน้าที่และศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัย
และมอบถุงยังชีพและสิ่งของจาเป็น นาเฮลิคอปเตอร์แบบ EC725 ขึ้นบินสารวจและลาดตระเวนถ่ายภาพพื้นที่ประสบภัย
นาอาหาร น้าดื่ม ชุดยาสามัญประจาบ้าน และเครื่องอุปโภคบริโภคไปมอบให้แก่ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่น้าหลาก
และน้าท่วมขัง ตลอดจนช่วยฟื้นฟูภายหลังน้าลด ฟื้นฟูให้สภาพพื้นที่สะอาด และกลับคืนสู่สภาวะปกติ นอกจากนี้
ได้ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในเชิงป้องกันหรือยับยั้งภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ จานวน
๑๗ จังหวัด และเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในอานาจผู้ว่าราชการจังหวัด (๒๐ ล้านบาท) จานวน
๖๒ จังหวัด

(๒) การแก้ไขปัญหาในระยะยาว ได้ดาเนินการตามมาตรการรับมือฤดูฝน ปี ๒๕๖๕ ตามมติ


คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ประกอบด้วย ๑๓ มาตรการ ได้จัดเตรียมพื้นที่อพยพและซั กซ้ อม
แผนเผชิญเหตุ ระดับต่าง ๆ โดยดาเนินการฝึกเตรียมความพร้อมของศูนย์บริหารจัดการน้าส่วนหน้าในพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย
ในการรองรับสถานการณ์อุทกภัยในฤดูฝน ในรูปแบบฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะ (Table Top Exercise: TTX) และการเตรียม
ความพร้อมด้านบุคลากร ทรัพยากร สถานที่ และสิ่งอานวยความสะดวก ทบทวนและจัดทาแผนเผชิญเหตุภัยแล้ง/อุทกภัย
ของจังหวัดให้สอดคล้อง และเหมาะสมกับสถานการณ์ในพื้นที่ พร้อมทั้งดาเนินการตามกรอบแนวทางและค่าเป้าหมาย
ของแผนแม่บ ทการบริห ารจัดการทรั พยากรน้า ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และบริหารจัดการทรัพยากรน้า
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันและบรรเทาปัญหาภัยแล้งและอุทกภัย
๓) การเตรียมความพร้อมในการป้องกัน/บรรเทาภาวะน้าแล้ง ดาเนินการที่สาคัญ เช่น
ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ง/ฝนแล้ง/ฝนทิ้งช่วง ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ จานวน ๓๒ จังหวัด และเงินช่วยเหลือ
ผู้ ป ระสบภัย พิ บั ติกรณีฉุกเฉิน จ านวน ๒ จั งหวัด จัดทาโครงการจัดหาแหล่งน้าบาดาล ประกอบด้วย (๑) จัดหา
น้าบาดาลเพื่อการอุปโภคบริโภค ดาเนินการแล้วเสร็จ จานวน ๔๑๒ แห่ง (๒) จัดหาน้าบาดาลเพื่อการเกษตร จานวน
๖๒๑ แห่ง สามารถเพิ่มปริมาณน้าต้นทุนไม่น้อยกว่า ๗๕.๒๑๘๗ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ประชาชนได้รับประโยชน์
มากกว่ า ๑๑๒,๐๖๖ ครั ว เรื อ น ครอบคลุ ม พื้ น ที่ เ กษตรกรรมนอกเขตชลประทานมากกว่ า ๙๖,๐๒๐ ไร่
(๓) อนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้าบาดาล โดยการก่อสร้างระบบเติมน้าใต้ดินระดับตื้น จานวน ๓๓๒ แห่ง สามารถเพิ่มเติม
ปริมาณน้าลงสู่ใต้ดินได้ประมาณ ๒.๒๖๓๙ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และ (๔) โครงการจัดหาน้าบาดาลขนาดใหญ่แก้ปัญหา

รายงานผลการด
รายงานผลการดำำาเนิ
�เนิินงานของรั
งานของรััฐบาล พลเอก ประยุ
ประยุุทธ์ธ์์ จััจันนทร์์
ทร์โโอชา
อชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัธัันวาคม ๒๕๖๕) 129
๑๒๙
ภัยแล้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมรับไว้เป็นโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ จานวน ๑๕ โครงการ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนแก่ราษฎรจากภาวะวิกฤตภัยแล้ง สามารถเพิ่มปริมาณ
น้าต้นทุนได้ จานวน ๙.๖๙๙๔ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี พื้นที่ได้รับประโยชน์ จานวน ๙,๐๐๐ ไร่ ประชาชนได้รับ
ประโยชน์ จานวน ๙๒,๑๐๓ ครัวเรือน
๔) จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารด้ า นการป้ อ งกั น และบรรเทาภาวะน้ าแล้ ง เช่ น จั ด ตั้ ง ศู น ย์
ปฏิบัติการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ด้านทรัพยากรน้า) เพื่อรายงานการเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์น้า
และความช่วยเหลือประชาชนในการบรรเทาภาวะน้าแล้งและภาวะน้าท่วม ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ศูนย์อานวยการติดตาม
และแก้ไขปัญหาภาวะน้าแล้งและภาวะน้าท่วม เพื่อวางกรอบแนวทางวางแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้าในฤดูแล้ง
รายงานสถานการณ์น้า คาดการณ์ปริมาณน้าต้นทุน ณ ต้นฤดูแล้ง การคาดการณ์แผนการใช้น้าด้านต่าง ๆ ให้เพียงพอ
ต่อน้าต้นทุนฤดูแล้ง จัดทาแผนปฏิบัติการตามมาตรการรองรับสถานการณ์ขาดแคลนน้า ฤดูแล้ง ปี ๒๕๖๔/๖๕
ให้มีการรายงานให้กรมทรัพยากรน้า ตลอดจนรายงานผ่านการประชุมกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องด้านการบริหาร
จัดการทรัพยากรน้า และจัดตั้งศูนย์อานวยการติดตามและแก้ไขปัญหาภาวะน้าแล้งส่วนหน้า เพื่อให้ความช่วยเหลือ
ในพื้น ๘ จั งหวัดภาคเหนื อตอนบน ซึ่งสามารถให้ ความช่ว ยเหลื อ และบรรเทาความเดือดร้ อนให้ แก่ป ระชาชน
จากภาวะน้าแล้ง จานวน ๒๙๙,๙๒๓ ครัวเรือน ๙๕๕,๕๖๐ ราย ช่วยเหลือพื้นที่การเกษตร จานวน ๓,๑๐๐ ไร่
๕) การเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการเตื อนภั ยให้ ครอบคลุ มทุ กพื้ นที่ เสี่ ยงอุ ทกภั ยและช่ วยเหลื อ
ประชาชน ดาเนินโครงการติดตั้งระบบเตือนภัยล่วงหน้า (Early Warning) สาหรับพื้นที่เสี่ยงอุทกภัยดินถล่มในพื้นที่
ลาดชั น และพื้ น ที่ ร าบเชิ ง เขาโดยได้ ติ ด ตั้ ง ระบบเตื อ นภั ย จ านวน ๑,๙๕๒ สถานี ครอบคลุ ม ๕,๗๔๗ หมู่ บ้ า น
โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ มีการแจ้งเตือนภัยทั้งสิ้น จานวน ๑,๐๖๙ ครั้ง ครอบคลุม ๓,๕๕๓ หมู่บ้านโดยเป็นการแจ้งข้อมูล
เตือนภัยที่ระดับเฝ้าระวัง (สีเขียว) จานวน ๕๑๖ ครั้ง ครอบคลุม ๑,๗๕๙ หมู่บ้าน ที่ระดับเตรียมพร้อม (สีเหลือง)
จานวน ๓๘๔ ครั้ง ครอบคลุม ๑,๓๐๖ หมู่บ้าน และที่ระดับเตือนภัยอพยพ (สีแดง) จานวน ๑๖๙ ครั้ง ครอบคลุม
๔๘๘ หมู่บ้าน
๘.๑๑.๒ การเพิ่มประสิทธิภาพปฏิบัติการฝนหลวง ได้เตรียมความพร้อมสาหรับการเพิ่มประสิทธิภาพ
ปฏิบัติการฝนหลวงโดยหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจะเปิดปฏิบัติการในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๖

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ ประยุทธ์ฐบาล
�เนิินงานของรัั จันทร์พลเอก
โอชา นายกรั
ประยุุทฐธ์์มนตรี
จัันทร์์ปีโอชา
ที่ ๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
130
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๑๓๐ ๒๕๖๕)
๘.๑๒ นโยบายเร่ ง ด่ ว นที่ ๑๒ การสนั บ สนุ น ให้ มี ก ารศึ ก ษา การรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของประชาชน
และการดาเนินการเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
ดาเนินโครงการส่งเสริมวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยเน้นหลักการ
สาคัญของวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย ๔ ด้าน ประกอบด้วย การยึดหลักกฎหมายความมีเหตุผลและสันติวิธี การปฏิบัติ
ตามเสียงข้างมากรับฟังเสียงข้างน้อย ความรับผิดชอบและเสียสละเพื่อส่วนร่วมและการมีส่วนร่วมกิจกรรมทางสังคม
และการเมือง ผ่านการดาเนินกิจกรรมส่งเสริมในระดับหมู่บ้าน ตาบล อาเภอ และจังหวัด เช่น จัดให้มีอาสาสมัคร
ต้ น แบบประชาธิ ป ไตยประจ าหมู่ บ้ า น (อสปช.) ในทุ ก หมู่ บ้ า นจั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม วิ ถี ชี วิ ต แบบประชาธิ ป ไตยฯ
(๑ กิจกรรม ๑ เดือน ๑ หมู่บ้าน) รวม ๒๑๕,๑๓๔ ครั้ง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จานวน ๖.๖๓ ล้านคน และได้คัดเลือก
หมู่บ้านต้นแบบประชาธิปไตยดีเด่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ใน ๗๖ จังหวัด จังหวัดละ ๓ หมู่บ้าน มีหมู่บ้าน
ต้นแบบประชาธิปไตยดีเด่นได้รับรางวัลชนะเลิศและรองชนะเลิศ จานวน ๒๒๘ หมู่บ้าน

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำำ งานของรัฐบาล พลเอก ประยุุ
เนิินงานของรัั ประยุทธ์์ธ์ จััจันนทร์์ทร์โอชา
โอชานายกรัั
นายกรัฐฐมนตรีี
มนตรีปีีปีที่่ท� ๔ี่ ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธััธันวาคม ๒๕๖๕) 131
๑๓๑
กฎหมายที่ประกาศราชกิจจานุเบกษา
ระหว่างเดือน กรกฎาคม ๒๕๖๕ - มกราคม ๒๕๖๖ (๒๐ ฉบับ)

๑. พระราชบัญญัติยกเลิกกฎหมายบางฉบับที่หมดความจาเป็นหรือซ้าซ้อนกับกฎหมายอื่น พ.ศ. ๒๕๖๕


๒. พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๕
๓. พระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวบาล พ.ศ. ๒๕๖๕
๔. พระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
๕. พระราชบัญญัติพืชกระท่อม พ.ศ. ๒๕๖๕
๖. พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖
๗. พระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๕
๘. พระราชบัญญัติเครื่องสาอาง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
๙. พระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๕
๑๐. พระราชบัญญัติว่าด้วยการปรับเป็นพินัย พ.ศ. ๒๕๖๕
๑๑. พระราชบัญญัติกาหนดระยะเวลาดาเนินงานในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๖๕
๑๒. พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๕
๑๓. พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทาให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. ๒๕๖๕
๑๔. พระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทาความผิดซ้าในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. ๒๕๖๕
๑๕. พระราชบัญญัติกาหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้ นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจากัด บริษัทจากัด สมาคม
และมูลนิธิ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๖๕
๑๖. พระราชบั ญ ญั ติ แ ก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ (ฉบั บ ที่ ๒๓) พ.ศ. ๒๕๖๕ (การยื่ น
ขอจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนและการตั้งบริษัทตั้งแต่สองคนขึ้นไป)
๑๗. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมคาสั่งหัวหน้ าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ ที่ ๑๙/๒๕๖๐ เรื่อง การปฏิรูป
การศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ ๓ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๕
๑๘. พระราชบัญญัติอ้อยและน้าตาลทราย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๕
๑๙. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖
๒๐. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖

รายงานผลการดาเนินงานของรั ฐบาล พลเอก


รายงานผลการดำำ �เนิินประยุ ทธ์ จัฐนบาล
งานของรัั ทร์โอชา นายกรั
พลเอก ประยุุฐมนตรี
ทธ์์ จัันปีทร์์ทโี่ อชา
๔ นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
132กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)
(๒๕ (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม๑๓๒ ๒๕๖๕)
รายงานผลการดำำ�เนิินงานของรััฐบาล พลเอก ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕) 133
รายงานผลการดำำ�เนิินงานของรััฐบาล พลเอก ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีี ปีีที่่� ๔
134 (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๕)

You might also like