You are on page 1of 258

งานช่างพื้นฐาน

ช่าง หมายถึง
• ผู้ที่มีความรู้และชานาญในงาน
หรือในศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง
งานช่าง หมายถึง
• สิ่งที่เป็นผลเกิดจากการทางานของช่าง
• งานช่างแบ่งออกได้หลายสาขา เช่น งานไม้ ช่างไฟฟ้า
ช่างโลหะ ช่างยนต์ ช่างประปา เป็นต้น
ความสาคัญของงานช่าง
• เมื่อผู้เรียนได้เรียนรู้งานช่างในแต่ละสาขา และได้ทดลองปฏิบัติเพียง
เล็กน้อยก็สามารถทาได้ด้วยตนเอง ซึ่งได้แก่ งานซ่อมแซม บารุงรักษา
เครื่องใช้บางอย่างภายในบ้าน เช่น ซ่อมโต๊ะ เก้าอี้ ซ่อมไฟฟ้าภายใน
บ้าน ซ่อมผนังรั้ว เป็นต้น หากได้ฝึกฝนจนเกิดความชานาญก็สามารถ
นาความรู้ไปประกอบเป็นอาชีพต่อไปได้
ประโยชน์ของงานช่าง
• สามารถใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ สอยได้อย่างถูกต้อง เข้าใจคุณสมบัติของวัสดุ ช่วยทาให้
เกิดความประหยัด ทาให้ยืดอายุการใช้งานของเครื่องมือ เครื่องใช้ บางครั้งสามารถใช้ความรู้
ซ่อมแซมแก้ไข ข้อขัดข้องที่เกิดกับอุปกรณ์ได้ ตรวจสอบความบกพร่องอุปกรณ์ หากเรา
พัฒนาฝีมือความรู้จนเกิดความชานาญ ก็ยังสามารถที่จะเพิม่ รายได้ให้กับตนเองโดย
ประกอบเป็นอาชีพเสริม หรืออาชีพหลักเพื่อเพิม่ รายได้ต่อไป
งานช่างพื้นฐาน หมายถึง
• งานช่างเบื้องต้นทุกคนสามารถทาได้ด้วยตนเอง ที่ส่วนใหญ่เป็นงานเกี่ยวกับการ
ซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของเครื่องใช้ในบ้านที่ชารุด เสียหาย หรือสร้างสิ่งของง่ายๆ เช่น การเดิน
สายไฟฟ้าในบ้าน การเดินสายโทรศัพท์ การต่อประปา ซ่อมแซมโต๊ะ เก้าอี้ รั้ว ผนัง ถนน
ทางเท้าในบ้าน เป็นต้น
ลักษณะของงานช่าง
1. งานเขียนแบบ
• เป็นการถ่ายทอดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ของวิศวกรหรือนัก
ออกแบบให้ออกมาเป็นรูปเป็นร่างบนกระดาษ รูปร่างที่เกิดขึ้นจากการ
ลากเส้นหลาย ๆ อย่าง เช่น เส้นดิ่ง เส้นโค้ง เส้นเอียง เส้นนอน มาประกอบ
กันเกิดเป็นรูปร่างเรียกว่า แบบ หรือ แบบงาน สามารถนาไปสร้างผลิตภัณฑ์
ต่างๆ เช่น สิ่งของอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องจักรต่างๆ เป็นต้น
2. งานไฟฟ้า
• ชีวิตประจาวันของมนุษย์ จะเกี่ยวข้องกับของใช้ที่เป็นเครือ่ งใช้ไฟฟ้า
เพราะ เครื่องใช้ไฟฟ้าให้ความสะดวก ความสุขสบาย อย่างไรก็ตาม หากใช้
ไม่เป็น ใช้ไม่ถูกต้อง ก็ย่อมมีโทษเช่นกัน การใช้จึงต้องคานึงถึงเรื่องความ
ปลอดภัย ความประหยัดและอายุการใช้งาน งานไฟฟ้าเป็นงานที่ต้องใช้ความรู้
ทักษะและประสบการณ์ ของการนาเอาพลังงานไฟฟ้ามาใช้ ในลักษณะของ
การเปลี่ยนเป็นรูปอื่นๆ เช่น แสงสว่าง ความร้อน พลังงานกล งานไฟฟ้าใน
งานช่างพื้นฐาน สามารถปฏิบัติได้ทั้งชายและหญิง เพราะเป็นงานที่เกี่ยวข้อง
กับชีวิตประจาวัน ซึ่งจะต้องรู้จักเครื่องมือเครือ่ งใช้ วิธีใช้ การเก็บบารุงรักษา
ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ สามารถจัดหาและนามาใช้ได้อย่างประหยัดและ
ปลอดภัย
3. งานช่างยนต์
• เป็นงานที่ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถใน
การซ่อมแซมและบารุงรักษายายนต์ ดังนั้นจึง
ต้องมีการเรียนรู้ในเรื่องของเครือ่ งยนต์เป็นหลัก
ในปัจจุบันยานยนต์ที่นิยมใช้ ได้แก่ รถยนต์
รถจักรยานยนต์ ซึ่งจะมีค่าใช้จ่ายในการใช้งาน
และการดูแลรักษามาก การยืดอายุการใช้งาน
การดูแลตรวจเช็คจะช่วยลดค่าใช้จ่ายและ
อุบัติเหตุจากการใช้งานของเครื่องยนต์ได้
4. งานโลหะ
• งานโลหะ เป็นงานที่ต้องอาศัยทักษะ แรงกาย ความอดทน ความประณีต
และบางครั้งต้องใช้ เทคนิค วิธีการและประสบการณ์ในการทางานค่อนข้างสูง
ผลงานจึงจะมีคณ ุ ภาพและมีความปลอดภัยในการทางานส่วนประกอบของ
อาคารบ้านเรือน อุปกรณ์เครื่องใช้ภายในบ้านหลายชนิด ทาด้วยโลหะ หรือ
โลหะเป็นส่วนประกอบ เช่น รางน้า ลูกกรง ประตู หม้อ กระทะ ถังน้า เครื่อง
เรือน เป็นต้น เครื่องใช้แต่ละอย่างใช้โลหะต่าง ๆ กัน เช่น ทองแดง
ทองเหลือง เหล็ก อะลูมิเนียม มีรูปแบบต่าง ๆ กันตามลักษณะของการใช้งาน
เครื่องใช้โลหะทุกอย่าง เมื่อใช้นานวันย่อมมีการชารุดเสียหายต้องบารุงรักษา
เพื่อให้ใช้งานต่อไปได้อีก งานช่างโลหะบางชนิด เช่น งานช่างโลหะแผ่น
สามารถนามาสร้างสรรค์เป็นเครื่องใช้เครื่องตกแต่งภายในบ้านได้
5. งานประปา
• ระบบประปาและระบบการระบายน้าโสโครกในอาการ
บ้านเรือน เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับชีวิตประจาวัน ระบบ
ประปาและระบบการระบายน้าโสโครกที่มีประสิทธิภาพมีผล
ต่อสุขภาพและอนามัยของผู้อาศัยงานประปาจึงมีความสาคัญ
และเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการวัด การตัดต่อท่อ ข้อท่อ มี
ความสามารถในการซ่อมแซม แก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นใน
ระบบประปาและระบบการระบายน้าต่างๆ
6. งานไม้
• งานไม้เป็นงานช่างที่ใช้ฝีมือและความคิดสร้างสรรค์
ช่างไม้ต้องมีความอดทน ขยัน มีความรับผิดชอบสูง
สามารถนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นไม้มาประดิษฐ์
สิ่งของต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมทั้งนี้จะต้องมีทักษะ
ในการใช้เครือ่ งมือและวัสดุ จึงจะสามารถปฏิบัติได้
ทั้งชายและหญิง เช่น การซ่อมบารุงรักษา
เฟอร์นิเจอร์หรือส่วนประกอบของอาคารบ้านเรือน
เป็นต้น
7. งานปูน
• เป็นงานหลักในงานก่อสร้าง อาคารสมัยก่อน
งานก่อสร้างจะใช้ไม้เป็นหลัก ปัจจุบันไม้มีจานวนน้อย ราคา
สูง นอกจากนี้ยังช่วยในการต่อเติมซ่อมแซมสิ่งก่อสร้าง
เหมาะสาหรับงานที่ไม่ใหญ่นัก เช่นการก่ออิฐทาขอบไม้ การ
เทปูนทางเดิน
8. งานสี
• สีเป็นงานขั้นสุดท้ายของงานช่างหลายแขนง เช่น งานไม้ งานปูน
และงานโลหะ เป็นต้น เพื่อตกแต่งงานที่สาเร็จแล้วให้ดูเรียบร้อย
สวยงาม และยังช่วยให้งานแต่ละชิ้นมีความคงทนถาวรยิ่งขึน้ ยืด
อายุการใช้งานให้ยาวนาน งานสีมีหลักวิธีการ ของเครื่องมือ
เครื่องใช้ และวัสดุที่ต้องศึกษาจึงจะสามารถทางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เป็นงานที่ทาได้ทั้งชายและหญิง
ลักษณะของงานช่าง
• 1. งานเขียนแบบ
ลักษณะของงานช่าง
• 1. งานเขียนแบบ
• 2. งานไฟฟ้า
ลักษณะของงานช่าง

• 1. งานเขียนแบบ
• 2. งานไฟฟ้า
• 3. งานช่างยนต์
ลักษณะของงานช่าง

• 1. งานเขียนแบบ
• 2. งานไฟฟ้า
• 3. งานช่างยนต์
• 4. งานโลหะ
ลักษณะของงานช่าง

• 1. งานเขียนแบบ
• 2. งานไฟฟ้า
• 3. งานช่างยนต์
• 4. งานโลหะ
• 5. งานประปา
ลักษณะของงานช่าง
• 1. งานเขียนแบบ
• 2. งานไฟฟ้า
• 3. งานช่างยนต์
• 4. งานโลหะ
• 5. งานประปา
• 6. งานไม้
ลักษณะของงานช่าง
• 1. งานเขียนแบบ
• 2. งานไฟฟ้า
• 3. งานช่างยนต์
• 4. งานโลหะ
• 5. งานประปา
• 6. งานไม้
• 7. งานปูน
ลักษณะของงานช่าง
• 1 งานเขียนแบบ
• 2 งานไฟฟ้า
• 3 งานช่างยนต์
• 4 งานโลหะ
• 5 งานประปา
• 6 งานไม้
• 7 งานปูน
• 8 งานสี
ประเภทของงานช่าง
• 1.งานบารุงรักษา เป็นงานที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับหลักการวิธีการทางาน การดูแลบารุงรักษา
และข้อควรรังในการใช่เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ในบ้าน เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องสุขภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์
ให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง
• 2.งามซ่อมแซม เป็นงานที่ต้องใช้ความรู้ความสามรถเกี่ยวกับหลักการทางานของเครื่องมือ เครื่องใช้ วัสดุ
อุปกรณ์ เพื่อตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องใช้ในบ้านเมื่อมีการชารุดหรือเสียหาย
• 3.งานติดตั้ง เป็นงานที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับหลักการทางานของเครื่องมือวัสดุ และอุปกรณ์ เพื่อ
ติดตั้งเครื่องใช้ อุปกรณ์ในบ้านให้สามารถใช้งานได้
• 4.งานผลิต เป็นงานที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถและทักษะการใช้เครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ โดยมีการคิด
วิเคราะห์ วางแผน ออกแบบชิ้นงานวิธีการทางานอย่างเป็นกระบวนการสามารถเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ
และผลิตชิ้นงานได้ตามความต้องการ
ประเภทของเครื่ องมือช่ าง
1. การทาเครื่ องหมายและวัดระยะ
2. การยึดจับชิ้นงาน
3. การตัด และตกแต่งชิ้นงาน
4. การเชื่อมต่อและประกอบชิ้นงาน
เครื่ องมือทาเครื่ องหมายและวัดระยะ
ดินสอขีดไม้ ใช้ในการขีดทาเครื่ องหมายเพื่อกาหนดกะระยะ
บนวัตถุในแนวที่ตอ้ งการ
เหล็กขีด ใช้ทาเครื่ องหมายบนแผ่นโลหะหรื อแผ่นพลาสติก
โดยใช้ร่วมกับบรรทัดเหล็กเหล็กฉาก หรื อเครื่ องมือวัดอื่น ๆ
วงเวียน ใช้ในการเขียนส่ วนโค้ง หรื อวงกลม มีท้ งั วงเวียน
ดินสอ วงเวียนเหล็กและวงเวียนชนิดพิเศษอื่น ๆ
เหล็กฉาก ใช้ในการเขียนเส้นมุมฉากและตรวจความเรี ยบของ
วัสดุ เหล็กฉากยังมีหลายประเภท บางชนิดสามารถปรับมุมได้
เหล็กตอกจุด ใช้ในการตอกจุดเพื่อหาตาแหน่งและตอกเพื่อการ
นาร่ องในการเจาะด้วยสว่านขนาดเล็ก
เหล็กนาศูนย์ ใช้ในการดอกจุดเพื่อบอกตาแหน่งในการเจาะรู
ด้วยดอกสว่าน ป้องกันไม่ให้ดอกสว่านออกนอกแนวของการ
เจาะ ทาให้ตรงตาแหน่งที่ถูกต้อง
วงเวียนวัดใน ใช้วดั หาตาแหน่งศูนย์กลางภายในท่อ
วงเวียนวัดนอก ใช้วดั หาตาแหน่งศูนย์กลางภายนอกท่อ
ตลับเมตร ใช้ในการจัดความกว้าง ความยาว ของวัสดุมีหลาย
ขนาด หลายความยาวและหลายประเภทที่มีใช้ตามความ
เหมาะสม
เวอร์ เนียร์ คาลิเปอร์ ใช้วดั ขนาดความยาวของวัตถุโดย
ละเอียด บางชนิดมีจอแสดงผลเป็ นตัวเลขและแบบดิจิตอล
ไมโครมิเตอร์ ใช้ในการวัดความโตของวัตถุได้อย่างละเอียด
มาก ๆ เช่นความโตของเส้นลวดบางชนิดมีจอแสดงผลเป็ น
ตัวเลขและแบบดิจิตอล
การยึดจับชิ้นงาน การยึดจับชิ้นงานเป็ นการป้องกันความ
คลาดเคลื่อนโดยการยึดจับให้แน่น เพื่อการตอก ยึด เพื่อความ
สะดวกรวดเร็ วในการปฏิบตั ิงาน
การยึดจับชิ้นงานด้วยปากกาจับงาน เพื่ออานวยความสะดวก
ในการตัด เลื่อย งอ หรื อ การสกัด เพื่อความมัน่ คง
ปากกาจับงาน ที่ใช้ในการจับงานมีหลากหลายประเภท ตาม
คุณสมบัติและลักษณะจุดประสงค์เพื่อการยึดจับให้แน่นเป็ น
ประการสาคัญ
คีมจับ มีมากมายหลายประเภทเพื่ออานวยความสะดวกในการ
ยึดจับ และบีบบางชนิดใช้ตดั ปอกสายไฟ และบีบอัด
คีมปอกสายไฟ เป็ นคีมที่มีคุณลักษณะพิเศษ เพื่อใช้ในการปอก
สายไฟหรื อฉนวนที่เป็ น พลาติก ห่อหุม้ อยู่
คีมล็อก ใช้เพื่อการจับยึดวัตถุให้แน่นเป็ นพิเศษ สามารถปรับ
ความกว้างของปาก ได้ดว้ ยการหมุนเกลียวบริ เวณส่ วนท้ายของคีม
เพื่อการปรับขนาดความกว้างของปากคีม
การตัดและตกแต่ งชิ้นงาน
การตัด เป็ นการแยกวัสดุให้แยกออกจากกันให้เหลือเศษวัสดุ
น้อยที่สุด ส่ วนการตกแต่งชิ้นงานเป็ นการปรับแต่งวัสดุให้ได้
ขนาดตามต้องการและให้เกิดความสวยงาม
เลื่อยลันดา เป็ นเลื่อยที่นิยมใช้ในการตัดและโกรกไม้ (ตัด
หรื อการเลื่อยขวางลายไม้ส่วนการโกรกไม้คือการตัดตามแนว
ของลายไม้)ส่ วนเลื่อยรอ จะมีขนาดเล็กกว่าใช้ตดั ตกแต่งเดือยไม้
และปากไม้
เลื่อยเหล็ก ใช้ในการตัดโลหะ ท่อ หรื อพลาสติกแข็ง ในแนว
เส้นตรง มีหลายขนาดสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสมโดย
ซี่ฟันของใบเลื่อยมีท้ งั ฟันหยาบและฟันละเอียด
กรรไกรตัดโลหะแผ่ น มีท้ งั ชนิดปากตรงและปากโค้ง ช่วย
ในการตัดโลหะแผ่นบางหรื อ พลาสติกแผ่นบางตามชนิดและ
ประเภทของกรรไกรที่สอดคล้องกับการใช้งาน
กบไสไม้ เป็ นเครื่ องมือในการปรับผิวไม้ให้เรี ยบ มี
หลากหลายชนิดตามคุณลักษณะการใช้งาน มีท้ งั ชนิดใช้มือ และ
ไฟฟ้า
ตะไบ ใช้ในการปรับแต่งผิวโลหะ มีความเรี ยบ ประณี ต มี
ทั้งชนิดตะไบหยาบและตะไบละเอียด สามารถเลือกใช้ให้
เป็ นไปตามวัตถุประสงค์
ตะไบ มีหลายลักษณะควรเลือกให้เหมาะกับการใช้งาน เช่น
ตะไบสามเหลี่ยม ตะไบโค้ง (ตะไบท้องปลิง) ตะไบหางหนู
และตะไบเข็มเป็ นต้น
ค้ อนหงอน ใช้กบั งานไม้ ใช้ในการตอกตะปู ถอนตะปู โดยใน
ส่ วนปลายจะมีไว้สาหรับการถอนตะปู
ค้ อนลักษณะต่ าง ๆ ค้อนมีหลากหลายลักษณะในการเลือกใช้
งาน เช่น ค้อนหัวกลม ค้อนหนัง และค้อนพลาสติก
ดอกสว่ าน เป็ นอุปกรณ์ใช้ในการเจาะวัสดุมีหลายชนิด เช่น ใช้
เจาะไม้ โลหะและคอนกรี ตนอกจากนั้นยังมีหลายขนาด และ
หลายประเภทตามการใช้งาน
เครื่ องขัดผิวไม้ เป็ นเครื่ องจักรกล เพื่อใช้ขดั ผิวไม้ หรื อ
พลาสติก มีท้ งั ชนิดตั้งพื้นและเคลื่อนย้ายได้โดยใช้กระดาษทราย
หมุนหรื อใช้กระดาษทรายแบบสายพาน
สว่ านไฟฟ้า เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้กบั ดอกสว่านในการเจาะ มี
หลากหลายชนิด ขึ้นอยูก่ บั การนาไปใช้งาน เช่น สว่านแท่น สว่าน
มือ สว่านไฟฟ้าต่าง ๆ
การเชื่ อมต่ อ และประกอบชิ้นงาน
การยึดส่ วนประกอบวัสดุต้ งั แต่สองชนิดขึ้นไป ต้องอาศัย
วัสดุ วิธีการ ประเภทของเครื่ องมือในการเชื่อมต่อ และลักษณะ
ของการเชื่อมต่อแบบชัว่ คราวหรื อถาวร เป็ นต้น
กาว ในการยึดเกาะหรื อเป็ นตัวทาละลายนิยมใช้กาวเป็ นตัวยึด
หรื อประสานกันวัสดุ เช่น ไม้ กระดาษ พลาสติก หนัง
แม้กระทัง่ โลหะ ก็สามารถยึดติดได้
ปื นหลอมกาว หรื อปื นยิงกาว ใช้ในการยึดวัสดุแบบชัว่ คราว
สะดวก รวดเร็ ว ด้วยการหลอมละลายแท่งกาวที่บรรจุอยูท่ าง
ด้านหลังของปื นหลอมกาวโดยทาให้ละลายด้วยความร้อนแล้ว
กดหรื อบีบออกมาทางด้านหน้า
ตะปูและสกรู ใช้ในการยึดวัสดุจาพวกไม้หรื อพลาสติก ด้วย
การตอกด้วยค้อนหรื อการขันด้วย ไขควง
ไขควง ใช้ในการขันหัวตะปูเกลียวหรื อสกรู ให้แน่น มีท้ งั ชนิด
ไขควงปากแบนและปากแฉกเป็ นต้น
หมุดยา้ ใช้ในการยึดโลหะแผ่นตั้งแต่ 2 แผ่นให้ติดกัน มีท้ งั
ชนิดหัวกลมและชนิดหัวเข็ม ทาจากอลูมิเนียม หรื อทองแดงโดย
การใช้คีมย้าหมุดในการย้า หรื อค้อนพร้อมอุปกรณ์
การตกแต่ งพืน้ ผิว การตกแต่งพื้นผิวเป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายของการ
ออกแบบและการผลิต เพื่อประโยชน์คือ
1. ทาให้พ้นื ผิวสวยงาม คงทนต่อการใช้งาน
2. ป้องกันการขูดขีด ลดความเสี ยหาย
3. ป้องกันสนิม แมลง และความชื้น
กระดาษทราย ใช้เพื่อการขัดถูให้วสั ดุเรี ยบ เช่น
1. กระดาษทรายแก้ว ( glass paper )
2. กระดาษทรายโกเมน ( garnet paper )
3. กระดาษทรายผ้า ( emery paper )
4. กระดาษทรายน้ า ( wet and dry paper)
นอกจากนี้ยงั มีความหยาบละเอียด และคุณสมบัติในการใช้ที่
เหมาะสมแตกต่างกันไป
นา้ มันขัดเงา ใช้ได้ท้ งั ภายในและชนิดใช้แล็กเกอร์ ใช้ทาหรื อ
พ่นเพื่อให้เกิดความเงางาม ส่ วนใหญ่ใช้กบั ภายในอาคาร
เชลแล็ก ใช้ทาวัสดุ เนื้อไม้ เพื่อความสวยงามและป้องกัน
แมลง หรื อรอยขีดข่วน มีหลายสี ตามความเหมาะสม
สี ใช้ประโยชน์ดา้ นป้องกันสนิมการผุกร่ อนมีท้ งั ชนิดทา พ่น
และเคลือบ ขึ้นอยูก่ บั ความเหมาะสม มีความหลากหลาย และ
ชนิดในการนาไปใช้งาน เช่น สี น้ ามัน สี พลาสติก เป็ นต้น
ความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานช่าง
การทางานที่ไม่ทาให้เกิดอุบัตเิ หตุหรืออันตราย
หรือเดือดร้อนเนื่องจากการปฏิบัติงาน
กฎแห่งความปลอดภัย
1. แต่งกายให้รดั กุม
2. ไม่ควรหยอกล้อกันในขณะปฏิบตั ิงาน
3.ไม่ควรดื่มของมึนเมาในขณะปฏิบตั งิ าน
4. ควรตรวจสภาพเครื่องมือก่อนนาไปใช้งาน
5.ควรปฏิบตั งิ านในสถานที่ท่มี ีแสงสว่างเพียงพอ
และอากาศถ่ายเทสะดวก
6. ควรศึกษาระบบการทางานของเครื่องจักร
ชนิดนั้น ๆ ให้เข้าใจก่อนปฏิบัติงาน
7. หากเครื่องจักรชารุด ควรเขียนป้ ายบอกกากับไว้
8. ควรสวมหมวกนิ รภัยในการปฏิบตั งิ านก่อสร้าง
9. หากน้ ามันหกลงพื้นควรทาความสะอาดทันที
10.เครื่องจักรที่มีการทางานเคลือ่ นไหวด้วยความเร็วสูง
ควรมีอปุ กรณ์นิรภัยป้ องกัน
เครื่องหมายเพือ่ ความปลอดภัย
(SAFETY SIGN)
เป็นเครื่องหมายรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ สมอ. กาหนด
มาตรฐาน ของผลิตภัณฑ์นั้นไว้แล้วซึ่งผู้ผลิตสามารถยื่นขอการ
รับรองคุณภาพโดยสมัครใจ (มาตรฐานทั่วไป) เพื่อการพัฒนา
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ให้เป็นไปตามเกณฑ์กาหนดในมาตรฐาน
และหลัก ประกันให้กับผู้บริโภคหรือผู้ซื้อว่าผลิตภัณฑ์นั้นมีคุณภาพ
1. เครื่องหมายมาตรฐานทัว่ ไป มีความปลอดภัยคุ้มค่า และเหมาะสมกับราคา เช่น ผลิตภัณฑ์
อาหารวัสดุก่อสร้าง วัสดุสานักงาน เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น
เป็นเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ที่กฎหมายกาหนดให้ต้องเป็นไป ตาม
มาตรฐาน (มาตรฐานบังคับ) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของผู้ บริโภคและ
ป้องกันความเสียหายอันอาจจะเกิดต่อเศรษฐกิจและ สังคม โดยส่วนรวม
โดยกฎหมายบังคับผู้ผลิต ผู้นาเข้าและผู้ จาหน่าย จะต้องผลิต นาเข้า
และจาหน่ายแต่ผลิตภัณฑ์ที่เป็นไป ตามมาตรฐานแล้วเท่านั้น

2. เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ
 ในการใช้งาน ซึ่งสานักงานฯ จะกาหนดมาตรฐานโดยเน้นเฉพาะเรื่อง
ความปลอดภัยเป็ นสาคัญเพือ่ ให้การคุม้ ครองแก่ ผูบ้ ริโภคด้านความ
ปลอดภัยในการใช้งาน เช่น เตารีด พัดลมไฟฟ้ า เป็ นต้น เครื่องหมาย
ที่มีทง้ั แบบบังคับ และไม่บงั คับ หากเป็ นแบบ บังคับก็ตอ้ งปฏิบตั ติ าม
กฎหมายที่ตอ้ งทาผลิตภัณฑ์ให้ได้ตาม มาตรฐานที่ กาหนดทัง้ ผูท้ า
ผูน้ าเข้า และผูจ้ าหน่ าย
3. เป็ นเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ท่ตี อ้ งมีความปลอดภัย
เป็นเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติใน การรักษาสิ่งแวดล้อม
เช่นการประหยัดน้าและการไม่ก่อให้เกิด มลพิษในอากาศเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน และการ รักษาสิ่งแวดล้อมโดยรวมของ
ประเทศ เช่น เครื่องซักผ้า ประหยัดน้า ตู้เย็นที่ไม่ใช้สาร CFCเป็นต้น
เครื่องหมายนี้มีทั้งแบบบังคับ และไม่บังคับหากเป็นแบบบังคับก็ต้อง
ปฏิบัติตามกฎหมายที่ ต้อง ทาผลิตภัณฑ์ให้ได้ตามมาตรฐานที่กาหนด
ทั้งผู้ทา ผู้นาเข้า และ ผู้จาหน่าย
4. เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านสิง่ แวดล้อม
 เป็นเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติของความเข้ากัน
ได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเป็น ผลิตภัณฑ์ที่สามารถทางานร่วมกับ
ผลิตภัณฑ์อื่นหรือใช้พร้อมกันได้และไม่ส่งคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าได้
ในระดับหนึ่ง ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น
โทรศัพท์ โทรสาร เครื่องรับ-ส่งวิทยุและเครื่องมือทางการแพทย์
เป็นต้นเครื่องหมายนี้มีทั้งแบบบังคับ และ ไม่บังคับหากเป็น
มาตรฐานบังคับ ผู้ผลิต ผู้นาเข้า และผู้จาหน่ายจะต้องผลิต
นาเข้า และจาหน่ายแต่ผลิตภัณฑ์ที่ได้ มาตรฐานเท่านั้น
5. เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความเข้ากันได้
ทางแม่เหล็กไฟฟ้ า
 ในประเทศไทยใช้มาตรฐาน มอก. โดยแบ่งประเภทของเครื่องหมายเพื่อความ
ปลอดภัย ออกเป็น 6 ประเภท ดังนี้
1. เครื่องหมายห้าม (Prohibition sign)
2. เครื่องหมายบังคับ (Mandatory sign)
3. เครื่องหมายเตือน (Warning sign)
4. เครื่องหมายแสดงภาวะปลอดภัย (No danger sign)
5. เครื่องหมายแสดงอุปกรณ์เกี่ยวข้องกับอัคคีภัย (Fire protection equipment sign)
6. เครื่องหมายข้อมูลทั่วไป (General Information sign)
ประเภท รูปแบบ สีท่ใี ช้ หมายเหตุ
สีพ้นื : สีขาว
-พื้นทีข่ องสีแดงต้องมีอย่างน้อย
สีของแถบตามขอบวงกลม
เครื่องหมายห้าม ร้อยละ 35 ของพื้นทีท่ งั้ หมดของ
และแถบขวาง: สีแดง
เครื่องหมาย
สีของสัญลักษณ์ภาพ:สีดา
สีพ้นื : สีเหลือง -พื้นทีข่ องสีเหลืองต้องมีอย่างน้อย
เครื่องหมายเตือน สีของแถบตามขอบ : สีดา ร้อยละ 50 ของพื้นทีท่ งั้ หมดของ
สีของสัญลักษณ์ภาพ:สีดา เครื่องหมาย
- พื้นทีข่ องสีฟ้าต้องมีอย่างน้อย
สีพ้นื : สีฟ้า
เครื่องหมายบังคับ ร้อยละ 50 ของพื้นทีท่ งั้ หมดของ
สีของแถบตามขอบ : สีขาว
เครื่องหมาย
- พื้นทีข่ องสีเขียวต้องมีอย่างน้อย
เครื่องหมายสารนิเทศ ร้อยละ 50 ของพื้นทีท่ งั้ หมดของ
สีพ้นื : สีเขียว
เกี่ยวกับภาวะ เครื่องหมาย
สีของแถบตามขอบ : สีขาว
ปลอดภัย - อาจใช้รูปแบบเป็ นสีเ่ หลีย่ ม
ผืนผ้าได้
ตัวอย่างเครื่องหมายเพือ่ ความปลอดภัยและ
ความหมาย
- เครื่องหมายหยุด
- เครื่องหมายหยุดฉุกเฉิน
-เครื่องหมายห้าม
สีตดั = สีขาว

หมายถึงหยดุ
หมายถึง บังคับให้ตอ้ งปฏิบตั ิ

- บังคับให้ตอ้ งสวมอุปกรณ์คุม้ ครอง


ความปลอดภัยส่วนบุคคล
- เครื่องหมายบังคับ
สีตดั คือ สีขาว
- มีอนั ตราย
- ชี้บ่งถึงเขตอันตราย
- ทางผ่านมีอนั ตราย เครื่องกีดขวาง
- เครื่องหมายเตือน
สีตดั คือ สีดา หมายถึง ระวัง, ชี้บ่งว่ ามี
อันตราย
- ทางหนี
- ทางออกฉุกเฉิน
- ฝักบัวชาระล ้างฉุกเฉิน
- หน่วยปฐมพยาบาล
- หน่วยกูภ้ ยั
- เครื่องหมายสารนิเทศ

หมายถึ ง ภาวะปลอดภั ย
แสดงภาวะปลอดภัย
สีตดั คือ สีขาว
5 ส หรือ 5S คืออะไร ?
แนวทางที่ใช้เพื่อปรับปรุงแก้ไขงานและรักษาสิ่งแวดล้อมในที่ทางานให้ดีขึ้นในวงการการผลิตและวงการ
งานบริการ
สะสาง (ญี่ปุ่น: 整理 seiri ?) คือ การแยกของที่ต้องการ ออกจากของที่ไม่ต้องการ
สะดวก (ญี่ปุ่น: 整頓 seiton ?) คือ การจัดวางสิ่งของต่างๆ ในที่ทางานให้เป็นระเบียบ
สะอาด (ญี่ปุ่น: 清掃 seiso ?) คือ การทาความสะอาด เครื่องจักร อุปกรณ์ และ สถานที่
สุขลักษณะ (ญี่ปุ่น: 清潔 seiketsu ?) คือ สภาพหมดจด สะอาดตา ถูกสุขลักษณะ
สร้างนิสัย (ญี่ปุ่น: 躾 shitsuke ?) คือ การอบรม สร้างนิสัย วินัยอย่างเคร่งครัด
30
การเขียนแบบ เป็ นภาษาสากลที่ใช้ในการสื่อความหมาย
ในทางความคิด ในรูปแบบของสัญลักษณ์ เส้น รูปทรง พื้นผิว
และถือเป็ นหัวใจของทุกช่าง
ประเภทของงานช่ าง
1. การเขียนแบบทางวิศวกรรม (Engineering Drawing) การเขียนแบบนาไปใช้ใน
งานอุตสาหกรรมทางเครื่ องจักรกล สามารถแยกได้ดงั นี้ คือ
1.1 การเขียนแบบเครื่ องกล(Machines Tool Drawing)
1.2 การเขียนแบบงานไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า (Electrical Electronic Drawing)
1.3 การเขียนแบบเครื่ องยนต์(Automotive Drawing)
1.4 การเขียนแบบงานแผนที่และช่างสารวจ(Map & Survey Drawing)
1.5 การเขียนแบบช่างกลและแผ่นโลหะ(Metal & Sheet Metal -Drawing)
2. การเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม (Architectural Drawing) เป็ นการเขียนแบบใน
งานก่อสร้าง ซึ่งแยกงานเขียนได้ดงั นี้ คือ
2.1 การเขียนแบบโครงสร้าง(Structural Drawing)
2.2 การเขียนแบบสัดส่ วนของรู ปต่างๆ(Shape & Proportion Drawing)
2.3 การเขียนรู ปตัด(Section Drawing)
2.4 การเขียนภาพร่ าง(Sketching Drawing)
3. การเขียนแบบตกแต่ งภายใน (Interior Design Drawing) เป็ นการเขียน
แบบที่ใช้ ในการออกแบบตกแต่งภายใน ซึ่ งแยกงานเขียนได้ดงั นี้ คือ
3.1 การเขียนแบบเครื่ องเรื อน (Furniture Drawing)
3.2 การเขียนแบบทัศนียภาพ (Perspective Drawing)
4. การเขียนแบบผลิตภัณฑ์ (Product Drawing) เป็ นการเขียนแบบที่
เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ทาให้เข้าใจในตัวผลิตภัณฑ์ จาแนกได้ดงั นี้ คือ
4.1 การเขียนภาพฉาย (Orthographic Drawing)
4.2 การเขียนภาพสามมิติ (Three Dimension Drawing)
เครื่ องมือเขียนแบบ
1.โต๊ ะเขียนแบบ (TABLE DRAWING) ต้ องมีพื ้นโต๊ ะที่เรี ยบ และ
ขอบโต๊ ะต้ องได้ ฉาก
2 . ไม้ ที (T-SQUARE) ใช้ ในการขีดตีเส้ นระดับ (180) หรือ
ประกอบกับไม้ เซ็ทในการขีดตีเส้ นให้ มีมมุ ต่าง ๆ ตลอดจนใช้ เป็ น
เส้ นระดับที่เลื่อนขึ ้นลงได้ มี 2 แบบ คือ
2.1ไม้ ทแี บบธรรมดา
2.2 ทีสไลด์
เชือกขึงกับขอบโต๊ ะด้ านบนและล่าง

โต๊ ะเขียนแบบ ลูกรอก


สไลด์เลื่อนขึ ้นลง
ไม้ ทสี ไลด์
3. ไม้ เซ็ทหรื อไม้ สามเหลี่ยม (SET-SQUARE) เป็ นเครื่ องมือที่ใช้
ในการขีดตีเส้ นให้ เป็ นมุมต่าง ๆ มี 2 แบบคือ

บรรทัดโค้ง ใช้เขียนวงรี 60

3.1 แบบมุม 30, 60, 90


30 90

90
3.2 แบบมุม 45, 45, 90
45 45

ที่มา ;
4. บรรทัดสเกล (SCALE) ใช้ ในการวัดย่อรูปที่เขียนในระบบเอสไอ (SI) เช่น
1:1, 1:25, 1:50, 1:100
5. วงเวียน (DIVIDER) ใช้ ในการเขียนรูปทรงเรขาคณิต หรื อแบ่ง
เส้ นและรูปทรงเรขาคณิตออกเป็ นส่วน ๆ
6. ดินสอ (PENCIL) ใช้ ในการร่างภาพ เขียนรูป เขียนตัวหนังสือ แบ่งออกเป็ น 3 เกรด คือ
.1 ดินสอไส้ ออ่ น (SOFT) เป็ นดินสอที่ใช้ ในการแลเงาในงานศิลปะ
B = ดา (BLACK)
2B 3B 4B 5B 6B 7B
6.2 ดินสอไส้ปานกลาง (MEDIUM) เป็ นดินสอที่ใช้ในการเขียนรู ป และ
ตัวหนังสื อ
F = เริ่ มแข็ง (FIRM)
B HB F H 2H 3H

6.3 ดินสอไส้แข็ง (HARD) เป็ นดินสอที่ใช้ในการร่ างภาพ

H = แข็ง (HARD)
4H 5H 6H 7H 8H 9H
ดินสอกด ปัจจุบนั นิยมใช้ดินสอกด เพราะสะดวก เส้นมีขนาดให้เลือกตามเหมาะสม
เส้นเต็มใช้ขนาด 0.5
7. ยางลบ (RUBBER) ใช้ ในการลบแก้ ไขงานที่ผิดพลาด ซึง่ จะต้ องมีเนื ้อ
นิ่มไม่ทาให้ กระดาษเป็ นขุยหรื อขาด

ที่มา ; http://equipment.hmz-support.com/

8. มีดเหลาดินสอ (CUTTER) ในการเหลาดินสอทาได้ ทงแบบลิ


ั้ ม่ และแบบ
กรวย
9. กระดูกงูและบรรทัดโค้ ง (FLEXIBLB CURVE & IRREGULAR CURVE)
ใช้ ในการเขียนส่วนโค้ งที่วงเวียนเขียนไม่ได้

กระดูกงู

บรรทัดโค้ง
10. แผ่ นแบบตัวอักษร (LETTERING TEMPLATE) ทาจากพลาสติกฉลุ
เป็ นรูร่องตัวหนังสือ ใช้ ทาบลงบนกระดาษเขียนแบบ แล้ วเขียนตามร่ อง
ตัวหนังสือนัน้ ๆ

ABCDEFGHIJKLMO
P Q R S T U V W X Y Z1 2 3 4 5 6
7 8 9 10 ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ
ฒณดตถทธนบปผฝพภมยรล
วศษสหฬอฮ
11. ปากกาเขียนแบบ (PENS) เป็ นปากกาชนิดหมึกแห้ งเร็วใช้ ในการ
เขียนแบบลงบนกระดาษไขเขียนแบบ

0.13 0.18 0.25 0.35 0.50 0.70 1.00 1.40 2.00


12. กระดาษเขียนแบบ (PAPER DRAWING) เป็ นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญอีกอย่างหนึง่ ซึง่ มีขนาดเรี ยกเป็ นปอนด์ ที่
นิยม คือ 80 และ 100 แกรม/ตร.ม. (Gsm=Gram per Square Metre ) กระดาษเขียนแบบแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ กระดาษ
ไขเขียนแบบ ใช้ ในการกับปากกาเขียนแบบกระดาษเขียนแบบทัว่ ไป ขนาดกระดาษแบ่งตามมาตรฐานไอเอส (IS =
INTERNATIONAL STANDARD) ได้ ดังนี ้
1189

A2

420 x 594
A1

A4 594 x 841 cm.


841
210 x 297 cm. A3
A6
105 x 148 cm. A5 276 x 420 cm.
A6
148 x 210 cm.
ตารางแสดงขนาดกระดาษ มาตรฐาน IS : International Standard
ความกว้ างยาวเป็ น ความกว้ างยาวเป็ นนิว้
ขนาด ม.ม. (ระบบเมตริก) (ระบบอังกฤษ)
หมายเหตุ

A0 841 x 1189 33.11 x 46.81

A1 594 x 841 23.39 x 33.11

A2 420 x 594 16.54 x 23.39

A3 276 x 420 11.69 x 16.54

A4 210 x 297 8.27 x 11.69

A5 148 x 210 5.83 x 8.27

A6 105 x 148 4.13 x 5.83 ขนาดไปรษณียบัตร


13. สก๊ อตเทปหรื อเทปใส (TAPE) ใช้ ในการติดกระดาษเขียนแบบกับโต๊ ะเขียนแบบ
14. แปรงปั ดผง (BRUSH) ใช้ ในการปั ดฝุ่ นผงจากการใช้ ยางลบ

15. ผ้ า ใช้ ในการเช็ดเหงื่อมือ เครื่ องมือ เพื่อป้องกันกระดาษเขียนแบบสกปรก


เส้ น (LINE) คือ จุดที่ลากต่อเนื่องกันไปทิศทางใดทิศทางหนึง่ ซึง่ เส้ นที่ใช้ ในการเขียนแบบมี
ดังต่อไปนี ้
1. เส้ นเต็ม (VISIBLE LINE) คือ เส้ นที่ลากต่อเนื่องกันไปใช้ ในการสร้ างเส้ นรูปในการเขียนแบบ
เช่น เส้ นตรง, เส้ นโค้ ง, เส้ นซิกแซก
2. เส้ นประ (HIDDEN LINE / DOTTED LINE) คือ เส้ นที่ขีดสัน้ ๆ ต่อเนื่องกัน
ไป แต่ละเส้ นยาว 8 นิ ้ว ห่างกัน 16 นิ ้ว ใช้ แสดงภาพในส่วนที่ถกู บังหรื อมองเห็นให้ มองเห็น
1

ยาว 1 ระยะห่าง 1
8 6
3. เส้ นแสดงระนาบตัด (CUTTING PLANE) คือ เส้ นที่ใช้ ในการตัด
ชิ ้นงานให้ ออกเป็ น 2 ส่วน เพื่อให้ เห็นรายละเอียดหรื อส่วนประกอบภายใน

เส้นแสดงระนาบภาพตัด การนาไปใช้ แสดงรายละเอียดหลังจากตัด

ทิศทางการหัน
4. เส้ นแสดงศ
1
ู นย์ กลาง
1
(CENTER LINE)
3
4 เป็ นเส้2นที่ใช้ แสดงจุด
11

ศูนย์กลางของรูปทรงกลมหรื
8 อทรงกระบอก
16
เส้ นแสดงศูนย์ กลางรู ปทรงกลม
เส้ นแสดงศูนย์ กลางรูปทรงกระบอก

ใช้แสดงเส้นผ่าศูนย์กลางของรู ปทรงกระบอก
5. เส้ นกาหนดขนาด (EXTENTION LINE) คือ เส้ นที่เขียนขึ ้นตรงส่วน
ที่สดุ ความยาวหรื อความกว้ างของรูปด้ านทุกด้ าน โดยเขียนห่างเส้ นรูป 16 นิว้
1

1
ห่างเส้ นรูป 16 นิ ้ว

เส้ นกาหนดขนาดยาว 3 นิ ้ว
8
6. เส้ นบอกขนาด (DAIMENTION LINE) คือ เส้ นที่มีหวั ลูกศรทังสองข้ ้ างโดยหัว
ลูกศร จะไปชนกับเส้ นกาหนดขนาด
1 ตรงกลางเว้ นช่องว่างไว้ เขียนตัวเลขบอกขนาด
16 1
16

1
16
1
8

3
1

5 3
7. เส้ นแสดงรอยตัด (BREAK LINE) เป็ นเส้ นที่มีลกั ษณะซิกแซก ใช้ ในการแสดงให้ ทราบว่า
วัตถุ หรื อชิ ้นงานนันยั
้ งมียาวต่อไปอีกที่มีขนาด และรูปร่างเท่าเดิม ซึง่ เว้ นไว้ ในฐานที่เข้ าใจและไม่ให้ เปลือง
พื ้นที่การเขียน มีสองแบบ คือ เส้ นแสดงรอยตัดระยะสัน้ และเส้ นแสดงรอยตัดระยะยาว

เส้ นรอยตัดระยะสัน้ (SHORT BREAK LINE)


เส้ นรอยตัดระยะยาว (LONG BREAK LINE)
9. เส้ นนา (LEADER LINE) คือ เส้ นลูกศรที่ใช้ ในการชี ้บอกหรื ออธิบายรายละเอียด
(DETAIL)ประกอบแบบ

ผนังตู้ไม้ อดั 20 ม.ม.


ภาพไอโซเมตริก (ISOMETRIC) คือ ภาพที่มีมุม 30 องศา จากเส้ นระดับ
ถ้ ารวมสามแกนจะได้ 120 องศา ภาพนีบ้ างทีเรี ยนกว่ า “ภาพสามมิต”ิ มุมของ
เส้ นที่ใช้ ในการเขียนคือมุม 30 องศา และ 90 องศา
30°
90°
30° 90°
30°
120°
30° 120°
120°
30°

เส้ นระดับ 180°


ภาพไอโซเมตริก

39
การเขียนภาพไอโซเมตริก

1. 2. 3.

4. 5.
40
ภาพออบลิค (OBLIQUE) คือ ภาพด้ านหน้ าด้ านบนยกทามุม 45 องศา
(ตามมุมมอง ISO.)กับเส้ นระดับ (180 องศา) ภาพนีจ้ ะใช้ มุม 45องศา และ
90 องศา ซึ่งมีขัน้ ตอนในการเขียนดังนี ้
เส้ นแกน
90°

45°

เส้ นระดับ 180°


1. สร้างสี่ เหลี่ยมขนาด 110 x 60 x70 (ใช้มาตราส่ วน 1:10)
180˚
45˚
45˚
180˚ 90˚

70 90˚
90˚
45˚
180˚
60
110
80 30

30
60

20

20

70

20
20
20
110
ภาพออบลิก

46
การเขียนภาพออบลิก

47
ภาพเปอร์ สเปคทีฟ (PERSPECTIVE) เป็ นภาพที่มีรูปร่ างเหมือนจริง
ที่สุดคือส่ วนที่อยู่ใกล้ ตาจะโต และส่ วนที่ไกลออกไปจะค่ อย ๆ เล็กลง ๆ เป็ น
จุดอันตรธาน (VP. = VANISHING POINT) ภาพแบบนีแ้ บ่ งออกได้ เป็ น 2 แบบ
1.ขีดเส้ นระดับสายตา (EYE LEVEL) ที่มีมุม 180องศา

180° 
EYE LEVEL 180°
2. ขีดเส้ นแกนภาพ 90°

90°
90°
 
180° 180°
3. กาหนดจุดอันตธาน (VP) แล้ วขีดโยงมายังเส้ นแกนตามขนาดความสูงของภาพ


VP VP
EYE LEVEL
4. ขีดเส้ น 90° ตามขนาดความกว้ างของภาพ

90°
90°
 
VP
5. ขีดเส้ น 180° ตามขนาดความสูงของภาพที่กาหนด

180°
180°

VP


180°
6. ขีดเส้ น 90° ตามความยาวของภาพด้ านข้ างที่กาหนด

90° 90°
VP
180°
7. ขีดเส้ นเอียงตามมุมของจุด VP ซึ่งจะได้ รูปด้ านข้ าง


VP
EYE
LEVELEYE
VP เส้ นระดับสายตา
EYE LEVEL
ข้าง หน้า
เหนือระดับสายตา
ABOVE EYE LEVEL

ล่าง

ระดับสายตา
EYE LEVEL VP ข้าง

บน
ใต้ ระดับสายตา
BELO EYE LEVEL
VP1 เส้ นระดับสายตา VP2
บน

ข้างซ้าย ข้างขวา
ภาพฉาย

ด้านบน

ด้านข้าง

ด้านหน้า

63
วิธีเขียนภาพฉายในการเขียนแบบในแต่ ละด้ าน

1. ภาพด้ านหน้ า F.V.


(Front View) 2. ภาพด้ านข้ าง S.V.
(Side View) 3. ภาพด้ านบน T.V.
(Top View)

64
โครงสร้ างอะตอม
 โปรตอน P
 นิวตรอน N
 อิเล็กตรอน E
ไฟฟ้า................
การเคลือ่ นทีข่ องอิเล็กตรอนอิสระ
ไฟฟ้าคือ......
พลังงานทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นทีข่ องอีเล็กตรอนอิสระ
สสาร...................
ตัวนาไฟฟ้า
ฉนวน
สารกึง่ ตัวนา
การทาให้ เกิด....อิเลคตอน
อิสระ
1. ขัดสี........ไฟฟ้ าสถิต
การทาให้ เกิด....อิเลคตอนอิสระ
2. ไฟฟ้ าจากการเหนี่ยวนา

การเหนี่ยวนา
การทาให้ เกิด....อิเลคตอนอิสระ
3.ไฟฟ้าจากปฏิกิริยาเคมี
แบตเตอรี่ รถยนต์ชนิดต้องเติมน้ ำกลัน่

แบตเตอรี่ รถยนต์ชนิดไม่ตอ้ งเติมน้ ำกลัน่


การทาให้ เกิด....อิเลคตอนอิสระ
4 พลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Cell)
การทาให้ เกิด....อิเลคตอน
อิสระ
5 พลังงานไฟฟ้าจากแรงกดหรือยืดตัว
การทาให้ เกิด....อิเลคตอนอิสระ
6 พลังงานความร้อน
ชนิดของกระแสไฟฟ้ า 2 ชนิด
 ไฟฟ้ากระแสตรง (direct current: DC) คือ ...........
ไฟฟ้าที่มที ิศทางการไหลเพียงทิศทางเดียว

 ไฟฟ้ากระแสสลับ (alternating current:


AC) ไฟฟ้าที่มที ิศทางการไหลไปในทางกลับกัน กล่าวคือ กระแส
มันไม่มขี ั้ว มีทิศทางการไหลที่กลับไปกลับมาอยู่ตลอดเวลา
ไฟฟ้า...................................

ความต้านทาน
........สสารทีต่ ้านการไหลของอิเล็กตรอนอิสระ
........RESISTER…….
 ย่อ R
หน่วย โอห์ม สัญญาลักษณ์......Ω (โอเมก้า)
ไฟฟ้า...................................

การแสไฟฟ้า
การเคลือ่ นที(่ การไหล)ของตัวอีเล็กตรอนอิสระ
ย่อ I
.......
หน่วย แอมแปร์ สัญญาลักษณ์......A
ไฟฟ้า...................................

แรงเคลือ่ น.....แรงดัน
........
แรงของอีเล็กตรอนอิสระในการเคลือ่ นที่
 ย่อ E
หน่วย โวลท์ สัญญาลักษณ์......V
ไฟฟ้า...................................
 กาลังไฟฟ้า Power
 ........พลังงานทีใ่ ช้....
 ......มากหรือน้อยขึน้ อยู่กบั .....แรงเคลือ่ น(E)กับกระแสไฟฟ้า(I)
 ย่อ P
 หน่วย วัตต์ สัญญาลักษณ์......W
ความสัมพันธ์...กาลังไฟฟ้า-แรงเคลื่อน-กระแสไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ ...แรงเคลื่อน-กระแสไฟฟ้ า-ความต้ านทาน
วงจรไฟฟ้า.......ขนาน
วงจรไฟฟ้า.......อนุกรม
วงจรไฟฟ้า.......ผสม
สูตร....ความต้ านทานในวงจรอนุกรม
สูตร....ความต้ านทานในวงจรขนาน
วงจรผสม
การต่อแบตเตอรรี่ .....ขนาน
การต่อแบตเตอรรี่ .....อนุกรม
วงจรผสม
ครบวงจร
วงจรเปิ ด
วงจรปิ ด
ปริ มาณ กระแสไฟฟ้าผลกระทบต่อร่างกาย
 1 mA หรือ น้อยกว่า ไม่มผี ลกระทบต่อร่างกาย
 มากกว่า 5 mA ทาให้เกิดการช็อก และเกิดความเจ็บปวด
 มากกว่า 15 mA กล้ามเนือ้ บริเวณทีถ่ ูกกระแสไฟฟ้าดูดเกิดการหดตัว
และร่างกายจะเกิดอาการเกร็ง
 มากกว่า 30 mA การหายใจติดขัด และสามารถทาให้หมดสติได้
 50 ถึง 200 mA ขาดเลือดไปเลีย้ งหัวใจ และอาจจะเสียชีวติ ได้ภายในเวลาไม่กวี่ นิ าที
 มากกว่า 200 mA เกิดไหม้บริเวณผิวหนังทีถ่ ูกกระแสไฟฟ้าดูด
และหัวใจจะหยุดเต้นภายในเวลาไม่กวี่ นิ าที
 ตัง้ แต่ 1A ขึน้ ไปผิวหนังบริเวณทีถ่ ูกกระแสไฟฟ้าดูดถูกทาลายอย่างถาวร
และหัวใจจะหยุดเต้นภายในเวลาไม่กวี่ นิ าที
เครื่องใช้ไฟฟ้า

เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นเครือ่ ง
อานวยความสะดวกสบาย
สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้
เป็นพลังงานรูปอื่นๆ ได้ เช่น การ
เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน
แสง พลังงานความร้อน พลังงาน
กล พลังงานเสียง เป็นต้น
ฟิวส์

ฟิ วส์เป็ นโลหะผสมระหว่างตะกัว่ กับดีบุก ส่ วนมากมีลกั ษณะเป็ นเส้นหรื อ


เป็ นแผ่นแบน ฟิ วส์จะแทรกอยูใ่ นวงจรไฟฟ้าตอนต้น ถ้าขนาดของ
กระแสไฟฟ้ามากเกินไปฟิ วส์จะหลอมละลายและขาดออก จากกันทาให้
วงจรเปิ ด กระแสไฟฟ้าจะหยุดไหล
ฟิ วส์แบบต่างๆ
มิเตอร์ไฟฟ้า
อุปกรณ์วัดปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในแต่ละเดือน
ปลั้กไฟ(เต้ารับเสียบ )
สะพานไฟ
สะพานไฟ
คือสวิตช์แบบหนึ่ง แต่เป็ นสวิตช์ใหญ่ที่ควบคุมกระแสไฟฟ้าที่จะไหลเข้าบ้าน
สะพานไฟแบบเก่าจะเป็ นแบบโยกขึ้นโยกลง ปัจจุบนั ยังใช้กนั อยูม่ ากเพราะมีราคาถูกถ้าไม่
ต้องการให้ กระแสไฟฟ้าเข้าบ้านก็โยกลง สะพานไฟแบบนี้จะมีฟิวส์แบบเส้นอยูภ่ ายในถ้า
เกิดไฟฟ้าลัดวงจรหรื อไฟเกิน ฟิ วส์จะขาด ต้องเปลี่ยนโดยโยกสะพานไฟลงแล้วเปลี่ยน
แล้วเปลี่ยนเส้นใหม่แทน แล้วจึงโยกสะพานไฟกลับที่เดิมปัจจุบนั บ้านสมัยใหม่นิยมใช้
สะพานไฟแบบตัดไฟได้เอง คือ เหมือนเป็ นฟิ วส์ในตัวถ้าเกิดวงจรลัดหรื อกระแสไฟมาก
เกินไป สะพานไฟจะตัดกระแสไฟฟ้าเอง โดยตัวสวิตช์ดีดลงต่อเมื่อแก้ไขเสร็ จแล้วจึงดัน
สวิตช์ข้ ึนก็สามารถใช้ไฟได้ตามปกติ
ประโยชน์ของสะพานไฟ
(1) เมื่อต้องทิ้งบ้านไปเป็นเวลานาน ควรยกสะพานไฟลงเพื่อไม่ให้กระแสไฟฟ้าไหล
เข้าบ้าน เป็นการป้องกันอัคคีภัยที่จะเกิดจากกระแสไฟฟ้า
(2) เมื่อต้องการต่อเติมหรือซ่อมแซมอุปกรณ์ไฟฟ้า จะต้องยกสะพานไฟลงเพื่อให้
ทางานได้อย่างสะดวกปลอดภัย และขณะที่ซ่อมแซมควรเขียนป้ายแขวนไว้ที่
สะพานไฟด้วย เพื่อป้องกันคนที่ไม่รู้ยกสะพานไฟขึ้น
หม้อแปลงไฟฟ้า
อุปกรณ์ที่เพิ่มและลดแรงดันของไฟฟ้า
สวิตช์
สวิตช์ เป็นตัวปิด เปิดวงจร เพื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ มี
หลายแบบขึ้นอยู่กับการใช้งาน ดังนี้
(1) สวิตช์ปิด – เปิดธรรมดา ใช้กับหลอดไฟต่างๆ ในห้อง ริมรั้ว เป็นต้น ด้านที่กดแล้วทา
ให้วงจรปิด (กระแสไฟฟ้าไหล) จะมีเครื่องหมายบอกไว้ เช่น มีขีดสีดา
(2) สวิตช์สองทาง ใช้บริเวณทางขึ้นและลงบันได ต้องใช้ร่วมกัน 2 อัน คือ ด้านบน ด้านล่าง
เมื่อกดอันใดอันหนึ่งไฟก็จะเปิดแล้วเมื่อขึ้นหรือลงแล้วกดสวิตช์อีกอันไฟก็จะดับสวิตช์
แบบนี้จะไม่มี เครื่องหมายบอกเหมือนแบบแรก มีการต่อที่แตกต่างกันและใช้แทนกัน
ไม่ได้
(3) สวิตช์กดติดปล่อยดับ สวิตช์แบบนี้ภายในจะมีสปริง เมื่อกดจะทาให้วงจรปิดและเมื่อ
ปล่อยมือสปริงจะดันกับทาให้วงจรเปิด พวกนี้มักจะใช้กับกระดิ่งไฟฟ้าโดยตัวสวิตช์จะติดอยู่
ที่ประตูหน้าบ้าน
(4) สวิตช์แบบกดเปิด – กดปิด สวิตช์แบบนี้ถ้ากดครั้งแรกวงจรปิด กดอีกครั้งวงจรจะเปิด
มักจะใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ซับซ้อน เช่น โคมไฟหรือของเล่นต่างๆ
(5) สวิตช์อัตโนมัติ สวิตช์แบบนี้จะตัดไฟเองเมื่อกระแสไฟฟ้ากรรโชกหรือไหลมากเกินไป มี
หลายขนาดให้เลือกตามการใช้งาน มักใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กินไฟมากๆ หรือที่ต้องการให้เกิด
ความปลอดภัยจากไฟฟ้าดูด เช่น เครื่องซักผ้า เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น
สะพานไฟ
สะพานไฟ คือสวิตช์ แบบหนึ่ง แต่ เป็ นสวิตช์ ใหญ่ ทคี่ วบคุมกระแสไฟฟ้าที่
จะไหลเข้ าบ้ าน สะพานไฟแบบเก่าจะเป็ นแบบโยกขึ้นโยกลง ปัจจุบนั ยัง
ใช้กนั อยูม่ ากเพราะมีราคาถูกถ้าไม่ตอ้ งการให้ กระแสไฟฟ้าเข้าบ้านก็
โยกลง สะพานไฟแบบนี้จะมีฟิวส์แบบเส้นอยูภ่ ายในถ้าเกิดไฟฟ้า
ลัดวงจรหรื อไฟเกิน ฟิ วส์จะขาด ต้องเปลี่ยนโดยโยกสะพานไฟลงแล้ว
เปลี่ยนแล้วเปลี่ยนเส้นใหม่แทน แล้วจึงโยกสะพานไฟกลับที่เดิมปัจจุบนั
บ้านสมัยใหม่นิยมใช้สะพานไฟแบบตัดไฟได้เอง คือ เหมือนเป็ นฟิ วส์
ในตัวถ้าเกิดวงจรลัดหรื อกระแสไฟมากเกินไป สะพานไฟจะตัด
กระแสไฟฟ้าเอง โดยตัวสวิตช์ดีดลงต่อเมื่อแก้ไขเสร็ จแล้วจึงดันสวิตช์
ขึ้นก็สามารถใช้ไฟได้ตามปกติ
สายไฟ
สายไฟ สายไฟส่วนใหญ่ทาด้วยทองแดงเพราะทองแดงเป็นโลหะทีน่ าไฟฟ้า
ได้ดีมาก ราคาถูก
ขนาดของสายไฟจะขึ้นอยู่กบั ขนาดของกระแสไฟฟ้าทีผ่ ่าน ถ้ากระแสไฟฟ้าผ่านมากต้องใช้
สายไฟที่มีขนาดใหญ่ และถ้ากระแสไฟฟ้าผ่านน้อย สายไฟก็จะมีขนาดเล็กลง ขีดความสามารถของ
สายไฟมักจะเขียนบอกไว้ที่ตัว สายเป็นระยะๆ เช่น 220 V 10 A หมายความว่าสายไฟฟ้านี้ใช้กับ
แรงดันไม่เกิน 220โวลต์ และกระแสไฟฟ้าผ่านได้สูงสุดไม่เกิน 10 แอมแปร์ การใช้สายไฟที่มีขนาด
ใหญ่เกินความจาเป็นไม่เกิดอันตรายแต่จะสิ้นเปลือง โดยใช่เหตุ แต่ถ้าขนาดของสายเล็กเกินไปจะ
ทาให้สายร้อย เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมากทาให้ฉนวนที่หุ้มเสื่อมหรือละลายทาให้กลายเป็น สาย
เปลือย(สายที่ไม่มีฉนวนหุ้ม) ซึ่งถ้าหากส่วนที่ไม่มีฉนวน หุ้มนี้มาสัมผัสกัน ก็จะเกิด ไฟฟ้าลัด
กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านได้มากทาให้เกิดความร้อนสูงและเกิดอัคคีภัยได้ อย่างไรก็ตาม เรามีอุปกรณ์
ที่ป้องกันไม่ให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าตัวบ้านหรืออาคารมากเกินไป สิ่งนั้นคือ ฟิวส์
สายไฟฟ้าแรงสูง
เต้าเสียบ
สถานไฟฟ้าย่อย
องค์ประกอบของวงจรไฟฟ้า
แหล่งกาเนิดไฟฟ้า

ตัวนาไฟฟ้า

เครื่ องใช้ไฟฟ้า
วงจรปิด
การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม
การต่ อวงจร แบบอนุกรม (Series Circuit)
การต่อแบบอนุกรม การต่อแบบนี่คือการนาอาอุปกรณ์ไฟฟ้า หรื อโหลด(Load) ต่างๆมาต่อเรี ยง
กันคานวณ ในแนวแรงเคลื่อน เท่ากับเครื่ องกาเนิดไฟฟ้า แล้วนาเอาทั้งสองไปต่อกับสายเมน ตามรู ป
เป็ นการ ต่อแบบอนุกรม โดยใช้ตวั ต้านทาน 4 ตัวมาต่อเรี ยงกันได้จานวนแรงเคลื่อนท่ากับ
แรงเคลื่อนไฟฟ้าจากสายเมน ปลายทั้งสองต่อเข้ากับสายเมนต่อแบบนี้ผลเสี ยก็คือ ถ้าหากว่าความ
ต้านทานหรื อโหลดตัวใดเกิดขาดหรื อชารุ ดเสี ยหายกระแสจะไม่สามารถไหลผ่านไปยังอุปกรณ์ตวั อื่นๆ
ได้ ดังนั้นการต่อวิธีน้ ีจึงไม่ควรนิยมใช้ทวั่ ไป จะมีใช้กนั อยูใ่ นวงจรวิทยุ โทรทัศน์การต่อวงจรแบบนี้
จะทาให้เกระแสไฟฟ้าไหลไปแต่ละตัวโดยลาดับ
การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
การต่ อแบบขนาน (Parallel Circuit)
การต่อแบบขนานเป็ นวิธีที่นิยมนามาใช้ต่อไฟฟ้าทัว่ ไป ใช้แสงสว่าง ใช้ความร้อน พัดลม วิทยุ
โทรทัศน์ เป็ นต้นเป็ นวงจรที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านปลายทาง หรื อตั้งแต่สองทางขึ้นไปจนครบวงจร การ
ต่อคือ เราต่อเป็ นสายเมนใหญ่เข้ามาในบ้าน (2สาย)แล้วจึงต่อจากสายเมนใหญ่เหมือนกัน เราจึงเรี ยกการ
ต่อแบบนี้วา่ "การต่อแบบขนาน"
• จากรู ป จะเห็นว่ากระแสไฟฟ้าออกจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้า หรื อแบตเตอรี่ ไปตามสายไฟ
ตามลูกศร ผ่านตัวต้านทาน 4 ตัว (โหลดหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้า) ซึ่งต่อแบบขนานไว้ แต่ละตัวเป็ นคนละวงจร
กันสามารถที่จะแยกการทางานได้อย่างอิสระ หรื อใช้สวิทช์เป็ นตัวควบคุมร่ วมกันหรื อแยกกันละวงจรได้
เพราะแต่ละวงจรจะใช้แรงดันไฟฟ้าเท่าๆกัน นิยม ใช้ต่อไฟฟ้าตามบ้านและโรงงานอุตสาหกรรม
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง เช่น ไฟฉาย หลอดไฟฟ้า ฯลฯ
สายล่อฟ้ า สายล่อฟ้ าเป็ นสิง่ ประดิษฐ์เพือ่ ป้ องกันฟ้ าผ่า ทาด้วยลวดทองแดง ซึง่ เป็ นตัวนาไฟฟ้ าทีด่ ี
ลักษณะของสายล่อฟ้ าที่ดี
1. ทาด้วยโลหะทีน่ าไฟฟ้ าได้ดี เช่น ลวดทองแดง และต้องเชื่อมเป็ นเนื้อเดียวกันตลอด
2. มียอดแหลมปลายเดียวหรือเป็ นง่ามหลายปลายและมีลวดโลหะขนาดใหญ่ต่อจาก ยอดแหลมลงดิน
3. มีแผ่นทองแดงหรือแผ่นเหล็กเชื่อมติดสายล่อฟ้ าฝั งลงในดินบริเวณเปี ยกชืน้
การป้ องกันอันตรายจากฟ้ าผ่า
ในขณะเกิดฝนฟ้ าคะนอง เราควรปฏิบตั ติ นให้พน้ จากอันตรายจากไฟฟ้ าในบรรยากาศ เช่น ฟ้ าผ่า ดังนี้
1. อย่าอยูใ่ นทีโ่ ล่งแจ้ง 2. อย่าอยูใ่ ต้ตน้ ไม้สงู
3. อย่าลงเล่นน้า เล่นเรือหรือกีฬาทางน้า 4. ควรอยูใ่ นอาคารบ้านเรือน

4.1 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานแสงสว่าง
เช่น หลอดไฟธรรมดาหรือหลอดไฟชนิดไส้ และหลอดเรื่องแสงหรือหลอด
ฟลูออเรสเซนต์ เป็นหลอดไฟที่มีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้า
เป็นพลังงานแสงได้สูงกว่าหลอดไฟธรรมดา ให้ความสว่างมากกว่าหลอดไฟ
ธรรมดาประมาณ 5 เท่า มีอายุการใช้งานมากว่ากว่าหลอดไฟธรรมดาถึง 8 เท่า
1 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานแสงสว่าง

เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานแสงสว่าง ได้แก่
หลอดไฟฟ้า ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1.หลอดไฟธรรมดาหรือหลอดแบบมีไส้
2.หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์
1.1 หลอดไฟธรรมดาหรือหลอดแบบมีไส้

โทมัส แอลวา เอดิสัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน


เมื่อปี พ.ศ. 2422 เป็นผู้ประดิษฐ์หลอดไฟฟ้าเป็นคนแรก
โดยใช้คาร์บอนเส้นเล็ก ๆ เป็นไส้หลอด และได้พัฒนาขึ้น
จนเป็นไส้หลอดทังสเตนเส้นเล็ก ๆ ที่เราพบเห็นในปัจจุบัน
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของหลอดไฟธรรมดา
2.หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์

หลอดเรื องแสงหรื อหลอดฟลูออเรสเซนต์ ภายในเป็ นสู ญญากาศ บรรจุ


ไอปรอทไว้ เล็กน้ อย ผิวด้ านในฉาบด้ วยสารเรื องแส เมื่อกระแสไฟฟ้ าไหลผ่ าน
ไอปรอท อะตอมของปรอทจะคายรังสี อลั ตราไวโอเลตออกมาเมื่อรังสี นีก้ ระทบ
กับสารเรื องแสงจะเปล่งแสงสว่ าง
สตาร์ตเตอร์ (Starter) ทาหน้าที่เป็นสวิตช์อัตโนมัติในขณะหลอด
เรืองแสงยังไม่ติด และหยุดทางานเมื่อหลอดเรืองแสงสว่างแล้ว
แบลลัสต์ (Ballast) ทาหน้าที่เพิ่มความต่างศักย์เพื่อให้หลอด
เรืองแสงติดในตอนแรก และทาให้กระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอดลดลงเมื่อ
หลอดติดแล้ว พร้อมทั้งควบคุมกระแสไฟฟ้าให้คงตัว
2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน
เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน
ความร้อน
ส่วนประกอบที่สาคัญของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน
1.ขดลวดความร้อนหรือแผ่นความร้อน (heater) ซึ่งทามาจากลวดนิโครม
เป็นโลหะผสมระหว่างนิเกิลกับโครเมียม ซึ่งมีคุณสมบัติด้านความต้านทานไฟฟ้าสูง มี
จุดหลอมเหลวสูง จึงไม่ขาดง่าย
2.สวิตซ์ความร้อนหรือตัวควบคุมอุณหภูมิ ทาหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิให้คงที่หรือ
เป็นสวิตซ์อัตโนมัติ ทาด้วยโลหะคู่ เช่น ทองเหลืองกับทองแดง เมื่อได้รับความร้อน
จะขยายตัวไม่เท่ากัน และจะแยกออกจากกัน เป็นการตัดไฟไม่ให้กระแสไฟฟ้าผ่าน
แต่เมื่อเย็น โลหะทั้งสองก็จะแตะกันอีก ทาให้กระแสไหลผ่านได้
3. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล
ประกอบด้วยมอเตอร์และเครื่องควบคุมความเร็ว การทา
ให้เครื่องหมุนช้าหรือเร็วนั้นทาได้โดยการเพิ่มหรือลดความ
ต้านทานภายในเครื่อง ซึ่งมีผลต่อปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหล
ผ่านเครื่อง และทาให้ความเร็วเปลี่ยนไปได้
4. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง
เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลีย่ นพลังงานไฟฟ้าเป็น
พลังงานเสียง เช่น เครื่องรับวิทยุ เครื่องบันทึกเสียง
เครื่องขยายเสียง เป็นต้น
เครื่องรับวิทยุ
เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงโดย
รับคลื่นวิทยุจากสถานีส่ง ภายในเครื่องรับวิทยุจะมีอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าให้
แรงขึ้นจนเพียงพอที่ทาให้ลาโพงสั่นสะเทือนเป็นเสียง ดังแผนภาพ
ต่อไปนี้
เครื่องบันทึกเสียง
เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงโดยใช้ไมโครโฟนเปลี่ยนเสียงพูด
เสียงร้องเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วบันทึกสัญญาณไฟฟ้าลงแถบบันทึกเสียงในรูปของสัญญาณ
แม่เหล็ก เมื่อนาแถบบันทึกเสียงที่บันทึกเสียงมาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูกเปลี่ยนเป็น
สัญญาณไฟฟ้าแล้วขยายให้แรงขึ้น จนพอที่จะทาให้ลาโพงสั่นสะเทือนเป็นเสียงอีกครั้งหนึ่ง
ในการเลือกซื้อเครือ่ งใช้ไฟฟ้าชนิดต่างๆ สามารถทราบค่า
กาลังไฟฟ้าได้จากตัวเลขที่กากับไว้ที่เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิด เช่น
หลอดไฟฟ้ามีตัวเลขกากับไว้ว่า 220 v 100 w มีความหมายดังนี้
เทคนิคการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
การคานวณเรื่ องกาลังไฟฟ้ า
กำลังไฟฟ้ ำ หมายถึง พลังงานไฟฟ้ าที่ใช้ ใน 1 หน่ วยเวลา
กำลังไฟฟ้ ำ 1 วัตต์ จึงหมายถึง การใช้ ไฟฟ้ า 1 จูล ในเวลา 1 วินาที
5. การคานวณหาค่าไฟฟ้า

ก่อนที่กระแสไฟฟ้าจะต่อเข้าบ้านต้องผ่านมาตรไฟฟ้า ซึ่งเป็น
เครื่องวัดพลังงานในหน่วยกิโลวัตต์ - ชั่วโมง มาตรไฟฟ้ามีหลายขนาด
เช่น 5, 15, และ 50 เป็นต้น จะต้องเลือกขนาดให้เหมาะสมกับการใช้งาน
และในการคิดค่าไฟฟ้าได้
ข้ อสอบ 0-net

You might also like