You are on page 1of 957

Theory Structures

ข ้อที่ 1 : จากโครงสร ้างคานดังแสดงในรูป จงวิเคราะห์วา่ โครงสร ้างนีม


่ เี สถียรภาพ (Stable) หรือไม่ เป็ น

1 :ไม่มเี สถียรภาพ
2 : มีเสถียรภาพ, เป็ นโครงสร ้างแบบ determinate
3 : มีเสถียรภาพ, เป็ นโครงสร ้างแบบ indeterminate มี degree of indeterminancy = 1
4 : มีเสถียรภาพ, เป็ นโครงสร ้างแบบ indeterminate มี degree of indeterminancy = 2
5 : มีเสถียรภาพ, เป็ นโครงสร ้างแบบ indeterminate มี degree of indeterminancy = 3

ข ้อที่ 2 : จากโครงสร ้างคานดังแสดงในรูป จงวิเคราะห์วา่ โครงสร ้างนีม


่ เี สถียรภาพ (Stable) หรือไม่ เป็ น

1 : ไม่มเี สถียรภาพ
2 : มีเสถียรภาพ, เป็ นโครงสร ้างแบบ determinate
3 : มีเสถียรภาพ, เป็ นโครงสร ้างแบบ indeterminate มี degree of indeterminancy = 1
4 : มีเสถียรภาพ, เป็ นโครงสร ้างแบบ indeterminate มี degree of indeterminancy = 2
5 : มีเสถียรภาพ, เป็ นโครงสร ้างแบบ indeterminate มี degree of indeterminancy = 3

ข ้อที่ 3 : โครงข ้อแข็งดังรูปมีเสถียรภาพทางโครงสร ้างเป็ นอย่างไร

1 : stable – indeterminate – degree of indeterminacy = 3


2 : stable – indeterminate – degree of indeterminacy = 4
3 : stable – indeterminate – degree of indeterminacy = 5
4 :stable – indeterminate – degree of indeterminacy = 6

ข ้อที่ 4 : Specify the number of degrees of indeterminacy of the frame shown below.
1:3
2:6
3:9
4 : 12

ข ้อที่ 5 : Specify the number of degrees of indeterminacy of the frame shown below.

1:9
2 : 10
3 : 11
4 : 12

ข ้อที่ 6 : Specify the number of degrees of indeterminacy of the frame shown below.

1:8
2:9
3 : 10
4 : 11

้ ส่วน AC
ข ้อที่ 7 : จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในชิน
1 : 3P/8 แรงอัด
2 : 3P/8 แรงดึง
3 : P/2 แรงดึง
4 : 3P/2 แรงดึง

ิ้ สว่ น BD
ข ้อที่ 8 : จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในชน

1 : 5P/8 แรงอัด
2 : 3P/2 แรงดึง
3 : 3P/8 แรงอัด
4 : 3P/8 แรงดึง

ิ้ สว่ น BC
ข ้อที่ 9 : จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในชน

1 : 3P/8 แรงอัด
2 : 5P/8 แรงดึง
3 : 15P/8 แรงอัด
4 : 15P/4 แรงดึง
้ ส่วน AC
ข ้อที่ 10 : จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในชิน

1 : 3P/8 แรงอัด
2 : 3P/8 แรงดึง
3 : P/2 แรงดึง
4 : 3P/2 แรงดึง

ิ้ สว่ น BD
ข ้อที่ 11 : จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในชน

1 : 3P/8 แรงอัด
2 : 3P/8 แรงดึง
3 : 5P/8 แรงอัด
4 : 3P/2 แรงอัด

ิ้ สว่ น AD
ข ้อที่ 12 : จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในชน
1 : 3P/8 แรงอัด
2 : 5P/8 แรงดึง
3 : 15P/8 แรงดึง
4 : 15P/4 แรงดึง

ข ้อที่ 13 : จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในมากทีส


่ ด ิ้ สว่ น lower chord
ุ ในชน

1 : 2P แรงดึง
2 : 3P แรงดึง
3 : 4P แรงดึง
4 : 3P แรงอัด

ข ้อที่ 14 : จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงภายในมากทีส


่ ด ้ ส่วน upper chord
ุ ในชิน

1 : 2P แรงอัด
2 : 3P แรงอัด
3 : 4P แรงอัด
4 : 3P แรงดึง

ข ้อที่ 15 : จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงดึงภายในทีม


่ ากทีส
่ ด ้ ส่วนทแยง
ุ ในชิน

1:
2:
3:
4 : 2P

ข ้อที่ 16 : จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงดึงภายในทีม


่ ากทีส
่ ด ้ ส่วน AB หรือ BC
ุ ในชิน

1:
2 : P/2
3:P
4:0

ข ้อที่ 17 : จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงดึงภายในทีม


่ ากทีส
่ ด ้ ส่วน AE หรือ ED
ุ ในชิน

1:
2 : P/2
3:P
4:0

ิ้ สว่ น DFC ทีม


ข ้อที่ 18 : จากโครง truss รับแรงกระทำ ดังรูป จงหาแรงอัดภายในชน ่ ากทีส
่ ด

1:0
2:
3:
4 : 3P

ข ้อที่ 19 : โครงสร ้าง 2 มิต ิ ( plane structure) ทีแ


่ สดงในรูป มี unknown displacements อยูก
่ ป
ี่ ริมาณ

1:5
2:7
3:8
4 : 1,2,3 เป็ นคำตอบทีผ
่ ด
ิ ทุกคำตอบ

ข ้อที่ 20 : โครงข ้อหมุนดังรูปมีเสถียรภาพทางโครงสร ้างอย่างไร

1 : unstable
2 : stable+determinate
3 : stable+indeterminate ภายนอกดีกรี 1
4 : stable+indeterminate ภายในดีกรี 1

ข ้อที่ 21 : คานตัวใดไม่มเี สถียรภาพ


1:

2:

3:

4:
ข ้อที่ 22 : โครงข ้อหมุนใดไม่มเี สถียรภาพ (unstable)

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 23 : จงอธิบายเสถียรภาพของโครงข ้อหมุนทีก


่ ำหนด

1 : ไม่มเี สถียรภาพ determinate


2 : ไม่มเี สถียรภาพแบบ indeterminate[if � p o �5{ Ix akNewLine]>
3 : ไม่มเี สถียรภาพ
4 : มีเสถียรภาพแบบ determinate

ิ้ สว่ นทีร่ ับแรงดึงและแรงอัดสูงสุด


ข ้อที่ 24 : จากโครงถักรับแรงกระทำ ดังรูป จงหาชน

1 : AE รับแรงดึงสูงสุด EF รับแรงอัดสูงสุด
2 : AB รับแรงดึงสูงสุด AE รับแรงอัดสูงสุด
3 : BC รับแรงดึงสูงสุด EF รับแรงอัดสูงสุด
4 : CD รับแรงดึงสูงสุด GD รับแรงอัดสูงสุด

ข ้อที่ 25 : จงคำนวณหาโมเมนต์ทฐ
ี่ านรองรับแบบยึดแน่น (Fixed Support) ของคานยืน
่ (Cantilever Be
1 : 30 kN-m ตามเข็ม
2 : 60 kN-m ตามเข็ม
3 : 90 kN-m ตามเข็ม
4 : 120 kN-m ตามเข็ม

ข ้อที่ 26 : จงหา maximum shear ใน member BC

1 : 240 kg
2 : 320 kg
3 : 300 kg
4 : 400 kg

ข ้อที่ 27 : จงหา maximum moment ใน member BC

1 : 400 kg-m
2 : 600 kg-m
3 : 800 kg-m
4 : 1000 kg-m
ข ้อที่ 28 : จงหา Axial Force ใน member BC ทีจ
่ ด
ุ B และ C ตามลำดับ

1 : 375 kg(T), 615 kg(T)


2 : 375 kg(C), 615 kg©
3 : 615 kg(T), 375 kg(T)
4 : 615 kg(C), 375 kg©

ข ้อที่ 29 : จงหา moment ใน member BC ทีจ


่ ด
ุ B และ C ตามลำดับ

1 : 3850 kg-m, 5950 kg-m


2 : 4550 kg-m, 2500 kg-m
3 : 2500 kg-m, 4550 kg-m
4 : 5950 kg-m, 3850 kg-m

ข ้อที่ 30 : จงคำนวณหาโมเมนต์ดด
ั ทีก
่ ระทำต่อคานของภาคตัดทีผ
่ า่ นจุด C ดังแสดงในรูป

1 : 166.7 kg-m
2 : 333.3 kg-m
3 : 533.3 kg-m
4 : 666.7 kg-m
ข ้อที่ 31 : จงคำนวณหาแรงเฉือนภายในของภาคตัดทีผ
่ า่ นระหว่างจุด B และ C ของคานทีม
่ แ
ี รงกระทำอ

1:0
2 : 1T
3 : 2T
4 : 3T
5 : 4T

ข ้อที่ 32 : จงคำนวณหาโมเมนต์ดด
ั ทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ ของคานทีม
่ แ
ี รงกระทำอยูด
่ งั แสดงในรูป

1 : 491 kg-m
2 : 572 kg-m
3 : 693 kg-m
4 : 792 kg-m

่ ั่ งซ ้ายของจุด B และ VBR ทีฝ


ข ้อที่ 33 : จงคำนวณหาแรงเฉือน (Shear force) VBL ทีฝ ่ ั่ งขวาของจุด B

1 : VBL=46 ตัน และ VBR=14 ตัน


2 : VBL=14 ตัน และ VBR=64 ตัน
3 : VBL=30 ตัน และ VBR=30 ตัน
4 : VBL=20 ตัน และ VBR=40 ตัน

ข ้อที่ 34 : จงคำนวณหาโมเมนต์ดด
ั (Bending Moment) MCL ทีฝ ้
่ ั่ งซายของจุ
ด C และ MCR ทีฝ
่ ั่ งขวาข
1 : MCL=420 ตัน.เมตร และ MCR=240 ตัน.เมตร
2 : MCL=140 ตัน.เมตร และ MCR=320 ตัน.เมตร
3 : MCL=320 ตัน.เมตร และ MCR=140 ตัน.เมตร
4 : MCL=220 ตัน.เมตร และ MCR=40 ตัน.เมตร

ข ้อที่ 35 : จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของแรงปฏิกริยา (Reaction forces) RD และ HD ทีจ


่ ด
ุ D แล

1 : HD =500 kg.ทิศทางไปทางขวา, RD=375 kg. ทิศทางลง และ RE =375 kg.ทิศทางขึน



2 : HD =250 kg. ทิศทางไปทางขวา, RD=375 kg. ทิศทางลง และ RE =375 kg. ทิศทางลง
้ RD=187.5 kg. ทิศทางขึน
3 : HD =250 kg. ทิศทางไปทางซาย, ้ และ RE =375 kg. ทิศทางขึน


4 : HD =500 kg. ทิศทางไปทางซาย, RD=187.5 kg. ทิศทางขึน
้ และ RE =375 kg. ทิศทางขึน

้ ส่วน BE และชิน
ข ้อที่ 36 : จงคำนวณหาขนาดและประเภทของแรงตามแนวแกน (Axial forces) ในชิน ้ ส

1 : FBE =0 kg. และ FDE =375 kg. เป็ นแรงดึง


2 : FBE =375 kg. เป็ นแรงดึง และ FDE =375 kg. เป็ นแรงอัด
3 : FBE =375 kg. เป็ นแรงอัด และ FDE=0 kg.
4 : FBE =0 kg. และ FDE =0 kg.

ข ้อที่ 37 : จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของแรงปฏิกริยา (Reaction forces) RA, RE และ HE ทีฐ


่ านร
1 : RA=6 ตัน มีทศ
ิ ทางขึน
้ , RE =1 ตัน มีทศ
ิ ทางขึน
้ และ HE=3 ตัน มีทศ
ิ ทางไปทางขวา
2 : RA=6 ตัน มีทศ
ิ ทางลง, RE =1 ตัน มีทศ ิ ทางไปทางซ ้าย
ิ ทางลง และ HE=3 ตัน มีทศ
3 : RA=3 ตัน มีทศ
ิ ทางลง, RE =6 ตัน มีทศ
ิ ทางขึน
้ และ HE=1 ตัน มีทศ
ิ ทางไปทางขวา
4 : RA=6 ตัน มีทศ
ิ ทางขึน
้ , RE =1 ตัน มีทศ
ิ ทางลง และ HE=3 ตัน มีทศ ้
ิ ทางไปทางซาย

ิ้ สว่ น ABC ทีจ


ข ้อที่ 38 : จงคำนวณหาขนาดและประเภทของแรงตามแนวแกน (Axial forces) ในชน ่ ด
ุ B

1 : NAB=6 ตัน เป็ นแรงอัด


2 : NAB=6 ตัน เป็ นแรงดึง
3 : NAB=3 ตัน เป็ นแรงอัด
4 : NAB=3 ตัน เป็ นแรงดึง

ข ้อที่ 39 : จงคำนวณหาแรงเฉือน (Shear force) VD ทีจ


่ ด
ุ D ของโครงข ้อแข็ง (Frame) ABCDE ดังแส

1 : VD=0 ตัน
2 : VD=1 ตัน
3 : VD=6 ตัน
4 : VD=3 ตัน

ข ้อที่ 40 : จงคำนวณหาโมเมนต์ดด
ั (Bending Moment) MD ทีจ
่ ด
ุ D ของโครงข ้อแข็ง (Frame) ดังแส
1 : MD=5 ตัน.เมตร
2 : MD=7.5 ตัน.เมตร
3 : MD=10 ตัน.เมตร
4 : MD=15 ตัน.เมตร

ข ้อที่ 41 : แรงเฉือนทีจ
่ ด
ุ E ของโครงสร ้างดังรูปมีคา่ เท่าไร

1:0T
2:3T
3:6T
4 : 12 T

ข ้อที่ 42 : ค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ ุ ซงึ่ แรง 10 T กระทำบนโครงสร ้างดังรูปมีคา่ เท่าไร
่ ด

1 : - 1 T-m
2 : - 2 T-m
3 : 5 T-m
4 : 10 T-m

ข ้อที่ 43 : ค่าโมเมนต์ดด
ั สูงสุดบนโครงสร ้างดังรูปเป็ นอย่างไร

1 : 3 T-m ทีจ
่ ด
ุ กึง่ กลางโครงสร ้าง
2 : 27 T-m ทีจ
่ ด
ุ กึง่ กลางโครงสร ้าง
3 : -24 T-m ทีจ
่ ด
ุ B และ C
4 : -27 T-m ทีจ
่ ด
ุ B และ C

ข ้อที่ 44 : ค่าแรงเฉือนสูงสุดบนโครงสร ้างดังรูปเป็ นอย่างไร

1 : 9.3 T ทีจ
่ ด
ุ A
2 : 10 T ทีจ
่ ด
ุ G
3 : 18 T ทีจ
่ ด
ุ B
4 : 29 T ทีจ
่ ด
ุ B

ข ้อที่ 45 : แรงปฏิกริ ย
ิ าในแนวราบทีจ
่ ด
ุ A ของโครงสร ้างดังรูปมีคา่ เท่าไร รูปภาพประกอบคำถาม

1:1T
2:4T
3:7T
4 : 18 T

ข ้อที่ 46 : แรงปฏิกริ ย
ิ าในแนวดิง่ ทีจ
่ ด
ุ E ของโครงสร ้างดังรูปมีคา่ เท่าไร

1:3T
2:6T
3 : 12 T
4 : 16 T

ข ้อที่ 47 : ค่าโมเมนต์ดด
ั สูงสุดบนโครงสร ้างดังรูปเป็ นอย่างไร

1 : -6 T-m ทีจ
่ ด
ุ C
2 : 6 T-m ระหว่างจุด B และ C
3 : 6 T-m ทีจ
่ ด
ุ B
4 : 10 T-m ทีจ
่ ด
ุ B

ข ้อที่ 48 : โครงข ้อแข็งรับน้ำหนักดังรูป ทีต


่ ำแหน่ง B มีคา่ โมเมนต์ดด
ั เป็ นเท่าใด

1 : 100 kg-m ทิศทางบวก


2 : 300 kg-m ทิศทางลบ
3 : 300 kg-m ทิศทางบวก
4 : 600 kg-m ทิศทางลบ

ข ้อที่ 49 : โครงข ้อแข็งรับน้ำหนักดังรูป มีคา่ โมเมนต์ดด


ั สูงสุดเป็ นเท่าใด
1 : 600 kg-m ทิศทางบวก
2 : 600 kg-m ทิศทางลบ
3 : 1400 kg-m ทิศทางบวก
4 : 1400 kg-m ทิศทางลบ

ข ้อที่ 50 : คานชว่ งเดียวทีร่ ับน้ำหนักตามรูป จะมีแผนภาพโมเมนต์ดด


ั เป็ นแบบใด

1:

2:

3:

4:

รวมคะแนน 0

ข ้อที่ 51 : คานช่วงเดียวทีร่ ับน้ำหนักตามรูป จะมีแผนภาพโมเมนต์ดด


ั เป็ นแบบใด
1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 52 : จงคำนวณหาแรงปฏิกริ ย
ิ าทีฐ
่ านรองรับของคานทีก
่ ำหนด

1 : R1 = (M1-M2)/L , R2 = (M2-M1)/L
2 : R1 = (M2-M1)/L , R2 = (M1-M2)/L
3 : R1 = M2/L-M1 , R2 = M1/L-M2
4 : R1 = M2-M1/L , R2 = M1-M2/L

ข ้อที่ 53 : Shear force diagram ของคานในรูปมีลักษณะเป็ นอย่างไร


1 : กราฟเสนตรงมี ั เป็ นบวก
ความชน
2 : กราฟเส ้นตรงมีความชันเป็ นลบ
3 : กราฟเส ้นตรงนอนความชันเป็ นศูนย์

4 : กราฟเสนโค ้งกำลังสอง
ข ้อที่ 54 : จงเขียนสมการของ Bending moment diagram ของคานในรูป กำหนดให ้ x เป็ นระยะใดๆวัด
1 : M = (M1)(1-x)-(M2)x
2 : M = (M2)(1-x)+(M1)x
3 : M = -(M1)(1-x)-(M2)x
4 : M = -(M1)(1-x)+(M2)x

ข ้อที่ 55 : กำหนดให ้M1มีคา่ มากกว่าM2 ลักษณะของ Bending moment diagram สำหรับคานในรูปเป


1 : เสนโค ้งหงายกำลังสอง

2 : เสนตรงนอนความช ั เป็ นศูนย์

3 : เส ้นตรงเอียงความชันเป็ นบวก
4 : เส ้นตรงเอียงความชันเป็ นลบ

ข ้อที่ 56 : จากรูปทีแ
่ สดง แรงดึงในลวดเหล็ก มีคา่ เท่ากับ

1 : 90 กก.
2 : 104 กก.
3 : 156 กก.
4 : 180 กก.

ข ้อที่ 57 : จากรูปทีแ
่ สดง คานรับโมเมนต์มากทีส
่ ด
ุ เท่ากับ
1 : 90 กก.-ม.
2 : 180 กก.-ม.
3 : 208 กก.-ม.
4 : 312 กก.-ม.

ข ้อที่ 58 : จากรูปทีแ
่ สดง คานรับแรงเฉือนมากทีส
่ ด
ุ เท่ากับ

1 : 90 กก.
2 : 104 กก.
3 : 156 กก.
4 : 180 กก.

ข ้อที่ 59 : จากรูปทีแ
่ สดง ภาพของโมเมนต์ดด
ั บนคาน มีรป
ู เป็ น

1 : วงกลม
2 : สเี่ หลีย
่ มผืนผ ้า
3 : สามเหลีย
่ ม
4 : พาราโบลา
ข ้อที่ 60 : จากรูปทีแ
่ สดง แรงในลวดเหล็กมีคา่ เท่ากับ

1 : 6000 กก.
2 : 3000 กก.
3 : 1500 กก.
4 : 750 กก.

ข ้อที่ 61 : จากรูปทีแ
่ สดง แรงปฎิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A เท่ากับ

1 : 10,000 กก.
2 : 6000 กก.
3 : 4000 กก.
4 : 2000 กก.

ข ้อที่ 62 :จากรูปทีแ
่ สดง โมเมนต์มากทีส
่ ด
ุ ในคานเท่ากับ

1 : 4000 กก.-ม.
2 : 8000 กก.-ม.
3 : 12000 กก.-ม.
4 : 20000 กก.-ม.
ิ้ ใดทีส
ข ้อที่ 63 : อุปกรณ์ชน ่ ามารถทำหน ้าทีเ่ ป็ นได ้ทัง้ Input และ Output

1 : 32000 กก.
2 : 16000 กก.
3 : 8000 กก.
4 : 4000 กก.

ข ้อที่ 64 : จากรูปทีแ ั ในคานชว่ ง AB มีรป


่ สดง ภาพของโมเมนต์ดด ู เป็ น

1 : สีเ่ หลีย
่ มผืนผ ้า
2 : สามเหลีย
่ ม
3 : พาราโบลากำลังสอง
4 : พาราโบลากำลัง n

ข ้อที่ 65 : จากโครง truss ทีแ


่ สดง โดยทีต
่ า่ งมีมม
ุ เท่ากันหมด แรงลัพท์ของแรงปฎิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A มีคา่ ปร

1 : 40 กก.
2 : 53 กก.
3 : 67 กก.
4 : 75 กก.

ข ้อที่ 66 : จากโครง truss ทีแ


่ สดง โดยทีต
่ า่ งมีมม ้ ส่วน BC เท่ากับ (โดยประม
ุ เท่ากันหมด แรงภายในชิน

1 : 17 กก.
2 : 37 กก.
3 : 53 กก.
4 : 74 กก.

่ ามารถนำเข ้าสูร่ ะบบสารสนเทศ


ข ้อที่ 67 : ข ้อใดคือรูปแบบข ้อข ้อมูลทีส

1 : 10 กก.
2 : 20 กก.
3 : 30 กก.
4 : 40 กก.

ข ้อที่ 68 : จากโครง Truss ทีแ ้ ส่วน HB เท่ากับ


่ สดง แรงภายในชิน
1:0
2 : 2 ตัน (แรงอัด)
3 : 2 ตัน (แรงดึง)
4 : 4 ตัน (แรงอัด)

ข ้อที่ 69 : จากโครง Truss ทีแ ิ้ สว่ น HC เท่ากับ


่ สดง แรงภายในชน

1:0
2 : 0.7 ตัน (แรงอัด)
3 : 0.7 ตัน (แรงดึง)
4 : 2.8 ตัน (แรงอัด)

ข ้อที่ 70 : จากโครง Truss ทีแ


่ สดง แรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A เท่ากับ

1 : 3.5 T
2 : 3.0 T
3 : 2.5 T
4 : 2.0 T

ข ้อที่ 71 : จากโครงเฟรมทีแ
่ สดง แรงภายในตามแนวแกนของ CD เท่ากับ
1:0
2 : 2.5 ตัน (แรงอัด)
3 : 2.5 ตัน (แรงดึง)
4 : 5 ตัน (แรงอัด)

ข ้อที่ 72 : จากโครงเฟรมทีแ
่ สดง แรงเฉือนมากทีส
่ ด
ุ ใน BC เท่ากับ

1 : 3.5 T
2 : 5.5 T
3 : 6.8 T
4 : 7.8 T

ข ้อที่ 73 : จากโครงเฟรมทีแ
่ สดง โมเมนต์ดด
ั ชนิดบวก (positive moment) ทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ ใน BC มีคา่ เท่าก

1 : 5 ตัน-ม.
2 : 7.5 ตัน-ม.
3 : 12.5 ตัน-ม.
4 : 15.0 ตัน-ม.

ข ้อที่ 74 : Determine the reactions at support e of the frame loaded as shown in figure below

1:

2:
3:

ิ้ สว่ น BC ของโครงถักดังรูป
ข ้อที่ 75 : จงหาแรงภายในชน

1 : BC = 4.33 kN (comp.)
2 : BC = 4.33 kN (tens.)
3 : BC = 0
4 : BC = 3 kN (tens.)

ข ้อที่ 76 : คานช่วงเดีย
่ วปลายยืน
่ รับน้ำหนักบรรทุก ดังรูป ตำแหน่งทีโ่ มเมนต์ดด
ั มีคา่ มากทีส
่ ด
ุ จะอยูห
่ า่ ง

1 : 1.50 เมตร
2 : 2.00 เมตร
3 : 2.50 เมตร
4 : 3.00 เมตร

ข ้อที่ 77 : อุปกรณ์ในข ้อใด ถือว่าเป็ นอุปกรณ์ตอ


่ พ่วง
1 : 2.20 ตัน-เมตร
2 : 2.50 ตัน-เมตร
3 : 2.90 ตัน-เมตร
4 : 3.10 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 78 : เสา AB มีปลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดหมุน รับน้ำหนักบรรทุก ดังรูป จงหาค่าโมเมนต์ดด


ั ทีจ
่ ด

1 : 16.80 ตัน-เมตร
2 : 17.50 ตัน-เมตร
3 : 19.50 ตัน-เมตร
4 : 21.00 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 79 : เสา AB มีปลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดหมุน รับน้ำหนักบรรทุก ดังรูป จงประมาณค่าแรงเฉือนท

1 : 0.15 ตัน
2 : 5.30 ตัน
3 : 5.70 ตัน
4 : 7.80 ตัน

ข ้อที่ 80 : จงหาคำตอบของ 2 + 3 * 4 - 1
1 : อยูพ
่ อดีทจ
ี่ ด
ุ C
2 : อยูใ่ นชว่ ง AC
3 : อยูใ่ นชว่ ง CB
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 81 : โครงเฟรม ABC รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุด ดังรูป โมเมนต์ดด


ั มากทีส
่ ด
ุ บนคาน BC อยูท
่ ี่

1 : จุด D จุดเดียว
2 : จุด E จุดเดียว
3 : จุด D และจุด E
4 : จุด B และจุด C

ข ้อที่ 82 :

1 : แรงอัดตามแนวแกน แรงเฉือนและโมเมนต์ดด

2 : แรงเฉือนอย่างเดียว
3 : โมเมนต์ดด
ั อย่างเดียว
4 : แรงอัดตามแนวแกนอย่างเดียว

ข ้อที่ 83 : โครงเฟรม ABC รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุด ดังรูป จะเห็นว่า เสา AB รับแรงต่างๆ คือ

1 : แรงอัดตามแนวแกน แรงเฉือนและโมเมนต์ดด

2 : แรงเฉือนอย่างเดียว
3 : โมเมนต์ดด
ั อย่างเดียว
4 : แรงอัดตามแนวแกนอย่างเดียว

่ ว่ ยในการลดขนาดของแฟ้ มข ้อมูล
ข ้อที่ 84 : Tool ตัวใดทีช

1 : จุด B จุดเดียว
2 : จุด D จุดเดียว
3 : จุด E จุดเดียว
4 : จุด B และจุด E

ข ้อที่ 85 : โครงเฟรม ABC รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุด ดังรูป ค่าโมเมนต์ดด


ั มากทีส
่ ด
ุ บนคาน BC เท่ากับ

1 : PL
2 : 4PL/3
3 : 5PL/3
4 : 2PL

ข ้อที่ 86 : โครงเฟรม ABC รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุด ดังรูป จะเห็นว่า เสา AB รับแรงต่างๆ คือ

1 : แรงอัดตามแนวแกน แรงเฉือนและโมเมนต์ดด

2 : แรงเฉือนอย่างเดียว
3 : โมเมนต์ดด
ั อย่างเดียว
4 : แรงอัดตามแนวแกนอย่างเดียว

ข ้อที่ 87 : คาน AB รับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคาน โดยมีทอ


่ นเหล็กยึดไว ้ตรงจุด

1 : 5wL/6
2 : 5wL/4
3 : 5wL/3
4 : 5wL/2

ข ้อที่ 88 : คาน AB รับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคาน โดยมีทอ


่ นเหล็กยึดไว ้ตรงจุด

1:
2:
3:
4:

ข ้อที่ 89 : คาน AB รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุดและแบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคาน โดยมีทอ


่ นเหล็ก

1 : 5wL/6
2 : 5wL/4
3 : 5wL/3
4 : 5wL/2

ข ้อที่ 90 : คาน AB รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุดและแบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคาน โดยมีทอ


่ นเหล็ก

1:
2:
3:
4:

ข ้อที่ 91 : คาน AB รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุดและแบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคาน โดยมีทอ


่ นเหล็ก

1:
2:

3:

4:

ข ้อที่ 92 : โครงสร ้างคานดังรูป กราฟโมเมนต์ดด


ั มีลักษณะตรงกับข ้อใด

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 93 : แรงทีก
่ ระทำต่อ Internal roller ทีจ
่ ด
ุ B มีคา่ เท่าใด ?
1 : 2,000 kg.
2 : 4,000 kg.
3 : 6,000 kg.
4 : 8,000 kg.

ข ้อที่ 94 : โครงสร ้างดังรูป แรงปฏิกริ ย


ิ าทีจ
่ ด
ุ B มีคา่ เท่าใด?

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 95 : โมเมนต์ดด
ั สูงสุด มีคา่ เท่าใด ?

1 : 0.67 kN-m
2 : 1.69 kN-m
3 : 2.31 kN-m
4 : 3.08 kN-m

ข ้อที่ 96 : ค่าแรงเฉือนสูงสุด มีคา่ เท่าใด ?

1:

2:

3:

4:

5 : คำตอบข ้อ 1-4 ไม่มค


ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 97 : จากโครงสร ้างคานดังรูป แผนภาพแรงเฉือน(Shear Force Diagram) เป็ นไปตามตัวเลือกข ้อใ

1:

2:
3:

4:

ข ้อที่ 98 : จากโครงสร ้างคานดังรูป แผนภาพโมเมนต์ดด


ั (Bending Moment Diagram) เป็ นไปตามตัวเ

1:

2:

3:

4:
ข ้อที่ 99 : จงคำนวณหาแรงเฉือนภายในของภาคตัดทีผ
่ า่ นระหว่างจุด B และ C ของคานทีม
่ แ
ี รงกระทำด

1:0T
2:1T
3:2T
4:3T

ข ้อที่ 100 : จงคำนวณหาแรงเฉือนภายในของภาคตัดทีผ


่ า่ นระหว่างจุด B และ C ของคานทีม
่ แ
ี รงกระทำ

1:0T
2:1T
3:2T
4:3T

รวมคะแนน 0

ข ้อที่ 101 : จงคำนวณหาแรงเฉือนภายในของภาคตัดทีผ


่ า่ นระหว่างจุด B และ C ของคานทีม
่ แ
ี รงกระทำ
1:0T
2:1T
3:2T
4:3T

ข ้อที่ 102 : จงคำนวณหาแรงปฏิกริ ย


ิ าทีจ
่ ด
ุ D ของคานดังแสดงในรูป

1:5T
2:7T
3:9T
4 : 10 T

ข ้อที่ 103 : จงคำนวณหาแรงปฏิกริ ย


ิ าทีจ
่ ด
ุ D ของคานดังแสดงในรูป

1: 5T
2: 7T
3: 9T
4 : 10 T

เนื้ อหาวิชา : 531 : Influence lines of determinate structures

ข ้อที่ 104 : ข ้อใดเป็ นเส ้นอิทธิพล (Influence line) ของแรงปฏิกริ ย


ิ าทีฐ
่ าน C ของโครงสร ้างดังในรูป
1:

2:

3:

4:

้ ทธิพลของแรงปฏิกริ ย
ข ้อที่ 105 : ข ้อใดแสดงแนวเสนอิ ิ าในแนวดิง่ ทีจ
่ ด
ุ A ของคานดังแสดงในรูป

1:

2:

3:

4:

้ ทธิพลของโมเมนต์ดด
ข ้อที่ 106 : ข ้อใดแสดงแนวเสนอิ ั ทีจ
่ ด
ุ B ของคานดังแสดงในรูป
1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 107 : จงคำนวณหาโมเมนต์ดด


ั บวกทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ ทีจ
่ ด
ุ C ของคานดังแสดงในรูป เมือ
่ มีน้ำหนักบรรทุก
และน้ำหนักบรรทุกแบบตายตัว(Dead Load) ซงึ่ เกิดจากน้ำหนักของคาน กระจายอย่างสม่ำเสมอมีขนาด

1 : 12 T-m
2 : 18 T-m
3 : 36 T-m
4 : 30 T-m

ข ้อที่ 108 : จงคำนวณหาโมเมนต์ดด


ั ลบทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ ทีจ
่ ด
ุ C ของคานดังแสดงในรูป เมือ
่ มีน้ำหนักบรรทุกแ
น้ำหนักบรรทุกแบบตายตัว (Dead Load) และแบบจร (Live Load) กระจายอย่างสม่ำเสมอมีขนาดเท่ากับ
(น้ำหนักบรรทุกจร 4 ตัน/เมตร จะกระจายเฉพาะชว่ งทีจ
่ ะทำให ้โมเมนต์ดด
ั ลบทีจ
่ ด
ุ C มีคา่ มากทีส
่ ด
ุ )

1 : -18 T-m
2 : -36 T-m
3 : -66 T-m
4 : -12 T-m

้ กการของอินฟลูเอนซไ์ ลน์ในการคำนวณหาแรงเฉือนบวกทีม
ข ้อที่ 109 : จงใชหลั ่ ากทีส
่ ด
ุ ทีจ
่ ด
ุ C ของคา
เมือ
่ มีน้ำหนักบรรทุกแบบจุดเท่ากับ 9 ตัน น้ำหนักบรรทุกแบบตายตัว (Dead Load) และแบบจร (Live Lo
กระจายอย่างสม่ำเสมอมีขนาดเท่ากับ 2 ตัน/เมตร และ 4 ตัน/เมตร ตามลำดับ โดยน้ำหนักบรรทุกจร 4 ต

1:4T
2:6T
3 : 10 T
4 : 20 T

้ กการของอินฟลูเอนซไ์ ลน์ในการคำนวณหาแรงเฉือนลบทีม
ข ้อที่ 110 : จงใชหลั ่ ากทีส
่ ด
ุ ทีจ
่ ด
ุ C ของคาน
น้ำหนักบรรทุกแบบตายตัว (Dead Load) และแบบจร (Live Load) กระจายอย่างสม่ำเสมอมีขนาดเท่ากับ
โดยน้ำหนักบรรทุกจร 4 ตัน/เมตร จะกระจายเฉพาะชว่ งทีท
่ ำให ้แรงเฉือนลบทีจ
่ ด
ุ C มีคา่ มากทีส
่ ด
ุ  

1 : -1 T
2 : -2 T
3 : -3 T
4 : -4 T

ข ้อที่ 111 : ข ้อใดแสดงรูปของเส ้นอิทธิพลของแรงปฏิกริ ย


ิ าทีจ
่ ด
ุ รองรับ A
1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 112 : ข ้อใดแสดงรูปของเส ้นอิทธิพลของแรงปฏิกริ ย


ิ าทีจ
่ ด
ุ รองรับ B

1:

2:

3:
4:

้ ทธิพลของแรงปฏิกริ ย
ข ้อที่ 113 : ข ้อใดแสดงรูปของเสนอิ ิ าทีจ
่ ด
ุ รองรับ C

1:

2:

3:

4:

้ ทธิพลของแรงเฉือนทีจ
ข ้อที่ 114 : ข ้อใดแสดงรูปของเสนอิ ่ ด
ุ A

1:

2:
3:

4:

ข ้อที่ 115 : ข ้อใดแสดงรูปของเส ้นอิทธิพลของแรงเฉือนทีจ


่ ด
ุ B

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 116 : ข ้อใดแสดงรูปของเส ้นอิทธิพลของโมเมนต์ทจ


ี่ ด
ุ A

1:

2:
3:

4:

้ ทธิพลของโมเมนต์ทจ
ข ้อที่ 117 : ข ้อใดแสดงรูปของเสนอิ ี่ ด
ุ A

1:

2:

3:

4:

้ ทธิพลของแรงปฏิกริ ย
ข ้อที่ 118 : ข ้อใดแสดงแนวเสนอิ ิ าในแนวดิง่ ทีจ
่ ด
ุ G ของคานดังแสดงในรูป

1:
2:

3:

4:

ข ้อที่ 119 : ค่าแรงปฏิกริ ย


ิ าในแนวดิง่ สูงสุดทีจ
่ ด
ุ A ของโครงสร ้างดังรูปเป็ นอย่างไรภายใต ้การเคลือ
่ นทีข

1 : 4 T ทิศขึน

2 : 4 T ทิศลง
3 : 8 T ทิศขึน

4 : 8 T ทิศลง

ข ้อที่ 120 : ภายใต ้การเคลือ


่ นทีข
่ องแรงกระทำแบบจุด 2 ค่าที่ ดังแสดงในรูป กระทำต่อคานทีก
่ ำหนดให

่ แรงทัง้ 2 ค่า กระทำในชว่ ง AC


1 : เมือ
่ แรงทัง้ 2 ค่า กระทำในชว่ ง AB
2 : เมือ
่ แรงทัง้ 2 ค่า กระทำในชว่ ง BD
3 : เมือ
4 : เมือ
่ แรงทัง้ 2 ค่า กระทำในช่วง DE

ข ้อที่ 121 : ค่าแรงเฉือนทีจ


่ ด
ุ B ของโครงสร ้างดังรูปภายใต ้การเคลือ
่ นทีข
่ องแรงกระทำแบบจุด 2 ค่าทีก

1 : ไม่ม ี
2 : มี เมือ
่ แรงทัง้ 2 ค่า กระทำในช่วง AB
่ แรงทัง้ 2 ค่า กระทำในชว่ ง BD
3 : มี เมือ
4 : มี เมือ
่ แรงทัง้ 2 ค่า กระทำในช่วง DE

ั ในชว่ ง EF ของคานหลัก AB ในระบบพืน


ข ้อที่ 122 : โมเมนต์ดด ้ ดังรูปภายใต ้การเคลือ
่ นทีข
่ องแรงกระทำ

1 : 5.6 T
2 : 7.2 T
3 : 14 T-m
4 : 28 T-m

้ ส่วน A ของโครงข ้อหมุนดังรูปภายใต ้การเคลือ


ข ้อที่ 123 : แรงภายในชิน ่ นทีข
่ องแรงกระทำแบบจุด 10 T

1 : แรงดึง 5 T
2 : แรงอัด 5 T
3 : แรงดึง 10 T
4 : แรงอัด 10 T

้ ส่วน A ของโครงข ้อหมุนดังรูปภายใต ้การเคลือ


ข ้อที่ 124 : แรงภายในชิน ่ นทีข
่ องแรงกระทำแบบจุด 10 T
1 : แรงดึง 7.5 T
2 : แรงอัด 7.5 T
3 : แรงดึง 12.5 T
4 : แรงอัด 12.5 T

ข ้อที่ 125 : จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของแรงปฏิกริยา (Reaction force) RA ของฐานรองรับ A เม

ี้ น
1 : RA=0, ทิศทางชข ึ้
ี้ น
2 : RA=0.5, ทิศทางชข ึ้
้ ง
3 : RA=0.5, ทิศทางชีล
ี้ น
4 : RA=1.0, ทิศทางชข ึ้

ข ้อที่ 126 : จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของโมเมนต์ปฏิกริยา (Reaction moment) MA ของฐานรอง


1 : MA=3, ทิศทางตามเข็มนาฬกา
2 : MA=3, ทิศทางทวนเข็มนาฬกาิ

3 : MA=4, ทิศทางตามเข็มนาฬกา
4 : MA=4, ทิศทางทวนเข็มนาฬกาิ

ข ้อที่ 127 : จงคำนวณหาขนาดของแรงเฉือน (Shear force) VB ทีจ


่ ด
ุ B เมือ
่ น้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นท
1 : VB=0
2 : VB=0.5
3 : VB=1.0
4 : VB=1.5

ข ้อที่ 128 : จงคำนวณหาค่าของโมเมนต์ภายใน (moment) MB ทีจ


่ ด
ุ B เมือ
่ น้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นท

1 : MB=-4
2 : MB=-5
3 : MB=-6
4 : MB=-7

ข ้อที่ 129 : จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของแรงปฏิกริยา (Reaction force) RA ของฐานรองรับ A เม

1 : RA=1.0 ทิศทางขึน

2 : RA=0.75 ทิศทางขึน

3 : RA=0.50 ทิศทางลง
4 : RA=0.25 ทิศทางลง

ข ้อที่ 130 : จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของแรงปฏิกริยา (Reaction force) RE ของฐานรองรับ


1 : RE=0
2 : RE=0.25 ทิศทางขึน้
3 : RE=0.5 ทิศทางขึน

4 : RE=0.75 ทิศทางลง

ิ้ สว่ น GB เมือ
ข ้อที่ 131 : จงคำนวณหาขนาดและประเภทของแรงตามแนวแกน (Axial force) ของชน ่ น้ำ

1 : FGB=0
2 : FGB=0.354 เป็ นแรงอัด
3 : FGB=0.707 เป็ นแรงอัด
4 : FGB=0.354 เป็ นแรงดึง

ิ้ สว่ น CG เมือ
ข ้อที่ 132 : จงคำนวณหาขนาดและประเภทของแรงตามแนวแกน (Axial force) ของชน ่ น้ำ

1 : FCG=1 เป็ นแรงดึง


2 : FCG=1 เป็ นแรงอัด
3 : FCG=0.5 เป็ นแรงดึง
4 : FCG=0.5 เป็ นแรงอัด
ข ้อที่ 133 : พิจารณาโครงสร ้างและเส ้นอิทธิพล (Influence line) ดังในรูป คำตอบข ้อใดเป็ นจริง

1 : ้ ทธิพลทัง้ สองเสนไม่
เสนอิ ้ ถกู ต ้อง
2 : เสนอิ้ ทธิพลทัง้ สองเสนถู
้ กต ้อง
3 : เส ้นอิทธิพลของแรงเฉือนทีด ่ ้านขวาของฐาน C เท่านัน ้ ทีถ ่ ก
ู ต ้อง
4 : ้
เสนอิทธิพลของโมเมนต์ดด ั ในคานทีจ ่ ด
ุ C เท่านัน
้ ทีถ
่ กู ต ้อง

ข ้อที่ 134 : ข ้อใดเป็ นเส ้นอิทธิพล (Influence line) ของแรงปฏิกริ ย


ิ าทีฐ
่ าน E ของโครงสร ้างดังในรูป

1:

2:

3:

4:
้ ทธิพล (Influence line) ของโมเมนต์ดด
ข ้อที่ 135 : ข ้อใดเป็ นเสนอิ ั ทีจ
่ ด
ุ C ของโครงสร ้างดังในรูป

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 136 : พิจารณาโครงสร ้างและเส ้นอิทธิพล (Influence line) ในรูปที่ 1 และ 2 แล ้วหาว่าคำตอบข ้อ

้ ทีเ่ ป็ นเส ้นอิทธิพลของแรงเฉือนทีจ


1 : รูปที่ 1 เท่านัน ่ ดุ B
2 : รูปที่ 2 เท่านัน ้ ทธิพลของแรงเฉือนทีจ
้ ทีเ่ ป็ นเสนอิ ่ ดุ B
3 : รูปที่ 1 และ 2 เป็ นเสนอิ ้ ทธิพลของแรงเฉือนทีจ่ ด
ุ B
ู ใดเป็ นเส ้นอิทธิพลของแรงเฉือนทีจ
4 : ไม่มรี ป ่ ด
ุ B

ข ้อที่ 137 : รถบรรทุกหกล ้อคันหนึง่ มีน้ำหนักลงล ้อหน ้า 20 kN และล ้อหลัง 80 kN ดังในรูป วิง่ ผ่านคาน
ให ้คำนวณหาค่าโมเมนต์ทม
ี่ ากทีส
่ ด
ุ ทีจ
่ ะเกิดขึน
้ ได ้ทีจ
่ ด
ุ B
่ ำแหน่งใดก็ได ้บนสะพาน และหันหน ้ารถไปทางซ ้ายหรือขวาก็ได ้)
(*** รถจะอยูต

1 : 295 kN-m
2 : 355 kN-m
3 : 460 kN-m
4 : 500 kN-m

้ ทธิพลของแรงในชน
ข ้อที่ 138 : คำตอบข ้อใดคือเสนอิ ิ้ สว่ น CD (แสดงเป็ นชน
ิ้ สว่ นสแ
ี ดง) ของโครงข ้อห

1:

2:

3:

4:

้ ทธิพลของแรงในชน
ข ้อที่ 139 : คำตอบข ้อใดคือเสนอิ ิ้ สว่ น DK (แสดงเป็ นชน
ิ้ สว่ นสแ
ี ดง) ของโครงข ้อห
1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 140 : จงเขียนสมการแสดงอินฟลูเอนซไลน์ของแรงปฏิกริยาทีฐ


่ านรองรับ A

1 : I.L.(RA) = x/L - 1
2 : I.L.(RA) = 1
3 : I.L.(RA) = x/L
4 : I.L.(RA) = 1 - x/L
5 : I.L.(RA) = L - 1/x

ข ้อที่ 141 : จงเขียนสมการแสดงอินฟลูเอนซไลน์ของแรงปฏิกริยาทีฐ


่ านรองรับB
1 : I.L. (RB) = 1
2 : I.L. (RB) = 1 - x/L
3 : I.L. (RB) = x/L
4 : I.L. (RB) = x/L - 1

ข ้อที่ 142 : จงเขียนสมการแสดงอินฟลูเอนซไลน์ของแรงเฉือนทีจ


่ ด
ุ C เมือ
่ น้ำหนักบรรทุกจรเคลือ
่ นทีอ
่ ยูใ่

1 : I.L. (Vc) = -x/L


2 : I.L. (Vc) = 1 - x/L
3 : I.L. (Vc) = x/L - 1
4 : I.L. (Vc) = x/L

ข ้อที่ 143 : จงเขียนสมการแสดงอินฟลูเอนซไลน์ของแรงเฉือนทีจ


่ ด
ุ C เมือ
่ น้ำหนักบรรทุกจรเคลือ
่ นทีอ
่ ยูใ่

1 : I.L.(Vc) = -x/L
2 : I.L.(Vc) = 1 - x/L
3 : I.L.(Vc) = x/L
4 : I.L.(Vc) = x/L - 1

ข ้อที่ 144 : จงเขียนสมการแสดงอินฟลูเอนซไลน์ของโมเมนต์ดด


ั ทีจ
่ ด
ุ C เมือ
่ น้ำหนักบรรทุกจรเคลือ
่ นทีอ

1 : I.L.(Mc) = L - xa/L
2 : I.L.(Mc) = xb/L
3 : I.L.(Mc) = xa/L
4 : I.L.(Mc) = L - xb/L

ข ้อที่ 145 : จงเขียนสมการแสดงอินฟลูเอนซไลน์ของโมเมนต์ดด


ั ทีจ
่ ด
ุ C เมือ
่ น้ำหนักบรรทุกจรเคลือ
่ นทีอ

1 : I.L.(Mc) = (1-x/L)b
2 : I.L.(Mc) = (x/L)b
3 : I.L.(Mc) = (1-x/L)a
4 : I.L.(Mc) = (-x/L)b

ข ้อที่ 146 : จากรูป ค่าของอินฟลูเอ็นซ์ไลน์ MC มีคา่ เท่าใด

1 : 10 kip-ft
2 : 20 kip-ft
3 : 30 kip-ft
4 : 40 kip-ft

ข ้อที่ 147 : จากหลักการของ Muller Breslau’s รูปใดคืออินฟลูเอ็นซ์ไลน์ของโมเมนต์ ณ จุดกึง่ กลาง B-


1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 148 : คานทีม


่ น
ี ้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีด
่ งั รูป
ข ้อใดคือ INFLUENCE LINES ของแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 149 : คานทีม


่ น
ี ้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีด
่ งั รูป  
ข ้อใดคือ INFLUENCE LINES ของแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ B
1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 150 : คานทีม


่ น
ี ้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีด
่ งั รูป

1 : A
2 : B
3 : C
4 : D

รวมคะแนน 0
ข ้อที่ 151 : คานทีม
่ น
ี ้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีด
่ งั รูป ความยาวคานมีหน่วยเป็ นเมตร

1 : 1.25 ตัน.เมตร
2 : 25 ตัน.เมตร
3 : -1 ตัน.เมตร
4 : -20 ตัน.เมตร

ข ้อที่ 152 : คานทีม


่ น
ี ้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีด
่ งั รูป ความยาวคานมีหน่วยเป็ นเมตร

1 : A ถึง B
2 : B ถึง D
3 : D ถึง E
4 : A ถึง E

ข ้อที่ 153 : คานทีม


่ น
ี ้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีด
่ งั รูป
1 : – 4 ตัน
2:0
3 : 10 ตัน
4 : 28 ตัน

ข ้อที่ 154 : คานทีม


่ น
ี ้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีด
่ งั รูป ความยาวคานมีหน่วยเป็ นเมตร

1 : -5 ตัน
2 : 12 ตัน
3 : 24 ตัน
4 : 28 ตัน
ข ้อที่ 155 : จากภาพ influence line ของ reaction ทีจ
่ ด
ุ B ของคานทีก
่ ำหนดให ้ หากมี น้ำหนักบรรทุก

1 : ค่าสูงสุด คือ 17.33 ton น้ำหนักบรรทุกอยูท


่ จ
ี่ ด
ุ B
2 : ค่าสูงสุด คือ 17.33 ton น้ำหนักบรรทุกอยูท
่ จ
ี่ ด
ุ C
3 : ค่าสูงสุด คือ 21.67 ton น้ำหนักบรรทุกอยูท
่ จ
ี่ ด
ุ B
4 : ค่าสูงสุด คือ 21.67 ton น้ำหนักบรรทุกอยูท
่ จ
ี่ ด
ุ C

ข ้อที่ 156 : จากภาพ influence line ของ reaction ทีจ


่ ด
ุ B ของคานทีก
่ ำหนดให ้ หากมี น้ำหนักบรรทุก

1:

2:

3:
4:

ข ้อที่ 157 : จงคำนวณหาค่าการโก่งตัว (Deflection) ทีป


่ ลายอิสระ (จุด A) ของคานยืน
่ ทีม
่ ค
ี วามยาว 2.0

1 : 0.2 cm
2 : 0.8 cm
3 : 1.0 cm
4 : 1.6 cm

ข ้อที่ 158 : ข ้อใดเป็ นคำตอบทีถ


่ ก
ู ต ้องของค่าการโก่งตัวในแนวดิง่ ทีจ
่ ด
ุ A
พิจารณางานเนือ
่ งจากแรงดัดเท่านัน
้ (ทิศทางลงเป็ นบวก และขึน
้ เป็ นลบ)

1 : 200/EI m.
2 : 400/EI m.
3 : 800/EI m.
4 : 1600/EI m.
ข ้อที่ 159 : ข ้อใดเป็ นคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้องของค่าการหมุนทีจ
่ ด
ุ A
พิจารณางานเนือ
่ งจากแรงดัดเท่านัน
้ (ทิศทางทวนเข็มเป็ นบวก และตามเข็มเป็ นลบ)

1 : 800/3EI
2 : 1000/3EI
3 : 1400/3EI
4 : 1600/3EI

ข ้อที่ 160 : ข ้อใดเป็ นคำตอบทีถ


่ ก
ู ต ้องของค่าการโก่งตัว (deflection) ในแนวดิง่ ทีจ
่ ด
ุ B
พิจารณางานเนือ
่ งจากแรงดัดเท่านัน
้ (ทิศทางลงเป็ นบวก และขึน
้ เป็ นลบ)

1 : 0 m.
2 : 50/EI m.
3 : 100/EI m.
4 : 150/EI m.

ข ้อที่ 161 : จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของการแอ่นตัวในแนวดิง่ ของจุด A ของคาน ABC ดังแสดงใ


1 : 0.643 m ทิศขึน

2 : 0.643 m ทิศลง
3 : 0.321 m ทิศขึน

4 : 0.321 m ทิศลง

ข ้อที่ 162 : จงคำนวณหาขนาดและทิศทางของการหมุน (rotation) ของจุด A ของคาน ABC ดังแสดงใ

1 : 0.643 rad ทวนเข็มนาฬกาิ



2 : 0.643 rad ตามเข็มนาฬกา
3 : 0.321 rad ทวนเข็มนาฬกาิ

4 : 0.321 rad ตามเข็มนาฬกา

ข ้อที่ 163 :

1 : 0.01 rad ทิศทวนเข็มนาฬกาิ



2 : 0.01 rad ทิศตามเข็มนาฬกา
3 : 0.02 rad ทิศทวนเข็มนาฬกาิ

4 : 0.02 rad ทิศตามเข็มนาฬกา
ข ้อที่ 164 : จงคำนวณระยะโก่ง (vertical deflection) ทีป
่ ลายอิสระของคานทีก
่ ำหนด

1 : 125/EI
2 : 127.5/EI
3 : 120/EI
4 : 100/EI

ข ้อที่ 165 : จงคำนวณหามุมลาดเอียง (slope) ทีป


่ ลายอิสระของคานทีก
่ ำหนด

1 : 125/EI-clockwise
2 : 125/EI-couterclockwise
3 : 50/EI-clockwise
4 : 50/EI-counterclockwise

ข ้อที่ 166 : จงคำนวณระยะเคลือ


่ นทีใ่ นแนวนอน (horizontal deflection) ของจุดCของโครงข ้อแข็งทีก
่ ำ

1 : 640/3EIไปทางขวา
2 : 620/3EIไปทางขวา
3 : 610/3EIไปทางขวา
4 : 320/3EIไปทางขวา

ข ้อที่ 167 : จงคำนวณระยะเคลือ


่ นทีใ่ นแนวนอน (horizontal deflection) ของจุดBของโครงข ้อแข็งทีก
่ ำ
1 : 320/3EIไปทางขวา
2 : 310/3EIไปทางขวา
3 : 640/3EIไปทางขวา
4 : 620/3EIไปทางขวา

ข ้อที่ 168 : โครงข ้อหมุนรับแรงกระทำดังในรูป ก. ให ้หาค่าการเคลือ


่ นทีใ่ นแนวราบทีจ
่ ด
ุ A
ื สแ
[ตัวหนังสอ ี ดงในรูป ก. รูป ข. และรูป ค. คือค่าแรงตามแนวแกนในแต่ละชน
ิ้ สว่ นเมือ
่ มีแรงลักษณะต่าง

1 : (S1 U1 + S2 U2 + S3 U3 + S4 U4 + S5 U5) / (EA)


2 : (5.0 S1 U1 + 5.0 S2 U2 + 6.4 S3 U3 + 6.4 S4 U4 + 2.0 S5 U5) / (EA)
3 : (S1 W1 + S2 W2 + S3 W3 + S4 W4 + S5 W5) / (EA)
4 : (5.0 S1 W1 + 5.0 S2 W2 + 6.4 S3 W3 + 6.4 S4 W4 + 2.0 S5 W5) / (EA)

ข ้อที่ 169 : โครงข ้อหมุนรับแรงกระทำดังในรูป ก. ให ้หาค่าการเคลือ


่ นทีใ่ นแนวดิง่ ทีจ
่ ด
ุ D
1 : (5.0 S1 U1 + 5.0 S2 U2 + 6.4 S3 U3 + 6.4 S4 U4 + 2.0 S5 U5) / (EA)
2 : 60 (5.0 U1 U1 + 5.0 U2 U2 + 6.4 U3 U3 + 6.4 U4 U4 + 2.0 U5 U5) / (EA)
3 : (5.0 S1 W1 + 5.0 S2 W2 + 6.4 S3 W3 + 6.4 S4 W4 + 2.0 S5 W5) / (EA)
4 : 60 (5.0 S1 S1 + 5.0 S2 S2 + 6.4 S3 S3 + 6.4 S4 S4 + 2.0 S5 S5) / (EA)

ข ้อที่ 170 :

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 171 : จงหาค่า Deflection ทีจ


่ ด
ุ C เมือ
่ มีแรง 10 kN กระทำ ตามรูปด ้านล่าง
1 : 240 / EI
2 : 320 / EI
3 : 640 / EI
4 : 6400 / EI

ข ้อที่ 172 : Determine the vertical displacement at point C of the truss in figure below.

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 173 : คานยืน


่ รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่ามุมลาดเอียงทีจ
่ ด
ุ B

1:

2:

3:
4:

ข ้อที่ 174 : คานยืน


่ รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าการโก่งตัวทีจ
่ ด
ุ B

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 175 : คานยืน


่ รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่ามุมลาดเอียงทีจ
่ ด
ุ B

1 : 2PL^2/9EI
2 : 5PL^2/16EI
3 : PL^2/2EI
4 : PL^2/EI

ข ้อที่ 176 : คานยืน


่ รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าการโก่งตัวทีจ
่ ด
ุ B

1 : 3PL^3/16EI
2 : 14PL^3/81EI
3 : PL^3/EI
4 : PL^3/6EI

ข ้อที่ 177 : คานช่วงเดีย


่ วธรรมดารับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่ามุมลาดเอียงทีจ
่ ด
ุ B

1 : PL^2/4EI
2 : PL^2/3EI
3 : PL^2/2EI
4 : PL^2/EI

ข ้อที่ 178 : คานชว่ งเดีย


่ วธรรมดารับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าการโก่งตัวทีก
่ งึ่ กลางคาน

1 : PL^3/EI
2 : PL^3/3EI
3 : PL^3/4EI
4 : PL^3/6EI

ข ้อที่ 179 : โครงสร ้างข ้อแข็ง รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่ามุมลาดเอียงทีจ


่ ด
ุ B

1 : ML/EI
2 : ML/2EI
3 : 2ML/EI
4 : ML/2EI

ข ้อที่ 180 : โครงสร ้างข ้อแข็ง รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าการโก่งตัวในแนวดิง่ ทีจ


่ ด
ุ C

1 : ML^2/EI
2 : ML^2/2EI
3 : ML^2/4EI
4 : 3ML^2/4EI

้ ส่วนไม่ยด
ข ้อที่ 181 : โครงข ้อแข็งรับน้ำหนัก ดังรูป ถ ้าสมมติวา่ ชิน ื หรือหดตัว(No axial deformation) ใ

1 : จุด B และจุด C มีระยะเคลือ


่ นทีใ่ นแนวระดับเท่ากัน
2 : จุด A และจุด D ไม่มก
ี ารทรุดตัวและไม่เคลือ
่ นทีใ่ นแนวระดับ
3 : จุด B มีการทรุดตัวเท่ากับจุด C
4 : จุด B ไม่มก
ี ารเคลือ
่ นตัวในแนวระดับ

ิ้ สว่ นไม่ยด
ข ้อที่ 182 : โครงข ้อแข็งรับน้ำหนัก ดังรูป ถ ้าสมมติวา่ ชน ื หรือหดตัว ให ้เลือกคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้องท
1 : จุด B และจุด C มีระยะเคลือ
่ นทีใ่ นแนวระดับเท่ากัน
2 : จุด A ไม่มก
ี ารหมุนและเลือ
่ นตัวในแนวดิง่
3 : จุด A ไม่มก
ี ารทรุดตัวและไม่เคลือ
่ นทีใ่ นแนวระดับ ส่วนจุด D ไม่มก
ี ารทรุดตัวแต่เคลือ
่ นทีใ่ นแนวระดับ
4 : จุด D ไม่มก
ี ารเลือ
่ นตัวในแนวดิง่ และไม่มก
ี ารหมุน

ิ้ สว่ นไม่ยด
ข ้อที่ 183 : โครงข ้อแข็งรับน้ำหนัก ดังรูป ถ ้าสมมติวา่ ชน ื หรือหดตัว ให ้เลือกคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้องท

1 : จุด B และจุด C ไม่มก


ี ารเคลือ
่ นทีใ่ นแนวระดับ
2 : จุด A ไม่มก
ี ารทรุดตัวและไม่เคลือ
่ นทีใ่ นแนวระดับแต่มก
ี ารหมุน
3 : จุด C ไม่มก
ี ารหมุน
4 : จุด B ไม่มก
ี ารหมุน

้ ส่วนไม่ยด
ข ้อที่ 184 : โครงข ้อแข็งรับน้ำหนัก ดังรูป ถ ้าสมมติวา่ ชิน ื หรือหดตัว ให ้เลือกคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้องท

1 : จุด B และจุด C มีระยะเคลือ


่ นทีใ่ นแนวระดับเท่ากัน
2 : จุด A และจุด D มีการทรุดตัวและไม่เคลือ
่ นทีใ่ นแนวระดับ
3 : จุด B มีเฉพาะการเคลือ
่ นตัวในแนวราบ
4 : จุด B มีเฉพาะการเคลือ
่ นตัวในแนวดิง่

ิ้ สว่ นไม่ยด
ข ้อที่ 185 : โครงข ้อแข็งรับน้ำหนัก ดังรูป ถ ้าสมมติวา่ ชน ื หรือหดตัว ให ้เลือกคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้องท
1 : จุด B และจุด C มีการเคลือ
่ นทีใ่ นแนวระดับเท่ากัน
2 : จุด A ไม่มก
ี ารทรุดตัวและไม่เคลือ
่ นทีใ่ นแนวระดับและไม่มก
ี ารหมุน
3 : จุด B และ C มีการเคลือ
่ นตัวในแนวระดับทีไ่ ม่เท่ากัน
4 : จุด B มีการทรุดตัวในแนวดิง่

ิ้ สว่ นไม่ยด
ข ้อที่ 186 : โครงข ้อแข็งรับน้ำหนัก ดังรูป ถ ้าสมมติวา่ ชน ื หรือหดตัว ให ้เลือกคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้องท

1 : จุด B และจุด C มีระยะเคลือ


่ นทีใ่ นแนวระดับเท่ากันโดยไม่คด
ิ ผลจากมุมหมุนของจุด A
2 : จุด B และจุด C มีระยะเคลือ
่ นทีใ่ นแนวระดับเท่ากันโดยมีผลจากมุมหมุนของจุด A
3 : จุด A ไม่มก
ี ารทรุดตัวและไม่เคลือ
่ นทีใ่ นแนวระดับ
4 : รวมคำตอบข ้อ (ข) และ ข ้อ (ค) โดยมีมม
ุ หมุนทีจ
่ ด
ุ A B และ C ตามลำดับ
5 : รวมคำตอบข ้อ (ก) และ ข ้อ (ค) โดยมีมม
ุ หมุนทีจ
่ ด
ุ A B และ C ตามลำดับ

ข ้อที่ 187 : การวิเคราะห์หาการโก่งตัวของโครงสร ้างโดยวิธ ี moment-area หรือวิธ ี conjugate-beam พ


1 : แรงตามแนวแกนอย่างเดียว
2 : แรงเฉือนอย่างเดียว
3 : โมเมนต์ดด
ั อย่างเดียว
4 : โมเมนต์และแรงเฉือน

่ วิธ ี virtual work สามารถพิจาร


ข ้อที่ 188 : การวิเคราะห์หาการโก่งตัวของโครงสร ้างโดยวิธ ี Energy เชน
1 : แรงตามแนวแกนอย่างเดียว
2 : แรงเฉือนอย่างเดียว
3 : โมเมนต์ดด
ั อย่างเดียว
4 : แรงตามแนวแกน, แรงเฉือน, และโมเมนต์ดด

ข ้อที่ 189 : จงหาระยะการแอ่นตัวทีเ่ กิดขึน


้ สูงสุด ณ จุด B (EI = constance)
1 : มีคา่ 2466/EI หน่วย
2 : มีคา่ 4266/EI หน่วย
3 : มีคา่ 6246/EI หน่วย
4 : มีคา่ 6624/EI หน่วย

ข ้อที่ 190 : จงหาค่า Slope ณ จุด B ในโครงสร ้าง เมือ


่ EI = ค่าคงที่

1 : มีคา่ 1006/EI เรเดียน


2 : มีคา่ 1060/EI เรเดียน
3 : มีคา่ 1600/EI เรเดียน
4 : มีคา่ 6100/EI เรเดียน

ั (slope) ทีจ
ข ้อที่ 191 : โครงสร ้างดังรูป มีคา่ ความชน ่ ด
ุ A เท่ากับเท่าใด?

1:0

2:

3:
4:

ข ้อที่ 192 : โครงสร ้างดังรูป มีคา่ การโก่งตัวสูงสุด (Maximum Deflection) เท่ากับเท่าใด?

1:0

2:

3:

4:

ข ้อที่ 193 : จงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซึง่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำ


่ ด

1 : 4PL^3/3EI
2 : 3PL^3/4EI
3 : 9PL^3/5EI
4 : 5PL^3/9EI

ข ้อที่ 194 : จงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซึง่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำ


่ ด
1 : 5PL^3/9EI
2 : 4PL^3/3EI
3 : 3PL^3/4EI
4 : 9PL^3/5EI

ข ้อที่ 195 : ใจงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับโมเมนต์ดด


่ ด ั M ทีจ
่ ด
ุ รองรับ

1 : 5ML^2/8EI
2 : 5ML^2/4EI
3 : 2ML^2/2EI
4 : 2ML^2/EI

ข ้อที่ 196 : จงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับโมเมนต์ดด


่ ด ั M ทีจ
่ ด
ุ รองรับท

1 : 5ML^2/8EI
2 : 5ML^2/4EI
3 : 2ML^2/2EI
4 : 2ML^2/EI

ข ้อที่ 197 : จงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซึง่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำ


่ ด
1 : 5PL^3/6EI
2 : 11PL^3/6EI
3 : 13PL^3/12EI
4 : 19PL^3/12EI

ข ้อที่ 198 : จงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำ


่ ด

1 : 5PL^3/6EI
2 : 11PL^3/6EI
3 : 13PL^3/12EI
4 : 19PL^3/12EI

ข ้อที่ 199 : จงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำ


่ ด

1 : 25PL^3/18EI
2 : 25PL^3/36EI
3 : 25PL^3/72EI
4 : 25PL^3/144EI

ข ้อที่ 200 : จงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำ


่ ด
1 : 11PL^3/18EI
2 : 11PL^3/9EI
3 : 5PL^3/4EI
4 : 4PL^3/3EI

รวมคะแนน 0

ข ้อที่ 201 : จงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซึง่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำ


่ ด

1 : 11PL^3/18EI
2 : 11PL^3/9EI
3 : 11PL^3/6EI
4 : 11PL^3/3EI

ข ้อที่ 202 : จงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับโมเมนต์ดด


่ ด ั M ทีจ
่ ด
ุ รองรับท

1 : 7ML^2/8EI
2 : 7ML^2/4EI
3 : 7ML^2/2EI
4 : 7ML^2/EI

ข ้อที่ 203 : จงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซึง่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับโมเมนต์ดด


่ ด ั M ทีจ
่ ด
ุ รองรับท

1 : 5ML^2/8EI
2 : 5ML^2/4EI
3 : 5ML^2/3EI
4 : 5ML^2/EI

ข ้อที่ 204 : จงหาค่ามุมลาดเอียงทีจ ุ A ของคาน AB ซึง่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป ก


่ ด

1 : 7PL^2/24EI
2 : 7PL^2/12EI
3 : 7PL^2/6EI
4 : 7PL^2/4EI

ข ้อที่ 205 : จงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำ


่ ด
1 : 11PL^3/6EI
2 : 11PL^3/9EI
3 : 11PL^3/10EI
4 : 11PL^3/12EI

ข ้อที่ 206 : จงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำ


่ ด

1 : 11PL^3/18EI
2 : 21PL^3/18EI
3 : 31PL^3/18EI
4 : 41PL^3/18EI

ข ้อที่ 207 : จงหาค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซึง่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำ


่ ด

1 : 3PL^3/4EI
2 : 11PL^3/6EI
3 : 11PL^3/9EI
4 : 25PL^3/6EI

ข ้อที่ 208 : จงประมาณค่าการโก่งตัวมากทีส ุ ของคาน AB ซึง่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดัง


่ ด
1 : 2PL^3/EI
2 : 3PL^3/EI
3 : 4PL^3/EI
4 : 5PL^3/EI

ข ้อที่ 209 : จงคำนวณหาแรงปฏิกริ ย


ิ าในแนวดิง่ ทีป
่ ลาย A ของคานดังแสดงในรูป

1 : (1/4)wL
2 : (3/4)wL
3 : (3/8)wL
4 : (5/8)wL

ข ้อที่ 210 : จงหาค่าแรงในแนวดิง่ ทีฐ


่ าน B (Rb) ของโครงสร ้างดังในรูป
- คาน ABC มีคา่ Modulus of Elasticity = E และ Moment of Inertia = I

1 : 28.5 kN
2 : -28.5 kN
3 : 87.5 kN
4 : -87.5 kN

ข ้อที่ 211 : จงคำนวณหาแรงปฏิกริยาของฐานรองรับทีจ


่ ด
ุ b ของคานทีก
่ ำหนด
1 : Rb = 5F/16
2 : Rb = 11F/16
3 : Rb = 7F/16
4 : Rb = F/4

ข ้อที่ 212 : จงคำนวณหา Reaction และ Fixed-end moment ทีฐ


่ านรองรับ a ของคานทีก
่ ำหนด

1 : Ra = 11F/16 , Ma = 3FL/16 clockwise


2 : Ra = 5F/16 , Ma = 3FL/16 clockwise
3 : Ra = 11F/16 , Ma = 3FL/16 counterclockwise
4 : Ra = 5F/16 , Ma = 3FL/16 counterclockwise

ข ้อที่ 213 : จงคำนวณแรงปฏิกริยาทีฐ


่ านรองรับทัง้ หมดของคานทีก
่ ำหนด

1 : Ra = 5F/16; Rb = 11F/16; Ma = 3FL/16 clockwise


2 : Ra = 11F/16; Rb = 5F/16; Ma = 3FL/16 clockwise
3 : Ra = 11F/16; Rb = 5F/16; Ma = 3FL/16 counterclockwise
4 : Ra = 5F/16; Rb = 11F/16; Ma = 3FL/16 counterclockwise

ข ้อที่ 214 : จงคำนวณ Reaction และ Fixed-end moment ของฐานรองรับทีจ


่ ด
ุ a ของคานในรูป เมือ
่ ก
1 : Ra = F/5; Ma = 2FL/15 clockwise
2 : Ra = 4F/5; Ma = FL/15 counterclockwise
3 : Ra = 4F/5; Ma = 2FL/15 clockwise
4 : Ra = 4F/5; Ma = 2FL/15 counterclockwise

ข ้อที่ 215 : จงคำนวณหาแรงปฏิกริยาของฐานรองรับทีจ


่ ด
ุ b ของคานในรูป กำหนดให ้ F = wL/2

1 : Rb = 3F/5
2 : Rb = 4F/5
3 : Rb = F/5
4 : Rb = 2F/5

ข ้อที่ 216 : จงคำนวณ Reaction และ Fixed-end moment ทีฐ


่ านรองรับทัง้ หมดของคานในรูป กำหนด

1 : Ra = F/5; Rb = 4F/5; Ma = 2FL/15 clockwise


2 : Ra = 4F/5; Rb = F/5; Ma = 2FL/15 clockwise
3 : Ra = 4F/5; Rb = F/5; Ma = 2FL/15 counterclockwise
4 : Ra = F/5; Rb = 4F/5; Ma = 2FL/15 counterclockwise
ข ้อที่ 217 : จากโครงสร ้างทีแ
่ สดง หากยังไม่มท
ี อ
่ นเหล็ก BD มายึดไว ้ ระยะโก่งตัว (โดยประมาณ) ทีจ
่ ด

1 : 10.5/EI
2 : 12.5/EI
3 : 14.5/EI
4 : 15.5/EI

ข ้อที่ 218 : จากโครงสร ้างทีแ


่ สดง โดยมีทอ
่ นเหล็ก BD มายึดไว ้ เพือ
่ ให ้ระยะโก่งตัวทีจ
่ ด
ุ D เป็ นศูนย์ ให

1 : 3.0 ตัน
2 : 4.0 ตัน
3 : 5.0 ตัน
4 : 6.0 ตัน

ข ้อที่ 219 : เมือ


่ กำหนดให ้โมเมนต์ทป ิ้ สว่ น (end moment) ทีห
ี่ ลายชน ิ
่ มุนตามเข็มนาฬกามี
คา่ เป็ นบวก จ


1 : 6 ตัน-ม. (หมุนตามเข็มนาฬกา)

2 : 6 ตัน-ม. (หมุนทวนเข็มนาฬกา)

3 : 4.5 ตัน-ม. (หมุนตามเข็มนาฬกา)

4 : 4.5 ตัน-ม. (หมุนทวนเข็มนาฬกา)

ข ้อที่ 220 : จากคานทีแ


่ สดง จงคำนวณหาค่าแรงปฎิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ C เท่ากับเท่าใด

1 : 2 ตัน (ทิศขึน
้ )
2 : 2 ตัน (ทิศลง)
3 : 1.25 ตัน (ทิศขึน
้ )
4 : 2.75 ตัน (ทิศขึน
้ )

ข ้อที่ 221 : จากคานทีแ


่ สดง โมเมนต์ดด
ั มากทีส
่ ด
ุ (Mmax) บนคาน ACB จะอยูท
่ จ
ี่ ด
ุ ไหน

1 : อยูท
่ จ
ี่ ด
ุ A
2 : อยูท
่ จ
ี่ ด
ุ B
3 : อยูท
่ จ
ี่ ด
ุ C
4 : อยูร่ ะหว่างจุด A กับจุด C

ข ้อที่ 222 : เมือ


่ กำหนดให ้โมเมนต์ทป ิ้ สว่ น (end moment) ทีห
ี่ ลายชน ิ
่ มุนตามเข็มนาฬกามี
คา่ เป็ นบวก จ

1 : 4.5 ตัน-ม. (หมุนตามเข็มนาฬกา)

2 : 4.5 ตัน-ม. (หมุนทวนเข็มนาฬกา)

3 : 6.75 ตัน-ม. (หมุนตามเข็มนาฬกา)

4 : 6.75 ตัน-ม. (หมุนทวนเข็มนาฬกา)

ข ้อที่ 223 : จากคานทีแ


่ สดง จงคำนวณหาค่าแรงปฎิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A เท่ากับเท่าใด

1 : 4.525 ตัน (ทิศขึน


้ )
2 : 5.525 ตัน (ทิศลง)
3 : 6.625 ตัน (ทิศขึน
้ )
4 : 5.625 ตัน (ทิศขึน
้ )

ข ้อที่ 224 : จากคานทีแ


่ สดงดังรูป จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั มากทีส
่ ด
ุ (Mmax) บนคาน AB จะอยูท
่ จ
ี่ ด
ุ ไหน

1 : อยูท
่ จ
ี่ ด
ุ A
2 : อยูท
่ ก
ี่ งึ่ กลางคาน AB
3 : อยูร่ ะหว่างจุด A กับจุด B โดยค่อนไปทางจุด B
4 : อยูร่ ะหว่างจุด A กับจุด B โดยค่อนไปทางจุด A

ข ้อที่ 225 : คาน AB ทีแ


่ สดงในรูป ก และ ข มีความยาวและค่า IE เท่ากันและรับน้ำหนักบรรทุกทีม
่ ข
ี นาด
1 : โมเมนต์ดด
ั ยึดแน่นทีป
่ ลาย A ของรูป (ก) (FEMAB) มีคา่ น ้อยกว่าโมเมนต์ดด
ั ยึดแน่นทีป
่ ลาย A ของร
2 : โมเมนต์ดด
ั ยึดแน่นทีป
่ ลาย A ของรูป (ก) (FEMAB) มีคา่ เท่ากับโมเมนต์ดด
ั ยึดแน่นทีป
่ ลาย A ของรูป
3 : โมเมนต์ดด
ั ยึดแน่นทีป
่ ลาย A ของรูป (ก) (FEMAB) มีคา่ มากกว่าโมเมนต์ดด
ั ยึดแน่นทีป
่ ลาย A ของร
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูกต ้อง

ข ้อที่ 226 : คานต่อเนือ


่ ง ABCD รับน้ำหนักดังรูปทีแ
่ สดง จะเห็นว่า คานดังกล่าวมีความสมมาตรทีก
่ งึ่ กลา

1 : KAB = 4EI/L และ KBC = 4EI/L


2 : KAB = 3EI/L และ KBC = 4EI/L
3 : KAB = 3EI/L และ KBC = 3EI/L
4 : KAB = 3EI/L และ KBC = 2EI/L

ข ้อที่ 227 : คานต่อเนือ


่ ง ABCD รับน้ำหนักดังรูปทีแ
่ สดง จะเห็นว่า คานรับน้ำหนักแบบปฎิสมมาตรทีก
่ งึ่ ก

1 : KAB = 4EI/L และ KBC = 4EI/L


2 : KAB = 3EI/L และ KBC = 4EI/L
3 : KAB = 3EI/L และ KBC = 6EI/L
4 : KAB = 4EI/L และ KBC = 6EI/L

ข ้อที่ 228 : จงคำนวณโมเมนต์ดด


ั ทีจ
่ ด
ุ A มีคา่ เท่ากับเท่าใด
1 : wL^2/8
2 : 3wL^2/16
3 : 5wL^2/16
4 : wL^2/12

ข ้อที่ 229 : จงคำนวณแรงปฎิกริ ย


ิ าทีจ
่ ด
ุ A มีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : 5wL/8
2 : 11wL/16
3 : wL
4 : 21wL/16

ข ้อที่ 230 : จงคำนวณหาค่าโมเมนต์ดด


ั ทีก
่ งึ่ กลางคาน AB มีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : 7wL^2/32
2 : 5wL^2/32
3 : wL^2/16
4 : 3wL^2/8

ข ้อที่ 231 : จงคำนวณหาค่าแรงเฉือนมากทีส ุ ตรงกลางชว่ งคาน AB มีคา่ เท่ากับเท่าใด


่ ด
1 : 21wL/16
2 : 11wL/16
3 : 5wL/16
4 : 5wL/8

ข ้อที่ 232 : Determine the reaction at B of a continuous beam loaded as shown in figure belo
EI is constant.

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 233 : โครงสร ้างทีแ


่ สดง เป็ นแบบ

1 : unstable
2 : stable และ determinate
3 : stable และ externally indeterminate 1st degree
4 : stable และ externally indeterminate 2nd degree

ข ้อที่ 234 : โครงสร ้างทีแ


่ สดง เป็ นแบบ

1 : unstable
2 : stable และ determinate
3 : table และ externally indeterminate 1st degree
4 : stable และ externally indeterminate 2nd degree

ข ้อที่ 235 : โครงสร ้างทีแ


่ สดง เป็ นแบบ

1 : unstable
2 : stable และ determinate
3 : stable และ externally indeterminate 1st degree
4 : stable และ externally indeterminate 2nd degree

ข ้อที่ 236 : โครงสร ้างทีแ


่ สดง เป็ นแบบ

1 : unstable
2 : stable และ determinate
3 : stable และ externally indeterminate 1st degree
4 : stable และ externally indeterminate 2nd degree

ข ้อที่ 237 : โครงสร ้างทีแ


่ สดง เป็ นแบบ

1 : unstable
2 : stable และ determinate
3 : stable และ externally indeterminate 1st degree
4 : stable และ externally indeterminate 2nd degree

ข ้อที่ 238 : โครงสร ้างทีแ


่ สดง เป็ นแบบ

1 : unstable
2 : stable และ determinate
3 : stable และ externally indeterminate 1st degree
4 : stable และ externally indeterminate 2nd degree

ข ้อที่ 239 : โครงสร ้างทีแ


่ สดง เป็ นแบบ

1 : stable และ determinate


2 : stable และ externally indeterminate 1st degree
3 : stable และ externally indeterminate 2nd degree
4 : stable และ externally indeterminate 3rd degree

ข ้อที่ 240 : เมือ


่ พิจารณาเฉพาะการรองรับเพือ
่ ถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก(support) จะเห็นว่าโครงสร ้างระน

1 : externally determinate
2 : externally indeterminate 1st degree
3 : externally indeterminate 2nd degree
4 : externally indeterminate 3rd degree

ข ้อที่ 241 : เมือ


่ พิจารณาเฉพาะการรองรับเพือ
่ ถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก(support) จะเห็นว่าโครงสร ้างระน
1 : externally determinate
2 : externally indeterminate 1st degree
3 : externally indeterminate 2nd degree
4 : externally indeterminate 3rd degree

ข ้อที่ 242 : เมือ


่ พิจารณาเฉพาะการรองรับเพือ
่ ถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก(support) จะเห็นว่าโครงสร ้างระน

1 : externally determinate
2 : externally indeterminate 1st degree
3 : externally indeterminate 2nd degree
4 : externally indeterminate 3rd degree

ข ้อที่ 243 : เมือ


่ พิจารณาเฉพาะการรองรับเพือ
่ ถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก(support) จะเห็นว่าโครงสร ้างระน
1 : externally determinate
2 : externally indeterminate 1st degree
3 : externally indeterminate 2nd degree
4 : externally indeterminate 3rd degree

ข ้อที่ 244 : เมือ


่ พิจารณาเฉพาะการรองรับเพือ
่ ถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก(support) จะเห็นว่าโครงสร ้างระน

1 : externally determinate
2 : externally indeterminate 1st degree
3 : externally indeterminate 2nd degree
4 : externally indeterminate 3rd degree

ข ้อที่ 245 : เมือ


่ พิจารณาเฉพาะการรองรับเพือ
่ ถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก(support) จะเห็นว่าโครงสร ้างระน
1 : determinate
2 : indeterminate 1st degree
3 : indeterminate 2nd degree
4 : indeterminate 3rd degree

ข ้อที่ 246 : เมือ


่ พิจารณาเฉพาะการรองรับเพือ
่ ถ่ายทอดน้ำหนักบรรทุก จะเห็นว่าโครงสร ้างระนาบทีแ
่ สดง

1 : determinate
2 : indeterminate 1st degree
3 : indeterminate 2nd degree
4 : indeterminate 3rd degree

ข ้อที่ 247 : เมือ ้ ส่วนภายในโครงสร ้าง จะเห็นว่าโครงสร ้างระนาบทีแ


่ พิจารณาเฉพาะการยึดโยงของชิน ่ สด

1 : stable และ determinate


2 : stable และ internally indeterminate 1st degree
3 : stable และ internally indeterminate 2nd degree
4 : stable และ internally indeterminate 3rd degree

ข ้อที่ 248 : โครงสร ้างระนาบทีแ


่ สดงมีดก
ี รีอน
ิ ดีเทอร์มเิ นททัง้ หมด เท่ากับ
1 : 0 ดีกรี
2 : 1 ดีกรี
3 : 2 ดีกรี
4 : 3 ดีกรี

ข ้อที่ 249 : โครงสร ้างระนาบทีแ


่ สดงมีดก
ี รีอน
ิ ดีเทอร์มเิ นททัง้ หมด เท่ากับ

1 : 3 ดีกรี
2 : 6 ดีกรี
3 : 9 ดีกรี
4 : 12 ดีกรี

ข ้อที่ 250 : โครงสร ้างระนาบทีแ


่ สดงมีดก
ี รีอน
ิ ดีเทอร์มเิ นททัง้ หมด เท่ากับ

1 : 6 ดีกรี
2 : 12 ดีกรี
3 : 18 ดีกรี
4 : 24 ดีกรี

รวมคะแนน 0

ข ้อที่ 251 : โครงสร ้างระนาบทีแ


่ สดงมีดก
ี รีอน
ิ ดีเทอร์มเิ นททัง้ หมด เท่ากับ

1 : 3 ดีกรี
2 : 6 ดีกรี
3 : 9 ดีกรี
4 : 12 ดีกรี

ข ้อที่ 252 : โครงสร ้างระนาบทีแ


่ สดงมีดก
ี รีอน
ิ ดีเทอร์มเิ นททัง้ หมด เท่ากับ

1 : 6 ดีกรี
2 : 9 ดีกรี
3 : 15 ดีกรี
4 : 18 ดีกรี

ข ้อที่ 253 : โครงสร ้างระนาบทีแ


่ สดงมีดก
ี รีอน
ิ ดีเทอร์มเิ นททัง้ หมด เท่ากับ

1 : 1 ดีกรี
2 : 2 ดีกรี
3 : 3 ดีกรี
4 : 5 ดีกรี

ข ้อที่ 254 : โครงสร ้างระนาบทีแ


่ สดงมีดก
ี รีอน
ิ ดีเทอร์มเิ นททัง้ หมด เท่ากับ

1 : 3 ดีกรี
2 : 6 ดีกรี
3 : 9 ดีกรี
4 : 12 ดีกรี
ข ้อที่ 255 : โครงสร ้างระนาบทีแ
่ สดงมีดก
ี รีอน
ิ ดีเทอร์มเิ นททัง้ หมด เท่ากับ

1: 1 ดีกรี
2 : 2 ดีกรี
3 : 3 ดีกรี
4 : 5 ดีกรี

ข ้อที่ 256 : โครงสร ้างระนาบทีแ


่ สดงมีดก
ี รีอน
ิ ดีเทอร์มเิ นททัง้ หมด เท่ากับ

1 : 3 ดีกรี
2 : 6 ดีกรี
3 : 9 ดีกรี
4 : 12 ดีกรี

ิ้ สว่ น c ของโครงข ้อหมุนดังรูป มีคา่ เท่าใด


ข ้อที่ 257 : แรงในชน

1 : แรงดึง ขนาด 1.34 P


2 : แรงอัด ขนาด 1.34 P
3 : แรงดึง ขนาด 2.68 P
4 : แรงอัด ขนาด 2.68 P

ข ้อที่ 258 : จงคำนวณหาแรงปฏิกริ ย


ิ าในแนวดิง่ ทีป
่ ลาย B ของคานดังแสดงในรูป

1 : (1/4)wL
2 : (3/4)wL
3 : (3/8)wL
4 : (5/8)wL

รวมคะแนน 0
ภาพ (Stable) หรือไม่ เป็ นโครงสร ้างแบบ determinate หรือ indeterminate ถ ้าเป็ นโครงสร ้างแบบ indeterminate โครงสร ้างนีม
้ ี degree

minancy = 1
minancy = 2
minancy = 3

ภาพ (Stable) หรือไม่ เป็ นโครงสร ้างแบบ determinate หรือ indeterminate ถ ้าเป็ นโครงสร ้างแบบ indeterminate โครงสร ้างนีม
้ ี degree

minancy = 1
minancy = 2
minancy = 3

e shown below.
e shown below.

e shown below.
ิ้ สว่ น lower chord
ชน

้ ส่วน upper chord


ชิน

้ ส่วนทแยง
ดในชิน
้ ส่วน AB หรือ BC
ดในชิน

้ ส่วน AE หรือ ED
ดในชิน

FC ทีม
่ ากทีส
่ ด

isplacements อยูก
่ ป
ี่ ริมาณ
ของคานยืน
่ (Cantilever Beam) ดังแสดงในรูป
ดังแสดงในรูป
C ของคานทีม
่ แ
ี รงกระทำอยูด
่ งั แสดงในรูป

ละ VBR ทีฝ
่ ั่ งขวาของจุด B ของคาน (Beam) ABCDE ดังแสดงในรูป

จุด C และ MCR ทีฝ


่ ั่ งขวาของจุด C ของคาน (Beam) ABCDE ดังแสดงในรูป
s) RD และ HD ทีจ
่ ด
ุ D และ RE ทีจ
่ ด
ุ E ของโครงข ้อหมุน (Truss) ดังแสดงในรูป

5 kg.ทิศทางขึน

75 kg. ทิศทางลง
375 kg. ทิศทางขึน

375 kg. ทิศทางขึน

้ ส่วน BE และชิน
s) ในชิน ้ ส่วน DE ของโครงข ้อหมุน (Truss) ABCDE ดังแสดงในรูป

s) RA, RE และ HE ทีฐ


่ านรองรับ A และ E ของโครงข ้อแข็ง (Frame) ดังแสดงในรูป
างไปทางขวา

งไปทางขวา

งไปทางซาย

ิ้ สว่ น ABC ทีจ


s) ในชน ่ ด
ุ B ของโครงข ้อแข็ง (Frame) ดังแสดงในรูป

ข็ง (Frame) ABCDE ดังแสดงในรูป

ครงข ้อแข็ง (Frame) ดังแสดงในรูป


ภาพประกอบคำถาม
ำหนดให ้ x เป็ นระยะใดๆวัดจากฐานรองรับด ้านซ ้ายมือ

agram สำหรับคานในรูปเป็ นอย่างไร


แรงปฎิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A มีคา่ ประมาณเท่ากับ
ส่วน BC เท่ากับ (โดยประมาณ)
ทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ ใน BC มีคา่ เท่ากับ

as shown in figure below


ต์ดด
ั มีคา่ มากทีส
่ ด
ุ จะอยูห
่ า่ งจากจุด A เป็ นระยะประมาณ
รูป จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ
่ ด
ุ C

รูป จงประมาณค่าแรงเฉือนทีจ
่ ด
ุ C ในช่วง CB
สุดบนคาน BC อยูท
่ ี่
รับแรงต่างๆ คือ

กทีส
่ ด
ุ บนคาน BC เท่ากับ
รับแรงต่างๆ คือ

ดยมีทอ
่ นเหล็กยึดไว ้ตรงจุด B ดังรูป เพือ
่ ให ้คาน AB อยูใ่ นแนวนอน ถ ้าไม่คด
ิ น้ำหนักของคานและไม่คด
ิ การยืดหดตัวของท่อนเหล็ก จงหาค

ดยมีทอ
่ นเหล็กยึดไว ้ตรงจุด B ดังรูป เพือ
่ ให ้คาน AB อยูใ่ นแนวนอน ถ ้าไม่คด
ิ น้ำหนักของคานและไม่คด
ิ การยืดหดตัวของท่อนเหล็ก จงหาค
มยาวคาน โดยมีทอ
่ นเหล็กยึดไว ้ตรงจุด B ดังรูป เพือ
่ ให ้คาน AB อยูใ่ นแนวนอน ถ ้าไม่คด
ิ น้ำหนักของคานและไม่คด
ิ การยืดหดตัวของท่อนเ

มยาวคาน โดยมีทอ
่ นเหล็กยึดไว ้ตรงจุด B ดังรูป เพือ
่ ให ้คาน AB อยูใ่ นแนวนอน ถ ้าไม่คด
ิ น้ำหนักของคานและไม่คด
ิ การยืดหดตัวของท่อนเ

มยาวคาน โดยมีทอ
่ นเหล็กยึดไว ้ตรงจุด B ดังรูป เพือ
่ ให ้คาน AB อยูใ่ นแนวนอน ถ ้าไม่คด
ิ น้ำหนักของคานและไม่คด
ิ การยืดหดตัวของท่อนเ
m) เป็ นไปตามตัวเลือกข ้อใด กำหนดให ้ เมือ
่ ตัดรูปตัดใด ๆ ทิศทางของแรงเฉือนทีเ่ ป็ นบวก มีทศ ิ ทิศทางของโมเมนต์ทเี่ ป็ น
ิ ตามเข็มนาฬ กา
t Diagram) เป็ นไปตามตัวเลือกข ้อใด กำหนดให ้ เมือ
่ ตัดรูปตัดใดๆ ทิศทางของแรงเฉือนทีเ่ ป็ นบวก มีทศ ิ ทิศทางของโมเม
ิ ตามเข็มนาฬ กา
C ของคานทีม
่ แ
ี รงกระทำดังรูป

ะ C ของคานทีม
่ แ
ี รงกระทำดังรูป

ะ C ของคานทีม
่ แ
ี รงกระทำดังรูป
C ของโครงสร ้างดังในรูป
องคานดังแสดงในรูป
งในรูป เมือ
่ มีน้ำหนักบรรทุกแบบจุดเท่ากับ 9 ตัน
จายอย่างสม่ำเสมอมีขนาดเท่ากับ 2 ตัน/เมตร

ในรูป เมือ
่ มีน้ำหนักบรรทุกแบบจุดเท่ากับ 9 ตัน
ย่างสม่ำเสมอมีขนาดเท่ากับ 2 ตัน/เมตร และ 4 ตัน/เมตร ตามลำดับ
ทีจ
่ ด
ุ C มีคา่ มากทีส
่ ด
ุ )

กทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ ทีจ
่ ด
ุ C ของคานดังแสดงในรูป
Load) และแบบจร (Live Load) C มีคา่ มากทีส
่ ด

บ โดยน้ำหนักบรรทุกจร 4 ตัน/เมตร จะกระจายเฉพาะชว่ งทีท
่ ำให ้แรงเฉือนบวกทีจ
่ ด

ทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ ทีจ
่ ด
ุ C ของคานดังแสดงในรูป เมือ
่ มีน้ำหนักบรรทุกแบบจุดเท่ากับ 9 ตัน
ย่างสม่ำเสมอมีขนาดเท่ากับ 2 ตัน/เมตร และ 4 ตัน/เมตร ตามลำดับ
ทีจ
่ ด
ุ C มีคา่ มากทีส
่ ด
ุ  
องคานดังแสดงในรูป
ย่างไรภายใต ้การเคลือ
่ นทีข
่ องแรงกระทำแบบจุด 2 ค่าทีก
่ ำหนดบนโครงสร ้าง

กระทำต่อคานทีก
่ ำหนดให ้ จงหาว่าแรงกระทำคูน ี้ ้องกระทำอยูใ่ นช่วงใดของคาน ซึง่ ทำให ้ค่าแรงปฏิกริ ย
่ ต ิ าในแนวดิง่ ทีจ
่ ด
ุ A มีคา่ เป็ นศูนย์

แรงกระทำแบบจุด 2 ค่าทีก
่ ำหนดบนโครงสร ้าง สามารถมีคา่ เป็ นศูนย์หรือไม่
การเคลือ
่ นทีข
่ องแรงกระทำแบบจุด 8 T บนโครงสร ้าง มีคา่ สูงสุดเท่าไร

ของแรงกระทำแบบจุด 10 T บนโครงข ้อหมุน มีคา่ สูงสุดเป็ นอย่างไร

ของแรงกระทำแบบจุด 10 T บนโครงข ้อหมุน มีคา่ สูงสุดเป็ นอย่างไร


e) RA ของฐานรองรับ A เมือ
่ น้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีอ
่ ยูท
่ จ
ี่ ด
ุ B ของคานยืน
่ (Cantilever beam) ABC ดังแสดงในรูป

moment) MA ของฐานรองรับ A เมือ


่ น้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีอ
่ ยูท
่ จ
ี่ ด
ุ B ของคานยืน
่ (Cantilever beam) ABC ดังแสดงในรูป

น้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีอ
่ ยูท
่ จ
ี่ ด
ุ C ของคานยืน
่ (Cantilever beam) ABC ดังแสดงในรูป
น้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีอ
่ ยูท
่ จ
ี่ ด
ุ C ของคานยืน
่ (Cantilever beam) ABC ดังแสดงในรูป

e) RA ของฐานรองรับ A เมือ
่ น้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีอ
่ ยูท
่ จ
ี่ ด
ุ B ของโครงข ้อหมุน (Truss) ดังแสดงในรูป

e) RE ของฐานรองรับ E เมือ
่ น้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีอ
่ ยูท
่ จ
ี่ ด
ุ C ของโครงข ้อหมุน (Truss) ดังแสดงในรูป
ิ้ สว่ น GB เมือ
ce) ของชน ่ น้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีอ
่ ยูท
่ จ
ี่ ด
ุ B ของโครงข ้อหมุน (Truss) ดังแสดงในรูป

ิ้ สว่ น CG เมือ
ce) ของชน ่ น้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นทีอ
่ ยูท
่ จ
ี่ ด
ุ C ของโครงข ้อหมุน (Truss) ดังแสดงในรูป
ำตอบข ้อใดเป็ นจริง

E ของโครงสร ้างดังในรูป
ของโครงสร ้างดังในรูป

และ 2 แล ้วหาว่าคำตอบข ้อใดเป็ นจริง

80 kN ดังในรูป วิง่ ผ่านคานสะพานยาว 20 m


นสว่ นสแ
ี ดง) ของโครงข ้อหมุนดังในรูป

นสว่ นสแ
ี ดง) ของโครงข ้อหมุนดังในรูป
หนักบรรทุกจรเคลือ ่ ยูใ่ นชว่ งAC
่ นทีอ

หนักบรรทุกจรเคลือ
่ นทีอ
่ ยูใ่ นช่วงCB

น้ำหนักบรรทุกจรเคลือ ่ ยูใ่ นชว่ งAC


่ นทีอ
น้ำหนักบรรทุกจรเคลือ ่ ยูใ่ นชว่ งCB
่ นทีอ

งโมเมนต์ ณ จุดกึง่ กลาง B-C


ดให ้ หากมี น้ำหนักบรรทุก 13 ton วิง่ ผ่านคานดังแสดงในรูป จงหาค่าสูงสุดของ reaction ทีจ
่ ด
ุ B พร ้อมระบุตำแหน่งทีน
่ ้ำหนักบรรทุกนีก
้ ระ

ดให ้ หากมี น้ำหนักบรรทุก 13 ton วิง่ ผ่านคานดังแสดงในรูป จงหาค่าสูงสุดของ reaction ทีจ


่ ด
ุ B พร ้อมระบุตำแหน่งทีน
่ ้ำหนักบรรทุกนีก
้ ระ
องคานยืน
่ ทีม
่ ค ี 5000 ซม.^4 และค่าโมดูลัสของการยืดห
ี วามยาว 2.00 เมตร รับน้ำหนักกระทำเป็ นจุด ขนาด 6 T มีคา่ โมเมนต์ อินเนอร์เชย
A ของคาน ABC ดังแสดงในรูป E=207x10^3 MPa, I=10^-4 m
A ของคาน ABC ดังแสดงในรูป E=207x10^3 MPa, I=10^-4 m
องจุดCของโครงข ้อแข็งทีก
่ ำหนด

องจุดBของโครงข ้อแข็งทีก
่ ำหนด
นวราบทีจ
่ ด
ุ A
นสว่ นเมือ ี ้ำเงิน) มากระทำ]
่ มีแรงลักษณะต่างๆ (สน

นวดิง่ ทีจ
่ ด
ุ D
s in figure below.
(No axial deformation) ให ้เลือกคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้องทีส
่ ด

ให ้เลือกคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้องทีส
่ ด

ดตัวแต่เคลือ
่ นทีใ่ นแนวระดับได ้

ให ้เลือกคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้องทีส
่ ด

ให ้เลือกคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้องทีส
่ ด

ให ้เลือกคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้องทีส
่ ด

ให ้เลือกคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้องทีส
่ ด

มุนของจุด A

หรือวิธ ี conjugate-beam พิจารณาจากผลของ

virtual work สามารถพิจารณาได ้จากผลของ


ท่ากับเท่าใด?

น้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่

น้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่


บโมเมนต์ดด
ั M ทีจ ุ รองรับทัง้ สอง ดังรูป ซงึ่ ทำให ้คานโก่งทางเดียว กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่
่ ด

โมเมนต์ดด
ั M ทีจ ุ รองรับทัง้ สอง ดังรูป ซงึ่ ทำให ้คานโก่งทางเดียว กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่
่ ด

น้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่


น้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่

น้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L/2, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่

น้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่


น้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่

โมเมนต์ดด
ั M ทีจ ุ รองรับทัง้ สอง ดังรูป ซงึ่ ทำให ้คานโก่งทางเดียว กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่
่ ด
โมเมนต์ดด
ั M ทีจ ุ รองรับทัง้ สอง ดังรูป ซึง่ ทำให ้คานโก่งทางเดียว กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่
่ ด

บน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L/2, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่

น้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่


น้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่

น้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่

งที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 3I และค่า E คงที่


a ของคานทีก
่ ำหนด

ทีจ
่ ด
ุ a ของคานในรูป เมือ
่ กำหนดให ้ F = wL/2
ำหนดให ้ F = wL/2

หมดของคานในรูป กำหนดให ้ F = wL/2


โก่งตัว (โดยประมาณ) ทีจ
่ ด
ุ D เท่ากับ

ะโก่งตัวทีจ
่ ด ่ ว่ ยยึด)
ุ D เป็ นศูนย์ ให ้หาค่าแรงดึงโดยประมาณในท่อนเหล็ก BD (โดยคำนึงถึงการยืดตัวของท่อนเหล็กทีช


มเข็มนาฬกามี
คา่ เป็ นบวก จงคำนวณหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีป ิ้ สว่ น AB: MAB มีคา่ เท่ากับ
่ ลาย A ของชน
อยูท
่ จ
ี่ ด
ุ ไหน


มเข็มนาฬกามี
คา่ เป็ นบวก จงคำนวณหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีป ิ้ สว่ น AB: MAB มีคา่ เท่ากับเท่าใด
่ ลาย A ของชน
คาน AB จะอยูท
่ จ
ี่ ด
ุ ไหน

ะรับน้ำหนักบรรทุกทีม
่ ข
ี นาดสุทธิเท่ากัน จงกำหนดว่าข ้อความใดถูกต ้อง
ต์ดด
ั ยึดแน่นทีป
่ ลาย A ของรูป (ข) (FEMAB)
ดัดยึดแน่นทีป
่ ลาย A ของรูป (ข) (FEMAB)
ดัดยึดแน่นทีป
่ ลาย A ของรูป (ข) (FEMAB)

าวมีความสมมาตรทีก
่ งึ่ กลางของคาน BC หากต ้องการวิเคราะห์โครงสร ้างให ้รวดเร็วขึน ั ความสมมาตรเข ้าชว่ ย ดังนัน
้ โดยอาศย ้ ต ้องพิจารณา

หนักแบบปฎิสมมาตรทีก
่ งึ่ กลางของคาน BC หากต ้องการวิเคราะห์โครงสร ้างให ้รวดเร็วขึน
้ โดยอาศัยความสมมาตรเข ้าช่วย จะต ้องพิจารณาใ
as shown in figure below.
ort) จะเห็นว่าโครงสร ้างระนาบทีแ
่ สดงเป็ นแบบ

ort) จะเห็นว่าโครงสร ้างระนาบทีแ


่ สดงเป็ นแบบ
ort) จะเห็นว่าโครงสร ้างระนาบทีแ
่ สดงเป็ นแบบ

ort) จะเห็นว่าโครงสร ้างระนาบทีแ


่ สดงเป็ นแบบ

ort) จะเห็นว่าโครงสร ้างระนาบทีแ


่ สดงเป็ นแบบ

ort) จะเห็นว่าโครงสร ้างระนาบทีแ


่ สดงเป็ นแบบ 
นว่าโครงสร ้างระนาบทีแ
่ สดงเป็ นแบบ 

ห็นว่าโครงสร ้างระนาบทีแ
่ สดงเป็ นแบบ
ate โครงสร ้างนีม
้ ี degree of indeterminancy เท่าไร

ate โครงสร ้างนีม


้ ี degree of indeterminancy เท่าไร
ดตัวของท่อนเหล็ก จงหาค่าแรงดึงในท่อนเหล็กนี้

ดตัวของท่อนเหล็ก จงหาค่าแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A
คิดการยืดหดตัวของท่อนเหล็ก จงหาค่าแรงดึงในท่อนเหล็กนี้

คิดการยืดหดตัวของท่อนเหล็ก จงหาค่าแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A

คิดการยืดหดตัวของท่อนเหล็ก โมเมนต์ดด
ั ทีก
่ งึ่ กลางคาน AB มีคา่ เท่ากับ
ทิศทางของโมเมนต์ทเี่ ป็ นบวก ดัดให ้คานโก่งหงาย
ิ ทิศทางของโมเมนต์ทเี่ ป็ นบวก ดัดให ้คานโก่งหงาย
นาฬ กา
วดิง่ ทีจ
่ ด
ุ A มีคา่ เป็ นศูนย์
ดังแสดงในรูป
หน่งทีน
่ ้ำหนักบรรทุกนีก
้ ระทำ

หน่งทีน
่ ้ำหนักบรรทุกนีก
้ ระทำ
และค่าโมดูลัสของการยืดหยุน
่ เป็ น 2000 ตันต่อตารางเซนติเมตร
I และค่า E คงที่

และค่า E คงที่
และค่า E คงที่
และค่า E คงที่
้าชว่ ย ดังนัน
้ ต ้องพิจารณาใชค่้ า stiffness factor สำหรับชน
ิ้ สว่ น AB (หรือ CD) และสำหรับชน
ิ้ สว่ น BC ดังนี้

รเข ้าช่วย จะต ้องพิจารณาใช ้ค่า stiffness factor สำหรับชิน


้ ส่วน AB (หรือ CD) และสำหรับชิน
้ ส่วน BC ดังนี้
Structural Analysis
ข ้อที่ 1 : ข ้อใดเป็ นการวิเคราะห์โครงสร ้างแบบอินดีเทอร์มเิ นทโดยวิธเี ปลีย
่ นตำแหน่ง(Displacment Me
1 : Consistent Deformation Method
2 : Method of Three-Moment Equations
3 : Method of Least Work
4 : Column Analogy
5 : Slope-Deflection Method
ถูกต้อง 5

ข ้อที่ 2 : จากคานต่อเนือ
่ งรับน้ำหนักตามรูป จงวิเคราะห์หาแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ รองรับ C

1 : 7.62 ตัน
2 : 10 ตัน
3 : 15.61 ตัน
4 : 2 ตัน
5 : 5.61 ตัน
ถูกต้อง 1

ข ้อที่ 3 : จงหาดีกรีอน
ิ ดีเทอร์มเิ นทของโครงสร ้างดังรูป

1:1
2:3
3:6
4:9
5 : 12
ถูกต้อง 3
ข ้อที่ 4 : ให ้หาแรงปฎิกริ ย
ิ าทีฐ
่ านรองรับของโครงข ้อหมุนทีจ
่ ด
ุ B เมือ
่ กำหนดให ้พืน
้ ทีห ้ ส่วน
่ น ้าตัดของชิน

1 : 0.33P ( Down)
2 : 0.42P ( Down)
3 : 0.17P ( Down )
4 : 0.26P ( Down )
5 : 0.55P (Down)
ถูกต้อง 3

ข ้อที่ 5 : ให ้ตรวจสอบว่าโครงข ้อแข็งนีม


้ เี สถียรภาพระดับใด

1 : Stable, Determinate
2 : Unstable, Indeterminate, Degree of indeterminacy = 1
3 : Stable, Indeterminate, Degree of indeterminacy = 2
4 : Unstable, Indeterminate, Degree of indeterminacy = 2
5 : Stable, Indeterminate, Degree of indeterminacy = 1
ถูกต้อง 5

ิ้ สว่ น Abของโครงข ้อแข็งเมือ


ข ้อที่ 6 : ให ้หาโมเมนต์สงู สุดบนชน ิ้ สว่ นมีขนาดเท่ากันทำจ
่ กำหนดให ้ทุกชน
1 : 80.5 ตัน-เมตร
2 : 92.3 ตัน-เมตร
3 : 87.7 ตัน-เมตร
4 : 94.3 ตัน-เมตร
5 : 112.6 ตัน-เมตร
ถูกต้อง 4

ิ้ สว่ น AB ของโครงข ้อหมุน เมือ


ข ้อที่ 7 : ให ้คำนวณหาแรงภายในชน ่ กำหนดให ้ตัวเลขทีป
่ รากฎในวงเล็บค

1 : -11.24-56X1
2 : 3.55-0.32X1
3 : 0.707+3.12X1
4 : -2.12+3.15X1
5 : 11.24-0.56X1
ถูกต้อง 5

้ ส่วน BD เมือ
ข ้อที่ 8 : ให ้คำนวณหาแรงเกิน X1 ของโครงข ้อหมุนในชิน ่ กำหนดให ้ตัวเลขทีป
่ รากฎในวงเล
1 : 0.51 ตัน( ดึง )
2 : 0.33 ตัน( ดึง )
3 : 0.43 ตัน( ดึง )
4 : 0.25 ตัน( ดึง )
5 : 0.707 ตัน( ดึง )
ถูกต้อง 4

ข ้อที่ 9 : ให ้หา fixed end moment ทีป


่ ลายของโครงข ้อแข็งดังภาพ

1:

2:

3:

4:
5:

ถูกต้อง 3

ข ้อที่ 10 : ในการวิเคราะห์คานต่อเนือ
่ งโดยวิธม
ี ม ้
ุ ลาด-ความแอ่นของคานดังรูปมีความจำเป็ นต ้องใชสมก

1 : 5 สมการ
2 : 4 สมการ
3 : 3 สมการ
4 : 2 สมการ
5 : 1 สมการ
ถูกต้อง 4

ข ้อที่ 11 : โครงข ้อแข็งดังรูปกำหนดให ้ใชวิ้ ธ ี moment distribution วิเคราะห์หาโมเมนต์ดด


ั ทีเ่ กิดขึน
้ ทีฐ

1 : 2.58 T-m
2 : 3.28 T-m
3 : 4.58 T-m
4 : 5.28 T-m
5 : 6.78 T-m
ถูกต้อง 1

ข ้อที่ 12 : จงวิเคราะห์หาโมเมนต์ดด
ั ทีเ่ กิดทีจ
่ ด
ุ ต่อ C ของโครงข ้อแข็งดังรูป

1 : 10.88 T-m
2 : 13.88 T-m
3 : 16.88 T-m
4 : 17.22 T-m
5 : 24.22 T-m
ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 13 : จงวิเคราะห์หาแรงปฏิกริ ย
ิ าในแนวนอนทีเ่ กิดทีฐ
่ านรองรับ B ของโครงข ้อแข็งดังรูป

1 : 2.72 T
2 : 3.47 T
3 : 4.22 T
4 : 4.31 T
5 : 6.54 T
ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 14 : คานต่อเนือ
่ งดังแสดงในรูป ถ ้าวิเคราะห์โดยวิธก
ี ารกระจายโมเมนต์คา่ ตัวกระจาย CD มีคา่ เป็ น
1:0
2 : 1/2
3 : 2/5
4 : 3/5
5 : 4/5
ถูกต้อง 1

ั ประสท
ข ้อที่ 15 : โครงข ้อแข็งดังรูปถ ้าทำโดยวิธ ี การกระจายโมเมนต์ ค่าสม ิ ธิต
์ วั กระจายของปลาย DB ม

1:1
2 : 1/2
3 : 1/3
4 : 1/6
ถูกต้อง 3

ข ้อที่ 16 : ค่าโมเมนต์ดด
ั ทีป
่ ลาย AD มีคา่ เท่าใด

1 : PL/16
2 : PL/24
3 : PL/48
4 : PL/96
ถูกต้อง 4

ข ้อที่ 17 : จงใช ้วิธก ้ ส่วน BD


ี ารกระจายโมเมนต์วเิ คราะห์หาแรงในชิน

1 : 750 Kg.
2 : 1500 Kg.
3 : 1750 Kg.
4 : 2250 Kg.
ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 18 : คานรับแรงดังรูปจะต ้องใช ้โมเมนต์กระทำทีป


่ ลาย A และ B เป็ นเท่าไรปลายทัง้ สองถึงจะไม่เก

1 : 8 และ 4 T-m.
2 : 10 และ 5 T-m.
3 : 12 และ 6 T-m.
4 : 14 และ 7 T-m.
ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 19 : คาน AB ที่ B ทรุดตัวลง ดังแสดงในรูป จงหาสมการของโมเมนต์ยด


ึ แน่นทีฐ
่ านรองรับ A
1:

2:

3:

4:

ถูกต้อง 3

ข ้อที่ 20 : คานดังรูปให ้หาค่า Distribution Factor ทีฐ


่ านรองรับในการวิเคราะห์โครงสร ้างแบบ Moment

1 : AB = 0, BA = 0.1, BC= 0.9, CB = 1.0


2 : AB = 1, BA = 0.9, BC= 0.1, CB = 1.0
3 : AB = 0, BA = 0.4, BC= 0.6, CB = 0.0
4 : AB = 0, BA = 0.3, BC= 0.7, CB = 1.0
5 : AB = 0.1, BA = 0.2, BC= 0.8, CB = 0.0
ถูกต้อง 3

ข ้อที่ 21 : คานดังรูปในการวิเคราะห์โครงสร ้างแบบ Moment Distribution จำเป็ นต ้องหา Fixed End M


1 : AB = -7 T-m, BA = -8 T-m, BC = +8 T-m, CB = -6 T-m
2 : AB = -9 T-m, BA = +9 T-m, BC = -5 T-m, CB = +5 T-m
3 : AB = +7 T-m, BA = +8 T-m, BC = -8 T-m, CB = +6 T-m
4 : AB = +9 T-m, BA = -9 T-m, BC = +5 T-m, CB = -5 T-m
5 : AB = -8 T-m, BA = +8 T-m, BC = +9 T-m, CB = -9 T-m
ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 22 : ค่าใดไม่สามารถเลือกเป็ น Redundant ในการวิเคราะห์โครงสร ้างด ้วยวิธก


ี ารเปลีย
่ นแปลงรูปร

1:

2:

3:

4:

ถูกต้อง 4

ข ้อที่ 23 :

1:0
2 : ML/3EI
3 : ML/4EI
4 : ML/6EI
ถูกต้อง 3
ข ้อที่ 24 :

1 : เท่ากัน และเท่ากับศูนย์
2 : เท่ากัน แต่ไม่เท่ากับศูนย์
3:
4:

ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 25 : กำหนด EI มีคา่ คงที่ โมเมนต์ทจ


ี่ ด
ุ รองรับ A มีคา่ เท่าใด

1:0
2 : 0.75 T.m
3 : 1.5 T.m
4 : 3.75 T.m
ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 26 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้างด ้วยวิธก


ี ารเปลีย
่ นแปลงรูปร่างสอดคล ้อง (Method of Consistent D
1:

2:

3:

4:

ถูกต้อง 1

ข ้อที่ 27 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้างด ้วยวิธก


ี ารเปลีย
่ นแปลงรูปร่างสอดคล ้อง (Method of Consistent D

1:

2:

3:

4:

ถูกต้อง 1

ข ้อที่ 28 : จากหลักการของ Superposition โครงสร ้างทีต


่ ้องวิเคราะห์เพิม
่ (โครงสร ้าง A) คือข ้อใด
1:

2:

3:

4:

ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 29 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้างด ้วยวิธก


ี ารเปลีย
่ นแปลงรูปร่างสอดคล ้อง (Method of Consistent D
1 : A และ E
2 : C และ D
3 : B, C และ D
4 : ถูกทุกข ้อ
ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 30 : Redundant ชุดใดไม่เหมาะสมในการเลือกเพือ


่ วิเคราะห์โครงสร ้างต่อไปนี้

1:

2:

3:

4:

ถูกต้อง 4

ข ้อที่ 31 : ข ้อใดคือสมการ Slope-Deflection ในการวิเคราะห์โครงสร ้าง (หมายเหตุ: FEM = Fixed End


1:

2:

3:

4:

ถูกต้อง 1

ข ้อที่ 32 : รูปร่าง Shear Force Diagram ของโครงสร ้างนีม


้ ล
ี ักษณะเช่นใด

1:

2:

3:

4:
ถูกต้อง 1

ข ้อที่ 33 : โมเมนต์ลบทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ ในโครงสร ้างมีคา่ เท่าใด

1:0

2:

3:

4:

ถูกต้อง 3

ข ้อที่ 34 : จากการวิเคราะห์โครงสร ้างเบือ


้ งต ้น ได ้ค่าโมเมนต์ในส่วนโครงสร ้างดังต่อไปนี้

1 : 3.375 T
2 : 6.39 T
3 : 7.5 T
4 : 11.39 T
ถูกต้อง 4

ข ้อที่ 35 : โมเมนต์ภายในทีจ
่ ด
ุ รองรับ B มีคา่ เท่าใด
1:0
2 : 3 T.m
3 : 4.5 T.m
4 : 6 T.m
ถูกต้อง 4

ข ้อที่ 36 : ค่า End moment ค่าใดมีคา่ มากทีส


่ ด

1:
2:
3:
4:
ถูกต้อง 1

ข ้อที่ 37 : ในวิธ ี Slope-Deflection นอกเหนือจากสมการสมดุลทีจ


่ ด
ุ ต่อ ยังต ้องการสมการใดเพิม
่ เติมเพือ

1:

2:

3:

4:

ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 38 : ตามทีท ึ ษาการวิเคราะห์โครงสร ้างทีเ่ ป็ นโครงสร ้างแบบ Determinate และโครงสร ้าง


่ า่ นได ้ศก
ิ้ สว่ นมีความยาวเกินไปหรือสน
1 : ความยาวของชน ั ้ เกินไปอาจมีปัญหากับการเสย
ี หายของโครงสร ้าง
ิ้ สว่ นมีความยาวเกินไปหรือสน
2 : ความยาวของชน ั ้ เกินไปไม่มป ี หายของโครงสร ้าง
ี ั ญหากับการเสย
3 : การเคลือ
่ นตัวเล็กน ้อยไม่มผ
ี ลกระทบต่อโครงสร ้าง
4 : โครงสร ้างแบบ Indeterminate ปลอดภัยกว่า
ถูกต้อง 1

ข ้อที่ 39 : ภายใต ้แรงขนาดเท่ากันและกระทำทีต


่ ำแหน่งเดียวกัน โครงสร ้าง statically indeterminate จ
1 : มากกว่า
2 : น ้อยกว่า
3 : มากกว่าหรือเท่ากับ
4 : น ้อยกว่าหรือเท่ากับ
ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 40 : การวิเคราะห์โครงสร ้าง statically indeterminate ในวิชา Structural Analysis มีพน


ื้ ฐานมาจ
่ มต่อของโครงสร ้างเป็ นจุดเชือ
1 : จุดเชือ ่ มต่อแบบแกร่ง (rigid joint)
่ เชงิ เสน้
2 : ภายใต ้แรงกระทำ วัสดุของโครงสร ้างจะต ้องมีพฤติกรรมแบบยืดหยุน
3 : การเปลีย
่ นตำแหน่งทีเ่ กิดขึน
้ บนโครงสร ้างต ้องมีคา่ มากๆ
้ ้เฉพาะโครงสร ้างจำพวกคานและโครงข ้อแข็ง
4 : ใชได
ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 41 : จากรูป คานมีจด


ุ ดัดกลับ (inflection point) ทัง้ หมดกีจ
่ ด

1 : 2 จุด
2 : 3 จุด
3 : 4 จุด
4 : 5 จุด
ถูกต้อง 2
ข ้อที่ 42 :

1 : 20 kN-m
2 : 40 kN-m
3 : 60 kN-m
4 : 80 kN-m
ถูกต้อง 1

ข ้อที่ 43 :

1 : 0.546/EI
2 : 27.21/EI
3 : -0.546/EI
4 : -27.21/EI
ถูกต้อง 3

ข ้อที่ 44 : ให ้หา แรงภายใน ของ member ทุกตัว (a, b, c , d และ e) ในโครงสร ้างต่อไปนี้
1 : 0, 28.28, 28.28, 20, -20 kN
2 : 20, 28.28, 28.28, 20, -20 kN
3 : -20, 28.28, 0, 20, -20, 56.56 kN
4 : 56.56, 28.28, -28.28, 0, -20 kN
ถูกต้อง 4

ข ้อที่ 45 : จากโครงสร ้างดังรูป จงตอบคำถาม โดยวิธ ี Moment Distribution


ค่า Modified Stiffness factor ของคานชว่ ง BC มีคา่ เท่าใด

1:

2:

3:

4:

ถูกต้อง 3

ข ้อที่ 46 : คานดังรูป ถ ้าวิเคราะห์โดย Method of Slope and Deflection ค่า Boundary Condition ข ้อ

1:
2:
3:
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีผ
่ ด

ถูกต้อง 2
่ ำหนดให ้ ซงึ่ ค่า EI คงทีต
ข ้อที่ 47 : จากโครงสร ้างทีก ่ ลอด แรงเฉือนมากทีส
่ ด
ุ มีคา่ เท่ากับ

1 : 2P/3
2:P
3 : 4P/3
4 : 2P
ถูกต้อง 3

่ ำหนดให ้ ซงึ่ ค่า EI คงทีต


ข ้อที่ 48 : จากโครงสร ้างทีก ่ ลอด จงหาโมเมนต์ดด
ั ทีจ
่ ด
ุ A กำหนดให ้ w = 1.0

1 : 2.25 ตัน-เมตร
2 : 4.50 ตัน-เมตร
3 : 6.75 ตัน-เมตร
4 : 7.50 ตัน-เมตร
ถูกต้อง 3

่ ง 2 ชว่ ง มีหน ้าตัดคงที่ รับน้ำหนัก ดังรูป ค่าโมเมนต์ดด


ข ้อที่ 49 : คานต่อเนือ ั ชนิดลบทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ จะอยูท

1 : จุดรองรับ A หรือ C
2 : จุดรองรับ B
3 : จุดใดจุดหนึง่ ระหว่างช่วง AB และ BC
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก
ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 50 : คานต่อเนือ
่ ง 2 ช่วง มีหน ้าตัดคงที่ รับน้ำหนัก ดังรูป โมเมนต์ดด
ั ชนิดบวกทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ จะอยู่

่ า่ งจากจุดรองรับ A หรือ C น ้อยกว่าครีง่ หนึง่ ของชว่ ง AB หรือ BC


1 : ตรงจุดทีห
่ า่ งจากจุดรองรับ A หรือ C มากกว่าครีง่ หนึง่ ของชว่ ง AB หรือ BC
2 : ตรงจุดทีห
3 : ตรงจุดรองรับ A หรือ C
4 : ตรงกึง่ กลางคานของชว่ ง AB และ BC
ถูกต้อง 1

รวมคะแนน 50

ข ้อที่ 51 : คานต่อเนือ
่ ง 2 ช่วง มีหน ้าตัดคงที่ รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าแรงเฉือนมากทีส
่ ด

1 : 3wL/8
2 : wL/2
3 : 5wL/8
4 : 5wL/4
ถูกต้อง 3

่ ง 2 ชว่ ง แต่ละชว่ งมีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าโมเมนต์ดด


ข ้อที่ 52 : คานต่อเนือ ั ชนิดบวก

1 : 6.8 ตัน-เมตร
2 : 11.2 ตัน-เมตร
3 : 15.4 ตัน-เมตร
4 : 18.0 ตัน-เมตร
ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 53 : โครงข ้อแข็ง ABCD รับน้ำหนัก ดังรูป จะเห็นว่าเป็ นโครงเฟรมทีส


่ มมาตรและรับน้ำหนักทีส
่ มมา

1 : มุมหมุนทีจ
่ ด
ุ B เท่ากับมุมหมุนทีจ
่ ด
ุ C และหมุนในทิศทางเดียวกัน
2 : มุมหมุนทีจ
่ ด
ุ B เท่ากับมุมหมุนทีจ
่ ด
ุ C แต่หมุนในทิศทางตรงกันข ้าม
3 : โครงเฟรมไม่มก
ี ารเซ และมุมหมุนทีจ
่ ด
ุ B เท่ากับทีจ
่ ด
ุ C และมีทศ
ิ ทางเดียวกัน
4 : โครงเฟรมไม่มก
ี ารเซ และมุมหมุนทีจ
่ ด
ุ B เท่ากับทีจ
่ ด
ุ C และมีทศ
ิ ทางตรงกันข ้าม
ถูกต้อง 4

ข ้อที่ 54 : มีโครงข ้อแข็ง ABCD 2 โครง คือ โครง (ก) และ (ข) ซึง่ มีขนาดและความยาวของเสาเท่ากัน

1 : เสาของโครง (ก) รับแรงอัดตามแนวแกนได ้เท่ากันกับเสาของโครง (ข)


2 : เสาของโครง (ก) รับแรงอัดตามแนวแกนได ้น ้อยกว่าเสาของโครง (ข)
3 : เสาของโครง (ก) รับแรงอัดตามแนวแกนได ้มากกว่าเสาของโครง (ข)
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก
ถูกต้อง 1

ข ้อที่ 55 : โครงข ้อแข็ง ABCD รับน้ำหนัก ดังรูป จะพบว่าเสาในโครงเฟรม


ั ซึง่ ทำให ้เสาโก่งทางเดียว
1 : รับแรงอัดและโมเมนต์ดด
ั ซงึ่ ทำให ้เสาโก่งสองทาง มีจด
2 : รับแรงอัดและโมเมนต์ดด ุ ดัดกลับห่างจากจุด A เท่ากับ L/2
ั ซงึ่ ทำให ้เสาโก่งสองทาง มีจด
3 : รับแรงอัดและโมเมนต์ดด ุ ดัดกลับห่างจากจุด A เท่ากับ L/3
ั ซงึ่ ทำให ้เสาโก่งสองทาง มีจด
4 : รับแรงอัดและโมเมนต์ดด ุ ดัดกลับห่างจากจุด A เท่ากับ L/4
ถูกต้อง 3

ข ้อที่ 56 : โครงข ้อแข็ง ABCD รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าโมเมนต์ดด


ั MBC กำหนดให ้ P = 5 ตัน L = 4

1 : 4.00 ตัน-เมตร
2 : 3.00 ตัน-เมตร
3 : 2.00 ตัน-เมตร
4 : 1.00 ตัน-เมตร
ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 57 : ในการวิเคราะห์คาน ACB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ โดยวิธ ี slope-deflection ต ้องใชสมการสมดุ


้ ลท

1 : MCA+ MCB = 0 และ 3(MAB + MBA) + 2(MCB + MBC) = 3PL


2 : MCA+ MCB = 0 และ 3(MAB + MBA) + 2(MCB + MBC) = 3PL
3 : MCA+ MCB = 0 และ 3(MCB + MBC) - 2(MAB + MBA) = 3PL
4 : MCA+ MCB = 0 และ 3(MCB + MBC) + 2(MAB + MBA) = 3PL
ถูกต้อง 3

ข ้อที่ 58 :

1:
2:
3:
4:
ถูกต้อง 4

ข ้อที่ 59 :

1:
2:
3:
4:
ถูกต้อง 2

ข ้อที่ 60 :
1:
2:
3:
4:
ถูกต้อง 3

ิ้ สว่ นมีคา่ L/AE คงที่ จะพบว่าจุด B เคลือ


ข ้อที่ 61 : โครงข ้อหมุน รับน้ำหนัก P ดังรูป ถ ้าสมมติให ้ทุกชน ่ น

1 : P/2
2 : P/3
3 : P/4
4 : P/6

ข ้อที่ 62 :โครงข ้อหมุน รับน้ำหนัก P = 4.5 ตัน ดังรูป จงหาค่าแรงปฏิกริ ย


ิ าในแนวระดับทีจ
่ ด
ุ B สมมติให

1 : 2.00 ตัน
2 : 1.50 ตัน
3 : 1.00 ตัน
4 : 0.75 ตัน

ข ้อที่ 63 : โครงข ้อหมุนมีทอ


่ นเหล็ก AD ยึดไว ้ทีจ
่ ด
ุ D และรับน้ำหนัก P = 3640 กก. ทีจ
่ ด
ุ E ดังรูป เมือ

1 : 1420 กก.
2 : 710 กก.
3 : 500 กก.
4 : 250 กก.

ข ้อที่ 64 : เมือ ้ ส่วนรับแรงตามแนวแกน ดังรูป เพือ


่ ต่อยึดชิน ่ รับน้ำหนัก P = 2000 กก. ทีจ
่ ด
ุ C จงหาค่าแ

1 : 500 กก.
2 : 1000 กก.
3 : 1500 กก.
4 : 2000 กก.

ข ้อที่ 65 : โครงโค ้งครึง่ วงกลมมีหน ้าตัดคงที่ รัศมีเท่ากับ 6 เมตร รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาแรงยันในแนวร
1:
2:
3:
4:

ข ้อที่ 66 : ถ ้าต ้องการวิเคราะห์โครงสร ้างทีเ่ ซได ้ ดังรูป โดยวิธ ี moment distribution ในขัน
้ ตอนของกา

1 : 24 ตัน
2 : 30 ตัน
3 : 12 ตัน
4 : 18 ตัน

ข ้อที่ 67 : ถ ้าโครงเฟรมไม่สมมาตร รับน้ำหนัก ดังรูป หากต ้องวิเคราะห์โดยวิธ ี slope-deflection จะต ้อง

1 : สมการสมดุลของโมเมนต์ 3 สมการ และสมการสมดุลของแรงเฉือน 2 สมการ


2 : สมการสมดุลของโมเมนต์ 3 สมการ และสมการสมดุลของแรงเฉือน 3 สมการ
3 : สมการสมดุลของโมเมนต์ 6 สมการ และสมการสมดุลของแรงเฉือน 2 สมการ
4 : สมการสมดุลของโมเมนต์ 6 สมการ และสมการสมดุลของแรงเฉือน 3 สมการ

ข ้อที่ 68 : การวิเคราะห์โครงสร ้าง statically indeterminate แบบ force method เราอาจจะใช ้ตัวแปรใด
1 : แรงภายใน
2 : โมเมนต์ภายใน
3 : แรงปฏิกริ ย
ิ า
4 : ถูกทุกข ้

่ ทำการวิเคราห์คานโดยใชวิ้ ธ ี Slope-deflection คานมีจำนวน degree of freedom


ข ้อที่ 69 : จากรูป เมือ

1 :1
2:2
3:3
4:4

ข ้อที่ 70 : ถ ้าคานช่วงเดียวมี flexural rigidity EI ยาว L ถูกรองรับแบบยึดแน่นทีป


่ ลายทัง้ สองด ้านและถ
1 : wL^2/4
2 : wL^2/6
3 : wL^2/8
4 : wL^2/12

ข ้อที่ 71 : จากรูป เมือ


่ คานมี EI คงทีต
่ ลอดความยาวคานและถูกกระทำโดยแรงกระจายแบบสม่ำเสมอขน

1 : 2.0/EI
2 : 4.0/EI
3 : 6.0/EI
4 : 8.0/EI

ข ้อที่ 72 : จากรูป จงหาค่าโมเมนต์ทเี่ กิดขึน


้ ทีจ
่ ด ิ้ สว่ น AD โดยวิธ ี moment distribution เมือ
ุ D บนชน ่ โ

1 : 2 kN-m
2 : 3 kN-m
3 : 4 kN-m
4 : 5 kN-m

ข ้อที่ 73 : จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ ุ E ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำห
่ ด

1 : PL/3
2 : PL/6
3 : PL/9
4 : PL/12

ข ้อที่ 74 : จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ ุ A ของคาน AB ซึง่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำห
่ ด
1 : 13PL/6
2 : 13PL/8
3 : 13PL/10
4 : 13PL/12

ข ้อที่ 75 : จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ ุ B ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำห
่ ด

1 : 13PL/18
2 : 13PL/24
3 : 13PL/30
4 : 13PL/36

ข ้อที่ 76 : จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ ุ E ของคาน AB ซึง่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำห
่ ด

1 : PL/3
2 : PL/6
3 : PL/12
4 : PL/24

ข ้อที่ 77 : จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ ุ A ของคาน AB ซึง่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำห
่ ด
1 : 7PL/48
2 : 7PL/36
3 : 7PL/14
4 : 7PL/12

ข ้อที่ 78 : จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ ุ E ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ รับน้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำห
่ ด

1 : 7PL/48
2 : 7PL/36
3 : 7PL/14
4 : 7PL/12

ข ้อที่ 79 : จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ ุ A ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ ถ ้าปลาย A ถูกทำให ้เคลือ
่ ด ่ นลงม

1 : 16EID/11L^2
2 : 20EID/11L^2
3 : 24EID/11L^2
4 : 28EID/11L^2

ข ้อที่ 80 : จงหาค่า stiffness factor ทีจ ุ A ของคาน AB ซึง่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ กำหนดให ้ ระยะ L1 = L,
่ ด
1 : 34EI/37L
2 : 42EI/37L
3 : 56EI/37L
4 : 92EI/37L

ข ้อที่ 81 : จงหาค่า carry-over factor จากจุด B ไปยังจุด A ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ กำหนดใ

1 : 17/46
2 : 17/35
3 : 17/28
4 : 17/24

ข ้อที่ 82 : จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ ุ A ของคาน AB ซงึ่ มีหน ้าตัดไม่คงที่ ถ ้าปลาย A ถูกทำให ้เคลือ
่ ด ่ นลงม

1 : 48EID/37L^2
2 : 42EID/37L^2
3 : 36EID/37L^2
4 : 30EID/37L^2
ข ้อที่ 83 : โครงข ้อแข็ง ABC ทำด ้วยวัสดุชนิดเดียวกัน รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ
่ ด
ุ A กำห

1 : wL^2/24
2 : wL^2/30
3 : wL^2/36
4 : wL^2/48

ข ้อที่ 84 : โครงข ้อแข็ง ABC ทำด ้วยวัสดุชนิดเดียวกัน รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าโมเมนต์ดด


ั ทีจ
่ ด
ุ B กำห

1 : wL^2/24
2 : wL^2/30
3 : wL^2/36
4 : wL^2/48

ข ้อที่ 85 : โครงข ้อแข็ง ABC ทำด ้วยวัสดุชนิดเดียวกัน รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่า horizontal reaction ท
1 : wL/16
2 : wL/20
3 : wL/24
4 : wL/28

ข ้อที่ 86 : โครงข ้อแข็ง ABC ทำด ้วยวัสดุชนิดเดียวกัน รับน้ำหนัก ดังรูป จงหาค่าโมเมนต์ดด


ั ทีจ
่ ด
ุ B กำห

1 : wL^2/36
2 : wL^2/42
3 : wL^2/24
4 : wL^2/30

ข ้อที่ 87 : โครงข ้อแข็ง ABCD ทำด ้วยวัสดุชนิดเดียวกัน รับน้ำหนัก P ตรงกึง่ กลางช่วงคาน ดังรูป จงหาค

1 : PL/12
2 : PL/14
3 : PL/16
4 : PL/18

ข ้อที่ 88 : โครงข ้อแข็ง ABCD ทำด ้วยวัสดุชนิดเดียวกัน รับน้ำหนัก P ตรงกึง่ กลางชว่ งคาน ดังรูป จงหาค
1 : PL/12
2 : PL/14
3 : PL/16
4 : PL/18

ข ้อที่ 89 : โครงข ้อแข็ง ABCD ทำด ้วยวัสดุชนิดเดียวกัน รับน้ำหนัก P ตรงกึง่ กลางช่วงคาน ดังรูป จงหาค

1 : PL/12
2 : PL/18
3 : PL/24
4 : PL/36

ข ้อที่ 90 : คานดังรูปจงหาสมการ Influence line ของแรงปฏิกริ ย


ิ าทีฐ
่ านรองรับ B

1:
2:

3:

4:

ข ้อที่ 91 : จากรูป influence line ของแรงปฏิกริ ย


ิ าทีฐ
่ านรองรับ B เท่ากับ x2(3L-x)/(2L3) ถ ้ากำหนดให
จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีฐ
่ านรองรับ A 

1 : -3L/8
2 : -3L/16
3 : -3L/32
4 : -3L/48

ข ้อที่ 92 : คานดังรูปให ้หาค่า แรงปฏิกริ ย


ิ าทีฐ
่ านรองรับ B เมือ
่ มีแรงหนึง่ หน่วยกระทำทีร่ ะยะ x = 2.00 m

1 : 0.124
2 : 0.248
3 : 0.496
4 : 0.744

ข ้อที่ 93 : จากคานดังรูปให ้หาค่าแรงปฏิกริ ย


ิ าทีฐ
่ านรองรับ A เมือ
่ มีแรงหนึง่ หน่วยคงทีก
่ ระทำทีร่ ะยะ x =
1 : 0.384
2 : 0.768
3 : 0.933
4:1

ข ้อที่ 94 : จากคานดังรูปให ้หาค่าแรงเฉือนที่ D เมือ


่ มีแรงหนึง่ หน่วยคงทีก
่ ระทำทีร่ ะยะ x = 2.00 m. (ห่า

1:0
2 : 0.02
3 : 0.14
4 : 0.06

ข ้อที่ 95 : จากคานดังรูปให ้หาค่าโมเมนต์ดด


ั ที่ D เมือ
่ มีแรงหนึง่ หน่วยคงทีก
่ ระทำทีร่ ะยะ x = 2.00 m. (

1 : -0.15
2 : -0.30
3 : -0.60
4 : -1.20

ข ้อที่ 96 :
1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 97 :

1:
2:

3:

4:

ข ้อที่ 98 :

1:

2:

3:
4:

ข ้อที่ 99 :

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 100 :
1:

2:

3:

4:

รวมคะแนน 10

ข ้อที่ 101 :

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 102 :
1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 103 :

1:

2:

3:
4:

ข ้อที่ 104 : การวางน้ำหนักบรรทุกจรในข ้อใดทำให ้เกิดโมเมนต์ลบสูงทีส


่ ด
ุ ทีจ
่ ด
ุ B ในโครงสร ้าง

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 105 : จากรูปคาน statically indeterminate จงทำการวางน้ำหนักบรรทุกจรทีม


่ ก
ี ารกระจายคงที่ (u

1:

2:
3:

4:

ข ้อที่ 106 : จากรูปคาน statically indeterminate จงทำการวางน้ำหนักบรรทุกจรทีม


่ ก
ี ารกระจายคงที่ (u

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 107 : จากรูปคาน statically indeterminate จงทำการวางน้ำหนักบรรทุกจรทีม


่ ก
ี ารกระจายคงที่ (u

1:

2:

3:
4:

ข ้อที่ 108 : ข ้อใดคือประโยชน์ของการเขียนแผนภาพ Influence line ของคาน statically indetermina


1 : หาตำแหน่งของกลุม
่ น้ำหนักบรรทุกจร
2 : หารูปแบบของกลุม
่ น้ำหนักบรรทุกจร
3 : หาขนาดและรูปแบบของกลุม
่ น้ำหนักบรรทุกจร
4 : หาตำแหน่งและรูปแบบของกลุม
่ น้ำหนักบรรทุกจร

ข ้อที่ 109 : ถ ้าค่าพิกด


ั ทีจ
่ ด
ุ D ของแผนภาพ influence line ของแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ B ของคานดังทีแ
่ สดง

1 : 31.25 kN
2 : 33.33 kN
3 : 50.00 kN
4 : 68.75 kN

ข ้อที่ 110 : ถ ้าค่าพิกด


ั ทีจ
่ ด
ุ D ของแผนภาพ influence line ของแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ B ของคานดังทีแ
่ สดง

1 : 15/16 kN
2 : 110/16 kN
3 : 150/16 kN
4 : 650/16 kN

ข ้อที่ 111 : ถ ้าค่าพิกด


ั ทีจ
่ ด
ุ D ของแผนภาพ influence line ของแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ B ของคานดังทีแ
่ สดง
1 : 15/16 kN
2 : 65/16 kN
3 : 150/16 kN
4 : 650/16 kN

ข ้อที่ 112 : ให ้ ร่าง(sketch) ภาพ Influence line ของ โมเมนต์ ทีห


่ น ้าตัด N-N

1:

2:

3:

4:

5:
ข ้อที่ 113 : ภาพใดเป็ นอินฟลูเอนซ์ไลน์ของแรงปฏิกริยา A

1:

2:

3:

4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

้ ทธิพล (Influence line) ของโมเมนต์บวกทีจ


ข ้อที่ 114 : จงเลือกรูปร่างเสนอิ ่ ด
ุ C เมือ
่ คานต่อเนือ
่ งรับน้ำ

1:

2:

3:
4:

5:

ข ้อที่ 115 : จงเลือกรูปแบบการวางน้ำหนักบรรทุกจร (Live Load Pattern) เพือ


่ ให ้เกิดโมเมนต์ลบสูงสุด

1:

2:

3:

4:

5:

ข ้อที่ 116 : ตามหลักการ Muller-Breslau แผนภาพ Influence line ของคาน statically indeterminate
1 : shear diagram
2 : moment diagram
3 : normal force diagram
4 : deflection diagram

ข ้อที่ 117 : ถ ้าเราทราบแผนภาพ influence line ของแรงปฏิกริ ย


ิ าทีจ
่ ด
ุ A ของคานแล ้ว เราจะหาค่าแรงป
1 : พิกด ั ทีจ่ ดุ A
2 : พิกด ั ทีจ่ ดุ B
3 : ผลบวกของพิกด ั ทีจ
่ ดุ B และค่าแรง P
4 : ผลคูณของพิกด ั ทีจ
่ ดุ B และค่าแรง P

ข ้อที่ 118 : ถ ้าเราทราบแผนภาพ influence line ของแรงปฏิกริ ย


ิ าทีจ
่ ด
ุ A ของคานแล ้ว เราจะหาค่าแรงป
1 : พิกด
ั ทีจ
่ ด
ุ A
2 : พืน
้ ทีข
่ องแผนภาพ influence line
3 : ผลคูณของพิกด
ั ทีจ
่ ด
ุ A และค่าแรง w
4 : ผลคูณพืน
้ ทีข
่ องแผนภาพ influence line และค่าแรง w
5 : ผลคูณของพิกด
ั ทีจ
่ ด
ุ A และพืน
้ ทีข
่ องแผนภาพ influence line

ข ้อที่ 119 : จากรูป ถ ้าเราทราบแผนภาพ influence line ของแรงปฏิกริ ย


ิ าทีจ
่ ด
ุ C ของคานแล ้ว ค่าแรงป

1 : 0.68 kN
2 : -0.68 kN
3 : 0.94 kN
4 : -0.94 kN

ข ้อที่ 120 : จากรูป ถ ้าเราทราบแผนภาพ influence line ของแรงปฏิกริ ย


ิ าทีจ
่ ด
ุ C ของคานแล ้ว ค่าแรงป

1 : 3.8 kN
2 : 3.9 kN
3 : 4.0 kN
4 : 4.1 kN

ข ้อที่ 121 : จากรูป ถ ้าเราทราบแผนภาพ influence line ของแรงปฏิกริ ย


ิ าทีจ
่ ด
ุ C ของคานแล ้ว ค่าโมเมน

1 : 1.9L kN-m
2 : 2.0L kN-m
3 : 2.1L kN-m
4 : 2.2L kN-m

ข ้อที่ 122 : การวางน้ำหนักบรรทุกจรในข ้อใดทำให ้เกิดแรงปฏิกริ ย


ิ าที่ A (RD+) มีคา่ สูงสุด

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 123 : ให ้ ร่าง (sketch) ภาพ Influence line ของ โมเมนต์ดด


ั ทีจ
่ ด
ุ N
1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 124 : ข ้อใดคือ Influence Line ของ Rc

1:

2:
3:

4:

ข ้อที่ 125 : ถ ้าค่าพิกด


ั ทีจ
่ ด
ุ D ของแผนภาพ influence line ของแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A ของคานดังแสดงใ

1 : 40.6 kN
2 : 20.3 kN
3 : 50 kN
4 : 60.9 kN

ข ้อที่ 126 : จากรูป influence line ของแรงปฏิกริ ย


ิ าทีฐ
่ านรองรับ B ของคานดังแสดงในรูปในช่วง 0 < x
(1/2l3) (3l2x - x3) ถ ้ากำหนดให ้แรงหนึง่ หน่วยกระทำที่ x = l/2 จงหาค่าแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ B

1 : -11/6
2 : 5/8
3 : 1/2
4 : 11/16

ข ้อที่ 127 : จากรูป influence line ของแรงปฏิกริ ย


ิ าทีฐ
่ านรองรับ B ของคานดังแสดงในรูป (x2/2L3) (3
1 : 5/16
2 : 8/16
3 : 3/16
4 : 4/16

ข ้อที่ 128 : รูปใดคือ influence line ของ RB

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 129 : รูปใดคือ influence line ของ MB


1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 130 :

ถ ้าพบว่าค่าขนาดของพิกด
ั ทีจ
่ ด
ุ F ของแผนภาพ influence line ของโมเมนต์ทจ
ี่ ด
ุ E มีคา่ เท่ากับ 0.052

1 : -52 kN
2 : 52 kN
3 : 104 kN
4 : -104 kN

ข ้อที่ 131 : รูปใดคือ influence line ของ RA


1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 132 : รูปใดคือ influence line ของ ME

1:

2:

3:
4:

ข ้อที่ 133 : จากรูปคาน Statically indeterminate จงวางน้ำหนักบรรทุกทีม


่ ก
ี ารกระจายคงที่

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 134 : การวางน้ำหนักบรรทุกในข ้อใดทีท


่ ำให ้เกิดแรงเฉือนทีจ
่ ด
ุ E มีคา่ สูงสุด

1:

2:

3:
4:

ข ้อที่ 135 : จากรูปคาน statically indeterminate จงวางน้ำหนักบรรทุกจรทีม


่ ก
ี ารกระจายคงที่ (uniform

1:

2:

3:

4:

่ สดงซงึ่ รับน้ำหนักแบบจุดทีก
ข ้อที่ 136 : จงวิเคราะห์หาน้ำหนักบรรทุกประลัยของคานทีแ ่ งึ่ กลางชว่ งคาน

1 : 2Mp/L
2 : 3Mp/L
3 : 4Mp/L
4 : 6Mp/L
5 : 9Mp/L
ข ้อที่ 137 : คานชว่ งเดียวธรรมดา ABC ซงึ่ มีรป
ู ตัดสเี่ หลีย
่ มผืนผ ้าขนาด b x h คงทีต
่ ลอดความยาวดังแส

1 : 4My/L
2 : 8My/L
3 : 4Mp/L
4 : 8Mp/L
5 : 8Mp/27

ข ้อที่ 138 : คำตอบข ้อใดคือเส ้นอิทธิพลของแรงในชิน


้ ส่วน CD (แสดงเป็ นชิน
้ ส่วนสีแดง) ของโครงข ้อห
1 : Beam Mechanisms
2 : Sway Mechanisms
3 : Gable Mechanisms
4 : Load Mechanisms
5 : Joint Mechanisms

ข ้อที่ 139 : คานดังแสดงในรูป จงคำนวณหาน้ำหนักประลัยโดยวิธ ี plastic analysis

1 : MP/L
2 : 2MP/L
3 : 3MP/L
4 : 4MP/L

ข ้อที่ 140 : คานแบบ indeterminate ดังรูป ตรงจุดใดบ ้างทีม


่ โี อกาสทีจ
่ ะเกิด plastic hinge

1 : A และ C
2 : A ,C และ D
3 : A , B, C และ D
4 : เฉพาะ A และ B

ข ้อที่ 141 : โครงสร ้างดังรูป ต ้องการจำนวนของ plastic hinge เท่าไรจึงทำให ้โครงสร ้างไม่เสถียรภาพ

1:2
2:3
3:4
4:5

ข ้อที่ 142 : ข ้อใดกล่าวถูกต ้อง


1 : plastic hinge จะต่างกับ hinge ธรรมดา ( real hinge ) ตรงทีม
่ ห
ี น่วยแรงดัดจนถึงจุดคลากตลอดหน
2 : ถูกทุกข ้อ
3 : plastic hinge จะเกิดตรงจุดทีม
่ ค
ี า่ โมเมนต์ดด
ั สูงสุดก่อน หรือ บริเวณฐานรองรับ และ บริเวณทีน
่ ้ำหน
4 : plastic hinge จะเหมือนกับ hinge ธรรมดา( real hinge ) ตรงทีม
่ ก
ี ารเคลือ
่ นเชิงมุมได ้

ข ้อที่ 143 :
1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 144 : จากรูป คานเหล็กจะมี plastic hinge เกิดขึน


้ ทีจ
่ ด
ุ ใดก่อน เมือ
่ แรง P มีคา่ เพิม
่ ขึน
้ อย่างต่อเนือ

1:A
2:B
3:C
4 : A และ C

ข ้อที่ 145 : จากรูป โครงข ้อแข็งเหล็กจะมี plastic hinge เกิดขึน


้ กีจ
่ ด
ุ จึงทำให ้เกิด complete collapse

1:1
2:2
3:3
4:4

ข ้อที่ 146 : จากรูป เมือ


่ แรง P มีคา่ เพิม
่ ขึน
้ อย่างต่อเนือ
่ ง โครงข ้อแข็งเหล็กจะมี plastic hinge เกิดขึน
้ กีจ

1:1
2:2
3:3
4:4

ข ้อที่ 147 : การวิเคราะห์และออกแบบโดยวิธพ


ี ลาสติค เหมาะกับโครงสร ้างแบบใด
1 : โครงสร ้างไม ้
2 : โครงสร ้างเหล็ก
3 : โครงสร ้างคอนกรีตอัดแรง
4 : โครงสร ้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

ข ้อที่ 148 : ทีจ


่ ด
ุ หมุนพลาสติค (Plastic Hinge) จะมีคา่ โมเมนต์เท่าใด
1:M=0
2:
3:
4 : ไม่มค ี ำตอบทีถ ่ ก

ข ้อที่ 149 : โมดูลัสพลาสติค (Plastic Section Modulus ; Z) หาได ้จาก

1:

2:

3:

4:
ข ้อที่ 150 : ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้อง เกีย
่ วกับค่าตัวประกอบรูปทรง (Shape Factor)
1 : Shape Factor = Z / S
2:

3 : Shape Factor คานรูปสีเ่ หลีย


่ มผืนผ ้า = 1.5
4 : ค่า Shape Factor มาก เป็ นลักษณะทีห ่ น ้าตัดประหยัด (Economic Section)

รวมคะแนน 0

ข ้อที่ 151 : โครงสร ้างดังรูป มี Plastic Hinge กีจ


่ ด
ุ เมือ
่ เกิดการวิบต
ั ิ

1 : 1 จุด
2 : 2 จุด
3 : 3 จุด
4 : 4 จุด

ข ้อที่ 152 : หน ้าตัดชนิดใด ทีม


่ ค
ี า่ Shape Factor ใกล ้ค่า 1 มากทีส
่ ด

1:

2:

3:

4:

ู ตัดตันสีเ่ หลีย
ข ้อที่ 153 : คานเหล็กมีรป ่ มผืนผ ้าดังแสดง ถ ้าคานนีม
้ ก
ี ำลังจุดครากเท่ากับ fy กก./ซม.2 จ
1 : Mp = fybh^2/6, shape factor = 1.50
2 : Mp = fybh^2/4, shape factor = 1.70
3 : Mp = fybh^2/6, shape factor = 1.70
4 : Mp = fybh^2/4, shape factor = 1.50

ู ตัดตันสีเ่ หลีย
ข ้อที่ 154 : คานเหล็กมีรป ่ มขนมเปี ยกปูนดังแสดง คานนีม
้ โี มดูลัสพลาสติก

1 : Zx = bh^2/10, shape factor = 2


2 : Zx = bh^2/12, shape factor = 1.70
3 : Zx = bh^2/12, shape factor = 2
4 : Zx = bh^2/11, shape factor = 1.90

ข ้อที่ 155 : คานเหล็กรูปพรรณมีปลายสองข ้างเป็ นแบบยึดแน่น (fixed end) ยาวทัง้ หมดเท่ากับ L รับน้ำ

1 : B --> A --> C
2 : B --> C --> A
3 : A --> B --> C
4 : A --> C --> B

ข ้อที่ 156 : จากภาพ influence line ของ reaction ทีจ


่ ด
ุ B ของคานทีก
่ ำหนดให ้ หากมี น้ำหนักบรรทุก
1 : DI
2 : DI+1
3 : DI+2
4 : DI+3

ข ้อที่ 157 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้าง ดังรูป โดยวิธพ


ี ลาสติกเพือ
่ หาแรงประลัย จะเห็นว่า เพือ
่ ให ้เกิดเมค

1 : 1 จุด
2 : 2 จุด
3 : 3 จุด
4 : 4 จุด

ข ้อที่ 158 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้าง ดังรูป โดยวิธพ


ี ลาสติกเพือ ึ อิส
่ หาแรงประลัย จะเห็นว่า เมคคานิซ ม

1 : 1 แบบ
2 : 2 แบบ
3 : 3 แบบ
4 : 4 แบบ

ข ้อที่ 159 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้าง ดังรูป โดยวิธพ


ี ลาสติกเพือ
่ หาแรงประลัย จะเห็นว่า เพือ
่ ให ้เกิดเมค

1 : 1 จุด
2 : 2 จุด
3 : 3 จุด
4 : 4 จุด

ข ้อที่ 160 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้าง ดังรูป โดยวิธพ


ี ลาสติกเพือ ึ อิส
่ หาแรงประลัย จะเห็นว่า เมคคานิซ ม

1 : 1 แบบ
2 : 2 แบบ
3 : 3 แบบ
4 : 4 แบบ

ข ้อที่ 161 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้าง ดังรูป โดยวิธพ


ี ลาสติกเพือ
่ หาแรงประลัย จะเห็นว่า เพือ
่ ให ้เกิดเมค

1 : 1 จุด
2 : 2 จุด
3 : 3 จุด
4 : 4 จุด

ข ้อที่ 162 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้าง ดังรูป โดยวิธพ


ี ลาสติกเพือ ึ อิส
่ หาแรงประลัย จะเห็นว่า เมคคานิซ ม

1 : 1 แบบ
2 : 2 แบบ
3 : 3 แบบ
4 : 4 แบบ

ข ้อที่ 163 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้าง ดังรูป โดยวิธพ


ี ลาสติกเพือ
่ หาแรงประลัย จะเห็นว่า เพือ
่ ให ้เกิดเมค

1 : 1 จุด
2 : 2 จุด
3 : 3 จุด
4 : 4 จุด

ข ้อที่ 164 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้าง ดังรูป โดยวิธพ


ี ลาสติกเพือ ึ อิส
่ หาแรงประลัย จะเห็นว่า เมคคานิซ ม

1 : 1 แบบ
2 : 2 แบบ
3 : 3 แบบ
4 : 4 แบบ

ข ้อที่ 165 : จงใช ้วิธพ


ี ลาสติกหาค่าแรงประลัยสำหรับโครงสร ้างทีร่ ับน้ำหนัก ดังรูป สมมติคานมีหน ้าตัดค
1 : 3MP/2L
2 : 3MP/L
3 : 4MP/L
4 : 6MP/L

ข ้อที่ 166 : จงใชวิ้ ธพ


ี ลาสติกหาค่าแรงประลัยสำหรับโครงสร ้างทีร่ ับน้ำหนัก ดังรูป สมมติคานมีหน ้าตัดค

1 : 3MP/4L
2 : 18MP/5L
3 : 3MP/2L
4 : 7MP/4L

ข ้อที่ 167 : จากรูป คานเหล็กจะมี plastic hinge เกิดขึน


้ ทีจ
่ ด
ุ ใดก่อน เมือ
่ แรง P มีคา่ เพิม
่ ขึน
้ อย่างต่อเนือ

1:a
2:b
3 : a และ b
4 : พร ้อมกันทุกจุด

ข ้อที่ 168 : จากรูป คานเหล็กจะมี plastic hinge เกิดขึน


้ กีจ
่ ด
ุ จึงทำให ้เกิด complete collapse mechan

1 : จุดเดียวคือจุด a
2 : จุดเดียวคือจุด b
3 : สองจุด โดยเริม
่ จาก a ก่อนและตามด ้วย b
4 : สองจุด โดยเริม
่ จาก b ก่อนและตามด ้วย
ข ้อที่ 169 : คานช่วงเดีย
่ ว AC ทีม
่ ป
ี ลายยึดแผ่นทัง้ สองข ้าง กำหนดให ้คานมีกำลังดัดเท่ากับ Mp และมีแ

1 : 5 MP/L
2 : 6 MP/L
3 : 9 MP/L
4 : 8 MP/L

ข ้อที่ 170 : จงวิเคราะห์คา่ แรง P ทีท


่ ำให ้โครงสร ้างตามรูปวิบต
ั แ
ิ บบพลาสติก ถ ้ากำลังดัดขององค์อาคาร

1 : MP /L
2 : 2MP /L
3 : 3MP /L
4 : 5MP /L

ข ้อที่ 171 : โครงข ้อแข็งดังรูป มีแรง P และ Q กระทำทีจ


่ ด
ุ ต่อ B และ E จงหาจำนวนรูปแบบการวิบต
ั แ
ิ บบ

1:3
2:2
3:1
4:4
ข ้อที่ 172 : โครงข ้อแข็งดังรูป มีแรง P กระทำทีจ
่ ด
ุ B และ 0.5Pกระทำทีจ
่ ด
ุ C กำหนดหน ้าตัดคานมีกำล

1 : 3 Mp/L
2 : Mp/L
3 : 1.5 Mp/L
4 : 2 Mp/L

ิ้ สว่ นทีม
ข ้อที่ 173 : ชน ่ ห ้ แ
ี น ้าตัดดังแสดงในรูป ต ้องรับ pure bending โดย X-X คือแนวเสนที ่ บ่ง tensio

1 : จะอยูใ่ นแนวราบ แต่อยูใ่ ต ้ตำแหน่ง centroid ของหน ้าตัด


2 : จะอยูใ่ นแนวราบ แต่อยูเ่ หนือตำแหน่ง centroid ของหน ้าตัด
3 : จะยังอยูใ่ นแนวราบ และยังคงผ่าน centroid ของหน ้าตัด
4 : จะอยูใ่ นแนวดิง่ และยังคงผ่าน centroid ของหน ้าตัด

ข ้อที่ 174 : คานเหล็กหน ้าตัดคงทีแ


่ ละมีคา่ plastic moment เท่ากับ MP ต ้องรับแรงหนึง่ แรง ดังแสดงใ

1:
2:

3:

4 : ไม่มค
ี ำตอบทีใ่ ห ้ค่าทีถ
่ ก
ู ต ้อง

ข ้อที่ 175 : โดยปรกติโครงข ้อแข็ง Gable Frame ชว่ งเดียวชน


ั ้ เดียว ดังแสดงในรูป อาจเกิดกลไกเอกเท

1 : Joint Mechanism และ Sway Mechanism


2 : Gable Mechanism และ Joint Mechanism
3 : Beam Mechanism และ Joint Mechanism
4 : Beam Mechanism และ Sway Mechanism

ข ้อที่ 176 : จากรูปสมมติให ้คานมีหน ้าตัดเป็ นรูปสีเ่ หลีย


่ มผืนผ ้า (bxh) โมเมนต์พลาสติกของคานจะมีคา่

1 : 1.5 เท่า
2 : 2 เท่า
3 : 3 เท่า
4 : 4 เท่า

ข ้อที่ 177 : จากรูปสมมติให ้คานมีหน ้าตัดเป็ นรูปสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้า (bxh) น้ำหนักบรรทุกประลัยของคาน Pc

1 : 1.5 เท่า
2 : 2 เท่า
3 : 3 เท่า
4 : 4 เท่า

ข ้อที่ 178 : จากรูปสมมติให ้คานมีหน ้าตัดเป็ นรูปสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้า (bxh) น้ำหนักบรรทุกประลัยของคาน Pc

1 : 1.5 เท่า
2 : 2 เท่า
3 : 3 เท่า
4 : 4 เท่า

ข ้อที่ 179 : จากรูปสมมติให ้คานมีหน ้าตัดเป็ นรูปสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้า (bxh) น้ำหนักบรรทุกประลัยของคาน Pc

1 : 1.5 เท่า
2 : 2 เท่า
3 : 3 เท่า
4 : 4 เท่า

ี ารวิเคราะห์แบบพลาสติกสำหรับหน ้าตัดสีเ่ หลีย


ข ้อที่ 180 : ข ้อใดกล่าวถูกสำหรับวิธก ่ มผืนผ ้า
1 : My =fybh^2/4
2 : Mp =fybh^2/6
3 : Shape factor = Mp/My = 2.0
4 : ไม่มข
ี ้อใดกล่าวถูก

ข ้อที่ 181 : โครงข ้อแข็งดังรูป หากวิเคราะห์โดยวิธ ี Portal method จะได ้ค่าโมเมนต์ดด


ั ทีก
่ งึ่ กลางความ
1:0
2 : P/2
3:P
4 : 2P

ข ้อที่ 182 : โครงข ้อแข็งดังรูป หากวิเคราะห์โดยวิธ ี Portal method ค่าแรงเฉือนทีก


่ งึ่ กลางความสูงของ

1:0
2 : P/2
3:P
4 : 2P

ข ้อที่ 183 : โครงข ้อแข็งดังรูป หากวิเคราะห์โดยวิธ ี Portal method ค่าโมเมนต์ดด


ั ทีเ่ กิดทีจ
่ ด
ุ ต่อ B และ

1:0
2 : P/2
3:P
4 : 2P

ข ้อที่ 184 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้างแบบประมาณ (Approximate Analysis) Internal hinges สามารถ


1:1
2:2
3:4
4:6

ข ้อที่ 185 : การวิเคราะห์คานปลายยึดแน่นกับเสาโดยวิธป


ี ระมาณ มีน้ำหนักแผ่สม่ำเสมอกระทำในแนวดิง่
1 : 0.1 ของความยาวคาน
2 : 0.3 ของความยาวคาน
3 : 0.5 ของความยาวคาน
4 : 0.4 ของความยาวคาน
5 : 0.11 ของความยาวคาน

ข ้อที่ 186 : จุดดัดกลับของคานหรือเสาในการวิเคราะห์โครงสร ้างแบบประมาณ จะมีสภาพใกล ้เคียงได ้กับ


1 : ตำแหน่งนัน
้ มีสภาพเป็ น Hinge
2 : ตำแหน่งนัน
้ มีโมเมนต์สงู สุด
3 : ตำแหน่งนัน
้ มีคา่ แรงเฉือนในแนวดิง่ เท่ากับศูนย์
4 : ตำแหน่งนัน
้ มีคา่ แรงเฉือนในแนวนอนเท่ากับศูนย์

ข ้อที่ 187 : คำตอบข ้อใดเป็ นสมมติฐานของการวิเคราะห์โครงสร ้างแบบประมาณโดยวิธ ี Portal


1 : จุดดัดกลับอยูท ั้
่ รี่ ะยะ 0.1 ของความยาวเสาแต่ละชน
2 : จุดดัดกลับอยูท
่ รี่ ะยะ 0.1 ของความยาวคาน
3 : จุดดัดกลับอยูท ั้
่ รี่ ะยะ 0.5 ของความยาวเสาแต่ละชน
4 : เสาต ้นริมนอกรับแรงเฉือนเป็ นสองเท่าของเสาต ้นใน

ข ้อที่ 188 : จากรูป ถ ้าใช ้ portal method วิเคราะห์โครงข ้อแข็ง ซึง่ มีคา่ EI คงทีท
่ ก ้ ส่วน โมเมนต์สงู
ุ ชิน
1 : Ph
2 : Ph/2
3 : Ph/3
4 : Ph/4

ข ้อที่ 189 : จากรูป ถ ้าใช ้ approximate analysis วิเคราะห์โครงข ้อแข็ง ซงึ่ มีคา่ EI คงทีท
่ ก ิ้ สว่ น สมก
ุ ชน

1 : Ph
2 : Ph/2
3 : Ph/3
4 : Ph/4

ข ้อที่ 190 : จากรูป จงใช ้วิธ ี portal วิเคราะห์โครงข ้อแข็ง ซึง่ มีคา่ EI คงทีท
่ ก ้ ส่วน ในการหาค่าแรงปฏ
ุ ชิน

1 : 5 kN
2 : 10 kN
3 : 5 kN, 2.25 kN-m
4 : 10 kN, 2.25 kN-m

ข ้อที่ 191 : จากรูป จงใชวิ้ ธ ี portal วิเคราะห์โครงข ้อแข็ง ซงึ่ มีคา่ EI คงทีท
่ ก ิ้ สว่ น ในการหาค่าแรงปฏ
ุ ชน
1 : 5 kN
2 : 10 kN
3 : 5 kN, 2.25 kN-m
4 : 10 kN, 2.25 kN-m

ข ้อที่ 192 : ในการทำ approximate analysis โครงข ้อแข็งซงึ่ มีคา่ EI คงทีท


่ ก ิ้ สว่ น ดังรูป เราจะต ้องส
ุ ชน

1:6
2:9
3 : 10
4 : 12

ข ้อที่ 193 : โครงถักดังรูป จงใชวิ้ ธป ิ้ สว่ นหมายเล


ี ระมาณในการวิเคราะห์ (Approximate Analysis) ถ ้าชน

1 : รับแรงดึง 3.53 ตัน


2 : รับแรงอัด 3.53 ตัน
3 : รับแรงอัด 7.07 ตัน
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 194 : จากรูป ถ ้าใช ้ approximate analysis วิเคราะห์โครงข ้อแข็ง ซงึ่ มีคา่ EI คงทีท
่ ก ิ้ สว่ น โมเ
ุ ชน

1 : จุด A และ D
2 : จุด B และ C
3 : จุด A
4 : จุด A B C และ D

ข ้อที่ 195 : จากรูป ถ ้าใช ้ approximate analysis วิเคราะห์โครงข ้อแข็ง ซึง่ มีคา่ EI คงทีท
่ ก ้ ส่วน โมเ
ุ ชิน

1 : Ph/2 ทีจ
่ ด
ุ B
2 : Ph/2 ทีจ
่ ด
ุ B และจุด C
3 : Ph/4 ทีจ
่ ด
ุ B
4 : Ph/4 ทีจ
่ ด
ุ B และจุด C
5 : Ph/3 ทีจ
่ ด
ุ B

ข ้อที่ 196 : จากรูป จงใช ้วิธ ี portal วิเคราะห์โครงข ้อแข็ง ซึง่ มีคา่ EI คงทีท
่ ก ้ ส่วน จากนัน
ุ ชิน ้ จงหาอัตรา
1 : 1.5
2 : 2.0
3 : 2.5
4 : 3.0

ข ้อที่ 197 : จากรูป จงใชวิ้ ธ ี portal วิเคราะห์โครงข ้อแข็ง ซงึ่ มีคา่ EI คงทีท
่ ก ิ้ สว่ น จงหาอัตราสว่ นขอ
ุ ชน

1 : 0.5
2 : 0.75
3 : 1.25
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้อง

ข ้อที่ 198 : นการทำ approximate analysis โครงข ้อแข็งซึง่ มีคา่ EI คงทีท


่ ก ้ ส่วน ดังรูป เราจะต ้องต
ุ ชิน

1:6
2:9
3 : 10
4 : 12
ข ้อที่ 199 : จากการวิเคราะห์โครงสร ้างทีแ
่ สดงในรูปโดยวิธ ี portal method, เสาทีม
่ ค
ี า่ โมเมนต์ดด
ั สูงสุด

1 : เสา ED รับโมเมนต์ดด
ั สูงสุดเท่ากับ 18 kN-m
2 : เสา EF รับโมเมนต์ดด
ั สูงสุดเท่ากับ 24 kN-m
3 : เสา AB รับโมเมนต์ดด
ั สูงสุดเท่ากับ 28 kN-m
4 : เสา HJ รับโมเมนต์ดด
ั สูงสุดเท่ากับ 24 kN-m

ข ้อที่ 200 : จากการวิเคราะห์โครงสร ้างทีแ


่ สดงในรูป โดยวิธ ี portal method, คานทีม
่ ค
ี า่ โมเมนต์ดด
ั สูงส

1 : คาน BE รับโมเมนต์ดด
ั สูงสุดเท่ากับ 16 kN-m
2 : คาน FJ รับโมเมนต์ดด
ั สูงสุดเท่ากับ 18 kN-m
3 : คาน EH รับโมเมนต์ดด
ั สูงสุดเท่ากับ 24 kN-m
4 : คาน BE รับโมเมนต์ดด
ั สูงสุดเท่ากับ 20 kN-m

รวมคะแนน 0

ข ้อที่ 201 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้างแบบประมาณ (Approximate Analysis) โดยวิธพ


ี อร์ทอลของโครง

1 : 0.25P
2 : 0.5P
3:P
4 : 2P

ข ้อที่ 202 : โครงข ้อแข็งดังรูป หากวิเคราะห์โดยวิธ ี Portal method จะได ้ค่าแรงตามแนวแกนในเสา CD

1:0
2 : 0.2P
3 : 0.4P
4 : 0.5P

ข ้อที่ 203 : โครงข ้อแข็งดังรูปหากวิเคราะห์ด ้วยวิธ ี Portal Method จะได ้ค่าแรงตามแนวแกนในเสาเหนือ

1:8
2 : 10
3 : 12
4 : 14

่ วกับการวิเคราะห์โครงสร ้างด ้วยวิธเี มทริกซ (์ Matrix Methods in Structural


ข ้อที่ 204 : ข ้อใดกล่าวเกีย

1 : นิยมใชคอมพิ ่ ชว่ ยคำนวณ
วเตอร์เพือ
2 : เหมาะกับโครงสร ้างทีม
่ ด
ี ก
ี รีของอินดีเทอร์มเิ นทสูงๆหรือมีแรงกระทำภายนอกหลายจุด
3 : วิเคราะห์โครงสร ้างทีม
่ น
ี ้ำหนักเนือ
่ งจากอุณหภูมไิ ด ้
4 : วิเคราะห์โครงสร ้างประกอบ(Composite structures)ได ้
5 : ไม่สามารถวิเคราะห์โครงสร ้างทีเ่ ป็ นดีเทอร์มเิ นท
ข ้อที่ 205 : ในการวิเคราะห์โครงสร ้าง Frame ด ้วยวิธ ี Matrix Analysis ค่า Property ใดทีแ
่ ปรผกผันกับ
1 : E (Elastic Modulus)
2 : I (Moment of Inertia)
3 : A (Area)
4 : L (Length)

ข ้อที่ 206 : ในวิชา Structural Analysis โครงข ้อแข็ง (rigid frame) ทีอ
่ ยูใ่ น 3 มิต ิ แต่ละ node ของโค
1:2
2:3
3:4
4:5
5:6

ข ้อที่ 207 : ในวิชา Structural Analysis โครงถัก (truss) ทีอ


่ ยูใ่ น 3 มิต ิ แต่ละ node ของโครงถักจะมีจ
1:2
2:3
3:4
4:5
5:6

ข ้อที่ 208 : ข ้อใดต่อไปนีถ ู นำมาใช ้ในการหา member global stiffness matrix [k] ในวิธ ี matrix dis
้ ก
1 : equilibrium equation, compatibility condition, และ consistent deformation
2 : equilibrium equation, compatibility condition, และ force-displacement relationship
3 : equilibrium equation, consistent deformation, และ force-displacement relationship
4 : compatibility condition, force-displacement relationship, และ consistent deformation

ข ้อที่ 209 : จากรูป ในการวิเคราะห์โครงข ้อหมุนโดยวิธ ี matrix displacement method นัน


้ global stru

1 : 4x4
2 : 6x6
3 : 8x8
4 : 10x10
ข ้อที่ 210 : จากรูป ในการวิเคราะห์โครงข ้อหมุนโดยวิธ ี matrix displacement method นัน
้ เราจะต ้องท

1 : 2x2
2 : 3x3
3 : 4x4
4 : 5x5

ข ้อที่ 211 : จากรูป ในการวิเคราะห์โครงข ้อแข็งโดยวิธ ี matrix displacement method นัน


้ global stru

1 : 3x3
2 : 4x4
3 : 6x6
4 : 9x9

ข ้อที่ 212 : จากรูป ในการวิเคราะห์โครงข ้อแข็งโดยวิธ ี matrix displacement method นัน


้ เราจะต ้องท

1 : 4x4
2 : 6x6
3 : 8x8
4 : 10x10

ข ้อที่ 213 : โครงถักดังรูป มีคา่ Degree of Indeterminacy เท่าใด

1 : Statically Determinate
2:
3:
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 214 : โครงถักดังรูป มีจำนวน displacement degree of freedom ของระบบเท่าใด

1:2
2:4
3:8
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 215 : คานดังรูป มีคา่ Degree of Indeterminacy เท่าใด

1:
2:
3:
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 216 : คานดังรูป ถ ้าไม่มก ้ ส่วน จะมีจำนวน displacement degree of


ี ารยืดหดความยาวของทุกชิน

1:8
2 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

3:2
4:4

ข ้อที่ 217 :

1:

2:

3:

4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 218 : โครงข ้อแข็งดังรูป มีคา่ Degree of Indeterminacy เท่าใด


1:
2:
3:
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 219 : โดยใชวิ้ ธ ี Matrix Force ให ้ คำนวณหา โมเมนต์ทป


ี่ ลาย ของ element ในโครงสร ้างต่อไปน

1 : [-2 2 -2 0 0 0]
2 : [6 -3 3 -1.5 1.5 0]
3 : [56.2 72.4 -72.4 -64.0 64.0 0]
4 : [-39.6 -20.4 20.4 30.0 30.0 0]

ข ้อที่ 220 :
1:

2:

3:

4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 221 : โครงข ้อแข็งดังรูป ถ ้าไม่มก ิ้ สว่ น จะมีจำนวน displacement de


ี ารยืดหดความยาวของทุกชน

1:2
2:3
3 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

4:1

ข ้อที่ 222 :
1:

2:

3:

4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 223 : โครงข ้อแข็งดังรูป มีคา่ Degree of Indeterminate เท่าใด

1:
2:
3:
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 224 :
1:

2:

3:

4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 225 : โครงแข็งดังรูป ถ ้าไม่มก ้ ส่วน จะมีจำนวน displacement de


ี ารยืดหดตัวของความยาวทุกชิน

1:1
2:2
3:3
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูกต ้อง

ข ้อที่ 226 :
1:

2:

3:

4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 227 : ในวิชา Structural Analysis โครงข ้อแข็ง (rigid frame) ทีอ ิ้ สว่ นโครงข ้อ
่ ยูใ่ น 3 มิต ิ หนึง่ ชน
1:3
2:6
3:9
4 : 12

ข ้อที่ 228 : ในวิชา Structural Analysis โครงถัก (truss) ทีอ ้ ส่วนโครงถักจะมีจำนวน


่ ยูใ่ น 3 มิต ิ หนึง่ ชิน
1:3
2:4
3:6
4:9

ข ้อที่ 229 : จากรูป ในการวิเคราะห์คานโดยใช ้ matrix structural analysis คานดังกล่าวมี degree of f

1:2
2:3
3:4
4:5

ข ้อที่ 230 : จากรูป ในการวิเคราะห์คานโดยวิธ ี matrix displacement method นัน


้ global structure st

1 : 2x2
2 : 6x6
3 : 8x8
4 : 10x10

ข ้อที่ 231 : จากรูป ในการวิเคราะห์โครงข ้อหมุนโดยวิธ ี matrix displacement method นัน


้ เราจะต ้องท

1 : 3x3
2 : 4x4
3 : 5x5
4 : 6x6

ข ้อที่ 232 : จากรูป ในการวิเคราะห์โครงข ้อแข็งโดยวิธ ี matrix displacement method นัน


้ global stru

1 : 3x3
2 : 4x4
3 : 6x6
4 : 9x9

ข ้อที่ 233 : จากรูป ในการวิเคราะห์โครงข ้อแข็งโดยวิธ ี matrix displacement method นัน


้ เราจะต ้องท

1 : 2x2
2 : 3x3
3 : 4x4
4 : 6x6
5 : 9x9

ข ้อที่ 234 : จงหา DOF ของโครงข ้อแข็งในกรณีทวี่ เิ คราะห์ตามวิธ ี matrix stiffness method

1 : 10
2:8
3:3
4:6

ข ้อที่ 235 : ค่า K11 ของโครงข ้อแข็งในรูปมีคา่ เท่ากับ


L = 5m
   A = 800 cm1
I = 105 cm4
E = 2x106 kg/cm2

1 : 3284.32
2 : 4284.32
3 : 1284.32
4 : 9548.32

ข ้อที่ 236 : ค่า K21 ของโครงข ้อแข็งในรูปมีคา่ เท่ากับ

1 : 954.24
2 : -954.24
3 : 1954.24
4 : -1954.24

ข ้อที่ 237 : ค่า K11 ของโครงข ้อแข็งในรูปมีคา่ เท่ากับ

1 : 3.333EI
2 : 4.333EI
3 : 5.333EI
4 : 6.333EI

ข ้อที่ 238 : ค่า K23 ของโครงข ้อแข็งในรูปมีคา่ เท่ากับ


1:0
2 : 4EI/3
3 : EI
4 : 3.333EI

ข ้อที่ 239 : ค่า K31 ของโครงข ้อแข็งในรูปมีคา่ เท่ากับ

1 : EI/2
2 : EI
3 : 2EI
4:0

ข ้อที่ 240 :จงอธิบายความหมายทางกายภาพของค่า stiffness influence coefficient Kij


1 : เป็ นแรงทีก
่ ระทำที่ DOF ที่ i เนือ
่ งจากการใส่ displacement 1 หน่วยที่ DOF ที่ j
่ งจากการใส ่ displacement 1 หน่วยที่ i
2 : เป็ นแรงกระทำที่ DOF ที่ j เนือ
3 : เป็ น displacement ทีเ่ กิดขึน
้ ที่ DOF ที่ i เนือ ่ รงหนึง่ หน่วยที่ DOF ที่ j
่ งจากการใสแ
4 : เป็ น displacement ทีเ่ กิดขึน
้ ที่ DOF ที่ j เนือ ่ รงหนึง่ หน่วยที่ DOF ที่ i
่ งจากการใสแ

ข ้อที่ 241 : จงอธิบายความหมายทางกายภาพของค่า flexibility influence coefficient Fij


1 : เป็ นแรงทีก ่ งจากการใส ่ displacement 1 หน่วยที่ DOF ที่ j
่ ระทำที่ DOF ที่ i เนือ
2 : เป็ นแรงกระทำที่ DOF ที่ j เนือ
่ งจากการใส่ displacement 1 หน่วยที่ i
3 : เป็ น displacement ทีเ่ กิดขึน
้ ที่ DOF ที่ i เนือ ่ รงหนึง่ หน่วยที่ DOF ที่ j
่ งจากการใสแ
4 : เป็ น displacement ทีเ่ กิดขึน
้ ที่ DOF ที่ j เนือ ่ รงหนึง่ หน่วยที่ DOF ที่ i
่ งจากการใสแ

ข ้อที่ 242 : ข ้อความใดถูกต ้องสำหรับการใชวิ้ ธ ี Matrix Displacement Method กับ Matrix Force Meth
1 : ไม่จำเป็ นต ้อง inverse metrix สำหรับการวิเคราะห์ด ้วย Matrix Force Method
2 : ต ้อง inverse matrix ขนาด 3x3 ถ ้าใช ้วิธ ี Matrix Displacement Method
3 : ต ้อง inverse matrix ขนาด 3x3 ถ ้าใช ้วิธ ี Matrix ขนาด 3x3 ถ ้าใช ้วิธ ี Matrix Force Method
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้อ

ข ้อที่ 243 :ในการวิเคราะห์คานโดยวิธี matrix displacement method นัน


้ เราต ้องทำการ inverse mat

1 : 6x6
2 : 4x4
3 : 5x5
4 : 3x3

ข ้อที่ 244 : โครงข ้อแข็งดังแสดงในรูป ไม่คด ่ นรูปในแนวแกนเราสามารถใช ้ symmetry ในการ


ิ การเปลีย

1:1
2:2
3:3
4:4

ข ้อที่ 245 : โครงข ้อแข็งดังแสดงในรูป ไม่คด ่ นรูปในแนวแกนเราสามารถใช ้ Anti-Symm


ิ ผลของการเปลีย
1:2
2:3
3:4
4:5

ิ้ สว่ นประกอบกันเป็ น stiffness matrix ของโครง


ข ้อที่ 246 : ในการรวมผลของ stiffness matrix ของชน
1 : Equilibrium และ compatibility ที่ node
ิ้ สว่ น
2 : Force-Displacement relation ของชน
ิ้ สว่ น
3 : Compatibility และ Equilibrium ของชน
4 : ไม่มข
ี ้อถูก

ข ้อที่ 247 : โครงข ้อแข็งดังแสดงในรูปหากต ้องเลือกวิธก


ี ารวิเคราะห์ระหว่าง Matrix Displacement Me

1 : Matrix Displacement Method โดย inverse Matrix ขนาด 1x1


2 : Matrix Force Method โดย inverse Matrix ขนาด 2x2
3 : Matrix Force Method โดย inverse Matrix ขนาด 1x1
4 : Matrix Displacement Method โดย inverse Matrix ขนาด 2x2

ข ้อที่ 248 : ค่า K11 ของโครงข ้อหมุนดังแสดงในรูปมีคา่ เท่ากับ


EA = 8000
L=4

1 : 2707
2 : 4707
3 : 1707
4 : 3707

ข ้อที่ 249 : ค่า K31 ของโครงข ้อหมุนดังแสดงในรูปมีคา่ เท่ากับเท่าใด

EA = 8000
L=4

1:0
2 : -2000
3 : -4000
4 : 4000

ข ้อที่ 250 : ข ้อใดเป็ นคุณสมบัตท


ิ ผ
ี่ ด ิ้ สว่ น
ิ ของ stiffness matrix ของชน
1 : symmetry
2 : singular
3 : diagonal เป็ น บวก
4 : ไม่มค
ี ำตอบ

รวมคะแนน 0

ข ้อที่ 251 : K22 ของคานดังแสดงในรูปมีคา่ เท่ากับ


1 : 18EI/L
2 : 8EI/L
3 : 10EI/L
4 : 12EI/L

รวมคะแนน 0
ตำแหน่ง(Displacment Method)
ให ้พืน
้ ทีห ้ ส่วนมีขนาดเท่ากับ a และทำจากวัสดุเดียวกันทุกชิน
่ น ้าตัดของชิน ้ ส่วน

ิ้ สว่ นมีขนาดเท่ากันทำจากวัสดุทเี่ หมือนกัน


กชน
ห ้ตัวเลขทีป
่ รากฎในวงเล็บคือพืน
้ ทีห ิ้ สว่ น กำหนดให ้แรงเกิน (Redundant force) ภายในชน
่ น ้าตัดของชน ิ้ สว่ น BDคือ X1

นดให ้ตัวเลขทีป
่ รากฎในวงเล็บคือพืน
้ ทีห ้ ส่วน
่ น ้าตัดของชิน

ปมีความจำเป็ นต ้องใชสมการสมดู
ลทีจ
่ ด
ุ ต่อทัง้ หมดกีส
่ มการ

ห์หาโมเมนต์ดด
ั ทีเ่ กิดขึน
้ ทีฐ
่ านรองรับ D
ครงข ้อแข็งดังรูป

ค่าตัวกระจาย CD มีคา่ เป็ น


ธิต
์ วั กระจายของปลาย DB มีคา่
าไรปลายทัง้ สองถึงจะไม่เกิดการหมุน

ดแน่นทีฐ
่ านรองรับ A
ะห์โครงสร ้างแบบ Moment Distribution

จำเป็ นต ้องหา Fixed End Moment ในแต่ละชว่ งคาน ข ้อใดถูกต ้อง


ด ้วยวิธก
ี ารเปลีย
่ นแปลงรูปร่างสอดคล ้อง (Method of Consistent Deformation)
(Method of Consistent Deformation) สมการ Compatibility คือสมการใด
(Method of Consistent Deformation) สมการ Compatibility คือสมการใด

ครงสร ้าง A) คือข ้อใด


(Method of Consistent Deformation) สมการ Compatibility คือสมการใด
ายเหตุ: FEM = Fixed End Moment)
งดังต่อไปนี้
องการสมการใดเพิม
่ เติมเพือ
่ สามารถวิเคราะห์โครงสร ้างแบบ Side Sway ได ้
ี ของโครงสร ้างแบบ Indeterminate
eterminate และโครงสร ้างแบบ Indeterminate ท่านคิดว่าข ้อใดเป็ นข ้อเสย
ี หายของโครงสร ้าง
สย
ี หายของโครงสร ้าง
สย

statically indeterminate จะมีหน่วยแรง (stress) สูงสุดเกิดขึน


้ เป็ นอย่างไร เมือ
่ เปรียบเทียบกับโครงสร ้าง statically determinate ทีม
่ ข
ี นา

ral Analysis มีพน


ื้ ฐานมาจากหลักการ principle of superposition ข ้อใดต่อไปนีค
้ อ ้ กการดังกล่าว
ื ข ้อจำกัดข ้อหนึง่ ในการใชหลั
ครงสร ้างต่อไปนี้
Boundary Condition ข ้อใดผิด
ดมีคา่ เท่ากับ

ทีจ
่ ด
ุ A กำหนดให ้ w = 1.0 ตัน/เมตร P = 2 ตัน L = 6 เมตร

ดชนิดลบทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ จะอยูท
่ ี่
นิดบวกทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ จะอยู่

ฉือนมากทีส
่ ด

จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั ชนิดบวกทีม
่ ากทีส ุ ในชว่ ง AB
่ ด
มาตรและรับน้ำหนักทีส
่ มมาตรด ้วย ดังนัน
้ จงเลือกคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้องทีส
่ ด

ละความยาวของเสาเท่ากัน ความยาวของคานเท่ากัน และน้ำหนักบรรทุกบนคานมีคา่ เท่ากัน แต่คานในโครง (ก) มีโมเมนต์อน


ิ เนอร์เชียน ้อย
ด A เท่ากับ L/2
ด A เท่ากับ L/3
ด A เท่ากับ L/4

ำหนดให ้ P = 5 ตัน L = 4 เมตร


ction ต ้องใชสมการสมดุ
ลทัง้ หมด คือ
คงที่ จะพบว่าจุด B เคลือ
่ นทีไ่ ปทางขวามือในแนวระดับเป็ นระยะเท่ากับ 25PL/24AE จงหาค่าแรงยันในแนวระดับเพือ
่ มิให ้จุด B เคลือ
่ นที่

นแนวระดับทีจ
่ ด ิ้ สว่ นมีคา่ L/AE คงที่
ุ B สมมติให ้ทุกชน
640 กก. ทีจ
่ ด
ุ E ดังรูป เมือ ้ ส่วนมีคา่ L/AE คงที่ (หน่วยเป็ น ซม./กก
่ พิจารณาให ้แรงดึงในท่อนเหล็กเป็ นตัว redundant และสมมติให ้ทุกชิน

000 กก. ทีจ


่ ด ้ ส่วน AC สมมติให ้ทุกชิน
ุ C จงหาค่าแรงดึงในชิน ้ ส่วนมีคา่ L/AE คงที่

ดังรูป จงหาแรงยันในแนวระดับทีจ
่ ด
ุ A หรือทีจ
่ ด
ุ B
ribution ในขัน
้ ตอนของการบังคับมิให ้จุดต่อเคลือ
่ นที่ จะพิจารณาว่าโครงสร ้างนีถ
้ ก
ู ยันด ้วยแรงในแนวนอนตรงจุด C ดังนัน
้ ให ้หาค่าแรงยันน


ธี slope-deflection จะต ้องใชสมการสมดุ
ล ดังนี้
thod เราอาจจะใช ้ตัวแปรใดต่อไปนีเ้ ป็ นตัวแปรทีไ่ ม่ทราบค่าหรือแรงเกินจำเป็ น (redundant)?

จำนวน degree of freedom หรือ จำนวน degree of kinematic indeterminacy เท่าใด?

นทีป
่ ลายทัง้ สองด ้านและถูกกระทำโดยแรงกระจายสม่ำเสมอตลอดความยาวคาน จงหาสมการทีแ
่ สดงขนาดของโมเมนต์ดด
ั ทีเ่ กิดขึน
้ ทีป
่ ลา

รงกระจายแบบสม่ำเสมอขนาด 6 kN/m ในชว่ ง BC และมีแผนภาพ moment diagram ดังแสดง จงหา rotation ทีเ่ กิดขึน
้ ทีจ
่ ด
ุ B
moment distribution เมือ
่ โครงข ้อแข็งมี EI คงทีแ ิ้ สว่ นและถูกกระทำโดยโมเมนต์ 6 kN-m ทีจ
่ ละค่าความยาว L เท่ากันทุกชน ่ ด
ุ D

้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L/2, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่

้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L/2, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่


้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L/5, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่

้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่

้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L/3, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่


้ำหนักแบบจุด P ดังรูป กำหนดให ้ ระยะ Li = L/2, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่

ลาย A ถูกทำให ้เคลือ


่ นลงมาตัง้ ฉากกับแนวเดิมเป็ นระยะ = D เมือ
่ เทียบกับปลาย B กำหนดให ้ ระยะ L1 = L, L2 = L, I1 = I, I2 = 2

ที่ กำหนดให ้ ระยะ L1 = L, L2 = 2L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่


งมีหน ้าตัดไม่คงที่ กำหนดให ้ ระยะ L1 = L, L2 = 2L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่

ลาย A ถูกทำให ้เคลือ


่ นลงมาตัง้ ฉากกับแนวเดิมเป็ นระยะ = D เมือ
่ เทียบกับปลาย B กำหนดให ้ ระยะ L1 = L, L2 = 2L, I1 = I, I2 =
าค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ
่ ด
ุ A กำหนดให ้ I1 = I2 = I และให ้ L1 = L2 = L

าค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ
่ ด
ุ B กำหนดให ้ I1 = 2I2 และให ้ L1 = L2 = L

าค่า horizontal reaction ทีจ


่ ด
ุ A กำหนดให ้ I1 = 1.5I2 และให ้ L1 = L2 = L
าค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ
่ ด
ุ B กำหนดให ้ I1 = 2I2 , L1 = L และ L2 = 5L/4

กลางช่วงคาน ดังรูป จงหาค่าโมเมนต์ดด


ั ทีจ
่ ด
ุ B กำหนดให ้ I1 = 1.5I2 และให ้ L1 = L2 = L

กลางชว่ งคาน ดังรูป จงหาค่าโมเมนต์ดด


ั ทีจ
่ ด
ุ B กำหนดให ้ I1 = 2I2 และให ้ L1 = L2 = L
กลางช่วงคาน ดังรูป จงหาค่าโมเมนต์ดด
ั ทีจ
่ ด
ุ A กำหนดให ้ I1 = 2I2 , L1 = L และ L2 = 5L/4
(3L-x)/(2L3) ถ ้ากำหนดให ้แรงหนึง่ หน่วยกระทำที่ x = L/2

ยกระทำทีร่ ะยะ x = 2.00 m. (ห่างจาก A)

น่วยคงทีก
่ ระทำทีร่ ะยะ x = 2.00 m. (ห่างจาก A)
ทำทีร่ ะยะ x = 2.00 m. (ห่างจาก A )

ะทำทีร่ ะยะ x = 2.00 m. (ห่างจาก A )


จุด B ในโครงสร ้าง

ทุกจรทีม
่ ก
ี ารกระจายคงที่ (uniformly distributed live load) ทีท
่ ำให ้เกิดค่าสูงสุดของแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ E
ทุกจรทีม
่ ก
ี ารกระจายคงที่ (uniformly distributed live load) ทีท
่ ำให ้เกิดค่าสูงสุดของโมเมนต์ดด
ั ทีจ
่ ด
ุ C

ทุกจรทีม
่ ก
ี ารกระจายคงที่ (uniformly distributed live load) ทีท
่ ำให ้เกิดค่าสูงสุดของโมเมนต์ดด
ั ทีจ ุ กึง่ กลางของชว่ งคาน DE
่ ด
าน statically indeterminate เพือ
่ หาค่าสูงสุดของแรงและโมเมนต์ตา่ งๆ ทีจ
่ ด
ุ ใดจุดหนึง่ บนคาน

าทีจ
่ ด
ุ B ของคานดังทีแ
่ สดงในรูปมีคา่ 11/16 แล ้ว จงหาค่าแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ B เนือ
่ งจากแรงกระทำขนาด 100 kN ทีจ
่ ด
ุ D

าทีจ
่ ด
ุ B ของคานดังทีแ
่ สดงในรูปมีคา่ 11/16 แล ้ว จงหาค่าแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A เนือ
่ งจากแรงกระทำขนาด 100 kN ทีจ
่ ด
ุ D

าทีจ
่ ด
ุ B ของคานดังทีแ
่ สดงในรูปมีคา่ 11/16 แล ้ว จงหาค่าแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ C เนือ
่ งจากแรงกระทำขนาด 100 kN ทีจ
่ ด
ุ D
จุด C เมือ
่ คานต่อเนือ
่ งรับน้ำหนักหนึง่ หน่วยเคลือ
่ นจากจุด A ไป E ดังแสดงในรู
พือ
่ ให ้เกิดโมเมนต์ลบสูงสุดในคานทีต
่ ำแหน่งฐานรองรับ B พิจารณาโครงสร ้างตามรูปประกอบ

น statically indeterminate จะมีลักษณะคล ้ายคลึงกับแผนภาพชนิดใด?


งคานแล ้ว เราจะหาค่าแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A เนือ
่ งจากแรงกระทำเป็ นจุดขนาด P kN ทีจ
่ ด
ุ B ได ้จากข ้อใด

งคานแล ้ว เราจะหาค่าแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A เนือ
่ งจากแรงกระทำแบบกระจายสม่ำเสมอ w kN/m ตลอดความยาวของคานได ้จากข ้อใด

ด C ของคานแล ้ว ค่าแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ C เนือ
่ งจากแรง 10 kN กระทำทีจ ุ D มีคา่ เท่าใด (คำตอบใช ้เลขนัยสำคัญ 2 หลัก)
่ ด

ด C ของคานแล ้ว ค่าแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A เนือ
่ งจากแรง 10 kN กระทำทีจ
่ ด ้
ุ D มีคา่ เท่าใด (คำตอบใชเลขนั ยสำคัญ 2 หลัก)
ด C ของคานแล ้ว ค่าโมเมนต์ทจ
ี่ ด
ุ D เนือ
่ งจากแรง 10 kN กระทำทีจ ุ D มีคา่ เท่าใด (คำตอบใช ้เลขนัยสำคัญ 2 หลัก)
่ ด

+) มีคา่ สูงสุด
าทีจ
่ ด
ุ A ของคานดังแสดงในรูปมีคา่ 0.406 แล ้ว จงหาค่าแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ A เนือ
่ งจากแรงกระทำขนาด 50 kN ทีจ
่ ด
ุ D

ดังแสดงในรูปในช่วง 0 < x < l มีคา่ เท่ากับ


ปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ B

ดังแสดงในรูป (x2/2L3) (3L- x) ถ ้ากำหนดให ้แรงหนึง่ หน่วยกระทำที่ x = L/2 จงหาค่าแรงปฏิกริ ย


ิ าทีจ
่ ด
ุ B
ทีจ
่ ด
ุ E มีคา่ เท่ากับ 0.052 จงหาค่าโมเมนต์ทจ
ี่ ด
ุ E ของคานทีม
่ แ
ี รงกระทำดังรูป
ารกระจายคงที่ (uniformly distributed load) ทีท
่ ำให ้เกิดโมเมนต์ดด
ั ทีจ
่ ด
ุ กึง่ กลางของช่วง CD มากสุด
มีการกระจายคงที่ (uniformly distributed live load) ทีท
่ ำให ้เกิดค่าสูงสุดของโมเมนต์ดด
ั ทีจ
่ ด
ุ D

่ งึ่ กลางชว่ งคาน สมมติวา่ คานมีรป


กแบบจุดทีก ู ตัดคงทีแ
่ ละโมเมนต์พลาสติกของหน ้าตัดเท่ากับ Mp
h คงทีต
่ ลอดความยาวดังแสดงในรูป ถ ้าคานนีท
้ ำด ้วยวัสดุเหนียวเนือ
้ เดียวกัน มีน้ำหนักกระทำดังรูป จงวิเคราะห์หาน้ำหนักบรรทุกประลัยแบบ

นส่วนสีแดง) ของโครงข ้อหมุนดังในรูป


plastic hinge

ห ้โครงสร ้างไม่เสถียรภาพ

งดัดจนถึงจุดคลากตลอดหน ้าตัด แต่ hinge ธรรมดา ค่าหน่วยแรงดัดจะเท่ากับศูนย์

รองรับ และ บริเวณทีน


่ ้ำหนักกระทำเป็ นจุด
ลือ
่ นเชิงมุมได ้
P มีคา่ เพิม
่ ขึน
้ อย่างต่อเนือ
่ งจนทำให ้เกิด plastic hinge

ห ้เกิด complete collapse mechanism


ะมี plastic hinge เกิดขึน
้ กีจ
่ ด
ุ จึงทำให ้เกิด complete collapse mechanism
ั พลาสติก (Mp) และอัตราส่วนระหว่าง Mp/My ซึง่ เรียกว่า shape factor โดยที่ My ห
รากเท่ากับ fy กก./ซม.2 จงหากำลังต ้านโมเมนต์ดด
ลัสพลาสติก (Zx) และ shape factor เท่าไร

ยาวทัง้ หมดเท่ากับ L รับน้ำหนักแบบจุดเท่ากับ P ทีร่ ะยะ L/3 จากจุด A ถ ้าคานนีร้ ับโมเมนต์ดด


ั พลาสติกได ้เท่ากับ Mp จงลำดับการเกิด pla
ดให ้ หากมี น้ำหนักบรรทุก 13 ton วิง่ ผ่านคานดังแสดงในรูป จงหาค่าสูงสุดของ reaction ทีจ
่ ด
ุ B พร ้อมระบุตำแหน่งทีน
่ ้ำหนักบรรทุกนีก
้ ระ

ลัย จะเห็นว่า เพือ ึ ดังนัน


่ ให ้เกิดเมคคานิซ ม ้ ต ้องการจำนวนจุดหมุนพลาสติก (plastic hinge) อย่างน ้อยเท่ากับ

ึ อิสระ (independent mechanism) สำหรับโครงสร ้างนีม


ลัย จะเห็นว่า เมคคานิซ ม ้ ท ้ เท่ากับ
ี งั ้ สิน

ลัย จะเห็นว่า เพือ ึ ดังนัน


่ ให ้เกิดเมคคานิซ ม ้ ต ้องการจำนวนจุดหมุนพลาสติก (plastic hinge) อย่างน ้อยเท่ากับ
ึ อิสระ (independent mechanism) สำหรับโครงสร ้างนีม
ลัย จะเห็นว่า เมคคานิซ ม ้ ท ้ เท่ากับ
ี งั ้ สิน

ลัย จะเห็นว่า เพือ ึ ดังนัน


่ ให ้เกิดเมคคานิซ ม ้ ต ้องการจำนวนจุดหมุนพลาสติก (plastic hinge) อย่างน ้อยเท่ากับ

ึ อิสระ (independent mechanism) สำหรับโครงสร ้างนีม


ลัย จะเห็นว่า เมคคานิซ ม ้ ท ้ เท่ากับ
ี งั ้ สิน
ลัย จะเห็นว่า เพือ ึ ดังนัน
่ ให ้เกิดเมคคานิซ ม ้ ต ้องการจำนวนจุดหมุนพลาสติก (plastic hinge) อย่างน ้อยเท่ากับ

ึ อิสระ (independent mechanism) สำหรับโครงสร ้างนีม


ลัย จะเห็นว่า เมคคานิซ ม ้ ท ้ เท่ากับ
ี งั ้ สิน

ดังรูป สมมติคานมีหน ้าตัดคงทีแ


่ ละโมเมนต์ดด
ั พลาสติกมีคา่ เท่ากับ MP
ดังรูป สมมติคานมีหน ้าตัดคงทีแ
่ ละโมเมนต์ดด
ั พลาสติกมีคา่ เท่ากับ MP

P มีคา่ เพิม
่ ขึน
้ อย่างต่อเนือ
่ งจนทำให ้เกิด plastic hinge

omplete collapse mechanism และมีลำดับการเกิด plastic hinge อย่างไร


กำลังดัดเท่ากับ Mp และมีแรงตามขวาง P กระทำทีจ ุ B ซึง่ มีระยะ L/3 จากปลาย A จงหาแรง P ทีท
่ ด ่ ำให ้คานวิบต
ั แ
ิ บบพลาสติก

ถ ้ากำลังดัดขององค์อาคารเท่ากับ Mp

าจำนวนรูปแบบการวิบต
ั แ
ิ บบพลาสติกของโครงสร ้างนี้
C กำหนดหน ้าตัดคานมีกำลังดัด Mp จงหาแรง P ทีท
่ ำให ้โครงสร ้างวิบต
ั แ
ิ บบพลาสติก

้ แ
X คือแนวเสนที ่ บ่ง tension-compression zone ของหน ้าตัดขณะยังอยูใ่ นชว่ ง linear elastic ถ ้าเพิม
่ โมเมนต์ดด
ั ให ้มากขึน
้ จนหน ้าตัดอยูใ่

งรับแรงหนึง่ แรง ดังแสดงในรูป (Fig.a) จากการวิเคราะห์ พบว่าเมือ


่ เพิม
่ ขนาดแรง ให ้มากขึน
้ เรือ
่ ย ๆ plastic hinges จะเกิดขึน
้ ที่ B, D, A ต
งในรูป อาจเกิดกลไกเอกเทศ (Independent Mechanism) ได ้ 2 แบบ คือ

นต์พลาสติกของคานจะมีคา่ เพิม
่ ขึน
้ กีเ่ ท่า หากวัสดุมก
ี ำลัง fy เพิม
่ ขึน
้ 2 เท่า

กบรรทุกประลัยของคาน Pc ตามวิธพ
ี ลาสติกจะมีคา่ เพิม
่ ขึน
้ กีเ่ ท่า หากคานมีความกว ้างเพิม
่ ขึน
้ เป็ น 2 เท่า (2b)
กบรรทุกประลัยของคาน Pc ตามวิธพ
ี ลาสติกจะมีคา่ เพิม
่ ขึน
้ กีเ่ ท่า หากคานมีความลึกเพิม
่ ขึน
้ เป็ น 2 เท่า (2h)

กบรรทุกประลัยของคาน Pc ตามวิธพ
ี ลาสติกจะมีคา่ ลดลงกีเ่ ท่า หากคานมีความยาวเพิม
่ ขึน
้ เป็ น 2 เท่า (2L)

ดสีเ่ หลีย
่ มผืนผ ้า

โมเมนต์ดด
ั ทีก
่ งึ่ กลางความสูงของเสา AB และ CD เท่าใด
ฉือนทีก
่ งึ่ กลางความสูงของเสา AB และ CD มีคา่ เท่าใด

นต์ดด
ั ทีเ่ กิดทีจ
่ ด
ุ ต่อ B และ C มีคา่ เท่าใด

) Internal hinges สามารถใสไ่ ด ้ทัง้ หมดกีจ


่ ด

ผ่สม่ำเสมอกระทำในแนวดิง่ ตลอดความยาวคาน โดยทั่วไปจะกำหนดจุดดัดกลับของคานอยู่ ณ.ตำแหน่งใดของคาน

ณ จะมีสภาพใกล ้เคียงได ้กับคุณสมบัตข


ิ ้อใด

าณโดยวิธ ี Portal

คงทีท
่ ก ้ ส่วน โมเมนต์สงู สุดทีเ่ กิดขึน
ุ ชิน ้ บนโครงข ้อแข็งอยูใ่ นรูปใด
ค่า EI คงทีท
่ ก ิ้ สว่ น สมการโมเมนต์สงู สุดทีเ่ กิดขึน
ุ ชน ้ บนโครงข ้อแข็งอยูใ่ นรูปใด

้ ส่วน ในการหาค่าแรงปฏิกริ ย
กชิน ิ าทีจ
่ ด
ุ รองรับ C

ิ้ สว่ น ในการหาค่าแรงปฏิกริ ย
กชน ิ าทีจ
่ ด
ุ รองรับ A
ิ้ สว่ น ดังรูป เราจะต ้องสมมติเงือ
ทุกชน ่ นไขชว่ ยในการวิเคราะห์เพือ
่ ทำโครงข ้อแข็งให ้เป็ นโครงสร ้าง statically determinate กีข
่ ้อ

ิ้ สว่ นหมายเลข 5 และ 6 มีหน ้าตัดทีช


nalysis) ถ ้าชน ิ้ สว่ นใดรับแรงอัดจะไม่สามารถรับได ้ แต่สามารถรับแรงดึงได ้ ชน
่ ะลูดมาก ชน ิ้ สว่ นหมาย
ค่า EI คงทีท
่ ก ิ้ สว่ น โมเมนต์สงู สุดจะเกิดขึน
ุ ชน ้ บนโครงข ้อแข็งทีจ
่ ด
ุ ใด

ค่า EI คงทีท
่ ก ้ ส่วน โมเมนต์สงู สุดจะเกิดขึน
ุ ชิน ้ บนโครงข ้อแข็งทีจ
่ ด
ุ ใด และอยูใ่ นรูปใด

้ ส่วน จากนัน
กชิน ้ จงหาอัตราส่วนแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ รองรับ C ต่อแรงปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ รองรับ
ิ้ สว่ น จงหาอัตราสว่ นของโมเมนต์ปฏิกริ ย
กชน ิ าทีจ
่ ด
ุ รองรับ C ต่อโมเมนต์ปฏิกริ ย
ิ าทีจ
่ ด
ุ รองรับ A

้ ส่วน ดังรูป เราจะต ้องตัง้ สมมุตฐ


กชิน ิ านช่วยในการวิเคราะห์เพือ
่ ทำโครงข ้อแข็งให ้เป็ นโครงสร ้าง statically determinate กีข
่ ้อ
เสาทีม
่ ค
ี า่ โมเมนต์ดด
ั สูงสุด คือ

, คานทีม
่ ค
ี า่ โมเมนต์ดด
ั สูงสุด คือ

) โดยวิธพ
ี อร์ทอลของโครงข ้อแข็งดังแสดงในรูป จะได ้ค่าแรงเฉือนทีก ิ้ สว่ น CE และ DF เท่ากับ
่ งึ่ กลางช น
แรงตามแนวแกนในเสา CD เท่าใด

แรงตามแนวแกนในเสาเหนือฐานรองรับ C เท่าใด

x Methods in Structural Analysis) ไม่ถก


ู ต ้อง

นอกหลายจุด
roperty ใดทีแ ิ้ สว่ น (Element Stiffness)
่ ปรผกผันกับความแข็งแรงของชน

3 มิต ิ แต่ละ node ของโครงข ้อแข็งจะมีจำนวน degree of freedoms ได ้มากทีส


่ ด
ุ กีค
่ า่

ละ node ของโครงถักจะมีจำนวน degree of freedoms ได ้มากทีส


่ ด
ุ กีค
่ า่

atrix [k] ในวิธ ี matrix displacement method

ment relationship
ment relationship
sistent deformation

nt method นัน
้ global structure stiffness matrix [K] ของโครงข ้อหมุนจะมีขนาดเท่าใด
nt method นัน
้ เราจะต ้องทำการ inverse matrix ขนาดเท่าใด เพือ
่ ให ้ได ้ค่าการเปลีย
่ นตำแหน่งที่ node ของโครงข ้อหมุน

t method นัน
้ global structure stiffness matrix ของโครงข ้อแข็งจะมีขนาดเท่าใด

t method นัน
้ เราจะต ้องทำการ inverse matrix ขนาดเท่าใด เพือ
่ ให ้ได ้ค่าการเปลีย
่ นตำแหน่งที่ node ของโครงข ้อแข็งทีไ่ ม่ทราบค่า
งระบบเท่าใด
displacement degree of freedom ของระบบมีคา่ เท่าใด
ement ในโครงสร ้างต่อไปนี้ ให ้ตอบอยูใ่ นรูป
มีจำนวน displacement degree of freedom ของระบบมีคา่ เท่าใด
มีจำนวน displacement degree of freedom ของระบบมีคา่ เท่าใด
ิ้ สว่ นโครงข ้อแข็งจะมีจำนวน degree of freedoms ได ้มากทีส
3 มิต ิ หนึง่ ชน ่ ด
ุ กีค
่ า่

้ ส่วนโครงถักจะมีจำนวน degree of freedoms ได ้มากทีส


งชิน ่ ด
ุ กีค
่ า่

คานดังกล่าวมี degree of freedoms ทีถ


่ ก
ู ยึดรัง้ (constrained degree of freedoms) ได ้มากทีส
่ ด
ุ กีค
่ า่

od นัน
้ global structure stiffness matrix [K] ของคานจะมีขนาดเท่าใด
nt method นัน
้ เราจะต ้องทำการ inverse matrix ขนาดเท่าใด เพือ
่ ให ้ได ้ค่าการเปลีย
่ นตำแหน่งที่ node ของโครงข ้อหมุน

t method นัน
้ global structure stiffness matrix ของโครงข ้อแข็งจะมีขนาดเท่าใด

t method นัน
้ เราจะต ้องทำการ inverse matrix ขนาดเท่าใด เพือ
่ ให ้ได ้ค่าการเปลีย
่ นตำแหน่งที่ node ของโครงข ้อแข็งทีไ่ ม่ทราบค่า
iffness method

A = 800 cm1
I = 105 cm4
E = 2x106 kg/cm2
oefficient Kij

coefficient Fij

od กับ Matrix Force Method สำหรับวิเคราะห์โครงสร ้างดังแสดงในรูป


atrix Force Method

ราต ้องทำการ inverse matrix ขนาดเท่าใดเพือ


่ ให ้ได ้ค่าการเปลีย
่ นตำแหน่งที่ node

มารถใช ้ symmetry ในการลดจำนวน DOF เหลือเพียง

นเราสามารถใช ้ Anti-Symmetry และ Symmetry ในการลดจำนวน DOF เหลือเพียงเท่าใด


้ กการใดในขัน
stiffness matrix ของโครงสร ้างเราใชหลั ้ ตอนสุดท ้าย

Matrix Displacement Method กับ Matrix Force Method ภายใต ้เงือ


่ นไขของการ inverse matrix ขนาดเล็กทีส
่ ด
ุ ควรเลือกวิธใี ด
ally determinate ทีม
่ ข
ี นาดและรูปร่างเหมือนกันทุกประการ

ลักการดังกล่าว
มีโมเมนต์อน
ิ เนอร์เชียน ้อยกว่าคานในโครง (ข) ดังนัน
้ จะพบว่า
บเพือ
่ มิให ้จุด B เคลือ
่ นที่
คงที่ (หน่วยเป็ น ซม./กก.) จะพบว่าระยะเคลือ
่ นทีส ั พัทธ์ของท่อนเหล็กมีคา่ เท่ากับ 45500L/9AE ซม. จงหาค่าแรงดึงในท่อนเหล็กนีเ้ พือ
่ ม ่
C ดังนัน
้ ให ้หาค่าแรงยันนี้
โมเมนต์ดด
ั ทีเ่ กิดขึน
้ ทีป
่ ลายคานโดยวิธ ี Slope-deflection ว่าอยูใ่ นรูปใด

ทีเ่ กิดขึน
้ ทีจ
่ ด
ุ B
6 kN-m ทีจ
่ ด
ุ D
2 = L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่
2 = 2L, I1 = I, I2 = 2I และค่า E คงที่
องชว่ งคาน DE
องคานได ้จากข ้อใด
น้ำหนักบรรทุกประลัยแบบจุด
hape factor โดยที่ My หมายถึงกำลังต ้านทานโมเมนต์ดด
ั ทีจ
่ ด
ุ คราก
บ Mp จงลำดับการเกิด plastic hinge ของคานทีก
่ อ
่ ให ้เกิดกลไกวิบต
ั ิ (mechanism) ของคาน
หน่งทีน
่ ้ำหนักบรรทุกนีก
้ ระทำ
ติแบบพลาสติก
ดให ้มากขึน ้ แ
้ จนหน ้าตัดอยูใ่ นสภาวะ fully plastic ตำแหน่งของแนวเสนที ่ บ่ง tension-compression zone ของหน ้าตัด จะเป็ นดังนี้

es จะเกิดขึน
้ ที่ B, D, A ตามลำดับ จงหาขนาดของแรงปฏิกริ ย
ิ าแนวดิง่ ที่ B ขณะที่ plastic hinge ได ้เริม
่ เกิดขึน
้ ที่ D (Fig.b)
erminate กีข
่ ้อ

ิ้ สว่ นหมายเลข 1 รับแรงเท่าใด


รับแรงดึงได ้ ชน
minate กีข
่ ้อ
งข ้อแข็งทีไ่ ม่ทราบค่า
งข ้อแข็งทีไ่ ม่ทราบค่า
สุดควรเลือกวิธใี ด
าแรงดึงในท่อนเหล็กนีเ้ พือ
่ ให ้ระยะเคลือ
่ นทีส ั พัทธ์ของท่อนเหล็กมีคา่ เป็ นศูนย์
่ ม
น ้าตัด จะเป็ นดังนี้
Reinforced Concrete Desing
ข ้อที่ 1 : คอนกรีตหล่อในที่ ตามข ้อกำหนด วสท.3408 คอนกรีตทีห ั ผัสก
่ ล่อติดกับดินและผิวคอนกรีตสม
1 : 3.0 ซม.
2 : 3.5 ซม.
3 : 5.0 ซม.
4 : 7.5 ซม.

ข ้อที่ 2 : น้ำหนักบบรรทุกจร ของอาคาร ตามข ้อบัญญัต ิ กทม.พ.ศ.2522 ข ้อใด มีน้ำหนักมากทีส


่ ด


1 : ห ้องเก็บหนังสอของหอสมุดกลาง
2 : ภัตตาคารใหญ่
3 : หอประชุมแห่งชาติ
4 : ทีจ ่ อดหรือเก็บรถยนต์บรรทุกเปล่าและรถอืน
่ ๆ


ข ้อที่ 3 : เหล็กข ้ออ ้อย ทีใ่ ชในประเทศไทย จะมีคณ
ุ สมบัตด
ิ ก
ี ว่าเหล็กกลมอย่างไร
1 : รับแรงดึงได ้มากกว่า
2 : มีแรงยึดเกาะดีกว่า
3 : ทัง้ รับแรงดึงและมีแรงยึดเกาะได ้ดีกว่า
4 : ราคาถูกกว่า

ข ้อที่ 4 : คานยืน
่ cantilever beam เหล็กเสริมทีอ ่ ำคัญทีส
่ ยูใ่ นคาน เหล็กใดเป็ นเหล็กเสริมทีส ่ ด

1 : เหล็กเสริมด ้านล่างสุดของคาน
2 : เหล็กเสริมด ้านกลางของคาน
3 : เหล็กเสริมด ้านบนคาน
4 : เหล็กคอม ้า

ข ้อที่ 5 : การถอดค้ำยันใต ้ท ้องคานยืน ่ ทีม


่ ค
ี วามยาวมาก ควรจะถอดอย่างไร
1 : ถอดไล่จากด ้านเสาทีร่ องรับออกไป
2 : ถอดไล่จากด ้านปลายคานยืน ่ เข ้ามา
3 : ถอดตรงกลางก่อนแล ้วไล่ออกสองด ้าน
4 : ถอดอันเว ้นอันจากด ้านในออกไป

ข ้อที่ 6 : กำลังอัดคอนกรีต เท่ากับ 210 กก./ตร.ซม. ชนิดทรงกระบอก ทีอ


่ ายุ 28 วัน จะเท่ากับกำลังอัดข
1 : 180 กก./ตร.ซม.
2 : 210 กก./ตร.ซม.
3 : 240 กก./ตร.ซม.
4 : 280 กก./ตร.ซม.

้ ตกำลังอัดประลัยที่ 240 กก./ตร.ซม. สำหรับออกแบบในมาตรฐาน ว


ข ้อที่ 7 : ถ ้ากำหนดให ้ใชคอนกรี
1 : ชนิดลูกบาศก์ ขนาด 15 x15x15 ซม. ทีอ ่ ายุ 14 วัน
2 : ชนิดลูกบาศก์ ขนาด 15 x15x15 ซม. ทีอ ่ ายุ 28 วัน
3 : ชนิดทรงกระบอกขนาด 6"x12" ทีอ ่ ายุ 7 วัน
4 : ชนิดทรงกระบอกขนาด 6"x12" ทีอ ่ ายุ 28 วัน
่ งซงึ่ ถ ้ามีแนวเอียงหรือเฉียงทแยง ซงึ่ เรียกทั่วไปว่า เกิดจากแรงดึงท
ข ้อที่ 8 : รอยแตกร ้าวในคานต่อเนือ
1 : ด ้านล่างของคาน บริเวณกึง่ กลางคาน
2 : ด ้านบนของคาน บริเวณกึง่ กลางคาน
3 : ทีข ่ อบของหัวเสา
4 : ใกล ้บริเวณโคนเสา ห่างจากเสาประมาณเท่ากับความลึกของคาน

ข ้อที่ 9 : พืน
้ คสล. กว ้าง 3.00 ม. ยาว 5.00 ม. รับน้ำหนักจร 350 กก./ตร.ม. หนา 0.15 ม
1 : 710 กก./ม.
2 : 937.2 กก./ม.
3 : 1420 กก./ม.
4 : 1775 กก./ม.

ข ้อที่ 10 : พืน
้ คสล. กว ้าง 3.00 ม. ยาว 5.00 ม. รับน้ำหนักจร 350 กก./ตร.ม. หนา 0.15
1 : 1450 กก./ม.
2 : 1775 กก./ม.
3 : 1099 กก./ม.
4 : 1237.2 กก./ม.

ข ้อที่ 11 : เสาเข็มสเี่ หลีย


่ มตันขนาด 0.15x0.15x 4.50 ม. มีจะกำลังรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มเท่าไ
1 : 1620 กก.
2 : 1890 กก.
3 : 2160 กก.
4 : 17718 กก.

ข ้อที่ 12 : การรับแรงในแนวแกนของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก สว่ นทีเ่ ป็ นเนือ


้ คอนกรีตถูกกำหนดให ้รับความ
1 : 60%
2 : 75%
3 : 80%
4 : 85%

ข ้อที่ 13 : เหล็กปลอกในเสาทำหน ้าทีอ ่ ะไร เมือ


่ เสารับแรงในแนวแกน
1 : เพือ ่ ยึดเหล็กยืนไว ้ให ้อยูต ่ ามตำแหน่งทีต่ ้องการ
2 : เพือ ่ ให ้ระยะหุ ้ม (Covering) ถูกต ้องตามต ้องการ
3 : เพือ ่ ชว่ ยเสริมให ้เสามีคณ
ุ สมบัตเิ หนียว (ductility)
4 : เพือ ่ ช่วยให ้เสารับแรงดึงได ้ดีขน
ึ้

ข ้อที่ 14 : มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก ้ วยการยืดหดตัวประลัยของคอนกรีตมีคา่


ี ำลัง (USD)กำหนดให ้ใชหน่
1 : 0.001 มม./มม.
2 : 0.002 มม./มม.
3 : 0.003 มม./มม.
4 : 0.004 มม./มม.
ข ้อที่ 15 : ฐานรากเดีย
่ ว (Isolated Footing) มีความลึกประสิทธิผลเท่ากับ d จะเกิดการวิบต
ั เิ นือ
่ งจากโม
1 : บริเวณขอบเสาตอม่อ
2 : ทีร่ ะยะ d/4 จากขอบเสาตอม่อ
3 : ทีร่ ะยะ d/2 จากขอบเสาตอม่อ
4 : ทีร่ ะยะ d จากขอบเสาตอม่อ

ข ้อที่ 16 : ฐานรากเดีย
่ ว (Isolated Footing) มีความลึกประสิทธิผลเท่ากับ d จะเกิดการวิบต
ั เิ นือ
่ งจากแร
1 : บริเวณขอบเสาตอม่อ
2 : ทีร่ ะยะ d/4 จากขอบเสาตอม่อ
3 : ทีร่ ะยะ d/2 จากขอบเสาตอม่อ
4 : ทีร่ ะยะ d จากขอบเสาตอม่อ

ข ้อที่ 17 : ฐานรากเดีย ิ ธิผลเท่ากับ d จะมีการวิบต


่ ว (Isolated Footing) มีความลึกประสท ั เิ นือ
่ งจากแรงเฉ
1 : บริเวณขอบเสาตอม่อ
2 : ทีร่ ะยะ d/4 จากขอบเสาตอม่อ
3 : ทีร่ ะยะ d/2 จากขอบเสาตอม่อ
4 : ทีร่ ะยะ d จากขอบเสาตอม่อ

ข ้อที่ 18 : การจัดน้ำหนักบรรทุกจรในคานต่อเนือ
่ ง 3 ช่วงเท่าๆกัน และมีน้ำหนักบรรทุกคงทีข
่ องคานเท่าก

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 19 : การจัดน้ำหนักบรรทุกจรในคานต่อเนือ
่ งทีม
่ ค
ี วามยาวช่วงเท่ากัน และมีน้ำหนักบรรทุกจรคงทีเ่ ท

1:

2:

3:

4:
ี น่วยแรงใชง้
ข ้อที่ 20 : คอนกรีตของคานขนาด 0.20 x 0.50 เมตร สามารถรับแรงเฉือนได ้เท่าใดตามวิธห
1 : 2043 kg
2 : 4043 kg
3 : 11084 kg
4 : 18404 kg

ข ้อที่ 21 : ถ ้าไม่ทำ “ของอมาตรฐาน” ระยะทีต


่ ้องฝั งเหล็กกลมเรียบ (RB 15 มม.) จากหน ้าตัดวิกฤต
1 : 40 ซม.
2 : 35 ซม.
3 : 50 ซม.
4 : 30 ซม.

ข ้อที่ 22 : ข ้อความใดต่อไปนีท ้ ม ่ าตรฐานกำหนดของ ว.ส.ท. (หมายเหตุ d = ความลึกประสท


ี่ ใิ ชม ิ ธิผล
1 : ต ้องยืน่ เหล็กเสริมทีใ่ ช ้รับโมเมนต์ดด ั ให ้เลยจากจุดทีไ่ ม่ต ้องการทางทฤษฏีออกไปอีกอย่างน ้อยเท่ากับ
2 : ต ้องยืน ่ เหล็กเสริมอย่างน ้อย 1 ใน 3 ของเหล็กเสริมทีใ่ ช ้รับโมเมนต์บวกทัง้ หมดในคานช่วงเดีย ่ ว เลยเ
3 : ต ้องยืน ่ เหล็กเสริมอย่างน ้อย 1 ใน 4 ของเหล็กเสริมทีใ่ ช ้รับโมเมนต์บวกทัง้ หมดในคานต่อเนือ ่ ง เลยเข
4 : ต ้องยืน ่ เหล็กเสริมอย่างน ้อย 1 ใน 3 ของเหล็กเสริมทีใ่ ช ้รับโมเมนต์ลบทัง้ หมดเลยจากตำแหน่งของจ

ข ้อที่ 23 : บันไดพาดทางชว่ งกว ้างกับแม่บน


ั ไดทัง้ สองข ้าง ถ ้าให ้ชว่ งกว ้างระหว่างแม่บน
ั ได
1 : 700 กก./ม.2
2 : 800 กก./ม.2
3 : 900 กก./ม.2
4 : 1000 กก./ม.2

ข ้อที่ 24 : บันไดพาดทางชว่ งกว ้างกับแม่บน


ั ไดทัง้ สองข ้าง ถ ้าให ้ชว่ งกว ้างระหว่างแม่บน
ั ได
1 : 600 กก./ม.2
2 : 700 กก./ม.2 
3 : 800 กก./ม.2
4 : 900 กก./ม.2

ข ้อที่ 25 : บันไดพาดทางชว่ งกว ้างกับแม่บน


ั ไดทัง้ สองข ้าง ถ ้าให ้ชว่ งกว ้างระหว่างแม่บน
ั ได
1 : 1000 กก./ม.2
2 : 1150 กก./ม.2
3 : 1250 กก./ม.2
4 : 1500 กก./ม.2

ข ้อที่ 26 : บันไดพาดทางชว่ งกว ้างกับแม่บน


ั ไดทัง้ สองข ้าง ถ ้าให ้ชว่ งกว ้างระหว่างแม่บน
ั ได
1 : 1150 กก./ม.2
2 : 1250 กก./ม.2
3 : 1300 กก./ม.2
4 : 1400 กก./ม.2
ข ้อที่ 27 : คานรูปตัดสีเ่ หลีย
่ มผืนผ ้าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ
1 : 1650 กก.-เมตร
2 : 1880 กก.-เมตร
3 : 2000 กก.-เมตร
4 : 2080 กก.-เมตร

ข ้อที่ 28 : คานรูปตัดสีเ่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.15x0.45 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ
1 : 1450 กก.-เมตร
2 : 1550 กก.-เมตร
3 : 1600 กก.-เมตร
4 : 1700 กก.-เมตร

ข ้อที่ 29 : คานรูปตัดสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ
1 : 2400 กก.-เมตร
2 : 2500 กก.-เมตร
3 : 2650 กก.-เมตร
4 : 2700 กก.-เมตร

ข ้อที่ 30 : คานรูปตัดสีเ่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ
1 : 2650 กก.-เมตร
2 : 2950 กก.-เมตร
3 : 3400 กก.-เมตร
4 : 3550 กก.-เมตร

ข ้อที่ 31 : คานรูปตัดสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.15x0.45 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ
1 : 8000 กก.-เมตร
2 : 8450 กก.-เมตร
3 : 9400 กก.-เมตร
4 : 9900 กก.-เมตร

ข ้อที่ 32 : คานรูปตัดสีเ่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.25x0.60 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ
1 : 19120 กก.-เมตร
2 : 20250 กก.-เมตร
3 : 22500 กก.-เมตร
4 : 24250 กก.-เมตร

ข ้อที่ 33 : คานรูปตัดสีเ่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ
1 : over-reinforced
2 : balanced-reinforcement
3 : under-reinforced
4 : lightly-reinforcement

ข ้อที่ 34 : คานรูปตัดสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.15x0.35 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ
1 : over-reinforced
2 : balanced-reinforcement
3 : under-reinforced
4 : lightly-reinforcement

้ ชว่ งภายในทั่วไปซงึ่ หล่อเป็ นเนือ


ข ้อที่ 35 : คานรองรับแผ่นพืน ้ เดียวกันกับแผ่นพืน
้ นัน
้ ถ ้าพืน
้ หนา
1 : 1.25 เมตร
2 : 1.50 เมตร
3 : 1.75 เมตร
4 : 2.00 เมตร

ข ้อที่ 36 : คานรูปตัดตัวทีโดดๆ มีปีกคานกว ้าง = 75 ซม. หนา = 10 ซม. ตัวคานกว ้าง = 25


1 : 4500 กก.-เมตร
2 : 5000 กก.-เมตร
3 : 6000 กก.-เมตร
4 : 6500 กก.-เมตร

ข ้อที่ 37 : คานรูปตัดตัวทีโดดๆ มีปีกคานกว ้าง = 75 ซม. หนา = 10 ซม. ตัวคานกว ้าง = 25


1 : As = 3.0 ซม.2
2 : As = 4.0 ซม.2
3 : As = 5.0 ซม.2
4 : As = 6.0 ซม.2

้ ชว่ งเดียวหนา 18 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 15 ซม


ข ้อที่ 38 : แผ่นพืน
1 : 748 กก.-เมตร/เมตร
2 : 848 กก.-เมตร/เมตร
3 : 948 กก.-เมตร/เมตร
4 : 1048 กก.-เมตร/เมตร

ข ้อที่ 39 : ในการออกแบบชน ิ้ สว่ นรับโมเมนต์ดด


ั ถ ้าให ้ระยะ b, d มีคา่ คงที่ และให ้กำลังจุดครากมีคา่ คงท
1 : โมเมนต์ต ้านทานมีคา่ ลดลง
2 : โมเมนต์ต ้านทานมีคา่ เท่าเดิม
3 : โมเมนต์ต ้านทานมีคา่ เพิม
่ ขึน้
4 : แรงเฉือนต ้านทานมีคา่ ลดลง

ข ้อที่ 40 : ในการออกแบบชิน ้ ส่วนรับโมเมนต์ดด


ั ถ ้าให ้ระยะ b, d มีคา่ คงที่ และให ้กำลังรับแรงอัดของคอ
1 : โมเมนต์ต ้านทานมีคา่ ลดลง
2 : โมเมนต์ต ้านทานมีคา่ เท่าเดิม
3 : โมเมนต์ต ้านทานมีคา่ เพิม
่ ขึน

4 : แรงเฉือนต ้านทานมีคา่ ลดลง

ข ้อที่ 41 : ในการออกแบบชน ิ้ สว่ นรับโมเมนต์ดด


ั ทีเ่ สริมเหล็กรับแรงดึง ถ ้าให ้ระยะ b, d มีคา่ คงที่ และใหก
1 : มากขึน ้ ตามกำลังจุดครากทีเ่ พิม
่ ขึน

2 : เท่าเดิมตามกำลังจุดครากทีเ่ พิม ่ ขึน้
3 : ลดลงตามกำลังจุดครากทีเ่ พิม
่ ขึน

4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 42 : ปริมาณอย่างน ้อยของเหล็กเสริมทางขวาง (min Av) ในคาน คสล. ตามวิธ ี WSD


1 : 0.0010 bws ตร.ซม.
2 : 0.0015 bws ตร.ซม.
3 : 0.0020 bws ตร.ซม.
4 : 0.0025 bws ตร.ซม.

ข ้อที่ 43 : คาน คสล. รูปตัดสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.15x0.35 ม. ระยะ d = 0.30 ม. ตามวิธ ี
1 : 25 ซม.
2 : 20 ซม.
3 : 15 ซม.
4 : 5 ซม.

ข ้อที่ 44 : คานต่อเนือ ู ตัดสีเ่ หลีย


่ งช่วงในๆ มีรป ่ มผืนผ ้าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ
1 : 20 ซม.
2 : 25 ซม.
3 : 30 ซม.
4 : 40 ซม.

ข ้อที่ 45 : คานชว่ งเดียว มีรป


ู ตัดสเี่ หลีย
่ มผืนผ ้าขนาด 0.40x0.65 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ
1 : 25 ซม.
2 : 15 ซม.
3 : 17.5 ซม.
4 : 20 ซม.

ข ้อที่ 46 : คาน คสล. รูปตัดตัวทีโดดๆ ขนาดความกว ้างของตัวคาน = 30 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะย


1 : 6 มม. @ 7.50 ซม.
2 : 6 มม. @ 10.0 ซม.
3 : 9 มม. @ 12.5 ซม.
4 : 9 มม. @ 25.0 ซม.

ู ตัดสีเ่ หลีย
ข ้อที่ 47 : คานช่วงเดียว มีรป ่ มผืนผ ้าขนาด 0.40x0.60 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ
1 : 6 มม. @ 7.00 ซม.
2 : 6 มม. @ 10.0 ซม.
3 : 12 มม. @ 20.0 ซม.
4 : 12 มม. @ 27.5 ซม.

ข ้อที่ 48 : ข ้อความใดต่อไปนีท ้ ม ่ าตรฐานกำหนดของ ว.ส.ท. (หมายเหตุ d = ความลึกประสท


ี่ ใิ ชม ิ ธิผล
1 : ต ้องยืน่ เหล็กเสริมอย่างน ้อย 1 ใน 3 ของเหล็กเสริมทีใ่ ชรั้ บโมเมนต์ลบทัง้ หมดเลยจากตำแหน่งของจ
2 : ต ้องยืน ่ เหล็กเสริมทีใ่ ชรั้ บโมเมนต์ดด ั ให ้เลยจากจุดทีไ่ ม่ต ้องการทางทฤษฏีออกไปอีกอย่างน ้อยเท่ากับ
3 : ต ้องยืน ่ เหล็กเสริมอย่างน ้อย 1 ใน 3 ของเหล็กเสริมทีใ่ ชรั้ บโมเมนต์บวกทัง้ หมดในคานชว่ งเดีย ่ ว เลยเ
4 : ต ้องยืน ่ เหล็กเสริมอย่างน ้อย 1 ใน 4 ของเหล็กเสริมทีใ่ ชรั้ บโมเมนต์บวกทัง้ หมดในคานต่อเนือ ่ ง เลยเข
้ าศูนย์กลางทีเ่ ล็กกว่า 36 มม.) ซงึ่ รับแรงดึงและทีร่ ับแรง
ข ้อที่ 49 :ระยะต่อทาบเหล็กข ้ออ ้อย (ขนาดเสนผ่
1 : 25 ซม.
2 : 30 ซม.
3 : 36 ซม.
4 : 40 ซม.

่ ใิ ชเ่ หล็กบน) ถูกจำกัดไม่ให ้เกินกว่า


ข ้อที่ 50 : ถ ้าระยะฝั งยึดของเหล็กเสริมรับแรงดึง (ทีม
1 : 12 มม.
2 : 15 มม.
3 : 19 มม.
4 : 25 มม.

รวมคะแนน 0
ข ้อที่ 51 : คานยืน
่ ตัวหนึง่ ต ้องเสริมเหล็ก RB 25 มม. (As = 4.91 ซม.^2) จำนวนหนึง่ เพือ
่ รับโมเมนต์ดด

1 : 70 ซม.
2 : 80 ซม.
3 : 90 ซม.
4 : 100 ซม.

ข ้อที่ 52 : จงประมาณระยะฝั งยึดจากหน ้าตัดวิกฤตถึงตำแหน่งทีจ


่ ะเริม
่ ดัดงอเหล็กเสริมเพือ
่ ทำเป็ น “ของอ
1 : 30 ซม.
2 : 40 ซม.
3 : 50 ซม.
4 : 60 ซม.

ข ้อที่ 53 : จงใชวิ้ ธ ี USD ประมาณระยะฝั งยึดจากหน ้าตัดวิกฤตถึงตำแหน่งโค ้งงอเหล็กเสริมเมือ


่ ทำเป็ น “ข
1 : 30 ซม.
2 : 40 ซม.
3 : 50 ซม.
4 : 60 ซม.

่ ง คสล. โดยใชค่้ าสม


ข ้อที่ 54 : ในการออกแบบคานต่อเนือ ั ประสท
ิ ธิข ั ซงึ่ มีคา่ ทัง้ โมเมนต์บว
์ องโมเมนต์ดด
1 : 0.15L
2 : 0.25L
3 : 0.30L
4 : 0.35L

่ ง คสล. โดยใชค่้ าสม


ข ้อที่ 55 : ในการออกแบบคานต่อเนือ ั ประสท
ิ ธิข ั ซงึ่ มีคา่ ทัง้ โมเมนต์บว
์ องโมเมนต์ดด
1 : 0.15L
2 : 0.25L
3 : 0.30L
4 : 0.35L

ี น่วยแรงใช ้งาน หน่วยแรงเฉือนบิดทีย


ข ้อที่ 56 : ตามมาตรฐานการออกแบบโดยวิธห ่ อมให ้ของคอนกรีตต
1:
2:
3:
4:

ข ้อที่ 57 : คานกลวงมีขนาดกว ้าง 30 ซม. ลึก 40 ซม. ผนังด ้านข ้างหนา 10 ซม. ผนังด ้านบนและด ้านล่า
1 : 150 กก.-เมตร
2 : 300 กก.-เมตร
3 : 360 กก.-เมตร
4 : 660 กก.-เมตร

ข ้อที่ 58 : คานกลวงมีขนาดกว ้าง 30 ซม. ลึก 40 ซม. ผนังด ้านข ้างหนา 10 ซม. ผนังด ้านบนและด ้านล่า
1 : 1460 กก.-เมตร
2 : 1560 กก.-เมตร
3 : 1660 กก.-เมตร
4 : 1760 กก.-เมตร

ข ้อที่ 59 : คานกลวงมีขนาดกว ้าง 30 ซม. ลึก 40 ซม. ผนังด ้านข ้างหนา 10 ซม. ผนังด ้านบนและด ้านล่า
1 : 660 กก.-เมตร
2 : 780 กก.-เมตร
3 : 930 กก.-เมตร
4 : 1080 กก.-เมตร

ข ้อที่ 60 : คานชว่ งเดีย


่ วรูปตัดตันสเี่ หลีย่ มผืนผ ้า ขนาด 0.25 x 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม
1 : น ้อยกว่าหน่วยแรงเฉือนทีย ่ อมให ้ของคอนกรีต
2 : เท่ากับหน่วยแรงเฉือนทีย ่ อมให ้ของคอนกรีต
3 : มากกว่าหน่วยแรงเฉือนทีย ่ อมให ้ของคอนกรีต แต่ไม่เกินกว่าค่าสูงสุดทีย่ อมให ้
4 : มากกว่าหน่วยแรงเฉือนทีย ่ อมให ้ของคอนกรีต และเกินกว่าค่าสูงสุดทีย่ อมให ้

่ วรูปตัดตันสีเ่ หลีย
ข ้อที่ 61 : คานช่วงเดีย ่ มผืนผ ้า ขนาด 0.25 x 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม
1 : น ้อยกว่าหน่วยแรงเฉือนทีย ่ อมให ้ของคอนกรีต
2 : เท่ากับหน่วยแรงเฉือนทีย ่ อมให ้ของคอนกรีต
3 : มากกว่าหน่วยแรงเฉือนทีย ่ อมให ้ของคอนกรีต แต่ไม่เกินกว่าค่าสูงสุดทีย่ อมให ้
4 : มากกว่าหน่วยแรงเฉือนทีย ่ อมให ้ของคอนกรีต และเกินกว่าค่าสูงสุดทีย่ อมให ้

ข ้อที่ 62 : คานชว่ งเดีย


่ วรูปตัดตันสเี่ หลีย
่ มผืนผ ้า ขนาด 0.30 x 0.50 เมตร ระยะ d = 45 ซม
1 : 0.000 ตร.ซม. ต่อ ซม.
2 : 0.040 ตร.ซม. ต่อ ซม.
3 : 0.060 ตร.ซม. ต่อ ซม.
4 : 0.065 ตร.ซม. ต่อ ซม.
ข ้อที่ 63 : คาน คสล. รูปตัดสเี่ หลีย
่ มผืนผ ้า กว ้าง 30 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึง 3-DB 28 มม
1:5
2:4
3:3
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 64 : คาน คสล. รูปตัดสเี่ หลีย ั ้ ชน


่ มผืนผ ้า กว ้าง 30 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงสองชน ั ้ ล่างสุดใช ้
1 : 9.0 ซม.
2 : 9.5 ซม.
3 : 10.0 ซม.
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

้ ทางเดียวชว่ งเดีย
ข ้อที่ 65 :แผ่นพืน ้ กเสริมกำลังจุดคราก 4000 กก./
่ ว หนา 12 ซม. ใชเหล็
1 : 45 ซม.
2 : 40 ซม.
3 : 35 ซม.
4 : 30 ซม.

ข ้อที่ 66 : คานชว่ งเดีย


่ วยาวเท่ากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึง
1 : 2.00 ซม.
2 : 2.25 ซม.
3 : 2.30 ซม.
4 : 2.50 ซม.

ข ้อที่ 67 : ข ้คานชว่ งเดีย


่ วยาวเท่ากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึง
1 : 7.50 ซม.
2 : 7.00 ซม.
3 : 6.75 ซม.
4 : 6.00 ซม.

ข ้อที่ 68 : บันไดแบบพืน ่ าดทางชว่ งยาวระหว่างคานรองรับทัง้ สองข ้าง ถ ้าความหนาของพืน


้ ตันทีพ ้ บันได
1 : 700 กก./ม.2
2 : 750 กก./ม.2
3 : 800 กก./ม.2
4 : 825 กก./ม.2

ข ้อที่ 69 : บันไดแบบพืน ่ าดทางชว่ งยาวระหว่างคานรองรับทัง้ สองข ้าง ถ ้าความหนาของพืน


้ ตันทีพ ้ บันได
1 : 850 กก./ม.2
2 : 800 กก./ม.2
3 : 950 กก./ม.2
4 : 1000 กก./ม.2
ข ้อที่ 70 : บันไดพับผ ้าทีพ
่ าดทางช่วงยาวระหว่างคานรองรับทัง้ สองข ้าง ถ ้าแต่ละขัน
้ บันไดหนา
1 : 650 กก./ม.2
2 : 690 กก./ม.2
3 : 760 กก./ม.2
4 : 810 กก./ม.2

ข ้อที่ 71 : บันไดพับผ ้าทีพ


่ าดทางช่วงยาวระหว่างคานรองรับทัง้ สองข ้าง ถ ้าแต่ละขัน
้ บันไดหนา
1 : 540 กก./ม.2
2 : 570 กก./ม.2
3 : 600 กก./ม.2
4 : 640 กก./ม.2

ข ้อที่ 72 : คานยืน
่ จากหน ้าเสา ยาว 1.50 เมตร เสริมหล็กรับแรงดึง 4 - RB 15 มม. ทีร่ ะระยะ
1 : u = 8.40 กก./ซม. 2
2 : u = 10.60 กก./ซม. 2
3 : u = 11.25 กก./ซม. 2
4 : u = 11.40 กก./ซม. 2

ข ้อที่ 73 : คานยืน
่ จากขอบรองรับ ยาว 1.50 เมตร เสริมหล็กรับแรงดึง RB 15 มม. จากหน ้าตัดวิกฤตเข ้าไ
1 : u = 8.40 กก./ซม. 2
2 : u = 10.60 กก./ซม. 2
3 : u = 11.25 กก./ซม. 2
4 : u = 15.00 กก./ซม. 2

ข ้อที่ 74 : มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห ้


ี น่วยแรงใชงาน กำหนดว่า ไม่จำเป็ นต ้องตรวจสอบหน่วยแรงยึด
1 : 0.75
2 : 0.80
3 : 0.85
4 : 0.90

ข ้อที่ 75 : คาน คสล. ช่วงเดียว เสริมเหล็กรับแรงดึง RB 25 มม. จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห
ี น่วยแรง
1 : 80 ซม.
2 : 100 ซม.
3 : 120 ซม.
4 : 150 ซม.

ข ้อที่ 76 : คาน คสล. ช่วงเดียว เสริมเหล็กรับแรงดึง DB 25 มม. จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห
ี น่วยแร
1 : 75 ซม.
2 : 90 ซม.
3 : 120 ซม.
4 : 125 ซม.

ข ้อที่ 77 : เมือ
่ จะไม่ตรวจสอบหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดจากการเปลีย
่ นแปลงโมเมนต์ดด
ั (flexural bond
1 : f12 มม.
2 : f15 มม.
3 : f19 มม.
4 : f25 มม.

ข ้อที่ 78 : เมือ
่ จะไม่ตรวจสอบหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดจากการเปลีย
่ นแปลงโมเมนต์ดด
ั (flexural bond
1 : f16 มม.
2 : f20 มม.
3 : f25 มม.
4 : f28 มม.

ข ้อที่ 79 : เมือ
่ จะไม่ตรวจสอบหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดจากการเปลีย
่ นแปลงโมเมนต์ดด
ั (flexural bond
1 : f32 มม. 
2 : f28 มม.
3 : f25 มม.
4 : f20 มม.

ข ้อที่ 80 : เมือ
่ จะไม่ตรวจสอบหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดจากการเปลีย
่ นแปลงโมเมนต์ดด
ั (flexural bond
1 : f32 มม.
2 : f28 มม. 
3 : f25 มม.
4 : f20 มม.

ข ้อที่ 81 : เมือ
่ จะไม่ตรวจสอบหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดจากการเปลีย
่ นแปลงโมเมนต์ดด
ั (flexural bond
1 : f12 มม.
2 : f15 มม.
3 : f19 มม.
4 : f25 มม.

้ าศูนย์กลางภายในวง
ข ้อที่ 82 : หากดัดปลายเหล็กเสริมเอกให ้เป็ น “ของอครึง่ วงกลม” โดยมีขนาดเส นผ่
1 : 780 กก./ซม.2
2 : 950 กก./ซม.2
3 : 980 กก./ซม.2
4 : 1090 กก./ซม.2

้ าศูนย์กลางภายในวง
ข ้อที่ 83 : หากดัดปลายเหล็กเสริมเอกให ้เป็ น “ของอครึง่ วงกลม” โดยมีขนาดเส นผ่
1 : 695 กก./ซม.2
2 : 780 กก./ซม.2
3 : 810 กก./ซม.2
4 : 980 กก./ซม.2

้ าศูนย์กลางภายในวงโค ้ง
ข ้อที่ 84 : หากดัดปลายเหล็กเสริมเอกให ้เป็ น “ของอมุมฉาก” โดยมีขนาดเส นผ่
1 : 695 กก./ซม.2
2 : 780 กก./ซม.2
3 : 810 กก./ซม.2
4 : 995 กก./ซม.2

ข ้อที่ 85 : หากดัดปลายเหล็กเสริมเอกให ้เป็ น “ของอมุมฉาก” โดยมีขนาดเส ้นผ่าศูนย์กลางภายในวงโค ้ง


1 : 705 กก./ซม.2
2 : 780 กก./ซม.2
3 : 865 กก./ซม.2
4 : 995 กก./ซม.2

ข ้อที่ 86 : มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห ้


ี น่วยแรงใชงาน กำหนดว่า “ของอมาตรฐาน“ มีกำลังรับแรงดึงได ้เท
1 : 20 ซม
2 : 30 ซม
3 : 40 ซม
4 : 50 ซม

ี น่วยแรงใช ้งาน กำหนดว่า “ของอมาตรฐาน“ มีกำลังรับแรงดึงได ้เท


ข ้อที่ 87 : มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห
1 : 40 ซม.
2 : 45 ซม.
3 : 50 ซม.
4 : 55 ซม.

ข ้อที่ 88 : คาน คสล. ช่วงเดีย


่ วยาว 4.00 เมตร เสริมเหล็ก 4-RB 15 มม. ทีก
่ งึ่ กลางคาน พอดีเพือ
่ รับโมเ
1 : 45 ซม.
2 : 55 ซม.
3 : 65 ซม.
4 : 75 ซม.

ข ้อที่ 89 : คาน คสล. ชว่ งเดีย่ วยาว 5.50 เมตร เสริมเหล็ก 6-RB 15 มม. ทีก
่ งึ่ กลางคาน พอดีเพือ
่ รับโมเ
ทีภ ้
่ าพด ้านข ้างปรากฏเป็ นเสนความยาวจริ ้
ง เสนตรงเส ้ จ
นนี ้ ะปรากฏบนภาพด ้านบนในลักษณะใด
1 : 40 ซม.
2 : 50 ซม.
3 : 60 ซม.
4 : 70 ซม.

ข ้อที่ 90 : คานยืน
่ คสล. ยาว 1.50 เมตร เสริมเหล็ก 4-RB 12 มม. พอดีเพือ
่ รับโมเมนต์ดด
ั ชนิดลบอันเนือ

1 : 35 ซม.
2 : 45 ซม.
3 : 65 ซม.
4 : 75 ซม.

ข ้อที่ 91 : คานยืน
่ คสล. ยาว 2.00 เมตร เสริมเหล็ก 6-DB 16 มม. พอดีเพือ
่ รับโมเมนต์ดด
ั ชนิดลบอันเนือ

1 : 55 ซม.
2 : 70 ซม.
3 : 85 ซม.
4 : 100 ซม.
ข ้อที่ 92 : จงประมาณค่าโมเมนต์บด
ิ ตรงหน ้าตัดวิกฤตของคานรองรับบันไดพับผ ้าแบบยืน
่ ดังแสดง ถ ้าบัน

1 : 550 กก.-เมตร
2 : 640 กก.-เมตร
3 : 820 กก.-เมตร
4 : 910 กก.-เมตร

ข ้อที่ 93 : องค์ประกอบของการเขียนภาพฉายตัง้ ฉาก ของระบบการวางภาพแบบมุมที่ 1 ประกอบด ้วยอะไ

1 : 640 กก.-เมตร
2 : 730 กก.-เมตร
3 : 910 กก.-เมตร
4 : 550 กก.-เมตร

ข ้อที่ 94 : จงประมาณค่าโมเมนต์บด
ิ ตรงหน ้าตัดวิกฤตของคานรองรับบันไดพับผ ้าแบบยืน
่ ดังแสดง ถ ้าบัน
1 : 550 กก.-เมตร 
2 : 640 กก.-เมตร 
3 : 730 กก.-เมตร 
4 : 910 กก.-เมตร 

ข ้อที่ 95 : จงประมาณค่าโมเมนต์บด
ิ ตรงหน ้าตัดวิกฤตของคานรองรับบันไดพับผ ้าแบบยืน
่ ดังแสดง ถ ้าบัน

1 : 380 กก.-เมตร
2 : 445 กก.-เมตร
3 : 510 กก.-เมตร
4 : 570 กก.-เมตร

ข ้อที่ 96 : จงประมาณค่าโมเมนต์บด
ิ ตรงหน ้าตัดวิกฤตของคานรองรับบันไดพับผ ้าแบบยืน
่ ดังแสดง ถ ้าบัน

1 : 380 กก.-เมตร
2 : 250 กก.-เมตร
3 : 570 กก.-เมตร
4 : 445 กก.-เมตร

ข ้อที่ 97 : จงประมาณค่าโมเมนต์บด
ิ ตรงหน ้าตัดวิกฤตของคานรองรับบันไดพับผ ้าแบบยืน
่ ดังแสดง ถ ้าบัน
1 : 730 กก.-เมตร
2 : 840 กก.-เมตร
3 : 960 กก.-เมตร
4 : 1080 กก.-เมตร

ข ้อที่ 98 : จงประมาณค่าโมเมนต์บด
ิ ตรงหน ้าตัดวิกฤตของคานรองรับบันไดพับผ ้าแบบยืน
่ ดังแสดง ถ ้าบัน
ภาพในคำตอบข ้อใดไม่สามารถเป็ นภาพด ้านหน ้า(front view)ของมุมมองภาพด ้านบนนีไ ้ ด้

1 : 730 กก.-เมตร
2 : 840 กก.-เมตร
3 : 960 กก.-เมตร
4 : 1080 กก.-เมตร

ข ้อที่ 99 : มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห ้


ี น่วยแรงใชงาน กำหนดว่า ผลรวมของหน่วยแรงเฉือนทีเ่ กิดจากโมเ

1 : 0.29 กก./ตร. ซม

2 : 0.53 กก./ตร. ซม.

3 : 1.32 กก./ตร. ซม.

4 : 1.65 กก./ตร. ซม.

ี ำลัง กำหนดว่า สว่ นโครงสร ้างทีร่ ับทัง้ โมเมนต์ดด


ข ้อที่ 100 : มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก ั MU
1 : 3(fTC)
2 : 4(fTC)
3 : 5(fTC)
4 : 6(fTC)
รวมคะแนน 0

ข ้อที่ 101 : จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณกำลังรับโมเมนต์บด
ิ ประลัยทีไ่ ด ้จากคอนกรีต

1 : 800 กก.-เมตร
2 : 900 กก.-เมตร
3 : 1100 กก.-เมตร
4 : 1300 กก.-เมตร

ข ้อที่ 102 : จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก


ี ำลัง ประมาณกำลังรับโมเมนต์บด
ิ ประลัยทีไ่ ด ้จากคอนกรีต

1 : 1900 กก.-เมตร
2 : 1600 กก.-เมตร
3 : 1300 กก.-เมตร
4 : 1000 กก.-เมตร


ข ้อที่ 103 : จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณกำลังรับแรงเฉือนประลัยทีไ่ ด ้จากคอนกรีต

1 : 1400 กก.
2 : 1550 กก.
3 : 1850 กก.
4 : 2000 กก.


ข ้อที่ 104 : จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณกำลังรับแรงเฉือนประลัยทีไ่ ด ้จากคอนกรีต

1 : 2500 กก.
2 : 2800 กก.
3 : 3200 กก.
4 : 3800 กก.

ข ้อที่ 105 : จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก


ี ำลัง ประมาณกำลังรับโมเมนต์บด
ิ ประลัยสูงสุด

1 : 5000 กก.-เมตร
2 : 6500 กก.-เมตร
3 : 8000 กก.-เมตร
4 : 9500 กก.-เมตร

่ คานรูปตัดตันสีเ่ หลีย
ข ้อที่ 106 : เมือ ่ มผืนผ ้า ต ้องรับทัง้ โมเมนต์ดด
ั M แรงเฉือน V และโมเมนต์บด

1 : f 9 มม. @ 12.5 ซม. 
2 : f 9 มม. @ 15 ซม.
3 : f 12 มม. @ 15 ซม.
4 : f 12 มม. @ 17.5 ซม.

ข ้อที่ 107 : พืน


้ ช่วงเดีย
่ ว หนา 12 ซม. เสริมเหล็กขนาด 16 มม.ทางเดียว ทีม
่ ก
ี ำลังจุดคราก
1 : 45 ซม. 
2 : 40 ซม.
3 : 35 ซม.
4 : 30 ซม.

ข ้อที่ 108 : พืน


้ ยืน ้ กระยะ 1
่ หนา 10 ซม. เสริมเหล็ก SR 24 ขนาด 9 มม. จำนวน 9 เสนทุ

1 : 8300 กก./ซม.
2 : 9300 กก./ซม.
3 : 11200 กก./ซม.
4 : 12500 กก./ซม.

ข ้อที่ 109 : คานรูปตัดตันสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้า ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึง As = 14.73
1 : 12.0 ซม.
2 : 13.5 ซม.
3 : 15.0 ซม.
4 : 18.0 ซม.

ข ้อที่ 110 : คานรูปตัดตันสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้า ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึง As = 12.32
1 : 43500 ซม.4
2 : 55000 ซม.4
3 : 56000 ซม.4
4 : 65500 ซม.4

ข ้อที่ 111 : คานรูปตัดตันสีเ่ หลีย


่ มผืนผ ้า ขนาด 0.20 x 0.40 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึง As = 9.42
1 : 45000 ซม.4
2 : 52500 ซม.4
3 : 60100 ซม.4
4 : 75000 ซม.4

ข ้อที่ 112 : คานรูปตัดตันสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้า ขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว จงประ
1 : 1100 กก.-เมตร
2 : 1200 กก.-เมตร
3 : 1450 กก.-เมตร
4 : 1600 กก.-เมตร

ข ้อที่ 113 : คานรูปตัดตันสีเ่ หลีย


่ มผืนผ ้า ขนาด 0.20 x 0.40 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว
1 : 2750 กก.-เมตร
2 : 4450 กก.-เมตร
3 : 5540 กก.-เมตร
4 : 6200 กก.-เมตร

ข ้อที่ 114 : คานยืน


่ ยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว ถ ้าคานนีน

1 : 55500 ซม.4
2 : 56200 ซม.4
3 : 57000 ซม.4
4 : 57800 ซม.4

ข ้อที่ 115 : คานชว่ งเดียว มีขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว ถ ้าคานนีน
้ ้ำหนักบร

1 : 45500 ซม.4
2 : 54500 ซม.4 
3 : 55000 ซม.4
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 116 : คานยืน


่ ยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3-f 25 มม. (As = 14.73
1 : 0.30 ซม.
2 : 0.35 ซม.
3 : 0.40 ซม.
4 : 0.50 ซม.

ข ้อที่ 117 : คานยืน


่ ยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3-f 25 มม. (As = 14.73
1 : 0.0042
2 : 0.0045
3 : 0.0047
4 : 0.0050

ข ้อที่ 118 : คานยืน


่ ยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3-f 25 มม. (As = 14.73

1 : 55950 ซม.4
2 : 56050 ซม.4
3 : 56500 ซม.4
4 : 56800 ซม.4

ข ้อที่ 119 : พืน


้ ยืน
่ ยาว 1.80 เมตร หนา 10 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว ทีค ิ ธิผลเท
่ วามลึกประสท

1 : 5170 ซม.4
2 : 5870 ซม.4
3 : 6200 ซม.4
4 : 6570 ซม.4

ข ้อที่ 120 : คานยืน


่ ยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็ก 3-f 25 มม. (As = 14.73
1 : 0.60 ซม.
2 : 0.90 ซม.
3 : 1.00 ซม.
4 : 1.20 ซม.

ข ้อที่ 121 : คานยืน


่ ยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.20 x 0.40 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวชนิด
1 : 0.10 ซม.
2 : 0.18 ซม.
3 : 0.23 ซม.
4 : 0.30 ซม.

ข ้อที่ 122 : คานยืน่ ยาว 1.50 เมตร มีขนาด 0.20 x 0.40 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวชนิด
1 : 0.46 ซม.
2 : 0.55 ซม.
3 : 0.65 ซม.
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 123 : คานชว่ งเดีย


่ วยาวเท่ากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึง
1 : 0.0042
2 : 0.0045
3 : 0.0048
4 : 0.0053
ข ้อที่ 124 : คานช่วงเดีย
่ วยาวเท่ากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึง

1 : 56000 ซม.4
2 : 56250 ซม.4
3 : 56500 ซม.4
4 : 56800 ซม.4

ข ้อที่ 125 : คานชว่ งเดีย


่ วยาวเท่ากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.35 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึง
1 : 2.00 ซม.
2 : 1.95 ซม.
3 : 1.85 ซม.
4 : 1.75 ซม.

ข ้อที่ 126 : คานชว่ งเดีย


่ วยาวเท่ากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.40 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่าง ้ดีย
1 : 1.00 ซม.
2 : 1.25 ซม.
3 : 1.50 ซม.
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 127 : คานชว่ งเดีย


่ วยาวเท่ากับ 6.00 เมตร มีขนาด 0.25 x 0.40 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเด
1 : 3.05 ซม.
2 : 4.60 ซม.
3 : 5.80 ซม. 
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก 

ข ้อที่ 128 : คาน คสล. ชว่ งเดีย ้


่ วยาวเท่ากับ 6.00 เมตร รับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงานทั
ง้ หมด
1 : 7.50 ซม.
2 : 7.00 ซม.
3 : 6.75 ซม.
4 : 6.00 ซม.

ข ้อที่ 129 : คาน คสล. ชว่ งเดีย ้


่ วยาวเท่ากับ 6.00 เมตร รับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงานทั
ง้ หมด
1 : 2.00 ซม. 
2 : 2.25 ซม.
3 : 2.30 ซม. 
4 : 2.50 ซม.

ข ้อที่ 130 : กันสาดยืน


่ ออกจากคานรองรับเป็ นระยะ = 1.50 ม. ถ ้ากันสาดหนา 10 ซม. เสริมเหล็ก
1 : 1850 ซม.4/ม.
2 : 1900 ซม.4/ม.
3 : 1960 ซม.4/ม.
4 : 2050 ซม.4/ม.
ข ้อที่ 131 : กันสาดยืน
่ ออกจากคานรองรับเป็ นระยะ = 1.50 ม. หนา 10 ซม. จงประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ท
1 : 470 กก.-เมตร/ม.
2 : 500 กก.-เมตร/ม.
3 : 530 กก.-เมตร/ม.
4 : 560 กก.-เมตร/ม. 

่ ออกจากคานรองรับเป็ นระยะ = 1.50 ม. หนา 10 ซม. จงใช ้มาตรฐาน ว


ข ้อที่ 132 : กันสาดยืน

1 : 9000 ซม.4/ม.
2 : 9500 ซม.4/ม.
3 : 9900 ซม.4/ม.
4 : 10200 ซม.4/ม.

ข ้อที่ 133 : กันสาดยืน


่ ออกจากคานรองรับเป็ นระยะ = 1.50 ม. หนา 10 ซม. จงประมาณค่าการโก่งตัวทัน
1 : 0.06 ซม.
2 : 0.07 ซม.
3 : 0.08 ซม. 
4 : 0.10 ซม.

ข ้อที่ 134 : คานชว่ งเดีย ู ตัดตันสเี่ หลีย


่ วมีรป ่ มผืนผ ้าขนาด 0.25 x 0.50 เมตร ระยะ d = 0.45
1 : 8.50 ซม.
2 : 9.25 ซม.
3 : 10.25 ซม.
4 : 11.25 ซม.

ข ้อที่ 135 : คานชว่ งเดีย ู ตัดตันสเี่ หลีย


่ วมีรป ่ มผืนผ ้าขนาด 0.25 x 0.50 เมตร ระยะ d = 0.45
1 : AS‘ = 0.00 ตร.ซม. AS = 14.50 ตร.ซม.
2 : AS‘ = 2.00 ตร.ซม. AS = 13.50 ตร.ซม.
3 : AS‘ = 2.50 ตร.ซม. AS = 12.50 ตร.ซม.
4 : AS‘ = 3.10 ตร.ซม. AS = 11.50 ตร.ซม.

่ รูปตัดตันสเี่ หลีย
ข ้อที่ 136 : คานยืน ่ มผืนผ ้าขนาด 0.25 x 0.50 เมตร ระยะ d = 0.45 เมตร

1 : 7.50 ซม.
2 : 8.75 ซม.
3 : 10.00 ซม.
4 : 15.00 ซม.

ข ้อที่ 137 : โดยวิธ ี Strength design : คานคอนกรีตสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้า 0.20x0.50 เมตร(d=0.45)
1 : 11,410 กก.-ม.
2 : 12,410 กก.-ม.
3 : 13,410 กก.-ม.
4 : 10,410 กก.-ม.


ข ้อที่ 138 : ค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีตทีใ่ ชในการออกแบบโครงสร ้างคอนกรีตเสริมเหล็กตามมาตรา
1: ผลการทดสอบตัวอย่างรูปทรงกระบอกที่ 7 วัน
2 : ผลการทดสอบตัวอย่างรูปทรงกระบอกที่ 28 วัน
3 : ผลการทดสอบตัวอย่างรูปลูกบาศก์ท ี่ 7 วัน
4 : ผลการทดสอบตัวอย่างรูปลูกบาศก์ท ี่ 28 วัน

ข ้อที่ 139 : เหล็กข ้อใดไม่มข


ี ายในท ้องตลาด
1 : DB 10
2 : DB 16
3 : DB 19
4 : DB 20

ข ้อที่ 140 : ในคานคอนกรีตเสริมเหล็กการเสริมเหล็กแบบใดมีการเตือนล่วงหน ้าก่อนการวิบต


ั ิ
1 : เสริมเหล็กเกินสมดุล
2 : เสริมเหล็กสมดุล
3 : เสริมเหล็กต่ำกว่าสมดุล
4 : ไม่เสริมเหล็ก


ข ้อที่ 141 : เหล็กกลมรับแรงดึงในคานคอนกรีตเสริมเหล็กตามทฤษฎีหน่วยแรงใช งานสามารถรั บแรงดึงไ
1 : 0.375 fy
2 : 0.40 fy
3 : 0.45 fy
4 : 0.50 fy

ั ้ คอนกรีตเสริมเหล็กตามทฤษฎีหน่วยแรงใชงานสามารถรั
ข ้อที่ 142 : เหล็กในเสาสน ้ บหน่วยแรงอัดปลอด
1 : 0.375 fy
2 : 0.40 fy
3 : 0.45 fy 
4 : 0.50 fy

่ มการทีใ่ ชในทฤษฎี
ข ้อที่ 143 : ข ้อใดไม่ใชส ้ ้
หน่วยแรงใชงาน

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 
ข ้อที่ 144 : จงใช ้ทฤษฎีหน่วยแรงใช ้งานหาค่า k สำหรับการออกแบบ เมือ
่ กำหนดให ้ fc=65ksc. fs=120
1 : 0.245
2 : 0.302
3 : 0.351
4 : 0.368

ข ้อที่ 145 : คานคอนกรีตเสริมเหล็กกว ้าง 25 cm.หนา 50 cm.พืน


้ ทีเ่ หล็กเสริม 12sq.cm.
1 : 5099 kg-m
2 : 6099 kg-m
3 : 7099 kg-m 
4 : 8099 kg-m

ิ ธิผล d กำหนดให ้ fc’ = 225 ksc; fy = 24


ข ้อที่ 146 : คาน คสล. มีหน ้าตัดกว ้าง b และความลึกประสท
1 : 15.59 bd2
2 : 17.102 bd2
3 : 18.7 bd2
4 : 25.14 bd2

่ ว ซงึ่ มีขนาด 0.30x0.50 ม. ใชเหล็


ข ้อที่ 147 : ในการออกแบบเสา คสล. ปลอกเดีย ้ กเสริมหลัก
1 : 40 ซม.
2 : 28.8 ซม.
3 : 30 ซม.
4 : 25 ซม.

ข ้อที่ 148 : แผ่นพืน


้ หนา 0.15 ซม. หาพืน ้ กเสริม
้ ทีเ่ หล็กเสริมได ้ 2.25 ตร.ซม./ม. ต ้องการใชเหล็
1 : 40 ซม.
2 : 45 ซม.
3 : 50 ซม.
4 : 60 ซม.

ข ้อที่ 149 : เสาปลอกเดีย


่ วขนาด 0.40x0.40 ม. เสริมเหล็ก 8-RB 12 มม. เหล็กปลอก RB 6 @ 0.25
1 : 93 ตัน
2 : 90.5 ตัน
3 : 106.5 ตัน
4 : 95.5 ตัน

รวมคะแนน 0
ั ้ ปลอกเกลียวขนาดเสนผ่
ข ้อที่ 150 : จงหาว่าเสาสน ้ านศูนย์กลาง 30 ซม. มีเหล็กเสริมยืน 6-DB 20
1 : 105 ตัน
2 : 114 ตัน
3 : 150 ตัน
4 : 190 ตัน
ข ้อที่ 151 : จงหาคำนวนกำลังรับน้ำหนักทีส ั ้ ปลอกเดีย
่ ถาวะประลัยของเสาสน ่ วขนาด 40x40
1 : 190 ตัน 
2 : 201 ตัน
3 : 203 ตัน
4 : 216 ตัน

ข ้อที่ 152 : จงออกแบบเพือ


่ หาขนาดและระยะเรียงของเหล็กปลอกเดีย
่ วทีม
่ ป
ี ริมาณเหล็กปลอกต่ำสุดในเ
1 : 6 mm.@ 0.18 m.
2 : 6 mm.@ 0.20 m.
3 : 6 mm.@ 0.28 m.
4 : 6 mm.@ 0.32 m. 

ข ้อที่ 153 : เหล็กยืนในเสาควรมีเนือ


้ ทีห ็ ของเนือ
่ น ้าตัดไม่เกินกีเ่ ปอร์เซ น ้ ทีห
่ น ้าตัดทัง้ หมดของคอนกรีต
1 : 1%
2 : 3%
3 : 5%
4 : 8%

ข ้อที่ 154 : จงใชวิ้ ธก


ี ำลังหาระยะเรียงของเหล็กปลอก (RB 6 mm. เกรด SR 24)แบบลูกตัง้ ของคานคอน
1 : 15
2 : 20
3 : 27.5
4 : 33.9

ข ้อที่ 155 : พืน


้ S1 ขนาด 5x5 เมตร หนา 12 ซม. เหล็กเสริมโมเมนต์บวก(เสริมล่าง) กลางแผ่นพืน
้ กำห
ี่ ้าน)
1 : เสริม 2-RB9 ทัง้ สองข ้าง (รวมสด
2 : เสริม 2-RB12 ทัง้ สองข ้าง (รวมสด ี่ ้าน)
3 : เสริม 2-DB16 ทัง้ สองข ้าง (รวมสด ี่ ้าน)
4 : เสริม 2-DB20 ทัง้ สองข ้าง (รวมสด ี่ ้าน)

ข ้อที่ 156 : พืน


่ ยืน
่ ในข ้อใดมีการเสริมเหล็กทีถ
่ ก
ู ต ้อง

1 : 

2 : 
3 : 

4 : 

ข ้อที่ 157 : คอนกรีตมีกำลัง ( fc ' ) รูปทรงกระบอก 300 kg/cm2 ควรมีคา่ โมดูลัสยืดหยุน


่ เท่าใด
1 : 3.0 x 10^6 กก/ซม2
2 : 2.6 x 10^6 กก/ซม2
3 : 2.6 x 10^5 กก/ซม2
4 : 3.0 x 10^5 กก/ซม2

ข ้อที่ 158 : เมือ ั สว่ นโมดูลัสของเหล็กเสริม


่ กำหนดให ้ f’c = 200 ksc และ Es = 2.04 x 10^6 ksc ค่าสด
1 : 8
2 : 9
3 : 10
4 : 11

ข ้อที่ 159 : จงเรียงลำดับขนาดของน้ำหนักบรรทุกจรจากมากไปน ้อย ของสว่ นต่างๆในโรงเรียนแห่งหนึง่


1 : ห ้องประชุม > ห ้องน้ำ > ห ้องสมุด
2 : ห ้องสมุด > ห ้องประชุม > ห ้องน้ำ
3 : เท่ากันทุกสว่ นของโรงเรียน
4 : ห ้องสมุด > ห ้องน้ำ > ห ้องประชุม

ข ้อที่ 160 : โมดูลัสของการแตกร ้าว (Modulus of rupture) ของคอนกรีตทีม


่ ก
ี ำลังอัด 210 ksc
1 : 22.98 ksc
2 : 25.89 ksc
3 : 28.98 ksc
4 : 31.89 ksc

ข ้อที่ 161 : คานยืน ิ ธิผล d = 42.5 cm.) กำหนดให ้


่ ขนาด 25 cm. x 50 cm. (ความลึกประสท
1 : เหล็กบน 3-DB25
2 : เหล็กล่าง 3-DB25
3 : เหล็กบน 5-DB25
4 : เหล็กล่าง 5-DB25
ข ้อที่ 162 : คานขนาด 20 cm. x 45 cm. (ความลึกประสิทธิผล d = 40 cm.) ควรมีปริมาณเหล็กเสริมน ้อ
1 : 2-DB12
2 : 3-DB12
3 : 2-DB16
4 : 3-DB16

ข ้อที่ 163 : จงคำนวณความลึกประสิทธิผลของเหล็กเสริมรับแรงดึงของคานยืน


่ ทีม
่ ห
ี น ้าตัดขนาด
1 : 44.6 cm.
2 : 45.4 cm.
3 : 45.6 cm.
4 : 46.4 cm.

ข ้อที่ 164 : จากรูปตัดของบันได จะต ้องใชค่้ าความยาวค่าใดในการออกแบบบันไดแบบพาดชว่ งยาว เมือ


1 : 2.0 m.
2 : 3.0 m.
3 : 3.2 m.
4 : 4.2 m.

้ นเหล็ก
ข ้อที่ 165 : ปริมาณเหล็กเสริมยืนในเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 20 x 120 ตร.ซม. ควรพิจารณาใชเป็
1 : 4 DB 12
2 : 6 DB 10
3 : 6 DB 12
4 : 8 DB 20

่ ้องใชส้ ำหรับฐานรากเสาเข็มซงึ่ รับแรงตามแนวแกนประกอบด ้วย


ข ้อที่ 166 : จงคำนวณจำนวนเสาเข็มทีต
1 : 3 ต ้น
2 : 4 ต ้น
3 : 5 ต ้น
4 : 6 ต ้น

ข ้อที่ 167 : แผ่นพืน


้ หล่อในทีข
่ นาด 2.00 x 5.00 m. ไม่ตอ
่ เนือ
่ ง 4 ด ้าน มีความหนาแผ่นพืน

1 : 2.83 cm.2/m.
2 : 3.71 cm.2/m.
3 : 4.66 cm.2/m.
4 : 8.15 cm.2/m.
ข ้อที่ 168 : ฐานรากเสาเข็มหน ้าตัดรูปสีเ่ หลีย
่ มจัตรุ ัส ใช ้เสาเข็มขนาด 0.20 x 0.20 x 9.00 m.
1 : 1.00 x 1.00 m.
2 : 1.20 x 1.20 m.
3 : 1.30 x 1.30 m.
4 : 1.50 x 1.50 m.

ข ้อที่ 169 : ฐานแผ่(Spread Footing) บนดินขนาด 1.50 x 2.00 ม. มีความหนา 0.40 ม.


1 : 2.38ksc.
2 : 2.14ksc.
3 : 1.72 ksc.
4 : 1.31 ksc.

ข ้อที่ 170 : ฐานแผ่วางบนดินขนาด 1.5 x 2.0 m.หนา 0.40 m. รองรับเสาตอม่อขนาดหน ้าตัด


1 : 7.1 cm2. 
2 : 9.1 cm2.
3 : 13.7 cm2.
4 : 15.0 cm2.

ข ้อที่ 171 : คานขนาด 0.20 x 0.50 มีความยาวชว่ ง 5 ม. รับน้ำหนักบรรทุกรวมน้ำหนักคานทัง้ หมด


1 : 2-DB25
2 : 3-DB25
3 : 4-DB25
4 : 5-DB25

ข ้อที่ 172 : คานขนาด 0.20 x 0.50 มีความยาวชว่ ง 5 ม. รับน้ำหนักบรรทุกรวมน้ำหนักคานทัง้ หมด


1 : RB6@0.10
2 : RB6@0.20
3 : RB6@0.30
4 : RB6@0.40

ข ้อที่ 173 : จงออกแบบเหล็กเสริมโดยวิธห ้


ี น่วยแรงใชงาน (WSD) ของพืน
้ คอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียว
1 : RB6@0.10
2 : RB6@0.20
3 : RB9@0.10
4 : RB9@0.20

ั ้ ขนาด 0.25 x 0.25 สามารถรับน้ำหนักบรรทุกได ้ต่ำสุดเท่าใด โดยวิธห


ข ้อที่ 174 : เสาสน ้
ี น่วยแรงใชงาน
1 : 38.2 ตัน
2 : 39.8 ตัน
3 : 82.9 ตัน
4 : 95.6 ตัน

ข ้อที่ 175 : จงหาโมเมนต์ดด


ั เพือ
่ ออกแบบฐานรากแผ่ขนาด 2.0 x 2.0 หนา 0.40 ซม. รับเสาขนาด
1 : 1152 kg-m/m
2 : 2048 kg-m/m
3 : 3200 kg-m/m
4 : 5000 kg-m/m

ข ้อที่ 176 : ในการออกแบบพืน


้ S1โดยวิธก ้ -คาน และข ้อมูลสำหรับการออกแบ
ี ำลังประลัย โดยมีแปลนพืน

1 : A: RB6@0.15 B: RB6@0.25


2 : A: RB6@0.25 B: RB6@0.15
3 : A: RB9@0.15 B: RB9@0.20
4 : A: RB9@0.20 B: RB9@0.15

ข ้อที่ 177 : พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร กำหนดหน่วยแรงใชงานส ้ ำหรับคอนกรีตและเหล็กเสริมในคาน คสล


1 : fc = 0.375fc’ กก./ตร.ซม. ไม่เกิน 60 กก./ตร.ซม.
2 : fs (เหล็กกลม) = 1200 กก./ตร.ซม.
3 : fs (เหล็กข ้ออ ้อยซงึ่ fy ไม่เกิน 4200 กก./ตร.ซม.) = 0.5fy กก./ตร.ซม.
4 : fs (เหล็กข ้ออ ้อยซึง่ fy มากกว่า 4200 กก./ตร.ซม.) = 1700 กก./ตร.ซม.

ข ้อที่ 178 : พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร กำหนดหน่วยแรงใชงานส ้ ำหรับคอนกรีตและเหล็กเสริมในเสา คสล


1 : fs (เหล็กกลมในเสาปลอกเกลียว) = 1200 กก./ตร.ซม. 
2 : fs (เหล็กข ้ออ ้อยในเสาปลอกเกลียว) = 0.4fy ไม่เกิน 2100 กก./ตร.ซม.
3 : fs ในเสาปลอกเดีย ่ ว = 0.85 เท่าของค่าทีก
่ ำหนดของเสาปลอกเกลียว แต่ไม่เกิน 1750
4 : fc = 0.375fc’ กก./ตร.ซม. ไม่เกิน 60 กก./ตร.ซม.


ข ้อที่ 179 : มาตรฐาน ว.ส.ท. กำหนดหน่วยแรงใชงานส ำหรับคอนกรีต ดังต่อไปนี้ ข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 : fc เมือ
่ รับแรงอัดหรือแรงดัด = 0.45fc’ กก./ตร.ซม.
2 : fv เมือ่ คานไม่มเี หล็กรับแรงเฉือน = 0.29 fc’ 1/2 กก./ตร.ซม.
3 : fv เมือ ่ คานมีเหล็กรับแรงเฉือน = 1.36 fc’ 1/2 กก./ตร.ซม.
4 : fv เมือ ่ แผ่นพืน
้ หรือฐานรากรับแรงเฉือนทะลุ = 0.53 fc’ 1/2 กก./ตร.ซม.

ข ้อที่ 180 : มาตรฐาน ว.ส.ท. กำหนดหน่วยแรงใชงานส ้ ำหรับเหล็กเสริม ดังต่อไปนี้ ข ้อใดไม่ถก


ู ต ้อง
1 : fs (เหล็กกลม) = 1200 กก./ตร.ซม.
2 : fs (เหล็กข ้ออ ้อยซงึ่ fy ไม่เกิน 4000 กก./ตร.ซม.) = 0.5fy แต่ไม่เกิน 1500 กก./ตร.ซม
3 : fs (เหล็กข ้ออ ้อยซงึ่ fy มากกว่า 4000 กก./ตร.ซม.) = 0.5fy แต่ไม่เกิน 1700 กก./ตร
4 : fs (เหล็กขวัน้ ) = 0.5 เท่าของกำลังพิสจ ู น์ แต่ไม่เกิน 2500 กก./ตร.ซม.

ข ้อที่ 181 : สมมติฐานข ้อใดต่อไปนี้ ทีไ่ ม่มอ


ี ยูใ่ นการออกแบบ คสล. โดยวิธกี ำลัง (Strength design)
1 : หน่วยการยืด-หดตัวบนหน ้าตัดเป็ นสด ั สว่ นโดยตรงกับระยะทีห
่ า่ งจากแนวแกนสะเทิน
2 : ความสม ั พันธ์ระหว่างหน่วยแรงกับหน่วยการยืด-หดตัวของคอนกรีตและเหล็กเสริม เป็ นสด ั สว่ นโดยตร
3 : การยึดเหนีย ่ วระหว่างคอนกรีตกับเหล็กเสริมเป็ นไปอย่างสมบูรณ์
4 : ไม่คด ิ กำลังต ้านทางแรงดึงของคอนกรีตใต ้แนวแกนสะเทิน

ข ้อที่ 182 : ในการจัดวางเหล็กเสริม ข ้อใดต่อไปนีท ้ ไี่ ม่ถก


ู ต ้อง
1 : ระยะช่องว่างของเหล็กเสริมในเสาต ้องไม่น ้อยกว่า 4 ซม. หรือ 1.34 เท่าของขนาดโตสุดของหิน
2 : ระยะชอ ่ งว่างของเหล็กเสริมในแผ่นพืน ้ ทั่วไป ต ้องไม่เกินกว่า 3 เท่าของความหนาของแผ่นพืน
้ หรือ
่ ั ้ ้
3 : ระยะชองว่างของเหล็กเสริมในชนเดียวกันของคานต ้องไม่แคบกว่าเสนผ่าศูนย์กลางของเหล็กเสริม ห
4 : ระยะช่องว่างของเหล็กเสริมแต่ละชัน ้ สำหรับคาน ต ้องไม่เกินกว่า 2.5 ซม.

ข ้อที่ 183 : ในวิธ ี WSD ถ ้าให ้ เป็ นอัตราสว่ นของเหล็กเสริมรับแรงดึงในคาน คสล. Ms

ก) รูปตัดคาน   ข) การกระจายของหน่วยการยืดหดตัว ค) การกระจายของหน่วยแร

1 : ถ ้า = b แสดงว่า Ms = Mc
2 : ถ ้า < b แสดงว่า Ms < Mc
3 : ถ ้า < b แสดงว่า Ms > Mc
4 : ถ ้า > b แสดงว่า Mc < Ms

ข ้อที่ 184 : ในวิธ ี WSD ถ ้าให ้ n = Es/Ec, = As/bd ข ้อใดไม่ถต


ู ้อง
ก) รูปตัดคาน ข) การกระจายของหน่วยการยืดหดตัว   ค) การกระจายของหน่วยแร

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 

ข ้อที่ 185 : โมเมนต์ลบทีพ


่ น ่ ต ้องรับ M =215 กก.-เมตร/เมตร หน่วยแรงใช ้งานทีย
ื้ ยืน ่ อมให ้
1 : 2.05 ตร.ซม.
2 : 2.50 ตร.ซม.
3 : 2.75 ตร.ซม. 
4 : 3.00 ตร.ซม.

ข ้อที่ 186 : คาน คสล. รูปตัดขนาด 20x45 ซม. (d = 40 ซม., d’ = 5 ซม.) ต ้องรับโมเมนต์ดด
ั ทัง้ หมด
1 : 15.25 ตร.ซม.
2 : 14.25 ตร.ซม.
3 : 13.93 ตร.ซม.
4 : 12.90 ตร.ซม.

ข ้อที่ 187 : คานรูปตัวทีโดดๆ เสริมเหล็กรับแรงดึง (As = 14.73 ตร.ซม.) ดังรูป ถ ้าหน่วยแรงใช ้งานทีย
่ อ
1 : 6000 กก.-เมตร
2 : 6360 กก.-เมตร
3 : 7000 กก.-เมตร
4 : 7240 กก.-เมตร

ข ้อที่ 188 : คาน คสล. ชว่ งเดีย ้


่ วธรรมดารับน้ำหนักบรรทุกใชงานแบบแผ่ w = 6.5 ตัน/เมตร

1 : 4 ซม.
2 : 6 ซม.
3 : 8 ซม.
4 : 12 ซม.

ั ้ สเี่ หลีย
ข ้อที่ 189 : เสาสน ้
่ มจตุรัสขนาด 30x30 ซม. ต ้องรับแรงอัดใชงานตามแนวแกน = 54

1 : เหล็กยืน 8-DB 20 มม. เหล็กปลอก RB 6 มม. @ 32 ซม.


2 : เหล็กยืน 8-DB 20 มม. เหล็กปลอก RB 6 มม. @ 30 ซม.
3 : เหล็กยืน 8-DB 20 มม. เหล็กปลอก RB 6 มม. @ 29 ซม.
4 : เหล็กยืน 8-DB 20 มม. เหล็กปลอก RB 6 มม. @ 25 ซม.

ข ้อที่ 190 : จงประมาณเหล็กยืนทีต ้


่ ้องใชในเสาปลอกเดี
ย ่ วจัตรุ ัสขนาด 25x25 ซม. เพือ ้
่ รับน้ำหนักใชงาน
1 : ใช ้เหล็กยืน 6-DB 16 มม.
2 : ใช ้เหล็กยืน 6-DB 20 มม.
3 ้ กยืน 4-DB 28 มม.
: ใชเหล็
4 : ไม่มข ี ้อใดทีเ่ หมาะสม 

ข ้อที่ 191 : ถ ้า Pเสายาว และ Mเสายาว เป็ นแรงอัดและโมเมนต์ดด ่ ระทำต่อเสายาวซงึ่ มีอต


ั ทีก ั ราสว่ นควา
1 : P = (1/R)Pเสายาว อย่างเดียว
2 : M = (1/R)Mเสายาว อย่างเดียว
3 : P = (1/R)Pเสายาว และ M = (1/R)Mเสายาว
4 : P = Pเสายาว และ M = (1/R)Mเสายาว

ข ้อที่ 192 : ในการออกแบบฐานรากแบบวางบนเสาเข็ม ตามรูป แรงอัดสูงสุดทีเ่ สาเข็มต ้องรับพิจารณาได

1 : R1
2 : R2
3 : R3
4 : R4

ข ้อที่ 193 : ปั จจัยสำคัญในการหาขนาดความลึกของฐานรากทั่วไป คือ


1 : ระยะถ่ายแรงจากเหล็กยืนสูฐ ่ านราก
2 : โมเมนต์ดด ั
3 : แรงเฉือนทางเดียวแบบคานและแรงเฉือนทะลุ
4 : แรงกดอัดระหว่างตัวเสากับฐานราก

ข ้อที่ 194 : พ.ร.บ. ควบคุมอาคารข ้อบัญญัตข ิ องกรุงเทพมหานคร กำหนดหน่วยแรงสูงสุดของคอนกรีตแ


1 : หน่วยแรงสูงสุดของคอนกรีต = 150 กก./ตร.ซม.
2 : หน่วยแรงสูงสุดของเหล็กเสริมธรรมดา เมือ ่ ไม่มผ ้ เกิน 2400 กก
ี ลการทดสอบ ให ้ใช ไม่
3 : หน่วยแรงสูงสุดของเหล็กเสริมอืน ้ ากับ 0.85fy แต่ไม่เกิน 4200 กก./ตร.ซม.
่ ให ้ใชเท่
4 : ไม่มข ี ้อใดถูกต ้อง

้ าศูนย์กลางทีเ่ ล็กกว่า 36 มม.) ซงึ่ รับแรงดึงและทีร่ ับแร


ข ้อที่ 195 : การต่อทาบเหล็กข ้ออ ้อย (ขนาดเสนผ่
1 : 25 ซม.
2 : 30 ซม.
3 : 36 ซม.
4 : 40 ซม.

ข ้อที่ 196 : ข ้อปฏิบต


ั ใิ นการเสริมเหล็กต ้านการยืดหดในแผ่นพืน
้ ขนาด bxh ข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 : min. As สำหรับเหล็ก SR24 ต ้องไม่น ้อยกว่า 0.0025bh
2 : min. As สำหรับเหล็ก SD30 ต ้องไม่น ้อยกว่า 0.0020bh
3 : min. As สำหรับเหล็ก SR40 ต ้องไม่น ้อยกว่า 0.0018bh
4 : เรียงเหล็กต ้านการยืดหดห่างกันไม่เกิน 5 เท่าของความหนาของแผ่นพืน ้ หรือไม่เกิน 40

ข ้อที่ 197 : ข ้อความใดต่อไปนี้ ไม่ถก


ู ต ้องตามหลักวิชา
1 : คาน คสล. ทีเ่ สริมเหล็กรับแรงดึงพอดีเท่ากับอัตราสว่ นทีส่ ภาวะสมดุล เหล็กเสริมจะถูกดึงถึงจุดคราก
2 : คาน คสล. ทีเ่ สริมเหล็กรับแรงดึงน ้อยกว่าอัตราสว่ นทีส
่ ภาวะสมดุล เหล็กเสริมจะถูกดึงถึงจุดคราก ก่อ
3 : คาน คสล. ทีเ่ สริมเหล็กรับแรงดึงมากกว่าอัตราสว่ นทีส่ ภาวะสมดุล ย่อมโก่งตัวได ้มากกว่า
4 : คอนกรีตจะถูกอัดแตกเมือ ่ หน่วยการหดตัวมีคา่ สูงสุดประมาณ 0.003-0.004 มม./มม.

ข ้อที่ 198 : เพือ


่ ให ้การคำนวณออกแบบโดยวิธก
ี ำลังง่ายขึน
้ จึงสมมติให ้หน่วยแรงอัดในคอนกรีตทีส
่ ภาวะ

(ก) รูปตัดคาน (ข) การกระจายของหน่วยการยืดหดตัว (ค) การกระจายของหน่วยแ

1 :  B1 = 0.85 fc' เมือ


่ ≤ 280 กก./ซม.2
2 :  B1= = 0.85 - 0.05( fc' - 280)/70 เมือ
่ 280 กก./ซม.2 < fc' ≤ 560 กก./ซม.2
3 :  B1 = 0.65 เมือ
่ fc' > 560 กก./ซม.2
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 199 : เพือ ั เิ ป็ นแบบ yielding failure มาตรฐาน วสท. กำหนดให ้ใช ้อัตราส่วนของเหล็กเ
่ ให ้การวิบต

1 : 
2 : 

3 : 

4 : 

รวมคะแนน 0
ข ้อที่ 200 : คาน คสล. ชว่ งเดีย
่ วธรรมดา รับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่ทเี่ พิม
่ ค่าแล ้ว wu = 9.5

1 : 8 ซม.
2 : 9 ซม.
3 : 15 ซม.
4 : 18 ซม.

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 201 : ถ ้าเสาสน ้
่ วต ้องรับ Pu = 131.25 ตัน และ Mu = 22.3 ตัน-เมตร หากพิจารณาใชเส
1 : 20 ตร.ซม.
2 : 22 ตร.ซม.
3 : 25 ตร.ซม.
4 : 28 ตร.ซม.

ิ้ สว่ นรับแรงอัดตามแนวแกนและโมเมนต์ดด
ข ้อที่ 202 : ชน ั มีรป
ู แสดงการกระจายของหน่วยการยืด

1 : รูป (ก) 
2 : รูป (ข)
3 : รูป (ค)
4 : รูป (ง)

ข ้อที่ 203 : จากรูปตัดคานคอนกรีตทีเ่ สริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว โมเมนต์ดด ้


ั ทีใ่ ช ออกแบบ

1 : 
2 : 

3 : 

4 : 

ข ้อที่ 204 : จงหาปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงทีม


่ ากทีส
่ ด
ุ (As max) ทีย ้
่ อมให ้ใชตามข ้อกำหนดในวิธก
ี ำล

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 

ข ้อที่ 205 : คานรูปตัดสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.15x0.35 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ
1 : 0.0161
2 : 0.0113
3 : 0.0092
4 : 0.0074

ข ้อที่ 206 : แผ่นพืน


้ ต่อเนือ
่ งมีระยะศูนย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับ = 3.50 เมตร ต ้องรับน้ำหนักบรรทุกจรแบบแ
1 : เหล็ก 6 มม. @ 8 ซม.
2 : เหล็ก 6 มม. @ 10 ซม.
3 : เหล็ก 9 มม. @ 12 ซม.
4 : เหล็ก 9 มม. @ 16 ซม.

ข ้อที่ 207 : แผ่นพืน


้ ต่อเนือ
่ งมีระยะศูนย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับ = 4.00 เมตร ต ้องรับน้ำหนักบรรทุกจรแบบแ
1 : เหล็ก 12 มม. @ 18 ซม.
2 : เหล็ก 12 มม. @ 16 ซม.
3 : เหล็ก 12 มม. @ 20 ซม.
4 : เหล็ก 12 มม. @ 30 ซม.

ข ้อที่ 208 : คานรูปตัดสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.20x0.45 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ
1 : As‘ = 1.26 ซม.2 As = 14.10 ซม.2
2 : As‘ = 1.42 ซม.2 As = 14.30 ซม.2
3 : As‘ = 1.50 ซม.2 As = 14.35 ซม.2
4 : As‘ = 1.58 ซม.2 As = 14.40 ซม.2

ข ้อที่ 209 : คานรูปตัดสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ
1 : As‘ = 3.33 ซม.2 As = 13.60 ซม.2
2 : As‘ = 3.67 ซม.2 As = 13.93 ซม.2
3 : As‘ = 3.84 ซม.2 As = 14.10 ซม.2
4 : As‘ = 4.00 ซม.2 As = 14.26 ซม.2

ข ้อที่ 210 : คานรูปตัดสีเ่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ
1 : As‘ = 3.17 ซม.2 As = 13.43 ซม.2
2 : As‘ = 3.49 ซม.2 As = 13.75 ซม.2
3 : As‘ = 3.65 ซม.2 As = 13.91 ซม.2
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 211 : ข ้อใดต่อไปนีท ้ ม


ี่ ใิ ชข ่ อบข่ายของการออกแบบพืน ้ คสล. 2 ทาง ตามวิธท ี ี่ 2 ของมาตรฐาน ว
1 : แผ่นพืน ้ อาจเป็ นแบบตันหรือครีบ
2 : แผ่นพืน ้ อาจต่อเนือ
่ งหรือไม่ก็ได ้ และอาจมีหรือไม่มค ี่ ้าน
ี านรองรับทัง้ สด
3 : น้ำหนักบรรทุกบนแผ่นพืน ้ ต ้องเป็ นแบบแผ่สม่ำเสมอ
4 : น้ำหนักบรรทุกจรใชงานต ้ ้
้องไม่เกินกว่าสามเท่าของน้ำหนักบรรทุกคงทีใ่ ชงาน

้ คสล. 2 ทาง ชว่ งภายในทั่วไป มีขนาดทีว่ ัดจากระยะศูนย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับ


ข ้อที่ 212 : แผ่นพืน
1 : 6 ซม.
2 : 8 ซม.
3 : 10 ซม.
4 : 12 ซม.

้ คสล. 2 ทาง ชว่ งภายในทั่วไป มีขนาดทีว่ ัดจากระยะศูนย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับ


ข ้อที่ 213 : แผ่นพืน
1 : 8 ซม.
2 : 10 ซม.
3 : 12 ซม.
4 : 14 ซม.

้ คสล. 2 ทาง ชว่ งภายในทั่วไป มีขนาดทีว่ ัดจากระยะศูนย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับ


ข ้อที่ 214 : แผ่นพืน
1 : 4.80 เมตร
2 : 5.00 เมตร
3 : 5.05 เมตร
4 : 5.25 เมตร

ข ้อที่ 215 : แผ่นพืน


้ คสล. 2 ทาง ช่วงภายในทั่วไป มีขนาดทีว่ ัดจากระยะศูนย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับ
1 : 3.00 เมตร
2 : 3.05 เมตร
3 : 4.50 เมตร
4 : 4.55 เมตร

ข ้อที่ 216 : ตามวิธท ี ี่ 2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. สำหรับแผ่นพืน ้ คสล. 2 ทาง ทีไ่ ม่ตอ
่ เนือ ี่ ้าน จะพ
่ งกันทัง้ สด
1 : มีแต่โมเมนต์ดด ั ชนิดบวกอย่างเดียวทีข ่ นานกับด ้านสน ั้
2 : มีแต่โมเมนต์ดด ั ชนิดบวกอย่างเดียวทีข ่ นานกับด ้านสน ั ้ และด ้านยาว
3 : มีทงั ้ โมเมนต์ดด
ั ชนิดบวกและชนิดลบทีข ่ นานกับด ้านสน ั ้ เพียงอย่างเดียว
4 : มีทงั ้ โมเมนต์ดดั ชนิดบวกและชนิดลบทีข ่ นานกับด ้านสน ั ้ และด ้านยาว

ข ้อที่ 217 : ตามวิธท ี ี่ 2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. จะพบว่าโมเมนต์ดด


ั ชนิดบวกทีก
่ งึ่ กลางช่วงของแผ่นพืน
้ คส
1 : เมือ่ แผ่นพืน ้ ไม่ตอ ่ เนือ ่ งกันทัง้ สีด ่ ้าน
2 : เมือ ่ แผ่นพืน ้ ไม่ตอ ่ เนือ ่ งกันสามด ้าน
3 : เมือ ่ แผ่นพืน ้ ไม่ตอ ่ เนือ ่ งกันสองด ้าน
4 : เมือ ่ แผ่นพืน ้ ไม่ตอ ่ เนือ ่ งกันด ้านเดียว

ข ้อที่ 218 : ตามวิธท ี ี่ 2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. จะพบว่าโมเมนต์ดด ่ ้านซึง่ ต่อเนือ


ั ชนิดลบทีด ่ งของแผ่นพืน

1 : เมือ่ แผ่นพืน ้ ต่อเนือ ่ งกันทัง้ สด ี่ ้าน
2 : เมือ ่ แผ่นพืน ้ ต่อเนือ ่ งกันสามด ้าน
3 : เมือ ่ แผ่นพืน ้ ต่อเนือ ่ งกันสองด ้าน
4 : เมือ ่ แผ่นพืน ้ ต่อเนือ ่ งกันเพียงด ้านเดียว

ข ้อที่ 219 : ตามวิธท


ี ี่ 2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท. โมเมนต์ดด
ั ในแถบเสาของแผ่นพืน
้ คสล. 2
1 : หนึง่ ในสามของโมเมนต์ดด ั ในแถบกลาง
2 : หนึง่ ในสองของโมเมนต์ดด ั ในแถบกลาง
3 : สองในสามของโมเมนต์ดด ั ในแถบกลาง
4 : สามในสีข ่ องโมเมนต์ดด ั ในแถบกลาง

้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 220 : เสาสัน ่ ว เสริมเหล็กยืน As = As‘ รับแรงอัดใช ้งานตามแนวแกนเนือ
่ งจากน้ำหนักบร
1 : 1170 ตร.ซม.
2 : 1250 ตร.ซม.
3 : 1360 ตร.ซม.
4 : 1500 ตร.ซม.

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 221 : เสาสน ้
่ ว เสริมเหล็กยืน As = As‘ รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื
อ ่ งจากน้ำหนักบร
1 : 2700 ตร.ซม.
2 : 3000 ตร.ซม.
3 : 3130 ตร.ซม.
4 : 3250 ตร.ซม.
้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 222 : เสาสัน ่ ว เสริมเหล็กยืน As = As‘ รับแรงอัดใช ้งานตามแนวแกนเนือ
่ งจากน้ำหนักบร
1 : 1500 ตร.ซม.
2 : 1600 ตร.ซม.
3 : 2100 ตร.ซม.
4 : 2250 ตร.ซม.

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 223 : เสาสน ้
่ ว เสริมเหล็กยืน As = As‘ รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื
อ ่ งจากน้ำหนักบร
1 : 1800 ตร.ซม.
2 : 1900 ตร.ซม.
3 : 2000 ตร.ซม.
4 : 2100 ตร.ซม.

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 224 : เสาสน ้
่ ว เสริมเหล็กยืน As = As‘ รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื
อ ่ งจากน้ำหนักบร
1 : 1650 ตร.ซม.
2 : 1750 ตร.ซม.
3 : 1800 ตร.ซม.
4 : 1850 ตร.ซม.

ั ้ ปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื
ข ้อที่ 225 : เสาสน ้ อ ่ งจากน้ำหนักบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบร
1 : 35 ซม.
2 : 45 ซม.
3 : 50 ซม.
4 : 60 ซม.

ั ้ ปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื
ข ้อที่ 226 : เสาสน ้ อ ่ งจากน้ำหนักบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบร
1 : 35 ซม.
2 : 45 ซม.
3 : 50 ซม.
4 : 60 ซม.

ั ้ ปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื
ข ้อที่ 227 : เสาสน ้ อ ่ งจากน้ำหนักบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบร
1 : 55 ซม.
2 : 60 ซม.
3 : 65 ซม.
4 : 70 ซม.

ั ้ ปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื
ข ้อที่ 228 : เสาสน ้ อ ่ งจากน้ำหนักบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบร
1 : 45 ซม.
2 : 50 ซม.
3 : 55 ซม.
4 : 60 ซม.

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 229 : เสาสน ้
่ ว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื
อ ่ งจากน้ำหนักบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบรร
1 : 10 ตร.ซม.
2 : 20 ตร.ซม.
3 : 25 ตร.ซม.
4 : 30 ตร.ซม.

ั ้ ปลอกเกลียว รับแรงอัดใชงานตามแนวแกนเนื
ข ้อที่ 230 : เสาสน ้ อ ่ งจากน้ำหนักบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบร
1 : 20 ตร.ซม.
2 : 40 ตร.ซม.
3 : 50 ตร.ซม.
4 : 60 ตร.ซม.

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 231 : ถ ้าเสาสน ่ วสเี่ หลีย
่ มจัตรุ ัสขนาดเท่ากับ h x h ซม. สามารถรับแรงอัดตามแนวแกนไ
1 : 0.0005hP ตัน-เมตร
2 : 0.001hP ตัน-เมตร
3 : 0.01hP ตัน-เมตร
4 : 0.05hP ตัน-เมตร

้ ปลอกเกลียวขนาดเส ้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ h ซม. สามารถรับแรงอัดตามแนวแกนไ


ข ้อที่ 232 : ถ ้าเสาสัน
1 : 0.0005hP ตัน-เมตร
2 : 0.001hP ตัน-เมตร
3 : 0.01hP ตัน-เมตร
4 : 0.05hP ตัน-เมตร

ข ้อที่ 233 : การคำนวณออกแบบเสาในชว่ งแรงอัดเป็ นหลักตามวิธ ี WSD จะพบว่า


1 : เมือ่ ลดค่าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนต์ดด ั ได ้มากขึน ั สว่ นกัน
้ และเป็ นส ด
2 : เมือ ่ ลดค่าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนต์ดด ั ได ้เท่าเดิม
3 : เมือ ่ ลดค่าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนต์ดด ั ได ้น ้อยลง
4 : เมือ ่ เพิม
่ ค่าแรงอัดตามแนวแกนมากขึน
้ เสาจะสามารถรับโมเมนต์ดด ั ได ้มากขึน
้ กว่าเดิม

ข ้อที่ 234 : การคำนวณออกแบบเสาในชว่ งแรงดึงเป็ นหลักตามวิธ ี WSD จะพบว่า


1 : เมือ่ ลดค่าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนต์ดด ั ได ้มากขึน ้
2 : เมือ ่ ลดค่าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนต์ดด ั ได ้เท่าเดิม
3 : เมือ ่ ลดค่าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนต์ดด ั ได ้น ้อยลงและเป็ นส ดั สว่ นกัน
4 : เมือ ่ เพิม
่ ค่าแรงอัดตามแนวแกนมากขึน
้ เสาจะรับโมเมนต์ดด ั ได ้มากขึน
้ แต่ไม่เป็ นสัดส่วนกัน

ข ้อที่ 235 : พฤติกรรมจริงของเสาในช่วงแรงอัดเป็ นหลัก จะพบว่า


1 : เมือ่ ลดค่าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนต์ดด ั ได ้มากขึน ้ แต่ไม่เป็ นสัดส่วนโดยตรง
2 : เมือ ่ ลดค่าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนต์ดด ั ได ้เท่าเดิม
3 : เมือ ่ ลดค่าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะสามารถรับโมเมนต์ดด ั ได ้น ้อยลง
4 : เมือ ่ เพิม
่ ค่าแรงอัดตามแนวแกนมากขึน
้ เสาจะสามารถรับโมเมนต์ดด ั ได ้มากขึน้ กว่าเดิม

ข ้อที่ 236 : พฤติกรรมจริงของเสาในชว่ งแรงดึงเป็ นหลัก จะพบว่า


1 : เมือ่ ลดค่าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนต์ดด ั ได ้มากขึน ้
2 : เมือ ่ ลดค่าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนต์ดด ั ได ้เท่าเดิม
3 : เมือ
่ ลดค่าแรงอัดตามแนวแกนลง เสาจะรับโมเมนต์ดด ั ได ้น ้อยลงแต่ไม่เป็ นสัดส่วนโดยตรง
4 : เมือ่ เพิม
่ ค่าแรงอัดตามแนวแกนมากขึน
้ เสาจะรับโมเมนต์ดด ั ได ้มากขึน
้ และเป็ นสัดส่วนโดยตรง

้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 237 : เสาสัน ่ วขนาดเท่ากับ 50 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืนทัง้ หมด 6เส ้น เส ้นละ
1 : 0.0015 มม./มม.
2 : 0.0020 มม./มม.
3 : 0.0025 มม./มม.
4 : 0.0030 มม./มม.

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 238 : เสาสน ่ วขนาดเท่ากับ 25 x 45 ซม. เสริมเหล็กยืนทัง้ หมด 6 เสน้ เสนละ

1 : 0.0015 มม./มม.
2 : 0.0020 มม./มม.
3 : 0.0025 มม./มม.
4 : 0.0030 มม./มม.

้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 239 : เสาสัน ่ วขนาดเท่ากับ 50 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืนขนาด 25 มม. โดยที่
1 : 9 มม. @ 0.40 ม.
2 : 6 มม. @ 0.40 ม.
3 : 9 มม. @ 0.45 ม.
4 : 6 มม. @ 0.30 ม.

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 240 : เสาสน ่ วขนาดเท่ากับ 45 x 45 ซม. เสริมเหล็กยืนขนาด 28 มม. โดยที่
1 : 9 มม. @ 0.40 ม.
2 : 9 มม. @ 0.45 ม.
3 : 6 มม. @ 0.30 ม.
4 : 6 มม. @ 0.45 ม.

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 241 : เสาสน ่ วขนาดเท่ากับ 30 x 40 ซม. เสริมเหล็กยืนขนาด 20 มม. โดยที่
1 : 9 มม. @ 0.30 ม.
2 : 6 มม. @ 0.30 ม.
3 : 9 มม. @ 0.40 ม.
4 : 6 มม. @ 0.25 ม.

้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 242 : เสาสัน ่ วขนาดเท่ากับ 30 x 30 ซม. เสริมเหล็กยืนขนาด 15 มม. โดยที่
1 : 9 มม. @ 0.25 ม.
2 : 6 มม. @ 0.20 ม.
3 : 9 มม. @ 0.30 ม.
4 : 6 มม. @ 0.30 ม.

ั ้ ปลอกเกลียวขนาดเสน
ข ้อที่ 243 : เสาสน ั ผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 40 ซม. ระยะคอนกรีตหุ ้มเท่ากับ
1 : 9 มม. @ 0.03 ม.
2 : 6 มม. @ 0.025 ม.
3 : 9 มม. @ 0.05 ม.
4 : 6 มม. @ 0.05 ม.
ข ้อที่ 244 : เสาปลอกเดีย
่ วขนาดเท่ากับ 30 x 30 ซม. อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ จากผลของแรงอัดและ
1 : 0.90
2 : 0.92
3 : 0.94
4 : 0.96

ข ้อที่ 245 : เสาปลอกเดีย


่ วขนาดเท่ากับ 40 x 40 ซม. อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ จากผลของแรงอัดและ
1 : 0.93
2 : 0.95
3 : 1.00
4 : 1.02

่ วสเี่ หลีย
ข ้อที่ 246 : เสาปลอกเดีย ่ มจัตรุ ัสอยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ จากผลของแรงอัดและโมเมนต์ดด
ั เ
1 : 45 x 45 ซม.
2 : 50 x 50 ซม.
3 : 55 x 55 ซม.
4 : 60 x 60 ซม.

่ วขนาดเท่ากับ 30 x 30 ซม. อยูใ่ นโครงเฟรมแบบ Portal ชว่ งเดียวและชน


ข ้อที่ 247 : เสาปลอกเดีย ั ้ เดีย
1 : ศูนย์จดุ ห ้า
2 : ศูนย์จด ุ ห ้าสอง
3 : ศูนย์จด ุ ห ้าส ี่
4 : ศูนย์จด ุ ห ้าหก

่ วขนาดเท่ากับ 30 x 30 ซม. อยูใ่ นโครงเฟรมแบบ Portal ชว่ งเดียวและชน


ข ้อที่ 248 : เสาปลอกเดีย ั ้ เดีย
1 : 0.30
2 : 0.33
3 : 0.36
4 : 0.40

ข ้อที่ 249 : ฐานรากแผ่ขนาด 3x3 เมตร รองรับเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ถ ้าความหนาของฐานรา


1 : 6 เส ้น
2 : 12 เส ้น
3 : 14 เสน้
4 : 20 เส ้น

รวมคะแนน 0
ข ้อที่ 250 : ฐานรากแผ่ขนาด 3x3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกนจากเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30
1 : 7500 ตร.ซม.
2 : 9000 ตร.ซม.
3 : 10000 ตร.ซม.
4 : 12000 ตร.ซม.

ข ้อที่ 251 : ฐานรากแผ่ขนาด 3x3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกนจากเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30


1 : 3600 ตร.ซม.
2 : 5400 ตร.ซม.
3 : 7200 ตร.ซม.
4 : 10800 ตร.ซม.


ข ้อที่ 252 : ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70 x 3.60 ม. รองรับแรงอัดใชงาน P = 120 ตันอย่างเดียวจากเสาต
1 : 125000 กก.
2 : 100000 กก.
3 : 115000 กก.
4 : 120000 กก.

้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 253 : เสาสัน ่ วขนาดเท่ากับ 25 x 25 ซม. เสริมเหล็กยืนทัง้ หมด 6-DB20 มม
1 : 33 ตัน
2 : 47 ตัน
3 : 60 ตัน
4 : 75 ตัน

ข ้อที่ 254 : คานรูปตัดสีเ่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.15x0.45 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว
1 : 9400 กก.-เมตร
2 : 8450 กก.-เมตร
3 : 8000 กก.-เมตร
4 : 7450 กก.-เมตร

ข ้อที่ 255 : คานรูปตัดสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.25x0.60 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว
1 : 25000 กก.-เมตร
2 : 22500 กก.-เมตร
3 : 20250 กก.-เมตร
4 : 19250 กก.-เมตร

ข ้อที่ 256 : คานรูปตัดสีเ่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.25x0.40 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว
1 : 4340 กก.-เมตร
2 : 4040 กก.-เมตร
3 : 3740 กก.-เมตร
4 : 3540 กก.-เมตร

ข ้อที่ 257 : คานรูปตัดสเี่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 0.15x0.35 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว ทีร่ ะยะ
1 : 0.0161bd ซม.2
2 : 0.0113bd ซม.2
3 : 0.0092bd ซม.2
4 : 0.0074bd ซม.2
ข ้อที่ 258 : คานรูปตัดสีเ่ หลีย
่ มผืนผ ้าขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว
1 : 12650 กก.-เมตร
2 : 13360 กก.-เมตร
3 : 14060 กก.-เมตร
4 : 12000 กก.-เมตร

ข ้อที่ 259 : พืน


้ คสล. หนา 8 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว As = 2.83 ซม.2/เมตร ทีร่ ะยะ
1 : 150 กก.-เมตร/เมตร
2 : 175 กก.-เมตร/เมตร
3 : 200 กก.-เมตร/เมตร
4 : 250 กก.-เมตร/เมตร

ข ้อที่ 260 : พืน


้ คสล. หนา 8 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว As = 4.87 ซม.2/เมตร ทีร่ ะยะ
1 : 850 กก.-เมตร/เมตร
2 : 800 กก.-เมตร/เมตร
3 : 725 กก.-เมตร/เมตร
4 : 650 กก.-เมตร/เมตร

้ ชว่ งเดียวหนา 8 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว As = 2.83 ซม.2/


ข ้อที่ 261 : แผ่นพืน
1 : 320 กก./เมตร2
2 : 225 กก./เมตร2
3 : 250 กก./เมตร2
4 : 275 กก./เมตร2

้ ชว่ งเดียวหนา 15 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว As = 5.30 ซม


ข ้อที่ 262 : แผ่นพืน
1 : 2.00 เมตร
2 : 2.50 เมตร
3 : 3.00 เมตร
4 : 3.50 เมตร

้ ชว่ งเดียวหนา 15 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว As = 5.65 ซม


ข ้อที่ 263 : แผ่นพืน
1 : 2.90 เมตร
2 : 3.20 เมตร
3 : 3.50 เมตร
4 : 3.80 เมตร

ข ้อที่ 264 : พืน ่ ง 2 ชว่ ง โดยมีระยะศูนย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับชว่ งละ 3.00 เมตร รับน้ำหนักบ
้ คสล. ต่อเนือ
1 : As = 2.50 ซม.2/เมตร.
2 : As = 4.10 ซม.2/เมตร
3 : As = 5.55 ซม.2/เมตร
4 : As = 6.35 ซม.2/เมตร

ข ้อที่ 265 : พืน ่ ง 2 ชว่ ง โดยมีระยะศูนย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับชว่ งละ 3.00 เมตร รับน้ำหนักบ
้ คสล. ต่อเนือ
1 : As = 4.10 ซม.2/เมตร
2 : As = 5.55 ซม.2/เมตร
3 : As = 6.35 ซม.2/เมตร
4 : As = 2.50 ซม.2/เมตร

ข ้อที่ 266 : พืน ่ ง 2 ชว่ ง โดยมีระยะศูนย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับชว่ งละ 3.00 เมตร รับน้ำหนักบ
้ คสล. ต่อเนือ
1 : As = 2.50 ซม.2/เมตร
2 : As = 4.10 ซม.2/เมตร
3 : As = 5.55 ซม.2/เมตร
4 : As = 6.35 ซม.2/เมตร

ข ้อที่ 267 : พืน


้ ยืน ้
่ จากขอบทีร่ องรับ = 1.50 เมตร ต ้องรับน้ำหนักบรรทุกจรแบบแผ่สม่ำเสมอใชงาน
1 : As = 6.36 ซม.2/เมตร
2 : As = 5.22 ซม.2/เมตร
3 : As = 4.54 ซม.2/เมตร
4 : As = 3.98 ซม.2/เมตร

ข ้อที่ 268 : พืน


้ ยืน
่ จากขอบทีร่ องรับ = 2.00 เมตร ถ ้าพืน
้ หนา 15 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว
1 : 340 กก./เมตร2
2 : 280 กก./เมตร2
3 : 220 กก./เมตร2
4 : 200 กก./เมตร2

ข ้อที่ 269 : คานยืน


่ จากขอบทีร่ องรับ = 2.00 เมตร ถ ้าคานกว ้าง 25 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวท
1 : 1780 กก./เมตร
2 : 2010 กก./เมตร
3 : 2170 กก./เมตร
4 : 2270 กก./เมตร

ข ้อที่ 270 : คาน คสล. ขนาด 0.20x0.45 ม. ต ้องรับโมเมนต์ดด ้


ั ใชงาน ้
= 6000 กก.-เมตร จงใชมาตรฐา
1 : As‘ = 1.47 ซม.2 As = 13.50 ซม.2
2 : As‘ = 1.67 ซม.2 As = 14.50 ซม.2
3 : As‘ = 1.87 ซม.2 As = 15.50 ซม.2
4 : As‘ = 2.07 ซม.2 As = 17.50 ซม.2

ข ้อที่ 271 : คาน คสล. ขนาด ั ใช ้งาน = 21505 กก.-เมตร จงใช ้มาตรฐ
0.25x0.60 ม. ต ้องรับโมเมนต์ดด
1 : As‘ = 12.00 ซม.2 As = 29.30 ซม.2
2 : As‘ = 11.50 ซม.2 As = 32.50 ซม.2
3 : As‘ = 11.40 ซม.2 As = 32.40 ซม.2
4 : As‘ = 10.25 ซม.2 As = 30.40 ซม.2

ข ้อที่ 272 : คาน คสล. ขนาด 0.15x0.30 ม. ต ้องรับโมเมนต์ดด


ั ประลัย (MU) ทีห
่ น ้าตัดวิกฤต
1 : As‘ = 2.00 ซม.2 As = 5.75 ซม.2
2 : As‘ = 2.22 ซม.2 As = 5.97 ซม.2
3 : As‘ = 2.50 ซม.2 As = 6.25 ซม.2
4 : As‘ = 3.00 ซม.2 As = 6.75 ซม.2

ข ้อที่ 273 : คาน คสล. ขนาด 0.20x0.35 ม. ต ้องรับโมเมนต์ดด


ั ประลัย (MU) ทีห
่ น ้าตัดวิกฤต
1 : As‘ = 2.75 ซม.2 As = 6.35 ซม.2
2 : As‘ = 1.50 ซม.2 As = 5.10 ซม.2
3 : As‘ = 2.00 ซม.2 As = 5.60 ซม.2
4 : As‘ = 2.50 ซม.2 As = 6.10 ซม.2

ข ้อที่ 274 : คาน คสล. ขนาด 0.20x0.45 ม. ต ้องรับโมเมนต์ดด


ั ประลัย (MU) ทีห
่ น ้าตัดวิกฤต
1 : As‘ = 3.20 ซม.2 As = 16.0 ซม.2
2 : As‘ = 3.77 ซม.2 As = 15.8 ซม.2
3 : As‘ = 4.20 ซม.2 As = 17.0 ซม.2
4 : As‘ = 5.74 ซม.2 As = 15.3 ซม.2

้ ช่วงภายในทั่วไปซึง่ หล่อเป็ นเนือ


ข ้อที่ 275 : คานรองรับแผ่นพืน ้ เดียวกันกับแผ่นพืน
้ นัน
้ ถ ้าพืน
้ หนา
1 : 0.80 เมตร
2 : 1.50 เมตร
3 : 2.10 เมตร
4 : 2.45 เมตร

้ ชว่ งภายในทั่วไปซงึ่ หล่อเป็ นเนือ


ข ้อที่ 276 : คานรองรับแผ่นพืน ้ เดียวกันกับแผ่นพืน
้ นัน
้ ถ ้าพืน
้ หนา
1 : 2.75 เมตร
2 : 2.50 เมตร
3 : 2.00 เมตร
4 : 1.25 เมตร

ข ้อที่ 277 : คานขอบตัวริมทีร่ องรับแผ่นพืน


้ และหล่อเป็ นเนือ
้ เดียวกันกับแผ่นพืน
้ นัน
้ ถ ้าพืน
้ หนา
1 : 0.90 เมตร
2 : 0.80 เมตร
3 : 0.70 เมตร
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 278 : คานขอบตัวริมทีร่ องรับแผ่นพืน


้ และหล่อเป็ นเนือ
้ เดียวกันกับแผ่นพืน
้ นัน
้ ถ ้าพืน
้ หนา
1 : 0.60 เมตร
2 : 0.75 เมตร
3 : 2.15 เมตร
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

ิ ธิผลของปี กคาน = 125 ซม. หนา = 8 ซม


ข ้อที่ 279 : คานรูปตัดตัวที มีความกว ้างประสท
1 : 50 ตัน-เมตร
2 : 53 ตัน-เมตร
3 : 45 ตัน-เมตร
4 : 48 ตัน-เมตร
ข ้อที่ 280 : คานรูปตัดตัวทีโดดๆ มีปีกคานกว ้าง = 75 ซม. หนา = 10 ซม. ตัวคานกว ้าง = 25
1 : 4.35 ตัน-เมตร
2 : 5.45 ตัน-เมตร
3 : 7.50 ตัน-เมตร
4 : 11.3 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 281 : คานรูปตัดตัวทีโดดๆ มีปีกคานกว ้าง = 75 ซม. หนา = 12 ซม. ตัวคานกว ้าง = 25
1 : As = 26.50 ซม.2
2 : As = 21.20 ซม.2
3 : As = 18.00 ซม.2
4 : As = 17.60 ซม.2

ข ้อที่ 282 : ถ ้าแผ่นพืน ้


้ คสล. 2 ทาง มีขนาด S x L เท่ากับ 5.00x5.00 เมตร รับน้ำหนักบรรทุกคงทีใ่ ชงา
1 : 750 กก./เมตร
2 : 1000 กก./เมตร
3 : 1525 กก./เมตร
4 : 2000 กก./เมตร

ข ้อที่ 283 : คานรูปตัดคัวทีโดดๆ ตัวคานกว ้าง 30 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 0.50


1 : 7.5 ซม.
2 : 10.0 ซม.
3 : 12.5 ซม.
4 : 20.0 ซม.

ข ้อที่ 284 : คานกว ้าง 25 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 40 ซม. ถ ้าแรงเฉือนประลัยทีห


่ น ้าตัดวิกฤ
1 : 15 ซม.
2 : 17.5 ซม.
3 : 20 ซม.
4 : 25 ซม.

ข ้อที่ 285 : คานกว ้าง 25 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 50 ซม. ถ ้าเหล็กลูกตัง้ (SD30)
1 : 14100 กก.
2 : 15900 กก.
3 : 16100 กก.
4 : 16900 กก.

ข ้อที่ 286 : คานกว ้าง 20 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 35 ซม. ถ ้าเหล็กลูกตัง้ (SR24)
1 : 4175 กก.
2 : 4500 กก.
3 : 5150 กก.
4 : 3825 กก.
ข ้อที่ 287 : คาน คสล. ช่วงเดียวธรรมดา ยาว 5.00 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 40
1 : 1.00 เมตร
2 : 1.25 เมตร
3 : 1.50 เมตร
4 : 2.00 เมตร

ข ้อที่ 288 : คานยืน


่ คสล. ยาว 2.00 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 40 ซม. ถ ้าคานนีต
้ ้องรับน้ำหน
1 : 1.00 เมตร
2 : 1.20 เมตร
3 : 1.40 เมตร
4 : 1.60 เมตร

ข ้อที่ 289 : คาน คสล. ชว่ งเดียวธรรมดา ยาว 6.00 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 55
1 : 1.20 เมตร
2 : 1.80 เมตร
3 : 2.40 เมตร
4 : 3.00 เมตร

้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 290 : เสาสัน ่ วขนาดเท่ากับ 50 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืนทัง้ หมด 6 f25 มม
1 : 100 กก./ตร.ซม.
2 : 125 กก./ตร.ซม.
3 : 150 กก./ตร.ซม.
4 : 200 กก./ตร.ซม.

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 291 : เสาสน ่ วขนาดเท่ากับ 50 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืนทัง้ หมด 6 f25 มม
1 : 100 กก./ตร.ซม.
2 : 115 กก./ตร.ซม.
3 : 130 กก./ตร.ซม.
4 : 150 กก./ตร.ซม.

้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 292 : เสาสัน ่ วขนาดเท่ากับ 50 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืนทัง้ หมด 6 f25 มม
1 : 10000 กก.-ม.
2 : 9000 กก.-ม.
3 : 8000 กก.-ม.
4 : 7000 กก.-ม.

้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 293 : เสาสัน ่ วขนาด 50 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืนทัง้ หมด 6 f25 มม. (Ast = 29.45
1 : 170 ตัน
2 : 190 ตัน
3 : 210 ตัน
4 : 230 ตัน

ั ้ ปลอกเกลียวรูปตัดกลม ขนาดเสนผ่
ข ้อที่ 294 : เสาสน ้ าศูนย์กลาง 50 ซม. จงใชวิ้ ธ ี WSD
1 : 85 ตัน
2 : 95 ตัน
3 : 100 ตัน
4 : 105 ตัน

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 295 : เสาสน ่ วขนาด 30 x 30 ซม. เสริมเหล็กยืนทัง้ หมด 6 f25 มม. (Ast = 29.45
1 : 18 ตัน
2 : 22 ตัน
3 : 26 ตัน
4 : 30 ตัน

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 296 : เสาสน ้
่ วขนาด 25 x 25 ซม. เสริมเหล็กยืนโดยที่ As = As‘ รับแรงอัดใชงาน
1 : 2.00 ตัน-ม.
2 : 2.55 ตัน-ม.
3 : 3.00 ตัน-ม.
4 : 1.65 ตัน-ม.

้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 297 : เสาสัน ่ วขนาด 25 x 25 ซม. เสริมเหล็กยืนโดยที่ As = As‘ รับแรงอัดใช ้งาน
1 : 1.65 ตัน-ม.
2 : 2.00 ตัน-ม.
3 : 2.55 ตัน-ม.
4 : 3.00 ตัน-ม.

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 298 : เสาสน ่ วขนาด 25 x 25 ซม. เสริมเหล็กยืนโดยที่ As = As‘ จงใชวิ้ ธ ี
1 : 2.0 ตัน-ม.
2 : 2.4 ตัน-ม.
3 : 2.8 ตัน-ม.
4 : 3.0 ตัน-ม.

ั ้ ปลอกเดีย
ข ้อที่ 299 : เสาสน ่ วขนาดเท่ากับ 50 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืนทัง้ หมด 6 f25 มม
1 : 20 ตัน-ม.
2 : 22 ตัน-ม.
3 : 25 ตัน-ม.
4 : 30 ตัน-ม.

รวมคะแนน 0
ั ้ ปลอกเกลียวรูปตัดกลม ขนาดเสนผ่
ข ้อที่ 300 : เสาสน ้ าศูนย์กลาง 50 ซม. รับโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน
1 : 75 ตัน
2 : 90 ตัน
3 : 100 ตัน
4 : 105 ตัน

ั ้ ปลอกเกลียวรูปตัดกลม ขนาดเสนผ่
ข ้อที่ 301 : เสาสน ้ าศูนย์กลาง 50 ซม. รับโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน
1 : 75 ตัน
2 : 60 ตัน
3 : 55 ตัน
4 : 40 ตัน

ั ้ ปลอกเกลียวรูปตัดกลม ขนาดเสนผ่
ข ้อที่ 302 : เสาสน ้ าศูนย์กลาง 50 ซม. รับแรงอัดใชงาน

1 : MX = 8.25 ตัน-เมตร
2 : MX = 7.30 ตัน-เมตร
3 : MX = 6.30 ตัน-เมตร
4 : MX = 6.10 ตัน-เมตร

ั ้ ปลอกเกลียวขนาดเสน
ข ้อที่ 303 : เสาสน ั ผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 25 ซม. ระยะคอนกรีตหุ ้มเท่ากับ
1 : f9 มม. @ 0.03 ม.
2 : f6 มม. @ 0.03 ม.
3 : f9 มม. @ 0.04 ม.
4 : f6 มม. @ 0.025 ม.

้ ปลอกเกลียวขนาดเสันผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 25 ซม. ระยะคอนกรีตหุ ้มเท่ากับ


ข ้อที่ 304 : เสาสัน
1 : f9 มม. @ 0.03 ม.
2 : f6 มม. @ 0.03 ม.
3 : f9 มม. @ 0.04 ม.
4 : f6 มม. @ 0.025 ม.

ั ้ ปลอกเกลียวขนาดเสน
ข ้อที่ 305 : เสาสน ั ผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 40 ซม. ระยะคอนกรีตหุ ้มเท่ากับ
1 : f9 มม. @ 0.03 ม.
2 : f6 มม. @ 0.025 ม.
3 : f9 มม. @ 0.05 ม.
4 : f6 มม. @ 0.05 ม.

่ วขนาด 30 x 30 ซม. อยูใ่ นโครงเฟรมแบบ Portal ชว่ งเดียวและชน


ข ้อที่ 306 : เสาปลอกเดีย ั ้ เดียวซงึ่ เซไ
1 : 5.70 เมตร
2 : 6.00 เมตร
3 : 6.20 เมตร
4 : 6.50 เมตร

ข ้อที่ 307 : เสาปลอกเดีย ้ เดีย


่ วขนาดเท่ากับ 30 x 30 ซม. อยูใ่ นโครงเฟรมแบบ Portal ช่วงเดียวและชัน
1 : 4.25 เมตร
2 : 4.75 เมตร
3 : 5.00 เมตร
4 : 5.50 เมตร

ข ้อที่ 308 : เสาปลอกเดีย


่ วขนาดเท่ากับ 30 x 50 ซม. โดยมีโมเมนต์ดด
ั กระทำขนานกับด ้านทีย
่ าวเท่ากับ
1 : 4.00 เมตร
2 : 3.00 เมตร
3 : 2.50 เมตร
4 : 2.00 เมตร

ข ้อที่ 309 : เสาปลอกเดีย


่ วขนาดเท่ากับ 30 x 50 ซม. โดยมีโมเมนต์ดด
ั กระทำขนานกับด ้านทีย
่ าวเท่ากับ
1 : 1.90 เมตร
2 : 2.10 เมตร
3 : 2.20 เมตร
4 : 2.30 เมตร

้ าศูนย์กลางเท่ากับ 35 ซม. อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซได ้ ถ ้าพบว่าค่า


ข ้อที่ 310 : เสาปลอกเกลียวขนาดเสนผ่
1 : 1.00 เมตร
2 : 1.50 เมตร
3 : 2.00 เมตร
4 : 2.50 เมตร

ข ้อที่ 311 : เสาปลอกเดีย


่ วขนาด 35 x 35 ซม. ยาว 5.00 เมตร อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ รับแรงอัดตาม
1 : kblu/r = 43 > 34 – 12(M1b/M2b) = 28
2 : kblu/r = 43 > 34 – 12(M1b/M2b) = 40
3 : kblu/r = 51 > 34 – 12(M1b/M2b) = 28
4 : kblu/r = 51 > 34 – 12(M1b/M2b) = 40

ข ้อที่ 312 : เสาปลอกเดีย


่ วขนาด 35 x 35 ซม. ยาว 5.00 เมตร อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ รับแรงอัดตาม
1:0
2 : 0.45
3 : 0.58
4 : 0.65

ข ้อที่ 313 : เสาปลอกเดีย


่ วขนาด 25 x 40 ซม. ยาวเท่ากับ 7.20 เมตร อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ ต ้องรับ
1 : kblu/r = 40
2 : kblu/r = 50
3 : kblu/r = 60
4 : kblu/r = 96

ข ้อที่ 314 : เสาปลอกเดีย


่ วขนาด 25 x 40 ซม. ยาวเท่ากับ 7.20 เมตร อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ ต ้องรับ
1 : 0.50
2 : 0.55
3 : 0.62
4 : 0.65

ข ้อที่ 315 : เสาปลอกเดีย


่ วขนาด 35 x 35 ซม. ยาวเท่ากับ 5.00 เมตร อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ ต ้องรับ
1 : 380 ตัน
2 : 420 ตัน
3 : 510 ตัน
4 : 610 ตัน
ข ้อที่ 316 : เสาปลอกเดีย
่ วขนาด 35 x 35 ซม. ยาวเท่ากับ 5.00 เมตร อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ ต ้องรับ
1 : 0.46
2 : 1.00
3 : 1.15
4 : 1.30

ข ้อที่ 317 : เสาปลอกเดีย


่ วขนาด 25 x 40 ซม. ยาว 7.20 เมตร อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ ต ้องรับแรงอัด
1 : 125 ตัน
2 : 150 ตัน
3 : 170 ตัน
4 : 200 ตัน

ข ้อที่ 318 : เสาปลอกเดีย


่ วขนาด 25 x 40 ซม. ยาว 7.20 เมตร อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ ต ้องรับแรงอัด
1 : 0.65
2 : 1.00
3 : 1.12
4 : 1.24

ข ้อที่ 319 : เสาปลอกเดีย


่ ว ขนาด 25 x 25 ซม. เสริมเหล็กยืน As = As‘ เพือ ้
่ รับแรงอัดใชงาน

1 : 4-DB 16 มม.
2 : 4-DB 20 มม.
3 : 4-DB 25 มม.
4 : 4-DB 28 มม.

ข ้อที่ 320 : เสาปลอกเดีย


่ ว ขนาด 30 x 30 ซม. เสริมเหล็กยืน As = As‘ เพือ ้
่ รับแรงอัดใชงาน
1 : 6-DB 20 มม.
2 : 6-DB 25 มม.
3 : 6-DB 28 มม.
4 : 6-DB 32 มม.

ข ้อที่ 321 : เสาปลอกเดีย ่ รับแรงอัดใช ้งาน


่ ว ขนาด 25 x 40 ซม. เสริมเหล็กยืน As = As‘ เพือ

1 : 6-DB 20 มม.
2 : 6-DB 25 มม.
3 : 4-DB 28 มม.
4 : 4-DB 32 มม.

ข ้อที่ 322 : เสาปลอกเดีย


่ ว ขนาด 25 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืน As = As‘ เพือ
่ รับแรงอัดประลัย
1 : 42.5 ตร. ซม.
2 : 45.5 ตร. ซม.
3 : 50.5 ตร. ซม.
4 : 62.5 ตร. ซม.

ข ้อที่ 323 : เสาปลอกเดีย


่ ว ขนาด 25 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืน As = As‘ เพือ
่ รับแรงอัดประลัย

1 : 12.5 ตร. ซม.


2 : 16.0 ตร. ซม.
3 : 20.0 ตร. ซม.
4 : 24.5 ตร. ซม.

ข ้อที่ 324 : เสาปลอกเดีย


่ ว ขนาด 25 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืน As = As‘ = 9.42 ตร. ซม.
1 : 8.5 ตัน-เมตร
2 : 10.5 ตัน-เมตร
3 : 13.0 ตัน-เมตร
4 : 15.5 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 325 : เสาปลอกเดีย


่ ว ขนาด 30 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืน As = As‘ = 13.39 ตร. ซม
1 : 30.5 ตัน-เมตร
2 : 36.0 ตัน-เมตร
3 : 40.5 ตัน-เมตร
4 : 50.0 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 326 : เสาปลอกเดีย


่ ว ขนาด 50 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืน As = As‘ ถ ้าเสารับแรงอัดประลัย โดยมีระ

1 : 36.5 ตัน-เมตร
2 : 42.5 ตัน-เมตร
3 : 52.5 ตัน-เมตร
4 : 60.5 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 327 : เสาปลอกเดีย


่ ว ขนาด 50 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืน As = As‘ ถ ้าเสารับแรงอัดประลัย โดยมีระ
1 : 155 ตัน
2 : 155 ตัน
3 : 190 ตัน
4 : 210 ตัน

ข ้อที่ 328 : เสาปลอกเดีย


่ ว ขนาด 30 x 50 ซม. เสริมเหล็กยืน As = As‘ = 13.39 ตร. ซม

1 : 54.5 ตัน
2 : 58.5 ตัน
3 : 64.5 ตัน
4 : 68.5 ตัน

้ าศูนย์กลาง D = 50 ซม. รับแรงอัดประลัย PU = 70


ข ้อที่ 329 : เสาปลอกเกลียว ขนาดเสนผ่
1 : 26.0 ตร. ซม.
2 : 31.5 ตร. ซม.
3 : 35.5 ตร. ซม.
4 : 40.0 ตร. ซม.

้ าศูนย์กลาง D = 40 ซม. เสริมเหล็กยืนทัง้ หมด = 18.7


ข ้อที่ 330 : เสาปลอกเกลียว ขนาดเสนผ่

1 : 15.5 ตัน-เมตร
2 : 17.5 ตัน-เมตร
3 : 12.5 ตัน-เมตร
4 : 14.0 ตัน-เมตร

้ าศูนย์กลาง D = 45 ซม. ถ ้าเสารับแรงอัดประลัย โดยมีระยะเยือ


ข ้อที่ 331 : เสาปลอกเกลียว ขนาดเสนผ่ ้
1 : 135 ตัน
2 : 145 ตัน
3 : 155 ตัน
4 : 190 ตัน

ข ้อที่ 332 : พฤติกรรมของเสาทีร่ ับแรงอัดและโมเมนต์ดด


ั ตามวิธ ี USD พิจารณาได ้จากการกระจายของห
1 : รูป (ก)
2: รูป (ข)
3: รูป (ค)
4: รูป (ง)

ข ้อที่ 333 : พฤติกรรมของเสาทีร่ ับแรงอัดและโมเมนต์ดด


ั ตามวิธ ี USD พิจารณาได ้จากการกระจายของห

1 : รูป (ก)
2 : รูป (ข)
3 : รูป (ค)
4 : รูป (ง)

ข ้อที่ 334 : พฤติกรรมของเสาทีร่ ับแรงอัดและโมเมนต์ดด


ั ตามวิธ ี USD พิจารณาได ้จากการกระจายของห
1 : รูป (ง)
2 : รูป (ค)
3 : รูป (ข)
4 : รูป (ก)

ข ้อที่ 335 : พฤติกรรมของเสาทีร่ ับแรงอัดและโมเมนต์ดด


ั ตามวิธ ี USD พิจารณาได ้จากการกระจายของห

1 : รูป (ง)
2 : รูป (ค)
3 : รูป (ข)
4 : รูป (ก)

ข ้อที่ 336 : ฐานรากแผ่รองรับกำแพง คสล. ตรงกึง่ กลางฐาน ถ ้ากำแพงหนา 15 ซม. ถ่ายน้ำหนักปรรทุกใ


1 : 4 ซม.
2 : 6 ซม.
3 : 8 ซม.
4 : 10 ซม.

ข ้อที่ 337 : ฐานรากแผ่รองรับกำแพง คสล. ตรงกึง่ กลางฐาน ถ ้ากำแพงหนา 15 ซม. ถ่ายน้ำหนักปรรทุกใ


1 : 4 ซม.
2 : 6 ซม.
3 : 8 ซม.
4 : 10 ซม.

ข ้อที่ 338 : ฐานรากแผ่ขนาด 1.80x1.80 เมตร รองรับเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึง่ กลางฐาน
1 : max. qnet = 5880 กก./ตารางเมตร
2 : max. qnet = 6440 กก./ตารางเมตร
3 : max. qnet = 6880 กก./ตารางเมตร
4 : max. qnet = 7440 กก./ตารางเมตร

ข ้อที่ 339 : ฐานรากแผ่ขนาด 3x3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกนจากเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30


1 : 100 ตัน
2 : 150 ตัน
3 : 200 ตัน
4 : 240 ตัน

ข ้อที่ 340 : ฐานรากแผ่ขนาด 3x3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกนจากเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30


1 : 100 ตัน
2 : 150 ตัน
3 : 200 ตัน
4 : 240 ตัน

ข ้อที่ 341 : ฐานรากตัวหนึง่ รองรับแรงอัดใช ้งานตามแนวแกน P จากเสาตอม่อซึง่ อยูต


่ รงกึง่ กลางฐานราก
1 : 30 ตัน
2 : 50 ตัน
3 : 65 ตัน
4 : 70 ตัน

ข ้อที่ 342 : ฐานรากแผ่ขนาด 3x3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกน PU จากเสาตอม่อขนาด


1 : 80 ตัน
2 : 100 ตัน
3 : 120 ตัน
4 : 140 ตัน

ข ้อที่ 343 : ฐานรากแผ่ขนาด 3x3 เมตร รองรับแรงอัดตามแนวแกน PU จากเสาตอม่อขนาด


1 : 80 ตัน
2 : 100 ตัน
3 : 120 ตัน
4 : 140 ตัน


ข ้อที่ 344 : ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70x3.60 ม. หนา = 70 ซม. รองรับแรงอัดใชงาน P = 120
1 : 10.00 ตัน
2 : 11.50 ตัน
3 : 13.00 ตัน
4 : 14.50 ตัน

ข ้อที่ 345 : ฐานรากเสาเข็มขนาด 2.70x3.60 ม. มีเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร อยูต


่ รงกึง่ กลางฐาน
1 : 11.5 ตัน
2 : 12.5 ตัน
3 : 13.5 ตัน
4 : 14.5 ตัน

่ วรองรับเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึง่ กลางฐานราก ซึง่ ถ่ายแรงอัดแล


ข ้อที่ 346 : ฐานรากเดีย
1 : 39000 กก.
2 : 40500 กก.
3 : 42000 กก.
4 : 43500 กก.

่ วรองรับเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึง่ กลางฐานราก ซงึ่ ถ่ายแรงอัดแล


ข ้อที่ 347 : ฐานรากเดีย
1 : 8.00 กก./ตร.ซม.
2 : 9.50 กก./ตร.ซม.
3 : 11.0 กก./ตร.ซม.
4 : 12.5 กก./ตร.ซม.

่ วรองรับเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึง่ กลางฐานราก ซึง่ ถ่ายแรงอัดแล


ข ้อที่ 348 : ฐานรากเดีย
1 : 40 ตัน - เมตร
2 : 60 ตัน - เมตร
3 : 50 ตัน - เมตร
4 : 45 ตัน - เมตร

่ วรองรับเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึง่ กลางฐานราก ซึง่ ถ่ายแรงอัดใชง


ข ้อที่ 349 : ฐานรากเดีย
1 : 25000 กก.
2 : 30000 กก.
3 : 35000 กก.
4 : 40000 กก.

รวมคะแนน 0
่ วรองรับเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึง่ กลางฐานราก ซงึ่ ถ่ายแรงอัดใชง
ข ้อที่ 350 : ฐานรากเดีย
1 : 100000 กก.
2 : 115000 กก.
3 : 120000 กก.
4 : 125000 กก.

่ วรองรับเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ตรงกึง่ กลางฐานราก ซงึ่ ถ่ายแรงอัดใชง


ข ้อที่ 351 : ฐานรากเดีย
1 : 45 ตัน - เมตร
2 : 40 ตัน - เมตร
3 : 35 ตัน - เมตร
4 : 30 ตัน - เมตร

ข ้อที่ 352 : ฐานรากแผ่ขนาด 2.0x2.0 เมตร รองรับเสาตอม่อ ขนาด 0.30x0.30 ม. ตรงกึง่ กลางฐาน ถ ้าเ
1 : 11.0 ซม.
2 : 11.5 ซม.
3 : 12.5 ซม.
4 : 13.5 ซม.

ข ้อที่ 353 : ฐานรากแผ่ขนาด 2.0x2.0 เมตร รองรับเสาตอม่อ ขนาด 0.30x0.30 ม. ตรงกึง่ กลางฐาน ถ ้าเ
1 : 11.0 ซม.
2 : 11.5 ซม.
3 : 12.5 ซม.
4 : 13.5 ซม.

ข ้อที่ 354 : ฐานรากแผ่ขนาด 2.0x2.0 เมตร รองรับเสาตอม่อ ขนาด 0.30x0.30 ม. ตรงกึง่ กลางฐาน ถ ้าเ
1 : 11.0 ซม.
2 : 11.5 ซม.
3 : 12.5 ซม.
4 : 13.5 ซม.

ข ้อที่ 355 : ฐานรากแผ่ขนาด 2.0x2.0 เมตร รองรับเสาตอม่อ ขนาด 0.30x0.30 ม. ตรงกึง่ กลางฐาน ถ ้าเ
1 : 26 ตร. ซม.
2 : 28 ตร. ซม.
3 : 30 ตร. ซม.
4 : 24 ตร. ซม.

่ วรองรับเสาตอม่อขนาด 0.20x0.20 เมตร ตรงกึง่ กลางฐานราก ซงึ่ ถ่ายแรงอัดใชง


ข ้อที่ 356 : ฐานรากเดีย
1 : 2000 กก.
2 : 3000 กก.
3 : 4000 กก.
4 : 6000 กก.

่ วรองรับเสาตอม่อขนาด 0.20x0.20 เมตร ตรงกึง่ กลางฐานราก ซงึ่ ถ่ายแรงอัดใชง


ข ้อที่ 357 : ฐานรากเดีย
1 : 10.5 ซม.
2 : 12.5 ซม.
3 : 13.5 ซม.
4 : 15.0 ซม.

่ วรองรับเสาตอม่อขนาด 0.20x0.20 เมตร ตรงกึง่ กลางฐานราก ซึง่ ถ่ายแรงอัดใชง


ข ้อที่ 358 : ฐานรากเดีย
1 : 15.0 ซม.
2 : 10.0 ซม.
3 : 12.0 ซม.
4 : 13.5 ซม.

่ วรองรับเสาตอม่อขนาด 0.20x0.20 เมตร ตรงกึง่ กลางฐานราก ซงึ่ ถ่ายแรงอัดใชง


ข ้อที่ 359 : ฐานรากเดีย
1 : 2000 กก.
2 : 3000 กก.
3 : 4000 กก.
4 : 6000 กก.
ข ้อที่ 360 : ฐานรากเดีย
่ วขนาด 1.20x1.20 เมตร ใข ้รองรับเสาตอม่อ ขนาด 0.20x0.20 ม
1 : 10.5 ตร. ซม.
2 : 12.5 ตร. ซม.
3 : 15.0 ตร. ซม.
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 361 : คานรูปตัด 0.25x0.45 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว โดยใช ้ r = 0.5rb ทีร่ ะยะ


1 : 18.7 ตัน-เมตร
2 : 20.5 ตัน-เมตร
3 : 24.7 ตัน-เมตร
4 : 27.5 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 362 : คานรูปตัด 0.30x0.60 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว โดยใช ้ r = 0.5rb ทีร่ ะยะ


1 : 35.0 ตัน-เมตร
2 : 38.0 ตัน-เมตร
3 : 41.5 ตัน-เมตร
4 : 42.0 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 363 : คานรูปตัด 0.25x0.60 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว โดยใช ้ r = 0.5rb ทีร่ ะยะ


1 : 17.5 ตัน-เมตร
2 : 21.0 ตัน-เมตร
3 : 24.0 ตัน-เมตร
4 : 29.0 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 364 : คานรูปตัด 0.20x0.55 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว โดยใช ้ r = 0.75rb


1 : 20.0 ตัน-เมตร
2 : 22.5 ตัน-เมตร
3 : 23.5 ตัน-เมตร
4 : 25.0 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 365 : คานรูปตัด 0.25x0.45 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.40 ม.


1 : 9.0 ตร.ซม.
2 : 11.0 ตร.ซม
3 : 12.0 ตร.ซม.
4 : 14.0 ตร.ซม.

ข ้อที่ 366 : คานรูปตัด 0.25x0.55 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.45 ม.


1 : 11.3 ตร.ซม.
2 : 13.5 ตร.ซม.
3 : 15.5 ตร.ซม.
4 : 18.0 ตร.ซม.
ข ้อที่ 367 : คานรูปตัด 0.30x0.60 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.50 ม.
1 : 22.5 ตร.ซม.
2 : 24.0 ตร.ซม.
3 : 25.5 ตร.ซม.
4 : 27.0 ตร.ซม.

ข ้อที่ 368 : คานรูปตัด 0.30x0.55 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึง AS = 36.96 ตร.ซม. ทีร่ ะยะ d = 0.45
1 : 53.5 ตัน-เมตร
2 : 55.0 ตัน-เมตร
3 : 49.0 ตัน-เมตร
4 : 51.0 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 369 : คานรูปตัด 0.25x0.60 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึง AS = 24.42 ตร.ซม. ทีร่ ะยะ d = 0.50
1 : 30.0 ตัน-เมตร
2 : 35.5 ตัน-เมตร
3 : 38.5 ตัน-เมตร
4 : 45.0 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 370 : คานรูปตัด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กรับแรงดึง AS = 21.70 ตร.ซม. ทีร่ ะยะ d = 0.42
1 : 18.5 ตัน-เมตร
2 : 22.0 ตัน-เมตร
3 : 25.5 ตัน-เมตร
4 : 30.0 ตัน-เมตร

ั ประลัย MU = 51.0 ตัน-เมตร ถ ้าพิจารณาใชค่้ า


ข ้อที่ 371 : คานรูปตัด 0.30x0.55 ม. ต ้องรับโมเมนต์ดด
1 : AS = 36.82 ตร.ซม. AS‘ = 9.82 ตร.ซม.
2 : AS = 35.82 ตร.ซม. AS‘ = 10.32 ตร.ซม.
3 : AS = 36.82 ตร.ซม. AS‘ = 10.32 ตร.ซม.
4 : AS = 39.82 ตร.ซม. AS‘ = 12.82 ตร.ซม.

ั ประลัย MU = 38.0 ตัน-เมตร ถ ้าพิจารณาใช ้ค่า


ข ้อที่ 372 : คานรูปตัด 0.25x0.60 ม. ต ้องรับโมเมนต์ดด
1 : AS = 22.25 ตร.ซม. AS‘ = 7.25 ตร.ซม.
2 : AS = 23.25 ตร.ซม. AS‘ = 7.25 ตร.ซม.
3 : AS = 24.25 ตร.ซม. AS‘ = 9.25 ตร.ซม.
4 : AS = 26.25 ตร.ซม. AS‘ = 9.25 ตร.ซม.

ั ประลัย MU = 20.0 ตัน-เมตร ถ ้าพิจารณาใชค้


ข ้อที่ 373 : กคานรูปตัด 0.20x0.50 ม. ต ้องรับโมเมนต์ดด
1 : AS = 13.50 ตร.ซม. AS‘ = 5.26 ตร.ซม.
2 : AS = 19.70 ตร.ซม. AS‘ = 6.26 ตร.ซม.
3 : AS = 21.70 ตร.ซม. AS‘ = 8.25 ตร.ซม.
4 : AS = 26.25 ตร.ซม. AS‘ = 9.25 ตร.ซม.

ั ประลัย MU = 46.0 ตัน-เมตร ถ ้าพิจารณาใชค่้ า


ข ้อที่ 374 : คานรูปตัด 0.30x0.60 ม. ต ้องรับโมเมนต์ดด
1 : AS = 24.20 ตร.ซม. AS‘ = 4.95 ตร.ซม.
2 : AS = 27.40 ตร.ซม. AS‘ = 3.25 ตร.ซม.
3 : AS = 27.80 ตร.ซม. AS‘ = 3.65 ตร.ซม
4 : AS = 29.10 ตร.ซม. AS‘ = 4.95 ตร.ซม.

ข ้อที่ 375 : ฐานรากตีนเป็ ดแบบแผ่ ขนาด ้ าศูนย์กลาง


1.50x1.50 เมตร รองรับเสาตอม่อขนาดเสนผ่
1 : max. qnet = 7.60 ตัน/ตารางเมตร min. qnet = 0.40 ตัน/ตารางเมตร
2 : max. qnet = 7.70 ตัน/ตารางเมตร min. qnet = 7.70 ตัน/ตารางเมตร
3 : max. qnet = 8.40 ตัน/ตารางเมตร min. qnet = 0.80 ตัน/ตารางเมตร
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

้ าศูนย์กลาง
ข ้อที่ 376 : ฐานรากตีนเป็ ดแบบแผ่ ขนาด 1.50x1.50 เมตร รองรับเสาตอม่อขนาดเสนผ่
1 : d = 7.5 ซม.
2 : d = 8.6 ซม.
3 : d = 9.7 ซม.
4 : d = 10.8 ซม.

ข ้อที่ 377 : ฐานรากเสาเข็มขนาด 1.20x1.80 เมตร รองรับน้ำหนัก PU = 90 ตัน และโมเมนต์


1 : ปลอดภัยจากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง และจากแรงเฉือนแบบทะลุ
2 : ปลอดภัยจากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง แต่ไม่ปลอดภัยจากแรงเฉือนแบบทะลุ
3 : ไม่ปลอดภัยจากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง แต่ปลอดภัยจากแรงเฉือนแบบทะลุ
4 : ไม่ปลอดภัยทัง้ จากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง และจากแรงเฉือนแบบทะลุ

ข ้อที่ 378 : ฐานรากเสาเข็มขนาด 1.20x1.80 เมตร รองรับน้ำหนัก PU = 90 ตัน และโมเมนต์


1 : ปลอดภัยทัง้ จากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง และจากแรงเฉือนแบบทะลุ
2 : ปลอดภัยจากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง แต่ไม่ปลอดภัยจากแรงเฉือนแบบทะลุ
3 : ไม่ปลอดภัยจากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง แต่ปลอดภัยจากแรงเฉือนแบบทะลุ
4 : ไม่ปลอดภัยทัง้ จากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง และจากแรงเฉือนแบบทะลุ

ข ้อที่ 379 : ฐานรากเสาเข็มขนาด 1.20x1.80 เมตร รองรับน้ำหนัก PU = 90 ตัน และโมเมนต์


1 : ปลอดภัยจากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง แต่ไม่ปลอดภัยจากแรงเฉือนแบบทะลุ
2 : ไม่ปลอดภัยจากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง แต่ปลอดภัยจากแรงเฉือนแบบทะลุ
3 : ไม่ปลอดภัยทัง้ จากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง และจากแรงเฉือนแบบทะลุ
4 : ปลอดภัยทัง้ จากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง และจากแรงเฉือนแบบทะลุ

ข ้อที่ 380 : ฐานรากเสาเข็มขนาด 1.20x1.80 เมตร รองรับน้ำหนัก PU = 90 ตัน และโมเมนต์


1 : 7.00 ตร.ซม.
2 : 9.20 ตร.ซม.
3 : 16.60 ตร.ซม.
4 : 25.20 ตร.ซม.

ข ้อที่ 381 : ฐานรากเสาเข็มขนาด 1.20x1.80 เมตร รองรับน้ำหนัก PU = 90 ตัน และโมเมนต์


1 : 7.00 ตร.ซม.
2 : 9.20 ตร.ซม.
3 : 16.60 ตร.ซม.
4 : 25.20 ตร.ซม.

ข ้อที่ 382 : เสาปลอกเดีย


่ ว ขนาด 0.30x0.60 ม. เสริมเหล็กยืน As = 12.56 ซม.2 และ As‘ = 6.28
1 : 18.50 ซม.
2 : 23.95 ซม.
3 : 24.20 ซม.
4 : 25.40 ซม.

ข ้อที่ 383 : เสาปลอกเดีย


่ ว ขนาด 0.40x0.60 ม. เสริมเหล็กยืน As = 12.56 ซม.2 และ As‘ = 6.28
1 : 18.50 ซม.
2 : 23.95 ซม.
3 : 24.20 ซม.
4 : 25.40 ซม.

ข ้อที่ 384 : เสาปลอกเดีย


่ ว ขนาด 0.20x0.50 ม. เสริมเหล็กยืน As = 12.56 ซม.2 และ As‘ = 6.28
1 : 18.50 ซม.
2 : 23.95 ซม.
3 : 24.20 ซม.
4 : 25.40 ซม.

รวมคะแนน 0

รวมคะแนนทงหมด
ั้ 0
ั ผัสกับดินตลอดเวลา ให ้มีระยะหุ ้มต่ำสุดสำหรับเหล็กเสริม เท่ากับกี่ ซม.
ดินและผิวคอนกรีตสม

ด มีน้ำหนักมากทีส
่ ด

่ ำคัญทีส
เสริมทีส ่ ด

28 วัน จะเท่ากับกำลังอัดของคอนกรีตชนิดลูกบาศก์ ประมาณเท่าใด

ออกแบบในมาตรฐาน ว.ส.ท.จะหมายถึงแท่งตัวอย่างคอนกรีตรูปร่างใด ทีอ


่ ายุกวี่ ัน?
กทั่วไปว่า เกิดจากแรงดึงทแยง (diagonal tension) มักจะพบในบริเวณใดของคาน

หนา 0.15 ม. จะมีน้ำหนักลงคานด ้านยาวเท่าไร (วิธ ี WSD)


. หนา 0.15 ม. จะมีน้ำหนักลงคานด ้านยาวเท่าไร และใชเกณฑ์
มาตรฐานของ ว.ส.ท.ในการออกแบบ (วิธ ี SDM)

กปลอดภัยของเสาเข็มเท่าไร เมือ ้
่ คำนวนโดยใชความฝื ดของดินทีย
่ อมให ้ตามข ้อบัญญัต ิ กทม. ข ้อ 67 กำหนดให ้ fc’ของคอนกรีต เสาเข็ม

็ ของความเค ้นสูงสุดทีค
อนกรีตถูกกำหนดให ้รับความเค ้นสูงสุดไม่เกินกีเ่ ปอร์เซน ่ อนกรีตรับได ้ สำหรับการออกแบบด ้วยวิธก
ี ำลัง

ดตัวประลัยของคอนกรีตมีคา่ เท่ากับเท่าใด
จะเกิดการวิบต
ั เิ นือ
่ งจากโมเมนต์ดด
ั ทีบ
่ ริเวณใด

จะเกิดการวิบต
ั เิ นือ
่ งจากแรงเฉือนทางเดียว(ฺBeam Shear) ทีบ
่ ริเวณใด

จะมีการวิบต
ั เิ นือ
่ งจากแรงเฉือนทะลุ(Punching Shear) ทีบ
่ ริเวณใด

นกบรรทุกคงทีข
่ องคานเท่ากันตลอด ข ้อใดให ้แรงดัดลบมากทีส
่ ด

ะมีน้ำหนักบรรทุกจรคงทีเ่ ท่ากันตลอดข ้อใดให ้ผลของแรงดัดบวกมากทีส


่ ด

เท่าใดตามวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน (WSD) ถ ้า fc’=240 ksc, d = 0.45 เมตร

มม.) จากหน ้าตัดวิกฤต (critical section) มีคา่ ประมาณเท่าใด กำหนดให ้ หน่วยแรงยึดเหนีย


่ วทีย
่ อมให ้ u = 11 กก./ตร.ซม. (

d = ความลึกประสท ิ ธิผล, db = ขนาดเสนผ่้ าศูนย์กลางของเหล็กเสริม)


ฏีออกไปอีกอย่างน ้อยเท่ากับ d หรือ 12 db โดยใช ้ค่าทีม่ ากกว่า
งหมดในคานช่วงเดีย ่ ว เลยเข ้าไปในฐานรองรับเป็ นระยะไม่น ้อยกว่า 15 ซม.
งหมดในคานต่อเนือ่ ง เลยเข ้าไปในฐานรองรับเป็ นระยะไม่น ้อยกว่า 15 ซม.
หมดเลยจากตำแหน่งของจุดดัดกลับเป็ นระยะไม่น ้อยกว่า d หรือ 12 db หรือ 1/18 ของระยะช่วงว่างของคาน โดยใช ้ค่าทีม
่ ากกว่า

หว่างแม่บน ้ บันไดกว ้าง = 25 ซม. สว่ นยก = 15 ซม. ความหนาของพืน


ั ได = 2.50 เมตร ขัน ้
้ บันได = 7.5 ซม. น้ำหนักบรรทุกจรใชงาน

หว่างแม่บน ้ บันไดกว ้าง = 30 ซม. สว่ นยก = 15 ซม. ความหนาของพืน


ั ได = 2.50 เมตร ขัน ้
้ บันได = 7.5 ซม. น้ำหนักบรรทุกจรใชงาน

หว่างแม่บน ้ บันไดกว ้าง = 25 ซม. สว่ นยก = 15 ซม. ความหนาของพืน


ั ได = 1.50 เมตร ขัน ้
้ บันได = 7.5 ซม. น้ำหนักบรรทุกจรใชงาน

หว่างแม่บน ้ บันไดกว ้าง = 25 ซม. สว่ นยก = 15 ซม. ความหนาของพืน


ั ได = 2.50 เมตร ขัน ้
้ บันได = 7.5 ซม. น้ำหนักบรรทุกจรใชงาน
อย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.45 ม. โดยใช ้ As = 7.07 ซม.2 fc‘ = 100 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2 จงประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ทีท
่ ำใ

อย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.40 ม. โดยใช ้ As = 5.30 ซม.2 fc‘ = 200 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2 จงประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ทีท
่ ำใ

อย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.45 ม. โดยใช ้ As = 5.30 ซม.2 fc‘ = 100 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2 จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณกำลังรับ

อย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.45 ม. โดยใช ้ As = 7.07 ซม.2 fc‘ = 100 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2 จงใช ้วิธ ี WSD ประมาณกำลังรับ

อย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.39 ม. โดยใช ้ As = 9.36 ซม.2 fc‘ = 200 กก./ซม.2 และ fy = 3000 กก./ซม.2 จงใชวิ้ ธ ี USD ประมาณกำลังรับ

อย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.50 ม. โดยใช ้ As = 12.5 ซม.2 fc‘ = 250 กก./ซม.2 และ fy = 4000 กก./ซม.2 จงใช ้วิธ ี USD ประมาณกำลังรับ

อย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.45 ม. โดยใช ้ As = 36 ซม.2 fc‘ = 200 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2 ตามวิธ ี USD พบว่า คานนีเ้ ป็ นแบ

อย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.30 ม. โดยใช ้ As = 6.75 ซม.2 fc‘ = 150 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2 ตามวิธ ี WSD เมือ
่ ให ้
นพืน
้ นัน ้ หนา = 10 ซม. ตัวคานกว ้าง = 15 ซม. ระยะห่างจากศูนย์ถงึ ศูนย์ของคานข ้างเคียงแต่ละข ้าง = 4 เมตร และชว่ งคานยาว
้ ถ ้าพืน

คานกว ้าง = 25 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว As = 11.30 ซม.2 ทีค ิ ธิผล d = 40 ซม. ถ ้าใช ้ fc = 45 กก
่ วามลึกประสท

่ วามลึกประสิทธิผล d = 45 ซม. ถ ้าใช ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 และ


คานกว ้าง = 25 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว As ทีค

ยะ d = 15 ซม. โดยใช ้ เหล็ก9 มม. @12 ซม. (As = 5.30 ซม.2/เมตร) fc‘ = 150 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2 จงประมาณค่าโม

ละให ้กำลังจุดครากมีคา่ คงที่ ครัน


้ เมือ
่ ให ้กำลังรับแรงอัดของคอนกรีตมีคา่ เพิม
่ ขึน
้ จะพบว่า

ละให ้กำลังรับแรงอัดของคอนกรีตมีคา่ คงที่ ครัน


้ เมือ
่ ให ้กำลังจุดครากมีคา่ เพิม
่ ขึน
้ จะพบว่า

ะยะ b, d มีคา่ คงที่ และให ้กำลังรับแรงอัดของคอนกรีตมีคา่ คงที่ ครัน


้ เมือ
่ กำลังจุดครากมีคา่ เพิม
่ ขึน
้ จะพบว่าตำแหน่งแกนสะเทินทีห
่ า่ งจากด
ตามวิธ ี WSD คือ

30 ม. ตามวิธี WSD เมือ


่ แรงเฉือน V = Vc จะต ้องเสริมเหล็กทางขวางออกไปอีกเป็ นระยะเท่ากับ d ดังนัน ้ ก RB 6 มม
้ ถ ้าใชเหล็

สริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 0.43 ม. ถ ้าแรงเฉือนทีห ่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกใช ้งานมีคา่ = 6800 กก. จงหาระยะเรียงห


่ น ้าตัดวิกฤตอันเนือ

ล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 0.55 ม. ถ ้าแรงเฉือนทีห


่ น ้าตัดวิกฤตอันเนือ
่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกประลัยมีคา่ = 22500 กก. จงหาระยะเรียงห่างมา

. เสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 50 ซม. ถ ้าแรงเฉือนทีห


่ น ้าตัดวิกฤตอันเนือ ้
่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกใชงานมี
คา่ = 12000 กก.

ล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 0.50 ม. ถ ้าแรงเฉือนทีห


่ น ้าตัดวิกฤตอันเนือ
่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกประลัยมีคา่ = 25000 กก. จงหาขนาดและระยะเร

d = ความลึกประสท ิ ธิผล, db = ขนาดเสนผ่้ าศูนย์กลางของเหล็กเสริม)


หมดเลยจากตำแหน่งของจุดดัดกลับเป็ นระยะไม่น ้อยกว่า d หรือ 12 db หรือ 1/18 ของระยะชว่ งว่างของคาน โดยใชค่้ าทีม
่ ากกว่า
ฏีออกไปอีกอย่างน ้อยเท่ากับ d หรือ 12 db โดยใชค่้ าทีม่ ากกว่า
งหมดในคานชว่ งเดีย ่ ว เลยเข ้าไปในฐานรองรับเป็ นระยะไม่น ้อยกว่า 15 ซม.
งหมดในคานต่อเนือ่ ง เลยเข ้าไปในฐานรองรับเป็ นระยะไม่น ้อยกว่า 15 ซม.
.) ซงึ่ รับแรงดึงและทีร่ ับแรงอัดต ้องไม่น ้อยกว่า

ม่ให ้เกินกว่า 120 ซม. จงใชวิ้ ธ ี WSD หาขนาดโตสุดของเหล็กกลมเรียบทีส


่ ามารถนำมาใช ้ กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ซม.2

นวนหนึง่ เพือ
่ รับโมเมนต์ดด
ั จงประมาณค่าระยะฝั งทีต
่ ้องฝั งยึดท่อนเหล็กตรงจากหน ้าตัดวิกฤตเข ้าไปในส่วนโครงสร ้างทีร่ องรับนี้ ตามวิธ ี

่ ทำเป็ น “ของอมาตรฐาน“ สำหรับเหล็กเสริม DB 25 มม. (As = 4.91 ซม.2) ทีร่ ับแรงดึง ซงึ่ วิธ ี WSD กำหนดว่า “ของอมาตรฐ
หล็กเสริมเพือ

่ ทำเป็ น “ของอมาตรฐาน“ สำหรับเหล็ก RB 25 มม. (As = 4.91 ซม.^2) ทีร่ ับแรงดึง กำหนดให ้ fc‘ = 150
งอเหล็กเสริมเมือ

ั ซงึ่ มีคา่ ทัง้ โมเมนต์บวกและลบทีม


นต์ดด ่ ากทีส
่ ด
ุ อันเนือ ่ งมีระยะชว่ งว่างเท่ากับ
่ งมาจากการจัดวางน้ำหนักบรรทุกจร ถ ้าคานต่อเนือ

ั ซงึ่ มีคา่ ทัง้ โมเมนต์บวกและลบทีม


นต์ดด ่ ากทีส
่ ด
ุ อันเนือ ่ งมีระยะชว่ งว่างเท่ากับ
่ งมาจากการจัดวางน้ำหนักบรรทุกจร ถ ้าคานต่อเนือ
บิดทีย
่ อมให ้ของคอนกรีตตามลำพัง หรือของคาน คสล. ทีไ่ ม่มเี หล็กเสริมเหล็กทางขวาง คือ

ิ เพียงอย่างเดียว (pure torsion) จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าโมเมนต์บด


ซม. ผนังด ้านบนและด ้านล่างหนา 12.5 ซม. ถ ้าคานนีร้ ับโมเมนต์บด ิ ใ

ซม. ผนังด ้านบนและด ้านล่างหนา 12.5 ซม. ถ ้าคานนีร้ ับโมเมนต์บด ี น่วยแรงใช ้งาน
ิ เพียงอย่างเดียว (pure torsion) มาตรฐาน ว.ส.ท. (วิธห

ิ เพียงอย่างเดียว (pure torsion) จงใชวิ้ ธ ี USD ประมาณกำลังรับโมเมนต


ซม. ผนังด ้านบนและด ้านล่างหนา 12.5 ซม. ถ ้าคานนีร้ ับโมเมนต์บด

ยะ d = 50 ซม. ใช ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. เพือ ่ ลางชว่ งคาน และ V = 1875 กก. กับ T ทีห
่ ต ้านทาน M ทีก ่ น ้าตัดวิกฤต อันเนือ
่ งมาจากน้ำห

ยะ d = 50 ซม. ใช ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. เพือ


่ ต ้านทาน M ทีก
่ ลางช่วงคาน และ V กับ T = 1125 กก.-เมตร ทีห
่ น ้าตัดวิกฤต อันเนือ
่ งมาจ

ยะ d = 45 ซม. ใช ้ fc' = 155 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. (สำหรับเหล็กตามยาว) fy = 2400 กก./ซม. (สำหรับเหล็กปลอกทางข
ั ้ เดียว และใชเหล็
ง 3-DB 28 มม. ชน ้ กลูกตัง้ RB 9 มม. จงหาจำนวนเหล็กเสริมทีเ่ ทียบเท่า (equivalent no. of bars) n

ั ้ ชน
งสองชน ั ้ ล่างสุดใช ้ 2-DB 25 มม. ชน
ั ้ บนถัดขึน
้ มาใช ้ 2-DB 25 มม. โดยมีระยะชอ
่ งว่างระหว่างชน
ั ้ = 5 ซม. ถ ้าใชเหล็
้ กลูกตัง้

้ กเสริมขนาด 16 มม. และให ้ดัชนีความกว ้างของรอยร ้าว


ก 4000 กก./ซม.2 ให ้ระยะ covering (clear) เท่ากับ 3 ซม. ถ ้าใชเหล็

ริมเหล็กรับแรงดึง 3-25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ทีค ิ ธิผลเท่ากับ 30 ซม. เพือ
่ วามลึกประสท ้
่ รับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงาน wD = 1240

สริมเหล็กรับแรงดึง 3- 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ทีค ิ ธิผลเท่ากับ 30 ซม. เพือ


่ วามลึกประสท ้
่ รับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงาน wD = 1240

ถ ้าความหนาของพืน ้ บันไดกว ้าง = 30 ซม. สว่ นยก = 15 ซม. น้ำหนักบรรทุกจรใชงาน


้ บันได = 10 ซม. ขัน ้ = 300 กก./ ม.2

ถ ้าความหนาของพืน ้ บันไดกว ้าง = 27.5 ซม. สว่ นยก = 17.5 ซม. น้ำหนักบรรทุกจรใชงาน
้ บันได = 12 ซม. ขัน ้ = 400 กก./
้ บันไดหนา 12 ซม. ลูกนอนกว ้าง = 25 ซม. ลูกตัง้ สูง = 15 ซม. น้ำหนักบรรทุกจรใช ้งาน = 300 กก./ ม.2 จงประมาณค่าน้ำหนักบร
ต่ละขัน

้ บันไดหนา 10 ซม. ลูกนอนกว ้าง = 27.5 ซม. ลูกตัง้ สูง = 15 ซม. น้ำหนักบรรทุกจรใช ้งาน = 200 กก./ ม.2 จงประมาณค่าน้ำหนักบ
ต่ละขัน

5 มม. ทีร่ ะระยะ d = 35 ซม. เพือ ้


่ รับน้ำหนักบรรทุกใชงานแบบแผ่ ้
สม่ำเสมอ = 4000 กก/เมตร (รวมน้ำหนักคานแล ้ว) จงใชมาตรฐานของ ว

มม. จากหน ้าตัดวิกฤตเข ้าไปในทีร่ องรับเป็ นระยะ = 0.40 เมตร จงใช ้มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห
ี น่วยแรงใช ้งาน หาหน่วยแรงยึดเหนีย
่ ว

ต ้องตรวจสอบหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดจากการเปลีย
่ นแปลงโมเมนต์ดด
ั (flexural bond stress) หากหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดขึน
้ จากการ

ี น่วยแรงใช ้งาน หาระยะอย่างน ้อยทีต


าน ว.ส.ท. โดยวิธห ่ ้องฝั งยึดเหล็กเสริมนี้ เพือ
่ ทีจ
่ ะได ้ไม่ตรวจสอบหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดจากการเปล

ี น่วยแรงใช ้งาน หาระยะอย่างน ้อยทีต


าน ว.ส.ท. โดยวิธห ่ ้องฝั งยึดเหล็กเสริมนี้ เพือ
่ ทีจ
่ ะได ้ไม่ตรวจสอบหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดจากการเป

มเมนต์ดด ้ หากพบว่าระยะฝั งยึดของเหล็กเสริมรับแรงดึง (ทีไ่ ม่ใชเ่ หล็กบน) เท่ากับ 1.00 ม. จงใชมาตรฐาน


ั (flexural bond stress) ดังนัน ้
มเมนต์ดด ้ หากพบว่าระยะฝั งยึดของเหล็กเสริมรับแรงดึง (ทีไ่ ม่ใชเ่ หล็กบน) เท่ากับ 65 ซม. จงใชมาตรฐาน
ั (flexural bond stress) ดังนัน ้

มเมนต์ดด
ั (flexural bond stress) ดังนัน ้
้ หากพบว่าระยะฝั งยึดของเหล็กเสริมรับแรงดึง (ทีเ่ ป็ นเหล็กบน) เท่ากับ 1.75 ม. จงใชมาตรฐาน

มเมนต์ดด ้ หากพบว่าระยะฝั งยึดของเหล็กเสริมรับแรงดึง (ทีเ่ ป็ นเหล็กบน) เท่ากับ 1.30 ม. จงใช ้มาตรฐาน


ั (flexural bond stress) ดังนัน

มเมนต์ดด
ั (flexural bond stress) ดังนัน ้
้ หากพบว่าระยะฝั งยึดของเหล็กเสริมรับแรงดึง (ทีเ่ ป็ นเหล็กบน) เท่ากับ 0.85 ม. จงใชมาตรฐาน

้ าศูนย์กลางภายในวงโค ้งเป็ น 6 เท่าของขนาดเสนผ่


เส นผ่ ้ าศูนย์กลางของเหล็กเสริม และให ้มีสว่ นทีย
่ น
ื่ ต่อออกไปอีกเป็ นระยะไม่น ้อยกว่า

้ าศูนย์กลางภายในวงโค ้งเป็ น 6 เท่าของขนาดเสนผ่


เส นผ่ ้ าศูนย์กลางของเหล็กเสริม และให ้มีสว่ นทีย
่ น
ื่ ต่อออกไปอีกเป็ นระยะไม่น ้อยกว่า

้ าศูนย์กลางของเหล็กเสริม และให ้มีสว่ นทีย


นผ่าศูนย์กลางภายในวงโค ้งเป็ น 6 เท่าของขนาดเสนผ่ ่ น
ื่ ต่อออกไปอีกเป็ นระยะไม่น ้อยกว่า
นผ่าศูนย์กลางภายในวงโค ้งเป็ น 6 เท่าของขนาดเส ้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กเสริม และให ้มีสว่ นทีย
่ น
ื่ ต่อออกไปอีกเป็ นระยะไม่น ้อยกว่า

าน“ มีกำลังรับแรงดึงได ้เท่ากับ 700 กก./ซม.2 ดังนัน


้ จงประมาณระยะฝั งยึดจากหน ้าตัดวิกฤตถึงตำแหน่งทีจ
่ ะเริม
่ ดัดงอเหล็กเสริม

าน“ มีกำลังรับแรงดึงได ้เท่ากับ 700 กก./ซม.2 ดังนัน


้ จงประมาณระยะฝั งยึดจากหน ้าตัดวิกฤตถึงตำแหน่งทีจ
่ ะเริม
่ ดัดงอเหล็กเสริม

งกลางคาน พอดีเพือ
่ รับโมเมนต์ดด ่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกแผ่สม่ำเสมอ ให ้หาตำแหน่ง (ทางทฤษฎี) ซึง่ ห่างมาจากจุดรองรับ
ั ชนิดบวกอันเนือ

งกลางคาน พอดีเพือ
่ รับโมเมนต์ดด ่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกแผ่สม่ำเสมอ ให ้หาตำแหน่ง (ทางทฤษฎี) ซงึ่ ห่างมาจากจุดรองรับ
ั ชนิดบวกอันเนือ
นบนในลักษณะใด

บโมเมนต์ดด ่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกแผ่สม่ำเสมอ ให ้ประมาณตำแหน่ง (ทางทฤษฎี) ซึง่ ห่างจากขอบรองรับ ทีจ


ั ชนิดลบอันเนือ ่ ะหยุด ดัด หร

บโมเมนต์ดด ่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกแผ่สม่ำเสมอ ให ้ประมาณตำแหน่ง (ทางทฤษฎี) ซงึ่ ห่างจากขอบรองรับ ทีจ


ั ชนิดลบอันเนือ ่ ะหยุด ดัด ห
่ ดังแสดง ถ ้าบันไดกว ้าง = 1.50 เมตร ระยะชว่ งว่างระหว่างเสา (ตามแนวราบ) = 2.50 เมตร คานเสริมเหล็กทีร่ ะยะ
บผ ้าแบบยืน

บบมุมที่ 1 ประกอบด ้วยอะไรบ ้าง ตามลำดับ

บผ ้าแบบยืน
่ ดังแสดง ถ ้าบันไดกว ้าง = 1.50 เมตร ระยะช่วงว่างระหว่างเสา (ตามแนวราบ) = 2.50 เมตร คานเสริมเหล็กทีร่ ะยะ d = 45 ซม
่ ดังแสดง ถ ้าบันไดกว ้าง = 1.25 เมตร ระยะชว่ งว่างระหว่างเสา (ตามแนวราบ) = 2.50 เมตร คานเสริมเหล็กทีร่ ะยะ
บผ ้าแบบยืน

่ ดังแสดง ถ ้าบันไดกว ้าง = 1.50 เมตร ระยะชว่ งว่างระหว่างเสา (ตามแนวราบ) = 2.50 เมตร คานเสริมเหล็กทีร่ ะยะ
บผ ้าแบบยืน

่ ดังแสดง ถ ้าบันไดกว ้าง = 1.50 เมตร ระยะชว่ งว่างระหว่างเสา (ตามแนวราบ) = 3.00 เมตร คานเสริมเหล็กทีร่ ะยะ
บผ ้าแบบยืน
บผ ้าแบบยืน่ ดังแสดง ถ ้าบันไดกว ้าง = 1.50 เมตร ระยะชว่ งว่างระหว่างเสา (ตามแนวราบ) = 3.00 เมตร คานเสริมเหล็กทีร่ ะยะ
พด ้านบนนีไ
้ ด้

น่วยแรงเฉือนทีเ่ กิดจากโมเมนต์ดด
ั และโมเมนต์บด
ิ ของคานทีเ่ สริมเหล็กทางขวาง ต ้องไม่เกินกว่าค่าต่อไปนี้ มิฉะนัน
้ ต ้องเปลีย
่ นขนาดรูปตัด

มเมนต์ดด
ั MU แรงเฉือน VU และโมเมนต์บด
ิ TU ถ ้ากำลังรับโมเมนต์บด
ิ ประลัยของคอนกรีต = fTC ค่าโมเมนต์บด
ิ ประลัยทีก
่ ระทำ
ู ตัดตันสเี่ หลีย
ประลัยทีไ่ ด ้จากคอนกรีต (fTC) ถ ้าคานมีรป ่ มผืนผ ้า ขนาด 0.25 x 0.60 เมตร ต ้องรับทัง้ โมเมนต์ดด
ั MU แรงเฉือน

ู ตัดตันสีเ่ หลีย
ประลัยทีไ่ ด ้จากคอนกรีต (fTC) ถ ้าคานมีรป ่ มผืนผ ้า ขนาด 0.30 x 0.60 เมตร ต ้องรับทัง้ โมเมนต์ดด
ั MU แรงเฉือน

ู ตัดตันสเี่ หลีย
ระลัยทีไ่ ด ้จากคอนกรีต (fVC) ถ ้าคานมีรป ่ มผืนผ ้า ขนาด 0.25 x 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม. ต ้องรับทัง้ โมเมนต์ดด

ู ตัดตันสเี่ หลีย
ระลัยทีไ่ ด ้จากคอนกรีต (fVC) ถ ้าคานมีรป ่ มผืนผ ้า ขนาด 0.30 x 0.60 เมตร ระยะ d = 50 ซม. ต ้องรับทัง้ โมเมนต์ดด

ประลัยสูงสุด (fTn) ของคานรูปตัดตันสีเ่ หลีย
่ มผืนผ ้า ขนาด 0.30 x 0.60 เมตร (ซึง่ ต ้องรับทัง้ โมเมนต์ดด
ั MU แรงเฉือน VU และโมเมนต์บ

อน V และโมเมนต์บด ่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกใช ้งาน พบว่าเหล็กปลอก (ขาเดียว) ทีต


ิ T อันเนือ ่ ้องการสำหรับต ้านโมเมนต์บด
ิ (At/s)

กำลังจุดคราก 4000 กก./ซม.2 ระยะ clear covering เท่ากับ 3 ซม. หากกำหนดให ้ ดัชนีความกว ้างของรอยร ้าว (index of crack width)

้ กระยะ 1 เมตร ถ ้าระยะ clear covering เท่ากับ 2.5 ซม. และสมมติให ้ fs = 0.6fy ดังนัน
นทุ ้ ดัชนีความกว ้างของรอยร ้าว (index of crack

รับแรงดึง As = 14.73 ซม.2 ทีร่ ะยะ d = 30 ซม. จงหาตำแหน่งแนวแกนสะเทิน (kd) เมือ ้


่ รับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงาน กำหนดให ้

รับแรงดึง As = 12.32 ซม.2 ทีค ิ ธิผลเท่ากับ 30 ซม. จงประมาณค่าโมเมนต์อน


่ วามลึกประสท ี ของหน ้าตัดแปลงร ้าว
ิ เนอร์เชย
รับแรงดึง As = 9.42 ซม.2 ทีค
่ วามลึกประสิทธิผลเท่ากับ 35 ซม. จงประมาณค่าโมเมนต์อน
ิ เนอร์เชียของหน ้าตัดแปลงร ้าว (Icr)

รับแรงดึงอย่างเดียว จงประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ทีท
่ ำให ้คานเริม
่ ร ้าว (Mcr) กำหนดให ้ modulus of rupture fr = 2.0 กก./

รับแรงดึงอย่างเดียว As = 6.03 ซม.2 ทีค


่ วามลึกประสิทธิผลเท่ากับ 35 ซม. จงประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ทีท
่ ำให ้คานเริม
่ คราก

้ ้ำหนักบรรทุกแผ่ใช ้งานทัง้ หมด = 6000 กก./ม. (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท
แรงดึงอย่างเดียว ถ ้าคานนีน

างเดียว ถ ้าคานนีน ้ ง้ หมด และพบว่าอัตราสว่ น Mcr/Ma = 0.20 จงใชมาตรฐาน


้ ้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงานทั ้ ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณค่าโม

f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ทีค ่ รับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใช ้งาน wD = 5000 กก./ม. (รวมน้ำหนักของ
่ วามลึกประสิทธิผลเท่ากับ 30 ซม. เพือ

f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ทีค ิ ธิผลเท่ากับ 30 ซม. เพือ


่ วามลึกประสท ้
่ รับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงาน wD = 5000 กก./ม. (รวมน้ำหนักของ
f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ทีค ิ ธิผลเท่ากับ 30 ซม. เมือ
่ วามลึกประสท ้
่ คานรับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงาน wD = 5000 กก./ม

ยว ทีค ิ ธิผลเท่ากับ 7.5 ซม. เมือ


่ วามลึกประสท ่ พืน ้
้ นีร้ ับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงาน wD = 240 กก./ตร.ม. (รวมน้ำหนักของพืน
้ แล ้ว

f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ทีค ิ ธิผลเท่ากับ 30 ซม. ต ้องรับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงาน


่ วามลึกประสท ้ wD = 5000 กก./ม. (รวมน้ำหนักขอ

แรงดึงอย่างเดียวชนิด SD30 As = 9.42 ซม.2 ทีค ิ ธิผลเท่ากับ 35 ซม. เพือ


่ วามลึกประสท ่ รับโมเมนต์ดด ้
ั ใชงานที
ห ่ น ้าตัดวิกฤต

แรงดึงอย่างเดียวชนิด SD30 As = 9.42 ซม.2 ทีค ิ ธิผลเท่ากับ 35 ซม. เพือ


่ วามลึกประสท ่ รับโมเมนต์ดด ้
ั ใชงานที
ห ่ น ้าตัดวิกฤต

สริมเหล็กรับแรงดึง 3-f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ทีค ิ ธิผลเท่ากับ 30 ซม. เมือ
่ วามลึกประสท ้
่ คานรับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงาน
่ วามลึกประสิทธิผลเท่ากับ 30 ซม. จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
สริมเหล็กรับแรงดึง 3-f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ทีค ี ำลัง ประมาณค

สริมเหล็กรับแรงดึง 3-f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ทีค ิ ธิผลเท่ากับ 30 ซม. เพือ
่ วามลึกประสท ้
่ รับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงาน wD = 1240

สริมเหล็กรับแรงดึงอย่าง ้ดียว ทีค ิ ธิผลเท่ากับ 34 ซม. เพือ


่ วามลึกประส ท ้
่ รับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงาน wD = 3000 กก./ม. (รวมน้ำหนักของค

สริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว 3-f 25 มม. (As = 14.73 ซม.2) ทีค ิ ธิผลเท่ากับ 34 ซม. เพือ
่ วามลึกประสท ้
่ รับน้ำหนักบรรทุกแผ่ใชงาน


ชงานทั ้
ง้ หมด w = 1860 กก./ม. (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณค่าการโก่งตัวทัง้ หมดทีก
่ งึ่ กลางค


ชงานทั
ง้ หมด w = 1860 กก./ม. (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) จงประมาณค่าการโก่งตัวทันทีทก
ี่ งึ่ กลางคาน สมมติให ้ EC = 2.5x105

้ กระยะ 1.00 ม. (As = 5.73 ซม.2/ม.) ทีค


10 ซม. เสริมเหล็ก f 9 มม. จำนวน 9 เสนทุ ิ ธิผลเท่ากับ 7.5 ซม. จงประมาณค่าโ
่ วามลึกประสท
จงประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ทีท
่ ำให ้กันสาดเริม
่ ร ้าว (Mcr) สมมติให ้ modulus of rupture fr = 2.0 กก./ ซม.2 และ fc‘ = 200

จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก


ี ำลัง ประมาณค่าโมเมนต์อน
ิ เนอร์เชียประสิทธิผลของกันสาดยืน
่ (Ie) เมือ
่ กันสาดรับน้ำหนักบรรทุกคงทีข
่ องต

จงประมาณค่าการโก่งตัวทันทีทป
ี่ ลายยืน
่ อันเนือ ้
่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกจรใชงานแบบแผ่ = 150 กก./ม.2 กำหนดให ้ EC = 15100

่ ลางชว่ งคาน และ V = 4200 กก. กับ


ระยะ d = 0.45 เมตร (ให ้ x1 = 19 ซม. y1 = 40 ซม.) ต ้องรับ M = 5030 กก.-เมตร ทีก

่ ลางชว่ งคาน และ V = 4200 กก. กับ


ระยะ d = 0.45 เมตร (ให ้ x1 = 19 ซม. y1 = 40 ซม.) ต ้องรับ M = 5030 กก.-เมตร ทีก

= 0.45 เมตร (ให ้ x1 = 20 ซม. y1 = 40 ซม.) ต ้องรับโมเมนต์ดด


ั MU แรงเฉือน VU = 4500 กก. และโมเมนต์บด
ิ TU = 1800

50 เมตร(d=0.45) มีเหล็กเสริมรับแรงดึงด ้านล่าง จำนวน 3–DB20 จงหาโมเมนต์ทค


ี่ ำนวณได ้จริง (Nominal flexural moment
นกรีตเสริมเหล็กตามมาตราฐานวสท.ตรงกับข ้อใด

น ้าก่อนการวิบต
ั ิ


รงใช งานสามารถรั บแรงดึงได ้เท่าใด

มารถรับหน่วยแรงอัดปลอดภัยได ้เท่าใด
หนดให ้ fc=65ksc. fs=1200ksc. และ n=10

ม 12sq.cm. เหล็กอยูห
่ า่ งจากผิวด ้านแรงดึง 5 cm. ถ ้า fc=65ksc. fs=1200ksc. และ n=10 จงหาโมเมนต์ดด
ั สูงสุดทีค ้
่ านจะรับได ้โดยใชท


ห ้ fc’ = 225 ksc; fy = 2400 ksc และใชเกณฑ์
มาตรฐานของ ว.ส.ท.ในการออกแบบ จงหาโมเมนต์ต ้านทานของคอนกรีต (Mc)(

้ กเสริมหลัก 10-DB 25 มม. และใชเหล็


ใชเหล็ ้ กปลอก RB 6 มม. จะต ้องเรียงเหล็กปลอกห่างไม่เกินเท่าไร (วิธ ี WSD)

้ กเสริม 12 มม. จะต ้องเรียงเหล็กห่างกันเท่าไรจึงเป็ นไปตามมาตรฐาน ว.ส.ท. (วิธ ี SDM)


องการใชเหล็

ล็กปลอก RB 6 @ 0.25 จะรับน้ำหนักได ้เท่าไร ถ ้า fc’ = 240 ksc; fy = 3000 ksc (วิธ ี WSD)

ล็กเสริมยืน 6-DB 20 มม. fc’ = 210 ksc; fy = 3000 ksc รับน้ำหนักประลัยตามแนวแกนได ้เท่าไร เมือ
่ คำนวนตามข ้อกำหนดของวสท
วขนาด 40x40 ซม. มีเหล็กเสริมยืน 6-DB 20 มม. เมือ
่ กำหนด fc’ = 210 ksc; fy = 3000 ksc คำนวนตามมาตราฐาน วสท. กรณีการก่อสร

ั ้ ขนาด 20x30 sq.cm.เสริมเหล็กตามแนวแกน 6-DB20 โดยทฤษฎีกำลังประลัยตามมาตราฐานวสท


ริมาณเหล็กปลอกต่ำสุดในเสาสน

าตัดทัง้ หมดของคอนกรีต

ิ ธิผลเท่ากับ 40 cmเมือ
24)แบบลูกตัง้ ของคานคอนกรีต กว ้าง 20 cm ความลึกประสท ่ มีแรงเฉือนกระทำ Vu=1600 kg ความต ้านทานแรงเฉ

ริมล่าง) กลางแผ่นพืน ่ งโล่งกลางแผ่นพืน


้ กำหนดให ้เท่ากับ RB12@0.15# ถ ้าต ้องการเปิ ดชอ ้ นี้ ขนาด 0.80x0.80 เมตร ต ้องเสริมเหล็กทด
ดูลัสยืดหยุน
่ เท่าใด

ดสว่ นโมดูลัสของเหล็กเสริมต่อของคอนกรีต (n) มีคา่

นต่างๆในโรงเรียนแห่งหนึง่

กำลังอัด 210 ksc มีคา่ เท่ากับเท่าไร

่ ใชต้ ้านทานโมเมนต์ดด
cm.) กำหนดให ้ f’c = 210 ksc , fy = 3000 ksc ควรมีการเสริมเหล็กตามข ้อใด เพือ ั ประลัย Mu = 22,000 kg.m
ควรมีปริมาณเหล็กเสริมน ้อยทีส
่ ด
ุ ไม่น ้อยกว่าข ้อใดต่อไปนี้ เมือ
่ กำหนดให ้ f’c = 210 ksc และ fy = 3000 ksc

นทีม ี น ้าตัดขนาด 20 cm. x 50 cm. เหล็กเสริมบน 2-DB20 เหล็กเสริมล่าง 2-DB16 ใช ้เหล็กปลอก RB-6 @ 0.15 m. (กำหนดให ้ใช ้
่ ห

บันไดแบบพาดชว่ งยาว เมือ


่ คำนวณโดยพิจารณาจากน้ำหนักบรรทุกกระทำบนพืน
้ ราบ

้ นเหล็กน ้อยสุด
. ควรพิจารณาใชเป็

งตามแนวแกนประกอบด ้วยน้ำหนักบรรทุกคงที่ (Dead Load) = 60 ตัน น้ำหนักบรรทุกจร (Live Load) = 40 ตัน โดยฐานรากมีน้ำหนักของ

ามหนาแผ่นพืน
้ 0.08 m. รับน้ำหนักบรรทุกจร 300kg/m2.ตามข ้อกำหนดมาตราฐานว.ส.ท.โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน(WSD)ใช ้ กเสริมชนิด
เหล็
0.20 x 9.00 m. จำนวน 4 ต ้น ซึง่ เสาเข็มแต่ละต ้นกำหนดให ้อยูใ่ นตำแหน่งทีส
่ มมาตรเมือ
่ พิจารณาจากหน ้าตัดฐานราก จงคำนวณหาขนาด

นา 0.40 ม. รองรับเสาตอม่อขนาดหน ้าตัด 0.20 x 0.20 ม. วางทีต


่ ำแหน่งกึง่ กลางฐานราก ถ ้าน้ำหนักฐานรากรวมกับน้ำหนักทีก
่ ระทำตามแ

ม่อขนาดหน ้าตัด 0.2 x 0.2 m. วาง ณ กึง่ กลางฐานราก ถ ้าน้ำหนักฐานรากรวมกับแรงทีก


่ ระทำตามแนวแกนบนเสาตอม่อเท่ากับ

มน้ำหนักคานทัง้ หมด 2000 kg/m ต ้องเสริมเหล็กรับแรงดึงเท่าใด ถ ้าออกแบบด ้วยวิธห ้


ี น่วยแรงใชงาน (WSD), fc’=240 ksc, fy = 3000

มน้ำหนักคานทัง้ หมด 2000 kg/m ออกแบบด ้วยวิธห ้


ี น่วยแรงใชงาน (WSD)หาปริมาณเหล็กปลอก, fc’=240 ksc,fy = 2400 ksc , d = 0.

อนกรีตเสริมเหล็กทางเดียว (one-way slab) ชว่ งยาว 2 ม. หนา 10 ซม. รับน้ำหนักบรรทุกจร 200 กก./ตร.ม. กำหนด fc’=200 ksc, fy = 2

ใด โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน (WSD) กำหนด fc’=240 ksc, fy = 3000 ksc

.40 ซม. รับเสาขนาด 0.40 x 0.40 น้ำหนักฐานราก และแรงถ่ายลงเสาตอม่อรวม 40 ตัน


ละข ้อมูลสำหรับการออกแบบแสดงดังรูป การเสริมเหล็กทีรป
ู ตัด1-1ในข ้อใดเป็ นคำตอบทีถ
่ ก
ู ต ้อง

ะเหล็กเสริมในคาน คสล. ทีร่ ับโมเมนต์ดด


ั ดังต่อไปนี้ ข ้อใดทีถ
่ ก
ู ต ้อง

ะเหล็กเสริมในเสา คสล. ดังต่อไปนี้ ข ้อใดทีไ่ ม่ถก


ู ต ้อง

ต่ไม่เกิน 1750 กก./ตร.ซม.

ไปนี้ ข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง
อไปนี้ ข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง

00 กก./ตร.ซม.
700 กก./ตร.ซม.

ำลัง (Strength design)

ั สว่ นโดยตรง
ล็กเสริม เป็ นสด

องขนาดโตสุดของหิน
วามหนาของแผ่นพืน้ หรือ 45 ซม.
ศูนย์กลางของเหล็กเสริม หรือ 1.34 เท่าของขนาดโตสุดของหิน หรือ 2.5 ซม.

น คสล. Ms เป็ นโมเมนต์ต ้านทานโดยเหล็กเสริม, Mc เป็ นโมเมนต์ต ้านทานโดยคอนกรีต ข ้อใดไม่ถก


ู ต ้อง

ค) การกระจายของหน่วยแรงและแรงภายในบนหน ้าตัด
ค) การกระจายของหน่วยแรงและแรงภายในบนหน ้าตัด

ช ้งานทีย
่ อมให ้ fc = 65 กก./ตร.ซม., fs = 1200 กก./ตร.ซม. และ n = 11 ถ ้าใช ้แผ่นพืน
้ หนา 10 ซม. ความลึกประสิทธิผล d = 7.5

ต ้องรับโมเมนต์ดด ้
ั ทัง้ หมด M = 5850 กก.-เมตร หน่วยแรงใชงานที
ย ่ อมให ้ fc = 90 กก./ตร.ซม., fs = 1200 กก./ตร.ซม. และ

รูป ถ ้าหน่วยแรงใช ้งานทีย


่ อมให ้ fc = 45 กก./ตร.ซม., fs = 1200 กก./ตร.ซม. และ n = 14 จงประมาณค่าโมเมนต์ต ้านทานโดยปลอดภัย
= 6.5 ตัน/เมตร (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) ถ ้าคานมีรป ้ กปลอก (SR24)
ู ตัดดังแสดง โดยที่ fc’ = 100 กก./ตร.ซม. และสมมติใชเหล็

แนวแกน = 54 ตัน ถ ้ากำหนดให ้ fc’ = 100 กก./ตร.ซม., fy = 3000 กก./ตร.ซม. และเหล็กปลอกเดีย


่ ว (SR24) ขนาด 6 มม

5 ซม. เพือ ้
่ รับน้ำหนักใชงาน P = 40 ตัน, M = 2 ตัน-เมตร โดยพิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ
่ สดง กำหนดให ้ fc’ = 250 กก./
อเสายาวซงึ่ มีอต
ั ราสว่ นความชะลูดค่าหนึง่ และ R เป็ นตัวคูณลดกำลังของเสาตามมาตรฐาน วสท. กำหนดในวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ดังนัน
้ แรง

ทีเ่ สาเข็มต ้องรับพิจารณาได ้จากค่า

วยแรงสูงสุดของคอนกรีตและเหล็กเสริมสำหรับการออกแบบโดยวิธก
ี ำลังดังต่อไปนี้ ข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง

กิน 2400 กก./ตร.ซม.

ม.) ซงึ่ รับแรงดึงและทีร่ ับแรงอัดต ้องไม่น ้อยกว่า


อใดไม่ถก
ู ต ้อง

รือไม่เกิน 40 ซม.

ล็กเสริมจะถูกดึงถึงจุดคราก และคอนกรีตจะถูกอัดแตกพร ้อมๆ กัน


สริมจะถูกดึงถึงจุดคราก ก่อนทีค
่ อนกรีตจะถูกอัดแตก
งตัวได ้มากกว่า

ยแรงอัดในคอนกรีตทีส
่ ภาวะวิบต ิ ระจายเป็ นรูปสีเ่ หลีย
ั ก ่ มผืนผ ้าเทียบเท่าดังแสดง โดยให ้หน่วยแรงอัดสูงสุดในคอนกรีตมีคา่ เท่ากับ

(ค) การกระจายของหน่วยแรง (ง) แรงภายในบนหน ้าตัด

ดให ้ใช ้อัตราส่วนของเหล็กเสริมรับแรงดึงสูงสุด ดังนี้


ล ้ว wu = 9.5 ตัน/เมตร (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) ถ ้าคานมีรป ้ กปลอก
ู ตัดดังแสดง โดยที่ fc’ = 200 กก./ตร.ซม. และสมมติใชเหล็


ตัน-เมตร หากพิจารณาใชเสารู
ปตัด b = 25 ซม., h = 50 ซม., d = 45 ซม. โดยที่ fc’ = 300 กก./ตร.ซม., fy = 3000 กก./
จายของหน่วยการยืด -หดตัว (strain distribution) ทีส
่ ภาวะต่างๆ ดังทีแ
่ สดง รูปใดแสดงถึงสภาวะสมดุล (balanced condition)


ดัดทีใ่ ช ออกแบบ (design strength) เมือ
่ คานวิบต
ั ท
ิ ด
ี่ ้านรับแรงดึง (yielding failure) คือ

ใชตามข ้อกำหนดในวิธก
ี ำลัง

งอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.30 ม. ถ ้าใช ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 และ fy = 3000 กก./ซม.2 จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณอัตราสว่ นของเหล็กเสริมท


งรับน้ำหนักบรรทุกจรแบบแผ่สม่ำเสมอใชงานเท่ ั ได ้เท่ากับ wL2/24 จงใชวิ้ ธ ี
ากับ 500 กก./ม.2 ถ ้าทีร่ องรับสามารถรับโมเมนต์ดด


งรับน้ำหนักบรรทุกจรแบบแผ่สม่ำเสมอใชงานเท่ ั ได ้เท่ากับ wL2/24 จงใชวิ้ ธ ี
ากับ 500 กก./ม.2 ถ ้าทีร่ องรับสามารถรับโมเมนต์ดด
งอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.40 ม. โดยใช ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2 ซงึ่ จากวิธ ี WSD พบว่า ค่า k = 0.43

งอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.45 ม. โดยใช ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 และ fy = 3000 กก./ซม.2 ซงึ่ จากวิธ ี WSD พบว่า ค่า k = 0.38

งอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 0.45 ม. โดยใช ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 และ fy = 3000 กก./ซม.2 ซึง่ จากวิธ ี WSD พบว่า ค่า k = 0.38

ามวิธท
ี ี่ 2 ของมาตรฐาน ว.ส.ท.

ย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับ = 4.00x5.00 เมตร ดังนัน


้ แผ่นพืน
้ ต ้องมีความหนาอย่างน ้อยเท่ากับ

ย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับ = 4.50x6.00 เมตร ดังนัน


้ แผ่นพืน
้ ต ้องมีความหนาอย่างน ้อยเท่ากับ

ย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับ = 5.00x5.00 เมตร ถ ้าความกว ้างของคานรองรับแต่ละด ้านเท่ากับ 20 ซม. และแผ่นพืน
้ หนาเท่ากับ 12 ซม
ย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับ = 3.00x4.50 เมตร ถ ้าความกว ้างของคานรองรับแต่ละด ้านเท่ากับ 15 ซม. และแผ่นพืน
้ หนาเท่ากับ 10 ซม

ไม่ตอ
่ เนือ ี่ ้าน จะพบว่า
่ งกันทัง้ สด

กึง่ กลางช่วงของแผ่นพืน
้ คสล. 2 ทาง แบบใด ทีม
่ ค
ึ า่ มากทีส
่ ด

านซึง่ ต่อเนือ
่ งของแผ่นพืน
้ คสล. 2 ทาง แบบใด ทีม
่ ค
ึ า่ มากทีส
่ ด

พืน
้ คสล. 2 ทาง มีคา่ เท่ากับ

นวแกนเนือ
่ งจากน้ำหนักบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบรรทุกจร ตามลำดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กำหนดให ้ fc‘ = 280

นวแกนเนือ
่ งจากน้ำหนักบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบรรทุกจร ตามลำดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กำหนดให ้ fc‘ = 280
นวแกนเนือ
่ งจากน้ำหนักบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบรรทุกจร ตามลำดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กำหนดให ้ fc‘ = 280

นวแกนเนือ
่ งจากน้ำหนักบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบรรทุกจร ตามลำดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กำหนดให ้ fc‘ = 280

นวแกนเนือ
่ งจากน้ำหนักบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบรรทุกจร ตามลำดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กำหนดให ้ fc‘ = 280

กบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบรรทุกจร ตามลำดับ ดังนี้ PD = 150 ตัน และ PL = 100 ตัน กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ซม. ^2 และ

กบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบรรทุกจร ตามลำดับ ดังนี้ PD = 150 ตัน และ PL = 100 ตัน กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ซม. ^2 และ

กบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบรรทุกจร ตามลำดับ ดังนี้ PD = 150 ตัน และ PL = 100 ตัน กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ซม. ^2 และ

กบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบรรทุกจร ตามลำดับ ดังนี้ PD = 150 ตัน และ PL = 100 ตัน กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ซม.^ 2 และ

บรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบรรทุกจร ตามลำดับ ดังนี้ PD = 130 ตัน และ PL = 98.5 ตัน กำหนดให ้ fc‘ = 280 กก./ซม. 2 และ
กบรรทุกคงทีแ
่ ละน้ำหนักบรรทุกจร ตามลำดับ ดังนี้ PD = 150 ตัน และ PL = 100 ตัน กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ซม. ^2 และ

รถรับแรงอัดตามแนวแกนได ้ตามมาตรฐานกำหนดของ WSD ซงึ่ ในทีน


่ ส
ี้ มมติวา่ มีคา่ เท่ากับ P ตัน จงหาค่าโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน (M)

รถรับแรงอัดตามแนวแกนได ้ตามมาตรฐานกำหนดของ WSD ซึง่ ในทีน


่ ส ั ใช ้งาน (M)
ี้ มมติวา่ มีคา่ เท่ากับ P ตัน จงหาค่าโมเมนต์ดด

ั สว่ นกัน
ละเป็ นส ด

กขึน
้ กว่าเดิม

ม่เป็ นสัดส่วนกัน

ต่ไม่เป็ นสัดส่วนโดยตรง

กขึน
้ กว่าเดิม
สัดส่วนโดยตรง
เป็ นสัดส่วนโดยตรง

มด 6เส ้น เส ้นละ25 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที่ As = As‘ และระยะคอนกรีตหุ ้ม = 5 ซม. เสานีต
้ ้องรับแรงอัดตามแนวแกน และโมเม

มด 6 เสน้ เสนละ25
้ มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที่ As = As‘ และระยะคอนกรีตหุ ้ม = 3 ซม. เสานีต
้ ้องรับแรงอัดตามแนวแกน และโมเ

้ ต ้องใช ้เหล็กปลอกเดีย
25 มม. โดยที่ As = As‘ ดังนัน ่ วสำหรับเสานีค
้ อ

28 มม. โดยที่ As = As‘ ดังนัน ้ กปลอกเดีย


้ ต ้องใชเหล็ ่ วสำหรับเสานีค
้ อ

20 มม. โดยที่ As = As‘ ดังนัน ้ กปลอกเดีย


้ ต ้องใชเหล็ ่ วสำหรับเสานีค
้ อ

้ ต ้องใช ้เหล็กปลอกเดีย
15 มม. โดยที่ As = As‘ ดังนัน ่ วสำหรับเสานีค
้ อ

อนกรีตหุ ้มเท่ากับ 3 ซม. กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 ดังนัน ้ กปลอกเกลียวสำหรับเสานีค
้ ต ้องใชเหล็ ้ อ

ม่ได ้ จากผลของแรงอัดและโมเมนต์ดด ้ ะโก่งสองทาง และอยูใ่ นช ว่ งแรงอัดเป็ นหลัก ถ ้าชว่ งความยาวของเสาต ้นนีท
ั เสานีจ ้ ป
ี่ ราศจากค้ำยันเท

ม่ได ้ จากผลของแรงอัดและโมเมนต์ดด ้ ะโก่งสองทาง และอยูใ่ นช ว่ งแรงอัดเป็ นหลัก ถ ้าชว่ งความยาวของเสาต ้นนีท


ั เสานีจ ้ ป
ี่ ราศจากค้ำยันเท

องแรงอัดและโมเมนต์ดด ้ ะโก่งสองทาง และอยูใ่ นช ว่ งแรงอัดเป็ นหลัก ถ ้าชว่ งความยาวของเสาต ้นนีท


ั เสานีจ ้ ป
ี่ ราศจากค้ำยันเท่ากับ

ortal ชว่ งเดียวและชน


ั ้ เดียวซงึ่ เซได ้ โดยทีป ่ ัวเสายึดติดกับคานซงึ่ มีคา่ I/L = 200 ซม
่ ลายเสาเป็ นแบบยึดแน่น (fixed) และทีห

ortal ชว่ งเดียวและชน


ั ้ เดียวซงึ่ เซได ้ โดยทีป ่ ัวเสายึดติดกับคานซงึ่ มีคา่ I/L = 200 ซม
่ ลายเสาเป็ นแบบยึดแน่น (fixed) และทีห

มตร ถ ้าความหนาของฐานรากเท่ากับ 40 ซม. โดยมีความลึกสุทธิ d = 30 ซม. และให ้หน่วยแรงกดใต ้ฐาน เท่ากับ 10 ตัน/เมตร


อม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ถ ้าใชความหนาของฐานรากเท่
ากับ 40 ซม. โดยมีความลึกสุทธิ d = 30 ซม. จงหาเนือ ่ องหน ้าตัดวิกฤตสำห
้ ทีข
อม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ถ ้าใช ้ความหนาของฐานรากเท่ากับ 40 ซม. โดยมีความลึกสุทธิ d = 30 ซม. จงหาเนือ
้ ทีข
่ องหน ้าตัดวิกฤตสำห

120 ตันอย่างเดียวจากเสาตอม่อขนาด 0.30 x 0.30 เมตร โดยใช ้ เสาเข็มขนาด 0.30 ม. จำนวน 12 ต ้น เรียงเป็ น 3 แถว ขนานกับด ้านยา

มด 6-DB20 มม. ( Ast = 18.84 ตร.ซม.) โดยที่ As = As' และระยะคอนกรีตหุ ้ม = 4 ซม. ให ้ใช ้วิธ ี WSD ประมาณกำลังต ้านแรงอัดใช ้งาน

งอย่างเดียว AS = 9.36 ซม.2 ทีร่ ะยะ d = 0.39 ม. จงใช ้มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ประลัย (MU)


งอย่างเดียว AS = 12.50 ซม.2 ทีร่ ะยะ d = 0.50 ม. จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ประลัย

งอย่างเดียว AS = 0.01bd ซม.2 ทีร่ ะยะ d = 0.35 ม. จงใช ้มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห
ี น่วยแรงใช ้งาน ประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ใช ้งาน

งอย่างเดียว ทีร่ ะยะ d = 0.30 ม. ให ้หาปริมาณเหล็กเสริมมากทีส ุ สำหรับคานนี้ ตามมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห


่ ด ้
ี น่วยแรงใชงาน กำหนด
งอย่างเดียว As = 14.73 ซม.2 ทีร่ ะยะ d = 0.45 ม. จงใช ้มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ประลัย


ซม.2/เมตร ทีร่ ะยะ d = 6 ซม. จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั M ของพืน
้ นี้ สมมติให ้


ซม.2/เมตร ทีร่ ะยะ d = 6 ซม. จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั MU ของพืน
้ นี้ สมมติให ้ fy = 3000


= 2.83 ซม.2/เมตร ทีร่ ะยะ d = 6 ซม. ถ ้าระยะศูนย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับเท่ากับ 1.75 เมตร จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห
ี น่วยแรงใชง

= 5.30 ซม.2/เมตร ทีร่ ะยะ d = 12 ซม. ถ ้าแผ่นพืน ้


้ นีร้ ับน้ำหนักบรรทุกจรแบบแผ่สม่ำเสมอใชงานเท่ ้
ากับ 500 กก./ม.2 จงใชมาตรฐานขอ

= 5.65 ซม.2/เมตร ทีร่ ะยะ d = 12 ซม. ถ ้าแผ่นพืน ้


้ นีร้ ับน้ำหนักบรรทุกจรแบบแผ่สม่ำเสมอใชงานเท่ ้
ากับ 500 กก./ม.2 จงใชมาตรฐานขอ


งละ 3.00 เมตร รับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอใชงานทั
ง้ หมดเท่ากับ 500 กก./ม.2 (รวมน้ำหนักพืน
้ แลัว) ถ ้าโมเมนต์ดด
ั ชนิดลบตรงทีร่ อ


งละ 3.00 เมตร รับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอใชงานทั
ง้ หมดเท่ากับ 500 กก./ม.2 (รวมน้ำหนักพืน
้ แลัว) ถ ้าโมเมนต์ดด
ั ชนิดลบตรงทีร่ อ

งละ 3.00 เมตร รับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอใชงานทั
ง้ หมดเท่ากับ 500 กก./ม.2 (รวมน้ำหนักพืน
้ แลัว) ถ ้าโมเมนต์ดด
ั ชนิดบวกตรงกล


บบแผ่สม่ำเสมอใชงาน ้
= 150 กก./ม.2 จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ่ ้องใช ้ สมมติให ้พืน
หาปริมาณเหล็กเสริมทีต ้ หนา

หล็กรับแรงดึงอย่างเดียว As = 5.65 ซม.2/เมตร ทีร่ ะยะ d = 12 ซม. จงใช ้มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณน้ำหนักบรรทุกจรแบ

มเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 35 ซม โดยใช ้ AS = 0.01bd ซม.2 จงใชมาตรฐานของ


้ ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ประมาณน้ำ


00 กก.-เมตร จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน หาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด (As‘)

505 กก.-เมตร จงใช ้มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห


ี น่วยแรงใช ้งาน หาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด (As‘)

ทีห ้
่ น ้าตัดวิกฤต = 3500 กก.-เมตร จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง หาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด
่ น ้าตัดวิกฤต = 6000 กก.-เมตร จงใช ้มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธก
ทีห ี ำลัง หาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด

ทีห ้
่ น ้าตัดวิกฤต = 15000 กก.-เมตร จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง หาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด

ผ่นพืน
้ นัน
้ ถ ้าพืน
้ หนา = 12 ซม. ตัวคานกว ้าง = 20 ซม. ระยะห่างจากศูนย์ถงึ ศูนย์ของคานข ้างเคียงแต่ละข ้าง = 4.50 เมตร และช่วงคานยา

ผ่นพืน
้ นัน ้ หนา = 15 ซม. ตัวคานกว ้าง = 20 ซม. ระยะห่างจากศูนย์ถงึ ศูนย์ของคานข ้างเคียงแต่ละข ้าง = 5 เมตร และชว่ งคานยาว
้ ถ ้าพืน

นนัน
้ ถ ้าพืน ิ ธิผลของปี กคานรูปตัดตัวที ตามมาตรฐานของ ว.ส
้ หนา = 12 ซม. ตัวคานกว ้าง = 20 ซม. จงหาความกว ้างประสท

นนัน
้ ถ ้าพืน
้ หนา = 10 ซม. ตัวคานกว ้าง = 15 ซม. จงหาความกว ้างประสิทธิผลของปี กคานรูปตัดตัวที ตามมาตรฐานของ ว.ส


หนา = 8 ซม. ตัวคานกว ้าง = 25 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว As = 48.24 ซม.2 ทีร่ ะยะ d = 40 ซม. จงใชมาตรฐานของ ว

วคานกว ้าง = 25 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว As = 9.82 ซม.2 ทีร่ ะยะ d = 40 ซม. จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห
ี น่วยแรงใ


วคานกว ้าง = 25 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว ทีร่ ะยะ d = 30 ซม. จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน หาปริมาณเห


รับน้ำหนักบรรทุกคงทีใ่ ชงานเท่ ้
ากับ 350 กก./ ม.2 และน้ำหนักบรรทุกจรใชงานเท่ ้
ากับ 250 กก./ ม.2 ให ้ใชมาตรฐาน ว.ส.ท.

ระยะ d = 0.50 ม. ถ ้าแรงเฉือนทีห


่ น ้าตัดวิกฤตอันเนือ ้
่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกใชงานมี ้
คา่ = 12000 กก. จงใชมาตรฐานของ ว.ส

งเฉือนประลัยทีห ้
่ น ้าตัดวิกฤต = 14150 กก. จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง หาระยะเรียงห่างมากทีส
่ ด
ุ ของเหล็กลูกตัง้


ล็กลูกตัง้ (SD30) ขนาด f10 มม. (สองขา) มีระยะเรียงห่าง = 20 ซม. จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง หาความต ้านทานแรงเฉือน


ล็กลูกตัง้ (SR24) ขนาด f6 มม. (สองขา) มีระยะเรียงห่าง = 14 ซม. จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน หาความต ้านทาน
้ ้องรับน้ำหนักบรรทุกใช ้งานแบบแผ่สม่ำเสมอทัง้ หมด w = 2000 กก./เมตร (รวมน้ำหนักคานแล ้ว
ทีร่ ะยะ d = 40 ซม. ถ ้าคานนีต

้ ้องรับน้ำหนักบรรทุกใช ้งานแบบแผ่สม่ำเสมอทัง้ หมด w = 2500 กก./เมตร (รวมน้ำหนักคานแล ้ว) โดยคอนกรีตมีกำลังต ้าน


0 ซม. ถ ้าคานนีต

ทีร่ ะยะ d = 55 ซม. ถ ้าคานนีต


้ ้องรับน้ำหนักบรรทุกประลัยแบบแผ่สม่ำเสมอทัง้ หมด wU = 11.5 ตัน/เมตร (รวมน้ำหนักคานแล ้ว

มด 6 f25 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที่ As = As‘ และระยะคอนกรีตหุ ้ม = 5 ซม. เสานีต
้ ้องรับแรงอัดตามแนวแกน และโมเมนต์ดด
ั รอบ

มด 6 f25 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที่ As = As‘ และระยะคอนกรีตหุ ้ม = 5 ซม. เสานีต
้ ้องรับแรงอัดตามแนวแกน และโมเมนต์ดด
ั รอบ

มด 6 f25 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที่ As = As‘ และระยะคอนกรีตหุ ้ม = 5 ซม. ให ้ใช ้วิธ ี WSD ประมาณค่าโมเมนต์ดด

5 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที่ As = As‘ และระยะคอนกรีตหุ ้ม = 5 ซม. จงใช ้วิธ ี WSD ประมาณค่าแรงอัดใช ้งานทีส
่ ภาวะสมดุล

ใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าแรงอัดใชงานที


้ ส ่ ภาวะสมดุล (Pb) กำหนดให ้ หน่วยแรงอัดทีย
่ อมให ้ของคอนกรีต = 115 กก./ ซม.2
5 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที่ As = As‘ และระยะคอนกรีตหุ ้ม = 5 ซม. รับโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน = 5000 กก.-เมตร จงใชวิ้ ธ ี


As‘ รับแรงอัดใชงาน = 50 ตัน จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าโมเมนต์ดด ้ เ่ สาสามารถรับได ้ในชว่ งแรงอัดเป็ นหลัก กำหนดให ้ หน่วยแร
ั ใชงานที

As‘ รับแรงอัดใช ้งาน = 45 ตัน จงใช ้วิธ ี WSD ประมาณค่าโมเมนต์ดด


ั ใช ้งานทีเ่ สาสามารถรับได ้ในช่วงแรงอัดเป็ นหลัก กำหนดให ้ หน่วยแร

As‘ จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าโมเมนต์ดด ้


ั ใชงานที
ส ่ ภาวะสมดุล (Mb) กำหนดให ้ หน่วยแรงอัดทีย
่ อมให ้ของคอนกรีต = 120

มด 6 f25 มม. (Ast = 29.45 ตร.ซม.) โดยที่ As = As‘ และระยะคอนกรีตหุ ้ม = 5 ซม. จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าโมเมนต์ดด ้
ั ใชงานที
ส ่ ภาว

โมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน MX = 6.3 ตัน-เมตร MY = 3.15 ตัน-เมตร จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าแรงอัดใชงานที
้ เ่ สาสามารถรับได ้ในชว่ งแรงอัดเป็

โมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน MX = 8.5 ตัน-เมตร MY = 4.25 ตัน-เมตร จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าแรงอัดใชงานที
้ เ่ สาสามารถรับได ้ในชว่ งแรงอัดเป็

แรงอัดใชงาน = 80 ตัน จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน MX ทีเ่ สาสามารถรับได ้ในชว่ งแรงอัดเป็ นหลัก กำหนดให ้ หน่วยแรงอ

อนกรีตหุ ้มเท่ากับ 3 ซม. กำหนดให ้ fc‘ = 100 กก./ซม.2 fsy = 2400 กก./ซม.2 ดังนัน ้ กปลอกเกลียวสำหรับเสานีค
้ ต ้องใชเหล็ ้ อ

้ ต ้องใช ้เหล็กปลอกเกลียวสำหรับเสานีค
อนกรีตหุ ้มเท่ากับ 3 ซม. กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fsy = 2400 กก./ซม.2 ดังนัน ้ อ

อนกรีตหุ ้มเท่ากับ 3 ซม. กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fsy = 2400 กก./ซม.2 ดังนัน ้ กปลอกเกลียวสำหรับเสานีค
้ ต ้องใชเหล็ ้ อ

ชว่ งเดียวและชน
ั ้ เดียวซงึ่ เซได ้ โดยทีป ่ ัวเสายึดติดกับคานซงึ่ มีคา่ I/L = 200 ซม.3 ถ ้าเสาต ้นนีโ้ ก่ง
่ ลายเสาเป็ นแบบยึดแน่น (fixed) และทีห

้ เดียวซึง่ เซได ้ โดยทีป


ortal ช่วงเดียวและชัน ่ ัวเสายึดติดกับคานซึง่ มีคา่ I/L = 75 ซม
่ ลายเสาเป็ นแบบยึดแน่น (fixed) และทีห

ำขนานกับด ้านทีย
่ าวเท่ากับ 50 ซม. ถ ้าเสานีอ ้ ชว่ งความย
้ ยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซได ้ และพบว่าค่า effective length factor เท่ากับ 1.50 ดังนัน
ำขนานกับด ้านทีย
่ าวเท่ากับ 50 ซม. ถ ้าเสานีอ
้ ยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซได ้ และพบว่าค่า effective length factor เท่ากับ 1.70 ดังนัน
้ ช่วงความย

้ ชว่ งความยาวของเสาต ้นนีท


งเฟรมทีเ่ ซได ้ ถ ้าพบว่าค่า effective length factor เท่ากับ 1.80 ดังนัน ้ ป
ี่ ราศจากค้ำยันควรมีคา่ เท่าใดตามวิธ ี

รมทีเ่ ซไม่ได ้ รับแรงอัดตามแนวแกน PD = 15 ตัน PL = 8.5 ตัน และโมเมนต์ดด


ั รอบ plastic centroid โดยทีป
่ ลายหนึง่ รับโมเมนต์

รมทีเ่ ซไม่ได ้ รับแรงอัดตามแนวแกน PD = 15 ตัน PL = 8.5 ตัน และโมเมนต์ดด


ั รอบ plastic centroid โดยทีป
่ ลายหนึง่ รับโมเมนต์

โครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ ต ้องรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 24 ตัน PL = 12 ตัน และโมเมนต์ดด


ั รอบ plastic centroid โดยทีป
่ ลายหนึง่ รับโมเม

โครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ ต ้องรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 24 ตัน PL = 12 ตัน และโมเมนต์ดด


ั รอบ plastic centroid โดยทีป
่ ลายหนึง่ รับโมเม

โครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ ต ้องรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 15 ตัน PL = 8.5 ตัน และโมเมนต์ดด


ั รอบ plastic centroid โดยทีป
่ ลายหนึง่ รับโมเม
โครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ ต ้องรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 15 ตัน PL = 8.5 ตัน และโมเมนต์ดด
ั รอบ plastic centroid โดยทีป
่ ลายหนึง่ รับโมเม

รมทีเ่ ซไม่ได ้ ต ้องรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 24 ตัน PL = 12 ตัน และโมเมนต์ดด


ั รอบ plastic centroid โดยทีป
่ ลายหนึง่ รับโมเมนต์

รมทีเ่ ซไม่ได ้ ต ้องรับแรงอัดตามแนวแกน PD = 24 ตัน PL = 12 ตัน และโมเมนต์ดด


ั รอบ plastic centroid โดยทีป
่ ลายหนึง่ รับโมเมนต์


รับแรงอัดใชงาน P = 39 ตัน และโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน M = 1.95 ตัน-เมตร ถ ้าให ้อัตราสว่ น d/h = 0.9 จงหาเหล็กยืนทัง้ หมดทีต ้
่ ้องใชตามวิ


รับแรงอัดใชงาน P = 78 ตัน และโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน M = 4.0 ตัน-เมตร ถ ้าให ้อัตราสว่ น d/h = 0.9 จงหาเหล็กยืนทัง้ หมดทีต ้
่ ้องใชตามวิ
ธี
รับแรงอัดใช ้งาน P = 50 ตัน และโมเมนต์ดด
ั ใช ้งาน M = 8.0 ตัน-เมตร ถ ้าให ้อัตราส่วน d/h = 0.9 จงหาเหล็กยืนทัง้ หมดทีต
่ ้องใช ้ตามวิธ ี

รับแรงอัดประลัย PU = 157.5 ตัน และโมเมนต์ดด


ั ประลัย MU = 26.25 ตัน-เมตร ถ ้าให ้อัตราส่วน d/h = 0.9 จงหาปริมาณเหล็กยืนทัง้ หมด
ั ประลัย MU = 22.3 ตัน-เมตร ถ ้าให ้อัตราสว่ น d/h = 0.9 จงหาปริมาณเหล็กยืนทัง้ หมด
รับแรงอัดประลัย PU = 131.25 ตัน และโมเมนต์ดด

.42 ตร. ซม. ถ ้าเสารับแรงอัดประลัย PU = 105 ตัน จงใชวิ้ ธ ี USD หาว่า เสารับโมเมนต์ดด
ั ประลัย MU ได ้เท่าใด ทัง้ นีใ้ ห ้พิจารณาจากกราฟ
้ งศูนย์ e จากแกนศูนย์ถว่ งพลาสติกเท่ากับ 35 ซม. จงใชวิ้ ธ ี USD หาว่า เสารับโมเมนต
3.39 ตร. ซม. ถ ้าเสารับแรงอัดประลัย โดยมีระยะเยือ

้ งศูนย์ e จากแกนศูนย์ถว่ งพลาสติกเท่ากับ 20 ซม. จงใชวิ้ ธ ี USD หาว่า เสารับโมเมนต์ดด


สารับแรงอัดประลัย โดยมีระยะเยือ ั ประลัย

้ งศูนย์ e จากแกนศูนย์ถว่ งพลาสติกเท่ากับ 20 ซม. จงใชวิ้ ธ ี USD หาว่า เสารับแรงอัดประลัย


สารับแรงอัดประลัย โดยมีระยะเยือ
้ งศูนย์ e จากแกนศูนย์ถว่ งพลาสติกเท่ากับ 35 ซม. จงใชวิ้ ธ ี USD หาว่า เสารับแรงอัดป
3.39 ตร. ซม. ถ ้าเสารับแรงอัดประลัย โดยมีระยะเยือ

ประลัย PU = 70 ตัน และโมเมนต์ดด


ั ประลัย MU = 23 ตัน-เมตร จงหาปริมาณเหล็กยืนทัง้ หมดทีต ้
่ ้องใชตามวิ
ธ ี USD โดยพิจารณาจากกราฟ
ยืนทัง้ หมด = 18.7 ตร. ซม. ถ ้าเสารับแรงอัดประลัย PU = 84 ตัน จงใชวิ้ ธ ี USD หาว่า เสารับโมเมนต์ดด
ั ประลัย MU ได ้เท่าใด ทัง้ นีใ้ ห ้พิจา

้ งศูนย์ e จากแกนศูนย์ถว่ งพลาสติกเท่ากับ 11.25 ซม. จงใชวิ้ ธ ี USD หาว่า เสารับแรงอัดประลัย PU


รงอัดประลัย โดยมีระยะเยือ

ณาได ้จากการกระจายของหน่วยการยืด-หดตัว (strain distribution) รูปใดแสดงพฤติกรรมทีเ่ สารับแรงอัดกระทำผ่าน plastic centroid


ณาได ้จากการกระจายของหน่วยการยืด-หดตัว (strain distribution) รูปใดแสดงพฤติกรรมทีส
่ ภาวะสมดุล (balanced condition)

ณาได ้จากการกระจายของหน่วยการยืด-หดตัว (strain distribution) รูปใดแสดงพฤติกรรมทีเ่ สารับแรงอัด โดยทีร่ ะยะเยือ


้ งศูนย์มค
ี า่ น ้อย
ณาได ้จากการกระจายของหน่วยการยืด-หดตัว (strain distribution) รูปใดแสดงพฤติกรรมทีเ่ สารับแรงอัด โดยทีร่ ะยะเยือ
้ งศูนย์มค
ี า่ มากๆ 


15 ซม. ถ่ายน้ำหนักปรรทุกใชงานทั
ง้ หมด = 4.25 ตัน/เมตร ให ้ฐานรากแผ่นี้ และฐานรากกว ้าง 1.50 เมตร จงหาความลึกสุทธิ


15 ซม. ถ่ายน้ำหนักปรรทุกใชงานทั
ง้ หมด = 5.4 ตัน/เมตร ให ้ฐานรากแผ่นี้ และฐานรากกว ้าง 1.80 เมตร จงหาความลึกสุทธิ d

0.30 เมตร ตรงกึง่ กลางฐานราก ซงึ่ ถ่ายแรงอัด P = 16.20 ตัน และโมเมนต์ดด


ั M = 1.40 ตัน-เมตร ให ้กับฐานราก จงหาว่าดินใต ้ฐานต ้องร
อม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ซงึ่ อยูต ้
่ รงกึง่ กลางฐานราก ถ ้าใชความหนาของฐานรากเท่
ากับ 70 ซม. โดยมีความลึกสุทธิ d = 60

อม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ซงึ่ อยูต ้


่ รงกึง่ กลางฐานราก ถ ้าใชความหนาของฐานรากเท่
ากับ 70 ซม. โดยมีความลึกสุทธิ d = 60

อซึง่ อยูต
่ รงกึง่ กลางฐานราก ถ ้าเนือ ่ น ้าตัดวิกฤตของแรงเฉือนแบบทะลุเท่ากับ 7000 ตร.ซม. จงใช ้วิธ ี WSD ประมาณค่าแรงอัด
้ ทีห

สาตอม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ซงึ่ อยูต


่ รงกึง่ กลางฐานราก ถ ้าฐานรากหนา = 40 ซม. ความลึกสุทธิ d = 30 ซม. หากคิดว่าฐานรากนีถ
้ ก
ู ค

สาตอม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ซงึ่ อยูต


่ รงกึง่ กลางฐานราก ถ ้าฐานรากหนา = 40 ซม. ความลึกสุทธิ d = 30 ซม. หากคิดว่าฐานรากนีถ
้ ก
ู ค


ดใชงาน P = 120 ตันอย่างเดียวจากเสาตอม่อขนาด 0.30x0.30 เมตร ซงึ่ อยูต
่ รงกึง่ กลางฐานราก ถ ้าใช ้ เสาเข็มขนาด f 0.30

0 เมตร อยูต ้
่ รงกึง่ กลางฐานราก ใชเสาเข็ มขนาด f 0.30 ม. จำนวน 12 ต ้น เรียงเป็ น 3 แถวๆละ 4 ต ้น ทีข
่ นานกับด ้านยาวของฐานราก โดยใ
งฐานราก ซึง่ ถ่ายแรงอัดและโมเมนต์ดด ่ ี้ พิจารณาใช ้ เสาเข็มขนาด f 0.30
ั ประลัย PU = 128 ตัน MU = 24.05 ตัน-เมตร ในทีน

งฐานราก ซงึ่ ถ่ายแรงอัดและโมเมนต์ดด ่ ี้ พิจารณาใช ้ เสาเข็มขนาด f 0.30


ั ประลัย PU = 128 ตัน MU = 24.05 ตัน-เมตร ในทีน

งฐานราก ซึง่ ถ่ายแรงอัดและโมเมนต์ดด ่ ี้ พิจารณาใช ้ เสาเข็มขนาด f 0.30


ั ประลัย PU = 128 ตัน MU = 24.05 ตัน-เมตร ในทีน

งฐานราก ซึง่ ถ่ายแรงอัดใช ้งาน P = 120 ตันอย่างเดียว ในทีน


่ ี้ พิจารณาใช ้ เสาเข็มขนาด f 0.30 ม. จำนวน 12 ต ้น เรียงเป็ น 3

งฐานราก ซงึ่ ถ่ายแรงอัดใชงาน


้ ่ ี้ พิจารณาใช ้ เสาเข็มขนาด f 0.30 ม. จำนวน 12 ต ้น เรียงเป็ น 3
P = 120 ตันอย่างเดียว ในทีน

งฐานราก ซงึ่ ถ่ายแรงอัดใชงาน


้ ่ ี้ พิจารณาใช ้ เสาเข็มขนาด f 0.30 ม. จำนวน 12 ต ้น เรียงเป็ น 3
P = 120 ตันอย่างเดียว ในทีน

30 ม. ตรงกึง่ กลางฐาน ถ ้าเสาตอม่อถ่ายแรงอัด P = 18 ตัน และโมเมนต์ดด


ั M = 2000 กก.-เมตร ให ้ฐานรากแผ่นี้ จงหาความลึกสุทธิ
30 ม. ตรงกึง่ กลางฐาน ถ ้าเสาตอม่อถ่ายแรงอัด P = 18 ตัน และโมเมนต์ดด
ั M = 2000 กก.-เมตร ให ้ฐานรากแผ่นี้ จงหาความลึกสุทธิ

30 ม. ตรงกึง่ กลางฐาน ถ ้าเสาตอม่อถ่ายแรงอัด P = 18 ตัน และโมเมนต์ดด


ั M = 2000 กก.-เมตร ให ้ฐานรากแผ่นี้ จงหาความลึกสุทธิ

ั M = 2000 กก.-เมตร ให ้ฐานรากแผ่นี้ จงใช ้วิธW


30 ม. ตรงกึง่ กลางฐาน ถ ้าเสาตอม่อถ่ายแรงอัด P = 18 ตัน และโมเมนต์ดด ี SD

งฐานราก ซงึ่ ถ่ายแรงอัดใชงาน


้ ั M = 1.20 ตัน-เมตร ถ ้าใช ้ เสาเข็มจำนวน 4 ต ้น โดยให ้ ระยะ c to c
P = 8 ตันและโมเมนต์ดด

งฐานราก ซงึ่ ถ่ายแรงอัดใชงาน


้ P = 8 ตันและโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน M = 1.20 ตัน-เมตร ถ ้าใช ้ เสาเข็มจำนวน 4 ต ้น โดยให ้ ระยะ

งฐานราก ซึง่ ถ่ายแรงอัดใช ้งาน P = 8 ตันและโมเมนต์ดด


ั ใช ้งาน M = 1.60 ตัน-เมตร ถ ้าใช ้ เสาเข็มจำนวน 4 ต ้น โดยให ้ ระยะ

งฐานราก ซงึ่ ถ่ายแรงอัดใชงาน


้ P = 8 ตันและโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน M = 1.60 ตัน-เมตร ถ ้าใช ้ เสาเข็มจำนวน 4 ต ้น โดยให ้ ระยะ
.20x0.20 ม. ตรงกึง่ กลางฐาน ถ ้าเสาตอม่อถ่ายแรงอัด P = 10 ตัน และโมเมนต์ดด ้
ั M = 1.40 ตัน-เมตร และฐานรากนีใ้ ชเสาเข็ มจำนวน


r = 0.5rb ทีร่ ะยะ d = 0.40 ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณโมเมนต์ดด
ั ประลัยของคานนี้ กำหนดให ้ fc‘ = 250


r = 0.5rb ทีร่ ะยะ d = 0.50 ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณโมเมนต์ดด
ั ประลัยของคานนี้ กำหนดให ้ fc‘ = 300


r = 0.5rb ทีร่ ะยะ d = 0.50 ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณโมเมนต์ดด
ั ประลัยของคานนี้ กำหนดให ้ fc‘ = 200


r = 0.75rb ทีร่ ะยะ d = 0.45 ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณโมเมนต์ดด
ั ประลัยของคานนี้ กำหนดให ้ fc‘ = 300

= 0.40 ม. รับโมเมนต์ดด ้
ั ประลัย MU = 10800 กก.- เมตร จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก ่ ้องใช ้ กำหน
ี ำลัง ประมาณปริมาณเหล็กเสริมทีต

= 0.45 ม. รับโมเมนต์ดด ้
ั ประลัย MU = 22750 กก.- เมตร จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก ่ ้องใช ้ กำหน
ี ำลัง ประมาณปริมาณเหล็กเสริมทีต
ั ประลัย MU = 27000 กก.- เมตร จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
= 0.50 ม. รับโมเมนต์ดด ่ ้องใช ้ กำหน
ี ำลัง ประมาณปริมาณเหล็กเสริมทีต

ม. ทีร่ ะยะ d = 0.45 ม. และเสริมเหล็กรับแรงอัด AS‘ = 9.82 ตร.ซม. ทีร่ ะยะ d’ = 4.5 ซม. จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณโ


ม. ทีร่ ะยะ d = 0.50 ม. และเสริมเหล็กรับแรงอัด AS‘ = 9.42 ตร.ซม. ทีร่ ะยะ d’ = 5.0 ซม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณโ

ม. ทีร่ ะยะ d = 0.42 ม. และเสริมเหล็กรับแรงอัด AS‘ = 8.25 ตร.ซม. ทีร่ ะยะ d’ = 4.5 ซม. จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณโ

ตัน-เมตร ถ ้าพิจารณาใชค่้ า r - r‘ = 0.02 โดยเสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 0.45 ม. และเสริมเหล็กรับแรงอัดทีร่ ะยะ d’ = 4.5

ตัน-เมตร ถ ้าพิจารณาใช ้ค่า r - r‘ = 0.012 โดยเสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 0.50 ม. และเสริมเหล็กรับแรงอัดทีร่ ะยะ d’ = 5

ตัน-เมตร ถ ้าพิจารณาใชค่้ า r - r‘ = 0.016 โดยเสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 0.42 ม. และเสริมเหล็กรับแรงอัดทีร่ ะยะ d’ = 4.5

ตัน-เมตร ถ ้าพิจารณาใชค่้ า r - r‘ = 0.016 โดยเสริมเหล็กรับแรงดึงทีร่ ะยะ d = 0.50 ม. และเสริมเหล็กรับแรงอัดทีร่ ะยะ d’ = 5


้ าศูนย์กลาง 30 ซม. ซงึ่ ศูนย์เสาตอม่ออยูห
ขนาดเสนผ่ ้
่ า่ งจากศูนย์ฐานรากเป็ นระยะ = 45 ซม. ถ ้าเสาตอม่อถ่ายแรงอัดใชงาน =9

้ าศูนย์กลาง 30 ซม. ซงึ่ ศูนย์เสาตอม่ออยูห


ขนาดเสนผ่ ้
่ า่ งจากศูนย์ฐานรากเป็ นระยะ = 45 ซม. ถ ้าเสาตอม่อถ่ายแรงอัดใชงาน =9

ตัน และโมเมนต์ MU = 18 ตัน-เมตร จากเสาตอม่อขนาด 0.30x0.40 เมตร ซึง่ อยูต


่ รงกึง่ กลางของฐานราก ถ ้าใช ้เสาเข็มขนาด

ตัน และโมเมนต์ MU = 18 ตัน-เมตร จากเสาตอม่อขนาด 0.30x0.40 เมตร ซงึ่ อยูต ้


่ รงกึง่ กลางของฐานราก ถ ้าใชเสาเข็ มขนาด

ตัน และโมเมนต์ MU = 18 ตัน-เมตร จากเสาตอม่อขนาด 0.30x0.40 เมตร ซงึ่ อยูต ้


่ รงกึง่ กลางของฐานราก ถ ้าใชเสาเข็ มขนาด

ตัน และโมเมนต์ MU = 18 ตัน-เมตร จากเสาตอม่อขนาด 0.30x0.40 เมตร ซึง่ อยูต


่ รงกึง่ กลางของฐานราก ถ ้าใช ้เสาเข็มขนาด

ตัน และโมเมนต์ MU = 18 ตัน-เมตร จากเสาตอม่อขนาด 0.30x0.40 เมตร ซงึ่ อยูต ้


่ รงกึง่ กลางของฐานราก ถ ้าใชเสาเข็ มขนาด
ซม.2 และ As‘ = 6.28 ซม.2 และมีระยะคอนกรีตหุ ้มถึง c.g. ของเหล็ก = 5 ซม. จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณตำแหน่ง


ซม.2 และ As‘ = 6.28 ซม.2 และมีระยะคอนกรีตหุ ้มถึง c.g. ของเหล็ก = 5 ซม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณตำแหน่ง

ซม.2 และ As‘ = 6.28 ซม.2 และมีระยะคอนกรีตหุ ้มถึง c.g. ของเหล็ก = 5 ซม. จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณตำแหน่ง
้ fc’ของคอนกรีต เสาเข็ม = 210 ksc; fc’ของคอนกรีต ฐานราก = 180 ksc วิธ ี WSD

ด ้วยวิธก
ี ำลัง
กก./ตร.ซม. (สูตรคำนวณ L = dbfs/4u)

ยใช ้ค่าทีม
่ ากกว่า


หนักบรรทุกจรใชงาน ้
= 500 กก./ ม.2 จงประมาณค่าน้ำหนักบรรทุกใชงานทั
ง้ หมดในทางราบ


หนักบรรทุกจรใชงาน ้
= 400 กก./ ม.2 จงประมาณค่าน้ำหนักบรรทุกใชงานทั
ง้ หมดในทางราบ


หนักบรรทุกจรใชงาน = 400 กก./ม.2 จงประมาณค่าน้ำหนักบรรทุกประลัยทัง้ หมดในทางราบ กำหนดให ้ Factored Load = 1.4D + 1.7L


หนักบรรทุกจรใชงาน = 500 กก./ ม.2 จงประมาณค่าน้ำหนักบรรทุกประลัยทัง้ หมดในทางราบ กำหนดให ้ Factored load = 1.4D + 1.7L
ะมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ทีท ิ ผลของเหล็กเสริมทีใ่ ช ้
่ ำให ้คานร ้าว (cracking moment) สมมติไม่คด

ะมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ทีท ิ ผลของเหล็กเสริมทีใ่ ช ้
่ ำให ้คานร ้าว (cracking moment) สมมติไม่คด

วิธ ี WSD ประมาณกำลังรับโมเมนต์ดด ้


ั ใชงาน สมมติให ้ตำแหน่งแนวแกนสะเทิน kd = 15 ซม.

ั ใช ้งาน สมมติให ้ตำแหน่งแนวแกนสะเทิน kd = 15 ซม.


วิธ ี WSD ประมาณกำลังรับโมเมนต์ดด

วิธ ี USD ประมาณกำลังรับโมเมนต์ดด


ั ประลัย (Mu) สมมติคา่ jd = 33.5 ซม.

วิธ ี USD ประมาณกำลังรับโมเมนต์ดด


ั ประลัย (Mu) สมมติคา่ jd = 45 ซม.

USD พบว่า คานนีเ้ ป็ นแบ

ธี WSD เมือ
่ ให ้ n = 11 พบว่า คานนีเ้ ป็ นแบบ
เมตร และชว่ งคานยาว = 5 เมตร จงหาความกว ้างประสท
ิ ธิผลของปี กคานรูปตัดตัวที

ช ้ fc = 45 กก./ซม.2 และ fs = 1200 กก./ซม.2 จงประมาณค่าโมเมนต์ต ้านทานปลอดภัยของคานนี้ สมมติตำแหน่งแนวแกนสะเทิน

่ ้องใช ้ตามมาตรฐานกำหนด
./ซม.2 และ fy = 4000 กก./ซม.2 จงประมาณค่า min As ทีต

ก./ซม.2 จงประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ต ้านทานปลอดภัย สมมติให ้ตำแหน่งแนวแกนสะเทิน kd = 5 ซม.

หน่งแกนสะเทินทีห
่ า่ งจากด ้านรับแรงอัด มีคา่
หล็ก RB 6 มม. (สองขา) จงหาระยะเรียงห่างมากทีส
่ ด
ุ ตามมาตรฐานกำหนด

800 กก. จงหาระยะเรียงห่างมากทีส ุ ของเหล็กลูกตัง้ 9 มม. (สองขา) ซึง่ มีคา่ fy = 2400 กก./ซม.2 สมมติวา่ คอนกรีตมีคา่ fc ‘ = 200
่ ด

กก. จงหาระยะเรียงห่างมากทีส ุ ของเหล็กลูกตัง้ 9 มม. (สองขา) ซงึ่ มีคา่ fy = 3000 กก./ซม.2 สมมติวา่ คอนกรีตมีคา่ fc ‘ = 200
่ ด

= 12000 กก. จงหาขนาดและระยะเรียงห่างมากทีส ุ ของเหล็กลูกตัง้ (สองขา) ซงึ่ มีคา่ fy = 2400 กก./ซม.^2 สมมติวา่ คอนกรีตมีคา่
่ ด

กก. จงหาขนาดและระยะเรียงห่างมากทีส ุ ของเหล็กลูกตัง้ (สองขา) ซึง่ มีคา่ fy = 3000 กก./ซม.^2 สมมติวา่ คอนกรีตมีคา่ fc ‘ = 200
่ ด

ยใชค่้ าทีม
่ ากกว่า
สร ้างทีร่ องรับนี้ ตามวิธ ี WSD กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ซม. ^2 fy = 2400 กก./ซม.2 และหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วทีย
่ อมให ้ของเหล็กเสริม

D กำหนดว่า “ของอมาตรฐาน“ มีกำลังรับแรงดึงได ้เท่ากับ 700 กก./ซม.2 กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม. ^2 fy = 3000 กก./

ห ้ fc‘ = 150 กก./ซม. ^2 fy = 2400 กก./ซม.^2 และให ้ modifation factor = 1.0

ชว่ งว่างเท่ากับ L เมตร รับนำหนักบรรทุกแผ่สม่ำเสมอเท่ากับ w กก./เมตร และออกแบบให ้คานรับโมเมนต์ดด


ั ชนิดบวก ซงึ่ ค่าสม
ั ประสท
ิ ธิข

ชว่ งว่างเท่ากับ L เมตร รับนำหนักบรรทุกแผ่สม่ำเสมอเท่ากับ w กก./เมตร และออกแบบให ้คานรับโมเมนต์ดด


ั ชนิดลบ ซงึ่ ค่าสม
ั ประสท
ิ ธิข
์ อ
D ประมาณค่าโมเมนต์บด ้
ิ ใชงานสู
งสุดทีไ่ ด ้จากคอนกรีตเพียงอย่างเดียว กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ตร.ซม.

ี น่วยแรงใช ้งาน) กำหนดว่าเมือ


ส.ท. (วิธห ิ ใช ้งานสูงสุดทีค
่ เสริมเหล็กทางขวางและทางยาว โมเมนต์บด ่ านกลวงนีส
้ ามารถรับได ้เท่ากับ

D ประมาณกำลังรับโมเมนต์บด
ิ ประลัยทีไ่ ด ้จากคอนกรีตเพียงอย่างเดียว กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ตร.ซม.

ดวิกฤต อันเนือ ้
่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกใชงาน จะพบว่าหน่วยแรงเฉือนทีเ่ กิดขึน
้ เนือ
่ งจากโมเมนต์ดด
ั มีคา่

่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกใช ้งาน จะพบว่าหน่วยแรงเฉือนทีเ่ กิดขึน


หน ้าตัดวิกฤต อันเนือ ้ เนือ
่ งจากโมเมนต์บด
ิ มีคา่

(สำหรับเหล็กปลอกทางขวาง) เพือ ่ ลางชว่ งคาน และ V = 4940 กก. กับ T = 1450 กก.-เมตร ทีห
่ ต ้านทาน M ทีก ่ น ้าตัดวิกฤต อันเนือ
่ งมา
้ กลูกตัง้ RB 9 มม. และระยะคอนกรีตหุ ้มจากผิวล่างของคานถึงผิวของเหล็กลูกตัง้ = 4.0 ซม. ดังนัน
ใชเหล็ ้ ตำแหน่ง c.g. ของเหล็กรับแรง

างของรอยร ้าว (index of crack width) , Z ไม่เกินกว่า 23100 กก./ซม. จงหาระยะห่างมากทีส


่ ด
ุ ของเหล็กเสริม


ผ่ใชงาน wD = 1240 กก./ม. (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) และ wL = 620 กก./ม. จงประมาณค่าการโก่งตัวทันทีของคาน สมมติให ้


แผ่ใชงาน wD = 1240 กก./ม. (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) และ wL = 620 กก./ม. จงประมาณค่าการโก่งตัวทัง้ หมดในระยะยาว ซงึ่ มากกว


00 กก./ ม.2 จงประมาณค่าน้ำหนักบรรทุกใชงานทั
ง้ หมดในทางราบ


= 400 กก./ ม.2 จงประมาณค่าน้ำหนักบรรทุกใชงานทั
ง้ หมดในทางราบ
2 จงประมาณค่าน้ำหนักบรรทุกใช ้งานทัง้ หมดในทางราบ

ม.2 จงประมาณค่าน้ำหนักบรรทุกใช ้งานทัง้ หมดในทางราบ


ล ้ว) จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน หาหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดจากการเปลีย
่ นแปลงโมเมนต์ดด
ั (flexural bond stre

าน หาหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดจากการฝั งยึดเหล็กเสริม (anchorage bond stress : u) สมมติวา่ fS = 1200 กก./ซม.2

ยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดขึน
้ จากการฝั งยึดเหล็กเสริมนัน
้ มีคา่ ไม่เกินเท่าใดของหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วทีย
่ อมให ้

ยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดจากการเปลีย
่ นแปลงโมเมนต์ดด
ั (flexural bond stress) กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ซม.2

ยึดเหนีย
่ วทีเ่ กิดจากการเปลีย
่ นแปลงโมเมนต์ดด
ั (flexural bond stress) กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ซม..2 fy = 3000 กก./ซม


กับ 1.00 ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ่ ามารถนำมาใช ้ กำหนดให ้
ประมาณขนาดโตสุดของเหล็กกลมเรียบทีส

กับ 65 ซม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ่ ามารถนำมาใช ้ กำหนดให ้
หาขนาดโตสุดของเหล็กข ้ออ ้อย (SD 30) ทีส


บ 1.75 ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ่ ามารถนำมาใช ้ กำหนดให ้
หาขนาดโตสุดของเหล็กข ้ออ ้อย (SD 30) ทีส

บ 1.30 ม. จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห


ี น่วยแรงใช ้งาน หาขนาดโตสุดของเหล็กข ้ออ ้อย (SD 40) ทีส
่ ามารถนำมาใช ้ กำหนดให ้


บ 0.85 ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ่ ามารถนำมาใช ้ กำหนดให ้
ประมาณขนาดโตสุดของเหล็กกลมเรียบทีส

้ าศูนย์กลางของเหล็กเสริม แต่ไม่น ้อยกว่า 6 ซม. จงใชมาตรฐาน


อีกเป็ นระยะไม่น ้อยกว่า 4 เท่าของขนาดเสนผ่ ้ ว.ส.ท. โดยวิธห
ี น่วยแรงใช

้ าศูนย์กลางของเหล็กเสริม แต่ไม่น ้อยกว่า 6 ซม. จงใชมาตรฐาน


อีกเป็ นระยะไม่น ้อยกว่า 4 เท่าของขนาดเสนผ่ ้ ว.ส.ท. โดยวิธห
ี น่วยแรงใช

้ าศูนย์กลางของเหล็กเสริม จงใชมาตรฐาน
เป็ นระยะไม่น ้อยกว่า 12 เท่าของขนาดเสนผ่ ้ ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ประมาณกำลังรับแร
เป็ นระยะไม่น ้อยกว่า 12 เท่าของขนาดเส ้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กเสริม จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห
ี น่วยแรงใช ้งาน ประมาณกำลังรับแร

มดัดงอเหล็กเสริม DB 20 มม. (ทีไ่ ม่ใชเ่ หล็กบน) เมือ


่ ทำเป็ น “ของอมาตรฐาน“ กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ซม. 2 fy = 3000

มดัดงอเหล็กเสริม DB 28 มม. (ทีเ่ ป็ นเหล็กบน) เมือ


่ ทำเป็ น “ของอมาตรฐาน“ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม. 2 fy = 3000 กก

ฎี) ซึง่ ห่างมาจากจุดรองรับ ทีจ


่ ะหยุด ดัด หรือตัดเหล็กเสริมออกไป 2 เส ้น โดยเหลือเหล็กเสริม 2 เส ้นทีป
่ ล่อยเลยเข ้าไปในจุดรองรับนัน

ฎี) ซงึ่ ห่างมาจากจุดรองรับ ทีจ


่ ะหยุด ดัด หรือตัดเหล็กเสริมออกไป 4 เสน้ โดยเหลือเหล็กเสริม 2 เสนที
้ ป ่ ล่อยเลยเข ้าไปในจุดรองรับนัน

่ ะหยุด ดัด หรือตัดเหล็กเสริมออกไป 2 เส ้น โดยปล่อยเหล็กเสริมทีเ่ หลืออีก 2 เส ้นไปจนถึงปลายคาน


อบรองรับ ทีจ

อบรองรับ ทีจ ้
่ ะหยุด ดัด หรือตัดเหล็กเสริม 2 เสนแรกออกไป

มเหล็กทีร่ ะยะ d = 45 ซม. สมมติน้ำหนักบรรทุกจรใชงาน = 500 กก./ตร. เมตร

มเหล็กทีร่ ะยะ d = 45 ซม. สมมติน้ำหนักบรรทุกจรใช ้งาน = 600 กก./ตร. เมตร



มเหล็กทีร่ ะยะ d = 45 ซม. สมมติน้ำหนักบรรทุกจรใชงาน = 300 กก./ตร. เมตร


มเหล็กทีร่ ะยะ d = 45 ซม. สมมติน้ำหนักบรรทุกจรใชงาน = 200 กก./ตร. เมตร


มเหล็กทีร่ ะยะ d = 45 ซม. สมมติน้ำหนักบรรทุกจรใชงาน = 300 กก./ตร. เมตร

มเหล็กทีร่ ะยะ d = 45 ซม. สมมติน้ำหนักบรรทุกจรใชงาน = 400 กก./ตร. เมตร

นัน
้ ต ้องเปลีย
่ นขนาดรูปตัดคาน

่ ระทำ TU ต่อสว่ นโครงสร ้างนี้ ต ้องไม่เกินว่าข ้อใด


บิดประลัยทีก
ิ TU กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. อัตราสว่ นของ TU/VU = 0.6 เมตร และค่า 1/Ct = 30
MU แรงเฉือน VU และโมเมนต์บด

MU แรงเฉือน VU และโมเมนต์บด
ิ TU กำหนดให ้ fc‘ = 300 กก./ตร.ซม. อัตราส่วนของ TU/VU = 0.5 เมตร และค่า 1/Ct = 36

บทัง้ โมเมนต์ดด ิ TU กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. อัตราสว่ นของ TU/VU = 0.6 เมตร และค่า
ั MU แรงเฉือน VU และโมเมนต์บด

บทัง้ โมเมนต์ดด ิ TU กำหนดให ้ fc‘ = 300 กก./ตร.ซม. อัตราสว่ นของ TU/VU = 0.5 เมตร และค่า
ั MU แรงเฉือน VU และโมเมนต์บด
รงเฉือน VU และโมเมนต์บด
ิ TU) ทีเ่ สริมเหล็กปลอกเกลียวแบบวงปิ ดและเหล็กเสริมตามยาว กำหนดให ้ fc‘ = 300 กก./ตร.ซม

โมเมนต์บด
ิ (At/s) และแรงเฉือน (AV/s) มีคา่ เท่ากับ 0.059 ซม. ดังนัน ่ ้องใช ้
้ จงหาขนาดเหล็กปลอกและระยะเรียงทีต

(index of crack width) , Z ไม่เกินกว่า 23100 กก./ซม. จงประมาณระยะเรียงห่างมากทีส


่ ด
ุ (ทางทฤษฎี) ของเหล็กเสริมนี้

รอยร ้าว (index of crack width : Z) มีคา่ ประมาณ


ชงาน กำหนดให ้ fc‘ = 300 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. n = 8


ั แปลงร ้าว (Icr) กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. n = 10 และ k = 0.375
ดแปลงร ้าว (Icr) กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. n = 10 และ k = 0.375

2.0 กก./ ซม.2

านเริม
่ คราก (My) กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. n = 10 และ j = 7/8

รฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก


ี ำลัง ประมาณค่าโมเมนต์อน
ิ เนอร์เชียประสิทธิผลของคาน (Ie) เพือ
่ นำไปคำนวณหาค่าการโก่งตัวต่อไป สมมติให ้

ดยวิธก
ี ำลัง ประมาณค่าโมเมนต์อน ี ประสท
ิ เนอร์เชย ิ ธิผลของคาน (Ie) เพือ
่ นำไปคำนวณหาค่าการโก่งตัวต่อไป สมมติให ้ Icr = 55900

0 กก./ม. (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) และ wL = 1250 กก./ม. จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณค่าการโก่งตัวทันทีทป
ี่ ลายคาน

0 กก./ม. (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) และ wL = 2500 กก./ม. จงประมาณค่าของ (Mcr/Ma)3 เพือ


่ นำไปหาค่า Ie ตามมาตรฐาน ว

5000 กก./ม. (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) และ wL = 2500 กก./ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณค่าของโมเมนต์อน
ิ เนอร์เช

กของพืน ้
้ แล ้ว) และ wL = 100 กก./ตร.ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณค่าของโมเมนต์อน ี ประสท
ิ เนอร์เชย ิ ธิผลของพืน
้ ยืน


0 กก./ม. (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) และ wL = 1250 กก./ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณค่าการโก่งตัวทัง้ หมดทีป
่ ลายค


หน ้าตัดวิกฤต = 4875 กก.-ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ประมาณค่าการโก่งตัวทันทีทป
ี่ ลายคานยืน
่ นี้ สมมติให ้


หน ้าตัดวิกฤต = 5850 กก.-ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ประมาณค่าการโก่งตัวทัง้ หมดทีป
่ ลายคานยืน
่ นี้ เมือ
่ รับน้ำหนัก


รทุกแผ่ใชงาน wD = 1240 กก./ม. (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) และ wL = 620 กก./ม. จงประมาณค่าของ (Mcr/Ma)3 กำหนดให ้
ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณค่าของโมเมนต์อน
ิ เนอร์เชียประสิทธิผลของคานนี้ (Ie) ถ ้าสมมติคา่ (Mcr/Ma)3 = 0.0048 และ Icr = 55900


กแผ่ใชงาน ้
wD = 1240 กก./ม. (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) และ wL = 310 กก./ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณค่าการโก

กก./ม. (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) และ wL = 3900 กก./ม. จงประมาณค่าการโก่งตัวทันที สมมติให ้ EC = 2.0x105 กก./ตร


หนักบรรทุกแผ่ใชงาน ้
wD = 3000 กก./ม. (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) และ wL = 3900 กก./ม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธห
ี น่วยแรงใช

รโก่งตัวทัง้ หมดทีก
่ งึ่ กลางคาน เมือ
่ เวลาผ่านไป 5 ปี สมมติให ้ EC = 2.5x105 กก./ตร.ซม. และโมเมนต์อน ี ประสท
ิ เนอร์เชย ิ ธิผล

ให ้ EC = 2.5x105 กก./ตร.ซม. และโมเมนต์อน ี ประสท


ิ เนอร์เชย ิ ธิผล (Ie) = 56000 ซม.4

บ 7.5 ซม. จงประมาณค่าโมเมนต์อน ี ของหน ้าคัดแปลงร ้าว (Icr) กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 2400 กก./
ิ เนอร์เชย
และ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม.

่ องตัวมันเองและน้ำหนักบรรทุกจรใช ้งานแบบแผ่ = 150 กก./ม.2 สมมติให ้ (Mcr/Ma)3 = 1.25 และ Icr = 1960
บน้ำหนักบรรทุกคงทีข

ให ้ EC = 15100 กก./ตร.ซม. (Ie)DL + LL = 9900 ซม.4/ม. (เนือ


่ งจากน้ำหนักของกันสาด + น้ำหนักจร) และให ้ (Ie)DL = 35900

่ น ้าตัดวิกฤต จงใชวิ้ ธ ี WSD หาระยะห่างของเหล็กปลอก RB 9 มม. แบบวงปิ ดเพือ


4200 กก. กับ T = 1200 กก.-เมตร ทีห ่ ต ้านแรงเฉือนแล

่ น ้าตัดวิกฤต จงใชวิ้ ธ ี WSD หาปริมาณเหล็กเสริมชนิด SD 30 ทีต


4200 กก. กับ T = 1200 กก.-เมตร ทีห ้
่ ้องใชตรงกลางช ว่ งคาน เพือ
่ ต ้านโ

่ น ้าตัดวิกฤต จงใชวิ้ ธ ี USD หาระยะห่างของเหล็กปลอก RB 9 มม. แบบวงปิ ดเพือ


บิด TU = 1800 กก.-เมตร ทีห ่ ต ้านแรงเฉือนและโมเมนต์บ

้ กเสริม
ural moment หรือ ideal strength) ของหน ้าตัดนี้ ถ ้ากำหนดให ้คอนกรีตมีกำลังอัดประลัย 180 กก./ซม2 และใชเหล็
สุดทีค ้
่ านจะรับได ้โดยใชทฤษฎี ้
หน่วยแรงใชงาน

งคอนกรีต (Mc)(วิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน) กำหนดให ้ n = 9

มข ้อกำหนดของวสท.และการก่อสร ้างมีการควบคุมงานเป็ นอย่างดี


าฐาน วสท. กรณีการก่อสร ้างมีการควบคุมงานเป็ นอย่างดี

ตามมาตราฐานวสท. เมือ ้ กกลม fy = 2400 ksc เป็ นเหล็กปลอก คอนกรีตมีกำลังประลัย


่ กำหนดเสารับแรงอัดประลัย 50 Tons ถ ้าใชเหล็

0 kg ความต ้านทานแรงเฉือนของคอนกรีต Vc= 2000 kg

0 เมตร ต ้องเสริมเหล็กทดแทนอย่างน ้อยเท่าไร?


ลัย Mu = 22,000 kg.m
.15 m. (กำหนดให ้ใช ้ covering = 3.0 cm.)

โดยฐานรากมีน้ำหนักของตัวเอง = 5.5 ตัน เมือ ้


่ เลือกใชเสาเข็ มขนาด 30 cm. x 30 cm. ซงึ่ สามารถรับน้ำหนักบรรทุกใชงานได
้ ้เท่ากับ

้ กเสริมชนิด SR24 fs = 1200 ksc, j = 0.88 , R = 10.1 ksc. และความลึกประสท


น(WSD)ใชเหล็ ิ ธิผล (d) = 5 cm. จะต ้องใชเหล็
้ กเสริมไ
านราก จงคำนวณหาขนาดของฐานรากทีย
่ ังไม่พจ
ิ ารณาถึงแรงทีก
่ ระทำ สมมติศน
ู ย์กลางเสาเข็มอยูห
่ า่ งจากขอบของฐานรากเป็ นระยะเท่ากับ

มกับน้ำหนักทีก
่ ระทำตามแนวแกนเท่ากับ 25,000 kg. จงคำนวณหาค่าหน่วยแรงเฉือนทางเดียวทางยาวทีห
่ น ้าตัดวิกฤติ กำหนดความลึกประ

าตอม่อเท่ากับ 25,000 kg. จงคำนวณหาค่าปริมาณเหล็กเสริมทางยาวต ้านทานโมเมนต์ดด


ั สูงสุดโดยวิธห ้
ี น่วยแรงใช งาน(WSD)

c’=240 ksc, fy = 3000 ksc, d = 0.45 m, k = 0.39

,fy = 2400 ksc , d = 0.45 m

หนด fc’=200 ksc, fy = 2400 ksc, d = 0.07 m, k = 0.40


ประสิทธิผล d = 7.5 ซม. ต ้องการปริมาณเหล็กเสริมเอกต่อความกว ้างหนึง่ เมตร เท่ากับ

./ตร.ซม. และ n = 10 ปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงทีต


่ ้องการอย่างน ้อยเท่ากับ

นต์ต ้านทานโดยปลอดภัยของคานนี้
ล็กปลอก (SR24) ขนาด 9 มม. จงหาระยะเรียงของเหล็กปลอก

ขนาด 6 มม. จงหาเหล็กยืน และระยะห่างของเหล็กปลอกเดีย ่ วรใช ้


่ วทีค

= 250 กก./ตร.ซม., fy = 3000 กก./ตร.ซม.



น่วยแรงใชงาน ดังนัน
้ แรงอัดและโมเมนต์ดด
ั ทีจ
่ ะนำมาพิจารณาออกแบบ คือ
นกรีตมีคา่ เท่ากับ 0.85fc' และแผ่สม่ำเสมอบนพืน
้ ทีร่ ับแรงอัดเทียบเท่า B1cb ดังรูป ทัง้ นีค
้ า่ B1 คือ
้ กปลอก (SR24) ขนาด 9 มม. จงประมาณหาระยะเรียงของเหล็กปลอก
มมติใชเหล็

่ ้องใช ้ โดยพิจารณาจากกราฟออกแบบเสา
= 3000 กก./ตร.ซม. จงประมาณหาปริมาณเหล็กยืนทัง้ หมด (Ast) ทีต
ed condition) ตามวิธก
ี ำลัง
อัตราสว่ นของเหล็กเสริมทีส
่ ภาวะสมดุล สมมติให ้ตำแหน่งแนวแกนสะเทิน kd = 11.25 ซม.

wL2/24 จงใชวิ้ ธ ี WSD หาขนาดและระยะเรียงของเหล็กเสริมทีต ้


่ ้องใชตรงกลางช ว่ งพืน
้ สมมติให ้แผ่นพืน
้ หนา 20 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอ

wL2/24 จงใชวิ้ ธ ี WSD หาขนาดและระยะเรียงของเหล็กเสริมที่ “ประหยัด” ตรงกลางชว่ งพืน


้ สมมติให ้แผ่นพืน
้ หนา 20 ซม. เสริมเหล็กรับแร
า ค่า k = 0.43 และโมเมนต์ต ้านทานโดยคอนกรีต = 5300 กก.-เมตร ถ ้าคานนีต
้ ้องรับโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน = 6000 กก.-เมตร จงหาปริมาณข

า ค่า k = 0.38 และโมเมนต์ต ้านทานโดยคอนกรีต = 6025 กก.-เมตร ถ ้าคานนีต


้ ้องรับโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน = 8025 กก.-เมตร จงหาปริมาณข

า ค่า k = 0.38 และโมเมนต์ต ้านทานโดยคอนกรีต = 6025 กก.-เมตร ถ ้าคานนีต ั ใช ้งาน = 8025 กก.-เมตร จงหาปริมาณข
้ ้องรับโมเมนต์ดด

าเท่ากับ 12 ซม. ดังนัน ั ้ (S) ทีใ่ ชคำนวณหาค่


้ ความยาวทางด ้านสน ้ าโมเมนต์ดด
ั คือ
าเท่ากับ 10 ซม. ดังนัน ่ ะนำไปใช ้คำนวณหาค่าโมเมนต์ดด
้ ความยาวทีจ ั ทีข
่ นานกับด ้านยาว คือ

ำหนดให ้ fc‘ = 280 กก./ซม.^ 2 และ fy = 4000 กก./ซม. ^2 จงหาเนือ


้ ทีข
่ องหน ้าตัดเสาทีเ่ ล็กทีส
่ ด
ุ โดยวิธ ี WSD

ำหนดให ้ fc‘ = 280 กก./ซม.2 และ fy = 4000 กก./ซม.2 จงหาเนือ


้ ทีข
่ องหน ้าตัดเสาทีใ่ หญ่ทส
ี่ ด
ุ โดยวิธ ี WSD
ำหนดให ้ fc‘ = 280 กก./ซม.2 และ fy = 4000 กก./ซม.2 จงหาเนือ
้ ทีข
่ องหน ้าตัดเสาทีใ่ หญ่ทส
ี่ ด
ุ โดยวิธ ี USD(SDM), U = 1.4D + 1.7L

้ มาณเหล็กยืนเท่ากับ 4% จงหาเนือ
ำหนดให ้ fc‘ = 280 กก./ซม.2 และ fy = 4000 กก./ซม.2 ถ ้าใชปริ ้ ทีข
่ องหน ้าตัดเสา โดยวิธ ี

้ มาณเหล็กยืนเท่ากับ 3% จงหาเนือ
ำหนดให ้ fc‘ = 280 กก./ซม. ^2 และ fy = 4000 กก./ซม. ^2 ถ ้าใชปริ ้ ทีข
่ องหน ้าตัดเสา โดยวิธี

้ าศูนย์กลางของหน ้าตัดเสาทีเ่ ล็กทีส


/ซม. ^2 และ fy = 3000 กก./ซม. ^2 จงประมาณขนาดเสนผ่ ่ ด
ุ โดยวิธ ี WSD

้ าศูนย์กลางของหน ้าตัดเสาทีเ่ ล็กทีส


/ซม. ^2 และ fy = 3000 กก./ซม.^ 2 จงประมาณขนาดเสนผ่ ่ ด
ุ โดยวิธ ี USD

้ าศูนย์กลางของหน ้าตัดเสาทีใ่ หญ่ทส


/ซม. ^2 และ fy = 3000 กก./ซม. ^2 จงประมาณขนาดเสนผ่ ี่ ด
ุ โดยวิธ ี WSD

้ มาณเหล็กยืนเท่ากับ 4% จงหาขนาดเสนผ่
/ซม.^ 2 และ fy = 3000 กก./ซม. ^2 ถ ้าใชปริ ้ าศูนย์กลางของหน ้าตัดเสา โดยวิธ ี

้ ากับ 50 x 50 ซม. ให ้ใชวิ้ ธ ี USD(SMD) หาเนือ


/ซม. 2 และ fy = 3000 กก./ซม.2 ถ ้าเลือกใชขนาดเสาเท่ ้ ทีห
่ น ้าตัดทัง้ หมด (Ast)

/ซม. ^2 และ fy = 3000 กก./ซม.^2 ถ ้าเลือกใชเสาขนาดเส ้ าศูนย์กลางเท่ากับ 50 ซม. ให ้ใชวิ้ ธ ี WSD หาเนือ
นผ่ ้ ทีห
่ น ้าตัดทัง้ หมด

ต์ดด ้
ั ใชงาน (M) มากทีส
่ ด ้ ามารถรับได ้ ซงึ่ เสมือนว่าเสานีร้ ับแต่แรงอัดตามแนวแกนเพียงอย่างเดียว
ุ ทีเ่ สานีส

ั ใช ้งาน (M) มากทีส


ต์ดด ่ ด ้ ามารถรับได ้ ซึง่ เสมือนว่าเสานีร้ ับแรงอัดตามแนวแกนอย่างเดียว
ุ ทีเ่ สานีส
ั รอบ plastic centroid ให ้ใช ้วิธ ี USD ประมาณหน่วยการยืดหดตัวของเหล็กเสริมรับแรงอัด ณ สภาวะสมดุล
อัดตามแนวแกน และโมเมนต์ดด

ั รอบ plastic centroid ให ้ใชวิ้ ธ ี USD ประมาณหน่วยการยืดหดตัวของเหล็กเสริมรับแรงอัด ณ สภาวะสมดุล


งอัดตามแนวแกน และโมเมนต์ดด

วสำหรับเสานีค
้ อ

สาต ้นนีท ี่ ราศจากค้ำยันเท่ากับ 6.00 ม. ให ้ใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าตัวคูณลดค่า R
้ ป

สาต ้นนีท ี่ ราศจากค้ำยันเท่ากับ 6.00 ม. ให ้ใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าตัวคูณลดค่า R


้ ป

ศจากค้ำยันเท่ากับ 8.00 ม. ให ้ใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณขนาดอย่างน ้อยของเสาต ้นนีท


้ จ ั้
ี่ ะถือว่าเป็ นเสาสน

I/L = 200 ซม.^3 จากผลของแรงอัดและโมเมนต์ดด ้ ะโก่งสองทาง และอยูใ่ นชว่ งแรงอัดเป็ นหลัก ถ ้าชว่ งความยาวของเสาต ้นนีท
ั เสาต ้นนีจ ้

I/L = 200 ซม.^3 จากผลของแรงอัดและโมเมนต์ดด ้ ะโก่งสองทาง และอยูใ่ นชว่ งแรงอัดเป็ นหลัก ถ ้าชว่ งความยาวของเสาต ้นนีท
ั เสาต ้นนีจ ้

10 ตัน/เมตร^2 จงหาจำนวนอย่างน ้อยของเหล็กเสริม DB25 มม. ในแต่ละทิศทางเนือ


่ งจากโมเมนต์ดด
ั โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน กำหนดค

นือ ่ องหน ้าตัดวิกฤตสำหรับต ้านแรงเฉือนทางเดียวแบบคาน


้ ทีข
นือ
้ ทีข
่ องหน ้าตัดวิกฤตสำหรับต ้านแรงเฉือนทะลุ


ป็ น 3 แถว ขนานกับด ้านยาวของฐาน แต่ละแถวใชเสาเข็ ม 4 ต ้น โดยให ้ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 90 ซม.

ณกำลังต ้านแรงอัดใช ้งาน ( Pb ) ทีส


่ ภาวะสมดุล (Balanced Condition ) สมมติคา่ หน่วยแรงอัดทีย
่ อมให ้ของเสา = 120 กก./

ดัดประลัย (MU) ทีค


่ านสามารถรับได ้ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ jUd = 33.5 ซม.

ต์ดด
ั ประลัย (MU) ทีค
่ านสามารถรับได ้ กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ซม.2 fy = 4000 กก./ซม.2 และ jUd = 45 ซม.

ั ใช ้งาน (M) ของคานนี้ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ n = 10
าณค่าโมเมนต์ดด

วิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ kd = 11.25 ซม.
ต์ดด
ั ประลัย (MU)ทีค
่ านสามารถรับได ้ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2

องพืน
้ นี้ สมมติให ้ fy = 2400 กก./ซม.2 และ ตำแหน่งแนวแกนสะเทิน kd = 2.58 ซม.

มมติให ้ fy = 3000 กก./ซม.2 และค่า jU = 0.92

ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ้
ประมาณค่าน้ำหนักบรรทุกจรแบบแผ่สม่ำเสมอใชงานสู
งสุด กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ซม.2 fy = 2400


ก./ม.2 จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ประมาณระยะห่างระหว่างศูนย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับ กำหนดให ้ fc‘ = 200


ก./ม.2 จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณระยะห่างระหว่างศูนย์ถงึ ศูนย์ของทีร่ องรับ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./

มเมนต์ดด ้
ั ชนิดลบตรงทีร่ องรับตัวในมีคา่ เท่ากับ wL2/9 จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน หาปริมาณเหล็กเสริมทีต
่ ้องใช

มเมนต์ดด ้
ั ชนิดลบตรงทีร่ องรับตัวนอกมีคา่ เท่ากับ wL2/24 จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน หาปริมาณเหล็กเสริมทีต
่ ้อง
ั ชนิดบวกตรงกลางชว่ งพืน
มเมนต์ดด ้
้ มีคา่ เท่ากับ wL2/14 จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน หาปริมาณเหล็กเสริมทีต
่ ้องใช

่ ้องใช ้ สมมติให ้พืน


ทีต ้ หนา 10 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 8 ซม. fc‘ = 150 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม

ะมาณน้ำหนักบรรทุกจรแบบแผ่สม่ำเสมอใช ้งานสำหรับพืน
้ นี้ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และค่า jUd = 11.50


น่วยแรงใชงาน ้
ประมาณน้ำหนักบรรทุกจรแบบแผ่สม่ำเสมอใชงานส ำหรับคานนี้ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก

บแรงอัด (As‘) กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 ระยะ d = 40 ซม. d’ = 5 ซม. ค่า k = 0.43 และโมเมนต์ต ้านทานโด

รับแรงอัด (As‘) กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 ระยะ d = 54 ซม. d’ = 6 ซม. ค่า j = 0.866 และโมเมนต์ต ้านทาน

(As) และรับแรงอัด (As‘) กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 ระยะ d = 25 ซม. d’ = 5 ซม. และกำลังต ้านทานโมเมน
(As) และรับแรงอัด (As‘) กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 4000 กก./ซม.2 ระยะ d = 30 ซม. d’ = 3 ซม. และกำลังต ้านทานโมเมน

(As) และรับแรงอัด (As‘) กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 ระยะ d = 40 ซม. d’ = 3 ซม. และกำลังต ้านทานโมเมน

4.50 เมตร และช่วงคานยาว = 6 เมตร จงหาความกว ้างประสิทธิผลของปี กคานรูปตัดตัวที ตามมาตรฐานของ ว.ส.ท.

5 เมตร และชว่ งคานยาว = 8 เมตร จงหาความกว ้างประสท


ิ ธิผลของปี กคานรูปตัดตัวที ตามมาตรฐานของ ว.ส.ท.

รฐานของ ว.ส.ท. ถ ้าระยะห่างจากศูนย์ถงึ ศูนย์ของคานข ้างเคียง = 4.50 เมตร และชว่ งคานยาว = 6 เมตร

รฐานของ ว.ส.ท. ถ ้าระยะห่างจากศูนย์ถงึ ศูนย์ของคานข ้างเคียง = 4 เมตร และช่วงคานยาว = 4 เมตร


ใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณกำลังรับโมเมนต์ดด
ั ประลัย (MU) กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 และ fy = 3000
ว.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ประมาณโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน (M) ของคานนี้ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./


วยแรงใชงาน หาปริมาณเหล็กเสริม กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ n = 10

รฐาน ว.ส.ท. ตามวิธท


ี ี่ 2 ของการออกแบบพืน
้ คสล. 2 ทาง ว่าคานรองรับแต่ละด ้านต ้องรับน้ำหนักบรรทุกแผ่สม่ำเสมอเทียบเท่าจากแผ่นพน

รฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห ้


ี น่วยแรงใชงาน หาระยะเรียงห่างมากทีส
่ ด
ุ ของเหล็กลูกตัง้ (SR24) ขนาด f9 มม. (สองขา) สมมติให ้

องเหล็กลูกตัง้ (SD30) ขนาด f10 มม. (สองขา) สมมติให ้ fc ‘ = 200 กก./ซม.2

หาความต ้านทานแรงเฉือนประลัยทีห
่ น ้าตัดวิกฤต สมมติให ้ fc ‘ = 200 กก./ซม.2


งใชงาน ้
หาความต ้านทานแรงเฉือนใชงานที
ห ่ น ้าตัดวิกฤต สมมติให ้ fc ‘ = 150 กก./ซม.2
้ำหนักคานแล ้ว) โดยคอนกรีตมีกำลังต ้านทานแรงเฉือนปลอดภัย = 3300 กก. จงใช ้มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห
ี น่วยแรงใช ้งาน ประมาณ

) โดยคอนกรีตมีกำลังต ้านทานแรงเฉือนปลอดภัย = 3000 กก. จงใช ้มาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธห


ี น่วยแรงใช ้งาน ประมาณระยะ


น้ำหนักคานแล ้ว) โดยคอนกรีตมีกำลังต ้านทานแรงเฉือนประลัย = 14 ตัน จงใชมาตรฐานของ ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณระยะ

ั รอบ plastic centroid ให ้ใช ้วิธ ี WSD ประมาณค่าหน่วยแรงอัด Fa ทีย


นวแกน และโมเมนต์ดด ่ อมให ้ของคอนกรีต กำหนดให ้ fc‘ = 250

ั รอบ plastic centroid ให ้ใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าหน่วยแรงดัด Fb ทีย


นวแกน และโมเมนต์ดด ่ อมให ้ของคอนกรีต กำหนดให ้ fc‘ = 250

าโมเมนต์ดด
ั M0 ทีย
่ อมให ้ของเสาเมือ
่ ไม่มแ
ี รงอัดตามแนวแกน กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ ES = 2x106

ดใช ้งานทีส
่ ภาวะสมดุล (Pb) สมมติให ้ หน่วยแรงอัดทีย
่ อมให ้ของคอนกรีต = 100 กก./ ซม.2 หน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้ของคอนกรีต

กก./ ซม.2 หน่วยแรงดัดทีย


่ อมให ้ของคอนกรีต = 112.5 กก./ ซม.2 ระยะเยือ
้ งศูนย์สมดุล = 13 ซม. และโมเมนต์อน ี ของหน ้าตัด
ิ เนอร์เชย
ก.-เมตร จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าแรงอัดใชงานที
้ เ่ สาสามารถรับได ้ในชว่ งแรงอัดเป็ นหลัก สมมติให ้ fC‘ = 200 กก./ ซม.2 fY = 3000

หลัก กำหนดให ้ หน่วยแรงอัดทีย


่ อมให ้ของคอนกรีต = 120 กก./ ซม.2 หน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้ของคอนกรีต = 112.5 กก./ ซม

หลัก กำหนดให ้ หน่วยแรงอัดทีย


่ อมให ้ของคอนกรีต = 120 กก./ ซม.2 หน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้ของคอนกรีต = 112.5 กก./ ซม

กรีต = 120 กก./ ซม.2 หน่วยแรงดัดทีย ้


่ อมให ้ของคอนกรีต = 112.5 กก./ ซม.2 แรงอัดใชงานที
ส ่ ภาวะสมดุล (Pb) = 33 ตัน และโมเมนต

าโมเมนต์ดด ้
ั ใชงานที
ส ่ ภาวะสมดุล (Mb) กำหนดให ้ หน่วยแรงอัดทีย
่ อมให ้ของคอนกรีต = 100 กก./ ซม.2 หน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้ของคอนก

ารถรับได ้ในชว่ งแรงอัดเป็ นหลัก กำหนดให ้ หน่วยแรงอัดทีย


่ อมให ้ของคอนกรีต = 92 กก./ ซม.2 หน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้ของคอนกรีต

ารถรับได ้ในชว่ งแรงอัดเป็ นหลัก กำหนดให ้ หน่วยแรงอัดทีย


่ อมให ้ของคอนกรีต = 92 กก./ ซม.2 หน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้ของคอนกรีต
หลัก กำหนดให ้ หน่วยแรงอัดทีย
่ อมให ้ของคอนกรีต = 92 กก./ ซม.2 หน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้ของคอนกรีต = 90 กก./ ซม.2 โมเมนต์อน
ิ เนอ

ยวสำหรับเสานีค
้ อ

ยวสำหรับเสานีค
้ อ

ยวสำหรับเสานีค
้ อ

200 ซม.3 ถ ้าเสาต ้นนีโ้ ก่งสองทาง และสมมติวา่ อยูใ่ นชว่ งแรงอัดเป็ นหลัก หากชว่ งความยาวของเสาต ้นนีท
้ ป
ี่ ราศจากค้ำยันเท่ากับ

I/L = 75 ซม.3 ถ ้าเสาต ้นนีโ้ ก่งสองทาง และสมมติวา่ อยูใ่ นช่วงแรงอัดเป็ นหลัก ถ ้าช่วงความยาวของเสาต ้นนีท
้ ป
ี่ ราศจากค้ำยันเท่ากับ

้ ชว่ งความยาวของเสาต ้นนีท


กับ 1.50 ดังนัน ้ ป ั้
ี่ ราศจากค้ำยันควรมีคา่ เท่าใดตามวิธ ี USD จึงจะถือว่าเป็ นเสาสน
กับ 1.70 ดังนัน
้ ช่วงความยาวของเสาต ้นนีท
้ ป ้
ี่ ราศจากค้ำยันควรมีคา่ เท่าใดตามวิธ ี USD จึงจะถือว่าเป็ นเสาสัน

ั้
ยันควรมีคา่ เท่าใดตามวิธ ี USD จึงจะถือว่าเป็ นเสาสน

ลายหนึง่ รับโมเมนต์ MD = 10 ตัน-ม. ML = 6 ตัน-ม. และอีกปลายหนึง่ รับโมเมนต์ MD = 5 ตัน-ม. ML = 3 ตัน-ม. ซึง่ ทำให ้เสาโก่งสองทา

ลายหนึง่ รับโมเมนต์ MD = 10 ตัน-ม. ML = 6 ตัน-ม. และอีกปลายหนึง่ รับโมเมนต์ MD = 5 ตัน-ม. ML = 3 ตัน-ม. ซงึ่ ทำให ้เสาโก่งสองทา

d โดยทีป
่ ลายหนึง่ รับโมเมนต์ MD = 4.70 ตัน-ม. ML = 2.35 ตัน-ม. และอีกปลายหนึง่ ไม่มโี มเมนต์กระทำ ถ ้าให ้ effective length factor

่ ลายหนึง่ รับโมเมนต์ MD = 4.70 ตัน-ม. ML = 2.35 ตัน-ม. และอีกปลายหนึง่ ไม่มโี มเมนต์กระทำ จงใช ้วิธ ี USD หาค่า
d โดยทีป

id โดยทีป
่ ลายหนึง่ รับโมเมนต์ MD = 10 ตัน-ม. ML = 6 ตัน-ม. และอีกปลายหนึง่ รับโมเมนต์ MD = 5 ตัน-ม. ML = 3 ตัน-ม
id โดยทีป
่ ลายหนึง่ รับโมเมนต์ MD = 10 ตัน-ม. ML = 6 ตัน-ม. และอีกปลายหนึง่ รับโมเมนต์ MD = 5 ตัน-ม. ML = 3 ตัน-ม

ทีป
่ ลายหนึง่ รับโมเมนต์ MD = 4.70 ตัน-ม. ML = 2.35 ตัน-ม. และอีกปลายหนึง่ ไม่มโี มเมนต์กระทำ ถ ้าให ้ effective length factor kb

่ ลายหนึง่ รับโมเมนต์ MD = 4.70 ตัน-ม. ML = 2.35 ตัน-ม. และอีกปลายหนึง่ ไม่มโี มเมนต์กระทำ จงใชวิ้ ธ ี USD หาค่า moment magni
ทีป

ยืนทัง้ หมดทีต ้
่ ้องใชตามวิ
ธี WSD โดยพิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ
่ สดง กำหนดให ้ fC‘ = 250 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./

นทัง้ หมดทีต ้
่ ้องใชตามวิ
ธ ี WSD โดยพิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ
่ สดง กำหนดให ้ fC‘ = 250 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./
่ ้องใช ้ตามวิธ ี WSD โดยพิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ
นทัง้ หมดทีต ่ สดง กำหนดให ้ fC‘ = 250 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./

่ ้องใช ้ตามวิธ ี USD โดยพิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ


หาปริมาณเหล็กยืนทัง้ หมดทีต ่ สดง กำหนดให ้ fC‘ = 300 กก./ตร.ซม. fY = 3000
หาปริมาณเหล็กยืนทัง้ หมดทีต ้
่ ้องใชตามวิ
ธ ี USD โดยพิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ
่ สดง กำหนดให ้ fC‘ = 300 กก./ตร.ซม. fY = 4000

่ สดง กำหนดให ้ fC‘ = 200 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./ตร.ซม. อัตราสว่ น d/h = 0.9
ทัง้ นีใ้ ห ้พิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ
USD หาว่า เสารับโมเมนต์ดด
ั ประลัย MU ได ้เท่าใด ทัง้ นีใ้ ห ้พิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ
่ สดง กำหนดให ้ fC‘ = 350 กก./ตร

โมเมนต์ดด
ั ประลัย MU ได ้เท่าใด ทัง้ นีใ้ ห ้พิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ
่ สดง กำหนดให ้ fC‘ = 300 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก

แรงอัดประลัย PU ได ้เท่าใด ทัง้ นีใ้ ห ้พิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ


่ สดง กำหนดให ้ fC‘ = 200 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./ตร
USD หาว่า เสารับแรงอัดประลัย PU ได ้เท่าใด ทัง้ นีใ้ ห ้พิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ
่ สดง กำหนดให ้ fC‘ = 200 กก./ตร.ซม

่ สดง กำหนดให ้ fC‘ = 250 กก./ตร.ซม. fY = 4000 กก./ตร.ซม. อัตราสว่ น d/D = 0.8
SD โดยพิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ
่ สดง กำหนดให ้ fC‘ = 350 กก./ตร.ซม. fY = 4000 กก./ตร.ซม. อัตราสว่ น
MU ได ้เท่าใด ทัง้ นีใ้ ห ้พิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ

อัดประลัย PU ได ้เท่าใด ทัง้ นีใ้ ห ้พิจารณาจากกราฟออกแบบทีแ


่ สดง กำหนดให ้ fC‘ = 250 กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./ตร.

าน plastic centroid
ed condition)

ะยะเยือ
้ งศูนย์มค
ี า่ น ้อย
ะยะเยือ
้ งศูนย์มค
ี า่ มากๆ 

ความลึกสุทธิ d อย่างน ้อย ของฐานราก เพือ


่ ให ้ปลอดภัยทัง้ จากโมเมนต์ดด
ั และแรงเฉือนแบบคานกว ้าง กำหนดให ้ fc‘ = 144

วามลึกสุทธิ d อย่างน ้อย ของฐานราก เพือ


่ ให ้ปลอดภัยทัง้ จากโมเมนต์ดด
ั และแรงเฉือนแบบคานกว ้าง กำหนดให ้ fc‘ = 144 กก

ก จงหาว่าดินใต ้ฐานต ้องรับหน่วยแรงกดอัดสุทธิมากทีส


่ ด
ุ เท่าใด
กสุทธิ d = 60 ซม. จงใชวิ้ ธ ี USD หากำลังรับแรงเฉือนประลัยแบบทะลุ (fVc) ตรงหน ้าตัดวิกฤต ถ ้าให ้ฐานรากมีคา่ fc‘ = 150

กสุทธิ d = 60 ซม. จงใชวิ้ ธ ี USD หากำลังรับแรงเฉือนประลัยแบบคานกว ้าง (fVc) ตรงหน ้าตัดวิกฤต ถ ้าให ้ฐานรากมีคา่ fc‘ = 150

ะมาณค่าแรงอัด P ทีก
่ ระทำ กำหนดให ้ฐานรากมีคา่ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม.

. หากคิดว่าฐานรากนีถ ู ควบคุมโดยแรงเฉือนประลัยแบบคานกว ้าง (fVc) ตรงหน ้าตัดวิกฤต จงใชวิ้ ธ ี USD ประมาณค่าแรงอัดประลัยตามแน


้ ก

. หากคิดว่าฐานรากนีถ ู ควบคุมโดยแรงเฉือนประลัยแบบทะลุ (fVc) ตรงหน ้าตัดวิกฤต จงใชวิ้ ธ ี USD ประมาณค่าแรงอัดประลัยตามแนวแกน


้ ก

ขนาด f 0.30 ม. จำนวน 12 ต ้น เรียงเป็ น 3 แถวๆละ 4 ต ้น ทีข


่ นานกับด ้านยาวของฐานราก โดยให ้ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางของเสาเข็มเท

ด ้านยาวของฐานราก โดยให ้ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากทีห


่ า่ งจากศูนย์กลางของเสาเข
มขนาด f 0.30 ม. จำนวน 12 ต ้น เรียงเป็ น 3 แถวๆละ 4 ต ้น ระยะ c to c ของเสาเข็ม = 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึงศูนย์กลางของ

มขนาด f 0.30 ม. จำนวน 12 ต ้น เรียงเป็ น 3 แถวๆละ 4 ต ้น ระยะ c to c ของเสาเข็ม = 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึงศูนย์กลางของ

มขนาด f 0.30 ม. จำนวน 12 ต ้น เรียงเป็ น 3 แถวๆละ 4 ต ้น ระยะ c to c ของเสาเข็ม = 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึงศูนย์กลางของ

น เรียงเป็ น 3 แถวๆละ 4 ต ้น ระยะ c to c ของเสาเข็ม = 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึงศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 45

น เรียงเป็ น 3 แถวๆละ 4 ต ้น ระยะ c to c ของเสาเข็ม = 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึงศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 45

น เรียงเป็ น 3 แถวๆละ 4 ต ้น ระยะ c to c ของเสาเข็ม = 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึงศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 45

นี้ จงหาความลึกสุทธิ d ทีต


่ ้องการเพือ
่ ให ้ฐานรากนีป
้ ลอดภัยจากโมเมนต์ดด
ั กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก
นี้ จงหาความลึกสุทธิ d ทีต
่ ้องการเพือ
่ ให ้ฐานรากนีป
้ ลอดภัยจากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 3000

นี้ จงหาความลึกสุทธิ d ทีต


่ ้องการเพือ
่ ให ้ฐานรากนีป
้ ลอดภัยจากแรงเฉือนแบบทะลุ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 3000

นี้ จงใช ้วิธW ่ วรใช ้ สมมติให ้ ความลึกสุทธิ d = 15 ซม. fc‘ = 150 กก./ตร.ซม. fy = 2400
ี SD ประมาณปริมาณเหล็กเสริมอย่างน ้อยทีค

ห ้ ระยะ c to c ของเสาเข็ม = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึงศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 20 ซม. ซงึ่ จะได ้ฐานรากขนาด

โดยให ้ ระยะ c to c ของเสาเข็ม = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึงศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 20 ซม. ซงึ่ จะได ้ฐานรากขนาด

โดยให ้ ระยะ c to c ของเสาเข็ม = 80 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึงศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 20 ซม. ซึง่ จะได ้ฐานรากขนาด

โดยให ้ ระยะ c to c ของเสาเข็ม = 80 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึงศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 20 ซม. ซงึ่ จะได ้ฐานรากขนาด



นรากนีใ้ ชเสาเข็ มจำนวน 4 ต ้น โดยให ้ ระยะ c to c ของเสาเข็ม = 80 ซม. และระยะขอบของฐานรากถึงศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ

ดให ้ fc‘ = 250 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ jU = 0.857

ดให ้ fc‘ = 300 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

ดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

นดให ้ fc‘ = 300 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

่ ้องใช ้ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.
ณเหล็กเสริมทีต

่ ้องใช ้ กำหนดให ้ fc‘ = 300 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.
ณเหล็กเสริมทีต
่ ้องใช ้ กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.
ณเหล็กเสริมทีต

ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณโมเมนต์ดด
ั ประลัย MU ของคานนี้ กำหนดให ้ fc‘ = 300 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x1

ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณโมเมนต์ดด
ั ประลัย MU ของคานนี้ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x1

ท. โดยวิธก
ี ำลัง ประมาณโมเมนต์ดด
ั ประลัย MU ของคานนี้ กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x1


ทีร่ ะยะ d’ = 4.5 ซม. จงใชมาตรฐาน ี ำลัง ประมาณปริมาณเหล็กเสริม AS และ AS‘ สำหรับคานนี้ กำหนดให ้ fc‘ = 300
ว.ส.ท. โดยวิธก

ทีร่ ะยะ d’ = 5 ซม. จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก


ี ำลัง ประมาณปริมาณเหล็กเสริม AS และ AS‘ สำหรับคานนี้ กำหนดให ้ fc‘ = 200


ดทีร่ ะยะ d’ = 4.5 ซม. จงใชมาตรฐาน ี ำลัง ประมาณปริมาณเหล็กเสริม AS และ AS‘ สำหรับคานนี้ กำหนดให ้
ว.ส.ท. โดยวิธก


ทีร่ ะยะ d’ = 5 ซม. จงใชมาตรฐาน ี ำลัง ประมาณปริมาณเหล็กเสริม AS และ AS‘ สำหรับคานนี้ กำหนดให ้ fc‘ = 300
ว.ส.ท. โดยวิธก

งอัดใชงาน = 9 ตัน และโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน = 4.725 ตัน-เมตร จงหาแรงต ้านสุทธิของดินใต ้ฐานราก


งอัดใชงาน = 9 ตัน และโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน = 4.725 ตัน-เมตร จงใชวิ้ ธ ี WSD หาความลึกประสท
ิ ธิผลอย่างน ้อย (d) เพือ
่ ให ้ฐานรากนีป
้ ลอด

เสาเข็มขนาด f 30 ซม. จำนวน 6 ต ้น โดยเรียงเป็ น 2 แถวทีข


่ นานกับด ้านยาวของฐานราก แถวละ 3 ต ้น โดยให ้ c to c ของเสาเข็มห่างกัน

เสาเข็มขนาด f 30 ซม. จำนวน 6 ต ้น โดยเรียงเป็ น 2 แถวทีข


่ นานกับด ้านยาวของฐานราก แถวละ 3 ต ้น โดยให ้ c to c ของเสาเข็มห่างกัน

เสาเข็มขนาด f 30 ซม. จำนวน 6 ต ้น โดยเรียงเป็ น 2 แถวทีข


่ นานกับด ้านยาวของฐานราก แถวละ 3 ต ้น โดยให ้ c to c ของเสาเข็มห่างกัน

เสาเข็มขนาด f 30 ซม. จำนวน 6 ต ้น โดยเรียงเป็ น 2 แถวทีข


่ นานกับด ้านยาวของฐานราก แถวละ 3 ต ้น โดยให ้ c to c ของเสาเข็มห่างกัน

เสาเข็มขนาด f 30 ซม. จำนวน 6 ต ้น โดยเรียงเป็ น 2 แถวทีข


่ นานกับด ้านยาวของฐานราก แถวละ 3 ต ้น โดยให ้ c to c ของเสาเข็มห่างกัน
ำลัง ประมาณตำแหน่ง plastic centroid ของเสาต ้นนี้ ว่าห่างจาก c.g. ของเหล็กทีร่ ับแรงดึงเท่าไร กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./

ำลัง ประมาณตำแหน่ง plastic centroid ของเสาต ้นนี้ ว่าห่างจาก c.g. ของเหล็กทีร่ ับแรงดึงเท่าไร กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./

ำลัง ประมาณตำแหน่ง plastic centroid ของเสาต ้นนี้ ว่าห่างจาก c.g. ของเหล็กทีร่ ับแรงดึงเท่าไร กำหนดให ้ fc‘ = 300 กก./
ed Load = 1.4D + 1.7L

red load = 1.4D + 1.7L


หน่งแนวแกนสะเทิน = 10 ซม.
อนกรีตมีคา่ fc ‘ = 200 กก./ซม.2

ตมีคา่ fc ‘ = 200 กก./ซม.^2

มมติวา่ คอนกรีตมีคา่ fc ‘ = 200 กก./ซม.^2

อนกรีตมีคา่ fc ‘ = 200 กก./ซม.^2


ทีย
่ อมให ้ของเหล็กเสริม RB 25 มม. = 7.91 กก./ตร.ซม.

= 3000 กก./ซม.^2 และหน่วยแรงยึดเหนีย


่ วทีย
่ อมให ้ของเหล็กเสริม DB 25 มม. = 13 กก./ตร.ซม.

ดบวก ซงึ่ ค่าสม


ั ประสท
ิ ธิข ้ ตำแหน่งทางทฤษฎี (โดยประมาณ) ซงึ่ ห่างมาจากจุดรองรับ ทีจ
์ องโมเมนต์บวก = 1/16 ดังนัน ่ ะหยุด ตัด หรือดัด

ดลบ ซงึ่ ค่าสม


ั ประสท
ิ ธิข ้ ตำแหน่งทางทฤษฎี (โดยประมาณ) ซงึ่ ห่างมาจากจุดรองรับ ทีจ
์ องโมเมนต์ลบ = 1/11 ดังนัน ่ ะหยุด ตัด หรือดัดเห
สามารถรับได ้เท่ากับ (กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ตร.ซม.)

ทีห
่ น ้าตัดวิกฤต อันเนือ ้
่ งมาจากน้ำหนักบรรทุกใชงาน ถ ้าให ้ระยะ x1 = 24 ซม. y1 = 42 ซม. ดังนัน
้ ต ้องการปริมาณเหล็กปลอก
หน่ง c.g. ของเหล็กรับแรงดึงจะอยูห
่ า่ งจากผิวล่างของคาน ประมาณ

องคาน สมมติให ้ Ec = 2.5 x 105 กก./ตร.ซม. และโมเมนต์อน ี ประสท


ิ เนอร์เชย ิ ธิผล (Ie) = 56000 ซม.4

มดในระยะยาว ซ งึ่ มากกว่า 5 ปี ขน


ึ้ ไป สมมติให ้ Ec = 2.5 x 105 กก./ตร.ซม. และโมเมนต์อน ี ประสท
ิ เนอร์เชย ิ ธิผล (Ie) = 56000
ต์ดด
ั (flexural bond stress : u) กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 j = 0.857

3000 กก./ซม.2

มาใช ้ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2


ำมาใช ้ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2

มาใช ้ กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ซม.2

มาใช ้ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2

าใช ้ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2

.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ประมาณกำลังรับแรงดึงตรงตำแหน่งทีจ ่ ดัดงอเหล็กเสริม ขนาด DB 25 มม. (ทีไ่ ม่ใชเ่ หล็กบน
่ ะเริม

.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ประมาณกำลังรับแรงดึงตรงตำแหน่งทีจ
่ ะเริม
่ ดัดงอเหล็กเสริม ขนาด DB 28 มม. (ทีเ่ ป็ นเหล็กบน


ชงาน ประมาณกำลังรับแรงดึงตรงตำแหน่งทีจ
่ ะเริม
่ ดัดงอเหล็กเสริม ขนาด DB 28 มม. (ทีเ่ ป็ นเหล็กบน) กำหนดให ้ fc‘ = 200
ช ้งาน ประมาณกำลังรับแรงดึงตรงตำแหน่งทีจ
่ ะเริม
่ ดัดงอเหล็กเสริม ขนาด DB 32 มม. (ทีไ่ ม่ใช่เหล็กบน) กำหนดให ้ fc‘ = 150

fy = 3000 กก./ซม.2

y = 3000 กก./ซม.2

ยเข ้าไปในจุดรองรับนัน

ยเข ้าไปในจุดรองรับนัน

ละค่า 1/Ct = 30 ซม.

ละค่า 1/Ct = 36 ซม.

U = 0.6 เมตร และค่า 1/Ct = 30 ซม.

U = 0.5 เมตร และค่า 1/Ct = 36 ซม.


0 กก./ตร.ซม. อัตราส่วนของ TU/VU = 0.5 เมตร ค่า 1/Ct = 36 ซม. และให ้ fTS = 4(fTC)
โก่งตัวต่อไป สมมติให ้ Mcr = 1400 กก.-เมตร Icr = 55900 ซม.4

มมติให ้ Icr = 55900 ซม.4

ารโก่งตัวทันทีทป
ี่ ลายคานยืน
่ สมมติให ้ Ie = 56050 ซม.4 และ EC = 2.5x105 กก./ตร.ซม. [สูตรคำนวณ Di = wL4/(8EcIe) ]

e ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก


ี ำลัง ต่อไป สมมติให ้ Mcr = 1400 กก.-เมตร
ค่าของโมเมนต์อน ี ประสท
ิ เนอร์เชย ิ ธิผลของคานยืน
่ (Ie) สมมติให ้ Mcr = 1400 กก.-เมตร

ี ประสท
ชย ิ ธิผลของพืน
้ ยืน
่ (Ie) สมมติให ้ Mcr = 470 กก.-เมตร/เมตร

ารโก่งตัวทัง้ หมดทีป
่ ลายคานยืน
่ นี้ เมือ
่ รับน้ำหนักมากกว่า 5 ปี ขน
ึ้ ไป สมมติให ้ Ie = 55950 ซม.4 และ EC = 2.5x105 กก./ตร

ยคานยืน
่ นี้ สมมติให ้ ICR = 60150 ซม.4 และ EC = 2.0x105 กก./ตร.ซม. [สูตรคำนวณ Di = ML2/(4EcIe) ]

ลายคานยืน
่ นี้ เมือ
่ รับน้ำหนักมากกว่า 1 ปี ขน
ึ้ ไป สมมติให ้ ICR = 60150 ซม.4 และ EC = 2.0x105 กก./ตร.ซม. [สูตรคำนวณ

/Ma)3 กำหนดให ้ fc‘ = 300 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และสมมติให ้โมเมนต์ดด


ั ทีท
่ ำให ้คานเริม
่ ร ้าว (Mcr) = 1400
48 และ Icr = 55900 ซม.4

ธิ ก
ี ำลัง ประมาณค่าการโก่งตัวทันที สมมติให ้ EC = 2.5x105 กก./ตร.ซม. และโมเมนต์อน ี ประสท
ิ เนอร์เชย ิ ธิผล (Ie) = 56040

x105 กก./ตร.ซม. และโมเมนต์อน ี ประสท


ิ เนอร์เชย ิ ธิผล (Ie) = 86540 ซม.4

.ส.ท. โดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน ประมาณค่าการโก่งตัวทัง้ หมด เมือ
่ เวลาผ่านไป 1 ปี สมมติให ้ EC = 2.0x105 กก./ตร.ซม. และ

ี ประสท
ชย ิ ธิผล (Ie) = 56000 ซม.4

= 2400 กก./ตร.ซม. และ n = 10


1.25 และ Icr = 1960 ซม.4/ม.

ละให ้ (Ie)DL = 35900 ซม.4/ม. (เนือ


่ งจากน้ำหนักของกันสาดอย่างเดียว) และ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม.

วงปิ ดเพือ
่ ต ้านแรงเฉือนและโมเมนต์บด
ิ กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ตร.ซม.

รงกลางชว่ งคาน เพือ


่ ต ้านโมเมนต์ดด
ั และโมเมนต์บด
ิ กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ตร.ซม. ค่า k = 0.331, j = 0.89 และ R = 9.941

้านแรงเฉือนและโมเมนต์บด
ิ กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. Ct = 0.036 ซม.-1 at = 1.36

้ กเสริม SD30
ชเหล็
คอนกรีตมีกำลังประลัย 240 ksc.

รรทุกใชงานได ้เท่ากับ 30 ตัน/ต ้น

้ กเสริมไม่น ้อยกว่า
cm. จะต ้องใชเหล็
องฐานรากเป็ นระยะเท่ากับขนาดเส ้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็ม

ิ ธิผล (d) = 35 cm.


วิกฤติ กำหนดความลึกประสท


งใช งาน(WSD)ตามมาตราฐานว.ส.ท. ิ ธิผล
กำหนดความหนาฐานรากสามารถรับแรงเฉือนแบบคานกว ้างและแบบทะลุได ้ ความลึกประสท
ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 15 ซม. fc' = 150 กก./ซม.2 และ fy = 3000 กก./ซม.2 ตำแหน่งแนวแกนสะเทิน

า 20 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 15 ซม. fc‘ = 150 กก./ซม.2 และ fy = 3000 กก./ซม.2 ตำแหน่งแนวแกนสะเทิน
กก.-เมตร จงหาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด (As‘) ทีต ้
่ ้องใชตามทฤษฏี สมมติระยะ d’ = 3 ซม.

กก.-เมตร จงหาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด (As‘) ทีต ้


่ ้องใชตามทฤษฏี สมมติระยะ d’ = 5 ซม.

่ ้องใช ้ตามทฤษฏี สมมติระยะ d’ = 3 ซม.


กก.-เมตร จงหาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึง (As) และรับแรงอัด (As‘) ทีต
SDM), U = 1.4D + 1.7L

าตัดเสา โดยวิธ ี WSD

งหน ้าตัดเสา โดยวิธ ี USD

ตัดเสา โดยวิธ ี WSD

ตัดทัง้ หมด (Ast) ของเหล็กยืน U = 1.4D + 1.7L


นือ
้ ทีห
่ น ้าตัดทัง้ หมด (Ast) ของเหล็กยืน
รับแรงอัด ณ สภาวะสมดุล (Balanced Condition) กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ ES = 2x10^6

มรับแรงอัด ณ สภาวะสมดุล (Balanced Condition) กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ ES = 2x10^6
ชว่ งความยาวของเสาต ้นนีท ี่ ราศจากค้ำยันเท่ากับ 6.00 เมตร จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าตัวคูณลดค่า R ของเสาต ้นนี้
้ ป

ชว่ งความยาวของเสาต ้นนีท ี่ ราศจากค้ำยันเท่ากับ 8.00 เมตร จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าตัวคูณลดค่า R ของเสาต ้นนี้
้ ป


หน่วยแรงใช งาน กำหนดค่า j = 0.88, fs = 1500 กก/ซม^2
ากับ 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากทีห
่ า่ งจากศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 45 ซม. ถ ้าให ้ความหนาของฐานรากเท่ากับ 70

า = 120 กก./ซม.2 หน่วยแรงดัดทีย


่ อมให ้ของเสา = 112.5 กก./ซม.2 ระยะเยือ
้ งศูนย์สมดุล = 8.50 ซม. และโมเมนต์อน
ิ เนอร์เชียของหน
กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 และค่า j = 7/8

ำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 และค่า jd = 10.28 ซม.

‘ = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และค่า jUd = 11.50 ซม.

่ ้องใช ้ สมมติให ้พืน


ริมาณเหล็กเสริมทีต ้ หนา 10 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 7.5 ซม. fc‘ = 150 กก./ซม.2 fy = 2400

่ ้องใช ้ สมมติให ้พืน


าปริมาณเหล็กเสริมทีต ้ หนา 10 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 7.5 ซม. fc‘ = 150 กก./ซม
่ ้องใช ้ สมมติให ้พืน
ปริมาณเหล็กเสริมทีต ้ หนา 10 ซม. เสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียวทีร่ ะยะ d = 7.5 ซม. fc‘ = 150 กก./ซม

2400 กก./ซม.2 และค่า j = 7/8

ม.2 และค่า jUd = 11.50 ซม.

y = 3000 กก./ซม.2 และค่า n = 10

43 และโมเมนต์ต ้านทานโดยคอนกรีต (MC) = 5300 กก.-เมตร

866 และโมเมนต์ต ้านทานโดยคอนกรีต (MC) = 14305 กก.-เมตร

และกำลังต ้านทานโมเมนต์ดด ่ ใชอั้ ตราสว่ นเหล็กเสริม r - r‘ = 0.01 มีคา่ เท่ากับ 2300 กก.-เมตร
ั ประลัยเมือ
และกำลังต ้านทานโมเมนต์ดด ่ ใช ้อัตราส่วนเหล็กเสริม r - r‘ = 0.006 มีคา่ เท่ากับ 3610 กก.-เมตร
ั ประลัยเมือ

. และกำลังต ้านทานโมเมนต์ดด ่ ใชอั้ ตราสว่ นเหล็กเสริม r - r‘ = 0.016 มีคา่ เท่ากับ 11800 กก.-เมตร
ั ประลัยเมือ

2 และ fy = 3000 กก./ซม.2


= 3000 กก./ซม.2 และ n = 10

เสมอเทียบเท่าจากแผ่นพืน
้ นีเ้ ท่าใด

ขา) สมมติให ้ fc ‘ = 200 กก./ซม.2


ธีหน่วยแรงใช ้งาน ประมาณระยะ (ทางทฤษฎี) จากจุดรองรับทีต
่ ้องเสริมเหล็กลูกตัง้

าน ประมาณระยะ (ทางทฤษฎี) จากขอบรองรับทีต


่ ้องเสริมเหล็กลูกตัง้

ง ประมาณระยะ (ทางทฤษฎี) จากจุดรองรับทีต


่ ้องเสริมเหล็กลูกตัง้

กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ ES = 2x106 กก./ซม.2

กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และ ES = 2x106 กก./ซม.2

/ซม.2 และ ES = 2x106 กก./ซม.2

ให ้ของคอนกรีต = 115 กก./ ซม.2 ระยะเยือ


้ งศูนย์สมดุล = 12.7 ซม. และโมเมนต์อน
ิ เนอร์เชียของหน ้าตัด = 720000 ซม.4

นต์อน ี ของหน ้าตัด = 465300 ซม.4


ิ เนอร์เชย
กก./ ซม.2 fY = 3000 กก./ ซม.2 และโมเมนต์อน ี ของหน ้าตัด = 123470 ซม.4
ิ เนอร์เชย

12.5 กก./ ซม.2 และโมเมนต์อน ี ของหน ้าตัด = 55700 ซม.4


ิ เนอร์เชย

12.5 กก./ ซม.2 และโมเมนต์อน


ิ เนอร์เชียของหน ้าตัด = 55700 ซม.4

Pb) = 33 ตัน และโมเมนต์อน ี ของหน ้าตัด = 55700 ซม.4


ิ เนอร์เชย

แรงดัดทีย ้
่ อมให ้ของคอนกรีต = 115 กก./ ซม.2 แรงอัดใชงานที
ส ่ ภาวะสมดุล (Pb) = 170 ตัน และค่า n = 9

ยอมให ้ของคอนกรีต = 90 กก./ ซม.2 และโมเมนต์อน ี ของหน ้าตัด = 456150 ซม.4


ิ เนอร์เชย

ยอมให ้ของคอนกรีต = 90 กก./ ซม.2 และโมเมนต์อน ี ของหน ้าตัด = 456150 ซม.4


ิ เนอร์เชย
กก./ ซม.2 โมเมนต์อน ี ของหน ้าตัด = 456150 ซม.4 และให ้ MX = 2MY
ิ เนอร์เชย

จากค้ำยันเท่ากับ 6.00 เมตร จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าความยาวประสท


ิ ธิผลของเสาต ้นนี้

ราศจากค้ำยันเท่ากับ 4.25 เมตร จงใช ้วิธ ี WSD ประมาณค่าความยาวประสิทธิผลของเสาต ้นนี้


ม. ซึง่ ทำให ้เสาโก่งสองทาง ถ ้าให ้ effective length factor kb มีคา่ เท่ากับ 0.9 จงหาอัตราส่วนความชะลูดของเสาต ้นนีโ้ ดยเปรียบเทียบกับ

ม. ซงึ่ ทำให ้เสาโก่งสองทาง จงใชวิ้ ธ ี USD หาค่า creep factor bd ของเสาต ้นนีเ้ พือ
่ นำไปหาค่า moment magnifier factor

้ effective length factor kb มีคา่ เท่ากับ 1.0 จงหาอัตราสว่ นความชะลูดของเสาต ้นนีต


้ ามวิธ ี USD

้วิธ ี USD หาค่า creep factor bd ของเสาต ้นนีเ้ พือ


่ นำไปหาค่า moment magnifier factor ต่อไป

L = 3 ตัน-ม. ซงึ่ ทำให ้เสาโก่งสองทาง ถ ้าให ้ effective length factor kb มีคา่ เท่ากับ 0.9 ค่า creep factor bd เท่ากับ 0.58
L = 3 ตัน-ม. ซงึ่ ทำให ้เสาโก่งสองทาง จงใชวิ้ ธ ี USD หาค่า moment magnification factor db สำหรับใชออกแบบเสาต
้ ้นนี้ สมมติให ้ แรง

tive length factor kb มีคา่ เท่ากับ 1.0 ค่า creep factor bd เท่ากับ 0.6 และให ้ Ec เท่ากับ 2.4x105 กก./ซม.2 จงใชวิ้ ธ ี USD

D หาค่า moment magnification factor db สำหรับใชออกแบบเสาต


้ ้นนี้ สมมติให ้ แรงอัดวิกฤต (critical load : PC) = 150

= 3000 กก./ตร.ซม.

= 3000 กก./ตร.ซม.
= 3000 กก./ตร.ซม.

กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./ตร.ซม.


กก./ตร.ซม. fY = 4000 กก./ตร.ซม.

น d/h = 0.9
350 กก./ตร.ซม. fY = 5000 กก./ตร.ซม. อัตราสว่ น d/h = 0.9

fY = 3000 กก./ตร.ซม. อัตราสว่ น d/h = 0.9 และให ้ค่า rtm = 0.3

3000 กก./ตร.ซม. อัตราสว่ น d/h = 0.9 และให ้ค่า rtm = 0.3


กก./ตร.ซม. fY = 3000 กก./ตร.ซม. อัตราสว่ น d/h = 0.9

น d/D = 0.8
ร.ซม. อัตราสว่ น d/D = 0.8

000 กก./ตร.ซม. อัตราสว่ น d/D = 0.8 และให ้ค่า rtm = 0.2


ห ้ fc‘ = 144 กก./ตร.ซม. และค่า R = 10.57 กก./ตร.ซม.

fc‘ = 144 กก./ตร.ซม. และค่า R = 10.57 กก./ตร.ซม.


า fc‘ = 150 กก./ตร.ซม.

กมีคา่ fc‘ = 150 กก./ตร.ซม.

ณค่าแรงอัดประลัยตามแนวแกน (PU) ทีเ่ สาตอม่อถ่ายให ้กับฐานราก สมมติให ้ fc‘ ของฐานราก = 150 กก./ตร.ซม.

แรงอัดประลัยตามแนวแกน (PU) ทีเ่ สาตอม่อถ่ายให ้กับฐานราก สมมติให ้ fc‘ ของฐานราก = 150 กก./ตร.ซม.

งศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 90 ซม. และระยะขอบของฐานรากทีห


่ า่ งจากศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 45 ซม. จงหาว่าเสาเข็มแต่ละต ้น


างจากศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 45 ซม. ถ ้าเสาตอม่อถ่ายแรงอัดใชงาน PD = 55 ตัน PL = 30 ตัน และโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน
งฐานรากถึงศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 45 ซม. ดังนัน
้ จะได ้ฐานรากขนาด 2.70x3.60 ม. หากให ้ระยะ d ของฐานราก = 45

งฐานรากถึงศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 45 ซม. ดังนัน


้ จะได ้ฐานรากขนาด 2.70x3.60 ม. หากให ้ระยะ d ของฐานราก = 45

งฐานรากถึงศูนย์กลางของเสาเข็มเท่ากับ 45 ซม. ดังนัน


้ จะได ้ฐานรากขนาด 2.70x3.60 ม. หากให ้ระยะ d ของฐานราก = 45

ข็มเท่ากับ 45 ซม. ดังนัน


้ จะได ้ฐานรากขนาด 2.70x3.60 ม. หากให ้ระยะ d ของฐานราก = 45 ซม. จงประมาณค่าแรงเฉือนแบบคานกว ้าง

ข็มเท่ากับ 45 ซม. ดังนัน


้ จะได ้ฐานรากขนาด 2.70x3.60 ม. หากให ้ระยะ d ของฐานราก = 45 ซม. จงประมาณค่าแรงเฉือนแบบทะลุทห
ี่ น

ข็มเท่ากับ 45 ซม. ดังนัน


้ จะได ้ฐานรากขนาด 2.70x3.60 ม. หากให ้ระยะ d ของฐานราก = 45 ซม. จงประมาณค่าโมเมนต์ดด
ั ทีห
่ น ้าตัดวิก

y = 3000 กก./ตร.ซม. และ n = 10


ก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ n = 10

ร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ n = 10

ก./ตร.ซม. fy = 2400 กก./ตร.ซม. และ j = 0.873

ด ้ฐานรากขนาด 1.00x1.00 ม. หากให ้ความลึกสุทธิ d ของฐานราก = 15 ซม. จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าแรงเฉือนแบบคานกว ้าง ทีห
่ น ้าตัด

ซงึ่ จะได ้ฐานรากขนาด 1.00x1.00 ม. จงใชวิ้ ธ ี WSD หาความลึกสุทธิอย่างน ้อย d ทีต


่ ้องการเพือ
่ ให ้ฐานรากนีป
้ ลอดภัยจากโมเมนต์ดด
ั กำหน

ซึง่ จะได ้ฐานรากขนาด 1.20x1.20 ม. จงใช ้วิธ ี WSD หาความลึกสุทธิอย่างน ้อย d ทีต
่ ้องการเพือ
่ ให ้ฐานรากนีป
้ ลอดภัยจากโมเมนต์ดด
ั กำหน

ซงึ่ จะได ้ฐานรากขนาด 1.20x1.20 ม. หากให ้ความลึกสุทธิ d ของฐานราก = 15 ซม. จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณค่าแรงเฉือนแบบคานกว ้าง ทีห

งของเสาเข็มเท่ากับ 20 ซม. จงใชวิ้ ธ ี WSD ประมาณปริมาณเหล็กเสริมอย่างน ้อยทีค
่ วรใช ้ สมมติให ้ความลึกสุทธิ d = 15 ซม
ร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

ร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

ร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

กำหนดให ้ fc‘ = 300 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

ำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

นี้ กำหนดให ้ fc‘ = 250 กก./ตร.ซม. fy = 3000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.

ำหนดให ้ fc‘ = 300 กก./ตร.ซม. fy = 4000 กก./ตร.ซม. และ ES = 2.04x106 กก./ตร.ซม.


(d) เพือ
่ ให ้ฐานรากนีป
้ ลอดภัยจากแรงเฉือนแบบทะลุ กำหนดให ้ fc ‘ = 144 กก./ซม.2

c to c ของเสาเข็มห่างกัน = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากห่างจากศูนย์เสาเข็ม = 30 ซม. ถ ้าความลึกประสิทธิผล d ของฐานราก

ิ ธิผล d ของฐานราก
c to c ของเสาเข็มห่างกัน = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากห่างจากศูนย์เสาเข็ม = 30 ซม. ถ ้าความลึกประสท

ิ ธิผล d ของฐานราก
c to c ของเสาเข็มห่างกัน = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากห่างจากศูนย์เสาเข็ม = 30 ซม. ถ ้าความลึกประสท

c to c ของเสาเข็มห่างกัน = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากห่างจากศูนย์เสาเข็ม = 30 ซม. ถ ้าความลึกประสิทธิผล d ของฐานราก

ิ ธิผล d ของฐานราก
c to c ของเสาเข็มห่างกัน = 60 ซม. และระยะขอบของฐานรากห่างจากศูนย์เสาเข็ม = 30 ซม. ถ ้าความลึกประสท
= 250 กก./ซม.2 และ fy = 3000 กก./ซม.2

= 200 กก./ซม.2 และ fy = 2400 กก./ซม.2

= 300 กก./ซม.2 และ fy = 4000 กก./ซม.2


องรับ ทีจ
่ ะหยุด ตัด หรือดัดเหล็กเสริมรับโมเมนต์ดด
ั บวก คือ

รับ ทีจ
่ ะหยุด ตัด หรือดัดเหล็กเสริมรับโมเมนต์ดด
ั ลบ คือ
าณเหล็กปลอก (ขาเดียว) สำหรับโมเมนต์บด
ิ At/s เท่ากับ
ล (Ie) = 56000 ซม.4
ทีไ่ ม่ใชเ่ หล็กบน) กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ซม. 2 fy = 3000 กก./ซม.2

ทีเ่ ป็ นเหล็กบน) กำหนดให ้ fc‘ = 200 กก./ซม. 2 fy = 3000 กก./ซม.2

ห ้ fc‘ = 200 กก./ซม. 2 fy = 3000 กก./ซม.2


ให ้ fc‘ = 150 กก./ซม. 2 fy = 3000 กก./ซม.2
wL4/(8EcIe) ]
x105 กก./ตร.ซม. [สูตรคำนวณ Di = wL4/(8EcIe) ]

สูตรคำนวณ Di = ML2/(4EcIe) ]

Mcr) = 1400 กก.-เมตร


(Ie) = 56040 ซม.4

/ตร.ซม. และ ICR = 84750 ซม.4


9 และ R = 9.941 กก./ตร.ซม.
ิ ธิผล (d) = 35 cm. , j = 0.88 และใชเหล็
ด ้ ความลึกประสท ้ กเสริม fy = 2400 ksc
น่งแนวแกนสะเทิน kd = 5 ซม.

ำแหน่งแนวแกนสะเทิน kd = 5 ซม.
ES = 2x10^6 กก./ซม.2

ES = 2x10^6 กก./ซม.2
รากเท่ากับ 70 ซม. โดยมีระยะ d = 45 ซม. ดังนัน
้ ถ ้าต ้องออกแบบตามวิธ ี WSD จงประมาณค่าแรงเฉือนแบบทะลุ ทีห
่ น ้าตัดวิกฤต

มเมนต์อน
ิ เนอร์เชียของหน ้าตัด = 55700 ซม.4
0 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 และค่า j = 7/8

150 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 และค่า j = 7/8


150 กก./ซม.2 fy = 2400 กก./ซม.2 และค่า j = 7/8
20000 ซม.4
สาต ้นนีโ้ ดยเปรียบเทียบกับค่าในวิธ ี USD

ifier factor ต่อไป

เท่ากับ 0.58 และให ้ Ec เท่ากับ 2.5x105 กก./ซม.2 จงใชวิ้ ธ ี USD หาค่าแรงอัดวิกฤต (critical load : PC) ของเสาต ้นนี้
แบบเสาต ้นนี้ สมมติให ้ แรงอัดวิกฤต (critical load : PC) = 380 ตัน

จงใชวิ้ ธ ี USD หาค่าแรงอัดวิกฤต (critical load : PC) ของเสาต ้นนี้

PC) = 150 ตัน


. จงหาว่าเสาเข็มแต่ละต ้นต ้องรับแรงอัดทัง้ หมดเท่าใด

นต์ดด ้
ั ใชงาน MD = 10.5 ตัน-เมตร ML = 5.5 ตัน-เมตร จงหาว่าเสาเข็มต ้องต ้านแรงสุทธิทม
ี่ ากทีส
่ ด
ุ เท่าใด เมือ
่ จะออกแบบฐานรากตามวิธ
านราก = 45 ซม. จงประมาณค่าแรงเฉือนประลัยแบบคานกว ้าง (one-way shear) ทีห
่ น ้าตัดวิกฤต

านราก = 45 ซม. จงประมาณค่าแรงเฉือนประลัยแบบทะลุ (punching shear) ทีห


่ น ้าตัดวิกฤต

านราก = 45 ซม. จงประมาณค่าโมเมนต์ดด


ั ประลัยทีห
่ น ้าตัดวิกฤต

ค่าแรงเฉือนแบบคานกว ้าง (one-way shear) ทีห


่ น ้าตัดวิกฤต

ค่าแรงเฉือนแบบทะลุทห
ี่ น ้าตัดวิกฤต

ค่าโมเมนต์ดด
ั ทีห
่ น ้าตัดวิกฤต
นแบบคานกว ้าง ทีห
่ น ้าตัดวิกฤต

ดภัยจากโมเมนต์ดด
ั กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ตร.ซม. fy = 2400 กก./ตร.ซม. และ R = 11.25 กก./ตร.ซม.

ดภัยจากโมเมนต์ดด
ั กำหนดให ้ fc‘ = 150 กก./ตร.ซม. fy = 2400 กก./ตร.ซม. และ R = 11.25 กก./ตร.ซม.

รงเฉือนแบบคานกว ้าง ทีห


่ น ้าตัดวิกฤต
d = 15 ซม. fc‘ = 150 กก./ตร.ซม. fy = 2400 กก./ตร.ซม. และ j = 0.87
ทธิผล d ของฐานราก = 35 ซม. จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ตรวจสอบความปลอดภัยของฐานรากทัง้ จากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง


ทธิผล d ของฐานราก = 35 ซม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ตรวจสอบความปลอดภัยของฐานรากทัง้ จากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง


ทธิผล d ของฐานราก = 40 ซม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก
ี ำลัง ตรวจสอบความปลอดภัยของฐานรากทัง้ จากแรงเฉือนแบบคานกว ้าง

ทธิผล d ของฐานราก = 45 ซม. จงใช ้มาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก


ี ำลัง หาปริมาณเหล็กเสริมทีเ่ รียงขนานกับด ้านยาวของฐานราก กำหนดให


ทธิผล d ของฐานราก = 45 ซม. จงใชมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยวิธก ั ้ ของฐานราก กำหนดให ้
ี ำลัง หาปริมาณเหล็กเสริมทีเ่ รียงขนานกับด ้านสน
ลุ ทีห
่ น ้าตัดวิกฤต
จะออกแบบฐานรากตามวิธ ี USD
กแรงเฉือนแบบคานกว ้าง (beam shear) และจากแรงเฉือนแบบทะลุ (punching shear) กำหนดให ้ fc‘ ของฐานราก = 200 กก

กแรงเฉือนแบบคานกว ้าง (beam shear) และจากแรงเฉือนแบบทะลุ (punching shear) กำหนดให ้ fc‘ ของฐานราก = 400 กก

กแรงเฉือนแบบคานกว ้าง (beam shear) และจากแรงเฉือนแบบทะลุ (punching shear) กำหนดให ้ fc‘ ของฐานราก = 250 กก

าวของฐานราก กำหนดให ้ fc‘ ของฐานราก = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และประมาณค่า ju = 0.85

นของฐานราก กำหนดให ้ fc‘ ของฐานราก = 200 กก./ซม.2 fy = 3000 กก./ซม.2 และประมาณค่า ju = 0.85
ราก = 200 กก./ซม.2

ราก = 400 กก./ซม.2

ราก = 250 กก./ซม.2


Timber and Steel Design

ข ้อที่ 1 : คานไม ้ทีม


่ ค
ี วามลึกมากว่าเท่าใดจึงจำเป็ นต ้องลดหน่วยแรงดัดลง
1 : 20 cm
2 : 30 cm
3 : 40 cm
4 : 50 cm

ข ้อที่ 2 : ในการคำนวณองค์อาคารรับแรงดึงตรงบริเวณทีม
่ ไิ ด ้ทำรอยต่อ ค่า Maximum Allowable Tensi
1 : 0.40Fy
2 : 0.50Fy
3 : 0.60Fy
4 : 0.75Fy

ข ้อที่ 3 : สำหรับโครงสร ้างหลัก(Main member) ขององค์อาคารเหล็กรูปพรรณรับแรงดึง ค่า


1 : 120 …
2 : 240 …
3 : 300 …
4 : 360 …

ข ้อที่ 4 : ถ ้าหน ้าตัดเหล็กสเี่ หลีย


่ มตันขนาด 50 x100 mm จงหาค่า radius of gyration ทีน
่ ้อยทีส
่ ด

1 : 1.44 cm
2 : 2.89 cm
3 : 5.78 cm
4 : 11.54 cm

ข ้อที่ 5 : เสาประกอบกรณีเสากว ้างเกินกีเ่ ซนติเมตร จึงจะต ้องใช ้ Lacing คู่


1 : 25 cm
2 : 35 cm
3 : 50 cm
4 : 80 cm

ข ้อที่ 6 : การวิบต
ั แ
ิ บบ Block Shear ของโครงสร ้างเหล็กเกิดจากสาเหตุใด
1 : เกิดจากแรงเฉือนและแรงดัด
2 : เกิดจากแรงอัดและแรงดัด
3 : เกิดจากแรงดึงและแรงเฉือน
4 : เกิดจากแรงดึงและแรงดัด

ข ้อที่ 7 : ในการคำนวณออกแบบองค์อาคารไม ้รับแรงดึง ถ ้าไม ้ทีใ่ ช ้มีตาไม ้ทีร่ ะนาบวิกฤต ผู ้ออกแบบควรท


1 : นำพืน ้ ทีห ่ น ้าตัดทัง้ หมดมาใช ้ในการคำนวณ
2 : นำพืน ้ ทีต ่ าไม ้หักออกจากพืน ้ ทีห่ น ้าตัดทัง้ หมด
3 : นำพืน ้ ทีต ่ าไม ้หักออกจากพืน ้ ทีห่ น ้าตัดสุทธิ
4 : นำพืน ้ ทีห ่ น ้าตัดสุทธิมาคำนวณ
ข ้อที่ 8 : เสาไม ้ขนาด 5 นิว้ x 5 นิว้ มีความยาว 3 เมตร จะสามารถรับน้ำหนักได ้ประมาณเท่าไร
เมือ่ กำหนดให ้ P/A = Fc// (1.33 - L/(35d))
โดยทีห ่ น่วยแรงอัดขนานเสย ี้ นทีย
่ อมให ้ (Fc//) เท่ากับ 90 ksc
คำนวณโดยใช ้ nominal size

1 : 9,000 kg
2 : 11,500 kg
3 : 13,000 kg
4 : 15,000 kg

ข ้อที่ 9 : น้ำหนักบรรทุกจรใด (ในประเทศไทย)ต่อไปนีน


้ ่าจะมีคา่ มากทีส
่ ด

1 : หลังคาคอนกรีต
2 : ทีพ ่ ักอาศยั
3 : ห ้องสมุด
4 : ธนาคาร

ข ้อที่ 10 : ค่าอัตราสว่ นของกำลังทีเ่ สานัน


้ รับได ้ต่อน้ำหนักเสา เรียงลำดับจากน ้อยไปมาก
1 : เสาตัน, เสาประกอบตัน, เสาประกอบไม ้แผ่น
2: เสาประกอบไม ้แผ่น, เสาตัน, เสาประกอบตัน
3 : เสาประกอบตัน, เสาตัน, เสาประกอบไม ้แผ่น
4 : รับน้ำหนักได ้เท่ากัน

ข ้อที่ 11 : สำหรับเหล็กทีม
่ ก
ี ำลังจุดคราก (Yield strength) สูงมาก ตำแหน่งจุดครากไม่ปรากฏชัดเจน ม
1 : 0.02 …
2 : 0.05 …
3 : 0.002 …
4 : 0.005 …

ข ้อที่ 12 : กำลังรับแรงอัดของเสาแต่ละต ้นซงึ่ ขนาดหน ้าตัด และความยาวเท่ากัน ปลายเสาแบบใดมีความ


1 : หมุนทัง้ สองปลาย (pin-ended)
2 : ปลายหนึง่ ยึดแน่น และ อีกปลายหนึง่ ยึดหมุน (Fixed-Pin Ended)
3 : แบบยึดแน่นทัง้ สองปลาย (Fixed-Fixed Ended)
4 : ไม่สามารถบอกได ้เพราะต ้องทราบว่าเสาแต่ละต ้นดังกล่าวมีการเซหรือไม่

ข ้อที่ 13 : กำลังรับแรงอัดของเสาแต่ละต ้นซึง่ ไม่มก


ี ารเซ และ ขนาดหน ้าตัด, ความยาวเท่ากัน ปลายเสา
1 : หมุนทัง้ สองปลาย (Pin-Ended)
2 : ปลายหนึง่ ยึดแน่น และ อีกปลายหนึง่ ยึดหมุน (Fixed-Pin Ended)
3 : แบบยึดแน่นทัง้ สองปลาย (Fixed-Fixed Ended)
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 14 : กำลังรับแรงอัดของเสาแต่ละต ้นซึง่ ไม่มก


ี ารเซ ขนาดหน ้าตัดเท่ากัน ความยาวเสาใดสามารถรับ
1 : เสายาว 3.00 เมตร
2 : เสายาว 3.50 เมตร
3 : เสายาว 3.70 เมตร
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 15 : เสาเหล็กหน ้าตัดวงกลม ยาว 3 เมตร ปลายทัง้ สองเป็ นแบบหมุน และไม่มก


ี ารเซ หากมีการค้ำ
1 : เท่าเดิม
2 : 2 เท่า
3 : 3 เท่า
4 : 4 เท่า

ข ้อที่ 16 : เสาเหล็กหน ้าตัดวงกลม ยาว 3 เมตร ปลายทัง้ สองเป็ นแบบยืดแน่น และไม่มก


ี ารเซ หากมีการ
1 : ประมาณ 8 เท่า
2 : เท่าเดิม
3 : ประมาณ 2 เท่า
4 : ประมาณ 4 เท่า

ข ้อที่ 17 :โครงสร ้างแบบใดทีไ่ ม่ต ้องคำนึงถึงผลกระทบของการโก่งในแนวขวาง (P-Delta Effect)


1 : เสารับแรงในแนวดิง่ (Column)
2 : คานรับแรงดัดและแรงในแนวแกน (Beam-Column)
3 : คานรับเฉพาะแรงดัด (Beam)
4 : ไม่มค ี ำตอบทีถ
่ กู

ข ้อที่ 18 : หน่วยแรงดึงทีย
่ อมให ้สำหรับท่อนเหล็กหรือเคเบิล
้ มีคา่ เท่ากับข ้อใด 
1 : 0.30 Fu
2 : 0.33 Fu
3 : 0.50 Fu
4 : 0.75 Fu

ข ้อที่ 19 : ตามมาตรฐานของ ว.ส.ท.กำหนดให ้เนือ


้ ทีห
่ น ้าตัดสุทธิมากทีส
่ ด
ุ ขององค์อาคารเหล็กรับแรงดึง
1 : 85%
2 : 50%
3 : 60%
4 : 75%

ข ้อที่ 20 : ไม ้ใดต ้องคำนวณแรงต ้านทานของอุปกรณ์ยด


ึ ด ้วยสูตรฮันกินสัน

1 : ไม ้ ก.
2 : ไม ้ ข.
3 : ไม ้ ค.
ิ้
4 : ไม ้ทุกชน

ข ้อที่ 21 : โครงถักดังรูป ข ้อใดกล่าวถูกต ้อง

1 : ชนิ้ สว่ น A รับแรงดึง


2 : ชิน ้ ส่วน B รับแรงดึง
3 : ชน ิ้ สว่ น C รับแรงดึง
4 : ไม่มค ี ำตอบทีถ ่ ก

ข ้อที่ 22 : ในการออกแบบโดยวิธห ้
ี น่วยแรงใชงาน (Allowable Stress Design) หากต ้องพิจารณาถึงแรง
โดยไม่เพิม ่ ค่าหน่วยแรงทีย ้
่ อมให ้ จะคำนวณหาน้ำหนักบรรทุกใชงานสู งสุดจาก
เมือ่ D = Dead Load, L = Live Load และ W = Wind Load

1 : D+L+W
2 : 0.75 (D + L + W)
3 : 1.2 D + 0.8 W
4 : 7 แรง 

ข ้อที่ 23 : เหล็กรูปพรรณ มีมต


ิ ด
ิ งั รูป ท่อนละ 6 m. ขายท่อนละกีบ
่ าท
(สมมติ ราคาเหล็กในท ้องตลาดปั จจุบน ั กิโลกรัมละ 30 บาท)

1 : 532.50 บาท
2 : 679 บาท
3 : 3,195 บาท
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 24 : จงประมาณกำลังรับน้ำหนักของเสา มีมต


ิ ด
ิ งั รูป โดยวิธ ี ASD เสายาว 3.0 เมตร ปลายทัง้ สองข
1 : 70 ตัน
2 : 77 ตัน
3 : 86 ตัน
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 25 : จงประมาณกำลังรับแรงอัดประลัยของเสา เสายาว 3.0 เมตร ปลายทัง้ ส


เมือ่    ≤ 1.5        

เมื่อ   > 1.5        

1 : 110 ตัน
2 : 120 ตัน
3 : 130 ตัน
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 26 : เสาเหล็กรูปพรรณต ้นหนึง่ ยาว L เมตร ปลายทัง้ สองข ้างยึดหมุน (k = 1) รับน้ำหนักได ้


1 : 25 ตัน
2 : 50 ตัน
3 : 100 ตัน
4 : ไม่มค ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 27 : อัตราส่วนความชะลูดของโครงสร ้างเหล็กรูปพรรณรับแรงอัด ไม่ควรเกินเท่าใด
1 :  12
2 :  50
3 :  200
4 :  300

ข ้อที่ 28 : ในการคำนวณออกแบบองค์อาคารรับแรงดึง ข ้อมูลเกีย


่ วกับ Block Shear ข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง
1 :  คำนวณทัง้ วิธ ี ASD และ LRFD
2 :  พืน ้ ทีร่ ับแรงดึงตัง้ ฉากกับแนวแรง
3 :  รอยต่อแบบเชอ ื่ มไม่วบ
ิ ต
ั ด
ิ ้วย Block Shear
4 :  พืน ้ ทีร่ ับแรงเฉือนขนานกับแนวแรง

ข ้อที่ 29 : จงประมาณความยาวสูงสุดทีย
่ อมให ้ได ้ตามข ้อกำหนดของ AISC สำหรับองค์อาคารรับแรงดึงซ
1 : 2.15 m
2 : 2.25 m
3 : 2.35 m
4 : 2.45 m

ข ้อที่ 30 : ท่อนเหล็กกลมชนิด A36 ใช ้รับแรงดึงใช ้งาน 4 ตัน ถ ้าต ้องเผือ


่ ทำเกลียวประมาณ
1 : 15 มม.
2 : 20 มม.
3 : 22 มม.
4 : 25 มม.

ข ้อที่ 31 : แผ่นเหล็กชนิด A36 ใช ้รับแรงดึงใช ้งาน 32 ตัน ถ ้าเผือ


่ ทำรอยต่อด ้วยสลักเกลียวขนาด
1 : 20x100 มม.
2 : 20x120 มม.
3 : 20x125 มม.
4 : 20x150 มม.

ข ้อที่ 32 : เสาทีม ่ ค
ี า่ E, I และ L เหมือนกันทุกต ้น เสาแบบใดมีกำลังรับแรงอัดตามแนวแกนได ้สูงสุด  
1 : เสาทีม ่ ป ี ลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดหมุน
2 : เสาทีม ่ ป ี ลายข ้างหนึง่ เป็ นแบบยึดหมุน และปลายอีกข ้างหนึง่ เป็ นแบบยึดแน่น
3 : เสาทีม ่ ป ี ลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดแน่น และเซได ้
4 : เสาทีม ่ ป ี ลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดแน่น แต่ไม่เซ

ข ้อที่ 33 : ิ้ สว่ นทีแ


จากโครงสร ้างทีใ่ ห ้มาดังรูป ชน ่ รงกระทำเป็ นศูนย์ (Zero Force Member)
1: 

2: 

3: 
4: 

ข ้อที่ 34 : เสาเหล็ก W344x115 (Ag = 146 ซม.2 rmin = 8.78 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทำด ้วยเหล
มีปลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดหมุน ยาว 5.0 เมตร จงประมาณกำลังรับแรงอัดทีใ่ ช ้ออกแบบ

กำหนดสูตรทีใ่ ชคำนวณ     เมื อ
่     :  หน่วยแรงวิกฤต 
เมือ
่    :  หน่วยแรงวิกฤต 
ในทีน่  ี้   = slenderness parameter =

1 : 200 ตัน
2 : 240 ตัน
3 : 280 ตัน
4 : 330 ตัน

ข ้อที่ 35 : เสาเหล็ก W390x107 (Ag = 136 ซม.2 rmin = 7.28 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทำด ้วยเหล
E=2x106 ksc) มีปลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดแน่นและไม่เซ ยาว 5.0 เมตร จงประมาณกำลังรับแรงอัดท
กำหนดสูตรทีใ่ ชคำนวณ้
เมือ
่   : หน่วยแรงวิกฤต 
เมือ่    : หน่วยแรงวิกฤต 
ในทีน ่  ี้   = slenderness parameter = 

1 : 270 ตัน
2 : 280 ตัน
3 : 315 ตัน
4 : 325 ตัน

ข ้อที่ 36 : เสาเหล็กมีรป ู ตัดแบบคอมแพค ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 (Fy=2500 ksc, E=2x106 ksc)
กำหนดสูตรทีใ่ ช ้คำนวณ
เมือ
่   : หน่วยแรงวิกฤต 
เมือ่    : หน่วยแรงวิกฤต 
ในทีน ่  ี้   = slenderness parameter = 

1 : rmin = 2.83 ซม.


2 : rmin = 3.24 ซม.
3 : rmin = 4.05 ซม.
4 : rmin = 4.86 ซม.

ข ้อที่ 37 : เสาเหล็ก W350x136 (Ag = 174 ซม.2 rmin = 8.84 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทำด ้วยเหล

1 : 200 ตัน
2 : 210 ตัน
3 : 220 ตัน
4 : 230 ตัน

ข ้อที่ 38 : เสาเหล็ก W350x136 (Ag = 174 ซม.2 rx = 15.2 ซม. ry = 8.84 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค

1 : 165 ตัน
2 : 175 ตัน
3 : 185 ตัน
4 : 200 ตัน

ข ้อที่ 39 : เสาไม ้ตันขนาด 12.5x12.5 ซม. ยาว 2.50 เมตร ปลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดหมุน จงประมาณ

1 :  6.8 ตัน
2 :  8.5 ตัน
3 :  10.5 ตัน
4 :  14.0 ตัน

ข ้อที่ 40 : จงหาขนาดของเสาไม ้ตันรูปตัดสีเ่ หลีย


่ มจตุรัส (ไม่ไส) ปลายทัง้ สองด ้านเป็ นแบบยึดหมุน ยาว

1 :  15x15 ซม.
2 :  20x20 ซม.
3 :  10x10 ซม.
4 :  12.5x12.5 ซม.

ข ้อที่ 41 : ปริมาตรไม ้ ทีค


่ ด ้ ขายไม ้แปรรูปในประเทศไทย จะคิดจาก  
ิ หน่วยเป็ น “คิว” สำหรับการซือ
1 :  ขนาดหน ้าตัดทีใ่ ชเรี้ ยกซงึ่ มีหน่วยเป็ นนิว้ โดยคิดความยาวเป็ นฟุต
2 :  ขนาดหน ้าตัดทีใ่ ช ้เรียกซึง่ มีหน่วยเป็ นเมตร โดยคิดความยาวเป็ นฟุต
3 :  ขนาดหน ้าตัดทีไ่ สแล ้วซึง่ มีหน่วยเป็ นนิว้ โดยคิดความยาวเป็ นเมตร
4 :  ขนาดหน ้าตัดทีไ่ สแล ้วซงึ่ มีหน่วยเป็ นเมตร โดยคิดความยาวเป็ นฟุต

ข ้อที่ 42 : พบว่า ไม ้แปรรูปจะหดตัว 


1 : ทางด ้านทีส่ ม ั ผัสกับเส ้นวงปี มากกว่าด ้านทีข ่ นานกับเสืย ้ นไม ้
2 : ทางด ้านทีต ่ งั ้ ฉากกับเส ้นวงปี มากกว่าด ้านทีส ่ มั ผัสกับเส ้นวงปี
3 : ทางด ้านทีต ้
่ งั ้ ฉากกับเสนวงปี น ้อยกว่าด ้านทีข ่ นานกับเสย ื้ นไม ้
4 : ทางด ้านทีต ่ งั ้ ฉากกับเส ้นวงปี มค
ี า่ น ้อยทีส
่ ด

ข ้อที่ 43 : เมือ
่ นำไม ้แปรรูปมาอาบหรืออัดน้ำยา จะพบว่า 
1 : ไม ้มีกลสมบัตต ิ ้านแรงอัดได ้มากขึน ้
2 : ไม ้มีกลสมบัตต ิ ้านแรงดัดได ้มากขึน ้
3 : ไม ้มีกลสมบัตต ิ ้านแรงอัดได ้มากขึน ้ แต่ต ้านแรงดัดได ้เท่าเดิม
4 : ไม ้มีกลสมบัตต ิ ้านแรงกระทำต่างๆได ้ใกล ้เคียงกับไม ้ทีไ่ ม่อาบหรืออัดน้ำยา เพียงแต่มค
ี วามคงทนดีขน
ึ้

ข ้อที่ 44 : ไม ้มีความต ้านทานต่อแรงชนิดใดน ้อยทีส


่ ด
ุ  
1 : แรงดัด
2 : แรงอัด
3 : แรงดึง
4 : แรงเฉือน

ข ้อที่ 45 : ในการต่อชิน ้ ส่วนรับแรงดึงแบบต่อชน โดยนำแต่ละชิน ้ ส่วนมาชนกันแล ้วใช ้ไม ้ชนิดเดียวกันซึง่ ม


1 : เท่ากับความหนาของชิน ้ ส่วนทีร่ ับแรงดึง
2 : เท่ากับสามในสข ี่ องความหนาของชน ิ้ สว่ นทีร่ ับแรงดึง
3 : เท่ากับครึง่ หนึง่ ของความหนาของชิน ้ ส่วนทีร่ ับแรงดึง
4 : เท่ากับหนึง่ ในสามของความหนาของชิน ้ ส่วนทีร่ ับแรงดึง

่ ยาวเท่ากับ L รับแรงอัดตามแนวแกน หากใชอั้ ตราสว่


ข ้อที่ 46 : เสาไม ้ตันรูปตัด bxd (b > d) เป็ นเสายืน
1 :  0.07E/ (L/d)^2
2 :  0.07E/ (L/b)^2
3 :  0.75E/ (L/d)^2
4 :  0.75E/ (L/b)^2

ข ้อที่ 47 : เสาไม ้ตันรูปตัด bxd (b>d) ปลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดหมุน หากมีค้ำยันข ้างเสาตรงกึง่ กลา
1 :  เสานีม ้ ก ี ำลังรับแรงอัดปลอดภัยเท่าเดิม
2 :  เสานีม ้ ก ี ำลังรับแรงอัดปลอดภัยมากขึน ้ กว่าเดิม
3 :  เสานีม ้ ก ี ำลังรับแรงอัดปลอดภัยน ้อยลงกว่าเดิม
4 :  ยังไม่สามารถตอบได ้ เพราะต ้องทราบชนิดของไม ้ หรือค่า E ของไม ้ ก่อน

ข ้อที่ 48 : เสาไม ้ตันรูปตัด bxd (โดยที่ b=2d) ยาวเท่ากับ L มีปลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดหมุน รับแรงอ
1 :  0.3E/ (L/d)^2
2 :  0.75E/ (L/d)^2
3 :  1.20E/ (L/d)^2
4 :  1.50E/ (L/d)^2

ข ้อที่ 49 :  ให ้ออกแบบเสาประกับพุก (spaced column) โดยใช ้ไม ้หนา 1½" (ไม่ไส) ปลายทัง้ สองด ้าน
เมตร เพือ ้ นทีย
่ รับแรงอัดตามแนวแกนเท่ากับ 2.5 ตัน กำหนดให ้ หน่วยแรงอัดขนานเสีย ่ อมให ้
สูตรคำนวณ  เมือ ่  L/d >  : ค่า  

1 : ใช ้ไม ้ขนาด 1½" x 3" (ไม่ไส) สองแผ่น


2 : ใชไม้ ้ขนาด 1½" x 4" (ไม่ไส) สองแผ่น
3 : ใช ้ไม ้ขนาด 1½" x 5" (ไม่ไส) สองแผ่น
4 : ใช ้ไม ้ขนาด 1½" x 6" (ไม่ไส) สองแผ่น

ิ้ สว่ นรูปตัด W ทีม


ข ้อที่ 50 : จงหาขนาดของชน ่ ก ้
ี ำลังรับแรงดึงใชงานใกล ้เคียงกับค่า 90.5
1 : W300 x 56.8 (A = 72.38 ซม.2 d = 294 มม. bf = 200 มม. tf = 12 มม.)
2 : W200 x 49.9 (A = 63.53 ซม.2 d = 200 มม. bf = 200 มม. tf = 12 มม.)
3 : W400 x 66 (A = 84.12 ซม.2 d = 400 มม. bf = 200 มม. tf = 13 มม.)
4 : W350 x 49.6 (A = 63.14 ซม.2 d = 350 มม. bf = 175 มม. tf = 11 มม.)

รวมคะแนน 0
ข ้อที่ 51 : จงหาค่าอัตราส่วนความชะลูดของเสาเหล็กรูปพรรณ เมือ
่ หน่วยแรงอัดวิกฤต (critical stress)

1: 

2: 

3: 

4: 

ข ้อที่ 52 : เสาซึง่ ได ้จากท่อเหล็กขนาด 90x90 มม. (Ag = 10.85 ซม.2 r = 3.51 ซม.)
กำหนดสูตรทีใ่ ชคำนวณ้
 เมือ ่   : 

  เมือ
่  : 

 ในทีน
่  ี้
1 :  16.50 ตัน
2 :  14.20 ตัน
3 :  13.25 ตัน
4 :  11.60 ตัน

ข ้อที่ 53 : จงประมาณค่าแรงอัดปลอดภัยของเสาในโครงเฟรมทีเ่ ซได ้ (unbraced frame)


กำหนดสูตรทีใ่ ช ้คำนวณ
 เมือ
่    : 

เมือ
่  : 

ในทีน
่  ี้

1 :  120 ตัน
2 :  140 ตัน
3 :  160 ตัน
4 :  180 ตัน

ข ้อที่ 54 : จงประมาณค่าแรงอัดปลอดภัยของเสาในโครงเฟรมทีเ่ ซได ้ (unbraced frame)



กำหนดสูตรทีใ่ ชคำนวณ
 เมือ่        KL/r <Cc  :   Fa  =    

เมือ
่        KL/r >Cc  :   Fa  =     

ในทีน
่  ี้   Cc  =     

1 :  185 ตัน
2 :  170 ตัน
3 :  150 ตัน
4 :  140 ตัน

ข ้อที่ 55 : จงประมาณค่าแรงอัดปลอดภัยของเสาในโครงเฟรมทีเ่ ซไม่ได ้ (braced frame)


กำหนดสูตรทีใ่ ช ้คำนวณ
 เมือ
่      :   

 เมือ
่     :   

1 :  150 ตัน
2 :  135 ตัน
3 :  120 ตัน
4 :  100 ตัน

ข ้อที่ 56 : เสาเหล็ก W344x115 (Ag = 146 ซม.2 rmin = 8.78 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทำด ้วยเหล
กำหนดสูตรทีใ่ ชคำนวณ้
เมือ
่   : หน่วยแรงวิกฤต 
เมือ่   : หน่วยแรงวิกฤต 
ในที่น้ ี   = slenderness parameter = 

1 :  340 ตัน
2 :  290 ตัน
3 :  240 ตัน
4 :  200 ตัน
ข ้อที่ 57 : เสาเหล็กมีรป ู ตัดแบบคอมแพค ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 มีปลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดหมุน จง
กำหนดสูตรทีใ่ ช ้คำนวณ
เมือ
่    : หน่วยแรงวิกฤต 
เมือ่    : หน่วยแรงวิกฤต 
ในทีน ่  ี้   = slenderness parameter = 

1 :  2.00 เมตร
2 :  2.30 เมตร
3 :  2.70 เมตร
4 :  3.20 เมตร

ข ้อที่ 58 : เสาเหล็กรูปพรรณขนาด W300x94 (A = 119.8 ซม. d = bf = 300 มม.) รับแรงอัดตามแนว


กำหนด     หน่วยแรงกดใช ้งานของคอนกรีตทีย ่ อมให ้ (เมือ
่ แผ่นเหล็กคลุมเต็มเนือ
้ ที)่ :  F
หน่วยแรงกดใช ้งานของคอนกรีตทีย่ อมให ้ (เมือ
่ แผ่นเหล็กไม่คลุมเต็มเนือ้ ที่
 ความยาวของแผน
่ เหล็ก  ในเมื่อ  = 0.5 (0.95d - 0.8bf )
1 :  30x30 ซม.
2 :  35x35 ซม.
3 : 40x40 ซม.
4 :  ไม่มข ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 59 : จงออกแบบหาขนาดของเสาปลายยืน ่ ยาว 4.00 เมตร ทำด ้วยเหล็กชนิด A36


กำหนดสูตรทีใ่ ช ้คำนวณ
 เมือ่    : หน่วยแรงวิกฤต 
เมือ
่     : หน่วยแรงวิกฤต 
ในทีน ่  ี้   = slenderness parameter = 

1 :  300x36.7 (Ag = 46.78 ซม.2 rmin = 3.29 ซม.)


2 :  W300x94 (Ag = 119.80 ซม.2 rmin = 7.51 ซม.)
3 :  W250x72.4 (Ag = 92.18 ซม.2 rmin = 6.29 ซม.)
4 :  W300x56.8 (Ag = 72.38 ซม.2 rmin = 4.71 ซม.)

ข ้อที่ 60 : เสาเหล็กรูปพรรณขนาด W350x136 (A = 173.9 ซม. d = bf = 350 มม.) รับแรงอัดตามแน


กำหนด     หน่วยแรงกดใช ้งานของคอนกรีตทีย่ อมให ้ (เมือ
่ แผ่นเหล็กคลุมเต็มเนือ
้ ที)่ : 
ความยาวของแผ่นเหล็ก   ในเมือ
่  

1 :  450 x 450 x 36 มม.


2 :  450 x 450 x 40 มม.
3 :  500 x 500 x 34 มม.
4 :  500 x 500 x 36 มม.

ข ้อที่ 61 : เนือ
้ ทีห
่ น ้าตัดสุทธิ (Net Cross-Sectional Areas : An คำนวณได ้จากข ้อใด ?
1 :  Agross - Ahole
2 :  U (An)
3 :  U (Ag)
4 :  U (Ae)
ข ้อที่ 62 : เนือ
้ ทีห
่ น ้าตัดสุทธิประสิทธิผล (Effective Net Cross Sectional Area : Ae) ของรอยต่อแบบส
1 :  Agross - Ahole
2 :  U (An)
3 :  U (Ag)
4 :  U (Ae)
5 :  คำตอบข ้อ 1-4 ไม่มค ี ำตอบทีถ่ ก

ข ้อที่ 63 : จงวิเคราะห์กำลังรับแรงของหน ้าตัดเสาไม ้ตันขนาด 5 นิว้ x 5 นิว้ เสามีความยาว


1 :  0.2 ตัน
2 :  9 ตัน
3 :  20 ตัน
4 : 90 ตัน

ข ้อที่ 64 : จงวิเคราะห์กำลังรับแรงของหน ้าตัดเสาขนาด 5 นิว้ x 5 นิว้ เป็ นเสาไม ้ประกอบพุกจากไม ้ขนาด


1 :  3 ตัน
2 :  13 ตัน
3 :  23 ตัน
4 :  32 ตัน

ข ้อที่ 65 : ค่า KL/r ของแกนทีแ


่ ข็งแรง และแกนทีอ
่ อ
่ นแอของหน ้าตัดเสาเหล็กรูปพรรณ W200 x 21.3
1 :  49 และ 270
2 :  73 และ 180
3 : 60 และ 223
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 66 : เสาประกอบไม ้แผ่น (layered column) ได ้จากการนำไม ้ขนาด 2” x 6” สองแผ่น มาประกอบท


1 :  25.5 กก. ต่อตาราง ซม.
2 :  42.5 กก. ต่อตาราง ซม.
3 :  68.3 กก. ต่อตาราง ซม.
4 :  ไม่มข ี ้อใดถูกต ้อง

ข ้อที่ 67 : จงหา Effective Length Factor : K สำหรับเสา AB ซงึ่ อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซได ้ โดยพิจารณาจ
กำหนดให ้ เสาทุกต ้น ยาว 4.00 เมตร มีคา่ Ix = 40300 ซม.4 และคานทุกตัว ยาว 10.00 เมตร มีคา่ Ix =
รูป A B
1 :  K = 1.50
2 :  K = 1.60
3 :  K = 1.70
4 :  K = 1.80

ข ้อที่ 68 : จงหา Effective Length Factor : K สำหรับเสา AB ซึง่ อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซได ้ โดยพิจารณาจ
กำหนดให ้ คานยาว 8.00 เมตร มีคา่ Ix = 21700 ซม.4 เสายาว 5.00 เมตร มีคา่ Ix = 20400 ซม.4 และฐ
รูป A B

1 :  K = 1.35
2 :  K = 1.55
3 :  K = 1.95
4 :  K = 2.05

ข ้อที่ 69 : จงหา Effective Length Factor : K สำหรับเสา AB ซึง่ อยูใ่ นโครงเฟรมทีเ่ ซได ้ โดยพิจารณาจ
กำหนดให ้ คานยาว 6.00 เมตร มีคา่ Ix = 23700 ซม.4 เสายาว 4.00 เมตร มีคา่ Ix = 20400 ซม.4 และฐ
รูป A B
1 : K = 1.35  
2 : K = 1.55
3 : K = 1.95
4 : K = 2.05

ข ้อที่ 70 : คานเหล็กรูปพรรณรูปตัด w ในท ้องตลาด มี bf = 15 ซม. และ tf = 0.9 ซม.


1 :  Partially compact section
2 :  Compact section
3 :  Noncompact section
4 :  Slender section

ข ้อที่ 71 : คานหน ้าตัดขนาด W500x89.7 จะสามารถต ้านทานโมเมนต์ดด ้


ั ใชงานสู
งสุดได ้ประมาณเท่าใด
1 : 27300 kg-m
2 : 29300 kg-m
3 : 30100 kg-m
4 : 31500 kg-m

ข ้อที่ 72 : การโก่งของคานไม ้ในแนวดิง่ (Deflection) หากมีมากเกินไป สามารถแก ้ไขโดยวิธใี ดทีถ


่ ก
ู ต ้อง
1 : เปลีย ่ นขนาดของคานไม ้ให ้มีพน
ื้ หน ้าตัดคานมากขึน

2 : เพิม ่ ความกว ้างของหน ้าไม ้
3 : ลดความลึกของไม ้ให ้มีความลึกลดลง
4 : เพิม ่ ค่าโมเมนต์ความเฉื่อย (Moment of Inertia) ของหน ้าตัดคาน

ข ้อที่ 73 : ถ ้าพบว่าการโก่งของคานไม ้ในแนวด ้านข ้าง (Lateral Deflection) มีคา่ มากจนทำให ้ไม่สามาร
1 :  ลดความลึกของไม ้ให ้มีความลึกลดลง
2 :  เสริมค้ำยันทางข ้างเป็ นระยะๆ
3 :  เพิม่ ความลึกของไม ้ให ้มีความลึกมากขึน

4 : ลดความกว ้างของหน ้าไม ้

ข ้อที่ 74 : จงคำนวณหาความหนาของแผ่นเหล็กรองใต ้เสา(Column base plate)ขนาด 360x360 mm


1 : 15 mm 
2 : 20 mm
3 : 25 mm
4 : 30 mm

ข ้อที่ 75 : คานเหล็กหน ้าตัดขนาด W 600x106 จะสามารถต ้านทานโมเมนต์ดด


ั ปลอดภัยได ้ประมาณเท่า
กำหนดให ้ bf = 200 mm., tf = 17 mm., Sx = 2590 cm3 Fy = 2520 ksc.
1 : 31500 kg-m
2 : 43000 kg-m
3 : 53400 kg-m
4 : 61300 kg-m

ข ้อที่ 76 : คานไม ้แดงขนาด 2 นิว้ x 8 นิว้ จะต ้านทานโมเมนต์ดด


ั ปลอดภัยได ้ประมาณเท่าใด กำหนดให
1 : 400 kg-m
2 : 420 kg-m
3 : 460 kg-m
4 : 500 kg-m

ข ้อที่ 77 : พฤติกรรมของแปไม ้รับน้ำหนักกระเบือ


้ งลอนคู่ ต ้องตรวจสอบอะไรบ ้าง
1 : แรงดัดรอบแกนหลัก, แรงเฉือน, ระยะโก่ง
2 : แรงดัดรอบแกนรอง, แรงเฉือน, ระยะโก่ง
3 : แรงดัดรอบแกนหลักและแกนรอง, แรงเฉือน, ระยะโก่ง
4 : แรงดัดร่วมกับแรงอัด, แรงเฉือน, ระยะโก่ง

ข ้อที่ 78 : พฤติกรรมของแม่บน
ั ไดไม ้รับลูกตัง้ และลูกนอนไม ้ ต ้องตรวจสอบอะไร
1 : แรงดัดรอบแกนหลัก, แรงเฉือน, ระยะโก่ง
2 : แรงดัดรอบแกนรอง, แรงเฉือน, ระยะโก่ง
3 : แรงดัดรอบแกนหลักและแกนรอง, แรงเฉือน, ระยะโก่ง
4 : แรงดัดร่วมกับแรงอัด, แรงเฉือน, ระยะโก่ง

ข ้อที่ 79 : เหล็กรูปพรรณ มีมต


ิ ด
ิ งั รูป จงหาพืน
้ ทีร่ ับแรงเฉือน

1 : 
2 : 
3 : 
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 80 : จงประมาณค่าโมเมนต์ทค
ี่ านต ้องรับโดยวิธ ี AISC-LRFD ตามมาตรฐาน วสท. 
1 : 1700 kg.m
2 : 4860 kg.m
3 : 7630 kg.m
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 81 : จงคำนวณหาค่าโมเมนต์ใช ้งานโดยวิธ ี AISC-ASD

1 : 1700 kg.m
2 : 4860 kg.m
3 : 7630 kg.m
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 82 : จากรูป เป็ นคานทีม


่ รี ะยะค้ำยันเพียงพอ และเป็ น Compact Section หน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้เท่า

1 :  1,440 kg.m
2 :  1,650 kg.m
3 :  3,030 kg.m
4 :  ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 83 : ข ้อใดมีผลต่อค่าหน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้ในการออกแบบคานเหล็ก 
1 :  ระยะค้ำยันด ้านข ้าง
2 :  ระยะห่างระหว่างคาน
3 :  น้ำหนักบรรทุกทีก ่ ระทำ
4 :  ไม่มข ี ้อไดถูก

ข ้อที่ 84 : ให ้หาหน่วยแรงกด (bearing stress) ในฐานราก เมือ


่ มีแรงกระทำ ดังรูป
1 :  25 กก./ซม.2 (หน่วยแรงอัด) และ 9 กก./ซม.2 (หน่วยแรงดึง)
2 :  27 กก./ซม.2(หน่วยแรงอัด) และ 7 กก./ซม.2 (หน่วยแรงดึง)
3 :  30 กก./ซม.2 (หน่วยแรงอัด) และ 4 กก./ซม.2 (หน่วยแรงดึง)
4 :  ไม่มข
ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 85 : ให ้หาตำแหน่งทีห
่ น่วยแรงกด (bearing stress) ในฐานราก มีคา่ เป็ นศูนย์

1 :  25 ซม. จากจุด A หรือ B


2 :  40 ซม. จากจุด B
3 :  43.5 ซม. จากจุด B
4 :  7.5 ซม. จากจุด A

ข ้อที่ 86 : เสาไม ้ตันขนาด 10x10 ซม.(ไม่ไส) มีปลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดหมุน และรับแรงอัดตามแน
1 :  2.50 เมตร
2 :  2.75 เมตร
3 :  3.00 เมตร
4 :  3.25 เมตร

ข ้อที่ 87 : โมดูลัสยืดหยุน
่ ของไม ้เนือ้ แข็งมีคา่
1 : น ้อยกว่าโมดูลัสยืดหยุน ่ ของเหล็กโครงสร ้างประมาณ 30 เท่า
2 : น ้อยกว่าโมดูลัสยืดหยุน ่ ของเหล็กโครงสร ้างประมาณ 15 เท่า
3 : น ้อยกว่าโมดูลัสยืดหยุน ่ ของเหล็กโครงสร ้างประมาณ 10 เท่า
4 : ใกล ้เคียวกับโมดูลัสยืดหยุน ่ ของเหล็กโครงสร ้าง

ข ้อที่ 88 : เมือ
่ บากหรือหยักปลายคานไม ้ทางด ้านรับแรงดึง มีผลให ้  
1 :  คานไม ้มีกำลังต ้านทานแรงดัดน ้อยลง
2 :  คานไม ้มีกำลังต ้านทานแรงเฉือนน ้อยลง
3 :  คานไม ้โก่งตัวมากขึน ้
4 :  ไม่มข ี ้อใดถูกต ้อง
ข ้อที่ 89 : คานชว่ งเดียวธรรมดายาว 4.00 เมตร มีค้ำยันทางข ้างเฉพาะทีป
่ ลายคานเท่านัน
้ จงเปรียบเทียบ
สูตรคำนวณเกีย ่ วกับ lateral stability คือ
คานสั น้ ( เมื่อ 0 < RB ≤ 10 ) : Fb' = Fb
คานยาวปานกลาง (เมื่อ 10 < RB ≤ KB) : Fb' = Fb   
คานยาว (เมื่อ KB < RB ≤ 50) : Fb' = 

ในที่น้ี     ,  RB = ความชะลูดของคาน = 

1 :  คาน “ก” มีกำลังต ้านโมเมนต์ดด


ั เท่ากับ คาน “ข”
2 :  คาน “ก” มีกำลังต ้านโมเมนต์ดด ั มากกว่า คาน “ข” ถึงสองเท่า
3 :  คาน “ก” มีกำลังต ้านโมเมนต์ดด ั มากกว่า คาน “ข” เพียงเล็กน ้อย
4 :  คาน “ก” มีกำลังต ้านโมเมนต์ดด ั น ้อยกว่า คาน “ข” เพียงเล็กน ้อย

ข ้อที่ 90 :  

1 : 0.23 ซม.
2 : 0.46 ซม.
3 : 0.52 ซม.
4 : 0.60 ซม.

ข ้อที่ 91 : ลักษณะวิบต
ั ข
ิ องคานเหล็กรูปพรรณต่อไปนี้ ข ้อใดไม่ถก ู ต ้อง
1 : หน ้าตัดแบบคอมแพค จะเกิดการคราก เมือ ่ ระยะค้ำยันทางข ้างพอเพียง
2 : หน ้าตัดแบบคอมแพค จะเกิดการบิดและโก่งออกทางข ้าง เมือ ่ ระยะค้ำยันทางข ้างไม่พอเพียง
3 : หน ้าตัดแบบคอมแพค จะเกิดการบิดและโก่งออกทางข ้าง เมือ ่ ระยะค้ำยันทางข ้างพอเพียง
4 : หน ้าตัดแบบไม่คอมแพค จะเกิดการโก่งเดาะเฉพาะที่ และเกิดการบิดและโก่งออกทางข ้าง

ข ้อที่ 92 : ถ ้าให ้ Sx เป็ น elastic section modulus และให ้ Zx เป็ น plastic section modulus
1 : มีคา่ Sxมากกว่าค่า Zx โดยขึน ้ กับประเภทของหน ้าตัดคาน และระยะค้ำยันทางข ้าง
2 : มีคา่ Sx มากกว่าค่า Zx โดยขึน ้ กับประเภทของหน ้าตัดคาน แต่ไม่ขนึ้ กับระยะค้ำยันทางข ้าง
3 : มีคา่ Sx น ้อยกว่าค่า Zxโดยขึน ้ กับประเภทของหน ้าตัดคาน และระยะค้ำยันทางข ้าง
4 : มีคา่ Sx น ้อยกว่าค่า Zx โดยขึน ้ กับประเภทของหน ้าตัดคาน แต่ไม่ขน ึ้ กับระยะค้ำยันทางข ้าง

ข ้อที่ 93 :  คานเหล็กรูปพรรณทีม
่ ห
ี น ้าต ้ดแบบคอมแพค แต่มรี ะยะค้ำยันทีป
่ ี กรับแรงอัดไม่พอเพียง ถ ้าคาน
1 : 0.75Fy
2 : 0.66Fy
3 : 0.60Fy
4 : 0.40Fy

ข ้อที่ 94 : คานเหล็กรูปพรรณทีม
่ ห
ี น ้าต ้ดแบบคอมแพคบางส่วน และมีระยะค้ำยันทีป
่ ี กรับแรงอัดพอเพียง
1 :  0.75Fy
2 :  0.66Fy
3 :  0.60Fy
4 :  0.40Fy
ข ้อที่ 95 : คานเหล็กรูปพรรณทีม
่ ห
ี น ้าต ้ดแบบคอมแพคบางส่วน และมีระยะค้ำยันทีป
่ ี กรับแรงอัดพอเพียง
1 :  0.75Fy
2 :  0.66Fy
3 :  0.60Fy
4 :  ไม่มข ี ้อใดถูกต ้อง

ข ้อที่ 96 : คานเหล็กรูปพรรณทีม ี น ้าต ้ดแบบคอมแพคบางสว่ น และมีระยะค้ำยันทีป


่ ห ่ ี กรับแรงอัดไม่พอเพีย
1 :  0.75Fy
2 :  0.66Fy
3 :  0.60Fy
4 :  0.40Fy

ข ้อที่ 97 : คานเหล็กรูปพรรณทีม
่ ห
ี น ้าต ้ดแบบคอมแพค และมีระยะค้ำยันทีป
่ ี กรับแรงอัดอย่างพอเพียง ถ ้า
1 :  0.85ZxFy
2 :  0.90ZxFy
3 :  ZxFy
4 :  ZyFy

ข ้อที่ 98 : คานเหล็กรูปพรรณทีม
่ ห
ี น ้าต ้ดแบบคอมแพค และมีระยะค้ำยันทีป
่ ี กรับแรงอัดไม่พอเพียง ถ ้าคา
1 : 0.85ZyFy
2 : 0.90ZyFy
3 : ZxFy
4 : ZyFy

ข ้อที่ 99 : เสาเหล็กรูปพรรณเชือ ่ มติดกับแผ่นเหล็กรองรับโมเมนต์ดด ั ใช ้งานรอบแกนหลัก


จงประมาณจำนวน anchored bolt ขนาด Ø 20 มม. ทีต ้ ละข ้างของปี กเสา โดยพิจารณาว่า 
่ ้องใชแต่
เป็ นตัวช่วยต ้านแรงดึงทีเ่ กิดจากโมเมนต์ดด ้ อย่างเดียวโดยมีหน่วยแรงดึงใช ้งานทีย
ั นัน ่ อมให ้ตัวละ 1200

1 : ใช ้ข ้างละ 5 ตัว
2 : ใชข้ ้างละ 4 ตัว
3 : ใชข้ ้างละ 3 ตัว
4 : ใช ้ข ้างละ 2 ตัว
่ วธรรมดา ยาว L เซนติเมตร รับน้ำหนักบรรทุกใช ้งานแบบแผ่สม่ำเสมอเท่าก
ข ้อที่ 100 : คานเหล็กช่วงเดีย
1 : d/L = 22.5Fy/E
2 : d/L = 30Fy/E
3 : d/L = 37.5Fy/E 
4 : d/L = 45Fy/E

รวมคะแนน 0
่ วธรรมดา ยาว L เซนติเมตร รับน้ำหนักบรรทุกใช ้งานแบบแผ่สม่ำเสมอเท่าก
ข ้อที่ 101 : คานเหล็กช่วงเดีย
1 : d/L = 22.5Fy/E
2 : d/L = 30Fy/E
3 : d/L = 37.5Fy/E
4 : d/L = 45Fy/E

ข ้อที่ 102 : คานเหล็กชว่ งเดีย ้


่ วธรรมดา ยาว L เซนติเมตร รับน้ำหนักบรรทุกใชงานแบบแผ่
สม่ำเสมอเท่าก
1 :  d/L = 22.5 Fy/E
2 :  d/L = 30 Fy/E
3 :  d/L = 37.5 Fy/E
4 :  d/L = 45 Fy/E

ข ้อที่ 103 : คานเหล็กยืน


่ ช่วงยาว L เซนติเมตร รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุดเท่ากับ W กก.ทีป
่ ลายคาน ถ ้าต
1 :  d/L = 72Fy/E
2 :  d/L = 80Fy/E
3 :  d/L = 96Fy/E
4 :  d/L = 120Fy/E

ข ้อที่ 104 : คานเหล็กยืน


่ ช่วงยาว L ซม. รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุดเท่ากับ W กก. ทีป
่ ลายคาน ถ ้าต ้องการ
1 : d/L = 72 Fy/E
2 : d/L = 80 Fy/E
3 : d/L = 96 Fy/E
4 : d/L = 120 Fy/E

่ ชว่ งยาว L ซม. รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุดเท่ากับ W กก. ทีป


ข ้อที่ 105 : คานเหล็กยืน ่ ลายคาน ถ ้าต ้องการ
1 : d/L = 72Fy/E
2 : d/L = 80Fy/E
3 : d/L = 96Fy/E
4 : d/L = 120Fy/E

ข ้อที่ 106 : คานเหล็กรูปพรรณทำด ้วยเหล็กชนิด A36 ยาว 5.00 เมตร ปลายคานทัง้ สองเป็ นแบบยึดแน่น
1 : wu = 12.0(Zx) กก./เมตร
2 : wu = 10.8(Zx) กก./เมตร
3 : wu = 8.0(Zx) กก./เมตร
4 : wu = 7.2(Zx) กก./เมตร
ข ้อที่ 107 : คานเหล็กรูปพรรณรูปตัด W ช่วงเดียว ยาวเท่ากับ L เมตร รับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่ใช ้งาน

1 : L = 2.75 เมตร
2 :  L = 3.00 เมตร
3 :  L = 3.25 เมตร
4 :  L = 3.50 เมตร

ข ้อที่ 108 : ลักษณะวิบต ิ องสว่ นโครงสร ้าง คาน-เสา คือ


ั ข
1 : อาจเกิดการโก่งเดาะเฉพาะแห่งของแต่ละชน ิ้ สว่ นทีป
่ ระกอบเป็ นหน ้าตัด 
2 : อาจเกิดจากส่วนโครงสร ้างโก่งเดาะทางข ้างอย่างเดียว
3 : อาจเกิดการบิดและโก่งทางข ้าง
4 : อาจเกิดการโก่งเดาะเฉพาะแห่ง การโก่งเดาะทางข ้างหรือชน ิ้ สว่ นโครงสร ้างถูกบิดและโก่งทางข ้าง

้ เดียว และจุดรองรับทัง้ สองข ้างเป็ นแบบ


ข ้อที่ 109 : โครงเฟรม portal 2 โครง มีลักษณะช่วงเดียว ชัน
1 :  เสาในโครงเฟรมทัง้ สองมีการเซ
2 :  เสาในโครงเฟรมทัง้ สองไม่มก ี ารเซ
3 :  เสาในโครงเฟรม “ก” มีการเซ แต่เสาในโครงเฟรม “ข” ไม่มก ี ารเซ
4 : เสาในโครงเฟรม “ข” มีการเซ แต่เสาในโครงเฟรม “ก” ไม่มก ี ารเซ 

้ ส่วนโครงสร ้าง คาน-เสา ปลายทัง้ สองข ้างยึดหมุน รับแรงอ ้ดและโมเมนต์ดด


ข ้อที่ 110 : ชิน ั รอบแกนหลัก
1 :  fbx = 1400 กก./ ซม.2
2 :  fbx = 1300 กก./ ซม.2
3 :  fbx = 1200 กก./ ซม.2
4 :  fbx = 1100 กก./ ซม.2

ิ้ สว่ นโครงสร ้าง คาน-เสา ปลายทัง้ สองข ้างยึดหมุน รับแรงอ ้ดและโมเมนต์ดด


ข ้อที่ 111 : ชน ั รอบแกนหลัก
1 : fbx = 560 กก./ ซม.2 
2 : fbx = 620 กก./ ซม.2
3 : fbx = 680 กก./ ซม.2
4 : fbx = 750 กก./ ซม.2 

้ ส่วนโครงสร ้าง คาน-เสา ปลายทัง้ สองข ้างยึดหมุน รับแรงอ ้ดและโมเมนต์ดด


ข ้อที่ 112 : ชิน ั รอบแกนหลัก
1 :  fa = 150 กก./ ซม.2
2 :  fa = 200 กก./ ซม.2
3 :  fa = 300 กก./ ซม.2
4 :  fa = 600 กก./ ซม.2
่ วธรรมดา รับน้ำหนักแบบจุดซึง่ กระทำบนหลังคานและมีแนวเอียงกับแกนหลักขอ
ข ้อที่ 113 : คานช่วงเดีย
1 :  คานต ้องรับโมเมนต์ดด ั รอบแกนหลัก และโมเมนต์บด ิ
2 :  คานต ้องรับโมเมนต์ดด ั รอบแกนหลัก และรอบแกนรอง
3 :  คานต ้องรับโมเมนต์ดด ั รอบแกนรอง และโมเมนต์บด ิ
4 :  คานต ้องรับโมเมนต์ดด ั รอบแกนหลักและรอบแกนรอง รวมทัง้ โมเมนต์บด

่ วธรรมดา รับน้ำหนักแบบจุดซึง่ กระทำผ่านศูนย์กลางแรงเฉือน (shear center)


ข ้อที่ 114 : คานช่วงเดีย
1 :  คานต ้องรับโมเมนต์ดด ั รอบแกนหลัก และโมเมนต์บด ิ
2 :  คานต ้องรับโมเมนต์ดด ั รอบแกนหลัก และรอบแกนรอง
3 :  คานต ้องรับโมเมนต์ดด ั รอบแกนรอง และโมเมนต์บด ิ
4 :  คานต ้องรับโมเมนต์ดด ั รอบแกนหลักและรอบแกนรอง รวมทัง้ โมเมนต์บดิ

ั ลักษณ์ W400 x 172 หมายถึงอะไร


ข ้อที่ 115 : สญ
1 :  เหล็กรูปพรรณทีม ่ รี ป ู ตัดแบบปี กกว ้าง ทีม ่ ค ี วามลึกระบุ 400 มม. และมีน้ำหนัก 172 กก
2 :  เหล็กรูปพรรณทีม ่ รี ป ู ตัดแบบปี กกว ้าง ทีม ่ ป ี ี กกว ้างเท่ากับ 400 มม. และมีน้ำหนัก 172
3 :  เหล็กรูปพรรณทีม ่ รี ป ู ตัดแบบปี กกว ้าง ทีม ่ ค ี วามลึกระบุ 172 มม. และมีน้ำหนัก 400 กก
4 :  เหล็กรูปพรรณทีม ่ รี ป ู ตัดแบบปี กกว ้าง ทีม ่ ป ี ี กกว ้างเท่ากับ 172 มม. และมีน้ำหนัก 400

ข ้อที่ 116 : หน ้าตัดคาน W350 x 49.6 เกณฑ์ของแผ่นตัง้ (web) มีคา่ เท่าใด ผ่านเกณฑ์
1 :  2 (ผ่าน)
2 :  25 (ผ่าน)
3 :  50 (ผ่าน)
4 :  150 (ผ่าน)

ข ้อที่ 117 : คานเหล็กซงึ่ เป็ นเหล็กโครงสร ้าง A36 เมือ


่ ทำการตรวจสอบแล ้วพบว่าเป็ นหน ้าตัดอัดแน่นแล
1 :  W250 x 72.4, Sx = 867 ซม.3
2 :  W300 x 94, Sx = 1360 ซม.3
3 :  W350 x 49.6, Sx = 775 ซม.3
4 :  W400 x 66, Sx = 1190 ซม.3

ข ้อที่ 118 : ค่า Cb (Liberalizing modified factor) ในการคำนวณออกแบบคานตามวิธ ี ASD


1 :  0.5 ถึง 1.5
2 : 0.75 ถึง 1.8 
3 :  1.0 ถึง 2.3
4 :  1.25 ถึง 2.5

ข ้อที่ 119 : คานเหล็กโครงสร ้างชนิด A36 เป็ นหน ้าตัดอัดแน่น ปี กรับแรงอัดมีคำยันเพียงพอ หน ้าตัดคาน
1 :  23545 kg-m
2 :  25050 kg-m
3 :  27555 kg-m
4 : 28835 kg-m 

ข ้อที่ 120 : คานไม ้แปรรูปช่วงเดีย ู ตัดสีเ่ หลีย


่ วธรรมดา มีรป ่ มผืนผ ้า รับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอตล
1 :  41.5 Fb/E
2 :  50.0 Fb/E
3 :  62.5 Fb/E
4 :  75.0 Fb/E

ข ้อที่ 121 : คานไม ้แปรรูปชว่ งเดีย ู ตัดสเี่ หลีย


่ วธรรมดา มีรป ่ มผืนผ ้า รับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอตล
1 : 41.5 Fb/E 
2 : 50.0 Fb/E
3 : 62.5 Fb/E
4 : 75.0 Fb/E

ข ้อที่ 122 : คานเหล็กรูปพรรณ ยาว 6.00 เมตร ทำด ้วยเหล็กทีม


่ ี Fy = 3000 ksc. ปลายคานทัง้ สองข ้าง
1 : w = 4.0(Sx) กก./เมตร 
2 : w = 6.0(Sx) กก./เมตร 
3 : w = 6.6(Sx) กก./เมตร 
4 : w = 7.5(Sx) กก./เมตร

ข ้อที่ 123 : คานเหล็กรูปพรรณชนิด A36 ขนาด W600x106 (tf = 1.7 ซม., r = 2.2 ซม
1 : 10 มม. 
2 : 20 มม.
3 : 25 มม.
4 : 30 มม.

ข ้อที่ 124 : พบว่าคานเหล็กรูปพรรณชนิด A36 ขนาด W600x151 (d = 58.8 ซม. bf = 30


มีหน ้าตัดแบบคอมแพค ไม่สามารถรับโมเมนต์ดด ้
ั ใชงานซ งึ่ มีคา่ เท่ากับ 103 ตัน-เมตร ได ้ ดังนัน
้ จะพิจาร
และระยะค้ำยันทางข ้างพอเพียง

1 : 30 ซม.2 
2 : 35ซม.2 
3 : 40ซม.2 
4 : 45ซม.2 

ข ้อที่ 125 : พบว่าคานเหล็กรูปพรรณชนิด A36 ขนาด W600x151 (d = 58.8 ซม. bf = 30


ทีม่ ห
ี น ้าตัดแบบคอมแพค ไม่สามารถรับโมเมนต์ดด ั ประลัยซ งึ่ มีคา่ เท่ากับ 143 ตัน-เมตร ได ้ ดังนัน
้ จะพิจา
หากสมมติวา่ คานเหล็กประกอบนีย ้ ังมีหน ้าตัดแบบคอมแพค และระยะค้ำยันทางข ้างพอเพียง

1 : 30 ซม.2 
2 : 35 ซม.2
3 : 40 ซม.2  
4 : 45 ซม.2 
ข ้อที่ 126 : ถ ้าวางตงเหล็กขนาด W250x72.4 (tw = 0.9 ซม., tf = 1.4 ซม., r = 1.6 ซม

1 :  R = 30 ตัน
2 :  R = 34 ตัน
3 :  R = 38 ตัน
4 :  R = 40 ตัน

ข ้อที่ 127 : ถ ้าวางตงเหล็กขนาด W250x72.4 (tw = 0.9 ซม., tf = 1.4 ซม., r = 1.6 ซม

1 : Ru = 34 ตัน 
2 : Ru = 38 ตัน 
3 : Ru = 40 ตัน  
4 : Ru = 50 ตัน 

ข ้อที่ 128 : ตงไม ้ช่วงเดีย


่ วธรรมดายาว 4.00 เมตร วางห่างกันทุกระยะ 40 ซม. เพือ
่ รองรับพืน
้ และน้ำหนัก
1 :  2”x6”
2 :  2”x4”
3 :  1.5”x5”
4 :  1.5”x3”
ข ้อที่ 129 : ตงไม ้ขนาด 1 ”x5” (ไม่ไส) ชว่ งเดีย
่ วธรรมดายาว 3.00 เมตร วางห่างกันทุกระยะ
1 :  1.50 ซม.
2 : 2.50 ซม.
3 :  3.75 ซม.
4 :  4.50 ซม.

ข ้อที่ 130 : คานช่วงเดียวธรรมดายาว L รับน้ำหนักแบบจุด Pu ทีก


่ งึ่ กลางคาน ถ ้าคานนีท
้ ำค้ำยันทางข ้างท

1 :  Cb = 1.14
2 :  Cb = 1.30
3 :  Cb = 1.52
4 :  Cb = 1.67

ข ้อที่ 131 : คานชว่ งเดียวธรรมดายาว L รับน้ำหนัก wu แบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคานและรับน้ำห

1 :  Cb = 1.14
2 :  Cb = 1.30
3 :  Cb = 1.52
4 :  Cb = 1.67

ข ้อที่ 132 : คานเหล็กรูปพรรณชนิด A36 (Fy = 2500 กก./ตร.ซม. E = 2x106 กก./ตร.


สูตรคำนวณหาหน่วยแรงดัดทีย ่ อมให ้รอบแกนหลัก Fbx (เมือ
่ ระยะค้ำยัน L > ระยะ Lc)

1 :  7215 กก.- เมตร


2 :  7100 กก.- เมตร
3 :  3585 กก.- เมตร
4 :  3465 กก.- เมตร

ข ้อที่ 133 : คานเหล็กรูปพรรณ (Fy = 3000 กก./ตร.ซม. E = 2x106 กก./ตร.ซม.) ช่วงเดียวธรรมดา ยา


สูตรคำนวณหาหน่วยแรงดัดทีย ่ อมให ้รอบแกนหลัก Fbx (เมือ
่ ระยะค้ำยัน L > ระยะ Lc)
1 : 9880 กก.- เมตร 
2 : 13475 กก.- เมตร
3 : 13950 กก.- เมตร
4 : 7525 กก.- เมตร

ข ้อที่ 134 : ข ้อใดไม่ใชห ่ น ้าทีข


่ องเหล็กเสริมข ้างคาน Stiffenersของคานเหล็กประกอบ
1 : เพือ ่ ป้ องกันการโก่งงอ (Buckling) ของเหล็กปี กคาน (Flange)
2 : เพือ ่ ป้ องกันการโก่งงอ (Buckling) ของเหล็กแผ่นตัง้ (Web)
3 : เพือ ่ เพิม
่ ความสามารถในการรับแรงของจุดรองรับ (Support)
4 : เพือ ่ รองรับและกระจายน้ำหนักแบบจุด (Point Load) ลงบนตัวคาน

ข ้อที่ 135 :หน ้าทีส ่ ำคัญของเหล็กเสริมข ้างคานแบบไม่รับแรงกด (Intermediate stiffeners)


1 : เพือ ่ ป้ องกันการโก่งงอ (Buckling) ของเหล็กปี กคาน (Flange)
2 : เพือ ่ ป้ องกันการโก่งงอ (Buckling) ของเหล็กแผ่นตัง้ (Web)
3 : เพือ ่ เพิม
่ ความสามารถในการรับแรงเฉือนของเหล็กแผ่นตัง้ (web)
4 : เพือ ่ รองรับและกระจายน้ำหนักแบบจุด (Point Load)

ข ้อที่ 136 : ข ้อใดไม่ใช่ลักษณะการวิบตั ข


ิ องคานเหล็ก
1 : การบิดและโก่งตัวทางข ้าง
2 : การโก่งเดาะบริเวณปี กด ้านทีร่ ับแรงอัด
3 : การโก่งเดาะบริเวณปี กด ้านทีร่ ับแรงดึง
4 : การโก่งเดาะบริเวณแผ่นตัง้ ทีร่ ับแรงอัด

ข ้อที่ 137 : เสาประกอบ แบบ Solid core ดังรูป เสาแกน 4 นิว้ x 4 นิว้ (ไม่ไส) 
ไมป ้ ิ ดรอบขนาด 2 นิ้ ว x 6 นิ้ ว (ไมไ่ ส) ถา้ เสานี้ มีปลายทังสองเป็
้ นแบบยึดหมุนยาวเทา่ กับ 3.0 ม.
ใหห ้ าก ำ ลั ง รั บแรงอั ดปลอดภั ยของเสาประกอบต น
้ ้
นี
สมมติหน่วยแรงอัดขนานเสี้ยนที่ยอมให้ = 90 ksc 
และให้ตัวคูณประกอบส ำหรับเสาประกอบตน ้ นี้ เทา่ กับ 0.71

1 : 12 ตัน
2 : 22 ตัน
3 : 32 ตัน
4 : ไม่มค
ี ำตอบทีถ
่ ก

ข ้อที่ 138 : จงคำนวณหาความกว ้างของแผ่นเหล็กซงึ่ หนา 10 มม.ทีใ่ ชเช
้ อ
ื่ มเสริมปี กคาน

1 : 30 cm.
2 : 32.5 cm.
3 : 35 cm.
4 : 37.5 cm.

ข ้อที่ 139 : ในการออกแบบคานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ (Plate Girder) เพือ


่ ต ้านทานแรงกดแบบจุดทีก

1 : เสริมเหล็กปี กบน
2 : เสริมเหล็กปี กล่าง
3 : เสริมเหล็กข ้างคานแบบ bearing stiffener
4 : เสริมเหล็กข ้างคานแบบ non-bearing stiffener

ข ้อที่ 140 : ในการออกแบบคานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ (Plate Girder) กรณีจำกัดความลึก จะต ้องทำอ


1 : เสริมเหล็กปี กบนและล่าง (Flange)
2 : เสริมเหล็กแผ่นตัง้ (Web)
3 : เสริมเหล็กข ้างคานเป็ นระยะ ๆ (Stiffener)
4 :  ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 141 : ในการออกแบบคานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ ถ ้า h/tw > 200 จะต ้องทำอย่างไร


1 : เสริมเหล็กปี กคาน
2 : เสริมเหล็กข ้างคานแบบรับแรงกด
3 : เสริมเหล็กข ้างคานแบบไม่รับแรงกด
4 : เสริมเหล็กข ้างคานแบบรับแรงเฉือน

ข ้อที่ 142 : หน่วยแรงกดทีก


่ ระทำต่อเหล็กเสริมข ้างคาน (Stiffener) ของคานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ตา
1 : 0.70Fy
2 : 0.90Fy
3 : 0.60Fy
4 : 0.50Fy

ข ้อที่ 143 : ในการต่อเหล็กเสริมข ้างคานกับเหล็กแผ่นตัง้ ของคานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ ระยะช่องว่าง


1 :  15 cm
2 :  20 cm
3 :  25 cm
4 :  30 cm
ข ้อที่ 144 : ในการต่อเหล็กเสริมข ้างคานกับเหล็กแผ่นตัง้ ของคานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ ระยะระหว่างศ
1 :  15 cm
2 :  20 cm
3 :  26 cm
4 :  30 cm

้ กเสริมข ้างคานของคานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ เมือ


ข ้อที่ 145 : กรณีใดไม่จำเป็ นต ้องใชเหล็ ่ เป็ นอย่างไ
1 :  อัตราส่วน h/tw < 260 และสามารถรับแรงเฉือนได ้
2 :  อัตราส่วน h/tw > 260 และสามารถรับแรงเฉือนได ้
3 :  อัตราสว่ น h/tw < 2.60 และสามารถรับแรงเฉือนได ้
4 :  อัตราส่วน h/tw > 2.60 และสามารถรับแรงเฉือนได ้

ข ้อที่ 146 : ในการออกแบบ Plate Girder แรงประเภทใดไม่กอ


่ ให ้เกิดปั ญหากับเหล็กแผ่นตัง้
1 :  แรงอัด
2 :  แรงดึงทแยง
3 :  แรงดัด
4 :  แรงบิด

ข ้อที่ 147 : พฤติกรรมสมมุตท


ิ ใี่ ห ้เหล็กแผ่นตัง้ รับเฉพาะแรงดึงในแนวทแยงภายหลังการโก่งงอ เรียกว่า
1 :  Compression field action
2 :  Tension field action
3 :  Torsion field action
4 :  Bending field action

ข ้อที่ 148 : กรณีต ้องเสริมเหล็กข ้างคานแบบไม่รับแรงกดของคานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ เมือ


่ เป็ นอย่าง
1 :  อัตราส่วน h/tw < 260 และสามารถรับแรงเฉือนได ้
2 :  อัตราสว่ น h/tw > 260 และสามารถรับแรงเฉือนได ้
3 :  อัตราส่วน h/tw < 2.60 และสามารถรับแรงเฉือนได ้
4 :  อัตราสว่ น h/tw > 2.60 และสามารถรับแรงเฉือนได ้

ข ้อที่ 149 : จุดประสงค์ของการเสริมเหล็กข ้างคานแบบไม่รับแรงกด (non-bearing stiffener)


1 :  เพิม่ สติฟเนสให ้กับคาน ชว่ ยลดการโก่งตัว
2 :  เพิม ่ กำลังรับโมเมนต์ให ้มากขึน ้
3 :  เพิม ่ กำลังรับแรงเฉือนให ้มากขึน ้
4 :  เพิม ่ กำลังรับแรงกดให ้มากขึน

ข ้อที่ 150 : ในการออกแบบคานเหล็กประกอบธรรมดา (built-up beams) เพือ


่ รับโมเมนต์ดด

1: 

2: 

3: 

4: 

รวมคะแนน 0
ข ้อที่ 151 : ในการต่อแผ่นเหล็กปี กคานกับเหล็กฉากปี กคาน ถ ้าแต่ละข ้างของปี กคานใช ตั้ วยึด

1 : 2RI/VQ
2 : RI/VQ
3 : RI/2VQ
4 : 4RI/VQ

ข ้อที่ 152 : ในการต่อเหล็กแผ่นตัง้ กับเหล็กฉากปี กคาน โดยใชตั้ วยึดทุกระยะ s ดังรูป ถ ้าน้ำหนักแผ่บนป

1: 

2: 
3: 

4: 

ข ้อที่ 153 : คานชว่ งเดีย


่ วธรรมดายาว 1.80 เมตร ประกอบขึน
้ จากไม ้ 3 แผ่น (แต่ละแผ่นมีขนาด

1 :  P = 850 กก.
2 :  P = 825 กก.
3 :  P = 800 กก.
4 :  P = 785 กก.

ข ้อที่ 154 : ถ ้าหน ้าตัดของคานประกอบด ้วยไม ้แปรรูป A สีเ่ หลีย


่ มผืนผ ้าขนาด 5x10 ซม.

1 :  M = 1265 กก.-เมตร
2 :  M = 1300 กก.-เมตร
3 :  M = 1355 กก.-เมตร
4 :  M = 1400 กก.-เมตร

ข ้อที่ 155 : คานไม ้ประกอบรูปกล่องกลวงช่วงเดียวธรรมดายาว 5.00 เมตร มีขนาดหน ้าตัดคานทัง้ หมดเท


1 :  5.75 ซม.
2 :  7.50 ซม.
3 :  11.50 ซม.
4 :  12.50 ซม.

ข ้อที่ 156 :  

1 :  575 กก./เมตร
2 :  675 กก./เมตร
3 :  775 กก./เมตร
4 :  875 กก./เมตร

ข ้อที่ 157 :

1 : 1150 กก.
2 : 1240 กก.
3 : 1300 กก.
4 : 1375 กก.

ข ้อที่ 158 :

1 : 5.00 ซม.
2 : 7.50 ซม.
3 : 10.00 ซม.
4 : 12.50 ซม.
ข ้อที่ 159 :

1 : 5.00 ซม.
2 : 7.50 ซม.
3 : 10.00 ซม.
4 : 12.50 ซม.

ิ้ ทีด
ข ้อที่ 160 : ถ ้าคานประกอบกลวง ประกอบด ้วยไม ้แปรรูปขนาด 5x10 ซม. จำนวน 2 ชน ่ ้านบนและด ้าน

1 : 24 มม.
2 : 20 มม.
3 : 12 มม.
4 : 10 มม.

้ ม
ข ้อที่ 161 : การนำเหล็กเสริมข ้างคานแบบไม่รับแรงกด (intermediate stiffeners) มาใชเพิ ่ ในคานเหล
1 : รับโมเมนต์ดด ั ได ้มากขึน

2 : รับแรงเฉือนได ้มากขึน ้
3 : โก่งตัวน ้อยลง
4 : รับโมเมนต์ดด ั และโมเนต์บด
ิ ได ้มากขึน

่ ำมาใช ้ในคานเหล็กประก
ข ้อที่ 162 : เหล็กเสริมข ้างคานแบบไม่รับแรงกด (intermediate stiffeners) ทีน
1 : ลดลง
2 : เท่าเดิม
3 : มากขึน ้
4 : ไม่มข ี ้อใดถูกต ้อง

ข ้อที่ 163 : การนำเหล็กเสริมข ้างคานแบบรับแรงกด (bearing stiffeners) มาใช ้ในคานเหล็กรูปพรรณ ห


1 : รับโมเมนต์ดด ั ได ้มากขึน
้  
2 : รับแรงเฉือนได ้มากขึน

3 : โก่งตัวน ้อยลง 
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูกต ้อง

ข ้อที่ 164 : เมือ ่ นำเหล็กเสริมข ้างคานแบบรับแรงกด (bearing stiffeners) 1 คู่ มาใช ้ในคานเหล็กประกอ
ถ ้าให ้ Ast เป็ นเนือ
้ ทีห
่ น ้าตัดของ bearing stiffener 1 ข ้าง และให ้ tw  เป็ นความหนาของเหล็กแผ่นตัง้ ดัง

1 : 12 tw^2 + 2 Ast
2 : 25 tw^2 + 2Ast
3 : 15 tw^2 + 2Ast
4 : 12.5 tw^2 + Ast

ข ้อที่ 165 : คานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ (plate girders) มีรป


ู ตัดตัว W ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานข
1 : 200 ตัน-เมตร
2 : 225 ตัน-เมตร
3 : 250 ตัน-เมตร
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 166 : ถ ้า Plate Girder ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานแต่ละด ้านขนาด 40x400 มม


1 : 6 มม.
2 : 8 มม.
3 : 10 มม.
4 : 12 มม.

ข ้อที่ 167 : คานเหล็กประกอบขนาดใหญ่(plate girders)ยาวมากมีรป


ู ตัดตัว W ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี

1 : 30 ตัน
2 : 33 ตัน
3 : 38 ตัน
4 : 40 ตัน

ข ้อที่ 168 : Plate Girder ชว่ งเดีย ้


่ วยาว 20 เมตร รับน้ำหนักบรรทุกใชงานแบบแผ่
สม่ำเสมอและน้ำหนักบ
ถ ้า Plate Girder ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานแต่ละด ้านขนาด 40x400 มม. และเหล็กแผ่นตัง้

1 : 20.0 ตัน
2 : 18.5 ตัน
3 : 16.5 ตัน
4 : 15.0 ตัน

ข ้อที่ 169 : คานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ (plate girders) มีรป


ู ตัดตัว W ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานข

1 :  150 ซม.
2 :  140 ซม.
3 :  130 ซม.
4 :  120 ซม.

ข ้อที่ 170 : ถ ้าต ้องการให ้ plate girder ซึง่ ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานแต่ละด ้านขนาด
1 :  125 ซม.
2 :  120 ซม.
3 :  110 ซม.
4 :  105 ซม.

่ วยาว 20 เมตร รับน้ำหนักบรรทุกใช ้งานแบบแผ่สม่ำเสมอเท่ากับ


ข ้อที่ 171 : Plate Girder ช่วงเดีย
ถ ้า Plate Girder ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานแต่ละด ้านขนาด 40x400 มม. และเหล็กแผ่นตัง้  

1 : ใช ้ทุกระยะ 3 เมตร 
2 :  ใช ้ทุกระยะ 2 เมตร
3 :  ใชทุ้ กระยะ 1.5 เมตร
4 :  ไม่ต ้องใช ้เลย เพราะเหล็กแผ่นตัง้ มีกำลังต ้านแรงเฉือนพอเพียง

ข ้อที่ 172 : Plate Girder ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานแต่ละด ้านขนาด 40x400 มม. และเหล็กแผ่นตัง้
1 :  22.0 ซม.2
2 :  18.5 ซม.2
3 :  25.0 ซม.2
4 :  22.5 ซม.2
ข ้อที่ 173 : Plate Girder ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานแต่ละด ้านขนาด
1 :  17
2 :  19
3 :  21
4 :  25

ข ้อที่ 174 : คานเหล็กรูปตัด W ช่วงเดียวยาว 20 เมตร ได ้จากการนำแผ่นเหล็กปี กคาน 2


1 :  rolled beam
2 :  built-up beam
3 :  plate girder
4 :  composite beam

ข ้อที่ 175 : การวิบต


ั ข
ิ อง plate girder อันเนือ่ งมาจากผลของโมเมนต์ดด
ั คือ
1 :  อาจเกิดการครากทีป ่ ี กรับแรงดึง และโก่งเดาะทีป
่ ี กรับแรงอัด
2 :  อาจเกิดการโก่งเดาะทีเ่ หล็กแผ่นตัง้
3 :  อาจเกิดการบิดและโก่งออกทางข ้าง
4 :  ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 176 : Plate girder ทีท


่ ำด ้วยเหล็กชนิด A36 และมี a/h = 3 จะไม่วบ
ิ ต
ั แ
ิ บบ vertical web bucklin
1 :  350
2 :  335
3 :  320
4 :  ไม่มขี ้อใดถูกต ้อง

่ ว่ งในๆของคานทีม
ข ้อที่ 177 : การเกิดพฤติกรรมของ Tension Field Action ทีช ่ ี a/h ratio
1 :  ไม่ให ้เหล็กแผ่นตัง้ รับแรงอัดในแนวทแยงเลย
2 :  ให ้เหล็กแผ่นตัง้ รับแรงดึงในแนวทแยงเฉพาะช่วงอิลาสติก
3 :  ให ้เหล็กแผ่นตัง้ รับแรงอัดในแนวทแยงเฉพาะช่วงอิลาสติก หลังจากนัน้ ให ้เหล็กแผ่นตัง้ ทำหน ้าทีร่ ับแ
4 :  ไม่มขี ้อใดถูกต ้อง

ข ้อที่ 178 : คานเชงิ ประกอบแบบ nonencased beam โดยหล่อพืน


้ คอนกรีตวางทับเหนือคานเหล็กแต่ไม
1 :  fully composite-beam
2 :  partially composite-beam
3 :  noncomposite-beam
4 :  ไม่มขี ้อใดถูก

ข ้อที่ 179 : คานเชิงประกอบแบบ encased beam ทีม


่ ต
ี าข่ายเหล็กและคอนกรีตหุ ้มรอบคานเหล็กรูปพรร
1 :  fully composite-beam
2 :  partially composite-beam
3 :  noncomposite-beam
4 :  ไม่มขี ้อใดถูก

ข ้อที่ 180 : คานเชิงประกอบแบบ nonencased beam โดยหล่อพืน


้ คอนกรีตวางทับเหนือคานเหล็กและใ
1 : รับโมเมนต์ดด ั ได ้มากขึน
้ และโก่งตัวน ้อยลง 
2 : รับโมเมนต์ดด
ั ได ้เท่าเดิม
3 : รับโมเมนต์ดดั ได ้มากขึน ้
4 : รับโมเมนต์ดด ั ได ้เท่าเดิม แต่โก่งตัวน ้อยลง

ข ้อที่ 181 : คานเหล็กและพืน


้ คอนกรีตจะมีพฤติกรรมเชิงประกอบต่อเมือ
่ คอนกรีตมีกำลังรับแรงอัดเท่ากับ
1 :  0.45fc’
2 :  0.75fc’
3 :  0.85fc’
4 :  fc’

ข ้อที่ 182 : คานไม ้ประกอบชว่ งเดีย


่ วธรรมดา ขนาด 4” x 8” ยาว 4.00 เมตร ประกอบขึน
้ จากท่อนไม ้ขนา
1 : 6.0 กก./ซม.2 
2 : 7.0 กก./ซม.2
3 : 7.5 กก./ซม.2
4 : 8.0 กก./ซม.2

ข ้อที่ 183 : คานไม ้ประกอบช่วงเดีย


่ วธรรมดา ขนาด 4” x 8” ยาว 3.50 เมตร ประกอบขึน
้ จากท่อนไม ้ขนา
1 :  10.0 ซม.
2 :  12.5 ซม.
3 :  15.0 ซม.
4 :  17.5 ซม.

ข ้อที่ 184 : คานไม ้ประกอบขึน ่ อ


้ จากไม ้ขนาด 2” x 6” สีท ่ น (ไม่ไส) เป็ นรูปกล่องกลวง มีขนาดหน ้าตัดเท
1 :  8.00 ซม.
2 :  6.00 ซม.
3 :  4.00 ซม.
4 :  3.00 ซม.

ข ้อที่ 185 : คานไม ้ประกอบขึน


้ จากไม ้ (ไม่ไส) ขนาด 1” x 8” สองแผ่น วางนอน และขนาด
1 : 600 กก./เมตร
2 : 675 กก./เมตร
3 : 775 กก./เมตร
4 : 875 กก./เมตร

ข ้อที่ 186 : คานประกอบกลวง ประกอบด ้วยไม ้แปรรูป (ไม่ไส) ขนาด 5x10 ซม. จำนวน 2
1 : 8 มม.
2 : 10 มม.
3 : 12 มม.
4 : 15 มม.

ข ้อที่ 187 : คานประกอบกลวง ประกอบด ้วยไม ้แปรรูป (ไม่ไส) ขนาด 5x10 ซม. จำนวน 2
1 : 1400 กก.-เมตร
2 : 1450 กก.-เมตร
3 : 1500 กก.-เมตร
4 : 1600 กก.-เมตร

ข ้อที่ 188 : ถ ้าคานเหล็กประกอบ (plate girders) มีความหนาของเหล็กแผ่นตัง้ = tW เสริมเหล็กข ้างคา


1 : 12tW^2 + 2Ast
2 : 25tW^2 + 2Ast
3 : 15tW^2 + 2Ast
4 : 12.5tW^2 + Ast

ข ้อที่ 189 : Plate Girder ชว่ งเดีย


่ วยาว 20 เมตร รูปตัดตัว W ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานแต่ละด ้านข

หน่วยแรงเฉือนใชงานในเหล็ กแผ่นตัง้ ของคานเหล็กประกอบ (กก./ตร.ซม.) สำหรับเหล็กชนิด
(ไม่รวมผลของ Tension Field Action)
h/tw Aspect Ratios a/h : Stiffener S
0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1
160 863 743 624 517 444 391
170 812 699 553 458 393 347
180 767 624 493 409 351 309

1 : 15.0 ตัน
2 : 16.5 ตัน
3 : 18.5 ตัน
4 : 20.0 ตัน

ข ้อที่ 190 : คานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ (plate girders) รูปตัดตัว W ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานขน


1 : 405 ตัน-เมตร
2 : 375 ตัน-เมตร
3 : 345 ตัน-เมตร
4 : 310 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 191 : ถ ้า Plate Girder ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานแต่ละด ้านขนาด 40x400 มม
1 : 410 ตัน-เมตร
2 : 450 ตัน-เมตร
3 : 520 ตัน-เมตร
4 : 550 ตัน-เมตร

ข ้อที่ 192 : คานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ (plate girders) ชว่ งเดียว ยาว 12 เมตร ประกอบด ้วยแผ่นเหล
หน่วยแรงเฉือนประลัย (fVVn /Aw) ในเหล็กแผ่นตัง้ ของคานเหล็กประกอบ (กก./ตร. ซม.)
(ไม่รวมผลของ Tension Field Action)
H/tw Aspect Ratios a/h : Stiffener S
0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1
160 1313 1141 975 822 716 641
170 1235 1073 864 728 635 568
180 1167 957 770 649 566 507
1 : 42 ตัน
2 : 45 ตัน
3 : 48 ตัน
4 : 50 ตัน

ข ้อที่ 193 : คานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ (plate girders) ช่วงเดียว ยาว 12 เมตร ประกอบด ้วยแผ่นเหล
หน่วยแรงเฉือนประลัย (fVVn /Aw) ในเหล็กแผ่นตัง้ ของคานเหล็กประกอบ (กก./ตร. ซม.)
(ไม่รวมผลของ Tension Field Action)
H/tw Aspect Ratios a/h : Stiffener S
0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1
160 1313 1141 975 822 716 641
170 1235 1073 864 728 635 568
180 1167 957 770 649 566 507

1 : 90 ซม.
2 : 100 ซม.
3 : 120 ซม.
4 : 135 ซม.

ข ้อที่ 194 : Plate Girder ทีต


่ อ ื่ ม ถ ้านำ bearing stiffener 1 คู่ ขนาดแผ่นละ
่ กันโดยการเชอ
1 : 170 ตัน
2 : 140 ตัน
3 : 125 ตัน
4 : 100 ตัน

ข ้อที่ 195 : หากนำแผ่นเหล็กปี กคาน 2 แผ่นขนาด 300x25 มม. และเหล็กแผ่นตัง้ หนึง่ แผ่นขนาด
1 : rolled beam
2 : built-up beam
3 : plate girder
4 : composite beam

ึ ไม ้ชนิดใดทีใ่ ช ้รับได ้ทัง้ แรงด ้านข ้างและแรงถอน


ข ้อที่ 196 : อุปกรณ์ยด
1 : แหวนยึด 
2 : ตะปู
3 : สลักเกลียว
4 : สลักไม ้ 

ึ ไม ้ชนิดใดทีใ่ ชรั้ บแรงด ้านข ้างอย่างเดียว 


ข ้อที่ 197 : อุปกรณ์ยด
1 :  ตะปู
2 :  ตะปูเกลียว
3 :  สลักเกลียว
4 :  ลิม่ เหล็ก
ข ้อที่ 198 : จงประมาณค่าแรงเฉือน 2 ระนาบของสลักเกลียวขนาด 16 mm ถ ้าหน่วยแรงเฉือนทีย
่ อมให ้เ
1 : 2,950 kg
2 : 5,900 kg
3 : 11,800 kg
4 : ไม่มข ี ้อถูก

่ มในทางปฏิบต
ข ้อที่ 199 : ขนาดการเชือ ั ไิ ม่เล็กกว่ากี่ mm  
1 :  3 mm
2 :  6 mm
3 : 9 mm
4 : 12 mm

ื่ มอ ้อมปลาย (End return) ให ้ใชความยาวอย่


ข ้อที่ 200 : ในการเชอ ้ างน ้อยเท่าใด
1 :  1 เท่าขนาดการเชือ ่ ม
2 :  2 เท่าขนาดการเชอ ื่ ม
3 :  3 เท่าขนาดการเชอ ื่ ม
4 :  4 เท่าขนาดการเชือ ่ ม

รวมคะแนน 0
ข ้อที่ 201 : จะต ้องใช ้ขาเชือ
่ มขนาดเท่าใด เพือ ่ มแบบฟิ ลเลทยาวด ้านล
่ ให ้รับแรงดึง 26,000 kg โดยเชือ
1 :  5 mm
2 :  6 mm
3 :  7 mm
4 :  8 mm

ื่ มเท่ากับ 450 kg/ความยาว 1 cm ถ ้ามีแรงดึงกระทำเท่ากับ


ข ้อที่ 202 : กำหนดให ้ กำลังของรอยเชอ
1 : 3.5 cm 
2 :  4.5 cm
3 :  5.5 cm
4 :  6.5 cm

่ วใช ้เหล็กประกับหนา 6 mm มีคา่ เท่ากับ


ข ้อที่ 203 : แรงดึงในองค์อาคารของเหล็กฉากเดีย
1 :  2 ตัว
2 :  3 ตัว
3 :  4 ตัว
4 :  5 ตัว

ข ้อที่ 204 : องค์อาคารต่อโดยใช ้เหล็กฉากเดีย


่ ว ขนาด 50 x 50 x 6 mm มีพน
ื้ ทีห
่ น ้าตัดเท่ากับ
1 :  4.74 ตร.ซม.
2 :  4.50 ตร.ซม.
3 :  4.03 ตร.ซม.
4 :  3.55 ตร.ซม.
่ รับแรงดึงเท่ากับ 3000 kg โดยการต่อชนและใช ้แผ่นเหล็กป
ข ้อที่ 205 : ถ ้าต ้องการต่อองค์อาคารไม ้เพือ
1 :  4 ตัว
2 :  5 ตัว
3 :  6 ตัว
4 :  7 ตัว

ข ้อที่ 206 : อุปกรณ์ยด


ึ ไม ้ในข ้อใดรับกำลังทางข ้าง (แรงเฉือนของจุดต่อ) ได ้มากทีส
่ ด

1 : ตะปู
2 : ชุดแหวนยึดไม ้
3 : ตะปูเกลียว
4 : สลักเกลียว

ข ้อที่ 207 : อุปกรณ์ยด


ึ ไม ้ในข ้อใดรับกำลังแรงถอนได ้น ้อยทีส
่ ด

1 : ตะปู
2 : ชุดแหวนยึดไม ้
3 :ตะปูเกลียว
4 : ตะปูควง

ข ้อที่ 208 : ข ้อใดมีผลกระทบต่อกำลังยึดทีจ


่ ด
ุ ต่อของตะปู
1 : คุณสมบัตข ้ ในไม ้
ิ องไม ้, ความชืน
2 : ระยะฝั งของตะปู
3 : ขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลางของตะปู
4 : มีผลกระทบทุกข ้อ

ข ้อที่ 209 : แผ่นเหล็กปะกับด ้านข ้างของชิน้ ไม ้จะเพิม


่ ความสามารถของสลักเกลียวในการรับแรงด ้านใดม
1 : แรงตัง้ ฉากเสีย ้ น
2 : แรงขนานเสย ี้ น
3 : แรงทีท ่ ำมุม 30 องศา กับแนวเสีย ้ น
4 : แรงทีท ่ ำมุม 45 องศา กับแนวเสย ี้ น

ข ้อที่ 210 : ในการเชอ ื่ มเหล็ก วิธใี ดสามารถใชเพื


้ อ่ ลดจุดแรงวิกฤต (High Stress Concentration)

1 : ใชลวดเช ื่ มขนาดเล็กกว่าความหนาของเหล็ก

2 : การเชือ ่ มอ ้อมปลาย (End Return)
3 : ไม่ใช ้ขนาดรอยเชือ ่ มเกิน 6 ม.ม.
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 211 : การวิบต ั ข


ิ องรอยต่อทีต่ อ
่ ด ้วยสลักเกลียว แบบใด ทีส
่ ามารถแก ้ไขได ้โดยเพิม
่ จำนวนสลักเกลีย
1 :  การวิบต ั โิ ดยแรงดึงทีแ ่ ผ่นเหล็ก
2 :  การวิบต ั โิ ดยแรงกดทีแ ่ ผ่นเหล็ก
3 :  การวิบต ั โิ ดยแรงดึง และแรงกดทีแ ่ ผ่นเหล็ก
4 :  ไม่มขี ้อถูก
ื่ มของรอยต่อสำหรับฐานรองรับคานดังแสดงในรูป เพือ
ข ้อที่ 212 : จงประมาณขนาดของรอยเชอ ่ รับแรงป

1 : 3 mm  
2 :  4 mm
3 :  5 mm
4 :  6 mm

ข ้อที่ 213 : จงคำนวณหาเนือ ่ น ้าตัดสุทธิขององค์อาคารรับแรงดึงซึง่ เจาะรูขนาด 24 mm.


้ ทีห

1 :  20.40 cm2
2 :  22.80 cm2
3 :  24.08 cm2
4 :  25.40 cm2

่ อมให ้สำหรับรอยเชอ
ข ้อที่ 214 : ตามมาตรฐาน AISC(1963) กำหนดหน่วยแรงเฉือนทีย ื่ มแบบพอก
1 : 1140 ksc
2 : 1260 ksc
3 : 1470 ksc
4 : 1520 ksc

ข ้อที่ 215 : จงประมาณค่าทีย ื่ ม ถ ้าเหล็กทีใ่ ชเป็


่ อมให ้ของการต่อเชอ ้ นเหล็ก A36 ลวดเชอ
ื่ มเป็ นชนิด
1 : 19,000 kg
2 : 28,700 kg
3 : 38,000 kg
4 : 48,880 kg

ข ้อที่ 216 : จากรูปจงคำนวณหาระยะระหว่างสลักเกลียว(pitch)ซงึ่ จะทำให ้เนือ


้ ทีห
่ น ้าตัดสุทธิเท่ากับเนือ
้ ท

1 : 3.53 cm
2 : 4.83 cm
3 : 5.43 cm
4 : 6.63 cm

ข ้อที่ 217 : การวิบต


ั ข
ิ องรอยต่อ กรณีใดวิบต
ั ท
ิ ต
ี่ วั ยึด 
1 : Block Shear Failure
2 : Cracking Failure
3 : Tear out Failure
4 : Single Shear or Double Shear Failure

่ มดังรูป หมายถึง 
ข ้อที่ 218 : สัญลักษณ์ของการเชือ

1 : ่ มทาบด ้านใกล ้ ขนาดรอยเชือ


เชือ ่ ม 6 mm. เชือ ่ มยาว 50 mm. เว ้นระยะ 100 mm.
2 : เชอ ื่ มทาบด ้านไกล ขนาดรอยเชอ ื่ ม 6 mm. เชอ ื่ มยาว 100 mm. เว ้นระยะ 50 mm.
3 : เชือ ่ มทาบด ้านใกล ้ ขนาดรอยเชือ่ ม 6 mm. เชือ ่ มยาว 100 mm. เว ้นระยะ 50 mm.
4 : เชือ ่ มทาบสลับด ้าน ขนาดรอยเชือ ่ ม 6 mm. เชือ ่ มยาว 50 mm. เว ้นระยะ 100 mm.

ข ้อที่ 219 : จงหาแรงสูงสุดทีย


่ อมให ้(P)ขององค์อาคารรับแรงดึงทีต
่ อ ่ มทาบด
่ ทาบเข ้าด ้วยกันโดยการเชือ
1 :  10,800 kg
2 :  16,800 kg
3 :  20,800 kg
4 :  26,800 kg

ข ้อที่ 220 : จงคำนวณหาความสามารถในการรับแรงดึงของแผ่นเหล็กขนาด 


250 mm x 12 mm ดังแสดงในรูป ถ ้าแผ่นเหล็กเป็ นเหล็กชนิด ASTM A36 และหมุดย้ำชนิด

1 : 12,450 kg
2 : 17,870 kg
3 : 24,380 kg
4 : 26,130 kg

ข ้อที่ 221 : เมือ


่ ทำรอยต่อรับแรงดึงในโครงเหล็ก ดังรูป จงประมาณหน่วยแรงเฉือนทีเ่ กิดขึน
้ ในสลักเกลีย

1 :  8830 กก./ซม.2
2 :  4420 กก./ซม.2
3 :  2210 กก./ซม.2
4 :  1105 กก./ซม.2

ข ้อที่ 222 : เมือ


่ ทำรอยต่อรับแรงดึงในโครงสร ้าง ดังรูป จงประมาณหน่วยแรงเฉือนทีเ่ กิดขึน
้ ในสลักเกลียว
1 : 2210 กก./ซม.2
2 : 2930 กก./ซม.2
3 : 3200 กก./ซม.2
4 : 3500 กก./ซม.2

ข ้อที่ 223 :  เมือ


่ ทำรอยต่อรับแรงดึงในโครงสร ้างเหล็ก ดังรูป จงประมาณหน่วยแรงกดทีเ่ กิดขึน
้ ในสลักเก

1 :  1303 กก./ซม.2
2 :  2605 กก./ซม.2
3 : 3780 กก./ซม.2
4 :  4135 กก./ซม.2

ข ้อที่ 224 :  เมือ


่ ทำรอยต่อรับแรงดึงในโครงสร ้างเหล็ก ดังรูป จงประมาณหน่วยแรงกดทีเ่ กิดขึน
้ ในสลักเก

1 :  3780 กก./ซม.2
2 :  3450 กก./ซม.2
3 :  2605 กก./ซม.2
4 :  1303 กก./ซม.2

ข ้อที่ 225 : ในโครงสร ้างเหล็กถ ้าหน่วยแรงเฉือนทีย


่ อมให ้ของสลักเกลียว A325-x = 2100
1 : 9500 กก.
2 : 19000 กก.
3 : 37200 กก.
4 : 38000 กก.

ข ้อที่ 226 : ในโครงสร ้างเหล็กเมือ


่ ทำรอยต่อรับแรงดึง ดังรูป ถ ้าแผ่นเหล็กเป็ นชนิด A36 (

1 : 18600 กก.
2 : 37200 กก.
3 : 62200 กก.
4 : 74600 กก.

ข ้อที่ 227 : เมือ


่ ทำรอยต่อแบบมีแรงฝื ด (friction-type connection) ดังรูป จงประมาณค่าแรงดึงประลัย

1 : 21200 กก.
2 : 56200 กก.
3 : 75000 กก.
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูกต ้อง

่ ทำรอยต่อแบบมีแรงกดระหว่างค้ำยันรับแรงดึงกับเสา ดังรูป โดยใช ้สลักเกลียวกำลังสูงช


ข ้อที่ 228 : เมือ
กำหนดหน่วยแรงทีย ่ อมให ้ของสลักเกลียว A325-N ดังนี้
หน่วยแรงเฉือนทีย ่ อมให ้    Fv = 1470 กก./ซม.2
หน่วยแรงดึงทีย ่ อมให ้        Ft =  กก./ซม.2
1 :  65000 กก.
2 :  60000 กก.
3 :  55000 กก.
4 :  50000 กก.

ิ าจากคานทีเ่ กิดจากน้ำหนักบรรทุกคงทีใ่ ช ้งาน


ข ้อที่ 229 : รอยต่อคานกับเสา รับแรงปฏิกริ ย

1 : 5 มม.
2 : 6 มม.
3 : 7 มม.
4 : 8 มม.

ิ าจากคานทีเ่ กิดจากน้ำหนักบรรทุกคงทีใ่ ช ้งาน


ข ้อที่ 230 : รอยต่อคานกับเสา รับแรงปฏิกริ ย

1 :  5 มม.
2 :  6 มม.
3 :  7 มม.
4 :  8 มม.

ข ้อที่ 231 : เมือ ่ มต่อระหว่างเหล็กฉากกับแผ่นเหล็กประกับ ดังรูป ถ ้าต ้องการให ้ศูนย์ถว่ งของร


่ ทำรอยเชือ
1 : 295 N

2 : 395 N

3 : 102.5 N

4 : 205 N

ื่ มเพือ
ข ้อที่ 232 : จงหาความยาวทัง้ หมดของรอยเชอ ้
่ รับแรงดึงใชงาน ้ กชนิด
= 30 ตัน สมมติใชเหล็

1 : 18 ซม.
2 : 40 ซม.
3 : 36 ซม.
4 : 20 ซม.

่ มเพือ
ข ้อที่ 233 :  จงหาความยาวทัง้ หมดของรอยเชือ ่ รับแรงดึงประลัย = 45 ตัน สมมติใช ้เหล็กชนิด

1 : 40 ซม.
2 : 36 ซม.
3 : 20 ซม.
4 : 18 ซม.

ื่ มต่อบ่าเสาเป็ นรูปตัวซ ี ดังแสดง หากให ้ขาเชอ


ข ้อที่ 234 :  ถ ้าทำรอยเชอ ื่ มมีคา่ หนึง่ หน่วย ดังนัน
้ โพลาโ

1 :  1690 ซม.3
2 :  43310 ซม.3
3 :  45000 ซม.3
4 :  46690 ซม.3

ข ้อที่ 235 : ในการต่อคานกับเสา ถ ้าใช ้เหล็กฉาก 1 คูช


่ นิด A36 ยาว = 25 ซม. เพือ
่ ช่วยถ่ายแรงปฏิกริ ย
ิ า

1 :  7 มม.
2 :  8 มม.
3 :  9 มม.
4 :  10 มม.

ื่ มบ่าเสา เพือ
ข ้อที่ 236 : ในการทำรอยต่อเชอ ้
่ ถ่ายแรงใชงาน 13 ตัน ซงึ่ กระทำห่างจากหน ้าเสา
1 : fr = 433.5 กก./ตร.ซม. 
2 : fr = 511.5 กก./ตร.ซม.
3 : fr = 670.5 กก./ตร.ซม.
4 :  ไม่มข
ี ้อใดถูก

่ มบ่าเสา เพือ
ข ้อที่ 237 : ในการทำรอยต่อเชือ ่ ถ่ายแรงใช ้งาน 13 ตัน ซึง่ กระทำห่างจากหน ้าเสา

1 :  7 มม.
2 :  8 มม.
3 :  9 มม.
4 :  10 มม.

้ เพือ
ข ้อที่ 238 : ในการต่อทาบไม ้ขนาด 1½" x 3" (ไม่ไส) สองชิน ่ ถ่ายแรงดึง 1000 กก

1 : ใช 3 แถวๆละ 5 ตัว
2 : ใช ้ 2 แถวๆละ 6 ตัว
3 : ใช ้ 3 แถวๆละ 6 ตัว
4 : ใช ้ 2 แถวๆละ 8 ตัว

้ แบบต่อชนโดยอาศัยแผ่นเหล็กประกับ เพือ
ข ้อที่ 239 : ในการต่อไม ้ขนาด 1½" x 3" (ไม่ไส) สองชึน ่ ถ่าย

1 : ใช 2 แถวๆละ 4 ตัว
2 : ใช ้ 2 แถวๆละ 3 ตัว
3 : ใช ้ 2 แถวๆละ 2 ตัว
4 : ใช ้ 2 แถวๆละ 5 ตัว

้ นระหว่างไม ้กับไม ้ของสลักเกลียว = 1170 กก


ข ้อที่ 240 : ถ ้ากำลังต ้านทานแรงขนานเสีย
1 : 840 กก./ตัว
2 : 670 กก./ตัว
3 : 590 กก./ตัว
4 : 450 กก./ตัว

้ ส่วนหลักซึง่ ใช ้แผ่นเหล็ก ชนิด


ข ้อที่ 241 : ในการทำรอยต่อด ้วยตัวยึดแบบรับแรงกดระหว่างชิน
1 : 6 ตัว
2 : 8 ตัว
3 : 9 ตัว
4 : 12 ตัว

่ ้องใช ้ ในการทำรอยต่อแบบร
ข ้อที่ 242 : จงหาจำนวนของสลักเกลียวขนาด 16 มม. (Ab = 2 ซม.2) ทีต
1 : 1 ตัว
2 : 2 ตัว
3 : 3 ตัว
4 : 4 ตัว

้ ส่วนรับแรงดึงของโครงหลังคาซึง่ ใช ้เหล็กฉากขนาด 50x50x4


ข ้อที่ 243 : ในการต่อยึดชิน
1 : 4750 กก.
2 : 5830 กก.
3 : 9500 กก.
4 : 11660 กก.

ข ้อที่ 244 : ในการต่อปลายคานกับเสารองรับเพือ ิ าใช ้งานเท่ากับ 26 ตัน โดยใช ้เหล็กฉาก


่ ถ่ายแรงปฏิกริ ย

1 : 3 มม.
2 : 6 มม.
3 : 8 มม.
4 : 12 มม.

ข ้อที่ 245 : ในการต่อปลายคานกับเสารองรับแบบง่าย เพือ


่ ถ่ายแรงปฏิกริ ย ้
ิ าใชงานจากคานเท่
ากับ

1 : 9 มม.
2 : 10 มม.
3 : 12 มม.
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 246 : สำหรับรอยเชอ


ื่ มต่อทุกประเภท ค่าหน่วยแรงเฉือนใชงานที
้ ย ื่ มชนิด
่ อมให ้ของลวดเชอ
1 : 1260 กก./ซม.2
2 : 1470 กก./ซม.2
3 : 1800 กก./ซม.2
4 : 2100 กก./ซม.2

ิ้ สว่ นโครงสร ้างเพือ


ข ้อที่ 247 : ถ ้าต่อชน ่ รับแรงกระทำ P แผ่นเหล็กแต่ละแผ่นมีขนาด a x b

1 : P/ab
2 : 0.707P/ab
3 : 1.414P/ab
4 : P/2ab

ิ้ สว่ นโครงสร ้างเพือ


ข ้อที่ 248 : ถ ้าต่อชน ื่ มแต่ละข ้า
่ รับแรงกระทำ P แผ่นเหล็กกว ้างเท่ากับ b ขนาดขาเชอ

1 : 0.707P/ab
2 : 0.707P/2ab
3 : 1.414P/ab
4 : P/2ab

ข ้อที่ 249 : ในการต่อเหล็กแผ่นตัง้ ขนาด 10x1700 มม. กับแผ่นเหล็กปี กคานขนาด 50x400


1 : 300 กก./ซม.
2 : 350 กก./ซม.
3 : 400 กก./ซม.
4 : 440 กก./ซม.

ื่ มต ้องรับแรงดึงได ้ 12 ตัน หากใชรอยเช


ข ้อที่ 250 : ถ ้ารอยเชอ ้ ื่ ม 6 มม. ต ้องเชอ
อ ื่ มยาวทัง้ หมดเท่าใด
1 : 5 ซม.
2 : 10 ซม.
3 : 15 ซม.
4 : 20 ซม.

รวมคะแนน 0
ข ้อที่ 251 : ระยะทาบของแผ่นเหล็กทีน
่ ำมาต่อ อย่างน ้อยเท่ากับ 5 เท่าของความหนาของแผ่นเหล็กทีบ
่ า
1 : 20 มม. 
2 : 25 มม.
3 : 30 มม.
4 : 40 มม.

ข ้อที่ 252 : จากรูป พืน


้ ทีห
่ น ้าตัดสุทธิทรี่ ับแรงดึง (Ant) มีคา่ เท่าไหร่ เมือ
่ รอยต่อเกิดการวิบต
ั แ
ิ บบ

1 : 5.04 cm^2
2 : 9.54 cm^2
3 : 13.86 cm^2
4 : 14.04 cm^2

ข ้อที่ 253 : จากรูป พืน


้ ทีห
่ น ้าตัดสุทธิทรี่ ับแรงเฉือน (Anv) มีคา่ เท่าไหร่ เมือ
่ รอยต่อเกิดการวิบต
ั แ
ิ บบ
1 : 13.86 cm^2
2 : 14.04 cm^2
3 : 5.04 cm^2
4 : 9.54 cm^2

ข ้อที่ 254 : จากรูป ถ ้าสลักเกลียวและแผ่นเหล็ก เป็ นเหล็กโครงสร ้างชนิด A36 (Fy = 2500 ksc

1 : 40500 kg
2 : 44550 kg
3 : 33750 kg
4 : 50625 kg

ข ้อที่ 255 : จากรูป ถ ้าสลักเกลียวและแผ่นเหล็กเป็ นเหล็กโครงสร ้างชนิด A36 (Fy = 2500 ksc

1 : 40500 kg
2 : 44550 kg
3 : 45612 kg
4 : 50625 kg

ข ้อที่ 256 : จากรูป กำลังรับแรงดึงมีคา่ เท่าไหร่ เมือ


่ รอยต่อเกิดการวิบต
ั แ
ิ บบ Block Shear

1 :  40022 kg
2 :  50131 kg
3 :  55000 kg
4 :  55065 kg

่ สลักเกลียวมีเส ้นผ่าศูนย์กล
ข ้อที่ 257 : จากรูป ความกว ้างสุทธิ (Wn) ตามแนว ABECD มีคา่ เท่าไหร่ เมือ

1 :  25.00 cm
2 :  26.26 cm
3 :  27.06 cm
4 :  29.60 cm

่ สลักเกลียวมีเส ้นผ่าศูนย์กล
ข ้อที่ 258 : จากรูป ความกว ้างสุทธิ (Wn) ตามแนว ABEFG มีคา่ เท่าไหร่ เมือ
1 :  25.00 cm
2 :  26.26 cm
3 :  27.06 cm
4 :  29.60 cm

้ ส่วนหลักซึง่ ใช ้แผ่นเหล็ก ชนิด


ข ้อที่ 259 : ในการทำรอยต่อด ้วยตัวยึดแบบรับแรงกดระหว่างชิน
1 : 9 ตัว
2 : 12 ตัว
3 : 6 ตัว
4 : 8 ตัว

่ ้องใช ้ ในการทำรอยต่อแบบ
ข ้อที่ 260 : จงหาจำนวนของสลักเกลียวขนาด f 16 มม. (Ab = 2 ซม.2) ทีต
1 : 1 ตัว
2 : 2 ตัว
3 : 3 ตัว
4 : 4 ตัว

ข ้อที่ 261 : ในการต่อเหล็กแผ่นตัง้ ขนาด 10x170 มม. กับแผ่นเหล็กปี กคานขนาด 50x400


1 : 300 กก./ซม.
2 : 400 กก./ซม.
3 : 500 กก./ซม.
4 : 550 กก./ซม.

รวมคะแนน 0
Maximum Allowable Tensile Stress บนหน ้าตัดทัง้ หมดของเหล็กรูปพรรณคือ

้ เกินกว่า
รณรับแรงดึง ค่า Slenderness ratio ใชไม่

of gyration ทีน
่ ้อยทีส
่ ด

ระนาบวิกฤต ผู ้ออกแบบควรทำเช่นไร
ได ้ประมาณเท่าไร

กน ้อยไปมาก

จุดครากไม่ปรากฏชัดเจน มาตรฐาน ASTM ให ้พิจารณาหน่วยแรงจุดคราก ณ หน่วยการยืด (Strain) ตัวใด  

ากัน ปลายเสาแบบใดมีความสามารถรับแรงได ้สูงทีส


่ ด

ความยาวเท่ากัน ปลายเสาแบบใดมีความสามารถรับแรงได ้สูงทีส


่ ด
ุ  

น ความยาวเสาใดสามารถรับแรงได ้สูงทีส
่ ด
ุ โดยมีการยึดปลายเสาเหมือนกัน  
และไม่มก
ี ารเซ หากมีการค้ำยันตรงกลางไม่ให ้โก่งได ้ (โก่งไม่ได ้ทุกทิศทาง, หมุนได ้) เสาจะสามารถรับน้ำหนักเพิม
่ ขึน
้ กีเ่ ท่า

น และไม่มก
ี ารเซ หากมีการค้ำยันตรงกลางไม่ให ้โก่งได ้ (โก่งไม่ได ้ทุกทิศทาง, หมุนได ้) เสาจะสามารถรับน้ำหนักเพิม
่ ขึน
้ กีเ่ ท่า  

วาง (P-Delta Effect)

ององค์อาคารเหล็กรับแรงดึงทีม
่ รี เู จาะมีคา่ ไม่เกินกีเ่ ปอร์เซนต์ของเนือ
้ ทีห
่ น ้าตัดทัง้ หมด 
gn) หากต ้องพิจารณาถึงแรงลมทีก
่ ระทำต่อโครงสร ้าง

าว 3.0 เมตร ปลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดหมุน


สายาว 3.0 เมตร ปลายทัง้ สองข ้างยึดหมุน

(k = 1) รับน้ำหนักได ้ 100 ตัน ถ ้าเปลีย


่ นการยึดจับปลายเป็ นยึดแน่นข ้างเดียว อีกข ้างปล่อยอิสระ (k = 2) จะรับน้ำหนักวิกฤตได ้เท่าใด
วรเกินเท่าใด

Shear ข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง

สำหรับองค์อาคารรับแรงดึงซึง่ มีหน ้าตัดเป็ นเหล็กแบนหนา 25 มม.  

้ ต ้องใช ้ท่อนเหล็กขนาดเส ้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ


เกลียวประมาณ 1/16 นิว้ ดังนัน

ด ้วยสลักเกลียวขนาด 20 มม. อย่างน ้อย 3 ตัวในหนึง่ แถว และสมมติวา่ ไม่เกิดการวิบต


ั ท
ิ ต
ี่ วั สลักเกลียว หรือวิบต
ั แ
ิ บบ block-shear

ดตามแนวแกนได ้สูงสุด  

o Force Member) มีกช ิ้ สว่ น


ี่ น
ดแบบคอมแพค ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 (Fy=2500 ksc,E=2x106 ksc)  
ดทีใ่ ช ้ออกแบบ (design strength)

ดแบบคอมแพค ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 (Fy=2500 ksc,  


จงประมาณกำลังรับแรงอัดทีใ่ ช ้ออกแบบ (design strength)

0 ksc, E=2x106 ksc) มีปลายข ้างหนึง่ เป็ นแบบยึดแน่นและปลายอีกข ้างหนึง่ เป็ นแบบยึดหมุน ไม่เซ ยาว 6.0 เมตร จงหาค่า rmin

ดแบบคอมแพค ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 (Fy=2500 ksc, E=2x106 ksc) มีปลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดหมุน ยาว 6.0 เมตร จงหากำลังรับแ
84 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 (Fy=2500 ksc, E=2x106 ksc) มีปลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดหมุนและมีค้ำยันทีก
่ งึ่ ก

้ นทีย
งเป็ นแบบยึดหมุน จงประมาณกำลังรับแรงอัดปลอดภัยของเสา กำหนดให ้หน่วยแรงอัดขนานเสีย ่ อมให ้ Fc = 90 กก./ตร.

องด ้านเป็ นแบบยึดหมุน ยาว 3.00 เมตร เพือ ้ นทีย


่ รับแรงอัดปลอดภัย 9 ตัน กำหนดให ้ หน่วยแรงอัดขนานเสีย ่ อมให ้ Fc = 90

ระเทศไทย จะคิดจาก  
า เพียงแต่มค
ี วามคงทนดีขน
ึ้

นแล ้วใช ้ไม ้ชนิดเดียวกันซึง่ มีความกว ้างขนาดเดียวกันกับชิน


้ ส่วนทีร่ ับแรงดึงมาประกบหรือประกับแต่ละข ้าง ความหนาอย่างน ้อยของไม ้ประก

ตามแนวแกน หากใชอั้ ตราสว่ นความปลอดภัยเท่ากับ 3 และค่าโมดูลัสยืดหยุน


่ ของไม ้เท่ากับ E ดังนัน
้ จงประมาณค่าหน่วยแรงอัดปลอดภัยข

กมีค้ำยันข ้างเสาตรงกึง่ กลางชว่ งความยาว ในทิศทางทีต


่ งั ้ ฉากกับระยะ d จะพบว่า

่ งั ้ ฉากกับระยะ b และใช ้อัตราส่วน


ข ้างเป็ นแบบยึดหมุน รับแรงอัดตามแนวแกน หากทำค้ำยันข ้างเสาตรงกึง่ กลางช่วงความยาว ในทิศทางทีต
" (ไม่ไส) ปลายทัง้ สองด ้านเป็ นแบบยึดหมุนยาว 2.00
้ นทีย
านเสีย ่ อมให ้ Fc = 90 กก./ซม.2, E = 120000 กก./ซม.2 และให ้การยึดปลายเสาเป็ นแบบ "ก"

ยงกับค่า 90.5 ตัน ถ ้าต ้องทำรอยต่อทีป ิ้ สว่ นตรงแผ่นปี ก (flange) แต่ละข ้างโดยใชสลั
่ ลายชน ้ กเกลียว 2 แถวๆ ละ 3 ตัว สมมติหน ้าตัดวิกฤต

งอัดวิกฤต (critical stress) ตามสมการของออยเลอร์มค


ี า่ เท่ากับหนึง่ ในสามของกำลังจุดคราก (Fy)

3.51 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 มีปลายข ้างหนึง่ เป็ นแบบยึดหมุนและปลายอีกข ้างหนึง่ เป็ นแบบยึดแน่นยาว

aced frame) ถ ้าใช ้เสาเหล็ก W300x94 (Ag = 120 ซม.2 rx = 13.1 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ยาว 5.00 เมตร ทำด ้วยเหล็กชนิด

aced frame) ถ ้าใชเสาเหล็ ก W600x106 (Ag = 134.4 ซม.2 rx = 24.0 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ยาว 4.00 เมตร ทำด ้วยเหล็กชนิด

aced frame) ถ ้าใช ้เสาเหล็ก W600x106 (Ag = 134.4 ซม.2 rmin = 4.12 ซม.) รูปตัดแบบคอมแพค ยาว 4.50 เมตร ทำด ้วยเหล็กชนิด


ดแบบคอมแพค ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 มีปลายทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดแน่น ยาว 6.0 เมตร จงประมาณกำลังรับแรงอัดทีใ่ ชออกแบบ
สองข ้างเป็ นแบบยึดหมุน จงประมาณค่าความยาวของเสาเมือ
่ หน่วยแรงอัดวิกฤต Fcr = Fy/2 สมมติให ้เสามี rmin = 2.06 ซม


300 มม.) รับแรงอัดตามแนวแกนทีเ่ กิดจากน้ำหนักบรรทุกคงทีใ่ ชงาน ้
35 ตัน และจากน้ำหนักบรรทุกจรใชงาน 70 ตัน จงประมาณขนาดแผ่น
มเนือ
้ ที)่ :  Fp = 0.35 
ลุมเต็มเนือ้ ที)่ : Fp =  0.35 < 0.7
0.95d - 0.8bf )

ล็กชนิด A36 รับแรงอัดประลัยตามแนวแกนอันเนือ


่ งมาจาก PD = 15 ตัน และ PL = 9.5 ตัน กำหนดให ้ E = 2x106 กก./ซม.2


350 มม.) รับแรงอัดตามแนวแกนทีเ่ กิดจากน้ำหนักบรรทุกคงทีใ่ ชงาน ้
100 ตัน และจากน้ำหนักบรรทุกจรใชงาน 60 ตัน จงออกแบบแผ่นเห
rea : Ae) ของรอยต่อแบบสลักเกลียว คำนวณได ้จากข ้อใด ?  

เสามีความยาว 3 ม. และหน ้า กำหนดให ้ กำลังรับแรงอัดของไม ้เท่ากับ 100 กก./ซ.ม.^2 ค่าโมดูลัสยืดหยุน


่ เท่ากับ 112,300

าไม ้ประกอบพุกจากไม ้ขนาด 1.5 นิว้ x 5 นิว้ และพุกปลายห่างจากปลายเสา 15 ซ.ม. เสาความยาว 3 ม. กำหนดให ้ กำลังรับแรงอัดของไม

ล็กรูปพรรณ W200 x 21.3 ทีม


่ ค
ี ำยันบนแกนทีแ
่ ข็งแรงเท่ากับ 6 ม. และบนแกนทีอ
่ อ
่ นแอเท่ากับ 4 ม. มีคา่ เท่าไร เมือ
่ Ix = 1840 cm4 Iy =

x 6” สองแผ่น มาประกอบทำเป็ นเสาไม ้ขนาด 4” x 6” และยึดตรึงด ้วยตะปู ถ ้าเสานีม


้ ป
ี ลายทัง้ สองข ้างยึดหมุน ยาวเท่ากับ 3

งเฟรมทีเ่ ซได ้ โดยพิจารณาจาก Alignment Chart ทีแ


่ สดง  
ว ยาว 10.00 เมตร มีคา่ Ix = 33500 ซม.4
งเฟรมทีเ่ ซได ้ โดยพิจารณาจาก Alignment Chart ทีแ ่ สดง  
มีคา่ Ix = 20400 ซม.  และฐานรองรับเสา (จุด B) เป็ นแบบยึดแน่น
4

งเฟรมทีเ่ ซได ้ โดยพิจารณาจาก Alignment Chart ทีแ ่ สดง  


มีคา่ Ix = 20400 ซม.  และฐานรองรับเสา (จุด B) เป็ นแบบยึดหมุน
4
= 0.9 ซม. ปี กคานเหล็กนีม
้ ห
ี น ้าตัดแบบใด (กำหนดให ้ E=2.0x106 ksc และ Fy=2500 ksc)


งานสู
งสุดได ้ประมาณเท่าใด เมือ
่ หน ้าตัดนีม
้ ี bf = 200 mm, tf = 16 mm, Sx = 1910 cm3, Fy = 2500 ksc, E = 2x106 ksc

ารถแก ้ไขโดยวิธใี ดทีถ


่ ก
ู ต ้องในแง่ของวิศวกรรมโยธา

มีคา่ มากจนทำให ้ไม่สามารถรับโมเมนต์ดด


ั ได ้ตามต ้องการ สามารถแก ้ไขได ้โดยวิธใี ด

่ กระจายน้ำหนักลงบนฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก สำหรับเสาซึง่ ใช ้เหล็ก A36 (กำลังจุดครากเท่ากับ


late)ขนาด 360x360 mm เพือ

ดัดปลอดภัยได ้ประมาณเท่าใด โดยใช ้วิธี Allowable stress design สมมติมก


ี ารค้ำยันด ้านข ้างอย่างเพียงพอ
่ อมให ้เท่ากับ 120 ksc คำนวณโดยใช ้ Nominal size
ด ้ประมาณเท่าใด กำหนดให ้หน่วยแรงดัดทีย
n หน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้เท่ากับ 0.66 Fy จงประมาณกำลังรับโมเมนต์ดด
ั รอบแกนหลักโดยวิธ ิ AISC-ASD
ดหมุน และรับแรงอัดตามแนวแกน จงหาความยาวของเสาทีพ
่ อดีให ้ค่าหน่วยแรงดัดเท่ากับ 110 กก./ตร.ซม. กำหนดให ้โมดูลัสยืดหยุน

ายคานเท่านัน
้ จงเปรียบเทียบกำลังต ้านทานโมเมนต์ดด
ั ระหว่างคาน "ก" ขนาด 2"x8" หนึง่ ท่อน กับคาน "ข" ขนาด 4"x4" หนึง่ ท่อน โดยพ

ทางข ้างไม่พอเพียง
ทางข ้างพอเพียง
โก่งออกทางข ้าง

section modulus จะพบว่าคานเหล็กรูปพรรณรูปตัดตัว I หรือตัว C

ะยะค้ำยันทางข ้าง

ะยะค้ำยันทางข ้าง


รับแรงอัดไม่พอเพียง ถ ้าคานนีร้ ับน้ำหนักบรรทุกใชงาน ค่าหน่วยแรงดัดสูงสุดรอบแกนหลักทีย
่ อมให ้ คือ

่ ี กรับแรงอัดพอเพียง ถ ้าคานนีร้ ับน้ำหนักบรรทุกใช ้งาน ค่าหน่วยแรงดัดสูงสุดรอบแกนรองทีย


้ำยันทีป ่ อมให ้ คือ
่ ี กรับแรงอัดพอเพียง ถ ้าคานนีร้ ับน้ำหนักบรรทุกใช ้งาน ค่าหน่วยแรงดัดรอบแกนหลักทีย
้ำยันทีป ่ อมให ้ คือ

้ำยันทีป ้ มีคค่า่ าเท่


่ ี กรับแรงอัดไม่พอเพียง ถ ้าคานนีร้ ับน้ำหนักบรรทุกใชงาน หน่าวใด
ยแรงดัดสูงสุดรอบแกนรองทีย
่ อมให ้ คือ

กรับแรงอัดอย่างพอเพียง ถ ้าคานนีร้ ับน้ำหนักบรรทุกประลัย ค่ากำลังรับโมเมนต์ดด


ั ประลัยสูงสุดรอบแกนหลัก คือ

กรับแรงอัดไม่พอเพียง ถ ้าคานนีร้ ับน้ำหนักบรรทุกประลัย ค่ากำลังรับโมเมนต์ดด


ั ประลัยสูงสุดรอบแกนรอง คือ

อบแกนหลัก = 5.625 ตัน-เมตร สูต ่ อม่อคอนกรีต


ปี กเสา โดยพิจารณาว่า anchored bolt
ช ้งานทีย
่ อมให ้ตัวละ 1200 กก/ซม.2
ใช ้งานแบบแผ่สม่ำเสมอเท่ากับ w กก./เซนติเมตร ถ ้าต ้องการไม่ให ้คานโก่งตัวทีก
่ งึ่ กลางคานเกินกว่า 1/300 ของช่วงความยาว จงประมาณ

ใช ้งานแบบแผ่สม่ำเสมอเท่ากับ w กก./เซนติเมตร ถ ้าต ้องการไม่ให ้คานโก่งตัวทีก


่ งึ่ กลางคานเกินกว่า 1/240 ของช่วงความยาว จงประมาณ


ใชงานแบบแผ่ ่ งึ่ กลางคานเกินกว่า 1/360 ของชว่ งความยาว จงประมาณ
สม่ำเสมอเท่ากับ w กก./เซนติเมตร ถ ้าต ้องการไม่ให ้คานโก่งตัวทีก

กับ W กก.ทีป
่ ลายคาน ถ ้าต ้องการไม่ให ้ปลายคานโก่งตัวเกินกว่า1/200 ของช่วงความยาว จงประมาณค่าอย่างน ้อยของอัตราส่วนระหว่างค

กก. ทีป
่ ลายคาน ถ ้าต ้องการไม่ให ้ปลายคานโก่งตัวเกินกว่า 1/300 ของช่วงความยาว จงประมาณค่าอย่างน ้อยของอัตราส่วนระหว่างความล

่ ลายคาน ถ ้าต ้องการไม่ให ้ปลายคานโก่งตัวเกินกว่า 1/240 ของชว่ งความยาว จงประมาณค่าอย่างน ้อยของอัตราสว่ นระหว่างความล
กก. ทีป

้ ้าตัดแบบคอมแพคและระยะค้ำยัน Lb นัน
คานทัง้ สองเป็ นแบบยึดแน่น และมีค้ำยันทางข ้างตรงกึง่ กลางคาน ถ ้าเลือกใชหน ้ พอดีเท่ากับระยะ
หนักบรรทุกแบบแผ่ใช ้งาน w กก./เมตร (รวมน้ำหนักคานแล ้ว) ตลอดความยาวคาน และรับโมเมนต์ดด
ั ใช ้งานชนิดลบ M = wL2 /18

้างถูกบิดและโก่งทางข ้าง

องรับทัง้ สองข ้างเป็ นแบบ fixed เหมือนกัน ถ ้าโครงเฟรม “ก” มีแรงอัดบนหัวเสาแต่ละข ้างซงึ่ มีคา่ เท่ากัน และมีน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเส

และโมเมนต์ดด
ั รอบแกนหลัก ถ ้าพบว่าค่า fa/Fa = 0.12 จงประมาณค่าหน่วยแรงดัดสูงสุดทีช ิ้ ส่วนนีส
่ น ้ ามารถรับได ้ กำหนดให ้

และโมเมนต์ดด
ั รอบแกนหลัก ถ ้าพบว่าค่า fa/Fa = 0.50 และตัวประกอบขยายค่าโมเมนต์ดด
ั รอบแกนหลัก = 1.20 จงประมาณค่าหน่วยแรง

และโมเมนต์ดด
ั รอบแกนหลักและแกนรอง พบว่าค่า fbx/Fbx = 0.60 และค่า fby/Fby = 0.20 โดยทีต
่ วั ประกอบขยายค่าโมเมนต์ดด
ั รอบแก
ละมีแนวเอียงกับแกนหลักของคาน ฉะนัน

แรงเฉือน (shear center) แต่มแ


ี นวเอียงกับแกนหลักของคาน ฉะนัน

หนัก 172 กก/ม.


น้ำหนัก 172 กก/ม.
หนัก 400 กก/ม.
น้ำหนัก 400 กก/ม.

ด ผ่านเกณฑ์ 3.76*(E/Fy)^0.5 หรือไม่ เมือ


่ กำหนดให ้ d = 350 มม. bf = 175 มม. tf = 11 มม. tw = 7 มม. Fy = 2500 ksc E = 2000

้ ้าตัดขนาดเท่าไหร่จงึ จะปลอ
พบว่าเป็ นหน ้าตัดอัดแน่นและมีค้ำยันด ้านข ้างเพียงพอ ต ้องรับโมเมนต์กระทำเท่ากับ 18000 kg-m ท่านจะใชหน

คานตามวิธ ี ASD มีคา่ อยูใ่ นช่วงใด

มีคำยันเพียงพอ หน ้าตัดคานนี้ มีคา่ Sx = 1670 ซม.3 ถามว่าคานนีจ


้ ะสามารถรับโมเมนต์สงู สุดได ้เท่าไหร่ ตามวิธ ี ASD

กบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคาน ถ ้าให ้ Fb เป็ นหน่วยแรงดัดทีย


่ อมให ้ของไม ้ E เป็ นโมดูลัสยืดหยุน
่ ของไม ้ และให ้การโก่งตัวท
กบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคาน ถ ้าให ้ Fb เป็ นหน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้ของไม ้ E เป็ นโมดูลัสยืดหยุน
่ ของไม ้ และให ้การโก่งตัวท

ksc. ปลายคานทัง้ สองข ้างเป็ นแบบยึดแน่น ถ ้าเลือกใช ้รูปตัดแบบไม่คอมแพคแต่ระยะค้ำยันทางข ้างพอเพียง จงหาน้ำหนักบรรทุกแผ่สม่ำเ

r = 2.2 ซม.) ถ่ายแรงปฏิกริ ย ้ นเหล็กชนิด A36 ขนาด


ิ าประลัย Ru = 50 ตัน ให ้กับหัวเสา คสล. (fc‘ = 250 ksc.) โดยใชแผ่

8 ซม. bf = 30 ซม. tw = 1.2 ซม. tf = 2 ซม. Sx = 4020 ซม.3)


ตัน-เมตร ได ้ ดังนัน
้ จะพิจารณาออกแบบแผ่นเหล็กประกบทีแ
่ ต่ละด ้านของปี กคาน หากสมมติวา่ คานเหล็กประกอบนีย
้ ังมีหน ้าตัดแบบคอมแพ

8 ซม. bf = 30 ซม. tw = 1.2 ซม. tf = 2 ซม. Zx = 4308 ซม.3)


3 ตัน-เมตร ได ้ ดังนัน
้ จะพิจารณาออกแบบแผ่นเหล็กประกบทีแ
่ ต่ละด ้านของปี กคาน
างข ้างพอเพียง
ม., r = 1.6 ซม.) พาดระหว่างชว่ งของคานเหล็กขนาด W300x94 (tw = 1.0 ซม., tf = 1.5 ซม., r = 1.8 ซม.)

ม., r = 1.6 ซม.) พาดระหว่างชว่ งของคานเหล็กขนาด W300x94 (tw = 1.0 ซม., tf = 1.5 ซม., r = 1.8 ซม.)  

ม. เพือ ้ และน้ำหนักบรรทุกจรใช ้งานเท่ากับ 200 กก./ม.2 (รวมน้ำหนักตงแล ้ว) จงหาขนาดตงไม ้ (ไม่ไส) ทีป
่ รองรับพืน ่ ระหยัด กำหนดให ้ ห
งห่างกันทุกระยะ 50 ซม. เพือ
่ รองรับพืน ้
้ และน้ำหนักบรรทุกจรใชงานเท่
ากับ 200 กก./ม.2 (รวมน้ำหนักตงแล ้ว) จะบากปลายตงได ้มากทีส
่ ด

น ถ ้าคานนีท
้ ำค้ำยันทางข ้างทีป
่ ี กรับแรงอัดทีป ่ งึ่ กลางคาน จงใช ้วิธ ี LRFD หาค่าสัมประสิทธิข
่ ลายคานทัง้ สองและทีก ์ องโมเมนต์ดด

อดความยาวคานและรับน้ำหนักแบบจุด Pu = 1.5wuL ทีก


่ งึ่ กลางคาน ถ ้าคานนีท
้ ำค้ำยันทางข ้างทีป
่ ี กรับแรงอัดทีป
่ ลายคานทัง้ สองเท่านัน
้ จ

06 กก./ตร.ซม.) ชว่ งเดียวธรรมดา ยาว 5.00 เมตร รูปตัด W 300x36.7 (compact section d = 30 ซม. bf = 15 ซม. tf = 0.9

ตร.ซม.) ช่วงเดียวธรรมดา ยาว 5.00 เมตร รูปตัด W 350x49.6 (compact section d = 35 ซม. bf = 17.5 ซม. tf = 1.1 ซม
iate stiffeners) ในคานเหล็กประกอบคือ
เสริมปี กคาน W 300x87 ทัง้ สองด ้าน เพือ
่ ให ้สามารถรับกำลังดัดได ้เท่ากับคาน W350x131 และเหล็กทัง้ สองชนิดเป็ นเหล็ก ASTM A36  

อต ้านทานแรงกดแบบจุดทีก
่ ระทำ จะต ้องทำอย่างไร

ณีจำกัดความลึก จะต ้องทำอย่างไร

ะต ้องทำอย่างไร

นเหล็กประกอบขนาดใหญ่ตามวิธ ี AISC/ASD ต ้องมีคา่ ไม่เกินเท่าใด

่ มแบบเว ้นระยะต ้องไม่เกินเท่าใด


อบขนาดใหญ่ ระยะช่องว่างของการเชือ
อบขนาดใหญ่ ระยะระหว่างศูนย์กลางของสลักเกลียวต ้องไม่เกินเท่าใด

บขนาดใหญ่ เมือ
่ เป็ นอย่างไร

กับเหล็กแผ่นตัง้

ายหลังการโก่งงอ เรียกว่า

กอบขนาดใหญ่ เมือ
่ เป็ นอย่างไร

earing stiffener) คือ

พือ
่ รับโมเมนต์ดด
ั M อาจประมาณเนือ
้ ทีห
่ น ้าตัดของแผ่นเหล็กปี กคาน (A f) แต่ละด ้าน ตามวิธ ี ASD โดยพิจารณาจาก (ให ้ Fb
งปี กคานใช ตั้ วยึด 2 ตัว ให ้ R เป็ นกำลังรับแรงเฉือนของตัวยึดหนึง่ ตัว หากหน่วยแรงเฉือนในแนวนอน = VQ/I กก./ซม. ดังนัน
้ ระยะห่างขอ

ะ s ดังรูป ถ ้าน้ำหนักแผ่บนปี กคาน = w กก./ซม. และให ้ R เป็ นกำลังรับแรงเฉือนของตัวยึดหนึง่ ตัว ดังนัน


้ ระยะ s เท่ากับ
(แต่ละแผ่นมีขนาด 5x10 ซม.) และต่อยึดกันด ้วยกาว ซงึ่ หน่วยแรงเฉือนปลอดภัยของกาวเท่ากับ 3.5 กก./ตร.ซม. จงหาแรงแบบจุด

ด 5x10 ซม. และมีแผ่นไม ้อัด B ขนาด 1.2x25 ซม. ประกบติดทัง้ สองข ้างของคานไม ้แปรรูปดังแสดง จงหากำลังต ้านโมเมนต์ดด
ั ปลอดภัย

ขนาดหน ้าตัดคานทัง้ หมดเท่ากับ 6"x10" ซึง่ ประกอบขึน ่ อ


้ จากไม ้ขนาด 2"x6" ไม่ไส สีท ่ งว่าง
่ น โดยวางทางตัง้ 2 ท่อนให ้มีชอ
ิ้ ทีด
นวน 2 ชน ิ้ ดังกล่าว ซงึ่ จะได ้รูปตัดกลวงขนา
่ ้านบนและด ้านล่าง และมีแผ่นไม ้อัดกว ้าง 25 ซม. ประกบติดทัง้ สองข ้างของไม ้แปรรูป 2 ชน

้ ม
eners) มาใชเพิ ่ ในคานเหล็กรูปพรรณ หรือในคานเหล็กประกอบ (plate girders) ซงึ่ มีเหล็กเสริมข ้างคานแบบรับแรงกดอยูแ
่ ล ้ว โดยมีขนา

่ ำมาใช ้ในคานเหล็กประกอบ (plate girders) ช่วงในๆ โดยมีขนาดตามมาตรฐานกำหนด หากนำพฤติกรรมของ Tension Field Action
ทีน

าใช ้ในคานเหล็กรูปพรรณ หรือคานเหล็กประกอบ (plate girders) โดยมีขนาดตามมาตรฐานกำหนด มีจด


ุ ประสงค์เพือ
่ ให ้คานนัน

คู่ มาใช ้ในคานเหล็กประกอบ (plate girders) ตรงบริเวณทีร่ ับน้ำหนักแบบจุด ซึง่ ต ้องมีขนาดตามมาตรฐานกำหนด สำหรับการตรวจสอบก
ามหนาของเหล็กแผ่นตัง้ ดังนัน
้ เนือ
้ ทีห
่ น ้าตัดทีเ่ สมือนเป็ นเสาตรงบริเวณกลางช่วงคานทีน ่ ำไปพิจารณา คือ

่ ต่ละด ้าน และเหล็กแผ่นตัง้ ขนาด 10x1700 มม. ซงึ่ ทำด ้วยเหล็กชนิด A36
ะกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานขนาด 15x450 มม. ทีแ

่ ม ถ ้าโมเมนต์ดด
40x400 มม. และเหล็กแผ่นตัง้ 1 แผ่นขนาดความลึกเท่ากับ 1440 มม. ต่อกันโดยการเชือ ั ใช ้งานสูงสุดที่ plate girder

่ ต่ละด ้าน และเหล็กแผ่นตัง้ ขนาด 10x1700 มม. ซงึ่ ทำด ้วยเหล็กชนิด


W ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานขนาด 15x450 มม. ทีแ

บแผ่สม่ำเสมอและน้ำหนักบรรทุกใชงานแบบจุ ดห่างจากจุดรองรับแต่ละข ้างเป็ นระยะเท่ากับ 7.00 เมตร
่ ม จงประมาณค่าแรงเฉือนใช ้งานสูงสุดทีป
. และเหล็กแผ่นตัง้ 1 แผ่นขนาด 8x1440 มม. ต่อกันโดยการเชือ ่ ลายคานของ plate girder

่ ต่ละด ้าน และเหล็กแผ่นตัง้ ขนาด 10x1700 มม. ซึง่ ทำด ้วยเหล็กชนิด A36
ะกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานขนาด 15x450 มม. ทีแ

่ ม รับแรงเฉือนใช ้งานทีป
ต่ละด ้านขนาด 40x400 มม. และเหล็กแผ่นตัง้ 1 แผ่นขนาด 8x1440 มม. ต่อกันโดยการเชือ ่ ลายคานเท่ากับ
บแผ่สม่ำเสมอเท่ากับ 3 ตัน/เมตร (รวมน้ำหนักคานแล ้ว) และรับน้ำหนักบรรทุกใช ้งานแบบจุดเท่ากับ 20 ตัน ห่างจากจุดรองรับแต่ละข ้างเป
และเหล็กแผ่นตัง้  1 แผ่นขนาด 8x1440 มม. ต่อกันโดยการเชอ ื่ ม และมี bearing stiffener ตรงจุดทีร่ ับน้ำหนักแบบจุด จงใชตารางข
้ ้างล่าง

่ ม จงประมาณค่าเนือ
x400 มม. และเหล็กแผ่นตัง้ 1 แผ่นขนาด 8x1440 มม. ต่อกันโดยการเชือ ้ ทีห
่ น ้าตัดอย่างน ้อย (min Apb)
ื่ ม และมี bearing stiffener
คานแต่ละด ้านขนาด 50x350 มม. และเหล็กแผ่นตัง้ 1 แผ่นขนาด 10x1700 มม. ต่อกันโดยการเชอ

ล็กปี กคาน 2 แผ่นขนาด 300x25 มม. และเหล็กแผ่นตัง้ หนึง่ แผ่นขนาด 1450x15 มม. มาใช ้รับน้ำหนักบรรทุก ในการคำนวณออกแบบจะพิจ

ติแบบ vertical web buckling เมือ


่ (h/tw)max มีคา่ ประมาณ

ทีม
่ ี a/h ratio ไม่เกินกว่าทีก
่ ำหนด ได ้มาจากการพิจารณาว่า

ห ้เหล็กแผ่นตัง้ ทำหน ้าทีร่ ับแรงดึงในแนวทแยง โดยกระจายแรงอัดในแนวทแยงทีจ


่ ะมีในช่วงอินอิลาสติก ไปให ้กับปี กคานและเหล็กเสริมข ้า

้ กรับแรงเฉือนเลย ในทางทฤษฏีถอ
วางทับเหนือคานเหล็กแต่ไม่ใชสลั ื ว่า คานนีเ้ ป็ นแบบ

กรีตหุ ้มรอบคานเหล็กรูปพรรณตรงตามมาตรฐานกำหนด แต่ไม่ใช ้สลักรับแรงเฉือนเลย ในทางทฤษฏีถอ


ื ว่า คานนีเ้ ป็ นแบบ

วางทับเหนือคานเหล็กและใช ้สลักรับแรงเฉือนมากพอตามมาตรฐานกำหนด ดังนัน


้ คานนีส
้ ามารถ
กรีตมีกำลังรับแรงอัดเท่ากับ

ประกอบขึน ้ นทางตัง้ และต่อยึดกันด ้วยกาวสงั เคราะห์ หากคานประกอบนีม


้ จากท่อนไม ้ขนาด 4” x 4” สองท่อน (ไม่ไส) วางซอนกั ้ ค
ี ้ำยันทาง

้ จากท่อนไม ้ขนาด 4” x 4” สองท่อน (ไม่ไส) วางซ ้อนกันทางตัง้ และต่อยึดกันด ้วยสลักเกลียวแถวเดียว หากคานนีม


ประกอบขึน ้ ค
ี ้ำยันทางข

่ งว่างทางกว ้าง = 2” และทางลึก = 6” ต่อยึดกันด ้วยตะปู ถ ้าคานประกอบนีเ้ ป็ นคานช่วงเดีย


ล่องกลวง มีขนาดหน ้าตัดเท่ากับ 6” x 10” มีชอ ่

นอน และขนาด 2” x 8” สองแผ่น วางตัง้ ทำเป็ นรูปกล่องกลวง มีขนาดหน ้าตัดเท่ากับ 8” x 10” ถ ้าคานประกอบนีเ้ ป็ นคานชว่ งเดีย
่ วธรรมดาย

ิ้ ทีด
ซม. จำนวน 2 ชน ่ ้านบนและด ้านล่างของคาน และแผ่นไม ้อัดกว ้าง 30 ซม. 2 แผ่น ประกบด ้านข ้างของไม ้แปรรูป ซงึ่ จะได ้ชอ
่ งกลวงขนา

ิ้ ทีด
ซม. จำนวน 2 ชน ่ ้านบนและด ้านล่างของคาน และแผ่นไม ้อัดขนาด 1.2x25 ซม. 2 แผ่น ประกบด ้านข ้างของไม ้แปรรูป ซงึ่ จะได ้ชอ
่ งกลวง
นตัง้ = tW เสริมเหล็กข ้างคานแบบรับแรงกด (bearing stiffeners) 1 คู่ ซึง่ เหล็กเสริมข ้างคานแต่ละด ้านของเหล็กแผ่นตัง้ มีเนือ
้ ทีห
่ น ้าตัด

้ กชนิด A36 ต่อกันโดยการเชอ


ผ่นเหล็กปี กคานแต่ละด ้านขนาด 40x400 มม. และเหล็กแผ่นตัง้ 1 แผ่นขนาด 8x1440 มม. ใชเหล็ ื่ ม รับน้ำห
สำหรับเหล็กชนิด A36

Aspect Ratios a/h : Stiffener Spacing to Web Depth


1.2 1.4 1.6 1.8 2 2.5 3 Over 3.0
340 309 289 275 266 251 224
301 274 256 244 235 198
269 244 229 218 210 177

่ ต่ละด ้าน และเหล็กแผ่นตัง้ ขนาด 10x1700 มม. ซงึ่ ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 และยึดต่อกันโ
กอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานขนาด 15x450 มม. ทีแ

ื่ ม จงใชวิ้ ธ ี LRFD ประมาณค่าโมเมนต์ดด


40x400 มม. และเหล็กแผ่นตัง้ 1 แผ่นขนาด 8x1440 มม. ต่อกันโดยการเชอ ั ประลัย สมมติให ้ ค่า

่ ต่ละด ้าน และเหล็กแผ่นตัง้ ขนาด 10x1700 มม. ซงึ่ ทำด ้วยเหล็กชนิด


เมตร ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานขนาด 15x450 มม. ทีแ
ก./ตร. ซม.) สำหรับเหล็กชนิด A36

Aspect Ratios a/h : Stiffener Spacing to Web Depth


1.2 1.4 1.6 1.8 2 2.5 3 Over 3.0
543 484 446 420 401 372 321
481 429 395 372 355 284
429 383 352 332 317 253
่ ต่ละด ้าน และเหล็กแผ่นตัง้ ขนาด 10x1700 มม. ซึง่ ทำด ้วยเหล็กชนิด
เมตร ประกอบด ้วยแผ่นเหล็กปี กคานขนาด 15x450 มม. ทีแ
ก./ตร. ซม.) สำหรับเหล็กชนิด A36

Aspect Ratios a/h : Stiffener Spacing to Web Depth


1.2 1.4 1.6 1.8 2 2.5 3 Over 3.0
543 484 446 420 401 372 321
481 429 395 372 355 284
429 383 352 332 317 253

้ อ
คู่ ขนาดแผ่นละ 14x150 มม. ชนิด A36 (Fy = 2500 กก./ตร. ซม.) มาใชเพื ่ รับน้ำหนักประลัยแบบจุด แต่บากตรงมุมออกไป

ผ่นตัง้ หนึง่ แผ่นขนาด 1450x15 มม. ซงึ่ เป็ นเหล็กชนิด A36 (Fy = 2500 กก./ตร. ซม.) มาประกอบเป็ นคานเหล็กรูปตัด W เพือ
่ ใชรั้ บน้ำหน
ถ ้าหน่วยแรงเฉือนทีย
่ อมให ้เท่ากับ 1,470 kg/cm2

่ มแบบฟิ ลเลทยาวด ้านละ 20 cm ทัง้ 2 ด ้าน เมือ


เชือ ่ ใช ้ลวดเชือ
่ ม E60 (กำลังรับแรงดึงประลัยของลวดเชือ
่ ม FEXX เท่ากับ 4200 ksc)

ถ ้ามีแรงดึงกระทำเท่ากับ 2000 kg และไม่มก ื่ มอ ้อมปลาย จงหาความยาวทัง้ หมดของรอยเชอ


ี ารเชอ ื่ ม

m มีคา่ เท่ากับ 4000 kg จงหาจำนวนของหมุดย้ำขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 12 mm ชนิด A502 G1 เมือ


่ หน่วยแรงเฉือนทีย
่ อมให ้เท่ากับ

พืน ่ น ้าตัดเท่ากับ 5.64 ตร.ซม. ใช ้สลักเกลียวแถวเดียวขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 12 mm เผือ


้ ทีห ่ รูเจาะ 3 mm ยึดกับเหล็กประกับหนา
ารต่อชนและใช ้แผ่นเหล็กประกับข ้าง จงหา จำนวนของสลักเกลียว สมมติให ้สลักเกลียวมีแรงต ้านทานด ้านข ้างทีย ้ น
่ อมให ้ขนานเสีย

เกลียวในการรับแรงด ้านใดมากทีส
่ ด
ุ  

ress Concentration) ได ้

ขได ้โดยเพิม
่ จำนวนสลักเกลียว
นดังแสดงในรูป เพือ ้
่ รับแรงปฏิกริยา 5 ตัน สมมุตวิ า่ ฐานรองรับคานมีความแข็งแรงพอ ใชลวดเช ื่ มชนิด E70 และการเชอ
อ ื่ มแบบพอก

รูขนาด 24 mm.ดังแสดงในรูป กำหนดให ้พืน


้ ทีห
่ น ้าตัดทัง้ หมด(Ag)ของL150x100x12 mm เท่ากับ 26.58 cm2

ื่ มแบบพอก(Fillet weld)ของลวดเชอ
หรับรอยเชอ ื่ ม AWS A5.1E60xx เท่ากับเท่าใด

ื่ มเป็ นชนิด E70 และการเชอ


A36 ลวดเชอ ื่ มเป็ นการเชอ
ื่ มทาบโดยใชขนาดของรอยเช
้ ื่ ม 12 mm ดังแสดงในรูป

นือ
้ ทีห
่ น ้าตัดสุทธิเท่ากับเนือ
้ ทีห ้ านศูนย์กลาง 19 mm แถวเดียว โดยกำหนดให ้เพิม
่ น ้าตัดสุทธิของการเจาะรูขนาดเส นผ่ ่ ขนาดของรูเจาะเท่า

่ มทาบดังแสดงในรูป ให ้ใช ้ข ้อกำหนดของ AISC กำหนดให ้ลวดเชือ


้าด ้วยกันโดยการเชือ ่ มเป็ นชนิด E70 มีหน่วยแรงเฉือนทีย
่ อมให ้
และหมุดย้ำชนิด A502 เกรด 1และใชข้ ้อกำหนดของ AISC กำหนดให ้หน่วยแรงเฉือนทีย
่ อมให ้ของหมุดย้ำเท่ากับ 1050 ksc.และหน่วยแรง

งเฉือนทีเ่ กิดขึน
้ ในสลักเกลียว ตามวิธ ี ASD  

เฉือนทีเ่ กิดขึน
้ ในสลักเกลียว ตามวิธ ี LRFD  
วยแรงกดทีเ่ กิดขึน
้ ในสลักเกลียว ตามวิธ ี ASD

วยแรงกดทีเ่ กิดขึน
้ ในสลักเกลียว ตามวิธ ี LRFD

325-x = 2100 กก./ซม.2 จงประมาณแรงดึงปลอดภัยทีค


่ ด
ิ จากหน่วยแรงเฉือนของสลักเกลียวอย่างเดียว  
นชนิด A36 (สมมติ Fy = 2500 กก./ซม.2 Fu = 4050 กก./ซม.2) และทำรูเจาะแบบมาตรฐาน (standard hole) จงประมาณค่าแรงดึงทีค

จงประมาณค่าแรงดึงประลัย ตามวิธ ี LRFD (ถ ้าแผ่นเหล็กไม่วบ


ิ ต
ั จ
ิ ากการครากหรือฉีกขาด) กำหนดให ้ หน่วยแรงเฉือนประลัยของสลักเกลียว

โดยใช ้สลักเกลียวกำลังสูงชนิด A325-N ขนาด 22 มม. (Ab = 3.80 ซม.2) ข ้างละ 4 ตัว จงประมาณค่าแรงดึงปลอดภัย P สูงสุด
ทุกคงทีใ่ ช ้งาน 20 ตัน และจากน้ำหนักบรรทุกจรใช ้งาน 15 ตันโดยใช ้สลักเกลียวชนิด A325 ขนาด 22 มม. (Ab = 3.80 ซม.2)

ทุกคงทีใ่ ช ้งาน 20 ตัน และจากน้ำหนักบรรทุกจรใช ้งาน 15 ตันโดยใช ้สลักเกลียวชนิด A325 ขนาด 22 มม. (Ab = 3.80 ซม.2)

่ ม อยูใ่ นแนวเดียวกันกับแรงกระทำ P หากให ้กำลังรับแรงของรอยเชือ


ถ ้าต ้องการให ้ศูนย์ถว่ งของรอยเชือ ่ มต่อหน่วยความยาว =PW
้ กชนิด A36 และลวดเชอ
ตัน สมมติใชเหล็ ื่ มขนาด 8 มม. ชนิด E70 (FEXX = 4900 กก./ ซม.2) 

ตัน สมมติใช ้เหล็กชนิด A36 และลวดเชือ


่ มขนาด 8 มม. ชนิด E70 (FEXX = 4900 กก./ ซม.2)
ค่าหนึง่ หน่วย ดังนัน
้ โพลาโมเมนต์อน ี ของรอยเชอ
ิ เนอร์เชย ื่ ม ประมาณ

ม. เพือ ิ าใช ้งานจากคานซึง่ มีคา่ = 40 ตัน ให ้กับเสา แล ้วเชือ


่ ช่วยถ่ายแรงปฏิกริ ย ่ มติดกับเหล็กแผ่นตัง้ และหน ้าเสา ดังแสดง ให ้หาความหน

ื่ มต ้องรับ
ทำห่างจากหน ้าเสา 3 ซม. ดังรูป จงหาหน่วยแรงลัพธ์สงู สุดทีร่ อยเชอ
ทำห่างจากหน ้าเสา 3 ซม. ดังรูป ถ ้าใช ้ลวดเชือ
่ มชนิด E70 (FEXX = 4900 กก./ ซม.2) จงประมาณขนาดของขาเชือ
่ ม

ดึง 1000 กก. โดยใช ้ตะปูทม


ี่ ก ี่ ้องใช ้
ี ำลังต ้านทางข ้างตัวละ 60 กก. จงหาจำนวนของตะปูทต

่ ถ่ายแรงดึง 3000 กก.โดยใช ้สลักเกลียว จงหาจำนวนของสลักเกลียวทีต


ศัยแผ่นเหล็กประกับ เพือ ่ ้องใช ้ สมมติ กำลังต ้านทานแรงขนานเสีย

้ นระหว่างไม ้กับไม ้ของสลักเกลียว = 510 กก./ตัว จงหากำลังต ้านทานแรงระหว่างไม ้กับไมข


= 1170 กก./ตัว กำลังต ้านทานแรงตัง้ ฉากเสีย

ใช ้แผ่นเหล็ก ชนิดA36 ขนาด 20x300 มม. รับแรงดึงเท่ากับ 70 ตัน กับแผ่นเหล็กประกับ 2 แผ่นชนิด A36 โดยทีแ
่ ต่ละแผ่นมีขนาด
องใช ้ ในการทำรอยต่อแบบรับแรงกดระหว่างชน
ิ้ สว่ นรับแรงดึงของโครงหลังคาซงึ่ ใชเหล็
้ กฉากขนาด 50x50x4 มม. จำนวน 2

นาด 50x50x4 มม. จำนวน 2 ท่อน กับแผ่นเหล็กประกับ โดยใช ้สลักเกลียวขนาด 16 มม. ยึดขาข ้างหนึง่ ของเหล็กฉากกับแผ่นเหล็กประกับโ

กับ 26 ตัน โดยใช ้เหล็กฉาก 1 คูย ึ ติดกับแผ่น web ของคานและกับแผ่น flange ของเสา ถ ้าใช ้เหล็กฉากยาว 22.5 ซม. จงหาความหนาข
่ ด


ชงานจากคานเท่ ้ กฉากขนาด 150x100 มม. ยาว 25 ซม. รองใต ้คาน (seated beam connection) โดยยึดขาเหล็ก
ากับ 13 ตัน โดยใชเหล็

ื่ มชนิด E70 คือ 


ห ้ของลวดเชอ
ื่ มเท่ากับ a ดังรูป จงหาหน่วยแรงบนรอยเชอ
นมีขนาด a x b ขนาดขาเชอ ื่ มต่อแบบฟิ ลเลท 

ื่ มแต่ละข ้างเท่ากับ a ดังรูป จงหาหน่วยแรงบนรอยเชอ


กับ b ขนาดขาเชอ ื่ มต่อแบบฟิ ลเลท 

นขนาด 50x400 มม. ของคานประกอบ โดยการเขือ


่ มทัง้ สองด ้านของเหล็กแผ่นตัง้ ให ้มีรป
ู ตัดแบบตัว W ถ ้าพบว่าแรงปฏิกริ ย
ิ าทีป
่ ลายคานอัน
ื่ มยาวทัง้ หมดเท่าใด (ลวดเชอ
งเชอ ื่ มมีกำลัง 1470 ksc) 

ความหนาของแผ่นเหล็กทีบ
่ างกว่า แต่ต ้องไม่น ้อยกว่ากีม
่ ล
ิ ลิเมตร 

ยต่อเกิดการวิบต
ั แ
ิ บบ Block Shear ตามแนว ABCDE 

รอยต่อเกิดการวิบต
ั แ
ิ บบ Block Shear ตามแนว ABCDE
36 (Fy = 2500 ksc และ Fu = 4200 ksc) ถามว่า กำลังรับแรงดึงบนหน ้าตัดทัง้ หมดมีคา่ เท่าไหร่ (สมมติวา่ ไม่เกิดการวิบต
ั ท
ิ ส
ี่ ลักเกลียว หร

6 (Fy = 2500 ksc และ Fu = 4200 ksc) ถามว่า กำลังรับแรงดึงบนหน ้าตัดประสิทธิผลมีคา่ เท่ากับเท่าไหร่ (สมมติวา่ ไม่เกิดการวิบต
ั ท
ิ ส
ี่ ลัก
Block Shear ตามแนว ABCDE กำหนดให ้ Fy = 2500 ksc และ Fu = 4050 ksc

อสลักเกลียวมีเส ้นผ่าศูนย์กลาง 22 มม.  

อสลักเกลียวมีเส ้นผ่าศูนย์กลาง 22 มม.


ใช ้แผ่นเหล็ก ชนิดA36 ขนาด 20x300 มม. รับแรงดึงเท่ากับ 70 ตัน กับแผ่นเหล็กประกับ 2 แผ่นชนิด A36 โดยทีแ
่ ต่ละแผ่นมีขนาด

ต ้องใช ้ ในการทำรอยต่อแบบรับแรงกดระหว่างชน
ิ้ สว่ นรับแรงดึงของโครงหลังคาซงึ่ ใชเหล็
้ กฉากขนาด 50x50x4 มม. จำนวน 2

ขนาด 50x400 มม. ของคานประกอบ โดยการเขือ


่ มทัง้ สองด ้านของเหล็กแผ่นตัง้ ให ้มีรป
ู ตัดแบบตัว W ถ ้าพบว่าแรงปฏิกริ ย
ิ าทีป
่ ลายคานอันเ
กเพิม
่ ขึน
้ กีเ่ ท่า  
้ำหนักวิกฤตได ้เท่าใด
้ ต ้องใช ้แผ่นเหล็กขนาดเท่ากับ  
แบบ block-shear ดังนัน
ตร จงหาค่า rmin ของเสาเพือ
่ ให ้หน่วยแรงวิกฤต Fcr ไม่เกินกว่า 900 กก./ ซม.2  

ว 6.0 เมตร จงหากำลังรับแรงอัดปลอดภัย  


บยึดหมุนและมีค้ำยันทีก
่ งึ่ กลางเสา ดังนัน
้ ถ ้าสมมติให ้ความยาวประสิทธิผลแต่ละแกนมีคา่ ดังรูป จงประมาณกำลังรับแรงอัดปลอดภัย  

90 กก./ตร.ซม.  

ให ้ Fc = 90 กก./ตร.ซม. 
หนาอย่างน ้อยของไม ้ประกับข ้าง คือ  

ค่าหน่วยแรงอัดปลอดภัยของเสาตามสมการของออยเลอร์  

บระยะ b และใช ้อัตราส่วนความปลอดภัยเท่ากับ 3 จงประมาณค่าหน่วยแรงอัดปลอดภัยของเสาตามสมการของออยเลอร์ กำหนดให ้โมดูลัส


3 ตัว สมมติหน ้าตัดวิกฤตตัง้ ฉากกับแรงดึงทีก ้ าศูนย์กลางของรูเจาะ = 25 มม. และใชเหล็
่ ระทำโดยผ่านรูเจาะ 2 รู ให ้ขนาดเสนผ่ ้ กชนิด

ปนแบบยึดแน่นยาว 2.00 เมตร จงประมาณกำลังรับแรงอัดปลอดภัย กำหนดให ้ E = 2x106 ซม.2

ร ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 สมมติวา่ มีค้ำยันทางข ้างกันการโก่งรอบแกน y ให ้ Kx = 1.8 และให ้ E = 2x106 กก./ซม.2
มตร ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 สมมติวา่ มีค้ำยันทางข ้างกันการโก่งรอบแกน y ให ้ Kx = 1.8 และให ้ E = 2x106 กก./ซม.2

0 เมตร ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 สมมติวา่ มีค้ำยันทางข ้างกันการโก่งรอบแกน y ให ้ K = 0.80 และให ้ E = 2x106 กก./ซม.2


รงอัดทีใ่ ชออกแบบ (design strength) กำหนดให ้ E = 2x106 กก./ซม.2
n = 2.06 ซม. และให ้ E = 2x106 กก./ซม.2

ตัน จงประมาณขนาดแผ่นเหล็กรองใต ้เสาสเี่ หลีย


่ มจัตรุ ัสทีท
่ ำด ้วยเหล็กชนิด A36 เพือ ่ อม่อคอมกรีตขนาด
่ กระจายแรงอัดลงสูต

6 กก./ซม.2

60 ตัน จงออกแบบแผ่นเหล็กรองใต ้เสาขนาดสเี่ หลีย


่ มจตุรัสทีท
่ ำด ้วยเหล็กชนิด A36 เพือ ่ อม่อคอมกรีต สมมติแผ่นเหล
่ กระจายแรงอัดลงสูต
กับ 112,300 กก./ซ.ม.^2  

ดให ้ กำลังรับแรงอัดของไม ้เท่ากับ 100 กก./ซ.ม.2 ค่าโมดูลัสยืดหยุน


่ เท่ากับ 112,300 กก./ซ.ม.2  

เมือ
่ Ix = 1840 cm4 Iy = 134 cm4 rx = 8.24 cm ry = 2.22 cm และจุดยึดรัง้ เป็ น Pinned  

่ อมให ้ของเสานี้ จากสูตร Fa = Fc(1.33 - Le/35d) และใช ้ตัวคูณประกอบ (Kf)


าวเท่ากับ 3 เมตร จงประมาณหน่วยแรงอัดทีย
= 2x106 ksc สมมติมก
ี ารค้ำยันด ้านข ้างคานเพียงพอ

ลังจุดครากเท่ากับ 2520 ksc)มีหน ้าตัด W200x200x8x12mm รับน้ำหนัก 75 ตัน กำหนดให ้หน่วยแรงกด(bearing stress)บนฐานราก ค
หนดให ้โมดูลัสยืดหยุน
่ E = 120,000 กก./ตร.ซม.
ด 4"x4" หนึง่ ท่อน โดยพิจารณาจากสูตรคำนวณเกีย
่ วกับ lateral stability ตามมาตรฐานกำหนด ทัง้ นี้ คาน "ก" และคาน "ข"
ช่วงความยาว จงประมาณค่าอย่างน ้อยของอัตราส่วนระหว่างความลึกต่อของช่วงความยาว กำหนดให ้ E เป็ นโมดูลัสยืดหยุน
่ หน่วยเป็ น กก

ช่วงความยาว จงประมาณค่าอย่างน ้อยของอัตราส่วนระหว่างความลึกต่อของช่วงความยาว กำหนดให ้ E เป็ นโมดูลัสยืดหยุน


่ หน่วยเป็ น กก

ชว่ งความยาว จงประมาณค่าอย่างน ้อยของอัตราสว่ นระหว่างความลึกต่อของชว่ งความยาว กำหนดให ้ E เป็ นโมดูลัสยืดหยุน


่ หน่วยเป็ น กก

อยของอัตราส่วนระหว่างความลึกต่อของช่วงความยาว กำหนดให ้ E เป็ นโมดูลัสยืดหยุน


่ หน่วยเป็ น กก./ซม.2และ0.6Fyเป็ นหน่วยแรงดัดทีย

องอัตราส่วนระหว่างความลึกต่อของช่วงความยาว กำหนดให ้ E เป็ นโมดูลัสยืดหยุน


่ หน่วยเป็ น กก./ซม.2 และ 0.6Fy เป็ นหน่วยแรงดัดทีย
่ อม

องอัตราสว่ นระหว่างความลึกต่อของชว่ งความยาว กำหนดให ้ E เป็ นโมดูลัสยืดหยุน


่ หน่วยเป็ น กก./ซม.2 และ 0.6Fy เป็ นหน่วยแรงดัดทีย
่ อม

น Lb นัน
้ พอดีเท่ากับระยะ Lp ทีท
่ ำให ้คานสามารถต ้านโมเมนต์ได ้ถึงโมเมนต์ดด
ั พลาสติก (Mp) จงหาน้ำหนักบรรทุกประลัย wu
ดลบ M = wL2 /18 กก.-เมตร ตรงปลายคานทีเ่ คลือ
่ นทีไ่ ม่ได ้ ถ ้าคานนีม
้ พ
ี น
ื้ ทีห
่ น ้าตัดของแผ่น Web เท่ากับ Aw ซม.2 และมีคา่

หนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอตลอดความยาวคาน ส่วนโครงเฟรม “ข“ มีแรงอัดบนหัวเสาแต่ละข ้างซึง่ มีคา่ เท่ากัน แต่มน


ี ้ำหนักบรรทุกแบบจ

ด ้ กำหนดให ้ Fbx = 1500 กก./ซม.2

0 จงประมาณค่าหน่วยแรงดัดสูงสุดทีช ิ้ สว่ นนีส


่ น ้ ามารถรับได ้ กำหนดให ้ Fbx = 1350 กก./ ซม.2

ขยายค่าโมเมนต์ดด
ั รอบแกนหลักและแกนรอง = 1.00 จงประมาณค่าหน่วยแรงอัดสูงสุดทีช ิ้ ส่วนนีส
่ น ้ ามารถรับได ้ กำหนดให ้ Fa = 1000
Fy = 2500 ksc E = 2000000 ksc

ตัดขนาดเท่าไหร่จงึ จะปลอดภัยและประหยัดทีส
่ ด
ุ ตามวิธ ี ASD

ของไม ้ และให ้การโก่งตัวทีย ้ ควรเลือกใช ้ไม ้แปรรูปทีม


่ อมให ้ไม่เกินกว่า 1/300 ของช่วงความยาวคาน ดังนัน ่ ค
ี า่ อัตราส่วนระหว่างความลึกต่อ
่ อมให ้ไม่เกินกว่า 1/240 ของชว่ งความยาวคาน ดังนัน
ของไม ้ และให ้การโก่งตัวทีย ้ ้แปรรูปทีม
้ ควรเลือกใชไม ี า่ อัตราสว่ นระหว่างความลึกต่อ
่ ค

หาน้ำหนักบรรทุกแผ่สม่ำเสมอ (รวมน้ำหนักคานแล ้ว) w ทีส


่ ามารถรับได ้ ตามวิธี ASD

A36 ขนาด BxN = 30x30 ซม. รองใต ้คาน ซงึ่ คลุมเต็มเนือ


้ ทีข
่ องหัวเสา จงประมาณความหนาของแผ่นเหล็กรองนี้ ตามวิธ ี AISC/LRFD

บนีย
้ ังมีหน ้าตัดแบบคอมแพค
) ทีป
่ ระหยัด กำหนดให ้ หน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้เท่ากับ 150 กก./ซม.2
ะบากปลายตงได ้มากทีส
่ ด
ุ เท่าใดเพือ
่ ลดระดับพืน
้ ห ้อง กำหนดให ้ หน่วยแรงเฉือนทีย
่ อมให ้เท่ากับ 10 กก./ซม.2

ธิข
์ องโมเมนต์ดด
ั : Cb

้ จงใชวิ้ ธ ี LRFD หาค่าสม


ปลายคานทัง้ สองเท่านัน ั ประสท
ิ ธิข
์ องโมเมนต์ดด
ั : Cb

15 ซม. tf = 0.9 ซม. SX = 481 ซม.3 ระยะ LC = 1.88 เมตร) มีค้ำยันทางข ้างด ้านรับแรงอัดทีป ้ จงใชวิ้ ธ ี ASD
่ ลายคานเท่านัน

tf = 1.1 ซม. SX = 775 ซม.3 ระยะ LC = 2.00 เมตร) มีค้ำยันทางข ้างด ้านรับแรงอัดทีป ่ งึ่ กลางคาน จงใช ้วิธ ี
่ ลายคาน และทีก
ดเป็ นเหล็ก ASTM A36  
จาก (ให ้ Fb เป็ นหน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้)
ก./ซม. ดังนัน
้ ระยะห่างของตัวยึดตลอดความยาว คือ
่ ลอดภัยซงึ่ กระทำทีก
ม. จงหาแรงแบบจุด P ทีป ่ งึ่ กลางชว่ งคาน (ไม่คด
ิ น้ำหนักของคาน)

ั ปลอดภัย กำหนดให ้หน่วยแรงใช ้งานปลอดภัยของไม ้ A = 120 กก./ตร.ซม. EA= 8x104 กก./ตร.ซม. และหน่วยแรงใช ้งา
ต ้านโมเมนต์ดด

่ งว่าง = 2" (จะได ้ความกว ้างทัง้ หมด = 6") แล ้วปิ ดด ้านบนและด ้านล่างด ้วยไม ้แผ่นทีเ่ หลือ (จะได ้ความลึกทัง้ หมด = 10")
นให ้มีชอ
ว ซงึ่ จะได ้รูปตัดกลวงขนาด 10x15 ซม. ถ ้าคานประกอบกลวงนีต ่ ยึดกันด ้วยกาวสงั เคราะห์อย่างดี สมมติวา่ คานประกอบนีต
้ อ ้ ้องรับโมเมนต์ด

บแรงกดอยูแ
่ ล ้ว โดยมีขนาดตามมาตรฐานกำหนด มีจด
ุ ประสงค์เพือ
่ ให ้คานนัน

ง Tension Field Action มาพิจารณาด ้วย จะพบว่า คานเหล็กประกอบมีกำลังต ้านทานแรงเฉือน

ค์เพือ
่ ให ้คานนัน

นด สำหรับการตรวจสอบกำลังรับแรงกดตามข ้อกำหนดมาตรฐาน จะพิจารณาว่าเนือ ่ ว่ นหนึง่ ของแผ่นปี กคานรวมกับเนือ
้ ทีส ้ ทีข
่ อง

ื่ ม จงประมาณค่าโมเมนต์ดด
ล็กชนิด A36 และยึดต่อกันโดยการเชอ ้
ั ใชงานสู
งสุดของคานนี้ สมมติให ้ ค่า Rpg = 1 และ Fb = 1400

่ ้องใช ้ สมมติวา่ Rpg = 1 และ


นสูงสุดที่ plate girder สามารถรับได ้ เท่ากับ 385 ตัน-เมตร จงหาความหนาของเหล็กแผ่นตัง้ ทีต

ื่ ม ถ ้าคานเหล็กประกอบนีร้ ับน้ำหนักแผ่ใชงานสม่ำเสมอและไม่
ด ้วยเหล็กชนิด A36 และยึดต่อกันโดยการเชอ ้ ใช ้ intermediate stiffener
่ ามารถรับได ้โดยใช ้จากตารางข ้างล่างนี้ เมือ
คานของ plate girder ทีส ่ ใช ้ bearing stiffener เฉพาะตรงจุดทีร่ ับน้ำหนักแบบจุดเท่านัน

่ ม
ล็กชนิด A36 และยึดต่อกันโดยการเชือ

่ ลายคานเท่ากับ 50 ตัน จงใช ้ตารางข ้างล่างนีป


ทีป ้ ระมาณตำแหน่งของ intermediate stiffener ตัวแรกว่าจะอยูห
่ า่ งจากปลายคานได ้มากท
จากจุดรองรับแต่ละข ้างเป็ นระยะเท่ากับ 7.00 เมตร

บบจุด จงใชตารางข ้างล่างนีห้ าระยะของ intermediate stiffener ทีต ้
่ ้องใชระหว่
างจุดทีร่ ับแรงแบบจุดตรงบริเวณกลางคาน

ย (min Apb) ของ bearing stiffener ทีต


่ ้องการตรงปลายคาน สมมติให ้แรงปฏิกริ ย
ิ าทีป
่ ลายคานเท่ากับ 50 ตัน และเหล็กชนิด
ing stiffener ขนาด 12x150 มม. 1 คู่ ตรงบริเวณกลางคานทีร่ ับน้ำหนักแบบจุด ตามข ้อกำหนดมาตรฐานยอมให ้ตรวจสอบกำลังรับแรงกดต

การคำนวณออกแบบจะพิจารณาว่าคานนีเ้ ป็ น

บปี กคานและเหล็กเสริมข ้างคาน


กคานประกอบนีม
้ ค
ี ้ำยันทางข ้างทีป
่ ลายทัง้ สองเท่านัน
้ และรับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอ (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) = 500

ยว หากคานนีม
้ ค
ี ้ำยันทางข ้างทีป
่ ลายทัง้ สองเท่านัน
้ และรับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอ (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) = 400

นประกอบนีเ้ ป็ นคานช่วงเดีย
่ วธรรมดายาว 4.50 เมตร รับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอ (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) = 600 กก

เป็ นคานชว่ งเดีย


่ วธรรมดายาว 4.00 เมตร และต่อยึดกันอย่างดี จงประมาณค่าน้ำหนักบรรทุกทัง้ หมดแบบแผ่สม่ำเสมอทีค
่ านประกอบสามาร

รูป ซงึ่ จะได ้ชอ


่ งกลวงขนาด 10x20 ซม. ถ ้าคานประกอบกลวงนีต
้ อ
่ ยึดกันอย่างดี และรับโมเมนต์ดด ้
ั ใชงาน = 1700 กก.-เมตร.

ม ้แปรรูป ซงึ่ จะได ้ชอ


่ งกลวงขนาด 10x15 ซม. ถ ้าคานประกอบกลวงนีต
้ อ
่ ยึดกันอย่างดี จงประมาณกำลังต ้านทานโมเมนต์ดด ้
ั ใชงานของคานป
กแผ่นตัง้ มีเนือ
้ ทีห
่ น ้าตัด = Ast การตรวจสอบหากำลังรับแรงกดบริเวณกลางช่วงคานจะพิจารณาว่าเสมือนเป็ นเสาทีม
่ เี นือ
้ ทีห
่ น ้าตัดเท่ากับ

ื่ ม รับน้ำหนักบรรทุกใชงานแบบแผ่
อกันโดยการเชอ ้ ้
สม่ำเสมอและน้ำหนักบรรทุกใชงานแบบจุ
ดกระทำห่างจากจุดรองรับแต่ละด ้านเป็ นระยะเท

ื่ ม จงใชวิ้ ธี LRFD ประมาณค่าโมเมนต์ดด


กชนิด A36 และยึดต่อกันโดยการเชอ ั ประลัยของคานนี้ สมมติให ้ ค่า Re = RPG = 1 Fcr = Fy =

นต์ดด
ั ประลัย สมมติให ้ ค่า Re = RPG = 1 Fcr = Fy = 2500 กก./ตร. ซม.

ื่ ม ถ ้าระหว่างชว่ งความยาวคานไม่ใช ้ intermediate stiffener เลย จงประมาณค่าแรงเฉือนปร


ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 และต่อกันโดยการเชอ
่ ม ถ ้าต ้องการให ้คานนีส
ทำด ้วยเหล็กชนิด A36 และต่อกันโดยการเชือ ้ ามารถรับนำหนักบรรทุกประลัยแบบแผ่สม่ำเสมอได ้ประมาณ

รงมุมออกไป 1.5 ซม. เพือ ่ สำหรับการเชอ


่ เผือ ื่ มต่อ จงประมาณกำลังรับแรงกดประลัยของ bearing stiffener นี้

่ ใชรั้ บน้ำหนักบรรทุก ในการคำนวณออกแบบตามมาตรฐานกำหนด จะพิจารณาว่าคานนีเ้ ป็ นแบบ


กรูปตัด W เพือ
X เท่ากับ 4200 ksc)

เฉือนทีย
่ อมให ้เท่ากับ 1225 ksc และหน่วยแรงดึงประลัย(Fu) เท่ากับ 4070 ksc.

กับเหล็กประกับหนา 6 mm เพียงขาเดียว จงหาพืน


้ ทีห
่ น ้าตัดสุทธิประสิทธิผลของเหล็กฉาก
้ น 450 กก./ตัว (ยังไม่รวมผลจากแผ่นเหล็กประกับ)  
ยอมให ้ขนานเสีย
ื่ มแบบพอก(fillet weld) ตามข ้อกำหนดของ AISC(allowable stress design)
การเชอ
ห ้เพิม
่ ขนาดของรูเจาะเท่ากับ 3 mm

แรงเฉือนทีย ่ มหนา 10 mm และเหล็ก plate เป็ นเหล็กชนิด ASTM A36 มีความหนา 12 mm  


่ อมให ้ 1040 ksc เชือ
1050 ksc.และหน่วยแรงแบกทานทีย
่ อมให ้เท่ากับ 3400 ksc.
) จงประมาณค่าแรงดึงทีค
่ ด
ิ จากหน่วยแรงกดระหว่างแผ่นเหล็กกับตัวสลักเกลียว

ฉือนประลัยของสลักเกลียว A 325-x = 4140 กก./ซม.2

ลอดภัย P สูงสุด (ทีก


่ ระทำผ่านศูนย์ถว่ งของรอยต่อ) เมือ
่ คิดจากตัวสลักเกลียวอย่างเดียว 
= 3.80 ซม.2) และเหล็กฉากชนิด A36 แต่ละข ้าง ยาว 30 ซม. ให ้หาความหนาของเหล็กฉาก ตามวิธ ี ASD

= 3.80 ซม.2) และเหล็กฉากชนิด A36 แต่ละข ้าง ยาว 30 ซม. ให ้หาความหนาของเหล็กฉาก ตามวิธ ี LRFD  

ยความยาว =PW ดังนัน ่ มทีแ


้ ระยะเชือ ่ ต่ละข ้างของแผ่นเหล็กประกับ คือ
่ ้องใช ้
า ดังแสดง ให ้หาความหนาอย่างน ้อยของเหล็กฉากทีต
้ นระหว่างไม ้กับไม ้ของสลักเกลียว = 400 กก./ตัว กำลังต ้านทานแรงตัง้ ฉากเสีย
ำลังต ้านทานแรงขนานเสีย ้ นระหว่างไม ้กับไม ้ของสลักเกลียว

นทานแรงระหว่างไม ้กับไม ้ของสลักเกลียวเมือ ้ นไม ้


่ มีแรงกระทำเป็ นมุม 60 องศากับแนวเสีย

แ ่ ้องใช ้ สมมติวา่ หน่วยแรงเฉือนใช ้งานทีย


ี่ ต่ละแผ่นมีขนาด 10x300 มม. จงหาจำนวนของสลักเกลียวขนาด 16 มม. (Ab = 2 ซม.2) ทีต ่ อ
ม. จำนวน 2 ท่อนเพือ ้
่ รับแรงดึงเท่ากับ 8 ตัน กับแผ่นเหล็กประกับหนา 6 มม. สมมติวา่ หน่วยแรงเฉือนใชงานที
ย ่ อมให ้ของสลักเกลียว

กฉากกับแผ่นเหล็กประกับโดยเรียงเป็ นแถวเดียว จงประมาณค่าแรงดึงใช ้งานสูงสุดทีเ่ หล็กฉากแต่ละท่อนสามารถรับได ้ สมมติใช ้เหล็กชนิด

้ สมมติใช ้เหล็กชนิด A36  


2.5 ซม. จงหาความหนาของเหล็กฉากนัน

่ สลักเกลียว จงประมาณค่าความหนาของเหล็ก
nection) โดยยึดขาเหล็กฉากด ้านยาว 150 มม. ติดกับแผ่น flange ของเสาด ้วยตัวยึด เชน
แรงปฏิกริ ย
ิ าทีป
่ ลายคานอันเนือ ้
่ งมาจากจากน้ำหนักบรรทุกใชงานมี
คา่ เท่ากับ 80 ตัน และค่าโมเมนต์อน ี ของคานประกอบ
ิ เนอร์เชย
ดการวิบต
ั ท
ิ ส
ี่ ลักเกลียว หรือการวิบต
ั แ
ิ บบ Block Shear) 

มติวา่ ไม่เกิดการวิบต
ั ท
ิ ส
ี่ ลักเกลียว หรือการวิบต
ั แ
ิ บบ Block Shear)
แ ่ ้องใช ้ สมมติวา่ หน่วยแรงเฉือนใช ้งานทีย
ี่ ต่ละแผ่นมีขนาด 10x300 มม. จงหาจำนวนของสลักเกลียวขนาด f 16 มม. (Ab = 2 ซม.2) ทีต ่ อ

มม. จำนวน 2 ท่อนเพือ ้


่ รับแรงดึงเท่ากับ 8 ตัน กับแผ่นเหล็กประกับหนา 6 มม. สมมติวา่ หน่วยแรงเฉือนใชงานที
ย ่ อมให ้ของสลักเกลียว

รงปฏิกริ ย
ิ าทีป ่ งมาจากจากน้ำหนักบรรทุกใช ้งานมีคา่ เท่ากับ 80 ตัน และค่าโมเมนต์อน
่ ลายคานอันเนือ ิ เนอร์เชียของคานประกอบ
รับแรงอัดปลอดภัย  
อยเลอร์ กำหนดให ้โมดูลัสยืดหยุน
่ ของไม ้เท่ากับ E
้ กชนิด A36
มม. และใชเหล็
คอมกรีตขนาด 90x90 ตาราง ซม. สมมติคอนกรีตมีหน่วยแรงอัดประลัยเท่ากับ 200 กก./ตร.ซม.

ม่อคอมกรีต สมมติแผ่นเหล็กรองคลุมเต็มเนือ ่ องเสาตอม่อคอมกรีตซ งึ่ มีหน่วยแรงอัดประลัย 200 กก./ตร.ซม.  


้ ทีข
้ น (Fc) ทีย
ประกอบ (Kf) เท่ากับ 0.6 กำหนดให ้หน่วยแรงอัดขนานเสีย ่ อมให ้ เท่ากับ 90 กก./ตรซม  
ng stress)บนฐานราก ค.ส.ล.ทีย
่ อมให ้เท่ากับ 60 ksc.โดยวิธ ี Allowable stress design
้ ้ชนิดเดียวกัน โดยมีคา่ หน่วยแรงดัดทีย
และคาน "ข" ใชไม ่ อมให ้ = 150 กก./ซม.2 และโมดูลัสยืดหยุน
่ = 120000 กก./ซม.2 (
ลัสยืดหยุน
่ หน่วยเป็ น กก./ ซม.2 และ 0.6Fy เป็ นหน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้หน่วยเป็ น กก./ ซม.2 

ลัสยืดหยุน
่ หน่วยเป็ น กก./ ซม.2 และ 0.6Fy เป็ นหน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้หน่วยเป็ น กก./ ซม.2

ลัสยืดหยุน
่ หน่วยเป็ น กก./ ซม.2 และ 0.6 Fy เป็ นหน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้หน่วยเป็ น กก./ ซม.2

0.6Fyเป็ นหน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้หน่วยเป็ น กก./ซม.2และไม่คด
ิ น้ำหนักของคาน(ค่าการโก่งตัวทีป
่ ลายคาน = WL3/3EI)

Fy เป็ นหน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้หน่วยเป็ น กก./ซม.2 และไม่คด
ิ น้ำหนักของคาน (ค่าการโก่งตัวทีป
่ ลายคาน = WL3/3EI

Fy เป็ นหน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้หน่วยเป็ น กก./ซม.2 และไม่คด
ิ น้ำหนักของคาน (ค่าการโก่งตัวทีป
่ ลายคาน = WL3/3EI) 

ทุกประลัย wu แบบแผ่สม่ำเสมอ (รวมน้ำหนักคานแล ้ว) ทีส


่ ามารถรับได ้ 
ซม.2 และมีคา่ elastic section modulus : Sx เท่ากับ 4Aw ซม.3 หากสมมุตวิ า่ หน ้าตัดคานเป็ นแบบคอมแพคและถือว่ามีค้ำยันทางข ้างพอ

แต่มน
ี ้ำหนักบรรทุกแบบจุดกระทำเยือ
้ งจากกึง่ กลางคาน ดังนัน
้ จะพบว่า

กำหนดให ้ Fa = 1000 กก./ ซม.2


ตราส่วนระหว่างความลึกต่อความยาวคานอย่างน ้อยประมาณเท่ากับ
ตราสว่ นระหว่างความลึกต่อความยาวคานอย่างน ้อยประมาณเท่ากับ

งนี้ ตามวิธ ี AISC/LRFD


จงใชวิ้ ธ ี ASD ประมาณค่าโมเมนต์ดด ้
ั ใชงานที
ค ่ านนีส
้ ามารถรับได ้ กำหนดให ้ ค่า Cb = 1.00

คาน จงใช ้วิธ ี ASD ประมาณค่าโมเมนต์ดด


ั ใช ้งานทีค
่ านนีส
้ ามารถรับได ้ กำหนดให ้ ค่า Cb = 1.75
ร.ซม. และหน่วยแรงใช ้งานปลอดภัยของไม ้ B = 140 กก./ตร.ซม. EB= 1x104 กก./ตร.ซม.

ลึกทัง้ หมด = 10") คานไม ้ประกอบรูปกล่องนีต


้ อ
่ ยึดกันด ้วยตะปู หากคานประกอบนีร้ ับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่สม่ำเสมอ (รวมน้ำหนักของคาน
ประกอบนีต
้ ้องรับโมเมนต์ดด
ั ปลอดภัย = 1250 กก.- เมตร. จงประมาณความหนาอย่างน ้อยของแผ่นไม ้อัดทีต ้
่ ้องใชประกบติ
ดด ้านข ้างไม ้แป
มกับเนือ
้ ทีข
่ อง bearing stiffener เสมือนเป็ นเนือ
้ ทีห
่ น ้าตัดเสาทีร่ ับแรงอัดตามแนวแกน

และ Fb = 1400 กก./ซม.2

Rpg = 1 และ Fb = 1500 กก./ซม.2


termediate stiffener เลย จงประมาณค่าแรงเฉือนใชงานสู ั ค่าหน่วยแรงเฉือนใชงานที
งสุดที่ plate girder สามารถรับได ้ โดยอาศย ้ ก ่ ำหนด
หนักแบบจุดเท่านัน

างจากปลายคานได ้มากทีส
่ ด
ุ เท่าไร
และเหล็กชนิด A36
ตรวจสอบกำลังรับแรงกดตรงบริเวณนีโ้ ดยพิจารณาว่าเนือ ่ ว่ นหนึง่ ของแผ่นปี กคานรวมกับเนือ
้ ทีส ้ ทีข
่ อง bearing stiffener เสมือนเป็ นเนือ
้ ทีห

นแล ้ว) = 500 กก./ม. จงหาว่ากาวสงั เคราะห์ทน
ี่ ำมาใชต้ ้องมีหน่วยแรงยึดเหนีย
่ วปลอดภัยอย่างน ้อยเท่าใด

่ ้องใช ้บริเวณปลายคาน กำหนดให ้ สลักเกลียวมีแรงต ้านทางข ้างตัวละ


แล ้ว) = 400 กก./ม. จงหาระยะห่างระหว่างตัวสลักเกลียวทีต

ี่ ้องใช ้ บริเวณปลายคาน กำหนดให ้ ตะปูมแ


ว) = 600 กก./ม. จงประมาณระยะห่างของตะปูทต ี รงต ้านทางข ้างตัวละ 150 กก.

สมอทีค
่ านประกอบสามารถรับได ้ สมมติวา่ หน่วยแรงดัดสูงสุด = 100 กก./ซม.2 ค่า Form Factor Cf = 1

้ นไม ้อัดหนาอย่างน ้อยเท่าไร กำหนดให ้ ไม ้แปรรูปมีหน่วยแรงดัด Fb = 120 กก./ซม.2


0 กก.-เมตร. จงประมาณว่า ต ้องใชแผ่

มเมนต์ดด ้
ั ใชงานของคานประกอบนี ้ กำหนดให ้ ไม ้แปรรูปมีหน่วยแรงดัด Fb = 125 กก./ซม.2 และค่า E = 1x105 กก./ซม.2
ทีม
่ เี นือ
้ ทีห
่ น ้าตัดเท่ากับ

องรับแต่ละด ้านเป็ นระยะเท่ากับ 7.00 เมตร ถ ้า Plate Girder นีม


้ แ
ี ต่ bearing stiffener ตรงจุดทีร่ ับน้ำหนักแบบจุดเท่านัน
้ จงประมาณค่าแร

= RPG = 1 Fcr = Fy = 2500 กก./ตร. ซม.

ั ค่าหน่วยแรงเฉือนประลัยทีใ่ ห ้ในตารางข ้างล่างนี้


จงประมาณค่าแรงเฉือนประลัยที่ plate girder สามารถรับได ้ โดยอาศย
สมอได ้ประมาณ 24 ตันต่อเมตร จงใช ้ตารางข ้างล่างนีป
้ ระมาณตำแหน่งของ intermediate stiffener ตัวแรกว่าจะอยูห
่ า่ งจากปลายคานไดม
างไม ้กับไม ้ของสลักเกลียว = 250 กก./ตัว

หน่วยแรงเฉือนใช ้งานทีย
่ อมให ้ของสลักเกลียว = 2100 กก./ ซม.2 ต่อระนาบ และหน่วยแรงกดใช ้งานทีย
่ อมให ้ = 4860 กก./

มให ้ของสลักเกลียว = 2100 กก./ซม.2 ต่อระนาบ และหน่วยแรงกดใชงานที
ย ่ อมให ้ = 4860 กก./ซม.2

รับได ้ สมมติใช ้เหล็กชนิด A36 และเหล็กฉากขนาด 50x50x4 มม. แต่ละท่อนมีเนือ


้ ทีห
่ น ้าตัดทัง้ หมด = 3.89 ซม.2

่ ้องนำมาใช ้ ถ ้าสมมติวา่ แรงปฏิกริ ย


าณค่าความหนาของเหล็กฉากทีต ้
ิ าใชงานทำให ั ้ ทีย
้ขาเหล็กฉากด ้านสน ่ น
ื่ ออกต ้องรับโมเมนต์ดด
ั ทีห
่ น ้าต
องคานประกอบ = 3,450,000 ซม.4 จงประมาณค่าแรงเฉือนในแนวนอนตรงรอยต่อระหว่างเหล็กแผ่นตัง้ กับแผ่นเหล็กปี กคาน
หน่วยแรงเฉือนใช ้งานทีย
่ อมให ้ของสลักเกลียว = 2100 กก./ซม.2 ต่อระนาบ และหน่วยแรงกดใช ้งานทีย
่ อมให ้ = 4860 กก./


อมให ้ของสลักเกลียว = 2100 กก./ซม.2 ต่อระนาบ และหน่วยแรงกดใชงานที
ย ่ อมให ้ = 4860 กก./ซม.2

งคานประกอบ = 3450000 ซม.4 จงประมาณค่าแรงเฉือนในแนวนอนตรงรอยต่อระหว่างเหล็กแผ่นตัง้ กับแผ่นเหล็กปี กคาน


0 กก./ซม.2 (สงั เกตว่าคานทัง้ สองมีเนือ
้ ทีห
่ น ้าตัดเท่ากัน)  
ะถือว่ามีค้ำยันทางข ้างพอเพียง จงหาความยาว L ของคานนี้ เพือ
่ ให ้หน่วยแรงดัดทีเ่ กิดขึน
้ มีคา่ พอดีเท่ากับหน่วยแรงดัดทีย
่ อมให ้ และหน่วย
ี่ ้องใช ้ตลอดความยาวคาน กำหนดให ้ตะปูมแ
สมอ (รวมน้ำหนักของคานแล ้ว) = 500 กก./ม. จงหาระยะห่างอย่างน ้อยของตะปูทต ี รงต ้านทา

ชประกบติ ้
ดด ้านข ้างไม ้แปรรูป กำหนดให ้ หน่วยแรงดัดใชงานของไม ้แปรรูป = 120 กก./ซม.2 และค่า E = 8x104 กก./ซม.2

ยแรงเฉือนใชงานที
ก ่ ำหนดไว ้ในตารางข ้างล่างนี้
iffener เสมือนเป็ นเนือ
้ ทีห ั ราส ว่ นความชะลูดเท่ากับ KL/r ฉะนัน
่ น ้าตัดเสาทีร่ ับแรงอัดตามแนวแกน โดยมีอต ้ จงหาค่า KL/r สำหรับกรณีนี้
ต ้านทางข ้างตัวละ 700 กก.

0 กก./ซม.2 และค่า E = 8x104 กก./ซม.2 สว่ นแผ่นไม ้อัดมีหน่วยแรงดัด Fb = 150 กก./ซม.2 และค่า E = 1x105 กก./ซม.2

5 กก./ซม.2 สว่ นแผ่นไม ้อัดมีหน่วยแรงดัด Fb = 150 กก./ซม.2 และค่า E = 1.2x105 กก./ซม.2 สมมติคา่ Form Factor Cf = 1
ดเท่านัน ้
้ จงประมาณค่าแรงเฉือนใชงานสู
งสุดที่ plate girder สามารถรับได ้โดยพิจารณาจากตารางข ้างล่างนี้
ะอยูห
่ า่ งจากปลายคานได ้มากทีส
่ ด
ุ เท่าไร 
= 4860 กก./ซม.2
ต ้องรับโมเมนต์ดด
ั ทีห
่ น ้าตัดวิกฤตเท่ากับ 100 กก.-ม
หล็กปี กคาน
= 4860 กก./ซม.2
แรงดัดทีย
่ อมให ้ และหน่วยแรงเฉือนทีเ่ กิดขึน
้ มีคา่ พอดีเท่ากับหนึง่ ในแปดของหน่วยแรงเฉือนทีย
่ อมให ้
ำหนดให ้ตะปูมแ
ี รงต ้านทางข ้างตัวละ 150 กก.
04 กก./ซม.2 สว่ นแผ่นไม ้อัดมีหน่วยแรงดัดใชงาน
้ = 140 กก./ซม.2 และค่า E = 1x105 กก./ซม.2
าค่า KL/r สำหรับกรณีนี้
05 กก./ซม.2

m Factor Cf = 1
Construction
ข ้อที่ 1 : นายขาว ตกลงรับงานขุดดินอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ โดยทำสญ ั ญาแบบ unit-price
1 : นายขาวจะได ้รับเงินค่าจ ้าง 10% ของค่าจ ้างทัง้ หมด
2 : นายขาวจะได ้รับเงินค่าจ ้าง 9.8% โดยหักค่าประกันผลงาน 0.2% ของค่าก่อสร ้างทัง้ หมด
3 : นายขาวจะได ้รับเงินค่าจ ้างโดยคิดตามปริมาณงานทีท ่ ำได ้หลังผ่านการตรวจสอบจากผู ้ว่าจ ้างแล ้ว
4 : นายขาวจะได ้รับเงินค่าจ ้างเมือ
่ ทำงานครบถ ้วนทุกรายการตามทีร่ ะบุในงวดที่ 1

ข ้อที่ 2 : ในงานการก่อสร ้างโรงแรมระดับห ้าดาวในเขตเทศบาลนครขอนแก่น มีความจำเป็ นต ้องเปลีย ่ นร


ผู ้รับจ ้างได ้ให ้วิศวกรประจำบริษัทผู ้ได ้รับใบอนุญาตเป็ นผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับสามัญโย
จำเป็ นต ้องได ้รับอนุมัตจ ิ ากผู ้ใดหรือไม่
1 : ต ้องได ้รับการอนุมัตแ ิ บบจากผู ้ออกแบบ
2 : ต ้องได ้รับการอนุมัตแ ิ บบจากเจ ้าของโครงการ
3 : ต ้องได ้รับการอนุมัตแ ิ บบจากผู ้ออกแบบและนายกเทศมนตรีเทศบาลนครขอนแก่น
4 : ผู ้รับจ ้างทำการก่อสร ้างได ้ตามแบบทีแ ่ ก ้ไขโดยไม่จำเป็ นต ้องขออนุมัตจ
ิ ากผู ้ใด

ข ้อที่ 3 : เจ ้าของโครงการก่อสร ้างอาคารพักอาศัยรวมขนาด 40 ห ้อง ในเขตเทศบาลเมืองสงขลา เป็ นอา


1 : ต ้องได ้รับอนุมัตแ
ิ บบจากผู ้ออกแบบ
2 : ต ้องได ้รับอนุมัตแิ บบจากนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองสงขลา
3 : ต ้องได ้รับอนุมัตแ ิ บบจากผู ้ออกแบบและนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองสงขลา
4 : เจ ้าของโครงการสัง่ ให ้ผู ้รับจ ้างทำการก่อสร ้างได ้โดยไม่จำเป็ นต ้องขออนุมัตจ
ิ ากผู ้ใด

ข ้อที่ 4 : ในโครงการก่อสร ้างถนนเลีย ่ งเมืองของเทศบาลนครเชียงใหม่ ระหว่างทำการก่อสร ้าง ผู ้ควบคุม


1 : ต ้องได ้รับอนุมัตจ
ิ ากกรมทางหลวง
2 : ต ้องได ้รับอนุมัตจิ ากผู ้ออกแบบ
3 : ต ้องได ้รับอนุมัตจ ิ ากผู ้ออกแบบและนายกเทศมนตรีเทศบาลนครเชียงใหม่
4 : ผู ้ควบคุมงานสามารถสงั่ ให ้ผู ้รับจ ้างดำเนินการได ้โดยไม่จำเป็ นต ้องขออนุมัตจ
ิ ากผู ้ใด


ข ้อที่ 5 : นายสมบูรณ์ เป็ นเจ ้าของโครงการให ้บริการสถานออกกำลังกายและสระว่ายน้ำ โดยใชงบประมา
1 : ต ้องได ้รับอนุมัตจ ิ ากผู ้ออกแบบ
2 : ต ้องได ้รับอนุมัตจ ิ ากผู ้ออกแบบและเจ ้าของโครงการ
3 : ต ้องได ้รับอนุมัตจ ิ ากผู ้ออกแบบและนายกเทศมนตรี
4 : ผู ้รับจ ้างเห็นว่าดีกว่าสามารถดำเนินการได ้โดยไม่ต ้องขออนุมัตผ
ิ ู ้ใด

ข ้อที่ 6 : ในโครงการก่อสร ้างสนามบินสุวรรณภูม ิ บริษัทรับเหมาหลักได ้ขออนุมัตใิ ห ้บริษัทรับจ ้างช่วงทำก


1 : เรียกร ้องให ้ผู ้รับเหมาหลักรับผิดชอบ
2 : เรียกร ้องให ้ผู ้รับเหมาช่วงรับผิดชอบ
3 : เรียกร ้องให ้ผู ้รับเหมาหลักร่วมกับผู ้รับเหมาช่วงรับผิดชอบ
4 : ไม่สามารถเรียกร ้องให ้ผู ้รับเหมาหลักและผู ้รับเหมาช่วงรับผิดชอบ

่ ใด
ข ้อที่ 7 : การจัดองค์กรแบบ Functional Organization มีลักษณะเชน
1 : จัดกลุม ่ ตามสายการผลิต
2 : จัดกลุม ่ วามชำนาญเฉพาะทาง
่ ตามหน ้าทีค
3 : จัดกลุม ่ ตามสถานการณ์ ตลอดระยะเวลาของโครงการ
4 : จัดกลุม
่ ตามความชำนาญและหน ้าทีใ่ นโครงการ

ข ้อที่ 8 : การจัดองค์กรแบบ Matrix Organization มีลักษณะเช่นใด


1 : จัดกลุม ่ ตามสายการผลิต
2 : จัดกลุม ่ ตามหน ้าทีค่ วามชำนาญเฉพาะทาง
3 : จัดกลุม ่ ตามความเชย ี่ วชาญและหน ้าทีใ่ นโครงการ
4 : จัดกลุม ่ ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ข ้อที่ 9 : การจัดองค์กร (Organization) แบบใดทีม


่ ล ื่ สารแนวราบ (Horizontal)
ี ักษณะการสอ
1 : Project Organization
2 : Functional Organization
3 : Matrix Organization
4 : Balanced Organization

ข ้อที่ 10 : การจัดองค์กร (Organization) แบบใดทีม


่ ล ่ สารแนวราบ (Vertical)
ี ักษณะการสือ
1 : Project Organization
2 : Functional Organization
3 : Matrix Organization
4 : Balanced Organization

ข ้อที่ 11 : สัญญารูปแบบใดทีม
่ ก ่ งร่วมกันระหว่างเจ ้าของโครงการ และ ผู ้รับเหมาใกล
ี ารแบ่งปั นความเสีย
1 : Lump Sum Contract
2 : Unit Price Contract
3 : Cost Plus Fixed Fee Contract
4 : Cost Plus Variable Fee Contract

ั ญาในลักษณะทีผ
ข ้อที่ 12 : สญ ี่ งสูงทีส
่ ู ้รับเหมาก่อสร ้างต ้องแบกรับความเสย ่ ด

1 : Lump Sum Contract
2 : Unit Price Contract
3 : Cost Plus Fixed Fee Contract
4 : Cost Plus Variable Fee Contract

ข ้อที่ 13 : รูปแบบองค์กรแบบใดมีรป
ู แบบของการประสานงาน (Coordination) ในแนวราบ
1 : Functional Organization
2 : Project Organization
3 : Matrix Organization
4 : Hybrid Organization

ข ้อที่ 14 : รูปแบบองค์กรแบบใดทีอ ึ ขาดความมั่นคงในการทำงาน


่ าจจะทำให ้ทีมงานรู ้สก
1 : Functional Organization
2 : Project Organization
3 : Matrix Organization
4 : Hybrid Organization
ข ้อที่ 15 : ข ้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นลักษณะทีม
่ ักพบได ้ในการประมูลงานก่อสร ้างจาก ‘เจ ้าของงานแบบภาครัฐ’
1 : รูปแบบการจ ้างงานก่อสร ้างมีหลายรูปแบบ
2 : การตัดสินใจเลือกผู ้รับเหมารายใด ผู ้ทีไ่ ม่ได ้รับเลือกไม่มส ิ ธิต
ี ท ์ รวจสอบข ้อมูลได ้
3 : กฎเกณฑ์เงือ ่ นไขทีพ
่ จ ิ ารณาคัดเลือกผู ้รับเหมา กำหนดไว ้ละเอียดและเปลีย ่ นแปลงไม่ได ้
4 : ผู ้รับเหมาสามารถขอเปลีย ่ นแปลงเงือ
่ นไขตามประกาศประกวดราคาได ้ ถ ้าเป็ นประโยชน์ตอ ่ เจ ้าของงา

ข ้อที่ 16 : ข ้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นลักษณะทีม ่ ักพบได ้ในการประมูลงานก่อสร ้างจาก ‘เจ ้าของงานแบบภาคเอกช


1 : รูปแบบการว่าจ ้างงานก่อสร ้างมีจำกัด
2 : หากเกิดความไม่เป็ นธรรมในงานก่อสร ้าง สามารถร ้องเรียนขอความเป็ นธรรมได ้ตามขัน ้ ตอนของรัฐ
3 : พิจารณาราคาเป็ นอันดับแรก สว่ นคุณภาพและความสามารถเป็ นอันดับรอง
4 : การจ่ายเงินงวดอาจขึน ้ อยูก่ บ
ั สภาวะการเงินของเจ ้าของงานในขณะนัน ้

ข ้อที่ 17 : จากลักษณะการว่าจ ้างต่อไปนี้ “ผู ้ออกแบบและฝ่ ายก่อสร ้างทำงานร่วมกัน และเสนอราคาก่อส


1 : Construction Management Contract: การว่าจ ้างทีมผู ้จัดการโครงการก่อสร ้าง
2 : Turnkey Contract: การว่าจ ้างงานออกแบบก่อสร ้าง
3 : Design &Construction Contract: การว่าจ ้างงานออกแบบและก่อสร ้างร่วมกัน
4 : Single Prime Contract: การว่าจ ้างผู ้ออกแบบและผู ้รับเหมาก่อสร ้างหลักแยกกัน

่ น ้าทีห
ข ้อที่ 18 : ข ้อใดไม่ใชห ่ ลักของผู ้จัดการงานก่อสร ้าง(Construction Manager)
1 : จัดทำแผนงานก่อสร ้างหลัก
2 : ประสานแหล่งเงินทุน และจัดทำแผนการใช ้เงิน (Cash Flow)
3 : คัดเลือกผู ้รับเหมาและประเมินผลการก่อสร ้าง
4 : ตัดสน ิ ใจคัดเลือกผู ้ออกแบบ

ข ้อที่ 19 : โครงสร ้างองค์กรก่อสร ้างในข ้อใดต่อไปนี้ เป็ นโครงสร ้างของสำนักงานภาคสนาม


1 : หน่วยธุรการ หน่วยจัดซอ ื้ หน่วยกฎหมาย หน่วยบุคคล
2 : หน่วยออกแบบ หน่วยวิศวกรรม หน่วยสำรวจปริมาณ หน่วยบัญชแ ี ละการเงิน
3 : หน่วยธุรการภาคสนาม วิศวกรคุมงาน ผู ้จัดการงานก่อสร ้าง หน่วยวัสดุ
4 : หน่วยธุรการ หน่วยออกแบบ หน่วยงานตรวจสอบ หน่วยวิจัย

ข ้อที่ 20 : สญั ญาตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในข ้อความต่อไปนีเ้ ป็ นสญ


ั ญาในรูปแบบใด “สญ
ั ญาทีท
่ ำ

1 : สญญาต่างตอบแทน
2 : สัญญามีคา่ ตอบแทน
3 : สัญญาเพือ ่ ประโยชน์บค
ุ คลภายนอก
4 : สญ ั ญาไม่ตา่ งตอบแทน

ั ญางานก่อสร ้างต่อไปนีเ้ ป็ นสญ


ข ้อที่ 21 : สญ ั ญาประเภทใด “สญ
ั ญาทีใ่ ชกั้ บงานก่อสร ้างทีเ่ จ ้าของงานต ้อ
1 : ประเภทราคาต่อหน่วย (Unit-price)
2 : ประเภทเหมารวม (Lump-sum)
3 : ประเภทคิดค่าใชจ่้ ายจริงบวกค่าดำเนินการและกำไร (Cost Plus Fixed fee and Profit)
4 : ประเภทมีรางวัลและค่าปรับ (Reward & Fine)

ั ญาก่อสร ้างแบบราคาต่อหน่วย (Unit-price)


ข ้อที่ 22 : ข ้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นข ้อดีของสญ
1 : ทำให ้ทราบวงเงินทัง้ หมดทีใ่ ช ้ในการดำเนินงานทัง้ โครงการแน่นอน
2 : ผู ้รับจ ้างสามารถส่งมอบงานและรับค่าจ ้างได ้ตามปริมาณงานทีท่ ำได ้จริง
3 : ั
รูปแบบการก่อสร ้างชดเจน เปลีย ่ นแปลงไม่ได ้
4 : ผู ้ว่าจ ้างสามารถวางแผนการจ่ายเงินได ้ถูกต ้อง

ข ้อที่ 23 : จงเรียงลำดับขัน
้ ตอนในการจัดการโครงการก่อสร ้างต่อไปนี้ ตัง้ แต่เริม ิ้ สุดโครงการ
่ ต ้นจนสน
ก) การวางแผนกิจกรรมในโครงการ              ข) การติดตามความก ้าวหน ้า
ค) การกำหนดขอบเขตของโครงการ             ง) การคำนวณระยะเวลาโครงการ
จ) การประเมินงบประมาณของโครงการ        ฉ) การปิ ดโครงการ

1 : ค, ก, ง, จ, ข, ฉ
2 : ค, จ, ก, ง, ข, ฉ
3 : ก, ค, จ, ง, ข, ฉ
4 : ค, ง, จ, ก, ข, ฉ

ข ้อที่ 24 : ข ้อใดไม่เกีย
่ วข ้องกับการจัดองค์กรเพือ
่ ดำเนินโครงการ
1 : กำหนดงบประมาณทีจ ่ ะใช ้ในการดำเนินโครงการ
2 : กำหนดหน ้าทีค ่ วามรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงาน
3 : กำหนดตำแหน่งต่างๆ ตามหน ้าทีค ่ วามรับผิดชอบ
4 : จัดบุคลากรเข ้ารับผิดชอบงานในตำแหน่งต่างๆ

ข ้อที่ 25 : ข ้อใดไม่ใช่หน ้าทีข


่ องผู ้บริหารโครงการ
1 : ประสานงานกับผู ้ทีเ่ กีย
่ วข ้องทุกฝ่ าย
2 : ควบคุมค่าใชจ่้ ายและเวลาในการดำเนินโครงการให ้เป็ นไปตามทีก ่ ำหนด
3 : จัดทำแบบและรายการประกอบแบบตามความต ้องการของเจ ้าของโครงการ
4 : ร่างเอกสารประกวดราคาและเอกสารประกอบสญ ั ญาก่อสร ้าง

่ น ้าทีข
ข ้อที่ 26 : ข ้อใดไม่ใชห ่ องวิศวกรโครงการ
1 : กำหนดแผนการทำงานและควบคุมการทำงานให ้เป็ นไปตามแผนการทำงานทีก ่ ำหนด
2 : ตรวจสอบและประเมินผลการทำงาน
3 : จัดทำรายงานประจำวัน ประจำสป ั ดาห์
4 : ประสานงานระหว่างเจ ้าของโครงการ สถาปนิก/วิศวกรผู ้ออกแบบ และหน่วยงานผู ้รับจ ้างก่อสร ้าง

ข ้อที่ 27 : ข ้อใดไม่ใช่หน ้าทีข


่ องวิศวกรสนาม
1 : ศึกษาแบบก่อสร ้าง สัญญางานก่อสร ้าง และรายการก่อสร ้าง
2 : ศก ึ ษาความคลาดเคลือ ่ นทีย ่ อมให ้ของงานก่อสร ้าง
3 : ควบคุมงานก่อสร ้างให ้เป็ นไปตามแบบ สัญญา รายการก่อสร ้าง
4 : ควบคุมช่างฝี มอ ื และคนงานให ้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ

ิ ใจขัน
ข ้อที่ 28 : ใครเป็ นผู ้ตัดสน ิ้ สุดของโครงการ
้ สุดท ้ายในการกำหนดวันสน
1 : ผู ้รับเหมาก่อสร ้าง
2 : เจ ้าของโครงการ
3 : สถาปนิกหรือวิศวกรผู ้ออกแบบ
4 : ผู ้บริหารโครงการ
ข ้อที่ 29 : ถ ้าพบว่ามีปัญหาการตอกเสาเข็มหนีศน
ู ย์ ใครควรจะเป็ นผู ้ให ้ความเห็นในการแก ้ไขปั ญหานี้
1 : เจ ้าของโครงการ
2 : วิศวกรโครงการ
3 : วิศวกรผู ้ออกแบบ
4 : ผู ้รับเหมาก่อสร ้าง

ข ้อที่ 30 : ข ้อใดมิใชก ่ ารแบ่งประเภทงานก่อสร ้างตามลักษณะของงาน


1 : งานก่อสร ้างทีอ ่ ยูอ่ าศย ั
2 : งานก่อสร ้างทีม ่ ค
ี ณุ ภาพสูงในต ้นทุนต่ำ
3 : งานก่อสร ้างด ้านอุตสาหกรรม
4 : งานก่อสร ้างขนาดใหญ่ หรืองานก่อสร ้างสาธารณูปโภค

ข ้อที่ 31 : ข ้อใดเป็ นลักษณะของงานก่อสร ้างโครงสร ้างพืน ้ ฐานขนาดใหญ่ (Infrastructure Project)


1 : อาจให ้เอกชนทีม ่ ค
ี วามสามารถระดมทุนเป็ นผู ้ลงทุน ในลักษณะการแบ่งผลประโยชน์กบ ั ภาครัฐ
2 : มีการออกแบบโดยสถาปนิกผู ้เชีย ่ วชาญเป็ นแกนนำ เพือ ่ วัตถุประสงค์ทางธุรกิจการค ้าเป็ นหลัก
3 : นิยมจัดจ ้างผู ้รับเหมารายเล็กๆ เข ้ามาทำงานในแต่ละรายการย่อยโดยไม่ต ้องมีผู ้รับเหมาหลัก
4 : ลงทุนโดยเอกชนโดยเลือกดำเนินโครงการในพืน ้ ทีท
่ ม
ี่ คี วามเจริญแล ้วเท่านัน
้ เพือ
่ ความคุ ้มค่าการลงท

ข ้อที่ 32 : ข ้อใดเป็ นการบริหารจัดการโครงการก่อสร ้างทีไ่ ม่เหมาะสม


1 : มีวัตถุประสงค์ทช ี่ ดั เจน
2 : มีกำหนดเวลาเริม ่ ต ้นและสิน้ สุด
3 : มีเป้ าหมายทีช ั เจนในด ้านงบประมาณ กำหนดเวลา และคุณภาพ
่ ด
4 : มีแผนการทำงานทีส ั ซอน
่ ลับซบ ้

ข ้อที่ 33 : การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการก่อสร ้าง ควรตอบสนองความต ้องการของบุคคลกลุม


่ ใดเ
1 : วิศวกรและสถาปนิกผู ้ออกแบบ
2 : ผู ้บริหารโครงการก่อสร ้าง
3 : เจ ้าของโครงการ
4 : เจ ้าหน ้าทีข
่ องรัฐ

่ ลักการทีด
ข ้อที่ 34 : ข ้อใดมิใชห ่ ใี นการเลือกบุคลากรเพือ ่ จัดองค์การโครงการก่อสร ้าง
1 : ต ้องรวมรวมผู ้มีความสามารถทีเ่ หมาะสมมารวมกันทำงานเพือ ่ ให ้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ทตี่ งั ้ ไว ้
2 : บุคลากรทีใ่ ช ้ในองค์การไม่จำเป็ นต ้องใช ้ผู ้เชีย
่ วชาญหรือผู ้มีความชำนาญในสาขานัน ้ ๆ เพราะสามารถ
3 : ทีมบริหารโครงการอาจมาจากบุคลากร หรือผู ้เชีย ่ วชาญภายนอก หรือจากสายงานในองค์กรหลัก
4 : ทีมบริหารโครงการอาจทำงานในลักษณะเต็มเวลาหรือไม่เต็มเวลาก็ได ้

ข ้อที่ 35 : การจัดองค์การบริหารงานก่อสร ้างต ้องจัดให ้หน่วยงานต่างๆ สนองตอบต่อจุดมุง่ หมายหรือวัตถ


1 : วิศวกรโครงการ
2 : วิศวกรคำนวณโครงสร ้าง
3 : หัวหน ้าชา่ ง
4 : คนงาน

่ ระโยชน์ของการจัดองค์การก่อสร ้างทีเ่ หมาะสม


ข ้อที่ 36 : ข ้อใดไม่ใชป
1 : ช่วยให ้ผู ้จัดการก่อสร ้างสามารถวางรูปงานให ้สัมพันธ์และต่อเนือ ่ งกัน
2 : ช่วยให ้การรวบรวมทรัพยากรต่างๆ ทีต ่ ้องใช ้เป็ นไปอย่างมีระเบียบมีเหตุผล
3 : ชว่ ยให ้การดำเนินโครงการมีความประหยัด และเพิม ่ ประสทิ ธิภาพการทำงาน
4 : ช่วยให ้สามารถหาทรัพยากรในการทำงานได ้จำนวนทีม ่ ากขึน

้ กับความเหมาะสม ซงึ่ การจัดองค์การแต่ล


ข ้อที่ 37 : การจัดองค์กรก่อสร ้างสามารถทำได ้หลายรูปแบบขึน
1 : การจัดองค์กรตามหน ้าทีก ่ ารงาน (Functional Organization) จะแบ่งงานโครงการเป็ นส่วนๆ หรือกลุม

2 : การจัดองค์กรแบบโครงการ (Project Organization) จะเน ้นความสำเร็จของโครงการเป็ นหลัก ในกา
3 : การจัดองค์กรแบบประสาน (Matrix Organization) เป็ นการจัดองค์กรในลักษณะการผสมผสานอำนา
4 : การจัดองค์กรแบบประสาน (Matrix Organization) เป็ นการรูปแบบการจัดองค์กรสำหรับบริษัทก่อสร

ข ้อที่ 38 : “ในโครงการก่อสร ้างงานโยธาทั่วไปทีม


่ ป
ี ริมาณงานสูงและจำนวนรายการน ้อย เนือ
้ งานสุดท ้าย
1 : สญ ั ญาแบบ Cost-Plus-Fee
2 : สญ ั ญาแบบราคาต่อหน่วย (Unit Rate)
3 : สญ ั ญาแบบจ ้างเหมา (Lump-Sum Contract)
4 : สัญญาแบบประกันราคาก่อสร ้างสูงสุด (Maximum Price Guarantee)

ข ้อที่ 39 : รูปแบบสัญญาก่อสร ้างแบบจ ้างเหมา (Lump-Sum) เหมาะกับรูปแบบและเงือ ่ นไขใดต่อไปนีม ้


1 : โครงการไม่มก ี ารบริหารทีด
่ เี พียงพอในการทำเอกสาร หรือขอบเขตของงานก่อสร ้างทีจ ่ ะกระตุ ้นให ้ผู ้ร
2 : โครงการต ้องการเร่งงานก่อสร ้าง โดยในชว่ งทีม ่ ก ั ญายังไม่มแ
ี ารทำสญ ี บบก่อสร ้างทีส่ มบูรณ์ มีเพียงข
3 : โครงการทีม ่ ก
ี ารก่อสร ้างตามรูปแบบในแบบก่อสร ้างตามเอกสารสญ ั ญาอย่างเคร่งครัด ไม่มก ี ารแก ้ไขแ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 40 : เอกสารในข ้อใดต่อไปนีไ ื ว่าเป็ นสว่ นหนึง่ ของเอกสารประกอบการทำสญ


้ ม่ถอ ั ญาว่าจ ้างผู ้รับเหม
1 : แบบก่อสร ้าง (Drawings)
2 : ข ้อกำหนดมาตรฐาน (Standard Specifications)
3 : เอกสารเพิม ่ เติม (Addenda)
4 : เอกสารสงั่ งาน (Job Assignment Sheet)

ข ้อที่ 41 : ข ้อใดต่อไปนีม ่ ลักการเขียนรายการก่อสร ้างทีถ


้ ใิ ชห ่ ก
ู ต ้อง
1 : ไม่ควรใช ้ถ ้อยคำทีเ่ น ้นหนักไปทางวิชาการ หรือบรรจุถ ้อยคำทีเ่ ป็ นศัพท์ทางกฎหมายมากนัก แต่จำเป
2 : ควรใชคำที้ ม
่ ค
ี วามหมายกว ้าง ไม่ผก ู มัดจนเกินไปนัก เพือ ่ ให ้มีความยืดหยุน ่ ในการตีความ
3 : ประโยคของรายการก่อสร ้างต ้องสรุปให ้ได ้ความทีก ั
่ ระชบมากทีส ่ ด ี ความหมายแต่อย
ุ แต่ต ้องไม่ให ้เสย
4 : การใช ้คำในรายการก่อสร ้างต ้องกำหนดให ้แน่ชด ั ต ้องหลีกเลีย ่ งคำประเภท “คุณภาพดีทส ี่ ด
ุ ” หรือ “เ

ข ้อที่ 42 : คำกล่าวในข ้อใดถูกต ้อง สำหรับสัญญาก่อสร ้างแบบเหมารวม (lump-sum contract)


1 : ราคาของโครงการ (project price) ตายตัวไม่สามารถเปลีย ่ นแปลงได ้
2 : เป็ นสญั ญาประเภททีเ่ จ ้าของโครงการต ้องแบกรับความเสย ี่ งในการก่อสร ้างน ้อยกว่าผู ้รับเหมา เพราะร
3 : เหมาะกับโครงการทีแ ่ บบก่อสร ้างยังไม่เสร็จสมบูรณ์
4 : เจ ้าของโครงการจะชำระค่าก่อสร ้างแก่ผู ้รับเหมาเมือ่ โครงการเสร็จสนิ้ แล ้วเท่านัน

ข ้อที่ 43 : คำกล่าวในข ้อใด ไม่ถก ู ต ้อง สำหรับสญ


ั ญาก่อสร ้างแบบราคาต่อหน่วย (unit-price contract)
1 : เป็ นสญั ญาก่อสร ้างทีไ่ ม่ทราบมูลค่าสญ ั ญาทีแ่ น่นอนก่อนการก่อสร ้าง
2 : ราคาต่อหน่วยในสญ ั ญาจะทำการตกลงระหว่างการก่อสร ้างตามปริมาณงานทีว่ ัดได ้แท ้จริง
3 : เป็ นสัญญาทีเ่ หมาะกับงานก่อสร ้างทีไ่ ม่ทราบปริมาณงานทีแ
่ น่นอนก่อนการก่อสร ้าง
4 : ผู ้รับเหมาอาจใช ้เทคนิค unbalanced bidding ในการเสนอราคาเพือ ่ เพิม
่ โอกาสในการทำกำไรให ้แก

ข ้อที่ 44 : ข ้อใดไม่ใช่คณ
ุ ลักษณะของสัญญาแบบ cost-plus contract
1 : เป็ นประเภทของสญ ั ญาก่อสร ้างทีใ่ ชโดยทั
้ ่วไปในงานราชการของไทย
2 : เจ ้าของโครงการอาจควบคุมราคาของโครงการโดยใชเทคนิ ้ ค guarantee maximum price (GMP)
3 : ค่าตอบแทน (fee) สำหรับผู ้รับเหมาอาจคำนวณได ้หลายวิธ ี ขึน ้ กับข ้อตกลงระหว่างเจ ้าของโครงการแ
4 : เป็ นสญั ญาก่อสร ้างทีเ่ จ ้าของโครงการต ้องแบกรับความเสยี่ งในการก่อสร ้างสูงกว่าผู ้รับเหมา เพราะไม

ั ญาก่อสร ้างประเภทใดมีลักษณะใกล ้เคียงกับสญ


ข ้อที่ 45 : สญ ั ญาแบบ turnkey มากทีส
่ ด

1 : Fast Track
2 : Phased Construction
3 : Design Build
4 : Cost Plus

ข ้อที่ 46 : โดยทั่วไป สัญญาก่อสร ้างระหว่างเจ ้าของโครงการและผู ้รับเหมาจัดเป็ นสัญญาประเภทใด


1 : สัญญาจ ้างแรงงาน
2 : สัญญาจ ้างทำของ
3 : สัญญาซือ ้ ขาย
4 : สญ ั ญาแลกเปลีย ่ น

ข ้อที่ 47 : ข ้อใดไม่ใชป่ ระโยชน์จากการการดำเนินโครงการก่อสร ้างในรูปแบบกิจการร่วมค ้า


1 : การกระจายความเสย ี่ งของการดำเนินโครงการระหว่างบริษัทในกิจการร่วมค ้า
2 : การแบ่งงานทีม ่ ค
ี วามชด ั เจนมากกว่ารูปแบบธุรกิจแบบผู ้รับเหมารายเดียว
3 : การถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างผู ้เข ้าร่วมในกิจการร่วมค ้า
4 : การบุกเบิกตลาดในต่างประเทศของบรรษั ทข ้ามชาติ

ข ้อที่ 48 : จงเรียงลำดับขัน ้ ตอนในการจัดตัง้ องค์กรธุรกิจก่อสร ้างในสว่ นของงานบุคลากรตามลำดับ จาก


ก. การจัดหาบุคลากรเพือ ่ ทำงานในองค์กร 
ข. การจัดสรรหน ้าทีส ่ ำหรับแต่ละตำแหน่งงาน
ค. การระบุหน ้าทีท ่ งั ้ หมดในองค์กร
ง. การจัดโครงสร ้างองค์กรโดยกำหนดสายการบังคับบัญชาสำหรับตำแหน่งต่าง ๆ

1 : ง.-ข.-ค.-ก.
2 : ง.-ค.-ข -ก.
3 : ค.-ง.-ข.-ก.
4 : ค.-ข.-ง.-ก.

ข ้อที่ 49 : คำกล่าวในข ้อใดไม่ถก ู ต ้อง


1 : การเรียกร ้องสท ิ ธิของผู ้รับเหมาและข ้อพิพาทระหว่างเจ ้าของโครงการกับผู ้รับเหมาถือเป็ นความเส ย ี่ ง
2 : การรับความเสย ี่ งในงานก่อสร ้างของผู ้รับเหมามีผลต่อราคาของโครงการ
3 : เจ ้าของโครงการไม่ควรแบกรับความเสย ี่ งในโครงการก่อสร ้าง เพราะความเสย ี่ งทัง้ หมดอยูภ
่ ายใต ้การ
4 : ประเภทของสญ ั ญาก่อสร ้างมีผลต่อการกระจายความเสย ี่ งระหว่างเจ ้าของโครงการกับผู ้รับเหมาในงา
ข ้อที่ 50 : รูปแบบการบริหารการก่อสร ้างแบบ phased construction มีความเหมาะสมในกรณีใดมากทีส

1 : โครงการขนาดใหญ่
2 : โครงการก่อสร ้างทีม
่ ค ี วามเร่งด่วน
3 : โครงการก่อสร ้างทีม่ รี ะยะเวลาการก่อสร ้างยาวนาน
4 : โครงการขนาดเล็ก

รวมคะแนน 0
ข ้อที่ 51 : Joint Venture ต่างกับ Consortium อย่างไร
1 : J.V. สามารถรวบรวมบริษัททีเ่ กีย่ วข ้องได ้มากกว่า
2 : ความรับผิดชอบในผลงานมีความแตกต่างกัน
3 : J.V. สามารถระดมเงินทุนได ้มากกว่า
4 : Consortium มีระบบการทำงานทีด ่ ก
ี ว่า

ข ้อที่ 52 : ความรับผิดชอบในความ “วินาศ” ทีเ่ กิดขึน ้ กับสิง่ ก่อสร ้างก่อนส่งมอบงาน ในกรณีทผ


ี่ ู ้ว่าจ ้างเป็
1 : ความวินาศในสัมภาระตกกับผู ้ว่าจ ้าง ผู ้รับจ ้างไม่ได ้รับสินจ ้าง
2 : ความวินาศในสัมภาระตกกับผู ้ว่าจ ้าง ผู ้รับจ ้างได ้รับสินจ ้าง
3 : ความวินาศในสม ั ภาระตกกับผู ้รับจ ้าง ผู ้รับจ ้างไม่ได ้รับสนิ จ ้าง
4 : ความวินาศในสัมภาระตกกับผู ้รับจ ้าง ผู ้รับจ ้างได ้รับสินจ ้าง

่ ระโยชน์ของรูปแบบของการดำเนินการก่อสร ้างในรูปแบบห ้างหุ ้นสว่ นจำกัด และบ


ข ้อที่ 53 : ข ้อใดไม่ใชป

1 : ห ้างหุ ้นสวนฯ และบริษัทฯ มีขดี จำกัดในการรับผิดชอบในหนีส ิ ขององค์กรคล ้ายคลึงกัน
้ น
2 : ทัง้ สองรูปแบบ ชว่ ยให ้การระดมทุนทำได ้ดีขน ึ้ กว่ากิจการเจ ้าของคนเดียว
3 : ทัง้ สองรูปแบบได ้ประโยชน์ทางด ้านภาษี เงินได ้ดีกว่าแบบกิจการเจ ้าของคนเดียว
4 : ทัง้ สองรูปแบบมีกฏหมายควบคุมทีด ่ ใี นเรือ
่ งการดำเนินกิจการ

ข ้อที่ 54 : ข ้อใดทีก
่ ฎหมายเรือ
่ งความปลอดภัยในงานก่อสร ้างยังไม่ครอบคลุม
1 : อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคล
2 : ลิฟท์ชวั่ คราว
3 : นั่งร ้าน
4 : การทำงานคอนกรีต

ข ้อที่ 55 : ข ้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการมี Retention


1 : เพือ ่ ป้ องกันไม่ให ้ผู ้รับเหมาได ้กำไรในช่วงต ้นของงานมากเกินไป จนอาจทิง้ งานได ้
2 : เพือ ่ ให ้เจ ้าของงานมีอำนาจต่อรองกับผู ้รับเหมาเพิม ่ ขึน

3 : เพือ ่ ให ้ลดต ้นทุนของเจ ้าของงาน
4 : เพือ ่ เป็ นหลักประกันการปฏิบต ั ติ ามสัญญาทีด
่ ขี น
ึ้

ข ้อที่ 56 : ข ้อใดไม่ใชส ่ งิ่ ทีก ั ญาก่อสร ้าง


่ ำหนดใน General Conditions ในสญ

1 : สทธิของผู ้ว่าจ ้างในการบอกเลิกสญญา ั
2 : ความรับผิดเพือ ่ ชำรุดบกพร่องของผู ้รับจ ้าง
3 : กำหนดระยะเวลาแล ้วเสร็จของโครงการ
4 : หน ้าทีข่ องผู ้รับจ ้างในกรณีใช ้วิธอ ี นุญาโตตุลาการ
ข ้อที่ 57 : ข ้อใดต่อไปนีไ ้ ม่ถก
ู ต ้องเกีย
่ วกับ Substantial Completion
1 : เป็ นจุดเริม่ ต ้นของการโอนภาระในการดูแลงานก่อสร ้างจากผู ้รับจ ้างไปยังผู ้ว่าจ ้าง
2 : เกิดขึน้ ก่อน taking-over โดยผู ้ว่าจ ้าง
3 : แสดงว่างานยังไม่แล ้วเสร็จบริบรู ณ์
4 : แสดงว่าผู ้ว่าจ ้างพร ้อมจะใชงานก่้ อสร ้างนัน
้ ได ้

ั ญาแบบ Unit Price มีความเหมาะสมกว่าสญ


ข ้อที่ 58 : สญ ั ญาแบบ Lump Sum ในโครงการลักษณะใด
1 : ในโครงการทีเ่ จ ้าของต ้องการสร ้างให ้แล ้วเสร็จเร็ว ทัง้ ๆ ทีม
่ ป ั เจน
ี ริมาณงานทีไ่ ม่ช ด
2 : ในโครงการทีเ่ จ ้าของไม่มค ี วามมั่นใจว่าผู ้รับเหมาจะถอดแบบประมาณราคาได ้อย่างถูกต ้อง
3 : ในโครงการทีผ ่ ู ้รับเหมาหลักมีผู ้รับเหมาย่อยหลายราย และต ้องการให ้เจ ้าของได ้ราคาก่อสร ้างทีถ
่ ก
ู ลง
4 : ในโครงการทีผ ่ ู ้รับเหมาหลักมีผู ้รับเหมาย่อยหลายราย และต ้องการให ้ระยะเวลาการก่อสร ้างลดลง

ข ้อที่ 59 : ระบบ Public - Private Partnership หมายถึงข ้อใด


1 : ให ้เจ ้าของจัดซอื้ วัสดุเอง
2 : ให ้เอกชนร่วมลงทุนในโครงการ
3 : ให ้ผู ้บริหารโครงการดำเนินการควบคุมโครงการ
4 : ให ้เอกชนทำงานก่อสร ้างของภาครัฐ

ข ้อที่ 60 : องค์การแบบ Matrix Organization มีความหมายตรงกับข ้อใดมากทีส


่ ด

1 : การผสมกันระหว่าง Weak Matrix และ Balance Matrix
2 : การผสมกันระหว่าง Balance Matrix และ Strong Matrix
3 : การผสมกันระหว่าง Composite Organization และ Project Organization
4 : การผสมกันระหว่าง Functional Organization และ Project Organization

ข ้อที่ 61 : ข ้อใดใกล ้เคียงกับวงจรชวี ต


ิ โครงการก่อสร ้าง (Construction Project Life Cycle)
1 : Plan , Do , Check , Action
2 : Planning , Organizing , Staffing , Controlling
3 : Planning , Executing , Monitoring , Close - out
4 : Planning , Operating , Maintenance , Transferring

ข ้อที่ 62 :

1 : เจ ้าของโครงการ , ผู ้รับเหมา , ผู ้ออกแบบ ผู ้ควบคุมงาน , ตกลงแบบ Design-Build


2 : เจ ้าของโครงการ , ผู ้จัดการก่อสร ้าง , ผู ้ออกแบบ , ทีป ่ รึกษา, ตกลงแบบ Design-Bid-Build
3 : เจ ้าของโครงการ , ผู ้จัดการโครงการ , ผู ้ควบคุมงาน , Quality Surveyor, ตกลงแบบ
4 : เจ ้าของโครงการ , ผู ้จัดการก่อสร ้าง , ผู ้ออกแบบ , ผู ้ควบคุมงาน , ตกลงแบบ Design-Bid-Build

ข ้อที่ 63 : ข ้อใดใกล ้เคียงกับวงจรชวี ต


ิ ของการพัฒนาโครงการก่อสร ้าง (Project Development Life Cy
1 : Need Analysis , Conceptual , Development , Implementation , Operating & Maintenance
2 : Product Definition , Design Development , Growth , Decline
3 : Need Analysis , Conceptual , Detail Design , Planning
4 : Conceptual , Planning , Implementation , Risk Analysis , Operation & Maintenance

ข ้อที่ 64 : ในขัน ้ พยากรสูงสุดและมีความยุง่ ยากสูงสุดของโครงการก่อสร ้าง


้ ตอนใดใชทรั
1 : Conceptual
2 : Planning
3 : Development
4 : Implementation

ข ้อที่ 65 : ในการบริหารโครงการในแต่ละ Phase ของโครงการ คำกล่าวใดถูกต ้อง


1 : การใชทรั ้ พยากรจะสูงสุดในชว่ ง Project Planning เพราะเป็ นชว่ งทีม ี วามสำคัญทีส
่ ค ่ ด
ุ ทีจ ่ ะมีผลกระท
2 : ความสำคัญชว่ ง Project Feasibility Study มีน ้อยทีส ุ เพราะโครงการโดยสว่ นใหญ่สามารถทำให ้ค
่ ด
3 : ในชว่ ง Project Close-out มีความจำเป็ นมาก เพราะเป็ นการทำให ้โครงการสมบูรณ์ทส ุ ต่อการใช ้
ี่ ด
4 : ช่วง Design Development มีความสำคัญต่อการก่อสร ้างเพราะจะต ้องวิเคราะห์ Need Analysis

ข ้อที่ 66 : การ Communication จะเกิดขึน


้ มากทีส
่ ด
ุ ใน Phase ใดของโครงการก่อสร ้าง
1 : Conceptual phase
2 : Construction
3 : Hand-over phase
4 : Design phase

ข ้อที่ 67 : นาย ก. ต ้องการก่อสร ้างโรงงาน จึงไปหานาย ข. ให ้ชว่ ยก่อสร ้างให ้ นาย ข. รับจะดำเนินการก
1 : นาย ก. ตกลงกับนาย ข. ให ้ชว่ ยออกแบบและก่อสร ้าง และตกลงให ้นาย ง. เป็ นทีป ่ รึกษา และจัดหาผ
2 : นาย ก. ตกลงให ้นาย ข. และ นาย ง. แบบ Design-Build
3 : นาย ง. ตรวจสอบความไม่ถก ู ต ้องของแบบก่อสร ้าง จึงแจ ้งให ้นาย ก. ทราบเพือ ่ ให ้นาย ข
4 : นาย ง. สามารถสงั่ ให ้ นาย ค. และทีมได ้ เพือ
่ แก ้ไขออกแบบให ้ตรงตามความต ้องการ ของนาย ก

ข ้อที่ 68 : นาย ก. ต ้องการก่อสร ้างโรงงาน จึงไปหานาย ข. ให ้ชว่ ยก่อสร ้างให ้ นาย ข. รับ จะดำเนินการ
1 : หากการออกแบบมีข ้อผิดพลาด จะเป็ นความบกพร่องของนาย ค. ต่อนาย ก. สำหรับ นาย ข
2 : นาย ง. ทำหน ้าทีเ่ ป็ นตัวแทนเจ ้าของตามทีน่ าย ก. มอบหมายหน ้าทีไ่ ว ้
3 : นาย ง. จะต ้องทำหน ้าทีโ่ ดยซอตรงต่อนาย ก. สว่ นนาย ค. จะต ้องทำหน ้าทีต
่ ื ่ ามทีต
่ กลงกับ นาย ข
4 : นาย ก. จ ้างให ้นาย ข. ทำงานแบบ Design-Build โดยการเสนอราคาแบบ Lump-Sum Contract

ข ้อที่ 69 : โดยทั่วไป ข ้อใดไม่ใช่บทบาทหน ้าทีข ่ องผู ้ออกแบบในโครงการก่อสร ้างประเภทออกแบบ ประ


1 : พัฒนาแบบก่อสร ้าง (drawing) และข ้อกำหนดเชิงเทคนิค (technical specifications)
2 : ให ้ความเห็นและวินจ ิ ฉั ยในกรณีทผ
ี่ ู ้รับจ ้างก่อสร ้างเห็นว่าแบบก่อสร ้างไม่ช ดั เจน
3 : ควบคุมงานก่อสร ้างในฐานะตัวแทนของเจ ้าของโครงการ
4 : แจ ้งต่อเจ ้าของโครงการ ในกรณีทผ ี่ ู ้รับจ ้างก่อสร ้างไม่ดำเนินงานก่อสร ้างให ้เป็ นไปตามแบบก่อสร ้างแ

่ ั ญหาอุปสรรคสำคัญทีม
ข ้อที่ 70 : ข ้อใดไม่ใชป ่ ักพบในโครงการก่อสร ้างประเภทออกแบบ ประกวดราคา
1 : ผู ้ออกแบบและผู ้รับจ ้างก่อสร ้างเป็ นคนกลุม่ เดียวกัน ทำให ้ขาดการตรวจสอบและถ่วงดุลซงึ่ กันและกัน
2 : การดำเนินโครงการมักจะมีปัญหาเรือ ่ งการประสานงานระหว่างผู ้ออกแบบและผู ้รับจ ้างก่อสร ้าง
3 : ในโครงการก่อสร ้างทีม ี วามสลับซับซ ้อน ผู ้รับจ ้างก่อสร ้างอาจไม่สามารถเข ้าใจแบบก่อสร ้างได ้อย่าง
่ ค
4 : การพัฒนาโครงการใช ้เวลายาวนานเพราะการออกแบบและการก่อสร ้างไม่สามารถทำควบคูก ่ น
ั ไปได

ข ้อที่ 71 : โครงการก่อสร ้างประเภทใดเหมาะทีจ ่ ะพัฒนาโดยวิธอ


ี อกแบบและก่อสร ้าง (design and build
1 : โครงการก่อสร ้างบ ้านจัดสรร
2 : โครงการก่อสร ้างโรงกลั่นน้ำมันทีม
่ ค
ี วามสลับซบั ซอน

3 : โครงการก่อสร ้างอาคารสูง
4 : โครงการก่อสร ้างถนน

ข ้อที่ 72 : สำหรับผู ้ว่าจ ้าง ข ้อใดเป็ นความเสยี่ งทีส่ ำคัญในโครงการก่อสร ้างประเภทออกแบบและก่อสร ้าง

1 : การพัฒนาโครงการใชเวลายาวนานเพราะการออกแบบและการก่ อสร ้างไม่สามารถทำควบคูก ่ น
ั ไปได
2 : ในโครงการก่อสร ้างทีม ่ ค ั ซอน
ี วามสลับซบ ้ ผู ้รับจ ้างก่อสร ้างอาจไม่สามารถเข ้าใจแบบก่อสร ้างได ้อย่าง
3 : การประสานงานระหว่างผู ้ออกแบบและผู ้รับจ ้างก่อสร ้าง
4 : ผู ้ออกแบบและผู ้รับจ ้างก่อสร ้างเป็ นคนกลุม ่ เดียวกัน ทำให ้ขาดการตรวจสอบและถ่วงดุลซงึ่ กันและกัน

ข ้อที่ 73 : ข ้อใดไม่ใช่ลักษณะของโครงการก่อสร ้างประเภทออกแบบ ประกวดราคา และก่อสร ้าง


1 : งานออกแบบและงานก่อสร ้างถูกรับผิดชอบโดยผู ้เชีย ่ วชาญในด ้านนัน้ ๆ
2 : มีการตรวจสอบและถ่วงดุลระหว่างผู ้ออกแบบและผู ้รับจ ้างก่อสร ้าง
3 : โครงการก่อสร ้างสามารถดำเนินไปได ้อย่างรวดเร็ว
4 : การประสานงานระหว่างผู ้ออกแบบและผู ้รับจ ้างก่อสร ้างมักมีอป
ุ สรรค

ข ้อที่ 74 : ข ้อใดแสดงประเภทต่าง ๆ ของสญ ั ญาจ ้างก่อสร ้างซงึ่ แบ่งตามวิธก


ี ารจ่ายเงิน
1 : สญ ั ญาแบบผู ้รับจ ้างหลักเจ ้าเดียว (single contract) และสญ ั ญาแบบผู ้รับจ ้างหลักหลายเจ ้า
2 : สญ ั ญาจ ้างหลัก (prime contract) และสญ ั ญาจ ้างชว่ ง (subcontract)
3 : สญ ั ญาแบบราคาเหมารวม (lump-sum) สญ ั ญาแบบราคาต่อหน่วย (unit-price) และสญ ั ญาแบบต ้นท
4 : สญ ั ญาแบบประกวดราคา (competitively bid contract) และสญ ั ญาแบบเจรจาต่อรอง

ข ้อที่ 75 : ข ้อใดแสดงประเภทต่าง ๆ ของสญ ั ญาจ ้างก่อสร ้างซงึ่ แบ่งตามบุคคลทีเ่ ป็ นคูส ั ญา


่ ญ
1 : สญ ั ญาแบบผู ้รับจ ้างหลักเจ ้าเดียว (single contract) และสญ ั ญาแบบผู ้รับจ ้างหลักหลายเจ ้า
2 : สญ ั ญาจ ้างหลัก (prime contract) และสญ ั ญาจ ้างชว่ ง (subcontract)
3 : สัญญาแบบราคาเหมารวม (lump-sum) สัญญาแบบราคาต่อหน่วย (unit-price) และสัญญาแบบต ้นท
4 : สญ ั ญาแบบประกวดราคา (competitively bid contract) และสญ ั ญาแบบเจรจาต่อรอง

ข ้อที่ 76 : ข ้อใดแสดงประเภทต่าง ๆ ของสัญญาจ ้างก่อสร ้างซึง่ แบ่งโดยจำนวนของผู ้รับจ ้างทีผ ่ ู ้ว่าจ ้างท
1 : สญ ั ญาแบบผู ้รับจ ้างหลักเจ ้าเดียว (single contract) และสญ
ั ญาแบบผู ้รับจ ้างหลักหลายเจ ้า
2 : สัญญาจ ้างหลัก (prime contract) และสัญญาจ ้างช่วง (subcontract)
3 : สัญญาแบบราคาเหมารวม (lump-sum) สัญญาแบบราคาต่อหน่วย (unit-price) และสัญญาแบบต ้นท
4 : สญ ั ญาแบบประกวดราคา (competitively bid contract) และสญ ั ญาแบบเจรจาต่อรอง

ข ้อที่ 77 : ข ้อใดแสดงประเภทต่าง ๆ ของสญ ั ญาจ ้างก่อสร ้างซงึ่ แบ่งโดยวิธจ


ี ัดหาผู ้รับจ ้างก่อสร ้าง
1 : สญ ั ญาแบบผู ้รับจ ้างหลักเจ ้าเดียว (single contract) และสญ ั ญาแบบผู ้รับจ ้างหลักหลายเจ ้า
2 : สญ ั ญาจ ้างหลัก (prime contract) และสญ ั ญาจ ้างชว่ ง (subcontract)
3 :สญั ญาแบบราคาเหมารวม (lump-sum) สญ ั ญาแบบราคาต่อหน่วย (unit-price) และสญ ั ญาแบบต ้นท
4 : สญ ั ญาแบบประกวดราคา (competitively bid contract) และสญ ั ญาแบบเจรจาต่อรอง
ข ้อที่ 78 : ข ้อใดต่อไปนีไ ้ ม่ถกู ต ้องสำหรับสญ ั ญาแบบราคาเหมารวม (lump-sum)
1 : เหมาะสำหรับโครงการทีแ ่ บบก่อสร ้างเสร็จสมบูรณ์แล ้ว
2 : เจ ้าของโครงการสามารถกำหนดงบประมาณก่อสร ้างได ้ค่อนข ้างแน่นอน
3 : ผู ้รับจ ้างก่อสร ้างแบกรับความเสย ี่ งในด ้านราคาของโครงการ
4 : สามารถปรับเปลีย ่ นมูลค่าของโครงการตามปริมาณงานแท ้จริงทีผ ่ ู ้รับจ ้างต ้องทำ

ข ้อที่ 79 : งานก่อสร ้างใดต่อไปนีไ ้ ม่เหมาะทีจ ่ ะใชส้ ญ


ั ญาแบบราคาเหมารวม (lump-sum)
1 : งานก่อสร ้างอาคารสูงทีแ ่ บบก่อสร ้างเสร็จสมบูรณ์แล ้ว
2 : งานก่อสร ้างอุโมงค์ในชน ั ้ ดินชนิดเดียว
3 : โครงการก่อสร ้างโรงกลั่นน้ำมัน
4 : งานขุดและถมดินทีส ่ ภาพใต ้ดินทีแ ั
่ ท ้จริงยังไม่ทราบแน่ชด

ข ้อที่ 80 : ข ้อใดไม่ถก ู ต ้องสำหรับสญั ญาแบบราคาต่อหน่วย (unit-price)


1 : ผู ้ว่าจ ้างจะยังไม่ทราบมูลค่าโครงการทีแ ่ ท ้จริงเมือ
่ ว่าจ ้างผู ้รับจ ้าง
2 : เหมาะสำหรับโครงการซึง่ แบบก่อสร ้างเสร็จสมบูรณ์แล ้ว
3 : ปริมาณงานซึง่ ใช ้ในการเสนอราคาแต่ละรายการจะถูกกำหนดโดยผู ้รับจ ้างเอง
4 : เหมาะสำหรับงานก่อสร ้างทีป ่ ริมาณงานยังไม่ทราบแน่ชด ั เมือ่ คัดเลือกผู ้รับจ ้าง

ข ้อที่ 81 : สำหรับสญ ั ญาราคาต่อหน่วย (unit-price) ในโครงการก่อสร ้างภาครัฐ ราคาต่อหน่วยสามารถ


1 : สภาพการทำงานจริงยากหรือง่ายกว่าทีค ่ าดการณ์ไว ้
2 : ผู ้รับจ ้างก่อสร ้างทำงานเสร็จเร็วกว่าระยะเวลาทีร่ ะบุไว ้ในสญ ั ญา
3 : ปริมาณงานจริงทีผ ่ ู ้รับจ ้างต ้องทำมากหรือน ้อยกว่าปริมาณงานทีก ั ญามาก ๆ
่ ำหนดไว ้ในสญ
4 : งบประมาณของหน่วยงานรัฐดังกล่าวไม่เพียงพอ

ข ้อที่ 82 : สญ ั ญาก่อสร ้างประเภทใดเป็ นสญั ญาทีผ


่ ู ้ว่าจ ้างจะต ้องชำระค่าใชจ่้ ายต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน
้ จริงในโค
1 : สญ ั ญาแบบราคาต่อหน่วย (unit-price)
2 : สญ ั ญาแบบต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ (cost-plus-fee)
3 : สญ ั ญาแบบราคาเหมารวม (lump-sum)
4 : สญ ั ญาแบบจ ้างเหมาเบ็ดเสร็จ (turnkey)

ั ญาก่อสร ้างทีม
ข ้อที่ 83 : ข ้อใดเรียงลำดับสญ ่ ก ี่ ง (risk allocation) แก่ผู ้รับเหมาก่อสร
ี ารจัดสรรความเสย
1 : สัญญาราคาเหมารวม สัญญาราคาต่อหน่วย สัญญาต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ
2 : สัญญาราคาต่อหน่วย สัญญาราคาเหมารวม สัญญาต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ
3 : สญ ั ญาต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ สญั ญาราคาต่อหน่วย สญ ั ญาราคาเหมารวม
4 : สัญญาราคาต่อหน่วย สัญญาต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ สัญญาราคาเหมารวม

ข ้อที่ 84 : ข ้อใดเรียงลำดับสญ ั ญาก่อสร ้างทีม


่ ก
ี ารจัดสรรความเสย ี่ ง (risk allocation) แก่เจ ้าของโครงกา
1 : สญ ั ญาราคาเหมารวม สญ ั ญาราคาต่อหน่วย สญ ั ญาต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ
2 : สญ ั ญาราคาต่อหน่วย สญ ั ญาราคาเหมารวม สญ ั ญาต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ
3 : สญ ั ญาต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ สญ ั ญาราคาต่อหน่วย สญ ั ญาราคาเหมารวม
4 : สญ ั ญาราคาต่อหน่วย สญั ญาต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ สญ ั ญาราคาเหมารวม
ข ้อที่ 85 : สัญญาจ ้างก่อสร ้างประเภทใดสามารถจัดหาผู ้รับจ ้างก่อสร ้างโดยวิธเี จรจาต่อรองได ้
1 : สัญญาราคาเหมารวม
2 : สญ ั ญาราคาต่อหน่วย
3 : สัญญาต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 86 : สัญญาจ ้างก่อสร ้างประเภทใด ไม่สามารถจัดหาผู ้รับจ ้างก่อสร ้างโดยวิธป


ี ระกวดราคาแข่งขันได
1 : สญ ั ญาราคาเหมารวม
2 : สญ ั ญาราคาต่อหน่วย
3 : สญ ั ญาต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ
4 : สญ ั ญาจ ้างเหมาเบ็ดเสร็จ

ข ้อที่ 87 : โดยทั่วไป ความเสย ี่ งใดมีความสำคัญมากทีส


่ ด ั ญาจ ้างก
ุ ในการพิจารณาเลือกประเภทของสญ
1 : ความเสย ี่ งในด ้านการเงิน
2 : ความเสย ี่ งในด ้านคุณภาพงาน
3 : ความเสีย ่ งในด ้านความปลอดภัยในการทำงาน
4 : ความเสีย ่ งในด ้านความล่าช ้าในการทำงาน

่ งทีส
ข ้อที่ 88 : ข ้อใดเป็ นความเสีย ่ ำคัญสำหรับผู ้ว่าจ ้างในการเลือกใช ้สัญญาประเภทผู ้รับจ ้างหลักหลายเ
1 : คุณภาพงาน
2 : การประสานงานระหว่างผู ้รับจ ้างหลัก
3 : ต ้นทุนโครงการ
4 : ระยะเวลาของโครงการ 

ข ้อที่ 89 : ข ้อความใดถูกต ้องเกีย


่ วกับการจัดองค์กรในงานก่อสร ้าง
1 : ควรมุง่ เน ้นการจัดองค์กรในแนวดิง่ เพราะ จะได ้มีการตรวจสอบความถูกต ้องและเหมาะสมในเรือ
่ งต่าง

2 : การจัดองค์กรแบบ matrix เหมาะสมส หรับองค์กรก่อสร ้างทุกขนาด
3 : การมุง่ เน ้นการบริหารงานในระดับโครงการจะทำให ้การบริหารในระดับองค์กรประสบความสำเร็จในทีส ่
4 : การจัดสรรความรับผิดชอบ (responsibility) ในแต่ละงาน จะต ้องไปพร ้อมกับอำนาจในการดำเนินงาน

้ หาวิชา : 582 : Critical path method (CPM)


เนือ


ข ้อที่ 90 : การจัดทำแผนงานทีใ่ ชเวลาของกิ
จกรรมทีก
่ ำหนดเอาไว ้และการทำกิจกรรมก่อนหลัง เป็ นหลัก
1 : Critical Path Method
2 : PERT – Program Evaluation and Review Techniques
3 : Line of Balance
4 : Resource Allocation


ข ้อที่ 91 : การจัดทำแผนงานทีใ่ ชเวลาของกิ
จกรรมทีก
่ ำหนดเอาไว ้แบบไม่แน่นอนและการทำกิจกรรมก่อ
1 : Critical Path Method
2 : PERT – Program Evaluation and Review Techniques
3 : Line of Balance
4 : Resource Allocation
ข ้อที่ 92 : การจัดทำแผนงานทีใ่ ช ้ทรัพยากรของแต่ละชนิด เป็ นหลักในการกำหนดการทำงานต่อเนือ
่ งขอ
1 : Critical Path Method
2 : PERT – Program Evaluation and Review Techniques
3 : Line of Balance
4 : Resource Allocation

ข ้อที่ 93 : จากแผนงานข ้างต ้น หากเริม ่ งาน 15 มีนาคม 2556 โดยทำงาน 5 วันต่อสัปดาห์ หยุดเสาร์และ
1 : โครงการสน ิ้ สุดวันที่ 5 เมษายน 2556 กิจกรรม F เริม ่ วันที่ 22 มีนาคม 2556
้ ้ ิ ้ ิ
2 : โครงการใชเวลาทัง้ สน 24 วัน โครงการสนสุดวันที่ 4 เมษายน 2556
3 : โครงการใชเวลาทั ้ ง้ สน ิ้ 16 วัน โครงการสน ิ้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2556
4 : โครงการสน ิ้ สุดวันที่ 5 เมษายน 2556 กิจกรรม F เริม ่ วันที่ 25 มีนาคม 2556

ข ้อที่ 94 : จากแผนงานข ้างต ้น หากเริม ่ งาน 15 มีนาคม 2556 โดยทำงาน 5 วันต่อสป ั ดาห์ หยุดเสาร์และ
1 : โครงการวิกฤตมีทก ุ วันตัง้ แต่วันที่ 15 มีนาคม 2556 ถึง 4 เมษายน 2556
2 : ถ ้าจะให ้ระยะเวลาของโครงการน ้อยลง คือ เสร็จสน ิ้ เร็วขึน
้ จะต ้องทำงานเสารอาทิตย์ด ้วย จะทำให ้งา
3 : กิจกรรม E จะเสร็จในวันที่ 22 มีนาคม 2556 และเริม ่ กิจกรรม F ในวันที่ 23 มีนาคม
4 : กิจกรรม E จะเสร็จในวันที่ 20 มีนาคม 2556 และกิจกรรม F จะเริม ่ ในวันที่ 21 มีนาคม

ข ้อที่ 95 : จากแผนงานข ้างต ้น หากเริม


่ งาน 15 มีนาคม 2556 โดยทำงาน 5 วันต่อสัปดาห์ หยุดเสาร์และ
1 : กิจกรรม E จะเสร็จในวันที่ 20 มีนาคม 2556 และกิจกรรม F ทีเ่ ป็ นกิจกรรมต่อเนือ
่ งจะเริม
่ ในวันที่
2 : โครงการมีสายวิกฤตสายเดียวคือ A, B, H, I
3 : กิจกรรม G มีระยะเวลา Free Float ในวันที่ 28 มีนาคม 2556 ถึง 4 เมษายน 2556
4 : กิจกรรม D มีระยะเวลา Free Float ในวันที่ 21 และ 22 มีนาคม 2556

ข ้อที่ 96 : จากแผนงานข ้างต ้น หากเริม ั ดาห์ หยุดเสาร์และ


่ งาน 15 มีนาคม 2556 โดยทำงาน 5 วันต่อสป
1 : ในวันที่ 16 มีนาคม 2556 จะมีการทำงาน B, C และ D
2 : ในวันที่ 21 มีนาคม 2556 จะมีการทำงาน B, C และ D
3 : ในวันที่ 22 มีนาคม 2556 จะมีการทำงาน E, B และ G
4 : ในวันที่ 3 เมษายน 2556 อาจจะมีการทำงานของ H, G, E, B ถ ้าโครงการไม่ลา่ ชา้

ข ้อที่ 97 : ข ้อใดกล่าวถูกต ้อง


1 : การวางแผนงานควรใชทั ้ ง้ CPM (Critical Path Method) ร่วมกันกับ Bar Chart เพือ ื่ สาร
่ ทำให ้การสอ

2 : การวางแผนโครงการขนาดใหญ่ Bar Chart มีความไม่เหมาะสม ควรใช PERT เพราะทำได ้ง่ายกว่า ม
3 : การวางแผนโครงการขนาดเล็กควรใช ้ Bar Chart ร่วมกับ Line of Balance เพราะ Line of Balance
4 : โครงการทางด่วนหรือการทำงานเป็ นแนวราบควรใช ้ CPM (Critical Path Method) ไม่ควรใช ้

ข ้อที่ 98 : จากแผนภูม ิ Bar Chart ข ้างต ้น หากกิจกรรม C มีความล่าช ้าจะมีผลกระทบต่อกิจกรรมอะไรบา


1 : D, E, F และ G
2 : ไม่กระทบกิจกรรมใดเป็ นเวลา 1 วัน
3 : ไม่กระทบกิจกรรมใดๆ เลย
4 : ไม่สามารถบอกได ้แน่ชดั

ข ้อที่ 99 : จากแผนภูม ิ Bar Chart ข ้างต ้น กิจกรรม A, D และ E มี Total Float กีว่ ัน

1 : TFA = 1, TFD = 1, TFE = 0


2 : TFA = 11, TFD = 11, TFE = 3
3 : TFA = 4, TFD = 4, TFE = 3
4 : อาจจะเป็ นไปได ้ทุกข ้อ

ข ้อที่ 100 : จากแผนภูม ิ Bar Chart ข ้างต ้น กิจกรรมใดเป็ น Critical Path

1 : B, D, E, F
2 : A, D, E, F
3 : อาจจะไม่ใชท่ งั ้ 1&2
4 : ทุกกิจกรรมเป็ น Critical Path

รวมคะแนน 0
ข ้อที่ 101 : จากแผนภูม ิ Bar Chart ข ้างต ้น ข ้อใดถูกต ้องมากทีส
่ ด

1 : กิจกรรม D ใช ้เวลา 3 วัน ทำต่อกิจกรรม B และทำให ้เสร็จก่อนกิจกรรม E



2 : โครงการใชเวลา 13 วัน ในวันที่ 2 จะเป็ นวันทีห
่ น่วยงานก่อสร ้างจะมีการทำกิจกรรมมากทีส
่ ด

3 : กิจกรรม G น่าจะเป็ น Critical Activity และไม่สามารถเลือ ่ นได ้
่ พร ้อมกันในวันที่ 2 และล่าช ้าไม่ได ้ จะมีผลกระทบต่อกิจกรรมต่อมา
4 : กิจกรรม B และ C เริม

ข ้อที่ 102 : สามารถแสดงเป็ น Bar chart ได ้ดังในรูปใด

1:

2:

3:

4:

ข ้อที่ 103 : จากแผนภูมน


ิ เี้ ทียบกับ Procedure Diagram ในข ้อใด
1:

2:

3:

4:

้ หาวิชา : 584 : Construction safety, Quality systems


เนือ

ข ้อที่ 104 : การทดสอบใดทีเ่ กีย


่ วข ้องกับการก่อสร ้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กมากทีส
่ ด

1 : Core Test, การทดสอบกำลังลูกปูนคอนกรีต, CBR
2 : การทดสอบกำลังลูกปูนคอนกรีต, การทดสอบกำลังการรับแรงดึงของโครงสร ้าง
3 : CBR การทดสอบกำลังการรับแรงดึงของเหล็กเสริม, Optimum Moisture Content
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 105 : ข ้อใดเป็ นการปฏิบต ั ท


ิ ถ
ี่ ก
ู ต ้องในการควบคุมคุณภาพของงานก่อสร ้าง

1 : การเก็บตัวอย่างลูกปูนใชทดสอบเมื อ่ การเทคอนกรีตคานและพืน
้ ในขณะฝนตกหนัก
2 : การตอกเสาเข็มเพิม ่ เติมเมือ
่ ไม่ต ้องการ Blow Count ในการตอกเสาเข็มคอนกรีต
3 : ไม่ถก ู ทัง้ ข ้อ 1&2
4 : ถูกทัง้ ข ้อ 1&2
ข ้อที่ 106 : ข ้อใดกล่าวถูกต ้อง
1 : วิศวกรทีล ่ งนามเป็ นผู ้ควบคุมงานประจำงานก่อสร ้าง ไม่จำเป็ นต ้องอยูค ่ วบคุมงานในขณะการดำเนินงา
2 : การควบคุมงานก่อสร ้างทีด ่ ี ต ้องมีระบบการตรวจสอบทุกขัน ้ ตอนอย่างละเอียดตัง้ แต่กอ
่ นก่อสร ้าง ระห
3 : คุณภาพการก่อสร ้างไม่ได ้เกิดจากวัสดุทม ี่ รี าคาแพง ค่าแรงราคาถูก ความสามารถของผู ้รับเหมา แต่เ
4 : การควบคุมงานก่อสร ้างทีด ่ ค
ี วรมีการวางแผน การกำหนดเกณฑ์วธิ ก ี ารตรวจสอบมาตรฐานการวัด จะท

ข ้อที่ 107 : ข ้อใดคือคุณภาพทีด ่ ข


ี องงานก่อสร ้าง
1 : คอนกรีตทีเ่ ทพืน ้ ชนั ้ 3 ได ้กำลังสูงกว่าทีก่ ำหนดโดยผู ้ออกแบบ
2 : กระเบือ้ งห ้องน้ำมีรอยต่อทีส ่ ม่ำเสมอ ราบเรียบ และได ้ระดับความลาดเอียง
3 : การก่อสร ้างตรงตามกำหนดเวลาและอยูใ่ นราคาทีก ่ ำหนด
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 108 : ข ้อใดกล่าวไม่ถก ู ต ้องในเรือ


่ งคุณภาพ
1 : ถ ้ามีข ้อขัดแย ้งในเรือ
่ งคุณภาพของการก่อสร ้างทีเ่ กิดจากความแตกต่างทีร่ ะบุในแบบก่อสร ้างและรายก
2 : ถ ้าผู ้ควบคุมงานคิดว่าผู ้ออกแบบ ออกแบบไว ้ค่อนข ้างเกินความจำเป็ น วิศวกรผู ้ควบคุมงานสามารถลด
3 : การทีบ ่ อกว่าคุณภาพคือความพึงพอใจของลูกค ้า ดังนัน ้ หากลูกค ้าขอให ้ลดการใส่เหล็กเสริมลง
4 : มีข ้อถูกมากกว่า 1 ข ้อ

่ งการสง่ ขออนุมัต ิ Submittle หรือ Shop Drawings


ข ้อที่ 109 : ข ้อใดกล่าวถูกต ้องในเรือ
1 : Approved คือการยอมรับในสิง่ ทีเ่ สนอโดยไม่มก ี ารแก ้ไข แต่ต ้องส่งต ้นฉบับมาไว ้เป็ นหลักฐาน
2 : Approved as noted คือ การยอมรับโดยให ้แก ้ไขตามทีร่ ะบุแล ้วนำมาสง่ ขออนุมัตใิ หม่
3 : Resubmit คือการไม่ยอมรับสงิ่ ทีน ่ ำเสนอ ให ้นำเสนอใหม่
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 110 : การขออนุมัตวิ ัสดุ Shop Drawings ต่างๆ ของผู ้รับเหมาต่อผู ้ควบคุมงาน มีประโยชน์อย่างไ
1 : ทำให ้ผู ้รับเหมาได ้เตรียมงานตัง้ แต่เริม
่ ต ้น จะได ้ไม่พบปั ญหาในภายหลัง
2 : เพือ ่ ตรวจสอบความถูกต ้องก่อนผู ้รับเหมาจะเริม ่ ดำเนินการทำงาน
3 : เพือ ้ นแนวทางในการตรวจสอบงาน เมือ
่ ใชเป็ ่ ผู ้รับเหมาดำเนินการ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 111 : ข ้อใดเป็ นเรือ


่ งอันตรายในงานก่อสร ้าง
1 : เมือ่ มีการตอกเสาเข็มในฐานรากทีม ่ ี 4 เสาเข็ม และพบว่าเสาเข็ม 1 ต ้นหักระหว่างการดำเนินการตอก
2 : ขณะดำเนินการปูกระเบือ ้ งพืน
้ ห ้องน้ำพบว่านำกระเบือ้ งผนังทีม
่ ค
ี วามลืน
่ มากกว่ามาปูพน
ื้ ห ้องน้ำ
3 : คนงานก่อสร ้างสวมหมวก Hard hat ให ้กับลูกวัย 10 ขวบทุกครัง้ ทีเ่ อาข ้าวกลางวันมาให ้ทีห ่ น่วยงานก
4 : การเทคอนกรีตเสาอาคารโรงงานแห่งหนึง่ มีฝนตกหนักระหว่างการเทคอนกรีต

ข ้อที่ 112 : ข ้อใดต่อไปนีถ


้ ก
ู ต ้อง

1 : As built drawings เป็ นแบบทีใ่ ชประกอบลงนามข ้อตกลงการทำสญ ั ญาระหว่างเจ ้าของงานกับผู ้รับเห
2 : Shop drawings เป็ นแบบทีใ่ ชก่้ อสร ้างจริง ทำเมือ ้
่ โครงการแล ้วเสร็จ สามารถนำไปใชในการดู แลอาค
3 : Construction drawings เป็ นแบบทีไ่ ด ้จากการออกแบบโดยสถาปนิคและวิศวกร ซงึ่ สามารถนำมาเป
4 : ในการก่อสร ้างให ้มีประสท ิ ธิภาพ ลดปั ญหาเรือ
่ งคุณภาพและสามารถทำงานได ้ตรงตามแผนงาน ผู ้รับ
ข ้อที่ 113 : ข ้อใดเกีย
่ วข ้องกับการจัดการด ้านคุณภาพ
1 : ACI
2 : ASTM
3 : ISO
4 : OSHA

ข ้อที่ 114 : ฝ่ ายใดเกีย


่ วข ้องกับการตรวจสอบคุณภาพงานก่อสร ้าง
1 : ผู ้ออกแบบ
2 : ผู ้รับเหมา
3 : ทีป ่ รึกษาโครงการ (Consultant)
4 : เจ ้าของโครงการ

ข ้อที่ 115 : ข ้อใดไม่ถก ู ต ้องเกีย่ วกับการตรวจสอบคุณภาพงานก่อสร ้าง


1 : สำหรับงานผนังก่ออิฐฉาบปูน ไม่ควรตรวจสอบแนวของผนังก่ออิฐก่อนงานฉาบผนัง เพราะจะทำให ้เส
2 : ควรรีปิดฝ้ าบริเวณใต ้ห ้องน้ำให ้เร็วทีส ่ ด
ุ โดยสามารถตรวจสอบรอยรั่วของท่อเหนือฝ้ าภายหลังได ้
3 : ถ ้าใช ้ช่างปูกระเบือ
้ งทีม ่ ม
ี อ
ื ดี ไม่จำเป็ นต ้องตรวจสอบความลาดเอียงของระดับการปูกระเบือ
้ งห ้องน้ำ เ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 116 : การตรวจสอบคุณภาพใดทีย


่ ากในการกำหนดมาตรฐาน
1 : ความเอียงของผนังคอนกรีต
2 : แรงดึงของเหล็กเสริมคอนกรีต
3 : การรับน้ำหนักประลัยของคอนกรีต
4 : ความสวยงามของรอยต่อ

ข ้อที่ 117 : วิธก


ี ารใดเป็ นการควบคุมคุณภาพของงานก่อสร ้างในทางปฏิบต
ั ท
ิ ท
ี่ ำได ้ยาก

1 : การกำหนดคุณสมบัตวิ ัสดุทใี่ ชในงานก่ อสร ้าง
2 : การกำหนดคุณภาพของฝี มอ ื ชา่ ง
3 : การตรวจสอบคุณภาพงานก่อสร ้าง
4 : การทดสอบคุณสมบัตข ิ องวัสดุจากหน่อยทดสอบ

ข ้อที่ 118 : ผลการทดสอบกำลังอัดของคอนกรีตพืน้ ทีง่ านก่อสร ้างแห่งหนึง่ มีคา่ กำลังอัดประลัยของคอน


ค่ากำลังอัดคอนกรีตทีใ่ ช ้ 28 วัน ผลกำลังอัดประลัยของตอนกรีต
ที2
่ 8 วัน
S1 S2 S3
300 KSC 280 300 320

หากท่านเป็ นวิศวกร ข ้อใดต่อไปนีค


้ วรปฏิบต
ั ิ

1 : ให ้ผ่านโดยหาค่าเฉลีย
่ ของผลการทดสอบ
2 : ให ้ผ่านโดยหาค่าเฉลีย่ ของผลการทดสอบ
3 : ต ้องทำการทุบและทำลายเพือ ่ เทคอนกรีตใหม่
4 : ผลการพิจารณาขึน ้ อยูก ่ บ
ั วิจารณญาณของผู ้ควบคุมงาน

ข ้อที่ 119 : ข ้อใดไม่ถก


ู ต ้อง
1 : เรือ่ งคุณภาพมีความสำคัญมากทีส
่ ด
ุ สำหรับวิศวกร
2 : การควบคุมคุณภาพจะต ้องเริม
่ ต ้นจากการมีทัศนคติทด
ี่ ต
ี อ
่ ความสำคัญของคุณภาพ
3 : ระหว่าง เวลา คุณภาพ และต ้นทุน ต ้นทุนจะมีความสำคัญเป็ นอันดับแรก
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 120 : ข ้อใดไม่ถกู ต ้อง


1 : การตรวจสอบคุณภาพงานเป็ นหน ้าทีข ่ อง Foreman สำหรับวิศวกรนัน ้ จะต ้องบริหารจัดการในภาพรวม
2 : การตรวจสอบคุณภาพเป็ นค่าใช ้จ่ายทีจ ่ ะช่วยลดค่าใช ้จ่ายทีไ่ ม่จำเป็ นทีอ
่ ำเป็ นทีจ ่ าจเกิดจากงานทีผ ่ ด

3 : ความรับผิดชอบเรือ ่ งคุณภาพเป็ นของผู ้รับเหมาหลัก วิศวกรผู ้ควบคุมงานเป็ นผู ้ตรวจสอบเบือ ้ งต ้นเท่า
4 : มีข ้อไม่ถก
ู ต ้องมากกว่า 1 ข ้อ

ข ้อที่ 121 : การตรวจสอบคุณภาพในงานก่อสร ้างมีสว่ นเกีย


่ วข ้องกับผู ้ใดบ ้าง
1 : Foreman, Owner, Main contractor, Draftman
2 : Subcontractor, Engineer, Main contractor
3 : Engineer, Labor, หัวหน ้าชา่ ง
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 122 : สาเหตุของคุณภาพงานทีไ่ ม่ด ี เกิดจาก


1 : ผู ้รับเหมาย่อยไม่ตรวจสอบของคนงาน
2 : ผู ้รับเหมาหลักไม่ตรวจสอบของผู ้รับเหมาย่อย
3 : ผู ้ควบคุมงานไม่ตรวจสอบของผู ้รับเหมาหลัก
4 : ทุกคนไม่ตรวจสอบให ้ถูกต ้องก่อนสง่ งานให ้ผู ้อืน

ข ้อที่ 123 : ความปลอดภัยในการก่อสร ้างเกิดจากผู ้ใดบ ้าง


1 : Owner
2 : Project Manager
3 : Safety Engineer
4 : ทุกคนทีอ ่ ยูใ่ นหน่วยงานก่อสร ้าง

ข ้อที่ 124 : ผลกระทบต่อ Safet


1 : ทำให ้จ่ายเพิม ่ ขึน

2 : ทำให ้เสย ี ขวัญและกำลังใจของผู ้ปฏิบต
ั งิ าน
3 : ทำให ้เสย ี เวลา
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 125 : การต่อทาบเหล็กคานในทางปฏิบต


ั ส
ิ ามารถทำได ้ดังนี้
ก. การต่อทาบเหล็กบนทีก ่ ลางคาน
ข. การต่อทาบเหล็กล่างทีก ่ ลางคาน
ค. การต่อเหล็กที่ couple ทีบ่ ริเวณใดๆ

1 : กข
2 : ข
3 : ก
4 : ค
ข ้อที่ 126 : เมือ
่ ท่านเป็ นผู ้ควบคุมงาน ข ้อใด ไม่ถก
ู ต ้อง เมือ
่ พบว่าคุณภาพของงานไม่ผา่ นตามเกณฑ์ทก
ี่
1 : ปรับลดเกณฑ์เพือ ่ ให ้เป็ นไปตามข ้อกำหนด
2 : แก ้ไขแต่ไม่จำเป็ นต ้องผ่านเกณฑ์ทก ี่ ำหนด
3 : แก ้ไขงานให ้ผ่านเกณฑ์ทก ี่ ำหนดอย่างเคร่งครัด
4 : ไม่จำเป็ นต ้องแก ้ไขงานดังกล่าว แต่จะต ้องแก ้ไขในครัง้ ถัดไป

้ ม่ใช่เป้ าหมายหลักของการใช ้ระบบความปลอดภัยในงานก่อสร ้าง


ข ้อที่ 127 : ข ้อใดต่อไปนีไ
1 : ชว่ ยวิเคราะห์หาเหตุการณ์เสย ี่ งทีก
่ อ
่ ให ้เกิดอันตราย
2 : สนับสนุนการเพิม ่ ความรู ้ด ้านความปลอดภัยให ้กับผู ้ปฏิบต
ั งิ าน
3 : สร ้างความตระหนักในการทำงานให ้เกิดความปลอดภัย
4 : ชว่ ยทำให ้โครงการมีคณ ุ ภาพ

ข ้อที่ 128 : จงหาแรง T ทีร่ ับน้ำหนัก w=1200 kg โดยน้ำหนัก Platform มีคา่ 50 kg

1 : 1,767.5 N
2 : 883.75 N
3 : 17,675 N
4 : 8,837.5 N

ื กต ้องสามารถรับน้ำหนักประมาณเท่าไร ห
ข ้อที่ 129 :ลอดยกน้ำหนักวัสดุ 20T จงหาแรงดึง (P) และเชอ

1 : P=350N, ื กรับน้ำหนัก
เชอ 350N
2 : P=100N, เชอื กรับน้ำหนัก 150N
3 : P=200N, เชอ ื กรับน้ำหนัก 200N
4 : P=200N, เชอ ื กรับน้ำหนัก 350N

ข ้อที่ 130 : ข ้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นเหตุการณ์เสยี่ ง (Risk event) ของงานติดตัง้ นั่งร ้าน


1 : การทรุดตัวของพืน ้ ดินทีฐ่ านรองรับนั่งร ้าน
2 : การใช ้ท่อเหล็กเสริมเพือ
่ ยึดนั่งร ้าน
3 : การติดแผงป้ องกันฝุ่ นรอบอาคาร
4 : การตรวจสอบและขนย ้ายนั่งร ้าน

ี่ งทีก
ข ้อที่ 131 : ข ้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นเหตุการณ์เสย ่ อ
่ ให ้เกิดอุบต
ั เิ หตุ
1 : การสวมหมวกนิรภัยขณะทำงานกลางแจ ้งในขณะทีฝ ่ นตก
2 : การไม่สวมแว่นตาขณะเชือ ่ มเหล็ก
3 : การไม่ใสเ่ ครือ่ งครอบหูเมือ ่ ทำงานตอกเสาเข็ม
4 : การไม่ใสหน ้ากากกันฝุ่ นในขณะทาส ี

ี่ งทีก
ข ้อที่ 132 : ข ้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นเหตุการณ์เสย ่ อ
่ ให ้เกิดอุบต
ั เิ หตุ
ก. การสวมหมวกนิรภัยขณะทำงานกลางแจ ้งในขณะทีฝ ่ นตก
ข. การไม่สวมถุงมือขณะเชอ ื่ มโลหะ
ค. การไม่สวมหน ้ากากกันฝุ่ นในขณะทาส ี

1 : กค
2 : กข
3 : ขค
4 : กขค

ข ้อที่ 133 : กิจกรรมใดเป็ นการป้ องกันอุบต


ั เิ หตุ ทีอ
่ าจจะเกิดขึน
้ ในการทำงานก่อสร ้าง
ก. การวิเคราะห์เหตุการณ์เสีย ่ งทีอ
่ าจจะเกิดขึน ้ ในกิจกรรมการก่อสร ้าง
ข. การสวมหมวกนิรภัยในขณะทำงานก่อสร ้าง
ค. การลดปริมาณฝุ่ นโดยการกวาดและทำความสะอาดหน่วยงาน

1 : กค
2 : ขค
3 : กค
4 : กขค

ข ้อที่ 134 : ข ้อใดเกีย


่ วข ้องกับความปลอดภัย (Safety)
1 : WTO
2 : ISO
3 : ACI
4 : OSHA

ข ้อที่ 135 : เจ ้าหน ้าทีค


่ วามปลอดภัย (จป) ทีป
่ ระจำหน่วยงานก่อสร ้างเกีย
่ วข ้องกับหน่วยงานราชการหน่ว
1 : กระทรวงแรงงานและสวัสดิการมนุษย์
2 : กระทรวงมหาดไทย
3 : กระทรวงสาธารณสุข
4 : กรมโยธาธิการ

ข ้อที่ 136 : ในหน่วยงานก่อสร ้าง ผู ้ทีต


่ ้องรับผิดชอบต่อความปลอดภัย ควรเป็ นความรับผิดชอบของฝ่ ายใ
1 : เจ ้าของโครงการ
2 : ผู ้รับเหมา
3 : ผู ้ควบคุมงาน (ทีป
่ รึกษาโครงการ)
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 137 : ข ้อใดไม่ถก ู ต ้องเกีย่ วข ้องกับมาตรการด ้านความปลอดภัยในหน่วยงานก่อสร ้าง


1 : การใสเ่ ข็มขัดนิรภัยเมือ ่ ทำงานในทีส ่ งู
2 : การปิ ดชอ ่ งเปิ ดทีพ
่ นื้ ด ้วยถุงปูนซเี มนต์ทใี่ ชแล
้ ้ว 
3 : การสร ้างราวกันตกด ้วยท่อเหล็กบริเวณรอบอาคาร
4 : ตรวจสอบลิฟต์โดยสารตามระยะเวลาทีก ่ ำหนด

ข ้อที่ 138 : ข ้อใดเป็ นแนวคิดทีไ่ ม่ถก


ู ต ้องเกีย ่ วกับความปลอดภัย
1 : ผู ้รับเหมาทีด่ ค
ี วรลดต ้นทุนด ้านความปลอดภัยเพือ ่ ให ้ได ้กำไรตามเป้ าหมายทีว่ างไว ้
2 : ผู ้ควบคุมงานสามารถยอมให ้เกิดอุบต ั เิ หตุในหน่วยงานก่อสร ้างได ้บ ้าง ถ ้ามีผู ้ควบคุมงานไม่เพียงพอ
3 : การบริหารโครงการทีด ่ ี ควรคำนึงถึงต ้นทุน ระยะเวลา และคุณภาพของงานเป็ นหลัก สว่ นเรือ ่ งความป
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 139 : ข ้อใดเป็ นข ้อปฏิบต ั ท


ิ ถ
ี่ ก
ู ต ้องสำหรับความปลอดภัยในกรณีทม ี่ ช ่ งเปิ ดทีพ
ี อ ่ น
ื้ ในหน่วยงานก่อส
1 : เขียนป้ ายเตือนว่ามีชอ ่ งเปิ ดอยู่
2 : จัดคนงานคอยเฝ้ าระวังไม่ให ้มีผู ้เข ้าใกล ้ช่องเปิ ด
3 : ใช ้เชือกกันบริเวณของช่องเปิ ด
่ งเปิ ดทีม
4 : ถ ้าเป็ นชอ ่ ข
ี นาดเล็ก ควรปิ ดชอ ่ งเปิ ดด ้วยวัสดุทแ ่ แผ่นเหล็กหนา
ี่ ข็งแรง เชน

ข ้อที่ 140 : อุปกรณ์ป้องกันอันตรายสว่ นบุคคลสำหรับคนงานก่อสร ้างควรมีคณ


ุ สมบัตอ
ิ ย่างไร
1 : ราคาถูก
2 : สวมใสแ ่ ละถอดได ้รวดเร็ว
3 : สส ี น
ั สวยงาม
4 : ได ้มาตรฐานตามข ้อกำหนดด ้านความปลอดภัย

ข ้อที่ 141 : เมือ


่ มีเพือ ่ นมาเยีย ่ า่ นเป็ นวิศวกรดูแลอยู่ ส งิ่ ใดทีต
่ มชมหน่วยงานก่อสร ้างอาคารสูงทีท ่ ้องปฏิบ
1 : แจ ้งเจ ้าหน ้าทีผ
่ ู ้รับผิดชอบเรือ่ งความปลอดภัยประจำหน่วยงานให ้ทราบและท่านในฐานะวิศวกรพาเดิน
2 : สวมหมวดนิรภัยก่อนเข ้าชมหน่วยงานก่อสร ้าง
3 : สวมรองเท ้าหุ ้มส ้น แต่งกายรัดกุม
4 : แจ ้งเจ ้าหน ้าทีผ่ ู ้รับผิดชอบเรือ่ งความปลอดภัยประจำหน่วยงานให ้ดำเนินการต่อไป

ข ้อที่ 142 : การวิเคราะห์อบ ุ ตั เิ หตุในหน่วยงานก่อสร ้างเพือ ่ กำหนดมาตรการป้ องกันและแก ้ไข ควรพิจารณ


1 : ความถีข ่ องการเกิดอุบต ั เิ หตุ
2 : ความรุนแรงของอุบต ั เิ หตุ
3 : ความถีข ่ องการเกิดอุบต ั เิ หตุ×ความรุนแรงของอุบต ั เิ หตุ
4 : พิจารณาทุกประเด็นทัง้ 1,2 และ 3

ข ้อที่ 143 : ข ้อความใดต่อไปนีก ้ ล่าวไม่ถก


ู ต ้อง 
1 : ผู ้รับเหมาก่อสร ้างมักไม่ให ้ความสำคัญกับการป้ องกันอุบต ั เิ หตุ เพราะเห็นว่าเป็ นเรือ ่ งไม่สำคัญและเป็ น
2 : การอบรมพนักงานเรือ ่ งความปลอดภัยเป็ นเรือ ่ ำคัญทีส
่ งทีส ่ ด ุ ในการป้ องกันอุบต ั เิ หตุในสถานทีก ่ อ
่ สร ้าง
3 : ผู ้รับเหมาควรจะมีมาตรการป้ องกันอุบต ั เิ หตุและการทำงานทีป ่ ลอดภัย อย่างน ้อยทีส ่ ด
ุ คือตามกฎหมา
4 : Safety Management ครอบคลุมหลายด ้าน ไม่เพียงแต่เรือ ่ งเจ ้าหน ้าทีผ
่ ู ้รับผิดชอบด ้านความปลอดภ
ข ้อที่ 144 : อุบต ั เิ หตุทเี่ กิดขึน้ ในหน่วยงานก่อสร ้างทีน ่ ่าจะเกิดบ่อยครัง้ มากคือ 
1 : ของตกทีส ่ งู ปั น้ จั่นล ้ม นั่งร ้านพังทลาย
2 : ถังแก๊สระเบิด ของแหลมทิม ่ แทง น้ำท่วม
3 : ไฟฟ้ าชอ ๊ ต ตะปูตำ อาคารพังทลาย
4 : ของแหลมทิม ่ แทง ของตกใส ่ อุบต ้ อ
ั เิ หตุจากการใชเครื ่ งมือเครือ
่ งจักร

ข ้อที่ 145 : ข ้อใดแสดงถึงความเป็ นวิศวกรทีเ่ คารพในสท ิ ธิของผู ้อืน


่  
1 : ไม่กอ ่ สร ้างยามวิกาล ถึงแม ้ผู ้อาศย ั ในพืน
้ ทีข
่ ้างเคียงกับสถานทีก ่ อ
่ สร ้างน ้อย
2 : ทำตาข่ายกันฝุ่ นและอุปกรณ์ป้องกัน
3 : ยอมออกจากพืน ้ ทีเ่ ชา่ ทีเ่ ชา่ ไว ้อย่างทันทีเมือ่ เจ ้าของพืน
้ ทีข
่ อร ้องให ้ย ้ายออก เนือ ั ญาเชา่
่ งจากเลยสญ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 146 : ข ้อใดแสดงถึงความรับผิดชอบต่อความปลอดภัยในชวี ต ิ ของพนักงานในงานก่อ


ิ และทรัพย์สน
1 : อบรมเรือ ่ งการป้ องกันอันตรายให ้แก่แรงงานต่างด ้าวผิดกฎหมายทีเ่ ข ้ามาทำงานเป็ นคนงานก่อสร ้าง
2 : จัดทำป้ ายประกาศทัง้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาต่างด ้าว ให ้แก่คนงานทุกประเภทได ้รับทรา
3 : จ่ายเงินล่วงหน ้าให ้แก่คนงานก่อสร ้างเพือ
่ ไปซือ้ Hard hat, Safety shoes เป็ นเงินก ้อนเมือ่ เริม่ โครงก
4 : จ่ายเงินล่วงหน ้าให ้แก่คนงานก่อสร ้างเพือ่ ไปซือ้ Hard hat, Safety shoes เป็ นเงินก ้อนเมือ่ เริม่ โครงก

รวมคะแนน 0

Enviromental Systems and Manager


ข ้อที่ 1 : ระดับของการยอมรับในการแก ้ปั ญหาทางด ้านสงิ่ แวดล ้อมขึน
้ อยูก
่ บ
ั อะไรบ ้าง 
1 : ระบบการปกครอง
2 : ขนบธรรมเนียมประเพณี
3 : ความร่วมมือของประชาชน
4 : ถูกทุกข ้อ

่ ำคัญทีส
ข ้อที่ 2 : ปั ญหาทีส ่ ดุ ของประเทศทีก ่ ำลังพัฒนาในการแก ้ปั ญหาสงิ่ แวดล ้อมคืออะไร
1 : ขาดแคลนผู ้เชย ี่ วชาญ
2 : ขาดแคลนเทคนิค
3 : ขาดแคลนข ้อมูลทีจ ่ ำเป็ นทางสงิ่ แวดล ้อม
4 : ขาดความตระหนักในสงิ่ แวดล ้อม

่ ้องพิจารณาสำหรับการประเมินผลกระทบสงิ่ แวดล ้อมมีอะไรบ ้าง


ข ้อที่ 3 : ปั จจัยทีต
1 : ชนิดของโครงการ
2 : สภาพแวดล ้อม
3 : การเปลีย ่ นแปลงทีเ่ กิดขึน

4 : ถูกทุกข ้อ
ข ้อที่ 4 : อะไรทีไ่ ม่จัดเป็ นทรัพยากรสิง่ แวดล ้อมทางกายภาพ
1 : ทรัพยากรดิน
2 : ทรัพยากรทางธรณีวท ิ ยา
3 : ทรัพยากรน้ำ
4 : ทรัพยากรป่ าไม ้

ข ้อที่ 5 : องค์ประกอบของมาตรฐานคุณภาพสิง่ แวดล ้อม ประกอบด ้วยปั จจัยใดบ ้าง


1 : แนวทางหรือกฎหมายทางสงิ่ แวดล ้อม
2 : มาตรฐานทางสงิ่ แวดล ้อม
3 : พารามิเตอร์ทางสงิ่ แวดล ้อม
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 6 : ข ้อใดเป็ นแก๊สทีก


่ อ ้
่ ให ้เกิดพลังงาน โดยเกิดจากกระบวนการหมักขยะแบบไม่ใช ออกซ เิ จน
1 : CO2
2 : H2S
3 : CH4
4 : O3

ข ้อที่ 7 : ข ้อใดไม่ใช่ข ้อเสียของการจัดการขยะโดยการเผาอย่างถูกหลักสุขาภิบาล


1 : กากหรือเถ ้าไม่มส ี ารอินทรียเ์ หลือ จึงไม่เกิดการย่อยสลายด ้วยปฏิกริ ย
ิ าของจุลท
ิ รีย ์

2 : ค่าใชจ่ายในการดำเนินการสูง
3 : เตาเผาขยะมีราคาสูง
4 : ประชาชนไม่ยอมรับ การเลือกใชสถานที ้ ใ่ นการตัง้ เตาเผาขยะ

ข ้อที่ 8 : จงหาค่าของออกซเิ จนทีล่ ดลงหลังการผสมทีเ่ วลาใดๆ ของลำน้ำ


เมือ่ มีการปล่อยน้ำเสย ี Qw ลงลำน้ำ และมีออกซเิ จนละลายน้ำ= DOw 
โดยทีล ั ราการไหล= Qr และ ออกซเิ จนละลายน้ำ=DOr 
่ ำน้ำมีอต
กำหนดให ้ออกซเิ จนละลายน้ำอิม ่ ตัวเท่ากับ DOS

1 : DO=(Qw*DOw+Qr*DOr)/(Qw+Qr)
2 : D = DOS – [(Qw*DOw+Qr*DOr)/(Qw+Qr)]
3 : DOS = DO+D
4 : ไม่มข
ี ้อถูก

ข ้อที่ 9 : สารใดไม่สามารถใช ้ในการฆ่าเชือ


้ โรคในน้ำประปา
1 : ก๊าซคลอรีน
2 : O3
3 : ปูนขาว
4 : สารสม้

่ ้อจำกัดในการกำจัดขยะ 
ข ้อที่ 10 : ข ้อใดไม่ใชข
1 : สภาพทางเศรษฐกิจสงั คม
2 : ข ้อจำกัดทางกายภาพของเมือง
3 : ความพร ้อมทางด ้านองค์กรและบุคลากร
4 : ไม่มข ี ้อถูก
ั พันธ์ระหว่าง BOD กับการใชออกซ
ข ้อที่ 11 : จากสมการแสดงความสม ้ เิ จนจะเป็ นสด
ั สว่ นโดยตรงกับควา
1 : Lt = L0*ln(-k*t)
2 : Lt = L0*e(-k*t)
3 : ln(Lt}/{L0}) = -k*t
4 : ง. ถูกทัง้ ข ้อ ข. และ ค.

ั พันธ์ Lt = L0*e-k*t ถ ้า BOD5 ของน้ำเสย


ข ้อที่ 12 : จากความสม ี = 75 mg/L , K = 0.15 day-1 , k =
1 : 75 mg/L
2 : 750 mg/L
3 : 91.22 mg/L
4 : 912.2 mg/L

ข ้อที่ 13 : ก๊าซเรือนกระจกใดทีไ่ ม่ได ้เกิดขึน


้ โดยตรงจากมือมนุษย์
1 : ก๊าซ CO2
2 : ก๊าซไนตรัสออกไซด์
3 : CFC
4 : ก๊าซมีเทน

ั้ บ
ข ้อที่ 14 : ข ้อใดเป็ นผลกระทบของสาร CFC (คลอโรฟลูออโรคาร์บอน) จากการไปทำลายโอโซนในชน
1 : ทำให ้คนเกิดมะเร็งผิวหนัง และอาจทำให ้ตาบอดได ้
2 : ทำให ้น้ำทะเลสูงขึน ้ เกิดความแห ้งแล ้ง
3 : ทำให ้เกิดหิมะขัว้ โลกละลาย เกิดมรสุม เกิดน้ำเซาะดินพังทลาย
4 : ไม่มข ี ้อถูก

ข ้อที่ 15 : ข ้อใดไม่ใชผ่ ลกระทบจากปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effects)


1 : ทำให ้สายพันธ์พช ื บางชนิดสูญพันธ์
2 : ทำให ้คนเกิดมะเร็งผิวหนัง และอาจทำให ้ตาบอดได ้
3 : ทำให ้น้ำทะเลสูงขึน ้ เกิดความแห ้งแล ้ง
4 : ทำให ้เกิดหิมะขัว้ โลกละลาย เกิดมรสุม เกิดน้ำเซาะดินพังทลาย

ข ้อที่ 16 : ข ้อใดเป็ นสารสำคัญทีท


่ ำให ้เกิดปรากฏการณ์การเกิดฝนกรด (Acid Rain)
1 : สาร CFC
2 : กรดกำมะถันและกรดไนตริค
3 : O3
4 : รังสี UV

่ าเหตุหลักสำคัญของการเกิดปรากฏการณ์การเกิดฝนกรด (Acid Rain)


ข ้อที่ 17 : ข ้อใดไม่ใชส
1 : การใชถ่้ านหินในการผลิตกระแสไฟฟ้ า
2 : ไฟไหม ้ป่ า หรือ ภูเขาไฟระเบิด
3 : การเผาไหม ้ของน้ำมันปิ โตรเลียม
4 : การย่อยสลายสารอินทรียใ์ นสภาพไร ้อากาศ
ข ้อที่ 18 : วัตถุประสงค์ของการแปลงรูป ขยะมูลฝอยต่างๆ เพือ ่ อะไรบ ้าง
1 : เพือ ่ ช่วยเพิม ่ ประสิทธิภาพของระบบกำจัดขยะมูลฝอย
2 : เพือ ่ แปลงรูปขยะมูลฝอยให ้เป็ นวัสดุทมี่ ป ้
ี ระโยชน์ในการใช งาน
3 : เพือ ่ จัดเตรียมวัสดุตา่ งๆสำหรับนำไปใช ้ผลิตพลังงาน และทำปุ๋ ยจากขยะ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 19 : ระบบต่างๆของกระบวนการแปลงรูปขยะมูลฝอยชุมชน มีอะไรบ ้าง


1 : ระบบลดปริมาตรขยะมูลฝอยลงด ้วยวิธเี ครือ
่ งกล
2 : ระบบลดปริมาตรขยะมูลฝอยลงด ้วยวิธเี ผา
3 : ระบบแยกประเภทขององค์ประกอบขยะมูลฝอย
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 20 : ข ้อใดไม่ใชว่ ธิ ก
ี ำจัดขยะมูลฝอย
1 : วิธน ี ำขยะสดไปเลีย ้ งสต ั ว์ หรือ วิธถ
ี มบนทีล
่ ม
ุ่
2 : วิธฝ ี ั งกลบขยะมูลฝอยในหลุม หรือฝั งกลบตามหลักการสุขาภิบาล
3 : การจัดตัง้ ธนาคารขยะ
4 : วิธห ี มักทำปุ๋ย

ข ้อที่ 21 : ข ้อใดเป็ นวิธก


ี ารกำจัดขยะมูลฝอยทีค
่ วรทำท ้ายสุด
1 : วิธน ี ำขยะสดไปเลีย ้ งสตั ว์
2 : วิธฝ ี ั งกลบขยะมูลฝอยในหลุม หรือฝั งกลบตามหลักการสุขาภิบาล
3 : วิธเี ผา
4 : วิธห ี มักทำปุ๋ย

ข ้อที่ 22 : สถานทีต ่ งั ้ ของภาชนะรองรับขยะมูลฝอย ควรมีลักษณะอย่างไร


1 : อยูห ่ า่ งจากแหล่งวัตถุไวไฟ
2 : อยูใ่ นที่ น้ำท่วมไม่ถงึ หรือห ้ามอยูใ่ กล ้แหล่งน้ำผิวดิน
3 : อยูใ่ นทีอ ่ ากาศระบายได ้สะดวก
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 23 : สารอาหารทีจ
่ ำเป็ นต่อการเติบโตของสาหร่ายมีอะไรบ ้าง
1 : คาร์บอน และไนโตรเจน
2 : คาร์บอน และฟอสฟอรัส
3 : ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส
4 : คาร์บอน ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส

ข ้อที่ 24 : ค่า BOD คือ ดัชนีชค ี้ ณ


ุ ภาพน้ำในตัวเลือกใด
1 : เป็ นค่าแสดงว่าในน้ำนัน้ มีปริมาณจุลน ิ ทรียท ์ ยี่ อ
่ ยสลายสารอินทรียม ์ ากน ้อยเพียงใด
2 : เป็ นค่าแสดงปริมาณออกซเจนทีติ ่ ้องเติมลงไป เพือ ่ ย่อยสลายสารอินทรียท ์ งั ้ หมดในน้ำ
3 : เป็ นค่าแสดงว่าในน้ำมีออกซเิ จนทีจ ่ ะให ้จุลน ้
ิ ทรียใ์ ชในการย่ อยสลายสารอินทรียม ์ ากน ้อยเพียงใด
4 : เป็ นค่าแสดงปริมาณออกซเิ จนทีต ่ ้องเติมลงไป เพือ ่ ให ้จุลน ้
ิ ทรียใ์ ชในการย่ อยสลายสารอินทรียใ์ นน้ำ

่ นำน้ำตัวอย่างจากแหล่งเดียวกันมาหาค่า ดีโอ บีโอดี และซโี อดี จะพบผลอย่างไร


ข ้อที่ 25 : เมือ
1 : ค่าซโี อดีสงู กว่าบีโอดี
2 : ค่าบีโอดีสงู กว่าซีโอดี
3 : ค่าดีโอสูงกว่าบีโอดี และซีโอดี
4 : ค่าบีโอดีต่ำกว่าซโี อดี แต่สงู กว่าดีโอเสมอ

่ ลพิษทางอากาศจากยานยนต์ทเี่ กิดจากการเผาไหม ้ทีไ่ ม่สมบูรณ์


ข ้อที่ 26 : ข ้อใดไม่ใชม
1 : คาร์บอนมอนอกไซด์
2 : คาร์บอนไดออกไซด์
3 : ไฮโดรคาร์บอน
4 : ไม่มข ี ้อถูก

ข ้อที่ 27 : ข ้อใดคือก๊าซทีก
่ อ
่ ให ้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก
1 : ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน
2 : ก๊าซโอโซน
3 : ก๊าซมีเทน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 28 : น้ำเสียทีถ ่ ก
ู ปล่อยออกมาจากโรงงานอุตสาหกรรมมักมีอณ ิ งู กว่าปกติ จะส่งผลทำให ้สิง่ แ
ุ หภูมส
1 : น้ำในแม่น้ำลำคลองนีจ ้ ะมีปริมาณออกซิเจนน ้อยลงกว่าปกติ เพราะค่าอิม ่ ตัวของออกซิเจนในน้ำจะลด
2 : เมือ่ มีอณุ หภูมส
ิ งู ขึน้ ปฏิกริ ย
ิ าของจุลน
ิ ทรียก
์ ็จะสูงขึน
้ ตามไปด ้วย
3 : ถูกทัง้ ข ้อ 1และข ้อ 2
4 : ไม่มข ี ้อถูก

ข ้อที่ 29 : ปั จจัยทีม
่ ผ
ี ลต่อการเกิดขยะมูลฝอยคือข ้อใด
1 : ฤดูกาล
2 : สภาวะทางเศรษฐกิจของชุมชน
3 : ความหนาแน่นของประชากร
4 : ถูกทุกข ้อ

่ ารบำบัดน้ำเสย
ข ้อที่ 30 : ข ้อใดไม่ใชก ี ด ้วยกระบวนการทางกายภาพ
1 : การกำจัดตะกอนหนัก (Grit Removal)
2 : การทำให ้เกิดการตกตะกอน (Precipitation)
3 : การตกตะกอน (Sedimentation)
4 : การดักด ้วยตะแกรง (Screening)

ข ้อที่ 31 : ตัวเร่งให ้เกิดปั ญหาสงิ่ แวดล ้อมคือข ้อใด


1 : การเพิม ่ ประชากร
2 : การขยายเมือง
3 : การเพิม ่ ผลผลิต
4 : เทคโนโลยี

่ ำให ้เกิดปั ญหาสงิ่ แวดล ้อมมากทีส


ข ้อที่ 32 : มลพิษข ้อใดทีท ่ ด

1 : มลพิษทางดิน
2 : มลพิษทางน้ำ
3 : มลพิษทางอากาศ
4 : มลพิษทางเสียง

ข ้อที่ 33 : จากรูป โรงงานแห่งใดทำให ้ปลาตายในแม่น้ำ

1 : โรงงาน 1
2 : โรงงาน 2
3 : ทัง้ โรงงาน 1 และ 2
4 : ไม่สามารถสรุปได ้ว่าเกิดจากโรงงานใด

ข ้อที่ 34 : หน ้าทีห
่ ลักของระบบคืออะไร
1 : เป็ นตัวควบคุม
2 : เป็ นทางผ่าน
3 : เป็ นตัวประสาน
4 : เป็ นตัวชนี้ ำ


ข ้อที่ 35 : ในการกำหนดขนาดของระบบใชอะไรเป็ นตัวกำหนด
1 : ความต ้องการ
2 : ปริมาณงาน
3 : ระยะทาง
4 : ประสบการณ์

ข ้อที่ 36 : สารในข ้อใดไม่ได ้เกิดจากการเผาไหม ้ภายในเครือ


่ งยนต์ของรถยนต์
1 : ไฮโดรคาร์บอน
2 : ไนตริกออกไซด์
3 : คาร์บอนไดออกไซด์
4 : คาร์บอนมอนอกไซด์

ข ้อที่ 185 : ความสามารถในการเปลีย


่ นแปลงรูปร่างของวัสดุกอ
่ นการแตกหัก หมายถึง สมบัตข
ิ ้อใด
1 : ความเหนียว (Toughness)
2 : สภาพดึงยืดได ้ (Ductility)
3 : ความยืดหยุน ่ (Resilience)
4 : ความล ้า (Fatigue)
ข ้อที่ 37 : สิง่ ทีป
่ นเปื้ อนมาในอากาศของโรงงานผลิตปูนซีเมนต์ทพ
ี่ บมากทีส
่ ด
ุ คือข ้อใด

1 : ซลเฟอร์ไดออกไซด์
2 : คาร์บอนมอนอกไซด์
3 :ไนโตรเจนไดออกไซด์
4 : คาร์บอนไดออกไซด์

ี่ ำคัญทีส
ข ้อที่ 38 : ข ้อใดเป็ นสาเหตุทส ่ ด
ุ ของการเกิดปั ญหาขยะมูลฝอย

1 : ความมักง่ายและขาดความส นึกถึงผลเสย ี ทีจ
่ ะเกิดขึน

2 : การผลิตหรือใชส้ งิ่ ของมากเกินความจำเป็ น
3 : การเก็บและทำลายไม่ถก ู วิธ ี
4 : การนำขยะไปใชประโยชน์้ ไม่มป ี ระสท ิ ธิภาพ

ข ้อที่ 39 : จงคำนวณหาอัตราสว่ นเจือจางและ ค่า BOD ของน้ำเสย ี เมือ ี มาวิเคราะห์หาค่า


่ นำน้ำเสย
่ ำ ี
1 : อัตราสวนเจือจางเท่ากับ 60 และ 30 ส หรับตัวอย่างน้ำเสยปริมาตร 5 และ 10 มล.
2 : อัตราส่วนเจือจางเท่ากับ 30 และ 60 สำหรับตัวอย่างน้ำเสียปริมาตร 5 และ 10 มล.
3 : อัตราส่วนเจือจางเท่ากับ 60 และ 30 สำหรับตัวอย่างน้ำเสียปริมาตร 5 และ 10 มล.
4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

ข ้อที่ 40 : ปฏิกริ ยิ าใดก่อให ้เกิดก๊าซเรือนกระจก ซงึ่ เป็ นสาเหตุทำให ้ภูมอ


ิ ากาศของโลกเปลีย
่ นแปลง
1 : ปฏิกริ ยิ าการเกิดฝนกรด
2 : ปฏิกริ ย ิ าการสังเคราะห์อาหารด ้วยแสง
3 : ปฏิกริ ย ิ าการเกิดหินปูน
4 : ปฏิกริ ย ิ าการย่อยสลาย

ข ้อที่ 41 : ข ้อใดเป็ นก๊าซเรือนกระจกทีม


่ ศ ั ยภาพทำให ้โลกร ้อนมากทีส
ี ก ่ ด

1 : ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
2 : ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O)
3 : ก๊าซมีเทน (CH4)
4 : ก๊าซไข่เน่า (H2S)

้ หาวิชา : 586 : An analysis for decision making in environmental protection prog


เนือ

ข ้อที่ 42 : ข ้อใดเป็ นวิธก ี ารในการศึกษาคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำทีส ่ ง่ ผลกระทบต่อสิง่ มีชวี ต



1 : ศึกษาการดำรงอยูห ่ รือการสาบสูญของสิง่ มีชวี ต
ิ ในแหล่งน้ำ
2 : ศก ึ ษาปั จจัยกระตุ ้นหรือยับยัง้ กระบวนการผลิตหรือใชออกซ
้ เิ จนของสงิ่ มีชวี ต
ิ ในแหล่งน้ำ
3 : วิเคราะห์สภาพสังคมของสิง่ มีชวี ต ิ ในแหล่งน้ำ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 43 : จงหาปริมาณขยะมูลฝอย (ตัน/วัน) ในปี 2550 ของหมูบ่ ้านแห่งหนึง่ ในประเทศไทย โดยสมม


- จำนวนคนทัง้ หมูบ ่ ้าน ในปี 2542 เท่ากับ 5000 คน
- จำนวนคนทัง้ หมูบ ่ ้าน ในปี 2546 เท่ากับ 6000 คน
- อัตราการเกิดขยะในปี 2547 เท่ากับ 1.0 กิโลกรัม / คน / วัน
- อัตราการเพิม ่ ของอัตราการเกิดขยะมูลฝอย ปี ละ 3.0 % ต่อปี
- อัตราการเพิม ่ ขึน
้ ของประชากร 3.6 % ต่อปี
1 : 6.4 (ตัน/วัน)
2 : 6.83 (ตัน/วัน)
3 : 7.29 (ตัน/วัน)
4 : 7.78 (ตัน/วัน)

่ ั ญหาทีม
ข ้อที่ 44 : ข ้อใดไม่ใชป ่ ักจะพบและเป็ นสาเหตุทำให ้ระบบบำบัดน้ำเสย ี ทำงานไม่มป ิ ธิภาพ
ี ระสท
1 : ปั ญหาไขมัน(Grease)จากครัวทีไ่ ม่ได ้ถูกแยกออกไปก่อน
2 : ปั ญหาน้ำทิง้ จากห ้องซก ั ผ ้า ซงึ่ มีสารซก ั ฟอกปนมา
3 : สถาปนิกกำหนดให ้บ่อบำบัดน้ำเสย ี อยูใ่ นสถานทีซ
่ งึ่ ดูแลรักษาได ้ยาก
4 : ปั ญหาเรือ่ งกลิน
่ โดยเฉพาะบริเวณถังเกรอะ (Septic tank)

ข ้อที่ 45 : การควบคุมการเกิดสาหร่ายเบ่งบานเกินไป (Algae bloom) จะต ้องควบคุมอะไร


1 : ควบคุมการทิง้ ฟอสฟอรัสลงแหล่งน้ำ
2 : ควบคุมการทิง้ ไนโตรเจนลงแหล่งน้ำ
3 : ควบคุมการทิง้ คาร์บอนลงแหล่งน้ำ
4 : ถูกทุกข ้อ

์ องกระบวนการบำบัดแบบไม่ใช ้อากาศ
ข ้อที่ 46 : ข ้อใดเป็ นสมการของการย่อยสารอินทรียข
1 : CHONSP + O2 เซลล์ใหม่ +CO2 +H2O
2 : CHONPS+Anaerobic Bacteria Bacteria ใหม่+CO2+CH4+พลังงาน+NH3+H2S+
3 : Organic-nitrogen NH3 NO-3
4 : ไม่มข ี ้อถูก

ข ้อที่ 47 : ข ้อใดเป็ นสมการของการย่อยสารอินทรียข ้


์ องกระบวนการบำบัดแบบใชอากาศ
1 : CHONSP + O2 เซลล์ใหม่ +CO2 +H2O
2 : CHONPS+Anaerobic Bacteria Bacteria ใหม่+CO2+CH4+พลังงาน+NH3+H2S+
3 : Organic-nitrogen NH3 NO-3
4 : ไม่มข ี ้อถูก

ี ของกระบวนการบำบัดแบบใชอากาศ
ข ้อที่ 48 : ข ้อใดคือข ้อเสย ้
1 : ค่าก่อสร ้างและการเดินระบบต ้องใช ้ค่าใช ้จ่ายสูง
2 : ไม่ได ้พลังงาน(CH4)มาใชเหมื ้ อนกับระบบไม่ใชอากาศ้
3 : มีตะกอนสว่ นเกินค่อนข ้างมาก ทำให ้ต ้องเสย ี ค่าใชจ่้ ายในการจัดการตะกอนสูงมาก
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 49 : ข ้อใดคือข ้อเสียของกระบวนการบำบัดแบบไม่ใช ้อากาศ


1 : การเดินระบบค่อนข ้างยุง่ ยาก และใช ้เวลานานกว่าจะเข ้าสูภ ่ าวะปกติ

2 : น้ำเสยทีม ่ คี า่ COD สูงๆ เมือ
่ บำบัดแล ้วจะยังเหลือความสกปรกสูงเกินกว่าเกณฑ์ทจ
ี่ ะทิง้ ลงแหล่งน้ำได
3 : มีกลิน่ เหม็นจาก รบกวนหากควบคุมได ้ไม่ด ี
4 : ถูกทุกข ้อ


ข ้อที่ 50 : ข ้อใดคือข ้อดีของกระบวนการบำบัดแบบใชอากาศ
1 : ระบบสามารถบำบัดน้ำให ้มีคา่ BOD ต่ำกว่า 20 mg/ L ได ้
2 : ระบบบางชนิดสามารถกำจัดสารอาหาร ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส ได ้
3 : ไม่มก
ี ลิน
่ เหม็น
4 : ถูกทุกข ้อ


ข ้อที่ 51 : ข ้อใดคือข ้อดีของกระบวนการบำบัดแบบไม่ใชอากาศ
1 : ใชได ้ ้ดีกบ ี ทีม
ั น้ำเสย ่ ี BOD สูง
2 : ไม่ต ้องใช ้พลังงานมาก และต ้องการ N, P น ้อย
3 : มีตะกอนสว่ นเกินน ้อย
4 : ถูกทุกข ้อ

รวมคะแนน 0
ข ้อที่ 52 : ข ้อใดไม่ใช่วธิ ก
ี ารวัดคุณภาพน้ำทีแ ่ สดงถึงปริมาณออกซิเจนทีล
่ ะลายในน้ำ
1 : การวัดค่า COD
2 : การวัดค่า BOD
3 : การวัดปริมาณสารอินทรียค ์ าร์บอนทัง้ หมดในน้ำ
4 : ไม่มข ี ้อถูก

ข ้อที่ 53 : การประเมินผลกระทบสงิ่ แวดล ้อมควรมีองค์ประกอบทีส่ ำคัญในข ้อใด


1 : สำรวจและศก ึ ษาสภาพปั จจุบน
ั ของบริเวณทีจ
่ ะมีโครงการ
2 : แสดงรายละเอียดของโครงการ พร ้อมทางเลือกต่างๆ ทีท ่ ำให ้โครงการดำเนินการได ้
3 : เสนอแนวทาง หรือมาตรการลดผลกระทบต่อสงแวดล ้อม่ ิ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 54 : ดัชนีคณ ุ ภาพสงิ่ แวดล ้อม คือข ้อใด


1 : ตัวบ่งชส ี้ ภาพทรัพยากรสงิ่ แวดล ้อมเชงิ ปริมาณ ในด ้านโครงสร ้างและการทำงานของระบบสงิ่ แวดล ้อม
2 : ตัวกำหนดเกณฑ์ทั่วไปในการสง่ เสริมและรักษาคุณภาพสงิ่ แวดล ้อม
3 : ตัวบอกค่าทีเ่ หมาะสมและปลอดภัย ต่อมนุษย์และสิง่ แวดล ้อมทุกชนิด
4 : ตัวชข ี้ ด
ี ความสามารถของทรัพยากรธรรมชาติในการเปลีย ่ นแปลงสภาพไปจากเดิม

ข ้อที่ 55 : มาตรการใดช่วยลดผลกระทบทางด ้านผลเสียอันเกิดจากโครงการ ลดอุบต


ั เิ หตุตา่ งๆ และลดผ
1 : มาตรการลดผลกระทบสงิ่ แวดล ้อม
2 : มาตรการชดเชยหรือทดแทนผลเสียหายทีเ่ กิดต่อสิง่ แวดล ้อม
3 : มาตรการติดตามตรวจสอบสภาพแวดล ้อม
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 56 : การดำเนินการตามมาตรการลดผลกระทบสงิ่ แวดล ้อมจากโครงการสามารถทำได ้โดย


1 : การเปลีย ่ นแปลงทีต่ งั ้ วัตถุดบ
ิ กระบวนการผลิต หรือโครงสร ้างทางวิศวกรรม
2 : วิธต ี ดิ ตามตรวจสอบสงิ่ แวดล ้อม
3 : วิธก ี ารสง่ เสริมสภาพแวดล ้อมทีด ี ละยกระดับมาตรฐานคุณภาพชวี ต
่ แ ิ แก่ชม
ุ ชน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 57 : ประเภทโครงการใดทีไ่ ม่ต ้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสงิ่ แวดล ้อม


1 : การถมทีอ
่ ยูใ่ นทะเล
2 : อาคารชุดพักอาศัยทีม ่ จี ำนวนห ้องชุดประมาณ 80-100 ห ้อง
3 : การจัดสรรทีด ่ น
ิ เพือ
่ เป็ นทีอ ่ ยูอ
่ าศยั ทีม ่ จ
ี ำนวนทีด่ น
ิ แปลงย่อยเกิน 400 แปลงแต่ไม่ถงึ
4 : ทางหลวงหรือถนนทีต ่ ดั ผ่านพืน ้ ทีเ่ ขตห ้ามล่าสัตว์ป่า

ข ้อที่ 58 : ข ้อใดไม่ใชแ่ นวทางในด ้านการจัดการของเสย ี หรือขยะมูลฝอย


1 : ใช ้หลักการ “ ผู ้ก่อมลพิษเป็ นผู ้จ่าย ”
2 : ให ้นำระบบ “ผู ้ผลิตต ้องรับซอื้ ซากหรือบรรจุภัณฑ์ ทีใ่ ชแล
้ ้วจากผู ้บริโภค”
3 : กำหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจากสถานทีก ่ ำจัดมูลฝอย
4 : สนับสนุนให ้เอกชนดำเนินธุรกิจการบริการ เก็บขน และกำจัดมูลฝอย

ข ้อที่ 59 : ปั จจุบน ้
ั ประเทศไทยใชพระราชบั ิ ง่ เสริมและรักษาคุณภาพสงิ่ แวดล ้อมแห่งชาติ ฉบับปี
ญญัตส
1 : พ.ศ. 2518
2 : พ.ศ. 2535
3 : พ.ศ. 2537
4 : พ.ศ. 2539

ข ้อที่ 60 : ตามประกาศคณะกรรมการสิง่ แวดล ้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2538) เรือ


่ งกำหนดมาตรฐา
1 : 2 เมตร
2 : 4 เมตร
3 : 6 เมตร
4 : 8 เมตร

ข ้อที่ 61 : การกำหนดมาตรฐานคุณภาพสงิ่ แวดล ้อม กำหนดขึน


้ จากเงือ
่ นไขใด
1 : ความต ้องการ
2 : ความสะดวก
3 : ความปลอดภัยของมนุษย์ หรือสงิ่ แวดล ้อม
4 : สภาพเศรษฐกิจและสงั คม

ข ้อที่ 62 : มาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิง้ จากแหล่งกำเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสา


1 : 20 มก./ล.
2 : 60 มก./ล.
3 : 120 มก./ล.
4 : 150 มก./ล.

ข ้อที่ 63 : นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล ้อมแห่งชาติ พ.ศ.2540 - 2559


1:5
2:6
3:7
4:4

่ โยบายและแผนการสง่ เสริมและรักษาคุณภาพสงิ่ แวดล ้อมแห่งชาติ พ


ข ้อที่ 64 : ข ้อใดไม่ใชน
1 : นโยบายป้ องกันและขจัดมลพิษทางอากาศ
2 : นโยบายการศก ึ ษาและประชาสมั พันธ์เพือ
่ สงิ่ แวดล ้อม
่ สิง่ แวดล ้อม
3 : นโยบายเทคโนโลยีเพือ
4 : นโยบายแหล่งธรรมชาติและแหล่งศิลปกรรม

ข ้อที่ 65 : ข ้อใดต่อไปนีถ ้ ก ู
1 : อาคารสำนักงานทีม ่ ผ ้
ี ู ้ใชอาคารมากกว่ า 2500 คนจะอยูใ่ นอาคารประเภท ก. ซงึ่ จะมีคา่ มาตรฐานน้ำท
2 : อาคารสำนักงานทีม ่ ผ ้
ี ู ้ใชอาคารมากกว่ า 2500 คนจะอยูใ่ นอาคารประเภท ข. ซงึ่ จะมีคา่ มาตรฐานน้ำท
3 : อาคารสำนักงานทีม ่ ผ ี ู ้ใช ้อาคารมากกว่า 2500 คนจะอยูใ่ นอาคารประเภท ข. ซึง่ จะมีคา่ มาตรฐานน้ำท
4 : อาคารสำนักงานทีม ่ ผ ้
ี ู ้ใชอาคารมากกว่า 2500 คนจะอยูใ่ นอาคารประเภท ง. ซงึ่ จะมีคา่ มาตรฐานน้ำทง

ข ้อที่ 66 : ประเทศไทยประกาศใช ้ ISO 14001 ในปี พ.ศ. ใด


1 : พ.ศ. 2519
2 : พ.ศ. 2529
3 : พ.ศ. 2535
4 : พ.ศ. 2539

ข ้อที่ 67 : การจัดการสิง่ แวดล ้อมอุตสหกรรมของประเทศไทย ยึดหลักเกณฑ์ตามข ้อใด


1 : พระราชบัญญัตส ิ ง่ เสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล ้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
2 : ถูกทัง้ ข ้อ 1 และ 2
3 : ไม่มข ี ้อใดถูก
4 : แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539)

ข ้อที่ 68 : หน ้าทีห
่ ลักของกรมควบคุมมลพิษคืออะไร
1 : กำหนดนโยบายและแผนการสง่ เสริม และรักษาคุณภาพสงิ่ แวดล ้อม
2 : สง่ เสริมคุณภาพสงิ่ แวดล ้อมโดยการวิจัย พัฒนา และสร ้างจิตสำนึก
3 : เป็ นแหล่งข ้อมูลทางสงิ่ แวดล ้อมทีท ื่ ถือได ้
่ ันสมัย และเชอ
4 : กำกับ ดูแล อำนวยการ ประสานงาน ติดตาม และประเมินผลเกีย ่ วกับการฟื้ นฟู คุ ้มครอง และรักษาคุณ

ข ้อที่ 69 : หน่วยงานรัฐวิสาหกิจทีด ่ วกับสงิ่ แวดล ้อมคือข ้อใด


่ ำเนินการเกีย
1 : กรมควบคุมมลพิษ
2 : กรมสง่ เสริมคุณภาพสงิ่ แวดล ้อม
3 : องค์การจัดการน้ำเสีย
4 : สถาบันสงิ่ แวดล ้อมไทย

ข ้อที่ 70 : สำนักงานนโยบายและแผนสิง่ แวดล ้อม มีหน ้าทีต ่ ามข ้อใด


1 : เสนอความเห็นเพือ ่ จัดทำนโยบายและแผนการสง่ เสริมและรักษาคุณภาพสงิ่ แวดล ้อม
2 : จัดทำนโยบายและแผน รวมทัง้ การติดตามประเมินผลเกีย ่ วกับคุณภาพสิง่ แวดล ้อมให ้สอดคล ้องกับแผ
3 : เป็ นศูนย์บริการข ้อมูลด ้านสิง่ แวดล ้อมทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 71 : ข ้อใดต่อไปนีเ้ กีย


่ วข ้องกับสภาวะโลกร ้อนน ้อยทีส
่ ด

1 : UNFCCC
2 : IPCC
3 : LCA
4 : CDM
ข ้อที่ 72 : กลไกยืดหยุน ่ ทีถ
่ ก
ู กำหนดจากพิธสี ารเกียวโตคือข ้อใด
1 : กลไกการทำโครงการร่วม
2 : กลไกการพัฒนาทีส ่ ะอาด
3 : กลไกการซอ ื้ ขายสทิ ธิก
์ ารปล่อยก๊าซเรือนกระจก
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 73 : ข ้อใดไม่ใชว่ ัตถุประสงค์ของอนุสญ


ั ญาสหประชาชาติวา่ ด ้วยการเปลีน ่ แปลงสภาพภูมอิ ากาศ
1 : รักษาความเข ้มข ้นของปริมาณก๊าซเรือนกระจกในชน ั ้ บรรยากาศให ้อยูใ่ นระดับทีป
่ ลอดภัย
2 : กำหนดระดับหรือปริมาณก๊าซเรือนกระจกทีจ ่ ะรักษาปริมาณไว ้เป็ นตัวเลขทีแ ่ น่นอน
3 : เพือ ่ ให ้ระบบนิเวศน์ธรรมชาติสามารถปรับตัวได ้
4 : เพือ ่ เป็ นการประกันว่าจะไม่มผ
ี ลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหารและการพัฒนาเศรษฐกิจทีย ่ ั่งยืน

่ ำคัญของอนุสญ
ข ้อที่ 74 : ข ้อใดเป็ นหลักการทีส ั ญาสหประชาชาติวา่ ด ้วยการเปลีน
่ แปลงสภาพภูมอ
ิ ากาศ
1 : หลักการป้ องกันไว ้ก่อน
2 : หลักการความรับผิดชอบร่วมกันในระดับทีแ ่ ตกต่าง
3 : หลักการให ้ความช่วยเหลือกลุม ่ ผู ้ด ้อยกว่า
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 75 : ประเทศใดทีย ั ยาบันรับรองปฏิญญาเกียวโต


่ ังไม่ได ้ลงนามให ้สต
1 : จีน
2 : สหรัฐอเมริกา
3 : โตโก
4 : ซาอุดอ ี าระเบีย

ั ยาบ
ข ้อที่ 76 : จำนวนประเทศทีเ่ ข ้าร่วมประชุม APEC ในเดือน กันยายน ปี พ.ศ. 2007 และได ้ร่วมให ้สต
1 : 11 ประเทศ
2 : 10 ประเทศ
3 : 21 ประเทศ
4 : 31 ประเทศ

ข ้อที่ 77 : ข ้อใดไม่ใชพ่ ันธกรณีภายใต ้อนุสญ ั ญา UNFCCC ทีม ่ ต


ี อ
่ ประเทศไทย
1 : จัดทำรายงานแห่งชาติ
2 : มีพันธกรณีในกรอบการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก
3 : ศก ึ ษาวิจัยทางด ้านวิชาการทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการเปลีย
่ นแปลงสภาพภูมอ ิ ากาศ
4 : ร่วมรับผิดชอบในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกโดยใช ้นโยบายทีไ่ ม่มผ ี ลเสียต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ

ข ้อที่ 78 : ข ้อใดคือหลักการของการควบคุมและป้ องกันปั ญหามลพิษทางน้ำ



1 : การใชน้ำอย่ างประหยัด
2 : การนำน้ำทีใ่ ชแล ้ ้วครัง้ หนึง่ กลับมาใชใหม่
้ อก
ี โดยตรง
3 : การนำน้ำกลับมาใชภายหลั้ งทีผ ี หรือก่อนปล่อย
่ า่ นกระบวนการปรับปรุงคุณภาพโดยระบบบำบัดน้ำเสย
4 : ถูกทุกข ้อ
ข ้อที่ 79 : ข ้อใดไม่ใช่วธิ ก
ี ารควบคุมมลพิษทางอากาศ
1 : ใช ้มาตรการกฎหมายและประชาสัมพันธ์
2 : การกำหนดเขตการใชที ้ ด
่ น

3 : การจัดแปลงกระบวนการผลิตและการใช ้เชือ ้ เพลิง
4 : ไม่มข ี ้อถูก

่ วข ้องกับการจัดการสิง่ แวดล ้อมน ้อยทีส


ข ้อที่ 80 : ข ้อใดต่อไปนีเ้ กีย ่ ด

1 : ISO 9000
2 : ISO 14001
3 : ISO 14004
4 : EMS

่ ำหนดนโยบายด ้านสงิ่ แวดล ้อมในองค์กร


ข ้อที่ 81 : ใครมีหน ้าทีก
1 : หัวหน ้าแผนกจัดทำมาตรฐาน
2 : ฝ่ ายบริหารระดับสูง
3 : พนักงานทุกคน
4 : คณะกรรมการองค์กร

ข ้อที่ 82 : การจัดลำดับความสำคัญของการจัดการสิง่ แวดล ้อม ควรให ้ความสำคัญกับขัน


้ ตอนใดเป็ นลำด
1 : การลดทีแ ่ หล่งกำเนิด (Source Reduction)
2 : การหมุนเวียน/การใชซ ้ ้ำ (Recycling/Reuse)
3 : การบำบัด (Treatment)
4 : การทิง้ (Disposal)

ข ้อที่ 83 : จงจัดลำดับความสำคัญของการจัดการสงิ่ แวดล ้อม 4 ขัน


้ ตอน ต่อไปนี้
1. การหมุนเวียน/การใชซ ้ ้ำ
2. การบำบัด
3. การลดทีแ ่ หล่งกำเนิด
4. การทิง้

1 : 3-1-4-2
2 : 3-1-2-4
3 : 3-2-1-4
4 : 1-3-4-2

ข ้อที่ 84 : ข ้อใดไม่จัดว่าเป็ นเทคนิคการลดทีแ ่ หล่งกำเนิด


1 : ออกแบบระบบกระบวนการผลิตใหม่
2 : ทดแทนวัตถุเคมีอน ั ตรายด ้วยวัตถุเคมีอน
ื่ ทีม
่ พ
ี ษ
ิ น ้อยกว่า แต่ให ้ผลเหมือนกัน
3 : สงั่ ซอ
ื้ วัตถุดบ
ิ ครัง้ ละมากๆ เนือ่ งจากจะได ้ราคาทีถ ่ กู กว่า
4 : รักษาความสะอาดภายในโรงงานและบริเวณโดยรอบ

ข ้อที่ 85 : ข ้อใดไม่ใชว่ ธิ ก
ี ารจัดการปั ญหาด ้านสงิ่ แวดล ้อม
1 : Clean Technology (CT)
2 : Cleaner Production (CP)
3 : Pollution Protection (P2)
4 : Waste Minimization

่ วามสำเร็จในการทำเทคโนโลยีสะอาด
ข ้อที่ 86 : ข ้อใดไม่ใช่ปัจจัยสำคัญสูค
1 : การมีสว่ นร่วมของพนักงานทุกระดับอย่างสม่ำเสมอ
2 : มีแหล่งข ้อมูลสารสนเทศทีท ่ ันสมัย
3 : ความมุง่ มั่นของผู ้บริหาร
4 : รักษาความลับขององค์กรโดยไม่เปิ ดเผยข ้อมูลเกีย ่ วกับการทำเทคโนโลยีสะอาด

ข ้อที่ 87 : ข ้อใดต่อไปนีถ
้ ก

1 : ระบบการจัดการสงิ่ แวดล ้อม (EMS) คือโปรแกรมการปรับปรุงสงิ่ แวดล ้อมอย่างต่อเนือ
่ งตามขัน ้ ตอนท
2 : การควบคุมมลพิษ (Pollotion Control) คือ การป้ องกันไม่ให ้มลพิษเกิดขึน

3 : ISO 14000 Series คือ อนุกรมมาตรฐานทีจ ่ ัดทำขึน
้ โดยองค์กรมาตรฐานสากล (International Orga
4 : Pollution Prevention (P2) คือการลดมลพิษทีแ ่ หล่งกำเนิด หรือการลดของเสย ี ในทีท่ เี่ กิด โดยการใ

ข ้อที่ 88 : การใช ้หมุนเวียน (Recycling) มีความหมายตรงกับข ้อใด


1 : การใช ้ประโยชน์จากวัสดุทเี่ สียแล ้วในกระบวนการซ้ำอีกครัง้
2 : การนำของเสียของผู ้อืน ่ มาใช ้ประโยชน์
3 : การสกัดบางส่วนประกอบทีม ่ ค ่ นำมาใช ้
ี า่ จากของเสียเพือ
4 : ไม่มข ี ้อถูก

ข ้อที่ 89 : จงเรียงลำดับหลักการของ EMS ต่อไปนีใ้ ห ้ถูกต ้อง


1. การวางแผน
2. การมุง่ เน ้นและนโยบาย
3. การนำไปปฏิบต ั แ
ิ ละการดำเนินการ
4. การทบทวนและปรับปรุง
5. การตรวจสอบและการแก ้ไข

1 : 1-2-3-4-5
2 : 2-1-3-5-4
3 : 2-1-3-4-5
4 : 1-2-3-5-4

ข ้อที่ 90 : PDCA ย่อมาจากอะไรใน ISO 14000


1 : Plan Dream Cheer Act.
2 : Plan Dream Check Act.
3 : Plan Do Check Act.
4 : Plan Do Cheer Act.

ข ้อที่ 91 : โครงสร ้างของการวางแผนการจัดการสงิ่ แวดล ้อมประกอบด ้วยอะไรบ ้าง


1 : นโยบาย การติดตามตรวจสอบ โครงการ
2 : นโยบาย มาตรการ แผนงาน
3 : นโยบาย มาตรการ การติดตามตรวจสอบ
4 : นโยบาย แผนงาน การติดตามตรวจสอบ
ข ้อที่ 92 : ข ้อใดต่อไปนีไ
้ ม่จัดว่าเป็ น Pollution Charges ตามหลักการผู ้ก่อมลพิษคือผู ้จ่าย
1 : Subsidy
2 : Tax Differentiation
3 : Administrative Charges
4 : Effluent Charges

่ ง (Risk Management)
ข ้อที่ 93 : ข ้อใดคือกระบวนการหลักในการจัดการความเสีย
1 : การวางแผนความเสย ี่ ง
2 : การบ่งชค ี้ วามเสย
ี่ ง
3 : การประเมินความเสย ี่ ง
4 : การหาค่าความเสย ี่ ง

ข ้อที่ 94 : การให ้ความสำคัญในด ้านการจัดการสงิ่ แวดล ้อม ควรคำนึงถึงอะไร


1 : งบประมาณ
2 : กำลังคน
3 : ความปลอดภัย
4 : ความรุนแรงของปั ญหา

ข ้อที่ 95 : ข ้อใดเป็ นวัตถุประสงค์ของแนวทางการตรวจสอบงานวิศวกรรมระบบสุขาภิบาลในอาคาร


1 : เพือ ่ ความสะดวกสบาย สุขภาพทีด ่ ี
2 : เพือ ่ ทราบแนวทางการตรวจสอบอาคารทีถ ่ ก
ู ต ้อง และเกิดประโยชน์กบ ้
ั ผู ้ใช อาคาร เจ ้าของอาคาร และ
3 : เพือ ่ ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อม
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 96 : ข ้อใดไม่จัดเป็ นงานวิศวกรรมระบบสุขอนามัยและสงิ่ แวดล ้อม


1 : ระบบระบายน้ำเสย ี และ น้ำโสโครกจากสวม

2 : ระบบบำบัดน้ำเสย ี
3 : ระบบกำจัดขยะมูลฝอย
4 : ทุกข ้อจัดเป็ นงานวิศวกรรมระบบสุขอนามัยและสงิ่ แวดล ้อมทัง้ หมด

ข ้อที่ 97 : ข ้อใดต่อไปนีถ
้ กู
1 : ท่อน้ำโสโครก เป็ นท่อทีต ่ อ ้
่ จากโถสวมและโถปั สสาวะ

2 : ท่อน้ำเสย เป็ นท่อทีต่ อ ่ งระบายน้ำทีพ
่ จากอ่างล ้างหน ้า อ่างอาบน้ำ อ่างล ้างชาม ชอ ่ น
ื้
3 : ท่อระบายน้ำแนวระดับ เป็ นท่อทีร่ ับน้ำจากท่อน้ำทิง้ ทุกชนิดในอาคาร และส่งไปยังระบบบำบัดน้ำเสียห
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 98 : ข ้อใดควรเป็ นสัญลักษณ์และทิศทางการไหลของน้ำในท่อโสโครก ทีถ ่ ก


ู ต ้อง
1 : S โดยทีท ่ ศิ ทางการไหลทีแ ่ สดงด ้วยลูกศรชล ี้ ง
2 : V โดยทีท ่ ศิ ทางการไหลทีแ ่ สดงด ้วยลูกศรชข ี้ น
ึ้
3 : CW โดยทีท ่ ศ
ิ ทางการไหลทีแ ่ สดงด ้วยลูกศรชข ี้ น
ึ้ หรือ ลง แล ้วแต่กรณี
4 : ไม่มข ี ้อถูก

ข ้อที่ 99 : ข ้อใดเป็ นสว่ นประกอบของระบบระบายน้ำเสย ี และน้ำโสโครก


1 : ท่อระบายน้ำโสโครก ท่อระบายน้ำเสย ี และข ้อต่อต่างๆ
2 : ท่ออากาศ
3 : ช่องระบายน้ำทีพ
่ น
ื้ (floor drain) และ ช่องทำความสะอาดทีพ
่ น
ื้ (floor cleanout)
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 100 : ข ้อใดเป็ นแนวทางการจัดการขยะทีเ่ หมาะสมในทางปฏิบต ั สิ ำหรับประเทศไทย


1 : สำหรับอาคารสูง ควรมีห ้องขยะไว ้ทุกชน ั ้ เพือ
่ เก็บขยะไว ้ชวั่ คราวเพือ
่ ให ้พนักงานทำความสะอาดขนไป
2 : ในการลำเลียงขยะลงจากอาคาร ควรมีการแยกขยะแห ้งและขยะเปี ยกโดยใช ้ถุงขยะหรือถังขยะ
3 : มีการนำขยะกลับไปใชใหม่ ้ หรือ Recycle
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 101 : ข ้อใดเป็ นแนวทางการตรวจสอบระบบระบายอากาศ


1 : ตรวจดู การระบายอากาศออก และการนำเข ้าอากาศจากภายนอก
2 : ตรวจดูไอเสย ี ทีป ี อาคาร
่ ล่อยออกจากปล่องไอเสย
3 : ตรวจดูเอกสารรับรองต่างๆ ทีอ ่ อกโดยกรมควบคุมมลพิษ
4 : ถูกทุกข ้อ

รวมคะแนน 0
ข ้อที่ 102 : ข ้อใดเป็ นแนวทางการตรวจสอบท่อและข ้อต่อของระบบท่อ
1 : ต ้องไม่มรี อยรั่วซมึ
2 : ท่อต ้องได ้รับการติดตัง้ และรองรับหรือยึดท่ออย่างเหมาะสม

3 : ท่อแต่ละชนิด ทุกเสนควรทำส ั ลักษณ์ เชน
ญ ่ CW W S V RL และลูกศรแสดงทิศทางการไหลของขอ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 103 : ข ้อใดเป็ นลักษณะภาชนะรองรับขยะมูลฝอยทีถ


่ ก
ู สุขลักษณะ
1 : มีฝาปิ ดมิดชด ิ ป้ องกันแมลง และสต ั ว์
2 : ทำด ้วยวัสดุทแ ี่ ข็งแรง ทนทาน ไม่มก ึ
ี ารรั่วซม
3 : มีขนาดและความจุเพียงพอ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 104 : ข ้อใดเป็ นสถานทีต ่ งั ้ ของภาชนะรองรับขยะมูลฝอยทีถ


่ ก
ู สุขลักษณะ
1 : อยูห ่ า่ งจากสถานทีป ่ ระกอบอาหารมากกว่า 4.0 เมตร
2 : อยูใ่ นทีไ่ ม่มน
ี ้ำท่วมขัง หรือใกล ้แหล่งน้ำผิวดิน
3 : อยูใ่ นบริเวณทีถ ่ า่ ยเทขยะมูลฝอย และระบายอากาศได ้สะดวก
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 105 : ห ้องทีม


่ ก ้ อประกอบกิจกรรมซงึ่ ก่อให ้เกิดมลภาวะใด ต ้องมีระบบระบายอากาศ ตลอด
ี ารใชหรื
1 : กิจกรรมซงึ่ ก่อให ้เกิดฝุ่ น
2 : กิจกรรมซงึ่ ก่อให ้เกิดก๊าซไอระเหย
3 : กิจกรรมซงึ่ ก่อให ้เกิดควันพิษ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 106 : อาคารประเภทใดทีจ


่ ำเป็ นต ้องมีบอ
่ ดักไขมัน
1 : สถาน อาบ อบ นวด
2 : โรงละคร
3 : ภัตตาคาร
4 : อาคารสำนักงาน

ข ้อที่ 107 : ข ้อใดเป็ นแนวทางการตรวจสอบระบบระบายน้ำเสย ี


1 : ต ้องมีตะแกรงดักขยะ ก่อนระบายลงสูท ่ างระบายน้ำสาธารณะ
2 : สภาพของสว่ นประกอบของระบบระบายน้ำเสย ี และน้ำโสโครก ต ้องอยูใ่ นสภาพทีด ้
่ ี และสามารถใชงา
3 : ถ ้าอาคารมีศน ู ย์อาหาร หรือภัตตาคาร มักนิยมแยกท่อระบายน้ำจากครัวออกมาต่างหาก และต ้องมีบอ ่
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 108 : ข ้อใดเป็ นหน ้าทีข


่ องท่ออากาศ
1 : จัดให ้มีการไหลของอากาศเข ้า/ออก จากท่อระบายน้ำ
2 : รักษาความดันภายในท่อน้ำให ้คงที่
3 : รักษาระดับน้ำในทีด ่ ก
ั กลิน่
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 109 : ข ้อใดเป็ นแนวทางการตรวจสอบระบบบำบัดน้ำเสีย


1 : น้ำใช ้แล ้วจากอาคาร ต ้องมีระบบบำบัดน้ำใช ้แล ้วก่อนจะระบายลงสูท
่ างระบายน้ำสาธารณะ

2 : การสร ้างสวมภายในระยะ ้
20 เมตร จากเขตคูคลองสาธารณะ ต ้องสร ้างถังสวมชนิ ึ ไม่ได ้
ดน้ำซม

3 : ท่อซม ควรห่างจากแหล่งน้ำ ลำธาร คูคลองมากกว่า 30 เมตร
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 110 : ปั ญหาใดเป็ นปั ญหาทีม่ ักจะพบ ซงึ่ ทำให ้ระบบบำบัดน้ำเสย


ี ทำงานไม่ได ้อย่างมีประสท
ิ ธิภาพ
1 : ปั ญหาไขมันจากครัวทีไ่ ม่ได ้ถูกแยกออกไปก่อน เข ้าสูร่ ะบบบำบัดน้ำเสย ี
2 : ปั ญหาน้ำทิง้ จากห ้องซกั ผ ้า
3 : เครือ่ งเติมอากาศ, หัวจ่ายลม ไม่เพียงพอ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 111 : ข ้อใดควรปฏิบต ั เิ มือ ้ องทิง้ ขยะมูลฝอยพร ้อมห ้องเก็บขยะ


่ ใชปล่
1 : มีฝาปิ ดมิดชิดของช่องเปิ ดแต่ละชัน ้
2 : มีระบบฆ่าเชอ ื้ โรค และทำความสะอาดปล่องทิง้ ขยะ
3 : มีการคัดแยกขยะทีไ่ ม่เหมาะสมทิง้ ทีป ่ ล่อง ออกก่อน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 112 : ข ้อใดไม่ใช่ระบบบำบัดน้ำเสียแบบใช ้อากาศ


1 : บ่อหมัก
2 : บ่อบำบัดน้ำเสย ี แบบเติมอากาศ
3 : ระบบโปรยกรอง
4 : ระบบแผ่นหมุนชวี ภาพ

ั พันธ์ซงึ่ กันและกัน
ข ้อที่ 113 : ข ้อใดไม่สม
1 : ท่ออากาศ กับ น้ำในทีด ่ ก
ั กลิน ่
2 : ท่ออากาศ กับ ท่อระบายน้ำเสย ี
3 : ท่ออากาศ กับ ท่อน้ำประปา
4 : ทีด
่ ก
ั กลิน
่ กับ ท่อระบายน้ำเสีย

ข ้อที่ 114 : ข ้อใดถูกต ้อง


1 : การออกแบบระบบระบายน้ำทิง้ ของอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ ต ้องดำเนินการโดยผู ้ได ้รับใ
2 : การระบายน้ำฝนออกจากอาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ จะระบายลงสูแ ่ หล่งรองรับน้ำทิง้ โดยตรงก็ได ้
3 : ระบบบำบัดน้ำเสีย จะแยกเป็ นระบบอิสระเฉพาะอาคาร หรือเป็ นระบบรวมของส่วนกลางก็ได ้
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 115 : ข ้อใดถูกต ้อง


1 : น้ำเสย ี ต ้องผ่านระบบบำบัดน้ำเสย
ี จนเป็ นน้ำทิง้ ตามมาตรฐานคุณภาพน้ำทิง้ จากอาคาร ก่อนระบายสูแ่
2 : ทางระบายน้ำทิง้ แบบท่อปิ ด ต ้องมีบอ่ ตรวจการระบายน้ำทุกระยะไม่เกิน 8.0 เมตร และทุกมุมเลีย้ ว
3 : การระบายน้ำฝนออกจากอาคารสูง จะระบายลงสูแ ่ หล่งรองรับน้ำทิง้ โดยตรงก็ได ้
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 116 : ข ้อใดถูกต ้อง


1 : อาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ ต ้องมีการจัดเก็บขยะมูลฝอยโดยวิธข ี นลำเลียง หรือทิง้ ลงปล่อ
2 : การคิดปริมาณมูลฝอยทีเ่ กิดขึน
้ ในอาคารเพือ่ การอยูอ
่ าศัย จะไม่น ้อยกว่า 2.4 ลิตรต่อคนต่อวัน
3 : การคิดปริมาณมูลฝอยทีเ่ กิดขึน้ ในอาคารเพือ่ การพาณิชยกรรม จะไม่น ้อยกว่า 0.4 ลิตรต่อตารางเมตร
4 : ถูกทัง้ คำตอบที่ 1 2 และ 3

ข ้อที่ 117 : ข ้อใดต่อไปนีถ ้ ก


ู ต ้อง
1 : ทีพ ่ ักรวมมูลฝอยทีม ่ ข
ี นาดความจุเกิน 3 ลูกบาศก์เมตร ต ้องมีระยะห่างจากสถานทีป
่ ระกอบอาหารและ
2 : ถูกทุกข ้อ
3 : ทีพ ่ ักรวมมูลฝอยต ้องมีการระบายอากาศและป้ องกันน้ำเข ้า
4 : ทีพ ่ ักรวมมูลฝอยต ้องมีระยะห่างจากสถานทีป ่ ระกอบอาหารและเก็บอาหารไม่น ้อยกว่า

ข ้อที่ 118 : ข ้อใดถูกต ้องสำหรับบันไดหนีไฟ


1 : อยูต ่ ด
ิ กับภายนอกอาคาร และเปิ ดโล่งตลอดความสูงของบันได
2 : จะต ้องมีป้ายแสดงบันไดหนีไฟทีเ่ รืองแสงได ้ อยูห ื ไม่เล็กกว่า
่ น ้าบันไดหนีไฟ และมีขนาดตัวหนังส อ
3 : ประตูหนีไฟทีช ั ้ บนๆของอาคาร จะต ้องสามารถเปิ ดเข ้าในบันไดได ้ตลอดเวลา และสำหรับประตูชน
่ น ั้ ล
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 119 : ประเภทของการใช ้งานสำหรับระบบท่อยืนและสายฉีดน้ำดับเพลิง ต่อไปนี้ ข ้อใดผิด


1 : ประเภทที่ 1 = สำหรับพนักงานดับเพลิงใชสายฉี
้ ดน้ำดับเพลิงขนาดใหญ่ ขนาดสาย
่ าศัยภายในอาคารใช ้จนกว่าพนักงานดับเพลิงจะมาถึง ขนาดสาย
2 : ประเภทที่ 2 = สำหรับผู ้อยูอ
3 : ประเภทที่ 3 = สำหรับพนักงานดับเพลิงใช ้สายฉีดน้ำดับเพลิงขนาดใหญ่ ขนาดสาย
4 : ประเภทที่ 4 = สำหรับพนักงานดับเพลิงใชสายฉี้ ดน้ำดับเพลิงขนาดใหญ่ ขนาดสาย

ข ้อที่ 120 : ในชว่ งปี พ.ศ. 2542-2543 กรมโรงงานอุตสาหกรรม ได ้มอบหมายให ้สถาบันสงิ่ แวดล ้อมอุตส
แห่งประเทศไทย (สอ.ส.อ.ท.) ดำเนินการจัดทำโครงการ เทคโนโลยีสะอาดชว่ ยเพิม ่ ขีดความสามารถใน
ข ้อใดไม่ใชเ่ ป้ าหมายหลักของโครงการนี้
1 : อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร
2 : อุตสาหกรรมสงิ่ ทอ
3 : อุตสาหกรรมกระดาษ และเยือ ่ กระดาษ
4 : อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์

ข ้อที่ 121 : ปั ญหามลพิษทางอากาศทีเ่ กิดที่ อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง เกีย


่ วข ้องกับตัวเลือกใดมากทีส
่ ด

1 : การผลิตไฟฟ้ าจากถ่านหินลิกไนต์ ทำให ้เกิดสารปรอทและแคดเมียมปริมาณมาก เกิดเป็ นฝนกรด
2 : การผลิตไฟฟ้ าจากถ่านหินลิกไนต์ ทำให ้เกิดคาร์บอนไดออกไซด์ปริมาณมาก เป็ นอันตรายต่อคน สต ั
3 : การผลิตไฟฟ้ าจากถ่านหินลิกไนต์ ทำให ้เกิดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ปริมาณมาก เป็ นอันตรายต่อคน
4 : การผลิตไฟฟ้ าจากน้ำมัน ทำให ้เกิดไนตรัสออกไซด์และตะกัว่ สะสมในบรรยากาศปริมาณมาก เป็ นอัน

ี ) ทีจ
ข ้อที่ 122 : ปั ญหาโครงการวางท่อก๊าซเจดีเอ (ไทย-มาเลเซย ่ ังหวัดสงขลา ยังไม่สามารถดำเนินกา
1 : ความไม่มั่นใจในผลประโยชน์ทไี่ ด ้รับจากโครงการ
2 : ความไม่ยอมรับในโครงการของชุมชน
3 : ความไม่มั่นคงทางเศรษฐกิจในชว่ งทีผ ่ า่ น
้ งงานในสว่ นนี้
4 : ยังไม่จำเป็ นต ้องใชพลั

ข ้อที่ 123 : ข ้อใดไม่ถก


ู ต ้อง
1 : การระบายน้ำออกจากอาคารไม่วา่ จะเป็ นน้ำโสโครกหรือน้ำเสีย จะอาศัยการไหลด ้วยแรงโน ้มถ่วงของ
2 : ความลาดเอียงสำหรับท่อระบายน้ำในแนวระดับ ความลาดเอียงทีน ่ ยิ มใช ้ก็คอื 1:50 แต่ถ ้ามีข ้อจำกัดด
3 : ความลาดเอียงสำหรับท่อระบายน้ำในแนวระดับ ความลาดเอียงทีน ่ ยิ มใช ้ก็คอื 1:100
4 : คำตอบที่ 1และ 2 ถูกต ้อง

ข ้อที่ 124 : ข ้อใดถูกต ้อง


1 : ความลาดเอียงของระบบท่อระบายน้ำจะใชค่้ าความลาดชน ั ประมาณ 2% และไม่ควรน ้อยกว่า
2 : ขนาดของท่อระบายน้ำโสโครก ต ้องไม่เล็กกว่า 4 นิว้
3 : ท่อระบายน้ำเสย ี ต ้องไม่เล็กกว่า 2 นิว้
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 125 : ข ้อใดถูก


1 : วัสดุทใี่ ชส้ ำหรับท่อระบายน้ำโสโครก โดยทั่วไปจะใชท่ ้ อเหล็กหล่ออาบยางกันสนิม
2 : วัสดุทใี่ ชส้ ำหรับท่อระบายน้ำเสย
ี สามารถใชท่้ อเหล็กหล่อ ท่อเหล็กอาบสงั กะส ี หรือท่อพีวซ
ี ี ก็ได ้
3 : วัสดุทใี่ ช ้สำหรับท่อระบายน้ำแนวระดับ นิยมใช ้ท่อซิเมนต์ใยหิน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 126 : ข ้อใดเป็ นหน ้าทีข


่ องท่ออากาศ
1 : ทำให ้การไหลในท่อระบายน้ำไหลได ้สะดวก
2 : ใช ้เป็ นท่อรักษาความดันในการไหล
3 : ระบายก๊าซต่างๆ ภายในท่อระบายน้ำออกไปสูบ ่ รรยากาศ
4 : คำตอบทุกข ้อเป็ นหน ้าทีข ิ้
่ องท่อระบายอากาศทัง้ สน

ข ้อที่ 127 : ข ้อใดต่อไปนีไ


้ ม่น่าจะถูกต ้อง
1 : ระบบระบายน้ำฝนประกอบด ้วยท่อระบายน้ำฝน และชอ ่ งระบายน้ำฝนเท่านัน

2 : ขนาดของท่อระบายน้ำฝน ขึน ้ อยูก่ บ
ั พืน
้ ทีร่ ับน้ำและจำนวนท่อระบายน้ำฝน
3 : ระบบระบายน้ำฝนเป็ นระบบทีค ่ วรต ้องแยก ต่างหากจากระบบระบายน้ำ
ี ก่อ
4 : น้ำฝนสามารถระบายลงยังท่อน้ำหรือแหล่งน้ำสาธารณะได ้โดยตรง โดยไม่จำเป็ นต ้องบำบัดน้ำเสย
่ ักจะพบ ซงึ่ เป็ นปั ญหาทีร่ ะบบบำบัดน้ำเสย
ข ้อที่ 128 : ข ้อใดเป็ นปั ญหาทีม ี ทำงานไม่ได ้อย่างมีประสท
ิ ธิภ
1 : ปั ญหาไขมัน (grease) จากครัวทีไ่ ม่ได ้ถูกแยกออกไปก่อน จะมีผลต่อขบวนการย่อยสลายของจุลชีพ
2 : ปั ญหาน้ำทิง้ จากห ้องซักผ ้า ซึง่ มีสารซักฟอกปนมามาก
3 : ปั ญหาเรือ่ งกลิน

4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 129 : ข ้อใดเป็ นปั ญหาทีเ่ กิดขึน


้ กับระบบการจัดการขยะของอาคาร
1 : ระบบกำจัดขยะมูลฝอย มักจะถูกมองข ้ามไป
2 : การลำเลียงขยะจากอาคารมายังบริเวณเก็บขยะมักก่อให ้เกิดปั ญหาเรือ ่ งความสกปรกเลอะเทอะ
3 : ไม่มก ี ารแยกขยะแห ้งขยะเปี ยกออกจากกัน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที่ 130 : ปั ญหาทั่วไปของระบบสุขาภิบาลทีพ


่ บบ่อยๆ
1 : ท่อรั่ว ท่อแตกใต ้ดิน ใต ้อาคาร ในกำแพง
2 : ห ้องน้ำชัน้ ล่างอืดชักโครกไม่ลง
3 : ห ้องน้ำมีกลิน ่ เหม็นตลอดเวลา
4 : ถูกทุกข ้อ

รวมคะแนน 0
ั ญา 300 วัน เมือ
บบ unit-price การจ่ายค่าจ ้างทุกๆ 30 วัน ระยะเวลาทำงานตามสญ ่ ทำการขุดดินได ้ครบ 30 วันแล ้ว นายขาวจะได ้รับค่าจ ้า

ค่าก่อสร ้างทัง้ หมด


ตรวจสอบจากผู ้ว่าจ ้างแล ้ว

น มีความจำเป็ นต ้องเปลีย ่ ลิฟต์โดยสารซงึ่ มีน้ำหนักมากกว่าทีร่ ะบุในแบบ


่ นรุน
วกรรมควบคุมระดับสามัญโยธาเป็ นผู ้คำนวณเปลีย ่ นแปลงรายละเอียดโครงสร ้างทีเ่ กีย
่ วข ้อง จำเป็ นต ้องได ้รับอนุมัตจ
ิ ากผู ้ใดหรือไม่

ตเทศบาลเมืองสงขลา เป็ นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 1 หลัง เมือ


่ ทำการปั กผังและขุดหลุมฐานรากแล ้ว เจ ้าของโครงการเห็นว่าจะมีผู ้มาเช่า

นุมัตจ
ิ ากผู ้ใด

ว่างทำการก่อสร ้าง ผู ้ควบคุมงานของเทศบาลฯพบว่าสภาพดินคันทางช่วง Sta.2+450 ถึง Sta.2+475 มีรอ


่ งดินเลน(Soft clay)

นุมัตจ
ิ ากผู ้ใด

้ น 100 ล ้านบาท ได ้ว่าจ ้างสำนักงานออกแบบ และดำเนินการขออนุญาตจากเทศบาลเป็ นทีเ่ รียบร ้อย ใน


ละสระว่ายน้ำ โดยใชงบประมาณลงทุ

อนุมัตใิ ห ้บริษัทรับจ ้างช่วงทำการติดตัง้ แผ่นใยไฟเบอร์หลังคาอาคารผู ้โดยสารขาออก คณะกรรมการตรวจการจ ้างได ้ทำการตรวจรับเรียบร ้อย


ราบ (Horizontal)

วราบ (Vertical)

งโครงการ และ ผู ้รับเหมาใกล ้เคียงกันทีส


่ ด

on) ในแนวราบ

นการทำงาน
าก ‘เจ ้าของงานแบบภาครัฐ’

ปลีย่ นแปลงไม่ได ้
ถ ้าเป็ นประโยชน์ตอ่ เจ ้าของงาน

าก ‘เจ ้าของงานแบบภาคเอกชน’

ธรรมได ้ตามขัน
้ ตอนของรัฐ

านร่วมกัน และเสนอราคาก่อสร ้างรวมค่าออกแบบต่อเจ ้าของงาน โดยผู ้ออกแบบและก่อสร ้างจะเป็ นผู ้ลงทุนให ้ก่อน” ลักษณะการว่าจ ้างงานท

นักงานภาคสนาม

ั ญาทีท
ญาในรูปแบบใด “สญ ่ ำให ้คูส ั ญาต่างเป็ นทัง้ เจ ้าหนีแ
่ ญ ้ งึ่ กันและกัน หรือกล่าวได ้ว่า คูส
้ ละลูกหนีซ ั ญาต่างมีหนีห
่ ญ ่ ะต ้องชำ
้ รือมีหน ้าทีจ

บงานก่อสร ้างทีเ่ จ ้าของงานต ้องการเร่งรัดให ้เสร็จเร็วทีส


่ ด
ุ หรือเป็ นลักษณะงานพิเศษทีท
่ งั ้ ผู ้รับเหมาและเจ ้าของยังไม่เคยทำมาก่อน โดยตก

fee and Profit)


ต่เริม ิ้ สุดโครงการ
่ ต ้นจนสน

งานทีก
่ ำหนด

น่วยงานผู ้รับจ ้างก่อสร ้าง


มเห็นในการแก ้ไขปั ญหานี้

(Infrastructure Project)
ผลประโยชน์กบ ั ภาครัฐ
งธุรกิจการค ้าเป็ นหลัก
ม่ต ้องมีผู ้รับเหมาหลัก
ท่านัน้ เพือ
่ ความคุ ้มค่าการลงทุน

มต ้องการของบุคคลกลุม
่ ใดเป็ นหลัก

รบรรลุวัตถุประสงค์ทตี่ งั ้ ไว ้
ญในสาขานัน ้ ๆ เพราะสามารถฝึ กหัดอบรมเมือ
่ เริม
่ ทำงานได ้
ากสายงานในองค์กรหลัก

งตอบต่อจุดมุง่ หมายหรือวัตถุประสงค์ทก
ี่ ำหนดไว ้ โดยงานก่อสร ้างจำแนกเป็ นสายงานได ้ 2 สายงาน คือ สายงานหลัก (Line Agency)
มาะสม ซงึ่ การจัดองค์การแต่ละรูปแบบก็จะมีลักษณะต่างกัน ข ้อใดกล่าวถึงรูปแบบการจัดองค์กรไม่ถกู ต ้อง
นโครงการเป็ นส่วนๆ หรือกลุม
่ งานแล ้วมอบหมายให ้บุคลากรในแผนกต่างๆ ในผังบริหารโครงการแม่รับผิดชอบไป โดยการประสานงานจะท
จของโครงการเป็ นหลัก ในการบริหารงานผู ้จัดการแผนกขององค์การแม่จะมีอำนาจเด็ดขาดในการตัดสน ิ ใจทุกอย่างในโครงการโดยมีผู ้จัดกา
นลักษณะการผสมผสานอำนาจ และหน ้าทีค ่ วามรับผิดชอบระหว่าง การจัดองค์การตามหน ้าทีก
่ ารงาน และ การจัดองค์การแบบโครงการ
จัดองค์กรสำหรับบริษัทก่อสร ้างทีม
่ ข
ี นาดใหญ่

นรายการน ้อย เนือ


้ งานสุดท ้ายได ้จากกระบวนการก่อสร ้างหลายขัน ่ ท ้จริงซ งึ่ ผู ้รับเหมาจะได ้รับจากเจ ้าของงานคำนวณจ
้ ตอน มูลค่าสุดท ้ายทีแ

แบบและเงือ ่ นไขใดต่อไปนีม ้ ากทีส ่ ด



งานก่อสร ้างทีจ ่ ง
่ ะกระตุ ้นให ้ผู ้รับเหมารับความเสีย
บก่อสร ้างทีส่ มบูรณ์ มีเพียงข ้อกำหนดและความต ้องการในแต่ละชว่ งเวลาของโครงการ
อย่างเคร่งครัด ไม่มก ้
ี ารแก ้ไขแบบก่อสร ้างตามความต ้องการของเจ ้าของโครงการในการใช งาน วัสดุ และรายละเอียดแบบก่อสร ้าง

ั ญาว่าจ ้างผู ้รับเหมา


บการทำสญ

ทางกฎหมายมากนัก แต่จำเป็ นต ้องเขียนให ้ได ้เนือ ้ ความจะแจ ้งและรวบรัดทีส ่ ด



ยุน
่ ในการตีความ
ี ความหมายแต่อย่างใด
องไม่ให ้เสย
ภท “คุณภาพดีทส ุ ” หรือ “เป็ นการสัง่ งานโดยสถาปนิก” เพือ
ี่ ด ่ ไม่เป็ นช่องว่างทีเ่ ปิ ดโอกาสให ้เจ ้าของเอาเปรียบผู ้รับเหมา

ump-sum contract)

ร ้างน ้อยกว่าผู ้รับเหมา เพราะรู ้งบประมาณทีแ


่ น่นอน

หน่วย (unit-price contract)

งานทีว่ ัดได ้แท ้จริง


มโอกาสในการทำกำไรให ้แก่ตนเอง

ee maximum price (GMP)


กลงระหว่างเจ ้าของโครงการและผู ้รับเหมา
ร ้างสูงกว่าผู ้รับเหมา เพราะไม่ทราบราคาทีแ
่ น่นอน

nkey มากทีส
่ ด

จัดเป็ นสัญญาประเภทใด

บบกิจการร่วมค ้า (joint venture) สำหรับผู ้รับเหมาก่อสร ้าง

งงานบุคลากรตามลำดับ จากเริม ิ้ สุด


่ ต ้นจนสน

ี่ งในงานก่อสร ้าง
บผู ้รับเหมาถือเป็ นความเส ย

ี่ งทัง้ หมดอยูภ
ามเสย ่ ายใต ้การควบคุมของผู ้รับเหมา
องโครงการกับผู ้รับเหมาในงานก่อสร ้าง
มเหมาะสมในกรณีใดมากทีส
่ ด

มอบงาน ในกรณีทผ
ี่ ู ้ว่าจ ้างเป็ นผู ้จัดหาสัมภาระ และเหตุแห่งความวินาศไม่ได ้เกิดจากผู ้ว่าจ ้างหรือผู ้รับจ ้าง เป็ นดังนี้ (ข ้อใดถูก)

ปแบบห ้างหุ ้นสว่ นจำกัด และบริษัทจำกัด



์ รคล ้ายคลึงกัน
Sum ในโครงการลักษณะใด

คาได ้อย่างถูกต ้อง


้าของได ้ราคาก่อสร ้างทีถ
่ ก
ู ลง
ยะเวลาการก่อสร ้างลดลง

oject Life Cycle)

esign-Build
บ Design-Bid-Build
or, ตกลงแบบ Turn-Key
งแบบ Design-Bid-Build

oject Development Life Cycle)


perating & Maintenance

on & Maintenance

งการก่อสร ้าง

วามสำคัญทีส่ ด
ุ ทีจ ่ ะมีผลกระทบต่อโครงการมากทีส ่ ด

โดยสว่ นใหญ่สามารถทำให ้คุ ้มทุนหรือไม่ก็ได ้
การสมบูรณ์ทส ุ ต่อการใช ้ Facility ในอนาคต รวมทัง้ การบริหารจัดการบุคคลากรของโครงการ
ี่ ด
เคราะห์ Need Analysis หลังจาก การทำ Design Development เพือ ่ ให ้การก่อสร ้างง่ายขึน

การก่อสร ้าง

ให ้ นาย ข. รับจะดำเนินการก่อสร ้างให ้โดยเสนอราคารวมทัง้ หมดกับการบริหารทีใ่ ห ้โดย ก. อย่างไรก็ตาม นาย ข. ได ้ติดต่อให ้นาย ค
ย ง. เป็ นทีป
่ รึกษา และจัดหาผู ้รับเหมาก่อสร ้าง

ราบเพือ
่ ให ้นาย ข. แก ้ไขให ้ถูกต ้อง
มความต ้องการ ของนาย ก. โดยเสมือนเป็ นตัวแทนของนาย ข.

ให ้ นาย ข. รับ จะดำเนินการก่อสร ้างให ้โดยเสนอราคารวมทัง้ หมดกับการบริหารทีใ่ ห ้โดย ก. อย่างไรก็ตาม นาย ข. ได ้ติดต่อให ้นาย ค
ย ก. สำหรับ นาย ข. ไม่ต ้องรับผิดชอบ เพราะไม่ใช่ผู ้ออกแบบ

น ้าทีต
่ ามทีต
่ กลงกับ นาย ข.
บบ Lump-Sum Contract

ก่อสร ้างประเภทออกแบบ ประกวดราคา และก่อสร ้าง (design-bid-build)


pecifications) ของสิง่ ปลูกสร ้างเพือ
่ ใช ้ในการก่อสร ้าง

งให ้เป็ นไปตามแบบก่อสร ้างและข ้อกำหนด

เภทออกแบบ ประกวดราคา และก่อสร ้าง (design-bid-build)


สอบและถ่วงดุลซงึ่ กันและกัน
บและผู ้รับจ ้างก่อสร ้าง
รถเข ้าใจแบบก่อสร ้างได ้อย่างถูกต ้อง
ไม่สามารถทำควบคูก ่ น
ั ไปได ้

ะก่อสร ้าง (design and build) มากทีส


่ ด

ประเภทออกแบบและก่อสร ้าง (design and build)


ไม่สามารถทำควบคูก ่ น
ั ไปได ้
รถเข ้าใจแบบก่อสร ้างได ้อย่างถูกต ้อง

สอบและถ่วงดุลซงึ่ กันและกัน

วดราคา และก่อสร ้าง (design-bid-build)

ธีการจ่ายเงิน (method of payment) แก่ผู ้รับจ ้าง


รับจ ้างหลักหลายเจ ้า (multiple contract)

ั ญาแบบต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ (cost-plus-fee)


t-price) และสญ
บเจรจาต่อรอง (negotiated contract)

คคลทีเ่ ป็ นคูส ั ญา
่ ญ
รับจ ้างหลักหลายเจ ้า (multiple contract)

t-price) และสัญญาแบบต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ (cost-plus-fee)


บเจรจาต่อรอง (negotiated contract)

ำนวนของผู ้รับจ ้างทีผ


่ ู ้ว่าจ ้างทำสัญญาด ้วย
รับจ ้างหลักหลายเจ ้า (multiple contract)

t-price) และสัญญาแบบต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ (cost-plus-fee)


บเจรจาต่อรอง (negotiated contract)

ธีจัดหาผู ้รับจ ้างก่อสร ้าง


รับจ ้างหลักหลายเจ ้า (multiple contract)

ั ญาแบบต ้นทุนบวกค่าดำเนินการ (cost-plus-fee)


-price) และสญ
บเจรจาต่อรอง (negotiated contract)
(lump-sum)

าครัฐ ราคาต่อหน่วยสามารถปรับเปลีย
่ นได ้ในกรณีใด

ั ญามาก ๆ
ไว ้ในสญ

จ่ายต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน


้ จริงในโครงการ รวมถึงค่าดำเนินการของผู ้รับจ ้างก่อสร ้าง

location) แก่ผู ้รับเหมาก่อสร ้างจากมากทีส


่ ด
ุ ไปน ้อยทีส
่ ด

location) แก่เจ ้าของโครงการจากมากทีส


่ ด
ุ ไปน ้อยทีส
่ ด

วิธเี จรจาต่อรองได ้

โดยวิธป
ี ระกวดราคาแข่งขันได ้

ั ญาจ ้างก่อสร ้างในโครงการก่อสร ้างภาครัฐ


ลือกประเภทของสญ

าประเภทผู ้รับจ ้างหลักหลายเจ ้า (multiple contract)

ต ้องและเหมาะสมในเรือ
่ งต่าง ๆ อย่างละเอียดถีถ
่ ้วน

งค์กรประสบความสำเร็จในทีส
่ ด

อมกับอำนาจในการดำเนินงาน (authority) ด ้วย

ทำกิจกรรมก่อนหลัง เป็ นหลักในการจัดวางแผนการทำงาน คือเทคนิคการวางแผนงานใด

แน่นอนและการทำกิจกรรมก่อนหลัง เป็ นหลักในการจัดวางแผนการทำงาน คือเทคนิคการวางแผนงานใด


่ งของแต่ละกิจกรรมการทำงาน คือการวางแผนโดยใช ้เทคนิคใด
กำหนดการทำงานต่อเนือ

5 วันต่อสัปดาห์ หยุดเสาร์และอาทิตย์ ข ้อใดถูกต ้อง

ั ดาห์ หยุดเสาร์และอาทิตย์ ข ้อใดถูกต ้อง


5 วันต่อสป

นเสารอาทิตย์ด ้วย จะทำให ้งานเสร็จเร็วขึน


้ 6 วัน
23 มีนาคม 2556
นที่ 21 มีนาคม 2556

5 วันต่อสัปดาห์ หยุดเสาร์และอาทิตย์ ข ้อใดถูกต ้อง


รรมต่อเนือ
่ งจะเริม
่ ในวันที่ 21 มีนาคม 2556

ั ดาห์ หยุดเสาร์และอาทิตย์ ข ้อใดกล่าวถึงการทำงานจากแผนงานนี้


5 วันต่อสป

การไม่ลา่ ชา้

r Chart เพือ ื่ สารง่ายขึน


่ ทำให ้การสอ ้ และมีการคำนวณผลกระทบของกิจกรรม
PERT เพราะทำได ้ง่ายกว่า มีความแม่นยำกว่า
nce เพราะ Line of Balance จะเหมาะกับการทำงานทีซ ่ ้ำซ ้อน กิจกรรมทำงานพร ้อมกัน
h Method) ไม่ควรใช ้ Bar Chart เพราะไม่เหมาะสมและไม่ควรใช ้ Line of Balance เพราะงานมักไม่ Balance กัน

ผลกระทบต่อกิจกรรมอะไรบ ้าง
รทำกิจกรรมมากทีส
่ ด

บต่อกิจกรรมต่อมา
หล็กมากทีส
่ ด

บคุมงานในขณะการดำเนินงาน หากมี Foreman ทีม ่ ค
ี วามสามารถอยูท
่ ดแทนแล ้ว
ะเอียดตัง้ แต่กอ
่ นก่อสร ้าง ระหว่างการก่อสร ้าง และหลังการก่อสร ้าง
มสามารถของผู ้รับเหมา แต่เป็ นเรือ ่ งของการควบคุมงานทีด ่ ี
รวจสอบมาตรฐานการวัด จะทำให ้ไม่ต ้องคำนึงถึงคุณภาพของผู ้ตรวจสอบงานมากนัก

ทีร่ ะบุในแบบก่อสร ้างและรายการประกอบแบบ ให ้ยึดถือตามทีร่ ะบุไว ้ในรายการประกอบแบบ


ศวกรผู ้ควบคุมงานสามารถลดขนาดหรือคุณลักษณะลงได ้ตามความเหมาะสม
้ลดการใส่เหล็กเสริมลง 5% วิศวกรควบคุมงานก็สามารถลดการใส่เหล็กเสริมลง 5% วิศวกรควบคุมก็สามารถทำได ้

p Drawings
ฉบับมาไว ้เป็ นหลักฐาน
งขออนุมัตใิ หม่

วบคุมงาน มีประโยชน์อย่างไร

หักระหว่างการดำเนินการตอกเสาเข็ม
มากกว่ามาปูพนื้ ห ้องน้ำ
้าวกลางวันมาให ้ทีห่ น่วยงานก่อสร ้าง

ระหว่างเจ ้าของงานกับผู ้รับเหมาก่อสร ้าง



ามารถนำไปใชในการดู แลอาคาร
ละวิศวกร ซงึ่ สามารถนำมาเป็ น As built drawings ได ้หากไม่มก
ี ารปรับแก ้เกิน 50%
งานได ้ตรงตามแผนงาน ผู ้รับเหมาควรทำ Shop Drawings ตัง้ แต่เริม
่ โครงการ
านฉาบผนัง เพราะจะทำให ้เสย ี เวลา
งท่อเหนือฝ้ าภายหลังได ้
ระดับการปูกระเบือ
้ งห ้องน้ำ เพราะอาจทำให ้ยากและเสียเวลา

มีคา่ กำลังอัดประลัยของคอนกรีตทีใ่ ช ้ออกแบบและผลการทดสอบดังนี้


ะต ้องบริหารจัดการในภาพรวมระหว่าง Time, Cost และ Quality
ำเป็ นทีอ
่ าจเกิดจากงานทีผ ่ ด
ิ พลาด
นเป็ นผู ้ตรวจสอบเบือ
้ งต ้นเท่านัน

ของงานไม่ผา่ นตามเกณฑ์ทก
ี่ ำหนด

ยในงานก่อสร ้าง

ถรับน้ำหนักประมาณเท่าไร หากมีคา่ Safety Factor เท่ากับ 1.5


ข ้องกับหน่วยงานราชการหน่วยใด

ป็ นความรับผิดชอบของฝ่ ายใด
วยงานก่อสร ้าง

ามีผู ้ควบคุมงานไม่เพียงพอ
านเป็ นหลัก สว่ นเรือ
่ งความปลอดภัยเป็ นเรือ
่ งทีม ี วามสำคัญรองลงมา 
่ ค

องเปิ ดทีพ
่ น
ื้ ในหน่วยงานก่อสร ้าง

นเหล็กหนา

คุณสมบัตอ
ิ ย่างไร

วกรดูแลอยู่ ส งิ่ ใดทีต


่ ้องปฏิบต
ั ิ
และท่านในฐานะวิศวกรพาเดินชมการก่อสร ้างอาคารสูง

ป้ องกันและแก ้ไข ควรพิจารณา

นว่าเป็ นเรือ ่ งไม่ส ำคัญและเป็ นการสน ิ้ เปลืองค่าใชจ่้ าย ซงึ่ เป็ นความเข ้าใจทีผ
่ ด

กันอุบต ั เิ หตุในสถานทีก ่ อ
่ สร ้าง
ย่างน ้อยทีส ่ ด
ุ คือตามกฎหมายทีก ่ ำหนด
ผู ้รับผิดชอบด ้านความปลอดภัยเท่านัน ้
ออก เนือ ั ญาเชา่ มานานแล ้ว โดยท่านได ้ทำความสะอาดพืน
่ งจากเลยสญ ้ ทีใ่ ห ้เรียบร ้อยในสภาพเดิม

พย์สนิ ของพนักงานในงานก่อสร ้าง


าทำงานเป็ นคนงานก่อสร ้าง
ก่คนงานทุกประเภทได ้รับทราบ
es เป็ นเงินก ้อนเมือ
่ เริม่ โครงการ
es เป็ นเงินก ้อนเมือ่ เริม่ โครงการ

แวดล ้อมคืออะไร

ยะแบบไม่ใช ออกซ เิ จน
ั สว่ นโดยตรงกับความเข ้มข ้นของสารอินทรีย ์ โดยจัดเป็ นสมการลำดับที่ 1 จงหา Lt (dLt /dt) = -k*Lt
จะเป็ นสด

mg/L , K = 0.15 day-1 , k = 2.303 (K) และT = 20๐C จงหา BODU

ั ้ บรรยากาศ
กการไปทำลายโอโซนในชน

นกรด (Acid Rain)


ย์ทงั ้ หมดในน้ำ
อินทรียม ์ ากน ้อยเพียงใด
รย่อยสลายสารอินทรียใ์ นน้ำ

อดี จะพบผลอย่างไร
้ทีไ่ ม่สมบูรณ์

งกว่าปกติ จะส่งผลทำให ้สิง่ แวดล ้อมของแม่น้ำลำคลองเปลีย


่ นไปอย่างไร
มตัวของออกซิเจนในน้ำจะลดลงเมือ ่ มีอณ
ุ หภูมส
ิ งู ขึน

ก หมายถึง สมบัตข
ิ ้อใด
ี มาวิเคราะห์หาค่า BOD ในห ้องปฏิบต
น้ำเสย ั ก
ิ ารด ้วยวิธกี ารเจือจางซงึ่ ใชขวด
้ BOD ขนาด 300 มล. โดยใชตั้ วอย่างน้ำเสย
ี ปริมาตร
และ 10 มล. ตามลำดับ และค่า BOD ของน้ำเสยเฉลียี ่ เท่ากับ 120 มก./ลิตร
และ 10 มล. ตามลำดับ และค่า BOD ของน้ำเสียเฉลีย ่ เท่ากับ 120 มก./ลิตร
และ 10 มล. ตามลำดับ และไม่สามารถรายงานค่า BOD ของน้ำเสียได ้ เนือ ่ งจากออกซิเจนละลายถูกใช ้หมด

กาศของโลกเปลีย
่ นแปลง

mental protection programs

ทบต่อสิง่ มีชวี ต

มีชวี ต
ิ ในแหล่งน้ำ

หนึง่ ในประเทศไทย โดยสมมติวา่


ี ทำงานไม่มป
เสย ิ ธิภาพ
ี ระสท

องควบคุมอะไร

บบไม่ใช ้อากาศ

น+NH3+H2S+อืน
่ ๆ


บบใชอากาศ

น+NH3+H2S+อืน
่ ๆ

าเกณฑ์ทจ
ี่ ะทิง้ ลงแหล่งน้ำได ้
ดำเนินการได ้

รทำงานของระบบสงิ่ แวดล ้อม

ร ลดอุบต
ั เิ หตุตา่ งๆ และลดผลเสียอันเกิดต่อมนุษย์

ารสามารถทำได ้โดย

บสงิ่ แวดล ้อม


แปลงแต่ไม่ถงึ 500 แปลง

สงิ่ แวดล ้อมแห่งชาติ ฉบับปี พ.ศ. ใด

2538) เรือ
่ งกำหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป กำหนดว่าการวัดค่าเฉลีย
่ ของตะกัว่ และฝุ่ นละอองในบรรยากาศโดยท

นอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม กำหนดไว ้ว่าบีโอดีต ้องมีคา่ ไม่เกินเท่าใด

ชาติ พ.ศ.2540 - 2559 ประกอบด ้วยนโยบายหลักกีป


่ ระการ

ดล ้อมแห่งชาติ พ.ศ.2540 - 2559


ท ก. ซงึ่ จะมีคา่ มาตรฐานน้ำทิง้ สำคัญๆ เชน่ ค่า BOD กำหนดไว ้ไม่ให ้เกิน 20 มก/ล
ท ข. ซงึ่ จะมีคา่ มาตรฐานน้ำทิง้ สำคัญๆ เชน ่ ค่า BOD กำหนดไว ้ไม่ให ้เกิน 20 มก/ล
ท ข. ซึง่ จะมีคา่ มาตรฐานน้ำทิง้ สำคัญๆ เช่น ค่า BOD กำหนดไว ้ไม่ให ้เกิน 30 มก/ล
ท ง. ซงึ่ จะมีคา่ มาตรฐานน้ำทิง้ สำคัญๆ เชน
่ ค่า BOD กำหนดไว ้ไม่ให ้เกิน 30 มก/ล

รฟื้ นฟู คุ ้มครอง และรักษาคุณภาพส งิ่ แวดล ้อม

พสงิ่ แวดล ้อม


งแวดล ้อมให ้สอดคล ้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ปลีน
่ แปลงสภาพภูมอ
ิ ากาศ
ระดับทีป
่ ลอดภัย

รพัฒนาเศรษฐกิจทีย
่ ั่งยืน

ารเปลีน
่ แปลงสภาพภูมอ
ิ ากาศ

ั ยาบันปฏิญญาซด
2007 และได ้ร่วมให ้สต ิ นีย ์ ว่าด ้วยการเปลีน
่ แปลงสภาพภูมอ
ิ ากาศของโลกมีกป
ี่ ระเทศ

ลเสียต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

ี หรือก่อนปล่อยออกสูแ
บบำบัดน้ำเสย ่ หล่งน้ำธรรมชาติ
สำคัญกับขัน
้ ตอนใดเป็ นลำดับแรก
มอย่างต่อเนือ ้ ตอนทีร่ ะบุไว ้ ซงึ่ เป็ นสว่ นหนึง่ ของระบบการจัดการทัง้ หมดขององค์กร
่ งตามขัน

นสากล (International Organization for standardization) เพือ


่ กำหนดเป็ นมาตรฐานต่างๆ แต่จะไม่ครอบคลุมถึง EMS
ี ในทีท
ดของเสย ้ นเวียนทัง้ ในและนอกกระบวนการ
่ เี่ กิด โดยการใชหมุ
มลพิษคือผู ้จ่าย

บบสุขาภิบาลในอาคาร


ใช อาคาร เจ ้าของอาคาร และสงิ่ แวดล ้อม

ะบายน้ำทีพ
่ น
ื้
ละส่งไปยังระบบบำบัดน้ำเสียหรือทางระบายน้ำสาธารณะ
รบประเทศไทย
พนักงานทำความสะอาดขนไปทิง้ ได ้ทุกวัน
ดยใช ้ถุงขยะหรือถังขยะ

แสดงทิศทางการไหลของของไหลกำกับด ้วยเสมอ

งมีระบบระบายอากาศ ตลอดระยะเวลาทีม
่ ก ้
ี ารใช สอยห ้องนัน
้ ๆ
นสภาพทีด ้
่ ี และสามารถใชงานได ้เป็ นปกติ
ออกมาต่างหาก และต ้องมีบอ ี เพือ
่ ดักไขมันก่อนระบบบำบัดน้ำเสย ่ ตักไขมันออก

ะบายน้ำสาธารณะ

ถังสวมชนิ ึ ไม่ได ้
ดน้ำซม

ิ ธิภาพ
านไม่ได ้อย่างมีประสท
ี วิศวกรรมควบคุมตัง้ แต่สามัญวิศวกรขึน
ษ ต ้องดำเนินการโดยผู ้ได ้รับใบอนุญาตเป็ นผู ้ประกอบวิชาชพ ้ ไป
งรับน้ำทิง้ โดยตรงก็ได ้
มของส่วนกลางก็ได ้

ทิง้ จากอาคาร ก่อนระบายสูแ่ หล่งรองรับน้ำทิง้


8.0 เมตร และทุกมุมเลีย้ ว

วิธข
ี นลำเลียง หรือทิง้ ลงปล่องทิง้ มูลฝอย
2.4 ลิตรต่อคนต่อวัน
ยกว่า 0.4 ลิตรต่อตารางเมตรต่อวัน

ากสถานทีป
่ ระกอบอาหารและเก็บอาหารไม่น ้อยกว่า 10 เมตร และสามารถขนย ้ายมูลฝอยได ้สะดวก

ารไม่น ้อยกว่า 4 เมตร

ื ไม่เล็กกว่า 100 มม.


ขนาดตัวหนังส อ
ดเวลา และสำหรับประตูชน ั ้ ล่างสุดจะต ้องสามารถเปิ ดออกจากบันไดหนีไฟได ้ตลอดเวลา

ลิง ต่อไปนี้ ข ้อใดผิด


ญ่ ขนาดสาย 65 มม
ลิงจะมาถึง ขนาดสาย 25 มม. หรือ 40 มม.
่ าศัยภายในอาคารใช ้สายฉีดขนาดเล็ก 25 มม. หรือ 40 มม.
ญ่ ขนาดสาย 65 มม. หรือ ผู ้อยูอ
ญ่ ขนาดสาย 25 มม. หรือ 40 มม.

มายให ้สถาบันสงิ่ แวดล ้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรม


ดชว่ ยเพิม
่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน
กับตัวเลือกใดมากทีส
่ ด

มาณมาก เกิดเป็ นฝนกรด
ณมาก เป็ นอันตรายต่อคน สตั ว์ และพืช
ริมาณมาก เป็ นอันตรายต่อคน สัตว์ และพืช
รรยากาศปริมาณมาก เป็ นอันตรายต่อส ต ั ว์ และพืช

งขลา ยังไม่สามารถดำเนินการโครงการได ้ เนือ


่ งจากสาเหตุใด

การไหลด ้วยแรงโน ้มถ่วงของโลก (gravity flow) ทัง้ สิน ้


ช ้ก็คอ
ื 1:50 แต่ถ ้ามีข ้อจำกัดด ้านพืน ่ าจใช ้ 1:100 ได ้แต่ก็ไม่ดน
้ ทีอ ี ัก
ช ้ก็คอื 1:100 แต่ถ ้ามีข ้อจำกัดด ้านพืน ่ าจใช ้ 1:200 ได ้แต่ก็ไม่ดน
้ ทีอ ี ัก

% และไม่ควรน ้อยกว่า 1 %

บสงั กะส ี หรือท่อพีวซ


ี ี ก็ได ้

ี ก่อน
ไม่จำเป็ นต ้องบำบัดน้ำเสย
ิ ธิภาพ
ทำงานไม่ได ้อย่างมีประสท
บวนการย่อยสลายของจุลชีพ และมีผลกับอุปกรณ์ในระบบ

ความสกปรกเลอะเทอะ
แล ้ว นายขาวจะได ้รับค่าจ ้างอย่างไร

ติจากผู ้ใดหรือไม่

ครงการเห็นว่าจะมีผู ้มาเช่าจำนวนมากกว่าทีไ่ ด ้ประมาณการเอาไว ้ จึงจะสร ้างเพิม


่ อีก 1 หลัง ในบริเวณทีด ิ เดียวกันและใช ้แบบก่อสร ้างเดียว
่ น

ลน(Soft clay) ลึก 1.00 ม. ผู ้ควบคุมงานจึงกำหนดให ้ผู ้รับจ ้างขุดดินเลนออกให ้หมดและนำทรายขีเ้ ป็ ดมาถมกลับให ้เต็ม จำเป็ นต ้องได ้รับอ

เทศบาลเป็ นทีเ่ รียบร ้อย ในระหว่างการก่อสร ้าง ผู ้รับจ ้างเห็นว่าควรเปลีย


่ นระบบกรองน้ำจากระบบ Sand filter เป็ น Membrane filter

ได ้ทำการตรวจรับเรียบร ้อย ต่อมาเกิดรอยฉีกขาดทีร่ อยเย็บตะเข็บรอยต่อ ผู ้ว่าจ ้างจะเรียกร ้องให ้ผู ้ใดรับผิดชอบในการซ่อมแซม


น” ลักษณะการว่าจ ้างงานทีก ั ญาแบบใด
่ ล่าวมานี้ จัดเป็ นการว่าจ ้างทีท ำสญ

มีหนีห ่ ะต ้องชำระให ้แก่กน


้ รือมีหน ้าทีจ ่ สญ
ั เชน ั ญาจ ้างก่อสร ้าง เป็ นต ้น”

ไม่เคยทำมาก่อน โดยตกลงค่าดำเนินการและกำไรไว ้ก่อน สว่ นค่าใชจ่้ ายนัน


้ คิดตามต ้นทุนจริงทีไ่ ด ้จ่ายไป”
นหลัก (Line Agency) และสายงานชว่ ย (Staff Agency) บุคลากรกลุม
่ ใดทีม
่ ไิ ด ้อยูใ่ นสายงานหลัก
โดยการประสานงานจะทำโดยผู ้จัดการแผนกหรือผู ้จัดการระดับสูงขึน ้ ไป
งในโครงการโดยมีผู ้จัดการโครงการเป็ นผู ้รับคำสงั่ และคอยสนับสนุนการทำงานเท่านัน

องค์การแบบโครงการ

บจากเจ ้าของงานคำนวณจากปริมาณงานสุดท ้ายทีไ่ ด ้รับการวัดโดยมาตรฐานทางวิศวกรรมกับราคาต่อหน่วยทีต


่ กลงไว ้ งานในลักษณะดังกล

ยดแบบก่อสร ้าง
นี้ (ข ้อใดถูก)
. ได ้ติดต่อให ้นาย ค. และทีมชว่ ยออกแบบความสวยงาม และความแข็งแรงรวมทัง้ งานระบบต่างๆ นาย ข. นำผลการออกแบบเสนอนาย ก

ข. ได ้ติดต่อให ้นาย ค. และทีมชว่ ยออกแบบความสวยงาม และความแข็งแรงรวมทัง้ งานระบบต่างๆ นาย ข. นำผลการออกแบบเสนอนาย ก


ี ปริมาตร 5 และ 10 มล. ปรากฏว่าน้ำเสย
งน้ำเสย ี มีคา่ ออกซเิ จนละลายเริม ่ นำมาหาค่าออกซเิ จนละล
่ ต ้นเท่ากับ 7.0 มก./ลิตรเท่ากัน และเมือ
ละอองในบรรยากาศโดยทั่วๆ ไป จะต ้องวัดสูงจากพืน
้ ดินอย่างน ้อย 1.50 เมตร แต่ไม่เกินเท่าไร
นและใช ้แบบก่อสร ้างเดียวกัน จำเป็ นต ้องได ้รับอนุมัตจ
ิ ากผู ้ใดหรือไม่

บให ้เต็ม จำเป็ นต ้องได ้รับอนุมัตจ


ิ ากผู ้ใดหรือไม่

Membrane filter ซงึ่ จะทำให ้ประสท


ิ ธิภาพการกรองทีด
่ ก
ี ว่า แต่ราคาสูงกว่า จำเป็ นต ้องได ้รับอนุมัตจ
ิ ากผู ้ใดหรือไม่

การซ่อมแซม
่ งานถนน งานถมดิน เป็ นต ้น” ท่านคิดว่าข ้อความข ้างต ้นสอดคล ้องกับส ญ
ลงไว ้ งานในลักษณะดังกล่าวมีอาทิเช น ั ญาก่อสร ้างรุปแบบใดมากท
การออกแบบเสนอนาย ก. เพือ ี วามรู ้ ไม่มั่นใจ จึงจ ้างนาย ง. มาชว่ ยตรวจจสอบงานทัง้ หมด จากกรณีข ้างต
่ ดำเนินการก่อสร ้าง นาย ก. ไม่มค

การออกแบบเสนอนาย ก. เพือ ี วามรู ้ ไม่มั่นใจ จึงจ ้างนาย ง. มาชว่ ยตรวจจสอบงานทัง้ หมด จากกรณีศก
่ ดำเนินการก่อสร ้าง นาย ก. ไม่มค ึ ษ
อนำมาหาค่าออกซเิ จนละลายในวันที่ 5 มีออกซเิ จนละลายเหลืออยู่ 5.0 และ 3.0 มก./ลิตร ตามลำดับ
ญาก่อสร ้างรุปแบบใดมากทีส
่ ด

านทัง้ หมด จากกรณีข ้างต ้น ข ้อความใดถูกต ้อง

ึ ษาดังกล่าว ข ้อใดไม่ถก
งานทัง้ หมด จากกรณีศก ู ต ้อง

You might also like