You are on page 1of 6

1.

คำประสม

คำประสม หมายถึง คำที่เกิดจกกานำคำที่มีความหมายต่างกันอย่างน้อย 2


คำมา รวมกัน เกิดเป็ นคำใหม่คำหนึ่งมีความหมายใหม่

1.1 ลักษณะของคำประสม การแยกคำประสมออกจากคำประเภทอื่น กลุ่ม


คำ และประโยค มีลักษณะที่พอสังเกตได้ (วัลยา ช้างขวัญยืน และคณะ,
2549: 33-35) ดังนี ้

1.1.1 คำประสมเป็ นคำที่มีความหมายใหม่ ต่างจกความหมายที่เป็ นผลรวม


ของคำที่มารวมกัน แต่มักมีเค้าความหมายของคำเดิมอยู่ เช่น

ผ้าขีร้ ว
ิ ้ เป็ นคำประสม มีความหมายว่า "ผ้าเก่าขาดที่ใช้เช็ดถูพ้น
ื " เป็ น
ความหมายใหม่ที่มีเค้าความหมายของหน่วยคำเดิมว่า "ผ้า" และ "ขีร้ ว
ิ้ "

นํา้ เเข็ง เป็ นคำประสม มีความหมายว่า "น้ำที่แข็งเป็ นก้อนเพราะถูก


ความเย็นจัด" เป็ นความหมายใหม่ที่มีเค้าความหมายเดิมของหน่วยคำ "น้ำ"
และ "แข็ง"

1,1.2 คำประสมจะแทรกคำใดๆ ลงระหว่างคำที่มารวมกันนัน


้ ไม่ได้ ถ้า
สามารถแทรกคำอื่นลงไปได้ คำที่รวมกันนัน
้ จะไม่ใช่คำประสม เช่น

ลูกช้างเดินตามแม่ช้าง
ลูกช้าง ในที่นแ
ี ้ ปลว่า "ลูกของช้าง" สามารถแทรกคำว่า "ของ" ระหว่างคำว่า
"ลูก" กับ "ช้าง" เป็ นลูกของช้างได้ ดังนัน
้ ลูกช้างในประโยคนีจ
้ ึงไม่ใช่คำ
ประสม

เจ้าแม่ช่วยลูกช้างด้วย

ี ้ ปลว่า "คำสรรพนามแทนตัวผู้พูดเมื่อพูดกับสิง่ ศักดิส์ ิทธ์" ไม่


ลูกช้าง ในที่นแ
สามารถแทรกคำใดๆ ลงไประหว่างคำว่า "ลูก" กับ "ช้าง" ได้ "ลูกช้าง" ใน
ประโยคนีจ
้ ึงเป็ นคำประสม

1.1.3 คำประสมป็ นคำคำเดียว คำที่เป็ นส่วนประกอบของคำประสมไม่


สามารถย้าย

ที่หรือสลับที่ได้ เช่น

ฉันกินข้าวมาแล้ว

ประโยคข้างต้น สมารถย้ายคำว่า "ข้าว" ไปไว้ต้นประโยคเป็ น "ข้าวฉันกินมา


แล้ว" ได้ คำว่า "กินข้าว" จึงไม่ใช่คำประสม

เขานั่งกินที่

ประโยคข้างดัน ไม่สมารถย้ายคำว่า "กิน" หรือ "ที่" ไปไว้ที่อ่ น


ื ได้ คำว่า "กิน
ที่" จึงเป็ นคำประสม

1.1.4 คำประสมจะออกเสียงต่อเนื่องกันไปโดยไม่หยุดหรือเว้นจังหวะ
ระหว่างหน่วยคำที่เป็ นส่วนประกอบ เช่น
กาแฟเย็นถ้าออกเสียงคำนีต
้ ่อเนื่องกันไป หมายถึง "กาแฟใส่นมใส่น้ำแข็ง"
เป็ นคำประสม ถ้าเว้นช่วงจังหวะระหว่าง "กาแฟ" กับ "เย็น" หมายถึง "กาแ
ฟร้อนที่ทงิ ้ ไว้จนเย็น"

1.1.5 คำประสมบางคำไม่มีความสัมพันธ์ทางวากยสัมพันธ์ระหว่างคำที่เป็ น
ส่วนประกอบ เช่น

รถเสีย

คำว่า "รถเสีย"ไม่เป็ นคำประสม เพราะคำว่า "รถ" คับ "เสีย" มีความสัมพันธ์


ทางวากยสัมพันธ์แบบ ประธาน-กริยา

ใจเสีย

คำว่า "ใจเสีย" เป็ นคำประสม เพราะคำว่า "ใจ" กับ "เสีย" ไม่มีความสัมพันธ์


ทางวากยสัมพันธ์

ชนิดของคำ

1.คำประสมที่เป็ นคำนาม ส่วนมากเป็ นคำประสมที่สร้างจาก คำนาม+คำ


นาม

คำนาม+คำกริยา และคำนมคำกริยา+คำนาม เป็ นต้น คำประสมชนิดนี ้


สามารถแบ่งได้เป็ น 3 ชนิด

1.2 คำประสมชนิดสามานยนามหรือคำนามทั่วไป เช่น


แม่น้ำสายนีย
้ าวมาก

เวลาเป็ นหวัดไม่ควรกินน้ำแข็ง

รถด่วนขบวนไหนทันสมัยที่สุด

1.3 คำประสมชนิดสามานยนามย่อย เกิดจากการนำคำประสมที่เป็ นนาม

ทั่วไปรวมกับคำนามทั่วไปเพื่อบอกลักษณะย่อยและเกิดเป็ นคำประสมใหม่ที่
ให้ความหมายใหม่ เช่น

การแข่งขันนกขาชวาจัดขึน
้ ที่จังหวัดกระบี่

ต้มยำกุ้งเป็ นอาหารไทยที่คนทั่วโลกรู้จักดี

1.2.2 คำประสมที่เป็ นคำกริยา ส่วนมากเป็ นคำประสมที่สร้างจากคำ


กริยา+คำกริยา

คำบุพบท+คำนาม คำกริย+คำบุพบท คำกริยา+คำนาม เช่น

เขาพิมพ์ดีดตัง้ แต่เช้าจนค่ำ

คำพูดของเขากินใจคนฟั งมาก

1.3 ลักษณะความหมายของคำประสม วัลยา ช้างขวัญยืน และคณะ (2549:


40-41) ยัง

อธิบายต่อว่า คำประสมมีความหมายเป็ น 3 ลักษณะคือ

1.3.1 มีความหมายเปรียบเทียบ เช่น

ดอกฟ้ า
หมายถึง

หญิงผู้สูงศักดิ ์

นักย่องเบา

ตีนแมว

หมายถึง

ตีนกา

หมายถึง

รอยย่นซึ่งปรากฏที่หางตา

ไม่ได้แต่งงานทัง้ ที่มีอายุมากพอควรแล้ว

ขึน
้ คาน

หมายถึง

132 มีความหมายเฉพาะ ซึ่งแตกต่างกับความหมายของหน่วยคำเดิม เช่น

ดูอายุน้อยกว่าอายุจริง

หน้าอ่อน

หมายถึง

หมายถึง

ไม่หนักใจ โล่งใจ
เพิง่ ที่ต่อชายคาสำหรับกันฝนไม่ให้สาด

เบาใจ

กันสาด

หมายถึง

1.33 มีความหมายใกล้เคียงกับหน่วยคำเดิมที่มาประกอบกัน เช่

You might also like