You are on page 1of 10

ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2558

93

คุณสมบัติทางจิตมิติของแบบประเมินความคิดฆ่าตัวตายฉบับภาษาไทย
(SSI-Thai Version 2014)*
PSYCHOMETRIC PROPERTIES OF THE THAI VERSION OF THE SCALE
FOR SUCIDAL IDEATION (SSI-THAI VERSION 2014)
ปริยศ กิตติธีระศักดิ์, พย.ม. (Priyoth Kittiteerasack, MSN)**
เกสร มุ้ยจีน, พย.ม.(Kasorn Muijeen, MSN)***

Abstract Results: The major findings were as


Objectives: Suicide is a global challenge. follows. Most of the samples were single females
It poses a serious public health problem worldwide aged between 18-29 years, were at the under-
and becomes the tenth most common cause of graduate level, and had indigent economic status.
death in the world. In Thailand, the suicide rate Results from the instrument testing showed that
has increased continuously. Screening for suicidal the SSI-Thai Version 2014 had content validity
ideation is important since it can be used to prevent index (CVI) of .89. The Cronbach’s alpha
suicide behavior. The objective of this research coefficient of the instrument was .81. An index of
was to test the psychometric properties of the item discrimination was more than 2.
Scale for Suicide Ideation, Thai version (SSI-Thai Conclusion: The results showed that SSI-
Version 2014). Thai Version 2014 had high quality accordingly
Methods: 200 individuals aged between with the original version and was able to assess
18-60 years who had exhibited suicide behavior suicidal ideation in the general population.
were purposively selected from the Bangkok
metropolitan area. The 19 Items of the Scale for Keywords: Suicidal ideation, Scale for Suicide
Suicide Ideation in a Thai Version 2014 (SSI-Thai Ideation, SSI-Thai Version 2014
Version 2014) was used in this project. Frequency,
percentage, content validity index, Cronbach’s บทคัดย่อ
alpha coefficient, and item discrimination were วัตถุประสงค์: การฆ่าตัวตายเป็นปัญหาที่
used for data analyses. ท้าทายและส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบ

* การศึกษาครั้งนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำ�ปีงบประมาณ 2556


**อาจารย์ประจำ�คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
***อาจารย์ประจำ�คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

_15-0651(093-102)7.indd 93 6/29/58 BE 5:53 PM


94 Vol.29 No.1 January - April 2015

สุขภาพทั่วโลก ปัจจุบันการฆ่าตัวตายกลายเป็น ค�ำส�ำคัญ: ความคิดฆ่าตัวตาย แบบประเมินความคิด


สาเหตุของการเสียชีวิต 1 ใน 10 ของการเสียชีวิต ฆ่าตัวตาย SSI-Thai Version 2014
ทั่ ว โลก ส� ำ หรั บ ในประเทศไทยพบอั ต ราการ
ฆ่าตัวตายสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง การคัดกรองความคิด ความส�ำคัญของปัญหา
ฆ่าตัวตายเพื่อป้องกันการเกิดพฤติกรรมท�ำร้าย ปัญหาทางสุขภาพจิตที่ส�ำคัญและพบมาก
ตนเองจึงมีความส�ำคัญมาก การวิจยั นีม้ จี ดุ มุง่ หมาย ในปัจจุบัน คือ ภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมการ
เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางจิตมิติของแบบประเมิน ฆ่ า ตั ว ตาย องค์ ก ารอนามั ย โลก (WHO) และ
ความคิ ด ฆ่ า ตั ว ตายฉบั บ ภาษาไทย (SSI-Thai ธนาคารโลกได้คาดว่าในปี 2020 โรคซึมเศร้าจะ
Version 2014) ทวีความรุนแรงขึ้นและท�ำให้ปัญหาพฤติกรรม
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชน ฆ่าตั วตายกลายเป็นสาเหตุของการเสียชี วิตใน
อายุ 18-60 ปี จ�ำนวน 200 ราย ที่มีพฤติกรรม ประชากรทั่ ว โลก 1 ใน 10 อั น ดั บ แรก (กรม
ฆ่าตัวตายแบบต่าง ๆ ในเขตกรุงเทพมหานครและ สุขภาพจิต, 2552) แต่ละปีจะมีผู้เสียชีวิตจากการ
ปริมณฑล โดยได้จากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ฆ่าตัวตายประมาณ 1 ล้านคน คิดเป็นอัตราการตาย
เครือ่ งมือทีใ่ ช้ คือ แบบประเมินความคิดฆ่าตัวตาย 16 ต่อแสนประชากร หรือมีผู้ที่เสียชีวิตจากการ
ฉบับภาษาไทย (SSI-Thai Version 2014) จ�ำนวน ฆ่าตัวตายทุก ๆ 40 วินาที (เกียรติภูมิ วงศ์รจิต,
19 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยคือ การวิเคราะห์หา 2555: World Health Organization, 2013) ในทวีป
ค่าความตรง ค่าความเที่ยง และค่าอ�ำนาจจ�ำแนก เอเชีย พบอัตราการฆ่าตัวตายคิดเป็นร้อยละ 60 ของ
รายข้อ การฆ่าตัวตายทั่วโลก (BBC News Asia, 2011)
ผลการศึกษา: พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ส�ำหรับประเทศไทย ถึงแม้ว่าจะไม่ใช่ประเทศที่มี
เป็นเพศหญิง มีสถานภาพโสด อายุระหว่าง 18- 29 ปี อัตราการฆ่าตัวตายสูงที่สุดในทวีปเอเชียแต่กลับ
จบการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีสถานะทาง พบสถิตกิ ารฆ่าตัวตายในระดับสูงเช่นกัน ในช่วงปี
เศรษฐกิจไม่พอใช้ ในส่วนของการทดสอบแบบ พ.ศ. 2550 พบอัตราการฆ่าตัวตายอยู่ที่ระดับ 5.9
ประเมิน SSI-Thai Version 2014 พบค่าความตรง ต่อแสนประชากรหรือเฉลี่ย 10 คนต่อวัน และใน
เชิงเนือ้ หา = .89 ค่าความเทีย่ งของเครือ่ งมือ (Cron- ปี 2554 อัตราการฆ่าตัวตายของประเทศไทยได้
bach’s alpha แcoefficient) = .81 และมีค่าอ�ำนาจ เพิ่มขึ้น เป็น 6.03 แสนประชากร หรือเฉลี่ยเกือบ
จ�ำแนกรายข้อมากกว่า 2 4,000 คนต่อปี (ทวี ตั้งเสรี, 2556.) และจากสถิติ
สรุ ป : แบบประเมิ น ความคิ ด ฆ่ า ตั ว ตาย ล่ า สุ ด จากโครงการช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ที่ เ สี่ ย งต่ อ การ
ฉบั บ ภาษาไทย ที่ ไ ด้ จ ากการศึ ก ษานี้ เ ป็ น แบบ ฆ่าตัวตาย พบว่าในปี 2555 อัตราการฆ่าตัวตาย
ประเมิ น ฉบั บ หนึ่ ง ที่ มี คุ ณ ภาพสอดคล้ อ งกั บ ของประเทศไทยอยู ่ ที่ 6.2 ต่ อ แสนประชากร
มาตรฐานของแบบประเมินต้นฉบับและสามารถ (โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์, 2557)
น� ำ ไปใช้ ป ระเมิ น ความคิ ด ฆ่ า ตั ว ตายในกลุ ่ ม ในแต่ ล ะปี จึ ง มี ผู ้ เ สี ย ชี วิ ต จากการฆ่ า ตั ว ตาย
ประชากรทั่วไป ประมาณ 4,500-5,500 ราย และถ้านับจ�ำนวนผู้ที่

_15-0651(093-102)7.indd 94 6/29/58 BE 5:53 PM


ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2558
95

พยายามท� ำ ร้ า ยตนเองทั้ ง หมด โดยรวมทั้ ง ผู ้ ที่ & Weissman, 1979) การประเมินความคิดฆ่าตัวตาย


เสียชีวิตและไม่เสียชีวิตจะพบว่ามีจ�ำนวนสูงถึง จึงเป็นวิธีหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการลดอัตรา
25,000 -27,000 รายต่อปี (อภิชัย มงคล, 2549) การฆ่ า ตั ว ตาย เนื่ อ งจากผู ้ ที่ คิ ด ฆ่ า ตั ว ตายนั้ น
กรมสุ ข ภาพจิ ต รายงานถึ ง อั ต ราการ ส่วนใหญ่มแี นวโน้มทีจ่ ะเปลีย่ นใจไม่ลงมือกระท�ำ
ฆ่ า ตั ว ตายส�ำเร็จต่อแสนประชากรตามจั งหวั ด หากได้รับความช่วยเหลือที่ถูกต้อง การเฝ้าระวัง
ต่ า ง ๆ ในช่ ว งปี 2552-2553 พบอั ต ราการ จึ ง เป็ น วิ ธี ก ารป้ อ งกั น การฆ่ า ตั ว ตายที่ ดี ที่ สุ ด
ฆ่ า ตั ว ตายสู ง ในทุ ก ภู มิ ภ าคของประเทศ และ วิธีหนึ่ง (ทวี ตั้งเสรี และคณะ, 2546) อย่างไรก็ดี
กรุ ง เทพมหานครเป็ น อี ก พื้ น ที่ ห นึ่ ง ที่ มี ก าร ผู้ที่มีความคิดฆ่าตัวตายนั้นบ่อยครั้งที่ไม่ได้รับ
ฆ่าตัวตายสูงที่สุดเมื่อรวบรวมจากรายงานสรุป ความช่วยเหลือที่ถูกต้องเพราะวิธีการขอความ
ข่าวประจ�ำวันที่เกี่ยวกับการฆ่าตัวตายในช่วงปี ช่ ว ยเหลื อ มั ก มี รู ป แบบที่ ห ลากลาย และมั ก
2553 จนถึงปัจจุบัน (กรมสุขภาพจิต, 2553; กรม แสดงออกในทางอ้อม ท�ำให้ผู้ช่วยเหลือที่ขาด
สุขภาพจิต, 2554; โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น ประสบการณ์ ไ ม่ ส ามารถประเมิ น ความคิ ด
ราชนครินทร์, 2557) นอกจากนี้การเสียชีวิตจาก ฆ่าตัวตายได้อย่างถูกต้องและผูช้ ว่ ยเหลือบางส่วน
การฆ่าตัวตายแต่ละครั้งยังส่งผลกระทบต่อคนใน ยั ง มี ค วามเข้ า ใจผิ ด เกี่ ย วกั บ พฤติ ก รรมการฆ่ า
สังคมประมาณ 100 คน (ปราโมทย์ สุคนิชย์ และ ตัวตายอยู่มาก ส่งผลให้บุคคลเหล่านั้นต้องเผชิญ
พิ เ ชฐ อุ ด มรั ต น์ , 2544) และหากมี อั ต ราการ กับปัญหาล�ำพัง ผลักดันความคิดฆ่าตัวตายให้
ฆ่าตัวตายส�ำเร็จสูงถึง 7 ต่อแสนประชากรจะท�ำให้ รุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ จนแสดงออกเป็นพฤติกรรม
สูญเสียเชิงเศรษฐศาสตร์ต่อประเทศถึง 4 พันล้าน การฆ่าตัวตายตามมา
บาท (ศุภรัตน์ เอกอัศวิน, 2545) การประเมิ น ความคิ ด ฆ่ า ตั ว ตายที่ มี
ผู้ที่มีพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย (suicidal ประสิ ท ธิ ภ าพมี ค วามส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง จากการ
behavior) สามารถประเมินได้จากความคิดฆ่าตัวตาย ทบทวนวรรณกรรมเกี่ ย วกั บ แบบประเมิ น
(suicidal ideation) เป็นอันดับแรก เพราะเป็น ความคิดฆ่าตัวตายที่ใช้ในประเทศไทยนั้น พบว่า
จุดเริ่มต้นในการน�ำไปสู่การพยายามฆ่าตัวตาย มีหลากหลายแต่ก็ยังมีข้อจ�ำกัดต่าง ๆ ดังนี้ แบบ
(suicide attempted) และการฆ่าตัวตายส�ำเร็จ ประเมินความเสีย่ งต่อการฆ่าตัวตาย ทีก่ รมสุขภาพ
(suicide completed) (Schneider et al., 1991) จิต (2545) พัฒนาขึน้ เพือ่ ใช้ในการคัดกรองผูท้ เี่ สีย่ ง
การมี ค วามคิ ด ฆ่ า ตั ว ตายก็ เ พี ย งพอน่ า จะที่ จ ะ ต่อการฆ่าตัวตาย สามารถใช้งานได้ง่ายแต่ข้อ
บ่งชี้ว่าบุคคลนั้นมีความเสี่ยงและต้องได้รับความ ค�ำถามที่มีจ�ำนวนน้อยท�ำให้ไม่สามารถบอกความ
ช่วยเหลือ เพราะหากบุคคลมีพฤติกรรมการฆ่า รุนแรงพฤติกรรมการฆ่าตัวตายที่เกิดขึ้นได้อย่าง
ตัวตายเกิดขึ้นแล้ว ย่อมแสดงถึงการดูแลที่ล่าช้า ครอบคลุม ในปีต่อมา ทวี ตั้งเสรี และคณะ (2546)
และไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นการค้นหาความคิด ได้ พั ฒ นาแบบคั ด กรองผู ้ ที่ มี ค วามเสี่ ย งต่ อ การ
ฆ่าตัวตายที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเพื่อให้การดูแล ฆ่าตัวตาย (DS10) ขึ้น มีจ�ำนวน 10 ข้อ ใช้ร่วมกับ
จึงเป็นวิธที เี่ หมาะสมและทันท่วงที (Beck, Kovacs, แบบประเมินซึมเศร้า 15 ข้อ รวม 25 ข้อ แต่บาง

_15-0651(093-102)7.indd 95 6/29/58 BE 5:53 PM


96 Vol.29 No.1 January - April 2015

ข้อเป็นค�ำถามเกี่ยวกับโรคทางกายและมีความ เริ่มต้นประเมินด้วยแบบวัดโรคซึมเศร้า 2 ค�ำถาม


ซ�ำ้ ซ้อน เครือ่ งมือชุดนีจ้ งึ มีขอ้ จ�ำกัดในการน�ำไปใช้ (2Q) หากค�ำตอบ “มี” ข้อใดข้อหนึ่งหมายถึงเสี่ยง
และเพื่อปรับปรุงข้อจ�ำกัดของแบบวัด DS10 ทวี ต่อการเป็นโรคซึมเศร้า ให้ประเมินต่อด้วยแบบ
ตั้งเสรี และคณะ (2552) ได้พัฒนาแบบคัดกรอง คัดกรองโรคซึมเศร้า 9 ค�ำถาม (9Q) หากพบว่า
ภาวะซึมเศร้าและความเสีย่ งต่อการฆ่าตัวตาย ฉบับ มีคะแนนสูงกว่า 7 คะแนน ให้ท�ำการคัดกรอง
ปี 2009 หรือ DS8 เพื่อลดความซ�้ำซ้อนโดยเหลือ ต่อด้วยแบบประเมินการฆ่าตัวตาย 8 ค�ำถาม (8Q)
ค�ำถาม 8 ข้อ แบ่งออกเป็นคัดกรองภาวะซึมเศร้า อีกครัง้ หนึง่ เพือ่ แยกระดับความรุนแรงและให้การ
6 ข้อ และคัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ดูแลต่อไป แต่พบว่ามีขั้นตอนที่ยุ่งยาก บ่อยครั้งที่
2 ข้อ แต่เครื่องมือนี้สามารถวัดองค์ประกอบของ กระบวนการขาดความต่อเนือ่ ง ล่าช้า และผูใ้ ช้ตอ้ ง
การฆ่าตัวตายได้ด้านเดียวเท่านั้น คือ suicidal มีความเข้าใจ ความช�ำนาญ และมีประสบการณ์
intention จึ ง ท� ำ ให้ ยั ง มี ข ้ อ จ� ำ กั ด ในการท� ำ นาย ในการใช้เครื่องมือ นอกจากนี้ในปี 2547 ปริยศ
พฤติกรรมและความรุนแรงของความเสีย่ งต่อการ กิตติธีระศักดิ์ ได้ท�ำการแปลแบบประเมินความ
ฆ่าตัวตายเช่นกัน เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายของ เบค และคณะ (Beck,
ในปี 2548 พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์ และ Steer, & Ranieri, 1988) เป็นภาษาไทย และน�ำไป
มธุรนิ ค�ำวงค์ปนิ (2548) ได้ทำ� การแปลและทดสอบ ใช้ในกลุ่มผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS พบว่ามีข้อจ�ำกัด
เครื่องมือวินิจฉัยโรคทางจิตเวช M.I.N.I (Mini ในด้านกระบวนการแปลเครื่องมือที่ไม่ได้ผ่าน
International Neuropsychiatric Intervention การตรวจสอบด้านภาษา อันอาจท�ำให้เกิดความ
Version 5.00) ซึ่งเป็นแบบสัมภาษณ์เพื่อวินิจฉัย ไม่สอดคล้อง สื่อสารได้ไม่ตรงประเด็น และมี
โรคทางจิตเวชตามเกณฑ์องค์การอนามัยโลกและ การน�ำไปใช้ในกลุม่ ผูป้ ว่ ยเฉพาะโรค จึงไม่สามารถ
สมาคมจิตแพทย์อเมริกัน ซึ่งพบว่าการศึกษานี้มี อ้างอิงไปยังกลุ่มประชากรทั่วไปได้
กลุ่มตัวอย่างของประชากรจ�ำนวนน้อย และยัง จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้วา่ แบบประเมิน
ไม่ได้น�ำไปขยายผลการศึกษาต่อ เพื่อใช้ในกลุ่ม การฆ่าตัวตายในประเทศไทยนั้น มีข้อจ�ำกัดใน
ผู้ป่วยทั่วไป ลักษณะข้อค�ำถามค่อนข้างยุ่งยาก การน�ำไปใช้และต้องการการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การสัมภาษณ์ใช้ระยะเวลาค่อนข้างนาน และไม่นา่ การศึ ก ษาครั้ ง นี้ ได้ น� ำ แบบประเมิ น ความคิ ด
จะใช้เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการคัดกรอง แต่น่าจะ ฆ่าตัวตาย (Scale for Suicide Ideation: SSI) ของ
เป็ น แบบสั ม ภาษณ์ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ นิ จ ฉั ย โรคทาง เบค และคณะ (Beck et al., 1979) มาเป็นต้นฉบับ
จิตเวช หลังจากนั้นสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในการแปลและศึกษาคุณสมบัติทางจิตมิติของ
ร่วมกับองค์กรด้านสาธารณสุขได้เผยแพร่แนวทาง แบบประเมินความคิดฆ่าตัวตายฉบับภาษาไทย
การดูแลรักษาภาวะซึมเศร้าและผู้ที่มีความเสี่ยง (SSI-Thai Version 2014) แบบประเมินความคิด
ต่อการฆ่าตัวตาย (อัมพร เบญจพลพิทักษ์ และ ฆ่าตัวตายนี้ เป็นแบบประเมินที่ให้ผู้ถูกประเมิน
ลัดดา ด�ำริการเสิศ, 2553) โดยการคัดกรองด้วย ตอบด้วยตนเอง พัฒนามาจากแนวคิดทีค่ รอบคลุม
ระบบ 2–9–8 Q ซึง่ เป็นระบบการประเมิน 3 ขัน้ ตอน องค์ประกอบการฆ่าตัวตาย สามารถท�ำนายความ

_15-0651(093-102)7.indd 96 6/29/58 BE 5:53 PM


ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2558
97

รุนแรงของการเกิดพฤติกรรมการฆ่าตัวตายได้และ ท� ำ การแปลกลั บ เป็ น ภาษาอั ง กฤษ (backward


เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีการแปลเพื่อ translation) จากนั้นร่วมกันพิจารณากับผู้ทรง
ใช้งานในหลากหลายภาษา รวมทั้งน�ำไปใช้ในการ คุณวุฒเิ พือ่ ปรับปรุงฉบับภาษาไทยอีกครัง้ เพือ่ ให้มี
พัฒนาเครื่องมือวัดพฤติกรรมการฆ่าตัวตายอื่น ๆ ความหมายใกล้ เ คี ย งกั บ แบบประเมิ น ต้ น ฉบั บ
หลากหลาย (Brown, 2013; Goldston, 2010) แบบ มากที่สุด
ประเมิน SSI-Thai Version 2014 นี้จึงน่าจะเป็น 4. การตรวจสอบความตรงเชิ ง เนื้ อ หา
หนึง่ ในแบบประเมินทีจ่ ะเอือ้ ประโยชน์ตอ่ วิชาชีพ (Content Validity Index [CVI]): ผู้ทรงคุณวุฒิทาง
พยาบาลในการพัฒนาการบริการเชิงรุกมากขึน้ เพือ่ วิชาการจ�ำนวน 6 ท่าน ท�ำการตรวจสอบความตรง
สามารถป้องกันปัญหาพฤติกรรมการฆ่าตัวตายได้ เชิงเนื้อหาของเครื่องมือ ประกอบไปด้วยแพทย์
อย่างมีประสิทธิภาพ และน�ำผลการพัฒนาที่ได้ไป ผู ้ ช� ำ นาญทางด้ า นจิ ต เวช 2 ท่ า น อาจารย์ ภ าค
เผยแพร่เพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างกว้างขวางต่อ วิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช 2 ท่าน
ระบบสุขภาพของประเทศไทย และพยาบาลจิตเวชที่มีประสบการณ์และท�ำงาน
ด้านการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช 2 ท่าน
วัตถุประสงค์การวิจัย 5. น� ำ เครื่ อ งมื อ ไปทดลองใช้ ใ นกลุ ่ ม ที่ มี
เพื่ อ ศึ ก ษาคุ ณ สมบั ติ ท างจิ ต มิ ติ ข องแบบ ลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 30 คน
ประเมินความคิดฆ่าตัวตายฉบับภาษาไทย (SSI- แล้วจึงเก็บข้อมูลจริงในกลุม่ ตัวอย่างทีเ่ ข้ารับบริการ
Thai Version 2014)โดยการทดสอบความตรง ในสถานพยาบาลของรัฐบาล คือ โรงพยาบาล
ค่าความเที่ยง และค่าอ�ำนาจจ�ำแนก ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ และสถาบันจิตเวช
ศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา (ในการเก็บข้อมูลจาก
วิธีการด�ำเนินการวิจัย สถาบั น จิ ต เวชศาสตร์ ส มเด็ จ เจ้ า พระยาจะมี
การด�ำเนินการศึกษามีขั้นตอนดังนี้ บุ ค ลากรของสถาบั น เป็ น ที่ ป รึ ก ษาในระหว่ า ง
1. แปลแบบประเมินความคิดฆ่าตัวตาย การเก็บข้อมูล) ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2556-
(Scale for Suicide Ideation : SSI) ของ เบค และคณะ เมษายน 2557 โดยติดต่อประสานงานกับบุคลากร
(Beck et al., 1979) จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย ประจ� ำ หน่ ว ยงานเพื่ อ ให้ ไ ด้ ก ลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที่ มี
(forward translation) และใช้ชอื่ เป็น แบบประเมิน คุณสมบัติตามที่ก�ำหนดและยินยอมเข้าร่วมการ
ความคิ ด ฆ่ า ตั ว ตายฉบั บ ภาษาไทย (SSI-Thai ศึกษา โดยใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะ
Version 2014) เจาะจง (purposive sampling) จ�ำนวนทัง้ สิน้ 200 คน
2. อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษา 2 ท่าน เป็นผู้ที่มีอายุระหว่าง 18-60 ปี สื่อสารด้วยภาษา
พิจารณาความถูกต้อง จากนั้นผู้วิจัยปรับปรุงตาม ไทยได้ มีสติสัมปชัญญะ โต้ตอบรู้เรื่อง เป็นผู้ที่มี
ข้อเสนอแนะ พฤติกรรมการฆ่าตัวตายรูปแบบต่าง ๆ ทั้งการมี
3. ส่ ง แบบประเมิ น ความคิ ด ฆ่ า ตั ว ตาย ความคิ ด ฆ่ า ตั ว ตายหรื อ การพยายามฆ่ า ตั ว ตาย
ฉบับภาษาไทยให้ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาอีก 2 ท่าน ซึ่ ง สามารถพบได้ ใ นทุ ก หน่ ว ยบริ ก ารภายใน

_15-0651(093-102)7.indd 97 6/29/58 BE 5:53 PM


98 Vol.29 No.1 January - April 2015

โรงพยาบาล เช่น หอผู้ป่วยต่าง ๆ คลีนิก หน่วย (Cronbach’s alpha coefficient) และค่าอ�ำนาจ


เยีย่ มบ้านหรือแผนกฉุกเฉิน โดยกลุม่ ตัวอย่างจะถูก จ�ำแนกเป็นรายข้อ
คัดออกหากมีการปฏิเสธ ไม่ยนิ ยอมให้ขอ้ มูล หรือ
ขอยุติการร่วมโครงการได้ตลอดเวลาในทุกกรณี ผลการวิจัย
ในขั้นตอนการเก็บข้อมูล ผู้วิจัยแนะน�ำตัว ชี้แจง กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ
วัตถุประสงค์ ชี้แจงการพิทักษ์สิทธิ์ สอบถามถึง 82.7) มีอายุเฉลี่ยระหว่าง 18-29 ปี (ร้อยละ 73.2)
ความสมัครใจและค�ำนึงถึงการยินยอมของกลุ่ม สถานภาพโสดเป็นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 74.1) ส�ำเร็จ
ตัวอย่างเป็นหลัก หากกลุ่มตัวอย่างยินดีเข้าร่วม การศึกษาระดับปริญญาตรีมากทีส่ ดุ (ร้อยละ 48.2)
โครงการ จะประเมินความพร้อมของกลุม่ ตัวอย่าง สถานะทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่ไม่พอใช้ (ร้อยละ
อธิ บ ายขั้ น ตอนและวิ ธี ก ารตอบแบบสอบถาม 50.9) คะแนนเฉลี่ยของความคิดฆ่าตัวตายเท่ากับ
ให้สมบูรณ์ หากพบว่ากลุ่มตัวอย่างไม่พร้อมจะ 14.5
พิ จารณาเข้ าเก็บข้อมูลในช่ว งเวลาที่เหมาะสม จากผลการตรวจสอบคุ ณ ภาพเครื่ อ งมื อ
ต่อไป การเก็บข้อมูลจะกระท�ำแบบหนึ่งต่อหนึ่ง มีดังนี้
ภายหลั ง จากเก็ บ ข้ อ มู ล ผู ้ รั บ บริ ก ารแต่ ล ะราย 1. ค่าความตรง ผลจากการน�ำแบบวัด SSI-
เสร็จสิ้น ผู้วิจัยจะให้ความช่วยเหลือด้านจิตใจ Thai Version 2014 ที่ได้ผ่านกระบวนการแปล
เบื้องต้นทุกราย หากกลุ่มตัวอย่างมีความจ�ำเป็น และแปลย้อนกลับน�ำไปตรวจสอบความเที่ยงตรง
ต้องได้รับความช่วยเหลือมากขึ้นหรือมีคะแนน เชิงเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 6 ท่าน (ตาราง
ความคิดฆ่าตัวตายในระดับรุนแรงจะส่งต่อเพื่อ ที่ 1) พบว่ามีค่า CVI = .89
รับการบ�ำบัดรักษาต่อไป การเข้าร่วมโครงการวิจยั 2. ค่าความเที่ยง ผลการทดสอบเครื่องมือ
จะสิ้นสุดทันทีหากกลุ่มตัวอย่างไม่สมัครใจให้ จากกลุ่มตัวอย่าง 30 คน พบค่าความเที่ยง Cron-
ข้อมูลไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งก่อนหรือในระหว่างท�ำ bach’s alpha coefficient = .80 และในการเก็บ
แบบสอบถามก็ ต ามโดยไม่ ต ้ อ งให้ เ หตุ ผ ลหรื อ ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 200 คน พบค่าความเที่ยง
ค�ำอธิบาย และการกระท�ำดังกล่าวจะไม่มีผลต่อ Cronbach’s alpha coefficient = .81
กลุ่มตัวอย่างหรือต่อการรักษาแต่อย่างใด เมื่อได้ 3. ค่าอ�ำนาจจ�ำแนกรายข้อ ผลการวิเคราะห์
ข้อมูลครบถ้วนจึงน�ำมาวิเคราะห์หาความเที่ยง พบว่าค�ำถามทุกข้อมีค่าอ�ำนาจจ�ำแนกมากกว่า 2
โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (p < .001)

_15-0651(093-102)7.indd 98 6/29/58 BE 5:53 PM


ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2558
99

ตารางที่ 1 แสดงข้อค�ำถามและระดับคะแนนจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 6 ท่าน ต่อแบบประเมินความคิด


ฆ่าตัวตายฉบับภาษาไทย (SSI-Thai Version 2014)
ระดับคะแนนจากผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 6 ท่าน
ค�ำถาม
1 2 3 4 5 6
1. ท่านอยากมีชีวิตอยู่ 4 4 3 4 4 4
2. ท่านอยากจบชีวิต 4 3 3 3 3 4
3. เหตุผลของการอยากมีชีวิตอยู่หรืออยากจบชีวิต 3 3 4 3 3 4
4. ความต้องการที่จะลงมือพยายามท�ำร้ายตนเอง 4 2 3 2 3 4
5. ความต้องการท�ำร้ายตนเองทางอ้อม 4 3 3 3 3 4
6. ช่วงเวลาของการมีความคิดที่อยากท�ำร้ายตนเอง 3 3 3 3 3 4
7. ความถี่ของการคิดท�ำร้ายตนเอง 4 3 4 4 3 4
8. ทัศนคติต่อความคิดท�ำร้ายตนเอง 4 4 3 4 3 4
9. การควบคุมพฤติกรรมหรือความคิดที่อยากลงมือท�ำร้ายตนเอง 4 3 4 4 3 4
10. สิ่งต่าง ๆ ที่ช่วยยับยั้งการพยายามท�ำร้ายตนเอง เช่น ครอบครัว 1 2 4 2 3 4
ศาสนา
11. เหตุผลที่คิดอยากพยายามท�ำร้ายตนเอง 3 3 4 3 4 4
12. การวางแผนหรือการก�ำหนดวิธีการในการท�ำร้ายตนเอง 4 4 4 4 4 4
13. โอกาสที่จะท�ำร้ายตนเองตามวิธีการที่ได้ไตร่ตรองไว้ 3 3 4 4 3 3
14. ความรู้ สึกที่มีต่อ ความสามารถในการพยายามท�ำร้ายตนเอง 4 3 3 3 3 4
ให้ส�ำเร็จ
15. ความคาดหวังว่าอาจเกิดความพยายามที่จะลงมือท�ำร้ายตนเอง 4 3 4 4 4 4
จริงๆ
16. การเตรียมพร้อมส�ำหรับการพยายามท�ำร้ายตนเองในขณะนี้ 4 3 4 3 4 4
17. การเขียนข้อความหรือจดหมายลาตาย 4 3 3 3 4 4
18. สิ่ ง สุ ด ท้ า ยที่ อ ยากท� ำ ก่ อ นจบชี วิ ต ตนเอง เช่ น ประกั น ชี วิ ต , 4 4 3 4 3 4
พินัยกรรม
19. การโกหกหรือปิดบังความคิดพยายามท�ำร้ายตนเอง 4 3 3 3 3 4

_15-0651(093-102)7.indd 99 6/29/58 BE 5:53 PM


100 Vol.29 No.1 January - April 2015

การอภิปรายผลการวิจัย เป็นภาษาอูรดูเพื่อน�ำไปใช้ในประเทศปากีสถาน
คุณสมบัตทิ างจิตมิตขิ องแบบประเมินความ เก็ บ ข้ อ มู ล จากกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งจ� ำ นวนทั้ ง หมด
คิดฆ่าตัวตายฉบับภาษาไทย (SSI-Thai Version 904 คน ผลการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือพบว่า
2014) ที่ถูกแปลและแปลย้อนกลับและผ่านการ แบบประเมิ น ฉบั บ นี้ มี ค ่ า Cronbach’s alpha
ปรับปรุงด้านภาษาจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษา coefficient เท่ากับ .75 ซึ่งถือว่าเป็นการพัฒนา
4 ท่าน และผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านสุขภาพจิตและ ในการแปลข้ามภาษาในประเทศปากีสถานเป็น
จิ ต เวช 6 ท่ า น พบว่ า มี ค ่ า ดั ช นี ค วามเที่ ย งตรง ครั้งแรก จึงจัดว่าเป็นเครื่องมือที่มีค่าความเที่ยง
เชิงเนื้อหาถึง .89 แสดงให้เห็นว่าแบบประเมิน ในระดับยอมรับได้ เช่นเดียวกับ De Man, Balkou,
SSI-Thai Version 2014 นี้มีความสอดคล้องของ and Iglesias (1987) ได้ท�ำการแปลแบบประเมิน
ค�ำถามและสาระของมิติที่ต้องการวัดในระดับ SSI เป็นภาษาฝรัง่ เศสและมีการตรวจสอบคุณภาพ
ที่สูงและเป็นที่ยอมรับ เมื่อน�ำมาทดสอบหาค่า ของเครื่องมือที่ผ่านการแปลข้ามภาษา พบว่ามีค่า
ความเที่ยงจากการหาค่าความสอดคล้องภายใน มาตรฐานของเครื่องมืออยู่ในระดับเทียบเท่ากับ
โดยใช้ สู ต รสั ม ประสิ ท ธิ์ แ อลฟา (Cronbach’s แบบประเมิน SSI ต้นฉบับภาษาอังกฤษ ซึ่งแบบ
alpha coefficient) = .80 และเมื่อน�ำไปใช้ในการ ประเมินความคิดฆ่าตัวตายฉบับภาษาไทย ที่ได้
เก็บข้อมูลจริงพบค่า Cronbach’s alpha coefficient รั บ การแปลในครั้ ง นี้ พ บว่ า มี ค ่ า มาตรฐานของ
= .81 นับได้วา่ แบบประเมินชุดนีม้ คี า่ ความเทีย่ งสูง เครื่องมือในระดับอันเป็นที่ยอมรับเช่นเดียวกัน
มีความตรงตามเนือ้ หาและครอบคลุมมิตทิ ตี่ อ้ งการ เมื่อท�ำการเปรียบเทียบกับแบบประเมิน
วัด และจากการวิเคราะห์เพื่อหาค่าอ�ำนาจจ�ำแนก ความคิดฆ่าตัวตาย (Scale for Suicide Ideation:
รายข้อ พบว่าค�ำถามทุกข้อมีค่าอ�ำนาจจ�ำแนก SSI) ต้นฉบับของ Beck et al., (1979) พบว่าแบบวัด
มากกว่า 2 ทัง้ สองมีมาตรฐานทีใ่ กล้เคียงกันในด้านของความ
เมือ่ ท�ำการเปรียบเทียบคุณสมบัตทิ างจิตมิติ เทีย่ งและความตรงของเครือ่ งมือ อันเป็นคุณลักษณะ
ของแบบประเมินความคิดฆ่าตัวตายฉบับภาษาไทย ส�ำคัญของแบบประเมินที่แสดงถึงคุณภาพในทาง
(SSI-Thai Version 2014) กับแบบประเมินความคิด วิชาการและการเป็นที่ยอมรับ โดยแบบวัด SSI
ฆ่าตัวตาย (SSI) ทีไ่ ด้รบั การแปลเป็นภาษาอืน่ ๆ โดย ต้นฉบับนั้นมีค่าความเที่ยง (Cronbach’s alpha
Matti et al. (2005) ได้ศึกษาถึงคุณสมบัติของการ coefficient = .89 เช่นเดียวกับทีพ่ บในงานวิจยั ของ
วัดทางจิตวิทยาและการใช้งานทางคลินกิ ของแบบ Beck, Brown, and Steer (1997) ทีไ่ ด้นำ� แบบประเมิน
ประเมิน SSI โดยตรวจสอบหาค่าความตรงและ ความคิดฆ่าตัวตาย (SSI) ฉบับนีม้ าทดสอบในกลุม่
ความเที่ ย งของเครื่ อ งมื อ ในประเทศฟิ น แลนด์ ตัวอย่างทั้งหมด 4,063 คน ผลจากการตรวจสอบ
จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 218 คน พบว่าแบบ คุณภาพเครื่องมือพบว่ามีค่า Cronbach’s alpha
ประเมิ น SSI ฉบั บ นี้ มี ค ่ า Cronbach’s alpha coefficient = .84 แสดงให้เห็นว่าแบบประเมิน
coefficient เท่ากับ .95 นอกจากนี้ Nailah (2008) SSI-Thai Version 2014 นีน้ า่ จะเป็นเครือ่ งมือหนึง่
ได้น�ำแบบประเมินความคิดฆ่าตัวตายนี้ ไปแปล ที่ มี ม าตรฐานตามแบบวั ด ต้ น ฉบั บ ของ Beck

_15-0651(093-102)7.indd 100 6/29/58 BE 5:53 PM


ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2558
101

et al., (1979) และน่าจะเป็นแบบประเมินที่มี ยุคใหม่นา่ ห่วงเสีย่ งฆ่าตัวตาย. สืบค้นเมือ่ 3


คุณภาพฉบับหนึ่งที่จะสามารถน�ำไปใช้ประเมิน กุมภาพันธ์ 2556, จาก http://www.forums.
ความคิดฆ่าตัวตายในกลุ่มประชากรอื่น ๆ ได้ dmh.go.th/index.php?topic=9708.0;wap2
ทวี ตั้งเสรี และคณะ. (2546). การศึกษาความถูก
ข้อเสนอแนะ ต้องของแบบคัดกรองความเสี่ยงต่อการ
แบบประเมินความคิดฆ่าตัวตายฉบับภาษา ฆ่าตัวตาย. ขอนแก่น: โรงพิมพ์พระธรรมขันต์.
ไทย (SSI-Thai Version 2014) ทีไ่ ด้จากการศึกษานี้ ทวี ตั้งเสรี และคณะ. (2552). การพัฒนาแบบ
เป็นแบบประเมินที่มีคุณภาพตามมาตรฐานฉบับ คัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อ
หนึง่ มีจำ� นวนข้อค�ำถามทีไ่ ม่มากจนเกินไป มีความ การฆ่ า ตั ว ตาย (ฉบั บ ปี 2009). วารสาร
กระชับ สามารถวัดมิตขิ องพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย สมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 54(3),
ได้ครอบคลุม สามารถบอกระดับความรุนแรงของ 287-296.
ความคิดฆ่าตัวตายได้ น่าจะเหมาะสมกับการน�ำ ปราโมทย์ สุ ค นิ ช ย์ และพิ เ ชฐ อุ ด มรั ต น์
ไปใช้ประเมินความคิดฆ่าตัวตายในกลุม่ ประชากร (บรรณาธิการ). (2544). แนวทางการรักษา
ที่มีอายุระหว่าง 18-60 ปี โรคทางจิตเวช 2544. ราชวิทยาลัยจิตแพทย์
แห่งประเทศไทยและกรมสุขภาพจิต.
เอกสารอ้างอิง ปริ ย ศ กิ ต ติ ธี ร ะศั ก ดิ์ . (2547). ความสั ม พั น ธ์
กรมสุขภาพจิต. (2553). รายงานอัตราฆ่าตัวตาย ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับความคิดฆ่าตัวตาย
ต่อประชากรแสนคน ปี พ.ศ. 2552. สืบค้น ของผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวี / ผูป้ ว่ ยเอดส์. วิทยานิพนธ์
เมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2556, จาก http://www. ปริญญามหาบัณฑิต, คณะพยาบาลศาสตร์
dmh.go.th/plan/suicide/ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
กรมสุขภาพจิต. (2554). กรมสุขภาพจิต เผยรอบ พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์ และมธุริน ค�ำวงค์ปิน.
10 ปี ภาคเหนือยังคงครองแชมป์ฆ่าตัวตาย (2548). ความตรงของเครื่องมือวินิจฉัยโรค
สูงสุด. สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2556, จาก ทางจิตเวช Mini International Neuropsy
http://www.forums.dmh.go.th/index.php? chiatric Interview ฉบับภาษาไทย. วารสาร
topic=5659.0 สุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 13(3), 125-135.
เกียรติภูมิ วงศ์รจิต. (2555). สลด สถิติฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์. (2557).
ทั่ ว โลก 40 วิ น าที / ราย ไทยเฉลี่ ย 6 ต่ อ โครงการช่วยเหลือผูท้ เี่ สีย่ งต่อการฆ่าตัวตาย.
แสนคน. มติ ช นรายวั น . ฉบั บ วั น ที่ 12 สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2556, จาก https://
กรกฎาคม พ.ศ. 2555. สืบค้นเมือ่ 3 กุมภาพันธ์ www.suicidethai.com/web_jvkk_su/
2556, จาก http://www.matichon.co.th/ ศุภรัตน์ เอกอัศวิน. (2545). การศึกษาปัจจัยที่มี
news_detail.php?newsid=1342066699 ผลต่ อ การพยายามฆ่ า ตั ว ตายในจั ง หวั ด
ทวี ตั้งเสรี. (2556). กรมสุขภาพจิตเผยคนไทย สมุทรสงคราม. วารสารสุขภาพจิตแห่ง

_15-0651(093-102)7.indd 101 6/29/58 BE 5:53 PM


102 Vol.29 No.1 January - April 2015

ประเทศไทย, 10, 143 – 150. adults and older adults. Retrieved March 5,
อภิชยั มงคล. (2549). รายงานการวิจยั ระบาดวิทยา 2014, from http://www.suicidology.org/c/
ของผู้ท�ำร้ายตนเอง พ.ศ. 2547. การประชุม document_library/get_file?folderId=235
วิชาการสุขภาพจิตนานาชาติ ครั้งที่ 5, 3-5 &name=DLFE-113.pdf
กรกฎาคม 2549 ณ โรงแรมปริ้นซ์พาเลช Deman, A. F., Balkou, S. T., & Iglesias, R. I. (1987).
กรุงเทพมหานคร. A French-Canadian adaptation of the Scale
อัมพร เบญจพลพิทักษ์ และลัดดา ด�ำริการเสิศ. for Suicide Ideation. Canadian Journal of
(บรรณาธิการ). (2553). การจัดการความรู้ Behavioural Science/Revue Canandiennae
และสั ง เคราะห์ แ นวทางปฏิ บั ติ ข องโรง des Sciences du Comportement, 19(1),
พยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล: แนวทาง 50-55.
การดูแลรักษาภาวะซึมเศร้าและผู้มีความ Goldston, D. B. (2010). Assessment of suicide
เสี่ ย งต่ อ การฆ่ า ตั ว ตาย. สหมิ ต รพริ้ น ติ้ ง behaviors and risk among children and
แอนด์พับลิชชิ่ง. adolescents. Retrieved March 5, 2014. From
BBC News Asia, (2011). Tackling south Korea’s http://www.suicidology.org/c/document_
high suicide rates. Retrieved March 5, library/get_file?folderId=235&name=
2014, from http://www.bbc.co.uk/news/ DLFE-141.pdf
world-asia-pacific-15331921 Nailah A. (2008). Psychometric properties and
Beck, A. T., Brown, G. K., & Steer, R. A. (1997). clinical utility of the Scale for Suicidal
Psychometric characteristics of the scale Ideation (SSI) in adolescents. Retrieved
for suicide ideation with psychiatric April 3, 2014, from http://www.biomed-
outpatients. Behaviour Research and central.com/I47I-244X/5/8
Therapy, 35, 1039-1046. Schneider, S, G. et al. (1991). Factors influencing
Beck, A, T., Kovacs, M., & Weissman, A. (1979). suicide intent in gay and bisexual suicide
Assessment of suicidal intention : The Scale ideators: Differing models for men with
for Suicide Ideation. Journal of Consulting and without human immunodeficiency
and Clinical Psychology, 47, 343-352. virus. Journal of Personality and Society
Beck, A, T., Steer, R, A., & Ranieri, W, F. (1988). Psychology, 61, 776-788.
Scale for suicide ideation: Psychosometric World Health Organization. (2013). Suicide
properties of self-report version. Journal of prevention. Retrieved April 3, 2014, from
Clinical Psychology, 44, 499-505. http://www.who.int/mental_health/preven-
Brown, K. (2013). A review of suicide assessment tion/suicide/suicideprevent/en/index.html
measures for intervention research with

_15-0651(093-102)7.indd 102 6/29/58 BE 5:53 PM

You might also like