You are on page 1of 11

วารสารโรคและภัยสุ ขภาพ ส�ำนักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ Journal of Disease and Health Risk DPC.

3
ปี ที่ 13 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิ งหาคม 2562 Volume 13 No.2 May – August 2019
กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์

ผลของการด�ำเนินงานป้องกันการบาดเจ็ บจากอุบติเหตุทางถนนกับการบาดเจ็ บและเสีย


ชีวิตจากอุบตั ิเหตุทางถนน เขตสุขภาพที่ 3
The Results of Guideline for the Prevention of District Road Traffic Injury (D-RTI) with Road
Traffic Accident and Death in Regional Health 3.
ศศิกานต์ ธนธีระกุล ค.ม.* Sasigan Tanateeragul M.Ed. (Health Promotion)
ส�ำนักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 3 Office of Disease Prevention and Control 3
จังหวัดนครสวรรค์ Nakhon Sawan Province
Received: Mach 29, 2019
Revised: July 01, 2019
Accepted: July 02, 2019

บทคัดย่อ
การวิจยั เชิงพรรณนาครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการด�ำเนินงานป้ องกันการบาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุทาง
ถนน (D-RTI) เขตสุขภาพที่ 3 และศึกษาความสัมพันธ์ของผลการด�ำเนินงานป้ องกันการบาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุทาง
ถนนกับการบาดเจ็บ และการเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุทางถนน เขตสุขภาพที่ 3 กลุม่ ตัวอย่าง คือ เครือข่ายระดับอ�ำเภอ
จ�ำนวน 54 อ�ำเภอ ด�ำเนินงานในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2560 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2561 โดยใช้แบบประเมินผล
การด�ำเนินงานป้ องกันการบาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุทางถนน (D-RTI) ระดับประเทศ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ แจกแจง
ความถี่ หาค่าร้ อยละ หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิตไิ คสแควร์ (Chi-square test (χ2))
และContingency Coefficient (C)
ผลการวิจยั พบว่า กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่มหี น่วยงานสาธารณสุขอ�ำเภอทีเ่ ป็ นผู้นำ� ทีมหลัก ผลการด�ำเนิน
งานป้ องกันการบาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุทางถนนอยู่ในระดับดี (Good) ร้ อยละ 66.7 รองลงมา คือ ระดับดีมาก
(Excellent) ร้ อยละ 27.8 และระดับดีเยีย่ ม (Advanced) ร้ อยละ 5.6 กลุม่ ตัวอย่างทีม่ ผี ลการด�ำเนินงานป้ องกันการ
บาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุทางถนนระดับดีข้ นึ ไปมีผ้บู าดเจ็บและเสียชีวติ ลดลง จ�ำนวน 35 อ�ำเภอ ร้ อยละ 64.81 เมื่อ
แยกรายกิจกรรม พบว่า กลุม่ ตัวอย่างทัง้ หมดมีการจัดการข้อมูล เฝ้ าระวัง และจัดท�ำสถานการณ์ปัญหามากทีส่ ดุ
รองลงมา คือ มาตรการชุมชน/ด่านชุมชน ร้ อยละ 96.3 และชี้เป้ าจัดการจุดเสีย่ ง และรณรงค์ให้ ความรู้ ร้ อยละ 88.9
ส่วนกิจกรรมทีม่ กี ารด�ำเนินงานน้อยทีส่ ดุ คือ มาตรการองค์กร ร้ อยละ 59.3 รองลงมา คือ การสรุปผลการด�ำเนิน
งาน ร้ อยละ 66.7 และการสอบสวนสาเหตุการบาดเจ็บและเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุ ร้ อยละ 72.2 ตามล�ำดับ และพบ
ว่า ผลการด�ำเนินงานป้ องกันการบาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุทางถนนเขตสุขภาพที่ 3 ไม่มคี วามสัมพันธ์กบั การบาดเจ็บ

14
วารสารโรคและภัยสุ ขภาพ ส�ำนักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ Journal of Disease and Health Risk DPC.3
ปี ที่13 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิ งหาคม 2562 Volume 13 No.2 May – August 2019
กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์

และเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุทางถนน อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (χ2 = 1.409, p-value = 0.575)


จากผลการวิจยั ดังกล่าว พบว่า ด้านนโยบายและกลไกการท�ำงานยังมีข้อจ�ำกัด ขาดการเชื่อมโยงการจัดการ
แก้ไขปัญหาอุบตั เิ หตุทางถนนระหว่างองค์กรในระดับอ�ำเภอและท้องถิน่ ด้านบุคลากรควรพัฒนาทักษะการสอบสวน
สาเหตุการบาดเจ็บและเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุทางถนน การวิเคราะห์ถงึ รากของปัญหาอุบตั เิ หตุในพื้นทีน่ ำ� ไปสูก่ ารชี้
เป้ าอ�ำเภอเสีย่ ง การสร้ างมาตรการแก้ไขปัญหาทีต่ รงจุด และมีการสรุปประเมินติดตามมาตรการอย่างต่อเนื่อง

Abstract
This descriptive research aimed to study of the results of guideline for the prevention of District
Road Traffic Injury (D-RTI) with road traffic injury and death in Regional Health 3. The samples were
54 units of District Public Health Offices. The data was the data was collected during October 1, 2017
to September 30, 2018. The research Instruments was the evaluation form for the process of results of
guideline for the prevention of District Road Traffic Injury (D-RTI) for accepted national level. Data
were analyzed by descriptive statistics namely frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-square
test (χ2) and Contingency Coefficient (C).
(CC.)
The results showed that most samples had the District Public Health Offices as the prime leader.
The results from the process of Guideline for the Prevention of District Road Traffic Injury (D-RTI) were
as these follows: Good level 66.7%, Excellent level 27.8% and Advanced level 5.6%. The 35 units of
the samples with Good level and above had 64.81% decrease in road traffic injury and deaths. Divided
into ten activities, it was found that all of the samples had been mostly paid attention on information
management, surveillance systems and emergency-management situational awareness at 100%. Secondly,
it was collaboration with community participants at 96.3%. Thirdly and finally, it was identification of
the accidental-risk areas and public relations campaign at 88.9%. Whilst the samples had been paid the
least attention on organizations’ road traffic safety organization at 59.3%, performance evaluation at
66.7%, and investigation of the casualties from traffic accident at 72.3% respectively. Furthermore, the
results of Guideline for the Prevention of District Road Traffic Injury (D-RTI) did not have statistical
significant relation with Road Traffic Accident and Death in Regional Health 3.
The study found that the policy and mechanism still had limitation. There were not any connection
of the traffic accidents problem solution between the District Public Health Offices and the local
organizations. The personnel should be developed their skills of information management, investigation
of the casualties from traffic accident, root cause analysis of an accident leading to the identification
of the accidental-risk areas, manipulation of straight-to-the-point solution, and gradual evaluation
and monitoring.

15
ตาย 36.2 ต่ อ ประชากรแสนคน (ประมาณ ปร
24,237 คน) ประเทศไทยยังเป็ นอันดั บ 1 ของ ดํา เ
วารสารโรคและภัยสุ ขภาพ ส�ำนักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ Journal of Disease and Health Risk DPC.3
ปี ที่ 13 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิ งหาคม 2562 เอเชี ย และอาเซี ย น ที ่ ม ี อั ตVolume
ราการเสี ย ชี–วAugust
13 No.2 May ิ ต จาก2019 เสีย
กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์

อุบั ติเหตุ ทางถนนสูงสุด จากข้ อ มู ลบู รณาการ 3 ประ


ฐาน (สาธารณสุข, ตํารวจ, บริ ษัทกลางฯ) พบว่า สาธ
ค�ำส�ำคัญ คนไทยเสี Keyยชีword
วิตจากอุบัติเหตุบนท้ องถนนมากถึงปี อุ บ
การบาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุทางถนน ละ 23,000-24,000 Road traffic injury คน หรื อชั่ วโมงละ 3 คน ประ
แนวทางการดํำาเนิเนินนงานป้
แนวทางการด� งานป้องกัองกันนการบาดเจ็
การบาดเจ็บบ บาดเจ็บGuideline Guideline forthe
for
ไม่ ได้ น อนโรงพยาบาลนั thePrevention
Preventionบofofล้District District
า นคนและ ยั่ ง
จากอุบบตั ัตเิ ิเหตุ
จากอุ หตุททางถนน
างถนน นอนรักRoad Roadวในโรงพยาบาลเกื
ษาตั Traffic Injury
Traffic Injury (D-RTI) (D-RTI)
อบสองแสนคนต่อ SDG
เขตสุขขภาพที
เขตสุ ภาพที่ ่ 3
3 ปี พิ ก ารอี Regional
Regional
ก ปี ละกว่ Health
Healthา 7,000 33 คน คิ ด เป็ นความ คน
สูญ เสี แอลกอฮอล์
ย ทางเศรษฐกิ ในกลุจ กว่ ่ มผูา้ บ2าดเจ็ แสนล้บ ที่าขนบาทต่
ับ ขี่ยานพาหนะ อ ปี สํา ห
สาเหตุ ทุกหประเภทลั ก มี อ ยูร้่ 3อยละ ปั จ จั33.25 ย คื อ คน ผู้ขับรถขี่รถนนและ
ถยนต์ท่ีได้ รับ เสีย
บทนํา การบาดเจ็
สิ่งแวดล้ อม 2 บจากอุบัติเหตุทางถนน มีการคาดเข็ม ทาง
อุบัติเหตุจากจราจรทางถนน เป็ นปั ญ หา ขัดนิส่รวภันปั ยเพีจยจังร้ยอทียละ ่ เ พิ่ ม15 ความรุ ในขณะที ่ผ้ ูโดยสาร ร้ อย
น แรงของการ ปี งบ
สําคั ญ ของประเทศไทยอีก หลายประเทศทั่วโลก บาดเจ็ ละบ6และเสี จากการสํ ยชีวิตจากอุ า รวจการสวมหมวกนิ
บัติเหตุ ได้ แก่ การขั ร ภับย ทั่ ว กําห
และเป็ นอันดับหนึ่งในสามอันดับแรกของปั ญ หา รถเร็ประเทศ ว เกิ น อั ต ราที ของมู ่ ก ฎหมายกํล นิ ธิ ไ ทยโรดส์ า หนด ร้ พบว่ อ ยละา 76 มี ผ้ ู ใช้ อุบั
สาธารณ สุ ข มาโดยตลอด จํ า นวนผู้ บาดเจ็ บ ของอุ รถจั บั ติก รยานยนต์
เ หตุ บ น ทางห ส วมหมวกนิ ลวง เกิ ดรจากการใช้ ภั ย ร้ อยละ 43 คน3
ผู้เสียชีวิต และผู
แนวทางการดํ าเนิน้ พงานป้
ิการมีองกั
แนวโน้ มเพิ่ มมากขึ
นการบาดเจ็ บ ้ นทุกปี ความเร็ แบ่ วง เป็การดื
Guideline นคนขั
for่ มแล้ ขั่ บร้ อข้ยละ
theบวขีPrevention 52 และคนซ้
of District
อมูลจากระบบเฝ้ อ นท้
าระวั ง าย
ข้ อมูบลัตจาก
จากอุ ิเหตุGlobalทางถนนStatus Report on Road Safety การบาดเจ็ ร้ อยละTraffic
Road 20 ในกลุ
บ ในโรงพยาบาล Injury ่มวัย(D-RTI) รุ่นสวมหมวกนิ
(IS) ของสํ รภัยา นัร้ อกยละ ของ
2015
เขตสุ 1
ขภาพที ขององค์ ่ 3 กรอนามัยโลก จัดให้ ปะเทศไทย ระบRegional 28
าดวิและที ่ นใน
ท ยา Health ่ าเป็ปี นห่ พ3 .ศ. วงมากที 2555 ่ สุด พคือบ การดื กลุ่ มเด็่ มกที่มี ปร
2
เป็ นประเทศที่มี อั ต ราการเสี ยชี วิ ต จากอุ บั ติ เหตุ แอลกอฮอล์ เพียง ร้ อใยละ นกลุ7่ มผู้ บ าดเจ็บ ที่ขับ ขี่ยานพาหนะ
ทางถนน เป็ นอั น ดั บ ที่ 2 ของโลก โดยมี อั ต รา ทุกประเภท จากสถานการณ์ ร้ อยละ 33.25 แผูละปั ้ ขับขีญ่ รถยนต์
หาดังกล่ ท่ีไาด้วรับทําให้
บทนํตาย า 36.2 ต่ อ ประชากรแสนคน (ประมาณ การบาดเจ็ ประเทศไทยได้ บจากอุบัติเมีหตุก ารกํ ทางถนน า หนดเป้ มีการคาดเข็ าหมายการ ม
24,237 อุบัติเคน) หตุจประเทศไทยยั
ากจราจรทางถนน งเป็ นอั เป็นนปั 1 ของ ขัดนิดํราภัเนิ
ดั บญ หา น งานอุ
ยเพี ยงร้ อยละ บั ติ เหตุ 15 ทในขณะที างถนน ่ผคื้ ูโอดยสาร ลดอัตร้ อราการ ย
สําคัเอเชี ย และอาเซี ย น ทีก่ หลายประเทศทั
ญ ของประเทศไทยอี มี อั ต ราการเสี ย่ วชีโลก วิ ต จาก ละ เสี 6 ยจากการสํ
ชีวิตจากอุาบรวจการสวมหมวกนิ
ั ติเหตุทางถนนไม่เกินร10 ภั ยคน ทั่ ว ต่ อ
และเป็ อุบนอัั ติเหตุ
นดัทบางถนนสูหนึ่งในสามอั งสุด นจากข้ อ มู ลบู รณาการ
ดับแรกของปั ญ หา 3 ประเทศ ประชากรแสนคน ของมู ล นิ ธภายใน ิ ไ ทยโรดส์ พ.ศ.2563พบว่ า ในส่ มี ผ้วู ใช้นของ
สาธารณ ฐาน (สาธารณสุ
สุ ข มาโดยตลอด ข, ตํารวจ,จํ าบริ นวนผูษัทกลางฯ)้ บาดเจ็พบว่ บ า รถจัสาธารณสุก รยานยนต์ ขได้สกวมหมวกนิ ํา หนดเป้ าหมายการดํ ร ภั ย ร้ อยละา เนิ43 น งาน
ผู้เสียคนไทยเสี
ชีวิต และผู ยชี้ วพิติกจากอุ
ารมีแบนวโน้
ัติเหตุมบเพินท้่ มมากขึ ้ นทุกปี งปี แบ่ งอุเป็บั นคนขั
องถนนมากถึ ติ เ หตุ ทบางถนนให้
ขี่ ร้ อ ยละ สอดคล้ 52 และคนซ้ องกั บอเป้นท้าหมาย าย
ข้ อมูละลจาก 23,000-24,000
Global Status Report คน หรืonอRoad ชั่ วโมงละ Safety 3 คน ร้ อยละ ประเทศ 20 ในกลุ และสอดคล้่มวัยรุ่นสวมหมวกนิ อ งกั บ เป้ าหมายพัรภัย ร้ อยละ ฒ นาที่
2015 บาดเจ็
1 บ ไม่ ได้กรอนามั
ขององค์ น อนโรงพยาบาลนั
ยโลก จัดให้ ปบะเทศไทย ล้ า นคนและ 28 ยัและที ่ ง ยื น่ น่าSustainable
เป็ นห่ วงมากที Development
่สุด คือ กลุ่ มGoals เด็กที่หมี รื อ
นอนรักษาตั่ มวี อในโรงพยาบาลเกื
เป็ นประเทศที ั ต ราการเสี ยชี วิ ตอจากอุ บั ติ เหตุ อ เพียSDGs
บสองแสนคนต่ ง ร้ อยละ ซึ่งเป็7 นเป้ าหมายที่ 3 ใน 17 เป้ าหมาย ให้
2

ทางถนน ปี พิ กเป็ ารอีนอัก นปี ดัละกว่บ ที่ 2า 7,000


ของโลกคนโดยมี คิ ด เป็อั ตนความ
รา ชี วิ ต ที่ มี สุ ข ภาพดี
คนมีจากสถานการณ์ และปัแ ละส่ ญหาดัง เสริงกล่มาวสวัทํสาดิให้ภ าพ
ตายสูญ36.2 เสีย ทางเศรษฐกิ
ต่ อ ประชากรแสนคน จ กว่ า 2 แสนล้ านบาทต่ อ ปี ประเทศไทยได้
(ประมาณ สํา หรั บ ทุ ก คนในทุ มี ก ารกํ ข้ อ ที่ 3.6
ก วัายหนดเป้ ลดอั ต ราการ
าหมายการ
24,237 สาเหตุคน) ห ลั กประเทศไทยยั
มี อ ยู่ 3 ปั จ จั ยงเป็คื อนอัคน นดัรถ บ 1ถนนและ
ของ ดํา เนิเสีนยงานอุ
ชีวิตและการบาดเจ็
บั ติ เหตุ ท างถนน บจากอุ คื อบลดอัั ติเหตุต ราการ
การจราจร
เอเชีสิย่งแวดล้
และอาเซี อม 2ย น ที่ มี อั ต ราการเสี ย ชี วิ ต จาก เสียชีทางถนนให้
วิตจากอุบัตไิเด้หตุ ค รึท่ งางถนนไม่
หนึ่ งภายในปี เกิน 10 2563 คน และในต่ อ
อุบั ติเหตุ ทางถนนสู ส่ ว นปั จงจัสุยดที่ จากข้
เ พิ่ ม ความรุ
อ มู ลบู รนณาการ แรงของการ 3 ปี งบประมาณภายใน
ประชากรแสนคน 2561พ.ศ.2563 กระทรวงสาธารณสุ ในส่วนของข ได้
ฐานบาดเจ็
(สาธารณสุ บและเสี ข, ยตํชีารวจ,
วิตจากอุ บริ ษบัทติกลางฯ)
เหตุ ได้ แพบว่ า บ สาธารณสุ
ก่ การขั กําหนดเป้ ขได้าหมายในการลดอั
ก ํา หนดเป้ าหมายการดํ ตราการเสี า เนิ ยนชีงาน วิตจาก
รถเร็วยเกิ
คนไทยเสี ชีวนิตอัจากอุต ราทีบัต่ กิเฎหมายกํ
หตุบนท้ อางถนนมากถึ
หนด ร้ อ ยละ งปี 76 16 อุ บั ตอุิ เบหตุ
ั ติเหตุ ทางถนน สอดคล้
ท างถนนให้ ไม่เกิน 16 องกัต่บอ ประชากรแสน
เป้ าหมาย
3
ของอุ บั ติ เ หตุ บ น ทางห
ละ 23,000-24,000 คน หรืลวง เกิ ด จากการใช้
อชั่ วโมงละ 3 คน ประเทศ คน และสอดคล้ อ งกั บ เป้ าหมายพั ฒ นาที่
รา จากสถานการณ์และปั ญหาดังกล่าว ทําให้ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เนื่องจาก สํา
ณ ประเทศไทยได้ มี ก ารกํ า หนดเป้ าหมายการ หน่ ว ยงานในระดั บ อํา เภอเป็ นหน่ ว ยจั ด การที่มี
วารสารโรคและภัยสุ ขภาพ ส�ำนักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ Journal of Disease and Health Risk DPC.3 ชุม
อง ดํา เนิ น งานอุ บ ั ต ิ เ หตุ ท างถนน คื
ปี ที่13 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิ งหาคม 2562
อ ลดอั ต ราการ ประสิ ท ธิ ภ าพและประเมิ น ผลได้
Volume ด13ีทNo.2่สี ุดMayโดยบู รณา2019
– August ระ
ก เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 10 คน ต่ อ
กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์

การร่ ว มกั บ คณะกรรมการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ภา


3 ประชากรแสนคน ภายใน พ.ศ.2563 ในส่วนของ ระดับอําเภอ (พชอ.) หรือ District Health Board ปล
ว่า สาธารณสุ ขได้ ก ํา หนดเป้ าหมายการดํา เนิ น งาน (DHB) มุ่ งเน้ น ให้ เกิ ดการดําเนิ น งานผ่ านกลไก ศู น
ปี อุ บั ติ เ หตุ ท างถนนให้ สอดคล้ องกั บ เป้ าหมาย การควบคุ มป้ องกันโรคระดับอําเภอเชื่อมโยงกับ อง
น ประเทศ และสอดคล้ อ งกั บ เป้ าหมายพั ฒ นาที่ ศู น ย์ป ฏิ บั ติ ก ารความปลอดภั ย ทางถนนอํา เภอ หน
ละ ยั่ ง ยื น Sustainable Development Goals ห รื อ (ศปถ.อําเภอ) และการมีส่วนร่วมของเครือข่ายใน บร
ตอ SDGs ซึ่งเป็ นเป้ าหมายที่ 3 ใน 17 เป้ าหมาย ให้ ระดับอําเภอและท้ องถิ่น โดยประยุกต์แนวคิดของ ขน
ม คนมี ชี วิ ต ที่ มี สุ ข ภาพดี แ ละส่ ง เสริ ม สวั ส ดิ ภ าพ องค์ ก ารอนามั ยโลก (WHO) หรื อ กลยุ ท ธ์ 5 ส. ภา
ปี สํา หรั บ ทุ ก คนในทุ ก วั ย ข้ อ ที่ 3.6 ลดอั ต ราการ ภายใต้ กรอบกิจกรรมการดําเนินงาน 10 กิจกรรม
ละ เสียชีวิตและการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุการจราจร เพื่ อให้ เกิ ด การดํ า เนิ น งานที่ มี เ ป้ าหมายเชิ ง วิธ
ทางถนนให้ ได้ ค รึ่ งหนึ่ งภายในปี 2563 และใน กระบวนการและเชิ งผลผลิ ต นํา ไปสู่ ก ารแก้ ไ ข
าร ปี งบประมาณ 2561 กระทรวงสาธารณสุ ข ได้ ปั ญ หา ป้ องกั น การบาดเจ็ บ และเสี ย ชี วิ ต จาก พร
บ กําหนดเป้ าหมายในการลดอัตราการเสียชีวิตจาก อุบัติเหตุทางถนนเขตสุขภาพที่ 3 อย่างยั่งยืน รว
6 อุบั ติเหตุ ทางถนน ไม่เกิน 16 ต่ อ ประชากรแสน D-
วัตถุประสงค์ คร
ช้ คน3
1. เพื่ อ ศึ ก ษาผลการดําเนิ น งานป้ องกั น กิจ
วัง ซึ่ งสอดคล้ อ งกับ ปั ญ หาและสถานการณ์
การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน (D-RTI) สํา
ก ของอัต ราการเสียชี วิ ตจากอุบั ติเหตุท างถนนต่ อ
เขตสุขภาพที่ 3 ปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 สา
ม ป ร ะ ช า ก ร แ ส น ค น ใ น เข ต สุ ข ภ า พ ที่ 3
2. เพื่ อ ศึ ก ษาความสัม พั น ธ์ ข องผลการ รับ
ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ .ศ . 2556-2561 เท่ า กั บ ดํ าคํเนิานินยงานป้
ามทีใ่ ช้องกั
ในการวิ จยั
น การบาดเจ็ บ จากอุ บั ติ เ หตุ
27.35, 29.04, 26.0, 25.54, 19.13 แ ล ะ จัง
ท าอุงถ บตั นิเหตุน ท(D-RTI) กั บ ก าร
างถนน หมายถึ ง อุบบาดั ติเหตุ เจ็ จบากการใช้
และ
18.74 ตามลําดับ ถึงแม้ ว่าจะมีแนวโน้ มลดลงแต่ การเสี ยชีวิตจากอุ่ใช้บใัตนการขนส่
ยานพาหนะที ิเหตุทางถนน งบุคคล เขตสุหรืขอภาพที ่3 ่
สิ่งของที
ยังคงเกินค่าเป้ าหมาย 4 กา
ปี งบประมาณ
เกิดขึ้นบนทางสาธารณะ พ.ศ. 2561 ซึ่งเป็ นสาเหตุให้ เกิดการ อํา
ดังนั้น สํานักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 3 บาดเจ็ บ พิ ก าร และเสี ย ชี วิ ต ทั้ ง ที่ เ ป็ นผู้ ขั บ ขี่
ปี งจับงหวั
ป รดะนครสวรรค์
ม า ณ พ .ศครอบคลุ . 2556-2561 มพื้ นที่ 5เท่จังาหวั กั บดใน คํานิยามทีใ่ ช้ในการวิจยั
ผู้โดยสาร หรือ คนเดินเท้ า 1
27.35,
เขตสุข29.04,
ภาพที่ 326.0, คือ จั25.54,
งหวั ดชั ย19.13 นาท นครสวรรค์ และ อุบการป
ตั ิเหตุ้ องกั
ทางถนน หมายถึบงจากอุอุบัติเบหตุ
นการบาดเจ็ ตั ิเจหตุ
ากการใช้
ทางถนน
18.74
อุทัยตามลํ
ธานี กําาดัแพงเพชร บ ถึงแม้ ว่าและพิ จะมีแนวโน้ จิ ตร มได้ลดลงแต่
ขับ เคลื่ อ น ยานพาหนะที
4 ใน ร ะ ดั บ่ใอํช้ ใานการขนส่ งบุคคล หหรืมอา สิย่งถึของที
เภ อ (D-RTI) ง ก ่า ร
ยังคงเกิ
การดํนาค่เนิาเป้นงานป้าหมายองกันการบาดเจ็บจากอุบั ติเหตุ เกิดขึ้นบนทางสาธารณะ ซึ่งเป็ นสาเหตุให้ เกิดการ
ดําเนิ นงานป้ องกันการบาดเจ็บจากอุบั ติเหตุทาง
ทางถนนระดัดังนั้น สํบาอํนัากเภอ งานป้(D-RTI)
องกันควบคุ มโรคที่ 3
ตามแนวทางของ บาดเจ็ ิ ต ทับ้ ง ทีอํ่ เาป็เภนผูอ้ ขัได้ ่
ถน นบของห พิ ก ารน่ วยงาน
และเสี ยในชี วระดั บ ขีแก่
จังหวั ด นครสวรรค์ ครอบคลุ ม พื
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เนื่องจาก ผู้โดยสาร ้ น ที ่ 5 จั ง1หวั ดใน
หรือ คนเดินเท้ขาอํ1า เภอ หรื อ โรงพยาบาล
สํา นั ก งานสาธารณสุ
เขตสุ
หน่ขวภาพที
ยงานในระดั ่ 3 คือ บจัอํงหวั ดชั ยนาท
า เภอเป็ นหน่นครสวรรค์
ว ยจั ด การที่มี การป ชุม้ ชน
องกัหรื นการบาดเจ็ บจากอุ บตั ิเหตุ ทางถนน ข
อคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุ
อุทประสิ
ัยธานีทกํธิภาแพงเพชร และพิ จ ิ ต ร ได้
าพและประเมินผลได้ ดีท่สี ุด โดยบูรณา ในระดั ข ั บ เคลื ่ อ น ร ะ ดับ อํบาอํเภอ
า เภ(คปสอ.)
อ (D-RTI) ห มาเนิา ยนถึงานร่ ง กวามกั รบ
มี การดํ
การดํ
การร่าเนิวนมกังานป้ องกันการบาดเจ็ฒบนาคุ
บ คณะกรรมการพั จากอุณบภาพชี ั ติเหตุวิ ต ดําเนิ นงานป้ องกันการบาดเจ็บจากอุบั เหตุทาง
ภาคี เ ครื อ ข่ า ย ได้ แก่ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารความ
ทางถนนระดั
ระดับอําเภอ บอํ(พชอ.)
าเภอ (D-RTI) หรือ District ตามแนวทางของ
Health Board ถนปลอดภั น ของหย ทางถนนระดั
น่ วยงาน ใน ระดั บ อํ า(ศปถ.อํ เภ อ ได้าแก่
1 บ อํา เภอ เภอ)
กรมควบคุ
(DHB) มมุโรค ่ งเน้ นกระทรวงสาธารณสุ
ให้ เกิ ดการดําเนิ นขงานผ่ เนื่อางจากนกลไก สําศูนั นก งานสาธารณสุ ข อํา เภอ หรื อยโรงพยาบาล
ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารความปลอดภั ทางถนนระดั บ
หน่การควบคุ
ว ยงานในระดั มป้ องกั บ อํนาโรคระดั
เภอเป็ นหน่
บอําเภอเชื ว ยจั ด การที
่ อมโยงกั ่ มี บ 17 ชุมชน หรือคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุข
องค์ก รปกครองส่วนท้ องถิ่น (ศปถ.อปท.) และ
ประสิ
ศู นทย์ธิปภฏิาพและประเมิ
บั ติ ก ารความปลอดภั นผลได้ ดีทย่สี ทางถนนอํ
ุด โดยบูรณา า เภอ
ผู้โดยสาร หรือ คนเดินเท้ า เขตสุขภาพที่ 3 ปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 ดัง
รค์ การป้องกันการบาดเจ็ บจากอุ บตั ิ เหตุ ทางถนน เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษา ระ
อน วารสารโรคและภัยสุ ขภาพ ส�ำนักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์
ใน ร ะ ดัปีบที่ 13อํฉบัา บเภที่ 2 อพฤษภาคม
(D-RTI) ห ม า ย ถึ ง ก า ร Journal of Disease and Health Risk DPC.3
ระ
– สิ งหาคม 2562 เครื่ อ งมื อ ่
ที ใ ช้ ใ นการวิ
Volumeจัย13ครั
No.2้ งMay
นี้ เป็– August
นแบบ 2019
หตุ ดําเนิ นงานป้ องกันการบาดเจ็บจากอุบั ติเหตุทาง ประเมินผลการดําเนินงาน D-RTI ระดับประเทศ ระ
กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์

ของ ถน น ของห น่ วยงาน ใน ระดั บ อํ า เภ อ ได้ แก่ ภายใต้ กรอบกิจกรรม จํานวน 10 กิจกรรม ที่ได้ เป็
จาก สํา นั ก งานสาธารณสุ ข อํา เภอ หรื อ โรงพยาบาล จากการป รั บ ป รุ ง แก้ ไขต าม คํ า แน ะนํ า ของ จา
ที่มี ชุมชน หรือคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุข ผู้ เชี่ ยวชาญจากสํานั กโรคไม่ ติดต่ อ กรมควบคุ ม เขต
ณา ระดับ อําเภอ (คปสอ.) มี การดําเนิ น งานร่ วมกับ โรค กระทรวงสาธารณสุข และผู้ รั บ ผิ ด ชอบงาน เกณ
วิ ต ภาคี เ ครื อ ข่ า ย ได้ แก่ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารความ ป้ องกัน การบาดเจ็บ จากอุ บั ติ เหตุ ทางถนน ของ คะ
ard ปลอดภั ย ทางถนนระดั บ อํา เภอ (ศปถ.อํา เภอ) สํานักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 1-12 เพื่ อใช้ เป็ น
ลไก ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารความปลอดภั ย ทางถนนระดั บ แบบประเมิ น ผลการดํ า เนิ น งานป้ องกั น การ เบ่
กับ องค์ก รปกครองส่วนท้ องถิ่น (ศปถ.อปท.) และ บาดเจ็บ จากอุ บั ติ เหตุ ท างถนนระดั บ ประเทศ 1 D-
ภอ หน่ วยงานที่เกี่ยวข้ อง เช่ น สํานั กงานป้ องกันและ ระห ว่ างวั น ที่ 1 ตุ ล าค ม 2560 ถึ งวั น ที่ 30 ไ
ยใน บรรเทาสาธารณภัย แขวงการทาง หมวดการทาง กันยายน 2561 แบ่งเป็ น 2 ตอน ดังนี้ ร
ของ ขน ส่ ง อํ า เภ อ/จั ง ห วั ด ตํ า รวจ สถาน ศึ กษ า ตอนที่ 1 ข้ อมูลทั่วไปของทีมป้ องกันการ ร
ส. ภาคเอกชน ฯลฯ 1
บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนระดับ อําเภอ เป็ น ร
รรม
วิธีการดําเนินงาน แบบสอบถามปลายเปิ ด (Open Form) สอบถาม สถ
เชิ ง
ก้ ไ ข การวิ จั ย ครั้ ง นี้ ใช้ รู ป แบบการศึ ก ษาเชิ ง ข้ อมูลหัวหน้ าทีม/ผู้ประสาน ที่ต้ังหน่วยงาน พื้นที่
าก พ ร ร ณ น า (Descriptive study) โด ย ก า ร เก็ บ ดําเนินการ และช่องทางการติดต่อ โป
รวบรวมข้ อ มู ล จากผลประเมิ น การดํา เนิ น งาน ตอนที่ 2 แบบประเมินผลการดําเนินงาน แจ
D-RTI เขตสุ ขภาพที่ 3 จากกลุ่ ม ตั ว อย่ า งเพี ย ง D-RTI ระดั บ ประเทศ ภายใต้ กรอบกิ จ กรรม มา
ครั้งเดียว (Cross-Sectional Study) ภายใต้ กรอบ จํา นวน 10 กิ จ กรรม ดั งนี้ 1. การจั ด การข้ อ มู ล ดํา
กั น กิจกรรม จํานวน 10 กิจกรรม ตามแนวทางของ การเฝ้ าระวัง และจัดทําสถานการณ์ปัญหา 2. การ อุ บ
สํา นั ก โรคไม่ ติ ด ต่ อ กรมควบคุ ม โรค กระทรวง สอบสวนสาเหตุการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน (C
สาธารณสุข ผลการประเมิ นได้ ผ่านการพิ จารณา 3. การขับ เคลื่ อนการดําเนิ น งานแบบมีส่วนร่ วม Co
การ รับรองจากคณะกรรมการประเมินผลทั้งในระดับ ของที ม สหสาขา/การประชุ ม 4. แผน งาน / ทา
หตุ จังหวัด ระดับเขตสุขภาพที่ 3 และระดับประเทศ โครงการ 5. การขั บ เคลื่ อ นที ม ระดั บ ตํ า บล/ ผล
ละ ป ระชาก รแ ล ะก ลุ่ ม ตั วอ ย่ างที่ ใช้ ใน หมู่บ้าน/หน่ วยงาน (RTI Team ตําบล) 6. ชี้เป้ า
ที่ 3 การศึกษาครั้ งนี้ คือ เครื อข่ ายอําเภอทั้งหมด 54 และจั ด การจุ ด เสี่ ย ง/ความเสี่ ย ง 7. มาตรการ
จํ า
อําเภอ ในเขตสุขภาพที่ 3 ที่สมั ค รใจเข้ ารั บ การ ชุมชน/ด่านชุมชน 8. มาตรการองค์กร
อํา
ป ระเมิ น รั บ รอ งผ ลก ารดํ า เนิ น งาน D-RTI 9. จัรณรงค์ ดระดับให้ผลการดํ
ความรู้ าประชาสั
เนิ น งานมพัD-RTIนธ์ 10.จากคะแนน สรุปผล
การดํ ระ
เขตสุขภาพที่ 3 ปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 ดังานีเนิ
้ นงาน
เป็
เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษา ระดับประกอบด้
ดี (Good) ว ยเกณฑ์คะแนน ก ารประเมิ ≥ น60-69 ทั้ งเชิ ง
(C
ปริระดั
มาณบดีและเชิ งคุณภาพ คะแนนกิ
มาก (Excellent) คะแนน จกรรมละ
≥ 70-79 10
เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจัยครั้ งนี้ เป็ นแบบ
ค ะแ น น ค ะแ น น รวม เท่ ากั บ 100 ค ะแน น
ประเมินผลการดําเนินงาน D-RTI ระดับประเทศ ระดับดีเยี่ยม (Advanced) คะแนน ≥ 80-100
ภายใต้ กรอบกิจกรรม จํานวน 10 กิจกรรม ที่ได้ เป็ นการวัดและประเมินผลการดําเนินงาน D-RTI
จากการป รั บ ป รุ ง แก้ ไขต าม คํ า แน ะนํ า ของ 18 จากคณะกรรมการประเมิน ผลฯในระดั บจังหวั ด
ผู้ เชี่ ยวชาญจากสํานั กโรคไม่ ติดต่ อ กรมควบคุ ม เขต และส่วนกลางที่แต่ งตั้งขึ้น โดยประเมินตาม
ข้ อมูดัลงหันีว้ หน้ าทีม/ผู้ประสาน ที่ต้ังหน่วยงาน พื้นที่ ผู้วิจัยนําข้ อมูลที่ได้ ทาํ การวิเคราะห์ โดยใช้
ดําเนิระดั
นการ บดีและช่
(Good) องทางการติดต่คะแนน อ ≥ 60-69 โปรแกรมคอมพิ วเตอร์ สJournal าํ เร็จofรูDisease
ป ได้andแก่Health การแจก
วารสารโรคและภัยสุ ขภาพ ส�ำนักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ Risk DPC.3
แบบ ระดับตอนที ดีมปี ทีาก่1่ 32ฉบั(Excellent)
แบบประเมิ น ผลการดํ
คะแนน
บที่ 2 พฤษภาคม – สิ งหาคม 2562 า≥ เนิ น งาน
70-79 แจง ความถี่ ร้ อยละ ค่ าเฉลีVolume ่ ย และส่
13 No.2 May –่ ย
วนเบี งเบน2019
August
กรอบกิ≥จ กรรม
กรมควบคุมโรค

เทศ D-RTI ระดัระดั บดีเยีบ่ยประเทศ ม (Advanced)


สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์

ภายใต้คะแนน 80-100 มาตรฐาน และทดสอบความสัมพั นธ์ของผลการ


ที่ได้ จํา นวน
เป็ นการวั 10 กิดจและประเมิ กรรม ดั งนีน้ ผลการดํ 1. การจัาดเนิการข้ นงานอ มูD-RTI ล ดําเนินงาน D-RTI และการบาดเจ็บ เสียชีวิตจาก
ของ การเฝ้จากคณะกรรมการประเมิ
าระวัง และจัดทําสถานการณ์ ปัญหา 2.บการ
น ผลฯในระดั จั งหวั ด อุ บั ติ เห ตุ ท างถ น น โด ย ใช้ ส ถิ ติ ไค ส แ ค ว ร์
บคุ ม สอบสวนสาเหตุ
เขต และส่วกนกลางที ารบาดเจ็่ แบต่จากอุ งตั้งขึบ้ นัตโดยประเมิ
ิเหตุทางถนน นตาม (Chi-square test (χ2)) แ ล ะ Contingency
งาน 3. การขั
เกณฑ์บ เคลื และกรอบกิ่ อนการดํจากรรมเพื เนิ น งานแบบมี ่ อนํามาจัสด่ วนร่ ระดัวบมตาม Coefficient (C) โดยกําหนดค่ าความมีนั ยสําคั ญ
ของ ของที ม สหสาขา/การประชุ
คะแนนที ่กาํ หนดไว้ ม 4. แผนงาน/ ทางสถิติท่รี ะดับ 0.05
เป็ น โครงการ 5.จาก การขั บ เคลื ่ อ นที ม ระดั บ ตํ า
นั้ น นํ า ม าห าค่ าเฉ ลี่ ย แ ละส่ วน ผลการศึกษาบล/
การ หมู่บเบี
้ าน/หน่ วยงาน (RTI Team ตํบาผลการดํ
่ ยงเบนมาตรฐานของระดั บล) 6. าชีเนิ ้ เป้ นา งาน
และจัD-RTIด การจุรายกิ ด เสีจ่ ยกรรมจากคะแนน
ง/ความเสี่ ย ง 7.ดังมาตรการ 1. ข้ อ มู ลทั่วไปของกลุ่ มตัวอย่ างทั้งหมด
ทศ 1 นี้
ชุมชน/ด่ จํ า นวน 54 อํา เภอ คิ ด เป็ นร้ อยละ 100 ของ
30 ไม่ดาาํ นชุเนิมนชน การ/ไม่ผ่า 8.คะแนนเท่ มาตรการองค์ ากับ กร 0
9. รณรงค์ อําเภอทั้งหมด มีพ้ ืนที่ดาํ เนินการเป็ นหน่วยงานใน
ระดับใดีห้ ค(Good) วามรู้ ประชาสัมคะแนนเท่ พั นธ์ 10.ากัสรุบปผล 1 2. ผลการดํ าโดยมี
เนิ น งาน D-RTI เขตสุ ข ภาพที ่3
การดําระดั เนินบงาน ระดั บ อํ า เภอ ห น่ ว ยงานสาธารณสุ ข อํ า เภอ
การ ดีมาก (Excellent) คะแนนเท่ากับ 2 ส่ ว นใหญ่ อ ยูม่ ใ นระดั บ้ ปดี ร(Good) ร้ลัอยละ 66.7ม
เป็ น ผู ้ นํ าที ห รื อ ผู ะ ส าน ห ก ข อ งที
เป็ น ระดัประกอบด้ ว ยเกณฑ์ ก ารประเมิ นาทักั้ งบเชิ ง 3
บดีเยี่ยม (Advanced)คะแนนเท่ รองลงมาคื อ ระดั บ ดี ม าก (Excellence) ร้ อ ยละ
ปริ2.
มาณ และเชิงาคุเนิณนภาพ คะแนนกิ จกรรมละ (Core team)
10 ่ 3 27.8 และระดับดีเยี่ยม (Advanced) ร้ อยละ 5.6
ถาม สถิผลการดํ
ติทีใ่ ช้ในการวิ เงาน
คราะห์ D-RTIขอ้ มูลเขตสุ ข ภาพที
พื้นที่ ค ะแ2. ผลการดํ
ส่ วนนใหญ่
น ค ะแ อ ยู
า เนิ น
น่ ใ นระดั งาน
น รวมบเท่ดี ากั D-RTI เขตสุ
บ 100ร้ อยละ
(Good)
ข ภาพที
ค ะแน66.7 น ่ 3 2. ผลการดํ
ดังตารางที ่ 1า เนิ น งาน D-RTI เขตสุ ข ภาพที่ 3
ผู ้ ว ิ จ ั ยนํ า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ท า
ํ การวิ เ คราะห์ โ ดยใช้
ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ใ นระดั บ ดี (Good) ร้ อยละ 66.7 ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ใ นระดั บ ดี (Good) ร้ อยละ 66.7
รองลงมาคื
โปรแกรมคอมพิ อ ระดัวบเตอร์ ดี ม าก (Excellence)
เร็จรู ป ได้ แก่ ร้ร้การแจกอ ยละ
รองลงมาคื อ ระดั บ ดี ม ากสาํ (Excellence) อ ยละ รองลงมาคื อ ระดั บ ดี ม าก (Excellence) ร้ อ ยละ
งาน 27.8 และระดั
ความถี่ บร้ อดียละ บ ดี เ ยี่ ย ม (Advanced)
าเฉลี่ย และส่ร้วอนเบี ร้ อ ยละ 5.6 ตารางที่ 1 ผลการดําเนินงานและผลลัพธ์ของการดําเนินงานป้ องก
แจง และระดั
27.8 เยี่ยมค่(Advanced) ยละ่ ยงเบน
5.6
รรม งตารางที่ 1และทดสอบความสัมพั นธ์ของผลการ 27.8 และระดับดีเยี่ยม (Advanced) ร้ อยละ 5.6
ดัมาตรฐาน
ดังตารางที่ 1 การประเมิ
ดังตารางที ่ 1 นผลการ จํ านวนอ
อมู ล ดําเนินงาน D-RTI และการบาดเจ็บ เสียชีวิตจาก ดําเนินงาน D-RTI ระดั(D-RTI)
บดี
การ ตารางที
อุ บั ่ 1 เห
ติ ผลการดํตุ ท าเนินนงานและผลลั
างถ น โด ย ใช้ ส พถิธ์ติของการดํ
ไค ส แ คาเนิว ร์นงานป้ องกันการบาดเจ็บจากอุบตั ิเหตุทางถนน
ตารางที
ตารางที่ 1่ ผลการดํ
1 ผลการด� าเนิำนเนิงานและผลลั
นงานและผลลั พธ์พขธ์องการดํ
ของการด�าเนิ ำเนินนงานป้
งานป้องกั
ตารางที องกั่ 1นนผลการดํ
การบาดเจ็
การบาดเจ็ าเนิบนจากอุ บัตั ิเหตุททางถนน
งานและผลลั างถนน
พธ์ข(Good) (D-RTI)
(D-RTI)
องการดํ าเนินงานป้ องก
ถนน (Chi-square 2
(χ )) แ ล ะ Contingency จํ านวนอําเภอ (ร้อยละ) ทีไ่ ด้ระดับ
การประเมิtest นผลการ
ร่ วม การประเมิ
Coefficient (C)นD-RTI ผลการ
โดยกําหนดค่ าความมี น ั ย สํา คั ญ าผลการดํ
เภอ (ร้อายละ)
จํ านวนอํการประเมิ เนิ นงาน
นผลการ ทีไ่ ด้ระดับ 36 (66.7) จํ านวนอ
ดําเนินงาน ระดับดี
าน/ ทางสถิ ดําเนิ ติทน่รี งาน ะดับ D-RTI 0.05 ระดับดี ผลลัดํพระดั
ระดั
บดีมาก าเนินงาน ระดั23
าธ์เนิขบนองการดํ
ดีงาน
มากD-RTI ระดับระดั
บดีเ(65.7)ยีย่ ม
ดีเยีบย่ มดี
บล/ (Good) (Excellent) (Advanced)
ผลการศึกษา (Good) (Excellent)
รวมบาดเจ็ บและเสียชีวิต (Advanced) (Good)
เป้ า ผลการดําเนินงาน 36 (66.7) 15 (27.8) 3 (5.5)
ผลการดํข้ อาเนิ ลดลง
การ ผลลัพธ์ข1.องการดํ มู ลนทัางาน
่ วไปของกลุ
เนิ นงาน ่ มตัว23
36
อย่(66.7)
างทั้งหมด
(65.7)
15 (27.8)
ผลการดํ
9 (25.7)
าเนินงาน 336 (5.5)
3 (8.6)
(66.7)
ผลลั
จํ า นวน พธ์ข54 องการดํ อํ า เภอาเนินคิงาน ด เป็ นร้ อยละ 23 (65.7)
100 ของ ผลลัพ9ธ์ข(25.7) องการดําเนินงาน 323 (8.6)
(65.7)
ค์กร รวมบาดเจ็ บและเสียชีวิต 3. ผลลั พ 35
ธ์ ก (64.8)
ารดํ า เนิ น งานการป้ องกั นการ ผล
ปผล อํรวมบาดเจ็
าเภอทั้งหมด บและเสี มีพ้ ืนทีย่ดชีาวํ เนิิต นการเป็ นหน่วยงานใน รวมบาดเจ็ บ 35 (64.8)
และเสี ย ชี ว ิ ต
ลดลง
ระดั บ อําเภอ ลดลง โดยมี หน่ วยงานสาธารณสุขอําเภอ บาดเจ็บจากอุ ลดลง
บัติเหตุทางถนน กลุ่มตัวอย่างมีผล สอ

เชิ ง เป็ น ผู้ นํ าที ม ห รื อ ผู้ ป ร ะ ส าน ห ลั ก ข อ งที ม การดําเนินงาน D-RTI ระดับดีข้ ึนไปมีผ5้ ูบาดเจ็บ ทา
3. ผลลัพธ์การดําเนินงานการป้ องกันการ และเสี ผลการดํยชีวิตจากอุ า เนิ นบงานัติเหตุร้ทอยละ างถนนลดลง 66.7 และ จํานวนการ ตา
(Core 3. team) ผลลัพธ์การดําเนินงานการป้ องกันการ ผลการดํ า เนิ น
3. อผลลัร้ พอ ธ์ยสกลาเหตุ งาน
ารดํ ร้ อยละ 66.7 และ การ
10 บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน กลุ่มตัวอย่างมีผล 35สอบสวนสาเหตุ อํ า เภ ะ า64.81เนิ นงานการป้
การบาดเจ็ โด ยบมีจากอุ องกั
ผ ลนบกการ ั ตา ิเรหตุ ผล
บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน กลุ่มตัวอย่างมีผล สอบสวนสาเหตุ สาเหตุ การบาดเจ็ บวจากอุ บัผติลเหตุ สอ
นน การดําเนินงาน D-RTI ระดับดีข้ ึนไปมีผ้ ูบาดเจ็บ บาดเจ็ เนิ นบงานระดั
ดําทางถนน จากอุคิบดัตบเป็ ิเดีหตุ ทอยละ
นร้ างถนน
(Good) ากลุ
จํ72.2
นวน ่มตัตามลํอย่าอํางมี
23 าดัเภอบ ดั ง ที่ 3
การดําเนินงาน D-RTI ระดับดีข้ ึนไปมีผ5้ ูบาดเจ็บ การดํ ทางถนน
า เนิ น งาน คิ ดD-RTI
เป็ นร้ อยละ ระดั บ 72.2
ดี ข้ ึ น ตามลํ
ไปมี ผ้ ู บ า ดั บบดั ง ทา
าดเจ็
และเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง5 จํานวน ร้ อยละ ตารางที65.7 ่ 2 ผลการดํ า เนิ น งานระดั บ ดี ม าก กั บ
และเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง จํานวน และเสี ตารางทีย ชี ว ่ ิต2จากอุบัติเหตุทางถนนลดลง5 จํานวน ตา
35 อํ า เภ อ ร้ อ ย ล ะ 64.81 โด ย มี ผ ล ก า ร 19 (Excellent)5.จําผลการดํ นวน 9 าเนิ อํานเภอ งานร้ อD-RTI ยละ 25.7 เขตสุและ ขภาพ ถน
35 อํ า เภ อ ร้ อ ย ล ะ 64.81 โด ย มี ผ ล ก า ร 35 อํ า เภ อ5. ผลการดํ ร้ อ ย ล ะาเนิ64.81 นงาน โด D-RTI เขตสุ ขภาพ
ดํา เนิ น งานระดั บ ดี (Good) จํา นวน 23 อํา เภอ ผลการดํ ที่ 3 ปีางบประมาณ
เนินงานระดับพ.ศ.2561 ดี ไม่มีความสัมาพัรนธ์ val
ย มี ผ ล ก
ดํา เนิ น งานระดั บ ดี (Good) จํา นวน 23 อํา เภอ ดําทีเนิ่ 3น งานระดั ปี งบประมาณ พ.ศ.2561
บ ดี (Good) จํา นวน ไม่ม23 ีความสั มพันธ์ ที่ 3
อํา เภอ
การดําเนินงาน D-RTI ระดับดีข้ ึนไปมีผ้ ูบาดเจ็บ ดังตารางที ทางถนน ่ 1 คิ ด เป็ นร้ อยละ 72.2 ตามลํา ดั บ ดั ง
และเสียชีวารสารโรคและภั
วิตจากอุบยัตสุิเขหตุ ทางถนนลดลง5 จํานวน
ภาพ ส�ำนักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์
ตารางที 4. ่ ผลการดํ
2 าเนินJournal
งาน ofD-RTI เขตสุขภาพ
Disease and Health Risk DPC.3
35 อํ า เภปี ที่ อ13 ฉบัร้บอที่ 2ยพฤษภาคม
ล ะ 64.81
– สิ งหาคม โด
2562 ย มี ผ ล ก า ร ที่ 3 แยกรายกิ 5. ผลการดํ าเนิVolume
นงาน13D-RTI
จกรรม ตามกรอบกิ May –เขตสุ
จกรรมทั
No.2 ข2019
้ ง 10
August ภาพ
กรมควบคุมโรค

ดํา เนิ น งานระดั บ ดี (Good) จํา นวน 23 อํา เภอ กิจกรรม


สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์

ที่ 3 ปีพบว่
งบประมาณ
า กลุ่มตัวพ.ศ.2561
อย่างทั้งหมดมี ไม่มกีคารจั
วามสั ดการมพันธ์
ร้ อยละ 65.7 ผลการดํ า เนิ น งานระดั บ ดี ม าก ข้ อมูกัลบ การบาดเจ็ การเฝ้ าระวับง และจั
และเสี ดทํยาชีสถานการณ์
วิ ต จากอุ บั ตปิ เั ญหตุ
หาท าง
(Excellent) จํานวน 9 อําเภอ ร้ อยละ 25.7 และ มากที ถนน ่ สุ ดอย่รองลงมา
างมีนัยสําคืคัญ
อ ทางสถิ
มาตรการชุ ติ (χ2ม=ชน/ด่1.409, า น p-
ผลการดําเนินงานระดับดี ชุ ม ชน
valueร้ อ=ยละ 96.3ดัและชี
0.575) งตารางที้ เป้ า่ 3จั ด การจุ ด เสี่ ย ง
เยี่ยม (Advanced) จํานวน 3 อําเภอ ร้ อยละ 8.6 และรณรงค์ ใ ห้ ความรู้ ประชาสั ม พั น ธ์ ร้ อยละ
ดังตารางที่ 1 88.9 ส่ ว นกิจ กรรมที่มี ก ารดํา เนิ น งานน้ อ ยที่สุ ด
4. ผลการดําเนินงาน D-RTI เขตสุขภาพ คื อ มาตรการองค์ กร ร้ อยละ 59.3 รองลงมาคื อ
ที่ 3 แยกรายกิจกรรม ตามกรอบกิจกรรมทั้ง 10 การสรุป
กิจกรรม พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีการจัดการ
ข้ อตารางที
มูล การเฝ้
่ 2 าระวังาเนิและจั
ผลการดํ น ดทํองกั
งานป้ าสถานการณ์
น การบาดเจ็ ปบั ญจากอุ
หา บตั ิเหตุทางถนน (D-RTI) เขตสุ ขภาพที่ 3 แยกรายกิจกรรม
มากที่่ ส2ุ ดผลการด�
ตารางที รองลงมา ำเนินงานป้
คื อ องกั นการบาดเจ็
มาตรการชุ บจากอุบา นตั เิ หตุทางถนน (D-RTI) เขตสุขภาพที่ 3 แยกรายกิจกรรม
ม ชน/ด่
ชุ ม ชน ร้ อ ยละ 96.3 และชี้ เป้ า จั ด การจุ ด เสี่ ย ง
และรณรงค์ ใ ห้ ความรู้ ประชาสั ม พั ผลการดํ น ธ์ ร้ อยละาเนินงานป้ องกันการบาดเจ็บจากอุบัตเิ หตุทางถนน (D-RTI)
กิจกรรม (ร้ อยละ)
88.9 ส่ ว นกิจ กรรมที่มี ก ารดํา เนิ น งานน้ อ ยที่สุ ด
ระดับดี ระดับดีมาก ระดับดีเยี่ยม x̄ S.D.
คื อ มาตรการองค์ กร ร้ อยละ 59.3 รองลงมาคื (Good)
อ (Excellent) (Advanced)
การสรุ ป
1. การจั ด การข้ อมู ล เฝ้ าระวั ง ย้ อนหลัง 2 ปี ย้ อนหลัง 3 ปี ย้ อนหลัง >3 ปี 1.9 0.84
จัดทําสถานการณ์ปัญหา 19 (35.2) 17 (31.5) 18 (33.3) 8
ไม่ผ่าน 0
2. การสอบสวนสาเหตุการบาดเจ็บ 3 ครั้ง/ปี 5 ครั้ง/ปี > 5 ครั้ง/ปี 1.2 1.14
และเสียชีวิต 24 (44.4) 1 (1.9) 14 (25.9) 6
ไม่ผ่าน 15 (27.8)
3. การขั บ เคลื่ อ นการดํา เนิ น งาน 3 ครั้ง/ปี 5 ครั้ง/ปี > 5 ครั้ง/ปี 1.4 1.04
แบบมีส่วนร่วมของทีม/การประชุม 23 (42.6) 9 (16.7) 12 (22.2) 3
ไม่ผ่าน 10 (18.5)
4. มีแผนงาน/โครงการ 1 แผนงาน 1 แผนงาน 1 แผนงาน 0.8 0.40
0
ไม่ผ่าน 11 (20.4)
5. การขับ เคลื่อ นทีมระดับ ตําบล/ 3 ทีม 5 ทีม > 5 ทีม 1.1 0.95
หมู่บ้าน/หน่วยงาน (RTI TEAM) 26 (48.1) 8 (14.8) 7 (13.0) 7

ไม่ผ่าน 13 (24.1)
6. การชี้ เป้ า และจั ดการจุ ดเสี่ยง/ 3 จุด 5 จุด > 5 จุด 1.6 0.92
ความเสี่ยง 18 (33.3) 20 (37.0) 10 (18.5) 3
ไม่ผ่าน 6 (11.1)
7. มาตรการชุมชน/ด่านชุมชน 3 แห่ง 5 แห่ง > 5 แห่ง 1.9 0.97
21 (38.9) 20 10 (18.5) 21 (38.9) 3
ไม่ผ่าน 2 (3.7)
ไม่ผ่าน 11 (20.4)
5. การขัวารสารโรคและภั
บ เคลื่อ นทีมยสุระดั ขภาพบส�ำตํนัากงานป้
บล/องกันควบคุม3โรคที
ทีม่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ 5 ทีม > 5 ทีJournal
ม of Disease
1.1and Health
0.95 Risk DPC.3
ตารางที ่ 2 ผลการดํ
หมู่บ้าน/หน่
ปี ที่13 วฉบัยงาน า เนิ น งานป้
(RTI TEAM)
บที่ 2 พฤษภาคม องกั น การบาดเจ็
– สิ งหาคม 2562 26 (48.1) บ จากอุ บ ต
ั ิ เ หตุ ท างถนน
8 (14.8)(D-RTI) เขตสุ ข ภาพที ่ 3 แยกรายกิ จ กรรม
7 (13.0)Volume 137No.2 May – August 2019
กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์

ไม่ผ่าน ผลการดําเนินงานป้ องกั 13 น(24.1)


การบาดเจ็บจากอุบัตเิ หตุทางถนน (D-RTI)
6. การชี้ เป้ ากิจและจั
กรรมดการจุ ดเสี่ยง/ 3 จุด 5 จุด (ร้ อยละ) > 5 จุด 1.6 0.92
ความเสี่ยง 18ระดั(33.3)
บดี 20 บ(37.0)
ระดั ดีมาก 10 บ(18.5)
ระดั ดีเยี่ยม 3x̄ S.D.
ไม่ผ่าน (Good) 6 (11.1)
(Excellent) (Advanced)
1.7.ก มาตรการชุ
ารจั ด ก ารข้มชน/ด่
อ มู ลานชุ
เฝ้มาระวั
ชน ง 3 แห่
ย้ อนหลั ง ง2 ปี 5 แห่ง ง3 ปี ย้ อนหลั
ย้ อนหลั > 5 แห่
ง >3 ง ปี 1.9
1.9 0.97
0.84
จัดทําสถานการณ์ปัญหา 21(35.2)
19 (38.9) 1710 (31.5)
(18.5) 21
18 (38.9)
(33.3) 38
ไม่ไม่ผ่าผน่าน 2 (3.7)
0
2.8.การสอบสวนสาเหตุ
การดําเนินงานมาตรการองค์
การบาดเจ็กบร 33ครั
องค์
้ ง/ปีกร องค์้ ง/ปี
5 ครั กร >> 55 ครั
องค์้ ง/ปี
กร 1.1
1.2 1.23
1.14
และเสียชีวิต 14(44.4)
24 (25.9) 14 (1.9)
(7.4) 14 (25.9)
(25.9) 96
ไม่ไม่ผ่าผน่าน 1522 (27.8)
(40.7)
3.9.การขั ก า รบ รเคลื
ณ ่ อรนการดํ
ง ค์ ใ ห้า เนิ
ค วน างาน
ม รู้ 3 3ครัครั
้ ง/ปี้ ง 5 5ครัครั้ ง/ปี
้ง > 5 ครั
ครั้ ง้ ง/ปี 1.5
1.4 1.00
1.04
ประชาสั
แบบมี มพัวนมของที
ส่วนร่ ธ์ ม/การประชุม 25(42.6)
23 (46.3) 9 (16.7) 14
12 (25.9)
(22.2) 73
ไม่ไม่ผ่าผน่าน 6 (11.1)
10 (18.5)
4.10. สรุปผลการดําเนินงาน
มีแผนงาน/โครงการ 1 ฉบับ
1 แผนงาน 1 1แผนงาน
ฉบับ 1 1แผนงาน
ฉบับ 0.6
0.8 0.47
0.40
70
ไม่ไม่ผ่าผน่าน 1118 (20.4)
(33.3)
ตารางที่ 3 ความสัมพันธ์ของผลการดําเนินงานป้ องกันการบาดเจ็บจากอุบตั ิเหตุทางถนน เขตสุ ขภาพที่ 3 กับการ
5. การขับ เคลื่ อ นทีมระดับ ตําบล/ 3 ทีม 5 ทีม > 5 ทีม 1.1 0.95
บาดเจ็
ตารางที
หมู่บ้าน/หน่ บ และเสี
่ 3 ความสั
วยงานย ชี วติ
มพัน(RTI จากอุ บ ต
ั ิ
ธ์ของผลการด� เหตุ ท
TEAM)ำเนินงานป้างถนน องกันการบาดเจ็บ8จากอุ
26 (48.1) บตั เิ หตุทางถนน
(14.8) เขตสุขภาพที่ 37กับการบาดเจ็บ
7 (13.0)
และเสียชีวิตจากอุบตั เิ หตุทางถนน
ไม่ผ่าน 13ย(24.1)
การบาดเจ็ บและเสี ชีวิตจากอุบตั ิเหตุทางถนน (ราย)
6. การชี้ เป้ า และจั ด การจุ ด เสี่ยง/ 3 จุด 5 จุด > 5 จุด 1.6 0.92
ปี งบประมาณ ปี งบประมาณ เปรียบเทียบ
ความเสี ่ยง ขภาพที่ 3
เขตสุ 18 (33.3) 20 (37.0) 10 (18.5) 3
ไม่ผ่าน
2560 6 (11.1)
2561 (ร้อยละ)
7. มาตรการชุมชน/ด่านชุมชน 19,352
3 แห่ง 5 แห่ง 18,474 > 5 แห่ง 1.9-132.31
0.97
ความสัมพันธ์ Contingency21 Coefficient
(38.9) (C)10 (18.5) χ221 (38.9) 3 p-value
ไม่ผลการดํ
ผ่าน าเนินงาน 0.179 2 (3.7) 1.409 0.575
8.D-RTI
การดําเนินงานมาตรการองค์กร 3 องค์กร 5 องค์กร > 5 องค์กร 1.1 1.23
14 (25.9) 4 (7.4) 14 (25.9) 9
ไม่ผ่าน 22 (40.7)
สรุ ป
9.ปกและอภิ
และอภิ ป
า ร ร ณปรายผล
รายผล
ร ง ค์ ใ ห้ ค ว า ม รู้ 3 ครั้ง 5 ครั้ง 5 ครั้ง 1.5 1.00
สรุ
ประชาสั 1. กลุ
ม1.พันกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งทั
้ ง หมดเป็
ธ์ ่ มตัวอย่ างทั้งหมดเป็ นหน่ น หน่ ว ยงานใน
25 ว(46.3) ของอํ า เภอภู เ ขี ย ว จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ ปี7งบประมาณ
ยงานใน กลุ9่ ม(16.7)
ตั ว อย่ า งส่ ว 14 (25.9)
นใหญ่ ป ฏิ บ ั ต ิ ง านในโรงพยาบาล
ไม่ระดั าเภอ โดยมีสาธารณสุขอําเภอที่เป็ นผู้ นํา
ผบ่านอ�บำอํเภอ พ.ศ. 2560ส่ ว นใหญ่ มี ผ ลการดํา เนิ น งานอยู่ ใน
ระดั โดยมีสาธารณสุขอ�ำเภอที่เป็ นผู้นำ� ทีม ส�ำ6นั(11.1) กบงานสาธารณสุ ข อ�ำ66.7
เภอ โรงพยาบาลชุ ม ชน
ทีมสรุ
10. หรืปอผลการดํ
ผู้ ป ระสานหลั า เนิ น ก (Core team) สอดคล้
งาน 1 ฉบั บอง ระดั
1 ฉบัดีบ(Good) ร้ อยละ 1 ฉบั บ 0.6 0.47
หรือผู้ประสานหลัก (Core team) สอดคล้ องกับการ ร้ อยละ 22.55 เนื่องมาจากกระทรวงสาธารณสุขได้ มี
กับการศึกษาของนภิวัฒน์ โคตรแก้ ว. (2561). 6 3. ผลลัพธ์ด้านการป้ องกัน7อุบัติเหตุทาง
ศึ ก ษาของนภิ วั ฒ น์ โคตรแก้ ว. (2561). 6 การก�ำหนดเป้ าหมายการด�ำเนินงานอุ บัติเหตุทาง
ไม่กลุผ่ามนตัวอย่ างส่วนใหญ่ ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล ถนน
18 เขตสุ ข ภาพที่ 3 กลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ มี ผ ลการ
(33.3)
สํานั กงานสาธารณสุขอําเภอ โรงพยาบาลชุ มชน 21 ดําเนิ น งานอยู่ ในระดั บ ดี ข้ ึน ไป มี ผ้ ู บ าดเจ็บ และ
ร้ อยละ 22.55 เนื่องมาจากกระทรวงสาธารณสุข เสี ย ชี วิ ต จากอุ บั ติ เ หตุ ท างถนนลดลงร้ อยละ
วารสารโรคและภัยสุ ขภาพ ส�ำนักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ Journal of Disease and Health Risk DPC.3
ปี ที่ 13 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิ งหาคม 2562 Volume 13 No.2 May – August 2019
กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์

ถนนให้ ตรงกั บ ค่ า เป้ าหมายของประเทศ และ ใ ห้ กั บ บุ ค ล า ก ร ด้ า น ก า ร จั ด ก า ร ข้ อ มู ล ใ ห้ มี


เป้ าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน และยังถูกก�ำหนดเป็ น ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อท�ำการวิเคราะห์ได้ ถงึ ราก
นโยบายส�ำคัญ โดยก�ำหนดค่าเป้ าหมายทั้งในระดับ ของปัญหาอุบัติเหตุในพื้นที่ น�ำไปสู่การชี้เป้ าอ�ำเภอ
ประเทศ เขต และจังหวัดในการตรวจติดตามผลการ เสี่ยง และสร้ างมาตรการแก้ ไขปัญหาอุบตั เิ หตุได้ ตรง
ด�ำเนินงานรายไตรมาสอีกด้ วย จุด และควรมีการประเมินติดตามผลของมาตรการ
2. ผลการด�ำเนินงาน D-RTI เขตสุขภาพที่ 3 อย่างต่อเนื่อง
ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี (Good) ร้ อยละ 66.7 รองลง รองลงมาก็คื อ การด�ำ เนิ น งานมาตรการ
มาคือ ระดับดีมาก (Excellent) และระดับดีเยี่ยม ชุมชน/ด่านชุมชน ส่วนกิจกรรมที่มีการด�ำเนินงาน
สอดคล้ องกั บ ผลการด� ำ เนิ น งาน D-RTI ใน น้ อยที่สดุ คือ การด�ำเนินงานมาตรการองค์กร รอง
เขตสุขภาพที่ 1, 2, 5, 6, 9, 10,11 และ 12 ที่ผล ลงมา คื อ การสรุ ป ผลการด�ำ เนิ น งาน และการ
การด�ำเนินงาน D-RTI เขตสุขภาพที่ 3 ส่วนใหญ่อยู่ สอบสวนสาเหตุ ก ารบาดเจ็ บ และเสี ย ชี วิ ต จาก
ในระดับดี (Good)5 และการศึกษาของนภิวฒ ั น์ โคตร อุ บั ติ เ หตุ ท างถนน สอดคล้ อ งกั บ การศึ ก ษาของ
แก้ ว. (2561). ที่พบว่า ผลประเมิน D-RTI Team
6
นภิวัฒน์ โคตรแก้ ว. (2561).6 ที่พบว่า เครือข่าย
ของอ�ำ เภอภูเ ขี ย ว จั ง หวั ด ชั ย ภูมิ ปี งบประมาณ ป้ องกันการบาดเจ็บทางถนนมีส่วนร่ วมในกิจกรรม
พ.ศ. 2560ส่วนใหญ่มผี ลการด�ำเนินงานอยู่ในระดับ การด�ำเนินงานมาตรการชุมชน/ด่านชุมชนมากที่สดุ
ดี (Good) ร้ อยละ 66.7 และน้ อยที่สดุ คือ การสอบสวนสาเหตุการบาดเจ็บ
3. ผลลัพธ์ด้านการป้ องกันอุบตั เิ หตุทางถนน และเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุทางถนน อาจเป็ นไปได้ ว่า
เขตสุขภาพที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่มผี ลการด�ำเนินงานอยู่ การการด�ำเนินงานมาตรการชุมชน/ด่านชุมชน นั้น
ในระดับดีข้ นึ ไป มีผ้ บู าดเจ็บและเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุ เป็ นนโยบายและข้ อสั่งการจากของผู้บริหารระดับสูง
ทางถนนลดลงร้ อยละ 64.81 ซึ่งเกินค่าเป้ าหมายร้ อย จากหลายหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้ องกับการด�ำเนิน
ละ 30 ของตัวชี้วัดตามค�ำรับรองด้ านประสิทธิผล งานรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุในช่ วงเทศกาล จึงให้
ระดับความส�ำเร็จของการด�ำเนินงานป้ องกันการบาด ความสนใจเป็ นพิเศษโดยเฉพาะช่องทางการสื่อสาร
เจ็บจากอุบตั เิ หตุทางถนนในระดับอ�ำเภอ เมื่อเทียบ ประชาสัมพันธ์
กับปี พ.ศ. 2560 สอดคล้ องกับผลการด�ำเนินงาน ส่วนการสอบสวนสาเหตุการบาดเจ็บและเสีย
D-RTI ทั้ง 12 เขตที่มผี ลการด�ำเนินงานเกินค่าเป้ า ชีวิตจากอุบตั เิ หตุทางถนนนั้น เครือข่ายระดับอ�ำเภอ
หมายเช่นกัน5 มีมุมมองว่ าเป็ นเรื่ องที่ยุ่ งยากซับซ้ อน ในการเก็บ
4. ผลการด�ำเนินงาน D-RTI เขตสุขภาพที่ 3 รวบรวมข้ อมูลทางวิชาการเพื่อมาวิเคราะห์หาสาเหตุ
แยกรายกิจกรรม ตามกรอบกิจกรรม 10 กิจกรรม ของการเกิดอุบตั เิ หตุร่วมกันจากทีมสหสาขา และร่วม
พบว่ า กลุ่มตัวอย่ างทั้งหมดมีการท�ำกิจกรรมการ ลงพื้นที่ ณ จุดเกิดเหตุ เพื่อเก็บรวบรวมข้ อมูล ศึกษา
จัดการข้ อมูล เฝ้ าระวัง และจัดท�ำสถานการณ์ปัญหา ลักษณะทางระบาดวิทยาการบาดเจ็บ ปัจจัยที่ส่งผล
มากที่สุด ดั ง นั้ น จากการเก็บ รวบรวมข้ อ มู ล และ ต่อการบาดเจ็บเพื่อหาแนวทางในการป้ องกันการบาด
สถานการณ์ท่ีดีจึงถือเป็ นต้ นทุ นในการเพิ่ มทักษะ เจ็บต่ ออุบัติเหตุในพื้นที่ จึ ง ถือ เป็ นโอกาสในการ

22
วารสารโรคและภัยสุ ขภาพ ส�ำนักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ Journal of Disease and Health Risk DPC.3
ปี ที่13 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิ งหาคม 2562 Volume 13 No.2 May – August 2019
กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์

พั ฒนาในการจัดอบรมหลั กสูตรพั ฒนาทักษะการ พื้นที่7สอดคล้ องกับ United Nation Economic and


สอบสวนอุบตั เิ หตุทางถนนในปี ต่อไปให้ กบั เครือข่าย Social Commission for Asia and the Pacific
ในระดับอ�ำเภอและทีมสหสาขา เพื่อให้ การสอบสวน (UN ESCAP) ได้ สรุปไว้ ว่า ปัญหาด้ านความปลอดภัย
อุบตั เิ หตุมปี ระสิทธิภาพ และสร้ างทีมงานเครือข่าย บนท้องถนนเป็ นปัญหาที่เกิดจากปัจจัยหลายๆ ด้ าน
ที่เข้ มแข็งสามารถน�ำเสนอมาตรการ/แนวทางแก้ ไข (Multidisciplinary problem) เช่ น การบังคับใช้
อุบตั เิ หตุในพื้นที่ได้ กฎหมาย วิศวกรรม ความปลอดภัยของยานพาหนะ
5. ผลการด�ำเนินงานป้ องกันการบาดเจ็บจาก การแพทย์ฉกุ เฉิน เป็ นต้ น8
อุบตั เิ หตุทางถนน (D-RTI) เขตสุขภาพที่ 3 ไม่มี ดังนั้นการแก้ไขปัญหาอุบตั เิ หตุจงึ จ�ำเป็ นต้ อง
ความสั ม พั น ธ์ กั บ การบาดเจ็บ และเสี ย ชี วิ ต จาก เข้ าใจสภาพปัญหา มีการวิเคราะห์ถงึ รากของปัญหา
อุบตั เิ หตุทางถนน อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ถึงแม้ ว่า เพื่อน�ำไปสูก่ ารแก้ไขปัญหาได้ ตรงจุด และการประเมิน
การบาดเจ็บ และเสี ย ชี วิ ต จากอุ บั ติ เ หตุ ท างถนน ติดตามอย่างต่อเนื่อง
ปี งบประมาณ 2561เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2560 จะ การมีสว่ นร่วมของประชาชนและหน่วยงานสห
ลดลงด้ วยปัจจัยใดก็ตาม จึงจ�ำเป็ นต้ องทบทวนเกณฑ์ สาขาที่มี ส่ ว นเกี่ย วข้ อ งกับ การด�ำ เนิ น งานป้ องกัน
การประเมินที่มุ่งเน้ นการสร้ างกระบวนการวิเคราะห์ อุบตั เิ หตุทง้ั ภาครัฐและเอกชนก็เป็ นส่วนส�ำคัญในการ
ประเด็นปัญหาอุบตั เิ หตุในพื้นที่โดยคนในชุมชน เพื่อ จัดการความปลอดภัยทางถนน ตลอดจนเรียนรู้ สร้ าง
น�ำมาสร้ างมาตรการที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ ไข ความตระหนัก และสร้ างกระบวนการ และระบบทีเ่ อื้อ
ปั ญหา มากกว่ าเน้ นการท�ำกิจกรรมรณรงค์ และ ต่อความปลอดภัยทางถนนตามแนวทางทศวรรษความ
ประชาสัมพันธ์ในช่วงเทศกาล ปลอดภัยทางถนนของกระทรวงคมนาคมในเรื่องของ
และจากสถานการณ์และปัญหาการบาดเจ็บ ความรับผิดชอบร่วมกัน (Shared Responsibility) และ
และเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุทางถนนดังกล่าว ส�ำนักงาน ระบบถนนทีเ่ อื้อต่อความปลอดภัย (Forgiving Road
ป้ องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ ได้ ดำ� เนิน System) ซึ่งสามารถน�ำไปสู่การสร้ างแนวทางถนน
การแก้ ไขปัญหามาอย่างต่อเนื่องแต่กย็ งั ไม่ประสบผล ปลอดภัยได้ 9
ส�ำเร็จเท่าทีค่ วร นอกจากสาเหตุทเ่ี ป็ นปัจจัยเสี่ยงหลัก ดังนั้นจากผลการวิจยั ดังกล่าว พบว่าทางด้ าน
ในด้ าน คน รถ ถนนและสิ่งแวดล้ อมแล้ ว นโยบายและกลไกการท�ำงานยังมีข้อจ�ำกัด ขาดการ
ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้ องอีก เช่ น เชื่อมโยงการจัดการปัญหาในระดับอ�ำเภอและท้องถิน่
การขาดการสนับสนุนด้ านงบประมาณในการแก้ ไข ด้านกฎหมายยังขาดการบังคับใช้ ควรปรับแก้กฎหมาย
ปัญหาอย่างเพียงพอ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องขาดความ ให้ มีประสิทธิภาพมากขึ้น ด้ านบุคลากรควรพัฒนา
เข้ าใจในปัญหาอุบตั เิ หตุอย่างแท้จริง ชุมชนขาดความ ทักษะในการจัดการข้ อมูลให้ มีประสิทธิภาพ การ
ตระหนักในปัญหาของตัวเอง ผู้ขบั ขี่ขาดทักษะในการ สอบสวนสาเหตุการบาดเจ็บและเสียชีวติ การวิเคราะห์
ขับขี่ การไม่ปฏิบตั ติ ามกฎจราจร เป็ นต้ น จะเห็นได้ ถึงรากของปั ญหาอุบัติเหตุในพื้นที่นำ� ไปสู่การชี้เป้ า
ว่ าปั ญ หาอุบัติเ หตุท างถนนนั้ นมีหลายรูปแบบ มี อ�ำเภอเสี่ยง การสร้ างมาตรการแก้ ไขปัญหาที่ตรงจุด
หลายปัจจัยที่เกี่ยวข้ องแตกต่างกันไปตามบริบทของ และประเมินติดตามผลของมาตรการอย่างต่อเนื่อง

23
วารสารโรคและภัยสุ ขภาพ ส�ำนักงานป้ องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ Journal of Disease and Health Risk DPC.3
ปี ที่ 13 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิ งหาคม 2562 Volume 13 No.2 May – August 2019
กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์

เอกสารอ้างอิง
1. ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวง 7. Iamtrakul, P., & Pimonsathean, P. Impact of
สาธารณสุข. แนวทางการด�ำเนินงานและการประเมิน Urban factors on road accident in Bangkok,
การป้ องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนระดับ Thailand. Lowland Technology Interna tional,
อ�ำเภอ District Road Traffic Injury (D-RTI). 2010;12:30-40.
นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข; 2561. 8. Economic and Social Commission for Asia and
2. ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวง The Pacific. Guidelines on Road Safety Action Plan
สาธารณสุข. แผนปฏิบตั ริ าชการเชิงยุทธศาสตร์ ระยะ and Programmes. United Nations; 1999. 1-67.
5 ปี (พ.ศ. 2560-64) กรมควบคุมโรค. แผนงาน 9. Thai Health Promption Found โครงการ วิจัย
ป้ องกันการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน. กระทรวง กฎหมายจราจรทางบก. ประเด็น การบั ง คั บ ใช้
สาธารณสุข 2561:219-227. กฎหมายและการจัดการ [อินเทอร์เน็ต], 2009 [The
3. กองตรวจราชการ ส�ำนักตรวจราชการ. แนวทาง study of land traffic law: Enforcement and
การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปี งบประมาณ management
พ.ศ. 2561 (Inspection Guideline) คณะที่ 1การ
ส่งเสริมสุขภาพป้ องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
ตัวชี้วัดตรวจราชการ:อัตราการเสียชีวิตจากอุบตั เิ หตุ
ทางถนน. กระทรวงสาธารณสุข:115-121.
4. ส�ำ นั ก นโยบายและยุ ทธศาสตร์ สำ� นั ก งานปลั ด
กระทรวงสาธารณสุข. ตัวชี้วดั ระดับกระทรวง อัตราการ
เสียชีวติ จากการบาดเจ็บทางถนน [อินเทอร์เน็ต]. 2561
[เข้ าถึงเมื่อ 1 ม.ค.2562]. เข้ าถึงได้ จาก:http://
healthpi.moph.go.th/kpi/kpi/index/?id=758&kpi_
year=2561
5. ส�ำนักโรคไม่ตติ ต่อ กรมควบคุมโรค. ข้ อมูลผู้บาด
เจ็บและเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุทางถนนปี พ.ศ. 2561
แยกรายเขตและจังหวัดจากบริษัทกลางคุ้มครองผู้
ประสบภัยจากรถ จ�ำกัด. 2561. [รายงานไฟล์แนบ6.
นภิวฒ ั น์ โคตรแก้ว. การพัฒนารูปแบบการป้ องกันการ
บาดเจ็บทางถนนโดยการมีส่วนร่ วมของเครื อข่ าย
ป้ องกันการบาดเจ็บทางถนน อ�ำเภอภูเขียว จังหวัด
ชัยภูม.ิ วารสารโรคและภัยสุขภาพ ส�ำนักงานป้ องกัน
ควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์. 2561;12:12-24.

24

You might also like