You are on page 1of 171

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

พุทธศักราช ๒๕๕๑

กระทรวงศึกษาธิการ
สารบัญ
หน้า
คำนำ....................................................................................................................................
คำสัง่ กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ ๒๙๓/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑
เรื่ อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ความนำ.............................................................................................................................. ๑
วิสยั ทัศน์ ............................................................................................................................. ๓
หลักการ............................................................................................................................... ๓
จุดหมาย............................................................................................................................... ๓
สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รี ยน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์............................................... ๔
สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รี ยน..................................................................................... ๔
คุณลักษณะอันพึงประสงค์...................................................................................... ๕
มาตรฐานการเรี ยนรู้............................................................................................................. ๕
ตัวชี้วดั ................................................................................................................................. ๖
สาระการเรี ยนรู้................................................................................................................... ๗
สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้............................................................................................. ๙
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน.......................................................................................................... ๑๖
ระดับการศึกษา.................................................................................................................... ๑๗
การจัดเวลาเรี ยน................................................................................................................... ๑๗
โครงสร้างเวลา ๑๘
เรี ยน.............................................................................................................
การจัดการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ...................................................................... ๑๙
การจัดการเรี ยนรู้.................................................................................................................. ๒๐
สื่ อการเรี ยนรู้....................................................................................................................... ๒๒
การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้......................................................................................... ๒๓
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรี ยน........................................................................... ๒๔
เอกสารหลักฐานการศึกษา ........................................................................................... ๒๘
การเทียบโอนผลการเรี ยน............................................................................................. ๒๘
การบริ หารจัดการหลักสูตร................................................................................................. ๒๙
มาตรฐานการเรี ยนรู้และตัวชี้วดั ......................................................................................... ๓๐
- ภาษาไทย............................................................................................................ ๓๑
- คณิ ตศาสตร์ ........................................................................................................ ๔๗
- วิทยาศาสตร์ ....................................................................................................... ๗๕
- สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม.................................................................... ๑๑๔
- สุ ขศึกษาและพลศึกษา........................................................................................ ๑๔๖
- ศิลปะ.................................................................................................................. ๑๖๔
- การงานอาชีพและเทคโนโลยี............................................................................. ๑๘๐
- ภาษาต่างประเทศ................................................................................................ ๑๙๐
เอกสารอ้างอิง...................................................................................................................... ๒๐๙

ความนำ
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ให้
เป็ นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรี ยนรู ้เป็ นเป้ าหมายและ
กรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความ
สามารถ ในการแข่งขันในเวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธิ การ, ๒๕๔๔) พร้อมกันนี้ได้ปรับ
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง
ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่มุ่งเน้นการกระจายอำนาจ
ทางการศึกษาให้ทอ้ งถิ่นและสถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่ วมในการพัฒนาหลักสู ตร เพื่อให้
สอดคล้องกับสภาพ และ ความต้องการของท้องถิ่น (สำนักนายกรัฐมนตรี , ๒๕๔๒)
จากการวิจยั และติดตามประเมินผลการใช้หลักสู ตรในช่วงระยะ ๖ ปี ที่ผา่ นมา (สำนัก
วิชาการและมาตรฐานการศึกษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข., ๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๘ ข.; สำนักงาน
เลขาธิ การสภาการศึกษา, ๒๕๔๗; สำนักผูต้ รวจราชการและติดตามประเมินผล, ๒๕๔๘; สุ วิมล
ว่องวาณิ ช และ นงลักษณ์ วิรัชชัย , ๒๕๔๗; Nutravong, ๒๐๐๒; Kittisunthorn, ๒๐๐๓)
พบว่า หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ มีจุดดีหลายประการ เช่น ช่วยส่ งเสริ ม
การกระจายอำนาจทางการศึกษาทำให้ทอ้ งถิ่นและสถานศึกษามีส่วนร่ วมและมีบทบาทสำคัญในการ
พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้อง กับความต้องการของท้องถิ่น และมีแนวคิดและหลักการใน
การส่ งเสริ มการพัฒนาผูเ้ รี ยนแบบองค์รวมอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกล่าวยังได้
สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นที่เป็ นปัญหาและความ
ไม่ชดั เจนของหลักสูตรหลายประการทั้งในส่ วนของเอกสารหลักสู ตร กระบวนการนำหลักสู ตร
สู่ การปฏิบตั ิ และผลผลิตที่เกิดจากการใช้หลักสู ตร ได้แก่ ปั ญหาความสับสนของผูป้ ฏิบตั ิในระดับ
สถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาส่ วนใหญ่ก ำหนดสาระและผลการเรี ยนรู ้
ที่คาดหวังไว้มาก ทำให้เกิดปัญหาหลักสู ตรแน่น การวัดและประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน ส่ งผล
ต่อปั ญหาการจัดทำเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรี ยน รวมทั้งปั ญหา
คุณภาพ ของผูเ้ รี ยนในด้านความรู ้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงค์อนั ยัง
ไม่เป็ นที่น่าพอใจ
นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔)
ได้ช้ ีให้เห็นถึงความจำเป็ นในการปรับเปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้ มี
คุณธรรม และมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมทั้งด้านร่ างกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีล
ธรรม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำไปสู่ สงั คมฐานความรู ้ได้อย่างมัน่ คง แนวการพัฒนา
คนดังกล่าวมุ่งเตรี ยมเด็กและเยาวชนให้มีพ้ืนฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ
ทักษะและความรู้พ้ืนฐานที่จ ำเป็ นในการดำรงชีวิต อันจะส่ งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยัง่ ยืน (สภา
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๔๙) ซึ่ งแนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่ โลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ โดยมุ่งส่ งเสริ มผูเ้ รี ยน
มีคุณธรรม รักความเป็ นไทย ให้มีทกั ษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทกั ษะด้านเทคโนโลยี
สามารถทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่น และสามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ (กระทรวง
ศึกษาธิ การ, ๒๕๕๑)
จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจยั และติดตามผลการใช้หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๔๔ ที่ผา่ นมา ประกอบกับข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ ๑๐ เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิ การใน
การพัฒนาเยาวชนสู่ ศตวรรษที่ ๒๑ จึงเกิดการทบทวนหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๔๔ เพื่อนำไปสู่ การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่มี
ความเหมาะสม ชัดเจน ทั้งเป้ าหมายของหลักสู ตรในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน และกระบวนการนำ
หลักสู ตรไปสู่ การปฏิบตั ิในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการกำหนดวิสยั ทัศน์
จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดั ที่
ชัดเจน เพื่อใช้เป็ นทิศทางในการจัดทำหลักสู ตร การเรี ยนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากนั้นได้
กำหนดโครงสร้างเวลาเรี ยนขั้นต่ำของแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ในแต่ละชั้นปี ไว้ในหลักสู ตรแกน
กลาง และเปิ ดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรี ยนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้ปรับ
กระบวนการวัดและประเมินผลผูเ้ รี ยน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลัก
ฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรี ยนรู ้ และมีความชัดเจนต่อการนำไปปฏิบตั ิ
เอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นี้ จัดทำขึ้นสำหรับ
ท้องถิ่นและสถานศึกษาได้น ำไปใช้เป็ นกรอบและทิศทางในการจัดทำหลักสู ตรสถานศึกษา และ
จัดการเรี ยน
การสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพด้านความรู ้
และทักษะที่จ ำเป็ นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู ้เพื่อพัฒนา
ตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรฐานการเรี ยนรู้และตัวชี้วดั ที่ก ำหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในทุกระดับเห็นผลคาดหวังที่ตอ้ งการในการพัฒนาการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนที่ชดั เจนตลอดแนว ซึ่ งจะ
สามารถช่วยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่ วมกันพัฒนาหลักสู ตรได้อย่าง
มัน่ ใจ ทำให้การจัดทำหลักสูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็ นเอกภาพยิง่ ขึ้น อีกทั้งยัง
ช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่ องการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอน
ระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสู ตรในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติจนกระทัง่ ถึงสถาน
ศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้ วดั ที่ก ำหนดไว้ในหลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษา
ขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเป็ นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรู ปแบบ และครอบคลุมผูเ้ รี ยน
ทุกกลุ่มเป้ าหมายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเร็ จตามเป้ าหมายที่คาดหวังได้ ทุก
ฝ่ าย ที่เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่ วมรับผิดชอบ โดยร่ วมกันทำงาน
อย่างเป็ นระบบ และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ ส่ งเสริ มสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจน
ปรับปรุ งแก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติไปสู่ คุณภาพตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ที่ก ำหนดไว้

วิสยั ทัศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคน ซึ่ งเป็ นกำลังของชาติให้เป็ น
มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่ างกาย ความรู ้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็ นพลเมืองไทยและเป็ น
พลโลก ยึดมัน่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข มี
ความรู ้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จ ำเป็ นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษา
ตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนา
ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
หลักการ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้
๑. เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรี ยนรู ้
เป็ นเป้ าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู ้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน
ของความเป็ นไทยควบคู่กบั ความเป็ นสากล
๒. เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่าง
เสมอภาค และมีคุณภาพ
๓. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สงั คมมีส่วนร่ วมในการจัดการ
ศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
๔. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุน่ ทั้งด้านสาระการเรี ยนรู ้ เวลาและการจัด
การเรี ยนรู้
๕. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ
๖. เป็ นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู ้ และประสบการณ์
จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุ ข
มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็ นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผูเ้ รี ยน เมื่อจบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
๑. มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินยั และปฏิบตั ิ
ตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียง
๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี
ทักษะชีวิต
๓. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสยั และรักการออกกำลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมัน่ ในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ ง
แวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามในสังคม และอยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่าง
มีความสุ ข
สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รี ยน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ในการพัฒนาผูเ้ รี ยนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มี
คุณภาพตามมาตรฐานที่ก ำหนด ซึ่ งจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ดังนี้
สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รี ยน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังนี้
๑. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒั นธรรมในการ
ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อ
รองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล
และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสังคม
๒. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนำไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้
หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ
ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้มา
ใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิด
ขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต เป็ นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้
ใน
การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยูร่ ่ วม
กันในสังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้ง
ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการ
รู ้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ื่น
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดา้ น
ต่าง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรี ยนรู ้
การสื่ อสาร
การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เพื่อให้สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก
ดังนี้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
๒. ซื่อสัตย์สุจริ ต
๓. มีวินยั
๔. ใฝ่ เรี ยนรู้
๕. อยูอ่ ย่างพอเพียง
๖. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๗. รักความเป็ นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตาม
บริ บทและจุดเน้นของตนเอง
มาตรฐานการเรี ยนรู ้
การพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เกิดความสมดุล ต้องคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกำหนดให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ ๘ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ดังนี้
1. ภาษาไทย
2. คณิ ตศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สุ ขศึกษาและพลศึกษา
6. ศิลปะ
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8. ภาษาต่างประเทศ
ในแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ได้ก ำหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้เป็ นเป้ าหมายสำคัญของการ
พัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน มาตรฐานการเรี ยนรู ้ระบุสิ่งที่ผเู ้ รี ยนพึงรู ้ ปฏิบตั ิได้ มีคุณธรรมจริ ยธรรม และ
ค่านิยม ที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรี ยนรู ้ยงั เป็ น
กลไกสำคัญ ในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรี ยนรู ้จะ
สะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็ นเครื่ องมือในการ
ตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมิน
คุณภาพภายนอก ซึ่ งรวมถึง
การทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกัน
คุณภาพดังกล่าวเป็ นสิ่ งสำคัญที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพ
ตามที่มาตรฐานการเรี ยนรู้ก ำหนดเพียงใด
ตัวชี้วดั
ตัวชี้วดั ระบุสิ่งที่นกั เรี ยนพึงรู้และปฏิบตั ิได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผูเ้ รี ยนในแต่ละระดับชั้น
ซึ่ งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรี ยนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็ นรู ปธรรม นำไปใช้
ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรี ยนรู ้ จัดการเรี ยนการสอน และเป็ นเกณฑ์ส ำคัญสำหรับการ
วัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผูเ้ รี ยน
๑. ตัวชี้วดั ชั้นปี เป็ นเป้ าหมายในการพัฒนาผูเ้ รี ยนแต่ละชั้นปี ในระดับการศึกษาภาคบังคับ
(ประถมศึกษาปี ที่ ๑ – มัธยมศึกษาปี ที่ ๓)
๒. ตัวชี้วดั ช่วงชั้น เป็ นเป้ าหมายในการพัฒนาผูเ้ รี ยนในระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย(มัธยมศึกษาปี ที่ ๔- ๖)

หลักสูตรได้มีการกำหนดรหัสกำกับมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้ วดั เพื่อความเข้าใจและให้


สื่ อสารตรงกัน ดังนี้

ว ๑.๑ ป. ๑/๒
ป.๑/๒ ตัวชี้วดั ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ข้อที่ ๒
๑.๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานข้อที่ ๑
ว กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์

ต ๒.๒ ม.๔-๖/ ๓
ม.๔-๖/๓ ตัวชี้วดั ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ ๓
๒.๓ สาระที่ ๒ มาตรฐานข้อที่ ๒
ต กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ

สาระการเรี ยนรู ้
สาระการเรี ยนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู ้ ทักษะหรื อกระบวนการเรี ยนรู ้ และคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ ซึ่ งกำหนดให้ผเู้ รี ยนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจำเป็ นต้องเรี ยนรู ้ โดยแบ่ง
เป็ น ๘ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ดังนี้
สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู ้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ใน ๘ กลุ่มสาระการ
เรี ยนรู ้ จำนวน ๖๗ มาตรฐาน ดังนี้
ภาษาไทย
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตดั สิ นใจ แก้
ปั ญหา
ในการดำเนินชีวิตและมีนิสยั รักการอ่าน
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ อง
ราว
ในรู ปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา
ค้นคว้า
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด
ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ
พลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่าง
เห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
คณิ ตศาสตร์
สาระที่ ๑ จำนวนและการดำเนินการ
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จ ำนวนในชีวิต
จริ ง
มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการของจำนวนและความสัมพันธ์
ระหว่าง
การดำเนินการต่าง ๆ และใช้การดำเนินการในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค ๑.๔ เข้าใจระบบจำนวนและนำสมบัติเกี่ยวกับจำนวนไปใช้
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่ งที่ตอ้ งการวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด

สาระที่ ๓ เรขาคณิ ต
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริ ภูมิ (spatial reasoning)
และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิ ต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
สาระที่ ๔ พีชคณิ ต
มาตรฐาน ค ๔.๑ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรู ป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์
(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความ
หมาย
และนำไปใช้แก้ปัญหา
สาระที่ ๕ การวิเคราะห์ขอ้ มูลและความน่าจะเป็ น
มาตรฐาน ค ๕.๑ เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
มาตรฐาน ค ๕.๒ ใช้วธิ ีการทางสถิติและความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ได้
อย่างสมเหตุสมผล
มาตรฐาน ค ๕.๓ ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นช่วยในการตัดสิ นใจและแก้
ปั ญหา
สาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อ
ความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ
ทางคณิ ตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์กบั ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิด
ริ เริ่ มสร้างสรรค์
วิทยาศาสตร์
สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่
ของ
ระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวิตที่ท ำงานสัมพันธ์กนั มีกระบวนการสื บเสาะ
หาความรู้
สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนำความรู ้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแล
สิ่ งมีชีวิต
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
วิวฒั นาการของสิ่ งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยี
ชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม มีกระบวนการ
สื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสาร สิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนำความรู ้
ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่ งแวดล้อม


มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมกับสิ่ งมี
ชีวิต
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสื บ
เสาะ
หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนำความรู ้ไปใช้
ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติใน
ระดับ
ท้องถิ่น ประเทศ และโลกนำความรู ้ไปใช้ในในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยัง่ ยืน
สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง
และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ
จิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ นำความรู ้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด
สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยา
ศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนำความรู ้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์
มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนำความรู ้ไปใช้
ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ
สื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนำความรู ้
ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๕ พลังงาน
มาตรฐาน ว ๕.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การเปลี่ยนรู ป
พลังงาน ปฏิสมั พันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อ
ชีวิตและสิ่ งแวดล้อม มีกระบวน การสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยน
รู้และ นำความรู ้ไปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๖ : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว ๖.๑ เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความ
สัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ
จิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนำความรู ้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ ๗ ดาราศาสตร์และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๗.๑ เข้าใจวิวฒั นาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพการปฏิสมั พันธ์
ภายในระบบสุ ริยะและผลต่อสิ่ งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสื บเสาะ
หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนำความรู ้ไปใช้
ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๗.๒ เข้าใจความสำคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่น ำมาใช้ในการสำรวจอวกาศ
และ
ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีกระบวนการสื บ
เสาะ หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนำความรู ้ไปใช้
ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่ งแวดล้อม
สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘.๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสื บเสาะ
หาความรู้ การแก้ปัญหา รู ้วา่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่ วนใหญ่
มีรูปแบบ ที่แน่นอน สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอ้ มูล
และเครื่ องมือที่มีอยูใ่ นช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สังคม และสิ่ งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กนั
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ ๑  ศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม
มาตรฐาน  ส ๑.๑   รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา
หรื อศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมัน่ และปฏิบตั ิ
ตามหลักธรรม เพื่ออยูร่ ่ วมกันอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๑.๒  เข้าใจ ตระหนักและปฏิบตั ิตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี  และธำรงรักษาพระพุทธ
ศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบตั ิตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ
ธำรงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยูร่ ่ วมกันในสังคมไทย
และ สังคมโลกอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบนั ยึดมัน่ ศรัทธา และ
ธำรงรักษาไว้ซ่ ึ งการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย ์
ทรงเป็ นประมุข
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริ หารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริ โภค การ
ใช้
ทรัพยากรที่มีอยูจ่ ำกัดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและคุม้ ค่า รวมทั้งเข้าใจหลัก
การ
ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
และความจำเป็ นของการร่ วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ น
ระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบนั ในด้านความสัมพันธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ
และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจและธำรงความเป็ นไทย
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่ งมีผล
ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์
ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุ ป และใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด
การสร้างสรรค์วฒั นธรรม มีจิตสำนึก และมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์
ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
สุ ขศึกษาและพลศึกษา
สาระที่ ๑ การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกั ษะในการ
ดำเนินชีวิต
สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบตั ิเป็ นประจำอย่าง
สม่ำเสมอ มีวนิ ยั เคารพสิ ทธิ กฎ กติกา มีน ้ำใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณใน
การแข่งขัน และชื่นชมในสุ นทรี ยภาพของการกีฬา
สาระที่ ๔ การสร้างเสริ มสุ ขภาพ สมรรถภาพและการป้ องกันโรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทกั ษะในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การดำรงสุ ขภาพ การ
ป้ องกันโรคและการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ
สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบตั ิเหตุ การใช้
ยาสารเสพติด และความรุ นแรง
ศิลปะ
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดต่องาน
ศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็น
คุณค่างานทัศนศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญา
ไทยและสากล
สาระที่ ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรี อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์
คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดต่อดนตรี อย่างอิสระ ชื่นชม และ
ประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็น
คุณค่าของดนตรี ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญา
ไทยและสากล
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็น
คุณค่า ของนาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาไทยและสากล
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะ
การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่ วมกัน และ
ทักษะ การแสวงหาความรู ้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสยั ในการ
ทำงาน มีจิตสำนึก ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ ่ งแวดล้อม
เพื่อการดำรงชีวิตและครอบครัว
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ง ๒.๑ เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่ งของ
เครื่ องใช้ หรื อวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิด
สร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่ ง
แวดล้อม และมี ส่ วนร่ วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยงั่ ยืน
สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
มาตรฐาน ง ๓.๑ เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้น
ข้อมูล
การเรี ยนรู้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทำงาน และอาชีพอย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพ
ประสิ ทธิผล และมีคุณธรรม
สาระที่ ๔ การอาชีพ
มาตรฐาน ง ๔.๑ เข้าใจ มีทกั ษะที่จ ำเป็ น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ
ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
ภาษาต่างประเทศ
สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา้ ใจและตีความเรื่ องที่ฟังและอา่ นจากสื่อประเภทตา่ งๆ
และแสดงความคิดเห็นอยา่ งมีเหตุผล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทกั ษะการสื่ อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความ
รู้สึกและความคิดเห็นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่ องต่างๆ
โดยการพูดและการเขียน
สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไป
ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของ
เจ้าของ
ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธ์กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู ้กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น และ
เป็ นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู ้ และเปิ ดโลกทัศน์ของตน
สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธ์กบั ชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และ
สังคม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่ องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบ
อาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั สังคมโลก
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน มุ่งให้ผเู้ รี ยนได้พฒั นาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อ
ความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่ างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริ มสร้างให้เป็ นผูม้ ีศีลธรรม
จริ ยธรรม มีระเบียบวินยั ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการ
ตนเองได้ และอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นอย่างมีความสุ ข
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน แบ่งเป็ น ๓ ลักษณะ ดังนี้
๑. กิจกรรมแนะแนว
เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มและพัฒนาผูเ้ รี ยนให้รู้จกั ตนเอง รู ้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิด
ตัดสิ นใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้ าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรี ยน และอาชีพ สามารถปรับตนได้
อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ยงั ช่วยให้ครู รู้จกั และเข้าใจผูเ้ รี ยน ทั้งยังเป็ นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้ค ำ
ปรึ กษาแก่ผปู้ กครองในการมีส่วนร่ วมพัฒนาผูเ้ รี ยน
๒. กิจกรรมนักเรี ยน
เป็ นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินยั ความเป็ นผูน้ ำผูต้ ามที่ดี ความรับผิดชอบ
การทำงานร่ วมกัน การรู้จกั แก้ปัญหา การตัดสิ นใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปั น
กัน เอื้ออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจ
ของผูเ้ รี ยน ให้ได้ปฏิบตั ิดว้ ยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบตั ิตามแผน
ประเมินและปรับปรุ งการทำงาน เน้นการทำงานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้อง
กับวุฒิภาวะของผูเ้ รี ยน บริ บทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรี ยนประกอบด้วย
๒.๑ กิจกรรมลูกเสื อ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบ้ ำเพ็ญประโยชน์ และนักศึกษาวิชาทหาร
๒.๒ กิจกรรมชุมนุม ชมรม
๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มให้ผเู้ รี ยนบำเพ็ญตนให้เป็ นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่น
ตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสี ยสละต่อ
สังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สงั คม

ระดับการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดระดับการศึกษาเป็ น ๓ ระดับ ดังนี้
๑. ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ – ๖) การศึกษาระดับนี้ เป็ นช่วงแรกของการ
ศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน
การติดต่อสื่ อสาร กระบวนการเรี ยนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็ นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิต
อย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้งในด้านร่ างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเน้น
จัดการเรี ยนรู้แบบบูรณาการ
๒. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓) เป็ นช่วงสุ ดท้ายของการศึกษาภาค
บังคับ มุ่งเน้นให้ผเู้ รี ยนได้สำรวจความถนัดและความสนใจของตนเอง ส่ งเสริ มการพัฒนาบุคลิกภาพ
ส่ วนตน มีทกั ษะในการคิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทกั ษะในการดำเนินชีวิต มี
ทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู ้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลทั้ง
ด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเป็ นไทย ตลอดจนใช้เป็ นพื้นฐานในการ
ประกอบอาชีพหรื อการศึกษาต่อ
๓. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ – ๖) การศึกษาระดับนี้ เน้นการ
เพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้าน สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเ้ รี ยน
แต่ละคนทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ มีทกั ษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการ
คิดขั้นสู ง สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ
มุ่งพัฒนาตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็ นผูน้ ำ และผูใ้ ห้บริ การชุมชนในด้านต่าง ๆ
การจัดเวลาเรี ยน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ก ำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรี ยนขั้นต่ำสำหรับ
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ๘ กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ซึ่ งสถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมได้ตามความ
พร้อมและจุดเน้น โดยสามารถปรับให้เหมาะสมตามบริ บทของสถานศึกษาและสภาพของผูเ้ รี ยน
ดังนี้
๑. ระดับชั้นประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ – ๖) ให้จดั เวลาเรี ยนเป็ นรายปี โดยมีเวลา
เรี ยนวันละ ไม่เกิน ๕ ชัว่ โมง
๒. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓) ให้จดั เวลาเรี ยนเป็ นรายภาค มี
เวลาเรี ยนวันละไม่เกิน ๖ ชัว่ โมง คิดน้ำหนักของรายวิชาที่เรี ยนเป็ นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ ๔๐ ชัว่ โมงต่อ
ภาคเรี ยน มีค่าน้ำหนักวิชา เท่ากับ ๑ หน่วยกิต (นก.)
๓. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ - ๖) ให้จดั เวลาเรี ยนเป็ นรายภาค มี
เวลาเรี ยน วันละไม่นอ้ ยกว่า ๖ ชัว่ โมง คิดน้ำหนักของรายวิชาที่เรี ยนเป็ นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ ๔๐
ชัว่ โมง ต่อภาคเรี ยน มีค่าน้ำหนักวิชา เท่ากับ ๑ หน่วยกิต (นก.)

โครงสร้างเวลาเรี ยน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรี ยน ดังนี้
เวลาเรี ยน
ระดับมัธยมศึกษา
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้/ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ตอนปลาย
กิจกรรม ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ๖
● กลุ่มสาระการเรี ยนรู้
ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.)
คณิ ตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.)
วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.)
สังคมศึกษา ศาสนา ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
และวัฒนธรรม (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.)
สุ ขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐
(๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓นก.)
ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐
(๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓ นก.)
การงานอาชีพและ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
เทคโนโลยี (๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓ นก.)
ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.)
รวมเวลาเรี ยน (พื้นฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๑,๕๖๐
๘๐๐ ๘๐๐ ๘๐๐ ๘๐๐ ๘๐๐ ๘๐๐ (๒๑ นก.) (๒๑ นก.) (๒๑ นก.) (๓๙ นก.)
● กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐
●รายวิชา / กิจกรรมที่
สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ไม่นอ้ ยกว่า
ปี ละไม่เกิน ๘๐ ชัว่ โมง ปี ละไม่เกิน ๒๔๐ ชัว่ โมง
ตามความพร้อมและจุดเน้น ๑,๕๖๐ชัว่ โมง

รวม ๓ ปี
รวมเวลาเรี ยนทั้งหมด ไม่เกิน ๑,๐๐๐ ชัว่ โมง/ปี ไม่เกิน ๑,๒๐๐ ชัว่ โมง/ปี ไม่นอ้ ยกว่า
๓,๖๐๐ ชัว่ โมง

การกำหนดโครงสร้างเวลาเรี ยนพื้นฐาน และเพิม่ เติม สถานศึกษาสามารถดำเนินการ ดังนี้


ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรี ยนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ได้ตาม
ความเหมาะสม ทั้งนี้ ต้องมีเวลาเรี ยนรวมตามที่ก ำหนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรี ยนพื้นฐาน และผูเ้ รี ยน
ต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรี ยนรู้และตัวชี้ วดั ที่ก ำหนด
ระดับมัธยมศึกษา ต้องจัดโครงสร้างเวลาเรี ยนพื้นฐานให้เป็ นไปตามที่ก ำหนดและ
สอดคล้องกับเกณฑ์การจบหลักสูตร
สำหรับเวลาเรี ยนเพิ่มเติม ทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ให้จดั เป็ นรายวิชาเพิ่ม
เติม หรื อกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษาและ
เกณฑ์การจบหลักสูตร เฉพาะระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑-๓ สถานศึกษาอาจจัดให้เป็ นเวลาสำหรับ
สาระ การเรี ยนรู้พ้ืนฐานในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนที่ก ำหนดไว้ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ปี ละ
๑๒๐ ชัว่ โมง และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔-๖ จำนวน ๓๖๐ ชัว่ โมงนั้น เป็ นเวลาสำหรับปฏิบตั ิกิจกรรม
แนะแนวกิจกรรมนักเรี ยน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในส่ วนกิจกรรมเพื่อสังคม
และสาธารณประโยชน์ให้สถานศึกษาจัดสรรเวลาให้ผเู ้ รี ยนได้ปฏิบตั ิกิจกรรม ดังนี้
ระดับประถมศึกษา (ป.๑-๖) รวม ๖ ปี จำนวน ๖๐ ชัว่ โมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) รวม ๓ ปี จำนวน ๔๕ ชัว่ โมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) รวม ๓ ปี จำนวน ๖๐ ชัว่ โมง
การจัดการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ
การจัดการศึกษาบางประเภทสำหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การ
ศึกษาสำหรับผูม้ ีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสำหรับผูด้ อ้ ยโอกาส การศึกษาตาม
อัธยาศัย สามารถนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม กับ
สภาพและบริ บทของแต่ละกลุ่มเป้ าหมาย โดยให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ก ำหนด ทั้งนี้ให้เป็ นไป
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงศึกษาธิ การกำหนด

การจัดการเรี ยนรู ้
การจัดการเรี ยนรู้เป็ นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสู ตรสู่ การปฏิบตั ิ หลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็ นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรี ยนรู ้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของผูเ้ รี ยน เป็ นเป้ าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน
ในการพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณสมบัติตามเป้ าหมายหลักสู ตร ผูส้ อนพยายามคัดสรร
กระบวนการเรี ยนรู้ จัดการเรี ยนรู้โดยช่วยให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ผา่ นสาระที่ก ำหนดไว้ในหลักสู ตร ๘ กลุ่ม
สาระการเรี ยนรู้ รวมทั้งปลูกฝังเสริ มสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็ น
สมรรถนะสำคัญให้ผเู้ รี ยนบรรลุตามเป้ าหมาย
๑. หลักการจัดการเรี ยนรู้
การจัดการเรี ยนรู้เพื่อให้ผเู้ รี ยนมีความรู ้ความสามารถตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ สมรรถนะ
สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่ก ำหนดไว้ในหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผูเ้ รี ยนมีความสำคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนา
ตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผูเ้ รี ยน กระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ตอ้ งส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยน สามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง
สมอง เน้นให้ความสำคัญทั้งความรู ้ และคุณธรรม
๒. กระบวนการเรี ยนรู้
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ ผูเ้ รี ยนจะต้องอาศัยกระบวนการเรี ยนรู ้ที่หลาก
หลาย เป็ นเครื่ องมือที่จะนำพาตนเองไปสู่ เป้ าหมายของหลักสู ตร กระบวนการเรี ยนรู ้ที่จ ำเป็ น
สำหรับผูเ้ รี ยน อาทิ กระบวนการเรี ยนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู ้ กระบวนการคิด
กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรี ยนรู ้
จากประสบการณ์จริ ง กระบวนการปฏิบตั ิ ลงมือทำจริ ง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจยั
กระบวนการเรี ยนรู้การเรี ยนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสยั
กระบวนการเหล่านี้เป็ นแนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้ที่ผเู ้ รี ยนควรได้รับการฝึ กฝน พัฒนา
เพราะจะสามารถช่วยให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้ดี บรรลุเป้ าหมายของหลักสู ตร ดังนั้น ผูส้ อน
จึงจำเป็ นต้องศึกษาทำความเข้าใจในกระบวนการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัด
กระบวนการเรี ยนรู้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
๓. การออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้
ผูส้ อนต้องศึกษาหลักสู ตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรี ยนรู ้ ตัวชี้ วดั
สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน
แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้โดยเลือกใช้วธิ ี สอนและเทคนิคการสอน สื่ อ /แหล่งเรี ยนรู ้
การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผเู้ รี ยนได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามเป้ าหมายที่ก ำหนด

๔. บทบาทของผูส้ อนและผูเ้ รี ยน
การจัดการเรี ยนรู้เพื่อให้ผเู้ รี ยนมีคุณภาพตามเป้ าหมายของหลักสู ตร ทั้งผูส้ อนและผูเ้ รี ยน
ควรมีบทบาท ดังนี้
๔.๑ บทบาทของผูส้ อน
๑) ศึกษาวิเคราะห์ผเู ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผน
การจัดการเรี ยนรู้ ที่ทา้ ทายความสามารถของผูเ้ รี ยน
๒) กำหนดเป้ าหมายที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน ด้านความรู ้และทักษะ
กระบวนการ ที่เป็ นความคิดรวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓) ออกแบบการเรี ยนรู ้และจัดการเรี ยนรู ้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่าง
บุคคลและพัฒนาการทางสมอง เพื่อนำผูเ้ รี ยนไปสู่ เป้ าหมาย
๔) จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ และดูแลช่วยเหลือผูเ้ รี ยนให้เกิดการเรี ยน
รู้
๕) จัดเตรี ยมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่น
เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน
๖) ประเมินความก้าวหน้าของผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับ
ธรรมชาติของวิชาและระดับพัฒนาการของผูเ้ รี ยน
๗) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริ มและพัฒนาผูเ้ รี ยน รวมทั้ง
ปรับปรุ งการจัดการเรี ยนการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบาทของผูเ้ รี ยน
๑) กำหนดเป้ าหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรี ยนรู ้ของตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู ้ เข้าถึงแหล่งการเรี ยนรู ้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ ความ
รู ้
ตั้งคำถาม คิดหาคำตอบหรื อหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ
2) ลงมือปฏิบตั ิจริ ง สรุ ปสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง และนำความรู ้ไปประยุกต์
ใช้
ในสถานการณ์ต่าง ๆ
3) มีปฏิสมั พันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมร่ วมกับกลุ่มและครู
4) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง

สื่ อการเรี ยนรู ้


สื่ อการเรี ยนรู้เป็ นเครื่ องมือส่ งเสริ มสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรี ยนรู ้ ให้ผเู ้ รี ยนเข้าถึง
ความรู ้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสู ตรได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
สื่ อการเรี ยนรู้มีหลากหลายประเภท ทั้งสื่ อธรรมชาติ สื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อเทคโนโลยี และเครื อข่าย
การเรี ยนรู้ต่างๆ ที่มีในท้องถิ่น การเลือกใช้สื่อควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และ
ลีลาการเรี ยนรู้ที่หลากหลายของผูเ้ รี ยน
การจัดหาสื่ อการเรี ยนรู้ ผูเ้ รี ยนและผูส้ อนสามารถจัดทำและพัฒนาขึ้นเอง หรื อปรับปรุ ง
เลือกใช้อย่างมีคุณภาพจากสื่ อต่างๆ ที่มีอยูร่ อบตัวเพื่อนำมาใช้ประกอบในการจัดการเรี ยนรู ้ที่สามารถ
ส่ งเสริ มและสื่ อสารให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้
ผูเ้ รี ยน เกิดการเรี ยนรู้อย่างแท้จริ ง สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู ้
มีหน้าที่จดั การศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรดำเนินการดังนี้
๑. จัดให้มีแหล่งการเรี ยนรู้ ศูนย์สื่อการเรี ยนรู ้ ระบบสารสนเทศการเรี ยนรู ้ และเครื อข่าย
การเรี ยนรู้ที่มีประสิ ทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์การเรี ยนรู้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถิ่น ชุมชน สังคมโลก
๒. จัดทำและจัดหาสื่ อการเรี ยนรู ้สำหรับการศึกษาค้นคว้าของผูเ้ รี ยน เสริ มความรู ้ให้ผสู ้ อน
รวมทั้งจัดหาสิ่ งที่มีอยูใ่ นท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เป็ นสื่ อการเรี ยนรู ้
๓. เลือกและใช้สื่อการเรี ยนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง
กับวิธีการเรี ยนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรี ยนรู ้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผูเ้ รี ยน
๔. ประเมินคุณภาพของสื่ อการเรี ยนรู ้ที่เลือกใช้อย่างเป็ นระบบ
๕. ศึกษาค้นคว้า วิจยั เพื่อพัฒนาสื่ อการเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรี ยนรู ้ของผู ้
เรี ยน
๖. จัดให้มีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิ ทธิ ภาพเกี่ยวกับสื่ อและการใช้สื่อ
การเรี ยนรู้เป็ นระยะๆ และสม่ำเสมอ
ในการจัดทำ การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่ อการเรี ยนรู ้ที่ใช้ในสถานศึกษา
ควรคำนึงถึงหลักการสำคัญของสื่ อการเรี ยนรู ้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสู ตร วัตถุประสงค์การ
เรี ยนรู ้ การออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผเู ้ รี ยน เนื้ อหามีความถูกต้องและทัน
สมัย
ไม่กระทบความมัน่ คงของชาติ ไม่ขดั ต่อศีลธรรม มีการใช้ภาษาที่ถูกต้อง รู ปแบบการนำเสนอที่
เข้าใจง่าย และน่าสนใจ

การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้
การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนต้องอยูบ่ นหลักการพื้นฐานสองประการคือ
การประเมินเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนและเพื่อตัดสิ นผลการเรี ยน ในการพัฒนาคุณภาพการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน
ให้ประสบผลสำเร็ จนั้น ผูเ้ รี ยนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้ วดั เพื่อให้บรรลุตาม
มาตรฐานการเรี ยนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยนซึ่ งเป็ นเป้ า
หมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ในทุกระดับไม่วา่ จะเป็ นระดับชั้นเรี ยน ระดับสถาน
ศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ เป็ นกระบวนการ
พัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนโดยใช้ผลการประเมินเป็ นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความ
ก้าวหน้า และความสำเร็ จทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ตลอดจนข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการส่ งเสริ มให้
ผูเ้ รี ยนเกิด การพัฒนาและเรี ยนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ แบ่งออกเป็ น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรี ยน ระดับสถาน
ศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดังนี้
๑. การประเมินระดับชั้นเรี ยน เป็ นการวัดและประเมินผลที่อยูใ่ นกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้
ผูส้ อนดำเนินการเป็ นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรี ยนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่าง
หลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ ้น
งาน/ ภาระงาน แฟ้ มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูส้ อนเป็ นผูป้ ระเมินเองหรื อเปิ ด
โอกาส ให้ผเู้ รี ยนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผูป้ กครองร่ วมประเมิน ในกรณี ที่ไม่
ผ่านตัวชี้วดั ให้มี การสอนซ่อมเสริ ม
การประเมินระดับชั้นเรี ยนเป็ นการตรวจสอบว่า ผูเ้ รี ยนมีพฒั นาการความก้าวหน้าใน
การเรี ยนรู้ อันเป็ นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนหรื อไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะ
ต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุ งและส่ งเสริ มในด้านใด นอกจากนี้ ยงั เป็ นข้อมูลให้ผสู ้ อนใช้ปรับปรุ ง
การเรี ยนการสอนของตนด้วย ทั้งนี้โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้ วดั
๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็ นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการเพื่อตัดสิ นผล
การเรี ยนของผูเ้ รี ยนเป็ นรายปี /รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน นอกจากนี้ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา ว่าส่ งผลต่อการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนตามเป้ าหมายหรื อไม่ ผูเ้ รี ยนมีจุดพัฒนาในด้านใด
รวมทั้งสามารถนำผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนในสถานศึกษาเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการ
ประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็ นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุ งนโยบาย หลักสู ตร โครงการ
หรื อวิธีการจัดการเรี ยนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาน
ศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น
ฐาน ผูป้ กครองและชุมชน
๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็ นการประเมินคุณภาพผูเ้ รี ยนในระดับเขตพื้นที่
การศึกษาตามมาตรฐานการเรี ยนรู้ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็ นข้อมูลพื้น
ฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถ
ดำเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ ของผูเ้ รี ยนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จดั ทำและดำเนินการ
โดยเขตพื้นที่การศึกษา หรื อด้วยความร่ วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการดำเนินการจัดสอบ
นอกจากนี้ยงั ได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การ
ศึกษา
๔. การประเมินระดับชาติ เป็ นการประเมินคุณภาพผูเ้ รี ยนในระดับชาติตามมาตรฐาน
การเรี ยนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผเู ้ รี ยนทุกคนที่เรี ยน
ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็ นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง
ๆ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็ นข้อมูลสนับสนุน
การตัดสิ นใจในระดับนโยบายของประเทศ
ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็ นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ
ทบทวนพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน ถือเป็ นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแล
ช่วยเหลือ ปรับปรุ งแก้ไข ส่ งเสริ มสนับสนุนเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน
ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จ ำแนกตามสภาพปั ญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผูเ้ รี ยนทัว่ ไป
กลุ่มผูเ้ รี ยนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผูเ้ รี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนต่ำ กลุ่มผูเ้ รี ยนที่มีปัญหา
ด้านวินยั และพฤติกรรม กลุ่มผูเ้ รี ยนที่ปฏิเสธโรงเรี ยน กลุ่มผูเ้ รี ยนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม
กลุ่มพิการทางร่ างกายและสติปัญญา เป็ นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็ นหัวใจของสถานศึกษาใน
การดำเนินการช่วยเหลือผูเ้ รี ยนได้ทนั ท่วงที ปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้รับการพัฒนาและประสบความ
สำเร็ จในการเรี ยน
สถานศึกษาในฐานะผูร้ ับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและ
ประเมินผลการเรี ยนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็ นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิที่เป็ น
ข้อกำหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายถือปฏิบตั ิ
ร่ วมกัน
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรี ยน
๑. การตัดสิ น การให้ระดับและการรายงานผลการเรี ยน
๑.๑ การตัดสิ นผลการเรี ยน
ในการตัดสิ นผลการเรี ยนของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนนั้น ผูส้ อนต้องคำนึงถึงการพัฒนาผูเ้ รี ยนแต่ละ
คนเป็ นหลัก และต้องเก็บข้อมูลของผูเ้ รี ยนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรี ยน รวม
ทั้งสอนซ่อมเสริ มผูเ้ รี ยนให้พฒั นาจนเต็มตามศักยภาพ
ระดับประถมศึกษา
(๑) ผูเ้ รี ยนต้องมีเวลาเรี ยนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรี ยนทั้งหมด
(๒) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้ วดั และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กำหนด
(๓) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนทุกรายวิชา
(๔) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากำหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรม
พัฒนาผูเ้ รี ยน
ระดับมัธยมศึกษา
(๑) ตัดสิ นผลการเรี ยนเป็ นรายวิชา ผูเ้ รี ยนต้องมีเวลาเรี ยนตลอดภาคเรี ยนไม่นอ้ ย
กว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรี ยนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ
(๒) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้ วดั และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กำหนด
(๓) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนทุกรายวิชา
(๔) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากำหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรม
พัฒนาผูเ้ รี ยน
การพิจารณาเลื่อนชั้นทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถ้าผูเ้ รี ยนมีขอ้ บกพร่ องเพียง
เล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริ มได้ ให้อยูใ่ นดุลพินิจของ
สถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หากผูเ้ รี ยนไม่ผา่ นรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะ
เป็ นปัญหาต่อการเรี ยนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรี ยนซ้ำชั้น
ได้ ทั้งนี้ให้ค ำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ
๑.๒ การให้ระดับผลการเรี ยน
ระดับประถมศึกษา ในการตัดสิ นเพื่อให้ระดับผลการเรี ยนรายวิชา สถานศึกษา
สามารถให้ระดับผลการเรี ยนหรื อระดับคุณภาพการปฏิบตั ิของผูเ้ รี ยน เป็ นระบบตัวเลข ระบบตัว
อักษร ระบบร้อยละ และระบบที่ใช้ค ำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ ัน ให้ระดับ
ผล
การประเมินเป็ น ดีเยีย่ ม ดี และผ่าน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่ วมกิจกรรม การ
ปฏิบตั ิกิจกรรมและผลงานของผูเ้ รี ยน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด และให้ผลการเข้าร่ วมกิจกรรม
เป็ นผ่าน และไม่ผา่ น
ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสิ นเพื่อให้ระดับผลการเรี ยนรายวิชา ให้ใช้ตวั เลขแสดง
ระดับผลการเรี ยนเป็ น ๘ ระดับ
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ ัน ให้ระดับ
ผล
การประเมินเป็ น ดีเยีย่ ม ดี และผ่าน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่ วมกิจกรรม การ
ปฏิบตั ิกิจกรรมและผลงานของผูเ้ รี ยน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด และให้ผลการเข้าร่ วมกิจกรรม
เป็ นผ่าน และไม่ผา่ น
๑.๓ การรายงานผลการเรี ยน
การรายงานผลการเรี ยนเป็ นการสื่ อสารให้ผปู ้ กครองและผูเ้ รี ยนทราบความก้าวหน้า
ในการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน ซึ่ งสถานศึกษาต้องสรุ ปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู ้
ปกครองทราบเป็ นระยะ ๆ หรื ออย่างน้อยภาคเรี ยนละ ๑ ครั้ง
การรายงานผลการเรี ยนสามารถรายงานเป็ นระดับคุณภาพการปฏิบตั ิของผูเ้ รี ยนที่
สะท้อนมาตรฐานการเรี ยนรู้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
๒. เกณฑ์การจบการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดเกณฑ์กลางสำหรับการจบการศึกษาเป็ น
๓ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
๒.๑ เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
(๑) ผูเ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรี ยน
ที่หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด
(๒) ผูเ้ รี ยนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถาน
ศึกษากำหนด
(๓) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
(๔) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การ
ประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
(๕) ผูเ้ รี ยนเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามที่สถานศึกษากำหนด

๒.๒ เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
(๑) ผูเ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็ นรายวิชาพื้น
ฐาน ๖๓ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด
(๒) ผูเ้ รี ยนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสู ตรไม่นอ้ ยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็ น
รายวิชาพื้นฐาน ๖๓ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่นอ้ ยกว่า ๑๔ หน่วยกิต
(๓) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
(๔) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การ
ประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
(๕) ผูเ้ รี ยนเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามที่สถานศึกษากำหนด
๒.๓ เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(๑) ผูเ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม ไม่นอ้ ยกว่า ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็ น
รายวิชาพื้นฐาน ๓๙ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด
(๒) ผูเ้ รี ยนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสู ตรไม่นอ้ ยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็ น
รายวิชาพื้นฐาน ๓๙ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ไม่นอ้ ยว่า ๓๘ หน่วยกิต
(๓) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
(๔) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การ
ประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
(๕) ผูเ้ รี ยนเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามที่สถานศึกษากำหนด
สำหรับการจบการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษา
สำหรับผูม้ ีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสำหรับผูด้ อ้ ยโอกาส การศึกษาตาม
อัธยาศัย ให้คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ดำเนิน
การวัดและประเมินผล
การเรี ยนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบตั ิการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ของหลักสู ตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ

เอกสารหลักฐานการศึกษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็ นเอกสารสำคัญที่บนั ทึกผลการเรี ยน ข้อมูลและสารสนเทศ
ที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของผูเ้ รี ยนในด้านต่าง ๆ แบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท ดังนี้
๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิ การกำหนด
๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรี ยน เป็ นเอกสารแสดงผลการเรี ยนและรับรองผลการเรี ยน
ของผูเ้ รี ยนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน สถานศึกษาจะต้องบันทึก
ข้อมูลและออกเอกสารนี้ให้ผเู้ รี ยนเป็ นรายบุคคล เมื่อผูเ้ รี ยนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ ๖) จบการศึกษาภาคบังคับ(ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓) จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน(ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ ๖) หรื อเมื่อลาออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี
๑.๒ ประกาศนียบัตร เป็ นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อรับรองศักดิ์และสิ ทธิ์ ของผูจ้ บ
การศึกษา ที่สถานศึกษาให้ไว้แก่ผจู้ บการศึกษาภาคบังคับ และผูจ้ บการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสู ตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑.๓ แบบรายงานผูส้ ำเร็ จการศึกษา เป็ นเอกสารอนุมตั ิการจบหลักสู ตรโดยบันทึกรายชื่อ
และข้อมูลของผูจ้ บการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖) ผูจ้ บการศึกษาภาคบังคับ
(ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓) และผูจ้ บการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖)
๒. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด
เป็ นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรี ยนรู ้ และข้อมูลสำคัญ
เกี่ยวกับผูเ้ รี ยน เช่น แบบรายงานประจำตัวนักเรี ยน แบบบันทึกผลการเรี ยนประจำรายวิชา ระเบียน
สะสม ใบรับรองผลการเรี ยน และ เอกสารอื่น ๆ ตามวัตถุประสงค์ของการนำเอกสารไปใช้
การเทียบโอนผลการเรี ยน
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนในกรณี ต่างๆได้แก่ การย้ายสถานศึกษา
การเปลี่ยนรู ปแบบการศึกษา การย้ายหลักสู ตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การ
ศึกษาจากต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู ้ ทักษะ
ประสบการณ์จากแหล่งการเรี ยนรู้อื่นๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึ กอบรม
อาชีพ การจัดการศึกษาโดยครอบครัว
การเทียบโอนผลการเรี ยนควรดำเนินการในช่วงก่อนเปิ ดภาคเรี ยนแรก หรื อต้นภาคเรี ยนแรก
ที่สถานศึกษารับผูข้ อเทียบโอนเป็ นผูเ้ รี ยน ทั้งนี้ ผูเ้ รี ยนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรี ยนต้องศึกษาต่อ
เนื่องในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรี ยน โดยสถานศึกษาที่รับผูเ้ รี ยนจาก
การเทียบโอนควรกำหนดรายวิชา/จำนวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม
การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดำเนินการได้ ดังนี้
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ ที่ให้ขอ้ มูลแสดงความรู ้ ความสามารถ
ของผูเ้ รี ยน
๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผูเ้ รี ยนโดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้ง
ภาคความรู้และภาคปฏิบตั ิ
๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบตั ิในสภาพจริ ง
การเทียบโอนผลการเรี ยนให้เป็ นไปตาม ประกาศ หรื อ แนวปฏิบตั ิ ของกระทรวงศึกษาธิ การ
การบริ หารจัดการหลักสูตร
ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอำนาจให้ทอ้ งถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนา
หลักสู ตรนั้น หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับท้องถิ่น จนถึงระดับ
สถานศึกษา มีบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่ งเสริ ม การใช้และ
พัฒนาหลักสูตรให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อให้การดำเนินการจัดทำหลักสู ตรสถานศึกษาและ
การจัดการเรี ยนการสอนของสถานศึกษามีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด อันจะส่ งผลให้การพัฒนาคุณภาพผู ้
เรี ยนบรรลุตามมาตรฐานการเรี ยนรู้ที่ก ำหนดไว้ในระดับชาติ
ระดับท้องถิ่น ได้แก่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดอื่น ๆ เป็ นหน่วยงาน
ที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็ นตัวกลางที่จะเชื่อมโยงหลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานที่ก ำหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
เพื่อนำไปสู่ การจัดทำหลักสูตรของสถานศึกษา ส่ งเสริ มการใช้และพัฒนาหลักสู ตรในระดับสถาน
ศึกษา ให้ประสบความสำเร็ จ โดยมีภารกิจสำคัญ คือ กำหนดเป้ าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ
ผูเ้ รี ยน ในระดับท้องถิ่นโดยพิจารณาให้สอดคล้องกับสิ่ งที่เป็ นความต้องการในระดับชาติ พัฒนา
สาระ การเรี ยนรู้ทอ้ งถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับท้องถิ่น รวมทั้งเพิ่มพูนคุณภาพ
การใช้หลักสูตรด้วยการวิจยั และพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนุน ส่ งเสริ ม ติดตามผล ประเมิน
ผล วิเคราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผูเ้ รี ยน
สถานศึกษามีหน้าที่สำคัญในการพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษา การวางแผนและดำเนินการ
ใช้หลักสู ตร การเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสู ตรด้วยการวิจยั และพัฒนา การปรับปรุ งและพัฒนา
หลักสู ตร จัดทำระเบียบการวัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษาต้องพิจารณาให้
สอดคล้อง กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และรายละเอียดที่เขตพื้นที่การศึกษา
หรื อหน่วยงาน ต้นสังกัดอื่นๆ ในระดับท้องถิ่นได้จดั ทำเพิ่มเติม รวมทั้ง สถานศึกษาสามารถ
เพิ่มเติมในส่ วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และความต้องการของ
ผูเ้ รี ยน โดยทุกภาคส่ วนเข้ามามีส่วนร่ วมในการพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษา

มาตรฐานการเรี ยนรู้และตัวชี้ วดั


กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย

ทำไมต้องเรี ยนภาษาไทย
ภาษาไทยเป็ นเอกลักษณ์ของชาติเป็ นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็ นเอกภาพ
และเสริ มสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็ นไทย เป็ นเครื่ องมือในการติดต่อสื่ อสารเพื่อ
สร้าง
ความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตร่ วมกัน
ในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็ นเครื่ องมือในการแสวงหาความรู ้ ประสบการณ์จาก
แหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู ้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และ
สร้างสรรค์ให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยงั เป็ นสื่ อแสดง
ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ
ด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุ นทรี ยภาพ เป็ นสมบัติล ้ำค่าควรแก่การเรี ยนรู ้ อนุรักษ์ และ
สื บสาน ให้คงอยูค่ ู่ชาติไทยตลอดไป

เรี ยนรู ้อะไรในภาษาไทย


ภาษาไทยเป็ นทักษะที่ตอ้ งฝึ กฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร การ
เรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิภาพ และเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริ ง
● การอ่าน การอ่านออกเสี ยงคำ ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คำประพันธ์ชนิด
ต่างๆ
การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู ้จากสิ่ งที่อ่าน เพื่อนำไป
ปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
● การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่ อสาร โดยใช้ถอ้ ยคำและรู ป
แบบต่างๆ ของการเขียน ซึ่ งรวมถึงการเขียนเรี ยงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตาม
จินตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์ และเขียนเชิงสร้างสรรค์
● การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิด
เห็น ความรู้สึก พูดลำดับเรื่ องราวต่างๆ อย่างเป็ นเหตุเป็ นผล การพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งเป็ น
ทางการและ ไม่เป็ นทางการ และการพูดเพื่อโน้มน้าวใจ
● หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้อง
เหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่างๆ และอิทธิ พลของภาษาต่าง
ประเทศในภาษาไทย
● วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนว
ความคิด คุณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรี ยนรู ้และทำความเข้าใจบทเห่ บทร้อง
เล่นของเด็ก เพลงพื้นบ้านที่เป็ นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซึ่ งได้ถ่ายทอดความรู ้สึกนึกคิด ค่านิยม
ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่ องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความ
ซาบซึ้ งและภูมิใจ
ในบรรพบุรุษที่ได้สัง่ สมสื บทอดมาจนถึงปั จจุบนั
คุณภาพผูเ้ รี ยน

จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓
● อ่านออกเสี ยงคำ คำคล้องจอง ข้อความ เรื่ องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้อง
คล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคำและข้อความที่อา่ น ตั้งคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ์ คาด
คะเนเหตุการณ์ สรุ ปความรู้ขอ้ คิดจากเรื่ องที่อ่าน ปฏิบตั ิตามคำสัง่ คำอธิ บายจากเรื่ องที่อ่านได้
เข้าใจความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ อ่านหนังสื ออย่างสม่ำเสมอ และ

มีมารยาทในการอ่าน
● มีทกั ษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจำวัน เขียน
จดหมายลาครู เขียนเรื่ องเกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเรื่ องตามจินตนาการและมีมารยาทในการเขียน
● เล่ารายละเอียดและบอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิด
ความรู ้สึกเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังและดู พูดสื่ อสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนำ หรื อพูดเชิญชวนให้ผู ้
อื่นปฏิบตั ิตาม และมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด
● สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ ความแตกต่างของคำและพยางค์ หน้าที่ของคำ
ในประโยค มีทกั ษะการใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคำ
คล้องจอง แต่งคำขวัญ และเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
● เข้าใจและสามารถสรุ ปข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปใช้
ในชีวิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีที่อ่าน รู ้จกั เพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซึ่ งเป็ น
วัฒนธรรมของท้องถิ่น ร้องบทร้องเล่นสำหรับเด็กในท้องถิ่น ท่องจำบทอาขยานและบทร้อยกรอง

ที่มีคุณค่าตามความสนใจได้
จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
● อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็ นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง อธิ บายความ
หมายโดยตรงและความหมายโดยนัยของคำ ประโยค ข้อความ สำนวนโวหาร จากเรื่ องที่อ่าน
เข้าใจคำแนะนำ คำอธิบายในคู่มือต่างๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริ ง รวมทั้งจับใจความ
สำคัญของเรื่ องที่อ่านและนำความรู้ความคิดจากเรื่ องที่อ่านไปตัดสิ นใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต
ได้
มีมารยาทและมีนิสยั รักการอ่าน และเห็นคุณค่าสิ่ งที่อ่าน
● มีทกั ษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ งบรรทัด เขียนสะกดคำ แต่ง
ประโยคและเขียนข้อความ ตลอดจนเขียนสื่ อสารโดยใช้ถอ้ ยคำชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ
โครงเรื่ องและแผนภาพความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน เขียนเรี ยงความ ย่อความ จดหมายส่ วนตัว
กรอกแบบรายการต่างๆ เขียนแสดงความรู ้สึกและความคิดเห็น เขียนเรื่ องตามจินตนาการอย่าง
สร้างสรรค์ และมีมารยาทในการเขียน
● พูดแสดงความรู้ ความคิดเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังและดู เล่าเรื่ องย่อหรื อสรุ ปจากเรื่ องที่ฟังและ
ดู ตั้งคำถาม ตอบคำถามจากเรื่ องที่ฟังและดู รวมทั้งประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและดู
โฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดตามลำดับขั้นตอนเรื่ องต่างๆ อย่างชัดเจน พูดรายงานหรื อประเด็นค้นคว้า
จากการฟัง การดู การสนทนา และพูดโน้มน้าวได้อย่างมีเหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการดูและพูด
● สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ สำนวน คำพังเพยและสุ ภาษิต รู ้และเข้าใจ ชนิด
และหน้าที่ของคำในประโยค ชนิดของประโยค และคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้ค ำ
ราชาศัพท์และคำสุ ภาพได้อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสี่ กลอน
สุ ภาพ และกาพย์ยานี ๑๑
● เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้าน ร้องเพลงพื้น
บ้านของท้องถิ่น นำข้อคิดเห็นจากเรื่ องที่อ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง และท่องจำบทอาขยานตาม
ที่ก ำหนดได้
จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
● อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็ นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจความ
หมายโดยตรงและความหมายโดยนัย จับใจความสำคัญและรายละเอียดของสิ่ งที่อ่าน แสดงความคิด
เห็นและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ย่อความ เขียนรายงานจาก
สิ่ งที่อ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์ อย่างมีเหตุผล ลำดับความอย่างมีข้ นั ตอนและความเป็ นไปได้ของ
เรื่ องที่อ่าน รวมทั้งประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนจากเรื่ องที่อ่าน
● เขียนสื่ อสารด้วยลายมือที่อ่านง่ายชัดเจน ใช้ถอ้ ยคำได้ถูกต้องเหมาะสมตามระดับภาษา
เขียนคำขวัญ คำคม คำอวยพรในโอกาสต่างๆ โฆษณา คติพจน์ สุ นทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติ
และประสบการณ์ต่างๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์
และแสดงความรู้ความคิดหรื อโต้แย้งอย่างมีเหตุผล ตลอดจนเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและ
เขียนโครงงาน
● พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินสิ่ งที่ได้จากการฟังและดู นำข้อคิดไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พูดรายงานเรื่ องหรื อประเด็นที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็ นระบบ

มีศิลปะในการพูด พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และพูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลน่าเชื่อ


ถือ รวมทั้งมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด
● เข้าใจและใช้ค ำราชาศัพท์ คำบาลีสนั สกฤต คำภาษาต่างประเทศอื่นๆ คำทับศัพท์ และ
ศัพท์บญั ญัติในภาษาไทย วิเคราะห์ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้างของประโยครวม
ประโยคซ้อน ลักษณะภาษาที่เป็ นทางการ กึ่งทางการและไม่เป็ นทางการ และแต่งบทร้อยกรอง
ประเภทกลอนสุ ภาพ กาพย์ และโคลงสี่ สุภาพ
● สรุ ปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์ตวั ละครสำคัญ วิถีชีวิตไทย และ
คุณค่าที่ได้รับจากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมทั้งสรุ ปความรู ้ขอ้ คิดเพื่อนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
● อ่านออกเสี ยงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็ นทำนองเสนาะได้ถูกต้องและเข้าใจ
ตีความ แปลความ และขยายความเรื่ องที่อ่านได้ วิเคราะห์วิจารณ์เรื่ องที่อ่าน แสดงความคิดเห็นโต้
แย้งและเสนอความคิดใหม่จากการอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่าน เขียนกรอบ
แนวคิด
ผังความคิด บันทึก ย่อความ และเขียนรายงานจากสิ่ งที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินค่า และนำความรู ้
ความคิดจากการอ่านมาพัฒนาตน พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู ้ทางอาชีพ และ นำความรู ้
ความคิดไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต มีมารยาทและมีนิสยั รักการอ่าน
● เขียนสื่ อสารในรู ปแบบต่างๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ ย่อความ
จากสื่ อที่มีรูปแบบและเนื้ อหาที่หลากหลาย เรี ยงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหาร
ต่างๆ เขียนบันทึก รายงานการศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใช้ขอ้ มูลสารสนเทศใน
การอ้างอิง ผลิตผลงานของตนเองในรู ปแบบต่างๆ ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี รวมทั้งประเมินงาน
เขียนของผูอ้ ื่นและนำมาพัฒนางานเขียนของตนเอง
● ตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังและดู มีวิจารณญาณในการเลือก
เรื่ อง ที่ฟังและดู วิเคราะห์วตั ถุประสงค์ แนวคิด การใช้ภาษา ความน่าเชื่อถือของเรื่ องที่ฟังและดู
ประเมินสิ่ งที่ฟังและดูแล้วนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต มีทกั ษะการพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งที่
เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการโดยใช้ภาษาที่ถูกต้อง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และ
เสนอแนวคิดใหม่อย่างมีเหตุผล รวมทั้งมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด
● เข้าใจธรรมชาติของภาษา อิทธิ พลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช้ค ำและกลุ่ม
คำสร้างประโยคได้ตรงตามวัตถุประสงค์ แต่งคำประพันธ์ประเภท กาพย์ โคลง ร่ ายและฉันท์ ใช้
ภาษาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและใช้ค ำราชาศัพท์และคำสุ ภาพได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์หลักการ
สร้างคำในภาษาไทย อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและภาษาถิ่น วิเคราะห์และประเมิน
การใช้ภาษาจากสื่ อสิ่ งพิมพ์และสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
● วิเคราะห์วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น รู ้และ
เข้าใจลักษณะเด่นของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพื้นบ้าน เชื่อมโยงกับการเรี ยนรู ้
ทางประวัติศาสตร์และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และนำข้อคิดจากวรรณคดีและ
วรรณกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิด เพื่อนำไปใช้ตดั สิ นใจ แก้ปัญหาใน
การดำเนินชีวิตและมีนิสยั รักการอ่าน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๑. อ่านออก ๑. อ่านออก ๑. อ่านออก ๑. อ่านออก ๑. อ่านออก ๑. อ่านออก ๑. อ่านออก ๑. อ่านออ
เสี ยงคำ คำ เสี ยงคำ คำ เสี ยงคำ เสี ยง บท เสี ยง เสี ยง เสี ยง เสี ยง
คล้องจอง คล้องจอง ข้อความ ร้อยแก้วและบท บทร้อยแก้วและ บทร้อยแก้วและ บทร้อยแก้ว บทร้อยแก
และข้อความ ข้อความ และ เรื่ องสั้นๆ และ ร้อยกรอง บทร้อยกรอง บทร้อยกรอง และบท บทร้อยกร
สั้นๆ บทร้อยกรอง บทร้อยกรอง ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ร้อยกรอง ได้ถูกต้อง
๒. บอก ง่ายๆ ได้ถูกต้อง ง่ายๆ ได้ถูกต้อง ๒. อธิบาย ๒. อธิบายความ ๒. อธิบาย ได้ถูกต้อง ๒. จับใจค
ความหมายของ ๒. อธิบาย คล่องแคล่ว ความหมายของ หมายของคำ ความหมายของ เหมาะสม สำคัญ
คำ และข้อความ ความหมายของ ๒. อธิบาย คำ ประโยค ประโยคและ คำ ประโยคและ กับเรื่ องที่อ่าน สรุ ปความ
ที่อ่าน คำ และข้อความ ความหมายของ และสำนวนจาก ข้อความที่ ข้อความที่เป็ น ๒. จับใจความ และอธิบา
๓. ตอบคำถาม ที่อ่าน คำ และข้อความ เรื่ องที่อ่าน เป็ นการบรรยาย โวหาร สำคัญจากเรื่ อง รายละเอีย
เกี่ยวกับเรื่ องที่ ๓. ตั้งคำถาม ที่อ่าน ๓. อ่านเรื่ อง และการ ๓. อ่านเรื่ อง ที่อ่าน จากเรื่ องท
อ่าน และตอบคำถาม ๓. ตั้งคำถาม สั้นๆ ตามเวลา พรรณนา สั้นๆ อย่าง ๓. ระบุเหตุ ๓. เขียน
๔. เล่าเรื่ องย่อ เกี่ยวกับ และตอบคำถาม ที่ก ำหนด ๓. อธิบาย หลากหลาย และผล และ ผังความค
จากเรื่ องที่อ่าน เรื่ องที่อ่าน เชิงเหตุผล และตอบคำถาม ความหมายโดย โดยจับเวลา ข้อเท็จจริ ง เพื่อแสดง
๕. คาดคะเน ๔. ระบุใจความ เกี่ยวกับเรื่ องที่ จากเรื่ องที่อ่าน นัย แล้วถามเกี่ยว กับข้อคิดเห็น เข้าใจในบ
เหตุการณ์ สำคัญและราย อ่าน ๔. แยกข้อเท็จ จากเรื่ องที่ กับ จากเรื่ องที่อ่าน เรี ยนต่างๆ
จากเรื่ องที่อ่าน ละเอียดจาก ๔. ลำดับ จริ งและข้อคิด อ่านอย่าง เรื่ องที่อ่าน ๔. ระบุ ที่อ่าน
๖. อ่านหนังสื อ เรื่ องที่อ่าน เหตุการณ์และ เห็น หลากหลาย ๔. แยก และอธิบาย ๔. อภิปร
ตามความสนใจ ๕. แสดงความ คาดคะเน จากเรื่ องที่อ่าน ๔. แยก ข้อเท็จจริ งและ คำเปรี ยบเทียบ แสดงควา
อย่างสม่ำเสมอ คิดเห็นและ เหตุการณ์จาก ๕. คาดคะเน ข้อเท็จจริ ง ข้อคิดเห็น และคำที่มี เห็น
และนำเสนอ คาดคะเน เรื่ องที่อ่านโดย เหตุการณ์จาก และข้อคิดเห็น จากเรื่ องที่อ่าน หลายความ ข้อโต้แย้ง
เรื่ องที่อ่าน เหตุการณ์จาก ระบุเหตุผล เรื่ องที่อ่าน จากเรื่ องที่อ่าน ๕. อธิบายการ หมาย กับเรื่ องท
๗. บอก เรื่ องที่อ่าน ประกอบ โดยระบุเหตุผล ๕. วิเคราะห์ นำความรู้และ ในบริ บทต่างๆ ๕. วิเคราะ
ความหมาย ๖. อ่านหนังสื อ ๕. สรุ ปความรู้ ประกอบ และแสดงความ ความคิด จากการอ่าน และจำแน
ของเครื่ องหมาย ตามความสนใจ และข้อคิด ๖. สรุ ปความรู้ คิดเห็น จากเรื่ องที่อ่าน ๕. ตีความคำ ข้อเท็จจริ
หรื อสัญลักษณ์ อย่างสม่ำเสมอ จากเรื่ องที่อ่าน และข้อคิดจาก เกี่ยวกับเรื่ อง ไปตัดสิ นใจ ยากในเอกสาร ข้อมูล
สำคัญที่มกั พบ และนำเสนอ เพื่อนำไปใช้ใน เรื่ องที่อ่านเพื่อ ที่อ่านเพื่อ แก้ปัญหา วิชาการ สนับสน
เห็นในชีวิต เรื่ องที่อ่าน ชีวิตประจำวัน นำไปใช้ในชีวิต นำไปใช้ในการ ในการดำเนิน โดยพิจารณา และข้อคิด
ประจำวัน ๗. อ่านข้อเขียน ๖. อ่านหนังสื อ ประจำวัน ดำเนินชีวิต ชีวิต จากบริ บท จากบทคว
๘. มีมารยาท เชิงอธิบาย และ ตามความสนใจ ๗. อ่านหนังสื อ ๖. อ่านงาน ๖. อ่านงาน ๖. ระบุ ที่อ่าน
ในการอ่าน ปฏิบตั ิตามคำ อย่างสม่ำเสมอ ที่มีคุณค่าตาม เขียนเชิงอธิบาย เขียนเชิงอธิบาย ข้อสังเกต ๖. ระบุ
สัง่ หรื อข้อ และนำเสนอ ความสนใจ คำสัง่ ข้อ คำสัง่ ข้อ และความ ข้อสังเกต
แนะนำ เรื่ องที่อ่าน อย่างสม่ำเสมอ แนะนำ แนะนำ สมเหตุสมผล การชวนเช
๘. มีมารยาท ๗. อ่านข้อเขียน และแสดงความ และปฏิบตั ิตาม และปฏิบตั ิตาม ของงานเขียน การโน้มน
ในการอ่าน เชิงอธิบาย คิดเห็นเกี่ยวกับ ๗. อ่านหนังสื อ ๗. อธิบาย ประเภทชักจูง หรื อความ
และปฏิบตั ิตาม เรื่ องที่อ่าน ที่มีคุณค่าตาม ความหมาย โน้มน้าวใจ เหตุสมผล
คำสัง่ หรื อข้อ ๘. มีมารยาท ความสนใจ ของข้อมูล ๗. ปฏิบตั ิตาม งานเขียน
แนะนำ ในการอ่าน อย่างสม่ำเสมอ จากการอ่าน คู่มือแนะนำ ๗. อ่านห
และแสดงความ แผนผัง แผนที่ วิธีการใช้งาน บทความห
คิดเห็นเกี่ยวกับ แผนภูมิ ของเครื่ องมือ คำประพัน
๘. อธิบายความ เรื่ องที่อ่าน และกราฟ หรื อเครื่ องใช้ อย่างหลา
หมาย ในระดับที่ยาก หลาย
ของข้อมูล ๘. มีมารยาท ๘. อ่านหนังสื อ ขึ้น และประเ
จากแผนภาพ ในการอ่าน ตามความสนใจ ๘. วิเคราะห์ คุณค่าหรื
แผนที่ และ และอธิบาย คุณค่าที่ได้รับ แนวคิดท
แผนภูมิ คุณค่าที่ได้รับ จากการอ่าน จากการอ
๙. มีมารยาท ๙. มีมารยาท งานเขียนอย่าง เพื่อนำไป
ในการอ่าน ในการอ่าน หลากหลาย แก้ปัญหา
เพื่อนำไปใช้ ชีวิต
แก้ปัญหาใน ๘. มีมารย
ชีวิต ในการอ่า
๙. มีมารยาท
ในการอ่าน

สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่ อสาร เขียนเรี ยงความ ย่อความ และเขียนเรื่ องราวใน
รู ปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและ
รายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๑. คัดลายมือตัว ๑. คัดลายมือตัว ๑. คัดลายมือ ๑. คัดลายมือ ๑. คัดลายมือ ๑. คัดลายมือ ๑. คัดลายมือ ๑. คัดลาย
บรรจง บรรจง ตัวบรรจง ตัวบรรจง ตัวบรรจง ตัวบรรจง ตัวบรรจง ตัวบรรจง
เต็มบรรทัด เต็มบรรทัด เต็มบรรทัด เต็มบรรทัด เต็มบรรทัด เต็มบรรทัด ครึ่ งบรรทัด ครึ่ งบรรท
๒. เขียนสื่ อสาร ๒. เขียนเรื่ อง ๒ เขียนบรรยาย และครึ่ งบรรทัด และครึ่ งบรรทัด และครึ่ งบรรทัด ๒. เขียนสื่ อสาร ๒. เขียน
ด้วยคำและ สั้นๆ เกี่ยวกับ เกี่ยวกับสิ่ งใด ๒. เขียนสื่ อสาร ๒. เขียนสื่ อสาร ๒. เขียน โดยใช้ถอ้ ยคำ บรรยาย
ประโยคง่ายๆ ประสบการณ์ สิ่ งหนึ่งได้อย่าง โดยใช้ค ำได้ถูก โดยใช้ค ำได้ สื่ อสารโดยใช้ ถูกต้อง ชัดเจน และพรรณ
๓. มีมารยาท ๓. เขียนเรื่ อง ชัดเจน ต้อง ชัดเจน ถูกต้อง ชัดเจน คำได้ถูกต้อง เหมาะสม และ ๓. เขียน
ในการเขียน สั้นๆ ตาม ๓. เขียนบันทึก และเหมาะสม และเหมาะสม ชัดเจน และ สละสลวย เรี ยงความ
จินตนาการ ประจำวัน ๓. เขียน ๓. เขียน เหมาะสม ๓. เขียน ๔. เขียน
๔. มีมารยาท ๔. เขียน แผนภาพ แผนภาพ ๓. เขียน บรรยาย ย่อความ
ในการเขียน จดหมายลาครู โครงเรื่ อง โครงเรื่ อง แผนภาพ ประสบการณ์ ๕. เขียนร
๕. เขียนเรื่ อง และแผนภาพ และแผนภาพ โครงเรื่ อง โดยระบุ การศึกษา
ตามจินตนาการ ความคิดเพื่อใช้ ความคิดเพื่อใช้ และแผนภาพ สาระสำคัญ ค้นคว้า
๖. มีมารยาท พัฒนางานเขียน พัฒนางานเขียน ความคิดเพื่อใช้ และรายละเอียด ๖. เขียน
ในการเขียน ๔. เขียน ๔. เขียน ย่อ พัฒนางานเขียน สนับสนุน จดหมายก
ย่อความ ความจากเรื่ องที่ ๔. เขียนเรี ยง ๔. เขียน
จากเรื่ องสั้นๆ อ่าน ความ เรี ยงความ ๗. เขียน
๕. เขียน ๕. เขียน วิเคราะห์
จดหมาย จดหมาย ๕. เขียน ๕. เขียน วิจารณ์ แล
ถึงเพื่อน ถึงผูป้ กครอง ย่อความ ย่อความจาก แสดงควา
และบิดามารดา และญาติ จากเรื่ องที่อ่าน เรื่ องที่อ่าน ความคิดเห
๖. เขียนบันทึก ๖. เขียนแสดง ๖. เขียน ๖. เขียนแสดง หรื อโต้แย
และเขียน ความรู้สึกและ จดหมายส่ วนตัว ความคิดเห็น ในเรื่ องที่อ
รายงาน ความคิดเห็นได้ ๗. กรอกแบบ เกี่ยวกับสาระ อย่างมีเหต
จากการศึกษา ตรงตามเจตนา รายการต่างๆ จากสื่ อที่ได้รับ ๘. มีมารย
ค้นคว้า ๗. กรอกแบบ ๘. เขียนเรื่ อง ๗. เขียน ในการเขีย
๗. เขียนเรื่ อง รายการต่างๆ ตามจินตนาการ จดหมายส่ วนตัว
ตามจินตนาการ ๘. เขียนเรื่ อง และสร้างสรรค์ และจดหมาย
๘. มีมารยาท ตามจินตนาการ ๙. มีมารยาท กิจธุระ
ในการเขียน ๙. มีมารยาท ในการเขียน ๘. เขียนรายงาน
ในการเขียน การศึกษา
ค้นคว้า
และโครงงาน
๙. มีมารยาท
ในการเขียน
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ้ ความคิด และ
ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๑. ฟังคำแนะนำ ๑. ฟังคำแนะนำ ๑. เล่า ๑. จำแนก ๑. พูดแสดง ๑. พูดแสดง ๑. พูดสรุ ป ๑. พูดสรุ ป
คำสัง่ ง่ายๆ และ คำสัง่ ที่ซบั ซ้อน รายละเอียด ข้อเท็จจริ ง ความรู้ ความรู้ ใจความสำคัญ ใจความส
ปฏิบตั ิตาม และปฏิบตั ิตาม เกี่ยวกับเรื่ อง และข้อคิดเห็น ความคิดเห็น ความเข้าใจ ของเรื่ องที่ฟัง ของเรื่ องท
๒. ตอบคำถาม ๒. เล่าเรื่ อง ที่ฟังและดู จากเรื่ องที่ฟัง และความรู้สึก จุดประสงค์ และดู และดู
และเล่าเรื่ อง ที่ฟังและดู ทั้งที่เป็ นความรู้ และดู จากเรื่ องที่ฟัง ของเรื่ องที่ฟัง ๒. เล่าเรื่ องย่อ ๒. วิเครา
ที่ฟังและดู ทั้งที่เป็ นความรู้ และความ ๒. พูดสรุ ป และดู และดู จากเรื่ องที่ฟัง ข้อเท็จจริ
ทั้งที่เป็ นความรู้ และความ บันเทิง ความจาก ๒. ตั้งคำถาม ๒. ตั้งคำถาม และดู ข้อคิดเห็น
และความ บันเทิง ๒. บอก การฟังและดู และตอบคำถาม และตอบคำถาม ๓. พูดแสดง และความ
บันเทิง ๓. บอก สาระสำคัญ ๓. พูดแสดง เชิงเหตุผล เชิงเหตุผล ความคิดเห็น น่าเชื่อถือ
๓. พูดแสดง สาระสำคัญ จากการฟัง ความรู้ จากเรื่ องที่ฟัง จากเรื่ องที่ฟัง อย่างสร้างสรรค์ ข่าวสารจ
ความคิดเห็น ของเรื่ องที่ฟัง และการดู ความคิดเห็น และดู และดู เกี่ยวกับเรื่ อง ต่างๆ
และความรู้สึก และดู ๓. ตั้งคำถาม และความรู้สึก ๓. วิเคราะห์ ๓. วิเคราะห์ ที่ฟังและดู ๓. วิเคราะ
จากเรื่ องที่ฟัง ๔. ตั้งคำถาม และตอบคำถาม เกี่ยวกับเรื่ องที่ ความน่าเชื่อถือ ความน่าเชื่อถือ ๔. ประเมิน และวิจาร
และดู และตอบคำถาม เกี่ยวกับเรื่ องที่ ฟังและดู จากเรื่ องที่ฟัง จากการฟังและ ความน่าเชื่อถือ เรื่ องที่ฟัง
๔. พูดสื่ อสาร เกี่ยวกับเรื่ องที่ ฟังและดู ๔. ตั้งคำถาม และดูอย่างมี ดูสื่อโฆษณา ของสื่ อที่มี อย่างมีเหต
ได้ตาม ฟังและดู ๔. พูดแสดง และตอบคำถาม เหตุผล อย่างมีเหตุผล เนื้อหา เพื่อนำข้อ
วัตถุประสงค์ ๕. พูดแสดง ความคิดเห็น เชิงเหตุผล ๔. พูดรายงาน ๔. พูดรายงาน โน้มน้าวใจ มาประยุก
๕. มีมารยาท ความคิดเห็น และความรู้สึก จากเรื่ องที่ฟัง เรื่ องหรื อ เรื่ องหรื อ ๕. พูดรายงาน ในการดำ
ในการฟัง การดู และความรู้สึก จากเรื่ องที่ฟัง และดู ประเด็น ประเด็นที่ เรื่ องหรื อ ชีวิต
และการพูด จากเรื่ องที่ฟัง และดู ๕. รายงาน ที่ศึกษาค้นคว้า ศึกษาค้นคว้า ประเด็นที่ ๔. พูดใน
และดู ๕. พูดสื่ อสาร เรื่ องหรื อ จากการฟัง จากการฟัง ศึกษาค้นคว้า โอกาสต่า
๖. พูดสื่ อสาร ได้ชดั เจน ประเด็นที่ การดู และการ การดู และการ จากการฟัง ได้ตรงตา
ได้ชดั เจน ตรง ตรงตาม ศึกษาค้นคว้า สนทนา สนทนา การดู และการ วัตถุประส
ตาม วัตถุประสงค์ จากการฟัง ๕. มีมารยาท ๕. พูดโน้มน้าว สนทนา ๕. พูดราย
วัตถุประสงค์ ๖. มีมารยาท การดู และ ในการฟัง การดู อย่างมีเหตุผล ๖. มีมารยาท เรื่ องหรื อ
๗. มีมารยาท ในการฟัง การดู การสนทนา และการพูด และน่าเชื่อถือ ในการฟัง การดู ประเด็นท
ในการฟัง การดู และการพูด ๖. มีมารยาท ๖. มีมารยาท และการพูด ค้นคว้า
และการพูด ในการฟัง การดู ในการฟัง การ ๖. มีมารย
และการพูด ดู และการพูด ในการฟัง
และการพ

สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม.
๑. บอกและ ๑. บอกและ ๑. เขียนสะกด ๑. สะกดคำ ๑. ระบุชนิด ๑. วิเคราะห์ชนิด ๑. อธิบาย ๑. สร้างคำ
เขียน เขียน คำและบอก และบอก และหน้าที่ของคำ และหน้าที่ของคำ ลักษณะ ภาษาไทย
พยัญชนะ พยัญชนะ ความหมาย ความหมาย ในประโยค ในประโยค ของเสี ยง ๒. วิเคราะ
สระ สระ ของคำ ของคำใน ๒. จำแนก ๒. ใช้ค ำ ในภาษาไทย โครงสร้าง
วรรณยุกต์ วรรณยุกต์ ๒. ระบุชนิด บริ บท ส่วนประกอบ ได้เหมาะสม ๒. สร้างคำ สามัญ ประ
และเลขไทย และเลขไทย และหน้าที่ของ ต่างๆ ของประโยค กับกาลเทศะ ในภาษาไทย และประโย
๒. เขียนสะกด ๒. เขียนสะกด คำในประโยค ๒. ระบุชนิด ๓. เปรี ยบเทียบ และบุคคล ๓. วิเคราะห์ ๓. แต่งบท
คำและบอก คำและบอก ๓. ใช้ และหน้าที่ของ ภาษาไทยมาตรฐาน ๓. รวบรวมและ ชนิดและ ร้อยกรอง
ความหมาย ความหมาย พจนานุกรม คำในประโยค กับภาษาถิ่น บอกความหมาย หน้าที่ ๔. ใช้ค ำรา
ของคำ ของคำ ค้นหา ๓. ใช้ ๔. ใช้ค ำ ของคำ ของคำ ๕. รวบรว
๓. เรี ยบเรี ยง ๓. เรี ยบเรี ยง ความหมาย พจนานุกรม ราชาศัพท์ ภาษาต่างประเทศ ในประโยค อธิบายควา
คำ คำ ของคำ ค้นหา ๕. บอกคำภาษาต่าง ที่ใช้ในภาษาไทย ๔. วิเคราะห์ ของคำภาษ
เป็ นประโยค เป็ นประโยค ๔. แต่ง ความหมาย ประเทศในภาษา ๔. ระบุลกั ษณะ ความแตกต่าง ประเทศที่ใ
ง่าย ๆ ได้ตรงตาม ประโยค ของคำ ไทย ของประโยค ของภาษาพูด ภาษาไทย
๔. ต่อ เจตนาของ ง่ายๆ ๔. แต่ง ๖. แต่งบท ๕. แต่งบท และภาษา
คำคล้องจอง การสื่ อสาร ๕. แต่งคำ ประโยค ร้อยกรอง ร้อยกรอง เขียน
ง่ายๆ ๔. บอก คล้องจอง ได้ถูกต้องตาม ๗. ใช้สำนวน ๖. วิเคราะห์ ๕. แต่งบท
ลักษณะ และคำขวัญ หลักภาษา ได้ถูกต้อง และเปรี ยบเทียบ ร้อยกรอง
คำคล้องจอง ๕. แต่งบท สำนวนที่เป็ น คำ ๖. จำแนก
๕. เลือกใช้ ร้อยกรอง พังเพยและสุ ภาษิต และใช้
ภาษาไทย ๖. เลือกใช้ และคำขวัญ สำนวน
มาตรฐาน ภาษาไทย ๖. บอก ที่เป็ นคำ
และภาษาถิ่น มาตรฐาน ความหมาย พังเพย
ได้เหมาะสม และภาษาถิ่น ของสำนวน และสุ ภาษิต
กับกาลเทศะ ได้เหมาะสม ๗. เปรี ยบ
กับกาลเทศะ เทียบ
ภาษาไทย
มาตรฐาน
กับภาษาถิ่นได้

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริ ง
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๑. บอกข้อคิด ๑. ระบุขอ้ คิด ๑. ระบุขอ้ คิด ๑. ระบุขอ้ คิด ๑. สรุ ปเรื่ อง ๑. แสดงความ ๑. สรุ ปเนื้ อหา ๑. สรุ ปเน
ที่ได้จากการ ที่ได้จากการ ที่ได้จากการ จากนิทานพื้น จากวรรณคดี คิดเห็นจาก วรรณคดีและ วรรณคดีแ
อ่าน อ่าน อ่าน บ้าน หรื อวรรณกรรม วรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรร
หรื อการฟัง หรื อการฟัง วรรณกรรม หรื อนิทาน ที่อ่าน หรื อวรรณกรรม ที่อ่าน ที่อ่านในร
วรรณกรรม วรรณกรรม เพื่อนำไปใช้ คติธรรม ๒. ระบุความรู้ ที่อ่าน ๒. วิเคราะห์ ที่ยากขึ้น
ร้อยแก้วและ สำหรับเด็ก ในชีวิตประจำ ๒. อธิบาย และข้อคิด ๒. เล่านิทานพื้น วรรณคดีและ ๒. วิเครา
ร้อยกรอง เพื่อนำไปใช้ วัน ข้อคิดจากการ จากการอ่าน บ้านท้องถิ่น วรรณกรรม และวิจาร
สำหรับเด็ก ในชีวิตประจำ ๒. รู้จกั เพลง อ่าน วรรณคดี ตนเอง และ ที่อ่านพร้อม วรรณคดี
๒. ท่องจำ วัน พื้นบ้านและ เพื่อนำไปใช้ และวรรณกรรม นิทานพื้นบ้าน ยกเหตุผล วรรณกรร
บทอาขยาน ๒. ร้อง เพลงกล่อมเด็ก ในชีวิตจริ ง ที่สามารถ ของท้องถิ่นอื่น ประกอบ และวรรณ
ตามที่ก ำหนด บทร้องเล่น เพื่อปลูกฝัง ๓. ร้องเพลงพื้น นำไปใช้ ๓. อธิบายคุณค่า ๓. อธิบาย ท้องถิ่นท
และบทร้อย สำหรับเด็กใน ความชื่นชม บ้าน ในชีวิตจริ ง ของวรรณคดี คุณค่าของ พร้อมยกเ
กรอง ท้องถิ่น วัฒนธรรม ๔. ท่องจำ ๓. อธิบาย และวรรณกรรม วรรณคดีและ ประกอบ
ตามความสนใจ ๓. ท่องจำ ท้องถิ่น บทอาขยานตาม คุณค่าของ ที่อ่านและนำไป วรรณกรรมที่ ๓. อธิบาย
บทอาขยาน ๓. แสดงความ ที่ก ำหนด วรรณคดี ประยุกต์ใช้ อ่าน คุณค่าของ
ตามที่ก ำหนด คิดเห็นเกี่ยวกับ และบทร้อย และวรรณกรรม ในชีวิตจริ ง ๔. สรุ ปความรู้ วรรณคดี
และบทร้อย วรรณคดีที่อ่าน กรอง ๔. ท่องจำ ๔. ท่องจำ และข้อคิดจาก วรรณกรร
กรอง ๔. ท่องจำ ที่มีคุณค่าตาม บทอาขยาน บทอาขยาน การอ่าน เพื่อ ที่อ่าน
ที่มีคุณค่าตาม บทอาขยาน ความสนใจ ตามที่ก ำหนด ตามที่ก ำหนด ประยุกต์ใช้
ความสนใจ ตามที่ก ำหนด และบทร้อย และบทร้อย ในชีวิตจริ ง ๔. สรุ ปค
และบทร้อย กรอง กรอง ๕. ท่องจำ และข้อคิด
กรอง ที่ ที่มีคุณค่าตาม ที่มีคุณค่าตาม บทอาขยาน จากการอ
มีคุณค่าตาม ความสนใจ ความสนใจ ตามที่ก ำหนด ไปประยุก
ความสนใจ และบทร้อย ในชีวิตจร
กรอง ๕. ท่องจำ
ที่มีคุณค่าตาม บทอาขยา
ความสนใจ ตามที่ก ำห
และบทร้อ
กรอง
ที่มีคุณค่า
ความสนใ
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์
ทำไมต้องเรี ยนคณิ ตศาสตร์
คณิ ตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิง่ ต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทำให้มนุษย์มีความคิด
สร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็ นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรื อสถานการณ์ได้
อย่างถี่ถว้ น รอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสิ นใจ แก้ปัญหา และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม นอกจากนี้คณิ ตศาสตร์ยงั เป็ นเครื่ องมือในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและศาสตร์อื่น ๆ คณิ ตศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต
ให้ดีข้ ึน และสามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ข
เรี ยนรู ้อะไรในคณิ ตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์มุ่งให้เยาวชนทุกคนได้เรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์อย่างต่อเนื่อง
ตามศักยภาพ โดยกำหนดสาระหลักที่จ ำเป็ นสำหรับผูเ้ รี ยนทุกคนดังนี้
● จำนวนและการดำเนินการ ความคิดรวบยอดและความรู ้สึกเชิงจำนวน ระบบ
จำนวนจริ ง สมบัติเกี่ยวกับจำนวนจริ ง การดำเนินการของจำนวน อัตราส่ วน ร้อยละ การแก้ปัญหา
เกี่ยวกับจำนวน และการใช้จ ำนวนในชีวิตจริ ง
● การวัด ความยาว ระยะทาง น้ำหนัก พื้นที่ ปริ มาตรและความจุ เงินและเวลา หน่วย
วัดระบบต่าง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด อัตราส่ วนตรี โกณมิติ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด และ
การนำความรู้เกี่ยวกับการวัดไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ
● เรขาคณิ ต รู ปเรขาคณิ ตและสมบัติของรู ปเรขาคณิ ตหนึ่งมิติ สองมิติ และสามมิติ
การนึกภาพ แบบจำลองทางเรขาคณิ ต ทฤษฎีบททางเรขาคณิ ต การแปลงทางเรขาคณิ ต (geometric
transformation)ในเรื่ องการเลื่อนขนาน (translation) การสะท้อน (reflection) และการหมุน (rotation)
● พีชคณิ ต แบบรู ป (pattern) ความสัมพันธ์ ฟังก์ชนั เซตและการดำเนินการของเซต
การให้เหตุผล นิพจน์ สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ลำดับเลขคณิ ต ลำดับเรขาคณิ ต อนุกรม
เลขคณิ ต และอนุกรมเรขาคณิ ต
● การวิเคราะห์ขอ้ มูลและความน่าจะเป็ น การกำหนดประเด็น การเขียนข้อคำถาม
การกำหนดวิธีการศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดระบบข้อมูล การนำเสนอข้อมูล ค่ากลางและ
การกระจายของข้อมูล การวิเคราะห์และการแปลความข้อมูล การสำรวจความคิดเห็น ความน่าจะ
เป็ น การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นในการอธิ บายเหตุการณ์ต่างๆ และช่วยในการ
ตัดสิ นใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน
● ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ การแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลาย การ
ให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อความหมายทางคณิ ตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่างๆ
ทางคณิ ตศาสตร์ และการเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์กบั ศาสตร์อื่นๆ และความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์

คุณภาพผูเ้ รี ยน
จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓
● มีความรู้ความเข้าใจและความรู ้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน
และศูนย์ และการดำเนินการของจำนวน สามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับการบวก การลบ การคูณ และ
การหาร พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้
● มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ำหนัก ปริ มาตร ความจุ เวลาและ
เงิน สามารถวัดได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และนำความรู ้เกี่ยวกับการวัดไปใช้แก้ปัญหาใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
● มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรู ปสามเหลี่ยม รู ปสี่ เหลี่ยม รู ปวงกลม รู ปวงรี ทรง
สี่ เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก รวมทั้ง จุด ส่ วนของเส้นตรง รังสี เส้นตรง และมุม
● มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแบบรู ป และอธิ บายความสัมพันธ์ได้
● รวบรวมข้อมูล และจำแนกข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและสิ่ งแวดล้อมใกล้ตวั ที่พบเห็นใน
ชีวิตประจำวัน และอภิปรายประเด็นต่าง ๆ จากแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแท่งได้
● ใช้วธิ ีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู ้ ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสิ นใจ และสรุ ป
ผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ในการสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และ
การนำเสนอได้อย่างถูกต้อง เชื่อมโยงความรู ้ต่างๆ ในคณิ ตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์กบั
ศาสตร์อื่นๆ มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
● มีความรู้ความเข้าใจและความรู ้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับจำนวนนับและศูนย์ เศษส่ วน
ทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง ร้อยละ การดำเนินการของจำนวน สมบัติเกี่ยวกับจำนวน สามารถแก้
ปั ญหาเกี่ยวกับการบวก การลบ การคูณ และการหารจำนวนนับ เศษส่ วน ทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง
และร้อยละ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ สามารถหาค่าประมาณของ
จำนวนนับและทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่งได้
● มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ำหนัก พื้นที่ ปริ มาตร ความจุ เวลา
เงิน ทิศ แผนผัง และขนาดของมุม สามารถวัดได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และนำความรู ้เกี่ยวกับ
การวัดไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
● มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของรู ปสามเหลี่ยม รู ปสี่ เหลี่ยม รู ป
วงกลม ทรงสี่ เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ปริ ซึม พีระมิด มุม และเส้นขนาน
● มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแบบรู ปและอธิ บายความสัมพันธ์ได้ แก้ปัญหาเกี่ยวกับ
แบบรู ป สามารถวิเคราะห์สถานการณ์หรื อปัญหาพร้อมทั้งเขียนให้อยูใ่ นรู ปของสมการเชิงเส้นที่มีตวั
ไม่ทราบค่าหนึ่งตัวและแก้สมการนั้นได้
● รวบรวมข้อมูล อภิปรายประเด็นต่าง ๆ จากแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง แผนภูมิ
แท่งเปรี ยบเทียบ แผนภูมิรูปวงกลม กราฟเส้น และตาราง และนำเสนอข้อมูลในรู ปของแผนภูมิ
รู ปภาพ แผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่งเปรี ยบเทียบ และกราฟเส้น ใช้ความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นเบื้อง
ต้นในการคาดคะเนการเกิดขึ้นของเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้
● ใช้วธิ ีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู ้ ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการ
ตัดสิ นใจและสรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ในการสื่ อสาร การ
สื่ อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ในคณิ ตศาสตร์
และเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์กบั ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
● มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจำนวนจริ ง มีความเข้าใจเกี่ยวกับอัตราส่ วน สัดส่ วน ร้อย
ละ
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้ก ำลังเป็ นจำนวนเต็ม รากที่สองและรากที่สามของจำนวนจริ ง สามารถดำเนินการ
เกี่ยวกับจำนวนเต็ม เศษส่ วน ทศนิยม เลขยกกำลัง รากที่สองและรากที่สามของจำนวนจริ ง ใช้การ
ประมาณค่าในการดำเนินการและแก้ปัญหา และนำความรู ้เกี่ยวกับจำนวนไปใช้ในชีวิตจริ งได้
● มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่ผวิ ของปริ ซึม ทรงกระบอก และปริ มาตรของ
ปริ ซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่าง ๆ เกี่ยวกับความ
ยาว พื้นที่ และปริ มาตรได้อย่างเหมาะสม พร้อมทั้งสามารถนำความรู ้เกี่ยวกับการวัดไปใช้ในชีวิตจริ ง
ได้
● สามารถสร้างและอธิบายขั้นตอนการสร้างรู ปเรขาคณิ ตสองมิติโดยใช้วงเวียนและ
สันตรง อธิบายลักษณะและสมบัติของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติซ่ ึ งได้แก่ ปริ ซึม พีระมิด ทรงกระบอก
กรวย และ
ทรงกลมได้
● มีความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของความเท่ากันทุกประการและความคล้ายของรู ป
สามเหลี่ยม เส้นขนาน ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ และสามารถนำสมบัติเหล่านั้นไปใช้ในการ
ให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิ ต(geometric
transformation)ในเรื่ องการเลื่อนขนาน(translation) การสะท้อน (reflection) และการหมุน (rotation)
และนำไปใช้ได้
● สามารถนึกภาพและอธิบายลักษณะของรู ปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ
● สามารถวิเคราะห์และอธิ บายความสัมพันธ์ของแบบรู ป สถานการณ์หรื อปั ญหา และ
สามารถใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
และกราฟในการแก้ปัญหาได้
● สามารถกำหนดประเด็น เขียนข้อคำถามเกี่ยวกับปั ญหาหรื อสถานการณ์ กำหนดวิธี
การศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม หรื อรู ปแบบอื่นที่เหมาะสม
ได้
● เข้าใจค่ากลางของข้อมูลในเรื่ องค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต มัธยฐาน และฐานนิยมของข้อมูลที่
ยังไม่ได้แจกแจงความถี่ และเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งใช้ความรู ้ในการพิจารณาข้อมูล
ข่าวสารทางสถิติ
● เข้าใจเกี่ยวกับการทดลองสุ่ ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ สามารถ
ใช้ความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์และประกอบการตัดสิ นใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
● ใช้วธิ ีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู ้ ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการ
ตัดสิ นใจ และสรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ในการสื่ อสาร การ
สื่ อความหมาย และการนำเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน เชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ในคณิ ตศาสตร์
และนำความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิด
ริ เริ่ มสร้างสรรค์

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
● มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับระบบจำนวนจริ ง ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริ ง
จำนวนจริ งที่อยูใ่ นรู ปกรณฑ์ และจำนวนจริ งที่อยูใ่ นรู ปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้ก ำลังเป็ นจำนวนตรรกยะ
หาค่าประมาณของจำนวนจริ งที่อยูใ่ นรู ปกรณฑ์ และจำนวนจริ งที่อยูใ่ นรู ปเลขยกกำลังโดยใช้วิธีการ
คำนวณที่เหมาะสมและสามารถนำสมบัติของจำนวนจริ งไปใช้ได้
● นำความรู้เรื่ องอัตราส่ วนตรี โกณมิติไปใช้คาดคะเนระยะทาง ความสู ง และแก้ปัญหา
เกี่ยวกับการวัดได้
● มีความคิดรวบยอดในเรื่ องเซต การดำเนินการของเซต และใช้ความรู ้เกี่ยวกับแผน
ภาพเวนน์-ออยเลอร์แสดงเซตไปใช้แก้ปัญหา และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผล
● เข้าใจและสามารถใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยได้
● มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความสัมพันธ์และฟังก์ชนั สามารถใช้ความสัมพันธ์และ
ฟังก์ชนั แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
● เข้าใจความหมายของลำดับเลขคณิ ต ลำดับเรขาคณิ ต และสามารถหาพจน์ทวั่ ไปได้
เข้าใจความหมายของผลบวกของ n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิ ต อนุกรมเรขาคณิ ต และหาผลบวก n
พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิ ต และอนุกรมเรขาคณิ ตโดยใช้สูตรและนำไปใช้ได้
● รู้และเข้าใจการแก้สมการ และอสมการตัวแปรเดียวดีกรี ไม่เกินสอง รวมทั้งใช้กราฟ
ของสมการ อสมการ หรื อฟังก์ชนั ในการแก้ปัญหา
● เข้าใจวิธีการสำรวจความคิดเห็นอย่างง่าย เลือกใช้คา่ กลางได้เหมาะสมกับข้อมูลและ
วัตถุประสงค์ สามารถหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต มัธยฐาน ฐานนิยม ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปอร์เซ็น
ไทล์ของข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูล และนำผลจากการวิเคราะห์ขอ้ มูลไปช่วยในการตัดสิ นใจ
● เข้าใจเกี่ยวกับการทดลองสุ่ ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ สามารถ
ใช้ความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ ประกอบการตัดสิ นใจ และแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ ต่าง ๆ ได้
● ใช้วธิ ีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู ้ ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการ
ตัดสิ นใจ และสรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ในการสื่ อสาร การ
สื่ อความหมาย และการนำเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน เชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ในคณิ ตศาสตร์
และนำความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิด
ริ เริ่ มสร้างสรรค์

สาระที่ ๑ จำนวนและการดำเนินการ
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จ ำนวนในชีวิตจริ ง
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
๑. เขียนและ ๑. เขียนและ ๑. เขียนและ ๑. เขียนและ ๑. เขียนและ ๑. เขียนและ ๑ ๑. ระบุหรื อยก ๑. เขียนเศษ
อ่าน อ่าน อ่าน อ่านตัวเลขฮินดู อ่านเศษส่ วน อ่านทศนิยม ตัวอย่าง และ ในรู ปทศ
ตัวเลขฮินดูอา ตัวเลขฮินดูอา ตัวเลขฮินดูอา อารบิก จำนวนคละ ไม่เกินสาม เปรี ยบเทียบ และเขียน
รบิก รบิก รบิก ตัวเลขไทย และทศนิยมไม่ ตำแหน่ง จำนวนเต็มบวก ทศนิยมซ
และตัวเลขไทย ตัวเลขไทย ตัวเลขไทย และตัวหนังสื อ เกินสอง ๒. เปรี ยบเทียบ จำนวนเต็มลบ รู ปเศษส่ว
แสดงปริ มาณ และตัวหนังสื อ และตัวหนังสื อ แสดง ตำแหน่ง และเรี ยงลำดับ ศูนย์ เศษส่วน ๒. จำแนก
ของสิ่ งของหรื อ แสดงปริ มาณ แสดงปริ มาณ จำนวนนับ ศูนย์ ๒. เปรี ยบเทียบ เศษส่วน และ และทศนิยม จำนวนจร
จำนวนนับที่ไม่ ของสิ่ งของหรื อ ของสิ่ งของหรื อ เศษส่ วน และ และเรี ยงลำดับ ทศนิยมไม่เกิน ๒. เข้าใจเกี่ยว กำหนดให
เกินหนึ่งร้อย จำนวนนับที่ จำนวนนับที่ไม่ ทศนิยมหนึ่ง เศษส่วน และ สามตำแหน่ง กับเลขยกกำลัง ยกตัวอย่า
และศูนย์ ไม่เกินหนึ่งพัน เกินหนึ่งแสน ตำแหน่ง ทศนิยมไม่เกิน ๓. เขียนทศนิยม ที่มีเลขชี้ก ำลัง จำนวน ต
๒. เปรี ยบเทียบ และศูนย์ และศูนย์ ๒. เปรี ยบเทียบ สองตำแหน่ง ในรู ปเศษส่ วน เป็ นจำนวนเต็ม และจำนว
และเรี ยงลำดับ ๒. เปรี ยบเทียบ ๒. เปรี ยบเทียบ และเรี ยงลำดับ ๓. เขียน และเขียน และเขียนแสดง อตรรกยะ
จำนวนนับไม่ และเรี ยงลำดับ และเรี ยงลำดับ จำนวนนับและ เศษส่วนในรู ป เศษส่ วนในรู ป จำนวนให้อยู่ ๓. อธิบาย
เกินหนึ่งร้อย จำนวนนับ ไม่ จำนวนนับไม่ ศูนย์ เศษส่ วน ทศนิยมและร้อย ทศนิยม ในรู ปสัญกรณ์ ระบุรากท
และศูนย์ เกิน เกินหนึ่งแสน และทศนิยม ละ เขียนร้อยละ วิทยาศาสตร์ และรากท
หนึ่งพันและ และศูนย์ หนึ่งตำแหน่ง ในรู ปเศษส่วน (scientific ของจำนว
ศูนย์ และทศนิยม notation) ๔. ใช้คว
และเขียน เกี่ยวกับ
ทศนิยมในรู ป อัตราส่ วน
เศษส่วนและ สัดส่ วน แ
ร้อยละ ร้อยละใน
แก้โจทย์ป
สาระที่ ๑ จำนวนและการดำเนินการ
มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการของจำนวนและความสัมพันธ์ระหว่างการ
ดำเนินการต่าง ๆ และใช้การดำเนินการในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.
๑. บวก ลบ และ ๑. บวก ลบ คูณ ๑. บวก ลบ คูณ ๑. บวก ลบ คูณ ๑. บวก ลบ คูณ ๑. บวก ลบ คูณ ๑. บวก ลบ คูณ ๑. หาราก
บวก ลบระคน หาร และบวก หาร และบวก หาร และบวก หาร และบวก หารและบวก หารจำนวนเต็ม และรากท
ของจำนวนนับ ลบ คูณ หาร ลบ คูณ หาร ลบ คูณ หาร ลบ คูณระคน ลบ คูณ หาร และนำไปใช้แก้ ของจำนว
ไม่เกินหนึ่งร้อย ระคนของ ระคนของ ระคนของ ของเศษส่วน ระคนของ ปัญหา โดยการแ
และศูนย์ พร้อม จำนวนนับ จำนวนนับไม่ จำนวนนับ และ พร้อมทั้ง เศษส่ วน ตระหนัก ถึง ประกอบ
ทั้งตระหนักถึง ไม่เกินหนึ่งพัน เกินหนึ่งแสน ศูนย์ พร้อมทั้ง ตระหนักถึง จำนวนคละ ความสมเหตุ ไปใช้ในก
ความสมเหตุ และศูนย์ พร้อม และศูนย์ พร้อม ตระหนักถึง ความสมเหตุสม และทศนิยม สมผลของคำ ปัญหาพร
สมผลของคำ ทั้งตระหนักถึง ทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุ ผล พร้อมทั้ง ตอบ ตระหนักถ
ตอบ ความสมเหตุ ความสมเหตุ สมผลของ ของคำตอบ ตระหนักถึง อธิบายผลที่เกิด สมเหตุสม
๒. วิเคราะห์ สมผลของ สมผลของคำ คำตอบ ๒. บวก ลบ คูณ ความสมเหตุสม ขึ้นจากการบวก คำตอบ
และหาคำตอบ คำตอบ ตอบ ๒. วิเคราะห์ และบวก ลบ ผลของคำตอบ การลบ การคูณ ๒. อธิบาย
ของโจทย์ ๒. วิเคราะห์ ๒. วิเคราะห์และ และแสดงวิธีหา คูณระคนของ ๒.วิเคราะห์และ การหาร และ ขึ้นจากกา
ปัญหาและ และ แสดงวิธีหาคำ คำตอบของ ทศนิยมที่ค ำ แสดงวิธีหาคำ บอกความ สองและ
โจทย์ปัญหา หาคำตอบของ ตอบของโจทย์ โจทย์ปัญหา ตอบเป็ น ตอบของโจทย์ สัมพันธ์ รากที่สาม
ระคนของ โจทย์ปัญหา ปัญหา และ และโจทย์ ทศนิยมไม่เกิน ปัญหา และ ของการบวก จำนวนเต
จำนวนนับไม่ และ โจทย์ปัญหา ปัญหาระคน สองตำแหน่ง โจทย์ปัญหา กับการลบ เศษส่วนแ
เกินหนึ่งร้อย โจทย์ปัญหา ระคนของ ของจำนวนนับ พร้อมทั้ง ระคนของ การคูณกับ ทศนิยม บ
และศูนย์ พร้อม ระคน จำนวนนับไม่ และศูนย์ พร้อม ตระหนัก ถึง จำนวนนับ การหารของ สัมพันธ์ข
ทั้งตระหนักถึง ของจำนวนนับ เกินหนึ่งแสน ทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุ เศษส่ วน จำนวนเต็ม การยกกำล
ความสมเหตุ ไม่เกินหนึ่งพัน และศูนย์ พร้อม ความสมเหตุ สมผลของ จำนวนคละ การหาราก
สมผลของคำ และศูนย์ พร้อม ทั้งตระหนักถึง สมผลของคำ คำตอบ ทศนิยม และ จำนวนจร
ตอบ ทั้ง ความสมเหตุ สม ตอบ และสร้าง ร้อยละ พร้อม
ตระหนักถึง ผลของคำตอบ โจทย์ได้ ทั้งตระหนักถึง
ความสมเหตุ และสร้างโจทย์
สมผลของคำ ได้
ตอบ

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
- - - ๓. บวกและลบ ๓. วิเคราะห์ ความสมเหตุ ๒. บวก ลบ -
เศษส่ วนที่มี และแสดงวิธี สมผลของคำ คูณ
ตัวส่ วนเท่ากัน หาคำตอบของ ตอบ และสร้าง หารเศษส่ วน
โจทย์ปัญหา โจทย์ปัญหาเกี่ยว
และโจทย์ กับจำนวนนับได้
และทศนิยม
ปัญหาระคน และนำไปใช้
ของจำนวนนับ แก้ปัญหา
เศษส่วน ตระหนักถึง
ทศนิยม และ ความสมเหตุ
ร้อยละ พร้อม สมผลของ
ทั้งตระหนักถึง คำตอบ
ความสมเหตุ
สมผลของคำ
อธิ บาย
ตอบ และสร้าง ผลที่เกิดขึ้น
โจทย์ปัญหา จาก
เกี่ยวกับ การบวก การ
จำนวนนับได้ ลบ
การคูณ การ
หาร
และบอก
ความสัมพันธ์
ของการบวก
กับการลบ
การคูณกับ
การหารของ
เศษส่ วน และ
ทศนิยม
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
- - - - - - ๓. อธิ บายผล -
ที่เกิดขึ้นจาก
การยกกำลัง
ของ
จำนวนเต็ม
เศษส่ วนและ
ทศนิยม
๔. คูณและ
หาร
เลขยกกำลังที่
มี
ฐานเดียวกัน
และ
เลขชี้ก ำลัง
เป็ น
จำนวนเต็ม

สาระที่ ๑ จำนวนและการดำเนินการ
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหา
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
- - - - ๑. บอกค่า ๑. บอกค่า ๑. ใช้การ ๑. หาค่า
ประมาณใกล้ ประมาณใกล้ ประมาณค่า ประมาณข
เคียงจำนวนเต็ม เคียงจำนวนเต็ม ใน รากที่สอง
สิ บ เต็มร้อย หลักต่าง ๆ ของ และรากท
และเต็มพันของ จำนวนนับ และ
สถานการ ของจำนว
จำนวนนับ และ นำไปใช้ได้ ณ์ และนำไป
นำไปใช้ได้ ๒. บอกค่า ต่าง ๆ ได้ การแก้ปัญ
ประมาณของ อย่าง พร้อมทั้ง
ทศนิยมไม่เกิน เหมาะสม ตระหนักถ
สามตำแหน่ง รวมถึงใช้ใน ความสมเ
การพิจารณา สมผลของ
คำตอบ
ความสมเหตุ
สมผลของ
คำตอบที่ได้
จากการ
คำนวณ

สาระที่ ๑ จำนวนและการดำเนินการ
มาตรฐาน ค ๑.๔ เข้าใจระบบจำนวนและนำสมบัติเกี่ยวกับจำนวนไปใช้
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
- - - - - ๑. ใช้สมบัติ ๑. นำความรู ้ ๑. บอกคว
การสลับที่ และสมบัติ เกี่ยวข้องข
สมบัติการ เกี่ยวกับ จำนวนจร
เปลี่ยนหมู่ จำนวนตร
และสมบัติ
จำนวนเต็ม และจำนว
การแจกแจง ไปใช้ในการ อตรรกยะ
ในการคิด แก้ปัญหา
คำนวณ
๒. หา ห.ร.ม
และ ค.ร.น.
ของจำนวนนับ

สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่ งที่ตอ้ งการวัด
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
๑. บอกความ ๑. บอกความ ๑. บอกความ ๑. บอกความ ๑. บอกความ ๑. อธิบายเส้น - ๑. เปรี ยบ
ยาว น้ำหนัก ยาวเป็ นเมตร ยาวเป็ น เมตร สัมพันธ์ของ สัมพันธ์ของ ทาง หน่วยควา
ปริ มาตรและ และเซนติเมตร เซนติเมตร หน่วยการวัด หน่วยการวัด หรื อบอก หน่วยพื้น
ความจุโดยใช้ และเปรี ยบ และมิลลิเมตร ความยาว น้ำ ปริ มาตรหรื อ ตำแหน่งของ ในระบบ
หน่วยที่ไม่ใช่ เทียบ เลือกเครื่ องวัด หนัก ความจุ สิ่ งต่างๆ โดย เดียวก
หน่วยมาตรฐาน ความยาวใน ที่เหมาะสมและ ปริ มาตรหรื อ ๒.หาความยาว ระบุทิศทาง และต่างร
๒. บอก ช่วง หน่วยเดียวกัน เปรี ยบเทียบ ความจุ และ รอบรู ป ของ และระยะทาง และเลือก
เวลา จำนวนวัน ๒. บอกน้ำ ความยาว เวลา รู ปสี่ เหลี่ยม จริ งจากรู ปภาพ หน่วยการ
และชื่อวันใน หนัก ๒. บอกน้ำหนัก ๒. หาพื้นที่ของ รู ปสามเหลี่ยม แผนที่ และ ได้อย่างเห
สัปดาห์ เป็ นกิโลกรัม เป็ นกิโลกรัม รู ปสี่ เหลี่ยม- ๓.หาพื้นที่ของ แผนผัง สม
และขีด และ กรัม และขีด มุมฉาก รู ปสี่ เหลี่ยม - ๒. หาพื้นที่ของ ๒. คาดคะ
เปรี ยบเทียบ เลือกเครื่ องชัง่ ๓. บอกเวลาบน มุมฉากและรู ป รู ปสี่ เหลี่ยม เวลา ระย
น้ำหนักใน ที่เหมาะสม หน้าปัดนาฬิกา สามเหลี่ยม ๓. หาความยาว พื้นที่ ปริ
หน่วย และเปรี ยบ อ่านและเขียน ๔. วัดขนาดของ รอบรู ป และ และน้ำห
เดียวกัน เทียบน้ำหนัก เวลาโดย ใช้จุด มุม พื้นที่ของรู ป อย่างใกลเ
๓. บอก ๓. บอก และบอกระยะ ๕. หาปริ มาตร วงกลม และอธิบา
ปริ มาตรและ ปริ มาตรและ เวลา หรื อความจุของ การที่ใช้
ความจุเป็ นลิตร ความจุเป็ นลิตร ๔. คาดคะเน ทรงสี่ เหลี่ยม ในการคา
และเปรี ยบ- มิลลิลิตร ความยาว น้ำ มุมฉาก ๓. ใช้การ
เทียบปริ มาตร เลือกเครื่ องตวง หนัก คาดคะเน
และ ที่เหมาะสมและ ปริ มาตรหรื อ กับการวัด
ความจุ เปรี ยบเทียบ ความจุ สถานการ
๔. บอก ปริ มาตรและ ต่าง ๆ ได
จำนวน เงิน ความจุในหน่วย เหมาะสม
ทั้งหมดจาก เดียวกัน
เงินเหรี ยญและ
ธนบัตร
๕. บอกเวลาบน
หน้าปัดนาฬิกา
(ช่วง ๕ นาที)
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
๖. บอกวัน ๔. บอกเวลาบน
เดือน ปี จาก หน้าปัดนาฬิกา
ปฏิทิน (ช่วง ๕ นาที)
อ่านและเขียน
บอกเวลาโดยใช้
จุด
๕. บอกความ
สัมพันธ์ของ
หน่วยการวัด
ความยาว
น้ำหนัก และ
เวลา
๖. อ่านและ
เขียนจำนวนเงิน
โดยใช้จุด
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
- ๑. แก้ปัญหา ๑. แก้ปัญหา ๑. แก้ปัญหา ๑. แก้ปัญหา ๑. แก้ปัญหา - ๑. ใช้ควา
เกี่ยวกับการวัด- เกี่ยวกับการวัด- เกี่ยวกับการวัด- เกี่ยวกับพื้นที่ เกี่ยวกับพื้นที่ เกี่ยวกับ
ความยาว ความยาว ความยาว ความยาวรอบ ความยาวรอบ ความยาว
การชัง่ การตวง การชัง่ การตวง การชัง่ การตวง รู ปของรู ป รู ปของรู ป และพื้นท
และเงิน เงิน และเวลา เงิน และเวลา สี่ เหลี่ยมมุมฉาก สี่ เหลี่ยมและรู ป แก้ปัญหา
๒. อ่านและ ๒. เขียนบันทึก และรู ป วงกลม ในสถานก
เขียนบันทึก รายรับ รายจ่าย สามเหลี่ยม ๒. แก้ปัญหา ต่าง ๆ
รายรับรายจ่าย ๓. อ่านและ เกี่ยวกับ
๓. อ่านและ เขียนบันทึก ปริ มาตรและ
เขียน กิจกรรมหรื อ ความจุของทรง
บันทึกกิจกรรม เหตุการณ์ สี่ เหลี่ยม -
หรื อเหตุการณ์ ที่ระบุเวลา มุมฉาก
ที่ระบุเวลา ๓. เขียนแผนผัง
แสดงตำแหน่ง
ของสิ่ งต่าง ๆ
และแผนผัง
แสดงเส้นทาง
การเดินทาง

สาระที่ ๓ เรขาคณิ ต
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
๑. จำแนก ๑. บอกชนิด ๑. บอกชนิด ๑. บอกชนิด ๑. บอกลักษณะ ๑. บอกชนิดของ ๑. สร้างและ -
รู ปสามเหลี่ยม ของรู ป ของรู ป ของมุม ชื่อมุม และจำแนก รู ปเรขาคณิ ต บอกขั้นตอน
รู ปสี่ เหลี่ยม เรขาคณิ ตสอง เรขาคณิ ต ส่ วนประกอบ รู ปเรขาคณิ ต สองมิติที่เป็ น การสร้าง
รู ปวงกลม มิติวา่ เป็ น สองมิติที่เป็ น ของมุม และ สามมิติชนิดต่าง ส่ วนประกอบ พื้นฐานทาง
รู ปวงรี รู ปสามเหลี่ยม ส่ วนประกอบ เขียนสัญลักษณ์ ๆ ของรู ปเรขาคณิ ต เรขาคณิ ต
รู ปสี่ เหลี่ยม ของสิ่ งของที่มี ๒. บอกได้วา่ ๒. บอก สามมิติ ๒. สร้างรู ป
รู ปวงกลม ลักษณะเป็ นรู ป เส้นตรงหรื อ ลักษณะ ๒. บอกสมบัติ เรขาคณิ ตสอง
หรื อ เรขาคณิ ตสาม ส่วนของเส้น ความสัมพันธ์ ของ มิติ
รู ปวงรี มิติ ตรง และจำแนก เส้นทแยงมุมของ โดยใช้การ
๒. บอกชนิด ๒. ระบุ คู่ใดขนานกัน รู ปสี่ เหลี่ยม รู ปสี่ เหลี่ยมชนิด สร้างพื้นฐาน
ของรู ป รู ปเรขาคณิ ต พร้อมทั้งใช้ ชนิดต่างๆ ต่างๆ ทางเรขาคณิ ต
เรขาคณิ ต สองมิติที่มี สัญลักษณ์ ๓. บอก ๓. บอกได้วา่ เส้น และบอก
สามมิติวา่ เป็ น แกนสมมาตร แสดง ลักษณะส่ วน ตรงคูใ่ ดขนานกัน ขั้นตอนการ
ทรงสี่ เหลี่ยม จากรู ปที่ การขนาน ประกอบ ความ สร้างโดยไม่
มุมฉาก ทรง กำหนดให้ ๓. บอกส่ วน สัมพันธ์ และ เน้น
กลมหรื อทรง ๓. เขียนชื่อจุด ประกอบของรู ป จำแนก การพิสูจน์
กระบอก เส้นตรง รังสี วงกลม รู ปสามเหลี่ยม ๓. สืบเสาะ
๓. จำแนก ส่วนของเส้น ชนิดต่าง ๆ สั งเกต
ระหว่างรู ป ตรง และ
สี่ เหลี่ยมมุมฉาก มุม และเขียน คาดการณ์
กับทรงสี่ เหลี่ยม สัญลักษณ์ เกี่ยวกับสมบัติ
มุมฉาก และ ทางเรขาคณิ ต
รู ปวงกลมกับ
ทรงกลม
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
- ๔. บอกได้วา่ รู ป ๔. อธิ บาย -
ใดหรื อส่วนใด ลักษณะของ
ของสิ่ งของมี รู ปเรขาคณิ ต
ลักษณะเป็ นรู ป
สี่ เหลี่ยมมุมฉาก
สามมิติจาก
และจำแนกได้ ภาพ
ว่าเป็ นรู ป ที่ก ำหนดให้
สี่ เหลี่ยมจัตุรัส ๕. ระบุภาพ
หรื อรู ปสี่ เหลี่ยม สองมิติที่ได้จาก
ผืนผ้า การมองด้าน
๕. บอกได้วา่ รู ป หน้า
เรขาคณิ ตสอง (front view)
มิติ ด้านข้าง (side
รู ปใดเป็ นรู ปที่มี view) หรื อ
แกนสมมาตร ด้านบน (top
และบอกจำนวน view) ของรู ป
แกนสมมาตร เรขาคณิ ตสาม
มิติที่ก ำหนดให้

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
- - - - - - ๖. วาดหรื อ -
ประดิษฐ์รูป
เรขาคณิ ต
สามมิติที่
ประกอบขึ้น
จากลูกบาศก์
เมื่อกำหนดภาพ
สองมิติที่ได้จาก
การมองด้าน
หน้า
ด้านข้าง และ
ด้านบนให้
สาระที่ ๓ เรขาคณิ ต
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริ ภูมิ (spatial reasoning) และ
ใช้แบบจำลองทางเรขาคณิ ต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
- ๑. เขียนรู ป ๑. เขียนรู ป ๑. นำรู ป ๑. สร้างมุม ๑. ประดิษฐ์ทรง - ๑. ใช้สม
เรขาคณิ ตสอง เรขาคณิ ตสอง เรขาคณิ ต โดยใช้ สี่ เหลี่ยมมุมฉาก เกี่ยวกับ
มิติโดยใช้แบบ มิติที่ก ำหนดให้ มาประดิษฐ์เป็ น โพรแทรกเตอร์ ทรงกระบอก ความเท่าก
ของรู ป ในแบบต่าง ๆ ลวดลายต่าง ๆ ๒. สร้างรู ป กรวย ปริ ซึม ทุกประกา
เรขาคณิ ต ๒. บอกรู ป สี่ เหลี่ยมมุมฉาก และพีระมิด ของรู ป
เรขาคณิ ตต่าง ๆ รู ปสามเหลี่ยม จากรู ปคลี่ หรื อ สามเหลี่ย
ที่อยูใ่ นสิ่ ง และรู ปวงกลม รู ปเรขาคณิ ต และสมบต
แวดล้อมรอบตัว ๓. สร้างเส้น สองมิติที่ก ำหนด เส้นขนาน
ขนานโดยใช้ ให้ การให้เหต
ไม้ฉาก ๒. สร้างรู ป และแก้ปัญ
สี่ เหลี่ยมชนิด ๒. ใช้ทฤ
ต่าง ๆ พีทาโกรัส
และบทกล
ในการให
เหตุผลแล
แก้ปัญหา

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
๓. เข้าใ
เกี่ยวกับ
การแปล
ทางเรขา
ใน เรื่ อง
เลื่อน ข
การสะท
และการ
และ นำไ
๔. บอกภ
ที่เกิดขึ้น
การ เลื่อ
ขนาน
การสะท
และ
การหมุน
ต้นแบบ
อธิ บายว
ที่จะได้ภ
ที่ปรากฏ
เมื่อกำหน
รู ปต้นแบ
ภาพนั้นใ
สาระที่ ๔ พีชคณิ ต
มาตรฐาน ค ๔.๑ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรู ป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
๑. บอกจำนวน ๑. บอกจำนวน ๑. บอกจำนวน ๑. บอกจำนวน ๑. บอกจำนวน ๑. แก้ปัญหา ๑ . วิเคราะห์ -
และความ และความ และความ และความ และ ความ เกี่ยวกับแบบรู ป และอธิบาย
สัมพันธ์ สัมพันธ์ สัมพันธ์ สัมพันธ์ สัมพันธ์ ความสั มพันธ์
ของแบบรู ป
ในแบบรู ปของ ในแบบรู ปของ ในแบบรู ปของ ในแบบรู ปของ ในแบบรู ปของ ที่ก ำหนดให้
จำนวนที่เพิ่มขึ้น จำนวนที่เพิ่มขึ้น จำนวนที่เพิ่มขึ้น จำนวนที่เพิ่มขึ้น จำนวนที่
ทีละ ๑ ทีละ ๒ ทีละ ๕ ทีละ ๑๐ ทีละ ๓ ทีละ ๔ หรื อลดลงทีละ กำหนดให้
และลดลงทีละ ทีละ ๑๐๐ และ ทีละ ๒๕ ทีละ เท่ากัน
๑ ลดลงทีละ ๒ ๕๐ และลดลง ๒. บอกรู ป และ
๒. บอกรู ปและ ทีละ ๑๐ ทีละ ทีละ ๓ ทีละ ๔ ความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ ๑๐๐ ในแบบรู ปของ
ในแบบรู ปของ ๒. บอกรู ปและ ทีละ ๕ ทีละ รู ปที่ก ำหนดให้
รู ปที่มีรูปร่ าง ความสัมพันธ์ ๒๕ ทีละ ๕๐
ขนาด หรื อสี ที่ ในแบบรู ปของ และแบบรู ปซ้ำ
สัมพันธ์กนั รู ปที่มีรูปร่ าง ๒.บอกรู ปและ
อย่างใดอย่าง ขนาด หรื อสี ที่ ความสัมพันธ์
หนึ่ง สัมพันธ์กนั ในแบบรู ปของ
อย่างใดอย่าง รู ปที่มีรูปร่ าง
หนึ่ง ขนาด หรื อสี ที่
สัมพันธ์กนั
สองลักษณะ

สาระที่ ๔ พีชคณิ ต
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์ (mathematical model) อื่น
ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
- - - - - ๑. เขียนสมการ ๑. แก้สมการ ๑. แก้โจท
จาก เชิงเส้นตัวแปร- ปัญหาเกี่ย
สถานการณ์ เดียวอย่างง่าย สมการเชิ
หรื อปัญหา ๒. เขียนสมการ ตัวแปรเด
และแก้สมการ เชิงเส้น พร้อมทั้ง
พร้อมทั้งตรวจ ตัวแปรเดียว ตระหนัก
คำตอบ จากสถานการณ์ ความสมเ
หรื อปัญหา สมผลของ
อย่าง ง่าย ตอบ
๓. แก้โจทย์ ๒. หาพิก
ปัญหาเกี่ยวกับ จุด และอธ
สมการเชิงเส้น ลักษณะข
ตัวแปรเดียว รู ปเรขาคณ
อย่างง่าย ที่เกิดขึ้นจ
พร้อมทั้ง การเลื่อนข
ตระหนักถึง การสะท้อ
ความสมเหตุ และ
สมผลของ คำ การหมุนบ
ตอบ ระนาบใน
พิกดั ฉาก
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
๔. เขียนกราฟ
บนระนาบใน
ระบบพิกดั ฉาก
แสดงความ
เกี่ยวข้องของ
ปริ มาณสอง
ชุดที่ก ำหนด
ให้
๕. อ่านและ
แปล
ความหมายของ
กราฟบนระนาบ
ในระบบพิกดั
ฉากที่ก ำหนด
ให้

สาระที่ ๕ การวิเคราะห์ขอ้ มูลและความน่าจะเป็ น


มาตรฐาน ค ๕.๑ เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
- - ๑. รวบรวมและ ๑. รวบรวมและ ๑. เขียน ๑. อ่านข้อมูล - ๑. อ่านและ
จำแนกข้อมูล จำแนกข้อมูล แผนภูมิ จากกราฟเส้น เสนอข้อมูลโ
เกี่ยวกับตนเอง ๒. อ่านข้อมูล แท่งที่มีการย่น และแผนภูมิ- ใช้แผนภูมิรูป
และสิ่ งแวดล้อม จากแผนภูมิ- ระยะของเส้น รู ปวงกลม วงกลม
ใกล้ตวั ที่ รู ปภาพ แสดงจำนวน ๒. เขียน
พบเห็น แผนภูมิแท่ง ๒. อ่านข้อมูล แผนภูมิ
ในชีวิตประจำ และตาราง จากแผนภูมิแท่ง- แท่งเปรี ยบ
วัน ๓. เขียน เปรี ยบเทียบ เทียบ
๒. อ่านข้อมูล แผนภูมิ- และกราฟเส้น
จากแผนภูมิ- รู ปภาพ และ
รู ปภาพ และ แผนภูมิแท่ง
แผนภูมิแท่ง
อย่างง่าย

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
สาระที่ ๕ การวิเคราะห์ขอ้ มูลและความน่าจะเป็ น
มาตรฐาน ค ๕.๒ ใช้วิธีการทางสถิติและความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ได้อย่างสม
เหตุสมผล
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
- - - - ๑. บอกได้วา่ ๑. อธิบาย ๑. อธิบายได้ ๑. อธิบายได
เหตุการณ์ที่ เหตุการณ์โดย ว่าเหตุการณ์ เหตุการณ์ที่
กำหนดให้น้ นั ใช้ คำที่มีความ ที่ก ำหนดให้ กำหนดให้
- เกิดขึ้นอย่าง หมาย เหตุการณ์ใด เหตุการณ์ใด
แน่นอน เช่นเดียวกับคำ จะมีโอกาส ขึ้นแน่นอน
- อาจจะเกิดขึ้น ว่า เกิดขึ้นได้ เหตุการณ์ใด
หรื อไม่กไ็ ด้ - เกิดขึ้นอย่าง มากกว่ากัน เกิดขึ้นแน่นอ
- ไม่เกิดขึ้น แน่นอน และเหตุการ
อย่างแน่นอน - อาจจะเกิดขึ้น ใดมีโอกาสเก
หรื อไม่กไ็ ด้ ขึ้นได้มากกว
- ไม่เกิดขึ้น กัน
อย่างแน่นอน

สาระที่ ๕ การวิเคราะห์ขอ้ มูลและความน่าจะเป็ น


มาตรฐาน ค ๕.๓ ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นช่วยในการตัดสิ นใจและแก้ปัญหา
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
- - - - - - - -
สาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อความหมาย
ทางคณิ ตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ ต่าง ๆ ทาง
คณิ ตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์กบั ศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริ เริ่ ม
สร้างสรรค์
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
๑. ใช้วิธีการที่ ๑. ใช้วิธีการที่ ๑. ใช้วิธีการที่ ๑. ใช้วิธีการที่ ๑. ใช้วิธีการที่ ๑. ใช้วิธีการที่ ๑. ใช้วิธีการที่ ๑. ใช้วิธีก
หลากหลายแก้ หลากหลายแก้ หลากหลายแก้ หลากหลายแก้ หลากหลายแก้ หลากหลายแก้ หลากหลายแก้ หลากหลา
ปัญหา ปัญหา ปัญหา ปัญหา ปัญหา ปัญหา ปัญหา ปัญหา
๒. ใช้ความรู้ ๒. ใช้ความรู้ ๒. ใช้ความรู้ ๒. ใช้ความรู้ ๒. ใช้ความรู้ ๒. ใช้ความรู้ ๒. ใช้ความรู้ ๒. ใช้ควา
ทักษะและ ทักษะและ ทักษะและ ทักษะและ ทักษะและ ทักษะและ ทักษะและ ทักษะและ
กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนก
ทางคณิ ตศาสตร์ ทางคณิ ตศาสตร์ ทางคณิ ตศาสตร์ ทางคณิ ตศาสตร์ ทางคณิ ตศาสตร์ ทางคณิ ตศาสตร์ ทางคณิ ตศาสตร์ ทางคณิ ตศ
ในการแก้ ในการแก้ปัญหา ในการแก้ และเทคโนโลยี และเทคโนโลยี และเทคโนโลยี และเทคโนโลยี และเทคโ
ปัญหาใน ในสถานการณ์ ปัญหาใน ในการแก้ปัญหา ในการแก้ปัญหา ในการแก้ ในการแก้ปัญหา ในการแก
สถานการณ์ ต่างๆ ได้อย่าง สถานการณ์ ในสถานการณ์ ในสถานการณ์ ปัญหาใน ในสถานการณ์ ในสถานก
ต่างๆ ได้อย่าง เหมาะสม ต่างๆ ได้อย่าง ต่างๆ ได้อย่าง ต่างๆ ได้อย่าง สถานการณ์ ต่างๆ ได้อย่าง ต่างๆ ได้อ
เหมาะสม ๓. ให้เหตุผล เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ต่างๆ ได้อย่าง เหมาะสม เหมาะสม
๓. ให้เหตุผล ประกอบการ ๓. ให้เหตุผล ๓. ให้เหตุผล ๓. ให้เหตุผล เหมาะสม ๓. ให้เหตุผล ๓. ให้เหต
ประกอบการ ตัดสิ นใจ และ ประกอบการ ประกอบการ ประกอบการ ๓. ให้เหตุผล ประกอบการ ประกอบก
ตัดสิ นใจ และ สรุ ปผลได้อย่าง ตัดสิ นใจ และ ตัดสิ นใจ และ ตัดสิ นใจ และ ประกอบการ ตัดสิ นใจ และ ตัดสิ นใจ
สรุ ปผลได้อย่าง เหมาะสม สรุ ปผลได้อย่าง สรุ ปผลได้อย่าง สรุ ปผลได้อย่าง ตัดสิ นใจ และ สรุ ปผลได้อย่าง สรุ ปผลได
เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม สรุ ปผลได้อย่าง เหมาะสม เหมาะสม
เหมาะสม
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒
๔. ใช้ภาษาและ ๔. ใช้ภาษาและ ๔. ใช้ภาษาและ ๔. ใช้ภาษาและ ๔. ใช้ภาษาและ ๔. ใช้ภาษาและ ๔. ใช้ภาษาและ ๔. ใช้ภาษ
สัญลักษณ์ทาง สัญลักษณ์ทาง สัญลักษณ์ทาง สัญลักษณ์ทาง สัญลักษณ์ทาง สัญลักษณ์ทาง สัญลักษณ์ทาง สัญลักษณ
คณิ ตศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ คณิ ตศาส
ในการสื่ อสาร ในการสื่ อสาร ในการสื่ อสาร ในการสื่ อสาร ในการสื่ อสาร ในการสื่ อสาร ในการสื่ อสาร ในการสื่ อ
การสื่ อความ การสื่ อความ การสื่ อความ การสื่ อความ การสื่ อความ การสื่ อความ การสื่ อความ การสื่ อคว
หมาย และ หมาย และ หมาย และ หมาย และ หมาย และ หมาย และ หมาย และ หมาย แล
การนำเสนอได้ การนำเสนอได้ การนำเสนอได้ การนำเสนอได้ การนำเสนอได้ การนำเสนอได้ การนำเสนอได้ การนำเสน
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง อย่างถูกต
๕. เชื่อมโยง ๕. เชื่อมโยง ๕. เชื่อมโยง และเหมาะสม และเหมาะสม และเหมาะสม และชัดเจน และชัดเจ
ความรู้ต่าง ๆ ความรู้ต่าง ๆ ความรู้ต่าง ๆ ๕. เชื่อมโยง ๕. เชื่อมโยง ๕. เชื่อมโยง ๕. เชื่อมโยง ๕. เชื่อมโ
ในคณิ ตศาสตร์ ในคณิ ตศาสตร์ ในคณิ ตศาสตร์ ความรู้ต่าง ๆ ความรู้ต่าง ๆ ความรู้ต่าง ๆ ความรู้ต่าง ๆ ความรู้ต่า
และเชื่อมโยง และเชื่อมโยง และเชื่อมโยง ในคณิ ตศาสตร์ ในคณิ ตศาสตร์ ในคณิ ตศาสตร์ ในคณิ ตศาสตร์ ในคณิ ตศ
คณิ ตศาสตร์กบั คณิ ตศาสตร์กบั คณิ ตศาสตร์กบั และ และ และ และนำความรู้ และนำคว
ศาสตร์อื่นๆ ศาสตร์อื่นๆ ศาสตร์อื่นๆ คณิ ตศาสตร์กบั คณิ ตศาสตร์กบั คณิ ตศาสตร์กบั หลักการ หลักการ
๖ มีความคิด ๖ มีความคิด ๖ มีความคิด ศาสตร์อื่น ๆ ศาสตร์อื่น ๆ ศาสตร์อื่น ๆ กระบวนการ กระบวนก
ริ เริ่ มสร้างสรรค์ ริ เริ่ มสร้างสรรค์ ริ เริ่ มสร้างสรรค์ ๖. มีความคิด ๖. มีความคิด ๖. มีความคิด ทางคณิ ตศาสตร์ ทางคณิ ตศ
ริ เริ่ มสร้างสรรค์ ริ เริ่ มสร้างสรรค์ ริ เริ่ มสร้างสรรค์ ไปเชื่อมโยงกับ ไปเชื่อมโ
ศาสตร์อื่น ๆ ศาสตร์อื่น
๖. มีความคิด ๖. มีความ
ริ เริ่ มสร้างสรรค์ ริ เริ่ มสร้าง

กลุ่มสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์

ทำไมต้องเรี ยนวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิง่ ในสังคมโลกปั จจุบนั และอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์
เกี่ยวข้องกับทุกคนทั้งในชีวิตประจำวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่ องมือ
เครื่ องใช้และผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตและการทำงาน เหล่านี้ลว้ น
เป็ นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ช่วย
ให้มนุษย์ ได้พฒั นาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็ นเหตุเป็ นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์
มีทกั ษะสำคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ สามารถ
ตัดสิ นใจโดยใช้ขอ้ มูล ที่หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์
เป็ นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซ่ ึ งเป็ นสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ (knowledge-based society) ดังนั้นทุก
คนจึงจำเป็ นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู ้ความเข้าใจในธรรมชาติและ
เทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ข้ ึน สามารถนำความรู ้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม

เรี ยนรู ้อะไรในวิทยาศาสตร์


กลุ่มสาระการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยง
ความรู ้กบั กระบวนการ มีทกั ษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู ้ โดยใช้กระบวนการในการ
สื บเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู ้ทุกขั้นตอน มี
การทำกิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบตั ิจริ งอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้ก ำหนดสาระ
สำคัญ ไว้ดงั นี้
• สิ่ งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต สิ่ งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวิต
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่ งมีชีวิต และกระบวนการดำรงชีวิต ความหลากหลายทาง
ชีวภาพ การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การทำงานของระบบต่าง ๆ ของสิ่ งมีชีวิต
วิวฒั นาการและความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิต และเทคโนโลยีชีวภาพ
• ชีวิตกับสิ่ งแวดล้อม สิ่ งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวิต
กับสิ่ งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
การใช้และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก ปั จจัยที่มีผลต่อการอยูร่ อด
ของสิ่ งมีชีวิตในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
• สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การ
เปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร

• แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์


การออกแรงกระทำต่อวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสี ยดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ใน
ชีวิตประจำวัน
• พลังงาน พลังงานกับการดำรงชีวิต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์
ของแสง เสี ยง และวงจรไฟฟ้ า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า กัมมันตภาพรังสี และปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิสมั พันธ์ระหว่างสารและพลังงานการอนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่ ง
แวดล้อม
• กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ทรัพยากร
ทางธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ำ อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปั จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ
• ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวฒั นาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสมั พันธ์
และผลต่อสิ่ งมีชีวิตบนโลก ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสำคัญของ
เทคโนโลยีอวกาศ
• ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสื บ
เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์

คุณภาพผูเ้ รี ยน
จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓
● เข้าใจลักษณะทัว่ ไปของสิ่ งมีชีวิต และการดำรงชีวิตของสิ่ งมีชีวิตที่หลากหลาย
ในสิ่ งแวดล้อมท้องถิ่น
● เข้าใจลักษณะที่ปรากฏและการเปลี่ยนแปลงของวัสดุรอบตัว แรงในธรรมชาติ รู ปของ
พลังงาน
● เข้าใจสมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ำ อากาศ ดวงอาทิตย์ และดวงดาว
● ตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่ งมีชีวิต วัสดุและสิ่ งของ และปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว สังเกต
สำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่ องมืออย่างง่าย และสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ดว้ ยการเล่าเรื่ อง เขียน
หรื อ วาดภาพ
● ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการดำรงชีวิต การศึกษาหาความรู ้เพิ่ม
เติม ทำโครงงานหรื อชิ้นงานตามที่ก ำหนดให้ หรื อตามความสนใจ
● แสดงความกระตือรื อร้น สนใจที่จะเรี ยนรู ้ และแสดงความซาบซึ้ งต่อสิ่ งแวดล้อมรอบ
ตัว แสดงถึงความมีเมตตา ความระมัดระวังต่อสิ่ งมีชีวิตอื่น
● ทำงานที่ได้รับมอบหมายด้วยความมุ่งมัน่ รอบคอบ ประหยัด ซื่ อสัตย์ จนเป็ นผลสำเร็ จ
และทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นอย่างมีความสุ ข

จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
● เข้าใจโครงสร้างและการทำงานของระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวิต และความสัมพันธ์ของ
สิ่ งมีชีวิตที่หลากหลายในสิ่ งแวดล้อมที่แตกต่างกัน
● เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร สมบัติของสารและการ
ทำให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลง สารในชีวิตประจำวัน การแยกสารอย่างง่าย
● เข้าใจผลที่เกิดจากการออกแรงกระทำกับวัตถุ ความดัน หลักการเบื้องต้นของแรง
ลอยตัว สมบัติและปรากฏการณ์เบื้องต้นของแสง เสี ยง และวงจรไฟฟ้ า
● เข้าใจลักษณะ องค์ประกอบ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ ความสัมพันธ์ของดวง
อาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ที่มีผลต่อการเกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติ
● ตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่ งที่จะเรี ยนรู ้ คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง วางแผนและสำรวจ
ตรวจสอบโดยใช้เครื่ องมือ อุปกรณ์ วิเคราะห์ขอ้ มูล และสื่ อสารความรู ้จากผลการ
สำรวจตรวจสอบ
● ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต และการศึกษาความรู ้เพิ่ม
เติม ทำโครงงานหรื อชิ้นงานตามที่ก ำหนดให้หรื อตามความสนใจ
● แสดงถึงความสนใจ มุ่งมัน่ รับผิดชอบ รอบคอบและซื่ อสัตย์ในการสื บเสาะหาความรู ้
● ตระหนักในคุณค่าของความรู ้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แสดงความชื่นชม ยกย่อง
และเคารพสิ ทธิในผลงานของผูค้ ิดค้น
● แสดงถึงความซาบซึ้ ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้การดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างรู ้คุณค่า
● ทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความ
คิดเห็นของผูอ้ ื่น

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
● เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สำคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการ
ทำงานของระบบต่างๆ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความ
หลากหลายของสิ่ งมีชีวิต พฤติกรรมและการตอบสนองต่อสิ่ งเร้าของสิ่ งมีชีวิต ความ
สัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวิตในสิ่ งแวดล้อม
● เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริ สุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงของสารใน
รู ปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
● เข้าใจแรงเสี ยดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ในชีวิตประจำวัน กฎการ
อนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเหและ
ความเข้มของแสง
● เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณทางไฟฟ้ า หลักการต่อวงจรไฟฟ้ าในบ้าน พลังงาน
ไฟฟ้ าและหลักการเบื้องต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์
● เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่งทรัพยากรธรณี ปั จจัยที่มีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ ปฏิสมั พันธ์ภายในระบบสุ ริยะ และผลที่มีต่อสิ่ งต่างๆ
บนโลก ความสำคัญของเทคโนโลยีอวกาศ
● เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กบั เทคโนโลยี การพัฒนาและผลของการ
พัฒนาเทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวิตและสิ่ งแวดล้อม
● ตั้งคำถามที่มีการกำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง
วางแผนและลงมือสำรวจตรวจสอบ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล
และสร้าง องค์ความรู้
● สื่ อสารความคิด ความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรื อใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
● ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต การศึกษา
หาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรื อสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
● แสดงถึงความสนใจ มุ่งมัน่ รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่ อสัตย์ในการสื บเสาะหาความรู ้
โดยใช้ เครื่ องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้
● ตระหนักในคุณค่าของความรู ้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวันและการ
ประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิ ทธิ ในผลงานของผูค้ ิดค้น
● แสดงถึงความซาบซึ้ ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า มีส่วนร่ วมในการพิทกั ษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ ง
แวดล้อมในท้องถิ่น
● ทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความ
คิดเห็นของผูอ้ ื่น

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
● เข้าใจการรักษาดุลยภาพของเซลล์และกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่ งมีชีวิต
● เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแปรผัน มิวเทชัน วิวฒั นาการของสิ่ งมี
ชีวิต ความหลากหลายของสิ่ งมีชีวิตและปั จจัยที่มีผลต่อการอยูร่ อดของสิ่ งมีชีวิต
ในสิ่ งแวดล้อมต่างๆ
● เข้าใจกระบวนการ ความสำคัญและผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อมนุษย์ สิ่ งมีชีวิตและ
สิ่ งแวดล้อม
● เข้าใจชนิดของอนุภาคสำคัญที่เป็ นส่ วนประกอบในโครงสร้างอะตอม การจัดเรี ยง
ธาตุในตารางธาตุ การเกิดปฏิกิริยาเคมีและเขียนสมการเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี
● เข้าใจชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบัติต่างๆ ของสารที่มีความ
สัมพันธ์กบั แรงยึดเหนี่ยว
● เข้าใจการเกิดปิ โตรเลียม การแยกแก๊สธรรมชาติและการกลัน่ ลำดับส่ วนน้ำมันดิบ
การนำผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมไปใช้ประโยชน์และผลต่อสิ่ งมีชีวิตและสิ่ งแวดล้อม
● เข้าใจชนิด สมบัติ ปฏิกิริยาที่สำคัญของพอลิเมอร์และสารชีวโมเลกุล
● เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบต่างๆ สมบัติของคลื่น
กล คุณภาพของเสี ยงและการได้ยนิ สมบัติ ประโยชน์และโทษของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า กัมมันตภาพรังสี และพลังงานนิวเคลียร์
● เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณ์ทางธรณี ที่มีผลต่อสิ่ งมีชีวิต
และสิ่ งแวดล้อม
● เข้าใจการเกิดและวิวฒั นาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี เอกภพและความสำคัญของ
เทคโนโลยีอวกาศ
● เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู ้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภท
ต่างๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ที่
ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต สังคม และสิ่ งแวดล้อม
● ระบุปัญหา ตั้งคำถามที่จะสำรวจตรวจสอบ โดยมีการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง
ตัวแปรต่างๆ สื บค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็ นไปได้หลายแนวทาง
ตัดสิ นใจเลือกตรวจสอบสมมติฐานที่เป็ นไปได้
● วางแผนการสำรวจตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาหรื อตอบคำถาม วิเคราะห์ เชื่อมโยงความ
สัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ โดยใช้สมการทางคณิ ตศาสตร์หรื อสร้างแบบจำลองจากผล
หรื อความรู้ที่ได้รับจากการสำรวจตรวจสอบ
● สื่ อสารความคิด ความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรื อ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
● อธิบายความรู้และใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต การศึกษา
หาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรื อสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
● แสดงถึงความสนใจ มุ่งมัน่ รับผิดชอบ รอบคอบและซื่ อสัตย์ในการสื บเสาะหาความรู ้
โดยใช้เครื่ องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้
● ตระหนักในคุณค่าของความรู ้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน การ
ประกอบอาชีพ แสดงถึงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็ นผลจาก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทนั สมัย
● แสดงความซาบซึ้ ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่ วมมือปฏิบตั ิกบั ชุมชนในการป้ องกัน ดูแล
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมของท้องถิ่น
● แสดงถึงความพอใจ และเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู ้ พบคำตอบ หรื อแก้ปัญหาได้
● ทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีขอ้ มูลอ้างอิงและเหตุผล
ประกอบ เกี่ยวกับผลของการพัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมี
คุณธรรมต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม และยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น

สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต


มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่
ของระบบต่างๆ ของสิ่ งมีชีวิตที่ท ำงานสัมพันธ์กนั มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้
สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู้และนำความรู ้ไปใช้ในการดำรงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่ งมีชีวิต
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
ดลอง - ๑. ทดลอง ๑. สังเกต ๑. อธิ บาย ๑. สังเกต ๑. อธิ บาย - ๑. ทดลอ
ธิ บาย และอธิบาย และระบุ การเจริ ญ และอธิ บาย โครงสร้าง การรักษา
สง หน้าที่ของท่อ ส่ วน เติบโต รู ปร่ าง และการ ของสิ่ งมีช
จจัย ลำเลียงและ ประกอบ ของมนุษย์ ลักษณะ ทำงาน ๒. ทดล
ปนต่อ ปากใบ ของดอก จากวัยแรก ของเซลล์ ของระบบ การรักษา
ำรงชีวิต ของพืช และ เกิดจนถึงวัย ของสิ่ งมี ย่อยอาหาร ในพืช
ช ๒. อธิบาย โครงสร้าง ผูใ้ หญ่ ชีวิตเซลล์ ระบบ ๓. สื บค
ธิ บาย น้ำ แก๊ส ที่เกี่ยวข้อง ๒. อธิ บาย เดียวและ หมุนเวียน กลไกการ
ร น้ำ คาร์บอน -ได กับการ การทำงาน เซลล์ของสิ่ ง เลือด ระบบ ของน้ำ แ
ศ เป็ น ออกไซด์ แสง สื บพันธุ์ ที่สมั พันธ์กนั มีชีวิตหลาย หายใจ ของมนุษ
ที่ และ คลอโร ของพืชดอก ของระบบ เซลล์ ระบบขับ นำความร
นต่อการ ฟิ ลล์ เป็ น ๒. อธิบาย ย่อยอาหาร ๒. สังเกต ถ่าย ระบบ ๔. อธิ บา
ชีวิต ปั จจัยที่จ ำเป็ น การสื บพันธุ์ ระบบหายใจ และเปรี ยบ สื บพันธุ์ ภูมิคุม้ กัน
การ บางประการ ของพืชดอก และระบบ เทียบส่ วน ของมนุษย์ ความรู ้ไป
ต่อ การเจริ ญ การขยาย หมุนเวียน ประกอบ และสัตว์ ในการดูแ
ตของ เติบโตและการ พันธุ์พืช เลือดของ สำคัญของ รวมทั้ง
ะสัตว์ สังเคราะห์ และนำความ มนุษย์ เซลล์พืช ระบบ
ำความ ด้วยแสงของ รู้ไปใช้ และเซลล์ ประสาท
ช้ พืช ประโยชน์ สัตว์ ของมนุษย์
ยชน์

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
ำรวจ - ๓. ทดลอง ๓. อธิบาย ๓. วิเคราะห์ ๓. ทดลอง ๒. อธิ บาย -
ธิ บาย และอธิบาย วัฏจักรชีวิต สารอาหาร และอธิ บาย ความ
ะสัตว์ การตอบสนอง ของพืชดอก และอภิปราย หน้าที่ของ สัมพันธ์ของ
รถ ของพืชต่อแสง บางชนิด ความจำเป็ น ส่ วน ระบบต่างๆ
สนอง เสี ยง และการ ๔. อธิบาย ที่ร่างกาย ประกอบ ของ
ง สัมผัส ๔. การสื บพันธุ์ ต้องได้รับ ที่สำคัญของ มนุษย์และ
ภูมิ และ อธิ บาย และการ สารอาหาร เซลล์พืช นำความรู ้ไป
มผัส ๔. พฤติกรรม ขยายพันธุ์ ในสัดส่ วน และเซลล์ ใช้
งและ ของสัตว์ ของสัตว์ ที่เหมาะสม สัตว์ ประโยชน์
ย ที่ตอบสนอง ๕. อภิปราย กับเพศและ ๔. ทดลอง ๓. สังเกต
ยของ ต่อแสง วัฏจักรชีวิต วัย และอธิ บาย และอธิ บาย
ย์ อุณหภูมิ ของสัตว์ กระบวนกา พฤติกรรม
รถ การสัมผัส และ บางชนิด ร ของมนุษย์
สนอง นำความรู้ไปใช้ และนำความ สารผ่าน และสัตว์ที่
ง ประโยชน์ รู้ไปใช้ เซลล์ โดย ตอบสนอง
ภูมิ และ ประโยชน์ การแพร่ และ ต่อสิ่ งเร้า
มผัส ออสโมซิ ส ภายนอก
ธิ บาย ๕. ทดลอง และภายใน
หาปัจจัย ๔. อธิ บาย
ปน บางประการ หลักการ
รดำรง ที่จ ำเป็ นต่อ และผลของ
การ การใช้
ารเจริ ญ สังเคราะห์ เทคโนโลยี
ตของ ด้วยแสงของ ชีวภาพใน
ย์ พืช และ การขยาย
อธิ บายว่า พันธุ์
แสง คลอ ปรับปรุ ง
โรฟิ ลล์ แก๊ส พันธุ์ และ
คาร์บอน เพิ่มผลผลิต
ไดออกไซด์ ของสัตว์
น้ำ เป็ น และ
ปั จจัย นำความรู ้
ที่จ ำเป็ นต้อง ไปใช้
ใช้ในการ ประโยชน์
สังเคราะห์
ด้วยแสง

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๖. ทดลอง ๕. ทดลอง
และอธิ บาย วิเคราะห์
ผลที่ได้จาก และอธิ บาย
การ สารอาหาร
สังเคราะห์ ในอาหาร
ด้วยแสง มีปริ มาณ
ของพืช พลังงาน
๗. อธิ บาย และสัดส่ วน
ความสำคัญ ที่เหมาะสม
ของ กับเพศและ
กระบวนการ วัย
สังเคราะห์ ๖. อภิปราย
ด้วยแสง ผลของสาร
ของพืชต่อสิ่ ง เสพติดต่อ
มีชีวิตและสิ่ ง ระบบต่าง ๆ
แวดล้อม ของร่ างกาย
๘. ทดลอง และแนวทาง
และอธิ บาย ในการ
กลุ่มเซลล์ ป้ องกัน
ที่เกี่ยวข้อง ตนเองจาก
กับการ สารเสพติด
ลำเลียงน้ำ
ของพืช
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๙. สังเกต
และอธิ บาย
โครงสร้าง
ที่เกี่ยวกับ
ระบบ
ลำเลียง
น้ำและ
อาหารของ
พืช
๑๐. ทดลอง
และอธิ บาย
โครงสร้าง
ของดอกที่
เกี่ยวข้องกับ
การสื บพันธุ์
ของพืช
๑๑. อธิ บาย
กระบวนกา
รสื บพันธุ์
แบบอาศัย
เพศของพืช
ดอกและการ
สื บพันธุ์

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
แบบไม่อาศัย
เพศของพืช
โดยใช้ส่วน
ต่างๆ ของพืช
เพื่อช่วยใน
การ ขยาย
พันธุ์
๑๒. ทดลอง
และอธิ บาย
การตอบ
สนองของพืช
ต่อแสง น้ำ
และการ
สัมผัส
๑๓. อธิ บาย
หลักการ
และผลของ
การใช้
เทคโนโลยี
ชีวภาพใน
การขยาย
พันธุ์
ปรับปรุ ง
พันธุ์ เพิ่ม
ผลผลิตของ
พืชและ
นำความรู ้ไป
ใช้
ประโยชน์

สาระที่ ๑ สิ่ งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต


มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
วิวฒั นาการของสิ่ งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
ที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ
จิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนำความรู ้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
บาย ๑. อภิปราย - ๑. สำรวจ - - - ๑. สังเกต ๑. อธิ บาย
ชน์ ลักษณะต่างๆ เปรี ยบเทียบ และอธิ บาย สารพันธุก
ชและ ของสิ่ งมีชีวิต และระบุ ลักษณะของ ทางพันธุก
นท้อง ใกล้ตวั ลักษณะของ โครโมโซม การเกิดคว
๒. เปรี ยบ ตนเองกับ ที่มีหน่วย ชีวภาพ
เทียบและ คนใน พันธุกรรม ๒. สื บค้น
ระบุลกั ษณะ ครอบครัว หรื อยีน ผลของเทค
ที่คล้ายคลึง ๒. อธิบาย ในนิวเคลียส ต่อมนุษย์แ
กันของพ่อ การถ่ายทอด ๒. อธิ บาย นำความรู
แม่ กับลูก ลักษณะทาง ความสำคัญ ๓. สื บค้น
พันธุกรรม ของสาร ผล
ของสิ่ งมีชีวิต พันธุกรรม ของความ
ในแต่ละรุ่ น หรื อดีเอ็นเอ ชีวภาพ
และ ที่มีต่อมน
กระบวนการ ๔. อธิ บา
ถ่ายทอด ตามธรรม
ลักษณะทาง คัดเลือกต
พันธุกรรม หลากหลา

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๓. อธิ บาย ๓. จำแนก ๓. อภิปราย
ลักษณะที่ พืชออกเป็ น โรคทาง
คล้ายคลึงกัน พืชดอก และ พันธุกรรม
ของพ่อแม่ พืชไม่มีดอก ที่เกิดจาก
กับลูกว่า ๔. ระบุ ความผิดปกติ
เป็ นการ ลักษณะของ ของยีนและ
ถ่ายทอด พืชดอกที่เป็ น โครโมโซม
ลักษณะทาง พืชใบเลี้ยง และนำความ
พันธุกรรม เดี่ยว และพืช รู ้ไปใช้
และนำความ ใบเลี้ยงคู่ ประโยชน์
รู้ไป โดยใช้ ๔. สำรวจ
ใช้ประโยชน์ ลักษณะ และอธิ บาย
๔. สื บค้น ภายนอก ความหลาก
ข้อมูลและ เป็ นเกณฑ์ หลาย
อภิปรายเกี่ยว ๕. จำแนก ทางชีวภาพ
กับสิ่ งมีชีวิต สัตว์ออก ในท้องถิ่น
บางชนิด เป็ นกลุ่มโดย ที่ท ำให้สิ่งมี
ที่สูญพันธุ์ ใช้ลกั ษณะ ชีวิตดำรง
ไปแล้ว และ ภายในบาง ชีวิตอยูไ่ ด้
ที่ด ำรงพันธุ์ ลักษณะและ อย่างสมดุล
มาจนถึง ลักษณะ ๕. อธิ บาย
ปัจจุบนั ภายนอก ผลของความ
เป็ นเกณฑ์ หลากหลาย
ทางชีวภาพ

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
ที่มีต่อมนุษย์
สัตว์ พืช
และสิ่ ง
แวดล้อม
๖. อภิปราย
ผลของ
เทคโนโลยี
ชีวภาพต่อ
การ ดำรง
ชีวิตของ
มนุษย์และสิ่ ง
แวดล้อม
สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่ งแวดล้อม
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสิ่ งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งแวดล้อมกับสิ่ งมี
ชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสื บเสาะ
หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนำความรู ้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๑. สำรวจสิ่ ง ๑. สำรวจ ๑. สำรวจ ๑. อธิ บาย
แวดล้อม และอภิปราย ระบบนิเวศ นิเวศ
ในท้องถิ่น ความ ต่างๆ ๒. อธิ บา
ของตนและ สัมพันธ์ ในท้องถิ่น เปลี่ยนแป
อธิบายความ ของกลุ่มสิ่ ง และอธิ บาย ๓. อธิ บา
สัมพันธ์ของ มีชีวิต ความ ความหลา
สิ่ งมีชีวิตกับ ในแหล่ง สัมพันธ์ของ และเสนอ
สิ่ งแวดล้อม ที่อยูต่ ่าง ๆ องค์ประกอบ ดูแลและร
๒. อธิ บาย ภายในระบบ
ความสัมพันธ์ นิเวศ
ของสิ่ งมีชีวิต ๒. วิเคราะห์
กับสิ่ งมีชีวิต และอธิ บาย
ในรู ปของโซ่ ความสัมพันธ์
อาหารและ ของการ
สายใยอาหาร ถ่ายทอด
๓. สื บค้น พลังงาน
ข้อมูลและ ของสิ่ งมีชีวิต
อธิ บายความ ในรู ปของ
สัมพันธ์ โซ่อาหารและ
ระหว่างการ สายใยอาหาร
ดำรงชีวิตของ
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
สิ่ งมีชีวิตกับ ๓. อธิ บาย
สภาพ วัฏจักรน้ำ
แวดล้อม วัฏจักร
ในท้องถิ่น คาร์บอน และ
ความสำคัญ
ที่มีต่อระบบ
นิเวศ
๔. อธิ บาย
ปั จจัยที่มีผล
ต่อการ
เปลี่ยนแปลง
ขนาดของ
ประชากร
ในระบบนิเวศ

สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่ งแวดล้อม


มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติใน
ระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนำความรู ้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
ในท้องถิ่นอย่างยัง่ ยืน
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๑. สำรวจ ๑. สื บค้น ๑. วิเคราะห์ ๑. วิเคราะ
ทรัพยากร ข้อมูลและ สภาพปั ญหา สาเหตุขอ
ธรรมชาติ อภิปรายแหล่ง สิ่ งแวดล้อม และทรัพย
และอภิปราย ทรัพยากร ทรัพยากร ท้องถิ่น ร
การใช้ ธรรมชาติ ธรรมชาติ ระดับโลก
ทรัพยากร ในแต่ละท้อง ในท้องถิ่น ๒. อภิปร
ธรรมชาติ ถิ่นที่เป็ น และเสนอ ป้ องกัน แ
ในท้องถิ่น ประโยชน์ต่อ แนวทาง แวดล้อมแ
๒. ระบุการ การดำรงชีวิต ในการ แก้ไข ทรัพยากร
ใช้ทรัพยากร ๒. วิเคราะห์ ปั ญหา ๓. วางแผ
ธรรมชาติ ผลของการ ๒. อธิ บาย ระวัง อน
ที่ก่อให้เกิด เพิ่มขึ้นของ แนวทาง แวดล้อมแ
ปัญหาสิ่ ง ประชากร การรักษา ธรรมชาต
แวดล้อม มนุษย์ต่อ สมดุลของ
ในท้องถิ่น การใช้ ระบบนิเวศ
๓. อภิปราย ทรัพยากร ๓. อภิปราย
และนำเสนอ ธรรมชาติ การใช้
การใช้ ๓. อภิปราย ทรัพยากร
ทรัพยากร ผลต่อสิ่ งมี ธรรมชาติ
ธรรมชาติ ชีวิต จาก อย่างยัง่ ยืน
อย่างประหยัด การ
คุม้ ค่า และมี เปลี่ยนแปลง
ส่ วนร่ วม สิ่ งแวดล้อม
ในการปฏิบตั ิ ทั้งโดย
ธรรมชาติ
และโดย
มนุษย์

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๔. อภิปราย แนวทาง ๔. วิเคราะห์
ในแนวทาง และอธิ บาย
ในการดูแล การใช้
รักษาทรัพยากร ทรัพยากร
ธรรมชาติและ ธรรมชาติ
สิ่ งแวดล้อม ตามปรัชญา
๕. มีส่วนร่ วม เศรษฐกิจพอ
ในการดูแล เพียง
รักษาสิ่ งแวดล้อม ๕. อภิปราย
ในท้องถิ่น ปั ญหาสิ่ ง
แวดล้อม
และเสนอ
แนะแนว
ทางการแก้
ปั ญหา
๖. อภิปราย
และมีส่วน
ร่ วม
ในการดูแล
และอนุรักษ์
สิ่ งแวดล้อม
ในท้องถิ่น
อย่างยัง่ ยืน

สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้าง
และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู้ นำความรู ้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
บุ ๑. จำแนก ๑. ทดลอง ๑. ทดลอง ๑. ทดลอง ๑. สำรวจ ๑. สื บค้น
ละ ชนิดและ และอธิบาย และอธิ บาย และจำแนก และอธิ บาย โครงสร้าง
บเทียบ สมบัติของ สมบัติของ สมบัติของ สารเป็ นกลุ่ม องค์ นิวเคลียร์ข
ติของ วัสดุที่เป็ น วัสดุชนิด ของแข็ง โดยใช้ ประกอบ ๒. วิเครา
นำมา ส่ วน ต่าง ๆ เกี่ยว ของเหลว เนื้อสารหรื อ สมบัติของ เรี ยงอิเล็กต
งเล่น ประกอบ กับความ และแก๊ส ขนาดอนุภาค ธาตุและสาร ความสัมพ
ช้ ของของเล่น ยืดหยุน่ ๒. จำแนก เป็ นเกณฑ์ ประกอบ ในระดับพ
ต ของใช้ ความแข็ง สารเป็ นก และอธิ บาย ๒. สื บค้น สมบัติของ
ำวัน ๒. อธิ บาย ความเหนียว ลุ่มโดยใช้ สมบัติของ ข้อมูลและ ปฏิกิริยา
อกใช้ การใช้ การนำความ สถานะหรื อ สารในแต่ละ เปรี ยบเทียบ ๓. อธิ บา
ละ ประโยชน์ ร้อน เกณฑ์อื่น กลุ่ม สมบัติของ ทำนายแน
งต่างๆ ของวัสดุ การนำ ที่ก ำหนด ๒. อธิ บาย ธาตุโลหะ ในตารางธ
าง แต่ละชนิด ไฟฟ้ า และ เอง สมบัติและ ธาตุอโลหะ ๔. วิเครา
ะสม ความหนา ๓. ทดลอง การเปลี่ยน ธาตุก่ ึง พันธะเคม
แน่น และอธิ บาย สถานะของ โลหะและ โมเลกุล
ภัย ๒. สื บค้น วิธีการแยก สาร โดยใช้ ธาตุ ของสาร
ข้อมูลและ สารบาง แบบจำลอง กัมมันตรังสี ๕. สื บค้น
อภิปราย ชนิดที่ผสม การจัดเรี ยง และนำ ความสัมพ
การนำวัสดุ กัน โดยการ อนุภาคของ ความรู ้ไปใช้ จุดหลอมเ
ไปใช้ใน ร่ อน การตก สาร ประโยชน์ สารกับแร
ชีวิต ประจำ ตะกอน ๓. ทดลอง ๓. ทดลอง อนุภาค ข
วัน การกรอง และอธิ บาย และอธิ บาย
การระเหิ ด สมบัติความ การหลักการ
การระเหย เป็ นกรดเบส
แห้ง ของ
สารละลาย

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๔. สำรวจ ๔.ตรวจ แยกสารด้วย -
และจำแนก สอบค่า pH วิธีการกรอง
ประเภทของ ของ การตกผลึก
สารต่างๆ สารละลาย การสกัด
ที่ใช้ในชีวิต และนำ การกลัน่
ประจำวัน ความรู ้ และโครมา
โดยใช้ ไปใช้ โทกราฟี
สมบัติและ ประโยชน์ และนำความ
การใช้ รู ้ไปใช้
ประโยชน์ ประโยชน์
ของสารเป็ น
เกณฑ์
๕. อภิปราย
การเลือกใช้
สารแต่ละ
ประเภทได้
อย่างถูกต้อง
และ
ปลอดภัย

สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การ
เกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู้ และนำความรู ้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๑. ทดลอง ๑. ทดลอง ๑. ทดลอง ๑. ทดลอง ๑. ทดลอ
และอธิ บาย และอธิ บาย และอธิ บาย และอธิ บาย สมการขอ
ผล สมบัติของ วิธีเตรี ยม การ ที่พบในช
ของการ สาร สารละลาย เปลี่ยนแปลง อธิ บายผล
เปลี่ยนแปลง เมื่อสารเกิด ที่มีความเข้ม สมบัติ มวล ชีวิตและส
ที่เกิดขึ้นกับ การละลาย ข้นเป็ นร้อย และพลังงาน
๒. ทดลอ
วัสดุ เมื่อถูก และเปลี่ยน ละ และ เมื่อสารเกิด
แรงกระทำ สถานะ อภิปราย ปฏิกิริยาเคมี เกิดปฏิกิร
หรื อทำให้ ๒. วิเคราะห์ การนำความ รวมทั้ง อัตราการเ
ร้อนขึ้นหรื อ และอธิ บาย รู ้เกี่ยวกับ อธิ บายปัจจัย ความรู ้ไป
ทำให้เย็นลง การ สารละลาย ที่มีผลต่อ ๓. สื บค้น
๒. อภิปราย เปลี่ยนแปลง ไปใช้ การเกิด เกิดปิ โตรเ
ประโยชน์ ที่ท ำให้เกิด ประโยชน์ ปฏิกิริยาเคมี แก๊สธรรม
และอันตราย สารใหม่ ลำดับส่ วน
ที่อาจ และมีสมบัติ
เปลี่ยนแปลง
ไป
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
เกิดขึ้น ๓. อภิปราย ๒. ทดลอง ๒. ทดลอง ๔. สื บค้น
เนื่องจากการ การ และอธิ บาย อธิ บายและ การนำผล
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยน- เขียน แยกแก๊สธ
ของวัสดุ ของสารที่ก่อ แปลงสมบัติ สมการเคมี ลำดับส่ วน
ให้เกิดผลต่อ มวลและ ของปฏิกิริยา ประโยชน
สิ่ งมีชีวิตและ พลังงาน ของสารต่าง ผลิตภัณฑ
สิ่ งแวดล้อม ของสาร ๆ และนำ แวดล้อม
เมื่อสาร ความรู ้ไปใช้ ๕. ทดลอ
เปลี่ยน ประโยชน์ พอลิเมอร
สถานะ ๓. สื บค้น ๖. อภิปร
และเกิด ข้อมูลและ ไปใช้ประ
การละลาย อภิปรายผล จากการผล
๓. ทดลอง ของสารเคมี สิ่ งมีชีวิตแ
และอธิ บาย ปฏิกิริยาเคมี ๗. ทดลอ
ปั จจัยที่มีผล ต่อสิ่ งมีชีวิต ประกอบ
ต่อการ และสิ่ ง บางชนิดข
เปลี่ยน แวดล้อม ๘. ทดลอ
สถานะ และ ประกอบ
การละลาย ปฏิกิริยาบ
ของสาร น้ำมัน

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๔. สื บค้น ๙. ทดลอ
ข้อมูลและ ประกอบ
อธิ บายการ ปฏิกิริยาบ
ใช้สารเคมี และกรดน
อย่างถูกต้อง
ปลอดภัย
วิธีป้องกัน
และแก้ไข
อันตรายที่
เกิดขึ้นจาก
การใช้สาร
เคมี

สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มี
กระบวนการสื บเสาะหาความรู้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนำความรู ้ไปใช้ประโยชน์
อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
ลอง ๑. ทดลอง ๑. ทดลอง ๑. สื บค้น ๑. ทดลอง ๑. อธิ บาย ๑. ทดลอ
ธิ บาย และอธิ บาย และอธิบาย ข้อมูล และ และอธิ บาย ความเร่ งและ สัมพันธ์ร
กิดจาก ผลของการ การหาแรง อธิ บาย การหาแรง ผลของแรง เคลื่อนที่ข
ก ออกแรง ลัพธ์ของแรง ปริ มาณ สเกล ลัพธ์ของแรง ลัพธ์ที่ท ำต่อ ถ่วง และอ
บาย ที่กระทำต่อ สองแรง าร์ หลายแรง วัตถุ ใช้ประโย
แม่ วัตถุ ซึ่ งอยูใ่ นแนว ปริ มาณเวก ในระนาบ ๒. ทดลอง ๒. ทดลอ
าใช้ ๒. ทดลอง เดียวกันที่ เตอร์ เดียวกันที่ และอธิ บาย สัมพันธ์ร
ชน์ การตกของ กระทำต่อ ๒. ทดลอง กระทำต่อวัตถุ แรงกิริยาและ เคลื่อนที่ข
ลอง วัตถุสู่พ้ืนโลก วัตถุ และอธิ บาย แรงปฏิกิริยา ไฟฟ้ า แล
ธิ บาย และอธิ บาย ๒. ทดลอง ระยะทาง ๒. อธิ บายแรง ระหว่างวัตถุ ประโยชน
ฟ้ าที่ แรงที่โลก และอธิบาย การกระจัด ลัพธ์ที่กระทำ และนำความรู ้ ๓. ทดลอ
กการถู ดึงดูดวัตถุ ความดันอากาศ อัตราเร็ วและ ต่อวัตถุที่หยุด ไปใช้ สัมพันธ์ร
๓. ทดลองและ ความเร็ ว นิ่งหรื อวัตถุ ประโยชน์ ๓. เคลื่อนที่ข
นิด อธิบายความ ในการ เคลื่อนที่ ทดลองและ แม่เหล็ก แ
ดันของ เคลื่อนที่ของ ด้วยความเร็ ว อธิ บายแรง ประโยชน
ของเหลว วัตถุ คงตัว พยุงของ ๔. วิเคร
๔. ทดลอง ของเหลว นิวเคลียร์แ
และอธิบาย ที่กระทำต่อ อนุภาคใน
แรงพยุงของ วัตถุ
ของเหลว
การลอยตัว
และการจม
ของวัตถุ

สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการ
สื บเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนำความรู ้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๑. ทดลอง ๑. ทดลอง ๑. อธิ บาย
และอธิบาย และอธิ บาย สัมพันธ์ร
แรงเสี ยดทาน ความแตกต่าง เวลา ความ
และนำความรู้ ระหว่างแรง การเคลื่อน
ไปใช้ เสี ยดทาน ๒. สังเกต
ประโยชน์ สถิตกับแรง เคลื่อนที่แ
และนำความรู ้ วงกลม แ
ไปใช้ ง่าย
ประโยชน์ ๓. อภิปร
๒. ทดลอง ประโยชน
และวิเคราะห์ แบบโพร
โมเมนต์ของ และแบบฮ
แรง และนำ
ความรู ้ไปใช้
ประโยชน์
๓. สังเกต
และอธิ บาย
การเคลื่อนที่
ของวัตถุที่
เป็ น แนว
ตรง และแนว
โค้ง

สาระที่ ๕ พลังงาน
มาตรฐาน ว ๕.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การเปลี่ยนรู ป
พลังงาน ปฏิสมั พันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่ งแวดล้อม
มีกระบวน การสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนำความรู ้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
ลอง ๑. บอกแหล่ง ๑. ทดลองและ ๑. ทดลอง ๑. ทดลอง ๑. ทดลอง ๑. ทดลอง ๑. อธิ บาย ๑. ทดลอง
ธิ บาย พลังงาน อธิบายการ และอธิบาย และอธิ บาย และอธิ บาย และอธิ บาย งาน ของคลื่นก
ฟฟ้ า ธรรมชาติ เคลื่อนที่ของ การเกิดเสี ยง การต่อวงจร อุณหภูมิและ การสะท้อน พลังงานจลน์ สัมพันธ์ร
ลังงาน ที่ใช้ผลิต แสงจากแหล่ง และการ ไฟฟ้ าอย่าง การวัด ของแสง การ พลังงานศักย์ ความถี่แล
ำรวจ ไฟฟ้ า ๒. กำเนิด ๒. เคลื่อนที่ ง่าย อุณหภูมิ หักเหของแสง โน้มถ่วง กฎ ๒. อธิ บาย
ก อธิ บาย ทดลองและ ของเสี ยง ๒. ทดลอง ๒. สังเกต และนำความรู ้ การอนุรักษ์ ของเสี ยง
างเครื่ อง ความสำคัญ อธิบายการ ๒. ทดลอง และอธิ บาย และอธิ บาย ไปใช้ พลังงาน และ ระดับควา
ฟฟ้ าใน ของพลังงาน สะท้อนของ และอธิบาย ตัวนำไฟฟ้ า การถ่ายโอน ประโยชน์ ความ เสี ยง คุณภ
เปลี่ยน ไฟฟ้ าและ แสงที่ตกกระ การเกิดเสี ยง และฉนวน ความร้อน ๒. อธิ บายผล สัมพันธ์ รู ้ไปใช้ปร
น เสนอวิธีการ ทบวัตถุ สูง เสี ยงต่ำ ไฟฟ้ า และนำความรู ้ ของความ ระหว่าง ๓. อภิปร
ป็ น ใช้ไฟฟ้ าอย่าง ๓. ทดลองและ ๓. ทดลอง ๓. ทดลอง ไปใช้ สว่างที่มีต่อ ปริ มาณเหล่า เกี่ยวกับม
นอื่น ประหยัดและ จำแนกวัตถุตาม และอธิบาย และอธิ บาย ประโยชน์ มนุษย์และสิ่ ง นี้ รวมทั้งนำ สุ ขภาพขอ
ปลอดภัย ลักษณะการมอง เสี ยงดัง การต่อเซลล์ ๓. อธิ บาย มีชีวิต อื่น ๆ ความรู ้ไปใช้ วิธีป้องกัน
เห็นจากแหล่ง เสี ยงค่อย ไฟฟ้ าแบบ การดูดกลืน ประโยชน์
กำเนิดแสง ๔. สำรวจ อนุกรม และ การคายความ
และอภิปราย นำความรู ้ไป ร้อน โดย
อันตรายที่เกิด ใช้ประโยชน์ การแผ่รังสี
ขึ้นเมื่อฟัง และนำความรู ้
เสี ยงดังมาก ๆ ไปใช้
ประโยชน์

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๔. ทดลอง ๔. ทดลอง ๔. อธิ บาย ๓. ทดลอง ๒. ทดลอง ๔. อธิ บา
และอธิบาย และอธิ บาย สมดุลความ และอธิ บาย และอธิ บาย สเปกตรัม
การหักเหของ การต่อหลอด ร้อนและผล การดูดกลืน ความสัมพันธ์ และนำเส
แสงเมื่อผ่าน ไฟฟ้ าทั้งแบบ ของความร้อน แสงสี การ ระหว่างความ เกี่ยวกับป
ตัวกลาง อนุกรม แบบ ต่อการขยาย มองเห็นสี ของ ต่างศักย์ ป้ องกันอน
โปร่ งใสสอง ขนาน และ ตัวของสาร วัตถุ และนำ กระแสไฟฟ้ า คลื่นแม่เห
ชนิด นำความรู ้ไป และนำความรู ้ ความรู ้ไปใช้ ความต้านทาน ๕. อธิ บา
๕. ทดลอง ใช้ประโยชน์ ไปใช้ในชีวิต ประโยชน์ และนำความรู ้ ฟิ ชชัน ฟิ ว
และอธิบาย ๕. ทดลอง ประจำวัน ไปใช้ ระหว่างม
การเปลี่ยนแสง และอธิ บาย ประโยชน์
เป็ นพลังงาน การเกิดสนาม ๓. คำนวณ
ไฟฟ้ าและนำ แม่เหล็กรอบ พลังงาน
ความรู้ ไปใช้ สายไฟที่มี ไฟฟ้ าของ
ประโยชน์ ๖. กระแสไฟฟ้ า เครื่ องใช้
ทดลองและ ผ่าน และนำ ไฟฟ้ า และนำ
อธิบายแสงขาว ความรู ้ไปใช้ ความรู ้ไปใช้
ประกอบด้วย ประโยชน์ ประโยชน์
แสงสี ต่าง ๆ
และนำความรู้
ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๔. สังเกตและ ๖. ส
อภิปรายการต่อ พลังงาน
วงจรไฟฟ้ าใน นิวเคลียร
บ้านอย่างถูก และสิ่ งแว
ต้องปลอดภัย ๗. อภิปร
และประหยัด เกี่ยวกับโ
๕. อธิ บายตัว และการน
ต้านทาน ได ๘. อธิ บา
โอด รังสี จากธ
ทรานซิ สเตอร์ ๙. อธิ บา
และทดลองต่อ รังสี และบ
วงจร รังสี ในสิ่ ง
อิเล็กทรอนิกส์ ประโยชน
เบื้องต้น ที่มี ชีวิตและส
ทรานซิ สเตอร์

สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว ๖.๑ เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความ
สัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน
ของโลก มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่
เรี ยนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
รวจ ๑. สำรวจ ๑. สำรวจและ ๑. สำรวจ ๑. อธิ บาย ๑. สื บค้นและ ๑. สำรวจ ๑. สื บค้น
แนก และอธิ บาย อธิบายการเกิด ทดลองและ จำแนก อธิ บายองค์ ทดลองและ ในการแบ
ทของ สมบัติทาง ดิน ๒.ระบุ อธิบายการ ประเภทของ ประกอบและ อธิ บาย ๒. ทดลอ
ยใช้ กายภาพของ ชนิดและ เกิดเมฆ หิน โดยใช้ การ แบ่งชั้น ลักษณะของ อธิ บายกร
ทาง น้ำจากแหล่ง สมบัติของดิน หมอก ลักษณะของ บรรยากาศที่ ชั้นหน้าตัด เปลี่ยนแป
พเป็ น น้ำในท้อง ที่ใช้ปลูกพืช น้ำค้าง ฝน หิน สมบัติ ปกคลุมผิว ดิน สมบัติ โลก
และ ถิ่น และนำ ในท้องถิ่น และลูกเห็บ ของหินเป็ น โลก ของดิน และ ๓. ทดลอ
ามรู ้ ความรู ้ ไป ๒. ทดลอง เกณฑ์และนำ ๒. ทดลอง กระบวนการ อธิ บายกร
ใช้ประโยชน์ และอธิบาย ความรู ้ไปใช้ และอธิ บาย เกิดดิน รอยเลื่อน
ยชน์ ๒. สื บค้น การเกิด ประโยชน์ ความสัมพันธ์ ๒. สำรวจ ไหว ภูเขา
ข้อมูลและ วัฏจักรน้ำ ๒. สำรวจ ระหว่าง วิเคราะห์ ๔. สื บค้น
อภิปรายส่ วน ๓. ออกแบบ และอธิ บาย อุณหภูมิ และอธิ บาย สําคัญขอ
ประกอบของ และสร้าง การ ความชื้นและ การใช้ ธรณี วิทยา
อากาศและ เครื่ องมือ เปลี่ยนแปลง ความกด ประโยชน์ ภูเขาไฟร
ความสำคัญ อย่างง่าย ของหิน อากาศที่มีผล และการ สิ่ งมีชีวิตแ
ของอากาศ ในการวัด ๓. สื บค้น ต่อ ปรับปรุ ง ๕. ส
๓. อุณหภูมิ และอธิ บาย ปรากฏการณ์ คุณภาพ อธิ บาย
ทดลอง ความชื้น ธรณี พิบตั ิภยั ทางลมฟ้ า ของดิน การวางตัว
อธิบายการ และความกด ที่มีผลต่อ อากาศ ๓. ทดลอง กดําบรรพ
เคลื่อนที่ของ อากาศ มนุษย์และ ๓. สังเกต เลียนแบบ ทางธรณี ว
อากาศที่มีผล สภาพ วิเคราะห์ เพื่ออธิ บาย ประวัติคว
จากความ แวดล้อม และ กระบวนการ ๖. สื บค้น
แตกต่างของ ในท้องถิ่น อภิปรายการ เกิด และ อธิ บายปร
อุณหภูมิ เกิด ลักษณะองค์ ธรณี วิทยา
ปรากฏการณ์ ประกอบของ
หิ น

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๔. ทดลอง ทางลมฟ้ า ๔. ทดสอบ
และอธิบาย อากาศที่มีผล และสังเกต
การเกิดลม ต่อมนุษย์ องค์ประกอบ
และนำความ ๔. สื บค้น และสมบัติ
รู้ไปใช้ วิเคราะห์ ของหิ น เพื่อ
ประโยชน์ และแปล จำแนก
ในชีวิต ความหมาย ประเภทของ
ประจำวัน ข้อมูลจาก หิ น และนำ
การพยากรณ์ ความรู ้ไปใช้
อากาศ ประโยชน์
๕. สื บค้น ๕. ตรวจสอบ
วิเคราะห์ และอธิ บาย
และอธิ บาย ลักษณะทาง
ผลของลมฟ้ า กายภาพของ
อากาศต่อ แร่ และ
การดำรง การนำไปใช้
ชีวิตของสิ่ งมี ประโยชน์
ชีวิต และสิ่ ง
แวดล้อม

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๖. สื บค้น ๖ สื บค้น
วิเคราะห์ และอธิ บาย
และอธิ บาย กระบวนการ
ปั จจัยทาง เกิด ลักษณะ
ธรรมชาติ และสมบัติ
และการกระ ของ
ทำของ ปิ โตรเลียม
มนุษย์ที่มีผล ถ่านหิ น
ต่อการ หิ นน้ำมัน
เปลี่ยนแปลง และการนำ
อุณหภูมิของ ไปใช้
โลก รู โหว่ ประโยชน์
โอโซน และ ๗. สำรวจ
ฝนกรด และอธิ บาย
๗. สื บค้น ลักษณะ
วิเคราะห์ แหล่งน้ำ
และอธิ บาย ธรรมชาติ
ผลของภาวะ การใช้
โลกร้อน รู ประโยชน์
โหว่โอโซน และการ
และฝนกรด อนุรักษ์
ที่มีต่อสิ่ งมี แหล่งน้ำ
ชีวิตและสิ่ ง ในท้องถิ่น
แวดล้อม

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๘. ทดลอง
เลียนแบบ
และอธิ บาย
การเกิดแหล่ง
น้ำบนดิน
แหล่งน้ำ
ใต้ดิน
๙. ทดลอง
เลียนแบบ
และอธิ บาย
กระบวนการ
ผุพงั อยูก่ บั ที่
การกร่ อน
การพัดพา
การทับถม
การตกผลึก
และผลของ
กระบวนการ
ดังกล่าว
๑๐. สื บค้น
สร้างแบบ
จำลอง และ
อธิ บาย
โครงสร้าง
และองค์
ประกอบของ
โลก

สาระที่ ๗ ดาราศาสตร์และอวกาศ
มาตรฐาน ว๗.๑ เข้าใจวิวฒั นาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพ การปฏิสมั พันธ์ภายใน
ระบบสุ ริยะ และผลต่อสิ่ งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู ้และ
จิตวิทยาศาสตร์ การสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนำความรู ้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
บค้น ๑. สังเกต ๑. สร้างแบบ ๑. สังเกต ๑. สร้างแบบ ๑. สื บค้น ๑. สื บค
ภิปราย และอธิ บาย จำลองเพื่อ และอธิบาย จำลองและ และอธิ บาย และวิวฒั
สำคัญ การขึ้นตก อธิ บายลักษณะ การเกิดทิศ อธิ บาย การ ความ กาแล็กซ
วง ของดวง ของระบบสุ ริยะ และ เกิดฤดู ข้าง สัมพันธ์ ๒. สื บคน
ย์ อาทิตย์ ปรากฏการณ์ ขึ้นข้างแรม ระหว่าง และวัฒน
ดวงจันทร์ การขึ้นตก สุ ริยปุ ราคา ดวงอาทิตย์
การเกิดกลาง ของดวงดาว จันทรุ ปราคา โลก ดวง
วันกลางคืน โดยใช้แผนที่ และนำความ จันทร์และ
และการ ดาว รู ้ไปใช้ ดาวเคราะห์
กำหนดทิศ ประโยชน์ อื่น ๆ และผล
ที่เกิดขึ้นต่อ
สิ่ งแวดล้อม
และสิ่ งมีชีวิต
บนโลก
๒. สื บค้น
และอธิ บาย
องค์ประกอบ
ของเอกภพ
กาแล็กซี และ
ระบบสุ ริยะ

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๓. ระบุ
ตำแหน่งของ
กลุ่มดาว
และนำความ
รู ้ไปใช้
ประโยชน์

สาระที่ ๗ ดาราศาสตร์และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๗.๒ เข้าใจความสำคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่น ำมาใช้ในการสำรวจอวกาศ
และทรัพยากรธรรมชาติดา้ นการเกษตรและการสื่ อสาร
มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้ และนำ
ความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่ งแวดล้อม
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๑. สื บค้น ๑. สื บค้น ๑. สื บค้น
อภิปราย และอภิปราย และคำน
ความ ความ โคจรของ
ก้าวหน้าและ ก้าวหน้าของ ๒. สื บค้น
ประโยชน์ เทคโนโลยี ของดาวเ
ของ อวกาศที่ใช้ ๓. สื บค้น
เทคโนโลยี สำรวจ และสํารว
อวกาศ อวกาศ วัตถุ อวกาศแล
ท้องฟ้ า
สภาวะ
อากาศ
ทรัพยากร
ธรรมชาติ
การเกษตร
และการ
สื่ อสาร

สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘.๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสื บเสาะหาความรู ้ การ
แก้ปัญหา รู้วา่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่ วนใหญ่มีรูปแบบ
ที่แน่นอน สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอ้ มูลและเครื่ องมือที่มีอยูใ่ น
ช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อม
มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กนั
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓
คำถาม ๑.ตั้งคำถาม ๑. ตั้งคำถาม ๑. ตั้งคำถาม ๑.ตั้งคำถาม ๑. ตั้งคำถาม ๑. ตั้งคำถาม ๑. ตั้งคำถาม ๑. ตั้งค
กับเรื่ อง เกี่ยวกับเรื่ อง เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ ที่ก ำหนด ที่ก ำหนด ที่ก ำหนด ของควา
ศึกษา ที่จะศึกษา ประเด็น หรื อ ประเด็น ประเด็น ประเด็นหรื อ ประเด็นหรื อ ประเด็นหรื อ ทางวิทย
ที่ ตามที่ เรื่ อง หรื อ หรื อเรื่ อง หรื อเรื่ อง ตัวแปร ตัวแปร ตัวแปร สนใจ ห
นดให้ กำหนดให้ สถานการณ์ หรื อ หรื อ ที่สำคัญใน ที่สำคัญใน ที่สำคัญใน ขึ้นในขณ
ตาม และตาม ที่จะศึกษา สถานการณ์ สถานการณ์ การสำรวจ การสำรวจ การสำรวจ ทำการส
มสนใจ ความสนใจ ตามที่ก ำหนด ที่จะศึกษา ที่จะศึกษา ตรวจสอบ ตรวจสอบ ตรวจสอบ ศึกษาค้น
งแผน ๒.วางแผน ให้ และตาม ตามที่ ตามที่ หรื อศึกษา หรื อศึกษา หรื อศึกษา ครอบคล
สังเกต การสังเกต ความสนใจ กำหนด กำหนดให้ ค้นคว้าเรื่ อง ค้นคว้าเรื่ อง ค้นคว้าเรื่ อง ๒. สร้า
วจตรวจ เสนอวิธี ๒.วางแผน ให้และตาม และตาม ที่สนใจ ที่สนใจ ที่สนใจ รองรับ ห
ศึกษา สำรวจตรวจ การสังเกต ความสนใจ ความสนใจ ได้อย่าง ได้อย่าง ได้อย่าง สิ่ งที่จะพ
ว้า สอบ ศึกษา เสนอวิธี ๒.วางแผน ๒.วางแผน ครอบคลุ่ม ครอบคลุ่ม ครอบคลุ่ม จำลอง ห
ช้ความ ค้นคว้า โดย สำรวจตรวจ การสังเกต การสังเกต และเชื่อถือ และเชื่อถือ และเชื่อถือ นำไปสู่
ของ ใช้ความคิด สอบ หรื อ เสนอการ เสนอการ ได้ ได้ ได้ สอบ
องของ ของตนเอง ศึกษาค้นคว้า สำรวจตรวจ สำรวจตรวจ ๒. สร้าง ๒. สร้าง ๒. สร้าง ๓. ค้นค
และ ของกลุ่ม และคาดการณ์ สอบ หรื อ สอบ หรื อ สมมติฐาน สมมติฐาน สมมติฐาน ที่ตอ้ งพิจ
ครู และคาด สิ่ งที่จะพบจาก ศึกษา ศึกษา ที่สามารถ ที่สามารถ ที่สามารถ ตัวแปรส
ใช้วสั ดุ การณ์สิ่งที่ การสำรวจ ค้นคว้า และ ค้นคว้า คาด ตรวจสอบได้ ตรวจสอบได้ ตรวจสอบได้ ปั จจัยอื่น
รณ์ จะพบจาก ตรวจสอบ คาดการณ์ การณ์ สิ่ งที่ และวางแผน และวางแผน และวางแผน และจำน
งมือ การสำรวจ ๓. เลือก สิ่ งที่จะพบ จะพบจาก การสำรวจ การสำรวจ การสำรวจ ตรวจสอ
มาะสม ตรวจสอบ อุปกรณ์ จากการ การสำรวจ ตรวจสอบ ตรวจสอบ ตรวจสอบ ความเชื่อ
าร ที่ถูกตอ้ ง สำรวจตรวจ ตรวจสอบ หลาย ๆ วิธี หลาย ๆ วิธี หลาย ๆ วิธี
เหมาะสมใน
วจ การส ำรวจ
สอบ
ตรวจสอบ

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓
จสอบ ๓. เลือกใช้ ๔. บันทึก ๓. เลือก ๓. เลือก ๓. เลือก ๓. เลือก ๓. เลือก ๔. เลือ
ขอ
้ มูลในเชิง
บันทึก วัสดุอุปกรณ์ ปริ มาณ นำ
อุปกรณ์ อุปกรณ์ และ เทคนิควิธี เทคนิควิธี เทคนิควิธี อุปกรณ
ล เครื่ องมือ เสนอ ที่ถูกต้อง วิธีการสำรวจ การสำรวจ การสำรวจ การสำรวจ การวัด
จัดกลุ่ม ที่เหมาะ ผลสรุ ปผล เหมาะสม ตรวจสอบ ตรวจสอบ ตรวจสอบ ตรวจสอบ สอบอย่า
ล สมในการ ๕. สร้าง ในการ ที่ถูกต้อง ทั้งเชิง ทั้งเชิง ทั้งเชิง และลึกใ
บเทียบ สำรวจตรวจ คำถามใหม่ สำรวจ เหมาะสมให้ ปริ มาณและ ปริ มาณและ ปริ มาณและ คุณภาพ
นำเสนอ สอบ และ เพื่อการสำรวจ ตรวจสอบ ได้ผลที่ เชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพ ๕. รวบ
บันทึกข้อมูล ตรวจสอบ ต่อ ให้ได้ขอ้ มูล ครอบคลุม ที่ได้ผลเที่ยง ที่ได้ผลเที่ยง ที่ได้ผลเที่ยง ผลการส
ตั้ง ๔. จัดกลุ่ม ไป ที่เชื่อถือได้ และเชื่อถือได้ ตรงและ ตรงและ ตรงและ เป็ นระบ
มใหม่ ข้อมูล ๖. แสดง ๔. บันทึก ๔. บันทึก ปลอดภัย ปลอดภัย ปลอดภัย ทั้งในเช
ผล เปรี ยบเทียบ ความคิดเห็น ข้อมูลในเชิง ข้อมูลในเชิง โดยใช้วสั ดุ โดยใช้วสั ดุ โดยใช้วสั ดุ โดยตรว
สำรวจ กับสิ่ งที่คาด และสรุ ปสิ่ งที่ ปริ มาณและ ปริ มาณและ และเครื่ อง และเครื่ อง และเครื่ อง ความเห
จสอบ การณ์ไว้ ได้เรี ยนรู้ คุณภาพ คุณภาพ มือ มือ มือ พลาดขอ
แสดง และนำเสนอ ๗. บันทึก และ วิเคราะห์ และ ที่เหมาะสม ที่เหมาะสม ที่เหมาะสม ๖. จัดก
มคิดเห็น ผล และอธิบาย ตรวจสอบ ตรวจสอบผล ๔. รวบรวม ๔. รวบรวม ๔. รวบรวม ถึงการร
กลุ่ม ๕. ตั้ง ผลการสำรวจ ผลกับสิ่ งที่ กับสิ่ งที่คาด ข้อมูลจัด ข้อมูลจัด ข้อมูลจัด ระดับคว
คำถามใหม่ ตรวจสอบ คาดการณ์ไว้ การณ์ไว้ นำ กระทำข้อมูล กระทำข้อมูล กระทำข้อมูล เสนอข้อ
รวม จากผล อย่าง ตรงไป นำเสนอผล เสนอผลและ เชิงปริ มาณ เชิงปริ มาณ เชิงปริ มาณ ที่เหมาะ
ความรู ้ การสำรวจ ตรงมา และข้อสรุ ป ข้อสรุ ป และคุณภาพ และคุณภาพ และคุณภาพ
นทึก ตรวจสอบ ๘. นำเสนอ ๕. สร้าง ๕. สร้าง ๕.วิเคราะห์ ๕.วิเคราะห์ ๕.วิเคราะห์
อธิ บาย ๖. แสดง จัดแสดงผล คำถามใหม่ คำถามใหม่ และประเมิน และประเมิน และประเมิน
าร ความคิดเห็น งาน โดย เพื่อการ เพื่อการ ความ ความ ความ
ต และ อธิบายด้วย สำรวจ สำรวจ สอดคล้อง สอดคล้อง สอดคล้อง
วจ รวบรวม วาจา หรื อ ตรวจสอบ ตรวจสอบต่อ ของประจักษ์ ของประจักษ์ ของประจักษ์
จสอบ ข้อมูลจาก เขียนอธิบาย ต่อไป ไป พยานกับข้อ พยานกับข้อ พยานกับข้อ
ตรงไป กลุ่มนำไปสู่ กระบวนการ ๖. แสดง ๖. แสดง สรุ ป สรุ ป สรุ ป
มา การสร้าง และผลของ ความคิดเห็น ความคิดเห็น ทั้งที่ ทั้งที่ ทั้งที่
ขียน ความรู ้๗. งานให้ผอู้ ื่น อย่างอิสระ อย่างอิสระ สนับสนุน สนับสนุน สนับสนุน
บันทึกและ เข้าใจ อธิบาย และ อธิ บาย หรื อขัดแย้ง หรื อขัดแย้ง หรื อขัดแย้ง
ภาพ อธิบายผล สรุ ปสิ่ งที่ได้ ลงความเห็น กับ กับ กับ
คำ การสังเกต เรี ยนรู้ และสรุ ปสิ่ ง สมมติฐาน สมมติฐาน สมมติฐาน
าย สำรวจตรวจ ที่ได้เรี ยนรู ้ และความผิด และความผิด และความผิด
นำเสนอ สอบตาม ปกติของ ปกติของ ปกติของ
นด้วย ความเป็ น
ให้ผอู ้ ื่น จริ ง

บวนกา
ะผล
งาน

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓
มีแผนภาพ ๗. บันทึก ๗. บันทึก ข้อมูลจาก ข้อมูลจาก ข้อมูลจาก ๗. วิเคร
ประกอบคำ และอธิบาย และอธิ บาย การสำรวจ การสำรวจ การสำรวจ หมายข้อ
อธิบาย ผลการ ผลการ ตรวจสอบ ตรวจสอบ ตรวจสอบ สอดคล้อ
๘. นำเสนอ สำรวจ สำรวจ ๖. สร้าง ๖. สร้าง ๖. สร้าง หรื อสาร
จัดแสดง ผล ตรวจสอบ ตรวจสอบ แบบจำลอง แบบจำลอง แบบจำลอง กับสมม
งาน โดย ตามความ ตามความ หรื อรู ปแบบ หรื อรู ปแบบ หรื อรู ปแบบ ๘. พิจา
อธิบายด้วย เป็ นจริ ง เป็ นจริ ง ที่อธิ บายผล ที่อธิ บายผล ที่อธิ บายผล ของวิธีก
วาจา และ มีการอ้างอิง มีเหตุผล หรื อแสดงผล หรื อแสดงผล หรื อแสดงผล ตรวจสอ
เขียนแสดง ๘. นำเสนอ และมี ของการ ของการ ของการ ความคล
กระบวนกา จัดแสดง ผล ประจักษ์ สำรวจตรวจ สำรวจตรวจ สำรวจตรวจ และ
รและผล งาน โดย พยาน สอบ สอบ สอบ การปรับ
ของงาน อธิบายด้วย อ้างอิง๘. ๗. สร้าง ๗. สร้าง ๗. สร้าง ตรวจสอ
ให้ผอู ้ ื่น วาจา หรื อ นำเสนอ คำถามที่นำ คำถามที่นำ คำถามที่นำ ๙. นำผ
เข้าใจ เขียนอธิบาย จัดแสดง ไปสู่ การ ไปสู่ การ ไปสู่ การ สอบที่ไ
แสดง ผลงาน สำรวจตรวจ สำรวจตรวจ สำรวจตรวจ องค์ควา
กระบวนการ โดยอธิ บาย สอบ สอบ สอบ คำถามใ
และผล ด้วยวาจา ในเรื่ องที่ ในเรื่ องที่ ในเรื่ องที่ ในสถาน
ของงาน และเขียน เกี่ยวข้อง เกี่ยวข้อง เกี่ยวข้อง จริ ง
ให้ผอู้ ื่นเข้าใจ รายงาน และนำความ และนำความ และนำความ ๑๐. ตระ
แสดง รู ้ที่ได้ไปใช้ รู ้ที่ได้ไปใช้ รู ้ที่ได้ไปใช้ ในการท
กระบวนกา ใน ใน ใน ผิดชอบก
รและผล สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ ความเห
ของงาน ใหม่หรื อ ใหม่หรื อ ใหม่หรื อ การเรี ยน
ให้ผอู ้ ื่น อธิ บายเกี่ยว อธิ บายเกี่ยว อธิ บายเกี่ยว เสนอต่อ
เข้าใจ กับแนวคิด กับแนวคิด กับแนวคิด ถูกต้อง
กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ
และผลของ และผลของ และผลของ
โครงงาน โครงงาน โครงงาน
หรื อชิ้นงาน หรื อชิ้นงาน หรื อชิ้นงาน
ให้ผอู ้ ื่นเข้าใจ ให้ผอู ้ ื่นเข้าใจ ให้ผอู ้ ื่นเข้าใจ

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓
๘. บันทึก ๘. บันทึก ๘. บันทึก ๑๑. บัน
และอธิ บาย และอธิ บาย และอธิ บาย การสำร
ผลการสังเกต ผลการสังเกต ผลการสังเกต เหตุผล ใ
การสำรวจ การสำรวจ การสำรวจ อ้างอิงห
ตรวจสอบ ตรวจสอบ ตรวจสอบ หาหลักฐ
ค้นคว้าเพิ่ม ค้นคว้าเพิ่ม ค้นคว้าเพิ่ม และยอม
เติมจาก เติมจาก เติมจาก ว่าความ
แหล่งความรู ้ แหล่งความรู ้ แหล่งความรู ้ เปลี่ยนแ
ต่าง ๆ ให้ ต่าง ๆ ให้ ต่าง ๆ ให้ และประ
ได้ขอ้ มูลที่ ได้ขอ้ มูลที่ ได้ขอ้ มูลที่ เติมหรื อ
เชื่อถือได้ เชื่อถือได้ เชื่อถือได้ ท้าทายใ
และยอมรับ และยอมรับ และยอมรับ ระมัดระ
การ การ การ อันจะนำ
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง เป็ นควา
ความรู ้ที่คน้ ความรู ้ที่คน้ ความรู ้ที่คน้ ๑๒. จัดแ
พบ เมื่อมี พบ เมื่อมี พบ เมื่อมี รายงาน
ข้อมูลและ ข้อมูลและ ข้อมูลและ กับแนวค
ประจักษ์ ประจักษ์ ประจักษ์ ผลของโ
พยานใหม่ พยานใหม่ พยานใหม่ ให้ผอู ้ ื่นเ
เพิม่ ขึ้นหรื อ เพิม่ ขึ้นหรื อ เพิม่ ขึ้นหรื อ
โต้แย้งจาก โต้แย้งจาก โต้แย้งจาก
เดิม เดิม เดิม
๙. จัดแสดง ๙. จัดแสดง ๙. จัดแสดง
ผลงาน เขียน ผลงาน เขียน ผลงาน เขียน
รายงาน รายงาน รายงาน
และ/หรื อ และ/หรื อ และ/หรื อ
อธิ บายเกี่ยว อธิ บายเกี่ยว อธิ บายเกี่ยว
กับแนวคิด กับแนวคิด กับแนวคิด
กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ
และผลของ และผลของ และผลของ
โครงงาน โครงงาน โครงงาน
หรื อชิ้นงาน หรื อชิ้นงาน หรื อชิ้นงาน
ให้ผอู ้ ื่นเข้าใจ ให้ผอู ้ ื่นเข้าใจ ให้ผอู ้ ื่นเข้าใจ

กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ทำไมต้องเรี ยนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจ
การดำรงชีวิตของมนุษย์ท้ งั ในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยูร่ ่ วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพ
แวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างจำกัด เข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาล
เวลา
ตามเหตุปัจจัยต่างๆ เกิดความเข้าใจในตนเอง และผูอ้ ื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตก
ต่าง และมีคุณธรรม สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต เป็ นพลเมืองดีของประเทศชาติ
และสังคมโลก

เรี ยนรู ้อะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยูร่ ่ วมกันในสังคม ที่มี
ความเชื่อมสัมพันธ์กนั และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับ
บริ บทสภาพแวดล้อม เป็ นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่
เหมาะสม โดยได้ก ำหนดสาระต่างๆไว้ ดังนี้
● ศาสนา ศีลธรรมและจริ ยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม หลัก
ธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบตั ิในการพัฒนา
ตนเอง และการอยูร่ ่ วมกันอย่างสันติสุข เป็ นผูก้ ระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ
รวมทั้งบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและส่ วนรวม
● หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคม
ปั จจุบนั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข ลักษณะและความ
สำคัญ การเป็ นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ
ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข สิ ทธิ หน้าที่ เสรี ภาพการ
ดำเนินชีวิตอย่าง สันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก
● เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริ โภคสิ นค้าและบริ การ การบริ หารจัดการ
ทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างจำกัดอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนำหลัก
เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน

● ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ


มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบนั ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบที่เกิด
จากเหตุการณ์สำคัญในอดีต บุคคลสำคัญที่มีอิทธิ พลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็ นมา
ของ
ชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมที่สำคัญของโลก
● ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิ
อากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ ความ
สัมพันธ์กนั ของสิ่ งต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กบั สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
และสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น การนำเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่
ยัง่ ยืน
คุณภาพผูเ้ รี ยน
จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓
● มีความรู้เรื่ องเกี่ยวกับตนเองและผูท้ ี่อยูร่ อบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ที่อยู่
อาศัย และเชื่องโยงประสบการณ์ไปสู่ โลกกว้าง
● มีทกั ษะกระบวนการ และมีขอ้ มูลที่จ ำเป็ นต่อการพัฒนาให้เป็ นผูม้ ีคุณธรรม จริ ยธรรม
ประพฤติปฏิบตั ิตามหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็ นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ
การอยูร่ ่ วมกันและการทำงานกับผูอ้ ื่น มีส่วนร่ วมในกิจกรรมของห้องเรี ยน และได้ฝึกหัดใน
การตัดสิ นใจ
● มีความรู้เรื่ องราวเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรี ยน และชุมชนในลักษณะการบูรณาการ
ผูเ้ รี ยนได้เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับปัจจุบนั และอดีต มีความรู ้พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ ได้ขอ้ คิดเกี่ยวกับ
รายรับ-รายจ่ายของครอบครัว เข้าใจถึงการเป็ นผูผ้ ลิต ผูบ้ ริ โภค รู ้จกั การออมขั้นต้นและวิธีการ
เศรษฐกิจพอเพียง
● รู ้และเข้าใจในแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม หน้าที่พลเมือง
เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ เพื่อเป็ นพื้นฐานในการทำความเข้าใจในขั้นที่สูงต่อไป
จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
● มีความรู้เรื่ องของจังหวัด ภาค และประทศของตนเอง ทั้งเชิงประวัติศาสตร์ ลักษณะทาง
กายภาพ สังคมประเพณี และวัฒนธรรม รวมทั้งการเมือง การปกครอง และสภาพเศรษฐกิจโดยเน้น
ความเป็ น
ประเทศไทย
● มีความรู้และความเข้าใจในเรื่ องศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมคำสอน
ของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้งมีส่วนร่ วมศาสนพิธี และพิธีกรรมทางศาสนามากยิง่ ขึ้น
● ปฏิบตั ิตนตามสถานภาพ บทบาท สิ ทธิ หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีของท้องถิ่น จังหวัด ภาค
และประเทศ รวมทั้งได้มีส่วนร่ วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของท้อง
ถิ่นตนเอง มากยิง่ ขึ้น
● สามารถเปรี ยบเทียบเรื่ องราวของจังหวัดและภาคต่างๆของประเทศไทยกับประเทศเพื่อน
บ้าน ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม หน้าที่พลเมือง
เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ เพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่ การทำความเข้าใจใน
ภูมิภาค ซีกโลกตะวันออกและตะวันตกเกี่ยวกับศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การดำเนินชีวิต การจัดระเบียบทางสังคม และการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมจากอดีต สู่ ปัจจุบนั
จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
● มีความรู้เกี่ยวกับความเป็ นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรี ยบเทียบกับประเทศ
ในภูมิภาคต่างๆในโลก เพื่อพัฒนาแนวคิด เรื่ องการอยูร่ ่ วมกันอย่างสันติสุข
● มีทกั ษะที่จ ำเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนาแนวคิด และขยาย
ประสบการณ์ เปรี ยบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย
ออสเตรเลีย โอเชียเนีย แอฟริ กา ยุโรป อเมริ กาเหนือ อเมริ กาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม
ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และ
ภูมิศาสตร์ ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ และสังคมศาสตร์
● รู ้และเข้าใจแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนำมาใช้เป็ นประโยชน์
ในการดำเนินชีวิตและวางแผนการดำเนินงานได้อย่างเหมาะสม
จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
● มีความรู้เกี่ยวกับความเป็ นไปของโลกอย่างกว้างขวางและลึกซึ้ งยิ่งขึ้น
● เป็ นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริ ยธรรม ปฏิบตั ิตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้ง
มีค่านิยมอันพึงประสงค์ สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นและอยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุ ข รวมทั้งมีศกั ยภาพ
เพื่อการศึกษาต่อในชั้นสูงตามความประสงค์ได้
● มีความรู้เรื่ องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็ นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย
ยึดมัน่ ในวิถีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
● มีนิสยั ที่ดีในการบริ โภค เลือกและตัดสิ นใจบริ โภคได้อย่างเหมาะสม มีจิตสำนึก และมีส่วน
ร่ วมในการอนุรักษ์ประเพณี วฒั นธรรมไทย และสิ่ งแวดล้อม มีความรักท้องถิ่นและประเทศชาติ มุ่ง
ทำประโยชน์ และสร้างสิ่ งที่ดีงามให้กบั สังคม
● มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ของตนเอง ชี้ นำตนเองได้ และสามารถแสวงหา
ความรู ้จากแหล่งการเรี ยนรู้ต่างๆในสังคมได้ตลอดชีวิต

สาระที่ ๑      ศาสนา ศีลธรรม จริ ยธรรม


มาตรฐาน  ส ๑.๑     รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อ
ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมัน่ และปฏิบตั ิตาม
หลักธรรม เพื่ออยูร่ ่ วมกันอย่างสันติสุข
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑
๑. บอกพุทธ ๑. บอกความ ๑. อธิบายความ ๑. อธิบายความ ๑. วิเคราะห์ ๑. วิเคราะห์ ๑. อธิบายการ ๑
ประวัติหรื อ สำคัญของ สำคัญของ สำคัญ ความสำคัญของ ความสำคัญของ เผยแผ่พระพุทธ ก
ประวัติของ พระพุทธ พระพุทธศาสนา ของพระพุทธ- พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา ศาสนาหรื อ พ
ศาสดาที่ตน ศาสนาหรื อ หรื อศาสนาที่ตน ศาสนา หรื อ หรื อศาสนาที่ตน ในฐานะเป็ น ศาสนาที่ตน ศ
นับถือ ศาสนาที่ตน นับถือในฐานะ ศาสนาที่ตน นับถือในฐานะ ศาสนาประจำ นับถือสู่ ศ
โดยสังเขป นับถือ ที่เป็ นรากฐาน นับถือในฐานะ ที่เป็ นมรดกทาง ชาติ หรื อความ ประเทศไทย น
๒. ชื่นชมและ ๒. สรุ ป สำคัญของ เป็ นศูนย์รวม วัฒนธรรมและ สำคัญของ ๒. วิเคราะห์ เพ
บอกแบบอย่าง พุทธประวัติ วัฒนธรรมไทย จิตใจของ หลักในการ ศาสนาที่ตน ความสำคัญของ ๒
การดำเนินชีวิต ตั้งแต่ประสูติ ๒. สรุ ปพุทธ ศาสนิกชน พัฒนาชาติไทย นับถือ พระพุทธ ค
และข้อคิดจาก จนถึงการออก ประวัติต้ งั แต่ ๒. สรุ ปพุทธ ๒. สรุ ปพุทธ ๒. สรุ ป ศาสนาหรื อ พ
ประวัติสาวก ผนวช หรื อ การบำเพ็ญเพียร ประวัติต้ งั แต่ ประวัติต้ งั แต่ พุทธประวัติ ศาสนาที่ตน ศ
ชาดก/เรื่ องเล่า ประวัติศาสดา จนถึง บรรลุธรรม เสด็จกรุ งกบิล ตั้งแต่ปลงอายุ นับถือที่มีต่อ ศ
และศาสนิกชน ที่ตนนับถือตาม ปริ นิพพาน หรื อ จนถึงประกาศ พัสดุ์ จนถึง สังขารจนถึง สภาพแวดล้อม น
ตัวอย่างตามที่ ที่ก ำหนด ประวัติของ ธรรม หรื อ พุทธกิจสำคัญ สังเวชนียสถาน ในสังคมไทย เส
กำหนด ๓. ชื่นชมและ ศาสดาที่ตน ประวัติศาสดา หรื อประวัติ หรื อประวัติ รวมทั้งการ เข
๓. บอกความ บอกแบบอย่าง นับถือตามที่ ที่ตนนับถือตาม ศาสดา ศาสดาที่ตน พัฒนาตนและ ก
หมายความ การดำเนินชีวิต กำหนด ที่ก ำหนด ที่ตนนับถือตาม นับถือตามที่ ครอบครัว เพ
สำคัญ และ และข้อคิดจาก ๓. ชื่นชมและ ๓. เห็นคุณค่า ที่ก ำหนด กำหนด ๓. วิเคราะห์ ๓
เคารพ พระ ประวัติสาวก บอกแบบอย่าง และประพฤติ ๓. เห็นคุณค่า ๓. เห็นคุณค่า พุทธประวัติ ค
รัตนตรัย ปฏิบตั ิ ชาดก เรื่ องเล่า การดำเนินชีวิต ตนตามแบบ และประพฤติ และประพฤติ ตั้งแต่ประสูติจน พ
ตามหลักธรรม และศาสนิกชน และข้อคิดจาก อย่างการดำเนิน ตนตามแบบ ตนตาม ถึงบำเพ็ญ ห
โอวาท ๓ ใน ตัวอย่างตามที่ ประวัติสาวก ชีวิตและข้อคิด อย่างการดำเนิน แบบอย่างการ ทุกรกิริยาหรื อ น
พระพุทธศาสนา กำหนด ชาดก เรื่ องเล่า จากประวัติ ชีวิตและข้อคิด ดำเนินชีวิต และ ประวัติศาสดา ท
หรื อหลักธรรม ๔. บอกความ และศาสนิกชน สาวก ชาดก จากประวัติ ข้อคิดจาก ที่ตนนับถือตาม ข
ของศาสนาที่ หมาย ความ ตัวอย่างตามที่ เรื่ องเล่า และ สาวก ชาดก ประวัติสาวก ที่ก ำหนด เอ
ตนนับถือ ตาม สำคัญ และ กำหนด ศาสนิกชน เรื่ องเล่าและ ชาดก เรื่ องเล่า ๔. วิเคราะห์และ ช
ที่ก ำหนด เคารพ ๔. บอกความ ตัวอย่างตาม ศาสนิกชน และศาสนิกชน ประพฤติตนตาม ข
๔. เห็นคุณค่า พระรัตนตรัย หมาย ความ ที่ก ำหนด ตัวอย่างตามที่ ตัวอย่างตาม แบบอย่างการ ๔
และสวดมนต์แผ่ ปฏิบตั ิตามหลัก สำคัญของ ๔. แสดงความ กำหนด ที่ก ำหนด ดำเนินชีวิตและ ค
เมตตา มีสติที่ ธรรม โอวาท ๓ พระไตรปิ ฏก เคารพ ๔. อธิบายองค์ ๔. วิเคราะห์ ข้อคิดจาก พ
เป็ นพื้นฐาน ในพระพุทธ หรื อคัมภีร์ของ พระรัตนตรัย ประกอบและ ความสำคัญ ประวัติสาวก ศ
ของสมาธิ ศาสนาหรื อหลัก ศาสนาที่ตน ปฏิบตั ิตาม ความสำคัญของ และเคารพ ชาดก เรื่ องเล่า ศ
ในพระพุทธ ธรรมของ นับถือ ไตรสิ กขาและ พระไตรปิ ฏก พระรัตนตรัย และศาสนิกชน น
ศาสนา หรื อ ศาสนาที่ตน ๕. แสดง หลักธรรม หรื อคัมภีร์ของ ปฏิบตั ิตาม ตัวอย่างตามที่ พ
การพัฒนาจิต นับถือตามที่ ความเคารพ โอวาท ๓ ใน ศาสนาที่ตน ไตรสิ กขาและ กำหนด แ
ตามแนวทาง กำหนด พระรัตนตรัย พระพุทธศาสนา นับถือ หลักธรรม ๕. อธิบาย ร
ของศาสนา และปฏิบตั ิตาม หรื อหลักธรรม ๕. แสดงความ โอวาท ๓ ใน พุทธคุณ และ ๕
ที่ตนนับถือตาม ๕. ชื่นชมการ หลักธรรม ของศาสนาที่ตน เคารพ พระพุทธศาสนา ข้อธรรมสำคัญ พ
ที่ก ำหนด ทำความดีของ โอวาท ๓ ใน นับถือตามที่ พระรัตนตรัย หรื อหลักธรรม ในกรอบ ห
ตนเอง บุคคล พระพุทธศาสนา กำหนด และปฏิบตั ิตาม ของศาสนาที่ตน อริ ยสัจ ๔ หรื อ ศ
ในครอบครัว หรื อหลักธรรม ๕. ชื่นชมการ ไตรสิ กขาและ นับถือตามที่ หลักธรรมของ ศ
และในโรงเรี ยน ของศาสนา ทำความดีของ หลักธรรม กำหนด ศาสนาที่ตน น
ตามหลักศาสนา ที่ตนนับถือตาม ตนเอง บุคคลใน โอวาท ๓ ใน ๕. ชื่นชมการ นับถือตามที่ ก
๖. เห็นคุณค่า ที่ก ำหนด ครอบครัว พระพุทธศาสนา ทำความดีของ กำหนด เห็น ๖
และสวดมนต์ ๖. เห็นคุณค่า โรงเรี ยนและ หรื อหลักธรรม บุคคลใน คุณค่าและนำไป ป
แผ่เมตตา และสวดมนต์ ชุมชนตามหลัก ของศาสนาที่ ประเทศตาม พัฒนา แก้ปัญหา แ
มีสติที่เป็ นพื้น แผ่เมตตา มีสติ ศาสนา พร้อม ตนนับถือตามที่ หลักศาสนา ของตนเองและ ด
ฐานของสมาธิ ที่เป็ นพื้นฐาน ทั้งบอกแนว กำหนด พร้อมทั้งบอก ครอบครัว ข
ใน ของสมาธิใน ปฏิบตั ิในการ ๖. เห็นคุณค่า แนวปฏิบตั ิใน ๖. เห็นคุณค่า ป
พระพุทธ พระพุทธ- ดำเนินชีวิต และสวดมนต์ การดำเนินชีวิต ของการพัฒนา ช
ศาสนาหรื อการ ศาสนาหรื อการ ๖. เห็นคุณค่า แผ่เมตตา มีสติ ๖. เห็นคุณค่า จิตเพื่อการเรี ยน แ
พัฒนาจิตตาม พัฒนาจิตตาม และสวดมนต์ ที่เป็ นพื้นฐาน และสวดมนต์ รู้และ ต
แนวทางของ แนวทางของ แผ่เมตตา มีสติ ของสมาธิใน แผ่เมตตาและ การดำเนินชีวิต ก
ศาสนาที่ ศาสนาที่ตน ที่เป็ นพื้นฐาน พระพุทธ บริ หารจิต เจริ ญ ด้วยวิธีคิดแบบ ๗
ตนนับถือตาม นับถือตามที่ ของสมาธิใน ศาสนาหรื อการ ปัญญา มีสติที่ โยนิโสมนสิ การ โ
ที่ก ำหนด กำหนด พระพุทธศาสนา พัฒนาจิตตาม เป็ นพื้นฐานของ คือ วิธีคิดแบบ แ
๗. บอกชื่อ ๗. บอกชื่อ หรื อการพัฒนา แนวทางของ สมาธิใน คุณค่าแท้-คุณค่า ส
ศาสนา ศาสดา ความสำคัญ จิตตามแนวทาง ศาสนาที่ตน พระพุทธศาสนา เทียม และวิธีคิด พ
และความสำคัญ และปฏิบตั ิตน ของศาสนา นับถือตามที่ หรื อการพัฒนา แบบคุณ-โทษ ห
ของคัมภีร์ของ ได้อย่างเหมาะ ที่ตนนับถือตาม กำหนด จิตตามแนวทาง และทางออก ข
ศาสนาที่ตน สม ต่อศาสน ที่ก ำหนด ๗. ปฏิบตั ิตน ของศาสนาที่ตน หรื อการพัฒนา ท
นับถือและ วัตถุ ศาสน ๗. ปฏิบตั ิตน ตามหลักธรรม นับถือตามที่ จิตตามแนวทาง ๘
ศาสนาอื่นๆ สถาน และ ตามหลักธรรม ของศาสนาที่ตน กำหนด ของศาสนาที่ตน ค
  ศาสนบุคคลของ ของศาสนาที่ตน นับถือเพื่อการ ๗. ปฏิบตั ิตน นับถือ ข
ศาสนาอื่นๆ นับถือ เพื่อการ พัฒนาตนเอง ตามหลักธรรม ๗. สวดมนต์ ใ
อยูร่ ่ วมกัน และสิ่ งแวดล้อม ของศาสนา แผ่เมตตา อ
เป็ นชาติได้อย่าง ที่ตนนับถือ บริ หารจิตและ ห
สมานฉันท์ เพื่อแก้ปัญหา เจริ ญปัญญาด้วย ศ
๘. อธิบาย อบายมุขและ อานาปานสติ น
ประวัติศาสดา สิ่ งเสพติด หรื อตาม ก
ของศาสนาอื่นๆ ๘. อธิบายหลัก แนวทางของ ค
โดยสังเขป ธรรมสำคัญของ ศาสนาที่ตน พ
ศาสนาอื่นๆโดย นับถือตามที่ ป
สังเขป กำหนด ช
  ๙.อธิบาย ๘. วิเคราะห์และ ส
  ลักษณะสำคัญ ปฏิบตั ิตนตาม ๙
  ของศาสนพิธี หลักธรรมทาง ข
  พิธีกรรม ศาสนาที่ตน จ
  ของศาสนาอื่นๆ นับถือในการ ร
และปฏิบตั ิตน ดำรงชีวิตแบบ ช
ได้อย่างเหมาะ พอเพียงและ แ
สมเมื่อต้องเข้า ดูแลรักษาสิ่ ง ม
ร่ วมพิธี แวดล้อมเพื่อการ ว
อยูร่ ่ วมกันได้ ป
   อย่างสันติสุข ค
๙. วิเคราะห์ ว
เหตุผลความ ธ
จำเป็ นที่ทุกคน ห
ต้องศึกษา เรี ยน จ
รู้ศาสนาอื่นๆ ข
๑๐. ปฏิบตั ิตน น
ต่อ ๑
ศาสนิกชนอื่น แ
ในสถานการณ์ บ
ต่างๆ ได้อย่าง เจ
เหมาะสม อ
๑๑. วิเคราะห์ ห
การกระทำของ แ
บุคคลที่เป็ น ศ
แบบอย่างด้าน ต
ศาสนสัมพันธ์ ๑
และนำเสนอ ก
แนวทางการ ต
ปฏิบตั ิของ ท
ตนเอง น
  ก
  อ


เป


 
มาตรฐาน ส  ๑.๒  เข้าใจ ตระหนักและปฏิบตั ิตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี  และธำรงรักษาพระพุทธ
ศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑
๑. บำเพ็ญ ๑. ปฏิบตั ิตน ๑. ปฏิบตั ิตน ๑. อภิปราย ๑. จัดพิธีกรรม ๑. อธิบายความรู้ ๑. บำเพ็ญ ๑
ประโยชน์ต่อวัด อย่างเหมาะสม อย่างเหมาะสม ความสำคัญและ ตามศาสนาที่ตน เกี่ยวกับสถานที่ ประโยชน์ต่อ อ
หรื อศาสนสถาน ต่อสาวกของ ต่อสาวก มีส่วนร่ วมใน นับถืออย่างเรี ยบ ต่าง ๆในศาสน ศาสนสถานของ ต
ของศาสนา ศาสนาที่ตน ศาสนสถาน การบำรุ งรักษา ง่าย มี สถานและ ศาสนาที่ตน ต
ที่ตนนับถือ นับถือตามที่ ศาสนวัตถุของ ศาสนสถานของ ประโยชน์ และ ปฏิบตั ิตนได้ นับถือ ท
๒. แสดงตนเป็ น กำหนดได้ถูก ศาสนาที่ตน ศาสนาที่ตน ปฏิบตั ิตนถูก อย่างเหมาะสม ๒. อธิบาย ต
พุทธมามกะ ต้อง นับถือตามที่ นับถือ ต้อง ๒. มีมรรยาท จริ ยวัตรของ ๒
หรื อแสดงตน ๒. ปฏิบตั ิตนใน กำหนดได้ถูก ๒. มีมรรยาท ๒. ปฏิบตั ิตนใน ของความเป็ น สาวกเพื่อเป็ น ข
เป็ นศาสนิกชนข ศาสนพิธี ต้อง ของความเป็ น ศาสนพิธี ศาสนิกชนที่ดี แบบอย่างใน ศ
องศาสนา ที่ พิธีกรรมและ ๒. เห็นคุณค่า ศาสนิกชนที่ดี พิธีกรรมและวัน ตามที่ก ำหนด การประพฤติ ต
ตนนับถือ วันสำคัญทาง และปฏิบตั ิตน ตามที่ก ำหนด สำคัญทาง ๓. อธิบาย ปฏิบตั ิ และ ๓
๓.ปฏิบตั ิตนใน ศาสนาตามที่ ในศาสนพิธี ๓. ปฏิบตั ิตน ศาสนาตามที่ ประโยชน์ของ ปฏิบตั ิตนอย่าง ค
ศาสนพิธี กำหนดได้ถูก พิธีกรรม และ ในศาสนพิธี กำหนดและ การเข้าร่ วมใน เหมาะสมต่อ ศ
พิธีกรรม ต้อง วันสำคัญทาง พิธีกรรม อภิปราย ศาสนพิธี สาวกของ ป
และวันสำคัญ   ศาสนาตามที่ และวันสำคัญ ประโยชน์ที่ได้ พิธีกรรมและ ศาสนาที่ตน ต
ทางศาสนาตาม   กำหนดได้ถูก ทางศาสนาตาม รับจากการ เข้า กิจกรรมในวัน นับถือ ๔
ที่ก ำหนดได้   ต้อง ที่ก ำหนดได้ถูก ร่ วมกิจกรรม สำคัญทาง ๓. ปฏิบตั ิตน ค
อย่างถูกต้อง ๓. แสดงตนเป็ น ต้อง ๓. มีมรรยาท ศาสนาตามที่ อย่างเหมาะสม เน
พุทธมามกะ ของความเป็ น กำหนดและ ต่อบุคคลต่างๆ ว
หรื อแสดงตน    ศาสนิกชนที่ดี ปฏิบตั ิตนได้ถูก ตามหลักศาสนา ศ
เป็ นศาสนิกชนข ตามที่ก ำหนด ต้อง ที่ตนนับถือตาม ป
องศาสนาที่ตน ๔. แสดงตนเป็ น ที่ก ำหนด ต
นับถือ   พุทธมามกะ ๔.จัดพิธีกรรม ๕
    หรื อแสดงตน และปฏิบตั ิตน แ
  เป็ นศาสนิกชนข ในศาสนพิธี ศ
  องศาสนาที่ตน พิธีกรรมได้ถูก พ
  นับถือ ต้อง แ
    ๕. อธิบาย ศ
ประวัติความ เพ
สำคัญและ ย
ปฏิบตั ิตน ค
ในวันสำคัญ ซ
ทางศาสนา  
ที่ตนนับถือตาม  
ที่ก ำหนด  
ได้ถูกต้อง  
   
  

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบตั ิตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรง
รักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยูร่ ่ วมกันในสังคมไทย
และสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑
๑. บอก ๑. ปฏิบตั ิตน ๑. สรุ ป ๑. ปฏิบตั ิตนเป็ น ๑. ยกตัวอย่าง ๑. ปฏิบตั ิตาม ๑. ปฏิบตั ิตาม ๑. อ
ประโยชน์และ ตามข้อตกลง ประโยชน์และ พลเมืองดีตามวิถี และปฏิบตั ิตน กฎหมาย ที่ กฎหมายในการ ปฏิบ
ปฏิบตั ิตนเป็ น กติกา กฎ ปฏิบตั ิตนตาม ประชาธิปไตย ตามสถานภาพ เกี่ยวข้อง กับ คุม้ ครองสิ ทธิ กฎห
สมาชิกที่ดีของ ระเบียบ และ ประเพณี และ ในฐานะสมาชิก บทบาท สิ ทธิ ชีวิตประจำวัน ของบุคคล ที่เก
ครอบครัวและ หน้าที่ที่ตอ้ ง วัฒนธรรมใน ที่ดีของชุมชน เสรี ภาพและ ของครอบครัว ๒. ระบุความ กับต
โรงเรี ยน ปฏิบตั ิในชีวิต ครอบครัวและ ๒.ปฏิบตั ิตน หน้าที่ในฐานะ และชุมชน สามารถของ ครอ
๒. ยกตัวอย่าง ประจำวัน ท้องถิ่น ในการ เป็ นผูน้ ำ พลเมืองดี ๒. วิเคราะห์ ตนเอง ใน ชุมช
ความสามารถ ๒.ปฏิบตั ิตน ๒. บอก และผูต้ ามที่ดี ๒. เสนอวิธี การ การทำ ประ
และความดีของ ตามมารยาทไทย พฤติกรรม ๓. วิเคราะห์ การ ปกป้อง เปลี่ยนแปล ประโยชน์ต่อ ๒. เ
ตนเอง ผูอ้ ื่น ๓. แสดง การดำเนินชีวิต สิ ทธิพ้ืนฐาน คุม
้ ครอง งวัฒนธรรม สังคมและ ในก
และบอกผลจาก พฤติกรรม ของตนเองและผู้ ที่เด็กทุกคนพึง ตนเองหรื อ ตามกาล ประเทศชาติ ตาม
การกระทำนั้น ในการยอมรับ อื่นที่อยูใ่ น ได้รับตาม ผูอ้ ่ืน จาก เวลาและ ๓. อภิปรายเกี่ยว บทบ
ความคิด กระแส กฎหมาย การละเมิด ธ ำรงรักษา กับคุณค่าทาง เสรี
ความเชื่อ วัฒนธรรม ๔. อธิบาย สิทธิเด็ก วัฒนธรรม วัฒนธรรม หน
และการปฏิบตั ิ ที่หลากหลาย ความแตกต่าง ๓. เห็นคุณค่า อันดีงาม ที่เป็ นปัจจัย พลเ
ของบุคคลอื่น ๓. อธิบายความ ทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมไทย ๓. ในการสร้าง ตาม
ที่แตกต่างกัน สำคัญของวัน ของกลุ่มคน ที่มีผลต่อการ แสดงออก ความสัมพันธ์ ประ
โดยปราศจาก หยุด ราชการที่ ในท้องถิ่น ดำเนินชีวิต ถึงมารยาท ที่ดี หรื ออาจ
อคติ สำคัญ ๕. เสนอวิธีการ ในสังคมไทย ไทยได้ นำไปสู่ความ ๓.
๔. เคารพใน ที่จะอยูร่ ่ วมกัน ๔. มีส่วนร่ วมใน เหมาะสมกับ เข้าใจผิดต่อกัน บทบ
สิ ทธิ ของตนเอง ๔. ยกตัวอย่าง อย่างสันติสุขใน การอนุรักษ์และ กาลเทศะ ๔. แสดงออก ควา
และผูอ้ ื่น บุคคลซึ่งมี ชีวิตประจำวัน เผยแพร่ ๔. อธิบาย ถึงการเคารพใน ควา
ผลงานที่เป็ น ภูมิปัญญาท้อง คุณคา่ ทาง สิ ทธิ เสรี ภาพ ของ
ประโยชน์แก่ ถิ่นของชุมชน วัฒนธรรม ของตนเองและผู้ สังค
ชุมชนและ ที่แตกตา่ ง อื่น ๔.
ท้องถิ่นของตน กันระหวา่ ง คล้า
กลุม ควา
่ คน
ในสั งคม ของ
ไทย
ไทย
วัฒน
๕. ติดตาม
ประ
ขอ้ มูล ภูมิภ
ขา่ วสาร
เพื่อ
เหตุการณ์ ควา
ตา่ ง ๆ ใน ระห
ชีวต ิ ประจ ำ
วัน เลือก
รับและใช้
ขอ ้ มูล
ขา่ วสารใน
การเรี ยนรู้
ได้เหมาะสม

มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบนั ยึดมัน่ ศรัทธา และธำรง


รักษาไว้ซ่ ึ งการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย ์
ทรงเป็ นประมุข
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑
๑. บอก ๑. อธิบาย ๑. ระบุบทบาท ๑. อธิบายอำนาจ ๑. อธิบาย ๑. เปรี ยบเทียบ ๑.อธิบายหลัก ๑. อ
โครงสร้าง ความ และหน้าที่ อธิปไตยและ โครงสร้าง บทบาท หน้าที่ การ เจตนารมณ์ กระ
บทบาทและ สั มพันธข์ อง ของสมาชิก ความสำคัญของ อำนาจ หน้าที่ ขององค์กร โครงสร้าง ในก
หน้าที่ของ ตนเอง และ ชุมชน ระบอบ และความสำคัญ ปกครองส่วน และสาระสำคัญ กฎห
สมาชิกใน สมาชิกใน ในการมีส่วน ประชาธิปไตย ของการปกครอง ท้องถิ่นและ ของรัฐธรรมนูญ ๒. ว
ครอบครัวและ ครอบครัว ร่ วมกิจกรรมต่าง ๒. อธิบาย ส่ วนท้องถิ่น รัฐบาล แห่งราชอาณา- ข้อม
โรงเรี ยน ๆ ตาม บทบาทหน้าที่ ๒. ระบุบทบาท ๒. มีส่วนร่ วม จักรไทย ทาง
๒. ระบุบทบาท ในฐานะเป็ น กระบวนการ ของพลเมืองใน หน้าที่และวิธี ในกิจกรรม ฉบับปัจจุบนั การ
สิ ทธิ หน้าที่ของ สว่ นหนึ่ ง ประชาธิปไตย กระ บวนการ การเข้าดำรง ต่างๆ ที่ โดยสังเขป ที่มีผ
ตนเองใน ของชุมชน ๒.วิเคราะห์ เลือกตั้ง ตำแหน่งของผู้ ส่ งเสริ ม ๒. วิเคราะห์ ต่อส
ครอบครัวและ ๒. ระบุผมู้ ี ความแตกต่าง ๓. อธิบายความ บริ หารท้องถิ่น ประชาธิปไตย บทบาท การ สมัย
โรงเรี ยน บทบาท อำนาจ ของ สำคัญ ของ ๓. วิเคราะห์ ในท้องถิ่นและ ถว่ ง
๓. มีส่วนร่ วม ในการตัดสิ นใจ กระบวนการ สถาบัน ประโยชน์ที่ ประเทศ ดุลอ ำนาจ
ในการ ในโรงเรี ยนและ การตัดสิ นใจ พระมหา ชุมชนจะได้รับ ๓. อภิปราย อธิปไตยใน
ตัดสินใจ ชุมชน ในชั้นเรี ยน/ กษัตริ ยต์ าม จากองค์กร บทบาท ความ รัฐธรรมนู ญ
และท ำ โรงเรี ยน และ ระบอบ ปกครองส่วน สำคัญ ในการ แหง่ ราช-
กิจกรรมใน ชุมชน โดยวิธี ประชาธิปไตย ท้องถิ่น ใช้สิทธิออก อาณาจักร
ครอบครัว การออกเสี ยง อันมี เสี ยงเลือกตั้ง ไทย
และ โดยตรงและ ตามระบอบ ฉบับปัจจุบนั
โรงเรี ยน การเลือกตัวแทน พระมหากษัตริ ย ์ ประชาธิปไตย ๓. ปฏิบตั ิตน
ตาม ออกเสี ยง ทรงเป็ นประมุข ตามบทบัญญัติ
กระบวนการ ของรัฐธรรมนูญ
ประชาธิปไต ๓. ยกตัวอย่าง แห่งราชอาณา-
ย การ จักรไทยฉบับ
เปลี่ยนแปลง ปัจจุบนั
ในชั้นเรี ยน ที่เกี่ยวข้องกับ
โรงเรี ยนและ ตนเอง
ชุมชน ที่เป็ นผล
จากการตัดสิ นใจ
ของบุคคล
และกลุ่ม

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริ หารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริ โภค การใช้
ทรัพยากรที่มีอยูจ่ ำกัดได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและคุม้ ค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑
๑. ระบุสินค้า ๑. ระบุ ๑. จำแนกความ ๑. ระบุปัจจัยที่มี ๑. อธิบายปัจจัย ๑. อธิบาย ๑. อธิบายความ ๑. ว
และบริ การที่ใช้ ทรัพยากรที่น ำ ต้องการและ ผลต่อการเลือก การผลิตสิ นค้า บทบาทของผู้ หมายและความ ปัจจ
ประโยชน์ใน มาผลิตสิ นค้า ความจำเป็ น ซื้อสิ นค้าและ และบริ การ ผลิตที่มีความรับ สำคัญของ การ
ชีวิตประจำวัน และบริ การที่ใช้ ในการใช้สินค้า บริ การ ๒. ประยุกต์ใช้ ผิดชอบ เศรษฐศาสตร์ การ
๒. ยกตัวอย่าง ในชีวิตประจำ และบริ การ ๒. บอกสิ ทธิพ้ืน แนวคิดของ ๒. อธิบาย ๒. วิเคราะห์ค่า ๒. อ
การใช้จ่ายเงิน วัน ในการดำรงชีวิต ฐานและรักษา ปรัชญาของ บทบาทของผู้ นิยมและ การ
ในชีวิตประจำ ๒.บอกที่มาของ ๒. วิเคราะห์การ ผลประโยชน์ เศรษฐกิจพอ บริ โภคที่รู้ เท่า พฤติกรรมการ และ
วัน ที่ไม่เกิน รายได้และราย ใช้จ่ายของ ของตนเองใน เพียงในการทำ ทัน บริ โภคของ ปัจจ
ตัวและเห็น จ่ายของตนเอง ตนเอง ฐานะผูบ้ ริ โภค กิจกรรม ๓. บอกวิธีและ คนในสังคมซึ่ง อิทธ
ประโยชน์ของ และครอบครัว ๓. อธิบายได้วา่ ๓. อธิบายหลัก ต่าง ๆ ใน ประโยชน์ของ ส่ งผลต่อ ผลิต
การออม ๓. บันทึกรายรับ ทรัพยากรที่มีอยู่ การของ ครอบครัว การใช้ทรัพยากร เศรษฐกิจของ บริ ก
๓. ยกตัวอย่าง รายจ่ายของ จำกัดมีผลต่อ เศรษฐกิจพอ โรงเรี ยนและ อย่างยัง่ ยืน ชุมชนและ ๓. เ
การใช้ทรัพยากร ตนเอง การผลิตและ เพียงและนำไป ชุมชน ประเทศ แนว
ในชีวิต ประจำ ๔. สรุ ปผลดี บริ โภคสิ นค้า ใช้ในชีวิต ๓. อธิบายหลัก ๓. อธิบายความ พัฒ
วันอย่าง ของการใช้จ่าย และบริ การ ประจำวันของ การสำคัญและ เป็ นมา หลักการ ในท
ประหยัด ที่เหมาะสมกับ ตนเอง ประโยชน์ของ และความสำคัญ ปรัช
รายได้และ สหกรณ์ ของปรัชญาของ เศรษ
การออม เศรษฐกิจพอ เพีย
เพียงต่อสังคม ๔. อ
ไทย แนว
คุม้ ค
ของ
ฐาน

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ
ความจำเป็ นของการร่ วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑
๑. อธิบายเหตุผล ๑. อธิบายการ ๑. บอกสิ นค้า ๑. อธิบายความ ๑. อธิบาย ๑. อธิบายความ ๑. วิเคราะห์ ๑. อ
ความจำเป็ นที่ แลกเปลี่ยน และบริ การที่รัฐ สัมพันธ์ทาง บทบาทหน้าที่ สัมพันธ์ระหว่าง บทบาทหน้าที่ ระบ
คนต้องทำงาน สิ นค้าและ จัดหาและให้ เศรษฐกิจของ เบื้องต้นของ ผูผ้ ลิต ผูบ้ ริ โภค และความแตก แบบ
อย่างสุจริ ต บริ การโดยวิธี บริ การแก่ คนในชุมชน ธนาคาร ธนาคารและ ต่างของสถาบัน ๒. ย
ต่าง ๆ ประชาชน ๒. อธิบายหน้าที่ ๒. จำแนกผลดี รัฐบาล การเงินแต่ละ ที่สะ
๒. บอกความ ๒. บอกความ เบื้องต้นของเงิน ผลเสี ยของการกู้ ๒. ยกตัวอย่าง ประเภทและ ให้เ
สัมพันธ์ระหว่าง สำคัญของภาษี ยืม การรวมกลุ่มทาง ธนาคารกลาง อาศ
ผูซ้ ้ื อกับผูข้ าย และบทบาทของ เศรษฐกิจภายใน ๒. ยกตัวอย่าง การ
ประชาชนใน ท้องถิ่น ที่สะท้อนให้เห็น ทาง
การเสี ยภาษี การพึ่งพาอาศัย ในภ
๓. อธิบาย กันและการ ๓.
เหตุผลการ แข่งขันกัน การ
แข่งขันทางการ ทางเศรษฐกิจ ทรัพ
ค้าที่มีผลทำให้ ในประเทศ โลก
ราคาสิ นค้าลดลง ๓. ระบุปัจจัย ควา
ที่มีอิทธิพลต่อ ทาง
การกำหนด ระห
อุปสงค์และ .๔.
อุปทาน การ
๔. อภิปรายผล ทาง
ของการมี ในป
กฎหมายเกี่ยว ต่าง
กับทรัพย์สิน ที่ส่ง
ทางปัญญา คุณ
ปริ ม
และ

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธี
การทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑
๑. บอก วัน ๑. ใช้ค ำระบุ ๑. เทียบศักราช ๑. นับช่วง ๑. สื บค้นความ ๑. อธิบายความ ๑. วิเคราะห์ ๑. ป
เดือน ปี และ เวลาที่แสดง ที่สำคัญตาม เวลาเป็ น เป็ นมาของท้อง สำคัญของวิธี ความสำคัญของ น่าเ
การนับช่วงเวลา เหตุการณ์ ปฏิทินที่ใช้ใน ทศวรรษ ถิ่นโดยใช้หลัก การทาง เวลาในการ หลัก
ตามปฏิทินที่ใช้ ในอดีต ปัจจุบนั ชีวิตประจำวัน ศตวรรษ และ ฐานที่หลาก ประวัติศาสตร์ ศึกษา ประ
ในชีวิตประจำ และอนาคต ๒. แสดงลำดับ สหัสวรรษ หลาย ในการศึกษา ประวัติศาสตร์ ในล
วัน ๒. ลำดับ เหตุการณ์สำคัญ ๒. อธิบาย ๒. รวบรวม เรื่ องราวทาง ๒. เทียบศักราช ๒. ว
๒. เรี ยงล ำดับ เหตุการณ์ที่เกิด ของโรงเรี ยน ยุคสมัยในการ ข้อมูลจากแหล่ง ประวัติศาสตร์ ตามระบบต่างๆ ควา
เหตุการณ์ใน ขึ้นในครอบครัว และชุมชน ศึกษาประวัติ ต่างๆ เพื่อตอบ อย่างง่าย ๆ ที่ใช้ศึกษา ระห
ชีวต ิ ประจ ำวัน หรื อ โดยระบุหลัก ของมนุษยชาติ คำถามทาง ๒. นำเสนอ ประวัติศาสตร์ จริ ง
ตามวัน เวลา ในชีวิตของ ฐานและแหล่ง โดยสังเขป ประวัติศาสตร์ ข้อมูลจากหลัก ๓. นำวิธีการทาง จริ ง
ที่เกิดขึ้น ตนเอง โดยใช้ ข้อมูล ๓.แยกแยะ อย่างมีเหตุผล ฐานที่หลาก ประวัติศาสตร์ เหต
๓. บอกประวัติ หลักฐาน ที่เกี่ยวข้อง ประเภทหลัก ๓. อธิบายความ หลาย มาใช้ศึกษา ประ
ความเป็ นมาของ ที่เกี่ยวข้อง ฐานที่ใช้ แตกต่างระหว่าง ในการทำความ เหตุการณ์ทาง ๓. เ
ตนเองและ ในการศึกษา ความจริ งกับข้อ เข้าใจเรื่ องราว ประวัติศาสตร์ สำค
ครอบครัว ความเป็ นมา เท็จจริ ง ในอดีต ของ
โดยสอบถามผู้ ของท้องถิ่น เกี่ยวกับเรื่ องราว หลัก
เกี่ยวข้อง ในท้องถิ่น ประ
ที่น่

มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบนั ในด้านความสัมพันธ์


และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ
และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑
๑. บอกความ ๑. สื บค้นถึงการ ๑. ระบุปัจจัยที่มี ๑. อธิบายการ ๑. อธิบาย ๑. อธิบาย ๑. อธิบาย ๑.อ
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง อิทธิพลต่อการ ตั้งหลักแหล่ง อิทธิพลของ สภาพสังคม พัฒนาการทาง พัฒ
ของสภาพ ในวิถีชีวิต ตั้งถิ่นฐานและ และพัฒนาการ อารยธรรม เศรษฐกิจและ สังคม เศรษฐกิจ สังค
แวดล้อม สิ่ งของ ประจำวันของ พัฒนาการของ ของมนุษย์ยคุ อินเดียและจีนที่ การเมืองของ และการเมือง และ
เครื่ องใช้ หรื อ คนในชุมชนของ ชุมชน ก่อน มีต่อไทย และ ประเทศเพื่อน ของประเทศ ของ
การดำเนินชีวิต ตนจากอดีตถึง ๒. สรุ ปลักษณะ ประวัติศาสตร์ เอเชียตะวันออก บ้านในปัจจุบนั ต่าง ๆ ใน เอเช
ของตนเองกับ ปัจจุบนั ที่สำคัญของ และยุค เฉี ยงใต้ โดย ๒. บอกความ ภูมิภาคเอเชีย ๒. ร
สมัยของพ่อแม่ ๒. อธิบายผลก ขนมธรรมเนียม ประวัติศาสตร์ สังเขป สัมพันธ์ของ ตะวันออก สำค
ปู่ ย่า ตายาย ระทบของการ ประเพณี และ โดยสังเขป ๒. อภิปราย กลุ่มอาเซียนโดย เฉี ยงใต้ อาร
๒. บอก เปลี่ยนแปลงที่มี วัฒนธรรมของ ๒. ยกตัวอย่าง อิทธิพลของ สังเขป ๒. ระบุความ โบร
เหตุการณ์ที่เกิด ต่อวิถีชีวิตของ ชุมชน หลักฐานทาง วัฒนธรรมต่าง สำคัญของแหล่ง ภูมิภ
ขึ้นในอดีต คนในชุมชน ๓. เปรี ยบเทียบ ประวัติศาสตร์ ชาติต่อสังคม อารยธรรม ใน
ที่มีผลกระทบ ความเหมือน ที่พบในท้องถิ่น ไทยปัจจุบนั ภูมิภาคเอเชีย
ต่อตนเองใน และความต่าง ที่แสดง โดยสังเขป ตะวันออก
ปัจจุบนั ทางวัฒนธรรม พัฒนาการของ เฉี ยงใต้
ของชุมชน มนุษยชาติ
ตนเองกับ ชุม
ชนอื่นๆ

มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความ


ภูมิใจและธำรงความเป็ นไทย
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑
๑. . อธิบาย ๑. ระบุบุคคล ๑. ระบุ ๑. อธิบาย ๑. อธิบาย ๑. อธิบาย ๑. อธิบายเรื่ อง ๑. ว
ความหมายและ ที่ท ำประโยชน์ พระนามและ พัฒนาการของ พัฒนา การของ พัฒนา การของ ราวทางประวัติ- พัฒ
ความสำคัญของ ต่อท้องถิ่น หรื อ พระราช อาณาจักร อาณาจักรอยุธยา ไทยสมัย ศาสตร์สมัยก่อน อาณ
สัญลักษณ์สำคัญ ประเทศชาติ กรณี ยกิจโดย สุ โขทัยโดย และธนบุรีโดย รัตนโกสิ นทร์ สุ โขทัย และ
ของชาติไทย ๒. ยกตัวอย่าง สังเขปของพระ สังเขป สังเขป โดยสังเขป ในดินแดนไทย ด้าน
และปฏิบตั ิตน วัฒนธรรม มหากษัตริ ยไ์ ทย ๒. บอกประวัติ ๒. อธิบายปัจจัย ๒. อธิบายปัจจัย โดยสังเขป ๒. ว
ได้ถูกต้อง ประเพณี และ ที่เป็ นผูส้ ถาปนา และผลงานของ ที่ส่งเสริ มความ ที่ส่งเสริ มความ ๒. วิเคราะห์ ปัจจ
๒. บอก สถานที่ ภูมิปัญญาไทย อาณาจักรไทย บุคคลสำคัญ เจริ ญรุ่ งเรื องทาง เจริ ญรุ่ งเรื อง พัฒนาการของ ควา
สำคัญซึ่งเป็ น ที่ภาคภูมิใจและ ๒. อธิบาย สมัยสุ โขทัย เศรษฐกิจและ ทางเศรษฐกิจ อาณาจักร ควา
แหล่งวัฒนธรรม ควรอนุรักษ์ไว้ พระราชประวัติ ๓. อธิบาย การปกครองของ และการ สุ โขทัย ในด้าน รุ่ งเร
ในชุมชน และพระราช - ภูมิปัญญาไทย อาณาจักรอยุธยา ปกครองของ ต่าง ๆ อาณ
๓. ระบุสิ่งที่ตน กรณี ยกิจของ ที่สำคัญสมัย ๓. บอกประวัติ ไทยสมัย ๓. วิเคราะห์ ๓.
รักและภาค พระมหากษัตริ ย ์ สุ โขทัย ที่น่า และผลงานของ รัตนโกสิ นทร์ อิทธิพลของ ภูม
ภูมิใจ ในรัชกาล ภาคภูมิใจและ บุคคลสำคัญ ๓. ยกตัวอย่าง วัฒนธรรมและ แล
ในท้องถิ่น ปัจจุบนั โดย ควรค่าแก่การ สมัยอยุธยาและ ผลงานของ ภูมิปัญญาไทย วัฒ
สังเขป อนุรักษ์ ธนบุรีที่น่าภาค บุคคลสำคัญ สมัยสุ โขทัยและ ไท
๓. เล่าวีรกรรม ภูมิใจ ด้านต่าง ๆ สมัย สังคมไทยใน สม
ของบรรพบุรุษ ๔. อธิบาย รัตนโกสิ นทร์ ปัจจุบนั แล
ไทยที่มีส่วน ภูมิปัญญาไทยที่ ๔. อธิบาย แล
ปกป้ องประเทศ สำคัญสมัย ภูมิปัญญาไทยที่ ขอ
ชาติ อยุธยาและ สำคัญสมัย ภูม
ธนบุรีที่น่าภาค รัตนโกสิ นทร์ ดัง
ภูมิใจและ ที่น่าภาคภูมิใจ กา
ควรค่าแก่การ และควรค่าแก่ ชาต
อนุรักษ์ไว้ การอนุรักษ์ไว้ ยุค

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่ งมีผลต่อกัน
และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์
ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุ ป และใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑
๑. แยกแยะสิ่ ง ๑. ระบุสิ่งต่าง ๆ ๑. ใช้แผนที่ ๑. ใช้แผนที่ ๑. รู้ต ำแหน่ง ๑. ใช้เครื่ องมือ ๑. เลือกใช้เครื่ อง ๑.ใช
ต่าง ๆ รอบตัว ที่เป็ นธรรมชาติ แผนผังและ ภาพถ่าย ระบุ (พิกดั ภูมิศาสตร์ ทางภูมิศาสตร์ มือทาง ทาง
ที่เกิดขึ้นเองตาม กับที่มนุษย์ ภาพถ่ายในการ ลักษณะสำคัญ ละติจูด (แผนที่ ภาพถ่าย ภูมิศาสตร์ ในก
ธรรมชาติและ สร้างขึ้น หาข้อมูลทาง ทางกายภาพของ ลองจิจูด) ระยะ ชนิดต่าง) ระบุ (ลูกโลก แผนที่ วิเค
ที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งปรากฏ ภูมิศาสตร์ใน จังหวัดตนเอง ทิศทางของ ลักษณะสำคัญ กราฟ แผนภูมิ) เสน
๒. ระบุความ ระหว่าง ชุมชนได้อย่าง ๒. ระบุแหล่ง ภูมิภาคของ ทางกายภาพและ ในการสื บค้น กับล
สัมพันธ์ของ โรงเรี ยนกับบ้าน มีประสิ ทธิภาพ ทรัพยากรและ ตนเอง สังคมของ ข้อมูล เพื่อ กาย
ตำแหน่ง ระยะ ๒. ระบุ ๒. เขียนแผนผัง สิ่ งต่างๆ ใน ๒. ระบุลกั ษณ์ ประเทศ วิเคราะห์ สังค
ทิศของสิ่ งต่างๆ ตำแหน่งอย่าง ง่าย ๆ เพื่อแสดง จังหวัดของ ภูมิลกั ษณะ ๒. อธิบายความ ลักษณะทาง ยุโร
รอบตัว ง่ายและลักษณะ ตำแหน่งที่ต้ งั ตนเองด้วย ที่สำคัญใน สัมพันธ์ระหว่าง กายภาพและ แอฟ
๓. ระบุทิศหลัก ทางกายภาพของ ของสถานที่ แผนที่ ภูมิภาคของ ลักษณะทาง สังคมของ ๒.ว
และที่ต้ งั ของ สิ่ งต่าง ๆ ที่ สำคัญในบริ เวณ ๓.ใช้แผนที่ ตนเองในแผนที่ กายภาพกับ ประเทศไทย ควา
สิ่ งต่าง ๆ ปรากฏใน โรงเรี ยนและ อธิบายความ ๓. อธิบายความ ปรากฏการณ์ และทวีปเอเชีย ระห
๔.ใช้แผนผัง ลูกโลก แผนที่ ชุมชน สัมพันธ์ของสิ่ ง สัมพันธ์ของ ทางธรรมชาติ ออสเตรเลียและ ทาง
ง่าย ๆ ในการ แผนผังและ ๓. บอกความ ต่าง ๆ ที่มีอยูใ่ น ลักษณะทาง ของประเทศ โอเชียเนีย สังค
แสดงตำแหน่ง ภาพถ่าย สัมพันธ์ของ จังหวัด กายภาพกับ ยุโร
ของสิ่ งต่าง ๆ ๓. อธิบายความ ลักษณะ ลักษณะทาง ๒. อธิบายเส้น แอฟ
ในห้องเรี ยน สัมพันธ์ของ ทางกายภาพกับ สังคมในภูมิภาค แบ่งเวลาและ
๕. สังเกตและ ปรากฏการณ์ ลักษณะทาง ของตนเอง เปรี ยบเทียบ วัน
บอกการ ระหว่างโลก สังคมของชุมชน เวลาของ
เปลี่ยนแปลง ดวงอาทิตย์และ ประเทศไทยกับ
ของสภาพ ดวงจันทร์ ทวีปต่าง ๆ
อากาศใน ๓. วิเคราะห์
รอบวัน เชื่อมโยงสาเหตุ
และแนวทาง
ป้ องกันภัย
ธรรมชาติและ
การระวังภัย
ที่เกิดขึ้น
ในประทศไทย
และทวีปเอเชีย
ออสเตรเลีย และ
โอเชียเนีย
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ
สร้างสรรค์วฒั นธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่ วม ในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ
สิ่ งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑
๑. บอกสิ่ งต่างๆ ๑. อธิบายความ ๑. เปรี ยบเทียบ ๑ อธิบายสภาพ ๑. วิเคราะห์ ๑. วิเคราะห์ ๑. วิเคราะห์ ๑.ว
ที่เกิดตาม สำคัญและคุณค่า การเปลี่ยนแปลง แวดล้อมทาง สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ ผลกระทบจาก ก่อเ
ธรรมชาติที่ส่ง ของสิ่ งแวดล้อม สภาพแวดล้อม กายภาพของ ทางกายภาพที่มี ระหว่างสิ่ ง การเปลี่ยนแปลง แวด
ผลต่อความเป็ น ทางธรรมชาติ ในชุมชนจาก ชุมชนที่ส่งผล อิทธิพลต่อ แวดล้อม ทางธรรมชาติ ทาง
อยูข่ องมนุษย์ และทางสังคม อดีตถึงปัจจุบนั ต่อการดำเนิน ลักษณะการตั้ง ทางธรรมชาติ ของทวีปเอเชีย อันเ
๒. สังเกตและ ๒. แยกแยะและ ๒. อธิบาย ชีวิตของคนใน ถิ่นฐานและการ กับสิ่ งแวดล้อม ออสเตรเลีย การ
เปรี ยบเทียบการ ใช้ทรัพยากร การพึ่งพาสิ่ ง จังหวัด ย้ายถิ่นของ ทางสังคมใน และโอเชียเนีย ทาง
เปลี่ยนแปลง ธรรมชาติที่ใช้ แวดล้อม ๒ อธิบายการ ประชากร ประเทศ ๒. วิเคราะห์ และ
ของสภาพ แล้วไม่หมดไป และทรัพยากร เปลี่ยนแปลง ในภูมิภาค ๒. อธิบายการ ความร่ วมมือ ของ
แวดล้อมที่อยู่ และที่ใช้แล้ว ธรรมชาติ ใน สภาพแวดล้อม ๒. อธิบาย แปลงสภาพ ของประเทศ และ
รอบตัว หมดไปได้อย่าง การ สนอง ในจังหวัดและ อิทธิพลของสิ่ ง ธรรมชาติใน ต่างๆ ที่มีผลต่อ ๒. ร
๓. มีส่วนร่ วม คุม้ ค่า ความ ต้องการ ผลที่เกิดจากการ แวดล้อม ทาง ประเทศไทยจาก สิ่ งแวดล้อมทาง การ
ในการจัด ๓. อธิบายความ พื้นฐานของ เปลี่ยนแปลงนั้น ธรรมชาติ ที่ก่อ อดีตถึงปัจจุบนั ธรรมชาติของ ทรัพ
ระเบียบสิ่ ง สัมพันธ์ของ มนุษย์ ๓. มีส่วนร่ วมใน ให้เกิดวิถีชีวิต และผลที่เกิดขึ้น ทวีปเอเชีย ธรร
แวดล้อม ที่ ฤดูกาลกับการ และการ การอนุรักษ์สิ่ง และการ จากการ ออสเตรเลีย สิ่ งแ
บ้านและ ชั้น ดำเนินชีวิตของ ประกอบอาชีพ แวดล้อมใน สร้างสรรค์ เปลี่ยนแปลงนั้น และโอเชียเนีย ทวีป
เรี ยน มนุษย์ ๓. อธิบายเกี่ยว จังหวัด วัฒนธรรมใน ๓. จัดทำ ๓. สำรวจ และ แอฟ
กับมลพิษและ ภูมิภาค แผนการใช้ อธิบายทำเลที่ต้ งั
๔. มีส่วนร่ วมใน การก่อ ให้ ๓. นำเสนอ ทรัพยากร กิจกรรมทาง ๓. ส
การฟื้ นฟู เกิดมลพิษโดย ตัวอย่างที่ ในชุมชน เศรษฐกิจและ อภิป
ปรับปรุ งสิ่ ง มนุษย์ สะท้อนให้เห็น สังคมในทวีป ปัญ
แวดล้อมใน ๔. อธิบายความ ผลจากการรักษา เอเชีย สิ่ งแ
โรงเรี ยนและ แตกต่างของ และการทำลาย ออสเตรเลีย ที่เก
ชุมชน เมืองและชนบท สภาพแวดล้อม และโอเชียเนีย ทวีป
๕. ตระหนักถึง และเสนอ โดยใช้แหล่ง แอฟ
การเปลี่ยนแปลง แนวคิดในการ ข้อมูลที่หลาก ๔. ว
ของสิ่ งแวดล้อม รักษาสภาพ หลาย และ
ในชุมชน แวดล้อมใน ๔. วิเคราะห์ ที่ปร
ภูมิภาค ปัจจัยทาง ได้ร
กายภาพและ เปล
สังคมที่มีผลต่อ ของ
การเลื่อนไหล ในท
ของความคิด และ
เทคโนโลยี
สิ นค้า และ
ประชากรใน
ทวีปเอเชีย
ออสเตรเลีย และ
โอเชียเนีย

กลุ่มสาระการเรี ยนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ทำไมต้องเรี ยนสุ ขศึกษาและพลศึกษา
สุ ขภาพ หรื อ สุ ขภาวะ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังทางกาย ทางจิต ทางสังคม
และทางปั ญญาหรื อจิตวิญญาณ สุ ขภาพหรื อสุ ขภาวะจึงเป็ นเรื่ องสำคัญ เพราะเกี่ยวโยงกับทุกมิติ
ของชีวิต ซึ่ งทุกคนควรจะได้เรี ยนรู้เรื่ องสุ ขภาพ เพื่อจะได้มีความรู ้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีเจตคติ
คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รวมทั้งมีทกั ษะปฏิบตั ิดา้ นสุ ขภาพจนเป็ นกิจนิสยั อันจะส่ งผลให้
สังคมโดยรวมมีคุณภาพ
เรี ยนรู ้อะไรในสุ ขศึกษาและพลศึกษา
สุ ขศึกษาและพลศึกษาเป็ นการศึกษาด้านสุ ขภาพที่มีเป้ าหมาย เพื่อการดำรงสุ ขภาพ การสร้าง
เสริ มสุ ขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล ครอบครัว และชุมชนให้ยงั่ ยืน
สุ ขศึกษา มุ่งเน้นให้ผเู้ รี ยนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู ้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และ
การปฏิบตั ิเกี่ยวกับสุ ขภาพควบคู่ไปด้วยกัน
พลศึกษา มุ่งเน้นให้ผเู้ รี ยนใช้กิจกรรมการเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกมและ
กีฬา เป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาโดยรวมทั้งด้านร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวมทั้ง
สมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพและกีฬา
สาระที่เป็ นกรอบเนื้ อหาหรื อขอบข่ายองค์ความรู ้ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและ
พลศึกษาประกอบด้วย
● การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ผูเ้ รี ยนจะได้เรี ยนรู ้เรื่ องธรรมชาติของ
การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ปั จจัยที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโต ความสัมพันธ์เชื่อมโยงใน
การทำงานของระบบต่างๆของร่ างกาย รวมถึงวิธีปฏิบตั ิตนเพื่อให้เจริ ญเติบโตและมีพฒั นาการที่
สมวัย
● ชีวิตและครอบครัว ผูเ้ รี ยนจะได้เรี ยนรู ้เรื่ องคุณค่าของตนเองและครอบครัว การ
ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ความรู ้สึกทางเพศ การสร้างและรักษา
สัมพันธภาพกับผูอ้ ื่น สุ ขปฏิบตั ิทางเพศ และทักษะในการดำเนินชีวิต
● การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ผูเ้ รี ยนได้
เรี ยนรู ้เรื่ องการเคลื่อนไหวในรู ปแบบต่าง ๆ การเข้าร่ วมกิจกรรมทางกายและกีฬา ทั้งประเภทบุคคล
และประเภททีมอย่างหลากหลายทั้งไทยและสากล การปฏิบตั ิตามกฎ กติกา ระเบียบ ข้อตกลงใน
การเข้าร่ วมกิจกรรมทางกายและกีฬา และความมีน ้ำใจนักกีฬา

● การสร้างเสริ มสุ ขภาพ สมรรถภาพ และการป้ องกันโรค ผูเ้ รี ยนจะได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับ
หลักและวิธีการเลือกบริ โภคอาหาร ผลิตภัณฑ์และบริ การสุ ขภาพ การสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อ
สุ ขภาพ และการป้ องกันโรคทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ
● ความปลอดภัยในชีวิต ผูเ้ รี ยนจะได้เรี ยนรู ้เรื่ องการป้ องกันตนเองจากพฤติกรรมเสี่ ยง
ต่างๆ ทั้งความเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบตั ิเหตุ ความรุ นแรง อันตรายจากการใช้ยาและสารเสพติด
รวมถึงแนวทางในการสร้างเสริ มความปลอดภัยในชีวิต
คุณภาพผูเ้ รี ยน
จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓
● มีความรู้ และเข้าใจในเรื่ องการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ปัจจัยที่มีผล
ต่อ การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการ วิธีการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ ่มเพื่อน
● มีสุขนิสยั ที่ดีในเรื่ องการกิน การพักผ่อนนอนหลับ การรักษาความสะอาดอวัยวะ
ทุกส่ วนของร่ างกาย การเล่นและการออกกำลังกาย
● ป้ องกันตนเองจากพฤติกรรมที่อาจนำไปสู่ การใช้สารเสพติด การล่วงละเมิดทาง
เพศและรู ้จกั ปฏิเสธในเรื่ องที่ไม่เหมาะสม
● ควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ตามพัฒนาการในแต่ละช่วงอายุ มีทกั ษะการ
เคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานและมีส่วนร่ วมในกิจกรรมทางกาย กิจกรรมสร้างเสริ มสมรรถภาพทางกาย
เพื่อสุ ขภาพ และเกม ได้อย่างสนุกสนาน และปลอดภัย
● มีทกั ษะในการเลือกบริ โภคอาหาร ของเล่น ของใช้ ที่มีผลดีต่อสุ ขภาพ หลีกเลี่ยง
และป้ องกันตนเองจากอุบตั ิเหตุได้
● ปฏิบตั ิตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมเมื่อมีปัญหาทางอารมณ์ และปั ญหาสุ ขภาพ
● ปฏิบตั ิตนตามกฎ ระเบียบข้อตกลง คำแนะนำ และขั้นตอนต่างๆ และให้ความ
ร่ วมมือกับผูอ้ ื่นด้วยความเต็มใจจนงานประสบความสำเร็ จ
● ปฏิบตั ิตามสิ ทธิของตนเองและเคารพสิ ทธิ ของผูอ้ ื่นในการเล่นเป็ นกลุ่ม

จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
● เข้าใจความสัมพันธ์เชื่อมโยงในการทำงานของระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย และรู ้จกั
ดูแลอวัยวะที่สำคัญของระบบนั้น ๆ
● เข้าใจธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม แรงขับทาง
เพศของชายหญิง เมื่อย่างเข้าสู่ วยั แรกรุ่ นและวัยรุ่ น สามารถปรับตัวและจัดการได้อย่างเหมาะสม
● เข้าใจและเห็นคุณค่าของการมีชีวิตและครอบครัวที่อบอุน่ และเป็ นสุ ข
● ภูมิใจและเห็นคุณค่าในเพศของตน ปฏิบตั ิสุขอนามัยทางเพศได้ถูกต้องเหมาะสม
● ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพและการเกิดโรค
อุบตั ิเหตุ ความรุ นแรง สารเสพติดและการล่วงละเมิดทางเพศ
● มีทกั ษะการเคลื่อนไหวพื้นฐานและการควบคุมตนเองในการเคลื่อนไหวแบบผสม
ผสาน
● รู้หลักการเคลื่อนไหวและสามารถเลือกเข้าร่ วมกิจกรรมทางกาย เกม การละเล่น
พื้นเมือง กีฬาไทย กีฬาสากลได้อย่างปลอดภัยและสนุกสนาน มีน ้ำใจนักกีฬา โดยปฏิบตั ิตามกฎ
กติกา สิ ทธิ และหน้าที่ของตนเอง จนงานสำเร็ จลุล่วง
● วางแผนและปฏิบตั ิกิจกรรมทางกาย กิจกรรมสร้างเสริ มสมรรถภาพทางกายเพื่อ
สุ ขภาพได้ตามความเหมาะสมและความต้องการเป็ นประจำ
● จัดการกับอารมณ์ ความเครี ยด และปั ญหาสุ ขภาพได้อย่างเหมาะสม
● มีทกั ษะในการแสวงหาความรู ้ ข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้างเสริ มสุ ขภาพ

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
● เข้าใจและเห็นความสำคัญของปั จจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการที่
มีต่อสุ ขภาพและชีวิตในช่วงวัยต่าง ๆ
● เข้าใจ ยอมรับ และสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกาย จิตใจ อารมณ์
ความรู ้สึกทางเพศ ความเสมอภาคทางเพศ สร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผูอ้ ื่น และตัดสิ นใจแก้
ปั ญหาชีวิตด้วยวิธีการที่เหมาะสม
● เลือกกินอาหารที่เหมาะสม ได้สดั ส่ วน ส่ งผลดีต่อการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการตามวัย
● มีทกั ษะในการประเมินอิทธิ พลของเพศ เพื่อน ครอบครัว ชุมชนและวัฒนธรรมที่มีต่อ
เจตคติ ค่านิยมเกี่ยวกับสุ ขภาพและชีวิต และสามารถจัดการได้อย่างเหมาะสม
● ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพและการเกิดโรค อุบตั ิเหตุ
การใช้ยา สารเสพติด และความรุ นแรง รู ้จกั สร้างเสริ มความปลอดภัยให้แก่ตนเอง ครอบครัว และ
ชุมชน
● เข้าร่ วมกิจกรรมทางกาย กิจกรรมกีฬา กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริ ม
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุ ขภาพ โดยนำหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างปลอดภัย สนุกสนาน
และปฏิบตั ิเป็ นประจำสม่ำเสมอตามความถนัดและความสนใจ
● แสดงความตระหนักในความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมสุ ขภาพ การป้ องกันโรค การ
ดำรงสุ ขภาพ การจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด การออกกำลังกายและการเล่นกีฬากับการมีวิถี
ชีวิตที่มีสุขภาพดี
● สำนึกในคุณค่า ศักยภาพและความเป็ นตัวของตัวเอง
● ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา หน้าที่ความรับผิดชอบ เคารพสิ ทธิ ของตนเองและผูอ้ ื่น ให้ความ
ร่ วมมือในการแข่งขันกีฬาและการทำงานเป็ นทีมอย่างเป็ นระบบ ด้วยความมุ่งมัน่ และมีน ้ำใจนักกีฬา
จนประสบความสำเร็ จตามเป้ าหมายด้วยความชื่นชม และสนุกสนาน

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
● สามารถดูแลสุ ขภาพ สร้างเสริ มสุ ขภาพ ป้ องกันโรค หลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง และ
พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบตั ิเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุ นแรงได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ด้วยการวางแผนอย่างเป็ นระบบ
● แสดงออกถึงความรัก ความเอื้ออาทร ความเข้าใจในอิทธิ พลของครอบครัว เพื่อน
สังคม และวัฒนธรรมที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศ การดำเนินชีวิต และวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี
● ออกกำลังกาย เล่นกีฬา เข้าร่ วมกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสร้างเสริ ม
สมรรถภาพ เพื่อสุ ขภาพโดยนำหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างถูกต้อง สม่ำเสมอด้วย
ความชื่นชมและสนุกสนาน
● แสดงความรับผิดชอบ ให้ความร่ วมมือและปฏิบตั ิตามกฎ กติกา สิ ทธิ หลักความ
ปลอดภัยในการเข้าร่ วมกิจกรรมทางกาย และเล่นกีฬาจนประสบความสำเร็ จตามเป้ าหมายของตนเอง
และทีม
● แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่น และการแข่งขัน ด้วยความมีน ้ำใจ
นักกีฬาและนำไปปฏิบตั ิในทุกโอกาสจนเป็ นบุคลิกภาพที่ดี
● วิเคราะห์และประเมินสุ ขภาพส่ วนบุคคลเพื่อกำหนดกลวิธีลดความเสี่ ยง สร้าง
เสริ มสุ ขภาพ ดำรงสุ ขภาพ การป้ องกันโรค และการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดได้ถูกต้อง
และเหมาะสม
● ใช้กระบวนการทางประชาสังคม สร้างเสริ มให้ชุมชนเข้มแข็งปลอดภัย และมีวิถี
ชีวิตที่ดี

สาระที่ ๑ การเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์


มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
บาย ๑. อธิ บาย ๑. อธิบายการ ๑. อธิบาย ๑. อธิ บาย ๑. อธิ บาย ๑. อธิ บายการ ๑. เปรี ยบ ๑. อธิ บาย
ะ ลักษณะและ เจริ ญเติบโต ความสำคัญ ความสำคัญ ความสำคัญ เปลี่ยนแปลง เทียบการ เสริ มและด
น้าที่ การเจริ ญ และพัฒนาการ ของระบบย่อย ของระบบ ของระบบ ด้านร่ างกาย เปลี่ยน การทำงาน
ยั วะ เติบโตของ ของร่ างกาย อาหาร และ สื บพันธุ์ ประสาท และ จิตใจ อารมณ์ แปลงทางด้าน ๆ
ร่ างกายมนุษย์ และจิตใจตามวัย ระบบขับถ่าย ระบบไหล ระบบ สังคม และสติ ร่ างกาย จิตใจ ๒. วางแผ
บายวิธี ๒. เปรี ยบ ๒. อธิบายความ ที่มีผลต่อ เวียนโลหิ ต ต่อมไร้ท่อ ปั ญญา อารมณ์ ตามภาวะ
กษา เทียบการเจริ ญ สำคัญ สุ ขภาพ และระบบ ที่มีผลต่อ ในวัยรุ่ น สังคม และ และพัฒน
ภายใน เติบโตของ ของกล้ามเนื้อ การเจริ ญ หายใจ ที่มีผล สุ ขภาพ ๒. ระบุปัจจัย สติปัญญา และบุคคล
บาย ตนเองกับ กระดูกและข้อ เติบโต และ ต่อสุ ขภาพ การเจริ ญ ที่มีผลกระทบ แต่ละช่วง
ชาติ เกณฑ์ ที่มีผลต่อ พัฒนาการ การเจริ ญ เติบโต และ ต่อการเจริ ญ ของชีวิต
ต มาตรฐาน สุ ขภาพ ๒. อธิบายวิธี เติบโตและ พัฒนาการ เติบโต ๒. วิเคราะห์
๓. ระบุปัจจัย การเจริ ญเติบโต ดูแลระบบ พัฒนาการ ของวัยรุ่ น และ อิทธิ พลและ
ที่มีผลต่อการ และพัฒนาการ ย่อยอาหาร ๒. อธิ บายวิธี ๒. อธิ บายวิธี พัฒนาการ ความคาดหวัง
เจริ ญเติบโต ๓. อธิบายวิธี และระบบขับ การดูแลระบบ ดูแลระบบ ด้านร่ างกาย ของสังคมต่อ
ดูแลกล้ามเนื้อ ถ่ายให้ท ำงาน สื บพันธุ์ ประสาท และ จิตใจ อารมณ์ การ
กระดูก และข้อ ตามปกติ ระบบไหล ระบบต่อมไร้ สังคม และสติ เปลี่ยนแปลง
ให้ท ำงานอย่างมี เวียนโลหิ ต ท่อให้ท ำงาน ปั ญญา ของวัยรุ่ น
ประสิ ทธิภาพ และระบบ ตามปกติ ในวัยรุ่ น
หายใจให้
ทำงานตาม
ปกติ

ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๓. วิเคราะห์ ๓. วิเคราะห์
ภาวะการเจริ ญ สื่ อ โฆษณา
เติบโตทาง ที่มีอิทธิ พล
ร่ างกายของ ต่อการเจริ ญ
ตนเอง เติบโตและ
กับเกณฑ์ พัฒนาการ
มาตรฐาน ของวัยรุ่ น
๔. แสวงหา
แนวทาง
ในการพัฒนา
ตนเองให้
เจริ ญเติบโต
สมวัย
สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกั ษะในการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วดั ชั้นปี
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
บุ ๑. อธิ บาย ๑. อธิบาย ๑. อธิบายการ ๑. อธิ บาย ๑. อธิ บายวิธี ๑. วิเคราะห์ ๑. อธิ บาย ๑. วิเครา
ทหน้าที่ ความสำคัญ คุณลักษณะของ เปลี่ยนแปลง ความสำคัญ การปรับตัวต่อ ปั จจัยที่มี อนามัยแม่และ ครอบคร
นเอง และความแตก ความเป็ นเพื่อน ทางเพศ และ ของการสร้าง การ อิทธิ พลต่อ เด็ก วัฒนธรร
มาชิก ต่างของ และสมาชิกที่ดี ปฏิบตั ิตนได้ และรักษา เปลี่ยนแปลง เจตคติในเรื่ อง การวางแผน พฤติกรร
อบครัว ครอบครัวที่มี ของครอบครัว เหมาะสม สัมพันธภาพ ทางร่ างกาย เพศ ครอบครัว และ ดำเนินชีว
อกความ ต่อตนเอง ๒. แสดง ๒. อธิบาย กับผูอ้ ื่น จิตใจ อารมณ์ ๒. วิเคราะห์ วิธีการปฏิบตั ิ ๒. วิเคร
ของ ๒. อธิ บาย พฤติกรรมที่ ความสำคัญ ๒. วิเคราะห์ และ ปั ญหาและ ตนที่เหมาะสม ตามวัฒน
วิธีสร้าง เหมาะสมกับ ของการมี พฤติกรรม พัฒนาการทาง ผลกระทบ ๒. วิเคราะห์ วัฒนธรร
บุ สัมพันธภาพ เพศของตนตาม ครอบครัว เสี่ ยงที่อาจนำ เพศอย่าง ที่เกิดจากการ ปั จจัยที่มีผลก ๓. เลือก
รรม ในครอบครัว วัฒนธรรมไทย ที่อบอุ่นตาม ไปสู่ การมีเพศ เหมาะสม มีเพศสัมพันธ์ ระทบต่อ การ สมในกา
ะสม และกลุ่ม ๓. ยกตัวอย่าง วัฒนธรรม สัมพันธ์ การ ๒. แสดง ในวัยเรี ยน ตั้งครรภ์ แย้งและแ
เพื่อน วิธีการปฏิเสธ ไทย๓. ระบุ ติดเชื้อเอดส์ ทักษะการ ๓. อธิ บาย ๓. วิเคราะห์ ครอบคร
บาย ๓. บอกวิธี การกระทำที่เป็ น พฤติกรรม และการตั้ง ปฏิเสธเพื่อ วิธีป้องกัน สาเหตุ และ ๔. วิเคร
ภาค หลีกเลี่ยง อันตรายและ ที่พึงประสงค์ ครรภ์ก่อนวัย ป้ องกันตนเอง ตนเองและ เสนอแนวทาง ความขัด
ใน พฤติกรรม ไม่เหมาะสมใน และไม่พึง อันควร จากการถูก หลีกเลี่ยงจาก ป้ องกัน แก้ไข ระหว่างน
ป็ นเพศ ที่น ำไปสู่ การ เรื่ องเพศ ประสงค์ ล่วงละเมิด โรคติดต่อทาง ความขัดแย้งใน ในชุมชน
หรื อ ล่วงละเมิด ในการแก้ไข ทางเพศ เพศสัมพันธ์ ครอบครัว แก้ไขปั ญ
ย ทางเพศ ปัญหาความ เอดส์ และ
ขัดแย้งใน การตั้งครรภ์
ครอบครัวและ โดยไม่พึง
กลุ่มเพื่อน ประสงค์

ตัวชี้วดั ชั้นปี
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๔. อธิ บาย
ความสำคัญ
ของความ
เสมอภาค
ทางเพศ และ
วางตัวได้อย่าง
เหมาะสม

สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล


มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
ตัวชี้วดั ชั้นปี
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
บคุม ๑. ควบคุม ๑. ควบคุม ๑. จัด รู ป ๑. แสดง ๑. เพิม่ พูน ๑. นำผลการ ๑. เล่นกีฬา ๑. วิเครา
การ ตนเองเมื่อใช้ แบบการ ทักษะการ ความสามารถ ปฏิบตั ิตน ไทยและกีฬา เกี่ยวกับก
ไหว เคลื่อนไหว ทักษะการ เคลื่อนไหว เคลื่อนไหว ของตน เกี่ยวกับทักษะ สากล ได้อย่าง ต่างๆ ใน
ย ร่ างกาย ขณะ เคลื่อนไหวใน แบบผสม ร่ วมกับผูอ้ ื่น ตามหลักการ กลไกและ ละ ๑ ชนิดโดย ๒. ใช้คว
ยูก่ บั ที่ อยูก่ บั ที่ ลักษณะผสม ผสาน และ ในลักษณะ เคลื่อนไหว ทักษะการ ใช้เทคนิคที่ เพื่อเพิ่มศ
ที่ และ เคลื่อนที่และ ผสานได้ ทั้ง ควบคุมตนเอง แบบผลัดและ ที่ใช้ทกั ษะ เคลื่อนไหว เหมาะสมกับ ถึงผลที่เก
กรณ์ ใช้อุปกรณ์ แบบอยูก่ บั ที่ เมื่อใช้ทกั ษะ แบบผสม กลไกและ ในการเล่น ตนเองและทีม ๓. เล่นก
อบ ประกอบ เคลื่อนที่ และ การ ผสานได้ตาม ทักษะพื้นฐาน กีฬาจากแหล่ง ๒. นำหลักการ ประเภทบ
นเกม อย่างมีทิศทาง ใช้อุปกรณ์ เคลื่อนไหว ลำดับทั้งแบบ ที่นำไปสู่ การ ข้อมูล ที่ ความรู ้และ ทีมได้อย
ล็ดและ ๒. ประกอบ๒. ฝึ ก ตามแบบที่ อยูก่ บั ที่ พัฒนาทักษะ หลากหลายมา ทักษะในการ ๔. แสดง
ม เคลื่อนไหว กายบริ หารท่า กำหนด เคลื่อนที่ และ การเล่นกีฬา สรุ ปเป็ นวิธีที่ เคลื่อนไหว อย่างสร้า
มทาง ร่ างกายที่ใช้ มือเปล่า ๒. เล่นเกมนำ ใช้อุปกรณ์ ๒. เล่นกีฬา เหมาะสมใน กิจกรรมทาง ๕. เข้าร่ ว
ธีเล่น ทักษะการ ประกอบจังหวะ ไปสู่ กีฬา ประกอบ ไทยและกีฬา บริ บทของ กาย การเล่น นอกโรง
าร เคลื่อนไหว ๓. เล่นเกมเลียน ที่เลือกและ และการ สากลประเภท ตนเอง เกม และการ แนวคิดไ
ไหว แบบบังคับ แบบและ กิจกรรมการ เคลื่อนไหว บุคคล เล่นกีฬาไปใช้ คุณภาพช
น ทิศทางในการ กิจกรรมแบบ เคลื่อนไหว ประกอบเพลง สร้างเสริ ม
บอยูก่ บั เล่นเกม ผลัด แบบผลัด
เบ็ดเตล็ด ๔. เล่นกีฬา
พื้นฐานได้อย่าง
น้อย ๑ ชนิด

ตัวชี้วดั ชั้นปี
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
ที่และ ๓. ควบคุม ๒. จำแนก และทีมโดยใช้ ๒. เล่นกีฬา สุ ขภาพอย่าง
กรณ์ การ หลักการ ทักษะพื้นฐาน ไทยและกีฬา ต่อเนื่อง เป็ น
อบ เคลื่อนไหว เคลื่อนไหวใน ตามชนิดกีฬา สากล ทั้ง ระบบ
ในเรื่ องการรับ เรื่ องการรับ อย่างละ ๑ ประเภทบุคคล ๓. ร่ วม
แรง การใช้ แรง การใช้ ชนิด๓. ร่ วม และทีมได้ กิจกรรม
แรงและความ แรง และ กิจกรรม อย่างละ ๑ นันทนาการ
สมดุล ความสมดุล นันทนาการ ชนิด อย่างน้อย ๑
๔. แสดง ในการ อย่างน้อย ๑ ๓. เปรี ยบ กิจกรรม และ
ทักษะกลไก เคลื่อนไหว กิจกรรมและ เทียบ นำหลักความรู ้
ในการปฏิบตั ิ ร่ างกายในการ นำหลักความรู ้ ประสิ ทธิ ภาพ วิธีการไปขยาย
กิจกรรมทาง เล่นเกม เล่น ที่ได้ไปเชื่อม ของรู ปแบบ ผลการเรี ยนรู ้
กายและเล่น กีฬา และนำ โยงสัมพันธ์ การ ให้กบั ผูอ้ ื่น
กีฬา ผลมา กับ วิชาอื่น เคลื่อนไหว
๕. เล่นกีฬา ปรับปรุ ง ที่ส่งผลต่อการ
ไทย และกีฬา เพิ่มพูนวิธี เล่นกีฬาและ
สากลประเภท ปฏิบตั ิของตน กิจกรรมใน
บุคคลและ และผูอ้ ื่น ชีวิตประจำวัน
ประเภททีม ๓. เล่นกีฬา ๔. ร่ วม
ได้อย่างละ ไทย กีฬา กิจกรรม
๑ ชนิด สากลประเภท นันทนาการ
บุคคลและ อย่างน้อย
ประเภททีม

ตัวชี้วดั ชั้นปี
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๖. อธิบาย ได้อย่างละ ๑ ๑ กิจกรรม
หลักการ และ ชนิด และนำความรู ้
เข้าร่ วม ๔. ใช้ทกั ษะ และหลักการ
กิจกรรม กลไกเพื่อ ที่ได้ ไปปรับ
นันทนาการ ปรับปรุ ง ใช้ในชีวิต
อย่างน้อย เพิ่มพูนความ ประจำวัน
๑ กิจกรรม สามารถของ อย่างเป็ น
ตนและผูอ้ ื่น ระบบ
ในการเล่น
กีฬา๕. ร่ วม
กิจกรรม
นันทนาการ
อย่างน้อย
๑ กิจกรรม
แล้วนำความรู ้
และหลักการ
ที่ได้ไปใช้เป็ น
ฐานการศึกษา
หาความรู ้เรื่ อง
อื่น ๆ

มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบตั ิเป็ นประจำอย่าง


สม่ำเสมอ มีวนิ ยั เคารพสิ ทธิ กฎ กติกา มีน ้ำใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณ
ในการแข่งขันและชื่นชมในสุ นทรี ยภาพของการกีฬา
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
กกำลัง ๑. เลือก ๑. ออกกำลัง ๑. ออกกำลัง ๑. อธิ บาย ๑. อธิ บาย ๑. อธิ บาย ๑. มีมารยาท ๑. ออกก
ละเล่น ออกกำลังกาย กาย เล่นเกม กายอย่างมีรูป ประโยชน์ ความสำคัญ สาเหตุการ ในการเล่น ที่เหมาะส
ด้ดว้ ย การละเล่นพื้น และกีฬา ที่ แบบ เล่นเกม และหลักการ ของการออก เปลี่ยนแปลง และดูกีฬาด้วย สม่ำเสมอ
อย่าง เมือง และ ตนเองชอบและ ที่ใช้ทกั ษะ ออกกำลังกาย กำลังกายและ ทางกาย จิตใจ ความมีน ้ำใจ ของตนเอ
นาน เล่นเกม ที่ มีความสามารถ การคิดและ เพื่อสุ ขภาพ เล่นกีฬา อารมณ์ สังคม นักกีฬา ลดความเป
บัติตาม เหมาะสมกับ ในการวิเคราะห์ ตัดสิ นใจ สมรรถภาพ จนเป็ นวิถีชีวิต และสติปัญญา ๒.ออกกำลัง ที่เกิดต่อส
ติกาและ จุดเด่นจุดด้อย ผลพัฒนาการ ๒. เล่นกีฬา ทางกายและ ที่มีสุขภาพดี ที่เกิดจากการ กายและเล่น ๒. อธิ บาย
ลงใน และข้อจำกัด ของตนเองตาม ที่ตนเองชอบ การสร้างเสริ ม ๒. ออกกำลัง ออกกำลังกาย กีฬาอย่าง สิ ทธิ กฎ
นเกม ของตนเอง ตัวอย่างและ อย่าง บุคลิกภาพ กายและเลือก และเล่นกีฬา สม่ำเสมอและ ระหว่างกา
ม ๒. ปฏิบตั ิตาม แบบปฏิบตั ิของ สม่ำเสมอ ๒. เล่นเกม ที่ เข้าร่ วมเล่น เป็ นประจำจน นำแนวคิด กับผูอ้ ื่นแล
กฎ กติกาและ ผูอ้ ื่น โดยสร้างทาง ใช้ทกั ษะการ กีฬาตามความ เป็ นวิถีชีวิต หลักการจาก ปฏิบตั ิและ
ข้อตกลงของ ๒. ปฏิบตั ิตาม เลือก วางแผน และ ถนัด ความ ๒. เลือกเข้า การเล่นไป อย่างต่อเน
การออกกำลัง กฎ กติกาการ ในวิธีปฏิบตั ิ สามารถ สนใจ ร่ วมออกกำลัง พัฒนาคุณภาพ ๓.แสดงอ
กาย การเล่น เล่นกีฬาพื้นฐาน ของตนเอง เพิ่มพูนทักษะ อย่างเต็มความ กายเล่นกีฬา ชีวิตของตน
เกม การละ ตามชนิดกีฬาที่ อย่างหลาก การออกกำลัง สามารถ ตามความถนัด ด้วยความภาค ในการดู ก
เล่น-พื้นเมือง เล่น หลาย และมี กายและ พร้อมทั้งมี ความสนใจ ภูมิใจ กีฬา ด้วย
ได้ดว้ ยตนเอง น้ำใจนักกีฬา เคลื่อนไหว การประเมิน พร้อมทั้ง ๓. ปฏิบตั ิตน และนำไป
๓. ปฏิบตั ิ อย่างเป็ น การเล่นของ วิเคราะห์ ตามกฎ กติกา จนเป็ นบุค
ตามกฎ กติกา ระบบ ตนและผูอ้ ื่น ความแตกต่าง และข้อตกลง ๔. ร่ วมกิจ
การเล่นเกม ๓. เล่นกีฬา ๓. ปฏิบตั ิตาม ระหว่างบุคคล ในการเล่น กีฬาอย่างม
กีฬาไทย และ ที่ตนเองชื่น กฎ กติกา เพื่อเป็ น ตามชนิดกีฬา คุณค่าและ
กีฬาสากล ชอบและ และข้อตกลง แนวทางใน ที่เลือกและนำ
ตามชนิดกีฬา สามารถ ตามชนิดกีฬา การพัฒนา แนวคิด ที่ได้
ที่เล่น ประเมิน ที่เลือกเล่น ตนเอง ไปพัฒนา
ทักษะการเล่น คุณภาพชีวิต
ของตนเป็ น ของตน
ประจำ ในสังคม
ตัวชี้วดั ชั้นปี ต
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
๔. ปฏิบตั ิตน ๔. ปฏิบตั ิตาม ๔. วางแผน ๓. มีวนิ ยั ๔. จำแนก
ตามสิ ทธิของ กฎ กติกา การรุ กและ ปฏิบตั ิตามกฎ กลวิธีการรุ ก
ตนเอง ตามชนิดกีฬา การป้ องกันใน กติกา และข้อ การป้ องกัน
ไม่ละเมิดสิ ทธิ ที่เล่น โดย การเล่นกีฬาที่ ตกลงในการ และใช้ใน
ผูอ้ ื่นและ คำนึงถึงความ เลือกและนำ เล่นกีฬา การเล่นกีฬา
ยอมรับใน ปลอดภัยของ ไปใช้ ใน ที่เลือก ที่เลือกและ
ความแตกต่าง ตนเองและผู ้ การเล่นอย่าง ๔. วางแผน ตัดสิ นใจเลือก
ระหว่างบุคคล อื่น เป็ นระบบ การรุ กและ วิธีที่เหมาะสม
ในการเล่นเกม ๕. จำแนก ๕. ร่ วมมือใน การป้ องกันใน กับทีมไป
กลวิธีการรุ ก การเล่นกีฬา การเล่นกีฬาที่ ใช้ได้ตาม
กีฬาไทยและ การป้ องกัน และการ เลือกและนำ สถานการณ์
กีฬาสากล และนำไปใช้ ทำงานเป็ นทีม ไปใช้ ของการเล่น
ในการเล่น อย่าง ในการเล่น ๕. เสนอผล
กีฬา สนุกสนาน อย่างเหมาะ การพัฒนา
๖. เล่นเกม ๖. วิเคราะห์ สมกับทีม สุ ขภาพของ
และกีฬาด้วย เปรี ยบเทียบ ๕. นำผล ตนเองที่เกิด
ความสามัคคี และยอมรับ การปฏิบตั ิใน จากการออก
และมีน ้ำใจ ความแตกต่าง การเล่นกีฬา กำลังกาย และ
นักกีฬา ระหว่างวิธี มาสรุ ปเป็ นวิธี การเล่นกีฬา
การเล่นกีฬา ที่เหมาะสม เป็ นประจำ
ของตนเองกับ กับตนเองด้วย
ผูอ้ ื่น ความมุ่งมัน่

สาระที่ ๔ การสร้างเสริ มสุ ขภาพ สมรรถภาพและการป้ องกันโรค


มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทกั ษะในการสร้างเสริ มสุ ขภาพ การดำรงสุ ขภาพ การป้ องกัน
โรคและการสร้างเสริ มสมรรถภาพเพื่อสุ ขภาพ
ตัวชี้วดั ชั้นปี
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม.๒ ม.๓
๑. อธิบายการ ๑. อธิบาย ๑. แสดง ๑. แสดง ๑. เลือกกิน ๑. เลือกใช้ ๑. กำหนด ๑. วิเคร
ของ ติดต่อและวิธี ความสัมพันธ์ พฤติกรรม พฤติกรรม อาหารที่ บริ การทาง รายการอาหาร รับผิดช
ขภาพดี การป้ องกัน ระหว่างสิ่ ง ที่เห็นความ ในการป้ องกัน เหมาะสมกับ สุ ขภาพอย่างมี ที่เหมาะสมกับ การสร้า
กกิน การแพร่ แวดล้อมกับ สำคัญของการ และแก้ไข วัย เหตุผล วัยต่าง ๆ โดย ป้ องกัน
มี กระจาย สุ ขภาพ ปฏิบตั ิตนตาม ปัญหาสิ่ ง ๒. วิเคราะห์ ๒. วิเคราะห์ คำนึงถึงความ ๒. วิเค
น์ ของโรค ๒. อธิบาย สุ ขบัญญัติแห่ง แวดล้อมที่มีผล ปัญหาที่เกิด ผลของการใช้ ประหยัดและ สื่ อโฆษ
๒. จำแนก สภาวะอารมณ์ ชาติ ต่อสุ ขภาพ จากภาวะ เทคโนโลยีที่มี คุณค่าทาง เพื่อการ
ละ อาหารหลัก ความรู้สึกที่มี ๒. ค้นหา ๒. วิเคราะห์ โภชนาการที่มี ต่อสุ ขภาพ โภชนาการ ๓. ปฏิบ
ที่มีผล ๕ หมู่ ผลต่อสุ ขภาพ ข้อมูลข่าวสาร ผลกระทบที่ ผลกระทบต่อ ๓. วิเคราะห์ ๒. เสนอ บริ โภค
ขภาพ ๓. เลือกกิน ๓. วิเคราะห์ เพื่อใช้สร้าง เกิดจากการ สุ ขภาพ ความเจริ ญ แนวทาง ๔. วิเคร
าย อาหารที่หลาก ข้อมูลบนฉลาก เสริ มสุ ขภาพ ระบาดของโรค ๓. ควบคุมน้ำ ก้าวหน้า ป้ องกันโรคที่ แนวทาง
ละวิธี หลายครบ ๕ อาหารและ ๓. วิเคราะห์ และเสนอ หนักของ ทางการแพทย์ เป็ นสาเหตุ ป่ วยและ
การ หมู่ในสัดส่ วน ผลิตภัณฑ์ สื่ อโฆษณาใน แนวทางการ ตนเองให้อยู่ ที่มีผลต่อ สำคัญของการ ๕. วาง
การ ที่เหมาะสม สุ ขภาพ เพื่อ การตัดสิ นใจ ป้ องกันโรค ในเกณฑ์ สุ ขภาพ เจ็บป่ วยและ แผนการ
ที่อาจ ๔. แสดงวิธี การเลือก เลือกซื้ ออาหาร ติดต่อสำคัญที่ มาตรฐาน ๔. วิเคราะห์ การตายของคน ตนเองแ
แปรงฟันให้ บริ โภค และผลิตภัณฑ์ พบใน ๔. สร้างเสริ ม ความสัมพันธ์ ไทย๓. ๖. มีส่ว
บัติตาม สะอาดอย่าง ๔. ทดสอบและ สุ ขภาพอย่างมี ประเทศไทย และปรับปรุ ง ของภาวะ รวบรวมข้อมูล และพัฒ
นำเมื่อ ถูกวิธี ปรับปรุ ง เหตุผล ๓. แสดง สมรรถภาพ สมดุลระหว่าง และ
เจ็บ สมรรถภาพ ๔. ปฏิบตั ิตน พฤติกรรมที่บ่ง ทางกายตาม สุ ขภาพกาย เสนอแนวทาง
ะบาด ทางกายตามผล ในการป้ องกัน บอกถึงความ ผล การ และสุ ขภาพจิต แก้ไขปั ญหา
การตรวจสอบ โรคที่พบบ่อย รับผิดชอบต่อ ทดสอบ สุ ขภาพใน
ในชีวิตประจำ สุ ขภาพของ ชุมชน
วัน

ตัวชี้วดั ชั้นปี
๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม.๒ ม.๓
๕. สร้างเสริ ม สมรรถภาพ ๕. ทดสอบ ส่ วนรวม ๕. อธิ บาย ๔. วางแผน ๗. วาง
สมรรถภาพ ทางกาย และปรับปรุ ง ๔. สร้างเสริ ม ลักษณะอาการ และจัดเวลา ใน แผนการ
ทางกายได้ สมรรถภาพ และปรับปรุ ง เบื้องต้นของผู ้ การ กาย แล
ตามคำแนะนำ ทางกายตามผล สมรรถภาพ มีปัญหา ออกกำลังกาย
การทดสอบ ทางกายเพื่อ สุ ขภาพจิต๖. การพักผ่อน
สมรรถภาพ สุ ขภาพอย่าง เสนอแนะวิธี และการสร้าง
ทางกาย ต่อเนื่อง ปฏิบตั ิตน เสริ ม
เพื่อจัดการกับ สมรรถภาพ
อารมณ์และ ทางกาย
ความเครี ยด ๕. ทดสอบ
๗. พัฒนา สมรรถภาพ
สมรรถภาพ ทางกาย และ
ทางกายตนเอง พัฒนาได้ตาม
ให้เป็ นไปตาม ความแตกต่าง
เกณฑ์ที่ ระหว่างบุคคล
กำหนด
สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้ องกันและหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ ยง พฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ อุบตั ิเหตุ การใช้ยา
สารเสพติด และความรุ นแรง
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๑. ระบุสิ่ง ๑. ปฏิบตั ิตน ๑. ปฏิบตั ิตน ๑. อธิ บาย ๑. วิเคราะห์ ๑. วิเคราะห์ ๑. แสดงวิธี ๑. ระบุว
ที่ท ำให้เกิด ในการป้ องกัน เพื่อความ ความสำคัญ ปั จจัยที่มี ผลกระทบจาก ปฐมพยาบาล ปั จจัยและ
อันตราย อุบตั ิเหตุที่อาจ ปลอดภัยจาก ของการใช้ยา อิทธิ พลต่อ ความรุ นแรง และเคลื่อน แหล่ง ท
ที่บา้ น เกิดขึ้นทางน้ำ อุบตั ิเหตุใน และใช้ยาอย่าง การใช้สาร ของภัย ย้ายผูป้ ่ วย เหลือฟื้ น
โรงเรี ยน และทางบก บ้าน ถูกวิธี เสพติด ธรรมชาติที่มีต่อ อย่างปลอดภัย สารเสพต
และการ ๒. บอกชื่อ โรงเรี ยน และ ๒. แสดงวิธี ๒. วิเคราะห์ ร่ างกาย จิตใจ ๒. อธิ บาย ๒. อธิ บ
ป้ องกัน ยาสามัญ การเดินทาง ปฐมพยาบาล ผลกระทบ และสังคม ลักษณะ การหลีกเ
๒. บอก ประจำบ้าน ๒. แสดงวิธี เมื่อได้รับ ของการใช้ยา ๒. ระบุวิธี อาการของผู ้ พฤติกรร
สาเหตุและ และใช้ยาตาม ขอความช่วย อันตรายจาก และสารเสพ ปฏิบตั ิตน เพื่อ ติดสารเสพติด และ
การป้ องกัน คำแนะนำ๓. เหลือจาก การใช้ยาผิด ติด ที่มีผลต่อ ความปลอดภัย และการ สถานการ
อันตรายที่ ระบุโทษของ บุคคลและ สารเคมี ร่ างกาย จิตใจ จาก ภัย ป้ องกันการ เสี่ ยง
เกิดจากการ สารเสพติด แหล่งต่าง ๆ แมลงสัตว์กดั อารมณ์ ธรรมชาติ ติดสารเสพติด ๓. ใช้ทกั
เล่น สารอันตราย เมื่อเกิดเหตุ ต่อย และการ สังคม และสติ ๓. วิเคราะห์ ๓. อธิ บาย ชีวิตในก
๓. แสดงคำ ใกล้ตวั และวิธี ร้าย หรื อ บาดเจ็บจาก ปัญญา สาเหตุของการ ความสัมพันธ์ ป้ องกันต
พูดหรื อ การป้ องกัน อุบตั ิเหตุ การเล่น ๓. ปฏิบตั ิตน ติดสารเสพติด ของการใช้ และหลีก
ท่าทางขอ ๔. ปฏิบตั ิตน ๓. แสดงวิธี กีฬา๓. เพื่อความ และชักชวน สารเสพติดกับ สถานการ
ความช่วย ตาม ปฐมพยาบาล วิเคราะห์ผล ปลอดภัยจาก ให้ผอู ้ ื่นหลีก การเกิดโรค คับขันที่อ
เหลือจากผู ้ สัญลักษณ์ เมื่อบาดเจ็บ เสี ยของการ การใช้ยา เลี่ยง สาร และอุบตั ิเหตุ ไปสู่ อนั ต
อื่นเมื่อเกิด และป้ ายเตือน จากการเล่น สู บบุหรี่ และ และหลีกเลี่ยง เสพติด
เหตุร้าย ที่ ของสิ่ งของ การดื่มสุ รา สารเสพติด
บ้านและ หรื อสถานที่ที่ ที่มีต่อสุ ขภาพ
โรงเรี ยน เป็ นอันตราย และการ
ป้ องกัน

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๕. อธิบาย ๔. วิเคราะห์ ๔. แสดงวิธี
สาเหตุ อิทธิ พลของ การชักชวนผู ้
อันตราย สื่ อที่มีต่อ อื่นให้
วิธีป้องกัน พฤติกรรม ลด ละ เลิก
อัคคีภยั และ สุ ขภาพ สารเสพติด
แสดงการ ๕. ปฏิบตั ิตน โดยใช้ทกั ษะ
หนีไฟ เพื่อป้ องกัน ต่าง ๆ
อันตรายจาก
การเล่นกีฬา

กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ศิลปะ

ทำไมต้องเรี ยนศิลปะ
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ศิลปะเป็ นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผเู ้ รี ยนมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรี ยภาพ ความมีคุณค่า ซึ่ งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์
กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผูเ้ รี ยนทั้งด้านร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการนำ
ไปสู่ การพัฒนาสิ่ งแวดล้อม ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีความเชื่อมัน่ ในตนเอง อันเป็ นพื้นฐานในการศึกษา
ต่อหรื อประกอบอาชีพได้

เรี ยนรู ้อะไรในศิลปะ


กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ศิลปะ มุ่งพัฒนาให้ผเู ้ รี ยนเกิดความรู ้ความเข้าใจ มีทกั ษะวิธีการทาง
ศิลปะ เกิดความซาบซึ้ งในคุณค่าของศิลปะเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนง
ต่างๆ ประกอบด้วยสาระสำคัญ คือ
● ทัศนศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนำเสนอผล
งานทางทัศนศิลป์ จากจินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใช้เทคนิค วิธี
การของศิลปิ นในการสร้างงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์วจิ ารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเห็นคุณค่างานศิลปะที่เป็ น
มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นภูมิปัญญาไทยและสากล ชื่นชม ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
● ดนตรี มีความรู ้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรี แสดงออกทางดนตรี อย่าง
สร้างสรรค์ วิเคราะห์วิพากษ์วจิ ารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู ้สึก ทางดนตรี อย่างอิสระ ชื่นชมและ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็น
คุณค่าดนตรี ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และ
เล่นดนตรี ในรู ปแบบต่างๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสี ยงดนตรี แสดงความรู ้สึกที่มีต่อดนตรี ใน
เชิงสุ นทรี ยะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี กบั ประเพณี วฒั นธรรม และเหตุการณ์ใน
ประวัติศาสตร์
● นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์
อย่างสร้างสรรค์ ใช้ศพั ท์เบื้องต้นทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอด
ความรู ้สึก ความคิดอย่างอิสระ สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรู ปแบบต่างๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ ใน
ชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ
นาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล

คุณภาพผูเ้ รี ยน
จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓
• รู้และเข้าใจเกี่ยวกับรู ปร่ าง รู ปทรง และจำแนกทัศนธาตุของสิ่ งต่าง ๆ ในธรรมชาติ
สิ่ งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ มีทกั ษะพื้นฐานการใช้วสั ดุอุปกรณ์ในการสร้างงานวาดภาพระบายสี
โดยใช้เส้น รู ปร่ าง รู ปทรง สี และพื้นผิว ภาพปะติด และงานปั้ น งานโครงสร้างเคลื่อนไหวอย่างง่าย
ๆ ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกจากเรื่ องราว เหตุการณ์ ชีวิตจริ ง สร้างงานทัศนศิลป์ ตามที่ตนชื่นชอบ
สามารถแสดงเหตุผลและวิธีการในการปรับปรุ งงานของตนเอง
• รู้และเข้าใจความสำคัญของงานทัศนศิลป์ ในชีวิตประจำวัน ที่มาของงานทัศนศิลป์
ในท้องถิ่น ตลอดจนการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น
• รู้และเข้าใจแหล่งกำเนิดเสี ยง คุณสมบัติของเสี ยง บทบาทหน้าที่ ความหมาย ความ
สำคัญของบทเพลงใกล้ตวั ที่ได้ยนิ สามารถท่องบทกลอน ร้องเพลง เคาะจังหวะ เคลื่อนไหวร่ างกาย
ให้สอดคล้องกับบทเพลง อ่าน เขียน และใช้สญ ั ลักษณ์แทนเสี ยงและเคาะจังหวะแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับดนตรี เสี ยงขับร้องของตนเอง มีส่วนร่ วมกับกิจกรรมดนตรี ในชีวิตประจำวัน
• รู้และเข้าใจเอกลักษณ์ของดนตรี ในท้องถิ่น มีความชื่นชอบ เห็นความสำคัญ
และประโยชน์ของดนตรี ต่อการดำเนินชีวิตของคนในท้องถิ่น
• สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรู ปแบบต่าง ๆ สามารถแสดงท่าทางประกอบจังหวะ
เพลงตามรู ปแบบนาฏศิลป์ มีมารยาทในการชมการแสดง รู ้หน้าที่ของผูแ้ สดงและผูช้ มรู ้ประโยชน์
ของการแสดงนาฏศิลป์ ในชีวิตประจำวัน เข้าร่ วมกิจกรรมการแสดงที่เหมาะสมกับวัย
• รู้และเข้าใจการละเล่นของเด็กไทยและนาฏศิลป์ ท้องถิ่น ชื่นชอบและภาคภูมิใจ
ในการละเล่นพื้นบ้าน สามารถเชื่อมโยงสิ่ งที่พบเห็นในการละเล่นพื้นบ้านกับการดำรงชีวิตของคน
ไทย บอกลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของนาฏศิลป์ ไทยตลอดจนความสำคัญของการแสดงนาฏศิลป์
ไทยได้

จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
• รู้และเข้าใจการใช้ทศั นธาตุ รู ปร่ าง รู ปทรง พื้นผิว สี แสงเงา มีทกั ษะพื้นฐานในการ
ใช้วสั ดุอุปกรณ์ ถ่ายทอดความคิด อารมณ์ ความรู ้สึก สามารถใช้หลักการจัดขนาด สัดส่ วนความ
สมดุล น้ำหนัก แสงเงา ตลอดจนการใช้สีคู่ตรงข้ามที่เหมาะสมในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ ๓
มิติ เช่น งานสื่ อผสม งานวาดภาพระบายสี งานปั้ น งานพิมพ์ภาพ รวมทั้งสามารถสร้างแผนภาพ
แผนผัง และภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดจินตนาการเป็ นเรื่ องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ และ
สามารถเปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ ที่สร้างสรรค์ดว้ ยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่
แตกต่างกัน เข้าใจปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ หลักการลด และเพิ่มในงานปั้ น การสื่ อความ
หมายในงานทัศนศิลป์ ของตน รู้วิธีการปรับปรุ งงานให้ดีข้ึ น ตลอดจนรู ้และเข้าใจคุณค่าของงานทัศน
ศิลป์ ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม
• รู้และเข้าใจบทบาทของงานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนชีวิตและสังคม อิทธิ พลของความ
เชื่อ ความศรัทธา ในศาสนา และวัฒนธรรมที่มีผลต่อการสร้างงานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น
• รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเสี ยงดนตรี เสี ยงร้อง เครื่ องดนตรี และบทบาทหน้าที่ รู ้ถึง
การเคลื่อนที่ข้ ึน ลง ของทำนองเพลง องค์ประกอบของดนตรี ศัพท์สงั คีตในบทเพลง ประโยค และ
อารมณ์ของบทเพลงที่ฟัง ร้อง และบรรเลงเครื่ องดนตรี ด้นสดอย่างง่าย ใช้และเก็บรักษาเครื่ องดนตรี
อย่างถูกวิธี อ่าน เขียนโน้ตไทยและสากลในรู ปแบบต่าง ๆ รู ้ลกั ษณะของผูท้ ี่จะเล่นดนตรี ได้ดี แสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบดนตรี ถ่ายทอดความรู ้สึกของบทเพลงที่ฟัง สามารถใช้ดนตรี
ประกอบกิจกรรมทางนาฏศิลป์ และการเล่าเรื่ อง
• รู้และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี กบั วิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมไทย
และวัฒนธรรมต่าง ๆ เรื่ องราวดนตรี ในประวัติศาสตร์ อิทธิ พลของวัฒนธรรมต่อดนตรี รู ้คุณค่าดนตรี
ที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน เห็นความสำคัญในการอนุรักษ์
• รู้และเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ สามารถแสดงภาษาท่า นาฏยศัพท์พ้ืนฐาน
สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวและการแสดงนาฏศิลป์ และการละครง่าย ๆ ถ่ายทอดลีลาหรื ออารมณ์ และ
สามารถออกแบบเครื่ องแต่งกายหรื ออุปกรณ์ประกอบการแสดงง่าย ๆ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง
นาฏศิลป์ และการละครกับสิ่ งที่ประสบในชีวิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และ
บรรยายความรู้สึกของตนเองที่มีต่องานนาฏศิลป์
• รู้และเข้าใจความสัมพันธ์และประโยชน์ของนาฏศิลป์ และการละคร สามารถเปรี ยบ
เทียบการแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทยในแต่ละท้องถิ่น และสิ่ งที่การแสดงสะท้อนวัฒนธรรม
ประเพณี เห็นคุณค่าการรักษาและสื บทอดการแสดงนาฏศิลป์ ไทย

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
• รู้และเข้าใจเรื่ องทัศนธาตุและหลักการออกแบบและเทคนิคที่หลากหลายในการ
สร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อสื่ อความหมายและเรื่ องราวต่าง ๆ ได้อย่างมีคุณภาพ
วิเคราะห์รูปแบบเนื้ อหาและประเมินคุณค่างานทัศนศิลป์ ของตนเองและผูอ้ ื่น สามารถเลือกงานทัศน
ศิลป์ โดยใช้เกณฑ์ที่ก ำหนดขึ้นอย่างเหมาะสม สามารถออกแบบรู ปภาพ สัญลักษณ์ กราฟิ กในการนำ
เสนอข้อมูลและมีความรู้ ทักษะที่จ ำเป็ นด้านอาชีพที่เกี่ยวข้องกันกับงานทัศนศิลป์
• รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของงานทัศนศิลป์ ของชาติและท้องถิ่น
แต่ละยุคสมัย เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนวัฒนธรรมและสามารถเปรี ยบเทียบงานทัศนศิลป์
ที่มาจากยุคสมัยและวัฒนธรรมต่าง ๆ
• รู้และเข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสี ยง องค์ประกอบ อารมณ์ ความรู ้สึก
ของบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ มีทกั ษะในการร้อง บรรเลงเครื่ องดนตรี ทั้งเดี่ยวและเป็ นวงโดย
เน้นเทคนิคการร้องบรรเลงอย่างมีคุณภาพ มีทกั ษะในการสร้างสรรค์บทเพลงอย่างง่าย อ่านเขียนโน้ต
ในบันไดเสี ยงที่มีเครื่ องหมาย แปลงเสี ยงเบื้องต้นได้ รู ้และเข้าใจถึงปั จจัยที่มีผลต่อรู ปแบบของผล
งานทางดนตรี องค์ประกอบของผลงานด้านดนตรี กบั ศิลปะแขนงอื่น แสดงความคิดเห็นและบรรยาย
อารมณ์ความรู้สึกที่มีต่อบทเพลง สามารถนำเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบได้อย่างมีเหตุผล มีทกั ษะในการ
ประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รู ้ถึงอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรี และบทบาท
ของดนตรี ในธุรกิจบันเทิง เข้าใจถึงอิทธิพลของดนตรี ที่มีต่อบุคคลและสังคม
• รู้และเข้าใจที่มา ความสัมพันธ์ อิทธิ พลและบทบาทของดนตรี แต่ละวัฒนธรรม
ในยุคสมัยต่าง ๆ วิเคราะห์ปัจจัยที่ท ำให้งานดนตรี ได้รับการยอมรับ
• รู้และเข้าใจการใช้นาฏยศัพท์หรื อศัพท์ทางการละครในการแปลความและสื่ อสาร
ผ่านการแสดง รวมทั้งพัฒนารู ปแบบการแสดง สามารถใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพการ
แสดง วิจารณ์เปรี ยบเทียบงานนาฏศิลป์ โดยใช้ความรู ้เรื่ ององค์ประกอบทางนาฏศิลป์ ร่ วมจัดการ
แสดง นำแนวคิดของการแสดงไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
• รู้และเข้าใจประเภทละครไทยในแต่ละยุคสมัย ปั จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ของนาฏศิลป์ ไทย นาฏศิลป์ พื้นบ้าน ละครไทย และละครพื้นบ้าน เปรี ยบเทียบลักษณะเฉพาะของการ
แสดงนาฏศิลป์ จากวัฒนธรรมต่าง ๆ รวมทั้งสามารถออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์ เครื่ องแต่งกาย
ในการแสดงนาฏศิลป์ และละคร มีความเข้าใจ ความสำคัญ บทบาทของนาฏศิลป์ และละครในชีวิต
ประจำวัน

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
• รู้และเข้าใจเกี่ยวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่ อความหมาย สามารถ
ใช้ศพั ท์ทางทัศนศิลป์ อธิบายจุดประสงค์และเนื้ อหาของงานทัศนศิลป์ มีทกั ษะและเทคนิคในการใช้
วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิเคราะห์เนื้ อหาและแนวคิด เทคนิค
วิธีการ การแสดงออกของศิลปิ นทั้งไทยและสากล ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการออกแบบ
สร้างสรรค์งานที่เหมาะสมกับโอกาส สถานที่ รวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมด้วยภาพ
ล้อเลียนหรื อการ์ตูน ตลอดจนประเมินและวิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ด้วยหลักทฤษฎีวิจารณ์ศิลปะ
• วิเคราะห์เปรี ยบเทียบงานทัศนศิลป์ ในรู ปแบบตะวันออกและรู ปแบบตะวันตก
เข้าใจอิทธิพลของมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาระหว่างประเทศที่มีผลต่อการสร้างสรรค์งานทัศน
ศิลป์ ในสังคม
• รู้และเข้าใจรู ปแบบบทเพลงและวงดนตรี แต่ละประเภทและจำแนกรู ปแบบ
ของวงดนตรี ท้ งั ไทยและสากล เข้าใจอิทธิ พลของวัฒนธรรมต่อการสร้างสรรค์ดนตรี เปรี ยบเทียบ
อารมณ์และความรู้สึกที่ได้รับจากดนตรี ที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน อ่าน เขียน โน้ตดนตรี ไทยและ
สากล ในอัตราจังหวะต่าง ๆ มีทกั ษะในการร้องเพลงหรื อเล่นดนตรี เดี่ยวและรวมวงโดยเน้นเทคนิค
การแสดงออกและคุณภาพของการแสดง สร้างเกณฑ์สำหรับประเมินคุณภาพการประพันธ์การเล่น
ดนตรี ของตนเองและผูอ้ ื่นได้อย่างเหมาะสม สามารถนำดนตรี ไประยุกต์ใช้ในงานอื่น ๆ
• วิเคราะห์ เปรี ยบเทียบรู ปแบบ ลักษณะเด่นของดนตรี ไทยและสากลในวัฒนธรรม
ต่าง ๆ เข้าใจบทบาทของดนตรี ที่สะท้อนแนวความคิดและค่านิยมของคนในสังคม สถานะทางสังคม
ของนักดนตรี ในวัฒนธรรมต่าง ๆ สร้างแนวทางและมีส่วนร่ วมในการส่ งเสริ มและอนุรักษ์ดนตรี
• มีทกั ษะในการแสดงหลากหลายรู ปแบบ มีความคิดริ เริ่ มในการแสดงนาฏศิลป์ เป็ นคู่
และเป็ นหมู่ สร้างสรรค์ละครสั้นในรู ปแบบที่ชื่นชอบ สามารถวิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์
และละครที่ตอ้ งการสื่ อความหมายในการแสดง อิทธิ พลของเครื่ องแต่งกาย แสง สี เสี ยง ฉาก
อุปกรณ์ และสถานที่ที่มีผลต่อการแสดง วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ และละคร พัฒนาและใช้เกณฑ์
การประเมินในการประเมินการแสดง และสามารถวิเคราะห์ท่าทางการเคลื่อนไหวของผูค้ นในชีวิต
ประจำวันและนำมาประยุกต์ใช้ในการแสดง
• เข้าใจวิวฒั นาการของนาฏศิลป์ และการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคล
สำคัญ ในวงการนาฏศิลป์ และการละครของประเทศไทยในยุคสมัยต่าง ๆ สามารถเปรี ยบ
เทียบการนำการแสดงไปใช้ในโอกาสต่าง ๆ และเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทย
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู ้สึก
ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๑. อภิปรายเกี่ยว ๑. บรรยายรู ป ๑.บรรยาย รู ป ๑. เปรี ยบเทียบ ๑. บรรยายเกี่ยว ๑. ระบุสีคู่ตรง ๑. บรรยาย ๑. อภิปรา
กับรู ปร่ าง ร่ าง รู ปทรงที่ ร่ าง รู ปทรง ใน รู ปลักษณะของ กับจังหวะ ข้าม และ ความแตกต่าง กับ
ลักษณะ และ พบใน ธรรมชาติ สิ่ ง รู ปร่ าง รู ปทรง ตำแหน่งของ อภิปรายเกี่ยว และความ ทัศนธาตุใ
ขนาดของสิ่ ง ธรรมชาติ แวดล้อม และ ในธรรมชาติ สิ่ ง สิ่ งต่าง ๆ กับการใช้ สี คู่ คล้ายคลึงกัน รู ปแบบแ
ต่าง ๆ รอบตัว และสิ่ งแวดล้อม งานทัศนศิลป์ แวดล้อม และ ที่ปรากฏในสิ่ ง ตรงข้าม ของงานทัศน แนวคิดขอ
ในธรรมชาติ ๒. ระบุ ๒. ระบุวสั ดุ งานทัศนศิลป์ แวดล้อม และ ในการถ่ายทอด ศิลป์ และสิ่ ง ทัศนศิลป์
และสิ่ งที่มนุษย์ ทัศนธาตุที่อยู่ อุปกรณ์ที่ใช้ ๒. อภิปราย งานทัศนศิลป์ ความคิดและ แวดล้อมโดยใช้ เลือกมา
สร้างขึ้น ในสิ่ งแวดล้อม สร้างผลงาน เกี่ยวกับอิทธิพล ๒. เปรี ยบเทียบ อารมณ์ ความรู้เรื่ อง ๒. บรรยา
๒ บอกความ และงานทัศน เมื่อชมงาน ของสี วรรณะอุ่น ความแตกต่าง ๒. อธิบายหลัก ทัศนธาตุ กับความเ
รู้สึกที่มีต่อ ศิลป์ โดยเน้น ทัศนศิลป์ ่มีต่ออารมณ์
และสี วรรณะเย็น ทีระหว่ างงาน ขอ การจัดขนาด ๒. ระบุ และ และความ
ธรรมชาติ และ เรื่ องเส้น สี รู ป ๓. จำแนก ที่มีต่ออารมณ์ ทัศนศิลป์ สัดส่ วนความ บรรยายหลัก ต่างของรู
สิ่ งแวดล้อมรอบ ร่ าง และรู ปทรง ทัศนธาตุของ ของมนุษย์ ที่สร้างสรรค์ สมดุลในการ การออกแบบ การใช้วสั
ตัว ๓. สร้างงาน สิ่ งต่าง ๆ ด้วยวัสดุ สร้างงานทัศน งานทัศนศิลป์ อุปกรณ์ใน
๓. มีทกั ษะพื้น ทัศนศิลป์ ต่าง ๆ ในธรรมชาติสิ่ง อุปกรณ์และวิธี ศิลป์ โดยเน้นความ ทัศนศิลป์
ฐานในการใช้ โดยใช้ทศั นธาตุ แวดล้อม และ การที่ต่างกัน ๓. สร้างสรรค์ เป็ นเอกภาพ ศิลปิ น
วัสดุ อุปกรณ์ ที่เน้นเส้น รู ป งานทัศนศิลป์ ๓. วาดภาพ โดย งานทัศนศิลป์ ความกลมกลืน ๓. วาดภา
สร้างงานทัศน ร่ าง โดยเน้นเรื่ อง ใช้เทคนิคของ จากรู ปแบบ ๒ และความสมดุล เทคนิค
ศิลป์ เส้น สี รู ปร่ าง แสงเงา น้ำหนัก มิติ เป็ น ๓ มิติ ๓. วาดภาพ ที่หลากห
รู ปทรง และพื้น และวรรณะสี โดยใช้หลักการ ทัศนียภาพ การสื่ อคว
ผิว ของแสงเงาและ แสดงให้เห็น หมายและ
น้ำหนัก ระยะไกลใกล้ ราว
เป็ น ๓ มิติ ต่าง ๆ

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๔. สร้างงาน ๔. มีทกั ษะพื้น ๔. วาดภาพ ๓. จำแนก ๔. สร้างสรรค์ ๔. สร้างสรรค์ ๔. รวบรวมงาน ๔. สร้างเก
ทัศนศิลป์ โดย ฐานในการใช้ ระบายสี ทัศนธาตุ งานปั้ นจาก งานปั้ นโดยใช้ ปั้นหรื อสื่ อผสม ในการปร
การทดลองใช้สี วัสดุ อุปกรณ์ สิ่ งของรอบ ของสิ่ งต่าง ๆ ดินน้ำมันหรื อ หลักการ มาสร้างเป็ น และวิจาร
ด้วยเทคนิค สร้างงานทัศน ในธรรมชาติ ดินเหนียว เพิ่มและลด เรื่ องราว ๓ มิติ ทัศนศิลป์
ง่าย ๆ ศิลป์ ๓ มิติ
ตั
ว สิ่ งแวดล้อม โดยเน้นการ ๕. สร้างสรรค์ โดยเน้นความ ๕. นำผลก
๕. วาดภาพ ๕. สร้างภาพปะ ๕. มี ท ก
ั ษะ และงานทัศนศิลป์ ถ่ายทอด งานทัศนศิลป์ เป็ นเอกภาพ วิจารณ์ไป
ระบายสี ภาพ ติดโดยการตัด พื ้ น ฐาน ใน โดยเน้นเรื่ อง จินตนาการ โดยใช้หลักการ ความกลมกลืน ปรับปรุ งแ
ธรรมชาติตาม หรื อฉี กกระดาษ การใช้วสั ดุ เส้น สี รู ปร่ าง ๕. สร้างสรรค์ ของรู ปและ และการสื่ อถึง และพัฒน
ความรู้สึกของ ๖. วาดภาพเพื่อ อุปกรณ์ รู ปทรง พื้นผิว งานพิมพ์ภาพ พื้นที่วา่ ง เรื่ องราว ๖. วาดภา
ตนเอง ถ่ายทอดเรื่ อง สร้างสรรค์ และพื้นที่วา่ ง โดยเน้นการจัด ๖. สร้างสรรค์ ของงาน แสดง
ราวเกี่ยวกับ งานปั้ น ๔. มีทกั ษะพื้น วางตำแหน่ง งานทัศนศิลป์ ๕. ออกแบบ บุคลิกลักษ
ครอบครัว ฐานในการใช้ ของสิ่ งต่าง ๆ โดยใช้ รู ปภาพ ของตัวละ
ของตนเอง
๖. วาด วัสดุ อุปกรณ์ ในภาพ สี คู่ตรงข้าม สัญลักษณ์ หรื อ ๗. บรรยา
และเพื่อนบ้าน ภาพถ่ า ยทอด สร้างสรรค์ ๖. ระบุปัญหา หลักการจัด กราฟิ กอื่น ๆ การใช้งาน
๗. เลือกงาน ความคิดความ งานพิมพ์ภาพ ในการจัดองค์ ขนาดสัดส่ วน ในการนำเสนอ ศิลป์ ในกา
ทัศนศิลป์ และ รู้สึกจาก ๕. มีทกั ษะ ประกอบศิลป์ และความสมดุล ความคิดและ โฆษณา
บรรยายถึงสิ่ งที่ เหตุการณ์ พื้นฐานในการ และการสื่ อ ๗. สร้างงาน ข้อมูล เพื่อโน้มน
มองเห็น รวม ชีวิตจริ ง โดย ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ ความหมายใน ทัศนศิลป์ เป็ น ๖. ประเมินงาน และนำเส
ถึงเนื้ อหาเรื่ อง สร้างสรรค์ งานทัศนศิลป์ แผนภาพ ทัศนศิลป์ และ ตัวอย่าง
ราว
ใช้เส้น รู ปร่ าง งานวาดภาพ ของตนเอง และ แผนผัง และ บรรยายถึงวิธี ประกอบ
รู ปทรง ระบายสี บอกวิธีการ ภาพประกอบ การปรับปรุ ง
สี และพื้นผิว ปรับปรุ งงานให้ เพื่อถ่ายทอด งานของตนเอง
๗. บรรยาย ดีข้ ึน ความคิด หรื อ และผูอ้ ื่นโดยใช้
เหตุผลและวิธี
การในการสร้าง
งานทัศนศิลป์
โดยเน้นถึง
เทคนิคและวัสดุ
อุปกรณ์

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๘. สร้างสรรค์ ๘. ระบุสิ่งที่ ๖. บรรยาย ๗. บรรยาย เรื่ องราวเกี่ยว เกณฑ์
งานทัศนศิลป์ ชื่นชมและสิ่ งที่ ลักษณะของ ประโยชน์และ กับเหตุการณ์ ที่ก ำหนดให้
เป็ นรู ปแบบงาน ควรปรับปรุ งใน ภาพโดยเน้น คุณค่าของงาน ต่าง ๆ
โครงสร้าง งานทัศนศิลป์ เรื่ องการจัด ทัศนศิลป์ ที่มีผล
เคลื่อนไหว ของตนเอง ระยะ ความลึก ต่อชีวิตของ
๙. ระบุ และ น้ำหนักและ คนในสังคม
จัดกลุ่มของภาพ แสงเงาในภาพ
ตามทัศนธาตุ ๗. วาดภาพ
ที่เน้นในงาน ระบายสี โดยใช้
ทัศนศิลป์ นั้น ๆ สี วรรณะอุ่น
๑๐. บรรยาย และสี วรรณะ
ลักษณะรู ปร่ าง เย็น ถ่ายทอด
รู ปทรง ใน ความรู้สึกและ
งานการ จินตนาการ
ออกแบบ
สิ่ งต่าง ๆ ที่มี
ในบ้านและ
โรงเรี ยน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๘. เปรี ยบเทียบ
ความคิดความ
รู้สึก
ที่ถ่ายทอดผ่าน
งานทัศนศิลป์
ของตนเองและ
บุคคลอื่น
๙. เลือกใช้
วรรณะสี เพื่อ
ถ่ายทอดอารมณ์
ความรู้สึก
ในการสร้างงาน
ทัศนศิลป์

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศน
ศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๑. ระบุงานทัศน ๑. บอกความ ๑. เล่าถึงที่มา ๑. ระบุ และ ๑. ระบุ และ ๑. บรรยาย ๑. ระบุ และ ๑. ระบุแล
ศิลป์ ในชีวิต สำคัญของงาน ของงานทัศน อภิปรายเกี่ยว บรรยายเกี่ยวกับ บทบาทของงาน บรรยายเกี่ยวกับ บรรยายเก
ประจำวัน ทัศนศิลป์ ศิลป์ กับงานทัศน ลักษณะรู ปแบบ ทัศนศิลป์ ลักษณะรู ปแบบ วัฒนธรรม
ที่พบเห็นใน ในท้องถิ่น ศิลป์ ใน ของงานทัศน ที่สะท้อนชีวิต งานทัศนศิลป์ ต่าง ๆ ที่
ชีวิตประจำวัน ๒. อธิบายเกี่ยว เหตุการณ์ และ ศิลป์ ในแหล่ง และสังคม ของชาติและ สะท้อนถ
๒. อภิปราย กับวัสดุอุปกรณ์ งานเฉลิมฉลอง เรี ยนรู้หรื อ ๒. อภิปราย ของท้องถิ่น ทัศนศิลป์
เกี่ยวกับงาน และวิธีการสร้าง ของวัฒนธรรม นิทรรศการ เกี่ยวกับอิทธิพล ตนเอง จากอดีต ปัจจุบนั
ทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น ศิลปะ ของความเชื่อ จนถึงปัจจุบนั ๒. บรรยา
ประเภทต่าง ๆ ในท้องถิ่น ๒. บรรยายเกี่ยว ๒. อภิปราย ความศรัทธา ๒. ระบุ และ การ
ในท้องถิ่น กับงานทัศน เกี่ยวกับงาน ในศาสนาที่มีผล เปรี ยบเทียบ เปลี่ยนแป
โดยเน้นถึงวิธี ศิลป์ ที่มาจาก ทัศนศิลป์ ที่ ต่องานทัศน งานทัศนศิลป์ ของงานท
การสร้างงาน วัฒนธรรมต่าง สะท้อน ศิลป์ ในท้องถิ่น ของภาคต่าง ๆ ศิลป์ ของไ
และวัสดุ ๆ วัฒนธรรมและ ๓. ระบุ และ ในประเทศไทย แต่ละยุคส
อุปกรณ์ ที่ใช้ ภูมิปัญญาใน บรรยายอิทธิพล ๓. เปรี ยบเทียบ โดยเน้นถ
ท้องถิ่น ทางวัฒนธรรม ความแตกต่าง แนวคิด แ
ในท้องถิ่นที่มี ของจุดประสงค์ เนื้อหาขอ
ผลต่อการสร้าง ในการ ๓. เปรี ยบ
งานทัศนศิลป์ สร้างสรรค์ แนวคิดใน
ของบุคคล งานทัศนศิลป์ ออกแบบ
ของวัฒนธรรม ทัศนศิลป์
ไทยและสากล จาก วัฒน
ไทย และ

สาระที่ ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรี อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า
ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรี อย่างอิสระ ชื่นชม
และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๑. รู้วา่ สิ่ งต่าง ๆ ๑. จำแนกแหล่ง ๑. ระบุรูปร่ าง ๑. บอกประโยค ๑. ระบุองค์ ๑. บรรยายเพลง ๑. อ่าน เขียน ร้อง ๑. เปรี ยบ
สามารถก่อ กำเนิด ลักษณะของ เพลงอย่างง่าย ประกอบดนตรี ที่ฟัง โดยอาศัย โน้ตไทย และโน้ต การใช้องค
กำเนิดเสี ยง ของเสี ยง เครื่ องดนตรี ๒. จำแนก ในเพลงที่ใช้ใน องค์ประกอบ สากล ประกอบด
ที่แตกต่างกัน ที่ได้ยนิ ที่เห็นและ ประเภทของ การสื่ ออารมณ์ ดนตรี และศัพท์ ๒. เปรี ยบเทียบ ที่มาจาก
๒. บอกลักษณะ ๒. จำแนก ได้ยนิ ในชีวิต เครื่ องดนตรี ที่ ๒. จำแนก สังคีต เสี ยงร้องและ วัฒนธรรม
ของเสี ยงดัง-เบา คุณสมบัติของ ประจำวัน ใช้ในเพลงที่ฟัง ลักษณะของ ๒. จำแนก เสี ยงของเครื่ อง กัน
และความช้า- เร็ ว เสี ยง สูง- ต่ำ , ๒. ใช้รูปภาพ ๓. ระบุทิศทาง เสี ยงขับร้องและ ประเภท ดนตรี ที่มาจาก ๒. อ่าน เข
ของจังหวะ ดัง-เบา, ยาว-สั้น หรื อสัญลักษณ์ การเคลื่อนที่ เครื่ องดนตรี และบทบาท วัฒนธรรมที่ต่าง โน้ตไทยแ
๓. ท่อง ของดนตรี แทนเสี ยงและ ขึ้น – ลง ง่าย ๆ ที่อยูใ่ นวงดนตรี หน้าที่เครื่ อง กัน สากลที่มี
บทกลอน ร้อง ๓. เคาะจังหวะ จังหวะเคาะ ของทำนอง รู ป ประเภทต่าง ๆ ดนตรี ไทย ๓. ร้องเพลงและ เครื่ องหม
เพลงง่าย ๆ หรื อเคลื่อนไหว ๓. บอกบทบาท แบบ จังหวะและ ๓. อ่าน เขียน และเครื่ องดนตรี ใช้เครื่ องดนตรี แปลงเสี ย
๔. มีส่วนร่ วม ร่ างกายให้ หน้าที่ของเพลง ความเร็วของ โน้ตดนตรี ไทย ที่มาจาก บรรเลงประกอบ ๓. ระบุปัจ
ใน กิจกรรม สอดคล้องกับ ที่ได้ยนิ จังหวะในเพลง และสากล ๕ วัฒนธรรม การร้องเพลงด้วย สำคัญที่ม
ดนตรี อย่าง เนื้อหาของเพลง ๔. ขับร้องและ ที่ฟัง ระดับเสี ยง ต่าง ๆ บทเพลงที่หลาก อิทธิพลต
สนุกสนาน ๔. ร้องเพลง บรรเลงดนตรี ๔. อ่าน เขียน ๔. ใช้เครื่ องดนตรี ๓. อ่าน เขียน หลายรู ปแบบ สร้างสรร
๕. บอกความ ง่าย ๆ ที่เหมาะ ง่าย ๆ โน้ตดนตรี ไทย ทำจังหวะและ โน้ตไทย และ ๔. จัดประเภท ดนตรี
เกี่ยวข้องของเพลง สม ๕. เคลื่อนไหว และสากล ทำนอง โน้ตสากล ของวงดนตรี ไทย ๔. ร้องเพ
ที่ใช้ในชีวิต กับวัย ท่าทาง ๕. ร้องเพลง ๕. ร้องเพลงไทย ทำนอง และวงดนตรี ที่มา และเล่นด
ประจำวัน ๕. บอกความ สอดคล้องกับ โดยใช้ช่วงเสี ยง หรื อเพลงสากล ง่าย ๆ จากวัฒนธรรม เดี่ยว และ
หมายและความ อารมณ์ของ ที่เหมาะสมกับ หรื อเพลงไทย ๔. ใช้เครื่ อง ต่าง ๆ วง
สำคัญของเพลง เพลงที่ฟัง ตนเอง สากลที่เหมาะสม ดนตรี บรรเลง ๕. แสดงความ ๕. บรรยา
ที่ได้ยนิ กับวัย ประกอบ คิดเห็นที่มีต่อ อารมณ์ขอ
การร้องเพลง อารมณ์ของ และความ
บทเพลงที่มี ต่อบทเพล
ความเร็ว

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๖. แสดงความ ๖. ใช้และเก็บ ๖. ด้นสดง่าย ๆ ด้นสดที่มี ของจังหวะ และ ๖. ประเม
คิดเห็น เกี่ยว เครื่ องดนตรี โดยใช้ประโยค จังหวะและ ความดัง-เบา พัฒนาการ
กับเสี ยงดนตรี อย่างถูกต้อง เพลง ทำนองง่าย ๆ แตกต่างกัน ทักษะทาง
เสี ยงขับร้องของ และปลอดภัย แบบถามตอบ ๕. บรรยาย ๖. เปรี ยบเทียบ ดนตรี ของ
ตนเองและผูอ้ ื่น ๗. ระบุวา่ ดนตรี ๗. ใช้ดนตรี ร่วม ความรู้สึกที่มี อารมณ์ ความ ตนเอง หล
๗. นำดนตรี สามารถใช้ใน กับกิจกรรมใน ต่อดนตรี รู้สึก ในการ การฝึ กปฏ
ไปใช้ในชีวิต การสื่ อเรื่ องราว การแสดงออก ๖. แสดงความ ฟังดนตรี ๗. ระบุงา
ประจำวันหรื อ ตามจินตนาการ คิดเห็นเกี่ยวกับ แต่ละประเภท อาชีพต่าง
โอกาส ต่าง ๆ ทำนอง จังหวะ ๗. นำเสนอ ที่เกี่ยวข้อ
ได้อย่างเหมาะ การประสาน ตัวอย่างเพลงที่ ดนตรี และ
สม เสี ยง และ ตนเองชื่นชอบ บทบาทข
คุณภาพเสี ยง และอภิปราย ดนตรี ในธ
ของเพลง ลักษณะเด่นที่ บันเทิง
ที่ฟัง ทำให้งานนั้นน่า
ชื่นชม
๘. ใช้เกณฑ์
สำหรับประเมิน
คุณภาพงาน
ดนตรี หรื อเพลงที่
ฟัง
๙. ใช้และบำรุ ง
รักษาเครื่ อง
ดนตรี อย่าง
ระมัดระวังและ
รับผิดชอบ

สาระที่ ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ
ดนตรี ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๑. เล่าถึงเพลงใน ๑. บอกความ ๑. ระบุลกั ษณะ ๑. บอกแหล่ง ๑. อธิบายความ ๑. อธิบายเรื่ อง ๑. อธิบาย ๑. บรรย
ท้องถิ่น สัมพันธ์ของเสี ยง เด่นและ ที่มาและความ สัมพันธ์ระหว่าง ราวของดนตรี บทบาทความ บทบาท
๒. ระบุสิ่งที่ ร้อง เสี ยงเครื่ อง เอกลักษณ์ สัมพันธ์ของวิถี ดนตรี กบั ไทยใน สั มพันธแ ์ ละ อิทธิพล
ชื่นชอบใน ดนตรี ในเพลง ของดนตรี ชีวิตไทย ประเพณีใน ประวัติศาสตร์ อิทธิพลของ ดนตรี ใ
ดนตรี ทอ้ งถิ่น ท้องถิ่น โดยใช้ ในท้องถิ่น ที่สะท้อน วัฒนธรรมต่าง ๆ ๒. จำแนกดนตรี ดนตรี ท่ีมีตอ่ วัฒนธร
คำง่าย ๆ ๒. ระบุความ ในดนตรี และ ๒. อธิบาย ที่มาจากยุคสมัย สั งคมไทย ของประ
๒. แสดงและ สำคัญและ เพลงท้องถิ่น คุณค่าของ ที่ต่างกัน ๒. ระบุความ ตา่ ง ๆ
เข้าร่ วมกิจกรรม ประโยชน์ของ ๒. ระบุความ ดนตรี ที่มาจาก ๓. อภิปราย หลากหลายของ ๒. บรรยา
ทางดนตรี ดนตรี ต่อการ สำคัญ วัฒนธรรมที่ต่าง อิทธิพลของ องค์ประกอบ อิทธิพลข
ในท้องถิ่น ดำเนินชีวิตของ ในการอนุรักษ์ กัน วัฒนธรรมต่อ ดนตรี ใน วัฒนธรรม
คนในท้องถิ่น ส่ งเสริ ม ดนตรี ในท้องถิ่น วัฒนธรรมต่างกัน เหตุการณ
วัฒนธรรมทาง ใน
ดนตรี ประวัติศ
ร์ท่ีมีตอ่
แบบขอ
ดนตรี ใ
ประเทศ

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า
นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม
และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๑. เลียนแบบ ๑. เคลื่อนไหว ๑. สร้างสรรค์ ๑.ระบุทกั ษะพื้น ๑. บรรยายองค์ ๑. สร้างสรรค์การ ๑. อธิบาย ๑. อธิบาย
การเคลื่อนไหว ขณะอยูก่ บั ที่ ฐานทางนาฏศิลป์ ประกอบ เคลื่อนไหวและ อิทธิพลของนัก บูรณาการ
๒. แสดง และเคลื่อนที่ และ นาฏศิลป์ การแสดงโดยเน้น แสดงชื่อดังที่มี ศิลปะแขน
การ
๒. แสดงการ การละครที่ ๒. แสดงท่าทาง การถ่ายทอดลีลา ผลต่อ กับการแส
ทา่ ทางงา่ ย ใช้สื่อความหมาย ประกอบเพลง หรื ออารมณ์ การโน้มน้าว ๒. สร้างส
เคลื่อนไหว
เคลื่อนไหว และอารมณ์ หรื อเรื่ องราว ๒. ออกแบบ อารมณ์หรื อ การแสดง
ๆเพื่อสื่อ ๒. ใช้ภาษาท่า ตามความคิด เครื่ องแต่งกาย ความคิดของ โดยใช้อง
ในรู ปแบบ และนาฏยศัพท์ ของตน หรื ออุปกรณ์ ผูช้ ม ประกอบ
ที่สะทอ ้ น
ความหมาย หรื อศัพท์ทาง ๓. แสดง ประกอบ ๒. ใช้นาฏย นาฏศิลป์ แ
แทนค ำพูด อารมณ์ ของ ตา่ ง ๆ การละครง่าย ๆ นาฏศิลป์ การแสดง ศัพท์หรื อศัพท์ การละคร
ในการถ่ายทอด โดยเน้นการใช้ อย่างง่าย ๆ ทางการละคร ๓. วิเคราะ
ตนเองอยา่ ง ใน เรื่ องราว ภาษาท่าและ ๓. แสดง ในการแสดง แสดงของ
๓. บอกสิง่ ที่
๓. แสดง การ นาฏยศัพท์ นาฏศิลป์ และ ๓. แสดง และผูอ้ ื่น
อิสระ เคลื่อนไหว ในการสื่อ การละคร นาฏศลิ ป์และ นาฏยศัพท
ตนเองชอบ สถานการณ์
ในจังหวะต่าง ๆ ความหมาย ง่าย ๆ การละคร ศัพท์ทาง
ตามความคิด และการ ๔. บรรยาย ในรู ปแบบ การละคร
จากการดู ๓. แสดง สั น้ ๆ ของตน แสดงออก๔ ความรู้สึกของ งา่ ย ๆ เหมาะสม
๔. แสดง . มีสว่ นร่วม ตนเองที่มีต่องาน ๔. ใช้ทกั ษะการ ๔. เสนอข
หรื อร่วม ทา่ ทาง เพื่อ นาฏศิลป์ เป็ นคู่ นาฏศิลป์ และ เห็น
๒. แสดง ในกลุม ่ กับ ทำงานเป็ นกลุ่ม
และหมู่ การเขียน การละครอย่าง ในกระบวนการ ปรับปรุ งก
การแสดง สื่อความ สร้างสรรค์ แสดง
ทา่ ทาง เค้าโครงเรื่ อง ผลิตการแสดง
หรื อ
หมาย
ประกอบ
แทนค ำพูด
เพลง ตามรู ป
๔. แสดง แบบ
ทา่ ทาง นาฏศลิ ป์
ประกอบ
๓. เปรี ยบเทียบ
จังหวะอยา่ ง บทบาทหน้าที่
ของผูแ้ สดงและ
สร้างสรรค์ ผูช้ ม
๔. มีส่วนร่ วม
ในกิจกรรมการ
๕. ระบุมารยาท
แสดงที่เหมาะสม
ในการชม
กับวัย
การแสดง

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๕. บอก ๕. เล่าสิ่ งที่ บทละครสั น้ ๕. แสดงความคิด ๕. ใช้เกณฑ์ ๕. เชื่อมโ
ชื่นชอบในการ ๆ เห็นในการชมการ ง่าย ๆ ที่ก ำหนด เรี ยนรู้
ประโยชน์ แสดง โดยเน้นจุด ๕. เปรี ยบ แสดง ให้ ในการ ระหว่างน
สำคัญของ ๖. อธิบายความ พิจารณา และการล
ของการ เรื่ องและลักษณะ เทียบการ สัมพันธ์ระหว่าง คุณภาพการ กับสาระก
เด่นของตัวละคร นาฏศิลป์ แสดงที่ชม รู้อื่น ๆ
แสดง แสดง และการละครกับ โดยเน้นเรื่ อง
สิ่ งที่ประสบ การใช้เสี ยง
นาฏศลิ ป์ใน นาฏศลิ ป์ ในชีวิตประจำวัน การแสดงท่า
และการ
ชีวต
ิ ประจ ำ ชุดตา่ ง ๆ เคลื่อนไหว

วัน ๖. บอก
ประโยชน์
ที่ได้รับจากการ
ชมการแสดง

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
ของนาฏศิลป์ ที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๑. ระบุ และเล่น ๑. ระบุและเล่น ๑. เล่าการแสดง ๑. อธิบาย ๑. เปรี ยบเทียบ ๑. อธิบายสิ่ งที่มี ๑. ระบุปัจจัย ๑. เปรี ยบเ
การละเล่นของ การละเล่น นาฏศิลป์ ที่เคย ประวัติความ การแสดง ความสำคัญต่อ ลักษณะเฉ
เด็กไทย พื้นบ้าน เห็นในท้องถิ่น เป็ นมาของ ประเภทต่าง ๆ การแสดง ที่มีผลตอ่ ของการแ
๒. บอกสิ่ งที่ ๒. เชื่อมโยงสิ่ งที่ ๒. ระบุสิ่งที่เป็ น นาฏศิลป์ หรื อ ของไทย นาฏศิลป์ และ นาฏศิลป์ จ
ตนเองชอบใน พบเห็นในการละ ลักษณะเด่นและ ชุดการแสดง ในแต่ละท้องถิ่น ละคร การ วัฒนธรรม
การแสดง เล่นพื้นบ้านกับสิ่ ง เอกลักษณ์ของ อย่างง่าย ๆ ๒. ระบุหรื อ ๒. ระบุประโยชน์ ๒. ระบุห
นาฏศิลป์ ไทย ที่พบเห็น การแสดง ๒. เปรี ยบเทียบ แสดงนาฏศิลป์ ที่ได้รับจากการ เปลี่ยนแปล แสดงนาฏ
ในการดำรงชีวิต นาฏศิลป์ การแสดง นาฏศิลป์ พื้นบ้าน แสดงหรื อการชม นาฏศิลป์ พ
ของคนไทย ๓. อธิบายความ นาฏศิลป์ ที่สะท้อนถึง การแสดง งของ บ้าน ละค
๓. ระบุสิ่ง สำคัญของการ กับการแสดง วัฒนธรรม นาฏศิลป์ และ ละครพื้นบ
ที่ชื่นชอบและภาค แสดงนาฏศิลป์ ที่มาจาก และประเพณี ละคร นาฏศลิ ป์ หรื อมหรส
ภูมิใจ วัฒนธรรมอื่น ที่เคยนิยม
ในการละเล่นพื้น ๓. อธิบายความ นาฏศลิ ป์ ในอดีต
บ้าน สำคัญของการ ๓. อธิบาย
แสดงความ อิทธิพลขอ
เคารพในการ พื้นบา้ น วัฒนธรรม
เรี ยนและการ ผลต่อเนื้อ
แสดงนาฏศิลป์ ละครไทย ของละคร
๔. ระบุเหตุผล
ที่ควรรักษา และละคร
และสื บทอด
การแสดง พื้นบา้ น
นาฏศิลป์
๒. บรรยาย

ประเภทของ

ละครไทย

ในแตล่ ะยุค

สมัย

กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ทำไมต้องเรี ยนการงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็ นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผเู ้ รี ยน
มีความรู ้ ความเข้าใจ มีทกั ษะพื้นฐานที่จ ำเป็ นต่อการดำรงชีวิต และรู ้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการดำรงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาใช้ประโยชน์ในการทำงาน
อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และแข่งขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
รักการทำงาน และมีเจตคติที่ดีต่อการทำงาน สามารถดำรงชีวิตอยูใ่ นสังคมได้อย่างพอเพียง
และมีความสุ ข

เรี ยนรู ้อะไรในการงานอาชีพและเทคโนโลยี


กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนแบบองค์รวม
เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ มีทกั ษะในการทำงาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและ
การศึกษาต่อได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้
● การดำรงชีวิตและครอบครัว เป็ นสาระเกี่ยวกับการทำงานในชีวิตประจำวัน
การช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไม่ท ำลายสิ่ งแวดล้อม
เน้นการปฏิบตั ิจริ งจนเกิดความมัน่ ใจและภูมิใจในผลสำเร็ จของงาน เพื่อให้คน้ พบความสามารถ
ความถนัด และความสนใจของตนเอง
● การออกแบบและเทคโนโลยี เป็ นสาระเกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถของ
มนุษย์อย่างสร้างสรรค์ โดยนำความรู้มาใช้กบั กระบวนการเทคโนโลยี สร้างสิ่ งของเครื่ องใช้ วิธี
การ หรื อเพิ่มประสิ ทธิภาพในการดำรงชีวิต
● เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เป็ นสาระเกี่ยวกับกระบวนการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่ อสาร การค้นหาข้อมูล การใช้ขอ้ มูลและสารสนเทศ การแก้
ปั ญหาหรื อ การสร้างงาน คุณค่าและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
● การอาชีพ เป็ นสาระเกี่ยวกับทักษะที่จ ำเป็ นต่ออาชีพ เห็นความสำคัญของ
คุณธรรม จริ ยธรรม และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุ จริ ต
และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ

คุณภาพผูเ้ รี ยน
จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓
● เข้าใจวิธีการทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และส่ วนรวม ใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และ
เครื่ องมือถูกต้องตรงกับลักษณะงาน มีทกั ษะกระบวนการทำงาน มีลกั ษณะนิสยั การทำงาน
ที่กระตือรื อร้น ตรงเวลา ประหยัด ปลอดภัย สะอาด รอบคอบ และมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่ง
แวดล้อม
● เข้าใจประโยชน์ของสิ่ งของเครื่ องใช้ในชีวิตประจำวัน มีความคิดในการแก้ปัญหาหรื อ
สนองความต้องการอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะในการสร้างของเล่น ของใช้อย่างง่าย โดยใช้
กระบวนการเทคโนโลยี ได้แก่ กำหนดปั ญหาหรื อความต้องการ รวบรวมข้อมูล ออกแบบโดย
ถ่ายทอดความคิดเป็ นภาพร่ าง ๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล เลือกใช้วสั ดุ อุปกรณ์อย่างถูกวิธี
เลือกใช้สิ่งของเครื่ องใช้ ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์และมีการจัดการสิ่ งของเครื่ องใช้ดว้ ย
การนำกลับมาใช้ซ้ำ
● เข้าใจและมีทกั ษะการค้นหาข้อมูลอย่างมีข้ นั ตอน การนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่าง ๆ
และวิธีดูแลรักษาอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
∙ เข้าใจการทำงานและปรับปรุ งการทำงานแต่ละขั้นตอน มีทกั ษะการจัดการ ทักษะ
การทำงานร่ วมกัน ทำงานอย่างเป็ นระบบและมีความคิดสร้างสรรค์ มีลกั ษณะนิสยั การทำงานที่ขยัน
อดทน รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ มีมารยาท และมีจิตสำนึกในการใช้น ้ำ ไฟฟ้ าอย่างประหยัดและคุม้ ค่า
∙ เข้าใจความหมาย วิวฒั นาการของเทคโนโลยี และส่ วนประกอบของระบบเทคโนโลยี
มีความคิดในการแก้ปัญหาหรื อสนองความต้องการอย่างหลากหลาย นำความรู ้และทักษะการสร้าง
ชิ้นงานไปประยุกต์ในการสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้ตามความสนใจอย่างปลอดภัย โดยใช้กระบวนการ
เทคโนโลยี ได้แก่ กำหนดปัญหาหรื อความต้องการ รวบรวมข้อมูล ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิด
เป็ นภาพร่ าง ๓ มิติ หรื อแผนที่ความคิด ลงมือสร้าง และประเมินผล เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม และมีการจัดการเทคโนโลยีดว้ ยการแปรรู ปแล้วนำกลับมา
ใช้ใหม่
∙ เข้าใจหลักการแก้ปัญหาเบื้องต้น มีทกั ษะการใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล เก็บ
รักษา ข้อมูล สร้างภาพกราฟิ ก สร้างงานเอกสาร นำเสนอข้อมูล และสร้างชิ้นงานอย่างมีจิตสำนึกและ
รับผิดชอบ
∙ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับอาชีพ รวมทั้งมีความรู ้ ความสามารถและคุณธรรมที่สมั พันธ์กบั
อาชีพ

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
∙ เข้าใจกระบวนการทำงานที่มีประสิ ทธิ ภาพ ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงาน มีทกั ษะ
การแสวงหาความรู้ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาและทักษะการจัดการ มีลกั ษณะนิสยั การทำงาน
ที่เสี ยสละ มีคุณธรรม ตัดสิ นใจอย่างมีเหตุผลและถูกต้อง และมีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน
ทรัพยากร และสิ่ งแวดล้อมอย่างประหยัดและคุม้ ค่า
∙ เข้าใจกระบวนการเทคโนโลยีและระดับของเทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์
ในการแก้ปัญหาหรื อสนองความต้องการ สร้างสิ่ งของเครื่ องใช้หรื อวิธีการตามกระบวนการ
เทคโนโลยี อย่างถูกต้องและปลอดภัย โดยถ่ายทอดความคิดเป็ นภาพฉายเพื่อนำไปสู่ การสร้างชิ้นงาน
หรื อแบบจำลองความคิดและการรายงานผล เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่ ง
แวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีดว้ ยการลดการใช้ทรัพยากรหรื อเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลก
ระทบกับสิ่ งแวดล้อม
∙ เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการสื่ อสารข้อมูล เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ หลักการและวิธีแก้
ปั ญหา หรื อการทำโครงงานด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทกั ษะการค้นหาข้อมูล
และการติดต่อสื่ อสารผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริ ยธรรม การใช้คอมพิวเตอร์
ในการแก้ปัญหา สร้างชิ้นงานหรื อโครงงานจากจินตนาการ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำ
เสนองาน
∙ เข้าใจแนวทางการเลือกอาชีพ การมีเจตคติที่ดีและเห็นความสำคัญของการประกอบอาชีพ
วิธีการหางานทำ คุณสมบัติที่จ ำเป็ นสำหรับการมีงานทำ วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่ อาชีพ มีทกั ษะพื้นฐาน
ที่จ ำเป็ นสำหรับการประกอบอาชีพ และประสบการณ์ต่ออาชีพที่สนใจ และประเมินทางเลือก
ในการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู ้ ความถนัด และความสนใจ
จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖

∙ เข้าใจวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต สร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะ


การทำงานร่ วมกัน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา และทักษะการแสวงหาความรู ้
ทำงาน อย่างมีคุณธรรม และมีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุม้ ค่าและ
ยัง่ ยืน
∙ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกบั ศาสตร์อื่นๆ วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี
มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาหรื อสนองความต้องการ สร้างและพัฒนาสิ่ งของเครื่ องใช้หรื อ
วิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างปลอดภัยโดยใช้ซอฟท์แวร์ช่วยในการออกแบบหรื อนำ
เสนอผลงาน วิเคราะห์และเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต
สังคม สิ่ งแวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีดว้ ยวิธีการของเทคโนโลยีสะอาด

∙ เข้าใจองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบและหลักการทำงานของ
คอมพิวเตอร์ ระบบสื่ อสารข้อมูลสำหรับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และ
อุปกรณ์ต่อพ่วง และมีทกั ษะการใช้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหา เขียนโปรแกรมภาษา พัฒนาโครงงาน
คอมพิวเตอร์ ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ติดต่อสื่ อสารและค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต
ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็ นสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจ ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศนำเสนองาน และใช้คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงานหรื อโครงงาน
∙ เข้าใจแนวทางสู่ อาชีพ การเลือก และใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกับอาชีพ มี
ประสบการณ์ในอาชีพที่ถนัดและสนใจ และมีคุณลักษณะที่ดีต่ออาชีพ

สาระที่ ๑ การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะ
การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา
ทักษะการทำงานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู ้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสยั ในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน
ทรัพยากร และสิ่ งแวดล้อม เพื่อการดำรงชีวิตและครอบครัว
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
๑. บอกวิธีการ ๑. บอกวิธีการ ๑.อธิบายวิธี ๑. อธิ บาย ๑.อธิ บาย ๑. อภิปราย ๑. วิเคราะห์ ๑. ใช้ทกั ษะ
ทำงานเพื่อ และ การและ เหตุผลใน เหตุผลในการ แนวทางใน ขั้นตอน การแสวงห
ช่วยเหลือ ประโยชน์การ ประโยชน์ การทำงาน ทำงาน การทำงาน การทำงาน ความรู ้ เพื่อ
ตนเอง ทำงานเพื่อ การทำงาน ให้บรรลุเป้ า แต่ละขั้นตอน และปรับปรุ ง ตาม พัฒนาการ
๒. ใช้วสั ดุ ช่วยเหลือ เพื่อช่วยเหลือ หมาย ถูกต้องตามก การทำงาน กระบวนการ ทำงาน
อุปกรณ์และ ตนเองและ ตนเอง ๒. ทำงาน ระบวนการ แต่ละขั้นตอน ทำงาน ๒. ใช้ทกั ษ
เครื่ องมือง่ายๆ ครอบครัว ครอบครัว บรรลุเป้ า ทำงาน ๒. ใช้ทกั ษะ ๒. ใช้ กระบวนก
ในการทำงาน ๒. ใช้วสั ดุ และส่ วนรวม หมาย ๒. ใช้ทกั ษะ การจัดการใน กระบวนการ แก้ปัญหา
อย่างปลอดภัย อุปกรณ์และ ๒ ใช้วสั ดุ ที่วางไว้ การจัดการใน การทำงาน กลุ่มใน ในการทำง
๓. ทำงาน เครื่ องมือใน อุปกรณ์และ อย่างเป็ นขั้น การทำงาน และทักษะ การทำงาน ๓. มีจิตสำ
เพื่อช่วยเหลือ การทำงาน เครื่ องมือตรง ตอน อย่างเป็ น การทำงาน ด้วยความเสี ย ในการทำง
ตนเองอย่าง อย่าง เหมาะ กับลักษณะ ด้วยความ ระบบ ร่ วมกัน สละ และใช้
กระตือรื อร้น สมกับงาน งาน ขยัน อดทน ประณี ตและ ๓. ปฏิบตั ิตน ๓. ตัดสิ นใจ ทรัพยากร
และตรงเวลา และประหยัด ๓. ทำงาน รับผิดชอบ มีความคิด อย่างมี แก้ปัญหา ในการปฏิบ
๓. ทำงานเพื่อ อย่างเป็ นขั้น และซื่ อสัตย์ สร้างสรรค์ มารยาทใน การทำงาน งาน
ช่วยเหลือ ตอน ๓. ปฏิบตั ิตน ๓. ปฏิบตั ิตน การทำงานกับ อย่างมีเหตุผล อย่าง
ตนเองและ ตาม อย่างมี อย่างมี ครอบครัว ประหยัดแ
ครอบครัว กระบวนการ มารยาทใน มารยาทใน และผูอ้ ื่น คุม้ ค่า
อย่างปลอดภัย ทำงานด้วย การทำงาน การทำงานกับ
ความสะอาด ๔. ใช้ สมาชิก
ความ พลังงานและ ในครอบครัว
รอบคอบ และ ทรัพยากร ๔.มีจิตสำนึก
อนุรักษ์สิ่ง ในการ ในการใช้
แวดล้อม ทำงาน พลังงานและ
อย่าง ทรัพยากร
ประหยัด อย่างประหยัด
และคุม้ ค่า และคุม้ ค่า

สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ง ๒.๑ เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้
หรื อวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้
เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่ งแวดล้อม และมีส่วนร่ วมในการ
จัดการเทคโนโลยีที่ยงั่ ยืน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
- ๑. บอก ๑. สร้างของ - ๑. อธิ บาย ๑. อธิ บายส่ วน - ๑. อธิ บาย
ประโยชน์ของ เล่นของใช้ ความหมาย ประกอบของ กระบวนก
สิ่ งของเครื่ อง
อย่างง่ายโดย และ ระบบ เทคโนโลย
ใช้ใน ชีวิต กำหนด วิวฒั นาการ เทคโนโลยี ๒. สร้าง
ประจำวัน ปัญหาหรื อ ของ ๒. สร้าง สิ่ งของเคร
๒. สร้างของ ความต้องการ เทคโนโลยี สิ่ งของเครื่ องใช้ ใช้หรื อวิธีก
เล่นของใช้ รวบรวม ๒. สร้าง ตาม ตาม
อย่างง่ายโดย ข้อมูล สิ่ งของเครื่ อง ความสนใจ กระบวนก
กำหนดปัญหา ออกแบบ ใช้ตามความ อย่างปลอดภัย เทคโนโลย
หรื อความ โดยถ่ายทอด สนใจ อย่าง โดยกำหนด อย่างปลอด
ต้องการ ความคิดเป็ น ปลอดภัย โดย ปัญหา หรื อ ออกแบบโ
รวบรวม ภาพร่ าง ๒ มิติ กำหนดปัญหา ความต้องการ ถ่ายทอดคว
ข้อมูล ลงมือสร้าง หรื อความ รวบรวมข้อมูล คิด เป็ นภ
ออกแบบโดย และประเมิน ต้องการ เลือกวิธีการ ร่ าง ๓ มิต
ถ่ายทอดความ ผล รวบรวม ออกแบบโดย หรื อภาพฉ
คิดเป็ นภาพร่ าง ๒. เลือกใช้
ข้อมูล เลือก ถ่ายทอดความ เพื่อนำไปส
สิ่ งของเครื่ อง วิธีการ คิดเป็ นภาพร่ าง การสร้าง
๒ มิติ ลงมือ ใช้ในชีวิต
สร้าง และ ออกแบบ ๓ มิติ หรื อ ต้นแบบขอ
ประจำวัน โดยถ่ายทอด แผนที่ความคิด สิ่ งของเคร
ประเมินผล๓.
อย่าง ความคิดเป็ น ลงมือสร้าง ใช้ หรื อ
นำความรู ้เกี่ยว
กับการใช้ สร้างสรรค์ ภาพร่ าง ๓ มิติ และ ประเมิน ถ่ายทอดคว
อุปกรณ์ เครื่ อง ๓. มีการ ลงมือสร้าง ผล คิดของวิธีก
จัดการสิ่ งของ และประเมิน
มือ ผล
๓. นำความรู ้ เป็ นแบบ
ที่ถูกวิธีไป เครื่ องใช้ดว้ ย และทักษะ จำลองควา
ประยุกต์ใช้ใน การนำกลับมา การสร้างชิ้น คิดและ กา
การสร้าง ใช้ซ้ำ งานไปประยุกต์ รายงานผล
ของเล่น ในการสร้าง นำเสนอวิธ
ของใช้อย่าง สิ่ งของเครื่ องใช้ การ
ง่าย
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
- ๔. มีความคิด ๓. นำความรู้และ - ๓. มีความค
สร้างสรรค์ ทักษะการสร้างชิ้น สร้างสรรค์ใ
อย่างน้อย งานไป การแก้ปัญห
๑ ลักษณะ ประยุกต์ใน หรื อสนองค
ในการแก้ปัญหา การสร้าง ต้องการในง
หรื อสนอง สิ่ งของเครื่ องใช้ ที่ผลิตเอง
ความต้องการ ๔. มีความคิด ๔. เลือกใช้
สร้างสรรค์ เทคโนโลยีอ
อย่างน้อย สร้างสรรค์ต
๒ ลักษณะ ชีวิต สังคม
ในการแก้ปัญหา แวดล้อม แล
หรื อสนอง การจัดการ
ความต้องการ เทคโนโลยีด
๕. เลือกใช้ การลดการใ
เทคโนโลยีใน ทรัพยากร
ชีวติ ประจ ำวัน เลือกใช้
อยา่ ง เทคโนโลยี
สร้างสรรคต ์ อ่ ผลกระทบ ต
ชีวต ิ สั งคม แวดล้อม
และมีการ
จัดการ สิง่ ของ
เครื่ องใช้ ด้วย
การแปรรู ป
แลว้ นำกลับ
มา ใชใ้ หม่
สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
มาตรฐาน ง ๓.๑ เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล
การเรี ยนรู้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การทำงาน
และอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผล และมีคุณธรรม
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑
๑. บอกข้อมูล ๑. บอก ๑. ค้นหา ๑. บอกชื่อและ ๑. ค้นหา ๑. บอกหลักการ ๑. อธิ บายหลัก ๑
ที่สนใจและ ประโยชน์ ข้อมูล อย่างมี หน้าที่ของ รวบรวมข้อมูลที่ เบื้องต้นของ การทำงาน ก
แหล่งข้อมูล ของข้อมูล ขั้นตอนและ อุปกรณ์ สนใจและ เป็ น การแก้ปัญหา บทบาท ก
ที่อยูใ่ กล้ตวั และรวบรวม นำเสนอข้อมูล เทคโนโลยี ประโยชน์ จาก ๒. ใช้ และประโยชน์ ข
๒. บอก ข้อมูล ในลักษณะ สารสนเทศ แหล่งข้อมูล คอมพิวเตอร์ใน ของ ข
ประโยชน์ของ ที่สนใจจาก ต่างๆ ๒. บอกหลัก ต่างๆ ที่เชื่อถือ การค้นหาข้อมูล คอมพิวเตอร์ ๒
อุปกรณ์ แหล่งข้อมูล ๒. บอกวิธี การทำงานเบื้อง ได้ตรงตาม ๓. เก็บรักษา ๒. อภิปราย ก
เทคโนโลยี ต่างๆ ที่เชื่อถือ ดูแลและรักษา ต้น วัตถุประสงค์ ข้อมูลที่เป็ น ลักษณะสำคัญ แ
สารสนเทศ ได้ อุปกรณ์ ของ ๒. สร้างงาน ประโยชน์ และผลกระทบ ด
๒. บอก เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เอกสารเพื่อใช้ ในรู ปแบบต่างๆ ของเทคโนโลยี ก
ประโยชน์ สารสนเทศ ๓. บอก ประโยชน์ ๔. นำเสนอ สารสนเทศ เท
และการรักษา ประโยชน์และ ในชีวิตประจำ ข้อมูลในรู ป ๓. ประมวลผล ส
แหล่งข้อมูล โทษจากการใช้ วันด้วยความรับ แบบที่เหมาะสม ข้อมูลให้เป็ น ๓
๓. บอกชื่อ งาน ผิดชอบ โดย สารสนเทศ แ
และหน้าที่ คอมพิวเตอร์ เลือกใช้ ส
ของอุปกรณ์ ๔. ใช้ระบบ ซอฟต์แวร์ ข
พื้นฐานที่เป็ น ปฏิบตั ิการ ประยุกต์ อ
ส่ วนประกอบ คอมพิวเตอร์ ๕. ใช้ แ
หลักของ เพื่อการทำงาน คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ ๕. สร้างภาพ ช่วยสร้างชิ้น
หรื อชิ้นงานจาก งานจาก
จินตนาการโดย จินตนาการหรื อ
ใช้โปรแกรม งานที่ท ำในชีวิต
กราฟิ กด้วย ประจำวัน
ความรับผิดชอบ อย่างมีจิตสำนึก
และความรับผิด
ชอบ

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
- - - ๔. ใช้ซอฟ
ในการทำง
สาระที่ ๔ การอาชีพ
มาตรฐาน ง ๔.๑ เข้าใจ มีทกั ษะที่จ ำเป็ น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยี
เพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒
- - - ๑. อธิ บาย ๑. ส ำรวจ ๑.สำรวจ ๑. อธิ บาย ๑. อธิ บ
ขอ้ มูล
ความหมาย ที่เกี่ยวกับ
ตนเองเพื่อ แนวทางการ การเสร
และความ อาชีพตา่ งๆ ใน วางแผนใน เลือกอาชีพ สร้าง
สำคัญของ ชุมชน การเลือก ๒. มีเจตคติที่ดี ประสบ
๒. ระบุความ
อาชีพ อาชีพ ต่อการประกอบ อาชีพ
แตกตา่ งของ
อาชีพ ๒. ระบุความ อาชีพ ๒. ระบ
รู ้ความ ๓. เห็นความ การเตรี ย
สามารถและ สำคัญของการ เข้าสู่ อาช
คุณธรรม สร้างอาชีพ ๓. มีทกั
ที่สมั พันธ์กบั พื้นฐาน
อาชีพที่สนใจ ที่จ ำเป็ น
สำหรับก
ประกอบ
อาชีพที่ส

กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาต่างประเทศ
ทำไมต้องเรี ยนภาษาต่างประเทศ
ในสังคมโลกปัจจุบนั การเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศมีความสำคัญและจำเป็ นอย่างยิง่
ในชีวิตประจำวัน เนื่องจากเป็ นเครื่ องมือสำคัญในการติดต่อสื่ อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู ้
การประกอบอาชีพ การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิสยั ทัศน์ของชุมชนโลก และ
ตระหนักถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก นำมาซึ่ งมิตรไมตรี และความ
ร่ วมมือกับประเทศต่างๆ ช่วยพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความเข้าใจตนเองและผูอ้ ื่นดีข้ึ น เรี ยนรู ้และเข้าใจ
ความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง
การปกครอง มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศ และใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่ อสารได้ รวม
ทั้งเข้าถึงองค์ความรู้ต่างๆ ได้ง่ายและกว้างขึ้น และมีวิสยั ทัศน์ในการดำเนินชีวิต
ภาษาต่างประเทศที่เป็ นสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน ซึ่ งกำหนดให้เรี ยนตลอดหลักสู ตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน คือ ภาษาอังกฤษ ส่ วนภาษาต่างประเทศอื่น เช่น ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน จีน ญี่ปนุ่ อาหรับ
บาลี และภาษากลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน หรื อภาษาอื่นๆ ให้อยูใ่ นดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะจัดทำ
รายวิชาและจัดการเรี ยนรู้ตามความเหมาะสม

เรี ยนรู ้อะไรในภาษาต่างประเทศ


กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาต่างประเทศ มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนมีเจตคติที่ดีต่อภาษาต่างประเทศ
สามารถใช้ภาษาต่างประเทศ สื่ อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู ้ ประกอบอาชีพ และ
ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งมีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของ
ประชาคมโลก และสามารถถ่ายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อย่าง
สร้างสรรค์ ประกอบด้วยสาระสำคัญ ดังนี้
● ภาษาเพื่อการสื่ อสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน แลก
เปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ตีความ นำเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอด
และความคิดเห็นในเรื่ องต่างๆ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสม
● ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
ความสัมพันธ์ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ภาษาและ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย และนำไปใช้อย่างเหมาะสม

● ภาษากับความสัมพันธ์กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น การใช้ภาษาต่างประเทศในการ


เชื่อมโยงความรู้กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่น เป็ นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู ้ และ
เปิ ดโลกทัศน์ของตน
● ภาษากับความสัมพันธ์กบั ชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์
ต่างๆ ทั้งในห้องเรี ยนและนอกห้องเรี ยน ชุมชน และสังคมโลก เป็ นเครื่ องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ
ประกอบอาชีพ และแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้กบั สังคมโลก

คุณภาพผูเ้ รี ยน
จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓
● ปฏิบตั ิตามคำสัง่ คำขอร้องที่ฟัง อ่านออกเสี ยงตัวอักษร คำ กลุ่มคำ ประโยคง่ายๆ
และบทพูดเข้าจังหวะง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน บอกความหมายของคำและกลุ่มคำที่ฟังตรงตาม
ความหมาย ตอบคำถามจากการฟังหรื ออ่านประโยค บทสนทนาหรื อนิทานง่ายๆ
● พูดโต้ตอบด้วยคำสั้นๆ ง่ายๆ ในการสื่ อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟัง ใช้ค ำสัง่
และ
คำขอร้องง่ายๆ บอกความต้องการง่ายๆ ของตนเอง พูดขอและให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเองและเพื่อน
บอกความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับสิ่ งต่างๆ ใกล้ตวั หรื อกิจกรรมต่างๆ ตามแบบที่ฟัง
● พูดให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องใกล้ตวั จัดหมวดหมู่ค ำตามประเภทของบุคคล
สัตว์ และสิ่ งของตามที่ฟังหรื ออ่าน
● พูดและทำท่าประกอบ ตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกชื่อ
และคำศัพท์ง่ายๆ เกี่ยวกับเทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลอง และชีวิตความเป็ นอยูข่ องเจ้าของภาษา เข้า
ร่ วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะกับวัย
● บอกความแตกต่างของเสี ยงตัวอักษร คำ กลุ่มคำ และประโยคง่ายๆ ของภาษาต่าง
ประเทศและภาษาไทย
● บอกคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น
● ฟัง/พูดในสถานการณ์ง่ายๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยน
● ใช้ภาษาต่างประเทศ เพื่อรวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องใกล้ตวั
● มีทกั ษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด) สื่ อสารตามหัวเรื่ องเกี่ยวกับ
ตนเอง ครอบครัว โรงเรี ยน สิ่ งแวดล้อมใกล้ตวั อาหาร เครื่ องดื่ม และเวลาว่างและนันทนาการ ภายใน
วงคำศัพท์ประมาณ ๓๐๐-๔๕๐ คำ (คำศัพท์ที่เป็ นรู ปธรรม)
● ใช้ประโยคคำเดียว (One Word Sentence) ประโยคเดี่ยว (Simple Sentence) ในการ
สนทนาโต้ตอบตามสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน

จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
● ปฏิบตั ิตามคำสัง่ คำขอร้อง และคำแนะนำที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสี ยงประโยค
ข้อความ นิทาน และบทกลอนสั้นๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือก/ระบุประโยคและข้อความตรง
ตามความหมายของสัญลักษณ์หรื อเครื่ องหมายที่อ่าน บอกใจความสำคัญ และตอบคำถามจากการฟัง
และอ่าน
บทสนทนา นิทานง่ายๆ และเรื่ องเล่า
● พูด/เขียนโต้ตอบในการสื่ อสารระหว่างบุคคล ใช้ค ำสัง่ คำขอร้อง และให้ค ำ
แนะนำ พูด/เขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ
ในสถานการณ์ง่ายๆ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเรื่ องใกล้
ตัว พูด/เขียนแสดงความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ ใกล้ตวั กิจกรรมต่างๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆ
ประกอบ
● พูด/เขียนให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน และสิ่ งแวดล้อมใกล้ตวั เขียนภาพ แผนผัง
แผนภูมิ และตารางแสดงข้อมูลต่างๆ ที่ฟังและอ่าน พูด/เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ
ใกล้ตวั
● ใช้ถอ้ ยคำ น้ำเสี ยง และกิริยาท่าทางอย่างสุ ภาพ เหมาะสม ตามมารยาทสังคมและ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับเทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลอง/ชีวิตความเป็ นอยูข่ อง
เจ้าของภาษา
เข้าร่ วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ
● บอกความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเสี ยงประโยคชนิดต่างๆ การใช้
เครื่ องหมายวรรคตอน และการลำดับคำ ตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
เปรี ยบเทียบความเหมือน/ความแตกต่างระหว่างเทศกาล งานฉลองและประเพณี ของเจ้าของภาษากับ
ของไทย
● ค้นคว้า รวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่นจากแหล่งการเรี ยนรู ้
และนำเสนอด้วยการพูด/การเขียน
● ใช้ภาษาสื่ อสารในสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยนและสถานศึกษา
● ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้นและรวบรวมข้อมูลต่างๆ
● มีทกั ษะการใช้ภาษาต่างประเทศ) เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่ อสารตามหัวเรื่ อง
เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรี ยน สิ่ งแวดล้อม อาหาร เครื่ องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สุ ขภาพ
และสวัสดิการ การซื้ อ-ขาย และลมฟ้ าอากาศ ภายในวงคำศัพท์ประมาณ ๑,๐๕๐-๑,๒๐๐ คำ (คำศัพท์
ที่เป็ นรู ปธรรมและนามธรรม)
● ใช้ประโยคเดี่ยวและประโยคผสม (Compound Sentences) สื่ อความหมายตาม
บริ บทต่าง ๆ

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
● ปฏิบตั ิตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำชี้แจง และคำอธิ บายที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสี ยง
ข้อความ ข่าว โฆษณา นิทาน และบทร้อยกรองสั้นๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุ/เขียนสื่ อที่ไม่ใช่
ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆ สัมพันธ์กบั ประโยคและข้อความที่ฟังหรื ออ่าน เลือก/ระบุหวั ข้อเรื่ อง
ใจความสำคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังและอ่านจากสื่ อ
ประเภทต่างๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
● สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องต่างๆ ใกล้ตวั สถานการณ์
ข่าว
เรื่ องที่อยูใ่ นความสนใจของสังคมและสื่ อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม ใช้ค ำขอร้อง คำชี้แจง และ
คำอธิ บาย ให้ค ำแนะนำอย่างเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วย
เหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ขอ้ มูล บรรยาย อธิ บาย
เปรี ยบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟังหรื ออ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยาย
ความรู ้สึกและความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว/เหตุการณ์
พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบอย่างเหมาะสม
● พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์/เรื่ อง/ประเด็น
ต่างๆ
ที่อยูใ่ นความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุ ปใจความสำคัญ/แก่นสาระ หัวข้อเรื่ องที่ได้จากการ
วิเคราะห์เรื่ อง/ข่าว/เหตุการณ์/สถานการณ์ที่อยูใ่ นความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ พร้อมให้เหตุผลประกอบ
● เลือกใช้ภาษา น้ำเสี ยง และกิริยาท่าทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาท
สังคม
และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็ นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณี
ของเจ้าของภาษา เข้าร่ วม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ
● เปรี ยบเทียบ และอธิ บายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสี ยง
ประโยคชนิดต่างๆ และการลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
เปรี ยบเทียบและ อธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตความเป็ นอยูแ่ ละวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษากับ
ของไทย และนำไปใช้อย่างเหมาะสม
● ค้นคว้า รวบรวม และสรุ ปข้อมูล/ข้อเท็จจริ งที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น
จาก
แหล่งการเรี ยนรู้ และนำเสนอด้วยการพูดและการเขียน
● ใช้ภาษาสื่ อสารในสถานการณ์จริ ง/สถานการณ์จ ำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยน สถาน
ศึกษา ชุมชน และสังคม
● ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้น/ค้นคว้า รวบรวม และสรุ ปความรู ้/ข้อมูลต่างๆ
จากสื่ อ
และแหล่งการเรี ยนรู้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่ /ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูล
ข่าวสารของโรงเรี ยน ชุมชน และท้องถิ่น เป็ นภาษาต่างประเทศ
● มีทกั ษะการใช้ภาษาต่างประเทศ ) เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่ อสารตามหัวเรื่ อง
เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรี ยน สิ่ งแวดล้อม อาหาร เครื่ องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สุ ขภาพ
และสวัสดิการ การซื้ อ-ขาย ลมฟ้ าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริ การ สถาน
ที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคำศัพท์ประมาณ ๒,๑๐๐-๒,๒๕๐ คำ (คำศัพท์ที่
เป็ นนามธรรมมากขึ้น)
● ใช้ประโยคผสมและประโยคซับซ้อน (Complex Sentences) สื่ อความหมายตาม
บริ บทต่างๆ
ในการสนทนาทั้งที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ

จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
● ปฏิบตั ิตามคำแนะนำในคู่มือการใช้งานต่างๆ คำชี้แจง คำอธิ บาย และคำบรรยายที่
ฟังและอ่าน อ่านออกเสี ยงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละครสั้นถูกต้องตาม
หลักการอ่าน อธิบายและเขียนประโยคและข้อความสัมพันธ์กบั สื่ อที่ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆ ที่
อ่าน รวมทั้งระบุและเขียนสื่ อที่ไม่ใช่ความเรี ยงรู ปแบบต่างๆ สัมพันธ์กบั ประโยคและข้อความที่ฟัง
หรื ออ่าน
จับใจความสำคัญ วิเคราะห์ความ สรุ ปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่ อง
ที่เป็ นสารคดีและบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
● สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องต่างๆ ใกล้ตวั ประสบการณ์
สถานการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ ประเด็นที่อยูใ่ นความสนใจและสื่ อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
เลือกและใช้ค ำขอร้อง คำชี้แจง คำอธิบาย และให้ค ำแนะนำ พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอ
และให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์จ ำลองหรื อ
สถานการณ์จริ งอย่างเหมาะสม พูดและเขียนเพื่อขอและให้ขอ้ มูล บรรยาย อธิ บาย เปรี ยบเทียบ และ
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่ อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียน
บรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และ
ข่าว/เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล
● พูดและเขียนนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง/ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่ องและ
ประเด็นต่างๆ ตามความสนใจ พูดและเขียนสรุ ปใจความสำคัญ แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่ อง
กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ทั้งในท้องถิ่น สังคม และโลก พร้อมทั้งให้เหตุผลและยก
ตัวอย่างประกอบ
● เลือกใช้ภาษา น้ำเสี ยง และกิริยาท่าทางเหมาะกับระดับของบุคคล เวลา โอกาสและ
สถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิ บาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด ความ
เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียมและประเพณี ของเจ้าของภาษา เข้าร่ วม แนะนำ และจัดกิจกรรม
ทางภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม
● อธิบาย/เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน คำ
พังเพย สุ ภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย วิเคราะห์/อภิปรายความเหมือน
และความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย และนำไป
ใช้อย่างมีเหตุผล
● ค้นคว้า/สื บค้น บันทึก สรุ ป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่น จากแหล่งเรี ยนรู้ต่างๆ และนำเสนอด้วยการพูดและการเขียน
● ใช้ภาษาสื่ อสารในสถานการณ์จริ ง/สถานการณ์จ ำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยน สถาน
ศึกษา ชุมชน และสังคม
● ใช้ภาษาต่างประเทศในการสื บค้น/ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุ ปความ
รู ้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่ อและแหล่งการเรี ยนรู ้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผย
แพร่ /ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสาร ของโรงเรี ยน ชุมชน และท้องถิ่น/ประเทศชาติ เป็ นภาษาต่าง
ประเทศ
● มีทกั ษะการใช้ภาษาต่างประเทศ ) เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่ อสารตามหัวเรื่ อง
เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรี ยน สิ่ งแวดล้อม อาหาร เครื่ องดื่ม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เวลา
ว่างและนันทนาการ สุ ขภาพและสวัสดิการ การซื้ อ-ขาย ลมฟ้ าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดิน
ทางท่องเที่ยว การบริ การ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคำศัพท์ประมาณ
๓,๖๐๐-๓,๗๕๐ คำ (คำศัพท์ที่มีระดับการใช้แตกต่างกัน)
● ใช้ประโยคผสมและประโยคซับซ้อนสื่ อความหมายตามบริ บทต่างๆ ในการ
สนทนา ทั้งที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ

สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร


มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา้ ใจและตีความเรื่ องที่ฟังและอา่ นจากสื่อประเภทตา่ งๆ
และแสดงความคิดเห็นอยา่ งมีเหตุผล
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑
๑. ปฏิบตั ิตาม ๑. ปฏิบตั ิตาม ๑. ปฏิบตั ิตาม ๑. ปฏิบตั ิตามคำ ๑. ปฏิบตั ิตาม ๑. ปฏิบตั ิตาม ๑. ปฏิบตั ิตาม ๑. ป
คำสัง่ ง่ายๆ ที่ คำสัง่ และ คำสัง่ และ สัง่ คำขอร้อง คำสัง่ คำขอ คำสัง่ คำขอ คำสัง่ คำขอ คำข
ฟัง คำขอร้องง่ายๆ คำขอร้องที่ และคำแนะนำ ร้อง และคำ ร้อง และคำ ร้อง คำแ
ที่ฟัง (instructions)
๒. ระบุตวั ๒.ระบุตวั อักษร
ฟังหรื ออ่าน ง่ายๆ ที่ฟังหรื อ
แนะนำง่ายๆ แนะนำ ที่ฟัง คำแนะนำ คำช
อักษรและ และเสี ยง ๒. อ่านออก อ่าน ที่ฟังและอ่าน และอ่าน และ คำอ
เสี ยง อ่าน อ่านออกเสี ยงคำ เสี ยง ๒. อ่านออก ๒. อ่านออก ๒. อ่านออก คำชี้แจงง่ายๆ ง่าย
ออกเสี ยงและ สะกดคำ และ คำ สะกดคำ เสี ยงคำ สะกด เสี ยงประโยค เสี ยงข้อความ ที่ฟังและอ่าน และ
อ่านประโยค คำ อ่านกลุ่มคำ
สะกดคำง่ายๆ ง่ายๆ ถูกต้อง
อ่านกลุ่มคำ ประโยค
ข้อความ และ นิทานและ ๒. อ่านออก ๒.
ถูกต้องตาม ตาม หลักการ ประโยค และ ข้อความง่ายๆ บทกลอน บทกลอน เสี ยงข้อความ เสี ย
หลักการอ่าน อ่าน บทพูดเข้า และบทพูด สั้นๆ ถูกต้อง สั้นๆ ถูกต้อง นิทาน และ ข่าว
๓. เลือกภาพ ๓. เลือกภาพ จังหวะ เข้าจังหวะ ตาม หลักการ ตาม หลักการ บทร้อยกรอง และ
ตรงตามความ ตรงตามความ (chant) ง่ายๆ ถูกต้องตาม อ่าน อ่าน (poem) สั้นๆ กรอ
หมายของคำ หมายของคำ ถูกต้องตาม หลักการอ่าน ๓.ระบุ/วาด ๓. เลือก/ระบุ ถูกต้องตาม ต้อง
และกลุ่มคำ กลุ่มคำ และ หลักการอ่าน ๓. เลือก/ระบุ ภาพ ประโยคหรื อ หลักการอ่าน การ
ประโยคที่ฟัง ภาพ หรื อ
ที่ฟัง ๔. ตอบคำถาม
๓. เลือก/ระบุ สัญลักษณ์ หรื อ
สัญลักษณ์ ข้อความสั้นๆ ๓. เลือก/ระบุ ๓.
๔. ตอบ จากการฟัง ภาพ หรื อ เครื่ องหมาย หรื อ ตรงตามภาพ ประโยคและ ประ
คำถาม ประโยค สัญลักษณ์ ตรงตาม เครื่ องหมาย สัญลักษณ์ ข้อความ ให้ ข้อค
จากการฟัง บทสนทนา ตรงตามความ ตรงตามความ หรื อ สัมพันธ์กบั สัม
เรื่ องใกล้ตวั หมายของ หมายของ เครื่ องหมาย สื่ อที่ไม่ใช่ สื่ อ
กลุ่มคำและ ประโยคและ ที่อา่ น ความเรี ยง ควา
ประโยคที่ฟัง ข้อความสั้นๆ ๔. บอก (non-text แบ
ที่ฟังหรื ออ่าน ใจความ information) ที่อ
สำคัญ ที่อา่ น

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑
หรื อนิทานง่ายๆ ๔. ตอบ ความหมายของ ๔. บอก และตอบ ๔. ระบุ ๔. เ
ที่มีภาพ ประโยคและ เรื่ อ
คำถามจาก ใจความสำคัญ คำถามจาก หัวข้อเรื่ อง ส ำค
ประกอบ การฟังหรื อ ข้อความสั้นๆ และตอบ การฟังและ (topic) ราย
ที่ฟังหรื ออ่าน
อ่านประโยค คำถาม จาก อ่าน บท ใจความ สนั
๔. ตอบ (sup
บทสนทนา การฟังและ สนทนา สำคัญ(main
คำถาม deta
หรื อนิทาน อ่านบท นิทานง่ายๆ idea) และ แสด
จากการฟัง
ง่ายๆ สนทนา และ และเรื่ องเล่า ตอบคำถาม ควา
และอ่าน
นิทานง่ายๆ จากการฟัง เกี่ย
ประโยค
หรื อเรื่ องสั้นๆ และอ่านบท ที่ฟ
บทสนทนา
สนทนา พร้
และนิทาน
นิทาน และ ให้เ
ง่ายๆ เรื่ องสั้น ยกต
ง่าย
ประ

สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร


มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทกั ษะการสื่ อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู ้สึก
และความคิดเห็นอย่างมีประสิ ทธิภาพ
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑
๑. พูดโต้ตอบ ๑. พูดโต้ตอบ ๑. พูดโต้ตอบ ๑. พูด/เขียน ๑. พูด/เขียน ๑. พูด/เขียน ๑. สนทนา ๑. ส
ด้วยคำสั้นๆ ด้วยคำสั้นๆ ด้วยคำสั้นๆ โต้ตอบในการ โต้ตอบในการ โต้ตอบใน แลกเปลี่ยน แลก
ง่ายๆ ในการ ง่ายๆ ในการ ง่ายๆ ในการ สื่ อสาร สื่ อสาร การสื่ อสาร ข้อมูลเกี่ยว ข้อม
สื่ อสาร สื่ อสาร สื่ อสาร ระหว่างบุคคล ระหว่างบุคคล ระหว่าง กับตนเอง ตนเอ
ระหว่าง ระหว่าง ระหว่าง ๒. ใช้ค ำสัง่ ๒. ใช้ค ำสัง่ บุคคล กิจกรรม ต่างๆ
บุคคลตาม บุคคลตาม บุคคลตาม คำขอร้อง และ คำขอร้อง ๒. ใช้ค ำสัง่ และ และ
แบบที่ฟัง แบบที่ฟัง แบบที่ฟัง คำขออนุญาต คำขออนุญาต คำขอร้อง สถานการณ์ สถา
๒. ใช้ค ำสัง่๒.ใช้ค ำสัง่ ๒. ใช้ค ำสัง่ ง่ายๆ และให้ค ำ และให้ค ำ ต่างๆ ใน ต่างๆ
ง่ายๆ ตาม และคำขอร้อง และคำขอร้อง ๓. พูด/เขียน แนะนำง่ายๆ แนะนำ ชีวิตประจำ ประ
แบบ ง่ายๆตาม ง่ายๆตามแบบ แสดงความ ๓. พูด/เขียน ๓. พูด/เขียน วัน อย่าง
ที่ฟัง แบบที่ฟัง ที่ฟัง ต้องการของ แสดงความ แสดงความ ๒. ใช้ค ำขอ ๒. ใ
๓. บอกความ ๓. บอกความ ๓. บอกความ ตนเอง และ ต้องการ ขอ ต้องการ ขอ ร้อง ร้อง
ต้องการง่ายๆ ต้องการง่ายๆ ต้องการง่ายๆ ขอความช่วย ความช่วย ความช่วย ให้ค ำแนะนำ ให้ค
ของตนเอง ของตนเอง ของตนเอง เหลือใน เหลือ เหลือ และคำชี้แจง คำช้
ตามแบบที่ฟัง ตามแบบที่ฟัง ตามแบบที่ฟัง สถานการณ์ ตอบรับและ ตอบรับและ ตาม คำอ
๔. พูดขอและ
๔. พูดขอและ
ให้ขอ้ มูลง่ายๆ ๔. พูดขอและ ง่ายๆ ปฏิเสธการให้ ปฏิเสธการให้ สถานการณ์ ตาม
เกี่ยวกับตนเอง
ให้ขอ้ มูล ให้ขอ้ มูลง่ายๆ ๔. พูด/เขียน ความช่วย ความช่วย ๓. พูดและ สถา
ตามแบบที่ฟัง ง่ายๆเกี่ยวกับ เกี่ยวกับ เพื่อขอและให้ เหลือใน เหลือ เขียนแสดง ๓. พ
ตนเองตาม ตนเอง และ ข้อมูลเกี่ยวกับ สถานการณ์ ใน ความ เขียน
แบบที่ฟัง เพื่อน ตนเองเพื่อน ง่ายๆ สถานการณ์ ต้องการ ความ
ตามแบบที่ฟัง และครอบครัว ๔. พูด/เขียน ง่ายๆ ขอความช่วย เสน
๕. บอกความ เพื่อ ขอและ ๔. พูดและ เหลือ ตอบ ความ
รู้สึกของ ให้ขอ้ มูล เขียนเพื่อขอ รับและ เหลือ
ตนเอง และให้ขอ้ มูล ปฏิเสธการ และ
เกี่ยวกับ ให้ การใ
ตนเอง เพื่อน ช่วย

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑
เกี่ยวกับสิ่ ง ๕. พูดแสดง เกี่ยวกับ ครอบครัว ความช่วย ใน
ต่างๆใกล้ตวั ความรู ้สึกของ ตนเอง และเรื่ องใกล้ เหลือใน สถ
หรื อกิจกรรม ตนเองเกี่ยว เพื่อน ตัว สถานการณ์ ต่า
ต่างๆ ตาม กับ เรื่ องต่างๆ ครอบครัว ๕. พูด/เขียน ต่างๆ อย่าง เห
แบบที่ฟัง ใกล้ตวั และ และเรื่ องใกล้ แสดงความ เหมาะสม ๔.
กิจกรรมต่างๆ ตัว รู ้สึกของ ๔. พูดและ เข
ตามแบบที่ฟัง ๕. พูด/เขียน ตนเอง เขียนเพื่อขอ แล
แสดงความ เกี่ยวกับเรื่ อง และให้ขอ้ มูล ข้อ
รู ้สึก ต่างๆ ใกล้ตวั และแสดง บร
ของตนเอง กิจกรรมต่างๆ ความคิดเห็น แส
เกี่ยวกับเรื่ อง พร้อมทั้งให้ เกี่ยวกับเรื่ องที่ คิด
ต่างๆ ใกล้ตวั เหตุผลสั้นๆ ฟังหรื ออ่าน กับ
และกิจกรรม ประกอบ อย่างเหมาะ ฟัง
ต่างๆ พร้อม สม อย
ทั้งให้เหตุผล ๕. พูดและ สม
สั้นๆประกอบ เขียนแสดง ๕
ความรู ้สึก เข
และความคิด คว
เห็น ของ แล
ตนเอง เกี่ยว เห
กับเรื่ องต่างๆ ตน
ใกล้ตวั กับ
กิจกรรมต่างๆ เรื่ อ
พร้อมทั้งให้ กิจ
เหตุผลสั้นๆ แล
ประกอบ ปร
อย่างเหมาะ ณ
สม พร
ให
ปร
อย
สม
สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร
มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่ องต่างๆ โดยการ
พูดและการเขียน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑
๑. พูดให้ขอ้ มูล ๑. พูดให้ขอ้ มูล ๑. พูดให้ขอ้ มูล ๑. พูด/เขียน ๑. พูด/เขียน ๑. พูด/เขียน ๑. พูดและ ๑.
เกี่ยวกับตนเอง เกี่ยวกับตนเอง เกี่ยวกับตนเอง ให้ขอ้ มูลเกี่ยว ให้ขอ้ มูลเกี่ยว ให้ขอ้ มูล เขียนบรรยาย เข
และเรื่ องใกล้ตวั และเรื่ องใกล้ตวั และเรื่ องใกล้ตวั กับตนเองและกับตนเองและ เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ เก
๒. จัดหมวด เรื่ องใกล้ตวั เรื่ องใกล้ตวั ตนเอง ตนเอง ตน
หมู่ค ำ ตาม ๒. พูด/วาด ๒. เขียนภาพ เพื่อน และ กิจวัตรประจำ กิจ
ประเภทของ ภาพแสดง แผนผัง และ สิ่ งแวดล้อม วัน ปร
บุคคล สัตว์ ความ แผนภูมิแสดง ใกล้ตวั ประสบการณ์ ปร
และสิ่ งของ สัมพันธ์ของ ข้อมูลต่างๆ ๒. เขียนภาพ และสิ่ ง ณ
ตามที่ฟังหรื อ สิ่ งต่างๆ ใกล้ ตามที่ฟังหรื อ แผนผัง แวดล้อมใกล้ ข่า
อ่าน ตัวตามที่ฟัง อ่าน แผนภูมิ และ ตัว ณ
หรื ออ่าน ๓. พูดแสดง ตาราง ๒. พูด/เขียน คว
๓. พูดแสดง ความคิดเห็น แสดงข้อมูล สรุ ปใจความ ขอ
ความคิดเห็น เกี่ยวกับ ต่างๆ ตามที่ สำคัญ/แก่น ๒
ง่ายๆ เกี่ยวกับ เรื่ องต่างๆ ฟังหรื ออ่าน สาระ (theme) เข
เรื่ องต่างๆ ใกล้ตวั ๓. พูด/เขียน ที่ได้จากการ ใจ
ใกล้ตวั แสดงความคิด วิเคราะห์ สำ
เห็นเกี่ยวกับ เรื่ อง/เหตุการ สา
เรื่ องต่างๆ ณ์ที่อยูใ่ น เรื่ อ
ใกล้ตวั ความสนใจ ที่ไ
ของสังคม วิเ
๓. พูด/เขียน เรื่ อ
แสดงความคิด ตุก
เห็นเกี่ยวกับ ใน
กิจกรรมหรื อ สน
เรื่ องต่างๆ สัง
ใกล้ตวั

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑
พร้อมทั้งให้ ๓.
เหตุผลสั้นๆ เข
ประกอบ คว
เก
กิจ
เรื่ อ
ใก
ปร

ให
สั้น
ปร

สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้
อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑
๑. พูดและ ๑. พูดและ ๑. พูดและ ๑. พูดและ ๑. ใช้ถอ้ ยคำ ๑. ใช้ถอ้ ยคำ ๑.ใช้ภาษา ๑. ใ
ทำท่า ทำท่า ทำท่า ทำท่า น้ำเสี ยงและ น้ำเสี ยง และ น้ำเสี ยง และ น้ำเ
ประกอบ ตาม ประกอบ ตาม ประกอบ ตาม ประกอบ กิริยาท่าทาง กิริยาท่าทาง กิริยาท่าทาง กิริย
วัฒนธรรม วัฒนธรรม มารยาท อย่างสุ ภาพ อย่างสุ ภาพ อย่างสุ ภาพ สุ ภาพ เหมาะ เหม
ของเจ้าของ ของเจ้าของ สังคม/ ตามมารยาท ตามมารยาท เหมาะสม สม ตาม บุค
ภาษา ภาษา วัฒนธรรม สังคม สังคมและ ตามมารยาท มารยาทสังคม โอก
๒. บอกชื่อ ๒. บอกชื่อ ของเจ้าของ และ วัฒนธรรม สังคม และ และ มาร
และคำศัพท์ และคำศัพท์ ภาษา วัฒนธรรม ของเจ้าของ วัฒนธรรม วัฒนธรรม และ
เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ ๒. บอกชื่อ ของเจ้าของ ภาษา ของเจ้าของ ของเจ้าของ วัฒ
เทศกาลสำคัญ เทศกาลสำคัญ และคำศัพท์ ภาษา ๒. ตอบ ภาษา ภาษา ขอ
ของเจ้าของ ของเจ้าของ ง่ายๆ เกี่ยว ๒. ตอบ คำถาม/บอก ๒. ให้ขอ้ มูล ๒. บรรยาย ภาษ
ภาษา ภาษา กับเทศกาล/ คำถามเกี่ยว ความสำคัญ เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ ๒.
๓. เข้าร่ วม ๓. เข้าร่ วม วันสำคัญ/ กับเทศกาล/ ของเทศกาล/ เทศกาล/ เทศกาล เกี่ย
กิจกรรมทาง กิจกรรมทาง งานฉลองและ วันสำคัญ/ วันสำคัญ/ วันสำคัญ/ วันสำคัญ เทศ
ภาษาและ ภาษาและ ชีวิตความเป็ น งานฉลองและ งานฉลองและ งานฉลอง/ ชีวิตความเป็ น วัน
วัฒนธรรมที่ วัฒนธรรมที่ อยูข่ อง ชีวิตความเป็ น ชีวิตความเป็ น ชีวิตความเป็ น อยู่ และ ชีวิต
เหมาะกับวัย เหมาะกับวัย เจ้าของภาษา อยู่ ง่ายๆ ของ อยูง่ ่ายๆ ของ อยู่ ประเพณี ของ เป็ น
๓. เข้าร่ วม เจ้าของภาษา เจ้าของภาษา ของเจ้าของ เจ้าของภาษา และ
กิจกรรมทาง ๓. เข้าร่ วม ๓. เข้าร่ วม ภาษา ๓. เข้าร่ วม/จัด ขอ
ภาษาและ กิจกรรมทาง กิจกรรมทาง ๓. เข้าร่ วม กิจกรรมทาง ภาษ
วัฒนธรรมที่ ภาษาและ ภาษาและ กิจกรรมทาง ภาษาและ ๓.
เหมาะกับวัย วัฒนธรรมที่ วัฒนธรรม ภาษาและ วัฒนธรรม ร่ วม
เหมาะกับวัย ตามความ วัฒนธรรม ตามความ กิจก
สนใจ ตามความ สนใจ ภาษ
สนใจ วัฒ
ตาม
สน

สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ
ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑
๑.ระบุตวั ๑.ระบุตวั ๑. บอกความ ๑. บอกความ ๑. บอกความ ๑. บอกความ ๑. บอกความ ๑.
อักษรและ อักษรและ แตกต่างของ แตกต่างของ เหมือน/ความ เหมือน/ความ เหมือนและ เท
เสี ยงตัว เสี ยงตัวอักษร เสี ยงตัวอักษร ของเสี ยง แตกต่าง แตกต่าง ความแตกต่าง อธ
อักษรของ ของภาษาต่าง คำ กลุ่มคำ ตัวอักษร คำ ระหว่างการ ระหว่างการ ระหว่างการ เห
ภาษาต่าง ประเทศและ และประโยค กลุ่มคำ ออกเสี ยง ออกเสี ยง ออกเสี ยง คว
ประเทศ ภาษาไทย ง่ายๆ ของ ประโยค และ ประโยค ประโยค ประโยค ระ
และภาษา ภาษา ต่าง ข้อความของ ชนิดต่างๆ ชนิดต่างๆ ชนิดต่างๆ ออ
ไทย ประเทศและ ภาษา ต่าง การใช้ การใช้ การใช้ ปร
ภาษาไทย ประเทศและ เครื่ องหมาย เครื่ องหมาย เครื่ องหมาย ชน
ภาษาไทย วรรคตอน วรรคตอน วรรคตอน แล
๒. บอกความ และ การ และ การ และ การ ลำ
เหมือน/ความ ลำดับคำ ลำดับคำ ตาม ลำดับคำ ตาม โค
แตกต่าง (order) โครงสร้าง โครงสร้าง ปร
ระหว่าง ตาม ประโยค ของ ประโยค ของ ภา
เทศกาลและ โครงสร้าง ภาษาต่าง ภาษาต่าง ปร
งานฉลอง ประโยค ของ ประเทศ ประเทศ แล
ตาม ภาษาต่าง และภาษาไทย และภาษาไทย ๒
วัฒนธรรม ประเทศ ๒. เปรี ยบ ๒ เปรี ยบ เท
ของ เจ้าของ และภาษาไทย เทียบความ เทียบความ อธ
ภาษากับของ ๒. บอกความ เหมือน/ความ เหมือนและ เห
ไทย เหมือน/ความ แตกต่าง ความแตกต่าง คว
แตกต่าง ระหว่าง ระหว่าง ระ
ระหว่าง เทศกาล งาน เทศกาลงาน คว
เทศกาลและ ฉลองและ ฉลอง
งานฉลองของ ประเพณี ของ วันสำคัญ และ
เจ้าของภาษา เจ้าของภาษา
กับของไทย กับของไทย

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑
ชีวิตความเป็ น แล
อยู่ วัฒ
ของเจ้าของ ขอ
ภาษา กับของ ภา
ไทย ไท
สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธ์กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู ้กบั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อื่น และเป็ นพื้น
ฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิ ดโลกทัศน์ของตน
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑
๑. บอกคำ ๑. บอกคำ ๑. บอกคำ ๑. ค้นคว้า ๑. ค้นคว้า ๑. ค้นคว้า ๑. ค้นคว้า ๑.
ศัพท์ที่ ศัพท์ที่ ศัพท์ที่ รวบรวมคำ รวบรวมคำ รวบรวมคำ รวบรวม และ รว
เกี่ยวข้องกับ เกี่ยวข้องกับ เกี่ยวข้องกับ ศัพท์ที่ ศัพท์ที่ ศัพท์ที่ สรุ ปข้อมูล/ สร
กลุ่มสาระ กลุ่มสาระ กลุ่มสาระ เกี่ยวข้องกับ เกี่ยวข้องกับ เกี่ยวข้องกับ ข้อเท็จจริ ง ข้อ
การเรี ยนรู้อื่น การเรี ยนรู้อื่น การเรี ยนรู ้อื่น กลุ่มสาระ กลุ่มสาระ กลุ่มสาระ ที่เกี่ยวข้องกับ ที่เ
การเรี ยนรู ้อื่น การเรี ยนรู ้อื่น การเรี ยนรู ้อื่น กลุ่มสาระ กล
และนำเสนอ และนำเสนอ จากแหล่งเรี ยน การเรี ยนรู ้อื่น กา
ด้วยการพูด/ ด้วยการพูด/ รู ้และนำเสนอ จากแหล่ง จา
การเขียน การเขียน ด้วยการพูด/ เรี ยนรู ้และนำ เรี ย
การเขียน เสนอด้วยการ เส
พูด/ พูด
การเขียน กา

สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธ์กบั ชุมชนและโลก


มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑
๑. ฟัง/พูด ๑. ฟัง/พูด ๑. ฟัง/พูด ๑. ฟังและ ๑. ฟัง พูด ๑. ใช้ภาษา ๑. ใช้ภาษา ๑. ใ
ในสถานการณ์ ในสถานการณ์ ใน พูด/อ่าน ใน และอ่าน/เขีย สื่ อสาร ใน สื่ อสาร ใน สื่ อ
ง่ายๆ ที่เกิดขึ้น ง่ายๆ ที่เกิดขึ้น สถานการณ์ สถานการณ์ น ใน สถานการณ์ สถานการณ์ สถ
ในห้องเรี ยน ในห้องเรี ยน
ง่ายๆ ที่เกิด ที่เกิดขึ้นใน สถานการณ์ ต่างๆ ที่เกิด จริ ง/สถานกา จริ ง
ขึ้นใน ห้องเรี ยนและ ต่างๆ ที่เกิด ขึ้นใน รณ์จ ำลองที่ รณ
ห้องเรี ยน สถานศึกษา ขึ้นใน ห้องเรี ยนและ เกิดขึ้นใน เกิด
ห้องเรี ยนและ สถานศึกษา ห้องเรี ยนและ ห้อ
สถานศึกษา สถานศึกษา สถ
และ

มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็ นเครื่ องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และ


การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้กบั สังคมโลก
ตัวชี้วดั ชั้นปี
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑
๑. ใช้ภาษา ๑. ใช้ภาษา ๑. ใช้ภาษา ๑. ใช้ภาษา ๑. ใช้ภาษา ๑. ใช้ภาษา ๑. ใช้ภาษา ๑. ใช
ต่างประเทศ ต่างประเทศ ต่างประเทศ ต่างประเทศ ต่างประเทศ ต่างประเทศ ต่างประเทศ ต่างป
เพื่อรวบรวม เพื่อรวบรวม เพื่อรวบรวม ในการสื บค้น ในการสื บค้น ในการ ในการ ในก
คำศัพท์ คำศัพท์ คำศัพท์ และรวบรวม และรวบรวม สื บค้น และ สื บค้น/ค้นคว้า สื บค
ที่เกี่ยวข้อง ที่เกี่ยวข้อง ที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลต่างๆ ข้อมูลต่างๆ รวบรวม ความรู ้/ข้อมูล รวบ
ใกล้ตวั ใกล้ตวั ใกล้ตวั ข้อมูลต่างๆ ต่างๆ จากสื่ อ สรุ ป
และแหล่งการ มูลต
เรี ยนรู ้ต่างๆใน สื่ อแ
การศึกษาต่อ การเ
และ ประกอบ ต่างๆ
อาชีพ ศึกษ
ประ
๒. เผ
ประ
ข้อม
ของ
เป็ น
ประ

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๔๔). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ .


กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๒๕๔๙). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ ๑๐.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (๒๕๔๗). ข้อเสนอยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษา.
กรุ งเทพฯ: เซ็นจูรี่.
สำนักนายกรัฐมนตรี , สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (๒๕๔๒). พระราชบัญญัติการ
ศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่ งสิ นค้าและพัสดุภณ
ั ฑ์ (ร.ส.พ.).
สำนักผูต้ รวจราชการและติดตามประเมินผล. (๒๕๔๘). การติดตามปั ญหาอุปสรรคการใช้หลักสู ตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔. บันทึก ที่ ศธ ๐๒๐๗/ ๒๖๙๒ ลงวันที่ ๑๙ กันยายน
๒๕๔๘.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๔๖ ก.). สรุ ปผลการประชุมวิเคราะห์หลักสู ตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน. ๒๗-๒๘ ตุลาคม ๒๕๔๖ โรงแรมตรัง กรุ งเทพฯ. (เอกสารอัดสำเนา).
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๔๖ ข.). สรุ ปความเห็นจากการประชุมเสวนาหลักสู ตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๕ จุด. พฤศจิกายน ๒๕๔๖ (เอกสารอัดสำเนา).
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๔๘ ก). รายงานการวิจยั การใช้หลักสู ตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐานตามทัศนะของผูส้ อน. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่ งสิ นค้าและพัสดุภณั ฑ์
(ร.ส.พ.).
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๔๘ ข.). รายงานการวิจยั โครงการวิจยั เชิงทดลอง
กระบวนการสร้างหลักสูตรสถานศึกษาแบบอิงมาตรฐาน. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับ
ส่ งสิ นค้าและพัสดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.).
สุ วิมล ว่องวาณิ ช และ นงลักษณ์ วิรัชชัย. (๒๕๔๗). การประเมินผลการปฎิรูปการเรี ยนรู ้ ตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ พหุกรณี ศึกษา. เอกสารการประชุมทาง
วิชาการการวิจยั เกี่ยวกับการปฏิรูปการเรี ยนรู ้ โดยสำนักงานเลขาธิ การสภาการศึกษา
กระทรวง
ศึกษาธิการ วันที่ ๑๙- ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๗.
Kittisunthorn, C., (๒๐๐๓). Standards-based curriculum: The first experience of
Thai teachers. Doctoral Dissertation, Jamia Islamia University, Delhi, India.

Nutravong, R., (๒๐๐๒). School-based curriculum decision-making: A study of the


Thailand reform experiment. Doctoral Dissertation, Indiana University,
Bloomington. U.S.A.

You might also like