You are on page 1of 755

รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์

โครงการวิจยั เรื่อง
การกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21

สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์

โครงการวิจยั เรื่อง
การกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21

โดยสถาบันบัณฑิ ตบริ หารธุรกิ จ ศศิ นทร์


แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย

สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
สารบัญ
หน้ า

บทสรุปผูบ้ ริ หาร ...................................................................................................................................... i

บทที่ 1 บทนา .................................................................................................................................... 1

1.1 หลักการและเหตุผล .................................................................................................... ….1


1.2 วัตถุประสงค์ ................................................................................................................... 2
1.3 เป้าหมายผลผลิตของโครงการ ......................................................................................... 3
1.4 ขอบเขตของงานทีป่ รึกษา................................................................................................ 3
1.5 ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั ......................................................................................................... 4

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม ....................................................................................................... 5


2.1 ภาพของการศึกษาในสังคมยุคใหม่แห่งศตวรรษที่ 21 .................................................. ….6
ความรูแ้ ละการจัดการความรู้ ...................................................................................... ….9
2.2 กระบวนการเรียนรูแ้ ห่งศตวรรษที่ 21............................................................................. 14
การเรียนแบบรูจ้ ริง (Mastery Learning) ................................................................... ….21
การเรียนรูแ้ บบการสอนให้น้อย เรียนรูใ้ ห้มาก (Teach Less, Learn More) ................ ….24
การเรียนรูต้ ลอดชีวติ (Lifelong Learning) ................................................................ ….25
2.3 เป้าประสงค์ของระบบการศึกษา .................................................................................... 27
2.4 การพัฒนาการศึกษาเรียนรูข้ องผูเ้ รียน ........................................................................... 29
กลยุทธ์ในการเรียนรู้................................................................................................. ….32
การประเมินการเรียนรู้ (Assessment for Learning - Formative Assessment)......... ….34
2.5 การบริหารการศึกษาและการปฏิรปู การศึกษา ................................................................ 35
ผลตอบแทนภายนอกของการศึกษา.......................................................................... ….39
การปฏิรปู การศึกษาด้วยการปฏิรปู ระบบความรับผิดชอบ .......................................... ….40
2.6 การพัฒนาการศึกษาและกาลังคนเพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ .... 43
สารบัญ
หน้ า

บทที่ 3 กรอบแนวคิ ดและวิ ธีการศึกษา .......................................................................................... 53

3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา ............................................................................................. 53


3.1.1 บริบทการเปลีย่ นแปลงสาคัญทีม่ ผี ลกระทบต่อประเทศไทย .............................. ….54
3.1.2 ระบบการศึกษาเรียนรูภ้ ายใต้บริบทประเทศไทยและองค์ประกอบ
ของระบบการศึกษาไทย.................................................................................. ….57
3.2 แนวทางการศึกษาและวิธกี ารศึกษา ............................................................................... 65
3.2.1 การรวบรวมข้อมูล ........................................................................................... ….66
3.2.2 การวิเคราะห์ขอ้ มูล (Data Analysis)................................................................ ….73

บทที่ 4 ผลการศึกษา ....................................................................................................................... 77

4.1 สภาวการณ์การเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ทีม่ นี ัยสาคัญ


ต่อการจัดการศึกษาไทย ................................................................................................ 78
4.1.1 แนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของโลก (Global Trend) ........................................ ….78
4.1.1.1 พลวัตการเปลีย่ นแปลงโลกจากการก้าวผ่านจากศตวรรษที่ 20
เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ........................................................................... ….78
4.1.1.2 แนวโน้มทีส่ าคัญของโลก (Mega Trend) ............................................ ….81
4.1.2 แรงขับเคลื่อนในระดับภูมภิ าค ......................................................................... ….89
4.1.3 ประเด็นภายในประเทศไทย (Local Issues)..................................................... ….91
4.1.3.1 ประเด็นภายปญั หาในประเทศไทย (Local Problems) ......................... ….91
4.1.3.2 ยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategy) .................................... ….103
4.1.4 ประเด็นท้าทายของการจัดการศึกษาไทยในการบรรลุเป้าประสงค์หลักภายใต้บริบท
ของการเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 .................................................... 109
สารบัญ
หน้ า

4.2 ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า เ รี ย น รู้ ภ า ย ใ ต้ บ ริ บ ท ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง
ระบบการศึกษาไทย .................................................................................................... 111
4.2.1 เป้าประสงค์หลักของประเทศไทยและการศึกษาไทย ........................................... 112
4.2.1.1 เป้าประสงค์หลักของประเทศไทย ......................................................... .113
1) สถานภาพปจั จุบนั ของประเทศไทย (As-Is) ....................................... 113
2) เป้าประสงค์หลักของประเทศไทยทีพ่ งึ ประสงค์ (Should Be).............. 120
3) การวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) ............................................... 123
4.2.1.2 เป้าประสงค์หลักของการศึกษาไทย (Goals of Education) .................... 125
1) สถานภาพปจั จุบนั ของประเทศไทย (As-Is) ....................................... 125
2) เป้าประสงค์หลักของระบบการศึกษาไทย
ในศตวรรษที่ 21 (Should Be) ..................................................... ….134
3) การวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) ............................................... 137
4.2.1.3 กรอบเป้าประสงค์หลักระดับมหภาคของการศึกษาไทย
(Macro Objective) ................................................................................ 140
4.2.1.4 สภาวการณ์ของการศึกษาไทยในปจั จุบนั และประเด็นความท้าทาย ....... 144
1) ประเด็นด้านโอกาสทางการศึกษา ................................................... 147
2) ประเด็นด้านคุณภาพ ...................................................................... 164
ก) กรณีศกึ ษาปจั จัยทีส่ ่งผลต่อผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษา:แบบจาลอง
ศึกษาปจั จัยทีส่ ่งผลต่อผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษา ........................ 173
ข) กรณีศกึ ษาการพัฒนาระบบอาชีวศึกษา .................................... 184
i) ระบบอาชีวศึกษาในประเทศไต้หวัน ................................... 184
ii) ระบบอาชีวศึกษาในประเทศเกาหลีใต้ ................................ 191
iii) ระบบอาชีวศึกษาในประเทศสิงคโปร์.................................. 197
iv) ระบบอาชีวศึกษาในประเทศไทย ....................................... 206
3) ประเด็นด้านประสิทธิภาพ............................................................... 218
สารบัญ
หน้ า

4.2.2 การพัฒนาระดับบุคคล (Individual Development) .............................................. 229


4.2.2.1 ปจั จัยพืน้ ฐานระดับบุคคลของคนไทยเพื่อเตรียมพร้อมสู่
ศตวรรษที่ 21 ....................................................................................... .229
4.2.2.2 คนไทยในปจั จุบนั .................................................................................. 232
4.2.2.3 คนไทยทีพ่ งึ ประสงค์ในศตวรรษที่ 21..................................................... 234
1) กลุ่มของจิต (Mindset) ...................................................................... 234
2) กลุ่มของทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st century skills) ..................... 236
3) กลุ่มขององค์ความรูแ้ กนสาคัญ ......................................................... 238
4.2.2.4 ช่องว่าง (Gap) ระหว่างคนไทยในปจั จุบนั กับคนไทยทีพ่ งึ ประสงค์
ในศตวรรษที่ 21 ................................................................................... 240
4.2.3 สภาวะแวดล้อมของการเรียน (Learning Environment) ...................................... 242
4.2.3.1 ประสบการณ์ต่างประเทศเรือ่ งสภาวะแวดล้อมของการเรียน
(Learning Environment) : กรณีศกึ ษาเชิงลึกจากประเทศ
ฟินแลนด์ สิงคโปร์ และญีป่ ุ่น ............................................................... .242
ก. สภาพแวดล้อมของการศึกษาในประเทศฟินแลนด์:
การศึกษาทีเ่ น้นศักยภาพเฉพาะตนเป็นทีต่ งั ้ .............................. 243
ข. สภาพแวดล้อมของการศึกษาในประเทศสิงคโปร์:
การประเมินอย่างเข้มข้นเพื่อมาตรฐานอันเป็ นเลิศ ..................... 248
ค. สภาพแวดล้อมของการศึกษาในประเทศญีป่ ุ่น:
การสอนเพื่อความเข้าใจถึงแกนแท้ในความรู้ ............................. 251
ง. สภาพแวดล้อมการศึกษาในเขตปกครองฮ่องกง:
นวัตกรรมการศึกษาแห่งจีน ....................................................... 256
จ. สภาพแวดล้อมการศึกษาในประเทศเกาหลีใต้:
การศึกษาทีก่ ้าวกระโดดอย่างรวดเร็ว ......................................... 260

4.2.3.2 สภาวะแวดล้อมของการเรียน (Learning Environment) ของ


ประเทศไทย และการเตรียมพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ................................ .266
ก. องค์ประกอบของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ และสภาพแวดล้อม
การเรียนรูท้ ด่ี เี พื่อก้าวสู่ศตวรรษที่ 21........................................ 266
สารบัญ
หน้ า

ข. สภาพแวดล้อมการเรียนรูข้ องไทยในปจั จุบนั ............................. 271


- ประเด็นปญั หาของความสัมพันธ์ทางตรงระหว่างหน่ วยย่อย
กับผูเ้ รียน .............................................................................. 271
- ประเด็นปญั หาของความสัมพันธ์ระหว่างหน่ วยงานกลาง
กับหน่วยย่อย ........................................................................ 275
- ข้อจากัด ปญั หาและอุปสรรคทีส่ ่งผลต่อการเรียนรูจ้ าก
สภาพแวดล้อมการเรียนรูข้ องไทยในปจั จุบนั .......................... 282
ค. การเตรียมความพร้อมสภาพแวดล้อมการเรียนรูข้ องไทย
สู่ศตวรรษที่ 21......................................................................... 284
1) บทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 ต่อผูเ้ รียน ............................ 285
2) บทบาทของครอบครัวต่อผูเ้ รียน ........................................... 287
3) บทบาทของสถานศึกษาต่อผูเ้ รียน ........................................ 288
4) เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ............................. 288
5) กรณีศกึ ษาจุดสว่าง (Bright Spot) ทีป่ ระสบความสาเร็จ
ในประเทศไทย .................................................................... 308
5.1) นวัตกรรมการเรียนรูเ้ พื่อสร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญา
กรณีศกึ ษาดรุณสิกขาลัยและการขยายผล ..................... 309
5.2) ความรูค้ ่คู ุณธรรม: กรณีศกึ ษาโรงเรียนสัตยาไส ............ 315
5.3) เทคโนโลยีเพือ่ การพัฒนาการศึกษา: กรณีศกึ ษา
โรงเรียนวังไกลกังวล .................................................... 321
5.4) การพัฒนาการศึกษาควบคู่ไปกับการขจัดความยากจน:
กรณีศกึ ษาโรงเรียนมีชยั พัฒนาและการขยายผล ........... 326
สารบัญ
หน้ า

4.2.4 ระบบการบริหารจัดการและเครือ่ งมือเชิงนโยบาย (Administation & Policy


Instrument) ................................................................................................................ 334
4.2.4.1 ภาพรวมแนวนโยบายด้านการศึกษาของประเทศต่างๆ ......................... .334
ก. ประเทศฟินแลนด์ ..................................................................... 334
ข. ประเทศญี่ปนุ่ ............................................................................ 334
ค. ประเทศเกาหลีใต้ ...................................................................... 335
ง. ประเทศฮ่องกง .......................................................................... 336
จ. ประเทศไต้หวัน ......................................................................... 336
ฉ. ประเทศสิงคโปร์ ....................................................................... 337
4.2.4.2 กรณีศกึ ษาเชิงลึก: นโยบายและยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการศึกษา
ของประเทศฟินแลนด์ สิงคโปร์ และญีป่ ุ่น ............................................. .340
ก. ประเทศฟินแลนด์ ..................................................................... 340
ข. ประเทศสิงคโปร์........................................................................ 346
ค. ประเทศญีป่ ุ่น............................................................................ 354
4.2.4.3 นโยบายในอดีตและปจั จุบนั ของประเทศไทย ......................................... .363
พัฒนาการของแนวนโยบายการศึกษาไทย .................................................... ….363
กระบวนการเพื่อการปฏิรปู การศึกษา ............................................................ ….370
ปญั หาของระบบการศึกษาไทยทีย่ งั รอการแก้ไขต่อไป ................................... ….397
4.2.4.4 ระบบการบริหารจัดการและเครือ่ งมือเชิงนโยบายทางการศึกษา ............ .402
สารบัญ
หน้ า

บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะเชิ งนโยบาย : แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย


กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ....................................................................... 417

5.1 สรุป ............................................................................................................................ 417


5.2 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ............................................................................................. 430
5.2.1 ข้อเสนอแนวทางการดาเนินงานเพื่อเป็นฐานการกาหนดแผนการดาเนินการ
ระยะยาว (15 ปี) เพื่อเตรียมความพร้อมของการศึกษาไทยสู่ศตวรรษที่ 21 ................... 430
ซ่อม
1) ปฏิรปู ระบบการผลิตครูและพัฒนาศักยภาพครูประจาการ .................. 434
2) ปฏิรปู หลักสูตร กรอบหลักสูตรแกน ปฏิบตั ใิ ห้ถงึ แก่น ........................ 436
3) ปฏิรปู ระบบการประเมิน เน้นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ .......... 437
4) ปรับรูปแบบการบริหารจัดการ........................................................... 439
สร้าง
5) สร้างสังคมแห่งปญั ญา (Wisdom-based society) และสร้าง
สภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ (Learning Supportive
Environment) เพื่อสร้างมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ ......................................... 441

5.2.2 กลไกการขับเคลื่อนไปสู่ภาคปฏิบตั ิ .................................................................... 442


5.2.3 กรอบแนวทางการดาเนินการเพื่อกาหนดแผนการดาเนินการพัฒนา
การศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี).......................... 445
5.2.4 ข้อเสนอแนะแนวทางการผลักดันแผนฯ สู่การปฏิบตั ิ ........................................... 468

บทที่ 6 ข้อเสนอแนะงานวิ จยั ในอนาคต ...................................................................................... 469

เอกสารอ้างอิ ง .................................................................................................................................... 471


สารบัญ
หน้ า

ภาคผนวก

ภาคผนวกที่ 1 Education as an Engione for Transformation ....................................................... 438

ภาคผนวกที่ 2 สรุปการประชุมระดมความคิ ดเห็น ........................................................................... 499

ภาคผนวกที่ 3 สรุปการสัมภาษณ์และการศึกษาดูงาน ..................................................................... 543

ภาคผนวกที่ 4 การประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการศึกษา ............................................... 615


สารบัญภาพ
หน้ า

ภาพที่ 1 ข้อมูล สารสนเทศ ความรูแ้ ละปญั ญา ............................................................................. 10


ภาพที่ 2 กรอบความคิดเพื่อการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 โดยภาคีเพื่อทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21................................................................................................................ 15
ภาพที่ 3 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ................................................................................................ 18
ภาพที่ 4 ปิรามิดแห่งการเรียนรู้ (Learning Pyramid) ................................................................... 20
ภาพที่ 5 องค์ประกอบของการเรียนรูแ้ บบรูจ้ ริง (Elements of Mastery) ....................................... 22
ภาพที่ 6 ระดับขัน้ ของการพัฒนาการเรียนรูแ้ บบรูจ้ ริง ................................................................... 23
ภาพที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการอ่านและการรับรูข้ องกลยุทธ์ทม่ี ี
ประสิทธิภาพสูงสุด ........................................................................................................ 33
ภาพที่ 8 นโยบายการพัฒนาและการเปลีย่ นผ่านของประเทศ ....................................................... 37
ภาพที่ 9 แรงงานทีต่ อ้ งการและขาดแคลนจาแนกตามประเภทและอาชีพ ....................................... 44
ภาพที่ 10 โครงสร้างประชากรประเทศไทยและการค้าจุนผูส้ งู อายุในระยะ 30 ปีขา้ งหน้า ................. 46
ภาพที่ 11 เปรียบเทียบผลิตภาพแรงงานไทยกับต่างประเทศ .......................................................... 48
ภาพที่ 12 ผลิตภาพแรงงานไทยกับค่าจ้างทีแ่ ท้จริง ........................................................................ 49
ภาพที่ 13 สัดส่วนผูเ้ รียนระดับมัธยมปลายสายสามัญต่ออาชีวศึกษา ............................................... 51
ภาพที่ 14 บริบทการเปลีย่ นแปลงสาคัญทีม่ ผี ลกระทบต่อประเทศไทยและภาพคนไทย
ในศตวรรษที่ 21 ............................................................................................................ 55
ภาพที่ 15 กรอบแนวคิดระบบการศึกษาเรียนรูภ้ ายใต้บริบทประเทศไทย ........................................ 59
ภาพที่ 16 แบบจาลององค์ประกอบการศึกษา 5Ps ......................................................................... 61
ภาพที่ 17 แนวทางการดานินงาน .................................................................................................. 66
ภาพที่ 18 กรอบการวิเคราะห์ขอ้ มูล (Data Analysis) ..................................................................... 74
ภาพที่ 19 จานวนประชากรของไทยและแนวโน้มในอนาคต (หน่วย: ล้านคน) ................................. 85
ภาพที่ 20 การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างประชากรของไทยตามระดับอายุ (หน่วย: ล้านคน)) ................ 86
ภาพที่ 21 การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างประชากรทีอ่ ยูใ่ นเมืองและชนบท ........................................... 87
ภาพที่ 22 ความเหลื่อมล้าทางด้านรายได้และการถือครองทรัพย์สนิ ของไทย ................................... 92
ภาพที่ 23 จานวนคนจนในประเทศไทย ปีพ.ศ. 2531-2553 ............................................................ 93
ภาพที่ 24 การเปลีย่ นแปลงสัดส่วนประชากรจาแนกตามระดับรายได้.............................................. 94
สารบัญภาพ
หน้ า

ภาพที่ 25 ดัชนีคุณภาพมนุษย์ของประเทศไทย (Human Development Indicator)


ปี 1980-2011 ............................................................................................................... 94
ภาพที่ 26 ค่าสัมประสิทธิ ์จีน่ีของกลุ่มประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ............................. 95
ภาพที่ 27 รายได้ประชาชาติเฉลีย่ ต่อหัวประชากร .......................................................................... 98
ภาพที่ 28 จานวนนักวิจยั และนักเทคนิคด้านการวิจยั และพัฒนา ................................................... 100
ภาพที่ 29 พัฒนาการของการวิจยั และพัฒนาของประเทศไทย จีนและเกาหลีใต้ในช่วงปี
ค.ศ. 1996-2007 (พ.ศ. 2539-2550) ............................................................................ 100
ภาพที่ 30 ยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategy) ............................................................... 104
ภาพที่ 31 กรอบการกาหนดเป้าประสงค์หลักของการศึกษาไทย ................................................... 112
ภาพที่ 32 ระดับการพัฒนาของประเทศไทยในมิตติ ่างๆ................................................................ 113
ภาพที่ 33 ประเทศไทยในกับดักประเทศรายได้ปานกลาง ............................................................. 114
ภาพที่ 34 ดัชนีสะท้อนระดับนวัตกรรมและการพัฒนาองค์ความรูข้ องประเทศ ............................... 116
ภาพที่ 35 สังคมทีพ่ งึ ประสงค์ ...................................................................................................... 120
ภาพที่ 36 ช่องว่างระหว่างสังคมปจั จุบนั และสังคมทีพ่ งึ ประสงค์ .................................................... 124
ภาพที่ 37 อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันโดยรวมของประเทศไทยเมือ่ เทียบกับ
ประเทศเพื่อนบ้านปี 2551-2555.................................................................................. 126
ภาพที่ 38 โครงสร้างกาลังคนและคุณภาพของทุนมนุษย์ของประเทศไทยเทียบกับ
ประเทศอื่นๆ ............................................................................................................... 127
ภาพที่ 39 โมเดลการเรียนรูใ้ หม่ ................................................................................................... 129
ภาพที่ 40 ปรัชญาการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 ....................................................................... 136
ภาพที่ 41 ช่องว่างระหว่างสถานะปจั จุบนั และเป้าหมายของการศึกษาทีพ่ งึ ประสงค์ ...................... 138
ภาพที่ 42 กรอบเป้าประสงค์ระดับมหภาคของการศึกษาไทย ....................................................... 141
ภาพที่ 43 สภาวการณ์ของการศึกษาไทยกับการเชื่อมโยงกับประเด็นปญั หาของ
ประเทศไทยในปจั จุบนั ................................................................................................ 146
ภาพที่ 44 ความท้าทายของระบบการศึกษาไทยในปจั จุบนั ........................................................... 147
ภาพที่ 45 อัตราการเข้าเรียนของไทยเมือ่ เทียบกับประเทศในอาเซียนอัตราการเข้าเรียน
ในระดับมัธยมศึกษา .................................................................................................... 148
ภาพที่ 46 อัตราเข้าเรียนในระดับอุดมศึกษา................................................................................. 148
สารบัญภาพ
หน้ า

ภาพที่ 47 ร้อยละของนักเรียนออกกลางคันระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ............... 121


ภาพที่ 48 สัดส่วนการเข้าเรียนต่อในระดับมัธยมปลายของเยาวชน อายุ 16-19 ปี
แบ่งตามกลุ่มรายได้ครัวเรือน ....................................................................................... 123
ภาพที่ 49 สัดส่วนการเข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาของเยาวชนอายุ 19-24 ปีแบ่งตามกลุ่มรายได้
ครัวเรือน..................................................................................................................... 124
ภาพที่ 50 ค่าจ้างแรงงานทีม่ กี ารศึกษาระดับต่างๆ เทียบกับผูท้ ไ่ี ม่ได้เรียน (wage premium) ........ 125
ภาพที่ 51 ค่าจ้างแรงงานเฉลีย่ ปี พ.ศ. 2555 จาแนกตามการศึกษา............................................... 126
ภาพที่ 52 อัตราค่าจ้างจาแนกปีการศึกษา โดยให้กรณีไม่มกี ารศึกษาปี 2544 เป็นปีฐาน ............... 127
ภาพที่ 53 อัตราการเข้าเรียนของเด็กและเยาวชนอายุ 6-24 ปี ปี 2551 ......................................... 128
ภาพที่ 54 สาเหตุของการไม่เข้าเรียนของประชากรอายุ 5-30 ปี ปี 2550 ...................................... 128
ภาพที่ 55 อธิบายพฤติกรรมการแสวงหารายได้ตลอดชีพสูงสุด ..................................................... 130
ภาพที่ 56 ค่าตอบแทนพนักงานใหม่ภาคเอกชน ปี 2553...............................................................131
ภาพที่ 57 รายได้ตลอดชีพจาแนกตามระดับการศึกษา(บาท) ........................................................ 131
ภาพที่ 58 อธิบายพฤติกรรมการแสวงหารายได้ตลอดชีพสูงสุดเมื่อมีขอ้ จากัดสภาพคล่อง ............. 133
ภาพที่ 59 เปรียบเทียบเงินออมสะสมกรณีไม่มขี อ้ จากัดกรณี และข้อจากัดสภาพคล่อง
3 แสนบาท (บาท, มูลค่าปจั จุบนั ) ................................................................................ 134
ภาพที่ 60 เงินออมต่าสุดกรณีจานวนปีทเ่ี รียนต่างๆ ...................................................................... 135
ภาพที่ 61 เงินออมหลังเกษียณและรายได้ตลอดชีพกรณีจานวนปีทเ่ี รียนต่างๆ .............................. 135
ภาพที่ 62 คะแนนและอันดับ PISA ปี 2009 ของนักเรียนไทยเทียบกับประเทศ 5 อันดับแรก ........ 138
ภาพที่ 63 ผลการทดสอบ PISA ของประเทศไทยในปี 2000-2009 ............................................... 139
ภาพที่ 64 ปจั จัยพืน้ ฐานทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (Economic, Social and Cultural
Status : ESCS) .......................................................................................................... 167
ภาพที่ 65 ความแตกต่างทางเศรษฐกิจและสังคมทีม่ ผี ลต่อคะแนนสอบ PISA ด้านการอ่าน ........... 168
ภาพที่ 66 นาฐคคามบอานนแาคPISA ขมงคักเนียคไทยนาหว่างภูอภิ านน่างๆ............................... 170
ภาพที่ 67 นูปฐบบกานกนาจายขมงคักเนียคจาฐคกนาอาถาคาทางเศนษแกิจาังนอฐลาวัฒคธนนอ .... 172
ภาพที่ 68 ลักษณากานกนาจายขมงน่านงเหลืม .............................................................................. 176
ภาพที่ 69 พัฒนาการของระบบอาชีวศีกษาของไต้หวัน................................................................. 186
ภาพที่ 70 พัฒนาการของระบบอาชีวศีกษาของเกาหลีใต้ .............................................................. 193
ภาพที่ 71 พัฒนาการของระบบอาชีวศีกษาของสิงคโปร์ ............................................................... 201
ภาพที่ 72 พัฒนาการของระบบอาชีวศีกษาของไทย ..................................................................... 210
สารบัญภาพ
หน้ า
ภาพที่ 73 งบประมาณด้านการศึกษาเทียบกับงบประมาณแผ่นดินและ ผลิตภัณฑ์มวลรวม
ในประเทศ .................................................................................................................. 218
ภาพที่ 74 งบประมาณด้านการศึกษาไทยเทียบกับประเทศต่างๆ ทัวโลก ่ ...................................... 219
ภาพที่ 75 ระดับผลคะแนน PISA ในวิชาการอ่าน และงบประมาณด้านการศึกษาไทย ................... 230
ภาพที่ 76 ระดับผลคะแนน PISA ในวิชาคณิตศาสตร์ และงบประมาณด้านการศึกษาไทย ............. 230
ภาพที่ 77 แนวโน้มระดับผล O-NET ม.6 ผลคะแนนTIMSS และผลคะแนน PISA
ของนักเรียนไทย ......................................................................................................... 221
ภาพที่ 78 ผลคะแนน O-NET ของนักเรียนระดับชัน้ ม.6 ในวิชาภาษาไทย ................................... 222
ภาพที่ 79 ผลคะแนน O-NET ของนักเรียนระดับชัน้ ม.6 ในวิชาสังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ............................................................................................................. 223
ภาพที่ 80 ผลคะแนน O-NET ของนักเรียนระดับชัน้ ม.6 ในวิชาภาษาอังกฤษ .............................. 223
ภาพที่ 81 ผลคะแนน O-NET ของนักเรียนระดับชัน้ ม.6 ในวิชาคณิตศาสตร์ ................................ 223
ภาพที่ 82 ผลคะแนน O-NET ของนักเรียนระดับชัน้ ม.6 ในวิชาวิทยาศาสตร์................................ 224
ภาพที่ 83 การขาดแคลนแรงงานในประเทศไทย .......................................................................... 228
ภาพที่ 84 โมเดลการกาหนดลักษณะอันพึงประสงค์ของคนไทยในศตวรรษที่ 21 ........................... 231
ภาพที่ 85 รูปแบบความสัมพันธ์ของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment)............... 270
ภาพที่ 86 สัดส่วนข้าราชการในฝา่ ยพลเรือนของประเทศไทย จาแนกตามประเภทข้าราชการ ........ 279
ภาพที่ 87 สัดส่วนข้าราชการในฝา่ ยพลเรือนของประเทศไทย จาแนกตามส่วนราชการ .................. 279
ภาพที่ 88 ช่วงอายุของข้าราชการพลเรือนสามัญทัง้ หมดและข้าราชการพลเรือนสามัญในสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ ................................................................................................... 280
ภาพที่ 89 อัตราการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง (ต่อประชากร 100 คน) ................................... 291
ภาพที่ 90 มูลค่าแยกตามประเภทบริการเสียงและข้อมูล ............................................................... 292
ภาพที่ 91 อัตราการผูใ้ ช้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ (ต่อประชากร 100 คน) ....................... 293
ภาพที่ 92 การศึกษาด้วยเทคโนโลยีทพ่ี งึ ประสงค์ ......................................................................... 303
ภาพที่ 93 กระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมของประเทศฟินแลนด์ ............................................ 341
ภาพที่ 94 โครงสร้างระบบการศึกษาของประเทศฟินแลนด์........................................................... 342
ภาพที่ 95 กระทรวงศึกษาธิการของประเทศสิงคโปร์ .................................................................... 347
ภาพที่ 96 โครงสร้างระบบการศึกษาของประเทศสิงคโปร์ ............................................................. 349
สารบัญภาพ
หน้ า

ภาพที่ 97 สมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์สาหรับศตวรรษที่ 21 ................................................................ 351


ภาพที่ 98 ความยืดหยุน่ ของระบบการศึกษาของประเทศสิงคโปร์ ................................................. 353
ภาพที่ 99 กระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม การกีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของ
ประเทศญี่ปนุ่ .............................................................................................................. 355
ภาพที่ 100 โครงสร้างระบบการศึกษาของประเทศญีป่ ุ่น ................................................................. 356
ภาพที่ 101 องค์ประกอบสาระสาคัญของพ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 .............................. 370
ภาพที่ 102 โครงสร้างการบริหารจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ.......................................... 373
ภาพที่ 103 การปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษที่ 1 ............................................................................. 375
ภาพที่ 104 การปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษที่ 2 ............................................................................. 382
ภาพที่ 105 นโยบายในด้านการศึกษาของไทยในปจั จุบนั ............................................................... 395
ภาพที่ 106 แบบจาลององค์ประกอบการศึกษา 5Ps ของไทยในปจั จุบนั ......................................... 408
ภาพที่ 107 แนวทางการแก้ไขปญั หาด้านกาลังคน.......................................................................... 410
ภาพที่ 108 การวางแผนพัฒนากาลังคนอย่างบูรณาการ ................................................................. 411
ภาพที่ 109 Strategic Approach to Education Challenges .......................................................... 429
ภาพที่ 110 ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อม
สู่ศตวรรษที่ 21 ........................................................................................................... 433
สารบัญตาราง
หน้ า

ตารางที่ 1 ความแตกต่างของแนวคิดและฐานคติระหว่างศตวรรษที่ 20 และศตวรรษที่ 21 ................. 7


ตารางที่ 2 บทบาทของการศึกษาในยุคเกษตรกรรม ยุคอุตสาหกรรม และยุคความรู้ ........................ 12
ตารางที่ 3 ผลตอบแทนจากการพัฒนาทุนมนุษย์ผ่านการศึกษา....................................................... 38
ตารางที่ 4 ช่องว่างของความต้องการแรงงานเชิงคุณภาพกับผลผลิตจากสถาบันการศึกษา .............. 51
ตารางที่ 5 กิจกรรมโครงการวิจยั เรือ่ งการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ....................................................................... 71
ตารางที่ 6 ผลกระทบเชิงบวกและผลกระทบเชิงลบจากการเป็นประชาคมอาเซียน ........................... 90
ตารางที่ 7 การวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) เป้าประสงค์หลักของประเทศไทย
(Country Goals) ......................................................................................................... 125
ตารางที่ 8 องค์ประกอบการศึกษาทีพ่ งึ ประสงค์ สถานะปจั จุบนั และช่องว่าง (Gap) ที่
ต้องการเติมเต็ม .......................................................................................................... 131
ตารางที่ 9 การวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) สถานะปจั จุบนั กับเป้าหมายของการศึกษาทีพ่ งึ
ประสงค์ ...................................................................................................................... 139
ตารางที่ 10 จานวนร้อยละของนักเรียนออกกลางคันระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษา
ตอนปลาย ปีการศึกษา 2548-2552 ............................................................................. 149
ตารางที่ 11 ค่าเสียโอกาสของการสูญเสียรายได้ในขณะเรียน .......................................................... 163
ตารางที่ 12 ความแตกต่างทางเศรษฐกิจและสังคมทีม่ ผี ลต่อคะแนนสอบ PISA ด้านการอ่าน ........... 167
ตารางที1่ 3 สัดส่วนของ กลุ่มนักเรียน Resilient เมือ่ เทียบกับนักเรียนทัง้ หมดและสัดส่วนของ กลุ่ม
นักเรียน Resilient เมือ่ เทียบกับนักเรียนทีพ่ น้ื ฐานไม่ดี ................................................. 169
ตารางที่ 14 ค่าสัมประสิทธิ ์จากการประมาณค่าแบบจาลอง ............................................................. 178
ตารางที่ 15 สรุปพัฒนาการระบบอาชีวศีกษาของไต้หวัน ................................................................ 184
ตารางที่ 16 สรุปนโยบายการส่งเสริมระบบอาชีวศีกษาของไต้หวัน .................................................. 188
ตารางที่ 17 สรุปองค์ประกอบการศึกษาทีส่ าคัญของระบบอาชีวศีกษาของไต้หวัน ........................... 190
ตารางที่ 18 พัฒนาการของระบบอาชีวศีกษาของเกาหลีใต้ .............................................................. 191
ตารางที่ 19 นโยบายทางการศึกษาระบบอาชีวศีกษาของเกาหลีใต้ .................................................. 194
ตารางที่ 20 ปจั จัยความสาเร็จของระบบอาชีวศีกษาของเกาหลีใต้ ................................................... 196
ตารางที่ 21 เป้าหมาย แนวทางการพัฒนา และการปฏิบตั กิ ารหลักของระบบอาชีวศีกษาของสิงคโปร์198
ตารางที่ 22 นโยบายหรือความคิดริเริม่ ของอาชีวศึกษาในสิงคโปร์................................................... 202
ตารางที่ 23 ปจั จัยความสาเร็จของการอาชีวศึกษาในประเทศสิงคโปร์.............................................. 204
สารบัญตาราง
หน้ า

ตารางที่ 24 การพัฒนาทีส่ าคัญของอาชีวศึกษาของประเทศไทย ..................................................... 207


ตารางที่ 25 กลุ่มนโยบายทีเ่ กีย่ วข้องกับอาชีวศึกษาของประเทศไทย ............................................... 212
ตารางที่ 26 จานวนโรงเรียนขนาดเล็กทีม่ นี กั เรียนไม่เกิน 120 คน ................................................... 225
ตารางที่ 27 จาวนโรงเรียนขนาดเล็กจาแนกตามจานวนนักเรียน ..................................................... 225
ตารางที่ 28 สรุปเปรียบเทียบระบบนิเวศการศึกษา ......................................................................... 264
ตารางที่ 29 หน่วยงานหลักด้านการศึกษา ...................................................................................... 268
ตารางที่ 30 ปญั หาของความสัมพันธ์ระหว่างครูกบั ผูเ้ รียน ............................................................... 273
ตารางที่ 31 หน่วยงานภายในกระทรวงศึกษาธิการทีด่ าเนินการพัฒนาครู ........................................ 276
ตารางที่ 32 ประเด็นปญั หาทีเ่ กีย่ วข้องกับครู................................................................................... 277
ตารางที่ 33 จานวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทีจ่ ะเกษียณอายุราชการ
และจานวนผูท้ จ่ี ะสาเร็จการศึกษาจากสถาบันผลิตครู.................................................... 281
ตารางที่ 34 บทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 ต่อผูเ้ รียน ................................................................... 287
ตารางที่ 35 ตัวอย่างแนวทางและอัตถประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ของประเทศไทย ......................................................................................................... 304
ตารางที่ 36 เปรียบเทียบแนวนโยบายด้านการศึกษา ...................................................................... 338
ตารางที่ 37 สรุปเปรียบเทียบนโยบาย เป้าหมายหลัก ยุทธศาสตร์ จุดเน้น ..................................... 362
ตารางที่ 38 เปรียบเทียบการเปลีย่ นแปลงโครงสร้างกระทรวงศึกษาธิการ ........................................ 372
ตารางที่ 39 สรุปรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ...................................................................... 396
ตารางที่ 40 ประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการดาเนินงาน ........................................................... 405
ตารางที่ 41 สรุปประเด็นข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการศึกษา....................................................... 423
ตารางที่ 42 วัตถุประสงค์และแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อม
สู่ศตวรรษที่ 21 ........................................................................................................... 432
ตารางที่ 43 สรุปภาพรวมของแผนยุทธศาสตร์และกรอบแนวทางการดาเนินการเพื่อกาหนด
แผนการดาเนินการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
ระยะยาว (15 ปี) ......................................................................................................... 446
ตารางที่ 44 กรอบแนวทางการดาเนินการเพื่อกาหนดแผนการดาเนินการพัฒนาการศึกษาไทย
เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี) ............................................ 449
กิตติกรรมประกาศ

สถาบัน บัณ ฑิต บริห ารธุ ร กิ จ ศศิ น ทร์ แห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิท ยาลัย และคณะวิจ ัย
ขอ ขอ บคุ ณ ส านั ก นโย บายแล ะแผนการศึ ก ษ า ส านั ก งานเล ขา ธิ ก ารสภาการศึ ก ษ า
กระทรวงศึกษาธิการ ที่ใ ห้ก ารสนับสนุ นการวิจยั และคณะวิจยั ขอขอบคุ ณทุกท่านที่ได้ใ ห้ข้อมูล
ข้อเสนอแนะ ตลอดจนแลกเปลีย่ นความคิดเห็นทีเ่ ป็ นประโยชน์ต่อการวิจยั ในครัง้ นี้ โดยเฉพาะอย่าง
ยิง่ คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา ประธานกรรมการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่ งชาติ คุ ณ มีชยั วีระไวทยะ นายกสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน ดร.อาจอง ชุมสาย ณ
อยุธยา ผู้บริหารสูงสุด โรงเรียนสัตยาไสย ศาสตราจารย์ศรีราชา เจริญพานิช ผูต้ รวจการแผ่นดิน
ศาสตราจารย์นายแพทย์ว ิจารณ์ พานิช คุ ณทนง โชติส รยุทธ์ รศ.ลัดดา ภู่เ กียรติ ดร.ยงยุทธ
แฉล้มวงษ์ อาจารย์วรวิทย์ กุลจิรกาญจน์ คุณอิสดอร์ เรโอด์ รวมทัง้ ผู้เข้าร่วมประชุมระดมความ
คิดเห็นและการสัมมนาทุกท่าน

นอกจากนี้ คณะวิจ ัย ขอขอบคุ ณ ดร.รัต นา ศรีเ หรัญ รองเลขาธิก ารสภาการศึก ษา


ดร.สมศักดิ ์ ดลประสิทธิ ์ ผู้อานวยการสานักนโยบายและแผนการศึกษา สานักงานเลขาธิการสภา
การศึก ษา ศาสตราจารย์ม ณี ร ัต น์ สวัส ดิว ัต น์ ณ อยุ ธ ยา รศ.ดร. สนานจิต ร สุ ค นธทรัพ ย์
ดร.รุ่ ง เรือ ง สุ ข าภิร มย์ ดร.นงราม เศรษฐพานิ ช และดร.กมล รอดคล้ า ย รองเลขาธิก า ร
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ทีใ่ ห้คาปรึกษา คาวิจารณ์และข้อเสนอแนะทีเ่ ป็ นประโยชน์ใน
การวิจยั และจัดทารายงานการศึกษาให้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน้

หากรายงานวิจยั ฉบับ นี้ม ีข้อ บกพร่อ งประการใด คณะวิจ ยั ขอน้ อ มรับไว้ และขออภัยมา
ณ ทีน่ ้ดี ว้ ย
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

บทสรุปผูบ้ ริหาร
บทนา

1.1 หลักการและเหตุผล
การศึกษาเป็ นกลไกหลักในการพัฒนา ส่งเสริม ปลูกฝงั แนวความคิด ความรู้ ให้กบั พลเมือง
และสังคมโดยรวมของทุกประเทศ ดังนัน้ การศึกษาจึงเป็ นตัวแปรหลักของความสามารถในการ
แข่งขันระยะยาว (Long Term Competitiveness) การออกแบบการศึกษาจึงเป็ นข้อต่อสาคัญของ
การพัฒนาประเทศในทุกด้านทีเ่ กีย่ วข้องกับมนุษย์และสังคม
บริบททีส่ าคัญในการออกแบบการศึกษาในปจั จุบนั ก็คอื พลวัตการเปลีย่ นแปลงโลกจากการ
ก้าวผ่านจากศตวรรษที่ 20 เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 กระแสการเปลี่ยนแปลงโลกได้ส่งผลกระทบทัง้ ทาง
สังคม เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และการเมืองของทุกประเทศ กระแสการเปลีย่ นแปลงทีช่ ดั เจนถูกหยิบ
ยกขึน้ มาเป็ นปจั จัยการเปลี่ยนผ่าน เช่น การปฏิวตั ิ Arab Spring ผ่านการใช้เทคโนโลยี Social
Media การก้าวขึน้ มาทางเศรษฐกิจของเอเชีย หรือภาวะอากาศเปลีย่ นแปลง เป็ นต้น คนในโลกยุค
ใหม่ท่ามกลางพลวัตการเปลีย่ นแปลงดังกล่าวจึงต้องมีความพร้อมทีจ่ ะเผชิญกับความเปลี่ยนแปลง
การเปลีย่ นผ่านเหล่านี้ หากสังคมหรือพลเมืองขาดความพร้อมในการก้าวผ่านก็จะทาให้ป ระเทศไม่
สามารถเดินต่อได้จนเสี่ยงกับการเป็ นรัฐที่ล้มเหลว ประเทศไทยก็จาเป็ นต้องก้าวสู่ศตวรรษที่ 21
เช่นกัน ดังนัน้ การเตรียมความพร้อมคนไทย เพื่อการนาพาสังคมและประเทศไปสู่โลกที่ 1 จึงเป็ น
จุดหัวเลีย้ วหัวต่อ (Critical Point) ของชาติทไ่ี ม่อาจหลีกเลีย่ งได้
อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมาประเทศไทยยังคงขาดความชัดเจนในการกาหนดเป้าประสงค์หลัก
ของการศึกษา (Objective Function) ซึ่งเปรียบเสมือนเป็ นผลสุทธิของระบบ หรือปลายทางที่
การศึก ษาต้อ งพัฒนาและเสริมสร้างให้พลเมืองและสังคมสามารถอยู่ได้อ ย่างภาคภูม ิ แต่ การตัง้
เป้าประสงค์หลักของการศึกษาเพียงอย่างเดียวไม่สามารถพัฒนามนุ ษย์และสังคมได้ หากแต่ต้องมี
กลไกการขับเคลื่อนแนวนโยบายและยุทธศาสตร์ทป่ี ฏิบตั ไิ ด้จริง โดยการดาเนินการจะต้องเข้าใจถึง
ทัง้ บริบ ทการเปลี่ย นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 พื้น ฐานปรัช ญาการศึก ษาไทย รวมถึง
องค์ประกอบของสภาพแวดล้อมการดาเนินชีวติ ของผูเ้ รียน โดยความเข้าใจเหล่านี้ควรเป็ นความรู้
พื้นฐานที่สนั ้ กระชับ เข้าใจง่าย และมีแนวปฏิบตั ิท่ชี ดั เจน โดยบุคคลในวงการศึกษาไทยตัง้ แต่ผู้
กาหนดนโยบาย ผูม้ สี ่วนร่วมทัง้ ภาครัฐและเอกชน ตราบไปจนถึงตัวผู้เรียนเองจะต้องมีความเข้าใจ
ในแนวปฏิบตั แิ ละมีส่วนร่วมในการปฏิบตั อิ ย่างเพียงพอ ซึง่ แนวปฏิบตั เิ หล่านี้บางส่วนอาจไม่ใช่การ
เปลี่ยนแปลงที่ละน้ อย (Incremental Change) แต่อ าจจาเป็ นต้อ งเปลี่ยนถึงรากฐานแนวคิด
i
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

(Paradigm Shift/Fundamental Change) ดังนัน้ การมีส่วนร่วมและความเข้าใจของภาคส่วนจึงเป็ น


อีกปจั จัยในการเปลีย่ นรูปครัง้ นี้
การปฏิรปู ระบบการศึกษาของประเทศไทย จึงไม่อาจพิจารณาแบบแยกส่วนได้ หากแต่ต้อง
อาศัย การท าความเข้า ใจภาพรวมของระบบอย่า งถ่ อ งแท้ เพื่อ ให้ส ามารถก าหนดทิศ ทางและ
กระบวนการผลักดันให้ทุกองค์ประกอบของระบบสามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างเป็ นรูปธรรม หรือ
กล่าวโดยสรุปคือ “ประเทศไทยต้องมีการกาหนดเป้าประสงค์หลัก (Objective Function) ที่ระบุ
เป้าหมายของการศึกษาอย่างชัดเจนว่าจะทาไปเพื่ออะไร และเป็ นความเข้าใจร่วมของทุกภาคส่วน
ของการศึกษา รวมทัง้ ยกให้การศึกษาเป็ นวาระแห่งชาติ (National Agenda) และจัดทาแนว
ปฏิบตั กิ ารทางการศึกษา (Action Agenda) ซึง่ ประกอบไปด้วยยุทธศาสตร์ (Strategies) ทีส่ ามารถ
แปลงไปสู่ภาคปฏิบตั ิ (Implementation) ได้อย่างเป็นขัน้ ตอน พร้อมใช้งานได้ในทันที”
ดังนัน้ ตามทีส่ านักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจึงเห็นควรให้มกี ารจัดทาโครงการวิจยั เรื่อง
การก าหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 เพื่อ ให้
สามารถจัดเตรียมแผนการศึกษาของประเทศให้มคี วามสมบูรณ์พร้อมในทุกๆ ด้าน มีความชัดเจนใน
การกาหนดเป้าประสงค์หลักของการศึกษาทีช่ ดั เจน สร้างความเข้าใจให้ทุกภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้องได้
เห็นทิศทางการพัฒนาระบบการศึกษาของประเทศในทิศทางเดียวกัน มองเห็นความเชื่อมโยงและ
การบูรณาการการทางานระหว่างกัน รวมทัง้ สามารถใช้เป็ นรากฐานสาคัญของกระบวนการปฏิรูป
ระบบการศึกษาของประเทศไทยได้อย่างมังคงและยั
่ งยื
่ นต่อไป

1.2 วัตถุประสงค์
1) เพื่อศึกษาสภาวการณ์การเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ทีม่ นี ัยสาคัญต่อการจัด
การศึกษาไทย และกาหนดภาพรวมของเป้าประสงค์หลักของการจัดการศึกษาของไทย
2) เพื่อ ศึ ก ษาวิเ คราะห์ ป ระเด็น ท้ า ทายของการจัด การศึก ษาของไทยในการบรรลุ
เป้าประสงค์หลัก ภายใต้บริบทของการเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21
3) เพื่อ จัด ท าข้อ เสนอแนะแนวทางการพัฒ นาการศึก ษาไทยเพื่อ เตรีย มความพร้อ มสู่
ศตวรรษที่ 21 รวมทัง้ กลไกการขับเคลื่อนไปสู่ภาคปฏิบตั ิ

ii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

1.3 เป้ าหมายผลผลิ ตของโครงการ


1) รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ ที่ประกอบด้วยแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กลไกการขับเคลื่อ นไปสู่ภาคปฏิบตั ิ และกรอบแนวทางการดาเนินการเพื่อ ก าหนด
แผนการดาเนินการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะ
ยาว (15 ปี)
2) รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียม
ความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ในรูปแบบทีก่ ระชับเข้าใจง่าย

สภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ที่มีนัยสาคัญต่อการ
จัดการศึกษาไทย และกาหนดภาพรวมของเป้าประสงค์หลักของการจัด
การศึกษาของไทย

สภาวการณ์การเปลี่ ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ที่ มีนัยสาคัญต่อการจัด


การศึ กษาไทย
บริบทการเปลี่ยนแปลงสาคัญที่มผี ลกระทบต่อประเทศไทย ที่จะมีผลกระทบและนัยสาคัญ
ต่อภาคการศึกษาเรียนรูข้ องประเทศไทยทีส่ าคัญ ประกอบด้วย 3 ระดับ

1) แนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trend) ที่ ส าคัญ คื อ พลวัตการ


เปลี่ยนแปลงโลกจากการก้าวผ่านจากศตวรรษที่ 20 เข้าสู่ศตวรรษที่ 21
สิง่ ทีโ่ ลกจะเปลีย่ นไปจากศตวรรษที่ 20 สู่ ศตวรรษที่ 21 สรุปเป็ นประเด็นสาคัญ ได้ 3
กระแส ได้แก่ (1) กระแสการเปลีย่ นแปลงจากศตวรรษแห่งอเมริกา(American Century) สู่ศตวรรษ
แห่งเอเชีย (Asian Century) (2) กระแสการเปลีย่ นจากยุคแห่งความมังคั
่ ง่ สู่ยุคแห่งความสุดโต่ง ทัง้
ธรรมชาติ การเมือง และธุรกิจ และ (3) กระแสการเริม่ เปลีย่ นแกนอานาจจากภาครัฐและเอกชน สู่
ภาคประชาชน (citizen centric governance) หรือประชาภิบาล
นอกจากแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของโลกแล้ว แรงขับเคลื่อนทีจ่ ะมีผลกระทบและนัยสาคัญ
ต่อภาคการศึกษาเรียนรู้ของประเทศไทยที่มคี วามสาคัญมากเช่นกัน คือ แรงขับเคลื่อนในระดับ
ภูมภิ าค และบริบทประเด็นภายในประเทศไทย (Local Issues) ตลอดจน ยุทธศาสตร์ของประเทศ
(Country Strategy)

iii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2) แรงขับเคลื่อนในระดับภูมิภาค (Regional Forces)


การรวมกลุ่ มทางเศรษฐกิจของภูมภิ าคต่ างๆของโลกมากขึ้นโดยกรอบความร่ว มมือ ที่ม ี
ความส าคัญ ใกล้ ชิ ด กั บ ประเทศไทยมาก คือ การรวมกั น เป็ น ประชาคมอาเซี ย น ( ASEAN
Community) และการรวมกลุ่ มของเอเชียตะวันออก (Regional Comprehensive Economic
Partnership: RCEP)

3) ประเด็นภายในประเทศไทย (Local Issues) และยุท ธศาสตร์ของประเทศ


(Country Strategy)
ประเด็นปญั หาภายในประเทศไทยทีส่ าคัญของไทย คือ เรื่องความเหลื่อมล้า กับดักประเทศ
รายได้ป านกลาง วิก ฤตด้านความมันคง ่ การเปลี่ย นแปลงทางครัว เรือ น ส าหรับ เรื่อ งทิศ ทาง
ยุทธศาสตร์ของประเทศนัน้ รัฐได้ก าหนดยุทธศาสตร์ของประเทศ 4 ยุทธศาสตร์หลัก คือ (1)
ยุทธศาสตร์สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ(Growth & Competitiveness) (2)
ยุทธศาสตร์สร้างโอกาสบนความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม(Inclusive Growth) (3)
ยุทธศาสตร์การเติบโตบนคุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม(Green Growth) (4) ยุทธศาสตร์
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยให้น้ าหนักความสาคัญเรื่องการพัฒนา
การศึก ษาเป็ นหนึ่งในรายละเอียดยุทธศาสตร์ ซึ่ง ในปจั จุบนั มีค วามท้าทายเรื่องการนาไปสู่ก าร
ปฏิบตั เิ พื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง
ภาพความเชื่อมโยงของแรงขับเคลื่อนและแนวโน้ ม (Forces and Trend) ที่สาคัญกับยุทธศาสตร์ประเทศ
และบริบทการพัฒนาของประเทศไทยที่จะส่งผลกระทบต่อภาพคนไทยในศตวรรษที่ 21

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)


iv
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพรวมของเป้าประสงค์หลักของการจัดการศึกษาของไทย
เป้าประสงค์หลักของประเทศไทย
เป้า ประสงค์ของการพัฒนาสัง คมไทยประกอบด้ว ย 4 ด้า นคือ สังคมแห่ งโอกาส
(Opportunity Society) สังคมทีส่ ามารถ (Productive Society) สังคมทีเ่ ป็ นธรรม (Just Society)
และสังคมคุณธรรม (Moral Society) โดยรายละเอียด มีดงั นี้

ภาพเป้ าประสงค์หลักของประเทศไทย

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

การกาหนดภาพสังคมไทยที่พงึ ประสงค์น้ี เป็ นการสะท้อนให้เห็นภาพที่พงึ ประสงค์ภายใต้


บริบทการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ที่ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ มีความอยู่ดีมีสุข (Well-
being Nation) ทัง้ ในระดับบุคคล สังคมและระดับประเทศ ในระดับบุคคลประชาชนมีสุขภาวะทีด่ ที งั ้
มิตทิ างกาย จิต สังคมและปญั ญามีศ ีล ธรรมอัน ดีง าม ในระดับสังคมมีบรรยากาศแห่งความอบอุ่น
ชุมชนพึง่ ตนเองได้ และอยูร่ ว่ มกันอย่างสันติ เป็ นสังคมทีม่ คี วามเข้มแข็งมันคง
่ และในระดับประเทศ
เราจะก้า วไปสู่ ก ารเป็ น ประเทศในโลกที่ห นึ่ ง ที่เ ศรษฐกิจมีคุ ณภาพ เสถียรภาพ และเป็ นธรรม
สิง่ แวดล้อมมีคุณภาพ และทรัพยากรธรรมชาติยงยื ั ่ น อยู่ภายใต้ระบบบริหารจัดการประเทศทีม่ ธี รรมาภิ
บาลสามารถอยูร่ ว่ มกับนานาประชาชาติได้อย่างเต็มภาคภูม ิ

v
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ปรัชญาการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
ปรัชญาพื้นฐานทีเ่ ป็ นรากฐานแห่งระบบการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 จะต้องเปลีย่ นไป
จากเดิม ดังนี้
1. ปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ (Identity) คนไทย จากเดิมแต่ละคนมีสถานะเป็ นแค่เพียง
พลเมืองไทย (Thai-Thai) สู่ความเป็ นคนไทยที่เป็ นส่วนหนึ่งของพลเมืองโลก
(Global-Thai) ซึ่งหมายถึงความจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับพลวัต
การเปลี่ยนแปลงในประชาคมโลก เครือ ข่า ยของประชาคมโลก รวมถึง การปลุ ก
จิตสานึกต่อโลก
2. ปรับเปลี่ยนจุดเน้ น (Reorientation) จากการเน้นการสร้างคนเพื่อป้อนการเติบโต
ทางเศรษฐกิจ (People for Growth) เพื่อตอบโจทย์สงั คมอุตสาหกรรมเพียงอย่าง
เดียวไปสู่การเน้ นการสร้างการเติบโตเพื่อรองรับการสร้างและปลดปล่อยศักยภาพ
ของผูค้ นในสังคม (Growth for People) เพื่อตอบโจทย์สงั คมองค์ความรู้
3. ปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (Paradigm) จากความพยายามเอาชนะธรรมชาติ
(Controlling Nature) มาเป็ นการอยู่รวมกับธรรมชาติ (Living with Nature) พัฒนา
อย่างยังยื่ น
4. ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม จากการเป็ นสังคมที่คนมุ่งมันแข็ ่ งขันฟาดฟนั ต้องเอาชนะ
ผู้อ่ ืน (Competition-Driven) มาเป็ นการทางานร่ว มกับ คนอื่นในลักษณะเกื้อ กู ล
แบ่งปนั (Collaborative-Culture) คนเก่งช่วยเหลือคนทีด่ ้อยกว่าเรียกหาสิง่ ทีด่ ที ่สี ุด
สาหรับตนเองและส่วนรวมไปพร้อมๆกันผูค้ นมีความเมตตาดาเนินชีวติ ในความเป็ น
มิตรไมตรีจติ ต่อกันและกัน
5. ขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่โลกที่ หนึ่ ง (First World Nation) จากทีม่ องแต่การมุ่ง
ไปสู่การเป็ นประเทศพัฒนาแล้ว (Developed Country) ซึง่ ให้ความสาคัญแต่มติ ิ
เศรษฐกิจเป็นสาคัญมาเป็นการคานึงถึงประเด็นด้านสังคม วัฒนธรรม โดยเฉพาะการ
สร้างเกียรติภูมใิ นความเป็ นชาติ (Dignity of Nation) ให้คนไทยมีความเข้าใจใน
ประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรมของชาติไทย มีจติ สานึกและตระหนักในคุณค่าของความ
เป็ นไทย ก่ อเกิดเป็ นความรักความภูมใิ จ ทุ่มเทกาลังกายใจเพื่อ ประโยชน์ สุ ขของ
ประเทศชาติ

vi
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ปรัชญาการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21

ปรัชญา ปรัชญา
ในศตวรรษที่ 20 ในศตวรรษที่ 21

Thai-Thai Global-Thai

People for Growth Growth for People

Controlling Nature Living with Nature

Competition-driven
Competition-Driven Collaborative-Culture
Collaborative Culture
Culture

Developed Country Dignity of Nation

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

vii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เป้าประสงค์ของการศึ กษาไทย

เป้าประสงค์ของการศึกษาไทย (Goal of Education) ในศตวรรษที่ 21 ทีพ่ งึ ประสงค์ คือ


“การศึ กษาไทยช่วยบ่มเพาะคนไทยให้เป็ นคนไทยที่มีศักยภาพ กล่อมเกลาให้เป็ นคนที่
มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสุข ช่วยนาประเทศไปสู่ระดับการพัฒนาอย่างสมดุลและ
ยั่งยืน พร้อมกับเป็ นสังคมที่อยู่ดีมีสุข (Well-Being Nation)”

เป้ าประสงค์ห ลัก ของการศึก ษาในระดับ มหภาค ที่เ ป็ น เป้ า หมายปลายทางของการจัด


การศึกษา ซึง่ ก็คอื “ผลลัพธ์ของระบบการศึกษา” (Education Output) ประกอบไปด้วย
5 เป้าประสงค์หลัก คือ (1) การเข้าถึง (Access) (2) ความเท่าเทียม (Equity) (3) คุณภาพ
(Quality) (4) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และ (5) ตอบโจทย์บริบทที่เ ปลี่ยนแปลง
(Relevancy) ทัง้ นี้ เป้าหมายของการศึกษาไทยในอนาคตอีก 20 ปีขา้ งหน้าประเด็นใด
สาคัญทีส่ ุด คือ เรือ่ งคุณภาพการศึกษา รวมไปถึงการตอบโจทย์บริบททีเ่ ปลีย่ นแปลง

โมเดลการกาหนดลักษณะอันพึงประสงค์ของคนไทยในศตวรรษที่ 21

ทีม่ า: Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

viii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ประเด็นท้าทายของการจัดการศึกษาของไทยในการบรรลุเป้าประสงค์หลัก
ภายใต้บริบทของการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21
แนวโน้ ม สภาวการณ์ ก ารเปลี่ยนแปลงของโลกดังที่ได้กล่าวข้างต้น ย่อ มจะส่ งผลอย่างมี
นัยสาคัญต่อการบรรลุเป้าประสงค์หลักของการจัดการศึกษาไทย ทัง้ ในด้านคุณภาพการศึกษา การ
เข้าถึงและเท่าเทียม ประสิทธิภาพ และปรับตัวเข้ากับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคใหม่ ใน
ศตวรรษที่ 21 ดังนัน้ ประเทศไทยต้องก้าวเข้าสู่กระแสใหม่ของการเปลีย่ นแปลง โดยเฉพาะอย่างยิง่
ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-Based Economy) ซึง่ ต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนาทุน
มนุ ษย์ (Human Capital) การใช้และต่อยอดองค์ความรู้ การให้ความสาคัญกับการวิจยั และพัฒนา
การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (Science, Technology and Innovation) ดังนัน้
ประเทศไทยจึงจาเป็ นต้องมีการวางแผนการพัฒนากาลังคนทีเ่ หมาะสม และจัดการศึกษาให้สอดรับ
กับกระแสการเปลีย่ นแปลง
ทัง้ นี้จากการวิเคราะห์บริบทกระแสการเปลีย่ นแปลงและแรงขับเคลื่อนในระดับต่างๆ นามา
ซึง่ ประเด็นท้าทายของระบบการศึกษาที่จาเป็ นต้องสามารถตอบสนองกับความท้าทายเหล่านี้ให้ได้
ทัง้ ในระดับมหภาคด้านการวางแผนกาลังคน และระดับปจั เจกซึง่ เป็ นคุณลักษณะของคนไทย ได้แก่
ระดับมหภาค
- การยกระดับ การศึ ก ษาเพื่ อ พัฒ นาผู้เ รี ย นให้ มี คุณ ภาพ สอดคล้ อ งกับ การ
วางแผนกาลังคนส่ งเสริ มการเรียนรู้ตลอดชี วิตและหนุ นเสริ มการพัฒนาทุน
มนุษย์อย่างเป็ นองค์รวมของประเทศเพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศ (Competitiveness) น าประเทศก้ า วพ้น กับ ดัก ประเทศรายได้ป านกลาง
(Middle-Income Trap) ขณะเดียวกันก็เ ป็ น การพัฒนาอย่างสมดุล คนไทยและ
สังคมไทยอยูอ่ ย่างมีความสุข และมีการกินดีอยูด่ ี (Well-being Nation)
- การสร้ า งสั ง คมแห่ ง ปั ญ ญา(Wisdom-based Society) และการสร้ า ง
สภาพแวดล้อมที่ เอื้อต่ อการเรียนรู้ (Learning Supportive Environment) ด้วย
การเปลี่ยนแปลงด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ (ParadigmShift) ปฏิรูปสังคม ขับเคลื่อนให้
เกิดวัฒนธรรมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ

ix
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ระดับปัจเจก
- การสร้างมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีจิตที่ พร้อม มีความแข็งแกร่งในสมรรถนะหลัก
สอดรับศักยภาพการเรียนรู้ของทุ กคน โดยอาศัย การศึกษาเป็ นเครื่อ งช่ว ยบ่ม
เพาะคนไทยให้เป็ นคนไทยทีม่ ศี กั ยภาพ กล่อมเกลาให้เป็ นคนทีม่ คี ุณธรรม จริยธรรม
มีความสุข ช่วยนาประเทศไปสู่ระดับการพัฒนาอย่างสมดุลและยังยื ่ น มิใช่การมุ่งเน้น
เพียงผลสัมฤทธิ ์ทางวิชาการหรือการสอบเพื่อคะแนนอย่างเดียวอีกต่อไป

แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
รวมทั้งกลไกการขับเคลื่อนไปสู่ภาคปฏิบตั ิ
บทเรียนจากประสบการณ์ต่างประเทศ
นโยบายและยุทธศาสตร์การศึกษา
- สร้างระบบการศึกษาที่มีคณ ุ ภาพ เน้ นการสร้างพื้นฐาน (Foundation) ที่มนคง
ั่
และบูรณาการเพื่อรองรับการศึกษาและการเรียนรู้ ตอบสนองต่ อสังคมแห่ ง
การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ให้ความสาคัญกับเรื่องความมีประสิทธิภาพ
ส่งเสริมความเท่าเทียม และเน้นการสร้างสมดุล
- สร้างพลเมืองคุณภาพ คนที่ สมบูรณ์ ทุกด้ าน ช่วยให้พบความสามารถพิเศษ
รับรูศ้ กั ยภาพ และมีความกระหายใคร่เรียนรูต้ ลอดชีวติ
- รูปแบบการบริ ห ารจัด การ สร้า งสมดุล ระหว่ างการรวมศูน ย์และการกระจาย
อ านาจ เน้ น การบริห ารการศึก ษาด้ว ยท้ อ งถิ่น มากขึ้น โดยส่ ว นกลางเป็ น ผู้
วางเป้ าหมายและแนวทางส าหรับ การศึ ก ษาของประเทศ และให้ อิ ส ระกั บ
สถานศึกษาในการวางหลักสูตรและการเรียนการสอนได้อย่างยืดหยุ่น และเน้นการ
มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

สภาพแวดล้อมการเรียนรู้
- การจัด การเรีย นการสอน ยึดหลัก การดูแลแบบครบวงจรและเท่าเทียม เปิ ด
โอกาสให้ครูเลือกวิธกี ารทีเ่ หมาะกับนักเรียนของตนได้อย่างอิสระ ส่งเสริมให้ผเู้ รียน
ค้น พบความสามารถตนเอง แรงใจ (Passion) ในการเรีย นรู้ต ลอดชีว ิต สร้า ง
สภาพแวดล้อมทีท่ ้าทายและสนุ กสนาน ผสมผสานการเรียนในห้องเรียนและนอก
ห้องเรียนอย่างสมดุล

x
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- ครู ครูเป็นหัวใจของการพัฒนาการศึกษาในหลายประเทศ จุด เน้น คือ การสร้างครู


คุณภาพสูง คุณภาพเป็ นเลิศ การคัดเลือกครูเข้มข้น คัดเลือกครูจากนักเรียนที่ม ี
ผลคะแนนสูงเป็ นอันดับต้นๆ ของประเทศ วิชาชีพครูเป็ นอาชีพที่คนปรารถนาและ
เป็ นที่นับถือ บ่มเพาะทักษะอาชีพครู มีการส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการพัฒนา
ตนเองของครู แลกเปลี่ยนประสบการณ์ วางระบบพัฒนาครูอย่างครบวงจร ปรับ
อัต ราเงิน เดือ นให้สู ง เท่ า วิช าชีพ ชัน้ สูง ยกระดับ มาตรฐาน เส้น ทางอาชีพ ครูม ี
ความก้าวหน้า
- หลักสูตร โครงสร้างหลักสูตรมีความเข้มข้น มีมาตรฐาน แต่ให้โครงสร้างหลักสูตร
เป็ นเพียงกรอบเท่านัน้ โรงเรียนและครูมอี สิ ระกาหนดวิธกี ารสอน การเรียนรูเ้ ต็มที่
การจัดหลักสูตรเน้นการเรียนรูอ้ ย่างกว้างขวางและเป็ นองค์รวม (Broad-Based and
Holistic Learning) การออกแบบหลัก สูต รและวัดผลเน้ น ความสอดคล้อ งกับ
“หลักสูตรการคิด”
- การประเมิ น ไม่มรี ะบบประเมินด้วยข้อสอบกลาง (National Test) หรือมีสอบ
วัดผลมาตรฐานน้อยครัง้ หรือครัง้ เดียวเมือ่ จบมัธยมศึกษาตอนปลาย จุดเน้นคือ เน้น
การประเมินพัฒนาการเรียนรู้ (formative assessment) เป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรม
การเรียนรู้ และให้การประเมินในห้องเรียนเป็นการสังเกตพัฒนาการ และสื่อสารกับ
ผูป้ กครองอย่างสม่าเสมอ
- เทคโนโลยีสารสนเทศ ICT เป็ นปจั จัยส่งเสริมการเรียนรูท้ น่ี ักเรียนเป็ นศูนย์กลาง
เน้นทีเ่ นื้อหาสาระ (content) และนามาใช้อย่างบูรณาการ อย่างเหมาะสม สอดคล้อง
กับพัฒนาการของแต่ละวัย

xi
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการศึ กษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อม
สู่ศตวรรษที่ 21
แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยเพือ่ เตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที ่ 21 จะประกอบ
ไปด้วยแนวทางในการดาเนิ นการทีส่ าคัญทัง้ การ “ซ่ อม” และการ “สร้าง” ควบคู่กนั ไป เพื่อ
เป็ นการปรับแต่ง ซ่อมแซมกลไกการศึกษาเดิมให้ดยี งิ่ ขึน้ และสร้างเสริมกลไกใหม่ๆ ให้เกิดขึน้ เพื่อ
ตอบสนองพลวัตรการเปลี่ยนแปลงแห่งศตวรรษที่ 21 รวมถึงสร้างพลังของการเปลี่ยนแปลงของ
สังคมไทย เพื่อก้าวสู่การสร้างสังคมแห่งปญั ญาการเรียนรูอ้ ย่างสร้างสรรค์ ช่วยขับเคลื่อนให้เกิดผล
ในการพัฒนาการศึกษาเรียนรู้ของไทยในทางปฏิบตั ิอย่างยังยื ่ นและสมดุล เป็ นรากฐานของการ
พัฒนาประเทศอย่างแท้จริง
ซ่อม
1. ปฏิรปู ระบบการผลิตครูและพัฒนาศักยภาพครูประจาการ
2. ปฏิรปู การเรียนรูแ้ ห่งศตวรรษแห่ง 21 และส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
3. ปฏิรปู ระบบการประเมิน เน้นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative
Assessment)
4. ปฏิรปู เชิงโครงสร้าง และบริหารการเปลีย่ นแปลง ตลอดจนปฏิรปู ระบบการบริหาร
จัดการ (Management System)
สร้าง
ั ญา (Wisdom-based Society) ส่ งเสริม การเรีย นรู้ต ลอดชีว ิต
5. สร้า งสัง คมแห่ ง ป ญ
(Lifelong Learning) และสร้างสภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้ (Supportive Learning
Environment) เพื่อสร้างมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ (ไม่ใช่แค่เน้นแต่วชิ าการ)

xii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ซ่อม

1. ปฏิรูประบบการผลิตครูและพัฒนาศักยภาพครูประจาการ

แก้ไขซ่อมแซมระบบการผลิต “ว่าที่ครูประจาการ” อย่างเร่งด่วน


ควบคู่ไปกับเสริมศักยภาพ “ครูประจาการ”

แนวนโยบาย:

1.1 ระบบการผลิ ต “ว่ า ที่ ค รูป ระจ าการ” ควรมี ก ารปรับ ปรุง เปลี่ ย นแปลงอย่ า ง
เร่งด่วน
- เร่งปฏิ รูประบบการผลิ ตครู สถาบันที่ ผลิ ตครูควรผลิ ตครูในสาขาที่ สถาบัน
นั ้น มี ค วามเชี่ ย วชาญ ศัก ยภาพและความพร้ อ มของสถาบัน ซึ่ง จะเป็ น
ประโยชน์ทงั ้ ในการบ่มเพาะบุคลากรที่มคี ุณภาพ อีกทัง้ มีกลุ่มเป้าหมายผูเ้ รียนครูท่ี
ชัดเจน เนื่องจากในปจั จุบนั แม้ว่าจะมีปริมาณครูท่จี บมาจานวนมาก แต่มปี ญั หา
เรื่องคุณภาพครู เกิดความขัดแย้งทางอุปทาน (Paradox) กล่าวคือ มีบุคลากรที่
ผลิตจานวนมาก แต่ก็มคี วามขาดแคลนครู มาตรฐานแตกต่างกันระหว่างสถาบัน
โดยเฉพาะประเด็นด้านคุณภาพ ดังนัน้ จึงจาเป็นต้องเร่งปฏิรปู ระบบการผลิตครู
- ผสมผสานบูรณาการตัง้ แต่ ข นั ้ ตอนการผลิ ตครู เพื่ อ บ่ มเพาะความเป็ นครู
ทักษะการสอน เพื่อแก้ปญั หาข้อจากัดกระบวนการเรียนการสอนของสถาบันผลิต
ครูในปจั จุบนั ยังค่อนข้างแยกส่วนระหว่างการสอนทฤษฎี และการปฏิบตั ิ หรือเป็ น
การฝึกฝนทีไ่ ม่ลุ่มลึกอีกทัง้ ไม่มกี ารสอนการวิเคราะห์ห ลักสูตร ส่งผลให้ขาดการบ่ม
เพาะความเป็ นครูท่เี ข้มข้น และบัณฑิตที่จบแล้วเมื่อเข้าเป็ นครูประจาการจึงขาด

xiii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทักษะการสอน และขาดทักษะในการคิดวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางทีไ่ ด้รบั มา และ


การประยุกต์สอนให้เข้ากับเด็กนักเรียนและบริบท
- วางระบบพัฒนาครูอย่ างครบวงจร ปรับอัตราเงินเดือนให้สูงเท่าวิชาชีพชัน้ สูง
ยกระดับมาตรฐาน เส้นทางอาชีพครูมคี วามก้าวหน้า เพื่อสร้างระบบแรงจูงใจ และ
สร้างค่านิยมเพื่อดึงดูดให้ผู้ท่มี คี ะแนนสูงเข้ามาเรียนครู เพื่อสร้างครูรุ่นใหม่ท่มี ี
คุณภาพเป็ นเลิศ การคัดเลือกครูเข้มข้น คัดเลือกครูจากนักเรียนที่มผี ลคะแนนสูง
เป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ

1.2 พัฒนา เสริ มศักยภาพครูประจาการ


- ควรเร่งพัฒนาศักยภาพครูมีความจาเป็ นอย่ างยิ่ ง เพื่ อแลกเปลี่ ยนเรียนรู้และ
นาไปสู่การปรับปรุงพัฒนาวิ ธีการสอน และปรับการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้
ครูผสู้ ร้างแรงบันดาลใจ (Inspiring Teachers) ปรับบทบาทครูเป็ นผูอ้ านวยความสะดวก
ในการเรียนรู้ใ ห้ก ับผู้เ รียน โดยจัดกิจกรรมเสริมศักยภาพครูป ระจาการ อาทิ การ
ฝึกอบรม แลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะหว่างครูด้วยวิธกี ารต่างๆ สร้างเครือข่ายครูประจาการ
พัฒนาระบบครูพเ่ี ลีย้ งทีส่ นับสนุ น เพื่อช่วยแก้ไขปญั หาเรื่องคุณภาพครู ช่วยยกระดับ
ครูประจาการมีขอ้ จากัดในการสอน ทาให้ผเู้ รียนขาดความรูค้ วามเข้าใจอย่างลึกซึง้
- ควรปรับปรุงระบบการขึ้นบัญชี ครู และการจัดส่ งครูไปประจาการตามโรงเรียน
สถานศึกษาตามความเชี่ ยวชาญ เนื่องจากปจั จุบนั ครูได้ทาหน้ าที่ไม่เต็มศักยภาพ
ความเชีย่ วชาญของตน เนื่องจากปจั จุบนั ครูสอนในวิชาทีต่ นไม่ได้เชีย่ วชาญ เนื่องจาก
ระบบการสอบครู จะมีการขึน้ บัญชีครูทส่ี อบได้ไว้ เมือ่ โรงเรียนใดมีการขาดแคลนครูและ
ขออัตรากาลังคนมา ทางส่วนกลางจะจัดส่งครูทข่ี น้ึ บัญชีสอบจัดส่งตามลาดับทีข่ น้ึ บัญชี
ไว้ ทาให้ครูทไ่ี ปสอนตามโรงเรียนไม่ได้สอนตามความเชีย่ วชาญเฉพาะของตน
- ควรเปิ ดโอกาสให้ ผ้เู ชี่ ยวชาญ หรือผู้ที่จบสาขาอื่นสามารถมาเป็ นครูได้ บัณฑิตที่
จบครูหรือคุรศุ าสตร์โดยตรงไม่ได้เข้าทางานบรรจุเป็ นครูจานวนมาก อีกทัง้ ไม่สามารถ
ดึงดูดคนเก่งให้สนใจเข้ามาประกอบอาชีพครูได้ ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากผลตอบแทนครู
ต่ า มีความแตกต่างกับอาชีพอื่นมาก เมื่อเทียบกับภาระงาน อีกทัง้ ค่านิยมหรือการให้
ความสาคัญกับอาชีพครูมนี ้อยลง ทาให้เกิดความขาดแคลนครูทม่ี คี ุณภาพ ครูทม่ี คี วาม
เชีย่ วชาญในบางสาขา

xiv
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

อนึ่ง ในศตวรรษที่ 21 การศึกษาเรียนรูจ้ ะไม่ได้ถูกจากัดอยู่แต่เพียงในห้องเรียนเท่ านัน้


หากแต่ในชีวติ ประจาวัน ในสังคม หรือในโลกใบนี้ ล้วนเป็ นแหล่งความรูท้ งั ้ สิน้ ดังนัน้ คาว่า “ครู” จึง
อาจมิใช่แค่เพียง ครูแต่เพียงในบทบาทอาชีพครูเท่านัน้ ทว่า ทุกๆคน ควรมีบทบาทเป็ นครูซง่ึ กัน
และกัน ดังนัน้ บุคคลต่างๆในสังคม จึงจะต้องมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการถ่ายทอดความรูซ้ ง่ึ กัน
และกัน เพื่อยกระดับการพัฒนาของสังคม
ในประเด็นนี้เ องที่ส งั คมจะต้อ งมีบ ทบาทในการหล่ อ หลอมความเป็ นคน หรือ ความเป็ น
มนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์ให้แก่คนในสังคมเกิดการพัฒนาร่วมกัน ฉะนัน้ “ความเป็ นครู” จึงเป็ นสิง่ ทีค่ วรอยู่
ในตัวของทุกคนในสังคม ที่จะต้องแบ่งปนั ถ่ ายทอดองค์ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ รวมทัง้ เป็ น
ตัวอย่างที่ดี ดังค ากล่ าวที่ว่า “ตัว อย่างที่ดี มีค่ ากว่าคาพูด ” เพื่อนาไปสู่สงั คมแห่ งปญั ญา และ
วัฒนธรรมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ในสังคมไทย

2. ปฏิรูปการเรียนรูแ้ ห่งศตวรรษที่ 21 และส่งเสริมการเรียนรู ้


ตลอดชีวิต

ปฏิรูปการเรียนรูแ้ ห่ งศตวรรษที่ 21 และส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวิต


เชื่อมโยงการศึ กษาในระบบ การศึ กษานอกระบบ และการศึ กษาตามอัธยาศัย
มีหลักสูตรแกนเพื่อเป็ นกรอบในการจัดการเรียนการสอน ในขณะที่ให้อิสระและยืดหยุ่นแก่
โรงเรียนและครู ในการออกแบบกระบวนการเรียนการสอน

แนวนโยบาย:
• มีเ ป้ าประสงค์ข องนโยบายการศึ กษาที่ ส มดุล และหลากหลาย ออกกฎหมายเพื่อ
ส่งเสริมสนับสนุ นให้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เข้ามามีบทบาทในการ
พัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนให้ มากยิง่ ขึ้นในรูปแบบต่างๆ เช่น หลักสูตรการศึกษา
ผู้ใหญ่ การฝึ กอบรมต่อเนื่องเพื่อพัฒนาให้ประชาชนทุกวัยของประเทศมีความรู้ เป็ นการ
เพิม่ ศักยภาพของประชากร
• ออกแบบหลักสูตรที่ เน้ นการเรียนรู้อย่างกว้างขวางและเป็ นองค์รวม (Broad-Based
and Holistic Learning) ควรเน้ น วิ ธีการสอน กระบวนการเรียนรู้ การบูรณาการ
เนื้ อ หาสาระวิ ช าต่ า งๆเข้ า ด้ ว ยกัน มากกว่ า เนื่ อ งจากในป จั จุ บ ัน การเปลี่ย นแปลง
หลัก สูต รที่บ่อ ยสร้างภาระให้กับครูและโรงเรียนในการบริหารจัดการ อีกทัง้ เนื้อ หาของ
หลักสูตรไม่ได้เปลีย่ นแปลงมาก เป็นการเปลีย่ นเนื้อหาสาระ

xv
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

• ควรปรับเปลี่ยนให้หลักสูตรการสอนเน้ นการบูรณาการมากขึ้น เน้ นกระบวนการคิ ด


เชิ งระบบและเชื่ อมโยงเนื้ อหาสาระเข้าด้วยกันกับบริ บทชี วิต เพื่อแก้ไขการเรียนการ
สอนที่เป็ นรายวิชาสาระการเรียนรู้ ที่คดิ แยกส่วน ซ้าซ้อน ทาให้ต้องอาศัยชัวโมงการเรี
่ ยน
ค่อนข้างสูง ผูเ้ รียนเกิดความเบื่อหน่าย อีกทัง้ เกิดความซ้าซ้อ นกันในการเรียนการสอน ไม่
มีความเชื่อมโยงระหว่างองค์ความรู้ และไม่ได้เชื่อมโยงกับชีวติ ประจาวัน
• เน้ นกระบวนการคิ ด ทักษะมากกว่าเน้ นที่ เนื้ อหาสาระที่ อาจเปลี่ยนแปลงและล้าสมัย
ได้ ปรับไปใช้การประเมินผลที่วดั ทักษะกระบวนการคิดและความเข้าใจของผู้เรียน ด้วย
การออกข้อสอบที่เน้ นวัดความเข้าใจ (Literacy-based Test) มากกว่าเน้ นวัดเนื้อหา
(Content-based Test) และการประเมินพัฒนาการ (Formative Assessment) เพื่อกระตุ้น
การเรียนรู้ การคิด และก่อให้เกิดการพัฒนาตัวผูเ้ รียนอย่างแท้จริง เพื่อแก้ปญั หาหลักสูตร
และการประเมินผลไม่สอดคล้องกับผลสัมฤทธิ ์ที่ต้องการปจั จุบนั การประเมินผลการเรียนรู้
เน้นท่องจา
• โครงสร้างหลักสูตรเป็ นเพียงกรอบเท่านัน้ โรงเรียนและครูมีอิสระกาหนดวิ ธีการสอน
การเรี ย นรู้เ ต็มที่ เปิ ดกว้ า งให้ มีห ลักสู ตรที่ ห ลากหลาย ผู้เรี ย นสามารถออกแบบ
หลักสูตรที่ เหมาะสมกับตนเองได้มากขึ้น โดยหน่ วยงานกลางเปลี่ยนจากบทบาทการ
เป็นผูค้ วบคุมหลักสูตร มาเป็นการเป็นผูร้ บั รองหลักสูตรต่างๆ
• ปฏิ รปู การเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริ บทศตวรรษที่ 21 และส่งเสริ มการ
เรียนรู้ตลอดชี วิต โดยให้ความสาคัญกับผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลางอย่างแท้จริง ผู้ต้องมาก่อน
(Student First) โรงเรียนต้องเปลีย่ นจากโมเดลการสอนสิง่ เดียวทีเ่ หมาะกับทุกคน (One-
size-fits-all) และแทนที่ดว้ ยการตัง้ เป้าหมาย และพิจารณาบริบทของผู้เรียนแต่ละคนเป็ น
ศูนย์กลาง จัดกิจกรรมโครงการนาร่องและทดลองปฏิบตั ิ เพื่อนาไปสู่การปฏิบตั ทิ ่ปี ระสบ
ความส าเร็จ เพื่อ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงจากทุกภาคส่ ว นที่เ กี่ยวข้อ ง เข้าใจถึงเหตุ ผ ล
เบื้อ งหลัง และประโยชน์ ท่จี ะเกิด ขึ้น สร้ างการเชื่ อ มโยงระหว่ างภาคส่ ว นต่ างๆ จัด
โครงสร้างองค์กรการบริหารการเรียนรู้ตลอดชีวติ ทุกระดับ ตัง้ แต่ส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค
และท้องถิน่ โดยร่วมมือกับกระทรวงต่างๆ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
• ภาครัฐควรส่งเสริ มการสร้างทัศนคติ ที่ดีต่อการเรียนของนักเรียน และการใช้ เวลาใน
การทากิ จกรรมที่เป็ นประโยชน์ นอกห้ องเรียน

xvi
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3. ปฏิรูประบบการประเมินผล

ประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู ้ ประเมินอย่างสร้างสรรค์
เพื่อบ่มเพาะทักษะ “เรียนรูท้ ่ีจะเรียน”

ระบบการประเมินผลเดิมดังเช่นในปจั จุบนั ทาให้เกิดการมุง่ เน้นทีผ่ ลคะแนนมากเกินไป เน้น


ท่องจา และไม่ได้เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจได้อย่างแท้จริง ดังนัน้ จึงต้องซ่อมแซมแก้ไขระบบการ
ประเมิน โดยมุ่งเน้นการประเมินการเรียนรู้ (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรูข้ อง
ผู้เ รียนนัน้ ควรจะต้อ งเป็ นการประเมินอย่างสร้างสรรค์ สะท้อ นให้เ ห็นพัฒนาการการเรียนรู้ของ
ผู้เ รียน และไม่ก่ อ ให้เ กิดภาระในการดาเนิน การแก่ ค รูหรือ โรงเรียนจนมากเกินไป ช่ว ยสร้างให้
นักเรียนมีทกั ษะ “เรียนรูท้ จ่ี ะเรียน” (Learning to Learn)

แนวนโยบาย:
 เน้ นการประเมิ นพัฒนาการ (Formative Assessment) เป็ นหลัก เพื่อกระตุ้นการ
เรียนรู้ การคิ ด และก่อให้เกิ ดการพัฒนาตัวผูเ้ รียนอย่างแท้ จริ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
วัฒนธรรมในห้องเรียน เปิ ดโอกาสให้ครูจะต้องใช้วธิ กี ารเรียนการสอนแตกต่างกันไป
บทเรียนอาจเกิดจากวิธกี ารที่หลากหลาย ช่วยสร้างให้นักเรียนมีทกั ษะ “เรียนรู้ท่จี ะ
เรียน” (Learning to Learn) โดยครูอาจใช้วธิ กี ารทีผ่ สมผสานกันในการประเมินความ
เข้าใจของนักเรียน ทัง้ นี้ครูต้องให้ขอ้ เสนอแนะ (Feedback) ทางวาจาหรือเป็ นลาย
ลักษณ์อกั ษรเพื่อกระตุน้ ให้เกิดพัฒนาการเรียนรู้
 ควรมีการประเมิ นประสิ ทธิ ผลของครูโดยใช้ ผลการเรียนรู้ของนักเรียน มีการ
ส่ งเสริม การออกแบบกิจกรรมในชัน้ เรีย นให้ส อดคล้อ งกับเป้าหมายทางการศึก ษา
ส่งเสริมยุทธศาสตร์ในการเรียนของผูเ้ รียนทีถ่ ูกต้อง และมีการจัดการทีด่ กี บั ปญั หาการ
ขาดเรียนของนักเรียน
 ส่ งเสริ มการเปิ ดเผยข้อมูลผลการเรียนแก่ ผ้ปู กครองโดยมีการเปรียบเที ยบกับ
มาตรฐานในระดับต่ างๆ เช่น ระดับพืน้ ที่หรือระดับชาติ และส่งเสริมบรรยากาศแห่ง
การแข่งขัน ระหว่างโรงเรียนเพื่อ ให้เ กิด การพัฒนาประสิทธิภาพของโรงเรียนอย่า ง
ต่อเนื่อง

xvii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4. ปรับรูปแบบการบริหารจัดการ

จัดให้มีรูปแบบการบริหารจัดการที่หลากหลาย
มีความอิสระ สอดคล้องกับศักยภาพและความพร้อมของโรงเรียนและชุ มชน
เพื่อลดการรวมศูนย์ และลดภาระของภาครัฐ

เหตุผลและความจาเป็ นที่ควรปรับรูปแบบการบริหารจัดการให้มคี วามหลากหลาย และ


เพิม่ บทบาทอานาจหน้าทีข่ องโรงเรียน ครู ชุมชน ท้องถิน่ และผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียในการจัดการศึกษา
เนื่องจาก
• การบริหารจัดการการศึกษาทีผ่ ่านมาเป็ นแบบรวมศูนย์
• หลักสูตรไม่ตอบสนองต่อความต้องการของผูเ้ รียน ชุมชน เอกชน
• การจัดสรรทรัพยากรไม่สอดคล้องกับบริบทโรงเรียน และความต้องการ (โรงเรียน
ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ ชนบท เมือง)

แนวนโยบาย:
 ปฏิ รูป เชิ ง โครงสร้ า ง และพิ จ ารณาปรับ รูป แบบการบริ ห ารจัด การ โดยปรับ
รูปแบบการบริ ห ารจัด การ ความเป็ นอิ ส ระสอดคล้ อ งกับศักยภาพ และความ
พร้ อ มของสถาบั น การศึ กษาต่ างๆ เพื่ อ ลดภาระ งบประมาณในกรณี
สถาบันการศึกษาที่ มีความพร้อมในการบริ หารจัดการ และเปิ ดโอกาสให้ ชุมชน
เข้าร่วมพัฒนา เนื่องจากปจั จุบนั งบประมาณไม่เพียงพอเนื่องจากปญั หาเชิงโครงสร้าง
ที่ภ าคการศึ ก ษามีข นาดใหญ่ มีฟ งั ก์ ช ัน่ การท างานที่ซ้ า ซ้ อ น ค่ อ นข้า งรวมศู น ย์
งบประมาณส่วนใหญ่จาเป็ นต้องจัดสรรเพื่อเป็ นงบประจา ทาให้มงี บประมาณเพื่ อการ
ลงทุนพัฒนาในสัดส่วนที่น้อย อีกทัง้ การจัดสรรงบประมาณเท่ากันถัวเฉลี่ยรายหัว ไม่
สอดคล้องกับต้นทุน บริหารจัดการสถานศึกษา เนื่องจากโรงเรียนมีต้นทุนคงที่ในการ
บริหารจัดการ การจัดสรรงบประมาณอย่างถัวเฉลีย่ ทาให้โรงเรียนได้รบั ทรัพยากรอย่าง
ไม่เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิง่ โรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลาง

xviii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 ภาครั ฐ ควร พิ จาร ณ าปรั บ เปลี่ ยน รู ป แบบ การบ ริ หาร จั ด กา รขอ ง


สถาบัน การศึ ก ษาให้ มี ค วามหลากหลายสอดคล้ อ งกับ ความพร้ อ มและ
ศักยภาพของสถาบันการศึกษาแต่ ละแห่ ง โดยให้อสิ ระสถาบันการศึกษาต่างๆ
พิจารณาการเลือกรูปแบบการบริหารจัดการทีเ่ หมาะสมกับจุดเน้นและศักยภาพของ
สถาบัน โดยมีเงือ่ นไข (Commitment) ทีเ่ ป็นผลผลิต (Output) ทีช่ ดั เจน
 ควรส่ ง เสริ มความมี อิ สระของสถานศึ กษาในการจัด สรรทรัพ ยากรภายใน
โรงเรีย น การบริห ารบุ ค ลากร และการกาหนดเนื้อ หาการเรียนการสอน ใน
ขณะเดียวกันควรป้องกันปญั หาผลประโยชน์ ทบั ซ้อ นซึ่ง อาจเกิด ขึ้น โดยเฉพาะ
อย่า งยิง่ ในส่ ว นการประเมิน ผลงานของโรงเรีย นหรือ นัก เรีย น และการก าหนด
เงินเดือนของครู
 ควรส่งเสริ มให้ โรงเรียนสามารถระดมทรัพยากรจากแหล่งต่ างๆ ด้วยตนเอง
เพื่อจะมีทรัพยากรอย่างเพียงพอในการจัดการศึกษาอย่างคุณภาพ
 สถาบันการศึกษาต่ างๆ ควรมีจดุ เน้ นการจัดการเรียนการสอนที่ แตกต่ างกัน
ไปตามศัก ยภาพ ความเชี่ ย วชาญและความพร้ อ มของบุ ค ลากร เพื่ อ ให้
สามารถผลิ ตบุคลากรได้มีสมรรถนะ ทัง้ ด้านความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ
อี กทัง้ เป็ นประโยชน์ แก่ ผ้เู รี ยนในการพิ จารณาสถานศึ กษาที่ สอดคล้ อ งกับ
อาชี พที่ ตนเองมุ่งหวัง เห็นเส้ นทางอาชี พ (Career Path)ได้เรียนและฝึ กฝน
พั ฒ น าทั ก ษะ อย่ าง เ ข้ ม ข้ น เพื่ อ ล ดป ัญ หา ที่ ใ น ป ัจ จุ บ ั น โร งเรี ย น หรื อ
สถาบันการศึกษาแต่ละแห่งมีการแข่งขันผลิตคน เกิดปญั หาคุณภาพผูจ้ บการศึกษา
อัน เนื่ อ งมาจากมาตรฐานแตกต่ า งกัน ทัง้ นี้ สถาบัน การศึก ษาไม่จ าเป็ น ต้อ งมี
เป้าหมายการศึก ษาหรือ จุด เน้ นการผลิต คนในแบบเดียวกันทัง้ ประเทศ แต่ ล ะ
สถาบันควรมีจดุ เน้นทีแ่ ตกต่างกันไปตามศักยภาพ ความเชีย่ วชาญและความพร้อม
ของบุคลากร

xix
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สร้าง
5. สร้างสังคมแห่งปั ญญา (Wisdom -based Society) ด้วยการสร้าง
สภาพแวดล้อมที่เอื้ อต่อการเรียนรู ้ (Supportive Learning
Environment)

ภาครัฐสร้างสังคมแห่งปญั ญา (Wisdom-based Society) โดยการให้ความสาคัญกับการ


สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment) และออกแบบกระบวนการเรียนการสอนที่
เหมาะสม ที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ใ นศตวรรษที่ 21 โดยมุ่ง สร้างมนุ ษย์ท่สี มบูรณ์ (ไม่ใ ช่แค่เ น้ นแต่
วิชาการ) โดยให้ความสาคัญกับเป้าหมายของการศึกษาทีพ่ งึ ประสงค์ (Should-Be) ทัง้ การเตรียม
ความพร้อมผู้เรียนเพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงาน ให้โอกาสเด็กทุกคนได้เข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียม
ส่งเสริมให้เด็กเป็ นผู้เรียนรูต้ ลอดชีวติ ที่มุ่งใฝ่หาความรู้ สามารถพัฒนาตนเองได้ตลอดเวลา มุ่ง
พัฒนาความเป็ นมนุ ษย์ท่สี มบูรณ์ สร้างเด็กให้เป็ นคนดีของสังคม สร้างประโยชน์ แก่ คนรอบข้าง
ชุมชน และประเทศชาติ ให้การศึกษาช่วยบ่มเพาะคนไทยให้เป็ นคนไทยทีม่ ศี กั ยภาพ กล่อมเกลาให้
เป็นคนทีม่ คี ุณธรรม จริยธรรม มีความสุข ช่วยนาประเทศไปสู่ระดับการพัฒนาอย่างสมดุลและยังยื ่ น
เกิดสังคมแห่งปญั ญา พร้อมกับเป็ นสังคมทีอ่ ยูด่ มี สี ุข (Well-Being Nation)

 สร้ า งสภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ และออกแบบกระบวนการเรี ย นการสอนที่


เหมาะสม จัด การเรี ย นการสอนโดยให้ ผ้ ูเ รี ย นเป็ นศู น ย์ ก ลางอย่ า งแท้ จ ริ ง
ประกอบกับแนวคิดเป็ น “ทุกคนในสังคมเป็ นครูและนักเรียน” และ “โรงเรียนทีไ่ ม่มรี วั ้ ”
เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนเป็ นการบ่มเพาะทักษะเรียนรูเ้ พื่อจะเรียน และรักทีจ่ ะ
เรียน เห็นถึงองค์ความรูไ้ ม่ได้มเี ฉพาะในตาราเรียนหรือตัวครู หากแต่อยู่ในทุกสิง่ ทุก
อย่างรอบตัว สร้างการชักจูงใจนักเรียนทีด่ ี ผสมผสานการเรียนในห้องเรียนและนอก
ห้องเรียนอย่างสมดุล
 ส่ งเสริ มให้ ผ้เู รียนค้ นพบความสามารถตนเอง แรงใจ (Passion) ในการเรียนรู้
ตลอดชี วิต จัดการเรียนรูใ้ ห้เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน สร้างสภาพแวดล้อมที่
ท้าทายและสนุกสนาน

xx
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 เปิ ดโอกาสให้ ค รูเลื อ กวิ ธี การที่ เ หมาะกับ นั ก เรี ย นของตนได้ อ ย่ า งอิ ส ระ เปิ ด
โอกาสให้บคุ คลต่างๆ ในสังคมหรือชุมชน มาเป็ นผู้ถ่ายทอดความรู้ เช่น ปราชญ์
ชุมชน ผู้ปกครอง รุ่นพีต่ วิ รุ่นน้อ ง ผู้ประกอบการฯลฯ (เช่น ให้ผเู้ ชี่ยวชาญสามารถลา
งานมาสอนได้)
 ส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน และประชาชนทัวไปที ่ ่ สนใจเรี ยนรู้ ได้ มีโอกาส
เรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) อาทิ
- พัฒ นาแหล่ ง การเรี ย นรู้ที่ ส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ โดยรัฐ ควรจัด พื้น ที่ส าธารณะ
(Public Space) ทีส่ ่งเสริมการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน และประชาชนทัวไปที ่ ส่ นใจเรียนรู้
ได้มโี อกาสเรียนรูต้ ลอดชีวติ ตลอดจนส่งเสริมภาคส่วนอื่นๆ ที่มคี วามพร้อมและมี
ศักยภาพ ไม่ว่าจะเป็ นภาคเอกชน หรือท้อ งถิ่น ส่ งเสริมให้ภาคส่ วนต่างๆ สร้าง
พืน้ ทีแ่ พล็ตฟอร์มเปิด (Open Platform) ทีเ่ อื้อต่อการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ในการจัด
พืน้ ทีเ่ ปิด (Open Spaces) ทีเ่ ป็นแหล่งเรียนรูต้ ลอดชีวติ แก่ประชาชน
- จัดปัจจัยสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยจัดแหล่งความรูท้ ่ผี ู้เรียนสามารถ
ค้นคว้าด้วยตนเองได้ เช่น ศูนย์วทิ ยาการ บทเรียนสาเร็จรูป ชุดการสอน ใช้ส่อื ชนิด
ต่างๆ หลายชนิดผสมผสานกัน (Multi-Media) ใช้ระบบการศึกษาทางไกลเข้ามา
ช่วย รวมทัง้ ต้องมีเจ้าหน้าทีป่ ระจาศูนย์วทิ ยบริการทีส่ ามารถช่วยแนะนาและอานวย
ความสะดวกให้กบั ผูเ้ รียนได้
- เน้ นการสร้างแหล่งการเรียนรู้ในชุมชน ช่วยให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมใน
การจัดการศึกษาและจะช่วยให้เกิดบรรยาการศการเรียนรูแ้ ละสังคมแห่งการเรียนรู้
ควรจะมีหลายรูปแบบ ไม่ควรยึดหลักว่าต้องสร้างใหม่เสมอ อาจจะใช้สงิ่ ทีม่ อี ยู่แล้ว
ในท้องถิน่

5.2.2 กลไกการขับเคลื่อนไปสู่ภาคปฏิ บตั ิ


แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 จะต้องเป็ น
การขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบตั ิ ทีก่ ่อให้เกิด ปฏิรูปการศึกษาอย่างแท้จริง โดยยึดหลักการเรียนรูท้ ่ยี ดึ
ผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ (Learner-centered) การเปลีย่ นทัศนคติต่อการศึกษา (Learning Attitude) ทุกคน
มีความเป็ นผูเ้ รียนรูโ้ ดยธรรมชาติ (Natural Learner) และการกระจายอานาจในการจัดการศึกษา
ตามศักยภาพและความพร้อมโดยอิงกับการรับผิดรับชอบ
ข้อเสนอแนะการออกแบบกลไกขับเคลื่อนระดับนโยบาย (Mechanism Design) เพื่อ
ขับเคลื่อนไปสู่ภาคปฏิ บตั ิ รายละเอียดในส่วนนี้จะกล่าวถึงกลไกการขับเคลื่อนไปสู่ภาคปฏิบตั ิ เพื่อ
นาไปสู่การกาหนดบทบาทหน้าทีแ่ ละกระบวนการการบูรณาการระหว่างภาคส่วนหลากหลาย ทัง้ ที่
อยู่ภายใต้สงั กัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่ วยงานภาครัฐอื่นๆ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ที่
xxi
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เป็ นผู้มสี ่ วนได้ส่ว นเสียกับการจัดการศึกษา สาหรับ ความเชื่อมโยงบางประเด็นของยุทธศาสตร์


บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง จะได้กล่าวถึงในรายละเอียดต่อไปใน
หัวข้อกรอบแนวทางการดาเนินการเพื่อกาหนดแผนการดาเนินการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียม
ความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี)

1. กลไกการขับเคลื่อนในเชิ งนโยบาย

1.1 กระทรวงศึกษาธิ การต้ องมีการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) และ


สร้างผูน้ า (Leadership) ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการ
ปฏิรปู สังคม สร้างวัฒนธรรมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ รูเ้ ท่าทันโลก บูรณาการเรียนรู้
- ควรกำหนดให้ กำรพัฒ นำกำรศึ กษำและเรี ย นรู้ตลอดชี วิต (Education
and Lifelong Learning) เป็ นวำระปฏิ บตั ิ แห่ งชำติ (National Agenda)
โดยมีการกาหนดวิ สยั ทัศน์ และพิ มพ์เขียว (Vision and Blueprint) ด้าน
การศึกษา การเรียนรู้และการพัฒนากาลังคนระยะยาวของประเทศไทย
เนื่องจากที่ผ่านมา มีขอ้ จากัดจากความไม่ต่อเนื่องของนโยบายการศึกษาเป็ น
ข้อ จ ากัด ในการขับ เคลื่อ นนโยบายการศึ ก ษาที่ส าคัญ ที่สุ ด ประการหนึ่ ง
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประเด็นเรื่องคุณภาพการศึกษา การเข้าถึงการศึกษา และ
การสร้างเสริมโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวติ ดังนัน้ จึงจาเป็ นอย่างยิง่ ในการ
ผลักดันวาระดังกล่าว โดยมีหน่ วยงานทีเ่ กี่ยวข้องและฝ่ายการเมืองรับผิดชอบ
เป็นวาระแห่งชาติ
- จาเป็ นต้ องบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่ วยงานในกระทรวงศึ กษาธิ การ
ตลอดจนหน่ วยงานที เ่ กีย่ วข้อง บูรณาการระหว่างภาคส่วนหลากหลาย ทัง้
ทีอ่ ยู่ภายใต้สงั กัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่ วยงานภาครัฐอื่นๆ นอกจากนี้
ยังควรมีการบูรณาการร่วมกันและการมีส่วนร่วมกับภาคส่ วนอื น่ ๆ เช่น
ภาคธุรกิจ ตลาดแรงงานชุมชน สังคมยังมีอยู่ในระดับที่น้อยส่งผลให้การผลิต
บุคลากรในภาคการศึกษาไม่สอดคล้องกับความต้องการตลาดแรงงาน คุณภาพ
ต่ากว่าระดับความคาดหวัง
1.2 กระทรวงศึกษาธิ การมีบทบาทหลักในการร่วมกับหน่ วยงานที่ เกี่ยวข้อง ภาคี
เครือข่าย ภาคประชาชน ในการผลักดันให้ เกิ ดการปฏิ รปู ภาคสังคม การให้
องค์ค วามรู้ ให้ ก ารศึ ก ษาผู้ป กครอง ให้ ค วามส าคัญ กับ การปรับ เปลี่ ย น
ทัศนคติ ของผู้ปกครองในด้ านการศึ กษาและการเลี้ยงดู ชุมชุนให้ เกิ ดการ
เรียนรู้ทงั ้ สังคม เป็ นสังคมแห่ งการเรียนรู้ และมีวฒ ั นธรรมการเรียนรู้ตลอด

xxii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ชี วิต ทัง้ นี้เนื่องจากการปฏิรูปดังกล่าว เป็ นสิง่ ที่มคี วามจาเป็ นอย่างยิง่ เนื่องจาก


การปฏิรูปการศึกษาโดยไม่ได้มกี ารแก้ไขประเด็นทางด้านสังคมและวัฒนธรรมจะ
ไม่สามารถปฏิรปู การศึกษาไทยให้มคี ุณภาพได้อย่างแท้จริง
1.3 ขับเคลื่อนการกระจายอานาจในการจัดการศึกษา เพื่อกระจายอานาจสู่เขต
พื้ นที่ ก ารศึ กษา สถานศึ กษา และให้ ท้ อ งถิ่ นมี ส่ วนร่ ว มตามศัก ยภาพและ
ความพร้อมโดยอิ งกับการรับผิ ดรับชอบ โดยให้มอี นุ กรรมการสภาการศึกษา
อันประกอบไปด้วยบุคลากรทีม่ คี วามรู้ ความเข้าใจ และมีประสบการณ์เกี่ยวกับการ
กระจายอ านาจปรับ ปรุ ง กฎหมาย กฎระเบีย บ และแนวปฏิบ ัติใ นการสรรหา
คณะกรรมการท้องถิน่ รวมทัง้ การปรับปรุงอานาจหน้าทีใ่ ห้มธี รรมาภิบาล

2. กลไกการขับเคลื่อนในเชิ งปฏิ บตั ิ


การขับเคลือ่ นเชิ งประเด็นยุทธศาสตร์

2.1 หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องภายในกระทรวงศึกษาธิ การควรประสานความร่วมมือ


ท างานร่ ว มกัน กระหว่ า งหน่ วยงานส่ ว นกลาง หน่ วยงานระดับ จัง หวัด
หน่ วยงานส่วนท้ องถิ่ น ตลอดจนภาคีเครือข่ายด้ านการศึ กษาเรียนรู้ รวมถึง
หน่ วยงานที่ เกี่ ย วข้ อ งในการรับ ผิ ด ชอบและผลั ก ดั น “ประเด็ น เชิ ง
ยุทธศาสตร์” ด้ านการพัฒนามนุษย์ (Human Development) เพื่อผลักดัน
ประเด็นเชิ งยุทธศาสตร์อย่างมีทิศทางสอดคล้อง เชื่อมต่อและ หนุนเสริ มกัน
อาทิ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความมันคงของมนุ
่ ษย์กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสาธารณสุข
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ภาคประชา
สังคม ภาคเอกชน เป็นต้น
2.2 หน่ วยงานที่ เกี่ยวข้องภายในกระทรวงศึกษาธิ การ ควรนาผลการวิ จยั ครัง้ นี้
นาไปปฏิ บตั ิ งานปรับประยุกต์ใช้ อาจปรับกลไกและรูปแบบการปฏิ บตั ิ งาน
โดยให้ ค วามสาคัญกับการส่ งเสริ มการจัด กระบวนการเรี ยนรู้และส่ งเสริ ม
การเรียนรู้ตลอดชี วิตที่ สอดคล้องกับมิ ติการพัฒนาในทุกระดับ ทัง้ ปญั หาใน
ประเทศแต่ละท้องถิน่ (Local) ทัง้ พืน้ ทีเ่ ขตเมือง และพืน้ ทีช่ นบท ตลอดจนเชื่อมต่อ
กับประเด็นการพัฒนาระดับภูมภิ าค (Regional) โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประชาคม
อาเซียน และในระดับโลก (Global)

xxiii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การขับเคลือ่ นเชิ งสถาบันและเครือ่ งมือ

2.3 การจัดตัง้ สถาบัน และ/หรือปรับโครงสร้างเชิ งสถาบัน โดยพิ จารณาจัดตัง้


สถาบั น ใหม่ ที่ จ าเป็ น เช่ น สถาบัน เทคโนโลยี เ พื่ อ การศึ ก ษาเรี ย นรู้
สถาบันวิ จยั เพื่อวิจยั เชิงนโยบายด้านการศึกษาเรียนรูร้ ะดับมหภาค และการวิจยั
หลักสูตร พัฒนากระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ ตลอดจนนวัตกรรมการ
เรีย นการสอนที่ม ีคุ ณ ภาพ หรื อ ปรับ โครงสร้ า งเชิ งสถาบัน (Institutional
Arrangement) เพื่อปรับโครงสร้างเชิงสถาบันให้มคี วามเหมาะสมซึง่ จะนาไปสู่การ
ขับเคลื่อนให้เกิดปฏิส มั พันธ์ระหว่างบุคลากรและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องให้มกี าร
ดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.4 ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาเรี ย นรู้ ใ ห้ เ กิ ด ผลในทางปฏิ บัติ ต ามกรอบกฎหมายที่
กาหนดไว้ เพื่ อ ส่ ง เสริ มการศึ กษาทุ กรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็ นการศึกษาที่เ ป็ น
ทางการ การศึกษาไม่เป็ นทางการ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย
การศึก ษาทางเลือ กที่ยดึ ความต้อ งการของชุมชนในท้อ งถิ่นเป็ นหลัก โฮมสคูล
ตลอดจนส่งเสริมการศึกษาเชิงสังคม (Social Education Promotion) เพื่อผลักดัน
การศึกษาทดแทนในทัง้ เยาวชนและผู้ใหญ่ท่ตี ้องทางานและไม่มโี อกาสในการรับ
การศึกษาในระบบ และในขณะเดียวกันก็เ ป็ นการส่งเสริมการเรียนรู้ต ลอดชีว ิต
(Lifelong Learning)
2.5 ส่งเสริ ม สนับสนุนให้ เกิ ดการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาในวงกว้างด้วย
วิ ธี ต่ า ง ๆ อ า ทิ พั ฒ น า เ ค รื่ อ ง มื อ ท า ง ก า ร เ งิ น เ พื่ อ ใ ห้ โ ร ง เ รี ย น
สถาบันการศึกษาสามารถระดมทรัพยากร ทุนจากชุมชน/สังคม เพื่อนามาใช้
จัดการศึกษา เช่น การออกพันธบัตรเพื่อการศึกษา ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรใน
ชุมชนเพื่อนามาจัดการศึกษา ที่เหมาะสมกับสภาพชุมชน เช่น แรงงาน ทรัพย์สนิ
ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ เป็ นต้น พร้อมกับการให้อสิ ระการบริหารจัดการตามศักยภาพ
และความพร้อม เพิม่ การมีส่วนร่วมจากภาคเอกชนและท้องถิ่น ช่วยลดภาระ
ทางด้านงบประมาณและข้อจากัดด้านบุคลากรของภาครัฐ รวมทัง้ กระตุ้นให้เกิด
การมีส่วนร่วมในการพัฒนาจากภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้อง ท้องถิน่ อันเป็ นปจั จัยสาคัญใน
การขับเคลื่อนสู่ความสาเร็จ
2.6 ยกระดับคุณ ภาพการศึ กษาและขยายการเข้ าถึง การศึ กษาคุณภาพดี ด้ วย
เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาการศึกษา รวมทัง้ ส่ งเสริ มการเรียนรู้ตลอดชี วิต
วิธกี ารในการดาเนินการเพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ที่จะช่วยยกระดับ
คุณภาพการศึกษาให้ได้คุณภาพ มาตรฐานเดียวกัน ในวงกว้าง และต้นทุนในการ

xxiv
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ดาเนิ นการ คือ การน าเทคโนโลยีส ารสนเทศมาใช้เ พื่อ เปิ ด พื้น ที่การศึกษาและ
ปรับปรุงคุณภาพการเรียน สร้างทางเชื่อมต่อคนไทยส่วนใหญ่กบั การศึกษาที่ม ี
คุณ ภาพให้ไ ด้ เพื่อเตรียมความสู่ ศ ตวรรษที่ 21 ทัง้ บนระบบการศึกษาที่เ ป็ น
ทางการ การศึกษาไม่เป็นทางการ หรือการศึกษาตามอัธยาศัย
 อาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นปั จจัยส่ งเสริ มการเรียนรู้ที่นักเรียนเป็ น
ศูนย์กลาง และถูกนามาใช้อย่างบูรณาการ
 อาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นสื่อเชื่อมต่ อเนื้ อหาที่ ดี (Good Content) สู่
คนหมู่มาก และก่ อ ให้ เกิ ด ประโยชน์ มากที่ สุด เพื่ อสร้ างความพร้อมใช้
ด้านเนื้ อหาสาระ (Content Availability) เช่น
- การนาครูทีเ่ ก่งที ส่ ุดในด้านต่ างๆ (The Best Teacher) มาจัดทาสือ่
การเรี ย นการสอน ในรูป แบบต่ า งๆ ที แ่ จกจ่ า ยไปยัง โรงเรี ย นทัว่
ประเทศได้ โดยง่ าย เช่น ซีดี วีดที ศั น์ การสอนผ่านระบบออนไลน์ การ
เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ให้สามารถดาวน์โหลดได้ เป็นต้น เพื่อให้ครูทม่ี คี วามรู้
ความสามารถ ทักษะการสอนที่ดี สื่อสารให้ผู้เรียนส่วนใหญ่ของประเทศ
เข้าใจถึงหลักพืน้ ฐานของวิชาต่างๆ ซึง่ จะทาให้ผเู้ รียนได้เข้าถึงครูทเ่ี ก่งได้
อย่างทัวถึ ่ ง เท่าเทียม นอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถทบทวนบทเรียนต่างๆ
นัน้ ได้ซ้าๆ ช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษา ในขณะที่ครูตวั จริงที่ประจา
ห้องเรียนต่างๆ ทาหน้าทีเ่ อือ้ อานวยความสะดวก ช่วยเสริมความเข้าใจและ
เป็ น พี่เ ลี้ย งให้กับ ผู้เ รีย นได้ทาแบบฝึ ก หัด หรือ ทากิจกรรมที่เ สริมความ
เข้าใจ
- การสร้างแอพพลิ เคชัน่ (Application) ที น่ ่ าสนใจ เพือ่ เป็ นสือ่ การสอน
ในคอมพิ วเตอร์หรือแท็บเล็ต
 การใช้ เทคโนโลยี เพื่ อ การบริ ห ารระบบการศึ กษา เพื่อ วางนโยบายด้า น
การศึกษาเรียนรูแ้ ละพัฒนากาลังคนของประเทศ รับทราบถึงสภาวการณ์ และ
มิตหิ ลากหลายของระบบการศึกษา การส่งเสริมการเรียนรู้ ข้อมูลเหล่านี้จะใช้
เป็ นพื้นฐานของการตัดสินใจเชิงนโยบาย และจัดระบบให้นโยบายการศึกษา
เรียนรูแ้ ละพัฒนากาลังสามารถตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงได้อย่างทันท่วงที
มีความสอดคล้องกันทัง้ ด้านอุปสงค์อุปทาน เกิดความสมดุล พร้อมไปกับการ
บริหารจัดการได้อย่างยังยื ่ นในระยะยาว

xxv
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การขับเคลือ่ นขยายผล
2.7 กระทรวงศึ ก ษาธิ การเป็ นเจ้ า ภาพหลัก ร่ ว มกับ หน่ วยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
ด าเนิ นการ ขยายผลจุ ด สว่ า ง (Bright Spot) ที่ เ ป็ นโรงเรี ย นหรื อ
สถาบันการศึ กษาตัวอย่างที่ ประสบความสาเร็จ ส่งเสริ มสนับสนุนครูที่สอน
ดี และจัดกระบวนการเรียนรู้ได้เป็ นเลิ ศ ขยายผลให้ เกิ ดการปฏิ บตั ิ จริ งในวง
กว้ า ง อาทิ การเรีย นการสอนที่ม ีค วามเป็ น เลิศ ทางวิช าการควบคู่ ไ ปกับ การ
ปลูกฝงั คุณธรรมอย่างเข้มข้น การขยายผลนวัตกรรมการเรียนรูเ้ พื่อสร้างสรรค์ดว้ ย
ปญั ญา ที่ช่ ว ยบ่ ม เพาะทัก ษะการเรีย นรู้ ท่ีส อดคล้ อ งกับ บริบ ทพลวัต รการ
เปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 กรณีการพัฒนาการศึกษาควบคู่ไปกับการขจัดความ
ยากจนและกรณีศกึ ษาการร่วมรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อเพิม่ คุณภาพชีวติ และขจัด
ความยากจนอย่างยังยื ่ นโดยภาคธุรกิจเอกชน ซึง่ ช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษา
ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาสังคม

xxvi
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Executive Summary
Introduction

1.1 Rationale
For every nation, education is undeniably the key mechanism to develop, promote
and embed ideas as well as knowledge into their citizens and society as a whole.
Therefore, education tends to be the core factor for country’s long term competitiveness. In
this sense, the design of education is a crucial link that can lead to human and society
development.
One of the most important considerations in the context of modern education design
is global dynamics that occurs as the world stepped into the 21st century. The impact of
such transformation can be seen in various aspects ranging from society, economics,
environment and politics. Many phenomenons are clear examples of the global changing
force; for instance, Arab Spring, Rise of Asia and Climate Change. Under such
circumstances, every nation’s citizens have to be prepared for all forms of change that
might occur. Inability to do so would only mean the country’s potential risk of falling into
failure state. As for Thailand, this is the critical point that will determine our future, whether
we can accomplish our aim to become 1st world nation or not.
However, Thailand still requires clearer education’s “Objective Function” that can
reflect ultimate goal of Thai education system; that is, education should develop and enable
citizens and society to live with dignity. To do so, we need to understand the shifting
landscape of global challenges in the 21st century, the philosophy of Thai education, and
living environment of students. Moreoer, it is important to have clear and consistent policies,
focused strategies and practical driving mechanisms with precise and easy-to-understand
action agendas. Apart from this, to ensure successful education system, all stakeholders;
namely, education personnel, public sector, private sector and students have to understand
the action agendas and participate in the implementation process. The actions may include
both incremental changes as well as paradigm shift/fundamental changes.

xxvii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Thailand’s education reform can not be managed through a piecemeal approach.


The reform has to be based on deep understanding of education system’s holistic view in
order to determine overall direction and driving mechanism. In other words, “Thailand has to
clearly define objective function of the country’s education and make education truly
national agenda that receives support from every party. Action agendas can then be
designed accordingly to lay out strategies as well as practical, step-by-step implementation
process.”
As a result, Office of the Educatiton Council decided to initiate the project
“Education Transformation to prepare Thai Citizen for 21st Century” to assist in drawing a
comprehensive blueprint for Thailand education. The study is also expected to be the
foundation for sustainable reform of Thai education system in the future.

1.2 Objectives
1) To study major global trends in the 21st century that have significant impact on
Thailand’s education, and to set key overall objectives of Thai education.
2) To identify and analyze the shifting landscape of global challenges in the 21st
century that can hinder Thai education from achieving its key overall objectives.
3) To provide reccommendations for Thailand’s education development in response
to the chaning global context in the 21st century, along with driving mechanism
that leads to practical implementation.

1.3 Expected Outcome


1) Final Report: reccommendations for Thailand’s education development, driving
mechanism, and action agendas that can be the foundation for long term
operation plan (15 years) to prepare education system for the 21st century
2) Policy Reccommendation Report: precise and easy-to-understand
reccommendations for education transformation to prepare Thai Citizen for the
21st Century

xxviii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Major global trends in the 21st century that have significant impact on
Thailand’s education, and to set key overall objectives of Thai education
Major global trends in the 21st century that have significant impact on
Thailand’s education
The major transformatios that can have significant impact on Thailand’s education
can be divided into 3 levels:
1) Global Dynamics as the world stepped into the 21st century
There are 3 main trends involved: (1) Shift from “American Century” to “Asian
Century” (2) Shift from “Age of Prosperity” to “Age of Extremity” in aspects ranging from
environment, politics and business and (3) Shift in power from “Government and Corporate
Centric Governance” to “Citizen Centric Governance/Good Governance”
2) Regional Forces
Regional economic integrations have emerged around the world. Two collaborations
that are most imporatant and closely related to Thailand are ASEAN Community and
Regional Comprehensive Economic Partnership (RCEP)

3) Local Issues and Country Strategy


Main local issues that have always been critical for Thailand are inequality, middle
income trap, instability and households’ structural change. As for country strategy, Thai
government has set 4 main strategies which include: (1) Growth and Competitiveness (2)
Inclusive Growth (3) Green Growth and (4) Balanced and Efficient Government
Administration. Education is also declared as one of the priorities within country strategies.
Nevertheless, education in Thailand still faces with many challenges regarding its
implementation to truly raise overall quality of Thai learning system.

xxix
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Forces and Trends that are Imporatant to Country Strategy Regarding Thai Citizens Development
in the 21st Century

Thai People
in 21st
Century

Source: Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

xxx
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Key overall objectives of Thai education


Thailand’s Main Objective
Thailand’s main objective is to become society that possess 4 desired qualities: (1)
Opportunity Society (2) Productive Society (3) Just Society and (4) Moral Society.

Thailand’s Main Objective

Moral Society

Just Society

Productive Society Opportunity Society

Source: Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

In other words, the objective reflects the underlying need of Thailand to become a
well-being nation in every level. At the individual level, we aim to see people with healthy
body, mind, and social life as well as people with intelligence and morality. At the society
level, we aim to see harmony and self-reliance communities. At the national level, we aim
to see Thailand leaps to be a 1st world nation with stable and inclusive economic growth,
good environment and sustainable use of natural resources. Moreover, the country should
have internationally accepted good governance standard.

xxxi
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Philosophy of Thai Education in the 21st Century

Fundamental philosophy that will be the foundation of Thai education system in the
st
21 century has to be transformed in the following areas:

1. Transformation of Identity for Thai People: From being just a citizen of


Thailand (“Thai-Thai”) to being a Thai citizen and a part of global community
(“Global-Thai”). Thai people in the 21st century have to be equipped with
knowledge and understanding about global dynamics, network of global
communities, and global responsibilities.
2. Reorientation of Priority: From focusing on generating workforce that will
suppot economic growth (“People for Growth”) to serve only industries to
focusing more on people. Thailand need to aim for maintaining sustainable
growth that will create and enhance each person’s full potential (“Growth for
People”) to serve people and to build knowledge-based society.
3. Shift in Paradigm: From controlling and deteriorating the nature to living and
protecting the nature for sustainable development.
4. Transformation of Culture: From competition-driven society in which people
compete and take from one another to collaboration-driven society in which
people share and care for one another.
5. Drive for Becoming 1st World Nation: From focusing only on becoming
developed country in an economic sense to strengthen dignity of the nation
through understanding of Thai history and culture.

xxxii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Philosophy of Thai Education in the 21st Century

Philosophy Philosophy
of the 20th century of the 21st century

Thai-Thai Global-Thai

People for Growth Growth for People

Controlling Nature Living with Nature

Competition-driven
Competition-Driven Collaborative-Culture
Collaborative Culture
Culture

Developed Country Dignity of Nation

Source: Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

xxxiii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Goal of Thai Education

Goal of Thai education in the 21st century:


“To enhance each Thai citizen to reach one’s full potential as well as to
embed the idea of morality and happiness. Only with such high-quality and
well-balanced citizens that can transform Thailand into a well-being nation.”

The main objective of education in the mecaro level or “Education Output” is composed of 5
main goals: (1) access, (2) equality, (3) quality, (4) efficiency and (5) relevancy. The goal of
Thai education in the next 20 years should focus most on the issues of quality and
relevancy.

Model for Desired Characteristics of Thai Citizens in the 21st Century

Source: Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

xxxiv
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Challenges in the 21st Century that Can Hinder Thai Education from
Achieving Its Key Overall Objectives
The aforementioned trends significantly affect Thailand’s education in the aspects of
access, equity, quality, efficiency and relevancy. In response, Thailand has to build a strong
knowledge-based economy which requires more high-quality human capital, more qualified
research and development, as well as wider application of science, technology and
innovation. To succeedd, Thailand needs appropriate human development plan and
effective education system that can timely respond to any changes that would occur.
According to the analysis of key global forces and trends, as well as driving factors
in different levels, challenges of Thai education and learning system can be portrayed in 2
levels:

Macro Level
- Develop education system: To raise Thailand’s competitiveness level, to get
the country out of Middle-Income Trap, and to aim for being Well-being Nation
with more balanced growth.
- Create wisdom-based society and supportive learning environment: To
shift thinking paradigm, to reform Thai society, and to drive the culture of
lifelong learning

Individual Level
- Build well-balanced human resource: To enhance Thai citizens’ potential as
well as to embed morality and happiness.

xxxv
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Reccommendations for Thailand’s education development in response to


the chaning global context in the 21st century, along with driving
mechanism that leads to practical implementation
Lesson Learned and International Best Practices
Policy and Strategy in Education
- To create quality system by building strong and integrated foundation to
enhance education and increase responsiveness to any changes in the 21st
century: Putting more emphasis on productivity, equality and balance building
- To create well-balanced and well-rounded quality citizens: Assist them into
finding their specialties, recognising their own potential and thriving for lifelong
learning
- To sharpen management system: Finding the balance between centralization and
decentralization and also putting more emphasis on education management in local
area. To succeed, the central government has to be the one who set the overall
framework and direction whilst local agents still possess freedom to adjust
curriculum and teaching instruction according to their context.
Learning Environment
- Teaching Instruction: Teacher’s holistic and unbiased management should be set
as the essence of classroom. Teachers should be able to choose suitable methods
for their own students. Also, students should be assisted in finding their own
potential, capability and drive for their passion in lifelong learning. The environment
should be challenging and enjoyable with a balance between in-class and non-class
education.
- Teacher: Teacher is at the heart of educational development in many countries.
They must possess qualified qualities. Pedagogy education should be intensified
and students should be those who are selected from cream of the crop of the
country. Teachers’ network should also be supported and developed in order to
effectively serve teachers’ community. Salary should also be raised to upgrade the
status of profession and to attract more capable human resource.
xxxvi
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- Curriculum: Structure of the national curriculum should be more intensified and


have strict quality control. However, the core curriculum should only be a
framework for schools and teachers to work around and adjust to each of their own
context in teaching. Most importantly, it should promote board-based and holistic
learning; putting more emphasis into creating “Curriculum of Thinking”.
- Assessment: There should be no national tests or too frequent standardized tests.
The actual objective for assessment should be about evaluating each student’s
learning development by using formative assessment.
- Information and Communication Technology (ICT): ICT should be one of the core
factors to support student-centered environment. Adaptive usage can be utilized to
match each child’s development at each certain age to effectively support education.

Suggestions for Development Direction of the 21st Century Education


Reccommendations to be used as basis of long term operation plan (15 years) to prepare
education system for the 21st century
Fix
1. Reform teacher education and training as well as upgrade in-service teacher’s
capability
2. Reform the core subject curricular and effective implementation, as well as promote
life-long learning
3. Reform assessment system by shifting more focus towards formative assessment
4. Adjust overall management

Create
1. Create wisdom-based society and supportive learning environment to create well-
balanced and well-rounded citizens instead of cofusing solely on academic aspect.

xxxvii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Fix
1. Reform teacher education and training as well as upgrade in-service
teacher’s capability

Policy Reccomendation:
1.1 Instant reform for education and training system for soon-to-be in-service
teachers
- The system of teacher education and training should be reformed as soon as
possible. The institution should only be those with qualified capability, potential
and readiness.
- The system should be more integrated in order to produce teachers with high
quality and high pedagogy skill. Every chain of teacher education should be
considered as crucial; recruitment, skill training, in-service training and even in-
service teachers’ networking.
- A strong foundation for teacher development system should be built by upgrading
compensation rate to equate those of advance profession, upgrading quality
control, intensifying recruitment of people who desire to be teacher and also
creating more incentive in becoming teacher such as having career path
continuity
1.2 Develop more capability in in-service teachers
- In-service teacher’s capability should also continue to be developed during work
life. They should be able to exchange experiences so that they would altogether
develop class instruction methods or instructional media. Open platform for
teacher to exchange their opinions and thoughts on each other is also crucial as
well as having senior teachers to assist and give feedbacks to the new ones.
- Teacher registration and allocation into needed institution should be improved
due to current skill mismatch that could cause inefficiency.

xxxviii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- More teaching opportunities should be given to those specialists in their


respective field rather than allowing only those in pedagogy training into teaching
profession, which should help solving the on-going shortage problem. Also,
people who excel in their field are likely to be more competence in teaching their
own knowledge.

2. Reform the core subject curricular and effective implementation


While core subject curriculum is used as a framework for general class instruction, there
should also be rooms for adjustment, so that each school could design their own curriculum
or way of instructing to fit each of their own contexts. Furthermore, practical education and
training should be more focused.
Policy Reccomendation:

 Designing broad-based and holistic learning: put more focusing into instructing,
process of learning, integrating core subjects, embedding responsiveness to
changes and create connection between classroom and every days life
 More training for thinking and understanding skills: Since the content of subject
taught are most likely to change or turn into an old-fashioned knowledge at any
point in time, more emphasis should be put on being able to understanding rather
than only memorizing.
 National curriculum as a framework, not as rule: Schools and teachers should
have freedom to create their own design of class instruction and curriculum.
 The government should promote good attitude towards education and support
student to learn and engage in activities outside of classroom hours.
3. Reform the assessment system
Policy Reccomendation:

 Formative assessment should be the core of assessment system to stimulate


learning, thinking and actual development in student: Teachers should assist
their student into developing learning-to-learn skills by using integrated assessment
as well as giving direct or indirect feedbacks to stimulate improvement.

xxxix
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 Student assessment result as a tool to assess teachers productivities: Shaping


the right direction for teaching and instructing by making them aligned with
education objective which is achievement of students, supporting the right learning
strategy for students and better class management
 Support information transparency: Information can be used to compare each
institution to local standard and national standard which would create healthy
competition among schools resulting in overall improvement

4. Adjust overall management


There are many reasons supporting the adjustment of overall management of Thai
education system towards a more flexible and more decentralized one:
 The current system tends to be over-centralized, with insufficient
decentralization of power and authority to schools, teachers, communities, local
authorites and other stakeholders.
 The current cuurculum seems to be unable to respond to the need of learners,
communities as well as the private sector.
 Resoruces allocation is still not in line with the real need of schools in different
contexts (size of schools – large versus small; location of schools – urban
versus rural).
Policy Reccomendation:

 Structural reform is needed, and management system should also be


reconsidered: The objective is to allow more freedom and for adjustment to be in
line with actual capability and readiness of each institution. Due to the vast
functional problems and centralization control’s complication, excessive capitals are
used ineffectively in this current state of management. One-size-fit-all measurement
would not yield a productive education system; therefore, individual institution needs
to be considered differently according to their present resources and readiness.
 The government should consider putting more variety into education
management and increase the relevancy to individual institution’s capability
and readiness: Give educational institutions freedom to design their own

xl
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

management system with respect to their objectives and capability while keeping
themselves align to the commitment and expected output
 Provide freedom in resource management to schools and other institutions:
Give them the ability to manage their own human resources and curriculum design
 Support ability of resources pooling by the institutional themselves for them to
be able to satisfy their own needs
 Each institution should specialize in their respected field in order to provide the
society with adequate knowledge, skills and suitable qualities labour force: The
results would be a great opportunity for student to pursue their career path and
advance skill training.

xli
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Create
5. Create wisdom-based society and supportive learning environment to
create well-balanced and well-rounded citizens instead of cofusing solely on
academic aspect
The government should push forward wisdom-based society, create supportive learning
environment and design instruction system that support education in the 21st century.
Creating well-rounded citizens who are capable of both inside and outside of academic field
should be set as the objective of education system along with labour force preparation,
equality in providing education, planting learning nature into young generation and, most
importantly, creating good and active citizens. The ultimate goal is to use education as a
mean to achieve well-being nation with sustainable development.

 Create supportive learning environment and promote student-centred system:


With the basis of “everyone is the teacher of each other” and “school without
boundary”, class instruction should serve the purpose of training learning skills,
embedding love for learning and making them realised that knowledge is also
available elsewhere other than in classroom.
 Inspire students to find their passion for lifelong learning: Providing education
that is suitable to individual student’s capability in supportive learning environment
that is fun and challenging
 More opportunity for teacher to choose the way of instruction by themselves
and also allow people in local community to be more involved in education such
as local specialists in their profession or letting senior students take care of the
younger ones
 The government should provide public space to support learning environment
so that anyone can learn at anywhere and anytime.

xlii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Mechanism towards Implementation


The direction of education development for the 21st century preparation should aim
toward implementation mechanism which is crucial for enhancing a true reform of
education; creating student-centered system, improving learning attitude, embedding the
quality of natural learner and management decentralization.

 There should be a shift in paradigm and a leader to lead the change in order to
reform the society, create lifelong learning culture and raise awareness of changes
in mega trends
- Create vision and blueprint as tools to lead the improvement of education in
long-term due to the fact that there has always been the lack of continuation in
policy implementation
- Departments under Ministry of Education and concerned partners need to be
integrated in terms of working together and creating synergy may it be business
sector, public sector or those in community services
- Community reform is also needed to complete the reform in education: The
attitude of society towards education is crucial to the transformation into wisdom-
based society/culture. Without cultural and society reform, education reform
could not possibly be completed.
 Expand the bright spot such as adopting methods of success cases to the
mass: such as embedding morality along with academic instructing or even
incorporating community responsibility and business sector in order to upgrade
education and lessen the poverty or social gap at the same time
 Support and expand education development such as providing financial
instrument that can serve as a tool for resource pooling and management:
There are many ways to support education through financial instrument including
issuing educational bonds. Also, it needs to be done along with providing freedom
to self-manage. Encouraging cooperation between private sector and public sector
is also important.

xliii
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 Upgrading quality and accessibility to education with technology: Technology


can reduce operational cost in long-term and, if used effectively, it should contribute
to better quality education and increase people’s ability to reach for any kind of
education whether it is formal or non-formal.
- Use ICT as a supportive tool in student-centered and integrated learning
activities
- Use ICT as a media in connecting good content to the public as well as
creating content availability by;
- Involving ‘the best teachers’ in creating instruction media and
distribute them to local area. The said media, which could help
upgrade the quality of education, may include CD, video, online
education and website. With technology, people would be able to
learn as many times as they prefer and anywhere as they want to,
while teachers be the facilitator and assist student into self-learning
process.
- Create interesting and useful application for computer and tablet

xliv
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

บทที่ 1
บทนำ

1.1 หลักการและเหตุผล

การศึกษาเป็ นกลไกหลักในการพัฒนา ส่งเสริม ปลูกฝงั แนวความคิด ความรู้ ให้กบั พลเมือง


และสังคมโดยรวมในทุกประเทศ ดังนัน้ การศึกษาจึงเป็นตัวแปรหลักของความสามารถในการแข่งขัน
ระยะยาว (Long Term Competitiveness) การออกแบบการศึกษาจึงเป็ นข้อต่อสาคัญของการ
พัฒนาประเทศในทุกด้านทีเ่ กีย่ วข้องกับมนุษย์และสังคม
บริบททีส่ าคัญในการออกแบบการศึกษาในปจั จุบนั ก็คอื พลวัตการเปลีย่ นแปลงโลกจากการ
ก้าวผ่านจากศตวรรษที่ 20 เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 กระแสการเปลี่ยนแปลงโลกได้ส่งผลกระทบทัง้ ทาง
สังคม เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และการเมืองของทุกประเทศ กระแสการเปลีย่ นแปลงทีช่ ดั เจนถูกหยิบ
ยกขึน้ มาเป็ นปจั จัยการเปลี่ยนผ่าน เช่น การปฏิวตั ิ Arab Spring ผ่านการใช้เทคโนโลยี Social
Media การก้าวขึน้ มาทางเศรษฐกิจของเอเชีย หรือภาวะอากาศเปลีย่ นแปลง เป็ นต้น คนในโลกยุค
ใหม่ท่ามกลางพลวัตการเปลีย่ นแปลงดังกล่าวจึงต้องมีความพร้อมทีจ่ ะเผชิญกับความเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนผ่านเหล่านี้ หากสังคมหรือพลเมืองขาดความพร้อมในการก้าวผ่าน จะส่งผลให้ประเทศ
ไม่สามารถเดินต่อไปได้และอาจเสีย่ งกับการเป็ นรัฐทีล่ ม้ เหลว ประเทศไทยมีความจาเป็ นต้องก้าวสู่
ศตวรรษที่ 21 เช่นกัน ดังนัน้ การเตรียมความพร้อมคนไทยเพื่อการนาพาสังคมและประเทศไปสู่โลก
ที่ 1 จึงเป็นจุดวิกฤต (Critical Point) ของชาติทไ่ี ม่อาจหลีกเลีย่ งได้
อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมาประเทศไทยยังคงขาดความชัดเจนในการกาหนดเป้าประสงค์หลัก
ของการศึกษา (Objective Function) ซึ่งเปรียบเสมือนเป็ นผลสุทธิของระบบ หรือปลายทางที่
การศึก ษาต้อ งพัฒนาและเสริมสร้างให้พลเมืองและสังคมสามารถอยู่ได้อ ย่างภาคภูม ิ แต่ การตัง้
เป้าประสงค์หลักของการศึกษาเพียงอย่างเดียวไม่สามารถพัฒนามนุ ษย์และสังคมได้ หากแต่ต้องมี
กลไกการขับเคลื่อนแนวนโยบายและยุทธศาสตร์ทป่ี ฏิบตั ไิ ด้จริง โดยการดาเนินการจะต้องเข้าใจถึง
ทัง้ บริบ ทการเปลี่ย นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 พื้น ฐานปรัช ญาการศึก ษาไทย รวมถึง
องค์ประกอบของสภาพแวดล้อมการเรียนรูแ้ ละการดาเนินชีวติ ของผู้เรียน โดยความเข้าใจเหล่านี้
ควรเป็ นความรู้พ้นื ฐานที่สนั ้ กระชับ ง่ายต่อการเข้าใจ และมีแนวปฏิบตั ิท่ชี ดั เจน โดยบุคคลในวง
การศึกษาไทยตัง้ แต่ผกู้ าหนดนโยบาย ผูม้ สี ่วนร่วมทัง้ ภาครัฐและเอกชน ตราบไปจนถึงตัวผูเ้ รียนเอง
จะต้องมีความเข้าใจในแนวปฏิบตั แิ ละมีส่วนร่วมในการปฏิบตั อิ ย่างเพียงพอ ซึ่งแนวปฏิบตั เิ หล่านี้

1
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

บางส่วนอาจไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทีละน้อย (Incremental Change) แต่อาจจาเป็ นต้องเปลีย่ นถึง


รากฐานกระบวนทัศน์และแนวคิด (Paradigm Shift / Fundamental Change) ดังนัน้ การมีส่วนร่วม
และความเข้าใจของภาคส่วนจึงเป็ นอีกปจั จัยในการเปลีย่ นแปลงครัง้ นี้
การปฏิรปู ระบบการศึกษาของประเทศไทยจึงไม่อาจพิจารณาแบบแยกส่วนได้ หากแต่ต้อง
อาศัย การท าความเข้า ใจภาพรวมของระบบอย่า งถ่ อ งแท้ เพื่อ ให้ส ามารถก าหนดทิศ ทางและ
กระบวนการผลักดันให้ทุกองค์ประกอบของระบบสามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างเป็ นรูปธรรม หรือ
กล่าวโดยสรุปคือ “ประเทศไทยต้องมีการกาหนดเป้าประสงค์หลัก (Objective Function) ที่ระบุ
เป้าหมายของการศึกษาอย่างชัดเจนว่าจะทาไปเพื่ออะไร ซึ่งต้องเป็ นความเข้าใจร่วมของทุกภาค
ส่วนการศึกษา รวมทัง้ ยกให้การศึกษาเป็ นวาระแห่งชาติ (National Agenda) และจัดทาแนว
ปฏิบตั กิ ารทางการศึกษา (Action Agenda) อันประกอบไปด้วยยุทธศาสตร์ (Strategies) ทีส่ ามารถ
แปลงไปสู่ภาคปฏิบตั ิ (Implementation) ได้อย่างเป็นขัน้ ตอน พร้อมใช้งานได้ในทันที”
ดังนัน้ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจึงเห็นควรให้มกี ารจัดทาโครงการวิจยั เรื่อง การ
กาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 เพื่อให้สามารถ
จัดเตรียมแผนการศึกษาของประเทศให้มคี วามสมบูรณ์พร้อมในทุก ๆ ด้าน มีความชัดเจนในการ
กาหนดเป้าประสงค์หลักของการศึกษาที่ชดั เจน สร้างความเข้าใจให้ทุกภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้องได้เห็น
ทิศทางการพัฒนาระบบการศึกษาของประเทศในทิศทางเดียวกัน มองเห็นความเชื่อมโยงและการบูร
ณาการการทางานระหว่างกัน รวมทัง้ สามารถใช้เป็ นรากฐานสาคัญของกระบวนการปฏิรูประบบ
การศึกษาของประเทศไทยได้อย่างมังคงและยั
่ งยื
่ นต่อไป

1.2 วัตถุประสงค์

1) เพื่อศึกษาสภาวการณ์การเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ทีม่ นี ัยสาคัญต่อการจัด


การศึกษาไทย และกาหนดภาพรวมของเป้าประสงค์หลักของการจัดการศึกษาของไทย
2) เพื่อ ศึ ก ษาวิเ คราะห์ ป ระเด็น ท้ า ทายของการจัด การศึก ษาของไทยในการบรรลุ
เป้าประสงค์หลัก ภายใต้บริบทของการเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21
3) เพื่อ จัด ท าข้อ เสนอแนะแนวทางการพัฒ นาการศึก ษาไทยเพื่อ เตรีย มความพร้อ มสู่
ศตวรรษที่ 21 รวมทัง้ กลไกขับเคลื่อนของระบบการศึกษาที่จะสามารถผลักดันแนว
ทางการพัฒนาจากภาคทฤษฏีไปสู่ภาคปฏิบตั ิ

2
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

1.3 เป้ าหมายผลผลิ ตของโครงการ

1) รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ ที่ประกอบด้วยแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กลไกการขับเคลื่อ นไปสู่ภาคปฏิบตั ิ และกรอบแนวทางการดาเนินการเพื่อ ก าหนด
แผนการดาเนินการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะ
ยาว (15 ปี)
2) รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียม
ความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ในรูปแบบทีก่ ระชับเข้าใจง่าย

1.4 ขอบเขตของงานที่ปรึกษา

การดาเนินโครงการศึกษาเพื่อกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความ
พร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 จะต้องทาการศึกษาวิเคราะห์ประเด็นดังต่อไปนี้
1) ศึกษากรอบแนวคิดและกาหนด “เป้าประสงค์หลัก” (Objective Function) ของระบบ
การศึกษาไทยและทิศทางการพัฒนาการศึกษาที่สอดคล้องกัน ให้สามารถตอบโจทย์
ความต้องการคนไทยทีม่ คี ุณภาพในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างยังยื
่ น
2) ศึกษาและนาเสนอสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment) ทีส่ ามารถเอื้อให้
เกิดบรรยากาศการเรียนรู้ในระดับปจั เจก และออกแบบนโยบายการศึกษาเบื้องต้นที่
สามารถนาไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างเป็ นรูปธรรม
3) ศึกษาและเสนอแนะการออกแบบกลไกขับเคลื่อนระดับนโยบาย (Mechanism Design)
เพื่อนาไปสู่การกาหนดบทบาทหน้าที่และกระบวนการการบูรณาการระหว่า งภาคส่วน
หลากหลาย ทัง้ ที่อ ยู่ภ ายใต้สงั กัด กระทรวงศึก ษาธิก ารและหน่ ว ยงานภาครัฐอื่น ๆ
ภาคเอกชน และภาคประชาชน ทีเ่ ป็นผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการศึกษา โดยแสดง
ให้เห็นความเชื่อมโยงบางประเด็นของยุทธศาสตร์ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
ของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ความทับซ้อนกันในการดาเนินงานบางขัน้ ตอน และวิธขี จัด
ความทับซ้อนดังกล่าว (ถ้ามี)
4) นาเสนอแนวทางการดาเนินงานสาหรับการใช้ขอ้ มูลทัง้ หมดจากโครงการเพื่อเป็ นฐานใน
การกาหนดแผนการดาเนินการระยะยาว (15 ปี ) เพื่อเตรียมความพร้อมของการศึกษา
ไทยสู่ศตวรรษที่ 21

3
นิยามศัพท์
คำศัพท์ คำแปล ควำมหมำย
st
21 Century ศตวรรษที่ 21 ช่วงระยะเวลาระหว่างปี ค.ศ. 2001 ถึง ค.ศ. 2100 หรือ
พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2643
21st Century Skill ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทักษะทีจ่ าเป็ นสาหรับการดารงชีวติ ในโลกแห่งศตวรรษ
ที่ 21 ซึ่ ง แ ต ก ต่ า ง ไ ป จ า ก อดี ต ที่ ผ่ า น ม า มี ก า ร
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทัง้ ในด้าน สังคม เศรษฐกิจ
และการเมือง รวมทัง้ การเติบโตขึ้นอย่า งรวดเร็วของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Accountability ความรับผิดชอบ พันธะผูกพันในหน้ าที่การงานของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
หรือ องค์ ก รใดองค์ก รหนึ่ ง ต่ อ เป้ าหมายที่ไ ด้ ร ับ
มอบหมายจากบุ ค คลหรือองค์ก รอื่น ๆ โดยมีระบบ
ตรวจสอบที่ฝ่ายผู้มอบหมายเข้าตรวจสอบประเมินผล
งานเพื่อให้รางวัล และบทลงโทษแก่ฝา่ ยปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้
AEC (ASEAN ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การรวมตัวกันระหว่างประเทศอาเชียนทัง้ 10 ประเทศ
Economic Community) คื อ ไทย พม่ า ลาว เวี ย ดนาม กั ม พู ช า มาเลเซี ย
สิง คโปร์ อิน โดนี เ ซีย ฟิ ลิป ปิ น ส์ และบรู ไ น เพื่อ เพิ่ม
อานาจต่อรองกับคู่ค้า และเพิม่ ขีดความสามารถในการ
แข่งขันทางเศรษฐกิจระดับโลก
Age of Extremity ยุคแห่งความสุดโต่ง ลัก ษณะของโลกยุ ค ใหม่ ท่ีมีค วามสุ ด โต่ ง หรือ สุ ด ขัว้
เกิดขึน้ ในหลากหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็ นความสุดโต่งทาง
ธรรมชาติ (Nature Extremes) ทีท่ วีความรุนแรงขึน้ ตาม
เวลา ความสุดโต่งทางเศรษฐกิจ (Economic Extremes)
ดังที่เห็นได้จากวิกฤตการณ์ หนี้ภูมิภาคยุโรป ความ
สุด โต่ ง ทางการเมือ ง (Political Extremes) เช่ น
เหตุการณ์ Arab Spring หรือแม้แต่ ความสุดโต่งทาง
สังคม (Social Extremes) ซึง่ สามารถเห็นได้จากความ
เหลื่อมล้าระหว่างชนชัน้ ช่องว่างทางสังคมทีเ่ พิม่ มากขึน้
เป็ นต้น
Aging Society สังคมผูส้ งู อายุ การมีประชากรอายุ 60 ปี ขน้ึ ไปมากกว่าร้อยละ 10 ของ
ประชากรรวม นับเป็ นประเด็นท้าทายทัง้ ทางสังคมและ
เศรษฐกิจที่แต่ละประเทศจะต้องมีแผนรองรับ สาหรับ
ประเทศไทย สานักงานสถิตแิ ห่งชาติระบุว่าประเทศไทย
ได้ถูกจัดให้เป็ นประเทศทีอ่ ยู่ในสังคมผูส้ งู อายุมาตัง้ แต่ปี
พ.ศ. 2548
Attributes คุณลักษณะ ลัก ษณะที่ ต้ อ งการให้ เ กิ ด ขึ้ น ในตั ว ผู้ เ รี ย น อั น เป็ น
คุณลักษณะที่สงั คมต้องการในด้านคุณธรรม จริยธรรม

ก-1
คำศัพท์ คำแปล ควำมหมำย
ค่านิยม จิตสานึก ที่ช่วยให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่นื ใน
สังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะพลเมืองทีด่ ขี องประเทศ
และของโลก
Bottom of the Pyramid กลุ่มชนฐานปิ รามิด กลุ่มชนรายได้ต่ าถึงต่ ามากที่มีรายได้ไม่ถึง $2 ต่ อวัน
ซึง่ มีจานวนเป็ นส่วนใหญ่มโี ลก เปรียบเสมือนเป็ นฐานปิ
รามิดเมื่อนามาเทียบกับสัดส่วนของผู้ท่มี รี ายได้สูงกว่า
ในสังคม ณ ปจั จุบนั
Business As Usual สถานการณ์เป็ นอย่างทีเ่ ป็ นมา การคาดการณ์ในอนาคตโดยประเมินว่าการดาเนินการ
ต่อไปหรือการเจริญเติบโตจะเป็ นไปในลักษณะเดียวกับ
สถานการณ์ทเ่ี คยเป็ นมาในปี ก่อน ๆ หรืออัตราเดิมตาม
แนวโน้มทีผ่ ่านมา
Career Path เส้นทางสายอาชีพ เส้นทางหรือหนทางความก้าวหน้ าในอาชีพ กล่ าวคือ
โอกาสในการเจริญเติบโตในสายงาน หรือการไต่เต้าเพื่อ
ประสบความสาเร็จในขัน้ ทีส่ งู กว่าขึน้ ไปเรื่อยๆ ไม่ว่าจะ
เป็ นในด้านของตาแหน่ ง เป้าหมาย หรือขอบเขตหน้าที่
การงาน
Change Management การบริหารการเปลีย่ นแปลง การจัดการกับกลไกส่วนประกอบต่างๆ ขององค์กรให้
สามารถเรียนรู้และปรับตัวได้ทนั กับการเปลี่ยนแปลง
ของสถานการณ์ทงั ้ ภายนอกและภายในองค์กร เพื่อลด
ผลกระทบที่ไม่ดขี องการเปลีย่ นแปลงและเพิม่ ผลดีจาก
โอกาสใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ จะช่วยให้สามารถดาเนินงาน
ได้อย่างต่อเนื่อง ราบรื่น และเจริญก้าวหน้าต่อไปได้
Civic Society ประชาสังคม การรวมกลุ่ ม ของประชาชน ก่ อ เกิด เป็ น กิจ กรรมการ
เคลื่อนไหวในรูปแบบของ เครือข่าย ชมรม มูลนิธิ เป็ น
ต้น เพื่อร่วมแก้ไขปญั หาในสังคมร่วมกัน กล่าวคือ เป็ น
การขับเคื่อนทางสังคมโดยประชาชนมวลรวมเป็ นหลัก
Creativity การสร้างสรรค์ การประดิษฐ์หรือรังรรค์สงิ่ ใหม่ๆ ทีม่ คี ุณค่า
Dynamic พลวัต สิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับผลจากแรงของการเปลีย่ นแปลง
Empowerment การสร้างเสริมพลัง / มอบอานาจ การสร้างเสริมพลัง ให้เกิดความตระหนัก ความเชื่อมัน่
เพื่อให้สามารถพัฒนาศักยภาพทีม่ ไี ด้อย่างเต็มที่
Foresight การมองอนาคต กระบวนการศึก ษาอนาคตเพื่อ หาวิธีส่ ง เสริม ให้เ กิด
ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อม
Formative Assessment การประเมิน ผลความก้า วหน้ า หรือ การประเมินระหว่างการจัดการเรียนรูเ้ พื่อตรวจสอบว่า
หรือการประเมินผลย่อย ผูเ้ รียนมีความรูค้ วามสามารถตามจุดประสงค์ทก่ี าหนด
ไว้ ใ นระหว่ า งการจัด การเรีย นการสอนหรือ ไม่ และ
เพื่อให้ผสู้ อนสามารถปรับวิธกี ารจัดการเรียนการสอนให้
มีประสิทธิผลมากยิง่ ขึน้ ได้
Global Citizen พลเมืองโลก การรูแ้ ละเข้าใจถึงบทบาทและหน้าทีใ่ นฐานะสมาชิกของ

ก-2
คำศัพท์ คำแปล ควำมหมำย
สังคม ทัง้ ในระดับท้องถิน่ ประเทศ และระดับโลก มีส่วน
ร่วมรับผิดชอบในฐานะพลเมืองดีของสังคม อีกทัง้ ยังร่วม
ตระหนักถึงสิทธิมนุษยชนและอุดมการณ์
Global Megatrends การเปลี่ยนแปลงที่เป็ นแนวโน้ มใหญ่ ความเปลี่ยนแปลงระดับโลกสาคัญที่กาลังเกิดขึน้ ในวง
ของโลก กว้างและคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อไปในอนาคต
Global Supply Chains ห่วงโซ่อุปทานโลก การเชื่อ มต่ อ ของหน่ ว ยต่ า งๆ หรือ กิจ กรรมการผลิต
สิน ค้า และบริก ารระดับ โลกตัง้ แต่ ก ารผลิต จนถึง การ
บริโ ภค โดยเชื่อ มต่ อ ผ่ า นระบบโลจิส ติก ส์แ ละข้อ มู ล
ข่าวสาร
Global Value Chains ห่วงโซ่คุณค่าโลก การเชื่อมต่อของกิจกรรมที่ก่อให้เกิดการเพิม่ มูลค่าของ
สินค้าและบริการในระดับโลก โดยแบ่งเป็ นกิจกรรมหลัก
เช่น การผลิต การจัดส่งสินค้า การตลาดและบริหารหลัง
การขาย และกิจกรรมสนับสนุน เช่น โครงสร้างพืน้ ฐาน
การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรมนุ ษย์ การพั ฒ นา
เทคโนโลยี และการจัดซือ้ จัดจ้างเป็ นต้น
Good Governance หลักธรรมาภิบาล การบริห ารกิจ การที่ดี เพื่อ เป็ น สัง คม เศรษฐกิจ และ
สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ดี โดยหลั ก ธรรมาภิ บ าลสามารถ
ประยุกต์ใช้ได้กบั ทัง้ ระดับองค์กร ท้องถิน่ ประเทศ หรือ
ระหว่างประเทศ
Green Economy เศรษฐกิจที่เ ป็ นมิต รกับสิ่งแวดล้อม / เศรษฐกิจทีน่ าไปสู่ความเป็ นความเป็ นอยู่ของมนุ ษย์ทด่ี ี
เศรษฐกิจสีเขียว ขึ้น ความเท่ า เทีย มทางสัง คมมากขึ้น และการลดลง
อย่างมีนัยสาคัญของความเสี่ยงทางธรรมชาติและการ
ขาดแคลนทรัพยากร และการมีสภาพสิง่ แวดล้อมทีด่ ี
Green Growth การพัฒ นาให้เ ศรษฐกิจ เจริญ เติบ โต การพัฒนาที่มุ่งไปสู่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและ
อย่างเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม สังคมอย่างยังยื่ น เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม โดยทีก่ จิ กรรม
ภายใต้แนวทางการพัฒนาดังกล่าวมีการใช้ทรัพยากร
อย่ า งมีป ระสิท ธิภ าพ ก่ อ ให้ เ กิด ก๊ า ซเรือ นกระจกใน
ปริม าณที่ไม่ส่งผลกระทบต่ อ ทรัพ ยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อม
Human Capital ทุนมนุษย์ ความสามารถต่าง ๆ ที่อยู่ในตัวบุคคคล ทัง้ ที่ติดตัวมา
แต่ กาเนิดและที่เ กิดจากการสะสมเรียนรู้ คุณลักษณะ
เหล่านี้เป็ นคุณลักษณะที่มคี ุณค่า ซึง่ คุณค่านี้จะเพิม่ ขึน้
เมื่อมีการลงทุนทีเ่ หมาะสม ได้แก่ การให้การศึกษาและ
การฝึ กอบรมวิชาการและความรูต้ ่างๆ เพื่อยกระดับขีด
ความสามารถ
Knowledge Society สังคมแห่งการเรียนรู้ สังคมที่พ ลเมืองแสวงหาความรู้อยู่เสมอ เป็ น ผู้เรียนรู้
ด้วยตนเองได้จนตลอดชีวติ เพื่อพัฒนาตนเอง หน่วยงาน
ทุกภาคส่วนและพลเมืองทุกคนสามารถเป็ นได้ทงั ้ ผู้ให้

ก-3
คำศัพท์ คำแปล ควำมหมำย
และผูร้ บั ความรู้ มีแหล่งความรูใ้ ห้ศกึ ษาค้นคว้า มีระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งทอดความรูอ้ ย่างทัวถึ ่ ง
Knowledge-based สังคมฐานความรู้ กระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุ นส่งเสริมให้บุคคลเกิด
Society การเรียนรูโ้ ดยผ่านสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งการ
เรียนรู้ และองค์ค วามรู้ต่า งๆ จนสามารถสร้างความรู้
สร้า งทัก ษะ มีร ะบบการจัด การความรู้แ ละระบบการ
เรียนรู้ทด่ี ี มีการถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ร่วมกันทุกภาคส่วนในสังคม ทาให้เกิดพลังสร้างสรรค์
และสามารถใช้ความรูเ้ ป็ นเครื่องมือในการแก้ปญั หาและ
พัฒ นาอย่ า งเหมาะสมทัง้ ด้ า นเศรษฐกิจ สัง คม และ
การเมือง
Learner-centered การมีผเู้ รียนเป็ นศูนย์กลาง กระบวนการเรียนรูซ้ ง่ึ มุ่งเน้นให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูไ้ ด้
เต็มตามศักยภาพ มีการจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับ
ผูเ้ รียนซึง่ แต่ละคนมีความแตกต่างกัน ส่งเสริมผูเ้ รียนให้
เรียนรูด้ ว้ ยสมอง ด้วยกาย และด้วยใจ สามารถสร้างองค์
ความรูผ้ ่านกระบวนการคิดด้วยตนเอง มีสว่ นร่วมในการ
เรีย นการสอน เน้ นการปฏิบ ัติจริง รวมทัง้ สามารถอยู่
ร่วมและทางานกับผูอ้ ่นื ด้
Learning Environment สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ สิง่ ต่างๆ และสภาวแวดล้อมที่อยู่รอบๆ ตัวผูเ้ รียน ทัง้ ที่
เป็ นรูปธรรมและนามธรรม ซึ่งสามารถส่งผลต่อผู้เรียน
ทั ง้ ทางบวกและทางลบ ตลอดจนมี ผ ลกระทบต่ อ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรูข้ องผูเ้ รียนได้
Learning Organization องค์กรแห่งการเรียนรู้ องค์กรซึง่ บุคลากรสามารถขยายขอบเขตความสามารถ
ของตนได้อย่างต่ อเนื่อง ทัง้ ในระดับบุคคล ระดับกลุ่ม
และระดับ องค์ก ร เพื่อน าไปสู่จุ ดหมายที่บุค คลากรใน
ระดับ ต่ า งๆ ต้ อ งการอย่ า งแท้ จ ริ ง เป็ น องค์ ก รที่ มี
ความคิด ใหม่ ๆ และมีก ารแตกแขนงของความคิ ด
ออกไป ตลอดจนเป็ น องค์ ก รซึ่ ง บุ ค คลเรี ย นรู้ อ ย่ า ง
ต่อเนื่องและเกิดการเรียนรูไ้ ปด้วยกันทัง้ องค์กร
Lifelong Learning การเรียนรูต้ ลอดชีวติ การรับรูค้ วามรู้ ทักษะ และเจตคติ ตัง้ แต่เกิดจนตายจาก
บุคคลหรือสถาบันใดๆ โดยสามารถเรียนรู้ด้วยวิธกี าร
เรียนรูต้ ่างๆ ทัง้ ในระบบและนอกระบบ ทัง้ โดยตัง้ ใจหรือ
โดยบังเอิญ ก็ได้ เพื่อ ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนา
ตนเองได้ทุกสถานที่และทุกเวลาอย่างต่อเนื่อง ตลอด
ช่วงชีวติ
Manpower Planning การวางแผนกาลังคน การวางแผนแรงงาน โดยคาดคะเนถึงความสอดคล้อง
กัน ของจ านวนอุ ป สงค์ แ ละอุ ป ทานในตลาดแรงงาน
ตลอดจนถึงทิศทางของเศรษฐกิจโดยรวม

ก-4
คำศัพท์ คำแปล ควำมหมำย
Middle Income Trap กับดักประเทศรายได้ปานกลาง สภาวะของประเทศกาลังพัฒนาที่เริม่ ก้าวพ้นจากความ
ยากจน สร้างรายได้จากการส่งเสริมอุตสาหกรรมและ
การส่ ง ออก แต่ ย ัง คงไม่ ส ามารถพัฒ นาตั ว เองไปสู่
ประเทศพัฒ นาแล้ ว ที่มีร ายได้ สู ง (High Income
Countries) เพราะไม่ ส ามารถสร้า งเทคโนโลยีแ ละ
นวัตกรรมเพื่อเพิม่ ประสิทธิผลในการผลิตและเพิม่ มูลค่า
ของสินค้าได้ ในขณะเดียวกันประเทศเหล่านี้กต็ อ้ งเผชิญ
กับแรงกดดันจากด้านล่าง เนื่องจากประเทศกาลังพัฒนา
ใหม่ ๆ ทีม่ คี ่าแรงต่ากว่าเข้ามาเป็ นคู่แข่งในตลาดโลก
OECD (Organization อ ง ค์ ก า ร เ พื่ อ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ท า ง องค์กรระหว่างประเทศของกลุ่ มประเทศที่พฒ ั นาแล้ว
for Economic Co- เศรษฐกิจและการพัฒนา ปจั จุบนั ได้เพิม่ สมาชิกประเทศกาลังพัฒนาเข้ามาด้วยจน
operation and ป จั จุ บ ั น มี ส มาชิ ก 34 ประเทศ (ดู ร ายละเอี ย ดใน
Development) www.oecd.org)
One-size-fit-all มาตรการเหมารวม ลักษณะของการใช้วิธหี รือมาตรการเพียงหนึ่งเดียวใน
การบริหาร จัดการ หรือควบคุม ในทุก ๆ กรณี
Paradigm กระบวนทัศน์ กระบวนทางความคิด ทางการรับรู้ ทางวิธคี ดิ และการ
สะท้อนความคิดให้เป็ นความหมายหรือให้มคี ุณค่าของ
สัง คม เป็ น ฐานของวิถีทางเพื่อ การจัดการตนเองของ
สังคมนัน้ ผ่านกลไก 2 ประการ คือ (1) วางหรือกาหนด
กรอบ (2) ชี้น าประชาชนว่า ควรจะประพฤติป ฏิบ ัติ
อย่างไรภายใต้กรอบเหล่านัน้ เพื่อให้เกิดความสาเร็จ
PISA (Program for โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ การประเมินผลนักเรียนเพื่อความร่วมมือและพัฒนา
International Student เศรษฐกิจดาเนินการโดย OECD (Organization for
Assessment) Economic Co-operation and Development) เพื่อหา
ตัวชีว้ ดั คุณภาพการศึกษาให้แก่ประเทศสมาชิกและ
ประเทศทีเ่ ข้าร่วมโครงการ
Productivity ผลิตภาพ จานวนของผลผลิตสินค้าสินค้าหรือบริการต่อปจั จัยการ
ผลิตที่ใช้ในการผลิตของหน่ วยการผลิต อุตสาหกรรม
หรือประเทศ สามารถจาแนกได้ตามประเภทของปจั จัย
การผลิต เช่น แรงงาน ทุ น ทัง้ นี้ การเพิ่มขึ้นของผลิต
ภาพอาจเกิดจากปจั จัยอื่นนอกเหนือจากปจั จัยการผลิต
ที่ใ ช้ เช่ น การพัฒ นาวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
นวัตกรรม และการพัฒนาคุณภาพของแรงงาน
Problem-based การเรียนรูจ้ ากปญั หา การให้ผเู้ รียนรวมกลุ่มทากิจกรรมหรือโครงงานร่วมกัน
Learning (PBL) ส่งเสริมการช่วยเหลือซึง่ กันและกัน เรียนรูก้ ารแก้ปญั หา
ทัง้ นี้เพื่อให้เกิดการคิดวิเคราะห์และแสวงหาข้อมูล
Public Space พืน้ ทีส่ าธารณะ พื้น ที่ ใ นโลกทางสัง คมทัง้ ในรู ป แบบนามธรรมและ
รูป ธรรม ที่เ อื้อ ให้ผู้ค นสามารถพบปะพูดคุ ย อย่ า งเสรี

ก-5
คำศัพท์ คำแปล ควำมหมำย
ก่อให้เกิด การรับรู้ร่วมกัน และนาไปสู่การท ากิจกรรม
ร่วมกันระหว่างสาธารณชน
Public-Private ความเป็ นหุน้ ส่วนของรัฐ-เอกชน ข้อตกลงระหว่างรัฐบาลกับเอกชนผู้ร่วมลงทุนหนึ่งราย
Partnership (PPP) หรือมากกว่าในการทีจ่ ะให้เอกชนนัน้ ๆ ส่งมอบบริการใน
ลัก ษณะต่ า งตอบแทนให้แ ก่ ร ัฐบาล โดยเอกชนได้ร ับ
ผลตอบแทนจากการให้บริการ และรัฐบาลจะได้บรรลุ
เป้าประสงค์ของการส่งมอบบริการทีไ่ ด้ตงั ้ ไว้
Reform การปฏิรปู การทาให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสม สภาพที่สมควร เป็ น
กระบวนการทีม่ กี ารต่อรอง ต้องใช้เวลาดาเนินการ ต้อง
มีความอดทน ไม่ สามารถได้ม าโดยใช้อ านาจ โดยใช้
กาลังเข้าหักโค่น และไม่สามารถจะมีฝา่ ยใดได้รบั ตามสิง่
ทีป่ รารถนาไปทัง้ หมดทุกเรื่อง
Scenario ภาพฉายอนาคต ชุดสถานการณ์หรือชุดภาพเหตุการณ์ในอนาคต
Scenario building การสร้างภาพอนาคต การสร้ า ง ภาพ อนาค ตเป็ นการน าสั ญ ญ าณกา ร
เปลี่ยนแปลงอ่อนๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต และ
ภาพเหตุ ก ารณ์ ใ นช่ ว งเวลาต่ า งๆ ที่ค าดว่ า จะเกิด ใน
อนาคตเชื่อมโยงประเด็นและรายละเอียดต่ า งๆ ไปสู่
ภาพอนาคตทีม่ คี วามหมาย และสามารถสร้างวิสยั ทัศน์
อนาคต (Future vision) และแนวนโยบายในระยะยาว
(Long-term policy)
Science, Technology การพัฒ นาวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เป็ น
and Innovation (STI) และนวัตกรรม ปจั จัย ส าคัญ ในการขับเคลื่อ นการพัฒ นาประเทศไปสู่
Development สังคมฐานความรู้ ซึง่ จะทาให้ประเทศมีความสามารถใน
การปรับ ตัว ต่ อ กระแสการเปลี่ย นแปลงของโลก และ
รับ มือ กับ ประเด็น อุ บ ัติ ใ หม่ ท่ีส่ ง ผลกระทบส าคัญ ต่ อ
ประเทศ
Social Inclusion การยอมรับทุกกลุ่มทุกบุคคลในสังคม การที่ป ระชาชนสามารถเข้าถึงบริก ารทางสังคม หรือ
บริการต่าง ๆ ทีร่ ฐั จัดหาให้ รวมไปถึงการจ้างงานอย่าง
เท่าเทียมกัน ตลอดจนกระทังการยอมรั ่ บเข้าเป็ นส่วน
หนึ่งในสถาบันทีม่ เี กิดขึน้ ตามกฏหมาย ค่านิยม บรรทัด
ฐาน หรือวัฒนธรรม
Social Mobility การเคลื่อนทีท่ างสังคม โอกาสของชนชัน้ ล่ า งที่จ ะเลื่อ นชนชัน้ ทางสัง คมของ
ตนเอง
Socio-economic Status สภาพเศรษฐสังคม สภาพความเป็ น อยู่ท งั ้ ในมิติ ท างสังคมรวมทัง้ มิติข อง
เศรษฐกิจ กล่าวคือ เป็ นสภาพทัง้ สถานะทางสังคมและ
สถานะการเงิน
STEM Education การสอนแบบบรูณาการข้ามกลุ่มสาระ การสอนแบบบรูณาการข้าม 4 กลุ่มสาระวิชา คือ
วิชา วิทยาศาสตร์ (Sciences) เทคโนโลยี (Technology)

ก-6
คำศัพท์ คำแปล ควำมหมำย
วิศวกรรมศาสตร์ (Engineer) และ คณิตศาสตร์
(Mathematics) โดยนาจุดเด่นของของธรรมชาติ
ตลอดจนกระทังวิ ่ ธกี ารสอนของแต่ละวิชามาผสมผสาน
เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถนาความรูเ้ หล่านัน้ มาใช้แก้ปญหา ั
ค้นคว้า และพัฒนาสิง่ ต่าง ๆ ได้ในสภาวการณ์ปจั จุบนั
Structural Reform การปฏิรปู เชิงโครงสร้าง การเปลี่ย นแปลงทางโครงสร้า งให้ดีข้นึ โดยเป็ น การ
ปรับ เปลี่ ย นในเนื้ อ หาสาระส าคัญ ไม่ ใ ช่ ก ารจัด ท า
โครงการเล็ก ๆ น้อย ๆ หรือการเปลี่ยนแปลงแต่เพียง
รูปแบบภายนอก การปฏิรูปเชิงโครงสร้างของประเทศ
จึงเป็ นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง และระบบนิเวศน์ของทัง้ ประเทศ
TIMSS (Trends in โครงการศึกษาแนวโน้มการจัด โครงการประเมินผลของสมาคมนานาชาติ เพื่อประเมิน
International การศึกษาคณิตศาสตร์และ ผลสัมฤทธิทางการศึ
์ กษา (The International
Mathematics and วิทยาศาสตร์ ระดับนานาชาติ Association for the Evaluation of Education
Science Study) Assessment หรือ IEA) ซึง่ มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมิน
ผลสัมฤทธิทางการเรี์ ยนตามหลักสูตรของนักเรียนชัน้
ประถมศึกษาชัน้ ที่ 4 และมัธยมศึกษาปี ท่ี 2
Trade Off การได้อย่างเสียอย่าง สถานการณ์ท่เี กิดขึน้ จากการมีทรัพยากรที่จากัด (เช่น
ทรัพ ยากร เวลา งบประมาณ) หรื อ เป้ าหมายที่ ไ ม่
สอดคล้องกัน ทาให้เมื่อเกิดการเลือกจากทางเลือกต่างๆ
จะท าให้เ กิด ต้ น ทุ น ค่ า เสีย โอกาส (Opportunity) จาก
ทางเลือกที่ไม่ได้เลือก การเลือกทางเลือกใดทางเลือก
หนึ่งจึงทาให้ได้บางอย่างแต่ต้องเสียบางอย่างไป (อย่าง
น้อยที่สุดคือเสียโอกาสที่จะได้จากทางเลือกอื่นที่ไม่ได้
เลือก)
Value Creation การสร้างมูลค่าเพิม่ การใช้ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบเพื่อสร้างคุณค่า
ทางเศรษฐกิจให้แก่สนิ ค้าหรือบริการ
Wisdom-based Society สังคมแห่งปญั ญา สังคมทีใ่ ห้ความสาคัญกับคุณภาพของทรัพยากรมนุ ษย์
ทัง้ ในด้านวิชา ความรู้พ้นื ฐาน และจริยธรรม มากกว่า
มุ่ ง เ น้ น เ พี ย ง ป ริ ม า ณ ผู้ ท่ี ส า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า จ า ก
สถาบันการศึกษาต่างๆ รวมทัง้ สร้างสภาพแวดล้อมการ
เรียนรู้นอกระบบการศึกษาให้สามารถกระตุ้นความคิด
ริเริม่ สร้างสรรค์ทน่ี าไปสู่การพัฒนาภูมปิ ญั ญาและสร้าง
นวัตกรรมใหม่ๆ
World GDP ผลิตภัณฑ์มวลรวมของโลก มูลค่าเพิม่ ของสินค้าและบริการของทุกประเทศในโลก
รวมกันในแต่ละปี

ก-7
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รบั

1) ผูบ้ ริหารระดับนโยบายทัง้ ในและนอกกระทรวงศึกษาธิการมีแนวปฏิบตั เิ พื่อเอื้อให้เกิด


การจัดการศึกษาของประเทศไทยทีส่ อดคล้องกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
ของประเทศ
2) ผูบ้ ริหารทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบตั ดิ ้านการศึกษาเกิดความตระหนักและความเข้า ใจใน
เป้าประสงค์หลักของการศึกษา และมีความประสงค์ทจ่ี ะมุง่ สู่เป้าประสงค์หลักเดียวกัน
3) หน่ ว ยงานภาครัฐมีแ นวทางการใช้กลไกสาหรับการปฏิบตั ิตามนโยบายการศึกษาที่
สามารถนาไปบูรณาการกับภาคส่ วนหลากหลายที่สามารถนาไปปฏิบตั ิได้อ ย่างเป็ น
รูปธรรม

4
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

บทที่ 2
การทบทวนวรรณกรรม

การทบทวนวรรณกรรมในบทนี้ได้มกี ารศึก ษาทบทวนเอกสารงานวิจยั ที่เ กี่ยวข้อ ง เพื่อ


นาไปสู่ก ารก าหนดกรอบแนวคิด ในการศึก ษา และเป็ น ข้อ มูล ในการวิเ คราะห์ ก ารศึก ษาวิจ ยั ใน
โครงการนี้ โดยการทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้องแบ่งออกได้เป็น 4 หัวข้อหลัก ได้แก่
1) สภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 และภาพของการศึกษาใน
สังคมยุคใหม่ โดยจะกล่าวถึง ความหมายของ “ศตวรรษที่ 21” และบทบาทของ
การศึกษาที่สามารถรับมือและตอบสนองต่อบริบทการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ซึ่งจะ
กล่าวถึงภาพเศรษฐกิจและสังคมในยุคหลังสังคมฐานความรู้ และเรื่องของความรู้
และการจัดการความรูใ้ นศตวรรษที่ 21 เปรียบเทียบกับศตวรรษที่ 20
2) ลักษณะของกระบวนการเรียนรู้ท่สี อดคล้องกับบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกใน
ศตวรรษที่ 21 โดยในหัวข้อนี้ได้มกี ารทบทวนกระบวนการเรียนรู้ท่สี าคัญและมี
ลักษณะเด่นในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ การเรียนแบบรูจ้ ริง (Mastery Learning) การ
เรียนรูแ้ บบการสอนให้น้อย เรียนรูใ้ ห้มาก (Teach Less, Learn More) และการ
เรียนรูต้ ลอดชีวติ (Lifelong Learning)
3) เป้าประสงค์ห ลัก ของการจัดการศึกษา โดยได้มกี ารศึกษาทบทวนหลักการของ
เป้าประสงค์ของการจัดการศึกษา ตลอดจนภาพรวมของเป้าประสงค์หลักของการจัด
การศึกษาของประเทศต่าง ๆ
4) แนวทางพัฒนาการศึกษา โดยแบ่งเป็นหัวข้อย่อย ได้แก่ (1) ประเด็นท้าทายของการ
จัดการศึกษาและทิศทางนโยบาย (2) การพัฒนาการศึกษาเรียนรูข้ องผู้เรียน โดย
ศึกษาปจั จัยต่าง ๆ ทีม่ ผี ลต่อการศึกษาเรียนรู้ (3) การพัฒนาการบริหารการศึกษา
และการปฏิรูปการศึกษา โดยทบทวนประเด็นการบริหารการศึกษา ผลตอบแทน
ภายนอกของการศึก ษา และการปฏิรูป การศึก ษาด้ ว ยการปฏิรู ป ระบบความ
รับผิดชอบ และ (4) การพัฒนาการศึกษาและกาลังคนเพื่อเพิม่ ขีดความสามารถใน
การแข่งขันของประเทศ

5
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2.1 สภาวการณ์ การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 และภาพของการศึ กษาใน


สังคมยุคใหม่

ศตวรรษที่ 21 นัน้ ครอบคลุมช่วงเวลาตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2001-2100 วิจารณ์ พานิช (2554) ให้
ความหมายของศตวรรษที่ 21 ว่า คือ โลกเปลี่ยนแปลงเร็วขึน้ ๆ และไม่แน่ นอน ความรูเ้ ปลีย่ นชุด
งอกเร็ว สารสนเทศเพิม่ แบบระเบิด คนถูกกระแสรอบทิศ ในขณะที่ว ตั ถุมากล้น จิตวิญญาณจาง
นอกจากนี้ โลกยังเชื่อมโยงถึงกันหมด คนเปลีย่ น ชีวติ เปลีย่ น งานเปลีย่ น
ในศตวรรษที่ 21 เป็ นยุคแห่งความสุดโต่ง เป็ นยุคแห่งแกนอานาจประชาชน เป็ นยุคแห่ง
ศตวรรษแห่งเอเชีย ทัง้ นี้ ยุคทีผ่ ่านมาเป็ นเรื่องของความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ ความรู้ คือ
อานาจ เราจึงสอนให้เด็กใช้ความรูเ้ พื่อฝืนธรรมชาติ ต่อไปในศตวรรษที่ 21 ต้องเปลีย่ นความคิดและ
สร้างประสบการณ์ ให้ เด็ก สามารถอยู่ร่ว มกับธรรมชาติ และเมื่อสิ่งต่างๆ เริม่ เปลี่ยนไป การสอน
จะต้องไม่เป็ นแบบแพ้ค ดั ออกหรือให้โอกาสเฉพาะคนเก่ งและละทิ้งเด็กเรียนอ่ อน แต่จะต้องเป็ น
ลักษณะของการช่วยส่งเสริมซึง่ กันและกัน ซึง่ เป็ นความท้าทายของผูบ้ ริหารการศึกษา ว่าจะสามารถ
เปลีย่ นแปลงวิธคี ดิ แบบเดิมและหันมาตอบโจทย์โลกได้หรือไม่ (สุวทิ ย์ เมษินทรีย,์ 2555)
นอกจากนี้ สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ (2555) ยังชีถ้ งึ ประเด็นการเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่
21 กับความเชื่อมโยงมาสู่ภาคการศึกษา (Education) ว่า ต่อไปผูบ้ ริหารการศึกษาจะถูกคาดหวังสูง
มาก จากนี้จะต้องพบเจอกับความไม่แน่ นอน การบริหารที่มคี วามซับซ้อนมากขึน้ และเราจะสอนให้
เด็กรูจ้ กั การปลดล็อกข้อจากัดได้อย่างไร รวมถึงการบริหารงานภายใต้ความขัดแย้งต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้
ในสังคม เราไม่ได้เปลี่ยนความรูข้ องเด็ก แต่เราต้องพยายามค้นศักยภาพของตัวเด็กออกมา และ
สร้างให้เขาเป็ นคนทีม่ ตี วั ตนในสังคมและมีหวั ใจของความเป็ นคนด้วย นอกจากนัน้ คนยุคนี้ยงั ต้อง
เผชิญกับความขัดแย้งในตัวเอง เพราะโลกปจั จุบนั อิสระมากขึน้ แต่ขณะเดียวกันยังต้องมีการพึง่ พา
อาศัยกัน คนจะสับสนว่าควรจะทาเพื่อตนเองหรือคานึงถึงส่วนรวมก่อน เราจะสอนอย่างไรให้เด็กมี
ความสามารถในการสร้างความสมดุลทางความคิดระหว่างสองสิง่ นี้ สิง่ ที่ต้องหล่อหลอมให้เด็กคือ
Skill Set ทีผ่ บู้ ริหารการศึกษาและครูมหี น้าทีใ่ นการสร้างหลักสูตรและกิจกรรมทีต่ อบโจทย์สงิ่ หล่านี้
คือ (1) Learn to Live เรียนเพื่อจะรูจ้ กั ใช้ชวี ติ อยู่บนโลก (2) Learn to Love สอนให้เด็กรูจ้ กั โลก รัก
คนอื่น รักตนเอง (3) Learn to Learn สอนให้เด็กรูว้ ่าทาไมเราจึงต้องเรียน เรียนทีไ่ หน เรียนอย่างไร
เรียนเมื่อไหร่ เรียนกับใคร และเรียนแล้วจะไปใช้ทาอะไร และ (4) Love to Learn เด็กรักทีจ่ ะเรียนรู้
ไปตลอดชีวติ โดยกระบวนการเรียนรูต้ ้องมีลกั ษณะของการให้เด็กไปท่องโลก เมื่อมีประสบการณ์ก็
กล้าทีจ่ ะแชร์ให้คนอื่นทราบและต้องสร้างให้เขาเป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญในด้านใดด้านหนึ่ง ทาอย่างไรให้เกิด
วงจรการเรียนรูแ้ บบนี้กบั เด็กของเรา
การเรียนไม่ใช่แค่การเรียนในระบบ แต่ต้องเชื่อมทัง้ ในระดับ ท้องถิน่ (Local) และระดับโลก
(Global) เทคโนโลยีจะทาให้ลดข้อจากัดในการเรียนรู้ อุปกรณ์การเรียนการสอนจะทาให้เกิดการสื่อ
6
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

แบบหลายทาง คือเด็ก ครู และผูป้ กครอง พ่อแม่อาจจะต้องเข้ามาเรียนการเลีย้ งลูกและต่อไประบบ


การศึกษาจะต้องมีผเู้ ชีย่ วชาญปญั หาในแต่ละด้านเข้ามาช่วยให้คาแนะนา ผนึกกาลังผ่านเทคโนโลยี
นอกห้องเรียนและในห้องเรียน นอกระบบ ในระบบ ทาให้เด็กฉลาด แข็งแรง และอยู่รอด (สุวทิ ย์
เมษินทรีย,์ 2555)
นิสดารก์ เวชยานนท์ (2554) ได้สรุปความแตกต่างระหว่างฐานคติด้านต่างๆในศตวรรษที่
20 และ 21 ว่ามีความแตกต่างต่างกัน โดยสังคมและเศรษฐกิจในศตวรรษที่ 21 จะมีลกั ษณะของการ
พึง่ พาความรูข้ องคนมากกว่าในอดีต คนถูกมองเป็ นสินทรัพย์ทม่ี คี ุณค่า จาเป็ นต้องได้รบั การพัฒนา
ส่วนลักษณะงานจากเดิมที่ต่างคนต่างทาถูกนามาบูรณาการมากขึน้ เพราะจาเป็ นต้องอาศัยความรู้
และทักษะหลายๆ อย่าง เป้าหมายขององค์การเปลี่ยนจากการมุ่งเน้ นผู้ถือหุ้น (Shareholder) ได้
ขยายไปกลุ่มต่างๆ มากขึน้ รวมทัง้ ประชาชน (Stakeholder) ซึ่งความแตกต่างของแนวคิดและฐาน
คติในยุคศตวรรษที่ 21 สรุปได้ดงั ตารางที่ 1

ตารางที่ 1: ความแตกต่างของแนวคิ ดและฐานคติ ระหว่างศตวรรษที่ 20 และศตวรรษที่ 21


ฐานคติ เกี่ยวกับ ศตวรรษที่ 20 ศตวรรษที่ 21
คน (People) คนเป็ นค่าใช้จ่ายทีต่ อ้ งกากับและ คนเป็ นสินทรัพย์ทค่ี วรค่าแก่การรักษา
ควบคุม และพัฒนา
งาน (Work) แบบแยกส่วน ต่างคนต่างทางานของ แบบประสานความร่วมมือ อาศัย
ตนเอง ความรูเ้ ป็ นฐานเป็ นงานโครงการ
เทคโนโลยี (Technology) ถูกออกแบบเพื่อควบคุมการทางาน บูรณาการเทคโนโลยีเข้ากับระบบ
และลดข้อผิดพลาดทีเ่ กิดจากมนุษย์ให้ สังคมเพื่อให้เกิดการทางานบน
เหลือน้อยทีส่ ดุ ฐานความรู้

ภาวะผูน้ า (Leadership) ผูจ้ ดั การอาวุโสและชานาญการเทคนิค ผูน้ าอยู่ในทุกระดับขององค์การ


เป้าหมายขององค์กร (Goals) มุ่งเน้นผลตอบแทนของผูถ้ อื หุน้ มุ่งเน้นการสร้างคุณค่าให้แก่ผมู้ สี ว่ นได้
ส่วนเสียทุกกลุ่มขององค์การ
ทีม่ า: นิสดารก์ เวชยานนท์ (2554)

ทัง้ นี้ การพัฒนาด้านการศึกษามีความเกีย่ วข้องกับการพัฒนาคนและสังคมอย่างควบคู่กนั ไป


และยากที่จะแยกออกจากกัน ซึ่งในประเด็นนี้ สุวรรณี คามัน่ และคณะ (2551) ได้กล่าวว่า ทาง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ให้ความสาคัญกับเรื่องการพัฒนาคน
และองค์ความรู้ ซึง่ เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาทุนทางสังคมของไทย

7
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

“ทุนทางสังคม เกิดจากการรวมตัว ร่วมคิด ร่ว มทําบนฐานของความไว้เนื้อเชือ่ ใจ สายใย


ผูกพัน และวัฒนธรรมทีด่ งี ามของสังคมไทยผ่านระบบความสัมพันธ์ทมี ่ กี ารสะสมในลักษณะเครือข่าย
ขององค์ประกอบหลัก ได้แก่ คน สถาบัน วัฒนธรรม และองค์ความรู้ ซึง่ จะเกิดเป็ นพลังในชุมชนและ
สังคม”
นอกจากนี้ สุวรรณี คามัน่ และคณะ (2551) ยังชีว้ ่ามีปจั จัยและแนวโน้มทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้
และจะส่งผลกระทบต่อทุนทางสังคมและ ทุนมนุษย์ของไทยอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ อาทิ ความก้าวหน้า
ของเทคโนโลยี / การสื่อ สาร การเคลื่อนย้ายคนอย่างเสรี การก้าวสู่สงั คมหลังฐานความรู้ การ
ขยายตัวของเมือง ฯลฯ ดังนัน้ จึงมีประเด็นทีถ่ อื เป็ นความท้าทายต่อการพัฒนาทุนมนุ ษย์และทุนทาง
สังคมในอนาคต ดังนี้
1. การพัฒนาทุนมนุษย์และทุนทางสังคมเพื่อเพิม่ ผลิตภาพทางสังคม (Social Productivity)
โดย
1.1 สร้างความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางสังคม ทุนมนุ ษย์ และทุนภูมปิ ญั ญา โดยกาหนด
ค่านิยมพื้นฐานร่วม (Core Value) สาหรับสังคมไทยและคนไทยทุกคนในการสร้างเสริมและใช้
ประโยชน์ทุนทางสังคม ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่การเพิม่ ผลิตภาพทางสังคม อันเป็ นพลัง
สาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ
1.2 เร่งพัฒนาทุนมนุษย์ของประเทศไทยไปสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยนอกจากทุนมนุ ษย์
ต้องรูว้ ่าในโลกนี้มอี ะไร (Knowing) รูแ้ ล้วนามาคิดต่อยอดได้หรือไม่ (Thinking) นาความคิดนี้ไปใช้ใน
เชิงพาณิชย์ได้ห รือไม่ (Serving) และนาความรู้ท่มี แี ละได้มานัน้ มาเป็ นประสบการณ์ได้หรือไม่
(Experiencing) แล้ว นัน้ ต้อ งมีจติ สาธารณะ 5 ประการ คือ จิต แห่ง วิทยาการ จิต แห่งการ
สังเคราะห์ จิตแห่งการสร้างสรรค์ จิตแห่งความเคารพ จิตแห่งคุณธรรม ซึง่ ล้วนเป็ นมิตทิ เ่ี ป็ นต้นทาง
ของการสร้างทุนทางสังคมทีน่ ามาเติมเต็มในกระบวนการพัฒนาทุนมนุ ษย์ให้มภี ูมคิ ุม้ กันพร้อมรับการ
เปลี่ยนแปลง และที่สาคัญ ควรพึงตระหนักว่า เป็ นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทุกฝ่ายและทุกระดับของ
กระบวนการพัฒนาประเทศ
1.3 เสริม สร้า งบทบาทครอบครัว ชุ ม ชน ศาสนสถานให้ เ ข้ม แข็ง มีส ัม พัน ธ ภาพที่
ดี ตลอดจนการส่ งเสริมบทบาทสื่อ ในการน าเสนอข้อ มูล ข่าวสารอย่างสร้างสรรค์เ พื่อ รองรับการ
เปลีย่ นแปลง ควบคู่กบั การสร้างกระแสให้เกิดการรับรูแ้ ละความตระหนักถึงการเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ
ทีจ่ ะมีผลกระทบต่อวิถชี วี ติ ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศ
1.4 ขยายฐานและพัฒนาต่อยอดการมีส่วนร่วมของชุมชนและการเป็ นเครือข่ายทีเ่ ข้มแข็ง
ให้ครอบคลุ มทุกพื้นที่ทวประเทศ
ั่ ให้ชุมชนสามารถกาหนดตาแหน่ งการพัฒนาชุมชน (Market
Positioning) ทีบ่ ่งบอกจุดหมายปลายทางการพัฒนาตัวเองบนฐานของทุนทีม่ อี ยูใ่ นชุมชน

8
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2. การสร้างพลังให้เกิดทุนทางสังคมทีเ่ ข้มแข็งเพื่อการพัฒนาทุนมนุ ษย์ทต่ี อบสนองความ


ต้องการกาลังคนในอนาคต โดย เสริมสร้างปจั จัยแวดล้อมที่เกื้อหนุ นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพทุน
มนุษย์และทุนทางสังคมทีเ่ ข้มแข็งในทุกมิตทิ ส่ี ามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวกรวดเร็ว พร้อมทัง้ ทบทวน
และปรับปรุงนโยบาย กฎระเบียบ กฎหมาย รวมถึงวัฒนธรรมบางอย่างทีจ่ ะขัดขวางการปฏิบตั ติ าม
กฎหมายและระเบียบวินยั อาทิ ระบบอุปถัมภ์ ซึง่ จะเป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาทุนมนุ ษย์และทุนทาง
สังคม
ความรู้และการจัดการความรู้
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ นี้ จะอยู่ภายใต้โลกยุคศตวรรษที่ 21 คือ การเปลี่ยนแปลงที่ม ี
ลักษณะทัง้ โลก (Global) ในสังคมแบบใหม่ทเ่ี รียกว่า สังคมสารสนเทศ (Information Society) สังคม
แห่งการเรียนรู้ (Knowledge Society) หรือเป็ นสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge–based
Society and Economy) ลักษณะที่เกิดขึ้นดังกล่าวจะส่งผลทาให้สงั คมที่มคี วามรู้กลายมาเป็ น
ทรัพยากรทีม่ คี ่ายิง่ การพัฒนาความรูใ้ หม่ ๆ เพื่อการแข่งขันและเสริมสร้างความเข้มแข็งจะเป็ นฐาน
ทีส่ าคัญอย่างยิง่ ของกระบวนการพัฒนาประเทศ
พรธิดา วิเชียรปญั ญา (2547) ได้ระบุลกั ษณะทีส่ าคัญของระบบเศรษฐกิจฐานความรูท้ ส่ี าคัญ
มี 4 มิติ ได้แก่
1) นวัตกรรมและการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีนามาซึง่ การเปลีย่ นแปลงความรู้
2) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึง่ เป็ นบุคคลทีม่ คี วามสาคัญต่อการสร้าง การกระจาย และ
การนาความรูไ้ ปใช้
3) เทคโนโลยีส ารสนเทศและโทรคมนาคม ที่เ ป็ น โครงสร้า งพื้น ฐานส าคัญ ส าหรับ การ
ประมวลผล การเก็บรักษา การถ่ายโอน และการสื่อสารข้อมูลทัง้ ทีอ่ ยู่ในรูปของข้อความ
เสียงและภาพ
4) สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ อาทิ นโยบายทางกฎหมาย และเศรษฐกิจของรัฐบาล
การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) มีความสาคัญ จึงต้องให้ความสาคัญ
กับระบบในการค้นหา สร้าง รวบรวม จัดเก็บ เผยแพร่ ถ่ายทอด แบ่งปนั และใช้ความรู้ เพื่อเสริมการ
พัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ (Human Resource Development) ตลอดจนช่วยสร้างศักยภาพด้านทุน
มนุษย์ (Human Capital) เป็นหัวใจและกลไกสาคัญของกระบวนการพัฒนา
ในปจั จุบนั หลายองค์การได้กาหนดให้การพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์เป็ นกลยุทธ์หนึ่งที่ทาให้
องค์ ก ารเกิด ความได้ เ ปรีย บในการแข่ ง ขัน โดยการพัฒ นาให้ ค นในองค์ ก ารมีท ัก ษะความรู้
ความสามารถในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด อีกทัง้ พัฒนาให้บุค คล
เหล่านัน้ เกิดการเรียนรูใ้ นงานได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ (พรชิดา วิเชียรปญั ญา, 2547)

9
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ฮิเดโอะ ยามาซากิ ได้อ้างถึง สถาบันเพิม่ ผลผลิต (2548) ว่าได้ให้คาจากัดความของคาว่า


“ความรู”้ โดยแสดงเป็นแผนภาพปิรามิด

ภาพที่ 1: ข้อมูล สารสนเทศ ความรูแ้ ละปัญญา

ปัญญา

ความรู้
Knowledge
สารสนเทศ
Information
ข้อมูล

ทีม่ า: สถาบันเพิม่ ผลผลิต (2547)

ข้อมูล (Data) เป็ นข้อมูลดิบต่าง ๆ เป็ นข้อเท็จจริงทีย่ งั ไม่ได้ผ่านการแปลความหมาย ส่วน


สารสนเทศ (Information) นัน้ เป็ น ข้อ มูล ที่ผ่ านกระบวนการเรีย บเรียง ติดตาม วิเ คราะห์ และให้
ความหมาย ส่ ว นความรู้ (Knowledge) เกิด จากกระบวนการที่บุ ค คลรับ รู้ข้อ มูล ข่า วสารผ่ า น
กระบวนการความคิด เปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับความรูอ้ ่นื จนเกิดเป็ นความเข้าใจ และมีการนาไปใช้
และที่อยู่บนยอดสูงสุด คือ ความรู้ (Knowledge) เป็ นสิ่งที่ฝ งั อยู่ในตัวบุ คคลจนเกิดเป็ นปญั ญา
(Wisdom) ก่อให้เกิดประโยชน์ในการนาไปใช้

10
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นอกจากนี้ ความรูย้ งั สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ


- Tacit Knowledge: ความรูท้ ่อี ยู่ในตัวของแต่ละบุคคลเกิดจากประสบการณ์ การสัง่
สมการเรียนรู้ หรือพรสวรรค์ต่าง ๆ ซึง่ สื่อสาร หรือถ่ายทอดในรูปของตัวเลข สูตร หรือ
ลายลักษณ์อกั ษรได้ยาก ความรูช้ นิดนี้พฒั นา และแบ่งปนั กันได้ เป็ นความรูท้ ก่ี ่อให้เกิด
ความได้เปรียบในการแข่งขัน
- Explicit Knowledge: ความรูท้ เ่ี ป็นเหตุเป็นผล สามารถรวบรวม และถ่ายทอดออกมาใน
รูปแบบต่าง ๆ ได้ เช่น หนังสือ คู่มอื เอกสาร และรายงานต่าง ๆ ซึ่งทาให้คนสามารถ
เข้าถึงได้งา่ ย

ในเรื่องของบทบาทการศึกษาที่มคี วามสาคัญต่อการพัฒนาทุนมนุ ษย์นัน้ นับว่ามีบทบาทที่


แตกต่างกันในแต่ละยุคสมัย วิจารณ์ พานิช (2555) ได้สรุปประเด็นจากหนังสือ 21st Century Skills:
Learning for Life in Our Times ซึ่งระบุบทบาทของการศึกษาที่แตกต่างกันในแต่ละยุค
เปรียบเทียบกันตัง้ แต่ยุคเกษตรกรรม ยุคอุตสาหกรรม และยุคปจั จุบนั ทีเ่ รียกว่า ยุคความรู้ ไว้ใน 4
บทบาท อันได้แก่ (1) เพื่อการทางานและเพื่อสังคม (2) เพื่อฝึ กฝนสติปญั ญาของตน (3) เพื่อทา
หน้าทีพ่ ลเมือง และ (4) เพื่อสืบทอดจารีตและคุณค่า (ดูตารางที่ 2)

11
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 2: บทบาทของการศึกษาในยุคเกษตรกรรม ยุคอุตสาหกรรม และยุคความรู้


เป้ าหมายของ ยุคเกษตรกรรม ยุคอุตสาหกรรม ยุคความรู้
การศึกษา
เพื่อการทางาน ปลูกพืชเลีย้ งสัตว์ผลิต รับใช้สงั คมผ่านงานที่ มีบทบาทต่อสารสนเทศ
และเพื่อสังคม อาหารเลีย้ งครอบครัวและ ต้องการความชานาญ ของโลกและสร้าง
คนอื่น สร้างเครื่องมือ พิเศษประยุกต์ใช้ นวัตกรรมแก่บริการใหม่ๆ
เครื่องใช้มบี ทบาทใน วิทยาศาสตร์และ เพื่อสนองความต้องการ
เศรษฐกิจครัวเรือน วิศวกรรมศาสตร์เพื่อ และแก้ปญั หามีบทบาทใน
ความก้าวหน้าของ เศรษฐกิจโลก
อุตสาหกรรมมีบทบาทต่อ
ชิน้ ส่วนหนึ่งของห่วงโซ่
การผลิตและการกระจาย
สินค้าทีย่ าว
เพื่อฝึกฝนสติ เรียนวิชาพืน้ ฐาน 3Rs คือ เรียนรู้ “อ่านออกเขียนได้” พัฒนาตนเองด้วยความรู้
ปญั ญาของตน การอ่านออก เขียนได้ และคิดเลขเป็ น” (เน้น ผ่านเทคโนโลยีและ
และคิดเลขเป็ น (Reading, จานวนคนมากทีส่ ดุ เท่าที่ เครื่องมือเพิม่ ศักยภาพ
Writing and Arithmetic) จะทาได้เรียนรูท้ กั ษะ ได้รบั ผลประโยชน์จากการ
หากได้เรียน สาหรับโรงงาน การค้าและ ทีง่ านบนฐานความรูแ้ ละผู้
เรียนการเกษตรกรรมและ งานในอุตสาหกรรม ประกอบการขยายตัวและ
ทักษะทางช่าง (สาหรับคนส่วนใหญ่) เชื่อมโยงไปทัวโลกใช้

เรียนรูท้ กั ษะด้านการ เทคโนโลยีเป็ นเครื่องมือ
จัดการ วิศวกรรม อานวยความสะดวกใน
และวิทยาศาสตร์(สาหรับ การเรียนรูต้ ลอดชีวติ
คนชัน้ สูงส่วนน้อย)

12
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 2: บทบาทของการศึกษาในยุคเกษตรกรรม ยุคอุตสาหกรรม และยุคความรู้ (ต่อ)


เป้ าหมายของ ยุคเกษตรกรรม ยุคอุตสาหกรรม ยุคความรู้
การศึกษา
เพื่อทาหน้าที่ ช่วยเหลือเพื่อนบ้าน มี เข้าร่วมกิจกรรมของ เข้าร่วมในการตัดสินใจ
พลเมือง ส่วนร่วมในกิจกรรมของ องค์กรทางสังคมเพื่อ ของชุมชนและการ
หมู่บา้ นสนับสนุนบริการ ประโยชน์ของชุมชนเข้า ตัดสินใจทางการเมือง ทัง้
ในท้องถิน่ และงานฉลอง ร่วมกิจกรรมด้านแรงงาน โดยตนเองและผ่านทาง
ต่างๆ และการเมือง เข้าร่วม กิจกรรมออนไลน์ เข้าร่วม
กิจกรรมอาสาสมัครและ กิจกรรมของโลกผ่านทาง
บริจาคเพื่อการพัฒนา ชุมชนออนไลน์ และ
บ้านเมือง Social Network รับใช้
ชุมชนท้องถิน่ ไปจนถึง
ระดับโลกในประเด็น
สาคัญๆ ด้วยเวลาและ
ทรัพยากรผ่าน
ทางการสือ่ สารและ Social
Network
เพื่อสืบทอดจารีต ถ่ายทอดความรูแ้ ละ เรียนรูค้ วามรูด้ า้ นการค้า เรียนรูค้ วามรูใ้ นสาขา
และคุณค่า วัฒนธรรม เกษตรกรรมไป ช่าง และวิชาชีพ และ อย่างรวดเร็วและ
ยังคนรุ่นหลังอบรมเลีย้ งดู ถ่ายทอดสูค่ นรุ่นหลังธารง ประยุกต์ใช้หลักวิชานัน้
ลูกหลานตามจารีต คุณค่าและวัฒธรรมของตน ข้ามสาขา เพื่อสร้าง
ประเพณีของชนเผ่า ในท่ามกลางความ ความรูใ้ หม่และนวัตกรรม
ศาสนาและความเชื่อของ แตกต่างหลากหลาย ของ สร้างเอกลักษณ์ของคน
พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ชีวติ คนเมืองเชื่อมโยงกับ จากจารีตวัฒนธรรมที่
คนในวัฒนธรรมอื่นและ แตกต่างหลากหลาย และ
ภูมภิ าคอื่น ตามการ เคารพจารีตและวัฒนธรรม
ขยายตัวของการคมนาคม อื่นเข้าร่วมกิจกรรมข้าม
และการสือ่ สาร วัฒนธรรมผสมผสานจารีต
ทีแ่ ตกต่างหลากหลายและ
ความเป็ นพลเมืองโลก สู่
จารีตใหม่ และสืบทอดสู่
คนรุ่นต่อๆ ไป
ทีม่ า: วิจารณ์ พานิช (2555)

13
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สาหรับในโลก “หลังสังคมฐานความรู้” จะเป็ นโลกที่ประกอบด้วยมนุ ษย์ท่ีอยู่ด้วยกันอย่าง


ยังยื
่ นและเป็ นสุ ข จะเป็ น โลกที่ส ัมพัน ธภาพของผู้ค นได้แผ่ ข ยายออกไปจาก Many2Many สู่
Mind2Mind จะเป็ นโลกทีป่ รับเปลี่ยนรูปแบบปฏิสมั พันธ์ของผู้คนจาก ต่างคนต่างปิด ไปสู่ ต่างคน
ต่างเปิ ด จะเป็ นโลกที่ก้าวเลยความคิดของการแข่งขันไปสู่การร่วมรังสรรค์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การ
ร่วมรังสรรค์ทางสังคม ไม่ใช่การผลิตในเชิงพาณิชย์เพียงอย่างเดียว จะเป็ นโลกทีร่ งั สรรค์ภูมปิ ญั ญาที่
ก้าวเลยปริมณฑลของภูมปิ ญั ญาปจั เจกบุคคลสู่ภูมปิ ญั ญามหาชน โลก “หลังสังคมฐานความรู”้ เป็ น
โลกทีเ่ ปลีย่ นวิถชี วี ติ ของมนุ ษย์จากการพึง่ พิงไปสู่สองโลกทีเ่ สริมกันระหว่าง ความเป็ นอิสระและการ
พึง่ พาอาศัยกัน (สุวทิ ย์ เมษินทรีย,์ 2556)

2.2 ลักษณะของกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริ บทการเปลี่ยนแปลงของโลกใน


ศตวรรษที่ 21

วิจารณ์ พานิช (2554) ได้สรุปลักษณะของการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century


Learning) ซึง่ จะเป็ นพื้นฐานที่สาคัญของการเรียนรูแ้ ละเป็ นการเตรียมความพร้อมให้กบั ผูเ้ รียน ว่ามี
ลักษณะเด่นทีส่ าคัญ ได้แก่
- การสอนให้น้อย เรียนรูใ้ ห้มาก (Teach less, Learn more)
- การไปไกลกว่าสาระวิชา (Beyond Subject Matters)
- การเรียนรูด้ ว้ ยตัวผูเ้ รียนโดยตรง (Student-directed Learning)
- การร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน (Collaborative > Competitive)
- การเรียนรู้ด้ว ยการทางานเป็ นทีมมากกว่าการเรียนรู้เ ฉพาะคน (Team > Individual
Learning)
- กระบวนทัศน์ใหม่แห่งการประเมินผล กล่าวคือ ไม่เน้นถูก-ผิด เน้นการประเมินทีม และ
ข้อสอบไม่เป็ นความลับ (New paradigm of evaluation: Beyond standard, evaluate
team, open (not secret) approach)

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้อง “ก้าวข้ามสาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะเพื่อการ


ดารงชีวติ ในศตวรรษที่ 21” ( 21st Century Skills) ทีค่ รูสอนไม่ได้ นักเรียนต้องเรียนเอง หรือพูดใหม่
ว่าครูต้องไม่สอน แต่ต้องออกแบบการเรียนรู้ และอานวยความสะดวก (Facilitate) ในการเรียนรู้ ให้
นักเรียนเรียนรูจ้ ากการเรียนแบบลงมือทา แล้วการเรียนรูก้ ็ จะเกิดจากภายในใจและสมองของตนเอง
การเรียนรูแ้ บบนี้เรียกว่า PBL (Project-Based Learning) สาระวิชาก็มคี วามสาคัญ แต่ไม่เพียงพอ

14
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สาหรับการเรียนรูเ้ พื่อมีชวี ติ ปจั จุบนั การเรียนรูส้ าระวิชา (Content หรือ Subject Matter) ควรเป็ น
การเรียนจากการค้นคว้าเองของศิษย์ โดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมทีช่ ่วยให้นักเรียน
แต่ละคนสามารถประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรูข้ องตนเองได้ (วิจารณ์ พานิช, 2555)
นอกจากนี้ วิจารณ์ พานิช (2554) ได้ชป้ี ระเด็นว่า คุณภาพของระบบการเรียนรู้ในศตวรรษที่
21 ต้องเป็นการเรียนรูท้ ไ่ี ปให้ถงึ สิง่ ทีส่ าคัญ 4 ประการ ได้แก่
1) ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills)
2) การเรียนรูเ้ พื่อการเปลีย่ นแปลง (Transformative Learning)
3) มีทกั ษะแห่งการเปลีย่ นแปลงและภาวะผูน้ า (Change Agent Skills, Leadership)
4) ความเป็นพลเมือง

ภาพที่ 2 : กรอบความคิ ดเพื่อการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 โดยภาคีเพือ่ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

ทีม่ า: Partnership for 21st Century Skills (P21) (2009)

15
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาคีเพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 หรือ Partnership for 21st Century Skills (P21) ซึง่ เป็ น
ภาคีในประเทศสหรัฐอเมริกาทีเ่ ป็นความร่วมมือระหว่างบริษทั เอกชนชัน้ นาขนาดใหญ่ องค์กรวิชาชีพ
ระดับ ประเทศ และส านัก งานด้า นการศึก ษาของรัฐ มีจุดประสงค์ใ นการเตรีย มความพร้อ มของ
นักเรียนสหรัฐอเมริกาส าหรับศตวรรษที่ 21 ได้มขี ้อเสนอแนะว่ากรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ ใ น
ศตวรรษที่ 21 ควรมีองค์ประกอบทีส่ าคัญ คือ
 วิชาแกนและแนวคิดสาคัญในศตวรรษที่ 21 (Core Subjects- 3Rs and 21st Century
Themes
 ทักษะด้านการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills- 4Cs) Critical
thinking Communication Collaboration Creativity
 ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information, Media, and Technology
Skills)
 ทักษะชีวติ และอาชีพ (Life and Career Skills)
 ระบบสนับสนุน (Support System)
โดยมีรายละเอียดดังนี้
วิ ชาแกนและแนวคิ ดสาคัญในศตวรรษที ่ 21 (Core Subjects- 3Rs and 21st Century
Themes)
สาระวิชาหลัก
- ภาษาแม่ และภาษาโลก - วิทยาศาสตร์
- ศิลปะ - ภูมศิ าสตร์
- คณิตศาสตร์ - ประวัตศิ าสตร์
- เศรษฐศาสตร์ - รัฐ และความเป็ นพลเมืองดี

หัวข้อสําหรับศตวรรษที ่ 21
- ความรูเ้ กี่ยวกับโลก - ความรูด้ า้ นการเป็นพลเมืองดี
- ความรูด้ า้ นการเงิน - ความรูด้ า้ นสุขภาพ
เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการ - ความรูด้ า้ นสิง่ แวดล้อม
เป็นผูป้ ระกอบการ

16
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3Rs (Reading, Writing, Arithmetic) คือ การอ่านออก เขียนได้ และคิดเลขเป็น


ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills- 4Cs)
Critical Thinking Communication Collaboration Creativity
- การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและการแก้ปญั หา
- การสื่อสาร
- การร่วมมือ
- ความริเริม่ สร้างสรรค์และนวัตกรรม
ทักษะด้านสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี (Information, Media, and Technology
Skills)
- ทักษะด้านสารสนเทศ
- ทักษะเกีย่ วกับสื่อ
- ทักษะด้านเทคโนโลยี
ทักษะชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills)
- ความยืดหยุน่ และปรับตัว
- การริเริม่ สร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
- ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
- การเป็ นผูส้ ร้างหรือผลิต (Productivity) และความรับผิดรับชอบ (Accountability)
- ภาวะผูน้ าและความรับผิดชอบ (Responsibility)
ระบบสนับสนุน (Support System)
โรงเรียนและครูตอ้ งจัดระบบสนับสนุ นการเรียนรูต้ ่อไปนี้
- มาตรฐานและการประเมินในยุคศตวรรษที่ 21
- หลักสูตรและการเรียนการสอนสาหรับศตวรรษที่ 21
- การพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21
- สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษที่ 21

17
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ตามรูปกรอบความคิดเพื่อการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 โดยภาคี


เพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 สามารถแจกแจงออกได้เป็ น 3Rs + 8Cs ทัง้ นี้ วิจารณ์ พานิช (2556)
ได้เพิม่ อีก 2Ls เข้าไปอีกด้วย คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning) และภาวะผูน้ า (Leadership) เป็ น
3Rs + 8Cs + 2Ls
ภาพที่ 3: ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

ทีม่ า: วิจารณ์ พานิช (2556) ปรับปรุงจากภาคีเพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21

ในศตวรรษที่ 21 นี้ การเรียนรู้ยงั จะต้องเป็ นการเรียนรูเ้ พื่อการเปลี่ยนแปลง สาหรับคา


นิยามของการเรียนรูเ้ พื่อการเปลีย่ นแปลง (Transformative Learning) นัน้ สุรเชษฐ เวชชพิทกั ษ์
(2555) ได้สรุปความตามทัศนะของเมซิโรว์ (Mezirow) ว่าหมายถึง กระบวนการสร้าง “ความหมาย
ใหม่” ให้แก่ประสบการณ์เดิม เพื่อชี้นาการกระทาของตนในอนาคต โดยมีองค์ประกอบหลัก 4
ประการ ได้แก่ ประสบการณ์ (Experience) การใคร่ครวญด้วยวิจารณญาณ (Critical Reflection)
18
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

วาทกรรมที่เ กิดจากการใคร่ค รวญ (Reflective Discourse) และการกระท า (Action) ส่ ว น


กระบวนการเรียนรูเ้ พื่อการเปลีย่ นแปลงทีเ่ มซิโรว์เสนอประกอบด้วย 10 ขัน้ ได้แก่ การให้ผเู้ รียนได้
เผชิญ กับ วิก ฤติก ารณ์ ท่ีไ ม่ เ ป็ น ไปตามมุ ม มองเดิม ของตน การตรวจสอบตนเอง การประเมิน
สมมติฐานเดิมของตนอย่างจริงจัง การเปิดใจยอมรับการเปลีย่ นแปลง การค้นหาทางเลือกใหม่ การ
วางแผนการกระทาใหม่ การหาความรูแ้ ละทักษะสาหรับการปฏิบตั ติ ามแผน การเริม่ ทดลองทาตาม
บทบาทใหม่ การสร้างความสามารถและความมันใจในบทบาทและความสั
่ มพันธ์ใหม่ และการบูรณา
การจนเป็นวิถชี วี ติ ใหม่ของตน
กิจกรรมทีต่ ่างกันจะทาให้เราจดจาสิง่ ทีไ่ ด้การเรียนรูต้ ่างกันด้วย ดังแสดงในปิรามิดแห่งการ
เรียนรู้ (Learning Pyramid) โดยทีก่ ารเรียนในห้องเรียน ด้วยการนัง่ ฟงั บรรยาย (Lecture) จะจาได้
เพียงร้อยละ 5 ขณะทีก่ ารอ่านด้วยตัวเอง (Reading) จะจาได้เพิม่ ขึน้ เป็ นร้อยละ 10 ส่วนการฟงั และ
ได้เ ห็น (Audiovisual) เช่ น การดู โ ทรทัศ น์ ฟ งั วิทยุ จ าได้ร้อ ยละ 20 การได้เ ห็น ตัว อย่า ง
(Demonstration) จะช่วยให้จาได้รอ้ ยละ 30 ทัง้ นี้ หากมีการได้แลกเปลีย่ นพูดคุยกัน (Discussion)
เช่น การพูดคุยแลกเปลี่ยนความรูก้ นั ในกลุ่ม จะช่วยให้จาได้ถงึ ร้อยละ 50 และถ้ามีการได้ทดลอง
ปฏิบตั เิ อง (Practice doing) จะจาได้ถงึ ร้อยละ 75 ส่วนวิธที ช่ี ่วยให้มกี ารเรียนรูแ้ ละจดจาได้มากทีส่ ุด
นัน้ คือ การได้สอนผูอ้ ่นื (Teaching) เช่น การติว หรือการสอน จะช่วยให้จาได้ถงึ ร้อยละ 90

ภาพที่ 4: ปิ รามิ ดแห่งการเรียนรู้ (Learning Pyramid)

Average student 5% Lecture


retention rates 10% Reading
20% Audiovisual
30% Demonstration

50% Discussion

75% Practice doing

90% Teach other

ทีม่ า: National Training Laboratories

19
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การศึกษาไทยในปจั จุบนั ยังคงเน้นเพียงการถ่ายทอดความรูไ้ ปสู่ผู้เรียน หรือการเรียนใน


ห้องเรียนด้วยการนัง่ ฟงั บรรยาย (Lecture) เป็ นหลัก ซึง่ การเรียนการสอนในรูปแบบนัน้ ไม่เพียงพอ
สาหรับในศตวรรษที่ 21 ฉะนัน้ ต่อไปนี้ การศึกษาเรียนรูข้ องไทยจะต้องนาไปสู่การส่งเสริมให้ผเู้ รียน
ได้คดิ วิเคราะห์ รูจ้ กั ที่จะแสดงความคิดเห็น ลงมือปฏิบตั ิ หาคาตอบให้มากขึน้ ซึ่งสอดคล้องกับใน
ทฤษฎีปิรามิดแห่งการเรียนรูใ้ นตรงฐานของปิรามิดทีร่ ะบุชช้ี ดั ว่า ผลสาเร็จของการเรียนรูน้ นั ้ จะต้อง
มีการแลกเปลี่ยนพูดคุยกัน (Discussion) มีการทดลองปฏิบตั ิ (Practice doing) และสอนผูอ้ ่นื ได้
(Teaching)

ทัง้ นี้ จากการทบทวนเอกสารงานวิจยั ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทาให้เห็นภาพรวมทีอ่ าจกล่าวได้


ว่า กระบวนการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 จาเป็นต้องมีการเปลีย่ นแปลงไปจากเดิมอย่างสิน้ เชิง และใน
ทีน่ ้ีจะขอกล่าวถึงรายละเอียดกระบวนการเรียนรูท้ ่มี คี วามโดดเด่น ได้รบั การกล่าวถึงมาก และเป็ น
พืน้ ฐานทีส่ าคัญของการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ได้แก่ การเรียนแบบรูจ้ ริง (Mastery Learning) การ
เรียนรูแ้ บบการสอนให้น้อย เรียนรูใ้ ห้มาก (Teach Less, Learn More) และการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
(Lifelong Learning)

การเรียนแบบรู้จริ ง (Mastery Learning)


การเรียนแบบรูจ้ ริง หรือการเรียนแบบรอบรู้ (Mastery Learning) นี้ ถูกนามาใช้ครัง้ แรก
ตัง้ แต่ ปี ค.ศ. 1920 โดย Washbume (1922, อ้างใน Block, 1971) แต่ไม่ได้รบั ความสนใจมาก
เท่าที่ค วร จนในช่วงปลายปี ค.ศ. 1950 จึงได้มกี ารรื้อฟื้ นแนวความคิดนี้ข้นึ มาใหม่ในรูปของ
โปรแกรมการเรียนการสอนโดยผู้เ รีย นสามารถใช้เ วลาเท่าที่ต้อ งการในการเข้าถึง แก่ นแท้ของ
บทเรียน พร้อมได้รบั ข้อมูลย้อนกลับที่แสดงถึงจุดบกพร่อ งและคาแนะนาในการปรับปรุงพัฒนา
ตนเองอย่างสม่าเสมอ (พงศ์ธารา วิจติ เวชไพศาล, 2551)
ท่ามกลางการเปลีย่ นแปลงทีร่ วดเร็ว ซับซ้อน และข้อมูลอันมหาศาลในศตวรรษที่ 21 นี้ การ
เรียนแบบรูจ้ ริง หรือการเรียนแบบรอบรูจ้ ะมีบทบาทสาคัญมากขึน้
องค์ประกอบของการเรียนรูแ้ บบรูจ้ ริง (Elements of Mastery) มีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ
1) เรียนรูท้ กั ษะองค์ประกอบย่อยของเรือ่ งนัน้ (ACQUIRE Component Skills)
2) เรียนรูว้ ธิ บี รู ณาการทักษะองค์ประกอบย่อยเข้าด้วยกัน (PRACTICE Integrating
Skills)
3) เรียนรูท้ จ่ี ะประยุกต์ใช้ทกั ษะให้เหมาะสมกับกาละเทศะ (KNOW WHEN TO APPLY
Skills)

20
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 5 : องค์ประกอบของการเรียนรูแ้ บบรูจ้ ริง (Elements of Mastery)

MASTERY

KNOW WHEN TO
APPLY Skills

PRACTICE
Integrating Skills

ACQUIRE
Component
Skills

ทีม่ า: Sysan A. Ambrose, et al. (2010)

Sysan A. Ambrose, et al. (2010) อ้างถึง Sprague and Stuart (2000) ว่า การระบุระดับ
ขัน้ ของการพัฒนาการเรียนรูแ้ บบรูจ้ ริง ประกอบด้วยขัน้ ตอนการพัฒนา 4 ขัน้ ตอนจาก “ผูไ้ ม่ร”ู้ ไปสู่
“ผูร้ จู้ ริง” โดยเริม่ จาก ขัน้ แรก คือ ไม่รวู้ ่า ไม่รู้ (UNCONSCIOUS Incompetence) สู่ขนั ้ ทีส่ อง คือ รู้
ว่า ไม่รู้ (CONSCIOUS Incompetence) ขัน้ ที่ส าม คือ ท าได้ โดยต้อ งตัง้ ใจท า (CONSCIOUS
Competence) และขัน้ สูงสุดทีเ่ รียกว่ารูจ้ ริง คือ “ทาได้ อย่างอัตโนมัติ” หรือทาได้โดยไม่ต้องตัง้ ใจทา
หรือไม่รตู้ วั (UNCONSCIOUS Competence)

21
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 6: ระดับขัน้ ของการพัฒนาการเรียนรูแ้ บบรูจ้ ริง

UNCONSCIOUS
Competence
CONSCIOUS
Competence

1 2 3 4

CONSCIOUS
Incompetence
UNCONSCIOUS
Incompetence

ทีม่ า: Sysan A. Ambrose, et al. (2010) ทีอ่ า้ งถึงใน Sprague and Stuart (2000)

อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการเรียนแบบรูจ้ ริง เป็ นสิง่ ที่สาคัญและแนวคิดนี้ได้เกิดขึน้ มาเป็ นระยะ


เวลานานพอสมควร แต่ทผ่ี ่านมาจนกระทังป ่ จั จุบนั ในกรณีของประเทศไทยยังนับว่าการเรียนแบบรู้
จริงยังมีเพียงส่วนน้อยทีน่ ามาปฏิบตั ิ เนื่องจากการเรียนรูแ้ บบรูจ้ ริงมักนามาซึ่งภาระแก่ครูอย่างมาก
วิจารณ์ พานิช ได้ระบุเนื้อหาจากหนังสือ Flip Your Classroom: Reach Every Student in
Every Class Every Day โดยชีถ้ งึ ลักษณะทีส่ าคัญของการเรียนแบบรูจ้ ริง ไว้ว่า
- ผูเ้ รียนสามารถเรียนเป็นกลุ่ม หรือเป็นรายบุคคล ตามอัตราเร็วทีเ่ หมาะสม
- ครูทาหน้าทีป่ ระเมินการเรียนรู้ (Formative Assessment) และวัดความเข้าใจของ
ผูเ้ รียน
- นักเรียนพิสูจน์ว่าตนเรียนรูว้ ตั ถุประสงค์นัน้ เข้าใจอย่างแท้จริง โดยสอบผ่าน
ข้อสอบ (Summative Assessment) นักเรียนทีย่ งั สอบไม่ผ่านวัตถุประสงค์ขอ้ ใดก็
จะได้รบั การช่วยเหลือ

22
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การเรียนรูแ้ บบรูจ้ ริง จะช่วยให้เด็กประมาณร้อยละ 80 สามารถเรียนเนื้อหาสาคัญได้


ขณะทีว่ ธิ สี อนแบบทีใ่ ช้กนั อยู่ในปจั จุบนั เรียนรูไ้ ด้ประมาณร้อยละ 20 นอกจากนัน้ ผลการวิจยั ยังชีว้ ่า
การเรียนแบบรูจ้ ริงช่วยเพิม่ ผลสัมฤทธิ ์ของผูเ้ รียน เพิม่ ความร่วมมือระหว่างผูเ้ รียน เพิม่ ความมันใจ่
ตนเองของผูเ้ รียน และช่วยให้โอกาสผูเ้ รียนได้แก้ตวั ในการเรียนรูใ้ ห้บรรลุผลสัมฤทธิ ์หากพลาดใน
รอบแรก
ป จั จุ บ ัน เทคโนโลยีส ารสนเทศมีบ ทบาทอย่ า งมากในการช่ ว ยให้ ก ารเรีย นแบบรู้จ ริง
ดาเนินการได้อย่างไม่ยากจนเป็ นภาระแก่ครู โดยช่วยสร้างห้องเรียนแบบกลับทาง เน้ นการทา
กิจกรรมการเรียนรูท้ ห่ี อ้ งเรียน เพื่อฝึกฝน ได้ลงมือปฏิบตั ิ ในขณะทีก่ ารเรียนวิชาความรูห้ รือทฤษฎี
นัน้ ผูเ้ รียนสามารถทาได้ในขณะทีอ่ ยู่ทบ่ี า้ น หรือนอกห้องเรียน และผูเ้ รียนสามารถทาความเข้าใจใน
บทเรียนต่าง ๆ ได้ซ้า ๆ เนื่องจากมีส่อื วีดที ศั น์ และในกรณีทผ่ี ู้เรียนยังไม่เข้าใจ ก็ยงั มีชวโมงเรี
ั่ ยนใน
ชัน้ เรียนให้ฝึกทาแบบฝึกหัดโดยสามารถปรึกษาหารือกับเพื่อนและครูคอยช่วยเหลือ เมื่อเป็ นเช่นนี้
แล้วห้องเรียนแบบกลับทาง จึงช่วยให้การเรียนแบบรูจ้ ริงไม่ใช่เรือ่ งยากทีจ่ ะทาให้เกิดขึน้ จริง

การเรียนรู้แบบการสอนให้น้อย เรียนรู้ให้มาก (Teach Less, Learn More)


จากการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับ การเรียนรูแ้ บบการสอนให้น้อย เรียนรูใ้ ห้มาก
(Teach Less, Learn More) สามารถสรุปแนวคิดสาคัญ ได้ดงั นี้
- แนวคิด “การสอนให้น้อย เรียนรูใ้ ห้มาก” เป็ นการเรียนการสอนทีด่ กี ว่า เนื่องจาก
ช่วยให้กาลังใจผูเ้ รียน และช่วยเตรียมความพร้อมให้กบั พวกเขาเหล่านัน้ สาหรับการ
ใช้ชวี ติ มากกว่าการสอนมาก หรือการสอนเพื่อสอบ
- “การสอนให้น้อย เรียนรูใ้ ห้มาก” มีเป้าหมายเพื่อสัมผัสหัวใจและให้กาลังใจ (Minds)
ผู้เ รีย น ทัง้ นี้ เพื่อ การเตรีย มผู้เ รีย นส าหรับการใช้ชีว ิต เน้ นหลักของการศึก ษา
(Core of Education) ว่าทาไมเราต้องสอน อะไรทีเ่ ราควรสอน และเราควรจะสอน
อย่างไร
- ต้องมีการเปลี่ยนแปลงจากการเน้นที่ปริมาณมาเป็ นการเน้ นที่คุณภาพการศึกษา
ทัง้ นี้ คุณภาพการศึกษาทีม่ ากขึน้ หมายถึงการมีปฏิสมั พันธ์ในชัน้ เรียน โอกาสของ
การแสดงออก ทักษะการเรียนรูต้ ลอดชีวติ และการสร้างลักษณะผ่านนวัตกรรมการ
สอน และกลยุทธ์วธิ กี ารสอนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
- ครู ผู้นาโรงเรียน และกระทรวงศึกษาธิการ มีบทบาทสาคัญในการทาให้แนวคิด
“การสอนให้น้อย เรียนรูใ้ ห้มาก” เกิดขึน้ จริงในทางปฏิบตั ิ

23
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning)


แนวคิด ของการเรีย นรู้ต ลอดชีว ิต (Lifelong Learning) เป็ น กลยุ ท ธ์ ใ นการศึก ษา
ที่ได้รบั การกล่าวถึงในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา หรือตัง้ แต่ปลายศตวรรษที่ 20 จนกระทังในต้ ่ น
ศตวรรษที่ 21 นี้ เนื่องจากประเทศต่าง ๆ ทัวโลกล้ ่ วนมีการตระหนักและเป็ นที่รบั รูก้ นั ว่า มีความ
จาเป็ นต้องให้ "โอกาสครัง้ ที่สอง" เพื่อ ให้ผู้ท่ไี ม่ได้รบั ประโยชน์ จากโอกาสทางการศึกษาที่มอี ยู่
ในช่ว งวัยเด็ก และเยาวชนได้มโี อกาสศึก ษาเรียนรู้อีกครัง้ นัน่ คือ ผู้ท่ไี ม่ได้รบั การศึกษาในระบบ
โรงเรียนตามปกติก็สามารถได้รบั โอกาสศึ กษาเรียนรู้ได้เช่นกัน ผ่านช่องทางของการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
OECD (2004) ชีว้ ่าแนวคิดการเรียนรูต้ ลอดชีวติ หรือ Lifelong Learning มีคุณสมบัตหิ ลักที่
สาคัญ 4 ประการ ได้แก่
1) มุมมองทีเ่ ป็ นระบบ (A Systemic View) : เป็ นลักษณะเด่นที่สุดของการเรียนรูต้ ลอด
ชีวติ การเรียนรูต้ ลอดชีวติ โดยได้พจิ ารณาทัง้ มุมมองด้านอุปสงค์และด้านอุปทาน ทัง้ นี้
โอกาสในการเรียนรูเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของระบบการเชื่อมต่อที่ครอบคลุมวงจรชีวติ ทัง้ หมด
และการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ประกอบไปด้วยทัง้ การเรียนรูใ้ นรูปแบบของการเรียนรูท้ ่เี ป็ น
ทางการและไม่เป็นทางการ
2) ศูนย์กลางการเรียนรูอ้ ยู่ทผ่ี เู้ รียน (Centrality of the Learner): การเรียนรูต้ ลอดชีวติ
จะต้อ งเปลี่ยนแปลงการให้น้ า หนัก ความสนใจจากการมุ่ง เน้ นด้านอุ ปทาน (Supply
Side) ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนจากการจัดโครงสร้างเชิงสถาบันการศึกษาอย่างเป็ น
ทางการ มาเป็ นการให้ความสนใจการเรียนรูใ้ นด้านความอุปสงค์ (Demand Side) เพื่อ
ตอบสนองความต้องการของผูเ้ รียนเป็นสาคัญ
3) แรงจูงใจในการเรียนรู้ (Motivation to Learn): แรงจูงใจในการเรียนรูเ้ ป็ นพื้นฐานที่
จาเป็ นส าหรับการเรียนรู้ต่ อ เนื่อ งตลอดชีว ิต กล่ าวคือ ต้อ งมีค วามสนใจที่จะพัฒนา
ศักยภาพสาหรับ “การเรียนรูท้ จ่ี ะเรียน" (Learning to Learn) ผ่านการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
และการกาหนดทิศทางให้ตนเองได้
4) มีว ตั ถุ ประสงค์ข องนโยบายการศึก ษาหลายประการ (Multiple Objectives of
Education Policy): เช่น ในด้านการพัฒนาส่ ว นบุค คล การพัฒนาองค์ค วามรู้
วัตถุประสงค์ทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม และช่วยจัดลาดับความสาคัญในกลุ่ม
วัตถุประสงค์เหล่านี้ดว้ ยการเปลีย่ นผ่านหลักสูตรให้สอดคล้องกับช่วงชีวติ ของบุคคล
นอกจากนี้ OECD (2004) ได้ช้วี ่า กรอบแนวคิดของการเรียนรู้ต ลอดชีว ิต ควรได้รบั
ความสาคัญในกระบวนการปฏิรูปนโยบาย โดยเสนอแนะแนวทางการปฏิบตั กิ ารอย่างเป็ นระบบ 5
ประการ ได้แก่
24
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- การปรับปรุงการเข้าถึง คุณภาพ และความเท่าเทียม


- สร้างทักษะพืน้ ฐานสาหรับทุกคน
- ตระหนักถึงความสาคัญของการเรียนรูท้ ุกรูปแบบ ไม่เฉพาะแค่เพียงการศึกษาทีเ่ ป็ น
ทางการ หรือหลักสูตรของการศึกษาเท่านัน้
- จัดสรรทรัพยากรให้มกี ารกระจายอย่างเหมาะสม ทบทวนการจัดสรรทรัพยากรให้
ทัวถึ
่ งทุกภาคส่วน สอดคล้องกับการเรียนรูต้ ลอดช่วงวัฎจักรชีวติ
- สร้างความเชื่อมันในการสร้
่ างความร่วมมือระหว่างเครือข่ายพันธมิตร

OECD (2007) ได้มกี ารศึกษาการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวติ โดยการปฏิรูประบบ


การศึก ษา ส าหรับนโยบายเพื่อ การส่ ง เสริมการเรียนรู้ต ลอดชีว ิต ในประเทศต่ าง ๆ จานวน 15
ประเทศ ซึง่ แสดงให้เห็นถึงการตอบสนองนโยบาย 9 นโยบาย อย่างไรก็ตาม ไม่มปี ระเทศใดทีใ่ ช้ทงั ้
9 นโยบายพร้อมกัน แต่ประเทศส่วนใหญ่พยายามผสมผสานการรวมกันนโยบายต่าง ๆ 9 นโยบาย
ทัง้ นี้ OECD (2007) ได้สรุปประเด็นสาคัญจากนโยบายเพื่อการส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ทีไ่ ด้ม ี
การดาเนินการในประเทศต่าง ๆ ไว้ดงั นี้
- ควรเพิ่ม ความยืด หยุ่ น และการตอบสนอง (Increased Flexibility and
Responsiveness): ด้ว ยการเพิ่ม ทางเลือ กเฉพาะมากขึ้น ในการฝึ ก อบรม และมี
ทางเลือ กที่ห ลากหลายมากขึ้น จุ ด เน้ น คือ การตอบสนองทัง้ ส่ ว นบุ ค คล สถาน
ประกอบการ และเศรษฐกิจ โดยแนวคิดนี้มุ่งเป้าหมายทีก่ ลุ่มบุคคล และแนวคิดผูเ้ รียน
เป็นศูนย์กลาง
- สร้างแรงจูงใจให้คนหนุ่ มสาวทีจ่ ะเรียนรู้ (Motivating Young People to Learn): เน้น
ความสาคัญของการประสบความสาเร็จในการศึกษาและฝึกอบรม จนกลายมาเป็ นระดับ
ความเชื่อ มันในทั
่ ก ษะพื้นฐาน น าเอาด้า นวิชาชีพ เข้าเป็ น ส่ ว นหนึ่ง ของหลัก สูต รใน
โรงเรียน
- ต้องสร้างการเชื่อมโยงการศึกษาและการทางาน (Linking Education and Work):
สะท้อ นถึง ระบบคุ ณ วุฒ ิท่ีมกี ารเชื่อ มโยงอย่างเข้ม แข็ ง ระหว่า งระบบการศึก ษาการ
ฝึกอบรมกับตลาดแรงงาน และระบบเศรษฐกิจ
- อานวยความสะดวกในการเข้าถึงระบบการรับรองคุณวุฒ ิ (Facilitating Open Access
to Qualifications): อาจหมายถึงการสร้างแนวทางที่เฉพาะเจาะจงในการมีอาชีพหรือ
การมีงานทา ตระหนักถึงความหลากหลายของความสาเร็จ และลดอุปสรรคที่กดี กัน
กลุ่มต่าง ๆ

25
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- สร้า งความหลากหลายในกระบวนการประเมิน (Diversifying Assessment


Processes): ทัง้ นี้อาจรวมถึงความต้องการรูปแบบการประเมินทีเ่ หมาะสม สอดคล้อง
กับวัตถุประสงค์ทต่ี งั ้ ไว้ และพยายามตระหนักรับรูถ้ งึ การเรียนรูป้ ระเภทต่าง ๆ ทัง้ หมด
- ทาให้ระบบคุณวุฒโิ ปร่งใส (Making the Qualifications System Transparent): ช่วยลด
ความซับ ซ้ อ น ช่ ว ยท าให้ ร ะบบง่ า ย เช่ น ลดความทับ ซ้ อ นกั น ระหว่ า งคุ ณ วุ ฒ ิ
(Qualification)
- ทบทวนการระดมทุนและเพิม่ ประสิทธิภาพให้เพิม่ ขึน้ (Reviewing Funding and
Increasing Efficiency): ลดต้นทุน ทบทวนประสิทธิภาพ และขยายศักยภาพของ
ภาคเอกชนในการฝึกอบรม
- บริหารจัดการระบบคุณวุฒใิ ห้ดขี น้ึ (Better Managing the Qualifications System):
หมายถึงการมีการประสานงานกันระหว่างสถาบันต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้ดขี ้นึ และเพิม่
แผนงานการบริหารจัดการในส่วนท้องถิน่ มากขึน้

2.3 เป้ าประสงค์หลักของการจัดการศึกษา

การศึกษาของ OECD (2013) ได้สรุปภาพรวมของเป้าประสงค์หลักของการจัดการศึกษา


ของประเทศต่างๆ ทัวโลกว่
่ ามีจดุ เน้น 4 มิตทิ ส่ี าคัญ ได้แก่
1) การพัฒนาส่วนบุคคล
2) การยกระดับทักษะและสมรรถนะ
3) การสร้างโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียม
4) คุณค่าและทัศนคติ
จุดเน้นใน 4 มิตดิ งั กล่าว ได้นามาสู่การตัง้ เป้าประสงค์หลักของการจัดการศึกษาในด้าน
ต่างๆ ซึง่ มีนยั ต่อการวางนโยบาย โดยเป้าประสงค์ทม่ี กั ได้รบั ความสาคัญ ได้แก่
- ผลลัพธ์ทางการศึกษา เช่น อัตราการสาเร็จการศึกษา ระดับผลการดาเนินงาน คุณภาพ
ของผูท้ ไ่ี ด้เข้ารับการศึกษา
- ความเท่าเทียม / ความเสมอภาค เช่น การเข้าถึงการศึกษาทีม่ คี ุณภาพ
- ประสิทธิภาพของกระบวนการทางการศึกษา เช่น ระบบความรับผิดชอบและความ
โปร่งใส ระบบตรวจสอบคุณภาพการจัดการเรียนการสอน
- ความเพียงพอของบุคลากรทางการศึกษาทัง้ ในด้านปริมาณและคุณภาพ
- เป้าประสงค์เฉพาะอื่นๆ เช่น การขยายตัวทางการศึกษาระดับอาชีวศึกษา
26
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2.4 แนวทางพัฒนาการศึกษา

2.4.1 ประเด็นท้าทายของการจัดการศึกษาและทิ ศทางนโยบาย


จากเป้าประสงค์หลักของการจัดการศึกษาและประเด็นท้าทายดังกล่าว ได้นามาสู่การวาง
แนวทางการพัฒนาการศึกษาและทิศทางนโยบาย โดยความท้าทายและทิศทางนโยบายที่หลาย
ประเทศให้น้าหนักความสาคัญ ได้แก่
- การใช้วธิ ีการบูรณาการอย่างองค์รวม: เพื่อบรรลุว ตั ถุประสงค์ท่ตี งั ้ ไว้ สามารถเสริม
ประสานกันระหว่ างองค์ประกอบต่ างๆ หลีก เลี่ยงความทับซ้อ น และป้อ งกันการไม่
สอดคล้องกันของวัตถุประสงค์การพัฒนาระบบการศึกษา
- เน้นการประเมินผลการศึกษาทีอ่ งิ กับเป้าประสงค์ทางการศึกษา: โดยเน้นการประเมินที่
สอดรับเข้ากับเป้าประสงค์และวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของนักเรียน ทัง้ นี้จะต้องมีการ
ออกแบบที่เ หมาะสมสอดคล้อ งกับวัตถุ ประสงค์การประเมิน และสร้างความเข้าใจที่
ชัดเจนเรือ่ งเป้าประสงค์การศึกษากับตัวแทนโรงเรียน
- เน้นการพัฒนาประสบการณ์ในห้องเรียน: จุดประสงค์ของการประเมินคือการมุ่งสู่การ
พัฒนาการเรียนรูข้ องนักเรียน และประสบการณ์จากห้องเรียน
- หลีกเลี่ยงการบิดเบือน: กล่าวคือ จุดประสงค์ของการประเมินผลการศึกษาบางครัง้ ได้
ถูกบิดเบือนออกไปจากสิง่ ทีค่ วรจะเป็น เช่น “การสอนเพื่อการสอบ” ทีท่ าให้จุดมุ่งหมาย
ของการเรียนการสอนนัน้ ผิดไปจากทีค่ วรจะเป็ น ผูเ้ รียนไม่ได้เรียนเพื่อสังสมองค์
่ ความรู้
อีก ต่ อ ไปดัง นั น้ จึง เป็ น ความท้า ทายของประเทศต่ า ง ๆ ที่จ ะต้ อ งสร้า งระบบการ
ประเมินผลทีไ่ ม่ส่งเสริมให้เกิดการบิดเบือนจุดประสงค์ทแ่ี ท้จริงของการศึกษา
- ให้ผเู้ รียนเป็นศูนย์กลาง: ในการประเมินและวัดผลพัฒนาการเรียนรูข้ องนักเรียน ควรให้
นักเรียนหรือผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง โดยทีค่ วรจะทางานอย่างเต็มทีเ่ พื่อพัฒนาการเรียนรู้
ของนักเรียน และเพิม่ ขีดความสามารถในการประเมินความก้าวหน้ าของนักเรียน ซึ่ง
รวมทัง้ ทักษะที่สาคัญสาหรับการเรียนรูต้ ลอดชีวติ นอกจากนี้ การติดตามผลลัพธ์การ
เรียนรู้ใ นอย่า งรอบด้า นยัง มีค วามสาคัญ เช่ น เรื่อ งพัฒนาการของความคิด อย่า งมี
วิจารณญาณ (Critical Thinking) สมรรถนะทางสังคม (Social Competencies) การมี
ส่วนร่วมกับการเรียนรู้ (Engagement with Learning) และความอยู่ดมี สี ุขโดยรวม
(Overall Well-being)
- การสร้างศักยภาพในทุกระดับของการศึกษา: อาทิเช่น ครูจาเป็ นต้องได้รบั การฝึกอบรม
การประเมิน ขณะที่ทางโรงเรียนก็จาเป็ นต้องยกระดับทักษะการบริหารจัดการข้อมูล
เป็นต้น

27
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- บริหารจัดการให้สอดคล้องกับความต้องการท้องถิน่ : การประเมินและวัดผลจาเป็ นต้อง


สร้างสมดุลทีเ่ หมาะสมระหว่างการปฏิบตั ติ ามเป้าประสงค์ทางการศึกษาจากส่วนกลาง
และการบริหารจัดการให้เหมาะสมกับความต้อ งการระดับภูมภิ าค ระดับจังหวัดหรือ
ระดับ โรงเรีย น กล่ า วคือ ก าหนดตัว ชี้ว ัด ประเมิน ผลให้ ส อดคล้อ งกับ เป้ า ประสงค์
ระดับประเทศ แต่กม็ วี ธิ กี ารทีย่ ดื หยุน่ เหมาะสมกับส่วนท้องถิน่ ด้วย
- การออกแบบที่ประสบความสาเร็จจะต้องมีการทดลองนาร่องและทดลองปฏิบตั :ิ เพื่อ
นาไปสู่การปฏิบตั ิท่ปี ระสบความสาเร็จ จาเป็ นต้องสร้างฉันทามติ จากทุกภาคส่วนที่
เกี่ยวข้อง เพื่อยอมรับการเปลี่ยนแปลง เข้าใจถึงเหตุผลเบื้องหลัง และประโยชน์ ท่จี ะ
เกิดขึน้

2.4.2 การพัฒนาการศึกษาเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเทศต่ า ง ๆ ทัว่ โลกได้ใ ห้ค วามส าคัญ กับ การใช้ผู้เ รีย นเป็ น ศู น ย์ก ลาง เน้ น การจัด
การศึกษาเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการของผูเ้ รียนอย่างสมดุลในทุก ๆ ด้าน OECD (2006) ได้ชถ้ี งึ แก่น
สาคัญ (Key Themes) ในการพัฒนาการศึกษาเรียนรูข้ องผูเ้ รียนไว้ 5 ประการ
- ผูเ้ รียนต้องมาก่อน (Student First): ให้นักเรียนเป็ นศูนย์กลางการเรียนรู้ โรงเรียนต้อง
เปลีย่ นจากโมเดลการสอนสิง่ เดียวทีเ่ หมาะกับทุกคน (One-size-fits-all) และแทนทีด่ ว้ ย
การตัง้ เป้าหมาย และพิจารณาบริบทของผูเ้ รียนแต่ละคนเป็ นศูนย์กลาง
- ครูผสู้ ร้างแรงบันดาลใจ (Inspiring Teachers): ต้องให้นิยามใหม่กบั “ครู” โดยต้องถอย
ออกจากบทบาทแบบดัง้ เดิม จากการเป็ น ครู ผู้ถ่ า ยโอนความรู้ สู่ ก ารเป็ น ครูท่ีใ ห้
คาปรึก ษา เป็ นผู้ช้แี นะ เป็ นผู้อ านวยความสะดวกในการเรียนรู้ใ ห้กับผู้เ รียน นัน่ คือ
บทบาทครูจะต้องมีความยืดหยุน่ มากขึน้ และเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญอย่างมืออาชีพ
- ผลกระทบทางสังคม (Social Effects): ผลสาเร็จต้องไม่ใช่เพียงผลลัพธ์ทางวิชาการ
เท่านัน้ หากแต่จะต้องมีผลลัพธ์ทางสังคมด้วย นัน่ คือ ความคาดหวังให้การศึกษาสร้าง
คน ที่เ ป็ น พลเมือ งที่ดีเ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของเศรษฐกิจ และสัง คม เป็ น สมาชิก ที่ดีข อง
ครอบครัว และส่วนหนึ่งของชุมชน
- ความเชื่อมโยงกับชุมชน (Community Connectedness): การเรียนรูจ้ ะต้องเชื่อมโยง
กันระหว่างผู้คน และสถานที่นอกโรงเรียน ดังนัน้ ครอบครัว ผู้ปกครอง อุตสาหกรรม
และผู้น าชุ ม ชนจึง ถือ เป็ น แหล่ ง ของความรู้ท่ีม ีศ ัก ยภาพ เป็ น แรงบัน ดาลใจ โมเดล
ต้นแบบทีช่ ่วยเสริมสร้างโอกาสการเรียนรู้
- ความพรังพร้ ่ อมในเทคโนโลยี (The Place of Technology): บทบาทของเทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษาในอนาคตจะยิง่ ทวีบทบาทความสาคัญขึน้

28
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทัง้ นี้ การพัฒนาการศึกษาเรียนรูข้ องผูเ้ รียนขึน้ อยูก่ บั ปจั จัยหลายประการ โดยมีปจั จัยสาคัญ
ได้แก่ ปจั จัยส่วนตัวของผู้เรียนและครอบครัว อาทิ กลยุทธ์ในการเรียนรู้ พื้นฐานครอบครัว ปจั จัย
จากสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ อาทิ ครู สถานศึกษา กระบวนการเรียนการสอน การประเมินผล
ตลอดจนทัศนคติของสังคม เป็ นต้น ในการศึกษาทบทวนส่วนนี้จะขอกล่าวถึงปจั จัยสาคัญทีไ่ ด้มกี าร
กล่าวถึงอย่างมากต่อการพัฒนาการศึกษาเรียนรูข้ องผูเ้ รียน ได้แก่

ครู
ครูมบี ทบาทอย่างมากต่อพัฒนาการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน ในหลายประเทศจึงให้ความสาคัญกับ
การคัดเลือกคนเก่ง มีความสามารถเป็ นเลิศ เข้ามาเรียน บ่มเพาะฝึกฝนอย่างเข้มข้นและบรรจุเป็ น
ครูคุณภาพเลิศ สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ช่วยอานวยความสะดวกจัดการเรี ยนรูใ้ ห้ผู้เรียน ได้
ค้นพบศักยภาพทีแ่ ท้จริง

วิจารณ์ พานิช ได้ชถ้ี งึ บทบาทครูว่า “การเรียนในศตวรรษที่ 21 ‘ครู’ จะมีบทบาทสาคัญยิง่


กว่าเดิมแต่ ไ ม่ใ ช่ใ นฐานะผู้ส อน แต่ ใ นฐานะผู้ฝึ กให้เ ด็กได้เ กิด ทักษะที่ จาเป็ น ซึ่งครูต้อ งเปลี่ย น
ความคิดต้องละทิ้งความยึดมันถื ่ อมันในเนื
่ ้อหาวิชาว่าถูกที่สุด แล้วปรับตัวมาสู่การเป็ นผู้ออกแบบ
การเรียนรู้ ตัง้ ค าถาม เพื่อ กระตุ้น ให้ผู้เ รีย นได้ค ิด และลงมือ ปฏิบ ัติ เพราะการลงมือ ทาจะช่ ว ย
สนับสนุ นให้เด็กได้เกิดทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) โดยอาจจะอยู่ในรูปแบบของโครงงาน
เพื่อให้เด็กสามารถนาความรูท้ ไ่ี ด้ไปประยุกต์ใช้กบั ชีวติ ตนเอง และครูต้องไม่ตอบ คาถามของเด็ก
ในทันที ไม่ดุด่าว่ากล่าวหากคาตอบนัน้ ไม่ถูกต้อง เพราะจะเป็ นการทาร้ายเด็กในภายหลัง แต่ควรใช้
วิธกี ารตัง้ คาถามไปเรื่อย ๆ เพื่อนาไปสู่การลงมือค้นหาจนได้คาตอบที่ออกมาจากความคิดภายใน
ตัวของเด็กเอง” (School in Focus , 2555)

ขณะที่ ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ระบุว่า ในศตวรรษที่ 21 ครูจะต้องมีวธิ กี ารจัดการเรียน


การสอนทีเ่ หมาะสม โดยให้เด็กวิง่ ออกไปหาคาตอบ ไม่ใช่การบอกคาตอบ และมานัง่ ท่องจาเหมือน
ทีผ่ ่านมา โดยครูอาจจะต้องมีตวั ช่วย นัน่ คือคู่มอื การสอน “คู่มอื ครูในศตวรรษที่ 21 ควรจะเป็ นคู่มอื
ที่ช่ว ยแนะนาแนวทางการสอนที่เ หมาะสม เช่น ในคู่มอื อาจจะช่ว ยบอกครูได้ว่าแหล่ งเรียนรู้ใ น
จังหวัดมีอะไรบ้าง เพื่อที่ครูจะได้คดิ วิธที ่จี ะบอกให้เด็กออกไปหาคาตอบ ซึ่งเด็ก 10 คน ก็จะได้มา
10 คาตอบ ครูสามารถให้เด็กทุกคนมาพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน เพื่อสรุปมาเป็ น คาตอบที่เห็นร่วมกัน
และเป็ นคาตอบของเขาเอง” วิธกี ารสอนในลักษณะนี้นอกจากจะช่วยส่งเสริมให้เด็กได้ทกั ษะการ
เรียนรู้ ยังทาให้เด็กมีประสบการณ์เกิดเป็ นทักษะชีวติ (Life skill) ซึง่ การมีทกั ษะชีวติ ทีด่ ยี งั ช่วยให้
เด็กรูจ้ กั ทีจ่ ะแก้ไขปญั หาต่างๆ ได้

29
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตัน อุน เซง (2013) คณบดีคณะครุศาสตร์ สถาบันการศึกษาแห่งชาติสงิ คโปร์ (NIE) ชี้


แนวทางที่น่าสนใจเกี่ยวกับการพัฒนาครูให้ได้มาตรฐานทัดเทียมกับนานาประเทศ ภายใต้การ
ปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ "การศึกษาข้ามพรมแดนของภูมภิ าคอาเซียน: โอกาสและความท้าทายของ
ประชาคมอาเซียน" ในงานเวิลด์ไดแด็คเอเชีย 2013 ว่า "ก่อนอื่นต้องยอมรับว่าการศึกษาเป็ น
เสมือ นการลงทุ นทางความรู้ใ นระยะยาว ซึ่งจะส่ งผลโดยตรงต่ อ ศัก ยภาพของประชากรในการ
เชื่อมโยงไปสู่การสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ประเทศของตนเอง ฉะนัน้ ในฐานะครูผู้มบี ทบาทสาคัญทาง
การศึกษา จะต้องให้ความสาคัญต่อการมุง่ สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายใต้บริบททีห่ ลากหลายใน
ภูมภิ าคอาเซียน" โดยโจทย์ของครูอาเซียนในวันนี้คอื จะทาอย่างไรให้ผู้เรียนมุ่งสู่คุณภาพแห่ง
ศตวรรษที่ 21 อย่างมีมาตรฐาน ซึง่ ตัน อุน เซง (2013) เสนอ 3 แนวทาง ประกอบด้วย
1) การบูรณาการระหว่างครูในอาเซียน โดยผ่านการเรียนรูร้ ว่ มกัน เพื่อนาไปพัฒนาและต่อ
ยอดให้กบั ประเทศของตนเองอย่างมีมาตรฐานในระดับอาเซียน ซึง่ การร่วมมือทีเ่ กิดขึน้
จะช่วยขจัดปญั หาด้านโครงสร้างพืน้ ฐานทางการศึกษาทีไ่ ม่มคี ุณภาพ ไม่มมี าตรฐาน ให้
พร้อมสู่การปฏิรูปการศึกษาใหม่อย่างมีคุณภาพเทียบเท่าในระดับสากล เช่นเดียวกับ
การเตรียมครูให้มคี ุณภาพ ซึง่ ครูทเ่ี หมาะสมกับศตวรรษที่ 21 จะต้องมีความสามารถใน
การเตรียมหลักสูตรทีผ่ สมผสานให้กบั ผูเ้ รียนในอาเซียนอย่างเหมะสม เพราะแน่ นอนว่า
อีกไม่กป่ี ีขา้ งหน้า เมือ่ เรามีประชากรทางการศึกษาทีห่ ลากหลายทัง้ วัฒนธรรม เชือ้ ชาติ
และภาษา ฉะนัน้ สิง่ นี้คอื ส่วนสาคัญทีจ่ ะผลักดันให้เกิดการเรียนรูร้ ว่ มกันในอาเซียน
2) การลงทุนเพื่อการศึกษาในระดับประเทศ โดยหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องทัง้ ครู นักวิจยั
สถาบันการศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการ จะต้องจับมือร่วมกันสร้างแนวคิดในการ
กาหนดนโยบายและรูปแบบการเรียนการสอนที่ผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยีและ
ความต่างทางเชือ้ ชาติในสังคมให้ได้ผลสัมฤทธิ ์จนเกิดเป็ นรูปธรรมให้มากทีส่ ุด ตรงนี้คอื
ปจั จัยสาคัญเพื่อนาไปสู่การปฏิบตั ริ ว่ มกันต่อไป
3) ครูจะต้องสวมบทบาทสาคัญในสถาบัน โดยกระตุน้ ให้ผเู้ รียนเกิดการใฝร่ ทู้ เ่ี น้นสมรรถนะ
และทักษะเพื่อเสริมสร้างพืน้ ฐานทางการศึกษา ขณะเดียวกันครูจะต้องเป็ นผูม้ อี านาจใน
การตัด สิน ใจด้ว ยตนเอง โดยเฉพาะเรื่อ งการปรับ เปลี่ย นหลัก สูต รหรือ บทเรีย นให้
สอดคล้องกับสถานการณ์ใหม่ๆ ของผูเ้ รียนตลอดเวลา ทัง้ หมดนี้คอื การสร้างอัตลักษณ์
เชิงบวกให้กบั ครูอย่างแท้จริง
เมื่อทัง้ 3 แนวทางประกอบเข้าด้วยกัน แล้ว จะทาให้เห็นภาพใหม่ของ "ครู" ที่สามารถ
ออกแบบการเรียนการสอนได้สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั ของผูเ้ รียนอย่างแท้จริง จน
ทาให้ผเู้ รียนมีกรอบแนวความคิดทีแ่ ตกต่างและกว้างขึน้ ซึง่ เป็ นการปูพน้ื ฐานทางความคิด
เพื่อนาไปต่อยอดสู่การปฏิบตั ิ และสิง่ ทีจ่ ะทาให้วธิ กี ารนี้เกิดผลอย่างเป็ นรูปธรรม เราจะต้อง

30
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ก าหนดตัว ชี้ว ดั ในการประเมินผลของผู้เ รีย นและครูไปพร้อ ม ๆ กัน เพื่อ นาไปปรับปรุง


คุณภาพของหลักสูตรให้ดขี น้ึ ต่อไป
สถานศึกษา
จากการศึกษาของ OECD (2013) ยังชี้ว่า โรงเรียนถือว่ามีบทบาทสาคัญในการพัฒนา
ความรูข้ องนักเรียนและช่วยสร้างกลยุทธ์การเรียนรูท้ ่มี ปี ระสิทธิภาพมากที่สุ ด แต่ในขณะเดียวกัน
โรงเรียนต่าง ๆ อาจเผชิญความแตกต่างในการทางาน ขึ้นอยู่กบั สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม
อย่างไรก็ตาม ในหลายประเทศ ครอบครัวสังคมเศรษฐกิจนัน้ ได้เปรียบด้วยเพราะอาศัยอยู่ในพืน้ ทีท่ ่ี
มีระดับการพัฒนาสูงกว่า ซึ่ง แตกต่างจากครอบครัวที่ด้อยโอกาส ดังนัน้ เด็กจึง มีความไม่เท่าเทียม
กันในการเข้าถึงการศึกษาทีม่ คี ุณภาพ
การประเมิ นการเรียนรู้ (Assessment for Learning - Formative Assessment)
ในเรื่องของการประเมินนัน้ เป็ นสิง่ ทีจ่ าเป็ น อย่างไรก็ตาม ความสาคัญของการประเมินการ
เรียนรูข้ องผูเ้ รียนนัน้ ควรจะต้องเป็นการประเมินอย่างสร้างสรรค์ สะท้อนให้เห็นพัฒนาการการเรียนรู้
ของผูเ้ รียน และไม่ก่อให้เกิดภาระในการดาเนินการแก่ครูหรือโรงเรียนจนมากเกินไป
จากการศึกษาของ OECD (2005) แสดงให้เห็นว่าในหลายประเทศได้ให้ความสาคัญและ
ส่งเสริมการประเมินเพื่อพัฒนาหรือการประเมินการเรียนรู้ (Formative Assessment) ให้เป็นวิธใี น
การปฏิรปู การศึกษา โดย OECD ได้ศกึ ษาการใช้ Formative Assessment ในระบบการศึกษาของ
8 แห่ง ได้แก่ ออสเตรเลีย (ควีนส์แลนด์) แคนาดา เดนมาร์ก อังกฤษ ฟินแลนด์ อิตาลี นิวซีแลนด์
และสก็อตแลนด์
OECD (2005) ชีว้ ่า Formative Assessment ได้แสดงถึงประสิทธิภาพในระดับความสาเร็จ
ของนักเรียนที่สูงขึ้นอย่างมาก เพิม่ ความเท่าเทียมของผลลัพธ์ของนักเรียนมากขึ้น และพัฒนา
ความสามารถในการเรียนรูข้ องนักเรียน
โรงเรียนทีใ่ ช้การประเมินแบบเน้นพัฒนาการ หรือ Formative Assessment แสดงให้เห็นว่า
ไม่เพียงแต่จะเกิดประโยชน์ ทเ่ี พิม่ ขึน้ ในเรื่องการประสบความสาเร็จทางวิชาการเท่านัน้ แต่ยงั ทาให้
เกิดประโยชน์เพิม่ ขึน้ อย่างมากสาหรับนัก เรียนที่เคยเป็ นนักเรียนที่มผี ลการเรียนต่ ากว่าเป้าหมาย
(Underachieving Students) ทัง้ การพัฒนาในเรื่องการเข้าร่วมเรียนรู้ การรักษาพัฒนาการเรียนรู้
ตลอดจนคุณภาพของงานทีน่ กั เรียนได้ทาอีกด้วย
Formative Assessment ได้สร้างให้นักเรียนมีทกั ษะ “เรียนรู้ท่จี ะเรียน” (Learning to
Learn) โดยการเน้นที่กระบวนการของการสอนและการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของนักเรียนใน
ฐานะหุ้นส่ ว น (Partners) ในกระบวนการ นอกจากนี้ ยงั ช่ว ยสร้า งทัก ษะการประเมิน แบบระดับ
เดียวกัน และการประเมินตนเอง ซึ่งช่วยให้พวกเขาเหล่านัน้ ได้พฒั นากลยุทธ์การเรียนรูไ้ ด้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
31
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

องค์ประกอบทีส่ าคัญสาหรับการใช้ Formative Assessment


- ครูท่ใี ช้การประเมินเพื่อพัฒนาจะต้องเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในห้องเรียน เน้นให้
ความช่ ว ยเหลือ นั ก เรีย น ท าให้ผู้เ รีย นรู้ส ึก กล้า ที่จ ะเสี่ย งและไม่ ก ลัว การความ
ผิดพลาด ทัง้ นี้ ครูจะต้องช่วยพัฒนาความมันใจของนั ่ กเรียนในชัน้ เรียนอีกด้วย
- ครูตอ้ งช่วยในกระบวนการเรียนรูอ้ ย่างโปร่งใส โดยกาหนดและสื่อสารเป้าหมายการ
เรียนรู้ ติดตามความก้าวหน้ าของนักเรียน และในบางกรณีอาจปรับเป้าหมายให้
สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียนบ้าง ครูสามารถเปรียบเทียบการประเมิน
ของตนกับครูท่านอื่นๆ เพื่อความมันใจว่ ่ าครูได้ดแู ลนักเรียนอย่างเท่าเทียมกัน
- ครูจ ะต้อ งใช้ว ิธ ีก ารเรียนการสอนแตกต่ า งกัน ไป บทเรียนอาจเกิด จากวิธ ีก ารที่
หลากหลาย เพื่ออธิบายแนวคิดใหม่ จัดหาทางเลือกสาหรับการทางานเดีย่ วของชัน้
เรียน และให้กาลังใจนักเรียน
- ครูตอ้ งใช้วธิ กี ารทีผ่ สมผสานกันในการประเมินความเข้าใจของนักเรียน
- ครูต้องให้ขอ้ เสนอแนะ (Feedback) ทางวาจาหรือเป็ นลายลักษณ์อกั ษรในงานของ
นักเรียน

พื้นฐานครอบครัว
จากการศึกษาข้อค้นพบของ PISA แสดงให้เห็นว่าพ่อแม่ผปู้ กครองทีม่ พี น้ื ฐานได้เปรียบทาง
เศรษฐสังคม มักจะเลือกทีจ่ ะส่งลูกไปเรียนในโรงเรียนของรัฐบนพืน้ ฐานของมาตรฐานทางวิชาการ
ซึง่ โรงเรียนเหล่านี้มคี วามสามารถและสอนกลยุทธ์การเรียนรูท้ ่มี ปี ระสิทธิภาพเพื่อนักเรียนในความ
ดูแล หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า พ่อแม่ผปู้ กครองกลุ่มเหล่านี้ไม่มขี อ้ จากัด ซึง่ ต่างจากกลุ่มครอบครัว
ทีด่ อ้ ยโอกาส ทัง้ ด้านค่าใช้จา่ ย และสถานทีต่ งั ้ ของโรงเรียน
ในประเทศส่วนใหญ่ท่มี ผี ลคะแนนสอบด้านการอ่านที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มนักเรียนที่
ด้อยโอกาสและกลุ่มนักเรียนได้เปรียบทางเศรษฐสังคม ส่วนหนึ่งสามารถอธิบายได้ว่า นักเรียนได้
เรียนรู้มากน้ อ ยแค่ไ หนเมื่อ มีอายุไ ด้ 15 ปี นอกจากนี้ ผู้ปกครองและครูเ ป็ นผู้ท่สี ามารถช่ว ยปิ ด
ช่องว่าง (Performance Gap) เหล่านี้ได้ดว้ ย

32
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กลยุทธ์ในการเรียนรู้
ข้อค้นพบของ OECD (2013) พบว่า ปจั จัยหนึ่งทีม่ คี วามสาคัญต่อผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน
ของผู้เรียน คือ การที่ผู้เรียนมีกลยุทธ์ในการเรียนรู้ หรือกล่าวได้ว่า นักเรียนที่เรียนรู้วธิ กี ารสรุป
ข้อมูลหรือสรุปใจความสาคัญได้ดี มีแนวโน้มทีจ่ ะมีความสามารถในการอ่านได้ดขี น้ึ
โดยทัวไป
่ ผลการเรียนของนักเรียนจะมีความแตกต่างกันหากมีพน้ื ฐาน (Background) ที่
แตกต่างกัน อย่างไรก็ดี จากข้อค้นพบของ OECD (2013) พบว่า หากนักเรียนที่มภี ูมหิ ลังด้อย
โอกาสจานวนมากขึน้ นัน้ สามารถใช้กลยุทธ์การเรียนรูท้ ม่ี ปี ระสิทธิภาพได้ในระดับเดียวกับนักเรียน
ทีม่ าจากพืน้ ฐานทีไ่ ด้เปรียบ จะทาให้ช่องว่างระหว่างประสิทธิภาพทัง้ สองกลุ่มลดเกือบร้อยละ 20
จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลคะแนน PISA กับพฤติกรรมการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน พบว่า นักเรียนที่
มีผลคะแนนทีด่ ี (The Best-performing Students) เป็ นกลุ่มนักเรียนที่มที กั ษะการสรุปข้อมูลทีไ่ ด้รบั
ผ่านการอ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพมากทีส่ ุด
นอกจากนี้ ผลลัพธ์ท่ไี ด้จากการทดสอบ PISA ยังแสดงให้เ ห็นว่าประเทศที่นักเรียนมี
ประสิทธิภาพในการอ่านเฉลี่ย ที่แข็งแกร่งเป็ นประเทศที่นักเรียนโดยทัวไปทราบถึ
่ งวิธ ีมที กั ษะการ
สรุปข้อ มูล ทัง้ นี้ก ารรับรู้ของกลยุทธ์การสรุปที่มปี ระสิทธิภาพมีค วามสัมพัน ธ์ใ นทางบวกกับผล
คะแนนการอ่านเป็นทีเ่ ห็นได้ชดั หรืออาจกล่าวได้ว่า ถ้านักเรียนมีทกั ษะในการอ่านจับใจความ หรือ
สรุปประเด็นได้ดี ก็จะส่งผลให้มคี ะแนนสอบด้านการอ่านดีดว้ ย ตัวอย่างเช่น ในกลุ่มประเทศ OECD
ที่ม ีค วามแตกต่ า งในผลคะแนนการอ่ านระหว่ างนัก เรียนผู้ท่ี ม ีท ัก ษะการสรุป ความสูง ที่สุ ด และ
นักเรียนผูท้ ม่ี ที กั ษะการสรุปความสาคัญน้อยทีส่ ุด มีคะแนนต่างกันถึง 107 คะแนน หรือเทียบได้เป็ น
ความแตกต่างถึง 2 ปีของการศึกษา
ในแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันในขอบเขตที่กลุ่มเฉพาะของนักเรียนที่มกี ลยุทธ์การ
ทางานทีด่ ที ส่ี ุดในการสรุปความ ตัวอย่างเช่น นักเรียนทีม่ พี น้ื ฐานเศรษฐกิจสังคมทีไ่ ด้เปรียบ ภายใน
กลุ่มประเทศ OECD หากได้เรียนรูเ้ พิม่ เติมเกี่ยวกับประสิทธิผลของการเรียนรู้ จะทาให้มกี ลยุทธ์ท่ี
ดีกว่านักเรียนจากโรงเรียนทีม่ พี น้ื ฐานด้อยโอกาส

33
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 7: ความสัมพันธ์ระหว่างประสิ ทธิ ภาพการอ่านและการรับรูข้ องกลยุทธ์ที่มีประสิ ทธิ ภาพสูงสุด

ทีม่ า: OECD (2013)

จากการศึ ก ษามากกว่ า 31 ประเทศ พบว่ า หากนั ก เรี ย นที่ ด้ อ ยโอกาส ( Most


Disadvantaged Students) มีระดับกลยุทธ์การสรุปใจความสาคัญในการอ่าน เช่นเดียวกับนักเรียน
กลุ่มทีม่ พี น้ื ฐานได้เปรียบทีส่ ุด (Most Advantaged Students) ประเทศของพวกเขาแล้ว จะส่งผลให้
ประสิทธิภาพการอ่านหรือคะแนนทดสอบด้านการอ่านของพวกเขาเพิม่ สูงขึน้ อย่างน้อย 15 คะแนน
นอกจากนัน้ ผลจากคะแนน PISA ยังแสดงสัญญาณให้เห็นว่านักเรียนจากภูมหิ ลังทาง
สังคมและเศรษฐกิจทีด่ อ้ ยโอกาสสามารถทาคะแนนได้ดใี กล้เคียงกับบรรดากลุ่มนักเรียนทีม่ พี น้ื ฐาน
ได้เปรียบได้ ถ้าหากพวกเขามีความรูม้ ากขึน้ ด้วยวิธกี ารเรียนรูท้ ด่ี ที ส่ี ุด
แม้ว่า PISA จะไม่สามารถสรุปเหตุและผลได้อย่างชัดเจนนัก แต่ผลเหล่านี้ ช่วยสะท้อนให้
เห็น ว่ า ความได้เ ปรีย บทางเศรษฐกิจ และสังคม (Socio-economic Advantage) น ามาซึ่ง
ความสามารถในการอ่านที่ดขี น้ึ (Better Proficiency in Reading) ดังนัน้ การสร้างโอกาสให้แก่
นักเรียนในการพัฒนาความเข้าใจด้วยการมีกลยุทธ์การเรียนรูจ้ งึ เป็นวิธที ม่ี ปี ระสิทธิภาพมากทีส่ ุด

34
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2.4.3 การพัฒนาการบริ หารการศึกษาและการปฏิ รปู การศึกษา

ความสาคัญของการศึกษาและพัฒนาทุนมนุษย์
การลงทุนในทุนมนุ ษย์ควรถูกจัดให้เป็ นหัวใจของยุทธศาสตร์การพัฒนาในทุก ๆ ประเทศ
เนื่องจากทุนมนุ ษย์ถือเป็ นทรัพยากรที่สาคัญที่สุดของชาติ สามารถส่งผลต่อวางรากฐานเพื่อเพิม่
ความสามารถในการแข่งขันในระยะยาว กล่าวอีกนัยหนึ่งคือความมันคงและมั ่ งมี
่ ของประเทศใน
อนาคตนัน้ ขึน้ อยู่กบั ปจั จัยหลักสาคัญว่าคนของประเทศนัน้ ๆ มีความรู้ ทักษะ และศักยภาพที่พรัง่
พร้อมมากน้ อยเพียงใด ซึ่งในบางกรณีนับว่ามีความสาคัญมากกว่าการพัฒนาทุนด้านอื่น ๆ ของ
ประเทศเสียอีก ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างของหลากหลายประเทศ เช่น ฮ่อ งกง สิงคโปร์ ไต้หวัน
เกาหลีใต้ ที่แม้ประสบปญั หาด้านทรัพยากรธรรมชาติหรือทุนทางกายภาพซึ่งมีอยู่อย่างจากัดแต่
สามารถประสบความสาเร็จในการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วและยังยื ่ น เนื่องจากทุก
ภาคส่ ว นของประเทศให้ค วามส าคัญ กับ การพัฒนาทุนมนุ ษ ย์ผ่ านระบบการศึกษา เพื่อ ส่ ง เสริม
ศักยภาพของประชากรให้เป็นทรัพยากรสาคัญในการพัฒนาประเทศ
หากกล่าวถึงประสบการณ์ของประเทศไทย งานศึกษาของ Peter Warr (2012) ได้ศกึ ษา
วิเ คราะห์ปจั จัยหลักที่ส่ ง ผลต่ อ การเติบโตของเศรษฐกิจไทยในศตวรรษที่ผ่ านมา (Source of
Aggregate Growth) ชีว้ ่าในอดีตทีผ่ ่านมาการเจริญเติบโตของประเทศนัน้ ถูกขับเคลื่อนโดยทุนทาง
กายภาพเป็นหลัก กล่าวคือ ระหว่างช่วงปี ค.ศ. 1960 – 1990 นัน้ ประเทศไทยได้ก้าวข้ามจากสังคม
เกษตรกรรมมาสู่ประเทศอุ ต สาหกรรมที่มรี ายได้ปานกลาง ขับเคลื่อ นผ่ านการเปิ ดตลาดเสรีต่ อ
ประชาคมโลกและเน้นนโยบายพึ่งพิงการส่งออก โดยใช้ขอ้ ได้เปรียบจากความสามารถในการผลิต
สินค้าและบริการด้วยแรงงานราคาถูก อยู่บนพืน้ ฐานของการขยายตัวของทุ นทางกายภาพ คือ การ
ลงทุนจากภาคเอกชน (Private Investment) เป็ นส่วนใหญ่ ซึง่ รูปแบบการเปลีย่ นผ่านในลักษณะนี้
ได้เ กิดขึ้นกับหลาย ๆ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ โดยมีผลลัพธ์ค ือ ค่ าเฉลี่ยรายได้ของ
ประชากรสูงขึน้ อัตราส่วนของแรงงานในภาคเกษตรกรรมลดน้อยลง และอัตราความยากจนลดต่าลง
ปจั จุบนั ประเทศไทยจึงยังติดอยู่กบั การเป็ นประเทศรายได้ปานกลาง โดยไม่สามารถก้าว
ไปสู่ ก ารเป็ น ประเทศที่ม ีร ายได้ สู ง ได้ เนื่ อ งจากไม่ ส ามารถสร้า งนวัต กรรม เทคโนโลยี เพิ่ม
ประสิทธิผลในการผลิตเพิม่ มูลค่าของสินค้า
อย่า งไรก็ต าม ประเทศไทยจะไม่ส ามารถพัฒ นาประเทศโดยอาศัย ประโยชน์ จ ากฐาน
ทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละแรงงานต้นทุนต่ าได้อีกต่ อ ไป ดั งนัน้ ประเทศไทยจึง ต้อ งการปฏิรูปทิศ
ทางการพัฒนาอย่างเร่งด่วน โดยหลักสาคัญคือการลงทุนในทรัพยากรมนุ ษย์อย่างจริงจังผ่านการ
พัฒนาระบบการศึกษาและยกระดับคุณภาพกาลังคนให้เต็มไปด้วยศักยภาพ ความรู้ ทักษะ และขีด
ความสามารถเพื่อจะเป็นกาลังคนทีม่ คี ุณภาพ และยกระดับความสามารถในการผลิตของประเทศได้
อย่างยังยื
่ น

35
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 8: นโยบายการพัฒนาและการเปลี่ยนผ่านของประเทศ

ทีม่ า: Peter Warr (2012)

จะเห็น ได้ว่ า ทุ น มนุ ษ ย์ถือ เป็ น กุ ญ แจส าคัญ ที่สุ ด ประการหนึ่ ง ในการไขประตู ไ ปสู่ค วาม
รุง่ โรจน์ในอนาคตและช่วยให้ประเทศไทยสามารถก้าวไปสู่โลกทีห่ นึ่งได้อย่างเต็มภาคภูม ิ ทัง้ นี้ เป็ น
ที่เ ข้าใจกันโดยทัวไปว่
่ าการพัฒนาคนมักจะมีค วามสัมพันธ์อ ย่างใกล้ชิดกับระบบการศึกษาของ
ประเทศโดยมีการงานวิจยั จานวนมากทีส่ ะท้อนให้เห็นถึงผลตอบแทนทีไ่ ด้จากการลงทุน (Return to
Investment) จากการพัฒนาทุนมนุ ษย์ผ่ านการศึกษา ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ระดับ ทัง้ ใน
ระดับมหภาค (Macro Level) ทีเ่ ป็ นผลกระทบต่อผลิตภาพหรืออัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ และในระดับจุลภาค (Micro Level) คือผลประโยชน์ทไ่ี ด้ในส่วนบุคคล โดยสรุปได้ดงั
ตารางที่ 3 ซึ่งจากการทบทวนเอกสารผลงานวิจยั และหลักฐานเชิงประจักษ์ แสดงให้เห็นถึง
ความสาคัญของการพัฒนาทุนมนุษย์ รวมทัง้ พบว่าการสนับสนุ นการศึกษานัน้ จะส่งผลกระทบในเชิง
บวกทัง้ ในระดับบุคคล ไปจนถึงการเพิม่ ผลิตภาพส่งเสริมการเจริญเติบโตและความมังคั ่ ง่ การอยู่ดมี ี
สุขให้กบั ประเทศ

36
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 3 : ผลตอบแทนจากการพัฒนาทุนมนุษย์ผา่ นการศึกษา


ระดับผลกระทบ หลักฐานเชิ งประจักษ์
ระดับมหภาค - หลักฐานงานวิจยั นานาชาติของ Grilliches (1977) Barro (1991) และ Bassanini
(Macro Level) and Scarpetta (2001) ชีใ้ ห้เห็นว่าการลงทุนในการศึกษา ทาให้ประเทศมีอตั ราการ
เจริญเติบโตและความมังคั
่ งทางเศรษฐกิ
่ จเพิม่ ขึน้ ได้ ยกตัวอย่างเช่นหากค่าเฉลี่ยของ
ระดับการศึกษาของประชากรเพิม่ ขึน้ 1 ปี จะส่งผลให้ผลิตภาพแรงงานของประเทศ
สูงขึน้ ในอัตราประมาณร้อยละ 3 ถึง 6
- มีงานวิจยั ของ Griffith, Redding and Van Reenen (2000) แสดงให้เห็นอย่างชัดเจน
ว่าทุนมนุ ษย์มบี ทบาทสาคัญในการส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการ
เผยแพร่ทางนวัตกรรม (Technological Change and Diffusion)
- การศึกษาโดย Spiegel (1994) บ่งชีว้ ่าทุนมนุ ษย์ส่งผลต่ออัตราการเจริญเติบโตผ่าน
ผลกระทบเชิงบวกทีม่ ตี ่อทุนทางกายภาพ
- การพัฒนาทุนมนุษย์ยงั ถูกยกให้เป็ นทางเลือกหนึ่งในการแก้ปญั หาความไม่เท่าเทียม
กันทางด้านรายได้เนื่องจากการพัฒนาทุน มนุ ษย์ในคนกลุ่มหนึ่งจะทาให้อุปทานของ
แรงงานมีทกั ษะเพิม่ มากขึน้ ในขณะทีจ่ ะลดอุปทานแรงงานด้อยทักษะลงซึง่ จะส่งผล
ให้ค่าจ้างของแรงงานมีทกั ษะในสังคมปรับตัวลดลง ในขณะที่ค่าจ้างแรงงานด้อ ย
ทักษะปรับตัวเพิม่ สูงขึน้ (Silva Martins and Pereira 2001) กล่าวคือค่าจ้างแรงงาน
ของผูค้ นในสังคมมีการปรับตัวเข้าใกล้กนั มากขึน้
- งานวิจยั ของ Behrman and Stacey (1997) Blundell (1999) และ OECD (2006) ที่
แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาทุนมนุษย์และการลงทุนในระบบการศึกษายังมีผลประโยชน์
ในเชิงสังคม อาทิ การขยายโอกาสทางการศึกษานัน้ มี ความสัมพันธ์กบั สถานะทาง
สุขภาพทีด่ ขี น้ึ ความเสีย่ งต่อการว่างงานลดลง และการปรับปรุงทีด่ ขี น้ึ ของตัวแปรที่
เกีย่ วกับความสมานฉันท์ในสังคม (Social Cohesion) เช่นอัตราการก่ออาชญากรรม
ลดลง การมีสว่ นร่วมทางการเมืองของประชาชนเพิม่ ขึน้
ระดับจุลภาค ั หาความยากจนอย่ า งยัง่ ยืน โดยมีก ารศึก ษาของ
- การเพิ่ม ทุ น มนุ ษ ย์ช่ ว ยแก้ ป ญ
(Micro Level) Harmon et al (2003) แสดงให้เห็นถึงสหสัมพันธ์เชิงบวก (Correlation) ของระดับ
การศึกษาและรายได้ (Education & Earning) กล่าวคือประชากรทีม่ รี ะดับการศึกษา
หรือได้รบั พัฒนาทักษะฝีมอื มาก ก็จะยิง่ มีรายได้มากขึน้ ตามไปด้วย
- เมื่อพิจารณาผลประโยชน์ทต่ี กกับผูเ้ รียน มีงานวิจยั ของ Denny and Harmon (2001)
บ่งชีว้ ่าอัตราผลตอบแทนของการศึกษานัน้ ไม่ได้มลี กั ษณะเป็ นเส้นตรง (Non-liner)
การศึก ษาจึง เป็ น การลงทุ น ที่มีค วามคุ้ม ค่ า มากที่ สุ ด ส าหรับ ผู้ ท่ีมีก ารศึก ษาสู ง
โดยเฉพาะผูท้ จ่ี บจากระดับอุดมศึกษา
ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยรวบรวมจาก Harmon et al (2003) Denny and Harmon (2001)
Grilliches (1977) Barro (1991) Bassanini and Scarpetta (2001) Griffith, Redding and Van Reenen (2000) Spiegel
(1994) Silva Martins and Pereira (2001) Behrman and Stacey (1997) Blundell (1999) และ OECD (2006)

37
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ผลตอบแทนภายนอกของการศึกษา

การศึกษาเป็ นทัง้ การบริโภคและการลงทุน เพราะการศึกษาก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ศกึ ษา


ทัง้ ในขณะทีศ่ กึ ษาอยู่และในอนาคต ทัง้ นี้ การศึกษามีลกั ษณะของสินค้ากึ่งส่วนบุคคลและสินค้ากึ่ง
มหาชน เนื่องจากการศึกษาให้ประโยชน์แก่ผศู้ กึ ษาและผูอ้ ่นื ในสังคมด้วย ด้วยเหตุน้ี รัฐก็มเี หตุผล
เพียงพอทีจ่ ะใช้ทรัพยากรทีไ่ ด้จากภาษีอากรไปเพื่อการส่งเสริมบริการ การศึกษา แต่กต็ ้องให้ความ
ระมัดระวัง ให้ผลตอบแทนต่อสังคม และต้นทุนของสังคมอยู่ในระดับทีส่ มดุลกัน ทัง้ นี้ ในการพัฒนา
ประเทศเพื่อให้กาลังคนมีการศึกษาอย่างมีคุณภาพในระดับทีใ่ ห้ประโยชน์แก่สงั คม จาเป็ นทีจ่ ะต้องมี
การวางแผนการศึกษาให้สอดคล้องกับการวางแผนกาลังคน
ในทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ นอกจากการศึกษาจะให้ผ ลตอบแทนส่วนบุคคล (Private
Returns) ซึ่ง เป็ น ผลตอบแทนโดยตรงต่ อ ผู้ไ ด้ร บั การศึก ษาในรูป ของการเพิ่ม ขึ้น ของผลิต ภาพ
(Productivity) และค่าตอบแทน การศึกษาของบุคคลหนึ่งยังให้ผลตอบแทนต่อบุคคลอื่น ๆ ในสังคม
หรือทีเ่ รียกกันว่า “ผลตอบแทนภายนอก” (External Returns หรือ Externalities) ในรูปของการ
เพิม่ ขึน้ ของผลิตภาพและค่าตอบแทนของบุคคลอื่น ๆ ผลตอบแทนภายนอกดังกล่าวเป็ นผลมาจาก
กระบวนการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ทักษะและความรูต้ ่าง ๆ ระหว่างบุคคลในสังคม (ดิลกะ ลัทธพิพฒ ั น์
และ จิระวัฒน์ ปนเปี ั ้ ่ ยมรัษฎ์, 2556)
ดิลกะ ลัทธพิพฒ ั ้ ่ ยมรัษฎ์ (2556) ได้ศกึ ษาผลตอบแทนภายนอก
ั น์ และ จิระวัฒน์ ปนเปี
ของการศึกษา และนัยต่อนโยบายการอุดหนุ นด้านการศึกษาของประเทศไทย การศึกษานี้ประมาณ
ขนาดของผลตอบแทนภายนอกของการศึกษาทัง้ โดยรวมและแยกย่ อยการศึกษาระดับต่าง ๆ โดย
วิธวี เิ คราะห์แบบสัดส่ วนแรงงานคงที่ (Constant-composition Approach) ซึง่ สามารถขจัดความ
เบี่ยงเบนที่เกิดขึน้ จากการใช้ Mincerian Approach ได้ ทัง้ นี้เพื่อนาผลที่ได้ใช้เป็ นข้อมูล ในการ
กาหนดนโยบายการอุดหนุนด้านการศึกษาในอนาคต
ผลการศึกษาผลตอบแทนภายนอกของการศึกษาของ ดิลกะ ลัทธพิพฒ ั น์ และ จิระวัฒน์
ั ้ ่ ยมรัษฎ์ (2556) ในภาพรวมพบว่า พ.ศ. 2529/2530 ถึง 2539/2540 การศึกษาโดยรวมให้
ปนเปี
ผลตอบแทนภายนอก ประมาณร้อ ยละ 3.8-4.4 แต่ ไ ม่ พ บหลัก ฐานว่ า การศึก ษาโดยรวมให้
ผลตอบแทนภายนอกอย่างมีนัยสาคัญ ในช่วงพ.ศ. 2542/2543 ถึง 2552/2553 นอกจากนี้ยงั พบว่า
ในช่ว ง พ.ศ. 2529/2530 ถึง 2539/2540 การศึกษาระดับมัธ ยมเป็ นการศึกษาระดับเดียวที่ม ี
ผลตอบแทนภายนอก (ประมาณร้อยละ 3.7-4.8) แต่ในช่วง พ.ศ. 2542/2543 ถึง 2552/2553 กลับ
ไม่พบว่าการศึกษาระดับมัธยมศึกษามีผลตอบแทนภายนอกอย่างมีนัยสาคัญ ในขณะที่การศึกษา
ระดับอุดมศึกษาสายสามัญกลายเป็นการศึกษาระดับเดียวทีม่ ผี ลตอบแทนภายนอกอย่างมีนัยสาคัญ
โดยมีขนาดประมาณร้อยละ 1-1.5

38
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

อย่างไรก็ตาม ดิลกะ ลัทธพิพฒ ั ้ ่ ยมรัษฎ์ (2556) สรุปไว้ตอนท้ายว่า


ั น์ และ จิระวัฒน์ ปนเปี
แม้งานวิจยั จะสนับสนุนให้รฐั อุดหนุนการศึกษาระดับอุดมศึกษา แต่นยั ต่อความเหมาะสมของจานวน
เงินอุดหนุ นของรัฐนัน้ ยังไม่มคี วามชัดเจนนัก หากคานวณผลตอบแทนภายนอกของการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาสายสามัญออกมาเป็ นจานวนเงินคร่าวๆ ประมาณ 3,600 ล้านบาทต่อปี ซึง่ ต่ ากว่า
ค่าเฉลีย่ ของเงินอุดหนุ นในระดับอุดมศึกษาในช่วงปีงบประมาณ 2549-2553 ประมาณ 6.25 เท่า
อย่างไรก็ดี ผลตอบแทนภายนอกทีค่ านวณดังกล่าวเป็ นผลตอบแทนทีเ่ กิดขึน้ ในรูปของการเพิม่ ขึน้
ของค่าจ้างโดยเฉลีย่ เท่านัน้ แต่ไม่ได้รวมถึงการเพิม่ ขึน้ ของผลตอบแทนในรูปแบบอื่น ๆ ทีแ่ รงงาน
ได้รบั จากนายจ้าง เช่นสวัสดิการต่างๆ อาหาร และทีอ่ ยู่อาศัย และผลตอบแทนภายนอกอื่น ๆ ที่
อาจเกิดขึน้ แต่ไม่สามารถวัดเป็นเงินได้ เช่น ความสงบสุขและความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม

การปฏิ รปู การศึกษาด้วยการปฏิ รปู ระบบความรับผิดชอบ

สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2554) ได้เสนอว่า หัวใจสาคัญของการยกเครื่อง


การศึกษาไทยให้มคี ุณภาพต้องเริม่ จากการสร้างความรับผิดชอบในการจัดการศึกษา โดย “ความ
รับผิดชอบ” (Accountability) ในที่น้ี หมายถึง พันธะผูกพันในหน้าทีก่ ารงานของบุคคลใดบุคคล
หนึ่งหรือองค์กรใดองค์กรหนึ่งต่อ เป้าหมายทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากบุคคลหรือองค์กรอื่น ๆ โดยมี
ระบบตรวจสอบทีฝ่ า่ ยผูม้ อบหมายเข้าตรวจสอบประเมินผลงานเพื่อให้รางวัล และบทลงโทษแก่ฝ่าย
ปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้
สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2554) ชีป้ ระเด็นในกรณีการจัดการศึกษาว่า รัฐมัก
มีบทบาทสาคัญในการจัดการศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น จัดการศึกษาเองผ่านโรงเรียนรัฐบาล
โรงเรียนรัฐบาลจึงต้องรับผิดชอบต่ อรัฐบาลและต้องกากับดูแลครูของตนให้สอนนักเรียนอย่างมี
คุณภาพ ในเวลาเดียวกัน รัฐบาลจะรับผิดชอบต่อผูป้ กครอง โดยผูป้ กครองในฐานะพลเมืองจะใช้การ
เลือกตัง้ และการเรียกร้องทางการเมืองเป็ น กลไกกากับควบคุมรัฐบาลเพื่อดาเนินนโยบายการศึกษา
อย่างมีคุณภาพ ทัง้ หมดนี้ทาให้เกิด “สายความรับผิดชอบ” (Accountability Chain) จากพ่อแม่
ผู้ปกครองไปยังรัฐบาล ต่ อ เนื่อ งไปจนถึงโรงเรียนและครู อย่างไรก็ต าม ปญั หาก็ค ือ สายความ
รับผิดชอบ “ผูป้ กครอง-รัฐบาล-โรงเรียน-ครู” ดังกล่าว หรืออาจเรียกว่า“ความรับผิดชอบสายยาว”
(Long-route of Accountability) มีความเสี่ยงที่จะขาดในช่วงใดช่วงหนึ่งได้ง่าย ประชาชนยังไม่
สามารถกากับการดาเนินนโยบายของรัฐบาลได้อย่างใกล้ชดิ นักการเมืองเองก็ไม่สามารถกากับให้
กระทรวงศึก ษาธิก ารท าตามนโยบายของตนที่ห าเสีย งกับ ประชาชนได้ ทุ ก เรื่อ ง ส่ ว น
กระทรวงศึกษาธิการเองก็ยงั มีปญั หากากับดูแลการบริหารงานของโรงเรียนให้มคี ุณภาพได้และ
โรงเรียนก็มกั จะไม่สามารถกากับการสอนของครูแต่ละคนได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นกัน

39
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2554) ให้ความเห็นว่าการสร้างความผิดชอบใน


ระบบการศึกษาอาจทาได้โดยการปฏิรปู สถาบันทางการเมือง เพื่อให้ประชาชนสามารถตรวจสอบรัฐ
ได้ง่ายขึน้ แต่การปฏิรปู ดังกล่าวก็เป็ นสิง่ ทีย่ าก แนวทางสาคัญในการยกระดับคุณภาพการศึกษาก็
คือ การทาให้โรงเรียนและครูต้องรับผิดชอบต่อผูป้ กครองโดยตรง ซึ่งน่ าจะมีประสิทธิผลมากกว่า
เพราะวิธนี ้ีมสี ายความรับผิดชอบเพียง “ผูป้ กครอง-โรงเรียน-ครู” ซึง่ เป็ น “ความรับผิดชอบสายสัน้ ”
(Short-route of Accountability) ทาให้มโี อกาสสายขาดน้อยกว่า ครูและโรงเรียนต้องรับผิดชอบต่อ
ผูป้ กครองมากขึน้
ทัง้ นี้ สมเกียรติ ตัง้ กิจวานิชย์ และคณะ (2555) ได้เสนอยุทธศาสตร์การสร้างความ
รับผิดชอบของระบบการศึกษา ด้วยการอาศัยยุทธศาสตร์การสร้างความรับผิดชอบสายสัน้ ไว้ดงั นี้
- การปรับปรุงระบบสอบมาตรฐานและการประเมินคุณภาพสถานศึกษา เพื่อให้สะท้อน
คุณภาพการจัดการศึกษาได้อย่างแท้จริง
- การเปิดเผยข้อมูลผลการสอบมาตรฐานและผลประเมินคุณภาพของโรงเรียน เพื่อให้
ผูป้ กครองเลือกโรงเรียนตามคุณภาพและติดตามการดาเนินงานของโรงเรียนได้
- การกระจายอานาจการบริหารให้กบั โรงเรียน เพื่อให้โรงเรียนแต่ละแห่งปรับปรุงการจัด
การศึกษาได้อย่างคล่องตัวและเหมาะสมกับปญั หาของแต่ละโรงเรียน
- การปฏิรปู ระบบผลตอบแทนของครูให้เชื่อมโยงกับผลสอบของนักเรียน
- การจัดสรรงบประมาณในรูปแบบเงินอุดหนุ นรายบุคคล เพื่อให้เงินอุดหนุ นที่โรงเรียน
ได้รบั เป็นไปตามจานวนนักเรียนทีเ่ ลือกเข้าเรียน

สมเกียรติ ตัง้ กิจวานิชย์ และคณะ (2555) ชีว้ ่าภายใต้มาตรการข้างต้น ผูป้ กครองจะใช้ผล


การสอบและผลประเมินเป็ นข้อมูลในการเลือกโรงเรียน โรงเรียนก็จะต้องพัฒนาคุณภาพการสอน
เพื่อดึงดูดนักเรียนและได้รบั เงินอุดหนุ น ขณะเดียวกันครูกย็ ่อมจะเอาใจใส่นักเรียนและปรับปรุงการ
สอนให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ เพื่อได้รบั ผลตอบแทนที่ดขี น้ึ ส่วนโรงเรียนทีไ่ ม่ผ่านการประเมินจะ
ได้รบั การช่วยเหลือให้สามารถปรับปรุง การจัดการการศึกษาได้ นอกจากนี้ ระบบการศึกษายัง
จาเป็นต้องมีแนวทางช่วยเหลือนักเรียนทีม่ ผี ลคะแนนต่ า เพื่อมิให้นักเรียนกลุ่มอ่อนถูกละเลย และมี
มาตรการช่วยเหลือโรงเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินอย่างเป็ นระบบ เพราะในทางปฏิบตั ิ โรงเรียน
หลายแห่งอาจไม่มศี กั ยภาพเพียงพอจะปรับปรุงการจัดการศึกษาได้เอง ในทางตรงกันข้าม ก็ต้อง
ดาเนินมาตรการรับผิดหรือลงโทษกับโรงเรียนทีไ่ ด้รบั ความช่วยเหลือแต่ยงั ไม่ผ่านการประเมินอย่าง
ต่อเนื่อง

40
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

จากการศึกษาวิจยั ของ สมเกียรติ ตัง้ กิจวานิชย์ และคณะ (2555) ให้ความสาคัญกับ


ประเด็นเรื่อง ลาดับขัน้ ในการดาเนินนโยบาย โดยในการวิจยั ระบุว่า การดาเนินนโยบายสร้างความ
รับผิดชอบสายสัน้ ต้องเรียงลาดับก่อนหลังอย่างเป็ นขัน้ เป็ นตอน เพราะบางนโยบายจะไม่ช่วยเพิม่
คุณภาพการศึกษา หากไม่ดาเนินนโยบายอื่นก่อน เช่น แม้การปรับผลตอบแทนของครูให้เชื่อมโยง
กับผลสอบของนักเรียน จะจูงใจครูให้เอาใจใส่นักเรียนมากขึน้ แต่หากไม่ปรับปรุงคุณภาพข้อสอบ
มาตรฐานให้ทดสอบทักษะการคิดวิเคราะห์แทนการจา ครูกย็ งั เน้นสอนให้นักเรียนท่องจา หรือการ
จัดสรรงบประมาณเป็ นเงินอุดหนุ นรายบุคคลมากขึ้น แต่ยงั ไม่มกี ารเปิ ดเผยข้อมูลผลการสอบ
มาตรฐาน โรงเรียนก็ไม่จาเป็ นต้องปรับคุณภาพเพื่อดึงดูดนักเรียน เพราะผูป้ กครองและนักเรียนมี
ข้อมูลอย่างจากัดในการเลือกเข้าโรงเรียน
นอกจากนี้ สมเกียรติ ตัง้ กิจวานิชย์ และคณะ (2555) เสนอว่าการดาเนินนโยบายอย่าง
เป็นลาดับขัน้ ตอนทีค่ วรปรับปรุงและปฏิรปู ดังนี้
- ลาดับแรกควรจะต้อ งเริม่ จาก ปรับปรุงคุณภาพข้อสอบมาตรฐานและการประเมิน
สถานศึกษาภายนอกและเปิดเผยผลสอบ มาตรฐานและผลประเมินสถานศึกษา เพราะ
นโยบายอื่นจะสาเร็จก็ต่อเมือ่ มีขอ้ มูลคุณภาพทีด่ ี
- ลาดับต่อมา กระจายอานาจให้โรงเรียนได้ปรับปรุงคุณภาพการจัดการศึกษา แล้วจึงใช้
ผลประเมินและผลสอบมาตรฐานดาเนินนโยบายอื่นทีเ่ กิดผลดีและผลเสีย กับโรงเรียน
และครู โดยเริม่ จากมาตรการช่วยเหลือและลงโทษโรงเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินและ
การ จ่ายผลตอบแทนครูตามผลการสอบของนักเรียนก่อน เพราะมาตรการทัง้ 2 นี้จะ
ช่วยเหลือโรงเรียนทีม่ ศี กั ยภาพต่ าให้พฒ
ั นาคุณภาพการสอนเพิม่ ขึน้ ได้และ จูงใจครูให้
เอาใจใส่นกั เรียนและพัฒนาทักษะการสอนให้ดขี น้ึ
- ลาดับสุดท้าย คือ การจัดสรรงบประมาณในรูปแบบเงินอุ ดหนุ นรายบุค คล เพราะ
มาตรการนี้จะมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อในระบบการศึกษา มีโรงเรียนที่มคี ุณภาพดี
ทัดเทียมกันและแข่งขันพัฒนาคุณภาพกันได้

41
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2.4.4 การพัฒนาการศึกษาและกาลังคนเพือ่ เพิ ม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน


ของประเทศ

คุณภาพของกาลังคน หมายถึง ผลิตภาพ (Productivity) หรือประสิทธิภาพในการผลิตของ


ก าลัง คน การยกระดับ คุ ณ ภาพของก าลัง คนนั ้น มีบ ทบาทในการสร้ า งผลผลิ ต และรายได้
ทัง้ นี้ การศึกษาเป็ นการลงทุนหนึ่งทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ ต่อการเพิม่ ค่าของทุนมนุ ษย์และยกระดับ
คุณภาพกาลังคน เนื่องจากการศึกษาเป็นส่วนสาคัญทีท่ าให้รายได้สูงขึน้ เกิดการพัฒนาทัง้ ทางตรง
ต่อตัวผูเ้ รียน และยังก่อให้เกิดประโยชน์ทางอ้อมต่อการพัฒนาประเทศและสังคมอีกด้วย
หากพิจารณาในภาพรวมของประเทศแล้ว จึงกล่าวได้ว่าการพัฒนากาลังคนเป็ นหนึ่งใน
ปจั จัยสาคัญที่ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ เพราะกาลังคนมีบทบาทต่อการพัฒนาด้านต่าง ๆ อย่างไรก็
ตามจากผลสารวจของ World Bank (2012) พบว่า ภาวะขาดแคลนทักษะของแรงงานกาลังเป็ น
อุปสรรคสาคัญอันดับหนึ่งสาหรับการทาธุรกิจในประเทศไทย โดยปจั จุบนั นี้วกิ ฤตการขาดแคลน
แรงงานด้านปริมาณและคุณภาพเพิม่ ความรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ การขาดแคลนแรงงานทัง้ ด้าน
ปริมาณและคุณภาพเป็ นปญั หาเชิงโครงสร้างที่มนี ัยสาคัญต่อความสามารถในการแข่งขันของไทย
ซึ่ง จะส่ งผลกระทบต่ อ การเจริญ เติบ โตอย่า งยังยื
่ น ในระยะยาวเนื่อ งจากประเทศไ ม่ส ามารถใช้
ทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ดังนัน้ การแก้ไขปญั หาการขาดแคลนแรงงานและพัฒนา
คุณภาพแรงงานอย่างต่อเนื่องจึงมีความจาเป็ นอย่างยิง่ หากประเทศไทยต้องการจะรักษาศักยภาพ
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจต่อไปอย่างเหมาะสม รวมทัง้ ก้าวไปสู่ประเทศโลกที่หนึ่งที่ ขบั เคลื่อน
เศรษฐกิจด้วยความรูแ้ ละนวัตกรรม(Innovation-driven Economy) ได้อย่างยังยื
่ น
ทัง้ นี้จากข้อมูลสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ (2554) แสดงให้เห็นว่า แรงงานทีม่ คี วามขาดแคลน
สูง ได้แก่ กลุ่มผู้ปฏิบตั ิงานโดยใช้ฝีมอื ในธุรกิจด้านเทคนิค ผู้ปฏิบตั งิ านในโรงงาน และพนักงาน
คนงานทัวไป

42
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 9: แรงงานที่ตอ้ งการและขาดแคลนจาแนกตามประเภทและอาชีพ


จานวน (คน)

120,000

100,000

80,000
ต้ องการ
60,000
ขาดแคลน
40,000

20,000

ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ (2554)

ปัญหาโครงสร้างของกาลังคนในประเทศไทย
การที่โครงสร้างของก าลังคนไม่ส ามารถตอบโจทย์ค วามต้อ งการของเศรษฐกิจ ไทยใน
ปจั จุบนั และอนาคตได้ส่วนหนึ่งเกิดจากความไม่สอดคล้องระหว่างอุปสงค์และอุปทานของแรงงาน
(Skill Mismatch) ทัง้ นี้จากการทบทวนเอกสารงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้องสามารถสรุป สภาพปญั หาสาคัญ
ได้เป็ น 2 ประเด็นหลักคือ (1) ความไม่สอดคล้องเชิงปริมาณ และ (2) ความไม่สอดคล้องเชิง
คุณภาพ โดยรายละเอียดของสถานการณ์ สรุปได้ดงั นี้
1) ความไม่สอดคล้องเชิงปริมาณ
จากผลการศึกษาของสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2554) พบว่าในหลายจังหวัด
มีการขาดแคลนแรงงานในกลุ่มแรงงานระดับมัธยมลงมา แต่ท่ผี ลิตเกินคือ แรงงานสายช่าง ปวช.
ปวส. และอุดมศึกษาขึน้ ไป ซึง่ มีการใช้น้อยในระดับกลุ่มจังหวัด โดยเฉพาะกลุ่มจังหวัดทีม่ รี ะดับการ
พัฒนาต่ามีเพียงบางจังหวัดเท่านัน้ ทีม่ สี าขาทีม่ อี ุปทานมากกว่าอุปสงค์
อย่างไรก็ตาม โดยทัวไปแล้ ่ ว พบว่าเกิดการขาดแคลนแรงงานในทุกกลุ่มโดยมีสดั ส่ วนที่
ใกล้เคียงกันอยูท่ ร่ี อ้ ยละ 60 ของความต้องการของผูป้ ระกอบการ (ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2556)
โดยเฉพาะในภาคการผลิต และภาคก่ อ สร้างที่ยงั คงพึ่งพาแรงงานพื้นฐานที่มกี ารศึกษาในระดับ

43
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

มัธยมศึกษาหรือต่ากว่าและระดับการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. และปวส.) ทีเ่ ป็ นแรงงาน


ไร้ฝีมอื และแรงงานกึง่ ฝีมอื เป็นจานวนสูง
นอกจากนี้ในตลาดแรงงานประเภททีม่ ที กั ษะ (High-skilled Labor) มีปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน้
ทีน่ ่ าสนใจเรียกว่า “ความขัดแย้งของอุปทานแรงงาน” (Supply Paradox) กล่าวคือมีการขาดแคลน
แรงงานในสาขาที่แรงงานประสบปญั หาการว่างงานในเวลาเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นบัณฑิตสาย
วิศวกรรมมีอตั ราว่างงานสูงกว่าสายวิชาอื่น (ยกเว้นสายวิทยาศาสตร์วชิ าการที่ตลาดแรงงานยังมี
จานวนจากัด ) ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรมปจั จุบนั มีอุปสงค์ต่อวิศวกรสูงซึ่งข้อสันนิษฐานเบื้องต้น
น่าจะมีสาเหตุมาจากการผลิตวิศวกรมากเกินไปหรือวิศวกรขาดทักษะความรูท้ ต่ี ลาดต้องการ
2) ความไม่สอดคล้องเชิงคุณภาพ
ความไม่ ส อดคล้อ งเชิง คุ ณ ภาพของแรงงาน กิด ขึ้น ทัง้ ด้ า นสมรรถนะพื้น ฐาน (Core
Competencies) และระดับวิชาชีพ (Functional Competencies) จากผลสารวจความคิดเห็นของ
ผูป้ ระกอบการ พบว่า แรงงานทุกกลุ่มยังมีช่องว่างระหว่างระดับสมรรถนะทีม่ อี ยู่จริงด้านต่าง ๆ กับ
ระดับสมรรถนะที่ค วามคาดหวังของสถานประกอบการ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความสามารถด้าน
คอมพิว เตอร์ ภาษาอัง กฤษ ทัก ษะในการวิเ คราะห์ แ ก้ ไ ขป ญ ั หา และความคิด สร้า งสรรค์ แ ละ
นวัตกรรม โดยสาเหตุหลักเนื่องมาจากการทีส่ ถาบันการศึกษามุ่งจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นปริมาณ
มากกว่าการสร้างขีดความสามารถ หลักสูตรยังอยู่ในห้องเรียนเป็ นส่วนใหญ่ ไม่มกี ารสอนให้คดิ
แก้ปญั หาในระดับการปฏิบตั งิ านจริงทาให้บุคลากรเมื่อจบการศึกษาแล้วยังคงขาดทักษะทีจ่ าเป็ นต่อ
โลกของการทางาน
จากการทบทวนเอกสารงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง พบว่า วิกฤตด้านกาลังคนของประเทศไทยใน
ปจั จุบนั มีสาเหตุ จากปจั จัยหลัก 3 ประการ คือ (1) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
(Demographic Change) (2) ผลิตภาพแรงงานของไทยยังอยู่ในระดับต่ า และระบบค่าตอบแทนที่
ยังไม่สอดคล้องกับผลิตภาพของแรงงาน (Labor Productivity) และ (3) ระบบการศึกษาผลิตแรงงาน
ทีไ่ ม่ตรงกับความต้องการของตลาด สรุปสาระสาคัญได้ดงั นี้
1) การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างประชากร (Demographic Change)
ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สงั คมผูส้ ูงอายุตงั ้ แต่ปี พ.ศ. 2548 โดยมีสดั ส่วนประชากรอายุ 60 ปี
ขึน้ ไปนับเป็นร้อยละ 10.5 ต่อประชากรทัง้ หมด1 การก้าวเข้าสู่สงั คมผูส้ งู อายุส่งผลให้ทาให้โครงสร้าง
ประชากรไทยมีความไม่สมดุล สัดส่วนประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานอายุ 15-60 ปีมจี านวนลดลง

1
ตามนิยามองค์กรสหประชาชาติ ประเทศทีก่ า้ วเข้าสู่สงั คมผูส้ งู อายุ (Aging Society) คือ ประเทศที่มสี ดั ส่วน
ประชากรอายุ 60 ปี ขน้ึ ไปสูงกว่าร้อยละ 10 หรือมีสดั ส่วนประชากรอายุ 65 ปี ขน้ึ ไปสูงกว่าร้อยละ 7 ของ
ประชากรทัง้ ประเทศ ส่วนประเทศทีเ่ ป็ นสังคมผูส้ งู อายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) คือ ประเทศที่มสี ดั ส่วน
ประชากรอายุ 60 ปี มากกว่าร้อยละ 20 และประชากรทีม่ อี ายุ 65 ปี มากกว่าร้อยละ 14 ของประชากรทัง้ ประเทศ
44
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ในขณะที่สดั ส่วนประชากรผูส้ ูงอายุมเี พิม่ สูงขึน้ จากประมาณร้อยละ 14.2 ของประชากรทัง้ หมดใน


ปจั จุบนั เพิม่ เป็ นร้อยละ 33 ในอีก 30 ปี ข้างหน้ า และจากสัดส่วนประชากรที่ไม่สมดุลนี้ ทาให้
อัตราส่วนการค้าจุนผู้สูงอายุของไทย (จานวนประชากรวัยแรงงานต่อผู้สูงอายุ 1 คน) จะลดลงมา
โดยตลอดในระดับทีร่ วดเร็ว จากระดับวัยแรงงาน 6.4 คนในปี 2550 เหลือเพียงวัยแรงงาน 2.4 คน
ต่อผูส้ ูงอายุ 1 คน ในปี พ.ศ. 2578 โครงสร้างประชากรดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าจานวนประชากรที่
เพิม่ ขึน้ ในอัตราต่ าไม่สามารถสร้างกาลังแรงงานใหม่เข้าสู่ตลาดแรงงานได้เพียงพอต่อการทดแทน
แรงงานที่จะเกษียณได้ทนั โดยเฉพาะในภาคการผลิต เนื่องจากมีความต้องการกลุ่มแรงงานอายุ
น้อยในช่วง 20-30 ปี ส่งผลให้เกิดปญั หาความไม่สอดคล้องของอุปสงค์และอุปทานของแรงงานด้าน
อายุในระยะยาว (ภาพที่ 10)

ภาพที่ 10: โครงสร้างประชากรประเทศไทยและการคา้ จุนผูส้ ูงอายุในระยะ 30 ปี ข้างหน้ า


โครงสร้างประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2513-2583
จานวน (ล้านคน)

60

40
วัยสูงอายุ

20 วัยแรงงาน
วัยเด็ก
0
2513 2555 2583

อัตราส่วนค้าจุนผูส้ งู อายุของประเทศไทย พ.ศ. 2503-2578 (Potential Support Ratio: PSR)

12 11.3
10.3
10
8 7 6.7 6.5 6.4
6
4.8
4 3.2
2.4
2 อัตราส่วนวัยแรงงาน / ผูส้ ูงอายุ 1 คน
0
2503 2523 2543 2548 2549 2550 2558 2568 2578

ั ้ ่ ยมรัษฏ์ (2555), สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล


ทีม่ า: โฆสิต ปนเปี

45
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2) ผลิตภาพแรงงานของไทยยังอยู่ในระดับตํา่ และระบบค่าตอบแทนทีย่ งั ไม่สอดคล้องกับ


ผลิตภาพของแรงงาน (Labor Productivity)
เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆแล้ว ผลิตภาพแรงงานของไทยยังถือว่าอยู่ในระดับต่ า อีก
ทัง้ ยังเพิม่ ขึน้ ในอัตราทีต่ ่ าเฉลีย่ เพียงร้อยละ 2.4 ต่อปี โดยส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากการทีโ่ ครงสร้าง
การผลิต ของไทยไม่ไ ด้เ อื้อ ต่ อ การเพิ่มผลิต ภาพแรงงาน ซึ่งจะเห็น ได้จากกลุ่ มอุ ต สาหกรรมที่ม ี
ความสาคัญของประเทศยังเน้นผลิตสินค้าที่มมี ูลค่าเพิม่ ต่ าและอาศัยความได้เปรียบในการแข่งขัน
จากการใช้แรงงานค่าแรงต่ าเป็ นหลัก นอกจากนี้หากพิจารณาในด้านความเป็ นธรรมทางเศรษฐกิจ
โดยเปรียบเทียบผลิตภาพแรงงานกับค่าจ้างที่แท้จริง จะพบว่าอัตราการเพิม่ ค่าจ้างขัน้ ต่ าที่แท้จริง
เพิม่ ขึน้ ต่ ากว่าผลิตภาพแรงงาน โดยช่วงปี พ.ศ. 2544-2553 ค่าจ้างขัน้ ต่ าเพิม่ ขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 2.2
น้อยกว่าผลิตภาพแรงงานที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 5.9 นอกจากนี้เมื่อเทียบกับผลกาไรของธุรกิจ
พบว่าอัตราการขยายตัวของกาไรของบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในช่วงปี 2544-2553
เพิ่มขึ้นร้อยละ 37.1 ต่ อปี สูงกว่าอัต ราการขยายตัว ของค่าจ้างขัน้ ต่ า และค่ าจ้างเฉลี่ย ซึ่งการที่
แรงงานได้ค่าจ้างไม่คุ้มค่าต่อผลิตภาพแรงงาน รวมทัง้ ความเหลื่อมล้าระหว่างผลตอบแทนแรงงาน
และทุน เป็ นปจั จัยสาคัญที่ทาให้แรงงานบางส่วนย้ายออกมาประกอบอาชีพอิสระในภาคเศรษฐกิจ
แบบไม่เป็ นทางการหรือนอกระบบ ซึ่งปจั จุบนั มีจานวนถึงร้อยละ 33.4 ของผู้มงี านทาทัง้ หมด
(ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2555)

46
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 11: เปรียบเทียบผลิ ตภาพแรงงานไทยกับต่างประเทศ (Comparative Labor Productivity


Performance)

Labor Productivity ($) (GDP per person employed) ,2011

70,000
ฮ่องกง

สิงคโปร์
ญี่ปนุ่ เกาหลี

มาเลเซียย

ไทย
อินโดนีเซีย จีน
อินเดีย
เวียดนาม

0 10 20

Annual Growth Labor Productivity (%) , 2001-2011

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยอาศัยข้อมูลจากธนาคารโลก

47
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 12: ผลิ ตภาพแรงงานไทยกับค่าจ้างที่แท้จริง

ค่าจ้างขันต
้ ่า ค่าจ้างทัวไปเฉลี
่ ย่ เทียบกับผลิตภาพแรงงาน และ GDP
200
180 ดัชนีผลิตภาพแรงงาน
160 ดัชนี Real GDP
140 ดัชนีค่าจ้างทั ่วไป
120 ดัชนีค่าจ้างขันต
้ ่า
100
80
60
40
20
0
2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553

ค่าจ้างขันต
้ ่า ค่าจ้างทัวไปเฉลี
่ ย่ เทียบกับผลิตภาพแรงงาน และ GDP
600
ดัชนีกาไรธุรกิจ
500
400
300
200
ดัชนีค่าจ้างทั ่วไป
100 ดัชนีค่าจ้างขันต
้ ่า

0
2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553

ทีม่ า: ธนาคารแห่งประเทศไทย (2555)

48
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3) ระบบการศึกษาผลิตแรงงานทีไ่ ม่ตรงกับความต้องการของตลาด
หากมองในประเด็นของการศึก ษาแล้ว จะพบว่า คนไทยมีแนวโน้ มของความต้อ งการใน
การศึกษาต่อในระดับที่สูงขึน้ มากขึน้ เป็ นผลสืบเนื่องมาจากการขยายโอกาสทางการศึกษารวมทัง้
นโยบายอุดหนุ นการศึกษา ที่มสี ่วนทาให้ส่วนต่างตอบแทน ระหว่างคนจบมหาวิทยาลัยกับมัธยม
ปลายมีแนวโน้มสูงขึน้ มาก (Wage Premium) นอกจากนี้การกาหนดค่าจ้างและการเลื่อนขัน้ การ
ทางานมัก จะถู ก ก าหนดตามวุฒกิ ารศึกษาที่สาเร็จมากกว่าความสามารถและประสบการณ์ ของ
แรงงาน (Degree-based Promotion) ปจั จัยเหล่านี้ทาให้นักเรียนนิยมเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา
มากกว่าปริมาณความต้องการของงานทีจ่ ะสามารถรองรับได้ในขณะทีค่ วามต้องการแรงงานในสาย
อาชีพหรืออาชีวศึกษามีความต้องการทีส่ ูงมากแต่จานวนนักเรียนทีเ่ ข้ามาศึกษาในระดับอาชีวศึกษา
(ปวช. และ ปวส.) นัน้ มีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆในแต่ละปี สาหรับในระดับอุดมศึกษาจากสถิตขิ อง
UNESCO พบว่ามีจานวนผูศ้ กึ ษาต่อสายวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม (Science and Engineering)
อยูเ่ พียงร้อยละ 20 เมือ่ เทียบกับประเทศสิงคโปร์ เกาหลีใต้ และมาเลเซียซึง่ อยู่ทป่ี ระมาณร้อยละ 40
ในขณะทีจ่ านวนผูศ้ กึ ษาต่อสายสังคมศาสตร์ บริหารธุรกิจและกฎหมายของประเทศไทยสูงถึงร้อยละ
60 เมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ซึง่ มีค่าเฉลีย่ อยู่ทป่ี ระมาณร้อยละ 20-30 เท่านัน้ นอกจากนี้ยงั พบว่า
การขาดแคลนแรงงานยังเกิดจากการทีค่ ุณภาพของผูส้ าเร็จการศึกษาทีเ่ ป็ นทีต่ ้องการของนายจ้างมี
อยู่อ ย่ า งจ ากัด กล่ า วคือ บัณ ฑิต ส่ ว นใหญ่ ข าดทัก ษะในการปฏิบ ัติง านที่จ าเป็ น เช่ น ขาดความ
เชีย่ วชาญในภาษาต่างประเทศ การใช้คอมพิวเตอร์ หรือความรูค้ วามสามารถในเชิงเทคนิคซึง่ ทาให้
ถูกปฏิเสธจากตลาดแรงงานซึ่งมีสาเหตุมาจากการที่สถาบันการศึกษายังเน้นการจัดการเรียนการ
สอนตามความต้องการของผูผ้ ลิต (Supply-driven) ไม่ได้จดั ตามความต้องการของผูใ้ ช้ (Demand-
driven)

49
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 13: สัดส่วนผูเ้ รียนระดับมัธยมปลายสายสามัญต่ออาชีวศึกษา

40 41 40 39 37 36

สายอาชีวศึกษา
สายสามัญ
60 59 60 61 63 64

2548 2549 2550 2551 2552 2553

ทีม่ า: สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2555)

ตารางที่ 4: ช่องว่างของความต้องการแรงงานเชิ งคุณภาพกับผลผลิ ตจากสถาบันการศึกษา


ภาคธุรกิ จ สถาบันการศึกษา ช่องว่าง (Gap)
ใช้เ ทคโนโลยีข นั ้ สูง และเฉพาะทาง ใช้ เ ทคโนโลยี ท่ี ค ร่ า ครึ ความรู้ ย ัง ขาดความรูแ้ ละข้อมูลทางเทคโนโลยี
ต้องการความรูเ้ ชิงสห-วิทยาการมาก แบ่ ง แยกตามภาควิช าอย่ า งชัด เจน การเรีย นรู้ไม่ได้เน้ นการปฏิบตั ิหรือ
ขึน้ (Interdisciplinary) (Departmentalized) เอามาใช้ในชีวติ การทางานจริง
มี ส่ ว นร่ ว มในการพัฒ นาหลัก สู ต ร จัด ท าหลัก สูต รตามความสามารถ ขาดกลไกในการบูรณาการหลักสูตร
ค่อนข้างน้อย ของผูส้ อน/สิง่ ทีผ่ สู้ อนคิดว่าเหมาะสม ในโรงเรีย นและความต้ อ งการของ
ตลาดแรงงาน
ให้ความสาคัญกับทักษะการวิเคราะห์ ให้ค วามส าคัญ กับ การเรีย นทฤษฎี ขาดวิธกี ารในการส่งเสริมให้คนเป็ นผู้
(Analytical Skills) และการแก้ปญั หา และการสอบวั ด ผลมากกว่ า การ ทีส่ ามารถเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง (Self-
(Problem-Solving) เรียนรู้ (Self-learning) learner)
ต้ อ งการบุ ค ลากรที่ มี ค วามรู้ แ ละ วิ ช าสถิ ติ แ ละการบริ ห ารจั ด การ ความรู้หรือทักษะที่มคี วามจาเป็ นใน
ทักษะในการทางาน เช่นความรู้ดา้ น คุณภาพเป็ นเพียงวิชาเลือก นักเรียน โลกการท างานไม่ ไ ด้ถู ก น ามาสอน
สถิ ติ ข ั ้น พื้ น ฐานและการบริ ห าร เลือกเรียนค่อนข้างน้อย หรือไม่ใช่วชิ าบังคับ
จัดการคุณภาพ (QM)
ต้ อ งการทั ก ษะความรู้ เช่ น การ แม้ วิ ช าภาษาอั ง กฤษจะเป็ นวิ ช า ข า ด ทั ก ษ ะ ที่ จ า เ ป็ น ต่ อ ก ร ะ แ ส
สื่ อ ส า ร ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ก า ร ใ ช้บั ง คั บ แ ต่ นั ก เ รี ย น ไ ม่ ไ ด้ ใ ห้ โ ล ก า ภิ วั ฒ น์ คื อ ก า ร สื่ อ ส า ร
คอมพิวเตอร์ในกระบวนการบริหาร ความสาคัญ การเรียนคอมพิวเตอร์ ภาษาต่ า งประเทศและการใช้ ง าน
จัดการการทางาน ไม่สามารถนามาประยุกต์ใช้กบั การ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
ทางาน
ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

50
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ปจั จัยความสําเร็จระบบการจัดการศึกษาแบบอิงกับการทํางาน (Work-based Learning)


จากงานศึกษาของนิพนธ์ พัวพงศกร ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ และดิลกะ ลัทธพิพฒ ั น์ (2555)
ได้ศกึ ษาและวิเคราะห์ระบบการจัดการศึกษาแบบอิงกับการทางาน (Work-based Learning) ของ
สถาบันการศึกษาที่จดั ตัง้ หรือ ได้รบั การสนับสนุ นจากภาคเอกชน 5 แห่ง ผลการศึกษาพบว่า
ความสาเร็จของสถาบันทุกแห่งมีปจั จัยแห่งความสาเร็จร่วมกันทีส่ าคัญ ได้แก่
- นวัตกรรมการสร้างหลักสูตรและวิธกี ารเรียนการสอนทีส่ ามารถตอบสนองความ
ต้องการของภาคธุรกิจ
- นักศึกษาทีจ่ บการศึกษาได้งานทาทัง้ หมด
- ระบบบริหารเอกชนมีความคล่องตัว ผูบ้ ริหารมีความรับผิดชอบ
นอกจากนี้เบื้องหลังความสาเร็จทุกโครงการมีบุคคลสาคัญที่วงการธุรกิจให้ความเชื่อถือ
เป็ นผูใ้ ห้แนวคิด ผลักดัน และประสานงานในช่ วงจังหวะระยะเวลาที่ภาครัฐมีนโยบายและกฎหมาย
เอือ้ อานายให้ภาคเอกชนเข้ามาจัดการศึกษา

จากการทบทวนวรรณกรรม สามารถสรุปได้ว่าองค์ประกอบทีค่ วรต้องมีการคานึงถึงในการ


พัฒนาการศึกษาเพื่อให้สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ของการศึกษาตามที่ตงั ้ ไว้ควรประกอบไปด้วย
การตัง้ เป้าประสงค์หลักของการจัดการศึกษาทีม่ คี วามสมดุลในทุกด้านและมีความชัดเจน การพัฒนา
ระดับบุคคลเพื่อให้มอี งค์ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่สอดคล้องกับบริบทการเปลี่ยนแปลงใน
ศตวรรษที่ 21 การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรูท้ ่เี อื้อต่อการพัฒนาศักยภาพของผูเ้ รียน รวมทัง้
การพัฒนาระบบบริหารจัดการและเครื่องมือเชิงนโยบายในด้านการศึกษา ซึ่งองค์ประกอบต่าง ๆ
เหล่านี้ได้นาไปสู่การกาหนดกรอบแนวคิดและวิธกี ารศึกษาของรายงานวิจยั ในบทต่อไป

51
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

บทที่ 3
กรอบแนวคิดและวิธีการศึกษา

3.1 กรอบแนวคิ ดในการศึกษา

การศึกษาถือเป็ นตัวชี้วดั หลักตัวหนึ่งในการพิจารณาขีดความสามารถการแข่งขันในระยะ


ยาว (Long Term Competitiveness) ของทุกประเทศ เนื่องจากเป็ นเครื่องมือหลักในการพัฒนา
ประชากรและสังคมให้เป็ นไปตามเป้าประสงค์ท่แี ต่ ละประเทศกาหนดไว้ ดัง นัน้ ประสิทธิผลของ
การศึกษาจึงส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาทุกมิตทิ ่เี กี่ยวข้องกับมนุ ษย์และสังคม หลายประเทศจึงยก
ให้ก ารศึก ษาเป็ น วาระแห่ ง ชาติ โดยการวางแผนระบบการศึก ษ าให้ ส ามารถขับ เคลื่อ นไปสู่
ความสาเร็จ ในการพัฒ นาทรัพ ยากรมนุ ษ ย์แบบองค์ร วมได้นัน้ ย่อ มต้อ งมีค วามเข้า ใจลึก ซึ้ง ใน
องค์ประกอบอันหลากหลายที่เกี่ยวข้องกัน รวมทัง้ ต้องสร้างความชัดเจนในการกาหนดบริบทของ
ระบบการศึกษา รวมทัง้ วิสยั ทัศน์ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทต่ี ้องสอดคล้อ งกับวิสยั ทัศน์ของการ
พัฒนาประเทศอีกด้วย
นอกจากการศึกษาจะนาพาประเทศไปสู่การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจแล้ว การศึกษาและ
การเรียนรู้ยงั เป็ นกลไกหนึ่งในการนาไปสู่การพัฒนาสังคม วัฒนธรรม ภายใต้การบริหารจัดการ
ทรัพ ยากรและสิ่งแวดล้อ มให้มกี ารเติบโตอย่างยังยื
่ น ตลอดจนสร้างรากฐานทางการเมือ ง การ
ปกครองของประเทศที่แข็งแกร่ง รวมทัง้ เป็ นหนึ่งในปจั จัยที่ทาให้คนมีชวี ติ ความเป็ นอยู่ท่ดี ขี ้นึ มี
ความอยูด่ มี สี ุข (Well-being)
บริบททีส่ าคัญในการพิจารณาการศึกษาเพื่อนาพาประเทศเข้าสู่ยุคถัดไปก็คอื การก้าวผ่าน
จากศตวรรษที่ 20 เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ทีก่ าลังเกิดขึน้ ทัง้ นี้ประเทศในประชาคมโลกได้รบั ผลกระทบ
อย่างต่อเนื่องภายใต้พลวัตโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและรุนแรง เช่น การเพิม่ โอกาสการ
เข้าถึงและสร้างข้อมูลของสาธารณชน ความขัดแย้งทีร่ นุ แรงและภัยก่อการร้าย ความเสื่อมโทรมของ
สภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ การเปลี่ยนภูมทิ ศั น์เศรษฐกิจจากการก้าวขึน้ มาของเอเชีย
การถดถอยของเศรษฐกิจอเมริกาและยุโรป การเชื่อมโยงไทยกับภูมภิ าคอาเซียนและภูมภิ าคอื่นๆ
และการเชื่อมโยงประเทศไทยเข้ากับเวทีโลก เป็ นต้น ดังนัน้ ประเทศที่จะสามารถยืนหยัดอยู่ได้จงึ
จาเป็นต้องมีศกั ยภาพในการตอบสนองและใช้ประโยชน์จากกระแสดังกล่าว ดังนัน้ การเตรียมคนไทย
ให้พร้อมกับการตอบสนองกับความท้าทายเหล่านี้ควรเป็ นเป้าหมายหลักของการศึกษาไทย และเป็ น

53
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ความท้าทายกับภาคการศึกษาที่มบี ทบาทในการผลิตบุคลากร สามารถสร้างคนให้เท่าทันกับการ


เปลีย่ นแปลงของโลก
จากบริบทการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว นามาสู่ประเด็นคาถามต่อเนื่องทีส่ าคัญสามประการ คือ
ประการแรก คนไทยในศตวรรษที่ 21 ควรจะเป็นเช่นไร
ประการทีส่ อง คนไทยในปจั จุบนั และคนไทยในศตวรรษที่ 21 ที่พงึ ประสงค์ยงั มีช่องว่าง
(Gap) ด้านใดอยู่
ประการทีส่ าม การศึกษาและการเรียนรูจ้ ะสร้างคนเหล่านัน้ ขึน้ มาได้อย่างไร
บริบทความเปลี่ยนแปลง และประเด็นคาถามดังกล่าวข้างต้น นามาซึ่งการกาหนดกรอบ
แนวคิดในการศึก ษาครัง้ นี้ โดยกรอบแนวคิดในการศึกษาแบ่งเป็ น 2 ส่ว น คือ บริบทการ
เปลี่ยนแปลงสาคัญทีม่ ผี ลกระทบต่อประเทศไทย ระบบการศึกษาเรียนรูภ้ ายใต้บริบทประเทศไทย
และองค์ประกอบของระบบการศึกษาไทย
กรอบแนวคิดแรกนัน้ ได้นาไปสู่ขอ้ สรุปสาหรับวัตุถุประสงค์ขอ้ แรกของการวิจยั นัน่ คือ เพื่อ
ศึกษาสภาวการณ์การเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ทีม่ นี ัยสาคัญต่อการจัดการศึกษาไทย
และกาหนดภาพรวมของเป้าประสงค์หลักของการจัดการศึกษาของไทย ในขณะที่กรอบแนวคิดที่
สองได้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์เพื่อตอบโจทย์วตั ถุประสงค์ขอ้ ทีส่ องและสามของงานวิจยั นัน่ คือ
เพื่อ ศึก ษาวิเ คราะห์ประเด็นท้าทายของการจัด การศึกษาของไทยในการบรรลุ เ ป้าประสงค์ห ลัก
ภายใต้บริบทของการเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 และเพื่อจัดทาข้อเสนอแนะแนวทางการ
พัฒนาการศึก ษาไทยเพื่อ เตรียมความพร้อ มสู่ศ ตวรรษที่ 21 รวมทัง้ กลไกขับ เคลื่อ นของระบบ
การศึกษาทีจ่ ะสามารถผลักดันแนวทางการพัฒนาจากภาคทฤษฏีไปสู่ภาคปฏิบตั ิ ตามลาดับ

3.1.1 บริ บทการเปลี่ยนแปลงสาคัญที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย


ในปจั จุบนั ประเทศไทยกาลังเข้าสู่ยคุ แห่งการเปลีย่ นแปลง โดยมีแรงขับเคลื่อนและแนวโน้ม
สาคัญ (Forces and Trend) ทีก่ ระทบต่อภาพคนไทยในศตวรรษที่ 21 ทัง้ ในระดับมหภาค (Macro
Level) และระดับจุลภาค (Micro Level) แรงขับเคลื่อนและแนวโน้มทีส่ าคัญเหล่านี้ ได้แก่ แนวโน้ม
การเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trend) แรงขับเคลื่อนในระดับภูมภิ าค อาทิ การรวมกันเป็ น
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) สาหรับระดับจุลภาคหรือในระดับประเทศไทยเองก็ม ี
ประเด็นท้องถิน่ (Local Issues) หลายประการทีส่ าคัญ เช่น การติดกับดักประเทศรายได้ปานกลาง
(Middle Income Trap) ปญั หาความเหลื่อมล้า การพัฒนาโดยใช้ทรัพยากรอย่างสิน้ เปลืองไม่เป็ น
มิตรกับสิง่ แวดล้อม ยังไม่เป็ นการพัฒนาอย่างยังยื่ น หรือแม้กระทังวิ
่ กฤตความมันคง
่ 3 จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ การพัฒนาเปลีย่ นแปลงของครัวเรือน เป็นต้น

54
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

แรงขับเคลื่อนและแนวโน้มจะมีความสาคัญอย่างยิง่ ต่อภาพเป้าประสงค์คนไทยในศตวรรษที่
21 ทัง้ ในด้านการปรับตัวให้สอดคล้องกับแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของโลกและภูมภิ าค การแสวงหา
ประโยชน์และโอกาสจากการทีโ่ ลกไร้พรมแดน โอกาสจากการเข้าถึงองค์ความรูร้ ะดับโลก (Global
Knowledge) อย่ า งมหาศาลในยุค ดิจ ิท ัล โอกาสจากการรวมกลุ่ ม ความร่ว มมือ เศรษฐกิจ หรือ
แม้กระทังการเตรี
่ ยมความพร้อมภายในประเทศไทย เตรียมความพร้อมของคนไทย ทัง้ ทีอ่ ยู่ในระบบ
การศึกษา นอกระบบการศึกษา หรือแม้กระทังคนไทยทุ
่ กคนทีอ่ ยู่ในสังคมนี้ ให้พร้อมปรับตัวเข้ากับ
ศตวรรษที่ 21 ได้อย่างดี เพื่อให้คนไทยสามารถเป็ นคนทีม่ ศี กั ยภาพ เป็ นทุนมนุ ษย์ทม่ี คี ุณค่าในการ
นาพาประเทศให้มคี วามเจริญมังคั ่ งทางเศรษฐกิ
่ จ มีความอยู่ดมี สี ุขและนาไปสู่การสร้างรากฐานทาง
สังคมทีม่ นคงั ่ 4 มิติ ได้แก่
- ความมันคงทางด้
่ านเศรษฐสังคม (Socio-Economic Security)
- การให้โอกาสแก่คนทุกกลุ่มในด้านต่างๆ (Social Inclusion)
- การเสริมสร้างพลังทางสังคม (Social Empowerment)
- ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคม (Social Cohension)

ภาพที่ 14: บริบทการเปลี่ยนแปลงสาคัญที่มีผลกระทบต่อประเทศไทยและภาพคนไทยในศตวรรษที่ 21

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

จากภาพที่ 14 แสดงให้เห็นถึงประเทศไทยในศตวรรษที่ 21 ซึง่ ถูกกระทบโดยบริบทการ


เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะมีผลกระทบและนัยสาคัญต่อภาคการศึกษาเรียนรู้ของประเทศไทย โดย
สามารถแบ่งการเปลีย่ นแปลงออกเป็น 3 ระดับได้แก่

55
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

1) แนวโน้ มการเปลีย่ นแปลงของโลก (Global Trend)


- พลวัตการเปลีย่ นแปลงโลกจากการก้าวผ่านจากศตวรรษที ่ 20 เข้าสู่ศตวรรษ
ที ่ 21 โดยสิง่ ทีโ่ ลกจะเปลีย่ นไปจากศตวรรษที่ 20 สู่ศตวรรษที่ 21 สรุปเป็ นประเด็น
สาคัญ ได้ 3 กระแส ได้แก่ กระแสการเปลี่ยนแปลงจาก American Century สู่
Asian Century กระแสการเปลีย่ นจากยุคแห่งความมังคั ่ ง่ สู่ยุคแห่งความสุดโต่ง ทัง้
ธรรมชาติ การเมือง และธุรกิจ และกระแสการเริม่ เปลีย่ นแกนอานาจจากภาครัฐและ
เอกชน สู่ภาคประชาชน (Citizen Centric Governance) หรือประชาภิบาล
- แนวโน้ มใหญ่ ทีส่ าคัญของโลก (Mega Trend) ซึ่งเป็ นบริบทใหม่ของโลกที่ม ี
ความสาคัญ อาทิ การเพิม่ ขึน้ ของประชากรโลก การเข้าสู่สงั คมสูงอายุ ความเป็ น
เมืองทีเ่ พิม่ ขึน้ การปฏิวตั ทิ างเทคโนโลยีส่อื สารและสารสนเทศ เป็นต้น
2) แรงขับเคลือ่ นในระดับภูมิภาค
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของภูมภิ าคต่างๆของโลกมากขึน้ โดยกรอบความร่วมมือที่ม ี
ความสาคัญใกล้ชดิ กับประเทศไทยมาก คือ การรวมกันเป็ นประชาคมอาเซียน (ASEAN
Community) และการรวมกลุ่ ม ของเอเชียตะวัน ออก (Regional Comprehensive
Economic Partnership: RCEP)
3) ประเด็นภายในประเทศไทย (Local Issues)
ในการศึกษาครัง้ นี้นอกจากจะให้ความสาคัญกับบริบทการเปลี่ยนแปลงระดับโลกและ
ระดับภูมภิ าคแล้ว ยังให้น้ าหนักความสาคัญอย่างมากกับประเด็นภายในประเทศไทย
เอง และจะพิจารณากับความเชื่อมโยงเรื่องการศึกษาของไทย กับการพัฒนาคนไทยไป
กับยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ทีไ่ ด้กาหนดไว้ 4 ยุทธศาสตร์หลักอีกด้วย
- ประเด็นปัญหาภายในประเทศไทย (Local Issues) อาทิ ความเหลื่อมล้ากับดัก
ประเทศรายได้ปานกลางวิกฤตด้านความมันคง ่ การเปลีย่ นแปลงทางครัวเรือน เช่น
ครอบครัวเลีย้ งเดีย่ วเป็นต้น
- ยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategy) ซึ่งประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์
หลัก ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Growth
& Competitiveness) (2) ยุทธศาสตร์สร้างโอกาสบนความเสมอภาคและเท่าเทียม
กันทางสังคม (Inclusive Growth) (3) ยุทธศาสตร์การเติบโตบนคุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็ น
มิตรกับสิง่ แวดล้อม (Green Growth) (4) ยุทธศาสตร์ปรับสมดุลและพัฒนาระบบ
การบริหารจัดการภาครัฐ

56
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

จากการวิเ คราะห์บริบทดังกล่ าว จะสามารถเข้าใจได้ถึงสิ่งที่ระบบการศึกษาจาเป็ นต้อ ง


ตอบสนองได้ ทัง้ ในระดับมหภาคเชิงระบบทีถ่ ูกวิเคราะห์ผ่านการวางแผนกาลังคน และระดับปจั เจก
ซึง่ เป็นคุณลักษณะของคนไทยทีส่ ามารถตอบสนองกับความท้าทายเหล่านี้ได้
ค าถามที่ส าคัญ ในเรื่อ งการพัฒนาการศึกษาและคนไทยยังมีอีกหลายค าถาม เช่น หาก
การศึก ษาเป็ น กลจัก รหนึ่ ง ในการพัฒ นาประเทศมิติต่ า งๆ แล้ว ภายใต้ส ถานการณ์ บ ริบ ทการ
เปลีย่ นแปลงเหล่านี้ การศึกษาของประเทศไทยตอบโจทย์หรือไม่ การศึกษาของประเทศไทยจะผลิต
คนไทยทีพ่ ร้อมและเหมาะสมกับศตวรรษที่ 21 ได้อย่างไร บทบาทของภาครัฐ การกาหนดนโยบาย
หรือ บทบาทภาคส่ ว นอื่น ๆ ในสัง คมควรเป็ น เช่ น ไร รวมไปถึง ประเด็น เรื่อ งประสิท ธิภ าพและ
ประสิทธิผลของการศึกษา ประเด็นความเหลื่อมล้ากับการศึกษา ประเด็นการเข้าถึงการศึกษาและ
การกระจายโอกาสทางการศึกษา ตลอดจนโอกาสหรือความเป็ นไปได้ในการอาศัยการศึกษาเป็ น
เครือ่ งมือในการพัฒนาประเทศและช่วยแก้ไขประเด็นปญั หาภายในประเทศด้านต่าง ๆ ดังทีก่ ล่าวมา
ข้างต้น ฉะนัน้ ทาอย่างไรให้เด็กทีอ่ ยู่ในระบบการศึกษา ครอบครัว หรือคนไทยทัง้ หมดพร้อมที่จะ
เปลีย่ นแปลง ก้าวเดินต่อไปร่วมกันทัง้ สังคม
การศึก ษาจึง มิใ ช่ เ ป็ น เพีย งการผลิต คนเพื่อ เข้า สู่ ต ลาดแรงงานเท่ า นั น้ หากแต่ อ าศัย
การศึกษาเป็ นเครื่องหล่อหลอมคนไทยให้มกี ารพัฒนาทัง้ ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านจิตใจ หล่อ
หลอมให้คนไทยเป็นคนทีส่ มบูรณ์ เป็นพลเมืองโลก (Global Citizen) อนึ่ง จากพลังในการขับเคลื่อน
โลกในศตวรรษที่ 21 และการขับเคลื่อ นสังคมไทยในยุค ใหม่น้ี ทาให้ประเทศไทยจะต้อ งให้
ความสาคัญกับความรูแ้ ละคุณธรรมมากยิง่ ขึน้ ประเทศไทยจะต้องร่วมมือกันทุกภาคส่วน ทัง้ ภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาชนเพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่สงั คมยุคใหม่ทย่ี ัง่ ยืน กล่าวคือ สังคมทีส่ ามารถ
สังคมแห่งโอกาส สังคมที่เป็ นธรรม และสังคมที่มคี ุณธรรม โดยการพัฒนาการศึกษาอย่างพหุมติ ิ
โดยเน้นการพัฒนาการศึกษาทัง้ ด้านความรู้ ทักษะ และจิตใจ (Head, Hand, Heart)
3.1.2 ระบบการศึกษาเรียนรู้ภายใต้ บริ บทประเทศไทยและองค์ประกอบของระบบ
การศึกษาไทย
กรอบแนวคิดเรือ่ งระบบการศึกษาเรียนรูภ้ ายใต้บริบทประเทศไทยแบ่งเป็ นประเด็นความ
เชื่อมโยงทีส่ าคัญ 2 มิติ (ภาพที่ 15) กล่าวคือ
มิ ติแรก ความเชื่อมโยงของระบบการศึกษาตัง้ แต่ การปัจจัยเข้า (Input) ผลผลิ ต
(Output) ผลลัพธ์และกระทบทางเศรษฐสังคม (Socio-Economic Outcome and Impact)
ในอดีตที่ผ่านมา การศึกษาของประเทศไทยมีการพัฒนาอย่างแยกส่ วนออกจากวิถีชวี ิต
แยกส่วนจากบริบทของสังคม โดยเฉพาะอย่างยิง่ สังคมในชนบททีม่ วี ถิ กี ารใช้ชวี ติ ทีแ่ ตกต่างจากใน
บทเรียน บ่อยครัง้ จึงถู กตัง้ ค าถามจากครอบครัว ว่า เรียนไปแล้ว ได้อะไร และมีจานวนไม่น้อ ยที่
ผูเ้ รียนทีม่ าจากครอบครัวฐานะยากจนต้องลาออกไปกลางคัน เนื่องจากครอบครัวไม่เห็นประโยชน์

57
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

จากการเรียน ทาให้ผเู้ รียนสูญเสียโอกาสจากการเรียนหรือโอกาสทีจ่ ะมีรายได้เพิม่ ขึน้ ในอนาคตเมื่ อ


จบการศึกษาในระดับทีส่ ูงขึน้ หรือปญั หาอีกประการทีพ่ บบ่อย คือ ผูส้ าเร็จการศึกษามักไม่สามารถ
ทางานได้ทนั ที ต้องมีการฝึกฝนความรู้ ทักษะเพิม่ เติม
ตลอดเกือบสองทศวรรษทีผ่ ่านมาของประเทศไทยได้ทุ่มเททรัพยากร และงบประมาณให้กบั
ภาคการศึกษาอย่างมากมาอย่างต่อเนื่อง ในระดับที่ไม่น้อยไปกว่าประเทศอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น การ
จัดสรรงบประมาณการศึกษาสูงถึงประมาณร้อยละ 20 ของงบประมาณแผ่นดิน หรือคิดเป็ นร้อยละ 4
ของ GDP แต่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษาของประเทศไทยกลับไม่น่าพึงพอใจนัก หรือผลผลิตทาง
การศึกษา (Education Output) อยู่ในระดับต่ ากว่าค่าเฉลีย่ ของประเทศทัวโลกที ่ ใ่ ส่ปจั จัยเข้า (input)
ในระดับ ใกล้ เ คีย งกัน ดัง นั ้น จึง เป็ น ประเด็น ค าถามที่ส าคัญ ว่ า เกิ ด จากเหตุ ผ ลใด เกิด จาก
ประสิทธิภาพ (Efficiency) หรือไม่อย่างไร เกิดจากปรัชญาทางการศึกษา หรือพืน้ ฐานทางการศึกษา
หรือเนื่องมาจากนโยบายที่เกี่ยวข้อง หรือบริบททางสังคมวัฒนธรรมการเรียนรู้ของประเทศไทย
หรือแม้แต่ปจั จัยส่วนบุคคลและพืน้ ฐานทางเศรษฐสังคมของครอบครัวผูเ้ รียนเอง
ในการศึก ษาส่ ว นนี้ ย ัง จะพิจ ารณาถึง ความเชื่อ มโยงของการศึก ษาไปยัง ผลลัพ ธ์แ ละ
ผลกระทบทางเศรษฐสังคม (Socio-Economic Outcome and Impact) ในระดับประเทศอีกด้วย ใน
อดีตที่ผ่านมา แม้ภาคการศึกษาจะยังไม่สามารถผลิตกาลังคนได้สอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาดแรงงานมากนัก แต่เศรษฐกิจของประเทศไทยก็ยงั เติบโตและขยายตัวได้ นัน่ สะท้อนให้เห็นถึง
การเติบโตบนพืน้ ฐานของการพึง่ พาทุนด้านอื่น มากกว่าจะเป็ นการอาศัยทุนมนุ ษย์ในการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจของประเทศอย่างเต็มที่ ฉะนัน้ ในอนาคตข้างหน้านี้ หากประเทศไทยสามารถผลิตกาลังคน
จากภาคการศึกษา หรือแม้กระทังยกระดั ่ บศักยภาพกาลังคนที่อยู่นอกภาคการศึกษาทัง้ สังคมให้
สามารถเป็ น ทุนมนุ ษ ย์ท่เี ต็มเปี่ ย มไปด้ว ยศัก ยภาพ มีค วามรู้ และคุ ณ ธรรมแล้ว ย่อ มก่ อ ให้เ กิด
ผลลัพ ธ์แ ละผลกระทบที่ดีอ ย่างมากต่ อ ภาพรวมของประเทศ ทัง้ การขยายตัว ทางเศรษฐกิจ ขีด
ความสามารถในการแข่งขัน ผลิตภาพแรงงาน การพัฒนามนุ ษย์ คุณภาพชีวติ และความอยู่ดมี สี ุข
รวมทัง้ การเป็นพลเมืองทีก่ ระตือรือร้น เป็นพลังสาคัญของการพัฒนาประเทศไทยต่อไป

มิ ติที่สอง การศึกษาระบบการศึกษาเรียนรู้ภายใต้ บริ บทประเทศไทยทัง้ ภายในระบบ


การศึกษา (Education Sector) และภาคส่วนอื่นที่เกี่ยวข้อง อาทิ การศึกษาแบบไม่เป็ นทางการ
ประเด็นทางสังคม วัฒนธรรม และภาคส่วนอื่น ๆ อันมีบทบาทสาคัญต่อการศึกษาเรียนรูต้ ลอดชีวติ
ของประชาชนคนไทย ซึ่งบริบทเหล่านี้มคี วามเชื่อมโยง มีอทิ ธิพล ส่งผลกระทบต่อภาคการศึกษา
การผลิตกาลังคนทีเ่ ข้าสู่ตลาดแรงงาน เป็นทรัพยากรมนุษย์อนั เป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ

58
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 15: กรอบแนวคิ ดระบบการศึกษาเรียนรูภ้ ายใต้บริบทประเทศไทย

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

59
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ในการวิเคราะห์ระบบการศึกษาเรียนรูข้ องประเทศไทยในการศึกษาครัง้ นี้ประกอบด้วย


การศึกษา 4 โมดูล ได้แก่
โมดูล 1: เป้ าประสงค์หลักระดับมหภาค (Macro Objective)
การศึก ษาส่ วนนี้จะพิจารณาทัง้ เป้าประสงค์หลักของประเทศไทย และเป้าประสงค์ห ลักของ
การศึกษา (Objective Function) ของประเทศไทย โดยจะวิเคราะห์ภาพสถานการณ์ในปจั จุบนั ว่ามี
ความชัด เจนในการก าหนดเป้าประสงค์ห ลัก ของประเทศและเป้ าประสงค์หลักของการศึกษาควบคู่
สอดคล้องไปด้วยกันหรือไม่อย่างไร และในปจั จุบนั การศึกษาไทยเป็ นกลจักรในการพัฒนาประเทศให้
บรรลุตามเป้าประสงค์หลักของประเทศไทย (Thailand Objective Performance) ได้มากน้อยเพียงใด

เป้ าประสงค์หลักของประเทศไทย
เป้าประสงค์หลักของประเทศไทยเป็ นภาพทีส่ ะท้อนองค์ประกอบต่างๆทีส่ าคัญของประเทศ ทัง้
ด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม โครงสร้างพืน้ ฐาน สิง่ แวดล้อม การศึกษา
โดยในการศึก ษาและก าหนดเป้ า ประสงค์ห ลัก ของประเทศไทยจะศึก ษาทบทวนภาพรวม
เป้าประสงค์หลัก ผลการด าเนิ นงานหรือการจัดอันดับของประเทศไทยในมิติต่ างๆ ที่สาคัญ ทัง้ ด้าน
เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิง่ มิตดิ า้ นการศึกษา การพัฒนาคน รวมทัง้ ศึกษานโยบาย
ทีเ่ กี่ยวข้องทัง้ ในส่วนของนโยบายการศึกษา (Education Policy) นโยบายแรงงาน (Labor Policy) การ
วางแผนกาลังคน (Manpower Planning) การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน (Infrastructure Development)

เป้ าประสงค์หลักของการศึกษา (Objective Function) ของประเทศไทย


เป้าประสงค์หลักการศึกษา คือ เป้าหมายปลายทางสุดท้ายว่าประเทศไทยจะจัดการศึกษาไป
เพื่อสิง่ ใด กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คอื เป็ นการพิจารณา “ผลลัพธ์ของระบบการศึกษา” (Education Output)
ของประเทศไทยผ่ า นการวิเ คราะห์แ ละสัง เคราะห์แ นวโน้ มเหตุ ก ารณ์ ใ นอนาคตเทียบกับปจั จุบนั ว่ า
ประชาชนไทยจะต้องเผชิญกับสภาวการณ์รูปแบบใดบ้าง มีความร้ายแรงเพียงใด และประชาชนไทย
จาเป็ นจะต้องมีคุณลักษณะและความสามารถใดบ้าง จึงจะสามารถอยู่ รอดและตัง้ รับกับชุดของโอกาส
ความเสีย่ ง และความท้าทายทีจ่ ะตามมาในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ประเทศไทยก้าวเข้าสู่
อนาคตได้อย่างเต็มภาคภูม ิ
จากเป้าประสงค์หลักทีต่ งั ้ ไว้น้ี จะนาไปสู่การวิเคราะห์หาประเด็นท้าทายทีย่ งั คงเป็ นปญั หาอยู่ใน
ปจั จุบนั รวมถึงปจั จัยที่จะช่วยส่งเสริมการพัฒนาการศึกษาไทย โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ช่องว่าง
ระหว่างภาพในอนาคตทีพ่ งึ ประสงค์กบั สภาพความเป็นจริง (Gap Analysis) และแบบจาลองศึกษาปจั จัย
ทีส่ ่งผลต่อผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษา

60
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การวิเคราะห์ช่องว่างระหว่างภาพในอนาคตทีพ่ งึ ประสงค์กบั สภาพความเป็ นจริง


การศึกษาในส่วนนี้จะทาการวิเคราะห์ช่องว่างจากเป้าประสงค์หลักการศึกษา (Should Be) กับ
สภาวการณ์ของไทย (As Is) โดยศึกษาภาพในระดับมหภาค เพื่อประเมินช่องว่างที่สาคัญระหว่าง
ผลลัพธ์ของระบบการศึกษาในปจั จุบนั (As Is Education Output) และผลลัพธ์ของระบบการศึกษาใน
อนาคตทีต่ อ้ งการ (Should Be Education Output)

แบบจาลองศึกษาปจั จัยทีส่ ่งผลต่อผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษา


การศึกษาในส่วนนี้จะประเมินระดับผลลัพธ์ของระบบการศึกษาในปจั จุบนั (As Is Education
Output) เพื่อวิเคราะห์ถงึ ปจั จัยทีม่ ผี ลกระทบต่อระดับผลลัพธ์ของระบบการศึกษาในระดับมหภาค อาทิ
ปจั จัยเข้า (Input) ด้านการศึกษา ปจั จัยพื้นฐานส่วนตัวของผู้เรียน พืน้ ฐานของผูเ้ รียน สภาพแวดล้อม
เป็นต้น

การกาหนดเป้าประสงค์การศึกษาไทยจะเป็ นการถอดเป้าประสงค์หลักของประเทศไทยลงสู่
เป้าประสงค์การศึกษาไทย รวมทัง้ การกาหนดกลไกการดาเนินนโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อกาหนดแนว
ปฏิบตั กิ ารของการศึกษาไทย จึงเป็ นข้อต่อสาคัญที่สุดในการนาพาประเทศสู่การยืนหยัดในศตวรรษที่
21 อย่างมันคง

องค์ประกอบของระบบการศึกษาไทย
ทัง้ นี้ในการวิเคราะห์เพื่อวิเคราะห์ถงึ แนวทางการพัฒนาไปถึงเป้าประสงค์การศึกษาไทย หรือ
Performance ทีพ่ งึ ประสงค์น้ี ทางคณะวิจยั ได้วเิ คราะห์ผ่านองค์ประกอบระบบการศึกษาไทยทีจ่ ะส่งผล
ต่ อ การพัฒนาระบบการศึก ษาเรีย นรู้ข องประเทศไทย ในการศึก ษาครัง้ นี้ โดยอาศัย “แบบจ าลอง
องค์ประกอบการศึกษา 5Ps” ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่

61
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 16: แบบจาลององค์ประกอบการศึกษา 5Ps

ทีม่ า: สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ (2556)

1) Paradigm หมายถึง ปรัชญาพืน้ ฐาน หรือรากฐานแห่งระบบการศึกษาไทย กล่าวคือ การจะ


ตัง้ เป้าหมายในการพัฒนาหรือปฏิรปู กระบวนการใดๆ นัน้ จาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีความ
เข้า ใจอย่ า งลึก ซึ้ง ถึง รากฐานทางแนวคิด และความเปลี่ย นแปลงที่เ กิด ขึ้น ในอดีต ของ
กระบวนการนัน้ ทัง้ ระบบ ซึ่งเป็ นส่วนสาคัญของการออกแบบกรอบแนวคิด (Conceptual
Design) การวิเ คราะห์จะทาความเข้าใจถึงสภาพที่เป็ นอยู่ของระบบการศึกษาไทยใน
ปจั จุบนั จากการมองผ่านอดีต เพื่อให้เห็นถึง องค์ประกอบ ขัน้ ตอน หรือวิธกี ารใดที่จาเป็ น
กับการเปลี่ยนผ่านของประเทศไทย ส่วนใดที่ไม่เหมาะสมอีกต่อไปและควรยกเลิกทิ้งเสีย
และส่ ว นใดที่ย ัง สามารถใช้ไ ด้อ ยู่แ ต่ ต้ อ งอาศัย การปรับ เปลี่ย นให้เ ข้า กับ สมัย ขึ้น เพื่อ
สัง เคราะห์ป รัช ญาพื้น ฐานของการศึก ษาที่ส ามารถน าพาประเทศในการเปลี่ย นผ่ า นสู่
ศตวรรษที่ 21 อย่างมีประสิทธิผล
2) Policy หมายถึง นโยบายการศึกษาของชาติ รวมทัง้ แผนยุทธศาสตร์ และแผนการศึกษา
แห่ ง ชาติ ซึ่ง จะเป็ น ป จั จัย ที่ก าหนดแนวคิด รู ป แบบ และวิธ ีก ารด าเนิ น การของระบบ
การศึกษาทัง้ ประเทศ โดยหลักการแล้ว การออกแบบเนื้อหาทัง้ มวลภายใต้องค์ประกอบส่วน
นี้ จะต้องตัง้ อยู่บนพื้นฐานความถูกต้องเหมาะสมของเป้าประสงค์หลักของการศึกษาที่ได้
จากองค์ประกอบก่ อ นหน้ านี้ทงั ้ นี้เ พื่อ เป็ นการยืนยันว่าแนวนโยบายทัง้ หลายที่ผู้บริหาร
ประเทศกาหนดขึ้นมา จะมีความสอดคล้องกับความเป็ นตัวตนของประเทศ ควบคู่ไปกับ
ความเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ

62
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3) Platform หมายถึง ป จั จัย พื้น ฐานส าคัญ ที่จ ะช่ ว ยในการยกระดับ และพัฒ นา นัน่ คือ
สภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเพิม่ พลังให้กบั ผูค้ นในสังคม โดยในทีน่ ้ีจะหมายถึงการพัฒนาให้
เกิดสังคมที่พงึ ประสงค์ โดย Platform จ้องสามารถก้าวให้ทนั กับความเปลี่ยนแปลง ทัง้
ภายในและภายนอกประเทศ เพื่อสร้างความเข้าใจในสภาวะที่จะต้องดาเนินการอยู่ และ
เพื่อให้สามารถคิดหาทางปรับเปลี่ยนเพื่อรับมือ และใช้ประโยชน์ จากความเปลี่ยนแปลง
ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิผลสูงสุด
4) Practices หมายถึง การนานโยบายการศึกษาของชาติ รวมไปถึงแผนงานอื่นๆ ไปปฏิบตั ิ
ให้ บ ัง เกิด ผล ซึ่ง ผู้ป ฏิบ ัติแ ละผู้ ไ ด้ ร ับ ผลกระทบจากการปฏิบ ัตินั ้น ย่ อ มเกี่ย วข้อ งได้
หลากหลายระดับ ตัง้ แต่ ระดับกระทรวง หน่ วยงาน โรงเรียน ไปจนถึงระดับบบุค คล ซึ่ง
หมายรวมทัง้ บุ ค ลากรครูแ ละตัว ผู้เ รีย น ซึ่ง ในส่ ว นนี้ เ องที่จ ะเกี่ย วข้อ งโดยตรงกับ การ
ออกแบบระบบกลไกการศึกษา (Mechanism Design) ที่ได้กล่าวถึงในส่วนแรก ซึ่งสิง่ ที่
ปรากฎในปจั จุบนั ยังพบว่ามีช่องว่าง (Gap) เช่นกันระหว่าง Policy - Practices ดังนัน้ การ
ปฏิบตั จิ ะประสบผลสาเร็จหรือไม่ย่อมขึน้ อยู่กบั ความเชื่อมโยงของนโยบายกับเป้าประสงค์
หลักการศึกษา ความเชื่อมโยงของนโยบายสู่กลยุทธและการปฏิบตั ิ การสร้างความเข้าใจแก่
ผูท้ ่เี กี่ยวข้อง และการมีเครื่องมือในการสนับสนุ นทังในเชิ่ งเทคนิค และเชิงจัดการสาหรับผู้
ปฏิบตั ิ
5) Performance หมายถึง ผลสัมฤทธิ ์หรือผลลัพ ธ์ท่เี กิดขึ้น เมื่อทุกข้อ ต่ อตัง้ แต่ Paradigm,
Policy, Platform และ Practice มีความเชื่อมโยงและปรับเปลีย่ นให้สอดคล้องกันดีแล้ว
หมายความว่าการศึกษาไทยจะสามารถบรรลุเป้าประสงค์ในการทาคนไทยให้เป็ นมนุ ษย์ท่ี
สมบูรณ์ มี Head, Hand, Heart เป็ นคนทีม่ คี ุณภาพ ศักยภาพและสุขภาวะที่ทดั เทียม
ประชากรในประเทศโลกที่หนึ่ง (First World Citizen) และในขณะเดียวกันก็จะสามารถ
ตอบสนองเป้าหมายในระดับมหภาคคือขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็ นประเทศในโลกทีห่ นึ่ง
(First World Nation) ทีป่ ระกอบไปด้วย Hope, Happiness, และ Harmony ได้อย่างเต็ม
ภาคภูม ิ

โมดูล 2: การพัฒนาระดับบุคคล (IndividualDevelopment)


การวิเ คราะห์ใ นส่ ว นนี้ จ ะศึก ษาถึง ปจั จัยพื้นฐานระดับบุ ค คลของคนไทยเพื่อ เตรียมพร้อ มสู่
ศตวรรษที่ 21 โดยแบ่งเป็นองค์ประกอบ 2 ส่วนหลัก คือ
- ด้านการพึง่ ตนเอง เป็นอิสระจากผูอ้ ่นื (Independent)
- ด้านการพึง่ พาอาศัยกัน (Inter-dependent)
นอกจากนี้ยงั ทาการศึกษาในส่วนของคุณ ลักษณะ จิตใจ ทักษะ หรือองค์ความรูท้ จ่ี าเป็ นสาหรับ
คนไทยเพื่อเตรียมพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21

63
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- กลุ่มของจิต (Mindset)
- ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills)

โมดูล 3: สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment)


ในโมดูลนี้เป็นการศึกษาถึงสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment) ทีส่ ามารถเอื้อให้
เกิด บรรยากาศการเรียนรู้ในระดับปจั เจก พร้อ มทัง้ ศึกษาประสบการณ์ ต่างประเทศ เพื่อ นาไปสู่การ
ออกแบบนโยบายการศึกษาเบือ้ งต้นทีส่ ามารถนาไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างเป็นรูปธรรม
การศึกษาส่วนนี้จะศึกษาความสัมพันธ์ของหน่วยย่อยต่าง ๆ โดยระบุกลุ่มผูป้ ฏิบตั ิ และภาคส่วน
ต่างๆทีเ่ กี่ยวข้อง (Stakeholders) เทียบเคียงปญั หา ความท้าทาย ระบุชช้ี ดั ถึงส่วนประกอบแต่ละภาค
ส่วน (บุคคลกลุ่มบุคคล หน่ วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน สื่อ กฏระเบียบ) บทบาทหน้าที่
ตลอดจนศึกษาความสัมพันธ์ ความเชื่อมโยง หรือการปฏิสมั พันธ์ระหว่างกันทีส่ ามารถส่งผลกระทบต่อ
ผูเ้ รียนได้ โดยมีองค์ประกอบของหน่วยย่อยต่าง ๆ ได้แก่
- ครอบครัว
- สถาบัน การศึก ษา (โรงเรียน กศน. ศูน ย์ก ารเรีย นรู้) ครู (เช่ น ครูผู้ส อนประจาวิชา ครู
แนะแนว)
- ชุมชน (เช่น ชุมชนที่อยู่อาศัยองค์กรศาสนา กลุ่มปราชญ์ หรือนักวิชาการอิสระในชุมชน
องค์กรสิทธิ เป็นต้น)
- หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องทัง้ ระดับนโยบายและระดับปฏิบตั ทิ งั ้ ภาครัฐ ภาคเอกชนที่เกิดขึน้ ใน
ระบบการศึกษา ทีม่ สี ่วนสาคัญทีท่ าให้สามารถบรรลุเป้าประสงค์ทางการศึกษา

นอกจากนี้ การศึกษาในส่วนนี้ยงั เป็นการวิเคราะห์ระบบการเชื่อมต่อของกลไกการบูรณาการใน


ระดับ ปฏิบ ัติแ ละกลไกการตอบสนองนโยบายของหน่ ว ยงาน เพื่อ ทาความเข้าใจ ระบุข้อ ได้เ ปรีย บ
ข้อจากัดและความท้าทายที่เกิดขึ้นในการปฏิบตั งิ าน ซึ่งจะใช้เป็ นข้อมูลหลักในการออกแบบปรับแต่ง
กลไกระดับปฏิบตั แิ ละระบุประเด็นสาคัญของกระบวนการการตอบสนองนโยบายของภาคปฏิบตั ิ

64
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

โมดูล 4: ระบบการบริ หารจัดการและเครื่องมือเชิ งนโยบาย (Administation & Policy


Instrument)
การวิเ คราะห์ในส่ วนนี้ศึก ษาถึง ระบบบริหารจัดการ แนวนโยบาย และยุทธศาสตร์ในการจัด
การศึกษา โดยศึกษาประสบการณ์ต่างประเทศ และประเด็นปญั หาของประเทศไทยทีย่ งั คงต้องงการการ
แก้ไข ทัง้ นี้ ได้พจิ ารณาในส่วนหลักๆ ดังนี้

- ระบบการบริหารจัดการ (Management System)


- กลไกการดาเนินการ (Mechanism)
- เครือ่ งมือเชิงนโยบาย (Policy Instrument)

จากการศึกษาทัง้ หมดจะช่วยให้สามารถวาดภาพการดาเนินการด้านการศึกษาได้อย่างครบถ้วน
เพียงพอ ทัง้ ภาพการเชื่อมต่อแนวราบในระดับนโยบาย และระดับปฏิบตั ิ รวมถึงการเชื่อมต่อแนวดิง่ ของ
แต่ละกลุ่มองค์กร ซึง่ ข้อมูลทัง้ หมดนี้จะใช้อธิบายและระบุแนวปฏิบตั ใิ นการบูรณาการ ทีม่ ุ่งทุ กกิจกรรมสู่
การบรรลุ เ ป้ า ประสงค์ห ลัก การศึก ษาเพื่อ ให้ก ารศึก ษามีค วามครบถ้ ว นสมบู ร ณ์ แ ละครอบคลุ ม ทุ ก
องคาพยพ ซึง่ ประกอบไปด้วย
 การออกแบบกรอบแนวคิดใหม่สาหรับระบบการศึกษาไทย (Conceptual Design) คือการ
ทาความเข้าใจกับบริบทต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เพื่อมุ่งเน้นให้ส ามารถส่งเสริมการ
พัฒนาพลเมืองและสังคมให้สามารถดาเนินต่อไปได้ในศตวรรษที่ 21 อย่างมีประสิทธิภาพ
ซึง่ คือผลการวิจยั ในส่วนการกาหนดเป้าประสงค์หลักของการศึกษาไทย และการวิเคราะห์
ระบบนิเวศการศึกษา
 การออกแบบระบบกลไก (Mechanism Design) ในการนากรอบแนวคิดใหม่ไปปฏิบตั ไิ ด้
อย่ า งมีป ระสิท ธิ ภ าพ เกิ ด ผลเป็ น รู ป ธรรม ซึ่ง คื อ ผลการวิจ ัย ในส่ ว นการวิเ คราะห์
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ และการวิเคราะห์การจัดการและเครือ่ งมือเชิงนโยบาย

65
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3.2 แนวทางการศึกษาและวิ ธีการศึกษา

แนวทางการดาเนินงานและวิธกี ารศึกษาสรุปได้ในภาพที่ 17 โดยมีขนั ้ ตอนที่สาคัญ คือ การ


รวบรวมข้อมูลการประชุมเพื่อระดมความคิดเห็น (Brainstorming) การจัดประชุมผู้เชี่ยวชาญ (Delphi
Workshop) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) การลงพื้นทีส่ ารวจข้อมูลและศึกษาดูงาน การ
วิเคราะห์ขอ้ มูล (Data Analysis) สองระดับ ทัง้ การวิเคราะห์ระดับมหภาค (Macro Analysis) และการ
วิเคราะห์ระดับจุลภาค (Micro Analysis) โดยครอบคลุมทัง้ การวิเคราะห์เชิงปริมาณและการวิเคราะห์เชิง
คุณภาพ

ภาพที่ 17: แนวทางการดานิ นงาน

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

66
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

แนวทางและวิธกี ารการดาเนินงานในการศึกษาครัง้ นี้ประกอบไปด้วยรายละเอียดดังต่อไปนี้


3.2.1 การรวบรวมข้อมูล
1.1) การทบทวนการศึกษาและงานวิ ชาการทีเ่ กีย่ วข้อง (Review Literature)
โดยทบทวนเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิ
 เอกสารและรายงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับบริบทและทิศทางของชุดของโอกาส ภัยคุกคาม
ความเสี่ยงและความท้าทาย ทัง้ ปจั จัยที่เ กิดขึ้นในระดับโลก ระดับภูมภิ าคและปจั จัย
ภายในประเทศ ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อการนาพาประเทศก้าวสู่ศตววรษที่ 21
 เ อ ก ส า ร แ ผ น ง า น ที่ ส า คั ญ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ศึ ก ษ า ไ ท ย ทั ้ง ที่ จ ั ด ท า โ ด ย
กระทรวงศึกษาธิการ อาทิ (ร่าง) แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556-
2559 (ร่าง) ยุทธศาสตร์การศึกษา พ.ศ. 2556-2558 ของสานักงานเลขาธิการสภา
การศึกษากระทรวงศึกษาธิการ แผนปฏิบตั งิ านของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2555-
2558 หรือ จัด ท าโดยหน่ ว ยงานภาครัฐ อื่น ๆ อาทิ แผนพัฒ นาเศรษฐกิจ และสัง คม
แห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559 แผนบริหารราชการแผ่นดินของหน่ วยงานภาครัฐ
ทีเ่ กีย่ วข้อง
 งานวิจยั และงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับนโยบายการศึกษาของนักวิชาการในภาครัฐ
สถาบัน วิจ ยั สถาบัน การศึก ษา และองค์ก รระหว่ า งประเทศ ตลอดจนเอกสารและ
รายงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้องของภาคเอกชนหรือหน่ วยงานภาคประชาชน เช่น สถาบันวิจยั
เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) องค์กรเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการ
พัฒนา (OECD) สานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) องค์การ
การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) องค์กรศึกษาวิจยั
การพัฒนาการศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21 เช่น ATCS21 เป็นต้น
 เอกสารและรายงานของหน่ วยงานด้านศึกษาที่ได้รบั การยอมรับว่าเป็ นแนวปฏิบตั ทิ ่ดี ี
(Best Practice) เช่น กรณีศกึ ษาของประเทศทีไ่ ด้การยอมรับ อาทิ ฟิน แลนด์ สิงคโปร์
ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เยอรมนี และเพื่อกรณีศึกษาของแนวปฏิบตั ทิ ่ดี ที ่มี อี ยู่ในประเทศไทย
ข้อ มูล เหล่ า นี้ จ ะใช้เ พื่อ ทบทวนทิศ ทาง นโยบาย ยุท ธศาสตร์ และแนวปฏิบ ัติด้า น
การศึกษาสาหรับประเทศไทย
 เอกสารงานวิจยั และวารสารระดับนานาชาติ เช่น
- Journal of Educational and Behavioral Statistics,
- Journal of Economic Education,
- Economics of Education Review,
- Journal of Education Policy,
- Journal of Human Resources เป็นต้น

67
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

1.2) การประชุม
เพื่อ ให้ก ารด าเนิ นโครงการสัมฤทธิผ์ ลตามวัต ถุ ป ระสงค์แ ละจุ ด มุ่ง หมายที่ต ัง้ ไว้ทางคณะที่
ปรึกษา ฯ ได้จดั ให้มกี ารประชุมเพื่อรวบรวมข้อคิดเห็นจากผูบ้ ริหารผูท้ รงคุณวุฒแิ ละภาคส่วนต่าง ๆ ทัง้
การระดมความคิดเห็นร่วมกันระหว่างคณะวิจยั กับผู้แทนของหน่ วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
และหน่ วยงานผูก้ าหนดนโยบายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงผูท้ รงคุณวุฒ ิ ตลอดจนศึกษามวลชนด้านการศึกษา
และภาคประชาชน เพื่อ ประโยชน์ ใ นการขับเคลื่อ นยุทธศาสตร์ร่ว มกัน โดยการจัด ประชุม ดังกล่ า ว
ประกอบด้วย
ก) การประชุมเพื่อระดมความคิดเห็น (Brainstorming)
ข) การประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการศึกษา (Delphi Workshop)

ก) การประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็น (Brainstorming)


การประชุมเพื่อระดมความคิดเห็น (Brainstorming) โดยจะเชิญภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องเข้าร่วมการ
ประชุมระดมความคิดเห็น ซึง่ ประกอบด้วยภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้อง 4 กลุ่ม ได้แก่
1) กลุ่มสถาบันการศึกษา
2) กลุ่มสถานประกอบการ
3) กลุ่มครู ผูป้ กครอง และนักเรียน นักศึกษา
4) กลุ่มผูก้ าหนดนโยบาย วางแผนการศึกษาและการพัฒนาด้านแรงงาน
คณะทีป่ รึกษาได้กาหนดหัวข้อการประชุมเพื่อระดมความคิดเห็น (Brainstorming) ไว้ 3 หัวข้อ
ได้แก่
 การประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นครัง้ ที่ 1 ภายใต้หวั ข้อ “การพัฒนากาลังคนเพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย”
 การประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นครัง้ ที่ 2 ภายใต้หวั ข้อ “ศักยภาพของโรงเรียนทางเลือกใน
การเป็นต้นแบบการจัดการศึกษาไทย”
 การประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นครัง้ ที่ 3 ภายใต้หวั ข้อ “แนวทางการพัฒนาและเตรียม
ความพร้อมของครูส่ศู ตวรรษที่ 21”

(รายละเอียดการจัดประชุมระดมความคิดเห็นได้สรุปไว้ในภาคผนวกที่ 2)

68
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข) การประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการศึกษา (Delphi Workshop)

การประชุมเชิงปฏิบตั ิก ารผู้เ ชี่ยวชาญด้านการศึกษา (Delphi Workshop) 1 ครัง้ โดยมี


วัตถุประสงค์เพื่อระดมความคิดร่วมกันและรับฟงั ความเห็นของผู้บริหารและผูท้ รงคุณวุฒซิ ง่ึ มีผู้เข้าร่วม
ประมาณ 120 ท่าน (รวมคณะที่ปรึกษา ฯ และผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของสานักงานเลขาธิการสภา
การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ)
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา หัวข้อ “การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21”
ภายใต้โครงการวิจยั เรื่อ งการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อ มสู่
ศตวรรษที่ 21
กระบวนการเดลฟาย เป็ น วิธ ีก ารสอบถามความคิด เห็น จากผู้เ ชี่ย วชาญในด้า นต่ า ง ๆ ที่
เกีย่ วข้องเพื่อระบุปจั จัยผลักดันระบบทีส่ าคัญและศึกษาปจั จัยความไม่แน่ นอนทีส่ าคัญต่าง ๆ ในอนาคต
โดยทัวไปกระบวนการจั
่ ดทาผ่านการทาแบบสอบถามทางอิเล็กทรอนิกส์ และหรือทางจดหมาย ซึง่ ข้อดี
ของวิธกี ารเดลฟาย คือการได้ขอ้ สรุปหรือข้อยุตโิ ดยผู้เชี่ยวชาญไม่ต้องเผชิญหน้ากันสามารถไตร่ตรอง
คาตอบ ไม่ถูกเบีย่ งเบนด้วยคาตอบของผูเ้ ชีย่ วชาญทีม่ ชี ่อื เสียงหรือผูท้ ม่ี วี ุฒสิ งู กว่า
อย่า งไรก็ต าม ในการศึก ษาครัง้ นี้ภายใต้โครงการวิจ ยั เรื่อ งการกาหนดแนวทางการพัฒนา
การศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 นี้ ได้ประยุกต์ใช้กระบวนการเดลฟาย โดยเชิญ
ผู้เ ชี่ยวชาญมาร่ว มประชุมเชิงปฏิบตั ิการ และแสดงความคิดเห็นอย่างเป็ นอิส ระจากกัน ด้ว ยการใช้
อุปกรณ์ My Choice Clicker ซึง่ เป็ นนวัตกรรมของระบบสอบถามความคิดเห็นทางอิเล็กทรอนิกส์ ทีจ่ ะ
ช่วยสารวจความคิดเห็นในการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารครัง้ นี้
วิธกี ารเดลฟายเป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการมองภาพอนาคตโดยหนุ นเสริมกับการจัดประชุม
ระดมความคิดเห็นและการจัดทาภาพอนาคต เพื่อพิจารณาคัดกรองปจั จัยต่าง ๆ และการร่วมกันจัดทา
ภาพอนาคตการศึกษา (Education Scenarios) ในศตวรรษที่ 21
โดยทัวไปเครื
่ ่องมือหรือวิธกี ารที่นิยมใช้จนอาจเรียกได้ว่า เป็ นมาตรฐานคือ การศึกษาแนวโน้ม
(Trends) และการคาดคะเน (Forecast) อย่างไรก็ตาม การศึกษาทัง้ สองนี้เหมาะสมกับอนาคตทีม่ คี วาม
ชัดเจนในระดับหนึ่ง แต่ไม่ส ามารถที่จะทาให้เห็นครอบคลุมถึงลักษณะของอนาคตที่ชดั เจนในระดับ
รายละเอียดและระบุถงึ ความเสี่ยงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ ด้ วยเหตุน้ี การวางแผนโดยอาศัยภาพอนาคต
(Scenario Planning) จึงเป็ นเครื่องมือทีไ่ ด้รบั การยอมรับเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว และมีการนามาใช้อย่าง
แพร่หลายเพื่อประกอบการกาหนดนโยบายระดับประเทศ ไม่ว่าจะเป็ นในประเทศ อังกฤษ แอฟริกาใต้
ญีป่ นุ่ จีน ฯลฯ
การวางแผนด้วยภาพอนาคตเป็ นเครื่องมือทีใ่ ช้สาหรับการมองภาพอนาคตทีม่ โี อกาสเกิดขึน้ ได้
(Possible) และเกี่ยวข้องกับประเด็นทีอ่ ยู่ในความสนใจ (Relevant) ให้เกิดความชัดเจนขึน้ โดยอาศัย
การสร้างภาพอนาคตทีห่ ลากหลายและครอบคลุมเหตุการณ์ทอ่ี าจเกิดขึน้ จากการผสมผสานแนวโน้มของ

69
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ปจั จัยขับเคลื่อน (Driving Trends) ความไม่แน่ นอน (Uncertainties) และเหตุการณ์ท่ไี ม่คาดคิด


(Surprises) ซึง่ ภาพอนาคตเหล่านี้สามารถนามาศึกษาต่อเพื่อให้เห็นความชัดเจนยิง่ ขึน้
การวางแผนด้วยภาพอนาคตสามารถนามาช่วยในการวิเคราะห์และวางแผนระยะยาวในหลายๆ
ขัน้ ตอนไม่ว่าจะเป็ นในส่วนการศึกษาเพื่อเตรียมการวางนโยบาย หรือการกาหนดหัวข้อนโยบายหรือ
ยุทธศาสตร์ ตลอดจนการวัดและประเมินผลนโยบาย
การประชุมเชิงปฏิบตั ิก ารผู้เ ชี่ยวชาญด้านการศึกษาในครัง้ นี้มวี ตั ถุประสงค์เพื่อสารวจความ
คิดเห็นผูเ้ ชีย่ วชาญ และระดมความคิดร่วมกัน ตลอดจนรับฟงั ความเห็นของผูบ้ ริหารและผูท้ รงคุณวุฒทิ ่ี
เกีย่ วข้องทุกภาคส่วนของการศึกษา
1.3) การสัมภาษณ์ เชิ งลึก (In-depth Interview)
โดยสัม ภาษณ์ ผู้บ ริห ารระดับ สูง และ/หรือ Key Informants ของหน่ ว ยงานในสัง กัด
กระทรวงศึกษาธิการ ตลอดจนหน่ วยงานภาครัฐและเอกชนที่มบี ทบาทสาคัญต่ อการดาเนินนโยบาย
การศึกษาของประเทศเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกในประเด็นต่าง ๆ เพื่อนามาใช้ในการศึกษาและกาหนด
ยุทธศาสตร์ของระทรวงศึกษาธิการและแนวทางการดาเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
1.4) การลงพื้นทีศ่ ึกษาดูงาน
คณะวิจยั จะลงพืน้ ทีส่ ารวจข้อมูลโรงเรียนจัดทาเป็ นกรณีศกึ ษา โดยในการศึกษาครัง้ นี้มงุ่ เน้น
ศึกษาในกรณีการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานเป็ นกรณีพเิ ศษเนื่องจากเป็ นการจัดการศึกษาทีม่ คี วามสาคัญและเป็ น
รากฐานการศึกษาของประเทศ

(รายละเอียดการสัมภาษณ์เชิงลึกและการลงพื้นที่ศกึ ษาดูงานสรุปในภาคผนวกที่ 3 และตาราง


กิจกรรมในโครงการครัง้ นี้สรุปดังตารางที่ 5)

70
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 5: กิ จกรรมโครงการวิ จยั เรือ่ งการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความ


พร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
วันที่ เวลา กิ จกรรม
1 ศุกร์ท่ี 9 ส.ค. 2556 8.00 - 16.00 ดูงานโรงเรียนไกลกังวล
สัมภาษณ์ นายวรวิทย์ กุลจิรกาญจน์
ผูอ้ านวยการโรงเรียนวังไกลกังวล
2 ศุกร์ท่ี 16 ส.ค. 2556 13.00 - 16.00 การประชุมเพื่อระดมความคิดเห็น (Workshop) ในหัวข้อ
“การพัฒนากาลังคนเพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศไทย”
3 จันทร์ท่ี 19 ส.ค. 2556 13.00 - 16.00 การประชุมเพื่อระดมความคิดเห็น (Workshop) ในหัวข้อ
“ศักยภาพของโรงเรียนทางเลือกในการเป็ นต้นแบบการจัด
การศึกษาไทย”
4 อังคารที่ 20 ส.ค. 2556 13.00 - 16.00 การประชุมเพื่อระดมความคิดเห็น (Workshop) ในหัวข้อ
“แนวทางการพัฒนาและเตรียมความพร้อมของครูสศู่ ตวรรษที่
21”
5 ศุกร์ท่ี 23 ส.ค. 2556 9.00 - 16.00 การประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการศึกษา (Delphi
Workshop)
6 พฤหัสบดีท่ี 29 ส.ค. 2556 8.00 - 12.00 ศึกษาดูงานโรงเรียนสัตยาไส และติดตามการดาเนินกิจกรรม
ของโรงเรียนสัตยาไส จ.ลพบุรี โดย ดร.อาจอง ชุมสาย ณ
อยุธยา เป็ นผูน้ าดาเนิน
ร่วมแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
และผูอ้ านวยการโรงเรียน ครู และนักเรียน
7 พฤหัสบดีท่ี 29 ส.ค. 2556 13.00 - 16.00 สัมภาษณ์ นางกชนันท์ ศาลางาม
รองผูอ้ านวยการโรงเรียนชัยบาดาล
8 อังคารที่ 3 ก.ย. 2556 13.00 -15.00 การศึกษาดูงานโรงเรียนสาธิตพัฒนา
9 อังคารที่ 3 ก.ย. 2556 15.00 -18.00 สัมภาษณ์ รศ.ลัดดา ภู่เกียรติ
ผูอ้ านวยการโรงเรียนสาธิตพัฒนา
10 พุธที่ 4 ก.ย. พ.ศ. 2556 9.00 – 10.00 สัมภาษณ์ ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร
ผูอ้ านวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (สสวท.)
11 จันทร์ท่ี 9 ก.ย. 2556 9.00 - 12.00 สัมภาษณ์อาจารย์พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา
ผูอ้ านวยการใหญ่โรงเรียนดรุณสิกขาลัย
12 พฤหัสบดีท่ี 12 ก.ย. 2556 9.00 - 10.00 ดูงานโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
13 พฤหัสบดีท่ี 12 ก.ย. 2556 10.00 - 12.00 สัมภาษณ์ นายประดิษฐ์ นวลจันทร์
รองผูอ้ านวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

71
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 5: กิ จกรรมโครงการวิ จยั เรือ่ งการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความ


พร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 (ต่อ)
วันที่ เวลา กิ จกรรม
14 พฤหัสบดีท่ี 12 ก.ย. 2556 9.00 - 12.00 สัมภาษณ์ ดร.ยงยุทธ แฉล้มวงษ์
ผูอ้ านวยการวิจยั การพัฒนาแรงงาน
สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
15 จันทร์ท่ี 16 ก.ย. 2556 13.00 – 15.00 ดูงานโรงเรียนเพลินพัฒนา
16 จันทร์ท่ี 16 ก.ย. 2556 15.00 – 18.00 สัมภาษณ์ นายทนง โชติสรยุทธ์
ผูอ้ านวยการโรงเรียนเพลินพัฒนา
17 อังคารที่ 17 ก.ย. 2556 9.00 – 12.00 สัมภาษณ์ อาจารย์มชี ยั วีระไวทยะ
ประธานมูลนิธมิ ชี ยั พัฒนา
18 อังคารที่ 17 ก.ย. 2556 9.00 – 11.00 ดูงานสถาบันปญั ญาภิวฒ ั น์
19 อังคารที่ 17 ก.ย. 2556 11.00 – 12.00 สัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์
อธิการบดีสถาบันปญั ญาภิวฒ ั น์
20 พุธที่ 18 ก.ย. 2556 11.00 – 13.00 สัมภาษณ์คุณอิสดอร์ เรโอด์
หัวหน้าโครงการอบรมครู โรงเรียนมีชยั พัฒนา ถึงการ
ดาเนินงานของโรงเรียนมีชยั พัฒนาและสมาคมพัฒนา
ประชากรและชุมชน
21 พุธที่ 18 ก.ย. 2556 13.00 – 14.00 ศึกษาดูงานกิจกรรมสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน
โรงเรียนบ้านหนองทองลิม่ School-BIRD (School-based
Integrated Rural Development) ดาเนินการโดยมูลนิธมิ ชี ยั วี
ระไวทยะ.
22 พุธที่ 18 ก.ย. 2556 14.00 – 15.00 ศึกษาดูงานสหกรณ์พฒ ั นาประชากรและชุมชนลาไทรโยง
จากัด
23 พุธที่ 18 ก.ย. 2556 15.00 – 17.00 ศึกษาดูงานชุมชนหมู่บา้ นหนองตาเข้ม
Community-based Integrate Rural Development
24 พฤหัสบดีท่ี 19 ก.ย. 2556 9.00 – 17.00 ศึกษาดูงานโรงเรียนมีชยั พัฒนา สังเกตการณ์การเรียนการ
สอนโรงเรียนมีชยั พัฒนาในห้องเรียน
25 พฤหัสบดีท่ี 19 ก.ย. 2556 สัมภาษณ์อาจารย์ผอู้ านวยการ รองผูอ้ านวยการ และหัวหน้า
โครงการอบรมครู โรงเรียนมีชยั พัฒนา
26 พฤหัสบดีท่ี 26 ก.ย. 2556 9.00-12.00 รับฟงั สรุปรายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริม
พัฒนาการเรียนรูเ้ พื่อสร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญาสูส่ ถานการศึกษา
27 พุธที่ 9 ต.ค. 2556 9.00 – 12.00 ศึกษาดูงานโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
28 ศุกร์ท่ี 11 ต.ค. 2556 9.00 – 12.00 ร่วมสัมมนางาน Asia Education Leader Forum

72
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 5: กิ จกรรมโครงการวิ จยั เรือ่ งการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความ


พร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 (ต่อ)
วันที่ เวลา กิ จกรรม
29 ศุกร์ท่ี 18 ต.ค. 2556 9.00 – 11.00 ศึกษาดูงานโรงเรียนรุ่งอรุณ
30 ศุกร์ท่ี 18 ต.ค. 2556 11.00 – 12.00 สัมภาษณ์นางสุนิสา ชื่นเจริญสุข
ผูอ้ านวยการโรงเรียนรุ่งอรุณ
31 จันทร์ท่ี 21 ต.ค. 2556 14.00 - 16.00 สัมภาษณ์ ศ. ศรีราชา เจริญพานิช ผูต้ รวจการแผ่นดิน
32 อังคารที่ 26 พ.ย. 2556 8.30 – 10.30 สัมภาษณ์ ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช
33 ธ.ค. 2556 สัมภาษณ์ ดร. กมล รอดคล้าย รองเลขาธิการ คณะกรรมการ
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

3.2.2 การวิ เคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)

การวิเคราะห์ขอ้ มูล (Data Analysis) ในการศึกษาครัง้ นี้แบ่งเป็นสองระดับ ได้แก่

 การวิ เคราะห์ระดับมหภาค (Macro Analysis)


ครอบคลุมทัง้ การวิเคราะห์เปรียบเทียบกับต่างประเทศ (Cross Country) และการ
วิเคราะห์ของประเทศไทยในลักษณะข้อมูลระหว่างเวลา (Time Series)
เชิ งปริ มาณ ในการวิเคราะห์ในส่วนนี้จะเป็ นการวิเคราะห์ผลกระทบจากปจั จัยนาเข้า
ผลผลิตและผลกระทบ (Input-Output-Impact Analysis)
เชิ ง คุณภาพ วิเ คราะห์ช่อ งว่าง (Gap Analysis) เพื่อ ศึกษาช่อ งว่างในด้านต่ างๆ
รับทราบถึง ช่องว่าง (Gap) ทีม่ อี ยู่ เพื่อนาไปสู่การกาหนดแผนการศึกษาให้เหมาะสม
และวางแนวทาง วิธกี ารทีส่ ถาบันการศึกษาต้องดาเนินการเพื่อปิดช่องว่าง (Gap) ทีจ่ ะ
เกิด ขึ้น และศึก ษาเปรียบเทียบกับต่ า งประเทศ เพื่อ ค้น หาประสบการณ์ ท่ดี ี ( Best
Practices)

 การวิ เคราะห์ระดับจุลภาค (Micro Analysis)


ครอบคลุมทัง้ การวิเคราะห์เปรียบเทียบกับต่างประเทศ (Cross Country) และการ
วิเคราะห์ของประเทศไทยในลักษณะข้อมูลระหว่างเวลา (Time Series)
เชิ งปริ มาณ อาศัยการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงสถิติ และเศรษฐมิติ

73
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เชิ งคุณภาพ อาศัยข้อมูลจากการทบทวนประสบการณ์ต่างประเทศ สารวจข้อมูลพืน้ ที่


จากโรงเรียน
ภาพที่ 18: กรอบการวิ เคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

2.1) การวิ เคราะห์เชิ งปริ มาณจากข้อมูลทุติยภูมิ


โดยมีขอ้ มูลสาคัญทีใ่ ช้วเิ คราะห์ ดังนี้
 ข้อมูลภาพรวมการศึกษาของไทย เช่น ข้อมูลในเชิงการเข้าถึงการศึกษา เช่น อัตราการ
เข้าเรียน ข้อมูลในเชิงคุณภาพการศึกษา เช่น ผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
 ผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษานานาชาติ (Programme for International Student
Assessment: PISA) การประเมินผลสัมฤทธิ ์วิชาคณิตศาสตร์-วิทยาศสตร์ (Trends in
International Mathematics and Science Study: TMISS)ผลการจัดอันดับ
สถาบันการศึกษานานาชาติ ข้อมูลประสิทธิภาพการจัดการศึกษา เช่น งบประมาณและ
ค่าใช้จา่ ยทางการศึกษาของประเทศ โดยใช้ขอ้ มูลของกระทรวงศึกษาธิการ องค์การเพื่อ
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) สถาบันสถิตทิ างการศึกาษาของ
องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UIS) เป็นต้น
 ข้อมูลด้านสภาพแวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้องกับการศึกษา โดยใช้ขอ้ มูลด้านประชากร ตลอดจน
ข้อ มูล ด้า นคุ ณ ภาพชีว ิต เช่ น ข้อ มูล การส ารวจภาวะเศรษฐกิจ และสัง คม ( Socio-
Economic Survey) ข้อมูลการสารวจภาวะแรงงาน (Labor Force Survey) เป็ นต้น โดย
ใช้ขอ้ มูลของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

74
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2.2) การวิ เคราะห์ข้อมูลเชิ งคุณภาพ


ในการศึกษานี้จะอาศัยการวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) โดยระบุชช้ี ดั ถึงระดับคุณลักษณะ
ทีค่ าดหวัง และระดับทีเ่ ป็ นอยู่ในปจั จุบนั เพื่อให้ทราบถึง ช่องว่าง (Gap) ทีม่ อี ยู่ เพื่อนาไปสู่การกาหนด
แผนการศึกษาให้เหมาะสม และวางแนวทางวิธกี ารที่สถาบันการศึกษาต้องดาเนินการเพื่อปิ ดช่องว่าง
(Gap) ทีจ่ ะเกิดขึน้ โดยเฉพาะทางด้านองค์ความรูแ้ ละทักษะ ตัวอย่างเช่นสิง่ ทีต่ ้องหล่อหลอมให้เด็กคือ
กลุ่มทักษะ (Skill Set) ทีผ่ บู้ ริหารการศึกษาและครูมหี น้าทีใ่ นการสร้างหลักสูตรและกิจกรรมทีต่ อบโจทย์
สิง่ หล่านี้คอื (1) Learn to Live เรียนเพื่อจะรูจ้ กั ใช้ชวี ติ อยู่บนโลก (2) Learn to Love สอนให้เด็กรูจ้ กั
โลก รักคนอื่น รักตนเอง (3) Learn to Learn สอนให้เด็กรูว้ ่าทาไมเราจึงต้องเรียน เรียนทีไ่ หน เรียน
อย่างไร เรียนเมื่อไหร่ เรียนกับใคร และเรียนแล้วจะไปใช้ทาอะไร และ (4) Love to Learn เด็กรักทีจ่ ะ
เรียนรูไ้ ปตลอดชีวติ ในขณะทีภ่ าคส่วนอื่นๆ จะต้องมีส่วนร่วมขับเคลื่อนการเปลีย่ นแปลงการเรียนรูใ้ ห้กบั
เด็กด้วย เพราะการเรียนรูน้ นั ้ มิใช่เพียงการเรียนรูห้ รือศึกษาเฉพาะในห้องเรียนหรือในสถาบันการศึกษา
เท่ านัน้ นอกจากนี้ ทุก ภาคส่ ว นจะต้อ งร่ว มกัน แก้ ไ ขรากเหง้า ของป ญ ั หาที่ป จั จัยพื้นฐาน อาทิ เรื่อ ง
ครอบครัว เรือ่ งสังคม ค่านิยม ทัศนคติ

75
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

บทที่ 4
ผลการศึกษา

ผลการศึกษาในบทนี้แบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก ได้แก่


ส่วนที่ 1 สภาวการณ์ ก ารเปลี่ย นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ที่ม ีนั ย ส าคัญ
ต่อการจัดการศึกษาไทย (ดังรายละเอียดหัวข้อ 4.1)
ส่วนที่ 2 ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า เ รี ย น รู้ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ
ของระบบการศึกษาไทย (ดังรายละเอียดหัวข้อ 4.2) โดยเนื้อหาในส่วนนี้จะ
เป็นการศึกษาใน 4 โมดูล ได้แก่
1) เป้าประสงค์หลักของประเทศไทยและการศึกษาไทย: ซึง่ จะศึกษาทัง้
ในเป้ าประสงค์ ห ลัก ของประเทศไทย และเป้ าประสงค์ ห ลัก ของ
การศึก ษา (Objective Function) ของประเทศไทย นาเสนอผล
วิเคราะห์สภาวการณ์ปจั จุบนั
2) การพัฒนาระดับบุคคล (Individual Development): โดยศึกษาถึง
ปจั จัยพืน้ ฐานระดับบุคคลของคนไทยเพื่อเตรียมพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
ภาพคนไทยที่พงึ ประสงค์ในศตวรรษที่ 21 ครอบคลุมกลุ่มของจิต
(Mindset) กลุ่มของทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st century skills)
กลุ่มขององค์ความรูแ้ กนสาคัญ และผลการประเมินช่องว่างคนไทยใน
ปจั จุบนั และคนไทยทีพ่ งึ ประสงค์
3) สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment): โดยการศึกษา
ประสบการณ์ ต่ า งประเทศเรื่ อ งสภาวะแวดล้ อ มของการเรีย น
(Learning Environment): กรณีศกึ ษาเชิงลึกจากประเทศฟิ นแลนด์
สิง คโปร์ และญี่ปุ่น และสภาวะแวดล้อ มของการเรียน (Learning
Environment) ของประเทศไทย และการเตรียมพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
4) ระบบการบริหารจัดการและเครื่องมือเชิงนโยบาย (Administation &
Policy Instrument)

77
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.1 ส ภ า ว ก า ร ณ์ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง โ ล ก ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่ 21 ที่ มี นั ย ส า คั ญ


ต่อการจัดการศึกษาไทย

4.1.1 แนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trend)

4.1.1.1 พลวัตโลก (Global Dynamics) จากการก้าวผ่านจากศตวรรษที ่ 20 เข้าสู่


ศตวรรษที ่ 21
สิง่ ที่โลกจะเปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 สู่ศตวรรษที่ 21 สรุปเป็ นประเด็นสาคัญ ได้ 3
กระแส ได้แก่ (1) กระแสการเปลีย่ นแปลงจากศตวรรษแห่งอเมริกา (American Century) สู่ศตวรรษ
แห่งเอเชีย (Asian Century) (2) กระแสการเปลีย่ นจากยุคแห่งความมังคั
่ ง่ สู่ยุคแห่งความสุดโต่ง ทัง้
ธรรมชาติ การเมือง และธุรกิจ และ (3) กระแสการเริม่ เปลีย่ นแกนอานาจจากภาครัฐและเอกชน สู่
ภาคประชาชน (Citizen Centric Governance) หรือประชาภิบาล

1) กระแสการเปลี่ ยนแปลงจาก ศตวรรษแห่ งอเมริ กา (American Century) สู่


ศตวรรษแห่งเอเชีย (Asian Century)
เศรษฐกิจโลกก าลังค่ อ ยๆปรับเปลี่ยนไปอย่างช้าๆ จาก American Century สู่ Asian
Century การกลับมาทะยานอีก ครัง้ หนึ่งของเอเซียจะมีบทบาทสาคัญ ในการกาหนดทิศ ทางการ
เปลีย่ นแปลงในอารยธรรมโลก รอยปริของความขัดแย้งระหว่างสหรัฐอเมริกากับจีน อันเนื่องมาจาก
ผลประโยชน์ทแ่ี ตกต่างและไม่ลงตัวจะมีมากขึน้ และมีแนวโน้มที่หนักหน่ ว งมากขึน้ เรากาลังอยู่ใน
ศตวรรษแห่งเอเชีย พลังขับเคลื่อนทีส่ าคัญ คือ เอเชียตะวันออกนาโดยจีน เอเชียใต้นาโดยอินเดีย
และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นาโดยอาเซียน สิง่ ที่ตามมาคือ พลังของชนชัน้ กลางในเอเชียที่มกี าร
ขยายตัวอย่างสูง
เมื่อสถานการณ์เป็ นเช่นนี้ ประเทศไทย และ "ทุนไทย" ต้องเตรียมความพร้อมรับมือ หาก
เศรษฐกิจ เติบโตยังยื
่ นระยะยาว ก็จะมีเ งิน ทุน น้ าดีไ หลเข้ า มาอยู่กับไทยนอกจากนี้ โครงสร้า ง
อุตสาหกรรมภายในก็ต้องพร้อม มีมาตรฐานคัดกรองเฉพาะเงินลงทุนระยะยาว เน้ นไปการปรับ
โครงสร้างภาคการเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ขยับจากระบบ “เศรษฐกิจเพิม่ มูลค่า” (Value
Added) เป็น “เศรษฐกิจสร้างมูลค่า” (Value Creation) (สุวทิ ย์ เมษินทรีย,์ 2556)

78
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

่ ง่ (Age of Prosperity) สู่ยุคแห่ งความ


2) กระแสการเปลี่ยนจากยุคแห่ งความมังคั
สุดโต่ง (Age of Extremity) ทัง้ ธรรมชาติ การเมือง และธุรกิ จ
ในศตวรรษที่ 20 เป็ นยุคแห่งความมังคั
่ ง่ (Age of Prosperity) แต่โลกทศวรรษจากนี้ไปเป็ น
ยุคแห่งความสุดโต่ง (Age of Extremity) ครอบคลุมในหลากมิติ ไม่ว่าจะเป็ น ความสุดโต่งของ
ธรรมชาติ (Nature Extremes) อาทิ น้าท่วม ภัยแล้ง และผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ซึง่ นับวันจะมี
มากขึน้ และในระดับความรุนแรงทีเ่ พิม่ มากขึน้ ความสุดโต่งทางเศรษฐกิจ (Economic Extremes)
อาทิ การเกิดวิกฤตหนี้ในสหภาพยุโรปที่อาจนาไปสู่การแตกของ Eurozone หรือปรากฏการณ์
Occupy Wall Street หรือความสุดโต่งทางการเมือง (Political Extreme) อาทิ ปรากฏการณ์ Arab
Spring หรือการอุบตั ขิ น้ึ ของ WikiLeak ตลอดจนถึง ความสุดโต่งทางสังคม (Social Extreme) อาทิ
ความเหลื่อมล้าระหว่างพวก Extreme Riches กับประชาชนทีเ่ หลือ ในเกือบทุกภาคส่วนของโลก
หรือการแย่งชิงทรัพยากรระหว่างประชาชนต่างพืน้ ทีอ่ นั เนื่องมาจากความสุดโต่งของธรรมชาติ
ในยุคแห่งความสุดโต่ง ประเทศไทยอยู่ในจุดทีเ่ ปราะบางอย่างทีส่ ุด (Extremely Vulnerable
Position) หากย้อนกลับไปเพียงหนึ่งทศวรรษทีผ่ ่านมา ประเทศไทยจึงเป็ นประเทศทีต่ ้องเผชิญกับ
ภาวะ “วิกฤตซ้าชาก” โดยประสบกับวิกฤตถึง 3 ครัง้ เริม่ ต้นจากวิกฤตต้มยากุ้ง เมื่อปี 2540
ตามมาด้วยวิกฤตทางการเมือง ในช่วงปี 2551-2554 และล่าสุดก็ต้องเผชิญกับมหาอุทกภัย ในช่วง
ปลายปี 2554 จะเห็นได้ว่า ระดับความรุนแรงและความเสียหายเพิม่ มากขึน้ เรื่อย ๆ มหาอุทกภัย
ครัง้ ล่าสุดทาให้ความเสีย่ งของประเทศได้ยกระดับขึน้ สู่ความเสีย่ งทัง้ ระบบแล้ว ความอ่อนไหวในการ
เผชิญกับวิกฤตครัง้ แล้วครัง้ เล่าจนต้องประสบกับภาวะวิกฤตซ้าซาก สะท้อนประเด็นปญั หาทางด้าน
“เสถียรภาพ” การเป็ นประเทศทีม่ คี วามเปราะบางอย่างทีส่ ุด สะท้อนประเด็นปญั หาทางด้าน “ความ
่ น” พร้อม ๆ กันนัน้ การเผชิญกับความเสี่ยงทัง้ ระบบ สะท้อนประเด็นปญั หาทางด้าน “ความ
ยังยื
มันคงปลอดภั
่ ย” ในทรัพย์สนิ และชีวติ ของผู้คน อย่างไรก็ดี ภาวะวิกฤตซ้าซากที่เกิดขึน้ เป็ นเพียง
อาการของปญั หาที่ปรากฏอยู่ท่สี ่วนยอดของภูเขาน้ าแข็ง รากเหง้าปญั หาของประเทศที่ซ่อนอยู่ใต้
ภูเขาน้ าแข็งนัน้ ยังมีอกี มากมาย พอสรุปได้เป็ น “3 กับดัก” สาคัญ ประกอบไปด้วย “กับดักความ
น่ าเชื่อถือ” (Credibility Trap) ในภาครัฐ “กับดักความเหลื่อมล้า ” (Inequality Trap) ในภาค
ประชาชน และ “กับดักการสร้างมูลค่า” (Value Creation) (สุวทิ ย์ เมษินทรีย,์ 2554)

3) กระแสการเริ่ ม เปลี่ ย นแกนอ านาจจากภาครัฐ และเอกชน สู่ ภ าคประชาชน


(Citizen Centric Governance) หรือประชาภิ บาล
อ านาจของการปกครองเปลี่ย นแปลงจากภาครัฐ ไปสู่ ภ าคประชาชนมากขึ้น กระแส
โลกาภิวตั น์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในยุคปจั จุบนั ที่เทคโนโลยีสารสนเทศได้ปลดล็อคอานาจ เริม่ มีการ
ถ่ายโอนอานาจไปสู่ภาคประชาชนหรือประชาภิบาลมากขึน้ ดังจะเห็นตัวอย่างการเรียกร้อง พลังของ
ประชาชนที่มมี ากขึ้นในทุกที ในบริบทของการศึกษาจะต้อ งตระหนักถึงการที่โลกมีการเชื่อมต่ อ

79
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เชื่ อ มโยงกั น ท าให้ เ กิ ด กระแสประชาธิ ป ไตย ( Democratization) เกิ ด ความเป็ นป จั เจก


(Individualization) และเกิดการเป็ นพหุพลเมือง (Pluralization) ต้องสร้างเด็กไทยให้อยู่ในบริบท
เหล่านี้ใ ห้ได้ทงั ้ วัฒนธรรมโลก วัฒนธรรมอาเซียน วัฒนธรรมท้องถิ่น รวมไปถึงวัฒนธรรมสากล
ภายใต้โลกเสมือนจริง และวัฒนธรรมของตัวเอง (Self-defined Culture) ด้วย ดังนันจึงเป็ นประเด็น
ทีต่ ้องขบคิดว่า ต่อไปนี้จะเตรียมพร้อมเด็กไทยอย่างไรให้มภี ูมคิ ุม้ กันเชิงวัฒนธรรมอยู่ ผสมผสาน
วัฒนธรรมเหล่านี้เพื่อให้เห็นตัวตนของเด็กไทย พร้อม ๆ กับมีความเป็นคน ให้อยู่ในโลกยุคใหม่น้ีได้
อย่างปกติสุขด้วย
ความเคลื่อนตัวของวิกฤติรอบด้านที่เป็ นทัง้ ภัยคุกคาม และโอกาสที่โลกยุคใหม่ต้องเผชิญ
เป็นพลวัตรโลก (Global Dynamic) ทีก่ า้ วเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ซึง่ เป็นโลกใหม่ทแ่ี ตกต่างจากศตวรรษ
ที่ 20 อย่างสิน้ เชิง ทัง้ นี้ โมเดลแห่งการพัฒนาพร้อมรับมือกับโจทย์ภยั คุกคามรอบด้าน สู่ความเป็ น
ชาติมงคัั ่ งในศตวรรษที
่ ่ 21 ตัง้ แต่บทบาทการพัฒนาทีไ่ ม่พง่ึ พิงประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่เน้นการ
รวมกลุ่มในหลายเขตเศรษฐกิจทีม่ าเชื่อมโยงกับไทย (Collaboration) ใช้จุดยุทธศาสตร์ตรงกึ่งกลาง
การเชื่อมโลกเป็ นแต้มต่อให้กบั ประเทศ ในขณะเดียวกัน ภาครัฐไม่สามารถดาเนินนโยบายแบบ
"สังการ"
่ เพียงคนเดียวได้เองอีกต่อไป ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย ทัง้ องค์กรภาคธุรกิจ
และภาคสังคม จึงจะเป็ นรัฐทีส่ าเร็จในเชิงนโยบาย ขึน้ อยู่กบั ว่ารัฐจะกล้าเปลีย่ นบทบาทตัวเองจาก
ผูน้ าสังการเป็
่ น "ร่วมกันคิด" ได้กบั ภาคประชาสังคมได้หรือไม่ ส่วนโมเดลการปรับเปลีย่ นกลไกการ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ขนานใหญ่ 3 ส่วน ประกอบด้วย ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรมการผลิต
และภาคบริการ รวมไปถึงยกระดับทรัพยากรบุคคล หรือ “ทุนมนุ ษย์” เป็ นฟนั เฟื องสาคัญสร้าง
คุณภาพคน เทคโนโลยี และการบริหารจัดการ (สุวทิ ย์ เมษินทรีย,์ 2556)
นอกจากนี้ กระแสความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวกระเทือนมายัง ด้านการศึกษาและการเรียนรู้
ด้วย ทาให้ต้องทบทวนว่าการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 จะต้องเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ภายใต้
กระบวนทัศ น์ ท่เี ปลี่ยนแปลง นอกเหนือ การศึกษาและการเรียนรู้ท่ีต้อ งเปลี่ยนแปลงไปแล้ว ยัง
นาไปสู่การเปลีย่ นแปลงการทางาน ตลอดจนการปรับจิตสานึกของคนไทยอีกด้วย

ประเด็นคาถามสาคัญทีจ่ ะต้องขบคิดและตอบโจทย์ คือ


- อะไรคือวัฒนธรรมใหม่ของการอยูร่ ว่ มกัน (What is the New Cuture of Living?)
- อะไรคือวัฒนธรรมใหม่ของการเรียนรู้ (What is the New Cuture of Learning?)
- อะไรคือวัฒนธรรมใหม่ของการทางาน (What is the New Cuture of Working?)

80
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

จากกระแสการเปลีย่ นแปลงดังกล่าวนามาสู่นยั ของการบริหารจัดการทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป


- ชุดของโอกาสและชุด ของภัยคุ กคามใหม่ท่เี ปลี่ย นแปลงไป (New Set of
Opportunities and Threats)
- ชุดของวัฒนธรรมและกลยุทธ์ทางธุรกิจใหม่ (New Set of Corporate Culture and
Business Strategy)
- ชุ ด ของสมรรถนะหลัก และเครือ ข่ า ยความร่ ว มมือ (New Set of Core
Competencies and Collaborative Networks)

4.1.1.2 แนวโน้ มทีส่ าคัญของโลก (Mega Trend)

นอกเหนื อ จากพลวัต โลกของการก้า วผ่ า นจากศตวรรษที่ 20 เข้า สู่ศ ตวรรษที่ 21 ทัง้ 3


กระแสดังที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีแนวโน้มทีส่ าคัญของโลก (Mega Trend) ซึง่ จะเป็ นบริบทใหม่
ของโลกทีม่ คี วามสาคัญและถือเป็ นประเด็นความท้าทายสาหรับโลกในศตตวรรษที่ 21 เช่นกัน โดย
แนวโน้มทีส่ าคัญของโลก ได้แก่
1) ด้านเศรษฐกิ จ
• การเปลีย่ นโลกจากโลกทีม่ ขี วั ้ อานาจขัว้ เดียว (Unipolar World) ไปสู่โลกทีม่ หี ลาย
ขัว้ อานาจ (Multipolar World) โดยเฉพาะการเพิม่ อานาจของภูมภิ าคเอเชีย (Asian
Century)
• เศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge Economy) ความรูก้ ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว
การใช้ความรูม้ าสร้างผลผลิตให้เกิดมูลค่าเพิม่ (Value Creation) ความสาคัญของ
การวิจยั และพัฒนา (R&D)
• การจัดการห่วงโซ่มลู ค่าระดับโลก (Global Value Chain) ทีเ่ ป็นระบวนการผลิตทีละ
ชิน้ ส่วน เน้นความชานาญเฉพาะมากขึน้ (Specialization)

2) ด้านสังคมและประชากร
• การเพิม่ ขึน้ ของสังคมผูส้ งู อายุ (Aging Society)
• ภาวะความเป็ นเมือง (Urbanization) มากขึน้ ส่งผลต่อสัมพันธภาพภายใน
ครอบครัว เกิดการหย่าร้าง ครอบครัวแตกแยก มีการย้ายเข้าถิน่ สู่เมืองใหญ่
สังคมไทยมีแนวโน้มเปลีย่ นแปลงจากสังคมเครือญาติส่สู งั คมปจั เจก

81
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

• การเคลื่อนย้ายถิน่ ฐานแรงงาน (Migration and Mobility) ภายในภูมภิ าคและ


ระหว่างประเทศ
• ความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจและสังคม (Rising Inequality) นาไปสู่ความขัดแย้งใน
สังคม (Social Conflict) เช่น Occupy Wall street, Arab Spring และการเพิม่ ขึน้
ของนโยบายประชานิยมทีไ่ ม่ช่วยสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน (Populist
Policy)
• ปญั หายาเสพติด และอาชญากรรมอย่างต่อเนื่อง รวมทัง้ พฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสม
ของเด็กและเยาวชนในเรือ่ งเพศ สิง่ เสพติด อบายมุข

3) ด้านสิ่ งแวดล้อม
• การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (Climate Change)
• การเพิม่ ขึน้ ของปริมาณมลพิษทางสิง่ แวดล้อม
• การลดลงของสต๊อกทรัพยากรธรรมชาติ เกิดความกดดันทางด้านทรัพยากร
โดยเฉพาะทางด้านพลังงานและอาหาร (Resource Constraints) นาไปสู่สงคราม
การแย่งชิงทรัพยากรในระดับโลก (Resource War)
• แนวโน้มเศรษฐกิจสีเขียวและการผลิตและบริโภคทีม่ ลี กั ษณะเป็นมิตรกับ
สิง่ แวดล้อม (Green Economy, Green Production and Consumption)

4) ด้านเทคโนโลยี
• ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็ นไปอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะนาโน
เทคโนโลยี เทคโนโลยีชวี ภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Nanotechnologies,
Biotechnologies and Life Sciences, Information and Communication
Technologies)
• เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทีไ่ ร้พรมแดน การเชื่อมโยงของอินเทอร์เน็ต
ทัวโลกท
่ าให้การสื่อสารสามารถทาได้รวดเร็วและสะดวกสบายในทุกสถานที่ การ
เกิดขึน้ ของสื่อและเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media & Social Network)
• ความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยีและสารสนเทศ (Digital and Technological
Divide)

82
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

รายละเอียดของปจั จัยหลักที่ขบั เคลื่อนการเปลี่ยนแปลงประการที่สาคัญ ในด้านต่างๆ มี


รายละเอียดดังนี้
1) ด้านเศรษฐกิ จ
การเปลีย่ นโลกจากโลกทีม่ ีขวั ้ อานาจขัว้ เดียว (Unipolar World) ไปสู่โลกทีม่ ีหลายขัว้
อานาจ (Multipolar World) โดยเฉพาะการเพิ ม่ อานาจของภูมิภาคเอเชีย (Asian Century)
จากการประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลกและภูมภิ าคชีว้ ่า สัดส่วนของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมของโลก (World GDP) มาจากเศรษฐกิจตลาดเกิดใหม่และภูมภิ าคทีก่ าลังพัฒนา
กล่าวคือ สัดส่วน GDP ของสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปจะลดลง ขณะทีส่ ดั ส่วน GDP ของจีน
อินเดีย และ อาเซียน จะเพิม่ ขึน้ การขยายตัวเร็วของประเทศเหล่านี้เกิดผลได้ในเชิงเศรษฐกิจที่ม ี
อิทธิพลให้อตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเพิม่ ขึ้น กลุ่มคนชัน้ กลางเพิม่ ขึน้ มีการใช้จ่ายเพิม่ ขึ้น
สินค้าบริโภควัฏจักรสัน้ ลง สัดส่วนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment:
FDI) ต่อ GDP โลกเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะมี FDI เข้าประเทศจีนและอินเดียสูงมาก
ขัว้ อ านาจทางเศรษฐกิ จ มีแ นวโน้ ม การกระจายจากการเป็ น ขัว้ อ านาจขัว้ เดีย วคื อ
สหรัฐอเมริกาสู่การเป็ นพลังหลายขัว้ อานาจ เมื่อประเทศกลุ่ม BRIC อันประกอบไปด้วยบราซิล
รัสเซีย อินเดียและจีน และกลุ่มเศรษฐกิจเกิดใหม่ (เช่น เวียดนาม แอฟริกาใต้ อื่น ๆ) มีการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจอย่างมีนยั สาคัญ
เศรษฐกิ จฐานความรู้ (Knowledge Economy) ความรู้การเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว
การใช้ ความรู้มาสร้างผลผลิ ตให้ เกิ ดมูลค่าเพิ ม่ (Value Creation) ความสาคัญของการวิ จยั
และพัฒนา (R&D)
ในศตวรรษที่ 21 ประเทศต่างๆ ได้ก้าวเข้าสู่กระแสใหม่ของการเปลี่ยนแปลงที่เรียกว่า
เศรษฐกิจฐานความรู้ หรือ Knowledge-based Economy (OECD, 2002) ซึง่ หมายถึง เศรษฐกิจที่
ให้ความสาคัญในด้านการผลิต การแพร่กระจายสินค้า และการบริการโดยอาศัยความรู้ เป็ นตัว
ขับเคลื่อนหลัก เพื่อสร้างความเติบโต ความมังคั ่ งและสร้
่ างงานในทุกภาคเศรษฐกิจ (OECD, 1996,
2002)
ระบบเศรษฐกิจฐานความรูม้ คี วามสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากในการนาประเทศไปสู่ความ
เติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาวได้นนั ้ ต้องให้ความสาคัญต่อการใช้องค์ความรู้ การถ่ายโอนเผยแพร่
โดยมนุษย์ ดังนัน้ การพัฒนาทุนมนุษย์ (Human Capital) ผูท้ จ่ี ะขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจฐานความรู้
จึงทวีความสาคัญมากขึน้ และจาเป็ นอย่างมากทีจ่ ะต้องมีการพัฒนาประชากรให้มกี ารศึกษา และ
พัฒ นาแรงงานให้ ม ีค วามรู้ เป็ น แรงงานที่ม ีฝี ม ือ อัน จะเป็ น กลไกส าคัญ ในการสร้า งสรรค์อ งค์
ความรู้ (Knowledge Creation) เกิดการใช้อ งค์ความรู้ (Knowledge Utillzation) และเกิดการ
กระจายความรู้ (Knowledge Diffusion) พัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ระดับคุณภาพโดยอาศัยโครงสร้าง
พืน้ ฐานด้านการศึกษาทัง้ ในระบบและนอกระบบ
83
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นอกจากนี้ การวิจยั และพัฒนา (Research and Development) ตลอดจนการให้ความสาคัญ


กับการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (Science, Technology and Innovation) ยัง
เป็ นปจั จัยสาคัญในการพัฒนา มากกว่าการใช้เงินทุนและแรงงาน ความได้เปรียบจากปจั จัยการผลิต
ทรัพ ยากรหรือ แรงงานดัง เช่ น ในยุ ค อดีต เพีย งล าพัง จึง ไม่ เ พีย งพออีก ต่ อ ไป หากแต่ ต้ อ งให้
ความสาคัญกับการนาความรูม้ าสู่การสร้างผลผลิตทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ (Value Creation) สังคมแห่งการ
เรียนรูน้ ้เี อง จึงมีบทบาทอย่างมากในศตวรรษที่ 21
ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งถือว่าเป็ นยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ เกิดการเปลี่ยนแปลงของโลกใน
หลาย ๆ ด้านทัง้ ด้านเศรษฐกิจและสังคมอันนาไปสู่การปรับตัว เพื่อ ให้เ กิดความสามารถในการ
แข่งขันท่ามกลางกระแสโลกาภิวฒ ั น์ทุกประเทศทัวโลก

ความสามารถในการเชื่อมโยงความรูอ้ ย่างมากเพื่อใช้ประโยชน์และสร้างความรูใ้ หม่ไม่ว่าจะ
ด้วยเครือข่ายบุคคลหรือด้วยการเชื่อมความรูใ้ นสื่อต่างๆ นี้จะเป็ นอาวุธทีท่ รงพลังทีส่ ุดในโลกยุคฐาน
เครือข่ายซึง่ จะเกิดขึน้ ตามหลังยุคสังคมแห่งการเรียนรู้ (ผศ.ดร.ภูเบศร์ สมุทรจักร)

ดร.สุวทิ ย์ เมษินทรีย์
“โลกหลังสังคมฐานความรู:้ ความมังคั
่ งในนิ
่ ยามใหม่”
โลกยุคต่อไปว่าจะเป็ นสังคมแห่งกัลยาณมิตรมีการอนุวตั จากการแข่งขันเพือ่ สร้างความได้เปรียบ
และเอาชนะกันทางธุรกิจไปสู่การ“ร่วมกันสร้างสรรค์”คนในสังคมจะคิดถึงส่วนรวมมากขึน้
มีจติ สํานึกสาธารณะ (Public Mindedness) มากกว่าจิตสํานึกทีเ่ อาประโยชน์ของตนเองเป็นทีต่ งั ้
มีการสือ่ สารแบบเปิด (Open Communication) ทําให้เกิดการแบ่งปนั ข้อมูลอย่างกว้างขวาง

2) ด้านสังคมและประชากร
ในด้านสังคมและประชากรมีปจั จัยขับเคลื่อนทีส่ าคัญ อันเนื่องมาจากโครงสร้างประชากร
และการพัฒนาเศรษฐกิจ การเพิม่ ขึน้ ของสังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ภาวะความเป็ นเมือง
(Urbanization) มากขึน้ ส่งผลต่อสัมพันธภาพภายในครอบครัว เกิดการหย่าร้าง ครอบครัวแตกแยก
มีการย้ายเข้าถิ่นสู่เมืองใหญ่ สังคมไทยมีแนวโน้ มเปลี่ยนแปลงจากสังคมเครือญาติสู่สงั คมปจั เจก
นอกจากนัน้ ยังมีแนวโน้มการเคลื่อนย้ายถิน่ ฐานแรงงาน (Migration and Mobility) ภายในภูมภิ าค
และระหว่างประเทศเพิม่ มากขึน้

84
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ปจั จัยเหล่านี้ได้ก่อให้เกิดปญั หา ทัง้ จากการทีค่ รอบครัวและชุมชนมีบทบาททีอ่ ่อนแอลงใน


การอบรมบ่มนิสยั และให้การศึกษาแก่เด็กและเยาวชน ผูเ้ รียนขาดแรงจูงใจและความกระตือรือร้นใน
การเรียนรู้ ตลอดจนมีปญั หาด้านพฤติกรรมทีไ่ ม่พงึ ประสงค์มากขึน้ เกิดการเสื่อมถอยทางจริยธรรม
โดยเฉพาะคุณลักษณะด้านความรับผิดชอบ
การศึกษาเรียนรูจ้ งึ ต้องเร่งพัฒนาคนให้สามารถเผชิญกับการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของ
สังคม สร้างเสริมคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ บ่มเพาะคนไทยให้เป็ นพลเมืองดีของประเทศและสังคม
โลกได้ เข้าใจสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ความรับผิดชอบและการมีส่วนร่วม ส่งเสริม
ในเรื่องของจิตสานึกสาธารณะ เพื่อ ให้เ ห็นประโยชน์ ส่ วนรวมมากกว่าการเห็นประโยชน์ ส่ วนตัว
รวมทัง้ สร้างแรงจูงใจในการเรียนรูแ้ ละทักษะทีจ่ าเป็ นสาหรับชีวติ และการทางาน

ประชากรและการพัฒนาเศรษฐกิ จ

ป จั จัย หลัก ที่ข ับ เคลื่อ นการเปลี่ย นแปลงประการที่ส าคัญ คือ ประชากรและการพัฒ นา


เศรษฐกิจ โดยประชากรของประเทศไทยได้เพิม่ ขึน้ ประมาณ 3 เท่าตัวจากปี ค.ศ. 1950 จาก 20.6
ล้านคน เป็ น 65.9-69.1 ล้านคนในปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010)2 ทัง้ นี้ จากการคาดการณ์ ของ
สหประชาชาติในรายงาน World Population Prospects: The 2010 Revision พบว่าประเทศไทยจะ
มีป ระชากรเพิ่มขึ้น จากป จั จุบ ัน โดยจะมีจานวนสูง สุ ด ที่ป ระมาณ 73.4 ล้า นคนในปี ค.ศ. 2035
หลังจากนัน้ จานวนประชากรจะลดลงเรื่อยๆ จนเท่ากับ 58.2 ล้านคนเมื่อสิ้นศตวรรตที่ 21 นี้ (ค.ศ.
2100) ดังนัน้ การบริห ารจัดการด้านต่างๆ จะต้องเตรียมรับกับจานวนประชากรที่เ พิ่มสูงขึ้น
ประมาณ 4 ล้านคน (หากยึดตามตัวเลขของรายงาน World Population Prospects: The 2010
Revision)

2
สถิตสิ ามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 โดยสานักงานสถิตแิ ห่งชาติรายงานว่า 65.9 ล้านคน ส่วน World
Population Prospects: The 2010 Revision รายงานว่า 69.1 ล้านคน
85
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 19: จานวนประชากรของไทยและแนวโน้ มในอนาคต (หน่ วย: ล้านคน)

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยอาศัยข้อมูลจาก World Population Prospects:
The 2010 Revision, United Nation

รูปแบบการบริ โภคและตลาดแรงงานทีเ่ ปลีย่ นแปลง


นอกจากจ านวนประชากรแล้ ว โครงสร้ า งประชากรก็ ม ีผ ลต่ อ รู ป แบบการบริโ ภค
(Consumption Pattern) รวมทัง้ มีผลต่อตลาดแรงงานและความสามารถในการผลิตของประเทศ
โดยในแง่โครงสร้างประชากรของไทยนัน้ ประชากรวัยเด็ก (0-14 ปี) ได้เพิม่ ขึน้ จนถึงจุดสูงสุดตัง้ แต่
ในช่วงปีค.ศ. 1980 มีจานวน 18.7 ล้านคนแล้วเริม่ ลดลง โดยประชากรวัยเด็กจะเริม่ มีจานวนคงที่
นับตัง้ แต่ปีค.ศ. 2030 เป็ นต้นไปโดยมีประชากรวัยเด็กประมาณ 9-10 ล้านคน ในขณะทีว่ ยั ทางาน
(15-59 ปี ) จะเพิม่ ขึ้นสูงสุดถึงปี ค.ศ. 2015 มีจานวน 46.7 ล้านคนและทยอยลดลง ในขณะที่
ประชากรวัยสูงอายุ (มากกว่า 60 ปี) ได้เพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วในช่วงปี ค.ศ. 2010-2040 โดยมีจานวน
ประชากรวัยสูงอายุสงู สุด 23.1 คนในปี 2060 การเข้าสู่สงั คมผูอ้ ายุดงั กล่าวน่ าจะส่งผลต่อการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมไทยเป็นอย่างมาก

86
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 20: การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของไทยตามระดับอายุ (หน่ วย: ล้านคน)

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยอาศัยข้อมูลจาก World Population Prospects:
The 2010 Revision, United Nation

ความเป็ นเมือง
การเปลีย่ นแปลงเชิงโครงสร้างของประชากรทีอ่ าศัยอยู่ในเขตเมืองและชนบทของประเทศ
ไทยมีแนวโน้มเปลีย่ นแปลงมาโดยตลอด โดยประชากรทีอ่ าศัยในเขตเมืองได้เพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วซึง่
เป็ นแนวโน้มทีเ่ กิดขึน้ ในทัวโลก
่ โดยรายงาน World Urbanization Prospects 2011 คาดว่าสัดส่วน
ของประชากรทีอ่ าศัยอยู่ในเขตเมืองในประเทศไทยจะสูงกว่าประชากรทีอ่ ยู่ในชนบทในปีค.ศ. 2045
การทีป่ ระชากรอพยพมาอยู่ในเมืองมากนัน้ ส่งผลกระทบและแรงกดดันต่อทัง้ การใช้ทรัพยากรและ
คุณภาพสิง่ แวดล้อมโดยเฉพาะสิง่ แวดล้อมเมืองและชุมชนในอนาคต
บริบทและชีวติ ที่เปลี่ยนแปลงไป ความแตกต่างของเมืองและภูมภิ าคย่อมส่งผลต่อประเด็น
การศึกษาเรียนรูท้ ่อี าจมีความแตกต่างกัน เนื้อหาสาระของการเรียนการสอนจึงควรมีความยืดหยุ่น
สามารถปรับ ให้ส อดคล้อ งกับ บริบ ทของพื้น ที่ เพื่อ ให้ผู้เ รีย นได้เ ข้า ใจสาระความรู้ท่ีบูร ณาการ
เชื่อมโยงกับบริบทพืน้ ที่

87
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 21: การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่อยูใ่ นเมืองและชนบท

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยข้อมูลจาก World Urbanization Prospects,
United Nation (2011)

3) ด้านสิ่ งแวดล้อม
ในปจั จุบนั เริม่ มีปจั จัยขับเคลื่อนทางด้านสิง่ แวดล้อมทีม่ อี ทิ ธิพลอย่างมากต่อด้านต่าง อาทิ
การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (Climate Change) การเพิม่ ขึน้ ของปริมาณมลพิษทางสิง่ แวดล้อม
การลดลงของสต๊อกทรัพยากรธรรมชาติ เกิดความกดดันทางด้านทรัพยากรโดยเฉพาะทางด้าน
พลังงานและอาหาร (Resource Constraints) นาไปสู่สงครามการแย่งชิงทรัพยากรในระดับโลก
(Resource War) ตลอดจนแนวโน้มเศรษฐกิจสีเขียวและการผลิตและบริโภคทีม่ ลี กั ษณะเป็ นมิตรกับ
สิง่ แวดล้อม (Green Economy, Green Production and Consumption)
การศึกษา เรียนรู้ และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลกในมิติทางด้านสิง่ แวดล้อมจะมี
ความสาคัญเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะในแง่มุมของมิตกิ ารพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียว ตลอดจนการศึกษา
ต่อยอดเพื่อคิดค้นพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่เี ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ตลอดจน อาศัยการศึกษาเป็ นสิง่ ที่
ถ่ า ยทอด และปลู ก จิด ส านึ ก ให้ก ับ คนในสัง คมรัก สิ่ง แวดล้อ ม และมีพ ฤติก รรมที่เ ป็ น มิต รต่ อ
สิง่ แวดล้อม

88
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4) ด้านเทคโนโลยี
ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยีแ ละนวัต กรรมเป็ น ไปอย่ า งรวดเร็ว โดยเฉพาะนาโน
เทคโนโลยี เทคโนโลยีชวี ภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Nanotechnologies, Biotechnologies
and Life Sciences, Information and Communication Technologies)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารทีไ่ ร้พรมแดน


ในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ไร้พรมแดน การเชื่อมโยงของ
อินเทอร์เน็ตทัวโลกท ่ าให้การสื่อสารสามารถทาได้รวดเร็วและสะดวกสบายในทุกสถานที่ การเกิดขึน้
ของสื่อและเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media & Social Network) การพัฒนาอย่างมากของ
ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทีไ่ ร้พรมแดน ทาให้เกิดการแบ่งปนั ข้อมูล องค์ความรู้
และทาให้เกิดคลังความรูม้ หาศาล
พลังขับเคลื่อนของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทีไ่ ร้พรมแดนเป็ นอีกหนึ่งปจั จัยที่
ส่งผลให้เศรษฐกิจฐานความรูข้ ยายตัวอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เนื่องจากข้อมูลทีม่ อี ยู่จานวนมาก
การกลันกรองข้่ อมูลที่มคี วามถูกต้องและสามารถสรุปสังเคราะห์องค์ความรูไ้ ด้จงึ มีความสาคัญ ซึ่ง
ทัง้ ผู้ เ รีย นที่อ ยู่ใ นระบบ หรือ ผู้ส นใจใฝ่ ห าความรู้ จะมีโ อกาสศึก ษาเรีย นรู้ไ ด้ จ ากการแสวงหา
ประโยชน์จากองค์ความรูม้ หาศาล โดยเฉพาะองค์ความรูร้ ะดับนานาชาติ หากมีทกั ษะในการสรุป
วิเ คราะห์แ ละสัง เคราะห์ ข้อ มู ล ความรู้เ หล่ า นั ้น โดยมีพ้ิน ฐานทางด้า นเทคโนโลยีแ ละทัก ษะ
ภาษาอังกฤษทีช่ ่วยเปิดกว้างองค์ความรู้

ความเหลือ่ มล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยีและสารสนเทศ
แม้ว่าจะมีก ารพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว แต่ข้อจากัดหนึ่งก็ค ือ ยังมี ความ
เหลื่อมล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยีและสารสนเทศ (Digital and Technological Divide) ซึง่ ส่งผลให้
ประชากรในพืน้ ทีห่ ่างไกลมีขอ้ จากัดในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการเข้าถึงองค์ความรู้
มหาศาลผ่าน Platform เทคโนโลยีสารสนเทศอีกด้วย อย่างไรก็ตามในส่วนนี้มคี วามจาเป็ นอย่างยิง่
ทีภ่ าครัฐจะต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทัง้ นี้เนื่องจากในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีความสาคัญอย่างมากในการเป็ นกลไกและ
Platform การเข้าถึงการศึกษาเรียนรู้ ขยายโอกาสทางการศึกษาไปยังพืน้ ทีห่ ่างไกล และสามารถทา
ให้ผเู้ รียนมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาเรียนรูท้ ม่ี คี ุณภาพได้

89
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.1.2 แรงขับเคลื่อนในระดับภูมิภาค
การรวมกลุ่ มทางเศรษฐกิจของภูมภิ าคต่ างๆของโลกมากขึ้นโดยกรอบความร่ว มมือ ที่ม ี
ความส าคัญ ใกล้ ชิ ด กั บ ประเทศไทยมาก คือ การรวมกั น เป็ น ประชาคมอาเซี ย น (ASEAN
Community)
การรวมกันเป็ นประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก อัน
ได้แก่ (1) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) (2) ประชาคม
การเมืองและความมันคงอาเซี
่ ยน (ASEAN Political-security Community: APSC) และ(3)
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-cultural Community: ASCC)
(1) ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยน (ASEAN Economic Community: AEC) เน้นการ
เป็ นตลาด/ฐานการผลิตเดียว ภูมภิ าคที่มคี วามสามารถในการแข่งขัน มีการพัฒนาที่
เท่าเทียม และ บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
(2) ประชาคมการเมื อ งและความมันคงอาเซี
่ ย น (ASEAN Political-security
Community: APSC) เน้นพัฒนาการเมือง คุ้มครองสิทธิมนุ ษยชน ร่วมมือป้องกัน
ทางทหารและความมันคงอาเซี
่ ยน เพื่อความสงบสุข เป็นเอกภาพ และแข็งแกร่ง
(3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-cultural Community:
ASCC) เน้นการพัฒนามนุ ษย์ สวัสดิการสังคม ลดความยากจน ส่งเสริมผูด้ อ้ ยโอกาส
สร้างอัตลักษณ์อาเซียน พัฒนาสังคมผ่านกรอบอนุภมู ภิ าค แก้ปญหาสิง่ แวดล้อม

90
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 6: ผลกระทบเชิ งบวกและผลกระทบเชิ งลบจากการเป็ นประชาคมอาเซียน

ผลกระทบเชิ งบวก ผลกระทบเชิ งลบ


- ไทยสามารถส่งออกสินค้าได้มากขึน้ เนื่องจาก - เกษตรกรบางสาขาอาจได้ร ับ ผลกระทบ ด้า น
ตลาดมีข นาดใหญ่ แ ละหลากหลาย สามารถ ราคาสินค้าตกต่า เมื่อมีการนาเข้าสินค้าราคาถูก
รองรับผลผลิตทีม่ คี ุณภาพแตกต่างกัน รวมทัง้ มี จากประเทศสมาชิกอาเซียน
แหล่งวัตถุดบิ จากประเทศเพื่อนบ้าน ซึง่ มีราคา - ภาคการผลิตที่มีประสิทธิภาพการผลิตต่ าอาจ
ถูกลงจากภาษีเป็ นศูนย์ ทาให้ลดต้นทุนการผลิต แข่งขันไม่ได้
(สินค้าส่งออกสาคัญ เช่น ข้าว น้ าตาล นมและ
ผลิตภัณฑ์ ไก่แปรรูป อาหารแปรรูป ยางพารา - นัก ลงทุ น อาเซีย นเข้า มาลงทุ น ในไทยมากขึ้น
และผลิตภัณฑ์ยาง เป็ นต้น) เกิดการแย่งชิงทรัพยากรและแรงงานฝี มอื และ
ผูป้ ระกอบการต้องเผชิญกับการแข่งขันทีส่ งู ขึน้
- เสริมสร้างโอกาสในการลงทุน เช่น ขยายกิจการ
ย้ายฐานการผลิตไปประเทศเพื่อนบ้านเพื่อให้ได้ - แรงงานมีฝีมือของไทยอาจเคลื่อนย้ายออกไป
ปจั จัยการผลิตและแรงงานราคาถูก ตลาดต่างประเทศ ทีม่ คี ่าตอบแทนสูงกว่า

- การพัฒ นาและเพิ่ม คุณภาพบุค ลากร/แรงงาน - ภาระของการขยายตั ว ของเมื อ งและการ


ลดช่องว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เพิม่ อานาจ จัดระบบสาธารณู ปโภคให้เพียงพอจะเพิม่ มาก
การซือ้ ยิง่ ขึน้

- เกิดการพัฒนาและสร้างนวัตกรรม จากการวิจยั - ปญั หาความมันคงและภั


่ ยคุกคามรูปแบบใหม่
และพัฒนาร่วมกันในภูมภิ าคอาเซียน เช่ น ป ญ ั หายาเสพติด ข้ามชาติ และการค้า
มนุษย์ เป็ นต้น
- เกิดความร่วมมือระดับภูมิภาค ในการส่งเสริม
และคุม้ ครองสิทธิ โดยเฉพาะสตรี เด็ก เยาวชน
ผู้ สู ง อายุ และผู้ พิก าร รวมทัง้ การสนั บ สนุ น
ทางด้านวิชาการและงบประมาณ
- ไทยมีศ ัก ยภาพในการเป็ น ศูน ย์ก ลางอาเซีย น
อาทิ ศูน ย์ก ลางโลจิสติก ส์ และศูน ย์ก ลางการ
ท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ

ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)

ดั ง นั ้น การศึ ก ษาเรี ย นรู้ จ ึ ง ต้ อ งสนั บ สนุ นให้ เ กิ ด การยกระดั บ คุ ณ ภาพการสอน


ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะอังกฤษอย่างเข้มข้นและจริงจัง เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถใช้ภาษาเหล่านัน้
ในการสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ แสวงหาความรูเ้ พื่อการประกอบอาชีพและศึกษาต่อในระดับที่
สูงขึน้ รวมทัง้ ต้องมีความรูค้ วามเข้าใจในเรื่องราววัฒนธรรมประเพณีของประเทศอื่นๆ ในภูมภิ าค
เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และมีทศั นคติในเชิงสร้างสรรค์ในการอยูร่ ว่ มกัน

91
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.1.3 ประเด็นภายในประเทศไทย (Local Issues)


ในการศึกษาครัง้ นี้นอกจากจะให้ความสาคัญกับบริบทการเปลีย่ นแปลงระดับโลกและระดับ
ภูมภิ าคแล้ว ยังให้น้าหนักความสาคัญอย่างมากกับประเด็นภายในประเทศไทยเอง และจะพิจารณา
กับความเชื่อมโยงเรือ่ งการศึกษาของไทย กับการพัฒนาคนไทยไปกับยุทธศาสตร์ประเทศ (Country
Strategy) ทีไ่ ด้กาหนดไว้ 4 ยุทธศาสตร์หลักอีกด้วย
- ประเด็นปัญหาภายในประเทศไทย (Local Problems) อาทิ ความเหลื่อมล้ากับ
ดักประเทศรายได้ปานกลางวิกฤตด้านความมันคง ่ การเปลีย่ นแปลงทางครัวเรือน
เช่น ครอบครัวเลีย้ งเดีย่ วเป็นต้น
- ยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategy) ซึง่ ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์
หลัก
ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Growth &
Competitiveness) (2) ยุทธศาสตร์สร้างโอกาสบนความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
ทางสังคม(Inclusive Growth) (3) ยุทธศาสตร์การเติบโตบนคุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็ น
มิตรกับสิง่ แวดล้อม (Green Growth) (4) ยุทธศาสตร์ปรับสมดุลและพัฒนาระบบ
การบริหารจัดการภาครัฐ
จากการวิเ คราะห์บริบทดังกล่ าว จะสามารถเข้าใจได้ ถึงสิ่งที่ระบบการศึกษาจาเป็ นต้อ ง
ตอบสนองให้ได้ ทัง้ ในระดับมหภาคเชิงระบบที่ถูกวิเคราะห์ผ่านการวางแผนกาลังคน และระดับ
ปจั เจกซึง่ เป็ นคุณลักษณะของคนไทยทีส่ ามารถตอบสนองกับความท้าทายเหล่านี้ได้
ผลการศึกษาทบทวนและวิเคราะห์ประเด็นปญั หาภายในประเทศไทย และ ยุทธศาสตร์ของ
ประเทศ สรุปได้ดงั นี้

4.1.3.1 ประเด็นปัญหาภายในประเทศไทย (Local Problems)


ประเด็นปญั หาภายในประเทศไทยทีส่ าคัญ ได้แก่ ความเหลื่อมล้ากับดักประเทศรายได้ปาน
กลางวิกฤตด้านความมันคง ่ การเปลี่ยนแปลงทางครัวเรือน เช่น ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวเป็ นต้น ใน
รายงานการศึกษาวิจยั ชิน้ นี้ คณะวิจยั ได้ศกึ ษาทบทวนประเด็นปญั หาภายในประเทศไทยทีส่ าคัญไว้
โดยมีรายละเอียดดังนี้

92
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

1) ปัญหาความเหลื่อมลา้
ผลการสารวจภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือ นของสานักงานสถิติแห่งชาติปี
พ.ศ. 2549 พบว่าครอบครัวทีร่ วยทีส่ ุดร้อยละ 20 ของประเทศ มีทรัพย์สนิ รวมกันคิดเป็ นร้อยละ 69
ของทัง้ ประเทศ ขณะที่ ครอบครัวจนสุด มีทรัพย์สนิ รวมกันคิดเป็ นร้อยละ 1 นัน่ คือกลุ่มประชาชนที่
รวยทีส่ ุดมีทรัพย์สนิ เกือบ 70 เท่าของกลุ่มทีจ่ นสุด ข้อมูลสถิตขิ า้ งต้นนี้แสดงให้เห็นว่าความมังคั
่ งใน

สังคมไทยกระจุกตัวอยูใ่ นกลุ่มคนจานวนน้อยเพียงร้อยละ 20 ของประเทศเท่านัน้

ภาพที่ 22: ความเหลื่อมลา้ ทางด้านรายได้และการถือครองทรัพย์สินของไทย

ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ

การพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศไทยทีผ่ ่านมาส่งผลให้จานวนคนยากจนลดลง คุณภาพ


ชีว ิต โดยรวมดีข้นึ และคนไทยมีรายได้สูงขึ้น โดยจานวนคนจนเมื่อวัดจากเส้นความยากจนของ
ประเทศไทยได้ลดลงจาก 22.1 ล้านคนในปีพ.ศ. 2531 เหลือ 5.1 ล้านคนใน พ.ศ.2553

93
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 23: จานวนคนจนในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2531 – 2553

ทีม่ า: ประมวลโดย สคช. โดยอาศัยข้อมูลจากสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ


หมายเหตุ: คนจนในทีน่ ้วี ดั จานวนคนทีม่ รี ายได้ทต่ี ่ากว่าเส้นความยากจนทีเ่ ป็ นทางการ

การศึก ษาของ ศูนย์ว ิจยั เศรษฐกิจและธุ รกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB Economic


Intelligence Center:SCB EIC, 2010) คาดการณ์ว่าในปี ค.ศ. 2020 ประชากรทีม่ รี ายได้ระดับกลาง
และสูงจะเพิม่ จานวนขึ้นเรื่อยๆ เป็ นประมาณร้อยละ 40 ของประชากรโดยรวม และประชากรที่ม ี
รายได้ต่ าจะลดลง โดยเมื่อวัดจากดัชนีการพัฒนามนุ ษย์ (Human Development Indicator)3 ของ
UNDP จะพบว่าประเทศไทยมีค่าดัชนีสงู ขึน้ จาก 0.486 ในปี ค.ศ. 1980 เป็ น 0.682 ในปี ค.ศ. 2011
ซึง่ หมายถึงคุณภาพชีวติ ของคนไทยโดยรวมสูงขึน้ ในช่วง 30 ปีทผ่ี ่านมา

3
ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (Human Development Index: HDI) หมายถึง ดัชนีการวัดพัฒนามนุษย์ในมิตติ ่าง ๆ
โดยเฉพาะด้านการรูห้ นังสือ การศึกษา รายได้ ของประเทศต่าง ๆ ทัวโลกและจั
่ ดอันดับระดับความอยู่ดกี นิ ดีของ
ประเทศต่าง ๆ
94
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 24: การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนประชากรจาแนกตามระดับรายได้

ทีม่ า: SCB EIC (2010) โดยอาศัยข้อมูลจากศสช.


หมายเหตุ: ระดับรายได้แบ่งเป็ นระดับล่าง กลางและสูง คือ รายได้ต่อเดือนน้อยกว่า 15,000 บาท ระหว่าง 15,000
แต่ไม่เกิน 35,000 บาท และมากกว่า 35,000 บาท ตามลาดับ โดยเป็ นราคาปี ฐาน 2007

ภาพที่ 25: ดัชนี คณ


ุ ภาพมนุษย์ของประเทศไทย (Human Development Indicator) ปี ค.ศ. 1980-2011

ทีม่ า: UNDP

95
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

อย่างไรก็ตาม แม้การพัฒนาทางเศรษฐกิจจะประสบสาเร็จสามารถลดจานวนคนจน เพิม่


รายได้และคุณภาพชีวติ ของประชาชนโดยรวมของประเทศ แต่ประเทศไทยยังล้มเหลวในการแก้ไข
ปญั หาความเหลื่อ มล้ า ทางเศรษฐกิ จ โดยเมื่อ พิจ ารณาจากแนวโน้ ม ค่ า สัม ประสิท ธิจ์ ีน่ี (Gini
Coefficient)4 ซึ่งใช้ว ดั ความเหลื่อ มล้าทางรายได้ของคนในประเทศจะพบว่าความเหลื่อ มล้าทาง
เศรษฐกิจในประเทศไทยเพิม่ สูงขึน้ โดยตลอด โดยในปจั จุบนั นี้สูงกว่าประเทศเพื่อนบ้านทัง้ หมด (ค่า
สัมประสิทธิ ์จีน่ีอยู่ทป่ี ระมาณ 0.51) ขณะทีป่ ระเทศมาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซียมีแนวโน้มลดลง
และหากเปรียบเทียบกับประเทศต่างๆ ทีพ่ ฒ ั นาแล้ว เช่น เดนมาร์ก สวีเดน ญี่ป่นุ และ สหรัฐอเมริกา
พบว่าประเทศไทยมีช่องว่างความแตกต่างของรายได้สงู กว่าประเทศอื่น ซึง่ สะท้อนถึงปญั หาของการ
พัฒนาประเทศตลอดช่วงเวลาทีผ่ ่านมา

ภาพที่ 26: ค่าสัมประสิ ทธิ์ จีนี่ของกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้

ทีม่ า: Thailand Human Development Report (2552)

4
สัมประสิทธิจี์ น่ี (Gini coefficient) เป็ นวิธวี ดั การกระจายของข้อมูลทางสถิตอิ ย่างหนึ่งทีน่ ิยมใช้เป็ นตัวบ่งชีค้ วาม
เหลื่อ มล้ า ของการกระจายรายได้ห รือ การกระจายความร่ า รวย โดยนั ก สถิติช าวอิต าลีช่ือ คอร์ร าโด จีนี
ค่าสัมประสิทธิจี์ น่ีมคี ่าระหว่าง 0 และ 1 โดยทีส่ มั ประสิทธิจี์ น่ีทต่ี ่ าจะแสดงถึงความเท่าเทียมกันในการกระจาย
รายได้ หากค่านี้สงู ขึน้ จะบ่งชีถ้ งึ การกระจายรายได้ทเ่ี หลื่อมล้ากันมากขึน้
96
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

• ช่อ งว่ า งระหว่ า งคนรวยกับ คนจนในประเทศก าลัง ขยายใหญ่ ข้นึ ถือ เป็ น ภัย คุ ก คามต่ อ
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย อีกทัง้ ยังเป็ นปจั จัยเสี่ยงสาคัญที่อยู่
เบือ้ งหลังความขัดแย้งทางการเมือง และความไม่พงึ พอใจรัฐบาลในหลายประเทศ 5 ในขณะ
ทีร่ ฐั บาลในหลายประเทศได้พยายามลดความเหลื่อมล้าทางสังคมผ่านการดาเนินนโยบาย
ประชานิยมทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ (Populist Policy) ซึง่ มักจะกระตุ้นการใช้จ่ายและเศรษฐกิจ
แค่ระยะสัน้ แต่นโยบายประชานิยมไม่ได้ช่วยสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน และการ
พัฒนาประเทศในระยะยาว
• การที่ประเทศไทยจะสามารถก้าวข้ามกับดักความเหลื่อ มล้าในสังคมได้ ต้อ งอาศัยการ
เปลีย่ นกรอบวิธคี ดิ และนโยบายการพัฒนาประเทศ จากทีเ่ น้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจเป็ น
เป้าหมายสาคัญ มาเป็ นการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพและมีการกาหนดเป้าหมายกระจาย
ผลประโยชน์ของการพัฒนาให้ควบคู่กนั ไป ซึง่ แนวคิดการเติบโตรูปแบบใหม่ทส่ี ่งเสริมการมี
ส่วนร่วมอย่างทัวถึ ่ งและเท่าเทียม (Inclusive Growth) นี้ได้ถูกนาไปใช้ในการวางเป้าหมาย
และปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจในหลายประเทศ เช่น สหภาพยุโรป หรือแม้แต่ประเทศ
กาลังพัฒนาอย่างมาเลเซียและจีน ที่กาลังเผชิญกับความแตกต่างในการกระจายรายได้ท่ี
เพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วเช่นกัน

ส าหรับ ในประเด็น นี้ หากพิจ ารณาความเชื่อ มโยงกับ ภาคการศึก ษา อาจกล่ า วได้ว่ า


แนวทางหนึ่งที่จะช่ว ยให้เ กิดการพัฒนาให้มกี ารเติบโตแบบมีส่ว นร่ว มอย่างทัวถึ
่ งและเท่าเทียม
(Inclusive Growth) คือ การกระจายโอกาสทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพการศึกษา และการ
ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ

5
ตัวอย่างเช่น ปรากฏการณ์ยดึ ครองวอล์ลสตรีท (Occupy Wall Street) หรือการปฏิวตั ปิ ระชาธิปไตยในอาหรับ
(Arab Spring) ทีป่ ระชาชนรวมตัวกันออกไปประท้วงโดยชูประเด็นความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจและสังคมและ
เรียกร้องความเป็ นธรรมและความเท่าเทียม
97
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2) กับดักประเทศรายได้ระดับปานกลาง
ประเทศไทยได้ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มประเทศที่มรี ายได้ ปานกลางระดับบน (Upper Middle
Income) ทีป่ ระชากรมีรายได้เฉลีย่ ในช่วง 3,976 - 12,275 ดอลล่าร์สหรัฐ โดยประเทศไทยมีรายได้
ประชาชาติต่อหัวเท่ากับ 4,210 ดอลล่าร์สหรัฐ หรือ ประมาณ 125,756 บาทต่อคนตามนิยามการจัด
กลุ่มประเทศตามรายได้ประชาชาติต่อหัว (Gross National Income per Capita) ของธนาคารโลก
ประจาปี พ.ศ. 25546
แม้ว่าประเทศไทยสามารถเลื่อนระดับรายได้สูงขึน้ มาได้เกือบ 2 เท่าในรอบ 10 ปีท่ผี ่านมา
นัน้ อย่างไรก็ตาม รายได้เฉลี่ยต่อหัวของไทยยังคงห่ างไกลจากประเทศรายได้สูง (High Income
Country) ทีธ่ นาคารโลกตัง้ เกณฑ์ไว้ท่ี 12,276 ดอลลาร์สหรัฐ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังไม่สามารถ
ยกระดับ รายได้ใ ห้ทนั กับ ประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย ที่เ คยมีระดับ รายได้หรือ ระดับ การพัฒนาทาง
เศรษฐกิจที่ใกล้เคียงกัน ทาให้ในปจั จุบนั รายได้ประชาชาติต่อหัวของประเทศไทยในปจั จุบนั ยังต่ า
กว่ามาเลเซีย 2 เท่า และต่ากว่าเกาหลีใต้ถงึ เกือบ 4 เท่า
ในป จั จุบ ันจึง ถือ ว่ าประเทศไทยกาลังติ ด อยู่ใ นกับ ดักประเทศรายได้ป านกลาง (Middle
Income Trap) หรือการเป็ นประเทศรายได้ระดับปานกลางเป็ นระยะเวลานานโดยไม่สามารถทีจ่ ะ
เลื่อนระดับรายได้ของประเทศหรือเปลีย่ นผ่านการพัฒนาทางเศรษฐกิจไปสู่ระดับทีส่ งู กว่าได้

6
ธนาคารโลกได้จดั กลุม่ ประเทศแบ่งตามรายได้ประชาชาติต่อหัวณ ปี 2554 (2010GNI per Capita) ได้แก่ (1)
กลุ่มประเทศรายได้ต่า (Low Income) มีรายได้ประชาชาติต่อหัวน้อยกว่า 1,005 ดอลล่าร์สหรัฐ (2) กลุ่มประเทศ
รายได้ปานกลางระดับล่าง (Lower Middle Income) มีรายได้ประชาชาติต่อหัวระหว่าง 1,006-3,975 ดอลล่าร์
สหรัฐ (3) กลุ่มประเทศรายได้ปานกลางระดับบน (Upper Middle Income) มีรายได้ประชาชาติต่อหัวระหว่าง
3,976-12,275 ดอลล่าร์สหรัฐ (4) กลุ่มประเทศรายได้สงู (High Income) มีรายได้ประชาชาติต่อหัวมากกว่า
12,276 ดอลล่าร์สหรัฐ

98
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 27: รายได้ประชาชาติ เฉลี่ยต่อหัวประชากร

GNI per capita


(current US$)
20000 Korea

15000

12276

10000 Turkey
Brazil
Argentina
Malaysia
5000
Thailand
China

ทีม่ า : คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยอาศัยฐานข้อมูล CEIC

สาเหตุการติ ดกับดักประเทศรายได้ปานกลาง
ป จั จัย ที่ส่ ง ผลกระทบต่ อ ความสามารถในการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ และส่ ง ผลให้ข ีด
ความสามารถในการแข่งขันลดต่ าลงโดยเปรียบเทียบกับประเทศในเอเชียที่เคยมีระดับรายได้หรือ
ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจทีใ่ กล้เคียงกัน และเป็ นสาเหตุของการติดกับดักประเทศรายได้ปาน
กลางสรุปได้ดงั นี้7
- ปัจจัยจากโครงสร้างเศรษฐกิ จและภาคการผลิ ตของไทยที อ่ ่ อนแอ อีกทัง้ อ่อนไหว
ต่อปจั จัยภายนอกสูง
- โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพถึงขีดจากัด/มีปริ มาณไม่พอและมีปัญหาคุณภาพ
การให้ บริ การ โดยโครงสร้างพืน้ ฐานเป็ นจุดอ่อนทีส่ าคัญของเศรษฐกิจไทย ดังสะท้อน
จากขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยทางด้านโครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ แี นวโน้มแย่ลง
โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ง ด้ า นระบบขนส่ ง โดยเฉพาะระบบราง ด้ า นเทคโนโลยี ด้ า น

7
สรุปจากรายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการบริหารการเปลีย่ นแปลงกระทรวงการคลัง
เสนอต่อกระทรวงการคลังจัดทาโดย Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)
99
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

วิท ยาศาสตร์ ตลอดจนโครงสร้า งพื้น ฐานทางสัง คม (สุ ข ภาพ สิ่ง แวดล้ อ ม และ
การศึกษา)
- ขาดการลงทุนด้ านการวิ จยั และพัฒนาทัง้ ในส่วนการลงทุนวิจยั และพัฒนาเพื่อการ
คิดค้นเทคโนโลยีการผลิต และขาดนวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าผลิตภัณฑ์
- ประเด็น ด้ า นการศึ ก ษาและแรงงาน เนื่ อ งจากป จั จุ บ ัน ไม่ ส ามารถผลิต แรงงาน
คุณภาพที่ตรงกับความต้องการตลาด ผลิตภาพการผลิตต่ า นอกจากนี้ยงั เผชิญความ
เสีย่ งจากการขาดแคลนแรงงานทัง้ ด้านปริมาณและคุณภาพจากการเข้าสู่สงั คมผูส้ ูงอายุ
และการพึง่ พิงแรงงานต่างด้าว

จากสาเหตุ ด งั กล่ า วข้ างต้ นชี้ ให้ เ ห็น ว่ า การพัฒ นาทุ นมนุ ษ ย์ โดยเฉพาะอย่ า งใน
ประเด็นด้ านการศึ กษาและแรงงาน ยังเป็ นจุดอ่ อนอี กประการที ส่ าคัญของประเทศไทยซึ ง่
เป็ นวาระสาคัญที ป่ ระเทศไทยควรให้ ความสาคัญอย่างยิ ง่ เนื่องจากการสะสมทุนมนุ ษย์เป็ น
ปจั จัยทีส่ าคัญอย่างยิง่ ในการยกระดับประเทศไปสู่ประเทศรายได้สูง (Ohno, 2011) โดยประเด็นด้าน
การศึกษาและแรงงาน ที่ยงั มีข้อ จากัด และควรเร่งส่งเสริมพัฒนา อาทิ ประเด็นเรื่องโอกาสการ
เข้าถึงการศึกษา คุณภาพการศึกษาระดับการวิจยั และพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ี
ยังคงอยู่ในระดับต่ ามาก รวมทัง้ ทางด้านการใช้จ่ายเพื่อการสนับสนุ นการวิจยั และพัฒนารวมถึงการ
พัฒ นาบุ ค ลากรนั ก วิจ ัย และผู้ เ ชี่ย วชาญ มีค วามไม่ ส อดคล้อ งระหว่ า งอุ ป สงค์ แ ละอุ ป ทานใน
ตลาดแรงงาน ผลิตภาพการผลิตต่ า ขาดการคิดค้นต่อยอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการเพิม่
และสร้างมูลค่าสินค้าและบริการ (Value Added and Value Creation)

100
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 28: จานวนนักวิ จยั และนักเทคนิ คด้านการวิ จยั และพัฒนา

ทีม่ า: ธนาคารโลก (2007; พ.ศ. 2550)


หมายเหตุ: ข้อมูลระหว่างช่วงปี ค.ศ. 1980s ถึงกลางค.ศ. 2000s (พ.ศ. 2520 – 2548)

ภาพที่ 29: พัฒนาการของการวิ จยั และพัฒนาของประเทศไทย จีนและเกาหลีใต้ในช่วงปี ค.ศ. 1996 - 2007


ค่าใช้จ่ายด้านR&D
R&D (%GDP)
(%GDP) จานวนบุคลากรด้านR&D
R&D (ต่อประชากรล้านคน)

GDP per capita GDP per capita

ทีม่ า : ศุภโชคและคณะ (2554)

101
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3) วิ กฤตด้านความมันคง:
่ กรณี ปัญหาความรุนแรงในจังหวัดชายแดนใต้ 8
จากการวิเคราะห์ในเชิงประวัตศิ าสตร์อาจทาให้เห็นแง่มุมของการสู้รบระหว่างรัฐไทยกับรัฐ
ปตั ตานีในอดีตทีอ่ าจทาให้เข้าใจได้ว่าความขัดแย้งในปจั จุบนั นัน้ มีเบือ้ งหลังอยู่ทอ่ี ุดมการณ์แบ่งแยก
ดินแดน ซึง่ จากการศึกษามีความจริงเพียงส่วนหนึ่ง แต่เมื่อวิเคราะห์ถงึ ผูท้ เ่ี กี่ยวข้องกลุ่มต่าง ๆ จะ
เห็นภาพว่าแท้จริงแล้วยังมีผเู้ ล่นอีกหลายรายทีพ่ อใจกับสถานการณ์ของความรุนแรงที่ยงั มีอยู่ เช่น
กลุ่มอิทธิพ ลผิดกฎหมาย กลุ่มที่แสวงหาผลประโยชน์ จากงบประมาณรัฐ หรือธุรกิจ ผิดกฎหมาย
ต่างๆ อย่างไรก็ตามเมื่อวิเคราะห์ผ่านกรอบแนวคิด Structure, Conduct, Culture: SCC จะทาให้
เห็นภาพทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้ ว่าสาเหตุมลู ฐานส่วนใหญ่มกั มาจากทางด้านพฤติกรรมและวัฒนธรรม
มิตทิ างพฤติกรรมนัน้ เป็ นมิตทิ ่สี ามารถเห็นได้ชดั เจน เป็ นการกระทาเชิงประจักษ์ แต่การ
กระทาภายนอกทีล่ ะเมิดสิทธิมนุ ษยชนและศักดิ ์ศรีความเป็ นมนุ ษย์เหล่านี้ มีรากฐานมาจากทัศนคติ
ภายในซึง่ เป็ นมิตทิ างวัฒนธรรม อันเป็ นชัน้ ทีอ่ ยู่ลกึ ทีส่ ุดในจิตใจมนุ ษย์ มิตทิ างวัฒนธรรมต่าง ๆ ไม่
ว่าจะเป็ นการมองความเป็ นไทยเพียงด้านเดียว ความไม่เข้าใจกันอย่างแท้จริงของคนไทยพุทธและ
มุสลิม และการไม่ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม ความคิด ความเชื่ออย่างสนิทใจ
นัน้ เป็ นที่มาของโครงสร้างการบริห ารปกครองและองค์กรที่รบั ผิดชอบในการแก้ไขและพัฒนา
จังหวัดชายแดนภาคใต้ และพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรมในความรูส้ กึ ของคนมุสลิมซึ่ง
เป็นประชากรส่วนใหญ่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ทัศนคติขา้ งต้นนี้ได้สร้างความชอบธรรมให้แก่การดารงอยูข่ องโครงสร้างและพฤติกรรมทีไ่ ม่
เป็ นธรรมเหล่านัน้ กล่าวคือ ทาให้โครงสร้างการบริหารของรัฐไทยมีลกั ษณะรวมศูนย์อานาจ ไม่
สอดคล้อ งกับความหลากหลายทางชาติพนั ธุ์และไม่เ อื้อ ต่ อ การมีส่ ว นร่ว มของประชาชน ท าให้
เจ้าหน้ าที่รฐั บางส่ว นซึ่งอยู่ภายใต้โครงสร้างที่ไม่เหมาะสมดังกล่าวนี้ใช้อานาจรั ฐนอกกรอบของ
กฎหมายและเลือกปฏิบตั อิ ย่างไม่เป็นธรรม ทัง้ หมดนี้เป็ นสาเหตุรากเหง้าทีก่ ่อให้เกิดความรุนแรงใน
จังหวัดชายแดนภาคใต้ตงั ้ แต่ครัง้ ประวัตศิ าสตร์จนกระทังถึ ่ งปจั จุบนั และหากไม่ได้รบั การแก้ไขด้วย
ทัศนคติและวิธกี ารทีเ่ หมาะสม ก็จะยังคงเป็นเงือ่ นไขหล่อเลีย้ งความรุนแรงในพืน้ ทีต่ ่อไปในอนาคต
สาเหตุมลู ฐานที่ลกึ ทีส่ ุดของปญั หาความรุนแรงในสามจังหวัดชายแดนใต้นัน้ อยู่บนความไม่
เข้าใจในอัตลักษณ์ และวิถชี วี ติ ของชาวมุสลิมในพื้นที่ ซึ่งก่อให้เกิดอคติทางชาติพนั ธุ์ประกอบกับ
จินตภาพไทยในมิตเิ ดียวซึง่ หยังรากมาตั
่ ง้ แต่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทีพ่ ยามกลืนชาวมาลายู
ปาตานี ใ ห้ก ลายเป็ น ไทยในมิติเ ดีย ว ซึ่ง เป็ น การกดทับ อัต ลัก ษณ์ ข องคนในพื้น ที่ ประกอบกับ
พฤติก รรมละเมิด สิทธิมนุ ษ ยชน ศัก ดิ ์ศรีค วามเป็ นมนุ ษ ย์ และการเลือ กปฏิบตั ิของเจ้าหน้ าที่ร ฐั
ต่อชาวมุสลิมในพืน้ ที่ ผนวกเข้ากับโครงสร้างการบริห ารปกครองประเทศทีก่ ารกระจายอานาจอย่าง

8
สรุปจากประเด็นการวิจยั ที่ 5: สัญญาประชาคมรูปแบบใหม่ โครงการจัดเตรียมการสาหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 เสนอต่อสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จัดทา
โดย Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)
102
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

แท้จริงยังไม่เกิดขึน้ การบริหารปกครองพืน้ ที่ 3 จังหวัดไม่มคี วามแตกต่างกับอีก 73 จังหวัดทีเ่ หลือ


ทัง้ ทีบ่ ริบทของพืน้ ทีแ่ ละประชาชนนัน้ แตกต่างกันอย่างมาก กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนใน
การแก้ไขปญั หาในพืน้ ที่มอี ยู่ต่ า ประชาชนไม่รสู้ กึ ถึงความเป็ นเจ้าของและเป็ นคนไทย ทัง้ หมดเป็ น
เชื้อไฟที่พร้อมจะจุดติดเมื่อกลุ่มผลประโยชน์ ต่ าง ๆ เข้ามาด้วยวัต ถุประสงค์ท่หี ลากหลาย แต่ ม ี
เป้าหมายเดียวกันคือการสร้างความไม่สงบให้เกิดขึน้ และดาเนินต่อไปในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดน
ไทย

4) ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง
กรณีศกึ ษาปญั หาความขัดแย้งทางการเมืองพบข้อสรุปทีส่ าคัญ ดังนี้9
- เกิดความขัดแย้งแย่งชิงในเชิงอํานาจระหว่างกลุ่ มต่ าง ๆ ตลอดช่ว งเวลาที่ไทย
ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตยทีผ่ ่านมากว่า 78 ปี
- การผลัดเปลีย่ นหมุนเวียนของกลุ่มอํานาจต่าง ๆ นัน้ มีพฒ ั นาการทีน่ ่ าสนใจคือกลุ่ม
คนทีเ่ ข้ามาในเวทีการเมืองไทยนัน้ มีการขยายฐานกว้างมากขึ้นเป็ นลําดับ จากกลุ่ม
ชนชัน้ นากลุ่มเล็ก ๆ ของสังคมในช่วงต้นของการพัฒนาประชาธิปไตย จนถึงการ
เคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมนาโดยนักศึกษาและประชาชนเพื่อต่อสู้กบั เผด็จ
การในช่ว งปี 2516-2519 ไปสู่การลุ กขึ้นมาต่ อสู้ทางการเมือ งของชนชัน้ กลางใน
กรุงเทพฯ หรือ “ม็อบมือถือ” ในวิกฤตการณ์ในปี 2535 เรื่อยมาถึงความขัดแย้งทาง
การเมืองในปจั จุบนั ทีก่ ารเมืองทีก่ ลุ่มคนชัน้ กลางในกรุงเทพฯ และหัวเมือง และชน
ชัน้ รากหญ้าในต่างจังหวัด ต่างเข้ามามีบทบาทสาคัญทางการเมืองในปจั จุบนั
- สาเหตุสาํ คัญทีเ่ ป็ นรากของปญั หาความขัดแย้งทางการเมืองออกเป็ นปจั จัยทางด้าน
โครงสร้า ง พฤติก รรม และด้า นวัฒ นธรรม ซึง่ สัม พัน ธ์เ ชือ่ มโยงกัน ในหลายมิติ
ดังเช่น นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจทีผ่ ่านมาหลังจากไทยก้าวเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ
โลกและรับเอาระบบทุนนิยมเข้ามาไว้เป็นแกนหลักในการพัฒนาประเทศทีท่ าให้เกิด
การมุ่งเน้นพัฒนาในบางภาคเศรษฐกิจและในบางพื้นที่ ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้า
ทางเศรษฐกิจที่ตามมา แนวทางการพัฒนาที่ไม่สมดุลดังกล่าวได้ทาให้เมืองและ
ชนบทมีค วามแตกต่ างกันมากขึ้น ทุกที ช่อ งว่างทางรายได้ข องภาคเกษตรและ
อุตสาหกรรมก็ฉีกตัวห่างออกจากกันเรือ่ ยมา
- แนวคิดธรรมาภิบาลได้เข้ามามีบทบาทในประเทศไทยระยะหลังมากขึ้น แต่อย่างไร
ก็ด ี ในภาคส่วนอืน่ ๆ โดยเฉพาะภาครัฐ ทีเ่ ป็ นผูใ้ ช้อํานาจอธิปไตยกลับยังมีปญั หา

9
สรุปจากประเด็นการวิจยั ที่ 5: สัญญาประชาคมรูปแบบใหม่ โครงการจัดเตรียมการสาหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 เสนอต่อสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จัดทา
โดย Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)
103
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การใช้ อํ า นาจทีไ่ ม่ เ ป็ น ไปตามหลัก นิ ติธ รรม การบัง คับ ใช้ ก ฎหมายแบบสอง


มาตรฐานรวมไปถึงกระบวนการยุตธิ รรมทีไ่ ม่สามารถให้ความเป็ นธรรม ทาให้เป็ น
หนึ่งในเหตุผลทีฝ่ า่ ยต่าง ๆ ระบุว่าเป็ นต้นเหตุสาคัญของความขัดแย้งทางการเมือง
ในปจั จุบนั การทุจริต และการผูกขาดทางเศรษฐกิจอันมีความสัมพันธ์กบั วัฒนธรรม
พวกพ้องก่อให้เกิดความไม่พอใจของคนอีกส่วนหนึ่งของสังคม
ปญั หาความขัดแย้งทางการเมืองในปจั จุบนั นัน้ หยังรากลึ
่ กลงไปในเชิงของโครงสร้างและ
พฤติกรรมเป็ นสาคัญ โดยมีความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ การพัฒนาที่ไม่สมดุล ปญั หากลไกการ
ตรวจสอบถ่วงดุลทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ ปญั หาการคอรัปชัน่ การผูกขาดทางเศรษฐกิจ การใช้อานาจรัฐ
ที่ไม่เป็ นไปตามหลัก นิติธรรม และพฤติกรรมสองมาตรฐานที่ก่อให้เกิดความคับข้องใจของผู้เสีย
ประโยชน์เป็ นสาเหตุมลู ฐานทีส่ าคัญ ในขณะทีค่ าถามในเชิงอุดมการณ์ทว่ี ่าประชาธิปไตยของไทยที่
อยู่บนฐานคุ ณ ค่ าบางอย่างของสังคมไทย เช่น วัฒนธรรมอุ ปถัมภ์ และวัฒนธรรมพวกพ้อ ง นัน้
จะต้องปรับตัวอย่างไรในบริบทของสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปอยูต่ ลอดเวลา

4.1.3.2 ยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategy)


จากประเด็นปญั หาภายในประเทศในด้านต่างๆ ทีไ่ ด้กล่าวถึงในส่วนทีผ่ ่านมา พบว่าภาครัฐ
ได้มคี วามพยายามในการกาหนดยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategy) เพื่อเป็ นแนวทางใน
ก า ร แ ก้ ไ ข ป ัญ ห า แ ล ะ พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ โ ด ย ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย 4 ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ห ลั ก ไ ด้ แ ก่
(1) ยุทธศาสตร์สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Growth & Competitiveness)
(2) ยุทธศาสตร์สร้างโอกาสบนความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth)
(3) ยุทธศาสตร์การเติบโตบนคุณภาพชีวติ ที่เป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม (Green Growth) และ (4)
ยุทธศาสตร์ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ซึง่ 4 ยุทธศาสตร์ ดังกล่าวประกอบ
ไปด้วย 30 ประเด็นหลัก 79 แนวทางการดาเนินการ

104
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 30: ยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategy)

คน / คุณภาพชีวิต / ความรู้ / ยุติธรรม โครงสร้างพืน้ ฐาน / ผลิ ตภาพ / วิ จยั และ


พัฒนา
ระบบงาน / กาลังคนภาครัฐ / งบประมาณ

กฎระเบียบ

ทีม่ า: สานักนายกรัฐมนตรี และสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

(1) ยุ ท ธศาสตร์ส ร้ า งความสามารถในการแข่ ง ขัน ของประเทศ(Growth &


Competitiveness) เพื่อ หลุ ด พ้ น จากประเทศรายได้ ป านกลาง ประกอบด้ว ย 9
ประเด็นหลัก 33 แนวทางการดาเนินการ
(2) ยุ ท ธศาสตร์ ส ร้ า งโอกาสบนความเสมอภาคและเท่ า เที ย มกัน ทางสัง คม
(Inclusive Growth) เพื่อลดความเหลื่อมล้า ประกอบด้วย 8 ประเด็นหลัก 20 แนว
ทางการดาเนินการ
(3) ยุ ท ธศาสตร์ก ารเติ บโตบนคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ เ ป็ นมิ ต รกับ สิ่ ง แวดล้ อ ม (Green
Growth) ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลัก 11 แนวทางการดาเนินการ
(4) ยุทธศาสตร์ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริ หารจัดการภาครัฐ ประกอบด้วย
8 ประเด็นหลัก 15 แนวทางการดาเนินการ

105
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ยุทธศาสตร์ประเทศในแต่ละด้านมีรายละเอียดดังนี้

(1) ยุ ท ธศาสตร์ส ร้ า งความสามารถในการแข่ ง ขัน ของประเทศ(Growth &


Competitiveness) เพื่อ หลุ ด พ้ น จากประเทศรายได้ ป านกลาง ประกอบด้ว ย 9
ประเด็นหลัก 33 แนวทางการดาเนินการ

ประเด็นหลัก แนวทางการดาเนิ นการ


1. ด้านเกษตร 1.1 แผนทีก่ ารใช้ทด่ี นิ (Zoning) เพื่อผลิตสินค้าเกษตร
1.2 การพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารตัง้ แต่ตน้ น้าถึงปลายน้า
2. ด้านอุตสาหกรรม 2.1 แผนทีก่ ารใช้ทด่ี นิ (Zoning) เพื่ออุตสาหกรรม
2.2 กาหนดและส่งเสริมอุตสาหกรรมในอนาคต (Bio-plastic, etc.)
2.3 การเพิม่ ขีดความสามารถให้ SME และ OTOP สูส่ ากล
2.4 การนาทุนทางวัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทยมาเพิม่ มูลค่า
3. การท่องเทีย่ วและบริการ 3.1 แผนทีก่ ารจัดการกลุ่มเมืองท่องเทีย่ ว
3.2 เพิม่ ขีดความสามารถทางการท่องเทีย่ วเข้าสูร่ ายได้ 2 ล้านล้านบาทต่อปี
3.3 ไทยเป็ นศูนย์กลาง Medical Tourism ของภูมภิ าค
4. โครงสร้างพืน้ ฐาน 4.1 การพัฒนาระบบโลจิสติกส์และโครงสร้างพืน้ ฐาน
4.2 การลงทุนการให้บริการและใช้ประโยชน์ ICT
4.3 การลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานด้านการคมนาคมเชื่อมโยงในภูมภิ าคอาเซียน
5. พลังงาน 5.1 นโยบายการปรับโครงสร้างการใช้และราคาพลังงานทีเ่ หมาะสม
5.2 การลงทุนเพื่อความมันคงของพลั
่ งงานและพลังงานทดแทน
5.3 การเชื่อมโยงแหล่งพลังงานและผลิตพลังงานทางเลือกในอาเซียน
6. การเชื่อมโยงเศรษฐกิจใน 6.1 การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ และการ
ภูมภิ าค ลงทุนเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน
6.2 แก้ไข กฎหมาย กฎระเบียบ รองรับประชาคมอาเซียน
6.3 ขับเคลื่อนการเชื่อมโยงนิคมอุตสาหกรรมทวาย และ Eastern Seaboard
6.4 เสริมสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อน
บ้าน
7. การพัฒนาขีดความสามารถ 7.1 การปรับปรุงขีดความสามารถในการแข่งขัน (100 ดัชนีชว้ี ดั )
ในการแข่งขัน 7.2 การพัฒนาการสร้าง Brand ประเทศไทยเป็ น Modern Thailand
8. การวิจยั และพัฒนา 8.1 ขับเคลื่อนค่าใช้จ่ายด้าน R&D เป็ นร้อยละ 1 ของ GDP
8.2 Talent Mobility การใช้ประโยชน์จากกาลังคนด้าน S&T
8.3 การใช้ประโยชน์ Regional Science Parks
8.4 การขับเคลื่อนข้อริเริม่ กระบีต่ ามกรอบความร่วมมืออาเซียน

106
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ประเด็นหลัก แนวทางการดาเนิ นการ


9. การพัฒนาพืน้ ทีแ่ ละเมือง 9.1 การพัฒนาเมืองหลวง
เพื่อเชื่อมโยงโอกาสจาก 9.2 การพัฒนาเมืองเกษตร
อาเซียน 9.3 การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม
9.4 การพัฒนาเมืองท่องเทีย่ ว
9.5 การพัฒนาเมืองบริการสุขภาพ
9.6 การพัฒนาเมืองบริการศึกษานานาชาติ
9.7 การพัฒนาเมืองชายแดนเพือ่ การค้าการลงทุน
9.8 ปจั จัยสนับสนุนการพัฒนาเมืองทีม่ ศี กั ยภาพ
ทีม่ า: สศช.

(2) ยุ ท ธศาสตร์ ส ร้ า งโอกาสบนความเสมอภาคและเท่ า เที ย มกัน ทางสัง คม


(Inclusive Growth) ประกอบด้วย 8 ประเด็นหลัก 20 แนวทางการดาเนินการ
ประเด็นหลัก แนวทางการดาเนิ นการ
10. การพัฒนาคุณภาพ 10.1 ปฏิรปู การศึกษา (ครู หลักสูตร เทคโนโลยีการดูแลเด็กก่อนวัยเรียนและ
การศึกษา การใช้ ICT ในระบบการศึกษา เช่น แท็บเล็ตและอินเตอร์เน็ตไร้สาย เป็ นต้น)
10.2 พัฒนาภาคการศึกษารองรับการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน
11. การยกระดับคุณภาพชีวติ 11.1 การจัดระบบบริการ กาลังพล และงบประมาณ
และมาตรฐานบริการ 11.2 การพัฒนาระบบคุม้ ครองผูบ้ ริโภคพร้อมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน
สาธารณสุข 11.3 สร้างและพัฒนาความร่วมมือระหว่างไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนใน
การพัฒนาคุณภาพชีวติ
12. การจัดสวัสดิการสังคมและ 12.1 การพัฒนาระบบสวัสดิการ และเพิม่ ศักยภาพและโอกาส ความเท่าเทียม
การดูแลผูส้ งู อายุ เด็กสตรี คุณภาพชีวติ
และผูด้ อ้ ยโอกาส 12.2 กองทุนสตรี
13. การสร้างโอกาสและรายได้ 13.1 กองทุนตัง้ ตัวได้
แก่วสิ าหกิจขนาดกลางและ 13.2 กองทุนหมูบ่ า้ น
ขนาดย่อม (SMEs)และ 13.3 โครงการ SML
เศรษฐกิจชุมชน 13.4 โครงการรับจานาสินค้าเกษตร
14. แรงงาน 14.1 การพัฒนาทักษะเพื่อเพิม่ คุณภาพแรงงาน ให้สอดคล้องกับความต้องการ
และพัฒนาทักษะผูป้ ระกอบการ
14.2 การจัดการแรงงานต่างด้าว
14.3 การพัฒนาระบบการคุม้ ครองแรงงานในระบบและนอกระบบตาม
กฎหมายอย่างทัวถึ ่ งพร้อมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน
15. ระบบยุตธิ รรมเพื่อลดความ 15.1 การเข้าถึงระบบยุตธิ รรมของประชาชน
เหลื่อมล้า

107
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ประเด็นหลัก แนวทางการดาเนิ นการ


16. การต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ 16.1 การรณรงค์และสร้างแนวร่วมในสังคม
สร้างธรรมาภิบาลและความ 16.2 การเสริมสร้างธรรมาภิบาลรองรับประชาคมอาเซียน
โปร่งใส
17. การสร้างองค์ความรูเ้ รื่อง 17.1 ภาคประชาชน
อาเซียน 17.2 ภาคแรงงานและผูป้ ระกอบการ
17.3 บุคลากรภาครัฐ

ทีม่ า: สศช.

(3) ยุ ท ธศาสตร์ก ารเติ บโตบนคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ เ ป็ นมิ ต รกับ สิ่ ง แวดล้ อ ม (Green
Growth) ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลัก 11 แนวทางการดาเนินการ

ประเด็นหลัก แนวทางการดาเนิ นการ


18. การพัฒนาเมือง 18.1 พัฒนาตัวอย่างเมืองอุตสาหกรรมนิเวศ 10 แห่ง เพื่อความยังยื
่ น
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพื่อ
ความยังยื
่ น
19. ลดการปล่อยก๊าซเรือน 19.1 การประหยัดพลังงาน
กระจก (GHG) 19.2 การปรับกฎระเบียบ (เช่น Green Building Code)
19.3 ส่งเสริมการดาเนินงาน CSR เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
20. นโยบายการคลังเพื่อ 20.1 ระบบภาษีสงิ่ แวดล้อม
สิง่ แวดล้อม 20.2 การจัดซือ้ จัดจ้างสีเขียวในภาครัฐ
21. การจัดการ 21.1 การปลูกปา่
ทรัพยากรธรรมชาติและการ 21.2 การลงทุนด้านการบริหารจัดการน้า
บริหารจัดการน้า 21.3 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อมอาเซียน
22. การเปลีย่ นแปลงสภาวะ 22.1 การป้องกันผลกระทบและปรับตัว (Mitigation and Adaptation)
ภูมอิ ากาศ 22.2 การป้องกันและบรรเทาภัยพิบตั ธิ รรมชาติ

ทีม่ า: สศช.

108
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

(4) ยุทธศาสตร์ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริ หารจัดการภาครัฐ ประกอบด้วย


8 ประเด็นหลัก 15 แนวทางการดาเนินการ

ประเด็นหลัก แนวทางการดาเนิ นการ


23. กรอบแนวทางและการ 23.1 ปรับกรอบแนวทางระบบกฎหมายของประเทศ
ปฏิรปู กฎหมาย 23.2 เพิม่ ประสิทธิภาพบุคลากรและองค์กรด้านยุตธิ รรม
24. การปรับโครงสร้างระบบ 24.1 เพิม่ ประสิทธิภาพองค์กรภาครัฐและพัฒนารูปแบบการทางานของภาครัฐ
ราชการ ด้วยการสร้างความพร้อมในการบริหารจัดการแบบบูรณาการโดยมีประชาชน
เป็ นศูนย์กลาง
24.2 ป้องกันและปราบปรามทุจริตคอรัปชัน่
24.3 เพิม่ ประสิทธิภาพการให้บริการประชาชนด้วยระบบ E-Service
25. การพัฒนากาลังคน 25.1 บริหารกาลังคนให้สอดคล้องกับบทบาทภารกิจทีม่ ใี นปจจุ ั บนั และ
เตรียมพร้อมสาหรับอนาคต
25.2 พัฒนาทักษะและศักยภาพของกาลังคนภาครัฐ และเตรียมความพร้อม
บุคลากรภาครัฐสูป่ ระชาคมอาเซียน
26. การปรับโครงสร้างภาษี 26.1 ปรับโครงสร้างภาษีทงั ้ ระบบให้สนับสนุนการกระจายรายได้ และเพิม่ ขีด
ความสามารถในการแข่งขัน
27. การจัดสรรงบประมาณ 27.1 พัฒนากระบวนการจัดสรรงบประมาณให้สามารถสนับสนุนการ
ปฏิบตั งิ านตามนโยบายรัฐบาล
28. การพัฒนาสินทรัพย์ราชการ 28.1 สารวจสินทรัพย์ราชการทีไ่ ม่ได้ใช้งาน
ทีไ่ ม่ได้ใช้งานให้เกิด 28.2 บริหารจัดการสินทรัพย์ราชการทีไ่ ม่ได้ใช้งานให้เกิดประโยชน์สงู สุด
ประโยชน์สงู สุด
29. การแก้ไขปญหาความ ั 29.1 ประสานบูรณาการงานรักษาความสงบและส่งเสริมการพัฒนาในพืน้ ที่ 3
มันคงจั
่ งหวัดชายแดน จังหวัดชายแดนภาคใต้ภายใต้กรอบนโยบายความมันคงแห่ ่ งชาติ 2555-2559
ภาคใต้ และเสริมสร้างความ 29.2 การเสริมสร้างความมันคงของประชาคมอาเซี
่ ยน
มันคงในอาเซี
่ ยน
30. การปฏิรปู การเมือง 30.1 กระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (อปท.)
ทีม่ า: สศช.

109
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การพัฒนาการศึกษาเป็ น หนึ ง่ ในแนวทางสาคัญที เ่ ร่งผลักดัน (Priority List) ทีต่ ้อง


ดาเนิ นการเพือ่ สอดรับกับยุทธศาสตร์ของประเทศ
Priority List ทีต่ อ้ งดาเนินการเพื่อสอดรับกับยุทธศาสตร์ของประเทศ มี 10 ประการได้แก่
1) จัด Zoning ประเทศ และพัฒนาเมืองที่มศี กั ยภาพ: จัด Zoning พืน้ ที่เกษตร
อุตสาหกรรม และการท่องเทีย่ ว / พัฒนาเมืองหลักทีม่ ศี กึ ยภาพ
2) ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมอนาคตและรักษาฐานอุตสาหกรรมเดิม
3) ส่งเสริม SMEs และ OTOP พัฒนาผลิตภาพผูป้ ระกอบการ SMEs / ให้ความ
ช่วยเหลือทางการเงินแก่ผปู้ ระกอบการ SMEs และ OTOP
4) จัดทา Software เพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ภาคบริการของไทย เช่น Talking
Dictionary/Software สาหรับแท็กซี่
5) พัฒนาด่านชายแดน เช่น ด่านบ้านพุน้าร้อน ด่านเชียงของ ด่านนครพนม
6) พัฒนาโครงข่ายคมนาคมเชื่อมโยงประตูการค้า รถไฟทางคู่ / รถไฟความเร็วสูง /
ท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ / ท่าเรือแหลมฉบัง
7) ส่งเสริมการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากการเปิดประชาคม
อาเซียน
8) พัฒนากฎหมายเพื่อเสริมสร้างบรรยากาศการค้าการลงทุนและตามพันธกรณี
9) พัฒนาการศึกษา พัฒนาหลักสูตรรองรับอาเซียน / พัฒนาคนให้สอดคล้องความ
ต้องการตลาด/เลื่อนเวลาเปิดปิดภาคเรียนให้ตรงกับอาเซียน
10) ปรับโครงสร้างระบบราชการ ลดขัน้ ตอนการให้บริการด้วย e-Service / ปรับ
โครงสร้า งบุ ค ลากรภาครัฐ / พัฒ นาภาษา อัง กฤษให้บุ ค ลากรภาครัฐ รองรับ
อาเซียน

นอกจากนี้ ยุท ธศาสตร์ข องประเทศยัง ให้ค วามส าคัญ กับ การเตรีย มความพร้อ มเข้า สู่
ประชาคมอาเซียน ปี 2558 โดยประเด็นด้านการศึกษาจะต้องให้ความสาคัญของกรอบประชาคม
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)

110
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

โดยสรุป กล่าวได้ว่าประเทศไทยในศตวรรษที่ 21 จะถูกกระทบโดยบริบทการเปลีย่ นแปลง


ต่างๆ ทัง้ ในระดับโลก ระดับภูมภิ าค และระดับประเทศ อิทธิพลเหล่านี้ย่อมส่งผลกระทบต่อคนไทย
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สาหรับเรื่องทิศทางยุทธศาสตร์ของประเทศนัน้ รัฐได้กาหนดยุทธศาสตร์ของ
ประเทศ 4 ยุท ธศาสตร์ห ลัก คือ (1) ยุท ธศาสตร์ส ร้า งความสามารถในการแข่ง ขันของประเทศ
(Growth & Competitiveness) (2) ยุทธศาสตร์สร้างโอกาสบนความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทาง
สังคม(Inclusive Growth) (3) ยุทธศาสตร์การเติบโตบนคุณภาพชีวติ ที่เป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม
(Green Growth) (4) ยุทธศาสตร์ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยให้
น้าหนักความสาคัญเรือ่ งการพัฒนาการศึกษาเป็ นหนึ่งในรายละเอียดยุทธศาสตร์ และสามารถแสดง
ความเชื่อมโยงของประเด็นต่าง ๆ ได้ดงั ภาพที่ 31

ภาพที่ 31: ความเชื่อมโยงของแรงขับเคลื่อนและแนวโน้ ม (Forces and Trend) ที่ สาคัญกับยุทธศาสตร์


ประเทศ และบริบทการพัฒนาของประเทศไทยที่จะส่งผลกระทบต่อภาพคนไทยในศตวรรษที่ 21

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

111
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.1.4 ประเด็นท้าทายของการจัดการศึกษาของไทยในการบรรลุเป้ าประสงค์หลัก


ภายใต้ บริ บทของการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21
แนวโน้มและผลกระทบต่อคนไทยดังกล่าวข้างต้นจะส่งผลอย่างมีนัยสาคัญต่อการศึกษาไทย
ทัง้ ในด้านคุณภาพการศึกษา การเข้าถึงและเท่าเทียม ประสิทธิภาพ และปรับตั วเข้ากับกระแสการ
เปลีย่ นแปลงของโลกยุคใหม่ ในศตวรรษที่ 21 ดังนัน้ ประเทศไทยต้องก้าวเข้าสู่กระแสใหม่ของการ
เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-based Economy) ซึ่ง
ต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนาทุนมนุ ษย์ (Human Capital) การใช้และต่อยอดองค์ความรู้ การคิด
สร้างสรรค์ (Creativity) การให้ความสาคัญกับการวิจยั และพัฒนา (Research and Development:
R&D) การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (Science, Technology and Innovation)
ดังนัน้ ประเทศไทยจึงจาเป็ นต้องมีการวางแผนการพัฒนากาลังคนทีเ่ หมาะสม และจัดการศึกษาให้
สอดรับกับกระแสการเปลีย่ นแปลง
ทัง้ นี้จากการวิเคราะห์บริบทกระแสการเปลีย่ นแปลงและแรงขับเคลื่อนในระดับต่างๆ นามา
ซึง่ ประเด็นท้าทายของระบบการศึกษาที่จาเป็ นต้องสามารถตอบสนองกับความท้าทายเหล่านี้ให้ได้
ทัง้ ในระดับมหภาคด้านการวางแผนกาลังคน และระดับปจั เจกซึง่ เป็นคุณลักษณะของคนไทย ได้แก่
ระดับมหภาค
- การยกระดับ การศึ ก ษาเพื่ อ พัฒ นาผู้เ รี ย นให้ มี คุณ ภาพ สอดคล้ อ งกับ การ
วางแผนกาลังคน ส่ งเสริ มการเรียนรู้ตลอดชี วิตและหนุ นเสริ มการพัฒนาทุน
มนุษย์อย่างเป็ นองค์รวมของประเทศ เพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศ (Competitiveness) น าประเทศก้ า วพ้น กับ ดัก ประเทศรายได้ป านกลาง
(Middle-Income Trap) ขณะเดียวกันก็เ ป็ น การพัฒนาอย่างสมดุล คนไทยและ
สังคมไทยอยูอ่ ย่างมีความสุข และมีการกินดีอยูด่ ี (Well-being Nation)
- การสร้ า งสัง คมแห่ ง ปั ญ ญา (Wisdom-based Society) และการสร้ า ง
สภาพแวดล้อมที่ เอื้อต่ อการเรียนรู้ (Supportive Learning Environment) ด้วย
การเปลีย่ นแปลงด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ (Paradigm Shift) ปฏิรปู สังคม ขับเคลื่อนให้
เกิดวัฒนธรรมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ และบ่มเพาะให้เกิดการใช้ความคิดสร้างสรรค์
ระดับปัจเจก
- การสร้างมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีจิตที่ พร้อม มีความแข็งแกร่งในสมรรถนะหลัก
สอดรับศักยภาพการเรียนรู้ของทุ กคน โดยอาศัย การศึกษาเป็ นเครื่อ งช่ว ยบ่ม
เพาะคนไทยให้เป็ นคนไทยทีม่ ศี กั ยภาพ กล่อมเกลาให้เป็ นคนทีม่ คี ุณธรรม จริยธรรม
มีความสุข ช่วยนาประเทศไปสู่ระดับการพัฒนาอย่างสมดุลและยังยื ่ น มิใช่การมุ่งเน้น
เพียงผลสัมฤทธิ ์ทางวิชาการหรือการสอบเพื่อคะแนนอย่างเดียวอีกต่อไป
112
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2 ระบบการศึกษาเรียนรู้ของประเทศไทยและองค์ประกอบของระบบการศึกษาไทย

จากการศึกษาในส่วนก่อนหน้านี้ถงึ พลวัตการเปลี่ยนแปลงในการเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ทัง้


กระแสการเปลี่ยนแปลงในระดับโลก แรงขับเคลื่อนในระดับภูมภิ าค ไปจนถึงประเด็นความท้าทาย
ภายในประเทศ ทาให้ได้ทราบถึงแนวโน้มสาคัญที่จะส่งผลกระทบต่อภาพอนาคตของประเทศและ
คนไทย ซึง่ เป็นความท้าทายในการเตรียมความพร้อมตอบสนองต่อสิง่ ทีม่ แี นวโน้มจะเกิดขึน้ นี้ให้ได้
ในการเตรียมพร้อมการพัฒนาการศึกษาเรียนรูข้ องประเทศไทยนัน้ จะต้องมีการวางแผนที่
เชื่อมโยงกันใน 4 ส่วนหลัก ทัง้ ในกรอบการพัฒนาระดับมหภาค ซึง่ ก็คอื การกาหนดเป้าประสงค์หลัก
ของประเทศไทยและเป้าประสงค์หลักของการศึกษาไทย เชื่อมโยงไปถึงการพัฒนาระดับปจั เจกหรือ
การพัฒนาส่วนบุคคล ตลอดจนการออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment) ที่
เหมาะสม โดยมีระบบการบริหารจัดการและเครื่องมือเชิงนโยบายที่สนับสนุ น ภายใต้บริบทของ
ประเทศไทย
การศึกษาส่วนนี้จงึ ได้ศกึ ษาและวิเคราะห์ประเด็นต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง 4 ส่วนดังนี้
1) เป้าประสงค์หลักของประเทศไทยและการศึกษาไทย
2) การพัฒนาระดับบุคคล (Individual Development)
3) สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment)
4) ระบบการบริห ารจัด การและเครื่อ งมือ เชิง นโยบาย (Administation & Policy
Instrument)

ผลการศึกษาในส่วนนี้จะนาไปสู่การกาหนดกรอบแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการ
เตรียมความพร้อ มสู่ศ ตรวรรษที่ 21 เพื่อ ทาให้ทุกภาคส่ว นเข้าใจถึง ปรัชญาในการจัดการศึกษา
(Philosophy of Education) เข้าใจเป้าประสงค์หลัก (Objective Function) ของการศึกษาของ
ประเทศไทย ทัง้ ในระดับมหภาค (Macro Objective) และในระดับปจั เจก (Micro Objective) ซึง่ ก็คอื
การพัฒนาระดับบุคคล และนาไปสู่การขับเคลื่อนในทางปฏิบตั เิ พื่อให้มกี ารพัฒนาการศึกษาเรียนรูท้ ่ี
มีความสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถตอบโจทย์ความต้องการของประเทศและคน
ไทยทีม่ คี ุณภาพในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างยังยื
่ น

113
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.1 โมดูล 1: เป้ าประสงค์หลักระดับมหภาค (Macro Objective)


ในการก าหนดทิศ ทางการพัฒ นาประเทศในระยะยาวนัน้ ต้อ งควบคู่ไ ปกับ การก าหนด
เป้าประสงค์ห ลัก ของประเทศไทยที่พ ึงปรารถนาอย่า งชัด เจน กล่ า วคือ ต้อ งมีภาพอนาคตของ
ประเทศไทยทีพ่ งึ ประสงค์ เพื่อทีจ่ ะนาไปสู่การกาหนดแนวทางการพัฒนาเพื่อไปสู่ภาพทีพ่ งึ ประสงค์
นัน้ ดังนัน้ ในการศึกษาส่วนนี้จงึ เป็ นการฉายภาพเป้าประสงค์หลักของประเทศ (Country Goals)
หรือภาพสังคมไทยทีพ่ งึ ประสงค์ในศตวรรษที่ 21 เชื่อมโยงกับเป้าประสงค์หลักของการศึกษาไทย
ทัง้ ในระดับ มหภาคและจุล ภาค โดยศึก ษาวิเ คราะห์ส ภาพป จั จุ บ ัน และประเมิน ช่ อ งว่ า ง (Gap
Analysis) ระหว่างสภาพปจั จุบนั กับเป้าประสงค์ท่พี งึ ประสงค์ เพื่อนาไปสู่แนวทางการปิ ดช่องว่าง
ดังกล่าว และสามารถพัฒนาการศึกษาไทย ตลอดจนยกระดับการพัฒนากาลังคนให้มคี วามพร้อม
สาหรับการพัฒนาประเทศในศตวรรษที่ 21 นี้

ภาพที่ 32 : กรอบการกาหนดเป้ าประสงค์หลักของการศึกษาไทย

เป้าประสงค์หลักของประเทศไทย
(Country Goals)

ปรัชญาการศึกษาไทย เป้าประสงค์หลักของการศึกษาของประเทศไทย
(Philosophy of Education) (Objective Function)

เป้าประสงค์หลักระดับมหภาค
(Macro Objective)

เป้าประสงค์หลักระดับปจั เจก
(Micro Objective)
(Individual Development)

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

114
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.1.1 เป้ าประสงค์หลักของประเทศไทย

1) สถานภาพปัจจุบนั ของประเทศไทย (As Is)


เมื่อพิจารณาระดับการพัฒนาประเทศของไทยในมิตติ ่างๆ ในปจั จุบนั พบว่า ถึงแม้ประเทศ
จะมีระดับความสามารถในการแข่งขัน ที่ค่ อ นข้า งสูง สามารถยกระดับ สถานะของประเทศจาก
ประเทศทีม่ รี ะดับรายได้ปานกลางค่อนข้างต่ า (Lower Middle Income) ไปสู่ประเทศทีม่ รี ะดับรายได้
ปานกลางค่อนข้างสูง (Higher Middle Income) แต่ระดับการพัฒนามนุ ษย์ ระดับการเป็ นสังคม
ฐานความรู้ และระดับนวัต กรรมกลับ ยัง คงอยู่ใ นระดับที่ค่ อ นข้า งต่ า เมื่อ เทียบกับ ประเทศอื่น ๆ
สะท้อนให้เห็นว่าการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยทีผ่ ่านมายังคงอาศัยเพียงปจั จัยการผลิตดัง้ เดิม
อัน ได้แ ก่ ท รัพ ยากรธรรมชาติ แ ละแรงงานราคาถู ก ที่ม ีผ ลิต ภาพการผลิต ต่ า ขณะที่ย งั ไม่ไ ด้ใ ห้
ความส าคัญ กับ การลงทุ น เพื่อ สร้า งรากฐานการพัฒ นาในระยะยาวอย่ า งจริง จัง และต่ อ เนื่ อ ง
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระบบการสร้าง สะสม แลกเปลีย่ น และพัฒนาองค์ความรู้เพื่อยกระดับทุนของ
ประเทศ ทัง้ ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนวัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ผลพวง
ของการเติบโตในแนวทางที่ผ่านมาจึงส่งผลให้ประเทศไทยต้องตกอยู่ในกับดักประเทศรายได้ปาน
กลาง (Middle Income Trap) โดยไม่สามารถเปลีย่ นผ่านการพัฒนาไปสู่ระดับทีส่ งู กว่าได้
ภาพที่ 33: ระดับการพัฒนาของประเทศไทยในมิ ติต่าง ๆ

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยอาศัยข้อมูลจาก World Bank, UNDP, WEF,
INSEAD และ WIPO

การพัฒนาต่ อจากนี้ไ ปจึงจาเป็ นต้อ งผลักดันประเทศให้เปลี่ยนผ่านจากการเป็ นประเทศที่


เติบโตโดยพึ่งพาประสิทธิภาพการผลิต (Efficiency Driven Economy) ไปเป็ นการใช้นวัตกรรม
(Innovation Driven Economy) (สุวทิ ย์ เมษินทรีย์, 2555) ซึ่งต้องอาศัยการยกระดับทรัพยากร
มนุษย์เป็นสาคัญ โดยเป้าหมายของการพัฒนาในแนวทางดังกล่าวนัน้ ก็คอื การใช้ความคิดสร้างสรรค์
115
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

(Creativity) การใช้ว ิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัต กรรม (Science, Technology and


Innovation) เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพ รวมถึงสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั สินค้าและบริการ
ตลอดจนเชื่อมโยงไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนและสร้างสังคมฐานความรูต้ ่อไปได้
ภาพที่ 34: ประเทศไทยในกับดักประเทศประเทศรายได้ปานกลาง

ทีม่ า: สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ (2555)

1) การใช้ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity)
ชนชัน้ สร้างสรรค์ (Creative Class) จะเป็นกาลังสาคัญของการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต
ซึ่งเป็ นยุคสมัยภายหลังจากการปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม (Post-industrial Age) ระบบเศรษฐกิจมีการ
เปลี่ยนผ่านจากระบบการผลิตแบบดัง้ เดิมที่อาศัยเกษตรกรรมหรืออุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีใน
ระดับต่ าไปสู่การใช้องค์ความรูใ้ นระดับที่มคี วามซับซ้อนมากขึน้ (Richard Florida, 2002) โดย
สามารถแบ่งชนชัน้ สร้างสรรค์ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
 กลุ่มสร้างสรรค์แกนหลัก (Super-Creative Core) : ประกอบไปด้วยผูป
้ ระกอบอาชีพ
ต่าง ๆ อาทิเช่น นักวิทยาศาสตร์ วิศวกร นักวิจยั และพัฒนา (Research and
Development: R&D) ตลอดจนศิลปิน ซึง่ เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างสรรค์อย่าง
เต็มรูปแบบผ่ านการใช้ค วามคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวัต กรรม สามารถคิด
วิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อแก้ไขปญั หาต่าง ๆ รวมถึงการค้นหาปญั หาใหม่ ๆ ที่
ต้องได้รบั การแก้ไขต่อไป
 กลุ่มสร้างสรรค์มอื อาชีพ (Creative Professionals): ประกอบไปด้วยผู้ทางานที่
อาศัยวิชาความรู้ขนั ้ สูง (Knowledge-based Worker) เพื่อประมวลและวิเคราะห์
ข้อมูลเพื่อตอบโจทย์ปญั หาในด้านต่าง ๆ อาทิ ผู้ท่ที างานในด้านการศึกษา การ
สาธารณสุข กฎหมาย ธุรกิจและการเงิน

116
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ชนชัน้ สร้างสรรค์จะมีส่ ว นช่ ว ยในการพัฒ นาประเทศจากการสร้างสรรค์อ งค์ค วามรู้และ


นวัตกรรม ทัง้ ทางด้านเทคโนโลยี ด้านเศรษฐกิจ ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนการกระจายความ
เจริญไปสู่ภูมภิ าค (Regional Development) รวมทัง้ ช่วยส่งเสริมการพัฒนาทางสังคมและการเมือง
อย่างยังยื
่ นผ่ านการกระตุ้นให้เ กิดประสิทธิภาพของภาครัฐในการบริหารประเทศ (Government
Effectiveness) การใช้หลักนิตธิ รรมในการบังคับใช้กฎหมาย (Rule of Law) และความมีเสรีภาพ
ของประชาชน (Liberty) (Rinderman, Sailer and Thompson, 2009) ทัง้ นี้หากพิจารณาการพัฒนา
ของโลกที่ผ่านมาล้วนต้องอาศัยความคิดสร้างสรรรค์และการเรียนรูเ้ ป็ นกุญแจสาคัญ อาทิเช่น การ
คิดค้นการทาเกษตรกรรมซึ่งสามารถช่วยเพิม่ ศักยภาพการใช้งานที่ดนิ และการคิดค้นรูปแบบการ
ผลิตเพื่อสร้างสรรค์สนิ ค้าและบริการใหม่ ๆ
ตัวอย่างแนวทางการส่งเสริมการใช้ความคิดสร้างสรรค์
ด้านการจัดการศึกษา
 ลดการใช้รปู แบบการเรียนการสอนและการบังคับใช้กฎระเบียบของโรงเรียนในลักษณะ
การสังการและควบคุ
่ ม (Command and Control) แต่สร้างบรรยากาศการเรียนรูท้ ช่ี ่วย
ให้เด็กรู้จกั คิดอย่างสร้างสรรค์และมีแรงบันดาลใจ กระตุ้นให้เด็กรู้สกึ ว่าสามารถเป็ น
ผูส้ ร้างความแตกต่างทีด่ กี ว่าให้เกิดขึน้ ได้ (Make the Difference) เช่น ให้โจทย์ท่มี ี
ความท้าทาย โดยไม่มกี ารลงโทษหากผูเ้ รียนพยายามทาแล้วไม่สาเร็จ แต่สอนให้ผเู้ รียน
มองความผิดพลาดเป็นบทเรียนเพื่อใช้พฒ ั นาตนเอง และรับฟงั ความคิดเห็นของผูเ้ รียน
 ปลู ก ฝ งั ค่ า นิ ย มที่ เ ชื่ อ การส าเร็ จ ด้ ว ยตนเอง โดยไม่ ใ ช้ ส ิ ท ธิ พิ เ ศษหรือ เส้ น สาย
(Meritocracy) การยอมรับความแตกต่างหลากหลาย (Diversity) และความเป็ นปจั เจก
(Individuality) รวมทัง้ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการเรียนและการทากิจกรรมต่าง ๆ

ด้านการสร้างพืน้ ทีส่ าธารณะ


 สนับสนุ นการเรียนรู้นอกห้อ งเรียนและการเรียนรู้ต ลอดชีว ิต อาทิ จัดสร้างศูนย์การ
เรียนรู้ พิพธิ ภัณฑ์ หอศิลปะ ห้องสมุด ศูนย์สนับสนุนการเรียน10 กระจายอยู่ตามภูมภิ าค
และชุมชนต่างๆ เพื่อให้สามารถเข้าถึงได้อย่างทัวถึ
่ ง
 Creative Spaces ของเมือง Denver โดยเน้นการสร้างพื้นที่การทางานและเรียนรู้
ร่วมกัน (Co-working Space) ในส่วนต่างๆ ของเมือง ให้ประกอบไปด้วยสิง่ อานวย
ความสะดวกต่างๆ เช่น ห้องทางานแบบรวมเพื่ อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

10
เป็ นการจัดสถานที่และสื่อการเรียนรู้กลางในท้องถิน่ ชุมชน /สาหรับโรงเรียนที่ไม่มที รัพยากรเพียงพอในการ
จัดหาด้วยตนเองเพียงลาพัง ให้สามารถมาใช้ประโยชน์ร่วมกันได้ ตัวอย่างเช่น ห้องทดลองวิทยาศาสตร์ ห้อง
คอมพิวเตอร์ ห้องสมุด ห้องศิลปะ และห้องดนตรี
117
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

และห้องทางานแบบเดี่ยวเพื่อให้สามารถใช้สมาธิในการทางาน ห้องนัง่ เล่นเพื่อผ่อน


คลายอิรยิ าบท และห้องคอมพิวเตอร์
2) การใช้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.)
สาหรับประเทศไทยในปจั จุบนั การใช้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม หรือ วทน. ยัง
ไม่ส ามารถเข้าถึง บุคคลทัวไปได้่ มากนัก ทาให้ส าธารณชนยังขาดความรู้ความเข้าใจและความ
ตระหนักถึงความสาคัญของ วทน. ในขณะที่ประเทศที่พฒ ั นาแล้วซึ่งมีศกั ยภาพในการแข่งขันใน
ระดับสูงส่วนใหญ่ล้วนต้องอาศัย วทน. เป็ นรากฐานสาคัญของการพัฒนา เมื่อพิจารณาจากดัชนี
Global Competitiveness Index (GCI) ของ World Economic Forum (WEF) พบว่า ประเทศทีม่ ี
ระดับความสามารถในการแข่งขันอยู่ในอันดับต้น ๆ ไม่ว่าจะเป็ น สิงคโปร์ ฟินแลนด์ สหรัฐอเมริกา
หรืออังกฤษ ต่างก็มดี ชั นีชว้ี ดั ทีเ่ กีย่ วกับ วทน. อยูใ่ นอันดับต้น ๆ เช่นเดียวกัน ซึง่ เป็ นผลทีส่ อดคล้อง
กับดัชนี Knowledge Economy Index ของ World Bank และ ดัชนี Global Innovation Index ที่
INSEAD และ WIPO ทาการพัฒนาร่วมกัน ดังนัน้ ประเทศไทยจึงต้องอาศัยการศึกษา ชุมชนและ
สื่อมวลชนในการช่วยเผยแพร่และเพิม่ ความนิยม (Popularize) ในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้กบั
ประชาชน

ภาพที่ 35: ดัชนี สะท้อนระดับนวัตกรรมและการพัฒนาองค์ความรูข้ องประเทศ

ทีม่ า : World Bank (2012), INSEAD and WIPO (2012)

118
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตัวอย่างแนวทางการส่งเสริมการใช้ วทน.
ด้านการจัดการศึกษา
 การพัฒนาการศึกษาตามระดับชัน้ ได้แก่
- เด็ก ปฐมวัย : เน้ นกระตุ้น การสร้า งจิต ส านึ กวิทยาศาสตร์และทักษะทางด้า น
วิทยาศาสตร์ อาทิเช่น ขยายผลโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ซึง่ เป็ นกิจกรรม
ที่ม ีต้น แบบจากประเทศเยอรมนี โดยได้ม ีก ารด าเนิ น การให้กับ ศู น ย์เ รีย นรู้ใ น
โรงเรียนทัวประเทศแล้
่ วประมาณ 12,000 แห่ง ประกอบไปด้วย 60 กิจกรรม และมี
แนวการดาเนินการคือ (1) แจกจ่ายคู่มอื (2) อบรม Core Trainer ในศูนย์หลัก (3)
Core Trainer ลงพืน้ ทีใ่ นภูมภิ าคต่างๆ เพื่อสร้างแนวร่วม Local Trainer และสร้าง
เครือข่ายกับชุมชนในท้องถิน่ (4) Local Trainer เป็ นผูไ้ ปอบรมครูในโรงเรียนทีเ่ ข้า
ร่วมโครงการ
- การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี: มุ่งสร้างเสริมแนวความคิดทีต่ งั ้ อยู่บนการใช้เหตุและผล
สามารถคิดวิเคราะห์ได้ มีจติ วิญญาณวิทยาศาสตร์ (Scientific Mind) และวิธคี ดิ
แบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Thinking/Methodology) เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับ
การศึกษาในระดับสูงขึน้ ไปในทุกสาขาวิชา
- การศึกษาระดับอาชีวศึกษา: ส่งเสริมการศึกษาระดับอาชีวะฐานวิทยาศาสตร์ให้มาก
ขึน้ และให้มคี ุณภาพ หรือสร้างหลักสูตรปริญญาตรีดา้ นเทคโนโลยีให้มุ่งเน้นการลง
มือปฏิบตั มิ ากกว่าการเรียนทฤษฎี ตลอดจนการเชื่อมโยงโดยตรงกับภาคเอกชน
เพื่อให้สามารถตอบโจทย์ตลาดได้อย่างเท่าทันและพัฒนาเส้นทางสายอาชีพให้กบั
นักศึกษา
- การศึกษาระดับอุดมศึกษา: ลงทุนเพื่อสร้างอาจารย์ พร้อมทัง้ สร้างระบบสนับสนุ น
สื่อการสอนต่างๆ ตลอดจนการแลกเปลี่ยนหมุนเวียนผู้ เชี่ยวชาญจากภาครัฐและ
ภาคเอกชนเข้ามาในระบบการศึกษาเพื่อให้การถ่ายทอดความรูส้ ามารถเกิดขึน้ ได้
ในทันที
 การปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนในด้านที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ : ตัวอย่างเช่น
นโยบายปรับปรุงหลักสูตร Science, Technology, Engineering, and Mathematics
(STEM) ของสหรัฐอเมริกา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาทีส่ ่งเสริมการเรียนการสอน
อย่างบูรณาการใน 4 สาขาวิชาหลัก และโครงการ Mathematics and Science
Partnership (MSP) เพื่อ พัฒ นาคุ ณ ภาพอาจารย์ผู้ส อนในวิช าคณิ ต ศาสตร์แ ละ
119
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

วิท ยาศาสตร์ ในท านองเดีย วกัน ประเทศจีน ก็ม ีโ ครงการตัง้ คณะกรรมการพัฒ นา


หลักสูตร (National Curriculum Bureau) ในด้าน วทน. สาหรับแต่ละระดับชัน้ ซึ่ง
ประกอบไปด้วยผู้เชีย่ วชาญเฉพาะด้านจากสาขาต่างๆ และมีระบบการควบคุมเนื้อหา
และรูปแบบการนาเสนอให้เหมาะสมกับลักษณะของผูเ้ รียน โดยมีสานักพิมพ์อุดมศึกษา
แห่งประเทศจีน Higher Education Press (HEP) เป็นผูร้ บั ผิดชอบหลัก
 การสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษากับภาคส่วนต่าง ๆ: ประเทศ
ฟินแลนด์เป็นตัวแทนของประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย ซึง่ จัดเป็ นประเทศ รัฐสวัสดิการ
ทีม่ รี ะดับการพัฒนาสูง จุดเด่นของประเทศฟินแลนด์คอื การสร้างเครือข่ายระหว่างภาค
วิชาการ ภาครัฐ และภาคเอกชนอย่างเข้มแข็งในลักษณะทีเ่ รียกว่า Triple Helix ภาครัฐ
จะเป็ นผู้ก าหนดทิศ ทางส าหรับการพัฒนา ในขณะที่ภาคเอกชนและภาควิชาการจะ
ร่วมมือกันเพื่อขับเคลื่อนให้มกี ารวิจยั และพัฒนา ผ่านกระบวนการทางานทีม่ คี วามเป็ น
เอกภาพและมีความร่วมมืออย่างใกล้ชดิ ตัวอย่างเช่น คลัสเตอร์ Oulu ซึ่งเป็ นเมือง
ท่า ทางตะวัน ตกของประเทศ มีการสร้างความร่ว มมือ ระหว่ างรัฐบาลกลาง รัฐบาล
ท้องถิน่ บริษทั Nokia และมหาวิทยาลัย Oulu เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม ICT และ
นวัตกรรม ซึง่ ได้กลายมาเป็นพลังขับเคลื่อนการพัฒนาทีส่ าคัญของประเทศ

 การส่งเสริมโครงการศูนย์บ่มเพาะธุรกิจในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ โดยถึงแม้ว่าจะยังไม่
ประสบความส าเร็จเท่าที่ค วร เนื่องจากมหาวิทยาลัยเองก็มภี าระมากอยู่แล้วในการ
จัดการเรียนการสอน และขาดบุคคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญมาดาเนินการ ทางออกหนึ่ง
คือการตัง้ หน่วยงานแยกออกมาเพื่อรับผิดชอบโดยตรง เพื่อให้แต่ละฝา่ ยสามารถทางาน
ในด้านที่ต นเองมีค วามถนัด เช่น ในประเทศอังกฤษ มหาวิทยาลัย Oxford และ
Imperial มีการตัง้ บริษทั เพื่อนาการวิจยั และพัฒนาไปใช้ในเชิงพาณิชย์ พร้อมทัง้ อีกด้าน
หนึ่ ง ก็ห าผู้ล งทุ นมาสนับ สนุ น การวิจยั และพัฒ นาของมหาวิท ยาลัย ไปพร้อ ม ๆ กัน
นอกจากนี้ ในประเทศสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัย MIT ก็มโี ครงการ “MIT Industrial
Liaison Program” เพื่อเป็ นตัวกลางในการเชื่อมโยงและการสื่อสารระหว่างนักวิจยั และ
ภาคธุรกิจให้ราบรื่นมากยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ ในกรณีของประเทศไทย ควรมีการเชื่อมโยง
การใช้ประโยชน์ วทน. ไปยังในระดับชุมชนโดยเน้นการวิจยั และพัฒนาซึง่ ตอบโจทย์
ของชาวบ้ า นในแต่ ล ะพื้น ที่ อาทิเ ช่ น ประยุ ก ต์ ใ ช้ กับ การพัฒ นาผลิต ภัณ ฑ์ แ ละ
กระบวนการผลิตสินค้า OTOP

120
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ด้านการสร้างความตระหนักในการใช้ประโยชน์ วทน.
 สื่อ (Media) โดยเฉพาะโทรทัศน์ ในการสร้างความเข้าใจว่ า วทน.เป็ นเรื่องใกล้ตวั
สามารถช่วยยกระดับคุณภาพชีวติ ของคนในสังคมได้ โดยต้องเน้นวิธกี ารนาเสนอแบบ
สาระบันเทิง (Edutainment) เพื่อไม่ให้ประชาชนรูส้ กึ ว่าถูกยัดเยียดความรู้

จากการประเมินสถานภาพปจั จุบนั ข้างต้น แสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยมีศ ัก ยภาพและ


โอกาสในการปรับ ตัว และได้ร บั ประโยชน์ จ ากพลวัตการเปลี่ยนแปลงโลก อย่างไรก็ตามยัง มี
ประเด็น สาคัญหลายประการที่สะท้อนถึงปญั หาเชิงโครงสร้างที่ไม่สมดุล ไม่มเี สถียรภาพ ไม่ยงยื
ั่ น
และมีความเปราะบางต่อความผันผวนของปจั จัยภายนอกซึ่งจะยิง่ ทวีความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว
และซับซ้อนมากขึน้ ถึงเวลาทีป่ ระเทศไทยต้องหันมาทบทวนและกาหนดอนาคตประเทศไทยภายใต้
ภูมทิ ศั น์ใหม่ของโลกร่วมกัน ในการปรับกระบวนทัศน์การพัฒนา ประเทศไทยจะต้องสามารถตอบ
โจทย์ประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ 3 ประการได้แก่ (สุวทิ ย์ เมษินทรีย,์ 2556)
- ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Competitiveness): ประเทศไทยจะต้อง
พัฒนาขีดความสามารถเพื่อ สร้างความมังคั
่ งและความมั
่ นคงให้
่ กับประเทศ จะต้อ ง
พยายามยกระดับให้ห ลุดพ้นจากปานกลางขึ้นไปเป็ นผู้ท่มี รี ายได้สูงโดยการสร้างขีด
ความสามารถในการแข่งขันระยะยาว
- การมีส่วนร่วมและครอบคลุมทัวถึ ่ ง (Inclusiveness): ประเทศไทยต้องสร้างโอกาสความ
เสมอภาคและเท่าเทียมเพื่อลดความเหลื่อมล้าในสังคม โดยเฉพาะการยกระดับกลุ่มทีย่ งั
ด้อยโอกาสให้มโี อกาสเพิม่ ขึน้ บนพืน้ ฐานของความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทัง้
ทางด้านเศรษฐกิจสังคมและการเมือง
- การตอบสนองต่อพลวัตการเปลีย่ นแปลง (Responsiveness): ประเทศไทยต้องสามารถ
รับมือกับ “โลกแห่งความสุดโต่ง” (The Age of Extremity) ทีม่ ชี ุดของโอกาสข้อจากัด
ความเสีย่ งและภัยคุกคามทีแ่ ตกต่างไปจากโลกใบเดิมอย่างสิน้ เชิง

การพิจารณาสภาพพลวัตโลกและแนวโน้มทีส่ าคัญร่วมกับการวิเคราะห์สถานะและเป้าหมาย
การพัฒนาของไทย นามาสู่การสังเคราะห์ภาพอนาคตสังคมไทยทีพ่ งึ ปรารถนาในศตวรรษที่ 21 ที่
ประเทศไทยจะมุง่ ไปสู่ประเทศ “โลกทีห่ นึ่ง” ของประชาคมโลก

121
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2) ภาพในอนาคตทีพ่ ึงประสงค์ของประเทศไทย (Should Be)


จากการวิเคราะห์ของคณะวิจยั สามารถสรุปได้ว่าเป้าประสงค์หลักของการพัฒนาสังคมไทย
ประกอบด้วย 4 ด้านคือ สังคมที่สามารถ (Productive Society) สังคมแห่งโอกาส (Opportunity
Society) สังคมคุณธรรมจริยธรรม (Moral Society) และสังคมทีเ่ ป็ นธรรม (Just Society) โดย
รายละเอียด มีดงั นี้
ภาพที่ 36: สังคมที่พึงประสงค์

สังคมคุณธรรมจริ ยธรรม
(Moral Society)

สังคมที่เป็ นธรรม
(Just Society)

สังคมที่สามารถ สังคมแห่งโอกาส
(Productive Society) (Opportunity Society)

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

 สังคมทีส่ ามารถ (Productive Society)


เป็ นการก้าวข้ามกับดักของรายได้ประเทศปานกลางไปสู่ประเทศที่ สร้างมูลค่ าเพิ่ ม
ทางเศรษฐกิ จให้ กบั สิ นค้ าและบริ การของประเทศ (Value Creation) โดยมีการสร้าง
ความสามารถในการแข่งขันผ่ านการสร้างนวัตกรรม เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ซึ่งจะช่ว ย
ยกระดับการผลิตและการค้าสินค้าในห่วงโซ่ให้มมี ูลค่าสูงขึน้ รวมไปถึงการยกระดับผลิต
ภาพการผลิต (Productivity) ผ่านการพัฒนาเทคโนโลยี การใช้เครื่องจักร และการยกระดับ
ทัก ษะแรงงาน เป็ น ต้ น พร้อ มๆกัน นัน้ จะมีก ารขับ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ บนฐานความรู้
(Knowledge Economy)เนื่องจากความรูเ้ ป็ นองค์ประกอบสาคัญที่ช่วยเพิม่ ผลิตภาพใน
การทางานและพัฒนาสังคมแบบยังยื ่ นในอนาคต โดยลักษณะที่สาคัญของสังคมทีม่ คี วามรู้
เป็ นฐาน อาทิเช่น สังคมทีท่ ุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทีเ่ ท่าเทียมกัน สังคมที่
คนในประเทศมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีทท่ี นั สมัย และทีส่ าคัญคือเป็ นสังคมทีค่ นมี
ค่านิยมรักการเรียนรู้ รักการค้นคว้ารักความคิดสร้างสรรค์ และสามารถเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตัวเอง
อยูต่ ลอดเวลา
122
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นอกจากนี้สงั คมที่สามารถยังมีความหมายครอบคลุมถึงการปรับเปลี่ยนไปสู่ สงั คมสี


เขียว (Green Society) ซึง่ เป็ นการเปลีย่ นกรอบความคิดจากการ “เอาชนะธรรมชาติ” มา
เป็ นการ “อยู่ร่วมกับธรรมชาติ” เพื่อปรับเข้าสู่ความสมดุลระหว่างมนุ ษย์กบั ธรรมชาติ บน
การพัฒนาทีส่ มดุล มีภูมคิ ุม้ กันความเสี่ยง โดยอาศัยการพัฒนาเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อมเป็ น
กลไกในการขับเคลื่อน ทาให้ประเทศกลับมามีทรัพยากรธรรมชาติทอ่ี ุดมสมบูรณ์
 สังคมแห่งโอกาส (Opportunity Society)
เป็ นสังคมที่สร้างโอกาสโดยไม่กีดกันแบ่งแยก (Social Inclusion) กล่าวคือ
ประชาชนในสังคมสามารถเข้าถึงหรือสามารถเข้าไปมีส่ว นร่วมส่งเสริมการมีปฏิสมั พันธ์
และมีส่วนร่วมกับกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ ของคนทุกกลุ่มในสังคมได้อย่างไม่ม ีการกีดกัน้
และขัดขวาง ไม่ว่าจะมีความแตกต่างทางชาติพนั ธุ์ ภาษา ศาสนา เพศหรืออื่นๆ ผ่านการ
สร้างกลไกในการเข้าถึงโอกาสอย่างเท่าเทียม และปลดล็อกการถูกกีดกันสิทธิทางสังคมของ
กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ตัวอย่างเช่น โอกาสในการเข้าถึงบริการสาธารณะของกลุ่มคนชายขอบ
หรือคนที่ดอ้ ยโอกาสทางสังคม หรือสิทธิในการได้รบั โอกาสในการจ้างงานของแรงงานต่าง
ด้าวที่เข้ามาอย่างถูกกฎหมาย ไปจนถึงเปิดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
ในการตัด สิน ใจในการก าหนดทิศ ทางการพัฒ นาและการบริห ารจัด การในด้า นต่ า งๆ
โดยเฉพาะทรัพยากรของท้องถิน่
นอกจากนี้ ย ัง เป็ น สัง คมที่ ม ีเ ป้ าหมายในการยกระดั บ คุ ณ ภาพชี ว ิ ต ที่ ด ี ข้ึน ซึ่ ง มี
สภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อโอกาสให้คนในกลุ่มที่ต่ ากว่าสามารถเลื่อนชนชัน้ ทางสังคมที่ สูงขึ้น
(Social Mobility) จาก “ผูด้ อ้ ยโอกาส” ไปเป็ น “ผูไ้ ด้โอกาส” โดยทุกคนสามารถเลื่อนชัน้
ทางสังคมได้ตามความเพียรพยายามและสามารถทาได้ด้วยความสามารถของตนเอง ไม่
จาเป็ นต้องใช้อภิสทิ ธิ ์หรือเส้นสายใด ๆ
 สังคมคุณธรรมจริ ยธรรม (Moral Society)
การพัฒนาสู่การเป็ นสังคมทีม่ คี ุณธรรมจริยธรรมเป็ นการปรับเปลีย่ นรากฐานกระบวน
ความคิดและค่านิยมของคนในสังคมให้ถูกต้อง โดยมีการวางรากฐานทางคุณธรรมจริยธรรม
ในตัวคนอย่างสมบูรณ์ มีการปฏิรปู คุณธรรมจริยธรรมของสังคมทัง้ ระบบ รวมทัง้ การทีค่ นใน
สัง คมรู้จ กั ใช้เ หตุ ผ ลเชิง จริยธรรมได้อ ย่า งเหมาะสม มี จิ ตส านึ ก และพฤติ กรรมอยู่ ใ น
คุณธรรมและจริ ยธรรม (Ethical Conscience and Conduct) สามารถไตร่ตรองได้ว่า
อะไรควรทาไม่ควรทา เป็ นผูม้ ปี ญั ญา มีความยึดมันในสิ ่ ง่ ทีถ่ ูกต้องและชอบธรรม (Integrity)
เพื่อ ให้เ กิดความเป็ นระเบียบเรียบร้อยงดงาม เกิดความสงบร่มเย็นเป็ นสุขในสังคมไทย
ประชาชนมีความรัก ความสามัคคี เกิด ความเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันในสังคม (Social

123
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Cohesion) มีความอบอุ่น มันคงปลอดภั


่ ยในการดารงชีวติ ปญั หาทุจริตคอรัปชันลดลง

สร้างค่านิยมใหม่ทย่ี กย่องคนดีมากกว่าคนเก่ง
 สังคมทีเ่ ป็ นธรรม (Just Society)
เป็ นสังคมประชาธิ ปไตย (Democratic Society) โดยเป็ นสังคมทีม่ คี วามยุตธิ รรม มี
การจัดระเบียบของสังคมที่ดี กฎหมายเป็ นเสาหลักการปกครองของประเทศอย่างแท้จริง
โดยที่พลเมืองในสังคมรูจ้ กั และใช้สทิ ธิและหน้ าที่ของตนอย่างถูกต้องและเคารพสิทธิของ
ผูอ้ ่นื โดยประชาชนมีความตื่ นตัวในการเข้ามามีส่วนร่วม (Civic Society) กับประเทศ
และสังคมเปิ ดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมได้ในระดับต่าง ๆ มีช่องทางหรือเวที
สาธารณะแพร่หลายทีเ่ ปิดให้ประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็น นอกจากนี้ยงั เป็ นสังคมที่
มีความเป็นธรรมในด้านโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ โครงสร้างพืน้ ฐาน และทรัพยากร มี
การกระจายรายได้ แ ละการถื อ ครองทรัพ ย์สิ น อย่ า งเป็ นธรรม (Fair Wealth
Distribution) เป็นสังคมทีค่ นมีความไว้เนื้อเชื่อใจกัน (Trust) ทัง้ ในระดับทัวไป
่ ซึง่ หมายถึง
ความไว้เนื้อเชื่อใจกันของปจั เจกและความไว้เนื้อเชื่อใจในสถาบันหรือองค์กรต่ าง ๆ ที่ม ี
ค่านิยมหรือจารีตร่วมกัน สามารถถักทอให้เกิดเป็ นเครือข่ายทางสังคมทีแ่ น่ นแฟ้น

การก าหนดภาพสัง คมไทยที่พ ึง ประสงค์น้ี จึงเป็ น การสะท้อ นให้เ ห็นภาพที่พึงประสงค์


ภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ที่ประเทศไทยเป็ นประเทศที่ มีความอยู่ดีมีสุข
(Well-being Nation) ทัง้ ในระดับบุคคล สังคมและระดับประเทศ ในระดับบุคคลประชาชนมีสุขภาวะ
ที่ดที งั ้ มิตทิ างกาย จิต สังคมและปญั ญามีศ ีล ธรรมอัน ดีง าม ในระดับสังคมมีบรรยากาศแห่งความ
อบอุ่ น ชุ มชนพึ่ง ตนเองได้ และอยู่ร่ว มกันอย่างสันติ เป็ นสังคมที่มคี วามเข้มแข็งมันคง่ และใน
ระดับประเทศเราจะก้าวไปสู่การเป็ นประเทศในโลกทีห่ นึ่ง ทีเ่ ศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็ น
ธรรม สิง่ แวดล้อมมีคุณภาพ และทรัพยากรธรรมชาติยงยื ั ่ น อยู่ภายใต้ระบบบริหารจัดการประเทศที่ม ี
ธรรมาภิบาลสามารถอยูร่ ว่ มกับนานาประชาชาติได้อย่างเต็มภาคภูม ิ

124
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3) การวิ เคราะห์ช่องว่างระหว่างภาพในอนาคตทีพ่ ึงประสงค์กบั สภาพความเป็ นจริ ง


ผลจากการวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) ระหว่าง สถานภาพปจั จุบนั ของประเทศไทย
(As-Is) และเป้าประสงค์หลักของประเทศไทยทีพ่ งึ ประสงค์ (Shold Be) จากการประเมินช่องว่าง
ระหว่ า งภาพอนาคตที่พ ึง ประสงค์แ ละสภาพความเป็ น จริง ของประเทศไทยด้ว ยก ารสอบถาม
ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการศึกษาและภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง มีขอ้ ค้นพบทีส่ าคัญดังนี้
- ผูเ้ ชี่ยวชาญส่วนใหญ่มคี วามเห็นสอดคล้องกันว่าสภาพความเป็ นจริงของสังคมไทยใน
ปจั จุบนั ยังมีช่องว่าง (Gap) ห่างไกลจากภาพสังคมที่พงึ ประสงค์ของสังคมไทยทัง้ 4
ด้านค่อนข้างมากถึงสูงมากทีส่ ุด (ภาพที่ 37)
- ด้านสังคมทีเ่ ป็ นธรรม (Just Society) เป็ นด้านที่สถานะปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมาย
สูงมากทีส่ ุด ขณะทีส่ งั คมคุณธรรมจริยธรรม (Moral Society) เป็ นด้านทีส่ ถานะปจั จุบนั
ห่างไกลจากเป้าหมายสูงมากเช่นกัน โดยมีช่องว่างหรือ Gap สูงมากรองลงมาเป็ น
อันดับสอง ซึง่ แสดงให้เห็นว่าเป็ นจุดวิกฤตทีจ่ าเป็ นต้องแก้ไขอย่ างเร่งด่วน สาหรับด้าน
สังคมทีส่ ามารถ (Productive Society) และสังคมแห่งโอกาส (Opportunity Society)
ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายค่อนข้างมาก

จากการวิเคราะห์เป้าประสงค์หลักของประเทศรวมถึงการสังเคราะห์ภาพสังคมไทยที่พงึ
ประสงค์และผลสรุปความคิดเห็นจากกระบวนการดังที่ได้กล่าวมาในข้างต้นได้สะท้อนให้เห็นว่าการ
พัฒนาของประเทศทีผ่ ่านมายังไม่ประสบความสาเร็จเท่าทีค่ วร โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ความเจริญทางวัตถุ แต่ไม่ได้ตอบโจทย์การพัฒนาเชิงโครงสร้างและการสร้างขีดความสามารถของ
ประเทศในระยะยาว อีกทัง้ ยังละเลยประเด็นด้านสังคม วัฒนธรรม จริยธรรม ซึ่งถือเป็ นการพัฒนา
แบบแยกส่วน จนทาให้เกิดปญั หาทัง้ ทางเศรษฐกิจและสังคมทีท่ วีความรุนแรงมากขึน้ ทุกวัน
ทัง้ นี้ หากประเทศไทยต้องการจะก้าวข้ามวิกฤตนี้เพื่อมุ่งไปสู่ภาพสังคมอันพึงประสงค์ของ
สังคมไทยให้ได้นัน้ จะต้องอาศัยการเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ การพัฒนาจากการเน้ นการเติบโตทาง
เศรษฐกิจเป็ นแบบบูรณาการเป็ นองค์รวมที่ยดึ “คนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนา” อย่างแท้จริง โดย
จาเป็ นต้องมีการพัฒนามนุ ษย์ให้มที ศั นคติ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะ ที่จะเป็ นปจั จัย
ส่งเสริมให้ประเทศสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ในการด ารงอยู่ไ ด้อ ย่างมันคงและน
่ าไปสู่การ
พัฒนาทีส่ มดุล เป็นธรรมและยังยื่ น ภายใต้บริบทการเปลีย่ นแปลงต่างๆ ซึง่ ถือเป็ นหน้าทีส่ าคัญของ
ระบบการศึกษาที่จะต้องตอบสนองความต้องการนี้ให้ได้ทงั ้ ในระดับภาคผ่านการพัฒนากาลังคน
และในระดับปจั เจกซึง่ เป็ นคุณลักษณะของคนไทยทีส่ มบูรณ์

125
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 37: ช่องว่างระหว่างสังคมปัจจุบนั และสังคมที่พึงประสงค์

สังคมคุณธรรมจริยธรรม
5
4
3
2
1
As Is
สังคมทีส่ ามารถ 0 สังคมแห่งโอกาส
Should Be

สังคมทีเ่ ป็ นธรรม

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยประมวลผลจากการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร


ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการศึกษา หัวข้อ “การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21” ในวันจันทร์ท่ี 2 กันยายน 2556
หมายเหตุ: 1 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายมาก
2 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายค่อนข้างมาก
3 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับปานกลาง
4 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับน้อย
5 หมายถึง ปจั จุบนั มีสภาพใกล้เคียงหรือเหมือนภาพอนาคตทีพ่ งึ ประสงค์แล้ว

126
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 7: การวิ เคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) เป้ าประสงค์หลักของประเทศไทย (Country Goals)


เป้าประสงค์หลัก สถานภาพปจั จุบนั เป้าประสงค์หลัก ช่องว่าง
ของประเทศไทย (Country ของประเทศไทย ทีพ่ งึ ประสงค์ (Gap)
Goals) (As-Is) ของประเทศไทย
(Shold Be)
สังคมทีส่ ามารถ 2.08 5 ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมาย
(Productive Society) ค่อนข้างมาก
สังคมแห่งโอกาส 2.118 5 ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมาย
(Opportunity Society) ค่อนข้างมาก
สังคมคุณธรรมจริยธรรม 1.937 5 ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมาย
(Moral Society) สูงมาก
สังคมทีเ่ ป็ นธรรม (Just 1.699 5 ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมาย
Society) สูงมาก
ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยประมวลผลจากการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร
ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการศึกษา หัวข้อ “การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21” ในวันจันทร์ท่ี 2 กันยายน 2556
หมายเหตุ: 1 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายสูงมาก
2 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายค่อนข้างมาก
3 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับปานกลาง
4 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับน้อย
5 หมายถึง ปจั จุบนั มีสภาพใกล้เคียงหรือเหมือนภาพอนาคตทีพ่ งึ ประสงค์แล้ว
จากการวิเคราะห์เป้าประสงค์หลักของประเทศรวมถึงการสังเคราะห์ภาพสังคมไทยที่พงึ
ประสงค์และผลสรุปความคิดเห็นจากกระบวนการดังทีไ่ ด้กล่าวมาในข้างต้น ได้สะท้อนให้เห็นว่าการ
พัฒนาของประเทศทีผ่ ่านมายังไม่ประสบความสาเร็จเท่าทีค่ วร โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ความเจริญทางวัตถุ แต่ไม่ได้ตอบโจทย์การพัฒนาเชิงโครงสร้างและการสร้างขีดความสามารถของ
ประเทศในระยะยาว อีกทัง้ ยังละเลยประเด็นด้านสังคม วัฒนธรรม จริยธรรม เป็ นการพัฒนาแบบ
แยกส่วนจนทาให้เกิดปญั หาทัง้ ทางเศรษฐกิจและสังคมทีท่ วีความรุนแรงมากขึน้ ทุกวัน
หากประเทศไทยต้องการก้าวข้ามวิกฤตนี้เพื่อมุ่งไปสู่ภาพสังคมอันพึงประสงค์ ต้องอาศัย
การเปลีย่ นกระบวนทัศน์การพัฒนาจากการเน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็ นแบบบูรณาการเป็ นองค์
รวมที่ยดึ “คนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนา” โดยต้องพัฒนามนุ ษย์ให้มที ศั นคติ ความรู้ ความสามารถ
และสมรรถนะ ที่จะเป็ นปจั จัยส่งเสริมให้ประเทศสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ในการดารงอยู่ได้
อย่างมันคงและน
่ าไปสู่การพัฒนาทีส่ มดุล เป็นธรรม และยังยื
่ น ภายใต้บริบทการเปลีย่ นแปลงต่ าง ๆ
ซึง่ ถือเป็ นหน้าที่สาคัญของระบบการศึกษาที่จะต้องตอบสนองความต้องการนี้ให้ได้ทงั ้ ในระดับ มห
ภาคผ่านการพัฒนากาลังคน และในระดับบุคคลซึง่ เป็นเรือ่ งของคุณลักษณะคนไทยทีพ่ งึ ประสงค์
127
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.1.2 เป้ าประสงค์หลักของการศึกษา (Objective Function) ของประเทศไทย

1) สถานภาพปัจจุบนั ของประเทศไทย (As Is)


คาถามทีเ่ กิดขึน้ ก็คอื ในปจั จุบนั การศึกษาไทยนัน้ สามารถทาหน้าทีต่ อบสนองความต้องการ
ของประเทศดังกล่าวได้ดมี ากน้อยเพียงไร เนื้อหาในส่วนนี้ได้ประเมินระบบการศึกษาไทยในปจั จุบนั
โดยในหัวข้อนี้เป็ นการวิเคราะห์ระดับมหภาคหรือภาพรวมของประเทศ เริม่ จากความสาคัญของ
การศึกษาในฐานะกลจักรการเปลีย่ นแปลง การประเมินสภาวการณ์ของการศึกษาไทยในปจั จุบนั โดย
มีการเปรียบเทียบกับต่างประเทศ และการประเมินช่องว่างระหว่างระดับผลลัพธ์ของระบบการศึกษา
ในปจั จุบนั กับผลลัพธ์ทค่ี าดหวัง (สาหรับการวิเคราะห์ในระดับจุล ภาคหรือการพัฒนาระดับบุคคลจะ
กล่าวถึงในหัวข้อ 4.2.2 ต่อไป)
จากการประเมิน ภาพรวมในระดับประเทศด้วยผลการจัดอันดับ ขีดความสามารถในการ
แข่งขันของ IMD พบว่าในขณะทีป่ ระเทศเพื่อนบ้านอย่างสิงคโปร์ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 1-4 ตลอดช่วง
5 ปีทผ่ี ่านมา หรือประเทศอินโดนิเซียทีข่ ยับขึน้ จากลาดับที่ 51 ในปี 2551 มาเป็ นลาดับที่ 43 ในปี
2555 ขีดความสามารถของประเทศไทยกลับมีแนวโน้มตกลงจากอันดับที่ 27 ในปี พ.ศ. 2551 มาอยู่
อันดับ 33 ในปี 2555
อย่างไรก็ตามการประเมินผ่านตัวชีว้ ดั ของ IMD ถือเป็ นเพียงการสะท้อน “ขีดความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศในระยะสัน้ ” ในขณะที่ “ขีดความสามารถในระยะยาวนัน้ ” สะท้อนผ่าน
“คุณภาพของทุนมนุ ษย์” และ “โครงสร้างกาลังคน” ของประเทศ ซึง่ เมื่อประเทศไทยกาลังเผชิญกับ
สถานการณ์ ปญั หาเชิง ซ้อน ทัง้ ความท้าทายในเชิงปริมาณ คือ การที่ประเทศไทยก าลังก้าวเข้าสู่
สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และในเชิงคุณภาพ คือการลงทุนในทุนมนุ ษย์ (Human Capital
Investment) ของประเทศไทยอยูใ่ นระดับทีค่ ่อนข้างต่ าเมือ่ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในโลก

128
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 38: อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันโดยรวมของประเทศไทยเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน


ปี 2008-2012 (พ.ศ. 2551-2555)

2551 2552 2553 2554 2555

ทีม่ า: IMD Competitiveness Yearbook (2012)

ภาพที่ 39: โครงสร้างกาลังคนและคุณภาพของทุนมนุษย์ของประเทศไทยเทียบกับประเทศอื่นๆ

ทีม่ า: สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ (2556)

129
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

หากปล่อยให้เป็ นเช่นนี้ต่อไปประเทศไทยคงยังอยู่ในสถานะเป็ น Second-tier Nation ใน


ศตวรรษที่ 21 อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ดังนัน้ ประเทศไทยจึงต้องเร่งเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศในระยะยาวเพื่อก้าวไปสู่การเป็นประเทศโลกทีห่ นึ่งผ่านการพัฒนาทุนมนุ ษย์ ซึง่ ก็คงหนี
ไม่พน้ การยกระดับการศึกษา ต้องมองการศึกษาเป็น “วาระแห่งชาติ” โดยมองยุทธศาสตร์การศึกษา
เชื่อมต่ อกับยุทธศาสตร์ชาติผ่านองค์ประกอบสาคัญ ของระบบการศึกษาไทยอย่างครบวงจร คือ
Paradigm, Policy, Platform, Practice และ Performance

1) Paradigm
ในศตวรรษที่ 21 นี้เกิดการเปลีย่ นแปลงทีส่ าคัญ อาทิ
- เกิด การเปลี่ย นแปลงจากการกระจุก ขัว้ อ านาจทางเศรษฐกิจ มาเป็ น การกระจายสู่
ประเทศคลื่นลูกใหม่ท่เี รียกว่า The New USA (United States of Asia) ความ
เจริญรุง่ เรืองเปลีย่ นผ่านจากประเทศมหาอานาจทางตะวันตกมาสู่กลุ่มประเทศในเอเชีย
ทีม่ กี ารขยายตัวของประชากรโดยเฉพาะชนชัน้ กลาง (Middle Class) เป็นตัวขับเคลื่อน
- ยุคแห่งความมังคั ่ งสู่ ่ยุคแห่งความสุดโต่ง (Age of Prosperity to Age of Extremity) แม้
มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่จะก็มปี ญั หาตามมาในเรื่องความไม่สมดุลระหว่าง
ธรรมชาติและมนุ ษย์ ภัยพิบตั ริ ุนแรงทางธรรมชาติ ความสุดโต่งการเมือ งและเหลื่อมล้า
ของอานาจและโอกาส ความมังคั ่ งที
่ ก่ ระจุกตัว
- Corporate Centricity to Citizen Centricity: เกิดการเปลีย่ นแปลงการกุมอานาจจาก
ภาครัฐ มาเป็ นเอกชน และทุกวันนี้ไปอานาจไปสู่ประชาชนมากขึน้ ผ่านการเชื่อมโยง
ของเทคโนโลยีและระบบเครือข่ายทางสังคม (Social Network) ความเป็ นรัฐหรือการ
ผูกขาดจะน้อยลงไป มีผเู้ ล่นรายใหม่คอื ภาคประชาชนเข้ามามีบทบาทมากขึน้
แนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงของโลกเหล่ านี้ ถู ก ขับเคลื่อ นโดยปจั จัยหลัก 2 ประการคือ
(1) Democratization คือเกิดกระแสประชาธิปไตยในทุกสิง่ ยกตัวอย่างเช่น ประชาธิปไตยในการ
บริโภค ซึง่ ทาให้กลุ่ม Bottom of the Pyramid มีสทิ ธิในการเข้าถึงมากขึน้ หรือในด้านนวัตกรรม ซึง่
ั ญา แต่ ต่ อ ไปนวัต กรรมจะเกิด จากป ญ
ที่ผ่ า นมาเอื้อ เกิด ได้ผ่ านทรัพ ย์ส ิน ทางป ญ ั ญาของฝูง ชน
(Wisdom of the Crowd) ซึง่ ช่วยกันต่อยอดทางความคิด (2) Individualization คือ คนเราจะมีความ
เป็ นปจั เจกมากขึน้ แต่ละคนจะสร้างอัตลักษณ์เฉพาะของตัวเอง ทุกคนสามารถใช้เทคโนโลยีเป็ น
เครือ่ งมือในการเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญในเรือ่ งใด ๆ ก็ได้
การเตรียมพร้อมรับมือกับชุดของโอกาสในความท้าทายในภูม ิทศั น์ใหม่ (New Reality) ใน
ศตวรรษที่ 21 คนจะต้องมีการเปลีย่ นแปลงเช่นกัน คือต้องประกอบไปด้วย (1) ทัศนคติใหม่ (New
Mindset) (2) ทักษะชุดใหม่ (New Skillset) ทีค่ รอบคลุมไปถึงการสร้างวัฒนธรรมใหม่ ทัง้ ในด้าน
ทางาน การเรียนรู้ และการอยูร่ ว่ มกับผูอ้ ่นื
130
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2) Policy
นโยบายการศึกษาจะเป็ นปจั จัยขับเคลื่อนสาคัญที่เตรียมพัฒนาคุณภาพคนไทยและนาไปสู่
การเปลีย่ นแปลงในระดับประเทศ (Education as engine for National Transformation) ซึง่ หน้าที่
ของการศึกษาคือการสร้าง “คนไทยที่สมบูรณ์ ” ที่ม ี Head, Hand, Heart เพื่อตอบโจทย์ความ
เจริญรุง่ เรืองของชาติทป่ี ระกอบไปด้วย Hope, Happiness และ Harmony

3) Platform
ในการยกระดับและพัฒนาจาเป็ นจะต้องมีปจั จัยพืน้ ฐานสาคัญ คือ สภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อ
การเพิม่ พลังให้กบั ผูค้ นในสังคม (Conducive Platform for Empowering People) ในทีน่ ้ีหมายถึง
จะต้องพัฒนาให้เกิดสังคมพึงประสงค์ใน 4 ด้านคือ สังคมแห่งโอกาส (Opportunity Society) สังคมที่
สามารถ (Productive Society) สังคมทีเ่ ป็ นธรรม (Just Society) และสังคมคุณธรรม (Moral
Society)

4) Practices
ในการเชื่อมโยง Paradigm – Policy – Platform นาลงสู่ระดับการปฏิบตั ิ ต้องอาศัยการ
สร้างโมเดลการเรียนรู้ท่มี คี วามสอดคล้อง รวมไปถึงกลไกใหม่ๆ ในการจัดการการศึกษา โดยมี
ประเด็นส าคัญ คือ การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้อ ย่างบูรณาการ (Integrated Learning
Environment) ทีท่ าให้คนในสังคมทุกเพศทุกวัยสามารถเรียนรูไ้ ด้ตลอดเวลา และไม่จากัดอยู่แต่ใน
เฉพาะห้องเรียน

ทัง้ นี้เทคโนโลยีจะเป็ นเครื่องมือสาคัญ (Technology as Enabler) ทีจ่ ะช่วยขยายอัตราการ


เข้าถึง การศึก ษาที่มคี ุ ณ ภาพ อีก ทัง้ ยังช่ว ยลดต้นทุ นและเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา
นอกจากนี้จะต้องสร้างวงจรการเรียนรูใ้ หม่ ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ 4 ประการ คือ
- Exploring เป็นการฝึกนิสยั ให้เด็กรักการสารวจสืบค้น
- Experimenting ให้เด็กเกิดความคิดและค้นหาทางเลือกใหม่ๆ ผ่านการทดลองปฏิบตั ิ
- Experiencing คือการสร้างเสริมประสบการณ์ฝึกให้สามารถตัดสินใจด้วนตนเอง
- Exchanging คือการแลกเปลีย่ นแบ่งปนั ประสบการณ์และข้อมูลข่าวสารกับผูอ้ ่นื

131
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นอกจากนี้อกี ประเด็นทีส่ าคัญของการจัดการศึกษาในโลกศตวรรษที่ 21 นี้ คือต้องเปลีย่ น


จาก “การศึกษา” ให้เป็ น “การเรียนรู”้ แต่การเรียนรู้ (Learning) อย่างเดียวก็อาจจะไม่พอในการ
ดารงชิวติ อยู่อย่างปกติสุขในโลกทีเ่ ป็ นอิสระแต่ยงั ต้องอยู่ร่วมกับผู้อ่นื ดังนัน้ จึงต้องมี “Living” และ
“Loving” ด้ว ย การเตรียมพร้อมให้เ ด็ก เป็ นคนที่สมบูรณ์ จงึ อยู่ท่กี ารออกแบบโมเดลการเรียนรู้ท่ี
ผสมผสานทัง้ สามประการได้อย่างลงตัว โดยเริม่ จากการรักทีจ่ ะเรียนรู้ (Love to Learn) ต่อด้วยการ
รูท้ จ่ี ะเรียน (Learn to Learn) จากนัน้ เป็ นเรื่องของการเรียนรู้ทจ่ี ะรอด (Learn to Live) ควบคู่ไปกับ
การเรียนรูท้ จ่ี ะรัก (Learn to Love)

ภาพที่ 40: โมเดลการเรียนรูใ้ หม่

ทีม่ า: สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ (2556)

5) Performance
เมื่อทุกข้อต่อตัง้ แต่ Paradigm, Policy, Platform และ Practice มีความเชื่อมโยงและ
ปรับเปลีย่ นให้สอดคล้องกันดีแล้ว หมายความว่าการศึกษาไทยจะสามารถบรรลุเป้าประสงค์ในการ
ทาคนไทยให้เป็ นมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์ มี Head, Hand, Heart เป็ นคนที่มคี ุณภาพ ศักยภาพและสุข
ภาวะที่ทดั เทียมประชากรในประเทศโลกที่หนึ่ง (First World Citizen) และในขณะเดียวกันก็จะ
สามารถตอบสนองเป้าหมายในระดับมหภาคคือขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็ นประเทศในโลกทีห่ นึ่ง
(First World Nation) ทีป่ ระกอบไปด้วย Hope, Happiness, และ Harmony ได้อย่างเต็มภาคภูม ิ

อย่างไรก็ตาม สถานะปจั จุบนั ขององค์ประกอบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็ น Paradigm, Policy,


Platform , Practice และ Performance ยังมีขอ้ จากัด และยังมีช่องว่างระหว่างสถานะปจั จุบนั กับสิง่
ทีพ่ งึ ประสงค์ตอ้ งการการเติมเต็มอยู่ (ดูตารางที่ 8)

132
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 8: องค์ประกอบการศึกษาที่พึงประสงค์ สถานะปัจจุบนั และช่องว่าง (Gap) ที่ต้องการเติ มเต็ม


องค์ประกอบ องค์ประกอบการศึกษา สถานะปัจจุบนั ช่องว่าง (Gap)
การศึกษา 5Ps ที่พึงประสงค์ ที่ต้องการเติ มเต็ม
1) Paradigm การเตรียมพร้อมรับมือกับ การดาเนินการด้านการศึกษา - ต้องสร้างทัศนคติใหม่
ชุดของโอกาสในความท้า ของประเทศไทยทีผ่ ่านมายังไม่ (New Mindset)
ทายในภูมทิ ศั น์ใหม่ (New สามารถสร้างทัศนคติใหม่ - ต้องทักษะชุดใหม่ (New
Reality) ในศตวรรษที่ 21 (New Mindset) และทักษะชุด Skillset) หรือทักษะแห่ง
คนจะต้องมีการ ใหม่ (New Skillset) ที่ ศตวรรษที่ 21 (21st
เปลีย่ นแปลงเช่นกัน คือต้อง ครอบคลุมไปถึงการสร้าง Century Skill)
ประกอบไปด้วย 1) ทัศนคติ วัฒนธรรมใหม่ ซึง่ นับเป็ น - ต้องสร้างวัฒนธรรมใหม่
ใหม่ (New Mindset) 2) อุปสรรคสาคัญต่อการ ทัง้ ในด้านการทางาน
ทักษะชุดใหม่ (New เตรียมพร้อมรับมือกับชุดของ การเรียนรู้ และการอยู่
Skillset) ทีค่ รอบคลุมไปถึง โอกาสในความท้าทายในภูมิ ร่วมกับผูอ้ ่นื ให้กบั
การสร้างวัฒนธรรมใหม่ ทัง้ ทัศน์ใหม่ (New Reality) ใน ผูเ้ รียนได้อย่างเต็มที่
ในด้านทางาน การเรียนรู้ ศตวรรษที่ 21
และการอยู่ร่วมกับผูอ้ ่นื

2) Policy นโยบายด้านการศึกษาและ ถึงแม้ว่าในปจั จุบนั แทบทุก - ยังขาดความต่อเนื่องของ


นโยบายทีเ่ กีย่ วข้องจะเป็ น รัฐบาลจะได้ประกาศว่าจะให้ นโยบายการศึกษา
ปจั จัยขับเคลื่อนสาคัญที่ ความสาคัญกับการปฏิรปู - ยังขาดนโยบายการ
เตรียมพัฒนาคุณภาพคน การศึกษา และมีการวาง ส่งเสริมการศึกษา
ไทยและนาไปสูก่ าร นโยบายเพื่อยกระดับคุณภาพ ทางเลือก การศึกษาทีไ่ ม่
เปลีย่ นแปลงในระดับ การศึกษาไทย ความไม่ เป็ นทางการ การศึกษา
ประเทศ ซึง่ หน้าทีข่ อง ต่อเนื่องของนโยบายคือปญั หา ตามอัธยาศัย และการ
การศึกษาคือ การสร้าง “คน สาคัญของการพัฒนาการศึกษา เรียนรูต้ ลอดชีวติ อย่าง
ไทยทีส่ มบูรณ์” ไทยวาระการปฏิรปู การศึกษาที่ จริงจัง ต่อเนื่อง
ผ่านมาของประเทศไทยได้มี - ต้องการการบูรณาการ
การเปลีย่ นผ่านหลายยุคหลาย นโยบายการศึกษา
สมัยในหลายรัฐบาล โดยตลอด เรียนรู้ กับนโยบายด้าน
ช่วงเวลาเพียงกว่าทศวรรษที่ อื่นๆทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิ
ผ่านมา นับจากประกาศใช้ นโยบายด้านแรงงาน
พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ กาลังคน เป็ นต้น
พ.ศ. 2542 ประเทศไทยได้มี
การเปลีย่ นแปลง
รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการมาแล้วถึง
20 ท่าน นับว่ามีวาระการดารง

133
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

องค์ประกอบ องค์ประกอบการศึกษา สถานะปัจจุบนั ช่องว่าง (Gap)


การศึกษา 5Ps ที่พึงประสงค์ ที่ต้องการเติ มเต็ม
ตาแหน่งโดยเฉลีย่ เพียงท่านละ
ประมาณ 1 ปี การเปลีย่ นผูน้ า
ด้านนโยบายเช่นนี้ย่อมทาให้
งานการศึกษาของชาติขาด
ความต่อเนื่องและขาดทิศทางที่
ชัดเจน ส่งผลถึงการ
เปลีย่ นแปลงวิธปี ฏิบตั หิ ลาย
ประการ
3) Platform จะต้องมี Platform ทีก่ า้ ว ความส าเร็จ ที่ส าคัญ ประการ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ยั ง ข า ด
ตามให้ทนั ความเปลีย่ น หนึ่ ง ของการศึก ษาไทย ก็คือ Platform สาคัญในส่วนของ
แปลง ในการยกระดับและ การที่สามารถผลัก ดัน สาระที่ การเชื่อ มต่ อ จากนโยบาย
พัฒนาจาเป็ นจะต้องมี เกี่ ย วข้ อ งกั บ การศึ ก ษามา ไปสู่การกาหนดกลยุทธ์และ
ปจั จัยพืน้ ฐานสาคัญ คือ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ นรั ฐ ธรรมนู ญ ได้ การปฏิบ ัติ การสร้า งความ
สภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการ ส าเร็จ เป็ น ครัง้ แรก และเป็ น เข้า ใจแก่ ผู้ท่ีเกี่ย วข้อ ง และ
เพิม่ พลังให้กบั ผูค้ นในสังคม ก้ า ว ส า คั ญ ข อง ก า รป ฏิ รู ป ก า ร มี เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร
(Conducive Platform for การศึ ก ษา ซึ่ ง สามารถสร้ า ง สนั บ สนุ น ทัง่ ในเชิง เทคนิ ค
Empowering People) ใน หลักประกันด้านเจตจานงของ และเชิ ง จั ด การส าหรั บ ผู้
ทีน่ ้หี มายถึงจะต้องพัฒนา รัฐต่อการศึกษาได้ในระดับหนึ่ง ปฏิบตั ิ
ให้เกิดสังคมพึงประสงค์ อย่างไรก็ตาม

4) Practices การสร้างสภาพแวดล้อม เมื่อ Policy ยังคงมีความไม่ - ยังมีช่องว่างด้าน


การเรียนรูอ้ ย่างบูรณาการ ต่อเนื่อง มีการเปลีย่ นแปลง กระบวนการเรียนรูอ้ ย่าง
(Integrated Learning บ่อยครัง้ พร้อมๆ กับ บูรณาการ
Environment) ทีท่ าให้คน Paradigm ทางด้านการศึกษา - ต้องพัฒนากระบวนการ
ในสังคมทุกเพศ ทุกวัย ทีย่ งั ไม่สามารถเปลีย่ นแปลงได้ สร้างการเรียนรูท้ ส่ี ร้างการ
สามารถเรียนรูไ้ ด้ ทาให้การเชื่อมโยง Paradigm เรียนรูท้ ส่ี มดุลทัง้ ทางด้าน
ตลอดเวลา และไม่จากัดอยู่ – Policy – Platform นาลงสู่ “เนื้อหาวิชา“ และ “การใช้
แต่ในเฉพาะห้องเรียน ระดับการปฏิบตั ยิ งั ขาด ชีวติ ” เพื่อพัฒนาความ
ทัง้ นี้ เทคโนโลยีจะเป็ น ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็ นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์
เครื่องมือสาคัญ เนื่องจากไม่สามารถพัฒนา - ต้องการกลไกใหม่ๆ ใน
(Technology as Enabler) กระบวนการสร้างการเรียนรูท้ ่ี การจัดการการศึกษา
ทีจ่ ะช่วยขยายอัตราการ สร้างการเรียนรูท้ ส่ี มดุลทัง้ ตลอดจนการสร้าง
เข้าถึงการศึกษาทีม่ ี ทางด้าน “เนื้อหาวิชา“ และ สภาพแวดล้อมการเรียนรู้
คุณภาพ อีกทัง้ ยังช่วยลด “การใช้ชวี ติ ” อย่างบูรณาการ

134
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

องค์ประกอบ องค์ประกอบการศึกษา สถานะปัจจุบนั ช่องว่าง (Gap)


การศึกษา 5Ps ที่พึงประสงค์ ที่ต้องการเติ มเต็ม
ต้นทุนและเพิม่ ประสิทธิ (Integrated Learning
ภาพในการจัดการศึกษา Environment) ทีท่ าให้คน
นอกจากนี้จะต้องสร้างวงจร ในสังคมทุกเพศ ทุกวัย
การเรียนรูใ้ หม่ สามารถเรียนรูไ้ ด้
ตลอดเวลา และไม่จากัด
อยู่แต่ในเฉพาะห้องเรียน
- ต้องอาศัยเทคโนโลยีเป็ น
เครื่องมือในการขยาย
การศึกษาทีม่ คี ุณภาพ
ตลอดจนเป็ นเครื่องมือ
หรือสือ่ ในการพัฒนาครูให้
มีศกั ยภาพเพิม่ ขึน้ ใน
ระยะเวลาทีร่ วดเร็ว

5) Performance เมื่อทุกข้อต่อตัง้ แต่ Performance ของการศึกษา ยังมีช่องว่างระหว่าง


Paradigm, Policy, ไทยยังคงอยูใ่ นระดับทีไ่ ม่เป็ นที่ Performance ปจั จุบนั และ
Platform และ Practice มี น่าพอใจดังเช่นในปจจุั บนั Performance ทีพ่ งึ ประสงค์
ความเชื่อมโยงและ ในขณะทีภ่ าพรวมของประเทศ จาเป็ นต้องพัฒนาทัง้ ใน
ปรับเปลีย่ นให้สอดคล้องกัน พบว่า ประเทศไทยติดกับ ระดับมหภาคและระดับ
ดีแล้ว หมายความว่า ประเทศรายได้ปานกลาง ปจั เจก
การศึกษาไทยจะสามารถ (Middle-Income Trap)
บรรลุเป้าประสงค์ในการทา เนื่องจากการศึกษาเรียนรู้ การ
คนไทยให้เป็ นมนุษย์ท่ี พัฒนาทุนมนุษย์ยงั มีความ
สมบูรณ์ เป็ นคนทีม่ ี จากัด อีกทัง้ ยังขาดการลงทุน
คุณภาพ ศักยภาพและสุข วิจยั พัฒนา และขาดการพัฒนา
ภาวะทีท่ ดั เทียมประชากร ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ในประเทศโลกทีห่ นึ่ง (First และนวัตกรรมอย่างจริงจัง
World Citizen) และใน
ขณะเดียวกันก็จะสามารถ
ตอบสนองเป้าหมายใน
ระดับมหภาคคือขับเคลื่อน
ประเทศไปสูก่ ารเป็ น
ประเทศในโลกทีห่ นึ่ง (First
World Nation)

135
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

โดยสรุป คือ ที่ผ่ านมาประเทศไทยยังไม่ส ามารถปรับเปลี่ยน Paradigm ของแนวคิด


การศึก ษาไปสู่ก ารมีผู้เ รียนเป็ นศูนย์ก ลางและมุ่งเน้ นการพัฒนาคนอย่างสมดุลรอบด้านได้อ ย่าง
แท้จริง นันคื
่ อ แม้ว่าจะมีความตระหนักถึงพลวัตรโลกทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว ตลอดจน
มีความพยายามที่จะปฏิรูปการศึกษาเพื่อให้สามารถรับมือและตอบสนองกับสถานการณ์ ได้อย่าง
ทันท่วงทีแต่การปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยมักไม่สามารถเปลี่ยนผ่าน Paradigm ได้ในทาง
ปฏิบตั ิ การปรับเปลีย่ นส่วนใหญ่จงึ มักเกิดขึน้ ทีร่ ะดับ Policy เพียงอย่างเดียว โดยมีการออกนโยบาย
ทีพ่ ยายามผลักดันการศึกษาไปสู่จดุ มุง่ หมายทีต่ งั ้ ไว้ อย่างไรก็ตาม จากการที่ระบบการศึกษาไทยยัง
ไม่สามารถก้าวข้าม Paradigm แบบเดิมๆ ได้ ประกอบกับการเปลี่ยนแปลง Policy ที่เกิดขึ้น
บ่อยครัง้ ทาให้ขาดความต่อเนื่องและไม่สามารถเชื่อมโยงไปสู่ Practice ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่งผลให้ Performance ของการศึกษาไทยยังคงอยูใ่ นระดับทีไ่ ม่เป็ นทีน่ ่าพอใจดังเช่นในปจั จุบนั

2) ภาพในอนาคตทีพ่ ึงประสงค์ของการศึกษาไทย (Should Be)


การศึ ก ษาจะเป็ น ป จั จัย ขับ เคลื่อ นส าคัญ ที่จ ะท าให้ ใ ห้ เ กิ ด การเปลี่ย นแปลงประเทศ
(Education as Engine for National Transformation) ซึง่ เป้าหมายสาคัญของการศึกษา คือ การ
สร้าง “คนไทยทีส่ มบูรณ์” ทีม่ ี Hope, Happiness และ Harmony และเพื่อตอบโจทย์ดงั กล่าวหน้าที่
ของการศึกษาคือการสร้างให้คนไทยมี Head, Hand, Heart ประกอบไปด้วย Knowledgeset,
Mindset, และ Skillset ทีส่ อดรับต่อการดารงอยูใ่ นศตวรรษที่ 21 และทีส่ าคัญไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่ากัน
จากการจัดการประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การซึง่ ได้รบั เกียรติ จากผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการศึกษา
ร่วมกันวาดภาพอนาคตของการศึกษาไทย (Scenario Building) ผูเ้ ข้าร่วมการ
ประชุมปฏิ บตั ิ การส่วนใหญ่มีความเห็นสอดคล้องกันว่าภาพในอนาคตทีพ่ ึงประสงค์
ของการศึกษาไทยในศตวรรษที ่ 21 คือ

“การศึกษาไทยช่วยบ่มเพาะคนไทยให้เป็ นคนไทยที ม่ ีศกั ยภาพ


กล่อมเกลาให้ เป็ นคนที ม่ ีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความสุข ช่ วย
นาประเทศไปสู่ระดับการพัฒนาอย่ างสมดุลและยังยื ่ น พร้อม
กับเป็ นสังคมทีอ่ ยู่ดีมีสขุ (Well-Being Nation)”

136
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ปรัชญาการศึกษาไทยในศตวรรษที ่ 21
ปรัชญาพื้นฐานที่เป็ นรากฐานแห่งระบบการศึกษาไทยที่อยู่เบื้องหลังเป้าประสงค์หลักของ
ระบบของการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 จะต้องเปลีย่ นไป ดังนี้
1. การปรับเปลีย่ นอัตลักษณ์ (Identity) คนไทย: จากเดิมแต่ละคนมีสถานะเป็ นแค่เพียง
พลเมืองไทย (Thai-Thai) สู่ความเป็ นคนไทยที่เป็ นส่วนหนึ่งของพลเมืองโลก (Global-
Thai) นัน่ คือ ความจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับพลวัตการเปลีย่ นแปลง
ในประชาคมโลก เครือข่ายของประชาคมโลก รวมถึงการปลุกจิตสานึกต่อโลก
2. การปรับเปลี่ยนจุดเน้น (Reorientation): จากการเน้ นการสร้างคนเพื่อป้อนการเติบโต
ทางเศรษฐกิจ (People for Growth) เพื่อตอบโจทย์สงั คมอุตสาหกรรมเพียงอย่างเดียว
ไปสู่การเน้นการสร้างการเติบโตเพื่อรองรับการสร้างและปลดปล่อยศักยภาพของผู้คน
ในสังคม (Growth for People) เพื่อตอบโจทย์สงั คมองค์ความรู้
3. การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (Paradigm): จากความพยายามเอาชนะธรรมชาติ
(Controlling Nature) มาเป็ นการอยู่รวมกับธรรมชาติ (Living with Nature) พัฒนา
อย่างยังยื ่ น
่ งขันฟาดฟนั ต้องเอาชนะ
4. การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม: จากการเป็ นสังคมที่คนมุ่งมันแข็
ผูอ้ ่นื (Competition-Driven) มาเป็ นการทางานร่วมกับคนอื่นในลักษณะเกื้อกูลแบ่งปนั
(Collaborative-Culture) คนเก่งช่ว ยเหลือ คนที่ด้อยกว่าเรียกหาสิง่ ที่ดีท่สี ุ ดสาหรับ
ตนเองและส่วนรวมไปพร้อมๆกันผูค้ นมีความเมตตาดาเนินชีวติ ในความเป็ นมิตรไมตรี
จิตต่อกันและกัน
5. การขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่โลกทีห่ นึ่ง (First World Nation): จากทีม่ องแต่การมุ่ง
ไปสู่การเป็ นประเทศพัฒนาแล้ว (Developed Country) ซึ่งให้ความสาคัญแต่มติ ิ
เศรษฐกิจเป็ นสาคัญมาเป็ นการคานึงถึงประเด็นด้านสังคม วัฒนธรรม โดยเฉพาะการ
สร้างเกียรติภูมใิ นความเป็ นชาติ (Dignity of Nation) ให้คนไทยมีความเข้าใจใน
ประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรมของชาติไทย มีจติ สานึกและตระหนักในคุณค่าของความ
เป็ น ไทย ก่ อ เกิด เป็ น ความรัก ความภูม ิใ จ ทุ่ ม เทก าลัง กายใจเพื่อ ประโยชน์ สุ ข ของ
ประเทศชาติ

137
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 41: ปรัชญาการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21

ปรัชญา ปรัชญา
ในศตวรรษที่ 20 ในศตวรรษที่ 21

Thai-Thai Global-Thai

People for Growth Growth for People

Controlling Nature Living with Nature

Competition-driven
Competition-Driven Collaborative-Culture
Collaborative Culture
Culture

Developed Country Dignity of Nation

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

138
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3) การวิ เคราะห์ช่องว่างระหว่างภาพในอนาคตทีพ่ ึงประสงค์กบั สภาพความเป็ นจริ ง


จากการประชุมระดมความคิดเห็นผูเ้ ชีย่ วชาญ ได้มกี ารร่วมประเมินระดับสถานะปจั จุบนั ว่า
สามารถบรรลุเป้าหมายของการศึกษาทีพ่ งึ ประสงค์ (Should Be) ในด้านต่างๆ มากน้อยเพียงใด 4
ด้านต่อไปนี้ คือ
 การเตรียมความพร้อมนักเรียนเพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงาน
 การให้โอกาสเด็กทุกคนได้เข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียม
 การส่งเสริมให้เด็กเป็ นผู้เรียนรูต้ ลอดชีวติ ที่มุ่ งใฝ่หาความรู้ สามารถพัฒนาตนเองได้
ตลอดเวลา
 การมุง่ พัฒนาความเป็ นมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์ สร้างเด็กให้เป็ นคนดีของสังคม สร้างประโยชน์
แก่คนรอบข้าง ชุมชน และประเทศชาติ

ผลจากการประเมินวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) พบว่า


- โดยภาพรวมยังมีช่องว่าง (Gap) ระหว่างระดับปจั จุบนั (As Is) กับ เป้าหมายที่พงึ
ประสงค์ (Should Be) มีช่องว่างอยูใ่ นระดับสูงมาก
- ช่องว่างด้านทีส่ งู ทีส่ ุด คือ “การมุ่งพัฒนาความเป็ นมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์ สร้างเด็กให้เป็ นคน
ดีของสังคม สร้างประโยชน์แก่คนรอบข้าง ชุมชน และประเทศชาติ” หรืออาจกล่าวได้ว่า
บทบาทของการศึกษาในการบ่มเพาะ พัฒนาความเป็ นมนุ ษย์ท่สี มบูรณ์ สร้างเด็กให้
เป็นคนดีของสังคม สร้างประโยชน์แก่คนรอบข้าง ชุมชน และประเทศชาติ ในปจั จุบนั ยัง
อยูใ่ นระดับทีห่ ่างไกลจากความคาดหวังสูงมาก (High Gap)
- ขณะที่ เป้าหมายด้านการส่งเสริมผูเ้ รียนตลอดชีวติ มีช่องว่างสูงมากเช่นเดียวกัน โดย
เป็ น ด้า นที่ม ีช่ อ งว่ า งในระดับ ที่ห่ า งไกลจากความคาดหวัง สูง มาก ( High Gap)
เช่นเดียวกัน
- ส าหรับ บทบาทของภาคการศึก ษาในการเตรีย มความพร้ อ มนั ก เรีย นเพื่อ เข้ า สู่
ตลาดแรงงาน ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายค่อนข้างมาก
- ส่วนประเด็นเรื่อง การให้โอกาสเด็กทุกคนได้เข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียม ถือว่า
ปจั จุบนั ทาได้ในระดับทีน่ บั ว่าดีกว่าด้านอื่น ๆ และมีช่องว่างอยูใ่ นระดับปานกลาง

139
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 42: ช่องว่างระหว่างสถานะปัจจุบนั และเป้ าหมายของการศึกษาที่พึงประสงค์


เป้าหมายการเตรียม
ความพร้อมเข้าส่
ตลาดแรงงาน
5
4
3
2
เป้าหมายการพัฒนา 1
เป้าหมายการให้โอกาส As Is
ความเป็ นมนุ ษย์ท่ี 0
การศึกษาอย่างเท่าเทียม Should Be
สมบูรณ์

เป้าหมายด้านการส่งเสริม
ผูเ้ รียนตลอดชีวติ

ทีม่ าคณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยประมวลผลจากการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร


ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการศึกษา หัวข้อ “การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21” ในวันจันทร์ท่ี 2 กันยายน พ.ศ. 2556
หมายเหตุ: 1 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายมาก
2 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายค่อนข้างมาก
3 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับปานกลาง
4 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับน้อย
5 หมายถึง ปจั จุบนั มีสภาพใกล้เคียงหรือเหมือนภาพอนาคตทีพ่ งึ ประสงค์แล้ว

140
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 9: การวิ เคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) สถานะปัจจุบนั กับเป้ าหมายของการศึกษาที่พึงประสงค์


เป้ าหมายของการศึกษา สถานภาพ เป้ าประสงค์หลัก ช่องว่าง
ปัจจุบนั ทีพ่ ึงประสงค์ (Gap)
ของประเทศไทย ของประเทศไทย
(As-Is) (Shold Be)
เป้าหมายการเตรียมความ 2.317 5 ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมาย
พร้อมเข้าส่ตลาดแรงงาน ค่อนข้างมาก
เป้าหมายการให้โอกาส 2.579 5 ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมาย
การศึกษาอย่างเท่าเทียม ปานกลาง-ค่อนข้างมาก
เป้าหมายด้านการส่งเสริม 1.920 5 ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมาย
ผูเ้ รียนตลอดชีวติ สูงมาก
เป้าหมายการพัฒนาความ 1.763 5 ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมาย
เป็ นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ สูงมาก

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยประมวลผลจากการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร


ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการศึกษา หัวข้อ “การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21” ในวันจันทร์ท่ี 2 กันยายน พ.ศ. 2556
หมายเหตุ: 1 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายสูงมาก
2 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายค่อนข้างมาก
3 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับปานกลาง
4 หมายถึง ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับน้อย
5 หมายถึง ปจั จุบนั มีสภาพใกล้เคียงหรือเหมือนภาพอนาคตทีพ่ งึ ประสงค์แล้ว

141
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.1.3 กรอบเป้ าประสงค์หลักของการศึกษาของประเทศไทย


จากการวิเคราะห์และสังเคราะห์บริบทเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 รวมถึงประเด็นท้าทาย
ของระบบการศึก ษาไทยในป จั จุ บ ัน ตลอดจนป จั จัย ที่ม ีผ ลกระทบต่ อ ระดับ ผลลัพ ธ์ ข องระบบ
การศึกษาไทย ภาพในอนาคตทีพ่ งึ ประสงค์ของการศึกษาไทย (Should Be) คือ “การศึกษาไทยช่วย
บ่มเพาะคนไทยให้เป็ นคนไทยทีม่ ศี กั ยภาพ กล่อมเกลาให้เป็ นคนทีม่ คี ุณธรรม จริยธรรม มีความสุข
ช่วยนาประเทศไปสู่ระดับการพัฒนาอย่างสมดุลและยังยื ่ น พร้อมกับเป็ นสังคมทีอ่ ยู่ดมี สี ุข ( Well-
Being Nation)” นามาสู่การกาหนดเป้าประสงค์หลักของการศึกษาของประเทศไทยในระดับมหภาค
ทีเ่ ป็ นเป้าหมายปลายทางของการจัดการศึกษา
เป้าประสงค์หลักเหล่านี้ได้ถูกประมวลรวมมาจากแผนการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ผ่านมาใน
อดีต รวมทัง้ แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 - 2559 ซึ่งเป็ นแผนระยะยาวที่
สอดคล้องกับพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 254211 ประกอบกับการวิเคราะห์บริบทการ
เปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ยงั ได้สะท้อนจากความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมจาก
การจัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการศึกษา และการสัมภาษณ์ผบู้ ริหารระดับสูงตลอดจน
หน่ วยงานภาครัฐและเอกชนที่มบี ทบาทสาคัญในการดาเนินนโยบายการศึกษาของประเทศ การ
กาหนดแนวนโยบาย กลไกการขับเคลื่อนและการดาเนินการของแต่ละเป้าประสงค์นัน้ ควรมีความ
สอดคล้องกันและเป็ นที่เข้าใจตรงกันของทุกภาคส่วนที่มคี วามเกี่ยวข้อง อันจะนามาซึ่งการบรรลุ
เป้าหมายทีส่ าคัญในการพัฒนาระบบการศึกษาไทย

11
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ถือได้ว่าเป็ น
กฎหมายแม่บท ทีเ่ ป็ นเสมือนธรรมนูญการศึกษาของประเทศ โดยได้วางเป้าหมายในการจัดการศึกษาไว้อย่าง
ชัดเจนในมาตรา 6 ทีว่ ่า“การจัดการศึกษาต้องเป็ นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์ทงั ้ ร่างกายจิตใจ
(หมายถึงสุขกายสุขใจ) สติปญั ญาความรู้ (หมายถึงเป็ นคนเก่ง) และคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ
ดารงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่นื ได้อย่างมีความสุข (หมายถึงเป็ นคนดีของคนรอบข้างและสังคม)” และใน
มาตรา 7 ทีว่ ่า“ในกระบวนการเรียนรูต้ ้องมุ่งปลูกฝงั จิตสานึกทีถ่ ูกต้องเกีย่ วกับการเมืองการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอัน มีพระมหากษัต ริย์ทรงเป็ นประมุ ขรู้จกั รักษาและส่งเสริม สิท ธิหน้ าที่เสรีภาพความเคารพ
กฎหมายความเสมอภาคและศักดิศรี ์ ความเป็ นมนุ ษย์มคี วามภาคภูมใิ จในความเป็ นไทยรูจ้ กั รักษาผลประโยชน์
ส่วนรวมและของประเทศชาติรวมทัง้ ส่งเสริมศาสนาศิลปะวัฒนธรรมของชาติการกีฬาภูมิปญั ญาท้องถิ่นภูมิ
ปญั ญาไทยและความรูอ้ นั เป็ นสากลตลอดจนอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมมีความสามารถในการ
ประกอบอาชีพรูจ้ กั พึง่ ตนเองมีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ใฝร่ แู้ ละเรียนรูด้ ว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่อง”
142
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กรอบของเป้า ประสงค์ห ลัก ของการศึก ษาของประเทศไทยในระดับมหภาค (Macro


Objective) ซึ่งก็คอื “ผลลัพธ์ของระบบการศึกษา” (Education Outcome) ประกอบไปด้วย 5
เป้าประสงค์หลัก คือ
1) การเข้าถึง (Access)
2) ความเท่าเทียม (Equity)
3) คุณภาพ (Quality)
4) ประสิทธิภาพ (Efficiency)
5) ตอบโจทย์บริบททีเ่ ปลีย่ นแปลง (Relevancy)

ภาพที่ 43: กรอบเป้ าประสงค์ระดับมหภาคของการศึกษาไทย

ทีม่ า: คณะผูว้ จิ ยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

1. การเข้าถึง (Access)
เด็กไทยทุกคนจะต้องเข้าถึงการศึกษาทีม่ คี ุณภาพเพื่อทีจ่ ะสามารถบรรลุศกั ยภาพที่
แท้จริงของตนได้ ตามนโยบายการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All) หนึ่งในเป้าหมาย
การพัฒนาสหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) ของสหประชาชาติ

143
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ระบบการศึกษาไทยจะต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กสามารถเข้าถึงการศึกษาเข้า
ได้อย่างถ้วนหน้า (Universal Access) ตัง้ แต่เตรียมอนุ บาลไปจนถึงการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
12 ปี ไม่ว่าจะผ่านทางสายสามัญหรือสายอาชีพ โดยจะต้องให้ความสาคัญเป็ นพิเศษกับ
กลุ่ มเด็ก ที่ปจั จุบนั หลุ ด ออกจากระบบการศึกษาในโรงเรียน รวมถึงการที่มาตรฐานทาง
วิชาการของผูเ้ รียนสาหรับวิชาขัน้ พืน้ ฐานอยูใ่ นระดับทีน่ ่าพึงพอใจ
นอกจากนี้การจัดการศึกษาจะต้องสามารถปรับเข้าสู่โลกของการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
(Lifelong Learning) กล่าวคือ ระบบการศึกษาจะต้อ งมีค วามครอบคลุ มและสอดคล้อ ง
เหมาะสมกับ ประชาชนทุก เพศทุ ก วัย และที่สาคัญ กว่ านัน้ คือ จะต้อ งทลายกาแพงที่กัน้
ระหว่างการศึกษาในระบบโรงเรียน (Formal Education) การศึกษานอกระบบ (Non-formal
Education) และการศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Learning) ให้เป็ นเนื้อเดียวกัน เพื่อสร้าง
สภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ให้เกิดการเรียนรูท้ ห่ี ลากหลายตามความต้องการและความสนใจ บุคคล
สามารถพัฒนาตนเองให้กา้ วทันความเปลีย่ นแปลงของสังคมการเมืองและเศรษฐกิจของโลก
ได้อย่างต่อเนื่อง
2. ความเท่าเทียม (Equity)
ความเสมอภาคนัน้ ถือเป็ นหลักพื้นฐานประการหนึ่งที่คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ
ประชาชน เช่ น เดีย วกัน กับ การที่ป ระชากรทุ ก คนย่ อ มมีส ิท ธิใ นการเข้า ถึง บริก ารทาง
การศึกษาที่มคี ุณภาพอย่างเท่าเทียม โดยมิต้องคานึงถึงคุณสมบัตใิ ดๆ ไม่ว่าจะเป็ น เชื้อ
ชาติ ศาสนา ฐานะ หรือถิน่ กาเนิด ดังนัน้ ระบบการศึกษาไทยจาเป็ นจะต้องมีการพัฒนาและ
ปรับปรุงมุ่งสร้างและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้มคี วามเสมอภาคและเป็ นธรรมมาก
ยิง่ ขึน้ ทัง้ นี้ทผ่ี ่านมาการประเทศไทยได้บรรลุเป้าหมายความเท่าเทียมกันทางเพศ (Gender
Parity) ด้านการศึกษาแล้ว แต่ประเด็นเรื่องความเหลื่อมล้าระหว่างภูมภิ าค (Urban-rural
Gap) และระหว่างสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม (Socio-economic Status) ยังคงมีอยู่
ดังนัน้ จาเป็ นต้องมีการตัง้ เป้าหมายเพื่อลดช่องว่างผลสัมฤทธิ ์ (Achievement Gap) ทีม่ อี ยู่
ระหว่างกลุ่มเด็กเหล่านี้
การศึก ษาไทยควรมีส่วนสนับสนุ นส่ งเสริมให้เกิดการเลื่อนชัน้ ทางสังคม (Social
Mobility) ซึ่งมีส่วนช่วยหยุดยัง้ การส่งต่อความเหลื่อมล้าระหว่างรุ่นประชากร โดยระบบ
การศึกษาจะต้องให้ความช่วยเหลือเป็ นพิเศษกับกลุ่มเด็กที่ขาดโอกาส (Disadvantaged)
เพื่อไม่ให้สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมมาเป็ นปจั จัยหลักในการกาหนดความสาเร็จใน
ชีวติ ของคนในสังคม ทัง้ นี้การศึกษาไทยจะต้องมีการจัดทางเลือกทางการศึกษาทีม่ คี ุณภาพ
เช่นการยกระดับอาชีวศึกษา เพื่อให้ครอบคลุมความสนใจและความสามารถในการเรียนรูท้ ่ี
แตกต่างหลากหลายของเด็กแต่ละคน สะท้อนให้เห็นว่าระบบการศึกษาไทยจาเป็ นจะต้องมี
ความยืดหยุน่ (Flexibility) มากขึน้ ด้วย
144
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นอกจากนี้ระบบการศึกษาไทยจะต้องจัดการศึกษาทีเ่ หมาะสมสาหรับเด็กทีม่ คี วาม


ต้องการพิเศษต่าง ๆ (Special Needs) ตัง้ แต่เด็กที่มคี วามสามารถพิเศษหรือเด็กปญั ญา
เลิศ (Gifted Student) ไปจนถึงเด็กที่มคี วามบกพร่องทางร่างกายหรือทางสติปญั ญา ทา
อย่างไรที่จะจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการในการเรียนรูข้ องเด็กกลุ่มนี้เพื่อให้พวก
เขามีโอกาสในการบรรลุศกั ยภาพของตนเองได้อย่างเท่าเทียมกับคนอื่นๆในสังคม
3. คุณภาพ (Quality)
การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของการศึกษานับว่าเป็ นความจาเป็ นอย่างยิง่
หากประเทศไทยต้องการจะก้าวไปสู่การเป็ นสังคมที่มขี ดี ความสามารถในการแข่งขันและ
ประชาชนสามารถพัฒนาความรู้ ทักษะ และสมรรถนะ เพื่อที่จะบรรลุศกั ยภาพ ตอบสนอง
ความต้องการของประชาชน และก่อให้เกิดประโยชน์กบั ประเทศชาติได้ ดังนัน้ ผูเ้ รียนทุกคน
จึงควรได้รบั การศึกษาทีม่ คี ุณภาพเป็ นเลิศซึง่ ต้องอาศัยการพัฒนาของระบบการศึกษาไปสู่
การเป็ นระบบการศึกษาที่มศี กั ยภาพสูง (High-Performing Education System) เมื่อ
เปรียบเทียบกับประเทศอื่นเป็ นมาตรฐานระดับนานาชาติ ผู้เรียนไทยจะมีผลสัมฤทธิ ์ทาง
การศึกษาที่ดขี ้นึ และทัดเทียมนานาชาติ ทัง้ นี้ ประเด็นสาคัญในการปรับปรุงคุณภาพของ
การศึกษา คือ การที่สถาบันการศึกษามีคุณภาพดี เป็ นแหล่งเรียนรูท้ ่ีรอบด้าน สิง่ เหล่านี้
จะต้อ งท าควบคู่ไ ปกับการพัฒ นาครูค ณาจารย์แ ละบุ ค ลากรทางการศึก ษาที่ม ีคุ ณ ภาพ
มาตรฐาน อีก ทัง้ มีค นเก่ ง คนดีม ีใ จรัก ในวิช าชีพ ครูต่ า งอยากเข้า มาเป็ น ครู โดยป จั จัย
สนับสนุ นสาคัญคือการจัดสรรทรัพยากรที่จะต้องทุ่มเทมาให้วาระการพัฒนาการสอนและ
กระบวนการการเรียนรูเ้ พื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาเป็ นเป้าหมายสาคัญ
4. ประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency)
ทีผ่ ่านมาประเทศไทยถูกจัดอันดับเป็ นหนึ่งในประเทศทีท่ ุ่มเททรัพยากรให้กบั เรื่อง
การศึกษา ทัง้ สัดส่วนงบประมาณด้านการศึกษาต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศหรือ
งบประมาณด้านการศึกษาต่องบประมาณแผ่นดินถือว่าอยูใ่ นอัตราทีส่ ูงและเพิม่ ขึน้ มาเรื่อยๆ
สะท้อนให้เห็นว่าภาครัฐให้ความสาคัญกับประเด็นเรื่องการศึกษา ซึ่งทีผ่ ่านมาก็ช่วยส่งผล
ทาให้เด็กสามารถเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาได้เพิม่ มากขึน้ อย่างมีนัยสาคัญทัง้ ในทุกช่วง
ชัน้ ระดับ
อย่า งไรก็ต ามยัง มีป ระเด็น ที่ส ามารถปรับ ปรุง ให้ดีข้นึ ได้ โดยเฉพาะในมิติข อง
คุณภาพ ดังนัน้ การจัดการศึกษาจาเป็ น จะต้องมีการบริหารที่ดแี ละมีประสิทธิภาพเพื่อให้
งบประมาณทีจ่ ดั สรรไปนัน้ เกิดประสิทธิผลสูงสุด

145
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

5. ตอบโจทย์บริ บททีเ่ ปลีย่ นแปลง (Relevancy)


เป้าประสงค์หลักที่สาคัญอีกประการหนึ่งของระบบการศึกษาไทย คือจะต้องเป็ น
กลไกหลักในการพัฒนากาลังคนเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ทาให้
เกิดผลลัพธ์และผลกระทบทีด่ ตี ่อความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของประเทศ ดังนัน้ การ
วางแผนระบบการศึกษานอกจากจะต้อ งตอบโจทย์บริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกแล้ว
จะต้องมีความสอดคล้องกับวิสยั ทัศน์และทิศทางการพัฒนาประเทศด้วย กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ
โลกของการศึกษาจะต้องมีความเชื่อมต่อกับโลกการทางานมากขึน้ เป็ นการศึกษาเพื่อการ
ด ารงชีว ิต ซึ่ง ต้อ งอาศัย การมีส่ ว นร่ว มของทุ ก ภาคส่ ว นของสัง คมในการบริห ารและจัด
การศึกษา ทัง้ สถาบันการศึกษา หน่วยยงานภาครัฐต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง ภาคเอกชนและภาค
ประชาสังคม
นอกจากนี้ระบบการศึกษาไทยต้องเป็ นส่วนหนึ่งของการเสริมสร้างนวัตกรรมซึง่ จะ
เป็ นปจั จัยสาคัญในการช่วยขับเคลื่อนประเทศไทยให้หลุดพ้นจากกับดักรายได้ประเทศปาน
กลางได้ แต่แน่ นอนการศึกษาคงไม่ใช่เป็ นเพียงการผลิตคนเพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงานเท่านัน้
แต่จะต้องเป็ นเครื่องหล่อหลอมคนไทยให้เป็ นคนทีส่ มบูรณ์และเป็ นพลเมืองโลก (Global
Citizen) ดังนัน้ ประเด็นสาคัญอีกประการหนึ่ง คือ ระบบการศึกษาไทยจะต้องเปิดกว้างต่อ
พลวัตความเปลี่ยนแปลงจากภายนอก ทัง้ ในระดับประเทศ ระดับภูมภิ าค และระดับโลก
ทัง้ นี้จาเป็ นต้องมีการเสริมสร้างความร่วมมือกับนานาประเทศในด้านการศึกษาเรียนรู้ และ
ให้ความสาคัญกับการพัฒนาความรูแ้ ละทักษะสาหรับประชาชนทีจ่ าเป็ นต่อการดารงอยู่ใน
สังคมทีม่ คี วามเป็นโลกาภิวฒ ั น์และมีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมมากขึน้

4.2.1.4 สภาวการณ์ของการศึกษาไทยในปัจจุบนั และประเด็นความท้าทาย


การประเมินสภาวการณ์ ของการศึกษาไทยในปจั จุบนั และเปรียบเทียบกับต่ างประเทศใน
ส่ ว นนี้เ ป็ นการประเมิน เพื่อ ให้เ ห็น ภาพรวมของขีด ความสามารถและความท้า ทายของระบบ
การศึก ษาไทย โดยสังเคราะห์ขอ้ มูลดึงตัวชี้วดั ที่สาคัญจากแหล่งต่าง ๆ เช่น UNESCO OECD
งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องด้านการศึกษาของสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา เป็นต้น
สาระสาคัญของสภาวการณ์ของการศึกษาไทยในปจั จุบนั แบ่งออกเป็ น 3 ประเด็นหลัก ได้แก่
(ภาพที่ 44)

146
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

1) ประเด็นด้านโอกาสทางการศึกษา ซึง่ ครอบคลุมเรื่องการเข้าถึง (Access) และความ


เท่าเทียม (Equity) โดยดัชนีชว้ี ดั ทีส่ าคัญ ได้แก่
- จานวนปีทใ่ี ช้ในการเรียน
- อัตราการเข้าเรียน
- เด็กอยูน่ อกโรงเรียน
2) ประเด็นด้านคุณภาพ โดยดัชนีชว้ี ดั ทีส่ าคัญ ได้แก่
- O-NET, GAT, PAT
- PISA
- TIMSS
- ผลการจัดอันดับ (Ranking)
3) ประสิ ทธิ ภาพการจัดการศึกษา โดยดัชนีชว้ี ดั ทีส่ าคัญ ได้แก่
- ดัช นี ช้ีว ัด ด้า นครูแ ละสภาพแวดล้อ มการเรีย นรู้ อาทิ อัต ราส่ ว นนัก เรีย นต่ อ ครู
จานวนชัวโมงเรี่ ยนของนักเรียนต่อปี อัตราเงินเดือนครู เป็นต้น
- งบประมาณและค่าใช้จา่ ยทางการศึกษา
- อัตราการซ้าชัน้
- อัตราการสาเร็จการศึกษา
- อัตราการเรียนต่อระดับอุดมศึกษา

147
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 44: สภาวการณ์ของการศึกษาไทยกับการเชื่อมโยงกับประเด็นปัญหาของประเทศไทยในปัจจุบนั

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

148
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 45: ความท้าทายของระบบการศึกษาไทยในปัจจุบนั

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

1) ประเด็นด้านโอกาสทางการศึกษา
ประเด็นด้านโอกาสทางการศึกษา ครอบคลุมเรือ่ งการเข้าถึง (Access) และความ
เท่าเทียม (Equity)
ประเทศไทยถือว่าประสบความสาเร็จในการแก้ไขปญั หาเรื่องของโอกาสในการเข้าเรียน
โดยปจั จุบนั มีอตั ราการเข้าเรียนมีแนวโน้ มดีขน้ึ ในทุกระดับการศึกษา สะท้อนได้จากสถิตอิ ตั ราการ
เข้าเรียนของไทยในระดับมัธยมศึกษาช่วง 4 ทศวรรษ จากประมาณร้อยละ 18 ในปี ค.ศ. 1970 เพิม่
เป็ นร้อยละ 80 ในปี ค.ศ. 2010 นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในกลุ่มอาเซียนแล้วถือว่า
โอกาสในการเข้ารับการศึกษาระดับอุดมศึกษาของคนไทยอยูใ่ นระดับทีด่ ที ส่ี ุด

149
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 46: อัตราการเข้าเรียนของไทยเมื่อเทียบกับประเทศในอาเซียนอัตราการเข้าเรียนใน


ระดัมธั ยมศึกษา
100
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0
1970 1972 1974 1976 1978 1980 1982 1984 1986 1988 1990 1992 1994 1996 1998 2000 2002 2004 2006 2008 2010

Indonesia Malaysia Philippines Thailand

ทีม่ า: UNESCO Education Statistics

ภาพที่ 47: อัตราเข้าเรียนในระดับอุดมศึกษา


60

50

40

30

20

10

0
1970 1972 1974 1976 1978 1980 1982 1984 1986 1988 1990 1992 1994 1996 1998 2000 2002 2004 2006 2008 2010

Indonesia Malaysia Philippines Thailand Viet Nam

ทีม่ า: UNESCO Education Statistics

150
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

หากพิจารณาในเรือ่ ง โอกาสทางการศึกษาจากสถิตขิ องจานวนนักเรียนทีต่ ้องออกจากระบบ


การศึกษากลางคันจากข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (สพฐ.) พบว่า
แนวโน้มของนักเรียนออกกลางคันลดลงมาตลอดจากจานวนนักเรียนที่ต้องออกกลางคันประมาณ
แสนคนต่อปี ในช่วงปี พ.ศ. 2548-2549 หรือร้อยละ 1.31 ในปี พ.ศ. 2548 จานวนนักเรียนทีอ่ อก
กลางคันลดลงอย่างต่อเนื่องจนกระทังในปี
่ 2554 มีนักเรียนที่ต้องลาออกกลางคันเพียงจานวน
28,833 คน จากจานวนนักเรียน 6,417,136 คน หรือร้อยละ 0.44 (ตารางที่ 10)
สาเหตุของการออกกลางคันแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มสาเหตุใหญ่ ๆ คือ
- สาเหตุจากปจั จัยทางด้านครอบครัว ได้แก่ ปญั หาครอบครัว อพยพตามผูป้ กครอง
และประเด็นเรือ่ งทุนทรัพย์ ทัง้ กรณีฐานะยากจนและต้องหาเลีย้ งครอบครัว
- สาเหตุมาจากตัวนักเรียนเองและสาเหตุมาจากโรงเรียน ได้แก่ กรณีผเู้ รียนมีปญั หา
ในการปรับตัว สมรสแล้ว จากการตัง้ ครรภ์ไ ม่พ ึง ประสงค์ เจ็บป่วย / อุ บตั ิเ หตุ
ต้องคดีถูกจับ
จากสถิตขิ อ้ มูลทางการศึกษาปีการศึกษา 2555 ทีไ่ ด้จดั เก็บข้อมูลถึงวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.
2555 โดย สานักงานคณะกรรมการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาพบว่า นักเรียนทีอ่ อก
กลางคันจานวน 28,333 คน หรือ ร้อยละ 0.44 จากนักเรียนตัง้ แต่ระดับประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึง
มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ในโรงเรียนสังกัด สพฐ.จานวน 6,417,136 คน สาเหตุทอ่ี อกกลางคัน ได้แก่ ฐานะ
ยากจน 1,543 คน มีปญั หาครอบครัว 3,127 คน สมรสแล้ว 1,827 คน มีปญั หาในการปรับตัว 4,210
คน ต้องคดีถูกจับ 52 คน เจ็บป่วย/อุ บตั ิเหตุ 564 คน อพยพตามผู้ปกครอง 5,163 คน หาเลี้ยง
ครอบครัว 1,979 คน และกรณีอ่นื ๆ 10,323 คน

ตารางที่ 10: จานวนร้อยละของนักเรียนออกกลางคันระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย


ปี การศึกษา 2548 – 2552
ปี การศึกษา จานวนนักเรียนต้นปี จานวนนักเรียนออกกลางคัน ร้อยละ
(คน) (คน)
2554 6,417,136 28,833 0.44
2552 6,850,181 47,809 0.7
2551 6,982,189 109,422 1.57
2550 7,272,532 122,130 1.68
2549 7,421,684 110,881 1.49
2548 7,560,896 99,255 1.31
ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ

151
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 48: ร้อยละของนักเรียนออกกลางคันระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย


3

2.5

1.5

0.5

0
2550 2551 2552 2553 2554

ประถมศึกษา ม.ต้น ม.ปลาย เฉลีย่

ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ

เด็กที่ไม่มีโอกาสทางการศึกษากลุ่มที่ ต้องให้ ความสาคัญเป็ นอย่างยิ่ ง คือ กลุ่มเด็กที่


อยู่นอกโรงเรียน จากสถิตทิ ท่ี างสถาบันสถิตแิ ห่งยูเนสโกหรือ UIS ทีไ่ ด้ประมาณการเด็กทีอ่ ยู่นอก
โรงเรียนระดับประถมศึกษาของไทยมีจานวนมากถึง 586,000 คน หรืออัตราเด็กทีอ่ ยู่นอกโรงเรียน
(Out-of-School Chridren) มีค่าร้อยละ 10 (เท่ากับค่าเฉลี่ยของโลก) สาหรับในระดับมัธยมศึกษา
ประมาณการว่าประเทศไทยมีเด็กนอกโรงเรียนมีจานวน 280,000 คน หรือประมาณร้อยละ 9 ขณะที่
ค่าเฉลีย่ ทัวโลกเท่
่ ากับร้อยละ 17
ความเหลื่อมลา้ ทางการศึกษาในประเทศไทย
ปญั หาความเหลื่อมล้าเป็ นปญั หาสังคมทีม่ คี วามสาคัญมากปญั หาหนึ่งของประเทศไทย โดย
ในด้านทีเ่ กีย่ วข้องกับการศึกษาแบ่งออกได้เป็น 2 มิติ
ประการแรก ความเหลื่อมล้าของโอกาสทางการศึกษาในประเทศไทย
ประการทีส่ อง ความเหลื่อมล้าด้านค่าจ้างทีแ่ ท้จริง
 ความเหลือ่ มล้าของโอกาสทางการศึกษาในประเทศไทย
การศึกษาของ Dilaka Lathapipat (2012) ได้ชใ้ี ห้เห็นถึงความเหลื่อมล้าของโอกาสทาง
การศึกษาของประเทศไทยในระดับอุดมศึกษามากขึ้น ขณะที่ความเหลื่อมล้าในเรื่องโอกาสทาง
การศึกษาระดับมัธยมปลายมีลดลง

152
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- ระดับมัธยมปลาย: อัตราการเรียนต่อหลังจากจบการศึกษาภาคบังคับมีแนวโน้ม
สูงขึน้ มาก นักเรียนทีม่ าจากกลุ่ มครอบครัวยากจนทีส่ ุด (Quartile 1) ทีส่ ามารถเข้า
เรียนมัธยมปลายมีเพียงร้อยละ 6.7 ในปี 2529 เพิม่ ขึน้ เป็ นร้อยละ 53.7 ในปี 2552
ส่วนนักเรียนทีม่ าจากกลุ่มครอบครัวร่ารวย (Quartile 4) มีสดั ส่วนการเข้าเรียนต่อ
เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 44.8 เป็ นร้อยละ 79.2 ส่งผลให้ช่องว่างในการเรียนต่อในระดับ
มัธยมปลายระหว่างเด็กสองกลุ่มนี้จงึ ลดลงจากร้อยละ 38.1 เหลือร้อยละ 25.5 ซึ่ง
แสดงถึงความเหลื่อมล้าทีล่ ดลงอย่างต่อเนื่อง
- ระดับอุดมศึ กษา: ความเหลื่อมล้าของโอกาสทางการศึกษาของประเทศไทยใน
ระดับอุดมศึกษาเพิม่ ขึน้ ดังสะท้อนได้จากข้อมูลการศึกษาของ Lathapipat (2012)
ชีใ้ ห้เห็นช่องว่างการเรียนต่อระหว่างเด็กทีม่ าจากกลุ่มครอบครัวทีร่ วยทีส่ ุด กับกลุ่ม
ครอบครัวที่จนที่สุด เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 18.5 ในปี 2529 เป็ นร้อยละ 42.5 ในปี
2552 หรือเพิม่ ขึน้ มากกว่าหนึ่งเท่าตัว
Dilaka Lathapipat (2012) ชี้ให้เห็นประเด็นที่น่าสนใจว่า ความเหลื่อมล้าของโอกาสทาง
การศึก ษาของประเทศไทยในระดับอุดมศึกษาเพิม่ ขึ้นอย่างก้าวกระโดด เกิดขึ้นหลังจากปี พ.ศ.
2539 หรือหลังจากที่มกี ารจัดตัง้ กองทุนเงินให้กู้ยมื เพื่อการศึกษา (กยศ.) เพื่อการศึกษาต่อตัง้ แต่
ระดับชัน้ มัธยมปลาย จนถึงระดับปริญญาตรีในประเทศขึน้ มาแล้วแม้ว่าทีผ่ ่านมาภาครัฐจะมีนโยบาย
เรียนฟรีและเงินกู้ยมื เพื่อการศึกษาแต่หลักฐานทีผ่ ่านมากลับชีช้ ดั ว่ามีเด็กยากจนจานวนน้อยมากที่
สามารถก้ า วผ่ า นเข้า ไปเรีย นในระดับ อุ ด มศึก ษาได้ ดัง นั ้น การอุ ด หนุ น ค่ า เล่ า เรีย นใน
สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและการอุดหนุ นอื่น ๆ จึงให้ประโยชน์ กบั เด็กจากครอบครัวที่มรี ายได้ดี
มากกว่าเด็กทีด่ อ้ ยโอกาสอย่างปฏิเสธไม่ได้
ภาพที่ 49: สัดส่วนการเข้าเรียนต่อในระดับมัธยมปลายของเยาวชน อายุ 16-19 ปี แบ่งตามกลุ่มรายได้
ครัวเรือน

ทีม่ า: Dilaka Lathapipat (2012)


153
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 50: สัดส่วนการเข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาของเยาวชนอายุ 19-24 ปี แบ่งตามกลุ่มรายได้


ครัวเรือน

ทีม่ า: Dilaka Lathapipat (2012)

 ความเหลือ่ มล้ าด้านค่าจ้างทีแ่ ท้จริ ง


นอกเหนือจากความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงการศึกษาแล้ว ในประเทศไทยยังมีความเหลื่อม
ล้าด้านค่าจ้างที่แท้จริงอีกด้วย ดังสะท้อนจากผลการศึกษาของการศึกษาของสถาบันวิจยั เพื่อการ
พัฒนาประเทศไทย (2554) ทีช่ ว้ี ่าส่วนต่างค่าจ้าง (Wage Premium) ระหว่างคนจบมหาวิทยาลัยกับ
มัธยมปลายมีแนวโน้มสูงขึน้ มากโดยสาเหตุเนื่องมาจากผลของการขยายตัวของอุปสงค์ต่อแรงงานที่
จบมหาวิทยาลัยในช่วงที่เศรษฐกิจเติบโตสูง เมื่อการเรียนมหาวิทยาลัยให้ผลตอบแทนสูงกว่าการ
ทางานหลังจบมัธ ยมปลายหรือ การเรียนอาชีว ศึกษาผู้เรียนส่ว นใหญ่จงึ เลือ กที่จะมุ่งศึกษาต่ อใน
ระดับอุดมศึกษา
นอกจากนี้ การศึก ษาของสถาบัน วิจยั เพื่อ การพัฒนาประเทศไทย (2554) ได้ศึกษา
เปรียบเทียบผลตอบแทนจากค่าจ้างต่อชัวโมง ่ (ซึ่งรวมโบนัส เงินล่วงเวลา และผลประโยชน์อ่นื ๆ)
ของลูกจ้างทีม่ กี ารศึกษาระดับต่าง ๆ เทียบกับค่าจ้างต่อชัวโมงของผู
่ ไ้ ม่มกี ารศึกษา ในช่วงเวลา 3 ปี
คือ พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2539 และพ.ศ. 2553 ผลการศึกษามีขอ้ ค้นพบสาคัญ คือ
(1) ผู้จบการศึกษามหาวิทยาลัย (เรียนมากกว่า 16 ปี ) จะมีอตั ราตอบแทนสูงกว่าผู้จบ
ประถม และมัธยม เพราะ Wage Premium สาหรับผูจ้ บมหาวิทยาลัย (มากกว่า 16
ปี ) ในปี พ.ศ. 2529 และ 2539 เฉลี่ยร้อยละ 700 ของค่าจ้างของผู้ไม่ได้เรียน ส่วน
ค่าจ้างของผูจ้ บ ปวช. สูงเกือบร้อยละ 500 ของค่าจ้างไม่ได้เรียน

154
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

(2) อัตราผลตอบแทนจากการเรียนมัธยม และมหาวิทยาลัยลดลงมาก ระหว่างปี พ.ศ.


2529 และ 2553 โดยเส้น Wage Premium ในปี พ.ศ. 2553 ต่ ากว่าปี 2529 และ ในปี
พ.ศ. 2539 คนจบมหาวิทยาลัยมีค่าจ้างสูงกว่าคนไม่ได้เรียน เพียงร้อยละ 370 เทียบ
กับร้อยละ 700 ในปี พ.ศ. 2529 Wage Premium ของคนจบ ปวช. และมัยธยมปลาย
ในปี พ.ศ. 2553 ก็ต่ ากว่าปี พ.ศ. 2529 และ 2539 เช่นกัน Wage Premium ของ
การศึก ษาที่ล ดลงนี้ เ กิด ขึ้น หลัง ปี พ.ศ. 2539 ซึ่ง เป็ น ช่ ว งที่ม ีก ารขยายโอกาส
การศึกษา
ภาพที่ 51: ค่าจ้างแรงงานที่มีการศึกษาระดับต่างๆ เทียบกับผูท้ ี่ไม่ได้เรียน (Wage Premium)

ทีม่ า: สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2554)

คณะวิจยั ได้รวบรวมข้อมูลค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยปี พ.ศ. 2555 จาแนกตามการศึกษา พบว่า


กรณีทแ่ี รงงานไม่มกี ารศึกษามีค่าจ้างแรงงานเฉลีย่ 5,449 บาทต่อเดือน ขณะทีค่ ่าจ้างแรงงานทีจ่ บ
ต่ ากว่าระดับประถม ประถมศึกษา และมัธยมต้นอยู่ทช่ี ่วง 6,260 ถึง 7,599 บาทต่อเดือนตามลาดับ
ทัง้ นี้ เป็ นที่น่าสังเกตว่าค่าจ้างแรงงานของผู้จบการศึ กษาระดับมัธยมปลายสายสามัญนัน้ มีค่าจ้าง
เฉลี่ยเพียง 8,583 บาทต่อเดือนซึ่งต่ ากว่าแรงงานที่จบ ปวช. หรือ ปวส. ที่ได้ค่าจ้างเฉลี่ยในหลัก
หมืน่ คือปวช.มีค่าจ้างเฉลีย่ 11,919 บาทต่อเดือนและ ปวส. มีค่าจ้างเฉลีย่ 12,245 บาทต่อเดือน
สาหรับแรงงานที่จบการศึก ษาระดับปริญ ญาตรีข้นึ ไปมีค่ าจ้างแรงงานเฉลี่ยที่เพิ่มสูงขึ้น
มากกว่าอย่างเห็นได้ชดั ซึง่ น่ าจะเป็ นปจั จัยบ่งชีไ้ ด้อย่างชัดเจนว่าเป็ นปจั จัยดึงดูดให้นักเรียนเลือก
ศึกษาต่อจนจบระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า

155
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 52: ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ยปี พ.ศ. 2555 จาแนกตามการศึกษา

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยอาศัยข้อมูลจากสานักงานสถิตแิ ห่งชาติและ
ธนาคารแห่งประเทศไทย

นอกจากนี้ คณะวิจยั ได้คานวณอัตราค่าจ้างจาแนกปีการศึกษา โดยให้กรณีไม่มกี ารศึกษาปี


2544 เป็ นปีฐาน ซึ่งผลการคานวณชี้ให้เห็นว่า ค่าจ้างแรงงานของแรงงานที่ไม่มกี ารศึกษาในปี
2556 เพิม่ สูงขึน้ จากปี 2544 ประมาณร้อยละ 160 สาหรับค่าจ้างแรงงานของผูจ้ บมัธยมศึกษาตอน
ปลายสายสามัญ ต่ ากว่าค่าจ้างแรงงานของกลุ่ มผู้จบ ปวช. ปวส. และในช่ว งประมาณสิบปี มานี้
ค่าจ้างแรงงานของผู้จบมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเพิม่ ขึน้ อย่างมาก และสังเกตได้ว่าอัตรา
ค่าจ้างของกลุ่มผูไ้ ม่มกี ารศึกษาขยับเพิม่ ขึน้ มาใกล้มาก ส่วนค่าจ้างแรงงานของผูจ้ บการศึกษาระดับ
ปริญ ญาตรีม ีอ ัต ราค่ า จ้า งสูง กว่ าผู้ไ ม่จบการศึก ษาเกือ บร้อ ยละ 800 ขณะที่ค่ า จ้า งแรงงานผู้จ บ
การศึกษาระดับปริญญาโทสูงกว่าผูไ้ ม่จบการศึกษาเกือบร้อยละ 1,500

156
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 53: อัตราค่าจ้างจาแนกปี การศึกษา โดยให้กรณี ไม่มีการศึกษาปี 2544 เป็ นปี ฐาน

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยอาศัยข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทย

การเพิ ม่ โอกาสทางการศึกษา
ภาพรวมของจานวนผูท้ ม่ี โี อกาสได้รบั การศึกษาของประเทศไทยในปจั จุบนั พบว่ามีจานวน
20,607,131 คน แบ่งเป็ นผูท้ ศ่ี กึ ษาอยู่ในระบบโรงเรียน 12,364,525 คน ศึกษานอกระบบโรงเรียน
5,765,317 คน และอยูใ่ นการศึกษาของสงฆ์ (รวมคฤหัสถ์) 2,477,289 คน

จานวนนิ สิต นักศึกษา จาแนกตามประเภทการศึกษา ปี การศึกษา 2555

2,477,289
(12%)

รวมในระบบโรงเรียน

5,765,317 รวมนอกระบบโรงเรียน
(28%) 12,364,525 รวมการศึกษาของสงฆ์
(60%)

ทีม่ า: สานักวิจยั และพัฒนาการศึกษา สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2556)

157
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

อย่ า งไรก็ ต าม จากข้ อ มู ล สถิ ติ ข องส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขัน้ พื้ น ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ พบว่ายังมีจานวนเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษาอยู่อกี เป็ นจานวนมาก โดยในปี
2555 มีจานวนถึง 4,323,142 คน ซึง่ สาเหตุหลักของปญั หาดังกล่าวมาจากความยากจน
สอดคล้องกับการสารวจของสานักงานสถิตแิ ห่งชาติพบว่า อัตราการเข้าเรียนของนักเรียน
ไทยในระดับมัธยมขึน้ ไป (อายุ 12 ปี ขน้ึ ไป) ยังอยู่ในระดับต่ า (ภาพที่ 54) และหากพิจารณาถึง
สาเหตุทป่ี ระชากรไม่เข้าเรียน จะพบว่า ในปี 2550 ประชากรทีม่ อี ายุระหว่าง 5-30 ปีทไ่ี ม่เข้าเรียน
โดยไม่รวมกลุ่มทีต่ อบว่า “จบการศึกษาแล้ว” (มีจานวนทัง้ สิน้ 4,956,902 คน) ส่วนใหญ่มสี าเหตุ
เนื่องมาจาก 1) ไม่มที ุนทรัพย์เรียน หรือ 2) ต้องหาเลีย้ งตนเองหรือครอบครัว ทัง้ 2 กลุ่มนี้คดิ เป็ น
ถึงสัดส่วนถึงร้อยละ 76 ของผู้ไม่เข้าเรียนทัง้ หมด (ไม่นับผู้จบการศึกษาแล้ว) (ภาพที่ 55) ทัง้ 2
สาเหตุน้มี ปี จั จัยพืน้ ฐานเดียวกันคือการขาดทุนทรัพย์ของครอบครัว โดยสาเหตุแรกอาจตีความได้ว่า
เป็ นการขาดปจั จัยทุนทรัพย์ท่ใี ช้ในการเรียนโดยตรง ส่วนสาเหตุท่สี องคือปจั จัยจากค่าเสียโอกาส
จากการต้องสูญเสียรายได้เมือ่ เข้าเรียน คาถามทีน่ ่าสนใจคือเหตุใดการขาดทุนทรัพย์ย งั คงเป็ นปจั จัย
สาคัญของการไม่เข้าเรียน ทัง้ ๆ ทีใ่ นปจั จุบนั ผูเ้ รียนสามารถเรียนได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย (ผ่าน
โครงการเรียนฟรี) หรือสามารถกูย้ มื เงินเพื่อการศึกษา (ผ่านโครงการกูย้ มื เพื่อการศึกษา) แล้วก็ตาม

158
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 54: อัตราการเข้าเรียนของเด็กและเยาวชนอายุ 6-24 ปี ปี 2551

ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ

ภาพที่ 55: สาเหตุของการไม่เข้าเรียนของประชากรอายุ 5-30 ปี ปี 2550

ทีม่ า : สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ

159
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การศึกษาในส่วนนี้จะเป็ นวิเคราะห์สาเหตุของปญั หาดังกล่าว รวมทัง้ วิเคราะห์สภาพความ


รุนแรงของปญั หา และทางเลือกนโยบายในการแก้ปญั หา โดยคณะผูว้ จิ ยั ได้นาทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
เชิงพฤติกรรมมาอธิบาย โดยได้ตงั ้ ข้อสมมติว่ามนุ ษย์มพี ฤติกรรมในการแสวงหารายได้ตลอดชีพ
สูงสุด (Lifetime Income Maximization) บนพื้นฐานนี้ จากการวิ เคราะห์จะพบว่าคนส่วนใหญ่มี
แนวโน้ มเลื อกที จ่ ะศึ กษาต่ อ มากกว่ าที จ่ ะไม่ ศึกษาต่ อ เนื อ่ งจากเป็ นทางเลื อกที ใ่ ห้ รายได้
ตลอดชี พ สู ง กว่ า ทัง้ นี้ ก ารวิเ คราะห์ส มมติใ ห้ ก ารตัด สิน ใจของแต่ ล ะบุ ค คลไม่ ส่ ง ผลในการ
เปลี่ยนแปลงอัตราค่าจ้างแรงงานในภาพรวม (ในความเป็ นจริงหากมีคนเรียนต่อจานวนมาก จะ
ส่ งผลในการเพิ่มอุ ปทานของผู้จบการศึกษาในระดับสูง จนทาให้อ ัต ราค่ าจ้างลดลง ซึ่งจะส่ งผล
กระทบย้อนกลับต่อการตัดสินใจเรียนต่ออีกทอดหนึ่ง)
เราสามารถอธิบายพฤติกรรมการแสวงหารายได้ตลอดชีพสูงสุดได้ดงั ต่อไปนี้ จากภาพที่ 56
ซึง่ เปรียบเทียบรายได้จากการประกอบอาชีพและรายจ่ายทางการศึกษา ระหว่างกรณีทไ่ี ม่ได้ศกึ ษา
ต่อในระดับสูง (แสดงด้วยเส้นหนา) และกรณีทม่ี กี ารศึกษาต่อ (แสดงด้วยเส้นบาง) เมื่อพิจารณาจาก
รูป ในช่ว งแรกจะเห็นว่ า การที่นาย ก ตัด สิน ใจเข้า เรียนจะทาให้นาย ก ขาดรายได้ใ นช่ ว งเวลา
ดังกล่าว (Schooling Years) รวมทัง้ ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเรียนในช่วงเวลาเดียวกัน ต่อมาเมื่อ
นาย ก เรียนจบจึงเข้าสู่อาชีพและเริม่ มีรายได้ไปจนตลอดชีวติ รวมทัง้ ค่าใช้จ่ายในการศึกษาก็จะ
หมดไป แต่หากนาย ก ตัดสินใจทีจ่ ะเรียนต่อในระดับสูงต่อไป ช่วงเวลาของการขาดรายได้และต้อง
เสียค่าใช้จ่ายในการเรียนของนาย ก ก็จะยาวนานขึน้ อย่างไรก็ตามหลังสาเร็จการศึกษาในระดับที่
สูงขึน้ นาย ก ย่อมจะได้รบั อัตราค่าจ้างทีส่ งู ขึน้ ตามไปด้วย (รายได้ตามเส้นบางสูงกว่าเส้นหนา)
เมื่อนารายได้ตลอดชีพของนาย ก มารวมกันโดยมีการคิดอัตราลดของรายได้ตามช่วงเวลา
ต่ างๆ แล้ว หัก ด้ว ยค่ า ใช้จ่า ยในการเรียนจะได้เ ป็ นรายได้สุ ทธิต ลอดชีพของนาย ก รายได้สุ ท ธิ
ดังกล่าวจะเป็ นตัวแปรสาคัญที่บ่งชี้ว่านาย ก จะตัดสินใจเข้าเรียนในระดับทีส่ ูงขึน้ มากน้อยเพียงไร
ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อรายได้ตลอดชีพสามารถสรุปได้ดงั ต่อไปนี้
1) อัตราค่าจ้างหลังจบการศึกษาของแต่ละระดับการศึกษา รวมทัง้ อัตราการเพิม่ ของอัตรา
ค่าจ้างในช่วงการทางานด้วย อันเนื่องมาจากความก้าวหน้าของอาชีพ ซึง่ อาจมีความ
แตกต่างกันระหว่างระดับการศึกษาต่าง ๆ
2) ระยะเวลาและค่าใช้จา่ ยทีใ่ ช้ไปของการศึกษาในระดับต่าง ๆ ซึง่ มีผลต่อช่วงเวลาของ
การขาดรายได้ และทรัพยากรการเงินทีต่ อ้ งสูญเสียไป
3) อัตราดอกเบีย้ ซึง่ ใช้เป็นอัตราคิดลด (Discount Rate)12 ทีส่ ่งผลต่อมูลค่าของรายได้
ตลอดชีพ

12
อัตราคิดลด คือ อัตราทีใ่ ช้คานวณในการนามูลค่าอนาคตย้อนกลับมาเป็ นมูลค่า ยิง่ อัตราคิดลดยิง่ สูง มูลค่า
ปจั จุบนั ก็จะยิง่ น้อย
160
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 56: อธิ บายพฤติ กรรมการแสวงหารายได้ตลอดชีพสูงสุด

จากข้อมูลอัต ราค่ าจ้างแรงงานของผู้จบการศึกษาในระดับต่ าง ๆ จะสามารถค านวณหา


รายได้ตลอดชีพของผู้จบการศึกษาในระดับต่าง ๆ โดยในการคานวณดังกล่าว คณะผู้วจิ ยั มิได้นา
ค่าใช้จ่ายในการเรียนมาหักออก เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการเรียนมีค่าน้ อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับ
กระแสรายได้ทงั ้ หมด จึงไม่ส่งผลต่อรายได้ตลอดชีพ จะเห็นได้ว่า การศึกษาต่อในระดับที่สูงขึน้ จะ
สร้างรายได้ตลอดชีพที่สูงกว่า คาถามสาคัญที่ตามมาคือ หากข้อสมมติของพฤติกรรมการแสวงหา
รายได้ตลอดชีพ สูงสุดเป็ นจริง เหตุ ใดจึงมีคนจานวนมากตัดสินใจที่จะไม่เรียนต่อ ผลการสารวจ
ข้างต้นชีใ้ ห้เห็นว่าการขาดทุนทรัพย์เ ป็ นปญั หาสาคัญ ซึง่ การวิเคราะห์ขา้ งต้นได้พจิ ารณาถึงต้นทุน
ในการเรียนต่อไว้แล้วแต่ผลยังปรากฏว่าการเรียนต่อสร้างรายได้ตลอดชีพทีส่ งู กว่า

161
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 57: ค่าตอบแทนพนักงานใหม่ภาคเอกชนปี 2553 (บาท/เดือน)

ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ

ภาพที่ 58: รายได้ตลอดชีพจาแนกตามระดับการศึกษา (บาท)

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)


หมายเหตุ: สมมติให้อตั ราการเพิม่ ของเงินเดือนเท่ากันหมดในทุกระดับการศึกษา โดยมีค่าเท่ากับร้อยละ 5.3 ต่อ
ปี 13 อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 1.514 อายุเกษียณเท่ากับ 60 ปี ระยะเวลาในการศึกษาของปริญญาโท/เอก
เฉลีย่ 4 ปี

ในทีน่ ้ีหน่ วยในการวิเคราะห์จะเปลีย่ นจากปจั เจกมาเป็ นครอบครัว เนื่องจากทรัพยากรทีใ่ ช้


ในการเรียนมักจะมาจากครอบครัว รวมทัง้ ประเด็นการต้องหาเลี้ยงชีพเป็ นปจั จัยที่รวมปจั จัยด้าน
ครอบครัวเอาไว้ดว้ ย จากภาพที่ 59 จะเห็นได้ว่า ในช่วงเวลาของการเรียน การออมของครัวเรือนจะ
ลดลงเรื่อย ๆ จนอาจถึงระดับทีต่ ้องก่อหนี้เนื่องจากการขาดรายได้จากการไม่ได้ประกอบอาชีพและ
ภาระค่าใช้จ่ายในการเรียน จนเมื่อหยุดเรียนครัวเรือนจึงเริม่ มีรายได้เพิม่ ขึน้ พร้อมกับค่าใช้จ่ายใน

13
เท่ากับค่าเฉลีย่ ของอัตราการเพิม่ ของค่าจ้างแรงงานในช่วงปี 2546-2555
14
เท่ากับค่าเฉลีย่ ของอัตราดอกเบีย้ เงินฝากในช่วงปี 2546-2555
162
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การเรีย นหมดลง การออมของครัว เรือ นจึงกลับเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ต าม ในสภาพความเป็ นจริง


ครัวเรือนไม่สามารถก่อหนี้อย่างไม่จากัด แต่จะสามารถก่อหนี้ได้ในระดับเพดานหนึ่ง (ขึ้นอยู่กบั
สภาพแวดล้อมทางการเงินของประเทศ) ดังนัน้ ในขณะทีก่ าลังศึกษาอยู่ ครัวเรือนอาจก่อหนี้ถงึ ระดับ
เพดานดังกล่าวจนไม่ส ามารถก่ อ หนี้เ พิ่มขึ้นได้ จึงทาให้ต้อ งยุติการเรียนลง (อาจเป็ นกรณีอ อก
กลางคันหรือไม่เข้าเรียนต่อ) จึงจะเห็นว่า ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อการตัดสินใจเรียนต่อมิได้เป็ นเพียงปจั จัย
ด้านผลตอบแทนจากการเรียน แต่ยงั มีปจั จัยด้านข้อจากัดด้านสภาพคล่องของครัวเรือนด้วย
จากการวิเคราะห์ขา้ งต้นสามารถสรุปได้ว่า ปจั จัยสาคัญที่ทาให้ผเู้ รียนไม่สามารถศึกษาต่อ
หรือไม่สามารถลงทุนเพื่อเข้าถึงการศึกษาที่มคี ุ ณภาพสูงขึ้น เนื่องจากข้อจากัดด้านสภาพคล่อ ง
(Liquidity Constraint) ซึง่ เกิดจากการไม่สามารถก่อหนี้ได้เกินกว่าระดับเพดานหนึ่ง ข้อสรุปนี้มนี ั ย
เชิงนโยบายว่า การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาจ าเป็ นจะต้อ งเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงเงินทุน ไม่
เพียงแต่เรื่องค่าใช้จ่ายในการเรียนหรือค่าครองชีพของผูเ้ รียนในขณะเรียนเท่านัน้ แต่ควรขยายการ
เข้าถึงเงินทุนให้ครอบคลุ มค่ าเสียโอกาสจากการต้องสูญ เสียรายได้ในขณะเรียนของผู้เ รียนและ
ครอบครัวด้วย โดยผูเ้ รียนจะมีความสามารถในการใช้คนื เงินดังกล่าวได้ในอนาคต เนื่องจากมีอตั รา
ค่าจ้างทีส่ ูงขึน้ ดังนัน้ หากมีการพัฒนาเครื่องมือทางการเงินทีด่ พี อ จะทาให้มผี เู้ รียนต่อเพิม่ ขึน้ โดย
ไม่จาเป็นต้องใช้เงินในการอุดหนุน แต่เป็นการใช้เงินเพื่อเสริมสภาพคล่ องเท่านัน้
ภาพที่ 59: อธิ บายพฤติ กรรมการแสวงหารายได้ตลอดชีพสูงสุดเมื่อมีขอ้ จากัดสภาพคล่อง

163
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

คณะผู้วจิ ยั ได้ทดลองจาลองสถานการณ์ โดยสมมติให้ครัวเรือนตัวแทน (Representative


Household) มีรายได้ 15,600 บาทต่อเดือน (เท่ากับอัตราค่าจ้างขัน้ ต่ า โดยมีผทู้ างานในครัวเรือน 2
คน) และก าหนดรายจ่า ยต่ อ เดือ นของครัว เรือ น โดยทดลองปรับ เปลี่ย นรายจ่า ยต่ อ เดือ นของ
ครัว เรือ นเพื่อ ให้ค รัว เรือ นมีห นี้ ณ ช่ว งเวลาที่บุต รหลานหรือ ผู้เ รียนในครอบครัว ถึงวัยที่เ ริม่ จะ
สามารถสร้างรายได้ เท่ากับหนี้เฉลีย่ ต่อครัวเรือนที่มหี นี้ในปจั จุบนั ซึง่ เท่ากับ 241,760 บาท (ในปี
2554) ซึง่ จะทาให้ได้ว่าครัวเรือนมีรายจ่าย 17,220 บาทต่อเดือน ผลการจาลองสถานการณ์พบว่า
หากต้องการผ่อนคลายข้อจากัดด้านสภาพคล่องเพื่อให้สมาชิกในครัวเรือนสามารถเรียนต่อได้จนจบ
ปริญญาตรี (ระยะเวลาเรียน 19 ปี) จะต้องทาให้ครัวเรือนสามารถก่อหนี้ได้มากกว่า 5.1 แสนบาท
หรือครัวเรือนสามารถกู้เพิม่ ได้ 2.6 แสนบาท โดยครัวเรือนจะมีความสามารถในการหารายได้คนื ได้
ภายในระยะเวลาเพียง 2 ปีหลังจบการศึกษา และเงินออมสุดท้ายของครัวเรือนอยู่ท่ี 17.9 ล้านบาท
(คิดในรูปมูลค่าปจั จุบนั ) ดังภาพที่ 60
หากเปรียบเทียบกับกรณีท่สี มมติใ ห้ค รัว เรือ นมีเ พดานก่ อ หนี้ได้เ พียง 3 แสนบาท หรือ
ครัวเรือนสามารถกู้เพิม่ ได้ประมาณ 6 หมื่นบาท ระยะเวลาการเรียนที่ผู้เรียนสามารถเรียนได้จะ
ลดลงเหลือ 13 ปี (จบ ม.4 หรือ ปวช.1) ระยะเวลาทีค่ รัวเรือนสามารถหารายได้เท่ากับต้นทุนทีเ่ สีย
ไปภายในเวลาเท่ากับ 3 ปี หลังจบการศึกษา และเงินออมสุดท้ายของครัวเรือนเพียง 9.4 ล้านบาท
ซึ่ง จะเห็น ได้ว่ า ความมังคั
่ ง่ ของครัว เรือ นในกรณีน้ี น้ อ ยกว่ า กรณี ท่ีแ ล้ว ถึง ร้อ ยละ 47 ในขณะที่
ระยะเวลาการหารายได้เท่ากับต้นทุนทางการศึกษาในกรณีหลังกลับนานกว่ากรณีแรกเล็กน้อย
ภาพที่ 60: เปรียบเทียบเงิ นออมสะสมกรณี ไม่มีขอ้ จากัดกรณี และข้อจากัดสภาพคล่อง 3 แสนบาท
(บาท, มูลค่าปัจจุบนั )

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

164
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

คณะผู้วจิ ยั ได้ทดลองจาลองสถานการณ์เพื่อพิจารณาว่าจะต้องขยายข้อจากัดสภาพคล่อง
ของครัวเรือ นเป็ นเท่าไร ในกรณีท่ตี ้องการให้ผู้เรียนสามารถเรียนต่ อในจานวนปี ต่าง ๆ ผลการ
จาลองสถานการณ์แสดงดังภาพที่ 61 ถึง 62 จะเห็นได้ว่า หากต้องการให้ผเู้ รียนสามารถเรียนต่อ
จนถึง ม.3 (เรียน 12 ปี ) จะต้องขยายเพดานสภาพคล่องเป็ น 2.7 แสนบาทหรือทาให้ครัวเรือน
สามารถกู้เพิม่ ได้ 2.6 หมื่นบาท หากต้องการให้ผู้เรียนสามารถเรียนต่อจนถึง ม.6 (เรียน 15 ปี )
จะต้องขยายเพดานสภาพคล่องเป็น 3.5 แสนบาทหรือทาให้ครัวเรือนสามารถกู้เพิม่ ได้ 1.1 แสนบาท
โดยผู้เรียนจะมีเงินออมหลังเกษียณ 9.5 ล้านบาทและ 9.9 ล้านบาท ตามลาดับ และมีรายได้ตลอด
ชีพ 15.3 ล้านบาทและ 15.6 บาท ตามลาดับ
ภาพที่ 61: เงิ นออมตา่ สุดกรณี จานวนปี ที่เรียนต่างๆ

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

ภาพที่ 62: เงิ นออมหลังเกษียณและรายได้ตลอดชีพกรณี จานวนปี ที่เรียนต่างๆ

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

165
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

โดยสรุป จะเห็นได้ว่าสาเหตุสาคัญประการหนึ่งทีท่ าให้ผเู้ รียนไม่สามารถเรียนต่อในระดับชัน้


ทีส่ งู ขึน้ เนื่องจากข้อจากัดทางการเงิน ซึง่ ประเด็นสาคัญไม่ใช่เรื่องค่าใช้จ่ายในการเรียน หากแต่เป็ น
ค่าเสียโอกาสของการสูญเสียรายได้ในการทางานในขณะเรียน ซึ่งหากครัวเรือนเผชิญกับข้อจากัด
ของสภาพคล่องจะทาให้ผู้เรียนไม่สามารถเรียนต่อได้ แม้ว่าการเรียนต่อจะสามารถสร้างรายได้และ
ทาให้ครัวเรือนสะสมความมังคั ่ งได้
่ มากกว่าในท้ายสุดก็ตาม ตารางที่ 11 แสดงค่าเสียโอกาสจากการ
เข้าเรียนในกรณีจานวนปีทเ่ี รียนต่างๆ ซึง่ หากพิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่ามีขนาดใหญ่กว่าค่าใช้จ่ายใน
การเรียนในปจั จุบนั มาก ดังนัน้ นโยบายการเพิม่ โอกาสในการเข้าถึงการศึกษาจึงควรมุ่งไปทีก่ ารลด
ค่าเสียโอกาสดังกล่าว

ตารางที่ 11: ค่าเสียโอกาสของการสูญเสียรายได้ในขณะเรียน


ปี ทเ่ี รียน รายได้ทส่ี ญ ู เสีย รายได้ทส่ี ญ
ู เสีย ปี ทเ่ี รียน รายได้ทส่ี ญู เสีย รายได้ทส่ี ญ
ู เสีย
ไปในปี ทเ่ี รียน ไปสะสม (บาท, ไปในขณะเรียน สะสม (บาท,
(บาท, มูลค่า มูลค่าปจั จุบนั ) (บาท, มูลค่า มูลค่าปจั จุบนั )
ปจั จุบนั ) ปจั จุบนั )
0 0 0 10 0 0
1 0 0 11 0 0
2 0 0 12 120,245 120,245
3 0 0 13 141,729 261,974
4 0 0 14 147,035 409,009
5 0 0 15 152,540 561,549
6 0 0 16 166,195 727,744
7 0 0 17 172,418 900,162
8 0 0 18 204,000 1,104,162
9 0 0 19 211,637 1,315,799

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)


หมายเหตุ: ช่วงปี ทเ่ี รียน 0-10 ปีคอื ช่วงอายุ 4-14 ปี ซง่ึ ยังไม่ใช่วยั แรงงาน จึงไม่มคี ่าเสียโอกาสจากการทางาน

166
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

คณะวิจยั ได้ประมาณการผลคะแนน PISA จากแบบจาลอง ในกรณีท่มี กี ารดาเนินการใช้


นโยบายเพื่อการพัฒนาการศึกษาเรียนรูข้ องผูเ้ รียน กลุ่มนโยบาย (Policy Package) ทีม่ ผี ลกระทบ
เชิงบวกต่อผลสัมฤทธ์ทางการเรียน หรือทาให้ระดับคะแนน PISA ของไทยมีโอกาสเพิม่ ขึน้ อย่างมี
นัยสาคัญจากฐานคะแนน PISA นักเรียนไทยที่ 422 คะแนน การดาเนินนโยบายเหล่านี้จะช่วย
ยกระดับผลสัมฤทธิ ์คะแนนได้ เช่น 1) การสร้างกลยุทธ์การเรียนรูใ้ ห้แก่ผู้เรียน จะทาให้คะแนน
PISA ของนักเรียนไทยมีโอกาสเพิม่ ขึน้ อีก 92 คะแนน 2) ทรัพยากรของโรงเรียน จะทาให้คะแนน
PISA ของนักเรียนไทยมีโอกาสเพิม่ ขึน้ อีก 32 คะแนน 3) การปรับบริหารจัดการของโรงเรียน จะทา
ให้คะแนน PISA ของนักเรียนไทยมีโอกาสเพิม่ ขึน้ อีก 48 คะแนน และ 4) ความมีอสิ ระของโรงเรียน
จะทาให้คะแนน PISA ของนักเรียนไทยมีโอกาสเพิม่ ขึน้ อีก 19 คะแนน เป็นตัน

ภาพที่ 63: กลุ่มนโยบาย (Policy Package) ที่มีผลกระทบเชิ งบวกต่อผลสัมฤทธ์ทางการเรียน

ทีม่ า: Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

167
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2) ประเด็นด้านคุณภาพ
การศึกษาทีม่ คี ุณภาพนัน้ มีผลกระทบต่อผลลัพธ์ (Performance) ของเด็กทัง้ ในโรงเรียนและ
เมือ่ พวกเขาก้าวเข้าสู่ตลาดแรงงานดังสะท้อนได้จากผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษา และผลิตภาพแรงงาน
ตามลาดับ ทัง้ นี้ มีผลงานวิจยั ของ Hanusek (2011) ที่ช้ใี ห้เห็นว่าทักษะทางด้านกระบวนความคิด
และปญั ญา (Cognitive Skills) จะเป็นมีผลต่อระดับรายได้ของบุคคล การกระจายรายได้รวมถึงอัตรา
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าทักษะพืน้ ฐาน (Basic Skills) และ
ทักษะขัน้ สูง (Advanced Skills) ต่างก็มคี วามสาคัญต่อประเทศที่กาลังพัฒนา การเสริมสร้างให้
กาลังคนมีทกั ษะขัน้ สูงมากขึ้นนัน้ จะช่วยให้ประเทศสามารถก้าวข้ามกับดักรายได้ประเทศปานกลาง
ได้
ดังนัน้ เรื่องของคุณภาพการศึกษา จึงนับเป็ นประเด็นที่ท้าทายที่สาคัญยิง่ อีกประการหนึ่ง
ของระบบการศึกษาไทยในปจั จุบนั
สาหรับดัชนีชว้ี ดั ทีส่ าคัญด้านคุณภาพการศึกษา ได้แก่
- ผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติของไทย ได้แก่ ผลการทดสอบการศึกษาขัน้
พืน้ ฐาน (Ordinary National Educational Test หรือ O-NET) ของนักเรียนชัธ้ ย
ศึกษาปีท่ี 6 การทดสอบความถนัดทัวไป ่ (General Test: GAT) และความถนัด
ทางวิชาการและวิชาชีพ (Professional and Academic Aptitude Test:PAT)
- ผลสัม ฤทธิท์ างการศึก ษานานาชาติ จากการทดสอบผลสัม ฤทธิท์ างการศึก ษา
นานาชาติ (Programme for International Student Assessment: PISA)
- แนวโน้มการจัดการศึกษาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (Trends inInternational
Mathematics and Science Study: TIMSS)
- ผลการจัดอันดับ (Ranking) ด้านการศึกษา

ตัว อย่ า งคุ ณ ภาพการศึก ษาของไทยเมื่อ เทีย บกับ ต่ า งประเทศเห็น ได้จ ากการทดสอบ
ผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษานานาชาติ (Programme for International Student Assessment: PISA)
ซึ่งเป็ นการประเมินที่เน้ นความรู้และทักษะที่ต้องใช้ในชีวติ จริง โดยวั ดความรู้และทักษะที่จาเป็ น
สาหรับกาเรียนรูต้ ลอดชีวติ 3 ด้าน คือ ด้านการอ่าน (Reading) ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics)
และด้านวิทยาศาสตร์ (Scientific) ผลการจัดอันดับคะแนน PISA ปี 2009 ของนักเรียนไทยด้านการ
อ่านและคณิตศาสตร์อยูท่ อ่ี นั ดับ 50 และด้านวิทยาศาสตร์อยูท่ อ่ี นั ดับ 49 (ภาพที่ 63)

168
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 64: คะแนนและอันดับ PISA ปี 2009 ของนักเรียนไทยเทียบกับประเทศ 5 อันดับแรก

ทีม่ า : คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยอาศัยข้อมูลจาก PISA ปี 2009

นอกจากนี้เมื่อพิจารณาจากดัชนีช้วี ดั ที่สาคัญด้านคุณภาพการศึกษาดังกล่าวข้างต้นเมื่อ
เปรียบเทียบช่วงเวลาทีแ่ ตกต่างกันของประเทศไทยเอง ก็สะท้อนให้เห็นว่า คุณภาพการศึกษาของ
เด็กไทยมีแนวโน้มตกต่ าลง ดังจะเห็นได้จากผลคะแนนสอบของนักเรียนไทยไม่ว่าจะวัดจากข้อสอบ
มาตรฐานในประเทศคือ O-NET หรือข้อสอบมาตรฐานระหว่างประเทศเช่น Programme for
International Student Assessment (PISA) และ Trends in International Mathematics and
Science Study (TIMSS) ต่างก็มแี นวโน้มลดลง (ภาพที่ 64) นอกจากนี้หากพิจารณาการจัดอันดับ
การศึกษาในระดับสากล จะพบว่าระดับ Cognitive Skill ของเด็กไทย ซึง่ วัดจากคะแนนสอบ PISA
TIMSS และ PIRLS ยังมีระดับต่ากว่านานาประเทศอยูม่ าก

169
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 65 : ผลการทดสอบ PISA ของประเทศไทยในปี 2000 – 2009

คะแนน

440
435
430
425 วิทยาศาสตร์
420 การอ่าน
415 คณิตศาสตร์
410
405

PISA 2000 PISA 2003 PISA 2006 PISA 2009

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยอาศัยข้อมูลจาก PISA ปี 2000 – 2009

แม้ว่าประเทศไทยได้เข้าร่วมทดสอบกับ PISA หลายครัง้ อย่างไรก็ตาม ผลการทดสอบยัง


ไม่เ ป็ น ที่น่ า พอใจนัก ยกเว้น เพีย งบางโรงเรีย น เช่ น โรงเรีย นสาธิต ของมหาวิท ยาลัย ต่ า งๆ ที่
ผลทดสอบของนักเรียนอยูใ่ นระดับมาตรฐานของโลก
สาเหตุส่วนหนึ่งทีส่ ่งผลให้คะแนนสอบของเด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกัน เนื่องมาจากบาง
คนมีพ้นื ฐานที่ด ี ในขณะที่เ ด็กบางคนมีพ้นื ฐานที่ไม่ด ีนัก และไม่เ อื้อประโยชน์ ต่อผลสัมฤทธิ ์ทาง
การศึกษา OECD ได้แบ่งปจั จัยพืน้ ฐานทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (Economic, Social
and Cultural Status: ESCS) ออกเป็ นดัชนีชว้ี ดั ระดับต่าง ๆ (ภาพที่ 65) ทัง้ นี้จากเอกสารการ
วิเคราะห์ของ OECD ชีใ้ ห้เห็นว่า ปจั จัยพืน้ ฐานทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม หรือ ESCS
มีผลต่อคะแนนสอบ PISA ดูตวั อย่างผลคะแนนด้านการอ่านทีแ่ ตกต่างอันเนื่องมาจากความแตกต่าง
ทางเศรษฐกิจและสังคมตามตารางที่ 12

170
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 66: ปัจจัยพืน้ ฐานทางด้านเศรษฐกิ จ สังคม และวัฒนธรรม (Economic, Social and Cultural
Status: ESCS)

ทีม่ า : OECD

ตารางที่ 12: ความแตกต่างทางเศรษฐกิ จและสังคมที่มีผลต่อคะแนนสอบ PISA ด้านการอ่าน


ประเทศ ความแตกต่างทางเศรษฐกิ จและสังคม
ที่มีผลต่อคะแนนสอบด้านการอ่าน
(top – bottom quarter of ESCS)
สิงคโปร์ 98
ค่าเฉลี่ยประเทศ OECD 89
เซีย่ งไฮ้ 74
เกาหลี 70
ไทย 63
ฟินแลนด์ 62
ฮ่องกง 46
ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยอาศัยข้อมูลจาก OECD

171
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 67: ความแตกต่างทางเศรษฐกิ จและสังคมที่มีผลต่อคะแนนสอบ PISA ด้านการอ่าน

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยอาศัยข้อมูลจาก OECD

ประเด็นคาถามที่ น่าสนใจคื อ นักเรียนกลุ่มที่ ฐานะทางเศรษฐกิ จและสังคมยากจน


สามารถได้ผลคะแนนสอบที่ดีได้หรือไม่
นักเรียนทีม่ พี น้ื ฐานฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมเสียเปรียบจากกลุ่มอื่นๆ จานวนร้อยละ 31
ในกลุ่มประเทศ OECD สามารถสอบได้คะแนนได้ดมี ากเมื่อเทียบกับนักเรียนที่ม ี พ้นื ฐานฐานะ
เสียเปรียบเช่นเดียวกันทัวโลก ่ กลุ่มนักเรียนเหล่านี้ว่ากลุ่ม “Resilient” หรือ"กลุ่มนักเรียนทีแ่ ม้ฐานะ
ไม่ดแี ต่กไ็ ม่ได้ส่งผลให้คะแนนทดสอบต่า"
สาหรับประเทศไทยพบว่ามีกลุ่มนักเรียน Resilient ประมาณร้อยละ 26-27 คาถามที่
น่ าสนใจ คือ กลุ่มนักเรียนร้อยละ 26-27 ในประเทศไทยเหล่านี้แม้จะมีพน้ื ฐานทางครอบครัวและ
ฐานะไม่ดี แต่สามารถมีผลคะแนนดีได้อย่างไร ถือเป็ น "จุดสว่าง" (Bright Spot) โดยตัง้ อยู่บน
พืน้ ฐานความเชื่อที่ว่าภายใต้สถานการณ์ท่ดี ูมดื มนนัน้ อาจจะมีตวั อย่างที่ดที ่เี ปรียบเสมือนจุดสว่าง
อยู่ หากเราหาตัวอย่างที่ดีนัน้ ให้พ บแล้วถอดบทเรียนออกมาและมีการขยายผลในวงกว้างได้ ก็
ย่อมจะเป็ นหนึ่งในแนวทางการแก้ไขปญั หาการศึกษาของประเทศไทยต่อไป

172
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 13: สัดส่วนของ กลุม่ นักเรียน Resilient เมื่อเทียบกับนักเรียนทัง้ หมดและสัดส่วนของ กลุม่


นักเรียน Resilient เมื่อเทียบกับนักเรียนที่พนื้ ฐานไม่ดี
ประเทศ สัดส่วนของ กลุ่มนักเรียน สัดส่วนของ กลุ่มนักเรียน Resilient
Resilient เมื่อเทียบกับนักเรียน เมื่อเทียบกับนักเรียนที่พนื้ ฐานไม่ดี
ทัง้ หมด (% of resilient students among
(% resilient students among disadvantaged students)
all students)
เซีย่ งไฮ้ 18.90 75.60
ฮ่องกง 18.08 72.32
เกาหลี 14.04 56.16
สิงคโปร์ 11.92 47.68
ฟินแลนด์ 11.41 45.64
ค่าเฉลี่ย OECD 7.66 30.65
ไทย 6.67 20.68
ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยอาศัยข้อมูลจาก OECD

ทัง้ นี้ความแตกต่างระหว่างผลการสอบของกลุ่มนักเรียนทีเ่ รียกว่ากลุ่ม Resilient และกลุ่มที่


ไม่ใช่คอื นักเรียนกลุ่ม Resilient เข้าเรียนอย่างสม่าเสมอและใช้เวลาในห้องเรียนมากกว่านอกจากนี้
นักเรียนที่มคี วามเชื่อมันในตนเอง
่ (Self-confident) และมีแรงจูงใจหรือแรงกระตุ้ นในการเรียน
มากกว่าจะอยูใ่ นกลุ่ม Resilient มากกว่า
ดัง นั ้น กลุ่ ม นั ก เรีย นที่ม ีฐ านะทางบ้ า นไม่ ดีก็ ส ามารถเรีย นให้ ป ระสบความส าเร็จ ได้
เช่นเดียวกันโดยผ่านการให้โอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน การใช้เวลาในห้องเรียนให้เป็ น
ประโยชน์อย่างเต็มที่ และการส่งเสริมความเชื่อมันในตนเองและแรงกระตุ
่ ้นภายในทีจ่ ะใช้ศกั ยภาพ
ของตนให้เต็มที่ พืน้ ฐานหรือฐานะทางบ้านก็จะไม่เป็ นอุปสรรคอีกต่อไป
ในขณะเดียวกัน การประเมินผลลัพธ์ทางการศึกษาโดยสานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีโรงเรียนประมาณ 3,243 โรงเรียน จากจานวนโรงเรียนทัง้ หมด
15,515 ทัวประเทศที
่ ไ่ ม่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพขัน้ ต่ า 15 โดยโรงเรียนทีม่ คี ุณภาพต่ าเหล่านี้
ล้วนอยูใ่ นเขตชนบทเป็นส่วนใหญ่ ซึง่ แสดงให้เห็นถึงความเหลื่อมล้าทางคุณภาพระหว่างโรงเรียนใน
พื้น ที่ต่ า ง ๆ และชี้ว่ า การพัฒ นาคุ ณ ภาพของโรงเรี ย นไทยที่ผ่ า นมาเป็ น ไปอย่ า งไม่ ท ัว่ ถึง ข้อ

15
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) (2552)
173
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สันนิษฐานดังกล่าวยังได้รบั การยืนยันจากข้อเท็จจริงจากคะแนน PISA ของแต่ละภูมภิ าค กล่าวคือ


นักเรียนที่มาจากโรงเรียนที่มขี นาดเล็กหรืออยู่ในพื้นทีท่ ่หี ่างไกลมีคะแนนต่ ากว่านักเรียนทีเ่ รียนอยู่
ในเมืองอย่างชัดเจน (ภาพที่ 67)

ภาพที่ 68: คะแนนสอบมาตรฐาน PISA ของนักเรียนไทยระหว่างภูมิภาคต่าง ๆ

Math Science
460 460
450 450
440 440
430 430
420 420
410 410
400 400
390 390

ทีม่ า: The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST)

ในส่วนต่อไปของรายงานวิจยั จะเป็ นการนาเสนอตัวอย่างแนวทางการขับเคลื่อนทีส่ ามารถ


นามาใช้ประกอบการวางแนวทางพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อ เตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 โดย
แบ่งเป็ น 3 ส่วน คือ (1) แบบจาลองศึกษาปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษา (2)
กรณีศกึ ษาการพัฒนาระบบอาชีวศึกษา และ (3) กรณีศกึ ษาการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
ตลอดชีวติ ทัง้ นี้ ในส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 นับเป็นแนวทางสาหรับการศึกษาในระบบ ในขณะทีส่ ่วนที่
3 จะเป็นแนวทางสาหรับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

174
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ก. แบบจำลองศึกษำปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทำงกำรศึกษำ
การศึกษาในส่วนนี้เป็ นการสร้างแบบจาลองทางสถิตเิ พื่อค้นหาปจั จัยทีส่ ่งผลต่อผลสัมฤทธิ ์
ในการเรียนของนักเรียนไทยในเชิงประจักษ์ ปจั จัยดังกล่าวครอบคลุมปจั จัยต่ าง ๆ ทัง้ ปจั จัยด้าน
ครอบครัว นักเรียน และโรงเรียน และปจั จัยเชิงนโยบาย ส่วนผลสัมฤทธิ ์ในการเรียนในทีน่ ้ีใช้คะแนน
ทดสอบ PISA เป็ นตัวชี้วดั ผลการวิเคราะห์มนี ัยต่อการกาหนดนโยบายและการดาเนินงานของ
โรงเรียนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยในมิตติ ่าง ๆ
1) แบบจาลอง
แบบจ าลองที่ใ ช้เ ป็ น แบบจ าลองสมการถดถอยแบบสมการเดี่ย ว (Single Equation
Regression) โดยมีตวั แปรตาม ได้แก่ ค่าเฉลี่ยของคะแนนทดสอบ PISA ในวิชาคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และการอ่าน สาหรับตัวแปรต้นได้แก่ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน โดยใน
ทีน่ ้ีได้แบ่งปจั จัยออกเป็ น 8 หมวด ได้แก่ (1) ทรัพยากรของครอบครัว (2) ทัศนคติของนักเรียน
(3) ยุทธศาสตร์ในการเรียนของนักเรียน (4) กิจกรรมของนักเรียน (5) ทรัพยากรของโรงเรียน (6)
การบริหารจัดการของโรงเรียน (7) ความเป็ นอิสระของโรงเรียน และ (8) สภาพแวดล้อมภายนอก
โรงเรียน รูปแบบของสมการถดถอยแสดงได้ดงั ต่อไปนี้

Yij   0  X1ij' β1  X2ij' β2  X3ij ' β3  X4ij ' β4


 X5 j' β5  X6 j' β6  X7 j' β7  X8 j' β8

Yij คือ คะแนนทดสอบ PISA ของนักเรียนคนที่ i ของโรงเรียนที่ j


X1ij คือ เวคเตอร์ของทรัพยากรของครอบครัวของนักเรียนคนที่ i ของโรงเรียนที่ j
X2ij คือ เวคเตอร์ของทัศนคติของนักเรียนคนที่ i ของโรงเรียนที่ j
X3ij คือ เวคเตอร์ของยุทธศาสตร์ในการเรียนของนักเรียนคนที่ i ของโรงเรียนที่ j
X4ij คือ เวคเตอร์ของกิจกรรมของนักเรียนคนที่ i ของโรงเรียนที่ j
X5 j คือ เวคเตอร์ของทรัพยากรของโรงเรียนที่ j
X6 j คือ เวคเตอร์ของการบริหารจัดการของโรงเรียนที่ j
X7 j คือ เวคเตอร์ของความเป็นอิสระของโรงเรียนที่ j
X8 j คือ เวคเตอร์ของสภาพแวดล้อมภายนอกของโรงเรียนที่ j
0 คือค่าสัมประสิทธิ ์ และ β1 ถึง β8 คือเวคเตอร์ของค่าสัมประสิทธิ ์

175
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นอกจากนี้คณะผู้วจิ ยั ยังได้ประมาณค่าแบบจาลองโดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็ นกลุ่มตาม


ระดับสถานะทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม เพื่อประเมินว่าปจั จัยทีส่ ่งผลต่อผลสัมฤทธิ ์ในการ
เรียนของนักเรียนที่มสี ถานะทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมต่างๆ มีค วามแตกต่างกันหรือไม่
คณะผูว้ จิ ยั ใช้ตวั แปร ESCS หรือปจั จัยพืน้ ฐานทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (Economic,
Social and Cultural Status: ESCS) ซึง่ เป็นดัชนีทพ่ี ฒ ั นาขึน้ โดย PISA ในการจาแนกนักเรียนตาม
ระดับสถานะทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม องค์ประกอบของตัวแปร ESCS ได้แก่ อาชีพของ
ผูป้ กครอง การศึกษาของผูป้ กครอง และสถานะเศรษฐกิจของครัวเรือน
จากฐานข้อมูล PISA ปี 2009 หรือ พ.ศ. 2552 เมื่อพิจารณาการกระจายตัวของสถานะทาง
เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมของนักเรียนไทยจะสามารถแสดงได้ดงั ภาพที่ 68 จะเห็นได้ว่า มี
ลักษณะเบ้ขวา และมีค่าอยู่ระหว่าง -4 ถึง 2 คณะผูว้ จิ ยั ได้แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็ น 3 กลุ่ม ได้แก่
กลุ่มระดับล่าง กลุ่มระดับกลาง และกลุ่มระดับบน โดยแต่ละกลุ่มมีสดั ส่วนของจานวนนักเรียนเท่า ๆ
กันคือร้อยละ 33.3 ของจานวนนักเรียนทัง้ หมด

ภาพที่ 69: รูปแบบการกระจายของนักเรียนจาแนกตามสถานะทางเศรษฐกิ จสังคมและวัฒนธรรม

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) โดยอาศัยข้อมูลจากฐานข้อมูล PISA (2009)

176
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2) ข้อมูลทีใ่ ช้
ฐานข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาแบบจาลองได้มาจากคะแนนการทดสอบ PISA ปี ค.ศ. 2009
หรือ พ.ศ. 2552 ของนักเรียนไทย ซึง่ เป็ นคะแนนการทดสอบนักเรียนที่มอี ายุในช่วง 15-16 ปี โดย
แบ่งออกเป็ นคะแนนคณิตศาสตร์ คะแนนวิทยาศาสตร์ และคะแนนการอ่าน เนื่องจากฐานข้อมูล
PISA แสดงคะแนนทัง้ สามในรูปของ Plausible Value (ดูรายละเอียดใน OECD, 200916, p.93-101)
คณะผู้วจิ ยั จึงเลือกใช้คะแนนในรูปดังกล่าว โดยเลือกใช้ตวั แปร PV1MATH, PV1SCIE และ
PV1READ สาหรับคะแนนคณิตศาสตร์ คะแนนวิทยาศาสตร์ และคะแนนการอ่าน ตามลาดับ

PV 1MATH ij  PV 1SCIEij  PV 1READij


TOTSCOREij 
3
โดยที่ TOTSCOREij คือ คะแนนเฉลีย่ ของการทดสอบทัง้ 3 วิชา
PV 1MATH ij คือ Plausible value ของคะแนนทดสอบวิชาคณิตศาสตร์
PV 1SCIEij คือ Plausible value ของคะแนนทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์
PV 1READij คือ Plausible value ของคะแนนทดสอบวิชาการอ่าน

ฐานข้อ มูล ที่ใ ช้ไ ด้มาจากการรวม (Merge) ฐานข้อ มูล แบบสอบถามสาหรับนักเรียนและ


ฐานข้อ มูล แบบสอบถามส าหรับ โรงเรียนเข้า ด้ว ยกัน 17 มีจานวนตัว อย่า งทัง้ สิ้น 6,225 ตัว อย่า ง
ความหมายของชื่อตัวแปรต่างๆ ในแบบจาลองพร้อมทัง้ รายละเอียดที่มาของตัวแปร สามารถดูได้
จากแบบสอบถามของการทดสอบ PISA18 นอกจากนัน้ ยังมีตวั แปรต้นบางตัวที่คณะผู้วจิ ยั ได้สร้าง
ขึน้ ใหม่ โดยสร้างจากตัวแปรที่มอี ยู่แล้วในฐานข้อมูลเพื่อให้สามารถสะท้อนลักษณะที่ต้องการตาม
สมมติฐานของคณะผูว้ จิ ยั ซึง่ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ความมีอสิ ระในการจัดสรรงบประมาณภายในโรงเรียน
ได้แก่ตวั แปร SC24Qf ซึง่ คานวณจากตัวแปร SC24Qf1 ถึง SC24Qf5 ในฐานข้อมูลคะแนน
PISA โดยมีขอ้ คาถามดังแสดงในหน้าถัดไป ตัวแปร SC24Qf จะมีค่าเท่ากับ 1 ในกรณีทก่ี ารจัดสรร
งบประมาณภายในโรงเรียนมิได้ถูกกาหนดโดยหน่ วยงานทีม่ อี านาจในท้องถิน่ (regional education
authority) หรือหน่ วยงานที่มอี านาจในระดับชาติ (national education authority) มิฉะนัน้ จะมี
ค่าเป็น 0

16
OECD (2009), PISA Data Analysis Manual: SPSS®. SECOND EDITION.
17
อันทีจ่ ริง PISA ได้จดั ให้มแี บบสอบถามสาหรับผูป้ กครองด้วย แต่สาหรับกรณีประเทศไทยไม่มกี ารเก็บข้อมูล
แบบสอบถามสาหรับผูป้ กครอง จึงไม่สามารถวิเคราะห์ปจั จัยทีเ่ กีย่ วข้องกับผูป้ กครองโดยตรง
18
เข้าถึงได้จาก http://pisa2009.acer.edu.au/downloads.php
177
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ความมีอสิ ระในการบริหารบุคลากร การกาหนดเนื้อหาการสอน และการประเมินผล


ความมีอสิ ระในการบริหารบุคลากร กาหนดเนื้อหาการสอน และการประเมินผล แทนได้ดว้ ย
ตัว แปร STAF_AT, CONT_AT และ ASS_AT ตามล าดับ ตัว แปรทัง้ สามค านวณจากตัว แปร
SC25Qa จนถึง SC25Qa ในแบบสอบถามสาหรับโรงเรียน โดยทัง้ ตัวแปรทัง้ สามแต่ละตัวจะมีค่า
เป็น 1 ในกรณีทโ่ี รงเรียนมีอสิ ระในประเด็นทีเ่ กี่ยวข้องกับตัวแปรนัน้ ๆ มิฉะนัน้ จะมีค่าเป็ น 0 ทัง้ นี้ตวั
แปรจะมีค่าเป็ น 1 เมื่อหน่ วยงานทีม่ อี านาจในระดับท้องถิน่ หรือระดับชาติ และคณะกรรมตรวจสอบ
จากภายนอก ไม่มอี ทิ ธิพลโดยตรงต่อการตัดสินใจในประเด็นนัน้ ๆ

178
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ความมีอสิ ระในการกาหนดเงินเดือนครู
ได้แ ก่ ต ัวแปร TCSAL_SBRA ซึ่งค านวณมาจากตัว แปร SC24Qd1 ถึง SC24Qd5 ใน
ฐานข้อมูลคะแนน PISA ตัวแปร TCSAL_SBRA จะมีค่าเท่ากับ 1 ในกรณีทเ่ี งินเดือนครูถูกกาหนด
โดยคณะกรรมการของโรงเรียนหรือหน่ วยงานทีม่ อี านาจในท้องถิน่ เท่านัน้ มิฉะนัน้ จะมีค่าเป็ น 0 ข้อ
คาถามในแบบสอบถามสาหรับตัวแปร SC24Qd1 ถึง SC24Qd5 มีดงั ต่อไปนี้

3) การประมาณค่าแบบจาลอง
การประมาณค่าแบบจาลองใช้ว ิธ ี Weighted Least Square (WLS) โดยมีตวั แปร
W_FSTUWT เป็ นตัวแปรถ่วงน้ าหนัก ตัวแปร W_FSTUWT เป็ นตัวแปรในฐานข้อมูล PISA ซึ่ง
คานวณมาจากลักษณะการสุ่มตัวอย่างของการสารวจ เพื่อใช้เป็ นตัวถ่วงน้ าหนักของแต่ละตัวอย่าง
ในการประมาณค่าประชากร
การพิจารณาว่าตัวแปรอิสระตัวใดจะคงอยูใ่ นแบบจาลอง พิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ ์ของตัว
แปรว่ามีนัยสาคัญทางสถิติหรือไม่ และมีเครื่องหมาย (บวกหรือลบ) ในทิศทางทีส่ ามารถอธิบายได้
อย่างสมเหตุสมผลหรือไม่ นอกจากนี้ยงั พิจารณาค่า Variance Inflation Factors (VIF) ซึง่ เป็ น
ค่าสถิตทิ ใ่ี ช้พจิ ารณาปญั หา Multicollinearity ซึ่งเกิดจากการที่ตวั แปรอิสระบางตัวมีค่าสหสัมพันธ์
(correlation) ต่อกันในระดับสูง เกณฑ์ทใ่ี ช้พจิ ารณาโดยทัวไปคื
่ อหาก VIF มีค่ามากกว่า 10 แสดงว่า
เกิดปญั หา Multicollinearity

4) ผลการประมาณค่าแบบจาลอง
คณะผูว้ จิ ยั ได้ทดลองใส่ตวั แปรต่าง ๆ เข้าไปในแบบจาลอง บนสมมติฐานของปจั จัยทีน่ ่ าจะ
ส่ ง ผลต่ อ ผลสัม ฤทธิใ์ นการเรีย น เพื่อ ค้ น หาป จั จัย ที่ม ีนั ย ส าคัญ ทางสถิติ และท าการปรับ แก้
แบบจาลองจนแบบจาลองผ่านเกณฑ์ท่จี าเป็ นและได้ผลเป็ นที่น่าพอใจ แม้ฐานข้อมูลจะมีจานวน
ตัวอย่าง 6,225 ตัวอย่าง แต่ตวั แปรบางตัวที่ปรากฏในแบบจาลองมีค่า Missing ปรากฏอยู่ และ
เนื่องจากในที่น้ีใช้วธิ ี Listwise Deletion ในการจัดการกับข้อมูล Missing จึงทาให้เหลือจานวน
ตัวอย่าง 5,308 ตัวอย่าง

179
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ค่า R2 และ Adjusted R2 ของแบบจาลองมีค่าเท่ากับ 0.679 และ 0.456 ตามลาดับ ซึง่ เป็ น
ค่าทีค่ ่อนข้างสูง มีความหมายว่า แบบจาลองสามารถอธิบายความผันแปรของคะแนน PISA ได้ถงึ
ร้อยละ 68 ค่าสถิติ F มีค่าเท่ากับ 78.95 โดยมีนัยสาคัญทีร่ ะดับ p<0.001 ซึง่ แสดงให้เห็นว่าตัวแปร
ต่าง ๆ ภายในแบบจาลองสามารถร่วมกันอธิบายความผันแปรของคะแนน PISA ได้ในภาพรวม
Model Summary

Std. Error of
Model R R Square Adjusted R Square the Estimate

1 .679 .462 .456 554.16940

b,c
ANOVA

Model Sum of Squares df Mean Square F Sig.

1 Regression 1.382E9 57 24245942.101 78.950 .000

Residual 1.612E9 5250 307103.721

Total 2.994E9 5307

ผลการประมาณค่าแบบจาลองพบว่า ค่า VIF ของตัวแปรต่างๆ มีค่าไม่เกิน 10 ซึง่ แสดงว่า


ไม่เกิดปญั หา Multicollinearity ยกเว้นกรณีของตัวแปรสัดส่วนจานวนนักเรียนต่อจานวนครู และตัว
แปรสัดส่วนจานวนนักเรียนต่อจานวนครูยกกาลังสอง อย่างไรก็ตาม ค่า VIF ทีม่ ากกว่า 10 ดังกล่าว
เกิดจากคู่ตวั แปรซึง่ มาจากตัวแปรตัวเดียวกัน โดยตัวแปรกาลังสองทีใ่ ส่เข้าไปมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้
แสดงลักษณะความสัมพันธ์แบบไม่เป็ นเชิงเส้น ดังนัน้ จึงยังสามารถคงไว้ในแบบจาลองโดยไม่สร้าง
ปญั หาให้แก่แบบจาลองในส่วนอื่นๆ
ผลการวิเคราะห์ค่าคงเหลือ (Residuals) แสดงให้เห็นว่าค่าคงเหลือมีการกระจายแบบปกติ
โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0 ซึ่งเป็ นไปตามข้อสมมติของการประมาณค่าสมการถดถอย ภาพที่ 70
แสดงกราฟของค่าคงเหลือซึง่ ปรับให้อยูใ่ นรูปของค่ามาตรฐาน

180
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 70: ลักษณะการกระจายของค่าคงเหลือ

ผลการประมาณค่าสัมประสิทธิ ์ของตัวแปรภายในแบบจาลองแสดงดังตารางที่ 14 จะเห็นได้


ว่าค่าสัมประสิทธิ ์ของทุก ตัว แปรมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี p<0.05 โดยค่ าสัมประสิทธิ ์ส่ว นใหญ่ ม ี
นัยสาคัญที่ p<0.001

181
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 14: ค่าสัมประสิ ทธิ์ จากการประมาณค่าแบบจาลอง


Standardized
Variable Description Coefficients Std. Error Coefficients Sig. VIF

(Constant) Intercept 352.764 17.694 .000

Home resources

ESCS Index of economic, social and cultural status (WLE) 5.211 .883 .087 .000 2.139

ST20Q05 Possessions software -7.920 1.969 -.051 .000 1.560

ST20Q12 Possessions dictionary -9.253 2.125 -.047 .000 1.156

ST20Q14 Possessions <DVD> 8.301 2.294 .038 .000 1.070

Student's attitude

ST23Q01 Reading Enjoyment Time 3.093 .779 .044 .000 1.218

ST24Q07 Read Attitude - Enjoy library 3.802 1.121 .038 .001 1.194

ST24Q09 Read Attitude - Cannot sit still -7.333 .948 -.084 .000 1.139

ST25Q04 Like Read - Non-fiction books 2.880 .702 .045 .000 1.187

IC10Q02 Attitudes - Really Fun 4.584 1.221 .045 .000 1.410

IC10Q04 Attitudes - Lose track of time 3.097 1.021 .036 .002 1.368

Student's learning strategies

ST27Q01 Study - Memorize Everything 7.009 1.289 .070 .000 1.608

ST27Q03 Study - Memorize Details 7.845 1.214 .084 .000 1.655

ST27Q04 Study - Relate New Information 4.409 1.172 .046 .000 1.466

ST27Q05 Study - Read Many Times -3.418 1.080 -.036 .002 1.255

ST27Q08 Study - Useful Outside School -3.904 1.154 -.039 .001 1.325

ST27Q09 Study - Haven't Understood 5.541 1.201 .056 .000 1.426

ST41Q01 Text - Easy to Understand 1.538 .610 .028 .012 1.227

ST41Q05 Text - Summarise 2.806 .667 .054 .000 1.593

ST41Q06 Text - Read aloud -4.540 .561 -.092 .000 1.265

ST42Q02 Summary - Copy accurately -5.013 .623 -.093 .000 1.308

ST42Q04 Summary - Check important facts 2.752 .763 .050 .000 1.852

ST42Q05 Summary - Write own words 2.991 .703 .059 .000 1.858

IC08Q04 How well - Presentation -5.520 .868 -.071 .000 1.206

Student's activities

ST31Q03 <Enrich> in <science> -7.039 1.613 -.047 .000 1.142

ST39Q02 Library - Borrow for work -2.820 .663 -.049 .000 1.303

ST39Q07 Library - Use internet -1.644 .572 -.032 .004 1.201

IC04Q02 At Home - Collaborative Games -4.743 1.022 -.067 .000 2.039

IC05Q01 At Home - Internet for School 5.437 1.107 .081 .000 2.644

IC06Q06 At School - Simulations -7.780 .988 -.097 .000 1.471

IC06Q07 At School - Practice and Drilling -2.896 .964 -.037 .003 1.502

IC06Q08 At School - Homework -4.334 .924 -.057 .000 1.447

182
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 14: ค่าสัมประสิ ทธิ์ จากการประมาณค่าแบบจาลอง (ต่อ)


Standardized
Variable Description Coefficients Std. Error Coefficients Sig. VIF

School resources

STRATIO Student-Teacher ratio 1.729 .488 .181 .000 25.377

STRATIO_SQ Squared Student-Teacher ratio -.037 .009 -.212 .000 25.125

SCMATEDU Quality of the schools educational resources 1.902 .942 .026 .044 1.657

PROPCERT Proportion of certified teachers 15.414 7.287 .026 .034 1.472

IRATCOMP Ratio of computers and school size 11.724 3.336 .038 .000 1.150

IC02Q01 At School - Desktop Computer -8.071 2.217 -.045 .000 1.488

IC02Q03 At School - Internet connection -9.011 2.221 -.052 .000 1.586

SC02Q01 Public or private -13.407 2.405 -.071 .000 1.575

SC03Q03 Funding Benefactors .368 .071 .058 .000 1.239

SC11Q02 Shortage of Math Teachers -1.859 .749 -.028 .013 1.269

School management

SC12Q02 Streaming by content -3.828 1.169 -.036 .001 1.176

SC15Q03 Teacher judgments 4.620 .745 .067 .000 1.128

SC16Q06 Assessments - Teachers 10.920 3.507 .035 .002 1.244

SC16Q08 Assessments - Other Schools 6.277 2.192 .034 .004 1.393

SC17Q02 Student absenteeism -6.940 1.254 -.061 .000 1.195

SC21Q02 Relative to benchmarks -10.934 1.633 -.076 .000 1.267

SC26Q09 Educational Goals - Classroom 6.744 1.355 .055 .000 1.202

SELSCH Index of academic school selectivity 4.390 1.192 .040 .000 1.124

School autonomy

SC24Qf School autonomy on budget allocations within the 10.616 2.957 .041 .000 1.280
school

STAF_AT School autonomy on staffing 6.615 1.904 .040 .001 1.264

CONT_AT School autonomy on instructional content 7.760 1.945 .048 .000 1.421

ASS_AT School autonomy on assessment practices -13.130 3.142 -.048 .000 1.260

TCSAL_SBRA Establishing teachers’ starting salaries by <school 7.837 2.032 .042 .000 1.137
governing board> or <regional or local education
authority>

School's external environment

SC04Q01 School Community 5.285 .814 .086 .000 1.700

SC05Q01 Available Schooling 3.647 1.205 .035 .002 1.299

ทีม่ า: จากการวิเคราะห์ประมวลผลโดยคณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)


หมายเหตุ : Dependent Variable: TOTSCORE
Using Weighted Least Squares Regression - Weighted by W_FSTUWT
Number of observations 5,308

183
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

5) สรุปผลจากแบบจาลอง
เนื่ อ งจากตัว แปรแต่ ล ะตัว มีห น่ ว ยที่แ ตกต่ า งกัน ดัง นั น้ ในที่น้ี การเปรีย บเทีย บขนาด
ผลกระทบของตัวแปรที่มตี ่ อผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน จึงจะพิจารณาจากค่ าสัมประสิทธิ ์มาตรฐาน
(Standardized Coefficients) ซึง่ แสดงถึงขนาดการเปลีย่ นแปลงของคะแนน PISA ในรูปสัดส่วนของ
ค่ า เบี่ย งเบนมาตรฐาน เมื่อ ตัว แปรต้น เปลี่ย นแปลงไป 1 หน่ ว ยของค่ า เบี่ย งเบนมาตรฐาน
ตัวอย่างเช่น หากค่าสัมประสิทธิ ์มาตรฐานของตัวแปร X มีค่าเท่ากับ 0.087 จะมีความหมายว่า หาก
ตัวแปร X เปลีย่ นแปลงไป 1 หน่วยของค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน จะทาให้คะแนน PISA เพิม่ ขึน้ 0.087
หน่วยของค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนน PISA เป็นต้น
จะเห็นได้ว่า ปจั จัย 5 ปจั จัยแรกที่ส่งผลเชิงบวกมากที่สุดต่อระดับคะแนน PISA ได้แก่
สถานะทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม (Index of Economic, Social and Cultural Status,
WLS) ทีต่ งั ้ ของโรงเรียนในย่านชุมชนหนาแน่ น (School Community) ยุทธศาสตร์การเรียนในการ
พยายามจดจารายละเอียดให้มากทีส่ ุด (Study - Memorize Details) การใช้อนิ เทอร์เน็ตทีบ่ า้ นเพื่อ
ทางานของทีโ่ รงเรียน (At Home - Internet for School) และการให้ขอ้ มูลผลการเรียนแก่ผปู้ กครอง
โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐานระดับชาติหรือระดับพืน้ ที่ (Relative to Benchmarks)
ส่ ว นป จั จัย ที่ส่ ง ผลเชิง ลบมากที่สุ ด ต่ อ คะแนน PISA ได้แ ก่ การใช้ค อมพิว เตอร์เ ล่ น
Simulation ทีโ่ รงเรียน (At School - Simulations) การพยายามคัดลอกประโยคให้มากทีส่ ุดเพื่อสรุป
เนื้อหา (Summary - Copy accurately) การอ่านหนังสือแบบออกเสียงแก่บุคคลอื่นเพื่อเข้าใจและ
จดจาหนังสือ (Text - Read aloud) ทัศนคติต่อการอ่านทีไ่ ม่สามารถอ่านได้ยาวนาน (Read Attitude
- Cannot Sit Still) และความเป็นโรงเรียนเอกชน (Public or Private)
อย่างไรก็ตาม ปจั จัยดังกล่าวข้างต้นเป็ นปจั จัยทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั คะแนน PISA แต่อาจยัง
ไม่ส ามารถสรุปความเป็ นเหตุ เ ป็ นผลได้อย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปจั จัยที่ยงั ไม่เ ห็นความ
เชื่อมโยงอย่างชัดเจน หรืออาจมีปจั จัยร่วม (Common Factor) ที่ผลักดันให้เกิดการเปลีย่ นแปลง
ของทัง้ ปจั จัยดังกล่าวกับคะแนน PISA เช่น การอ่านหนังสือแบบออกเสียงแก่บุคคลอื่นเพื่อ ให้เข้าใจ
และจดจาหนังสือ อาจเกิดจากความสามารถในการเรียนที่ต่ า ซึ่งเป็ นเหตุผลักดันให้คะแนน PISA
ต่ าด้วย แต่ ก ารอ่ านหนังสือแบบออกเสียงแก่บุค คลอื่นเพื่อ ให้เข้าใจและจดจาหนังสือ ไม่ได้เ ป็ น
สาเหตุ ของคะแนน PISA ต่ า การสรุป ความเป็ นเหตุ เ ป็ นผลจาเป็ นของปจั จัยจาเป็ นจะต้อ งมี
การศึกษาเพิม่ เติมต่อไป
จากผลการประมาณค่ า แบบจ าลองท าให้ ไ ด้ ข้ อ สรุ ป เกี่ ย วกับ ป จั จัย ที่ส าคัญ ที่ส่ ง เสริม
ผลสัมฤทธิ ์ในการเรียนดังต่อไปนี้
สถานะทางเศรษฐกิ จสังคมและวัฒนธรรม
สถานะทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมส่งเสริมผลสัมฤทธิ ์ในการเรียนผ่านหลายช่องทาง
อาทิ ทาให้นกั เรียนมีทรัพยากรเพียงพอในการเรียน ตัวอย่างเช่น สามารถเข้าถึงสื่อการศึกษาต่างๆ
184
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต หรือดิกชันนารี เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ในบางกรณีการเข้าถึง


สื่อก็อาจส่งผลเสียต่ อผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน เช่น ในกรณีน้ีพบว่าการมีเครื่องเล่น DVD ที่บ้าน
(Possessions DVD) อาจทาให้เสียเวลาในการอ่านหนังสือ จึงทาให้ผลสัมฤทธิ ์ในการเรียนแย่ลง
นอกจากนี้สถานะทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมยังอาจทาให้ผปู้ กครองมีทศั นคติให้ความสาคัญ
ต่อการเรียนจึงส่งเสริมการศึกษาของบุตรหลาน ทาให้ผู้ปกครองสามารถให้ความช่วยเหลือบุตร
หลานโดยตรงผ่านการสอนการบ้าน การติวเนื้อหาวิชา เป็นต้น
ทัศนคติ และกิ จกรรมของผูเ้ รียน
ทัศ นคติของผู้เ รียนเป็ นสิ่งส าคัญ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทัศ นคติต่อ การอ่ าน ซึ่งสะท้อนผ่ าน
กิจกรรม เช่น ปริมาณเวลาที่ใช้ใ นการอ่ าน การชอบไปร้านหนั งสือ หรือห้อ งสมุด อย่างไรก็ต าม
ผลลัพธ์จากแบบจาลองแสดงให้เห็นว่า ชนิดของหนังสือทีอ่ ่านก็เป็ นปจั จัยสาคัญ โดยพบว่า การอ่าน
หนังสือประเภทให้ความรูเ้ ท่านัน้ จึงจะส่งบวกผลต่อผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน
กิจกรรมของผูเ้ รียนทีส่ ่งเสริมผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน ได้แก่ การใช้เวลานอกห้องเรียนทีเ่ ป็ น
ประโยชน์ต่อการเรียน เช่น การศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน (Enrich in Science) การเข้า
ห้องสมุดเพื่อยืมหนังสือสาหรับทาการบ้าน (Library - Borrow for Work) หรือการใช้อนิ เทอร์เน็ตที่
ห้องสมุด (Library - Use Internet) การใช้อนิ เทอร์เน็ตทีบ่ า้ นเพื่อทาการบ้าน (At Home - Internet
for School) ส่วนกิจกรรมของนักเรียนที่พบว่าส่งผลเสียต่อผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน ได้แก่ การเล่น
เกมคอมพิวเตอร์หรือเกมออนไลน์ทงั ้ ทีบ่ า้ นหรือทีโ่ รงเรียน (At Home - Collaborative Games และ
At School - Simulations) นอกจากนี้ยงั พบว่าการใช้คอมพิวเตอร์ทโ่ี รงเรียนในการฝึกฝนเรียนรู้ (At
School - Practice and Drilling) และการทาการบ้าน (At School - Homework) มีความสัมพันธ์เชิง
ลบกับผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน ซึง่ จาเป็ นจะต้องค้นหาสาเหตุทแ่ี ท้จริงต่อไป
ยุทธศาสตร์ในการเรียนของผูเ้ รียนทีพ่ บว่ามีความสัมพันธ์กบั ผลสัมฤทธิ ใ์ นการเรียน
ได้แก่ การพยายามจดจาเนื้อหาต่างๆ ในการเรียน รวมทัง้ รายละเอียดของเนื้อหา การเชื่อมโยง
ข้อมูลใหม่ทไ่ี ด้รบั กับความรูท้ ม่ี อี ยู่ การค้นหาว่ามีแนวคิดใดทีย่ งั ไม่เข้าใจอย่างแท้จริง (Text - Easy
to Understand) การสรุปเนื้อหาในภาษาของตนเอง (Text - Summarise) การตรวจสอบว่า
ข้อเท็จจริงที่สาคัญทีส่ ุดได้อยู่ในบทสรุป (Summary - Check Important Facts) การขีดเส้นใต้
ประโยคสาคัญและการเขียนสรุปในภาษาของตนเอง (Summary - Write Own Words) และการรู้
วิธกี ารทา Presentation บนคอมพิวเตอร์ (How Well - Presentation)
ส่วนการอ่านหนังสือแบบออกเสียงแก่บุคคลอื่นเพื่อเข้าใจและจดจาหนังสือ (Text - Read
Aloud) การสรุปโดยพยายามคัดลอกทุกประโยค (Summary - Copy Accurately) การอ่านหนังสือ
หลาย ๆ รอบ (Study - Read Many Times) และการค้นหาว่าจะใช้ขอ้ มูลให้เกิดประโยชน์นอก
ห้องเรียนได้อย่างไร (Study - Useful Outside School) กลับพบว่ามีความสัมพันธ์เชิงลบต่อ
ผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน

185
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทรัพยากรของโรงเรียน
ได้แก่ ปริมาณครู อย่างไรก็ตาม ผลลัพธ์จากแบบจาลองแสดงให้เห็นว่าการมีทรัพยากรครู
มากเกินไปทาให้ผลสัมฤทธิ ์ในการเรียนลดลง โดยสัดส่วนจานวนนักเรียนต่อครูทเ่ี หมาะสมคือ 23.6
คน (Quality of The Schools Educational Resources) ส่วนปจั จัยอื่นๆ ได้แก่ สัดส่วนครูทผ่ี ่านการ
รับรอง (Proportion of Certified Teachers) สัดส่วนจานวนคอมพิวเตอร์ต่อจานวนนักเรียน (Ratio
of Computers and School Size) การมีเครื่องคอมพิวเตอร์ (At School - Desktop Computer) การ
เข้าถึงอินเทอร์เน็ต (At School - Internet Connection) ความเป็ นโรงเรียนรัฐ (Public or Private)
ทัง้ นี้อาจเนื่องจากในบริบทของประเทศไทย โรงเรียนรัฐได้รบั การสนับสนุ นด้านทรัพยากรจานวน
มาก เมื่อเปรียบเทียบกับโรงเรียนเอกชน แม้ว่าผู้สามารถเรียนในโรงเรียนเอกชนอาจมีสถานะทาง
เศรษฐกิจและสังคมทีด่ ถี งึ ระดับหนึ่ง การได้รบั เงินสนับสนุ นอื่นๆ เช่น การบริจาค การระดมทุนของ
ผู้ปกครอง (Funding Benefactors) และการมีครูคณิตศาสตร์ท่เี พียงพอ (Shortage of Math
Teachers)
การบริ หารจัดการของโรงเรียน
จากผลที่ได้จากแบบจาลอง ปจั จัยที่ส่งเสริมผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน ได้แก่ การจัดชัน้ เรียน
ตามความสามารถของนักเรียน (Streaming by Content) ความถี่ในการวัดผลนักเรียนด้วยดุลพินิจ
ของครู (Teacher Judgements) การใช้การวัดผลของนักเรียนในการตัดสินประสิทธิผลของครู
(Assessments - Teachers) การใช้การวัดผลของนักเรียนเพื่อเปรียบเทียบกับโรงเรียนอื่น
(Assessments - Other Schools) การให้ขอ้ มูลผลการเรียนแก่ผู้ปกครองโดยเปรียบเทียบกับ
มาตรฐานระดับชาติหรือระดับพืน้ ที่ (Relative to Benchmarks) การควบคุมกิจกรรมในชัน้ เรียนให้
สอดคล้องกับเป้าหมายทางการศึกษา (Educational Goals - Classroom) และการคัดเลือกนักเรียน
เพื่อเข้าเรียน (Index of Academic School Selectivity) ส่วนปจั จัยทีส่ ่งผลเสียต่อผลสัมฤทธิ ์ในการ
เรียน ได้แก่ จานวนนักเรียนที่ขาดเรียน (Student Absenteeism) ซึ่งอาจเกิดจากปญั หาของตัว
นักเรียนหรือการบริหารจัดการของโรงเรียน
ความเป็ นอิ สระของโรงเรียน
จากการศึกษาพบว่าความมีอสิ ระของโรงเรียนในการจัดการศึกษาส่งผลต่อผลสัมฤทธิ ์ทาง
การศึกษาอย่างมีนยั สาคัญ ทัง้ ในแง่ทเ่ี ป็นบวกและลบ ความมีอสิ ระของโรงเรียนในด้านทีม่ สี ่งผลดีต่อ
ผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน (School Autonomy on Budget Allocations within The School) ได้แก่
ความมีอสิ ระในการบริหารบุคลากร (School Autonomy on Staffing) ความมีอสิ ระในการกาหนด
เนื้อหาการเรียนการสอน (School Autonomy on Instructional Content)
อย่างไรก็ตาม พบว่า ความมีอิสระในการกาหนดเงินเดือ นของครูใ นบางกรณีอ าจทาให้
ผลสัมฤทธิ ์ในการเรียนแย่ลง เช่น ถูกกาหนดด้วยครูใหญ่หรือครู แต่หากเงินเดือนครูควรกาหนดด้วย
บอร์ดของโรงเรียน (School Governing Board) หรือหน่ ว ยงานที่มอี านาจในระดับท้อ งถิ่น

186
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

(Regional Authority) จะทาให้ผลสัมฤทธิ ์ในการเรียนสูงขึน้ ซึ่งเป็ นไปตามหลัก Principal Agent


Problem แต่ทงั ้ นี้หากเงินเดือ นครูถู กกาหนดด้ว ยหน่ ว ยงานที่มอี านาจในระดับ ชาติ (National
Authority) จะทาให้ผลสัมฤทธิ ์ในการเรียนแย่ลง นอกจากนี้ยงั พบว่า ความมีอสิ ระของโรงเรียนใน
การประเมินผล (School Autonomy on Assessment Practices) ส่งผลเชิงลบต่อผลสัมฤทธิ ์ในการ
เรียน ซึง่ เป็นไปตามหลัก Principal Agent Problem เช่นเดียวกัน
สภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรียน
ผลจากแบบจาลองแสดงให้เห็นว่า โรงเรียนซึง่ ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีท่ ม่ี คี วามหนาแน่ นของประชากร
มากกว่าจะมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน ทัง้ นี้อาจเนื่องมาจากในพืน้ ทีท่ ม่ี คี วาม
หนาแน่ นมากกว่าทาให้เ ข้าถึงทรัพยากรทางการศึกษาต่าง ๆ ได้ง่ายกว่า รวมทัง้ ก่อ ให้เกิดการ
ประหยัดเชิงขนาดในการใช้ทรัพยากรของโรงเรียนมากกว่า ทาให้โรงเรียนมีประสิทธิภาพมากกว่า
นอกจากนี้ยงั พบว่า สภาพแวดล้อมการแข่งขันระหว่างโรงเรียน (Available Schooling) ยังส่งเสริม
ให้เกิดผลสัมฤทธิ ์ในการเรียน ซึง่ น่ าจะมาจากสาเหตุทโ่ี รงเรียนต้องปรับตัวให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้
เพื่อจะสามารถแข่งขันกับโรงเรียนอื่นได้

6) นัยเชิ งนโยบาย
ผลการศึกษาข้างต้นมีนยั ต่อการกาหนดนโยบายดังนี้ ภาครัฐควรส่งเสริมการสร้างทัศนคติท่ี
ดีต่อการเรียนของนักเรียน และการใช้เวลาในการทากิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ นอกห้องเรียน ควร
ส่งเสริมให้โรงเรียนสามารถระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ ด้วยตนเองเพื่อจะมีทรัพยากรอย่าง
เพียงพอในการจัดการศึกษาอย่างคุณภาพ ส่งเสริมการเปิดเผยข้อมูลผลการเรียนแก่ผปู้ กครองโดยมี
การเปรียบเทียบกับมาตรฐานในระดับต่าง ๆ เช่น ระดับพืน้ ที่หรือระดับชาติ และส่งเสริมบรรยากาศ
แห่งการแข่งขันระหว่างโรงเรียนเพื่อให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
นอกจากนี้ภาครัฐยังควรส่งเสริมความมีอสิ ระของโรงเรียนในการจัดสรรทรัพยากรภายใน
โรงเรียน การบริหารบุคลากร และการกาหนดเนื้อหาการเรียนการสอน ในขณะเดียวกันควรป้องกัน
ปญั หาผลประโยชน์ ท ับ ซ้อ นซึ่ง อาจเกิด ขึ้น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ง ในส่ ว นการประเมิน ผลงานของ
โรงเรียนหรือนักเรียน และการกาหนดเงินเดือนของครู
ในส่ ว นของโรงเรีย น ควรมีก ารจัด ชัน้ เรีย นตามความสามารถของนัก เรีย น มีป ระเมิน
ประสิทธิผลของครูโดยใช้การวัดผลของนักเรียน มีการควบคุมกิจกรรมในชัน้ เรียนให้สอดคล้องกับ
เป้าหมายทางการศึกษา ส่งเสริมยุทธศาสตร์ในการเรียนของผูเ้ รียนทีถ่ ูกต้อง และมีการจัดการทีด่ กี บั
ปญั หาการขาดเรียนของนักเรียน

187
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข. กรณี ศึกษาการพัฒนาระบบอาชีวศึกษา
การศึกษาในส่วนนี้ได้ศกึ ษากรณีศกึ ษาเชิงลึกประสบการณ์ต่างประเทศ คือ การยกระดับ
อาชีวศึกษาสู่ความเป็ นเลิศของ 3 ประเทศ ได้แก่ ประเทศไต้หวัน ประเทศเกาหลีใต้ และประเทศ
สิงคโปร์ และศึกษากรณีของประเทศไทย
1) ระบบอาชีวศึกษาในประเทศไต้หวัน
ในกรณีของไต้หวันนัน้ อาชีวศึกษามีความสอดคล้องอย่างมากกับการพัฒนาเศรษฐกิจใน
ภาพรวมของประเทศ รัฐบาลไต้หวันริเริม่ ผลักดันแผนพัฒนาเศรษฐกิจตัง้ แต่ประมาณปี ค.ศ. 1950
หรือกลางศตวรรษที่ 20 เริม่ ด้วยการปรับเปลีย่ นเชิงลึกในด้านเทคโนโลยีทเ่ี กี่ยวข้องกับการผลิตเชิง
เกษตรกรรมและในขณะเดีย วกัน ก็ เ ริ่ ม พัฒ นาอุ ต สาหกรรมสิน ค้ า เน้ น แรงงานด้ ว ยเช่ น กั น
อาชีวศึกษาหรือทีเ่ รียกว่า Technology and Vocational Education (TVE) ในไต้หวันมุ่งเน้นความ
เป็ นการเกษตรและธุ ร กิจ เป็ น ส าคัญ เพื่อ การสร้างเสริมเศรษฐกิจที่ประกอบไปด้ว ยแรงงานที่
เพรียบพร้อม ความเป็ นไปของ TVE นัน้ ถูกปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจของ
รัฐบาลไต้หวันตลอดมา
ตารางที่15: สรุปพัฒนาการระบบอาชีวศีกษาของไต้หวัน
ปี จุดสาคัญของแผนพัฒนา การพัฒนาของ TVE สัดส่วนนักเรียน
เศรษฐกิ จ (TVE:สามัญ)
1950s - ความสาเร็จในการปฏิรปู การใช้ - การศึกษาในเชิงเกษตรและ 40:60
- เพิม่ ประสิทธิผลเกษตรกรรม การค้า
- พัฒนาอุตสหากรรมสินค้าเน้น - มุ่งเน้นความสนใจระดับ ปวส.
แรงงาน
1960s - ขยายธุรกิจการนาเข้าและ - พัฒนาอาชีวศึกษาในด้าน 40:60
ส่งออก อุตสาหกรรมและการค้า
- ริเริม่ การศึกษาภาคบังคับเก้าปี
- ขยายการศึกษาระบบ
อาชีวศึกษาและเพิม่ จานวน
นักเรียนและโรงเรียน
- ริเริม่ Junior Collage ระบบ 2 ปี
และ 5 ปี
1970s - เริม่ Ten Major Construction - ปรับปรุงอาชีวศึกษาทางด้าน 60:40
- ขยายตัวสูก่ ารเป็ นอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมและ Junior
ทีเ่ น้นทุนและเทคโนโลยี collage ให้ดขี น้ึ
- ก่อตัง้ สถาบันเทคโนโลยี
1980s - พัฒนาอุตสาหกรรมไฮเทค - ยกระดับคุณภาพและปริมาณใน 70:30
- พัฒนาอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี อาชีวศึกษาเชิงอุตสาหกรรมโดย
องค์รวม

188
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่15: สรุปพัฒนาการระบบอาชีวศีกษาของไต้หวัน (ต่อ)


ปี จุดสาคัญของแผนพัฒนา การพัฒนาของ TVE สัดส่วนนักเรียน
เศรษฐกิ จ (TVE:สามัญ)
1990s - พัฒนาเศรษฐกิจฐานความรู้ - ก่อตัง้ โรงเรียนมัธยมปลายแบบ 50:50
(Knowledge Economy) เบ็ดเสร็จ (Comprehensive
- วางแผนศูนย์รวมปฏิบตั งิ าน High School)19
ภาคเอเชียแปซิฟิค (Asia- - เพิม่ จานวนวิทยาลัยเทคโนโลยี
Pacific Regional Operations - ยกระดับอนุวทิ ยาลัยทีส่ งสม
ั่
Center) ผลงานดีเด่นให้กลายเป็ น
วิทยาลัยเต็มตัว
- ยกระดับอนุวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสู่
มหาวิทยาลัยทางด้านวิทยา
ศาตร์และเทคโนโลยี
2000s - พัฒนาอุตสาหกรรม Two - เพิม่ กาลังของ TVE 50:50
Trillion & Twin Star - ขยายความเป็ นนานาชาติของ
TVE
2010s - พัฒนาอุตสาหกรรมเกิดใหม่ทงั ้ - มุ่งเน้นในเรื่องความเชื่อมต่อ 55:45
20
6 ประเภท ระหว่างความต้องการแรงงาน
- พัฒนาอุตสาหกรรมชาญฉลาด และความถนัดของนักเรียน
21
ทัง้ 4 ประเภท
- พัฒนาอุตสาหกรรมการบริการ
ทัง้ 10 ประเภท22
ทีม่ า: Ministry of Education, Taiwan ROC

19
โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแบบเบ็ดเสร็จหรือผสมผสาน (Comprehensive High School) เป็ นโรงเรียนใน
ลักษณะที่หลักสูตรเอื้อให้นักเรียนสามารถเรียนวิชาการสายสามัญไปพร้อมๆกับการเรียนวิชาชีพในลักษณะ
ของวิชาเลือกควบคู่ไปด้วยกัน ยึดหลักการเก็บหน่ วยกิจให้ครบเพื่อจบการศึกษา เป็ นลักษณ ะสถาบันการ
เรียนรูท้ เ่ี ปิ ดทางเลือกในองค์ความรูใ้ ห้มคี วามเป็ นอิสระมากขึน้
20
อุตสาหกรรมเกิดใหม่ (Emerging Industries) ทัง้ 6 คือ Healthcare, Bio-technology, Sophisticated
Agriculture, Leisure and Tourism, Cultural Innovation, Green Energy
21
อุตสาหกรรมชาญฉลาด (Smart Industries) ทัง้ 4 คือ Cloud Computing, Intelligent Electric Cars,
Intelligent Green Buildings, Inventions and Patents
22
อุตสาหกรรมบริการ (Service Industries) ทัง้ 10 คือ Cuisine Internationalization, Healthcare
Internationalization, Pop Music and Digital Contents, Convention Industry, International Logistics,
Innovation and Venture Capital, Urban Renewal, WIMAX, Chinese Electronic Business, Higher
Education Export
189
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เมือ่ เริม่ ศตวรรษที่ 21 การพัฒนาระบบอาชีวศึกษาให้ความสาคัญในเรือ่ งการเพิม่ กาลังของ


TVE การขยายความเป็ นนานาชาติ และการเชื่อมต่อสู่ภาคแรงงาน โดยในปี ค.ศ. 2010 จะเห็นได้
ว่าสัดส่วนของนักเรียนสายอาชีวศึกษาและสายสามัญนัน้ มีความใกล้เคียงกันมาก สะท้อนให้เห็นถึง
ความต้องการแรงงานของตลาดได้ไกล้ชดิ ขึน้ ซึง่ สื่อถึงการศึกษาทีม่ คี ุณภาพและในขณะเดียวกันก็ม ี
ประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน ระบบการศึกษาทีม่ ปี ระสิทธิภาพควรจะตอบสนองความต้องการแรงงาน
ได้อย่างแม่นยา เนื่องจากแรงงานเป็นสิง่ สาคัญทีจ่ ะช่วยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเหล่านัน้ ให้ถบี ตัวขึน้
ไปได้ในเวทีโลก

ภาพที่ 71: พัฒนาการของระบบอาชีวศีกษาของไต้หวัน

190
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นโยบายหรือความคิ ดริ เริ ม่ ของอาชีวศึกษาในไต้หวัน (Policy and Initiatives)


ตามทีไ่ ด้กล่าวไปในข้างต้นถึงเรือ่ งความสอดคล้องของอาชีวศึกษาในประเทศไต้หวันไปใน
หัวข้อที่แล้ว จะเห็นได้ว่าจุดเปลี่ยนที่ชดั เจนของแผนพัฒนาเศรษฐกิจของไต้หวันคือในช่วงปลาย
ศตวรรษที่ 20 หรือทศวรรษ 1970 เป็ นต้นมา ที่ได้มกี ารริเริม่ ก่อตัง้ สถาบันเทคโนโลยีขน้ึ มาเพื่อ
รับผิดชอบในการพัฒนาระบบ TVE ของประเทศ (Taiwan Institute of Technology) โดยที่
หน่ วยงานนี้เป็ นตัวนาร่องในเรื่องหลักสูตรความเป็ นเบ็ดเสร็จของ TVE ซึง่ เป็ นส่วนผสมของ ปวช.
อนุ วทิ ยาลัย (Junior College) วิทยาลัย (College) และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี (University of
Technology) ทัง้ นี้ก็เ พื่อ ตอบโจทย์แผนพัฒนาเศรษฐกิจที่มุ่งสู่ค วามเป็ นเลิศทางอุต สาหกรรม
ทางด้านเทคโนโลยี ซึง่ เป็ นการเปลีย่ นเป้าหมายจากภาคเกษตรกรรมดัง้ เดิม
หลังจากนัน้ เป็นต้นมา รัฐบาลไต้หวันจึงมีการส่งเสริม TVE ทัง้ ในด้านปริมาณและคุณภาพ
มีการพัฒนาสถาบันการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ตามนโยบายการปฏิรูปโครงสร้างอย่างจริ งจังโดยเริม่
ขึน้ ในช่วงทศวรรษที่ 90 ทัง้ นี้ การปฏิรปู ของการศึกษาในไต้หวันตัง้ อยู่บนพืน้ ฐาน 2 ประการ คือ
หนึ่ง ความเป็ นเสรีภาพทางการศึกษา (The Liberalization of Education) สอง ความหลากหลาย
ทางการศึกษา (The Diversification of Education) โดยทีค่ วามเป็ นเสรีภาพคือรูปแบบ ในขณะที่
ความหลากหลายคือตัวเนื้อใน
สาหรับนโยบายการส่งเสริมระบบอาชีวศีกษาของไต้หวัน สรุปได้เป็ น 3 กลุ่มนโยบายหลัก
(ดูตารางที่ 16) ได้แก่
1) การพัฒนาคุณภาพของการเรียนการสอน โดยมุง่ เน้นการพัฒนาเชิงคุณภาพ
2) การยกระดับสถาบันจากอนุ วทิ ยาลัย สู่วทิ ยาลัย และมหาวิทยาลัย เพื่อขยายเส้นทาง
อาชีพ และความต่อเนื่องในการอาชีวศึกษา
3) เพิม่ ความยืดหยุ่นของหลักสูตรการศึกษา เพื่อเปิดโอกาสให้มที างเลือกในการศึกษา
มากยิง่ ขึน้

191
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 16: สรุปนโยบายการส่งเสริมระบบอาชีวศีกษาของไต้หวัน


ประเด็นสาคัญ นโยบายการส่งเสริม
คุณภาพของการเรียน - สร้างโปรแกรมสาหรับ Adaptive Learning ในอาชีวศึกษาขัน้ สูง รวมไปถึง
การสอน การจัดสรรทรัพยากรการศึกษาอย่างทัวถึ ่ งในระดับพืน้ ที่ เพื่อให้เกิดความเป็ น
(การพัฒนาเชิงคุณภาพ) ธรรมในสถานศึกษา และกระตุน้ ให้เกิดการปรับเปลีย่ นโครงสร้างหลักสูตรการ
เรียนการสอน
- สร้า งโปรแกรมการพัฒ นาคุ ณภาพ (Quality Improvement) สาหรับ
อาชีวศึกษาขัน้ สูง (2007) โดยสถาบันการศึกษาทุกแห่ง มีสทิ ธิส่งข้อเสนอ
(Competitive Proposal) เพื่อให้ได้รบั การพิจารณาในการเข้ารับการชีแ้ นะและ
ความช่วยเหลือโดยตรงจากหน่วยงานรัฐ
- ยกระดับ คุ ณภาพการสอนในอนุ วิท ยาลัย (Junior College) (2004)
กระทรวงศึกษาธิการได้สนับสนุ นทางเงินทุนให้แก่สถาบันทางอาชีวศึกษา
TVE เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพในการสอนของสถาบันโดยแต่ ละ
สถาบันต้องส่ง Proposal กล่าวถึง จุดแข็ง ทรัพยากรทีม่ ี วิสยั ทัศน์และทิศ
ทางการพัฒนาทีต่ อ้ งการ เพื่อให้ได้รบั การพิจารณา
- ริเริม่ การใช้โครงการTeaching Excellence เพื่อมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย
เทคโนโลยี (2006) เพื่อเพิม่ คุณภาพการสอนในการศึกษาระดับสูงเพื่อการ
พัฒนาประสบการณ์ท่ดี ี (Best Practice) สาหรับประเทศ โดยมุ่งเน้นการ
พัฒนา
1. พัฒนาคุณภาพของครู
2. สร้างหลักสูตรทีด่ ี
3. เพิ่ ม พู น ความใผ่ รู้ ใ ฝ่ เ รี ย นของเด็ ก พร้ อ มๆไปกั บ การเพิ่ ม
ประสิทธิภาพในการเรียนรู้
4. สร้างระบบการประเมิน
5. สร้างและปรับปรุงโครงสร้างการสอนในแต่ละสถาบัน
- ส่งเสริมให้มกี ารมุ่งเน้นความเชีย่ วชาญ (Specialize) ในสาขาวิชาใดสาขาหนึ่ง
(Focus Direction)
การยกระดับสถาบันจาก - กระทรวงศึกษาธิการเปิ ดโอกาสให้มกี ารยกระดับสถาบันอาชีวศึกษา (1980)
อนุวิทยาลัย สู่วิทยาลัย เนื่องจากมีอุปสงค์แรงงานอาชีว ศึกษาขัน้ สูงนัน้ เพิม่ ขึน้ เป็ นอย่างมาก โดยมี
และมหาวิ ทยาลัย การพิจ ารณาจากประวัติผ ลงาน และศักยภาพของสถาบัน อนุ วิท ยาลัย
(ขยายเส้นทางอาชีพ และ สามารถยกระดับตนเองไปสู่มหาวิทยาลัยทางเทคโนโลยีได้ กล่าวคือสถาบัน
ความต่อเนื่องในการ เหล่านี้สามารถขยายการเรียนการสอน รวมไปถึงการรับรองวุฒกิ ารศึกษา
อาชีวศึกษา) สายอาชี ว ศึ ก ษาให้ ไ ปไกลยิ่ ง ขึ้ น กว่ า เดิ ม ซึ่ ง จะเป็ น การเปิ ดโอกาสสู่
ความก้าวหน้าในสายงานมากยิง่ ขึน้

192
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 16: สรุปนโยบายการส่งเสริมระบบอาชีวศีกษาของไต้หวัน (ต่อ)


ประเด็นสาคัญ นโยบายการส่งเสริม
เพิ ม่ ความยืดหยุ่นของ - มีการจัดตัง้ Comprehensive High School (1996) ที่มกี ารสร้างหลักสูตร
หลักสูตรการศึกษา อย่างครอบคลุมทัง้ สายสามัญและสายอาชีวศึกษา เปิ ดโอกาสให้นักเรียนมี
(เปิ ดโอกาสให้มที างเลือกใน ทางเลือกในการเลือกเรียนวิชาทีต่ นเองสนใจ โรงเรียนเปิ ดโอกาสให้เรียนทัง้
การศึกษามากยิง่ ขึน้ ) ในสายวิชาการ หรือสายอาชีพ โดยเมื่อจบออกไป นักเรียนจะสามารถเลือกได้
ทัง้ การสอบเข้ามหาวิทยาลัยตามปกติ หรือเลือกสอบแบบ TVE เพื่อเข้าสู่
Junior College, College of Technology หรือ University of Technology

ปัจจัยความสาเร็จของอาชีวศึกษาในไต้หวัน
ส าหรับ ป จั จัย ความส าเร็จ ของอาชีว ศึ ก ษาในไต้ ห วัน เกิด จากการให้ค วามส าคัญ ใน
องค์ประกอบต่างๆ ทัง้ ด้านการเรียนการสอน และ ระบบ (Programs and System) ให้มคี วามหลาย
หลาย เบ็ดเสร็จ และรอบด้าน เน้นการเชื่อมต่อกับสถาบันเอกชน (Private Institution) เน้นการ
ปฏิบตั ิใ นเชิงรุก และเน้ นเป็ นเลิศ ขณะที่ด้านหลักสูตรการสอน (Program) มีค วามหลายหลาย
ครอบคลุม และเน้ นการประยุกต์ใช้จริง นอกจากนี้ ยังเน้ นที่ประสิทธิภาพ (Performance) ความ
เป็ นเลิศในการร่วมมือทางด้านอุตสาหกรรมเชิงวิชาการ เน้ นการสร้างผลงาน (Outcome and
Achievement) คุณวุฒทิ ่แี สดงถึงทักษะอย่างแท้จริง อีกทัง้ เน้นการแข่งขัน (Competition) ระหว่าง
ผูเ้ รียนเพื่อกระตุน้ ให้เกิดการพัฒนาทักษะและสร้างสภาพแวดล้อมทีใ่ ฝก่ ารเรียนรูเ้ ชิงแข่งขัน

193
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 17: องค์ประกอบการศึกษาและปัจจัยความสาเร็จของอาชีวศึกษาในไต้หวัน


องค์ประกอบการศึกษา ปัจจัยความสาเร็จ
การเรียนการสอน และ ระบบ - หยิบยื่นความต่อเนื่องในสายอาชีพ และความยืดหยุ่นใน
(Programs and System) การย้ายหรือสับเปลีย่ นลักษณะการศึกษา (Vertical
-มีความหลายหลาย เบ็ดเสร็จ และรอบด้าน Continuity and Horizontal Flexibility)
- สิง่ นี้เป็ นจุดเด่นและปจั จัยหลักของอาชีวศึกษาไต้หวันที่
โดนเด่นขึน้ มาจากประเทศอื่น
สถาบันเอกชน - สถาบันเอกชนนัน้ มีเครือข่ายเชือ่ มต่อกับภาคอุตสาหกรรม
(Private Institution) และภาคธรุกจิ ดัง้ นัน้ แล้วการให้ภาคเอกชนเข้ามา
-ปฏิบตั ใิ นเชิงรุก และเน้นเป็ นเลิศ ดาเนินการทางด้านการศึกษาจะทาให้ความสอดคล้องของ
TVE และตลาดแรงงานมีมากขึน้
- กว่าร้อยละ 63.58 ของนักเรียนอาชีวศึกษาขัน้ สูงนัน้ อยูใ่ น
สถาบันเอกชน
- ในระดับอนุวทิ ยาลัย ประมาณร้อยละ 80 ของนักเรียนนัน้
อยู่ในสถาบันเอกชน
หลักสูตรการสอน - TVE พยายามทีจ่ ะนาเสนอหลักสูตรทีเ่ หมาะสมกับความ
(Program) สนใจและความสามารถของนักเรียน
-มีความหลายหลาย ครอบคลุม และเน้นการ - แต่ในขณะเดียวกันก็มุ่งเน้นการตอบโจทย์ดา้ นการจ้างงาน
ประยุกต์ใช้จริง - สิง่ ทีเ่ น้นสามอย่างคือ ทักษะทีใ่ ช้ได้จริง ความสามารถใน
การทางานร่วมกัน และการศึกษาทีเ่ น้นประสบการณ์เห็น
จริง
ประสิ ทธิ ภาพ - ไต้หวันมุ่งเน้นการพัฒนาในเรื่องของ Industrial-academic
(Performance) Co-operation คือการหยิบยื่นโอกาสในการเข้าทางานที่
-เป็ นเลิศในการร่วมมือทางด้านอุตสาหกรรมเชิง ตรงกับความสามารถของตนทันที
วิชาการ - สนับสนุน R&D เพื่อผลประโยชน์ของคนรุ่นปจั จุบนั และ
อนาคต
ผลงาน - มีการให้ความสาคัญกับการเรียนรูจ้ ากการฝึกฝน ทัง้
(Outcome and Achievement) นักเรียนและครู เพื่อทีจ่ ะให้ได้รบั ประสบการณ์ทส่ี าคัญและ
-คุณวุฒทิ แ่ี สดงถึงทักษะอย่างแท้จริง เป็ นประโยชน์
- มีการใช้ประกาศนียบัตรในเฉพาะด้านเพื่อใช้ในการการัน
ตีความสามารถหรือความถนัดนอกเหนือจากการใช้วฒ ุ ิ
การศึกษาทัวไป ่
การแข่งขัน - สนับสนุนการแข่งขันในหมู่ของนักเรียน เพื่อให้เกิดการ
(Competition) พัฒนาทักษะ และสร้างสภาพแวดล้อมการแข่งขันที่
สามารถเป็ นประโยชน์ให้แก่ตวั นักเรียนเองได้

194
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2) ระบบอาชีวศึกษาในประเทศเกาหลีใต้

ในปี ค .ศ.1962 รัฐบาลเกาหลีใต้ได้นาเอาชุดแผนการพัฒนาเศรษฐกิจ 5 ปีออกมาใช้ เป็น


แผนพัฒนาเศรษฐกิจแบ่งแยกออกได้เป็นช่วง ๆ และเมือ่ นามาวิเคราะห์เชื่อมโยงกับนโยบายทาง
อาชีวศึกษาแล้ว สามารถสรุปได้ดงั ตารางที่ 18

ตารางที่ 18: พัฒนาการของระบบอาชีวศีกษาของเกาหลีใต้


ช่วงปี ของ เป้ าหมายหลักของ แนวทางการพัฒนา ยุทธศาสตร์ หรือ
แผนการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิ จ การศึกษาในประเทศ นโยบาย สาคัญ
1962-1971 - ให้ความสาคัญของของ - เป้าหมายหลักคือการศึกษาที่ - ขยายและยกระดับ
(The First Two เจริญเติบโตในภาคการผลิต นาไปใช้ได้จริง ต่อต้านความเป็น การศึกษาในระดับ
Periods) ทีเ่ น้นแรงงาน เช่น คอมมิวนิสต์ และการพัฒนาอย่างมี Primary และ
อุตสาหกรรมสิง่ ทอ หรือ จริยธรรม Secondary
เสือ้ ผ้า - เริม่ ให้ความสาคัญกับการวางแผน - ให้ความสาคัญกับ
กาลังคนเพื่อการพัฒนาของ TVET (Technology
เศรษฐกิจ and Vocational
- ขยายโอกาสและการเข้าถึง Education and
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานเพื่อเยาวชน Training) ในช่วง
ทุกคน ปลายทศวรรษที่ 60
1972-1976 - ให้ความสาคัญมากขึน้ กับ - ให้ความสาคัญกับอาชีวศึกษามาก - นาแนวคิดทางด้าน
(The Third อุตสาหกรรมหนักอย่างเช่น ขึน้ โดยเริม่ ปูทางมาตัง้ แต่ปลาย การวางแผน
Periods) อุตสาหกรรมเคมี และ ทศวรรษที่ 60 เพื่อให้สามารถสร้าง กาลังคนเข้ามาใช้
อุตสาหกรรมการต่อเรือ ความแข็งแกร่งยิง่ ขึน้ ไปในช่วง (Manpower
ทศวรรษที่ 70 Planning)
- หลักสูตรเน้นเรื่องวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีมากยิง่ ขึน้ เช่นการแยก
วิชาเทคโนโลยีออกมาสอนต่างหาก
- Discovery and Enquiry ถูก
ผลักดันให้เป็ นเครื่องมือการสอนที่
สาคัญ

195
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 18: พัฒนาการของระบบอาชีวศีกษาของเกาหลีใต้ (ต่อ)


ช่วงปี ของ เป้ าหมายหลักของ แนวทางการพัฒนา ยุทธศาสตร์ หรือ
แผนการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิ จ การศึกษาในประเทศ นโยบาย สาคัญ
1977-1981 - รัฐบาลให้ความสาคัญกับ - ขยายและยกระดับ
(The Forth การศึกษา สาธารณสุข และ การศึกษาใน Upper
Periods) การอยู่อาศัย ให้อยูใ่ นวาระ Secondary
แห่งชาติ (National - ขยายการศึกษาใน
Agenda) ระดับมหาวิทยาลัย
- สร้างเสริมความ
1982-1986 - เน้นการพัฒนาอย่างสอด - ปฏิรปู ภาพลักษณ์ทย่ี ่าแย่ของการ แข็งแกร่งของระบบ
(The Fifth ประสานกันระหว่าง สอบเข้ามหาวิทยาลัยทีม่ ใี นสังคม การศึกษา TVET
Periods) เศรษฐกิจและสังคม (การแข่งขันทีก่ ดดันมากเกินไป)
- ปจั จัยทางสังคมเข้ามามี เช่นการลดความต้องการของ
บทบาทมากขึน้ นักเรียนทีต่ อ้ งเรียนกวดวิชา ซึง่ เป็ น
การก่อภาระทางการเงินให้แก่
ผูป้ กครอง
- ให้ความสาคัญกับการวางหลักสูตร
มากขึน้ (เน้นการบูรณาการ ของ
สาระวิชา)
1990 ถึงปจั จุบนั - สังคมมีความหลากหลาย - เปลีย่ นเป้าหมายจากการเน้นเชิง - Quality
และพลวัตการเปลีย่ นแปลง ปริมาณและการขยายตัวไปเป็ นการ Enhancement for
ทีเ่ ร็วมากยิง่ ขึน้ ทาให้การ เน้นในการวางแผนอุปทานกาลังคน K-12
วางแผนกาลังคนทาได้ยาก (Manpower Supply) และการเน้น - การลงทุนสาธารณะ
มากขึน้ คุณภาพ ความสอดคล้อง และความ สาหรับการศึกษา
- สังคมมีความเป็ น เป็ นเลิศในการศึกษา ระดับสูง
ประชาธิปไตยมากยิง่ ขึน้ มี - วางหลักสูตรโดยใช้ผเู้ รียนเป็ น - การเรียนรูต้ ลอดชีวติ
พลเรือนเพิม่ มากขึน้ ตามไป ศูนย์กลาง และให้ความสาคัญกับ (Lifelong Learning)
ด้วย ั
การเป็ นปจเจก
- ดังนัน้ แล้วการใช้กลไกตลาด
เข้ามาช่วยจึงน่าจะเป็ น
ทางออกทีด่ กี ว่าการวางแผน
โดยตรงจากฝา่ ยรัฐ
- รัฐยกเลิกการวางแผนระดับ
มหภาค
- มุ่งเน้นการพัฒนาสู่
เศรษฐกิจฐานความรู้
ทีม่ า: วิเคราะห์และรวบรวมโดยคณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

196
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 72: พัฒนาการของระบบอาชีวศีกษาของเกาหลีใต้

197
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นโยบายหรือความคิ ดริ เริ ม่ ของอาชี วศึ กษา / ระบบศึกษาโดยทั ่วไปของเกาหลีใต้


(Initiatives)
อาชีว ศึก ษาในประเทศเกาหลีใ ต้ไ ด้พ ฒ
ั นามาจากการศึก ษาสายอาชีพ ในระดับ มัธ ยม
ปลาย บวกกับหลักสูตรสอง หรือห้าปี ของโรงเรียนเทคนิค โดยโรงเรียนเทคนิคนัน้ เป็ นส่วนผสม
ของมัธยมศึกษาตอนปลายรวมเข้ากับแนวคิดของอนุ วทิ ยาลัย (Junior College) หรือความเป็ น
อนุ วทิ ยาลัยต่างหากก็เช่นเดียวกัน

ตารางที่ 19: นโยบายทางการศึกษาระบบอาชีวศีกษาของเกาหลีใต้


ช่วงเวลาที่เริ่มใช้นโยบาย นโยบายทางการศึกษา
1960s - รัฐบาลใช้เงินในการลงทุนเปิ ดโรงเรียนอาชีวศึกษาเป็ น
(ภาคการผลิตเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว และรัฐขยาย จานวนมาก เพื่อให้สอดคล้องกับความหลากหลายของอุป
อุตสาหกรรมเคมี) สงค์แรงงานจากฝา่ ยอุตสาหกรรม
1970s - หลักสูตรของโรงเรียนเทคนิคถูกปรับเปลีย่ นให้เป็ น
หลักสูตร สอง หรือสามปีในระดับอนุวทิ ยาลัย
1980s - ริเริม่ แนวคิดของสถาบันการศึกษาทีเ่ ป็ นมหาวิทยาลัยเปิ ด
(มีความต้องการแรงงานอาชีวศึกษามากขึ้นจากภาค เพื่อตอบโจทย์ในเรื่องของการยกระดับทักษะของแรงงาน
การผลิต สาเหตุจากการขาดแคลนนัน้ มาจากค่านิยม ไปพร้อมๆ กับโอกาสในการเรียน (Diploma)
การเรียนต่อมหาวิทยาลัยของนักเรียนทีจ่ บโรงเรียน
อาชีวศึกษาหรือเทคนิคในระดับมัธยมปลาย และ
แรงงานจบมัธยมปลายส่วนใหญ่ถูกดึงไปอยูท่ ภี ่ าค
บริการ)
1990s - สืบเนื่องจากปญั หาในปลายทศวรรษที่ 80 รัฐจึงพยายาม
เพิม่ จานวนของนักศึกษาอาชีวศึกษาให้มากกว่าสาย
สามัญร้อยละ 50 ภายในปี 1998 แต่กล็ ม้ เหลวเนื่อง
เพราะสัดส่วนของการเข้าเรียนยังคงเป็ นเท่าเดิมเพราะ
ค่านิยมยังคงไม่เปลีย่ นแปลง และโรงงานส่วนใหญ่เริม่ หัน
มาใช้เครื่องจักรกลในการผลิตเพื่อเป็ นการประหยัด
แรงงานส่งผลให้นโยบายไม่ประสบความสาเร็จ
1995s - ให้ทางเลือกในการศึกษามากขึน้ ในแง่ของสาขาวิชา และ
(Education Reform Proposal) ตัดส่วนทีเ่ กินความจาเป็ นออกเสีย
- มุ่งเน้นทักษะสามอย่างเป็ นสาคัญ (Foreign Language,
Literacy, Information Technology)

198
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 19: นโยบายทางการศึกษาระบบอาชีวศีกษาของเกาหลีใต้ (ต่อ)


ช่วงเวลาที่เริ่มใช้นโยบาย นโยบายทางการศึกษา
2010s - โรงเรียนสายวิชาชีพเฉพาะสาหรับมัธยมตอนปลาย
(Solving Over-education with Value Adjustment) (Meister High School) ถูกตัง้ ขึน้ มาเพื่อปรับแนวคิดและ
ภาพลักษณ์อาชีวศึกษาในสังคมให้ดขี น้ึ โดยเป็ นโรงเรียน
ทีค่ ดั เด็กทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถโดยเฉพาะ นามาต่อยอด
ในทัง้ ด้านความรู้ ทักษะ และประสปการณ์ เพื่อให้แรงงาน
นี้มที กั ษะทีเ่ หมาะสมและสามารถเข้าสูต่ ลาดแรงงานได้
อย่างมีประสิทธิภาพโดยทีไ่ ม่ตอ้ งพึง่ การเรียนหรือวุฒใิ น
ระดับมหาวิทยาลัย ในขณะเดียวกันก็เป็ นการยกระดับ
คุณภาพของอาชีวศึกษา สถานศึกษาลักษณะนี้ทม่ี คี วาม
เชื่อมโยงกับภาคเอกชนโดยตรง ทาให้ Meister High
เป็ นสถาบันทีส่ ามารถการันตีการมีงานทาของนักเรียนได้
ทีม่ า: วิเคราะห์และรวบรวมโดยคณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

ปัจจัยความสาเร็จของอาชีวศึกษาในเกาหลีใต้

แม้ว่าเกาหลีใต้ยงั ไม่สามารถทาให้อาชีวศึกษาประสบความสาเร็จได้เทียบเท่าไต้หวัน แต่


ก็ได้มกี ารริเ ริม่ แนวความคิดใหม่ๆ ที่จะนามาปรับปรุงระบบอาชีวศึกษา ทัง้ ในด้านของคุณภาพ
ปริมาณ และสังคม เช่นทีไ่ ด้กล่าวไปถึง Meister High School ทีม่ กี ารเริม่ ปฏิบตั อิ ย่างจริงจังตาม
แนวคิดในปี ค.ศ. 2010 โดยมีจุดเริม่ ต้นมาจาก โรงเรียนอาชีวศึกษาโดยทัวไปที ่ ่ผนั ตัวมาให้การ
เรียนการสอนในสาขาวิชาเฉพาะด้านที่ทางสถาบันและกระทรวงศึกษาธิการเล็งเห็นตรงกันว่า มี
ความพร้อมทัง้ ด้านบุคลากรและทรัพยากร เป็ นการทาตัวเองให้เป็ นเลิศทางด้านใดด้านหนึ่งอย่าง
ชัด เจน ครอบคลุ ม ไปถึ ง เป็ น ตัว กลางในการเชื่ อ มต่ อ ภาคการศึ ก ษาสายอาชีพ แล ะภาค
ผูป้ ระกอบการในขณะเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ผลลัพธ์ของแนวคิดนี้ยงั คงคอยจับตาดูกนั ต่อไปในช่วง
ระยะเวลาหนึ่ง

199
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 20: ปัจจัยความสาเร็จของระบบอาชีวศีกษาของเกาหลีใต้


ประเด็นหลัก ความหมายโดยนัย
ระบบแผนเพือ่ การเรียนรูข้ ณะทางาน - จุดประสงค์คอื การส่งเสริมความสามารถของภาค
(Plans for Establishing a Learn while Working อาชีวศึกษา ประสิทธิผล และเพิม่ อัตราการจ้างงานหยิบยื่น
System) และ โอกาสการเข้าทางานให้แก่คนในตลาดแรงงาน
การวางแผนขัน้ พื้นฐานเพือ่ นวัตกรรมทาง - จัดกระบวนทัศน์ของระบบใหม่ และทาให้สถาบันมีความ
อาชีวศึกษา เฉพาะในสาขาวิชามากขึน้
(Basic Plan for Innovating Secondary Vocational - กุญแจสาคัญในเรื่องนี้คอื Meister High School (โรงเรียน
Education) มัธยมศึกษาตอนปลายทีเ่ น้นสายอาชีพ คัดนักเรียนหัวกะทิ
โดยเฉพาะ เน้นการเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั จิ ริง)
การส่งเสริมสมรรถภาพและทักษะในการศึกษา - สร้างความเป็ นมาตรฐานในการศึกษา โดย The National
เพือ่ ตอบสนองอุปสงค์เป็ นหลัก Competency Standard (NCS) ทีต่ งั ้ มาตรฐานในเรื่องของ
(Competency-based Approaches for a Demand- ความรู้ ทักษะ และคุณภาพภาคอุตสาหกรรมใน
oriented Vocational Education) หลากหลายอาชีพทีจ่ ะเป็ นกลไกการขับเคลื่อนหลักของ
เศรษฐกิจ ปจจุ ั บนั ใช้ในระดับ Meister High School และ
อนุวทิ ยาลัย สถาบันนี้ถูกตัง้ ความหวังไว้ว่าจะเป็ นกลไก
การสะท้อนอุปสงค์จากทางฝา่ ยอุตสาหกรรม และภาค
ผูป้ ระกอบการอื่นๆได้ดที ส่ี ดุ
การเอื้ออานวยความสะดวกในกระบวนการการ - การขาดความเชื่อมต่อระหว่างภาคการศึกษาและภาค
ปฏิ รปู โดยการร่วมมือกันระหว่างภาคเศรษฐกิ จ แรงงานทาให้เกิดความด้อยประสิทธิภาพของทัง้ สองฝา่ ย
(Facilitating the Process of Reform through ดังนัน้ แล้วการวางแผนวางนโยบายจึงต้องมีความ
Collaboration) สอดคล้องกัน
- การร่วมมือกันระหว่างภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรมกับภาค
การศึกษาเพื่อสร้างความเป็ นหุน้ ส่วน เป็ นตัวขับเคลื่อน
สาคัญทัง้ ในลักษณะของการศึกษาและความมีประสิทธิภาพ
ของแรงงานทีเ่ ป็ นกาลังสาคัญของเศรษฐกิจ
ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

200
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3) ระบบอาชีวศึกษาในประเทศสิ งคโปร์
อาชีวศึกษานัน้ ถือว่าเป็ นหนึ่งในปญั หาสากลสาหรับการจัดการศึกษา และทักษะทางด้าน
อาชีวศึกษานี้เองทีม่ ชี ่องว่างในเรือ่ งของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มากทีส่ ุด
สิง่ ที่เป็ นความท้าทายที่สาคัญของการศึกษาสายนี้คอื การปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์นัน่ เอง
รัฐบาลของประเทศสิงคโปร์นัน้ มีค วามเชื่อ ในการพัฒนาระบบการศึกษาและมีการลงทุนทัง้ การ
สนับสนุ นมหาวิทยาลัย โพลีเ ทคนิค แต่ จะเน้ นไปทางของอาชีว ศึกษาและเทคนิคศึกษา ภายใต้
สถาบันการศึกษาทางด้านเทคนิค (Institute of Technical Education หรือ ITE) ทีม่ กี ารพัฒนา
อย่างต่อเนื่องเรือ่ ยมาตัง้ แต่การประกาศอิสรภาพของประเทศในปี ค.ศ.1965

201
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 21: เป้ าหมาย แนวทางการพัฒนา และการปฏิ บตั ิ การหลักของระบบอาชีวศีกษาของสิ งคโปร์


ช่วงเวลา เป้ าหมายหลักของการพัฒนาเศรษฐกิ จ แนวทางการพัฒนาการศึกษา การปฏิ บตั ิ การ
ของประเทศ
1960s – 1970s เนื่องจากการค้าขายระหว่างประเทศและ - มีการขยายตัวทางการศึกษาอย่างรอบ - ตัง้ สถาบันอาชีวศึกษาแห่งสิงคโปร์ขน้ึ มา ในปี 1964
กิจกรรมในลักษณะสินค้าบริการไม่สามารถ ด้าน ทัง้ การศึกษาในระดับประถม (Singapore Vocational Institute)
Labor Intensive Economy ทีจ่ ะรองรับแรงงานในประเทศได้ จึงต้องมี มัธยม และอาชีวศึกษา - ตัง้ หน่วยงานการศึกษาสายช่างเทคนิคขึน้ มา
Transition to Industrialized การกระจายความเสีย่ ง กระตุน้ เศรษฐกิจ - วางรากฐานทีจ่ าเป็ นสาหรับการศึกษา (Technical Education Department หรือ TED) เพื่อ
Economy ผ่านภาคส่วนอุตสาหกรรม และสร้างอาชีพ ทักษะพืน้ ฐานของอาชีวศึกษา พัฒนาการศึกษาสายอาชีพ การฝึกทักษะเพื่อการ
จากการริเริม่ อุตสาหกรรมรูปแบบใหม่ - การศึกษาแนวทางหลักยังคงเป็นใน อุตสาหกรรมและบุคลากรครู
ลักษณะของสายวิชาการ - จัดตัง้ National Trade Certificate (NTC) เพื่อเป็ น
- ตัง้ Industrial Train Board ขึน้ มาเพื่อ หน่วยงานในการประกันคุณภาพทักษะในภาพรวม
บริหาร จัดการ และเพิม่ ความเข้มข้น - จัดตัง้ Economic Development Board (EDB) เพื่อ
ให้แก่การฝึกทักษะการอุตสาหกรรม* ดาเนินการในเรื่องของการดึงดูดการลงทุนโดยตรง
หรือ FDI (Foreign Direct Investment) เข้าสู่
ประเทศ
- ร่วมมือกับประเทศอื่นๆเพื่อจัดตัง้ MNCs (Multi-
national Company) ในลักษณะของศูนย์ฝึกอบรม
ร่วมระหว่างรัฐบาล (Joint Govt. Training Centers)
ทีม่ ุ่งหมายร่วมมือในเรื่องการจัดสรรกาลังคนสาย
เทคนิค

202
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 21: เป้ าหมาย แนวทางการพัฒนา และการปฏิ บตั ิ การหลักของระบบอาชีวศีกษาของสิ งคโปร์ (ต่อ)
ช่วงเวลา เป้ าหมายหลักของการพัฒนาเศรษฐกิ จ แนวทางการพัฒนาการศึกษา การปฏิ บตั ิ การ
ของประเทศ
1980s มีเป้าหมายในการพัฒนาเชิงอุตสาหกรรมปิ - เสริมสร้างคุณภาพของการศึกษาใน - จัดตัง้ Vocational and Industrial Training Board
โตรเคมี ไบโอเทคโนโลยี และเทคโนโลยี ทุกๆระดับสถาบัน (VITB) ขึน้ มาแทนที่ ITB ด้วยภารกิจทีก่ ว้างขึน้
Capital-Intensive Economy สารสนเทศ ไปพร้อมๆกับการผลิตการด้าน - หลังจากตัง้ เป้าประสงค์ในช่วงปี 90 เริม่ มุ่งเน้นการแผ่ขยายการพัฒนาทักษะให้สอดคล้องกับ
บริก าร ตรวจสอบ การเงิน การผลิต และ เห็นได้ชดั เจนว่า เวทีทส่ี งิ คโปร์ตอ้ งให้ อุตสาหกรรมหลักของประเทศ
การจัดซื้อจัดจ้าง ทัง้ นี้แล้ว ในการพัฒนามี ความสาคัญ คือ ส่วนของการศึกษา - มีการปรับเปลีย่ นโครงสร้างหลักสูตรเพื่อพัฒนาความ
สามเสาที่เป็ น ตัว ชูโ รงของการพัฒ นาทาง หลังการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 9 ปี รวมไป เป็ นมืออาชีพ สร้างบุคลากรครูทม่ี คี ุณภาพยิง่ ขึน้
เศรษฐกิจคือ Mechanization Automation ถึงระดับมหาวิทยาลัย โพลีเทคนิค และ และพัฒนาระบบฐานข้อมูล
และ Computerization VITB เพื่อการรับประกันคุณภาพและ - สร้างระบบ Continuing Education and Training
จานวนของกาลังคนด้านเทคโนโลยีขนั ้ (CET) เพื่อการสานต่อ ยกระดับ และฝึกทักษะให้แก่
ในช่ ว งปี 90 ทิ ศ ทางในการพั ฒ นาของ สูง ความรู้ และบริการ แรงงาน โดยมุง่ เป้าหมายไปทีก่ ลุ่มผูด้ อ้ ยโอกาส
สิงคโปร์เป็ นไปในลักษณะของการส่งเสริม - สร้างแผนงานการฝึกฝนสามรูปแบบคือ Basic
ภาคการผลิตและภาคบริการให้ข้นึ มาเป็ น Education for Skills Training (BEST) Work
ตั ว ขั บ เ ค ลื่ อ น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ค ว บ คู่ กั บ Improvement Through Secondary (WISE) และ
ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส นั บ ส นุ น ใ ห้ Modular Skills Training (MOST)
ผูป้ ระกอบการมีความหลากหลาย ยกระดับ - ริเริม่ นโยบายการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 10 ปี อย่าง
และพัฒนาไปสู่การเป็ นบริษัทส่งออก รวม จริงจังเพื่อการรับประกันคุณภาพทักษะของกาลังคน
ไปถึ ง ส่ ง เสริม การลงทุ น ในต่ า งแดนด้ ว ย - ก่อตัง้ Institute of Technical Education (ITE)
เช่นกัน สาหรับการดูแลจัดการการศึกษาระดับสูงกว่ามัธยม
ต้นในปี 1992 ซึง่ เข้ามาแทนที่ VITB เพื่อการนาพา
ไปสูร่ ะดับโลก

203
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 21: เป้ าหมาย แนวทางการพัฒนา และการปฏิ บตั ิ การหลักของระบบอาชีวศีกษาของสิ งคโปร์ (ต่อ)
ช่วงเวลา เป้ าหมายหลักของการพัฒนาเศรษฐกิ จ แนวทางการพัฒนาการศึกษา การปฏิ บตั ิ การ
ของประเทศ
2000s เร่งการพัฒนาเพื่อ เศรษฐกิจที่มีความเป็ น - เน้นความสาคัญของวิทยาศาสตร์ดา้ น - สร้างแรงจูงใจให้มนี กั เรียนต่างชาติเพิม่ มากขึน้
โลกาภิ ว ัฒ น์ พร้ อ มไปด้ว ยการริเ ริ่ม การ Biomedical Info-communication - สร้างเครือข่ายกับสถาบันทีม่ ชี ่อื เสียงนอกประเทศ
Knowledge-Intensive ประกอบการ และความสามารถกระจาย Integrated Resorts วิศวกรรมทีม่ มี ลู ค่า
Economy ความเสีย่ งได้อย่างดีและในขณะเดียวกันก็ สูง และเทคโนโลยีสร้างสรรค์
พยายามที่ จ ะเสริ ม สร้ า งการผลิ ต ระดั บ - สร้างความเป็ นศูนย์กลางความรู้
High-end ด้วยเพราะเห็นความสาคัญของ (Knowledge Hub)
ภาคการบริการในฐานะกลไกการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจทีด่ ี
ทีม่ า: วิเคราะห์และรวบรวมโดยคณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

204
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

จากการศึกษาตามประวัตทิ ่ผี ่านมา อาชีวศึกษาในสิงคโปร์มแี นวทางการพัฒนาประเทศ


โดยยึดเอาความมีอยู่ของทรัพยากรของตนเองเป็ นทีต่ งั ้ และมีการเร่งพัฒนาให้เกิดความสมดุลของ
อุปสงค์และอุปทานของแรงงาน เกิดความสอดคล้อง และมีหน่ วยงานที่จดั ตัง้ ขึ้ นมาเพื่อการพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง ความเอาใจใส่และการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในบริบทระดับประเทศนี้เองทีท่ าให้สงิ คโปร์
สามารถดึง ศัก ยภาพของการเรีย นการสอนภาคอาชีว ศึก ษาออกมาได้อ ย่า งเต็ม ประสิท ธิภ าพ
นอกจากนี้ อีกประการหนึ่งทีส่ าคัญ คือ ความชัดเจนของประเทศในการตัดสินใจว่าอุตสาหกรรมการ
ผลิตในรูปแบบใดทีป่ ระเทศต้องการให้เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ

ภาพที่ 73: พัฒนาการของระบบอาชีวศีกษาของสิ งคโปร์

นโยบายหรือความคิ ดริ เริ ม่ ของอาชีวศึกษาในสิ งคโปร์ (Policy and Initiatives)


ในส่วนนี้จะเป็ นการวิเคราะห์ประเด็นทางด้านนโยบายอาชีวศึกษาหรือการฝึ กฝนทักษะ
แรงงานในประเทศสิงคโปร์เพื่อศึกษากลไกทางพัฒนาทางด้านแรงงานในภาพรวม

205
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 22: นโยบายหรือความคิ ดริเริ่มของอาชีวศึกษาในสิ งคโปร์


ประเด็นสาคัญ นโยบายสาคัญ
การฝึ กฝนทักษะเพือ่ การเข้าสู่ - Basic Education for Skills Training (BEST) เป็ นโปรงแกรม
ตลาดแรงงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สาหรับการฝึ กฝนทักษะทีจ่ าเป็ นให้แก่แรงงานระดับผูใ้ หญ่ เช่น
ความคล่องในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการต่อยอดในการศึกษา
และการส่งเสริมทักษะในอนาคต
- Worker Improvement Through Secondary Education
(WISE) คือ โปรแกรมสาหรับแรงงานผู้ใหญ่ ท่ีจบโปรแกรม
BEST เพื่อการสอบ General Certificate of Education (GCE)
ระดับ N-Level
- Modular Skills Training Initiative (MOST) คือโปรแกรมขนาด
ใหญ่สาหรับผูท้ ต่ี อ้ งการทักษะใหม่ หรือยกระดับทักษะตนทีม่ อี ยู่
แล้วด้วยโปรแกรมลัก ษณะของ Part-time ที่มีเวลาให้เลือ ก
แล้วแต่ความสะดวกของบุคคลนัน้ ๆ
- Adult Cooperative Training Scheme (ACTS) คือโปรแกรมที่
มุ่งเน้นพัฒนากลุ่มแรงงานอายุ 20-40 ปี ทีม่ ที กั ษะต่า
- Training Initiative for Mature Employees (TIME) พัฒนา
ทักษะแรงงานอายุมากกว่า 40 ปี ขน้ึ ไปเพื่อการสอบใบประกอบ
อาชีพ National ITE Certification (NITEC) โดยมีการเรียนการ
สอนเป็ นระยะเวลา 6 เดือน ในหลากหลายภาษาแล้วแต่ความ
ต้องการ เช่น อังกฤษ จีน มาเลย์ หรือ ทามิล
- Reskilling for New Economy Workforce (ReNEW) ส่งเสริม
ในเรื่องของการมีอาชีพตลอดชีวิต (Lifelong Employability)
ผ่า นการให้ก ารศึก ษาและการฝึ ก ฝนทัก ษะประกอบไปด้ว ย3
ส่วนคือ
1. Fast Track Program ทาให้แรงงานสูงวัยได้รบั การ
ประกันฝีมอื ในระยะเวลาทีส่ นั ้ กว่า ด้วยคอร์สรวบรัด โดย
มุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายทีจ่ บจาก ITE หรือเท่าเทียม
2. Post-Nitec Program จะเน้นผูท้ จ่ี บการศึกษาจาก ITE
ด้วยเช่นกันเน้ นการเพิ่มทักษะใหม่ ที่เป็ นความฉพาะ
ทางด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ
3. Top-Up Certification Scheme เป็ นโปรแกรมทีท่ าให้ผู้
ทีจ่ บจาก ITE ได้รบั ใบรับรองอื่น ๆ เพิม่ เติมจากทีม่ อี ยู่

206
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 22: นโยบายหรือความคิ ดริเริ่มของอาชีวศึกษาในสิ งคโปร์(ต่อ)


ประเด็นสาคัญ นโยบายสาคัญ
การสร้างมาตรฐานทีด่ ีเพือ่ การประกัน - มี ก ารจัด ตั ง้ สถาบัน เพื่ อ อาชี ว ศึ ก ษาอย่ า งชั ด เจน ซึ่ ง ก็ คื อ
คุณภาพอาชีวศึกษา Institute of Technical Education (ITE)
- โดยมีหน้าทีส่ าคัญในการจัดสรรหาโปรแกรมการฝึ กฝน
ด้วยการสร้างหน่ วยงานทีม่ ีความ และการฝึ ก งาน รวมไปถึง การจัด การการศึก ษาสาย
รับผิดชอบทีช่ ดั เจน อาชีพอย่างต่อเนื่อง
- สร้างหลักสูตรที่มีความเป็ น Broad-based ที่เน้ นทัง้
ทฤษฎีและการปฏิบตั ิ
- สร้างหลักสูตร Multi-disciplinary ทีใ่ ห้โอกาสการเรียน
ในรายวิชาอย่างกว้างขวาง
- มีการสร้างเครือข่ายร่วมกันกับบริษทั เอกชนเพื่อสร้าง
เสริมฐานของทักษะและความรู้ และเปิ ดโอกาสให้มกี าร
เรียนรูด้ ว้ ยการลงมือปฏิบตั จิ ริง
สร้างเครือข่ายเพือ่ การต่อยอด - จัดตัง้ Singapore Institute of Technology (SIT) สร้าง
อาชีวศึกษา เครือข่ายกับมหาวิทยาลัยต่างชาติทม่ี ชี ่อื เสียง เพื่อสร้างหนทาง
การขยายการศึก ษาสายอาชีพขัน้ สูง และจัดให้นัก เรีย นโพลี
เทคนิคสามารถเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยภายในประเทศที่อยู่
ภายใต้การสนับสนุ นของรัฐ โดยเครือข่ายปจั จุบนั ประกอบไป
ด้วย
 Culinary Institute of America
 Digipen Institute of Technology
 Glasgow School of Art
 Newcastle University
 Technical University of Munich
 University of Glasgow
 University of Manchester
 University of Nevada
 Las Vegas and Wheelock College
 และอื่น ๆ ทีจ่ ะตามมาอีกจานวนมาก
ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

207
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ปัจจัยความสาเร็จของการอาชีวศึกษาในประเทศสิ งคโปร์
หลังจากการจัดตัง้ สถาบันการศึกษาอย่างมันคงในปี
่ ค.ศ.1992 ITE ในประเทศสิงคโปร์นนั ้
ได้พฒั นาการศึกษาสายอาชีพและเทคนิคสู่รปู แบบเพื่อความเป็ นเลิศอย่างชัดเจน ทัง้ นี้ ความสาเร็จ
ของการอาชีว ศึก ษาของประเทศสิง คโปร์ ข้นึ อยู่ก ับ หลากหลายป จั จัย อาทิ การวางนโยบายที่
สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาประเทศ การปรับทัศ นคติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความเชื่อมันใน ่
ศักยภาพและการเปลี่ยนแปลงของฝ่ายรัฐบาลที่มตี ่ อ ประเทศ ซึ่งเป็ นฝ่ายที่รเิ ริม่ การลงทุ นอย่าง
ต่อเนื่อง ทัง้ ในการพัฒนาทักษะแรงงานและอาชีวศึกษา ทัง้ หมดนี้เพื่อการสร้างความเปลีย่ นแปลงที่
แท้จริง

ตารางที่ 23: ปัจจัยความสาเร็จของการอาชีวศึกษาในประเทศสิ งคโปร์


ประเด็นหลัก ขยายความโดยนัย
การวางนโยบายทาง อาชีวศึกษามีความสาคัญอย่างมากสาหรับ ประเทศที่ต้องการผันตนเข้าสู่
อาชีวศึกษาให้สอดคล้อง เศรษฐกิจที่เน้ นความเป็ นอุตสาหกรรม ดังนัน้ เมื่อได้มีการกาหนดทิศทางของ
กับเป้ าหมายการพัฒนาของ ประเทศอย่างชัดเจนว่าต้องการมุ่งเน้นความเป็ นอุตสาหกรรมที่แน่ นอนแล้ว การ
ประเทศ วางแผนกาลังคนและการสร้างทักษะแรงงานเทคนิคจึงกลายเป็ นเครื่องมือของการ
ขับ เคลื่อ นประเทศ อีก ทัง้ ยัง เป็ น เครื่อ งมือ ในการชัก จูง การลงทุ น โดยตรงจาก
ต่างชาติ (FDI) อีกด้วย
จุดเปลี่ยนที่ชดั เจนของอาชีวศึกษาในสิงคโปร์คอื การจัดตัง้ Institute of
Technical Education ด้วยจุดประสงค์เพื่อ ยกระดับอาชีวศึกษาเป็ นหนึ่งในเสา
หลักของการศึกษา และเปลีย่ นทิศทางการพัฒนาอาชีวศึกษาสูค่ วามเป็ นสากล
การปรับเปลีย่ นทัศนคติ ก่ อ นที่ จ ะมี ก ารจัด ตั ง้ ITE ขึ้น และช่ ว งต้ น ของการริ เ ริ่ ม ความเป็ น
ของประชาชนทีม่ ีต่อ อุตสาหกรรม ค่านิยมของส่วนร่วมทีม่ ตี ่อการศึกษานัน้ เป็ นอุปสรรคอย่างมากต่อ
อาชีวศึกษา การพัฒนาอาชีวศึกษา เพราะผู้ปกครองในสังคมล้วนคาดหวังให้ลูกหลานเข้าสู่
ระบบการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย เพื่อคุณวุฒทิ เ่ี ป็ นทีย่ อมรับของสังคม
รัฐบาลได้พยายามเป็ นอย่างมากในการเปลีย่ นภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษา
สิงคโปร์ ไม่ว่าจะเป็ นด้วยการรณรงค์ในเรื่องความสาคัญของแรงงานสายอาชีพ
การแทรกวิชาทักษะลงในหลักสูตรการเรียนการสอนภาคบังคับ หรือแม้แต่ การ
โฆษณาทางสือ่ เข้าช่วย อย่างไรก็ตาม โครงการดังกล่าวไม่สามารถทีจ่ ะทาให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงในสังคมโดยภาพรวมได้จนกระทังการเกิ ่ ดของ ITE ซึ่งมีการ
ทางานในลักษณะของความผสมผสานของการสื่อสาร การตลาด และการสร้าง
แบรนด์ (Branding) ในการเปลีย่ นภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษา โดยมีปจั จัยสาคัญ
อยู่ ท่ี วิ ท ยาลั ย ร่ ว มสมัย ที่ ก่ อ ตั ง้ ขึ้น มาใหม่ ท่ี เ ป็ น สถาบัน ที่ ถื อ ว่ า เป็ น กุ ญ แจ
ความสาเร็จของการพัฒนา ITE ของสิงคโปร์

208
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 23: ปัจจัยความสาเร็จของการอาชีวศึกษาในประเทศสิ งคโปร์(ต่อ)


ประเด็นหลัก ขยายความโดยนัย
การเรียนรูแ้ ละร่วมมือกับ อาชีวศึกษาในสิงคโปร์มพี น้ื ฐานอยู่บนการบ่มเพาะทักษะก่อนการเข้า
ภาคเอกชน สู่ตลาดแรงงาน ดังนัน้ จึงมีความเกี่ยวข้องกับภาคเอกชนสูง ทัง้ ในเรื่องของ
โปรแกรมสร้างเสริมประสบการณ์ ทักษะ และความสามารถทางเทคโนโลยี
ในช่วงเริม่ แรกของอาชีวศึกษาในสิง คโปร์จะมีเครือข่ายกับบรรษัทข้ามชาติท่ี
เข้ามาจากต่างประเทศ (Foreign Multinational National Corporation) ซึง่
เป็ น ภาคส่ว นที่เ ข้า มาส่ ง เสริม ทัก ษะเฉพาะทางซึ่ง ในประเทศสิง คโปร์ไ ม่
สามารถบ่มเพาะเองได้ โดยมีค่าตอบแทนจากคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ
(Economic Development Board) เป็ นแพ็คเกจการลงทุน (Investment
Package) และได้พฒ ั นาต่อมาจนกลายเป็ นโครงการระหว่างรัฐบาลสาหรับ
สถาบันเทคนิคด้วยความร่วมมือระหว่าง สิงคโปร์ ญีป่ นุ่ เยอรมนี และฝรังเศส

ในยุค 70 ซึง่ ได้แทรกซึมเข้าสูล่ กั ษณะการบริหารจัดการของโพลีเทคนิค และ
ITE ในปจั จุบนั
ยิง่ ไปกว่านัน้ แล้ว การวางหลักสูตรอาชีวศึกษาปจั จุบนั ต้องมีความ
ร่ว มมือจากภาคส่วนสาคัญ ทางภาคธุ รกิจและอุต สาหกรรม ทัง้ ในการร่ า ง
หลัก สูต ร การออกแบบ ทบทวน และพัฒ นา อีก ทัง้ ยัง มีก ารแลกเปลี่ย น
เทคโนโลยีทห่ี ลากหลาย ผูเ้ ชีย่ วชาญ และทรัพยากรทีใ่ ช้ในการฝึ กฝนทักษะ
ระหว่างภาคเอกชนและสถาบันฝึ กฝนทักษะแรงงานที่เป็ นเครือข่ายอีกด้วย
เช่นกัน
การทางานภายในองค์กรทีด่ ี ITE ประสบความส าเร็จ ด้ว ยการสร้ า งภาพลัก ษณ์ ใ หม่ ใ ห้แ ก่
อาชีวศึกษาสิงคโปร์ สาหรับกลุ่มนักเรียนทีไ่ ม่ต้องการเรียนในสายวิชาการ
ให้หนั มามีทศั นคติทด่ี ี มีภาพวิสยั ทัศน์ และเป้าประสงค์ทช่ี ดั เจน ทัง้ นี้เป็ นไป
ได้ ม ากด้ ว ยมี เ พราะผู้ น าที่ดี คนในองค์ ก รที่มีค วามเป็ น มือ อาชีพ และมี
ความสามารถ
วัฒนธรรมในองค์กรซึง่ เรียกว่า “ITE Care” นัน้ เป็ นจุดเด่นของ ITE ที่
แท้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความใส่ใจของบุคลากรที่ มตี ่ อนักเรียนในระบบ
ลักษณะการทางานมีความเป็ น Pro-active Approach ในเชิงของการเสาะ
แสวงหาหนทางเพื่อการพัฒนาเพื่อความเป็ นเลิศ เพิม่ พูนคุณค่า และสนอง
ความต้องการของนักเรียนและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียในรอบด้าน อีกทัง้ ยังมีการ
เปิ ดกว้างยอมรับซึง่ ความคิดใหม่ๆ โดยแผนการพัฒนาในช่วงปี ค.ศ. 2010 –
2014 นัน้ มีธมี อยู่ท่ี “ITE Innovative” ซึ่งหมายความว่าการพัฒนาของ
อาชีวศึกษาของสิงคโปร์ยงั ไม่หยุดแค่เพียงเท่านี้

209
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4) ระบบอาชีวศึกษาในประเทศไทย

แท้จ ริง แล้ว อาชีว ศึก ษาในในประเทศไทยนัน้ มีม าแต่ ช้านาน ก่ อ ตัง้ ขึ้นในปี ค.ศ. 1900
ตามทีร่ ะบุไว้ในโครงการการศึกษา ค.ศ. 1898 ในลักษณะของโรงเรียนวิสามัญ มุ่งเน้นการเรียนการ
สอนทักษะที่ใช้ในการประกอบอาชีพ โดยโรงเรียนอาชีวศึกษาแห่งแรกทีถ่ ูกจัดตัง้ ขึน้ คือ โรงเรียน
พาณิชยการ ณ วัดมหาพฤฒาราม และวัดราชบูรณะ ต่อมาจึงมีการเพิม่ เติมในสายการเพาะช่าง
และกสิกรรม ในอาชีวศึกษาแห่งอื่น ๆ ตามมาภายหลัง
จากการเปรียบเทียบเป้าประสงค์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯกับแนวทางการพัฒนาทาง
อาชีวศึกษาของประเทศ จะสามารถเห็นได้ว่าความสอดคล้องของนโยบายทางการอาชีวศึกษานัน้ มี
ความสอดคล้องกับเป้าประสงค์ระดับประเทศต่ า อีกทัง้ ตัวเป้าประสงค์เองยังไม่มที ศิ ทางของการ
พัฒนาหรือบ่มเพาะศักยภาพภายในประเทศอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะแผนเศรษฐกิจฯ ที่ 1-6 นัน้
ชีใ้ ห้เห็นถึงการพัฒนาทีไ่ ร้สมดุล กล่าวคือ ขึน้ อยู่กบั ปจั จัยภายนอกเช่นการลงทุนจากต่างชาติเป็ น
หลัก เน้นการดึงดูดการลงทุนจากภายนอก ซึง่ เกี่ยวพันกับปจั จัยทีไ่ ม่สามารถควบคุมได้หลากหลาย
อย่ า ง ดัง นั ้น ลัก ษณะของการเน้ น อุ ต สาหกรรมการส่ ง ออกจึง ไม่ ส ามารถจะยัง ผลไปถึง การ
เจริญเติบโตอย่างยังยื ่ นได้
นับจากปลายแผนเศรษฐกิจฯ ที่ 7 เป็ นต้นไปได้มกี ารขยายการพัฒนาที่เป็ นไปในรูปแบบ
ครอบคลุมมากยิง่ ขึน้ ทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรมนุ ษย์ และสิง่ แวดล้อม รวมถึงมีการเริม่
ให้ความสาคัญกับการจัดการกาลังคนมากยิง่ ขึน้ มุ่งเน้นให้คนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา อย่างไร
ก็ตาม ลักษณะของนโยบายส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจยังคงมีความคลุมเครือ และไม่
สอดคล้องกับหลักสูตรอาชีวศึกษาแม้ว่าภาคส่วนอาชีวศึกษานัน้ เป็นภาคส่วนทีส่ าคัญในการบ่มเพาะ
ทักษะแรงงานเพื่อการผลิตโดยตรง

210
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 24: การพัฒนาที่สาคัญของอาชีวศึกษาของประเทศไทย


ช่วงปี แผนพัฒนาเศรษฐกิ จแห่งชาติ การพัฒนาทีส่ าคัญของอาชีวศึกษา
1960s แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ที่ 1-2 - ได้รบั การช่วยเหลือจากองค์กร SEATO จากประเทศสหรัฐอเมริกาใน
มุ่งเน้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มีการพัฒนาอุตสาหกรรมและการ การปรับปรุงหลักสูตรการช่างเช่น ช่างก่อสร้าง ช่างยนต์ ช่างไฟฟ้า ช่าง
ลงทุนภาคเอกชนมากขึน้ รวมไปถึงการให้ความสาคัญกับโครงสร้างพืน้ ฐาน วิทยุ ช่างเชื่อมโลหะ เป็ นต้น
ในการขนส่งและการชลประทานเป็ นต้น อีกทัง้ ยังให้ความสาคัญกับการ - มีอตั รานักเรียนอาชีวศึกษาประเภทช่างอุตสาหกรรมในระดับมัธยมตอน
อุตสหกรรมเพื่อทดแทนการสาเข้าสินค้า โดยการตัง้ โรงงงานผลิตสินค้า ปลายที่ 4 สูงขึน้
สร้างสาธารณูปโภคและจัดตัง้ สานักคระกรรมการส่งเสริมการลงทุน - รัฐบาลกูย้ นื เงินจากธนาคารโลกเพื่อการพัฒนาอาชีวศึกษา ประสานงาน
ทาให้เกิดการพัฒนาอย่างรุดหน้า เศรษฐกิจเติบโตเกินเป้า รายได้ต่อหัวมีค่า ระหว่างโรงเรียนในโครงการประเภทช่างอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
สูงขึน้ แต่ภายหลังมีการหดตัวลงเพราะเหตุการณ์สงครามเวียดนาม การ รวม 25 แห่ง
ลงทุนจากต่างประเทศลดลง และวิกฤตทางด้านการเงินและการค้า ทาให้ผล - สถานอาชีวศึกษาหลายแห่งได้รบั การพัฒนาและเปิ ดการเรียนการสอน
ผลิตภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมนัน้ ไม่เป็ นไปตามเป้า จนถึงระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขัน้ สูง (ปวส.)
1970s แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ที่ 3-4 - จัดตัง้ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า โดยรวมเอาวิทยาลัยเทคนิค
เน้นส่งเสริมการส่งออก โดยในช่วงเวลานี้มเี งินลงทุนจากต่างประเทศเข้ามา ธนบุรี วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ วิทยาลัยโทรคมนาคมและ
อย่างมาก โดยนักลงทุนต่างชาติมคี วามสนใจทีจ่ ะหาตลาดใหม่ วิทยาลัยก่อสร้างภายใต้กรมอาชีวศึกษาไปรวมเป็ นสถาบันเข้าด้วยกัน
ภายในประเทศไทย ต้องงานแรงงานค่าจ้างต่า สิทธิพเิ ศษด้านภาษีและการ และทาการเปิ ดการเรียนการสอนถึงปริญญาตรี
คุม้ ครองจากรัฐ - จัดตัง้ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาทีเ่ ปิ ดสอนถึงระดับปริญญาตรี
เพิม่ มากขึน้
- ยกฐานะโรงเรียนเกษตรกรรมทัง้ หมด 12 แห่งเป็ นวิทยาลัย
- กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค
(ปวท.)

211
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 24: การพัฒนาที่สาคัญของอาชีวศึกษาของประเทศไทย (ต่อ)


ช่วงปี แผนพัฒนาเศรษฐกิ จแห่งชาติ การพัฒนาทีส่ าคัญของอาชีวศึกษา
1980s แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ที5่ - จัดตัง้ วิทยาลัยการอาชีพ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดมุกดาหาร และแม่ฮ่องสอน โดย
ั ่
เน้นการพัฒนาเชิงรุก โดยการเร่งขยายพืน้ ทีช่ ายฝงทะเลตะวันออกให้เป็ น มีเป้าหมายทีจ่ ะจัดการศึกษาทุกประเภทวิชาชีพ และทุกหลักสูตร ทีใ่ น
ทีต่ งั ้ อุตสาหกรรมหนัก เบา อุตสาหกรรมการส่งออก และอุตสาหกรรมที่ และนอกระบบการศึกษา
ต่อเนื่องครบวงจรเริง่ พัฒนาการเกษตรในเขตเกษตรก้าวหน้า ปรับโครงสร้าง - ได้รบั การช่วยเหลือจากเยอรมนีเพื่อพัฒนาอาชีวศึกษาทวิภาคี
อุตสาหกรรม ใช้มาตรการทางภาษีเพื่อจูงใจการผลิตเพื่อการส่งออกให้เพิม่ - ได้รบั การช่วยเหลือจาก UNDP ในการจัดตัง้ สถาบันพัฒนาครู
มากขึน้ อาชีวศึกษา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ที่ 6 - รัฐบาลเดนมาร์กได้ให้ความช่วยเหลือกูย้ มื เงินเพื่อการพัฒนาการ
เศรษฐกิจฟื้นตัว เริม่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วเป็ นสาคัญ มีการลงทุนจาก อาชีวศึกษาเกษตรตลอดจนประเทศอื่นๆในยุโรป เช่น เยอรมนี
ต่างประเทศเพิม่ ขึน้ สูง เนื่องจากมีขอ้ ดีในเรื่องของแรงงานฝีมอื ค่าแรงถูก ออสเตรีย อังกฤษ และอิตาลี ในการช่วยเหลือสถานศึกษาประเภทช่าง
และทรัพยากรธรรมชาติ อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมทีเ่ กิดขึน้ ใหม่เริม่ ประสบ อุตสาหกรรม รวมไปถึง UNDP ILO UNESCO CIDA เป็ นต้น ทัง้ นี้เพื่อ
ปญั หาต้นทุนการผลิตเพิม่ สูงขึน้ การพัฒนาแปลกเปลีย่ นความรูแ้ ละประสบการณ์ดา้ นอาชีวศึกษา
- ประกาศหลักสูตรประกาศนียบัตรครูเทคนิคชัน้ สูง (ปทส.)

212
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 24: การพัฒนาที่สาคัญของอาชีวศึกษาของประเทศไทย (ต่อ)


ช่วงปี แผนพัฒนาเศรษฐกิ จแห่งชาติ การพัฒนาทีส่ าคัญของอาชีวศึกษา
1990s แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ที่ 7-8 - มีผสู้ นใจเรียนอาชีวศึกษามาก จึงมีการจัดตัง้ สถานศึกษาเพิม่ อีก 20
นโยบายเร่งรัดส่งเสริมการส่งออกอย่างต่อเนื่อง มีการให้ความสาคัญกับเรื่อง แห่ง และเพิม่ สถาบันพัฒนาครูอาชีวศึกษา
ของการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์มากยิง่ ขึน้ เป็ นผลให้แนวคิดของการ - จัดตัง้ วิทยาลัยเพิม่ ขึน้ อีก 93 แห่งโดยมีจุดประสงค์เพื่อขยายโอกาสทาง
จัดทาแผนฯ 8 ในช่วงเริม่ แรกเน้นทีค่ วามสาคัญของการพัฒนาคนเป็ นหลัก การศึกษาวิชาชีพสูร่ ะดับท้องถิน่ สนับสนุนการพัฒนาชนบทผลิต
กาลังคนด้านวิชาชีพในระดับช่างกึง่ ฝีมอื และช่างเทคนิค ให้ตรงกับความ
แต่ตอ้ งประสบปญั หาวิกฤตเศรษฐกิจ “ฟองสบู่แตก” จึงมีการปรับแผนฯ 8 ต้องการตลาด สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม
อีกครัง้ เป็ นนโยบายในเชิงเร่งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ - ได้รบั ความร่วมมือจากรัฐบาลญีป่ นุ่ เพื่อพัฒนาการผลิตกาลังคน
สาขาวิชาแมคคาทรอนิกส์ ทีว่ ทิ ยาลัยช่างกลปทุมวัน
- มีโครงการเงินกูก้ องทุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจโพ้นทะเลแห่งญีป่ นุ่
(Oversea Economic Cooperation Fund, JAPAN) เพื่อพัฒนา
เครื่องมือ อุปกรณ์และบุคลากรในสถานศึกษา
- พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมอาชีวศึกษาและการ
จัดกาเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทางไกล
- ได้รบั ความช่วยเหลือจากเบลเยีย่ ม ในพัฒนาการผลิตกาลังคนสาขาวิชา
เทคนิคการผลิตและพัฒนาสือ่ การสอน
- กาหนดให้กรมอาชีวศึกษามีหน้าทีจ่ ดั ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพในระดับ
ปริญญาตรี อนุปริญญา ประกาศนียบัตรหลักสูตรระยะสัน้ และหลักสูตร
พิเศษ
- กาหนดให้สถาบันเทคโนโลยีปทุมวันมีอานาจจัดการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสถานศึกษาอื่น ๆ ที่
เทียบเท่าให้สามารถเปิ ดการเรียนการสอนทีเ่ ป็ นไปตามเกณฑ์
มหาวิทยาลัยกาหนด

213
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 24: การพัฒนาที่สาคัญของอาชีวศึกษาของประเทศไทย (ต่อ)


ช่วงปี แผนพัฒนาเศรษฐกิ จแห่งชาติ การพัฒนาทีส่ าคัญของอาชีวศึกษา
1990s (ต่อ) - มีโครงการกูย้ มื เงินจากรัฐบาลเดนมาร์กเพื่อการพัฒนาอาชีวเกษตรตาม
โครงการปรับปรุงรูปแบบโครงสร้างสถานศึกษาเกษตรโดยมีการร่วมมือ
กันระหว่างภาครัฐและเอกชน
2000s แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ที่ 9 - กระทรวงศึกษาได้มกี ารปรับปรุงโครงสร้างทาให้กรมอาชีวศึกษาเปลีย่ น
เน้นการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้เข้าสูส่ มดุลและยังยื
่ น มุ่งเสริม สถานะเป็ น “สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา” ซึง่ กลายมาเป็ น
ฐานเศรษฐกิจให้แข็งแรงเพื่อการขยายตัวอย่างมีคุณภาพ โดยมีเป้าประสงค์ หนึ่งใน 5 หน่วยงานหลักภายใต้กระทรวงฯ
ให้มกี ารปรับเศรษฐกิจตัง้ แต่ระดับรากฐานไปจนถึงระดับมหภาค มีความ - มีการปรับสัดส่วนการเรียนการสอน สายอาชีวศึกษาศึกษากับสายสามัญ
เป็ น 51:49 จากในปจั จุบนั 34:66
เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก ในขณะทีอ่ ยู่บนพืน้ ฐานการพึง่ ตนเอง เพิม่ ความ

เข้มแข็งทาง วทน.และการปรับใช้ให้เข้ากับภูมปิ ญญาท้ องถิน่
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ที่ 10
ใช้แนวคิดของการพัฒนาอย่างสมดุล ส่งเสริมยุทธศาสตร์ทเ่ี กีย่ วกับ การ
พัฒนาคุณภาพคนและสังคม สร้างความเข้มแข็งของชุมชน ปรับโครงสร้าง
เศรษฐกิจให้สมดุลและยังยื ่ น สร้างความมันคงของฐานทรั
่ พยากรและ
สิง่ แวดล้อม และเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ
กล่าวคือ มีความครอบคลุมทุกด้านทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรมนุษย์
และสิง่ แวดล้อม
ทีม่ า: รายงานฉบับสุดท้าย: ความเชื่อมโยงของการพัฒนาเศรษฐกิจระดับมหภาคกับระดับจุลภาค ภายใต้โครงการเตรียมการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่
11, SIGA.
รายงานการวิจยั : การส่งเสริมการเพิม่ สัดส่วนผูเ้ รียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพตามเป้าหมายในแผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552 – 2559),
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงการศึกษาธิการ.

214
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สาหรับการพัฒนาระบบอาชีวศึกษาของประเทศไทยได้มคี วามพยายามในการดาเนินการมา
ตลอดอย่างต่อเนื่องยาวนาน อย่างไรก็ดี ยังนับว่ามีขอ้ จากัดอยู่มาก ทัง้ ในเรื่อง การพัฒนาเชื่อ มต่อ
กับภาคแรงงาน ภาพลักษณ์ ทัศนคติของคนในสังคมที่ไม่นิยมสนับสนุ นบุตรหลานให้เรียนสาย
อาชีวศึกษา ซึ่งภาครัฐยังจาเป็ นที่จะต้องลงทุนพัฒนา ให้การสนับสนุ นอย่างจริงจัง เพื่อยกระดับ
อาชีวศึกษาประเทศไทยและเพื่อให้เป็ นภาคการศึกษาทีส่ ามารถผลิตกาลังคนเข้าสู่ตลาดแรงงานได้
อย่างมีคุณภาพ

ภาพที่ 74: พัฒนาการของระบบอาชีวศีกษาของไทย

215
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กลุ่มของนโยบายทีเ่ กีย่ วข้องกับอาชีวศึกษาจากอดีตถึงปัจจุบนั


ในส่วนนี้จะเป็ นการทบทวนนโยบายที่ผ่านมาในอดีตของอาชีวศึกษาในประเทศไทยเพื่อ
การมองในภาพรวมถึงแนวทางการส่งเสริมอาชีวศึกษาทีภ่ าครัฐเป็ นผูร้ เิ ริม่ ทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้

ตารางที่ 25: กลุ่มนโยบายที่เกี่ยวข้องกับอาชีวศึกษาของประเทศไทย


ประเด็นสาคัญ นโยบายสาคัญ
ความต่อเนื่องของการต่อยอดทาง - มีการยกระดับโรงเรียนอาชีวศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอน
อาชีวศึกษา ปลายให้มกี ารอาชีวศึกษาระดับสูง (ปวช. สู่ ปวส.)
- ยกระดับโรงเรียนอาชีวศึกษาขัน้ สูงให้เป็ นวิทยาลัยเพื่อให้
สามารถจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรีได้
การประกันคุณภาพการศึกษา - ริเริม่ การใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค หรือที่
เรียกว่า ปวท. โดยมีการตัง้ ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนา
อาชีวศึกษา
- จัดตัง้ หลักสูตรประกาศนียบัตรครูเทคนิคขัน้ สูง (ปทส.) สาหรับ
บุคลากรทีจ่ ะเข้ามาเป็ นคณาจารย์สายอาชีพเทคนิค
ขยายโอกาสทางการศึกษา - เปิ ดวิทยาลัยอาชีพในระดับท้องถิน่ จานวนมาก
- ออกนโยบายเรียนฟรี 15 ปี
การวางหลักสูตร - ริเริม่ การใช้รปู แบบของการอาชีวศึกษาทวิภาคี (Dual
Vocational Training) จากประเทศเยอรมนี โดยขอความ
ร่วมมือจากรัฐบาลเยอรมนีในการสร้างหลักสูตร
- กูย้ มื เงินจากรัฐบาลเดนมาร์กเพือ่ การพัฒนาอาชีวศึกษาเชิง
เกษตรในรอบด้าน
สร้างเครือข่ายความรูเ้ พื่อการพัฒนารอบ - สร้างพันธมิตรเครือข่ายอาชีวศึกษาจานวนมากกับต่างประเทศ
ด้าน เพื่อแลกเปลีย่ นวิทยาการ อุปกรณ์ และบุคลากรทางการสอน
- ได้รบั การช่วยเหลือจากรัฐบาลญีป่ นุ่ ในการพัฒนาการเรียนการ
สอนในสาขา Megatronics
สร้างสถาบันเฉพาะเพื่อการอาชีวศึกษา - จัดตัง้ กรมอาชีวศึกษา ซึง่ ต่อมาได้พฒ ั นากลายเป็ นสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภายใต้กระทรวงศึกษาธิการ ใน
ปจั จุบนั
- จัดตัง้ คณะอนุกรรมการนโยบายปฏิรปู การศึกษา (กนป.) โดย
มี สอศ. เป็ นกลไกการขับเคลื่อน
ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

216
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

5) นัยเชิ งนโยบาย

ความเชือ่ มโยงในบริ บทของประเทศไทย

จากการศึกษาแนวทางการปฏิบตั ิท่ดี ขี องประเทศไต้หวัน เกาหลีใต้ และสิงคโปร์ สามารถ


สรุปประเด็นหลักในการพัฒนาศักยภาพของอาชีวศึกษา ได้ดงั ต่อไปนี้
1. ความยืดหยุ่นในหลัก สูต รการศึกษา (Flexibility) : โดยไต้หวัน เป็ นประเทศที่ใ ห้
ความสาคัญในประเด็นนี้อย่างเห็นได้ชดั เปิดโอกาสในนักเรียนสามารถเลือกและจัดการ
หลักสูตรได้ด้วยตนเองดังเช่นในหลักการของโรงเรียนมัธยมตอนปลายแบบเบ็ดเสร็ด
หรือ Comprehensive High School ทีม่ กี ารผสมผสานระหว่างความเป็ นสายสามัญเข้า
กับความเป็นสายอาชีพรวม และนักเรียนทีจ่ บออกมานัน้ สามารถผันตัวเองไปได้ทงั ้ สาย
วิชาการสามัญหรือสายอาชีวศึกษาในมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยเทคนิคต่าง ๆ ได้อย่าง
มีอิส รภาพ ซึ่ง ในประเด็นนี้ ป ระเทศไทยยังคงไม่ส ามารถเปิ ดโอกาสได้เ ต็มที่ใ นการ
สับเปลีย่ นระหว่างภาคการศึกษาสองสายหลักนี้
2. การขยายเส้นทางการศึกษาและเส้นทางสายอาชีพ (Education Advancement and
Career Path) : สองสิง่ นี้เป็ นส่วนประกอบทีต่ ้องควบคู่ไปด้วยกัน เนื่องจากการศึกษา
สายอาชีพ ในประเทศไทยนั ้น ไม่ ส ามารถดึง ดู ด นั ก เรีย นและบุ ค ลากรได้ เ พีย งพอ
เนื่องมาจากข้อจากัดในการขยายความสาเร็จทัง้ ด้านสถาบันเองและผลผลิตในรูปแบบ
ของนั ก เรีย นก็ด้ว ยเช่ น กัน ดัง เช่ น ตัว อย่ า งของประเทศไต้ ห วัน ที่ส ถาบัน สามารถ
ยกระดับ ตนเองจากความเป็ น อนุ ว ิท ยาลัย เป็ น วิท ยาลัย จนกระทัง่ ไปสู่ค วามเป็ น
มหาวิทยาลัยทางเทคโนโลยีได้ กระบวนการนี้เป็ นกลไกการขยายวุฒกิ ารศึกษาให้แก่
ผู้เ รียน และในขณะเดียวกันก็เ ปิ ดโอกาสให้มเี ส้นทางอาชีพที่กว้างมากยิง่ ขึ้น ซึ่งใน
ประเด็น นี้ อ าชีว ศึก ษาในประเทศไทยยัง คงไม่ เ ข้ม แข็ง เพีย งพอ ไม่ ส นั บ สนุ น ให้
สถาบันการศึก ษาแข่งขัน และพัฒนาตัว เองขึ้นมาว่าเป็ นผู้ผ ลิต ที่มปี ระสิทธิภ าพใน
ตลาดแรงงานเท่าทีค่ วร
3. การเน้นความเป็ นปจั เจกและความเป็ นเลิศในเฉพาะด้านของสถาบัน (Individuality and
Specialization) : ทัง้ ไต้ห วัน และเกาหลีใ ต้ส่ ง เสริม ความเป็ น เฉพาะทางของ
สถาบันการศึกษาเป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะในการศึกษาสายอาชีพ ทีเ่ ห็นได้ชดั เจนคือ
ในโรงเรียนมันธยมตอนปลายแบบเฉพาะทางของเกาหลีใต้หรือทีเ่ รียกว่า Meister High
School ซึง่ เน้นความเป็นเลิศในวิชาชีพอย่างใดอย่างหนึ่ง และเป็ นสถาบัน อาชีวศึกษาที่
คัดเลือกนักเรียนทีม่ ศี กั ยภาพสูงเข้าสู่ระบบเพื่อหล่อมหลอมทักษะให้กลายเป็ นแรงงาน
เฉพาะทางทีส่ ามารถเข้าสูต้ ลาดได้อย่างทันท่วงที โดยทีไ่ ม่ต้องใช้วุฒกิ ารศึกษาในระดับ
มหาวิทยาลัยแม้แ ต่ น้อ ย ประเทศไทยควรนาแนวปฏิบตั ิน้ีม าใช้เ พื่อ กาหนดทิศ ทาง
217
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การศึ ก ษาให้ ม ี เ ป้ าหมายชั ด เจนและในขณะเดี ย วกั น ก็ เ ป็ น แรงจู ง ใจให้ แ ต่ ล ะ


สถาบันการศึกษาค้นพบแนวทางของสถาบันไปพร้อม ๆ กับการพัฒนาบุคลากรภายใต้
การควบคุมของหน่วยงาน
4. การเรียนรูด้ ้วยประสบการณ์จริง (Applicable Experience Learning) : เนื่องด้วย
อาชีวศึกษา คือการเรียนเพื่อสร้างทักษะตรงในสาขาอาชีพนัน้ ๆ ฉะนัน้ วิธกี ารทีส่ ่งสม
ความสามารถได้ดที ่สี ุด คือ การได้ลงมือทาจริงมากกว่าการเรียนแต่เพียงในห้องเรียน
Meister High School ของเกาหลีใต้ และ Vocational School ของไต้หวันนัน้ พยายาม
เป็ น อย่า งยิ่ง ที่จ ะมุ่ ง เน้ น ในเรื่อ งของประสบการณ์ เปิ ด โอกาสให้ม ีก ารฝึ ก งานเป็ น
เวลานานอย่างจริงจัง สลับกับการเรียนในโรงเรียน สิง่ เหล่านี้เป็ นการสร้างศักยภาพที่
แท้จริงๆ ให้แก่แรงงานอาชีวศึกษา เป็ นการลดความไม่สอดคล้องของภาคการศึกษา
และภาคผูป้ ระกอบการได้ดว้ ยเช่นกัน (Skill Mismatch)
5. การมีส่ ว นร่ ว มของภาคเอกชนในการจัด การศึก ษา (Collaboration Between
Educational Intitution and Private Sector) : กล่าวคือ การให้ภาคเอกชนซึง่ เป็ นหนึ่ง
ในผูท้ เ่ี กีย่ วข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียหลักจากตลาดแรงงานเข้ามาจัดการศึกษาด้วยแทน
การยกหน้าทีน่ นั ้ ให้กบั หน่วยงานของรัฐเสียทัง้ หมด ยกตัวอย่างเช่นในเรื่องของ Meister
High School นัน้ มีความเชื่อมโยงกับภาคธุรกิจอย่างแน่ นแฟ้น ไม่ว่าจะเป็ นในเรื่องของ
การฝึกฝนบุคลากรผูส้ อน โครงการการฝึกงาน หรือแม้กระทังการชี ่ แ้ นะเรื่องงานหลังจบ
การศึกษา ล้วนอยู่ในมือของภาคเอกชนทัง้ สิ้น ทัง้ นี้ กว่าร้อยละ 90 ของนักเรียนใน
Meister High School นัน้ ถูกจองตัวโดยภาคเอกชน เสนอตาแหน่ งพร้อมเข้าทางาน
ก่อนจบการศึกษาจริง ดังนัน้ จึงอาจกล่าวได้ว่า การร่วมมือของภาคเอกชนจะเป็ นการ
เพิ่ม ศัก ยภาพการแข่ง ขัน ทางการศึก ษาพร้อ มทัง้ ลดป ญ ั หาความไม่ ส อดคล้อ งของ
แรงงานและความต้องการทักษะ (Skill Mismatch) ในประเด็นนี้ ทางประเทศไทยได้
ริเ ริ่ม สร้า งโรงเรีย นที่ ผ ลิต แรงงานสายตรงเข้า สู่ก ระบวนการการผลิต มาเป็ น เวลา
พอสมควรแล้ว เช่น สถาบัน ปญั ญาภิวฒ ั น์ อย่างไรก็ตาม สถาบันในลักษณะนี้ยงั มี
จานวนน้อยมาก และก็ยงั ไม่สามารถตอบโจทย์ทงั ้ หมดของประเทศไทยอย่างสมบูรณ์
ทัง้ หมด ดังนัน้ ในภาพรวมของประเทศจึงยังจาเป็ นต้องร่วมกันพัฒนาร่วมกันอย่างเป็ น
ระบบ เพื่อ ให้ ร ะบบอาชีว ศึก ษานั ้น พัฒ นาได้ก้ า วไกลและเป็ น ก าลัง ส าคัญ ในการ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของไทย

218
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาด้านกาลังคนและอาชีวศึกษา

จากการศึก ษาประสบการณ์ ท่ดี ีจากต่างประเทศทัง้ สามประเทศ จึงอาจกล่ าวได้ว่า เมื่อ


พิจารณาเทียบกับการพัฒนาระบบอาชีวศึกษาของประเทศไทย ยังมีช่องว่างการพัฒนา และประเด็น
ทีค่ วรเร่งพัฒนาด้านกาลังคนและอาชีวศึกษา ดังนี้
1. พัฒนาคุณลักษณะของผูส้ าเร็จการศึกษา
 มีความรู้ ทักษะอาชีพทีเ่ หมาะสม มีความสามารถและทักษะที่หลากหลาย (Multi-
Skills) มีค วามสามารถในการสร้า งสรรค์มูล ค่ า เพิ่ม (Value-Creation) มี
ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารโดยเฉพาะอย่างยิง่ สามารถปฏิบตั งิ าน
กับเทคโนโลยีชนั ้ สูงได้ มีทกั ษะฝี มอื ในการปฏิบตั ิทางวิชาชีพแบบเจาะจงอาชีพที่
ลึกซึง้
 มีทกั ษะในการใช้ชวี ติ (Life Skills) เป็ นคนรักการเรียนรู้ มีความสามารถในการ
เรียนรู้ด้ว ยตนเองได้ มีท ักษะในการสื่อ สาร การมีปฏิสมั พันธ์กับ ผู้อ่ืน และการ
ทางานร่วมกับผู้อ่นื ในขณะเดียวกันก็เป็ นผู้ท่มี คี วามคิดสร้างสรรค์ กล้าแสดงออก
และมีภาวะความเป็นผูน้ า
 มีเจตคติทดี ่ ี มีจติ สานึก มีทศั นคติและความรับผิดชอบต่อหน้ าที่การงาน มีความ
เป็นมืออาชีพ และมีความภักดีต่อองค์กร (Work Ethics)

2. สร้างการมีส่วนร่วม ความร่วมมือกับภาคส่วนต่าง ๆ
 การวางแผนและพัฒนากาลังคนร่วมกัน โดยการวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาวของ
ประเทศจะต้องมีความชัดเจนมากขึน้ และเชื่อมโยงมาถึงความต้องการกาลังคนทัง้
ในระยะสัน้ -กลาง-ยาว และการกาหนดวิสยั ทัศน์รว่ มกันระหว่างภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้อง
โดยเฉพาะภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อเป็ นโจทย์ตงั ้ ต้นให้กบั การวางแผนการศึกษา
ว่าจะต้องผลิตกาลังคน ทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ
 ส่งเสริมบทบาทภาคเอกชนในการจัดการศึกษามากขึ้น และการมีส่วนร่วมจากทุก
ภาคส่วน เนื่องจากปจั จุบนั การผลิตกาลังคนจากระบบการศึกษายังมีช่องว่างห่าง
จากคุณลักษณะที่ตลาดแรงงานต้องการ แม้ปจั จุบนั จะมีการจัดการเรียนการสอน
แบบทวิภาคี แต่ยงั เป็ นเพียงการปรับทางด้านอุปทาน(Supply-side) เท่านัน้ ซึง่ ยัง
ไม่เพียงพอ การแก้ปญั หาเรือ่ งกาลังคนอย่างยังยื
่ นต้องอาศัยการพัฒนาด้านอุปสงค์
ของแรงงาน (Demand-side) ไปพร้อม ๆ กัน กล่ าวคือจะต้องมีการปรับ กลไก
แก้ปญั หาเรื่องความก้าวหน้าในอาชีพ (Career path) ด้วย ทัง้ นี้ ในระดับภาพรวม
ของประเทศมี ค วามจ าเป็ น ในการปรับ โครงสร้ า งเศรษฐกิ จ (Restructuring
Demand) ไปสู่การเพิม่ มูลค่ามากขึน้ ตลอดทัง้ ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ด้วย
219
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การคิดค้นผลิตเทคโนโลยีดว้ ยตนเอง การทา Branding, Marketing เพื่อให้ธุรกิจมี


ส่วนต่างของกาไรเพิม่ ขึน้ สามารถจ้างงานทีเ่ ป็ นทักษะสูงและยกระดับค่าจ้างให้ แก่
แรงงานได้
3. การจัดการเรียนการสอน
 การเรีย นการสอนด้า นวิช าชีพ ควรเริม่ ก่ อ นระดับ อาชีว ศึก ษา ควรมีก ารบรรจุ
หลักสูตรด้านวิชาชีพไว้ตงั ้ แต่ระดับมัธยมต้น เพื่อให้เด็กมีความรูท้ กั ษะพืน้ ฐานและ
สร้างความคุ้นเคยกับลักษณะวิชาที่เน้นการปฏิบตั ิ ซึ่งอาจมีส่ว นช่วยให้ผู้เรียนที่ม ี
ความสนใจการเรียนสายอาชีพ เลือกเรียนต่ออาชีวศึกษาง่ายขึน้ ไม่รสู้ กึ แปลกแยก
จนเกินไปทีจ่ ะเลือกเรียนสายอาชีวศึกษา เมือ่ จบจากการศึกษาขัน้ บังคับ
 ปรับหลักสูตรให้มคี วามยืดหยุ่นและต่อเนือ่ ง (Horizontal Flexibility & Vertical
Continuity) มีระบบการศึกษาทีห่ ลากหลาย มีเส้นทางทีส่ ามารถเชื่อมโยงกันตลอด
เส้นทาง รวมทัง้ ควรให้มที างเลือ กเข้าออกจากระบบไปสู่ต ลาดแรงงานได้อ ย่าง
ต่อเนื่อง หรือแรงงานทีจ่ บการศึกษาระดับอาชีวศึกษาก็สามารถกลับเข้ามาเรียนต่อ
ในระดับปริญญาได้
 เน้นการเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั งิ านจริง (Work-based Learning) โดยส่งเสริมการจัด
การศึก ษาระบบทวิภาคีเ ช่ นเดียวกับระบบทวิภาคีใ นประเทศเยอรมนี ที่ผู้เ รีย น
สามารถทางานจริงในสถานประกอบการ เน้นการปฏิบตั เิ รียนรูจ้ ากครูฝึกทีม่ คี วาม
เชีย่ วชาญเฉพาะด้าน และสามารถใช้เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ทม่ี คี วามทันสมัยทีใ่ ช้ใน
ทีท่ างานจริง ช่วยบ่มเพาะทักษะ และประสบการณ์ นอกจากนี้นักเรียนยังมีรายได้
ในระหว่างเรียนและมีโอกาสทีจ่ ะได้รบั การบรรจุเข้าทางานในฐานะลูกจ้างของสถาน
ประกอบการนัน้ ๆหลังสาเร็จการศึกษา
 เพิม่ วิชาสอนทักษะชีวติ และกล่อมเกลาทางความคิด ในหลักสูตรวิชาการควรมีการ
สอนเพิม่ หรือสอดแทรกให้ความรูเ้ กี่ยวกับการดาเนินชีวติ (Life skills) วิชาความรู้
รอบตัวและทักษะในการเรียนรู้ ให้สามารถเรียนรูไ้ ด้ด้วยตนเองก้าวทันเหตุการณ์
ป จั จุ บ ัน และความเปลี่ย นแปลงของเทคโนโลยี รวมถึง สอนวิธ ีก ารอยู่ ร่ ว มกับ
ครอบครัวและคนในสังคม ต้อ งมุ่งเน้ น การสร้างจริยธรรมและทัศนคติท่ดี ตี ่อ การ
ทางาน (Work Ethics) เพื่อปลูกฝงั ให้เยาวชนเห็นคุณค่าของการทางาน มีความ
ตระหนักว่าการทางานคือ สิง่ ที่ถู กต้องดีงาม และต้อ งมีความรับผิดชอบต่อ สังคม
ควบคู่กนั ไปด้วย

220
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4. ครูผสู้ อน
 คุณภาพครู ต้องมีความรูใ้ นสายอาชีพ (Industry Experience) มีทกั ษะและความรู้
ในเชิงปฏิบตั ิ รูล้ กั ษณะงานและอาชีพในสาขาวิชาชีพที่สอนอย่างต่อเนื่อง รูเ้ ท่าทัน
กับวิทยาการสมัยใหม่ สามารถแนะแนวชี้นาเด็กอย่างถู กต้อ ง และต้อ งปลูก ฝ งั
ค่านิยมการทางานแบบมืออาชีพให้แก่เด็ก ในขณะทีค่ รูต้องเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่องให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
 จัดตัง้ ศูนย์ฝึ ก อบรมสถาบันอบรมครูว ิชาชีพโดยเฉพาะ สาหรับเพื่อ ฝึ กอบรมครู
อาจารย์อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เนื่ อ งจากป จั จุ บ ัน มีแ ต่ ก ารผลิต ครู ส อนวิช าการส าหรับ
การศึก ษาขัน้ พื้น ฐาน ครู ส อนวิช าชีพ ในสถาบั น อาชีว ศึก ษาขาดแคลน โดย
สถานศึก ษาควรก าหนดให้ค รูไ ด้เ ข้า ไปท างานในสถานประกอบการจริง อย่า ง
ต่อเนื่อง
 สร้า งแรงจู ง ใจให้ ค รู อ าชีว ศึ ก ษา ครู ผู้ ฝึ ก จ าเป็ น ต้ อ งสัง่ สมความรู้ ฝี ม ือ และ
ประสบการณ์ในการปฏิบตั อิ าชีพ ก่อนที่จะมีคุณสมบัตเิ พียงพอมาสอนอาชีวศึกษา
ได้ ดังนัน้ ควรมีมาตรการจูงใจทีแ่ ตกต่างและพิเศษกว่าข้าราชการครูทวไป ั ่ เช่น จัด
ให้ครูประจาสถาบันอาชีวศึกษามีความก้าวหน้าในอาชีพ (Career Path)

5. มาตรฐานอาชีวศึกษา
 จัดตัง้ สถาบันคุณ วุฒวิ ิชาชีพเพือ่ กาหนดมาตรฐานฝี มอื แรงงาน โดยการกาหนด
มาตรฐานอาชีพ สมรรถนะความรูแ้ ละความสามารถในการปฏิบตั งิ านนัน้ จะนาไปสู่
การยกระดับ คุ ณ ภาพแรงงานให้ ม ีม าตรฐานสอดคล้อ งกับ ความต้ อ งการของ
ตลาดแรงงาน ทัง้ ในประเทศและต่ างประเทศ นอกจากนี้ยงั เพิม่ ความเป็ นธรรม
ให้ก ับคนที่เ รียนอาชีว ศึกษา เนื่อ งจากสามารถทาให้การจัดทาค่ าตอบแทนเป็ น
ระบบมากขึน้ ทาให้การปรับฐานค่าจ้างเป็ นไปตามสมรรถนะ (Competency) หรือ
ทักษะของแรงงานมากกว่าวุฒกิ ารศึกษา (Degree) อย่างทีเ่ ป็ นอยู่ในปจั จุบนั ซึง่ ผูท้ ่ี
จบตามมาตรฐานคุ ณ วุ ฒ ิว ิช าชีพ ดัง กล่ า วจะได้ร ับ ค่ า ตอบแทนที่สู ง กว่ า ผู้ท่ีจ บ
ปริญญาตรีทวไป ั่
6. ภาพลักษณ์การเรียนอาชีวศึกษา
 สือ่ เผยแพร่ภาพลักษณ์ทดี ่ ี โดยจะต้องลบล้างภาพลักษณ์ความรุนแรง สื่อ ควรเลิก
ประชาสัมพันธ์อาชีวศึกษาในภาพลบ และมานาเสนอส่วนดีให้สงั คมได้รบั รูม้ ากขึน้
เช่นเด็กอาชีวศึกษาออกไปสร้างชื่อเสียงในการประกวดต่าง ๆ
 ปรับเปลีย่ นแบรนด์อาชีวศึกษาใหม่ (Re-Positioning) เพื่อสร้างแรงจูงใจให้เด็ก
อยากเข้ามาเรียนอาชีว ศึกษามากขึ้น ซึ่งจากกรณีศึกษาที่ดีจากต่ างประเทศจะ

221
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

พบว่าประเทศทีป่ ระสบความสาเร็จในการปรับปรุงภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษา เช่น


เปลีย่ นชื่ออาชีวศึกษา (Vocational Education) เป็นชื่อใหม่ ซึง่ ช่วยลบล้างความคิด
(Perception) เดิม ๆ ของคนในสังคมที่มกั มองว่าอาชีวศึกษายังมีความด้อยกว่า
เช่น ในประเทศเกาหลีใต้มกี ารจัดตัง้ Meister School
 การแนะแนวการศึก ษาในระดับ มัธ ยมควรให้ค วามรู้แ ละความเข้า ใจทีถ่ ู ก ต้อ ง
เกีย่ วกับการเรียนสายอาชีพ จากปจั จุบนั ทีใ่ ห้ความสาคัญการเรียนต่อในสายสามัญ
เพียงอย่างเดียว ทาให้นักเรียนไม่เห็นทางเลือกทีห่ ลากหลายเพียงพอ นอกจากนี้
ยังต้องสร้างความมันใจว่
่ า เรียนจบแล้วต้องมีงานทาหรือมีโอกาสในการทางานมี
รายได้ระหว่างเรียนและสร้างความมันใจว่่ า เรียนแล้วมีโอกาสก้าวหน้าในโลกการ
ทางาน มีรายได้ดี หรือสามารถเป็นเจ้าของกิจการได้
7. การสนับสนุนของรัฐบาล
 ให้ความสาคัญกับอาชีวศึกษาอย่างจริงจัง โดยมีการกาหนดนโยบายทีแ่ น่ นอน ยก
เรื่อ งอาชีว ศึก ษาขึ้น เป็ น นโยบายชาติ ไม่เ ปลี่ย นแปลงเมื่อ เปลี่ย นรัฐ มนตรีเ มื่อ
ประกาศเป้าหมายและนโยบายควรมีการวางแผนงานและโครงการทีร่ องรับทีช่ ดั เจน
นอกจากนี้ควรพิจารณายกเลิก นโยบายที่ส่งผลกระทบอันไม่พงึ ประสงค์ (Adverse
Effects) ต่ออาชีวศึกษา เช่น นโยบายค่าใช้จา่ ยรายหัวการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ทีท่ าให้
โรงเรียนทัวไปส่
่ งเสริมให้เด็กเรียนต่อสายสามัญเพื่อให้ได้งบประมาณมากขึน้ หรือ
การปรับเกณฑ์รบั เด็กสายสามัญของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
(สพฐ.) ทีเ่ ปิดช่องให้เด็ก ม.3 เรียนต่อ ม.4 โรงเรียนเดิมได้ง่ายและมากขึน้ แทนที่
จะปล่อยให้เด็กไปเรียนต่อสายอาชีพ หรือนโยบายประกันค่าจ้างที่ 15,000 บาท
สาหรับผูจ้ บการศึกษาระดับปริญญาตรีส่งผลให้เด็กหนีไปเรียนสายสามัญมากขึน้

3) ประเด็นด้านประสิ ทธิ ภาพ


สาเหตุ ข องคุ ณ ภาพของการศึก ษาที่ต่ า ลงของประเทศ ไม่ ไ ด้ เ กิด จากป ญ ั หาการขาด
ทรัพยากรอีกต่อไป ดังทีข่ อ้ มูลชีว้ ่าในช่วง 10 ปีทผ่ี ่านมา งบประมาณกระทรวงศึกษาธิการเพิม่ ขึน้
กว่า 2 เท่า และไม่น้อยกว่าประเทศอื่นในภูมภิ าคเอเชีย อีกทัง้ เมื่อพิจารณาจากสัดส่วนสัดส่วนของ
รายจ่ายด้านการศึกษาต่องบประมาณเทียบกับประเทศต่างๆทัวโลกพบว่ ่ า สัดส่วนของรายจ่ายด้าน
การศึกษาต่องบประมาณของรัฐบาลงบประมาณการศึกษาไทย สูงเป็ นอันดับ 18 ของโลก ดังนัน้
ปญั หาของระบบการศึกษาไทยปจั จุบนั ส่วนใหญ่เป็ นปญั หาการใช้ทรัพยากรอย่างไม่มปี ระสิทธิภาพ
กล่าวคือ ใช้ทรัพยากรมากแต่ผลสัมฤทธิ ์ต่ า

222
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 75: งบประมาณด้านการศึกษาเทียบกับงบประมาณแผ่นดิ นและ ผลิ ตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

ภาพที่ 76: งบประมาณด้านการศึกษาไทยเทียบกับประเทศต่างๆ ทัวโลก


ประเทศไทย อันดับ 18 ของโลก

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

223
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการศึกษาประเทศไทยเทียบกับประเทศอืน่ ๆ
เมื่อการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษาประเทศไทยเทียบกับประเทศอื่น ๆ พบว่า
ผลผลิตทางการศึกษา (Education Output) อยู่ในระดับต่ ากว่าค่าเฉลีย่ ของประเทศทัวโลก ่ ที่ใส่
ปจั จัยเข้า (input) ในระดับใกล้เคียงกัน ดังตัวอย่างเช่น ระดับผลคะแนน PISA ในวิชาการอ่าน และ
วิชาคณิตศาสตร์ เมื่อเทียบกับระดับผลคะแนนของนักเรียนประเทศอื่นทีม่ คี ่าเฉลี่ย งบประมาณด้าน
การศึก ษาในระดับใกล้เ คีย งกันแล้ว กลับพบว่า ผลคะแนน PISA ในวิช าการอ่ าน และวิช า
คณิตศาสตร์ของนักเรียนไทยได้ต่ ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนของโลกที่มรี ะดับงบประมาณด้านการศึกษา
ต่อ GNI ในระดับเดียวกัน
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการศึกษาประเทศไทยในปจั จุบนั และอดีต
นอกจากระดับผลสัมฤทธิ ์ทางการศึก ษาของไทยจะต่ ากว่ าต่ างประเทศที่ใ ช้ง บประมาณ
จัดสรรเพื่อการศึกษาในสัดส่วนใกล้เคีย งกันแล้ว เมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนเฉลีย่ ของนักเรียน
ทัง้ ประเทศ ทัง้ กรณีระดับผล O-NET ม.6 ผลคะแนน TIMSS และผลคะแนน PISA ของนักเรียนไทย
ในปจั จุบนั เทียบกับอดีตของประเทศไทยเอง ก็พบว่า มีแนวโน้มของผลคะแนนทีเ่ ป็ นไปในทิศทางที่
คะแนนลดลง

224
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 77: ระดับผลคะแนน PISA ในวิ ชาการอ่าน และงบประมาณด้านการศึกษาไทย


PISA: Mean performance on the reading scale

Current expenditure on education as % of GNI


ทีม่ า : คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) ประมวลจากข้อมูล PISA ปี 2009

ภาพที่ 78: ระดับผลคะแนน PISA ในวิ ชาคณิ ตศาสตร์ และงบประมาณด้านการศึกษาไทย


PISA: Mean performance on the reading scale

Current expenditure on education as % of GNI


ทีม่ า : คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) ประมวลจากข้อมูล PISA ปี 2009

225
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 79: แนวโน้ มระดับผล O-NET ม.6 ผลคะแนนTIMSS และผลคะแนน PISA ของนักเรียนไทย

แนวโน้มของผลคะแนน O-NET ม.6 ของนักเรียนไทย แนวโน้มผลคะแนนTIMSS ของนักเรียนไทย แนวโน้มผลคะแนน PISA ของนักเรียนไทย

226
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เป็ นที่น่าประหลาดใจว่าทาไมผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนของนักเรียนไทยกลับต่ าลงเรื่อย ๆ


ทัง้ ๆ ทีน่ กั เรียนของเราใช้เวลาเรียนมากกว่าคนอื่น ซึง่ เมื่อเปรียบเทียบชัวโมงเรี
่ ยนของนักเรียนไทย
กับประเทศอื่นพบว่ า ประเทศไทยมีจ านวนชัวโมงเรี ่ ยนต่ อ ปี สูงเป็ น อันดับ 2 ของโลก รองจาก
ประเทศในแถบแอฟริกา ซึ่งเรียนประมาณ 1,400 ชัวโมงต่ ่ อปี ในขณะที่ประเทศที่มผี ลสัมฤทธิ ์สูง
เช่น ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญี่ป่นุ มีชวโมงเรี
ั่ ยนต่ ากว่า 1,000 ชัวโมงต่
่ อปี โดยเฉพาะประเทศ
ฮ่องกง ซึ่งประสบความสาเร็จในการพัฒนาการศึกษาอย่างมาก กลับมีช ั ว่ โมงเรียนต่ อปี แค่ 790
ชัวโมง
่ ทัง้ นี้ยเู นสโกกาหนดชัวโมงเรี
่ ยนของนักเรียนทีเ่ หมาะสม 800 ชัวโมงต่่ อปี23
นอกจากนี้ ใ นเรื่อ งของประสิท ธิภ าพการบริห ารการศึก ษาที่เ กี่ย วข้อ งกับ เรื่อ งคุ ณ ภาพ
การศึกษา ประเด็นหนึ่งทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ คือ คุณภาพของการจัดการเรียนการสอนทีแ่ ตกต่าง
กันระหว่างโรงเรียนแต่ละขนาด นามาซึง่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษาหรือระดับคะแนนทีแ่ ตกต่างกัน
ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าคุณภาพของการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในประเทศไทยยังคงมี
ความแตกต่างกัน โดยปจั จัยทีส่ าคัญประการหนึ่งก็คอื ขนาดของโรงเรียน เนื่องจากจากข้อมูลคะแนน
แบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั ้ พืน้ ฐาน (O-NET) ระดับชัน้ ม.6 ของนักเรียนในสังกัด สพฐ.
ทัง้ 5 วิชาหลัก (วิชาภาษาไทย วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาภาษาอังกฤษ วิชา
คณิตศาสตร์ และวิชาวิทยาศาสตร์) แสดงให้เห็นว่า คะแนนเฉลีย่ ของโรงเรียนขนาดใหญ่พเิ ศษ ใหญ่
กลาง และเล็ก มักลดหลันไปตามขนาดของโรงเรี
่ ยน (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ, 2555)

23
UNESCO Institute for Statistics
227
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 80: ผลคะแนน O-NET ของนักเรียนระดับชัน้ ม.6 ในวิ ชาภาษาไทย


70
60
50 การอ่าน
40 การฟงั การดู และการพูด
30
20 การเขียน
10 วรรณคดีและวรรณกรรม
0
หลักการใช้ภาษา

ภาพที่ 81: ผลคะแนน O-NET ของนักเรียนระดับชัน้ ม.6 ในวิ ชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
50 หน้าทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม
40 และการดาเนินชีวติ ในสังคม
ภูมศิ าสตร์
30
20 เศรษฐศาสตร์
10
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
0
ประวัตศิ าสตร์

ภาพที่ 82: ผลคะแนน O-NET ของนักเรียนระดับชัน้ ม.6 ในวิ ชาภาษาอังกฤษ


50
ภาษาและการสื่อสาร
40
30 ภาษากับความสัมพันธ์กบั
20 กลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ่นื
10 ภาษากับความสัมพันธ์กบั
0 ชุมชนและโลก
ภาษาและวัฒนธรรม

228
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 83: ผลคะแนน O-NET ของนักเรียนระดับชัน้ ม.6 ในวิ ชาคณิ ตศาสตร์


50
การวัด
40
30 พีชคณิต
20
10 จานวนและการดาเนินการ
0
การวิเคราะห์ขอ้ มูลและ
ความน่าจะเป็ น

ภาพที่ 84: ผลคะแนน O-NET ของนักเรียนระดับชัน้ ม.6 ในวิ ชาวิ ทยาศาสตร์


50
ชีวติ กับสิง่ แวดล้อม
40
30
20 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์
10 และเทคโนโลยี
0
กระบวนการเปลีย่ นแปลง
ของโลก

อย่างไรก็ตาม โรงเรียนขนาดเล็กยังคงมีอยู่เป็ นจานวนมากในประเทศไทย และมีแนวโน้มที่


จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อ ยๆ โดยจานวนโรงเรีย นมีนักเรีย นไม่เ กิน 120 คนมีม ากถึง 14,669 แห่ ง
กระทรวงศึก ษาธิก าร (2555) ยิ่ง ไปกว่ า นัน้ หากนับ รวมโรงเรียนขนาดเล็ก ในสัง กัดส านัก งาน
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้น ฐาน ที่มจี านวนนักเรียนมากกว่า 120 คน ก็จะพบว่ามีจานวนถึง
31,508 แห่ง แบ่งเป็ นระดับประถม 29,054 แห่ง ระดับมัธยม 2,361 แห่ง การศึกษาสงเคราะห์ 50
แห่ง และการศึกษาพิเศษ 43 แห่ง (วรากรณ์ สามโกเศศ, 2554) ดังนัน้ การบริหารจัดการโรงเรียน
ขนาดเล็กจึงเป็ นประเด็นสาคัญต่ อประสิทธิภาพของระบบการศึกษาโดยรวมของประเทศอย่างไม่
อาจหลีกเลีย่ งได้

229
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 26: จานวนโรงเรียนขนาดเล็กที่มีนักเรียนไม่เกิ น 120 คน


ปี การศึกษา จานวนโรงเรียน ร้อยละ
ขนาดเล็ก
2546 10,877 33.23
2547 11,599 35.88
2548 12,269 37.94
2549 12,828 39.73
2550 13,518 41.90
2551 13,915 43.73
2552 14,056 44.63
2553 14,397 45.82
2554 14,669 46.88

ทีม่ า: กระทรวงศึกษาธิการ (2555)

ตารางที่ 27: จาวนโรงเรียนขนาดเล็กจาแนกตามจานวนนักเรียน


จานวนนักเรียน จานวนโรงเรียน ร้อยละ
0 คน 146 1.00
1 – 20 คน 469 3.20
21 – 40 คน 2,001 13.64
41 – 60 คน 3,200 21.81
61 – 80 คน 3,424 23.34
81 – 100 คน 3,005 20.49
101 – 120 คน 2,424 16.52
รวม 14,669 100.00
ทีม่ า: กระทรวงศึกษาธิการ (2555)

230
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สถานศึกษาขนาดเล็กเหล่านี้ ส่วนใหญ่มปี ญั หาสาคัญหลายประการ ได้แก่


 ปัญหาด้านความพร้อมเกีย่ วกับงบประมาณและปัจจัยสนับสนุนอืน่ ๆ
ในการจัดสรรงบประมาณให้กับโรงเรียน ตามแนวทางการดาเนินงานตามนโยบายการ
สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตัง้ แต่ระดับอนุ บาลจนจบการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ
2556 พบว่าเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณมักให้ความสาคัญกับจานวนนักเรียนเป็ นหลัก เห็นได้จาก
การที่รูป แบบการจัด สรรทัง้ ค่ า จัด การเรีย นการสอน ค่ า หนัง สือ เรีย น ค่ า อุ ป กรณ์ ก ารเรีย น ค่ า
เครื่องแบบนักเรียน รวมถึงค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนจะเป็ นการจัดสรรเป็ นรายหัว จึงทาให้
โรงเรียนขนาดเล็กได้รบั งบประมาณ การจัดสรรบุคลากร วัสดุ อุปกรณ์ ครุภณ ั ฑ์ สื่อและเทคโนโลยี
ตลอดจนการก่อสร้างและบารุงรักษาอาคารสถานที่ยงั ไม่เพียงพอ นอกจากนี้ โรงเรียนยังไม่สามารถ
ระดมทรัพยากรจากผูป้ กครองและชุมชนได้มากนัก และการใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างโรงเรียนยัง
ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพเท่าทีค่ วร
 ปัญหาด้านการเรียนการสอน
ในด้านการเรียนการสอนนัน้ พบว่า โรงเรียนส่วนใหญ่มคี รูไม่ครบชัน้ มีครูไม่ครบตามสาระ
การเรียนรู้ และมีนักเรียนจานวนน้อยในแต่ละชัน้ ถึงแม้ในภาพรวมของประเทศจะมีสดั ส่วนจานวน
นักเรียนต่อจานวนครูเป็ น 25:1 ซึง่ อาจดูเหมือนเพียงพอ แต่โรงเรียนขนาดเล็กบางแห่งยังมีอตั รา
สัด ส่ ว น 10:1 ส่ ง ผลให้ ค รู 1 คนต้อ งท าหน้ า ที่ส อนในหลายระดับ ชัน้ และ/หรือ หลายวิช า
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2553) นอกจากนี้ บุคลลากรทีม่ จี านวนน้อยอยูแ่ ล้วยังประสบกับข้อจากัดจาก
การที่ค รูมภี ารกิจ อื่นที่นอกเหนือ จากการเรียนการสอน หลักสูต รและแผนการจัดการเรียนรู้ไ ม่
สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน สื่อการเรียนการสอนและแหล่งการเรียนรู้มจี านวนจากัด ซึ่งใน
ท้ายทีส่ ุดก็ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนต่ าไปด้วย นอกจากนี้ โรงเรียนขนาดเล็กมัก มี
อัตราส่วนครูต่อนักเรียนต่อห้องเรียนต่ากว่ามาตรฐาน ค่าใช้จา่ ยต่อนักเรียน 1 คน จึงสูงกว่าโรงเรียน
ขนาดอื่น ๆ นอกจากนี้ ยังมีโรงเรียนขนาดเล็กอีกจานวนหนึ่งที่อยู่ในพื้นที่ท่มี ลี กั ษณะพิเศษ เช่น
พืน้ ที่ห่างไกลความเจริญ นักเรียนในโรงเรียนลักษณะดังกล่าวต้องประสบปญั หาในการเดินทางไป
เรียน
 ปัญหาด้านการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ถึงแม้ว่า ในปจั จุบนั จะมีต ัวแทนของชุมชนและองค์กรต่ าง ๆ เข้ามามีส่ ว นร่ว มในการจัด
การศึกษาในรูปของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน แต่บทบาทของคณะกรรมการดังกล่าวยัง
มีไม่มากนัก และยังขาดการประสานงานกับภาคส่วนต่าง ๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชน ยิง่ ไปกว่านัน้ ใน
บางพื้นที่ท่ีชุม ชนและผู้ป กครองมีฐ านะยากจน ก็ย่อ มไม่ส ามารถสนับสนุ น การดาเนิ น งานของ
โรงเรียนได้เท่าทีค่ วร

231
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ประเด็นท้าทายอืน่ ๆ
นอกเหนือจากความท้าทายด้านโอกาสทางการศึกษา คุณภาพการศึกษา และประสิทธิภาพ
การบริหารจัดการแล้ว อีกหนึ่งประเด็นท้าทายของการศึกษาไทย คือ ไม่สามารถผลิตคนให้ตรงกับ
ความต้องการของตลาดแรงงานทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ ซึง่ ถือเป็นเป็ นปญั หาเชิงโครงสร้างทีม่ ี
นัยสาคัญต่อความสามารถในการแข่งขันของไทย ที่จะส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตอย่างยังยื ่ น
ในระยะยาวเนื่องจากประเทศไม่สามารถใช้ทรัพยากรมนุ ษย์ได้อย่างเต็ มประสิทธิภาพโดยในเชิง
ปริมาณพบว่าเกิดการขาดแคลนแรงงานในทุกกลุ่ม (Skill Shortage) ซึง่ มีสดั ส่วนทีใ่ กล้เคียงกันอยู่ท่ี
ร้อยละ 60 ของความต้องการของผู้ประกอบการ 24 โดยเฉพาะในภาคการผลิตและภาคก่อสร้างที่
ยัง คงพึ่ง พาแรงงานพื้น ฐานที่ม ีก ารศึก ษาในระดับ มัธ ยมศึก ษาหรือ ต่ า กว่ าและระดับ การศึก ษา
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. และปวส.) เป็ นจานวนสูง นอกจากนี้ยงั เกิดความไม่สอดคล้องเชิง
คุ ณ ภาพ ของแรงงานทัง้ ด้า นสมรรถนะพื้นฐาน (Core Competencies) และระดับวิช าชีพ
(Functional Competencies) จากผลสารวจความคิดเห็นของผูป้ ระกอบการพบว่าทุกกลุ่มแรงงานยัง
มีช่องว่างระหว่างสมรรถนะด้านต่าง ๆ ที่มอี ยู่จริงกับความคาดหวังของสถานประกอบการ (Skill
Gap) อยูม่ าก

24
ธนาคารแห่งประเทศไทย (2555)
232
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 85: การขาดแคลนแรงงานในประเทศไทย

ทีม่ า: ผลสารวจ ธปท. (2554)

233
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ค. กรณี ศึกษาการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริ มการเรียนรู้ตลอดชีวิต

การศึกษาในส่วนนี้ได้พจิ ารณาถึงแนวทางการส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ โดยวิเคราะห์


จากรูปแบบการจัดการศึกษาของประเทศไทยในปจั จุบนั และการศึกษาประสบการณ์ต่างประเทศของ
ชาติทม่ี คี วามโดดเด่นในการจัดการศึกษาเพื่อผลักดันการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ซึง่ ก็คอื ประเทศญีป่ นุ่
1) การเรียนรู้ตลอดชีวิตในประเทศไทย
ตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ได้
กาหนดความหมายของการศึกษาเรียนรูต้ ลอดชีวติ ว่าเป็น “การศึกษาที่เกิ ดขึ้นจากการผสมผสาน
ระหว่ างการศึ กษาในระบบ (Formal Education) การศึ กษานอกระบบ (Non-formal
Education) และการศึ กษาตามอัธ ยาศัย (Informal Education) เพื่อให้ สามารถพัฒ นา
คุณภาพชี วิตได้อย่างต่ อเนื่ องตลอดชี วิต” จึงอาจกล่าวได้ว่าการเรียนรูต้ ลอดชีวติ เป็ นแนวคิดที่
พยายามมองการศึกษาในภาพรวม เน้นให้เกิดการประสานเชื่อมโยงระหว่างการศึกษาในทุกรูปแบบ
ตลอดช่วงชีวติ ของบุคคล เพื่อสร้างเสริมองค์ความรูแ้ ละฝึกฝนทักษะทีจ่ าเป็ นต่อการทางานและการ
ดาเนินชีวติ ตามความเหมาะสมและความต้องการของแต่ละบุคคล
ทัง้ นี้ รูปแบบของการจัดการศึกษาในประเทศไทยสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่
 การศึ กษาในระบบ (Formal Education) คือ การศึกษาที่ม ีการก าหนด
จุดมุ่งหมาย วิธกี ารศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา ตลอดจนการวัดและ
ประเมินผลทีแ่ น่ นอน และเป็ นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษา มีวตั ถุประสงค์เพื่อ
ถ่ายทอดหรือปลูกฝงั เนื้อหาความรู้ ความเข้าใจทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ พัฒนาศักยภาพ
ของบุคคลในทุกด้าน เพื่อให้มคี วามสามารถประกอบอาชีพตามความถนัด สามารถ
วางตัวได้อย่างเหมาะสมในสังคม และสามารถตอบสนองวิสยั ทัศน์ ในการพัฒนา
ประเทศโดยรวมได้
 การศึกษานอกระบบ (Non-formal Education) คือ การจัดการเรียนรูอ้ ย่างเป็ น
ระบบ แต่นอกกรอบการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียนปกติ จึงมีความยืดหยุ่นใน
การกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธกี ารจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การ
วัดและประเมินผล แต่ ปจั จัยเหล่านี้ยงั คงเป็ นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษา โดย
เนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปญั หาและความ
ต้องการของผู้เรียนแต่ล ะกลุ่ม สาหรับประเทศไทย การศึกษานอกระบบนับเป็ น
แนวทางสาคัญในการเปิ ดโอกาสให้กบั ผู้ท่ไี ม่ได้เข้ารับการศึกษาในระบบโรงเรียน
ปกติ ให้ประชาชนได้รบั การศึกษาอย่างเสมอภาคโดยเฉพาะการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

234
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การศึก ษานอกระบบจึงเป็ น กลไกส าคัญ ในการช่ว ยยกระดับ คุ ณ ภาพทรัพยากร


มนุษย์ของประเทศได้
 การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) คือ การศึกษาทีเ่ กิดขึน้ ตามวิถี
ชีวติ ที่ผู้เรียนเรียนรูด้ ้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส
โดยศึกษาจากประสบการณ์ การทางาน บุคคล ครอบครัว ชุมชน สื่อ และแหล่ ง
ความรูต้ ่างๆ เพื่อเพิม่ พูนความรู้และทักษะ พัฒนาคุณภาพชีวติ รวมถึง เพื่อความ
บันเทิง นอกจากนี้ ยังครอบคลุมถึงการศึกษาทางเลือก (Alternative Education)
ซึ่งเป็ นการจัดการศึกษาที่มรี ูป แบบต่างไปจากการศึกษาตามแนวกระแสหลักใน
ระบบทัวไป ่ จัดขึน้ ตามปรัชญาความเชื่อทีห่ ลากหลาย แต่ตงั ้ อยู่บ นพืน้ ฐานหลักการ
เดียวกันว่าบุคคลมีความเป็ นปจั เจกซึ่งแตกต่างกัน การศึกษาจึงควรมีจุดมุ่งหมาย
เพื่อพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนให้เป็ นมนุ ษย์ท่สี มบูรณ์ ทงั ้ ทางด้านสติปญั ญาและด้าน
จิตใจ

ภาพที่ 86: รูปแบบของการจัดการศึกษาในประเทศไทย

ปฐมวัย
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา

การศึกษาในระบบ อาชีวศึกษา

อุดมศึกษา
การศึกษาพิเศษ

ความรูพ้ น้ื ฐานสายสามัญ


การจัดการศึกษา
ในประเทศไทย

การศึกษานอกระบบ ความรูแ้ ละทักษะอาชีพ

ข้อมูลความรูท้ วไป
ั่

การศึกษาตาม การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง


อัธยาศัย การศึกษาทางเลือก

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

235
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การศึก ษานอกระบบและการศึก ษาตามอัธ ยาศัย เป็ น การจัดการศึกษาที่มคี วามยืดหยุ่น


ผูเ้ รียนมีความสะดวกเลือกเรียนได้หลายวิธ ี จึงก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตัวผูเ้ รียนและสังคมเป็ นอย่าง
ยิง่ โดยเฉพาะในยุคแห่งศตวรรษที่ 21 ซึง่ การศึกษาเรียนรูข้ องมนุษย์จะเปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว
เนื่ อ งจากพลวัต รการเปลี่ย นแปลงในทุก ๆ ด้าน ความก้า วหน้ า ขององค์ค วามรู้แ ละวิท ยาการ
สมัย ใหม่ การพัฒนาด้านเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร ตลอดจนพัฒนาการของระบบ
เศรษฐกิจทีใ่ ช้ความรูเ้ ป็ นฐาน ( Knowledge-based Economy) ทาให้เกิดความต้องการการเรียนรูอ้ ย่าง
กว้างขวางในแทบทุกกิจกรรมของสังคม การศึกษาเรียนรูจ้ งึ จาเป็ นต้องขยายขอบเขตจากการศึกษา
ในระบบ ไปสู่การเรียนรูจ้ ากการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้เกิดกิจกรรม
การศึกษาและแหล่งการเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย ซึง่ มีบทบาทสาคัญเป็นอย่างยิง่ ต่อวิถชี วี ติ ของมนุษย์
อย่างไรก็ตาม ในปจั จุบนั ระบบการศึกษาของประเทศไทยยังคงขาดความสมดุลระหว่าง
การศึกษาในระบบและการศึกษารูปแบบอื่น ๆ การพัฒนาการศึกษาของประเทศจึงยังคงเทน้ าหนัก
ไปที่การศึกษาในระบบโรงเรียน โดยมองข้ามศักยภาพของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธ ยาศัย ในการเป็ น อีก แนวทางหนี่ ง ของการจัด การศึก ษาซึ่ง เปิ ด โอกาสให้กับ ผู้ท่ีไ ม่ไ ด้เ ข้า รับ
การศึกษาในระบบโรงเรียนตามปกติ ได้มโี อกาสศึกษาหาความรู้ พัฒนาตนเอง ให้สามารถดารงชีวติ
อยูใ่ นสังคมได้อย่างประสบความสาเร็จและมีความสุข
การจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ในประเทศไทยยังต้องเผชิญกับปญั หา
และข้อจากัดหลายประการ ได้แก่
 ค่านิยมและทัศนคติของสังคมที่มกั มองการศึกษานอกระบบเป็ นทางเลือ กสุดท้าย ไม่
นิยมเรียน เนื่องจากยังคงมองว่าผลผลิตของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอาจไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐาน หรือเป็ นกลุ่มคนทีม่ คี วามคิดแปลกแยกจาก
คนส่วนใหญ่ในสังคม
 การขาดความพร้อมทางด้านแหล่งการเรียนรูแ้ ละเทคโนโลยีสารสนเทศทีจ่ ะช่วยอานวย
ความสะดวกในกระบวนการศึกษาเรียนรู้
 การขาดการผลักดันอย่างจริงจังในเชิงนโยบายและข้อจากัดในการปฏิบตั กิ าร แม้ว่า
ประเทศไทยจะมีการกาหนดสิทธิการจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐานของสถาบันทางสังคม
ตามมาตรา 12 ของพระราชบัญ ญัต การศึก ษาแห่ ง ชาติ เพื่อ ให้เ กิดการสร้างสรรค์
รูปแบบการศึกษาทีห่ ลากหลาย ยืดหยุน่ สอดคล้องกับความแตกต่างและความต้องการ
ของผู้เรียนทุกกลุ่ม ตรงตามธรรมชาติของการเรียนรูท้ ่มี ุ่งสู่ความเป็ นมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์
ในทุกๆ ด้าน ทัง้ ยังสอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกทัง้ ในปจั จุบนั และ
อนาคต อย่างไรก็ตาม การออกกลไกทางกฎหมายและกลไกสนับสนุ นอื่นๆ ยังอยู่ใน
รูปของแนวทางกว้าง ๆ และยังไม่ได้มกี ารเชื่อมโยงส่การปฏิบตั ิอ ย่างเป็ นรูปธรรม
เท่าทีค่ วร
236
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

จากอุปสรรคต่างๆ ภายในประเทศเหล่านี้ ทาให้ในการวางแนวทางสาหรับการส่งเสริมการ


เรียนรูต้ ลอดชีวติ ได้ใช้การพิจารณาจากหลักการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ตาม
กรอบแนวทางของ OECD และกรณีศกึ ษาของประเทศญีป่ นุ่ ดังทีจ่ ะกล่าวถึงในส่วนต่อไป

2) หลักการจัดการศึกษาเพือ่ ส่งเสริ มการเรียนรู้ตลอดชีวิต


การเรียนรูต้ ลอดชีวติ ต้องอาศัยรูปแบบการศึกษาทีห่ ลากหลาย ไม่ใช่เพียงแค่การเรียนการ
สอนตามหลักสูตรในห้องเรียนเท่านัน้ โดยเป้าหมายของการจัดการศึกษาแต่ละประเภทนัน้ เป็ นไป
เพื่อตอบสนองต่อความต้องการทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปตามวัยและสภาพแวดล้อมตลอดจนพืน้ ฐานทัง้ ทาง
เศรษฐกิจ และสัง คมของแต่ ล ะบุ ค คล ทัง้ นี้ กรอบแนวทางการเรีย นรู้ต ลอดชีว ิต แบบองค์ร วม
(Comprehensive View) ควรประกอบไปด้วยคุณลักษณะ 4 ประการ (OECD, 2004) ได้แก่
1. มีมมุ มองอย่างเป็นระบบ สามารถเชื่อมโยงการเรียนรูใ้ นรูปแบบต่างๆ ทัง้ ทีเ่ ป็ นทางการ
ไม่เป็ นทางการ และตามอัธยาศัย ให้เ กิดเป็ นระบบการเรียนรูท้ ่สี ่งเสริมกัน ครอบคลุม
ทุกช่วงอายุ และสามารถสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาเรียนรูใ้ ห้กบั ประชาชนได้อย่าง
ทัวถึ
่ ง
2. มีผเู้ รียนเป็ นศูนย์กลาง จัดกระบวนการเรียนรูโ้ ดยให้ความสาคัญกับความต้องการของ
ผูเ้ รียน
3. มีแ รงจู ง ใจที่จ ะเรีย น มุ่ ง เน้ น การเรีย นรู้ ท่ีต่ อ เนื่ อ งตลอดชี ว ิต โดยปลู ก ฝ งั ความ
กระตือรือร้นทีจ่ ะเรียนรูแ้ ละพัฒนาขีดความสามารถในการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองของผูเ้ รียน
4. มีเป้าประสงค์ของนโยบายการศึกษาที่หลากหลาย ไม่ได้มุ่งเน้ นเพียงผลสัมฤทธิ ์ทาง
วิชาการเพียงอย่างเดียว โดยต้องให้ความสาคัญกับเป้าหมายการศึก ษาอื่นๆ ที่ครบ
วงจรตลอดช่วงชีวติ

ภาพที่ 87: ช่วงอายุของบุคคลและประเภทของการศึกษาที่พึงได้รบั


การศึกษาตลอดชีวิต
นอกระบบ ในระบบ นอกระบบ
นอกระบบ
นอกระบบ ในระบบ
อัธยาศัย อัธยาศัย
อัธยาศัย นอกระบบ อัธยาศัย
อัธยาศัย
แรกเกิ ด ปฐมวัย วัยเรียน วัยทางาน วัยเกษี ยณ
ทีม่ า: สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) กระทรวงศึกษาธิการ
237
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3) ตัวอย่างกรณี ศึกษาจากประเทศญีป่ นุ่

การมองภาพแบบองค์รวม
ประเทศญี่ปุ่ นเป็ นชาติห นึ่ ง ที่ใ ห้ค วามส าคัญ กับการเรีย นรู้ต ลอดชีว ิต ของพลเมือ งอย่า ง
เข้มข้นมาอย่างยาวนาน สามารถสอดแทรกการเรียนรูเ้ ข้ากับวิถชี วี ติ และวัฒนธรรมได้อย่างกลมกลืน
และสามารถปลูกฝงั ความรักที่จะเรียนรูใ้ ห้เป็ นส่วนหนึ่งของชีวติ ประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สัง คมญี่ปุ่น ให้ค วามส าคัญ กับ การเรีย นรู้โ ดยไม่ไ ด้มุ่ ง เน้ นเพียงแค่ ก ารเรียนในห้อ งเรียนเท่ านั น้
หากแต่มองการเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ ๆ และการสังสมองค์่ ความรูอ้ ย่างต่อเนื่องว่าเป็ นสิง่ ทีม่ คี ุณค่า อีกทัง้ ยัง
เป็นสิง่ ทีส่ ามารถทาได้โดยไม่จากัดสถานทีแ่ ละเวลา
นโยบายการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ของประเทศญี่ป่นุ เริม่ ตัง้ แต่ในช่วงทศวรรษที่ 1940s โดยเริม่
จากการพัฒนานโยบายด้านการศึกษาผู้ใหญ่ การศึกษาชุมชน และนโยบายการศึกษาตลอดชีวติ
และมีการออกนโยบายการศึก ษาต่ อเนื่อง นอกจากนี้ยงั ได้มกี ารปรับปรุงกฎหมายการศึกษาขัน้
พืน้ ฐานและกฎหมายอื่นๆ ส่งเสริมให้ภาคส่วนต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบเพื่อ
พัฒ นาคุ ณ ภาพชีว ิต ของประชาชน มีก ารจัด ตัง้ คณะกรรมการการศึก ษาแห่ ง ชาติ เพื่อ ปฏิรูป
การศึกษา โดยยึดโครงสร้างการเรียนรูต้ ลอดชีวติ มีการออกกฎหมายกส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวติ
ในปี ค.ศ. 1990 ซึง่ ส่งผลให้ในปี ค.ศ. 2001 มีการสานักนโยบายการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ตลอดจนสภา
การเรียนรู้ตลอดชีวติ ในส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค หน่ วยงานทุกหน่ วยงาน ทัง้ ภาครัฐและเอกชน
ตัง้ แต่ระดับชาติจนถึงระดับท้องถิน่ เข้ามามีบทบาทในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
แก่ประชาชนทุกระดับ โดยกาหนดบทบาทการดาเนินงาน ดังนี้
ส่วนกลาง
 กระทรวงศึกษา วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Ministry of Education,
Culture, Sports, Science and Technology: MEXT) ทาหน้าทีเ่ ป็ นองค์กรหลักของ
หน่ ว ยงานภาครัฐ ที่ร ับ ผิด ชอบงานการศึก ษา มีอ านาจพัฒ นา ก าหนดนโยบาย
ดาเนินงานร่วมกับองค์กรท้องถิน่ ในการจัดการศึกษาผู้ใหญ่ กิจกรรมการเรียนรูต้ ลอด
ชีวติ ผ่านศูนย์การเรียนชุมชนตลอดชีวติ ศูนย์การเรียนชุมชน แหล่งเรียนรูต้ ่างๆ เช่น
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ ห้อ งสมุ ด โดยกระทรวงศึกษาธิก าร วัฒ นธรรม กีฬ า วิท ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี จะดาเนินโครงการต่าง ๆ ตามที่นโยบายกาหนดไว้ โดยร่วมกับกระทรวง
ต่าง ๆ เช่น

238
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- ด้านแรงงาน ร่วมกับกระทรวงเศรษฐกิจ การค้าและอุตสาหกรรม (Ministry


of Economy, Trade and Industry) ดาเนินโครงการฝึกอบรมทักษะให้
เจ้าของสถานประกอบการธุรกิจขนาดย่อย ระบบสนับสนุ นการศึกษาและ
การฝึกอบรมให้แก่ลกู จ้าง ให้มโี อกาสพัฒนาทักษะและศักยภาพการทางาน
มากยิง่ ขึน้
- ด้านเทคโนโลยีส ารสนเทศได้ดาเนินการจัดระบบเครือ ข่ายข่าวสารทาง
การศึกษาและการสื่อสาร (Educational Information and Communication
Network System “el-Net”) เพื่อขยายโอกาสการเรียนรูต้ ลอดชีวติ และจัด
วิธกี ารทีง่ า่ ยแก่ประชาชนให้สามารถเข้าถึงข้อมูลทางการศึกษาได้ทุกทีแ่ ละ
ทุกเวลา
 สานักนโยบายการเรียนรูต้ ลอดชีวติ (Lifelong Learning Policy Bureau) ทาหน้าทีเ่ ป็ น
ผู้ ใ ห้ แ นวทางของการศึ ก ษา วางแผนและก าหนดนโยบาย โดยท างานร่ ว มกั บ
สถานศึกษา ครอบครัว ชุมชน รวมทัง้ ทาหน้าที่ส่งเสริมสนับสนุ นห้องสมุด พิพธิ ภัณฑ์
วิทยาลัยอบรมเฉพาะทาง อานวยความสะดวกด้านการศึกษา ตลอดจนส่งเสริมการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

ส่วนท้องถิน่
 ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ที่เรียกเป็ นภาษาญี่ปุ่นว่า “โคมินกัง” (Kominkan) ทาหน้ าที่จดั
กิจ กรรมการเรีย นรู้ต ลอดชีว ิต ให้แก่ ค นในชุ มชนตามพื้น ที่ต่ าง ๆ ทัวประเทศ
่ มัก มี
ลัก ษณะเป็ น อาคารทัน สมัย มีห้ อ งจัด กิจ กรรมการเรีย นรู้ ป ระเภทต่ า ง ๆ อย่ า ง
หลากหลาย อาทิเ ช่น กิจกรรมการฝึ กพื้นฐานอาชีพ/การอบรมเพื่อ สร้างอาชพเสริม
กิจกรรมฝึกร้องเพลงของผูส้ ูงอายุ กิจกรรมฝึ กเล่นไพ่โบราณของญี่ปุ่น กิจกรรมฝึกเล่น
เกมส าหรับเด็ก เล็ก กิจกรรมฝึ กวาดภาพศิล ปะ โดยมีการรับอาสาสมัครบุค คลากร/
ผูส้ ูงอายุในท้องถิน่ มาเป็ นวิทยากรร่วมด้วย เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดภูมปิ ญั ญาท้องถิน่
และการสานสัมพัน์ระหว่างสมาชิกในชุมชน ทัง้ นี้ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนจะขึ้นตรงกับ
กระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งจะเป็ นผู้กากับ
ดูแล ตรวจสอบ ติดตาม และให้คาแนะนาด้านวิชาการ
 แหล่งเรียนรูต้ ่าง ๆ เช่น สนามกีฬา พิพธิ ภัณฑ์ ห้องสมุด ซึ่งเป็ นหน่ วยงานเครือข่าย
ของศูนย์การเรียนชุมชน มีหน้าทีจ่ ดั กิจกรรมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ให้เชื่อมโยงสอดคล้อง
กันและมีความหลากหลาย สามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มป้าหมายได้ และ
ประชาชนเองก็สามารถรวมกลุ่มเพื่อจัดกิจกรรมในศูนย์การเรียนชุมชนได้ด้วยตนเอง
โดยไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ยใด ๆ
239
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การเรียนรู้เพือ่ ชุมชนโดยชุมชน
การจัดการเรียนรูใ้ นประเทศญีป่ นุ่ เน้นการมีส่วนร่วมในระดับท้องถิน่ อย่างเข้มข้น ผ่านกลไก
“การเรียนรูข้ องชุมชน” (Social Education) ซึง่ หมายรวมถึงกิจกรรมทางการศึกษารวมทัง้ กิจกรรม
พลศึกษา และกิจกรรมนันทนาการ สาหรับเยาวชนและผูใ้ หญ่นอกโรงเรียน และกิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ อัน
เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของหลัก สู ต รในโรงเรีย นตามพระราชบัญ ญัติโ รงเรีย น มีจุด ประสงค์เ พื่อ พัฒ นา
ประชาชนและชุมชนโดยใช้กระบวนการการเรียนรูแ้ ละแลกเปลีย่ นร่วมกัน (Mutual Learning and
Teaching) ดาเนินการโดยภาครัฐในส่วนท้องถิน่ ร่วมกับชุมชน โดยมีรฐั บาลกลางเข้ามามีบทบาทใน
การสร้างอาคารศูนย์การเรียนชุม ชนและศูนย์การเรียนรูต้ ลอดชีวติ สนับสนุ นงบประมาณ กาหนด
บทบาทชัดเจนของผูเ้ กี่ยวของ มาตรฐานการดาเนินงาน คุณสมบัตแิ ละคุณวุฒขิ องบุคลากร รวมถึง
การจัดกิจกรรมของศูนย์การเรียนรูช้ ุมชน

ภาพที่ 88: การเรียนรูข้ องชุมชน (Social Education) ในประเทศญี่ปนุ่

ทีม่ า: กระทรวงศึกษา วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Ministry of Education, Culture, Sports,


Science and Technology: MEXT) ประเทศญีป่ นุ่

เอกลักษณ์ท่โี ดดเด่นของการเรียนรูข้ องชุมชนในประเทศญี่ปุ่นก็คอื การมีโคมินกัง ซึ่งถูก


ตัง้ ขึ้นอย่างเป็ นทางการในช่วงหลังสงครามโลกครัง้ ที่สอง เพื่อตอบโจทย์ของประชาชนที่ต้องการ
เรียนรูท้ กั ษะใหม่ ๆ ในการยกระดับความเป็ นอยู่จากภาวะยากจนข้นแค้นจากการพ่ายแพ้สงคราม
โคมินกังจึงเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของยุคสมัยแห่งการเปลีย่ นแปลงเพื่อค้นหาจุดมุ่งหมายใหม่ใน
การดาเนินชีวติ โดยรัฐบาลกลางได้ให้ความสาคัญ มีการกาหนดกรอบกฎหมายทีท่ าให้ การเรียนรู้
ของชุมชนเป็ นส่ว นหนึ่งของการจัดการศึกษาอย่างเป็ นทางการ วางมาตรฐานในการดาเนินงาน

240
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สร้างระบบการรับรองคุณภาพของบุคลากร ตลอดจนให้การสนับสนุนทางการเงิน และส่งเสริมการใช้


โคมินกังในการทากิจกรรมของชุมชน แนวทางนี้ได้ทาให้ชาวญี่ป่นุ เห็นความสาคัญว่าการเรียนรูข้ อง
ชุมชน เป็นการให้สทิ ธิกบั ประชาชนในการจัดการศึกษาให้กบั ตนเองอย่างแท้จริง
ในปจั จุบนั ประเทศญีป่ นุ่ มีโคมินกังอยู่มากกว่า 17,000 แห่งทัวประเทศ
่ เป็ นช่องทางส่งเสริม
คุ ณ ภาพชีว ิต แก่ เ ด็ก เยาวชน และผู้ใ หญ่ โดยร่ ว มมือ กับ เครือ ข่ า ยการเรีย นรู้ เช่ น ห้อ งสมุ ด
พิพธิ ภัณ ฑ์ โรงเรียน ศูนย์สุ ขภาพประชาชน สมาคม องค์กรพัฒนา เอกชน ชุมชน เป็ นต้น ซึ่ง
ห้อ งสมุด และพิพ ิธ ภัณ ฑ์ ต่ า งก็ม ีพ ระราชบัญ ญัติข องตนเอง ที่ก าหนดบทบาทในการส่ ง เสริม
สนับสนุนศูนย์การเรียนชุมชน ทาให้สถานศึกษาในชุมชนจัดกิจกรรมหลังเรียนร่วมกับศูนย์การเรียน
ชุมชนและเครือข่ายการเรียนรูต้ ่าง ๆ

ภาพที่ 89: โคมิ นกังในประเทศญี่ปุ่น

ทีม่ า: กระทรวงศึกษา วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Ministry of Education, Culture, Sports,


Science and Technology: MEXT) ประเทศญีป่ นุ่

241
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4) นัยเชิ งนโยบาย
บทบาทของภาครัฐ สาหรับ ประเทศไทยในอนาคตนอกจากจะต้อ งให้ความสาคัญกับการ
ยกระดับคุณภาพการศึกษาในระบบแล้ว ยังต้องส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรูต้ ลอดช่วงชีวติ ควบคู่ ไป
ด้ว ย โดยแนวนโยบายเพื่อ การส่งเสริมการเรียนรู้ต ลอดชีว ิต ที่สามารถดาเนินการได้ โดยอาจมี
แนวทางดังนี้
มีเป้ าประสงค์ของนโยบายการศึกษาที่สมดุลและหลากหลาย
- มีนโยบาย เป้าหมาย ยุทธศาสตร์เพื่อขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรูต้ ลอด
ชีวติ ที่ชดั เจน โดยการออกกฎหมายเพื่อส่งเสริมสนับสนุ น ให้การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนให้ มาก
ยิง่ ขึน้ ในรูปแบบต่างๆ เช่น หลักสูตรการศึกษาผู้ใหญ่ การฝึกอบรมต่อเนื่องเพื่อพัฒนา
ให้ประชาชนทุกวัยของประเทศมีความรู้ เป็นการเพิม่ ศักยภาพของประชากร
- หลักสูตรควรจะมีขอบเขตเนื้อหาที่ยดึ จากหลักสูตรแกนกลางและมีหลักสูตรท้องถิน่ ใน
สัดส่วนทีเ่ หมาะสม ควรจะมีหลายลักษณะทัง้ หลักสูตรระยะสัน้ ระยะยาว รวมทัง้ มีความ
ยืด หยุ่ น เอื้อ ต่ อ การเรีย นรู้ด้ ว ยตนเอง มุ่ ง เน้ น การตอบโจทย์ ค วามต้ อ งการของ
กลุ่มเป้าหมายเป็ นสาคัญ ควรจะสอดคล้องกับวิถีชีว ิตของบุคคลและชุมชน สามารถ
นาไปใช้ในชีวติ จริงได้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ และปญั หาของตนเองได้
- ประเภทของกิจกรรมทางการศึกษานอกระบบควรจะครอบคลุมกิจกรรมหลัก ๆ ได้แก่
(1) กิจกรรมการศึกษาพื้นฐาน (2) กิจกรรมการให้ความรูท้ างด้านทักษะ และ (3)
กิจกรรมการให้ค วามรู้ทวไป
ั ่ เป็ นการให้ความรู้ท่เี กี่ยวข้อ งกับความเป็ นอยู่และการ
ดาเนินชีวติ ประจาวัน เน้นการฝึ กทักษะกระบวนการคิด การวิเคราะห์ การจัดการ การ
เผชิญสถานการณ์ การแก้ปญั หา และการประยุกต์ใช้ความรู้
- มีการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน ทัง้ นี้เพื่อให้ตรงกับจุดประสงค์ของการศึกษาเรียนรู้
การประเมินผลควรเป็ นการประเมินการพัฒนาการเรียนรูข้ องผู้เรียนมากกว่าประเมิน
ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนทีเ่ ป็ นการประเมินแบบแข่งขัน เพียงอย่างเดียว ควรใช้เทคนิค
วิธกี ารประเมินที่หลากหลายให้เหมาะสมกับลักษณะของวิชาหรือลักษณะของกิจกรรม
และลัก ษณะของกลุ่ ม เป้ าหมาย และการประเมิน ผลควรรับ ฟ งั ผลสะท้ อ นกลั บ
(Feedback) จากผูเ้ รียนด้วย

242
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สร้างการเชื่อมโยงระหว่างภาคส่วนต่ าง ๆ
- จัดโครงสร้างองค์ก รการบริหารการเรียนรู้ต ลอดชีวติ ทุกระดับ ตัง้ แต่ ส่วนกลาง ส่ว น
ภูมภิ าค และท้อ งถิ่น โดยร่ว มมือ กับกระทรวงต่ าง ๆ และหน่ ว ยงานที่เ กี่ยวข้อ ง ให้
ความสาคัญกับส่วนท้องถิ่นในการยกระดับการเรียนรูแ้ ละพัฒนาทักษะสมรรถนะของ
ประชาชน โดยหน่ ว ยงานในส่ ว นกลางเน้ น การจัด ท ายุท ธศาสตร์ กาหนดนโยบาย
มาตรฐานการจัดการศึกษา/การเรียนรูต้ ลอดชีวติ วิธกี ารวัดผลประเมินผล และการทา
วิจยั เพื่อแสวงหานวัตกรรมใหม่ ๆ ทางการศึกษา/การเรียนรูต้ ลอดชีวติ ตลอดจนการ
จัดสรรงบประมาณในการดาเนิ นงานของหน่ วยงานการศึกษาตลอดชีวติ ส่วนในระดับ
ท้องถิ่นนัน้ หน่ วยงานระดับท้องถิ่นดาเนินงานในรูปของศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวติ มี
บทบาทสาคัญในการจัดกิจกรรมการศึกษา / การเรียนรู้ตลอดชีว ติ ในชุมชน ประสาน
ความร่วมมือกับหน่ วยงานเครือข่าย และชุมชน ดาเนินกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวติ
ตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายตัง้ แต่ก่อนปฐมวัยจนถึงวัยเกษียณอายุ

พัฒนาแหล่งการเรียนรู้
- รัฐควรจัดพื้นที่ส าธารณะ (Public Space) ที่ส่ งเสริมการเรียนรู้ของผู้เ รียน และ
ประชาชนทัวไปที ่ ่สนใจเรียนรู้ ได้มโี อกาสเรียนรูต้ ลอดชีวติ ตลอดจนส่งเสริมภาคส่วน
อื่นๆ ที่มคี วามพร้อมและมีศกั ยภาพ ไม่ว่าจะเป็ นภาคเอกชน หรือท้องถิ่น ในการจัด
พืน้ ทีเ่ ปิด (Open Spaces) ทีเ่ ป็นแหล่งเรียนรูต้ ลอดชีวติ แก่ประชาชน
- จัดปจั จัยสนับสนุ นการเรียนรูข้ องผู้เรียน โดยจัดแหล่งความรู้ท่ผี ู้เรียนสามารถค้นคว้า
ด้ว ยตนเองได้ เช่น ศูนย์ว ิทยาการ บทเรียนสาเร็จรูป ชุดการสอน ใช้ส่อื ชนิดต่ างๆ
หลายชนิดผสมผสานกัน (Multi-Media) ใช้ระบบการศึกษาทางไกลเข้ามาช่วย รวมทัง้
ต้องมีเจ้าหน้ าที่ประจาศูนย์วทิ ยบริการที่สามารถช่วยแนะนาและอานวยความสะดวก
ให้กบั ผูเ้ รียนได้
- เน้นการสร้างแหล่งการเรียนรูใ้ นชุมชน ช่วยให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษาและจะช่วยให้เกิดบรรยากาศการเรียนรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ ควรจะมี
หลายรูปแบบ ไม่ควรยึดหลักว่าต้องสร้างใหม่เสมอ อาจจะใช้สงิ่ ที่มอี ยู่แล้วในท้องถิ่น
หรือทรัพยากรท้องถิน่ การดูแลบริหารควรทาในรูปของอาสาสมัครและผูแ้ ทนชาวบ้าน
ผลัดกันหมุนเวียนกัน ให้ประชาชนรูส้ กึ เป็ นเจ้าของและเข้ามามีส่วนดูแลมากขึน้ แหล่ง
การเรียนรูค้ วรประสานและร่วมมือกัน อาจเชื่อมโยงกันเป็ นเครือข่ายเพื่อให้เกิดกิจกรรม
อย่างต่อเนื่อง

243
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.2 โมดูล 2: การพัฒนาระดับบุคคล (Individual Development)


การศึกษาในส่วนก่อนหน้านี้ได้สะท้อนภาพรวมการศึกษาเรียนรู้ ตลอดจนเป้าประสงค์ใน
ระดับมหภาค (Macro) ทัง้ นี้ ในการศึกษาส่วนนี้จะเป็ นการศึกษาไล่เรียงรายละเอียดลงมาในระดับ
จุลภาค (Micro) หรือกรอบการพัฒนาในระดับบุคคล สาเหตุทต่ี อ้ งให้ความสาคัญกับการพัฒนาระดับ
บุคคลนัน้ ก็เพราะว่าการพัฒนาประเทศหรือสังคมใด ๆ ย่อมต้องมีพ้นื ฐานมาจากการพัฒนาบุคคล
ดังนัน้ แล้ว หากเรากาลังจะยกระดับเป้าประสงค์ของประเทศและเป้าประสงค์ของการศึกษาเรียนรูใ้ ห้
บรรลุตามเป้าประสงค์ท่มี ุ่งหวังแล้ว จึงจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนาระดับ
บุคคลโดยมีกรอบการพัฒนาทีส่ อดคล้องเชื่อมโยงกัน
สาหรับเนื้อหาการศึกษาวิเคราะห์ในส่วนนี้ประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่
1) ปจั จัย พื้น ฐานระดับ บุ ค คลของคนไทยเพื่อ เตรีย มพร้อ มสู่ ศ ตวรรษที่ 21 ซึ่ง
ประกอบด้วย ด้านการพึง่ พาตนเอง และเป็ นอิสระจากผูอ้ ่นื (Independence) กับ
ด้านการพึง่ พาอาศัยกันและกัน (Inter-dependence)
2) ภาพคนไทยในปจั จุบนั (As Is)
3) ภาพคนไทยทีพ่ งึ ประสงค์ในศตวรรษที่ 21 (Should Be) ซึง่ ครอบคลุมคุณลักษณะ
ทีพ่ งึ ประสงค์ใน 3 กลุ่มด้วยกัน คือ (1) กลุ่มของจิต (Mindset) (2) กลุ่มของทักษะ
แห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) และ (3) กลุ่มขององค์ความรูแ้ กนสาคัญ
4) ช่องว่าง (Gap) ระหว่างคนไทยในปจั จุบนั กับคนไทยทีพ่ งึ ประสงค์ในศตวรรษที่ 21

4.2.2.1 ปัจจัยพื้นฐานระดับบุคคลของคนไทยเพื่อเตรียมพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
ปจั จัยพื้นฐานของกระบวนการคิดและสังเคราะห์ท่ที ุกคนพึงมีแบ่งออกได้เป็ นสองทางคือ
ความเป็ นอิสระจากผู้อ่นื (Independence) และ การพึ่งพาผู้อ่นื (Inter-dependence) เปรียบได้
เสมือนการเปรียบเทียบระหว่างสองขัว้ ของการมีปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ ่นื อย่างเข้มข้น (Sociotropy) และ
การเป็นเอกเทศ (Autonomy) (Sato and McCann, 1997) โดยมีรายละเอียดดังนี้
1) ด้านการพึง่ พาตนเอง และเป็ นอิ สระจากผูอ้ ืน่ (Independence)
การพึ่งพาตนเองเป็ นคุณสมบัติของการอยู่ได้ด้วยตนเอง ความเฉพาะตัว และความมีอตั
ลักษณ์ทเ่ี ด่นชัด (Sato and McCann, 1997) กล่าวคือ ความเป็ นปจั เจกบุคคล ในยุคสมัยนี้มนุ ษย์ม ี
ความรูเ้ กี่ยวกับสิง่ ต่างๆรอบตัว จานวนมาก แต่ในขณะเดียวกัน คนเรากลับไร้ความสามารถในการ
แยกแยะ หรือ จ าแนกความเป็ น ป จั เจกของแต่ ล ะสิ่ง ออกจากกัน ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความโง่ เ ขลา
(Ignorance) ทีแ่ ผ่กระจายอยู่ในสังคมไทยปจั จุบนั การศึกษาจะเป็ นตัวช่วยทีส่ าคัญในการบ่มเพาะ
ความเป็ นปจั เจกของแต่ละบุคคล รวมไปถึงการรับรูค้ วามเป็ นปจั เจกของคนอื่นได้ในขณะเดียวกัน
245
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทัง้ นี้เพราะการศึกษานัน้ ทาให้คนมีความอยากรูแ้ ละขวนขวายหาข้อเท็จจริงเพื่อการตัดสินใจ หาใช่


ด้วยการสันนิษฐานหรืออนุ มาน ทึกทักเอาเอง (Williams, 1957) และด้วยความเป็ นปจั เจกนี้เองทีจ่ ะ
เป็ นตัวสร้างสังคม ทาให้เกิดความหลากหลายและอิสระทางความคิด แต่อย่างไรก็ตามโดยพืน้ ฐาน
ของความเป็ นปจั เจกแล้ว คาๆ นี้มบี ริบทกลาง (Elvin, 1980) ซึง่ สามารถนาไปสู่ทงั ้ ข้อดีและข้อเสีย
ได้ในขณะเดียวกัน เหมือนดาบสองคมหากเกิดความสุดโต่งทีม่ ากเกินกว่าทีค่ วรจะเป็ น ซึง่ สามารถ
แยกออกได้เป็นสองกรณีดงั นี้
 ความโดดเด่นด้วยความเป็ นปจั เจกชน: ความโดดเด่นของคุณสมบัตเิ ฉพาะบุคคล มี
ความแตกต่ างจากคนอื่นด้ว ยอัต ลัก ษณ์ ไม่ว่า จะเป็ น จากการบ่ม เพาะความรู้ หรือ
ประสบการณ์
 ความไม่เข้ากันด้วยความเป็ นปจั เจกชน: ความขัดแย้งอันเกิดจากความไม่ปรองดอง มัก
เกิดขึน้ เมื่อความเป็ นปจั เจกชนนัน้ สุดโต่งจนเกิดพอดี แต่ละบุคคลยึดมันกั
่ บอัตลักษณ์
ของตนเองมากจนไม่เกิดความเคารพหรือความประนีประนอมในสังคม
หากไม่มคี วามสมดุล ระหว่างสองสิ่งนี้ คงเป็ นไปได้ยากที่สงั คมจะก้าวหน้ าไปในทางที่ดี
ดังนัน้ แล้วพื้นฐานของบุคคลจะต้องถูกหล่อหลอมด้วยการอบรมและบ่มเพาะจากสถาบันครอบครัว
และสถาบันการศึกษา สร้างพืน้ ฐานทางจิตทีด่ บี วกเข้ากับองค์ความรูแ้ ละทักษะทีเ่ หมาะสม จึงจะทา
ให้แต่ละคนเป็ นส่วนหนึ่งของสังคมทีจ่ ะขับเคลื่อนไปข้างหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพไม่ว่าจะเป็ นใน
เรือ่ งของแง่มมุ ทางสังคมหรือแง่มมุ ทางเศรษฐกิจ
2) ด้านการพึง่ พาอาศัยกันและกัน (Inter-dependence)
ส่วนด้านการพึง่ พาอาศัยกันและกันนัน้ เป็นคุณสมบัตใิ นเชิงการเข้าสังคม และการอยู่ดว้ ยกัน
กล่าวคือ เป็ นคุณสมบัตใิ นการมีสมั พันธ์ภาพ (Relatedness) การรับรูแ้ ละเข้าใจ (Attending to
Others) ทัง้ นี้เพื่อให้เกิดความสมานฉันท์ในชุมชน (Harmony) (Sato and McCann, 1997) ดังนัน้
นอกเหนือจากการเป็ นปจั เจกชนแล้ว บุคคลหนึ่งๆ จะต้องมีพ้นื ฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคม อัน
เนื่องมาจากการที่มนุ ษย์เป็ นสัตว์สงั คม มีลกั ษณะที่ต้องพึ่งพาอาศัยเพื่อการเกิดประโยชน์สูงสุดทัง้
ในระดับบุคคลและองค์รวม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในยุคสมัยที่มคี วามเชื่อมโยงถึงกันและกัน หรือที่
เรียกว่า โลกาภิวฒ ั น์ (Globalization) การพึง่ พาอาศัยกันโดยเริม่ จากระดับบุคคลนี้สามารถขยาย
ออกสู่ภาพทีใ่ หญ่ขน้ึ (Scale Up) โดยสามารถแบ่งออกได้เป็ นในสามลักษณะใหญ่ (Somech, 2000)
คือ
- ทางเศรษฐกิจ (Economics Inter-dependence): เนื่องจากทุกอย่างมีความเป็ นสากล
มากขึน้ ทัง้ การประกอบกิจการ การแลกเปลีย่ นซื้อขายระหว่างประเทศและในประเทศ
การไหลของเม็ดเงินสามารถเป็ นตัวชี้วดั กิจกรรมทางเศรษฐกิจได้เป็ นอย่างดีว่าการอยู่
ร่วมกันอย่างสมานฉันท์นนั ้ เป็นสิง่ จาเป็น
246
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- ทางสิง่ แวดล้อม (Environment Inter-dependence): เป็ นการพึง่ พาอาศัยกันและกันใน


ระดับชุมชน การอยู่อาศัยการคานึงถึงกันและกัน สรรค์ส ร้างสภาพแวดล้อ มที่น่าอยู่
อาศัย ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องของธรรมชาติ หรือ สภาวะการณ์อยู่อาศัย โดยทัวไปเช่
่ น การ
จัดสรรพืน้ ที่ หรือแม้แต่บรรยากาศการอยูร่ ว่ มกัน
- ทางสังคม (Social Inter-dependence): เรื่องของการผสมรวมกันของวัฒนธรรมและ
ความแตกต่างกันในสังคม เพื่อลดความตึงเครียดในการประกอบกิจกรรมอย่างเช่น การ
ทางาน การรับค่าจ้าง เงื่อนไขของการทางานหรือการอยู่ ร่วมกันในสังคมหากขาดซึ่ง
พื้นฐานของการพึ่ง พาอาศัยกันแล้ว ย่อมไม่เกิด ความสุ ข และปญั หาของช่ อ งว่ างใน
สังคมก็ยงั จะคงมีต่อไป
ทัง้ นี้สามารถกาหนดลักษณะอันพึงประสงค์ของคนไทยในศตวรรษที่ 21 ได้ตามโมเดลนี้
โดยยึดเอาความเป็ นอิสระ (Independence) และ การพึง่ พาอาศัยกันและกัน (Inter-dependence)
เป็นพืน้ ฐานหลักของการพัฒนาต่อยอด

ภาพที่ 90: โมเดลการกาหนดลักษณะอันพึงประสงค์ของคนไทยในศตวรรษที่ 21

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

247
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพนี้ ส่ ือ ถึ ง แนวทางการพัฒ นาบุ ค คล ซึ่ ง ต้ อ งอยู่ บ นพื้ น ฐานของความเป็ น ป จั เจก


(Independence) และการพึง่ พาอาศัย (Inter-dependence) วิธที างการพัฒนานัน้ ประกอบไปด้วย
การเสริมสร้าง กลุ่มจิต (Mindset) กลุ่มทักษะ (Skill Set) และ กลุ่มความรู้ (Knowledge Set) ทัง้ นี้
แล้ ว จะน าไปสู่ ส องเป้ าหมายของการพัฒ นาบุ ค คลซึ่ง ก็ค ือ การเพิ่ม ศัก ยภาพของคน (Human
Capacity) และการทาให้เกิดความสมานฉันท์ (Human Harmony) ซึง่ ทัง้ สองสิง่ นี้เป็ นเป้าหมายทีเ่ รา
ควรบรรลุในการพัฒนาบุคคลให้เหมาะสมกับยุคสมัยศตวรรษที่ 21 ในส่วนของ Human Capacity
นัน้ สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3H คือ Head Hand และ Heart กล่าวคือ การมีหวั คิด ริเริม่ กระทา และ
การมีจติ สานึกที่ดี ในขณะเดียวกัน Human Harmony นัน้ ก็สามารถแบ่งออกได้เป็ นอีก 3H คือ
Hope Happiness และ Harmony คือการมีความหวัง มีความสุข และการอยู่ได้ดว้ ยความปรองดอง
การศึกษามีหน้าทีส่ าคัญในการผลักดันให้เกิดสิง่ เหล่านี้ขน้ึ (สุวทิ ย์ เมษินทรีย,์ 2556)

4.2.2.2 คนไทยในปัจจุบนั
ลักษณะของคนไทยในปจั จุบนั นัน้ ยังคงขาดแรงกระตุ้นเพื่อการพัฒนา หรือการเปลีย่ นแปลง
อันเนื่อ งมากจากวัฒนธรรมโดยรวมที่ไ ม่เน้ นความกระตือรือร้น ความรักสงบ และหลีกเลี่ยงการ
เผชิญหน้าหรือความเปลีย่ นแปลง กล่าวคือการมีอยูแ่ บบตามอัตภาพ
ศ. ดร. จุร ี วิจติ รวาทการได้ทาการวิเคราะห์ลกั ษณะนิสยั คนไทยในปจั จุบนั (2554) โดยมี
การกล่าวถึงการวิจยั ของกลุ่ม Cornell Thailand Project นาโดยศาตราจารย์เฮอร์เบิรท์ ฟิลลิปส์ ทีไ่ ด้
ศึกษาพฤติกรรมลักษณะของกลุ่มชาวบ้านชนบท หมู่บา้ นบางชัน เขตมีนบุร ี จังหวัดกรุงเทพฯ ผ่าน
การศึกษาในแบบสหวิทยาการเพื่อการวิจยั ทางคุณภาพ คือการสังเกตและเก็บข้อมูล และการใช้
เครือ่ งมือทดสอบทางจิตวิทยาเพื่อการวิจยั เชิงปริมาณ ได้พบว่าคนไทยกลุ่มตัวอย่างมีลกั ษณะ ชอบ
ปฏิสมั พันธ์กนั ชอบความราบรื่นกลมกลืนทางสังคม หลีกเลีย่ งการเผชิญหน้าไม่แสดงความรูส้ กึ เชิง
ลึก ต่ อ กัน ต่ อ หน้ า มัก ยิ้ม ให้ก ัน ตลอด แต่ ไ ม่ส ามารถบอกได้ว่ า คิด อะไร มีค วามอดทนสู ง เก็บ
ความรูส้ กึ เก่ง ทัง้ ยังมีความเป็ นปจั เจกนิยมสูง แต่ในขณะเดียวกันก็มคี วามเกรงใจ รักสนุ ก ไม่ชอบ
ผูกมัดในระยะยาว และสุดท้ายคือชอบกิจกรรมเฉพาะกิจ ซึง่ ลักษณะของบุคคลทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดนัน้
สามารถจัดสังคมไทยให้อยูใ่ นประเภทสังคมโครงสร้างหลวม (Loose Structure)
ต่อมาข้อมูลของลักษณะคุณสมบัติของคนไทยนี้ได้รบั การให้ความสนใจจาก จอห์น เอฟ
เอมบรี นักวิจยั ทางด้านมานุษยวิทยา และสามารถสรุปรวมเป็นลักษณะสีป่ ระการใหญ่ ได้แก่

248
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- ความเป็ นปจั เจกชนนิยมสูง (Individualism) กล่าวคือ มีลกั ษณะการดารงชีวติ แบบตัว


ใครตัวมัน มีความเป็ นอิสระชน ขาดวินัย ซึง่ สิง่ เหล่านี้เป็ นผลมาจากลักษระการเลีย้ งดู
แต่เยาว์วยั
- การไม่รจู้ กั การวางแผนในระยะยาว (Lack in Long-term Vision) หรือวางแนวทางการ
ป้องกันปญั หาล่วงหน้า และไม่รจู้ กั การทางานอย่างเป็ นกลุ่มให้เกิดประสิทธิภาพ
- คุณ สมบัติของความยืดหยุ่นสูง (Flexibility) สามารถปรับตัว ได้ง่าย ฉะนัน้ แล้ว จึงยัง
สามารถแก้ไขสถานการณ์ได้แม้ไม่มกี ารวางแผนล่วงหน้า คือมีทกั ษะในการปรับตัวทีด่ ี
- มีค วามรู้ค วามเข้า ใจในระเบีย บและกฎกติก าทางสัง คม รู้ช ัด เจนถึง หน้ า ที่ แต่ ไ ม่ม ี
จิต ส านึก ในการปฏิบตั ิต ามทัง้ นี้เ พราะสังคมไม่มบี ทลงโทษที่แท้จริงให้แก่ ผู้ท่ลี ะเมิด
(Low Social Sanction) หรือมีบทลงโทษในระดับทีเ่ บาบางและไม่จริงจัง ทาให้คนไม่ม ี
ความกระตือรือร้นทีจ่ ะทาในสิง่ ทีถ่ ูกต้อง
อย่างไรก็ตาม หากมองในอีกด้าน จากการศึกษาพบว่าลักษณะทางสังคมโครงสร้างหลวม
นัน้ ก่อให้เกิดจุดแข็งทีช่ ดั เจนคือ
- การอยูร่ อดได้ดี (Survival Value) คือรูจ้ กั การเปลีย่ นท่าที เจรจาต่อรอง มีความยืดหยุ่น
ในการปรับเปลีย่ นตามสถานการณ์ ไม่มคี วามตายตัว
- มีการบูรณาการทางสังคมสูง (High Social Integration) เนื่องด้วยความหลากหลายทาง
ชาติพ นั ธุ์ ศาสนา และชนชัน้ สามารถอยู่ร่ว มกันได้อย่างมีควรสุข โดยมีปญั หาหรือ
ช่องว่างทางสังคมทีค่ ่อนข้างน้อย
จากการศึกษานี้เราสามารถเห็นภาพคร่าวๆของลักษณะนิสยั ของคนไทยทางด้านสังคมได้
ในระดับหนึ่งแต่หากกล่าวถึงในเรื่องขององค์ความรูห้ รือความสามารถ อาจต้องประเด็นทีต่ ้องหยิบ
ยกขึน้ มาจากผลทางการศึกษา หรือการวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษาในเบือ้ งต้น ถึงแม้จะไม่สามารถ
ทาให้มองเห็นภาพทีแ่ ท้จริง แต่กย็ งั สามารถทาให้เห็นภาพรวมได้ในระดับหนึ่ง
ปจั จุบนั มีว ลีท่กี ล่ าวกันว่ าคนไทยนัน้ มีค วามรู้แ ต่ ปราศจากปญั ญา กล่ าวคือ ตัว ขององค์
ความรูน้ ัน้ มีการอบรมบ่มเพาะแต่หากศักยภาพของคนไทยไม่สามารถนาสิง่ ที่ได้รบั มาประยุกต์ให้
เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตวั เองและสังคมโดยรวม ซึง่ ชีใ้ ห้เห็นได้ว่าเรายังคงขาดกลุ่มจิตทีส่ าคัญยิง่ ต่อ
การพัฒนาซึง่ คือ “จิตสังเคราะห์และจิตสร้างสรรค์” หากมีองค์ความรูแ้ ต่หากขาดการมีลกั ษณะจิตทัง้
สองจิตนี้ไป ก็ยอ่ มไม่เกิดการพัฒนาหรือความก้าวหน้าทีแ่ ท้จริง

249
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.2.3 คนไทยที่พึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21

1) กลุ่มของจิ ต (Mindset)

ลักษณะของจิตที่คนในศตวรรษที่ 21 พึงมีตามแนวคิดของ เฮาเวิรด์ การ์ดเนอร์จากการ


รวบรวมของเบลลันกาและแบรนด์ในหนังสือ ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21
(2554) ได้แบ่งกลุ่มของจิตออกเป็น 5 กลุ่ม
 จิตเชีย่ วชาญ (Discipline) = ความใฝร่ ใู้ ฝเ่ รียน ความลึกขององค์ความรู้
เป็นกลุ่มจิตทีม่ งุ่ เน้นในเรือ่ งของการศึกษาและสังสมองค์
่ ความรูใ้ นระดับบุคคลไม่ว่า
จะเป็ นในระบบการเรียนการสอนอย่างเป็ นทางการ (Formal Education) หรือการเรียนการ
สอนนอกห้องเรียนหรืออย่างไม่เป็ นทางการ (Informal Education) ซึง่ คาว่า Discipline นัน้
สามารถแบ่งออกได้เป็ นสองความหมายคือ (1) ความรูค้ วามชานาญเฉพาะสาขาวิชาอย่าง
แท้จริง ในยุคทีโ่ ลกนัน้ มีการก้าวไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่อง Mindset ของคนเราคือต้องมีการ
ขวนขวายเพื่อความรูใ้ หม่ ๆ อยู่ตลอดเวลาเพราะความรูใ้ นทุก ๆ ด้าน ต้องมีการพัฒนาไป
พร้อมๆ กันอย่างทันท่วงที เพื่อให้เกิดองค์ความรูท้ เ่ี หมาะสมกับช่วงเวลานัน้ ๆ ของยุคสมัย
นัน้ ๆ (2) Discipline ทีว่ ่าคือการมีวนิ ัยในการเรียนรู้ เมื่อคนเรามีพน้ื ฐานทีด่ จี ากการศึกษา
สังสมมาอย่
่ างเพียงพอ สิง่ ทีเ่ ราต้องการเพื่อให้สามารถสานต่อการพัฒนาของทักษะนัน้ ๆ ได้
คือการมีวนิ ัยในการเรียนรู้ ศึกษาและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เปิ ดความก้าวหน้า
อยูต่ ลอดเวลา
แต่อย่างไรก็ตาม ในยุคสมัยของศตวรรษที่ 21 นัน้ คนเราไม่ควรเป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญแต่
เพียงองค์ความรูเ้ ดียวเท่านัน้ หากแต่ควรมีความรูผ้ สมผสานกันเพื่อให้ เกิดการประยุกต์ใช้
อย่างมีประสิทธิภาพ (Adaptive) เปรียบเสมือนเป็ นการหล่อหลอมองค์ความรูเ้ พื่อประโยชน์
ทีด่ ยี งิ่ ขึน้ (Knowledge Integration) ซึง่ อาจจะเป็ นการยากในสมัยเดิมก่อนหน้านี้ แต่ในยุค
ของเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information and Technology) ความสามารถในการแผ่ขยาย
องค์ความรู้ใ ห้อ อกไปเรื่อย ๆ นัน้ มีมากขึ้นกว่าเดิม ทัง้ นี้ สิ่งที่จะมาช่ว ยเสริมให้เ กิดการ
เรียนรูใ้ นลักษณะของการแผ่ขยายออกในวงกว้างก็คอื จิตทีส่ องทีก่ าลังจะกล่าวถึงต่อไปนี้

250
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 จิตสังเคราะห์ (Synthesizing) = ความเปิดกว้างทางความคิด


นับว่าเป็ นจิตที่มคี ุณค่ามากที่สุดก็ว่าได้ (Murray Gell-mann) จิตรู้สงั เคราะห์
หมายถึงจิตที่มกี ารส ารวจแหล่ งข้อ มูล อันหลากหลายรู้ว่าอะไรควรค่ าแก่ค วามสนใจของ
ตนเอง และสุดท้ายต้องมีการนาข้อมูลเหล่านัน้ มาผสมผสานกันได้อย่างมีประสิทธิผล ทัง้
ส าหรับ ตนเองและผู้ อ่ ื น จิต นี้ ไ ด้ เ ข้ า มามีบ ทบาทมากขึ้น เนื่ อ งด้ ว ยการเกิ ด ขึ้น ของ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทเ่ี ป็ นตัวสื่อกลางของการเรียนรูท้ ส่ี าคัญ คนทีม่ จี ติ รูส้ งั เคราะห์ท่ี
ดีย่อมสามารถก้าวสู่การเป็ นบุคลากรที่เป็ นเลิศได้ คนที่มจี ติ รูส้ งั เคราะห์ท่ดี ใี นลักษณะของ
การสังเคราะห์เพื่อคนอื่น สามารถเข้าใจได้ง่าย ก็ย่อมสามารถเป็ นบุคลากรทางการเรียน
การสอนที่เป็ นเลิศ ทัง้ นี้ อาจนับได้ว่าจิตรูส้ งั เคราะห์เป็ นหนึ่งในกลไกของการแผ่กระจาย
ความรูใ้ ห้ทวถึ
ั ่ งได้เช่นเดียวกัน

 จิตสร้างสรรค์ (Creating) = การต่อยอด แผ่ขยายเพือ่ สิง่ ทีด่ กี ว่า


จิตสร้างสรรค์ กล่าวคือจิตทีค่ ดิ ริเริม่ สิง่ ใหม่ ๆ ไม่ว่าจะเป็ นในลักษณะของเชิงสังคม
ศิล ปะ หรือ แม้ก ระทัง่ วิท ยาศาสตร์ เป็ น จิต ที่ช่ ว ยส่ ง เสริม การหาหนทางใหม่ ๆ หรือ
นวัตกรรมที่เป็ นผลดีแก่สงั คมได้เป็ นอย่างดี คนในสังคมศตวรรษที่ 21 ควรเป็ นคนที่เฝ้า
ค้นหาแนวคิดและแนวปฏิบตั ใิ หม่อย่างต่อเนื่อง

จิต ทัง้ สามลักษณะที่กล่าวไปในข้างต้น ทัง้ จิต เชี่ยวชาญ จิตรู้สงั เคราะห์ และจิต


สร้างสรรค์ ล้วนต้องผนวกรวมอยู่ดว้ ยกันเพื่อให้เปิดองค์ความรูท้ เ่ี ป็ นวิทยาการของยุคสมัย
ไม่สามารถขาดสิง่ ใดสิง่ หนึ่ง ไปได้ เพราะในศตวรรษที่ 21 นี้เราต้องมีความใฝ่รใู้ ฝ่เรียน มี
วินัยของตนในการศึกษาหาความรู้ รับรูข้ อ้ มูลเหล่านัน้ และนามาวิเคราะห์ และประกอบเข้า
ด้วยกันด้วยการสังเคราะห์ และการสังเคราะห์นัน้ คือการประมวลผลเพื่อกลันกรองข้ ่ อมูล
หรือข้อพิเคราะห์นัน้ ให้เกิดองค์ความรูใ้ หม่ ซึง่ องค์ความรูใ้ หม่นนั ้ สามารถนามาสานต่อกับ
ความคิดริเริม่ สร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาในภาพรวมได้
อย่า งไรก็ต าม จิต ทัง้ สามลักษณะที่ก ล่ า วในข้า งต้น จะไม่ส ามารถยัง ผลอย่างมี
ประสิท ธิภ าพได้เ ลยหากไม่ม ีการเชื่อ มต่ อ กับ ภาคความเป็ นสังคม สังคมจะไม่ส ามารถ
ขับเคลื่อนไปได้อย่างรอบด้านหากคนเราไม่คานึงถึงความสาคัญของการปรองดองและการ
อยูร่ ว่ มกันอย่างสวัสดิภาพ ดังเช่นทีไ่ ด้กล่าวไว้ในปจั จัยพืน้ ฐานขัน้ ต้นระดับบุคลว่าย่อมต้อง
ให้ความสาคัญกับพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคม ซึ่ง สามารถแบ่งออกได้เป็ นจิตอีก 2
ลักษณะหลักดังนี้

251
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 จิตเคารพ (Respectful) = การสมานฉันท์ เชือ่ มโยงระหว่างบุคคล


ผูท้ ม่ี จี ติ รูเ้ คารพจะสามารถเปิดใจต้อนรับบุคคลหรือสิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยู่รอบตัวได้อย่าง
หลากหลาย ทาให้เกิดความเป็ นสากล สามารถเชื่อมความสัมพันธ์ ด้วยการให้เกียรติและ
ความเคารพซึ่งกันและกัน เพราะในโลกที่มกี ารเชื่อมโยงนัน้ การปลูกจิตสานึกในเรื่องของ
การเคารพกันและกันเป็ นสิง่ ที่จาเป็ น และเป็ นสิง่ ที่ต้องใช้เวลานานเพื่อปลูกฝงั ให้จติ นี้หยัง่
รากลึกในสังคม

 จิตจริยธรรม (Ethical) = การรูผ้ ดิ ชอบชัวดี


่ กรอบของความเป็นธรรมในสังคม
จิต จริยธรรมเป็ นเรื่อ งของการมีจุดยืนในสัง คม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่อ งของ
แนวคิดในเชิงนามธรรมถึงบริบทของตนเองในสังคม ว่าเราต้องการเป็ นคนแบบไหน มี
บทบาทอะไรต่อคนรอบข้างและสังคมทัง้ นี้เพื่อให้เกิดความรูส้ กึ ผิดชอบต่อหน้าทีแ่ ละบทบาท
ของตนเอง กล่าวคือมีแนวทางปฏิบตั ทิ ส่ี อดคล้องกับเป้าหมายของตน โดยในขณะเดียวกัน
นัน้ ก็ต้องคานึงว่าบุคคลหนึ่งๆนัน้ เป็ นทัง้ สมาชิกของครอบครัว ชุมชน ประเทศ และผู้คนที่
อาศัยอยู่ในโลก แต่ทงั ้ นี้ทงั ้ นัน้ การกาหนดว่าอะไรคือสิง่ ที่ควรหรือไม่ควรก็เป็ นการยาก
เพราะเป็ นแนวคิดในเชิงนามธรรมเสียเป็ นส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็ นในเรื่องของจรรยาบรรณ
อาชีพ หรือการเป็ นพลเมืองที่ดี สิง่ เหล่านี้เป็ นสิง่ ที่บุคคลหนึ่ง ๆ ควรถูกสังสมเรื
่ ่อยมาแต่
เยาว์วยั ควบคู่ไปกับจิตเคารพทีก่ ล่าวไปข้างต้น

252
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2) กลุ่มของทักษะแห่งศตวรรษที ่ 21 (21st Century Skills)


กระบวนทัศ น์ ใ นศตวรรษที่ 21 นัน้ จะต้อ งมีก ารปรับ เปลี่ย นในหลากหลายทิศ ทาง
โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเปลีย่ นแปลงจากการมุ่งเน้นทีส่ ่วนภาคการผลิต มาเป็ นการมุ่งเน้นทางข้อมูล
และเทคโนโลยีอย่างครอบคลุม จากการระดมสมองและเรียบเรียงโดย Sasin Institute for Global
Affairs (SIGA) กลุ่มทักษะทีจ่ าเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21 แบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ดงั นี้

 ทักษะในเชิงของกระบวนการคิดและสังเคราะห์ (Learning and Thinking)


เป็นทักษะทีเ่ น้นในเรือ่ งของกระบวนการการเรียนรู้ และการคิดสังเคราะห์ข้อมูลทีไ่ ด้
รับรู้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ เพราะความรูเ้ ป็ นสิง่ สาคัญในการพัฒนาศักยภาพของบุคคล
ดังนัน้ ทักษะนี้จะเป็ นสิง่ พืน้ ฐานเพื่อการต่อยอดทีด่ ขี องความเป็ นเลิศทางการเรียนรูแ้ ละคิด
วิเคราะห์ขอ้ มูล
- กระบวนการคิดและการแก้ปญั หา (Critical Thinking & Problem Solving):
การใช้ท ัก ษะการคิด อย่า งมีเ หตุ ผ ลให้เ หมาะสมกับ สภาพการณ์ ท่ีต้อ งการ
กระบวนการคิดที่แตกต่างกัน รวมไปถึงการวิเคราะห์อ ย่างเป็ นระบบและมี
ประสิทธิภาพ เพื่อการผลิตองค์ความรูแ้ ละการตัดสินใจที่ดี ควบคู่ไปกับการ
รับมือและแก้ปญั หาทีด่ ี
- ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation): ต้องมีทกั ษะของ
การคิดริเริม่ หรือนาเสนอแนวคิดใหม่ ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ เช่นการระดมสมอง
ทัง้ ในระดับ ของบุ ค คลและการทางานเป็ นกลุ่ ม ประเด็นส าคัญ คือ เรื่อ งของ
ความสามารถในการคิดสิง่ ที่แปลกใหม่นอกกรอบในเชิงของความรู้และเชิง
สังคม

 ทักษะในเชิงของเทคโนโลยีเพือ่ ประโยชน์ เชิงข้อมูล (Technology and Media for


Information)
- ความรูเ้ ชิงการใช้ขอ้ มูล (Information Literacy): เน้นในเรื่องของความสามารถ
และทักษะในการเข้าถึงข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพรวมไปถึงการประมวลผล
ในขณะเดียวกันก็ต้องรูจ้ กั เอาข้อมูลทีไ่ ด้มานัน้ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ไม่
ว่าจะเพื่อการแก้ปญั หา หรือการคิดริเริม่ สร้างสรรค์ ภายใต้กรอบจริยธรรมทาง
สังคม

253
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- ความรูเ้ ชิงการใช้ส่อื (Media Literacy): เป็ นทักษะของการคิดวิเคราะห์และ


เข้ า ใจในสื่อ ที่ม ีอ ยู่ ใ นสัง คมทัง้ ตัว คุ ณ ค่ า และบริบ ทของการใช้ ส่ือ นั ้น ๆ
นอกจากนี้ แ ล้ ว ยัง ต้ อ งรู้จ ัก การใช้ ส่ือ ให้ เ ป็ น ประโยชน์ เ พื่อ การสื่อ สารที่ม ี
ประสิทธิผล
- ความรูใ้ นการใช้เทคโนลยีสารสนเทศ (ICT Literacy): รูจ้ กั การประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีส ารสนเทศเพื่อ การเรีย นรู้ การจัด การ และการสื่อ สารอย่ า งมี
ประสิทธิภาพ เช่น จากคอมพิวเตอร์ ระบบ Global Positioning System
(GPS) และอื่น ๆ เพื่อการการขับเคลื่อนทีด่ ขี องเศรษฐกิจฐานความรู้ ภายใต
กรอบจริยธรรมในสังคม
 ทักษะในเชิงของการทางานและก้าวหน้าในอาชีพ (Career Progressing)
เป็ นทักษะของการจัดการและรับผิดชอบงานภายในสภาพแวดล้อมปจั จุบนั ที่มกี าร
แข่งขันสูง เพ่งความสนใจไปที่การพัฒนาทักษะที่เพียงพอต่อการพัฒนาในสายงานอาชีพ
และการใช้ชวี ติ ในการทางาน
- การสร้างประสิทธิผลและความรับผิดชอบในหน้าที่การงาน (Productivity &
Accountability): ทักษะในการตัง้ เป้าหมาย และการก้าวข้ามอุปสรรคในสภาวะ
กดดัน การจัดล าดับความสาคัญ ของหน้ าที่การงาน และการจัดการตนเอง
ตลอดจนกระทังการผลิ
่ ตผลงานที่มคี ุณภาพอย่างเป็ นมืออาชีพ ภายใต้กรอบ
ความจริยธรรมหรือจรรยาบรรณอาชีพนัน้ ๆ
- ภาวะความเป็ น ผู้ น าและความรับ ผิด ชอบต่ อ ตนเอง (Leadership &
Responsibility): ทักษะทีจ่ ะสามารถชีน้ า หรือแนะแนวทางให้แก่คนอื่น ๆ ได้
ให้ความช่วยเหลือคนอื่นเมื่อจาเป็ น และการรับผิดชอบเพื่อผลประโยชน์ของ
ส่วนรวมเป็นหลัก
- ความคิดริเ ริม่ และการกาหนดทิศ ทางให้แก่ ต นเอง (Initiative & Self-
Direction): ต้องสามารถกาหนดทิศทางหรือเป้าหมายให้แก่ตวั เองได้ หาความ
สมดุลในแง่ของการวางแผนระยะยาว และความต้องการในระยะสัน้ และใช้เวลา
ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด จะต้องสามารถทางาน จัดการ และบรรลุเป้าหมาย
ด้ว ยตนเองได้ สามารถบังคับตนเองให้อ ยู่ใ นลู่ท างที่ถู กต้อ งเพื่อ การบรรลุ
เป้าหมาย เรียนรูจ้ ากประสบการณ์ในอดีตเพื่อให้เกิดเป็ นบทเรียนของปจั จุบนั
และอนาคต

254
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- การสื่อสารและการร่วมมือ (Communication & Collaboration): ทักษะของ


เรียบเรียงและสื่อความคิด ไม่ว่าจะเป็ นผ่านการใช้คาพูด การเขียน หรือการ
แสดงออก ในขณะเดียวกัน ก็ต้องเป็ นผู้ฟงั ที่ด ี โดยรับฟงั ประมวลผลสิง่ ที่รบั รู้
ทัง้ นี้ จึงจะก่อให้เกิดความสามารถให้การทางานร่วมกับผู้อ่นื ไม่ว่าจะเป็ นใน
เรือ่ งของการเคารพความคิดเห็นของผูอ้ ่นื
 ทักษะในเชิงของการอยูร่ ว่ มกัน (Life and Socializing)
- ความยืดหยุ่นและการปรับตัวในสังคม (Flexibility & Adaptability): ทักษะใน
การปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ เช่นในเรื่องของความรับผิดชอบ
บทบาทหน้าที่ หรือตารางเวลา ในสังคมที่มคี วามเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
และทักษะในการรับรูแ้ ละปรับปรุงตามผลการตอบรับทีไ่ ด้จากผูอ้ ่นื รวมถึงการ
เข้าใจและต่อรองอย่างมีประสิทธิภาพ
- การเข้าสังคมและการแลกเปลี่ยนข้ามวัฒนธรรม (Social & Cross-Cultural
Skills): รู้ถึงการปฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสม เมื่อไหร่ควรพูดหรือ ควรรับฟ งั
เคารพในวัฒนธรรม ความคิดและค่านิยมทีแ่ ตกต่าง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรื่อง
ของการเปิดกว้างทางความคิด (Open-minded)

255
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3) กลุ่มขององค์ความรู้แกนสาคัญ

องค์ความรูท้ จ่ี ะหล่อหลอมให้คนมีคุณภาพและมีความเหมาะสมต่อยุคสมัยนัน้ สามารถแตก


แขนงออกได้เป็นหลายแง่มมุ แต่หากหน้าทีข่ องแต่ละคนทีม่ ตี ่อสังคมโดยรวมนัน้ แตกต่างกัน และไม่
มีความจาเป็นทีจ่ ะต้องรูแ้ ละเข้าใจอย่างถ่องแท้ในทุกเรื่องของแขนงความรู้ อย่างไรก็ตาม เราควรจะ
เข้าใจถึงพื้นฐานความรูท้ ส่ี าคัญของการดารงชีวติ ในเบือ้ งต้นอย่างรอบด้าน เพื่อให้ เห็นถึงภาพรวม
ของการใช้ชวี ติ และการอยูร่ ว่ มกันอย่างปรองดองและมีคุณภาพ

สาระความรูแ้ กนทีจ่ าเป็น (Core Subjects and Interdisciplinary Themes)

1) ภาษาอังกฤษ การอ่าน หรือศิลปะการใช้ภาษา (English, Reading or Language Arts)


2) ภาษาต่างประเทศทีส่ าคัญของโลก (Foreign Languages)
3) ศิลปะ (Arts)
4) คณิตศาสตร์ (Mathematics)
5) เศรษฐศาสตร์ (Economics)
6) วิทยาศาสตร์ (Science)
7) ภูมศิ าสตร์ (Geography)
8) ประวัตศิ าสตร์ (History)
9) การปกครองและหน้าทีพ่ ลเมือง (Government and Civics)

นอกเหนือจากกลุ่มสาระแกนหลัก ดังกล่าวแล้ว แนวคิดสาคัญในศตวรรษที่ 21 ที่จาเป็ นต้อง


ศึกษาเรียนรูแ้ ละจาเป็นต่อบุคคลในศตวรรษที่ 21 ออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ดงั ต่อไปนี้
 การรับรูค้ วามเป็นไปของแนวโน้มของโลก (Global Awareness)
เป็ น องค์ค วามรู้ใ นมุม กว้า ง เพื่อ ความเข้า ใจในความเป็ น ไปของโลก ในระดับ
นานาชาติเพื่อความรูเ้ ท่าทันทางความคิด วัฒนธรรม แนวทางการปฏิบตั ิ และการใช้ชวี ติ ที่
แตกต่างกันออกไป

256
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 ความรู้ทางการเงิน เศรษฐศาสตร์ และความสามารถในการประกอบการ (Financial,


Economic, Business and Entrepreneurial literacy)
เป็ นองค์ความรู้ท่จี าเป็ นต่อการใช้ชวี ติ อย่างประสบความสาเร็จ เพราะองค์ความรู้
เหล่านี้จะเป็ นสิง่ ที่ทาให้เราสามารถรูแ้ ละเข้าใจในสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ รอบตัวของเรา สามารถใช้ใน
การเพิม่ ประสิทธิภาพในการทางาน และการตัดสินใจเพื่อนาคตทีด่ ี

 ความรูท้ างด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology Literacy)


ถือ เป็ นองค์ค วามรู้ท่สี าคัญ ที่สุ ด เป็ นฐานของการต่ อ ยอดในด้านอื่น ๆ ของการ
เรีย นรู้ ไม่ ว่ า จะเป็ น การเรีย นรู้ใ นระบบ หรือ การเรีย นรู้ต ลอดชีว ิต วิท ยาศาสตร์แ ละ
เทคโนโลยีโดยพื้นฐานคือหลักของกระบวนการคิดและการแสวงหาความรู้ และยังเป็ นตัว
ผลักดันและพัฒนาสังคมให้เกิดการยกระดับ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของประสิทธิภาพของคนใน
สังคม หรือความเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ

 ความรูท้ างด้านสุขภาพและสิง่ แวดล้อม (Health and Environmental Literacy)


เนื่องมาจากทัง้ 2 สิง่ นี้เป็ นสิง่ สาคัญของการดารงชีวติ อย่างมีคุณภาพ จึงเป็ นการ
จาเป็ นที่จะต้อ งมีอ งค์ค วามรู้ ทงั ้ 2 ด้า นนี้ ในเรื่อ งของสุ ข ภาพนัน้ คือ การรู้ การเข้า ใจใน
พื้นฐานของสุขภาพที่ดี ทัง้ ด้านกายและจิตใจ สามารถตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงที่เกิด
ขึน้ กับตนเองและคนรอบข้างได้ โดยใช้บริการของข้อมูลความรูท้ างด้านสุขภาพเพื่อบริหาร
และจัดการความเสีย่ งอย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนในด้านของสิง่ แวดล้อมนัน้ จะเป็ นในเรื่องของ
ความรู้ค วามเข้า ใจในสภาพแวดล้อ มที่ต นเองดารงอยู่ ไม่ว่ า จะเป็ น ในเรื่อ งของอาหาร
อากาศ น้า หรือระบบนิเวศ รวมไปถึงการใช้ความรูน้ นั ้ ในการสร้างจิตสานึกในสังคมโดยรวม
ด้วยเช่นกัน

 ความรูใ้ นเชิงการเป็นพลเมืองทีด่ ขี องสังคม (Social and Civic Literacy)


อย่างไรก็ตาม แม้ว่ายุคสมัยจะเปลีย่ นไป แต่การอยู่ร่วมกันในสังคมจะยังคงเป็ นสิ่ ง
สาคัญ ดังนัน้ องค์ความรูข้ องการเป็ นพลเมืองจะยังคงมีความจาเป็ นต่อการอยู่ร่วมกันใน
สังคม ทุกคนจึงควรมีพ้นื ฐานความรู้ความเข้าใจในความเป็ นไปของระบบทางสังคมและ
การเมือง

257
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.2.4 ช่องว่าง (Gap) ระหว่างคนไทยในปัจจุบนั กับคนไทยที่พึงประสงค์ในศตวรรษ


ที่ 21
การประเมินช่องว่าง (Gap) ระหว่างคนไทยในปจั จุบนั กับคนไทยทีพ่ งึ ประสงค์ในศตวรรษที่
21 ในหัวข้อนี้ เป็ นการประเมินช่องว่างของกลุ่มจิตและกลุ่มทักษะของคนไทย เพื่อทราบถึงสภาพ
ปจั จุบนั ว่ายังมีช่องว่างระหว่างภาพของคนไทยในปจั จุบนั กับคนไทยทีพ่ งึ ประสงค์ในศตวรรษที่ 21
มากน้อยเพียงไร จิตด้านใด หรือทักษะใดที่คนไทย และผู้เรียนไทยยังมีขอ้ อ่อนด้อยมากที่สุด ควร
เร่งปรับปรุงเพื่อเตรียมความพร้อมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21
ทัง้ นี้ จากการประชุมเชิงปฏิบตั ิการผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา หัวข้อ “การศึกษาไทยใน
ศตวรรษที่ 21” ภายใต้โครงการวิจยั นี้ เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556 สามารถสรุปได้ว่า
คุณลักษณะทีต่ อ้ งการนัน้ ประกอบไปด้วย กลุ่มจิ ต ได้แก่ จิตเชีย่ วชาญ จิตสังเคราะห์ จิตสร้างสรรค์
จิตเคารพ จิตจริยธรรม จิตการแข่งขัน (เพื่อการพัฒนา ความเป็ นเลิศ ไต่เต้าขึน้ ไป) จิตของความ
เป็ นผู้สร้าง (ในแง่ของการสร้างนวัตกรรม) จิตสาธารณะ (เอื้อเฟื้ อ เผื่อแผ่ คิดช่วยเหลือผู้อ่นื ) จิต
อดทน มีวนิ ัยและจิตของความเป็ นพลเมือง (Citizenship) และกลุ่มทักษะ ประกอบไปด้วย ทักษะ
กระบวนการคิดและสังเคราะห์ ทักษะการใช้เทคโนโลยีในประโยชน์เชิงข้อมูลและการสื่อสาร ทักษะ
ในการทางาน บริหารตนเอง เพื่อความก้าวหน้าในอาชีพ ทักษะการปฏิสมั พันธ์และการอยู่ร่วมกันใน
สังคม และทักษะการประยุกต์องค์ความรูใ้ ช้จริงเพื่อความอยู่รอด โดยผลจากการประเมินในแต่ละ
ด้านมีดงั นี้

กลุ่มจิต
ผลจากการประเมินช่องว่าง (Gap) ของกลุ่มจิต (Mindset) ทีเ่ ป็ นจุดอ่อนทีส่ ุดของคนไทย
หรือยังคงขาดในปจั จุบนั มากทีส่ ุดสูงสุด 3 อันดับแรก คือ
อันดับแรก จิ ต จริ ย ธรรม การรู้ผ ิดชอบชัวดี
่ รับผิดชอบในบทบาทหน้ าที่ของตนเอง
(ร้อยละ 30.6)
อันดับทีส่ อง จิ ตสร้ า งสรรค์ การคิ ด ริ เ ริ่ ม สิ่ ง ใหม่ ๆ สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ การพั ฒ นา
(ร้อยละ 25.8)
อันดับทีส่ าม จิ ตสังเคราะห์ การประมวลความรู้ ไตร่ตรองความรูท้ ไ่ี ด้มาเพื่อประโยชน์ทด่ี ี
(ร้อยละ 22.6)
ในขณะทีจ่ ติ เชีย่ วชาญ มีวนิ ัยในการศึกษา การใฝ่รเู้ ชิงลึก เพิม่ พูนความรูใ้ ห้ตนเอง (ร้อยละ
16.1) และด้านจิตเคารพ การให้เกียรติซง่ึ กันและกัน เชื่อมโยงความสัมพันธ์อนั ดีในสังคม เป็ นด้านที่
ผูเ้ ชีย่ วชาญเห็นว่ามีช่องว่างน้อยทีส่ ุด คือ เพียงร้อยละ 1.6 เท่านัน้

258
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ผลจากการประเมินกลุ่มจิต (Mindset) ของคนไทยที่เป็ นจุดแข็งที่สุดของคนไทย หรือเป็ น


เอกลักษณ์ของคนไทย ผูเ้ ชีย่ วชาญร้อยละ 53.2 ให้ความเห็นว่า จิตเคารพ การให้เกียรติซง่ึ กันและ
กัน เชื่อมโยงความสัมพันธ์อนั ดีในสังคม เป็นเอกลักษณ์ของคนไทยมากทีส่ ุด

กลุ่มทักษะ
ผลจากการประเมินช่องว่าง (Gap) ของกลุ่มทักษะทีจ่ าเป็ นต่อศตวรรษที่ 21 (21st Century
Skill) สาคัญทีส่ ุดต่อการพัฒนาศักยภาพคนไทยสามอันดับแรก ได้แก่
อันดับแรก ทักษะกระบวนการคิ ดและสังเคราะห์ (ร้อยละ 62.3)
อันดับทีส่ อง ทักษะการใช้เทคโนโลยีในประโยชน์เชิงข้อมูลและการสื่อสาร (ร้อยละ 14.8)
อันดับทีส่ าม ทักษะการปฏิสมั พันธ์และการอยูร่ ว่ มกันในสังคม (ร้อยละ 13.1)

ดังนัน้ จึงจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีแนวทางในการปิ ดช่ องว่างดังกล่าว เพื่อให้สามารถพัฒนาคน


ไทยทีพ่ งึ ประสงค์ในศตวรรษที่ 21 ซึง่ อาจทาได้โดยการสร้างสภาพการเรียนรูท้ ่เี หมาะสม ช่วยหล่อ
หลอมลักษณะจิต ทักษะ และคุณลักษณะคนไทย เพื่อให้โดยในส่วนของการออกแบบสภาพแวดล้อม
การเรียนรูน้ ้ไี ด้มกี ารศึกษาเชิงลึกอยู่ในหัวข้อ 4.2.3 ทีจ่ ะได้กล่าวถึงต่อไป

259
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.3 โมดูล 3: สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment)


ในการพัฒนาการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 นี้ นอกจากจะต้องให้ความสาคัญกับการมี
เป้าประสงค์ทช่ี ดั เจนในระดับมหภาค และให้ความสาคัญลงมาเชื่อมโยงจนถึงการพัฒนาระดับปจั เจก
ทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วในหัวข้อ 4.2.1 และ หัวข้อ 4.2.2 แล้วนัน้ ในการพัฒนาการศึกษาไทยให้เป็ น
การศึกษาเรียนรูท้ ่นี าไปสู่การเรียนรูอ้ ย่างแท้จริง นาการเรียนรู้เหล่านัน้ มาสู่การพัฒนาประเทศได้
อย่างดีเ ยี่ยมได้ จาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีการออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ หรือ Learning
Environment ทีเ่ หมาะสมด้วย
ในการศึกษาส่วนนี้จงึ ได้ศกึ ษาวิเคราะห์เชิงลึกใน 2 ส่วนใหญ่ คือ
ส่วนแรก เป็ นการศึกษาประสบการณ์ต่างประเทศเรื่องสภาพแวดล้อมของการเรียน
(Learning Environment) โดยจัดทากรณีศกึ ษาเชิงลึกจาก 5 ประเทศทีม่ ี
ความเป็นเลิศด้านการศึกษาเรียนรู้ ได้แก่ ฟิ นแลนด์ สิงคโปร์ ญี่ป่นุ ฮ่องกง
และเกาหลีใต้ (รายละเอียดในหัวข้อ 4.2.3.1)
ส่วนทีส่ อง สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment) ของประเทศไทย และ
กา รเ ต รี ย ม พร้ อ ม สู่ ศ ต ว รร ษ ที่ 21 โด ยศึ ก ษ า อ งค์ ป ร ะก อ บ ขอ ง
สภาพแวดล้อ มการเรีย นรู้ และสภาพแวดล้อ มการเรีย นรู้ท่ดี ีเ พื่อ ก้า วสู่
ศตวรรษที่ 21 และนามาพิจารณาสภาพแวดล้อมการเรียนรูข้ องไทยใน
ปจั จุบนั วิเคราะห์ประเด็นปญั หาในปจั จุบนั ระดับต่าง ๆ และการศึกษานี้
ได้นาเสนอแนวทางการเตรียมความพร้อมสภาพแวดล้อมการเรียนรูข้ อง
ไทยสู่ศตวรรษที่ 21 ซึง่ นับว่าเป็ นส่วนสาคัญในการช่วยสร้างเสริมและบ่ม
เพาะคุณลักษณะทัง้ ในกลุ่มจิต (Mind Set) และกลุ่มทักษะ (Skill Set) ทีด่ ี
และจาเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21 ให้แก่ผเู้ รียน ไม่ว่าจะเป็ นบทบาทของ
ครูในศตวรรษที่ 21 ต่อผูเ้ รียน บทบาทของครอบครัวต่อผูเ้ รียน บทบาท
ของสถานศึกษาต่อผู้เรียน เทคโนโลยีเพื่อ การศึกษาในศตวรรษที่ 21
รวมทัง้ นาเสนอกรณีศกึ ษาจุดสว่าง (Bright Spot) ทีป่ ระสบความสาเร็จใน
ประเทศไทย (รายละเอียดในหัวข้อ 4.2.3.2)

260
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.3.1 ประสบการณ์ ต่ า งประเทศเรื่ อ งสภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ (Learning


Environment): กรณี ศึ กษาเชิ ง ลึ ก จากประเทศฟิ นแลนด์ สิ ง คโปร์ ญี่ ปุ่ น
ฮ่องกง และเกาหลีใต้
การศึก ษาในส่ ว นนี้ เ ป็ น การศึก ษาสภาพแวดล้อ มการเรีย นรู้จ ากกรณี ห ลัก ปฏิบ ัติข อง
ต่างประเทศในเชิงลึก 5 ประเทศ ได้แก่ ประเทศฟินแลนด์ สิงคโปร์ ญี่ป่นุ ฮ่องกง และเกาหลีใต้ โดย
แต่ละประเทศมีความโดดเด่น จุดเน้น และประสบการณ์ตวั อย่างทีเ่ ป็นบทเรียนทีน่ ่ าสนใจในการสร้าง
สภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้
ก. สภาพแวดล้อมของการศึกษาในประเทศฟินแลนด์ : การศึกษาทีเ่ น้นศักยภาพเฉพาะตน
เป็นทีต่ งั ้
ข. สภาพแวดล้อ มของการศึก ษาในประเทศสิง คโปร์: การประเมิน อย่า งเข้ม ข้น เพื่อ
มาตรฐานอันเป็นเลิศ
ค. สภาพแวดล้อมของการศึกษาในประเทศญี่ปุ่น: การสอนเพื่อความเข้าใจถึงแกนแท้ใน
ความรู้
ง. สภาพแวดล้อมการศึกษาในเขตปกครองฮ่องกง: นวัตกรรมการศึกษาแห่งจีน
จ. สภาพแวดล้อมการศึกษาในประเทศเกาหลีใต้: การศึกษาทีก่ า้ วกระโดดอย่างรวดเร็ว

ก. สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ใ นประเทศฟิ นแลนด์ : การศึ ก ษาที่ เ น้ น ศัก ยภาพ


เฉพาะตนเป็ นที่ตงั ้
ประเทศฟิ นแลนด์ในปจั จุบนั มีความก้าวหน้าทางการจัดการเรียนการสอนและผลสัมฤทธิ ์
ทางการศึกษาเป็นอย่างมาก โดยมีจดุ เด่นอยูท่ ก่ี ารให้ความสาคัญของความสามารถเฉพาะตัวของแต่
ละบุคคล กล่าวคือ เน้นการพัฒนาในระดับ บุคคล (Individuality) ให้นักเรียนแต่ละคนสามารถดึง
ศักยภาพสูงสุดของตนเองออกมาได้ และถือคติทว่ี ่าทุกคนมีสทิ ธิทจ่ี ะได้รบั การศึกษาอย่างเท่าเทียม
1) การจัดการเรียนการสอน หรือกระบวนการการเรียนการสอน
จากการศึกษาข้อมูล ของกระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมของประเทศฟิ นแลนด์ ได้
พบว่าการจัดการเรียนการสอนของฟินแลนด์นนั ้ ไม่มคี วามตายตัว เปิดโอกาสให้ครูเลือกใช้วธิ กี ารที่
เหมาะสมแก่ ก ลุ่ มนัก เรีย นในความรับผิดชอบของตนอย่างอิส ระ สามารถเลือ กใช้ต าราได้อ ย่า ง
หลากหลาย กล่าวคือครูเป็ นผู้ออกแบบการเรียนการสอนในห้องเรียนอย่างแท้จริง สนับสนุ นและ
ส่งเสริมการเรียนรูแ้ ละการเจริญเติบโตทีด่ ขี องนักเรียน ทัง้ ในแง่ของกาย จิต สังคม และสุขภาพ โดย
261
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

มุง่ หวังให้นกั เรียนมีความอยากรูอ้ ยากเห็น สร้างแรงบันดาลใจเพื่อการเรียนรู้ มีความกระตือรือร้น มี


ทิศทางของตนเอง ประกอบทัง้ มีความคิดสร้างสรรค์ โดยการให้โจทย์ปญั หาทีท่ า้ ทาย กระบวนการ
เรียนรูห้ ลักคือการนาทางให้นักเรียนตัง้ เป้าหมายของตนเองได้ พร้อมทัง้ ยังสามารถประเมินตนเอง
ได้ในขณะเดียวกัน นักเรียนจะต้องได้รบั โอกาสเพื่อการร่วมปฏิบตั ใิ นเชิงสร้างสรรค์และพัฒนาเพื่อ
การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรูข้ องตนเอง

2) ครูผจ้ ู ดั การเรียนการสอน
ครูในระบบการศึกษาของฟิ นแลนด์นนั ้ จะต้องเป็ นบุคคลทีม่ คี ุณภาพทีเ่ ป็ นเลิศ ไม่ว่าจะใน
แง่ของการดูแลจัดการ หรือในแง่ของวิชาการ ซึง่ สิง่ เหล่านี้เป็ นผลมาจากการบ่มเพาะทักษะอาชีพครู
ที่ม ีประสิท ธิภาพ ต้อ งได้รบั ความไว้ว างใจจากผู้ป กครองและสังคมอย่า งแท้จริง โดยการแสดง
ความสามารถในการตัดสินใจอย่างเป็ นมือ อาชีพ และความสามารถในการดูแลจัดการชัน้ เรียน
ตอบสนองนักเรียนในการช่วยให้แต่ละบุคคลเกิดการเรียนรูท้ ด่ี ไี ด้
คุณภาพของครูและการเรียนการสอนเป็ นกุญแจสาคัญในความสาเร็จของระบบการศึกษา
ฟิ นแลนด์ ซึ่งเป็ นผลผลิตมาจากความสอดคล้องของวัฒนธรรมและนโยบายในภาพรวม ครูเป็ น
อาชีพทีค่ นในประเทศฟิ นแลนด์ยกย่องเป็ นอย่างมากในปจั จุบนั งานวิจยั การศึกษาของ OECD ได้
กล่าวว่าการบ่มเพาะทักษะของครูในอดีตนัน้ เริม่ ตัง้ แต่หลังจากทีจ่ บการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย ซึง่ เรียกว่า Seminarium หรือวิทยาลัยครู (Teacher College) โดยจะเป็ นการศึกษาเป็ นเวลา
2-3 ปี ในเรือ่ งของทักษะทีจ่ ะต้องใช้จริงแล้วจึงเข้าสู่การฝึกสอนในห้องเรียน ระบบการบ่มเพาะครูใน
ลักษณะนี้มพี น้ื ฐานหรือความเชื่อทีว่ ่า ตราบใดทีค่ นมีพน้ื ฐานองค์ความรูท้ ด่ี มี าจากระดับมัธยมศึกษา
การบ่มเพาะต่อยอดในเชิงศึกษาศาสตร์ (Pedagogy) การพัฒนาของเด็ก และการจัดการห้องเรียน
ในเวลา 2-3 ปีย่อมไม่ใช่เรื่องยากทีจ่ ะทาให้คน ๆ นัน้ เป็ นครูท่มี ปี ระสิทธิภาพ วิทยาลัยครูกม็ รี ะบบ
การคัดเลือกคนโดยเน้นทีบ่ ุคลิคลักษณะทีเ่ หมาะสมในการเป็ นครู
ต่อมาได้มกี ารเปลีย่ นแปลงหลังจากการเป็ นวิทยาลัยครูให้เข้าไปอยู่ในระบบมหาวิทยาลัย
แม้แต่การเป็ นครูระดับประถมต้องจบการศึกษาระดับปริญญาโทเพื่อใช้ในการขอใบประกอบอาชีพ
ครู (Teacher Qualification) อย่างถูกต้อง แนวปฏิบตั ิน้ีในตอนแรกได้ถูกคัดค้านจากผู้นาใน
มหาวิทยาลัยด้วยเหตุผลทีว่ ่าการรับครูซง่ึ ถูกเปรียบว่าเป็ นเพียงกึ่ง วิชาอาชีพ (Semi-profession) ใน
สมัยนัน้ เข้าสู่ระบบมหาวิทยาลัยจะเป็ นการลดคุณค่าของใบปริญญาลง อย่างไรก็ตาม หลังจากการ
ออกแบบหลักสูตรของศึกษาศาสตร์ใ นมหาวิทยาลัยอย่างเป็ นรูปเป็ นร่าง แนวคิดดังกล่ าวจึงถู ก
หักล้างไป โปรแกรมการฝึ กสอนครูในมหาวิทยาลัยนัน้ มีการแข่งขันในการคัดเลือกสูง ระบบกลไก
ของการคัดเลือกนัน้ แบ่งได้เป็ น 2 ขัน้ ด้วยกัน ขัน้ แรกคือผลคะแนนจากการข้อสอบคัดเลือก ผลการ
เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และความสาเร็จอื่น ๆ นอกเหนือจากภายในโรงเรียน คนทีผ่ ่าน

262
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การคัดเลือกในขัน้ ที่ 1 จะต้องเข้ารับการทดสอบข้อเขียนอีกครัง้ ต้องถูกทดสอบจากการเข้าร่วม


กิจกรรมกึ่งการสอน (Teacher-like Activities) ทีจ่ ะต้องมีการแสดงความสามารถในการปฏิสมั พันธ์
และการสื่อสาร และสุดท้ายคือการเข้าสอบสัมภาษณ์ซง่ึ เป็ นการทดสอบในเรื่องของแรงบันดาลใจใน
การเป็นครูผสู้ อนอย่างแท้จริง
หลักสูตรครูสาหรับครูในต่างระดับชัน้ เรียนนัน้ มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อย เช่นว่าคนที่
ต้อ งการจบมาเพื่อ เป็ นครูใ นชัน้ ประถมศึกษาจะต้อ งมีเ อกทางด้านศึกษาศาสตร์ และมีว ิชา โทที่
เกีย่ วข้องกับวิชาทีถ่ ูกบรรจุอยูใ่ นหลักสูตรประถมศึกษาอย่างน้อย 2 วิชาด้วยกัน ส่วนในผูท้ ต่ี ้องการ
จบการศึกษาเพื่อเป็นครูในระดับการศึกษาทีส่ งู ขึน้ ไปจะต้องมีวชิ าเอกทีเ่ กี่ยวข้องกับวิชาทีต่ นจะสอน
ในอนาคต แต่อย่างไรก็ตาม เช่นเดียวกันกับครูในระดับชัน้ ประถมศึกษา นักศึกษากลุ่มนี้จะต้อง
ปฏิบตั กิ จิ กรรมที่เกี่ยวเนื่องกับศึกษาศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็ นในลักษณะโปรแกรมควบ 5 ปี หรือศึกษา
ต่างหากหลังจากจบการศึกษาในวิชาทีจ่ ะสอนของตนเองในปีท่ี 5 นอกจากนัน้ นักศึกษาทีเ่ รียนอยู่ใน
ระดับปริญญาโทยังสามารถเข้าศึกษาในวิชาศึกษาศาสตร์ภายใต้คณะครุศาสตร์เป็ นเวลา 1 ปีเพื่อใช้
ในการขอใบประกอบอาชีพครูอย่างเป็ นทางการได้อกี ด้วย โดยคุณสมบัตขิ องโปรแกรมการศึกษา
เพื่อความเป็นครูในฟินแลนด์ถูกตัง้ เอาไว้ทงั ้ หมด 4 ข้อดังต่อไปนี้
- มีความสามารถในการวิจยั เป็ นหลัก: การเป็ นครูนัน้ ไม่ใช่เพียงแค่การเข้าใจในองค์
ความรู้ข องการศึก ษาศาสตร์แ ละการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษ ย์เ ท่า นัน้ แต่ ยงั ต้อ งมี
ความรู้ความสามารถในการทาวิทยานิพนธ์โดยการวิจยั ซึ่งเป็ นหนึ่งในสิง่ ที่ต้องทา
เพื่อ ส าเร็จ การศึก ษาในระดับปริญ ญาโท คนที่ต้อ งการจบมาเพื่อ สอนนัก เรีย นใน
ระดับชัน้ ที่สูงนัน้ จะเลือกทาวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับวิชาเอกของตน ในขณะคนที่ต้องการ
จบมาเพื่อ สอนนั ก เรีย นในระดับ ชัน้ แรกเริ่ ม นั ้น จะเลือ กท าวิจ ัย ที่เ กี่ ย วข้ อ งกับ
ศึกษาศาสตร์เป็นหลัก จุดประสงค์หลักของการทาวิทยานิพนธ์น้คี อื เพื่อให้ครูได้นาเอา
องค์ความรูท้ ต่ี นสังเคราะห์ออกมาได้นนั ้ ไปใช้ในอาชีพการเรียนการสอนของตนเอง
- มีการมุ่งเน้นเรื่องของการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านศึกษาศาสตร์อย่างเข้มข้ น: แต่
เดิม นั ้น โปรแกรมการเตรีย มความพร้อ มเพื่อ ความเป็ น ครู ม ัก จะมองเรื่อ งของ
ศึกษาศาสตร์เป็ นแค่เรื่องพืน้ ฐานทีไ่ ม่สลักสาคัญ อย่างเช่น การตัง้ คาถาม ซึง่ ถูกมอง
ว่าเป็ นสิง่ ที่อยู่ในทุกหมวดวิชาไม่มคี วามจาเป็ นที่จะต้องสอนอย่างเฉพาะเจาะจงใน
ศึกษาศาสตร์ เป็ นต้น อย่างไรก็ตามครุศาสตร์ในประเทศฟินแลนด์นนั ้ เป็ นการจัดการ
เรียนการสอนในความรับผิดชอบระหว่างคณะครุศาสตร์และคณะที่เป็ นเจ้าขององค์
ความรู้วชิ าการ ซึ่งก่อให้เกิดการเรียนการสอนในเรื่องศึกษาศาสตร์ท่เี ฉพาะเจาะจง
สาหรับองค์ความรู้สาขานัน้ ๆ ทัง้ ในระดับการศึกษาแรกเริม่ และการศึกษาระดับที่
สูงขึน้

263
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- มีก ารฝึ ก ฝนที่ด ีใ นเรื่อ งของการวิเ คราะห์นักเรียนที่มปี ญั หาในการเรียนรู้ และการ


ปรับเปลี่ยนลักษณะการสอนเพื่อให้เข้ากับนักเรียนในกรณีนัน้ อย่างมีประสิทธิภาพ
กล่าวคือ เพื่อการออกแบบสภาพแวดล้อมตามความต้องการและลักษณะเชิงบุคคล
อย่างแท้จริง
- ประกอบไปด้วยการปฏิบตั จิ ริง: การเตรียมความพร้อมเพื่อการเป็ นครูนนั ้ ประกอบไป
ด้วยการเรียนในเรือ่ งศาสตร์การสอนอย่างเข้มข้น และมีวทิ ยานิพนธ์ดว้ ยการวิจยั เป็ น
สาคัญ โดยจะต้องฝึกการสอนอย่างน้อยหนึ่งปีเต็ม เพื่อประสบการณ์ในโรงเรียนทีเ่ ป็ น
เครือข่ายของมหาวิทยาลัย ซึ่งโรงเรียนเหล่านัน้ มีจุดประสงค์ของการจัดตัง้ เพื่อการ
ปฏิบตั เิ พื่อสร้างและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา และเพื่อการวิจยั ในเรื่องของการ
เรียนการสอนด้วยเช่นกัน ภายในโรงเรียนเหล่านี้น่ีเองทีจ่ ะนักศึกษาฝึ กสอนจะได้เข้า
ร่ว มในกิจกรรม Problem-solving ซึ่งเป็ นหนึ่งในกิจกรรมทัว่ ไปของโรงเรียนใน
ฟิ นแลนด์ ประกอบไปด้วยการวางแผน การลงมีปฏิบตั ิ การประเมิน กระบวนการ
เหล่านี้จะทาให้เกิดการพัฒนาทักษะการสอนทีด่ แี ก่เหล่านักศึกษาฝึกสอนได้

3) หลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรได้ถูกวางไว้เป็ นเพียงกรอบภายนอกเท่านัน้ โรงเรียนและครูมอี สิ ระใน
การกาหนดวิธกี ารสอน หรือการเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ กุญแจสาคัญของหลักสูตรคือความสัมพันธ์
ระหว่างเป้าประสงค์และตัวเนื้อหาสาระ หลักสูตรของฟินแลนด์นนั ้ แต่เดิมมีพน้ื ฐานมาจาก School of
Thought ทีเ่ รียกว่า Herbert Approach ซึง่ มุ่งเน้นใช้เนื้อหารายวิชา (Content) เป็ นจุดศูยน์กลาง
ของการเรียนการสอน ซึง่ นามาสู่ Subject-based Curricula ในระบบการศึกษาในช่วงต้น ต่อมามี
การปรับเปลีย่ นผสมผสานกับรูปแบบใหม่ทเ่ี รียกว่า Dewey Approach ซึง่ เปลีย่ นแกนกลางของ
การเรียนการสอนจากเนื้อหาสาระมาเป็ นการให้นักเรียนเป็ นศูนย์กลางและมีเป้าหมายในลักษณะ
บูรณาการ การเรียนรู้จงึ กลายมาเป็ นสิง่ สาคัญที่สุดในกระบวนการการศึกษา ทาให้นอกจากการ
เรียนรู้เนื้อหาสาระจากครูแล้ว ผลสัมฤทธิ ์ของผู้เรียนจึงเป็ นอีกหนึ่งเป้าหมายของการศึกษาด้ว ย
เช่นกัน จึงเป็ นทีม่ าของ Integrated Curricula จนถึงปจั จุบนั นี้หลักสูตรการสอนของฟิ นแลนด์นนั ้ มี
พืน้ ฐานมากจาก Approach ทัง้ 2 ทีก่ ล่าวไป เรียกว่าเป็ นลักษณะ Dual Structure ซึง่ ต้องมีความ
สมดุลทีด่ ถี งึ จะสามารถจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพได้ (Vitikka et al, 2012) หลักสูตร
ณ ปจั จุบนั จึงเน้นความสามารถและทักษะเป็ นเป้าประสงค์สงู สุดของหลักสูตรการศึกษา
แกนหลักสูตรกลางของการศึกษาในฟินแลนด์ ซึง่ กาหนดโดย Finnish National Board of
Education มีอยู่ 2 ส่วนด้วยกัน มีส่วนทีก่ าหนดเป้าหมายและเนื้อหาแกนกลางทีต่ ้องสอนในทุก ๆ
รายวิชา รวมไปถึงภารกิจ คุณค่า และโครงสร้างของการศึกษา มีส่วนที่กาหนดแนวคิดสาหรับการ
เรียนและเป้าหมายสาหรับการพัฒนาระบบนิเวศของการเรียนรู้ วัฒนธรรมภายในโรงเรียน และวิถี
264
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การปฏิบตั งิ าน ดังนัน้ หลักสูตรแกนกลางจึงมีบทบาทสองด้านด้วยกัน หนึ่งคือเป็ นเครื่องมือในการ


กุมบังเหียนด้านการเรียนการสอน สองคือเครื่องมือ ของครูในการพัฒนารูปแบบการถ่ายทอดความรู้
ในลักษณะของตนเองโดยหลักสูตรดังกล่าวจะมีการทบทวนจะปรับปรุงทุก 10 ปีโดยประมาณ
เนื่องจากผู้จดั การเรียนการสอนหรือครูสามารถสร้างรูปแบบของหลักสูตรในรูปแบบของ
ตนเองได้จากกรอบแกนหลักสูตรที่ได้ถูกกาหนดไว้ให้ จึงมีช่องว่างในการพัฒนารูปแบบเฉพาะให้
เหมาะสมในระดับพืน้ ทีห่ รือชุมชน อย่างไรก็ตาม หลักสูตรเหล่านัน้ จะต้องยังคงคุณค่า หลักการ และ
เป้าประสงค์พ้นื ฐานของการเรียนการสอนเอาไว้ ซึ่งเป็ นแนวคิดพื้นฐานที่กระทรวงศึกษาธิการและ
วัฒนธรรมได้กาหนดเอาไว้

4) การประเมิ น
การประเมิน นัน้ เป็ นส่ ว นหนึ่ งการกิจ กรรมในโรงเรียนในทุ ก วัน การประเมิน หลัก ของ
ฟินแลนด์คอื การประเมินระหว่างการเรียนรูใ้ นชัน้ เรียนอย่างต่อเนื่องและการประเมินเมื่อสิน้ สุดการ
เรียนวิชานัน้ ๆ การประเมินอย่างต่อเนื่องจะเป็ นสิง่ สาคัญในการช่วยเหลือและชี้แนะแนวทางและ
กระบวนการการเรียนรูข้ องนั กเรียน โดยนักเรียนทุกคนจะได้รบั รายงานส่วนบุคคลอย่างน้อยหนึ่ง
ครัง้ ในทุกปีการศึกษา
ข้อ ก าหนดของกระทรวงศึก ษาธิก ารและวัฒ นธรรมกล่ าวไว้ว่ า ฟิ นแลนด์ไ ม่มรี ะบบการ
ประเมินด้วยการใช้ขอ้ สอบกลาง หรือ National Test สาหรับการวัดผลการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (Basic
Education) แต่ครูคอื ผูท้ ต่ี ้องรับผิดชอบการประเมินในแต่ละรายวิชาตามเป้าประสงค์ของการเรียนรู้
ทีไ่ ด้กาหนดเอาไว้ในหลักสูตร สาหรับผลการเรียนหรือเกรดของการศึกษาระดับพืน้ ฐานจะมีการระบุ
เอาไว้ในประกาศนียบัตรจบการศึกษาทีจ่ ะได้รบั ในชัน้ มัธยมศึกษาที่ 3 หรือ Grade 9 โดยมีครูเป็ นผู้
มอบให้แก่นกั เรียน และผลการศึกษาทีไ่ ด้รบั นัน้ จะเป็ นตัวกาหนดการศึกษาในขัน้ สูงต่อไปในอนาคต
ดังนัน้ หลักสูตรแกนกลางของชาติจงึ ประกอบไปด้วยการชี้แนะแนวทางการประเมินสาหรับรายวิชา
ทัง้ หมด หนึ่งในหน้าที่ของการศึกษาระดับพืน้ ฐานก็คอื การพัฒนาศักยภาพของเด็กนักเรียนในการ
ประเมินผลด้วยตนเอง ซึง่ จะเป็นสิง่ ทีส่ ามารถเสริมสร้างทักษะของการเพิม่ พูนความรูด้ ว้ ยตนเองและ
ทักษะการศึกษา ช่วยให้แต่ละบุคคลรับรูถ้ งึ กระบวนการการเรียนรูข้ องตนเอง

5) การใช้เทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน
กิจกรรมของการพัฒนา Information and Communication Technology (ICT) เพื่อ
การศึก ษาของฟิ นแลนด์ส ามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 อย่างคือ ความรู้ แก่ นสาระ และการบริหาร
สภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ (Atjonen and Siu, 2006) ทัง้ นี้เพื่อเป้าประสงค์ในภาพใหญ่
ดังต่อไปนี้

265
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- พัฒนาองค์ความรูป้ ระชาชนทุกคนเพื่อการเข้าสู่สงั คมของความรูแ้ ละทักษะ


- ท าให้ส ถาบัน การศึก ษาใช้ป ระโยชน์ จ าก ICT ในการประกอบกิจ กรรมอย่า ง
หลากหลาย
- จัดตัง้ การเรียนรูอ้ ย่าง ICT-based ในภาคการศึกษา การฝึกฝนทักษะ และการวิจยั
- ส่งเสริมนวัตกรรมทางสังคมผ่านการใช้ ICT

ICT เป็ นปจั จัยส่งเสริมในการเรียนรูแ้ บบ Student-centered Approach การริเริม่ เพื่อ ICT


ในการศึกษาประกอบไปด้วยเป้ายุทธศาสตร์หลักทัง้ หมด 7 ประการ (Atjonen and Siu, 2006)
ได้แก่
- เพิม่ อานาจ (Empowering) ให้แก่ผเู้ รียนด้วย ICT
- เพิม่ อานาจ (Empowering) ให้แก่ครูผสู้ อนด้วย ICT
- ส่งเสริมความเป็ นผูน้ าในโรงเรียนในยุคสมัยของความรู้
- สร้างความเข้มข้นให้แก่ทรัพยากรดิจทิ ลั เพื่อการเรียนรู้
- ปรับปรุงโครงสร้างพืน้ ฐานของ ICT และบ่มเพาะการศึกษาศาสตร์ผ่าน ICT
- เพื่อจัดการวิจยั และพัฒนา (Research and Development) อย่างต่อเนื่อง
- ส่งเสริมและสร้างความเป็นสังคมทีด่ ี
จากข้อมูลของการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรมด้วย ICT ในรัว้ โรงเรียนของยุโรป (Key Data on
Learning and Innovation through ICT at school in Europe) ยุทธศาสตร์ดงั กล่าวนัน้ ครอบคลุมไป
ถึงมาตรการของโปรแกรมการฝึกฝนทักษะ (Training Measure) การวิจยั ด้วย ICT ในโรงเรียน e-
Learning e-inclusion Digital / Media Literacy และการพัฒนา e-Skill โดยมีการกาหนดแนวทาง
และเป้าประสงค์ของการเรียนรูไ้ ว้อย่างชัดเจนในรูปแบบลายลักษณ์อกั ษรทัง้ ในระดับประถม และ
มัธยมศึกษาสาหรับการใช้คอมพิวเตอร์ การใช้แอปพลิเคชันเพื ่ ่อการทางาน การสืบค้นข้อมูล และ
รวมไปถึงการใช้มลั ติมเี ดีย ในระดับประถมและมัธยมศึกษา ICT นัน้ ถูกสอนและใช้เป็ นเครื่องมือ
พืน้ ฐานสาหรับการเรียนรูร้ ายวิชาอื่น ๆ หรือไม่ก้เป็ นเครื่องมือสาหรับการทากิจกรรมพิเศษเฉพาะ
เรื่อง โดยเฉพาะในระดับมัธยมศึกษานัน้ มีการตัง้ เป้าหมายเอาไว้ว่าจะต้องมีการนาเอา ICT เข้าสู่
กระบวนการเรียนรู้ในทุกรายวิชารวมไปจึงถึงกิจกรรมนอกห้องเรียนด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ยงั มี
การสนุ บสนุ นการร่วมมือกันระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐเพื่อการส่งเสริม ICT ในรัว้ โรงเรียนและ
ใช้เงินทุนจากภาคเอกชนเป็นตัวขับเคลื่อนการพัฒนาฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์

266
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข. สภาพแวดล้อมของการศึกษาในประเทศสิ งคโปร์: การประเมิ นอย่างเข้มข้นเพื่อ


มาตรฐานอันเป็ นเลิ ศ
ประเทศสิงคโปร์เป็นหนึ่งในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทส่ี ามารถถีบตัวเองขึน้ มา
เป็ นหนึ่งในประเทศผู้นาทางด้านการศึกษาของเอเชียในเวลาอันรวดเร็ว แม้ว่าประเทศจะมีอุปสรรค์
ทางด้านทรัพยากรทีจ่ ากัด แต่กส็ ามารถเป็ นหนึ่งในปจั จัยความสาเร็จด้วยเช่นกัน ด้วยเพราะการมี
ข้อจากัดทางทรัพยากรธรรมชาติและบุคคลต่าง ๆ ทาให้การออกแบบนโยบายและบริหารนัน้ ไปด้วย
ความมีประสิทธิภาพในลักษณะกึง่ บังคับ

1) การจัดการเรียนการสอน
เป้าหมายหลักของการเรียนการสอนตามหลักของกระทรวงศึกษาธิการประเทศสิงคโปร์คอื
การส่งเสริมให้นกั เรียนสามารถค้นพบความสามารถของตนทีม่ อี ยู่ ศักยภาพภายในตนเอง รวมไปถึง
แรงใจ (Passion) ในการพัฒนาและเรียนรูต้ ลอดชีวติ โดยการศึกษาจะเป็ นในลักษณะทีก่ ว้างขวาง
และความเป็ นองค์รวมของระบบการเรียนรู้ (Broad-Based and Holistic Learning) มีหนทาง
การศึกษาทีห่ ลากหลาย เปิดโอกาสให้แก่นักเรียนในการเลือกสิง่ ที่จะเรียนรองรับความถนัด ความ
สนใจ และแนวทางการเรียนรูใ้ นแบบเฉพาะตัว

2) ครูผจ้ ู ดั การเรียนการสอน
ทัง้ ครูและผู้บริหารโรงเรียนเป็ นแกนสาคัญในการศึกษาของสิงคโปร์ ครูต้องได้รบั การบ่ม
เพาะทักษะและมีแรงบันดาลใจเพื่อการรังสรรค์สงิ่ ทีด่ ที ส่ี ุด โดยมีความสนใจหรือความถนัดเฉพาะตน
เป็ นพื้นฐาน ครูทงั ้ หลายจะต้องได้รบั การอบรมจาก Comprehensive Pre-service Training หรือ
หลักสูตรการฝึ กฝนทักษะในภาพรวมก่อนการปฏิบตั งิ านจริงโดยสถาบันการศึกษาแห่งชาติ หรือ
National Institute of Education (NIE) สายอาชีพครูถูกสร้างมีเส้นทางเพื่อการบ่มเพาะและสังสม ่
ทักษะการสอนทีเ่ ป็ นเลิศ การบ่มเพาะความสามารถของครูในประเทศสิงคโปร์นัน้ เกิดขึน้ จากความ
ร่วมมือของวิทยาลัยครู และสถาบันสอนภาษา ทีจ่ ะเป็ นกุญแจสาคัญในการสร้างเสริมความสามารถ
ให้แก่ครูทพ่ี งึ ประสงค์เหล่านัน้ ได้

3) หลักสูตรการสอนและการประเมิ นผล
สาหรับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานนัน้ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และภาษาแม่ ถือเป็ น 3 หัวใจ
สาคัญของหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานของสิงคโปร์ เพราะวิชาเหล่านี้นัน่ เองที่จะเป็ นพืน้ ฐานของ
การเรียนรู้ แก้ไขปญั หาและการสร้างเสริมทักษะขัน้ สูงต่อไป ทักษะทีว่ ่านี้คอื พืน้ ฐานสาคัญในการต่อ
ยอดเส้นทางการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ของแต่ละบุคคล

267
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นัก เรีย นจะได้ร ับ การบ่ ม เพาะในเรื่อ งของศิล ปะ พลเมือ ง จริย ธรรมอัน ดีง าม ดนตรี
สัง คมศาสตร์ และกายศาสตร์ ในส่ ว นของวิท ยาศาสตร์นั ้น จะเริ่ม มีก ารเรีย นการสอนในชัน้
ประถมศึกษาปีท่ี 3 เป็นต้นไป การนาเสนอวิชาทีห่ ลากหลายให้แก่เด็กนักเรียนตัง้ แต่ช่วงเยาว์วยั นัน้
ก็เพื่อการเปิ ดโอกาสการเรียนรู้ การค้นหาความสนใจส่วนตน เตรียมพร้อมนักเรียนด้วยความรู้ท่ี
เพียงพอ หลังจากชัน้ พื้นฐาน (ประถมศึกษาปี ท่ี 1-4) ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ภาษาแม่ และ
วิทยาศาสตร์ ที่อยู่ในหลักสูตรจะมีทงั ้ ขัน้ พื้นฐาน (Foundation) และขัน้ มาตรฐาน (Standard) ใน
ระดับประถมศึกษาปี ท่ี 5-6 และนักเรียนที่มผี ลสัมฤทธิ ์ที่ดใี นวิชาภาษาแม่นัน้ จะมีการศึกษาภาษา
นัน้ ๆ ในระดับทีส่ งู ขึน้ ไปรองรับด้วยเช่นกัน ซึง่ หมายความว่าครูจะต้องดูพฒ
ั นาการของนักเรียนเป็ น
หลักในการออกแบบการเรียนการสอนและการประเมินตามแต่ศกั ยภาพของรายบุคคล
ในช่วงการศึกษาในชัน้ ประถมนี้เองทีม่ กี ารให้ความสาคัญกับการเรียนรูแ้ บบองค์รวมมาก
ทีส่ ุด เปิดโอกาสการเรียนรูใ้ นด้านต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาในระดับต่อไป ทัง้ ในด้านวิชาการดังทีก่ ล่าว
ไป และทักษะทางด้านการกีฬา กิจกรรมนอกห้องเรียน และศิลปะ ผ่าน Program for Active
Learning (PAL) เมื่อสิน้ สุดประถมศึกษาแล้ว นักเรียนจะต้องมีความสามารถเชิงวิชาการ ได้รบั การ
ทดสอบประเมินผลตาม Primary School Leaving Examination (PSLE) และจะถูกระบบคัดและส่ง
ต่ อ เข้ า สู่ ร ะดับ มัธ ยมศึ ก ษาที่ ม ีค วามเหมาะสมต่ อ ศั ก ยภาพการเรีย นรู้ และความสามารถ
นอกเหนือ จากระบบ PSLE แล้ว นักเรียนสามารถใช้ประวัติหรือ ผลงานทางด้านวิชาการหรือ
ความสามารถส่ ว นตนในการเข้ารับการพิจารณาเข้าสู่ระดับมัธ ยมศึกษาผ่ านการรับตรง (Direct
School Admission)
เมื่อเข้าสู่ระดับมัธยมศึกษา หลักสูตรในระดับนี้จะเป็ นการสร้างเสริมความแข็งแกร่งในเชิง
ทักษะของนักเรียนให้สงู ยิง่ ขึน้ ไป สามารถต่อยอดได้ทงั ้ เชิงวิชาการศึกษาในระดับขัน้ สูงหรือธรรมดา
(Express หรือ Normal) และเชิงสายอาชีพระดับธรรมดา (Normal) ตามแต่ศกั ยภาพของแต่ละคน
ซึ่งนักเรียนสามารถที่จะสับเปลี่ยนวิชาการเรียนได้แล้วแต่ความสนใจ กล่าวคือ มีความยืดหยุ่นใน
การเลือกสายการเรียนรู้ เมื่อจบมัธยมศึกษาปี ท่ี 4 นักเรียนในชัน้ Express จะได้รบั สอบรายวิชา
ตามที่Singapore-Cambridge General Certificate of Education กาหนด ในระดับ O-Level
(Ordinary Level) 6-8 รายวิชา หรือในนักเรียนทีม่ ศี กั ยภาพสูง อาจได้ถงึ 9 รายวิชา สาหรับนักเรียน
เชิงวิชาการในระดับ Normal ก็จะได้รบั การเรียนการสอบเช่นเดียวกันกับสายอาชีพซึ่งการสอบจะ
เน้นเชิงปฏิบตั ิ ทัง้ สองสายทีก่ ล่าวมาจะต้องเข้าสอบ N-Level (Normal Level) เมื่อจบมัธยมศึกษาปี
ที่ 4 ซึง่ เมือ่ ผลสอบของสาย Normal เชิงวิชาการนัน้ ถึงเกณฑ์ นักเรียนดังกล่าวสามารถเข้าสอบ O-
Level หลังการสาเร็จการศึกษาชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 5 ได้ด้วยเช่นกัน หรือสามารถเข้าสู่สายโพลี
เทคนิคได้โดยผ่าน Polytechnic Foundation Program หรือ Institutes of Technical Education
(ITE) ด้วย Direct Entry Scheme ส่วนนักเรียนสายอาชีพที่ผ่านการทดสอง N-Level ในชัน้

268
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

มัธยมศึกษาปี ท่ี 4 นัน้ ก็สามารถย้ายเข้ามาสู่สายวิชาการในระดับมัธยมศึกษาปี ท่ี 4 ได้ หรือเข้าสู่


ITE เพื่อการเรียนการสอนแบบ Nitec ก่อนทีจ่ ะผ่านเข้าสู่โพลีเทคนิค
ส าหรับ นัก เรีย นที่ม ีค วามสนใจหรือ มีค วามสามารถทางด้า นศิล ปะ ดนตรี หรือ ภาษา
สามารถเลือกเรียนวิชาเลือกภายในโปรแกรมของมัธยมศึกษาที่มอี ยู่ ซึ่งในแต่ละวิชาเลือกนัน้ มีการ
ต่อยอดในขัน้ สูงต่อไปอีก เช่น ด้าน IT ธุรกิจวิศวกรรม เป็ นต้น บางโรงเรียนก็เปิดโปรแกรมบูรณา
การ 6 ปี (6 years Integrated Program) เพื่อนักเรียนที่มคี วามเป็ นเลิศด้านวิชาการทีต่ ้องการ
ลักษณะการเรียนการสอนทีเ่ ป็นอิสระและมีความยืดหยุน่ มากกว่าระบบธรรมดา ซึง่ นักเรียนในกลุ่มนี้
สามารถทีจ่ ะเข้าสู่การเตรียมตัวเข้ามหาวิทยาลัยได้โดยไม่ตอ้ งเข้ารับการทดสอบ GCE
โดยสรุป หลัก สูต รการเรีย นการสอนของสิง คโปร์จ ะเน้ น ศัก ยภาพและความสามารถ
เฉพาะตัวของนักเรียนเป็ นหลัก ทัง้ ด้านวิชาการและด้านที่นอกเหนือจากวิชาการ มีโรงเรียนเฉพาะ
ทางต่างหากทีส่ อนในเรือ่ งของศิลปะ กีฬา คณิตศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ดว้ ยเช่นกัน และเกณฑ์การ
รับตรงของ Junior College และโพลีเทคนิคนัน้ มีความเปิดกว้างไม่ใช่แค่ใช้ผลการสอบเพียงอย่าง
เดียวซึง่ เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนทีค่ วามสามารถเฉพาะตัวนัน้ ไม่สามารถวัดได้ดว้ ยการสอบได้
เข้าสู่การเรียนรูใ้ นแบบทีต่ อ้ งการ
ส่วนในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระดับมหาวิทยาลัยนัน้ จะเป็ นการสอบในลักษณะ A-
Level (Advance Examination) โดยนักเรียนสามารถเลือ กสาขาวิชาการที่ส นใจได้ เช่น
มนุษยศาสตร์และศิลปะ ภาษาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เพื่อประกันความสามารถ
และทักษะที่หลากหลาย มีความสนับสนุ นให้นักเรียนเลือกวิชาที่มาจากสาขาทีต่ รงข้ามกันเช่นหนึ่ง
จากมนุษยศาสตร์และศิลปะ และอีกหนึ่งจากคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยจะมีระดับของวิชาให้
เลือกทัง้ หมด 3 ระดับด้วยกันคือ วิชาระดับ Higher 1 (H1) ระดับ Higher 2 (H2) และระดับ Higher
3 (H3) โดย H3 จะเป็ นระดับทีป่ พู น้ื เพื่อการศึกษาขัน้ สูงเพื่อการศึกษาต่อเฉพาะทาง ส่วน H1 และ
H2 จะเป็นความรูแ้ ละทักษะพืน้ ฐาน นักเรียนโดยทัวไปจะเลื
่ อกเรียน 3 วิชาจากกลุ่ม H2 1 วิชาจาก
กลุ่ม H1 โดยมีวชิ าบังคับคือภาษาที่หนึ่ง หรือภาษาแม่ เรียงความทัวไป ่ และงานโครงการ ส่วน
นักเรียนที่มคี วามสามารถสูงสามารถเลือกเรียนมากกว่านี้ หรือจะเลือกเรียนวิชาในระดับ H3 เพื่อ
การศึก ษาเชิง ลึก ในสาขาที่ส นใจ อย่า งไรก็ต าม วิช าอื่น ๆ อย่า งเช่ น ศิล ปะ ดนตรี การละคร
ภาษาศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ก็จะยังคงอยูใ่ นวิชาเลือกตามความสนใจด้วยเช่นกัน
เมื่อสรุปรวมองค์ความรู้ท่โี รงเรียนเป็ นผู้สร้างให้แก่เด็กนักเรียนในระดับของการเตรียม
ความพร้อมสู่ระบบการศึกษาขัน้ สูงหรือการเข้ามหาวิทยาลัยโดยรวมแล้ว สิงคโปร์ให้ความสาคัญ
กับทักษะการปฏิสมั พันธ์ทางสังคม (Socio-emotional Competency) และทักษะชีวติ (Life Skills)
นอกเหนือจากองค์ความรูโ้ ดยทัวไปด้
่ วยเช่นกัน รวมไปถึงทักษะทางด้านนวัตกรรม ความคิดริเริม่
ความรับผิดชอบต่อสังคม และอัตลักษณ์

269
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4) การใช้เทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน
หลักสูตรการเรียนการสอนของสิงคโปร์มกี ารใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ICT เข้ามา
เสริมความเข้มข้นและพัฒนาสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ เพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับศตวรรษที่ 21
และเพื่อความเป็ นเศรษฐกิจฐานความรูอ้ ย่างแท้จริง ตัว ICT คือสิง่ จะที่เพิม่ พูนประสบการณ์การ
เรีย นรู้ใ ห้แ ก่ ผู้เ รีย นอย่า งมีประสิท ธิภ าพ รวมไปถึง การสอนในรูปแบบใหม่ โดยเฉพาะในกลุ่ ม
โรงเรียน Future School ทีเ่ ป็นเครือข่ายกับผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรม มีโปรแกรมนาร่องทีเ่ รียกว่า
State-of-the-art Technology สาหรับการสอนและการเรียนรูร้ ปู แบบใหม่

ค. สภาพแวดล้ อมของการศึ กษาในประเทศญี่ ปุ่น: การสอนเพื่ อความเข้ าใจถึง


แก่นแท้ในความรู้
การศึกษาของประเทศญี่ปุ่นนัน้ ประสบความสาเร็จอย่างต่ อเนื่อ งและมีค วามสม่ าเสมอ
ตลอดมา โดยการศึกษาของญีป่ นุ่ นัน้ มีรากฐานทีส่ าคัญมากจากแนวคิดของความยึดมันของครู ่ ทม่ี ตี ่อ
นัก เรีย นซึ่ง มีค วามชัด เจนและน่ า ยกย่ อ ง ทัง้ เรื่อ งครู ความร่ ว มมือ จากผู้ป กครอง การบริห าร
ทรัพ ยากร หรือ การชัก จูง ให้นักเรียนเกิดแรงผลักดันในการศึก ษา ล้ว นเป็ นปจั จัยสาคัญ ของการ
พัฒนาด้านการศึกษาของญีป่ นุ่ จนถึงทุกวันนี้
1) การจัดการเรียนการสอน หรือกระบวนการการเรียนรู้
กุญแจสาคัญของการจัดการเรียนการสอนของญี่ป่นุ จากงานวิจยั ของ OECD คือการชักจูง
นักเรียนทีด่ ี (Student Engagement) ส่วนใหญ่แล้วจานวนของนักเรียนในชัน้ เรียนจะอยู่ทป่ี ระมาณ
35 ถึง 45 คนซึง่ เป็ นไปอย่างใกล้เคียงกับลักษณะห้องเรียนทางประเทศตะวันตก และลักษณะของ
การเรียนการสอนคือ การเรียนไปพร้อมๆ กันของห้องเรียนจะไม่มคี าสังแนะแนวนั ่ กเรียนที่มาก
เกินไป การจัดห้องเรียนเป็ นไปในลักษณะของการคละความสามารถ ไม่มกี ารแยกเด็กศักยภาพสูง
ออกจากเด็กที่ศกั ยภาพด้อยกว่า ไม่มชี นั ้ เรียน “เด็กกิฟต์” หรือมีเด็กที่ถูกผลักดันเป็ นพิเศษเนื่อง
ด้วยการมีผลการเรียนทีด่ ี และในขณะเดียวกันเด็กนักเรียนจะไม่ถูก “ทิง้ ไว้ขา้ งหลัง” หากนักเรียนคน
นัน้ ประสบปญั หาในการเรียน นักเรียนที่มคี วามต้องการพิเศษเหล่านัน้ สามารถที่จะเข้าร่วมในชัน้
เรียนปกติอย่างไม่มกี ารกีดกัน งานของครูคอื การทาให้นักเรียนทัง้ หลายสามารถบรรลุจุดประสงค์
ของหลักสูตรได้อย่างทัวกั ่ น มีการแลกเปลีย่ นความคิดห็นระหว่างคณาจารย์หากพบปญั ญาหรือเด็ก
ทีต่ อ้ งการความช่วยเหลือเป็นพิเศษและจัดสรรการช่วยเหลือในลักษณะตัวต่อตัวให้มากทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะ
ทาได้ในขณะอยูท่ โ่ี รงเรียน หรือแม้แต่หลังเวลาเลิกเรียน
การชักจูงหรือจูงใจนักเรียน (Student Engagement) เป็ นความสาคัญอันดับหนึ่งของะบบ
การศึกษารูปแบบนี้ วิธกี ารของครูในการชักจูงนักเรียนทัง้ ชัน้ ให้ทากิจกรรมร่วมกันนัน้ มาจากการ
วางแผนการสอนของครูแต่ละคนทีแ่ ตกต่างกันออกไป โดยส่วนใหญ่ ครูในระบบการศึกษาญี่ปุ่นใช้
270
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เวลาเพียงเล็กน้อยในการสอนตัวเนื้อหาสาระและการฝึ กฝนทักษะ ซึ่งกิจกรรมทัง้ สองอย่างนัน้ จะ


เกิด ขึ้นที่บ้า นหรือ สถานกวดวิช า แต่ จ ะเน้ นไปที่ก ารทาป ญ ั หาที่ใ ช้ทกั ษะจริง ร่ว มกัน (Practical
Problem) ถามคาถามเพื่อกระตุ้นความกระตือรือร้น กระตุ้นกระบวนการคิด ไม่ใช่การถามเพื่อ
ต้องการคาตอบที่ถูกต้อง ไม่ใช่การทดสอบแต่เป็ นการถามเพื่อสร้างความเข้าใจที่แท้จริง อีกปจั จัย
สาคัญของลักษณะการสอนของคือการเรียนการสอนทีเ่ ริม่ จาก “ความผิดพลาด” (Mistakes) ในขณะ
ทีน่ กั เรียนพยายามแก้ปญั หาทีค่ รูได้ให้ไป ครูจะทาการสังเกตวิธกี ารทาของนักเรียนแต่ละคน และใช้
วิธขี องเด็ก 2-3 คนเป็นตัวอย่างหน้าชัน้ เรียนซึง่ จะมีทงั ้ วิธที ถ่ี ูกและผิดคละกันไป หลังจากแต่ละวิธไี ด้
ถูกนาเสนอหน้าชัน้ นักเรียนคนอื่นสามารถแสดงความคิดเห็นและบอกเหตุผลประกอบ ข้อผิดพลาด
ที่ชนั ้ เรียนพบจะสามารถก่อให้เกิดการเรียนรู้ต่อไปได้และด้วยกระบวนการนี้ เองที่ทาให้นักเรียน
สามารถเข้าใจในตัวขององค์ความรูไ้ ด้อย่างแท้จริง
การเรียนการสอนนอกเหนือเวลาโรงเรียนนัน้ สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ทัง้ ระหว่าง
วันหยุด หรือการปิดเทอมหน้าร้อน สถานศึกษาเอกชน (Private School) ในญี่ป่นุ หรืออาจเรียกได้
ว่าสถานกวดวิชาในบริบทของประเทศไทย นัน้ มีความสาคัญต่อการเรียนรูข้ องนักเรียนด้วยเช่นกัน
สถานศึกษาในลักษณะนัน้ จะหยิบยื่นโอกาสในการเรียนรูน้ อกเหนือจากเวลาเรียนในลักษณะตัวต่อ
ตัว (Private) ให้ความช่วยเหลือแก่นักเรียนที่ต้องการเป็ นพิเศษหรือไม่สามารถตามชัน้ เรียนได้ทนั
หรืออาจจะมีแม้กระทังการเรี
่ ยนการสอนที่ใช้กระบวนการการเรียนรูข้ นั ้ สูงยิง่ กว่าในห้องเรียนของ
โรงเรียนรัฐโดยทัวไป
่ การผสมผสานทีส่ มดุลของการเรียนในห้องและนอกห้องเรียนเป็ นสิง่ ทีส่ าคัญ
ของผลสัมฤทธิ ์ของเด็กนักเรียนเป็ นอย่างมาก

2) ครูผจ้ ู ดั การเรียนการสอน
อาชีพครูถอื ว่าเป็ นอาชีพทีค่ นปรารถนาทีจ่ ะเป็ นในสังคมญีป่ ่นุ และเป็ นอาชีพทีค่ นให้ความ
นับถือ เป็ นอันดับ ต้น ๆ ในการที่จะเป็ นครูได้นัน้ นัก ศึกษาจะต้อ งผ่ า นเข้าสู่ระบบศึกษาศาสตร์
(Teacher Training) ทีไ่ ด้รบั การรองรับโดยกระทรวงศึกษาธิการ ในมหาวิทยาลัยหรืออนุ วทิ ยาลัย
(Junior college) ญี่ป่นุ มีมหาวิทยาลัยทีม่ ุ่งเน้นทางด้านการศึกษาศาสตร์โดยเฉพาะซึง่ มหาวิทยาลัย
เหล่านัน้ จะมีโรงเรียนในเครือข่ายสาหรับนักศึกษาฝึกสอน ซึง่ การฝึกสอนนี้เองทีเ่ ป็ นกุญแจสาคัญใน
การบ่มเพาะความสามารถของครูและมีอยูใ่ นทุก ๆ หลักสูตรการเตรียมความพร้อมเพื่อการเป็นครู
หลังจากทีน่ ักศึกษาจบการศึกษาแล้ว ครูจบใหม่จะถูกทดลองงานเป็ นเวลาหนึ่งปีก่อนการ
ประกอบอาชีพครูเต็มเวลา โดยมีครูพเ่ี ลีย้ งคอยดูแล บ่มเพาะทักษะโดยตรงให้แก่ครูจบใหม่ โดยทีค่ รู
พีเ่ ลีย้ งนัน้ สามารถลาพักงานจากการสอนได้เป็ นเวลาหนึ่งปีเต็มเพื่อทุ่มเทให้กบั การฝึกฝนครูจบใหม่
ทีอ่ ยูใ่ นความดูแลของตนและจากทีค่ รูฝึกสอนพ้นช่วงทดลองงานและประกอบวิชาชีพครูเป็ นเวลา 10
ปีแล้ว จะต้องเข้าสู่โปรแกรมการฝึกฝนทักษะอีกครัง้ หนึ่งตามกฎหมาย อนึ่ง ครูทุกคนสามารถลาพัก

271
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

จากการสอนในโรงเรียนเพื่อเรียนต่อในระดับปริญญาโทโดยทีย่ งั รับเงินเดือนไปด้วยในขณะเดียวกัน
ได้ กระทรวงศึกษาธิการจะมีการจัดโครงการฝึกฝนทักษะครูอย่างต่อเนื่องในทุก ๆ เขตชุมชน
มุมมองทีน่ ่าสนใจทีส่ ุดของการเป็นครูนนั ้ จะถูกพัฒนาก็ต่อเมือ่ ได้เริม่ ทางาน นอกเหนือจาก
ความสาคัญของการออกแบบการเรียนการสอนแล้ว การศึกษาตัวแก่นสาระ หรือ Lesson Study ก็
เป็ นอีกส่ ว นสาคัญ ของการประกอบอาชีพ ด้ว ยเช่นกัน ครูทุกคนจะต้อ งตัง้ เป้าหมายในการสร้าง
วิธกี ารสอนทีส่ มบูรณ์แบบผ่านการแลกเปลีย่ นระหว่างครูดว้ ยกันเอง ครูทแ่ี ก่อายุงานกว่าต้องมีความ
รับผิดชอบในการแนะแนวทางให้แก่ครูรุ่นใหม่ตลอดเวลา และครูใหญ่จะต้องเป็ นตัว กลางของการ
เชื่อมความสัมพันธ์ของครูทุกคนโดยการจัดการประชุมเพื่อการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น สนับสนุ น
การร่วมมือกันของครูภายในโรงเรียนโดยแบ่งออกเป็นกลุ่มเพื่อการศึกษา แต่ละวิธจี ะถูกทดลองด้วย
การใช้จริง โดยมีครูท่านอื่นๆเป็ นผูส้ งั เกตการณ์และให้คะแนนผลสัมฤทธิ ์ของกระบวนการ ทัง้ นี้ยงั มี
การเรีย นเชิญ ครูจ ากโรงเรีย นอื่น เข้า มาเป็ น ผู้ ร่ ว มในการประเมิน เพื่อ การหากลุ่ ม ที่น าเสนอ
กระบวนการสอนที่ดที ่สี ุดด้วยเช่นกัน กระบวนการที่กล่าวมานี้มลี กั ษณะคล้ายคลึงกับลัษณะการ
ทางานของบริษัทเอกชน มีก ารดึง เอากระบวนการการจัดการเรียนการสอนออกมาให้เ ห็นและ
ประเมินอย่างเปิดเผย อีกทัง้ ยังเป็ นการส่งเสริมการมีความรับผิดชอบ (Accountability) ของครูไปใน
ตัว เพื่อให้เกิดแรงผลักดันในการทางานอย่างเต็มทีเ่ พื่อไม่ทาให้เพื่อนร่วมงานผิดหวัง มีความคิดมี
ความสร้างสรรค์ตลอดเวลา และยังสามารถทางานร่วมกับผู้อ่นื ให้คาแนะนา และชี้แนะแนวทาง
ปฏิบตั เิ มือ่ จาเป็นได้อกี ด้วย

3) หลักสูตรการสอน
ญี่ปุ่นมีก ารก าหนดมาตรฐานของสาระการเรียนรู้ท่ีจะต้อ งเรีย นในทุ ก ระดับชัน้ และทุ ก
รายวิชา โดยจะมีการทบทวนทุก ๆ 10 ปีโดยประมาณ ครูทุกคนในประเทศจะใช้หลักสูตรทีก่ าหนด
เป็ นแกนกลางโดยทัวกั ่ น หลักสูตรดังกล่าวถู กกาหนดขึน้ โดยกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม การ
กีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Ministry of Education, Culture, Sports, Science and
Technology: MEXT) พร้อมด้วยความร่วมมือจากสภาการศึกษากลาง (Central Council for
Education) บุคลากรทีม่ คี วามสาคัญต่อการวางหลักสูตรคือ คณาจารย์ในมหาวิทยาลัยและบุคลากร
ภายในกระทรวงนันเอง ่ หลักสูตรทีถ่ ูกวางไว้โดย MEXT นัน่ เป็ นเพียงกรอบชีแ้ นะสาหรับการสอน มี
การผลิตคู่มอื การสอนในแต่ละรายวิชาตามแต่ละระดับชัน้ เรียนออกใช้อย่างทัวถึ ่ ง
ก่ อ นหน้ านี้ ความยืดหยุ่นของหลักสูต รการเรียนการสอนนัน้ มีน้ อ ยมากชัน้ เรียนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลายใช้เวลาร้อยละ 70 ของเวลาเรียน หมดไปกับการสอน 5 รายวิชาหลัก ซึง่ คือ
ภาษาญี่ปุ่ น สัง คมศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ วิท ยาศาสตร์ และภาษาต่ า งชาติ (โดยส่ ว นใหญ่ ค ือ
ภาษาอังกฤษ) และเวลาที่เหลือคือ การทากิจกรรมในโรงยิม ดนตรี ศิลปะ คาบอบรม และวิชาเลือก
อื่น ๆ แม้ก ระทัง่ ในป จั จุ บ ัน หลัก สู ต รของญี่ปุ่ น ยัง คงจ ากัด ทางเลือ กกิจ กรรมของนั ก เรีย นอยู่
272
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

พอสมควรเมือ่ เปรียบเทียบกับประเทศฝงตะวั ั ่ นตก แต่ในขณะเดียวกันการทีน่ กั เรียนใช้เวลาส่วนมาก


ในการเรียนนัน้ หมายความว่านักเรียนแต่ละคนมีเวลาที่จะศึกษาแต่ละรายวิชาในเชิงลึกได้มากขึ้น
โดยเฉพาะวิชาหลักทัง้ 5 โดยไม่มกี ารไขว้เขวไปกับวิชายิบย่อยอื่น ๆ
กระนัน้ แล้ว หลัก สูตรของประเทศญี่ปุ่นนัน้ มีความเข้มข้นเป็ นอย่างมาก และยังมีความ
สอดคล้องต่อเนื่องสูงในแง่ทว่ี ่าหลักสูตรของชัน้ เรียนแต่ละปีมคี วามเกี่ยวโยงเพื่อการต่อยอดในแต่ละ
ปีทช่ี ดั เจน เป็นพืน้ ฐานของกันและกันเป็ นลาดับชัดเจนและในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จะมี
การมุ่งเน้นที่แนวคิดหลักที่อยู่ภายใต้เนื้อหาสาระเป็ นสาคัญ กล่าวคือหลักสูตรการเรียนการสอนมี
ความแคบ แต่ในขณะเดียวกันก็มคี วามลึก เช่ น คณิตศาสตร์ท่สี อนในระดับมัธยมของญี่ปุ่นนัน้ มี
ความรุดหน้ามากกว่าประเทศอื่น ๆ อยู่มาก เป็ นต้น ลักษณะของหลักสูตรนัน้ ต้องการให้นักเรียน
เรียนรูถ้ งึ ข้อมูลทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ฐานของข้อเท็จจริงเช่น การทาความเข้าใจเรื่องของสถานทีต่ งั ้ ของเหมือง
ถ่านหิน หรือ แม่น้ าของอีกซีก โลกหนึ่ง หรือ แม้กระทังวั ่ นเดือ นปี ของเหตุการณ์สาคัญ ของโลกที่
เกิดขึน้ ในอดีต เป็นต้น
การทีห่ ลักสูตรกลางถูกประยุกต์ใช้ทุกทีอ่ ย่างแข็งขัน ทาให้ระบบการศึกษาสามารถการันตี
ผลสัมฤทธิ ์ได้เป็ นอย่างดี นักเรียนทุกคนถูกคาดหวังว่าจะต้องสามารถบรรลุการเรียนรูจ้ ากหลักสูตร
ที่ท้าทายเหล่านี้ด้วยอัตราที่เท่ากัน เป็ นอีกหนึ่งปจั จัยส่งเสริมที่ทาให้การรับรองผลสัมฤทธิ ์มีความ
น่าเชื่อถือขึน้ ไปอีกระดับหนึ่ง
ตาราเรียนในประเทศญี่ป่นุ นัน้ มีความหนาเพียงเล็กน้อย หากแต่อดั แน่ นไปด้วยสาระและ
เนื้อหาทีเ่ ข้มข้น และทีส่ าคัญคือมีราคาที่ไม่แพง แต่ละเล่มจะถูกใช้ในภาคเรียนทีแ่ ตกต่างกัน ความ
หนาไม่เกิน 100 หน้า จุดประสงค์เพื่อการมุ่งเน้นสู่แนวคิดสาคัญ (Concept) เป็ นหลัก ครูจะไม่เลือก
สอนเพียงแค่ส่วนหนึ่งส่วนใด แต่จะถูกคาดหวังให้สามารถสอนทัง้ เล่นได้เสร็จสมบูรณ์ในทุก ๆ ภาค
เรียนเพื่อการสร้างมาตรฐานทีด่ ขี องการศึกษา

4) การประเมิ น
ในอดีต ญี่ป่นุ ไม่มกี ารจัดสอบระดับชาติ แต่หลังจากทีค่ านึงถึงความเป็ นไปได้ทก่ี ารศึกษา
ในประเทศจะถูกเกาหลีใต้และจีนนาหน้าไป จึงได้มกี ารจัดสอบระดับชาติขน้ึ มาสาหรับนักเรียนใน
ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี 3 อย่างไรก็ตาม การจัดสอบนี้เป็ นเพียงการสุ่มกลุ่ม
ตัวอย่างเพื่อการตรวจสอบมาตรฐานของระบบการศึกษาเท่านัน้ การสอบระดับชาติเพียงอย่างเดียวที่
มีอยู่ ณ ปจั จุบนั คือการสอบเข้ามัธยมศึกษาตอนปลายและมหาวิทยาลัย หรือที่เรียกว่าเอนทรานซ์
(Entrance Exam) ซึง่ เปรียบเสมือนเป็ นทุกสิง่ ทุกอย่างของสถาบันการศึกษา เพราะผลทีอ่ อกมาจะ
ถูกตีพมิ พ์ลงในหนังสือพิมพ์ให้ทราบโดยทัวกั ่ น อันดับของโรงเรียนจะถูกตีแผ่ในวงกว้างโดยวัดจาก
ผลการสอบติดโรงเรียนในมัธ ยมศึก ษาตอนปลายหรือ มหาวิท ยาลัย ภาระของความส าเร็จของ

273
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

โรงเรียนนัน้ ไม่ได้อยู่แค่ท่นี ักเรียน แต่รวมไปถึงคณาจารย์และผู้ปกครอง และครู เพราะผลสัมฤทธิ ์


ของครูในหมูข่ องครูดว้ ยกันนัน้ วัดกันทีค่ วามสาเร็จของนักเรียน
หากเอ่ยถึงการวัดผลภายในห้องเรียน คาบอบรมหรือการโฮมรูมนัน้ เป็ นเครื่องมือหลักของ
ครูทจ่ี ะสังเกตการณ์การพัฒนาของเด็ก เกรดเป็นดัชนีสาคัญในการติดตามความก้าวหน้าของเด็กแต่
ละคน และครูญ่ปี ุ่นโดยส่วนมากมักจะมีส่วนร่วมในชีวติ ของเด็กนอกเหนือจากรัว้ โรงเรียน มีการ
ติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองอย่างสม่าเสมอ เปรีย บเสมือนเป็ นความรับผิดชอบพิเศษนอกเหนือจาก
การเรียนการสอน กล่าวคือ ครูต้องมีความรับผิดชอบอย่างมหาศาลต่อการพัฒนาและความเป็ นอยู่
ของเด็กนักเรียนในความดูแล
โดยทัวไปแล้
่ ว นักเรียนญีป่ นุ่ มีแรงกดดันทางสังคมสูงมาก จากการคาดหวังจากผูป้ กครอง
หรือการต้องการการยอมรับจากเพื่อนหรือบุคคลรอบข้าง จะต้องเข้าศึกษาในสถานศึกษาทีม่ ชี ่อื เสียง
หรือทางานในอาชีพการงานทีด่ ี ทุกสิง่ ทุกอย่างล้วนขึน้ อยู่กบั การประสบความสาเร็จในการเล่าเรียน
ทัง้ สิน้ จึงเกิดเป็ นความกดดันทีร่ จู้ กั กันดีในช่วงสอบ เรียกได้ว่าเป็ นช่วงเวลา “Exam Hell” ส่งผลให้
อัตราการฆ่าตัวตายของเยาวชนในประเทศสูง อย่างไรก็ตาม อัตราการฆ่าตัวตายในเยาวชนของ
ญีป่ นุ่ ทีจ่ ริงแล้วต่ ากว่าสหรัฐอเมริกามากพอสมควร และจากผลสารวจประเทศกลุ่ม OECD แสดงให้
เห็นว่านักเรียนญี่ปุ่นส่วนใหญ่มคี วามสุขกับโรงเรียนมากกว่าประเทศใด ๆ ใน OECD เป็ นหลักฐาน
ว่ามุมมองของชาวต่ างชาติท่มี ตี ่ อระบบการศึก ษาญี่ปุ่นนัน้ ต่ างจากมุมมองที่ชาวญี่ปุ่นมองระบบ
การศึก ษาของตนเอง กรณีน้ี จ ึง เป็ น ตัว อย่ า งที่บ่ ง ชี้ว่ า การกระตุ้น นั ก เรี ย นให้ม ีแ รงผลัก ดัน ใน
การศึกษาสูงโดยไม่สญ ู เสียความสุขภายในรัว้ โรงเรียนนัน้ ไม่ใช่ว่าจะเป็นไปไม่ได้

5) การใช้เทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน
UNESCO ได้กล่าวถึงการใช้ ICT ในการศึกษาญี่ป่นุ ไว้ว่า มีจุดประสงค์เพื่อปรับปรุงการ
สื่อ สารในระบบการเรีย นการสอน โดยทางกระทรวงศึก ษาธิก ารญี่ปุ่ น ได้น าเสนอ Information
Education สู่หลักสูตรการสอนในปี ค.ศ. 1985 ซึ่งเป็ นการเรียนรู้เพื่อใช้ทกั ษะนัน้ ในการพัฒนา
ความสามารถในการใช้ขอ้ มูลหรือทีเ่ รียกว่า “Information Utilized Abilities”เพื่อจุดประสงค์ในการ
พัฒนาทัง้ หมด 3 ด้านคือ
1. กิจกรรม (Activities) – การฝึ กฝนเพื่อการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเพื่อการ
สืบค้นข้อ มูล เช่น การจัดเก็บ การตัดสินใจ การแสดงออก การประมวลผล การ
สร้างสรรค์ และการติดต่อสื่อสาร
2. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสืบค้นข้อมูล (Information Technology) – เพื่อการ
เรีย นรู้ท ัก ษะซึ่ง น ามาสู่ ข้อ มู ล ที่ต้ อ งการผ่ า น ระบบคอมพิว เตอร์ แ ละการสร้า ง
โปรแกรม เป็นต้น

274
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3. ทัศนคติ (Attitude) – การมีความรับผิดชอบในเรื่องของข้อมูลที่มผี ลกระทบต่อ


สังคมในแง่ของจริยธรรม ความผิดชอบชัวดี

ICT ถูกนามาใช้ในรูปแบบของการเรียนรูอ้ ย่างบูรณาการ หรือ Integrate Study ซึง่ เป็ น
รายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์ จากข้อมูลให้ได้สูงที่สุด รวมไปถึงการแก้ปญั หา (Problem
Solving) ด้วยเช่นกัน ซึ่งเกิดขึ้นในทุกระดับชัน้ เรียนตัง้ แต่ ประถมศึกษาตลอดจนกระทังระดั ่ บ
มหาวิทยาลัย เริม่ ต้นตัง้ แต่ ก ารใช้ ICT เพื่อ การสื่อ สารและตอบโต้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
จนกระทังการสร้
่ างสื่อการเรียนรูท้ ่เี หมาะด้วยตนเองขึน้ มา ไม่ว่าจะเป็ นในรูปแบบซอฟท์แวร์ หรือ
เครือข่ายบนอินเตอร์เน็ต และเพื่อโอกาสการเรียนรูท้ างไกลโดยใช้ส่อื เป็นตัวกลาง
การใช้ ICT นัน้ เกิดขึน้ ทัง้ ในหมู่นักเรียนและหมู่คณาจารย์ กล่าวคือ มีการใช้เทคโนโลยี
เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลการเรียนการสอน โดยมีการฝึ กฝนทักษะของครูในการออกแบบ การ
พัฒนา ใช้สอย และการประเมินผล ICT และอุปกรณ์มลั ติมเี ดียทีถ่ ูกใช้เป็นสื่อการสอน

ง. สภาพแวดล้อมการศึกษาในเขตปกครองฮ่องกง: นวัตกรรมการศึกษาแห่งจีน
การศึกษาของ OECD ได้ระบุไว้ว่าประเทศจีนเป็ นหนึ่งในประเทศทีม่ กี ารเจริญเติบโตอย่าง
รวดเร็วในช่วงทศวรรษที่ผ่านมานี้ มีการปฏิรูปในหลากหลายแขนง ไม่ว่าจะเป็ นในด้านเศรษฐกิจ
วัฒนธรรม และการศึกษา หนึ่งในตัวอย่างของความสาเร็จภายในประเทศจีน คือการศึกษาภายใน
เกาะฮ่องกง ซึง่ มีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดหลังจากการปฏิรปู ได้มกี ารริเริม่ หลักสูตรทีค่ รอบคลุม
ปรับปรุงระบบเงินเดือนครู เร่งปรับปรุงมาตรฐานการเรียนการสอน และทีส่ าคัญเป็ นอย่างยิง่ คือการ
สร้างการศึกษาให้กลายเป็นการเรียนรูเ้ พื่อเข้าถึงแก่นของความรูอ้ ย่างแท้จริง
1) การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนในระบบการศึกษาของฮ่องกงนัน้ คือ การยึดหลักการให้นักเรียน
เป็ นศูนย์กลางของการเรียนรูเ้ ป็ นสาคัญ (Student-centered) โดยตัง้ แต่ปลายศตวรรษที่ 20 เป็ นต้น
มา เป้าหมายของรูปแบบการศึกษานัน้ ถูกปรับเปลี่ยนให้ครอบคลุมมากยิง่ ขึ้น นามาซึ่งการปฏิรูป
อย่างครอบคลุม (Comprehensive Education Reform) ในปี ค.ศ. 1999 กล่าวคือ เป็ นการจัด
การศึกษาให้อยู่ในรูปแบบใหม่ (New Framework) ซึง่ มีความต่อเนื่องมายังปจั จุบนั อย่างไรก็ตาม
สิง่ ทีร่ ะบบการศึกษาของฮ่องกงนัน้ ได้ยดึ เหนี่ยวเป็ นแก่นสาคัญมากทีส่ ุดอีกเรื่อ งหนึ่งคือการเปลีย่ น
จาก “การสอน” (Teaching) เป็ น “การเรียนรู้” (Learning) และการมุ่งเน้นกระบวนการในการทา
ความเข้าใจในองค์ความรู้ มากกว่าการท่องจาอย่างทีเ่ คยเป็ น สร้างประสบการณ์ให้แก่นักเรียนเพื่อ
เป็ นการทดลองนาเอาองค์ความรูม้ าใช้จริงและใช้ผลที่ได้เป็ นจุดสาคัญในการเรียนการสอน อีกทัง้
ยังให้ความสาคัญกับการบูรณาการองค์ความรูแ้ ละทักษะการวิเคราะห์ดว้ ยเช่นกัน

275
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2) ครูผจ้ ู ดั การเรียนการสอน
รัฐบาลนัน้ มีค วามพยายามที่จะคัดสรรและสร้างบุค ลากรอาชีพครูท่มี คี ุ ณภาพ ยึดมันใน

หน้าทีข่ องความเป็นครูและพร้อมด้วยคุณภาพ ดังนัน้ จึงมีการตัง้ มาตรฐานของครูในทุกระดับชัน้ ของ
การศึกษา โดยครูทุกคนจะต้องขึน้ ทะเบียนกับ The Education Ordinance ซึ่งแบ่งออกได้เป็ น 2
ลักษณะด้วยกันคือ (1) ครูทไ่ี ด้รบั การจดทะเบียนอย่างเป็ นทางการ (Registered Teacher) ซึง่ ใน
ประเภทนี้จะต้องใช้ใบประกาศนียบัตรครู (Teacher Qualification) เป็ นหลักฐานในการขึน้ ทะเบียน
ครูในประเภทนี้จะได้รบั สิทธิประกอบอาชีพครูอย่างเป็ นทางการในทุกสถานศึกษา (2) ครูท่ไี ด้รบั
ใบอนุญาต (Permitted Teacher) ในประเภทนี้ไม่จาเป็นต้องมีใบประกาศนียบัตรครู หากแต่ต้องมีใบ
ประกาศนียบัตรทางวิชาการเป็ นหลักฐาน (Academic Qualification) โดยจะสามารถจัดการเรียน
การสอนได้แค่บางโรงเรียนทีก่ าหนดเอาไว้เท่านัน้ และเพื่อเสริมสร้างสถานะความเป็ นอาชีพครูให้
สมบูรณ์ ภาครัฐจึงจัดให้มกี ารศึกษาและเก็บข้อมลอย่างต่อเนื่องในแง่ของการพัฒนาความสามารถ
ของบุคลากรครู และกรอบการพัฒนาวิชาชีพ เพื่อนามาเป็ นประโยชน์ แก่ ทศิ ทางของการพัฒนา
ระบบครูและการศึกษาโดยทัวกั ่ น
นอกจากนี้ ยังมีการให้ความสาคัญด้านความสามารถในเรื่องของการใช้ภาษาอังกฤษและ
ภาษาจีนแมนดาริน โดยมีการใช้มาตรฐาน Language Proficiency Requirement (LPR) ในการวัด
ความสามารถของครูสอนภาษา ทัง้ นี้แล้ว เพราะการใช้ภาษานัน้ เป็ นส่วนสาคัญที่จะทาให้นักเรียน
การสามารถก้าวหน้าต่อไปในทัง้ ในการเรียนขัน้ สูงและอาชีพการงาน ดังนัน้ นักเรียนจึงควรถูกบ่ม
เพาะทักษะภาษาอื่น ๆ นอกเหนือจากภาษาจีนกวางตุ้ง (Cantonese) ซึง่ ใช้กนั อย่างแพร่หลายเป็ น
พืน้ ฐาน
อนึ่ง สถาบันการศึกษาแห่งฮ่องกง (The Hong Kong Institute of Education, HKIEd) คือ
สถาบันที่มเี ป้าหมายในการพัฒนาการศึกษาศาสตร์ให้หมู่อาชีพครูทส่ี าคัญทีส่ ุด ณ ปจั จุบนั มุ่งเน้ น
เสริมสร้างทัง้ ในเรื่องขององค์ความรูท้ ่จี าเป็ น ทักษะการถ่ายทอด รวมไปถึงจรรยาบรรณความเป็ น
ครู โดยสถาบันดังกล่าวนี้หยิบยื่นโอกาสสาหรับวิชาชีพครูทงั ้ ในรูปแบบของอนุ ปริญญา ปริญญาตรี
และการศึกษาขัน้ สูงอื่น ๆ ซึง่ นักศึกษาภายใต้หลักสูตรศึกษาศาสตร์ของสถาบันนัน้ สามารถเรียนใน
ลักษณะก่อนการประกอบอาชีพ (Pre-service) หรือว่าจะเป็ นการเรียนขณะประกอบอาชีพครูก็ได้
เช่นกัน (In-service) ทัง้ นี้ ด้วยนโยบายของรัฐบาลทีต่ ้องการให้ผทู้ ป่ี ระกอบอาชีพครูทุกคนต้องมีวุฒ ิ
รับรอง บ่งบอกว่าได้ผ่านกระบวนการการบ่มเพาะวิชาชีพมาอย่างครบถ้วน

276
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3) หลักสูตร
หลักสูตรของฮ่องกงไม่มคี วามขึน้ ตรงต่อหลักสูตรทีใ่ ช้ในจีนแผ่นดินใหญ่แต่อย่างใด หากแต่
ขึน้ ตรงกับความควบคุมดูแลของรัฐบาลของฮ่องกงเอง มีความผสมผสานที่ลงตัวระหว่างความเป็ น
ตะวันตก (ซึ่งผลมาจากการเป็ นอาณานิคมของประเทศอังกฤษ) และความเป็ นจีนดัง้ เดิม ในเนื้อหา
ของหลักสูตรโดย The Education Bureau (EDB) มีการระบุในทุกรายละเอียด เป็ นการชีแ้ นะแนว
ทางการจัด การเรีย นการสอนให้แ ก่ ค รูโ ดยทัว่ กัน โดยยึด เอาวิช าหลัก 8 วิช าเป็ น ส าคัญ ได้แ ก่
ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศาสตร์และมนุ ษยศาสตร์
กีฬาและศิลปะ ทักษะการเรียนรูอ้ ย่างประยุกต์ และประสบการณ์การเรียนรูอ้ ่นื จากการทากิจกรรม
ในส่วนของนักเรียนทีม่ เี ป้าหมายในการเข้าสู่ระดับมหาวิทยาลัยจาเป็ นต้องมีผลสัมฤทธิ ์ใน 4
รายวิชา คือ ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และการศึกษาเสรี (Liberal Studies) ซึ่งเป็ น
การศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ ตามความสนใจประกอบไปด้วย ประวัตศิ าสตร์ สังคมศาสตร์ พลเมือง
ศึกษา โดยในแต่ละอย่างจะแฝงแก่นของความเป็นศตวรรษที่ 21 ประกอบไปในตัว
เป้าหมายสูงสุดสาหรับการศึกษาคือการบ่มเพาะนักเรียนให้รแู้ ละเข้าใจในหน้าทีแ่ ละบทบาท
ของความเป็ นพลเมือง มีความสามารถในการคิดไตร่ต รอง มีทกั ษะเพื่อ การเรียนรู้ และสามารถ
ดารงชีว ิต ได้อย่างถู กสุ ขลัก ษณะ โดยมีโรงเรียนเป็ นผู้อานวยการเรียนรู้อ ย่างเป็ นขัน้ ตอน สร้าง
แผนการเรียนการสอนที่จะเป็ น ประโยชน์ แก่นักเรียนมากที่สุดโดยมีเป้าหมายดังกล่าวเป็ นพื้นฐาน
สาคัญ

4) การประเมิ น
การประเมินผลสัมฤทธิ ์โดยรวมนัน้ อยู่ในความดูแลขององค์การทดสอบและประเมินผลแห่ง
ฮ่องกง (The Hong Kong Examinations and Assessment Authority, HKEAA) ก่อนหน้าปี
การศึกษา 2011 / 2012 นัน้ ระดับมัธยมศึกษามีการจัดการทดสอบ 2 ครัง้ ด้วยกัน คือ หลังจากจบ
การศึกษาในชัน้ มัธยมต้นและมัธยมปลาย ได้แก่ The Hong Kong Certificate of Education
(HKCEE) และ The Hong Kong Advanced Level Examination (HKALE) ตามลาดับ ซึง่ การ
ทดสอบทัง้ สองดังกล่าวนี้เปรียบเทียบได้กบั ระบบ O-level และ A-level ของประเทศอังกฤษนัน่ เอง
แต่ภายใต้ระบบใหม่การทดสอบถูกยุบให้เหลือเพียง The Hong Kong Diploma of Secondary
Education (HKDSE) เมือ่ สาเร็จการศึกษาทัง้ 6 ปีของมัธยมศึกษาแล้วเท่านัน้ เป็ นการสอบวิชาหลัก
ทัง้ 4 วิชาคือ ภาษาจีน ภาษาอัง กฤษ คณิตศาสตร์ และการศึกษาเสรี รวมไปถึงวิชาเลือกอีก 2-3
รายวิชา ผลการทดสอบนัน้ จะถูกจัดตามระดับทัง้ หมด 5 ระดับผลสัมฤทธิ ์ และถูกใช้เป็ นหลักเกณฑ์
เพื่อการตัดสินสาหรับการศึกษาขัน้ สูงต่อไป ในขณะเดียวกัน ผลการทดสอบทีป่ ระเมินโดยโรงเรียน
(School-based Formative Assessments) ก็จะถูกใช้เป็ นส่วนหนึ่งของผลการทดสอบระดับชาติ
(Public Examination Results) ด้วยเช่นกัน
277
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

อนึ่ง องค์การทดสอบและประเมินผลแห่งฮ่องกงนัน้ มีหน้ าที่อานวยการทดสอบที่ประเมิน


โดยโรงเรียน (School-based Formative Assessments) ซึง่ มีลกั ษณะทีเ่ หมือนกันในทุก ๆ โรงเรียน
(Standardized) แต่ผู้ตรวจข้อสอบคือครูผู้สอนแทนการใช้องค์การภายนอกอย่างเช่นการทดสอบ
HKDSE วิธกี ารนี้เป็นประโยชน์ต่อการประเมินพัฒนาการของนักเรียนโดยครูผสู้ อนทีใ่ กล้ชดิ เพื่อให้
สามารถนาข้อมูลไปปรับเข้ากับการจัดการเรียนการสอนทีเ่ หมาะสมกับเด็กนักเรียนได้

5) การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
รัฐบาลนาเอายุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในฮ่องกงครัง้ แรกเมื่อปี ค.ศ. 1998
และต่อมาในปี ค.ศ. 2004 และ 2008 คือ แผนที่ 2 และ 3 ตามลาดับ สาหรับ 2 สองแผนแรกของ
ยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศนัน้ ได้ให้ความสาคัญกับการวางโครงสร้างพื้นฐานและการกระตุ้น
การเรียนรูแ้ ละการสอนด้วย IT ต่อมาในระยะที่ 3 ได้มุ่งเน้นในเรื่องของการใช้ IT อย่างถูกประเภท
ถูกเวลา และถูกเป้าหมาย เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับการเรียนการสอน “Right Technology at
the Right Time for the Right Task” กาหนดและแนะแนวทางให้แก่ครูให้สามารถใช้ IT ได้อย่าง
เต็มประสิทธิภาพ แบ่งเบาภาระในการพยายามนาเอาเทคโนโลยีเข้ามาใช้เป็ นสื่อการสอน อีกทัง้ ยังมี
กระบวนการส่งเสริมทักษะการสอนทีใ่ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Teachers’ IT Pedagogy) เข้ามา
เป็ นประโยนช์ให้แก่ครูทวกั
ั ่ น บ่มเพาะความ “รูใ้ ช้ข่าวสารข้อมูล” (Information Literacy) ให้แก่ทงั ้
นักเรียนและผูป้ กครอง ทัง้ นี้ เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมของการเรียนรูท้ ด่ี ไี ม่ว่าจะเป็ นทีโ่ รงเรียนหรือที่
บ้านก็ตาม
ต่อมารัฐบาลมีการพัฒนา e-learning อย่างต่อเนื่องเพื่อเพิม่ ประสิทธิผลของการเรียนการ
สอน ในปี ค.ศ. 2011 ได้มโี ปรแกรมนาร่อง IT พร้อมทัง้ การเผยแพร่ความตระหนักในเรื่องของ
สุ ข ภาพและลิข สิท ธิท์ ่ีเ กี่ย วข้อ งกับ ทรัพ ยากรและอุ ป กรณ์ ด ิจ ิต อล ต่ อ มาในปี ก ารศึก ษา ค.ศ.
2011/2012 รัฐบาลได้ตงั ้ The EDB One-stop Portal for Learning and Teaching Resources เพื่อ
ใช้เป็นตัวกลางในการรวบรวมสื่อการสอนทุก ๆ วิชาไม่ว่าจะเป็นระดับประถมศึกษาหรือมัธยมศึกษา
ยิง่ ไปกว่านัน้ ยังมีการพัฒนา e-Textbook Market Development Scheme หรือ EMADS ในเดือน
มิถุนายนปี ค.ศ. 2012 มีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์และพัฒนา e-
Textbook ตามหลักสูตรที่ม ี พร้อมด้วยการพัฒนากลไกการันตีคุณภาพของการผลิตโดยการนาเอา
ตัวอย่างไปทดลองใช้กบั โรงเรียนภายในเครือข่าย ซึง่ EMADS คาดว่าจะสามารถปล่อยออกสู่ตลาด
ได้ภายในปีการศึกษา ค.ศ. 2014/15 นี้

278
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

จ. สภาพแวดล้อมการศึกษาในประเทศเกาหลีใต้ : การศึกษาที่ก้าวกระโดด
ประเทศเกาหลีใต้เป็ นหนึ่งในประเทศทีส่ ามารถก้าวกระโดดขึน้ มาเป็ นหนึ่งในผู้นาทางด้าน
การศึกษาได้ในเวลาอันรวดเร็ว มีคะแนนผลสัมฤทธิ ์การทดสอบนานาชาติ PISA ทีส่ ูงและนาหน้า
คะแนนเฉลีย่ ของประเทศกลุ่ม OECD มีความสามารถในการผลิตแรงงานทักษะทีม่ คี ุณภาพมากมาย
ทัง้ นี้ ด้วยความพยายามและความตัง้ มันในการพั
่ ฒนาระบบการศึกษาของรัฐบาล

1) การจัดการเรียนการสอน
การเรียนการสอนของประเทศเกาหลีใต้นัน้ เป็ นไปอย่างมีความเข้มข้นสูง จากการวิจยั นัน้
พบว่านักเรียนในประเทศให้เวลาเรียนเฉลีย่ ต่อปีมากกว่านักเรียนในประเทศแถบ OECD คือ 1,020
ชัวโมงต่
่ อปี ซึง่ เป็นจานวนทีย่ งั ไม่รวมถึงการเรียนนอกห้องเรียนอีกประมาณ 3 ชัวโมงต่
่ อวัน
ในระดับประถมศึกษานัน้ เป็ นการกลุ่มการเรียนการสอนตามอายุของนักเรียน แต่ในปจั จุบนั
เริม่ มีการใช้การจัดกลุ่มตามความสามารถในการเรียนรู้ด้วยเช่นกัน (Ability-based Grouping)
ฃักษณะการเรียนนัน้ เป็นไปอย่างเปิด (Open Classroom) กล่าวคือ เป็ นการลดทอนการสอนเนื้อหา
โดยตรงแก่นักเรียน แต่มุ่งเน้ นการทาโครงการบูรณาการความรู้ทงั ้ ในลักษณะเดี่ยวและกลุ่ม โดย
กระบวณการการสอนในลักษณะกาลังเป็ นที่แพร่หลายในโรงเรียนประถมศึกษาโดยทัวไป ่ และยัง
ได้รบั การสนับสนุ นจากรัฐบาลอีก ด้วย ในขณะเดียวกัน การศึกษาในระดับมัธยมศึกษานัน้ ยังคง
ความเป็ นรูปแบบการสอนโดยมุ่งเน้นการเตรียมพร้อมเข้าสู่เข้ามหาวิทยาลัย มีแนวทางการสอนที่
เน้ น การเข้า ร่ว ม (Active Participation) เป็ นส าคัญ รวมไปถึงการทากิจกรรมทดลองทาง
วิทยาศาสตร์ อภิปรายกลุ่ ม และการสารวจความคิดเห็นโดยใช้แบบสอบถาม ทัง้ นี้ ยังมีการให้
ความสาคัญต่อการนาเทคโนโลยีมาใช้ภายในห้องเรียนอีกด้วย
ในช่ ว งหลัง นี้ ก ระทรวงศึก ษาธิก ารได้ม ีค วามพยายามที่จ ะปฏิรูป การศึ ก ษาส าหรับ ชัน้
มัธยมศึกษาตอนต้น ส่งเสริมให้ครูใช้การสอนในลักษณะการค้นคว้า (Inquiry-based Learning) และ
การแก้ปญั หา (Problem Solving) เพิม่ บทบาทของการใช้เทคโนโลยีให้มากขึ้น อย่างไรก็ตาม
โรงเรียนยังคงให้ความสาคัญกับการสอนเพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับการสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ และ
ตัวนักเรียนเองยังต้องแสวงหาการเรียนเสริมนอกจากเวลาเรียน เช่น การกวดวิ ชารายบุคคล หรือ
แม้แต่กบั การเรียนการสอนออนไลน์กเ็ ป็นทีน่ ิยมเช่นกัน

2) ครูผจ้ ู ดั การเรียนการสอน
ครูเป็นอาชีพทีไ่ ด้รบั ความเคารพอย่างสูงในสังคมเกาหลีใต้ อีกทัง้ ยังเป็ นอาชีพทีไ่ ด้รบั ความ
นิยมเนื่องจากรายรับที่สูงกว่าอาชีพทัวไป ่ มีความันคง
่ และสภาพแวดล้อมการทางานที่ดี แต่ทงั ้ นี้
ทัง้ นัน้ จะต้องผ่านขัน้ ตอนการบ่มเพาะและคัดเลือกที่เข้มข้น ไม่ว่าเป็ นการผ่านกระบวนการจาก

279
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยครูโดยเฉพาะก็เช่นกัน ในทุก ๆ วันนี้ กระทรวงศึกษาธิการ วิทยาศาสตร์


และเทคโนโลยี แห่งเกาหลี (Ministry of Education, Science and Technology) ได้พฒ ั นานโยบาย
ทีม่ ุ่งเน้นในเรื่องของการศึกษาศาสตร์และการพัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงการพัฒนา
กระบวนการรับรองวิชาชีพครูและการวางแผนเพิม่ เติมหน่วยฝึกฝนทักษะในมหาวิทยาลัยอีกด้วย
ปจั จุบนั แบบแผนการเรียนการสอนวิชาชีพครูในเกาหลีใต้นนั ้ มีทงั ้ หมด 4 ปีดว้ ยกันโดยเป็ น
การผสมผสานระหว่ า งวิช าที่บ่ ม เพาะองค์ค วามรู้ข องครูแ ละวิช าที่บ่ ม เพาะทัก ษะการสอนและ
ถ่ายทอด ร้อยละ 30 ของหลักสูตรนัน้ เป็ นวิชาพื้นฐานทัวไป ่ อีกร้อยละ 60 เป็ นวิชาที่เกี่ยวกับ
มานุ ษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ธรรมชาติศาสตร์ และกายภาพศึกษา ส่วนอีกร้อยละ 35 ทีเ่ หลือนัน้
เป็ นวิชาเลือก โดยมีอิส ระให้เลือกระหว่าง วิชาที่เกี่ยวกับ มานุ ษยศาสตร์ วรรณกรรมและภาษา
สังคมศาสตร์ ธรรมชาติศาสตร์ และศิลปะ และเมื่อนามารวมกัน จะต้องมีวชิ าที่เกี่ยวข้องกับสาขา
วิชาเอกของตนอยู่ไม่ต่ ากว่าร้อยละ 70 ของเนื้อหาทัง้ หมด เมื่อผูเ้ รียนจบการศึกษาทัง้ 4 ปีดงั กล่าว
และได้รบั วุฒปิ ริญญาตรีแล้วจึงจะมีสทิ ธิย่นื ขอใบอนุ ญาตวิชาชีพครู (Teacher Certificate) ในขัน้ ต้น
นัน้ จะได้รบั ใบอนุ ญาตชัน้ สอง ซึ่งจะสามารถยกระดับเป็ นชัน้ หนึ่งได้หลังจากมีประสบการณ์การ
ทางานถึง 3 ปีและได้รบั 15 หน่วยกิจจากการฝึกอบรมทักษะภายใน อนึ่ง รัฐบาลมีนโยบายว่าครูทุก
คน โดยเฉพาะครูผสู้ อนในระดับมัธยมศึกษานัน้ จะต้องจบปริญญาตรี
สถาบันการศึกษาจะไม่มชี ่วงทดสอบงาน (Probation) สาหรับครูใหม่ แต่จะมีโปรแกรมการ
บ่มเพาะทักษะก่อนเริม่ งานซึ่งโดยส่วนใหญ่จะมีระยะ 2 สัปดาห์ด้วยกัน ประกอบด้วย กรณีศกึ ษา
การปฏิบตั จิ ริง และการเรียนทฤษฎี รวมถึงการบ่มเพาะทักษะของการชีแ้ นะนักเรียนและการบริหาร
ห้องเรียน นอกจากนี้ยงั มีการบ่มเพาะทักษะหลังจากเข้าทางานอีกด้วย ซึง่ จะมุ่งเน้นในเรื่องของการ
ประเมินและชี้แนะชัน้ เรียนเป็ นหลัก สาหรับโรงเรียนรัฐบาลจะต้องมีการทาแบบทดสอบทีจ่ ดั ทาขึน้
โดย The Metropolitan and Provincial Office of Education ซึ่งเป็ นฝ่ายกาหนดจานวนครูท่ี
ต้อ งการ และทาการคัดเลือ กโดยเรีย งล าดับก่ อ นหลังจากคะแนนที่ไ ด้จากแบบทดสอบ ในทาง
กลับกันโรงเรียนเอกชนสามารถคัดเลือกบุคลากรของตนได้เองโดยอิสระ อย่างไรก็ตาม โรงเรียน
เอกชนหลายแห่งยังคงเสาะหาคาแนะนาในเรือ่ งของการคัดเลือกครูจากหน่วยงานภาครัฐ

3) หลักสูตร
หลัก สู ต รการเรี ย นการสอนของเกาหลี ใ ต้ นั ้น ได้ ถู ก ก าหนดจากส่ ว นกลางซึ่ ง ก็ ค ื อ
กระทรวงศึกษาธิการ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (Ministry of Education, Science and
Technology: MEST) โดยจะมีการทบทวนใหม่ทุก 5 หรือ 10 ปีตามแต่เห็นสมควร ตัวของหลักสูตร
นัน้ นอกเหนือจากการระบุในเรือ่ งของเนื้อหารายวิชาแล้วยังมีการระบุระยะเวลาในการเรียนการสอน
ในวิช านัน้ ๆ อีก ด้ว ยเช่ น กัน อย่า งไรก็ต าม แต่ ล ะโรงเรีย นก็ย งั มีอิส ระที่จ ะเพิ่ ม เติม รายวิช าที่
เห็นสมควรตามแต่บริบทของโรงเรียนนัน้ ๆ เช่นเดียวกัน
280
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ในชัน้ ประถมศึกษานัน้ มีการกาหนดรายวิชาพืน้ ฐานหลัก ๆ ได้แก่ จริยธรรม ภาษาเกาหลี


คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ พละศึกษา และคนตรีและศิลปะ นอกเหนือจากนี้ ครูผสู้ อน
ควรที่จะปลูกฝงั ทักษะการคิดแก้ปญั หา (Problem Solving) จิตสานึกการเคารพวัฒนธรรมและ
ประเพณี ความรักในเพื่อนบ้านเละชาติ รวมไปจนถึงการใช้ชวี ติ สาหรับในระดับชัน้ มัธยมศึกษานัน้
มีหลักสูต รที่แ ตกต่ างออกไป มีการใช้ล กั ษณะของการจัดกลุ่มนักเรียนตามความสามารถในบาง
รายวิชาเช่น คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาเกาหลี สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ในส่วนของ
วิชาแกนทีท่ ุกคนจะต้องเรียนเหมือนกันคือ จริยธรรมศึกษา พละศึกษา ดนตรี และศิลปะ โดยในชัน้
มัธ ยมศึก ษาตอนต้น นัน้ จะมีก ารทากิจกรรมนอกเหนือ จากการเรีย นในห้อ งเรียนและวิช าเลือ ก
เพิม่ เติมตามแต่ ความสนใจ ยกตัว อย่างเช่น เพศศึ กษา เศรษฐศาสตร์ คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี
สารสนเทศ และสิ่งแวดล้อ มศึก ษา เป็ น ต้น ในส่ ว นของมัธ ยมศึกษาตอนปลายนัน้ มีว ิชาแกนไม่
แตกต่างกับมัธยมศึกษาตอนต้น หากแต่มกี ารเพิม่ เติมในส่วนของการเรียนการสอนเจาะลึกในบาง
องค์ความรูเ้ พื่อเป็นการต่อยอดให้มคี วามรูเ้ พิม่ เติมตามความถนัด ได้แก่ ฟิสกิ ส์ เคมี ชีววิทยา ธรณี
ศึกษา ภูมศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ การเมืองการปกครอง เศรษฐศาสตร์ และวัฒนธรรมศึกษา

4) การประเมิ น
เกาหลีใต้มรี ะบบการประเมินระบบการศึกษาของประเทศทีเ่ รียกว่า การประเมินผลสัมฤทธิ ์
ทางการศึกษาแห่งชาติ (National Assessment of Educational Achievement, NAEA) โดยจะจัด
ขึน้ ทุกปีสาหรับนักเรียนในระดับชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 6 มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และ 4 ทัง้ นี้จะเป็ นการ
ทดสอบทัง้ หมด 2 รายวิชาเพื่อเป็รการเก็บข้อมูลการศึกษาในภาพรวม
หากกล่ า วถึง การประเมิน ภายในห้อ งเรีย น ครูค ือ ผุ้ท่ีม ีห น้ า ที่ป ระเมิน ผลสัม ฤทธิท์ าง
การศึกษาของนักเรียนในความดูแลออกมารูปแบบของเอกสารบันทึกกิจกรรมวิชาการ (Student
School Records/Student Activity Record) ซึง่ จะลงรายละเอียดถึงผลสัมฤทธิ ์ทางด้านวิชาการ การ
เข้าร่วมชัน้ เรียน กิจกรรมนอกหลักสูตร จริยธรรม สุขภาพร่างกาย ตลอดจนถึงประวัติ และผลงาน
ต่างๆ ที่ได้รบั ตลอดการศึกษาในชัน้ ปีนนั ้ ๆ โดยบันทึกเล่นนี้เป็ นหนึ่งในปจั จัยสาคัญของการศึกษา
ต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและมหาวิทยาลัย และเริม่ เข้ามามีบทบาทมากขึ้นเพื่อลดความ
กดดันของการสอบแข่งขันทีเ่ พื่อการศึกษาต่อ สาหรับการเข้ารับการศึกษาต่อในชัน้ มัธยมศึกษาตอน
ปลายนัน้ นักเรียนบางส่วนทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีจ่ ะได้รบั สิทธิการจับฉลาก กล่าวคือ ไม่ต้องผ่านกระบวนการ
คัดเลือกทีเ่ ข้มข้น บางส่วนจะต้องผ่านการสอบคัดเลือกตามระบบ อย่างไรก็ตาม มีการพิจารณาถึง
ประวัตกิ ารศึกษาทีผ่ ่านมาเพื่อลดน้าหนักความสาคัญของการสอบอีกด้วยเช่ นเดียวกัน
อีกหนึ่งการประเมินทีม่ คี วามสาคัญคือ College Scholastic Ability Test (CSAT) ซึง่ ถือได้
ว่าเป็นการประเมินทีจ่ ะเป็นตัวตัดสินอนาคตของการศึกษาในระดับสูงต่อไปก็ว่าได้ นักเรียนโดยส่วน
ใหญ่จะเตรียมตัวสาหรับการทดสอบนี้ทงั ้ ภายในโรงเรียน โรงเรียนกวดวิชา หรื อแม้แต่การกวดวิชา
281
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตัวต่อตัว เป็นทีม่ าของวัฒธรรม “การสอบนรก” ภายในประเทศเกาหลีใต้ ด้วยเหตุทว่ี ่าการทดสอบนี้


สร้างความกดดันให้แก่เยาวชนในสังคมอย่างเห็นได้ชดั

5) การใช้เทศโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน
หนึ่ ง ในการท าเทคโนโลยีเ ข้า มาใช้ใ นระบบการศึก ษาที่โ ดดเด่ น ที่สุ ด ของเกาหลีใ ต้ค ือ
โครงการ SMART Education – Digital Textbook Initiative กล่าวคือ เป็ นการแปลงหนังสือเรียนให้
อยู่ใ นรูป แบบของดิจ ิต อล โดยโครงการนี้เ ป็ น หนึ่ง ในโครงการทางการศึกษาเพื่อ การก้าวเข้า สู้
ศตวรรษที่ 21 ของประเทศ คาว่า SMART นัน้ ย่อมาจาก Self-directed, Motivated, Adaptive,
Resource, Technology Embedded
ภาพที่ 91: SMART Education

ทีม่ า: SMART Education in Korea by UNECSO, 2012

นอกจากการใช้หนังสือเรียนในรูปแบบดิจติ อล โครงการนี้ ยงั มุ่งเน้นในเรื่องของการส่งเสริม


การเรียนและการประเมินออนไลน์ อีกด้วย เร่ง การสร้างโครงสร้างพื้นฐานในเรื่องของเทคโนโลยี
อย่างเข้มข้น ยกตัวอย่างเช่นการวางพื้นฐานระบบคลาวด์ (Cloud Computing System) ซึ่งได้
ตัง้ เป้าหมายเอาไว้ว่าจะต้องสาเร็จภายในปี ค.ศ. 2015 ทัง้ นี้เพื่อเป้าหมายของการทาให้นักเรียนการ
สามารถจัดการการเรียนรูข้ องตนเองได้โดยไม่ต้องพึง่ พาความช่วยเหลือของครูตลอดเวลา สามารถ
เข้าถึงเนื้อหาสาระการเรียนรูไ้ ด้ทุกทีท่ ุกเวลา สร้างเครือข่ายการเรียนรูอ้ ย่างครบวงจร อีกทัง้ ยังเริง่
บ่มเพาะทักษะการใช้เทคโนโลยีแก่งครูผูส้ อนเพื่อให้สามารถช่วยเหลือนักเรียนได้อย่างเต็มที่

282
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 28: สรุปเปรียบเทียบระบบนิ เวศการศึกษา


สภาพแวดล้อม ฟิ นแลนด์ สิ งคโปร์ ญี่ปนุ่
การจัดการ - ยึดหลักการดูแลแบบครบ - ส่งเสริมให้ผเู้ รียนค้นพบ - การชักจูงใจนักเรียนทีด่ ี
เรียนการสอน วงจรและเท่าเทียม ไม่แบ่ง ความสามารถตนเอง - ผสมผสานการเรียนใน
ห้องเรียนตามผลการเรียน แรงใจ (Passion) ในการ ห้องเรียนและนอก
- มีครูพเิ ศษช่วยเหลือ เรียนรูต้ ลอดชีวติ จัดการ ห้องเรียนอย่างสมดุล
นักเรียนทีต่ ามเพื่อนไม่ทนั เรียนรูแ้ บบเฉพาะตัว - เน้นการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
- เปิ ดโอกาสให้ครูเลือก (Finer customization of
วิธกี ารทีเ่ หมาะกับนักเรียน learning)
ของตนได้อย่างอิสระ - สร้างสภาพแวดล้อมทีท่ า้
สามารถเลือกใช้ตาราได้ ทายและสนุกสนาน
หลากหลาย
ครู - เน้นครูคุณภาพเป็ นเลิศ - วางระบบพัฒนาครูอย่าง - ครูเป็ นอาชีพทีค่ น
- การคัดเลือกครูเข้มข้น ครบวงจร ปรับอัตรา ปรารถนาและเป็ นทีน่ บั ถือ
แข่งขันสูง ผูท้ ม่ี ี เงินเดือนให้สงู เท่าวิชาชีพ - ระบบศึกษาศาสตร์ได้บ่ม
ความสามารถสูงจึงจะเป็ น ชัน้ สูง ยกระดับมาตรฐาน เพาะความสามารถครูใน
ครูได้ (คัดเลือกผูท้ จ่ี ะ เส้นทางอาชีพครูมี การสอน ผ่านการฝึกสอน
ประกอบอาชีพครูจาก ความก้าวหน้า - มีการส่งเสริมการสร้าง
นักเรียนทีม่ คี ะแนนสูง - คัดเลือกผูท้ จ่ี ะประกอบ เครือข่ายการพัฒนาตนเอง
ร้อยละ 15 แรกของ อาชีพครูจากนักเรียนทีม่ ี ของครู แลกเปลีย่ น
ประเทศ) คะแนนสูงร้อยละ 30 แรก ประสบการณ์
- บ่มเพาะทักษะอาชีพครู ของประเทศ
ได้รบั การฝึกสอนใน - ครูทุกคนได้รบั การศึกษา
โรงเรียนเครือข่าย 1 ปี เต็ม จากสถาบันการศึกษา
ออกแบบการเรียนการ แห่งชาติ (National
สอน Institute of Education)
บ่มเพาะทักษะการสอนที่
เป็ นเลิศ
หลักสูตร - โครงสร้างหลักสูตรเป็ น - จัดหลักสูตรเน้นการเรียนรู้ - ญีป่ นุ่ กาหนดมาตรฐาน
เพียงกรอบเท่านัน้ อย่างกว้างขวางและเป็ น ของสาระการเรียนรู้ ใช้
โรงเรียนและครูมอี สิ ระ องค์รวม (Broad-Based หลักสูตรแกนกลาง เป็ น
กาหนดวิธกี ารสอน การ and Holistic Learning) กรอบหลักสูตรมีความ
เรียนรูเ้ ต็มที่ เข้มข้น

283
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 28: สรุปเปรียบเทียบระบบนิ เวศการศึกษา (ต่อ)


สภาพแวดล้อม ฟิ นแลนด์ สิ งคโปร์ ญี่ปนุ่
การประเมิ น - ไม่มรี ะบบประเมินด้วย - มีการกาหนดผลลัพธ์ทพ่ี งึ - อดีตไม่มรี ะบบประเมิน
ข้อสอบกลาง (National ประสงค์ของการศึกษา ด้วยการจัดสอบระดับชาติ
Test) (Desired Outcomes of - ปจั จุบนั มีการสอบ
- สอบวัดผลมาตรฐานครัง้ Education) และนาไปสู่ ระดับชาติระดับ ป.6 ม.3
เดียวเมื่อจบ ม.ปลาย การตัง้ ผลสัมฤทธิของ
์ เพื่อสุม่ ตัวอย่าง ตรวจสอบ
- ประเมินเพื่อพัฒนาเป็ น พัฒนาการด้านการศึกษา มาตรฐานระบบการศึกษา
ส่วนหนึ่งของกิจกรรม สาหรับระดับชัน้ ต่างๆ - การสอบเข้ามหาวิทยาลัย
เป้าหมายการประเมินเพื่อ - ยุทธศาสตร์ ตึง หย่อน ตึง ตีแผ่วงกว้าง
พัฒนา - การประเมินในห้องเรียน
เพื่อสังเกตพัฒนาการ และ
สือ่ สารกับผูป้ กครองอย่าง
สม่าเสมอ
เทคโนโลยี - ICT เป็ นปจั จัยส่งเสริมการ - ICT ถูกนามาใช้อย่าง - ICT ถูกนามาใช้อย่าง
เรียนรูท้ น่ี กั เรียนเป็ น บูรณาการ บูรณาการ
ศูนย์กลาง
ทีม่ า: วิเคราะห์และรวบรวมโดยคณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

จากกรณีศกึ ษาทีน่ ามาจากประเทศต่างๆ สามารถสรุปแนวทางการออกแบบสภาพแวดล้อม


การเรียนรูท้ ่สี ามารถนามาประยุกต์ใช้กบั ประเทศไทยได้ดงั นี้ คือ (1) การจัดการเรียนการสอน
ต้องมุง่ เน้นให้ผเู้ รียนเป็นศูนย์กลางอย่างแท้จริง มีวธิ กี ารสอนทีห่ ลากหลาย เน้นพัฒนาศักยภาพการ
เรียนรูข้ องผูเ้ รียนผ่านการปลูกฝงั และฝึ กฝนทักษะการเรียนรูท้ จ่ี ะเรียน ตลอดจนสร้างแรงจูงใจให้ม ี
ความกระตือรือร้นที่จะเรียนรูต้ ลอดชีวติ (2) ครู เน้นการสร้างครูท่มี คี ุณภาพเป็ นเลิศ มีระบบการ
พัฒนาครูอย่างต่อเนื่องและครบวงจร ทัง้ ในด้านค่าตอบแทน เส้นทางอาชีพ และระบบสนับสนุ นการ
จัดการเรียนการสอน (3) หลักสูตร มีโครงสร้างหลักสูตรเป็ นกรอบแนวทาง มีความยืดหยุ่นและให้
อิสระกับครูในการออกแบบการจัดการเรียนการสอน (4) การประเมิ น ไม่มุ่งเน้นทีผ่ ลคะแนนจาก
การสอบมากจนเกินไป แต่ให้ความสาคัญกับการประเมินพัฒนาการการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน (5) การ
ใช้ เทคโนโลยี มีการนาระบบ ICT มาช่วยสนับสนุ นการจัดการเรียนการสอนอย่างบูรณาการเพื่อ
อานวยความสะดวกในการเข้าถึงเนื้อหาวิชาและสื่อการเรียนรูท้ ่ีได้มาตรฐาน อย่างไรก็ตาม การจะ
นาหลักการเหล่านี้มาประยุกต์ใช้กบั ประเทศไทยได้นัน้ ย่อมต้องประกอบกับการศึกษาบริบทของ
ประเทศไทย ซึง่ จะมีการกล่าวถึงในส่วนต่อไป เพื่อนาไปสู่ขอ้ เสนอแนะการออกแบบสภาพแวดล้อม
การเรียนรูท้ เ่ี หมาะสมกับประเทศไทยอย่างแท้จริง

284
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.3.2 สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment) ของประเทศไทย และ


การเตรียมพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
ในหัวข้อ 4.2.3.3 นี้จะเป็ นการศึกษาวิเคราะห์ส ภาพแวดล้อมการเรียนรู้ของไทย โดย
รายละเอียดแบ่งเป็น 3 ส่วนย่อยได้แก่
ก. องค์ประกอบของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ และสภาพแวดล้อม การเรียนรูท้ ด่ี เี พื่อก้าวสู่
ศตวรรษที่ 21
ข. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ของไทยในปจั จุบนั โดยศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและ
ประเด็นปญั หาในปจั จุบนั ทัง้ ประเด็นปญั หาของความสัมพันธ์ทางตรงระหว่างหน่ วยย่อย กับผูเ้ รียน
ประเด็นปญั หาของความสัมพันธ์ระหว่างหน่ วยงานกลางกับหน่วยย่อย ข้อจากัด ปญั หาและอุปสรรค
ทีส่ ่งผลต่อการเรียนรูจ้ ากสภาพแวดล้อมการเรียนรูข้ องไทยในปจั จุบนั
ค. การเตรียมความพร้อมสภาพแวดล้อมการเรียนรูข้ องไทยสู่ศตวรรษที่ 21 โดยจะกล่าวถึง
การเตรียมพร้อมในประเด็นต่าง ๆ ทีจ่ าเป็นเร่งด่วน อาทิ บทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 ต่อผูเ้ รียน
บทบาทของครอบครัวต่อผูเ้ รียน บทบาทของสถานศึกษาต่ อ ผู้เ รีย น การน าเทคโนโลยีมาใช้เ พื่อ
การศึกษาเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 เพื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพการศึกษา เปิ ดกว้างการเรียนรู้
ตลอดจนนาเสนอกรณีศกึ ษาจุดสว่าง (Bright Spot) ทีป่ ระสบความสาเร็จในประเทศไทยทีม่ คี วาม
โดดเด่ น และมีศ ัก ยภาพในการเป็ น ต้น แบบของการขยายผล เช่ น นวัต กรรมการเรีย นรู้เ พื่อ
สร้างสรรค์ด้วยปญั ญา การส่ งเสริม ความรู้คู่คุ ณธรรมของกรณีศึกษาโรงเรียนสัตยาไส เรื่อ ง
เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาการศึกษา กรณีศกึ ษาโรงเรียนวังไกลกังวล และการพัฒนาการศึกษา
ควบคู่ไปกับการขจัดความยากจน กรณีศกึ ษาโรงเรียนมีชยั พัฒนาและการขยายผลในท้องถิน่ ทาให้
เกิด การบูร ณาการการศึก ษาเรีย นรู้ร่ว มกัน ระหว่ า งสถาบัน การศึก ษา ท้อ งถิ่น และภาคส่ ว นที่
เกีย่ วข้อง

ก. องค์ประกอบของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ดีเพื่อ
ก้าวสู่ศตวรรษที่ 21
องค์ประกอบของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment) หมายถึง ความสัมพันธ์ของหน่ วยย่อย
ต่าง ๆ ของระบบการศึกษาซึง่ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) ตัวแสดงของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
(Actors)และ 2) เครือ่ งมือของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Tools) ดังนี้

285
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

1) ตัวแสดงของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Actors)
 ผู้เรียนและเพือ่ น (Student and Peers) ได้แก่ กลุ่ มผู้เรียนกลุ่มต่ าง ๆ ที่มคี วาม
แตกต่างกันทัง้ กลุ่มอายุ กลุ่มความแตกต่างทางความสามารถ สติปญั ญา เป็ นต้น
 ครอบครัว (Family) ได้แก่ พ่อแม่ ปูย่ า่ ตายาย ญาติพน่ี ้อง เป็ นต้น
 ครู (Teacher) ได้แก่ ครูผสู้ อนประจาวิชา ครูแนะแนว ครูทกั ษะชีวติ เป็นต้น
 สถาบันการศึกษา (School) ได้แก่ โรงเรียน การศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) ศูนย์การ
เรียนรูน้ อกห้องเรียน เป็นต้น
 ชุมชน (Community) ได้แก่ ชุมชนที่อยู่อาศัย องค์กรภาคประชาสังคม องค์กรชุมชน
องค์กรศาสนา กลุ่มปราชญ์ชาวบ้าน หรือนักวิชาการอิสระในชุมชน เป็นต้น
 หน่ วยงานกลาง (MOE Actors) ที่มสี ่วนสาคัญทีท่ าให้สามารถบรรลุเป้าประสงค์ทาง
การศึกษา โดยความสัมพันธ์ของแต่ละหน่ วยย่อยจะมีความชื่อมโยงและเกี่ยวโยงกัน
ได้แก่
- หน่วยงานหลักด้านนโยบายและแผนด้านการศึกษาของชาติ ได้แก่ สานักงาน
เลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) สานักงานปลัดกระทรวง (สป.) เป็นต้น
- หน่ วยงานหลักด้านการจัดการศึกษาตามช่วงวัยและการจัดการศึกษาเฉพาะ
ทาง โดยรับ ผิดชอบด้านหลักสูต ร บุค ลากร งบประมาณ ได้แ ก่ สานักงาน
ปลัดกระทรวง (สป.) ดูแลภาพรวมและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้
พื้น ฐาน (สพฐ.) ดู แ ลการศึก ษาในระดับ ของประถมและมัธ ยมส านัก งาน
คณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) ดูแลการศึกษาระดับอาชีวศึกษาทัง้ หมด
ส านัก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึก ษา (สกอ.) ดูแ ลพัฒ นาการศึก ษาใน
ระดับอุดมศึกษาขึน้ ไป เป็นต้น
- หน่วยงานหลักด้านการประเมิน ได้แก่ สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ดูแลการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
เพื่อ พัฒ นามาตรฐานการศึก ษา ส านัก งานงานบริห ารงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการศึกษาเอกชน สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน เป็นต้น
- หน่ ว ยงานหลัก ด้า นการพัฒ นาบุ ค ลากรทางการศึก ษา ได้แ ก่ ส านั ก งาน
คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
คุรสุ ภา สถาบันผลิตครูในระดับอุดมศึกษา เป็นต้น

286
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 29: หน่ วยงานหลักด้านการศึกษา


ด้าน หน่ วยงานงานหลัก
ด้านนโยบายและแผนด้าน - สานักงานปลัดกระทรวง (สป.)
การศึกษาของชาติ - สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.)
ด้านการจัดการศึกษา - สานักงานปลัดกระทรวง ดูแลภาพรวมและ กศน.
- หลักสูตร - สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) ดูแลการศึกษาใน
- บุคลากร ระดับของประถมและมัธยม
- งบประมาณ - สานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) ดูแลการศึกษาระดับ
อาชีวศึกษาทัง้ หมด
- สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ดูและพัฒนาการศึกษาใน
ระดับอุดมศึกษาขึน้ ไป
- สานักงานงานบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)
- สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (อปท.)
ด้านการประเมิ น - สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ดูแลการ
ประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนามาตรฐานการศึกษา
ด้านพัฒนาบุคลากร ทาง - สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร
การศึกษา ทางการศึกษา (สกสค.) พัฒนาครูดา้ นสวัสดิการ และพัฒนาคุณภาพชีวติ ครู
- สานักงานเลขาธิการคุรุสภา ดูแลและพัฒนาครูเพื่อสอบใบประกอบวิชาชีพ
- ครู ผูบ้ ริหาร
- สถาบันผลิตครูในระดับอุดมศึกษา
ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

 หน่ ว ยงานอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ระดับนโยบายและระดับปฏิบตั ิทงั ้ ภาครัฐ ภาคเอกชน (Non-
MOE Actors) ได้แก่ ภาคเอกชน ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงแรงงาน กระทรวง
อุ ต สาหกรรม กระทรวงสาธารณสุ ข กระทรวงวิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี กระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมันคงของมนุ
่ ษย์ กระทรวงวัฒนธรรม และสานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ เป็นต้น
2) เครือ่ งมือของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Tools)
เนื่องจากระบบนิเวศน์ของการศึกษานัน้ ไม่ได้มเี ฉพาะในส่วนของตัวแสดง แต่ยงั มีส่วนของ
เครือ่ งมือในการส่งเสริมให้ระบบทางานได้ดตี ามบทบาทของหน้าทีท่ ค่ี วรจะเป็น

287
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 หลักสูตร
 รูปแบบการเรียน การสอน
 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา เช่น ระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ
Cyber Home
 พืน้ ทีส่ าธารณะ (Public Space)และสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้
แต่ละตัวแสดงและเครือ่ งมือของสภาพแวดล้อมการเรียนรูไ้ ม่ได้ต่างคนต่างอยู่อย่างโดดเดีย่ ว
หากแต่มคี วามสัมพันธ์กนั

รูปแบบความสัมพันธ์ของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment)


ทุกระบบย่อย ๆ ของสภาพแวดล้อมการเรียนรูแ้ ต่ละระบบไม่ได้อยู่อย่างต่างคนต่างอยู่ แต่ม ี
ความสัมพันธ์เกีย่ วข้องกันซึง่ เมือ่ แบ่งความสัมพันธ์ของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ จากกระบวนทัศน์
ของผู้เรียนเป็ นศูนย์กลางการเรียนรู้ (Learner-centered) ของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ สามารถ
แบ่งมิตคิ วามสัมพันธ์ได้ 3 รูปแบบ ดังนี้
 ความสัมพันธ์ทางตรงระหว่างหน่ วยย่อยกับผู้เรียน คือ หน้าที่ของหน่ วยย่อย ซึ่งได้แก่
ครอบครัว ชุมชน ครู สถานศึกษา หน่ วยงานกลาง และหน่ วยงานอื่น ที่มผี ลเชิงบวก
และเชิงลบโดยตรงต่อผูเ้ รียน
 ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยย่อยกับหน่ วยงานกลาง คือ หน้าทีข่ องหน่ วยงานกลางของ
กระทรวงศึกษาธิการ ที่มผี ลเชิงบวกและเชิงลบต่อของหน่ วยย่อย ซึง่ ได้แก่ ครอบครัว
ชุมชน ครู สถานศึกษา หน่ วยงานกลาง และหน่ วยงานอื่น ซึง่ ท้ายทีส่ ุดจะมีผลเชิงบวก
และเชิงลบต่อผูเ้ รียน
 ความสัมพันธ์ทางอ้อมระหว่างหน่ วยย่อยกับผูเ้ รียน คือ หน้าที่ของหน่ วยย่อยต่าง ๆ ที่
ร่วมมือกันทีม่ ผี ลเชิงบวกและเชิงลบโดยอ้อมต่อผูเ้ รียน

288
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 92: รูปแบบความสัมพันธ์ของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment)

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

สภาพแวดล้อมการเรียนรูท้ ดี ่ เี พือ่ ก้าวสู่ศตวรรษที ่ 21


กระแสการเปลี่ย นแปลงโลกได้ส่ ง ผลกระทบทัง้ ทางสัง คม เศรษฐกิจ สิ่ง แวดล้อ ม และ
การเมืองของทุกประเทศกระแสการเปลีย่ นแปลงทีช่ ดั เจนถูกหยิบยกขึน้ มาเป็ นปจั จัยการเปลีย่ นผ่าน
พลวัตการเปลี่ยนแปลงโลกจากการก้าวผ่านจากศตวรรษที่ 20 เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ฉะนัน้ การ
ออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนและส่งเสริมการเรียนรู้ของคนไทยในสังคม
ตลอดชีวติ จึงต้องเปลีย่ นแปลงไปด้วย ดังนัน้ ในการศึกษาส่วนนี้จงึ เป็นการศึกษาสภาพแวดล้อมการ
เรียนรูข้ องประเทศไทยในปจั จุบนั ปญั หาอุปสรรคและแนวทางการเตรียมความพร้อมสภาพแวดล้อม
การเรียนรูท้ เ่ี หมาะสมกับศตวรรษที่ 21

289
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ของไทยในปัจจุบนั

ประเด็นปญั หาของความสัมพันธ์ทางตรงระหว่างหน่ วยย่อยกับผูเ้ รียน


ผูเ้ รียน – ผูเ้ รียน
- ปญั หาความแตกต่างหลากหลายของผูเ้ รียน
- ปญั หาขาดความกระตือรือร้นและพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนคนหนึ่ง/ กลุ่ม
หนึ่ง อาจเป็ น Exclusion Force ผลักเด็กบางคนหรือบางกลุ่มออกไปจากความสนใจใน
การเรียนรู้ และเกิดความรูส้ กึ การไร้อานาจ (Helplessness), การเห็นคุณค่าของตนเอง
ต่า (Low Self-worth), การไร้ความสามารถ (Incompetence) จึงจาเป็ นต้องได้ผสู้ อนทีม่ ี
ความสามารถประสานผู้ เ รีย นสองกลุ่ ม ให้ช่ ว ยกัน พัฒ นาการเรีย นรู้แ ละความคิด
สร้างสรรค์ของตน ผ่านการรวมกลุ่ม
- ความมีอทิ ธิพลเหนือความคิด หรือแทรกแซงทัศนะ ค่านิยมระหว่างผูเ้ รียน ทีส่ ามารถ
ถูกชักจูง รวมกลุ่มเพื่อออกจากความสนใจในการเรียนการศึกษา
- ขาดความตระหนักต่อความรับผิดชอบต่อสังคม
- ความมุง่ มันและการท
่ างานให้มคี ุณภาพสูงทีจ่ ะแข่งขันในอนาคต
ครอบครัว – ผูเ้ รียน
- สภาพการเลีย้ งดู ทีข่ ดั ขวางกระบวนการความคิดสร้างสรรค์ เช่น การทะนุ ถนอมเหมือน
ไข่ในหิน การห้ามกระทาในสิง่ ทีค่ รอบครัวเห็นว่าไม่สมควร การละเลยคาถามหรือความ
อยากรูอ้ ยากเห็นของผูเ้ รียน
- การขาดประสบการณ์ในระบบการศึกษาของครอบครัวหรือมีประสบการณ์คนละยุค อาจ
ทาให้ครอบครัวไม่ตระหนักถึงความสาคัญของการศึกษา (ทัง้ ในและนอกระบบ) จึงไม่ได้
สร้างสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูห้ รือแรงบันดาลใจในการศึกษาให้แก่ผเู้ รียน
- การขาดความสามารถในการสนับสนุ นเงินการศึกษา (อาจควบคู่ไปกับการขาดความ
ความรูเ้ รื่องการแสวงหาแหล่งทุนการศึกาาอื่น ภาระจึงตกอยู่กบั ผู้เรียน ซึง่ หากยุ่งยาก
สามารถส่งผลให้ผเู้ รียนตัดสินใจออกจากระบบการศึกษา)
- การตระหนักถึงเพียงความสาคัญของการศึกษาในระบบ (ภายในสถานศึกษา) โดยขาด
การกระตุ้นความอยากรู้อ ยากเห็นของผู้เ รียนหรือ ส่ งเสริมการค้นคว้าหาความรู้จาก
ช่องทางอื่น เช่น สื่อ สิง่ พิมพ์
- การมองข้ามการปลูกฝงั เรื่องความรูแ้ บบโลกวิถี (Secular Knowledge) เพื่อความอยู่
รอดในสังคมนอกครอบครัวหรือสถานศึกษา

290
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- สภาพแวดล้อมภายในครอบครัวอื่นๆที่บนทอนความอดทน
ั่ พยายามและขวนขวาย
การศึกษาเรียนรูข้ องผู้เรียน นอกเหนือจากปญั หาการเงิน เช่น ปญั หาความรุนแรงใน
ครอบครัว การหย่าร้างระหว่างพ่อแม่ ปญั หาครอบครัวแหว่งกลางมากขึน้
ชุมชน – ผูเ้ รียน
- ปญั หาค่านิยม บรรทัดฐานหรือวัฒนธรรมของแต่ละชุมชน ทีไ่ ม่เอื้อต่อการเปิ ดโอกาสให้
ผูเ้ รียนได้เรียนรูส้ งิ่ ใหม่ (เช่นหลักการทางวิทยาศาสตร์) ทีท่ า้ ทายความเชื่อความศรัทธา
หรือธรรมเนียมปฏิบตั เิ ดิม
- สภาพสังคมเมืองทีป่ ฏิสมั พันธ์ระหว่างผู้เรียนกับชุมชนลดลง ทาให้ขาดการรับรูป้ ญั หา
การเข้าใจและการร่วมแก้ไขปญั หาการศึกษากับผูเ้ รียน
- การขาดความภูมใิ จในอัตลักษณ์ของกลุ่มหรือชุมชน เกิดความละเลยการถ่ายทอดภูม ิ
ปญั ญาท้องถิน่ หรือส่งเสริมความรูค้ วามสามารถในการใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยู่ในชุมชนให้
เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาศักยภาพการเรียนรูแ้ ละการเลีย้ งชีพของผูเ้ รียน
- Dilemma ในการนาทรัพยากรด้านต่างๆ มาใช้เพื่อส่งเสริมการศึกษาภายในชุมชน
หากแต่ผู้จดั สรรและจัดการทรัพยากรจะสามารถใช้ทรัพยากรให้เกิดอรรถประโยชน์
สูงสุดต่อตัวเอง หรือผูเ้ รียนมากกว่ากัน
- ความพร้อมของทุนทางสังคม และทุนทางวัฒนธรรม
- ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ได้แก่ ประเด็นเรื่องสังคมชนบทเป็ นสังคมเมืองมากขึน้
และสังคมรวมกลุ่มเป็ นสังคมปจั เจกมากขึน้
ครู-ผูเ้ รียน
ปญั หาของความสัมพันธ์ระหว่างครูกบั ผูเ้ รียนมีประเด็นสาคัญ 2 กลุ่มหลัก คือ (1) ปญั หา
เชิงพฤติกรรมและปจั จัยพื้นฐาน (Conduct) ซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องปญั หาความสามารถในการสอน
และถ่ายทอดความรูแ้ บบทักษะการเรียนรู้ และ (2) ปญั หาเชิงวัฒนธรรม (Culture)ทัง้ ในส่วนของ
ปญั หาทัศนคติส่วนตัวของครูต่อตนเองและผูเ้ รียน และปญั หาทัศนคติของสังคมทีค่ าดหวังต่อการทา
หน้าทีข่ องครู

291
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 30: ปัญหาของความสัมพันธ์ระหว่างครูกบั ผูเ้ รียน


ประเด็นปัญหา ปัญหาย่อย
1) ปญั หาเชิงพฤติกรรมและปจั จัยพื้นฐาน (Conduct)
- ปญั หาความสามารถใน - ปญั หาการสอนทีม่ ลี กั ษณะแบบถ่ายทอดความรูแ้ บบสอนวิชา เช่น ปญั หาวิธกี าร
การสอนและถ่ายทอด สอนหน้ า ชัน้ โดยบอกสาระวิช าให้นัก เรีย นจด การสอนแบบบรรยายหน้ า ชัน้
ความรูแ้ บบทักษะการ (Lecture) ในระดับ มหาวิท ยาลัย ถือ เป็ น วิธีก ารเรีย นแบบนั ก เรีย นเป็ น ผู้ร ับ
เรียนรู้ ถ่ายทอดสาระหรือเนื้อความรู้ (วิจารณ์ พาณิช, 2556) ไม่ได้เน้นสอน “ทักษะการ
เรียนรู”้
- ปญั หาขาดความยืดหยุ่นในการปรับลักษณะการสอนให้สอดคล้องและเชื่อมโยง
กับ ความแตกต่ า งในหลายด้ า นระหว่ า งผู้ เ รี ย น รวมทัง้ ความเชื่อ มโยงกับ
สถานการณ์ระหว่างภายในและภายนอกประเทศ
- ปญั หาการจัดการเรียนการสอนขาดการสร้างแรงบันดาลใจให้เด็ก มีความท้าทาย
ความอยากรูอ้ ยากเรียน
- ปญั หาการสอบแบบตัวเลือก (Multiple Choices) ควรเปลีย่ นเป็ นสอบทีเ่ น้นความ
เข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ ควรมีการจัดการเรียนรูแ้ บบ Problem-based
learning หรือ Project-based Learning เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปญั หาของ
ผูเ้ รียน
- ปญั หาผูส้ อนทีไ่ ม่กระตุน้ ตัวเองให้เป็ น Active Learner อาจส่งผลให้แรงกระตุน้ ใน
การสร้างแรงบันดาลใจและส่งเสริมการเป็ น Active Learner ในตัวผู้เรียนไม่
เพียงพอ
2) ปญั หาเชิงวัฒนธรรม (Culture)
- ปญั หาทัศนคติสว่ นตัว - ปญั หาขาดการปรับทัศนคติส่วนตัว และทาความเข้าใจในความแตกต่างระหว่าง
ของครูต่อตนเองและ ผูเ้ รียน ทัง้ ทาง สติปญั ญา การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ฐานะทางเศรษฐกิจ เชือ้
ผูเ้ รียน ชาติ และศาสนา (กล่าวคือ ทัศนคติของครูส่งผลต่อความคาดหวังต่อตัวเด็กทีต่ ่ า
หรือสูงเกินพอดี)
- ปญั หาระบบความคิดของตัวครู ( การตัดสินผู้อ่นื ความเข้าใจในตนเอง ความ
เข้าใจในสังคม)
- ปญั หาทัศนคติต่ออาชีพของตนเอง (ผูป้ ระสิทธิประสาทวิ ์ ชา/ผูส้ งสอนให้
ั่ เด็กมี
ความรู/้ คนสอนหนังสือ)
- ปญั หาการยอมรับการเปลีย่ นแปลง เนื่องจากการศึกษาในศตวรรษที่ 21 การปรับ
บทบาทของครูอาจมีการเปลี่ยนแปลงไป แต่ การยอมรับการเปลี่ยนแปลงอาจ
เป็ นไปได้ยาก เพราะระบบการสอนครูบอกเนื้อหาวิชาให้ผเู้ รียนจดจาที่ทาต่อๆ
กันนานนับร้อย ๆ ปี

292
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 30: ปัญหาของความสัมพันธ์ระหว่างครูกบั ผูเ้ รียน (ต่อ)


ประเด็นปัญหา ปัญหาย่อย
- ปญั หาทัศนคติของ - ระดับ ความคาดหวัง ของสัง คมต่ อ การท าหน้ า ที่ของครูใ นเรื่อ งการศึก ษามาก
สังคมทีค่ าดหวังต่อการ เกินไป ทัง้ ทีเ่ ป็ นภาระทีห่ นักมาก สังคมควรมีมุมมองทีร่ ่วมรับผิดชอบต่อการจัด
ทาหน้าทีข่ องครู การศึกษา เมื่อครูทถ่ี ูกถ่ายชุดความคิดทีไ่ ม่ถูกต้องอาจทาให้มผี ลต่อมุมมองของ
ผูเ้ รียน
- ปญั หาของวัฒนธรรมที่ - ปญั หาของระบบอาวุโส ทาให้หา้ มแย้ง ห้ามโต้เถียง ทาให้ผเู้ รียนไม่ได้ตงั ้ คาถาม
เป็ นอุปสรรคต่อการสร้าง กับสิง่ อยากรู้ เป็ นสภาพแวดล้อมทีไ่ ม่เอือ้ ต่อการเกิดการเรียนรู้
การเรียนรู้ - ปญั หาค่านิยมทีไ่ ม่ชอบทางานเป็ นกลุ่มหรือทางานเป็ นทีม
ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

สถานศึกษา – ผูเ้ รียน


- การขาดความยืดหยุน่ ของกรอบ กฎระเบียบ และบรรทัดฐานค่านิยมภายในสถานศึกษา
ทีเ่ ป็นอุปสรรคต่อการกล้าแสดงออก และความคิดสร้างสรรค์
- ปญั หาการจัดสรรของตัวผู้บริหารการศึกษา ว่าจานวนหรือปริมาณทรัพยากรที่รบั มา
ถูกใช้และแบ่งปนั สู่ผู้เรียนมากน้ อยแค่ไหน เหลื่อมล้ากันหรือไม่ (ปญั หาการยักยอก,
กักตุน)
- ความไม่มนคงของฝ
ั่ า่ ยบริหาร เช่น การเปลีย่ นผูอ้ านวยการการศึกษาถี่เกินไป ประกอบ
กับ การสร้างนโยบายการศึกษาที่เ กิด กว่ า ระยะเวลาประจ าการของผู้บ ริห าร ทาให้
นโยบายการศึกษาอาจไม่ถูกสานต่อ หรือขาดช่วงดาเนินการต่อเป็นระยะๆ
- ความมุ่ ง มัน่ และความสม่ า เสมอในการจัด การศึก ษาของตัว สถาบัน การศึก ษาให้
สอดคล้องทัง้ กับหน่วยงานการศึกษาและความสนใจของผูเ้ รียน
- การให้พ้นื ที่ครูผู้สอนได้มสี ่วนร่วมสร้างสรรค์รูปแบบการเรียนการสอนของตัวเองให้
เหมาะกับความแตกต่างของผูเ้ รียนแต่ละคน
หน่ วยงานกลาง – ผูเ้ รียน
- การขาดความยืดหยุ่นของนโยบายการศึกษาและหลักสูต ร โดยขาดการตระหนักถึง
ความแตกต่างในการเรียนรูแ้ ละพัฒนาความสามารถของผูเ้ รียนแต่ละคน
- เนื้อหาหลักสูตรทีล่ า้ หลัง คงไว้ซง่ึ ข้อมูลเก่าไม่ทนั ต่อกระแสความรู้ หรือข้อมูลชุดใหม่ๆ
เต็มไปด้วยข้อเท็จจริงเพื่อให้ผเู้ รียนท่องจา แต่ขาดเนื้อหาในเชิงวิเคราะห์ เป็ นอุปสรรค
ต่อความคิด ‘ริเริม่ ’ สร้างสรรค์ของผูเ้ รียน

293
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- ธรรมชาติขององค์กรทีล่ าดับการทางานแบบลาดับขัน้ (Hierarchy) ซึง่ ยากต่อการ


เข้าถึงของผู้เรียน (ความสัมพันธ์ในเชิงอานาจ โดยผู้ออกกฎอยู่ในจุดทีไ่ ม่สามารถ
รับรูป้ ญั หาของผูเ้ รียนโดยตรง ขณะทีผ่ เู้ รียนเองก็ขาดอานาจ) หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง
คือ การดาเนินนโยบายการศึกษาผ่านโครงสร้างองค์กรแนวตัง้ ไม่สามารถปรับปรุง
เปลี่ย นแปลง หรือ พัฒนาระบบการศึก ษาได้ท ัน กับ ป ญ ั หาความเปลี่ย นแปลงที่
ซับซ้อนระดับบุคคล สังคมและโลกได้ ในขณะที่การรับรูข้ อ้ มูลและความเป็ นไปได้
เปลีย่ นแปลงของระดับปจั เจกเป็นไปอย่างรวดเร็ว
- ขณะที่การเพิม่ อานาจการตัดสินใจให้ภาคส่วนล่าง และตัวปจั เจก ทัง้ ผู้เรียนและ
ผูส้ อน อาจช่วยให้สามารถพัฒนาการศึกษาได้เร็ว และกระจายโอกาสการศึกษาได้
ง่ายกว่า (นัน่ จะทามาซึง่ ความท้าทายต่อการกระจายอานาจ (ความยอมวางอานาจ
บางส่วน) ความสามารถในการการจัดสรรทรัพยากรของภาคส่วนย่อย ความเชื่อใจ)

ประเด็นปญั หาของความสัมพันธ์ระหว่างหน่ วยงานกลางกับหน่ วยย่อย


ประเด็นปญั หาของความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานกลางกับหน่วยย่อยสามารถสรุปได้ดงั นี้
หน่วยงานกลาง-หน่วยงานอืน่
- ปญั หาหลักสูตรยังไม่สอดคล้องกับตลาดแรงงาน
- ปญั หาหลักสูตรยังไม่ค่อยมีการจัดการเรียนการสอนร่วมกับสถานประกอบการ
หน่วยงานกลาง-สถานศึกษา
- ปญั หาการประเมิน สถานศึก ษาที่ม ีค วามแตกต่ า งแต่ ล ะพื้น ที่แ ต่ ใ ช้เ กณฑ์ป ระเมิน
เดียวกัน (ควรประเมินเฉพาะเรือ่ ง เฉพาะพืน้ ที)่
- ปญ ั หาด้ า นการเงิน คือ งบประมาณส่ ว นใหญ่ จ่ า ยไปยัง ฝ งอุ
ั ่ ป ทาน (สถานศึก ษา)
มากกว่ า ด้านอุ ป สงค์ (งบประมาณการอุ ด หนุ นรายหัว ) ไม่ช่ว ยลดความเหลื่อ มล้ า
ระหว่างโรงเรียนเขตร่ารวยและยากจนเท่าทีค่ วร
หน่วยงานกลาง-ผูเ้ รียน
- ปญั หาหลักสูตรไม่สอดคล้องความต้องการของผูเ้ รียน
- ปญั หาหลักสูตรขาดการส่งเสริมจริยธรรมและความเป็ นพลเมือง
- ระบบประเมินผลการเรียนไม่ได้เน้นความรูค้ วามเข้าใจทักษะ
หน่วยงานกลาง-ครอบครัว
- ปญั หาการเข้าจัดการศึกษาของครอบครัวทีฐ่ านะไม่ค่อยดี
294
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

หน่วยงานกลาง-ชุมชน
- ปญั หาหลักสูตรยังไม่สอดคล้องกับสภาพพืน้ ทีข่ องชุมชน
- ระบบการประเมินผลของหน่ วยงานกลางด้วยคะแนนสอบ จะจากัดบทบาทของชุมชน
หรือไม่ได้ถ่ายทอดความรูท้ ม่ี ลี กั ษณะเชิงวิชาการ
- ความเป็ นเอกเทศของผูน้ าท้องถิน่ ในการใช้อานาจปรับปรุงหลักสูตร การเรียนการสอน
ทีไ่ ด้จากหน่วยงานกลางมากน้อยแค่ไหน
หน่วยงานกลาง-ครู
ส าหรับหน่ ว ยงานภายในกระทรวงศึกษาธิการที่ดาเนินการพัฒนาครู ประกอบด้ว ย (1)
หน่ วยงานที่ดูแลและพัฒนาครูเพื่อการสอบใบประกอบวิชาชีพ (2) หน่ วยงานที่ดูแลและพัฒนาครู
เพื่อพัฒนาความรูท้ ่ใี ช้ในการเรียนการสอน และ (3) หน่ วยงานที่ดูแลและพัฒนาครูเพื่อการเลื่อน
ระดับวิทยฐานะ รายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 31: หน่ วยงานภายในกระทรวงศึกษาธิ การที่ดาเนิ นการพัฒนาครู


ประเภท หน่ วยงานภายในกระทรวง
หน่ วยงานที่ดูแลและพัฒนาครูเพื่อการ - สานัก งานคณะกรรมการข้า ราชการครู แ ละบุ ค ลากร (ก.ค.ศ.)
สอบใบประกอบวิชาชีพ หน้ า ที่ใ นการพัฒนาครูเพื่อ เตรียมเข้าสู่ต าแหน่ ง การพัฒนาครู
บรรจุใหม่
- สถาบัน พัฒ นาครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึก ษา (สคบศ.) เป็ น
หน่ วยงานกลางในการประสานงานการพัฒนาครู คณาจารย์ และ
บุคลากรทางการศึกษา
- สานักงานเลขาธิการคุรุสภา หน้าทีพ่ ฒ ั นาครูในการควบคุม กากับ
ออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ มาตรฐานวิชาชีพ
- สานักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา (สกสค.) พัฒนาครูสวัสดิการครู
หน่ ว ยงานที่ ดู แ ลและพั ฒ นาครู เ พื่ อ - หน่ ว ยงานต้ น สัง กัด ประกอบด้ว ย ส านั ก งานคณะกรรมการ
พัฒนาความรูท้ ใ่ี ช้ในการเรียนการสอน การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) สานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา
(สอศ.) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สานักงาน
งานบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สานัก
บริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน
หน่ วยงานที่ดูแลและพัฒนาครูเพื่อการ - สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
เลื่อนระดับวิทยฐานะ
ที่มา: “นโยบายด้านครู ” ในการประชุ มสัมมนาทางวิช าการระหว่างประเทศ ประจาปี 2556 ของสานักงาน
เลขาธิการสภาการศึกษา เรื่อง “การศึกษาเพื่ออนาคตประเทศไทย” วันที่ 23-24 มิถุนายน 2556
295
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ปญั หาของครูทเ่ี กิดขึน้ จากหน่ วยงานกลางของกระทรวงศึกษาธิการกาหนดแนวนโยบายมา


ซึง่ ครูในฐานะผูป้ ฏิบตั งิ านตรงสนองแนวนโยบายมาอีกทางหนึ่ง โดยมีประเด็นปญั หาสาคัญ ได้แก่
ปญั หาระบบการผลิตครู ปญั หาระบบสวัสดิการครู ปญั หาระบบใช้งานครู ปญั หาระบบการประเมิน
ครู ปญั หาหลักสูตรแกนกลาง มีรายละเอียดดังนี้
ตารางที่ 32: ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับครู
ประเด็นปัญหา ปัญหาย่อย
- ปญั หาระบบการผลิตครู - ปญั หาจานวนครูท่ตี ้องการไม่เพียงพอในบางสาขา เช่น สายวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ ภาษา เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) และสายอาชีวศึกษา
- ปญั หาคณาจารย์ทอ่ี ยู่ในระบบการผลิตบัณฑิตยังขาดความหลากหลาย ขาด
มุมมองใหม่ และนานาชาติ
- ปญั หาการผลิต ครูแบบรูป แบบเดิม เน้ น ครูสอนท่ อ งจ า ไม่ ได้สร้างครูนัก
ประเมิน นักถ่ายทอด นักสร้างแรงบันดาลใจ
- ปญั หาขาดแคลนครูทม่ี คี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์
- ปญั หาการขาดแคลนครูในสาระวิชาหลักและสาระวิชาใหม่ๆ เช่น ภาษา
อาเซียน เป็ นต้น ดังนัน้ เวลาพูดถึงเรื่องการขาดแคลนครู ควรแบ่งตามกลุ่ม
สาระวิชาให้ชดั เจน (Teacher Education Cluster) เพราะแต่ละกลุ่มมีปญั หา
ทีต่ ่างกัน
 ครูสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (S&T) ทีจ่ บ ป.ตรีคณะครุศาสตร์
อาจไม่มคี วามรูค้ วามสามารถเฉพาะทางพอ ควรจะหาบุคลากรทีจ่ บตรี
มาทาง S&T มาโดยตรงและให้เรียนต่อโทด้านการศึกษา (โครงการของ
สสวท.)
 ควรมีการคาดการณ์ว่าต้องการครูในสาขาใด โดยเฉพาะในกลุ่มสาระที่
ขาดแคลน เพื่อเป็ นการส่งสัญญาณ ให้กบั มหาวิทยาลัย ทาให้นโยบาย
การผลิต ครูเ ป็ น เอกภาพมากขึ้ น ผ่ า นการเชื่อ มโยงระหว่ า งอุ ป ทาน
(Supply) และอุปสงค์ (Demand)
- ปญั หาการผลิตครูไม่สอดคล้องกับความต้องการของผูใ้ ช้ เช่น พลศึกษา สุข
ศึกษา ปฐมวัย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ทวไป ั ่ เป็ นต้น ปญั หามาจาก
สถานการศึกษามักจะผลิตครูจากความพร้อม มากกว่าความต้องการของ
สาขาหรือทิศทางของประเทศ

- ปญหาระบบสวัสดิการ - ปญั หาระบบค่าตอบแทนครู ค่าตอบแทนครูเริม่ ต้นน้อย ไม่เพียงพอต่อการ
ครองชีพ
- ปญั หาหนี้สนิ ครู โดยแหล่งเงินกู้ท่สี าคัญ ของครูทวประเทศ
ั่ ได้แก่สหกรณ์
ออมทรัพย์ สินเชื่อโครงการพัฒนาชีวติ ครูฯ ผ่านธนาคารออมสิน สินเชื่อ
โครงการกองทุน และเงินกู้ฌ าปนกิจสงเคราะห์ช่ว ยเพื่อ นครูแ ละบุค ลากร
ทางการศึกษา และแหล่งทีส่ ามารถสร้างหนี้ได้ง่ายทีส่ ดุ อย่างบัตรเครดิต และ
กูย้ มื หนี้นอกระบบ เป็ นต้น (กรมตรวจบัญชีสหกรณ์, 2554 )
296
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 32: ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับครู (ต่อ)


ประเด็นปัญหา ปัญหาย่อย
- ปญั หาระบบใช้งานครู - ปญั หาภาระงานของครูในโรงเรียนทัง้ ในส่วนของงานสอนและงานอื่นจานวน
มาก ซึ่งเป็ นภาระงานที่ส่งผลกระทบต่อการปฏิบตั ิงานของครู ได้แก่ งาน
ธุร การ พัสดุ การเงิน ทะเบีย นนักเรียน งานอนามัย โภชนาการ อาคาร
สถานที่ งานแผน งานประกันคุณภาพ ฯลฯ
- ปญั หาระบบการประเมิน - ปญั หาของระบบการประเมินที่ขาดการอ้างอิงหลักเกณฑ์การประเมินที่อิง
ครู ผลสัม ฤทธิข์ องผู้เ รียน แต่ เน้ นการประเมินวิทยฐานะเชิงประจักษ์เ น้ นแต่
ผลงานทางวิชาการเป็ นหลัก (งานเอกสาร) ปญั หาการประเมินครูเพื่อเลื่อน
ขัน้ (ไม่ได้ประเมินผลการเรียน) และเลื่อนอันดับ (น้ า หนักแค่ร้อยละ 3.3)
เน้นแต่ผลงานทางวิชาการเป็ นหลัก (งานเอกสาร) มีส่วนของการประเมินที่
อ้างอิงหลักเกณฑ์ท่อี งิ ผลสัมฤทธิของผู
์ ้เรียนมีน้ าหนักเพียงเล็กน้อย ไม่ได้
เน้นประเมินวิธกี ารสอน
- ปญั หาการประเมินความก้าวหน้าของครูยงั ไม่ตรงกับสภาพความเป็ นจริง
ตามบริบทของโรงเรียน และภาระหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย
- ปญั หาการประเมินความก้าวหน้าของครูยงั ไม่ตรงกับสภาพความเป็ นจริง
ตามบริบทของโรงเรียน และภารหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย
- ปญั หาหลักสูตรแกนกลาง - ปญั หาหลักสูตรแบบ “ครูเป็ นศูนย์กลาง” ทีใ่ ช้กนั อยู่ในปจั จุบนั เชื่อมโยงกับ
ทีก่ ระทบต่อการจัดการสอน “การสอนเป็ นศูนย์กลาง” ไม่ใช่การเรียนเป็ นศูนย์กลาง
ของครู - ปญั หาขาดการส่งเสริมวิชาชีพอื่น ๆ ผ่านรูปแบบการเรียนการสอนทีต่ ่างกัน
ไปตามแต่ละวิชาและสถานการณ์ เพื่อให้เกิดความสามารถในการดารงชีวติ
และเลี้ยงชีพ ได้ นอกเหนื อ จากการมีค วามรู้เ ชิง วิชาการ (ไม่ ว่ าผู้สอนจะ
สามารถหยัง่ ถึง ความเป็ น ไปได้ใ นการศึก ษาต่ อ ในอนาคตของผู้เ รีย นได้
หรือไม่กต็ าม)
ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

297
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

จากการทบทวนสภาพแวดล้อมการเรียนรูท้ งั ้ หมด พบว่า ครู มีบทบาทสูงมากต่อพัฒนาการ


เรีย นรู้ข องผู้เ รีย นและคุ ณ ภาพการศึก ษา ดัง นั น้ ในการพัฒ นาการศึก ษาของไทยจึง ต้ อ งให้
ความส าคัญ การสร้างเสริมศัก ยภาพครูเ ป็ นอัน ดับ แรก ๆ ทัง้ นี้ หากกล่ า วถึง บทบาทของครูใ น
ศตวรรษที่ 21 แล้วนับว่ายิง่ มีบทบาทสูงขึน้ มากทวีคณ ู เนื่องจากบทบาทครูท่เี ปลีย่ นไปจากเดิม
อย่างไรก็ตามหากพิจารณาจากข้อมูลเกี่ยวข้องกับเรื่องครูในปจั จุบนั นอกจากจะมีประเด็น
ปญั หาในเชิงความสัมพันธ์ ทัง้ ระหว่างครู-ผู้เรียน และระหว่างหน่ ว ยงานกลาง-ครูแล้ว ในเรื่องที่
เกี่ยวข้องกับครูยงั มีประเด็นที่ต้องให้ความสาคัญเป็ นอย่างมาก ได้แก่ เรื่องการเกษียณอายุครู และ
เรือ่ งระบบการผลิตครู

การเกษี ยณอายุครู

ในปจั จุบนั ประเทศไทยมีกาลังคนภาครัฐในฝ่ายพลเรือนจานวนประมาณ 2.22 ล้านคน โดย


เป็ นข้าราชการประจา 1.25 ล้านคน จากจานวนดังกล่ าวนัน้ เกือบครึ่งหนึ่งปฏิบตั ิงานในด้าน
การศึกษา (515,730 คน) โดยร้อยละ 34.75 (435,329 คน) เป็ นข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา (สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, 2555) และเมื่อพิจารณาองค์ประกอบของ
ข้าราชการในฝ่ายพลเรือนของประเทศไทย ไม่ว่าจะจาแนกตามประเภทข้าราชการหรือตามส่วน
ราชการ จะพบว่าบุคคลกรในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการศึกษานัน้ มีสดั ส่วนมากกว่าบุคลากรด้านอื่น ๆ

298
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 93: สัดส่วนข้าราชการในฝ่ ายพลเรือนของประเทศไทย จาแนกตามประเภทข้าราชการ

อบจ. 0.69%
องค์กรอิ สระ 1.14% ตุลาการ 0.35%
สถาบันอุดมศึกษา อัยการ 0.26%
2.66%
รัฐสภาสามัญ 0.23%
กทม. 2.85%
อบต. 5.47%
เทศบาล 6.60% ครูและบุคลากร
ตารวจ ทางการศึกษา
16.08% 34.75%
พลเรือนสามัญ
28.94%

ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (2555)

ภาพที่ 94: สัดส่วนข้าราชการในฝ่ ายพลเรือนของประเทศไทย จาแนกตามส่วนราชการ

ก.เกษตรและ ก.การคลัง 2.38%


สหกรณ์ 2.76% ก.ยุติธรรม 1.36%
ก.คมนาคม 1.12%
กทม. 2.85%
อื่นๆ 6.85%
ก.มหาดไทย 3.19% ก.ศึกษาธิ การ
อบต. 5.47% 37.52%
เทศบาล 6.60%
ก.สาธารณสุข สนง.ตารวจแห่งชาติ
13.83% 16.08%

ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (2555)

299
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

จากจานวนและสัดส่ ว นที่สูงเช่นนี้ การบริหารจัดการครูและบุค ลากรทางการศึกษาจึงมี


ความสาคัญเป็ นอย่างยิง่ โดยเฉพาะในปจั จุบนั ซึง่ มีสญั ญาณของการเกิดรอยต่อครัง้ สาคัญในความ
ต่อเนื่องของการปฏิบตั งิ าน นัน่ คือ เมื่อพิจารณาจากโครงสร้างอายุขา้ ราชการครู พบว่ามีสดั ส่วนอยู่
ในช่วงอายุ 50-60 ปี สูงถึงประมาณร้อยละ 40 ซึง่ มากกว่าอาชีพอื่น ๆ ในประเทศไทย (วรากรณ์
สามโกเศศ, 2556 และ ปญั ญาสมาพันธ์เพื่อการวิจยั ความเห็นสาธารณะแห่งประเทศ, 2556) เป็ น
ตัวชี้วดั ว่าในอีก 5-10 ปี ขา้ งหน้า จะมีครูเกษียณอายุราชการเป็ นจานวนมาก และอาจส่งผลให้เกิด
ปญั หาการขาดแคลนบุคลากรครูได้

ภาพที่ 95: ช่ วงอายุของข้าราชการพลเรือ นสามัญ ทัง้ หมดและข้ าราชการพลเรือนสามัญในสังกัด


กระทรวงศึกษาธิ การ

ข้าราชการพลเรือนสามัญทัง้ หมด

ข้าราชการพลเรือนสามัญในสังกัดกระทรวงศึกษาธิ การ

ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

300
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

จากการคาดการณ์ พบว่าจานวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทีจ่ ะเกษียณอายุ


ราชการในปี งบประมาณ 2556-2560 มีจานวนทัง้ สิน้ ประมาณ 97,254 คน แบ่งออกเป็ น ปี 2556
จานวน 10,932 คน ปี 2557 จานวน 15,541 คน ปี 2558 จานวน 20,661 คน ปี 2559 จานวน
24,689 คน และปี 2560 จานวน 25,431 คน (สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา, 2555) นอกจากนี้ ตามมติคณะกรรมการกาหนดเป้าหมายและนโยบายกาลังคน
ภาครัฐ (คปร.) ได้กาหนดให้มกี ารคืนอัตราเกษียณอายุราชการให้กระทรวงศึกษาธิการเต็มจานวน
ั้
ร้อยละ 100 จนถึงปี 2556 เท่านัน้ และหลังจากนันจะเหลืออัตราคืนให้เพียงร้อยละ 20 ของอัตรา
เกษียณในแต่ละปี โดยเมื่อพิจารณาตัง้ แต่ปี 2557-2560 แล้ว จะได้อตั ราเกษียณคืนมาประมาณ
20,000 อัตราเท่านัน้

ระบบการผลิ ตครู

สาหรับในด้านการผลิต บุคลากรทางการศึกษา จากการสารวจจานวนผูเ้ รียนในสถาบันผลิต


ครู จากมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยเปิ ด มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคล มหาวิทยาลัยเอกชน สถาบันการพลศึกษา และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พบว่า มีผเู้ รียนทีจ่ ะ
สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2556-2560 ดังนี้ ปีการศึกษา 2556 จานวน 29,844 คน ปีการศึกษา
2557 จานวน 40,437 คน ปีการศึกษา 2558 จานวน 56,382 คน ปีการศึกษา 2559 จานวน 71,530
คน และปีการศึกษา 2560 จานวน 61,329 คน รวมทัง้ สิน้ จนถึงปีการศึกษา 2560 หรือในอีก 5 ปี จะ
มีผู้สาเร็จการศึกษารวมทัง้ สิ้น 259,522 คน (สภาคณบดีคณะครุศาสตร์ศกึ ษาศาสตร์แห่งประเทศ
ไทย, 2556)

ตารางที่ 33: จานวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ จะเกษี ยณอายุราชการ และจานวนผู้ที่จะ


สาเร็จการศึกษาจากสถาบันผลิ ตครู

ปี จานวนข้าราชการครูและ จานวนผูท้ ี่จะสาเร็จ


บุคลากรทางการศึกษาที่ การศึกษา
จะเกษี ยณอายุราชการ จากสถาบันผลิ ตครู
2556 10,932 29,844
2557 15,541 40,437
2558 20,661 56,382
2559 24,689 71,530
2560 25,431 61,329
รวม 97,254 259,522

301
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สถานการณ์ ด งั กล่ าวเป็ นการแสดงให้เห็นถึง ปญั หาความไม่ส อดคล้อ งของการวางแผน


กาลังคนทางการศึกษา ส่งผลให้เกิดปญั หาการขาดแคลนบุคลากร ทัง้ ๆ ทีส่ ถาบันฝ่ายผลิตครูก็ม ี
การผลิตบัณฑิตออกมาเป็ นจานวนมาก ซึง่ ควรศึกษาเชิงลึกการวางแผนการเปลีย่ นผ่าน นอกจากนี้
สิง่ ที่ควรต้องมีการดาเนินการอย่างเร่งด่วนควบคู่กนั ไปกับการวางแผนกาลังคนทางการศึกษาก็คอื
การเสริมสร้างคุณภาพครู ตลอดจนการผลักดันการผลิตและกระจายคู่มอื ครูทไ่ี ด้มาตรฐานให้ทวถึั่ ง

ข้อจากัด ปัญหาและอุปสรรคทีส่ ่งผลต่อการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ของ


ไทยในปัจจุบนั
ข้อจากัด ปญั หาและอุปสรรคทีส่ ่งผลต่อการเรียนรูจ้ ากสภาพแวดล้อมการเรียนรูข้ องไทยใน
ปจั จุบนั สามารถแบ่งกลุ่มของปญั หาโดยเกณฑ์ของรากเหง้าของปญั หา ได้ 3 กลุ่มปญั หา คือ ปญั หา
เชิงโครงสร้าง (Structure) ปญั หาเชิงพฤติกรรมและปจั จัยพื้นฐานของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
(Conduct) และปญั หาเชิงวัฒนธรรม (Culture)
1) ปญั หาเชิงโครงสร้าง (Structure) ประกอบด้วย กฎระเบียบ ข้อบังคับ ระบบ โครงสร้าง
ต่าง ๆ ที่มผี ลต่อการทางานของระบบนิเวศน์ เช่น ระบบประเมิน ระบบการจัดสรร
ทรัพยากร ระบบการพัฒนาบุคลากร ระบบการมีส่วนร่วมจัดการศึกษา เป็นต้น
ผลการศึกษาสรุปได้ดงั นี้
 ระบบการประเมิน : มีข้อ จ ากัด เนื่ อ งจาก การประเมินครูและโรงเรีย นไม่ไ ด้
เชื่อมโยงกับผลสัมฤทธิ ์ของผู้เรียน นอกจากนี้ การประเมินไม่ส อดคล้องกับ
ความแตกต่างและความต้องการของนักเรียน โรงเรียนและพืน้ ที่
 ระบบการมีส่วนร่วมจัดการศึกษาของภาคส่วนอืน่ : หลักสูตรและรูปแบบการ
เรียนการสอนไม่สอดคล้องกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทัง้ ในและต่างประเทศ
หลักสูตรและรูปแบบการเรียนการสอนไม่ตอบสนองกับความต้องการและความ
ต้องการของตลาด ผู้เรียน สถานศึกษาและชุมชน นอกจากนี้หน่ วยงานกลาง
ขาดกลไกทีช่ ดั เจนในการเปิดโอกาสให้ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียของระบบการศึกษามี
ส่วนร่วมในการกาหนดหลักสูตร แนวทางการสอน รวมทัง้ การบริหารจัดการ
ทรัพยากร (ความพร้อมของภาคส่วนต่าง ๆ ความเข้าใจในการบริหารและการมี
ส่วนร่วมยังไม่ชดั เจน
 การจัดสรรทรัพยากรไม่ตรงตามความต้องการและไม่มปี ระสิทธิภาพ: โดย
ประเด็นปญั หาที่พบในส่วนนี้ได้แก่ ปญั หากลไกการจัดสรรงบประมาณ (เช่น
การจัดสรรงบประมาณแบบอุดหนุ นรายหัว) ปญั หาปริมาณและคุณภาพของ

302
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทรัพ ยากรที่จ ดั สรรให้ป ญั หาการใช้ท รัพ ยากรที่ไ ด้ร ับ การจัด สรรมาให้เ กิด
ประโยชน์ต่อผูเ้ รียน (ครู สถานศึกษา) เป็นต้น
2) ป ญั หาเชิง พฤติก รรมและป จั จัย พื้น ฐานของสภาพแวดล้ อ มการเรีย นรู้ (Conduct)
ประกอบด้วย แนวทางการปฏิบตั งิ านของครู ความสามารถในการถ่ายทอดความรูแ้ ละ
ทักษะของครู ความแตกต่างของผูเ้ รียน เป็นต้น
3) ปญั หาเชิงวัฒนธรรม (Culture) ประกอบด้วย ความเชื่อ (Belief) อุดมการณ์ของตัว
แสดงในระบบนิเวศน์ (Ideology) ระบบค่านิยม (Value System) และบรรทัดฐานของ
สังคม (Social Norm) เช่น วัฒนธรรมขององค์กรทางการศึกษา วัฒนธรรมของแต่ละ
ครอบครัว วัฒนธรรมของสังคมที่ขดั ต่อการเรียนรู้ เป็ นต้น โดยปญั หาเชิงวัฒนธรรมที่
กระทบต่อเรือ่ งการศึกษา เช่น
- ค่านิยมของครอบครัวที่ข ดั ขวางการเรียนรู้ของผู้เรียน (การเลี้ยงดูแบบไข่ในหิน
การเลีย้ งดูแบบตัดหางปล่อยวัด)
- ทัศนคติของครูบางส่วนทีข่ ดั ขวางต่อการเรียนรูข้ องเด็ก (การวัดความเป็ นนักเรียนดี
หรือไม่ดี ความไม่เข้าใจความแตกต่างของนักเรียนใจไม่เปิดรับความคิดเห็น)
- แนวคิดบริหารงานแบบรวมศูนย์ของหน่วยงานกลาง
- แนวความคิดเรือ่ งตัววัดเกีย่ วกับการประเมินทีอ่ าจละเลยความแตกต่างหลากหลาย
ของพืน้ ที่ และผูเ้ รียน
- ศักยภาพและความสามารถของครูต่อการถ่ายทอดความรูท้ างวิชาการและค่านิยม

กลุ่ มของปญั หาทัง้ 3 มิติ ซึ่งประกอบไปด้ว ยโครงสร้างพฤติกรรมและวัฒนธรรมเป็ น


องค์ประกอบที่มคี วามสัมพันธ์ซ่งึ กันและกันซึ่งเมื่อเกิดปญั หาขึน้ ในแต่ละมิตจิ ะส่งผลกระทบต่อกัน
และกัน

303
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ค. การเตรียมความพร้อมสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ของไทยสู่ศตวรรษที่ 21
เครือ่ งมือในการเตรียมความพร้อมคนไทย คือ การศึกษา แต่จะเป็ นการศึกษาเพื่อเตรียมคน
ไทยในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนทัศน์แบบเดิมทีเ่ น้นเฉพาะวิชาความรูไ้ ม่ได้ เพราะนอกจากการ
มีความรูใ้ นวิชาหลัก (Core Subjects) แล้ว จะต้องเรียนรูใ้ นลักษณะสหวิทยาการ (Interdisciplinary)
และต้องมีความรู้รอบตัวอื่นๆ ด้วย เช่น ทัง้ ความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงระดับโลก (Global
Awareness)การให้ค วามรู้ท างด้า นเศรษฐกิจ การเงิน การประกอบธุ ร กิจ หน้ า ที่พ ลเมือ งโลก
ตลอดจนความรูด้ า้ นสุขภาพ และสิง่ แวดล้อม เป็นต้น
การรูว้ ชิ าเพียงอย่างเดียวในศตวรรษที่ 21 จะไม่เพียงพอ นอกจากนี้หากมองถึงการใช้ชวี ติ
แล้ว ชีวติ คนเราไม่ได้มเี พียงมิตเิ ดียว ดังนัน้ นอกจากการศึกษาควรจะต้องเป็ นกลไกในการสร้าง
เสริมองค์ความรูแ้ ล้ว ยังจะต้องให้ความสาคัญกับเรือ่ งการสร้างเสริมทักษะชีวติ และทักษะอาชีพด้วย
(Life and Career Skills) เช่น ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึง่ ต้องมีทงั ้ ศาสตร์และ
ศิลป์ ทักษะทางสังคม การมองโลกในแง่ด ี การควบคุมอารมณ์ ทาประโยชน์ เพื่อผู้อ่นื มีภาวะผู้นา
รูจ้ กั การให้ ทาดีโดยไม่หวังผลตอบแทน
นอกจากนี้การเรียนรู้ ต้องเรียนกันตลอดชีวติ ดังนัน้ คนไทยในศตวรรษที่ 21 จะต้องมี
ทักษะการเรียนรูแ้ ละสร้างนวัตกรรมใหม่ (Learning and Innovation Skills) มันฝึ
่ กฝน พัฒนาตัวเอง
เรียนให้เกิดทักษะ เรียนโดยการปฏิบตั ิ (Learning by Doing) การคิดวิเคราะห์ เรียนรูว้ ธิ กี าร
แก้ปญั หา มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะในการสื่อสาร และทักษะแห่งความร่วมมือ หรือเรียกง่าย ๆ
ว่า ต้องมี 4C คือ Communication, Collaboration, Creativity และ Critical Thinking และทีข่ าด
ไม่ได้คอื ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills)
เมื่อโลกเปลีย่ น ระบบการศึกษา แนวทางการเรียนรูเ้ ปลีย่ นในศตวรรษที่ 21 ต้อง “ก้าวข้าม
สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะเพื่อการดารงชีวติ ในศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) ดังนัน้
ระบบการศึกษาเรียนรูจ้ งึ จาเป็ นต้องปรับกระบวนทัศน์ ปรับกระบวนการเรียนการสอน โดย
 การขยายความร่วมมือจัดการศึกษา คือ จากเดิม “การจัดการศึกษาเป็ นภาระความ
รับผิดชอบของครู สถานศึกษา หน่ วยงานกลางของการศึกษา” ไปสู่ “การจัดการศึกษา
อย่างมีส่วนร่วมทุกหน่ วยย่อย”ด้วยเหตุทว่ี ่าการเรียนรูข้ ยายขอบเขตการเรียนรู้ ได้ก้าว
ข้ามสาระวิชา ไปสู่การเรียนรู้ ทักษะเพื่อการดารงชีวติ ในศตวรรษที่ 21 เกิดการเรียนรู้
นอกห้องเรียนมากยิง่ ขึน้
 การเปลีย่ นกระบวนทัศน์ต่อผู้เรียน คือ จากเดิม “ผูส้ อนเป็ นศูนย์กลาง” ไปสู่ “ผูเ้ รียน
เป็นศูนย์กลางการเรียนรู”้

304
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ดังนัน้ เมื่อบริบทเปลีย่ นแปลงไปบทบาทของตัวแสดงในระบบนิเวศน์จงึ ต้องเปลีย่ นไปด้วย


ตัวอย่างเช่น
1) บทบาทของครูในศตวรรษที ่ 21 ต่อผูเ้ รียน
ตัวแสดงหลักอย่าง“ครู” เป็ นปจั จัยสาคัญของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จึงจาเป็ นต้อง
ปรับเปลีย่ นเพื่อให้สอดคล้องต่อการเตรียมคนในศตวรรษที่ 21 ซึง่ ครูจะต้องปรับเปลีย่ นบทบาทดังนี้
 บทบาทของครูต่อการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเปลีย่ นจาก “ครูสอน” (Teacher) เป็ น“ครู
ฝึก” (Coach) หรือ “ครูผอู้ านวยความสะดวกในการเรียนรู้” (Learning Facilitator) หรือ
“ครูประเมิน” (Evaluator) กล่าวคือ จากครูท่เี คยเป็ นศูนย์กลางในการสอน ทาหน้าทีใ่ น
การป้อนข้อมูล อาจกลายเป็ นการปิ ดกัน้ การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ในท่ามกลาง
การเปลีย่ นแปลงให้เกิดการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ครูจงึ ต้องปรับเปลีย่ นบทบาทจาก
ครูผสู้ อน ทีท่ าหน้าทีเ่ ป็น “ผูร้ ”ู้ เป็นบทบาท ดังนี้
- ครูผู้ฝึก (Coach) กล่าวคือ บทบาทหน้าที่ของครูต่อการฝึกให้ผเู้ รียนคิด ตัง้ คาถาม
และแก้ปญั หา รวมทัง้ ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์และการแบ่งปนั ความคิดความรูแ้ ละ
การแสดงออกระหว่างผูเ้ รียน ผ่านหลักสูตรการเรียนการสอน
- ครูผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ (Learning Facilitator) กล่าวคือ บทบาท
หน้าทีข่ องครูต่อการสร้างสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน ในผูเ้ รียนเกิดความสนใจ
ใฝ่หาความรูน้ อกห้องเรียน รวมทัง้ การถ่ายทอดทัศนคติต่อการเรียนการศึกษาของ
ผูส้ อนสู่ผเู้ รียนโดยช่วยสร้างแรงบันดาลใจในการศึกษาให้กบั ผูเ้ รียน
- ครูผปู้ ระเมิน (Evaluator) กล่าวคือ บทบาทหน้าทีข่ องครู ประเมินผลการศึกษาของ
ผูเ้ รียน ผ่านแบบฝึกหัด ตัง้ แต่การทา SWOT Analysis ของกลุ่มนักเรียนในชัน้ ของ
ตน เพื่อให้ครูทราบพืน้ ฐาน
อย่างไรก็ตาม การปรับเปลีย่ นบทบาทดังกล่าวอาจจะเป็ นการฝื นใจครูอยู่บา้ ง อาจ
เกิดความไม่คุ้นเคยกับการรับหน้าที่ใหม่น้ี หากไม่ระวังจะคล้ายว่าเป็ นการลดบทบาท
หรือให้ความสาคัญครูน้อยลงไป โดยแท้จริงแล้ว หากเป็ นการท้าทายมากยิง่ ขึน้ โดยทา
หน้าทีค่ ล้ายเป็น “ผูจ้ ดั การเรียนรู”้ ของนักเรียน
 บทบาทของครูต่อสภาพแวดล้อมของระบบการศึกษา เปลีย่ นจาก “ครูจากห้องสีเ่ หลีย่ ม”
เป็ น “ครูจากสภาพแวดล้อม” กล่าวคือ เนื่องจากขอบเขตการเรียนในศตวรรษสามารถ
เรียนรูไ้ ด้ตลอดเวลา ไม่จากัดสถานที่ เวลา และบุคคล ดังนัน้ ทุกสิง่ ทุกอย่างสามารถ
เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาได้ เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน (สร้างเสริมและถ่ายทอด

305
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ความรู้ภูมปิ ญั ญา ท้อ งถิ่น รวมทัง้ ความรู้นอกห้อ งเรียนอื่น ๆ สู่ผู้เ รียน) นักธุ รกิจ ที่
ประสบความสาคัญ เป็นต้น
 บทบาทของครูต่อการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างครู เปลีย่ นจาก “ครูคนเดียว”
เป็ น “การรวมตัวกันของครูประจาการ” (Professional Learning Communities: PLC)
กล่าวคือ การทาหน้าที่ครูแบบตัวใครตัวมันไม่รวมตัวกันออกแบบการเรียนรูข้ องศิษย์
เรียนรูจ้ ากการทาโครงการเป็ นทีมเพื่อ แลกเปลีย่ นเรียนรูป้ ระสบการณ์การทาหน้าที่ครู
เช่ น มูล นิ ธ ิส ดศรี-สฤษดิว์ งศ์ (มสส.) ก าลัง จะจัด การรวมตัว กัน ของครูป ระจ าการ
(Professional Learning Communities: PLC) ไทย เรียกว่าโครงการสร้างชุมชนการ
เรีย นรู้ค รู เ พื่อ ศิ ษ ย์ (ชร.คศ.) หรือ ในภาษาการจัด การองค์ ค วามรู้ (Knowledge
management หรือ KM) เรียกว่าชุมชนนักปฏิบตั กิ บั การจัดการความรู้ (Community of
Practice: CoP)
 บทบาทของครูต่ อ วิธ ีจ ดั การเรีย น การสอนจาก “ครูเ น้ น สอนแบบท่ อ งจา”หรือ “ครู
ถ่ายทอดสาระหรือเนื้อความรู้” เป็ น “ครูเน้นการเรียนรูแ้ บบลงมือปฏิบตั ิ” (Learning by
Doing) กล่ า วคือ จากครูท่ีเ คยอ่ า นหน้ า ชัน้ เรีย น อ่ า นตามต ารา เอกสารประกอบ
รายวิช า ให้นัก เรีย นเรียนรู้จ ากการเรียนแบบลงมือ ทา แล้ว การเรียนรู้ก็จ ะเกิด จาก
ภายในใจและสมองของตนเอง
- การเรียนรูแ้ บบโครงงาน (Project-Based Learning: PBL) ซึง่ เป็ นการเน้นเรียนรู้
จากสัมผัส ตรงของตนเอง ไม่ใ ช่ร บั การถ่ ายทอดความรู้ม ือ สองมาจากครู โดยมี
เป้าหมายสาคัญคือ การเรียนรูแ้ บบทีเ่ กิดการพัฒนาและสังสมทั
่ กษะขึน้ ในภายในตัว
ของผูเ้ รียน ไม่ใช่ความรูเ้ พียงท่องจา

306
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 34: บทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 ต่อผูเ้ รียน


บทบาทของครู
ครูในศตวรรษที่ 20 ครูในศตวรรษที่ 21
1. บทบาทของครูต่อการจัดการศึกษาให้ผเู้ รียน
- ครูสอน (Teacher) - ครูฝึก (Coach) เพื่อให้ผเู้ รียนตัง้ คาถาม ฝึกสร้าง
แรงบันดาลใจ
- ครูผอู้ านวยความสะดวกในการเรียนรู้ (Learning
Facilitator) เพื่อสภาพแวดล้อมให้เอือ้ ต่อการเรียนรู้
- ครูประเมิน(Evaluator) เพื่อประเมินพัฒนาการและ
ความก้าวหน้าของผูร้ ยี น
2. บทบาทของครูต่อสภาพแวดล้อมของระบบการศึกษา
- ครูจากห้องสีเ่ หลีย่ ม (ครูและตาราหนังสือ) - ครูจากสภาพแวดล้อมระบบการศึกษา(ปราชญ์
ชาวบ้าน ผูป้ ระกอบการ เทคโนโลยี เป็ นต้น)
3. บทบาทของครูต่อการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างครู
- ครูคนเดียว - การรวมตัวกันของครูประจาการ (Professional
Learning Communities: PLC)
4. บทบาทของครูต่อวิธจี ดั การเรียน การสอน
- ครูเน้นสอนแบบท่องจา - ครูเน้นการเรียนรูแ้ บบลงมือปฏิบตั ิ (Learning by
- ครูถ่ายทอดสาระหรือเนื้อความรู้ Doing)
ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

2) บทบาทของครอบครัวต่อผูเ้ รียน
- แหล่งกระตุน้ และส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผูเ้ รียน
- หล่อหลอมค่านิยมทางการเรียนการศึกษาลาดับแรก (ให้ใฝร่ ใู้ ฝเ่ รียน)
- แหล่งสนับสนุนด้านเงินทุนการศึกษาเบือ้ งต้นทีส่ าคัญ
- เป็นตัวกลางประสานและถ่ายทอดความร่วมมือระหว่างผูเ้ รียนกับตัวแสดงอื่น ๆ
- สอดส่องดูแลพฤติกรรม
- ส่งเสริมแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อในระดับสูง

307
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3) บทบาทของสถานศึกษาต่อผูเ้ รียน
- สร้างและรักษากรอบค่านิยมทางสังคมต่อระบบการศึกษาเพื่อถ่ายทอดสู่ผเู้ รียน
- จัดสรรและแบ่งปนั ทรัพยากรทีไ่ ด้จากหน่ วยงานกลางทัง้ ด้านการเงิน เครื่องมือและ
อุปกรณ์ในการเรียน รวมทัง้ เทคโนโลยีท่สี าคัญ เพื่อสร้างสิง่ แวดล้อมและการเรียน
การสอนที่สร้างการเรียนรูแ้ ละการพัฒนาสติปญั ญาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน
ในหลายมิติ
- นาหลักสูตรการศึกษามาปรับเปลีย่ นเป็ นรูปแบบการเรียนการสอนทีเ่ ฉพาะตัว เพื่อ
ส่งเสริมการพัฒนาสติปญั ญา และความคิดสร้างสรรค์ของผูเ้ รียน

4) เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษาในศตวรรษที ่ 21
ความสาคัญและแนวทางการใช้เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษาของไทย
โลกได้กา้ วข้ามสู่ศตวรรษที่ 21 ทีม่ าพร้อมกับการเปลีย่ นแปลงหลากหลายในทุก ๆ ด้านของ
การดารงชีวติ กระแสการเปลีย่ นแปลงนี้ส่งผลให้บริบทของการสร้างคนของแต่ละประเทศเปลีย่ นไป
กระแสการเปลีย่ นแปลงโลกได้ส่งผลกระทบทัง้ ทางสังคม เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และการเมืองของ
ทุกประเทศ สาหรับประเทศไทยเอง การก้าวข้ามสู่ศตวรรษที่ 21 ได้นามาทัง้ โอกาส และความเสีย่ ง
ในมิตติ ่างๆทีเ่ กิดจากแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงเฉพาะ เช่น การรวมกันเป็ นประชาคมอาเซียน การมี
บทบาทในเศรษฐกิจโลกที่มากขึ้นของเอเซียการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรวมกลุ่มของภาค
ประชาสัง คม ความเป็ นปจั เจกชนที่สูงขึ้นของคนไทย สภาวะสัง คมที่อุ ดมไปด้ว ยข้อมูล ข่าวสาร
ผลกระทบทีช่ ดั เจนขึน้ ของภาวะอากาศเปลีย่ นแปลง และความล้าหน้าของเทคโนโลยีทอ่ี าจทาให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ได้ (Disruptive Technology) เหล่านี้ล้วนเป็ นความท้าทายที่คนใน
ศตวรรษที่ 20 ไม่เคยพบ ดังนัน้ การจัดการศึกษาแบบเดิม จาเป็ นต้องถูกปรับเปลี่ยนให้สามารถ
ตอบสนองกับความท้าทายใหม่เหล่านี้ให้ได้
ในสถานการณ์ ปจั จุบนั เทคโนโลยีเ พื่อการศึกษามีค วามก้าวหน้ าสูง และการประยุกต์ใ ช้
เทคโนโลยีเพื่อเพิม่ ผลสัมฤทธิ ์ของผู้เรียนสามารถสังเกตได้ทวโลกรวมทั
ั่ ง้ ประเทศไทยเอง เรื่องราว
ความสาเร็จของการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาสามารถพบได้ทงั ้ ในประเทศทีม่ รี ะดับการพัฒนาสูง
เช่น สหรัฐอเมริก าและอังกฤษ และประเทศที่ก าลังพัฒนา เช่น อินเดีย และบราซิล แต่ การใช้
เทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการและการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิม่ ผลสัมฤทธิ ์ของผูเ้ รียนในประเทศไทย
ยังมีอ ยู่อ ย่า งจากัด ดังนัน้ ความท้าทายของผู้ว างนโยบายไทยคื อ การทาให้เ ทคโนโลยีท่มี อี ยู่ใ น
ปจั จุบนั ถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลกับจุดวิกฤติต่าง ๆ ของระบบการศึกษาไทย
ทีผ่ ่านมาการศึกษาไทยยังมีขอ้ จากัดในการตอบสนองโจทย์ของศตวรรษที่ 21 ดังทีไ่ ด้เห็น
จากประสิทธิผลของผูเ้ รียน เช่น การทีค่ ะแนน PISA ของนักเรียนไทยมีคะแนนต่ ากว่าค่ามาตรฐาน
308
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การสอบ PISA เป็ นการวัดผลเชิงความเข้าใจในหัวข้อคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการอ่านของ


เยาวชนอายุ 15 ปีซง่ึ จัดโดย OECD นอกจากนี้คะแนนของไทยยังต่ าเฉลีย่ ประเทศ OECD ในทุก ๆ
สาขาวิชา (OECD, 2009) และคะแนนเฉลีย่ ของประเทศไทยยังมีแนวโน้มต่ าลงจากผลการทดสอบ
ครัง้ ก่อน (OECD, 2000) เมือ่ เทียบกับหลายประเทศรอบข้างกลับมีคะแนนทีด่ ขี น้ึ
ค่าชีว้ ดั อื่นๆหลายตัวทีแ่ สดงถึงองค์ประกอบของการศึกษาก็อยู่ในสภาวะทีน่ ่ าเป็ นห่วง เช่น
การที่อตั ราการเข้าเรียนประถมของเยาวชนไทยมีแนวโน้มที่ต่ าลง (2006: ร้อยละ 93.6, 2007:
ร้อยละ 92.2, 2008: ร้อยละ 90.7, 2009: ร้อยละ 89.7, The World Bank) ในขณะทีป่ ระเทศ
เทียบเคียงอย่างเวียดนามกลับมีอตั ราทีด่ ขี น้ึ (2006: ร้อยละ 93.4, 2008: ร้อยละ 98.8, 2009:
ร้อยละ 98.5, 2010: ร้อยละ 98.0, 2011: ร้อยละ 99.3, The World Bank) เยาวชนเหล่านี้เป็ นผูท้ ไ่ี ม่
มีแม้โอกาสที่จะได้เป็ นสถิตขิ องผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษาของประเทศ จากแนวโน้ มโดยรวมระบบ
การศึกษาไทยอาจอยูใ่ นจุดวิกฤติ และจะกลายเป็ นข้อจากัดของการพัฒนาประเทศ และการดารงอยู่
อย่างยังยื่ นและภาคภูมขิ องประเทศไทยในศตวรรษที่ 21
ดัง นั น้ ทุ ก ภาคฝ่า ยจึงมุ่งมันในการสร้
่ า งแนวทางการเปลี่ยนแปลง การปฏิรูป การศึกษา
กลายเป็ น ประเด็น ที่ถ กเถีย งในวงกว้ า ง แต่ ส ิ่ง ที่ทุ ก ฝ่ า ยประจัก ษ์ ใ นการปฏิรู ป การศึก ษา คือ
กระบวนการและผลของการเปลี่ยนแปลงยกเครื่อ งระบบการศึกษาจาเป็ นต้องอาศัยเวลาในการ
ดาเนินการ ถึงแม้ว่าแนวทางการปฏิรปู การศึกษาไทยจะถูกกาหนดอย่างชัดเจน และทุกฝ่ายมีความ
ตัง้ ใจในการเปลีย่ นแปลงอย่างแท้จริง ประเทศไทยก็ยงั มิอาจมีการศึกษาทีด่ ถี ้วนหน้าได้ในระยะเวลา
อันสัน้ แต่หากเมื่อพิจารณาถึงสภาวการณ์ของการศึกษาไทยโดยละเอียดจะพบว่าถึงแม้ภาพรวม
ของระบบจะมีความสามารถในการสร้างคนสาหรับศตวรรษที่ 21 น้อยกว่าความต้องการของประเทศ
แต่กย็ งั มีหลายจุดของการศึกษาทีม่ ผี ลสัมฤทธิ ์สูง เช่น การทีค่ ะแนน PISA ของเยาวชนในกรุงเทพ
และโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัยมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยของ OECD เป็ นต้น สถานศึกษา
เหล่านี้สามารถตอบโจทย์ของศตวรรษที่ 21 ได้มากกว่าส่วนอื่นของประเทศ เนื่องจากสถานศึกษา
เหล่านี้มคี วามพร้อมเนื่องจากมีทรัพยากรเพียงพอ ดังนัน้ จึงเป็ นเหมือนจุดสว่าง (Bright Spots) ของ
ประเทศ ความท้าทายของไทยในส่วนนี้คอื การทาให้คนส่วนใหญ่ของประเทศสามารถเข้าถึงจุด
สว่างเหล่านี้ให้ได้ ประกอบกับในปจั จุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยมี
ความก้าวหน้าเป็ นอย่างมาก จึงสามารถใช้เป็ นเครื่องมือสาคัญในการเพิม่ การเข้าถึงการศึกษาที่ม ี
คุณภาพของคนไทยได้
ในทางตรงกันข้าม กลุ่มของสถานศึกษาและผูเ้ รียนทีม่ ศี กั ยภาพก็สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อ
ขยายความสามารถของตัวเองให้ทดั เทียมกับประเทศชัน้ นาได้เช่นกัน เทคโนโลยีท่มี ุ่งเน้นการใช้
วิธกี ารเรียนการสอนทีเ่ ข้ากับการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 สามารถและเริม่ มีการประยุกต์ใช้
กับสถานศึกษาในประเทศไทยที่มคี วามพร้อมเพียงพอ หรืออาจใช้เป็ นปจั จัยแห่งการเปลี่ยนผ่าน

309
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

(Transformative Factor) ของสถานศึกษาทีม่ ขี อ้ จากัดทีจ่ ะเป็ นรูปแบบของการผสมผสานการเพิม่


การเข้าถึง และการปรับการเรียนการสอนแบบศตวรรษที่ 21 อย่างควบคู่กนั ไปก็ได้
สาหรับหน่ ว ยการศึกษาระดับนโยบาย การใช้เ ทคโนโลยีจะมีว ตั ถุ ประสงค์ท่ตี ่างออกไป
กล่าวคือ เทคโนโลยีควรถูกใช้ในการช่วยบริหารจัดการ ผ่านการส่งเก็บข้อมูลและเครือข่ายเชื่อมต่อ
เพื่อทีใ่ ห้หน่ วยงานระดับนโยบายมีขอ้ มูลในการบริหารจัดการ ซึง่ ในปจั จุบนั กระบวนวิธ ี และแนวทาง
การเก็บข้อมูลยังคงใช้แบบมือ (Manual) เป็ นหลักซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ
กระบวนการบริหารจัดการต่าง ๆ เช่น การประเมินคุณภาพโรงเรียนอาศัยผู้ประเมินจากส่วนกลาง
ซึง่ มีขอ้ จากัดในเวลา และความเข้าใจท้องถิน่ ผูป้ ระเมินจึงจาเป็ นต้องใช้หลักการจากส่วนกลางเป็ น
หลัก ซึง่ บางครัง้ อาจไม่สะท้อนคุณภาพของสถานศึกษาอย่างครบมิติ ในทางตรงกันข้าม หากมีการ
กระจายการประเมินสู่ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียอื่นๆในท้องถิน่ โดยใช้ผปู้ ระเมินส่วนกลางเป็ นผูอ้ านวยการ
ประเมิน การประเมินจะสามารถทาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ และยังสะท้อนถึงประสิทธิผล ทัง้
ในมุมของหน่ วยงานกลางและความต้องการของท้องถิน่ กระบวนการเหล่านี้จาเป็ นต้องอาศัยความ
ไว้เนื้อเชื่อใจ การกระจายอานาจ และเครือ่ งมือทางเทคโนโลยีเป็ นปจั จัยหลัก

สถานการณ์ด้านการศึกษาไทยและด้านโทรคมนาคมและเทคโนโลยีของไทยใน
ปัจจุบนั
ปจั จุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยมีความก้าวหน้ากว่าก่อนเป็ น
อย่างมาก แต่ระดับการพัฒนาก็ยงั อยู่ในลาดับทีห่ ่างจากประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ ว และประเทศใกล้เคียง
(Peers) หลายประเทศ ดังที่จะสามารถเห็นได้จากการจัดอันดับในดัชนีช้วี ดั นานาชาติ เช่น ในปี
2012 สถาบัน IMD จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันไทยอยู่ทอ่ี นั ดับ 30 จากทีว่ ดั ทัง้ หมด 59
ประเทศ ในขณะที่สงิ คโปร์อยู่ท่อี นั ดับ 4 และมาเลเซียอยู่ท่อี นั ดับ 14 โดยสาเหตุหลักในการจัด
อันดับเนื่องจากระดับการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานด้านเทคโนโลยี (อันดับ 50) และโครงสร้างพืน้ ฐาน
ด้านวิทยาศาสตร์ (อันดับ 40) ของไทยต่ามาก
เมือ่ มองถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโดยตรง การเข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง
ของประชาชนไทยอยู่ท่รี อ้ ยละ 6.23 ซึง่ ต่ ากว่าค่าเฉลีย่ ของโลก และค่าเฉลี่ยของประเทศในเอเซีย
ในขณะทีม่ าเลเซียมีอตั ราการเข้าถึงที่รอ้ ยละ 8.39 โดยการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงของไทย
ยังอยูใ่ นวงจากัด และอยูใ่ นบริเวณเมืองเป็นส่วนใหญ่

310
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 96: อัตราการเข้าถึงอิ นเตอร์เน็ตความเร็วสูง (ต่อประชากร 100 คน)

ทีม่ า: World Bank

โครงสร้างด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ สาร โดยเฉพาะการเข้าถึงอินเตอร์เ น็ ต


ความเร็วสูงเป็ นปจั จัยพืน้ ฐานทีส่ าคัญในของการมีผลสัมฤทธิ ์ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารเพื่อการศึกษา แนวทางการพัฒนาของประเทศไทยในปจั จุบนั ภาครัฐมีความพยายามในการ
ขยายการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประชาชนโดยรวม กระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารได้มกี ารจัดทากรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ
พ.ศ. 2554 - 2563 ของประเทศไทย หรือเรียกโดยย่อว่ากรอบนโยบาย ICT2020 โดยอาจแบ่ง
เนื้อหาสาระการพัฒนาเป็ นสองส่วน คือ การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารของประเทศ และการพัฒนาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในภาคส่วนที่
สาคัญ โดยแนวทางการพัฒนาดังกล่าวจะดาเนินการเพื่อตอบสนองกับความท้าทาย 7 ประการที่
ระบุไว้ในกรอบนโยบาย ซึ่งหนึ่งในความท้าทายคือประเด็นที่จะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารเป็นเครือ่ งมือในการปฏิรปู การศึกษา
แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตามกรอบ
นโยบาย ICT2020 มีเป้าหมายทีจ่ ะเพิม่ อัตราการเข้าถึงของอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงให้ถงึ ร้อยละ 80
ในปี พ.ศ. 2558 และร้อยละ 95 ในปี พ.ศ. 2563 การดาเนินนโยบายด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน ICT
ของไทยเป็นไปด้วยความล่าช้าจากเหตุผลทางภาครัฐ และกรอบกฏหมายทีเ่ กี่ยวข้องทีอ่ าจปรับตาม
ไม่ทนั ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ถึงอย่างไรก็ตาม การดาเนินนโยบายทีส่ าคัญเรื่องอินเตอร์เน็ต
ความเร็วสูงแบบไร้สายผ่านระบบเครือข่าย 3G ได้รบั การดาเนินการแล้ว และโครงการโทรทัศน์
ดิจ ิท ัล ซึ่ง จะเป็ น จุ ด ส าคัญ ของการเปลี่ย นแปลงโครงสร้า งพื้น ฐานที่เ อื้อ ให้เ กิด การเข้า ถึง สื่อ

311
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

อินเตอร์เน็ ต และสื่อ โทรทัศ น์ ค วามละเอียดสูงของไทย สื่อทัง้ สองเป็ นสื่อสาคัญ ที่ใ ช้ส่ งเสริมการ
พัฒนาการศึกษาและพัฒนาประชากรไทยในวงกว้าง
เทคโนโลยีอนิ เตอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G เป็ นเทคโนโลยีทจ่ี ะ
ช่วยลดช่องว่างของการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงของประเทศไทยได้ ในขณะนี้ผใู้ ห้บริการเครือ
เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่หลักทุกรายของประเทศไทยได้กาลังขยายเครือข่ายออกสู่บริ เวณนอก
เมืองมากขึน้ โดยการเปิดให้บริการ 3G ทีค่ วามถี่ 2.1GHz ส่งผลให้ตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่
เติบโตร้อยละ 11.5 โดยรวมในช่วงครึ่งแรกของปี พ.ศ. 2555 (กสทช.) มากกว่าปี พ.ศ. 2554
(กสทช.) ทีม่ กี ารเติบโตเพียงร้อยละ 9.8โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเติบโตนี้มกี ารขยายของการใช้ขอ้ มูล
สูงถึงร้อยละ 42.8 (กสทช.) เทียบกับที่ขยายตัวร้อยละ 30 (กสทช.) ในช่วงเดียวกันของปี พ.ศ.
2554 ในขณะทีก่ ารใช้บริการแบบเสียง (โทรศัพท์) กลับมีแนวโน้มลดลงจากร้อยละ 5.8 (กสทช.) ใน
ปี พ.ศ. 2554 เป็ นร้อยละ 3.9 (กสทช.) ในปี พ.ศ. 2555 ดังนัน้ พฤติกรรมการใช้อนิ เตอร์เน็ตผ่าน
เครือข่าย 3G จะก้าวมาสู่ชวี ติ ประจาวันของประชาชนไทย

ภาพที่ 97: มูลค่าแยกตามประเภทบริการเสียงและข้อมูล


มูลค่า (ล้านบาท)

ทีม่ า: ศูนย์วจิ ยั กสิกรไทย

312
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 98: อัตราการผูใ้ ช้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ (ต่อประชากร 100 คน)

ทีม่ า: World Bank

ดังนัน้ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาไทยจาเป็ นต้องเข้าใจระดับ


การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ลักษณะเฉพาะของโครงสร้าง
ในประเทศ และแนวโน้ มการใช้งานของประชาชน เทคโนโลยีท่จี ะนามาประยุกต์ใช้กบั การศึกษา
จะต้อ งอยู่บนบริบทที่เ หมาะสม ซึ่งทิศ ทางการพัฒนาเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารและ
แนวโน้ มกาลังมุ่งสู่เทคโนโลยีอนิ เตอร์เน็ตความเร็วสูงไร้สายบนเครือข่ายโทรศัพท์มอื ถือ (Mobile
Technology) เป็นหลัก

313
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นโยบายด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ประเทศไทยมีแนวทางการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอยู่หลายโครงการ โดยโครงการที่ม ี
ความเด่นชัดในยุคปจั จุบนั คือ โครงการแท็บเล็ตพีซเี พื่อการศึกษาไทย (One Tablet Per Child:
OTPC) ซึ่ง ด าเนิ น การร่ว มกันระหว่ า งกระทรวงเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร และ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีการนาร่องในการจัดคอมพิวเตอร์แบบพกพาให้นักเรียนชัน้ ปี ท่ี 1 ไป
800,400 เครื่องในปี พ.ศ. 2555 ซึง่ ประเทศไทยเป็ นประเทศแรก ๆ ทีม่ กี ารใช้เครื่องมือชนิดนี้ในวง
กว้าง การใช้งานคอมพิวเตอร์แบบพกพาในปจั จุบนั ยังมีขอ้ จากัดหลายประการ เช่น การขาดเนื้อหา
ทีเ่ หมาะสมและสามารถใช้ความสามารถของเครือ่ งได้เต็มที่ การขาดการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็ว
สูงในบางพื้นที่ ความพร้อมของผู้สอนและหลักสูตรในการประยุกต์ใช้ส่อื ในการเรียนการสอน การ
ขาดเครือ่ งมือสนับสนุนการประยุกต์ใช้ของผูส้ อน และทัศนคติของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียทีย่ งั ไม่แน่ ใจใน
ประสิทธิผลของการใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพาในการเรียนการสอน เป็นต้น
เทคโนโลยีท่มี บี ทบาทในการเรียนการสอนของประเทศไทยอีกชนิดหนึ่ง คือ การใช้ส่ือ
โทรทัศน์ในการให้การศึกษาอยู่อย่างกว้างขวาง ซึง่ การเรียนทางไกลแบบโทรทัศน์มขี อ้ ดีคอื ผูเ้ รียน
สามารถเข้าถึงได้งา่ ย และสื่อโทรทัศน์มคี วามสามารถในการกระจายสูง แต่ส่อื โทรทัศน์มขี อ้ จากัดคือ
เป็ นสื่อทีม่ ลี กั ษณะทางเดียว และการโต้ตอบระหว่างผู้เรียนและผู้สอนนัน้ จากัดซึ่งไม่เอื้อให้กบั การ
เรียนการสอนแบบศตวรรษที่ 21 ถึงอย่างไรก็ตามการใช้ส่อื โทรทัศน์สามารถใช้ร่วมกับสื่ออื่น ๆ เช่น
สื่ออินเตอร์เน็ต ทัง้ นี้เพื่อเพิม่ การโต้ตอบระหว่างผูเ้ รียน และระหว่างผูเ้ รียนและผูส้ อนได้ โครงการที่
ด าเนิ น ผ่ า นมาของการเรีย นทางไกลผ่ า นสื่อ โทรทัศ น์ ใ นประเทศไทยมีก ารให้ ก ารศึก ษาทัง้
ระดับพืน้ ฐาน และระดับอาชีพ/อุดมศึกษา เช่น โครงการสถานีวทิ ยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) ซึง่ ดาเนินการออกอากาศรายการโทรทัศน์เพื่อ
การศึกษาในระบบ (Formal Education) และการศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) โดยการ
ถ่ายทอดสดจากโรงเรียนต้นทางโรงเรียนไกลกังวล สื่อทางไกลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีแนวนโยบายอีกหลายอย่างในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา หลายโครงการกาลังอยู่ในช่วงพัฒนาซึง่ น่ าจะส่งผลกระทบในทางบวก
กับการแก้ปญั หาด้านคุณภาพ และการเข้าถึง เช่น โครงการ Brain Clouding ตามแผนเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการฉบับปจั จุบนั โครงการพัฒนาสื่อ
การเรียนดิจดทัลพร้อมคู่มอื ครูและแบบฝึกทักษะผูเ้ รียน เป็นต้น

314
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ช่ องว่ าง ข้อจากัด ปัญหาอุปสรรคในการดาเนิ นนโยบายด้ านการใช้ เทคโนโลยีเพื่ อ


การศึกษา
การดาเนินนโยบายทีผ่ ่านมามีขอ้ จากัดทีค่ ล้ายกันของแต่ละโครงการ ซึง่ ปญั หาและอุปสรรค
ดัง กล่ าวจะรวมถึง ปญั หาโดยภาพรวมของการพัฒนา และข้อ ท้าทายเฉพาะหน่ ว ยนโยบายด้าน
การศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ และหน่ วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง) โดยประเด็นข้อท้าทายสามารถสรุปได้
ดังนี้
 ความล่าช้าการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโดยรวม
ของประเทศไทยอยูใ่ นเกณฑ์ทช่ี า้ กว่าหลายประเทศทีอ่ ยู่ระดับเดียวกัน โดยปจั จุบนั
ประเทศไทยมีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ต่างกันมาก
ระหว่างเมืองและชนบท ซึ่งปจั จัยนี้เป็ นอุปสรรคต่ อการต่อยอดการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
ถึง อย่ า งไรก็ต าม ระดับ การพัฒ นาของประเทศไทยเรื่อ งการเข้า ถึง โครงข่ า ย
อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงสามารถเกิดขึ้นได้อย่างก้าวกระโดดหากภาครัฐสามารถ
ดาเนินการส่งเสริม และลงทุนด้านโครงข่ายพืน้ ฐานตามกรอบนโยบาย ICT2020 ได้
นอกจากนี้สถานการณ์การเข้าถึงโครงข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงของประชากร
ไทยกาลังมีแนวโน้มทีด่ ขี น้ึ จากการพัฒนาเครือข่าย 3G จากผูป้ ระกอบการเอกชน
ดังนัน้ ประเด็นท้าทายนี้เ ป็ นประเด็น ท้าทายที่ได้ถู กดาเนินการแก้ไ ขอยู่ ซึ่งการ
ตอบสนองความท้าทายในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจึงจาเป็ นที่ต้องมุ่งเน้ น
เรือ่ งการเตรียมความพร้อมของภาคส่วนในระบบการศึกษา
 การมองแยกส่วนของการดาเนินนโยบาย
แนวทางการกาหนดนโยบายการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษายังขาดการกาหนด
เป้าประสงค์รวม โดยหลายโครงการและแนวนโยบายทีถ่ ูกดาเนินออกไปมุ่งเน้นให้
เกิดผลสัมฤทธิ ์หลายด้าน แต่ความหลากหลายของนโยบายทาให้ผู้ปฏิบตั มิ อิ าจใช้
ทรัพยากรในแต่ละแนวทางได้อย่างเต็มที่ และส่งผลให้การปฏิบตั ไิ ม่เกิดผลสัมฤทธิ ์
เท่าที่ควร การแนวทางของนโยบายโดยรวมมีความหลากหลายสูง ทาให้ขาดจุด
มุ่งเน้นทีท่ าให้เกิดการเปลีย่ นแปลง (Critical Mass) ซึง่ การดาเนินนโยบายทีผ่ ่าน
มาหลายส่วนจะก่อให้เกิดความสาเร็จได้เฉพาะจุดที่ผปู้ ฏิบตั มิ คี วามพร้อมเพียงพอ
เท่านัน้

315
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 การมองแยกส่ ว นระหว่างเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารและส่ ว นอื่นของ


การศึกษา
แต่ ประเด็นส าคัญ ของการด าเนินนโยบายการใช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศและการ
สื่อ สารเพื่อ ประโยชน์ ท างการศึก ษา คือ การที่ห ลายภาคส่ ว นยัง มองการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแบบแยกส่วนโดยขาดความเป็ นเนื้ อเดียวกัน
กับการเรียนการสอนโดยรวม และหลักสูตรและข้อจากัดของกฏระเบียบทีจ่ ากัดการ
ใช้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อประโยชน์ทางการศึกษาอย่างมี
ประสิทธิผลสูงสุด
 ทัศนคติของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย
การใช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศในประเทศไทยยัง อยู่ใ นมุมจ ากัด เช่ น ด้ า นสื่อ ที่ม ี
ประโยชน์ หรือการใช้เพื่อการบริหารจัดการอย่างเต็มรูปแบบ ในทางตรงกันข้าม
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อความบันเทิงกลับมีอย่างกว้างขวาง
และขาดความเข้าใจของสังคม เช่น การใช้ส่อื สังคมออนไลน์ การใช้อนิ เตอร์เน็ตเพื่อ
ความบันเทิง การเล่ นเกมส์ท่ีเน้ นความบันเทิง เป็ นต้น การขาดความเข้าใจด้าน
เทคโนโลยีของประชากรในสังคมเป็ นเรื่องปกติท่สี งั คมต้องเรียนรู้ แต่การดาเนิน
นโยบายส่งเสริมความรูข้ องสังคมจึงเป็ นสิง่ ทีจ่ าเป็ น
ถึงอย่างไรก็ตาม ผลกระทบจากการขาดความรู้ความเข้าใจการใช้เทคโนโลยีของ
สังคมย่อ มส่ งผลกระทบกับทัศ นคติของผู้มสี ่ ว นได้ส่ ว นเสีย เช่น ผู้ปกครองของ
ผู้เ รีย นยัง ขาดความมัน่ ใจในการใช้เ ทคโนโลยี หรือ เกรงว่ า จะเป็ น การ “เล่ น ”
มากกว่าการ “เรียน” ผู้สอนก็ยงั ไม่เชื่อมันว่
่ าเทคโนโลยีจะสามารถเสริมการเรียน
การสอนสู่ผ ลสัมฤทธิ ์ที่ด ีกว่ าจริง ทัศ นคติเ หล่านี้ ประกอบกับความไม่พร้อ มของ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาเองส่งผลให้การเกิดผลสัมฤทธิ ์เป็ นไปได้ยาก
แนวทางการด าเนิ น นโยบายด้ า นนี้ ค วรส่ ง เสริม ให้ เ กิด ความเข้า ใจในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Literacy) ในทุกภาคส่วน โดยแนวทาง
และขอบเขตได้ถูกกาหนดไว้ในหลายแผนงาน เช่น แนวนโยบาย ICT2020 ที่
กาหนดให้มกี ารสร้าง ICT Literacy ในวงกว้าง รวมทัง้ ผูท้ อ่ี ยูใ่ นระบบการศึกษาด้วย
(มีการกาหนดให้อยูใ่ นหลักสูตรระดับประถมและมัธยม) แต่ความท้าทายจะอยู่ทก่ี าร
แปลงสู่ภาคปฏิบตั ิ ซึ่งต้อ งอาศัยเวลา ความเชื่อ และความจริงจังในการใช้งาน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโดยรวม

316
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 ความพร้อมของผูจ้ ดั การศึกษาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
นอกจากทัศ นคติใ นเชิงลบ บุค ลากรทางการศึกษาที่พร้อ มในการใช้เ ทคโนโลยี
สารสนเทศเสริมในการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิผลยังมีอยู่จากัด เครื่องมือที่
ใช้พฒั นาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนการสอน
ยังมีอยู่ในวงแคบ นอกจากนี้ยงั มีขอ้ จากัดของสถานศึกษาเอง เช่น ผลสารวจการ
เข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงของสถาบันการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานมีจากัดอยู่เพียงร้อย
ละ 39 เท่านัน้ (กระทรวงเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อสาร) ทาให้การใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่สามารถส่งให้เกิดประสิทธิผลในวงกว้าง
 เนื้อหาของสื่อ
การพัฒนาเนื้อหา (Content) ของสื่อที่ใช้ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศของไทยยังมี
ข้อจากัดโดยยังไม่สามารถใช้ความสามารถของเทคโนโลยีได้เต็มที่ เช่น เนื้อหาใน
คอมพิวเตอร์แบบพกพาของนักเรียนชัน้ ประถมปีท่ี 1 มีส่อื ลักษณะโต้ตอบอยู่น้อย มี
สื่อที่แปลงจากกระดาษสู่ดจิ ติ ลั อยู่มากแต่ยงั ไม่ได้ใช้ความสามารถของเทคโนโลยี
อาทิ การใช้ส่อื การเรียนเฉพาะบุคคล (Personalized Learning) นอกจากนี้ เนื้อหา
ของสื่อและหลักสูตรยังไม่เอื้อให้การจัดการผูเ้ รียนและห้องเรียนสามารถทาได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ และไร้รอยต่อ

ภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีทีพ่ ึงประสงค์
แนวทางการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของไทยไม่ควรมุ่งเน้ นการแก้ไขปญั หาที่มอี ยู่ แต่
ควรมุ่ ง เน้ น การบรรลุ เ ป้ าประสงค์ห ลัก การศึก ษาของไทย ซึ่ง การบรรลุ เ ป้ าประสงค์เ หล่ า นี้ จ ะ
จาเป็ นต้องแก้ไขปญั หาเพียงบางปญั หา แต่อาจจาเป็ นทีต่ ้องมีการดาเนินนโยบายใหม่ๆเพื่อเอื้อให้
เกิดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา แนวทางการใช้เทคโนโลยีเพื่อ
บรรลุเป้าประสงค์หลักการศึกษาแต่ละประเด็นมีดงั ต่อไปนี้
1. การเข้าถึง (Access)
การเข้าถึงการศึกษาเป็ นปจั จัยแรกทีเ่ ป็ นประตูแห่งโอกาสให้ประชาชนไทย ความสาคัญของ
ประเด็นการเข้าถึงการศึกษาจึงถูกมองว่าเป็ นสิทธิขนั ้ พื้นฐานของมนุ ษย์ ตามเป้าหมายการพัฒนา
สหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) โดยภาพรวมประชากรวัยเรียนของไทยมี
สถิตกิ ารเข้าถึงทีด่ ี แต่ประเทศไทยยังมีประชากรบางส่วนทีม่ ปี ญั หาเรื่องการเข้าถึง โดยเฉพาะอย่าง
ยิง่ กลุ่มเด็กทีอ่ ยู่นอกโรงเรียน ซึง่ การสารวจของสถาบัน UIS พบเด็กวัยประถมและมัธยมทีไ่ ม่ได้อยู่

317
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ในโรงเรียนถึงเกือบร้อยละ 10 ของเด็กทัง้ หมด ซึง่ ประชากรกลุ่มนี้จะขาดโอกาสในชีวติ และอาจเป็ น


กลุ่มต้นของประชากรชายขอบในอนาคตและรุ่นถัดไป
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีประโยชน์หลักในการเชื่อมต่อ ร่นระยะทางและเวลา
ดังนัน้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจึงสามารถใช้เป็ นกลไกหลักในการเพิม่ อัตราการเข้าถึ ง
การศึก ษาของประชากรกลุ่ ม นี้ ไ ด้ ซึ่ง อาจขยายผลไปสู่ ป ระชากรกลุ่ ม อื่น ที่ไ ม่เ ข้า ถึง ด้ว ย เช่ น
ประชากรวัยทางานทีไ่ ม่ได้รบั การศึกษาเป็นต้น
การดาเนินนโยบายจาเป็ นต้องมีความเข้าใจถึงพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม และต้อง
ออกแบบยุทธศาสตร์ให้สามารถดาเนินการได้เหมาะสมกับแนวทางการดาเนินชีวติ (Lifestyle) ของ
ประชากรกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้สามารถเข้าถึงได้จริง
2. ความเท่าเทียม (Equity)
ความเท่าเทียมเป็ นประเด็นทีม่ คี วามสืบเนื่องกับการเข้าถึง กล่าวคือถึงแม้ว่าไทยจะมีอตั รา
การเข้าถึงที่สูง แต่ ความเหลื่อ มล้าที่เ กิดจากคุ ณภาพที่แตกต่ าง ทางเลือ กของการศึกษา ความ
เหลื่อมล้าทางรายได้ของสายอาชีพ ความเหลื่อมล้าของกลุ่มผูม้ คี วามต้องการพิเศษ ล้วนเป็ นความ
ท้าทายที่ส่ งผลกระทบกับชีว ิต ความเป็ นอยู่ข องผู้เ รียนในระยะยาว ซึ่งแนวทางการปฏิบตั ิต าม
เป้าประสงค์ห ลักการศึก ษามีแนวทางเพิม่ ความยืดหยุ่นและการมีแ ต้มต่ อที่จะส่งเสริมให้ผู้ท่ขี าด
โอกาสสามารถมีความสามารถในการแข่งขันได้
คุณลักษณะของความท้าทายในแต่ละกลุ่มที่มคี วามเหลื่อมล้ามีความแตกต่างกันสูง ดังนัน้
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีจงึ จาเป็นต้องคานึงถึงความต้องการทีแ่ ตกต่างกัน เช่น กลุ่มเด็กทีม่ อี าการ
ไม่สามารถเรียนได้ (Learning Disorder) อาทิ กลุ่มเด็ก Autistic มีการนาเทคโนโลยีมสี ่วนเข้ามา
ช่วยพัฒนาในจุดที่พฒ ั นาช้ากว่าเด็กปกติ ซึ่งหลายเครื่องมืออยู่ในรูปแบบแอปพลิเคชันในเครื
่ ่อ ง
คอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) เพื่อเสริมสร้างทักษะพื้นฐาน (เด็กปกติไม่จาเป็ นต้องใช้เครื่องมือ
พิเศษ) เป็นต้น แต่การจัดการศึกษาให้ผเู้ รียนกลุ่มนี้ยงั มีการกระจายอยู่หลายหน่ วยงานทัง้ กระทรวง
สาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีความท้าทายในการบูรณาการ ซึง่ ในส่วนนี้ควรมีการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาบริหารจัดการแบบองค์รวมมากขึน้
ในทางตรงกันข้าม ความเหลื่อมล้าที่ไม่ได้เกิดจากลักษณะพิเศษทางกายภาพของผู้เรียน
เช่น ข้อจากัดการเลือกเรียนต่อ หรือความเหลื่อมล้าทีเ่ กิดจากความแตกต่างของการพัฒนาเมืองและ
ชนบท ความไม่เท่าเทียมนี้ควรมุ่งเน้นด้วยการลดข้อจากัดด้านการเข้าถึง และเพิม่ การใช้เครื่องมือ
ทางการเงินเพื่อลดข้อเสียเปรียบทางเศรษฐสังคม (Socio-Economic) ให้ผทู้ ข่ี าดโอกาส

318
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3. คุณภาพ (Quality)
ประเด็นหลักของการศึกษาปจั จุบนั คือเรื่องคุณภาพ ซึง่ สภาวการณ์ของคุณภาพการศึกษา
ไทยถู ก สะท้อ นออกมาในตัว ชี้ว ดั ต่ าง ๆ ทัง้ ในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ซึ่งเด็กไทยมี
คะแนน PISA ที่ต่ า และเป็ นแนวโน้มขาลง แต่เมื่อวิเคราะห์ถงึ ลักษณะการกระจายของคุณภาพ
การศึกษาในประเทศไทยกลับพบถึงความแตกต่างภายในกลุ่มมากกว่าความแตกแต่งระหว่างกลุ่ม
กล่าวคือ ผลสัมฤทธิ ์ของนักเรียนขึน้ อยูก่ บั ตัวนักเรียนมาก และการเรียนการสอนไม่สามารถพัฒนาผู้
ทีเ่ รียนไม่ดไี ด้มปี ระสิทธิผลเท่าทีค่ วร คะแนน PISA ของนักเรียนไทยทีม่ คี ่าเฉลีย่ สูงจะอยู่เฉพาะใน
กลุ่มโรงเรียนทีม่ คี วามพร้อมสูง เช่น ในเมือง และโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัย เท่านัน้ ประเด็นที่
สาคัญคือ ทาอย่างไรให้การศึกษาทีม่ คี ุณภาพสามารถเข้าสู่ผเู้ รียนส่วนใหญ่ และทาอย่างไรให้ ผเู้ รียน
ทีม่ คี วามสามารถไม่สงู สามารถพัฒนาได้
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในส่วนนี้มคี วามสาคัญอยู่ 2 ประการ คือ การเพิม่ การกระจายการ
เรียนที่มคี ุณภาพ ซึ่งได้กล่าวไปแล้วในประเด็นเรื่องการเข้าถึงและความเท่าเทียม ในอีกประเด็นที่
สาคัญคือการสร้างหลักสูตรเฉพาะบุคคล (Personalized Program) ซึง่ สามารถปรับหลักสูตรให้เข้า
กับผูเ้ รียนแต่ละคนได้ โดยใช้การตอบกลับ (Feedback) ระหว่างผูเ้ รียนและระบบ คือ ผูเ้ รียนจะได้
โจทย์เพื่อทดสอบความสามารถ หากผูเ้ รียนสามารถตอบคาถามได้ ระบบจะให้บทเรียนและข้อสอบ
ทีย่ ากขึน้ หากผูเ้ รียนทาผิดระบบจะให้บทเรียนและข้อสอบทีง่ ่ายลง ทัง้ นี้เพื่อให้การเรียนคงลักษณะ
ของความท้าทายทีเ่ อือ้ มถึง (Reachable challenges) เพื่อเป็ นแรงกระตุ้นในการเรียนของผูเ้ รียนทีม่ ี
ความสามารถแตกต่างกัน
4. ประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency)
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในประเด็นที่ถูกจุดจะสามารถช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพของการ
ดาเนินนโยบาย และการใช้งบประมาณของประเทศไทยได้ ประเด็นเรื่องประสิทธิภาพควรมุ่งเน้ น
เรือ่ งการเก็บและวัดตัวแปรต่างๆของระบบการศึกษา เช่น การมีระบบฐานข้อมูลโปรไฟล์ผเู้ รียนรวม
ที่ร วบรวมคุ ณ สมบัติต่ า งๆของผู้เ รีย นแต่ ล ะคนไว้ โดยระบบดัง กล่ า วสามารถช่ ว ยใ ห้ผู้ก าหนด
นโยบายสามารถก าหนดทิศทางและรับรู้ถึงความสาคัญของผู้เรียนที่มคี ุณลักษณะที่แตกต่าง ใน
ทานองเดียวกัน ระบบดัง กล่ าวควรจะสามารถช่ว ยให้ผู้จ ดั การเรียนการสอน สถานศึกษา และ
บุคลากรทางการศึกษาสามารถบริหารจัดการผูเ้ รียนในสังกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นอกจากการใช้เทคโนโลยีเพื่อประสิทธิภาพของการจัดการ การใช้เทคโนโลยีสามารถเพิม่
ประสิทธิภาพของการเรียนการสอนได้มากขึน้ ด้วย เช่น การประยุกต์ใช้ระบบวิดทิ ศั น์ออนไลน์ อาทิ
YouTube เพื่อกระจายการสอนทีต่ ้องทาซ้า ซึง่ สามารถทาให้ผสู้ อนและผูเ้ รียนมีเวลาในการโต้ตอบ
ในประเด็ น อื่ น ๆในชั ้น เรีย นมากขึ้น หรือ สามารถใช้ เ ทคโนโลยีเ ป็ น ฐานของการรวมกลุ่ ม
(Professional Learning Communities: PLC) เพื่อลดความซ้าซ้อนของงานบางอย่างและต่อยอด

319
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ความรู้แ ละทัก ษะของผู้ ส อนให้ ท ัน เหตุ ก ารณ์ ม ากขึ้น เป็ น ต้ น แต่ ก ารประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อ สารแบบนี้ จ าเป็ นต้ อ งอาศัย ความพร้อ มของบุ ค ลากรด้า นการศึก ษา
ทรัพยากรสนับสนุนรอบข้าง และนโยบายภาครัฐทีเ่ อือ้ ให้เกิดสภาวะดังกล่าวได้
5. การตอบโจทย์บริ บทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy)
วัตถุประสงค์ทส่ี าคัญทีส่ ุดของการศึกษาไทยข้อหนึ่ง คือ การให้ผู้ทผ่ี ่านระบบสามารถดารง
และดาเนินชีวติ ในศควรรษที่ 21 ได้อย่างเต็มภาคภูม ิ คนไทยต้องพร้อม และสามารถตอบสนองต่อ
การเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายใน และภายนอกประเทศได้อย่างเหมาะสม ประเด็นท้าทายข้อนี้เป็ นประเด็น
ของระบบการศึกษาไทยโดยรวม และเป็ นประเด็นทีเ่ กี่ยวข้องกับทัศนคติของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียทุก
กลุ่ม
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลงนัน้
ควรมุง่ เน้นเรือ่ งการใช้เทคโนโลยีเป็นเครือ่ งมือในหลักสูตร และการเรียนการสอนแบบศตวรรษที่ 21
อย่างไร้รอยต่อ กล่าวคือ บทบาทของเทคโนโลยีจะเป็ นเพียงเครื่องมือเสริมในการตอบโจทย์น้ี ถึง
อย่างไรก็ตาม การ “ใช้”เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในชีวติ ประจาวัน และในการเรียนการ
สอนสามารถส่งผลกระทบในทางอ้อมในการฝึกฝนให้ผู้เรียน ผู้สอน และผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียอื่นๆได้
สัมผัส และคุน้ เคยกับการทางาน และการดาเนินชีวติ ในศตวรรษที่ 21 ได้ เช่น การให้มคี วามร่วมมือ
(Collaboration) กันภายใต้เทคโนโลยี หรือ สื่อออนไลน์ การทีผ่ เู้ รียน ผูส้ อน และผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย
อื่นจาเป็นต้องเพิม่ ทักษะในการใช้เทคโนโลยี เพื่อให้สามารถโต้ตอบกับบุคลากรอื่นในระบบได้ เป็ น
ต้น การดาเนินการนี้จาเป็ นต้องอาศัยนโยบายทีจ่ ริงจัง และต้องมีการบูรณาการของภาคส่วนเพื่อให้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกใช้งานเต็มประสิทธิภาพของระบบ

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ (Key Success Factor)


เมื่อมองถึงภาพรวมของปจั จัยเสริมและอุปสรรคในการดาเนินนโยบาย และการปฏิบตั งิ าน
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาทีพ่ งึ ประสงค์ สามารถสรุปประเด็นปจั จัยแห่ง
ความสาเร็จได้ 2 ระดับ ซึง่ หากระบบการศึกษาของไทยยังไม่มกี ารดาเนินการเพื่อบรรลุปจั จัยเหล่านี้
การดาเนินนโยบายเพื่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาก็จะเป็ นไปด้วย
ความยากลาบาก ปจั จัยแห่งความสาเร็จของการดาเนินนโยบายมีดงั ต่อไปนี้
 ปัจจัยระดับมหภาค (Macro Level)
ปจั จัยระดับมหภาคหมายถึงปจั จัยในระดับระบบ ซึ่งผู้กาหนดนโยบายจาเป็ นต้องเป็ น
ผูด้ าเนินการหลักเพื่อเอือ้ ให้เกิดสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมกับผูป้ ฏิบตั ิ

320
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- การมีโครงสร้างพืน้ ฐานเทคโนโลยีของประเทศ
โครงสร้างพืน้ ฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระดับประเทศเป็ นปจั จัย
แรกทีจ่ าเป็นในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ในปจั จุบนั ภาครัฐมีการดาเนินการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ
ประเทศไทยตามแนวนโยบาย ICT2020 ซึ่งครอบคลุมถึงโครงข่ายเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อ สารแล้ว โดยโครงข่า ยในป จั จุบ ันที่ส ามารถใช้ง านได้ค ือ
อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงแบบต่อสาย (Wired เช่น ADSL และ Cable) และไร้สาย
(Wireless เช่น Wi-Fi, 3G, 4G) ซึง่ ความรับผิดชอบด้านการพัฒนาจะมีกระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็ นแกนหลัก กระทรวงอื่นทีใ่ ช้งานเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร รวมทัง้ กระทรวงศึกษาธิการมีหน้าที่ในการเตรียมความ
พร้อมของการเชื่อมต่อสู่โครงข่ายทัง้ ในด้านเทคนิค และบุคลากร
- การมีเป้าหมายร่วมและพันธสัญญาของภาคส่วน
การมีเป้าประสงค์หลักการศึกษาร่วมกันของทุกภาคส่วนจะช่วยให้แนวนโยบายมี
ทิศทางร่วม และสามารถเกิดผลกระทบในวงกว้างได้
- การบูรณาการและความร่วมมือ
ในปจั จุบนั มีหลายแนวนโยบายทีภ่ าคส่วนมีเป้าหมายร่วมทีช่ ดั เจน แต่การขาดการ
ประสานงาน และการบูรณาการกันระหว่างภาคส่วนทาให้เกิดความซ้าซ้อน หรือ
อาจขาดกิจกรรมที่ส าคัญ บางประการ ทาให้การดาเนินนโยบายไม่ส ามารถเกิด
ผลได้เท่าทีค่ วร
การน าเทคโนโลยีม าใช้เ พื่อ การศึก ษาจ าเป็ น ต้ อ งมีก ารร่ ว มประสานระหว่ า ง
หลากหลายภาคส่วน ทัง้ ที่สงั กัดอยู่กระทรวงศึกษา และอยู่นอกกระทรวง รวมทัง้
ต้องมีการประสานในการส่งต่อกระบวนการระหว่างกันเพื่อประสิทธิผลสูงสุด
- การมองเทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารควรถูกมองเป็ นเครื่องมือหนึ่งในการบริหาร
จัดการ และเป็ นเครื่องมือเสริมให้การเรียนการสอน เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารไม่ควรถูกมองแยกส่วนกับกระบวนการบริหารจัดการ และการเรียนการสอน
โดยรวม เช่น ในการวิเคราะห์และออกแบบการบริหารจัดการระบบการศึกษาควร
ก าหนดบทบาทของเทคโนโลยีต ามกระบวนการที่พึง ประสงค์ มิใ ช่ เ พีย งมอง
เทคโนโลยีเป็นฐานข้อมูลและดาเนินการอื่นด้วยมือ หรือกระดาษเป็นหลัก เป็นต้น

321
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 ปัจจัยระดับจุลภาค (Micro Level)


ปจั จัยระดับจุลภาคจะหมายถึงปจั จัยระดับปฏิบตั ิ ซึง่ จะรวมถึงระดับปจั เจกและระดับสถาบัน
ของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียกับระบบการศึกษา
- การเข้าถึงโครงสร้างพืน้ ฐานและอุปกรณ์
การเข้า ถึง อิ น เตอร์ เ น็ ต ความเร็ว สู ง ผ่ า นอุ ป กรณ์ ท่ีเ ป็ น เครื่อ งมือ เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารในระดับปจั เจกเป็ นปจั จัยเบือ้ งต้นของการใช้เทคโนโลยี
เพื่อการศึกษา ดังที่ได้กล่าวไปแล้วตอนต้น แนวโน้ มของการเข้าถึงอินเตอร์เน็ต
ความเร็วสูงผ่านอุปกรณ์ของประเทศไทยมีแนวโน้มทีส่ ูงขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การ
เข้าถึงผ่านเครือข่ายไร้สาย 3G
การเพิ่ม อัต ราการเข้า ถึง อินเตอร์เ น็ ต ความเร็ว สูง ของประชาชนในวงกว้างเป็ น
เป้าหมายหลักหนึ่งของแนวนโยบาย ICT2020 สาหรับในมุมของการศึกษาแล้ว ผู้
ก าหนดนโยบายควรมุ่งเน้ น เรื่อ งการเข้า ถึง ของกลุ่ มบุ ค คลที่ข าดโอกาสซึ่ง ต้อ ง
คานึงถึงลักษณะการใช้ชวี ติ ของกลุ่มประชากรเหล่านัน้ ด้วย
- ทัศนคติของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย
ความเข้าใจ และทัศนคติของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียทัง้ ผูเ้ รียน ผูป้ กครอง ผูส้ อน รวมทัง้
สถาบันภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องเป็ นปจั จัยหลักทีจ่ ะเอื้อให้การใช้เทคโนโลยีเป็ นไปอย่าง
มีประสิทธิผล ในทางตรงกันข้าม หากผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียขาดความเข้าใจยอมรับ
หรือมีทศั นคติท่ไี ม่ดกี บั การใช้เทคโนโลยี การดาเนินนโยบายจะประสบกับความ
ยากลาบากเป็ นอย่างยิง่ ดังนัน้ ผู้กาหนดนโยบายจึงควรดาเนินยุทธศาสตร์ท่ชี ่วย
ปรับความเข้าใจ และเปิ ดโอกาสให้ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียเข้ามาสัมผัส ใช้ และได้รบั
ประโยชน์โดยตรงจากเทคโนโลยี เพื่อเป็นการปรับทัศนคติทร่ี ากฐานมากกว่าการใช้
สื่อโน้มน้าวเพียงอย่างเดียว
ทัง้ นี้การดาเนินการสามารถทาร่วมกับหรือตามแนวโครงการในนโยบาย ICT2020
ที่มกี ารกาหนดให้มกี ารให้ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในวง
กว้าง
- ความพร้อมของผูจ้ ดั การเรียนการสอน
เมื่ อ สภาพแวดล้ อ มเอื้ อ อ านวย และทั ศ นคติ ข องผู้ ส อนมี ค วามเชื่ อ มัน่ ใน
ประสิท ธิภ าพและประสิท ธิผ ลของเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารเพื่อ
การศึกษา ปจั จัยท้าทายทีส่ าคัญอีกข้อคือ ความพร้อมของกิจกรรมและกระบวนการ
เรียนการสอน ซึ่งต้องอาศัยผู้สอนที่มคี วามสามารถในการประสานใช้เทคโนโลยี
และอุปกรณ์ทม่ี คี วามพร้อม เพื่อให้การเรียนการสอนเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิผล
322
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 99: การศึกษาด้วยเทคโนโลยีที่พึงประสงค์

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาในประเทศไทยสามารถทาให้เกิด
ประสิทธิภาพโดยรวม และประสิทธิผลต่อการเรียนการสอนได้ โอกาส ความพร้อม และความเป็ นไป
ได้ข องโครงสร้า งพื้น ฐาน และองค์ประกอบอื่น ๆของเทคโนโลยีท่ีม ี อ ยู่ใ นปจั จุ บ ัน ประกอบกับ
แนวโน้ ม และความก้าวหน้ าของเทคโนโลยีเป็ นปจั จัยทีจ่ ะผลักดันให้การศึกษาไทยน้ อมรับการเข้า
มาของเทคโนโลยี หากภาคส่วนและผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียสามารถปรับตัว และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้
ก็จะสามารถเกิดผลสัมฤทธิ ์ในวงกว้าง ในทางตรงกันข้ามหากภาคส่วนและผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียมีการ
หลีกเลี่ยงและปฏิเสธการใช้เทคโนโลยี การพัฒนาและการบรรลุเป้าประสงค์หลักทัง้ ห้าด้านก็จะไม่
สามารถดาเนินได้
แนวทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ การศึกษา
จากแนวนโยบายในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาสามารถสรุป
เป้าหมายของนโยบาย และก าหนดเป้าหมายเชิง กลยุทธ์ได้ห ลายรูปแบบ โดยตัว อย่างของการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาสามารถสรุปได้ 2 ประเด็นหลัก คือ
การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิม่ ผลสัมฤทธิ ์ของผู้เรียน ที่เป็ นการมุ่งเน้นการเพิม่ คุณภาพและการเข้าถึง
การศึกษาในระดับจุลภาค และการใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริหารระบบการศึกษา ที่เป็ นการมุ่งเน้ น
การกาหนดทิศทางและการเพิม่ ประสิทธิภาพของระบบการศึกษาโดยรวมเชิงมหภาค

323
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เนื่องจากประเด็นความท้าทายและแนวทางของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ของกลุ่ มผู้เ รียนแต่ ล ะกลุ่ ม มความแตกต่ า งกัน ทางผู้ว ิจ ยั จึงน าเสนอถึงตัว อย่างแนวทางการใช้
เทคโนโลยีแยกกัน โดยระบุแนวทางการใช้ของกลุ่มทีม่ คี วามพร้อมแข่งขันได้ (Competitive Group)
ซึ่งหมายถึงกลุ่มผู้เรียนที่มโี อกาสอยู่แล้ว ประชากรกลุ่มนี้อาจไม่ต้องการการสนับสนุ นในรูปแบบ
พืน้ ฐานมาก แต่ต้องการแพลทฟอร์มในการต่อยอดและก้าวกระโดด ในทางตรงกันข้ามประชากรใน
กลุ่มทีต่ ามหลัง หรือกลุ่มทีเ่ ข้าไม่ถงึ (Lagging / Inaccessible Group) มีความจาเป็ นในการเข้าและ
อยู่ในการศึกษาก่อน ซึ่งประเด็นท้าทายของกลุ่มนี้จะต้องคานึงถึงสภาพแวดล้อม และแนวทางการ
ดาเนินชีวติ เพื่อให้การดาเนินนโยบายเป็ นไปอย่างมีประสิทธิผล โดยภาพรวมสามารถสรุปตัวอย่าง
แนวทางและอรรถประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของประเทศไทยได้ดงั นี้

ตารางที่ 35: ตัวอย่างแนวทางและอรรถประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของประเทศไทย


กลุ่ม/เป้าประสงค์ บุคคล/ระดับจุลภาค ระบบ/ระดับมหภาค
(Groups/Objectives) (Individual/Micro) (System/Macro)
Competitive group Pedagogy enhancement Tap, share, apply and
21st century style classroom facilitate practice to less-
to enhance creativity and competitive group
collaborative to other Career development for
schools educator
Personalized learning Collect data for policy
management realignment
Lagging/ Inaccessible group Accessibility enhancement Advocate connectivity to
21st century classroom to partner school
connect with effective Career development for
teachers educator
Pedagogy adjustment to Content platform advocacy
emphasize learning rather Collect data for policy
than teaching realignment
ทีม่ า: รวบรวมโดยคณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

324
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การใช้เทคโนโลยีเพือ่ เพิ ม่ ผลสัมฤทธิ ข์ องผูเ้ รียน


นักการศึกษาส่วนใหญ่ให้ขอ้ สังเกตว่าการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาควรมุ่งเน้นการเพิม่
ผลสัมฤทธิ ์ของผูเ้ รียน ข้อจากัดของการเรียนการสอนแบบศตวรรษที่ 20 ทีใ่ ช้การเรียนในห้องเรียน
เป็ นหลักมีอยู่ 2 ประการ คือ การสอนแบบวิธเี ดี่ยว (One-size Fits All) ไม่ว่าผู้สอนจะมี
ความสามารถเพียงใด ผูส้ อนก็จาเป็ นต้องใช้การสอนแบบเดียวกันทัง้ ชัน้ เรียน นอกจากนี้การเรียน
แบบห้องเรียนยังจากัดการมีส่วนร่วมโดยเฉพาะอย่างยิง่ การร่วมไม้ร่วมมือกัน (Collaboration) ซึ่ง
เป็นพืน้ ฐานของการทางานและการอยู่ในสังคมทีก่ ารเรียนการสอนแบบศตวรรษที่ 21 ทีส่ ะท้อนผ่าน
การเรียนแบบผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิม่ ผลสัมฤทธิ ์ของผูเ้ รียนจึงมุ่งเน้นการลด
ข้อ จ ากัดเหล่ า นี้ ของการเรีย นแบบห้อ งเรียน และเป็ น เครื่อ งมือ หลักในการปรับ ห้อ งเรีย นแบบ
ศตวรรษที่ 20 สู่การเรียนการสอนแบบศตวรรษที่ 21
 การใช้เทคโนโลยีเพือ่ ปรับวิธกี ารเรียนการสอน
การปรับ การเรีย นการสอนจะอาศัย แนวความคิด วิธ ีก ารเรีย นการสอนแบบผู้เ รีย นเป็ น
ศูนย์กลาง (Learner-centered) โดยการสอนเนื้อหาวิชาจะอาศัยผูเ้ รียนเรียนรูด้ ว้ ยตนเองผ่านสื่อการ
เรียนแบบอิเลคทรอนิคนอกชัน้ เรียน โดยสื่อเหล่านี้อาจเป็ นสื่อทีป่ รับตามความสามารถของผู้เรียน
(Adaptive Content) ผูส้ อนจะปรับเปลีย่ นบทบาทไปเป็ นผูอ้ านวยการเรียน (Facilitator) ของผูเ้ รียน
ซึ่งจะใช้ชนั ้ เรียนเป็ นเวทีแลกเปลี่ยนหารือในประเด็นเนื้อหากับผู้เรียนหรือกลุ่มของผู้เรียนเพื่อให้
ผูเ้ รียนได้มโี อกาสวิเคราะห์ และวิพากษ์เนื้อหาในมุมมองทีต่ ่างกัน
การเรีย นการสอนแบบนี้ มกี รณีศึก ษาในต่ า งประเทศ เช่ น โครงการ Coursera ของ
มหาวิทยาลัย Stanford โครงการ Coursera มีลกั ษณะเป็ นระบบการวิชาเรียนเปิดออนไลน์ขนาด
ใหญ่ (MOOC – Massive Open Online Course) ซึง่ มีผเู้ ข้าเรียนจากทัวโลกและสามารถได้
่ ปริญญา
ระดับมหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัย Stanford โดยเรียน และสอบผ่านสื่อชนิดนี้ วิชาเรียนจะมีเนื้อหา
ปรับตามความสามารถของผู้เรียน และจะจัดการเรียนการสอนจนผู้เรียนสามารถเข้าใจเนื้อหาได้
อย่างถ่องแท้ ผู้สอนเองก็จะมีขอ้ มูลการเรียนของผู้เรียนทัง้ หมดที่ไม่จากัดเพียงผลการเรียน แต่จะ
รวมถึงกระบวนการเรียนด้วย กล่าวคือหากมีเนื้อหาวิชาบางส่วนมีผู้เรียนบางส่วนไม่เข้าใจ โดยไม่
สามารถผ่านแบบฝึกหัดเฉพาะหน้าได้ ผู้สอนอาจใช้ขอ้ มูลนี้ในการวิเคราะห์คุณภาพสื่อการสอนใน
หัวข้อนัน้ หรือใช้การให้แบบฝึกหัดพิเศษสาหรับกลุ่ม ซึ่งข้อมูลการเรียนแบบละเอียดรายบุคคลจะ
ถูกเก็บผ่านระบบสารสนเทศเพื่อใช้ควบคุมคุณภาพของการสอนและผลสัมฤทธิ ์
สาหรับประเทศไทย การปรับใช้ส่อื การเรียนแบบนี้อาจเหมาะสมกับสถานศึกษาที่มคี วาม
พร้อม โดยสามารถเอื้อให้การศึกษาสามารถปรับให้เข้ากับผูเ้ รียนแต่ละคนได้ ประเทศไทยได้มกี าร
ทดลองใช้เครื่องมือเหล่านี้ในมหาวิทยาลัยหลายแห่ง เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่การปรับใช้

325
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ในวงกว้างยังมีขอ้ จากัดในด้านบุคลากร โดยเฉพาะอย่างยิง่ แนวคิดการเรียนการสอนแบบศตวรรษที่


20 ของผูส้ อนและผูป้ กครองของผูเ้ รียน
 การใช้เทคโนโลยีเพือ่ การเพิม่ การเข้าถึง
ปญั หาการขาดแคลนครูทม่ี คี ุณภาพ และการขาดทรัพยากรของสถานศึกษาอาจเป็ นสาเหตุ
หลักทีท่ าให้ผสู้ อนทีม่ คี วามสามารถกระจุกตัวอยู่เฉพาะสถานศึกษาที่มคี วามสามารถในการแข่งขัน
ซึ่งสภาวะนี้จะทาให้ความเหลื่อมล้าของโอกาสถูกขยายออกไปเรื่อยๆ แต่ การแก้ปญั หาคุณภาพ
ผูส้ อนอาจไม่สามารถทาได้ในระยะเวลาอันสัน้ เนื่องจากมีผู้มสี ่วนได้ ส่วนเสียมาก ประกอบกับระบบ
การประเมินและการบริหารจัดการที่ไม่เอื้อ ให้เ กิดการเปลี่ยนแปลงได้ง่าย ดังนัน้ วิธกี ารเพิ่มการ
เข้าถึงการศึกษาทีม่ คี ุณภาพมีความจาเป็ นต้องใช้แนวทางอื่นประกอบ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
จึงเป็นทางเลือกหนึ่งทีส่ ามารถทาได้
ประเทศไทยเป็ นประเทศแรกๆทีม่ กี ารใช้อุปกรณ์ส่อื สารเคลื่อนที่ (Mobile Device) เพื่อ
การศึกษาในวงกว้าง โครงการ OTPC เป็ นโครงการทีเ่ ป็ นกรณีศกึ ษาของนานาชาติเนื่องจากเป็ น
เทคโนโลยีใหม่ทถ่ี ูกประยุกต์ใช้ ในเบื้องต้นการใช้ แท็บเล็ต (Tablet) ยังจากัดอยู่ท่สี ่อื การเรียนที่
ไม่ไ ด้ต่ า งจากสื่อ กระดาษมากและยัง ไม่ไ ด้ใ ช้ศ ัก ยภาพอย่ า งเต็ม ที่ เช่ น การขาดการเชื่อ มต่ อ
อินเตอร์เน็ตในบางพื้นที่ทาให้ Tablet เป็ นเพียงหน้ าหนังสือที่บางลงเท่านัน้ นอกจากนี้การใช้
เครื่องมือชนิดนี้ยงั ถูกตัง้ ข้อสงสัยจากผูส้ อนและผูป้ กครองของนักเรียนในเรื่องประสิทธิผล และการ
ใช้ Tablet เพื่อความบันเทิงมากกว่าการเรียน
ในการดาเนินนโยบายจาเป็ นต้องคานึงถึงความครอบคลุ มและความเท่าเทียม การปรับ
ทัศนคติของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย โดยเฉพาะอย่างยิง่ การมองภาพลบของการใช้อุปกรณ์ในชัน้ เรียน ซึง่
สถานศึกษาหลายแห่งมีระเบียบห้ามใช้ทงั ้ หมด (Universal Ban) ซึง่ ขัดกับแนวทางการดาเนินชีวติ
ของประชากรรุ่นใหม่ การดาเนินนโยบายต้องมีการวิเคราะห์และทดลองจากกรณีศกึ ษาเพื่อปรับให้
เข้ากับวัฒนธรรมการเรียนของไทย และปรับให้บุคลากรยอมรับและเห็นประโยชน์ โดยอาจมีการใช้
เทคโนโลยีเดียวกันในการเพิม่ ทักษะของบุคลากรด้านการศึกษาเองด้วย
การใช้อุปกรณ์ส่อื สารเคลื่อนที่เป็ นการเพิม่ โอกาสให้เยาวชนสามารถเข้าถึงสื่อการสอนที่ม ี
คุณภาพได้ หน่ วยงานระดับนโยบายจึงมีความจาเป็ นในการส่งเสริมการสร้างเนื้อหาที่มคี ุณภาพ
ควบคู่ไปกับการส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ และความสามารถในการใช้อุปกรณ์กบั ผูม้ ี
ส่ว นได้ส่ ว นเสีย แนวทางการปฏิบตั ิค วรส่ งเสริมให้หน่ ว ยปฏิบตั ิและผู้เ รียนสามารถตัดสินใจถึง
เนื้อหา และวิธกี ารใช้ได้เอง โดยหน่ วยนโยบายควรจัดให้มเี นื้อหาและกระบวนวิธกี ารสอนทีด่ ไี ว้เป็ น
ทางเลือก เช่น โครงการ Khan Academy ซึ่งเป็ นเว็บไซต์อสิ ระทีจ่ ดั ทาเนื้อหาระดับมัธยมฟรีใน
รูปแบบที่เน้ นความเข้าใจและการใช้งานจริง หรืออาจส่งเสริมและสร้างกลไกให้ผู้จดั การสอนที่ม ี
ความสามารถจัดทาเนื้อหาดังกล่าว เช่น กรณีศกึ ษาของโครงการ MIT Opencourseware ของ

326
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สถาบัน MIT ซึ่ง สถาบัน ได้ค ัด เลือ กวิช าเรีย นที่ดีแ ล้ว จัด ท าเป็ น สื่อ การสอนให้ใ ครก็ไ ด้ท่ี เ ข้า ถึง
Internet สถาบัน MIT ยังได้จดั ให้มสี ถานศึกษาพันธมิตรในการแปลเนื้อหาดังกล่าวเป็ นภาษาอื่น ๆ
ด้วย เช่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รบั คัดเลือกเป็ นสถานศึกษาพันธมิตร
แห่งหนึ่งในการแปลวิชาเป็นภาษาไทย เป็นต้น
การใช้เทคโนโลยีเพือ่ การบริ หารระบบการศึกษา
การวางนโยบายด้านการศึกษาของประเทศจาเป็นต้องรูส้ ภาวการณ์ และมิตหิ ลากหลายของ
ระบบการศึกษา ซึ่งรวมถึงมิตขิ องผู้เรียน มิตขิ องผูส้ อน และมิตขิ องผู้จดั การศึกษา ข้อมูลเหล่านี้จะ
ใช้เ ป็ น พื้น ฐานของการตัด สิน ใจและจัด ระบบให้น โยบายการศึก ษาสามารถตอบสนองต่ อ การ
เปลีย่ นแปลงได้อย่างทันท่วงที
ประเด็นหลักของการใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริหารระบบการศึกษา คือ การมีระบบฐานข้อมูล
ของส่วนต่ างๆในระบบการศึกษาโดยรวม โดยเทคโนโลยีเพื่อการบริหารระบบการศึกษาจะต้อ ง
คานึงถึงมิตขิ องผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียอื่นๆทัง้ หมด และให้สามารถเข้าถึงและใช้งานระบบได้จากหลาย
ช่องทาง โดยระบบดังกล่าวสามารถเปรียบเทียบได้กบั ระบบทะเบียนราษฎร์ หรือระบบผู้ใช้งาน
ขนส่งทางบก ซึง่ มีขอ้ มูลใบขับขี่ ข้อมูลยานยนต์และทะเบียนรถ และยังมีขอ้ มูลทัวไป ่ เช่น ข้อมูลกฏ
จราจร โดยผู้เข้าใช้งานสามารถเข้าถึงระบบได้จากหน่ วยบริการของกรมการขนส่งทางบกทุกที่ทุก
จังหวัด รวมทัง้ หน่วยบริการแบบ One-stop Service ด้วย
การจัดตัง้ ระบบแบบนี้ไม่เพียงแต่ให้ความสะดวกกับผูใ้ ช้งาน แต่ยงั เป็ นจุดป้อนข้อมูลของผูม้ ี
ส่วนได้ส่วนเสียของการศึกษาได้ ซึง่ หน่ วยนโยบายสามารถใช้ขอ้ มูลในการบริหารจัดการ หรือเพิม่
ประสิทธิภาพของกระบวนการต่าง ๆ เช่น การควบคุมคุณภาพสถานศึกษา ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว
ในมุมมองของสถานศึกษาย่อย การใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยบริหารจัดการข้อมูลผู้เรียนจะ
ช่วยเพิม่ ประสิทธิผลในการเรียนได้ เมือ่ ผูเ้ รียนแต่จะคนมีขอ้ มูลอยู่ในระบบ ผูส้ อนก็ สามารถใช้ขอ้ มูล
เหล่านัน้ ในการวิเคราะห์ลกั ษณะการเรียนของผูเ้ รียน ซึง่ สามารถทาได้ทงั ้ แบบเดีย่ ว และแบบกลุ่มซึง่
จะช่วยให้ผสู้ อนได้รบั การตอบกลับ (Feedback) จากการเรียน เช่น จะเห็นได้ว่าบทเรียนส่วนไหนที่
ผูเ้ รียนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจ หรือแบบฝึกหัดคาถามแบบใดทีท่ าผิดบ่อย หากระบบฐานข้อมูลการบริหาร
จัดการสามารถเข้าถึงข้ามสถาบันได้ ผูส้ อนก็จะสามารถประเมินการสอนของตนว่าเป็ นอย่างไร เช่น
เทียบเคียงว่าบทเรียนส่วนทีผ่ เู้ รียนของตนไม่เข้าใจนัน้ เกิดในลักษณะเดียวกันในห้องเรียนอื่นหรือไม่
หรือความไม่เข้าใจอาจเกิดจากกระบวนวิธที ผ่ี สู้ อนเลือกใช้ เป็นต้น

327
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

5) กรณี ศึกษาจุดสว่าง (Bright Spot) ทีป่ ระสบความสาเร็จในประเทศไทย


เนื้อหาในส่วนก่อนหน้านี้ได้ฉายภาพให้เห็นถึงองค์ประกอบสภาพแวดล้อมการเรียนรูท้ ่ดี ี
ตัวอย่างการจัดสภาพแวดล้อมทีด่ ขี องต่างประเทศ ตลอดจนประเด็นการเตรียมความพร้อมสาหรับ
ประเทศไทยในเรื่องต่างๆ อาทิ บทบาทครู บทบาทครอบครัวต่อผู้เรียน บทบาทสถานศึกษา และ
บทบาทของเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเรียนรู้
ในการศึก ษาส่ ว นนี้เ ป็ นการศึกษากรณีต ัว อย่างโรงเรียนตัวอย่างที่นับว่าเป็ น “จุดสว่าง”
(Bright Spot) ทีป่ ระสบความสาเร็จในประเทศไทย เพื่อเป็ นบทเรียนในการเรียนรูก้ ารจัดการศึกษา
ในประเด็นต่าง ๆ ตลอดจนบทเรียนของการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เพื่อนาไปสู่การ
พิจารณาความเป็ นไปได้ในการขยายผลจุดสว่าง โรงเรียนตัวอย่างที่ประสบความสาเร็จเหล่านี้ ให้
เกิดการปฏิบตั จิ ริงในวงกว้าง เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของประเทศไทย
บทเรียนจาก “จุดสว่าง” ทีป่ ระสบความสาเร็จในประเทศไทยมีหลายกรณีทน่ี ่ าสนใจ ทัง้ ใน
เรื่องการออกแบบกระบวนการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง
อย่างแท้จริง การบ่มเพาะคุณลักษณะที่ดใี ห้ แก่ ผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้าน การนา
เทคโนโลยีเข้ามาช่วยยกระดับการศึกษาเรียนรู้ ทัง้ การศึกษาทางการ การศึกษาตามอัธยาศัย ในวง
กว้าง ช่ว ยส่งเสริมการเรียนรู้ต ลอดชีวติ ตลอดจน การหาวิธกี ารเพื่อลดข้อจากัดจากการพัฒนา
การศึกษาด้านต่างๆ อาทิ การขาดแคลนทรัพยากร ด้วยการนาภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมามีบทบาท
ช่วยเหลือโรงเรียนในชุมชนให้เป็ นแหล่งพัฒนาการเรียนรูต้ ลอดชีวติ รวมทัง้ เป็ นศูนย์กลางในการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การคิดและดาเนินการโมเดลใหม่ ๆ เพื่อสนับสนุ นการพัฒนาการศึกษา
เช่น โมเดลการร่วมรับผิดชอบต่อ สังคมเพื่อเพิม่ คุณภาพชีวติ และขจัดความยากจนอย่างยังยื ่ นโดย
ภาคธุรกิจเอกชน
เนื้อหาของหัวข้อนี้ได้แบ่งเป็ นรายละเอียดกรณีตวั อย่าง ดังนี้
5.1) นวัตกรรมการเรียนรูเ้ พือ่ สร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญา (Constructionism)
- กรณีศกึ ษาดรุณสิกขาลัยต้นแบบโรงเรียนนวัตกรรมการเรียนรูเ้ พื่อสร้างสรรค์ด้วย
ปญั ญา
- กรณีศกึ ษาการขยายผลของสถานศึกษาในการนาแนวคิดการพัฒนาการเรียนรูเ้ พื่อ
การสร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญา

328
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

5.2) ความรูค้ ่คู ุณธรรม


- โรงเรียนสัตยาไส
5.3) เทคโนโลยีเพือ่ การพัฒนาการศึกษา ทัง้ การขยายโอกาสการศึกษาในระบบ (Formal
Education) และการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education)
- กรณีศกึ ษาโรงเรียนวังไกลกังวล
5.4) การพัฒนาการศึกษาควบคู่ไปกับการขจัดความยากจน
- กรณีศกึ ษาโรงเรียนมีชยั พัฒนา
- กรณีศกึ ษาการร่วมรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อเพิม่ คุณภาพชีวติ และขจัดความยากจน
อย่างยังยื
่ นโดยภาคธุรกิจเอกชน
ตัวอย่างเช่น การทาโครงการเพื่อส่งเสริมการศึกษา หรือ BREAD (Business for
Rural Education and Development) โครงการ School-BIRD : School-Based
Integrated Rural Development เป็นต้น

โดยมีรายละเอียดดังนี้

5.1) นวัตกรรมการเรียนรูเ้ พือ่ สร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญา (Constructionism)


กรณีศกึ ษาดรุณสิกขาลัยต้นแบบโรงเรียนนวัตกรรมการเรียนรูเ้ พือ่ สร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญา
ปรัชญาการศึกษาของโรงเรียนตัง้ อยู่บนหลักการ Constructionismของ Prof. Seymour
Papert แห่ง The Media Lab of Massachusetts Institute of Technology (MIT)โดยกระบวนการ
เรียนรู้น้ีมชี ่อื ภาษาไทยว่า “การเรียนรู้เพื่อ สร้างสรรค์ด้ว ยปญั ญา” มีความคล้ายคลึงกับหลักการ
เรีย นรู้ผ่ า นการปฏิบ ัติภ าวนาในพุ ท ธศาสนา ที่ใ ห้ ค วามส าคัญ กับ การสร้า งอง ค์ ค วามรู้ผ่ า น
ประสบการณ์ จ ริง ของตนเอง โดยหลัก การพื้น ฐานของการจัด การเรีย นรู้จ ะประกอบด้ว ย 3
กระบวนการทีส่ าคัญ คือ (1) การคิด (Thinking or Designing) (2) การลงมือทา (Making or
Doing) (3) การสะท้อนความคิด (Reflecting or Contemplating)
จุดเด่นของโรงเรียนนี้ คือ กระบวนการเรียนรู้แบบ Constructionism นี้เป็ นการเรียนผ่าน
โครงงาน (Project Based Learning) สิง่ ทีน่ ักเรียนสร้างนัน้ จะเป็ นโจทย์ทน่ี ักเรียนสนใจ ซึง่ นักเรียน
จะได้พบประสบการณ์และความรูท้ ่ีหลากหลายที่จบั ต้องได้ชวี ติ จริง เกิดความสนุ กสนาน รักการ
เรียนรู้

329
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นักเรียนได้ผ่านกระบวนการสะท้อนความคิด (Reflection) ด้วยการบันทึกประจาวัน ซึง่ เป็ น


การให้นกั เรียนได้ฝึกฝนการทบทวน และเรียนรูจ้ ากประสบการณ์และกระบวนการทีไ่ ด้ผ่านไป
พันธกิจ ของโรงเรียนดรุณสิกขาลัยทีส่ าคัญอีกประการหนึ่ง คือ การพัฒนาผูเ้ รียนให้สามารถ
ใช้ว ิจ ารณญาณในการคัด สรรข่า วสาร (Data) ที่ม ีอ ยู่ม ากมายในป จั จุ บ ัน มาแปรเป็ น ข้อ มูล
(Information) ทีเ่ ป็นประโยชน์ สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และพัฒนาข้อมูลเหล่านัน้ ไปสู่ความรู้
(Knowledge) ทีส่ งสมเป็
ั่ นประสบการณ์ ซึง่ เมื่อนาไปใช้อย่างมีสติ จะทาให้เกิดปญั ญา (Wisdom) ที่
จะเป็ นพืน้ ฐานในการแก้ปญั หา วางแผน และการสร้างสรรค์นวัตกรรม
การจัดการเรียนการสอนเน้นให้ผเู้ รียนพัฒนากระบวนการเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั จิ ริงในเรื่องที่
ตนเองสนใจ และบูรณาการวิชาการต่างๆ ไปพร้อมๆ กับพัฒนาทักษะทัง้ 5 ด้าน คือ

- IQ (Intelligent Quotient) ด้านสติปญั ญาและความเฉลียวฉลาด พัฒนาให้ผเู้ รียนมี


ทักษะกระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ มีความเฉลียวฉลาดเพิม่ ขึน้ และ ใฝ่หา
ความรูอ้ ย่างต่อเนื่อง
- EQ (Emotional Quotient) วุฒภิ าวะทางอารมณ์ พัฒนาให้ผเู้ รียนรูจ้ กั ตนเอง และ มี
ความมันคงทางอารมณ์

- AQ (Adversity Quotient) ความสามารถในการทางานภายใต้สภาวะความกดดันได้
ดี พัฒนาทัก ษะในการแก้ปญั หาที่ไม่เคยพบมาก่ อ นและการเผชิญ สถานการณ์ ท่ี
หลากหลาย เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถปรับตัวได้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง
- TQ (Technology Quotient) ทักษะทางเทคโนโลยี พัฒนาความคล่องแคล่วในการ
ใช้เทคโนโลยี และรูจ้ กั เลือกใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ให้เหมาะสม กับความต้องการ
- MQ (Morality Quotient) ด้านคุณธรรม ปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนมี
จิตใจงดงาม รู้จกั ขนบธรรมเนียมประเพณีท่ดี ี และอยู่ใ นสังคมแห่งการเรียนรู้ได้
อย่างมีความสุข

330
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

331
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 หลักในการจัดการเรียนรูข้ องดรุณสิกขาลัย ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐาน 3 ประการ คือ


1. การเรียนรูเ้ พื่อสร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญา (Constructionism Project-based Learning)
คือ เน้นการจัดการเรียนรูท้ ม่ี ผี เู้ รียนเป็นศูนย์กลาง เรียนรูผ้ ่านประสบการณ์ทผ่ี เู้ รียน
หรือกลุ่มมีความสนใจ และเน้นการสร้างกระบวนการคิดและการเรียนรูด้ ้วยตนเอง
เพื่อบ่มเพาะนิสยั รักการเรียนรูแ้ ละใฝเ่ รียนรูไ้ ปตลอดชีวติ

332
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2. การสร้างชุมชนแห่ งนักเรียนเรียน (Learning Organization) คือ การสร้าง


สิง่ แวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ ซึง่ รวมทัง้ สิง่ แวดล้อมทางกายภาพและทาง
สังคม ทีผ่ บู้ ริหารโรงเรียน ครู นักเรียนและผูป้ กครอง อยู่ร่วมกันเป็ นชุมชน เป็ นนัก
เรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองไปด้วยกันตลอดเวลา เพื่อสร้างบรรยากาศทีเ่ รียนรูก้ นั ด้วย
ความเป็ นกัลยาณมิตร เป็ นแบบอย่างของสังคมทีด่ ี ทางานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์
ให้กบั เด็กและเยาวชน
3. การปฏิบตั ิภาวนาและความเป็ นไทย (Mindfulness Meditation and Thai
Cultures) การพัฒ นาคุ ณภาพของจิต ใจเป็ นรากฐานที่สาคัญ ของการพัฒ นา
สติปญั ญาและจิตวิญญาณในนักเรียนทุกคน การเป็ นผู้มคี ุณธรรม เป็ นจุดเริม่ ต้น
ของการคิด การเรียนรู้และการทางานที่สร้างสรรค์ รวมทัง้ การธารงค์รกั ษาไว้ซ่งึ
ความเป็ น ไทย วัฒ นธรรมและศีล ธรรมจรรยาที่ดีง ามของไทย ให้ส ืบ ทอดไปยัง
ลูกหลานด้วยความภาคภูมใิ จในความเป็ นไทย และมีความเคารพและอยู่ร่วมกันกับ
วัฒนธรรมอื่นได้ในสังคมแห่งโลกาภิวตั น์
 การเรียนรูเ้ ป็นชัน้ คละ การจัดการเรียนรูใ้ นแต่ละระดับการเรียน นักเรียนจะคละอายุกนั โดย
คุณครูจะดูแลพัฒนาการของนักเรียนเป็นรายบุคคล ซึง่ นักเรียนแต่ละคนจะเรียนช้าเรียนเร็ว
แตกต่างกันในแต่ละเรือ่ งแต่ละสาขาวิชา คุณครูจะดูแลให้นักเรียนได้เรียนรูไ้ ปตามธรรมชาติ
และศักยภาพของตนเอง
 การประเมินผลนักเรียน ครูจะจดบันทึกการสังเกตการณ์ ประเมินผลนักเรียน และจะสื่อสาร
กับผู้ปกครองเป็ นระยะๆ เพื่อรับทราบและร่วมกันพัฒนานักเรียนอย่างเป็ นองค์รวม การ
ประเมินผลเน้นการประเมินผลอย่างหลากหลาย ทัง้ จากการประเมินผลสัมฤทธิ ์ทางวิชาการ
เช่นเดียวกับโรงเรียนทัวไป่ และมีการประเมินผลด้านกระบวนการเรียนรู้ ทัศนคติ ทักษะ
ทางสังคม ผ่านการสังเกตการณ์ในสถานการณ์จริง (Authentic Assessment) และการให้
ผูเ้ รียนได้ฝึกฝนการประเมินตนเองเพื่อการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ
 ปจั จุบนั โรงเรียนดรุณสิกขาลัยได้ทาการศึกษาวิจยั ร่วมกันกับ School of Education ของ
มหาวิทยาลัย Stanford ในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรครูและทาการศึกษาวิจยั เกี่ยวกับ
บทบาทของเทคโนโลยีในการเรียนรู้

333
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กรณีศกึ ษาการขยายผลของสถานศึกษาในการนาแนวคิดการพัฒนาการเรียนรูเ้ พือ่ การ


สร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญา

กรณีศกึ ษาดรุณสิกขาลัย เป็ นโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนนวัตกรรมการเรียนรูเ้ พื่อสร้างสรรค์


ด้วยปญั ญา ทีก่ ่อให้เกิดการขยายผลโดยเป็ นความรร่วมมือกับสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ ทัง้ นี้ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึก ษาธิการ (2556) สรุป
ั ญา
รายงานผลการด าเนิ น งาน โครงการส่ ง เสริม พัฒ นาการเรีย นรู้เ พื่อ การสร้า งสรรค์ด้ ว ยป ญ
(Constructionism) สู่สถานศึกษาให้เห็นถึงข้อดีการขยายผลสถานศึกษาอื่น
การขยายผลของสถานศึกษาในการนาแนวคิดการพัฒนาการเรียนรูเ้ พื่อการสร้างสรรค์ดว้ ย
ปญั ญา (Constructionism) ไปปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของนักเรียนในโรงเรียนต่าง ๆ ซึง่ ในระยะ
เริม่ แรกทีม่ กี ารขยายผลในลักษณะนี้ ถือว่าเป็นจุดเริม่ ต้นทีด่ ี
การขยายผลของสถานศึกษาในการนาแนวคิดการพัฒนาการเรียนรูเ้ พื่อการสร้างสรรค์ดว้ ย
ปญั ญา ทีไ่ ด้ดาเนินการไป เช่น
- การจัดการเรียนรูต้ ามทฤษฎี Consturctionism เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ของ
โรงเรียนบางบัว (เพ่งตัง้ ตรงจิตรวิทยาคาร)
- การพัฒนาทักษะการฟงั พูด ภาษาอังกฤษโดยใช้แหล่งเรียนรูว้ ดั เบญจมบพิตร ตามแนว
ทฤษฎี Consturctionism สาหรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนมัธยมวัด
เบญจมบพิตร
- การเรียนรูแ้ บบ 4 Noble Truth ตามแนวทฤษฎี Consturctionism ในโรงเรียนมหรรณพา
ราม
- การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิด เพื่อสร้างสรรค์ด้ว ยปญั ญา โรงเรียนประถม
ทวีธาภิเศก
- การพัฒนาการเรียนรูต้ ามแนวทฤษฎี Consturctionism สู่หอ้ งเรียน โรงเรียนวัดเขียนเขต
- การพั ฒ นากระบวนการเรี ย นรู้ ต ามแนวทฤษฎี Consturctionism โรงเรี ย นอุ บ ล
รัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย

จากการขยายผล ก่อให้เกิดผลการดาเนินการทีด่ ใี นโรงเรียนต่างๆ นักเรียนมีความสนใจใน


การเรียนรูม้ ากขึน้ ผลสัมฤทธิ ์ทางวิชาการในกรณีทม่ี กี ารทดลองในวิชาต่างๆ มีพฒ ั นาดีขน้ึ ครูและ
นักเรียนร่วมกันเรียนรู้ สามารถดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม สร้างเครือข่ายทีเ่ ข้มแข็ง ให้โรงเรียนเป็ น
ศูนย์กลางการเรียนรู้ ขณะเดียวกัน ก็ออกไปศึกษาเรียนรูน้ อกรัว้ โรงเรียน บริเวณใกล้เคียง ทาให้
334
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ผูเ้ รียนสามารถนาองค์ความรูม้ าประยุกต์ใช้ได้กบั ชีวติ จริง นับเป็นก้าวหนึ่งทีส่ าคัญของการขยายจุด


สว่างทีป่ ระสบความสาเร็จ เป็ นการจุดประกายการเรียนรูด้ ว้ ยวิธกี ารเรียนการสอนแบบโครงงานที่
เน้นการบูรณาการ ทีค่ วรเป็นตัวอย่างในการขยายผลวงกว้างต่อไป

5.2) ความรูค้ ่คู ุณธรรม


โรงเรียนสัตยาไส
โรงเรียนสัตยาไสจัดตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2535 ตัง้ อยู่ทอ่ี าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุร ี บนเนื้อที่
กว่า 300 ไร่ ท่ามกลางธรรมชาติ อยู่ภายใต้การดูแลของดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธ ยา ซึ่งเป็ น
ผูบ้ ริหารสูงสุดของโรงเรียน เปิดรับนักเรียนตัง้ แต่ระดับอนุ บาลจนถึงมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เป็ นโรงเรียน
ประจาและมีการจัดอาหารมังสวิรตั ใิ ห้กบั นักเรียน โดยไม่มกี ารเก็บค่าเล่าเรียนแต่อย่างใด ในปจั จุบนั
มีนัก เรีย น 352 คน ครู 49 คน อัต ราส่ ว นครูต่ อ นัก เรีย นประมาณ 1:6 และแต่ ล ะห้อ งเรีย นจะมี
นักเรียนไม่เกิน 30 คน
โรงเรียนแห่ งนี้อ ยู่ภายใต้กฎ "ความรัก ความเมตตา" โดยเด็กนักเรียนและคุ ณครูอ ยู่ใ น
โรงเรียนเป็นเสมือนครอบครัวใหญ่ ทุกคนดูแลช่วยเหลือกัน ทางโรงเรียนได้เน้นให้เด็กนักเรียนเป็ น
คนดี ไม่ได้เน้นให้เป็ นคนเก่งเพียงอย่างเดียว เพื่อเด็กจะได้เป็ นผูใ้ หญ่ท่ดี ใี นอนาคต สังคมต้องการ
คนดีและคนเก่งควบคู่กนั ไป ดังปรัชญาของโรงเรียนทีก่ ล่าวว่า “ปลายทางการศึกษา คือ อุปนิสยั ทีด่ ี
งาม”
วิสยั ทัศน์
เด็กจะได้รบั การอบรมบ่มนิสยั ให้มคี วามรัก ความเมตตากรุณา มีกริ ยิ ามารยาทที่ดงี าม มี
ความอ่อนน้อมถ่อมตน ซื่อสัตย์ สุจริต กล้าหาญ กตัญญู มันใจในตนเอง ่ รูจ้ กั คิด เสียสละ มีระเบียบ
วินยั ปฏิบตั ติ ่อผูอ้ ่นื อย่างผูม้ คี วามรับผิดชอบ และรักวัฒนธรรมไทย
พันธกิจ
1. ส่งเสริมและพัฒนาผูเ้ รียน ครู และผูป้ กครองโดยยึดหลักคุณค่าความเป็ นมนุ ษย์ เพื่อให้
มีอุปนิสยั ทีด่ งี าม เป็นแบบอย่างทีด่ แี ละยกระดับจิตใจให้เป็ นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์
2. จัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในทุกๆ ด้านให้สอดคล้องกับการเรียนรูแ้ ละฝึกปฏิบตั ิ
จริง เพื่อให้ผเู้ รียนแสดงออกซึง่ ความสามารถของตนได้อย่างเต็มที่
3. ส่งเสริมและพัฒนาให้ผเู้ รียนมีความเป็ นเลิศทางคุณธรรม วิชาการ การกีฬาและทักษะ
ต่างๆ ตามศักยภาพ
4. ส่ งเสริม และสนับ สนุ นให้ผู้เ รียนแสวงหาความรู้จากแหล่ ง การเรีย นรู้ทงั ้ ในและนอก
ประเทศเพื่อให้เกิดการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
5. ส่งเสริมการวิจยั ในชัน้ เรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่อง
335
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

6. บริหารสถานศึกษาและจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้สามารถ
พึง่ พาตนเองได้อย่างเข้มแข็งและยังยื
่ น
ประเด็นเกีย่ วกับการจัดการเรียนการสอน
โรงเรียนสัตยาไสใช้หลัก “Educare” เน้นการอบรมเลีย้ งดู โดยมีความเชื่อว่ามนุ ษย์ทุกคน
ล้วนมีศกั ยภาพในตนเอง ผูส้ อนจึงต้องพยายามดึงเอาศักยภาพเหล่านัน้ ออกมา ตรงกับการศึกษาที่
ยึดผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง ครูเ ป็ นผู้ช้ที างให้กบั นักเรียนซึ่งเป็ นผู้แสวงหา เน้ นให้รู้ จกั ตัง้ คาถาม มี
ความคิดสร้างสรรค์ ควบคู่ไปกับการโน้มนาให้สวดมนต์ ปฏิบตั สิ มาธิ เพื่อเสริมสร้างจิตใจให้เข้มแข็ง
มีความเมตตากรุณา และมีจติ อาสาทีจ่ ะช่วยเหลือผูอ้ ่นื โดยยึดหลัก 3 H คือ Head = สมอง Heart =
หัวใจ Hand = การกระทา การเรียนการสอนเริม่ จากความคิดดี คิดด้านบวกแล้วถ่ายทอดออกมา
เป็ นการกระทาทีด่ แี ละมีประโยชน์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของคุณค่าในความเป็ นมนุ ษย์ทส่ี ะท้อนอยู่
ใน “คุณธรรม 5 ประการ” ซึ่งถือเป็ นแนวทางในการดาเนินชีวติ และการจัดการเรียนการสอนของ
โรงเรียน อันประกอบไปด้วย (1) ความรักความเมตตา (2) ความจริง (3) การประพฤติชอบ (4)
ความสงบสันติ และ (5) อหิงสา
เป้าหมายในการจัดการศึกษาของโรงเรียนสัตยาไสนัน้ ก็คอื “EDUCATION” ซึง่ ก็คอื
Enlightenment: การรูแ้ จ้ง
Duty and Devotion: การปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละการเสียสละอุทศิ ตน
Understanding: ความเข้าใจถ่องแท้
Character: อุปนิสยั ทีด่ งี าม
Action: การนาความรูไ้ ปปฏิบตั ิ
Thanking: การมีใจกตัญญูรคู้ ุณ
Integrity: ความมีเกียรติ รูจ้ กั รับผิดชอบ
Oneness: ความมีใจสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
Nobility: ความสง่างาม
โรงเรียนใช้หลักการ “การเรียนรูโ้ ดยนักเรียนเป็นศูนย์กลาง” และ “การเรียนรูแ้ บบบูรณาการ”
เช่น ให้นักเรียน (เริม่ แต่ชนั ้ อนุ บาล) ร่วมกาหนดหัวข้อทีจ่ ะเรียนรู้ แล้วครูเป็ น ผู้เอื้ออานวย (ไม่ใช่
สอน) ให้นกั เรียนได้เรียนรู้ โดยเน้นการเรียนรูจ้ ากการได้ปฏิบตั ิ ได้เห็นได้ฟงั ได้สมั ผัส ได้ทดลอง ได้
คิดอย่างเหมาะสม ทาให้เด็กเป็นคนเก่งคนดี
นอกจากนี้โรงเรียนสัตยาไสได้นาหลัก “ศีล สมาธิ ปญั ญา” มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน
การสอน เน้น “ความรักความเมตตา” และ “คุณธรรม” โดยบูรณาการเข้าไปในการเรียนการสอนและ
336
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กิจกรรมต่าง ๆ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในทุกสาระการเรียนรู้ สอนทักษะชีวติ ในการอยู่ร่วมกัน


นักเรียนได้เรียนรูต้ ามศักยภาพของตน ตลอดจนการส่งเสริมศักยภาพของนักเรียน โดยใช้กจิ กรรม
ชมรมตามความสนใจ ฝึ ก ให้นัก เรียนรู้จกั คิด วิเ คราะห์อ ย่างมีเ หตุ ผ ล เพื่อ เป็ นมนุ ษ ย์ท่สี มบูรณ์
นักเรียนจึงกล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็น เน้ นการเรียนการสอนแบบโครงงานตัง้ แต่ชนั ้ อนุ บาล
จนถึงมัธยมศึกษา มีแหล่ งเรียนรู้ ศูนย์การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีอ ย่างเพียงพอต่ อนักเรียน มีค รู
เพื่อน รุ่นพี่ รุ่นน้อง เป็ นกัลยาณมิตร ให้การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยครูจะเป็ นที่ปรึกษาดูแล
อย่างใกล้ชดิ ทาให้เกิดความอบอุ่นมีความรัก ความผูกพันต่อกัน

ประเด็นเกีย่ วกับครู
 บทบาทของครู
- ครูเป็นผูอ้ านวยความสะดวกให้ผเู้ รียนได้เรียนรู้ ครูไม่เป็นผูส้ อน พยายามดึงความดี
ออกมาจากนักเรียนใช้วธิ จี ดั การเรียนรูแ้ บบ “ร่วมมือกัน” ไม่ใช่แบบ “แข่งขันกัน” ให้
นักเรียนมีบทบาทในการเลือกว่าจะเรียนอะไร เรียนทีไ่ หน และเรียนอย่างไร รวมถึง
ใช้วธิ กี าร “ตัง้ คาถาม” มากกว่า “ให้คาตอบ” เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
- ครูเป็ นแบบอย่าง โดยครูของโรงเรียน รวมทัง้ ผู้บริหาร มีกฎอยู่ 2 ข้อ ข้อแรกคือ
“เป็นตัวอย่างทีด่ ี ข้อสองคือ ถ้าจาข้อหนึ่งไม่ได้ให้กลับไปดูขอ้ หนึ่งใหม่”
- การปฏิสมั พันธ์ระหว่ างครูกบั เด็ก ครูทาตนเป็ นเพื่อน เป็ นพี่ เป็ นแม่เด็ก เป็ นครู
สอนตลอดเวลา ทาให้เด็กกล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็น กล้าแสดงออก ส่งเสริม
ผูเ้ รียนให้เรียนตามศักยภาพอย่างสูงสุด
 การคัดเลือกครู
- การคัดเลือกครูของโรงเรียนจะเน้นไปทีก่ ารแสวงหาบุคลากรทีเ่ ป็ นคนดีและมีความ
พร้อมทีจ่ ะอุทศิ ตัวเพื่อนักเรียน โดยกระบวนการคัดเลือกจะกินเวลาประมาณ 3 วัน
เป็ นการให้ผสู้ มัครเข้ารับการคัดเลือกได้ลองมาใช้ชวี ติ การเป็ นครูในสถานทีจ่ ริง ได้
ซึมซับปรัชญาและวิธกี ารจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน และในขัน้ สุดท้ายจะให้
นักเรียนเป็นผูต้ ดั สินใจเลือกครูทต่ี นอยากเรียนด้วย

337
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ประเด็นเกีย่ วกับการเชือ่ มโยงการศึกษากับครอบครัว


- โรงเรีย นสัต ยาไสให้ค วามส าคัญ กับ ทัศ นคติข องผู้ป กครองเป็ น อย่า งมาก การ
คัด เลือ กนั ก เรีย นจึง ไม่ ไ ด้ต ัด สิน จากตัว นั ก เรีย นโดยตรง แต่ ค ัด เลือ กจากการ
สัมภาษณ์ผปู้ กครอง เพื่อให้ได้ผทู้ ่เี ข้าใจและยอมรับแนวทางการเรียนการสอนของ
โรงเรียน และผูป้ กครองสามารถเข้ามาเป็นกาลังสาคัญในการจัดกิจกรรมต่างๆ ของ
โรงเรียน
- มีหลายกรณีทพ่ี บว่านักเรียนสามารถนาแนวปฏิบตั ทิ ไ่ี ด้รบั การปลูกฝงั จากโรงเรียน
กลับไปเป็ นตัวอย่างของการปฏิบตั ิตนที่ดใี ห้กบั คนใกล้ชดิ เช่น ครอบครัว ได้อีก
ด้วย
ประเด็นเกีย่ วกับผลสัมฤทธิท์ างการศึกษา
- ไม่ยดึ ติดกับการสอบวัดผลตามระบบในปจั จุบนั เนื่องจากเป็ นการวัดความก้าวหน้า
ทางวัตถุ ทาให้เกิดกิเลส ไม่มคี วามพอใจในสิง่ ที่ตนเองมี แต่เน้นให้เป็ นผู้ท่มี วี นิ ัย
พึง่ พาตนเอง จากการทาสิง่ ต่าง ๆ ด้วยตนเอง ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน
- อย่างไรก็ตาม พบว่านักเรียนที่สตั ยาไสมีทงั ้ คุณธรรมและความรูค้ วบคู่ไปด้วยกัน
เพราะนักเรียนโรงเรียนสัตยาไสสามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้รอ้ ยละ 100 ซึ่ง
สอดคล้องกับหลักปรัชญาของโรงเรียนทีว่ ่า หากสอนเด็กให้เป็ นคนดีแล้ว ความเก่ง
ก็สามารถทีจ่ ะตามมาได้เอง
ประเด็นเกีย่ วกับการบริหารจัดการ
 การอยูร่ ว่ มกับธรรมชาติ
- สามารถผลิตอาหารได้เอง จากผลิตผลทางการเกษตรของโรงเรียน
- อนุ รกั ษ์พลังงาน จากเทคโนโลยีต่าง ๆ ทีน่ ามาประยุกต์ใช้เพื่อผลิตพลังงานใช้เอง
ภายในโรงเรียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ น้ามันไบโอดีเซล
- การใช้สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเป็ นแหล่งการเรียนรูข้ องเด็กนักเรียน
 การสร้างรายได้
- เนื่องจากโรงเรียนไม่ได้มกี ารเก็บค่าเล่าเรียน จึงต้องมีช่องทางในการสร้างรายได้
่ น โดยในปจั จุบ ัน
ให้ก ับตนเอง เพื่อ ให้โ รงเรีย นสามารถด าเนิ นการได้อ ย่า งยังยื
รายได้จะมาจากจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การขายไฟฟ้าจากพลังแสงอาทิตย์ (Solar
Farm)

338
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ความแตกต่างระหว่างโรงเรียนสัตยาไสยและโรงเรียนอืน่ ๆ จากมุมมองของผูเ้ รียน


- เน้ น “ความรัก” เป็ นสิง่ สาคัญ ที่สุด ส่งเสริมให้รุ่นพี่ดูแลรุ่นน้ อง มีความรัก ความ
เมตตา และช่วยเหลือซึง่ กันและกัน
- ได้รบั บทเรียนทัง้ ทางวิชาการและทักษะในการใช้ชวี ติ ซึ่งตัง้ อยู่บนหลักการคุณค่า
ของความเป็ นมนุ ษย์ ทาให้มที ศั นคติทด่ี ี เข้าอกเข้าใจและยอมรับผูอ้ ่นื ตลอดจนไม่
ยึดติดกับวัตถุนิยม เนื่องจากตระหนักว่าหากลดความต้องการลงก็จะมีความสุขมาก
ขึน้ ได้
- การมองอนาคตกว้างกว่าแค่ “จะเข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยใด” ดังเช่นทีเ่ ด็กส่วนใหญ่
เป็ น แต่นักเรียนสัตยาไสจะมองว่าในอนาคตตนจะสามารถทาอะไรเพื่อช่วยเหลือ
สังคมและช่วยเหลือผูอ้ ่นื ได้

339
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

340
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

5.3) เทคโนโลยีเพือ่ การพัฒนาการศึกษา


กรณีศกึ ษาโรงเรียนวังไกลกังวล
โรงเรีย นวัง ไกลกัง วล ตัง้ อยู่ ท่ีอ าเภอหัว หิน จัง หวัด ประจวบคีร ีข ัน ธ์ เป็ น โรงเรีย นที่
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลมีพระบรมราชานุ ญาตให้จดั ตัง้ ขึ้น เมื่อวันที่ 22
มิถุนายน พ.ศ. 2481 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้การศึกษาแก่บุตรหลานของเจ้าหน้าทีผ่ รู้ กั ษาวังไกล
กังวล ซึ่งมีอยู่จานวนมากแต่ไม่มสี ถานที่เล่าเรียน มีฐานะเป็ นโรงเรียนราษฎร์ของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ วั ทีไ่ ด้พระราชอุปการะค่าใช้จ่ายจากเงินพระราชกุศลเป็นรายปี
โรงเรียนวังไกลกังวลเป็ นโรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน (สช.)
กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตัง้ แต่ในระดับอนุ บาล 1 ถึง ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 และมีการสอนใน
341
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ประดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีรูปแบบการบริหารโดยคณะกรรมการเรียกว่า "กรรมการบริหาร


โรงเรียนวังไกลกังวล" ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒทิ างด้านการบริหารโรงเรียน และทางด้านวิชาการ
วิสยั ทัศน์
โรงเรีย นวัง ไกลกัง วลจัด การศึก ษา เพื่อ สนองพระบรมราโชบายที่พระบาทสมเด็จ พระ
เจ้าอยู่หวั พระราชทาน แก่โรงเรียนวังไกลกังวล ความว่า... “ให้จดั การศึกษาอบรมเด็กนักเรียนให้
เป็นเด็กดี มีเมตตากรุณา เมือ่ จบการศึกษาตามกาลังสติปญั ญาของแต่ละคนแล้ว ให้มคี วามสามารถ
ทางานประกอบอาชีพพึง่ ตนเองได้ ไม่ว่าจะเรียนถึงระดับชัน้ ใดก็ตาม”
พันธกิจ
1. ส่งเสริมและปลูกจิตสานึก ให้มคี วามจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
2. จัดการศึกษาด้วยระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ให้ม ีคุณภาพ ตามมาตรฐาน
การศึกษาและเต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
3. จัดสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรูท้ ห่ี ลากหลายและเพียงพอ
4. ส่งเสริมให้บุคลากรได้มกี ารพัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ
5. บริหารจัดการด้วยระบบสารสนเทศ
6. สร้างความสัมพันธ์กบั ชุมชนให้มสี ่วนร่วมในการบริหารจัดการและมีการดาเนินการตาม
โครงการ/งานและกิจกรรม ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ประเด็นเกีย่ วกับการศึกษาด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียม
โรงเรียนวังไกลกังวลมีการจัดทาโครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม โดยจัดตัง้ สถานี
วิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV ขึน้ ทีโ่ รงเรียนวังไกลกังวล ถ่ายทอดการเรียน
การสอนออกอากาศไปยังโรงเรียนเครือข่า ยทัวประเทศ ่ เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2538 และ
ต่อมาได้จดั ตัง้ เป็น “มูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม” เมือ่ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2539
ปจั จุบนั นี้โรงเรียนวังไกลกังวลเป็ นต้นแบบทีท่ รงประสิทธิภาพ และเป็ นศูนย์กลางการเรียน
การสอนด้ว ยระบบทางไกลผ่ านดาวเทียมที่ก้าวหน้ า เป็ นสถานศึกษาแห่งแรกที่ใ ช้เ ทคโนโลยีท่ี
ทันสมัยถ่ายทอดกระบวนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนรูต้ ลอดทัง้ การสร้างองค์ความรูค้ วบคู่
คุณธรรมไปยังผูเ้ รียนทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ สนองพระบรมราโชบายทีท่ รงเน้นให้นักเรียนได้
รูจ้ กั ช่วยเหลือตนเองและยึดเป็นแนวปฏิบตั ติ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

342
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

วัตถุประสงค์
- เพื่อ ขยายโอกาสทางการศึกษาด้ว ยระบบทางไกลผ่ านดาวเทีย ม และมุ่ง แก้ไ ข
ปญั หาการขาดแคลนครูของโรงเรียนในพืน้ ทีช่ นบทห่างไกล รวมถึงปญั หามาตรฐาน
ไม่เท่าเทียมกันของสถานศึกษาต่าง ๆ ได้
- เพื่อ ขยายการเข้า ถึง ความรู้ ทัง้ ส าหรับ นั ก เรีย นและประชาชน ช่ ว ยส่ ง เสริม
กระบวนการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
ช่องทางการรับชมรายการ DLTV
- ระบบ DStv: ระบบจานรับสัญญาณดาวเทียมในย่านความถี่ KU-Band
- ระบบ CAtv: ระบบเคเบิลทีว ี
- ระบบ Internet: ทัง้ ในลักษณะ Live Broadcast และ On Demand ที่website
http://www.dlf.ac.th
ปจั จัยแห่งความสาเร็จ
- เป็ นการริเริม่ นาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่างมี
ประสิทธิภาพ สามารถเข้าถึงชุมชนได้ค่อนข้างทัวถึ
่ ง
- สามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เช่น มูลนิธไิ ทยคิดไทยคมเป็ น
ผูส้ นับสนุนด้านการจัดหาอุปกรณ์ถ่ายทอด กองทัพไทยดูแลระบบการถ่ายทอดจาก
โรงเรียนต้นทาง และกองทัพบกเป็นผูด้ แู ลการติดตัง้ อุปกรณ์ทโ่ี รงเรียนปลายทาง
การจัดการเรียนการสอน
- โรงเรียนไกลกังวลในปจั จุบนั มีการเรียนการสอนทีค่ รบวงจร กล่าวคือ มีการเรียน
การสอนในทุ ก ระดับ ชัน้ เริ่ม ตัง้ แต่ ช นั ้ เด็ก ก่ อ นวัย เรีย น อนุ บ าล ประถมศึก ษา
มัธยมศึกษา ทัง้ นี้เด็กคนไหนทีจ่ บจากระดับชัน้ มัธยมศึกษาแล้วมีความประสงค์ทจ่ี ะ
เรียนต่อในระดับทีส่ งู ขึน้ ก็มอี าชีวศึกษารองรับ คือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) ที่วทิ ยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล ซึ่งมีการ
เปิดสอนหลักสูตรระยะสัน้ ด้านวิชาชีพต่างๆสาหรับบุคคลทัวไปด้ ่ วย นอกจากนี้หาก
นักเรียนมีความประสงค์ท่จี ะเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา ทางโรงเรียนไกลกังวลก็ม ี
โควต้าให้เรียนได้ในสถาบันการเรียนการสอนในเครืออีกที่หนึ่งคือ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตวังไกลกังวลซึ่งตอบสนองกระแสพระราชดารัสของ
ในหลวงที่จะต้องจัดการศึกษาให้เด็กทุกคนสามารถเข้าถึงการศึกษาที่มคี ุณภาพ
จนถึงระดับปริญญา
- การจัด การเรีย นการสอนมีค วามสอดคล้ อ งกับ บริบ ทท้ อ งถิน่ โดยมีก ลไกให้
ผู้ปกครองและชุมชนไปจนถึงสถานประกอบการในท้อ งถิ่นมีส่ ว นร่ว มในการจัด
343
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การศึกษาสะท้อนให้เห็นได้จากหลักสูตรที่เปิ ดสอนของวิทยาลัยการอาชีพวังไกล
กั ง ว ล ทั ้ง หลั ก สู ต รวิ ช าชี พ ระยะสั ้น หลั ก สู ต ร ประกาศ นี ย บั ต รวิ ช าชี พ
ช่างฝี มอื (ปชม.) หรือหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ซึ่งล้วนแต่ประกอบไปด้วย
วิชาทีค่ านึงถึงอาชีพของท้องถิน่ เป็ นสาคัญ มีจานวนถึง 17 แผนกวิชา อันเป็ นการ
สนองโครงการตามพระราชดาริเกี่ยวกับศิลปาชีพพิเศษด้วย และในขณะเดียวกัน
นักเรียนของโรงเรียนวังไกลกังวลสามารถใช้ห้องฝึ กงานของโรงเรียนสารพัดช่าง
เป็นทีฝ่ ึกงานในชัวโมงเรี
่ ยนวิชาการงานพืน้ ฐานอาชีพได้อกี ด้วย
- นักเรียนทีจ่ บการศึกษาจากโรงเรียนไกลกังวลมีผลสัมฤทธิเ์ ป็ นทีน่ ่ าพอใจ โดยเมื่อปี
การศึกษา 2556 ที่ผ่านมามีนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 6 สามารถสอบตรงเข้า
เรียนต่อในระดับปริญญาตรีทม่ี หาวิทยาลัยของรัฐกว่า 80 กว่าคน (ประมาณร้อยละ
50) โดยนักเรียนทีเ่ หลือสามารถสอบชิงทุนเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน อาทิ
เช่น มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) มหาวิทยาลัยรังสิต หรือมีบางส่วนทีไ่ ด้ทุนไป
เรียนต่อที่ต่างประเทศ เช่น ประเทศจีน นอกจากนี้นักเรียนที่สาเร็จการศึกษาใน
ระดับอุดมศึกษาส่วนมากก็ได้รบั เกียรตินิยม นับเป็ นเครื่องยืนยันถึงผลสาเร็จและ
คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนไกลกังวลได้เป็นอย่างดี

สถานีวทิ ยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) นับเป็ นตัวอย่างจุดสว่างหนึ่งที่


ประสบความสาเร็จในการนาเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการพัฒนายกระดับคุณภาพการศึกษาและส่งเสริม
การศึกษาตลอดชีวติ โดยโรงเรียนไกลกังวลเป็ นโรงเรียนต้นทางของสถานีวทิ ยุโทรทัศน์การศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ DLTV ทีด่ าเนินการออกอากาศรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา ในการ
ขยายคุณภาพการศึกษาในระบบโรงเรียน (Formal Education) นอกจากนัน้ DLTV ยังมีการ
ออกอากาศรายการโทรทัศน์เพื่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) อีกด้วย

การศึกษาในระบบโรงเรียน เป็นการจัดการศึกษา ตาม หลักสูตรการศึกษาในระบบโรงเรียน


(Formal Education) ระดับประถมศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อ
ช่วยเหลือโรงเรียนต่างๆ ในรายวิชาทีข่ าดแคลนครูผสู้ อน โดยเฉพาะในพืน้ ทีช่ นบททีห่ ่างไกล หรือ
เป็นรายวิชาทีม่ เี นื้อหาค่อนข้างยาก ขาดแคลนครูผสู้ อนในบางรายวิชา โรงเรียนทีต่ ้องการเข้าร่วม
โครงการฯ หรือโรงเรียนปลายทาง ก็สามารถจัดการเรียนการสอนให้ผเู้ รียนได้ โดยจัดหาเครื่องรับ
สัญญาณดาวเทียม เพื่อรับชมรายการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ตามตารางเวลาทีอ่ อกอากาศ
สาหรับ การจัดการศึก ษาตามอัธ ยาศัย ผ่ านสถานีว ิทยุโทรทัศ น์ การศึกษาทางไกลผ่ าน
ดาวเทียมเป็ นการจัดการศึกษา เพื่อให้ข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ และทักษะที่เป็ นประโยชน์ ต่อการ
พัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนทัวไป่ (Informal Education) การจัดการศึกษาผ่านดาวเทียม เพื่อ

344
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การศึกษาตามอัธยาศัยนี้ กาหนดเนื้อหารายการ ให้สอดคล้องกับสภาพปญั หาในปจั จุบนั และ ความ


ต้องการของประชาชน ในการพัฒนาสภาพความเป็ นอยู่ รวมถึงคุณภาพชีวติ ของประชาชน

345
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

346
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

5.4) การพัฒนาการศึกษาควบคู่ไปกับการขจัดความยากจน
กรณีศกึ ษาโรงเรียนมีชยั พัฒนา
โรงเรียนมีชยั พัฒนา ภายใต้การก่อตัง้ และการดูแลของ คุณมีชยั วีระไวทยะ โรงเรียนแห่งนี้
มีช่อื เล่นทีค่ นมักเรียกกันโดยทัวไปว่
่ าโรงเรียนไม้ไผ่ เพราะอาคารส่วนใหญ่ภายในโรงเรียนสร้างจาก
ไม้ไผ่
โรงเรียนมัธยมมีชยั พัฒนาหรือ “โรงเรียนไม้ไผ่” มีบทบาทเป็น
- ศูนย์ก ารเรียนรู้ต ลอดชีว ิต สาหรับชุมชน ทุกคนมีส่ ว นร่วมและเรียนรู้เ พื่อ พัฒนา
ตนเอง เช่น ทักษะการเกษตร, ทักษะธุรกิจ และทักษะการประกอบอาชีพอื่น ๆ
- ศูนย์กลางสนับสนุ นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยจัดตัง้ กองทุนสนับสนุ น
การประกอบอาชีพแ ละเพิม่ รายได้ สาหรับนักเรียนและครอบครัว
- ศูนย์พฒ
ั นาและอบรมครูเพื่อเพิม่ ความ รูแ้ ละศักยภาพของครูในชนบท

จุดเน้นโรงเรียนมีชยั พัฒนา โรงเรียนเน้นสอนเด็กให้เป็ นมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์ มุ่งหวังสร้างคนดี


นักพัฒนา มีจติ สาธารณะ เน้นพัฒนาการศึกษา ควบคู่ไปกับการขจัดความยากจน ให้โรงเรียนเป็ น
ศูนย์กลางการพัฒนาเป็ นแหล่งเรียนรูต้ ลอดชีวติ ให้กบั ทุกคนในชุมชน โดยดาเนินกิจกรรมในทาง
ปฏิบตั ทิ ่เี ห็นผลเป็ นรูปธรรม ทีโ่ รงเรียนนี้เน้นความดี สอนทักษะชีวติ สอนทักษะการประกอบธุรกิจ
เช่น สอนให้นัก เรียนปลูก ลูก มะนาวนอกฤดู เพาะเห็ด ปลูกผักในถุ ง สร้า งรายได้ น าไปท ากับ
ผูป้ กครองหารายได้ แก้จนได้

347
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

อย่างไรก็ตาม โรงเรียนนี้ไม่เก็บค่าเล่าเรียนจากเด็กนักเรียน แต่ให้เด็กจ่ายด้วยการทาความ


ดี สิง่ ทีพ่ วกเขาเหล่านัน้ สามารถทาได้ ตัวอย่าง ทาดีงา่ ย ๆ ปลูกต้นไม้ 400 ต้น แม้จะก่อตัง้ มาเพียง
ประมาณ 5 ปี แต่ดูพฒ ั นามาก ต้นไม้โต ร่มรื่น โรงเรียนเป็ นระเบียบเรียบร้อย มีการปลูกต้นไม้และ
ปลูกผักจานวนมาก ทัง้ จากการปลูกของนักเรียน ผู้ปกครอง รวมทัง้ ความร่วมมือจากชาวบ้านใน
ชุมชน
Social Enterprise แหล่งเงินทุนเพือ่ การพัฒนาการศึกษา
เนื่องจากโรงเรียนมีชยั พัฒนาไม่เก็บค่าเล่าเรียน โรงเรียนมีแหล่งทุนด้วย Social Enterprise
ตัวอย่างในการทาธุรกิจเพื่อมาดูแลสังคมก็คอื การทาโครงการเพื่อส่งเสริมการศึกษา หรือ BREAD
(Business for Rural Education and Development) เป็ นการศึกษาเพื่อพัฒนาชนบท จัดตัง้ ขึน้ มา
เพื่อหารายได้จากการดาเนินธุรกิจไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของชุมชนในชนบทให้ดขี น้ึ
การจัดการศึก ษาให้ม ีคุ ณ ภาพที่ดี ย่อ มมีต้น ทุน ที่สู ง การพึ่ง พิงเพีย งล าพัง งบประมาณ
แผ่นดินทีไ่ ด้รบั การจัดสรรย่อมไม่เพียงพอ ดังนัน้ กรณีศกึ ษาของโรงเรียนมีชยั พัฒนาจึงเป็ นตัวอย่าง
หนึ่งทีแ่ สดงให้เห็นถึง รูปแบบหนึ่งในการจัดหาเงินทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษา
การบริหารงานของโรงเรียน ทีมงานโรงเรียนแบ่งเป็ น 3 กลุ่ม คือกลุ่มการศึกษา เหมือน
โรงเรียนอื่นๆ แต่โรงเรียนนี้เพิม่ อีก 2 กลุ่ม คือ กลุ่มธุรกิจเพื่อสังคม กับกลุ่มการพัฒนา กลุ่มพัฒนา
น่ าสนใจมาก กลุ่มนี้เข้าไปร่วมกับชุมชนและโรงเรียนอื่น ๆ เพื่อกระตุ้นให้โรงเรียนอื่น ๆ ในพื้นที่
ใกล้เคียงเป็ นศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวติ ของชุมชน เปลี่ยนวัดให้เชื่อมโยงกับโรงเรียนโดยมุ่ง
กลุ่มผูส้ งู อายุ ไม่ให้วดั เป็นเรือ่ งน่าเศร้า แต่กลายเป็นทีเ่ รียนรูข้ องชุมชน
จุด แข็ง ที่ส าคัญ ของโรงเรีย นประการหนึ่ ง คือ การมีคุ ณ มีช ัย ที่ม ีบ ทบาทส าคัญ ในการ
เชื่อมโยงการพัฒนาทัง้ ระดับนานาชาติ ระดับชาติและระดับท้องถิน่ เข้าด้วยกัน (Global-Local) ได้
อย่างดี สามารถดึงธุรกิจต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมมาก ตัวอย่างเช่น Ikea, Microsoft และอื่น ๆ
รวมทัง้ ไม่ปฏิเสธกลไกตลาด แต่ปรับปรุงเป็ น Social Enterprise ทีย่ งยื ั ่ นและมีศกั ดิ ์ศรีกว่าการคอย
รับทุนการศึกษาหรือการรับบริจาคตามปกติทวไป ั่
แนวคิดในการแก้ไขปญั หาความยากจนของคุณมีชยั คือการมองว่าคนยากจน ส่วนใหญ่ของ
ประเทศไทยทีท่ าการเกษตร เป็น "นักธุรกิจขนาดเล็ก"โดยนักธุรกิจกลุ่มนี้ขาด 2 อย่างคือ ทักษะและ
ความรูใ้ นการทาธุรกิจ และ การเข้าถึงสินเชื่อ การแก้ปญั หาจึงมุง่ ไปทีก่ ารแก้ 2 ปญั หานี้
ตัวอย่างเรื่องการส่งเสริมมะนาวนอกฤดูท่ที าให้ชาวบ้านดูเป็ นตัวอย่างว่ามะนาวนอกฤดูม ี
ราคาสูงเพราะอุปทาน (Supply) ในตลาดน้อย มีวธิ หี ลอกต้นมะนาวให้ออกลูกในฤดูแล้งได้ ด้วยองค์
ความรูท้ ไ่ี ม่ยากนัก แต่การไปบอกไปสอนเฉย ๆ ไม่ได้ผล ต้องทาเป็ นตัวอย่าง โดยทาให้เห็นว่าทา
ได้จริงและมีรายได้ดขี น้ึ

348
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ส่วนในด้านสินเชื่อใช้แนวคิด Microfinance โดยให้ชาวบ้านร่วมกันออกกฎกันเอง ใช้ Peer


Pressure ซึง่ หากชุมชนเข็มแข็งก็จะประสบความสาเร็จดี

โรงเรียนเน้นการเรียนการสอนทีใ่ ห้เด็กเป็นศูนย์กลาง
การเรียนการสอนของโรงเรียนมีชยั พัฒนาเน้นการให้ผเู้ รียนเป็ นศูนย์กลางอย่างแท้จริง ผ่าน
การทากิจกรรมต่ างๆ ตัว อย่างเช่น ให้ผู้เ รียนคิดโครงงานที่ส นใจศึกษาเองในวิชาที่บูรณาการ
โครงงาน ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ นักเรียนเป็ นคนคัดเลือกครู รุ่นพี่เลือกรุ่น
น้องเข้าเรียน เป็นกรรมการบริหารโรงเรียน ออกแบบชุดฟอร์มนักเรียนเอง ฯลฯ
สาหรับด้านมาตรฐานและคุณภาพของโรงเรียนมีชยั พัฒนา ที่น่ีเป็ นโรงเรียนที่มคี ุณภาพ
เทียบเท่ากับ โรงเรียนนานาชาติทบ่ี ริหารโดยเอกชน
โรงเรียนมีชยั พัฒนา ใช้หลักสูตรกลางปกติของประเทศ โดยปรับการเรียนการสอนให้เด็กคิด
เป็น จุดเด่นคือเสริมทักษะอีก 2 ทักษะทีส่ าคัญคือ ทักษะชีวติ และทักษะทางธุรกิจ
นอกจากนี้ โรงเรียนมีโครงการหลายสิบโครงการของโรงเรียนที่น่าสนใจ ช่ว ยส่ งเสริม
พัฒนาการการเรียนรูแ้ ละทักษะด้านต่าง ๆ ให้ผเู้ รียน ตัวอย่างเช่น
- โครงการสานฝนั ให้เด็กทีฝ่ นั อยากประกอบอาชีพต่าง ๆ ได้มโี อกาสไปฝึกทีท่ างานจริง
ตัง้ แต่มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 เช่น เด็กที่มคี วามฝนั อยากเป็ นหมอ ทางโรงเรียนก็ส่งไปที่
โรงพยาบาล หรือ อยากทางานโรงแรมก็ส่งไปโรงแรม เด็กบางคนไปเห็นบรรยากาศ
จริง ก็จะรูต้ วั ว่าชอบหรือไม่ชอบ ทาให้กระบวนการค้นพบตนเองทาได้เร็วมากขึน้ หรือ
หากไปฝึกงานมาแล้ว รักและชอบในงานนัน้ ก็จะได้มกี ระบวนการช่วยส่งเสริมต่อไป
- โครงการให้เด็กช่วยกันคัดเลือกผูไ้ ด้ทุน การศึกษา โดยเมื่อทุนน้อยกว่าผูส้ มัคร เด็ก ๆ
จะช่วยกันไปสัมภาษณ์และเยีย่ มบ้านผู้สมัคร เพื่อคัดเลือกผู้ท่เี หมาะสมตามเกณฑ์ท่ี
ร่วมกันกาหนดขึน้
- โครงการเรียนรู้เ กี่ย วกับ คนพิก าร เด็ก ๆ นัง่ รถเข็น แล้ว ใช้ชีว ิต ดู ท าให้เ ข้าใจและ
ร่วมกันปรับสถานทีโ่ รงเรียนให้เอื้อต่อคนพิการ

349
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

350
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กิจกรรมการขยายผลการพัฒนาการศึกษาควบคู่ไปกับการพัฒนาชุมชนเพือ่ ขจัดความ
ยากจน
สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน ร่วมกับโรงเรียนมีชยั พัฒนา มูลนิธมิ ชี ยั วีระไวทยะใน
การขยายผลการพัฒนาได้ร่วมกันขยายผลการพัฒนาการศึกษาควบคู่ไปกับการพัฒนาชุมชนเพื่อ
ขจัดความยากจน ดังเห็นได้จากกรณีการดาเนินการหลายกรณี เช่น

- กรณีโรงเรียนบ้านหนองทองลิม่ School-BIRD (School-Based Integrated Rural


Development) ดาเนินการโดยมูลนิธมิ ชี ยั วีระไวทยะ
- กรณีสหกรณ์พฒ
ั นาประชากรและชุมชนลาไทรโยง จากัด
- กรณีชุมชนหมู่บา้ นหนองตาเข้ม ตามโครงการ Community based integrate rural
development
- กรณีศึก ษาการร่ว มรับผิดชอบต่อ สังคมเพื่อ เพิ่มคุ ณภาพชีวติ และขจัดความยากจน
อย่างยังยื
่ นโดยภาคธุรกิจเอกชน

ตัวอย่างจุดสว่างนี้ เป็ นบทเรียนหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นว่า แม้ว่า หนึ่งในข้อจากัดของการ


พัฒนาด้านการศึกษา คือ การขาดแคลนเงินทุน หรืองบประมาณด้านการศึกษา ส่งผลให้ในพื้นที่
ห่างไกลมีข้อจากัดด้านทรัพยากร หากมีความมุ่งมันและร่ ่ วมมือ ค้นหากลไกการดาเนินการ ก็
สามารถขับเคลื่อนการพัฒนา และลดปญั หาการขาดแคลนทรัพยากร หรือลดข้อจากัดจากพื้นฐาน
ทางด้านเศรษฐกิจสังคมของตัวผูเ้ รียนได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกรณีทผ่ี เู้ รียนมีฐานะยากจน
แนวคิดหนึ่งที่มกี ารดาเนินการเพื่อลดข้อจากัดดังกล่าว คือ การร่วมรับผิดชอบต่อสังคม
เพื่อเพิม่ คุณภาพชีวติ และขจัดความยากจนอย่างยังยื ่ นโดยภาคธุรกิจเอกชน ตัวอย่างเช่น การทา
โครงการเพื่อส่งเสริมการศึกษา หรือ BREAD (Business for Rural Education and Development)
โครงการ School-BIRD : School-Based Integrated Rural Development เป็ นต้น ดาเนินการโดย
มูลนิธมิ ชี ยั วีระไวทยะ
ในกรณีโครงการ School-BIRD มีวตั ถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและปฏิรปู ด้านการศึกษา สร้าง
โรงเรียนในชุมชน ให้เป็ นแหล่ งพัฒนาการเรียนรู้ต ลอดชีวติ รวมทัง้ เป็ นศูนย์กลางในการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม นากระบวนการการมีส่ว นร่วมทัง้ โรงเรียนและชุมชน เข้ามาร่ว มกันพัฒนา
ชุมชนให้สามารถอยู่ได้อย่างยังยื
่ น และสามารถผลิตประชากรที่มคี ุณภาพเข้ามาเป็ นผู้ขบั เคลื่อน
ชุมชนให้เกิดการพัฒนาต่อไปข้างหน้า

351
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กรณี การศึ กษาดูง านสหกรณ์ พ ฒ ั นาประชากรและชุ ม ชนลาไทรโยง จ ากัด เป็ น


สหกรณ์ ท่เี กิดหลังจากการเข้ามาพัฒ นาชุม ชนแบบผสมผสาน ในโครงการ C-BIRD หรือ
Community Based Integrate Rural Development เป็ นโครงการพัฒนาชนบทที่เกิดจากความ
ร่ว มมือ ระหว่ า งรัฐ บาลไทยกับ รัฐ บาลแคนาดา โดยได้ร ับ งบประมาณสนับ สนุ น จาก Canadian
International Development Agency (CIDA) ทาให้ภายในชุมชนได้มกี ารจัดตัง้ กลุ่มการเรียนรูต้ ่างๆ
การเป็ นกลุ่มที่ทารายได้ให้กบั ชุมชน ต่อมาเมื่อ กลุ่มต่าง ๆ ภายในชุมชนสามารถสร้างรายได้เข้าสู่
ชุมชน จึงได้มแี นวคิดในการพัฒนาระบบการบริหารจัดการธุรกิจชุมชนเข้ามา ทาให้เกิดระบบการ
บริหารงานแบบร่วมกัน
กรณี ตวั อย่างชุมชนบ้านหนองตาเข้ม เป็ นชุมชนทีม่ ศี ูนย์เรียนรู้ ที่สามารถสร้างรายได้
ให้กบั ชุมชน ซึง่ ในการบริหารอย่างยังยื่ นนัน้ จาเป็ นต้องดูแลในเรื่องผลประกอบการและความคุม้ ค่า
ของการลงทุนเพื่อให้เกิดผลที่สามารถนาทุนไปต่อยอดและเพิม่ มูลค่าให้กบั ผลิตภัณฑ์และพัฒนา
ชุมชนได้ จากแนวทางการบริหารจัดการด้านการเงินที่ สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน เข้ามาให้
ความรู้จ นชุมชนมีก ารบริห ารจัดการด้านการเงินด้ว ยตนเอง ทาให้ธ นาคารเพื่อ การเกษตรและ
สหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ทีม่ แี นวคิดเรือ่ งการบริหารและการลงทุนอย่างยังยื ่ น ได้ร่วมกับชุมชนจัด
ฝึกอบรมและให้ความรูเ้ กีย่ วกับการทาการเกษตรทีพ่ อเพียง ยังยื ่ น และสามารถพัฒนาคุณ ภาพชีวติ
ความเป็ นอยู่ให้กบั ผู้ท่ปี ระกอบอาชีพเกษตรกรรมได้ โดยให้ผู้ท่เี ข้ามากู้ยมื เงินของธนาคารนัน้ มี
ความรูใ้ นเรือ่ งการบริหารจัดการเงินและรูจ้ กั วิธกี ารใช้เงินอย่างคุม้ ค่า เพื่อให้ภาคการเกษตรทีเ่ ข้ามา
กูย้ มื เงินจากธนาคารสามารถบริหารจัดการรายได้และรายจ่ายในการลงทุน การอุปโภคบริโภค และ
รูจ้ กั สร้างหรือเพิม่ มูลค่าของผลิตภัณฑ์ของตนเองเพื่อให้เกิดความยังยื ่ นในการทาอาชีพเกษตรกรรม
และลดภาระค่าใช้จ่ายให้เกษตรกรเป็ นหนี้น้อยลง หรือไม่เป็ นหนี้ ตามวัตถุประสงค์ของธนาคารคือ
ให้เกษตรกรรู้จกั การใช้จ่ายและเกิดความยังยื ่ นในการประกอบอาชีพของเกษตรกร โดยไม่ทาให้
เกษตรทีเ่ ข้ามาใช้บริการกับธนาคารต้องเป็นหนี้ตลอดชีวติ

352
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

353
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ปจั จัยแห่งความสาเร็จ (Key Success Factors) ทีม่ คี วามคล้ายคลึงกันในกรณีต่าง ๆ และมี


ส่วนสาคัญในการขับเคลื่อนให้หลายสถาบันประสบความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้ เป็ นจุดสว่าง
(Bright Spot) สามารถสรุปได้ดงั นี้
1) ภาวะผูน้ า (Leadership) ในการเป็นพลังขับเคลื่อนให้สถาบันการศึกษาสามารถ
ดาเนินการระดมจัดหาทรัพยากร ค้นหาแนวทางหรือ Solution ที่เหมาะสมกับ
บริบท
2) การมีส่วนร่วม (Participation) จากทุกภาคส่วน ในการร่วมขับเคลื่อน ไม่ว่าจะ
เป็ นผู้บริหาร ครู บุค ลากร ตัวผู้เ รียน ครอบครัว ชุมชน ตลอดจนหน่ ว ยงานที่
เกีย่ วข้อง
3) การออกแบบนวัต กรรมการเรี ย นรู้ โดยการคิด ค้น ทดลอง และปรับ ปรุ ง
นวัตกรรมและเครื่องมือ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนปลูกฝงั บ่มเพาะทักษะการ
เรียนรูต้ ลอดชีวติ
4) พัฒนากลไกการหาแหล่งเงิ นทุน ระดมทรัพยากรด้วยวิธตี ่าง ๆ เพื่อเป็ นการ
ปลดล็อคข้อจากัดด้านงบประมาณการศึกษา เพื่อระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ มา
เพื่อ จัด การเรีย นการสอนได้ อ ย่ า งมีคุ ณ ภาพ มุ่ ง ให้ เ กิด การพัฒ นาคุ ณ ภ าพ
การศึกษาและเกิดความยังยื่ น
354
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.4 โมดูล 4: ระบบการบริ หารจัดการและเครื่องมือเชิ งนโยบาย (Administation &


Policy Instrument)

ในการศึกษาส่วนนี้จะเป็ นการศึกษานโยบาย ยุทธศาสตร์การศึกษาเรียนรู้ ระบบการบริหาร


จัดการและเครื่องมือเชิงนโยบาย ในประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องที่สาคัญ ทัง้ ประเด็นทางด้านการ
จัดการด้านบุคลากรที่เกี่ยวข้องหรือกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ (ไม่ว่าจะเป็ นฝ่าย
นโยบาย โรงเรีย น สถาบัน การศึก ษา บุ ค ลากร ครู ผู้ป กครอง ภาคเอกชน ชุ ม ชนและสัง คม)
งบประมาณ ทรัพ ยากร เทคโนโลยี การบริห ารจัด การที่เ กี่ย วข้อ งกับ การแปลงนโยบ ายและ
ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบตั ิ โดยเนื้อหาในส่ว นนี้จะประกอบไปด้วยการศึกษาจากประสบการณ์
ต่างประเทศ และเชื่อมโยงมาสู่การวิเคราะห์แนวนโยบาย ระบบการบริหารจัดการและเครื่องมือเชิง
นโยบายของประเทศไทย ตลอดจนการวิเคราะห์ประเด็นปญั หาของระบบการศึกษาไทยทีย่ งั รอการ
แก้ไขต่อไป

4.2.4.1 ภาพรวมแนวนโยบายด้านการศึกษาของประเทศต่าง ๆ
การพิจารณาแนวนโยบายด้านการศึกษาของประเทศซึ่งมีการพัฒนาได้อย่างรวดเร็วและ/
หรือ มีนัยสาคัญ จนสามารถหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางได้เป็ นผลสาเร็จ จะสามารถเป็ น
ตัวอย่างที่ดที ส่ี ามารถนามาประยุกต์ใช้ได้กบั ประเทศไทย โดยในรายงานฉบับนี้ได้เลือกนาเสนอใน
6 ประเทศทีน่ ่าสนใจ คือ ประเทศฟินแลนด์ ญีป่ นุ่ เกาหลีใต้ ฮ่องกง สิงคโปร์ ไต้หวัน

ก. ประเทศฟิ นแลนด์
ประเทศฟินแลนด์ถอื ว่าเป็ นหนึ่งในประเทศทีม่ รี ะบบการศึกษาทีด่ ที ส่ี ุดประเทศหนึ่งของโลก
ให้ความสาคัญกับความเสมอภาค ความสาเร็จของระบบการศึกษาในประเทศฟิ นแลนด์นนั ้ ไม่ได้ม ี
มาตัง้ แต่แรกเริม่ หากแต่ผ่านกระบวนการวางนโยบายและแนวการปฏิบตั อิ ย่างเป็ นระบบ
หน่ วยงานหลักที่รบั ผิดชอบการจัดการศึกษาของประเทศฟินแลนด์คอื กระทรวงศึกษาธิการ
และวัฒนธรรม (Ministry of Education and Culture) ซึง่ ปรับเปลีย่ นมาจากกระทรวงศึกษาธิการ
ฟินแลนด์ม ี “ยุทธศาสตร์ 2020” (Strategy 2020) ภายใต้ วิสยั ทัศน์ของชาติทต่ี ้องการเป็ น
ผู้นาด้านองค์ความรูก้ ารจัดการศึกษาอย่างทัวถึ
่ ง และการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ผ่านการวาง
ยุทธศาสตร์ทส่ี าคัญใน 3 ด้าน ได้แก่

355
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- สร้างสังคมแห่งความรูแ้ ละวัฒนธรรมสาหรับอนาคต
- เชื่อมโยงระบบการศึกษาเข้ากับภาคธุรกิจ / ภาคอุตสาหกรรม
- ส่งเสริมความเข้มแข็งของท้องถิน่ และให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคประชา
สังคมในการสร้างสภาพแวดล้อมทางการศึกษาและฐานความรูท้ เ่ี หมาะสม
จุดเน้ นที่ส าคัญ ของนโยบายการศึกษาในประเทศฟิ นแลนด์ค ือ “คุ ณภาพ ประสิทธิภาพ
ความเท่าเทียม และความเป็นสากล”
ในส่วนของการศึกษานอกระบบ เครือข่ายการศึกษาในผูใ้ หญ่ของฟินแลนด์ (Finnish Adult
Education Associate) ได้นิยามความหมายของการศึกษานอกระบบไว้ว่าเป็ นการหยิบยื่นโอกาสใน
การศึกษาให้แก่ผใู้ หญ่โดยทัวไปในสั
่ งคม ซึง่ เป็นคานิยามทีถ่ ูกกาหนดไว้ในกฏหมายการศึกษาอย่าง
เสรีในผู้ใหญ่ (The Liberal Adult Education Act) โดยตัวบทกฏหมายนี้ได้ครอบคลุมถึงการ
ปฏิบตั กิ าร (Operation) และการจัดสรรเงินทุน (Funding) ทีเ่ กี่ยวข้องกับการศึกษานอกระบบใน
ประเทศฟินแลนด์ดว้ ยเช่นกัน
ฟิ นแลนด์นัน้ ให้ความสาคัญแก่การเรียนรู้ตลอดชีวติ มาเป็ นเวลานาน ด้วยเหตุน้ีจงึ มีการ
ผลักดันของการศึกษานอกระบบอย่างต่อเนื่อง โดยในปี ค.ศ. 2010 ฟิ นแลนด์มสี ถาบันการศึกษา
นอกระบบทัง้ หมด 340 แห่ง มีผู้เรียนเป็ นจานวนทัง้ หมด 1.2 ล้านคนด้วยกัน ซึ่งกุญแจสาคัญของ
การศึกษาลักษณะนี้อยู่ท่โี ครงสร้างหลักสูตรที่หลากหลาย เช่นเดียวกันกับการศึกษาในระบบสาย
สามัญ การเข้าร่วมในชัน้ เรียนนัน้ เป็ นไปตามความสมัครใจ (Voluntary Participation) และมีการ
วิธกี ารเรียนการสอนที่ยดึ ผู้เรียนเป็ นหลัก (Learner-based Methods) แต่ละสถาบันการศึกษา
สามารถจัดการเรียนการสอนและรายวิชาอย่างอิสระได้ตามต้องการ โดยมีหน้าที่รบั ผิดชอบการใช้
จ่ายเงินสนับสนุ นที่ได้รบั จากรัฐด้วยตนเอง โดยในปี ค.ศ. 2012 นัน้ ได้มกี ารกาหนดงบประมาณ
ให้แก่การจัดการศึกษาในผูใ้ หญ่ไว้ทงั ้ หมดที่ 165 ล้านยูโรด้วยกัน
เนื่องจากการศึกษาสมควรที่จะต้องมีการเปิดกว้าง ทุกคนควรได้เรียนรูด้ ้วยกัน และเป็ นไป
ในอัตราทีส่ อดคล้องต่อความสามารถของตนเอง ไม่ว่าจะเป็ นการเรียนในห้องเรียน การเรียนตัวต่อ
ตัว หรือ การเรีย นผ่ า นอิน เตอร์เ น็ ต ผู้เ รียนสามารถเลือ กเรีย นวิช าต่ า ง ๆ ได้อ ย่างหลาก หลาย
ยกตัวอย่างเช่น ภาษา สังคมศาสตร์ ความเป็ นพลเมืองดี กีฬา ศิลปะ หัตถกรรม เป็ นต้น สถาบันที่
จัดตัง้ การศึกษานอกระบบนัน้ คือมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยโพลีเทคนิค ทัง้ ทีเ่ ป็ นของรัฐและเอกชน
อีกทัง้ ยังมีศูนย์การเรียนรูใ้ นผูใ้ หญ่แยกต่างหากอีกด้วยเช่นกัน ทัง้ นี้ การฝึก อบรมพนักงานในหน้าที่
(In-service Training) ทีจ่ ดั ขึน้ โดยผูจ้ า้ งงาน (Employer) ก็นับว่าเป็ นทางเลือกหนึ่งของการศึกษา
นอกระบบ

356
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข. ประเทศญี่ปนุ่
ประเทศญี่ปุ่ น เป็ น ตัว อย่ า งของการรัก ษามาตรฐานทางการศึก ษาที่ย อดเยี่ย มได้อ ย่ า ง
ต่อเนื่อง ปลูกฝงั เยาวชนให้รจู้ กั การแก้ปญั หาในชีวติ ประจาวัน เนื้อหาทีน่ ักเรียนได้เรียนในห้องเรียน
สามารถเชื่อมโยงมาสู่การปฏิบตั ิจริงในชีวติ ประจาวันได้ โดยมีปจั จัยที่นับว่าเป็ นจุดเด่นของระบบ
การศึกษาในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1) มีหลักสูตรแห่งชาติ (National Curriculum) ทีไ่ ด้มาตรฐานและมีความเข้มข้นของเนื้อหา
ในระดับสูง มีความสอดรับกันของเนื้อหาวิชาในแต่ละชัน้ ปี ให้เกิดกระบวนการต่อยอด
การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โดยหลักสูตรจัดทาขึ้นโดยกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม
การกีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (The Ministry of Education, Culture, Sports,
Science and Technology: MEXT) ซึง่ จะมีการปรับเปลีย่ นทุก ๆ 10 ปีเพื่อให้ทนั กับ
สถานการณ์ และสาหรับการปฏิรปู การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21 ได้มกี ารกาหนดวาระ
“สร้างพลังแห่งการดาเนินชีวติ ” (Zest for Living) โดยวางเป้าหมายการพัฒนาอย่าง
รอบด้าน ทัง้ ทางด้านวิชาการ สุขภาพอนามัย และจิตใจ
2) เน้ นการมีส่วนร่ว มของเด็กนักเรียนในการเรียนการสอน โดยอาศัยการทากิจกรรมที่
กระตุ้ น ให้ เ กิด การอภิป ราย เช่ น การน าเสนอป ญ ั หาให้ ผู้ เ รีย นร่ ว มกัน คิด หาแนว
ทางแก้ไข และส่งเสริมค่านิยมการเรียนรู้จากความผิดพลาดเพื่อ ให้เด็กกล้าที่จะลอง
สร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ ๆ
3) มุ่งให้เกิดความเท่าเทียม โดยการเรียนการสอนจะไม่มกี ารแบ่งห้องตามระดับผลการ
เรียนของเด็ก ด้วยหลักคิดทีว่ ่าผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษาไม่ได้ขน้ึ อยู่กบั ความสามารถที่
มีมาตัง้ แต่เกิด แต่ขน้ึ อยู่กบั ความขยันหมันเพี
่ ยร เด็กทุกคนจึงควรได้รบั การศึกษาใน
มาตรฐานเดียวกันหมด
4) เชื่อ มโยงระหว่ า งโรงเรีย นและบ้า น โดยครูแ ละผู้ป กครองจะมีก ารสื่อ สารกัน อย่า ง
ต่อเนื่องเพื่อหารือเกี่ยวกับพัฒนาการของบุตรหลานในประเด็นต่าง ๆ ทัง้ ด้านวิชาการ
และด้านความประพฤติทวไป ั ่ เพื่อร่วมกันติดตามและส่งเสริมการศึกษาของเด็กแต่ละ
คน

นอกจากนี้ ในส่วนของการศึกษานอกระบบในประเทศญี่ปุ่นนัน้ คือการศึกษาเรียนรูอ้ ่นื ๆ ที่


นอกเหนื อ จากการศึก ษาในระบบ แต่ ก ระนัน้ ก็ย งั คงอยู่ใ นความดูแ ลของกระทรวงศึก ษาธิก าร
ตัวอย่างของการศึกษานอกระบบคือ จุกุ (Juku) หรือ โยบิโก (Yobiko) ซึง่ เป็ นสถานศึกษาทีจ่ ดั ขึน้
โดยภาคส่วนเอกชน มีชวโมงเรี
ั่ ยนนอกเหนือจากเวลาทัวไปที่ โ่ รงเรียนในระบบจัดการศึกษา จุกุนนั ้ มี
การจัดการเรียนการสอนเสริมทัง้ ในรายวิชาจากในห้องเรียน และสิง่ ที่นอกเหนือจากหลักสูตร ใน
เวลาหลังเลิกงาน สุดสัปดาห์ หรือแม้แต่วนั หยุดนักขัตฤกษ์ ส่วนโยบิโกหรือจุกุขนาดใหญ่นนั ้ จะเน้น

357
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ในด้านของการรองรับการศึกษาในนักเรียนทีจ่ บจากชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายแล้วแต่ยงั ไม่สามารถ


เข้ารับการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย กล่าวคือ ทัง้ จุกุและโยบิโกนัน้ มีลกั ษณะพื้นฐานคล้ายกับ
สถาบันนอกระบบเพื่อการเตรียมความพร้อมเพื่อสอบเข้ามัธยมตอนปลายหรืออุดมศึกษานันเอง ่
นอกจากนี้ การศึกษานอกระบบยังรวมไปถึง การเรียนรูเ้ ชิงสังคม (Social Education) ผ่าน
กลไกการใช้ศูนย์การเรียนรูช้ ุมชน หรือ โคมินกัง ซึง่ เป็ นการจัดและปฏิบตั กิ จิ กรรมร่วมกันในสังคมที่
อยู่นอกเหนือจากหลักสูตรในโรงเรียน ใช้สาธารณูปโภคที่มอี ยู่ทวไปในการจัั่ ดกิจกรรม เช่น ศาลา
กลาง สวนสาธารณะ สระว่ า ยน้ า หรือ แม้แ ต่ พ้ืน ที่ใ นโรงเรีย นที่เ ปิ ด ให้ใ ช้น อกเวลาเรีย น และ
การศึกษาในผูใ้ หญ่ (Adult Education) ทีจ่ ดั การเรียนการสอนผ่านสื่อในลักษณะต่าง ๆ เช่น วิทยุ
โทรทัศน์ การถ่ายทอดดาวเทียม หรืออินเตอร์เน็ต ทัง้ นี้สามารถเก็บหน่ วยกิจเพื่อเอาวุฒกิ ารศึกษา
ได้หรือในบางหลักสูตรก็สามารถเรียนเพื่อเอาปริญญาวิชาชีพได้เช่นกัน ตลอดจนกระทังการบ่ ่ ม
เพาะความรู้ใ นลัก ษณะต่ า ง ๆ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ง การฝึ ก ฝนทัก ษะภาษาอัง กฤษ ( English
Language Training) ซึง่ เป็นทีน่ ิยมและเปิดสอนอย่างกว้างขวาง เพราะคนส่วนใหญ่มองว่าการเรียน
การสอนภาษาอังกฤษตามหลักสูตรในระบบนัน้ ไม่เพียงพอ
ตัว อย่างส าคัญ ของการศึกษานอกระบบที่แ พร่หลายในญี่ปุ่นคือ มหาวิทยาลัยในอากาศ
(University of the Air) หรือทีเ่ รียกว่า โฮโซ ไดกากุ เป็ นการเรียนการสอนนอกระบบทีม่ หี ลักสูตร
สอดคล้องกับหลักสูตรในมหาวิทยาลัย ดาเนินการโดยองค์การพิเศษเพื่อการถ่ายทอด (Broadcast
College Special Corporation) จัดการเรียนการสอนผ่านวิทยุและโทรทัศน์เป็ นหลัก ผู้ทเ่ี ข้ารับ
การศึกษาในลักษณะนี้มตี งั ้ แต่นักเรียนทีจ่ บชัน้ มัธยมปลาย จนถึงนักเรียนทีม่ อี ายุมากกว่า 18 ปี แต่
ไม่มวี ุฒกิ ารศึกษามัธยมปลาย แต่ผทู้ เ่ี ข้ารับการศึกษาส่ว นใหญ่นนั ้ คือกลุ่มทีม่ อี ายุมากกว่า 40 ปีขน้ึ
ไป ทัง้ นี้ ม หาวิท ยาลัย ในอากศก าลัง เข้า มามีบ ทบาทในการเพิ่ม แรงงานในตลาดได้ อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน

358
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ค. ประเทศเกาหลีใต้
ประเทศเกาหลีใต้เป็ นประเทศที่ประสบความสาเร็จในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมี
เป้าหมายในการพัฒนาคนทีส่ มบูรณ์ในทุกด้าน มีความรูแ้ ละทักษะบนพืน้ ฐานความคิดเชิงสร้างสรรค์
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยประเทศเกาหลีใต้ได้ตงั ้ วิสยั ทัศน์ ท่ีจะ “มุ่งสู่ความเป็ นประเทศที่
พัฒนาแล้วโดยอาศัยการส่งเสริมการศึกษา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ให้เป็ นรากฐานของการ
สร้างอนาคต” ทัง้ นี้ จุดเด่นของระบบการศึกษาประกอบไปด้วย
1) มีหน่วยงานผูเ้ ชีย่ วชาญในการวิจยั และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาโดยเฉพาะ นัน่ คือ The
Korean Education Development Institute (KEDI) และ The Korean Institute of
Curriculum and Evaluation (KICE) ซึง่ เป็นอิสระจากกระทรวงศึกษาธิการ ทาหน้าทีใ่ ห้
คาปรึกษาในการออกนโยบายทางการศึกษา การพัฒนาหลักสูต รแห่งชาติ และการ
ประเมินผลสัมฤทธิ ์การเรียนรู้
2) เน้ นการพัฒนาคุ ณภาพผู้เ รียนโดยคานึงถึงความต้อ งการของเด็กแต่ ละกลุ่ ม โดยใช้
ยุทธศาสตร์ท่แี ตกต่างกัน เช่น การให้รางวัลเยาวชนอัจฉริยะและการสอนพิเศษเพื่อ
ส่งเสริมเด็กเก่ง การขยายสวัสดิการทางการศึกษาเพื่อช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาส
3) พัฒนาครู มีแนวทาง เช่น พัฒนาระบบสอบเข้ารับราชการครูและระบบประเมินครูบรรจุ
ใหม่ ฝึกอบรมครู แข่งขันสาธิตการสอน ตลอดจนการสร้างครูตน้ แบบ
4) ตัง้ เป้าในการสร้างผูน้ าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในสังคมโลก โดยให้ความสาคัญ
กับระบบวิทยาศาสตร์ศกึ ษา และส่งเสริมโรงเรียนแห่งความเป็ นเลิศทางวิทยาศาสตร์
ผ่านกลไกต่าง ๆ เช่น
- พัฒนาสิง่ แวดล้อมการเรียนรู้ เช่น ห้องทดลองวิทยาศาสตร์
- เพิม่ กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบอิสระทางวิทยาศาสตร์ ให้ผเู้ รียนได้มโี อกาสเลือกหัวข้อ
และออกแบบโครงงานวิจยั ด้วยตนเอง
- ฝึ กอบรมผู้สอนในวิชาวิทยาศาสตร์ และสร้างพอร์ตวิทยาศาสตร์ศึกษา (Science
Education Portal) ให้ครูได้รบั สารสนเทศทีท่ นั สมัยและมีช่องทางในการแลกเปลีย่ น
ความคิดเห็นระหว่างกัน
- ขยายโครงสร้า งพื้น ฐานส าหรับ การศึก ษาวิจ ัย ส่ ง เสริม ความร่ ว มมือ ระหว่ า ง
มหาวิทยาลัย สถาบันวิจยั และภาคอุตสาหกรรมเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถใน
การวิจยั และพัฒนา รวมถึงกระตุ้นให้เกิดการนาองค์ความรูท้ ่ไี ด้ไปขยายผลให้เกิด
การใช้ประโยชน์ในวงกว้างทัง้ ในเชิงพาณิชย์และเชิงสังคม

359
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

อย่างไรก็ตาม ผูเ้ รียนภายใต้การศึกษาในระบบโดยส่วนใหญ่ของประเทศเกาหลีส่วนมากไม่


รูส้ กึ พึงพอใจแค่เพียงการศึกษาในห้องเรียน ผูท้ ม่ี กี าลังซือ้ มักจะยอมจ่ายเพื่อการเรียนเสริมเพิม่ เติม
ไม่ว่าจะเป็นในแง่ของวิชาการตามหลักสูตร หรือแม้แต่สงิ่ ทีอ่ ยู่นอกหลักสูตรก็ตาม จึงเกิดสถานกวด
วิชานอกเวลาเรียนขึน้ มากมาย ถึงแม้ว่ารัฐบาลจะพยายามควบคุมเพื่อลดปริมาณ แต่กย็ งั ไม่เป็นผล
ในส่ ว นของการศึก ษาในผู้ใ หญ่ มีการออกกฏหมายส่ งเสริมการศึกษาเชิงสังคม (Social
Education Promotion Act) เพื่อผลักดันการศึกษาทดแทนในทัง้ เยาวชนและผูใ้ หญ่ทต่ี ้องทางานและ
ไม่มโี อกาสในการรับการศึกษาในระบบ และในขณะเดียวกันก็เป็ นการส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
(Lifelong Learning) โดยส่วนหนึ่งของสถานศึกษาในลักษณะนี้เกิดขึน้ มาจากภาคส่วนอุตสาหกรรม
ที่เข้ามามีส่วนร่วมจัดการเรียนการศึกษา ผลิตและสร้างเสริมแรงงานที่มอี ยู่ให้สอดคล้องกับความ
ต้อ งการโดยตรง ตัวอย่างของสถานศึก ษานอกระบบมีต ัวอย่างเช่น โรงเรียนเทียบเคียง (Para-
school) ซึ่งให้การศึกษาและวุฒใิ นลักษณะเดียวกันกับการเข้ารับการศึกษาในระบบ ตัง้ แต่ระดั บ
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย จนถึงอุดมศึกษา ในขณะเดียวกันนัน้
เกาหลีใต้เอื้ออานวยให้เกิดการศึกษาระดับอุดมศึกษาได้หลากหลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็ นการสอบ
เทียบในการสอบที่รฐั บาลจัดขึ้นโดยที่ไม่ต้องเข้าเรียน หรือการใช้ระบบธนาคารสะสมการรับรอง
คุณภาพในระดับอุดมศึกษา (The Credit Bank System: CBS) จากการเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยที่
รองรับและสามารถออกการรับรองคุณภาพ (Accreditation) ให้ได้ โดยทางรัฐบาลจะเป็ นผู้ออก
คุณวุฒใิ ห้อย่างถูกต้องเมื่อผูเ้ รียนได้สะสมประวัตกิ ารรับรองคุณภาพการเรียนถึงเกณฑ์ทไ่ี ด้กาหนด
ไว้
ทัง้ นี้ยงั มีการศึกษานอกระบบในลักษณะการศึกษาทางไกล ภายใต้การดูแลของโรงเรียนและ
มหาวิทยาลัยการออกอากาศและการไปรษณีย์ (Air and Correspondence high schools and the
Air and Correspondence University) หรือมหาวิทยาลัยทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ โดยภาคส่วนอุตสาหกรรม
(Industrial University) ตัวอย่างของสถานศึกษาลักษณะนี้ค ือ The Korea Air and
Correspondence University (KACU) ซึง่ ในตอนแรกนัน้ เป็ นเพียงหน่ วยหนึ่งใน Seoul University
และได้แยกตัวออกมาเป็ นมหาวิทยาลัยอิสระในปี ค.ศ. 1982 KACU นัน้ จัดการเรียนการสอนผ่าน
การถ่ายทอดทางโทรทัศน์ ซีดรี อม การสนทนาออนไลน์ (Video Conference) อินเตอร์เน็ต สิง่ พิมพ์
วิทยุ และเทปบันทึกเสียง ซึ่งวิธกี ารสอนนี้เอื้อความเป็ นอิสระให้แก่นักเรียน ไม่ขน้ึ อยู่กบั เวลาหรือ
สถานทีใ่ ด ๆ ทัง้ นี้ KACU มีนักเรียนส่วนใหญ่เป็ นชนชัน้ คนทางาน ทัง้ ในภาครัฐ รับราชการทหาร
หรือแม้แต่บรรดาครูกเ็ ช่นกัน

360
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ง. ประเทศฮ่องกง
การพัฒ นาการการศึก ษาของประเทศฮ่ อ งกงเน้ น เรื่อ งหน้ า ที่พ ลเมือ งและศีล ธรรมเป็ น
แกนกลาง มีความโดดเด่นในการให้ความสาคัญกับ “การรูว้ ทิ ยาศาสตร์” (Science Literacy) และใช้
เทคโนโลยีส ารสนเทศเพื่อ การเรีย นรู้แ บบปฏิส ัม พัน ธ์ โดยมีจุด เด่ น คือ การพัฒ นาทัก ษะการรู้
วิทยาศาสตร์อย่างบูรณาการ แบ่งออกเป็น
1) การรู้ว ิท ยาศาสตร์ ป ฏิบ ัติ : ตระหนั ก ถึง ความเชื่อ มโยงระหว่ า งวิท ยาศาสตร์ กับ
ชีวติ ประจาวัน
2) การรูว้ ทิ ยาศาสตร์เชิงกลไก: สามารใช้หลักการและเหตุผลเป็ นเครื่องมือในการอธิบาย
สิง่ ต่างๆ
3) การรูว้ ทิ ยาศาสตร์เชิงวัฒนธรรม: เห็นคุณค่าของวิทยาศาสตร์อย่างยังยื
่ น เห็นบทบาท
ของความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ในบริบททางสังคม
ในส่วนของแนวทางการขับเคลื่อนและการบริหารจัดการ ประเทศฮ่องกงเน้นการขับเคลื่อน
ใน 7 ด้าน ได้แก่ (1) การปฏิรปู หลักสูตร (2) การปฏิรปู กลไกการประเมิน (3) การส่งเสริมการเรียน
ภาษา (4) การเสริมสร้างศักยภาพให้กบั โรงเรียน มีการสนับสนุ นเงินทุนสาหรับการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา (Quality Education Fund) และมีการจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาศักยภาพครู
(Capacity Enhancement Grant) (5) การสร้างระบบสนับสนุ นการพัฒนาวิชาชีพโดยใช้โรงเรียน
เป็ นฐาน โดยครูไม่จาเป็ นต้องเดินทางออกนอกโรงเรียนเพื่อเข้ารับการอบรม (6) การพัฒนาระบบ
การรับนักเรียนเข้าศึกษา และ (7) การเพิม่ โอกาสทางการศึกษาหลังจากระดับมัธ ยมศึกษาเพื่อ
กระตุน้ ให้มคี วามกระตือรือร้นทีจ่ ะเรียนรูแ้ ละเกิดการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่อง

นอกจากนี้ ฮ่องกงนัน้ ได้ยดึ มันในการพั


่ ฒนาการเรียนรูต้ ลอดชีวติ มาตัง้ แต่ในยุค 90 ด้วย
เหตุผลว่าโลกในยุคใหม่น้ีมกี ารเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังนัน้ การสังสมความรู
่ แ้ ละเรียนรูต้ ลอด
ชีวติ จึงเป็ นสิง่ สาคัญต่อการใช้ชีวติ เป็ นอย่างมาก หนึ่งในรูปแบบการศึกษานอกระบบที่สาคัญใน
ฮ่องกงคือ Continuing and Professional Education หรือ CPE ซึง่ เป็ นการสานต่อการเรียนรูข้ นั ้ สูง
โดยมากจะมีการจัดการเรียนการสอนภายในมหาวิทยาลัย ตัวอย่างมหาวิทยาลัยที่มกี ารสมัครเข้า
เรียนในหลักสูตร CPE มากทีส่ ุดคือ University of Hong Kong ภายใต้การจัดการของสถาบันความ
เป็ นมืออาชีพและการศึกษาอย่างต่อเนื่อง (School of Professional and Continuing Education)
และมหาวิทยาลัยจีนแห่งฮ่องกง (Chinese University of Hong Kong) ภายใต้การจัดการของ
สถาบันการศึกษาอย่างต่อเนื่อง (School of Continuing Study) เป็นต้น

361
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นอกเหนื อ จากมหาวิท ยาลัย ที่จ ัด การเรีย นการสอนนอกระบบ ยัง มีห น่ ว ยงานบริก าร


การศึกษาในผูใ้ หญ่และการศึกษาขัน้ สูงคาริตสั (Caritas Adult and Higher Education Service)
สมาคมการบริหารจัดการฮ่องกง (Hong Kong Management Association) และศูนย์บริการข้อมูล
ด้านการศึกษาเพื่อความเป็ นมืออาชีพ (Information Service Center of Professional Studies:
ISCOPS) ทีด่ าเนินการภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีฮ่องกง (Hong Kong College of Technology)
และอื่น ๆ อีกกว่า 10 หน่วยงานทัง้ จากภาครัฐและเอกชนทีจ่ ดั การศึกษานอกระบบอยูใ่ นปจั จุบนั

จ. ประเทศไต้หวัน
ประเทศไต้หวันมุ่งเน้นการพัฒนาพลเมืองยุคใหม่โดยใช้การศึกษาเป็ นตัวขับเคลื่อนสาคัญ
ภายใต้ยทุ ธศาสตร์หลัก 3 ประการ ได้แก่
- การเสริมสร้างความสามารถทางภาษา
- การสร้างสมดุลระหว่างวัฒนธรรมและเทคโนโลยี
- การสร้างเสริมค่านิยมพืน้ ฐานทีห่ ลากหลาย
ทัง้ นี้ ประเด็นที่ประเทศไต้หวันมีความโดดเด่นเป็ นอย่างมากก็คอื การพัฒนาอาชีวศึกษา
หรือทีเ่ รียกว่า Technology and Vocational Education (TVE) ในไต้หวัน ซึง่ มุ่งเน้นภาคการเกษตร
และธุ รกิจ เป็ นส าคัญ ทาให้ม ีค วามสอดคล้อ งอย่างมากกับการพัฒ นาเศรษฐกิจในภาพรวมของ
ประเทศ โดยแนวทางและมาตรการทีส่ าคัญในการยกระดับอาชีวศึกษาประกอบไปด้วย
1) พัฒนาคุณภาพของการเรียนการสอน
- สร้างโปรแกรมสาหรับการเรียนรูท้ ป่ี รับตัวได้ (Adaptive Learning) และการพัฒนา
คุณภาพ (Quality Improvement) ในอาชีวะขัน้ สูง รวมไปถึงการแจกจ่ายทางด้าน
ทรัพยากรการศึกษาอย่างทัวถึ ่ งในระดับพืน้ ที่
- ริเริม่ โครงการ Teaching Excellence เพื่อมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยเทคโนโลยี
- ส่งเสริมให้มกี ารมุง่ เน้นความเชีย่ วชาญเฉพาะทางในสาขาวิชาใดสาขาหนึ่ง
2) ยกระดับสถาบันจากอนุวทิ ยาลัย สู่วทิ ยาลัย และมหาวิทยาลัย
- กระทรวงศึกษาธิการเปิดโอกาสให้มกี ารยกระดับสถาบันอาชีวศึกษา เนื่องจากมีอุป
สงค์แรงงานอาชีวะขัน้ สูงเพิม่ ขึน้ เป็ นอย่างมาก โดยจะมีการพิจารณาจากประวัติ
ผลงาน และศักยภาพของสถาบัน
3) เพิม่ ความยืดหยุน่ ของหลักสูตรการศึกษา
- มีการจัดตัง้ โรงเรียนมัธยมปลายทีค่ รอบคลุม (Comprehensive High School) ทีม่ ี
การสร้างหลัก สูต รอย่างครอบคลุ มทัง้ สายสามัญ และสายอาชีว ะ เปิ ดโอกาสให้
นักเรียนมีทางเลือกในการเลือกเรียนวิชาทีต่ นเองสนใจ โรงเรียนเปิดโอกาสให้เรียน
362
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทัง้ ในสายวิชาการ หรือสายอาชีพ โดยเมือ่ จบออกไป นักเรียนจะสามารถเลือกได้ทงั ้


การสอบเข้ามหาวิทยาลัยตามปกติ หรือเลือกสอบแบบ TVE เพื่อเข้าสู่ Junior
College, College of Technology หรือ University of Technology

นอกจากนี้ ในส่วนของการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามปกติในบริบทของไต้หวันนัน้ เกิดมา


จากความตัง้ ใจในการผนวกเอาศาสตร์ของความองค์ความรูท้ างวัฒนธรรม (เช่น ศิลปะ การเต้นรา
ดนตรี และอื่น ๆ ) เข้ารวมกันกับการฝึกทักษะอาชีพ (เช่น คหกรรม หรือ หัตถกรรม) แต่ภายหลัง
จากการออกกฏหมายของการศึกษาในระบบเมื่อปี ค.ศ. 1982 การศึกษาหลายรูปแบบจึงถูกทาให้
อยูภ่ ายใต้การศึกษาในระบบ เกิดการทับซ้อนกันของการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ
อย่า งไรก็ต าม ด้ว ยเหตุ ว่ า การศึก ษาในระบบนัน้ มีค วามเข้ม ข้น สูง นั ก เรีย นต้อ งมีก าร
สนับสนุ นเต็มที่จากผู้ปกครอง และการเล่ าเรียนในระบบนัน้ ครอบคลุ มไปถึงการเข้าเรียนอย่า ง
สม่าเสมอ และการประพฤติตนตามกฎระเบียบอย่างถูกต้อง ดังนัน้ แล้วรัฐบาลจึงจาเป็ นต้องผลักดัน
การมีอยูข่ องการศึกษานอกระบบเพื่อชดเชยและตอบสนองให้แต่ผทู้ ต่ี ้องการเล่าเรียนแต่ไม่สามารถ
ปฏิบตั ติ ามข้อบังคับของการศึกษาในระบบได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลุ่มผูพ้ กิ ารหรือผู้ทุพพลภาพ
ต่อมาจึงมีการออกกฏหมายการศึกษาพิเศษขึน้ ในปี ค.ศ. 1982 ยิง่ ไปกว่านัน้ กฏหมายมาตรา 160
ได้ร ะบุ ไ ว้ว่ า ผู้ใ ดที่ส ามารถพิสูจ น์ ไ ด้ว่ า ตนนัน้ บกพร่อ งในคุ ณ สมบัติ ซึ่ง ส่ ง ผลให้ไ ม่ ไ ด้ร บั สิท ธิ
ประโยชน์ จ ากการศึก ษาในระบบ ไม่ว่ า จะเป็ น ด้ว ยความทุ พ พลภาพ หรือ การศึก ษาขาดตอน
(Interrupted) จะต้องได้รบั การทดแทนโดยมีการเอือ้ อานวยและชีแ้ นะถึงช่องทางในการศึกษาโดยไม่
ต้องเสียค่าใช้จา่ ยใด ๆ
ตัวอย่างของการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัยของประเทศไต้หวันมีหลากหลายรูปแบบ
ได้แก่ การศึกษาเพิม่ เติมหรือการศึกษาต่อเนื่อง (Supplementary and Continuing Education
System) ก่อตัง้ มหาวิทยาลัยชุมชน (Community College) สถาบันการศึกษาตามอัธยาศัยทีม่ กี าร
รับรองคุณภาพ และการบ่มเพาะทักษะในหน้าที่ (In-service Training) ตลอดจนกระทังมาตรการ

การส่งเสริมการเรียนรูใ้ นผูส้ งู วัย เป็นต้น

363
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ฉ. ประเทศสิ งคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ให้ความสาคัญกับการศึกษา โดยเล็งเห็นว่าเป็ นศูนย์กลางของรากฐานการ
พัฒนาประเทศ ตลอดจนภาครัฐทุ่มเทในการผสานอุปสงค์และอุ ปทานของการศึกษาให้ผู้เรียนมี
ทักษะทีต่ รงกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยมีปจั จัยแห่งความสาเร็จ ได้แก่
1) วางแผนอย่างชัดเจนและมองไปข้างหน้ า (Forward-looking) มุ่งสู่การเป็ น “โรงเรียน
แห่งการคิดและประเทศแห่งการเรียนรู้” (Thinking School, Learning Nation) โดยใช้
หลักการ “สอนน้อยแต่เรียนรูไ้ ด้มาก” (Teach Less, Learn More)
2) บริหารจัดการอย่างมีบูรณาการและมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น
- การผลักดันนโยบายสู่การปฏิบตั :ิ มีความร่วมมืออย่างใกล้ชดิ ระหว่างผูว้ างนโยบาย
นักวิจยั และนักการศึกษาโดยอาศัยระบบการร่วมรับผิดชอบระหว่างหน่วยงาน
- การวางแผนกาลังคน: กระทรวงกาลังคน (Ministry of Manpower) จะเป็ นผู้
ประสานกับหน่ ว ยงานด้า นเศรษฐกิจต่ า งๆ เพื่อ ประเมินแนวโน้ มความต้อ งการ
แรงงานในแต่ละสาขา ก่อนจะนาไปใช้ในการวางแผนการศึกษาและการฝึกอบรมให้
สอดคล้องกัน
3) ให้ความสาคัญกับความเท่าเทียมทางการศึกษา ซึง่ มีความสาคัญเป็ นอย่างมากต่อสังคม
พหุวฒ ั นธรรมเช่นประเทศสิงคโปร์ เด็กทุกคนไม่ว่าจะมีเชือ้ ชาติใดหรือมีความสามารถ
ในระดับใดก็จะได้รบั การศึกษาทีเ่ หมาะสม จึงมีหลักสูตรทีห่ ลากหลายและมีรปู แบบการ
สอนทีย่ ดื หยุน่
4) มุ่งการพัฒนาทักษะในด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และทักษะขัน้ สูง โดยใช้แนวคิด
แบบต่อยอดความรู้ (Spiral Approach) ชีใ้ ห้ผเู้ รียนเห็นความเชื่อมโยงระหว่างบทเรียน
ทีเ่ รียนไปแล้วว่าเป็นพืน้ ฐานของบทเรียนใหม่ในการต่อยอดความรู้

นอกจากนี้ ในส่วนของการศึกษานอกระบบในประเทศสิงคโปร์นัน้ มีภาคเอกชนเป็ นฝ่ายที่


ส่งเสริมในการจัดการเรียนการสอนหรือชัน้ เรียนสาหรับการศึกษาอย่างต่อเนื่อ งและการศึกษาเสริม
(Continuing and Supplementary Education) ทัง้ นี้มกี ารเปิดสอนตัง้ แต่ การพาณิชย์ การธุรกิจ
คอมพิวเตอร์ ภาษา ศิลปกรรม เป็นต้น
รูปแบบของการศึกษานอกระบบภายใต้การควบคุมของศูนย์การศึกษาทางเทคนิค (Institute
of Technical Education: ITE) คือการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานเพื่อการฝึกฝนทักษะ (Basic Education for
Skills Training: BEST) และ Worker Improvement through Secondary Education Program โดย
การศึกษานอกระบบในลักษณะนี้จะมีการจัดการเรียนการสอนเน้ นไปในลักษณะการบ่มเพาะและ
พัฒนาทักษะแรงงานที่ไม่ได้สาเร็จการศึกษาขัน้ พื้นฐานให้มคี วามรูใ้ นการใช้ภาษาอังกฤษและคิด

364
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

คานวณทางคณิตศาสตร์ นอกจากนี้ ITE ยังจัดการศึกษาต่อเนื่องสาหรับคนวัยทางานในลักษณะ


Part Time อีกด้วย โดยยึดหลักสูตรตาม 3 ระดับของ GCE เป็นหลัก
การศึกษานอกระบบในสิงคโปร์อีกลักษณะหนึ่งคือรูปแบบของโปรแกรมหน่ วยกิจในศู นย์
มหาวิทยาลัยเปิ ด (Open University Center) จัดขึ้นโดยสถาบันการบริหารจัดการสิงคโปร์
(Singapore Institute of Management: SIM) มุ่งเน้นดาเนินการเรียนการสอนให้สามารถเทียบเท่า
มาตรฐานของมหาวิทยาลัยเปิดในสหราชอาณาจักร ซึ่งการเรียนการสอนบนแนวทางทีส่ ่งเสริมการ
เรียนรูแ้ บบเปิด (Supported Open Learning) ซึง่ เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนสามารถเรียนรูท้ ใ่ี ดก็ได้ เวลา
ใดก็ได้ ผ่านหลากหลายช่องทาง กล่าวคือ สามารถเอื้อให้ผเู้ รียนจัดตารางการเรียนให้เหมาะสมกับ
ชีว ิต ประจาวันของตนเองได้ตามต้องการ พร้อ มด้ว ยที่ปรึกษาในการเรียนและการอ านวยความ
สะดวกประจาพื้นที่อย่างครอบคลุม โดยเฉพาะอย่างยิง่ จากครูผู้ดูแล (Tutor) ซึ่งเป็ นผู้ท่เี ข้ามาที
บทบาทในการเรีย นรู้ ส่ ง เสริม และให้ค าแนะน า ไม่ ว่ า จะด้ว ยการนัด พบหรือ การสื่อ สารผ่ า น
อินเตอร์เน็ต ทัง้ นี้ผู้ทม่ี สี ทิ ธิ ์เข้ารับการศึกษาในมหาวทิยาลัยเปิ ดจะต้องมีอายุ 21 ปี ขน้ึ ไป อยู่ใน
ระหว่างการทางาน และมี 2 วุฒ ิ A Level หรือมีใบอนุ ปริญญารับรองแล้วเท่านัน้ ผูเ้ รียนจะได้รบั วุฒ ิ
ปริญ ญาเทีย บเท่ า มหาวิท ยาลัย อื่น ๆ ตามการรับ รองของคณะกรรมการการบริการสาธารณะ
(Public Service Commission)

โดยสรุป บทเรียนจากประสบการณ์ต่างประเทศด้านนโยบายและยุทธศาสตร์การศึกษา มี
ประเด็นทีส่ าคัญ ดังนี้
 สร้างระบบการศึกษาที่มคี ุณภาพ เน้ นการสร้างพื้นฐาน (Foundation) ที่มนคงและ ั่
บูรณาการเพื่อรองรับการศึกษาและการเรียนรูต้ อบสนองต่อสังคมแห่งการเปลีย่ นแปลง
ในศตวรรษที่ 21 ให้ความสาคัญกับประสิทธิภาพ ส่งเสริมความเท่าเทียม และเน้นการ
สร้างสมดุล
 สร้า งพลเมือ งคุ ณ ภาพ คนที่ส มบู ร ณ์ ทุ ก ด้าน ช่ ว ยให้พ บความสามารถพิเ ศษ รับ รู้
ศักยภาพ และมีความกระหายใคร่เรียนรูต้ ลอดชีวติ
 รูป แบบการบริห ารจัดการ สร้างสมดุ ล ระหว่ างการรวมศูน ย์แ ละการกระจายอ านาจ
เน้ นการบริหารการศึกษาด้วยท้องถิน่ มากขึน้ โดยส่วนกลางเป็ นผู้วางเป้าหมายและ
แนวทางสาหรับการศึกษาของประเทศ และให้อสิ ระกับสถานศึกษาในการวางหลักสูตร
และการเรียนการสอนได้อย่างยืดหยุน่ และเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ตลอดจน
ต้องมีกลไกทีช่ ดั เจนในการเชื่อมโยงแนวนโยบายไปสู่การปฏิบตั ิ

365
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 100: แนวนโยบายด้านการศึกษาในภาพรวม

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

366
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 36: เปรียบเทียบแนวนโยบายด้านการศึกษา


เป้ าหมาย ประเด็นสาคัญ แนวทาง/มาตรการ
ฟิ นแลนด์ - สร้างระบบการศึกษาทีม่ ี - สร้างพืน้ ฐาน (Foundation) - สร้างครูคุณภาพสูง
คุณภาพ มีประสิทธิภาพ และ ทีม่ นคงและบู
ั่ รณาการเพื่อ ออกแบบหลักสูตรและวัดผล
ส่งเสริมความเท่าเทียมของ รองรับการศึกษาและการ สอดคล้องกับ “หลักสูตรการ
คนในสังคม เรียนรู้ คิด”
- เน้นศักยภาพเฉพาะตนเป็ น
ทีต่ งั ้
ญี่ปนุ่ - สร้างสังคมฐานการศึกษาและ - รวมพลังเพื่อปรับปรุง - สร้างพลังแห่งการดาเนินชีวติ
นวัตกรรม การศึกษาระหว่างโรงเรียน (The Zest of Living)
- สร้างพลเมืองคุณภาพ ครอบครัว และชุมชน - ยกระดับความสามารถทาง
มีความสามารถ มีวฒ ั นธรรม - พัฒนาความสามารถของ วิชาการ
และรับผิดชอบต่อสังคม แต่ละบุคคล บนพืน้ ฐานของ
การเคารพผูอ้ ่นื
- สร้างสิง่ แวดล้อมทาง
การศึกษาทีม่ คี ุณภาพสูง
เกาหลีใต้ - มุ่งสูส่ งั คมบนฐาน - บ่มเพาะความคิดสร้างสรรค์ - ส่งเสริมการศึกษา
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ และความมีน้าใจต่อผูอ้ ่นื วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(Creative Industry) - เสริมความแข็งแกร่งให้กบั (S&T) เพื่อเป็ นฐานการ
- สร้างคนทีส่ มบูรณ์ทุกด้าน เครื่องยนต์เพื่อการเติบโต พัฒนาไปสูป่ ระเทศพัฒนา
พึง่ พาตนเองได้ มีความคิด (New Growth Engine) เพื่อ แล้ว
ริเริม่ สร้างสรรค์บน อนาคต - ส่งเสริมหลักสูตรสาหรับเด็ก
ฐานความรูแ้ ละทักษะ เข้าใจ อัจฉริยะ
วัฒนธรรม อุทศิ ตนเพื่อ
พัฒนาประเทศ
- อยู่ภายใต้อุดมการณ์
“Hanggik-Ingan”(อุทศิ ตน
เพื่อความสุขของมวลมนุษย์)

367
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 36: เปรียบเทียบแนวนโยบายด้านการศึกษา (ต่อ)


เป้ าหมาย ประเด็นสาคัญ แนวทาง/มาตรการ
ฮ่องกง - ตอบสนองต่อสังคมแห่งการ - กระตุน้ ให้เกิดการเรียนรูท้ จ่ี ะ - เน้นการศึกษาทีม่ ผี เู้ รียนเป็ น
เปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 เรียน (Learning to Learn) ศูนย์กลาง
- ส่งเสริมพัฒนาการอย่าง - เน้นเรื่องหน้าทีพ่ ลเมืองและ
สมบูรณ์พร้อมทุกด้าน ศีลธรรม
ทัง้ คุณธรรม ปญั ญา สุขภาพ - ให้ความสาคัญกับการอ่าน
ทักษะทางสังคม และ ICT และโครงงาน เป็ นกลไก
สุนทรียะ ส่งเสริมการเรียนรู้
- ส่งเสริมการมี Science
Literacy
ไต้หวัน - พัฒนาพลเมืองยุคใหม่ - สร้างสมดุลระหว่างวัฒนธรรม - เสริมสร้างความสามารถด้าน
สาหรับสังคมโลกาภิวฒ ั น์ และเทคโนโลยี ภาษา การอ่าน ICT และ
ตระหนักในความเป็ นชาติ มี - สร้างเสริมค่านิยมพืน้ ฐานที่ กระบวนการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
วิสยั ทัศน์สากล หลากหลาย - ส่งเสริมโรงเรียนสายอาชีวะ
ขัน้ สูงและสถาบันทาง
เทคโนโลยี
- ยกระดับการเรียนการสอน
และ R&D ของมหาวิทยาลัย
สิ งคโปร์ - เป็ น “โรงเรียนแห่งการคิด - ครูเป็ นผูน้ า เอาใจใส่ และ - การศึกษาแบบองค์รวมและ
และประเทศแห่งการเรียนรู”้ สร้างแรงบันดาลใจ แบบกว้าง
- ช่วยให้นกั เรียนพบ - ผูเ้ รียนมีความเข้าใจอย่าง - การเรียนการสอนมีความ
ความสามารถพิเศษ รับรู้ ลึกซึง้ ไม่ใช่ท่องจา หลากหลาย ยืดหยุ่น แบ่ง
ศักยภาพ และมีความ ตามความสามารถของผูเ้ รียน
กระหายใคร่เรียนรูต้ ลอดชีวติ - ใช้หลักการ “Teach Less,
- เตรียมพลเมืองให้มี Learn More” และ “Spiral
ความสามารถในการคิด และ Approach” ผูเ้ รียนมีสว่ นร่วม
เอือ้ ต่อการสร้างความ และสนุกกับการเรียน
เข้มแข็งของประเทศ
ทีมา: วิเคราะห์และรวบรวมโดยคณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

368
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาถึงการศึกษาเรียนรู้ท่นี อกเหนือไปจากการเรียนการสอนในระบบ


โรงเรียนตามปกติ สามารถสรุปได้ว่า ในทุก ๆ ประเทศที่ได้ทาการศึกษา ได้มกี ารพัฒนาการศึกษา
นอกระบบให้อยู่บนพืน้ ฐานของการขยายโอกาสของการศึกษาให้กว้างขึน้ โดยไม่จากัดอยู่แค่ภายใน
ห้องเรียน จุดประสงค์เพื่อให้คนทุกเพศทุกวัยทุกอาชีพสามารถเข้าถึงการศึกษาได้อย่างทัวถึ ่ ง ไม่ถูก
กีดกันด้วยเหตุผลอันเนื่องมาจากเงือ่ นไขส่วนบุคคล อีกทัง้ ยังเพิม่ ความยืดหยุน่ และมุง่ หวังทีจ่ ะดึงดูด
คนให้หนั เข้ามาศึกษาและเรียนรูอ้ ยู่ตลอดเวลา กล่าวคือ เป็ นไปตามแนวคิดการส่งเสริมการเรียนรู้
ตลอดชีวติ ของ OECD ทีไ่ ด้อา้ งอิงไว้ในช่วงต้นนันเอง

ผลการวิเคราะห์ดงั กล่าวสอดคล้องกับการศึกษาของ OECD ทีพ่ บว่ากลไกสาคัญทีจ่ ะทาให้
การเรียนรูต้ ลอดชีวติ (Lifelong Learning) นัน้ ประสบความสาเร็จได้คอื การสร้างระบบหลักเกณฑ์
ของคุณวุฒทิ ด่ี ี มีความน่ าเชื่อถือ เป็ นที่ยอมรับ และมีหลักสูตรทีย่ ดื หยุ่นให้ผเู้ รียนสามารถปรับตาม
ความต้องการและความสนใจได้ เอื้อให้เกิดการถ่ายโอนหน่ วยกิจระหว่างสถานศึกษา สร้างเส้นทาง
ใหม่ในการเรียนรู้ ทุกหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบตั ิหน้ าที่ของตนอย่างเต็มประสิทธิภาพ ผลักดัน
นวัตกรรมทางการศึกษา และส่งเสริมการศึกษานอกระบบ (Non-formal Education) และตาม
อัธยาศัย (In-formal education) เป็ นต้น โดยในส่วนนี้จะกล่าวถึงแนวทางของการศึกษานอกระบบ
ในต่างประเทศเป็นสาคัญ
นัน่ คือ การศึกษาในระบบ ณ ปจั จุบนั ไม่สามารถตอบสนองและรองรับความต้องการของ
ประชาชนได้อย่างเพียงพอ ทัง้ นี้ เพราะคนบางกลุ่มมีขอ้ จากัดหรืออุปสรรค์ขดั ขวางในหลาย ๆ ด้าน
ไม่ว่าจะเป็ นด้านชนชัน้ ทางสังคม ฐานะการเงิน หรือแม้แต่โอกาสการในเข้าถึงการศึกษาในระบบ
ดังนัน้ การศึกษานอกระบบ (Non-formal Education) จึงเป็นอีกทางเลือกสาคัญของผูท้ พ่ี ลาดโอกาส
ในการเข้ารับการศึกษาในระบบ โดยหยิบยื่นทางเลือกอันหลากหลายในการเรียนรูใ้ ห้แก่คนในสังคม
ทัง้ ยังเป็นการขยายโอกาสของการศึกษาให้แก่คนทุกเพศทุกวัยอีกด้วย

369
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.4.2 กรณี ศึกษาเชิ งลึ ก: นโยบายและยุทธศาสตร์การขับเคลื่ อนการศึ กษาของ


ประเทศฟิ นแลนด์ สิ งคโปร์ และญี่ปนุ่

ก. ประเทศฟิ นแลนด์
“Caring for students educationally and personally”
ประเทศฟินแลนด์ถอื ว่าเป็ นหนึ่งในประเทศทีม่ รี ะบบการศึกษาทีด่ ที ส่ี ุดประเทศหนึ่งของโลก
ให้ความสาคัญกับความเสมอภาค โดยไม่เก็บค่าเล่าเรียน จัดการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ตัง้ แต่อายุ 7-
16 ปี มีก ารจัดเตรีย มอุ ด มศึก ษาในสายสามัญ และอาชีว ศึก ษา ส าหรับ ในระดับ อุ ด มศึกษาจะมี
มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยอาชีวศึกษาขัน้ สูง จากรายงานการศึกษาของ UNICEF เปรียบเทียบ
ประเทศทีพ่ ฒั นาแล้ว 29 ประเทศทัวโลก
่ ปี ค.ศ. 2011 พบว่าฟินแลนด์อยู่ในอันดับที่ 4 ของประเทศ
ที่เด็กเยาวชนมีพฒ ั นาการดีท่สี ุด เด็ก ทุกคนได้รบั การศึกษาฟรีจนจบมหาวิทยาลัย และมีอาหาร
กลางวันคุณภาพดีจนจบมัธยมศึกษา รวมทัง้ มีการให้บริการด้านสุขภาพและการเดินทางไปโรงเรียน
เพื่อสร้างแรงจูงใจให้เด็กมาโรงเรียนและช่วยเรือ่ งการเรียนรู้
ความสาเร็จของระบบการศึกษาในประเทศฟินแลนด์นนั ้ ไม่ได้มมี าตัง้ แต่แรกเริม่ หากแต่ผ่าน
กระบวนการวางนโยบายและแนวการปฏิบตั อิ ย่างเป็ นระบบ ยึด หลักการใช้แนวนโยบายด้านการ
คึกษาทีม่ กี ารปฏิรปู อย่างต่อเนื่อง ประชาชนมีส่วนร่วม และมีความเสมอภาคทางการศึกษา ประเทศ
ฟินแลนด์ได้เริม่ ปฏิรปู การศึกษาและหลักสูตรอย่างจริงจังในช่วงปี ค.ศ. 1970s ในช่วงแรกได้มุ่งเน้น
ไปที่ก ารเพิ่มการเข้าถึงการศึก ษาให้เ ด็กทุกคนมีโอกาสได้เ รียน โดยอาศัยองค์กรปกครองส่ ว น
ท้องถิน่ คือ เทศบาล เป็ นผูจ้ ดั การศึกษา ต่อมาได้ปรับเปลี่ยนหลักสูตรอีก 3 ครัง้ ในปี ค.ศ. 1985
1994 และ 2004 โดยเพิม่ น้าหนักการให้ความสาคัญท้องถิน่ ในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อให้สอดคล้อง
กับความต้องการของผู้เ รียน และสร้างความเข้มแข็ งของเครือข่ายชุมชน ผู้ปกครอง และองค์กร
ต่างๆ ให้รว่ มกันสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
หน่ วยงานหลักทีร่ บั ผิดชอบการจัดการศึกษาของประเทศฟินแลนด์คอื กระทรวงศึกษาธิการ
และวัฒนธรรม (Ministry of Education and Culture) ซึง่ ปรับเปลีย่ นมาจากกระทรวงศึกษาธิการ
(Ministry of Education) ตัง้ แต่ในปี ค.ศ. 2010 มีขอบเขตหน้าทีค่ วามรับผิดชอบครอบคลุมถึงด้าน
วิท ยาศาสตร์ การวิจ ยั วัฒ นธรรม การกีฬ า และนโยบายที่เ กี่ย วข้อ งกับ เยาวชน ในป จั จุ บ ัน มี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง 2 ตาแหน่ ง แบ่งตามภาระหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ คือ (1) การศึกษาและ
การวิจยั และ (2) วัฒนธรรม การกีฬา เยาวชน ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา และการช่วยเหลือทางการเงิน
สาหรับนักเรียน

370
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 101: กระทรวงศึกษาธิ การและวัฒนธรรมของประเทศฟิ นแลนด์

Minister of Education and Science Minister of Culture and Sport

Permanent Secretary

Communication and Public Relations International Relations

Department for Department for Department for Department of


Education Policy Higher Education Cultural, Sport and Education Policy
Secretary and Steering and Science Policy Youth Policy Secretary and Steering
 General Education Secretary andSteering Secretary and Steering  Administration and
 Vocational  Higher Education  Cultural Legislation Budget
Education and Policy and Finance  Internal Services
Training  Science Policy  Art Policy  Finance
 Adult Education  Cultural Policy  Information
and Training  Sports Policy Management
 Youth Policy

ทีม่ า: Ministry of Education and Culture, Finland

โครงสร้างระบบการศึกษา
ระบบการศึกษาของประเทศฟินแลนด์ประกอบไปด้วย
1. การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานภาคบังคับ 9 ปี ตัง้ แต่ระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนต้น
แต่จะมีการเรียนตามความสมัครใจเพื่อเตรียมความพร้อมก่อน 1 ปี (Pre-primary
Education)
2. การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แบ่งออกเป็ นสายสามัญและสายอาชีพ รวมถึง
การฝึกหัดสาหรับการศึกษาต่อในสายอาชีวศึกษาหรือสายวิชาชีพเฉพาะทาง
3. การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ซึง่ จัดการเรียนการสอนโดยมหาวิทยาลัยและสถาบันโปลิ
เทคนิค

371
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 102: โครงสร้างระบบการศึกษาของประเทศฟิ นแลนด์

ทีม่ า: Center on International Education Benchmarking

โครงสร้า งของระบบการศึก ษาของประเทศฟิ น แลนด์ไ ด้ถู ก ออกแบบเพื่อ ให้ส ะท้อ นถึง


เจตนารมณ์ในการจัดการศึกษาที่มคี ุ ณภาพสูงให้กบั ประชาชนอย่างทัวถึ ่ งและต่อเนื่อง ผ่านการ
นาเสนอทางเลือกในการรับการศึกษาทีเ่ ปิดกว้างและหลากหลาย รวมถึงมีความยืดหยุ่น เปิดโอกาส
ให้ผเู้ รียนสามารถปรับเปลีย่ นเส้นทางการศึกษาได้หากพบว่าแนวทางทีเ่ ลือกไว้เดิมไม่สามารถตอบ
โจทย์ความต้องการของตนได้ กลไกดังกล่าวเป็ นการป้องกันไม่ให้เกิดทางตันในการศึกษาพร้อมๆ
กับการหลีกเลีย่ งความซ้าซ้อนของการศึกษาในระดับชัน้ ต่างๆ

372
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เป้าหมายของระบบการศึกษาและแนวนโยบายทีส่ าคัญ
ตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาพืน้ ฐานปี ค.ศ.1998 (Basic Education Act of 1998) ของ
ประเทศฟินแลนด์ซง่ึ ได้มกี ารปรับปรุงเมื่อปี ค.ศ. 2010 ได้ระบุไว้ว่าเป้าหมายของการจัดการศึกษา
ของชาติค ือ เพื่อ สนั บ สนุ น เยาวชนให้ส ามารถเติบ โตเป็ น พลเมือ งที่ม ีม นุ ษ ยธรรมและมีค วาม
รับผิดชอบต่อสังคม พร้อมทัง้ มีความรูแ้ ละทักษะที่จาเป็ นต่อการดารงชีพ สามารถพัฒนาตนเองได้
ตลอดชีวติ นอกจากนี้ การศึกษาต้องสามารถสนับสนุ นความเจริญรุ่งเรืองของประเทศและความเท่า
เทียมกันของคนในสังคม
เจตนารมณ์ดงั กล่าวยังคงสะท้อนอยู่ในแนวนโยบายด้านการศึกษาของประเทศมาจนถึงใน
ปจั จุบนั ดังจะเห็นได้จาก “ยุทธศาสตร์ 2020” (Strategy 2020) ภายใต้วิสยั ทัศน์ ของชาติ ที ่
ต้ องการเป็ นผู้นาด้ านองค์ความรู้ การจัดการศึ กษาอย่ างทัวถึ
่ ง และการส่ งเสริ มความคิ ด
สร้างสรรค์ผ่านการวางยุทธศาสตร์ทส่ี าคัญใน 3 ด้าน ได้แก่
- สร้า งสัง คมแห่ ง ความรู้แ ละวัฒ นธรรมส าหรับ อนาคต โดยคาดการณ์ แ นวโน้ ม การ
เปลีย่ นแปลงต่างๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ เพื่อนามาเป็ นข้อมูลในการเสริมสร้างสภาพแวดล้อมที่
เอื้อให้เกิดการวิจยั นวัตกรรม และกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดการบ่มเพาะ
องค์ ค วามรู้ โดยมุ่ ง พัฒ นาระบบการศึก ษา การสร้า งและใช้ป ระโยชน์ ว ัฒ นธรรม
สร้างสรรค์ (Creative Culture) การคิดค้นและพัฒนาวิธกี ารเรียนการสอน การสร้าง
แรงจูงใจในการเรียน ตลอดจนการเชื่อมโยงเครือข่ายในการส่งเสริมและแลกเปลี่ยน
ความรู้
- เชื่อมโยงระบบการศึกษาเข้ากับภาคธุรกิจ / ภาคอุตสาหกรรม โดยปรับระบบการศึกษา
ให้มคี วามสอดคล้องกับพัฒนาการของโครงสร้างอุตสาหกรรมและตลาดแรงงานของ
ประเทศ กระตุน้ ในเกิดการยกระดับศักยภาพแรงงาน
- ส่งเสริมความเข้มแข็งของท้องถิน่ และให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคประชา
สังคมในการสร้างสภาพแวดล้อมทางการศึกษาและฐานความรูท้ เ่ี หมาะสมสาหรับบริบท
ของตนเอง อันจะช่วยสร้างโอกาสและยกระดับคุณภาพชีวติ ให้กบั ประชาชน

จุดเน้ นที่สาคัญของนโยบายการศึกษาในประเทศฟิ นแลนด์คอื “คุณภาพ ประสิ ทธิ ภาพ


ความเท่ าเที ยม และความเป็ นสากล” มีแผนพัฒนาการศึกษาและการวิจยั (Education and
Research Development Plan) เป็ นหลักสาคัญสาหรับการนาแนวทางที่รฐั บาลได้ประกาศไว้
(Government Programme) ไปสู่การปฏิบตั ิ ซึง่ รัฐบาลได้ระบุว่าความสามารถในการแข่ง ขันของ
แรงงานของประเทศจาเป็ นต้องอาศัยระบบการศึกษาที่ดี มีระบบโรงเรียนที่ครบวงจรเพื่อส่งเสริม
โอกาสในการเข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียม โดยแผนพัฒนาการศึกษาและการวิจยั ฉบับล่าสุดได้ม ี

373
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การประกาศใช้เ มื่อ สิ้นปี ค.ศ. 2011 มีระยะเวลาของแผนครอบคลุ มปี ค.ศ. 2011-2016 โดย
เป้าหมายที่สาคัญประกอบไปด้วย (1) สนับสนุ นความเท่าเทียมทางการศึกษา (2) เสริมสร้าง
คุณภาพของการศึกษาในทุกระดับชัน้ และ (3) ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ดังนัน้ แนวนโยบาย
ของประเทศฟินแลนด์จงึ มุง่ เน้นทีก่ ารสร้างปจั จัยพืน้ ฐาน (Foundation) ในด้านการศึกษาทีแ่ ข็งแกร่ง
และมีความยืดหยุน่ ในการรองรับการพัฒนาด้านการศึกษาในอนาคต โดยมีแนวทางทีน่ ่าสนใจดังนี้
การสร้างสมดุลระหว่างการรวมศูนย์และการกระจายอานาจ
ในช่วงประมาณครึง่ ศตวรรษทีผ่ ่านมา ประเทศฟินแลนด์ได้เปลีย่ นผ่านจากระบบการศึกษา
แบบรวมศูนย์อานาจที่มุ่งเน้นการสอบวัดผลมาตรฐานไปสู่ระบบที่เน้นการบริหารจัดการการศึกษา
โดยระดับท้องถิน่ มากขึน้ ให้ครูในท้องถิน่ เป็ นผู้เชื่อมโยงเป้าหมาย กรอบแนวทาง และมาตรฐาน
การศึกษาทีม่ กี ารกาหนดจากส่วนกลางมาสู่การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับบริบท
ของนักเรียน และมีการติดตามผลการดาเนินการในระดับท้องถิน่ อย่างต่อเนื่องโดยการประสานงาน
ระหว่างศูนย์พ ฒ ั นาการทางเศรษฐกิจ การขนส่ ง และสิ่งแวดล้อม (Centers for Economic
Development Transport and the Environment) และศูนย์ราชการท้องถิน่ (State Administrative
Agencies: ELY)
การถ่ายโอนดังกล่าวอาศัยกลไกการกระจายงบประมาณอย่างเพียงพอและการเตรียมความ
พร้อมอย่างเข้มข้นให้กบั ครูในพืน้ ทีภ่ ายใต้หลักการคือการลงทุนพัฒนาศักยภาพของครูและโรงเรียน
ในท้องถิน่ เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นในการตอบสนองต่อความต้องการด้านการศึกษาของเด็กทุกคน
่ ง ควบคู่ไปกับการกาหนดวิสยั ทัศน์ เป้าหมาย และแนวทางจากส่วนกลางเพื่อให้ทุก
ได้อย่างทัวถึ
ภาคส่วนสามารถร่วมกันจัดการศึกษาได้อย่างสอดคล้องกัน
นอกจากนี้ เพื่อ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั โรงเรียนในท้อ งถิ่นให้มากยิง่ ขึ้น ประเทศ
ฟินแลนด์มกี ารสนับสนุ นส่งเสริมการสร้างเครือข่ายระหว่างโรงเรียนในท้องถิน่ เดียวกัน เพื่อร่วมกัน
ระดมความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการกาหนดหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
ตลอดจนร่วมพัฒนาและแบ่งปนั ทรัพยากรต่าง ๆ เช่น สื่อการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดการร่วมกัน
พัฒนาศักยภาพ (Collateral Capacity Building) ซึง่ จะสามารถก่อให้เกิดการขยายผลนาต้นแบบ
แนวทางการจัดการศึกษาทีม่ ปี ระสิทธภาพและประสิทธิผลไปใช้ในวงกว้างได้อย่างรวดเร็ว
การสร้างความเชือ่ มโยงระหว่างภาคการศึกษาและภาคอุตสาหกรรม
เพื่อให้ระบบการศึกษาสามารถตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานได้อย่างรวดเร็ว
และมีประสิทธิภาพประเทศฟิ นแลนด์ได้มแี นวทางในการเพิม่ ความยืดหยุ่นของการเรียนการสอน
และการฝึ กอบรมเพื่อให้สามารถรองรับความต้องการและลักษณะการเรียนรูข้ องผู้เรียนที่มคี วาม
หลากหลายได้ โดยอาศัยการเพิม่ สัดส่วนของการเรียนรูจ้ ากการทางาน (Work-based Learning)

374
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เพื่อให้ผเู้ รียนได้มโี อกาสสัมผัสกับชีวติ การทางานจริง และสามารถเห็นภาพเส้นทางอาชีพของตนได้


ชัดเจนมากขึน้ โดยมีแนวการดาเนินการทีส่ าคัญได้แก่
- สร้างความร่วมมือระหว่างหน่ วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา และภาคอุ ตสาหกรรม
รวมถึงจัดบริการในการให้ความช่วยเหลือนายจ้างในการให้ความรูแ้ ละจัดการฝึกอบรม
ให้กบั ลูกจ้างเพื่อยกระดับทักษะ โดยเน้นการกระจายการสนับสนุ นดังกล่าวให้ทวถึ
ั ่ งใน
ทุกพืน้ ที่
- กาหนดให้ผทู้ ม่ี หี น้าทีใ่ นการฝึกสอนผูเ้ รียนในช่วงของการฝึกงานต้องได้รบั การฝึกอบรม
(Suffient Training for On-the-job Instructors) อย่างเพียงพอ และสามารถเข้าถึงการ
ฝึกอบรมดังกล่าวได้โดยง่าย นอกจากนี้ จะมีการกาหนดมาตรฐานของเนื้อหาและการ
ฝึกปฏิบตั ใิ ห้สอดคล้องกันทัวประเทศ
่ โดยแบ่งตามหลักสูตรและระดับการศึกษา
- กาหนดให้สถาบันการศึกษาเปิ ดโอกาสให้ภาคอุ ตสาหกรรมและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง
กับการควบคุมดูแลการตลาดแรงงานได้เข้ามาสื่อสารและให้ข้อมูลกับผู้เรียนโดยตรง
ได้มากขึน้ เพื่อให้เห็นถึงเส้นทางอาชีพและโอกาสในการทางาน
การสร้างระบบความรับผิดชอบ (Accountability System)
ประเทศฟิ น แลนด์ม ีน โยบายการจัด ตัง้ ศู น ย์ก ารประเมิน การศึก ษาแห่ ง ชาติ (National
Education Evaluation Centre) เนื่องจากตระหนักถึงความสาคัญทีม่ ตี ่อการตัดสินใจเชิงนโยบาย
และการพัฒนาการศึก ษาของประเทศ ข้อมูลจากการประเมินผลดังกล่าวจะช่ว ยในการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาและการปรับปรุงการเรียนการสอนทัง้ ในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ ทัง้ นี้
ศูนย์การประเมินการศึกษาแห่งชาติจะเกิดจากการควบรวมหน่ วยงาน 3 หน่ วยงานในปจั จุบนั ได้แก่
สภาการประเมินการอุดมศึกษา (Higher Education Evaluation Council) สภาการประเมิน
การศึกษา (Education Evaluation Council) และคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ( National Board
of Education) เพื่อให้เกิดความเป็ นเอกภาพ มีประสิทธิภาพและมีความเป็ นอิสระในการดาเนินการ
มากยิง่ ขึน้ มีบทบาทหน้าทีห่ ลักในการประเมินความเท่าเทียมในการจัดการศึกษา การประเมินความ
คุ้ม ค่ า และประสิท ธิผ ลของการจัด การศึก ษา รวมถึง การประเมิน ผลกระทบของการศึก ษาต่ อ
สวัสดิการ การจ้างงาน และความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
นอกจากนี้ ประเทศฟินแลนด์ยงั ได้มแี นวนโยบายในการจัดทาภาพอนาคตในด้านการศึกษา
ของชาติ (Educational Foreight) โดยใช้การวิเคราะห์ทงั ้ ในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพื่ อนา
ผลลัพ ธ์มาใช้ใ นการพัฒนาระบบการศึกษาต่ อ ไปในอนาคต เพื่อ ให้ส ามารถตอบสนองต่ อ ความ
ต้องการของประชาชนและตลาดแรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

375
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข. ประเทศสิ งคโปร์
“A coherent curriculum delivered to every school by high-quality teachers”
ประเทศสิง คโปร์เ ป็ น ตัว อย่า งที่โ ดดเด่น ประเทศหนึ่งในด้านการพัฒนาประเทศ โดยใน
ระยะเวลาเพียงครึง่ ศตวรรษประเทศสิงคโปร์สามารถก้าวกระโดดจากการเป็ นเกาะขนาดเล็กที่ขาด
แคลนทรัพยากรธรรมชาติมาสู่การเป็นประเทศทีม่ รี ะดับการพัฒนาในระดับสูง จุดเริม่ ต้นทีส่ าคัญของ
การพัฒนาดังกล่าวมาจากการที่ผนู้ าประเทศในขณะนัน้ คือ นายลี กวน ยู ได้เล็งเห็นว่าทรัพยากร
มนุ ษย์จะเป็ นปจั จัยสาคัญยิง่ ในการผลักดันประเทศสิงคโปร์ให้ก้าวไปข้างหน้าได้ท่ามกลางข้อจากัด
ทางด้านทรัพยากรอื่นๆ รวมทัง้ ตระหนักว่าการศึกษาจะเป็ นปจั จัยสาคัญในการสร้างบุคคลากรของ
ประเทศให้มคี ุณภาพทัดเทียมกับมาตรฐานของประเทศพัฒนาแล้วได้ อีกทัง้ ยังจะช่วยหลอมรวม
ความแตกต่างทางศาสนาและวัฒนธรรมเพื่อสร้างความมันคงของชาติ ่ ดังนัน้ การพัฒนาคนจึงเป็ น
ปจั จัยขับเคลื่อนทีส่ าคัญยิง่ ของการพัฒนาทัง้ ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสิงคโปร์ และเป็ น
เจตนารมณ์ทย่ี งั คงได้รบั การสืบทอดเรือ่ ยมาจนถึงปจั จุบนั
การจัดทานโยบายด้านการศึกษาที่สาคัญของประเทศสิงคโปร์มที ่มี าจากความพยายามใน
การสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดยการเพิม่ การเข้าถึงการศึกษาทีม่ คี ุณภาพให้กบั
นัก เรีย นทุ ก คน มีก ารปรับ ระบบการศึก ษาและการแบ่ ง หลัก สู ต รการเ รีย นการสอนตามระดับ
ความสามารถของผู้ เ รีย น โดยมีก ารจัด ตั ง้ สถาบัน พัฒ นาหลั ก สู ต รแห่ ง ชาติ ( Curriculum
Development Institute of Singapore) เพื่อควบคุมดูแลเนื้อหาของหลักสูตรและสื่อการเรียนการ
สอนที่มคี ุณภาพและสอดคล้องกัน นอกจากนี้ ในช่วงปี ค.ศ. 1990s รัฐบาลได้มกี ารประกาศใช้
แนวทาง “โรงเรียนแห่ งการคิ ดและประเทศแห่ งการเรียนรู้” (Thinking Schools, Learning
Nation) เพื่อต่อยอดการพัฒนาคน ที่นอกจากจะต้องมีความรู้ในด้านเนื้อหาสาระทางวิชาการที่ดี
แล้ว ยังจะต้องมีคุณลักษณะในด้านอื่นๆ ประกอบกันไปด้วย ได้แก่ ค่านิย ม ทัศนคติ และทักษะทีจ่ ะ
สร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ ผ่านการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนให้ส่งเสริมศักญภาพใน
ด้านความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมให้กบั ผู้เรียน และในปี ค.ศ. 2004 ประเทศสิงคโปร์ได้นา
แนวทาง“การสอนให้ น้อยลงแต่ เรียนรู้ได้ มากขึ้น” (Teach Less, Learn More) มาใช้กบั
การศึกษาของชาติ เพื่อปรับเปลี่ยนแนวทางการสอนในห้องเรียนจากการท่องจาไปสู่การทาความ
เข้าใจในหลักการเชิงลึกและการเรียนรูจ้ ากการแก้ปญั หา (Problem-based Learning)
หน่ ว ยงานหลั ก ที่ ท าหน้ า ที่ ค วบคุ ม ดู แ ลในด้ า นการศึ ก ษาของประเทศสิ ง คโปร์ ค ื อ
กระทรวงศึกษาธิการ (Ministry of Education) ซึง่ เป็นผูอ้ อกนโยบายและวางแนวทางไปสู่การปฏิบตั ิ
รวมถึงวางแนวทางในการบริหารจัดการสถาบันการศึกษาของรัฐและสถาบันการศึกษาที่รฐั ให้การ
ช่วยเหลือ ทัง้ ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษารวมถึงเป็ นผูก้ ากับการจัดการเรียน
การสอนในสถาบันการศึกษาเอกชน

376
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 103: กระทรวงศึกษาธิ การของประเทศสิ งคโปร์

Minister

Permanent Secretary Permanent Secretary


(Education) (Education Development)

Professional Wing Policy Wing Services Wing


 Education curriculum  Corporate communication  Finance &development
 General education  Higher education  Human resource
 Teachers’ professional  Organisation development  Legal service
development  Planning  School planning &
 Educational technology  Strategic communication placement
 Education services & engagement  Internal Audit

ทีม่ า: Ministry of Education, Singapore

นอกจากนี้ ยังมีคณะกรรมการแห่งชาติท่จี ดั ตัง้ ตามกฎหมาย (Statutory board) อีก 10


คณะ ภายใต้กระทรวงศึกษาธิการ ทาหน้าที่สนับสนุ นการวางนโยบายและกากับดูแลการศึกษาใน
ด้านต่างๆ ได้แก่ สภาการศึกษาเอกชน (Council for Private Education) สถาบันศึกษาเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ (Institute of Southeast Asian Studies) สถาบันเทคนิคศึกษา (Institute of
Technical Education) ศูนย์วทิ ยาศาสตร์สงิ คโปร์ (Science Centre Singapore) คณะกรรมการ
ประเมินผลและทดสอบแห่งชาติสงิ คโปร์ (Singapore Examinations and Assessment Board) และ
โปลิเทคนิคของประเทศ 5 แห่ง ซึง่ ประกอบด้วยนันยาง โปลิเทคนิค (Nanyang Polytechnic) งีอนั
โปลิเทคนิค (Ngee Ann Polytechnic) รีพบั ลิคโปลิเทคนิค (Republic Polytechnic) สิงคโปร์ โปลิ
เทคนิ ค (Singapore Polytechnic) และ เทมาเส็ก โปลิเ ทคนิ ค (Temasek Polytechnic)
คณะกรรมการแห่งชาติตามกฎหมายเหล่านี้นับว่าเป็ นจุดเด่นประการหนึ่งของการบริหารจัดการ
ภาครัฐในประเทศสิงคโปร์ โดยเป็นกลไกของหน่วยงานภาครัฐทีม่ คี วามเป็ นอิสระและมีอานาจในการ
ดาเนินงาน ทาให้มคี วามยืดหยุ่นและมีความคล่อ งตัวมากกว่าหน่ วยงานรัฐบาลตามปกติ อีกทัง้

377
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

คณะกรรมการยังประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒใิ นสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทาให้มมี ุมมองของการ


บริหารจัดการทีห่ ลากหลาย

โครงสร้างระบบการศึกษา
ระบบการศึกษาของประเทศสิงคโปร์ประกอบไปด้วย
1. ระดับก่อนประถมศึกษา เป็นการเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
2. ระดับประถมศึกษาโดยผูท้ จ่ี ะจบการศึกษาต้องผ่านการทดสอบระดับชาติคอื การสอบไล่
ระดับประถมศึกษา (Primary School Leaving Exam)
3. ระดับมัธยมศึกษาแบ่งออกเป็นสายการเรียน3 แนวทาง ได้แก่
- สายเร่งรัด (Express Course) สาหรับนักเรียนที่มคี วามสามารถทางวิชาการโดด
เด่ น และสามารถเลือ กเข้ า ศึ ก ษาในโปรแกรมพิเ ศษ “หลัก สู ต รบู ร ณาการ”
(Integrated Program) ทีผ่ เู้ รียนสามารถเลือกออกแบบหลักสูตรของตนเองได้ และ
เน้นสนับสนุนการสร้างประสบการณ์การเรียนรูน้ อกเหนือจากในด้านวิชาการ
- สายสามัญ เน้นด้านวิชาการ (Normal Academic Course) สาหรับนักเรียนที่
ต้องการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย เน้นการสอนเนื้อหาสาระวิชาการ
- สายสามัญ เน้นด้านวิชาชีพ (Normal Technical Course)สาหรับนักเรียนทีต่ ้องการ
เรียนต่อในสถาบันโปลิเ ทคนิค (Politechnic) เน้ นการลงมือ ปฏิบตั ิจริงในสาขา
วิชาชีพ
4. ระดับหลังมัธยมศึกษา แบ่งการเรียนออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
- วิทยาลัยหรือเตรียมอุดมศึกษา (Junior College)
- โปลิเทคนิค (Polytechnics) เป็ นสถาบันการศึกษาสายวิชาชีพทีน่ ักเรียนสามารถ
เรียนได้ตามความสนใจของนักเรียนในสาขาวิชาต่าง ๆ
- สถาบันเทคนิคศึกษา (Institute of Technical Education) เป็ นสถาบันการศึกษา
ในด้านทักษะทางช่างและช่างผีมอื
5. ระดับอุดมศึกษา

378
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 104: โครงสร้างระบบการศึกษาของประเทศสิ งคโปร์

ทีม่ า: Center on International Education Benchmarking

โครงสร้างระบบการศึกษาและหลักสูตรของประเทศสิงคโปร์สะท้อนให้เห็นถึงเจตนารมณ์ใน
การจัดการศึกษาให้มคี วามยืดหยุ่น ผู้เรียนสามารถเลือกแนวทางการเรียนของตนเองได้ตามความ
สนใจและตามระดับความสามารถการเรียนการสอนในแต่ละระดับชัน้ ของประเทศสิงคโปร์มคี วาม
หลากหลายของสายการเรียน และมีระยะเวลาของหลักสูตรทีแ่ ตกต่างกันไป

379
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เป้าหมายของระบบการศึกษาและแนวนโยบายทีส่ าคัญ
กระทรวงศึกษาธิการของประเทศสิงคโปร์ได้ตงั ้ เป้าหมายว่าจะให้การศึกษากับเยาวชนอย่าง
สมดุล เพื่อให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ และบ่มเพาะเยาวชนให้เป็ นพลเมืองทีด่ ี มี
ความรับผิดชอบต่อครอบครัว สังคม และประเทศชาติ โดยมองว่าการจัดการศึกษานัน้ เปรียบเสมือน
การหล่ อ หลอมอนาคตของชาติ เพราะการศึก ษาเป็ นการหล่ อ หลอมประชากรผู้ซ่ึงจะทาหน้ า ที่
กาหนดอนาคตของประเทศต่อไป
ประเทศสิงคโปร์ได้ใช้ยุทธศาสตร์ “ตึ ง ผ่อน ตึ ง” (Tight, loose, tight approach) ใน
การดาเนินการ
1) ตึ ง หมายถึง การก าหนดปรัช ญาการศึกษาของประเทศที่แ น่ ว แน่ การวางแนว
ยุท ธศาสตร์แ ละทิศ ทางการพัฒ นาที่ช ัด เจน สามารถเป็ น หลัก ในการออกแบบ
หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนได้
2) ผ่อน หมายถึง การเปิดช่องว่างให้ผสู้ อนมีอสิ ระในการปรับกลยุทธ์และวิธกี ารสอน
เพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของผูเ้ รียน
3) ตึง หมายถึงการวางกรอบมาตรฐานของผลลัพธ์และความรับผิดชอบต่อผลลัพทธ์ท่ี
เกิดขึน้ (Accountability) ของโรงเรียน
จากแนวคิดดังกล่าว ประเทศสิงคโปร์ได้มกี ารประกาศ “สมรรถนะที่พงึ ประสงค์สาหรับ
ศตวรรษที่ 21” (21st Century Competencies) สาหรับใช้กาหนดกรอบการจัดหลักสูตรการเรียนการ
สอนเพื่อเตรียมความพร้อมของผูเ้ รียนในการใช้ชวี ติ ในอนาคต ท่ามกลางกระแสโลกาภิวตั น์และการ
พัฒนาทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว เพื่อให้สามารถบรรลุถึง เป้าหมายของการสร้างประชากรที่ม ี
ความมันใจในตนเอง
่ มีความสามารถในการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง มีความกระตือรือร้นในการมีส่วนร่วม
และมีความเป็ นพลเมืองทีด่ โี ดยสมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์ดงั กล่าวประกอบไปด้วย (1) การรูจ้ กั ตนเอง
(Self-Awareness) (2) การมีวุฒภิ าวะทางความคิด (Self-Management) (3) การเข้าอกเข้าใจผูอ้ ่นื
(Social Awareness) (4) การสร้างความสัมพันธ์ทด่ี ี (Relationship Management) และ (5) การ
ตัดสินใจอย่างมีวจิ ารณญาณ (Responsible Decision-Making)

380
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 105: สมรรถนะที่พึงประสงค์สาหรับศตวรรษที่ 21

Core Value

ทีม่ า: Ministry of Education, Singapore

กระทรวงศึก ษาธิก ารของประเทศสิง คโปร์ไ ด้ว างแนวทางการพัฒ นาเยาวชนเพื่อ ให้ม ี


สมรรถนะที่พงึ ประสงค์สาหรับศตวรรษที่ 21 ภายใต้วสิ ยั ทัศน์ “การสร้างรากฐานที่มนคง
ั ่ สู่การ
เรียนรูเ้ พื่ออนาคต” (Strong Fundamentals, Future Learnings) โดยอาศัยการศึกษาแบบบูรณา
การทีม่ หี ลักการดังนี้
- วางนโยบายแบบมองไปข้างหน้า (Future Orientation): มีการทบทวนหลักสูตรและ
วิธ ีการการจัดการเรียนการสอนอย่างสม่ าเสมอ และนาการวิจยั และพัฒนาตลอดจน
แนวโน้มทีส่ าคัญในด้านต่างๆ เข้ามาผนวกกับบทเรียน เพื่อให้มคี วามทันสมัย สอดรับ
กับพลวัตรโลกทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วเช่นในปจั จุบนั
- จัดหลักสูตรแบบกว้างและบูรณาการ (Broad-based and Holistic Curriculum): มี
มาตรฐานทางการศึกษาในระดับสูง ทัง้ ในด้านความรูแ้ ละทักษะ โดยเฉพาะในด้านหลัก
ที่สาคัญ ได้แก่ (1) ภาษาแม่และภาษาอังกฤษ เพื่อประสิทธิภาพในการสื่อสาร (2)
คณิตศาสตร์แ ละวิทยาศาสตร์ เพื่อการสร้างสรรค์เทคโนโลยีและนวัตกรรม และการ
นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ (3) มนุ ษยศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างความเป็ นมนุ ษย์ท่เี ข้าโลก
และปรัชญาในการดาเนินชีวติ และ (4) พลศึกษา เพื่อพัฒนาบุคคลทีแ่ ข็งแรงสมบูรณ์ มี
ความเข้มแข็ง เพื่อสร้างรากฐานทีม่ นคงให้
ั่ กบั ผูเ้ รียน

381
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- จัดการเรียนรูแ้ บบเฉพาะตัว (Finer Customization of Learning): มีการจัดการเรียนการ


สอนและการวัด ผลให้เ หมาะกับตัว ผู้เ รียน ทัง้ ในด้านความสามารถและความสนใจ
เพื่อให้เด็กแต่ละคนสามารถค้นพบและดึงเอาศักยภาพและความถนัดของตนมาใช้ได้
อย่างเต็มที่ โดยเน้นผลักดันเด็กในกลุ่มทีม่ คี วามสามารถสูง (Capable Students) และ
เสริมสร้างเด็กในกลุ่มทีม่ คี วามสามารถน้อยกว่า (Less Able Students) ให้มโี อกาส
ประสบความสาเร็จได้เช่นกัน
- สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรูท้ ที ่ า้ ทายและสนุ กสนาน (Challenging and Enjoyable
Learning Environment): มีการสร้างประสบการณ์การเรียนรูท้ ด่ี ที งั ้ ในและนอกห้องเรียน
ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน

ในส่วนของการสร้างหลักสูตรและสาระการเรียนรูท้ มี ่ คี วามยืดหยุ่น มีการปรับปรุงหลักสูตร


โดยยึดแนวทาง “สอนให้น้อยลง แต่เรียนรูไ้ ด้มากขึน้ ” (Teach Less, Learn More) เน้นความ
ยืดหยุ่นและความหลากหลาย โดยจัดให้หลักสูตรหลากหลายประเภทตามความต้องการทีแ่ ตกต่าง
กันไปของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม โดยตัวอย่างที่ชดั เจนคือในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งมีหลักสูตรทางเลือก
ตามระดับความสามารถและความสนใจของผูเ้ รียน โดยผู้เรียนสามารถเปลีย่ นแปลงหลักสูตรทีเ่ รียน
ได้ตามผลการเรียนรูข้ องตน โดยเฉพาะในระดับมัธยมศึกษาซึ่งประกอบไปด้วย 3 แนวทางหลัก
ได้แก่ (1) หลักสูตรเร่งรัด (Express) (2) หลักสูตรสามัญวิชาการ (Normal Academic) และ (3)
หลักสูตรสามัญวิชาชีพ (Normal Technical) และนอกจากนี้ยงั ส่งเสริมการเรียนรูน้ อกห้องเรียนเพื่อ
ต่อยอดความรูท้ ไ่ี ด้จากห้องเรียนและเสริมสร้างความสามารถเฉพาะทางของผูเ้ รียน ผ่านการมีแหล่ง
เรียนรูแ้ ละกิจกรรมพิเศษต่าง ๆ ควบคู่กบั การเรียนตามหลักสูตรปกติ

382
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 106: ความยืดหยุ่นของระบบการศึกษาของประเทศสิ งคโปร์

ทีม่ า: Ministry of Education, Singapore

นอกจากนี้ ในส่วนของการวางกรอบมาตรฐานของผลลัพธ์ ได้มกี ารกาหนดผลลัพธ์ท่พี ึง


ประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education) และนาไปสู่การตัง้ ผลสัมฤทธิ ์ของ
พัฒนาการด้านการศึกษาสาหรับระดับชัน้ ต่างๆ อย่างชัดเจน ทัง้ ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา
และการศึกษาในระดับทีส่ ูงกว่ามัธยมศึกษา (Post-secondary Education) โดยเน้นให้แต่ละขัน้ ของ
การศึก ษามีการต่อ ยอดจากระดับชัน้ ก่อ นหน้ าและปูพ้นื ฐานสาหรับระดับชัน้ ต่ อไป ตัว อย่างเช่น
นักเรียนในระดับชัน้ ประถมศึกษาจะได้รบั การสอนให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับประเทศสิงคโปร์
และมีความรักประเทศชาติ ต่อมาในระดับมัธยมศึกษานักเรียนจะได้รบั การเสริมสร้างความเชื่อมันใน ่
ประเทศของตนรวมถึงตระหนักในประเด็นสาคัญต่าง ๆ ที่สามารถมีผลกระทบกับประเทศ และใน
ระดับชัน้ ต่อไปนักเรียนจะได้รบั การศึกษาทีเ่ สริมสร้างความภูมใิ จในประเทศชาติและเข้าใจบทบาท
ความสาคัญของประเทศสิงคโปร์ในบริบทโลก เมื่อรวมผลลัพธ์ท่พี งึ ประสงค์ของการศึกษาในทุก ๆ
ด้าน และทุก ๆ ระดับชัน้ เข้าด้ว ยกัน ก็จ ะสามารถเชื่อ มโยงไปสู่ส ิ่งที่ภาครัฐและสังคมมุ่งหวังใน
383
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เยาวชน อีกทัง้ ยังเป็นการวางแนวทางให้เยาวชนแต่ละรุ่นสามารถเติบโตอย่างมีคุณภาพและประสบ


ความสาเร็จในชีวติ พร้อมทัง้ เป็นพลเมืองทีด่ ขี องสังคม และเพื่อให้สถานศึกษาสามารถปรับหลักสูตร
และการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกัน กระทรวงศึกษาธิการจะทาการสนับสนุ นสถานศึกษา
ในการพัฒนาเครื่องมือเพื่อให้เกิดการวัดผลและรับฟงั ผลตอบรับอย่างบูรณาการ เพื่อให้ทงั ้ ผู้เรียน
และผูส้ อนสามารถติดตามพัฒนาการด้านการศึกษาของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ค. ประเทศญี่ปนุ่
“Education in which Schools, Families and Communities join together in
Cooperation”

ประเทศญี่ปุ่ น เป็ น ตัว อย่ า งของการรัก ษามาตรฐานทางการศึก ษาที่ย อดเยี่ย มได้อ ย่า ง
ต่อเนื่องยาวนาน นับตัง้ แต่ในช่วงปี ค.ศ. 1800s ซึง่ ประเทศญี่ป่นุ ได้ตงั ้ เป้าหมายในการยกระดับการ
พัฒนาให้ทดั เทียมชาติตะวันตกด้วยแนวทางของตนเองทัง้ ในด้านเศรษฐกิจและด้านเทคโนโลยี ทัง้ นี้
ประเทศญี่ปุ่นได้เล็งเห็นว่าพื้นฐานทีส่ าคัญที่จะสามารถนาพาประเทศไปสู่เป้าหมายที่ตงั ้ ไว้ได้นัน้ ก็
คือระบบการศึกษาทีม่ คี ุณภาพอีกทัง้ ยังได้ปลูกฝงั ค่านิยมทีใ่ ห้ความสาคัญกับความสามารถและคุณ
ความดี (Merit) ในการเป็นตัวตัดสินความก้าวหน้าของบุคคลทัง้ ในด้านการงานและในสังคม
เจตนารมณ์ ด ัง กล่ า วได้ส ะท้อ นอยู่ใ นค่ า นิ ย มที่เ ชื่อ การประสบความส าเร็จ ด้ว ยตนเอง
(Meritocracy) โดยไม่อาศัยสิทธิพเิ ศษใดๆ นอกจากนี้ จากการที่ประเทศญี่ปุ่นมีค่านิยมว่าระดับ
ความสามารถของบุคคลสามารถถูกประเมินได้จากผลการศึกษา ซึง่ ความสาเร็จทางการศึกษาเองก็
ไม่ได้ขน้ึ อยู่กบั ระดับสติปญั ญาที่มมี าตัง้ แต่เกิดและไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ หากแต่เป็ นผลของ
ความพยายามในการศึกษาเล่าเรียน ดังนัน้ หากนักเรียนมีผลการเรียนไม่เป็ นที่น่าพอใจ ความ
ล้มเหลวนัน้ จะถูกนับว่าเป็ นของครอบครัวและครูผู้สอนด้วยเช่นกัน เพราะไม่สามารถช่วยผลักดัน
เด็กได้อย่างเข้มข้นเพียงพอจากค่านิยมดังกล่าวทาให้ทุกฝ่ายรวมถึงตัวผู้เรียนมีแรงกระตุ้นในด้าน
การศึกษาเป็นอย่างมาก
การจัดการการศึกษาของประเทศญี่ปุ่นอยู่ภายใต้กระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม การกีฬา
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology:
MEXT) มีวตั ถุประสงค์ในการสร้างประชากรทีม่ คี วามคิดสร้างสรรค์ มีจติ ใจทีด่ งี าม โดยอาศัยการจัด
การศึกษาและการส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ พร้อมทัง้ สนับสนุ นกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรูท้ งั ้ ใน
ด้านวิชาการ การกีฬา วัฒนธรรม ตลอดจนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปลูกฝงั เยาวชนให้รจู้ กั การ
แก้ปญั หาในชีวติ ประจาวัน เน้นการสอนเนื้อหาทีน่ ักเรียนได้เรียนในห้องเรียนสามารถเชื่อมโยงมาสู่
การปฏิบตั จิ ริงในชีวติ ประจาวันได้

384
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 107: กระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม การกีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศญี่ปุ่น

Minister

Vice Minister & Deputy


Minister

Facilities Planning Science and International


Sports and Youth
and Administration Technology Policy Affairs

Lifelong Learning Research Other


Cultural Affairs
Policy Promotion organizations &
Special
Institutions
Elementary and Research &
Secondary Development
Education Bureau

Higher Education

Private Education
Institution

Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology, Japan

โครงสร้างระบบการศึกษา
ประเทศญี่ปุ่นมีการก าหนดให้เ ด็ก ญี่ปุ่นทุก คนต้อ งเข้าเรียนตัง้ แต่ อายุ 6 ขวบ และถู ก
กาหนดให้ต้อ งผ่ านการศึก ษาภาคบังคับเป็ นเวลา 9 ปี คือ จบมัธยมศึกษาตอนต้น โดยระบบ
การศึกษาของประเทศญีป่ นุ่ แบ่งออกได้เป็น 3 ระดับคือ

385
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

1. การศึกษาระดับต้น
ได้แ ก่ การศึก ษาขัน้ อนุ บาล ซึ่ง เริ่ม เข้า ศึก ษาตัง้ แต่ อ ายุ 3 ปี ไปจนถึงอายุ 5 ปี และขัน้
ประถมศึกษา 1-6 ตัง้ แต่อายุ 6 ปีไปจนถึง 12 ปีโดยประมาณ
2. การศึกษาระดับกลาง
ได้แก่ การศึกษาระดับมัธยมศึกษา ซึง่ แบ่งออกเป็ น 2 ช่วงคือ มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปีและ
มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี
3. การศึกษาระดับสูงได้แก่ การศึกษาในมหาวิทยาลัย วิทยาลัย วิทยาลัยเทคนิค และวิทยาลัย
อาชีวศึกษา

ภาพที่ 108: โครงสร้างระบบการศึกษาของประเทศญี่ปนุ่

ทีม่ า: Center on International Education Benchmarking

386
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เป้าหมายของระบบการศึกษาและแนวนโยบายทีส่ าคัญ
หลัก การพื้น ฐานส าหรับ ระบบการศึ ก ษาในประเทศญี่ ปุ่ น ได้ ถู ก ระบุ ไ ว้ ใ นรัฐ ธรรมนู ญ
ประกาศใช้เมือ่ ปีค.ศ.1946 และกฎหมายแม่บทการศึกษา (Fundamental Law of Education) ปีค.ศ.
1947 ซึง่ ได้มกี ารปรับปรุงเมื่อปีค.ศ.2006 กาหนดให้การศึกษาเป็ นสิทธิและหน้าทีข่ องพลเมือง ทุก
คนมีสทิ ธิท่จี ะได้รบั การศึกษาอย่างเท่าเทียมกันตามระดับความสามารถ รวมถึงจะได้รบั การศึกษา
ขัน้ พื้นฐานภาคบังคับโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ ได้มกี ารกาหนดเป้าหมายของการศึกษา
ให้มงุ่ เน้นพัฒนาประชากรอย่างบูรณาการทัง้ ทางร่างกายและจิตใจ
นอกจากนี้ ในปี ค.ศ. 2006 ได้มกี ารทบทวนกฎระเบียบทางการศึกษา (Basic Act on
Education) ขึน้ เป็นครัง้ แรกในรอบ 60 ปี นับตัง้ แต่เริม่ มีการบังคับใช้ โดยการปรับปรุงดังกล่าวแสดง
ให้เห็นหลักการของ “การศึกษายุคใหม่” (New Age Education) ของประเทศญี่ปุ่น ซึง่ แม้จะมีการ
เปลี่ยนแปลงในปจั จัยแวดล้อมบางประการ แต่ก็ยงั คงยึดมันในแก่ ่ นความคิดที่ให้ความสาคัญกับ
หลักการพัฒนาเด็กอย่างบูรณาการเช่น การพัฒนาคุณลักษณะอย่างรอบด้าน การมุ่งเน้นความมี
เกียรติและศักดิ ์ศรี ซึ่งยังคงได้รบั การยึดถือปฏิบตั ิมาตลอดนับตัง้ แต่ การเริม่ ประกาศใช้กฎหมาย
แม่บทการศึกษา
ทัง้ นี้ ในการดาเนินการมีหลักการทีส่ าคัญ ดังนี้
1. การสร้างความร่วมมือในแนวราบ (Horizontal Cooperation)
เป็ นการสนับสนุ นความร่ว มแรงร่วมใจของคนในสังคมเพื่อส่ งเสริมการศึกษา เนื่องจาก
ประเทศญี่ปุ่นตระหนักว่าการศึกษาไม่เพียงแต่สามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งของบุคคลเพื่อให้ม ี
ชีวติ ทีด่ ขี น้ึ ได้เท่านัน้ แต่ยงั สามารถสร้างค่านิยมทีจ่ ะช่วยค้าชูให้สงั คมมีความมันคงได้
่ อกี ด้วย ดังนัน้
ภาคส่ว นต่างๆ ทัง้ ในภาครัฐและเอกชน ทัง้ ในระดับส่ ว นกลางและส่ วนท้องถิ่น รวมถึงโรงเรียน
ผู้ป กครอง เยาวชน และชุ ม ชน ต่ า งก็ต้ อ งเข้า มามีส่ ว นร่ ว มในกระบวนการจัด การการศึก ษา
โดยเฉพาะเมื่อประเทศได้ก้าวเข้าสู่สงั คมฐานความรู้ (Knowledgebase Society) ประเทศญี่ป่นุ ได้
ตัง้ เป้าหมายให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างและผลักดันองค์ความรู้ โดยผ่านกลไกเชิง
บูรณาการทีเ่ ชื่อมโยงการเรียนการสอนในห้องเรียน (School Education) เข้ากับการศึกษาเพื่อสังคม
(Social Education) ซึง่ จะเป็ นการสร้างความใกล้ชดิ ระหว่างโรงเรียนและชุมชน โดยมุ่งหวังให้เป็ น
กลไกในการสร้างโอกาสการเรียนรูท้ ส่ี ามารถตอบโจทย์ความต้องการทีห่ ลากหลายของคนในสังคม
ได้พร้อมๆ กับจะช่วยเพิม่ ระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงยิง่ ขึน้ ยิง่ ไปกว่านัน้ การสร้างความร่วมมือ
ในลักษณะดังกล่าวจะยังเป็ นตัวอย่างการปฏิบตั ทิ ่ดี เี ยี่ยมสาหรับเยาวชนในการเรียนรูค้ ่านิยมของ
การร่วมมือร่วมใจกัน การมีส่วนร่วมทางสังคม และการสร้างความผูกพันในท้องถิน่ ซึ่งจะช่วยสร้าง
เสริมประสบการณ์ชวี ติ และกระตุน้ แรงผลักดันในการดาเนินชีวติ ให้กบั เยาวชนได้

387
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตัวอย่างของมาตรการ:
- “Regional Headquarters for School Assistance” เป็ นการสร้างกลไกเพื่อให้เกิด
กระบวนการส่ ง เสริม สถานศึก ษาในท้อ งถิ่น โดยมีป ระชาชนเป็ น ตัว ผลัก ดัน มี
กระบวนการคือการสร้างตัวกลางในการประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและ
ชุ ม ชน รวมถึง ประชาสัม พัน ธ์ ค วามส าเร็จ ที่เ กิด ขึ้น ให้ป ระชาชนโดยทัว่ ไปได้
รับทราบ
- “Community School” (School Management Council System) ทีเ่ ปิดโอกาสให้
ผู้ป กครองและประชาชนในท้อ งถิ่น มีอ านาจและความรับ ผิด ชอบในการมีส่ ว น
ร่วมกับการบริหารจัดการโรงเรียน โดยมีเป้าหมายในการสร้างโรงเรียนที่มคี วาม
น่ า เชื่อ ถือ และเปิ ด กว้า งต่ อ ชุ ม ชน โดยหน่ ว ยงานส่ ว นกลางจะท าหน้ า ที่ใ นการ
ประเมินแนวทางสาหรับการบริหารจัดการการศึกษา เช่น การจัดตัง้ โรงเรียน ขนาด
ของโรงเรียน การจัดสรรทรัพยากร โดยหน่ วยงานในท้องถิน่ จะเป็ นผูพ้ จิ ารณาการ
นาหลักการไปปฏิบตั จิ ริงเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการในแต่ละพืน้ ที่
- “After-school Plan for Children” เป็ นความพยายามในการสร้างฐานการเรียนรูท้ ่ี
เหมาะสมให้ ก ับ เด็ก โดยเฉพาะในระดับ ประถมศึก ษา โดยใช้ ป ระโยชน์ จ าก
ห้อ งเรีย นในช่ ว งที่ไ ม่มกี ารเรีย นการสอน เช่น หลัง เลิก เรียน และวันหยุด เพื่อ
เสริมสร้างกิจกรรมที่ให้เด็กได้ลงมือปฏิบตั จิ ริงและกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรูต้ ่างๆ
ทีส่ นับสนุนส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

2. การสร้างความเชือ่ มโยงในแนวดิง่ (Vertical Connection)


เป็ นการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวติ โดยอาศัยหลักการของการตัง้ เป้าหมายหลัก
และเป้าหมายรองในแต่ละขัน้ ตอนให้มคี วามสอดคล้องกัน โดยเฉพาะการเชื่อมโยงระหว่างการศึกษา
ในแต่ละระดับชัน้ ให้มเี ป้าหมาย บทบาท และเนื้อหาที่สอดคล้องกันให้เกิดการต่อยอดความรูอ้ ย่าง
เป็ นระบบ มีจุดตัง้ ต้นคือการศึก ษาเริม่ จากที่บ้าน ตามด้วยการศึกษาปฐมวัย การศึกษาในระดับ
ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ระดับมหาวิทยาลัย และการศึกษาระหว่างการทางานรวมถึงยังต้อง
เปิ ดช่องทางให้ผู้ท่สี นใจ ทัง้ ที่จบการศึกษาไปแล้วหรือออกจากการศึกษากลางคันให้สามารถกลับ
เข้าสู่ระบบการศึกษาทัง้ ในระบบโรงเรียนและการศึกษาเพื่อสังคมได้ตามความต้องการ
นอกจากนี้ ระบบการศึก ษายังมีค วามจาเป็ นที่จะต้อ งเสริมสร้างความเชื่อ มโยงระหว่าง
มหาวิทยาลัยและโรงเรียนทัง้ ในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดองค์
ความรู้ ร ะหว่ า งกัน ได้ อัน จะน าไปสู่ ก ารพัฒ นาหลัก สู ต รและรู ป แบบการเรีย นการสอนให้ ม ี
ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ได้

388
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3. การแบ่งความรับผิดชอบระหว่างหน่วยงานส่วนกลางและส่วนท้องถิน่
- บทบาทของรัฐ บาลกลาง จะต้อ งมีก ารสร้า งความร่ว มมือ อย่า งใกล้ชิด ระหว่ า ง
กระทรวงและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา เช่น หน่ วยงานที่ทาหน้าที่ดูแล
สวัสดิการของเยาวชน และหน่ วยงานที่ดูแลอาชีวศึกษา เป็ นต้น ในการสนับสนุ น
ส่งเสริมมาตรการต่างๆ การจัดลาดับความสาคัญของสิง่ ที่ต้องดาเนินการ รวมถึง
การติดตามและประเมินผลของโครงการ
นอกจากนี้ เนื่องจากการส่งเสริมการศึกษาต้องอาศัยแรงผลักดันและความร่วมมือ
จากทุกภาคส่วน รัฐบาลกลางจึงต้องให้ความสาคัญกับการจัดกิจกรรมของทุกภาค
ส่ ว นที่เ กี่ย วข้อ ง ทัง้ การปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่น การมีส่ ว นร่ ว มจากภาคธุ ร กิ จ
ภาคเอกชน และองค์กรไม่แสวงหากาไร เพื่อสร้างกลไกความร่วมมือที่เหมาะสม
และหาแนวทางบริหารจัดการภาพรวมของกิจกรรมทีด่ าเนินการโดยแต่ละภาคส่วน
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลได้สงู สุด
- บทบาทขององค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่น จะต้อ งมีบ ทบาทในการแบ่ง เบาความ
รับผิดชอบในการจัดการและส่งเสริมการศึกษาจากรัฐบาลกลาง โดยนาหลักการมา
ปรับใช้ในการวางมาตรการในทางปฏิบตั ใิ ห้สอดคล้องกับบริบททางเศรษฐกิจและ
สังคมของท้องถิน่ ตลอดจนตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนพร้อมๆ กับ
ติดตามให้ประชาชนในท้องถิน่ ปฏิบตั ติ ามกรอบหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของตนเองใน
การสนับสนุนการศึกษา
การกระจายอานาจนับว่าจะมีแนวโน้มมากขึน้ เรื่อยๆ ในอนาคต ดังนัน้ ท้องถิน่ จึงมี
ความสาคัญเป็ นอย่างยิง่ ในการสร้างเสริมและรักษา ในท้อ งถิ่นให้คงอยู่ต่อไปได้
อย่างมันคง
่ ผ่านกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ซ่งึ เป็ น พื้นฐานของความอยู่
รอดของท้ อ งถิ่ น โดยมีก ารตัง้ เป้ าหมายให้ ท้ อ งถิ่ น สามารถวางแนวทางและ
มาตรการทางการศึก ษาที่ข ับ เน้ น จุ ด แข็ง ของตนเอง และให้ ค วามส าคัญ กับ
การศึกษาอย่างแท้จริง

การหาจุดสมดุลระหว่าง 2 ขัว้ ของแนวนโยบาย


มีก ารกล่ าวกันว่ าแนวนโยบายด้านการศึก ษาของประเทศญี่ปุ่นเปรียบเสมือ นการแกว่ ง
ั่
ลูกตุ้มไปมาระหว่าง 2 ฟากฝงของแนวนโยบาย คือแนวการศึกษาแบบทีเ่ น้นเนื้อหาเข้มข้นและต้อง
อาศัยการเรียนแบบท่อ งจา กับแนวการศึก ษาที่ผ่อ นคลายมากขึ้นและเน้ นความเป็ นปจั เจกของ
ผูเ้ รียน

389
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ในช่วงปลายของปี ค.ศ. 1980s – 1990s ได้เกิดความกังวลขึน้ ในแวดวงการศึกษาของ


ประเทศญี่ปุ่นว่า ถึงแม้เด็กนักเรียนจะมีความรูพ้ ้นื ฐานวิชาการที่ด ี แต่ ก็ขาดความคิดสร้างสรรค์
ความเป็นอิสระทางความคิด และความกระตือรือร้นทีจ่ ะเรียนรูต้ ลอดชีวติ มีการวิพากษ์วจิ ารณ์กนั ว่า
การเรียนการสอนในห้องเรียนมีความเข้มงวดมากเกินไปจนสร้างแรงกดดันให้กบั เด็กมากเกินความ
จาเป็ น ดังนัน้ ในปี ค.ศ. 2002 แนวการศึกษาแบบ “Yutorikyōiku” (การมีพน้ื ที่ให้เติบโต) จึงได้ถูก
นามาเป็ นแนวปฏิบตั ิ เพื่อสร้าง “ความกระตือรือร้นในการใช้ชวี ติ ” (The Zest of Living) ซึง่ มุ่งเน้น
หลักการ 3 เสา ได้แก่ (1) การมีความสามารถด้านวิชาการยอดเยีย่ ม (Solid Academic Prowess)
สามารถเรียนรูด้ ้วยตนเองและคิดวิเคราะห์ได้ (2) การมีสุขภาพทีด่ ี (Healthy Body) ทัง้ ทางด้าน
ร่างกายและจิตใจ และ (3) การมีลกั ษณะนิสยั ที่ดอี ย่างรอบด้าน (Well-rounded Character) เช่น
การมีวนิ ัยในตนเอง การทางานร่วมกับผู้อ่นื และการมีความเห็นอกเห็นใจ แนวมาตรการที่สาคัญ
ของมาตรการดังกล่าว คือการปฏิรูประบบการศึกษาภาคบังคับโดยลดจานวนชัวโมงเรี ่ ยนทัง้ หมด
ลดสัดส่วนจานวนชัวโมงเรี
่ ยนสาระวิชาการ และเพิม่ “หลักสูตรการเรียนเชิงบูรณาการ” (Integrated
Studies) ซึง่ มีเป้าหมายให้โรงเรียนมีอสิ ระในการจัดการเรียนรูน้ อกเหนือจากหลักสูตรตามปกติ เพื่อ
ตอบสนองกับเป้าหมายในอนาคตของเด็กแต่ละคน และเป็ นการส่งเสริมการเรียนการสอนทีเ่ ชื่อมโยง
เนื้อหาระหว่างบทเรียนในวิชาต่ างๆ ที่ได้เ รียนในหลักสูตรปกติ การเรียนรู้เ กี่ยวกับสิ่งแวดล้อ ม
กระแสพลวัตโลก และเทคโนโลยีสารสนเทศ
อย่างไรก็ตาม แนวนโยบายด้านการศึกษาได้เหวีย่ งกลับไปเป็นแบบทีเ่ น้นเนื้อหาเข้มข้นและ
การท่องจาอีกครัง้ เมื่อพบว่าอันดับคะแนน PISA ของประเทศญี่ป่นุ ได้ลดลงจากอันดับที่ 8 ในปี
ค.ศ. 2000 เป็นอันดับที่ 14 ในปี 2003 แต่การปรับแนวทางการจัดการศึกษาในครัง้ นี้นับว่าเป็ นการ
“หาสมดุล” ระหว่าง 2 ขัว้ ของแนวทางการศึกษา มีการวางแนวทางการศึกษาใหม่ในปี ค.ศ. 2011
เพื่อต้องการสร้างสมดุลระหว่างการสังสมความรู
่ แ้ ละทักษะ (Acquisition of Knowledge and Skills)
กับความสามารถในการตัดสินใจและการคิดวิเคราะห์ (Sense of judgment/critical thinking) ผ่าน
การกาหนดจุดเน้นใน 8 ด้านหลัก ได้แก่ (1) การคิดการแสดงออกและการตัดสินใจ (2) วัฒนธรรม
ประเพณีญ่ปี ุ่น (3) จริยศึกษา (4) สุขภาพ (5) ความตระหนักในเหตุการณ์ปจั จุบนั (6) การ
เสริม สร้า งประสบการณ์ ชีว ิต (7) ทัก ษะคณิต ศาสตร์แ ละวิท ยาศาสตร์ และ (8) ทัก ษะ
ภาษาต่างประเทศ
นอกจากนี้ MEXT ยังได้มกี ารปฏิรูป ในด้า นอื่นๆ ที่เ กี่ย วข้อ ง อาทิเ ช่น การให้ค วาม
ช่วยเหลือเพิม่ เติมในการเรียน การปฏิรปู ตาราเรียนให้มคี วามกระชับ การปรับการวัดผลสัมฤทธิ ์ทาง
การศึกษา และการใช้ ICT ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ยิง่ ไปกว่านัน้ ปรัเด็นทีส่ าคัญเป็ น
อย่า งยิง่ อีก ประเด็น หนึ่ งก็ค ือ MEXT ได้ กาหนดให้ ค รอบครัวเป็ นเป็ นหลัก ที ส่ าคัญ ของ
การศึกษา โดยมีชุมชนเป็ นผูร้ ่วมให้การศึกษา (Co-educator)

390
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

แนวทางการจัดการเรียนการสอนทีม่ งุ่ เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน


ประเทศญี่ปุ่นได้กาหนดให้มปี ระเด็นเกี่ยวกับการสร้างพันธมิตรและความร่วมมือระหว่าง
โรงเรียน ครอบครัว และชุมชน ไว้ใน Basic Act on Education ซึ่งนาไปสู่การออกมาตรการที่
เกีย่ วข้อง อาทิเช่น
- ส่งเสริมการเชื่อมโยงระหว่างโรงเรียนและบ้าน โดยครูและผูป้ กครองจะมีการสื่อสาร
กันอย่างต่อเนื่องเพื่อหารือเกี่ยวกับพัฒนาการของบุตรหลานในประเด็นต่างๆ ทัง้
ด้ า นวิช าการและด้ า นความประพฤติท ัว่ ไป เพื่อ ร่ ว มกัน ติด ตามและส่ ง เสริม
การศึกษาของเด็กแต่ละคน
- School Support Regional Headquarters and Program to Promote After-
School Classes for Children (After-School Plan for Children) เป็ นการ
เสริมสร้างประสบการณ์และการเรียนรูข้ องนักเรียนโดยร่วมมือกับชุมชนในท้องถิน่
- Improving Educational Functions at Home โดย MEXT ให้การสนับสนุ น
โครงการในชุมชนท้องถิน่ เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถเข้าถึงข้อมูล รับการฝึ กอบรม
และรับคาปรึกษาในการเลีย้ งดูเด็ก

การให้ความสาคัญกับการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ของประชาชน


จุดเด่นอีกประการหนึ่งของการจัดการศึกษาในประเทศญี่ปุ่นก็คอื การส่ งเสริมการเรียนรู้
ตลอดชีวติ อย่างเข้มข้น ส่งเสริมค่านิยมการเรียนรู้ และให้น้ าหนักความสาคัญในการส่งเสริมการ
เรียนรูน้ อกระบบโรงเรียน และ การศึกษาของชุมชน (Social Education) ควบคู่ไปกับการศึกษา
อย่างเป็ นทางการ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การส่ งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวติ ของญี่ปุ่น มีปจั จัยแห่ ง
ความสาเร็จ (Key Success Factor) คือ การมีส่วนร่วม โดยหน่ วยงานภาครัฐส่งเสริมและสนับสนุ น
อย่างเต็มกาลัง ขณะทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ก็เข้ามามีบทบาท และเน้นการมีส่วนร่วมของคน
ในชุมชน (ประกาย ธีระวัฒนากุล ธราธร รัตนนฤมิตศร และ วริฎฐา กัลยาณสันต์, 2556)

391
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 37: สรุปเปรียบเทียบนโยบาย เป้ าหมายหลัก ยุทธศาสตร์ จุดเน้ น


ฟิ นแลนด์ สิ งคโปร์ ญี่ปนุ่
นโยบาย - นโยบายเน้นการปฏิรปู - วางนโยบายแบบมองไป - สร้างสิง่ แวดล้อมทาง
อย่างต่อเนื่อง การมีส่วน ข้างหน้า การศึกษาทีม่ คี ุณภาพสูง
ร่วมของประชาชน และ
ความเสมอภาคทาง
การศึกษา
เป้ าหมายหลัก - สร้างระบบการศึกษาทีม่ ี - เตรียมพลเมืองให้ม ี - สร้างสังคมฐานการศึกษา
คุณภาพ มีประสิทธิภาพ ความสามารถในการคิด และนวัตกรรม
และส่งเสริมความเท่าเทียม และเอื้อต่อการสร้างความ - สร้างพลเมืองคุณภาพมี
ของคนในสังคม เข้มแข็งของประเทศ ความสามารถ มีวฒ ั นธรรม
และรับผิดชอบต่อสังคม
ยุทธศาสตร์ - สร้างพืน้ ฐาน (Foundation) ยุทธศาสตร์ “ตึง ผ่อน ตึง” - การพัฒนาเด็กอย่าง
ทีม่ นคงและบู
ั่ รณาการเพือ่ กล่าวคือ บูรณาการ ทัง้ ทางด้าน
รองรับการศึกษาและการ - ตึง: กาหนดปรัชญา วิชาการและทักษะในการ
เรียนรู้ การศึกษาของประเทศแน่ว ใช้ชวี ติ
แน่
- ผ่อน: เปิดช่องว่างให้ผสู้ อน
มีอสิ ระในการปรับกลยุทธ์
- ตึง: วางกรอบมาตรฐาน
ผลลัพธ์และความรับผิดชอบ
ต่อผลลัพธ์ทเ่ี กิดขึน้
(Accountability)ของ
โรงเรียน
จุดเน้ น - สร้างครูคุณภาพสูง - “สอนให้น้อย เรียนรูไ้ ด้มาก - เน้นการมีส่วนร่วมของ
ออกแบบหลักสูตรและ ขึน้ ” (Teach Less, Learn ผูเ้ รียน
วัดผลสอดคล้องกับ More) - รวมพลังเพือ่ ปรับปรุง
“หลักสูตรการคิด” - เน้นความยืดหยุ่น การศึกษาระหว่างโรงเรียน
- เน้นศักยภาพเฉพาะตน หลากหลาย ครอบครัว และชุมชน
เป็นทีต่ งั ้
รูปแบบการบริ หารจัดการ - สร้างสมดุลระหว่างการรวม - ส่วนกลางเป็นผู้ - เน้นการมีส่วนร่วมของทุก
ศูนย์และการกระจาย วางเป้าหมายและแนวทาง ภาคส่วน
อานาจ สาหรับการศึกษาของ
- เน้นการบริหารการศึกษา ประเทศ และให้อสิ ระกับ
ด้วยท้องถิน่ มากขึน้ สถานศึกษาในการวาง
- ส่งเสริมการสร้างเครือข่าย หลักสูตรและการเรียนการ
ระหว่างโรงเรียนในท้องถิน่ สอนได้อย่างยืดหยุ่น
ั พยากร
เพือ่ แบ่งปนทรั
แลกเปลีย่ นประสบการณ์
และร่มกันพัฒนา เพือ่
ขยายผล
ทีมา: วิเคราะห์และรวบรวมโดยคณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

392
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.4.3 นโยบายในอดีตและปัจจุบนั ของประเทศไทย


พัฒนาการของแนวนโยบายการศึกษาไทย
จุด เริ่ม ต้น ของการศึก ษาตามระบบโรงเรีย นของไทยนัน้ เกิด ขึ้น พร้อ ม ๆ กับ การก่ อ ตัง้
กระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการในปจั จุบนั ) ในพ.ศ. 2435 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจุล จอมเกล้าเจ้าอยู่หวั โดยภาครัฐได้พยายามที่จะขยายการศึกษาออกไปสู่ประชาชนอย่าง
กว้างขวางในทุกระดับในกรุงเทพมหานคร และตามหัวเมือง มุ่งเน้นในระดับประถมศึกษาเป็ นสาคัญ
เพื่อประโยชน์ในด้านการศึกษาขัน้ พื้นฐานของประชาชน รวมทัง้ สนองตอบความต้องการของชาติ
บ้านเมืองที่ต้องการคนเข้ารับราชการ และได้นาไปสู่การออกพระราชบัญญัตปิ ระถมศึกษาในพ.ศ.
2464 กาหนดให้เด็กทุกคนที่มอี ายุตงั ้ แต่ 7 ปี บริบูรณ์ ต้องเรียนหนังสือในโรงเรียนจนอายุ 14 ปี
บริบรู ณ์ นับเป็นก้าวแรกของการศึกษาภาคบังคับของประเทศไทย
การพัฒนาการศึกของประเทศไทยได้มกี ารพัฒนามาเป็ นลาดับ จวบจนกระทังได้ ่ เริม่ มีการ
วางกรอบแนวทางเพื่อ การพัฒ นา (Roadmap) การศึก ษาของประเทศอย่า งเป็ น ทางการในยุค
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ซึ่งได้มกี ารออกแผนการศึ กษาชาติ เพื่อเป็ น
กรอบแนวทางหลักในการจัดทาแผนการศึกษาในระดับต่าง ๆ ให้มคี วามสอดคล้องกัน โดยเป็ นแผน
ในระยะยาวทีจ่ ะมีช่วงเวลาของการปรับเปลีย่ นประมาณทุก ๆ 15 ปี นอกจากนี้ จุดเปลีย่ นทีส่ าคัญ
ของการพัฒนาอีกช่วงหนึ่งคือในพ.ศ. 2503 ประเทศไทยได้มกี ารขยายการศึกษาทัง้ ด้านปริมาณและ
คุณภาพ โดยได้รบั ความร่วมมือจากองค์กรระหว่างประเทศ และเริม่ มีการส่งเสริมการจัดการศึกษา
โดยภาคเอกชน รวมถึงกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้ แผนพัฒนาการศึกษาแห่ งชาติ ให้สอด
รับกับการมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีการปรับเปลี่ยนทุก ๆ 5 ปี โดยเป็ นการนา
สาระของแผนและนโยบายมาสู่ ก ารปฏิบ ัติ อัน น าไปสู่ ก ารก าหนดประเด็น ยุท ธศาสตร์ใ นด้า น
การศึกษาของประเทศต่อไป
แผนการศึกษาชาติ: กรอบแนวทางการพัฒนาการศึกษาในระยะยาว
แผนการศึกษาชาติฉบับแรกคือ แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2475 โดยในช่วงแรกมีนโยบาย
ขยายการศึก ษาระดับ ประถมศึก ษาซึ่ง เป็ น การศึก ษาภาคบัง คับ ออกไปให้ ม ากยิ่ง ขึ้น และให้
ความสาคัญมากกว่าระดับอื่น พร้อมทัง้ เน้นการผลิตครูให้เพียงพอ เน้นให้การศึกษาใน 3 ส่วน คือ
(1) จริยศึกษา เป็ นการอบรมศีลธรรมอันดีงาม (2) พุทธิศกึ ษาเป็ นการสร้างเสริมปญั ญาความรู้ และ
(3) พลศึกษา เป็ นการฝึ กหัดให้เป็ นผู้มรี ่างกายสมบูรณ์อย่างไรก็ตาม นโยบายด้านการศึกษาได้
หยุดชะงักไปในช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 จวบจนกระทังภายหลั
่ งสงครามใน รัฐบาลจึงได้ปรับปรุง
การศึกษาของชาติในหลายประการ มีการจัดการศึกษาทีเ่ ด่นชัดขึน้ ทัง้ ในส่ว นทีเ่ กี่ยวกับปริมาณและ
คุ ณ ภาพทัง้ ในระดับ ประถมศึก ษา มัธ ยมศึก ษา การศึก ษาผู้ใ หญ่ อาชีว ศึก ษา และอุ ด มศึก ษา

393
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

วางรากฐานเพื่อให้ประชาชนมีพน้ื ความรูส้ ูงขึน้ และมีความสามารถที่จะประกอบอาชีพได้ดี ส่งเสริม


ให้ประชาชนมีวฒั นธรรมและศีลธรรมอันดีงาม
แผนการศึกษาชาติในยุคต่อมา ได้แก่ แผนการศึ กษาชาติ พ.ศ. 2494 และ แผนการ
ศึกษาชาติ พ.ศ. 2503 ได้เริม่ ระบุปรัชญาและจุดมุ่งหมายของการศึกษาแต่ละระดับโดยส่วนรวม
กาหนดโครงสร้างของการศึกษา คือ กาหนดระดับการศึกษา กาหนช่วงอายุผทู้ ่จี ะเข้าเรียนในระดับ
ต่างๆ กาหนดชัน้ เรียนและกาหนดความเกี่ยวเนื่องระหว่างระดับการศึกษา จัดระบบการศึกษา เป็ น
7:3:2 (ประกอบด้วยระดับประถมศึกษาซึง่ เป็ นการศึกษาภาคบังคับ 7 ปี ระดับมัธยมต้น 3 ปี และ
ระดับมัธยมปลาย 2 ปี) รวมถึงกาหนดแนวทางในการจัดการศึกษาโดยเพิม่ จากเดิมสามส่วนเป็ น 4
ส่วน ได้แก่ พุทธิศกึ ษา จริยศึกษา พลศึกษา และหัตถศึกษา แต่กย็ งั คงเป็ นการศึกษาทีเ่ น้นการท่อง
จาเป็ นหลัก และหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนรวมถึงทฤษฎีท่ใี ช้ในการเรียนการสอนได้นาเอา
ความรูว้ ชิ าการ แนวการจัดการเรียนการสอนตลอดจนรูปแบบของการจัดการศึกษามาจากประเทศ
ตะวันตก ซึง่ ลักษณะดังกล่าวนี้กย็ งั คงมีอทิ ธิพลอยู่จวบจนถึงปจั จุบนั
แผนการศึกษาแห่งชาติท่สี าคัญในช่วงต่อมา ซึง่ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครัง้ ใหญ่ในการ
จัดการเรียนการสอนระดับ ประถมศึกษา คือแผนการศึ กษาแห่ งชาติ พ.ศ.2520ซึ่งมีเจตจานงให้
การศึก ษาเป็ น กระบวนการต่ อ เนื่ อ งตลอดชีว ิต มุ่ง สร้า งเสริม คุ ณ ภาพของพลเมือ งให้ส ามารถ
ดารงชีวติ และทาประโยชน์แก่สงั คม โดยเน้นการศึกษาเพื่อสร้างเสริมความอยู่รอดปลอดภัย ความ
มันคงและความผาสุ
่ กร่วมกันในสังคมไทยเป็ นประการสาคัญ โดยได้เปลีย่ นการจัดระบบการศึกษา
เป็ น 6:3:3 โดยได้ล ดชัน้ ประถมลง 1 ปี และเพิม่ ชัน้ มัธยมปลาย 1 ปี เท่ าระบบปจั จุบนั เน้ นการ
จัดการเรียนการสอนให้สาระและกระบวนการเรียนรูค้ รบถ้วนและกลมกลืนกันระหว่างความเจริญ
งอกงามทางคุณธรรม จริยธรรม และปญั ญา กับความเจริญทางวัตถุ และระหว่างความเจริญงอกงาม
ทางร่างกายและจิตใจ ทัง้ นี้เพื่อการดารงชีวติ ทีส่ มบูรณ์ตามสภาพการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา
แผนการศึกษาฉบับนี้ยงั ได้ให้ความสาคัญกับการศึกษานอกระบบโรงเรียนเป็ นพิเศษ เพื่อเปิดโอกาส
ให้บุคคลได้มโี อกาสได้รบั การศึกษาตลอดชีวติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เพื่อประโยชน์แก่ผู้ทไ่ี ม่มโี อกาส
ศึกษาในระบบโรงเรียน รวมถึงได้มคี วามพยายามในการให้อสิ ระกับภาคส่วนต่างๆ ในการมีส่วนร่วม
ในการจัดการศึกษา
แผนการศึกษาชาติในสมัยต่อมา คือ แผนการศึ กษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2535 มีเป้าหมายใน
การพัฒ นาพลเมือ งของประเทศให้ม ีคุ ณ ภาพ สามารถปรับตัว ได้ท ัน กับ การเปลี่ยนแปลงต่ างๆ
รวมถึงสามารถสร้างสรรค์สงั คมไทยให้เจริญก้าวหน้า นอกจากนี้ ยังเริม่ ให้ความสาคัญกับการสร้าง
ความสมดุลในการพัฒนาประเทศ ทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองวัฒนธรรม สิง่ แวดล้อ ม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดังนัน้ การจัดการศึกษาจึง มุ่งเน้ นที่การพัฒนาบุคคลใน 4 ด้านอย่าง
สมดุลและกลมกลืนกัน คือ (1) ด้านปญั ญา คือ รูจ้ กั เหตุและผล รูจ้ กั แก้ไขปญั หาก้าวทันต่อการ
พัฒนาความรูแ้ ละวิทยาการต่างๆ แต่ยงั คงรูค้ ุณค่าของภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมของสังคมไทย (2)
394
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ด้านจิตใจ คือ มีคุณธรรม รู้จกั ผิดชอบชัวดี่ รู้จกั พอ มีสมาธิและมีความอดทนหนักแน่ นอันจะเป็ น


ประโยชน์ต่อการปฏิบตั หิ น้าทีก่ ารงานและการดารงชีพ (3) ด้านร่างกาย คือ รูจ้ กั ดูแลรักษาสุขภาพ
อนามัยของร่างกายทัง้ ของตนเองและสมาชิกในครอบครัว และสามารถพัฒนาสมรรถภาพของ
ร่างกายให้เหมาะสมกับการงานและอาชีพ และ (4) ด้านสังคม คือ มีพฤติกรรมทางสังคมทีด่ งี ามทัง้
ในการทางานและการอยู่ร่วมกันในครอบครัว องค์กร และสังคม รูจ้ กั การช่วยเหลือเกื้อกูลประโยชน์
แก่กนั และกันมีความสมารถและทักษะในการติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่น ตระหนักและปฏิบตั ติ ามสิทธิ
หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีพ่ งึ มีต่อสังคม
แนวทางการพัฒนาอย่างสมดุลยังคงเป็ นแนวทางสาคัญใน แผนการศึ กษาแห่ งชาติ พ.ศ.
2545 ด้วยเล็งเห็นว่าการพัฒนาสังคมไทยโดยให้ความสาคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างมุ่งไปที่
อัตราการเติบโตแต่เพียงอย่างเดียว ได้ส่งผลให้พ้นื ฐานโครงสร้างทางสังคมมีความอ่อนแอ ไม่เป็ น
ธรรม และต้องพึ่งพิงพาต่างชาติเป็ นหลัก ดังนัน้ แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับนี้จงึ เน้ นการพัฒนา
คุณภาพชีวติ บนสมมุติฐานว่ามิติของคุณภาพชีวติ เท่านัน้ ที่จะช่วยประคับประคองให้การพัฒนา
เป็ น ไปอย่างมีดุล ยภาพและยังยื่ น สะท้อ นผ่ า นผลส าเร็จในการพัฒนาคุ ณภาพของคนให้เ ป็ น ผู้
สมบูรณ์พร้อมทัง้ กาย ศีล จิต และปญั ญา พร้อมทัง้ มีความสามารถในการสร้างสรรค์สงั คมคุณภาพ
สังคมแห่งการเรียนรู้ และสังคมแห่งความสมานฉันท์ โดยได้มกี ารนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ทีย่ ดึ ทางสายกลางบนพืน้ ฐานของความสมดุลมาเป็ นแนวทางเพื่อนาไปสู่การพัฒนาที่ยงยื ั ่ น ยึดคน
เป็ นศูนย์กลางการพัฒนา เน้ นแผนบูรณาการแบบองค์รวม ทัง้ ทางด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปะ
วัฒนธรรม และธรรมชาติ โดยมี 3 วัตถุประสงค์หลัก ได้แก่ (1) พัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุล
(2) สร้างสังคมคุณธรรม ภูมปิ ญั ญา และการเรียนรู้ และ (3) พัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคม
ต่อมา แผนการศึกษาแห่งชาติ ได้ผ่านการทบทวนและออกเป็ น แผนการศึ กษาแห่ งชาติ
ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 เพื่อให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงทีส่ าคัญต่าง ๆ เช่น การประกาศใช้
รัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และการแถลงนโยบายต่อรัฐสภาของรัฐบาลนาย
อภิสทิ ธิ ์ เวชชาชีวะ ให้มกี ารปฏิรูปการศึกษาทัง้ ระบบ โดยปฏิรูปรงสร้างการบริหารจัดการ ปรับ
หลักสูตร ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ รวมทัง้ ส่งเสริมการกระจาย
อานาจให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเพื่อนาไปสู่เป้าหมายคุณภาพการศึกษาและการ
เรียนรู้ท่มี ุ่งเน้ นคุณ ธรรมนาความรู้อ ย่างแท้จริง ทัง้ นี้ วัต ถุ ประสงค์ของแผนประกอบไปด้วย (1)
พัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุลเพื่อเป็ นฐานหลักของการพัฒนา (2) สร้างสังคมไทยให้เป็ นสังคม
คุณธรรม ภูมปิ ญั ญา และการเรียนรู้ และ (3) พัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมเพื่อเป็ นฐานการ
พัฒนาคน และสร้างสังคมคุณธรรม ภูมปิ ญั ญา และการเรียนรู้
การปรับปรุงแผนการศึกษาแห่งชาติเกิดขึน้ อีกครัง้ หลังจากนัน้ เพียง 4 ปี ซึง่ เป็ นฉบับทีใ่ ช้
อยู่ในปจั จุบนั คือ แผนการศึ กษาแห่ งชาติ ฉบับปรับปรุง ครัง้ ที ่ 2 (พ.ศ. 2556-2559)ภายใต้
พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2553) โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาคน
395
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

อย่า งรอบด้า นและสมดุ ล เพื่อ เป็ น ฐานหลัก ของการพัฒ นาอย่ า งยัง่ ยืน ผ่ า นการพัฒ นาคุ ณ ภาพ
การศึกษา ปลูกฝงั และเสริมสร้างความเป็ นพลเมือง สร้างและกระจายโอกาสทางการศึกษา ปฏิรปู ครู
ทัง้ ระบบให้เป็ นวิชาชีพชัน้ สูง รวมทัง้ จัดการศึกษาระดับอุดลศึกษาและอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับ
ตลาดแรงงาน (2) สร้างสังคมไทยให้เป็ นสังคมพลเมืองวิถปี ระชาธิปไตยโดยส่งเสริมและสนับสนุ น
ั ญา การเรีย นรู้ป ระวัติศ าสตร์ ศิล ปะ วัฒ นธรรม การกีฬ า อย่ า งบู ร ณาการกับ
เครือ ข่ ายภู มปิ ญ
การศึกษาอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่องตลอดชีวติ พร้อมทัง้ ส่งเสริม การวิจยั และพัฒนาและนวัตกรรม
พัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้ และสร้างกลไกการนาผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์ และ (3) พัฒนา
สภาพแวดล้อมของสังคมให้เป็ นฐานการพัฒนาคน และสร้างสังคมคุณธรรม ภูมปิ ญั ญา นวัตกรรม
และการเรียนรู้ เน้นพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหาร
จัดการเร่งกระจายอานาจการบริหารส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ประชาชน ประชาสังคม
ในการบริหารจัดการและสนับสนุ นส่งเสริมการศึกษา ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ
ด้านการศึกษา
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ: ทิศทางและขอบเขตการพัฒนาการศึกษา
นับตัง้ แต่ช่วง พ.ศ. 2503 ประเทศไทยได้มกี ารขยายการศึกษาทัง้ ด้านปริมาณและคุ ณภาพ
โดยได้รบั ความร่ว มมือ จากองค์ก รระหว่างประเทศ และเริม่ มีการส่ งเสริมการจัดการศึกษาโดย
ภาคเอกชน รวมถึงกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้ “แผนพัฒนาการศึกษาแห่ งชาติ ” ให้สอด
รับกับแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ทัง้ นี้การจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติได้
ดาเนินการเรื่อยมาจนถึงปจั จุบนั เป็ นฉบับที่ 11 ซึ่งเป็ นการนาสาระของการปฏิรูปการศึกษาตาม
พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ และนโยบายของรัฐบาลมาสู่การปฏิบตั ิ อันนาไปสู่การกาหนด
ประเด็น ยุท ธศาสตร์ใ นด้า นการศึก ษาของประเทศ ทัง้ นี้ พัฒ นาการของแผนพัฒ นาการศึก ษา
แห่งชาติสามารถสรุปได้ดงั นี้
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504 – 2509)
เพิม่ ระดับการศึกษาภาคบังคับ จาก 4 ปี เป็ น 7 ปี ปรับปรุงการศึกษาระดับกลางทัง้ สาย
สามัญและอาชีวศึกษาให้เข้มแข็ง เน้นการผลิตครูให้เพียงพอและส่งเสริมให้ครูมวี ุฒสิ ูงขึน้ ส่งเสริม
การศึกษาระดับอุดมศึกษาโดยขยายไปยังส่วนภูมภิ าคต่าง ๆ ให้เพียงพอ
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 – 2514)
จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ จัดและขยาย
การศึกษาแต่ละระดับของประชากรในวัยเรียน ปรับปรุงคุณภาพทางการศึ กษา ตลอดจนส่งเสริม
การศึกษาในโรงเรียนราษฎร์ ด้านคุณภาพและมาตรฐาน

396
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515 - 2519)


เน้ น ปรับ ปรุง การเรียนการสอน ผลิต ครูใ ห้เ พียงพอ จัด ทาและแจกจ่ายต าราเรียน เพิ่ม
คุณภาพโรงเรียนโดยเฉพาะในภูมภิ าค นอกจากนี้ สาหรับการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ได้มุ่งเน้ น
ปรับปรุงโรงเรียน อาชีวเกษตรและอุตสาหกรรม เน้นขยายการรับนักเรียนอาชีวศึกษาระดับวิชาชีพ
ชัน้ สูงและปรับปรุงคุณภาพของวิทยาลัยเทคนิค ส่วนในระดับอุดมศึกษา เน้นเพิม่ จานวนนักศึกษาใน
สาขาวิชาแพทย์ เกษตรศาสตร์ วิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และศึกษาศาสตร์
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520 – 2524)
เริม่ มีการวางแนวทางการพัฒนาการศึกษาอย่างเป็ นระบบมากยิง่ ขึ้น มีการเปลี่ยนระบบ
การศึกษาจาก 4:3:3:2 มาเป็ น 6:3:3 ดังในปจั จุบนั เริม่ ให้ความสาคัญทัง้ ในด้านการปรับปรุง
โครงสร้างองค์กร ระบบการศึกษา หลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการทางเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศ เร่งขยายการศึกษาภาคบังคับให้ทวถึ ั ่ งทุกท้องถิ่นและส่งเสริมการศึกษานอก
โรงเรียน ปรับปรุงหลังสูตรและขยายการรับนักเรียนระดับวิชาชีพชัน้ สูงในวิทยาลัยเทคนิคภูมภิ าค
และเร่งปรับปรุงคุณภาพการศึก ษาระดับอุ ดมศึกษา รวมถึงขยายปริมาณตามความต้องการและ
ความจาเป็ นต่อการพัฒนาประเทศ พร้อมทัง้ ส่งเสริมการปรับปรุงโครงสร้างและการดาเนินงานของ
สถาบัน
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525 – 2529)
เน้นปรับปรุงโครงสร้างระบบบริหารการศึกษาและการจัดการศึกษาทุ กระดับ เริม่ ส่งเสริม
การมีส่ ว นร่ว มของภาคเอกชนในการจัด การศึกษา ส่ ง เสริมการพัฒ นาหลักสูต รและเทคโนโลยี
การศึก ษา สนั บ สนุ น ให้ม ีค วามเสมอภาคทางการศึก ษามุ่ ง กระจายบริก ารทางการศึก ษาและ
สถานศึกษาให้ทวถึ ั ่ งโดยเฉพาะในส่วนของสถานศึกษาทางวิชาชีพเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการ
ก าลัง คนของประเทศ อี ก ทัง้ ยัง เริ่ม ให้ ค วามส าคัญ กับ พัฒ นาการของผู้ เ รีย นในด้ า นอื่ น ๆ
นอกเหนือไปจากด้านวิชาการ เช่น ระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม จัดและส่งเสริมนันทนาการ
รวมถึงผลักดันให้สถานศึกษาเป็นแหล่งบริการศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬาของชุมชน
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2530 – 2534)
เน้นขยายโอกาสทางการศึกษาให้กบั ประชาชนในทุกระดับ ผ่านการผลิตและพัฒนาครูให้ม ี
คุณภาพและปริมาณให้เหมาะสมกับความจาเป็ นในการใช้ครู เร่งรัดปรับปรุงและสนับสนุ นการจัด
การศึกษาระดับอนุ บาล และระดับก่อนประถมศึกษา เร่ง จัดการศึกษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปี ท่ี
1-6) ให้ทวถึ
ั ่ งพร้อมทัง้ ปรับปรุงการเรียนการสอนให้มคี ุณภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของ
ท้องถิน่ มุง่ ขยายระดับมัธยมศึกษาเพื่อยกระดับการศึกษาให้สงู ขึน้ พัฒนาหลักสูตรระดับอาชีวศึกษา
ให้ได้คุณภาพและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี ตลอดจนตรงกับ

397
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ความต้องการของตลาดแรงงาน พัฒนาระดับอุดมศึกษาโดยมุ่งการผลิตบัณฑิต การวิจยั และการ


บริการทางวิชาการอย่างมีประสิทธิภาพ
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535 – 2539)
ขยายการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน จาก 6 ปีเป็ น 9 ปี และสนับสนุ นให้สถาบันของรัฐดาเนินการได้
อย่างอิสระ เริม่ ให้ความสาคัญกับการวางแนวทางให้ระบบการศึกษาสามารถปรับตัวได้ทนั กับความ
เปลีย่ นแปลงที่เกิดขึน้ ในสังคมไทยอย่างรวดเร็ว และสร้างความสมดุลในการพัฒนาประเทศทัง้ ด้าน
เศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม สิง่ แวดล้อม วิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี นอกจากนี้ ยังให้
ความสาคัญต่อการขยายบริการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เร่งรัดการผลิตกาลังคนในสาขาทีส่ อดคล้องกับ
การพัฒ นาประเทศ ฝึ ก อบรมครู อ าจารย์ใ นสาขาที่ข ลาดแคลน โดยขอความช่ ว ยเหลือ จาก
ต่ า งประเทศและร่ ว มมือ กับ สถานประกอบการ สนั บ สนุ น ให้เ อกชนมีบ ทบาทจัด การศึก ษา ใน
ระดับ อุ ด มศึก ษาให้ม ากขึ้น ปรับ ปรุ ง การจัด การศึก ษาตลอดชีว ิต เพื่อ ปวงชน รวมถึง ให้ม ีก าร
เชื่อมโยงระหว่างการศึกษาในและนอกระบบให้มากขึน้
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540 – 2544)
สืบเนื่องจากการทีแ่ ผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) ได้
เริ่ม มุ่ง เน้ น เรื่อ งการพัฒ นาคนให้ค นเป็ น ศู น ย์ก ลางของการพัฒ นาประเทศ ทัง้ ทางด้า นสัง คม
เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และประชารัฐ หลักการดังกล่าวสะท้อนอยู่ในแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
ฉบับนี้ ซึง่ มุ่งให้การศึกษาเป็ นแกนหลักในการพัฒนาคนควบคู่กบั การสร้างสังคมที่พงึ ประสงค์ ผ่าน
การจัดการศึกษาที่เน้ นการพัฒนาบุคคลในสีด่ ้านอย่างสมดุลและกลมกลืนกัน คือ ด้านปญั ญา ด้าน
จิตใจ ด้านร่างกาย และด้านสังคม ตลอดจนมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพและสามารถ
พึง่ ตนเองได้ นอกจากนี้ ยังได้ปรับแนวคิดการจัดการใหม่ ให้ผู้เรียนรูจ้ กั เรียนรูด้ ้วยตนเอง ผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง รูปแบบการสอนหลากหลาย ทุกส่วนของสังคมเอือ้ ต่อการเรียนรู้
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545 – 2549)
เน้นการกระจายอานาจจากส่วนกลางไปยังพืน้ ทีท่ ุกส่วนของสังคม เพื่อให้ทอ้ งถิน่ ได้เข้ามา
มีส่ ว นร่ ว มในการจัด การศึก ษาอย่ า งเต็ม ศั ก ยภาพ และผลการด าเนิ น งานการมีส่ ว นร่ ว มของ
ผูป้ กครองและ ชุมชนท้องถิน่ ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษามากขึน้ สถานศึกษา หลายแห่ง
มีการจัดตัง้ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนทีม่ าจากผูป้ กครองและชุมชนอย่างเต็มรูปแบบ รวมทัง้ การ
เปิดโอกาสและส่งเสริมให้ผปู้ กครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียนมาก
ขึน้ ตามลาดับ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางของประเทศในการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้เข้าสู่
สมดุลและยังยื ่ นรวมถึงมีการปรับใช้ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ได้อย่างเหมาะสม

398
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550 - 2554)


ได้มกี ารนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นพื้นฐานในการกาหนดแผน ซึ่งมีการศาสนา
ศิลปะ วัฒนธรรมและธรรมชาติเข้ามาเป็นตัวบูรณาการเชื่อมโยง โดยมี "คน" เป็ นศูนย์กลางของการ
พัฒนาที่ยงยื
ั ่ น และมุ่งไปสู่ก ารอยู่ดีกินดีมสี ุขของประชาชน โดยเจตนารมณ์ ของแผนการศึกษา
แห่งชาติน้ีจงึ มุ่งเน้นการพัฒนาชีวติ ให้เป็ นมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์พร้อมทัง้ กาย ใจ สติปญั ญา ความรูแ้ ละ
คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ่นื ได้อย่างมีความสุข และ
พัฒนาสังคมไทยให้เป็ นสังคมทีเ่ ข้มแข็งและมีดุลยภาพใน 3 ด้าน ได้แก่ สังคม คุณภาพ สังคมแห่ง
ภูมปิ ญั ญาและการเรียนรู้แ ละสัง คมสมานฉั นท์แ ละเอื้อ อาทรต่ อ กัน สนั บสนุ นให้มคี วามร่ ว มมือ
ระหว่างองค์กรภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ องค์กรประชาคม ภาคประชาชน ภาคเอกชน
และสถาบันในสังคมต่างๆ ให้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงจัง รวมทัง้ มีการพัฒนาระบบและกลไกการ
กากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลแผนเริม่ ตัง้ แต่การส่งเสริมการจัดทาฐานข้อมูลทุกระดับที่
จาเป็ นต้องใช้ ให้เกิดการเชื่อมโยงเครือข่าย ข้อมูล ระหว่างหน่ วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องอย่าง
เป็นระบบ
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2552 - 2559)
มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาของประเทศ ทัง้ ด้านการส่งเสริมโอกาสทางการ
ศึก ษาแก่ ป ระชาชน ด้ า นคุ ณ ภาพการศึก ษาโดยเฉพาะระดับ การศึก ษาขัน้ พื้น ฐาน ด้ า นขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ตลอดจนการเพิม่ เติมประสิทธิภาพในการบริหารและจัด
การศึกษา โดยใช้ยทุ ธศาสตร์ทค่ี รอบคลุม ทัง้ การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานผูเ้ รียน ครู บุคลากร
ทางการศึก ษา และสถานศึก ษา การผลิต และพัฒนาคุ ณภาพกาลังคน การส่งเสริมงานวิจยั และ
พัฒ นาถ่ า ยทอดองค์ค วามรู้เ ทคโนโลยีแ ละนวัต กรรม การขยายโอกาสการเข้า ถึง บริก ารทาง
การศึกษาและการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ รวมทัง้ การพัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริม
ให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
(ร่าง) แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุงครัง้ ที ่ 2 (พ.ศ. 2556 - 2559)
วัตถุประสงค์ของแผน ประกอบด้วย 3 ประการ คือ
1) พัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุลเพื่อเป็นฐานหลักของการพัฒนาอย่างยังยื
่ น
2) สร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมพลเมืองวิถปี ระชาธิปไตย
3) พัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมให้เป็ นฐานการเรียนรู้ สร้างสรรค์ภูมปิ ญั ญา และองค์
ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม

399
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กระบวนการเพือ่ การปฏิ รปู การศึกษา


ความพยายามในการปฏิรูประบบการศึกษาของประเทศไทยในยุคปจั จุบนั นับได้ว่าเริม่ ต้น
ตัง้ แต่เมื่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540ได้มกี ารบรรจุสาระเกี่ยวกับการศึกษาไว้ใน
รัฐ ธรรมนู ญ หลายมาตรา และมีก ารออกกฎหมายเพื่อ รองรับ การท างานของผู้ร บั ผิด ชอบด้า น
การศึกษาทัง้ ระบบอย่างแท้จริง นัน่ คือ พระราชบัญญัติการศึ กษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 เป็ น
กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคาสังต่ ่ าง ๆ ทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วข้องกับการศึกษาของไทย
พระราชบัญญัตฉิ บับนี้มเี จตนารมณ์เพื่อเน้นย้าว่า “ผู้เรียนสาคัญทีส่ ุด” การจัดการศึกษา
ต้องเป็ นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์ ทัง้ ทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปญั ญา ความรู้
และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ่นื ได้อย่างมีความสุข
โดยเนื้อหาสาระทีส่ าคัญประกอบไปด้วย 9 หมวด โดยมีหมวดทีถ่ อื ได้ว่าเป็ นหัวใจของการปฏิรปู คือ
“แนวการจัดการศึกษา” เพื่อให้เกิดการปฏิรปู การเรียนรู้ และมีหมวดอื่น ๆ เป็ นปจั จัยส่งเสริมเพื่อ
มุง่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ผเู้ รียน
ภาพที่ 109: องค์ประกอบสาระสาคัญของพ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542

ทีม่ า:ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ รุญเจริญ (2545)

สาระสาคัญ ของพ.ร.บ.การศึก ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กล่ าวไว้อย่างชัดเจนว่าการจัด


การศึกษาต้องยึดหลักให้ผเู้ รียนมีความสาคัญสูงสุด การจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผเู้ รียนทุกคนได้
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพของตน ให้ความสาคัญทัง้ ในด้านความรูแ้ ละคุ ณธรรม ใน
ด้านสาระความรู้ ต้อ งมีก ารบูรณาการความรู้และทักษะด้านต่ าง ๆ ให้เ หมาะสมกับแต่ ล ะระดับ

400
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การศึกษา รวมถึงมีการจัดกระบวนการเรียนรูแ้ ละกิจกรรมทีส่ อดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของ


ผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมทัง้ ให้ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การเผชิญ
สถานการณ์ และการแก้ปญั หา ตลอดจนหลักสูตรการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทต้องมีความ
หลากหลาย โดยส่วนกลางจัดทาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน เน้ นความเป็ นไทยและ
ความเป็ นพลเมืองดี การดารงชีวติ และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ แล้วจึงให้
สถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานจัดทาหลักสูตรในส่วนทีเ่ กี่ยวกับสภาพปญั หาในชุมชนและสังคม ภูมปิ ญั ญา
ท้องถิน่ และคุณลักษณะของสมาชิกทีด่ ขี องครอบครัว ชุมชนสังคมและประเทศชาติ สาหรับหลักสูตร
การศึกษาระดับอุดมศึกษาเพิม่ เรือ่ งการพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชัน้ สูงและการค้นคว้าวิจยั เพื่อพัฒนา
องค์ความรูแ้ ละสังคมศึกษา
พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และฉบับแก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2545 ยังได้
กาหนดให้มกี ารเปลีย่ นแปลงการจัดการศึกษาไทย ให้เกิดความเสมอภาคในการได้รบั การศึกษาขัน้
พืน้ ฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี อย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้
ตลอดชีวติ สาหรับประชาชนอีกทัง้ การจัดการศึกษาดังกล่าวจะต้องคานึงถึงการมีส่วนร่วมขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิน่ ภาคเอกชนและให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึง่ หลักการ
สาคัญดังกล่าวตรงกับแนวคิด “การศึกษาเพื่อปวงชน” (Education for All) และ “ปวงชนเพื่อ
การศึกษา” (All for Education) อันเป็นหลักการพืน้ ฐานทีไ่ ด้รบั การยอมรับทัวโลก

นอกจากนี้ ในช่วงเวลาดังกล่าวยังได้มคี วามพยายามในการปฏิรปู ระบบราชการไทย เพื่อให้
เกิดความคล่องตัว และลดขัน้ ตอนล่าช้ายุ่งยากในการทางาน โดยในส่วนของกระทรวงศึกษาธิการ
นัน้ การปฏิรูประบบบริห ารราชการและการจัดการศึกษาได้ผ นวกหน่ ว ยงานทางการศึกษา คือ
ทบว งมหาวิ ท ยาลั ย แล ะส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ เข้ า มารว มกั บ
กระทรวงศึกษาธิการ และได้ยบุ รวมกรมสามัญศึกษา และสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา
แห่งชาติเข้าด้วยกัน เกิดเป็ นการจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงที่มอี งค์กรหลักที่เป็ นคณะ
บุค คลในรูปสภาหรือในรูปคณะกรรมการจานวนสี่อ งค์กร ได้แก่ สภาการศึกษา คณะกรรมการ
การศึก ษาขัน้ พื้น ฐาน คณะกรรมการการอาชีว ศึก ษา และคณะกรรมการการอุ ด มศึก ษา โดย
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานจะเป็นผูต้ งั ้ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาต่อไป

401
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 38:เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างกระทรวงศึกษาธิ การ


โครงสร้างเดิ ม โครงสร้างใหม่
สานักงานเลขานุ การรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการและสานักงาน สานักงานรัฐมนตรี
เลขานุการรัฐมนตรีทบวงมหาวิทยาลัย
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ยกเว้นสานักงานศึกษาธิการ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
จัง หวัด และส านั ก งานศึก ษาธิก ารอ าเภอ) กรมการศึก ษานอก
โรงเรีย นสานักงานคณะกรรมการการศึก ษาเอกชนและสานักงาน
คณะกรรมการข้าราชการครู
สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติกรมสามัญศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
กรมวิช าการ และส านั ก งานศึก ษาธิก าร-จัง หวัด และส านั ก งาน
ศึกษาธิการอาเภอ
ทบวงมหาวิทยาลัย สานักงานสภาสถาบันราชภัฏสถาบันเทคโนโลยี สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ราชมงคล และสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
กรมอาชีวศึกษา ยกเว้นสถาบันเทคโนโลยี-ปทุมวัน สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

402
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 110: โครงสร้างการบริหารจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิ การ

กระทรวงศึกษาธิ การ

สานักงานรัฐมนตรี

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ


สภาการศึกษา การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน การอุดมศึกษา การอาชีวศึกษา

สานักงาน สานักงาน สานักงาน สานักงาน สานักงาน


ปลัดกระทรวง เลขาธิการสภา คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ
ศึกษาธิการ การศึกษา การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน การอุดมศึกษา การอาชีวศึกษา
(สป.) (สกศ.) (สพฐ.) (สกอ.) (สอศ.)

- สานักงานคณะกรรมการ คณะกรรมการ
ข้าราชการครูและบุคลากร เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
ทางการศึกษา (กคศ.)
- สานักงานส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย (กศน.)
สานักงานเขต สถานศึกษาของรัฐทีจ่ ดั การศึกษา
- สานักงานคณะกรรมการ
พืน้ ทีก่ ารศึกษา ระดับปริญญาทีเ่ ป็นนิตบิ ุคคล
ส่งเสริมการศึกษาเอกชน
(สช.)
- ฯลฯ

สถานศึกษา สถานศึกษา
ขันพื
้ น้ ฐาน อาชีวศึกษา

ทีม่ า: กระทรวงศึกษาธิการ

403
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษที่ 1 (พ.ศ. 2542 - 2552)


เจตจานงค์ของการปฏิรูปการศึกษาคือเป็ นไปเพื่อการปรับทัง้ ระบบ ตัง้ แต่กระบวนการและ
เป้าหมายของการเรียนรู้ การคิดของบุคคลและสังคมทีเ่ กี่ยวกับตนเอง สิง่ แวดล้อม ธรรมชาติ และสิง่
ทีม่ นุ ษย์สร้างสรรค์ขน้ึ เพื่อนาไปสู่ประโยชน์ต่อชีวติ และสังคมในอนาคต โดยเป้าหมายทีส่ าคัญทีส่ ุด
จะมุง่ เกิดเจตคติต่อตนเอง สังคม เพื่อนร่วมโลกและธรรมชาติ การปฏิรปู การศึกษาจึงเป็ นเสมือนการ
รือ้ ปรับปรุง ยกเครื่องและเปลีย่ นแปลงการศึกษาทัง้ ระบบ ซึง่ มีการดาเนินงานเป็ นขัน้ ตอน ทาให้ไม่
เกิดความรุนแรงหรือกระทบในทางเสียหายน้ อยที่สุด โดยมีเป้าประสงค์สาคัญคือ (ประเวศ วะสี,
2542)
 เป็ นการศึกษาสาหรับ ประชาชนอย่างทัวถึ ่ ง มีความยืดหยุ่น หลากหลายเหมาะสมกับ
ประชาชนทุกกลุ่มในสังคม
 เปิดโอกาสให้ทุกส่วนในสังคมมีความร่วมมือกันในการจัดการศึกษา
 ปฏิรปู กระบวนการเรียนรูใ้ ห้มกี ระบวนการทีง่ า่ ย สนุก และพัฒนาคนให้เต็มศักยภาพของ
ความเป็นมนุษย์
 ปฏิรูประบบบริหารและการจัดการศึกษาให้มคี วามสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพในการ
จัดการและตรวจสอบให้บรรลุเป้าประสงค์ของการศึกษา
 สามารถแก้ปญั หาและพัฒนาเศรษฐกิจ จิตใจ สังคม วัฒนธรรม สิง่ แวดล้อม การเมือง
และสุขภาพไปด้วยกัน

404
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 111: การปฏิ รปู การศึกษาในทศวรรษที่ 1

การพัฒนาวิ ชาชีพครู การปฏิ รปู หลักสูตรและ การปฏิ รปู ระบบบริ หาร


ปฏิ รปู สถานศึกษา
และบุคลากร การเรียนการสอน และการจัดการ

เป้ าหมาย: การศึกษาที่เป็ นเลิศ มีคณ


ุ ภาพการเรียนได้มาตรฐานสูง

ยุทธศาสตร์

การกระจาย การประกันคุณภาพ การใช้ผเ้ ู รียนเป็ น การใช้แผน


การศึกษา การมีส่วนร่วม
อานาจ ศูนย์กลาง ยุทธศาสตร์

กระทรวงศึก ษาธิก าร ในฐานะหน่ ว ยงานหลักที่ดาเนินการปฏิรูปการศึกษา ได้กาหนด


ขอบข่ายของการปฏิรูปการศึกษาเพื่อปรับปรุงการดาเนินงานทางการศึกษาและยกระดับคุณภาพ
มาตรฐานการศึกษาให้สูงขึน้ เพื่อเตรียมเยาวชนของชาติให้มคี วามรูค้ วามสามารถ ได้มาตรฐานสูง
เหมาะสมกับความต้องการของสังคมในยุคโลกาภิวตั น์
โดยกาหนดแนวทางการปฏิรปู การศึกษาในสีด่ า้ น คือ (1) การปฏิรปู โรงเรียนและสถานศึกษา
(2) การปฏิรปู ครูและบุคลากรทางการศึกษา (3) การปฏิรปู หลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน
และ (4) การปฏิรปู ระบบบริหารการศึกษาทัง้ นี้ได้มกี ารดาเนินการดังนี้
 การปฏิรปู การศึกษาจะต้องเน้นการพัฒนา "คุณภาพการศึกษา" โดยเฉพาะคุณภาพของ
ผู้เรียนเป็ นสาคัญ ผ่านการปฏิรูปกระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู วิธกี ารเรียน
ของผูเ้ รียนและการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมในโรงเรียน
 องค์ ป ระกอบหลัก ของการปฏิรู ป การศึ ก ษา คือ การปฏิรู ป หลัก สู ต ร การปฏิรู ป
กระบวนการเรียนการสอน การปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษา และการปฏิรูปการ
บริหารและการจัดการศึกษา

405
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 การดาเนินการปฏิรปู การศึกษาจะเน้นยุทธศาสตร์หลัก 5 ประการคือ


1. กระจายอานาจให้สถานศึกษาและหน่ วยปฏิบตั มิ อี สิ ระและความคล่องตัวในการ
บริหารงานทีร่ บั ผิดชอบ
2. ใช้แผนยุทธศาสตร์เป็นเครือ่ งมือในการดาเนินงานปฏิรปู การศึกษาทุกระดับ
3. เปิดโอกาสให้ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
4. สร้างระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ
5. เน้นผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง ได้เต็ม
ศักยภาพ
นโยบายด้านการศึกษาที่สาคัญในช่วงดังกล่าว เมื่อพิจารณาตามวาระของรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ สามารถสรุปได้ดงั นี้
นายสมศักดิ์ ปริ ศนานันทกุล (พ.ศ. 2542 – 2544)
 เปลี่ยนแปลงระบบการคัด เลือ กบุ ค คลเข้า ศึก ษาในสถาบันอุ ด มศึก ษา จากการสอบ
Entrance มาเป็นระบบ Admission โดยใช้ผลการเรียนเฉลีย่ (GPA, PR)
 วางระบบประกันคุณภาพการศึกษาในทุกระดับ โดยจัดตัง้ สานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุ ณภาพการศึก ษา (สมศ.) มีฐานะเป็ นองค์การมหาชน ในปี พ.ศ. 2543 เพื่อ
พัฒ นาเกณฑ์แ ละวิธ ีก ารประเมิน คุ ณ ภาพภายนอก และท าการประเมิน ผลการจัด
การศึกษาเพื่อให้มกี ารตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา
 พัฒนากระบวนการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ
 มีนโยบายบรรจุหลักสูตรการเรียนการสอนวิชาหน้าทีพ่ ลเมือง-ศีลธรรม ไว้ในหลักสูตรทุก
ระดับ โดยให้นาเนื้อหาวิชาที่เกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง-ศีลธรรม เป็ นการเฉพาะในระดับ
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โดยให้มกี ารเรียนการสอนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 คาบ
และให้มกี ารเน้นการปฏิบตั จิ ริง

ศ. น.พ. เกษม วัฒนชัย (พ.ศ. 2544), พันตารวจโท ดร.ทักษิ ณ ชิ นวัตร (พ.ศ. 2544) และ
นายสุวิทย์ คุณกิ ตติ (พ.ศ. 2544 - 2555)
ในช่วงเวลาเพียงปีเศษระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 - เดือนตุลาคม พ.ศ. 2545 ได้ม ี
การเปลี่ยนแปลงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการถึง 3 ท่านอย่างไรก็ตาม ได้มกี ารปรับเปลีย่ น
ระบบการศึกษาของไทยในหลายส่วน โดยเฉพาะหลักสูตรการเรียนการสอน โดยภาพรวมของการ
พัฒนาการศึกษาในช่วงดังกล่าวอาจสรุปได้ว่ามุง่ เน้นการพัฒนาสังคมไทยให้เป็ นสังคมแห่งการเรียนรู้
อันเป็ นเงื่อนไขไปสู่ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ โดยยึดหลัก “การศึ กษาสร้างชาติ สร้างคน และ

406
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สร้างงาน”เน้นคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเทีย่ งธรรมในการบริหารจัดการการศึกษา ซึง่ มีแนว


ทางการดาเนินการดังนี้
 กาหนดหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ. 2544 โดยมีสาระการเรียนรูต้ ามหลักสูตร ซึง่
ประกอบด้ว ยองค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการการเรียนรู้ และคุณลักษณะหรือค่ านิยม
คุณธรรม จริยธรรมของผูเ้ รียน แบ่งออกเป็ น 8 กลุ่มได้แก่ (1) ภาษาไทย (2) คณิตศาสตร์
(3) วิทยาศาสตร์ (4) สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (5) สุขศึกษาและพลศึกษา (6)
ศิลปะ (7) การงานอาชีพและเทคโนโลยีและ (8) ภาษาต่างประเทศ
 ปฏิรูปการเรียนรู้ โดยยึดหลักผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง สามารถเรียนรูด้ ้วยตนเอง และส่งเสริม
การเรียนรูต้ ลอดชีวติ เน้นพลังความคิดสร้างสรรค์ สร้างนิสยั รักการอ่าน โดยจัดให้มหี อ้ งสมุด
ศูนย์การเรียนรูช้ ุมชน และสื่อการเรียนรูป้ ระเภทต่างๆ อย่างทัวถึ ่ ง
 เพิม่ การกระจายโอกาสทางการศึกษาในคนไทยทัง้ ประเทศโดยพัฒนาระบบเทคโนโลยีทาง
การศึกษาและเครือข่ายสารสนเทศ
 ส่ ง เสริมและสนับสนุ นให้ทุ ก ฝ่ายร่ว มจัด การศึก ษา จัด ให้มวี ิทยาลัยชุ มชน โดยเฉพาะใน
จังหวัดทีย่ งั ขาดแคลนสถาบันอุดมศึกษา
 ส่งเสริมวิชาชีพครูให้มศี กั ดิ ์ศรี เป็ นทีย่ อมรับในสังคม รวมทัง้ พัฒนาและผลิตครูท่มี คี ุณภาพ
และคุณธรรม
 ปฏิรปู การอาชีวศึกษาให้มคี ุณภาพมากยิง่ ขึน้ และพัฒนาถึงระดับปริญญาตรี เพื่อตอบสนอง
ต่อภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ รวมทัง้ สนับสนุ นให้ผเู้ รียนได้เข้าฝึกทักษะในสถาน
ประกอบการ

ดร.อดิ ศยั โพธารามิ ก (พ.ศ. 2546 – 2548)


สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรูเ้ พื่อสร้างสังคมเศรษฐกิจบนฐานความรู้ พัฒนาให้ม ี
ความรูแ้ ละจริยธรรม ปลูกฝงั ความรูท้ ท่ี นั โลกและคุณค่าทีด่ ขี องวัฒนธรรม เร่งรัดการปฏิรปู การศึกษา
และกระบวนการเรียนการสอนทุกรูปแบบให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม และ
สนับสนุนกระบวนการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ ส่งเสริมนิสยั รักการอ่าน โดยคานึงถึงคุณค่าของ
ลักษณะเฉพาะและเอกลักษณ์ของท้องถิน่
 ปรับกองทุนเงินกู้ยมื เพื่อการศึกษา เป็ นกองทุ นให้ ก้ ยู ืมเพือ่ การศึ กษาที ผ่ กู พันกับ
รายได้ในอนาคต เพื่อให้โอกาสทางการศึกษาก่อนเป็ นอันดับแรกและผ่อนชาระเมื่อมี
รายได้
 โครงการ “1 อาเภอ 1 โรงเรียนในฝัน” เน้นพัฒนาโรงเรียนในทุกๆอาเภอทัวประเทศ ่
เพื่อ ขจัด ปญั หาความเลื่อ มล้ าทางด้านวิช าการของโรงเรีย นต่ าง ๆ ตลอดจนเพื่อ ให้

407
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เยาวชนไทยที่อยู่ห่างไกลมีโอกาสเข้าถึงแหล่งข้อมูลความรูเ้ น้นการปูพน้ื ฐานการเรียนรู้


ให้กบั เด็กตัง้ แต่วยั ปฐมวัยให้รจู้ กั การวิเคราะห์เป็ น และรูจ้ กั ใช้ความคิด ตลอดจนขยาย
ผลจากโรงเรียนต้นแบบเป็ น โรงเรีย นพี เ่ ลี้ ยงให้แก่ โรงเรียนในพื้นที่ต่ าง ๆ ที่มคี วาม
ต้องการร่วมสร้างคุณภาพการศึกษา เพื่อสร้างเป็นเครือข่าย
 เร่งสร้างสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ อานวยต่อการเรียนรูท้ งั ้ ในระบบและนอกระบบ ในห้องเรียน
และนอกห้องเรียน โดยรัฐบาลจะร่วมมือกับทุกฝ่ายเพื่อสร้างและบริการองค์ความรูใ้ ห้
กระจายไปทัว่ ทุ ก ภู ม ิภ าคของประเทศ อาทิ ห้อ งสมุด สมัย ใหม่ อุ ท ยานการเรีย นรู้
พิพธิ ภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้แห่ งชาติ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบศูนย์พฒ ั นาด้านกีฬ า
ดนตรี ศิลปะ ศูนย์การเรียนรูด้ า้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 ให้ความสาคัญกับการสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ส่งเสริมสถานศึกษาที่เอาใจใส่
ดูแลเด็กและครอบครัวทีอ่ บอุ่น โดยมีหน่วยบริการเคลื่อนที่ “คาราวานเสริ มสร้างเด็ก”
เพื่อให้ความรูค้ วามเข้าใจกับพ่อแม่เกีย่ วกับวิธกี ารดูแลบุตรทีถ่ ูกต้อง
 สนับสนุ นการฝึ กทักษะและการเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ ๆ ในช่วงวัยทางาน และพัฒนา
มาตรฐานวิชาชีพของแรงงาน
 สนับสนุนผูม้ คี วามสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตัง้ แต่ระดับพืน้ ฐานถึง
อุดมศึกษา เช่น การเพิม่ โรงเรียนวิทยาศาสตร์ การให้สถาบันวิจยั มีส่วนร่วมในการผลิต
บุคลากรระดับปริญญาโทและเอก

นายจาตุรนต์ ฉายแสง (พ.ศ. 2548 – 2549)


มีก ารประกาศเจตนารมณ์ ใ ห้ปี 2549 เป็ น “ปี แห่ ง การปฏิ รูป การเรี ย นการสอน”โดย
มุ่ง หวัง ให้ค รูแ ละผู้เ รีย นปรับ เปลี่ย นกระบวนทัศ น์ ก ารเรีย นการสอนให้รู้จ ัก คิด วิเ คราะห์ และ
สังเคราะห์องค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง เน้นการปฏิรปู หลักสูตรและการเรียนการสอนการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ซึง่ มีแนวทางการดาเนินการดังนี้
 ปรับหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐานพ.ศ. 2544 โดยมีการวิจยั และพัฒนาหลักสูตรการ
เรียนรูต้ ามแนวการจัดกระบวนการเรียนรูเ้ พื่อสร้างสรรค์ด้วยปญั ญา (Constructionism)
มุ่งเน้ นให้ผู้เรียนรูว้ ธิ กี ารเรียนรู้ รู้จกั แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถใช้เทคโนโลยี
แสวงหาความรูไ้ ด้อย่างคล่องแคล่ว
 จัดการศึกษาสาหรับเด็กและเยาวชนทีม่ คี วามสามารถพิเศษ

408
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ศ.ดร.วิ จิตร ศรีสอ้าน (พ.ศ. 2549 –2551)


เร่งการปฏิรปู การศึกษาโดยยึดคุณธรรมนาความรู้ ขยายโอกาสทางการศึกษาของประชาชน
ให้กว้างขวางและทัวถึ
่ ง โดยคานึงถึงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ เสริมสร้าง
ความตระหนั ก ในคุ ณ ค่ า ของปรัช ญาเศรษฐกิ จ พอเพีย ง ความสมานฉั น ท์ สัน ติ ว ิธ ี วิถี ชีว ิ ต
ประชาธิปไตย พัฒนาคนโดยใช้คุณธรรมเป็ นพืน้ ฐานของกระบวนการเรียนรูท้ เ่ี ชื่อมโยงความร่วมมือ
ของสถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันทางศาสนา และสถาบันการศึกษา ส่วนในด้านการจัดการศึกษา
เน้นการกระจายอานาจไปสู่เขตพืน้ ที่ รวมทัง้ การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและภาคเอกชน

นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ (พ.ศ. 2551) และ นายศรีเมือง เจริ ญศิ ริ (พ.ศ. 2551)
เน้ น การลงทุ น เพื่อ ยกระดับ คุ ณ ภาพการศึก ษาทัง้ ระบบ โดยครอบคลุ ม การพัฒ นาครู
หลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อผลสัมฤทธิ ์ด้านคุณภาพและความรูข้ องนักเรียนตามแผนการ
เรียนการสอนอย่างสัมพันธ์กบั ทรัพยากรและปจั จัยแวดล้อมต่าง ๆ อันจะนาไปสู่การสร้างระบบการ
เรียนรูต้ ลอดชีวติ ของประชาชน และการเป็นศูนย์กลางด้านการศึกษาในภูมภิ าค
 จัด ให้ค นไทยทุ ก คนมีโ อกาสรับ การศึก ษาไม่น้ อ ยกว่ า 12 ปี โ ดยไม่เ สีย ค่ า ใช้จ่า ย
โดยเฉพาะผูย้ ากไร้ ผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ ผูอ้ ยู่ในสภาวะยากลาบาก และผูด้ อ้ ยโอกาส
อื่นๆได้รบั การศึกษาอย่างทัวถึ
่ ง
 เพิ่ม โอกาสในการศึก ษาต่ อ ผ่ า นกองทุ น เงิน ให้กู้ย ืม เพื่อ การศึก ษาและเชื่อ มโยงกับ
นโยบายการผลิตบัณฑิตเพื่อตอบสนองความต้องการบุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ
ของประเทศ รวมทัง้ ต่อยอดให้ทุนการศึกษาทัง้ ในและต่างประเทศ
 ปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูให้มคี ุณภาพและคุณธรรม มีคุณภาพชีวติ ที่ดี มีรายได้
ค่าตอบแทนและสวัสดิการทีเ่ หมาะสม
 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาให้มคี วามเป็นเลิศด้านการศึกษาวิจยั และ
สร้างสรรค์นวัตกรรม การให้บริการวิชาการและวิชาชีพชัน้ สูง และการผลิตและพัฒนา
กาลังคน ให้สอดรับการเปลีย่ นแปลงโครงสร้างภาคการผลิตและบริการ พร้อมทัง้ เร่งผลิต
กาลังคนระดับอาชีวศึกษาให้มคี ุณภาพและมีเส้นทางอาชีพที่ชดั เจนเพื่อสนับสนุ นขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านต่าง ๆ เช่น ปิโตรเคมีซอฟต์แวร์ อาหาร สิง่
ทอ บริการสุขภาพ การท่องเทีย่ ว และการบริหารจัดการขนส่งสินค้าและบริการ เป็ นต้ น
ตลอดจนจัดให้มกี ารรับรองสมรรถนะของบุคคลในการประกอบอาชีพและสานต่อการ
ขยายบทบาทศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน

409
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 พัฒนาหลักสูตรสื่อการเรียนการสอนให้ทนั สมัยและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของ
โลก ควบคู่กบั การสร้างจิตสานึกในความเป็ นไทยพร้อมทัง้ ขยายบทบาทของระบบการ
เรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่ านองค์กรต่าง ๆ เช่น สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
ระบบห้อ งสมุ ด สมัย ใหม่ อุ ท ยานการเรีย นรู้ พิพิธ ภัณ ฑ์ก ารเรีย นรู้แ ห่ ง ชาติ ศู น ย์
สร้างสรรค์งานออกแบบ ศูนย์พฒ ั นาด้านกีฬา ดนตรี ศิลปะและผูด้ อ้ ยโอกาสอื่น ๆ
 การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญคือ การกาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
พ.ศ. 2551 เป็ นกรอบทิศทางและเกณฑ์การประเมินผลซึง่ จัดทาขึน้ สาหรับท้องถิน่ และ
สถานศึกษาได้นาไปใช้เป็ น แนงทางการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนการ
สอนโดยมีหลักการเพื่อเป็นหลักสูตรการศึกษาทีส่ นองการกระจายอานาจ ให้สงั คมมีส่วน
ร่วมในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิน่ เน้นผูเ้ รียน
เป็นสาคัญ มีโครงสร้างยืดหยุ่นทัง้ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้ โดยมี
จุ ด ประสงค์ ใ ห้ ผู้ เ รีย นเกิ ด สมรรถนะส าคัญ และคุ ณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ ได้ แ ก่
ความสามารถในการสื่อสาร คิด แก้ปญั หามีทกั ษะชีวติ และมีทกั ษะเทคโนโลยี

การปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2561)


มีเป้าหมายเพื่อจัดการกับปญั หาที่ยงั ไม่สามารถดาเนินการได้สาเร็จ โดยเฉพาะการปฏิรูป
การเรียนรู้ท่สี ่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน การจัดการศึกษาที่เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ ส่งเสริมการใช้
เทคโนโลยีท่เี ป็ นประโยชน์ ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของผู้เรียนโดยนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เข้ามาในระบบการศึกษา พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มคี ุณภาพและเพียงพอต่อการจัด
การศึกษา ตลอดถึงการแก้ไขกฎหมาย ระเบียบปฏิบตั ติ ่าง ๆ ทีเ่ ป็ นอุปสรรคต่อการปฏิรปู การศึกษา
โดยมีวสิ ยั ทัศน์ให้ “คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคณุ ภาพ เป้ าหมายภายในปี 2561” มีการ
ปฏิรปู การศึกษาและการเรียนรูอ้ ย่างเป็นระบบ โดยเน้นประเด็นหลักสามประการ คือ
1. ยกระดับ คุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึก ษาและเรียนรู้ข องคนไทย โดยการพัฒ นา
สถานศึกษาแหล่งเรียนรู้ สภาพแวดล้อม หลักสูตรและเนื้อหา ส่งเสริมวิชาชีพครูให้เป็ น
วิชาชีพที่มคี ุณค่า สามารถดึงดูดคนเก่งดีและมีใจรักมาเป็ นครูคณาจารย์ได้อย่างยังยื
่ น
ภายใต้ระบบบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
2. เพิม่ โอกาสการศึกษาและเรียนรูอ้ ย่างทัวถึ่ งและมีคุณภาพ เพื่อให้ประชาชนทุกมีโอกาส
เข้าถึงการศึกษาและเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ
3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม ในการบริหารและจัดการศึกษา โดยเพิม่
บทบาทของผูท้ อ่ี ยูภ่ ายนอกระบบการศึกษาด้วย

410
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ในส่วนของกรอบแนวทางการปฏิรปู การศึกษา มีการวางแนวทางดังนี้


 พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ ที่มนี ิสยั ใฝ่เรียนรู้ สามารถเรียนรูด้ ้วยตนเองและแสวงหา
ความรูอ้ ย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ
 พัฒนาคุณ ภาพครูยุค ใหม่ ที่เป็ นผู้เ อื้อ อานวยให้ผู้เ รียนเกิดการเรียนรู้ เป็ นวิชาชีพที่ม ี
คุณค่า สามารถดึงดูดคนเก่ง คนดี มีใจรักในวิชาชีพครูมาเป็ นครู
 พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรูย้ ุคใหม่ เพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาทุก
ระดับ /ประเภทให้ส ามารถเป็ น แหล่ ง เรีย นรู้ท่ีม ีคุ ณ ภาพและพัฒ นาแหล่ ง เรีย นรู้อ่ืน ๆ
สาหรับการศึกษาและเรียนรูท้ งั ้ ในระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียนและการศึกษาตาม
อัธยาศัย
 พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ ทีม่ งุ่ เน้นการกระจายอานาจสู่สถานศึกษา เขตพืน้ ที่
การศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ รวมทัง้ การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน
ภาคเอกชนและทุกภาคส่วน มีระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
 การดาเนินการจะยึดตามกรอบยุทธศาสตร์ทไ่ี ด้กาหนดไว้ใน 8 ประเด็นคือ
1. การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
2. การผลิตและพัฒนาครูคณาจารย์
3. การเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการทางด้านการศึกษาและการมีส่วนร่ว ม
4. การเพิม่ โอกาสทางการศึกษา
5. การผลิตและพัฒนากาลังคน
6. การปฏิรปู การเงินเพื่อการศึกษา
7. การปฏิรปู เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
8. การแก้ไขกฎหมายทางด้านการศึกษา

411
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 112: การปฏิ รปู การศึกษาในทศวรรษที่ 2

พัฒนาคุณภาพ พัฒนาคุณภาพ
พัฒนาคุณภาพคนไทย การปฏิ รปู ระบบบริ หาร
สถานศึกษาและแหล่ง
ยุคใหม่ ครูยคุ ใหม่ จัดการยุคใหม่
เรียนรู้ยคุ ใหม่

เป้ าหมาย: คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวตอย่างมีคณ


ุ ภาพ

ยุทธศาสตร์

ผลิ ตและ
พัฒนา เพิ่ ม เพิ่ ม ผลิ ตและพัฒนา ปฏิ รปู ปฏิ รปู
พัฒนาครู
ผูเ้ รียน ประสิ ทธิ ภาพ โอกาส กาลังคน การเงิ น เทคโนโลยี

นโยบายด้านการศึกษาที่สาคัญในช่วงดังกล่าว เมื่อพิจารณาตามวาระของรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ สามารถสรุปได้ดงั นี้

นายจุรินทร์ ลักษณวิ ศิษฎ์ (พ.ศ. 2551-2553)


เน้นปฏิรปู การศึกษาทัง้ ระบบโดยปฏิรปู โครงสร้างและการบริหารจัดการ ปรับปรุงกฎหมาย
ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนู ญ และระดมทรัพยากรเพื่อการปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษา ตัง้ แต่
ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานจนถึงระดับอุดมศึกษา พัฒนาครู พัฒนาหลักสูตร ปรับหลักสูตรวิชาแกน
หลักปรับปรุงสื่อ การเรียนการสอน พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ ปรับบทบาทการศึกษานอก

412
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

โรงเรียนเป็ นสานักงานการศึกษาตลอดชีวติ และจัดให้มศี ูนย์การศึกษาตลอดชีวติ เพื่อการเรียนรูท้ ่ี


เหมาะสมในแต่ละพืน้ ที่
1. ส่งเสริมการกระจายอานาจให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเพื่อนาไปสู่เป้าหมาย
คุณภาพการศึกษาและการเรียนรูท้ ม่ี งุ่ เน้นคุณธรรมนาความรูอ้ ย่างแท้จริง
 เน้ นนโยบายการกระจายอานาจและความรับผิดชอบอย่างเป็ นรูปธรรมไปยังเขต
พื้น ที่ก ารศึก ษามากขึ้น โดยบทบาทของเขตพื้นที่การศึกษาต้อ งรับ ผิด ชอบงาน
นโยบายและงานพัฒ นา รวมทัง้ งานแก้ ป ญ ั หาในเขตพื้น ที่ และส่ ว นกลางจะลด
บทบาทลงมาเป็ นผู้กากับติดตามประเมินผล ให้คุณให้โทษและปูนบาเหน็จความดี
ความชอบ
 เร่งทา “แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด”และ“แผนพัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัด”
เพื่อเพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงในการพัฒนาการศึกษาระหว่างจังหวัด
 ผลักดันให้ม ี “โรงเรียนดี 3 ระดับ” เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนในโรงเรียนทีด่ มี ี
คุณภาพที่อยู่ใกล้บ้าน ทาให้เด็กได้อยู่กบั ครอบครัวเป็ นการสร้างภูมคิ ุ้มกันให้เมีค
วามเข้มแข็ง โดยโรงเรียนดี 3 ระดับ ประกอบไปด้วย (1) โรงเรียนดีระดับชาติ ซึ่ง
ส่ ว นใหญ่ จะเป็ น โรงเรียนอยู่ใ นกรุงเทพฯ และโรงเรียนประจาจังหวัดเน้ นพัฒนา
คุ ณ ภาพทางวิชาการ การพัฒนาครูและหลัก สูต รการเรียนการสอน ซึ่งโรงเรีย น
เหล่านี้จะต้องพัฒนาไปถึงขัน้ การวิจยั และพัฒนาการเรียนการสอนด้วย (2) โรงเรียน
ดีระดับอาเภอซึง่ เป็ นโรงเรียนในฝนั เดิม โดยจะเน้นความเป็ นเลิศทางวิชาการ เน้น
สร้างปจั จัยพืน้ ฐานต่างๆ และ (3) โรงเรียนดีระดับตาบล จะเน้นการพัฒนาครูในวิชา
หลักต่ างๆ แก้ปญั หาครูไม่ครบชัน้ โดยจะมีการนาเทคโนโลยีมาใช้แ ละสนับสนุ น
ปจั จัยพืน้ ฐาน
 ริเริม่ “นโยบาย3D”เพื่อสร้างกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย (Democracy)กิจกรรม
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ความภาคภูมใิ นความเป็ นไทย(Decency) และกิจกรรม
ป้องกันและแก้ปญั หายาเสพติด (Drug) มีจุดประสงค์ในการให้เด็กที่จบการศึกษา
ออกมา เป็นเด็กเก่ง เด็กดี มีความภาคภูมใิ จในความเป็นไทย
2. ส่ ง เสริม ให้ภ าคเอกชนมีส่ ว นร่ว มในการพัฒ นาการศึก ษาทัง้ ระบบ โดยมุ่ง เน้ น ในระดับ
อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เพื่อให้สนองตอบความต้องการด้านบุคลากรของภาคเศรษฐกิจ
3. พัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ได้ครูดคี รูเก่ง มีคุณธรรม มีคุณภาพ
และมีวทิ ยฐานะสูงขึน้
 ลดภาระงานครูทไ่ี ม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนตาม “โครงการคืนครูให้ นักเรียน”
เช่น ให้นกั ศึกษา หรือหนุ่มสาวทีจ่ บใหม่ ไปทางานด้านธุรการในสถานศึกษา เพื่อให้
ครูผสู้ อนทีท่ าหน้าทีธ่ ุรการไปทาการสอนอย่างเต็มเวลา

413
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 ดู แ ลคุ ณ ภาพชีว ิต ของครู ด้ว ยการจัด ตัง้ กองทุ น พัฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ครู เ พื่อ
ช่วยเหลือส่งเสริมสวัสดิการครู และการแก้ปญั หาหนี้สนิ ครู โดยปรับโครงสร้างหนี้
 ลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทีเ่ น้นการพัฒนาเนื้อหาสาระและบุคลากรให้พร้อม
รองรับและใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างคุม้ ค่า
 เปลีย่ นเกณฑ์ประเมินวิทยฐานะจากเดิมทีเ่ น้นเอกสาร เป็ นเน้นทีผ่ ลสัมฤทธิ ์ทางการ
เรียนการสอนเป็นหลัก
 จัดตัง้ “คณะกรรมการวางแผนผลิ ตและพัฒนาครู”เพื่อวางแผนผลิตครู 2 กลุ่ม
คือ กลุ่มครูของครู ทีจ่ ะขาดแคลนในอีกไม่ก่ปี ีขา้ งหน้า และกลุ่มครูของนักเรียน ที่
ทุกฝ่ายต้องมีส่วนร่วมในการวางแผนการผลิตครูในระยะยาวอย่างเป็ นระบบว่า จะ
ผลิตครูสาขาใดเท่าใด ใครจะผลิตเท่าใด
 โครงการ “ครูพนั ธุ์ใหม่” ที่เน้นการจูงใจให้คนเก่งและดีเข้ามาเป็ นครูมากขึน้ โดย
จะต้องมีหลักประกันต่างๆ ตอบแทนให้อย่างเหมาะสม
4. จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รบั การศึกษาฟรี 15 ปี ตัง้ แต่ระดับอนุ บาลไปจนถึงมัธยมศึกษาตอน
ปลาย พร้อมทัง้ เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิดความเสมอภาคและความเป็ น
ธรรมในโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรในกลุ่มผู้ด้อยโอกาส รวมทัง้ ยกระดับการพัฒนา
ศูนย์เด็กเล็กในชุมชน
5. ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาไปสู่ความเป็ นเลิศ โดย
การจัดกลุ่มสถาบันการศึกษาตามศักยภาพปรับเงินเดือนค่าตอบแทนของผูส้ าเร็จอาชีวศึกษา
ให้สูงขึ้น โดยภาครัฐเป็ นผู้นาและเป็ นแบบอย่างของการใช้ทกั ษะอาชีว ศึกษาเป็ นเกณฑ์
กาหนดค่าตอบแทนและความก้าวหน้าในงาน ควบคู่กบั การพัฒนาองค์ความรูน้ วัตกรรม ด้วย
การเพิม่ ขีดความสามารถด้านการวิจยั และพัฒนา
 สร้างแรงจูงใจให้นกั เรียนมาเรียนสายอาชีพมากขึน้
 สร้างความร่วมมือกับภาคเอกชน
 กาหนดมาตรฐานคุณวุฒวิ ชิ าชีพ
 เร่งรัดการจัดตัง้ สถาบันอาชีวศึกษา
 เร่งกาหนดวิธกี ารจัดตัง้ กองทุนเพือ่ พัฒนาการอาชี วศึกษาและฝึ กอบรมวิ ชาชี พ
ซึ่ง เป็ น กองทุ น ที่ก าหนดไว้ใ นกฎหมายการอาชีว ศึก ษาเพื่อ ช่ ว ยในการพัฒ นา
คุณภาพครู นักเรียน และสื่อ อุปกรณ์การเรียนการสอน
 กองทุนเงินให้กู้ยมื เพื่อการศึกษา (กยศ.) เปิดโอกาสให้ผดู้ อ้ ยโอกาสได้กู้ยมื เงินเป็ น
ลาดับต้น และการใช้ กยศ. เป็ นกลไกในการจูงใจให้เรียนสายอาชีพมากขึ้นมีการ
ปรับเกณฑ์การกูย้ มื โดยเพิม่ วงเงินกูย้ มื ปรับคุณสมบัตผิ กู้ ู้ยมื โดยการเปิดโอกาสให้ผู้
กู้ย ืม ที่ม ีฐ านะยากจนเป็ น ล าดับ แรก ตลอดจนปรับ ปรุ ง ระบบการบริห ารจัด การ

414
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กองทุนกยศ.ให้มกี ารประนอมและไกล่ เกลี่ยหนี้ รวมทัง้ ขยายกองทุนให้กู้ยมื เพื่อ


การศึกษาเพิม่ ขึน้ เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาอาชีวศึกษาและ
ปริญญาตรีเพิม่ ขึน้
 แต่งตัง้ “คณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพือ่ การศึกษา” (กรอ.ศธ.) ขึน้
เพื่อให้ภาครัฐและเอกชนเข้ามาช่วยวางแผนการศึกษาร่วมกันทัง้ ระบบ
6. เร่งรัดการลงทุนด้านการศึก ษาและเรียนรู้อย่างมีบูรณาการในทุกระดับการศึกษาและใน
ชุมชน โดยใช้พ้นื ที่และโรงเรียนเป็ นฐานบูรณาการทุกมิติ และยึดเกณฑ์การประเมินของ
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาเป็ นหลักในการยกระดับคุณภาพ
โรงเรียนที่ต่ ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน และส่งเสริมความเป็ นเลิศของมหาวิทยาลัยไปสู่การเป็ น
ศูนย์กลางทางการศึกษาและวิจยั พัฒนาในภูมภิ าค รวมทัง้ เสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ ในชุมชน โดยเชื่อมโยงบทบาทสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา
และสถาบันทางศาสนา
7. ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชน ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงสร้างสรรค์
อย่างชาญฉลาด เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้
 เน้นการพัฒนา “ระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมจากโรงเรียนวังไกล
กังวล” ซึง่ ถือเป็นการต่อยอดให้กระจายในวงกว้างมากขึน้ โดยจะพยายามทาให้เป็ น
ระบบการเรียนการสอนที่สามารถติดต่ อสื่อ สารระหว่างเรียนแบบสื่อ สารสองทาง
(Interactive) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

นายชิ นวรณ์ บุณยเกียรติ (พ.ศ. 2553 – 2554)


พยายามเร่งรัดขับเคลื่อนการปฏิรปู การศึกษาในศตวรรษที่ 2 ไปสู่การปฏิบตั ใิ ห้เกิดผลอย่าง
จริงจัง เน้ นการปฏิรูปอย่างเป็ นองค์รวมโดยมีคนเป็ นศูนย์กลาง และใช้การศึกษาเป็ นธงนาในการ
ขับเคลื่อนพัฒนาทุกด้าน โดยมีเป้าหมายในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพตลอดชีวติ มีจุดเน้นทีต่ วั
ผูเ้ รียนและมีตวั ชีว้ ดั ของการพัฒนาการศึกษาทุกระดับทีช่ ดั เจนโดยมีแนวนโยบายดังนี้
1. คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวติ อย่างมีคุณภาพ โดยสร้างความรูค้ วามเข้าใจกับทุกภาคส่วนที่
เกี่ยวข้อ งกับการศึก ษาทัง้ หมด เพื่อ สร้า งกระแสการขับ เคลื่อ นต่ อ สังคมในวงกว้าง โดย
มุ่งหวังให้ทุกภาคส่วนร่วมเป็ นพลังขับเคลื่อนการปฏิรปู การศึกษาไปในทิศทางเดียวกัน คือ
สร้างเด็กให้เป็ นคนดี คนเก่ ง มีความสุข มีความสามารถ อยู่ร่วมในสังคมโลกได้อย่างยังยื่ น
บนพืน้ ฐานความเป็นไทย และส่งเสริมการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองโดยให้บูรณาการ
กับวิชาการลูกเสือไทย ปรับปรุงหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การประเมินผล และ
การจัดกิจกรรม โดยลดการเรียนทางวิชาการลง และนาวิชาเกี่ยวกับทักษะชีวติ คุณธรรม
จริยธรรม เข้ามาแทน

415
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2. เดินหน้าโครงการเรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ


3. จัดตัง้ โรงเรียนดีประจาตาบล มีเป้าหมายเพื่อยกระดับคุณภาพของโรงเรียนขนาดเล็กในพืน้ ที่
ด้อยโอกาสในชนบท มีการบริหารจัดการโดยข้อมูลทีช่ ดั เจน (School-based Management)
ร่วมมือกับกระทรวงมหาดไทยในการกระจายอานาจให้อบต. และชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล
นักเรียน และกากับดูแลโรงเรียนในพืน้ ที่
4. ส่งเสริมการศึกษาใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และสร้างสถาบันศึกษาปอเนาะดีระดับอาเภอ
5. สร้างแหล่งเรียนรู้ราคาถู ก โดยร่ว มมือกับอบต.ในการจัดตั ง้ กศน.ต าบล ให้เ ป็ นศูนย์การ
เรียนรูช้ ุมชนและเชื่อมโยงกับเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
6. สร้างเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (National Education Network:
NEd-Net) โดยมีรูปแบบเป็ นสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ เป็ นนิตบิ ุคคลภายใต้
การก ากับของกระทรวงศึกษาธิการ ให้บริการเครือข่ายเพื่อการศึกษาวิจยั แก่ทุกองค์กร
รวมถึงมีการออกระเบียบว่าด้วยกองทุนเทคโนโลยีเพื่อการสศึกษา
7. สร้างขวัญและกาลังใจครู
 เร่งดาเนินการพ.ร.บ.เงินเดือนและวิทยฐานะครู เพื่อให้ครูได้ปรับเข้าสู่โครงสร้าง
เงินเดือนใหม่เช่นเดียวกับข้าราชการพลเรือนทีไ่ ด้รบั การปรับไปแล้ว
 สร้างเครือข่ายพัฒนาชีวติ ครู โดยให้ครูใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการแก้ไข
ปญั หาหนี้ ส ินครู โดยตัง้ เป็ นเครือ ข่ า ยในรูป แบบองค์ก รมหาชน ให้ค รูไ ด้พ ัฒ นา
ตนเองและช่วยเหลือซึง่ กันและกัน
 สร้างเครือข่ายพัฒนาวิชาชีพครู ทาให้ใบประกอบวิชาชีพครูมศี กั ดิ ์ศรี เช่นเดียวกับ
ใบประกอบวิชาชีพอื่น ๆ
 ดูแลขวัญและกาลังใจครู ให้ความสาคัญกับเงินวิทยพัฒน์และกองทุนพัฒนาครู
8. สนับสนุ นองค์ความรูเ้ กี่ยวกับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยให้ มกี ารตัง้ คลัง
องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี สาหรับผู้มคี วามสามรถพิเศษ
(MOE Clearing House) เพื่อรวบรวมและเผยแพร่องค์ความรู้ และเป็ นเครือข่ายให้องค์กร
อื่น

นายวรวัจน์ เอื้ออภิ ญญกุล (พ.ศ. 2554 – 2555)


มีความพยายามที่จะเชื่อมโยงการศึกษาเข้ากับระบบเศรษฐกิจของประเทศผ่านการส่งเสริม
การมีงานทา โดยสนับสนุ นให้ผเู้ รียนมีโอกาสทางานและสร้างรายได้ระหว่างเรียน ส่งเสริมการจัดตัง้
วิสาหกิจเพื่อการศึกษา ตลอดจนผลักดัน “หลักสูตรมัธยมศึ กษาเชิ งปฏิ บตั ิ การ” ซึ่งเป็ นการ
เพิม่ เติมจากหลักสูตรเดิมที่มกี ารแบ่งเป็ น สายวิทยาศาสตร์ และสายศิลปศาสตร์/ภาษา ที่มุ่งเน้นให้
เรียนต่อในมหาวิทยาลัย โดยหลักสูตรใหม่จะให้น้ าหนักความสาคัญกับ สาระการเรียนรูท้ ่เี กี่ยวกับ

416
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

วิชาชีพให้สอดคล้องกับศักยภาพพืน้ ทีแ่ ละตัวนักเรียน ทัง้ นี้หลักสูตรดังกล่าวจะเชื่อมต่อกับนโยบาย


“กองทุนตัง้ ตัวได้” ทีจ่ ะมีการตัง้ คณะทางานพิจารณาว่าในแต่ละพืน้ ทีม่ ศี กั ยภาพทีจ่ ะสร้างผลผลิตใน
ด้านใด และสถานศึกษาจะต้องมีวสิ าหกิจของตนเอง ถือเป็ นการจัดการเรียนการสอนทัง้ ระบบทีเ่ น้น
ให้เป็ น “หลักสูตรการมีงานทา” ยึดตามกลุ่มอาชีพ ได้แก่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การบริการ
จัดการ ความคิดสร้างสรรค์ และวิชาการและวิจยั โดยมีมหาวิทยาลัยเป็นผูด้ าเนินการร่วมกับ สพฐ.
นอกจากนี้ ยังมีแนวคิด “โครงการครูคืนถิ น่ ” เพื่อเปิ ดโอกาสให้ขา้ ราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาทุกสังกัดของกระทรวงศึกษาธิการยื่นเรื่องขอย้ายคืนถิน่ กลับสู่บา้ นเกิด ได้ ซึง่ โครงการ
นี้เกี่ยวข้องกับครอบครัวครูนับแสนครอบครัว นับเป็ นโครงการที่จะทาให้เกิดการหมุนเวียนครูครัง้
ใหญ่ของประเทศ

ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธารงเวช (พ.ศ. 2555)


มีปรัชญาจากนโยบายรัฐบาลว่า "การศึกษาจะนาไปสู่การสร้างความเข้มแข็งของประชาชน
ประชาชนที่เข้มแข็งและมีความรู้ คือทุนที่มพี ลังในการต่อสู้กบั ความยากจน" มองว่าการศึกษาคือ
กุญแจสาคัญในการแก้ไขปญั หาความยากจน และในแง่ของวิธกี ารจะมุ่งเน้ นการกระจายประโยชน์
อย่า งเท่ า เทีย ม จัด การศึก ษาที่ม ีคุ ณ ภาพส าหรับ ทุ ก คนโดยยึด นัก เรีย นเป็ น ศู น ย์ก ลางมีก ารน า
เทคโนโลยีมาใช้ มีเป้าหมายในการจัดการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานทีม่ คี ุณภาพสาหรับเยาวชนทุกคนทุกพืน้ ที่
และจัดการอุดมศึกษาโดยปนนั ั ้ กศึกษาไทยให้เป็ นมืออาชีพ
- "จัดการศึกษาทีม่ คี ุณภาพสาหรับเยาวชนทุกคน" ตัง้ แต่ ระดับอนุ บาลจนถึงมัธยมศึกษาปีท่ี 6
เยาวชนต้องได้รบั โอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกันทุกแห่งไม่ว่าในเมืองหรือชนบท ไม่ว่าจะ
เป็ นโดยรัฐหรือเอกชน และเมื่อจบชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 6 ต้องเป็ นแรงงานที่มคี ุณภาพ โดย
รัฐบาลประกันรายได้ 300 บาทต่อคนต่อวัน
ั ้ กศึกษาไทยให้เป็ นมืออาชีพ” สาหรับระดับชัน้ อุดมศึกษา และอาชีวศึกษา มีเป้าหมาย
- “ปนนั
ให้ นั ก เรีย นและนั ก ศึ ก ษา เติบ โตเป็ น พลเมือ งโ ลกที่ท ัน สมัย มีท ัก ษะหลากหลาย มี
ความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกได้ และอยู่ร่วมกันเป็ นสังคมทีว่ างอยู่บนฐานความรู้
โดยรัฐบาลประกันรายได้ปริ ญญาตรี 15,000 บาท ต่อเดือน
จากเป้าหมายดังกล่าว ได้มกี ารวางแนวนโยบายดังนี้
1. ขยายโอกาสทางการศึกษาโดยขยายโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร สิง่ อานวยความสะดวก
เพื่อให้สามารถได้รบั การศึกษาอย่างเท่าเทียม กระจายความเป็ นเลิศที่มกั กระจุกตัว อยู่ใน
เมืองไปสู่นกั เรียนส่วนใหญ่ซง่ึ อยูใ่ นชนบท ผ่านการดาเนินโครงการต่างๆ ได้แก่
- โครงการ One Tablet per Child โดยจะดาเนินการแจก Tablet PC ให้เด็กชัน้
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ไปโรงเรียน

417
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- ติดตัง้ สัญญาณวายฟาย (Wi-Fi) ฟรี ในทีส่ าธารณะ


- สร้างห้อ งการเรียนรู้ ในพื้นที่ต่ าง ๆ โดยมีค รูมาเปิ ดสอนพิเ ศษ (รัฐ เป็ นผู้รบั ผิดชอบ
ค่าใช้จ่าย) ติดตัง้ ซอฟแวร์การศึกษาและ e-Book ทาให้เกิด e-Learning เพื่อสร้างสังคม
แห่งการเรียนรู้
- โครงการ e-Educationพัฒนาโปรแกรมและเนื้อหาทีจ่ ะพลิกโฉมโรงเรียนให้เป็ นศูนย์การ
เรียนรูต้ ลอดชีวติ และส่งเสริมการศึกษาที่มปี ระสิทธิภาพสูงโดยใช้ระบบการศึกษาที่ตรง
กับความต้องการอย่างแท้จริง
- โครงการโรงเรีย นประถมศึ ก ษาและมัธ ยมศึ ก ษาในฝ นั สู่ อุ ด มศึ ก ษาชัน้ ยอด ให้ ม ี
คณะกรรมการโรงเรียน (School Board) ที่สามารถจัดจ้างคุณครูใ หญ่และครูท่มี ี
ความสามารถเป็ นเลิศ สามารถอานวยความสะดวกแก่นักเรียน เช่น หอพัก รถโรงเรียน
จักรยาน ฯลฯ
- โครงการพลังครู พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา แก้ไขปญั หาหนี้สนิ ครู
โดยลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ ขยายโอกาส ด้วยการอบรมคุณธรรม ทาบัญชีครัวเรือน ปรับ
โครงสร้างหนี้ นาหนี้นอกระบบมาเป็ นหนี้ในระบบ และเพิม่ รายได้พเิ ศษให้เพียงพอ และ
ขยายโอกาสใหม่ๆ
- โครงการศูนย์การศึกษานานาชาติ
- โครงการหนึ่งโรงเรียนหนึ่งพยาบาล เพื่อดูแลเด็ก ๆ และสามารถสอนหนังสือได้ดว้ ย
- โครงการโรงเรียนตัวอย่างในทุกอาเภอ พัฒนาศักยภาพของโรงเรียนให้เป็ นเลิศ โดยใช้
การติดต่อสื่อสารด้วยวิทยาการทีท่ นั สมัย

2. ขยายโอกาสในการเข้าถึงแหล่ งทุน ให้นักเรียนสามารถเข้าเรียนได้โดยที่ผู้ปกครองและ


นักเรียนไม่ตอ้ งมีความกังวลในเรือ่ งทุนการศึกษา รัฐบาลจึงมีโครงการ เช่น
- Smart Cardเพื่อการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
- โครงการเรียนก่ อนผ่ อ นทีหลัง ส่ งคืนเมื่อ มีรายได้ (Income Contingency Loan
Program)
- โครงการหนึ่งอาเภอหนึ่งทุน เพื่อเป็นทุนการศึกษาสาหรับไปศึกษาต่อในต่างประเทศ
- กองทุ น ตัง้ ตัว ได้ โ ดยตัง้ เป็ น กองทุ น ในมหาวิท ยาลัย ทัง้ รัฐ และเอกชน เพื่อ สร้ า ง
ผูป้ ระกอบการรุน่ ใหม่ ให้เกิดการนาองค์ความรูไ้ ปสู่การใช้ในเชิงพาณิชย์

3. เพิม่ โอกาสในการเพิม่ พูนและฝึกฝนทักษะ ตัง้ เป้าหมายให้นักเรียนทุกคนสามารถเติบโตได้


ในโลกทีเ่ ป็นจริง โดยอาศัยการเรียนรูบ้ นการทากิจกรรม (Activity-Based Learning) เช่น
- ส่งเสริมอาชีวศึกษา ให้มคี วามสาคัญมากขึ้น มีความรู้ทางปฏิบตั ิอย่างแท้จริงเป็ นมือ
อาชีพโดยจัดตัง้ ศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix It Center) เพื่อให้นักเรียนอาชีวศึกษาได้
ฝึกฝนทักษะของตนพร้อมๆ กับให้บริการซ่อมราคาประหยัดแก่ประชาชนในชุมชน
418
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- โครงการอัจฉริยะสร้างได้ ให้นกั เรียนค้นหาความถนัดของตนเอง ในทุกๆ สาขา


- โครงการ 1 ดนตรี 1 กีฬา 2 ภาษา สนับสนุ นให้เยาวชนได้มคี วามสามารถทีจ่ ะเข้าร่วม
แข่งขัน เพื่อความเป็นเลิศทัง้ ระดับชาติและระดับนานาชาติ
- ปรับปรุงหลักสูตร เลิกการท่องจา รวมถึงมีการวัดผลทีม่ มี าตรฐานทันสมัย

4. การสร้า งโอกาสในการเรีย นรู้ต ลอดชีว ิต ผ่ า นการส่ ง เสริม การศึก ษานอกระบบ โดยใช้


ห้องสมุดพิพธิ ภัณฑ์ หอศิลปะ ศูนย์วฒ
ั นธรรมต่างๆ รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ
- โครงการ “Internet ตาบล” และ “Internet หมู่บ้าน” (ศูนย์การเรียนรูช้ ุมชน) เพื่อเปิ ด
โอกาสให้ประชาชนค้นหาความถนัดของตนเอง เรียนรูไ้ ด้ทุกที่ ทุกเวลา

นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา (พ.ศ. 2555-2556)


มีค วามพยายามในการแก้ ป ญ ั หาการศึก ษาไทยที่ใ ช้เ วลาเรีย นมาก เรีย นรู้ไ ด้ น้ อ ย มี
ความเครียด และคุณ ภาพผู้ส าเร็จการศึกษาต่ า ผ่านการขับเคลื่อนนโยบายด้านการศึกษาที่เ น้ น
ปรับเปลีย่ นแนวทางวิธกี ารทางานให้เหมาะสม มีบทบาทในการสนับสนุ นการขับเคลื่อนนโยบายด้าน
อื่น รวมทัง้ มุ่งเน้นให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงานเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง โดยมี
นโยบายทีส่ าคัญ ได้แก่
1. เร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพผูศ้ กึ ษา
- ปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาทุกระดับ ทบทวนเนื้อหาสาระในหลัก สูตรที่เด็กและเยาวชน
ต้องเรียนเพื่อให้มคี วามรู้พ้นื ฐานและเท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลกโดยยกเลิกการ
เรียนรูเ้ นื้อหา 8 กลุ่มสาระที่มแี ต่เดิมลง และยกเครื่องโครงสร้างเนื้อหาใหม่เป็ น 6กลุ่ม
สาระประสบการณ์ ได้แก่ (1) ภาษาและวัฒนธรรม (Language and Culture) (2) กลุ่ม
สาระเรียนรู้ STEM (วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกร และคณิตศาสตร์) (3) การ
ดารงชีวติ และโลกของงาน (Work Life) (4) ทักษะสื่อและการสื่อสาร (Media Skill and
Communication) (5) สังคมและมนุ ษยศาสตร์ (Society and Humanity) และ (6)
อาเซียน ภูมภิ าคและโลก (Asean Region and World) ตลอดจนมีให้การกาหนดเวลา
เรียนให้ไม่เกิน 800 ชัวโมงต่
่ อปี เพิม่ กระบวนการเรียนรูผ้ ่านโครงงาน (Project Base)
ทุกระดับชัน้ เน้นกระบวนการประชาธิปไตยและคุณธรรม จริยธรรมเพิม่ มากขึน้ ด้วย
- ผลิตและพัฒนากาลังคนให้ตรงกับอุปสงค์ทงั ้ ภายในประเทศและระดับสากล เน้นในสาขา
ที่ข าดแคลนหรือ มีค วามจ าเป็ นต่ อ การพัฒ นาประเทศ เช่น บุ ค ลากรด้านการแพทย์
วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และพยาบาล เป็ นต้น ควรเน้นพัฒนาคนไทยให้มคี วามรู้
ความสามารถ ด้านภาษาอังกฤษ มีศกั ยภาพเพียงพอไปทางานในต่างประเทศได้ และ
ต้องมีการเตรียมคนไทยให้พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนด้วย โดยเร่งผลิตกาลังคนระดับ

419
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

อาชีวศึกษาด้านคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมยานยนต์ให้เพียงพอต่อความต้องการของ
อุตสาหกรรมยานยนต์
- ปลูกฝงั คุณธรรมและจิตสานึกประชาธิปไตย โดยให้ดาเนินการเรื่องการปฏิบตั ธิ รรมของ
นักเรียนนักศึกษาอย่างต่ อ เนื่อง เน้ นการปลูกฝงั เรื่องความมีวนิ ัย การแบ่งหน้ าที่การ
ทางาน จิต อาสา การช่ว ยเหลือ เกื้อ กูล ซึ่ง กันและกัน ความเสียสละ ความเสมอภาค
รวมถึงให้ดาเนินการนาโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ โครงการครูพระสอนศีลธรรม และ
โครงการปฏิบตั ธิ รรมสาหรับผู้บริหารมาดาเนินการต่อเนื่อง รวมทัง้ ควรนาเรื่องหน้าที่
พลเมือง และศีลธรรมกลับมาบรรจุในหลักสูตรการเรียนการสอน
2. เร่งพัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
- พัฒนาครูสาขาที่ขาดแคลน โดยเฉพาะครูท่สี อนไม่ตรงตามวุฒ ิ และครูบรรจุใหม่ต้อ ง
ได้ร ับ การพัฒ นาให้ม ีคุ ณ ภาพ รวมทัง้ น าภู ม ิป ญ ั ญาท้ อ งถิ่น ปราชญ์ ช าวบ้ า น และ
บุคลากรจากภาคส่วนต่างๆ ทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถเข้ามาเป็นครูช่วยสอน
- พัฒ นาครูใ ห้ส ามารถส่ ง เสริม สร้า งทัก ษะและอ านวยการให้เ ด็ก คิด ได้อ ย่า งถู ก ต้อ ง
สร้างสรรค์
- สร้างขวัญกาลังใจและสิทธิประโยชน์ เกื้อกูลให้กับครู คณาจารย์และบุคลากรทางการ
ศึกษา เพื่อให้ครูมกี าลังใจทุ่มเทให้กบั การพัฒนาการเรียนการสอนมากขึน้ เช่นเงินเดือน
ครู การเลื่อนวิทยฐานะ ปญั หาหนี้สนิ ครู เป็ นต้น
3. สร้างโอกาสทางการศึกษา
- เน้ นให้ครอบคลุมผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พกิ ารทุพพลภาพโดยให้มกี ารขยายการจัด
การศึกษาสาหรับบุคคลกลุ่มดังกล่าวอย่างทัวถึ ่ ง เช่น โครงการหนึ่งอาเภอ หนึ่งทุน การ
ดาเนินโครงการระยะแรกเน้นให้โอกาสแก่คนทีย่ ากไร้เป็ นเป้าหมายหลัก ระยะต่อมาเปิ ด
โอกาสให้มกี ารสอบแข่งขัน ผูเ้ รียนดีจงึ เป็นผูไ้ ด้รบั ทุน (ทุนสาหรับเด็กเก่ง) ดังนัน้ ต่อไป
ต้ อ งพิจ ารณาทุ น ส าหรับ ผู้ ย ากไร้เ พิ่ม เติม เพื่อ ให้ ค นยากไร้ม ีโ อกาสไปศึก ษาต่ อ
ต่างประเทศอย่างเสมอภาค
- สนั บ สนุ น การศึก ษาต่ อ เนื่ อ งตลอดชีว ิต ส่ ง เสริม การจัด การศึก ษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย เช่น การจัดตัง้ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เพื่อให้ผทู้ อ่ี ยู่ในวัยทางานได้
ยกระดับการศึกษาและได้รบั การพัฒนา และให้ค วามสาคัญกับการจัดการศึกษาเพื่อ
พัฒนาผูส้ งู อายุให้มคี วามรูเ้ พื่อให้กลับมาเป็นกาลังการผลิตของสังคมได้
4. การแก้ ไ ขป ญ ั หายาเสพติด มุ่ ง เน้ น ให้ ทุ ก สถานศึก ษาต้ อ งไม่ ม ีย าเสพติด เช่ น เดีย วกับ
โครงการ"โรงเรียนสีขาว" ในอดีตที่ผ่ านมา โดยให้เ พิม่ เติมการดาเนินงานในเรื่องความ
เข้มแข็ง การติดตามอย่างใกล้ชดิ นอกจากนัน้ ควรเร่งรัดให้ความสาคัญกับการแก้ปญั หา
พฤติกรรมที่ไม่พงึ ประสงค์ของเด็กและเยาวชนอื่นด้วย เช่น เด็กท้องก่อนวัยเรียน ต้องให้
ความรูเ้ รือ่ งเพศศึกษาอย่างถูกต้อง เด็กติดเกม ต้องสอนให้เด็กมีภูมคิ ุม้ กัน มีความรูเ้ กี่ยวกับ

420
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การรับโทษ ปญั หาการทะเลาะวิว าทและใช้ความรุนแรง ของนัก เรียนนักศึกษา ต้องเร่ง


แก้ปญั หาและสร้างภาพลักษณ์ทด่ี ี โดยเฉพาะระดับอาชีวศึกษา เป็ นต้น
5. การจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1
และชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ต้องดูแลให้มกี ารแข่งขันอย่างเป็นธรรมและโปร่งใส รวมทัง้ เน้นการ
พัฒนาเนื้อหาสาระเพื่อบรรจุในแท็บเล็ตให้มคี วามน่ าสนใจ และส่งเสริมการเรียนรูข้ องเด็ก
6. การวิจยั และพัฒนา การวิจยั ให้มุ่งเน้นงานวิจยั ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อภาคการผลิต
หรือภาคอื่นๆ ได้จริง ซึง่ จะส่งผลให้ได้รบั งบประมาณเพิม่ ขึน้
7. กองทุนตัง้ ตัวได้ ควรเพิม่ ระบบช่วยสนับสนุ น โดยให้ดาเนินการในส่วนทีช่ านาญ สาหรับใน
ส่วนที่ไม่ชานาญ เช่น การทาบัญชี การบริหารจัดการธุรกิจ อาจจัดหาระบบหรือจ้างผู้อ่นื
ดาเนินการให้
8. การบริหารจัดการ
- พัฒนาประสิทธิภาพสถานศึกษา ให้มงุ่ เน้นการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพโรงเรียน
ขนาดเล็ก โดยจัด ระบบรับ ส่ ง เด็ก จากโรงเรีย นขนาดเล็ก ด้อ ยคุ ณ ภาพ ไปเรีย นยัง
โรงเรียนที่มคี ุ ณภาพดีก ว่า โดยผู้ปกครองไม่เสียค่ าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ช่ว ยให้เด็กได้รบั
การศึกษาทีด่ ขี น้ึ และเป็นการประหยัดงบประมาณ
- บูรณาการการทางานร่วมกับกระทรวง/หน่วยงานอื่นในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลเช่น
การเร่ ง ผลิต บุ ค ลากรทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ให้ เ พีย งพอ (นโยบายด้ า น
สาธารณสุข) การสร้างคนที่มฐี านความรู้ ความชานาญ และความคิดสร้างสรรค์ต่อยอด
ความรู้ สร้างนวัตกรรมจากงานวิจยั ได้ (นโยบายด้านเศรษฐกิจ) การเพิม่ บทบาทในการ
ดาเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และการเพิม่ รายได้จากการท่องเที่ยว (นโยบาย
เร่งด่วน) เป็นต้น รวมทัง้ นโยบายอื่นๆ ทีก่ ระทรวงศึกษาธิการจะต้องเข้าไปมีส่วนร่วมใน
การขับเคลื่อน โดยบูรณาการการทางานร่วมกับกระทรวงหลักและกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
ต่อไป

นายจาตุรนต์ ฉายแสง (พ.ศ. 2556 - ปัจจุบนั )


ตัง้ โจทย์ของการจัดการศึกษาและปฏิรปู การศึกษาของประเทศไทยว่าการศึกษาต้องมุ่งสร้าง
พัฒนา และเตรียมความพร้อมประชาชนให้สอดคล้องกับสังคมโลก โดยเฉพาะสังคมโลกในศตวรรษที่
เนื่องจากการพัฒนาคนเป็ นหัวใจของการเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จึงต้อง
สร้างและพัฒนาให้คนเป็ นทรัพยากรมนุ ษย์ทม่ี คี วามสามารถมีทกั ษะ ความถนัด ความชานาญพร้อม
จะขับเคลื่อนและยกระดับการพัฒนาประเทศสู่การเป็นประเทศพัฒนาในระดับทีส่ ูงขึน้ ซึง่ ประเทศไทย
ต้อ งเร่ง “ยกเครือ่ งการศึ กษา”ยกระดับคุ ณภาพการศึกษาปฏิรูประบบการเรียนรู้ใ ห้มคี ุ ณภาพ
มาตรฐานในระดับสากลและสอดคล้องกับสังคมโลกยุคใหม่

421
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทัง้ นี้ ได้มกี ารประกาศให้การศึกษาเป็นวาระแห่งชาติ และให้พ.ศ. 2556 เป็ นปีแห่ง“การรวม


พลังยกระดับคุณภาพการศึกษา” อาศัยพลังของสังคมทัง้ มวลมาช่วยกันขับเคลื่อนการดาเนินงาน
ตามแนวนโยบาย เน้ นการส่งเสริมให้ภาคเอกชนที่มศี กั ยภาพเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น ทัง้ ในการ
รับ ผิด ชอบร่ ว มจัด และสนั บ สนุ น โดยมีเ ป้ าหมายร่ ว มกัน ในการมุ่ ง พัฒ นาผู้เ รีย นให้ส ามารถคิด
วิเคราะห์เรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง มีคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ และทักษะทีจ่ าเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21
ในส่วนของการดาเนินการ ประกอบไปด้วยนโยบายทีจ่ ะเร่งรัด 8 ประการ ดังนี้
1. เร่งปฏิรปู การเรียนรูท้ งั ้ ระบบให้สมั พันธ์เชื่อมโยงกัน เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถคิด วิเคราะห์
แก้ปญั หา และเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่องโดยปฏิรปู หลักสูตร ปฏิรปู การเรียนการ
สอนการทดสอบ/วัดและประเมินผลผู้เรียน การรับบุคคลเข้าศึกษาต่อ อุดมศึกษาการ
ประเมิน วิท ยฐานะและความก้า วหน้ า ในวิช าชีพ ครู และการประเมินสถานศึก ษาให้
สอดคล้องกัน และมุง่ ไปทีค่ ุณภาพผูเ้ รียนและผลสัมฤทธิ ์
- เร่งรัดและสานต่อเรือ่ งปฏิรปู หลักสูตรเพื่อพัฒนาผูเ้ รียนให้มที กั ษะชีวติ ทีเ่ หมาะสมใน
ทุกระดับชัน้ การศึกษา
- พัฒนากระบวนการเรียนการสอนในปจั จุบนั และเพื่อรองรับหลัก สูต รใหม่ เพื่อ ให้
ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปญั หา และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่ อเนื่อง มี
ผลสัมฤทธิ ์สูงขึน้ สอดคล้องกับการเรียนรูใ้ นโลกยุคใหม่ โดยจะเริม่ จากวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ และการคิดวิเคราะห์
- พัฒนาระบบทดสอบ วัดและประเมินผลทัง้ ภายในและภายนอกให้เ ป็ นเครื่อ งมือ
ส่งเสริมการปฏิรปู การเรียนรูแ้ ละการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนให้มมี าตรฐานเทียบเคียง
ได้ก ับนานาชาติ โดยเชื่อ มโยงกับเนื้อ หาสาระในหลักสูต รและการเรียนการสอน
รวมทัง้ พัฒ นาระบบการคัด เลือ กบุ ค คลให้เ ข้า ศึก ษาในสถาบัน อุ ด มศึก ษา ให้
สอดคล้องกับการปฏิรปู การเรียนการสอนในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

2. ปฏิรูประบบผลิต และพัฒนาครู ให้มจี านวนการผลิต ที่ส อดคล้อ งกับความต้อ งการ มี


ความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรูใ้ นโลกยุคใหม่ รวมทัง้
พัฒ นาระบบประเมิน วิท ยฐานะครูใ ห้เ ชื่อ มโยงกับ ผลสัม ฤทธิข์ องผู้เ รีย น ดูแ ลระบบ
สวัสดิการและลดปญั หาที่บนทอนขวั
ั่ ญ ก าลังใจของครู ให้ส่ งผลต่ อประสิทธิภาพการ
เรียนการสอนและคุณภาพผูเ้ รียน

3. เร่งนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ในการปฏิรปู การเรียนรู้ สร้างมาตรฐาน


การเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต)และพัฒนาเนื้อหาสาระ พัฒนา
ครู และการวัด ประเมินผลที่ได้มาตรฐาน รวมทัง้ เพื่อ เป็ นเครื่อ งมือให้เ กิดระบบการ
เรียนรูต้ ลอดชีวติ ในสังคมไทย
422
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4. พัฒนาคุณภาพการอาชีวศึกษาให้มมี าตรฐานเทียบได้กบั ระดับสากล ให้สอดคล้องกับ


ความต้องการของประเทศ
- ผลัก ดัน ให้เ กิดการใช้ก รอบคุ ณ วุ ฒวิ ิช าชีพ ตามกรอบคุ ณ วุ ฒ ิแห่ ง ชาติ เพื่อ มาใช้
กาหนดทักษะ ความรูค้ วามสามารถ ซึง่ จะช่วยให้มงี านทา มีความก้าวหน้าและได้รบั
ค่าตอบแทนตามสมรรถนะทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยไม่ขน้ึ กับวุฒกิ ารศึกษาเท่านัน้
- พัฒนาการเรียนการสอนอาชีวศึกษา โดยขยายระบบทวิภาคี ร่วมมือกับภาคการ
ผลิตและสถานประกอบการมากขึ้น รวมทัง้ มีมาตรการจูงใจให้เอกชนเข้ามามีส่วน
ร่วมในการพัฒนาสถานศึกษาในลักษณะทวิภาคี โดยมีเป้าหมายปรับสัดส่วนผูเ้ รียน
อาชีวศึกษาต่อสามัญเป็น 50:50
5. ส่งเสริมให้ส ถาบันอุดมศึก ษาเร่งพัฒนาคุ ณภาพและมาตรฐานมากกว่าการขยายเชิง
ปริมาณ ส่งเสริมการวิจ ยั และพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีรวมทัง้ พัฒนาสู่การเป็ น
มหาวิทยาลัยระดับโลก (World Class University) ให้มากขึน้ โดยอาศัยกลไกการจัด
อันดับ เพื่อสะท้อนให้ทงั ้ มหาวิทยาลัยเองและสังคมได้ช่วยกันผลักดัน
6. ส่ ง เสริม ให้ เ อกชนและทุ ก ภาคส่ ว นเข้า มาร่ ว มจัด และสนั บ สนุ น การศึก ษามากขึ้ น
สนับ สนุ น ระบบความร่ว มมือ แบบเป็ น หุ้น ส่ ว นทางการศึก ษารัฐ และเอกชน ( Public
Private Partnerships) ตลอดจนเปิดโอกาสให้เอกชนมีส่วนร่วมในการออกแบบหลักสูตร
เป็นวิทยากร สนับสนุนการฝึกงาน และเรียนรูก้ ารทางานจริงในสถานทีท่ างาน
7. เพิม่ และกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มอายุได้รบั
บริการการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสและพัฒนากองทุนเงินกู้ยมื ที่
ผูกกับรายได้ในอนาคต (ICL) ให้สามารถเป็ นกลไกในการพัฒนาคุณภาพ เพิม่ โอกาส
และผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
8. พัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้วยการสนับสนุ นและพัฒนาการศึกษาและ
สถานศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้สอดคล้องกับเศรษฐกิจ สังคมอัตลักษณ์ และ
ความต้องการของประชาชนในท้องถิน่ ให้มากขึน้ โดยให้ความสาคัญกับความปลอดภัย
การสร้างขวัญ กาลังใจให้กบั นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา
นอกจากนี้ เพื่อ ให้บรรลุ ผ ลตามนโยบายและบรรลุ ผ ลตามเป้า หมายที่ก าหนดไว้อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพ จะมีกลไกขับเคลื่อน 5 ประการ ได้แก่
1. เร่งรัดจัดตัง้ สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อเปิ ดโอกาสในการใช้ทรัพยากรมากขึน้
และสามารถพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพขึน้
2. จัดตัง้ สถาบันเพื่อวิจยั หลักสูตรและพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาองค์ความรูแ้ ละ
นวัตกรรมการเรียนการสอนให้มคี ุณภาพมาตรฐาน รวมถึงเป็ นเจ้าภาพที่ชดั เจนในการ
ประเมินผลการใช้หลักสูตร

423
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3. สร้างความเข้มแข็งของกลไกการวัดผล ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล พัฒนาให้ม ี


ตัวชี้วดั คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของประเทศที่เทียบเคียงได้ในระดับสากล เพื่อ
ประเมินผลสาเร็จของระบบการศึกษาไทยในภาพรวม ซึง่ ต้องหารือร่วมกับองค์กรต่างๆ
เช่น สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สทศ.) สานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) เป็นต้น
4. เร่งรัดให้มพี ระราชบัญ ญัติอุ ดมศึกษา เพื่อเป็ นหลักประกันความเป็ นอิส ระและความ
รับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอุดมศึกษา
5. เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทัง้ การ
เพิม่ ประสิทธิภาพของหน่วยงาน องค์กรทีเ่ กีย่ วข้อง

424
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 113 : นโยบายในด้านการศึกษาของไทยในปัจจุบนั

ปฏิ รปู หลักสูตร ปฏิ รปู การเรียน


การสอน

การประเมิ น การทดสอบและ
สถานศึกษา ประเมิ นผูเ้ รียน

เป้ าหมาย: คุณภาพผู้เรียน


(ผลสัมฤทธิ์ )

การประเมิ นวิ ทยฐานะและ การรับบุคคลเข้าศึกษาต่อ


ความก้าวหน้ าครู มหาวิ ทยาลัย

จากแนวนโยบายการศึกษาของประเทศไทยทีผ่ ่านมา พบว่า สามารถดาเนินการได้ประสบ


ความสาเร็จในระดับหนึ่ง นัน่ คือ มีการปรับโครงสร้างการบริหารจัดการเพื่อเพิม่ ความมีเอกภาพ มี
การจัดระเบียบบริหารราชการแบบเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา จัดตัง้ สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา และสานักทดสอบทางการศึกษา มีความพยายามในการกาหนดหลักสูตรให้ม ี
ความยืดหยุ่นมีสาระสอดคล้องกับวัยและพัฒนาการของผู้เรียน มีการปรับหลักสูตรให้เหมาะสมกับ
กลุ่ มของผู้เ รียน ตลอดจนการนามหาวิทยาลัยออกนอกระบบ เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม การปฏิรูป
การศึก ษายัง ประสบความส าเร็จ ในระดับ จ ากัด โดยเฉพาะการปฏิรูปการเรียนรู้และการพัฒ นา
ผลสัมฤทธิ ์และคุณลักษณะของผูเ้ รียน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพของครูอาจารย์ ซึง่ เป็ นกาลังสาคัญ
ในการปฏิรปู การเรียนรู้

425
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 39: สรุปรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิ การ


ชื่อ ระยะเวลา นโยบายเด่น
ที่อยู่ในตาแหน่ ง
นายสมศักดิ ์ ปริศนานันท ก.ค. 2542 - ก.พ. 2544 - เปลีย่ นแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา จาก
กุล รวม 8 เดือน การสอบ Entrance มาเป็นระบบ Admission
ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย ก.พ. 2544 - มิ.ย. 2544 - มีแนวคิดในการปฏิรปู กระบวนการเรียนรูใ้ ห้ผเู้ รียนได้ “เรียนรูแ้ ละคิด
รวม 5 เดือน เป็น” ประกอบกับการอบรมด้านศีลธรรมเพือ่ ให้ผเู้ รียน “มีคุณธรรมและ
คิดดี”
พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร มิ.ย. 2544 - ต.ค. 2544 - ยึดแนวคิด “การศึกษาสร้างชาติ สร้างคน และสร้างงาน” โดยยึดผูเ้ รียน
รวม 5 เดือน เป็นศูนย์กลาง และเน้นการใช้เทคโนโลยีเพือ่ ส่งเสริมการศึกษา
นายสุวทิ ย์ คุณกิตติ ต.ค. 2544 - ต.ค. 2545 - กาหนดหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2544 โดยมีสาระการเรียนรู้
รวม 1 ปี ตามหลักสูตร แบ่งออกเป็น 8 กลุ่ม
ดร.อดิศยั โพธารามิก พ.ย. 2546 - ส.ค. 2548 - เปลีย่ นแปลงกลไกสนับสนุนการเข้าถึงการศึกษา โดยเพิม่ เติมกองทุนให้
รวม 1 ปี 9 เดือน กูย้ มื เพือ่ การศึกษาทีผ่ กู พันกับรายได้ในอนาคต
- ส่งเสริมโครงการ 1 อาเภอ 1 โรงเรียนในฝนั และใช้ระบบโรงเรียนพีเ่ ลีย้ ง
ในการขยายผลโรงเรียนต้นแบบ
- เพิม่ กลไกสนับสนุนการเข้าถึงการศึกษาในระดับปริญญาตรี ผ่าน
โครงการ 1 อาเภอ 1 ทุน
นายจาตุรนต์ ฉายแสง ส.ค. 2548 - ก.ย. 2549 - มีความพยายามปฏิรปู การเรียนการสอน
รวม 1 ปี - เปลีย่ นแปลงหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2544 โดยใช้แนวการ
จัดการเรียนรูเ้ พือ่ สร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญา (Constructionism)
ศ.ดร.วิจติ ร ศรีสอ้าน ต.ค. 2549 - ก.พ. 2551 - มีความพยายามปฏิรปู การศึกษาโดยยึดคุณธรรมนาความรู้ พัฒนาคน
รวม 1 ปี 4 เดือน โดยใช้คุณธรรมเป็นพืน้ ฐานของกระบวนการเรียนรูท้ เ่ี ชือ่ มโยงการมีสว่ น
ร่วมของภาคประชาชนและภาคเอกชน ตลอดจนเสริมสร้างความ
ตระหนักในคุณค่าของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- ยุบรวมยุบรวมกองทนุเงินให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษาและกองทุนเงินให้กยู้ มื ที่
ผูกกับรายได้ในอนาคตเข้าด้วยกัน
นายสมชาย วงศ์สวัสดิ ์ ก.พ. 2551 - ก.ย. 2551 - กาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551
รวม 8 เดือน - มีความพยายามทีจ่ ะฟื้นกองทุนเงินให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษาทีผ่ กู กับรายได้
ในอนาคต
- มีแนวคิดส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา ผ่านนโยบายจัดซือ้
คอมพิวเตอร์ 1 ล้านเครือ่ งแจกจ่ายให้กบั เด็กนักเรียน (One Laptop per
Child)
นายจุรนิ ทร์ ลักษณวิศษิ ฏ์ ธ.ค. 2551 - ม.ค. 2553 - มีความพยายามปฏิรปู การศึกษาทัง้ ระบบ
รวม 2 ปี - ส่งเสริมการกระจายอานาจไปยังเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามากขึน้ ผ่าน
โครงการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด โครงการ
โรงเรียนดี 3 ระดับ
- ส่งเสริมการพัฒนาครู โดยจัดตัง้ คณะกรรมการวางแผนผลิตและพัฒนา
ครู ทัง้ ในกลุ่ม “ครูของครู” และ “ครูของนักเรียน” ตลอดจนมีโครงการครู
พันธุใ์ หม่ฃ
- เพิม่ กลไกสนับสนุนการเข้าถึงการศึกษา ด้วยการขยายระยะเวลาการ
เรียนฟรีเป็น 15 ปี

426
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 39: สรุปรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิ การ (ต่อ)


ชื่อ ระยะเวลา นโยบายเด่น
ที่อยู่ในตาแหน่ ง
นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ ม.ค. 2553 - ก.ย. 2554 - มีเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา ผ่านแผนยุบโรงเรียน
รวม 1 ปี 8 เดือน ขนาดเล็กโดยไม่บบี บังคับ โครงการโรงเรียนดีประจาตาบล
นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญ ต.ค. 2554 - ม.ค. 2555 - เปลีย่ นแปลงหลักสูตร โดยเพิม่ หลักสูตรมัธยมศึกษาเชิงปฏิบตั กิ าร เพือ่
กุล รวม 4 เดือน เชือ่ มโยงการศึกษาเข้ากับระบบเศรษฐกิจของประเทศและส่งเสริมการมี
งานทา
- ส่งเสริมโครงการครูคนื ถิน่
ศ.ดร.สุชาติ ธาดาธารงเวช ม.ค. 2555 - ต.ค. 2555 - มีแนวคิดว่าการศึกษาคือพลังในการต่อสูก้ บั ความยากจน เน้นสร้าง
รวม 10 เดือน บุคลากรทีม่ คี ุณภาพ และรัฐบาลจะป็นผูป้ ระกันรายได้ ได้แก่ ค่าแรง 300
บาท/วัน และ เงินเดือนปริญญาตรี 15,000/เดือน
- ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา ผ่านโครงการ 1 Tablet per
Child
นายพงศ์เทพ เทพ ต.ค. 2555 - มิ.ย. 2556 - มีความพยายามปฏิรปู หลักสูตรการศึกษาทุกระดับ
กาญจนา รวม 9 เดือน - ปฏิรปู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพื ้ น้ ฐาน พ.ศ.2544 ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2551 เน้นลดภาระการเรียนในห้องเรียนลดน้อยลง และจะมีโอกาส
เรียนรู้ รวมถึงทากิจกรรมนอกห้องเรียนมากขึน้
- เปลีย่ นแปลงหลักสูตร โดยยกเลิกยกเลิกการเรียนรูเ้ นื้อหา 8 กลุ่มสาระ
เดิม และใช้โครงสร้างเนื้อหาใหม่เป็น 6 กลุ่มสาระประสบการณ์
- มีแนวคิดทีจ่ ะเพิม่ ประสิทธิภาพและคุณภาพของโรงเรียนขนาดเล็ก โดย
การควบรวม/ยุบโรงเรียนทีด่ อ้ ยคุณภาพ
นายจาตุรนต์ ฉายแสง มิ.ย. 2556 – ปจั จุบนั - มีความพยายาม “ยกเครือ่ งระบบการศึกษา” เพือ่ สร้าง พัฒนา และ
เตรียมความพร้อมของประชาชนให้สอดคล้องกับสังคมโลก โดยปฏิรปู
การเรียนรูท้ งั ้ ระบบ
- มุง่ เน้นการสร้างความร่วมมือระหว่างภาคส่วนต่างๆ เพือ่ “รวมพลัง
ยกระดับคุณภาพการศึกษา”

ปัญหาของระบบการศึกษาไทยทีย่ งั รอการแก้ไขต่อไป
ระบบการศึกษาไทยยังมีอกี หลายเรือ่ งทีต่ อ้ งเร่งพัฒนา ปรับปรุง และต่อยอด โดยเฉพาะด้าน
คุณภาพผูเ้ รียน ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เนื่องจากพบว่ามีสถานศึกษาจานวนมาก
ยังไม่ได้มาตรฐาน ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ ์ต่ า นอกจากนี้ ถึงแม้ว่ากฎระเบียบในด้านการศึกษาทุกฉบับ
และนโยบายด้านการศึก ษาจะมีก ารเน้ นย้าถึงความสาคัญของการพัฒนาคนอย่างสมดุลรอบด้าน
เพื่อให้ผู้เรียนมีความเป็ นมนุ ษย์อย่างสมบูรณ์ กลับพบว่าในปจั จุบนั เยาวชนเป็ นจานวนมากยังขาด
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ทงั ้ การคิด วิเคราะห์ ใฝ่เรียนรูแ้ ละแสวงหาความรูอ้ ย่างต่อเนื่อง คุณธรรม
จริยธรรม นอกจากนี้ ในด้านครู คณาจารย์ พบว่ามีปญั หาขาดแคลนครู คณาจารย์ท่มี คี ุณภาพ มี
คุณ ธรรม ไม่ไ ด้ค นเก่ ง คนดี และใจรัก มาเป็ นครู คณาจารย์ รวมทัง้ ยังขาดการมีส่ ว นร่ว มในการ
บริหารและจัดการศึกษาจากทุกภาคส่วนอย่างแท้จริง

427
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ด้านการวางนโยบาย
ประเทศไทยยัง คงมีปญั หาความไม่ต่ อเนื่องของนโยบาย เนื่องจากมีการเปลี่ยนรัฐมนตรี
การศึกษาซึง่ เป็นผูก้ าหนดนโยบายบ่อยครัง้ แต่ละคนทีข่ น้ึ มาก็ยกนโยบายใหม่เพื่อให้เป็ นผลงานของ
ตน โดยไม่ได้สานต่อหรือต่อยอดจากสิง่ ทีด่ าเนินการอยู่เดิม ทาให้ไม่เกิดความต่อเนื่องของนโยบาย
นอกจากนี้การประกาศนโยบายแต่ ละครัง้ มักพูดถึงแต่ เป้าหมาย โดยไม่ได้มกี ารแจกแจงแผนการ
ดาเนินงานที่กาหนดสิง่ ที่ต้องทาในระยะสัน้ กลาง ยาว เพื่อไปถึงเป้าหมายนัน้ ๆ ตลอดจนมักขาด
แผนงานทีช่ ดั เจน จึงทาให้ไม่เกิดการผลักดันให้เห็นผลสาเร็จลุล่วงเป็นรูปธรรมได้

ด้านการจัดหลักสูตร
แม้ว่านโยบายของรัฐบาลในหลายๆ สมัย จะได้กาหนดเป้าหมายให้หลักสูตรมีความยืดหยุ่น
มีสาระสอดคล้องกับวัยและพัฒนาการของผูเ้ รียน มีการปรับหลักสูตรให้เหมาะสมกับกลุ่มของผูเ้ รียน
รวมถึงได้มคี วามพยายามในการปรับปรุงหลักสูตรให้มคี วามทันสมัยมากขึน้ แต่ยงั พบปญั หาในการ
นาไปปฏิบตั ิ เนื่องจากหลักสูตรยังคงมีรายวิชาและเนื้อหาสาระมากเกินไป ทาให้ไม่สามารถจัด การ
เรียนการสอนให้เป็ นไปตามแผนการสอนและตรงตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้ นอกจากนี้การ
เปลีย่ นแปลงหลักสูตรบ่อยครัง้ ยังก่อให้เกิดความสับสนแก่ผสู้ อนในการนาไปปฏิบตั นิ อกจากนี้ ยังมี
ประเด็นปญั หาในเรือ่ งการดาเนินการวัดผลทีย่ งั คงมุง่ เน้นไปทีก่ ารวัดผลสัมฤทธิ ์ด้านวิชาการเป็ นหลัก
ทาให้การจัดการเรียนการสอนมุ่งไปที่การถ่ายทอดเนื้อหาวิชามากกว่าการพัฒนาคุณลักษณะที่พงึ
ประสงค์ทงั ้ การคิด วิเคราะห์ ใฝ่เรียนรู้แ ละแสวงหาความรู้อย่างต่ อเนื่อง คุณธรรม จริยธรรมและ
ปญั หาความไม่สมดุลของการพัฒนาคนนี้เอง ยังส่งผลสะท้อนกลับให้ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนของ
นักเรียนไทยก็ยงั ต่ ากว่าระดับมาตรฐานสากล แม้จะกล่าวว่าประเทศไทยเน้นการเรียนการสอนใน
เนื้อหาสาระวิชาการก็ตาม

ด้านกระบวนการเรียนการสอน
ตามพ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ ได้กล่าวไว้อย่างชัดเจนว่ามีเจตจานงค์ให้เกิด กระบวนการ
เรียนรูท้ เ่ี น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ และในนโยบายของรัฐบาลก็มกั มีการกล่าวถึงการส่งเสริมให้ ครูพฒ
ั นา
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย พร้อมทัง้ มีการใช้การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรียนการ
สอน อย่างไรก็ตามในทางปฏิบตั ิครูส่วนหนึ่งยังไม่สามารถนารูปแบบไปใช้จดั การเรียนการสอนได้
อย่างเหมาะสม ไม่สามารถนาสื่อเทคโนโลยีไปใช้เป็ นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน และการ
วิจยั ก็ยงั เป็ นปญั หาของครูทย่ี งั ไม่สามารถนาไปใช้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนได้ทาให้ครูเกิดความ
สับสนในการดาเนินการ ส่งผลให้ครูจดั การเรียนการสอนที่ยดึ ผู้เรียนเป็ นสาคัญ ยังมีสดั ส่วนเพียง
ร้อยละ 50-60 เท่านัน้ (วิทยากร เชียงกูล, 2550)

428
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นอกจากนี้ ในด้านสื่อการเรียนการสอนพบว่ายังขาดอุปกรณ์และสิง่ อานวยความสะดวก และ


แม้ว่าจะมีนโยบายในการจัดตัง้ แหล่งเรียนรูท้ จ่ี าเป็ นของโรงเรียน เช่น ห้องสมุด ห้องปฏิบตั กิ ารต่างๆ
รวมถึง อุทยานการเรียนรู้ พิพ ิธภัณฑ์ก ารเรียนรู้แห่งชาติ ศูนย์ส ร้างสรรค์งานออกแบบ และศูนย์
พัฒนาด้านกีฬา ดนตรี ศิลปะแต่ก็ยงั มีไม่เพียงพอไม่ได้มาตรฐาน และมักกระจุกตัวอยู่ในเขตเมือง
เท่านัน้ และสาหรับการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา แม้ว่าจะมีนโยบายจัดหา Tablet ให้กับเด็ก
นักเรียน แต่สงิ่ สาคัญคือต้องผลักดัน การพัฒนาเนื้อหาผ่านสื่อที่มคี ุณภาพควบคู่กนั ไปอย่างจริงจัง
เพื่อให้เกิดประโยชน์จากโครงการได้อย่างแท้จริง

ด้านการวัดและประเมินผล
ในปจั จุบนั พบว่าเริม่ มีการกาหนดนโยบายให้ครูใช้วธิ กี ารวัดและประเมินผลผู้เรียนไม่เฉพาะ
แต่ในแง่วชิ าการเพียงอย่างเดียว แต่ให้วดั รวมไปถึงความประพฤติ ในด้านต่างๆ ของผูเ้ รียนด้วย แต่
มักยังติดปญั หาในทางปฏิบตั จิ ริง เนื่องจากการวัดผลดังกล่าวมีลกั ษณะเป็ นความคิดเห็นส่วนบุคคล
(Subjective) และไม่สามารถวัดผลได้อย่างชัดเจน ทัง้ นี้ ได้มขี อ้ เสนอจากสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนา
ประเทศไทย (2552) ว่าควรมีการปฏิรปู การทดสอบมาตรฐานในระดับประเทศ โดยปรับจากระบบ O-
NET และอื่นๆ ในปจั จุบนั มาเป็ นการทดสอบเพื่อวัดความรูค้ วามเข้าใจและทักษะ (Literacy-Based
Test) ซึง่ สามารถประยุกต์เนื้อหาเข้ากับชีวติ ประจาวันได้จริงอีกทัง้ ยังควรนาผลการทดสอบมาตรฐาน
ระดับประเทศแบบใหม่น้ีไปใช้ในการวัดและประเมินผลผู้จดั การศึกษาควบคู่กนั ไปด้วย เช่น การ
ประเมินผลงานครู การประเมินสถานศึกษา และการประเมินผลผูบ้ ริหารสถานศึกษา

429
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

หลักการปฏิรปู การศึกษา (Principles of Education Reform)


หลักการปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จะต้องให้ความสาคัญกับการปฏิรูปการเรียนรู้
อย่างแท้จริง ตลอดจนผลักดันให้เกิดการปฏิรปู เชิงโครงสร้าง การปฏิรปู ไปถึงฐานคิดและค่านิยมของ
คนในสังคม25 โดยรายละเอียดหลักการปฏิรปู ทีส่ าคัญมีดงั นี้
 การเรียนรูท้ ยี ่ ดึ ผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ (Student-Centered)
ในโลกยุค ใหม่ท่กี ารแข่งขันขึ้นอยู่กับความรู้ค วามสามารถของคน โดยเฉพาะใน
บริบทเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-based Economy) จุดมุ่งหมายสาคัญในการปฏิรปู
การเรีย นรู้ใ นระบบ คือ การส่ ง เสริมให้ ผู้เ รียนได้พฒ ั นาศักยภาพตามความถนัดของตน
ผู้เรียนควรเป็ นตัวตัง้ ในการเรียนรู้ อันจะนาไปสู่การพัฒนาผู้เรียนครบทุกด้านทัง้ ทางกาย
ทางจิต หรืออารมณ์ ทางสัง คม และสติปญั ญา ซึ่ง จะต้องเป็ นไปตามศัก ยภาพการเรียนรู้
เฉพาะตัวที่มคี วามแตกต่างระหว่างบุคคลดังนัน้ ควรมีการปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนการ
สอนทีเ่ อื้อต่อการสร้างให้เด็กเป็ นผูท้ ่ีสามารถเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง (Independent Learners)
สามารถทาให้ผเู้ รียนเป็นผูว้ างแผนการเรียนและเลือกปฏิบตั ติ ามความถนัด สามารถส่งเสริม
ให้เด็กแต่ละคนได้ทาในสิง่ ที่ตนเองชอบ โดยไม่จาเป็ นต้องเน้ นแต่ด้านวิชาการเพียงอย่าง
เดียว ทาให้ผเู้ รียนมีความสุขกับการเรียน

 การเปลีย่ นทัศนคติต่อการศึกษา (Learning Attitude)


ป จั จุ บ ั น ประเทศไทยมีค่ า นิ ย มและให้ คุ ณ ค่ า กั บ เรื่อ งของวุ ฒ ิท างการศึ ก ษา
ค่อนข้างมากนักเรียนนักศึกษาส่วนใหญ่ท่เี ลือกเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาที่สูงขึ้นไม่ได้ม ี
แรงจูงใจในการเรียนทีเ่ กิดจากการรักในสิง่ ที่เรียนหรือต้องการขวนขวายหาความรูเ้ พิม่ เติม
แต่กลับมองว่าการเรียนจบแล้วได้ใบปริญญาจะเป็ นเสมือนหนังสือเดินทางทีน่ าไปสู่โลกของ
การทางาน บางครัง้ ไม่ได้มกี ารตัง้ เป้าหมายตัง้ แต่แรกว่า จะเรียนสาขาใดหรือจบออกไปจะ
ประกอบอาชีพใด แต่เรียนอะไรก็ได้เพือ่ ให้ได้ใบปริญญา ความตัง้ ใจเรียนจึงมีไม่มากนักและ
เมือ่ จบไปแล้วไม่สามารถหางานได้ ในกรณีน้ีจงึ ต้องทางานลดวุฒกิ ารศึกษาของตนเอง เป็ น
ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) ของบุคคลนัน้ เอง รวมถึงเป็ นการสูญเสียทรัพยากร
ของสังคมอีกด้วย

25
หลักการปฏิรปู การศึกษาทีไ่ ด้นาเสนอไว้ในส่วนนี้ ได้คดั กรองมาจากการศึกษาทบทวนข้อมูล รวมทัง้ การ
สัมภาษณ์ ตลอดจนการจัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารและการเสวนาซึง่ ได้ให้ความสาคัญและกล่าวถึงประเด็นเหล่านี้
อยู่หลายครัง้
430
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

จากการให้ค วามส าคัญ กับ วุฒ ิการศึกษาเพียงอย่างเดี ย ว ควรมีก ารปรับเปลี่ย น


ค่านิยมของทุกภาคส่วนในสังคมทีย่ กย่องและให้คุณค่ากับประสบการณ์ในการทางานมากขึน้
อีกทัง้ การจัดการศึกษานัน้ ต้องสร้างให้เด็กและเยาวชนมีแรงจูงใจในการเรียนรู้ เห็นคุณค่า
ของการเรียนรู้ เพื่อ ให้รู้ล ึก และรู้จริง สามารถต่อ ยอดองค์ค วามรู้ใ นสาขานัน้ ๆ นาไปใช้
ประโยชน์ ไ ด้จ ริง ตลอดจนปลู ก ฝ งั การใฝ่ เ รีย นรู้ ถือ เป็ น ก าลัง คนที่ม ีคุ ณ ภาพป้ อนสู่
ตลาดแรงงาน และมีส่วนในการพัฒนาประเทศ

 ทุกคนมีความเป็ นผูเ้ รียนรูโ้ ดยธรรมชาติ (Natural Learner)


โดยธรรมชาติ แ ล้ ว ทุ ก คนมีค วามอยากรู้ อ ยากเห็ น ในสิ่ง ที่ต นสนใจ มีค วาม
กระตือรือ ล้นในการเรียนรู้ และพยายามแสวงหาหนทางในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยไม่
จาเป็ นต้องมีแรงกระตุ้นจากภายนอก ประกอบกับเนื้อหาของสิง่ ที่เรียนรูม้ คี วามน่ าสนใจใน
ตัวอยูแ่ ล้ว ไม่ว่าจะเป็นเรือ่ งใด สิง่ เหล่านี้เป็ นแรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) ของการ
เรียนรู้ ซึ่งทาให้กระบวนการเรียนรู้เ กิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง และเนื้อ หาที่ได้
เรียนรูค้ งอยูใ่ นตัวผูเ้ รียนอย่างถาวร
อย่างไรก็ดี ปญั หาในปจั จุบนั คือ การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรูท้ ผ่ี ดิ ซึง่ กลายเป็ น
ตัว ท าลายความอยากรู้อ ยากเห็น ดัง กล่ า ว เช่ น การสร้า งแรงจูง ใจภายนอก (Extrinsic
Motivation) ที่มากเกินไป ทัง้ การลงโทษหรือการให้รางวัล โดยไม่ให้ความสาคัญกับความ
น่ าสนใจในตัวเนื้อหาเอง ตัวอย่าง เช่น การถูกบังคับให้เรียน ผลตอบแทนจากการเรียนใน
แต่ละสาขาที่แตกต่า งกันมากเกินไป สิ่งเหล่านี้ทาให้เกิดการบิดเบือนโครงสร้างแรงจูงใจ
ส่งผลให้ในประเทศไทย ผู้เรียนให้ความสนใจกับสิง่ จูงใจภายนอกมากกว่าแรงจูงใจภายใน
ผู้เรียนจึงอาจเลือกเรียนในสาขาวิชาที่ได้ค่าตอบแทนในอัตราสูงและเป็ นที่ยกย่องในสังคม
เช่น แพทย์ วิศวกรรม โดยทีต่ นไม่ได้มคี วามถนัดและมีความสนใจอย่างแท้จริง กระบวนการ
เรียนรูจ้ งึ ไม่มปี ระสิทธิภาพและไม่คงทน นอกจากนี้ระบบการศึกษาในปจั จุบนั ยังสร้างระบบ
จูงใจที่ให้คุณค่าแก่เนื้อหาแต่เพียงบางกลุ่มบางลักษณะ ทาให้ผู้เรียนขาดแรงจูงใจในการ
เรียนรูเ้ นื้อหาอื่น ๆ ตามทีต่ นสนใจ
ดังนัน้ การปฏิรปู การศึกษาจะต้องจัดการศึกษาโดยสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรูท้ ่ี
เป็นธรรมชาติ จัดระบบโครงสร้างแรงจูงใจทีเ่ หมาะสม โดยเน้นแรงจูงในภายในในการเรียนรู้
มากกว่าแรงจูงใจภายนอก และมีทางเลือ กของจุดเน้ นของเนื้อ หาที่หลากหลายเพียงพอ
เพื่อให้เหมาะกับผูเ้ รียนแต่ละคน

431
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 การกระจายอานาจในการจัดการศึกษา (Education Decentralization)


การบริห ารจัด การศึก ษาของประเทศไทยในป จั จุ บ ันรวมศู น ย์อ ยู่ท่สี ่ ว นกลาง ใช้
หลักสูตรแบบเดียวกันทัวประเทศ(Standardized
่ Curriculum) และมีการกาหนดมาตรฐาน
จากส่ ว นกลางแบบเดีย ว ซึ่งเป็ น การจัดรูปแบบการเรียนรู้ท่ีไม่ส ามารถตอบสนองความ
ต้องการทีห่ ลากหลายของแต่ละท้องถิน่ ได้ อีกทัง้ ส่งผลให้เด็กทีอ่ ยู่พน้ื ทีท่ ห่ี ่างไกล ครอบครัว
ยากจน ไม่สามารถเข้าถึงการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ กลายเป็ นพวกทีแ่ พ้แล้วถู กคัดออก
อย่างในกรณีก ารยุบโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่ง ทาให้เ กิด ปญั หาความเหลื่อมล้าในการเข้าถึง
โอกาสทางการศึกษา ดังนัน้ ในการปฏิรปู การศึกษาจึงจาเป็ นต้องพิจารณาถึงการสร้างสมดุล
ระหว่างการวางแผนและการบริหารจัดการจากส่วนกลางกับการกระจายอานาจการบริหาร
จัดการ
อนึ่ง ในการกระจายอ านาจในการศึกษาจากส่ว นกลางลงมาในระดับท้องถิ่นตาม
ความพร้อ มเหมาะสมและต้ อ งการภายในท้อ งถิ่น และภาคส่ ว นอื่น ที่ม ีค วามเกี่ย วข้อ ง
ประกอบด้วยสถานศึกษา ผู้ปกครอง องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรปกครองท้องถิ่น
สถานประกอบการ เป็ นการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายอย่างแท้จริงเพื่อให้เด็ก
ได้รบั การศึกษาทีม่ คี ุณภาพอย่างทัวถึ ่ ง และทีส่ าคัญสอดคล้องกับความต้องการทีห่ ลากหลาย
และวิถชี วี ติ ความเป็นอยูข่ องท้องถิน่ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้

432
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4.2.4.4 ระบบการบริ หารจัดการและเครื่องมือเชิ งนโยบายทางการศึกษา


ในส่วนของการนาไปปฏิบ ัติ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้
จัดทาร่างยุทธศาสตร์การศึกษา พ.ศ. 2556 - 2558 เพื่อรองรับนโยบายการศึกษาทัง้ 7 นโยบาย โดย
มีวสิ ยั ทัศน์ให้ “คนไทยได้รบั การศึกษาทีม่ คี ุณภาพอย่างทัวถึ
่ ง เป็ นธรรม และมีประสิทธิภาพ นาไปสู่
สังคมแห่งการเรียนรู้ พึง่ พาตนเองได้ และสามารถอยูร่ ว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ”
และมีเครือ่ งมือเชิงนโยบายทีส่ าคัญสาหรับแต่ละยุทธศาสตร์ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ท่ี 1: การพัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับทุกประเภท
 ปรับระบบการเรียนรูโ้ ดยใช้วธิ กี ารเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย
 ปรับระบบการศึก ษาโดยเน้ นหลักสูตรการวิเคราะห์และมองภาพรวม พัฒนาตารา
แห่งชาติ จัดการเรียนการสอนให้มกี ารเรียนรูค้ วบคู่กบั การทางานให้เกิดการทดลอง
ปฏิบตั จิ ริง
 ปรับโครงสร้างระบบบริหารการศึกษา โดยกระจายอานาจสู่เขตพืน้ ทีแ่ ละสถานศึกษา
 ปลูกฝงั คุณธรรม ศีลธรรม และหน้ าที่พลเมือง โดยบรรจุในหลักสูตรการเรียนการ
สอน และจัดโครงการกิจกรรมต่าง ๆ
 กาหนดการประเมินผลผ่านการทดสอบมาตรฐาน
 หาแนวทางในการนาผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษาของผู้เ รียนมาเป็ นส่วนหนึ่ งในการ
ประเมินครูผสู้ อน
ยุทธศาสตร์ท่ี 2: การสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรทุกกลุ่มอย่างเสมอภาคและเป็ น
ธรรม
 ปรับระบบการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อทุกระดับให้เอือ้ ต่อการกระจายโอกาส
 พัฒ นาระบบกรอบคุ ณ วุ ฒ ิแ ห่ ง ชาติ โดยเน้ น กลุ่ ม เป้ าหมายในเบื้อ งต้ น ได้ แ ก่
เกษตรกร พนักงานรักษาความปลอดภัย หมอนวดแผนโบราณ และผูข้ บั รถรับจ้าง
 ส่ ง เสริม การศึก ษาชุ ม ชน การศึก ษานอกระบบ การศึก ษาตามอัธ ยาศัย รวมถึง
การศึกษาทางไกล
 ให้ความช่วยเหลือทางการเงิน
- จัดให้มโี ครงการเงินกูเ้ พื่อการศึกษาทีผ่ กู พันกับรายได้ในอนาคต (กรอ.)
- พักชาระหนี้กองทุนกูย้ มื เพื่อการศึกษา (กยศ.)
- ดาเนินโครงการ 1 อาเภอ 1 ทุน
- จัดตัง้ กองทุนตัง้ ตัวได้

433
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ยุทธศาสตร์ท่ี 3: การปฏิรปู ครู เพื่อยกฐานะครูให้เป็นวิชาชีพชัน้ สูง


 ปรับระบบการผลิตครูให้มคี ุณภาพระดับสากล
- ปรับปรุงระบบสรรหา
- สร้างสถาบันการศึกษาทีเ่ ป็ นเลิศในการผลิตครู และมีระบบรับรองคุณภาพ
มาตรฐานวิชาชีพครูและสถาบันผลิตครู
 ปรับระบบแรงจูงใจ
- ปรับระบบเงินเดือนและค่าตอบแทนครู
- ปรับ ระบบความก้ า วหน้ า โดยใช้ ก ารประเมิน เชิ ง ประจัก ษ์ ท่ี อิ ง ขี ด
ความสามารถและวัดทีผ่ ลสัมฤทธิ ์ของการจัดการศึกษา
- แก้ปญั หาหนี้สนิ ครู โดยพักชารพหนี้และปรับโครงสร้างหนี้
 จัดระบบการพัฒนาครูโดยจัดการศึกษาและฝึกอบรม

ยุทธศาสตร์ท่ี 4: การจัดการศึกษาระดับอุ ดมศึกษา อาชีว ศึกษา และการฝึ กอาชีพ ให้


สอดคล้องกับตลาดแรงงาน
 พัฒนาคุณภาพอาชีวศึกษาสู่ความเป็นเลิศ
- ปรับวิธกี ารสอนให้เน้นภาคปฏิบตั จิ ริง
- จัดระบบพัฒนาหรือฝึ กอาชีพในสถานศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะและบ่มเพาะ
ผูป้ ระกอบการรายใหม่
 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชน เช่น ให้เข้ามามีบทบาทในการร่วมสอน และ/
หรือสนับสนุนเงินทุนในสาขาทีเ่ ป็ นทีต่ อ้ งการของตลาดแรงงาน
 ส่งเสริมการจัดตัง้ ศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน และศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน

ยุทธศาสตร์ท่ี 5: การพัฒนาการใช้ ICT เพื่อการศึกษาให้ทดั เทียมนานาชาติ


 จัดการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส์ และใช้ส่อื การสอนทีห่ ลากหลาย
- จัดหาเครือ่ งคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตให้กบั ผูเ้ รียนในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
- ดาเนินโครงการนาร่องห้องเรียน Smart Room
- ส่งเสริมการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง
 จัดการศึกษาทางไกลเพื่อเพิม่ โอกาสการเข้าถึงการศึกษาของท้องถิน่ ทุรกันดาร
- วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
- สัญญาณดาวเทียม

434
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 ดาเนินการให้กองทุนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาสามารถดาเนินการตาม
ภารกิจ

ยุทธศาสตร์ท่ี 6: การสนับสนุน R&D เพื่อสร้างทุนปญั ญาของชาติ


 พัฒนาระบบเครือ ข่ายการวิจยั แห่งชาติ และสร้างเครือข่ายกับสถาบันการศึกษาใน
ต่างประเทศ
 จัดตัง้ ศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อการวิจยั สาหรับสาขาวิชาทีจ่ าเป็ น
 พัฒนามหาวิทยาลัยให้มงุ่ สู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจยั ระดับโลก
 ผลักดันให้ประเทศพึง่ พาตนเองทางเทคโนโลยีได้

ยุทธศาสตร์ท่ี 7: การเพิม่ ขีดความสามารถของทรัพยากรมนุ ษย์เพื่อรองรับการเปิ ดเสรี


ASEAN
 สร้างความพร้อมในการผลิตกาลังคนทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยเฉพาะใน 8
สาขาอาชีพ ได้ แ ก่ วิศ วกรรม การส ารวจ สถาป ตั ยกรรม แพทย์ ทัน ตแพทย์
พยาบาล บัญชีและการบริการ/การท่องเทีย่ ว
 เร่งรัดการพัฒนากรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติให้สอดคล้องกับกรอบ ASEAN
 จัดทามาตรฐานฝีมอื แรงงาน
 เร่งพัฒนาหลักสูตรการศึกษาภาษาอังกฤษ และหลักศูตรวิชาชีพทีเ่ ป็ นทีต่ ้องการของ
ตลาดแรงงาน

แนวนโยบายในด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
นโยบายการพัฒนากาลังคน (Manpower Policy)
จากการทบทวนนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ทเ่ี กี่ยวข้องในด้านการพัฒนากาลังคน พบว่า ที่
ผ่านมาได้มกี ารจัดทาแผนทีเ่ กี่ยวข้องกับการพัฒนาคน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับ
ที่ 11 ของส านัก งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสัง คมแห่ งชาติ ซึ่ง เป็ น นโยบายกว้า งๆ
ระดับประเทศในการส่งเสริมการพัฒนากาลังคน ไปจนถึงแผนพัฒนากาลังคนรายสาขาซึ่งเป็ นการ
ตอบสนองความต้องการแรงงานของแต่ละภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้ในปจั จุบนั รัฐบาลได้มกี าร
อนุมตั แิ ผนพัฒนากาลังคนในระดับประเทศ พ.ศ.2555 - 2559 เสนอโดยกระทรวงแรงงาน ซึง่ เป็ น
ความพยายามที่จะผลักดันแผนการพัฒนากาลังคนเป็ นองค์รวมและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา
เศรษฐกิจไทยในอนาคตมากขึน้ โดยรายละเอียดของแผนยุทธศาสตร์ มีดงั นี้

435
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

วัตถุประสงค์
1. มีความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานด้านกาลังคน
2. กาลังคนมีศกั ยภาพสูง ได้มาตรฐานสากล ตอบสนองความต้องการของทุกภาคส่วน
และสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ ได้
3. กาลังคนมีความรับผิดชอบ และมีจติ สานึกทีด่ ตี ่อหน้าที่
4. มีการบูรณาการการพัฒนากาลังคนทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ
5. กาลังคนมีความมันคง
่ และมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี น้ึ

นอกจากนี้ แผนพัฒนากาลังคนในระดับประเทศ พ.ศ. 2555 - 2559 ยังได้มกี ารนาเสนอ


หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในกระบวนการพัฒนากาลังคน ดังตารางที่ 40

436
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 40: ประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการดาเนิ นงาน


ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ ผูร้ บั ผิ ดชอบหลัก ผูร้ บั ผิ ดชอบรอง
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิ ตและพัฒนาศักยภาพกาลังคนทุกระดับต่อเนื่ องตลอดชีวิต
กลยุทธ์ 1.1 ปรับปรุงหลักสูตรในระบบการศึกษาทุก กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
ระดับให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การ กระทรวงแรงงาน
ปฏิรปู การศึกษารอบ 2
กลยุทธ์ 1.2 สร้างแหล่งเรียนรูแ้ ละส่งเสริมให้ม ี กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
ช่องทางการ ศึกษาเพือ่ ให้เกิดการเรียนรู้ กระทรวงเทคโนโลยีฯ กระทรวงแรงงาน
และการพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวติ
กลยุทธ์ 1.3 บูรณาการระบบการศึกษาร่วมกัน กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
ระหว่างหน่วยงานทางด้านการศึกษาเพือ่ กระทรวงการต่างประเทศ
เร่งส่งเสริมทักษะทางด้าน
ภาษาต่างประเทศ (เช่น ภาษาอังกฤษ
จีน และภาษาเพือ่ นบ้าน)
กลยุทธ์ 1.4 ส่งเสริมการวิจยั และการสร้างนวัตกรรม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน
ใหม่ ๆ เพือ่ เพิม่ ผลิตภาพแรงงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
สภาวิจยั แห่งชาติ
กลยุทธ์ 1.5 ส่งเสริมสนับสนุนให้ใช้ระบบเทคโนโลยี กระทรวงเทคโนโลยีฯ กระทรวงศึกษาธิการ
เสมือนจริงช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพด้าน กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
การศึกษาและพัฒนาคน กระทรวงแรงงาน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานด้านกาลังคนทุกภาคส่วน
กลยุทธ์ 2.1 พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตรง กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์
ต่อความต้องการของตลาด เพือ่ รองรับ กระทรวงแรงงาน กระทรวงการต่างประเทศ
การเป็นศูนย์กลางด้านการศึกษา กระทรวงอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมฯ
(Education Hub) ของอาเซียน สภาหอการค้าฯ
กลยุทธ์ 2.2 ส่งเสริมให้มกี ารเรียนการสอนในรูปแบบ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์
Work Integrated Learning (WIL) มาก กระทรวงแรงงาน กระทรวงการต่างประเทศ
ขึน้ ในทุกระดับ เพือ่ พัฒนาทักษะในการ กระทรวงอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมฯ
ทางานจริง สภาหอการค้าฯ
กลยุทธ์ 2.3 จัดเตรียมกาลังคนในบางสาขาทีข่ าด กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์
แคลนทัง้ ด้านปริมาณและคุณภาพเพือ่ กระทรวงแรงงานกระทรวง กระทรวงการต่างประเทศ
รองรับการเป็นตลาดเดียวในอาเซียน อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมฯ
สภาหอการค้าฯ
กลยุทธ์ 2.4 เพิม่ ความพร้อมให้กบั คนไทยในวัย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์
แรงงานให้มโี อกาสเพิม่ เติมทักษะฝีมอื กระทรวงแรงงาน สภาอุตสาหกรรมฯ
แรงงานได้ตลอดเวลาโดยผ่านระบบ ICT กระทรวงอุตสาหกรรม สภาหอการค้าฯ
กระทรวงการต่างประเทศ

437
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 40: ประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการดาเนิ นงาน (ต่อ)


ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ ผูร้ บั ผิ ดชอบหลัก ผูร้ บั ผิ ดชอบรอง
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนากาลังคนให้มีศกั ยภาพสูงและมีความสามารถในระดับสากล
กลยุทธ์ 3.1 เตรียมความพร้อมกาลังคนเพือ่ รองรับ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์ สภา
การขยายตัวของตลาดสินค้าและบริการ กระทรวงแรงงาน อุตสาหกรรมฯ
อันเนื่องมาจากการรวมกลุ่มในภูมภิ าค กระทรวงพาณิชย์ สภาหอการค้าฯ
อาเซียน
กลยุทธ์ 3.2 ส่งเสริมและพัฒนากาลังคนให้มศี กั ยภาพ กระทรวงแรงงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
ความรูค้ วามสามารถ ทักษะฝีมอื และ กระทรวงพาณิชย์ สภาอุตสาหกรรมฯ
ทักษะด้านภาษาเพิม่ ขึน้ เพือ่ รองรับการ กระทรวงอุตสาหกรรม สภาหอการค้าฯ
ย้ายฐานการผลิตทีจ่ ะเข้ามาในประเทศ
ไทย
กลยุทธ์ 3.3 พัฒนาทักษะใหม่ ๆ (ด้านนวัตกรรมและ กระทรวงแรงงาน สภาอุตสาหกรรมฯ
เทคโนโลยี) เพือ่ สร้างโอกาสแก่แรงงาน กระทรวงพาณิชย์ สภาหอการค้าฯ
ให้มศี กั ยภาพเท่าทันและใช้โอกาสจาก กระทรวงอุตสาหกรรม

เทคโนโลยีทเ่ี ปลีย่ นไปในปจจุบนั
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างเสริ มเครือข่ายในการพัฒนากาลังคน
กลยุทธ์ 4.1 สนับสนุนการสร้างเครือข่ายในการพัฒนา กระทรวงแรงงาน สภาอุตสาหกรรมฯ
กาลังคนอย่างเป็นรูปธรรม กระทรวงพาณิชย์ สภาหอการค้าฯ
กระทรวงศึกษาธิการ สภา/สมาคมวิชาชีพ
กลยุทธ์ 4.2 จัดระบบการวางแผนพัฒนากาลังคนเพือ่ กระทรวงแรงงาน สภาอุตสาหกรรมฯ
รองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สภาหอการค้าฯ
สภา/สมาคมวิชาชีพ
กลยุทธ์ 4.3 เสริมความรูด้ า้ นการวางแผนและบริหาร กระทรวงแรงงาน สภาอุตสาหกรรมฯ
จัดการทรัพยากรทีเ่ หมาะสมให้กบั ทุก กระทรวงพาณิชย์ สภาหอการค้าฯสภา/สมาคม
ภาคส่วน กระทรวงอุตสาหกรรม วิชาชีพ
กลยุทธ์ 4.4 เสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมเพือ่ กระทรวงแรงงาน สภาอุตสาหกรรมฯ
พัฒนาเครือข่ายภาคีดา้ นกาลังคน กระทรวงพาณิชย์ สภาหอการค้าฯ
กระทรวงอุตสาหกรรม สภา/สมาคมวิชาชีพ
กลยุทธ์ 4.5 พัฒนาและขยายเครือข่ายข้อมูลข่าวสาร กระทรวงแรงงาน สภาอุตสาหกรรมฯ
ตลาดแรงงาน กระทรวงพาณิชย์ สภาหอการค้าฯ
กระทรวงอุตสาหกรรม สภา/สมาคมวิชาชีพ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสนับสนุนให้กาลังคนมีความมันคงและหลั ่ กประกันในชีวิต
กลยุทธ์ 5.1 ปรับปรุงระบบบริหารจัดการด้าน กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม
สวัสดิการและค่าตอบแทนเพือ่ ให้แรงงาน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มีหลักประกันทีม่ นคง/คุ
ั่ ณภาพชีวติ ทีด่ ี มันคงของมนุ
่ ษย์ สภาอุตสาหกรรมฯ
สภาหอการค้าฯ
สภา/สมาคมวิชาชีพ
กลยุทธ์ 5.2 ผลักดันนโยบายทีเ่ กีย่ วกับการส่งเสริม กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม
ความมันคงทางอาชี
่ พและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สังคมให้เกิดผลในทางปฏิบตั ทิ เ่ี ป็นธรรม มันคงของมนุ
่ ษย์ สภาอุตสาหกรรมฯ
ให้แก่แรงงานทัง้ ในระบบและนอกระบบ สภาหอการค้าฯ
สภา/สมาคมวิชาชีพ

438
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 40: ประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการดาเนิ นงาน (ต่อ)


ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ ผูร้ บั ผิ ดชอบหลัก ผูร้ บั ผิ ดชอบรอง
กลยุทธ์ 5.3 สนับสนุนการมีส่วนร่วมขององค์กร กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม
เกีย่ วกับนายจ้างและลูกจ้าง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มันคงของมนุ
่ ษย์ สภาอุตสาหกรรมฯ
สภาหอการค้าฯ
สภา/สมาคมวิชาชีพ
กลยุทธ์ 5.4 สร้างความเข้มแข็งแก่หน่วยงานกลางที่ กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม
ดูแลด้านแรงงาน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มันคงของมนุ
่ ษย์ สภาอุตสาหกรรมฯ
สภาหอการค้าฯ
สภา/สมาคมวิชาชีพ
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การสนับสนุนให้กาลังคนมีคณ
ุ ธรรม
กลยุทธ์ 6.1 พัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างเป็นองค์รวมทัง้ กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม

ด้านสติปญญา อารมณ์ คุณธรรม และ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ สภาอุตสาหกรรมฯ
จริยธรรม กระทรวงศึกษาธิการ สภาหอการค้าฯ
สภา/สมาคมวิชาชีพ
กลยุทธ์ 6.2 สร้างจิตสานึกของคนในทุกสาขาอาชีพ กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการสภา
ให้มคี วามรับผิดชอบต่อสังคม กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ อุตสาหกรรมฯ
กระทรวงอุตสาหกรรม
สภาหอการค้าฯ
สภา/สมาคมวิชาชีพ
กลยุทธ์ 6.3 สร้างเสริมความศรัทธาในสถาบันศาสนา กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ
เพือ่ ให้มบี ทบาทสาคัญต่อการส่งเสริม กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ สภาอุตสาหกรรมฯ
ศีลธรรม และสร้างความเป็นปึกแผ่นใน กระทรวงอุตสาหกรรม
สังคม สภาหอการค้าฯ
สภา/สมาคมวิชาชีพ

หากพิจารณาจากแผนยุทธศาสตร์ดงั กล่ าว จะสังเกตได้ว่าเป็ นแนวทางที่นามาใช้เพื่อให้


หน่ ว ยงานภาครัฐ เกิด การบูร ณาการแผนการท างานร่ว มกันมากขึ้น นอกจากนี้ ยงั เปิ ดโอกาสให้
ั ่ องการกาลังคน (Demand Side) เข้ามีส่วนร่วมในแผนยุทธศาสตร์น้ีด้วย
ภาคเอกชนซึ่งเป็ นฝงต้
อย่างไรก็ตาม ในการนาแผนยุทธศาสตร์ไปสู่ภาคปฏิบตั ิเพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการยอมรับนาไปใช้จริง
และมีก ารบูร ณาการร่ว มกัน ระหว่ างหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ อาจยัง ไม่ม ีประสิท ธิภ าพและประสิทธิผ ล
เท่าทีค่ วร โดยเฉพาะอย่างยิง่ การร่วมมือกันเพื่อสนับสนุนส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ อย่างรอบด้าน

439
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

แนวทางการแก้ไขปัญหาด้านกาลังคน
ในการรับมือกับวิกฤติก ารขาดแคลนแรงงานที่ผ่านมา ธุรกิจในภาคอุตสาหกรรมได้มกี าร
แก้ไขปญั หาเฉพาะหน้า โดยการนาเข้าแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาทดแทนเป็ นจานวนมาก
อย่างไรก็ตามวิธนี ้จี ะไม่สามารถแก้ไขปญั หาการขาดแคลนแรงงานได้ในระยะยาวเนื่องจากมีแนวโน้ม
การไหลกลับของแรงงานต่างด้าวสู่ประเทศต้นทางมากขึน้ เนื่องจากการเปิดเสรีทางการค้าและการ
ลงทุนของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ทาให้เกิดการพัฒนา
อุตสาหกรรมในประเทศโดยเฉพาะประเทศพม่า กัมพูชา และลาว ปจั จัยดังกล่าวจะทาให้อตั ราค่าจ้าง
แรงงานต่างด้าวขยับตัวสูงขึน้ เพิม่ ต้นทุนให้กบั ผูป้ ระกอบการจนไม่สามารถแข่งขันได้ในทีส่ ุด
ั หาเรื่อ งสภาวะการขาดแคลนแรงงานอย่ า งยัง่ ยืน คือ การเพิ่ม
ดัง นั น้ วิธ ีก ารแก้ ไ ขป ญ
ความสามารถในการผลิตต่อหน่ วยแรงงาน ด้วยการเพิม่ ประสิทธิภาพหรือความสามารถของแรงงาน
ผ่านการพัฒนาฝีมอื แรงงาน การอบรมเพิม่ ทักษะและการศึกษาและทีส่ าคัญคือต้องมีความสอดคล้อง
กับความต้องการของตลาดแรงงานทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ ในขณะเดียวกัน การแก้ปญั หาที่
มุ่งหวังการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องในระยะยาว ภายใต้ข้อจากัดแรงงานที่ขยายตัวช้าลงนัน้
ประเทศไทยต้องเร่งปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ให้เอื้อต่อการใช้แรงงานทีม่ คี ุณภาพในระดับที่เข้มข้น
มากขึ้น ยกระดับ การผลิต เปลี่ยนจากการพึ่ง พาแรงงานไร้ฝี ม ือ ราคาถู ก มุ่ง สู่อุ ต สาหกรรมที่ใ ช้
เทคโนโลยีสูงขึ้นทัง้ นี้ภาครัฐและภาคเอกชนควรให้ความสาคัญกับการวิจยั และพัฒนา นาไปสู่การ
เพิ่ม ประสิท ธิภ าพและสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ม ได้ ม ากขึ้น ซึ่ง จะเป็ น ป จั จัย ส าคัญ ที่จ ะช่ ว ยยกระดับ ขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระยะยาว
ภาพที่ 114: แนวทางการแก้ไขปัญหาด้านกาลังคน
Short-term Response Sustainable Solution

ควา า าร นการ ล หนว

กร ดั กั า การ ล ข ง ร ก ไท

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

440
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทัง้ นี้ เพื่อให้การแก้ไขปญั หาการขาดแคลนแรงงานนี้เป็ นไปอย่างราบรื่นและรวดเร็วพร้อม


ไปกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องในระยะยาวประเทศไทยจาเป็ นจะต้องมีการวางแผน
พัฒ นาก าลัง คนที่ช ัด เจน และที่ส าคัญ จะต้ อ งเป็ นการบู ร ณาการร่ ว มกัน ระหว่ า งทุ ก ภาคส่ ว น
โดยเฉพาะผู้อ อกนโยบายสนับ สนุ นต่ าง ๆ ที่จ ะต้อ งมุ่ง พัฒ นาไปในทิศ ทางที่ส อดคล้อ งกัน โดย
รายละเอียดของนโยบายทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็นเรือ่ งกาลังคน สรุปสาระสาคัญได้ดงั นี้
1) นโยบายการศึกษา (Education Policy) ทีผ่ ่านมาการพัฒนากาลังคนเป็ นหน้าทีห่ ลักของ
ระบบการศึกษา โดยภาคการผลิตไม่ได้มสี ่วนร่วมโดยตรงในกระบวนการพัฒนากาลังคน
แนวโน้มการพัฒนากาลังคนของไทยจึงเป็ นไปในรูปแบบกว้างๆ และมุ่งผลิตกาลังคนออกมา
จานวนมากๆ แต่กลับไม่ได้สนองความต้องการของตลาดแรงงานอย่างแท้จริง ดัง นัน้ มีความ
จาเป็นทีก่ ารจัดการศึกษาจะต้องเน้นการเสริมสร้างศักยภาพและขีดความสามารถของผูเ้ รียน
ให้มากขึ้น เพื่อให้คุณภาพของผู้ท่จี บการศึกษาอยู่ในระดับที่มคี วามรู้และทักษะเหมาะสม
สาหรับโลกของการทางาน
2) นโยบายแรงงาน (Labour Market Policy) ควรจะต้องทาหน้าทีใ่ นการช่วยให้ผหู้ างาน
สามารถเข้าถึงข้อมูลของตลาดแรงงาน เพื่อเอือ้ ให้เกิดการค้นหาและจับคู่กนั ของแรงงานและ
นายจ้า งที่เ หมาะสม ในขณะเดีย วกัน จะช่ ว ยท าให้เ กิด การจ้า งงานที่ม ีคุ ณ ภาพมากขึ้น
(Productive Employment) ทัง้ นี้มคี วามจาเป็ นทีภ่ าครัฐและเอกชนควรพิจารณาปรับค่าจ้าง
ให้สอดคล้องกับผลิตภาพแรงงานมากขึ้น นอกเหนือจากประเด็นด้านค่าจ้างแล้ว ประเด็น
ด้านสวัสดิการและสภาพแวดล้อมของการทางานก็เป็ นปจั จัยสาคัญทีจ่ ะช่วยลดปญั หาการเข้า
และลาออกจากงาน (Turnover) อีกทัง้ ช่วยให้การพัฒนาฝีมอื แรงงานเป็ นไปได้อย่างต่อเนื่อง
นอกจากนี้ควรมีการกาหนดนโยบายให้ชดั เจนมากขึน้ เกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว (Immigration
Policy)เพื่อรองรับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจในระยะยาว
3) นโยบายเศรษฐกิ จ (Trade – Industrial - STI Policy)จากอดีตทีผ่ ่านมาการเปิดตลาด
การค้าเสรีส่งผลให้ผู้ผลิตต้อ งนาเข้าเทคโนโลยีการผลิต ต่างๆ อย่างรวดเร็ว ประกอบกับ
นโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อดึงดูดอุตสาหกรรมขนาดใหญ่และนักลงทุนจากต่างประเทศ
ทาให้อุ ต สาหกรรมของประเทศไทยอยู่ใ นสภาวะที่ต้อ งพึ่ง พาการน าเข้า เทคโนโลยีจ าก
ต่างประเทศเป็ นอย่างมาก แนวทางการพัฒนาดังกล่าวส่งผลต่อความต้องการกาลังคนที่ม ี
รูป แบบที่ไ ม่ย งยื
ั ่ น กล่ า วคือ ยังเป็ น การใช้แ รงงานขัน้ พื้นฐาน มีผ ลิต ภาพต่ า กระทบต่ อ
ความสามารถในการแข่ง ขัน ของธุ รกิจ และความสามารถในการยกระดับค่ า จ้า ง ดัง นัน้
ประเทศไทยจะต้องมีนโยบายเศรษฐกิจทีช่ ดั เจน โดยเฉพาะนโยบายอุตสาหกรรม นโยบาย
การค้า การส่งเสริมการลงทุน และนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการวิจยั และนวัตกรรม
ที่มคี วามชัดเจนและเป็ นแผนระยะยาวต่ อ ทิศ ทางของโครงสร้างเศรษฐกิจไทยในอนาคต
มุ่งเน้นการพัฒนาทีส่ อดคล้องกับศักยภาพและทรัพยากรทีม่ อี ยู่ในประเทศ ในขณะเดียวกัน

441
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ต้องสร้างแรงจูงใจให้ภาคเอกชนลงทุนในเทคโนโลยีทต่ี ้องใช้แรงงานทีม่ ที กั ษะสูงขึน้ ซึง่ จะมี


ส่วนช่วยในการยกระดับค่าจ้างแรงงานและคุณภาพชีวติ ของแรงงาน
กล่าวโดยสรุปคือ การแก้ปญั หาความไม่สอดคล้องของอุปสงค์อุปทานแรงงานไทย มีปจั จัย
หลักพืน้ ฐาน 3 ด้านที่จะต้องคานึงถึงคือการพัฒนาฝี มอื แรงงาน(Skill Development) การ
เชื่อมโยงระหว่างอุปสงค์และอุปทานของแรงงาน (Matching Supply and Demand) และการ
ใช้ประโยชน์ จากฝี มอื แรงงาน(Skill Utilization) กล่าวคือทิศทางในการผลิตกาลังคน
(Manpower Planning) จะต้องมีความสอดคล้องกับความต้องการของผูป้ ระกอบการทัง้ ใน
เชิงปริมาณและคุณภาพ ในขณะเดียวกันทางด้านอุปสงค์ (Demand-Side) ประเทศไทยต้อง
เร่งปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้เอื้อต่อการใช้แรงงานที่มคี ุณภาพในระดับที่เข้มข้นมากขึ้น
อย่ า งไรก็ ต ามเนื้ อ หาในส่ ว นนี้ จ ะให้ ค วามส าคัญ กับ การพัฒ นาก าลัง คน (Supply-side
Development) ซึ่งมีนัยสาคัญต่อภาคการศึกษาเป็ นอันดับแรก เนื่องจากการมีอุปทานของ
กาลังคนทีม่ คี ุณภาพถือเป็ นเงื่อนไขเบือ้ งต้น เพื่อรองรับการปรับตัวของภาคเอกชนไปสู่การ
เพิม่ ประสิทธิภาพและสร้างมูลค่าเพิม่ ได้มากขึน้ ในระยะยาว
ภาพที่ 115: การวางแผนพัฒนากาลังคนอย่างบูรณาการ

Supply Demand
for Labor for Labor

Manpower Planning

Matching Skill
Employability
Demand & Supply Utilization

Industrial, Trade,
Education Policy Labor Market Policy
STI Policy

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

442
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างการศึกษาและตลาดแรงงาน
แนวคิ ดการสร้างความเชื อ่ มโยงระหว่างการศึกษาและตลาดแรงงาน
ปญั หาการขาดแคลนแรงงานของไทยในป จั จุ บ ัน ส่ ว นหนึ่ ง มาจากการที่ร ะบบ
การศึกษาผลิตคนแบบไร้ทศิ ทาง ไม่สอดคล้องต่อความต้องการของตลาดแรงงาน ทัง้ นี้หาก
เรามองการส่งผ่านระหว่างการศึกษาและตลาดแรงงานจะเห็นว่ามีขอ้ ต่อ (Intersection) ที่
สาคัญอยู่ 3 จุดคือ (1) การเข้าเรียน (Enrollment) (2) การพัฒนาทักษะ (Skill Formation)
และ (3) การเข้าสู่ตลาดแรงงาน (Market Entry) การวิเคราะห์โดยใช้ภาพกรอบแนวคิดใน
ลัก ษณะนี้ ม ีข้อ ดีเ นื่ อ งจากจะช่ ว ยให้เ ราเห็น ถึง ความเชื่อ มโยงระหว่ า งการศึก ษาและ
ตลาดแรงงานและความสัมพันธ์เชิงระบบของนักเรียน สถานศึกษา และผูป้ ระกอบการซึง่ ใน
ความเป็นจริงพบว่าแต่ละตัวแสดงมีมมุ มองและพฤติกรรมทีไ่ ม่สอดคล้องกัน และขาดการบูร
ณาการร่วมมือกัน ทาให้ทา้ ยสุดไม่สามารถไปถึงจุดหมายทีแ่ ต่ละฝ่ายต่างต้องการได้ ดังนัน้
เนื้อหาในส่วนต่อไปจะระบุประเด็นสาคัญ (Critical Issue) ของแต่ละข้อต่อ พร้อมทัง้
นาเสนอแนวทางการแก้ไขซึง่ ส่วนหนึ่งได้จากการศึกษาประสบการณ์ของประเทศต่างๆ ซึง่
เป็นตัวอย่างทีด่ ี (Good Practice)ทีส่ ามารถนามาประยุกต์ใช้กบั ประเทศไทยได้

ภาพที่ 116: กรอบแนวคิ ดการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างการศึกษาและตลาดแรงงาน

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

443
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

1) การเข้าเรียน (Enrollment)
ค าถามที่ส าคัญ ในข้อ ต่ อ แรกนี้ ค ือ ทาอย่า งไรที่ทุ กคนเข้าถึง ระบบการศึก ษาและ
สามารถทาให้นักเรียนเลือกเรียนในวิชาและสาขาทีเ่ หมาะกับและตอบโจทย์ตลาดแรงงานไป
ได้ในเวลาเดียวกัน จากการสารวจเบื้อ งต้นพบว่านักเรียนส่ว นใหญ่ ท่ตี ้องออกกลางคันมี
สาเหตุ ส าคัญ คือ ไม่ม ีเ งิน เรีย นต่ อ หรื อ ต้ อ งช่ ว ยท างานเพื่อ หารายได้ม าเลี้ย งครอบครัว
(Affordability) ซึ่งตามปกติแล้วจะใช้มาตรการการให้เงินทุนเรียนต่อ แต่ด้วยข้อจากัดด้าน
สภาพคล่ อ งโดยเฉพาะในกรณีข องเด็ก ที่ด้อ ยโอกาสมาจากพื้น ฐานครอบครัว ที่ย ากจน
รัฐบาลควรเพิ่ มจานวนเงิ นอุดหนุนให้ ครอบคลุมค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) จาก
การต้องสูญเสียแรงงานเพื่อเข้ามาสู่ระบบการศึกษาด้วย
สาหรับเรื่องการตัดสินใจของนักเรียนทีจ่ ะเลือกเรียนสาขาวิชาใดนัน้ พบว่านักเรียน
ส่วนใหญ่มกั ไม่มขี อ้ มูลเพียงพอเกี่ยวกับทางเลือกทางการศึกษา ทาให้บางคนตัดสินใจเลือก
เรียนในสิง่ ทีต่ นเองไม่รดู้ ว้ ยซ้าว่าจะนาไปสู่การประกอบอาชีพอะไร ดังนัน้ ควรจะมีการพัฒนา
ฐานข้อมูลอาชีพ (Occupational Information Database) ทีร่ วบรวมรายละเอียดเกี่ยวกับ
โอกาสทางอาชีพ เส้นทางความก้าวหน้า แนวโน้มของอุตสาหกรรมนัน้ ๆ รวมถึงค่าจ้างและ
การฝึกอบรมในสายงาน แต่อย่างไรก็ตามนอกจากการมีขอ้ มูลเบือ้ งต้นแล้ว จาเป็ นจะต้องมี
กลไกที่ จะสามารถทาให้ เด็กที่ มีความเสี่ ยงสามารถเข้าถึงและเข้าใจข้อมูลเหล่านี้ ได้
(Engage the Disengaged) เช่นการเพิม่ ความเข้มข้นของการแนะแนวเพื่อวางแผนอาชีพ
(Career Planning)ในการเรียนการสอนตัง้ แต่ช่วงมัธยมต้น โดยให้ความสนใจเป็ นพิเศษกับ
กลุ่มเด็กทีม่ คี วามเสีย่ งทีจ่ ะออกจากระบบศึกษา
ประเด็นสาคัญทีม่ คี วามเกี่ยวเนื่องกันอีกประการหนึ่งคือทาอย่างไรจะสามารถสร้าง
ค่านิยมใหม่สาหรับการเรียนในสายอาชีพ ในกรณีน้ีควรศึกษาโมเดลต้นแบบของประเทศ
เกาหลีใต้ ที่ประสบความสาเร็จในการสร้างเครือข่ายสถาบันอาชีวะใหม่โดยให้ช่อื เรียกว่า
Meister School ซึง่ เปลีย่ นแปลงภาพลักษณ์อาชีวะ ถึงขนาดรัฐบาลเกาหลีใต้เรียกนักเรียน
อาชีวะเหล่านี้ว่าเป็ น 'Young Meister' ซึง่ เป็ นศัพท์เยอรมันทีแ่ ปลว่าMaster หรือผูช้ านาญ
อย่างถ่องแท้ในสิง่ ทีต่ นทา ทาให้เด็กอาชีวะได้รบั การยกย่ องและเพิม่ สัดส่วนคนเรียนอาชีวะ
มากขึน้

2) การพัฒนาทักษะ (Skill Formation)


หลังจากทีน่ ักเรียนเข้ามาในระบบการศึกษาแล้ว ผูใ้ ห้บริการทางการมีหน้าทีใ่ นการ
ทาให้นกั เรียนจบออกไปแล้วมีทกั ษะทีจ่ าเป็นต่อโลกของการทางาน ซึง่ อาศัยการปรับเปลีย่ น
กระบวนการเรียนการทีม่ เี นื้อหาตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานและเหมาะสม
กับขีดความสามารถในการเรียนรูข้ องนักเรียนโดยอันดับแรกควรการจัดทาหลักสูตรที่เน้ น
444
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การสร้างสมรรถนะมากขึ้น (Competency-based Curriculum) ซึ่งเป็ นการพัฒนา


ร่วมกันระหว่างภาคอุตสาหกรรมและสถานศึกษา โดยมีการระบุถึงสมรรถนะที่ ภาคธุรกิจ
ต้องการอย่างละเอียดถี่ถ้วนยกตัวอย่างเช่นกรอบการจัดการศึกษาและพัฒนาฝี มอื แรงงาน
อาชีวะของประเทศออสเตรเลีย มีการกาหนดหลักสูตรบนพื้นฐานของสมรรถนะที่ตรงกับ
ลักษณะของงานที่ปฏิบตั ิจริง (Expected Task) ซึ่งนักเรียนในแต่ ละสายวิชาชีพจะมี
ส่ ว นประกอบของหลัก สูต รที่ แ ตกต่ า งกัน ออกไปตามสมรรถนะที่ต้ อ งใช้ใ นอาชีพ นั น้ ๆ
ในขณะทีศ่ ูนย์ฝึกอบรมแต่ละแห่งสามารถปรับเปลีย่ นส่วนประกอบของหลักสูตรให้สอดคล้อง
กับเข้ากับความต้องการในระดับพืน้ ทีไ่ ด้อนั ดับทีส่ องโมเดลของการเรียนการสอนจะต้อง
เน้ นการปฏิ บตั ิ งานจริ ง (Hands-on Learning) มากขึน้ ซึง่ ในปจั จุบนั ประเทศไทยเองก็เริม่
มีต ัว อย่างของรูป แบบการจัด การเรียนการสอนแบบนี้ ใ ห้เ ห็น อยู่บ้างเรีย กว่ า “โรงงานใน
โรงเรียน โรงเรียนในโรงงาน” หรือการจัดการศึกษาในระบบทวิภาคี โดยในเบื้องต้นนับว่า
ประสบความสาเร็จในการทาให้สถานศึกษาสามารถปรับวิธเี รียนเปลีย่ นวิธสี อน เพื่อเคลื่อน
ไปสู่หลักสูตรฐานสมรรถนะ และกรอบมาตรฐานคุณวุฒวิ ชิ าชีพได้ดขี น้ึ

3) การเข้าสู่ตลาดแรงงาน (Market Entry)


ด้ว ยความแตกต่ า งเชิง คุ ณ ภาพการเรีย นการสอนของแต่ ล ะสถาบัน การศึก ษา
ประกาศนียบัตรหรือปริญญาในปจั จุบนั ไม่สามารถเป็ นตัวส่งสัญญาณที่บ่งชี้ถงึ คุณลักษณะ
หรือ ทัก ษะของบัณ ฑิตได้อ ย่างแม่นยาอีกต่อ ไป (False Signaling) ในขณะเดียวกัน
ผู้ประกอบการมักพบว่าประวัติการศึกษาหรือแม้แต่ การประเมินผู้สมัครผ่านการสัมภาษณ์
เพียงสองสามครัง้ คงไม่อาจการันตีความสามารถในการปฏิบตั ิงานซึ่งในท้ายที่สุดแล้วจึงมี
ความเสีย่ งทีท่ งั ้ นายจ้างและผูห้ างานไม่สามารถจับคู่กนั อย่างเหมาะสม
วิธ ีแ รกที่ส ามารถช่ว ยแก้ไ ขปญั หานี้ คอื การปรับปรุง ประสิ ทธิ ภ าพของการส่ ง
สัญญาณ (Effective Signaling) เพื่อให้ทงั ้ นายจ้างและลูกจ้างได้ทราบถึงอุปสงค์อุปทาน
ของแต่ละฝา่ ยอย่างถูกต้องและชัดเจนมากขึน้ ในต่างประเทศมีเริม่ มีการเกิดขึน้ ของผูร้ บั รอง
คุณวุฒทิ เ่ี ป็ นบุคคลทีส่ าม (Third-Party Credential)เข้ามาทาหน้าทีใ่ นการประเมินคุณภาพ
ของผูส้ มัครงาน ยกตัวอย่างเช่น WorkKeys Assessment System (WAS) ดาเนินงานโดย
ACT ซึง่ ได้ถูกนามาใช้อย่างแพร่หลายในประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อวัดระดับของทักษะต่างๆ
ทีม่ คี วามจาเป็ นต่อความสาเร็จในหน้าทีก่ ารงาน เช่น ทักษะการเขียนเชิงธุรกิจ คณิตศาสตร์
ประยุกต์ หรือทักษะในการปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ ่นื (Soft Skills) สาหรับผูท้ ผ่ี ่านการทดสอบนี้จะ
ได้รบั ประกาศนียบัตร National Career Readiness Certificate (NCRC) แสดงถึงความ
พร้อมในการทางานในระดับมาตรฐานที่นายจ้างต้องการ วิธที ส่ี องคือสถาบันการศึกษาอาจ
มุ่งสร้างเสริ มความสัมพันธ์กบั ภาคธุรกิ จให้ มีความเข้มแข็งและสร้างความน่ าเชื่ อถือ

445
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เพื่อเอื้อให้ เกิ ดการจ้างงานโดยตรง (Relationship-based hiring) หรือวิธสี ุดท้ายซึ่งดู


น่ า จะมีป ระสิท ธิผ ลมากที่สุ ด คือ การที่ส ถานประกอบการเข้า มามี ส่ ว นร่ ว มในการจัด
การศึกษาตัง้ แต่ข้อต่อแรกของการเชื่อมโยงระหว่างการศึกษาและตลาดแรงงาน โดย
การจ้างงานก่อนเรียน (Pre-Hiring) และให้เงินอุดหนุ นสาหรับการศึก ษาและฝึ กอบรม
ทัก ษะ และการัน ตี ก ารมีง านท าเมื่อ เรีย นจบ ซึ่ ง พบว่ า ช่ ว ยให้ ผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษามี
ความสามารถ ทัก ษะและเจตคติใ นการท างานสอดคล้อ งกับ ความต้ อ งการของสถาน
ประกอบการได้เป็นอย่างดี

โมเดลการขับเคลื่อน
การนาแนวทางการแก้ไขปญั หาดังที่ได้กล่าวมาในเบื้องต้นไปสู่ภาคการปฏิบตั ใิ ห้ม ี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลนัน้ เป็ นเรื่องที่ค่อนข้างท้าทายมาก เนื่องจากมีหน่ วยงานจาก
ภาคส่ ว นที่ห ลากหลายที่มสี ่ ว นเกี่ย วข้อ งกับความเชื่อ มโยงระหว่ างระบบการศึกษาและ
ตลาดแรงงานจะต้องทางานอย่างบูรณาการ มีความสอดคล้องและมีทศิ ทางไปในทางเดียวกัน
ซึง่ จาเป็นจะต้องมีการปรับเปลีย่ นเชิงโครงสร้างของระบบ โดยคานึงถึงแนวทางทีส่ าคัญอย่าง
น้อย 3 ประการ คือ
1) พัฒ นาระบบการเก็บ ข้ อ มู ล และเผยแพร่ ข้ อ มู ล (Data Collection and
Dissemination)
การจัด ท าข้ อ มู ล ด้ า นอาชีพ เพื่อ การแนะแนวการศึก ษานั ้น มีค วามส าคัญ มาก
เนื่องจากนักเรียน นักศึกษาจะได้มคี วามรูค้ วามเข้าใจและสามารถตัดสินใจเลือกอาชีพได้ดว้ ย
ตนเองโดยทราบถึงปจั จัยที่มคี วามเกี่ยวข้องได้อย่างครบถ้วนเช่น ลักษณะและสภาพการ
ทางานโอกาสการมีงานทา ความก้าวหน้ าของแต่ละอาชีพตลอดจนการเตรียมความพร้อม
ของตนเองก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน ซึง่ ในปจั จุบนั ข้อมูลรายละเอียดของแต่ละอาชีพส่วนใหญ่
มีการจัดทาอยูแ่ ล้ว เพียงแต่กระจัดกระจายอยู่กบั หลายๆหน่ วยงาน ดังนัน้ ควรมีการรวบรวม
ข้อมูลให้อยู่ในที่เดียว จัดทาเป็ นระบบฐานข้อมูลที่มคี วามครอบคลุมและสมบูรณ์ในรูปแบบ
ออนไลน์ (Online Comprehensive Database) ทีน่ ักเรียน นักศึกษา นักแนะแนวการศึกษา
รวมทัง้ ประชาชนทัวไปสามารถเข้
่ าถึงได้และสะดวกต่อการใช้งานนอกจากนี้ควรมีการพัฒนา
เมตริก (Metrics) เป็ น กลไกส าคัญ เพื่อ เอื้อ ให้เ กิด การสร้า งความรับ ผิด ชอบ
(Accountability)ของผลลัพธ์ในตลาดแรงงาน (Labor Market Outcome) เช่น กระทรวง
ศึกษาอาจมีการกาหนดให้สถานศึกษาจัดทาแบบสารวจภาวะการมีงานทาของบัณฑิตแบบ
ประจาปี โดยข้อ มูล จะต้อ งถู ก ตีพิมพ์ต่ อ สาธารณะ เพื่อ ให้นักเรียนทราบถึงคุ ณ ภาพและ
ความสามารถของสถาบันการศึกษาในการจัดการศึกษาให้ตอบสนองกับโลกของการทางาน
ซึง่ อาจจัดทาออกมาในรูปแบบของการจัดอันดับสถานศึกษา (National Ranking) เพื่อสร้าง
แรงจูงใจให้กบั สถานศึกษาได้อกี ทางหนึ่ง
446
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

2) เพิ่ มความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึ กษาและสถานประกอบการให้ เข้มข้นขึ้น


(Provider and Private-sector Collaboration)
ปจั จุบนั มีสถานประกอบการบางส่วนทาการฝึ กอบรมกาลังคนอยู่แล้วเพื่อใช้ในการ
ทางานของสถานประกอบการนัน้ ๆ แต่มกั มีเฉพาะสถานประกอบการทีม่ ขี นาดใหญ่ ในขณะ
ทีธ่ ุรกิจที่มขี นาดกลางหรือย่อมลงมา ยังประสบปญั หาการพัฒนาแรงงานของตนเองอยู่มาก
ดังนัน้ ควรมีมาตรการทีเ่ หมาะสมเพื่อให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างสถานฝึกอบรมของภาครัฐ
และเอกชน เพิ่ม แรงจูง ใจให้ก ับสถานประกอบการให้เ ข้ามีส่ ว นร่ว มในการจัดการศึกษา
โดยเฉพาะในระดับ (Sector-based Collaboration) เพื่อให้รปู แบบการเรียนการสอนมีความ
สอดคล้องกับตามที่ตลาดแรงงานต้องการ รวมทัง้ ยังเป็ นการช่วยกันลดต้นทุนในการจัดการ
การศึกษาและการฝึกอบรมแรงงานไปด้วยอีกทางหนึ่ง
3) จัดตัง้ หน่ วยงานบูรณาการกาลังคนระดับชาติ (Skill System Integrator)
โครงสร้างการบริหารพัฒนากาลังคนของประเทศไทยทีผ่ ่านมามีจุดอ่อนทีส่ าคัญคือมี
หน่วยงานทีด่ แู ลเรื่องการจัดการศึกษาหลายหน่ วยงาน ซึง่ ไม่มคี วามรูเ้ กี่ยวกับความต้องการ
ของภาคเศรษฐกิจตลาดแรงงาน ยังไม่มอี งค์กรใดๆ ทีจ่ ะเข้ามาประสานงานในระดับประเทศ
ในทุ ก ระดับ การศึก ษาอย่า งแท้จ ริง ดัง นั น้ เพื่อ ให้ก ารประสานงานได้ใ นทางปฏิบ ัติ จึง
จาเป็ นต้องมีองค์กรบูรณาการกาลังคนระดับชาติ (Skill System Integrator) โดยมีหน้าที่
สาคัญคือ (1) การเข้าไปมีส่วนร่วม ประสานงานและ บูรณาการในทุกกิจกรรมตัง้ แต่การ
กาหนดทิศทางการวางแผนนโยบาย (Policy Formation) ด้านเศรษฐกิจ การศึกษา แรงงาน
และการพัฒ นาด้านวิท ยศาสตร์และเทคโนโลยี ไปจนถึงการนานโยบายไปสู่ภาคปฏิบ ัติ
(Policy Implementation) (2) การกระตุ้นให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมและ
สร้างให้เกิดแรงผลักดันในประเด็นที่มคี วามสาคัญเร่งด่วน (Priority Area) และ (3) กากับ
ดูแลและประเมินผล เพื่อพัฒนาคุณภาพและปรับปรุงการดาเนินงานให้มปี ระสิทธิภาพ

447
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

บทที่ 5
สรุปและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย :
แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21

5.1 สรุป
พลวัต การเปลี่ย นแปลงโลกจากการก้า วเข้า สู่ศ ตวรรษที่ 21 ได้ส่ ง ผลกระทบทัง้ ทางสัง คม
เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และการเมืองของทุกประเทศในประชาคมโลก การปรับแนวทางการศึกษาเพื่อ
พัฒนาประชากรให้มคี วามพร้อมสู่ศตวรรษใหม่ถูกกาหนดเป็ นวาระแห่งชาติของหลายประเทศ ความท้า
ทายในการปรับแต่งการศึกษาจากแนวทางของศตวรรษที่ 20 ที่มกี ระบวนทัศน์แตกต่างอย่างสิ้นเชิงจึง
เป็นความท้าทายหลักของการปฏิรปู การศึกษาไทยของศตวรรษที่ 21 ด้วยเช่นกัน
สภาวการณ์ การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ที่ มีนัยสาคัญต่ อการจัดการศึกษา
ไทย และกาหนดภาพรวมของเป้ าประสงค์หลักของการจัดการศึกษาของไทย
บริบทการเปลี่ยนแปลงสาคัญที่มผี ลกระทบต่อประเทศไทย ที่จะมีผลกระทบและนัยสาคัญต่อ
ภาคการศึกษาเรียนรูข้ องประเทศไทยทีส่ าคัญ ประกอบด้วย 3 ระดับ
1) แนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของโลก (Global Trend) ทีส่ าคัญ คือ พลวัตการเปลีย่ นแปลงโลก
จากการก้าวผ่านจากศตวรรษที่ 20 เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 โดยสรุปเป็ นประเด็นสาคัญได้ 3
กระแส ได้แก่ (1) กระแสการเปลีย่ นแปลงจากศตวรรษแห่งอเมริกา (American Century)สู่
ศตวรรษแห่งเอเชีย (Asian Century) (2) กระแสการเปลีย่ นจากยุคแห่งความมังคั ่ ง่ สู่ยุค
แห่งความสุดโต่ง ทัง้ ธรรมชาติ การเมือง และธุรกิจ และ (3) กระแสการเริม่ เปลีย่ นแกน
อานาจจากภาครัฐและเอกชนสู่ภาคประชาชน (Citizen Centric Governance) หรือ
ประชาภิบาล
2) แรงขับเคลื่อนในระดับภูมภิ าค (Regional Forces) การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของภูมภิ าค
ต่างๆ ของโลกมากขึน้ โดยกรอบความร่วมมือทีม่ คี วามสาคัญใกล้ชดิ กับประเทศไทยมาก คือ
การรวมกันเป็ นประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) และการรวมกลุ่มของเอเชีย
ตะวันออก (Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP)

449
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3) ประเด็นภายในประเทศไทย (Local Issues) และยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country


Strategy) โดยประเด็นปญั หาภายในประเทศไทยทีส่ าคัญของไทย คือ เรื่องความเหลื่อมล้า
กับดัก ประเทศรายได้ปานกลาง วิกฤตด้านความมันคง ่ การเปลี่ยนแปลงทางครัว เรือ น
สาหรับเรื่องทิศทางยุทธศาสตร์ของประเทศนัน้ รัฐได้กาหนดยุทธศาสตร์ของประเทศ 4
ยุทธศาสตร์หลักคือ (1) ยุทธศาสตร์สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Growth
& Competitiveness) (2) ยุทธศาสตร์สร้างโอกาสบนความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทาง
สังคม (Inclusive Growth) (3) ยุทธศาสตร์การเติบโตบนคุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็ นมิตรกับ
สิง่ แวดล้อม (Green Growth) (4) ยุทธศาสตร์ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ภาครัฐ ทัง้ นี้จากการทบทวนยุทธศาสตร์ของประเทศ พบว่า การให้ความสาคัญกับเรื่องการ
พัฒ นาการศึ ก ษา (Education) เป็ น หนึ่ ง ในเนื้ อ หาย่ อ ยของยุ ท ธศาสตร์ ท่ีภ าครัฐ ให้
ความสาคัญ ซึ่งในปจั จุบนั มีความท้าทายในการนาไปสู่การปฏิบตั เิ พื่อให้เกิดการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง

หากเมือ่ พิจารณาจากเป้าประสงค์ของการศึกษาทีส่ ามารถตอบสนองกับพลวัตการเปลีย่ นแปลง


ดังกล่าวได้ ระบบการศึกษาของไทยในอดีต ที่ผ่ านมาจนกระทังป ่ จั จุบนั มีข้อ จากัด หลายประการ ผล
การศึกษาวิเคราะห์ระบบการศึกษาไทยพบข้อจากัดหลักใน 5 ด้าน คือ
1) ความไม่ ต รงประเด็น (Irrelevancy) หมายถึง การที่ก ารศึก ษาไม่ ไ ด้ ส ร้า งคนที่ม ี
คุณลักษณะที่สามารถตอบสนองกับชุดความท้าทายใหม่ได้ เช่น การที่ประชากรวัย
เรียนขาดทักษะชีวติ ทักษะการทางานร่วมกัน และการจัดการความขัดแย้ง การที่
หลักสูตรขาดการคานึงถึงภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ การที่การเรียนการสอนไม่ได้เสริมให้เกิด
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 การที่ผสู้ าเร็จการศึกษามีอตั ราการว่างงานสูงในขณะที่บาง
สาขาอาชีพมีการขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ สายงานวิชาชีพทีใ่ ช้เป็ นฐานของ
เศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge Based Economy) เช่น การพัฒนาวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรม (Sceince, Technology, Innovation: STI) ซึง่ เป็ นทางหนึ่งที่
ไทยจะใช้กา้ วผ่านกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้
2) การด้อยคุณภาพ (Low Quality) หมายถึงผลสัมฤทธิ ์การศึกษาของผูเ้ รียนต่ า เช่น ผล
คะแนนเฉลี่ย PISA ของไทยต่ ากว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ การที่คะแนน NT (National
Test) และ GAT-PAT มีแนวโน้ มต่ าลงเรื่อยๆ ตลอดจนผลสารวจผู้ว่าจ้างผู้จบ
การศึกษาใหม่ทร่ี ะบุถงึ การขาดสมรรถภาพในการทางาน
3) ข้ อ จากัด ด้ านการเข้ าถึ ง และการขาดความเท่ าเที ย ม (Inaccessibility and
Inequity) หมายถึงการเข้าไม่ถึงการศึกษาที่มคี ุณภาพของคนส่ วนใหญ่ และความ
แตกต่างของคุณภาพการศึกษาในแต่ละพืน้ ที่ เช่น คะแนน PISA ของนักเรียนกรุงเทพมี
450
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ ในขณะที่พ้นื ที่อ่นื ส่วนใหญ่สอบตก หรือการที่อตั รา


การเข้าเรียนประถมมีแนวโน้มต่าลงเรือ่ ยๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ กลุ่มทีม่ ฐี านะไม่ดี
4) การขาดประสิ ท ธิ ภ าพ (Inefficiency) หมายถึง การที่ก ารจัด สรรทรัพ ยากรกับ
กระบวนการการส่งเสริมการเรียนการสอนทีส่ ร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ไม่สอดคล้อง
กัน เช่น การมีสดั ส่วนงบประมาณสูงแต่ผลสัมฤทธิ ์ต่ า การกาหนดงบประมาณโรงเรียน
ตามปริมาณนักเรียน การใช้เกณฑ์วชิ าการมาให้ผลตอบแทนแทนครูมากกว่าคุณภาพ
การสอน นอกจากนัน้ ระบบผลตอบแทนครูไม่ได้ อิงกับ ผลงานที่เ ป็ นผลสัมฤทธิ ์ของ
ผูเ้ รียนหรือพัฒนาการเรียนรูข้ องผูเ้ รียนอย่างแท้จริง รวมไปถึง การทีผ่ เู้ รียนใช้เวลาใน
ห้องเรียนมากแต่ผลผลสัมฤทธิ ์ต่ า เป็ นต้น
5) การขาดการพัฒนาในลักษณะองค์รวม (not Holistic Development) โดยกรอบ
การพัฒ นายัง มีค วามแยกส่ ว น ขาดการเชื่อ มต่ อ เชิง นโยบายการพัฒ นาการศึก ษา
ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ กับการพัฒนากาลังคน การพัฒนาเศรษฐกิจ ไปจนถึงการ
พัฒนามนุ ษย์และสังคมในมิตติ ่างๆ อย่างเป็ นองค์รวม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ข้อจากัดใน
การนานโยบายไปสู่การปฏิบตั ใิ ห้เกิดผลในทางรูปธรรม
นอกจากนัน้ หากพิจารณาไปถึงต้นตอของปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ในระบบการศึกษาไทย หรือรากของ
ปญั หาทีอ่ าจส่งผลให้การพัฒนาการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ของประเทศไทยยังไม่เป็ นไปตามวิถที างที่
พึงประสงค์ สรุปได้ 4 ประการทีส่ าคัญ ได้แก่ (1) แนวคิดของการเรียนรูข้ องศตวรรษที่ 21 เป็ นแนวคิด
การเรีย นรู้ ใ หม่ ท่ีเ ปลี่ย นไปจากเดิม (2) แนวทางการบริห ารจัด การด้ า นการศึ ก ษา (Education
Management) (3) ความสุ่มเสี่ยงของปญั หาคอรัปชันท ่ าให้เกิดการใช้ทรัพยากรและงบประมาณเพื่อ
การศึกษาไม่เต็มประสิทธิภาพ (4) ปญั หาการประเมินผลการศึกษา
1) แนวคิ ดของการเรียนรู้ของศตวรรษที ่ 21 เป็ นแนวคิ ดการเรียนรู้ใหม่ทีเ่ ปลีย่ นไปจาก
เดิ ม
- แนวคิดการรียนรูเ้ ปลีย่ นแปลงไปจากเดิม กล่าวคือ การศึกษาไทยไม่ทาให้เด็กเรียนแล้ว
เกิดการรูจ้ ริง เพราะเมื่อเรียนแล้วต้องมีพ้นื ฐานไปต่อความรูใ้ หม่ แต่ถ้าพืน้ ฐานความรู้
เดิมไม่แน่ นก็ไม่สามารถไปต่ อความรู้ใหม่ได้ ดังนัน้ แนวคิดการเรียนรู้ ต้องก้าวข้าม
สาระวิชา ไปสู่ การเรียนรูท้ กั ษะเพื่อการดารงชีวติ ซึง่ ไม่ใช่สาระวิชาจะไม่มคี วามสาคัญ
หากแต่ไม่เพียงพอต่อการดารงชีวติ ในศตวรรษนี้ ดังนัน้ การศึกษาสมัยใหม่ ต้องเล็ง
เป้าหมายเลยจากเนื้อหาวิชา ไปสู่การพัฒนาทักษะ นาไปสู่การเปลีย่ นแปลงวิธจี ดั การ
เรียนรู้
- การปฏิรปู การเรียนรูข้ องผู้เรียนซึง่ มีครูเป็ นพลังทีย่ งิ ่ ใหญ่ในการขับเคลือ่ น การปฏิรูป
การศึกษาให้เกิดขึ้นได้จริง หากได้รบั การส่งเสริมสนับสนุ นให้สามารถปรับเปลี่ยน
กระบวนการเรียนรูท้ งั ้ ในและนอกห้องเรียนให้มคี วามหมาย เชื่อมโยงสู่ชวี ติ จริงรวมทัง้
451
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สามารถพัฒนาทักษะทีห่ ลากหลายของผูเ้ รียน มิใช่เพียงเพื่อสอบ แต่เป็ นการเรียนรูเ้ พื่อ


เผชิญความเปลีย่ นแปลง
- แนวคิดการเรียนรูส้ าหรับครู คือ เน้นการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เน้นเด็กเป็ น ศูนย์กลาง เน้น
คาถามและปญั หา ครูตอ้ งฝึกเป็ นนักตัง้ คาถามและนักตัง้ ปญั หาเพื่อสร้างบรรยากาศของ
การเรียนรู้
- การเปลีย่ นวิธจี ดั การเรียนรู้ คือ การตัง้ คาถามมากกว่าการค้นหาคาตอบ การต่อยอด
ความรูแ้ บบไม่ใช่ไปสู่ยอดความรู้ แต่ตอ้ งเป็นลักษณะของการแตกขยายความรู้ พืน้ ทีใ่ น
การลองผิดลองถูก สามารถคิดนอกกรอบ แต่ ต้องมีค วามรู้ในกรอบเสียก่ อ น เพราะ
ทักษะของการเรียนรู้ คือ กระบวนการเรียนรูท้ ค่ี ุ้นเคย กลัวการลองผิดลองถูก ต้องลอง
ผิด-ลองถูก เป็นต้น โดยผ่านการเรียนรูไ้ ด้หลายช่องทาง
- คุณลักษณะของผูเ้ รียนทีพ่ งึ ประสงค์ การเรียนรูส้ ่คู ุณธรรม ความดีงาม เห็นแก่ส่วนรวม
การสร้างคุ ณสมบัติ สร้างความเป็ นคน ทางานหนัก สู้งาน การเรี ยนตลอดชีวติ การ
สนใจพัฒนาสังคม นอกจากโรงเรียนจะให้ความสาคัญในการปลูกฝงั สิง่ ดังกล่าวแล้ว
สถาบันครอบครัวก็ตอ้ งเป็นเสาหลักให้การให้ความสาคัญและการใส่ใจ
2) แนวทางการบริ หารจัดการด้านการศึกษา (Education Management)
รากปญั หาอีกประการคือ วัฒนธรรมองค์กรราชการรวมศูนย์ และจัดการแบบควบคุมและสังการ ่
(Command & Control) รูปแบบการบริหารงานการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการด้วยวิธกี ารหรือ
ยุทธศาสตร์ทไ่ี ม่สอดคล้องกับองค์กรสาหรับการเรียนรู้ ทาให้ระบบไม่สอดรับกับระบบการเรียนรู้ ดังนัน้
กระทรวงศึกษาจึงต้องปรับเปลี่ยน ปฏิรปู ให้เป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) และ
บุคลากรแห่งการเรียนรูอ้ ย่างแท้จริง พร้อมไปกับการเสริมสร้างศักยภาพ (Empowerment) ให้โรงเรียน
และครูสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้อิสรภาพของโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาภายใต้เงื่อนไขการ
รับผิดชอบ อาทิ ให้อสิ ระด้านการใช้งบประมาณ และด้านการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน โดยเป็ น
อิสรภาพทีม่ กี ารตรวจสอบ
นอกจากนี้ การบริหารจัดการการศึกษาต้องจัดการร่วมกันกับผูป้ กครอง เพื่อสร้างความสัมพันธ์
ให้เข้าใจร่วมกันว่าครูกบั พ่อแม่ผปู้ กครองจะร่วมกัน ตลอดจนการให้ความสาคัญกับระบบผลิตครู
3) ความสุ่มเสี ย่ งของปั ญหาคอรัปชันท ่ าให้ เกิ ดการใช้ ทรัพยากรและงบประมาณเพื อ่
การศึกษาไม่เต็มประสิ ทธิ ภาพ
ปญั หาความสุ่มเสีย่ งของคอรัปชันจากระบบการบริ
่ หารการศึกษา เป็ นสิง่ ที่ต้องมีการแก้ไข เพื่อ
ลดความสุ่ ม เสี่ย งเหล่ า นี้ อัน ท าให้ เ กิ ด การใช้ ท รัพ ยากรหรือ งบประมาณเพื่อ การศึก ษาไม่ เ ต็ ม
ประสิทธิภาพ โดยจาเป็ นต้องมีมาตรการตรวจจับ หรือบทลงโทษที่รุนแรงมาก อาจต้องกฎหมายให้
ลงโทษรุนแรงขึน้ เพื่อลดช่องว่างหรือลดโอกาสการเข้าแสวงหาผลประโยชน์ ของภาคการเมืองจากวง
การศึกษา ทัง้ ด้านอานาจ และด้านผลประโยชน์เป็นเงิน
452
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4) ปัญหาการประเมิ นผล
ทีผ่ ่านมา ปญั หาการประเมินเป็ นสาเหตุเบือ้ งหลังของการก่อให้เกิดความไม่มปี ระสิทธิภาพ และ
เกิดการนาไปสู่วถิ ที างการพัฒนาที่ไม่ มคี ุณภาพอย่างแท้จริง แม้ว่าผลการประเมินจะดีเยีย่ ม ดังนัน้ จึง
จาเป็ นต้องปรับเปลีย่ นการประเมินผล ทัง้ ในส่วนการประเมินผลการบริหารจัดการ การประเมินผลงาน
ครู ให้เ ป็ นระบบที่มุ่งเน้ นผลงาน การประเมินเพื่อ เลื่อนขัน้ ควรเปลี่ยนมาเป็ น ระบบที่อิงผลงานและ
ผลสัมฤทธิ ์ของผูเ้ รียนได้ผลดี ในขณะทีก่ ารประเมินการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน ทีเ่ ดิมนัน้ อาศัย ระบบประเมิน
แบบเน้ นได้-ตก (Summative Evaluation) เป็ นหลัก ละเลยคุณค่ าของการประเมินเพื่อพัฒนา
(Formative Evaluation) ควรมีก ารปรับเปลี่ยนให้เ ป็ นการประเมินเพื่อ พัฒนา รวมการวัดอย่างอื่น ที่
นอกเหนือวิชาความรู้ เช่น การวัดความฉลาดทางอารมณ์ ทัศนคติ เป็นต้น
นอกจากข้อจากัดในเชิงระบบการพัฒนาการศึกษาเรียนรู้ ดงั ที่กล่าวเบื้องต้น แล้ว ผลจากการ
วิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) ระหว่าง สถานภาพปจั จุบนั ของประเทศไทย (As-Is) และเป้าประสงค์
หลักของประเทศไทยทีพ่ งึ ประสงค์ (Shold Be) จากการสอบถามความคิดเห็นผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการศึกษา
และภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง มีขอ้ ค้นพบทีส่ าคัญดังนี้
- เป้าหมายระดับสังคม ด้าน ”สังคมที่เป็ นธรรม” (Just Society) เป็ นด้านที่สถานะปจั จุบนั
ห่างไกลจากเป้าหมายสูงมากทีส่ ุด ขณะทีส่ งั คมคุณธรรมจริยธรรม (Moral Society) เป็ น
ด้านทีส่ ถานะปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายสูงมากรองลงมาเป็ นอันดับสอง ซึง่ แสดงให้เห็น
ว่าเป็ นจุดวิกฤตที่จาเป็ นต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน สาหรับด้านสังคมที่สามารถ (Productive
Society) และสังคมแห่งโอกาส (Opportunity Society) ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมาย
ค่อนข้างมาก
- เป้าหมายระดับบุคคล โดยภาพรวมยังมีช่องว่าง ระหว่างระดับปจั จุบนั (As Is)กับ เป้าหมาย
ทีพ่ งึ ประสงค์ (Should Be) ด้านทีม่ ชี ่องว่างอยู่ในระดับสูงมาก คือ “การมุ่งพัฒนาความเป็ น
มนุ ษย์ท่สี มบูรณ์ สร้างเด็กให้เป็ นคนดีของสังคม สร้างประโยชน์แก่คนรอบข้าง ชุมชน และ
ประเทศชาติ” และ “ด้านการส่งเสริมผูเ้ รียนตลอดชีวติ ”
กลุ่มจิต (Mindset) ทีเ่ ป็ นจุดอ่อนทีส่ ุดของคนไทย หรือยังคงขาดในปจั จุบนั มากทีส่ ุด
สูงสุด 3 อันดับแรก คือ จิตจริยธรรม การรูผ้ ดิ ชอบชัวดี ่ รับผิดชอบในบทบาทหน้าทีข่ อง
ตนเอง (ร้อยละ 30.6) จิตสร้างสรรค์ การคิดริเริม่ สิง่ ใหม่ๆ สร้างสรรค์เพื่อการพัฒนา (ร้อย
ละ 25.8) และจิตสังเคราะห์ การประมวลความรู้ ไตร่ตรองความรูท้ ไ่ี ด้มาเพื่อประโยชน์ท่ดี ี
(ร้อยละ 22.6) ส่วนกลุ่มจิต (Mindset) ของคนไทยทีเ่ ป็ นจุดแข็งทีส่ ุดของคนไทย หรือเป็ น
เอกลักษณ์ของคนไทย ผูเ้ ชีย่ วชาญร้อยละ 53.2 ให้ความเห็นว่า จิตเคารพ การให้เกียรติซง่ึ
กันและกัน เชื่อมโยงความสัมพันธ์อนั ดีในสังคม เป็นเอกลักษณ์ของคนไทยมากทีส่ ุด
กลุ่ ม ทัก ษะ (Skillset) ผลจากการประเมิน ช่ อ งว่ า งของกลุ่ ม ทัก ษะที่จ าเป็ น แห่ ง
ศตวรรษที่ 21 (21st Century Skill) ทีส่ าคัญทีส่ ุดต่อการพัฒนาศักยภาพคนไทยสูงสุดอันดับ
453
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

แรกโดยผู้เ ชี่ยวชาญร้อ ยละ 62.3 เห็นว่าเป็ นทักษะที่มชี ่อ งว่างสูงอย่างมาก คือ ทักษะ


กระบวนการคิดและสังเคราะห์

ประเด็น ท้ า ทายของการจัด การศึ ก ษาของไทยในการบรรลุเป้ าประสงค์ห ลัก ภายใต้


บริ บทของการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21
แนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวข้างต้น ส่งผลอย่างมีนัยสาคัญต่อ ภาพการศึกษาเรียนรูข้ อง
ไทยทีจ่ ะต้องเปลีย่ นแปลงไป และปรับให้เข้ากับกระแสการเปลีย่ นแปลงของโลกยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21
ในขณะการพัฒนาการศึกษาและการส่งเสริมการเรียนรู้ของไทยในอดีต ที่ผ่านมาจนกระทังป ่ จั จุบนั ก็
นับว่ามีขอ้ จากัดอยู่ ทัง้ ในด้านคุณภาพการศึกษา ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การเข้าถึง ความเท่า
เทียม ตลอดจนเรื่องการสร้างโอกาสในการเรียนรูห้ รือ การส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ดังนัน้ ประเทศ
ไทยต้องลดทอนข้อจากัดเหล่านัน้ ลงพร้อมกับก้าวเข้าสู่กระแสใหม่ของการเปลีย่ นแปลง โดยเฉพาะอย่าง
ยิง่ ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้และระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ซ่งึ ต้องให้ความสาคัญกับการพัฒนาทุน
มนุ ษย์ (Human Capital) การใช้และต่อยอดองค์ความรู้ การให้ความสาคัญกับการวิจยั และพัฒนา การ
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (Science, Technology and Innovation) ประเทศไทย
จึงจาเป็ นต้องมีการวางแผนการพัฒนากาลังคนทีเ่ หมาะสม และจัดการศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู้ให้สอด
รับกับกระแสการเปลีย่ นแปลง
ทัง้ นี้บริบทกระแสการเปลีย่ นแปลงและแรงขับเคลื่อนในระดับต่าง ๆ ได้นามาซึง่ ประเด็นท้าทาย
ที่ระบบการศึก ษาส าหรับ ผู้เ รียนและการจัดการเรียนรู้ค นไทยในสังคมให้เ กิด การเรีย นรู้ต ลอดชีว ิต
จาเป็นต้องสามารถตอบสนองให้ได้ ทัง้ ระดับมหภาคในด้านการวางแผนกาลังคนและระดับปจั เจกซึง่ เป็ น
คุณลักษณะของคนไทย ได้แก่
ระดับมหภาค
- การยกระดับการศึ กษาเพื่อพัฒ นาผู้เรีย นให้ มีคุณภาพ สอดคล้ องกับการวางแผน
กาลังคนส่งเสริ มการเรียนรู้ตลอดชี วิตและหนุนเสริ มการพัฒนาทุนมนุษย์อย่างเป็ น
องค์ ร วมของประเทศ เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของประเทศ
(Competitiveness) นาประเทศก้าวพ้นกับดักประเทศรายได้ปานกลาง (Middle Income
Trap) ขณะเดียวกันก็เป็ นการพัฒนาอย่างสมดุล คนไทยและสังคมไทยอยู่อย่างอยู่ดมี สี ุข
(Well-being Nation)
- การสร้างสังคมแห่ งปัญญา (Wisdom-based Society) และการสร้างสภาพแวดล้อมที่
เอื้อต่ อการเรียนรู้ (Supportive Learning Environment) ด้วยการเปลี่ยนแปลงด้วย
กระบวนทัศน์ ใหม่ (Paradigm Shift) ปฏิรูปสังคม ขับเคลื่อนให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้
ตลอดชีวติ
454
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ระดับปัจเจก
- การสร้างมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีจิตที่ พร้อม มีความแข็งแกร่งในสมรรถนะหลัก สอดรับ
ศักยภาพการเรียนรู้ของทุกคน โดยอาศัยการศึกษาเป็ นเครื่องช่วยบ่มเพาะคนไทยให้
เป็ น คนที่ม ีศ ัก ยภาพ กล่ อ มเกลาให้เ ป็ น คนที่ม ีคุ ณ ธรรม จริย ธรรม มีค วามสุ ข ช่ ว ยน า
ประเทศไปสู่ระดับการพัฒนาอย่างสมดุลและยังยื ่ น มิใช่มุ่งเน้นเพียงผลสัมฤทธิ ์ทางวิชาการ
หรือการสอบเพื่อคะแนนอย่างเดียวอีกต่อไป

ประเด็นข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการศึกษา
จากการศึกษาวิเคราะห์ถงึ สภาวการณ์การเปลี่ยนแปลง ความท้าทายหรือนัยต่อภาคการศึกษา
รวมทัง้ สภาพปจั จุบนั ด้านต่างๆ ทัง้ เป้าหมาย กระบวนทัศน์ นโยบาย แพล็ตฟอร์มการศึกษาเรียนรูท้ งั ้
การจัดการเรียนการสอนในระบบ และสภาพการเรียนรูใ้ นสังคม ผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษา ภายใต้พล
วัตรการเปลีย่ นแปลง ปรัชญาพืน้ ฐานที่เป็ นรากฐานแห่งระบบการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 จะต้อง
เปลีย่ นไป โดยปรับเปลีย่ นอัตลักษณ์ (Identity) คนไทย จากเดิมแต่ละคนมีสถานะเป็ นแค่เพียงพลเมือง
ไทย (Thai-Thai) สู่ความเป็ นคนไทยทีเ่ ป็ นส่วนหนึ่งของพลเมืองโลก (Global-Thai) ปรับเปลีย่ นจุดเน้น
(Reorientation) จากการเน้นการสร้างคนเพื่อป้อนการเติบโตทางเศรษฐกิจ (People for Growth) เพื่อ
ตอบโจทย์สงั คมอุตสาหกรรมเพียงอย่างเดียวไปสู่การเน้นการสร้างการเติบโตเพื่อรองรับการสร้างและ
ปลดปล่อยศักยภาพของผู้คนในสังคม (Growth for People) เพื่อตอบโจทย์สงั คมองค์ค วามรู้
ปรับเปลีย่ นกระบวนทรรศน์ (Paradigm) จากความพยายามเอาชนะธรรมชาติ (Controlling Nature) มา
เป็ นการอยู่รวมกับธรรมชาติ (Living with Nature) พัฒนาอย่างยังยื่ น นอกจากนัน้ ยังต้องปรับเปลีย่ น
วัฒนธรรม จากการเป็นสังคมทีค่ นมุ่งมันแข่ ่ งขันฟาดฟนั ต้องเอาชนะผูอ้ ่นื (Competition-driven Culture)
มาเป็ นการทางานร่วมกับคนอื่นในลักษณะเกื้อกูลแบ่งปนั (Collaborative Culture) และขับเคลื่อน
ประเทศไทยไปสู่โลกทีห่ นึ่ง (First World Nation) จากทีม่ องแต่การมุ่งไปสู่การเป็ นประเทศพัฒนาแล้ว
(Developed Country) ซึ่งให้ความสาคัญแต่มติ เิ ศรษฐกิจเป็ นสาคัญมาเป็ นการคานึงถึงประเด็นด้าน
สังคม วัฒนธรรม โดยเฉพาะการสร้างเกียรติภมู ใิ นความเป็ นชาติ (Dignity of Nation)
ประเด็นข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการศึกษาในการศึกษาครัง้ นี้ สรุปได้ดงั นี้ (ดูรายละเอียดใน
ตารางที่ 41)
เป้ าหมายของการจัดการศึ กษา: จาเป็ นต้อ งเน้ นพัฒนาผู้เรียนอย่างสมดุล แทนการให้
ความส าคัญ ในด้า นวิช าการเพีย งอย่ า งเดีย ว และการศึก ษาต้ อ งไม่ เ ป็ น ไปเพีย งเพื่อ การศึก ษา
(Education Just for Education) แต่ต้องเป็ นไปเพื่อการพัฒนาประเทศชาติและสังคมอย่างยังยื ่ น สร้าง
พลเมืองทีม่ คี ุณภาพ มีความสมบูรณ์ในทุกๆ ด้าน และผูเ้ รียนสามารถค้นพบศักยภาพของตนเองและใช้
ศักยภาพนัน้ ได้อย่างเต็มที่
455
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นโยบายและยุทธศาสตร์การศึกษา: นโยบายและยุทธศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 นี้ ต้องเน้นการ


สร้างระบบการศึกษาทีส่ ามารถเอื้อให้เกิดการเรียนแบบรูจ้ ริง (Mastery Learning) การเรียนรูแ้ บบการ
สอนให้น้อย เรียนรูใ้ ห้มาก (Teach Less, Learn More) และการเรียนรูต้ ลอดชีวติ (Lifelong Learning)
ทัง้ นี้นโยบายด้านการศึกษาของไทย ควรกลับไปให้ความสาคัญกับการให้ผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง และ
ดาเนินการให้เกิดผลในทางปฏิบตั อิ ย่างแท้จริง รวมทัง้ สร้างระบบการศึกษาทีม่ คี ุณภาพ เน้นเสริมสร้าง
พื้นฐาน เพิ่มการให้ค วามส าคัญ กับ การสร้างเสริมพื้น ฐานในช่ ว งต้น ของการศึก ษา เพื่อ ปลู ก ฝ งั
กระบวนการคิด (Cognitive Skills) นอกจากนี้จาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องมีนโยบายที่ เน้นความร่วมมือ
ระหว่างทุกภาคส่วน รวมทัง้ การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนและภาคประชาชน ตลอดจนการเชื่อมโยง
การศึกษาและการทางาน (Linking Education and Work)
การบริ หารจัดการ : ต้องสร้างระบบความรับผิดชอบ (Accountability) ในระบบการศึกษา
ควรปรับเปลี่ยนระบบการการสนับสนุ น โดยคานึงถึงความจาเป็ น โรงเรียนที่ขาดแคลนมากย่อมควร
ได้รบั การช่วยเหลือมาก การจัดการศึกษาควรเป็ นไปในแนวทางกระจายอานาจ วางระบบการบริหาร
จัดการที่สมดุลระหว่างการรวมศูนย์แ ละการกระจายอานาจ สร้างโอกาสให้กบั ท้องถิ่น แต่ต้องมีการ
ควบคุมมาตรฐานและคุณภาพจากส่วนกลาง การจัดระบบการบริหารจัดการภายในกระทรวงศึกษาธิการ
อาจทาได้โดยปรับเปลีย่ นให้แบ่งตามหน้าที่ (Function)
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้
- การจัดการเรียนการสอน ต้องให้ผเู้ รียนเป็ นศูนย์กลางอย่างแท้จริง เพิม่ ขีดความสามารถ
และฝึ กฝนทักษะในการเรียนรูต้ ลอดชีวติ และการเรียนรูอ้ ย่างรอบด้าน การเรียนการสอน
ต้อ งส่ งเสริมให้ผู้เ รียนมีค วามกระตือ รือ ร้นและมีค วามสามารถในการเรียนรู้ด้ว ยตนเอง
ตลอดจนมีทกั ษะในการใช้ชวี ติ (Life Skills) ทัง้ นี้ การจัดการเรียนการสอนควรมีความ
หลากหลาย อาศัย เครือ ข่า ยการเรีย นรู้ย ึด หลัก การดูแ ลแบบครบวงจร ส่ ง เสริม แรงใจ
(Passion) ให้ความสาคัญกับความเป็ นปจั เจกของผู้เรียนแต่ ละคน เน้ นผู้เรียนเป็ น
ศูนย์กลาง มีทางเลือกทีห่ ลากหลายในการเรียนและการฝึกอบรม
- ครู : ให้นิยามใหม่กบั “ครู” โดยปรับเปลีย่ นจากบทบาทแบบดัง้ เดิมทีค่ รูเป็ นผูถ้ ่ายโอน
ความรู้ สู่ก ารเป็ นครูท่ใี ห้คาปรึกษา เป็ นผู้ช้แี นะ เป็ นผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้
ให้กบั ผูเ้ รียน ทัง้ นี้ต้องสร้างครูคุณภาพสูง ควรมีระบบการพัฒนาครูอย่างครบวงจร วาง
ระบบในการช่ ว ยพัฒ นาศัก ยภาพการสอนของครูอ ย่า งครบวงจร เช่ น อัต ราเงิน เดือ น
เส้นทางอาชีพ ระบบครูพเ่ี ลี้ยง (Mentor) เครือข่ายพัฒนาตนเองของครู และการให้ความ
ช่วยเหลือด้านสื่อการสอน ควรขยายขอบเขตการพัฒนาศักยภาพของครูให้ครอบคลุมตลอด
ช่วงอายุงาน

456
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- หลักสูตร: ต้องปรับเปลีย่ นหลักสูตรให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศ เน้นการ


เรียนรูอ้ ย่างแท้จริง อย่างไรก็ตาม อาจกล่าวได้ว่าทีผ่ ่านมาหลักสูตรการเรียนการสอนในเชิง
วิชาการของประเทศไทยในปจั จุบนั ไม่ไ ด้มปี ญั หามากนัก แต่ ครูยงั ประสบปญั หาในการ
นาไปปฏิบตั ิ เนื่องจากการขาดแคลนสื่อการสอนที่เหมาะสม การขาดแคลนบุคลลากรครู
และการที่ครูมภี าระงานอื่นๆ ค่อนข้างมาก สิง่ ที่ควรเพิม่ เติมในหลักสูตรคือการมุ่งเน้ นให้
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ทกั ษะที่มอี ยู่ในชีวติ ประจาวันได้ ให้อ่านออกเขียนได้ วาง
โครงสร้างหลักสูตรเป็ นกรอบแนวทาง ให้อิสระกับโรงเรียนและครูใ นการกาหนดวิธ ีการ
จัดการเรียนการสอน แต่มกี ารควบคุมมาตรฐานอย่างเข้มงวด
- การประเมิ น: ควรเน้นการประเมินให้สอดรับกับเป้าประสงค์และวัตถุประสงค์การเรียนรู้
ของนัก เรีย น ไม่มุ่ง เน้ น เพีย ง “การสอนเพื่อ การสอบ” ก าหนดตัว ชี้ว ัด ประเมิน ผลให้
สอดคล้องกับเป้าประสงค์ระดับประเทศ นอกจากนี้ ควรมีการทบทวนเป้าหมายที่แท้จริง
ของการศึ ก ษาของประเทศ เน้ น การประเมิ น พั ฒ นาการการเรี ย นรู้ ( Formative
Assessment) สร้างความหลากหลายในกระบวนการประเมิน (Diversifying Assessment
Processes)
- การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ: เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเรียนรูจ้ ะเป็ นปจั จัยทีช่ ่วยแผ่ขยาย
การศึกษาเรียนรูท้ ม่ี คี ุณภาพแก่ผเู้ รียนและประชาชนคนไทยทัง้ ประเทศ ดังนัน้ จึงจาเป็ นต้อง
ให้ความสาคัญกับการสร้างระบบการจัดการความรู้ โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศในการ
พัฒนาระบบการค้นหา สร้าง รวบรวม จัดเก็บ เผยแพร่ ถ่ ายทอด แบ่งปนั และใช้ความรู้
นอกจากนี้ การใช้เ ทคโนโลยีสารสนเทศสามารถช่ว ยให้การจัดการเรียนการสอนเข้าถึง
ชุมชนได้ค่อนข้างทัวถึ ่ งและมีมาตรฐาน โดยหัวใจสาคัญคือ การให้ความสาคัญกับเนื้อหา
สาระ (Content) และการนามาใช้อย่างบูรณาการ

457
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 41: สรุปประเด็นข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการศึกษา


การทบทวนเอกสาร การประชุมระดมสมอง ประสบการณ์จากต่างประเทศ
และการสัมภาษณ์ผเู้ ชี่ยวชาญ
เป้ าหมายของ - ในเชิงเศรษฐกิจ: พัฒนาทุนมนุ ษย์และทุนทาง - เน้ น พัฒ นาผู้เ รีย นอย่ า งสมดุ ล ให้ส ามารถ - สร้างพลเมืองทีม่ คี ุณภาพ มีความสมบูรณ์ใน
การจัด สัง คมเพื่อ เพิ่ม ผลิต ภาพทางสัง คม (Social พึ่ง พาตนเองได้ มีคุ ณ ธรรม รู้ จ ัก เสีย สละ ทุ ก ๆ ด้ า น และผู้ เ รี ย นสามารถค้ น พบ
การศึกษา Productivity) และสร้างบุคคลากรที่สอดคล้อง แทนการให้ความสาคัญในด้านวิชาการเพียง ศักยภาพของตนเองและใช้ศกั ยภาพนัน้ ได้
กับความต้องการของตลาดแรงงาน อย่างเดียว อย่างเต็มที่
- ในเชิงสังคม: สร้างคนให้เป็ นพลเมืองทีด่ ี เป็ น - การศึกษาต้องไม่เป็ นไปเพียงเพื่อการศึกษา
ส่ ว นหนึ่ ง ของสั ง คม เป็ นสมาชิ ก ที่ ดี ข อง (Education Just for Education) แต่ต้อง
ครอบครัว และเป็ นส่วนหนึ่งของชุมชน เป็ นไปเพื่อการพัฒนาประเทศชาติและสังคม
อย่างยังยื
่ น
นโยบายและ - สร้างระบบการศึกษาที่สามารถเอือ้ ให้เกิดการ - นโยบายด้านการศึกษาของไทย ควรกลับไป - สร้ า งระบบการศึ ก ษาที่ มี คุ ณ ภาพ เน้ น
ยุทธศาสตร์ เรีย นแบบรู้จ ริง (Mastery Learning) การ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ กา ร ใ ห้ ผู้ เ รี ย นเ ป็ น เสริม สร้ า งพื้น ฐาน (Foundation) ที่ม ัน่ คง
การศึกษา เรีย นรู้ แ บบการสอนให้ น้ อ ย เรีย นรู้ ใ ห้ ม าก ศูนย์กลาง ยอมรับว่าผูเ้ รียนแต่ละคนมีความ และบูรณาการ สามารถรับมือกับกระแสการ
(Teach Less, Learn More) และการเรียนรู้ แตกต่างกัน มีศกั ยภาพเฉพาะบุคคล และทุก เปลีย่ นแปลงของโลกได้
ตลอดชีวติ (Lifelong Learning) คนสามารถเรียนรูไ้ ด้ โดยต้องผลักดันให้เกิด - เน้ น ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งทุ ก ภาคส่ ว น
การนาไปปฏิบตั จิ ริง รวมทัง้ การมีส่ว นร่ ว มของภาคเอกชนและ
- เพิ่ม การให้ ค วามส าคัญ กับ การสร้ า งเสริม ภาคประชาชน
พืน้ ฐานในช่วงต้นของการศึกษา เพื่อปลูกฝงั - เชื่อมโยงการศึกษาและการทางาน (Linking
กระบวนการคิด (Cognitive Skills) Education and Work) ผ่านระบบคุณวุฒทิ ม่ี ี
- ควรมีเวที / กลไกในการร่วมมือระหว่างภาค ความสอดคล้อ งระหว่ า งระบบการศึก ษา /
ส่ ว นต่ า งๆ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การด าเนิ น การที่ ฝึ กอบรม กับตลาดแรงงาน รวมถึงลดความ
สอดคล้องกัน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ทับซ้อนกันระหว่างคุณวุฒิ (Qualification)
ภาคเอกชนและภาคประชาชนในการจัด
การศึกษา

458
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 41: สรุปประเด็นข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการศึกษา (ต่อ)


การทบทวนเอกสาร การประชุมระดมสมอง ประสบการณ์จากต่างประเทศ
และการสัมภาษณ์ผเู้ ชี่ยวชาญ
การบริหาร - วางระบบบริหารจัดการโดยอาศัยหลักการ: - ควรปรับเปลี่ยนระบบการการสนับสนุ น ทัง้ - วางระบบการบริหารจัดการทีส่ มดุลระหว่าง
จัดการ 1. พิจารณาทัง้ ผลตอบแทนส่วนบุคคล ทางด้านเงินทุน รวมทัง้ ด้านอุปกรณ์ และสื่อ การรวมศูนย์และการกระจายอานาจ
(Private Returns) และผลตอบแทน การสอนให้กบั โรงเรียน โดยคานึ งถึงความ
ภายนอก(External Returns / จ าเป็ น โรงเรีย นที่ข าดแคลนมากย่ อ มควร
Externalities) ต่อสังคมโดยรวม ในการ ได้รบั การช่วยเหลือมาก
กาหนดจานวนเงินอุดหนุนการศึกษา - การจัด การศึ ก ษาควรเป็ น ไปในแนวทาง
2. สร้างระบบความรับผิดชอบ กระจายอานาจ สร้างโอกาสให้กบั ท้องถิน่ แต่
(Accountability) ในระบบการศึกษา ต้องมีการควบคุมมาตรฐานและคุณภาพจาก
ส่วนกลาง
- การจั ด ระบบการบริ ห ารจั ด การภายใน
กระ ท รว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร อา จ ท า ไ ด้ โ ด ย
ปรับ เปลี่ย นให้ แ บ่ ง ตามหน้ า ที่ (Function)
เช่น การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย และการศึ ก ษา
ทางเลือ ก เพื่ อ ให้ เ กิด การบู ร ณาการมาก
ยิง่ ขึน้
- ค ว ร ส ร้ า ง ร ะ บ บ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ
(Accountability) ในระบบการศึกษา และควร
มีร ะบบการเปิ ด เผยข้อ มู ล การประเมิน ผล
สถาบันการศึกษาแต่ ละแห่งให้สาธารณชน
รับรู้

459
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 41: สรุปประเด็นข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการศึกษา (ต่อ)


การทบทวนเอกสาร การประชุมระดมสมอง ประสบการณ์จากต่างประเทศ
และการสัมภาษณ์ผเู้ ชี่ยวชาญ
ระบบนิ เวศน์การเรียนรู้
การจัดการ - ให้ผเู้ รียนเป็ นศูนย์กลาง เพิม่ ขีดความสามารถ - การเรีย นการสอนต้ อ งส่ ง เสริม ให้ผู้เ รีย นมี - ยึด หลัก การดู แ ลแบบครบวงจร ส่ ง เสริ ม
เรียนการสอน และฝึ กฝนทักษะในการเรียนรู้ตลอดชีวิตและ ความกระตือรือร้นและมีความสามารถในการ แรงใจ (Passion) ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
การเรียนรูอ้ ย่างรอบด้าน เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ตลอดจนมีทกั ษะในการใช้ ได้ตลอดชีวติ โดยอาศัยการผสมผสานการ
- การเรีย นรู้จ ะต้อ งเชื่อมโยงระหว่ างผู้คนและ ชีวติ (Life Skills) เรียนรูท้ งั ้ ในและนอกห้องเรียน
สถานที่ น อกโรงเรี ย น ดั ง นั ้น ครอบครั ว - การจั ด กา รเรี ย นการสอนค วรมี ค วา ม - ให้ ค วามส าคัญ กั บ ความเป็ น ป จั เจกของ
ผูป้ กครอง อุตสาหกรรม และชุมชนจึงถือเป็ น หลากหลาย อาศัย เครือ ข่า ยการเรีย นรู้ ใช้ ผูเ้ รียนแต่ละคน เน้นผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง มี
แหล่งของความรูท้ ม่ี ศี กั ยภาพ เป็ นแรงบันดาล วิท ยากรผู้ช านาญการในแต่ ละด้า นมาช่ ว ย ทางเลือกทีห่ ลากหลายในการเรียนและการ
ใจ และเป็ นต้นแบบทีช่ ่วยเสริมสร้างโอกาสการ สอน และเพิม่ รูปแบบการเรียนการสอนแบบ ฝึกอบรม
เรียนรู้ โครงการเพื่อบูรณาการระหว่างสาขาวิชา - เน้ น ความสาคัญ ของการเรีย นรู้ต ลอดชีวิต
(Lifelong Learning) ให้ค วามสาคัญ กับ
ความเชื่อมโยงของการศึกษาเรีย นรู้ท่ีเป็ น
ท า ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ไ ม่ เ ป็ น ท า ง ก า ร
การศึกษาตามอัธยาศัย

460
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 41: สรุปประเด็นข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการศึกษา (ต่อ)


การทบทวนเอกสาร การประชุมระดมสมอง ประสบการณ์จากต่างประเทศ
และการสัมภาษณ์ผเู้ ชี่ยวชาญ
ครู - ให้นิยามใหม่กบั “ครู” โดยปรับเปลีย่ นจาก - ควรมีระบบการพัฒนาครูอย่างครบวงจร ให้ - สร้างครูคุณภาพสูง มีกระบวนการคัดเลือกผู้
บทบาทแบบดัง้ เดิมทีค่ รูเป็ นผู้ถ่ายโอนความรู้ ครูมีความสมบูรณ์ทงั ้ ทางด้านสติปญั ญา (มี ทีจ่ ะศึกษาในด้านครุศาสตร์อย่างเข้มข้น
สูก่ ารเป็ นครูทใ่ี ห้คาปรึกษา เป็ นผูช้ แ้ี นะ เป็ นผู้ ความรู้ ) สั ง คม (มี เ ครื อ ข่ า ย) ร่ า งกาย - วางระบบในการช่ ว ยพัฒ นาศัก ยภาพการ
อานวยความสะดวกในการเรียนรูใ้ ห้กบั ผูเ้ รียน (สุขภาพแข็งแรง มีสวัสดิการ) และอารมณ์ สอนของครู อ ย่ า งครบวงจร เช่ น อั ต รา
(มีจติ วิทยาในการสอน) เงิน เดือ น เส้น ทางอาชีพ ระบบครู พ่ีเ ลี้ย ง
- ควรขยายขอบเขตการพัฒนาศักยภาพของ (Mentor) เครือข่ายพัฒนาตนเองของครู และ
ครูให้ครอบคลุมตลอดช่วงอายุงาน: การให้ความช่วยเหลือด้านสือ่ การสอน
1. ช่วงการผลิตครู ต้องบ่มเพาะทักษะการ
สอน และจริยธรรมความเป็ นครู
2. ช่วง 10 ปี แรกของการประกอบอาชีพครู
ต้องเน้น On the Job Training เพื่อ
เพิม่ พูนองค์ความรูแ้ ละทักษะ
3. ช่วงอายุงานมากกว่า 10 ปี ขน้ึ ไป เริม่ มี
การถ่ายทอดองค์ความรูแ้ ละประสบการณ์
ให้กบั ครูรุ่นน้ อง รวมทัง้ เตรียมตัวก้าวสู่
ตาแหน่งทีส่ งู ขึน้ ต่อไป เช่น การบริหาร

461
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 41: สรุปประเด็นข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการศึกษา (ต่อ)


การทบทวนเอกสาร การประชุมระดมสมอง ประสบการณ์จากต่างประเทศ
และการสัมภาษณ์ผเู้ ชี่ยวชาญ
หลักสูตร - ปรับ เปลี่ ย นหลัก สู ต รให้ ส อดคล้ อ งกับ แนว - หลักสูตรการเรียนการสอนในเชิงวิชาการของ - วางโครงสร้า งหลักสูตรเป็ น กรอบแนวทาง
ทางการพั ฒ นาประเทศ โดยเฉพาะการ ประเทศไทยในปจั จุบนั ไม่ได้มปี ญั หามากนัก ให้อิสระกับ โรงเรีย นและครูใ นการก าหนด
เชื่อมโยงเนื้อหาเข้ากับการทางานในชีวติ จริง แต่ ค รู ย ัง ประสบป ญ ั หาในการน าไปปฏิบ ัติ วิธกี ารจัดการเรียนการสอน แต่มกี ารควบคุม
เพื่อลดปญั หาโครงสร้างของกาลังคนทัง้ ความ เนื่ องจากการขาดแคลนสื่ อ การสอนที่ มาตรฐานอย่างเข้มงวด
ไม่สอดคล้องเชิงปริมาณและคุณภาพ เหมาะสม การขาดแคลนบุคลลากรครู และ
การทีค่ รูมภี าระงานอื่นๆ ค่อนข้างมาก
- สิง่ ทีค่ วรเพิม่ เติมในหลักสูตรคือการมุ่งเน้นให้
ผู้เ รีย นสามารถประยุ ก ต์ใ ช้ท ัก ษะที่มีอ ยู่ใ น
ชีวติ ประจาวันได้ ให้อ่านออกเขียนได้ จับ
ใจความเป็ น ตลอดจนมีความสามารถในการ
คิดวิเคราะห์และตีความ
การประเมิ น - เน้นการประเมินให้สอดรับกับเป้าประสงค์และ - ควรมีก ารทบทวนเป้ าหมายที่แ ท้ จ ริง ของ - เน้ น การประเมิ น พั ฒ นาการการเรี ย นรู้
วัตถุประสงค์การเรียนรูข้ องนักเรียน ไม่มุ่งเน้น การศึ ก ษาของประเทศ เพื่ อ ให้ ส ามารถ (Formative Assessment) สร้า งความ
เพียง “การสอนเพื่อการสอบ” กาหนดตัวชี้วดั ผลสัมฤทธิที์ ่สอดคล้องกันได้ ห ลา กห ล า ย ใ นกร ะ บ ว นกา รป ร ะ เมิ น
- ก าหนดตัว ชี้ว ัด ประเมิน ผลให้ส อดคล้อ งกับ ทัง้ นี้การวัดผลควรมีความหลากหลาย (Diversifying Assessment Processes)
เป้ าประสงค์ ร ะดับ ประเทศ แต่ ก็มีวิธีก ารที่ - ควรมีการวัดผลจากพัฒนาการของเด็กเป็ น
ยืดหยุ่น เหมาะสมกับส่วนท้องถิ่น เพื่อสร้า ง รายบุคคล
สมดุลในการกระจายอานาจการบริหารจัดการ
การใช้ - สร้ า งระบบการจั ด การความรู้ โดยอาศั ย - การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถช่วยให้ - ให้ค วามส าคัญ กับ เนื้ อ หาสาระ (Content)
เทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาระบบการ การจัด การเรีย นการสอนเข้า ถึ ง ชุ ม ชนได้ และการนามาใช้อย่างบูรณาการ
สารสนเทศ ค้ น หา สร้ า ง รวบรวม จั ด เก็ บ เผยแพร่ ค่อนข้างทัวถึ
่ งและมีมาตรฐาน

ถ่ายทอด แบ่งปน และใช้ความรู้

462
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทัง้ นี้ อาจกล่าวได้ว่า ข้อจากัดและปญั หาต่างๆ ในการศึกษาเรียนรูล้ ว้ นมีสาเหตุจากกระบวน


ทัศน์ แบบเก่าที่ไม่เอื้อให้เกิดผลสัมฤทธิ ์แบบศตวรรษที่ 21 แต่เนื่องจากระบบการศึกษาเป็ นระบบ
ราชการทีม่ ขี นาดใหญ่ ประกอบด้วยบุคลากรและภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องเป็ นจานวนมาก การแก้ไขระบบ
แบบยกเครื่องจึงจาเป็ นต้องอาศัยเวลามาก และต้องดาเนินการแก้ไขจุดวิกฤติ (Critical Points)
หลายจุดไปพร้อมๆกัน ดังนัน้ นอกจากการแก้ไขระบบแล้ว การดาเนิ นการจาเป็ นต้ องสรรหาวิ ธีที่
จะสามารถท าให้ ค นส่ วนใหญ่ ส ามารถเพิ่ มผลสัมฤทธิ์ ในขณะที่ ด าเนิ นการแก้ ไ ขจุดวิ กฤติ
การศึกษาอยู่ได้
แนวทางการปฏิบตั จิ งึ กาหนดเป็ น 3 ส่วนหลัก คือ การดาเนินการเร่งด่วน (Fast Track) การ
ปฏิรูปเพื่อความยังยื
่ น (Sustainable Reform) และโครงการริเริม่ ส่งผลสาเร็จเร็ว (Quick Win
Initiative) โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. การดาเนิ นการเร่งด่ วน (Fast Track) มุ่งเน้ นวิ ธีการที่ ทาให้ คนส่ วนใหญ่ เพิ่ ม
ผลสัมฤทธิ์ ของการศึกษา และความตรงประเด็นของการศึ กษาซึ่ งไม่จากัดเพียง
ด้านวิ ชาการให้ได้ การดาเนินการเร่งด่วน (Fast Track) เป็นการดาเนินการกิจกรรมที่
ง่าย (Easy) และก่อให้เกิดผลกระทบสูง (High Impact) แนวทางนี้ตงั ้ อยู่บนสมมุตฐิ านว่า
การศึกษาทีม่ คี ุณภาพของไทยนัน้ มีอยู่ แต่คนส่วนใหญ่เข้าไม่ถงึ ดังนัน้ จึงต้องมีบริบทที่
ผู้จดั การศึกษาที่มคี ุณ ภาพสามารถเชื่อมต่อ การศึกษาที่ดีกบั คนส่ว นใหญ่ได้อ ย่างถู ก
ครรลอง นอกจากนี้ควรมีการเชื่อมต่อผู้ใช้ผสู้ าเร็จการศึกษา (เช่น ภาคแรงงาน) กับ
ผู้จดั การศึกษา เพื่อเพิม่ ความตรงประเด็นของการศึกษากับโลกความเป็ นจริง ซึ่งการ
ดาเนินการจะต้องใช้เทคโนโลยีทม่ี อี ยูบ่ นกรอบกฏหมายปจั จุบนั ให้ได้
กิ จกรรมทีส่ าคัญควรเร่งดาเนิ นการ อาทิ
- การสร้างแพลตฟอร์มการศึกษาการเรียนรู้ทีเ่ ปิ ด (Open Platform) เพื่อให้กลุ่ม
คนส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงกับการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพผ่านเทคโนโลยี พร้อม
กับเป็ นการสร้างโอกาส และให้โอกาสครัง้ ที่ส อง แก่ ประชาชนได้มโี อกาสเรียนรู้
ตลอดชีวติ (Lifelong Learning) เพื่อศึกษา ค้นคว้า เข้าถึงองค์ความรู้ และนาไป
พัฒนาต่อยอด ประยุกต์ใช้ ก่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพชีวติ และอาชีพของตนเอง
ได้ แม้จะไม่ได้ เป็นผูเ้ รียนอยูใ่ นระบบแล้วก็ตาม
- เพิ ม่ การเชื อ่ มต่ อระหว่างผู้มีส่วนได้ เสี ยร่วมกันโดยดาเนิ นแผนงานโครงการ
ร่วม เพื่อเป็ นการบูรณาการงานด้านการพัฒนาการศึกษาเรียนรู้ เชื่อมโยงกับภาค
แรงงาน ฝ่ า ยนโยบาย ฝ่ า ยการเมือ ง กระทรวงต่ า งๆที่เ กี่ย วข้อ ง ภาคเอกชน
นัก วิชาการ ชุมชน ท้องถิ่น ภาคประชาสังคม ประชาชน เพื่อให้เ กิดการผลักดัน
พัฒนาการศึกษาเรียนรู้ และพัฒนากาลังคนอย่างมีทศิ ทาง ต่อเนื่อง หนุ นเสริมกัน

463
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ลดความซ้าซ้อน และลดข้อจากัดด้านงบประมาณและทรัพยากร เช่น การมีส่วนร่วม


ในการระดมทรัพยากรและครูผู้เชี่ยวชาญผู้มปี ระสบการณ์ในทางปฏิบตั ิสนับสนุ น
สถาบันการศึกษา สร้างระบบหลักเกณฑ์ของคุณวุฒทิ ่ดี ี มีความน่ าเชื่อถือ เป็ นที่
ยอมรับ สร้างเส้นทางใหม่ในการเรียนรู้
2. การปฏิ รปู เพื่อความยังยื ่ น (Sustainable Reform) คือการปรับแต่ งกลไกการศึกษา
ให้เกิ ดความสามารถในการตอบสนองการเปลี่ยนแปลงได้เอง การปฏิรปู เพื่อความ
ยังยื
่ น (Sustainable Reform) เป็ นการดาเนินการกิจกรรมทีม่ คี วามยาก (Difficult) ใน
การดาเนินการ แต่ถ้าดาเนินการได้สาเร็จจะก่อให้เกิดผลกระทบสูง (High Impact) และ
เป็ นการเปลี่ยนแปลงฐานรากที่สาคัญ รวมทัง้ การปรับรากของแนวคิดของผู้มสี ่วนได้
ส่วนเสียในมุมต่างๆ เช่น ประเด็นการได้ความรู้ไปใช้มากกว่าการเน้นทาข้อสอบ การ
เปลีย่ นบทบาทของครูจากผูส้ อนเป็นผูอ้ านวยการการเรียนให้ผเู้ รียน การปรับการจัดสรร
ทรัพยากรให้สอดคล้องกับการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 การมุ่งเน้นการเข้ามาจัด
และกากับดูแลการศึกษาโดยภาคเอกชนและภาคประชาชน การเปิดมิตคิ วามสาเร็จให้
มากกว่าคะแนนสอบโดยเชื่อมต่อกับความสาเร็จที่หลากหลายและตรงกั บโลกความเป็ น
จริงมากขึ้น การส่ งเสริมการเรียนรู้ต ลอดชีว ิต และการสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ใ น
สังคมไทย
กิ จกรรมทีส่ าคัญทีต่ ้องดาเนิ นการเพือ่ ก่อให้เกิ ดการปฏิ รปู อย่างยังยื
่ น อาทิ
- การเปลีย่ นกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) ของภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้องโดยเฉพาะ
อย่างยิง่ ผู้มอี านาจตัดสินเชิงนโยบาย (Policymaker) ฝ่ายการเมือ ง ตลอดจน
ผูบ้ ริหารระดับสูง โดยมุ่งสู่กระบวนทัศน์ใหม่ ทีใ่ ห้ความสาคัญกับ แนวคิดการเรียนรู้
ใหม่ และการเรียนรูต้ ลอดชีวติ เน้นการปฏิรปู การศึกษาเรียนรูอ้ ย่างองค์รวมควบคู่
ไปกับการพัฒนาในมิตอิ ่นื ๆ ทัง้ การปฏิรูปสังคมให้เป็ นสังคมแห่งปญั ญา (Wisdom
Based Society) เกิดการเปลีย่ นแปลง (Social Change) สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้
ยกระดับคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนอาศัยการศึกษาเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์
นวัตกรรมเทศโนโลยีเข้าไปมีบทบาทผนวกเข้ากับการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่าง
ยังยื
่ น
- การปฏิ รปู การเรียนรู้ (Learning Reform) ควบคู่ไปกับการปฏิ รปู ภาคสังคม
ส่งเสริมการเรียนอย่างรู้จริง ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวติ โดยอาศัยการปรับแต่ง
ปฏิรูปในส่วนทีเ่ กี่ยวข้อง เช่น ปฏิรูประบบการผลิตครู การปฏิรูปหลักสูตร และหัน
มามุ่งเน้นที่การประเมินผลบุคลากรทางการศึกษาโดยอิงกับผลงาน (Performance
Based) ระบบความรับผิดชอบ (Accountability) ขณะทีก่ ารประเมินผลสัมฤทธิ ์ทาง

464
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การศึก ษาเรีย นรู้ข องผู้ เ รีย นให้ ค วามส าคัญ กับ การประเมิน พัฒ นาการเรีย นรู้
(Formative Assessment) ให้มากขึน้ เพื่อปลูกฝงั บ่มเพาะนิสยั การเรียนรู้
- การพัฒ นาแหล่ ง เงิ น ทุ น และปฏิ รู ป กลไกทางการเงิ น (Funding/reward
mechanism reform)
- การสร้างการมีส่วนร่วมขนาดใหญ่จากทุกภาคส่วน (Massive Participation)
รวมทัง้ สร้างกลไกการเชื่อมต่อระหว่างภาคส่วนต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง (Connectivity
mechanism between Stakeholders) ทุกหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องปฏิบตั หิ น้าทีข่ อง
ตนอย่างเต็มประสิทธิภาพ
3. โครงการที่ส่งผลสาเร็จเร็ว (Quick Win) เป็นการดาเนินการกิจกรรมทีม่ คี วามง่าย
(Easy) ในการดาเนินการ แต่ถา้ ดาเนินการได้สาเร็จจะก่อให้เกิดผลกระทบน้อย (Low
Impact) อีกทัง้ ไม่ก่อให้เกิดการพัฒนาด้านการศึกษา เรียนรูข้ องผูเ้ รียนและประชาชนใน
สังคมอย่างยังยื
่ น โครงการทีด่ าเนินการในลักษณะนี้ เช่น
- การอุดหนุ นระยะสัน้ (Short-Term Subsidy)
- การสนับสนุ นเครือ่ งมือทางการศึกษา (Education Instrument) (เช่น โครงการแท็บ
เล็ตพีซเี พื่อการศึกษาไทย (One Tablet Per Child: OTPC)
แนวทางการดาเนินการทัง้ สามด้านสามารถทาควบคู่กนั ได้โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ระบบ
การศึกษาสามารถเอือ้ ให้การศึกษาทีม่ คี ุณภาพเข้าถึงคนไทยทุกคนได้ และผูส้ าเร็จการศึกษามีทกั ษะ
ทีจ่ ะอยู่และมีอาชีพในโลกศตวรรษที่ 21 ได้อย่างภาคภูม ิ ซึ่งระบบการศึกษาเองจะสามารถพัฒนา
ตนเองให้มคี วามสามารถในการรูส้ กึ ถึงการเปลี่ยนแปลงและตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงได้อย่าง
เหมาะสมทันท่วงที

465
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 117: Strategic Approach to Education Challenges

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

5.2 ข้อเสนอแนะเชิ งนโยบาย

5.2.1 ข้อเสนอแนวทางการดาเนิ นงานเพื่อเป็ นฐานการกาหนดแผนการดาเนิ นการ


ระยะยาว (15 ปี ) เพื่อเตรียมความพร้อมของการศึกษาไทยสู่ศตวรรษที่ 21
ภาพรวมของการศึก ษาในศตวรรษที่ 21 จะมุ่ ง เน้ น ไปที่ก ารปฏิรูป การเรีย นรู้แ ละการ
สนับสนุ นส่ งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีว ิต อย่างไรก็ต าม ในการเชื่อ มโยงแนวทางดังกล่าวไปสู่การ
ปฏิบตั ิ การศึกษาวิจยั ในครัง้ นี้จะขอเน้นไปที่ระยะเวลาในช่วง 15 ปีแรก เนื่องจากเป็ นช่วงเวลาของ
การเปลี่ยนผ่านที่สาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระยะ 5 ปี แรก ซึ่งต้องเร่งดาเนินการสร้างสังคมแห่ง
การเรียนรูเ้ พื่อปฏิรูปสังคม รวมทัง้ ผลักดันการพัฒนาศักยภาพครู ซึ่งเป็ นหัวใจและเป็ นรากฐานใน
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศในอนาคต
การศึกษาในส่วนนี้จงึ ได้เสนอแนะแนวทางการดาเนินงานเพื่อเป็ นฐานการกาหนดแผนการ
ดาเนินการระยะยาว (15 ปี ) เพื่อเตรียมความพร้อมของการศึกษาไทยสู่ศตวรรษที่ 21 โดยมี

466
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

วัตถุประสงค์สองประการ คือ วัตถุประสงค์ประการแรก เน้นการปฏิรูปการเรียนรูแ้ ห่งศตวรรษที่ 21


เพื่อการพัฒนาคนไทยอย่างรอบด้าน สมดุล วัตถุประสงค์ประการทีส่ อง เน้นการปฏิรปู เชิงโครงสร้าง
และการบริหารจัดการ
วัตถุประสงค์ที่ 1 การปฏิ รปู การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อการพัฒนาคนไทยอย่าง
รอบด้าน สมดุล
เพื่อก้าวเข้าสู่กระแสใหม่ของการเปลีย่ นแปลง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้
(Knowledge-based Economy) ซึง่ ต้องให้ความสาคัญ กับการพัฒนาทุนมนุ ษย์ (Human Capital)
การใช้แ ละต่อยอดองค์ความรู้ การให้ความสาคัญกับการวิจยั และพัฒนา การพัฒนาวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรม (Science, Technology and Innovation) ดังนัน้ ประเทศไทยจึงจาเป็ นต้อง
มีการวางแผนการพัฒนาก าลังคนที่เหมาะสม จัดการศึกษาให้ส อดรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลง
ปรับปรุงการเข้าถึง คุณภาพ และความเท่าเทียม ตระหนักถึงความสาคัญของการเรียนรูท้ ุกรูปแบบ
จัดสรรทรัพยากรให้มกี ารกระจายอย่างเหมาะสม ตลอดจนทบทวนการจัดสรรทรัพยากรให้ทวถึ ั ่ งทุก
ภาคส่วน สอดคล้องกับการเรียนรูต้ ลอดช่วงวัฎจักรชีวติ ทัง้ นี้มุ่งสร้างความเชื่อมันในการสร้
่ างความ
ร่วมมือระหว่างเครือข่ายพันธมิตร พัฒนาคนอย่างรอบด้าน สมดุล เพื่อเป็ นรากฐานแห่งการพัฒนาที่
ยังยื
่ น
วัตถุประสงค์ที่ 2 การปฏิ รปู เชิ งโครงสร้าง และการบริ หารจัดการ
ปฏิรปู เชิงโครงสร้าง และบริหารการเปลีย่ นแปลง “Change Management Team” เพื่อปรับ
ให้กระทรวงศึกษาธิการเป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) และนาแนวคิดการ
เรียนรูใ้ หม่ (New Concept of Learning) มาสู่การปฏิบตั อิ ย่างแท้จริง ตลอดจนต้องปฏิรปู ระบบการ
บริห ารจัดการ (Management System) เพื่อ ให้ระบบการบริหารการศึกษาเป็ นระบบที่มุ่งเน้ น
ประสิทธิภาพ มุ่งเน้ นผลงาน และให้อิสระตามศักยภาพความพร้อมของสถาบันการศึกษาภายใต้
เงื่อ นไขการรับผิดรับชอบ ตลอดจน ก าจัดช่ อ งโหว่ ของการบริหารจัดการที่เ อื้อ ต่ อ การแสวงหา
ผลประโยชน์ จากระบบการบริห ารการศึก ษา และนาไปสู่ร ะบบการบริห ารจั ด การการศึกษาที่ม ี
ประสิทธิภาพ นาไปสู่การพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาของประเทศไทยให้เกิดผลได้อย่าง
เป็นรูปธรรม

467
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
แนวทางการพัฒนาการศึ กษาไทยเพือ่ เตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที ่ 21 จะประกอบ
ไปด้วยแนวทางในการดาเนิ นการที ส่ าคัญทัง้ การ “ซ่ อม” และการ “สร้าง” ควบคู่กนั ไป เพื่อ
เป็ นการปรับแต่ง ซ่อมแซมกลไกการศึกษาเดิมให้ดยี งิ่ ขึน้ และสร้างเสริมกลไกใหม่ๆ ให้เกิดขึน้ เพื่อ
ตอบสนองพลวัตรการเปลี่ยนแปลงแห่งศตวรรษที่ 21 รวมถึงสร้างพลังของการเปลี่ยนแปลงของ
สังคมไทย เพื่อก้าวสู่การสร้างสังคมแห่งปญั ญาการเรียนรูอ้ ย่างสร้างสรรค์ ช่วยขับเคลื่อนให้เกิดผลใน
การพัฒนาการศึกษาเรียนรูข้ องไทยในทางปฏิบตั อิ ย่างยังยื ่ นและสมดุล เป็ นรากฐานของการพัฒนา
ประเทศอย่างแท้จริง
ซ่อม
1. ปฏิรปู ระบบการผลิตครูและพัฒนาศักยภาพครูประจาการ
2. ปฏิรปู การเรียนรูส้ ่ศู ตวรรษแห่ง 21 และส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
3. ปฏิรปู ระบบการประเมิน เน้นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (formative
assessment)
4. ปฏิรปู เชิงโครงสร้าง และบริหารการเปลีย่ นแปลง ตลอดจนปฏิรปู ระบบการบริหาร
จัดการ (Management System)
สร้าง
5. สร้างสังคมแห่งปญั ญา (Wisdom-based Society) ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
(Lifelong Learning) และสร้างสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ (Supportive Learning
Environment) เพื่อสร้างมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์ (ไม่ใช่แค่เน้นแต่วชิ าการ)

468
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 42 : วัตถุประสงค์และแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยเพือ่ เตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21


วัตถุประสงค์ แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
ซ่อม สร้าง
การปฏิรปู การเรียนรูแ้ ห่ง - ปฏิรปู ระบบการผลิตครูและพัฒนา - สร้างสังคมแห่งปญั ญา (Wisdom
ศตวรรษที่ 21 เพื่อการ ศักยภาพครูประจาการ based society) ส่งเสริมการเรียนรู้
พัฒนาคนไทยอย่างรอบ - ปฏิรปู การเรียนรูแ้ ห่งศตวรรษที่ 21 ตลอดชีวติ (Lifelong Learning) และ
ด้าน สมดุล และส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ สร้างสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการ
เรียนรู้ (Learning Supportive
- ปฏิรปู ระบบการประเมิน เน้นการ Environment) เพื่อสร้างมนุษย์ท่ี
ประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ สมบูรณ์
(formative assessment )
การปฏิรปู เชิงโครงสร้าง - ปฏิรปู เชิงโครงสร้าง และบริหารการ
และการบริหารจัดการ เปลีย่ นแปลง ตลอดจนปฏิรปู ระบบ
การบริหารจัดการ (Management
System)

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

469
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 118: ปัญหาและสาเหตุ และแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

470
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 119: ประเด็นปัญหาวิ กฤต ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

471
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ซ่อม

1. ปฏิรูประบบการผลิตครูและพัฒนาศักยภาพครูประจาการ

แก้ไขซ่อมแซมระบบการผลิต “ว่าที่ครูประจาการ” อย่างเร่งด่วน


ควบคู่ไปกับเสริมศักยภาพ “ครูประจาการ”

แนวนโยบาย:

1.1 ระบบการผลิ ต “ว่าที่ครูประจาการ” ควรมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างเร่งด่วน


- เร่งปฏิ รปู ระบบการผลิ ตครู สถาบันที่ผลิ ตครูควรผลิ ตครูในสาขาที่ สถาบันนัน้
มีความเชี่ยวชาญ ศักยภาพและความพร้อมของสถาบัน ซึง่ จะเป็ นประโยชน์ทงั ้
ในการบ่ ม เพาะบุ ค ลากรที่ม ีคุ ณ ภาพ อีก ทัง้ มีก ลุ่ ม เป้ าหมายผู้ เ รีย นครู ท่ีช ัด เจน
เนื่ อ งจากในป จั จุ บ ัน แม้ว่ า จะมีป ริม าณครู ท่ีจ บมาจ านวนมาก แต่ ม ีป ญั หาเรื่อ ง
คุณ ภาพครู เกิดความขัดแย้งทางอุ ปทาน (Paradox) กล่าวคือ มีบุค ลากรที่ผ ลิต
จ านวนมาก แต่ ก็ม ีค วามขาดแคลนครู มาตรฐานแตกต่ า งกัน ระหว่ า งสถาบัน
โดยเฉพาะประเด็นด้านคุณภาพ ดังนัน้ จึงจาเป็นต้องเร่งปฏิรปู ระบบการผลิตครู
- ผสมผสานบูร ณาการตัง้ แต่ ข นั ้ ตอนการผลิ ตครู เพื่ อ บ่ ม เพาะความเป็ นครู
ทักษะการสอน เพื่อแก้ปญั หาข้อจากัดกระบวนการเรียนการสอนของสถาบันผลิต
ครูในปจั จุบนั ยังค่อนข้างแยกส่วนระหว่างการสอนทฤษฎี และการปฏิบตั ิ หรือเป็ น
472
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การฝึ กฝนทีไ่ ม่ลุ่มลึกอีกทัง้ ไม่มกี ารสอนการวิเคราะห์หลักสูตร ส่งผลให้ขาดการบ่ ม


เพาะความเป็ นครูท่เี ข้มข้น และบัณฑิตที่จบแล้วเมื่อเข้าเป็ นครูประจาการจึงขาด
ทักษะการสอน และขาดทักษะในการคิดวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางที่ได้รบั มา และ
การประยุกต์สอนให้เข้ากับเด็กนักเรียนและบริบท
- วางระบบพัฒ นาครูอ ย่ างครบวงจร ปรับอัต ราเงินเดือนให้สูงเท่าวิชาชีพชัน้ สูง
ยกระดับมาตรฐาน เส้นทางอาชีพครูมคี วามก้าวหน้า เพื่อสร้างระบบแรงจูงใจ และ
สร้างค่านิยมเพื่อดึงดูดให้ผู้ท่มี คี ะแนนสูงเข้ามาเรียนครู เพื่อสร้างครูรุ่นใหม่ท่มี ี
คุณภาพเป็ นเลิศ การคัดเลือกครูเข้มข้น คัดเลือกครูจากนัก เรียนที่มผี ลคะแนนสูง
เป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ

1.2 พัฒนา เสริ มศักยภาพครูประจาการ


- ควรเร่ ง พัฒ นาศักยภาพครูมีค วามจาเป็ นอย่ างยิ่ ง เพื่ อ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้และ
นาไปสู่การปรับปรุงพัฒนาวิ ธีการสอน และปรับการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้
ครูผสู้ ร้างแรงบันดาลใจ (Inspiring Teachers) ปรับบทบาทครูเป็ นผูอ้ านวยความสะดวก
ในการเรีย นรู้ใ ห้ก ับผู้เ รีย น โดยจัดกิจกรรมเสริม ศัก ยภาพครูป ระจ าการ อาทิ การ
ฝึ กอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรูร้ ะหว่างครูด้วยวิธกี ารต่างๆ สร้างเครือข่ายครูประจาการ
พัฒนาระบบครูพ่เี ลีย้ งทีส่ นับสนุ น เพื่อช่วยแก้ไขปญั หาเรื่องคุณภาพครู ช่วยยกระดับ
ครูประจาการมีขอ้ จากัดในการสอน ทาให้ผเู้ รียนขาดความรูค้ วามเข้าใจอย่างลึกซึง้
- ควรปรับปรุงระบบการขึ้นบัญชี ครู และการจัดส่ งครูไปประจาการตามโรงเรียน
สถานศึ กษาตามความเชี่ ยวชาญ เนื่องจากปจั จุบนั ครูได้ทาหน้ าที่ไม่เต็มศักยภาพ
ความเชี่ยวชาญของตน เนื่องจากปจั จุบนั ครูสอนในวิชาทีต่ นไม่ได้เชีย่ วชาญ เนื่องจาก
ระบบการสอบครู จะมีการขึน้ บัญชีครูทส่ี อบได้ไว้ เมื่อโรงเรียนใดมีการขาดแคลนครูและ
ขออัตรากาลังคนมา ทางส่วนกลางจะจัดส่งครูทข่ี น้ึ บัญชีสอบจัดส่งตามลาดับทีข่ น้ึ บัญชี
ไว้ ทาให้ครูทไ่ี ปสอนตามโรงเรียนไม่ได้สอนตามความเชีย่ วชาญเฉพาะของตน
- ควรเปิ ดโอกาสให้ ผ้เู ชี่ ยวชาญ หรือผู้ที่จบสาขาอื่นสามารถมาเป็ นครูได้ บัณฑิตที่
จบครูหรือคุรุศาสตร์โดยตรงไม่ได้เข้าทางานบรรจุเป็ นครูจานวนมาก อีกทัง้ ไม่สามารถ
ดึงดูดคนเก่งให้สนใจเข้ามาประกอบอาชีพครูได้ ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากผลตอบแทนครูต่ า
มีค วามแตกต่ างกับอาชีพ อื่น มาก เมื่อ เทีย บกับ ภาระงาน อีกทัง้ ค่ า นิย มหรือ การให้
ความสาคัญกับอาชีพครูมนี ้อยลง ทาให้เกิดความขาดแคลนครูท่มี คี ุณภาพ ครูทม่ี คี วาม
เชีย่ วชาญในบางสาขา

473
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

อนึ่ง ในศตวรรษที่ 21 การศึกษาเรียนรู้จะไม่ได้ถูกจากัดอยู่แต่เพียงในห้องเรียนเท่านัน้


หากแต่ในชีวติ ประจาวัน ในสังคม หรือในโลกใบนี้ ล้วนเป็ นแหล่งความรูท้ งั ้ สิน้ ดังนัน้ คาว่า “ครู” จึง
อาจมิใช่แค่เพียง ครูแต่เพียงในบทบาทอาชีพครูเท่านัน้ ทว่า ทุกๆคน ควรมีบทบาทเป็ น ครูซง่ึ กัน
และกัน ดังนัน้ บุคคลต่างๆในสังคม จึงจะต้องมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการถ่ายทอดความรูซ้ ่งึ กัน
และกัน เพื่อยกระดับการพัฒนาของสังคม
ในประเด็นนี้เองทีส่ งั คมจะต้องมีบทบาทในการหล่อหลอมความเป็ นคน หรือความเป็ นมนุ ษย์
ทีส่ มบูรณ์ให้แก่คนในสังคมเกิดการพัฒนาร่วมกัน ฉะนัน้ “ความเป็ นครู” จึงเป็ นสิง่ ที่ควรอยู่ในตัว
ของทุกคนในสังคม ทีจ่ ะต้องแบ่งปนั ถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ รวมทัง้ เป็ นตัวอย่างที่
ดี ดังคากล่าวทีว่ ่า “ตัวอย่างที่ดี มีค่ากว่าคาพูด ” เพื่อนาไปสู่สงั คมแห่งปญั ญา และวัฒนธรรมการ
เรียนรูต้ ลอดชีวติ ในสังคมไทย

2. ปฏิรูปการเรียนรูแ้ ห่งศตวรรษที่ 21 และส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอด


ชีวิต

ปฏิรูปการเรียนรูแ้ ห่ งศตวรรษที่ 21 และส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวิต


เชื่อมโยงการศึ กษาในระบบ การศึ กษานอกระบบ และการศึ กษาตามอัธยาศัย
มีหลักสูตรแกนเพื่อเป็ นกรอบในการจัดการเรียนการสอน ในขณะที่ให้อิสระและยืดหยุ่นแก่
โรงเรียนและครู ในการออกแบบกระบวนการเรียนการสอน

แนวนโยบาย:
• มี เ ป้ าประสงค์ข องนโยบายการศึ ก ษาที่ ส มดุล และหลากหลาย ออกกฎหมายเพื่อ
ส่งเสริมสนับสนุ นให้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เข้ามามีบทบาทในการ
พัฒนาคุณภาพชีว ิตของประชาชนให้ มากยิง่ ขึ้นในรูปแบบต่ างๆ เช่น หลักสูตรการศึกษา
ผูใ้ หญ่ การฝึกอบรมต่อเนื่องเพื่อพัฒนาให้ประชาชนทุกวัยของประเทศมีความรู้ เป็ นการเพิม่
ศักยภาพของประชากร
• ออกแบบหลักสูตรที่ เน้ นการเรียนรู้อย่างกว้างขวางและเป็ นองค์รวม (Broad-Based
and Holistic Learning) ควรเน้ น วิ ธีการสอน กระบวนการเรียนรู้ การบูรณาการ
เนื้ อหาสาระวิ ชาต่างๆเข้าด้วยกันมากกว่า เนื่องจากในปจั จุบนั การเปลีย่ นแปลงหลักสูตร
474
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทีบ่ ่อยสร้างภาระให้กบั ครูและโรงเรียนในการบริหารจัดการ อีกทัง้ เนื้อหาของหลักสูตรไม่ได้


เปลีย่ นแปลงมาก เป็นการเปลีย่ นเนื้อหาสาระ
• ควรปรับเปลี่ยนให้ หลักสูตรการสอนเน้ นการบูรณาการมากขึ้น เน้ นกระบวนการคิ ด
เชิ งระบบและเชื่ อมโยงเนื้ อหาสาระเข้าด้ วยกันกับบริ บทชี วิต เพื่อแก้ไขการเรียนการ
สอนที่เป็ นรายวิชาสาระการเรียนรู้ ที่คดิ แยกส่วน ซ้าซ้อน ทาให้ต้องอาศัยชัวโมงการเรี่ ยน
ค่อนข้างสูง ผูเ้ รียนเกิดความเบื่อหน่ าย อีกทัง้ เกิดความซ้าซ้อนกันในการเรียนการสอน ไม่
มีความเชื่อมโยงระหว่างองค์ความรู้ และไม่ได้เชื่อมโยงกับชีวติ ประจาวัน
• เน้ นกระบวนการคิ ด ทักษะมากกว่าเน้ นที่ เนื้ อหาสาระที่ อาจเปลี่ยนแปลงและล้าสมัย
ได้ ปรับไปใช้การประเมินผลทีว่ ดั ทักษะกระบวนการคิดและความเข้าใจของผูเ้ รียน ด้วยการ
ออกข้อสอบที่เน้นวัดความเข้าใจ (literacy-based test) มากกว่าเน้นวัดเนื้อหา (Content-
based Test) และการประเมินพัฒนาการ (Formative Assessment) เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้
การคิด และก่อให้เกิดการพัฒนาตัวผูเ้ รียนอย่างแท้จริง เพื่อแก้ปญั หาหลักสูตรและการ
ประเมินผลไม่สอดคล้องกับผลสัมฤทธิ ์ทีต่ อ้ งการปจั จุบนั การประเมินผลการเรียนรูเ้ น้นท่องจา
• โครงสร้างหลักสูตรเป็ นเพียงกรอบเท่ านัน้ โรงเรียนและครูมีอิสระกาหนดวิ ธีการสอน
การเรี ย นรู้เ ต็ม ที่ เปิ ดกว้ า งให้ มี ห ลัก สู ต รที่ ห ลากหลาย ผู้เ รี ย นสามารถออกแบบ
หลักสูตรที่เหมาะสมกับตนเองได้มากขึ้น โดยหน่วยงานกลางเปลีย่ นจากบทบาทการเป็ น
ผูค้ วบคุมหลักสูตร มาเป็นการเป็นผูร้ บั รองหลักสูตรต่างๆ
• ปฏิ รปู การเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริ บทศตวรรษที่ 21 และส่งเสริ มการ
เรียนรู้ตลอดชี วิต โดยให้ความสาคัญกับผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลางอย่างแท้จริง ผู้ต้องมาก่อน
(Student First) โรงเรียนต้องเปลีย่ นจากโมเดลการสอนสิง่ เดียวทีเ่ หมาะกับทุกคน (One-
size-fits-all) และแทนที่ด้วยการตัง้ เป้าหมาย และพิจารณาบริบทของผู้เรียนแต่ละคนเป็ น
ศูนย์กลาง จัดกิจกรรมโครงการนาร่อ งและทดลองปฏิบตั ิ เพื่อ นาไปสู่การปฏิบตั ิท่ปี ระสบ
ความส าเร็จ เพื่อ ยอมรับ การเปลี่ยนแปลงจากทุก ภาคส่ ว นที่เ กี่ย วข้อ ง เข้า ใจถึงเหตุ ผ ล
เบื้อ งหลัง และประโยชน์ ท่ีจ ะเกิด ขึ้น สร้ า งการเชื่ อ มโยงระหว่ า งภาคส่ ว นต่ า งๆ จัด
โครงสร้างองค์กรการบริหารการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ทุกระดับ ตัง้ แต่ส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค และ
ท้องถิน่ โดยร่วมมือกับกระทรวงต่างๆ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
• ภาครัฐควรส่งเสริ มการสร้างทัศนคติ ที่ดีต่อการเรียนของนักเรียน และการใช้เวลาใน
การทากิ จกรรมที่เป็ นประโยชน์ นอกห้ องเรียน

475
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3. ปฏิรูประบบการประเมินผล

ประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู ้ ประเมินอย่างสร้างสรรค์
เพื่อบ่มเพาะทักษะ “เรียนรูท้ ่ีจะเรียน”

ระบบการประเมินผลเดิมดังเช่นในปจั จุบนั ทาให้เกิดการมุ่งเน้นทีผ่ ลคะแนนมากเกินไป เน้น


ท่องจา และไม่ได้เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจได้อย่างแท้จริง ดังนัน้ จึงต้องซ่อมแซมแก้ไขระบบ
การประเมิน โดยมุ่งเน้นการประเมินการเรียนรู้ (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรู้
ของผู้เรียนนัน้ ควรจะต้องเป็ นการประเมินอย่างสร้างสรรค์ สะท้อนให้เห็นพัฒนาการการเรียนรูข้ อง
ผู้เ รียน และไม่ก่ อ ให้เ กิดภาระในการดาเนินการแก่ ค รูหรือ โรงเรียนจนมากเกินไป ช่ว ยสร้างให้
นักเรียนมีทกั ษะ “เรียนรูท้ จ่ี ะเรียน” (Learning to Learn)

แนวนโยบาย:
 เน้ นการประเมิ นพัฒนาการ (Formative Assessment) เป็ นหลัก เพื่อกระตุ้นการ
เรียนรู้ การคิ ด และก่อให้เกิ ดการพัฒนาตัวผูเ้ รียนอย่างแท้ จริ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
วัฒนธรรมในห้องเรียน เปิ ดโอกาสให้ครูจะต้องใช้วธิ กี ารเรียนการสอนแตกต่างกันไป
บทเรียนอาจเกิดจากวิธกี ารที่หลากหลาย ช่วยสร้างให้นักเรียนมีทกั ษะ “เรียนรู้ท่จี ะ
เรียน” (Learning to Learn) โดยครูอาจใช้วธิ กี ารทีผ่ สมผสานกันในการประเมินความ
เข้าใจของนักเรียน ทัง้ นี้ครูต้องให้ข้อเสนอแนะ (Feedback) ทางวาจาหรือเป็ นลาย
ลักษณ์อกั ษรเพื่อกระตุน้ ให้เกิดพัฒนาการเรียนรู้
 ควรมีการประเมิ นประสิ ทธิ ผลของครูโดยใช้ ผลการเรียนรู้ของนักเรียน มีการ
ส่ ง เสริม การออกแบบกิจ กรรมในชัน้ เรีย นให้ส อดคล้อ งกับ เป้ าหมายทางการศึก ษา
ส่งเสริมยุทธศาสตร์ในการเรียนของผู้เรียนที่ถูกต้อง และมีการจัดการทีด่ กี บั ปญั หาการ
ขาดเรียนของนักเรียน
 ส่ งเสริ มการเปิ ดเผยข้ อมูลผลการเรียนแก่ ผ้ปู กครองโดยมีการเปรียบเที ยบกับ
มาตรฐานในระดับต่ างๆ เช่น ระดับพืน้ ที่หรือระดับชาติ และส่งเสริมบรรยากาศแห่ง
การแข่ง ขัน ระหว่ างโรงเรียนเพื่อ ให้เ กิด การพัฒนาประสิท ธิภ าพของโรงเรียนอย่า ง
ต่อเนื่อง

476
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

4. ปรับรูปแบบการบริหารจัดการ

จัดให้มีรูปแบบการบริหารจัดการที่หลากหลาย
มีความอิสระ สอดคล้องกับศักยภาพและความพร้อมของโรงเรียนและชุ มชน
เพื่อลดการรวมศูนย์ และลดภาระของภาครัฐ

เหตุผลและความจาเป็นทีค่ วรปรับรูปแบบการบริหารจัดการให้มคี วามหลากหลาย และเพิม่


บทบาทอานาจหน้ าที่ของโรงเรียน ครู ชุมชน ท้องถิ่น และผู้มสี ่วนได้ส่ วนเสียในการจัดการศึกษา
เนื่องจาก
• การบริหารจัดการการศึกษาทีผ่ ่านมาเป็ นแบบรวมศูนย์
• หลักสูตรไม่ตอบสนองต่อความต้องการของผูเ้ รียน ชุมชน เอกชน
• การจัดสรรทรัพยากรไม่สอดคล้องกับบริบทโรงเรียน และความต้องการ (โรงเรียน
ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ ชนบท เมือง)

แนวนโยบาย:
 ปฏิ รปู เชิ งโครงสร้าง และพิ จารณาปรับรูปแบบการบริ หารจัดการ โดยปรับรูปแบบ
การบริ หารจัดการ ความเป็ นอิ สระสอดคล้ องกับศักยภาพ และความพร้อมของ
สถาบันการศึ กษาต่ างๆ เพื่อลดภาระงบประมาณในกรณี สถาบันการศึ กษาที่ มี
ความพร้ อ มในการบริ ห ารจัด การ และเปิ ดโอกาสให้ ชุ ม ชนเข้ า ร่ ว มพัฒ นา
เนื่องจากปจั จุบนั งบประมาณไม่เพียงพอเนื่องจากปญั หาเชิงโครงสร้างทีภ่ าคการศึกษามี
ขนาดใหญ่ มีฟ งั ก์ชนการท
ั่ างานที่ซ้า ซ้อ น ค่ อ นข้างรวมศูน ย์ งบประมาณส่ ว นใหญ่
จาเป็นต้องจัดสรรเพื่อเป็นงบประจา ทาให้มงี บประมาณเพื่อการลงทุนพัฒนาในสัดส่วนที่
น้ อ ย อีก ทัง้ การจัด สรรงบประมาณเท่า กัน ถัว เฉลี่ยรายหัว ไม่ส อดคล้อ งกับ ต้น ทุ น
บริหารจัดการสถานศึกษา เนื่องจากโรงเรียนมีต้นทุนคงที่ในการบริหารจัดการ การ
จัด สรรงบประมาณอย่ า งถัว เฉลี่ย ท าให้โ รงเรีย นได้ร ับ ทรัพ ยากรอย่ า งไม่ เ พีย งพอ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ โรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลาง

477
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 ภา ค รั ฐ ค ว ร พิ จ า ร ณ า ป รั บ เ ป ลี่ ย น รู ป แ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ข อ ง
สถาบัน การศึ ก ษาให้ มี ค วามหลากหลายสอดคล้ อ งกับ ความพร้ อ มและ
ศักยภาพของสถาบันการศึ กษาแต่ ละแห่ ง โดยให้อสิ ระสถาบันการศึกษาต่างๆ
พิจารณาการเลือกรูปแบบการบริหารจัดการทีเ่ หมาะสมกับจุดเน้นและศักยภาพของ
สถาบัน โดยมีเงือ่ นไข (Commitment) ทีเ่ ป็นผลผลิต (Output) ทีช่ ดั เจน
 ควรส่งเสริ มความมีอิสระของสถานศึกษาในการจัดสรรทรัพยากรภายใน
โรงเรียน การบริหารบุคลากร และการกาหนดเนื้อหาการเรียนการสอน ใน
ขณะเดียวกันควรป้องกันปญั หาผลประโยชน์ทบั ซ้อนซึง่ อาจเกิดขึน้ โดยเฉพาะอย่าง
ยิง่ ในส่วนการประเมินผลงานของโรงเรียนหรือนักเรียน และการกาหนดเงินเดือน
ของครู
 ควรส่งเสริ มให้โรงเรียนสามารถระดมทรัพยากรจากแหล่งต่ างๆ ด้วยตนเอง
เพื่อจะมีทรัพยากรอย่างเพียงพอในการจัดการศึกษาอย่างคุณภาพ
 สถาบันการศึกษาต่ างๆ ควรมีจดุ เน้ นการจัดการเรียนการสอนที่ แตกต่ างกัน
ไปตามศัก ยภาพ ความเชี่ ย วชาญและความพร้ อ มของบุ ค ลากร เพื่ อ ให้
สามารถผลิ ตบุคลากรได้ มีสมรรถนะ ทัง้ ด้ านความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ
อี กทัง้ เป็ นประโยชน์ แก่ ผ้เู รี ย นในการพิ จารณาสถานศึ กษาที่ ส อดคล้ อ งกับ
อาชี พที่ ตนเองมุ่งหวัง เห็นเส้ นทางอาชี พ (Career Path)ได้เรียนและฝึ กฝน
พั ฒ นาทั ก ษะ อ ย่ าง เข้ มข้ น เพื่ อ ล ดป ัญ ห าที่ ใ นป ัจ จุ บ ั น โรงเรี ย นหรื อ
สถาบันการศึกษาแต่ละแห่งมีการแข่งขันผลิตคน เกิดปญั หาคุณภาพผูจ้ บการศึกษา
อัน เนื่ อ งมาจากมาตรฐานแตกต่ างกัน ทัง้ นี้ สถาบันการศึก ษาไม่จ าเป็ น ต้อ งมี
เป้ า หมายการศึก ษาหรือ จุ ด เน้ น การผลิต คนในแบบเดีย วกัน ทัง้ ประเทศ แต่ ล ะ
สถาบันควรมีจุดเน้นทีแ่ ตกต่างกันไปตามศักยภาพ ความเชีย่ วชาญและความพร้อม
ของบุคลากร

478
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สร้าง
5. สร้างสังคมแห่งปั ญญา (Wisdom based society) ด้วยการสร้าง
สภาพแวดล้อมที่เอื้ อต่อการเรียนรู ้ (Learning Supportive
Environment)

ภาครัฐสร้างสังคมแห่งปญั ญา (Wisdom Based Society) โดยการให้ความสาคัญกับการ


สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment) และออกแบบกระบวนการเรียนการสอนที่
เหมาะสม ทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 โดยมุง่ สร้างมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ (ไม่ใช่แค่เน้นแต่วชิ าการ)
โดยให้ความสาคัญกับเป้าหมายของการศึกษาทีพ่ งึ ประสงค์ (Should-Be) ทัง้ การเตรียมความพร้อม
ผูเ้ รียนเพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงาน ให้โอกาสเด็กทุกคนได้เข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียม ส่งเสริมให้เด็ก
เป็ นผู้เรียนรูต้ ลอดชีวติ ที่มุ่งใฝ่หาความรู้ สามารถพัฒนาตนเองได้ตลอดเวลา มุ่งพัฒนาความเป็ น
มนุ ษ ย์ท่ีส มบู ร ณ์ สร้า งเด็ก ให้ เ ป็ น คนดีข องสัง คม สร้า งประโยชน์ แ ก่ ค นรอบข้า ง ชุ ม ชน และ
ประเทศชาติ ให้การศึกษาช่วยบ่มเพาะคนไทยให้เป็ นคนไทยทีม่ ศี กั ยภาพ กล่อมเกลาให้เป็ นคนที่ม ี
คุณธรรม จริยธรรม มีความสุข ช่วยนาประเทศไปสู่ระดับการพัฒนาอย่างสมดุลและยังยื ่ น เกิดสังคม
แห่งปญั ญา พร้อมกับเป็ นสังคมทีอ่ ยูด่ มี สี ุข (Well-Being Nation)

 สร้ า งสภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ และออกแบบกระบวนการเรี ย นการสอนที่


เหมาะสม จัด การเรี ย นการสอนโดยให้ ผ้ ูเ รี ย นเป็ นศู น ย์ ก ลางอย่ า งแท้ จ ริ ง
ประกอบกับแนวคิดเป็ น “ทุกคนในสังคมเป็ นครูและนักเรียน” และ “โรงเรียนที่ไม่มรี วั ้ ”
เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนเป็ นการบ่มเพาะทักษะเรียนรูเ้ พื่อจะเรียน และรักที่จะ
เรียน เห็นถึงองค์ความรูไ้ ม่ได้มเี ฉพาะในตาราเรียนหรือตัวครู หากแต่อยู่ในทุกสิง่ ทุก
อย่างรอบตัว สร้างการชักจูงใจนักเรียนที่ดี ผสมผสานการเรียนในห้องเรียนและนอก
ห้องเรียนอย่างสมดุล

479
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 ส่ ง เสริ มให้ ผ้เู รี ยนค้ นพบความสามารถตนเอง แรงใจ (Passion) ในการเรีย นรู้


ตลอดชีวิต จัดการเรียนรูใ้ ห้เหมาะสมกับศักยภาพของผูเ้ รียน สร้างสภาพแวดล้อมทีท่ า้
ทายและสนุกสนาน
 เปิ ดโอกาสให้ ค รูเ ลื อ กวิ ธี ก ารที่ เ หมาะกับ นั ก เรี ย นของตนได้ อ ย่ า งอิ ส ระ เปิ ด
โอกาสให้ บุคคลต่ างๆ ในสังคมหรือชุมชน มาเป็ นผู้ถ่ายทอดความรู้ เช่น ปราชญ์
ชุมชน ผู้ปกครอง รุ่นพี่ติวรุ่นน้อง ผู้ประกอบการฯลฯ (เช่น ให้ผู้เชี่ยวชาญสามารถลา
งานมาสอนได้)
 ส่ ง เสริ มการเรี ย นรู้ข องผู้เรี ย น และประชาชนทัว่ ไปที่ ส นใจเรี ย นรู้ ได้ มีโ อกาส
เรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) อาทิ
- พัฒ นาแหล่ ง การเรี ย นรู้ที่ ส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ โดยรัฐ ควรจัด พื้น ที่ส าธารณะ
(Public Space) ทีส่ ่งเสริมการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน และประชาชนทัวไปที
่ ส่ นใจเรียนรู้
ได้มโี อกาสเรียนรูต้ ลอดชีวติ ตลอดจนส่งเสริมภาคส่วนอื่นๆ ที่มคี วามพร้อมและมี
ศักยภาพ ไม่ว่าจะเป็นภาคเอกชน หรือท้องถิน่ ส่งเสริมให้ภาคส่วนต่างๆ สร้างพืน้ ที่
แพล็ตฟอร์มเปิด (Open Platform) ทีเ่ อื้อต่อการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ในการจัดพื้นที่
เปิด (Open Spaces) ทีเ่ ป็นแหล่งเรียนรูต้ ลอดชีวติ แก่ประชาชน
- จัดปั จจัยสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยจัดแหล่งความรูท้ ่ผี ู้เรียนสามารถ
ค้นคว้าด้วยตนเองได้ เช่น ศูนย์วทิ ยาการ บทเรียนสาเร็จรูป ชุดการสอน ใช้ส่อื ชนิด
ต่างๆ หลายชนิดผสมผสานกัน (Multi-Media) ใช้ระบบการศึกษาทางไกลเข้ามาช่วย
รวมทัง้ ต้องมีเจ้าหน้าทีป่ ระจาศูนย์วทิ ยบริการทีส่ ามารถช่วยแนะนาและอานวยความ
สะดวกให้กบั ผูเ้ รียนได้
- เน้ นการสร้างแหล่งการเรียนรู้ในชุมชน ช่วยให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมใน
การจัดการศึกษาและจะช่วยให้เกิดบรรยาการศการเรียนรูแ้ ละสังคมแห่งการเรียนรู้
ควรจะมีหลายรูปแบบ ไม่ควรยึดหลักว่าต้องสร้างใหม่เสมอ อาจจะใช้สงิ่ ที่มอี ยู่แล้ว
ในท้องถิน่

5.2.2 กลไกการขับเคลื่อนไปสู่ภาคปฏิ บตั ิ


แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 จะต้องเป็ นการ
ขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบตั ิ ทีก่ ่อให้เกิดปฏิรปู การศึกษาอย่างแท้จริง โดยยึดหลักการเรียนรูท้ ย่ี ดึ ผูเ้ รียน
เป็นสาคัญ (Learner-Centered) การเปลีย่ นทัศนคติต่อการศึกษา (Learning Attitude) ทุกคนมีความ

480
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เป็ นผู้เรียนรู้โดยธรรมชาติ (Natural Learner) และการกระจายอานาจในการจัดการศึกษาตาม


ศักยภาพและความพร้อมโดยอิงกับการรับผิดรับชอบ
ข้อเสนอแนะการออกแบบกลไกขับเคลื่อนระดับนโยบาย (Mechanism Design) เพื่อ
ขับเคลื่อนไปสู่ภาคปฏิ บตั ิ รายละเอียดในส่วนนี้จะกล่าวถึงกลไกการขับเคลื่อนไปสู่ภาคปฏิบตั ิ เพื่อ
นาไปสู่การกาหนดบทบาทหน้าที่และกระบวนการการบูรณาการระหว่างภาคส่วนหลากหลาย ทัง้ ที่
อยู่ภายใต้สงั กัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่ วยงานภาครัฐอื่นๆ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ที่
เป็ นผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการศึกษา สาหรับความเชื่อมโยงบางประเด็นของยุทธศาสตร์
บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง จะได้กล่าวถึงในรายละเอียดต่อไปใน
หัวข้อ 5.2.3 กรอบแนวทางการดาเนินการเพื่อกาหนดแผนการดาเนินการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อ
เตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี)
กลไกในการขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิ บตั ิ “เพื่อปฏิ รปู การศึกษาเรียนรู้ของไทยสู่
ศตวรรษที่ 21” นันต้องให้ความสาคัญกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภาคส่วน
ต่างๆ ทีอ่ ยูน่ อกกระทรวงศึกษาธิการและมีผลกระทบ (impact) สูงมากต่อการขับเคลื่อน 5 ภาคส่วน
ทีส่ าคัญ ได้แก่
1) ฝา่ ยการเมือง
2) ผูเ้ รียน
3) สังคม
4) ผูป้ กครอง
5) นักการศึกษา

481
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทัง้ นี้ภาคส่วนทีน่ บั ว่ามีบทบาทสาคัญและก่อให้เกิดผลกระทบการเปลีย่ นแปลงในระดับสูง


มาก คือ ฝา่ ยการเมือง และ สังคม

ภาพที่ 120: ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในกลไกในการขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิ บตั ิ

*
การเมือง

นักการศึกษา ผู้เรียน

*
ผู้ปกครอง สังคม

ทีม่ า: คณะวิจยั Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)

1. กลไกการขับเคลื่อนในเชิ งนโยบาย

1.1 กระทรวงศึ กษาธิ การต้ องมีการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) และ


สร้างผู้นา (Leadership) ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการ
ปฏิรปู สังคม สร้างวัฒนธรรมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ รูเ้ ท่าทันโลก บูรณาการเรียนรู้
- ควรก ำหนดให้ กำรพัฒ นำกำรศึ กษำและเรี ย นรู้ตลอดชี วิ ต (Education
and Lifelong Learning) เป็ นวำระปฏิ บตั ิ แห่ งชำติ (National Agenda)
โดยมีการกาหนดวิ สยั ทัศน์ และพิ มพ์เขียว (Vision and Blueprint) ด้าน
การศึกษา การเรียนรู้และการพัฒนากาลังคนระยะยาวของประเทศไทย
เนื่องจากที่ผ่านมา มีขอ้ จากัดจากความไม่ต่อเนื่องของนโยบายการศึกษาเป็ น
ข้ อ จ ากั ด ในการขับ เคลื่อ นนโยบายการศึ ก ษาที่ส าคัญ ที่สุ ด ประการหนึ่ ง
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประเด็นเรื่องคุณภาพการศึกษา การเข้าถึงการศึกษา และ
การสร้างเสริมโอกาสในการเรียนรู้ต ลอดชีว ิต ดังนัน้ จึงจาเป็ นอย่างยิง่ ในการ

482
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ผลักดันวาระดังกล่าว โดยมีหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องและฝ่ายการเมืองรับผิดชอบ


เป็นวาระแห่งชาติ
- จาเป็ นต้ องบูร ณาการร่วมกันระหว่ างหน่ วยงานในกระทรวงศึ กษาธิ การ
ตลอดจนหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง บูรณาการระหว่างภาคส่วนหลากหลาย ทัง้ ที่
อยู่ภายใต้สงั กัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่ วยงานภาครัฐอื่นๆ นอกจากนี้ ยัง
ควรมีการบูรณาการร่วมกันและการมีส่วนร่วมกับภาคส่วนอืน่ ๆ เช่น ภาค
ธุ ร กิจ ตลาดแรงงานชุ ม ชน สัง คมยัง มีอ ยู่ใ นระดับ ที่น้ อ ยส่ ง ผลให้ก ารผลิต
บุคลากรในภาคการศึกษาไม่สอดคล้องกับความต้องการตลาดแรงงาน คุณภาพ
ต่ากว่าระดับความคาดหวัง
1.2 กระทรวงศึ กษาธิ การมีบทบาทหลักในการร่วมกับหน่ วยงานที่ เกี่ยวข้อง ภาคี
เครือข่าย ภาคประชาชน ในการผลักดันให้ เกิ ดการปฏิ รูปภาคสังคม การให้
องค์ ค วามรู้ ให้ ก ารศึ ก ษาผู้ป กครอง ให้ ค วามส าคัญ กับ การปรับ เปลี่ ย น
ทัศนคติ ของผู้ปกครองในด้ านการศึ กษาและการเลี้ยงดู ชุมชุนให้ เกิ ดการ
เรียนรู้ทงั ้ สังคม เป็ นสังคมแห่ งการเรียนรู้ และมีวฒ ั นธรรมการเรียนรู้ตลอด
ชีวิต ทัง้ นี้เนื่องจากการปฏิรปู ดังกล่าว เป็นสิง่ ทีม่ คี วามจาเป็ นอย่างยิง่ เนื่องจากการ
ปฏิรูปการศึกษาโดยไม่ได้มกี ารแก้ไขประเด็นทางด้านสังคมและวัฒนธรรมจะไม่
สามารถปฏิรปู การศึกษาไทยให้มคี ุณภาพได้อย่างแท้จริง

1.3 ขับเคลื่อนการกระจายอานาจในการจัดการศึกษา เพื่อกระจายอานาจสู่เขต


พื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา สถานศึ กษา และให้ ท้ อ งถิ่ น มี ส่ วนร่ ว มตามศัก ยภาพและ
ความพร้อมโดยอิ งกับการรับผิดรับชอบ โดยให้มอี นุ กรรมการสภาการศึกษา อัน
ประกอบไปด้วยบุคลากรที่มคี วามรู้ ความเข้าใจ และมีประสบการณ์เกี่ยวกับการ
กระจายอ านาจปรับ ปรุ ง กฎหมาย กฎระเบีย บ และแนวปฏิบ ัติใ นการสรรหา
คณะกรรมการท้องถิน่ รวมทัง้ การปรับปรุงอานาจหน้าทีใ่ ห้มธี รรมาภิบาล

2. กลไกการขับเคลื่อนในเชิ งปฏิ บตั ิ


การขับเคลือ่ นเชิ งประเด็นยุทธศาสตร์

2.1 หน่ วยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งภายในกระทรวงศึ ก ษาธิ การต้ อ งผลัก ดัน ให้ เ กิ ด
กระบวนการมีส่วนร่วม ควรประสานความร่วมมือ ทางานร่วมกันกระหว่าง

483
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

หน่ วยงานส่ ว นกลาง หน่ วยงานระดับ จัง หวัด หน่ วยงานส่ ว นท้ อ งถิ่ น
ตลอดจนภาคีเครือข่ายด้านการศึกษาเรียนรู้ รวมถึงหน่ วยงานที่ เกี่ยวข้องใน
การรับผิ ดชอบและผลักดัน “ประเด็นเชิ งยุทธศาสตร์” ด้านการพัฒนามนุษย์
(Human Development) เพื่อผลักดันประเด็นเชิ งยุทธศาสตร์อย่างมีทิศทาง
สอดคล้อง เชื่ อมต่ อและ หนุนเสริ มกัน อาทิ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุ
่ ษย์
กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสาธารณสุข สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้
และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน เป็นต้น
2.2 หน่ วยงานที่ เกี่ยวข้องภายในกระทรวงศึ กษาธิ การ ควรนาผลการวิ จยั ครัง้ นี้
นาไปปฏิ บตั ิ งานปรับประยุกต์ใช้ อาจปรับกลไกและรูปแบบการปฏิ บตั ิ งาน
โดยให้ความสาคัญกับการส่งเสริ มการจัดกระบวนการเรียนรู้และส่งเสริ มการ
ั หาใน
เรี ย นรู้ต ลอดชี วิ ต ที่ ส อดคล้ อ งกับ มิ ติ ก ารพัฒ นาในทุ ก ระดับ ทัง้ ป ญ
ประเทศแต่ละท้องถิน่ (Local) ทัง้ พืน้ ทีเ่ ขตเมือง และพืน้ ทีช่ นบท ตลอดจนเชื่อมต่อ
กับประเด็นการพัฒนาระดับภูมภิ าค (Regional) โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประชาคม
อาเซียน และในระดับโลก (Global)

การขับเคลือ่ นเชิ งสถาบันและเครือ่ งมือ

2.3 การจัด ตัง้ สถาบัน และ/หรือ ปรับโครงสร้างเชิ ง สถาบัน โดยพิ จารณาจัด ตัง้
สถาบั น ใหม่ ที่ จ าเป็ น เช่ น สถาบั น เทคโนโลยี เ พื่ อ การศึ ก ษาเรี ย นรู้
สถาบันวิ จยั เพื่อวิจยั เชิงนโยบายด้านการศึกษาเรียนรูร้ ะดับมหภาค และการวิจยั
หลักสูตร พัฒนากระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ ตลอดจนนวัตกรรมการ
เรีย นการสอนที่ม ีคุ ณ ภาพ หรื อ ปรับ โครงสร้ า งเชิ งสถาบัน (Institutional
Arrangement) เพื่อปรับโครงสร้างเชิงสถาบันให้มคี วามเหมาะสมซึง่ จะนาไปสู่การ
ขับเคลื่อ นให้เ กิดปฏิส มั พันธ์ระหว่างบุค ลากรและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อ งให้มกี าร
ดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.4 ส่งเสริ มการศึกษาเรียนรู้ให้เกิ ดผลในทางปฏิ บตั ิ ตามกรอบกฎหมายที่ กาหนด
ไว้ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาทุ ก รูป แบบ ไม่ว่า จะเป็ น การศึก ษาที่เ ป็ น ทางการ
การศึกษาไม่เป็ นทางการ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษา
ทางเลือ กที่ยดึ ความต้อ งการของชุ มชนในท้อ งถิ่น เป็ นหลัก โฮมสคูล ตลอดจน
ส่งเสริมการศึกษาเชิงสังคม (Social Education Promotion) เพื่อผลักดันการศึกษา
484
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทดแทนในทัง้ เยาวชนและผูใ้ หญ่ทต่ี ้องทางานและไม่มโี อกาสในการรับการศึกษาใน


ระบบ และในขณะเดีย วกัน ก็ เ ป็ น การส่ ง เสริม การเรีย นรู้ต ลอดชีว ิต (Lifelong
Learning)
2.5 ส่งเสริ ม สนับสนุนให้ เกิ ดการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาในวงกว้างด้ วย
วิ ธี ต่ า ง ๆ อ า ทิ พั ฒ น า เ ค รื่ อ ง มื อ ท า ง ก า ร เ งิ น เ พื่ อ ใ ห้ โ ร ง เ รี ย น
สถาบันการศึกษาสามารถระดมทรัพยากร ทุนจากชุมชน/สังคม เพื่อนามาใช้
จัดการศึกษา เช่น การออกพันธบัตรเพื่อการศึกษา ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรใน
ชุมชนเพื่อนามาจัดการศึกษา ที่เหมาะสมกับสภาพชุมชน เช่น แรงงาน ทรัพย์สนิ
ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ เป็ นต้น พร้อมกับการให้อสิ ระการบริหารจัดการตามศักยภาพ
และความพร้อม เพิม่ การมีส่วนร่วมจากภาคเอกชนและท้องถิน่ ช่วยลดภาระ
ทางด้านงบประมาณและข้อจากัดด้านบุคลากรของภาครัฐ รวมทัง้ กระตุ้นให้เกิดการ
มีส่วนร่วมในการพัฒนาจากภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้อง ท้องถิน่ อันเป็ นปจั จัยสาคัญในการ
ขับเคลื่อนสู่ความสาเร็จ
2.6 ยกระดับ คุณ ภาพการศึ กษาและขยายการเข้ าถึง การศึ กษาคุณ ภาพดี ด้ ว ย
เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาการศึกษา รวมทัง้ ส่ งเสริ มการเรียนรู้ตลอดชี วิต
วิธกี ารในการดาเนินการเพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ที่จะช่วยยกระดับ
คุณภาพการศึกษาให้ได้คุณภาพ มาตรฐานเดียวกัน ในวงกว้าง และต้นทุนในการ
ด าเนิ น การ คือ การน าเทคโนโลยีส ารสนเทศมาใช้เ พื่อ เปิ ด พื้น ที่ก ารศึก ษาและ
ปรับปรุงคุณภาพการเรียน สร้างทางเชื่อมต่อคนไทยส่วนใหญ่กบั การศึกษาที่ม ี
คุณภาพให้ได้ เพื่อเตรียมความสู่ศตวรรษที่ 21 ทัง้ บนระบบการศึกษาทีเ่ ป็ นทางการ
การศึกษาไม่เป็นทางการ หรือการศึกษาตามอัธยาศัย
 อาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศเป็ นปั จจัยส่ งเสริ มการเรียนรู้ที่นักเรียนเป็ น
ศูนย์กลาง และถูกนามาใช้อย่างบูรณาการ
 อาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นสื่อเชื่ อมต่ อเนื้ อหาที่ ดี (Good Content) สู่
คนหมู่มาก และก่อให้เกิ ดประโยชน์ มากที่ สุด เพื่อสร้างความพร้อมใช้ด้าน
เนื้ อหาสาระ (Content Availability) เช่น
- การนาครูทีเ่ ก่งที ส่ ุดในด้ านต่ างๆ (The Best Teacher) มาจัดทาสือ่
การเรี ย นการสอน ในรูป แบบต่ า งๆ ที แ่ จกจ่ า ยไปยัง โรงเรี ย นทัว่
ประเทศได้ โดยง่ าย เช่น ซีดี วีดที ศั น์ การสอนผ่ านระบบออนไลน์ การ
เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ให้สามารถดาวน์โหลดได้ เป็ นต้น เพื่อให้ครูทม่ี คี วามรู้
ความสามารถ ทักษะการสอนที่ดี สื่อสารให้ผู้เรียนส่ วนใหญ่ ของประเทศ

485
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เข้าใจถึงหลักพื้นฐานของวิชาต่างๆ ซึง่ จะทาให้ผู้เรียนได้เข้าถึงครูท่เี ก่งได้


อย่างทัวถึ่ ง เท่าเทียม นอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถทบทวนบทเรียนต่างๆ
นัน้ ได้ซ้าๆ ช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษา ในขณะทีค่ รูตวั จริงทีป่ ระจา
ห้องเรียนต่างๆ ทาหน้าทีเ่ อื้ออานวยความสะดวก ช่ วยเสริมความเข้าใจและ
เป็นพีเ่ ลีย้ งให้กบั ผูเ้ รียนได้ทาแบบฝึกหัด หรือทากิจกรรมทีเ่ สริมความเข้าใจ
- การสร้างแอพพลิ เคชัน่ (Application) ที น่ ่ าสนใจ เพือ่ เป็ นสือ่ การสอน
ในคอมพิ วเตอร์หรือแท็บเล็ต
 การใช้ เ ทคโนโลยี เ พื่ อ การบริ ห ารระบบการศึ กษา เพื่อ วางนโยบายด้า น
การศึกษาเรียนรูแ้ ละพัฒนากาลังคนของประเทศ รับทราบถึงสภาวการณ์ และ
มิตหิ ลากหลายของระบบการศึกษา การส่งเสริมการเรียนรู้ ข้อมูลเหล่านี้จะใช้
เป็ นพื้นฐานของการตัดสินใจเชิงนโยบาย และจัดระบบให้นโยบายการศึกษา
เรียนรูแ้ ละพัฒนากาลังสามารถตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงได้อย่างทันท่วงที
มีความสอดคล้องกันทัง้ ด้านอุปสงค์อุปทาน เกิดความสมดุล พร้อมไปกับการ
บริหารจัดการได้อย่างยังยื ่ นในระยะยาว

การขับเคลือ่ นขยายผล
2.7 กระทรวงศึ ก ษาธิ การเป็ นเจ้ า ภาพหลัก ร่ ว มกับ หน่ วยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
ด าเนิ นการ ขยายผลจุ ด สว่ า ง (Bright Spot) ที่ เ ป็ นโรงเรี ย นหรื อ
สถาบันการศึกษาตัวอย่างที่ ประสบความสาเร็จ ส่งเสริ มสนับสนุนครูที่สอนดี
และจัดกระบวนการเรียนรู้ได้ เป็ นเลิ ศ ขยายผลให้ เกิ ดการปฏิ บตั ิ จริ งในวง
กว้าง ขยายผลตัวอย่างที่ประสบความสาเร็จหรือจุดสว่างในการพัฒนาการศึกษา
เรียนรู้ ให้เกิดผลในวงกว้าง สร้างตัวอย่างทีด่ เี หล่านี้เพื่อจุดประกาย อาทิ การเรียน
การสอนทีม่ คี วามเป็ นเลิศทางวิชาการควบคู่ไปกับการปลูกฝงั คุณธรรมอย่างเข้มข้น
การขยายผลนวัตกรรมการเรียนรูเ้ พื่อสร้างสรรค์ด้วยปญั ญา ที่ช่วยบ่มเพาะทักษะ
การเรียนรูท้ ส่ี อดคล้องกับบริบทพลวัตรการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 กรณีการ
พัฒ นาการศึ ก ษาควบคู่ ไ ปกับ การขจัด ความยากจนและกรณี ศึก ษาการร่ ว ม
รับผิดชอบต่อสังคมเพื่อเพิม่ คุณภาพชีวติ และขจัดความยากจนอย่างยังยื ่ นโดยภาค
ธุรกิจเอกชน ซึง่ ช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษาไปพร้อมๆกับการพัฒนาสังคม

486
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ (Key Success Factors)


1. ผลั ก ดั น นโยบายและยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาแบบองค์ ร วม (Holistic
Development) นโยบายต้องสะท้อนการพัฒนาอย่างองค์รวม มีความต่อเนื่อง มีทศิ
ทางการพัฒนาที่ชดั เจน ยึดหลักการสร้างคุณภาพ การสร้างโอกาส และการเรียนรู้
ตลอดชีวติ ให้กบั ทัง้ ผูเ้ รียนในระบบ และประชาชนคนไทยทุกคนในสังคม
2. ฝ่ ายการเมืองสนับสนุนเต็มที่ ต่อเนื่ องและมีทิศทางเพื่อการพัฒนาอย่างยังยื ่ น
สนับสนุ นนโยบายที่เน้นการพัฒนาฐานราก ก่อให้เกิดการปฏิรูปอย่างยังยื ่ นในระยะ
ยาว ส่ งเสริมการพัฒนากระบวนการคิดและการพัฒนาทุนมนุ ษย์อ ย่างแท้จริงแม้
จะต้อ งอาศัยระยะเวลาด าเนินการนาน แทนที่จะให้ค วามสาคัญ กับนโยบายเชิง
ประชานิยมหรือนโยบายที่เห็นผลระยะสัน้ ตลอดจนหลีกเลี่ยงนโยบายที่ก่อให้เกิด
ช่องทางการรัวไหลสู
่ งแต่ผลประโยชน์ต่า
3. สร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มจากทุ ก ภาคส่ ว นของสัง คม โดยไม่ป ล่ อ ยให้ก ารพัฒ นา
การศึกษาเป็ นเพียงการพัฒนาเพื่อการศึกษาเท่านัน้ หากแต่เป็ นส่วนหนึ่งของการ
พัฒนาความเป็ นคนไทยที่สมบูรณ์ ดังนัน้ ทุกภาคส่วนจะต้องมีส่ว นร่ว ม ทัง้ สังคม
ผู้ปกครอง สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม กระทรวง ทบวงกรม
และหน่ ว ยงานต่ า งๆ ที่เ กี่ย วข้อ งกับ การศึก ษาเรีย นรู้ ตลอดจนมิติก ารพัฒ นาที่
เชื่อมโยงตลอดชีวติ ในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นด้านการศึกษาเรียนรู้ การทางาน การ
ใช้ชวี ติ ในสังคมไทยอย่างเป็ นสุข โดยมีส่วนร่วมในด้านต่างๆ อาทิ การร่วมจัดสรร
ทรัพยากรหรือระดมทรัพยากร ด้านองค์ความรู้ การแลกเปลีย่ นประสบการณ์ เป็ น
ต้น
4. แก้ ปัญ หาระบบการบริ ห ารจัด การ เพื่อ ตอบสนองแนวคิด การเรีย นรู้ใ หม่แ ห่ ง
ศตวรรษที่ 21 เกิด การสัง่ สมองค์ค วามรู้ บ่ ม เพาะทัก ษะ พัฒ นาฐานข้อ มูล และ
งานวิจยั เพื่อการบริหารการศึกษาที่มปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล ลดโอกาสการ
รัวไหลการเกิ
่ ดคอรัปชั
่ น่ สร้างระบบการบริหารจัดการทีม่ ุ่งให้เกิดการสร้างผลงาน
ผูก โยงกับความรับผิดรับชอบ โปร่งใส นาไปสู่ว ฒ ั นธรรมการแข่งขันเรียนรู้อ ย่าง
สร้างสรรค์

487
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

5.2.3 กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนา


การศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )

กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อ กาหนดแผนการดาเนินการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อ


เตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี) ในส่วนนี้องิ กับข้อเสนอแนวทางการดาเนินงาน
เพื่อเตรียมความพร้อมของการศึกษาไทยสู่ศตวรรษที่ 21
ซ่อม
1. ปฏิรปู ระบบการผลิตครูและพัฒนาศักยภาพครูประจาการ
2. ปฏิรปู การเรียนรูแ้ ห่งศตวรรษที่ 21 และส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
3. ปฏิรปู ระบบการประเมิน เน้นประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment )
4. ปรับรูปแบบการบริหารจัดการ

สร้าง
5. สร้างสังคมแห่งปญั ญา (Wisdom-based Society) และสร้างสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการ
เรียนรู้ (Learning Supportive Environment) เพื่อสร้างมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ (ไม่ใช่แค่เน้นแต่
วิชาการ)

เป้ าหมาย
1) ยกระดับคุณภาพการศึกษาไทยเพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั สาคัญ
2) เกิดการเรียนรูต้ ลอดชีวติ เกิดการเปลีย่ นแปลงในวัฒนธรรมและสังคม เป็ นสังคมแห่ง
การเรียนรู้ สังคมแห่งปญั ญา

488
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 43: สรุปภาพรวมของแผนยุทธศาสตร์และกรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการ


ดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )
ยุทธศาสตร์ ทิ ศทางการพัฒนา แผนงาน

ยุทธศาสตร์ที่ 1 แก้ไขซ่อมแซมระบบการผลิต “ว่าที่ แผนงานที่ 1.1 ปฏิรปู ระบบการผลิต “ว่าทีค่ รู


ปฏิรปู ระบบการผลิต ครูประจาการ” อย่างเร่งด่วน ควบคู่ ประจาการ” ควรมีการปรับปรุงเปลีย่ นแปลง
ครูและพัฒนาศักยภาพ ไปกับเสริมศักยภาพ “ครูประจาการ” อย่างเร่งด่วน
ครูประจาการ เพื่อสร้างครูทเ่ี ป็ นเลิศ แผนงานที่ 1.2 พัฒนา เสริมศักยภาพ “ครู
ประจาการ”
แผนงานที่ 1.3 จัดหาครูทเ่ี ป็ นเลิศสอนผ่านสือ่
พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 2 มีหลักสูตรมีหลักสูตรแกนเพื่อเป็น แผนงานที่ 2.1 ปฏิรปู หลักสูตรทีเ่ น้นการ
ปฏิรปู การเรียนรูแ้ ห่ง กรอบในการจัดการเรียนการสอน เรียนรูอ้ ย่างกว้างขวางและเป็ นองค์รวม (Broad-
ศตวรรษที่ 21 และ ในขณะทีใ่ ห้อสิ ระและยืดหยุ่นแก่ Based and Holistic Learning)
ส่งเสริมการเรียนรู้ โรงเรียนและครู ในการออกแบบ แผนงานที่ 2.2 ออกแบบระบบนิเวศการศึกษา
ตลอดชีวติ กระบวนการเรียนการสอน
ทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูแ้ นวคิดใหม่ สอดรับกับ
หลักสูตรการสอนเน้นการบูรณาการและเน้น
กระบวนการคิด
แผนงานที่ 2.3 การสร้างเสริมศักยภาพให้แก่
ผูเ้ รียน ถ่ายทอดและบ่มเพาะกลยุทธ์ในการ
เรียนรู้ ส่งเสริมเพื่อการสร้างทัศนคติทด่ี ตี ่อการ
เรียนรู้ ของนักเรียน ผูป้ กครอง และคนในสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ แผนงานที่ 3.1 ปฏิรปู ระบบการประเมินทีเ่ น้น
ปฏิรปู ระบบการ ประเมินอย่างสร้างสรรค์ เพื่อบ่มเพาะ ผลงานและเน้นการประเมินพัฒนาการ
ประเมินผล ทักษะ “เรียนรูท้ จ่ี ะเรียน” โดยมุ่งเน้น (Formative Assessment) เพื่อกระตุน้ การ
การประเมินการเรียนรู้ (Formative เรียนรู้ การคิด และก่อให้เกิดการพัฒนาตัว
Assessment) เพื่อสะท้อนให้เห็น ผูเ้ รียนอย่างแท้จริง
พัฒนาการการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน และ แผนงานที่ 3.2 การส่งเสริมการเปิ ดเผยข้อมูล
ไม่ก่อให้เกิดภาระในการดาเนินการ
ผลการเรียนแก่ผปู้ กครองและสาธารณะ เพื่อ
แก่ครูหรือโรงเรียนจนมากเกินไป
การเปรียบเทียบกับมาตรฐานและนาไปสูก่ าร
ช่วยสร้างให้นกั เรียนมีทกั ษะ “เรียนรู้
ยกระดับคุณภาพ
ทีจ่ ะเรียน” (Learning to Learn)
แผนงานที่ 3.3 การประเมินครูและผูบ้ ริหาร
การศึกษาด้วยระบบการมุง่ เน้นผลงาน

489
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 43: (ต่อ)


ยุทธศาสตร์ ทิ ศทางการพัฒนา แผนงาน

ยุทธศาสตร์ที่ 4 จัดให้มรี ปู แบบการบริหารจัดการที่ แผนงานที่ 4.1 ปฏิ รปู เชิ งโครงสร้าง และ
ปรับรูปแบบการ หลากหลาย มีความอิสระ สอดคล้อง พิ จารณาปรับรูปแบบการบริหารจัดการ เพื่อ
บริหารจัดการ กับศักยภาพและความพร้อมของ ปรับรูปแบบการบริหารจัดการ ความเป็ นอิสระ
โรงเรียนและชุมชน เพื่อลดการรวม สอดคล้องกับศักยภาพ และความพร้อมของ
ศูนย์ และลดภาระของภาครัฐ สถาบันการศึกษาต่างๆ เพื่อลดภาระ
งบประมาณในกรณีสถาบันการศึกษาทีม่ คี วาม
พร้อมในการบริหารจัดการ และเปิ ดโอกาสให้
ชุมชนเข้าร่วมพัฒนา
แผนงานที่ 4.2 บริหารการเปลี่ยนแปลง
“Change Management” เพื่อปรับให้
กระทรวงศึกษาธิการเป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้
(Learning Organization) และนาแนวคิดการ
เรียนรูใ้ หม่ (New Concept of Learning) มาสู่
การปฏิบตั อิ ย่างแท้จริง
แผนงานที่ 4.3 ปฏิ รปู ระบบการบริหาร
จัดการ (Management System) เพื่อให้ระบบ
การบริหารการศึกษาเป็ นระบบทีม่ ุ่งเน้น
ประสิทธิภาพ มุ่งเน้นผลงาน และให้อสิ ระตาม
ศักยภาพความพร้อมของสถาบันการศึกษา
ภายใต้เงื่อนไขการรับผิดรับชอบ โดยมีการ
ประเมินทีเ่ น้นผลงานและพัฒนาการอย่างจริงจัง
ผูกโยงเรื่องความรับผิดรับชอบ (Accountability)
และมุ่งเน้นความโปร่งใส (Transparency)
วิเคราะห์ผลงานและความคืบหน้า ระบุและ

แก้ไขปญหาคอขวด (Bottleneck)
แผนงานที่ 4.4 การพัฒนาระบบการ
บริหารจัดการการศึกษา และสร้างเครือข่าย
ตลอดจนการส่งเสริมให้โรงเรียนสามารถระดม
ทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ ด้วยตนเองเพื่อจะมี
ทรัพยากรอย่างเพียงพอในการจัดการศึกษา
อย่างคุณภาพ

490
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 43: (ต่อ)


ยุทธศาสตร์ ทิ ศทางการพัฒนา แผนงาน

ยุทธศาสตร์ที่ 5 สร้าง ภาครัฐสร้างสังคมแห่งปญญา ั โดย แผนงานที่ 5.1 ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ


สังคมแห่งปญญาั การให้ความสาคัญกับการสร้างระบบ สนับสนุนการสร้างสังคมแห่งปญญาั
(Wisdom based นิเวศการศึกษา (Learning แผนงานที่ 5.2 สร้างระบบนิเวศการศึกษา และ
society) และสร้าง Supportive Environment) และ
ออกแบบกระบวนการเรียนการสอนทีเ่ หมาะสม
สภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ออกแบบกระบวนการเรียนการสอนที่
จัดการเรียนการสอนโดยให้ผเู้ รียนเป็ น
ต่อการเรียนรู้ เหมาะสม ทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูใ้ น
ศูนย์กลางอย่างแท้จริง ส่งเสริมให้ผเู้ รียน
(Learning Supportive ศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งสร้างมนุษย์ท่ี
ค้นพบความสามารถตนเอง แรงใจ (Passion)
Environment) เพื่อ สมบูรณ์
ในการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
สร้างมนุษย์ทส่ี มบูรณ์
(ไม่ใช่แค่เน้นแต่ แผนงานที่ 5.3 ส่งเสริม สนับสนุนการมีสว่ น
วิชาการ) ร่วม พัฒนาแหล่งเรียนรู้ พัฒนาพืน้ ทีส่ าธารณะ
(Public Space) ทีส่ ง่ เสริมการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน
และประชาชนทัวไปที ่ ส่ นใจเรียนรู้ ได้มโี อกาส
เรียนรูต้ ลอดชีวติ

การพัฒนากาลังคนของประเทศไทยเป็ นประเด็นที ม่ ีความเกีย่ วโยงกับการพัฒนาใน


หลากหลายมิ ติ ไม่ จ ากัด อยู่ แ ค่ เ พี ย งประเด็ น เกี ย่ วกับ การศึ ก ษาเท่ า นั ้ น ดั ง นั ้น แล้ ว
กระทรวงศึกษาธิ การเพียงหน่ วยงานเดียวคงไม่สามารถดาเนิ นการในทุกเรือ่ งได้เพียงลาพัง
หากแต่ ต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคส่ วนต่ างๆ ในการขับเคลื อ่ นเชิ งนโยบายให้ เกิ ดผล
ในทางปฏิ บตั ิ ซึง่ การสร้างการมีส่วนร่วมเป็ นประเด็นหนึ่งทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ ดังทีไ่ ด้มกี ารเน้น
ยา้ อย่างมากใน (ร่าง) แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2556-2559)

491
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพที่ 121 : หน่ วยงานและภาคส่วนที่มีส่วนร่วมในการนาแผนไปสู่การปฏิ บตั ิ

คุณภาพการศึกษา ขยายโอกาสทางการศึกษา
 คุณภาพคน  โอกาสสาหรับทุกคนตลอดชีวิต
 คุณภาพสังคมภูมิปัญญา  โอกาสสาหรับกลุ่มขาดโอกาส

การมีส่วนร่วม
 การจัดทาแผน
 การบริ หารจัดการ
 การระดมทรัพยากร
 การเป็ นส่วนหนึ่ งของประชาคมอาเซียน/
ประชาคมโลก

พ่อแม่
ผูป้ กครอง

สานักนายก ภาคเอกชน
รัฐมนตรี
ภาคประชา
สังคม
กระทรวง
ศึกษาธิ การ
กระทรวง กระทรวง
มหาดไทย อื่นๆที่
เกี่ยวข้อง
กระทรวง กระทรวง
ท่องเที่ยวฯ สาธารณสุข
กระทรวง
กระทรวง กระทรวง แรงงาน
วัฒนธรรม พัฒนา
สังคม

ทีม่ า: (ร่าง) แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2556-2559)

492
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

หน่ ว ยงานหลัก ที่เ กี่ย วข้อ งในกระบวนการพัฒ นาก าลัง คนของประเทศประกอบไปด้ว ย


กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุ ตสาหกรรม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของ ่
มนุ ษ ย์ กระทรวงวัฒ นธรรม กระทรวงสาธารณสุ ข กระทรวงมหาดไทย ตลอดจนส านั ก งาน
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยแต่ละหน่วยงานมีบทบาทหน้าทีด่ งั นี้
ตารางที่ 44: หน่ วยงานรับผิดชอบในด้านการพัฒนากาลังคน
หน่ วยงาน บทบาทหน้ าที่
กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาสาหรับประชาชนตามแนวทางที่ได้กาหนดไว้ในแผนการศึกษาห่ง
ชาติ โดยมียุทธศาสตร์สาคัญ ได้แก่
- สร้างโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
- ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
- พัฒนาขีดความสามารถของประเทศบนฐานความรู้ โดยในปจั จุบนั มุ่งเน้นที่
การส่งเสริมการเรียนสายวิทยาศาสตร์และการเรียนอาชีวศึกษา
- ส่งเสริมสนับสนุนการวิจยั และพัฒนา ตลอดจนการถ่ายทอดองค์ความรู้
- พัฒนาระบบบริหารจัดการด้านการศึกษา
สานักงาน วางกรอบและแนวทางในการพัฒนาประเทศ รวมถึงนโยบายด้านกาลังคนและการ
คณะกรรมการพัฒนา พัฒ นาขีด ความสามารถของก าลัง คนในภาพรวม ผ่ า นการจัด ท าแผนพัฒ นา
เศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แห่งชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์ พั ฒ นาขี ด ความสามารถของประเทศไทยให้ พ ร้ อ มรั บ มื อ กั บ กระแสการ
และเทคโนโลยี เปลีย่ นแปลงของโลกในยุคโลกาภิวตั น์ โดยมียุทธศาสตร์สาคัญ ได้แก่
- เพิม่ ความสามารถของประชาชนในการยกระดับคุณภาพชีวติ และเศรษฐกิจ
ให้แก่ทอ้ งถิน่ โดยพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจและเศรษฐกิจชุมชน
- พัฒ นาโครงสร้ า งพื้น ฐาน สถาบัน และก าลัง คนด้ า นวิท ยาศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยี เพื่อรองรับการปรับเปลีย่ นโครงสร้างอุตสาหกรรมให้เน้นการใช้
ความรูเ้ ข้มข้นและการสร้างนวัตกรรม
- สร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงเทคโนโลยี สร้างรากฐานการพัฒนาประเทศด้วย ICT โดยมีบทบาททีส่ าคัญ ได้แก่
สารสนเทศและการ - พัฒนาและบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
สือ่ สาร การสือ่ สารให้กระจายไปสูป่ ระชาชนทัวประเทศอย่
่ างทัวถึ
่ ง มีประสิทธิภาพ
- ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาการใช้ ICT ในทุกภาคส่วนเพื่อการพัฒนาประเทศ
อย่างทัวถึ
่ งและมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ถูกต้อง เหมาะสม เพื่อ
เพิม่ คุณภาพชีวติ ของประชาชน

493
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 44: หน่ วยงานรับผิดชอบในด้านการพัฒนากาลังคน (ต่อ)


หน่ วยงาน บทบาทหน้ าที่
กระทรวงแรงงาน สร้างแรงงานที่มีศกั ยภาพสูงเพื่อส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศ ผ่ า นการก าหนดยุ ท ธศาสตร์ก ระทรวงแรงงานและแผนแม่ บ ทด้า น
แรงงาน โดยมียุทธศาสตร์สาคัญ ได้แก่
- ส่งเสริมสนับสนุ นให้มกี าลังคนเพียงพอทัง้ ด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อ
รองรับความต้องการทางเศรษฐกิจ ตลอดจนพัฒนาแรงงานให้มคี ุณธรรม มี
จริยธรรม และมีความรอบรู้
- เสริมสร้างความมันคงในการมี
่ งานทา การทางาน และการมีคุณภาพชีวติ ที่
ดี
กระทรวงอุตสาหกรรม ส่งเสริมการพัฒนากาลังคนเพื่อสนับสนุ นภาคอุตสาหกรรม ตามแนวทางของ
แผนปฏิบตั กิ าร
กระทรวงการพั ฒ นา พัฒนาสังคม สร้างความเป็ นธรรมและความเสมอภาคในสังคม ตลอดจนส่งเสริม
สัง คมและความมัน่ คง และพัฒนาคุณภาพและความมันคงในชี
่ วติ สถาบันครอบครัวและชุมชน โดยมี
ของมนุษย์ ยุทธศาสตร์สาคัญ ได้แก่
- พัฒนาสังคมและชุมชนให้เข้มแข็งพร้อมรับการเปลีย่ นแปลง
- การเสริมสร้างพลังทางสังคม โดยการส่งเสริมภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วม
ในการพัฒนาสังคม
กระทรวงวัฒนธรรม ปลูกฝงั ค่านิยมอันดีงาม บนพืน้ ฐานคุณธรรม บริหารจัดการองค์ความรูแ้ ละมรดก
ทางศิลปวัฒนธรรมให้เกิดประโยชน์แก่สงั คมไทยและสังคมโลก
กระทรวงสาธารณสุข พัฒนาระบบสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อให้ทุกกลุ่มและทุก
ช่ ว งอายุ มีสุ ข ภาพดี มีพ ฤติ ก รรมสุ ข ภาพที่ถู ก ต้ อ งอยู่ ใ นสภาพแวดล้ อ มที่
เหมาะสม อันจะเป็ นรากฐานของการพัฒนาคนในด้านอื่นๆ ต่อไป
กระทรวงมหาดไทย เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสนับสนุนการมีสว่ นร่วมของประชาชนใน
การพัฒนาประเทศและแก้ไขปญั หาภายในชุมชน บริหารจัดการการกระจาย
อานาจและรักษาสมดุลระหว่างส่วนกลางและส่วนท้องถิน่
นอกจากหน่ วยงานหลักทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนากาลังคนโดยตรงแล้ว ในปจั จุบนั ได้มอี งค์กร
อิสระ ภาคเอกชน สมาคมต่างๆ ทีน่ ับว่ามีส่วนร่วมและบทบาทสาคัญในการช่วยขับเคลื่อนนโยบาย
ให้ลงสู่การปฏิบตั ใิ นเชิงพืน้ ทีไ่ ด้อย่างเป็ นรูปธรรม ซึง่ ทางกระทรวงศึกษาธิการควรร่วมกับหน่ วยงาน
ภาคีเครือข่ายเหล่านี้ในการทางานเชิงรุกให้มากขึน้ เพื่อปฏิรปู การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ให้เกิดขึน้
อย่างเป็ นรูปธรรมและไม่จากัดอยู่เพียงแค่การพัฒนา “การศึกษา” หากแต่เป็ นการพัฒนาการศึกษา
เรียนรูค้ วบคู่ไปกับการพัฒนามิตอิ ่นื ๆ อย่างองค์รวม โดยหน่วยงานภาคีเครือข่ายทีส่ าคัญ อาทิ

494
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- สานักงานส่งเสริ มสังคมแห่ งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ซึง่ จัดตัง้


ขึ้นตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และ
คุณภาพเยาวชน พ.ศ.2553 มีภารกิจในการส่งเสริม สนับสนุ น และพัฒนาคุณภาพ
การเรียนรู้ โดยมีเป้าหมายสาคัญคือสังคมแห่งการเรียนรู”้ (Learning Society) ทัง้ นี้
สสค. มีบ ทบาท "จุ ด ประกาย หล่ อ ลื่ น ถั ก ทอ รณรงค์ สนั บ สนุ น " โดยน า
ประสบการณ์จากองค์กรนวัตกรรม คือ สานักงานกองทุนสนับสนุ นการสร้างเสริม
สุขภาพ (สสส.) ซึ่งเป็ นทีร่ จู้ กั กันดีในการมีบทบาทในการปฏิรูปด้านสุขภาพในวันนี้
มาเป็นต้นแบบ หรือกล่าวสัน้ ๆ ได้ว่า สสค. คือ สสส. การศึกษา
- สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน เป็ นหน่ วยงานเอกชนสาธารณประโยชน์ เพื่อ
พัฒนาคุณภาพชีวติ แก่ประชาชน ผูด้ อ้ ยโอกาส กิจกรรมทีส่ าคัญได้แก่การวางแผน
ครอบครัวการสาธารณสุขมูลฐานการอนุ รกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
การสร้างความเข้าใจเรื่องเอดส์ การส่งเสริมประชาธิปไตย การพัฒนาศักยภาพของ
สตรีและเด็ก รวมถึงการสนับสนุ นทุนการศึกษาทุกระดับ การส่งเสริมอาชีพและ
สร้างรายได้ สร้างความเข้มแข็งให้กบั สถาบันครอบครัวและองค์กรชุมชน สมาคมฯ
ทางานเพื่อ สังคมและชุ มชนอย่างต่ อ เนื่อ ง การทางานเพื่อ สังคมและชุมชน ซึ่ง มี
พัฒนาการในการดาเนินกิจกรรมครบวงจร ตลอดจนการเผยแพร่แลกเปลีย่ นเรียนรู้
ประสบการณ์กบั หน่ วยงานภายในประเทศและนานาชาติ ผ่านศูนย์พฒ ั นาประชากร
และชุมชนแห่งเอเชีย สาขา รวมทัง้ ศูนย์พฒั นาชนบท การพัฒนาของสมาคมฯ ทีเ่ ป็ น
รูปธรรม และเกิดประโยชน์ทงั ้ ทางตรงและทางอ้อมแก่หมู่บา้ น ชุมชน ตาบล อาเภอ
และจังหวัดของประเทศไทย
การจัดทากรอบแผนปฏิบตั ิก ารในส่ ว นนี้ มวี ตั ถุ ประสงค์เ พื่อ ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องเข้าใจ
ทิศ ทางยุทธศาสตร์แ ละเพื่อ เชื่อ มโยงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบ ัติ โดยองค์ป ระกอบของกรอบแนว
ทางการดาเนินการเพื่อกาหนดแผนการดาเนินการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อ เตรียมความพร้อมสู่
ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี) ประกอบด้วย
 แผนงาน
 โครงการ/กิจกรรม
 วัตถุประสงค์
 ระยะเวลาดาเนินการ
 หน่วยงานรับผิดชอบ

495
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
ยุทธศาสตร์ แผนงานที่ 1.1 ปฏิรปู - ปฏิรปู ระบบการผลิตครู เพื่อเป็ น - เพื่อให้มสี ถาบันการผลิตครูมี หน่วยงานหลัก:
ที่ 1 ปฏิรปู ระบบ ระบบการผลิต “ว่าทีค่ รู แม่พมิ พ์แห่งชาติทด่ี ใี นการยกระดับ มาตรฐาน มีลกั ษณะเฉพาะเชีย่ วชาญ กระทรวงศึกษาธิการ
การผลิตครูและ ประจาการ” ควรมีการ คุณภาพการศึกษา ตามศักยภาพและความพร้อมของ หน่วยงานรอง:
พัฒนาศักยภาพ ปรับปรุงเปลีย่ นแปลง สถาบัน เกิดการแข่งขันทีก่ ่อให้เกิด - กระทรวง
ครูประจาการ อย่างเร่งด่วน การพัฒนาคุณภาพ และเพื่อให้มกี าร วิทยาศาสตร์
บ่มเพาะบุคลากรเป็ น “ว่าทีค่ รู - กระทรวงแรงงาน
- กระทรวง
ประจาการ” ทีม่ คี ุณภาพ
อุตสาหกรรม
- จัดประเภทสถาบันทีผ่ ลิตครูอย่างมี - เพื่อให้แต่ละสถาบันมีกลุม่ เป้าหมาย - กระทรวงการพัฒนา
มาตรฐาน มุง่ เน้นคุณภาพ และให้แต่ ผูเ้ รียนครูทช่ี ดั เจน สังคมฯ
ละสถาบันกาหนดเป้าหมายและ - กระทรวงวัฒนธรรม
ลักษณะเฉพาะเชีย่ วชาญตาม
ศักยภาพและความพร้อมของสถาบัน

496
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 1.1 (ต่อ) - ปฏิรปู หลักสูตรคุรุศาสตร์และ - เพื่อแก้ปญั หาข้อจากัดกระบวนการ
ศึกษาศาสตร์ โดยปรับโครงสร้าง เรียนการสอนของสถาบันผลิตครูใน
หลักสูตร ผสมผสานการบูรณาการ ปจั จุบนั ยังค่อนข้างแยกส่วนระหว่าง
ตัง้ แต่ขนั ้ ตอนการผลิตครู เพื่อบ่ม การสอนทฤษฎี และการปฏิบตั ิ
เพาะความเป็ นครู ทักษะการสอน - ช่วยบ่มเพาะความเป็ นครูทเ่ี ข้มข้น
ทักษะในการคิดวิเคราะห์หลักสูตร เพื่อให้การผลิต “ว่าทีค่ รูประจาการ”
มีการบ่มเพาะทักษะการสอน และ
ทักษะในการคิดวิเคราะห์หลักสูตร
แกนกลางทีไ่ ด้รบั มา และการประยุกต์
สอนให้เข้ากับเด็กนักเรียนและบริบท

497
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 1.1 (ต่อ) - วางระบบการพัฒนาครูอย่างครบ - เพื่อดึงดูดบุคลากรทีม่ คี ุณภาพเข้าสู่
วงจร การเป็ นครู โดยปรับอัตราเงินเดือน
ให้สงู เท่าวิชาชีพชัน้ สูง ยกระดับ
มาตรฐาน เส้นทางอาชีพครูมี
ความก้าวหน้า
- เพื่อสร้างระบบแรงจูงใจ และสร้าง
ค่านิยมเพื่อดึงดูดให้ผทู้ ม่ี คี ะแนนสูง
เข้ามาเรียนครู
- เพื่อสร้างครูรุ่นใหม่ทม่ี คี ุณภาพเป็ น
เลิศ การคัดเลือกครูเข้มข้น คัดเลือก
ครูจากนักเรียนทีม่ ผี ลคะแนนสูงเป็ น
อันดับต้นๆ ของประเทศ

498
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 1.2 - พัฒนาศักยภาพครูประจาการให้มี - เพื่อช่วยแก้ไขปญั หาเรื่องคุณภาพครู หน่วยงานหลัก:
พัฒนา เสริมศักยภาพ บทบาทครูในศตวรรษที่ 21 ประจาการมีขอ้ จากัดในการสอน ทา กระทรวงศึกษาธิการ
ครูประจาการ ตัวอย่างเช่น ให้ผเู้ รียนขาดความรูค้ วามเข้าใจอย่าง หน่วยงานรอง:
- จัดกิจกรรมการฝึกอบรมและ ลึกซึง้ - กระทรวง ICT
ปฏิบตั กิ ารครูประจาการว่าด้วย - เพื่อบ่มเพาะทักษะและบทบาทครูใน - กระทรวง
บทบาทครูในศตวรรษที่ 21 ศตวรรษที่ 21 วิทยาศาสตร์
- กระทรวงแรงงาน
- จัดทาเผยแพร่สอ่ื และองค์ความรู้
- กระทรวง
ผ่านทางสือ่ ประเภทต่างๆ รวมถึง อุตสาหกรรม
เว็บไซต์ - กระทรวงการพัฒนา
- การจับคู่โรงเรียนต้นแบบ เพื่อเป็ น สังคมฯ
การถ่ายทอดประสบการณ์บทบาทครู - กระทรวงวัฒนธรรม
ในศตวรรษที่ 21 และขยายผล - สภา/สมาคมวิชาชีพ

499
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 1.2 (ต่อ) - สร้างเครือข่ายครูประจาการสร้าง - เพื่อสร้างสังคมครูทม่ี กี ารแลกเปลีย่ น
สังคมครูประจาการทีม่ กี าร เรียนรู้ และส่งเสริมให้ครูประจาการมี
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ (Professional องค์ความรูใ้ หม่ๆ นาไปสูก่ ารปรับปรุง
Learning Communities: PLC) และ พัฒนาทักษะ วิธกี ารสอน และ
การส่งเสริมการพัฒนาระบบครูพเ่ี ลีย้ ง ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
ในสถาบันการศึกษา
- โครงการปรับปรุงระบบการขึน้ บัญชี - เพื่อให้มกี ารจัดสรรครูในอนาคตมี
ครู และจัดสรรครูประจาการไปสอน ความสอดคล้องกับความต้องการครู
ในวิชาทีต่ นมีความเชีย่ วชาญ ของสถาบันการศึกษา ในขณะทีค่ รูก็
ได้สอนในสาขาทีต่ นเชีย่ วชาญทีส่ ดุ

500
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 1.2 (ต่อ) - โครงการจัดทาฐานข้อมูลความ - เพื่อให้มกี ารจัดสรรครูในระบบ
เชีย่ วชาญของครูประจาการและจับคู่ ปจั จุบนั ใหม่ (re-allocation) ทีไ่ ปสอน
(Matching) ความเชีย่ วชาญของครู ตามโรงเรียนไม่ได้สอนตามความ
กับครูทข่ี าดแคลนในสถานศึกษา เชีย่ วชาญเฉพาะของตน โดย
ต่างๆ (โดยให้ครูประจาการยื่นความ โยกย้ายครูประจาการ (ทีย่ ่นื ความ
ประสงค์ล่วงหน้า และใช้ระบบ ประสงค์) ให้ไปสอนตามความ
ฐานข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ เชีย่ วชาญของตน ในโรงเรียน
จัดสรรโดยมีช่วงเวลาเปลีย่ นผ่าน) สถานศึกษาทีแ่ จ้งความจานงค์
- โครงการจัดทาบัญชีสาขาครูทม่ี กี าร - เพื่อเป็ นข้อมูลป้อนกลับสูส่ ถาบันการ
ขาดแคลน และสาขาทีเ่ กินอัตรา ผลิตครู เพื่อเป็ นข้อมูลในการ
วางแผนกาลังคน (Manpower
Planning)
- เพื่อให้เกิดสมดุลระหว่างอุปสงค์และ
อุปทานในการผลิตครูประจาการสาขา
ต่างๆ ช่วยลดการผลิตครูในสาขาที่
ขาดแคลน และลดการผลิตครูทม่ี มี าก
เกินกว่าอัตราความต้องการ

501
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 1.2 (ต่อ) - เปิ ดโอกาสให้ผเู้ ชีย่ วชาญ หรือผูท้ จ่ี บ - เพื่อดึงดูดคนเก่งให้สนใจเข้ามา
สาขาอื่นสามารถมาเป็ นครูได้ ประกอบอาชีพครูได้
- เพื่อลดปญั หาการขาดแคลนครูทม่ี ี
คุณภาพ โดยเฉพาะ ครูทม่ี คี วาม
เชีย่ วชาญในบางสาขา
แผนงานที่ 1.3 สร้าง - จัดให้มคี รูทเ่ี ป็ นเลิศ สอนผ่านสือ่ และ - เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา และ หน่วยงานหลัก:
ครูทเ่ี ป็ นเลิศสอนผ่าน พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ขยายโอกาสทางการศึกษา ทาให้ - กระทรวงศึกษาธิการ
สือ่ พัฒนาเทคโนโลยี ผูเ้ รียนต่างๆ ทัวประเทศมี
่ โอกาสได้ - กระทรวง ICT
เพื่อการศึกษา เรียนรูก้ บั ครูทม่ี อี งค์ความรูแ้ ละทักษะ หน่วยงานรอง:
การสอนเป็ นเลิศ สามารถถ่ายทอดกล - กระทรวง
ยุทธ์การเรียนรูใ้ ห้ผเู้ รียน ผ่านสือ่ วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เว็บไซต์ - กระทรวงแรงงาน
- กระทรวง
อุตสาหกรรม
- กระทรวงการพัฒนา
สังคม

502
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
ยุทธศาสตร์ที่ 2 แผนงานที่ 2.1 - ออกแบบหลักสูตรทีเ่ น้นการเรียนรู้ - เพื่อให้มโี ครงสร้างหลักสูตรที่ เน้น หน่วยงานหลัก:
ปฏิรปู หลักสูตร ปฏิรปู หลักสูตรทีเ่ น้น อย่างกว้างขวางและเป็ นองค์รวม กระบวนการเรียนรูด้ ว้ ยแนวคิดใหม่ กระทรวงศึกษาธิการ
กรอบหลักสูตร การเรียนรูอ้ ย่าง (Broad-Based and Holistic นาไปสูก่ ารเรียนรู้ ของผูเ้ รียนอย่าง หน่วยงานรอง:
แกน ปฏิบตั ใิ ห้ถงึ กว้างขวางและเป็ นองค์ Learning กว้างขวางและเป็ นองค์รวม (Broad- - กระทรวง
แก่น รวม (Broad-Based Based and Holistic Learning และ วิทยาศาสตร์
and Holistic เกิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st - กระทรวงแรงงาน
- กระทรวง
Learning) Century Skill)
อุตสาหกรรม
- กระทรวงการพัฒนา
สังคมฯ
- กระทรวงวัฒนธรรม
- สภา/สมาคมวิชาชีพ

503
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 2.1 (ต่อ) - ปรับเปลีย่ นให้หลักสูตรการสอนเน้น - เพื่อให้หลักสูตรมีการบูรณาการ
การบูรณาการมากขึน้ เน้น เนื้อหาสาระวิชาต่างๆ เข้าด้วยกัน ลด
กระบวนการคิดเชิงระบบและ ความซ้าซ้อนของการเรียนการสอน
เชื่อมโยงเนื้อหาสาระเข้าด้วยกันกับ - เพือ่ แก้ไขการเรียนการสอนทีเ่ ป็น
บริบทชีวติ ท้องถิน่ และบริบทโลกยุค รายวิชาสาระการเรียนรู้ ทีค่ ดิ แยก
ศตวรรษที่ 21 ส่วน ซา้ ซ้อน ทาให้ตอ้ งอาศัยชัวโมง

- ปรับเปลีย่ นให้หลักสูตรเน้น การเรียนค่อนข้างสูง ผูเ้ รียนเกิดความ
กระบวนการคิด ทักษะมากกว่าเน้นที่ เบื่อหน่าย อีกทัง้ เกิดความซ้าซ้อน
เนื้อหาสาระทีอ่ าจเปลีย่ นแปลงและ กันในการเรียนการสอน ไม่มคี วาม
ล้าสมัยได้ เชื่อมโยงระหว่างองค์ความรู้ และ
ไม่ได้เชื่อมโยงกับชีวติ ประจาวัน
- เพื่อกระตุน้ การเรียนรู้ การคิด และ
ก่อให้เกิดการพัฒนาตัวผูเ้ รียนอย่าง
แท้จริง

504
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 2.1 (ต่อ) - ปรับระบบการประเมินผล ด้วยการ - เพื่อแก้ปญั หาหลักสูตรและการ
ออกข้อสอบทีเ่ น้นวัดความเข้าใจ ประเมินผลไม่สอดคล้องกับ
(literacy-based test) มากกว่าเน้นวัด ั บนั การ
ผลสัมฤทธิที์ ต่ อ้ งการปจจุ
เนื้อหา (content-based test) และ ประเมินผลการเรียนรูเ้ น้นท่องจา
การประเมินพัฒนาการ (Formative และเพื่อให้การประเมินผลการเรียนรู้
Assessment) ใหม่นาไปสูก่ ารวัดทักษะกระบวนการ
คิดและความเข้าใจของผูเ้ รียน
- โครงสร้างหลักสูตรเป็ นเพียงกรอบ - เพื่อนาไปสูก่ ารออกแบบหลักสูตรที่
เท่านัน้ โรงเรียนและครูมอี สิ ระ หลากหลาย มีกรอบหลักสูตรทีเ่ ข้มข้น
กาหนดวิธกี ารสอน การเรียนรูเ้ ต็มที่ ทีเ่ น้นกระบวนการคิด ความเข้าใจ
เปิ ดกว้างให้มหี ลักสูตรทีห่ ลากหลาย พร้อมกับมีอสิ ระในการนากรอบ
โดยหน่วยงานกลางเปลีย่ นจาก หลักสูตรไปจัดการเรียนรการสอนที่
บทบาทการเป็ นผูค้ วบคุมหลักสูตร สอดคล้องกับบริบท และศักยภาพ
มาเป็ นการเป็ นผูร้ บั รองหลักสูตร ของผูเ้ รียน
ต่างๆ และเพื่อให้มกี ารจัดหลักสูตรที่
สอดคล้องกับศักยภาพของผูเ้ รียนแต่
ละรายมากขึน้

505
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 2.2 - ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนทีม่ ี - เพื่อสร้างระบบนิเวศการศึกษาทีเ่ อือ้ หน่วยงานหลัก:
ออกแบบระบบนิเวศ การออกแบบสภาพแวดล้อมทีท่ า้ ทาย ต่อการเรียนรูแ้ นวคิดใหม่ สอดรับกับ กระทรวงศึกษาธิการ
การศึกษาทีเ่ อือ้ ต่อการ สนุกสนานสอดคล้องกับแนวคิดใหม่ หลักสูตรการสอนเน้นการบูรณาการ หน่วยงานรอง:
เรียนรูแ้ นวคิดใหม่ ของการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 และเน้นกระบวนการคิด - กระทรวง ICT
สอดรับกับหลักสูตร - กระทรวง
การสอนเน้นการบูรณา วิทยาศาสตร์
- กระทรวงแรงงาน
การและเน้น
- กระทรวง
กระบวนการคิด อุตสาหกรรม
- ส่งเสริมการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ - เพื่อปรับปรุงการสือ่ สาร การเรียนการ - กระทรวงการพัฒนา
สังคมฯ
มาใช้ เป็ นปจั จัยส่งเสริมการเรียนรู้ สอน และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
- กระทรวงวัฒนธรรม
อย่างบูรณาการ โดยให้ความสาคัญ สารสนเทศเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
- สภา/สมาคมวิชาชีพ
กับสาระ (content) อาทิ การสืบค้นข้อมูล องค์ความรู้

506
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 2.2 (ต่อ) - ส่งเสริมการมีสว่ นร่วม และการสร้าง - เพื่อให้ภาคส่วนต่างๆ มีสว่ นร่วมใน
เครือข่ายเพื่อเป็ นพันธมิตรในการ การออกแบบสภาวะแวดล้อมของการ
สร้างสรรค์การเรียนรูท้ งั ้ ในระบบ เรียน ทางการศึกษา มีการสร้าง
การศึกษาทางการและไม่เป็ นทางการ สภาพแวดล้อมการเรียนรูน้ อก
ห้องเรียนและในห้องเรียนทีเ่ ชื่อมโยง
กัน รวมทัง้ ช่วยเปิ ดโอกาสการระดม
ทรัพยากร หรือแบ่งปนั ทรัพยากรใน
การเรียนรู้
แผนงานที่ 2.3 การ - สร้างเสริมศักยภาพให้แก่ผเู้ รียน - สร้างเสริมศักยภาพให้แก่ผเู้ รียน หน่วยงานหลัก:
สร้างเสริมศักยภาพ ถ่ายทอดและบ่มเพาะกลยุทธ์ในการ ถ่ายทอดและบ่มเพาะกลยุทธ์ในการ กระทรวงศึกษาธิการ
ให้แก่ผเู้ รียน ถ่ายทอด เรียนรู้ เรียนรู้ เพื่อสร้างทัศนคติทด่ี ตี ่อการ หน่วยงานรอง:
และบ่มเพาะกลยุทธ์ใน - ส่งเสริมการสร้างทัศนคติทด่ี ตี ่อการ เรียนของนักเรียน และการใช้เวลาใน - กระทรวงการพัฒนา
การเรียนรูส้ ง่ เสริมเพื่อ เรียนรู้ ของนักเรียน ผูป้ กครอง และ การทากิจกรรมทีเ่ ป็ นประโยชน์นอก สังคมฯ
การสร้างทัศนคติทด่ี ี คนในสังคม ห้องเรียน - กระทรวงวัฒนธรรม
ต่อการเรียนรู้ ของ - เพื่อให้ความรูแ้ ละสร้างทัศนคติทด่ี แี ก่
นักเรียน ผูป้ กครอง ผูป้ กครอง สังคม กระตุน้ ให้เกิดความ
และคนในสังคม รักการเรียนรู้

507
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
ยุทธศาสตร์ที่ 3 แผนงานที่ 3.1 ปฏิรปู - ปฏิรปู ระบบการประเมิน เน้นการ - เพื่อกระตุน้ การเรียนรู้ การคิด และ หน่วยงานหลัก:
ปฏิรปู ระบบการ ระบบการประเมินผล ประเมินพัฒนาการ (Formative ก่อให้เกิดการพัฒนาตัวผูเ้ รียนอย่าง กระทรวงศึกษาธิการ
ประเมินผล การเรียนรู้ Assessment) แท้จริง แทนทีจ่ ะมุ่งหวังแต่ผลคะแนน
สอบ

แผนงานที่ 3.2 การ - การประเมินครูและผูบ้ ริหารการศึกษา - เพื่อสร้างระบบการประเมิน และระบบ หน่วยงานหลัก:


ประเมินครูและ ด้วยระบบการมุ่งเน้นผลงาน ผลตอบแทนทีม่ ุ่งเน้นผลงาน นาไปสู่ กระทรวงศึกษาธิการ
ผูบ้ ริหารการศึกษาด้วย - การปฏิรปู ระบบผลตอบแทนของครู การยกระดับคุณภาพการศึกษา และ
ระบบการมุ่งเน้น ให้เชื่อมโยงกับผลสอบของนักเรียน ยกระดับผลสัมฤทธิทางการเรี
์ ยนของ
ผลงาน นักเรียนอย่างแท้จริง

508
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 3.3 การ - ส่งเสริมการเปิ ดเผยข้อมูลผลการสอบ - เพื่อให้มกี ารเปิ ดเผยข้อมูลผลการ หน่วยงานหลัก:
ส่งเสริมการเปิ ดเผย มาตรฐานและผลประเมินคุณภาพของ สอบมาตรฐานและผลประเมิน - กระทรวงศึกษาธิการ
ข้อมูลผลการสอบ โรงเรียน คุณภาพของโรงเรียน เพื่อให้ - กระทรวง ICT
มาตรฐานและผล ผูป้ กครองเลือกโรงเรียนตามคุณภาพ หน่วยงานรอง:
ประเมินคุณภาพของ และติดตามการดาเนินงานของ กระทรวงมหาดไทย
โรงเรียนแก่ผปู้ กครอง โรงเรียน ได้
และสาธารณะ เพื่อการ
เปรียบเทียบกับ
มาตรฐานและนาไปสู่
การยกระดับคุณภาพ

509
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
ยุทธศาสตร์ที่ 4 แผนงานที่ 4.1 ปฏิรปู - ปฏิรปู เชิงโครงสร้าง - เพื่อการเปลีย่ นแปลงเชิงบูรณาการ หน่วยงานหลัก:
ปรับรูปแบบการ เชิงโครงสร้าง และ - จัดตัง้ ทีมบริหารการเปลีย่ นแปลง เพื่อปรับให้กระทรวงศึกษาธิการเป็ น - กระทรวงศึกษาธิการ
บริหารจัดการ บริหารการ ปฏิรปู และเป็ นพลังขับเคลื่อนให้เกิด องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning - กระทรวงมหาดไทย
- กระทรวง ICT
เปลีย่ นแปลง การเปลีย่ นแปลง Organization) และนาแนวคิดการ
“Change เรียนรูใ้ หม่ (New Concept of
Management” Learning) มาสูก่ ารปฏิบตั อิ ย่าง
แท้จริง
แผนงานที่ 4.2 ปฏิรปู - ปฏิรปู ระบบการบริหารจัดการของ - เพื่อปฏิรปู ระบบการเรียนรูส้ ่รู ะบบการ หน่วยงานหลัก:
ระบบการบริหาร กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงาน เรียนรูแ้ นวคิดใหม่ และเพื่อให้ - กระทรวงศึกษาธิการ
จัดการ (Management ภายใต้สงั กัด โดยพิจารณาให้ กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงาน - กระทรวง ICT
System) หน่วยงานทีม่ คี วามพร้อม มีอสิ ระใน ภายใต้สงั กัดเป็ นองค์กรแห่งการ หน่วยงานรอง:
การบริหารจัดการภายใต้ความ เรียนรู้ และบุคลากรแห่งการเรียนรู้ กระทรวงมหาดไทย
รับผิดชอบ แทนการจัดการแบบ - เพื่อกระจายอานาจการบริหารให้กบั
ควบคุมและสังการ่ (Command & โรงเรียน เพื่อให้โรงเรียนแต่ละแห่ง
Control) ทัง้ หมด ปรับปรุงการจัดการศึกษาอย่าง
คล่องตัว เหมาะสมกับบริบท และ
สภาพปญั หาแต่ละแห่ง

510
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 4.2 (ต่อ) - ส่งเสริมการเพิม่ ศักยภาพ - เพื่อส่งเสริมการเพิม่ ศักยภาพ
(Empowerment) ให้โรงเรียนและครู (Empowerment) และเพื่อให้เกิด
สร้างนวัตกรรมการเรียนรูใ้ หม่ อิสรภาพของโรงเรียน ด้านการใช้
งบประมาณ และด้านการจัดหลักสูตร
การเรียนการสอน โดยเป็ นอิสรภาพที่
มีการตรวจสอบ
- ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมในการบริหาร - เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการ
จัดการการศึกษา และส่งเสริม การศึกษาร่วมกันระหว่างสถานศึกษา
การศึกษา กับผูป้ กครอง ตลอดจนภาคส่วน
ต่างๆ ทัง้ ภาคเอกชน ภาคประชาชน
ภาคประชาสังคม และทุกภาคส่วนใน
การบริหารจัดการการศึกษา และ
ส่งเสริมการศึกษา

511
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 4.2 (ต่อ) - ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ - เพื่อเพิม่ ศักยภาพการเรียนรูภ้ ายใต้
ในด้านการศึกษา เรียนรู้ วิจยั และ กระแสการเปลีย่ นแปลง รวมทัง้
พัฒนา ก่อให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการ
และการศึกษาเรียนรู้ วิจยั และพัฒนา
ยุทธศาสตร์ที่ 5 แผนงานที่ 5.1 - ส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ เน้นการ - เพื่อส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ของ หน่วยงานหลัก:
สร้างสังคมแห่ง ส่งเสริมการเรียนรู้ เรียนรูอ้ ย่างบูรณาการ ผูเ้ รียน ประชาชน และทุกภาคส่วน - กระทรวงศึกษาธิการ
ปญั ญา (Wisdom ตลอดชีวติ สนับสนุน ของสังคม เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อน - กศน.
based society) การสร้างสังคมแห่ง การเรียนรูแ้ ละเศรษฐกิจ สังคมก้าวสู่ หน่วยงานรอง:
และสร้าง ปญั ญา การเป็ นสังคมแห่งปญั ญา - กระทรวง ICT
สภาพแวดล้อมที่ - กระทรวง
เอือ้ ต่อการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
- กระทรวงแรงงาน
(Learning
- กระทรวงการพัฒนา
Supportive สังคมฯ
Environment) - กระทรวงวัฒนธรรม
เพื่อสร้างมนุษย์ท่ี - กระทรวงมหาดไทย
สมบูรณ์ (ไม่ใช่แค่ - สภา/สมาคมวิชาชีพ
เน้นแต่วชิ าการ)

512
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 5.2 สร้าง - ส่งเสริมการสร้างระบบนิเวศ - เพื่อสร้างระบบนิเวศการศึกษา และ หน่วยงานหลัก:
ระบบนิเวศการศึกษา การศึกษา และออกแบบกระบวนการ ออกแบบกระบวนการเรียนการสอนที่ - กระทรวงศึกษาธิการ
และออกแบบ เรียนการสอนทีเ่ หมาะสม เหมาะสม และจัดการเรียนการสอน - กศน.
กระบวนการเรียนการ โดยให้ผเู้ รียนเป็ นศูนย์กลางอย่าง หน่วยงานรอง:
สอนทีเ่ หมาะสม แท้จริง ตลอดจนส่งเสริมให้ผเู้ รียน - กระทรวง ICT
ค้นพบความสามารถตนเอง แรงใจ - กระทรวง
(Passion) ในการเรียนรูต้ ลอดชีวติ วิทยาศาสตร์
- กระทรวงแรงงาน
แผนงานที่ 5.3 - พัฒนาพืน้ ทีส่ าธารณะ (Public - เพื่อจัดให้มพี น้ื ทีส่ าธารณะ (Public - กระทรวง
ส่งเสริม สนับสนุนการ Space) ทีส่ ง่ เสริมการเรียนรูข้ อง Space) และพืน้ ทีเ่ ปิ ด (open อุตสาหกรรม
มีสว่ นร่วม พัฒนา ผูเ้ รียน และประชาชนทัวไปที
่ ส่ นใจ spaces) ทีส่ ง่ เสริมการเรียนรูข้ อง - กระทรวงการพัฒนา
แหล่งเรียนรู้ เรียนรู้ ได้มโี อกาสเรียนรูต้ ลอดชีวติ ผูเ้ รียน และประชาชนทัวไปที ่ ส่ นใจ สังคมฯ
- กระทรวงวัฒนธรรม
- ส่งเสริมภาคส่วนอื่นๆ ทีม่ คี วามพร้อม เรียนรู้ ได้มโี อกาสเรียนรูต้ ลอดชีวติ
- กระทรวงมหาดไทย
และมีศกั ยภาพ ไม่ว่าจะเป็ น - สภา/สมาคมวิชาชีพ
ภาคเอกชน หรือท้องถิน่ ในการจัด
พืน้ ทีเ่ ปิ ด (open spaces) ทีเ่ ป็ น
แหล่งเรียนรูต้ ลอดชีวติ แก่ประชาชน

513
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 45: กรอบแนวทางการดาเนิ นการเพื่อกาหนดแผนการดาเนิ นการพัฒนาการศึกษาไทยเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 ระยะยาว (15 ปี )


ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ/กิ จกรรม วัตถุประสงค์ ระยะเวลา หน่ วยงาน
ดาเนิ นการ รับผิดชอบ
5 ปี 10 ปี 15 ปี
แผนงานที่ 5.3 (ต่อ) - ส่งเสริม สนับสนุนการมีสว่ นร่วมจาก - เพื่อสร้างกระบวนการการมีสว่ นร่วม
ทุกภาคส่วน ในการพัฒนาแหล่ง เปิ ดโอกาสให้มกี ารระดมทรัพยากร
เรียนรู้ และการลงทุนเพื่อการศึกษา
- จัดตัง้ สถาบันวิจยั หรือศูนย์การวิจยั - เพื่อศึกษาวิจยั ในเชิงลึกถึงประเด็น
การเรียนรู้ ศึกษาวิจยั ในเชิงลึกใน สถานการณ์ ปญั หา แนวทางการ
ประเด็นต่างๆทีเ่ กีย่ วกับการพัฒนา พัฒนาระบบการศึกษา และการ
การศึกษาและการเรียนรู้ เรียนรูต้ ลอดชีวติ ของคนไทย เพือ่
นาไปสูฐ่ านข้อมูลการวิจยั ทีเ่ ป็ น
ประโยชน์ในการวางแผนและตัดสินใจ
เชิงนโยบาย

514
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

5.2.4 ข้อเสนอแนะแนวทางการผลักดันแผนฯ สู่การปฏิ บตั ิ


นอกเหนือจากข้อเสนอแนะเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยสู่ศตวรรษ
ที่ 21 แล้ว ผูท้ รงคุณวุฒหิ ลายท่านทีค่ ณะวิจยั ได้สมั ภาษณ์ได้เน้นยา้ ถึงการนายุทธศาสตร์ดงั กล่าวนาไปสู่
การปฏิบตั ไิ ด้จริง โดยเน้นบทบาทเชิงรุก (Proactive) ความจริงใจ และความมุ่งมันของฝ ่ ่ายการเมือง ผู้
กาหนดนโยบาย ตลอดจนบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการในการจัดระบบการศึกษาและสภาพแวดล้อม
เพื่อการเรียนรูท้ ่เี หมาะสมแก่ผเู้ รียนและผูส้ นใจใฝ่ความรู้ ที่รกั การเรียนรูต้ ลอดชีวติ คณะผู้วจิ ยั จึงได้
ประมวลความคิดเห็นดังกล่าว และนาเสนอแนวทางการผลักดันแผนฯ สู่การปฏิบตั ิ ดังนี้
1. ตัง้ ที มการบริ หารการเปลี่ยนแปลง “Change Management Team” เพื่อปรับให้
กระทรวงศึ กษาธิ การเป็ นองค์กรแห่ งการเรียนรู้ (Learning Organization) และนา
แนวคิ ดการเรียนรู้ใหม่ (New Concept of Learning) มาสู่การปฏิ บตั ิ อย่างแท้ จริ ง
โดยจัด ตั ง้ ที ม งานที่ป ระกอบด้ ว ยบุ ค ลากรที่ม ีค วามสามารถและมุ่ ง มัน่ ที่ จ ะปฏิ รู ป
กระทรวงศึกษาธิการในเชิงรุก เข้าใจถึงแนวคิดการเรียนรูใ้ หม่ในศตวรรษที่ 21 และเป็ น
พลังขับเคลื่อนให้เกิดการเปลีย่ นแปลง โดยเชิญผูม้ สี ่วนเกี่ยวข้องทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน
ร่วมกันปฏิรูปการศึกษา ค้นหาแนวทางการดาเนินการ กลไกและเครื่องมือใหม่ๆ ในการ
พัฒนาระบบการการศึกษา และการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
2. ปฏิ รูประบบการบริ ห ารจัดการ (Management System) เพื่ อ ให้ ระบบการบริ หาร
การศึกษาเป็ นระบบที่ม่งุ เน้ นประสิ ทธิ ภาพ มุ่งเน้ นผลงาน และให้ อิสระตามศักยภาพ
ความพร้ อ มของสถาบัน การศึ ก ษาภายใต้ เ งื่ อ นไขการรับ ผิ ด รับ ชอบ โดยมีก าร
ประเมิน ที่เ น้ น ผลงานและพัฒ นาการอย่ า งจริง จัง ผู ก โยงเรื่อ งความรับ ผิด รับ ชอบ
(Accountability) และมุ่งเน้ นความโปร่งใส (Transparency) วิเคราะห์ผลงานและความ
คืบหน้า
3. กาจัดช่ องโหว่ของการบริ หารจัดการที่ เอื้อต่ อการแสวงหาผลประโยชน์ จากระบบ
การบริ ห ารการศึ กษา นาไปสู่การทุจริ ตคอรัปชัน่ ก่ อให้เ กิดการใช้งบประมาณหรือ
ทรัพยากรไปอย่างไม่มปี ระสิทธิภาพ ไม่เกิดผลประโยชน์ อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่ วย เพื่อ
แสดงความมุ่งมันในการปฏิ
่ รูประบบการศึกษาไทย และนาไปสู่ระบบการบริหารจัดการ
การศึกษาทีม่ ปี ระสิทธิภาพ นาไปสู่การพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาของประเทศ
ไทยให้เกิดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม

515
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

บทที่ 6
ข้อเสนอแนะงานวิจยั ในอนาคต

คณะผู้ว ิจยั พบว่า งานวิจยั ที่เ กี่ยวข้อ งกับการศึกษา และการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิง่


การศึกษาภาพรวมระดับมหภาค และการศึกษาเชิงลึกเพื่อเป็ นฐานในการตัดสินใจเชิงนโยบายยังมี
การศึกษาน้อยมากในประเทศไทย การขับเคลื่อนในภายภาคหน้าจาเป็ นต้องอาศัยองค์ความรูแ้ ละ
หลักฐานทางวิชาการทีม่ คี วามน่าเชื่อถือ คณะผูว้ จิ ยั จึงมีขอ้ เสนอแนะงานวิจยั ในอนาคตทีส่ าคัญอย่าง
น้อย 4 หัวข้อ ดังนี้
1) การวิจยั ในประเด็นการเปลีย่ นแปลงด้านภูมศิ าสตร์ประชากรโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อทา
ความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของวิถีของครอบครัวและสังคมของประเทศไทยในเมือง
และภูมภิ าคต่างๆ เพื่อเป็ นพื้นฐานต่อการปรับรูปแบบการศึกษาและการส่งเสริมการ
เรียนรู้ เช่น การอ่าน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และอื่นๆ ให้สอดคล้องกับลักษณะ
ของภูมศิ าสตร์ประชากรของพืน้ ทีต่ ่างๆ ของประเทศไทย
2) การวิจยั ในประเด็นความต้องการการศึกษา (Education Needs) ของประชากรหลังพ้น
วัยเรียนในระบบ เช่น ในวัยทางาน และวัยเกษียณอายุ เพื่อเป็ นพืน้ ฐานสาหรับการจัด
การศึกษาและการส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวติ ของประชาชน (Lifelong learning) ให้
สอดคล้องกับกลุ่มคน กลุ่มอาชีพ และความต้องการการเรียนรูแ้ ละการศึกษาในชีวติ ของ
กลุ่มคนในพืน้ ที่ต่างๆ ตลอดจนสอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและ
สิง่ แวดล้อม และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
3) การศึกษาเชิงลึกถึงความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันครอบครัว การเปลีย่ นแปลงทางสังคม
และวัฒนธรรมทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการศึกษาเรียนรู้ เพื่อทราบถึงปจั จัยทีส่ าคัญในการผลักดัน
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านการเรียนรู้ และนาไปสู่การส่งเสริมศักยภาพคน
ในสังคมไทยให้เป็ นผู้ใฝ่เรียนรู้ และเกิดสังคมแห่งปญั ญา วัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอด
ชีวติ
4) การศึกษารูปแบบการบริหารจัดการใหม่ และการศึกษาความเป็ นไปได้ในทางเทคนิค
ของการบริหารจัดการการศึกษา ทีม่ ุ่งเน้นผลงาน เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหาร
จัดการศึกษา

517
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เอกสารอ้างอิง
ภาษาไทย
กระทรวงศึกษาธิการ (2554) “สถิตกิ ารศึกษาฉบับย่อ 2554”. กรุงเทพฯ: สานักงานปลัดกระทรวง
กระทรวงศึกษาธิการ.
จอมพงศ์ มงคลวนิช (2556) “การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา”. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. จิรวัฒน์ เอ็กซ์เพรส.
จุรี วิจติ รวาทการ (2554) “วิเคราะห์ลกั ษณะนิสยั ของคนไทย”. เข้าถึงจาก http://www.cps.chula.ac.th/
pop_info_2551/Image+Data/Publications/Journal/journal11-24/t-journal27-2_fu-4.pdf.
ธนาคารแห่งประเทศไทย (2554) “สถานการณ์การจ้างงาน”. เอกสารเผยแพร่ผลสารวจของธนาคาร
แห่งประเทศไทย.
ธนาคารแห่งประเทศไทย (2555) “พฤติกรรมการกาหนดค่าจ้างของไทย”.
ธนาคารแห่งประเทศไทย (2556) “ตลาดแรงงานไทยและบทบาทในการสร้างความแข็งแกร่งให้
เศรษฐกิจไทย”. ธรรกมลการพิมพ์.
ธีระ รุญเจริญ (2553) “ความเป็ นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรปู การศึกษา (ฉบับ
ปรับปรุง) เพือ่ ปฏิรปู รอบ 2 และประเมินภายนอกรอบ 3”. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง. พิมพ์ครัง้ ที่ 5.

นิพนธ์ พัวพงศกร ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ และดิลกะ ลัทธพิพฒ


ั น์ (2555) “ความเชือ่ มโยงระหว่าง
สถานศึกษากับตลาดแรงงาน: คุณภาพผู้สาเร็จการศึกษาและการขาดแคลนแรงงานทีม่ ี
คุณภาพ”. เอกสารประกอบการสัมมนาของมูลนิธสิ ถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
นิสดารก์ เวชยานนท์ (2554) “มิตใิ หม่ในการบริหารทุนมนุษย์”. เอกสารบทความวิชาการ.
เบลลันกา เจมส์ และ รอน แบรนด์ บรรณาธิการ (2555) “ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพือ่
ศตวรรษที ่ 21”. แปลโดย วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรื่อง และอธิป จิต ตฤกษ์. กรุงเทพฯ:
โอเพ่นเวิลด์ส.
ประกาย ธีระวัฒนากุล ธราธร รัตนนฤมิตศร และวริฎฐา กัลยาณสันต์ (2556) “Social Education
and Lifelong Learning in Japan การเรียนรูเ้ พือ่ ชุมชน โดยชุมชน”. รายงาน SIGA Review
ฉบับที่ 4 เดือนธันวาคม 2556

519
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ประชาชาติธุรกิจ (2556) "ครูในศตวรรษที ่ 21 จุดเปลีย่ นการศึกษาข้ามพรมแดน”. สรุปการปาฐกถา


พิเศษของ ศ.ตัน อุน เซง ภายใต้หวั ข้อ "การศึกษาข้ามพรมแดนของภูมภิ าคอาเซียน: โอกาส
และความท้าทายของประชาคมอาเซียน" ในงาน เวิลด์ไดแด็ค เอเชีย 2013. ประชาชาติธุรกิจ
ออนไลน์.
ปรัชญา ชุ่มนาเสียว (2549) “แนวทางการสร้างกลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์เพือ่ สร้างทุน
มนุ ษย์ในองค์การ”. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
แห่งชาติครัง้ ที่ 7.
พงศ์ธารา วิจติ เวชไพศาล (2551) “การเรียนแบบรอบรู้ (Mastery Learning)”. วารสารศึกษาศาสตร์
ปีท่ี 19 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2550-มกราคม 2551.
พรธิดา วิเชียรปญั ญา (2547) “การจัดการความรู:้ พื้นฐานและการประยุกต์ใช้”. กรุงเทพมหานคร:
ภาควิช านโยบายการจัด การและความเป็ น ผู้ น าทางการศึก ษา คณะครุ ศ าสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย (2553) “ยุทธศาสตร์การขับเคลือ่ นมหาวิทยาลัยไทยสู่มหาวิทยาลัยระดับโลก”.
เอกสารประกอบการสัม มนาของคณะครุศ าสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิท ยาลัย เรื่อ ง “การ
ขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไทยสู่มหาวิทยาลัยระดับโลก”.
ภารดี อนันต์นาวี (2555) “หลักการ แนวคิด ทฤษฏีทางการบริหารการศึกษา”. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์
มนตรี จากัด. พิมพ์ครัง้ ที่ 4.

ภูเบศร์ สมุทรจักร (2552) “Network-based Society: โลกยุคหลัง Knowledge-based”. นิตยสาร


Productivity World 14, 81.
วิจารณ์ พานิช (2554), “การศึกษาทีม่ คี ุณภาพสาหรับศตวรรษที ่ 21”. เอกสารประกอบการบรรยาย
ในกาหนดการประชุมวิชาการ ครัง้ ที่ ๖ สมาคมเครือข่ายพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กร
ระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (ควอท.) ประจาปี 2554 “เรือ่ งการศึกษามุ่งผลลัพธ์: ก้าวสู่
บัณฑิตคุณภาพในศตวรรษที่ 21” วันที่ 29 กรกฎาคม 2554.
วิจารณ์ พานิช (2555) “วิธสี ร้างการเรียนรูเ้ พือ่ ศิษย์ในศตวรรษที ่ 21”. กรุงเทพฯ: มูลนิธสิ ดศรี-สฤษดิ ์
วงศ์.

วิจารณ์ พานิช (2555) “วิถีสร้างการเรียนรู้เพือ่ ศิษย์ในศตวรรษที ่ 21”. มูลนิธสิ ยามกัมมาจล .


กรุงเทพมหานคร.
วิจารณ์ พานิช (2556) "การสร้างการเรียนรูส้ ่ศู ตวรรษที ่ 21”. มูลนิธสิ ยามกัมมาจล. กรุงเทพมหานคร.
วิจารณ์ พานิช (2556) “ครูเพือ่ ศิษย์ สร้างห้องเรียนกลับทาง” มูลนิธสิ ยามกัมมาจล พิมพ์ครัง้ ที่ 2.
กรุงเทพมหานคร.

520
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

วิจารณ์ พานิช (2556) “เปลีย่ นกระบวนทัศ น์ การศึกษาในศตวรรษที ่ 21” เอกสารประกอบการ


บรรยายในการประชุมเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการศึกษา ครัง้ ที่ 27 ณ มหาวิทยาลัยมหิดล
กาญจนบุร ี วันที่ 15 กรกฎาคม 2556.
ศุภโชค ถาวรไกรวงศ์ บดินทร์ ศิวลิ ยั และธิติ เกตุพทิ ยา (2554) “ก้าวข้าม Middle Income Trap:
บทบาทของการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน”. งานสัมมนาวิชาการ ธปท ประจาปี 2554, วันที่ 20-
21 ตุลาคม 2554.
สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ (2548) “การจัดการความรูจ้ ากทฤษฎีสู่การปฏิบตั ิ”. กรุงเทพฯ:
จิรวัฒน์ เอ็กซ์เพรส.
สถาบันวิจยั เพื่อ การพัฒนาประเทศไทย (2554) “การปฏิรูปการศึกษารอบใหม่ : สู่การศึกษาทีม่ ี
คุณภาพอย่างทัวถึ ่ ง ”. เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการของสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนา
ประเทศไทย ประจาปี 2554 เรื่อง “ยกเครื่องการศึกษาไทย: สู่การศึกษาที่มคี ุณภาพอย่าง
ทัวถึ
่ ง”.
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการและสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ (2554)
“แผนปฏิบตั ริ าชการสีป่ ี (พ.ศ.2555-2558) ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ”.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2555) “แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับ
ปรับปรุงครัง้ ที ่ 2 (พ.ศ. 2555 – 2559)”.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2555) “นโยบายด้านครู”. เอกสาร
ประกอบการประชุม สัม มนาทางวิช าการระหว่ างประเทศ ประจ าปี 2555 ของส านัก งาน
เลขาธิการสภาการศึกษา เรือ่ ง “การศึกษาเพื่ออนาคตของประเทศ”.
สานัก งานเลขาธิก ารสภาการศึก ษา กระทรวงศึกษาธิการ (2555) “นโยบายและยุทธศาสตร์การ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศสมาชิกองค์กรระดับนานาชาติ”.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2555) “เส้นทางการพัฒนาครู”. เอกสาร
ประกอบการประชุม สัม มนาทางวิช าการระหว่ างประเทศ ประจ าปี 2555 ของส านัก งาน
เลขาธิการสภาการศึกษา เรือ่ ง “การศึกษาเพื่ออนาคตของประเทศ”.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2556) “(ร่าง) ยุทธศาสตร์การศึกษา พ.ศ.
2556-2558”.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2556) “การวัดและการประเมินผลสัมฤทธิ์
ทางการศึกษา” เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาทางวิชาการระหว่างประเทศ ประจาปี
2556 ของสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา เรือ่ ง “การศึกษาเพื่ออนาคตประเทศไทย”.

521
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2556) “ถอดบทเรียนการพัฒนาการเรียนรู้


เพือ่ การสร้างสรรค์ด้วยปญั ญา (Constructionism) ของสถานศึกษา ชุมชน ภาคธุรกิจ และ
อุตสาหกรรม”.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2556) “บทวิเคราะห์และข้อเสนอแนว
ทางการใช้เ ทคโนโลยีก ารสือ่ สารเคลือ่ นทีเ่ พือ่ พัฒ นาคุ ณ ภาพการเรีย นรู้” . เอกสาร
ประกอบการประชุมสัมมนาทางวิชาการระหว่างประเทศ ประจาปี 2556 ของสานักงาน
เลขาธิการสภาการศึกษา เรือ่ ง “การศึกษาเพื่ออนาคตประเทศไทย”.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2556) “สถิตแิ ละตัวชี้วดั ทางการศึกษาของ
ประเทศไทย”. ไตรมาส 1 ปีท่ี 1 ฉบับที่ 2.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2556) “สถิตแิ ละตัวชี้วดั ทางการศึกษาของ
ประเทศไทย”. ไตรมาส 4 ปีท่ี 1 ฉบับที่ 1.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2556) “สรุปรายงานผลการดาเนินงาน
ั ญา (Constructionism) สู่
โครงการส่ ง เสริม พัฒ นาการเรีย นรู้ เพือ่ การสร้า งสรรค์ด้ว ยป ญ
สถานศึกษา”. เอกสารประกอบการประชุมรายงานผลการดาเนินงานส่งเสริมพัฒนาการ
เรียนรู้ เพื่อการสร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญา (Constructionism) สู่สถานศึกษา.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2556) “เส้นทางการพัฒนาครู”. เอกสาร
ประกอบการประชุมสัมมนาทางวิชาการระหว่างประเทศ ประจาปี 2556 ของสานักงาน
เลขาธิการสภาการศึกษา เรือ่ ง “การศึกษาเพื่ออนาคตประเทศไทย”.
สานัก เลขาธิการสภาการศึก ษา กระทรวงศึกษาธิการ (2555) “รายงานวิจยั เรือ่ ง นโยบายและ
ยุท ธศาสตร์ก ารพัฒ นาคุ ณ ภาพการศึก ษาของประเทสสมาชิก องค์ก รระดับ นานาชาติ ”.
กรุงเทพฯ: สกศ.
สุดใจ เหล่าสุนทร (2549) “ความเข้าใจเกีย่ วกับการศึกษา”. สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พิมพ์ครัง้ ที่ 2.
สุปราณี จิราณรงค์ (2556) “ครูประจาชัน้ มืออาชีพ ”. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครัง้ ที่ 2.
สุรเชษฐ เวชชพิทกั ษ์ (2555) “การเรียนรูเ้ พือ่ การเปลีย่ นแปลง (Transformative Learning) คือ อะไร?
และ ทาอย่างไร?” สรุปความจาก Mezirow, Jack., Taylor, Edward W., and
Associates. Transformative Learning in Practice: Insights from Community, Workplace,
and Higher Education. San Francisco, CA.: Jossey-Bass, 2009. รายละเอียดแสดงใน
http://www.gotoknow.org/posts/503289

522
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สุวรรณี คามัน่ และคณะ (2551) เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการประจาปี 2551 ของมูลนิธ ิ


ชัยพัฒนา สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และมูลนิธ ิ
สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ (2554) “ถึงเวลายกเครือ่ งประเทศไทยทัง้ ระบบ”.
สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ (2555) “ถึงเวลาปฏิวตั กิ ารสอน ความท้าทายของครูในศตวรรษที ่ 21”. สรุปการ
เสวนาหัวข้อ “โลกเปลี่ยน...การบริหารจัดการทีท่ ้าทายของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา” ใน
งาน EDUCA 2012. ประชาชาติธุรกิจ.
สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ (2556) “เตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที ่ 21”. กรุงเทพฯ: โพสต์ทเู ดย์.
ั ่ ว” .กรุงเทพฯ:
สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ (2556) “ทุนไทยปรับโหมดรับโจทย์สุดโต่ง ถูกมหาอานาจศก.ปนหั
กรุงเทพธุรกิจ. วันที่ 22 กรกฎาคม 2556.
สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ (2556) “โลกเปลีย่ น ไทยปรับ”. กรุงเทพฯ: กรุงเทพธุรกิจ.
Sasin Institute for Global Affairs (2555) “รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการบริหารการเปลีย่ นแปลงกระทรวงการคลัง” เสนอต่อกระทรวงการคลัง.
Sasin Institute for Global Affairs จากประเด็นการวิจยั ที่ 5: สัญญาประชาคมรูปแบบใหม่ โครงการ
จัดเตรียมการสาหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 เสนอต่อสานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
Sasin Institute for Global Affairs (2010) “รายงานฉบับสุดท้าย: ความเชือ่ มโยงของการพัฒนา
เศรษฐกิจมหภาคกับระดับจุลภาค”. รายงานภายใต้โครงการเตรียมการจัดทาแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 เสนอต่อสานักงานคระกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ.
School in Focus. “งานสาคัญของการศึกษาไทยสร้าง ‘ทักษะ’ ให้ผเู้ รียนพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21” ปี
ที่ 4 ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555.

523
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาษาอังกฤษ
Afidah, Nor (n.d.). “Open University Degree Programme (OUDP)”. Retrieved February 2014.
http://infopedia.nl.sg/articles/SIP_92_2004-12-30.html.
AnitSomech (2000) “The Independent and the Interdependent Selves: Different Meanings in
Different Cultures”. International Journal of Intercultural Relations 24: 161-172.
Atjonen, Päivi, and Siu Cheung Li (2006) “ICT in Education in Finland and Hong Kong - An
Overview of the Present State of the Educational System at Various Levels”, Informatics
in Education 5(2): 183–194.
Barro, Robert J. (1991) “Economic Growth in a Cross Section of Countries”. Quarterly Journal
of Economics 106: 407-443.
Bassanini, Andrea, and Stefano Scarpetta (2001) “Does Human Capital Matter for Growth in
OECD Countries?: Evidence from Pooled Mean-Group Estimates”. OECD Economics
Working Paper No.282.
Behrman, Jere R., and Nevzer Stacey (eds.) (1997) “The Social Benefits of Education”. The
United State of America: The University of Michigan Press.
Benhabib, Jess, Mark M. Spiegel (1994) “The role of human capital in economic
development: evidence from aggregate cross-country data”. Journal of Monetary
Economics 34 (2): 143-173.
Bergmann, Jonathan and Aaron Sams (2012) “Flip Your Classroom: Reach Every Student in
Every Class Every Day”. The United State of America: International Society for
Technology in Education.
Blundell, Richard, Lorraine Dearden, Costas Meghir, and Barbara Sianesi (1999) “Human
Capital Investment: the Returns from Education and Training to the Individual”. The
Firm and the Economy, Fiscal Studies 20 (1): 1-23.
De Jager, Nils (2011), “A comparative analysis of the science and innovation profiles of
OECD and selected countries”. Department of Innovation, Industry, Science and
Research Working Paper 2011- 03.
Denny, Kevin John, and Colm Harmon (2001) “Testing for Sheepskin Effects in Earnings
Equations: Evidence for Five Countries”. Applied Economics Letters 8: 635-637.

524
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Education Encyclopedia (n.d.). “Finland - Nonformal Education”. Retrieved January 2014.


http://education.stateuniversity.com/pages/474/Finland-NONFORMAL-
EDUCATION.html
Education Encyclopedia (n.d.). “Hong Kong - Nonformal Education”. Retrieved January 2014.
http://education.stateuniversity.com/pages/632/Hong-Kong-NONFORMAL-
EDUCATION.html
Education Encyclopedia (n.d.). “Japan - Nonformal Education”. Retrieved January 2014.
http://education.stateuniversity.com/pages/ 743/Japan-NONFORMAL-EDUCATION.html
Education Encyclopedia (n.d.). “South Korea - Nonformal Education”. Retrieved January
2014. http://education.stateuniversity.com/pages/1405/South-Korea-NONFORMAL-
EDUCATION.html
Education Encyclopedia (n.d.). “Taiwan - Nonformal Education”. Retrieved January 2014.
http://education.stateuniversity.com/pages/1499/Taiwan-NONFORMAL-
EDUCATION.html
Education International 6th World Congress (2011) “Privatization of Vocational Education and
Training: Major Trends and Impacts”. Education International Task Force on Vocational
Education and Training: Draft Working Paper.
Elvin, Lionel (1980) “Individuality and Education”, British Journal of Educational Studies 28
(2): 87-99.
European Commission (2013), “Research and Innovation Performance in EU Member States
and Associated Countries”.
Eurydice Network (2011) “Key Data on Learning and Innovation through ICT at School in
Europe 2011”. Eurydice on the Internet - http://eacea.ec.europa.eu/education/eurydice.
Finland Ministry of Education and Culture, Finish National Board of Education and CIMO
(2012) “Education in Finland: Finnish Education in a Nutshell”.
Finish Adult Education Association (n.d.). “Finish Adult Education in Finland”. Retrieved
January 2014. http://www.sivistystyo.fi/en.php?k=10261.

525
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Finnish National Board of Education (2011), “Learning and Competence: Strategy of the
Finnish National Board of Education (FNBE)”.
Griffith, Rachel, Stephen Redding and John Van Reenan (2000) “Mapping the Two Faces of
R&D: Productivity, R&D, Skills and Trade in an OECD Panel of Industries”. Institute of
Fiscal Studies.
Grilliches, Zvi (1977) “Estimating the Returns to Schooling: Some Econometric Problems”.
Econometrica 45: 1-22.
Hanushek, E. (2011) “Education and economic growth: Some lessons for developing
countries”. Paper presented at the conference ANU-DBU Economics of Education
Policy: Access and Equity at Dhurakij Pundit University, Bangkok, Thailand.
Harmon, Colm, Hessel Oosterbeek, and Ian Walker (2003) “The Returns to Education:
Microeconomics”. Journal of Economic Surveys 17: 115-155.
IMD (2013), “Global Competitiveness Index 2013”.
INSEAD and WIPO (2012), “Global Innovation Index 2012”.
Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST) (2008) “Knowledge
and Skill in Sciences for Tomorrow’s World: A Report of PISA International Test”.
Jaffe, Klaus (2005), “Science, Religion and Economic Development”. Interciencia, Volume 30,
Number 6.
Jeronen, Eila, Juha Jeronen and Hanna Raustia (2008) “Environmental Education in Finland:
A Case Study of Environmental Education in Nature Schools”. International Journal of
Environmental & Science Education 4(1): 1-23.
Kim, Gwang-Jo (2001) “Education Policies and Reform in South Korea”. Secondary
Education in Africa: Strategies for Renewal Chapter 3: 29-40.
Kis, Viktória, and Eunah Park (2012) “A Skills beyond School Review of Korea”, OECD
Reviews of Vocational Education and Training. OECD Publishing.
Korean Research Institute for Vocational Education and Training (2013) “Reform and
Innovation of Technical and Vocational Education in the Republic of Korea”. Access via
www.unesco.org/education/educprog/tve/nseoul/docse/reftvke.html.

526
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Lathapipat, Dilaka (2011) “The Inequality of Access to Education in Thailand, 1986–2009”.


Paper presented at the conference “ANU-DBU Economics of Education Policy:
Access and Equity” at Dhurakij Pundit University, Bangkok, Thailand.
Maesincee, Suvit (2013) “Education as an Engine for Transformation: Driving Thailand
towards becoming a First World Nation”. The International Education Conference
2013.
Martins, Pedro Silva, and Pedro Telhado Pereia (2001) “Schooling, Wage Risk and
Inequality”. Access via www.etla.fi/PURE.
Ministry of Education (2008) “Towards a Learning Society in Thailand: An Introduction to
Education in Thailand”. Ministry of Education Publications.
Ministry of Education and Culture, Finland (2010) “Ministry of Education and Culture Strategy
2020”. Finland’s Ministry of Education and Culture Publications.
Ministry of Education and Culture, Finland (2012) “Education and Research 2011-2016: A
Development Plan”, Finland’s Ministry of Education and Culture Publications.
Ministry of Education, Singapore (2012) “Education in Singapore”. Access via
www.moe.gov.sg.
Ministry of Education, Taiwan (2011) “Technological & Vocational Education in Taiwan,
ROC”.
Moenjak, Thammarak, and Christopher Worswick (2003), “Vocational education in Thailand:
A Study of Choice and Returns”. Economics of Education Review 22: 99–107.
National Institute for Education Research, Japan (2011). “Social Education System in Japan”.
Retrieved February 2014.
http://www.nier.go.jp/English/EducationInJapan/Education_in_Japan/
Education_in_Japan_files/201109LLL.pdf.
National Institute of Education, Singapore (2012) “PISA: Lessons for and from Singapore”. CJ
Koh Professorial Lecture Series No. 2.
Netherlands Organisation for International Coorperation in Higher Education (2013), “Country
Module: South Korea”.
OECD (2004) “Lifelong Learning”. OECD Publications.

527
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

OECD (2005) “Formative Assessment: Improving Learning in Secondary Classrooms Policy


Brief”. OECD Publications.
OECD (2006) “Social Outcomes of Education Project”. Symposium on ongoing work as of
March 2006. OECD Publications.
OECD (2006) “Think Scenarios, Rethink Education”. OECD Publications.
OECD (2007) “Qualifications and Lifelong Learning”. OECD Publications.
OECD (2010) “Finland: Slow and Steady Reform for Consistently High Results”. Strong
Performers and Successful Reformers in Education: Lesson from PISA for The
United State: 117-135. OECD Publications.
OECD (2010), “Japan: A Story of Sustained Excellence”. Strong Performers and Successful
Reformers in Education: Lesson from PISA for the United State: 137-157. OECD
Publications.
OECD (2010), “Singapore: Rapid Improvement Followed by Strong Performance”. Strong
Performers and Successful Reformers in Education: Lesson from PISA for the United
State: 159-176. OECD Publications.
OECD (2011) “Does Investing in After-school Classes Pay Off?”. PISA in Focus No.3 OECD
Publications.
OECD (2011) “How Do Some Students Overcome Their Socio-economic Background?”. PISA
in Focus No.5. OECD Publications.
OECD (2011) “School Autonomy and Accountability: Are They Related to Student
Performance?”. OECD Publications.
OECD (2011) “What Can Parents Do to Help Their Children Success in School?”. PISA in
Focus No.10. OECD Publications.
OECD (2012) “Are Boys and Girls Ready for the Digital Age?”. PISA in Focus No.12. OECD
Publications.
OECD (2012) “Does money buy strong performance in PISA?”. PISA in Focus No.13. OECD
Publications.
OECD (2012) “Does Performance-based Pay Improve Teaching?”. OECD Publications.

528
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

OECD (2013) “Could Learning Strategies Reduce the Performance Gap between Advantaged
and Disadvantaged Students?”. PISA in Focus 2013/07. OECD Publications.
OECD (2013) “Structural Policy Country Notes: Thailand”. OECD Publications.
OECD (2013) “Who Are the Academic All-rounders?”. PISA in Focus 2013/08. OECD
Publications.
OECD (2013), “OECD Review of Innovation Policy: Innovation in Southeast Asia”.
Office for National Education Standards and Quality Assessment (ONESQA) (2008), “Annual
Report”. Access via www.onesqa.or.th/en/annual/annual.php.
Office of the Education Council, Ministry of Education (2013) “Measure of Achievement”.
International Conference on Education 2013.
Office of the Education Council, Ministry of Education (2013) “Mobile Learning Policy
Guideline: Thailand Experience”. International Conference on Education 2013.
Office of the Education Council, Ministry of Education (2013) “Teacher Policy”. International
Conference on Education 2013.
Paehlke, Robert (2009) “Globalization, Interdependence and Sustainability: Introduction to
Sustainable Development”. Access via http://www.eolss.net/Sample-Chapters/C13/.
Parandekar, Suhas D. (2011) “Thailand: Analysis of Efficiency of Educational Expenditures.”
World Bank Discussion Paper for Public Finance Management Report. Washington
D.C.: Pearson.
Salami, Reza and Soltanzadeh, Javad (2012), “Comparative Analysis for Science,
Technology and Innovation Policy; Lessons Learned from Some Selected Countries
(Brazil, India, China, South Korea and South Africa) for Other LDCs Like Iran”. Journal
of Technology Management & Innovation, Volume 7, Issue 1.
Seng, Law Song (2011) “Case Study on National Policies Linking TVET with Economic
Expansion: Lessons from Singapore”, Background paper prepared for the Education for
All Global Monitoring Report 2012, UNESCO Publications.
Seong, David Ng Foo (2006) “Strategic Management of Educational Development in
Singapore”. Background paper prepared for the Asia Education Study Tour for African
Policy Makers.

529
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Singapore Institute of Management (n.d.). “SIM Open University Centre Programmes (SIM-
OUC)”. Retrieved February 2014, from www1.sim.edu.sg/sim/pub/gen/sim_pub_
gen_content.cfm?mnuid=216.
Sysan A. Ambrose, et al. (2010) “How Learning Works: Seven Research-Based Principles for
Smart Teaching”. Published by Jossey-Bass.
Thailand Development Research Institute (TDRI) (2012) “Revamping the Thai Education
System: Quality for All”. TDRI Quarterly Review 27(2).
The Open University (n.d.). “Teaching and learning at the OU”. Retrieved February 2014.
http://www.open.ac.uk/about/main/the-ou-explained/teaching-and-learning-the-ou.
The State of São Paulo Research Foundation (2004), “Science, Technology & Innovation
Indicators in the State of Sao Paulo/Brazil”.
The Trade Union of Education in Finland (2008) “Teacher Education in Finland”.
Themen-Schwerpunk (2011) “Korean Policies on Secondary Vocational Education: Efforts to
Overcome Skills Mismatch and Labor Force Shortage”. BWP 3: 30-33.
Toru Sato, and Doug McCann (1997) “Individual Differences in Relatedness and Individuality:
An Exploration of Two Constructs”. Person IndicidLXff 24: 847-859.
UIS (2011) “Global Education Digest 2011”. Canada: UNESCO Institute for Statistics.
UNESCO (2001). “Handbook of Effective Implementation of Continuing Education at the
Grassroots”. Bangkok, Thailand: UNESCO Principal Regional Office for Asia and the
Pacific.
UNESCO (2011) “World Data on Education”. UNESCO Publications.
UNESCO (2013) “Policy Guidelines for Mobile Learning”. UNESCO Publications.
Warr, Peter (2012), “Thailand’s Development Strategy and Growth Performance”. World
Institute for Development Economics Research Working Paper No. 2011/02.
Watanabe, Reiko (n.d.). “The Juku System: The other Face of Japan’s Education System”.
Retrieved February 2014. http://www.education-in-japan.info/sub109.html.
Williams, Roger J. (1957) “Individuality and Education”. Educational Leadership by
International Journal of Intercultural Relations: 144-148.

530
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่อง แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

World Bank (2010). “Escaping the Middle-Income Trap”. East Asia and Pacific Economic
Update 2010, Vol.2.
World Bank (2012) “Leading with Ideas: Skills for Growth and Equity in Thailand”. World Bank
Publications.
World Bank (2012), “Knowledge Economy Index 2012”.
Yoshida, Masami (2008), “Implementation ICT in Education: A Case Study of Japan”, Paper
Presented at National Workshop of the Commission on Higher Education, Ministry of
Education, Thailand.

531
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาคผนวกที่ 1
Education as an Engione for
Transformation

533
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

534
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

535
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

536
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

537
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

538
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

539
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

540
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

541
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

542
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

543
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

544
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

545
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

546
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

547
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

548
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาคผนวกที่ 2
สรุปการประชุมระดมความคิดเห็น

549
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การจัดประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็น
หัวข้อ “การพัฒนากาลังคนเพื่อเพิ่ มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย”
ภายใต้โครงการวิ จยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
วันศุกร์ที่ 16 สิ งหาคม 2556 เวลา 13.00 -16.00 น.
ณ ห้องประชุม Dean Dipak C.Jain อาคารศศนิ เวศ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย

หลักการและเหตุผล
การศึกษาในฐานะที่เป็ นกลไกหลักในการพัฒนา ส่งเสริม ปลูกฝงั แนวความคิด ความรู้ ให้กบั
พลเมืองและสังคม รวมถึงการปรับปรุงคุณภาพทรัพยากรทุนมนุ ษย์ของประเทศ เพื่อตอบสนองความ
ต้ อ งการก าลัง คนทัง้ ป จั จุ บ ัน และอนาคตของประเทศ ดัง นั ้น การศึ ก ษาจึง เป็ น ตั ว แปรหลัก ของ
ความสามารถในการแข่งขันระยะยาว (Long Term Competitiveness) การออกแบบการศึกษาจึงเป็ นข้อ
ต่อสาคัญของการพัฒนาประเทศในทุกด้านทีเ่ กีย่ วข้องกับมนุษย์ เศรษฐกิจและสังคม
อย่างไรก็ตาม ระบบศึกษาและการผลิตกาลังคนของประเทศในช่วงทศวรรษที่ผ่านมายังขาด
ความสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของประเทศ ดังจะเห็นได้ชดั จากสถานการณ์วกิ ฤตการขาดแคลน
แรงงานซึง่ เพิม่ ความรุนแรงมากขึน้ เรือ่ ยๆ การขาดแคลนแรงงานทัง้ ด้านปริมาณและคุณภาพเป็ นปญั หา
เชิง โครงสร้า งที่ม ีนั ย ส าคัญ ต่ อ ความสามารถในการแข่ ง ขัน ของไทย ซึ่ง จะส่ ง ผลกระทบต่ อ การ
เจริญ เติบ โตอย่า งยัง่ ยืน ในระยะยาวเนื่ อ งจากประเทศไม่ ส ามารถใช้ท รัพ ยากรมนุ ษ ย์ไ ด้อ ย่า งเต็ม
ประสิทธิภาพ ดังนัน้ การแก้ไขปญั หาการขาดแคลนแรงงานและพัฒนาคุณภาพแรงงานอย่างต่อเนื่องจึงมี
ความจาเป็ นอย่างยิง่ หากประเทศไทยต้องการจะรักษาศักยภาพการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ต่อไป
อย่างเหมาะสม รวมทัง้ ก้าวออกจากกับดักรายได้ประเทศปานกลางไปสู่ประเทศโลกทีห่ นึ่ง ทีข่ บั เคลื่อน
เศรษฐกิจด้วยความรูแ้ ละนวัตกรรม
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ร่วมกับ Sasin Institute for
Global Affairs (SIGA) ภายใต้สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้
ก าหนดให้ม ีก ารจัด ประชุ ม เพื่อ ระดมความคิด เห็น ภายใต้ ห ัว ข้อ “การพัฒ นาก าลัง คนเพื่อ เพิ่ม ขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย” เพื่อเป็ นการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒ ิ
ผูเ้ ชีย่ วชาญและกาหนดทิศทางนโยบายร่วมกัน

550
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

วัตถุประสงค์
เพื่อเป็ นการระดมความคิดร่วมกันและแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นการพัฒนากาลังคน
รวมทัง้ ระบุประเด็นท้าทายและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการวางแผนกาลังคนและการจัดการศึกษา
เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ
วัน/เวลา/สถานที่
วันศุกร์ท่ี 16สิงหาคม 2556 เวลา 13.00 -16.00 น. ณ ห้อง Dean DipakC. Jainอาคาร
ศศนิเวศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผูเ้ ข้าร่วมงาน
ผูแ้ ทนของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่ วยงานผูก้ าหนดนโยบายทีเ่ กี่ยวข้อง
รวมถึงผูท้ รงคุณวุฒ ิ ตลอดจนผูแ้ ทนจากสถาบันการศึกษาและภาคเอกชน จานวน 20-30 ท่าน
รูปแบบการจัดประชุม
รูปแบบการจัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารครัง้ นี้ เน้นกระบวนการแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและองค์
ความรู้ โดยในช่ว งแรกคณะที่ปรึกษาจะนาเสนอภาพรวมของโครงการและวัตถุ ประสงค์ของการจัด
ประชุ ม รวมทัง้ ผลการศึก ษาเบื้อ งต้น ตามด้ว ยการเปิ ดเวทีการเสวนา ระดมความคิดเห็น ระหว่ า ง
ผูเ้ ข้าร่วมการประชุม
หน่ วยงานผูร้ บั ผิดชอบการจัดประชุม
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ร่วมกับ Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)
ภายใต้สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

551
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กาหนดการการจัดประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การ (Workshop)


หัวข้อ “การพัฒนากาลังคนเพื่อเพิ่ มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย”
ภายใต้โครงการวิ จยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
วันศุกร์ที่ 16 สิ งหาคม 2556 เวลา 13.00 -16.00 น.
ณ ห้องประชุม Dean Dipak C. Jainอาคารศศนิ เวศ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย

12.45 – 13.00 น. ลงทะเบียน

13.00 - 13.15 น. นาเสนอภาพรวมของโครงการและนาเสนอผลการศึกษาเบือ้ งต้น


โดย นางสาว ประกาย ธีระวัฒนากุล
Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)
ภายใต้สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
13.15 – 14.15น. เปิดเวทีการเสวนาและระดมความคิดเห็น

14.15 - 14.30น. รับประทานอาหารว่าง

14.30 – 15.30น. เปิดเวทีการเสวนาและระดมความคิดเห็น (ต่อ)

15.30 – 16.00น. สรุปผลการดาเนินกิจกรรมการประชุมระดมความคิดเห็น

16.00น. ปิดการประชุม

*****************************************

หมายเหตุ: กาหนดสามารถเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม

552
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

รายชื่อผูเ้ ข้าร่วมการประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็ นหัวข้อ “การพัฒนากาลังคนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย” วันศุกร์ที่ 16 สิ งหาคม 2556


ที่ ชื่อ-สกุล ตาแหน่ ง หน่ วยงาน
1 คุณศุภโชค สุขมาก นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา

2 คุณจรรณพ วิรยิ ะวิทย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา

3 คุณจิรภัทร กุลบุตร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบตั กิ าร สานักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา

4 คุณสุปรีย์ เถระพัณย์ เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารระดับสูง 2 สานักงานแผนยุทธศาสตร์และนโยบาย


ส่วนวางแผนด้านศักยภาพในการแข่งขัน สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
5 คุณบงกช สืบสัจจวัฒน์ นักวิจยั นโยบายอาวุโส สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
6 ร.ต.อ. เลิศฤทธิ ์ ศิรเิ ศรษฐการ นักวิจยั นโยบาย สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
7 คุณพิสษิ ฐ์ นักวิจยั นโยบาย สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
8 คุณสมพงศ์ นครศรี ประธานสภาองค์การนายจ้างผูป้ ระกอบการค้า สภาองค์การนายจ้างผูป้ ระกอบการค้าและอุตสาหกรรม
และอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย แห่งประเทศไทย

553
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

รายชื่อผูเ้ ข้าร่วมการประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็ นหัวข้อ “การพัฒนากาลังคนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย” วันศุกร์ที่ 16 สิ งหาคม 2556


ที่ ชื่อ-สกุล ตาแหน่ ง หน่ วยงาน
9 คุณวรพล กันตพิชญาธร ผูจ้ ดั การฝา่ ยทรัพยากรบุคคล บริษทั เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุป๊ จากัด (มหาชน)
10 คุณหงษ์ศรี เจริญวราวุฒ ิ ฝา่ ยกลยุทธ์และนโยบายทรัพยากรบุคคล บริษทั ปตท. จากัด (มหาชน)
11 คุณนภาพรรณ ว่องวุฒพิ รชัย ผูจ้ ดั การ ส่วนสรรหาและคัดเลือก บริษทั ปตท. จากัด (มหาชน)
ฝา่ ยบริการทรัพยากรบุคคล
12 คุณอับดุลเหล๊ะ เลิศอริยะพงษ์ รองกรรมการผูจ้ ดั การสานักงานสรรหา-คัดเลือก บริษทั เจริญโภคภัณฑ์อาหารจากัด (มหาชน)
กุล บุคลากร
13 คุณสุภาพร จันทร์จาเริญ Director – Learning & Talent Transformation บริษทั ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน)
Program
14 คุณวัลยา ลาขุมเหล็ก เจ้าหน้าทีว่ ชิ าการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

15 คุณจุฑาธิป สุพรรณโกมุท เจ้าหน้าทีว่ ชิ าการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

16 คุณนาฏฤดี อาจหาญวงษ์ รองกรรมการผูจ้ ดั การฝา่ ยทรัพยากรบุคคล Uniliver Thai Trading Ltd.


17 คุณไชยศิร ิ สมสกุล ผูอ้ านวยการสถาบันการอาชีวศึกษา สภาสถาบันอาชีวศึกษา
ภาคกลาง 1

554
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

รายชื่อผูเ้ ข้าร่วมการประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็น หัวข้อ “การพัฒนากาลังคนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย” วันศุกร์ที่ 16 สิ งหาคม 2556


ที่ ชื่อ-สกุล ตาแหน่ ง หน่ วยงาน
18 คุณรัตนา เพ็ชรอุไร ผูอ้ านวยการกองบริหารงานวิจยั มหาวิทยาลัยมหิดล

19 คุณยุพนิ ทองส่งโสม ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการฝ่ายประกันสุขภาพ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ

20 คุณเกศรา อมรวุฒวิ ร ผูจ้ ดั การโปรแกรมนวัตกรรมการศึกษา สถาบันคีนันแห่งเอเชีย

21 คุณพิมสหรา ยาคล้าย เจ้าหน้าทีท่ รัพย์สนิ ทางปญั ญา สานักส่งเสริมและบริการทางวิชาการพระจอมเกล้า


ลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ
ทหารลาดกระบัง
22 คุณจิดาภา มีเพียร นักวิจยั ฝ่ายวิจยั ทรัพยากรมนุ ษย์และพัฒนาสังคม สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดอี าร์ไอ)

555
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สรุปประเด็นจากการจัดประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การ (Workshop)


หัวข้อ “การพัฒนากาลังคนเพื่อเพิ่ มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย”
ภายใต้โครงการวิ จยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
วันศุกร์ที่ 16 สิ งหาคม 2556 เวลา 13.00 -16.00 น.
ณ ห้องประชุม Dean Dipak C. Jainอาคารศศนิ เวศ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย

ประเด็นปัญหาปัจจุบนั
 ความไม่คงเส้นคงวาของนโยบาย เนื่องจากมีการเปลี่ยนรัฐมนตรีการศึกษาซึง่ เป็ นผูก้ าหนด
นโยบายบ่อยครัง้ แต่ละคนที่ขน้ึ มาก็ยกนโยบายใหม่เพื่อให้เป็ นผลงานของตนขึน้ มาโดยไม่ได้
สานต่อ หรือต่ อ ยอดของเก่าทาให้ไม่เ กิดความต่ อ เนื่อ งของนโยบาย นอกจากนี้การประกาศ
นโยบายแต่ละครัง้ มักพูดถึงแต่เป้าหมาย โดยไม่ได้มกี ารแจกแจงแผนการดาเนินงานทีก่ าหนด
สิง่ ที่ต้องทาในระยะสัน้ กลาง ยาว เพื่อไปถึงเป้าหมายนัน้ ๆ และที่สาคัญคือมักจะขาดการระบุ
ตารางเวลา(Timeline) ของแผนงานอย่างชัดเจน จึงทาให้ไม่เกิดการผลักดันให้เห็นผลสาเร็จ
ลุล่วงเป็ นรูปธรรมได้ยกตัวอย่างเช่น ปจั จุบนั การตัง้ เป้าให้สดั ส่วนของนักเรียนสายสามัญและ
อาชีวะเป็น 50:50 แต่ยงั ไม่เห็นแผนงานทีจ่ ะมารองรับ
 ค่านิ ยมปริ ญญา ผูป้ กครองไทยอยากให้ลูกได้ปริญญาจึงส่งเสริมให้เรียนสายสามัญต่อปริญญา
ตรี ทัง้ ๆที่บางครัง้ ไม่ได้มเี ป้าหมายชัดเจนว่าจะเรียนปริญ ญาตรีไปเพื่อ อะไร ซึ่งเมื่อ จบออก
มาแล้วไม่สามารถหางานทาได้ เนื่องจากตลาดแรงงานมีความต้องการน้อยกว่าสายอาชีว ะหรือ
วิชาชีพเฉพาะ ส่วนใหญ่จงึ ต้องทางานลดวุฒกิ ารศึกษาของตนเอง เป็ นต้นทุนการเสียโอกาส
(Opportunity Cost) ทัง้ เวลาทีเ่ สียไปกับการเรียนและการสูญเสียรายได้และโอกาสในการเลื่อน
ขัน้ การทางานไปอย่างน่ าเสียดาย โดยสาเหตุสาคัญคือนักเรียนไม่มขี อ้ มูลเกี่ยวกับเรื่องอาชีพที่
เพียงพอก่อนตัดสินใจเลือกเรียนระหว่างสายสามัญและสายอาชีพ
 สังคมไทยไม่ได้ให้ ความยุติธรรมกับเด็กอาชี วะ โดยยังมองว่าเด็กนักเรียนอาชีวะมีสถานะที่
ต่ าต้อย และมองว่าเป็ นตัวปญั หา ส่ง ผลไปถึงเด็กอาชีว ะเองที่รู้สกึ ว่ าตนเองถูก ดูถูก เหยียด
หยาม ขาดการเห็นคุณค่าในตัวเอง (self-esteem) ทาให้อยากจะแสดงพฤติกรรมทีก่ ้าวร้าวไล่ตี
กัน พยายามสร้างอัตลักษณ์หาจุดยืนในสังคมสร้างปมเด่นเพื่อลบปมด้อยของตน

556
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 อาชี ว ศึ ก ษาไม่ ไ ด้ ร บั การสนั บ สนุ น อย่ า งแท้ จ ริ ง ถึง แม้จ ะมีก ารออกนโยบายต่ า งๆ แต่
เนื่องจากระดับผูน้ าไม่ได้เห็นความสาคัญของอาชีวศึกษา จึงไม่เคยได้รบั การผลักดันที่นาไปสู่
การปฏิบตั ิอย่างแท้จริงตรงกันข้ามกลับไปสนับสนุ นนโยบายที่ส่งผลกระทบอันไม่พงึ ประสงค์
(Adverse Effects) ต่ออาชีวศึกษา เช่น นโยบายค่าใช้จ่ายรายหัวการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ทีท่ าให้
โรงเรียนทัวไปส่
่ งเสริมให้เด็กเรียนต่ อสายสามัญ เพื่อ ให้ได้งบประมาณมากขึ้นหรือ การปรับ
เกณฑ์ร บั เด็ก สายสามัญ ของส านั ก งานคณะกรรมการการศึก ษา ขัน้ พื้น ฐาน (สพฐ.) ในปี
การศึกษา 2556 ทีเ่ ปิดช่องให้เด็ก ม.3 เรียนต่อ ม.4 โรงเรียนเดิมได้ง่ายและมากขึน้ แทนทีจ่ ะ
ปล่อยให้เด็กไปเรียนต่อสายอาชีพ หรือนโยบายประกันค่าจ้างที่ 15,000 บาท สาหรับผู้จบ
การศึกษาระดับปริญญาตรีส่งผลให้เด็กหนีไปเรียนสายสามัญมากขึน้
 ขาดแคลนครูสอนอาชี วะโดยเฉพาะในสถาบันอาชี วศึ กษาของเอกชน เนื่องจากครูท่มี า
สอนอาชีว ะต้อ งมีค วามรู้ทางสาขาอาชีพเฉพาะ เช่น บัญ ชี การช่างซึ่งโดยส่ ว นใหญ่ แล้ว จะ
ออกไปทางานกับภาคเอกชนเนื่องจากมีฐานเงินเดือนที่สูงกว่านอกจากนี้มคี รูท่จี ะมาสอนได้
จาเป็ นจะต้องมีใบประกอบวิชาชีพ ซึง่ อาจเป็ นอีกหนึ่งสาเหตุทท่ี าให้ครูหายากขึน้ (Barriers to
entry)
 คุณลักษณะของเด็กที่จบการศึกษาออกมาไม่ตรงกับความต้ องการของนายจ้าง โดยส่วน
ใหญ่แล้วนักเรียนทีก่ าลังเข้าสู่ตลาดแรงงานใหม่ๆ นายจ้างไม่ได้คาดหวังว่าจาเป็ นต้องมีความรู้
ในเชิงเทคนิค (Technical Knowledge) แต่ประเด็นทีพ่ บว่าเป็ นปญั หามากกว่าในปจั จุบนั มีดงั นี้
1) ขาดความสามารถในการเรียนรูง้ าน (Willingness to learn)
2) ทัศนคติทอ่ี ยากจะทาแต่งานสบาย ความรับผิดชอบในหน้าทีก่ ารงานต่ า (Work Ethics)
3) ค่ า นิ ย มเสื่อ มถอย เอกลัก ษณ์ ของความเป็ น ไทยหายไป (เช่น การใช้ค าหยาบของ
ผูห้ ญิง) ขาดการแสดงความเคารพผูส้ งู อายุ
4) ขาดทักษะในการใช้ชวี ติ (Life Skills) โดยเฉพาะทักษะในการสื่อสาร การมีปฏิสมั พันธ์
กับผูอ้ ่นื และการทางานร่วมกับผูอ้ ่นื
 ขาดเวที ในการร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ก่อให้เกิดปญั หาความไม่สอดคล้อง
ของอุ ป สงค์แ ละอุ ป ทานของแรงงานดัง ที่เ ห็น ในป จั จุ บ ัน โดยภาครัฐ (เช่ น กรมพัฒ นาฝี ม ือ
แรงงาน) และสถาบันการศึกษาไม่มขี อ้ มูลว่าภาคธุรกิจมีความต้องการแรงงานอย่างไร ทัง้ ในเชิง
ปริมาณและคุณภาพ

แนวทางการเพิ่ มสัดส่วนเรียนอาชีวะ
 การสร้างแรงจูงใจ: จากการทาแบบสารวจของสถาบัน SBAC เกี่ยวกับ พบว่าปจั จัยสาคัญทีจ่ ะ
ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเรียนอาชีวะมีดงั นี้

557
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

1. สร้างความมันใจว่ ่ าเรียนจบแล้วต้องมีงานทาหรือมีโอกาสในการทางานมีรายได้ระหว่าง
เรียน
2. สร้างความมันใจว่ ่ าเรียนแล้วมีโอกาสก้าวหน้าในโลกการทางาน มีรายได้ดี หรือสามารถ
เป็นเจ้าของกิจการได้
3. จะต้องลบล้างภาพลักษณ์ความรุนแรง สื่อควรเลิกประชาสัมพันธ์อาชีวะในภาพลบมา
น าเสนอส่ ว นดีใ ห้ส ัง คมได้ร ับ รู้ม ากขึ้น เช่ น เด็ก อาชีว ะออกไปสร้า งชื่อ เสีย งในการ
ประกวดต่างๆ
 การเรียนการสอนด้านวิ ชาชี พควรเริ่ มก่อนระดับอาชี วศึกษา ควรมีการบรรจุหลักสูตรด้าน
วิชาชีพ ไว้ต งั ้ แต่ ระดับมัธ ยมต้น เพื่อ ให้เ ด็กมีค วามรู้ทกั ษะพื้นฐานและสร้างความคุ้นเคยกับ
ลักษณะวิชาที่เน้ นการปฏิบตั ิ ซึ่งอาจมีส่วนช่วยการเลือกเรียนต่ออาชีวะง่ายขึ้น ไม่รสู้ กึ แปลก
แยกจนเกินไปทีจ่ ะเลือกเรียนสายอาชีวะ เมือ่ จบจากการศึกษาขัน้ บังคับ
 การแนะแนวการศึกษาในระดับมัธยมควรให้ ความรู้และความเข้าใจที่ ถกู ต้ องเกี่ยวกับ
การเรียนสายอาชีพ จากปจั จุบนั ทีใ่ ห้ความสาคัญการเรียนต่อในสายสามัญเพียงอย่างเดียว ทา
ให้นัก เรียนไม่เ ห็นทางเลือกที่ห ลากหลายเพียงพอ นอกจากนี้ อาจารย์แนะแนวต้อ งมีพฒ ั นา
ความรูใ้ ห้เท่าทันกับโลกของการทางานทีม่ คี วามเปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็วมากขึน้
 การจัด ตัง้ สถาบันคุณ วุฒิ วิช าชี พ เพื่ อ ก าหนดมาตรฐานฝี มื อ แรงงาน โดยการก าหนด
มาตรฐานอาชีพ สมรรถนะความรูแ้ ละความสามารถในการปฏิบตั งิ านนัน้ จะนาไปสู่การยกระดับ
คุณภาพแรงงานให้มมี าตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ทัง้ ในประเทศและ
ต่างประเทศ นอกจากนี้ยงั เพิม่ ความเป็ นธรรมให้กบั คนทีเ่ รียนอาชีวศึกษา เนื่องจากสามารถทา
ให้ก ารจัดทาค่ าตอบแทนเป็ นระบบมากขึ้น ทาให้การปรับ ฐานค่ าจ้างเป็ น ไปตามสมรรถนะ
(Competency) หรือทักษะของแรงงานมากกว่าวุฒกิ ารศึกษา(Degree) อย่างทีเ่ ป็ นอยู่ในปจั จุบนั
ซึ่งผู้ท่จี บตามมาตรฐานคุณวุฒวิ ชิ าชีพดังกล่าวจะได้รบั ค่าตอบแทนที่สูงกว่าผู้ท่จี บปริญญาตรี
ทัวไป

 ค่าจ้างของคนจบอาชี วะ vsจบปริ ญญาจากตัวอย่างของบริษทั SCG ในช่วงเริม่ ต้นงาน ช่าง
เทคนิคทีจ่ บอาชีวะกับตาแหน่ งวิศวกรทีจ่ บปริญญาตรีนนั ้ มีรายได้ใกล้เคียงกัน แต่เมื่อเวลาผ่าน
ไปลักษณะงานของทัง้ สองตาแหน่ งมีความแตกต่างกันค่อนข้างมากเช่นช่างเทคนิคอาจได้เลื่อน
ตาแหน่ งโตขึน้ เป็ นระดับหัวหน้าแผนกได้แต่ยงั ถือเป็ นงานปฏิบตั กิ าร (Operation) ในขณะที่
วิศวกรต้องรับผิดชอบการทาการศึกษา (research) เป็ นลักษณะของโครงการ (Project) ทีต่ ้องมี
การติดต่อกับลูกค้า มีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบมากกว่า จึงทาให้สุดท้ายแล้วมีช่องว่าง (Gap) ของ
เงินเดือนระหว่างสองสายนี้ ซึง่ ถือเป็ นมาตรฐานการกาหนดค่าจ้างของภาคเอกชนในปจั จุบนั
 การอบรมฝี มือแรงงานระหว่างการทางาน เพื่อช่วยแก้ปญั หาการขาดแคลนแรงงานเร่งด่วน
โดยเน้ นหลัก สูต รการสอนระยะสัน้ เป็ นการยกระดับทักษะของแรงงานที่กาลังทางาน (Skill

558
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

Upgrading) ทัง้ นี้ควรมีการเผยแพร่ขอ้ มูลด้านความต้องการแรงงานจากหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง


เช่น BOI หรือสภาหอการค้า

แนวทางการเพิ่ มคุณภาพการศึกษาเพื่อการพัฒนากาลังคน
 หลักสูตรเน้ นการปฏิ บตั ิ และสร้างสมรรถนะ (Competency-based)เพื่อตอบโจทย์การสร้าง
ทักษะแรงงานทีต่ รงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ทัง้ นี้จะต้องมีกลไกให้ภาคเอกชนเข้ามา
มีส่ ว นร่ว มในการปรับหลัก สูต รโดยที่ผ่ านมามีโมเดลความร่ว มมือ ที่ประสบความสาเร็จของ
อาชีวศึกษา คือการเรียนการสอนแบบทวิภาคีซง่ึ ได้รบั ความสนใจสูงเนื่องจากนักเรียนสามารถมี
รายได้จากการทางานระหว่างเรียน โดยเป็ นการจับมือกันระหว่างผู้ประกอบการและสถาบัน
อาชีวศึกษายกตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ในจังหวัดอยุธยา ส่วนในระดับอุดมศึกษาควร
ให้ค วามส าคัญ กับ การจัดสหกิจศึกษา ให้นัก ศึก ษาไปฝึ ก งานในสถานประกอบการมากขึ้น
เนื่อ งจากมหาวิทยาลัยมีข้อ จากัดค่ อ นข้างมากไม่ส ามารถปรับเปลี่ยนหลักสูต รให้ท ันความ
ต้องการของภาคเอกชน
 การจัดตัง้ สถาบันอบรมครูวิชาชี พโดยเฉพาะ เนื่องจากปจั จุบนั มีแต่การผลิตครูสอนวิชาการ
สาหรับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานครูสอนวิชาชีพในสถาบันอาชีวศึกษาขาดแคลน
 ภาคเอกชนควรเข้ า มามี บ ทบาทในการจัด การศึ ก ษามากขึ้ น เนื่ อ งจากป จั จุ บ ัน ระบบ
การศึกษาไม่ทราบว่าภาคธุรกิจต้องการอะไร แม้ปจั จุบนั จะมีการจัดการเรียนการสอนแบบทวิ
ภาคีมาตอบโจทย์ แต่ยงั เป็ นแค่การปรับด้านอุปทาน (Supply-side) เท่านัน้ ซึ่งยังไม่เพียงพอ
การแก้ปญั หาเรื่องกาลังคนอย่างยังยื
่ นต้องอาศัยการพัฒนาด้านอุปสงค์ของแรงงาน (Demand-
side) ไปพร้อมๆกัน กล่าวคือจะต้องมีการปรับ กลไกแก้ปญั หาเรื่องความก้าวหน้าในการทางาน
(Career path) ด้วย

กลไกการขับเคลื่อน (Mechanism Design)


 Manpower Blueprint การพัฒนากาลังคนโดยเริม่ จากการวางทิศทางของประเทศทีก่ ้าวข้าม
จากเศรษฐกิจฐานแรงงาน (Labor-intensive) ไปสู่เศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge based)
โดยบางอุตสาหกรรมอาจต้องมีการนาเครือ่ งจักรหรือเทคโนโลยีมาทดแทนแรงงานทักษะฝีมอื ต่ า
แล้วค่อยมากาหนดว่ามีความต้องแรงงานแบบไหน จานวนเท่าไหร่ ทัง้ ในระยะสัน้ -กลาง-ยาว ซึง่
จะย้อ นมาเป็ นโจทย์ต ัง้ ต้น ให้ก ับการวางแผนการศึก ษาว่ า จะต้อ งผลิต คนอย่างไรทัง้ ในเชิง
ปริมาณและคุ ณภาพ อย่างไรก็ต ามการประมาณการความต้องการกาลังคน (Manpower
Forecast) อาจไม่สามารถทาได้ทุกสาขา เนื่องจากมีปญั หาเรื่องความเฉื่อยของนโยบาย (Time
Lag) จึงอาจเลือกเฉพาะสาขาทีจ่ าเป็ น เช่นทันตแพทย์ พยาบาล ซึง่ ปจั จุบนั มีการดาเนินการไป
แล้วค่อนข้างประสบความสาเร็จ

559
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 การปรับโครงสร้างองค์กรของกระทรวงศึกษาเพื่อเอื้อให้ เกิ ดการบูรณาการมากขึ้น โดย


ปจั จุบนั หน่ วยงานภายในมีการแบ่งหน้าทีท่ ม่ี คี วามชัดเจนเกินไป เช่น สพฐ ดูแลเรื่องการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐาน ในขณะที่ สกอ ดูแลเรื่องอาชีวศึกษา เกิดการทาการแบบเป็ นแท่ง (Silo) รับผิดชอบ
แต่ในส่วนของตนเอง ทาอย่างไรจะให้เกิดการหลอมรวมกันและทางานร่วมกันมีการส่งไม้ต่อกัน
อย่างบูรณาการมากขึน้
 Positioning อาชีวศึ กษาใหม่ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้เด็กอยากเข้ามาเรียนอาชีวะมากขึน้ ซึ่ง
จากกรณีศึก ษาที่ดีจ ากต่ า งประเทศจะพบว่ า ประเทศที่ป ระสบความส าเร็จ ในการปรับ ปรุ ง
ภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษา เช่น เปลี่ยนชื่ออาชีวศึกษา (Vocational Education) เป็ นชื่อใหม่
ซึง่ ช่วยลบล้างความคิด (Perception) เดิมๆของคนในสังคมทีม่ กั มองว่าอาชีวศึกษายังมีความ
ด้อยกว่า เช่น ในประเทศเกาหลีใต้มกี ารจัดตัง้ Meister School
 ออกฎหมายให้ เกิ ดการบังคับใช้ ในหลายๆประเทศมีการออกกฎหมายจัดตัง้ คณะกรรมการ
เพื่อการพัฒนาการศึกษาหรือการพัฒนากาลังคน ซึ่งต้องประกอบไปด้วยสมาชิกจากภาคส่วน
ต่างๆ ให้ครบ เช่นภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา แลละภาคประชาชน

แนวทางปฏิ บตั ิ ที่ดีจากต่างประเทศ


 การก าหนดโควตาการเรี ย นต่ อในระดับ อุด มศึ ก ษาของประเทศเยอรมนี ม ีก ารจ ากัด
จานวน (Quota) ของนักเรียนทีไ่ ด้เรียนต่อในระดับอุดมศึกษา โดยวัดจากคะแนนวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ ในสัดส่วนประมาณร้อยละ 30 ในขณะทีอ่ กี ร้อยละ 70 ทีเ่ หลือต้องไปเรียนในสาย
อาชีวศึกษา
 รายได้ของคนจบอาชี วะมากกว่าคนจบปริ ญญาในประเทศฝรังเศส ่ เนื่องจากภาคเอกชน
ของประเทศฝรังเศสให้
่ คุณค่ากับทักษะและสมรรถนะมากกว่าความรูเ้ ชิงวิชาการ และมองว่า คน
ทีจ่ บปริญญาทางานไม่เป็ นมีแต่ความรู้
 สถาบันฝึ กอบรมและการกาหนดมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชี พของประเทศออสเตรเลียโดยมี
วิทยาลัยเทคนิคและการศึกษาต่อเนื่อง (Technical and Further Education: TAFE) ซึง่ เป็ น
องค์กรอิสระในกากับของรัฐบาล มีสถาบันการศึกษาอาชีวะจานวนกว่า 200 แห่งกระจายอยู่ทวั ่
ภูมภิ าคของประเทศ มีการจัดการศึกษาและการฝึกอบรมร่วมกับภาคอุตสาหกรรมโดยเน้นเรื่อง
การสร้างสมรรถนะ (Competency-based training) เป็ นหลัก เน้นวิธกี ารที่มุ่งโลกของการ
ทางานเป็ นสาคัญ โดยมีก ารก าหนดมาตรฐานสมรรถนะและหลักสูต รระดับชาติ นอกจากนัน้
รัฐบาลยังได้ออกนโยบายการอาชีวศึกษาและการฝึ กอบรมในโรงเรียน เป็ นโครงการที่ช่วยให้
นักเรียนในระดับประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายได้รบั เครดิตและคุณวุฒอิ าชีวศึกษา
ภายใต้กรอบคุณวุฒทิ างการศึกษาออสเตรเลีย (Australian Qualifications Framework) ซึง่ มี
กุญแจความสาเร็จอยูท่ ก่ี ารบูรณาการการอาชีวศึกษาเข้ากับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอน

560
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ปลายโดยโครงการดังกล่าวจะประกอบไปด้วย การพัฒนาทักษะความเชีย่ วชาญเฉพาะทางด้าน


อุตสาหกรรม โดยผู้เรียนได้รบั คุณวุฒอิ าชีวศึกษาและหน่ วยความสามารถในขณะเดียวกับทีย่ งั
ได้รบั คุณวุฒมิ ธั ยมศึกษาตอนปลาย
 กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์พฒ ั นากาลังคนของประเทศเกาหลี จัดตัง้ คณะกรรมการ
(Committee)จากภาคส่ ว นที่ ห ลากหลาย ตั ้ง แต่ ภ าครัฐ ที่ ม ี ท ั ้ง กระทรวงอุ ต สาหกรรม
กระทรวงวิทยาศาสตร์ และกระทรวงศึกษา ช่วยให้เกิดการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อย่างบูรณาการ
ร่วมกันมากขึน้

โครงการที่กาลังดาเนิ นงานปัจจุบนั ของหน่ วยงานต่างๆ


 MK และเครือข่ายร้านอาหารฟาสต์ฟู้ด มีโครงการให้เด็กเรียนไปด้วยทางานไปด้วยได้รบั
ความสนใจเป็นอย่างมาก โดยสามารถเรียนตัง้ แต่ระดับ กศนต่อ ปวช ปวส ไปจนถึงปริญญาตรี
อย่างไรก็ตามพบว่าค่านิยมเรื่องปริญญาเริม่ มีการเปลีย่ นแปลงแล้ว คือถึงแม้เด็กส่วนใหญ่เรียน
ต่อระดับอุดมศึกษาจบปริญญาเพื่อพ่อแม่ แต่สุดท้ายแล้วเลือกเส้นทางสายอาชีพเป็นของตนเอง
 สถาบันปัญญาภิ วฒ ั น์ การศึกษาในรูปแบบของ Corporate University หรือสถาบันการศึกษา
ทีม่ คี วามเชื่อมโยงกับธุรกิจแบบทวิภาคี ภายใต้ความร่วมมือระหว่างของบริษทั ซีพี ออลล์ จากัด
(มหาชน) สานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาและกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีจุดเด่นคือการ
ผลิตบุค ลากรที่เ ชี่ยวชาญงานค้าปลีก แบ่งเป็ นการเรียนทฤษฎีท่โี รงเรียน สลับกับ การเรียน
ภาคปฏิบตั ใิ นสถานประกอบการคือร้านเซเว่นอีเลฟเว่นหรือบริษทั อื่นๆที่เข้าร่วมโครงการ ซึ่ง
เมื่อจบหลักสูตรนักเรียนสามารถทางานต่อทีซ่ พี หี รือเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีท่สี ถาบัน
จัดการปญั ญาภิวฒ ั น์
 สภาอุต สาหกรรมเพื่อ แก้ ป ญ ั หาการขาดแคลนแรงงานระดับ ล่ า งในโรงงาน (ร้อ ยละ 10;
ปริญญาตรี ร้อยละ 20-25; ระดับ ปวช และ ปวส ทีเ่ หลือส่วนใหญ่เป็ นระดับมัธยมหรือต่ ากว่า )
ปจั จุบนั สภาอุ ต สาหกรรมมีก ารทาโครงการ On-the-job trainingจับมือ กับสถานศึกษาส่ ง
นักเรียนไปเรียนในโรงงาน โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนที่ครอบคลุมทัง้ 3 องค์ประกอบที่
สาคัญคือ 1)ความรู้ (Knowledge) 2)ทักษะในการปฏิบตั งิ าน(Skills)และ 3) ทัศนคติ (Attitude)
ทีถ่ ูกต้องในการทางานรวมทัง้ ทัศนคติทด่ี ใี นการดาเนินชีวติ
 ตอบโจทย์ค วามต้ องการแรงงานของท้ อ งถิ่ นของบริ ษัทปูนซิ เมนต์ไทยโครงการ SCG
Model School เป็ นโครงการต้นแบบการผลิตช่างเทคนิคเพื่ออุตสาหกรรม โดยร่วมมือกับ
สถาบัน อาชีว ะของแต่ ล ะจัง หวัด พัฒ นาและปรับ ปรุ ง หลัก สู ต รการเรีย นการสอนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) 9 สาขาวิชา ได้แก่ งานเครื่องกลไฟฟ้า งานอุตสาหกรรม
การผลิต งานติดตัง้ และบารุงรักษา ไฟฟ้ากาลัง ปิโตรเคมี งานติดตัง้ ไฟฟ้า งานเทคนิคเครื่องกล
อุตสาหกรรม เครื่องมือกลและซ่อ มบารุง และเครื่อ งมือวัดและควบคุม ให้ส อดคล้องกับการ

561
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีท่ที นั สมัย และสนับสนุ นให้นักเรียนนักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์


วิชาชีพ สร้างความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ และเมื่อจบแล้วมีคนรับเข้าทางานทันที นอกจากนี้เกณฑ์
การคัดเลือกเข้าโครงการจึงไม่ได้ยดึ ถือเกรดเฉลีย่ เป็ นหลัก แต่เน้นเรื่องความประพฤติ ใฝ่รแู้ ละ
อยูร่ ว่ มกับคนอื่นได้ เนื่องจากทาง SCG มีความต้องการเสริมสร้างคนเก่งและคนดีให้กบั ชุมชน
 ส่ ง เสริ มการพัฒ นากาลัง คนด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัต กรรมของสวทน.
โครงการความร่วมมือการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทางาน (Work-integrated
Learning : WiL) เป็ นความร่วมมือทีจ่ ะผลิตกาลังคนด้านเทคนิคอุตสาหกรรมในระดับปวส.
ร่วมกับสวทน.ซึง่ จะเป็ นฝ่ายนโยบาย สนับสนุ นและประสานงานให้เกิดความร่วมมือ และบริษทั
สยามมิช ลิน จ ากัด ซึ่ง เป็ น ฝ่ า ยร่ ว มพัฒ นาหลัก สู ต ร และการจัด การเรีย นการสอน โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากาลังคนทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถานประกอบการและ
สถานศึก ษาให้ม ีค วามเข้ม แข็ง มากขึ้น น าไปสู่ ก ารผลิต ก าลัง คนระดับ ช่ า งเทคนิ ค และนั ก
เทคโนโลยีให้มคี ุณภาพตรงความต้องการของภาคอุตสาหกรรม

562
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพบรรยากาศการประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การ (Workshop)


หัวข้อ “การพัฒนากาลังคนเพื่อเพิ่ มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย”

563
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพบรรยากาศการประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การ (Workshop)


หัวข้อ “การพัฒนากาลังคนเพื่อเพิ่ มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย”

564
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การจัดประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็น
หัวข้อ “ศักยภาพของโรงเรียนทางเลือกในการเป็ นต้นแบบการจัดการศึกษาไทย”
ภายใต้โครงการวิ จยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
วันจันทร์ที่ 19สิ งหาคม 2556 เวลา 13.00 -16.00 น.
ณ ห้องประชุม Depak C. Jain อาคารศศนิ เวศน์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย

หลักการและเหตุผล
การจัดการศึกษานับเป็ นกลไกหลักในการปลูกฝงั และพัฒนาแนวความคิด ความรู้ รวมถึงทักษะ
ต่างๆ ให้กบั พลเมืองและสังคม เพื่อ สร้างบุคคลที่มคี วามสมบูรณ์ในทุกด้าน มีความสมดุลทัง้ ทางด้าน
วิชาการและการใช้ชวี ติ เป็ น ทรัพยากรมนุ ษย์ท่มี คี ุณภาพของประเทศ ทัง้ นี้ การออกแบบระบบนิเวศน์
ของการศึกษา(Learning Ecosystem) ทีเ่ หมาะสมกับพลวัตร (Dynamic) ของโลกในศตวรรษที่ 21 ย่อม
เป็นข้อต่อสาคัญของการเรียนรู้
อย่างไรก็ตาม ระบบการศึกษาของประเทศในช่วงทศวรรษทีผ่ ่านมายัง มุ่งเน้นทีก่ ารสอบแข่งขัน
เพื่อวัดผล โดยมองว่าการเรียนเป็ นเครื่องมือเพื่อให้ได้มาซึ่งเป้าหมายคือวุฒกิ ารศึกษา มากกว่าการให้
ความสาคัญกับกระบวนการในการเรียนรูร้ ะหว่า งทางค่านิยมดังกล่าวสะท้อนให้เห็นในรูปแบบการเรียน
การสอนที่เน้นการท่องจา มีกรอบรูปแบบที่ค่อนข้างตายตัวสาหรับผู้เรียน อีกทัง้ ยังละเลยปฏิสมั พันธ์
ระหว่างโรงเรียน บ้าน และชุมชน
แนวคิดโรงเรียนทางเลือกที่ยดึ เด็กเป็ นศูนย์กลาง มีกระบวนการเรียนรูท้ ่ียดื หยุ่น หลากหลาย
สามารถเชื่อมโยงเนื้อหาการเรียนรูเ้ ข้ากับชีวติ จริงและชุมชน จึงน่ าจะเป็ นกลไกหนึ่งช่วยในการปรับการ
จัดการศึกษาไทย โดยอาจขยายผลได้ทงั ้ ในรูปแบบของการเพิม่ การผลักดันโรงเรียนทางเลือก หรือนา
ปจั จัยแห่งความสาเร็จ (Key Success Factor) มาปรับใช้กบั โรงเรียนทัวไป ่
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ร่วมกับ Sasin Institute for
Global Affairs (SIGA) ภายใต้สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้
กาหนดให้มกี ารจัดประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นภายใต้หวั ข้อ “ศักยภาพของโรงเรียนทางเลือกในการ
เป็นต้นแบบการจัดการศึกษาไทย” เพื่อเป็ นการแลกเปลีย่ นข้อคิดเห็นจากผูท้ รงคุณวุฒ ิ ผูเ้ ชีย่ วชาญและ
กาหนดทิศทางนโยบายร่วมกัน

565
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

วัตถุประสงค์
เพื่อ เป็ น การระดมความคิด ร่ว มกัน และแลกเปลี่ย นข้อ มูล เกี่ย วกับ การจัด ระบบนิ เ วศน์ ข อง
การศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21 โดยประยุกต์ใช้และ/หรือขยายผลจากแนวคิด ของโรงเรียนทางเลือก
รวมทัง้ ระบุประเด็นท้าทายและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการวางแผนการจัดการศึกษาเพื่อตอบโจทย์
การพัฒนาประเทศ

วัน/เวลา/สถานที่
วันจันทร์ท่ี 19สิงหาคม 2556 เวลา 13.00 -16.00 น. ณ ห้อง Depak C. Jain อาคารศศนิเวศน์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผูเ้ ข้าร่วมงาน
ผูแ้ ทนของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่ วยงานผูก้ าหนดนโยบายทีเ่ กี่ยวข้อง
รวมถึงผูท้ รงคุณวุฒ ิ ตลอดจนผูแ้ ทนจากสถาบันการศึกษาและภาคเอกชน จานวน 20-30 ท่าน

รูปแบบการจัดประชุม
รูปแบบการจัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารครัง้ นี้ เน้นกระบวนการแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและองค์
ความรู้ โดยในช่ว งแรกคณะที่ปรึกษาจะนาเสนอภาพรวมของโครงการและวัตถุ ประสงค์ของการจัด
ประชุ ม รวมทัง้ ผลการศึก ษาเบื้อ งต้น ตามด้ว ยการเปิ ดเวทีการเสวนา ระดมความคิดเห็น ระหว่ า ง
ผูเ้ ข้าร่วมการประชุม

หน่ วยงานผูร้ บั ผิดชอบการจัดประชุม


สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ร่วมกับ Sasin Institute for Global Affairs (SIGA) ภายใต้
สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

566
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กาหนดการการจัดประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การ (Workshop)


การจัดประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็น
หัวข้อ “ศักยภาพของโรงเรียนทางเลือกในการเป็ นต้นแบบการจัดการศึกษาไทย”
ภายใต้โครงการวิ จยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
วันจันทร์ที่ 19สิ งหาคม 2556 เวลา 13.00 -16.00 น.
ณ ห้องประชุม Depak C. Jain อาคารศศนิ เวศน์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย

12.45 – 13.00 น. ลงทะเบียน

13.00 - 13.15 น. นาเสนอภาพรวมของโครงการและนาเสนอผลการศึกษาเบือ้ งต้น


โดยนางสาว ประกาย ธีระวัฒนากุล
Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)
สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

13.15 – 14.15น. เปิดเวทีการเสวนาและระดมความคิดเห็น

14.15 - 14.30น. รับประทานอาหารว่าง

14.30 – 15.30น. เปิดเวทีการเสวนาและระดมความคิดเห็น(ต่อ)

15.30 – 16.00น. สรุปผลการดาเนินกิจกรรมการประชุมระดมความคิดเห็น

16.00น. ปิดการประชุม

*****************************************

หมายเหตุ: กาหนดสามารถเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม

567
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

รายชื่อผูเ้ ข้าร่วมการประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็นหัวข้อ “ศักยภาพของโรงเรียนทางเลือกในการเป็ นต้นแบบการจัดการศึกษาไทย”

ที่ ชื่อ-สกุล ตาแหน่ ง หน่ วยงาน


1 คุณฟงั ฝน จังคศิริ ผูอ้ านวยการโรงเรียนสัมมาสิกขาสันติอโศก โรงเรียนสัมมาสิกขาสันติอโศก
2 คุณสุวณี คัมมกสิกจิ โรงเรียนสัมมาสิกขาสันติอโศก
3 คุณชัยศักดิ ์ ลีลาจรัสกุล รองผูอ้ านวยการฝา่ ยวิชาการ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

4 คุณวัฒนา มัคคสมัน ประธานกรรมการบริหาร โรงเรียนวรรณสว่างจิต โรงเรียนวรรณสว่างจิต

5 รศ.ลัดดา ภู่เกียรติ ผูอ้ านวยการโรงเรียนสาธิตพัฒนา โรงเรียนสาธิตพัฒนา


6 คุณพัชนา มหพันธ์ ผูบ้ ริหารโรงเรียนทอสี ปญั ญาประทีป โรงเรียนทอสี ปญั ญาประทีป
7 คุณอาภาภัทร ไชยประสิทธิ ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการโรงเรียนทอสี โรงเรียนทอสี ปญั ญาประทีป
8 ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา ผูอ้ านวยการโรงเรียนสัตยาไส โรงเรียนสัตยไส
9 คุณปริยา พิพธิ ภัณฑ์ ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการโรงเรียนสาธิตพัฒนา โรงเรียนสาธิตพัฒนา

10 ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


11 คุณประภาภัทร นิยม รองอธิการบดี สถาบันอาศรมศิลป์
12 คุณพชรพรรษ์ ประจวบลาภ ประธานเครือข่ายยุวทัศน์ กรุงเทพมหานคร เครือข่ายยุวทัศน์ กรุงเทพมหานคร

568
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

รายชื่อผูเ้ ข้าร่วมการประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็นหัวข้อ “ศักยภาพของโรงเรียนทางเลือกในการเป็ นต้นแบบการจัดการศึกษาไทย”

ที่ ชื่อ-สกุล ตาแหน่ ง หน่ วยงาน


13 คุณสุวณี พิมพกรรณ์ นักวิชาการศึกษาชานาญการพิเศษ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
14 คุณปุณฑริกา พันธุ นักวิชาการศึกษาชานาญการ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
15 คุณรุจเิ รข แสงจิตตพันธุ์ ข้าราชการบานาญ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
16 คุณฉัตรชัย หวังมีจงมี นักวิชาการศึกษา สานักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขึน้ พืน้ ฐาน สานัก
เลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

17 ดร.ชยาพร กระต่ายทอง นักวิชาการศึกษา สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

569
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพบรรยากาศการประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การ (Workshop)


หัวข้อ “ศักยภาพของโรงเรียนทางเลือกในการเป็ นต้นแบบการจัดการศึกษาไทย”

570
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพบรรยากาศการประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การ (Workshop)


หัวข้อ “ศักยภาพของโรงเรียนทางเลือกในการเป็ นต้นแบบการจัดการศึกษาไทย”

571
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพบรรยากาศการประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การ (Workshop)


หัวข้อ “ศักยภาพของโรงเรียนทางเลือกในการเป็ นต้นแบบการจัดการศึกษาไทย”

572
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สรุปประเด็นการจัดประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การ (Workshop)


ภายใต้โครงการวิ จยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
วันจันทร์ที่ 19สิ งหาคม 2556 เวลา 13.00 -16.00 น.
ณ ห้องประชุม Depak C. Jain อาคารศศนิ เวศน์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย

ประเด็นปัญหาของการจัดการศึกษาในปัจจุบนั ของประเทศไทย
การตัง้ เป้ าหมายของการศึกษา
 พรบ.การศึกษาของไทยในปจั จุบนั มีการกาหนดเป้าหมายการพัฒนาความเป็ นมนุ ษย์ นับว่ามี
การมองรอบด้านที่ส มบูรณ์ ก ว่าของประเทศอื่น แต่ ยงั ไม่มกี ารนาไปสู่ก ารปฏิบตั ิอ ย่างเป็ น
รูปธรรม
 การศึกษาควรเป็นสิง่ ทีไ่ ม่ใช่เพื่อการศึกษาเอง ต้องสามารถสร้างคน พัฒนาสังคม
 ต้องเน้นพัฒนาเด็กให้มคี วามสมดุล เน้นให้เด็กเรียนรูท้ ่จี ะพึ่งพาตนเองได้ เป็ นคนดี เสียสละ
และมีเมตตา แทนการเน้นวิชาการเพียงอย่างเดียว
 ข้อสอบมาตรฐาน เช่น ONET PISA น่ าจะเป็ นเพียงมาตรฐานหนึ่งในการตรวจสอบตัวเอง
เท่านัน้ ไม่ควรถูกใช้เป็ นเป้าหมายหลักของการศึกษาดังเช่นปจั จุบนั ทาให้การศึกษาเป็ นไป
เพียงเพื่อการศึกษา (Education just for Education) แต่ไม่สามารถตอบโจทย์ของสังคมได้
 ในปจั จุบนั โรงเรียนต่างๆ โดยเฉพาะโรงเรียนทางเลือก มีตน้ ทุนทีส่ ูญเปล่าไปกับการประเมินผล
จากส่วนกลางเป็นจานวนมาก
 เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงรัฐบาล นโยบายการศึกษาก็มกั จะได้รบั ผลกระทบตามไปด้วย

ปรัชญาการเรียนการสอน
 นโยบายการศึกษาในปจั จุบนั มุ่งเน้ นแต่การแข่งขัน ทาให้เกิดการสร้างประชากรที่ขาดความ
เมตตา และเน้นการส่งคนออกจากบ้าน ออกจากภูมลิ าเนา ไม่ได้ส่งเสริมให้คนกลับไปพัฒนา
ท้องถิน่ /บ้านเกิด

573
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 ประเทศไทยไม่ค วรพยายามพัฒ นาตามหลัง ใคร ไม่ต้อ งท าตามรูป แบบของประเทศอื่น ๆ


พยายามเอาโมเดลของคนอื่นมาครอบบริบทของไทยอย่างทีเ่ ป็ นอยู่ แต่ควรหันมาพัฒนาระบบ
การศึกษาให้สอดคล้องกับวิถชี วี ติ ของเราเอง เน้น ”ความสุข” ให้ผเู้ รียนเรียนอย่างมีความสุข
สอนให้เป็นคนดี มีจริยธรรม
 ประเทศไทยเป็ นสังคมทีม่ รี ากเหง้ามาจากการทาเกษตรกรรม แต่ในปจั จุบนั คนส่วนใหญ่กลับ
ละเลยวิถชี วี ติ แบบธรรมชาติ ส่วนมากเน้นแต่การเรียนเพื่อการแข่งขันในตลาดแรงงาน

ข้อเสนอแนะรูปแบบการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนทางเลือกที่อาจนามาขยายผลได้
บทบาทของครู
 ต้องพยายามสร้างและดึงดูดให้คนเก่ง คนดี มีความเสียสละ และรักเด็ก เข้ามาเป็นครูให้มากขึน้
 ครูไม่จาเป็ นต้องสอนเนื้อหาสาระทัง้ หมดเอง อาจเชิญผู้เชี่ ยวชาญในด้านต่ างๆ มาร่ว มเป็ น
วิทยากร หรือ อาจารย์พเิ ศษ
 บทบาทของครูไม่ใช่เพียงแค่การสอนวิชาความรู้ เก่งด้านวิชาการเพียงอย่างเดียว แต่ต้องเป็ น
แบบอย่างทีด่ ใี ห้กบั เด็กนักเรียน
 การทาวิจยั ของครู ควรเน้ นเป็ น การวิจยั เชิงปฏิบตั ิการอย่างมีส่วนร่วม(Participatory Action
Research) มีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอน
 ครูต้อ งมีค วามเอาใจใส่ เ ด็ก นัก เรียน มีค วามสมบูรณ์ ทงั ้ ทางสติปญั ญา (มีค วามรู้) สัง คม (มี
เครือข่าย) ร่างกาย (สุขภาพแข็งแรง) และอารมณ์ (มีสวัสดิการ มีจติ วิทยาในการสอน)
 ปญั หาสาคัญประการหนึ่งอยู่ทก่ี ระบวนการผลิตครู ของคณะครุศาสตร์/คณะศึกษาศาสตร์ โดย
หากไม่สามารถแก้ในระดับมหภาคได้ในทันทีทนั ใด ก็ต้องเริม่ จากการเน้นทีค่ รูก่อน และอาจใช้
วิธกี ารเดียวกันสาหรับทัง้ ประเทศไม่ได้ แต่ตอ้ งแบ่งตามสังกัด และ/หรือพืน้ ที่

การจัดการเรียนการสอน
 การศึกษาทางเลือกสามารถนามาประยุกต์ใช้เป็ นตัวอย่างของการจัดการเรียนการสอน และ
สะท้อนได้ว่า การจัดการเรียนรูท้ ด่ี ไี ม่ได้ขน้ึ อยู่กบั ทุนเป็ นปจั จัยสาคัญ แต่ขน้ึ อยู่กบั ความเชื่อ วิธ ี
คิด เป้าหมาย และการฝึ กครู เป็ นสาคัญ มุ่งเน้ นการสอนให้เ ด็กเป็ นคนดีนาวิชาการ ซึ่งต้อ ง
อาศัยการเปลีย่ นทัศนคติ
 หลักสูตรจะทิ้งหลักสูตรแกนกลางไม่ได้ แต่สามารถปรับเปลี่ยนที่วธิ กี ารจัดการเรียนรูไ้ ด้ เช่น
การใช้ระบบออนไลน์ การเรียนกับอาจารย์เฉพาะทาง การทาโครงการและมีการนาเสนอผลงาน
 เชื่อมโยงกับชุมชน เช่น มีกิจกรรมกรเรียนรู้ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น โดยเชิญผู้นาชุมชน และ/หรือ
ปราชญ์ชาวบ้านมาร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรู้

574
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 จัด การการเรีย นรู้ อ ย่ า งหลากหลายรู ป แบบสร้ า งเครือ ข่ า ยการเรีย นรู้ รวมถึ ง ใช้ ก ลไก
Professional Learning Community (PLC)
 เน้นรูปแบบการเรียนการสอนแบบโครงการ ให้เด็กมีการเรียนรูแ้ บบประเด็นปญั หาร่วม (Cross-
cutting) ระหว่างสาขาวิชาแทนการเรียนรูแ้ บบไซโลเกิดการประมวลความรูเ้ พื่อค้นหาคาตอบได้
ด้วยตนเอง ไม่ใช่ได้รบั การป้อนคาตอบให้ตลอดเวลา
 จัดกิจกรรมการฝึ กงาน เพื่อให้เด็กมีโอกาสเรียนรูป้ ระสบการณ์การทางานจริง นอกเหนือจาก
การเรียนในห้องเรียนเพียงอย่างเดียว
 ในปจั จุบนั มี “Forum ศึกษาไทย” ประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒทิ ่ไี ม่ได้อยู่ในแวดวงการศึกษา
โดยตรงแต่ตอ้ งการช่วยพัฒนาระบบการศึกษาไทย ซึง่ จะเป็นพันธมิตรหนึ่งทีส่ าคัญ

การวัดและประเมิ นผล
 ต้องมีการทบทวนเป้าหมายที่แท้จริงของการศึกษา เพื่อให้สามารถกาหนดตัวชี้วดั ผลสัมฤทธิ ์
ของการศึกษาที่สอดคล้องกันได้ และการวัดผลก็ควรมีความหลากหลาย ไม่ใช่มแี ค่เพียงการ
สอบ ONET หรือการสอบ Entrance
 การตีความถึงความคุม้ ค่าของการศึกษา ต้องมีความหลากหลาย ไม่ได้มองแค่ ผลตอบแทนในรูป
ตัวเงินหรือผลคะแนนจากการสอบเท่านัน้

ตัวอย่างการเรียนการสอนของโรงเรียนทางเลือก
 โรงเรียนสัมมาสิ กขา: จัดการเรียนการสอนวิชาการเป็ นโมดูลสัน้ ๆ เท่าทีจ่ าเป็ น เน้นการเรียนรู้
จากการปฏิบตั ิ ให้เด็กพึ่งพาตนเองได้ สามารถดารงชีวติ ได้ เช่น สอนการปลูกผักเพื่อบริโภค
และส่ วนที่เหลือ ก็นาไปขาย ให้นักเรียนมีการฝึ กงานตัง้ แต่ ชนั ้ ม.1 ให้เกิดการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์ตรง และเน้นการเชื่อมโยงกับชุมชน ให้ผรู้ /ู้ ผูเ้ ชีย่ วชาญ จากหลากหลายภาคส่วน
มาร่วมให้ความรูก้ บั นักเรียน
 โรงเรียนรุ่งอรุณ: เชื่อว่ามนุ ษย์เราสามารถพัฒนาให้อยู่เหนือโลกได้ ยึดหลักการเรียนการสอน
โดยอาศัยหลักกัลยาณมิตร โยนิโสมนสิการ และไตรสิกขา สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ สอนวิถกี าร
เรียนรูท้ ่จี ะอยู่ร่วมกันรวมถึงการสร้างครูและสอนครู มีการใช้หลักสูตรชุมชนนิเวศ (Eco-village
Design Curriculum)เพื่อให้เกิดการศึกษาแบบองค์รวม (Holistic Education) เช่น สอนให้เด็ก
ความสัมพันธ์แบบครบวงจร ว่าข้าว 1 จาน มีทม่ี าทีไ่ ปอย่างไร ตัง้ แต่จากทุ่งนามาสู่โต๊ะอาหาร
เพื่อให้รจู้ กั ความเห็นอกเห็นใจ มีเมตตา
 โรงเรียนวรรณสว่างจิ ต:เน้นรูปแบบการสอนแบบโครงการ ให้เด็กรูจ้ กั ตัง้ คาถามและค้นหา
คาตอบได้เอง ครูจะไม่ให้คาตอบแก่เด็กในทันที แต่จะชวนเด็กให้ร่วมกันค้นหาคาตอบ ซึง่ เป็ น

575
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กระบวนการทีใ่ ช้เวลา ต้องอาศัยการฝึกอบรมครู และผู้บริหารโรงเรียนก็ต้องมีความเข้าใจและ


สนับสนุนในหลักการสอนดังกล่าว
 โรงเรียนสาธิ ตปทุมวัน:เป็ นเสมือน “ห้องทดลอง” (Lab) ของคณะศึกษาศาสตร์ เป็ นทีฝ่ ึกหัด
ของนิสติ ฝึ กสอน ซึ่งมีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันไปในแต่ละปี ทาให้มวี ธิ กี ารสอนที่มคี วาม
หลากหลาย แต่ต้นทุนในการจัดการเรียนการสอนก็ค่อ นข้างสูง งบประมาณเฉลี่ยต่อหัวของ
โรงเรียนสาธิตจะอยู่ท่ปี ระมาณ 40,000 บาท โดยมีท่มี าจากงบอุดหนุ นของรัฐบาลและจาก
สมาคมผู้ปกครองและครู สัดส่วนครูต่อเด็กนักเรียนประมาณ 1:15 แต่ห้องเรียนมีขนาดใหญ่
ประมาณ 50 คน
 โรงเรียนสัตยาไส:เน้นการเรียนอย่างมีความสุข สอนให้เป็ นคนดีก่อนเป็ นคนเก่ง แต่กม็ กั พบว่า
เด็กเป็ นเด็กเก่งได้เองจากหลักการสอนดังกล่าว รวมถึงมีก ารคัดเลือกครูแบบเข้มข้น เริม่ จาก
การทาความเข้าใจกับผูส้ มัครคัดเลือกเกีย่ วกับความเป็นครูและการเป็ นต้นแบบของการทาความ
ดี การอธิบายหลักการเรียนการสอน และการให้ลองทากิจกรรมกับเด็กเพื่อดูว่าใครเข้ากับเด็กได้
ดีทส่ี ุด เปรียบเสมือนกับการให้เด็กเป็ นผูเ้ ลือกครูของตนเอง นอกจากนี้ ในการคัดเลือกเด็ก จะ
ใช้การสอบสัมภาษณ์ผปู้ กครอง เพื่อให้ได้ผทู้ ม่ี วี สิ ยั ทัศน์ตรงกัน ส่วนในด้านรูปแบบการบริหาร
จัดการ ไม่มกี ารเก็บค่าเล่าเรียน เพราะต้องการให้โรงเรียนเป็ นตัวอย่างของความเสียสละ และ
เพื่อ ให้โรงเรียนพึ่งพาตัวเองได้ จึงมีการปลูกผัก ปลู กข้าว เอง ใช้พลังงานทดแทน มี Solar
Farm (สามารถสร้างรายได้ได้อกี ทางหนึ่ง โดยให้เอกชนเข้ามาร่วมลงทุน)
 โรงเรียนปัญญาประทีป: มองตนเองว่าเป็ นโรงเรียนบ่มเพาะชีวติ และมองโรงเรียนเหมือนเป็ น
ประเทศ ร้อยละ 90 ของครูไม่ได้จบครูมา แต่เป็ นการรวมตัวของคนทีเ่ ห็นปญั หาเดียวกันและ
นาเอาหลัก อริยสัจ 4 มาเป็นแนวทางการจัดการศึกษาครูและผูป้ กครองเป็ นกัลยานมิตร ต้องบ่ม
เพาะตนเองไปพร้อมๆ กับนัก เรียน เพื่อ ให้เกิดการตื่นรู้ส ภาพของสังคม โดยครอบครัว เป็ น
หน่ วยเล็กทีส่ ุดทีส่ าคัญ พ่อแม่ต้องสร้างเครือข่ายเพื่อบ่มเพาะกันเอง ดูแลกันเอง พร้อมทัง้ ช่วย
คุณครูไปด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ อีกกัลยานมิตรทีส่ าคัญของเด็กคือ สื่อ และพยายามใช้ส่อื เพื่อ
สอนเด็ก เน้นให้เด็กรูว้ ่าทุกการกระทาจะเกิดผลอะไรอย่างไร กับใคร (เด็ดดอกไม้ สะเทือนถึง
ดวงดาว) นอกจากนี้ ยังมีแนวการสอนที่หลากหลาย เช่น สัมมาธุรกิจ โตก่อนโต (โตทางวุฒ ิ
ภาวะ จัดการ) จัด Career day เพื่อให้เกิดคาถามว่าอยากจะเรียนรู้ อยากจะตัง้ คาถามอะไร วิชา
การศึกษาเอกเทศ (ผูกกับอาชีพในอนาคต ให้เกิดความคิดของตนเอง มองเห็นภาพอาชีพใน
อนาคต) วิชาเด็กแนว (สอนทุก อย่างที่เกี่ยวกับเพศ สิ่งที่ใ กล้ตวั เองเช่นการเรียนด้วยสื่อ ดู
ฮอร์โมนแล้วได้อะไรรูส้ กึ อย่างไร)

576
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การจัดประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็น
หัวข้อ “แนวทางการพัฒนาและเตรียมความพร้อมของครูส่ศู ตวรรษที่ 21”
ภายใต้โครงการวิ จยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
วันอังคารที่ 20 สิ งหาคม 2556 เวลา 13.00-16.00 น.
ณ ห้องประชุม Depak C. Jain อาคารศศนิ เวศน์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย

หลักการและเหตุผล
การศึกษาในฐานะที่เป็ นกลไกหลักในการพัฒนา ส่งเสริม ปลูกฝงั แนวความคิด ความรู้
ให้กบั พลเมืองและสังคม รวมถึงการปรับปรุงคุณภาพทรัพยากรทุนมนุ ษย์ของประเทศ เพื่อตอบสนอง
ความต้อ งการก าลัง คนทัง้ ปจั จุบนั และอนาคตของประเทศ ดัง นัน้ การศึก ษาจึง เป็ นตัว แปรหลัก ของ
ความสามารถในการแข่งขันระยะยาว (Long Term Competitiveness) การออกแบบการศึกษาจึงเป็ นข้อ
ต่อสาคัญของการพัฒนาประเทศในทุกด้านทีเ่ กีย่ วข้องกับมนุษย์ เศรษฐกิจและสังคม
อย่างไรก็ตาม การศึกษาของไทยยังคงมีปญั หาในหลายมิติ ทัง้ มิตขิ องนักเรียน โรงเรียน ระบบ
การบริหารจัดการ หลักสูตร รวมทัง้ ปญั หาของครูซ่งึ เป็ นบุคลากรทางการศึกษาที่ถือได้ว่าเป็ นปจั จัย
สาคัญต่อการพัฒนาระบบการศึกษา เพราะเป็ นปจั จัยที่มผี ลค่อนข้างมากต่อผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษา
ของผู้เรียน รวมทัง้ พัฒนาการการเรียนรูข้ องผู้เรียนด้วยอย่างไรก็ตามการปฏิบตั งิ านในปจั จุบนั ของครู
ยังคงพบอุปสรรคปญั หาในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็ น ปญั หาเชิงโครงสร้าง (Structure) ได้แก่ การผลิตครู
ระบบการใช้งานครู ระบบการประเมินความก้าวหน้า หลักสูตร การจัดสรรทรัพยากร เป็ นต้นปญั หาของ
กลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็ นปญั หาทีม่ าจากหน่วยงานส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการกาหนดแนวนโยบายมา
ซึง่ ครูในฐานะผูป้ ฏิบตั ิงานตรงสนองแนวนโยบายมาอีกทางหนึ่งปญั หาเชิงพฤติกรรมและปจั จัยพื้นฐาน
ของครู(Conduct) เช่น ทักษะและความสามารถด้านการสอน ความเข้าใจในความแตกต่างหลากหลาย
ของผูเ้ รียน ความสามารถในการประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียน เป็ นต้น กลุ่มของปญั หานี้ส่วนใหญ่
มัก มาจากตัว ของครูเ องเป็ นหลัก และปญั หาเชิง วัฒนธรรม (Culture)เช่น ค่ านิย มและความเชื่อ ต่ อ
รูปแบบการสอน ทัศนคติของครูต่อการมองผู้เรียนว่าตนเป็ นศูนย์กลางหรือผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง กลุ่ม
ของปญั หานี้ส่วนใหญ่มกั มาจากตัวของครูเองและบรรทัดฐานของสังคมที่หล่อหลอมเป็ นแนวความคิด
หลักของสังคม
นอกจากปญั หาข้างต้นแล้วทีจ่ าเป็ นต้องมี “การเหลียวหลัง” เพื่อทาการซ่อมแก้ปญั หา แต่กต็ ้อง
มี “การแลหน้า” เพื่อทาการวางอนาคตด้วย นัน้ คือ การเปลีย่ นแปลงของบริบทโลก ภูมภิ าค และประเทศ
ภายใต้ศตวรรษที่ 21 ส่ งผลให้ค นในประเทศจาเป็ นต้อ งมีการปรับเปลี่ยนไปตามบริบท ทาให้ ระบบ

577
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การศึกษาในฐานะเป็นเครือ่ งมือในการพัฒนาคน จึงต้องให้ความสาคัญต่อการเปลีย่ นแปลงดังกล่าวทาให้


แนวทางการเรียนรูเ้ ปลีย่ นไปเช่น การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ต้อง “ก้าวข้ามสาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้
“ทักษะเพื่อการดารงชีวติ ในศตวรรษที่ 21”(21st Century Skills) ดังนัน้ ตัวแสดงหลักอย่าง“ครู” จึงเป็ น
ปจั จัยสาคัญของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาซึง่ จาเป็ นต้องปรับเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องต่อการเตรียม
คนในศตวรรษที่ 21
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ร่วมกับ Sasin Institute for
Global Affairs (SIGA) ภายใต้สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้
กาหนดให้มกี ารจัด ประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นภายใต้หวั ข้อ “แนวทางการพัฒนาและเตรียมความ
พร้อ มของครูสู่ศ ตวรรษที่ 21”เพื่อ เป็ น การแลกเปลี่ยนข้อ คิดเห็นจากผู้ทรงคุ ณ วุฒ ิ ผู้เ ชี่ยวชาญและ
กาหนดทิศทางนโยบายร่วมกัน
วัตถุประสงค์
เพื่อเป็ นการระดมความคิดร่วมกันและแลกเปลีย่ นข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นการพัฒนาครู รวมทัง้
ระบุประเด็นท้าทายและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาครูและการจัดการศึกษาเพื่อตอบโจทย์การ
เตรียมคนไทยในศตวรรษที่ 21
วัน/เวลา/สถานที่
วันอังคารที่ 20สิงหาคม 2556 เวลา 13.00 -16.00 น. ณ ห้อง DepakC. Jain อาคารศศนิเวศน์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผูเ้ ข้าร่วมงาน
ผูแ้ ทนของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่ วยงานผูก้ าหนดนโยบายทีเ่ กี่ยวข้อง
รวมถึงผูท้ รงคุณวุฒ ิ ตลอดจนผูแ้ ทนจากสถาบันการศึกษาและภาคเอกชน จานวน 20-30 ท่าน

รูปแบบการจัดประชุม
รูปแบบการจัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารครัง้ นี้ เน้นกระบวนการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น และองค์
ความรู้ โดยในช่ว งแรกคณะที่ปรึกษาจะนาเสนอภาพรวมของโครงการและวัตถุ ประสงค์ของการจัด
ประชุ ม รวมทัง้ ผลการศึก ษาเบื้อ งต้น ตามด้ว ยการเปิ ดเวทีการเสวนา ระดมความคิดเห็น ระหว่ า ง
ผูเ้ ข้าร่วมการประชุมโดยมีประเด็นคาถามเบือ้ งต้น ดังนี้

578
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กาหนดการการจัดประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การ (Workshop)


หัวข้อ “แนวทางการพัฒนาและเตรียมความพร้อมของครูส่ศู ตวรรษที่ 21”
ภายใต้โครงการวิ จยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
วันอังคารที่ 20สิ งหาคม 2556 เวลา 13.00 -16.00 น.
ณ ห้องประชุม Depak C. Jain อาคารศศนิ เวศน์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย

12.45 – 13.00 น. ลงทะเบียน

13.00 - 13.15 น. นาเสนอภาพรวมของโครงการและนาเสนอผลการศึกษาเบือ้ งต้น


โดยนางสาว ประกาย ธีระวัฒนากุล
Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)
สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

13.15 – 14.15น. เปิดเวทีการเสวนาและระดมความคิดเห็น

14.15 - 14.30น. รับประทานอาหารว่าง

14.30 – 15.30น. เปิดเวทีการเสวนาและระดมความคิดเห็น(ต่อ)

15.30 – 16.00น. สรุปผลการดาเนินกิจกรรมการประชุมระดมความคิดเห็น

16.00น. ปิดการประชุม

*****************************************

หมายเหตุ: กาหนดสามารถเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม

579
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

รายชื่อผูเ้ ข้าร่วมการประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็นหัวข้อ หัวข้อ “แนวทางการพัฒนาและเตรียมความพร้อมของครูส่ศู ตวรรษที่ 21”

ที่ ชื่อ-สกุล ตาแหน่ ง หน่ วยงาน


1 คุณธีรวัฒนา มีศลิ ป์ เลขาธิการคุรสุ ภา สานักงานเลขาธิการคุรสุ ภา
2 คุณวราภรณ์ สายน้อย ผูอ้ านวยการกลุ่มแผนและงบประมาณ สานักงานเลขาธิการคุรสุ ภา
3 คุณสุรพล เคยบรรจง ผูอ้ านวยการกลุ่มการพัสดุ สานักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและ
บุคคลากรทางการศึกษา
4 คุณอุตสาห์ พาสกุล รองผูอ้ านวยการศูนย์พฒ
ั นาคุณภาพชีวติ ครู ศูนย์พฒ
ั นาคุณภาพชีวติ ครู สานักงานส่งเสริมสวัสดิการและ
สวัสดิภาพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
5 คุณเบ็ญจางค์ ถิน่ ธานี นักทรัพยากรบุคคลชานาญการพิเศษ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย
6 คุณวิทยา ประภาพร สานักพัฒนาครูและบุคคลากรทางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

7 คุณจิตใจ เกตุแก้ว สานักพัฒนาครูและบุคคลากรทางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน


8 คุณสมสกุล พุ่มมาก สานักพัฒนาครูและบุคคลากรทางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
9 คุณสฎายุ ธีระวณิช รองคณบดีฝา่ ยพัฒนานิสติ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ตระกูล หัวหน้าฝา่ ยประชาสัมพันธ์โครงการโทรทัศน์ครู

580
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

รายชื่อผูเ้ ข้าร่วมการประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็นหัวข้อ หัวข้อ “แนวทางการพัฒนาและเตรียมความพร้อมของครูส่ศู ตวรรษที่ 21”

ที่ ชื่อ-สกุล ตาแหน่ ง หน่ วยงาน


10 คุณอธิปไตย โพแตง ผูอ้ านวยการสานักพัฒนาสมรรถนะครูและ สานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
บุคลากรอาชีวศึกษา

11 คุณญาณี จันทร์สมวงศ์ ครูชานาญการพิเศษ การสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

12 ดร.จุฑารัตน์ วิบลู มล รองคณบดี คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

13 คุณสุจติ รา พัฒนะภูม ิ ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านพัฒนาระบบ สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและ


บริหารงานบุคคล บุคคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ส.)
14 คุณสมหญิง สาหนู ผูจ้ ดั การแผนงานปฏิรปู การศึกษาไทย มูลนิธสิ ดศรี-สฤษดิ ์วงศ์ (มสส.)

15 คุณชลิตา ธัญญะคุปต์ นักวิชาการโครงการส่งเสริมการผลิตครู สมาคมครูวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์


ทีม่ คี วามสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

581
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

รายชื่อผูเ้ ข้าร่วมการประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็นหัวข้อ หัวข้อ “แนวทางการพัฒนาและเตรียมความพร้อมของครูส่ศู ตวรรษที่ 21”

ที่ ชื่อ-สกุล ตาแหน่ ง หน่ วยงาน


16 คุณวิวาภะ สุดแสวง นักวิชาการโครงการส่งเสริมการผลิตครู สมาคมครูวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
ทีม่ คี วามสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

17 คุณนิพนธ์ หรังมี
่ กรรมการบริหารสภาผูป้ กครองและครูแห่งประเทศไทย สภาผูป้ กครองและครูแห่งประเทศไทย

18 คุณปรีชา ศรีสง่า ผูอ้ านวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีมนี บุร ี สมาคมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเอกชนแห่ง


ประเทศไทย
19 คุณวิจารณ์ พาณิชย์ ประธานคณะกรรมการมูลนิธสิ ถาบันส่งเสริมการจัดการ มูลนิธสิ ถาบันส่งเสริมการจัดการความรูเ้ พื่อสังคม
ความรูเ้ พื่อสังคม

582
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพบรรยากาศประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็นหัวข้อ
“แนวทางการพัฒนาและเตรียมความพร้อมของครูส่ศู ตวรรษที่ 21”

583
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาพบรรยากาศประชุมเพื่อระดมความคิ ดเห็นหัวข้อ
“แนวทางการพัฒนาและเตรียมความพร้อมของครูส่ศู ตวรรษที่ 21”

584
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สรุปประเด็นการจัดประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การ (Workshop)


หัวข้อ “แนวทางการพัฒนาและเตรียมความพร้อมของครูส่ศู ตวรรษที่ 21”
ภายใต้โครงการวิ จยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
กับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
วันอังคารที่ 20สิ งหาคม 2556 เวลา 13.00 -16.00 น.

ครูในปจั จุบนั ของสังคมไทย


ประเทศไทยมีความจาเป็ นทีจ่ ะต้องเร่งพัฒนาครูทงั ้ ในเรื่องของปริมาณและคุณภาพ เนื่องด้วยการคาด
การในเรื่องข้าราชการครูเกษียณอายุงานในเวลาอันใกล้น้ี ครูรุ่นเก่าหรือครูทอ่ี ายุประมาณ 40-50 ปีนนั ้
ส่วนมากมีความรูค้ วามชานาญทางด้านทักษะ Hands-on มากกว่าครูรุ่นใหม่ซง่ึ จะเน้นไปทางด้านของ
ความรูท้ างนวัตกรรมหรือความรูด้ ้านวิชาการ โดยจะมีความเชีย่ วชาญในด้านทักษะน้อยกว่าเมื่อนามา
เปรียบเทียบกัน
 ระบบการศึกษาสายอาชีพมีปญั หาการขาดแคลนครู เนื่องมาจากระบบการคัดกรองของครูสาย
อาชีพที่ต้องมาจากสายอาชีพเดียวกันเอง หรือการที่ค่าตอบแทนจากโรงเรียนสายอาชีพนัน้ ไม่
น่าดึงดูดเท่ากับการออกไปประกอบอาชีพ
 ครูไทยปจั จุบนั โดยทัวไปแล้
่ ว ยังคงขาดความสามารถในการบูรณาการการเรียนการสอน ละทิง้
การนาความรูใ้ นด้านอื่นทีไ่ ม่ใช่ความถนัดของตนออกไปจากการจัดการเรียนการสอน กล่าวคือ
ไม่มกี ารเชื่อ มโยงองค์ค วามรู้ใ นกลุ่ มสาระต่ า งๆเข้า หากันอีกทัง้ ยัง ละทิ้งการเรีย นการสอน
ทางด้านศาสนา ซึง่ เป็นสิง่ ยึดเหนี่ยวจิตใจทีส่ าคัญ
 ผลสารวจในเรื่องของสัดส่วนครูต่อนักเรียนอาจทาให้เกิดการตีความทีผ่ ดิ ไปจากความจริง ด้วย
เหตุผลว่าตัวเลขที่ได้นัน้ เป็ นการเฉลี่ยระหว่างตัวเลขของห้องเรียนในเมืองที่มคี รูเพียงพอ กับ
นักเรียนด้อยโอกาสทีข่ าดแคลนครูในต่างจังหวัด ดังนัน้ ตัวเลขทีอ่ อกมาอาจไม่สะท้อนให้เห็นถึง
ภาพทีแ่ ท้จริงของภาพการปจั จุบนั
 หากอ้างอิงตามผลสารวจทางสถิติ จะเห็นได้ว่าคนที่ต้องการเป็ นครูนัน้ ยังมีอยู่มาก อัตราการ
แข่งขันก็สูงเช่นเดียวกัน หากแต่ไร้ตรรกะการเชื่อมโยงของทักษะทางสอนการถ่ายทอดเข้ากับ
เป้าหมายของความเป็ นเลิศทางวิชาการ
 การสอบบรรจุครูนัน้ ก็วดั กันที่ผลคะแนน ซึ่งเป็ น มาตรฐานที่สามารถควบคุมได้ง่ายเพราะไม่ม ี
ความเป็น Subjective แต็อาจไม่ใช่การวัดผลทีไ่ ด้ประสิทธิภาพทีส่ ุด

585
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 การสร้างครูในลักษณะของการผลิตจานวนมาก (Mass Production) นัน้ ไม่สามารถแก้ปญั หาได้


ไม่สามารถนาไปสู่ความสาเร็จในการศึกษา
 ในขณะเดียวกัน สถานการณ์ความเป็ น สังคมผูส้ ูงอายุ (Aging Society) นัน้ อาจจะเป็ นการพลิก
วิกฤติให้เป็ นโอกาส เนื่องจากการทีป่ ระชากรวัยเด็กของไทยมีจานวนลดน้อยลง อาจทาให้เป็ น
โอกาสดีต่อการพัฒนาและการคัดคุณภาพการศึกษาอย่างทัวถึ ่ ง

นิยามและมุมมองของความเป็นครู
ครูเป็ นอาชีพทีต่ ้องมีการเสียสละ ต้องทางานหนักและอุทศิ เวลาของตนเองในแต่ละวันให้นักเรียนอย่าง
ต่อเนื่อง เป็ นทัง้ แม่พมิ พ์ของชาติในทัง้ ด้านวิชาการและวิชาชีวติ และยังต้องสามารถเป็ นบุคคลที่สร้าง
แรงบันดาจใจให้แก่นกั เรียนได้
 ครูต้องมีความเป็ นผูอ้ อกแบบการเรียน (Learning Designer) กล่าวคือ มีความสามารถในการ
ออกแบบการเรียนรู้ ทีป่ รับไปตามบริบทและลักษณะของชัน้ เรียน
 จะต้องมีความสามารถในการทาเนื้อหาจากยากให้เป็ นง่าย สร้างสภาวะแวดล้อมในการเรียนรูท้ ่ี
เหมาะสมให้แก่ชนั ้ เรียน เพื่อให้เกิดความกระตือรือร้นทีด่ ี
 เน้นผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลางในการจัดการเรียนการสอน (ซึง่ ในความเป็ นจริงนัน้ เป็ นลักษณะทีส่ วน
ทางกับ การวัด ผลสัม ฤทธิอ์ ย่ า งการสอบทางวิชาการเพื่อ การเข้า เรีย นมหาวิท ยาลัย ซึ่ง ไม่
สอดคล้องกับแนวคิดทีว่ ่าการศึกษาคือการปลูกฝงั ทักษะในการใช้ชวี ติ )
 ครูต้องมีความสุขในการทาหน้ าที่ครู รักการทางานร่วมกับนักเรียน รักเด็กนักเรียนอย่างเท่า
เทียมกันไม่สนับสนุนการแก่งขันแก่งแย่งในชัน้ เรียน

เป้าหมายทีแ่ ท้จริงของการเรียนการสอน
การศึกษาควรเป็ นการเพิม่ ความเป็ น Cognitive และความเป็ นมนุ ษย์ให้แก่บุคคล ในกรณีตวั อย่างของ
ประเทสสิงคโปร์นัน้ ได้ตงั ้ เป้าหมายเอาไว้ว่าผู้เรียนจะต้องเป็ นผู้ท่มี คี วามมันใจ ่ (Confident Person)
เป็ นผูท้ ม่ี วี นิ ัยในการเรียนรู้ (Self-Directed Learner) เป็ นผูท้ ม่ี คี วามกระตือรือร้น (Active Contributor)
และเป็นพลเมืองทีด่ ี (Concern Citizen)
 ผลงานครูคอื ตัวลูกศิษย์ ไม่ใช้กระดาษการวิจยั (ซึ่งบางครัง้ สวนทางกับการวัด ผลสัมฤทธิ ์ใน
ปจั จุบนั ทีเ่ ป็นอยู)่

586
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ครูและการวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษาของนักเรียน
หนึ่งในกุญแจที่สาคัญ คือลักษณะการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ซึ่งปจั จุบนั เป็ นในลักษณะของการวัดผล
ทางด้านเนื้ อ หาวิช าการ เมื่อ ผลคะแนนออกมาไม่ดี ส่ งผลให้ กระทรวงที่เ กี่ยวข้อ งเพ่ ง เล็ง ลงมาที่
ประสิทธิภาพของสถาบันการศึกษาและสถาบันการศึกษานัน้ ๆ จึงเพ่งเล็งลงมายังครูเป็ นการส่งต่อความ
กดดันให้เ กิดลักษณะการเรียนการสอนที่เ น้ นแต่ เ นื้ อหาทางด้านวิชาการในปจั จุบนั ซึ่งการวัด ผลใน
ลักษณะนี้ไม่น่าใช่คาตอบทีด่ ที ส่ี ุดในการวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษา
 ควรมีการวัดผลจากพัฒนาการของนักเรียนเป็นรายบุคคล ส่งเสริมให้เรียนในสิง่ ทีต่ นรัก ไม่ว่าจะ
เป็นในแง่ของวิชาการหรือการทากิจกรรมต่างๆ
 หากว่ากันตามความเป็ นจริง ใช่ว่าเด็กไทยในปจั จุบนั มีความสามารถด้อยกว่าเด็กไทยในยุค
สมัยก่อนแต่อย่างใด เพียงแต่ว่าความสามารถเหล่านัน้ ในภาพรวมยังไม่สามารถพัฒนาทัวถึ
่ ง
และท่วงทันประเทศอื่นทีเ่ คยอยูใ่ นระดับเดียวกันกับไทยได้อย่างทีค่ วร
 ครูมกั จะถูกใช้เป็น “จาเลย” เมือ่ เราพูดถึงระบบของการศึกษา แต่ความจริงแล้วนัน้ ครูถูกบีบคัน้
ด้วยวัฒนธรรมในสังคม ในลักษณะทีว่ ่ายิง่ สอนวิชาการมากยิง่ เป็นสิง่ ทีด่ หี รือสิง่ ทีค่ วรจะทา
 PISA คือการวัดผลในลักษณะที่องิ ทักษะการอยู่ในชีวติ ประจาวันภายในสังคมว่ามีมากน้อย
เพียงใด ซึง่ เป็นลักษณะการวัดผลทีด่ ี ควรนาแนวคิดมาประยุกต์ใช้ และจากการวัดผลของ PISA
นี้เองทีแ่ สดงให้เห็นว่าเด็กไทยมีทกั ษะในการอ่านตีความลดน้อยลง ถึงแม้ว่าจะสามารถอ่านออก
เขียนได้แต่ทา้ ยทีส่ ุดแล้วไม่สามารถขยายความหรือตีความได้
 ลักษณะของการเรียนการสอนควรมีการปลูกฝงั ในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม อย่างจริงจัง แต่ก็
อาจจะเป็นการยากทีจ่ ะทาให้เห็นผลในเร็ววัน

แนวคิดและข้อเสนอแนะในเรือ่ งแนวทางการพัฒนาครู
เราสามารถแบ่งช่วงอายุงานของครูออกได้เป็ น 3 ระยะ (Phases) ใหญ่ๆ คือ หนึ่ง การอบรมบ่มเพาะ
ทักษะการเป็นครูในช่วงแรก สอง ช่วงเริม่ ต้นของการเป็ นครู สังสมประสบการณ์
่ กล่าวคือช่วง 10 ปีแรก
ของการเป็นครู สาม คือการเป็ นครูทม่ี ากประสบการณ์ หรือหลังจากการมีอายุงานของการเป็ นครู 10 ปี
ขึน้ ไป
 การอบรมในเรือ่ งของพืน้ ฐานความเป็นครู เช่นจริยธรรมความเป็ นครู จะต้องอยู่ในระยะแรกของ
ชีวติ ความเป็ นครู ส่วนระยะที่สองหรือ 10 ปี แรกของการประกอบวิชาชีพครูเปรียบเสมือนเป็ น
การฝึกฝนระหว่างการทางาน (On the Job Training) คือเน้นในเรือ่ งของทักษะและความรูท้ ต่ี ้อง
ใช้การสังสมไปเรื
่ ่อยๆ ไม่ใช่มาจากการอบรมและในระยะสุดท้าย จะเป็ นเรื่องของการหมุนเวียน

587
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

งาน เป็นผูบ้ ริหารหรือเตรียมตัวทีจ่ ะเป็ นผูฝ้ ึก (Trainer) เตรียมพร้อมสาหรับการก้าวสู่ระดับของ


ครูทส่ี งู ขึน้ ไป
 การดูแลและส่ งเสริมครูใหม่นัน้ เป็ นการสาคัญอย่างยิง่ เพราะเป็ นช่ว งที่บอบบางที่สุด ควรมี
ระบบครูผชู้ ่วย ในลักษณะทีเ่ ป็ นการสนับสนุ น ไม่ใช่การตรวจจับในลักษณะ Probation เอื้อให้
เกิดการเรียนรูท้ ส่ี าคัญ เปิดโอกาสให้เกิดการสร้างความเป็นครูในลักษณะของตนเอง
เรามีปญั หาเรื่องของการวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ (Cost Benefit Analysis) ทาให้ไม่เกิด
ประสิทธิผลในการวางแผนงบประมาณการใช้เงินในด้านการศึกษา
 ระบบปิ ด ของการผลิต คนของทหารและต ารวจ ที่ม ีก ารค านวนจ านวนของคนที่เ กษีย ณว่ า
ต้องการคนเพิม่ มากน้อยเท่าไหร่ เป็ นหนึ่งในแนวทางทีน่ ่ าจะทาให้เกิดความมีประสิทธิภาพของ
การผลิตกาลังคน
ปจั จุบนั การวัดผลของครูนนั ้ มีหลักการและเหตุผลทีไ่ ม่ตรงไปตรงมา ไม่มคี วามจัดเจนว่าตัง้ เป้าประสงค์
ของการวัดไว้เพื่ออะไร ควรมีการส่งเสริมให้ครูเรียนรูร้ ะหว่างทาหน้าที่ เป็น ร้อยละ 80 และทีเ่ หลือร้อยละ
20 คือการเข้าหลักสูตรอบรมบ่มเพาะ ทัง้ นี้สถาบันทีม่ คี วามสาคัญมากต่อการวางรากฐานเรื่องครูคอื คุรุ
สภา ซึ่งจะต้องทาหน้ าที่มองไปถึงหลักสูตรการสร้างครู เพราะคุณภาพของครูนัน้ ขึ้นอยู่กบั ว่าสถาบัน
สามารถบ่มเพาะและควบคุมคุณภาพได้มากน้อยเพียงใด Teacher Educator มีศกั ยภาพเพียงใด มี
อานาจหน้าที่ (Accountability) มากน้อยขนาดไหน สิง่ เหล่านี้จะเป็ นตัวกาหนดคุณสมบัตแิ ละคุณภาพ
ของผลผลิต ครูท่จี ะเข้าสู่ระบบการศึก ษา แต่ ทงั ้ นี้ ทงั ้ นัน้ อีก ปจั จัยที่ส าคัญ ที่สุ ด ก็ค ือ “ผู้บริหาร” ของ
สถานศึกษา ซึ่งจะเป็ น Enabler ที่สาคัญในหลายๆด้าน เป็ นกาหนดแนวทางของสถานศึกษาอย่าง
แท้จริง ควรมีคุณลักษณะการผสมผสานระหว่างความเป็ น Pedagogical Leader และ School Director
 คาถามที่สาคัญคือ “ผู้บริหาร” เหล่านัน้ ควรจะเป็ นหนึ่งในครูทม่ี ปี ระสบการณ์ในการศึกษามาก
น้อยเพียงใด ยังคงมีความสามารถหรือความเข้าใจในระบบและการศึกษาอยูห่ รือไม่
 ผูบ้ ริการหรือผูอ้ านวยการต้องมีจติ ใจบริหารเพื่อนักเรียนและชุมชน
ครูตอ้ งเป็นนักเรียนรูอ้ ยูต่ ลอดเวลา ทัง้ ในเรือ่ งขององค์ความรูแ้ ละการเรียนรูน้ ักเรียน จะต้องรูจ้ กั ว่าเด็กมี
ความสามารถอะไรและต้องสามารถออกแบบการเรียนการสอนที่เหมาะกับนักเรียนเป็ นรายบุคคล ทัง้
สอนและปรับเปลีย่ นไปพร้อมๆกันครูไม่ควรด้อยกว่าวิชาชีพด้านอื่น ควรยกระดับให้เป็ นวิชาชีพระดับสูง
ต้องมีการประยุกต์ใช้การบริหารจัดการทรัพยากรมนุ ษย์ (Human Resource Management) อย่างมี
ประสิทธิภาพ เพราะปจั จุบนั มีครูทจ่ี บมาแล้วสอนไม่ตรงสาขาองค์ความรูม้ ากมาย และในบางพืน้ ทีน่ นั ้ มี
ไม่เพียงพอและยังต้อง ส่งเสริมการเรียนรูด้ า้ น ICT และด้านภาษาด้วยเช่นกัน
 ความมีการสร้างขวัญกาลังในการสนับสนุ นและพัฒนาครู โดยเฉพาะในระดับของภูมภิ าค บาง
โรงเรียนมีโอกาสน้อยกว่าพื้นที่อ่นื อย่างเห็นได้ชดั เรื่องของระบบเงินของโรงเรียนที่มใี ห้ตาม
ค่าหัว เป็นการปิดโอกาสสาหรับโรงเรียนขนาดเล็กในหลายๆด้านมากมาย

588
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 การผลิตครูของ สวทน. เพื่อรองรับการเกษียณของครูในปี 2557 จะเป็ นในลักษณะการส่งเสริม


Cream of the Crop เป็นการดึงผูม้ ศี กั ยภาพสูงเข้ามาเป็ นครูให้ได้มากทีส่ ุด
 ต้องมีการพัฒนาระบบครูผู้ช่วย โดยคุรุสภาและสานักงาน กคศ.เพราะพบว่าเมื่อเข้าไปอยู่ใน
โรงเรียน ครูจบใหม่ไม่รวู้ ่าจะประเมินเด็กอย่างไรให้อยู่ในบริบทของโรงเรียน จะต้องมีการสอน
ในเรือ่ งของวินยั ข้าราชการ จรรยาบรรณวิชาชีพ วิธกี ารวัดการประเมินผลตามกลุ่มสาระต่างๆ

ระบบทีเ่ กือ้ หนุนหรือสนับสนุนการเป็นครู


เป็ นเรื่องของการขัดแย้งทางแนวคิดของการเป็ นครู แนวคิดแรก คือแนวคิดทีว่ ่าไม่เห็นด้วยกับการทีค่ รู
จะต้องจบศึกษาศาสตร์ กล่าวคือ ครูไม่จาเป็ นทีจ่ ะต้องจบ “ครู” แต่ต้องมีใจรักที่จะถ่ายทอด และรักทีจ่ ะ
ค้นคว้า แต่หากมองในอีกมุมมองหนึ่ง วิชาครูในขณะเดียวกันก็คอื การฝึ กปฏิบตั กิ ารสอนเทคนิค หรือ
การถ่ายทอดให้ผเู้ รียนมีความรูถ้ ู กต้องตามหลักวิชา ซึง่ เป็ นสิง่ ที่จาเป็ น เปรียบเสมือนการบ่มเพาะจาก
ต้นน้า
 อาจใช้การสอบใบอนุ ญาต (License) แทนการบังคับว่าต้องมาจากภาคการเรียนศึกษาศาสตร์
เกือ้ หนุ นให้เกิดการก้าวทันวิทยาการ ต่อใบอนุญาตเพื่อเป็นการประกันคุณภาพ
 คุณภาพของครูจะต้องมีการกาหนดมาตรฐานวิชาชีพ มีหลักประกันชัดเจน
 การผลิตครูตอ้ งสอดคล้องกับการใช้ มีการคานึงถึงสาขาทีต่ อ้ งการ ควบคุมคุณภาพการผลิต
และทาให้การสอนนัน้ สอดคล้องความต้องการของผูเ้ รียน

589
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นวัตกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับครู: Teacher TV โดยมหาวิทยาลัยบรูพา


เป็ นหนึ่งในนวัตกรรมที่รเิ ริม่ โดยมหาวิทยาลัยบรูพา เริม่ ต้นมาตัง้ แต่ปี 2552 จนถึงปี 2555 โดยมี
จุดมุง่ หมายในการตอบโจทย์ครูในศตวรรษที่ 21 เป็ นเครือข่ายข้อมูลแนวทางการสอน และเป็ นตัวกลาง
ในการเผยแพร่ทกั ษะการใช้ส่อื ให้แก่นิสติ นักศึกษา และครู ทัง้ ในแง่วชิ าการและการฝึ กประสบการณ์
วิชาชีพต่างๆ

ตัวอย่างแนวทางการปฏิบตั จิ ากต่างประเทศ
 สหรัฐอเมริกา: มีการดูพฒ ั นาการของเด็ก ว่าประเทศต้องการให้ไปในทิศทางใด แล้วจึงนา
แนวคิดนัน้ มาสอนและบ่มเพาะนักเรียนวิชาชีพครูในมหาวิทยาลัย รวมทัง้ ยังมีการสอนทักษะ
ของผูป้ ระกอบการให้แก่นกั เรียนวิชาชีพครูดว้ ยเช่นกัน (Entrepreneurship)
 ฟินแลนด์: การบ่มเพาะครูคอื การนาเอาคนทีม่ คี วามสามารถจริงๆ (Cream of the Crop) มาบ่ม
เพาะ วัดทักษะการแสดงออก ทักษะเชิงไหวพริบ มีการให้ เขียนเรียงความแสดงความคิดเห็น
ความเป็ นครูการเป็ น Autonomous LearnerProblem Solver และ Knowledge Creator เพราะ
ต้อ งสร้างองค์ค วามรู้ท่เี หมาะกับบริบทการเรียนการสอนในชัน้ เรียนของตนรวมไปถึงการมี
Leadership ก้เป้นสิง่ สาคัญ
 ญี่ปุ่น: ไม่มรี ะบบวิทยฐานะเหมือนอย่างประเทศไทย มีการตัง้ เงินเดือนข้าราชการครูสูง แต่ม ี
กฎหมายห้ามประกอบการอื่นในขณะทีเ่ ป็นครู และการวิจยั จะต้องสามารถตอบโจทย์ออกมาเป็ น
Action Research ให้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน โดยใช้ PDCA เป็นตัวขับเคลื่อน
 Bill Gates: ครูต้องการ Feedback ทีแ่ ท้จริงเป็ นอย่างมาก ยกตัวอย่างเช่นกรณีของประเทศจีน
มีการถ่ายวีดโี อ เก็บรายละเอียดความเป็ นไปของห้องเรียน จากต้นวันจนจบวัน ซึ่งทาให้เกิด
ประสิทธิภาพมากขึน้ รวมไปถึง Feedback จากเพื่อนร่วมงานด้วยกันเองก็สาคัญเช่นเดียวกัน

ระบบด้านการนโยบายและการเมืองทีเ่ กีย่ วข้องกับครูและระบบการเรียนการสอน


นักการเมืองเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในแง่ของการหาผลประโยชน์ส่วนตัวให้แก่ตนเองมากเกินพอดี ภาค
การเมืองมีแนวคิดของการเลือกทาในสิง่ ที่เห็นผลได้รวดเร็วเพื่อเป็ นการซื้อใจฐานเสียงให้ได้มากที่สุด
แทนผลงานนโยบายการลงทุนด้านการศึกษาระยะยาวณ ตอนนี้ค วามเป้นไปของระบบการศึกษานัน้ อยู่
ในมือของภาครัฐเสียกึง่ หนึ่ง และภาคการเมืองอีกกึง่ หนึ่ง
 สพฐ. เป็ นหนึ่งในหน่ วยงานที่เป็ น หน่ วยงานหลักของการวางรากฐานในเรื่องครูหน่ วยงานหนึ่ง
โดยปจั จุบนั ได้วางหลักของบันได 5 ขัน้ ของการศึกษาไว้ว่าต้อ งประกอบไปด้วยการปลูกฝ งั
ทัก ษะการเรียนรู้ ทัก ษะในการแสวงหาความรู้ ทักษะในการสร้างองค์ค วามรู้ ทักษะในการ

590
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สื่อ สาร และทัก ษะในการบริห ารสังคมและการมีจติ สาธารณะ ซึ่งทัง้ 5 บันไดนี้ จะเป็ นปจั จัย
สาคัญในการนาพากาลังคนเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างมีคุณภาพ
o หากแบ่งภาพรวมของการศึกษาออกเป็นองค์ประกอบกว้างๆ สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3
ประเด็นคือ ด้านองค์ความรูต้ ามกลุ่มสาระ ด้านลักษณะของการถ่ายทอดองค์ความรู้
และด้านลักษณะเฉพาะของบุคคลหรือผูเ้ รียน
o ในเรื่อ งของการพัฒ นาครู ก็ ส ามารถแบ่ ง ออกได้ เ ป็ น 5 รู ป แบบได้ แ ก่ Teaching
Coaching Mentoring Exchanging และ Online Sharing (เพื่อการแลกเปลีย่ นความรู้
ระหว่างครู)
 การปรับเปลีย่ นหรือปฏิรปู การศึกษาจะต้องเป็ นการเปลีย่ นระบบความเชื่อโดยภาพรวม เปลีย่ น
ทัศนคติของทัง้ นักเรียน และครูไปด้วยกัน
 การทางานของสานักงาน กคศ. นัน้ ควรมีความสอดคล้องกับการทางานของคุรสุ ภา
o ตามมุมมองของหน่วยงานเห็นว่าเม็ดเงินค่าตอบแทนของครูนนั ้ สูงกว่าข้าราชการอื่นอยู่
แล้ว และลัก ษณะการบัง คับ ใช้เ รื่อ งของวิท ยฐานะที่เ ป็ น ไปตาม ว.17 คือ การเน้ น
ผลสัมฤทธิ ์ของนักเรียน อาจจะโดนโจมตีว่าละทิง้ ความเป็ นเลิศทางด้านวิชาการ
o หากไม่มกี ารกาหนดในเรือ่ งของวิทยฐานะแล้ว ครูบางกลุ่มก็ไม่สนใจทาผลงาน
o ควรมีการแก้ระเบียบกฎหมาย สร้างเกณฑ์การประเมินใหม่คดิ ให้นอกกรอบไม่ให้ตดิ กับ
ดักของระบบที่เป็ นอยู่มุ่งเป้าไปที่ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของคนในศตวรรษที่ 21 ทัง้ นี้
จะต้องมีการร่วมมือจากทัง้ ภาคเอกชน ภาครัฐ และตัวผูเ้ กีย่ วข้องกับการศึกษาเอง (เช่น
นักเรียนและผูป้ กครอง)
o ขยายการดูแลครูให้ขยายไปถึงครูทเ่ี สียสละเพื่ออุดมการณ์เช่น ครูตามถิน่ ทุรกันดาร ครู
ภาคปริยธรรม สช. โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็ น
ต้น

591
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาคผนวกที่ 3
สรุปการสัมภาษณ์และการศึกษาดูงาน

เอกสารชุดนี้ จดั ทาขึน้ เพื่อประโยชน์ สาหรับโครงการให้คาปรึกษาแก่ลกู ค้าของสถาบันเท่านัน้

ห้ามมิ ให้บคุ คลใดก็ตามทาการลอกเลียนทาซา้ เปลี่ยนแปลงหรือเผยแพร่ส่วนใดส่วนหนึ่ งหรือ

ทัง้ หมดแก่บคุ คลภายนอกโดยมิ ได้รบั อนุญาตเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรโดยเด็ดขาด

593
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กิ จกรรมการสัมภาษณ์และการศึกษาดูงานภายใต้โครงการวิ จยั เรือ่ งการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษา


ไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
วันที่ เวลา กิ จกรรม
ศุกร์ท่ี 9 ส.ค. 2556 8.00 - 16.00 ดูงานโรงเรียนไกลกังวล
สัมภาษณ์ นายวรวิทย์ กุลจิรกาญจน์
ผูอ้ านวยการโรงเรียนวังไกลกังวล
พฤหัสบดีท่ี 29 ส.ค. 2556 8.00 - 12.00 ศึกษาดูงานโรงเรียนสัตยาไส และติดตามการดาเนินกิจกรรมของ
โรงเรียนสัตยาไส จ.ลพบุรี โดย ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา เป็ น
ผูน้ าดาเนิน ร่วมแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ดร.อาจอง ชุมสาย ณ
อยุธยา และผูอ้ านวยการโรงเรียน ครู และนักเรียน
พฤหัสบดีท่ี 29 ส.ค. 2556 13.00 - 16.00 สัมภาษณ์ นางกชนันท์ศาลางาม
รองผูอ้ านวยการโรงเรียนชัยบาดาล
อังคารที่ 3 ก.ย. 2556 13.00-15.00 การศึกษาดูงานโรงเรียนสาธิตพัฒนา
อังคารที่ 3 ก.ย. 2556 15.00-18.00 สัมภาษณ์ รศ.ลัดดา ภู่เกียรติ
ผูอ้ านวยการโรงเรียนสาธิตพัฒนา
จันทร์ท่ี 9 ก.ย. 2556 9.00 - 12.00 สัมภาษณ์อาจารย์พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา
ผูอ้ านวยการใหญ่โรงเรียนดรุณสิกขาลัย
พฤหัสบดีท่ี 12 ก.ย. 2556 9.00 - 10.00 ดูงานโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
พฤหัสบดีท่ี 12 ก.ย. 2556 10.00 - 12.00 สัมภาษณ์ นายประดิษฐ์ นวลจันทร์
รองผูอ้ านวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
พฤหัสบดีท่ี 12 ก.ย. 2556 9.00 - 12.00 สัมภาษณ์ ดร.ยงยุทธแฉล้มวงษ์
ผูอ้ านวยการวิจยั การพัฒนาแรงงาน
สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
จันทร์ท่ี 16 ก.ย. 2556 13.00 – 15.00 ดูงานโรงเรียนเพลินพัฒนา
จันทร์ท่ี 16 ก.ย. 2556 15.00 – 18.00 สัมภาษณ์ นายทนง โชติสรยุทธ์
ผูอ้ านวยการโรงเรียนเพลินพัฒนา
อังคารที่ 17 ก.ย. 2556 9.00 – 12.00 สัมภาษณ์ อาจารย์มชี ยั วีระไวทยะ
ประธานมูลนิธมิ ชี ยั พัฒนา
อังคารที่ 17 ก.ย. 2556 9.00 – 11.00 ดูงานสถาบันปญั ญาภิวฒ ั น์
อังคารที่ 17 ก.ย. 2556 11.00 – 12.00 สัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์อธิการบดี
สถาบันปญั ญาภิวฒ ั น์
พุธที่ 18 ก.ย. 2556 11.00 – 13.00 สัมภาษณ์คุณอิสดอร์ เรโอด์
หัวหน้าโครงการอบรมครู โรงเรียนมีชยั พัฒนา ถึงการดาเนินงานของ
โรงเรียนมีชยั พัฒนาและสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน

594
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

วันที่ เวลา กิ จกรรม


พุธที่ 18 ก.ย. 2556 13.00 – 14.00 ศึกษาดูงานกิจกรรมสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชนโรงเรียนบ้าน
หนองทองลิม่ School-BIRD (School-Based Integrated Rural
Development) ดาเนินการโดยมูลนิธมิ ชี ยั วีระไวทยะ.
พุธที่ 18 ก.ย. 2556 14.00 – 15.00 ศึกษาดูงานสหกรณ์พฒั นาประชากรและชุมชนลาไทรโยง จากัด
พุธที่ 18 ก.ย. 2556 15.00 – 17.00 ศึกษาดูงานชุมชนหมู่บา้ นหนองตาเข้ม
Community based integrate rural development
พฤหัสบดีท่ี 19 ก.ย. 2556 9.00 – 17.00 ศึกษาดูงานโรงเรียนมีชยั พัฒนา สังเกตการณ์การเรียนการสอน
โรงเรียนมีชยั พัฒนาในห้องเรียน
พฤหัสบดีท่ี 19 ก.ย. 2556 สัมภาษณ์อาจารย์ผอู้ านวยการ รองผูอ้ านวยการ และหัวหน้า
โครงการอบรมครู โรงเรียนมีชยั พัฒนา
พฤหัสบดีท่ี 26 ก.ย. 2556 9.00-12.00 รับฟงั สรุปรายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมพัฒนาการ
เรียนรูเ้ พื่อสร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญาสูส่ ถานการศึกษา
พุธที่ 9 ต.ค. 2556 9.00 – 12.00 ศึกษาดูงานโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
ศุกร์ท่ี 18 ต.ค. 2556 9.00 – 11.00 ศึกษาดูงานโรงเรียนรุ่งอรุณ
ศุกร์ท่ี 18 ต.ค. 2556 11.00 – 12.00 สัมภาษณ์นางสุนิสา ชืน่ เจริญสุข
ผูอ้ านวยการโรงเรียนรุ่งอรุณ
จันทร์ท่ี 21 ต.ค. 2556 14.00 - 16.00 สัมภาษณ์ อาจารย์ ศรีราชา เจริญพานิชผูต้ รวจการแผ่นดิน
อังคารที่ 26 พ.ย. 2556 8.30 – 10.30 สัมภาษณ์ ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช
ธ.ค. 2556 สัมภาษณ์ ดร. กมล รอดคล้าย รองเลขาธิการ คณะกรรมการ
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

595
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กรณี การศึกษาดูงานโรงเรียนไกลกังวล
และสรุปประเด็นจากการสัมภาษณ์ นายวรวิ ทย์ กุลจิ รกาญจน์
ผูอ้ านวยการโรงเรียนวังไกลกังวล
9 สิ งหาคม 2556

ภาพรวมของโรงเรียน
โรงเรีย นวัง ไกลกั ง วล ตั ง้ อยู่ ท่ี อ าเภอหัว หิ น จัง หวัด ประจวบคี ร ีข ัน ธ์ เป็ นโรงเรีย นที่
พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานั น ทมหิด ลมีพ ระบรมราชานุ ญ าตให้จ ดั ตัง้ ขึ้น เมื่อ วัน ที่ 22
มิถุนายน พ.ศ. 2481 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้การศึกษาแก่บุตรหลานของเจ้าหน้าทีผ่ รู้ กั ษาวังไกลกังวล
ซึง่ มีอยูจ่ านวนมากแต่ไม่มสี ถานทีเ่ ล่าเรียน มีฐานะเป็นโรงเรียนราษฎร์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั
ทีไ่ ด้พระราชอุปการะค่าใช้จ่ายจากเงินพระราชกุศลเป็นรายปี
โรงเรีย นวัง ไกลกัง วลเป็ น โรงเรีย นของรัฐ ในสัง กัด ส านั ก งานคณะกรรมการศึก ษาเอกชน
กระทรวงศึกษาธิการ เปิ ดสอนตัง้ แต่ในระดับอนุ บาล 1 ถึง ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 6 และมีการสอนใน
ประดับประกาศวิชาชีพ มีรปู แบบการบริหารโดยคณะกรรมการเรียกว่า "กรรมการบริหารโรงเรียนวังไกล
กังวล" ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒทิ างด้านการบริหารโรงเรียน และทางด้านวิชาการ
วิ สยั ทัศน์
โรงเรียนวังไกลกังวลจัดการศึกษา เพื่อสนองพระบรมราโชบายทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั
พระราชทาน แก่โรงเรียนวังไกลกังวล ความว่า... “ให้จดั การศึกษาอบรมเด็กนักเรียนให้เป็ นเด็กดี มี
เมตตากรุณา เมือ่ จบการศึกษาตามกาลังสติปญั ญาของแต่ละคนแล้ว ให้มคี วามสามารถทางานประกอบ
อาชีพพึง่ ตนเองได้ ไม่ว่าจะเรียนถึงระดับชัน้ ใดก็ตาม”
พันธกิ จ
1. ส่งเสริมและปลูกจิตสานึก ให้มคี วามจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
2. จัดการศึกษาด้วยระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ให้ม ีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา
และเต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
3. จัดสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรูท้ ห่ี ลากหลายและเพียงพอ
4. ส่งเสริมให้บุคลากรได้มกี ารพัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ
5. บริหารจัดการด้วยระบบสารสนเทศ
6. สร้า งความสัม พัน ธ์ก ับ ชุ ม ชนให้ม ีส่ ว นร่ ว มในการบริห ารจัด การและมีก ารด าเนิ น การตาม
โครงการ/งานและกิจกรรม ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

596
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ประเด็นเกีย่ วกับการศึกษาด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียม
โรงเรียนวังไกลกังวลมีการจัดทาโครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม โดยจัดตัง้ สถานีวทิ ยุ
โทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV ขึน้ ทีโ่ รงเรียนวังไกลกังวล ถ่ายทอดการเรียนการสอน
ออกอากาศไปยังโรงเรียนเครือข่ายทัวประเทศ่ เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2538 และต่อมาได้จดั ตัง้
เป็น “มูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม” เมือ่ วันที่ 2 เมษายน 2539
ปจั จุบนั นี้โรงเรียนวังไกลกังวลเป็ นต้นแบบทีท่ รงประสิทธิภาพ และเป็ นศูนย์กลางการเรียนการ
สอนด้ว ยระบบทางไกลผ่ านดาวเทียมที่ก้าวหน้ า เป็ นสถานศึกษาแห่งแรกที่ใ ช้เทคโนโลยีท่ที นั สมัย
ถ่ายทอดกระบวนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนรูต้ ลอดทัง้ การสร้างองค์ความรูค้ วบคู่คุณธรรมไปยัง
ผู้เรียนทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ สนองพระบรมราโชบายที่ทรงเน้ นให้นักเรียนได้รู้จกั ช่วยเหลือ
ตนเองและยึดเป็นแนวปฏิบตั ติ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 วัตถุประสงค์
o เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียม และมุ่งแก้ไขปญั หาการ
ขาดแคลนครูของโรงเรียนในพื้นทีช่ นบทห่างไกล รวมถึงปญั หามาตรฐานไม่เท่าเทียม
กันของสถานศึกษาต่างๆ ได้
o เพื่อขยายการเข้าถึงความรู้ ทัง้ สาหรับนักเรียนและประชาชน ช่วยส่งเสริมกระบวนการ
เรียนรูต้ ลอดชีวติ
 ช่องทางการรับชมรายการ DLTV
o ระบบ DStv: ระบบจานรับสัญญาณดาวเทียมในย่านความถี่ KU-Band
o ระบบ CAtv: ระบบเคเบิลทีว ี
o ระบบ Internet: ทัง้ ในลักษณะ Live Broadcast และ On Demand ที่website
http://www.dlf.ac.th
 ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
o เป็ น การริเ ริม่ น าเทคโนโลยีส ารสนเทศเข้า มาใช้ใ นการจัด การเรียนการสอนอย่างมี
ประสิทธิภาพ สามารถเข้าถึงชุมชนได้ค่อนข้างทัวถึ่ ง
o สามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือจากทุกภาคส่ วน เช่น มูลนิธไิ ทยคิดไทยคมเป็ น
ผู้สนับสนุ นด้านการจัดหาอุปกรณ์ ถ่ายทอด กองทัพไทยดูแลระบบการถ่ายทอดจาก
โรงเรียนต้นทาง และกองทัพบกเป็นผูด้ แู ลการติดตัง้ อุปกรณ์ทโ่ี รงเรียนปลายทาง

 ข้อจากัดในการดาเนิ นการ
o การจัดการเรียนการสอนทีห่ อ้ งเรียนต้นทางต้องเป็ นไปโดยเคร่งครัดและมีความถูกต้อง
เนื่องจากเป็นการถ่ายทอดสดไปในวงกว้าง หากมีขอ้ ผิดพลาดจะเกิดผลกระทบสูง

597
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

o เทคโนโลยีท่ใี ช้เ ป็ นเพียงสื่อ กลางเพื่อ เพิ่มการเข้าถึงการศึกษาในเชิงปริมาณ หาก


ต้องการเพิม่ คุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง ต้องพยายามพัฒนาครูทโ่ี รงเรียนปลายทาง
ควบคู่กนั ไปด้วย
ประเด็นเกีย่ วกับครู
 การผลิ ตครู
o ปั ญหาสถาบันอุด มศึ กษาที่ ผลิ ตบุค ลากรครู กล่าวคือ ตัง้ คาถามกับหลักสูตรการ
เรียนการสอนครูในระดับอุ ดมศึกษาว่ามีการเน้ นย้าปลูกฝงั และสร้างความตะหนักต่ อ
“จิตวิญญาณความเป็นครู” มากน้อยเพียงใด เพราะปญั หาปจั จุบนั สะท้อนว่า ปญั หาของ
ครูรุ่น ใหม่ มัก จะขาดอุ ด มการณ์ ค วามเป็ น ครู จิต วิญ ญาณความเป็ นครู ซึ่ง มีค วาม
แตกต่างกับครูคนเดิมในอดีต
o ข้อเสนอแนะคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ ได้แก่ 1) จิตวิญญาณความเป็ นครู
กล่าวคือ สังสอนศิ
่ ษย์ดว้ ยชีวติ จิตใจด้วยความทุ่มเท อามิสสินจ่างค่าตอบแทนเป็ นเรื่อง
รอง 2) ครูแบบอย่างทีด่ ตี ่อผูเ้ รียน จากคากล่าวทีว่ ่า “ตัวอย่างทีด่ ี มีค่ามากกว่าคาสอน”
แบบอย่างทัง้ ความคิด การกระทา รวมทัง้ สร้างแรงบันดาลใจให้กบั เด็ก 3) ดุลยพินิจของ
ครู กล่าวคือ การมีหลักเกณฑ์ของการกระทาว่าผิด ถูก สามารถชีแ้ นวทางทีถ่ ูกต้องแก่
ผูเ้ รียนได้ อะไรควรทาไม่ควรทา 4) แนวทางการสอนทีผ่ เู้ รียนสามารถไปประยุกต์ได้ใน
ชีวติ ประจาวัน กล่าวคือ ครูตอ้ งระลึกอยูเ่ สมอว่าสิง่ ทีส่ อนให้ผเู้ รียนท้ายทีส่ ุด ความรูต้ ่าง
ๆ ผูเ้ รียนต้องสามารถนาไปใช้จริงในชีวติ ประจาวันได้
 การพัฒนาคุณภาพครู
o การพัฒ นาครูที่ จ ะสามารถถ่ า ยทอดการเรี ย นการสอนผ่ า นสื่ อ โทรทัศ น์ เ พื่ อ
การศึ กษาทางไกลผ่านดาวเที ย ม จ าเป็ นต้อ งมีก ารวางแผนสื่อ การสอนล่ ว งหน้ า
รวมถึงการฝึ กฝนทักษะการนาเสนอการออกอากาศจากห้องเรียนต้นทางสู่ห้องเรียน
ปลายทาง ซึ่งเป็ นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้กับ โรงเรียนที่ด้อ ยโอกาสที่อ ยู่
ห่างไกล ไปยังพืน้ ทีใ่ นจังหวัดต่างๆ เป็ นการประหยัดงบประมาณในการสร้างห้องเรียน
และบรรเทาภาวะ การขาดแคลนครู
o การแลกเปลี่ยนครูของโรงเรียนเครือข่ายมาร่วมสอน กล่าวคือ การแลกเปลี่ยนมี
ทักษะความสามารถในการสอนมาร่วมถ่ายทอด เป็ นแบบอย่างทีด่ ตี ่อครู นอกจากนี้ยงั
เป็นการสร้างแรงบันดาลใจ รวมทัง้ การสร้างความคิดใหม่ๆ ทีส่ ามาถนาไปต่อยอดขยาย
ผลได้ต่อไป
o การอบรมและพัฒ นาครู ฝ่ ายอบรมและพัฒนาครูเ ป็ น ส่ ว นงานหนึ่ ง ภายใต้มูล นิ ธ ิ
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Foundation) โดยได้รบั
มอบหมายจากมูลนิธฯิ ในการปฏิบตั ภิ ารกิจหลักด้านการอบรมและพัฒนาครู ภายใต้
แนวคิดทีว่ ่า มูลนิธฯิ ดาเนินงานด้านการจัดการศึกษาในรูปแบบของการศึกษาทางไกล
598
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ผ่ านดาวเทียมโดยถ่ า ยทอดสดการเรีย นการสอนจากโรงเรีย นวัง ไกลกังวล ซึ่ง เป็ น


โรงเรียนต้นทาง ไปยังโรงเรียนปลายทางทัวประเทศไทย
่ โดยเรียนผ่านโทรทัศน์หรือครู
โรงเรียนต้นทางเป็ นผูส้ อนหลัก และในขณะเดียวกันก็มคี รูในโรงเรียนปลายทางคอยให้
คาปรึกษาด้วย เรียกได้ว่าการเรียนการสอนด้วยระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ให้ประสบผลสาเร็จต้องประสานความร่วมมือและเสริมกันทัง้ สองฝ่ายคือครูฝ่ายโรงเรียน
ต้นทาง และครูฝ่ายโรงเรียนปลายทาง ดังนัน้ มูลนิธฯิ จึงมีภารกิจที่สาคัญอีกประการคือ
การส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพครู ตลอดระยะเวลาการดาเนินงานที่ผ่านมา มูลนิธฯิ ได้
จัดการอบรมและพัฒนาครู แบ่งเป็ น 3 ประเภทหลัก คือ 1) การอบรมครูภาษาอังกฤษ
ด้วยวิธกี ารประชุมทางไกลระบบวีดทิ ศั น์ 2) การอบรมครูวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
ด้ว ยวิธ ีก ารประชุม ทางไกลระบบวีดิทศั น์ และ 3) การอบรมเชิงปฏิบตั ิก ารในพื้น ที่
ต่างจังหวัด นอกจากนี้ฝ่ายอบรมฯ ยังได้ดาเนินโครงการปรับปรุงระบบ DLF e-
Learning เฉลิมพระเกียรติ เพื่อ สนับสนุ นการเรียนการสอนหลักสูต รพื้นฐานของ
โรงเรียนวังไกลกังวล ตลอดจนหลักสูตรวิชาชีพ ภาษาต่างประเทศ และเผยแพร่วดิ โี อ
การอบรมและพัฒนาครู ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้

 การพัฒนาค่าตอบแทนและสวัสดิ การครู
o การเพิ่ ม ค่ าตอบแทน อาจจะเป็ น แรงจูง ใจส าคัญ ให้ค นเข้า มาเรียนครูหรือ เป็ น ครู
หากแต่ไม่ใช่แรงจูงใจทีแ่ ท้จริงในระยะยาว
o การแก้ปัญหาหนี้ สินของครู อาจไม่ใช่ปญั หาครูได้โดยตรง เป็ นแนวทางการแก้ปญั หา
ทางอ้อมมากกว่า เพราะเป็ นปจั จัยทีอ่ าจมีผลต่อการปฏิบตั หิ น้าที่ของครูน้อยกว่าปจั จัย
อื่น
ประเด็นเกีย่ วกับการจัดการเรียนการสอน
 โรงเรียนไกลกังวลในปัจจุบนั มีการเรียนการสอนทีค่ รบวงจร กล่าวคือ มีการเรียนการสอน
ในทุกระดับชัน้ เริม่ ตัง้ แต่ชนั ้ เด็กก่อนวัยเรียน อนุ บาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ทัง้ นี้เด็กคน
ไหนที่จ บจากระดับ ชัน้ มัธ ยมศึก ษาแล้ว มีค วามประสงค์ท่ีจ ะเรีย นต่ อ ในระดับ ที่สู ง ขึ้น ก็ม ี
อาชีวศึกษารองรับ คือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) ที่
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล ซึ่งมีการเปิ ดสอนหลักสูตรระยะสัน้ ด้านวิชาชีพต่างๆสาหรับ
บุคคลทัวไปด้
่ วย นอกจากนี้หากนักเรียนมีความประสงค์ท่จี ะเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา ทาง
โรงเรีย นไกลกัง วลก็ม ีโ ควต้า ให้เ รีย นได้ใ นสถาบัน การเรีย นการสอนในเครือ อีก ที่ห นึ่ ง คือ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตวังไกลกังวลซึง่ ตอบสนองกระแสพระราชดารัสของ
ในหลวงที่จะต้อ งจัดการศึกษาให้เด็กทุกคนสามารถเข้าถึงการศึกษาที่มคี ุณภาพจนถึงระดับ
ปริญญา

599
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 การจัดการเรียนการสอนมีความสอดคล้องกับบริ บทท้ องถิ น่ โดยมีกลไกให้ผู้ปกครองและ


ชุมชนไปจนถึงสถานประกอบการในท้องถิน่ มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาสะท้อนให้เห็นได้จาก
หลักสูตรที่เปิ ดสอนของวิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล ทัง้ หลักสูตรวิชาชีพระยะสัน้ หลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพช่างฝี มือ (ปชม.) หรือหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพซึง่ ล้วนแต่ประกอบไปด้วย
วิชาที่คานึงถึงอาชีพ ของท้อ งถิ่นเป็ นสาคัญ มีจานวนถึง 17 แผนกวิชา อันเป็ นการสนอง
โครงการตามพระราชดาริเกีย่ วกับศิลปาชีพพิเศษด้วย และในขณะเดียวกันนักเรียนของโรงเรียน
วังไกลกังวลสามารถใช้หอ้ งฝึกงานของโรงเรียนสารพัดช่างเป็ นทีฝ่ ึกงานในชัวโมงเรี ่ ยนวิ ชาการ
งานพืน้ ฐานอาชีพได้อกี ด้วย

 นั กเรี ย นที จ่ บการศึ กษาจากโรงเรี ย นไกลกัง วลมี ผลสัม ฤทธิ เ์ ป็ นที น่ ่ าพอใจ โดยเมื่อ ปี
การศึกษา 2556 ทีผ่ ่านมามีนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 สามารถสอบตรงเข้าเรียนต่อในระดับ
ปริญญาตรีท่มี หาวิทยาลัยของรัฐกว่า 80 กว่าคน (ประมาณร้อยละ 50) โดยนักเรียนทีเ่ หลือ
สามารถสอบชิงทุนเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน อาทิเช่น มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC)
มหาวิทยาลัยรังสิต หรือมีบางส่วนทีไ่ ด้ทุนไปเรียนต่อทีต่ ่างประเทศ เช่น ประเทศจีน นอกจากนี้
นักเรียนทีส่ าเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษาส่วนมากก็ได้รบั เกียรติ นิยม นับเป็ นเครื่องยืนยัน
ถึงผลสาเร็จและคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนไกลกังวลได้เป็นอย่างดี

600
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

601
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

602
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

603
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กรณี ศึกษาดูงานโรงเรียนสัตยาไส
และติ ดตามการดาเนิ นกิ จกรรมของโรงเรียนสัตยาไส จ.ลพบุรี
โดย ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา เป็ นผูน้ าดาเนิ น
และสรุปประเด็นจากการร่วมแลกเปลี่ยนความคิ ดเห็นกับ
ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา และผู้อานวยการโรงเรียน ครู และนักเรียน
29 สิ งหาคม 2556

ภาพรวมของโรงเรียน
โรงเรียนสัตยาไสจัดตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2535 ตัง้ อยู่ทอ่ี าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุร ี บนเนื้อทีก่ ว่า
300 ไร่ ท่ามกลางธรรมชาติ อยู่ภายใต้การดูแลของดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา ซึง่ เป็ นผูบ้ ริหารสูงสุด
ของโรงเรียน เปิดรับนักเรียนตัง้ แต่ระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เป็นโรงเรียนประจาและมีการจัด
อาหารมังสวิรตั ใิ ห้กบั นักเรียน โดยไม่มกี ารเก็บค่าเล่าเรียนแต่อย่างใด ในปจั จุบนั มีนักเรียน 352 คน ครู
49 คน อัตราส่วนครูต่อนักเรียนประมาณ 1:6 และแต่ละห้องเรียนจะมีนกั เรียนไม่เกิน 30 คน
โรงเรียนแห่งนี้อยู่ภายใต้กฎ "ความรัก ความเมตตา" โดยเด็กนักเรียนและคุณครูอยู่ในโรงเรียน
เป็ นเสมือนครอบครัวใหญ่ ทุกคนดูแลช่วยเหลือกัน ทางโรงเรียนได้เน้นให้เด็กนักเรียนเป็ นคนดี ไม่ได้
เน้นให้เป็ นคนเก่งเพียงอย่างเดียว เพื่อเด็กจะได้เป็ นผู้ใหญ่ทด่ี ใี นอนาคต สังคมต้องการคนดีและคนเก่ง
ควบคู่กนั ไป ดังปรัชญาของโรงเรียนทีก่ ล่าวว่า “ปลายทางการศึกษา คือ อุปนิสยั ทีด่ งี าม”
วิ สยั ทัศน์
เด็กจะได้รบั การอบรมบ่มนิสยั ให้มคี วามรัก ความเมตตากรุณา มีกริ ยิ ามารยาททีด่ งี าม มีความอ่อนน้อม
ถ่อมตน ซื่อสัตย์ สุจริต กล้าหาญ กตัญญู มันใจในตนเอง
่ รูจ้ กั คิด เสียสละ มีระเบียบวินัย ปฏิบตั ติ ่ อผูอ้ ่นื
อย่างผูม้ คี วามรับผิดชอบ และรักวัฒนธรรมไทย
พันธกิ จ
1. ส่งเสริมและพัฒนาผูเ้ รียน ครู และผูป้ กครองโดยยึดหลักคุณค่าความเป็นมนุษย์ เพื่อให้มอี ุปนิสยั
ทีด่ งี าม เป็นแบบอย่างทีด่ แี ละยกระดับจิตใจให้เป็นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์
2. จัดสภาพแวดล้อ มและบรรยากาศในทุกๆ ด้านให้ส อดคล้องกับการเรียนรู้และฝึ กปฏิบตั ิจริง
เพื่อให้ผเู้ รียนแสดงออกซึง่ ความสามารถของตนได้อย่างเต็มที่
3. ส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนมีความเป็ นเลิศทางคุณธรรม วิชาการ การกีฬาและทักษะต่างๆ
ตามศักยภาพ
4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผเู้ รียนแสวงหาความรูจ้ ากแหล่งการเรียนรูท้ งั ้ ในและนอกประเทศเพื่อให้
เกิดการเรียนรูต้ ลอดชีวติ
5. ส่งเสริมการวิจยั ในชัน้ เรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่อง

604
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

6. บริหารสถานศึกษาและจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้สามารถพึ่งพา
ตนเองได้อย่างเข้มแข็งและยังยื
่ น

ประเด็นเกีย่ วกับการจัดการเรียนการสอน
โรงเรียนสัตยาไสใช้หลัก “Educare” เน้นการอบรมเลีย้ งดู โดยมีความเชื่อว่ามนุ ษย์ทุกคนล้วนมี
ศักยภาพในตนเอง ผูส้ อนจึงต้องพยายามดึงเอาศักยภาพเหล่านัน้ ออกมา ตรงกับการศึกษาทีย่ ดึ ผูเ้ รียน
เป็นศูนย์กลาง ครูเป็นผูช้ ท้ี างให้กบั นักเรียนซึง่ เป็นผูแ้ สวงหา เน้นให้รจู้ กั ตัง้ คาถาม มีความคิดสร้างสรรค์
ควบคู่ไปกับการโน้มนาให้สวดมนต์ ปฏิบตั สิ มาธิ เพื่อเสริมสร้างจิตใจให้เข้มแข็ง มีความเมตตากรุณา
และมีจติ อาสาทีจ่ ะช่วยเหลือผูอ้ ่นื โดยยึดหลัก 3 H คือ Head = สมอง Heart = หัวใจ Hand = การ
กระทา การเรียนการสอนเริม่ จากความคิดดี คิดด้านบวกแล้วถ่ายทอดออกมาเป็ นการกระทาทีด่ แี ละมี
ประโยชน์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของคุณค่าในความเป็ นมนุ ษย์ทส่ี ะท้อนอยู่ใน “คุณธรรม 5 ประการ” ซึง่
ถือเป็ นแนวทางในการดาเนินชีวติ และการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน อันประกอบไปด้ว ย 1)
ความรักความเมตตา 2) ความจริง 3) การประพฤติชอบ4) ความสงบสันติ และ 5) อหิงสา
เป้าหมายในการจัดการศึกษาของโรงเรียนสัตยาไสนัน้ ก็คอื “EDUCATION” ซึง่ ก็คอื
Enlightenment: การรูแ้ จ้ง
Duty and Devotion: การปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละการเสียสละอุทศิ ตน
Understanding: ความเข้าใจถ่องแท้
Character: อุปนิสยั ทีด่ งี าม
Action: การนาความรูไ้ ปปฏิบตั ิ
Thanking: การมีใจกตัญญูรคู้ ุณ
Integrity: ความมีเกียรติ รูจ้ กั รับผิดชอบ
Oneness: ความมีใจสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
Nobility: ความสง่างาม
โรงเรียนใช้หลักการ “การเรียนรูโ้ ดยนักเรียนเป็ นศูนย์กลาง” และ “การเรียนรูแ้ บบบูรณาการ”
เช่น ให้นักเรียน (เริม่ แต่ชนั ้ อนุ บาล) ร่วมกาหนดหัวข้อทีจ่ ะเรียนรู้ แล้วครูเป็ น ผูเ้ อื้ออานวย (ไม่ใช่สอน)
ให้นกั เรียนได้เรียนรู้ โดยเน้นการเรียนรูจ้ ากการได้ปฏิบตั ิ ได้เห็นได้ฟงั ได้สมั ผัส ได้ทดลอง ได้คดิ อย่าง
เหมาะสม ทาให้เด็กเป็ นคนเก่งคนดี นอกจากนี้โรงเรียนสัตยาไสได้นาหลัก “ศีล สมาธิ ปญั ญา” มา
ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เน้น “ความรักความเมตตา” และ “คุณธรรม” โดยบูรณาการเข้า
ไปในการเรียนการสอนและกิจกรรมต่างๆ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในทุกสาระการเรียนรู้ สอน
ทักษะชีวติ ในการอยู่ร่วมกัน นักเรียนได้เรียนรูต้ ามศักยภาพของตน ตลอดจนการส่งเสริมศักยภาพของ
605
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นักเรียน โดยใช้กจิ กรรมชมรมตามความสนใจ ฝึกให้นักเรียนรูจ้ กั คิด วิเคราะห์อย่างมีเหตุผล เพื่อเป็ น


มนุ ษย์ท่สี มบูรณ์ นักเรียนจึงกล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็น เน้ นการเรียนการสอนแบบโครงงานตัง้ แต่
ชัน้ อนุบาล จนถึงมัธยมศึกษา มีแหล่งเรียนรู้ ศูนย์การเรียนรูด้ า้ นเทคโนโลยีอย่างเพียงพอต่อนักเรียน มี
ครู เพื่อน รุน่ พี่ รุน่ น้อง เป็นกัลยาณมิตร ให้การช่วยเหลือซึง่ กันและกัน โดยครูจะเป็ นทีป่ รึกษาดูแลอย่าง
ใกล้ชดิ ทาให้เกิดความอบอุ่นมีความรัก ความผูกพันต่อกัน
ประเด็นเกีย่ วกับครู
 บทบาทของครู
o ครูเป็ นผู้อานวยความสะดวกให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ครูไม่เป็ นผู้สอน พยายามดึงความดี
ออกมาจากนักเรียนใช้วธิ จี ดั การเรียนรูแ้ บบ “ร่วมมือกัน” ไม่ใช่แบบ “แข่งขันกัน” ให้
นักเรียนมีบทบาทในการเลือกว่าจะเรียนอะไร เรียนทีไ่ หน และเรียนอย่างไร รวมถึงใช้
วิธกี าร “ตัง้ คาถาม” มากกว่า “ให้คาตอบ” เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
o ครูเป็ นแบบอย่าง โดยครูของโรงเรียน รวมทัง้ ผู้บริหาร มีกฎอยู่ 2 ข้อ ข้อแรกคือ “เป็ น
ตัวอย่างทีด่ ี ข้อสองคือ ถ้าจาข้อหนึ่งไม่ได้ให้กลับไปดูขอ้ หนึ่งใหม่”
o การปฏิสมั พันธ์ระหว่างครูกบั เด็ก ครูทาตนเป็ นเพื่อน เป็ นพี่ เป็ นแม่เด็ก เป็ นครูสอน
ตลอดเวลา ทาให้เด็กกล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็น กล้าแสดงออก ส่งเสริมผูเ้ รียนให้
เรียนตามศักยภาพอย่างสูงสุด
 การคัดเลือกครู
o การคัดเลือกครูของโรงเรียนจะเน้ นไปที่การแสวงหาบุค ลากรที่เป็ นคนดีและมีความ
พร้อมทีจ่ ะอุทศิ ตัวเพื่อนักเรียน โดยกระบวนการคัดเลือกจะกินเวลาประมาณ 3 วัน เป็ น
การให้ผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกได้ลองมาใช้ชวี ติ การเป็ นครูในสถานที่จริง ได้ซมึ ซับ
ปรัชญาและวิธกี ารจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน และในขัน้ สุดท้ายจะให้นักเรียน
เป็นผูต้ ดั สินใจเลือกครูทต่ี นอยากเรียนด้วย
ประเด็นเกีย่ วกับการเชือ่ มโยงการศึกษากับครอบครัว
 โรงเรียนสัตยาไสให้ความสาคัญกับทัศนคติของผูป้ กครองเป็ นอย่างมาก การคัดเลือกนักเรียน
จึงไม่ได้ตดั สินจากตัวนักเรียนโดยตรง แต่คดั เลือกจากการสัมภาษณ์ผู้ปกครอง เพื่อให้ได้ผู้ท่ี
เข้าใจและยอมรับแนวทางการเรียนการสอนของโรงเรียน และผู้ปกครองสามารถเข้ามาเป็ น
กาลังสาคัญในการจัดกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน
 มีหลายกรณีทพ่ี บว่านักเรียนสามารถนาแนวปฏิบตั ทิ ไ่ี ด้รบั การปลูกฝงั จากโรงเรียนกลับไปเป็ น
ตัวอย่างของการปฏิบตั ติ นทีด่ ใี ห้กบั คนใกล้ชดิ เช่น ครอบครัว ได้อกี ด้วย

606
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ประเด็นเกีย่ วกับผลสัมฤทธิ ท์ างการศึกษา


 ไม่ยดึ ติดกับการสอบวัดผลตามระบบในปจั จุบนั เนื่องจากเป็ นการวัดความก้าวหน้าทางวัตถุ ทา
ให้เกิดกิเลส ไม่มคี วามพอใจในสิง่ ที่ตนเองมี แต่เน้นให้เป็ นผู้ทม่ี วี นิ ัย พึง่ พาตนเอง จากการทา
สิง่ ต่างๆ ด้วยตนเอง ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน
 อย่างไรก็ตาม พบว่านักเรียนทีส่ ตั ยาไสมีทงั ้ คุณธรรมและความรูค้ วบคู่ไปด้วยกัน เพราะนักเรียน
โรงเรียนสัตยาไสสามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้รอ้ ยละ 100 ซึง่ สอดคล้องกับหลักปรัชญาของ
โรงเรียนทีว่ ่า หากสอนเด็กให้เป็นคนดีแล้ว ความเก่งก็สามารถทีจ่ ะตามมาได้เอง

ประเด็นเกีย่ วกับการบริ หารจัดการ


 การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
o สามารถผลิตอาหารได้เอง จากผลิตผลทางการเกษตรของโรงเรียน
o อนุรกั ษ์พลังงาน จากเทคโนโลยีต่างๆ ทีน่ ามาประยุกต์ใช้เพื่อผลิตพลังงานใช้เองภายใน
โรงเรียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ น้ามันไบโอดีเซล
o การใช้สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเป็ นแหล่งการเรียนรูข้ องเด็กนักเรียน
 การสร้างรายได้
o เนื่องจากโรงเรียนไม่ได้มกี ารเก็บค่าเล่าเรียน จึงต้องมีช่องทางในการสร้างรายได้ให้กบั
ตนเอง เพื่อให้โรงเรียนสามารถดาเนินการได้อย่างยังยื่ น โดยในปจั จุบนั รายได้จะมาจาก
จากกิจกรรมต่างๆ เช่น การขายไฟฟ้าจากพลังแสงอาทิตย์ (Solar Farm)
ความแตกต่างระหว่างโรงเรียนสัตยาไสยและโรงเรียนอืน่ ๆ จากมุมมองของผูเ้ รียน
 เน้ น “ความรัก ” เป็ นสิง่ สาคัญ ที่สุด ส่งเสริมให้รุ่นพี่ดูแลรุ่นน้ อ ง มีความรัก ความเมตตา และ
ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน
 ได้รบั บทเรียนทัง้ ทางวิชาการและทักษะในการใช้ชวี ติ ซึง่ ตัง้ อยู่บนหลักการคุณค่าของความเป็ น
มนุ ษ ย์ ท าให้ม ีท ัศ นคติท่ีดี เข้า อกเข้า ใจและยอมรับ ผู้อ่ืน ตลอดจนไม่ย ึด ติด กับ วัต ถุ นิ ย ม
เนื่องจากตระหนักว่าหากลดความต้องการลงก็จะมีความสุขมากขึน้ ได้
 การมองอนาคตกว้างกว่าแค่ “จะเข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยใด” ดังเช่นที่เด็กส่วนใหญ่เป็ น แต่
นักเรียนสัตยาไสจะมองว่าในอนาคตตนจะสามารถทาอะไรเพื่อช่วยเหลือสั งคมและช่วยเหลือ
ผูอ้ ่นื ได้

607
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

608
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

609
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กรณี การศึกษาดูงานโรงเรียนสาธิ ตพัฒนา


สรุปประเด็นจากกาสัมภาษณ์ รศ.ลัดดา ภู่เกียรติ
ผูอ้ านวยการโรงเรียนสาธิ ตพัฒนา
3 กันยายน 2556

โรงเรีย นสาธิต พัฒ นา เป็ น โรงเรีย นเอกชน สัง กัด ส านัก บริห ารงานคณะกรรมการส่ ง เสริม
การศึก ษาเอกชน ก่ อ ตัง้ โดยมูล นิธ ินวัต กรรมการศึกษาซึ่งต้อ งการส่ งเสริมมาตรฐานการศึกษาของ
ประเทศให้มคี ุณภาพ มูลนิธนิ วัตกรรมการศึกษา จึงเริม่ ดาเนินการก่อตัง้ โรงเรียนนวัตกรรมการศึกษา
ขึน้ มาเป็นครัง้ แรกในปี พ.ศ. 2549 เพื่อจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยและต่อมาได้เปลีย่ นชื่อเป็ นโรงเรียน
อนุบาลบ้านของเล่น ในปีเดียวกันปี พ.ศ. 2550 มูลนิธนิ วัตกรรมการศึกษา ได้ปรับชื่อเป็ นโรงเรียนสาธิต
พัฒนา เพื่อ จัดการศึก ษาในระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาโดยได้เ ข้าร่ว มโครงการความ
ร่วมมือ ทางวิชาการกับคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
และได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนอนุ บาลบ้านของเล่น เป็ นโรงเรียนอนุ บาลต้นกล้าสาธิต โดยโรงเรียนสาธิต
พัฒนาและโรงเรียนอนุบาลต้นกล้าสาธิตได้แยกการบริหารงานออกเป็ น 2 โรงเรียน
ปี พ.ศ. 2551 ได้รวมโรงเรียนอนุบาลต้นกล้าสาธิตกับโรงเรียนสาธิตพัฒนาเป็ นโรงเรียนเดียวกัน
คือ"โรงเรียนสาธิตพัฒนา"เมือ่ รวมระดับปฐมวัย กับ โรงเรียนสาธิตพัฒนาแล้ว มูลนิธนิ วัตกรรมการศึกษา
จึงขอความร่ว มมือทางวิชาการจากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการพัฒนาโรงเรียน
ครอบคลุม ถึงระดับอนุบาลด้วย และทาข้อตกลงการช่วยเหลือทางวิชาการ รวม 6 ด้าน ดังนี้
1. การจัดระบบบริหารโรงเรียน และระบบประกันคุณภาพ
2. การจัดทาหลักสูตร ระบบการจัดการเรียนการสอนและการนิเทศ
3. การกาหนดมาตรฐานบุคลากร และอัตราเงินเดือน
4. การรับนักเรียน
5. การคัดเลือกและเตรียมบุคลากร
6. การพัฒนาหลักสูตรและบุคลากรอย่างต่อเนื่อง

วิ สยั ทัศน์
โรงเรียนสาธิตพัฒนาเป็นสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานชัน้ แนวหน้าของประเทศ ทีจ่ ดั การศึกษาให้
ผูเ้ รียนรูม้ คี วามเป็ นผูน้ าทีม่ หี วั ใจประชาธิปไตย กล้าแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ มีทกั ษะชีวติ คิดเชิงบวก
สามารถสื่อสารได้ในระดับนานาชาติ เป็นพลเมืองไทย และพลเมืองโลกทีม่ คี วามสุขอย่างยังยื ่ น

610
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

โรงเรียนสาธิตพัฒนาได้ ประยุกต์ระบบการเรียนการสอน และการบ่มเพาะจากหลายประเทศที่


ดีๆ ทัวโลกนั
่ กเรียนแต่ละห้องจะไม่เกิน 25 คน เด็กเลือหวิชาเลือกได้เองมาก มีครูผสู้ อนอย่างใกล้ชดิ
และวิชาภาษาอังกฤษเป็นครูต่างชาติ
โรงเรียนสาธิตพัฒนาเน้ นความรุ้คู่คุณธรรม รวมทัง้ สอนทักษะชีวติ เช่น มีแปลงนา แปลงผัก
เป็นแหล่งเรียนรูใ้ ห้เด็กๆ ลองทา ทีน่ ่ีหอ้ งเรียนออกแบบเหมือนฟินแลนด์ ออกแบบกระดาษ มีหอ้ งสมุด
โดมแห่ ง การเรีย นรู้ ที่ม ีบ รรยากาศที่ดี เด็ก ๆ นัง่ เรีย นแบบมีค วามสุ ข สระว่ า ยน้ า ขนาดมาตรฐาน
โอลิมปิ ค นอกจากนี้ โรงเรียนสาธิตพัฒนายังมีจุดเด่นที่เสริมหลักสูตรที่เน้ นหลักสูตรพัฒนาศักยภาพ
รายบุคคล

ข้อจากัดของโรงเรียน คือ เรือ่ งครู เนื่องจากเป็ นโรงเรียนเอกชน ทาให้ครูทม่ี าทางานหันไปสอบ


บรรจุครูเพื่อเป็นข้าราชการ ทาให้โรงเรียนขาดแคลนครู ทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ ประสบปญั หาครู
ลาออกกลางคัน ทาให้การเรียนของนักเรียนขาดความต่อเนื่องซึ่งเป็ นประเด็นที่ทางโรงเรียนเอกชน
ภายใต้สงั กัด สช. หลายๆแห่งน่ าจะประสบปญั หาในลักษณะนี้เช่นเดียวกัน

611
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภ า พ ร ว ม ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ
1) ระบบการผลิ ต “ว่าที ค่ รูประจาการ” ควรมีการปรับปรุงเปลีย่ นแปลงอย่างเร่งด่วน โดยมี
ประเด็นทีส่ าคัญ ดังนี้
- แม้ ว่ า จะมี ป ริ ม าณครูที จ่ บมาจ านวนมาก แต่ มีปั ญ หาเรื อ่ งคุณ ภาพครูก ล่ าวคือ มี
บุคลากรทีผ่ ลิตจานวนมาก แต่กม็ คี วามขาดแคลนครู มาตรฐานแตกต่างกันระหว่างสถาบัน
โดยเฉพาะประเด็นด้านคุณภาพ ฉะนัน้ จึงควรเร่งปฏิรปู ระบบการผลิตครู
- กระบวนการเรี ย นการสอนของสถาบัน ผลิ ต ครูใ นปั จ จุบ นั ยัง ค่ อ นข้ า งแยกส่ ว น
ระหว่างการสอนทฤษฎี และการปฏิ บตั ิ หรือเป็ นการฝึ กฝนที ไ่ ม่ล่มุ ลึกอี กทัง้ ไม่มีการ
สอนการวิ เคราะห์หลักสูตร ส่งผลให้ขาดการบ่มเพาะความเป็ นครูทเ่ี ข้มข้น และบัณฑิตที่
จบแล้วเมื่อเข้าเป็ นครูประจาการจึงขาดทักษะการสอน และขาดทักษะในการคิดวิเคราะห์
หลักสูตรแกนกลางทีไ่ ด้รบั มา และการประยุกต์สอนให้เข้ากับเด็กนัก เรียนและบริบท ดังนัน้
จึงควรมีการผสมผสานบูรณาการตัง้ แต่ขนั ้ ตอนการผลิตครู เพื่อบ่มเพาะความเป็ นครู ทักษะ
การสอน
- บัณฑิ ตที จ่ บครูหรือคุรศุ าสตร์โดยตรงไม่ได้เข้าทางานบรรจุเป็ นครูจานวนมาก อี ก
ทัง้ ไม่สามารถดึงดูดคนเก่งให้ สนใจเข้ามาประกอบอาชี พครูได้ ส่วนหนึ่งเนื่องมาจาก
ผลตอบแทนครูต่ า มีความแตกต่างกับอาชีพอื่นมาก เมื่อเทียบกับภาระงาน อีกทัง้ ค่านิยม
หรือการให้ความสาคัญกับอาชีพครูมนี ้อยลง ทาให้เกิดความขาดแคลนครูทม่ี คี ุณภาพ ครูท่ี
มีความเชีย่ วชาญในบางสาขา
2) ควรเร่งพัฒนา เสริ มศักยภาพครูประจาการ
- ปัจจุบนั มีปัญหาเรือ่ งคุณภาพครู ครูประจาการมีข้อจากัดในการสอน ทาให้ ผ้เู รียน
ขาดความรู้ความเข้ าใจอย่างลึ กซึ้ ง ควรเร่งพัฒนาศักยภาพครูมคี วามจาเป็ นอย่างยิง่
เพื่อแลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละนาไปสู่การปรับปรุงพัฒนาวิธกี ารสอน และปรับการจัดการเรียน
การสอน อาทิ การฝึกอบรม แลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะหว่างครูดว้ ยวิธกี ารต่างๆ สร้างเครือข่าย
ครูประจาการ ควรพัฒนาระบบครูพเ่ี ลีย้ งทีส่ นับสนุ น
- ครูได้ทาหน้ าทีไ่ ม่เต็มศักยภาพความเชีย่ วชาญของตน เนื่องจากปจั จุบนั ครูสอนในวิชา
ที่ต นไม่ไ ด้เ ชี่ย วชาญ เนื่ อ งจากระบบการสอบครู จะมีก ารขึ้น บัญ ชีค รู ท่ีส อบได้ไ ว้ เมื่อ
โรงเรียนใดมีการขาดแคลนครูและขออัตรากาลังคนมา ทางส่วนกลางจะจัดส่งครูทข่ี น้ึ บัญชี
สอบจัด ส่ งตามล าดับ ที่ข้นึ บัญ ชีไ ว้ ท าให้ค รูท่ไี ปสอนตามโรงเรีย นไม่ไ ด้ส อนตามความ
เชี่ยวชาญเฉพาะของตน ดังนัน้ ควรปรับปรุงระบบการขึ้นบัญ ชีค รู และการจัดส่ งครูไป
ประจาการตามโรงเรียน สถานศึกษาตามความเชีย่ งชาญ

612
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3) ภาครัฐควรพิ จารณาปรับเปลีย่ น รูปแบบการบริ หารจัดการของสถาบันการศึกษาให้ มีความ


หลากหลายสอดคล้องกับความพร้อมและศักยภาพของสถาบันการศึกษาแต่ ละแห่ ง โดยให้อสิ ระ
สถาบันการศึกษาต่างๆ พิจารณาการเลือกรูปแบบการบริหารจัดการทีเ่ หมาะสมกับจุดเน้นและศักยภาพ
ของสถาบัน โดยมีเงือ่ นไข (Commitment) ทีเ่ ป็นผลผลิต (Output) ทีช่ ดั เจน ตัวอย่างเช่น
- สถาบันการศึกษาทีเ่ น้นวิชาการ เน้นผลผลิตและผลสัมฤทธิ ์ทางวิชาการทีโ่ ดดเด่น
- สถาบันการศึกษาทีเ่ น้นทักษะอาชีพ เน้นผลผลิตทางด้านทักษะฝีมอื การประกอบอาชีพสาย
ช่างเทคนิค
- สถาบันการศึกษาทางเลือกวิถพี ุทธ เน้นผลผลิตการผลิตคนดี มีจริยธรรม
- สถาบันการศึกษาทีเ่ น้นทักษะชีวติ เน้นความสุขและทักษะการดาเนินชีวติ ได้ดี
- สถาบันการศึกษาพื้นทีห่ ่างไกล ชายแดน เน้นการมีอาชีพ และความสามารถพึ่งพาตนเอง
ได้

613
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สรุปประเด็นการสัมภาษณ์
ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร
ผูอ้ านวยการสถาบันส่งเสริ มการสอนวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
4 กันยายน พ.ศ. 2556

ความต่อเนือ่ งเชิงนโยบาย
ระบบการศึกษาของไทยนัน้ ขาดความต่อเนื่องเชิงนโยบายการศึกษา เนื่องจากการทานโยบายต้องอิง
จากภาคการเมือง แต่เมื่อมีการสับเปลี่ยนรัฐมนตรีของกระทรวงศึกษาธิการอยู่ตลอดเวลาก็ยากที่จะมี
การสานต่อทางนโยบายให้สาเร็จลุล่วงได้ดว้ ยดี
- เนื่องจากการทานโยบายการศึกษาได้รบั อิทธิพลจากการเมืองเป็ นอย่างมาก เมื่อภาคการเมือง
รุ่นใหม่เป็ นกลุ่มคนที่ไร้คุณภาพ เข้ามาทางานได้เพียงเพราะใช้เส้นสายภายใน จึงเป็ นการฉุ ด
คุณภาพการศึกษาลงไปด้วยในขณะเดียวกัน
- คนที่เ ข้า มาบริห ารทางด้า นการศึก ษา ถึง จะให้ค วามส าคัญ แต่ ก็ไ ม่ ไ ด้เ ข้า ใจอย่ า งแท้จ ริง
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผู้ท่เี ข้ามาเป็ นรัฐมนตรีของกระทรวงศึกษาธิการที่ผ่ านมานัน้ ไม่ใ ช่ค นที่ม ี
ความรูค้ วามสามารถในเรื่องของศึกษาศาสตร์มากนัก ไม่สามารถมองในภาพใหญ่และส่งเสริม
การพัฒนาได้อย่างครบองค์ประกอบ

คุณภาพของระบบการศึกษา
สถาบันศึกษานัน้ มีคุณภาพลดต่าลงโดยภาพรวม นักเรียนไทยได้ผลการประเมินจาก PISA ในระดับทีต่ ่ า
กว่าเกณฑ์อกี ทัง้ ยังมีปญั หาในเรือ่ งของค่านิยมทีส่ ่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาการศึกษา
- การเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย ยังคงเป็ น ค่ านิยมที่ม ีค วามเด่น ชัด ซึ่งอัน ที่จริงแล้ว การรองรับ
นักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัยนัน้ ทาได้แค่เพียงร้อยละ 30 ของนักเรียนทัง้ หมด ซ้าแล้วไม่มกี ารให้
ความสาคัญต่ออาชีวศึกษาทัง้ ๆ ทีต่ ลาดแรงงานมีความต้องการแรงงานในระดับนี้อยู่เป็ นจานวน
มาก อีกทัง้ ยังมีการเหยียดระดับชัน้ (Discriminate) ด้วยค่านิยมทางสังคมอีกด้วย
- ปริญญาคือใบเบิกทางทีส่ าคัญมากกว่าทักษะทีม่ แี ละจับต้องได้จริงทุกคนมุ่งเน้นเรียนให้ได้วุฒทิ ่ี
สูงเพื่อเอามาประดับเป็ นสถานภาพ (Status) ในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในปจั จุบนั ทีป่ ริญญา
ตรีนัน้ ไม่เพียงพอ ทุกคนต้องพยายามเรียนเพื่อให้ได้ปริญญาโท ทัง้ ๆที่ไม่รคู้ วามต้องการของ
ตนเอง ไม่มจี ุดมุ่งหมายทีแ่ ท้จริงนอกจากการเรียนเพื่อให้ได้วุฒ ิ ทาให้ในทีส่ ุดขาดทักษะการใช้
ชีวติ และประสบการณ์ทส่ี ถานศึกษาไม่สามารถให้ได้

614
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- แรงงานระดับล่างส่วนมากจบ ม.3 – ม.6 ไม่มพี น้ื ฐานกระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์ ซึง่ ในจุด


นี้เป็ นสิง่ ที่ สสวท. ต้องเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องด้วยการเสนอมาตรฐานเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ท่ี
ถูกต้อง

การผลิตครูและคุณภาพของครูในระบบการศึกษา
ปจั จุบนั คนส่วนใหญ่ท่เี ลือกเป็ นครูคอื กลุ่มคนที่ไม่สามารถประกอบอาชีพในลักษณะอื่น หรือไม่รวู้ ่าจะ
ประกอบอาชีพอะไรกล่าวคือ ไม่ได้มใี จอยากจะเป็ นครู อีกทัง้ ยังต่างจากในอดีตที่คนที่จะมาประกอบ
อาชีพเป็นครูนนั ้ คือคนทีเ่ ก่งทีส่ ุดในชัน้ เรียน
- สถาบันสร้างบุคลากรทางด้านการศึกษาอย่างมหาวิทยาลัยราชภัฎ ไม่มคี วามเชื่อมโยงต่อความ
ต้องการของโรงเรียนหรือประเทศชาติ อีกทัง้ ยังพยายามผลิตคนในสายอาชีพอื่นที่ไม่ใช่ Core
Business ของตนเองเพียงเพื่อต้องการหารายได้ เปิดภาคค่า วันเสาร์อาทิตย์ และหน่ วยผลิตครู
เองก็ไม่ได้มคี วามสามารถมากนัก
- จากการสารวจบุคลากรการศึกษาไทยของ TEDS-M (Teacher Education and Development
Study in Mathematics) พบว่าครูทส่ี อนนักเรียนในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ส่วนมากนัน้ มีความรู้
เพียงพอแค่การสอนในระดับประถมเท่านัน้
- ทัง้ นี้ สสวท. ได้พยายามทีจ่ ะเผยแพร่ความรูก้ ารจัดการเรียนการสอนทีเ่ พียงพอผ่านการจัดทา
ตาราเพื่อครู หรือทีเ่ รียกว่าคู่มอื ครูส่งให้องค์การค้า (สกสค.) เป็ นผูจ้ ดั จาหน่ าย แต่อย่างไรก็ตาม
ก็ยงั ประสบปญั หาต้นทุนในการผลิต รวมไปถึงอุปสรรคในการเผยแพร่ให้ทวถึ ั ่ ง ทาให้ค่มู อื ครูไป
ไม่ถงึ มือกลุ่มเป้าหมายทีต่ ้องการทัง้ ๆทีร่ าคาต้นทุนจริงแล้วไม่ได้สูงมากมายเพราะ สสวท. เป็ น
ผูผ้ ลิต Prototype ให้ อีกทัง้ กลไกการค้าขายก็ไม่สนับสนุ นให้โรงเรียนมีอสิ ระในการเลือกซือ้ นัก
การทีใ่ ห้องค์การค้า (สกสค.) เป็ นผูจ้ ดั จาหน่ ายนัน้ เป็ นอีกปญั หาหนึ่งเนื่องจากเป็ นองค์กรภายใต้
หน่วยงานรัฐจึงไม่มปี ระสิทธิภาพเทียบเท่าเอกชน
- เนื่องด้วยการขาดแคลนคู่มอื ครูน้ีเองทีท่ าให้คุณภาพของการเรียนการสอนเสื่อมถอยลง เมื่อครู
ใช้หนังสือเล่นเดียวกับนักเรียน การเรียนการสอนย่อมไม่มที ศิ ทางทีถ่ ูกต้องอย่างทีค่ วรจะเป็น
- ความหวังของระบบการศึกษานัน้ อยู่ท่กี ารบ่มเพาะวิชาให้แก่ครูรุ่นใหม่ เพราะเราไม่สามารถ
แก้ไขแนวคิดของครูรนุ่ เก่าได้แล้ว ควรเปลีย่ นวิธกี ารสอน เน้นการแก้ปญั หามากกว่าการท่องจา
- ครูจะต้องได้รบั การพัฒนาอยูต่ ลอดเวลา ไม่ใช่ว่าจบอยูท่ ก่ี ารเรียนเพื่อให้ได้มาซึง่ วิชาชีพ

615
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

อุปกรณ์และสือ่ การสอนเป็ นปจั จัยทีส่ าคัญ


กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์นนั ้ จะต้องมีการใช้ส่อื การสอนทีม่ คี ุณภาพ แต่โรงเรียนขนาดเล็ก
ไม่มงี บประมาณเพียงพอ ในขณะทีโ่ รงเรียนใหญ่ทม่ี กี ไ็ ม่มเี วลานาอุปกรณ์เหล่านัน้ มาใช้เพราะครูงานล้น
มือและไม่มเี วลาเนื่องด้วยภาระงานอื่นๆทีไ่ ม่เกีย่ วกับการเรียนการสอน
- ผู้บริหารโรงเรียนโดยส่วนมาเป็ นเพียง General Administration ที่ไม่มคี วามรูท้ างด้านการ
ศึกษาศาสตร์ ทาให้เกิดการไม่สอดคล้อง (Mismatch) ในเรื่องของภาระหน้าที่ เห็นความสาคัญ
ผิดจุด มอบหมายหน้าทีใ่ ห้แก่ครูในสิง่ ทีไ่ ม่เหมาะสมกับทักษะ ตกตัวอย่างเช่น การทีค่ รูพละต้อง
สอนคณิตศาสตร์เป็นต้น
- เด็กควรมีสภาพการเรียนรูท้ เ่ี หมาะสม มีส่อื การเรียนการสอนทีด่ ี มีครูทม่ี คี ุณภาพและตรงวุฒ ิ รัฐ
มีการนโยบายสนับสนุ นเด็กทีข่ าดโอกาสหรือยูใ่ นสภาพแวดล้อมทีไ่ ม่สมบูรณ์
- ลักษณะการให้เงินทุนแก่โรงเรียนหรือนักเรียนนัน้ ควรคานึงถึงความจาเป็ นของแต่ละสถาบัน
ศึกษา ผู้ท่ขี าดมากย่อมต้อ งการการช่วยเหลือมาก ใช่ว่าให้ทุกโรงเรียนเท่ากันหมด สาหรับ
โรงเรียนที่พร้อมอยู่แล้วก็เ ปรียบเสมือนเป็ นการเสียเปล่ า แต่หากเลือกวิธกี ารปฏิบตั ิเ ช่นกัน
อาจจะเกิดประเด็นปญั หาเรื่องของนโยบายประชานิยมขึ้นมาได้ เป็ นอีกหนึ่งจุดที่ช้ใี ห้เห็นว่า
การเมืองเป็ นปจั จัยแทรกแซงทีส่ าคัญ

หลักสูตรการเรียนการสอน
ทีจ่ ริงแล้วหลักสูตรการเรียนการสอนของประเทศไทยนัน้ มีการวางเอาไว้อย่างเป็ นระบบและครอบคลุม
รอบด้าน แต่ครูไม่สามารถนาไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างเต็มที่ อันเนื่องมาจากข้อจากัดทางด้านสื่อการสอนและ
คุณภาพของครูเอง การขาดแคลนกาลังคนและโครงสร้างพื้นฐานก็เป็ นประเด็นทีส่ าคัญทีท่ าให้คุณภาพ
การศึกษาลดถอยลงเรือ่ ยๆ
- โดยเฉพาะในพืน้ ทีต่ ่างจังหวัดทีค่ รูมจี านวนจากัด จึงทาให้ครูจาเป็ นทีจ่ ะต้องทาทุกอย่างได้ สอน
ทุกอย่างเป็น แต่เมือ่ ไม่มที กั ษะจึงไม่เกิดประสิทธิผล
- การเรียนรูใ้ นระดับประถมศึกษามีความสาคัญเป็ นอย่างมากต่อการพัฒนาทางด้านความคิดของ
เด็ก แต่เมื่อฐานไม่ดกี ารต่อยอดก็ไม่สามารถทาได้อย่างที่ควรจะเป็ น ซึ่งต่างจากต่างประเทศ
หรือในประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว ทีล่ ว้ นให้ความสาคัญต่อการศึกษาระดับพืน้ ฐานทัง้ นัน้
- ควรให้ความสาคัญกับการปูพน้ื ฐานในระดับชัน้ ปฐมวัยและประถมศึกษาให้มากขึน้
- หลัก สูต รการสอนจะต้อ งทาให้นักเรีย นสามารถใช้ท ักษะที่มอี ยู่ใ นชีว ิต ประจาวัน ได้ใ นทุก ๆ
สาขาวิชา แต่สงิ่ ทีส่ าคัญคือ (1) นักเรียนต้องสามารถอ่านออกเขียนได้ ไม่ใช่แค่สามารถอ่านได้
อย่า งเดีย ว แต่ ต้อ งสามารถจับ ใจความและถ่ า ยทอดได้ด้ว ยเช่ น กัน มีว ิช าคณิต ศาสตร์แ ละ
วิทยาศาสตร์เป็ นหลักพืน้ ฐานในกระบวนการคิด (2) การวางหลักสูตรการศึกษาจะต้องเป็ นใน

616
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ลักษณะกระจายอานาจ สร้างโอกาสให้กบั ระดับท้องถิน่ แต่ในขณะเดียวกันจะต้องมีการควบคุม


มาตรฐานและคุณภาพจากส่วนกลาง โดยใช้มาตรฐานการวัดที่สามารถทาให้เกิดการควบคุ ม
คุณภาพทีแ่ ท้จริงได้ ต้องให้ความสาคัญกับการวัดและประเมินผลอย่างเพียงพอ
- ควรให้ความสาคัญกับการบรูณาการความรู้ ทัง้ คณิตศาสตร์วทิ ยาศาสตร์และศิลปะหรือภาษา
เข้าด้วยกัน ให้นกั เรียนสามารถใช้ความรูใ้ นองค์รวมอย่างผสมผสานในการแก้ปญั หา ซึง่ ในจุดนี้
ควรมีการกระตุน้ ให้เกิดความตระหนักในความสาคัญของการบูรณาการ
- ให้ความสาคัญกับ STEM และควรให้ความสาคัญกับการร่วมมือกับเอกชนและภาคพืน้ ท้องถิน่

ความสามารถในการรองรับนักเรียน
มีความพยายามในการเพิม่ ให้ถงึ การศึกษาภาคบังคับ เดิมเรามีโรงเรียนประถมกว่า 30,000 โรงเรียน
แต่มโี รงเรียนมัธยมเพียงแต่ 3,000 โรงเรียน ซึง่ การทีน่ กั เรียนทุกคนจะเข้าสู่ระดับมัธยมศึกษานัน้ เป็ นไป
ไม่ได้อย่างแน่ นอน ทาให้ต้องมีการเปิ ดโรงเรียนเพิม่ แต่ก็เป็ นการเปิ ดเพิม่ ที่ไม่มคี ุณภาพ ทรัพยากร
บุคคลไม่พร้อม ทาให้ครูตอ้ งสอนควบชัน้
- หนึ่งในแนวทางการเปิ ดโรงเรียนเพิม่ คือโรงเรียนขยายโอกาส คือการขยายตัว ของโรงเรียน
ประถมที่เปิ ดระดับมัธยมเพิม่ ซึ่งไม่ใช่โครงการที่ถูกไตร่ตรองโดยรอบด้าน เป็ นการขยายที่ไม่
คานึงถึงประสิทธิภาพและไม่ยงั ผลสัมฤทธิ ์อย่างแท้จริง
- หนึ่งเหตุผลของโรงเรียนขยายโอกาสนัน้ คือเพียงเพื่อให้ครอบคลุมการศึกษาภาคบังคับ
- ในพืน้ ทีๆ่ ต้องการความช่วยเหลือนัน้ ควรเร่งให้เกิดการพัฒนา เพราะสภาพแวดล้อมนัน้ ส่งผลต่อ
การเรียนรูอ้ ย่างมาก ไม่ว่าจะเป็ นความเป็ นอยู่ของครอบครัว การเดินทางทีย่ ากลาบาก และการ
ทีเ่ ด็กไม่ได้รบั การดูแลอย่างทัวถึ
่ ง ทุกสิง่ ล้วนส่งผลต่อผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษาทัง้ สิน้
- สัดส่วนของครูหรือนักเรียนต่อโรงเรียนที่ใช้กนั เป็ นเพียงวิธกี ารเฉลี่ยจานวนคนต่อจานวนโรง
กล่าวคือ ไม่สามารถบอกสภาพความเป็นจริงได้

การสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการศึกษาทีต่ า่ กว่ามาตรฐาน


- ระบบการสอบ O-NET ในปจั จุบนั เป็ นเพียงแค่การเลือกสอบองค์ความรูข้ องการท่องจา ไม่
วัดผลทางด้านกระบวนการคิด สมควรทีจ่ ะต้องมีการเปลีย่ นแปลงอีกทัง้ นักเรียนทีส่ อบบางส่วน
นั ้น ไม่ จ ริง จัง กับ การท าข้ อ สอบ กล่ า วคือ จะต้ อ งมีก ารปรับ ปรุ ง เป็ น การสอบเพื่อ ให้ จ บ
มัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อให้นกั เรียนสนใจและตัง้ ใจทามากขึน้
- การสอบแบบปรนัย (Multiple Choice) เป็ นการวัดผลทีร่ วดเร็ว ประเมินง่ายแต่ไม่สามารถวัด
ความสามารถได้อ ย่างแท้จริง เพราะสามารถทาได้ด้ว ยการเดาสุ่ ม ในขณะที่ข้อ สอบอัต นัย
(Open-ended Question)ทีส่ ามารถวัดผลได้ดกี ว่านัน้ ใช้เวลาในการประเมินนานกว่ามาก

617
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- นักเรียนล้วนต้องมีการติวตามสถานกวดวิชาเพื่อการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในปจั จุบนั ไม่ใช่การ


สอบวัดความรูท้ ไ่ี ด้จากการร่าเรียนในโรงเรียนแต่อย่างใด

ประเด็นข้อเสนอแนะหรือข้อคิดเห็นอืน่ ๆ
- ต้องสนับสนุนให้เกิดอัตราส่วนนักวิจยั ต่อประชากร 15:10,000
- การศึกษาควรอยูบ่ นพืน้ ฐานของความเสมอภาค ทุกคนควรได้รบั โอกาสเท่ากัน
- ความสามารถของคนไทยยังคงไม่พร้อมกับการบริหารแบบกระจายอานาจ (Decentralization)
- ต้องให้ความสาคัญกับ Media Literacy ใช้ประโยชน์ดว้ ยการบรูณาการ ใช้ส่อื เป็ นตัวกลางอย่าง
มีประสิทธิผลยกตัวอย่างเช่น สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 ทีใ่ ห้ช่วงเวลา สสวท.
- การสร้างสังคมโดยรวมนัน้ ต้องมีรากฐานที่แข็งแรงมาจากการศึกษาที่ดี ต้องให้ความสาคัญแก่
การศึกษาเป็น Priority แรก
- องค์การปกครองส่วนท้องถิน่ และภาคเอกชนควรเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้ความ
ร่วมมือในการสร้างสื่อการเรียนรู้ ตลอดจนถึงการวางแผนว่านักเรียนที่จบการศึกษาออกมาจะ
สามารถทาประโยชน์อะไรให้กบั ชุมชน เป็ นต้น เพราะลาพังเงินจากภาครัฐเพียงอย่างเดียวไม่
สามารถตอบโจทย์ทุกอย่างได้ทนั ท่วงที
- การแก้ปญั หาควรเริม่ จากการมองในภาพใหญ่ (Macro) แล้วถึงลงลึกในเชิงย่อย (Micro) เพื่อให้
เกิดความเป้นบูรณาการเข้าด้วยกัน หากเริม่ จากภาพย่อยแล้วรวมเป็ นภาพใหญ่จะเป็ นการยาก
ทีจ่ ะทาให้มงุ่ สู่เป้าหมายร่วมเดียวกันได้
- มีก ารให้ทุ น แต่ เ มื่อ ส าเร็จ การศึก ษาแล้ว กลับ ไม่ม ีห น้ า ที่ห รือ ต าแหน่ ง หน้ า ที่ก ารงานให้ล ง
เปรียบเสมือนการให้ทุนดังกล่าวนัน้ เสียไปเปล่ าๆเนื่องจากไม่สามารถใช้ความรู้ท่ไี ด้มาอย่าง
เต็ม ที่แ ละเกิดประโยชน์ ในที่สุ ดคนที่ไ ด้ทุน เพื่อ การวิจ ยั เหล่ านัน้ ก็ผนั ตัว ไปเป็ นอาจารย์ใ น
มหาวิทยาลัย แทนทีจ่ ะได้ใช้ความรูท้ ม่ี อี ยูใ่ นการพัฒนาสิง่ นวัตกรรม ปญั หาทีย่ งิ่ ไปกว่านัน้ คือไม่
มีใครมีแรงจูงใจที่จะไปอยู่มหาวิทยาลัยที่ห่างความเจริญ ซึ่งทาให้ความเป็ นไปได้ท่จี ะค้นพบ
ช้างเผือกและในพืน้ ทีเ่ หล่านัน้ หายไป เด็กเก่งทีข่ าดครูเก่งย่อมไม่สามารถประสบความสาเร็จได้
- ประชาคมอาเซียนจะทาให้เกิดการเคลื่อนย้ายของแรงงาน(Labor Mobility) ภายในหมู่ประเทศ
เอเชีย ตะวัน ออกเฉี ย งใต้ ในกรณี ข องประเทศไทยนั ้น มีค วามเป็ น ไปได้สู ง ที่จ ะเกิด การ
เคลื่อนย้ายออกของแรงงานทักษะสูงในขณะทีเ่ กิดการไหลเข้าของแรงงานทักษะต่า
- สิง่ ทีค่ วรทาให้สาเร็จคือ (1) ทาอย่างไรให้คนในประเทศพัฒนาไปด้วยกัน (2) ทาอย่างไรให้คน
เก่ง (Cream of the Crop) มาเป็ นบุคลากรในระดับประถมศึกษาเพื่อการสร้างพืน้ ฐานทีด่ ขี อง
กระบวนการเรียนรู้

618
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สรุปประเด็นจากการสัมภาษณ์
นายพารณ อิ ศรเสนา ณ อยุธยา
ผูอ้ านวยการใหญ่โรงเรียนดรุณสิ กขาลัย
9 กันยายน 2556

การปฏิ รปู การศึกษาไทย


 พระราชบัญ ญัติ ก ารศึ ก ษาการแก้ ปญั หาเรื่อ งวิก ฤตการศึก ษาไทยควรต้อ งย้อ นกลับไปที่
พืน้ ฐาน (Go back to Basic) ต้องย้อนกลับไปให้ความสาคัญกับนโยบาย Child-centered มุ่ง
พัฒนาผูเ้ รียนปรับเปลีย่ นวิธกี ารสอนให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัตกิ ารศึกษา ปี 2542 มาตรา
22 ทีว่ ่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผูเ้ รียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนา ตนเอง
ได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญทีส่ ุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผเู้ รียนสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ”กล่าวถึงการจัดการเรียนรู้ท่ยี อมรับ ว่าบุคคลหรือ
ผูเ้ รียนมีความแตกต่างกัน และทุกคนสามารถเรียนรูไ้ ด้ ดังนัน้ ในการจัดการเรียนรูท้ ่เี น้นผู้เรียน
เป็นสาคัญแต่ปญั หาคือไม่มกี ารบังคับใช้กฎหมาย ไม่มใี ครนาไปปฏิบตั จิ ริง
 นอกจากนี้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ ได้ระบุไว้ในมาตรา 49 เช่นกัน
“มาตรา 49 บุคคลย่อมมีสทิ ธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีทรี ่ ฐั
จะต้องจัดให้อย่างทัวถึ ่ งและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
ผู้ยากไร้ ผู้พกิ าร หรือทุพพลภาพ หรือผู้อยู่ในสภาวะยากลาบาก ต้องได้รบั สิทธิตาม
วรรคหนึง่ และการสนับสนุนจากภาครัฐเพือ่ ให้ได้รบั การศึกษา โดยทัดเทียมกับบุคคลอืน่
การจัด การศึก ษาอบรมขององค์ ก ารวิช าชีพ หรือ เอกชน การศึก ษาทางเลือ กของ
ประชาชน การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง และการเรียนรู้ตลอดชีวติ ย่อมได้รบั ความคุม้ ครองและส่งเสริม
ทีเ่ หมาะสมจากรัฐ”
อย่ า งไรก็ต าม สภาพความเป็ น จริง ยัง ไม่ส ามารถด าเนิ น การได้จ ริง ดัง ที่ร ะบุ ไ ว้ใ น
รัฐธรรมนูญอย่างครบถ้วน ทัวถึ ่ ง

 ปฏิ รปู กระทรวงศึ กษาธิ การ ปจั จุบนั การทางานของหน่ วยงานในกระทรวงศึกษายังเป็ นแบบ
แยกส่วนอยู่มาก ควรต้องมีการบูรณาการร่วมกันมากขึน้ อาจแบ่งตามหน้าที่ (Function) เช่น
การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษาทางเลือก

619
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 ปัจจัยแห่งความสาเร็จในการเปลี่ยนแปลง (Key Success Factors for Change)


- Paradigm Shiftการปฏิรูปการศึกษาไทยนัน้ ต้องเริม่ จากการเปลี่ยนวิธคี ดิ แต่การ
เปลี่ยน Mindset ของสังคมไม่ใช่เรื่องง่าย ที่ผ่านมาคนที่เกี่ยวข้องยังไม่ยอมเปลี่ยน
mindset จึงทาให้เวลาคิดนโยบายใหม่ๆออกมาก็ไม่ค่อยประสบความสาเร็จ อย่างไรก็
ตามบางครัง้ การเปลีย่ นแปลงต้องเริม่ จากคนทีพ่ ร้อมทีจ่ ะเปลีย่ นก่อน
- Leadership กุ ญ แจส าคัญ ที่จ ะทาให้การเปลี่ย นแปลงเกิด ขึ้น จริง คือ ผู้นา ดัง นัน้ ใน
บริบทของเรือ่ งการศึกษานัน้ ผูบ้ ริหารโรงเรียนจึงอาจมีความสาคัญมากกว่าครูเสียอีก
- Start Small หากจะปฏิรูปการศึกษาทัง้ ระบบใหญ่คงเป็ นเรื่องยาก ต้องใช้เวลานาน
ดังนัน้ ควรเริม่ จากจุดเล็กๆ เมือ่ ประสบความสาเร็จแล้วค่อยขยายออกไปเรื่อยๆ เช่นการ
ส่งเสริมการศึกษาทางเลือกอย่างจริงจัง นัน่ คือ คิดวางแผนภาพใหญ่ระดับมหภาคแต่
เริม่ ทาจุดเล็กๆ ก่อน
 การศึ ก ษาทางเลื อ ก ตอนนี้ ก ารศึ ก ษาทางเลือ กก าลั ง ได้ ร ับ ความนิ ย มมากขึ้น มากใน
ต่างประเทศ เห็นได้จากสัดส่ว นของโรงเรียนทางเลือกที่เพิ่มขึ้นทุกปี ขณะที่ในประเทศไทย
โรงเรียนทางเลือกยังมีจานวนน้อยและไม่ได้รบั การสนับสนุ นจากภาครัฐมากเท่าที่ควร จาเป็ น
จะต้องมีการตัง้ หน่ วยงานทีร่ บั ผิดชอบในกระทรวงโดยตรง รวมทัง้ การออกกฎหมายมารองรับ
ปจั จุบนั มีเพี ยงสมาคมสภาการศึ กษาทางเลื อกและเครือข่ ายโรงเรียนชุมชนไม่สามารถ
ขับเคลื่อนเชิงนโยบายได้ นอกจากนี้โรงเรียนทางเลือกมีอุปสรรคในการนาหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พื้นฐานไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากมีกรอบแนวทางที่ไม่เอื้อกับ
การศึกษาทางเลือก รวมทัง้ การสอบเข้ามหาวิทยาลัยซึง่ ยังเน้นการคัดเลือกความรูด้ า้ นวิชาการ
แบบท่องจาเป็นหลัก
 สัง คมแห่ ง ปั ญ ญา (Wisdom-based Society)สัง คมไทยแต่ เ ดิม เป็ น สัง คมแห่ ง ป ญ ั ญา
(Wisdom Based Society) แต่เรากลับมาให้ความสาคัญของการศึกษาอยู่ท่ตี วั ความรู้ ตาม
แนวคิดของชาติตะวันตกไปสู่สงั คมแห่งความรู้ (Knowledge Based Society) หรือเป็ นเพียงแค่
สังคมของข้อมูล (Information Society) ทัง้ นี้ความรูเ้ ป็ นสิง่ สาคัญ แต่ยงิ่ ไปหว่านัน้ ต้องมีปญั ญา
ด้วย คนทีม่ ปี ญั ญานัน้ หมายความว่าเป็ นคนทีม่ คี วามเข้าใจอย่างลึกซึง้ สามารถนาข้อมูลความรู้
นัน้ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริง

620
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

โรงเรียนดรุณสิ กขาลัย
 ปรัชญาการศึก ษาของโรงเรียนตัง้ อยู่บนหลักการ Constructionismของ Prof. Seymour
Papert แห่ง The Media Lab of Massachusetts Institute of Technology (MIT)โดย
กระบวนการเรียนรูน้ ้มี ชี ่อื ภาษาไทยว่า “การเรียนรูเ้ พื่อสร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญา” มีความคล้ายคลึง
กับหลักการเรียนรูผ้ ่านการปฏิบตั ภิ าวนาในพุทธศาสนา ทีใ่ ห้ความสาคัญกับการสร้างองค์ความรู้
ผ่านประสบการณ์จริงของตนเอง โดยหลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนรูจ้ ะประกอบด้วย 3
กระบวนการทีส่ าคัญ คือ 1) การคิด (Thinking or Designing) 2) การลงมือทา (Making or
Doing) 3)การสะท้อ นความคิด (Reflecting or Contemplating) กระบวนการเรียนรู้แบบ
Constructionism นี้เป็นการเรียนผ่านโครงงาน (Project Based Learning)สิง่ ทีน่ ักเรียนสร้าง
นัน้ จะเป็ นโจทย์ทน่ี ักเรียนสนใจ ซึง่ นักเรียนจะได้พบประสบการณ์และความรูท้ ห่ี ลากหลายทีจ่ บั
ต้องได้ชวี ติ จริง จากนัน้ นักเรียนก็จะได้ผ่านกระบวนการสะท้อนความคิด (Reflection) ด้วยการ
บันทึกประจาวัน ซึ่งเป็ นการให้นักเรียนได้ฝึกฝนการทบทวน และเรียนรูจ้ ากประสบการณ์และ
กระบวนการทีไ่ ด้ผ่านไป
 พันธกิ จ ของโรงเรียนดรุณสิกขาลัยทีส่ าคัญอีกประการหนึ่ง คือ การพัฒนาผูเ้ รียนให้สามารถใช้
วิจารณญาณในการคัด สรรข่าวสาร (Data) ที่มอี ยู่ม ากมายในปจั จุ บนั มาแปรเป็ น ข้อ มูล
(Information) ที่เป็ นประโยชน์ สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และพัฒนาข้อมูลเหล่านัน้ ไปสู่
ความรู้ (Knowledge) ที่สงสมเป็ ั่ นประสบการณ์ ซึ่งเมื่อนาไปใช้อย่างมีสติ จะทาให้เกิดปญั ญา
(Wisdom) ทีจ่ ะเป็ นพืน้ ฐานในการแก้ปญั หา วางแผน และการสร้างสรรค์นวัตกรรม

 การจัดการเรียนการสอนเน้ นให้ผู้เรียนพัฒนากระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบตั ิจริงในเรื่องที่


ตนเองสนใจ และบูรณาการวิชาการต่างๆไปพร้อมๆกับพัฒนาทักษะทัง้ 5 ด้าน คือ
- IQ (Intelligent Quotient) ด้านสติปญั ญาและความเฉลียวฉลาด พัฒนาให้ผู้เรียนมี
ทัก ษะกระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ มีค วามเฉลียวฉลาดเพิ่ม ขึ้น และ ใฝ่ห า
ความรูอ้ ย่างต่อเนื่อง
- EQ (Emotional Quotient) วุฒภิ าวะทางอารมณ์ พัฒนาให้ผเู้ รียนรูจ้ กั ตนเอง และ มี
ความมันคงทางอารมณ์

- AQ (Adversity Quotient) ความสามารถในการทางานภายใต้สภาวะความกดดันได้ดี
พัฒ นาทั ก ษะในการแก้ ป ญ ั หาที่ ไ ม่ เ คยพบมาก่ อ นและการเผชิญ สถานการณ์ ท่ี
หลากหลาย เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถปรับตัวได้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง
- TQ (Technology Quotient) ทักษะทางเทคโนโลยี พัฒนาความคล่องแคล่วในการใช้
เทคโนโลยี และรูจ้ กั เลือกใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ให้เหมาะสม กับความต้องการ

621
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- MQ (Morality Quotient) ด้านคุณธรรม ปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม ให้ผเู้ รียนมีจติ ใจ


งดงาม รู้จ กั ขนบธรรมเนี ย มประเพณีท่ีดี และอยู่ใ นสัง คมแห่ งการเรีย นรู้ไ ด้อ ย่า งมี
ความสุข
 หลักในการจัดการเรียนรู้ของดรุณสิกขาลัย ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐาน 3 ประการ คือ
1. การเรียนรูเ้ พื่อสร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญา (Constructionism Project-based Learning) คือ
เน้ นการจัดการเรียนรูท้ ่มี ผี ู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ท่ผี ู้เรียนหรือ
กลุ่มมีความสนใจ และเน้นการสร้างกระบวนการคิดและการเรียนรูด้ ้วยตนเอง เพื่อบ่ม
เพาะนิสยั รักการเรียนรูแ้ ละใฝเ่ รียนรูไ้ ปตลอดชีวติ
2. การสร้างชุมชนแห่งนักเรียนเรียน (Learning Organization) คือ การสร้างสิง่ แวดล้อมให้
เหมาะสมกับการเรียนรู้ ซึ่งรวมทัง้ สิง่ แวดล้อมทางกายภาพและทางสังคม ที่ผู้บริหาร
โรงเรียน ครู นักเรียนและผู้ปกครอง อยู่ร่วมกันเป็ นชุมชน เป็ นนักเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองไปด้วยกันตลอดเวลา เพื่อสร้างบรรยากาศทีเ่ รียนรูก้ นั ด้วยความเป็ นกัลยาณมิตร
เป็นแบบอย่างของสังคมทีด่ ี ทางานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ให้กบั เด็กและเยาวชน
3. การปฏิบตั ภิ าวนาและความเป็ นไทย (Mindfulness Meditation and Thai Cultures)
การพัฒ นาคุ ณ ภาพของจิต ใจเป็ น รากฐานที่ส าคัญ ของการพัฒ นาสติป ญ ั ญาและจิต
วิญญาณในนักเรียนทุกคน การเป็ นผู้มคี ุณธรรม เป็ นจุดเริม่ ต้นของการคิด การเรียนรู้
และการทางานทีส่ ร้างสรรค์ รวมทัง้ การธารงค์รกั ษาไว้ซง่ึ ความเป็ นไทย วัฒนธรรมและ
ศีลธรรมจรรยาที่ดงี ามของไทย ให้สบื ทอดไปยังลูกหลานด้วยความภาคภูมใิ จในความ
เป็นไทย และมีความเคารพและอยูร่ ว่ มกันกับวัฒนธรรมอื่นได้ในสังคมแห่งโลกาภิวตั น์
 การเรียนรู้เป็ นชัน้ คละ การจัดการเรียนรูใ้ นแต่ละระดับการเรียน นักเรียนจะคละอายุกนั โดย
คุณครูจะดูแลพัฒนาการของนักเรียนเป็ นรายบุคคล ซึ่งนักเรียนแต่ละคนจะเรียนช้าเรียนเร็ว
แตกต่างกันในแต่ละเรือ่ งแต่ละสาขาวิชา คุณครูจะดูแลให้นักเรียนได้เรียนรูไ้ ปตามธรรมชาติและ
ศักยภาพของตนเอง
 การประเมิ นผลนักเรียนครูจะจดบันทึกการสังเกตการณ์ ประเมินผลนักเรียน และจะสื่อสารกับ
ผูป้ กครองเป็นระยะๆ เพื่อรับทราบและร่วมกันพัฒนานักเรียนอย่างเป็ นองค์รวม การประเมินผล
เน้นการประเมินผลอย่างหลากหลาย ทัง้ จากการประเมินผลสัมฤทธิ ์ทางวิชาการ เช่นเดียวกับ
โรงเรียนทัวไป่ และมีการประเมินผลด้านกระบวนการเรียนรู้ ทัศนคติ ทักษะทางสังคม ผ่านการ
สังเกตการณ์ในสถานการณ์จริง (Authentic assessment) และการให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการ
ประเมินตนเองเพื่อการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ
 ปจั จุบนั โรงเรียนดรุณสิกขาลัยได้ทาการศึกษาวิจยั ร่วมกันกับ School of Education ของ
มหาวิทยาลัย Stanford ในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรครูและทาการศึกษาวิจยั เกี่ยวกับ
บทบาทของเทคโนโลยีในการเรียนรู้

622
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

งานวิ จยั ของ Prof. Kristan Morrison (Radford University) ได้ตงั ้ คาถามเกี่ยวกับเป้าหมายสูงสุด
ของการศึกษา โดยใช้การเปรียบเทียบระหว่างการศึกษาดัง้ เดิม (Conventional Education) และ
การศึกษาทางเลือกแบบใหม่ (Unconventional Education) มีรายละเอียดดังนี้
1. นักเรียนจะมีความใฝร่ ู้ รูจ้ กั การคิดวิเคราะห์ในสภาพแวดล้อมแบบไหน ระหว่างสภาพแวดล้อมที่
เขามีอสิ ระในการตัง้ คาถามใดก็ได้ทอ่ี ยากจะถาม หรือในสภาพแวดล้อมที่เขาถูกบอกว่าควรจะ
ถามคาถามใด จะต้องคิดอย่างไร โดยปราศจากการคานึงถึงประสบการณ์ชวี ติ หรือความสนใจ
ของเขา
2. นักเรียนจะเป็นผูท้ เ่ี ปิดกว้างต่อข้อคิดเห็นและมุมมองทีห่ ลากหลายได้อย่างไร หากเขาได้พบเจอ
แต่มุมมองที่แคบและมีลกั ษณะเป็ นแบบเดียวกันทัง้ หมด (Homogenized view) จากการเรียน
ผ่านตาราเรียนเพียงอย่างเดียว
3. นักเรียนจะสามารถมีความเข้าใจลึกซึ้งถึงความสลับซับซ้อนและความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน
ขององค์ความรูต้ ่างๆได้อย่างไร หากเขาจะต้องเรียนแบบแยกส่วนตามสาขาวิชา (Fragmented)
และห่างจากโลกความเป็นจริง (Oversimplified)
4. นักเรียนจะมีความตระหนักรูต้ นเองในสภาพแวดล้อมแบบไหน ระหว่างสภาพแวดล้อมทีเ่ ขาได้
ถู ก ส่ ง เสริม ให้ค้น หาสิ่ง ที่ม ีค วามหมายส าหรับ เขา หรือ ในสภาพแวดล้อ มที่ ค วามสนใจของ
นักเรียนถูกกลบด้วยองค์ความรูท้ เ่ี ป็ นมาตรฐานเดียว (Standardized knowledge) โดยทีพ่ วก
เขาไม่สามารถควบคุมหรือจัดการอะไรใดๆทัง้ สิน้
5. ความเป็นเอกลักษณ์ของนักเรียนแต่ละคน (Individuality) จะเกิดขึน้ ในรูปแบบการเรียนการสอน
แบบใด ระหว่างโมเดลการผลิตแบบโรงงาน (Factory Model) ทีเ่ ป็ นแบบเดียวกันทัง้ หมด หรือ
โมเดลที่ใ ห้ค วามส าคัญ กับการเรียนรู้ต ามศัก ยภาพและพรสวรรค์ท่ีมคี วามแตกต่ า งกันของ
นักเรียนแต่ละคน
6. นักเรียนจะเป็ นผูท้ ม่ี คี วามรับผิดชอบ เชื่อมันในตั่ วเอง และยึดมันต่
่ อความเป็ นประชาธิปไตยใน
สภาพแวดล้อมแบบไหน ระหว่างสภาพแวดล้อมที่เขามีสทิ ธิในการตัดสินใจว่าเขาจะใช้เวลาใน
แต่ละวันอย่างไร การปฏิบตั กิ ารประจาวันของโรงเรียนควรเป็ นอย่างไร และการแก้ไขปญั หาข้อ
ขัดแย้งต่างต่างๆ หรือในสภาพแวดล้อมทีน่ กั เรียนไม่มสี ทิ ธิในการตัดสินใจใดๆทัง้ สิน้
7. นักเรียนจะรูส้ กึ ว่าการเรียนรูเ้ ป็นสิง่ ทีส่ นุกและให้ความพึงพอใจกับเขาและทาให้เขากลายเป็ นผูท้ ่ี
เรียนรูต้ ลอดชีวติ (Lifelong Learner) ได้ในสภาพแวดล้อมแบบไหน ระหว่างสภาพแวดล้อมที่
ถูกบังคับ ยัดเยียดให้ตอ้ งเรียนหนังสือแบบท่องจา ทาข้อสอบมากมาย หรือสภาพแวดล้อมทีเ่ ขา
สามารถใช้เวาไปกับการเรียนรูส้ งิ่ ทีพ่ วกเขามีความสนใจและมีความหมายต่อตนเอง

623
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การศึกษาดูงานโรงเรียนมหิ ดลวิ ทยานุสรณ์


และสรุปประเด็นจากการสัมภาษณ์ นายประดิ ษฐ์ นวลจันทร์
รองผูอ้ านวยการโรงเรียนมหิ ดลวิ ทยานุสรณ์
12 กันยายน 2556

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์เปิดทาการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายรุน่ แรกในปีการศึกษา
2534
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ องค์การมหาชน จัดตัง้ ขึน้ ตามพระราชกฤษฎีกาการจัดตัง้ โรงเรียน
มหิดลวิทยานุสรณ์ พ.ศ. 2543 เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย เปิดสอนในระดับ
มัธยมศึกษา
รูปแบบการจัดตัง้ :โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์มสี ถานภาพเป็ นองค์การมหาชน ภายใต้การ
กากับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตามประกาศพระราชกฤษฎีกาจัดตัง้ โรงเรียนมหิดล
วิทยานุสรณ์ขน้ึ เมือ่ วันที่ 25 สิงหาคม พุทธศักราช 2543 ได้มกี าร เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์แห่งแรก
ของประเทศไทย เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา
การจัดตัง้ เป็นองค์การมหาชน ทาให้โรงเรียนสามารถ ดาเนินการบริหารจัดการให้เยาวชนทีม่ ี
ความสามารถพิเศษได้รบั การพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ โรงเรียนมีอสิ ระในการดาเนินงาน รวมทัง้ การ
พัฒนาหลักสูตรและสื่อทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะตัว แตกต่างจากโรงเรียนมัธยมศึกษาปกติโดยทัวไป

ภารกิ จสาคัญของโรงเรียนคือ การวิจยั พัฒนา และสร้างองค์ความรูใ้ นการค้นหาและการจัด
การศึกษาสาหรับผูม้ ศี กั ยภาพสูงด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาที่
สามารถใช้เป็ นต้นแบบขยายผลใน วงกว้างได้ ทัง้ นี้เพื่อพัฒนานักเรียนเหล่านัน้ ให้มคี วามสามารถระดับ
มาตรฐานโลกมีจติ วิญญาณของความเป็ นนักวิจยั นักประดิษฐ์คดิ ค้น มีสุขภาพพลานามัยทีด่ ี มีคุณธรรม
จริยธรรม รักการเรียนรู้ มีความเป็ นไทย มีความมุง่ มันใน
่ การพัฒนาประเทศชาติและมีเจตคติทด่ี ตี ่อ
เพื่อนร่วมโลกและธรรมชาติเป็ นตัวป้อนทีม่ คี ุณภาพสูงเยีย่ มเข้าสู่ระดับ อุดมศึกษาเพื่อพัฒนาไปสู่ความ
เป็นนักวิชาการนักวิจยั และนักประดิษฐ์คดิ ค้นระดับมาตรฐานโลกของประเทศชาติในอนาคต
เกณฑ์การคัดเลือกนักเรียน:เป็นไปอย่างเคร่งครัด โดยเปิดรับปีละ 240 คน ด้วยการสอบวิชา
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการสอบ SAT
ครู:โรงเรียนเน้นครูเก่ง ทีจ่ บทางด้านวิทยาศาสตร์เฉพาะทาง และมีการอบรมวิชาชีพครูเพิม่ เติม
เนื่องจากต้องการเน้นให้นกั เรียนได้รบั การถ่ายทอดวิชาความรูจ้ ากครูทม่ี คี วามเชีย่ วชาญโดยตรงทาง
วิทยาศาสตร์เข้มข้น โดยโรงเรียนมีครูประมาณ 70 ท่านทีจ่ บการศึกษาในระดับปริญญาโทและปริญญา
เอก

624
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

หลักสูตร การเรียนการสอนทางโรงเรียนพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร อย่างไรก็ตามก็มคี วาม


ครอบคลุมหลักสูตรแกนกลางตามกระทรวงศึกษาธิการ ทัง้ นี้ในการเรียนการสอนจะมีทงั ้ การสอนแยก
ตามสาระวิชาความรู้ และการเรียนแบบบูรณาการด้วยการทาโครงงาน อาทิ ในระดับม.4 เรียนวิชา
วิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน ม.5 ทาโครงการด้านวิทยาศาสตร์ท่สี นใจ และ ม.6 เรียนวิชาสัมมนา จุดเน้น คือ
ฝึกประสบการณ์วจิ ยั โดยให้นกั วิจยั ภายนอกทีเ่ กีย่ วข้องกับหัวข้อทีน่ กั เรียนสนใจ หรือครูทาหน้าทีเ่ ป็ นพี่
เลีย้ งให้คาแนะนาปรึกษา (Mentor) และทาให้นักเรียนมีประสบการณ์อย่างครบวงจรตัง้ แต่เริม่ การเขียน
โครงร่างวิจยั ได้ดาเนินการทาวิจยั ไปจนถึงการนาเสนอผลงานวิจยั โดยทางโรงเรียนพยายามส่งเสริม
และช่วยหาเวทีให้นกั เรียนไปเผยแพร่ผลงาน
โรงเรียนส่งเสริมการอ่าน ค้นคว้า เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง โดยจัดโครงสร้างพื้นฐานทีเ่ อื้ออานวยความ
สะดวกให้กบั นักเรียน เช่นห้องสมุดเปิดถึงเวลา 22.00 น. จัดพืน้ ทีห่ อ้ งค้นคว้ากลุ่มย่อย มีคอมพิวเตอร์
ในห้อ งสมุด และมีอิน เทอร์เ น็ ต ที่นัก เรีย นสามารถใช้ค้น คว้า ได้ภ ายในโรงเรีย นบริเ วณต่ า งๆอย่า ง
ครอบคลุม เป็นต้น
นอกจากนี้ทางโรงเรียนยังส่งเสริมกิจกรรมอื่นๆ เพื่อพัฒนาผูเ้ รียนอีกจานวนหลายกิจกรรม ทัง้
การพัฒนาให้ผเู้ รียนมีความรับผิดชอบ มีความเป็ นผูน้ า มีวนิ ัยในตนเอง มีนิสยั รักการเรียนรู้ รักการอ่าน
รักการเขียน และรักการค้นคว้าอย่างมีระบบ มีความเป็ นไทย มีจติ สาธารณะ รักการออกกาลังกาย เป็ น
ต้น
การประเมิ นผลผู้เรียน:โรงเรียนจะใช้วธิ กี ารประเมินผลด้วยข้อสอบที่เน้ นการเขียนเป็ นส่วน
ใหญ่ โดยในวิชาทางด้า นวิท ยาศาสตร์ จะเป็ น ข้อ สอบเขียนอัต นัยทัง้ หมด ส่ ว นวิช าที่ไม่ใ ช่ท างด้า น
วิทยาศาสตร์จะประกอบไปด้วยข้อสอบอัตนัยร้อยละ 90 ส่วนข้อสอบปรนัยมีเพียงร้อยละ 10
ความส าเร็จของโรงเรีย นมหิ ด ลวิ ทยานุ ส รณ์ : มีทงั ้ การแข่งขันระดับนานาชาติ และการ
แข่งขันระดับชาติ

ข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยง
 การเรียนต่ อของนักเรียนในด้ านวิ ทยาศาสตร์มีน้อย: แม้ว่าโรงเรียนมหิดลวิทยา
นุสรณ์เป็ นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ของประเทศไทยแต่จากสถิตพิ บว่า ภายหลังทีน่ ักเรียน
ได้จบการศึกษา พบว่า นักเรียนทีเ่ รียนต่อทางด้านวิทยาศาสตร์ในระดับอุดมศึกษายังมี
สัดส่วนทีน่ ้อย โดยในกลุ่มทีเ่ ลือกเรียนต่อวิทยาศาสตร์น้ีมสี ดั ส่วนเพียงประมาณร้ อยละ
17-20 ซึ่งมักจะได้รบั ทุนการศึกษาต่อที่ต่างประเทศ ในขณะที่นักเรียนที่เรียนต่อใน
ประเทศไทยมักเลือกเรียนต่อทางด้านแพทยศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ในสัดส่วนทีส่ ูง
ส่วนหนึ่งเนื่องจากค่านิยม ทัศนคติผู้ปกครอง ทีอ่ ยากสนับสนุ นให้บุตรหลานเรียนเพื่อ
เป็ นแพทย์ หรือวิศ วกรมากกว่า เพราะมีเส้นทางอาชีพ (Career Path)ที่ชดั เจนกว่า
อย่า งไรก็ต าม อีก ส่ ว นหนึ่ ง เนื่ อ งมากจากภาครัฐ ยัง มิไ ด้ส นับ สนุ น ส่ ง เสริม ทางด้า น
625
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

วิทยาศาสตร์อย่างครบวงจร หรือแสดงให้เห็นผู้เรียนและผู้ปกครองเห็นทิศทางการ
สนับสนุน
 ผู้บริ หารโรงเรียน เป็ นปั จจัยหนึ่ งที่ มีความสาคัญอย่างยิ่ งต่ อการพัฒนาโรงเรียน:
เนื่องจากโรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์เป็ นโรงเรียนทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ อีกทัง้ รูปแบบการ
บริหารงานเป็นลักษณะองค์การมหาชน ดังนัน้ การค้นหาผูบ้ ริหารงานทีม่ ที งั ้ ความเข้าใจ
ด้านวิทยาศาตร์ และเลือกทีจ่ ะมาบริหารงานในองค์การมหาชนซึง่ มีวาระการดาเนินงาน
จึงเป็นเรือ่ งทีค่ ่อนข้างยาก

626
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สรุปประเด็นจากการสัมภาษณ์
ดร. ยงยุทธ แฉล้มวงษ์
สถาบันวิ จยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย
12 กันยายน 2556

ปัญหาของการปฏิ รปู
 กฎหมายที่กาหนดการปฏิรูปการศึกษาของไทย มีผลให้ม ีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ
กระทรวงศึกษาธิ การครัง้ ใหญ่ กรมต่างๆ ถูกยุบไป ได้มกี ารรวมเอาทบวงมหาวิทยาลัย และ
สภาการศึกษาแห่งชาติเข้ามาไว้ในกระทรวงศึกษาธิการ กลายเป็ นโครงสร้างใหม่ ประกอบด้วย
5 หน่วยงานหลัก แต่ไม่ได้ช่วยให้เกิดการบูรณาการมากขึน้ แต่ละหน่ วยงานยังทางานเป็ นแท่ง
เช่นเดิม นอกจากนี้การรวมเอาทบวงมหาวิทยาลัยเข้ามาไว้ในกระทรวงเดียวกันทาให้เป็ นการ
การบันทอนพั
่ ฒนาของอุดมศึกษา เนื่องจากถูกครอบคลุมโดยการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
 การปฏิรปู การศึกษาในยุคทีผ่ ่านมาเป็นเพียงการขับเคลื่อนในเชิ งสัญลักษณ์ หรือเป็ นลักษณะ
paper-based คือเน้นการวางแผน (Planning) หรือการผลิตงานวิจยั เชิงวิชาการเป็ นหลัก แต่
ข้อเสนอแนะทัง้ หลายกลับไม่ได้ถูกนาไปปฏิบตั จิ ริง
 การใช้ จ่ายในด้านการศึกษาของภาครัฐทีผ่ ่านมาส่วนใหญ่เป็ นงบประจาส่วนทีเ่ ป็ นการลงทุน
(Investment) น้อยมาก หากมีก็มกั จะเน้นการก่อสร้างตึกอาคารเรียนทีเ่ ป็ นโครงสร้างพืน้ ฐาน
ทางกายภาพ (Physical Infrastructure) โดยเฉพาะมหาวิทยาลัย/ราชภัฎ แต่ไม่ได้ลงไปถึงตัว
คน ครู หรือบุคลากร ซึง่ มีความสาคัญมากกว่าในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ครู
 ปจั จุบนั ครูที่กาลังสอนส่วนใหญ่เป็ นผู้สูงอายุแล้ว สมรรถนะลดต่ าลงทาให้คุณภาพการสอน
อาจไม่เทียบเท่าในอดีต เป็นไปตามหลักของเศรษฐศาสตร์ Law of Diminishing Return ซึง่ หาก
เป็ นภาคเอกชนเมื่อองค์กรเขาไปถึงจุด Diminishing Return นี้แล้ว จะต้องมีการปรับโครงสร้าง
(Restructuring) เพื่อฟื้ นฟูเ พื่อให้กลับสู่สภาพเดิม (Revitalize) แต่ ปจั จุบนั ยัง ไม่เห็นความ
พยายามของกระทรวงศึกษาในการทาเรือ่ งนี้
 มี ส ถาบันผลิ ตครูมากเกิ นไป ท าให้ ค วบคุมคุณ ภาพได้ ย าก ใบประกอบอาชีพ ครู ไม่ไ ด้
มาตรฐาน ไม่สามารถแสดงสมรรถภาพที่แท้จริงของครู เนื่องจากคุรุสภาไม่ได้กากับดูแลอย่าง
เข้มงวดเพียงพอ นอกจากนี้ย งั ขาดการประเมินเพื่อควบคุมคุณภาพอย่างตลอดต่อเนื่อง (Re-
evaluation) ควรจะทาเหมือนใบขับขีท่ ม่ี กี ารทดสอบใหม่เพื่อต่ออายุไม่ใช่เป็ นใบอนุ ญาตแบบ
ตลอดชีพ

627
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 ครูส่ วนมากสอนวิ ชาไม่ตรงกับที่ เรียนมา นอกจากนี้ยงั มีกฎหมายที่เป็ นอุปสรรคต่อ การ


พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนเช่นการบังคับให้ครูผสู้ อนต้องจบปริญญาด้านการศึกษาเท่านัน้
เรียนเรือ่ งกระบวนการสอน แต่ไม่ได้มอี งค์ความรูท้ ล่ี กึ ซึง้ พอในเนื้อหาสาระวิชาของศาสตร์นนั ้ ๆ
 ครูยุคนี้ขาดจิ ตวิ ญญาณของความเป็ นครู หลังจากการปรับเปลี่ยนระบบครู และอาจารย์มา
เป็ นระบบเดียวกัน ทาให้ครูสนใจแต่เรื่องการทาวิทยฐานะเพื่อเลื่อนระดับหน้ าที่การงานของ
ตัวเอง เพื่อให้ได้ผลตอบแทนเพิม่ ขึน้ โดยละเลยเรือ่ งการสอน ทาให้เด็กนักเรียนกลายเป็ นเพียง
by-product ไม่ใช่เป็ นศูนย์กลาง นอกจากนี้ยงั มีปญั หาเรือ่ งหนี้สนิ ไม่มคี วามพอเพียง ซือ้ รถแข่ง
กับเด็กนักเรียน
 ระบบการพัฒนาครูที่ดีนัน้ ต้ องเน้ นเรื่องการสร้างความรับผิ ดชอบ (Accountability)ให้ครู
รับผิดชอบต่อคุณภาพของเด็ก โดยไม่จาเป็ นต้องทาเป็ นมาตรฐานเดียวกันทัวทั ่ ง้ ประเทศแต่
อย่างน้อยควรมีการทา Benchmark สาหรับแต่ละโรงเรียน เป็ นการประเมินว่าผลสัมฤทธิ ์ของ
นักเรียนดีข้นึ จากปี ท่แี ล้วหรือไม่ ซึ่งผู้บริหารโรงเรียนก็จะคอยมากากับดูแลครูอีกที ทาให้ทงั ้
ระบบค่าตอบแทนทัง้ หมดเป็ น performance-based pay เป็ นการสร้างแรงจูงใจทีถ่ ูกต้องไม่ใช่
วัดกันทีเ่ อกสารอย่างทีเ่ ป็ นอยูใ่ นปจั จุบนั
ความเหลื่อมลา้ ด้านการศึกษา (Education Disparity)
 เป็ นส่ ว นหนึ่งของความเหลื่อ มล้าทางเศรษฐกิจสังคมในภาพรวมของประเทศ ที่ค วามเจริญ
กระจุกตัวอยู่ทส่ี ่วนกลาง ทาให้เกิดปญั หาครอบครัวแหว่งกลาง พ่อแม่เข้ามาทางานในเมือง ทิง้
ลูกไว้กบั ตายาย ซึง่ ไม่สามารถดูแลเด็กได้ทงั ้ ในด้านสุขภาพ และการศึกษา
 ควรมีการกวดขันเรือ่ งการสอบวัดผลอย่างจริงจัง สาหรับเด็กที่ มีผลสัมฤทธิ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ต้อง
ให้ ซ้าชัน้ ซ้าวิชา ไม่ปล่อยผ่านไปง่ายๆอย่างปจั จุบนั นอกจากนี้จะต้องดูว่าเด็กที่มปี ญั หานี้ม ี
สาเหตุมาจากอะไร เช่น เรือ่ งครอบครัว หรือเป็นอาการของ Learning Deficit/ Slow-learner
 การจะแก้ปญั หาเรื่องความเหลื่อมล้าด้านการศึกษานัน้ ต้องให้ ความสาคัญกับช่ วงต้ นของ
การศึ กษา ตัง้ แต่ ร ะดับ อนุ บาล (Pre-school) ซึ่ง เป็ น ช่ว งที่เ ด็ก จะสร้างทัก ษะที่เ กี่ยวกับ
กระบวนการคิด (Cognitive Skills) โดยเด็กทีม่ าจากครอบครัวยากจนมักไม่มโี อกาสได้เข้าเรียน
จึงทาให้เกิดช่องว่างระหว่างความสามารถของเด็กกลุ่มด้อยโอกาสนี้กบั เด็กทีม่ าจากครอบครัวที่
มีฐ านะที่ส ามารถส่ ง ลูก เข้า เรียนระดับ อนุ บาลหรือ ท ากิจกรรมที่ช่ว ยสร้างเสริม ทัก ษะต่ า งๆ
ระหว่างช่วงปิดเทอม
 สาหรับกลุ่ มเด็ก ที่ต้อ งการการช่ว ยเหลือ เป็ นพิเ ศษนัน้ ยัง เป็ นที่ถ กเถียงกันอยู่ว่ าวิธ ีการจัด
การศึกษาใดจะเหมาะสมที่สุด ระหว่างการแยกนักเรียนกลุ่มนี้ออกมาเรียนในโรงเรียนพิเศษ
เพื่อที่ค รูจะสามารถให้ความสนใจและจัดการเรียนการสอนที่มคี วามเฉพาะเหมาะสมกับเด็ก
ลักษณะนี้ หรือจะเป็นโมเดลอย่างของโรงเรียนสาธิตเกษตรซึง่ พยายามให้เด็กกลุ่มนี้ได้เข้าเรียน
ไปด้วยกันกับเด็กปกติทวไปเพื
ั่ ่อให้โอกาสเขาได้ปรับตัวเข้ากับสังคมและสิง่ แวดล้อม

628
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ประเด็นความท้าทายอื่นๆในระบบการศึกษาไทยปัจจุบนั
 นโยบายอุดหนุนต่ อหัวเป็ นการจัดสรรทรัพยากรอย่างไม่มปี ระสิทธิภาพโดยทาให้เกิดการแย่ง
นักเรียนจากสายอาชีวะไปสู่สายสามัญเพื่อให้ได้งบประมาณมากขึน้
 ระบบการบริ ห ารจัด การการศึ ก ษาจ าเป็ นต้ อ งกระจายอ านาจออกจากส่ ว นกลาง
(Decentralize) มากขึ้น ทัง้ นี้ต้อ งขึ้นอยู่กับศักยภาพของแต่ ล ะท้อ งถิ่น โดยใช้รูปแบบการ
กระจายแบบเป็น Node โดยแบ่งตามCluster เขตการศึกษาทีม่ อี ยูแ่ ล้ว
 เป้ าหมายสาคัญของการจัดการศึกษา คือ ต้ องทาให้ เด็กได้ค้นพบศักยภาพของตนเอง รู้
ว่าตัวเองมีความสนใจในเรื่องใด เพื่อที่ส ามารถตัดสินใจได้ว่าจะเรียนต่ อสาขาวิชาไหน หรือ
ประกอบอาชีพ ใดดังนัน้ จริงๆแล้ว การมีค วามรู้และทักษะนัน้ อาจเป็ นเพียงแค่ ยอดของภูเ ขา
น้ าแข็งเท่านัน้ สิง่ ที่ลกึ ลงไปและเป็ นพืน้ ฐานทีส่ าคัญคือคุณลักษณะหรือเจตคติของคนทีบ่ อกว่า
เขาชอบอะไรและเหมาะกับอะไร ซึ่งเป็ นหน้ าที่ของภาคการศึกษาที่ต้องดึงศักยภาพของเขา
ออกมาให้ได้
 ควรให้ ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึ กษามากขึ้น จะเป็ นการช่วยลดภาระ
ด้านงบประมาณของภาครัฐ อีกทัง้ ที่ผ่านมาจะเห็นว่าภาคเอกชนสามารถการจัดการศึกษาได้
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผ ลมากกว่า ซึ่งหน้ าที่ของรัฐควรเป็ นเพียงผู้อ านวยความ
สะดวก หรือเข้าไปปิดช่องโหว่ช่วยเหลือโรงเรียนทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีห่ ่างไกลทีข่ าดแคลนทรัพยากรเป็ น
หลัก เพื่อไม่ให้เกิดปญั หาความเหลื่อมล้าในการเข้าถึง
การวางแผนกาลังคน
 ปจั จุบนั มีความพยายามทีจ่ ะเปลีย่ นผ่านไปสู่ระบบ Competency-based pay มากขึน้ ผ่านการ
ใช้กรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ แต่ยงั มีอุปสรรคอยู่เนื่องจากมีหลายหน่ วยงานที่ต่างคนต่างมีกรอบ
คุณวุฒขิ องตนเอง ตัง้ แต่ National Qualification Framework (NQF) ของสภาการศึกษาทีเ่ พิง่ มี
การจัดทาซึง่ เป็ นกรอบใหญ่ในด้านการวัดสมรรถนะ หรือ Thai Professional Qualification ซึง่
เป็ น การวัด ทัก ษะอาชีพ ที่มกี ารใช้ม าอย่า งยาวนาน นอกจากนี้ย งั มีก รอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒ ิ
ระดับอุ ดมศึก ษา (TFQ) ของอุ ดมศึกษา จาเป็ นต้อ งมีการบูร ณาการร่ว มกัน การมีระบบ
National Qualification นี้จะช่วยแก้ปญั หาเรื่องเด็กไม่เรียนสายอาชีวะ เนื่องจากเมื่อจบอาชีวะ
แล้วสามารถใช้คุณวุฒเิ ทียบเรียนต่อปริญญาได้ทนั ที ซึง่ จะเป็น Technical University
 การวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาวของประเทศจะต้องมีความชัดเจนมากขึน้ แล้วถึงจะสามารถ
ระบุได้ว่าเราต้องการแรงงานแบบไหนทัง้ ในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ตัวอย่างเช่น ในภาค
เกษตรเราต้องมุ่งไปสู่การทาเกษตรแบบสมัยใหม่ (Modern Agriculture) จึงต้องสนับสนุ นให้คน
เรียนด้านเทคโนโลยีการเกษตร ขณะทีใ่ นภาคอุตสาหกรรม สภาพัฒน์ฯได้ระบุอุตสาหกรรมหลัก
ของประเทศ 6 อุตสาหกรรมในแผนยุทธศาสตร์ประเทศ ซึง่ ภาคการศึกษาก็ควรผลิตบัณฑิตให้
สอดคล้องกับความต้องการแรงงานเหล่านี้เช่นกัน อย่างไรก็ตามประเทศไทยควรมุ่งเน้ นไปสู่

629
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาคบริการ เนื่องจากเป็ นจุดแข็งของเรามากที่สุด ไม่ว่าจะเป็ นด้านการท่องเที่ยว การโรงแรม


การค้าปลีก Modern trade ต่างๆ โดยในภาคการบริการนี้ปจั จุบนั ก็กาลังประสบปญั หาขาด
แคลนแรงงานเช่นกัน ซึ่งมีบริษทั ใหญ่ๆเช่น CPALLออกมาแก้ไขปญั หานี้ดว้ ยตนเองผ่านการ
ทา MoU ร่วมกับอาชีวะ 50 โรงเรียนทัวประเทศไทย

ั่
 ในฝงของนายจ้ าง ไม่สามารถขึน้ ค่าจ้างให้คนทีจ่ บอาชีวะได้เพราะไม่มคี วามสามารถในการจ่าย
(Ability to Pay) เนื่องจากมีต้นทุนสูงจากการใช้เทคโนโลยีทซ่ี อ้ื มาจากประเทศอื่น ดังนัน้ จึงมี
ความจาเป็ นในการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ (Restructuring Demand) ไปสู่การเพิม่ มูลค่ามาก
ขึน้ ตลอดทัง้ ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ด้วยการคิดค้นผลิตเทคโนโลยีดว้ ยตนเอง การทา
Branding, Marketing เพื่อให้ธุรกิจมีส่วนต่างของกาไรเพิม่ ขึน้ สามารถจ้างงานทีเ่ ป็ นทักษะสูง
และยกระดับค่าจ้างให้แก่แรงงานได้

630
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กรณี การศึกษาดูงานโรงเรียนเพลิ นพัฒนา


16 กันยายน พ.ศ. 2556

หลักการของโรงเรียน
วิ สยั ทัศน์ โรงเรียนเพลินพัฒนาเป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ท่มี ุ่งสร้างผู้เรียนให้บรรลุศกั ยภาพ
สูงสุดของตนเองร่วมกัน เพื่อความสุขอย่างยังยื่ นของชีวติ และสังคม
ค่ านิ ยมหลัก เคารพความแตกต่าง ให้เกียรติความเป็ นมนุ ษย์ กล้าคิด กล้าทา กล้าหาญทาง
จริยธรรม เพลินกับการให้และการอุทศิ พัฒนาตนด้วยการเรียนรูอ้ ยูเ่ สมอ
หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกเข้าเรียนของเพลิ นพัฒนาพิ จารณา
จาก 2 รูปแบบคือ (1)การสัมภาษณ์พูดคุยกับผู้ปกครอง (ทัง้ ครอบครัว) ใช้เวลาครอบครัวละ
ประมาณ 30 นาที เพื่อเป็ นการทวนสอบถึงแนวทางของโรงเรียน และความต้องการของผู้ปกครองให้
สอดคล้องในแนวทางเดียวกัน และ (2)การพิจารณานักเรียน
แนวทางการพัฒนานักเรียน
แนวทางการจัดการเรียนรูใ้ ห้กบั เด็กๆ ในวัยเตรียมอนุ บาลถึงมัธยมศึกษาตอนปลายของเพลิน
พัฒนา โดยผู้เรียนในทุกระดับ ชัน้ จะเรียนรู้ด้วยกระบวนการและเทคนิควิธที ่หี ลากหลาย อาทิ Active
Learning การเรีย นเชิง รุก ที่ผู้เ รีย นต้อ งลงมือ กระท าเพื่อ ให้เ กิด ความเข้า ใจต่ อ สิ่ง ที่เ รีย นรู้ เป็ น
กระบวนการเรียนรูท้ ผ่ี เู้ รียนเป็ นผูผ้ ลิตความรูข้ น้ึ เอง Brain-Based Learning การเรียนรูท้ ส่ี อดคล้องกับ
ธรรมชาติการทางานและการเรียนรูข้ องสมอง Multiple Intelligences (MI) การจัดการเรียนรูท้ ส่ี ่งเสริม
ปรีชาชาญและความถนัดของนักเรียน Constructive Learning การเรียนรูท้ เ่ี ปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้าง
ความรูด้ ว้ ยตนเองอย่างเป็ นลาดับขัน้ และ Comprehensive Learning การเรียนรูท้ เ่ี ปิดโอกาสให้ผเู้ รียน
ได้ประมวลความรูแ้ บบองค์รวม เพื่อให้เด็กๆ ได้เรียนรูแ้ ละพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับ
ช่วงวัยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กๆ พัฒนาตนอย่างเพลิดเพลินและเติบโตอย่างมีความสุข ถึงพร้อมด้วย
ทักษะสาคัญ 3 ประการ คือ ทักษะชีวติ (Life Skills) มีคุณลักษณะนิสยั ทีด่ งี าม สามารถจัดการและดูแล
ชีวติ ของตนเองได้ดี และอยู่ร่วมในสังคมทีห่ ลากหลาย แตกต่างทางความคิดได้อย่างดี พร้อมทีจ่ ะเผชิญ
กับความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคตอย่างมีความสุข ทักษะการเรียนรู้ (Learning
Skills / Knowledge Skills) มีพ้นื ฐานความรูแ้ ละความสามารถในการเรียนรูไ้ ด้ดี มีศกั ยภาพในการ
ประยุก ต์ใ ช้แ ละต่ อ ยอดความรู้ไ ด้ต ามความสนใจของแต่ ล ะบุ ค คล และทัก ษะการท างาน ( Working
Skills) มีค วามสามารถในการจัดการงานของตนได้ดี และมีท ักษะที่จาเป็ น ต่ อ โอกาสในการประสบ
ความสาเร็จในชีวติ

631
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กระบวนการสร้างครูของโรงเรียนเพลิ นพัฒนา
การนาเอากระบวนการเรียนรูแ้ บบ Lesson Study เข้ามาปรับใช้เป็ นวิถที างในการพัฒนาครูของ
ช่วงชัน้ ที่ 1 และ 2
 Lesson Study ในบริบทของเพลินพัฒนา หมายถึง การพัฒนาครูโดยให้กลุ่มครูช่วยแนะนา
กันเอง สาธิตกันเอง ประเมิน (การจัดการเรียนการสอน) กันเอง และช่วยปรับปรุงซึง่ กันและกัน
ภายใต้การจัดการเรียนการสอนที่มคี วามชัดเจนในแนวทางเดียวกันโดยมีครูพ่เี ลี้ยง โค้ช หรือ
ผู้เชี่ยวชาญ เวียนเข้าร่วมอย่างสม่าเสมอ และอาศัยข้อมูลจากการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมสังเกต
ร่วมสะท้อน ร่วมประเมิน (การจัดการเรียนการสอน) ร่ว มศึกษา และร่วมพัฒนา (วิธกี ารจัดการ
เรีย นการสอนและพัฒ นาคุ ณ สมบัติท่ีส าคัญ ของครู) เป็ น ทรัพ ยากรหลัก ในการขับ เคลื่อ น
กระบวนการ โดยที่กระบวนการพัฒนาครูดงั กล่าวนี้ดาเนินไปในหน้ างานการจัดการเรียนการ
สอนทีก่ ลุ่มครูเหล่านี้ตอ้ งทาจริงเป็นงานประจา
 การพัฒนาครูด้วย Lesson Study นี้จะช่ว ยให้ค รูสามารถจัดการเรียนรู้ใ นสถานการณ์เปิ ด
หรือ Open approach กล่ า วคือ เปิ ดประตูผู้เ รียน และส่ งเสริมผู้เ รียนทุกคนให้นาความรู้
ความสามารถทัง้ หมดที่ส ะสมอยู่อ อกมาใช้อ ย่า งเต็ม ที่ และขยายศัก ยภาพออกไปเรื่อ ยๆ
ตลอดจนส่งเสริมให้มกี ารใช้ความรูค้ วามสามารถดังกล่าว เกิดเป็ นการสร้างความรูข้ องผูเ้ รียนที่
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างทัวถึ ่ ง จะเห็นได้ว่า Open approach นี้มหี ลักการที่
สอดคล้องกันกับ “กระบวนการก้าวพอดี” ที่เป็ นวิถีปฏิบตั ใิ นการจัดการเรียนรูข้ องโรงเรียน
นันเอง

 ก่อ นเปิ ดปี การศึกษา คุ ณครูแกนนาของช่ วงชัน้ และคุณครูว ิชาการไดช่ว ยกันวางกลไก การ
ทางานให้ครูทุกคนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการนี้ให้ได้มากที่สุดโดยการจัดตาราง
คาบสอนให้ครูท่สี อนในหน่ วยวิชาเดียวกันสามารถเข้าร่วมเรียนรูใ้ นทุกขัน้ ตอน ตัง้ แต่ขนั ้ ก่อน
สอน ระหว่างสอน และหลังสอน ได้แก่
o ก่อนสอน: เตรียมแผนการเรียนรูใ้ ห้กจิ กรรมการเรียนรูเ้ ป็นไปในสถานการณ์เปิด
o ระหว่างสอน: ครูเจ้าของชัน้ เรียนมองห้องเรียนของตัวเองว่าสามารถจัดให้กระบวนการ
เรียนรูท้ ่เี กิดขึน้ มีขนั ้ ตอนครบครัน ตัง้ แต่ ขนั ้ แนะนา เปิ ดประเด็นโจทย์ การแก้ปญั หา
และ/หรือการสร้างสรรค์ นาเสนอความรูแ้ ละแลกเปลีย่ นเรียนรู้ สรุป หรือไม่ / ครูผเู้ ข้า
สังเกตการณ์พบว่าผู้สอนสามารถจัดให้กระบวนการเรียนรูท้ ่เี กิดขึน้ มีขนั ้ ตอนครบครัน
หรือไม่ อย่างไร
o หลังสอน: การสะท้อนและใคร่ครวญตนเอง เพื่อประเมินการจัดการเรียนการสอนของ
ตนเอง เรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเอง และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนผ่านเครื่องมือทีเ่ ป็ น
แบบสะท้อนตนเอง เทียบประกอบกับแผนการเรียนการสอนของคาบนัน้ ๆ / การสะท้อน
จากมุมของผู้นิเทศ และเพื่อนที่เข้าสังเกตการณ์ ที่เป็ นไปเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองของกลุ่ม
632
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของคุณครูเพลิ นพัฒนา
คุ ณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ข องคุ ณ ครูเ พลิน พัฒ นา บุ ค ลากรครูเ พลิน พัฒ นาทุ ก ๆ คนจะมี
เป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพขององค์กร และศักยภาพของตนเองไปในทิศทางร่วมกัน คุณครูเพลิน
พัฒนาจะต้องมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมีสมรรถนะทีเ่ กีย่ วข้องกับการเรียนการสอน อาทิ
 มีทศั นคติ เชิ งบวกต่อการปฏิบตั หิ น้าที่ภายในโรงเรียน มีเจตคติท่ดี ตี ่อเด็ก มีสุขภาพจิตที่ดี
สามารถควบคุมอารมณ์ได้ดี มีอธั ยาศัยที่ดี ยิ้มแย้มแจ่มใส ร่าเริง เข้ากับเพื่อนร่วมงานได้ดี
สื่อสารกับผูป้ กครองได้เป็ นอย่างดี สามารถแก้ / ปรับพฤติกรรมขณะทีน่ ักเรียนอยู่ในชัน้ เรีย น
ได้ มีความเข้าใจในเรื่องพัฒนาการทางด้านทักษะการสังเกต ศึกษา และประเมินพัฒนาการ
ของนักเรียน
 มีความเข้าใจในปรัชญาแนวทางการศึกษาของโรงเรียน หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตร
แกนกลาง ของกระทรวงศึกษาธิการ การวัด และประเมินผลของนักเรียน สามารถเชื่อมโยง
หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียน เข้ากับหลักสูตรแกนกลางของกระทรวงศึกษาธิการ
 มีความสามารถในการสอน และจัดการชัน้ เรียนได้ดีในระดับหนึ่ ง สามารถจัดการเรียนรู้
(ตลอดจนใช้เทคนิค และกุศโลบายต่างๆ) ให้นกั เรียนส่วนใหญ่เข้าใจ บูรณาการความรูต้ ่าง ๆ ที่
จาเป็นอย่างเหมาะสม ครอบคลุมเนื้อหาสาคัญ สอดคล้องกับศักยภาพทีแ่ ตกต่างกันของนักเรียน
ภายในห้องเรียน
 สนั บสนุ นการเรียนรู้ให้ นักเรี ยนในความรับผิ ดชอบเข้ าใจ และเรียนรู้ตามศักยภาพของ
นัก เรียน ทัง้ ยังต้อ งประสานงานกับ ผู้ปกครองเพื่อ ส่ งเสริม (หรือ แก้ปญั หา) พัฒนาการของ
นักเรียน พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้กบั นักเรียน หรือ แก้ไขปญั หาในกรณีทน่ี ักเรียนมี
คุณลักษณะอันไม่พงึ ประสงค์
 มีการทางานเป็ นทีมที่ดี มีส่วนร่วมกับทีมงานอย่างเต็มใจ เต็มที่ มีน้าใจ
 การจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้
โรงเรียนเพลินพัฒนาจัดเวลาให้นักเรียนได้มกี ารเรียนรู้ 40 สัปดาห์ใน 1 ปี การศึกษา (ช่วงชัน้
อนุ บ าล-ช่ว งชัน้ ที่ 2)โดยได้แ บ่ ง ปี ก ารศึกษาออกเป็ น 4 ภาค ภาคละ 10 สัป ดาห์ ซึ่ง มีช่ือ ภาคและ
ช่วงเวลาเปิด-ปิดภาคดังนี้ภาคที่ 1 ภาคฉันทะ ภาคที่ 2 ภาควิ ริยะ ภาคที่ 3 ภาคจิ ตตะ และภาคที่ 4
ภาควิ มงั สาเพื่ อรอบการทางานของครูและบุคลากรที่สนั ้ ลงจะทาให้ระบบการวิจยั และพัฒนาในการ
ทางานมีค วามกระชับ รัดกุ ม และมีป ระสิทธิภาพสูง ในการปรับปรุง และพัฒ นาตนเอง องค์ก ร และ
แผนการทางานอยูต่ ลอดเวลา ซึง่ มีผลโดยตรงต่อพัฒนาการของนักเรียน

633
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กิ จกรรมการเรียนรู้
โรงเรีย นเพลิน พัฒ นาตัง้ ใจออกแบบทุ ก หน่ ว ยวิช า เพื่อ สร้ า งหนทางให้ ผู้ เ รีย นได้ เ ข้ า สู่
กระบวนการเรียนรูแ้ ละมีพฒ ั นาการชีวติ ที่งอกงามสมวัย เติบโตเต็มศักยภาพ มีความสุข รักการเรียนรู้
เกิดความเข้าใจในเนื้อหา และทักษะอย่างยังยื ่ น ลึกซึง้ ถึงชีวติ จิตใจ สามารถเชื่อมโยงสู่การประยุกต์ใช้ใน
วิถชี วี ติ ได้ดว้ ยตนเองจากประสบการณ์ตรง ทุกๆ หน่ วยวิชาจึงต้องสร้างทัง้ ความรู้ ความคิด ทักษะ และ
สมรรถภาพต่างๆ ให้เกิดขึน้ กับผูเ้ รียนอย่างเพียงพอ ต่อการศึกษาในระดับทีส่ ูงขึน้ ไป สามารถจัดการกับ
ปญั หาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละช่วงวัยได้อย่างถูกต้องดีงาม ตลอดจนคานึงถึงความเชื่อมโยงระหว่างวิชา
ต่างๆ อย่างเป็ นเอกภาพ เพื่อก่อเกิดการพัฒนาแบบพหุปญั ญาในมิตทิ ก่ี ว้างขวางขึน้ กับผูเ้ รียน โดยการ
เชื่อมโยงการเรียนรู้สู่การประยุกต์ใช้ในการงาน และในชีวติ ประจาวันอยู่เสมอ โดยมี วถิ ชี วี ติ เพื่อการ
เรียนรู้ ผ่ า นกิจกรรมพัฒนาผู้เ รีย นการเรียนรู้จ ากวิ ถีชีว ิต ในโรงเรีย นเครือ ข่า ยเพื่อ การเรีย นรู้ ผ่ า น
สภาพแวดล้อมของการเรียนรูด้ งั ต่อไปนี้
 ในห้องเรียน
 นอกห้องเรียน
 ภาคสนาม เช่น โครงการชื่นใจได้เรียนรู้ ฝึกให้เด็กวิเคราะห์ ชื่นใจ... ได้เรียนรู้ โครงงาน “ชื่นใจ
...ได้เรียนรู้” คือโจทย์ คือเงื่อนไข คือโอกาส ทีผ่ เู้ รียนจะใช้เป็ นเครื่องมือเปิ ดศักยภาพทีม่ อี ยู่ใน
ตนออกมา เมื่อมีโจทย์ท่ที ้าทาย เครือข่ายจานวนมหาศาลในสมองจะทางานอย่างเชื่อมโยงกัน
เกิดเป็นการสังเคราะห์ความรูใ้ หม่ทผ่ี เู้ รียนผลิตขึน้ จากความเข้าใจของผูเ้ รียนเอง แล้วเรียบเรียง
ออกมาเป็นงานใน 2 ส่วนด้วยกันคือ แฟ้ มการพัฒนาตน (Port’AAR) และการนาเสนอความ
เข้าใจในรูปแบบต่ างๆ หลักการพื้นฐานของโครงงานชื่นใจ...ได้เรียนรู้ คือ กระบวนการท้า
ทายให้ผเู้ รียนสามารถอธิบายสิง่ ทีต่ นได้เรียนรูอ้ อกมาให้ผอู้ ่นื เข้าใจได้ จับต้องหรือเห็นได้อย่าง
เป็ นรูปธรรม ซึง่ การทีต่ ้องอธิบายให้ตวั เองและผูอ้ ่นื เข้าใจอย่างกระจ่างทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะเป็ นไปได้น้ี
ได้ก ลายเป็ นสถานการณ์ ท่ปี ลุ ก ให้ผู้เ รียนเกิด ความรู้ส ึกตื่นตัว เกิดแรงพยายามที่จ ะนาเอา
ศักยภาพทีม่ อี ยู่ในตนออกมาใช้ให้มากที่สุดเท่าทีจ่ ะมากได้ ศักยภาพหรือความปรีชาชาญทัง้ 8
ด้านที่ผู้เรียนมีอยู่แตกต่างกันไป จึงเป็ นต้นทุนสาคัญในการสร้างปจั จัยของความสาเร็จให้กบั
งานชื่นใจได้เรียนรู้
การประเมิ นผลของเพลิ นพัฒนา
การทดสอบของโรงเรียนเพลิ นพัฒนาเป็ นการทดสอบภายใต้ หลักของการสะท้ อนเพื่ อ
พัฒนาไม่ใช่การทดสอบในหลักของการคัดเลือก หรือจัดลาดับแข่งขัน ดังนัน้ ผลการสอบจึงไม่ใช่ต ัว
ตัดสินชะตาชีวติ ของนักเรียนว่าดีหรือเลว ฉลาดหรือโง่ หรือว่าใครฉลาดกว่าดีกว่าใครในลาดับใดแต่ผล
การสอบ คือภาพสะท้อนพัฒนาการในฐานะคนๆหนึ่ง ซึ่งต้องมีการพิจารณาจากหลายๆด้าน และในแต่
ละด้านก็ตอ้ งใช้ตวั บ่งชีท้ ห่ี ลากหลายเช่นกัน บริบทของตัวบ่งชีเ้ หล่านัน้ ก็เป็ นสิง่ สาคัญเช่นกันทีจ่ ะช่วยให้
เห็นศักยภาพและสมรรถภาพของนักเรียนในกรณีทแ่ี ตกต่างกันไป เมื่อทาการประเมินอย่างหลากหลาย
634
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

แง่มุม ด้วยหลากหลายวิธใี นบริบทที่หลากหลายแล้ว จะเห็นนักเรียนแต่ ละคนมีมุมอ่อ น มุมแข็ง มุม


แหลม มุมไม่แหลม ทีแ่ ตกต่างกัน ซึง่ จะช่วยให้ทงั ้ ครูและ ผูป้ กครองเข้าใจนักเรียนแต่ละคนได้ดขี น้ึ ซึง่ จะ
ช่วยให้การพัฒนา หรือส่งเสริม หรือช่วยเหลือนักเรียนจะทาได้งา่ ยขึน้
รูปแบบของการประเมิ นมี ห ลากลักษณะ เช่น การสังเกตกระบวนการเรียนรู้ การสังเกต
ปฏิสมั พันธ์ทางสังคม การสังเกตวิธกี ารทางาน ความเอาใจใส่ การบริหารเวลา การประเมินจากผลของ
ชิ้นงาน การประเมินจากการนาเสนอผลงาน การประเมินจากการทางานภาคสนาม การทาโครงงาน
ต่างๆ การประเมินจากโครงงานประมวล สรุป สร้างสรรค์ ทางวิชาการทีต่ ้องทาทุกสิน้ ภาคเรียน(ปีละ 4
ครัง้ ) ส่วนการทดสอบก็ม ี เช่น การทดสอบย่อยทีท่ าทุก 2-4 สัปดาห์ การทดสอบใหญ่จากภายใน ซึง่ ทา
ปีละ 2-4 ครัง้ ส่วนการทดสอบจากภายนอกในปจั จุบนั นอกจากทดสอบระดับชาติทท่ี าโดยรัฐบาลแล้ว
ยังใช้การทดสอบของสสวท. ในวิชาคณิตศาสตร์ และธรรมชาติศกึ ษาฯ (วิทยาศาสตร์) การทดสอบ SAT
ของช่วงชัน้ ที่ 2 และ 3 ซึง่ จัดทาโดยมศว. และ การทดสอบทางคณิตศาสตร์ของสถาบันราชภัฎพระนคร
ฯลฯ ส่วนนักเรียนบางคนอยากทดลองความสามารถของตัวเองเพิม่ เติมก็มกี ารส่งนักเรียนไปทดสอบ
หรือร่วมสนุ กในการแข่งขันต่างๆ เช่น สสวท.ชุ ดอัจริยะภาพ คณิตศาสตร์ของสมาคมคณิตศาสตร์ การ
แข่งขันการใช้ภาษาอังกฤษในรายการต่างๆ การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ในรายการใหญ่ๆ การ
สอบเพชรยอดมงกุฏ ฯลฯ ซึง่ ในส่วนนี้เป็นการสมัครใจของแต่ละคนไป
การประเมิ นทัง้ หมดที่กล่าวมาแล้ว ถูกจัดวางอยู่ในโครงสร้างเวลาที่ มี 4 ภาคเรียน ใน 1
ปี การศึกษา ซึง่ ทาให้รอบการประเมินจะละเอียดกว่าโครงสร้างทีใ่ ช้กนั อยูท่ วไป
ั ่ (2 ภาคเรียน : ปี
การศึกษา) ถึง 2 เท่า การประเมิ นนี้ ยงั เป็ นส่วนหนึ่ งของการสะท้อนปฏิ บตั ิ การของครูด้วย ครูจะ
ใช้ผลบันทึกเหล่านี้ในการเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองและพัฒนาทีมด้วย ด้วยหลักการ วิ ธีการ และ
โครงสร้างเวลาแบบนี้ เชื่อว่าจะสร้างครูที่เรียนรู้และพัฒนาอยู่เสมอ จะสร้างนักเรียนที่เข้าใจ
ตนเอง มีแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเอง และเมือ่ ถึงคราวทีต่ อ้ งทาการสอบแข่งขัน นักเรียนก็พร้อมที่
จะเผชิญกับการสอบอย่างเต็มที่ โดยไม่เครียด ไม่ถูกครอบงาด้วยความกลัว หรือความกังวล

635
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สรุปประเด็นจากการสัมภาษณ์ คณ ุ ทนง โชติ สรยุทธ์


(ผูอ้ านวยการ และประธานคณะกรรมการบริ หารโรงเรียนเพลิ นพัฒนา
และกรรมการผู้จดั การ บริ ษทั ซีเอ็ดยูเคชัน่ จากัด)
16 กันยายน พ.ศ. 2556

การวางยุทธศาสตร์ทางการศึกษา
 ทีผ่ ่านมาประเทศไทยขาดการวางยุทธศาสตร์ทางการศึกษาระยะยาว ยุทธศาสตร์ทด่ี คี วรมี
ลักษณะ 3 ประการ คือมีผลกระทบทีก่ ว้างขวาง (Impact) เชิงรุก (Aggressive) และสามารถ
นาไปปฏิบตั ไิ ด้ไม่ยากจนเกินไป (Simplified) สาหรับนโยบายด้านการศึกษาประเทศไทยมักคิด
ตามหลังประเทศอื่นๆ ดึงเอาส่ว นดี (best practice) ขอประเทศต่างๆมาใช้แต่ไม่ได้มกี ารนามา
ปรับให้เหมาะสมกับบริบทของไทยอีกทัง้ ยังขาดการเชื่อมโยงของแต่ละเรื่องให้เป็ นระบบ ขาด
การบูรณาการกันอย่างชัดเจน
 ปจั จุบนั คณะทางานปฏิรูปการศึกษาประกอบไปด้วยนักการศึก ษามากมาย แต่ ขาดนั กวาง
ยุทธศาสตร์ หรือผู้ที่ ทางานบุกเบิ ก และผู้นาการการเปลี่ยนแปลง (change agents)มา
ช่วยให้เกิดการขับเคลื่อนทัง้ นี้อาจเป็ นเพราะกระทรวงศึกษาไม่เคยสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม
อย่างแท้จริง ดังนัน้ จึงจาเป็ นต้องสร้างเวที (platform) ที่ทุกภาคส่วนจะมาแสวงหาทางออก
ร่วมกันเช่นการทาประชาพิจารณ์เป็ นต้น
 ควรมองการแก้ไขปัญหาการศึกษาเป็ นไปเพื่อการแก้ไขปัญหาประเทศ ซึง่ จะช่วยอธิบาย
ว่าทาไมสังคมจึงควรให้ความสาคัญเกี่ยวกับประเด็นการศึกษาและการทุ่มเทงบประมาณของ
ภาครัฐลงไปทีภ่ าคการศึกษานัน้ ถือเป็นการใช้ทรัพยากรทีพ่ งึ ประโยชน์สุด
 ประเทศสิงคโปร์เป็นกรณีตวั อย่างทีด่ ที ป่ี ระสบความสาเร็จในการปฏิรปู การศึกษา โดยเบือ้ งหลัง
มีทมี ของวิศวกร (system engineer) มาเป็ นทีป่ รึกษาช่วยรัฐมนตรีการศึกษาของสิงคโปร์ในการ
แก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบโดยเน้ นที่ “กระบวนการ”(Process) เป็ นสาคัญ ยกตัวอย่างเช่น
การเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยใช้รปู บาร์โมเดล (Bar Model)ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเกิด
ความคิดรวบยอด และสามารถสร้างองค์ความรู้ด้ว ยตนเอง ทาให้นักเรียนสามารถทาโจทย์
ปญั หาได้อย่างง่ายและถูกต้อง ข้อดีของการเน้นพัฒนากระบวนการสอน ทาให้ไม่จาเป็ นต้องมี
ครูเก่ง เพราะมีเครื่องมือที่มมี าตรฐานพอโดยที่ทุกคนสามารถนาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล
 ประเทศไทยควรมีก ารจัด ตัง้ หน่ วยงานที่ ทาหน้ าที่ ในการแสวงหากระบวนการที่ ดี (Best
Process)และทาการเผยแพร่ตลอดจนพยายามผลักดันอย่างเป็ นระบบให้ เกิ ดผลกระทบใน
ทางบวกที่เป็ นวงกว้างในระดับประเทศ(Massively Scalable)ภายในเวลาอันรวดเร็ว

636
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การสร้างระบบแรงจูงใจ
 การศึกษาไทยขาดระบบการสร้างแรงจูงใจ ซึง่ เป็นกลไกการขับเคลื่อนสิง่ ทีเ่ ราอยากจะทาให้เกิด
ในปจั จุบนั เมือ่ มีปญั หาทุกฝา่ ยก็ดแี ต่จะผลักความผิดให้คนอื่น จึงจาเป็ นต้องมีการสร้างกลไกใน
การรับผิดชอบ(Accountability) ยกตัวอย่างปญั หาเรือ่ งการขาดแคลนแรงงาน ภาคการศึกษา
ในฐานะของผู้ผ ลิตแรงงานไม่เคยสนใจว่าบัณฑิตที่จบมาตอบโจทย์ตลาดแรงงานหรือไม่ จน
ภาคเอกชนต้องเข้ามาจัดการศึกษาเอง นอกจากนี้การขับเคลื่อนทีค่ วามต่อเนื่องสามารถบรรลุ
เป้าหมายได้นนั ้ จะต้องมีการติ ดตามประเมิ นผลและกาหนดตัวชี้วดั ที่ถกู ต้อง ทีว่ ดั
 กลไกการสร้างแรงจูงใจทีส่ าคัญ มีดงั ต่อไปนี้
1. ครู – วิทยฐานะของครูควรขึน้ กับผลสัมฤทธิ ์ของนักเรียนโดยตรงไม่ใช่ผลงานทาง
เอกสารอย่างในปจั จุบนั
2. ผูอ้ านวยการ/ผูบ้ ริหารโรงเรียน – ผลตอบแทนควรขึน้ อยู่กบั ผลสัมฤทธิ ์ของโรงเรียน
ทัง้ นี้เพื่อช่วยแก้ปญั หาเรื่องความเหลื่อมล้าของคุณภาพการศึกษา ต้องใช้ตวั ชีว้ ดั ทีเ่ ป็ น
การปรับปรุงของผลสัมฤทธิ ์ จะจูงใจให้ผบู้ ริหารอยากไปช่วยพัฒนาโรงเรียนเล็กซึง่ ยังมี
ค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษาของนักเรียนที่อยู่ในระดับต่ าอยู่ในกรณีของรอง
ผูอ้ านวยการ อาจมีการจัดทาโครงการทีม่ เี งือ่ นไขผูกการช่วยบ่มเพาะโรงเรียนเล็กไว้กบั
การเลื่อนตาแหน่ง
 นอกจากนี้ควรสร้างกลไกที่เปิ ดโอกาสให้ สถานศึกษาและชุมชนสามารถจัดสรรทรัพยากร
ได้ด้วยตนเองเนื่องจากทุกคนในชุมชนต่างมีความต้องการช่วยเหลือด้านการศึกษา ในขณะที่
นัก การเมือ งก็พ ร้อ มที่จ ะสนับสนุ น เพราะต้อ งการฐานเสีย งอยู่แล้ว ดูต ัว อย่างของโรงเรีย น
เทศบาลในเมืองของแต่ละจังหวัด ซึ่งมีความสามารถในการระดมทุนและการบริหารจัดการทีใ่ ช้
ทรัพยากรของชุมชนและท้องถิน่ เป็ นหลักอย่างไรก็ตามยังติดประเด็นปญั หาในเรื่องของครูทต่ี ้อง
รอส่งมาจากส่วนกลาง
 ควรยกเลิ กกฎกติ กาที่ เป็ นอุปสรรคต่ อการปฏิ รปู (Barrier to Reform)เช่น ครูจาเป็ นต้องมี
ใบประกอบวิชาชีพ หรือการทีโ่ รงเรียนต้องเปิดเฉพาะวันจันทร์ถงึ ศุกร์ ซึง่ ข้อจากัดเหล่านี้ทาให้
เราสูญเสียโอกาสในการใช้ทรัพยากรที่มอี ยู่แล้วอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีผู้ท่มี คี วามรู้
ทักษะ ประสบการณ์ท่ยี นิ ดีทจ่ี ะอาสามาให้ความรูก้ บั เด็กนักเรียนมากมาย เพียงแต่จะต้องเป็ น
ช่วงวันทีพ่ วกเขาหยุดงาน
 อย่างไรก็ตามการสร้างระบบให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอย่างสมบูรณ์นัน้ มี
เงือ่ นไขสาคัญ 2 ประการคือ
1. ต้องให้ส่งเสริมให้เด็กเรียนโรงเรียนใกล้บ้า น หากเด็กต้องการเข้าโรงเรียนดีๆที่อยู่ไกล
บ้านอาจจะออกมาตรการเช่นเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษเพิม่ เติม
2. ครูควรถูกส่งไปสอนในโรงเรียนใกล้บ้าน เนื่องจากจะช่วยให้มเี วลาให้กบั เด็กนักเรียน
มากขึ้น ลดปญั หาทางครอบครัว ของครู อีก ทัง้ ชุ มชนยัง สามารถช่ ว ยท าหน้ าที่ค อย
637
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สอดส่ อ งดูแ ลครูไ ปอีก ทางหนึ่งได้ด้วยซึ่งในภาคปฏิบตั ิอาจไม่ส ามารถเปลี่ยนแปลง


ระบบอย่างสิ้นเชิงได้เลยในทีเดียว แต่จะต้องมีมาตรการระหว่างการเปลี่ยนผ่าน เริม่
จากให้ครูแจ้งความจานงกลับภูมลิ าเนา แล้วค่อยพยายามจัดการให้ทุกคนสามารถย้าย
ได้ภายใน 2 ปี ส่วนช่องโหว่ทเ่ี หลือทีไ่ ม่มคี รูไปอยู่ ก็ให้นักศึกษาครูมาทาหน้าทีเ่ ติมเต็ม
เหมือนกับกรณีระบบบริการสาธารณสุขที่กาหนดให้นักศึกษาแพทย์ต้องไปประจาอยู่
พืน้ ทีต่ ่างจังหวัดในช่วงเวลาตามกาหนด
 ควรมีการเปิ ดเผยข้อมูลตัวชี้ วดั การประเมิ นผลแต่ ละสถาบันการศึ กษาต่ อสาธารณชน
อย่างเป็ นระบบ ตัง้ แต่ระดับโรงเรียนไปจนถึงมหาวิทยาลัยเพื่อให้สามารถเปรียบเทียบคุณภาพ
ของแต่ละสถาบันได้ โดยเฉพาะในระดับมหาวิทยาลัย ควรมีการจัดอันดับสถาบัน (ranking) โดย
อาจจะแบ่งออกเป็ นหมวดหมู่ (Category) ทีม่ คี วามหลากหลาย เพื่อทีท่ ุกๆมหาวิทยาลัยจะได้ม ี
ทีย่ นื ของตนเอง เช่น จุฬา ธรรมศาสตร์มุ่งสู่การเป็ นการเป็ นมหาวิทยาลัยระดับสากล (World-
class University) ส่วนมหิดลอาจเน้นเรื่องการทาวิจยั (R&D) ในขณะทีม่ หาวิทยาลัยเนชันเด่ ่ น
เรือ่ งการสอนสาขาการสื่อสาร (Communication)

เป้ าหมายของการจัดการศึกษา
 หน้าทีข่ องระบบการศึกษาไทย คือการสร้างคนไทยให้เป็ นมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์ ในขณะเดียวกันต้อง
ทาให้เ ขาเป็ นผู้ท่มี ศี กั ยภาพในการตอบแทนให้กับสังคมด้วย ซึ่งก็คอื การเป็ นพลเมือ งดีของ
ประเทศนันเอง ่
 ป จั จุ บ ัน หลัก สู ต รในโรงเรี ย นไม่ ส ามารถตอบโจทย์ ค วามจ าเป็ นต่ อ การด ารงชี วิ ต
ยกตัวอย่าง วิชาสุขศึกษาอาจมีเนื้อหาทีเ่ กี่ยวกับโภชนาการ เช่นการดื่มน้ าให้ด่มื 8 แก้วต่อวัน
แต่ไม่ได้สอนว่าดื่มตอนไหนจะให้ประโยชน์อย่างไร เช่นดื่ม 2แก้วตอนตื่นนอนก่อนการแปรงฟงั
เพื่อช่วยการขับถ่าย หรือการกินผักผลไม้ควรกินก่อนทานอาหารหลักเนื่องจากจะช่วยดูดซับ
ไขมันในอาหาร สิง่ เหล่านี้ท่จี าเป็ น ต่อการดารงชีวติ และดูแลสุขภาพของเด็กและครอบครัวกลับ
แต่ไม่ได้ถูกบรรจุเข้าไปในหลักสูตรการเรียนการสอนหากมีการเผยแพร่ความรูเ้ หล่านี้อย่างเป็ น
ระบบจะช่ว ยลดค่ ารัก ษาพยาบาลซึ่งถือ เป็ นต้นทุนทางสังคมไปได้มาก แสดงให้เ ห็นว่าการ
ปรับปรุงเรือ่ งการศึกษานัน้ สามารถช่วยแก้ไขปญั หาสาธารณสุขของประเทศได้เช่นกัน
 นอกจากนี้ในหลายกรณี มีหลักการที่ ดีแต่ กระบวนการไม่ถกู ต้ องทาให้ไม่เกิดผลลัพธ์ตาม
เป้าหมายทีต่ ้องการ ยกตัวอย่างเช่น แม้จะโรงเรียนส่วนใหญ่จะมีการสอนว่ายน้ า แต่กลับพบว่า
เด็กหลายคนแม้จบ ป 6 กลับไม่สามารถว่ายน้ าเป็ นทัง้ นี้เป็ นเพราะทักษะการว่ายน้ านัน้ ต้อง
อาศัยการฝึกทีม่ คี วามถี่ กล่าวคือต้องว่ายติดต่อกันทุกวันในช่วงแรก ในขณะทีโ่ รงเรียนทัวไปจะ

จัดการเรียนการสอนเป็ นแบบสัปดาห์ละครัง้ ซึ่งถือเป็ นข้อแตกต่างระหว่างโรงเรียนทัวไปและ

โรงเรียนทางเลือก กล่าวคือ โรงเรียนทางเลือกจะมีการจัดการเรียนการสอนทีย่ ดื หยุ่นมากกว่า

638
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

แต่ท้ายสุดแล้วได้ผลสัมฤทธิ ์ที่ต้องการตามที่กระทรวงศึกษากาหนดและสามารถทาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพอีกด้วย
STEM Education
 เป้าหมายของ STEM education ไม่ควรจากัดอยู่แต่เรื่องของการสร้างนวัตกรรม และคงไม่
จาเป็ นต้อ งเน้ น แต่ เ ฉพาะสายวิท ยาศาสตร์ เราควรมองว่ า STEM ควรท าหน้ า ที่ เป็ นอี ก
เครื่องมือหนึ่ งที่ จะช่ วยเพิ่ ม productivity ให้คนไทยไม่ว่าจะประกอบอาชีพใดก็ตามจะต้องมี
ความสามารถในการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั งานของตนเอง
 การจัดการเรียนการสอน STEM นัน้ จาเป็ นต้องเริม่ ตัง้ แต่เด็ก โดยนอกเหนือจากการฝึกการคิด
วิเคราะห์คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) อีกทักษะหนึ่งทีม่ คี วามสาคัญแต่สงั คมไทย
ยังไม่มใี ครพูดถึงเท่าไหร่นัก คือ ทักษะการคิ ด อย่ างเป็ นระบบ (Systemic Thinking)โดย
สามารถฝึ ก ให้เ ด็ก มีทกั ษะนี้ จากการจัด การเรียนการสอนโดยใช้ปญั หาเป็ นหลัก (Problem-
based Learning) ซึง่ มุ่งการใช้ปญั หาจริงหรือการจาลองสถานการณ์เป็ นตัวเริม่ ต้นเพื่อกระตุ้น
การเรียนรู้ จากนัน้ ค่อยนาประเด็นจากปญั หาไปสู่การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อเรียนรู้
เพิม่ ขึน้ และสร้างความเข้าใจกลไกของตัวปญั หา รวมทัง้ วิธกี ารแก้ปญั หา ดังนัน้ การจัดการ
เรียนการสอนโดยใช้ปญั หาเป็ นหลักนี้ ผูเ้ รียนมีความรูใ้ นเรื่องทีก่ าลังจะศึกษาน้อย หรือไม่มเี ลย
แต่เมื่อผ่านกระบวนการการเรียนการสอนนี้แล้ว ผู้เรียนจะได้ความรูเ้ หล่านัน้ จากการสืบค้นเอง
และ การอภิปรายแลกเปลี่ยนความรูก้ บั เพื่อน ช่วยส่งเสริมให้เด็กคิดวางแผนอย่างเป็ นขัน้ ตอน
และเป็ นระบบ โดยมีครูคอยให้การสนับสนุ น (Facilitate) เรียนไปพร้อมกับนักเรียน โดยไม่
จาเป็นต้องมีคาตอบแต่หน้าทีส่ าคัญคือการสร้างแรงบันดาลใจให้เด็กมีความรูส้ กึ สนใจและรักใน
สิง่ ทีต่ นกาลังเรียน

639
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กรณี การศึกษาดูงานสถาบันการจัดการปัญญาภิ วฒ
ั น์
วันที่ 17 กันยายน 2556

ภาพรวมของสถาบัน
สถาบันการศึกษาในเครือปญั ญาภิวฒ ั น์ ประกอบไปด้วย 1) วิทยาลัยเทคโนโลยีปญั ญาภิวฒ
ั น์
(Panyapiwat Technological College) เปิดสอนระดับปวช.และ 2) สถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒ ั น์
(Panyapiwat Institute of Management: PIM) ระดับปริญญาตรี โท และเอก รวมทัง้ ยังมีหน่ วยการเรียน
20 แห่ง จัดการเรียนการสอนทางไกล และเครือข่ายอาชีวศึกษาเอกชน 50 แห่ง เน้นการเรียนการสอน
ทัง้ ทางทฤษฎีและปฏิบตั ิ ให้ผเู้ รียนได้เรียนได้เรียนจากประสบการณ์จริง (Work-based Learning) และ
ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม โดยมีลกั ษณะของบัณฑิตที่พงึ ปรารถนาคือ เรียนเป็ น คิดเป็ น ทางานเป็ น
รักความถูกต้อง และเข้าใจวัฒนธรรมองค์กร
วิ สยั ทัศน์
มีความมุ่งมันสู
่ ่สถาบันอุดมศึกษาชัน้ นาด้านธุรกิจค้าปลีก การบริหารจัดการ และเทคโนโลยีใน
ภูมภิ าคเอเชีย ทีเ่ น้นการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จริงและการสร้างสรรค์นวัตกรรม
พันธกิ จ
1. จัดการศึก ษาเพื่อ ผลิต บัณ ฑิต ที่มคี ุ ณภาพได้มาตรฐาน และตรงกับความต้อ งการของสถาน
ประกอบการ โดยเน้นการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จริง
2. ผลิต ผลงานวิจ ัย ที่ม ีคุ ณ ภาพในศาสตร์ส าขาวิช าต่ า งๆ อัน ก่ อ ให้ เ กิด องค์ค วามรู้แ ละการ
สร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการพัฒนาองค์กร สังคม และประเทศชาติ
3. จัดบริการวิชาการทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อสถานประกอบการ ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ
4. อนุ รกั ษ์ สืบสาน และเผยแพร่ศลิ ปะและวัฒนธรรมอันดีงามของชาติ รวมทัง้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติอ่นื
5. เสริมสร้างสมรรถนะ องค์กรให้เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทัง้ เพิม่ ขีดความสามารถ
ในการแข่งขัน ให้เจริญเติบโตอย่างยังยื ่ น และมีความสุขในการทางาน

640
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สรุปประเด็นจากการสัมภาษณ์
รศ. ดร.สมภพ มานะรังสรรค์
อธิ การบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิ วฒ ั น์ (Panyapiwat Institute of Management: PIM)
วันที่ 17 กันยายน 2556

แนวโน้ มของ Corporate University ในอนาคต


Corporate University ในอนาคตน่ าจะมีบทบาทเพิม่ มากขึน้ ในอนาคต เนื่องจากการเรียนการ
สอนแบบ Lecture-based ในห้องเรียนจะถูกท้าทายและแทนที่ด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ เกิดรูปแบบการ
เรียน online (E-Education) สถาบันการศึกษาต่างๆ จะถูกลดความสาคัญลง โดยเฉพาะวิชาในสาย
สัง คมศาสตร์ท่ีไ ม่ ต้ อ งอาศัย เครื่อ งมือ /อุ ป กรณ์ เ ฉพาะทางดัง เช่ น ในวิช าสายวิท ยาศาสตร์ ดัง นั ้น
มหาวิทยาลัยเองก็จะต้องพยายามสร้างจุดแข็งโดยการสร้างความแตกต่าง (Differentiate)ของตนเองให้
ได้ และ Corporate University ก็สามารถตอบโจทย์ดงั กล่าวได้เป็ นอย่างดี เพราะเน้น Work-based
Learning มีการเรียนควบคู่ไปกับการฝึกงาน และการสร้างเครือข่าย (Networking) ในการสร้างบุคลากร
การแลกเปลีย่ นความรูก้ บั ภาคธุรกิจ การฝึกงาน ตลอดจนการวิจยั ยิง่ ไปกว่านัน้ Corporate University
ก็สามารถตอบโจทย์ของการสร้างคนเพื่อรองรับโลกาภิวตั น์ได้อกี ด้วย นัน่ คือ ต้องบ่มเพาะให้ผู้เรียนมี
ความรอบรู้ สามารถคิดวิเคราะห์ได้ และนาความรูม้ าประยุกต์ใช้ในการทางานเป็ น
การบริ หารจัดการ Corporate University
ขัน้ ตอนของการจัดตัง้ CorporateUniversity มีดว้ ยกัน 4 ขัน้ ได้แก่
1. Training Center
2. Training Center and Development
3. Credit Granting
4. Degree Granting
ทัง้ นี้ Corporate University ในปจั จุบนั ก็ยงั คงมีขอ้ จากัดในด้านต่างๆ อยู่เป็ นจานวนมาก เช่น
การทีไ่ ม่ได้รบั เงินสนับสนุ นจากภาครัฐทาให้ต้องหาแหล่งเงินเอง การต้องยึดหลักสูตรกลางตามทีส่ กอ.
กาหนดอาจทาให้ไม่สามารถปรับหลักสูตรได้ตามที่ต้องการทัง้ หมด รวมถึงการมีกฎระเบียบข้อบังคับ
ปลีกย่อยมากมาย เช่น ต้องมีทด่ี นิ ไม่น้อยกว่า 100 ไร่จงึ จะสามารถจัดตัง้ เป็ นมหาวิทยาลัยได้

641
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

PIM
 เป้าหมายของ PIM ก็คอื การสร้าง “Moral Education” ซึง่ มีแนวโน้มทีจ่ ะมีความสาคัญเป็ นอย่าง
ยิง่ ในอนาคต บัณฑิตต้องมีจริยธรรมในการทางาน ไม่เอารัดเอาเปรียบสังคม มีค่านิยมทีเ่ ห็นการ
ทางานเป็นสิง่ ทีถ่ ูกต้องดีงาม ไม่ใช่เห็นการทางานเป็นเสมือนการถูกบังคับ
 PIM ใช้ “DJT Model” (Deutsche – Japan – Thailand Business Model) ในการดาเนินงานจัด
การศึกษา นันคื ่ อ เยอรมนีโดดเด่นด้านการฝึกบุคลากรทางการศึกษาควบคู่ไปกับการปฏิบตั งิ าน
(Work-based learning) เป็ นผูค้ ดิ ค้นนวัตกรรม (Innovation) เน้นการเพิม่ ประสิทธิภาพในการ
ประกอบการ (Productivity & Perfectionism) ขณะทีญ ่ ่ปี ่นุ เป็ นเจ้าตลาด (Marketability) เป็ น
ชาติแห่งข้อมูลข่าวสาร (Information) และเทคโนโลยี (Technology) ส่วนไทยเก่งในเรื่องการ
สร้างสรรค์ (Creativity) มีความยืดหยุน่ (Flexibility) เรียบง่ายและสบายๆ (Relaxation)
 PIM เน้นการสร้าง “TSR” (Teacher – Student Relationship) เพื่อคอยติดตามดูแลและให้
คาปรึกษาในเรื่องต่างๆ เนื่องจากนักเรียนมักมีปญั หาในการแบ่งเวลา จากตารางการเรียนการ
สอนทีค่ ่อนข้างหนัก เน้นทัง้ ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ เรียนทุกวันตัง้ แต่จนั ทร์ – อาทิตย์ หยุดแค่วนั
อังคาร และไม่มปี ิดเทอม
 การจัดการศึก ษาเพื่อสร้างบุค ลากรให้กับบริษัทโดยตรงนัน้ นอกจากจะช่ว ยตอบโจทย์ค วาม
ต้องการในเชิงธุรกิจได้แล้ว ยังสามารถตอบโจทย์การบริหารจัดการบุค คลากรผ่านการสร้าง
Corporate Loyalty ได้อีกทางหนึ่ง เนื่องจากการรักษาผู้มคี วามสามารถไว้ในองค์กรก็เป็ น
ประเด็นท้าทายทีส่ าคัญในปจั จุบนั จึงต้องพยายามสร้าง Corporate Loyalty ควบคู่ไปกับการ
แสดงให้เห็นว่าบริษทั มีเส้นทางอาชีพ (Career Path) ทีม่ นคงรองรั ั่ บอยู่ และมีการส่งเสริมการ
พัฒนาตนเองของพนักงานอย่างต่อเนื่อง
 สถาบันการศึกษาในเครือปญั ญาภิวฒ ั น์ นับได้ว่าเป็ นการช่วยเหลือสังคมอย่างหนึ่งของบริษัท
ผ่านการช่ว ยเพิม่ การเข้าถึงการศึก ษา เนื่องจากผู้เ รียนส่ วนใหญ่มาจากต่างจังหวัดและเป็ น
ผูด้ อ้ ยโอกาส จากการทีส่ ถาบันใช้หลักการรับสมัครแบบเชิงรุก เข้าไปในพืน้ ทีต่ ่างๆ ทัวประเทศ ่
และให้ทุนการศึกษาสาหรับผูท้ ม่ี คี วามสามารถ
 Corporate University สามารถช่วยกระตุ้นให้เกิด R&D ทีม่ ากขึน้ ได้ จากการมีเครือข่ายความ
ร่วมมือระหว่างภาคธุรกิจและภาควิชาการ เช่น
- ด้านวิศวกรรมศาสตร์ มีการเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร
เหนือ และมีแผนจะสร้างความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในประเทศเยอรมัน
- ด้านนวัตกรรมการจัดการเกษตร มีการเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ GISDA
การพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย
ปญั หาสาคัญ
642
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 การจัดสรรแรงงานและการทางาน (Division of Labor and Work) ยังมีความบิดเบือน ไม่


เป็ น ไปตามกลไกตลาด โดยมีอุ ป สรรคส าคัญ คือ ค่ า นิ ย มของคนในสัง คม เช่ น การเรีย น
อาชีวศึกษาจะถูกมองว่ามีศกั ดิ ์ศรีสู้การเรียนปริญญาตรีไม่ได้ ในขณะที่ตลาดแรงงานกลับขาด
บุคคลากรระดับปฏิบตั กิ ารในแทบทุกอุตสาหกรรม
 การศึกษาในระดับอุดมศึกษาของไทย โดยเฉพาะในภาคเอกชน ต้องประสบกับปญั หาทัง้ ในด้าน
อุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) ของประเทศโดยในด้านอุปสงค์ตลาดแรงงาน มีปญั หา
คือการผลิตบัณฑิตทีย่ งั ไม่ตรงกับความต้องการของผูว้ ่าจ้าง ในขณะทีป่ ญั หาด้านอุปทานมาจาก
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร อัตราการเกิดลดต่ าลง ทาให้มจี านวนเด็กและ
เยาวชนทีล่ ดลง และจะส่งผลต่อจานวนผูเ้ ข้าศึกษาในอนาคต
แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทย
 ต้องมีการปรับตัว สร้างทรัพยากรมนุ ษย์ท่มี กี าลังการผลิต (Productivity) และประสิทธิภาพ
(Efficiency) สู ง เพื่อ รองรับ การเปลี่ย นผ่ า นจากระบบเศรษฐกิจ ที่พ่ึง พาภาคการผลิต
(Production-based Economy)ไปสู่การพึง่ พาภาคบริการ (Service-based Economy)
ั หาการหา
 หลัก สู ต รในมหาวิท ยาลัย อาจต้ อ งเน้ น การลงมือ ปฏิบ ัติจ ริง มากขึ้น แต่ อ าจมีป ญ
ตาแหน่งงานเพื่อรองรับ
 ระบบการศึกษาของประเทศไทยต้องมุ่งเน้นสร้างจริยธรรมและทัศนคติทด่ี ตี ่อการทางาน (Work
Ethics) เพื่อปลูกฝงั ให้เยาวชนเห็นคุณค่าของการทางาน มีความตระหนักว่าการทางานคือสิง่
ถูกต้องดีงาม และต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคมประกอบกันไปด้วย
 ตัวอย่างของ Best Practices ในด้านการศึกษา ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น
สหรัฐอเมริกา และเยอรมนี

643
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สรุปประเด็นจากการสัมภาษณ์
คุณมีชยั วีระไวทยะ
วันอังคารที่ 17 กันยายน 2556

ภาพรวมการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย
กรอบการพัฒนา
- กรอบกฎหมายตามรัฐธรรมนูญได้มบี ทบัญญัตกิ ารพัฒนาการศึกษาไว้ แต่ไม่ได้มกี ารนามา
สู่การปฏิบตั ิ
- ทีผ่ ่านมาการพัฒนาเป็นไปแบบแยกส่วน ควรมีการปฏิวตั กิ ารศึกษาควบคู่ไปกับการขจัด
ความยากจน
- ควรให้โรงเรียนเป็ นแหล่งการเรียนรูต้ ลอดชีวติ สาหรับทุกคนในชุมชน เนื่องจากทีผ่ ่านมา
มีการใช้โครงสร้างพืน้ ฐาน บุคลากรและทรัพยากรของโรงเรียนยังไม่คุม้ ค่า ทัง้ ทีม่ ศี กั ยภาพ
มาก ดังนัน้ จึงจาเป็ นต้องพัฒนาโรงเรียนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนา เป็นแหล่งเรียนรู้ และ
เป็นจุดพัฒนาสังคมทีต่ อบสนองทุกคนในชุมชน
- ระบบการศึกษาไทยทีผ่ ่านมา เป็นการทาลายชนบท การพัฒนาทีร่ วมศูนย์ หรือการมี
สถาบันการศึกษากระจุกตัวอยูใ่ นส่วนกลางทาให้ดงึ คนจากต่างจังหวัดเข้ามาเรียน และ
ทางานอยูท่ ก่ี รุงเทพฯและปริมณฑล ไม่กลับไปถิน่ ฐานภูมลิ าเนา
- ควรเน้นการสอนคนให้เป็นคนดี ซึง่ คนดี สอนให้เก่งได้
รูปแบบการบริ หารจัดการ
- ตัวอย่างประสบการณ์ต่างประเทศหลายแห่ง กระทรวงศึกษาธิการของประเทศอื่นๆ มี
บทบาทหน้าทีเ่ ฉพาะ เน้นหน้าทีห่ ลักในการพัฒนาหลักสูตรและครู ฉะนัน้
กระทรวงศึกษาธิการของประเทศไทยควรลดขนาดลงมา และให้ภาคส่วนอื่น โดยเฉพาะ
เอกชนเข้ามามีบทบาท
- ควรมีการแปรรูป (privatization)หรือให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ขณะทีท่ างภาครัฐหรือ
กระทรวงศึกษาธิการควรลดบทบาทหน้าทีล่ ง
- ควรดึงภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมให้มาก ปรับรูปแบบการบริหารจัดการเป็นแบบใหม่
(New Business Model)โดยการสร้างแรงจูงใจ (Incentive)ให้ภาคเอกชน ดังนัน้ ในอนาคต
รัฐควรจะประกาศเชือ้ เชิญให้ภาคธุรกิจเอกชนเข้ามาช่วยแบ่งเบาภาระและเพิม่ บริการที่
สาคัญ เช่น โครงการพัฒนาการศึกษาเพื่อยกระดับชุมชน โดยให้สามารถนาค่าใช้จา่ ยใน
โครงการไปหักลดหย่อนภาษีในอัตราทีเ่ หมาะสมกว่าปจั จุบนั
- ตัวอย่างการมีส่วนร่วมกับภาคเอกชน เช่น แทนทีภ่ าคเอกชนจะบริจาค หรือการทา
กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) กระจัด
644
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กระจายทัวไป
่ ควรดึงให้ภาคเอกชนมาทากิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการศึกษา
ให้เกิดผล โดยให้เอกชนในแต่ละจังหวัดรวมกลุ่ม และร่วมกันขับเคลื่อนพัฒนาโรงเรียน
หรือสถานศึกษาในพืน้ ที่ โดยให้ความสาคัญกับการใช้เงินเพื่อกิจกรรม 3 ประการ ได้แก่
1) จัดอบรมครูทุกคน ทุกโรงเรียนในระยะยาวต่อเนื่องให้มกี ารสอนแบบสมัยใหม่ 2) นา
พนักงานของบริษทั ตนไปช่วยสอนเสริม 3) ให้บริษทั ว่าจ้างครูใหม่ เป็ นพนักงานของบริษทั
ตน รับเงินเดือนในระดับเดียวกับพนักงานของบริษทั ตน แต่เป็ นฝา่ ย CSR ทีท่ าหน้าทีเ่ ป็น
ครูสอนโรงเรียนต่างๆ การพัฒนาในลักษณะเช่นนี้จะสร้างการมีส่วนร่วมระหว่าง
สถาบันการศึกษาและภาคเอกชน ชุมชนก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยังยื ่ น

การร่วมรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อเพิ่ มคุณภาพชีวิตและขจัดความยากจนอย่างยังยื
่ นโดยภาค
ธุรกิ จเอกชน
ตัวอย่างทีน่ ่ าสนใจในการทาธุรกิจเพื่อมาดูแลสังคมก็คอื การทาโครงการเพื่อส่งเสริมการศึกษา
หรือทีเ่ รียกว่า BREAD (Business for Rural Education and Development) เป็ นการศึกษาเพื่อพัฒนา
ชนบท ซึ่งคุณมีชยั เป็ นประธานและผู้ก่อตัง้ บริษทั ธุรกิจเพื่อพัฒนาการศึกษาและชนบท จากัด ขึน้ มา
เพื่อหารายได้จากการดาเนินธุ รกิจไปใช้ใ นการพัฒนาคุ ณภาพชีวติ ของ ชุมชนในชนบทให้ดขี ้นึ การ
ดาเนินการมีลกั ษณะ Social Enterprise โดยดาเนินธุรกิจและผลกาไรจะถูกนากลับไปเพื่อใช้ในการ
แก้ปญั หาและพัฒนาการศึกษา
BREAD เป็ นโครงการที่เริม่ มาตัง้ แต่ปี 2552 มีภารกิจหารายได้ในเชิงธุรกิจ เพื่อใช้ในองค์กร
สาธารณประโยชน์ในเครือข่าย โดยจะนาผลกาไรทีไ่ ด้ทงั ้ หมดหลังหักสารองและขยายธุรกิจแล้วไปใช้ใน
กิจกรรมสาธารณประโยชน์ดา้ นการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพชีวติ ในชนบท โดยมีพนั ธสัญญาว่าจะ
ดาเนิน ธุ ร กิจ อย่างโปร่ง ใส มีคุ ณ ธรรม จริยธรรม มีจุดยืน ชัดเจนในการช่ว ยเหลือ สังคม และพัฒนา
ประสิทธิภาพในการทางานเทียบเท่าองค์กรธุรกิจเอกชนชัน้ นา
มูลนิธมิ ชี ยั วีระไวทยะดาเนินโครงการ School-BIRD หรือ School-BIRD : School-Based
Integrated Rural Development ขึน้ มาเพื่อ ปฎิวตั โิ รงเรียนในชุมชนให้เป็ นศูนย์กลางการเรียนรู้ พัฒนา
คุณภาพชีวติ

การเรียนการสอน การเรียนรู้
- ภาพรวมในปจั จุบนั การเรียนการสอนของไทย ยังเน้นท่องจา ไม่ได้เน้นการคิดวิเคราะห์
- โรงเรียนหลายแห่งทีป่ ระสบความสาเร็จยังไม่ได้มกี ารขยายผลเท่าทีค่ วร อาทิ กลุ่ม
โรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัยต่างๆ ควรขยายสาขา หรือเป็นพีเ่ ลีย้ งให้กบั โรงเรียนอื่นๆ
เพื่อขยายคุณภาพการศึกษาของประเทศ

645
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- การเรียนการสอนในปจั จุบนั ยังเป็ นการสร้างคนสาหรับยุคก่อน ยังไม่พร้อมสาหรับโลก


อนาคต
- การเรียนการสอนทีผ่ ่านมา เน้นแต่ดา้ นวิชาการเพียงอย่างเดียว ควรมีการมุง่ เน้ นทักษะ
ชีวติ และเสริมทักษะการประกอบอาชีพหรือการประกอบธุรกิจให้นกั เรียนด้วย เนื่องจาก
แรงงานของประเทศไทยมีเพียงร้อยละ 30 เท่านัน้ ทีม่ นี ายจ้าง ขณะทีอ่ กี ร้อยละ 70 ไม่ม ี
นายจ้าง ประกอบอาชีพอิสระ ในขณะทีก่ ารเรียนการสอนไม่ได้สอนทักษะในการประกอบ
อาชีพหรือธุรกิจเบือ้ งต้นให้กบั นักเรียน

กรณี โรงเรียนมีชยั พัฒนา

โรงเรียนมีชยั พัฒนา ภายใต้การก่อตัง้ และการดูแลของ คุณมีชยั วีระไวทยะโรงเรียนมีช่อื เล่น ว่า


โรงเรียนไม้ไผ่ เพราะอาคารส่วนใหญ่ภายในโรงเรียนสร้างจากไม้ไผ่
โรงเรียนมัธยมมีชยั พัฒนาหรือ “โรงเรียนไม้ไผ่” มีบทบาทเป็น
 ศูนย์การเรียนรูต้ ลอดชีวติ สาหรับชุมชน ทุกคนมีส่วนร่วมและเรียนรูเ้ พื่อพัฒนาตนเอง เช่น ทักษะ
การเกษตร, ทักษะธุรกิจ และทักษะการประกอบอาชีพอื่นๆ
 ศูนย์กลางสนับสนุ นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยจัดตัง้ กองทุนสนับสนุ นการประกอบ
อาชีพแ ละเพิม่ รายได้ สาหรับนักเรียนและครอบครัว
 ศูนย์พฒ
ั นาและอบรมครูเพื่อเพิม่ ความ รูแ้ ละศักยภาพของครูในชนบท

จุดเน้ นโรงเรียนมีชยั พัฒนา โรงเรียนเน้นสอนเด็กให้เป็นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ มุง่ หวังสร้างคนดี


นักพัฒนา มีจติ สาธารณะ
แนวคิ ดคุณมีชยั คือ เน้ นพัฒนาการศึกษา ควบคู่ไปกับการขจัดความยากจน ให้โรงเรียน
เป็นศูนย์กลางการพัฒนาเป็ นแหล่งเรียนรูต้ ลอดชีวติ ให้กบั ทุกคนในชุมชน โดยดาเนินกิจกรรมในทาง
ปฏิบตั ทิ เ่ี ห็นผลเป็นรูปธรรม ทีโ่ รงเรียนนี้เน้นความดี สอนทักษะชีวติ สอนทักษะการประกอบธุรกิจ เช่น
สอนให้นกั เรียนแลูกมะนาวนอกฤดู เพาะเห็ด ปลูกผักในถุง สร้างรายได้ นาไปทากับผูป้ กครองหารายได้
แก้จนได้
อย่างไรก็ตาม โรงเรียนนี้ไม่เก็บค่าเล่าเรียนจากเด็กนักเรียน แต่ให้เด็กจ่ายด้วยการทาความดี
สิง่ ทีพ่ วกเขาเหล่านัน้ สามารถทาได้ ตัวอย่าง ทาดีง่ายๆ ปลูกต้นไม้ 400 ต้น แม้จะก่อตัง้ มาเพียง
ประมาณ 5 ปี แต่ดพู ฒ ั นามาก ต้นไม้โต ร่มรื่น โรงเรียนเป็นระเบียบเรียบร้อย มีการปลูกต้นไม้และปลูก
ผักจานวนมาก ทัง้ จากการปลูกของนักเรียน ผูป้ กครอง รวมทัง้ ความร่วมมือจากชาวบ้านในชุมชน
646
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทัง้ นี้ เนื อ่ งจากโรงเรียนไม่เก็บค่าเล่าเรียน โรงเรียนมีแหล่งทุนด้วย Social Enterprise


ตัวอย่างในการทาธุรกิจเพื่อมาดูแลสังคมก็คอื การทาโครงการเพื่อส่งเสริมการศึกษา หรือ BREAD
(Business for Rural Education and Development) เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาชนบท อ.มีชยั จัดตัง้
ขึน้ มาเพื่อหารายได้จากการดาเนินธุรกิจไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของ ชุมชนในชนบทให้ดขี น้ึ

การบริ หารงานของโรงเรียน ทีมงานโรงเรียนแบ่งเป็ น 3 กลุ่ม คือกลุ่มการศึกษา เหมือน


โรงเรียนอื่นๆ แต่โรงเรียนนี้เพิม่ อีก 2 กลุ่ม คือ กลุ่มธุรกิจเพื่อสังคม กับกลุ่มการพัฒนา กลุ่มพัฒนา
น่าสนใจมาก กลุ่มนี้เข้าไปร่วมกับชุมชนและโรงเรียนอื่นๆ เพือกระตุน้ ให้โรงเรียนอื่นๆ ในพืน้ ทีใ่ กล้เคียง
เป็นศูนย์กลางการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ของชุมชน เปลีย่ นวัดให้เชื่อมโยงกับโรงเรียนโดยมุง่ กลุ่มผูส้ งู อายุ
ไม่ให้วดั เป็นเรือ่ งน่าเศร้า แต่กลายเป็นทีเ่ รียนรูข้ องชุมชน
จุดแข็งทีส่ าคัญของโรงเรียนประการหนึ่ง คือคุณมีชยั ทีเ่ ชื่อมโยงการพัฒนา Global-Local ได้ดี
ดึงธุรกิจต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมมาก ทัง้ Ikea, Microsoft และอื่นๆ รวมทัง้ ไม่ปฏิเสธกลไกตลาด แต่
ปรับปรุงเป็น Social enterprise ทีย่ งยื
ั ่ นและมีศกั ดิ ์ศรีกว่าการคอยรับทุนตามปกติ
แนวคิดในการแก้ไขปญั หาความยากจนของคุณมีชยั คือการมองว่าคนยากจน ส่วนใหญ่ของ
ประเทศไทยทีท่ าการเกษตร เป็น "นักธุรกิจขนาดเล็ก"โดยนักธุรกิจกลุ่มนี้ขาด 2 อย่างคือ ทักษะและ
ความรูใ้ นการทาธุรกิจ และ การเข้าถึงสินเชื่อ การแก้ปญั หาจึงมุง่ ไปทีก่ ารแก้ 2 ปญั หานี้
ตัวอย่างเรือ่ งการส่งเสริมมะนาวนอกฤดูทท่ี าให้ชาวบ้านดูเป็นตัวอย่างว่ามะนาวนอกฤดูมรี าคา
สูงเพราะอุปทาน (supply)ในตลาดน้อย มีวธิ หี ลอกต้นมะนาวให้ออกลูกในฤดูแล้งได้ ด้วยองค์ความรูท้ ่ี
ไม่ยากนัก แต่การไปบอกไปสอนเฉยๆ ไม่ได้ผล ต้องทาเป็นตัวอย่าง โดยทาให้เห็นว่าทาได้จริงและมี
รายได้ดขี น้ึ
ส่วนในด้านสินเชื่อใช้แนวคิด Microfinance โดยให้ชาวบ้านร่วมกันออกกฎกันเอง ใช้ peer
pressure ซึง่ หากชุมชนเข็มแข็งก็จะประสบความสาเร็จดี

โรงเรียนเน้ นการเรียนการสอนทีใ่ ห้เด็กเป็ นศูนย์กลาง ตัวอย่างเช่น คิดโครงงานทีส่ นใจศึกษาเองใน


วิชาทีบ่ ูรณาการโครงงาน ให้นกั เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ อาทิ นักเรียนเป็ นคนคัดเลือกครู รุน่
พีเ่ ลือกรุน่ น้องเข้าเรียน เป็นกรรมการบริหารโรงเรียน ออกแบบชุดฟอร์มนักเรียนเอง ฯลฯ
สาหรับด้านมาตรฐานและคุณภาพของโรงเรียนมีชยั พัฒนา ทีน่ ่ี เป็ นโรงเรียนทีม่ คี ุณภาพ
เทียบเท่ากับ โรงเรียนนานาชาติทบ่ี ริหารโดยเอกชน
โรงเรียนมีชยั พัฒนา ใช้หลักสูตรกลางปกติของประเทศ โดยปรับการเรียนการสอนให้เด็กคิดเป็น
จุดเด่นคือเสริม 2 ทักษะทีส่ าคัญคือ ทักษะชีวติ และทักษะทางธุรกิจ
โรงเรียนมีโครงการหลายสิบโครงการของโรงเรียนทีน่ ่าสนใจ ตัวอย่างเช่น

647
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- โครงการสานฝนั ให้เด็กทีฝ่ นั อยากประกอบอาชีพต่างๆได้มโี อกาสไปฝึกทีท่ างานจริง ตัง้ แต่ม.


1 เช่น เด็กทีอ่ ยากเป็นหมอ ส่งไปทีส่ มิตติเวช อยากทางานโรงแรม ส่งไปบายันทรี เด็กบางคนไปเห็น
บรรยากาศจริง ก็จะรูต้ วั ว่าชอบหรือไม่ชอบ ทาให้กระบวนการค้นพบตนเองทาได้เร็วมากขึน้
- โครงการให้เด็กช่วยกันคัดเลือกผูไ้ ด้ทุน โดยเมือ่ ทุนน้อ ยกว่าผูส้ มัคร เด็กๆ จะช่วยกันไป
สัมภาษณ์และเยีย่ มบ้านผูส้ มัคร เพื่อคัดเลือกผูท้ เ่ี หมาะสมตามเกณฑ์ทร่ี ว่ มกันกาหนดขึน้
- โครงการเรียนรูเ้ กีย่ วกับคนพิการ เด็กๆ นังรถเข็
่ นแล้วใช้ชวี ติ ดู ทาให้เข้าใจและร่ว มกันปรับ
สถานทีโ่ รงเรียนให้เอือ้ ต่อคนพิการ

648
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กรณี การศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านหนองทองลิ่ ม
School-BIRD (School-Based Integrated Rural Development)
ดาเนิ นการโดยมูลนิ ธิมีชยั วีระไวทยะ

โครงการ School-BIRD มีวตั ถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและปฏิรปู ด้านการศึกษา สร้างโรงเรียนในชุมชน


ให้เป็ นแหล่งพัฒนาการเรียนรูต้ ลอดชีวติ รวมทัง้ เป็ นศูนย์กลางในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม นา
กระบวนการการมีส่วนร่วมทัง้ โรงเรียนและชุมชน เข้ามาร่วมกันพัฒนาชุมชนให้ส ามารถอยู่ได้อย่าง
ยังยื
่ น และสามารถผลิต ประชากรที่ม ีคุ ณภาพเข้ามาเป็ นผู้ข บั เคลื่อ นชุ มชนให้เ กิดการพัฒนาต่ อ ไป
ข้างหน้า
โรงเรียนบ้านหนองทองลิม่ เป็ นโรงเรียนทีไ่ ด้เข้าร่วมโครงการกับ สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน
(Population and Community Development Association [PDA] เพื่อเป็ นพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ควบคู่ไปกับการพัฒนาชุมชน โดยทางโรงเรียนได้มกี ารเรียนการสอนตามหลักสูตรมาตรฐานส่วนกลาง
ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีท่ งั ้ หมด 19 ไร่ มีจานวนนักเรียนทัง้ หมด 360 คน จากหมูบ่ า้ นทัง้ 6 หมู่บา้ น มีคุณครูผสู้ อน
จานวน 22 คน ส่วนใหญ่เป็นศิษย์เก่าทีเ่ คยศึกษาทีโ่ รงเรียนบ้านหนองทองลิม่
โรงเรียนเปิดสอนตัง้ แต่ชนั ้ อนุ บาล 1 จนถึงชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 จากประสบการณ์ของคุณครูผสู้ อน
พบว่านักเรียนส่วนใหญ่เป็นเด็กในชุมชนบ้านหนองทองลิม่ ทีม่ ฐี านะยากจน อาศัยอยู่กบั ตายายหรือปู่ย่า
เพราะบิด ามารดา ต้อ งเข้าไปทางานตามเมือ งใหญ่ ๆ เด็กนัก เรียนของโรงเรีย นบางคนจึงต้อ งช่ว ย
ครอบครัวทางานประกอบอาชีพ โดยจะประกอบอาชีพเกษตรกรเป็ นหลัก วัตถุประสงค์หลักของการ
ร่วมือกับ PDA นัน้ ทางโรงเรียนและมูลนิธติ ้องการให้โรงเรียนบ้านหนองทองลิม่ เป็ นโรงเรียนขยาย
โอกาส ให้เด็กในชุมชนได้มโี อกาสเรียนหนังสือ และเป็ นโรงเรียนทีม่ กี ารปฏิรูปรูปแบบการศึกษาโดยมี
หลักสูตรเสริมตามโครงการ School-BIRD ทาให้โรงเรียนบ้านหนองทองลิม่ มีความแตกต่างจากโรงเรียน
อื่นๆ คือ
- นักเรียนได้มที กั ษะเรื่องการประกอบธุรกิจภายในครัวเรือน การทาการเกษตรแบบพอเพียงและ
การสร้า งจิต ส านึ ก รัก บ้านเกิด โดยให้โรงเรียนเป็ นอีกหนึ่ งศูนย์กลางการเรียนรู้ด้า นการท า
การเกษตรเพื่อการประกอบธุรกิจ ทีส่ ามารถพัฒนาคุณภาพชีวติ ของนักเรียนและครอบครัวได้
เช่น การปลูกผักสวนครัวในถุงปุ๋ย การปลูกมะนาวนอกฤดูกาล เป็ นต้น ซึง่ ประสบการณ์ท่ี
ได้จากการเรียนดัง กล่ าวนอกจากจะเป็ นการฝึ กกระบวนการคิด และการบริห ารงานภายใน
โรงเรียนแล้ว ยังเป็นการฝึกให้นกั เรียนรูจ้ กั ความรับผิดชอบ ในโครงการต่างๆทีท่ าอยู่
- โรงเรียนเป็ นศูนย์กลางการเรียนรูท้ ส่ี าคัญของชุมชนซึง่ ผู้ปกครองมีโอกาสเข้ามาเรียนรูร้ ่ วมกับ
นักเรียนและพัฒนาแนวความคิดประกอบอาชีพเกษตรกรรมอย่างยังยื ่ น
- โรงเรียนบ้านหนองทองลิม่ ได้นาวิถีพุทธศาสนามาเป็ นคาสอนและเป็ นวิธ ีการอยู่ร่วมกันของ
นักเรียน ให้เป็ นผู้ท่มี คี ุณธรรมและจริยธรรมตัง้ แต่ยงั เด็ก เช่น ในวันอังคารของทุกสัปดาห์ทาง
649
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

โรงเรียนก าหนดให้ว นั ดัง กล่ าวเป็ นวันพระประจาสัปดาห์ โรงเรีย นจะให้เ ด็กๆใส่ ชุด ขาวมา
โรงเรียน มีการสวดมนต์ไหว้พระเป็ นประจาทุกวันและมีวชิ าทีเ่ รียนกับพระอาจารย์ท่นี ิมนต์มา
สอนเป็ นประจาทุกสัปดาห์ กิจกรรมวิถพี ุทธนอกจากมุ่งหวังปลูกฝงั เรื่องคุณธรรม จริยธรรมแล้ว
ยังปลูกฝงั ความรักในพระพุทธศาสนา ความรักในศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิน่ ตนเอง เพราะ
ทางโรงเรียนจะให้นัก เรียนมีส่ ว นร่ว มในวันส าคัญ ประจาท้อ งถิ่น ปลูกฝ งั ค่ านิยมความรัก ใน
เอกลักษณ์ของชุมชน เพื่อสร้างให้นกั เรียนเห็นความสาคัญชุมชน
- โรงเรียนบ้านหนองทองลิม่ มีโครงการเยีย่ มบ้านนักเรียนเพื่อให้ตรงต่อวัตถุประสงค์ของโรงเรียน
คือ เป็ นโรงเรียนขยายโอกาสและให้นักเรียนได้รบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานอย่างครบถ้วน จึงต้องมี
โครงการการเยี่ยมบ้านให้ค รูออกไปพบครอบครัวของนักเรียน และพูดคุยกับครอบครัวของ
นักเรียนเป็ นการกระตุ้นให้ครบครัวและชุมชนเห็นความสาคัญของการศึกษา และให้คุ ณครูได้
ทาการสารวจฐานะสภาพความเป็ นอยู่ของครอบครัว และสถานภาพของนักเรียน เพื่อให้ความ
ช่ว ยเหลือ ตามความเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็ นทุนการศึกษา หรือ ค าแนะนาด้านการเรียน หาก
นักเรียนต้องทางานไปด้วยเรียนไปด้วย
- ในความร่วมมือกับ PDA ทาให้โรงเรียนบ้านหนองทองลิม่ ได้รบั การสนับ สนุ นจากหน่ วยงาน
อื่นๆที่ร่วมกับ PDA ในโครงการ School-BIRD ไม่ว่าจะเป็ นองค์กรไม่แสวงหาผลกาไรและ
ภาคเอกชน เช่น CIDA, IKEA รวมถึงหน่ วยงานด้านการศึกษาคือสานักงานพัฒนาประชากร
ของมหาวิทยาลัยมหิดล เข้ามาศึกษาตรวจสอบกระบวนการและความก้าวหน้าของโครงการ
ภายในชุมชนและโรงเรียน อีกทัง้ ยังได้รบั การสนับสนุ นวัสดุอุปกรณ์ ซึง่ ทาให้การพัฒนาดาเนิน
ไปอย่างรวดเร็ว โดยมี PDA เป็ นผู้ตดิ ต่อประสานงานและเป็ นผู้ให้ความร่วมมือในเรื่องการ
ติดต่อและหาเครือข่ายเพื่อขยายโอกาสให้กบั โรงเรียน ได้พฒ ั นาตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
School-BIRD
- ครูอาจารย์ได้รบั การสนับสนุ นและคัดเลือกเพื่อเข้าอบรมพัฒนาการสอน ซึ่งทาให้ครูได้เรียนรู้
วิธกี ารสอน การวางแผนการสอน และ ประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาด้านการศึกษาใหม่ๆ
จากประเทศสิงคโปร์ ซึ่งเป็ นโครงการที่ SIFA ได้เข้ามาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแบบใหม่
ฝึ กให้ครูคดิ และหาวิธกี ารสอนที่ทาให้นักเรียนมีความสนุ กในการเรียนและต่อยอดให้นักเรียน
เกิดกระบวนการคิดหาคาตอบและตัง้ คาถามด้วยตนเอง ซึ่งในการอบรมจากทาง SIF นัน้
แตกต่างจากการอบรมของส่วนกลางหรือจากกระทรวงศึกษาธิการทีเ่ ป็ นการอบรมแบบนัง่ เรียน
ทัง้ วัน และสอนแต่ในภาคทฤษฎี
ข้อเสนอแนะและความเห็นแลกเปลีย่ นจากคุณครูทงั ้ 2 ท่านต่อระบบการเรียนการสอน
สิง่ ทีไ่ ด้จากการอบรมร่วมกับ SIF
- ในการเรียนการสอนครูต้อง Active อยู่เสมอเพื่อให้เด็กนักเรียนรูส้ กึ สนุ กและเป็ นการกระตุ้น
เด็ก ๆให้ส นใจเรีย นรู้ ไม่ง่ว งในชัน้ เรียนและพยายามคิดหาค าตอบร่ว มไปกับ แบบฝึ กหัดใน
ห้องเรียน ไม่ว่าจะเป็นการทดลองหรือวิธกี ารสอนทีด่ งึ ดูดความสนใจจากนักเรียนภายในชัน้
650
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

- ครูควรมีแหล่งให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการสอนหรือพัฒนาทักษะครู ซึ่งสามารถ
ค้นคว้าหาความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการสอนหรือแนวทางในการสอนเพื่อพัฒนาทักษะนักเรียน
ภายในชัน้ หรือวิธกี ารสอนใหม่ๆให้เด็กได้มสี ่วนร่วมและสามารถกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจ
บทเรียน
- ในการอบรมครูควรให้ความสาคัญกับการวางแผนการสอน ซึ่งครูต้องมีการเตรียมตัวก่อนที่จะ
เข้าสอนทุกครัง้ เพื่อให้การเรียนในแต่ละวันไม่น่าเบื่อ และทาให้เด็กได้เกิดกระบวนการเรียนรู้
ภายในห้องเรียนอย่างสนุกสนาน
- การสังเกตการสอน ในการสังเกตการสอนของครูท่านอื่นๆเป็ นการศึกษาวิธกี ารสอนใหม่ๆทีอ่ าจ
นาไปสู่การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนในวิชาของตนเอง และร่วมพูดคุยกันเพื่อแลกเปลีย่ น
วิธกี ารสอนและหาแนวทางในการวางแผนการสอนให้กบั นักเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรูข้ องเด็ก
ให้เหมาะสมกับช่วงวัยและทาให้เด็กนักเรียนกลายเป็ นผูส้ นใจใฝ่รอู้ ย่างจริงจัง
- การให้นักวิชาการหรือผูเ้ ชีย่ วชาญในสาขาวิชาต่างๆมา Work shop ครูเพื่อพัฒนาความรูต้ าม
เนื้อหาวิชาและประเมินความรู้ของครูใ ห้มชี ุดความรู้ความเข้าใจในสาขาวิชาที่ต นสอนอย่าง
แท้จริง
บทสะท้อนปญั หาของระบบการศึกษาไทย
- ครูทางานในหลายหน้าที่
ครูในระบบการศึกษาไทยต้องทางานเอกสารและเตรียมการสอนไปด้วยทาให้ครูไม่มเี วลาในการ
วางแผนการสอน รูปแบบการสอนจึงเป็ นแบบการป้อนซึง่ นอกจากจะไม่สามารถเรียกความสนใจ
จากนัก เรียนในชัน้ ได้แ ล้ว ยังทาให้นักเรียนเกิดความรู้ส ึกเบื่อ หน่ ายในการเรียนและไม่เ ห็น
ความสาคัญของการเรียน ซึง่ ภาระงานทีม่ ากมายนี้ ทาให้คุณครูไม่ได้รบั การพัฒนาในเรื่องการ
สอนและไม่มเี วลาในการให้ความสนใจกับเด็กอย่างเต็มที่
- การอบรมจากภาครัฐไม่ตอบโจทย์ปญั หาการสอน
การอบรมการสอนของรัฐน่ าเบื่อและไม่ตอบโจทย์ปญั หาการเรียนการสอนของครูในปจั จุบนั คือ
ไม่มวี ธิ กี ารใหม่ๆ หรือแนวทางใหม่ในการสอนให้กบั ครู แต่ให้ครูไปนัง่ ฟงั บรรยายซึ่งไม่มกี าร
ปฏิบตั จิ ริงครูจงึ ไม่สามารถนามาปฏิบตั จิ ริงในชัน้ เรียนได้
- ครูไม่ตรงสาขาวิชาทีจ่ บ
ในการคัดบุคลากรมาเป็ นครูมกั ไม่ตรงกับวิชาที่สอนในชัน้ เรียน และครูหนึ่งคนต้องสอนหลาย
วิชาเพราะจานวนชัน้ เรียนทีม่ ากทาให้มคี รูไม่เพียงพอต่อจานวนนักเรียน ทาให้ดูแลนักเรียนได้
ไม่ค่อยทัวถึ ่ ง

651
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กรณี การศึกษาดูงานสหกรณ์พฒ
ั นาประชากรและชุมชนลาไทรโยง จากัด

เป็นสหกรณ์ทเ่ี กิดหลังจากการเข้ามาพัฒนาชุมชนแบบผสมผสานของมูลนิธมิ ชี ยั ในโครงการC-


BIRD Community Based Integrate Rural Development เป็ นโครงการพัฒนาชนบททีเ่ กิดจากความ
ร่ ว มมือ ระหว่ า งรัฐ บาลไทยกับ รัฐ บาลแคนาดา โดยได้ ร ับ งบประมาณสนั บ สนุ น จาก Canadian
International Development Agency (CIDA) ทาให้ภายในชุมชนได้มกี ารจัดตัง้ กลุ่มการเรียนรูต้ ่างๆ
การเป็ นกลุ่มทีท่ ารายได้ให้กบั ชุมชน ต่อมาเมื่อกลุ่มต่างๆภายในชุมชนสามารถสร้างรายได้เข้าสู่ชุมชน
จึงได้มแี นวคิดในการพัฒนาระบบการบริหารจัดการธุรกิจชุมชนเข้ามา ทาให้เกิดระบบการบริหารงาน
แบบร่วมกัน โครงการ C-BIRD และ กรมส่งเสริมสหกรณ์ จึงร่วมกันส่งเสริมให้มกี ารจัดตัง้ สหกรณ์ และ
กลายมาเป็นสหกรณ์พฒ ั นาประชากรและชุมชนลาไทรโยง จากัด
ในช่วงแรกนัน้ ทางสหกรณ์ได้มกี ารดาเนินกิจการอยู่ 4 ด้านคือ
- สินเชื่อเพื่อการผลิต
- ซือ้ ขายปุ๋ย
- รวบรวมผลผลิตจากสมาชิก
- รับฝากเงิน
แต่การเติบโตนัน้ ไปได้ค่อนข้างช้า ทางผูน้ าสหกรณ์จงึ ได้ปรึกษา PDA เกิดเป็ นโครงการทีม่ ูลนิธมิ ี
ชัย ทาร่วมกับภาคเอกชนคือ “โครงการธุรกิจเพื่อสังคม” หรือ TBIRD (THE THAI BUSINESS
INITIATIVE IN RURAL DEVELOPMENT) เป็ นการดึงให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา
ชุมชนด้ว ยการส่ งเสริมให้เ กิด การทาอุ ต สหกรรมภายในชุม ชน โดยบริษัท บาจาได้ร่ว มกับสหกรณ์
ภายใต้การประสานของ PDA จัดตัง้ โรงงานผลิตและตัดเย็บชิน้ ส่วนรองเท้าบาจาขึน้ ดึงคนในชุมชนที่
ต้องไปทางานต่างถิ่นให้กลับมาทางานที่บ้าน ซึ่งสหกรณ์พฒ ั นาประชากรและชุมชนลาไทรโยง เป็ น
สามารถผลิตรองเท้าให้กบั บาจามากถึง 2,000 คู่ต่อวัน สามารถสร้างรายได้ให้กบั แรงงานในชุมชนที่
ประกอบอาชีพในโรงงานกว่า 103 คน ได้วนั ละ 300 บาทตามนโยบายค่าแรงขัน้ ต่ าของรัฐบาล และ
สหกรณ์ยงั มีเงินหมุนเวียนให้กบั คนในชุมชนสามารถกูไ้ ปประกอบอาชีพ หรือนาไปลงทุนด้านการเกษตร
ได้ กระบวนการดังกล่าวเป็ นการพัฒนาชุมชนด้วยคนภายในชุมชน ทาให้เกิดกระบวนการพึ่งพาตนเอง
ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ Community Based Integrate Rural Development
ปจั จุบนั ภายในบริเวณสหกรณ์ฯชุมชนลาไทรโยงยังมีพน้ื ที่เพาะปลูกการเกษตรแบบผสมผสานเพื่อ
เป็ นแหล่ ง เรียนรู้ก ารทาเกษตรอย่า งยังยื่ นอีกที่หนึ่ง เป็ นพื้นที่ท่เี ป็ นต้น แบบในการทาการเกษตรที่
สามารถสร้างรายได้และเปลีย่ นมุมมองการเกษตรที่ คนในชุมชนมองว่าเป็ นอาชีพทีย่ ากจนให้เป็ นอาชีพ
ที่ท ารายได้ใ ห้ก ับครัว เรือ นได้อ ย่างเพีย งพอหรือ เป็ น ธุ รกิจ ที่ส ามารถเลี้ยงครอบครัว ได้ ซึ่ง บริเ วณ
ด้านหลังสหกรณ์นัน้ จะมีสวนผัก ปลอดสาร แปลงเกษตรแบบผสมผสานและการปลูกมะนาวนอกฤดู
นอกจากจะเป็ นการให้ความรูใ้ นเรื่องของการทาการเกษตรทีย่ งยื ั ่ นแล้วยังเป็ นแบบอย่างการเพิม่ มูลค่า
652
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ให้กบั ผลิตภัณฑ์การเกษตรให้มรี าคาที่มากขึน้ เช่น การปลูกมะนาวนอกฤดู การปลูกผักปลอดสาร เป็ น


ต้น แนวคิดการทาการเกษตรดังกล่าวไม่ได้มุ่งให้คนในชุมชนอยู่ได้เท่านัน้ แต่ต้องมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ดี ว้ ย
คือ ได้รบั การศึกษา มีทุนสร้างโอกาส มีสุขภาพที่แข็งแรง และมีความสุขในการดารงชีวติ การพัฒนา
แบบผสมผสานนัน้ เป็ นการบูรณาการทุกส่วนที่จาเป็ นต่อการดารงชีวติ มาพัฒนาคุณภาพชีวติ โดยไม่
กระทบต่อวิถชี ุมชน แต่สร้างโอกาสและรายได้ให้เกิดขึน้ ภายในชุมชน เยาวชนและคนในชุมชนรุ่นใหม่ไม่
จาเป็ นต้องเข้าเมืองหรือออกจากชุมชนเพื่อไปหางานในตัวเมืองเช่นเมื่อก่อน เสริมสร้างให้มกี ารสืบต่อ
และพัฒนาท้องถิน่ ในพ้นจากความยากจน มามีกนิ มีใช้อย่างพอเพียงและมีทุนในการลงทุนทาการเกษตร
และธุรกิจอุตสาหกรรมการเกษตรในพืน้ ทีต่ ่อไปได้

653
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กรณี การศึกษาดูงานชุมชนหมู่บ้านหนองตาเข้ม
Community based integrate rural development

Community Based Integrate Rural Development เป็ นโครงการพัฒนาชนบททีเ่ กิดจากความ


ร่ ว มมือ ระหว่ า งรัฐ บาลไทย กับ รัฐ บาลแคนาดา โดยได้ ร ับ งบประมาณสนั บ สนุ น จาก Canadian
International Development Agency (CIDA) โดยหมู่บา้ นหนองตาเข้มเป็ นหมู่บา้ นหนึ่งในโครงการทีม่ ี
การจัดตัง้ กลุ่มต่างภายในหมูบ่ า้ น เพื่อสร้างและพัฒนาหมูบ่ า้ นให้เป็นศูนย์การเรียนรูข้ องชุมชน
ปจั จุบนั หมูบ่ า้ นหนองตาเข้มมี นางชาเลือง แป้นรินทร์ เป็ นผูใ้ หญ่บา้ น ได้นาคนในชุมชนพัฒนา
หมูบ่ า้ นหนองตาเข้มมาอย่างต่อเนื่อง โดยนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดาเนินชีวติ และ
ได้รบั การยอมรับจากคนในชุมชน หมู่บา้ นใกล้เคียง หมู่บา้ นหนองตาเข้ม ตัง้ อยู่ห่างจากอาเภอนางรอง
ไปทางอ.ชานิ – ลาปลายมาศ ประมาณ 4 กิโลเมตร ชุมขนแห่งนี้เป็ นชุมชนเข้มแข็งและได้โครงการ
สายใยรัก แห่ งครอบครัว ซึ่งเป็ นโครงการในพระเจ้าวรวงศ์เ ธอ พระองค์เจ้าศรีรศั มิ ์ พระวรชายาใน
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และได้เป็ นเป็ นชุมชนตัวอย่างโดยมีวสิ ยั ทัศน์ ของ
ชุมชนคือ "ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งผลิตผ้าไหม หลากหลายไม้ประดับ พืชผักสมบูรณ์ เพิม่ พูนรายได้" โดย
ทางหมู่บ้านได้มกี จิ กรรมการพัฒนาหมู่บ้าน ที่ประชาชนและอาสาสมัครในหมู่บ้านร่วมแรงร่วมใจกัน
ดาเนินกิจกรรมการพัฒนาในรูปแบบต่ างๆที่เป็ นประโยชน์ เพื่อ ส่งเสริมความเป็ นอยู่ของคนในชุมชน
รวมถึงการอนุรกั ษณ์สงิ่ แวดล้อมควบคู่กนั ไป ได้แก่
1. โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ซึง่ เป็ นโครงการในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรศั มิ ์ พระ
วรชายา ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทีจ่ ะทรงส่งเสริมและสนับสนุ นการ
เลี้ย งลูก ด้ว ยนมแม่ และสนับ สนุ นสมาชิก ในโครงการฯ ได้ร บั ประโยชน์ ทงั ้ ด้า นการเกษตร
สมบูรณ์ เพิม่ พูนสุขภาพแม่ลูก และด้านอาชีพเสริมเพิม่ รายได้ ฝึ กอบรมทักษะด้านการเกษตร
และอาชีพเสริม และ เห็นถึงความสาคัญ ของการบริโภคอาหารสาหรับแม่ เป็ นการลดรายจ่าย
ของครอบครัว (มีก ารทาบัญชีค รัวเรือน) โดยจังหวัด คัดเลือกให้เ ป็ นจุดนาร่อ ง ปจั จุบนั เป็ น
สมาชิกโครงการทุกครัวเรือน
2. ปลูกและดูแลบารุงรักษาต้นไม้ การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสิง่ แวดล้อม
3. การอนุ รกั ษ์ส ืบทอดวัฒนธรรมประเพณีท่ดี งี ามของหมู่บ้าน เช่น งานฉลองตาเข้ม ประเพณี
สงกรานต์ เข้าพรรษา ลอยกระทง กฐิน ผ้าปา่ การเซ่นไหว้ปตู่ า ฯลฯ
4. การส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรแบบพอเพียง การลดการใช้สารเคมีในการทาการเกษตร และ
ส่งเสริมให้มกี ารทาปุ๋ยหมักและสารสกัดชีวภาพจากธรรมชาติ
5. กิจกรรมด้านสาธารณสุข เช่น การคัดกรองผู้ป่ว ยโรคเบาหวาน ค้นหาผู้ป่ว ยโรคมะเร็ง การ
ส่งเสริมการออกกาลังกาย
6. การจัดสวัสดิการต่างๆของคนในชุมชน เช่น การดูแลผูส้ งู อายุ คนพิการ

654
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

7. การพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในหมูบ่ า้ นในโอกาสวันสาคัญต่างๆ เพื่อสิง่ แวดล้อมทีด่ ขี องชุมชน


และความสุขทีเ่ พิม่ มากขึน้ ของสังคม
ในด้านการพัฒนาอย่างยังยื ่ น หมู่บ้านหนองตาเข้มได้จดั เป็ นหมู่บ้านที่สามารถสร้างรายได้ให้
ตนเองจากการเป็ นศูนย์เรียนรูท้ ม่ี ผี สู้ นใจเข้ามาเยีย่ มชมหมู่บา้ น และมีกลุ่มต่างๆทีเ่ ป็ นความร่วมมือจาก
คนภายในชุมชน มีการบริหารงานร่วมกัน โดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการบริหารหมู่บ้าน ซึ่งกลุ่มต่างๆ
ภายในหมู่บา้ นเป็ นกลุ่มทีจ่ ดั ตัง้ ตามความชานาญของแต่ละบุคคล ทาให้ศูนย์นนั ้ จัดได้ว่าเป็ นศูนย์ท่เี กิด
จากประสบการณ์การลงมือปฏิบตั จิ ริงและเห็นผลได้ การสร้างธุร กิจภายในชุมชนทาให้เกิดรายได้ทช่ี ่วย
ให้คนในชุมชนไม่ต้องออกไปหางานทาภายนอก และยังทาให้อาชีพการเกษตรกลับมาเป็ นอาชีพหลัก
ของคนรุน่ ใหม่ในชุมชนอีกครัง้ ด้วยการทาเกษตรแนวทางใหม่ ทีช่ ่วยสร้างอาชีพให้กบั คนในชุมชน
ในด้านการสร้างผู้นา ชุม ชนบ้า นหนองตาเข้ม ได้ม ีก ารเชิญ ชวนให้เ ด็ก ๆในชุ ม ชนหันมาให้
ความสาคัญกับการเป็ นผูพ้ ฒ ั นาชุมชนต่อไปโดยการดึงเด็กทีม่ ภี าวะผูน้ า หรือ หัวโจกใหญ่ของชุมชนมา
เป็ นกลุ่ มเยาวชนที่บาเพ็ญประโยชน์ ให้กับชุมชน และเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับชุมชนให้เ กิดคนรุ่น
ต่อๆไปทีจ่ ะเข้ามามีส่วนในการขับเคลือนเศรษฐกิจชุมชนต่ อไปในอนาคตนอกจากนี้ยงั มีการทาห้องสมุด
ที่มกี ารบริหารงานและดูแลโดยเด็กๆภายในชุมชน ที่มาจากการคัดเลือกของกลุ่มเด็กและเยาวชนเอง
เป็ นการศึกษาการปกครองแบบประชาธิปไตยทีส่ อนให้เด็กๆกล้าคิดกล้าแสดงออก และยังเป็ นวิธกี ารที่
ฝึกให้เด็กและเยาวชนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และทรัพย์สนิ ภายในชุมชน โดยมีหอ้ งสมุดเป็ นแหล่ง
เรียนรูแ้ ละทดลองลงมือปฏิบตั จิ ริง
ในด้านการบริหารปกครองที่เข้มแข็งของชุมชนหนองตาเข้มคือการที่ทุกฝ่ายต่ างมีส่วนในการ
ปกครองและบริหารชุมชนร่วมกัน ผูน้ าคือผู้ทใ่ี ห้คาแนะนาและดึงให้คนในชุมชนออกความคิดเห็น เป็ น
การปกครองในรูปแบบทีท่ ุกคนต่างมีโอกาสในการแสดงความสามารถของตนเอง ชุมชนจึงมีการพัฒนา
อย่างยังยื่ นและต่อเนื่องทีม่ าจากความคิดของคนทุกคนในชุมชนเอง คนในชุมชนเองก็มคี วามสามารถ
และความรูท้ ่สี ามารถนามาเผยแพร่เป็ นความรูใ้ ห้กบั เกษตรกรทัวไป ่ ดังนัน้ ศูนย์การเรียนรูช้ ุมชนบ้าน
หนองตาเข้มจึงมีการเข้ามาดูงานอยู่เสมอซึ่งสร้างรายได้ให้กบั กลุ่มผูอ้ าศัยในชุมชน เช่น โครงการบ้าน
สายใยรัก ทีเ่ ป็ นหมู่บา้ น Home stay เปิดให้ผเู้ ข้าพักได้เรียนรูว้ ถิ ชี ุมชน และ ศึกษาวิธกี ารพัฒนาอย่าง
ยังยื
่ นได้ ซึ่งรายได้ท่บี ้านสายใยรักจากการสนับสนุ นจากผู้เข้ามาศึ กษาดูงานก็เป็ นรายได้ของคนใน
ชุมชนเป็ นการสนับสนุ นเศรษฐกิจในชุมชน ปรับเปลี่ยนมุมมองการสร้างงานสร้างรายได้จากความเชื่อ
เดิมทีว่ ่าต้องจบสูง ต้องเรียนปริญญาจึงจะหาเงินได้ แต่ตอนนี้ แม้จะไม่ได้จบสูง ก็สามารถทาธุรกิจของ
ตนเองได้ดว้ ยภูมปิ ญั ญาทีม่ อี ยูภ่ ายในท้องถิน่ และการร่วมมือกันของคนภายในชุมชนเอง
ชุมชนบ้านหนองตาเข้มจึงเป็นศูนย์การเรียนรูท้ ไ่ี ม่ได้มุ่งให้เด็กในชุมชนหันหน้าเข้าหาการศึกษา
ทีต่ ้องจบปริญญา หรือมุ่งหน้าเข้าเมืองเพื่อสร้างรายได้แต่สอนให้เด็กในชุมชนมองเห็นสิง่ ทีช่ ุมชนมีและ
พัฒนาให้เ กิดการสร้างงานสร้างรายได้ และหันมาช่ว ยกันพัฒนาชุมชนด้ว ยวิธ ีทางสายกลางคือ ไม่
ปฏิเสธระบบทุนนิยม และไม่เอาระบบทุนนิยมมาเป็ นทัง้ หมดของชีวติ แต่ให้สร้างรายได้ทส่ี ามารถรักษา
และพัฒนาคุณภาพชีวติ ของตนเองและคนในชุมชนได้ด้วยการนาเอาการทาธุรกิจมาพัฒนาระบบการ
655
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ผลิตด้านการเกษตรและพัฒนาภูมปิ ญั ญาในท้องถิน่ ให้เกิดมูลค่าเพิม่ เป็ นแหล่งสร้างรายได้ให้ชุมชนโดย


ที่คนในชุมชนไม่ต้องละทิ้งถิน่ ฐาน และตามกระแสสังคมสมัยใหม่มากเกินไป เป็ นการพบกันครึง่ ทาง
ระหว่างโลกสมัย ใหม่แ ละสมัย เก่ าที่ จะท าให้เ กิด การพัฒนาอย่างยังยื ่ น และยังเป็ นการดารงรักษา
วัฒนธรรมและคุณค่าของภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ทีเ่ ริม่ สูญหายไปในปจั จุบนั

ชุมชนต้นแบบและการสนับสนุนจากหน่ วยงานภายนอก
ชุมชนบ้านหนองตาเข้ม เป็ นชุมชนทีม่ ศี ูนย์เรียนรู้ ทีส่ ามารถสร้างรายได้ให้กบั ชุมชน ซึง่ ในการ
บริห ารอย่างยังยื
่ นนัน้ จาเป็ นต้อ งดูแลในเรื่องผลประกอบการและความคุ้มค่าของการลงทุนเพื่ อให้
เกิดผลทีส่ ามารถนาทุนไปต่อยอดและเพิม่ มูลค่าให้กบั ผลิตภัณฑ์และพัฒนาชุมชนได้ จากแนวทางการ
บริหารจัดการด้านการเงินที่ PDA เข้ามาให้ความรูจ้ นชุมชนมีการบริหารจัดการด้านการเงินด้วยตนเอง
ทาให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ที่มแี นวคิดเรื่องการบริหารและการลงทุน
อย่างยังยื
่ น ได้ร่วมกับชุมชนจัดฝึกอบรมและให้ความรูเ้ กี่ยวกับการทาการเกษตรทีพ่ อเพียง ยังยื ่ น และ
สามารถพัฒนาคุณภาพชีวติ ความเป็ นอยู่ให้กบั ผูท้ ป่ี ระกอบอาชีพเกษตรกรรมได้ โดยให้ผู้ทเ่ี ข้ามากู้ยมื
เงินของธนาคารนัน้ มีความรูใ้ นเรื่องการบริหารจัดการเงินและรูจ้ กั วิธกี ารใช้เงินอย่างคุม้ ค่า เพื่อให้ภาค
การเกษตรที่เข้ามากู้ยมื เงินจากธนาคารสามารถบริหารจัดการรายได้และรายจ่ายในการลงทุน การ
อุปโภคบริโภค และรูจ้ กั สร้างหรือเพิม่ มูลค่าของผลิตภัณฑ์ของตนเองเพื่อให้เกิดความยังยื ่ นในการทา
อาชีพเกษตรกรรม และลดภาระค่าใช้จ่า ยให้เกษตรกรเป็ นหนี้น้อยลง หรือไม่เป็ นหนี้ ตามวัตถุประสงค์
ของธนาคารคือ ให้เกษตรกรรูจ้ กั การใช้จ่ายและเกิดความยังยื ่ นในการประกอบอาชีพของเกษตรกร โดย
ไม่ทาให้เกษตรทีเ่ ข้ามาใช้บริการกับธนาคารต้องเป็นหนี้ตลอดชีวติ

656
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กรณี การศึกษาดูงานโรงเรียนมีชยั พัฒนา


และสรุปประเด็นจากการสัมภาษณ์
ผูอ้ านวยการ รองผูอ้ านวยการ และอาจารย์ของโรงเรียนมีชยั พัฒนา
ณ อาเภอลาปลายมาศ จังหวัดบุรีรมั ย์
วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2556

โรงเรียนมีชยั พัฒนายึดเอาแผนการศึกษาของชาติเป็ นหลักปฏิบตั ิ ซึง่ มีใจความสาคัญอยู่ทก่ี าร


มีทกั ษะของการใช้ชวี ติ ดังนั น้ นอกการการสอนในเชิงวิชาการแล้ว ทางโรงเรียนจึงพยายามบ่มเพาะ
ทัก ษะในการใช้ชีว ิต รวมไปถึง กิจ กรรมที่ส่ ง เสริม ทัก ษะในการประกอบการหรือ การสร้า งธุ ร กิจ
(Entrepreneurship) เพื่อให้นักเรียนมีความรูค้ วามเข้าใจในเรื่องของการประกอบการเพื่อสร้างรายได้
ให้กบั ตัวเองตัง้ แต่อยูใ่ นวัยเรียน อีกทัง้ เพื่อให้นกั เรียนสามารถใช้ความรูข้ องการประกอบการนี้ช่วยเหลือ
รายได้ของครอบครัวได้ โดยทีไ่ ม่ต้องหวังพึง่ การสาเร็จการศึกษาในมหาวิทยาลัยเพื่อออกมาเป็ นลูกจ้าง
เพียงอย่างเดียว ซึง่ เป็นเพียง 30% ของนักเรียนในประเทศเท่านัน้ ที่ นอกจากนี้โรงเรียนยังมีการส่งเสริม
ให้นัก เรียนมีค วามคิด นอกกรอบ รู้จกั คิดริเ ริม่ สร้างสรรค์ใ นสิ่งที่ส ามารถจับต้อ งได้หรือ มีค วามเป็ น
รูปธรรม โดยปจั จุบนั มีหลากหลายสถานศึกษาที่นาเอาวิธปี ฏิบตั ขิ องโรงเรียนมีชยั พัฒนามาประยุกต์ใช้
โดยมีการปรับให้เข้ากับบริบทของพืน้ ทีแ่ ละสถาบัน ยกตัวอย่างเช่น โรงเรียนกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
และ โรงเรียนโบว์มอนท์รว่ มพัฒนา จังหวัดชัยภูม ิ เป็นต้น

มูล นิ ธ ิม ีช ัย วีร ะไวทยะ เป็ น ผู้ส นับ สนุ นทางการเงินของโรงเรียนโดยตรง ซึ่ง ทางมูล นิ ธ ิม ี
เป้าหมายของการสร้างโรงเรียนให้เป็ นศุนย์กลางของชุมชนอย่างครบวงจร นอกจากการเรียนการสอน
ทางด้านวิชาการแล้วจึงมีการสร้างโครงการมากมายประกอบ ยกตัวอย่างเช่นโครงการ School-bird ซึง่
เป็ นโครงการที่ขยายออกไปในระดับภาคพื้นอีส าน และตะวันออก (ระยอง ชลบุ ร)ี คือ การสร้างให้
โรงเรียนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เป็ นศูนย์การเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง
(เช่นอบรมเรื่องการปลูกเห็ด หรือปลูกมะนาวนอกฤดู) มีการจาลองรูปแบบการเกษตรกรรมให้นักเรี ยน
ได้ทากิจกรรม ส่ งเสริมให้นัก เรียนรู้จกั การใช้ทรัพยากรที่มใี นพื้น ที่อ ย่างมีประสิทธิภาพนักเรียนใน
โรงเรียนจะไม่มกี ารเสียค่าใช้จ่ายเป็ นเงิน แต่จะต้องจ่ายเป็ น “ความดี” กล่าวคือ การทากิจกรรมเพื่อ
สังคม โดยการร่วมกันปลูกต้นไม้ทงั ้ หมด 400 ร้อยต้นภายในระยะเวลา 1 ปี เพื่อเป็ นการสร้างจิตสานึก
ต่อส่วนรวม ต่อชุมชน ให้แก่นักเรียน มีการส่งเสริมให้นักเรียนคิดสร้างธุรกิจของตนเองในทุกระดับชัน้
เรียน อีก ทัง้ ยังให้ผู้ปกครองเข้ามาร่ว มอบรมในเรื่อ งของการประกอบการ และจัดอบรมในเรื่อ งของ
Social Enterprise ให้แก่นกั ศึกษามหาวิทยาลัยทุกๆสัปดาห์อกี ด้วย

657
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

บุคลากรของโรงเรียนประกอบไปด้วย 3 กลุ่มหลักคือ คณาจารย์ทางด้านวิชาการการศึกษา


ทางด้านธุรกิจการบริหาร และทางด้านการพัฒนาที่จะเป็ นตัวสนับสนุ นโครงการต่างๆของการพัฒนา
ชุมชนในแต่ละหมู่บา้ น โดยกลุ่มของคณาจารย์เหล่านี้จะเป็ นผูบ้ ่มเพาะนักเรียนให้เข้าใจในเรื่องของการ
ประกอบการธุรกิจ รวมทัง้ ส่งเสริมให้เป็นคนทีม่ จี ติ สาธารณะ (Public Mind)

การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนจะเป็ นในลักษณะการคละความสามารถ โดยนักเรียน


บางส่วนจะเป็ นนักเรียนประจาซึ่งทาให้เอื้อต่อการพัฒนาและดูแลเด็กทีม่ กี ารพัฒนาช้า มีการจัดครูดูแล
หลังเลิกเรียน ประกบรายตัว และจัดหาแบบฝึ กหัดหรือการบ้านพิเศษให้ทา โรงเรียนมีชยั จะเน้ นการ
เรียนการสอนในลักษณะ Project-based Learning (PBL) กล่าวคือ มีการเรียนรูเ้ พื่อหาคาตอบ ตลอดจน
่ กฝนนักเรียนในการนาเสนอข้อมูลหรือคาตอบทีไ่ ด้มาให้กบั เพื่อนร่วมชัน้ ได้ฟงั และแลกเปลีย่ น
กระทังฝึ
ความคิดเห็น โดยที่ครูแ ต่ล ะคนมีอิสระที่จะสรรค์ส ร้างการสอนในรูปแบบของตนเองได้ตามต้องการ
โรงเรียนจะไม่มกี ารกาหนดกรอบบังคับใดๆทัง้ สิน้

สาหรับการประเมินผลสัมฤทธิ ์ในการเล่าเรียนของนักเรียนโรงเรียนมีชยั พัฒนานัน้ จะมีการ


สอบวัดความรูเ้ ชิงวิชาการทัง้ แบบปรนัยและอัตนัยเป็นการวัดผลหลัก แต่ในขณะเดียวกัน เพื่อให้เกิดการ
ประเมินอย่างรอบด้าน จะมีการประเมินผลงานหรือโครงงาน รวมทัง้ ประเมินบุคลิกภาพอีกด้วยเช่นกัน
ไม่มกี ารเปรียบเทียบเกรดหรือเรียงลาดับให้เห็น แต่จะพยายามสนับสนุ นให้นักเรียนในชัน้ ช่วยเหลือซึ่ง
กัน และกัน หากนัก เรีย นคนใดไม่ไ ด้ว ิช าการ โรงเรีย นก็เ ปิ ด โอกาส ให้ส ามารถเอาดีท างด้า นอื่น
นอกเหนือจากในห้องเรียนได้ โรงเรียนมีการฝึ กฝนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ชี ดั เจน เน้นความเป็ น
ผูน้ า การเป็ นคนดีของสังคม ความกล้าพูดกล้าทา ทัง้ นี้แล้วจะมีการชีแ้ จงในเรื่องของแนวทางการเรียน
การสอนตัง้ แต่เมื่อเด็กสมัครเข้าเรียนในโรงเรียน มีการอธิบายให้ทงั ้ เด็กและผู้ปกครองฟงั ถึงหลักสูตร
แนวคิดของโรงเรียนให้เข้าใจอย่างแท้จริง เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันของหลักปฏิบตั ขิ องโรงเรียน
และหากกล่าวถึงการมอบทุนการศึกษา โรงเรียนจะมีเปิดรับสมัครโดยทัวไป ่ ในส่วนของการคัดเลือกนัน้
จะมีการสัมภาษณ์และเก็บ ข้อมูลตามหมู่บ้าน เพื่อพูดคุยและสังเกตทักษะการใช้ชวี ติ รวมทัง้ การทางาน
ของนักเรียนว่ามีศกั ยภาพมากน้อยเพียงใด

ในส่วนของการคัดเลือกครู โรงเรียนให้สทิ ธินักเรียนในการคัดเลือกครูด้วยตนเอง จะมีการ


คัดเลือกอย่างพิถพี ถิ นั ด้วยว่าเมื่อเข้ามาแล้ว ครูเป็ นผูท้ ม่ี บี ทบาทอย่างมากในการเรียนการสอน จะต้อง
ทางานอยู่ตลอดเวลา มีการคิดสร้างสรรค์แต่ละโครงการเพื่อการเรียนรูท้ ด่ี ขี องนักเรียน และจะต้องเห็น
ด้วยและยอมรับแนวคิดทางปฏิบตั ขิ องโรงเรียน อย่างไรก็ตาม ทางโรงเรียนประสบปญั หาการทีค่ รูยา้ ย
ไปยังภาครัฐ ครูในโรงเรียนมีการ Turnover สูงเนื่องจากบางกลุ่มทีร่ บั เข้ามาเป็ นครูจบใหม่ทม่ี าแสวงหา
ประสบการณ์ เมื่อหากสอบได้ทอ่ี ่นื เมื่อใดก็จะทาการย้ายออกเพื่อไปเป็ นครูของโรงเรียนรัฐบาลเมื่อนัน้

658
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

โรงเรีย นมีช ัย พัฒ นาได้ส ร้า งเครือ ข่ า ยการพัฒ นาครูร่ ว มกับ สถาบัน การศึก ษาอื่น ๆ มีก ารร่ ว มมือ
(Collaboration) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเมลเบิรน์ (University of Melbourne) แห่งประเทศออสเตรเลียเพื่อ
โปรแกรมการพัฒนาครูฝึกสอน ทัง้ ยังมีการสร้างโครงการแลกเปลี่ยน ส่งครูภายในโรงเรียนไปฝึกฝนดู
งานยังประเทศสหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ และออสเตรเลีย แต่บางครัง้ เหมือนเป็ นการเสียเปล่าเพราะครูท่ี
ส่งไปฝึกฝนเหล่านัน้ กลับมาทางานให้กบั โรงเรียนได้ไม่นานก็ออกไปทางานทีอ่ ่นื เสีย กลายเป็ นเสียทัง้
โอกาสและเงินในการบ่มเพาะความรูแ้ ละทักษะให้ครูอย่างคุม้ ค่า

เนื่องจากการสร้างแนวทางให้เด็กนักเรียนค้นพบศักยภาพของตนเองนัน้ มีความสาคัญอย่างยิง่
โดยเฉพาะในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ซึง่ ในขณะนี้โรงเรียนมีชยั พัฒนาซึง่ เปิดมาได้เพียง 5 ปีนนั ้ ยัง
มีนักเรียนถึงแค่ชนั ้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ณ ปจั จุบนั ) ที่จะต้องมีการค้นพบศักยภาพของตนเองเพื่อการต่อ
ยอดทางการศึกษาในระดับทีส่ ูงขึน้ ไป ทางโรงเรียนจึงเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ฝึกงาน จะเป็ นแนวทางที่
ดีกว่าการมีครูแนะแนวเพียงอย่างเดียว ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนทีม่ คี วามสนใจในด้านร้องเต้นเล่นดนตรี
สามารถเข้าไปสัมผัสการทางานของ True Academy Fantasia ส่วนทีส่ นใจด้านการโรงแรมก็สามารถ
เข้าไปฝึ ก งานในเครือ Bayan Tree และส่ ว นที่ส นใจด้านการแพทย์ก็ส ามารถเข้าไปฝึ ก งานใน
โรงพยาบาลสมิตติเวช ทัง้ นี้ เพื่อให้นักเรียนรูว้ ่าตนเองชอบหรือไม่ชอบ โดยตัดสินใจจากประสบการณ์
ตรง นอกจากนี้ ย งั มีก ารดึง บุ ค ลากรที่ม ีป ระสบการณ์ สู ง มาบรรยายและถ่ า ยทอดความรู้ มีทีม งาน
ประสานงานโดยเฉพาะ หากเด็กมีโอกาสได้ฝึกงานเร็วมากเท่าใด ก็จะส่งผลให้สามารถค้น พบตนเองได้
เร็วยิง่ ขึน้ เท่านัน้

ปจั จุบนั นักเรียนในระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนมีชยั พัฒนาจัดการเรียนการ


สอนอยู่ทพ่ี ทั ยา จังหวัดชลบุร ี แยกออกต่างหากจะระดับมัธยมศึกษาตอนต้นซึ่งอยู่อาเภอลาปลายมาศ
จังหวัดบุรรี มั ย์ ในสาขาพัทยานี้จะมีการเรียนการสอนกับครู ชาวต่างชาติ อีกทัง้ ยังมีโครงการนักเรียน
แลกเปลีย่ นร่วมกับโรงเรียนนานาชาติ เดอะ รีเจนท์ จังหวัดชลบุร ี (The Regent's School) เพื่อพัฒนา
ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เสริมสร้าง “ฝนั ” ทีจ่ บั ต้องได้ให้แก่นกั เรียน ส่วนทางด้านอื่นๆ เช่น การดนตรี
ก็มกี ารส่งเสริมด้วยเช่นกัน เพื่อให้เกิดเป็นความสามารถและความภาคภูมใิ จของนักเรียน โดยทางมีการ
จัดหาอุปกรณ์ เครือ่ งดนตรีให้อย่างทัวถึ ่ ง ยกตัวอย่างเช่น การตัง้ วงดนตรีอูคูเลเล่ ทีใ่ นทีส่ ุดได้รบั เชิญไป
เข้าร่วมแสดงในทีต่ ่างๆ ทัง้ ในและต่างประเทศ ส่วนด้านการกีฬานัน้ ในบริเวณรัว้ โรงเรียนมีช ั ยพัฒนาที่
จังหวัดบุรรี มั ย์มกี ารสร้างสระว่ายน้ า เพื่ออานวยประโยชน์ให้แก่นักเรียนและผูท้ ส่ี นใจ แต่มกี ารจ่ายเป็ น
“ชัวโมงความดี
่ ” แทนการจ่ายเงินเป็ นค่าเข้าใช้บริการ กล่าวคือ สามารถพูดได้ว่าทุกคนทีเ่ ข้ามาใช้สระ
ว่ายน้านัน้ เป็นคนทีท่ าดี

659
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

แม้ว่ า จะเป็ นโรงเรีย นทางเลือ ก แต่ ก ารเรีย นการสอนยัง คงยึด ตามแนวทางหลัก สูต รของ
กระทรวงศึกษาธิการเป็ นฐาน เพื่อให้นักเรียนมีความรูเ้ พียงพอต่อการต่อยอดในสายการศึกษาได้ต่อไป
สามารถเข้าสู่การเรียนในมหาวิทยาลัยได้โดยไม่บกพร่อง หลักสูตรการเรียนการสอนของโรงเรียนมีการ
มุง่ เน้นในเรือ่ งของ
- การเกษตร พลังงานทดแทน
- การคิดนอกกรอบเพื่อสร้างนวัตกรรม
- กระบวนการเรียนรูจ้ ากการตัง้ คาถาม
- การสร้างผูน้ า
- การแก้ปญั หาเพื่อชุมชน
- การช่วยเหลือผูด้ อ้ ยโอกาส
- ความสามารถทางดนตรี
- การสร้างคนดี
กล่ าวคือ มีกิจกรรมที่ส่ งเสริม การประกอบการทางธุรกิจ การสร้างนวัต กรรม การบริหาร
จัดการ การตัง้ คาถาม ความเป็ นผู้นา และยังมีการเน้นโครงการหรือกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมให้นักเรียน
เป็ นคนดี ด้วยการช่วยเหลือวัดในท้องถิน่ ช่วยเหลือชาวบ้านชาวนา สร้างเสริมจิตสานึกที่ไร้คอรัปชัน่
ด้วยการช่วยเหลือการบริหารหรือจัดการในท้องถิน่ ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสด้วยการให้เด็กนักเรียนได้
สัมผัสจริงทาจริง เช่นการลองสัมผัสความยากลาบากของคนพิการด้วยการทดลองนัง่ และทากิจกรรม
ประจาวันบนรถเข็น นอกจากนี้แล้ว ยังมีการเชิญปราชญ์ชาวบ้านให้เข้ามาอบรมความรูภ้ ายในโรงเรียน
เป็นการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์ตรงจากผูเ้ ชีย่ วชาญ เปิดโอกาสให้ผเู้ ชี่ยวชาญเข้ามาให้ความรูไ้ ด้โดยไม่
ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู

660
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กรณี การศึกษาดูงานโรงเรียนรุ่งอรุณ
และสรุปประเด็นจากการสัมภาษณ์ นางสุนิสา ชื่นเจริ ญสุข
ผูอ้ านวยการโรงเรียนรุ่งอรุณ
18 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ภาพรวมของโรงเรียน
โรงเรียนรุง่ อรุณได้รบั การรับรองจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชนในปี พ.ศ.2540 มี
แบ่งการศึกษาออกเป็ น 3 ระดับชัน้ ด้วยกันคือ โรงเรียนเล็กสาหรับเด็กอนุ บาล โรงเรียนประถม และ
โรงเรียนมัธยม ปจั จุบนั มีจานวนครู 140 คนต่อนักเรียน 1,000 คน คิดเป็ นสัดส่วนครูต่อนักเรียน 1:8 มี
การจัดการศึกษานักเรียน 25 คนต่อห้อง มุ่งเน้นส่งเสริมความสัมพันธ์อนั ใกล้ชดิ ของครูและนักเรียน บ่ม
เพาะความรัท้ งั ้ ด้านการวิชาการและการใช้ชวี ติ อีกทัง้ ยังส่งเสริมการทากิจกรรมร่วมกันระหว่างพ่อแม่
ผู้ปกครองและโรงเรียนซึ่งในแต่ ละโรงเรียนนัน้ (เล็ก ประถม มัธยม) จะมีครูใหญ่ดูแลและรับผิดชอบ
โรงเรียนละ 1 คน มีหน้าทีส่ ร้างความเข้าใจในความเป็ นครูให้แก่เหล่าบุคลากร ชีแ้ นะหนทางการทางาน
ร่วมกันเป็นกลุ่ม รวมไปถึงในเรือ่ งของการบรูณาการองค์ความรูข้ องแต่ละระดับชัน้ ก็ดว้ ยเช่นกัน
โรงเรียนรุง่ อรุณมีเป้าหมายหลักคือการมุง่ เน้นให้การศึกษาอย่างเป็ นองค์รวม ส่งเสริมการเรียนรู้
ของนักเรียนผ่านสภาพแวดล้อมมีทค่ี วามเป็ นธรรมชาติเพื่อให้เกิดการกระตุ้นบูรณาการการเรียนรูด้ ว้ ย
ตนเอง เกิดเป็ นชุมชนแห่งการเรียนรูซ้ ง่ึ ประกอบไปด้วยครู นักเรียนและผู้ปกครองที่มคี วามสัม พันธ์อนั
แน่ นแฟ้น อีกทัง้ ยังได้นาแนวความคิดทางพระพุทธศาสนาเข้ามาผนวกเข้ากับแนวางการสอน สร้างให้
เป็ นหลักของการเรียนรู้ท่สี าคัญ โดยทางโรงเรียนมีท่านเจ้าคุณพระธรรม-ปิ ฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็ นที่
ปรึกษาสูงสุ ด ของฝ่ายคณะกรรมการการบริห ารของโรงเรียน และยังมี ศ.นพ.ประเวศ วะสี ประธาน
คณะกรรมการมูลนิธโิ รงเรียนรุ่งอรุณเป็ นบุคคลสาคัญในการผลักดันทิศทางของการให้การศึกษาของ
โรงเรียนโดยมูล นิธ ิโรงเรียนรุ่งอรุณ ดังกล่ าว ได้ก่ อตัง้ ขึ้นเพื่อ พัฒนา วิจยั วิเคราะห์ และประมวลผล
กระบวนการเรียนรูข้ องมนุ ษย์ ทัง้ นี้เพื่อการพัฒนาคุณค่าทีแ่ ท้จริงของความเป็ นมนุ ษย์ทจ่ี ะอยู่ร่วมกันใน
สังคม ทัง้ การเป็ นคนที่มคี วามรูม้ คี วามสามารถ และการเป็ นคนดี มีความสุข ตลอดจนกระทังการสร้ ่ าง
เครือข่ายทีแ่ น่ นแฟ้น มีปฏิสมั พันธ์อนั ดีงามและเกือ้ กูลซึง่ กันและกัน

ระบบการคัดเลือกเด็กเข้ารับการศึกษาในโรงเรียน
นอกเสียจากการคัดเลือกทีต่ วั นักเรียนแล้ว การคัดเลือกผูป้ กครองนัน้ ก็มคี วามสาคัญไม่แพ้กนั กล่าวคือ
ผู้ป กครองจะต้ อ งมีท ัศ นคติท่ีดีต่ อ ระบบการเรีย นการสอนของโรงเรีย น สามารถปรับ ตัว เข้า หา
สภาพแวดล้อมและการปฏิสมั พันธ์ในระบบสังคมของโรงเรียนได้ ผู้ปกครองเก่าจะมีส่วนร่วมในการคัด
ผูป้ กครองใหม่ทป่ี ระสงค์จะให้ลูกได้เข้ารับการศึกษาในโรงเรียนรุ่งอรุณนี้ดว้ ยเช่นกัน เพราะในทีส่ ุดแล้ว
เป้าหมายทีส่ าคัญของโรงเรียนคือการสร้างเสริมชุมชนคนคุน้ เคย ก่อเกิดเป็ นความสัมพันธ์ทเ่ี น้นแฟ้นไม่
ว่าจะเป็ นจาก นักเรียน ครู หรือ ผู้ปกครอง ซึ่งเป็ นไปตามหลักของพระพุทธศาสนาทีเ่ รียกว่า “กัลยาน
มิตร” นันเอง
่ ซึง่ เป้นแนวคิดทีท่ างโรงเรียนได้ยดึ ถือและปฏิบตั ติ ามโดยตลอดมา
661
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ความสัมพันธ์ระหว่างการเจริ ญตามวัยและสัมคมรอบข้างเป็ นสิ ง่ สาคัญ


การเรียนการสอนเป็ นไปตามความเหมาะสมของช่วงวัยของเด็ก ไม่ว่าจะเป็ นในเรื่องของจัด
ตารางเวลากิจวัตรประจาวัน ทัง้ การละเล่นและการเรียนการสอน ยกตัวอย่างเช่นการเรียนการสอนใน
ระดับอนุบาล เด็กจะมีอสิ ระในการเล่นตามอัธยาศัย อีกทัง้ ยังมีการคละชัน้ เพื่อการสร้างสัมพันธภาพอันดี
ให้เด็กเกิดการพัฒนาอย่างรอบด้านมากยิง่ ขึน้ ไป ในส่วนของครูนนั ้ จะต้องใช้ส่อื การสอนให้สอดคล้องกับ
ระดับการเรียนรูแ้ ละความสนใจของเด็ก ไม่มกี ารตะโกนหรือตะคอก แต่ใช้เพลงเป็ นสัญญาณบอกถึง
เวลาอันควรต่างๆ ซึง่ ในขณะเดียวกันก็จะเป็ นการฝึกฝนการรับรูแ้ ละเพิม่ พูนจินตนาการด้วยภาษาทีม่ า
จากเนื้อเพลงไปในตัวด้วยเช่นกัน
ในเด็กที่โตขึน้ มา ในระดับประถมหรือมัธยม จะมีการให้ทาโครงการที่เกี่ยวข้องกับสังคม หรือ
เอื้อประโยชน์ให้รจู้ กั การดาเนินชีวติ รอบด้าน คานึงถึงตนเองไปพร้อมๆกับการคานึงถึงผูอ้ ่นื เช่น การ
สอนให้รจู้ กั รีไซเคิล นาขยะมาใช้ให้เป็นประโยชน์ ไม่ให้เกิดมลพิษอีกทัง้ ยังเกิดประโยชน์ได้โดยง่าย เป็ น
ต้น ยังสอนให้นักเรียนรูจ้ กั การใช้ชวี ติ ตามสภาพแวดล้อม รูจ้ กั ดูแลตนเองและซึง่ กันและกัน ยกตัวอย่าง
เช่นการทาอาหารกลางวันทานเอง ซึ่งเป็ นการฝึ กความอดทน สร้างวิถกี ารเรียนรูก้ ารดาเนินชีวติ ด้ วย
ตนเองพร้อมๆกับการช่วยเหลือเพื่อนๆไปในขณะเดียวกัน นักเรียนบางส่วนทีไ่ ม่ได้รบั รูห้ รือถูกสอนสิง่
เหล่านี้จากทีบ่ า้ นก็สามารถมาเรียนรูจ้ ากทีโ่ รงเรียนได้

การเรียนการสอนภายในรัว้ โรงเรียน
โรงเรียนรุ่งอรุณเน้นความเป็ นบรูณาการของความรู้ เป็ นอย่างมาก มีการจัดตัง้ หน่ วยบูรณาการ
เพื่อการจัดการ Project-based Learning ขึน้ มา ส่งเสริมให้แต่ละห้องเรียนมีการทาโครงงาน 2-3 ชิ้น
ตามความสนใจของนักเรียนเอง โรงเรียนรุ่งอรุณนี้เริม่ ต้นการเรียนการสอนโดยยึดเอาวิถพี ุทธเป็ นหลัก
สาคัญส่งเสริมให้เกิดการเข้าใจตนเอง ผูอ้ นื ่ และสิง่ รอบข้างเพือ่ สร้างสัมพันธ์ทดี ่ ี พัฒนาจิตใจ และให้เกิด
อิสระทางความคิด พึง่ พาตนเองและขับเคลื่อนสิง่ ต่างๆรอบข้างได้ดว้ ยตนเอง มีการนาเอาหลักการเรียน
การสอนของประเทศอิตาลีท่ใี ห้ความสาคัญกับ 3 สิง่ คือ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศิลปะ เป็ นหลัก
โดยเฉพาะศิลปะซึ่งเป็ นศาสตร์ท่กี ่ อให้เกิดการกระตุ้นหรือแรงบันดาลใจ (Inspiration) เป็ นตัวกลางใน
การเชื่อมต่อการสื่อสารระหว่างบุคคลหนึ่งไปสู่อกี บุคคลหนึ่งด้วยเช่นกัน
การสร้างแรงบันดาลใจนัน้ ก็เป็ นสิง่ ที่สาคัญ การรับรูส้ ภาพแวดล้อมรอบตัวทีด่ จี ะก่อให้เกิดการ
พัฒนาด้วยตนเองได้ในทีส่ ุด มีการปฏิบตั ธิ รรมเพื่อให้เกิดสติสมั ปชัญญะ ครูและนักเรียนมีความสัมพันธ์
กันในลักษระของพุทธสัมพันธ์ ทัง้ นี้ นอกจากการส่งเสริมการเรียนรูด้ ้วยตนเองแล้ว ยังมีระบบการดูแล
กันและกันภายในโรงเรียนไม่ว่าจะเป็ นทัง้ ในหมู่นักเรียนหรือครูดว้ ยกันเอง เช่น การวางแผน หรือแม้แต่
การร่วมสรุปบทเรียนด้วยกัน มีการพูดคุย ร่วมแก้ปญั หาด้วยกันในหมูค่ รูผสู้ อน เป็นต้น
ระบบการฝึกฝนและส่งเสริมครูของโรงเรียนนัน้ มีความชัดเจน มีการอานวยและให้โอกาสครูท่มี ี
ความรูเ้ ฉพาะด้านในแต่ละชัน้ เรียนได้ฝึก ฝนเพิม่ ในสถาบันอาศรมศิลป์ซง่ึ เป็ นสถาบันทีม่ กี ารร่วมมือกัน
ในลักษณะของโรงเรียนและมหาวิทยาลัย สร้างความสัมพันธ์คล้ายกับมหาวิทยาลัยกับโรงเรียนสาธิต
ยกตัวอย่างเช่นในเรือ่ งของSocial Entrepreneurship เป็นต้นจุดประสงค์กเ็ พื่อการบ่มเพาะความรูใ้ ห้มาก
662
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ยิง่ ขึน้ รวมถึงศึกษาเพื่อการเตรียมความพร้อมเป็ นทีป่ รึกษาโครงงานให้แก่นักเรียนที่อยู่ในความดูแลก็


เช่นกัน
ภายในโรงเรียนมีการกระตุ้นให้บุคลากรคณาจารย์ร่วมเกิดการคิดการตระหนักตามเทรนด์ของ
โลก เช่นการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21หรือ การมุง่ เน้นสร้างพืน้ ฐานทีด่ ใี นเรื่อ งของภาษามากขึน้
สืบ เนื่ อ งจากสภาพแนวโน้ ม ทางเศรษฐกิจ ที่ป ระเทศไทยก าลัง มุ่ ง หน้ า ไป มีก ารวางแผนมีค วาม
กระตือรือร้นเพื่อติดตามปจั จุบนั ขณะของโลกที่เปลี่ยนไป รับครูต่างชาติเข้ามามากขึ้นเพื่อให้เกิดการ
เรียนรูภ้ าษาทีด่ ใี นของเด็กในวัยเรียน

ความร่วมมือในระดับท้องทีช่ ุมชนและหน่ วยงานต่ างๆ


มีการร่วมมือกับองค์กรที่ทางานจริงในระดับท้องที่เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของโรงเรียนกับ
ชุมชน นาองค์ค วามรู้ข องโรงเรียนมาตอบโจทย์ข องพลเมือ ง หรือ จัด การร่ว มรณรงค์ใ นโครงการที่
เกีย่ วกับสาธารณะประโยชน์ ทัง้ นี้ตวั นักเรียนเองจะมีโอกาสในการลงพืน้ ที่เพื่อการปฎิบตั จิ ริง มีส่วนร่วม
ช่วยเหลือในการพลิกฟื้ นชุมชน และสร้างโรงเรียนให้เป็ นศูนย์การเรียนรู้ นอกจากนี้ โรงเรียนรุ่งอรุณ
ยังให้ความร่วมมือในการให้การอบรมบุคลากรจากท้องถิน่ อื่นๆ อีกทัง้ ยังมีการสร้างเครือข่ายระหว่าง
โรงเรียนที่มแี นวคิดร่วมกัน เช่น โรงเรียนสัมมาสิกขา โรงเรียนทอสี โรงเรียนปญั ญาประทีป โรงเรียน
จังหวัดทางภาคใต้ โรงเรียนเทศบาลจังหวัดต่างๆ และโรงเรียนขนาดเล็กอื่นๆอีกมากมาย ได้ร่วมจัด
โครงการบ่มเพาะความรูห้ รือ Workshop เพื่อฝึกฝนให้ความรูบ้ ุคลากรเหล่านัน้ ด้วยเช่นกัน
- โรงเรียนยังมีการรับจดทะเบียนบ้า นเรียน เอื้อเฟื้ อให้เป็ นที่จดทะเบียนและทางานร่วมกัน ซึ่ง
เป็นสิง่ ทีห่ น่วยงานรัฐละเลยและไม่ได้ให้ความสนใจ
- ทาตัวบ่งชีร้ ว่ มกันภายในกลุ่มโรงเรียนทางเลือก บ้านเรียน โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนทีบ่ ่ม
เพาะทักษะอาชีพโดยเฉพาะ ซึ่งในส่วนนี้ ได้มกี ารพยายามทางานและคิดค้ นร่วมกันกับ สมศ.
เพื่อสร้างให้เกิดความยอมรับจากหน่ วยงานภาครัฐ กระตุ้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนการชี้วดั ทาง
การศึกษาในองค์รวมอย่างค่อยเป็ นค่อยไป พยายามปรับเอาแนวคิดของกลุ่มโรงเรียนทางเลือก
และของ สมศ. ที่เป็ นอยู่เข้าหากันพยายามเพิม่ ความละเอียดในตัวชี้วดั ให้ดกี ว่ าที่เป็ น (ความ
ชัดเจนในการวัดความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ หรือการวิพากษ์ เป็นต้น)
- มีก ารผลัก ดันภาคเอกชนให้เ ข้ามามีส่ วนร่ว มในการศึกษามากขึ้น โดยเฉพาะหน่ ว ยงานที่ม ี
ต้นทุนทางด้านการศึกษาสูงอยูแ่ ล้ว เช่น ธนาคารไทยพาณิชย์ มูลนิธสิ ยามกัมมาจล บริษทั ปูนซี
เมนส์ไทย และยังได้ทางานร่วมกันกับ ดร.พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยาด้วยเช่นกัน
- ชัก จูงผู้ปกครองให้เข้ามามีส่ ว นร่ว มในกิจกรรมโรงเรียน ส่ งเสริมสังคมแห่งการร่ว มมือ เพื่อ
ปรับเปลี่ยนทัศนคติของผูป้ กครองให้หนั มาเพิม่ ความสนใจแก่ลูกหลานมากยิง่ ขึน้ มากกว่าการ
ทิง้ ภาระการเลีย้ งดูเด็กให้แก่โรงเรียนเพียงอย่างเดียว เพราะอย่างไรก็ตาม สถาบันครอบครัวนัน้
เป็นสิง่ ทีส่ าคัญ

663
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สิ ง่ ทีโ่ รงเรียนพยายามขับเคลือ่ นเพือ่ ให้ นามาสู่การศึกษาทีด่ ี / ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ


- ทัศนคติต่อครูในระดับอนุบาล
สังคมไทยในปจั จุบนั มักจะเข้าใจว่าครูสาหรับเด็กเล็กไม่มคี วามจาเป็ นทีจ่ ะต้องเก่งในเรื่องของวิชาการ
หรือมีความสามารถพิเศษในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็ นพิเศษ ซึ่งตามความเป็ นจริง นัน้ แตกต่างจากความ
เข้าใจนี้อย่างสิ้นเชิง กล่าวคือ เด็กในระดับอนุ บาลเป็ นเด็กที่ต้องการการบ่ มเพาะอย่างถูกวิธมี ากที่สุด
เพราะสิง่ ทีเ่ ด็กในช่วงวัยนี้ได้รบั รูจ้ ะก่อเกิดเป็ นพืน้ ฐานทางสติปญั ญาและความคิดต่อไปในภายภาคหน้า
ในจุดนี้ โรงเรียนรุ่งอรุณได้รบั เอาบัณฑิตที่จบปริญญาโทเข้ามาสอนในโรงเรียนเด็กเล็กบางส่วนตาม
แนวความคิด ของประเทศฟิ น แลนด์ ให้บุ ค ลากรเหล่ า นั น้ ได้น าความรู้ท่ีต นเองมีค วามช านาญมา
ประยุกต์ใช้และถ่ายทอดให้แก่เด็กตัง้ แต่ยงั เยาว์วยั
- การพัฒนาของเด็ก
หลักสูตรแกนกลางทีใ่ ช้อยู่ในปจั จุบนั นัน้ มีขอ้ ดีตรงการกาหนดแกนความรูใ้ นแต่ละระดับชัน้ ว่าต้องได้รบั
องค์ค วามรู้ใ นเรื่อ งใด แต่ ก ารเรียนรู้ของแต่ ล ะคนมีค วามก้าวหน้ าที่ไม่เ ท่ากัน ดังนัน้ การกาหนดใช้
มาตรฐานกลางเพียงอย่างเดียวอาจจะไม่ถูกต้องหรือเป็ นธรรมเสมอไป โรงเรียนรุ่งอรุณซึ่งต้องการเน้น
ความสามารถทัง้ ด้านการวิชาการและการใช้ชวี ติ จึงดึงแนวทางการสอนในลักษณะ Brain-based หรือ
Project-based เข้ามาสู่หลักสูตร เพื่อให้นักเรียนมีการพัฒนาได้อย่างรอบด้าน ใช่ว่าพัฒนาแต่เพียง
ความรูใ้ นหนังสือหรือด้านวิชาการ
- ระบบพัฒนาครู
สถานศึก ษาไม่ค วรเป็ นเพีย งแค่ ส ถานที่บ่ ม เพาะความรู้แ ละทักษะให้แ ก่ นัก เรียน แต่ ค วรให้โ อกาส
เหล่านัน้ แต่ครูด้วยเช่นกัน เนื่องจากครูในปจั จุบนั มีช่วงเวลาฝึ กงานในขณะเรียนแค่เพียง 1 ปี เท่านัน้
กล่าวคือ ในขณะทีค่ รูเข้าทางานภายในโรงเรียน ทางโรงเรียนจะต้องมีระบบทีเ่ กื้อหนุ นต่อการพัฒนาครู
ให้มที กั ษะและความสามารถมากขึน้ ผ่าน Peer Coaching คือการตรวจตราระหว่างครูดว้ ยกันเอง รวม
ไปจนถึงบทบาทหน้าทีข่ องผูบ้ ริหารเอง ทีค่ วรจะมีสถานะความรับผิดชอบต่อครูในลักษณะเดียวกันกับที่
ครูมสี ถานะความรับผิดชอบต่อนักเรียน
- ระบบกฏหมายว่าด้วยการศึกษา
การศึกษาทีถ่ ูกกาหนดด้วยกฏหมายรัฐธรรมนูญมีความชัดเจนและครอบคลุมอย่างครบถ้วน แต่ขาดการ
ผลักดันเพื่อให้เ กิดกฎหมายลูก ออกมารองรับและบังคับใช้ กฎหมายที่ว่าด้ ว ยการศึกษาควรมีความ
ชัดเจนมากกว่าทีเ่ ป็ นอยู่ มีตวั ชีว้ ดั ทีด่ แี ละสามารถบ่งชีถ้ งึ ศักยภาพในการศึกษาได้รอบด้าน และในขณะ
ทีม่ ตี วั ชีว้ ดั ทีก่ าหนดโดยส่วนกลาง ควรมีการเปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถเลือกตัวชีว้ ดั ของตนเองเพื่อ
ปรับเข้าสู่บริบทที่ต้องการแตกต่างกันไป การบังคั บใช้กฏหมายนัน้ ก็ค วรที่จะอยู่บนพื้นฐานของการ
ส่งเสริมและไว้ใจกัน ติเพื่อการปรับปรุงแทนการจ้องจับผิดอีกทัง้ ยังควรมีการกาหนดหรือปกั ธงเป้าหมาย
ทางการศึกษาให้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ไม่อย่างนัน้ แล้วค่านิยมทีส่ งั คมมีต่อการศึกษาจะไม่สามารถเปลีย่ นแปลง
ได้แต่อย่างใดหากประเทศไม่มเี ป้าหมายร่วมทีช่ ดั เจนและจะยังคงไม่สามารถถ่ายทอดจากวิสยั ทัศน์ทต่ี งั ้
เอาไว้ลงสู่การกระทาได้แท้จริง

664
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สรุปประเด็นการสัมภาษณ์
ศาสตราจารย์ ศรีราชา เจริ ญพานิ ช
ผูต้ รวจการแผ่นดิ น
วันจันทร์ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ความบกพร่องของระบบการศึกษาไทยทัวไปในปั
่ จจุบนั
ปั ญหาเชิ งโครงสร้าง การที่ประเทศไทยมีปญั หาในเรื่องของระบบการศึกษานัน้ ส่วนใหญ่ก่อ
เกิดมาจากปญั หาระดับโครงสร้างของหน่ วยงานที่รบั ผิดชอบ กล่าวคือ กระทรวงศึกษาธิการนัน้ มีความ
รับผิดชอบทีบ่ ดิ เบือนไปจากทีค่ วรจะเป็ น อีกทัง้ เป็ นความผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ จากแนวคิดของการรวมเอา
หลาย ๆ “ทบวง” เข้าด้วยกันเป็ น “กระทรวง” ซึง่ ไม่ใช่การเปลีย่ นแปลงทีเ่ อื้อให้เกิดประสิทธิภาพในการ
ทางาน เนื่องจากทาให้องค์กรมีขนาดทีใ่ หญ่โตมากเกินไปและยากแก่การทางานอย่างเป็นระบบ
ด้านบุคลากร บุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการนับว่ามีบุคลากรจานวนมาก ประเด็นด้าน
บุคลากรภายในจึงมีความสาคัญไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าประเด็นด้านอื่นๆ อย่างไรก็ดี ในบางกรณีทบ่ี ุคลากร
หรือผูเ้ ชีย่ วชาญทีจ่ บการศึกษาจากต่างประเทศ มุ่งนาเอาตัวอย่างประสบการณ์จากต่างประเทศทีส่ าเร็จ
แล้วหรือระบบทีค่ ดิ ค้นขึน้ โดยประเทศอื่น เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา มาใช้กบั ประเทศไทยโดยมิได้มกี าร
ดัดแปลงหรือประยุกต์ให้เข้ากับบริบทของไทยส่งผลให้เกิดข้อจากัดในการพัฒนาระบบการศึกษาและ
ขับเคลื่อนการเรียนรูข้ องไทยได้อย่างแท้จริง
ด้ า นการใช้ อุป กรณ์ สื อ่ การสอน ความบกพร่ อ งทางด้า นการใช้อุ ป กรณ์ ส่ือ การสอนก็ม ี
ความสาคัญ เช่นกัน ยกตัว อย่างเช่น โครงการแจกแท็บเล็ ต (Tablet) แก่ เ ด็กนักเรียนเพื่อ พัฒนา
การศึกษา แต่ในบางพืน้ ที่ หรือบางสถานศึกษายังมีขอ้ จากัดเนื่องจากความสามารถของบุคลากรหรือ
สถานศึกษาในการใช้อุปกรณ์น้ีให้เกิดประโยชน์สูงสุดนัน้ ยังมีน้อย จึงทาให้อุปกรณ์ทไ่ี ด้มานัน้ กลายเป็ น
เพียงสื่อการเล่นยามว่าง แทนการใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาอย่างทีค่ วรจะเป็ น หรือแม้แต่การหัน
มาใช้เครื่องคิดเลข ซึง่ ไม่ใช่การสนับสนุ นทักษะการคิดของเด็กในวัยพัฒนาทีถ่ ูกต้อง ซ้ายังทาให้ทกั ษะ
การคิดคานวนในใจลดถอยลงด้วยเช่นกัน ดังนัน้ การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารหรืออุปกรณ์ส่อื
การสอนจึงควรให้ความสาคัญกับการเสริมสร้างศักยภาพ (Capacity Building) และมุ่งเน้นทีเ่ นื้อหาสาระ
(Content) ควบคู่ไปด้วย
ระบบการผลิ ตและพัฒนาครู ในส่วนของระบบครูท่ผี ่านมาก็เป็ นปญั หาต่ อภาพการศึกษา
โดยรวม เนื่องจากระบบทีเ่ ป็นอยูไ่ ม่ได้เป็นการรับรองความเหมาะสมของครูผสู้ อนที่เพียงพอ โดยเฉพาะ
ในเรื่องของการออกใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพครู ที่ควรจะปรับเปลี่ยนให้เป็ นระบบที่เอื้อต่อการรักษา
มาตรฐานของบุคลากร หรือเอื้อให้เกิดการค้นคว้าหรือคิดค้นองค์ความรูอ้ ย่างแท้จริง ไม่ใช่เพียงการทา
เอกสารที่ไ ม่มคี วามเกี่ยวข้องกับความสามารถในการปฏิบตั ิห น้ าที่ท่แี ท้จริงของครู ในขณะเดียวกัน
ระบบการสอนเพื่อการเป็ นครูก็ควรต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ เสริมสร้างคุณภาพให้มากขึน้ อาจจะ
665
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

เปลี่ยนเป็ นการเรียน 6 ปี เ ช่นเดียวกันนักเรียนแพทย์ มีการฝึ กงานจริง และเมื่อ ประกอบอาชีพก็ใ ห้


ผลตอบแทนเทียบเท่าแพทย์เพื่อสร้างค่านิยมและคุณค่าให้แก่ความเป็นครู ทัง้ นี้ สถานศึกษาเพื่อวิชาชีพ
ครูไม่ควรเห็นแก่เรือ่ งของปริมาณผูเ้ รียนอย่างเดียว ยกตัวอย่างเช่น มหาวิทยาลัยกลุ่มราชภัฏ ทีม่ กี ารรับ
นักศึกษาวิชาชีพครูจานวนมาก แต่คุณภาพยังไม่ดเี ท่าที่ควรจะเป็ น ซึ่งในประเด็นนี้ส่งผลกระทบต่อ
สถานการณ์ภาพรวมครูของประเทศ ที่แ ม้จะมีอุปทานการผลิตครูในจานวนมาก แต่ก็ยงั มีความขาด
แคลนครูทม่ี คี ุณภาพและความเชีย่ วชาญเฉพาะด้าน
การแทรกแซงทางการเมือง ผลประโยชน์ ทบั ซ้ อน และปัญหาคอรัปชัน่ อาจกล่าวได้ว่า
อุปสรรคอีกประการที่สาคัญที่ขดั ขวางการพัฒนาทางการศึกษาไทยทีส่ าคัญ คืออิทธิพลทางการเมืองที่
เข้ า มาแทรกแซงการจัด ล าดับ ความส าคัญ ของการด าเนิ น นโยบาย นอกจากนี้ ในระยะหลัง
กระทรวงศึกษาธิการถูกจับตาจากสังคมภายนอกอย่างมากในกรณีทม่ี ปี ระเด็นผลประโยชน์ทบั ซ้อน การ
ทุจริตคอรัปชันในเชิ
่ งนโยบาย การมีช่องโหว่หรือโอกาสจากการรัวไหลของงบประมาณและทรั
่ พยากร
เพื่อพัฒนาการศึกษา การโยกย้ายหรือขอปรับตาแหน่งให้สงู ขึน้ ไปผูกโยงกับเรือ่ งเส้นสายและเงิน แทนที่
จะผูกโยงกับเรืองผลงาน เป็ นต้น ประเด็นต่างๆเหล่านี้ล้วนส่งผลให้เกิดเป็ นระบบที่นาไปสู่การพัฒนา
ในทิศทางที่ล้มเหลว เกิดการจูงใจไปในทิศทางที่ผดิ ผู้เข้ามาเกี่ยวข้องในระบบเกิดการเร่งพัฒนาที่ผดิ
วัต ถุ ประสงค์ มุ่งเน้ นเรื่อ งผลประโยชน์ ส่ว นตัว และพวกพ้อ งแทนการปฏิบตั ิหน้ าที่ต ามที่ค วรจะเป็ น
แสวงหาผลประโยชน์ จากการออกนโยบาย การใช้ทรัพยากรของประเทศจึงทุ่มเทไปในประเด็นการ
พัฒนาหรือนโยบายทีอ่ าจไม่ยงยื ั ่ นแต่เอือ้ ประโยชน์ให้คนบางกลุ่ม
ทัง้ นี้ เมื่อพิจารณาเชิงระบบแล้ว ปญั หาดังกล่าวจึงมีความสาคัญอย่างมากทีจ่ ะต้องดาเนินการ
ปรับเปลีย่ นและแก้ไข ลดช่องทางในการเกิดช่องโหว่ และดาเนินการลงโทษผูก้ ระทาผิด เพราะไม่ว่าจะ
เป็ นการคอรัปชันในหมู
่ ่ของนักการเมือง หรือข้าราชการ หรือส่วนอื่นๆทีเ่ กี่ยวข้อง ก็ ล้วนแต่เป็ นผลเสีย
ต่อระบบทัง้ สิน้ หากไม่ดาเนินการแก้ไขแล้ว การใช้งบประมาณและทรัพยากรเพื่อการพัฒนาการศึกษาก็
จะไม่เกิดประโยชน์อย่างแท้จริงแก่ผเู้ รียน

ปัญหาและข้อเสนอแนะในเรื่องของอาชีวศึกษาและการศึกษานอกระบบ
กรมอาชีวศึก ษา หรือ ในปจั จุบนั ที่เรียกว่ า ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภายใต้
กระทรวงศึกษาธิการ มีความรับผิดชอบในการดูแลพัฒนาอาชีวศึกษา อย่างไรก็ตาม หน่ วยงานนี้ไม่ม ี
ความพร้อมในเรื่องของการจัดสรรเครื่องมือเท่าที่ค วรเมื่อ เทียบกับ กรมพัฒนาฝี มอื แรงงาน ภายใต้
กระทรวงแรงงาน ที่มที งั ้ เครื่องมือและเครือข่ายในระดับท้องถิน่ ดังนัน้ จึงควรปรับเปลี่ยนหน่ วยงานที่
รับผิดชอบตามความพร้อมและความสามารถ หรือไม่กร็ ่วมมือกันในการพัฒนา อย่างไรก็ตาม วิธที จ่ี ะทา
ให้เกิดประสิทธิภาพในการสร้างแรงงานมากที่สุดคือการร่วมมือกับภาคส่วนเอกชนและอุตสาหกรรมที่
เป็นผูใ้ ช้แรงงานโดยตรง ทัง้ นี้ เพื่อให้เกิดการฝึกฝนทักษะทีถ่ ูกต้อง ทาให้แรงงานเหล่านัน้ จบออกมาแล้ว
ทางานได้จริง ปฏิบตั ไิ ด้โดยทีไ่ ม่ตอ้ งฝึกฝนเพื่อเติม

666
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ส่วนการศึกษานอกระบบนัน้ ควรให้การสนับสนุ นเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะกลุ่มมหาวิทยาลัยนอก


ระบบ ทัง้ นี้ ผู้บริห ารเป็ นปจั จัยส าคัญ ในทิศ ทางการพัฒนาสถานศึกษา หากผู้บริห ารไม่เ ล็งเห็นถึง
ความสาคัญของการพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษาก็จะไม่สามารถพัฒนาไปในทิศทางทีค่ วรจะเป็นได้
ข้อเสนอเพื่อการปรับเปลี่ยนการศึกษา 3 ประเด็น
1) การใช้สอื ่ การสอนแทนการใช้ครู: ควรพยายามทีจ่ ะลดการกวดวิชาในเด็กสมัยนี้ และดึงเอาวิธ ี
และอาจารย์ท่สี อนกวดวิชาเหล่านัน้ เข้ามาเป็ นประโยชน์ ในการจัดการเรียนการสอนในระบบ
รวมทัง้ สร้างจิตวิทยาในการชักจูงเด็กให้เกิดความใฝ่รใู้ ฝ่เรียนในการผลิตคู่มอื ครูและสื่อการสอน
ที่ดี อธิบายให้เกิดความเข้าใจ และฝึ กฝนทักษะครูผ่านระบบอย่างเข้มข้น ให้เกิ ดความรูค้ วาม
เข้าใจอย่างแท้จริง ประกอบด้วยการเสริมสร้างมาตรฐานทางการศึกษาทีเ่ ข้มแข็ง
2) จัดการสอบโดยส่วนกลาง: ทัง้ นี้ เพื่อเป็ นการสร้างมาตรฐานทีด่ ี ให้เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดย
ส่วนกลางจะเป็นผูส้ ร้างกรอบการทดสอบ (Outline)
3) การประเมินผลการทางานของครูโดยการเปรียบเทียบ: เพื่อเป็ นการวัดพัฒนาการให้เห็นถึง
ผลงานของครูอย่างชัดเจน และครูท่มี ผี ลงานโดดเด่นก็สมควรที่จะได้รบั ค่าตอบแทนที่มากกว่า
คนอื่นตาม เช่น การขึน้ เงินเดือน 2 ขัน้ เป็นต้น
ปัญหาหรือข้อเสนอแนะอื่น ๆ ที่ควรแก่การกล่าวถึง
- โครงสร้างภาษี: ควรเก็บให้เต็มเม็ดเต็ม หน่ วยมากขึ้น เพื่อนาไปเสริมในส่วนของเงินเดือน
ข้าราชการ
- การให้เงินทุนตามรายหัวนักเรียน: ไม่ใช่การให้แรงจูงใจที่ด ี ซ้าแล้วยังทาให้เกิดปญั หาตามมา
โรงเรียนเล็กทีม่ ปี ญั หาอยูแ่ ล้วยิง่ ประสบปญั หามากขึน้ ไปใหญ่ ในทีส่ ุดแล้วนักเรียนก็จะหนีไปอยู่
โรงเรียนทีด่ กี ว่า ใหญ่กว่า ได้เงินทุนมากกว่า
- ปจั จุบนั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน 12 ปี ท่วี ่าเรียนฟรีนนั ้ ไม่ได้ฟรีอย่างแท้จริง ซึง่ เป็ นสิง่ ที่สวนกับ
คาพูดเชิงนโยบายทีร่ ฐั ได้กล่าวไว้
- ครูในปจั จุบนั มีเงินเดือนสูงกว่าข้าราชการในรูปแบอื่นอยู่แล้ว แต่ในระดับบุคคลเองนัน้ มีความ
ฟุ้งเฟ้อ จึงทาให้เงินเดือนทีไ่ ด้รบั นัน้ ไม่เพียงพอต่อความต้องการ และทาให้เกิดการคอร์รปั ชันใน ่
หมูข่ า้ ราชการครูในทีส่ ุด
- ควรปลุกกระแสคุณธรรมจริยธรรม โรงเรียนควรส่งเสริมการทาดี สร้างแบบอย่างทีด่ ใี ห้นกั เรียน

667
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สรุปประเด็นจากการสัมภาษณ์
ดร. กมล รอดคล้าย
รองเลขาธิ การคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
ธันวาคม พ.ศ. 2556

ปัญหาและอุปสรรคที่สาคัญในปัจจุบนั ของการพัฒนาการศึกษาไทย

ประเด็นปญั หาสาคัญของการศึกษาไทย แบ่งออกได้เป็ น 3 ประการ ได้แก่


1. นโยบายไม่ชดั เจนและไม่ต่อเนื่อง
2. ระบบการจัดการบริหารการศึกษา ทัง้ ในมิตกิ ารศึกษา บริหารงาน และในด้านวิชาการ
การจัดการเรียนการสอน มีคุณภาพไม่สงู เพียงพอเท่าทีค่ วรจะเป็ น
3. การมีส่วนร่วม การผลักดันจากสังคมไม่มแี รงพอต่อพัฒนาการเชิงบวกของการศึกษา

ปัจจัยแห่งความสาเร็จ )Key Success Factorsในการพั (ฒนาการศึกษาไทย


การจะพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยให้สาเร็จได้ จะต้องดาเนินการในประเด็นทีส่ าคัญดังนี้
1. สร้างนโยบายทีช่ ดั เจน มีทศิ ทางการพัฒนาทีช่ ดั เจนทีจ่ ะให้การศึกษาเป็ นกลไกการสร้าง
คน และนาไปสู่การพัฒนาประเทศ ฉะนัน้ จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนากาลังคน
(manpower) ทรัพยากรมนุ ษย์ (human resource) และองค์ความรู้ (knowledge) ให้กบั
สังคมไทย ซึง่ นโยบายการพัฒนาจะต้องมีนโยบายกาหนดเป็นแผนการศึกษาชาติท่ี
ต่อเนื่อง รวมถึงการกาหนดงบประมาณไว้อย่างต่อเนื่องด้วย
2. แก้ปญั หากระบวนการพัฒนาองค์ความรู้ ทัง้ การพัฒนาฐานข้อมูลด้านการวิจยั เผยแพร่
องค์ความรู้ ตลอดจนแก้ปญั หากระบวนการพัฒนาการบริหารจัดการ อย่างเป็ นมืออาชีพ
3. สร้างการมีส่วนร่วมของสังคม ผูป้ กครอง หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง โดยต้องให้มธี ง หรือ
ทิศทางการพัฒนาอย่างชัดเจน ทุกภาคส่วนต้องมีส่วนร่วมในการระดม จัดสรร
ทรัพยากรปจั จัยนาเข้า (input) เข้าสู่การพัฒนาการศึกษาด้วย รวมทัง้ การแชร์แบ่งปนั
ประสบการณ์ เพื่อนาไปสู่การพัฒนาทีด่ ยี งิ่ ขึน้

668
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาและกาลังคนของไทยที่ควรเร่งผลักดัน และมีผลกระทบ
สูง
นโยบายต้องมีการกาหนดเป้าหมายการพัฒนาทีช่ ดั เจน กาหนดผลผลิต หรือลักษณะเด็กไทยว่า
ประกอบด้วยคุณลักษณะอะไรบ้าง เช่น
1) เป็นคนเก่ง (ในทางวิชาการ ในด้านอื่นๆ เช่น ดนตรี กีฬา รวมทัง้ เป็นคนเก่งในทางโลก
การเข้าสังคม เป็ นต้น)
2) เป็นคนดี (มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ มีวนิ ยั เป็นต้น)
3) ใช้ชวี ติ ในสังคมได้อย่างมีความสุข ดังนัน้ การศึกษาจะต้องเป็นการศึกษาเพื่อสร้างความ
เป็นพลเมือง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาทีส่ าคัญ ได้แก่
 การสร้างโอกาส (การเข้าถึง เท่าเทียม) องค์ประกอบในการเข้าถึงทรัพยากร ผ่านในแง่
มาตรฐานขัน้ ต่ า ตลอดจนการสร้างโอกาสในการศึกษาเรียนรูต้ ลอดชีวติ การศึกษานอก
ระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การเรียนรูต้ ลอดชีวติ
 การสร้างการศึกษาทีม่ คี ุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การพัฒนาครู ระบบการพัฒนาครู
วิธกี ารศึกษา
 การเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน เรือ่ งความสามารถเฉพาะมิตติ ่างๆ
นอกจากนี้ ในการพัฒนาของประเทศไทยจาเป็นต้องให้ความสาคัญกับการขยายผลตัวอย่างที่
ประสบความสาเร็จต่างๆ ให้เกิดผลในวงกว้าง รวมทัง้ สร้างระบบการบริหารจัดการทีจ่ าเป็ นทีช่ ่วยในการ
ส่งเสริมการศึกษาเรียนรู้ ตัวอย่างเช่น ศูนย์รวมคลังสมอง สถานีวทิ ยุโทรทัศน์การศึกษาแห่งชาติ
สถาบันการแปลภาษาแห่งชาติ เป็นต้น

กลไกในการขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิ บตั ิ “เพื่อปฏิ รปู การศึกษาเรียนรู้ของไทยสู่ศตวรรษที่


21” ที่ท่านคิ ดว่าจาเป็ น และในปัจจุบนั ยังขาดอยู่
สิง่ ทีอ่ ยูน่ อกกระทรวงศึกษาธิการและมีผลกระทบ (impact) สูงมากต่อการขับเคลื่อน ได้แก่ 5
ภาคส่วนทีส่ าคัญ ได้แก่
1) ฝา่ ยการเมือง
2) นักเรียน ผูเ้ รียน
3) สังคม
4) ผูป้ กครอง
5) นักการศึกษา

669
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ทัง้ นี้ภาคส่วนทีน่ บั ว่ามีบทบาทสาคัญและก่อให้เกิดผลกระทบการเปลีย่ นแปลงในระดับสูงมาก


คือ ฝา่ ยการเมือง และ สังคม

การเมือง
*
นัก ผูเ้ รียน
การศึกษา

ผูป้ กครอง สังคม *

การขับเคลื่อนจึงต้องมีการกาหนดยุทธศาสตร์ แผนยุทธศาสตร์ทจ่ี ะทาให้สาเร็จได้ในแต่ละเรือ่ ง


กาหนดกรอบเวลา งบประมาณ ผูร้ บั ผิดชอบให้ชดั เจน รวมถึงจัดระบบการจัดการให้มคี วามชัดเจนใน
แต่ละกิจกรรม
กลไกในการขับเคลื่อน คือ
 การขยายผลตัวอย่างทีป่ ระสบความสาเร็จหรือจุดสว่างในการพัฒนาการศึกษาเรียนรู้
ให้เกิดผลในวงกว้าง สร้างตัวอย่างทีด่ เี หล่านี้เพื่อจุดประกาย
 การจัดให้สงั คมให้มสี ่วนร่วมอย่างเป็ นระบบ เช่น การให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วม เช่นให้
เด็กนักเรียน นิสติ นักศึกษาไปฝึกงาน หรือให้ภาคเอกชน ตลาดแรงงานเข้ามาช่วยคิด
ประเมินผล ให้ผลตอบกลับ (feedback) ตัง้ แต่ตน้ ทางและระหว่างทางในกระบวนการ
เรียนการสอน ก่อนทีน่ กั เรียน นิสติ นักศึกษาจะเรียนจบสุดท้ายแล้วไม่มคี ุณสมบัติ
สอดคล้องกับสิง่ ทีต่ ลาดแรงงานต้องการ
 ต้องแก้ไขกลไกทีม่ ปี ญั หา เช่น กรณีโครงสร้างองค์กรการบริหารงานทีแ่ ยกส่วน มี
ปญั หาทัง้ ส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค กรณีการเกิดการทุจริตคอรัปชันแต่่ เอาผิดลงโทษ
ไม่ได้ สิง่ เหล่านี้ตอ้ งดาเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพื่อสร้างระบบทีด่ ี เกิดการ
รับผิดชอบในการบริหารจัดการพัฒนาด้านการศึกษาอย่างแท้จริง

670
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

 จาเป็ น ต้อ งมีก ารส่ งเสริมให้ม ีการท างานวิจยั กระบวนการจัดการเรีย นการสอนที่ดี


(Pedagogy) ดังตัวอย่างเช่นในกรณีประเทศสิงคโปร์ ประเทศเกาหลี ในขณะทีป่ ระเทศ
ไทย ยัง มีข้อ จ ากัด อีก ทัง้ ครูไ ม่ ค่ อ ยมีก ารวิเ คราะห์ห ลัก สูต ร ฉะนั น้ จึง ต้อ งมีต ารา
หลักสูตรและคู่มอื ครู ทีเ่ มือ่ ทาตามขัน้ ตอนแล้วจะทาให้ได้มาตรฐานขัน้ ต่า
 ครูต้องมีกระบวนการเรียนการสอนที่ดแี ละเหมาะสม เช่น ทาให้เด็กมีความสนุ กสนาน
ก่อน กระตุ้นความอยากเรียนรู้ ก่อนจะนาเข้าสู่การเรียนรู้ในบทเรียน และเกิดความ
เข้าใจ
 พัฒนาสื่อการเรียนการสอน ให้เป็ นสื่อการเรียนการสอนทีด่ ที ส่ี ุด หรือมีคุณภาพทีด่ เี ลิศ
ในแต่ละวิชาในแต่ละระดับชัน้ เรียนไปเลย แทนทีจ่ ะมีส่อื จานวนมากมหาศาลแต่ยงั ขาด
คุณภาพมาตรฐาน

671
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ภาคผนวกที่ 4
การประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารผูเ้ ชี่ยวชาญ
ด้านการศึกษา

673
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการศึกษา


หัวข้อ “การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21”
ภายใต้โครงการวิ จยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับ
การเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21

1. หลักการและเหตุผล
การศึกษาเป็ นกลไกหลักในการพัฒนา ส่งเสริม ปลูกฝงั แนวความคิด ความรู้ ให้กบั พลเมือง
และสังคมโดยรวมของทุกประเทศ ดังนัน้ การศึกษาจึงเป็ นตัวแปรหลักของความสามารถในการแข่งขัน
ระยะยาว (Long Term Competitiveness) การออกแบบการศึกษาจึงเป็ นข้อต่อสาคัญของการพัฒนา
ประเทศในทุกด้านทีเ่ กีย่ วข้องกับมนุษย์และสังคม
บริบททีส่ าคัญในการออกแบบการศึกษาในปจั จุบนั ก็คอื พลวัตการเปลีย่ นแปลงโลกจากการก้าว
ผ่ านจากศตวรรษที่ 20 เข้าสู่ศ ตวรรษที่ 21 การเปลี่ยนแปลงดังกล่ าวได้ส่ งผลกระทบทัง้ ทางสัง คม
เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และการเมืองของทุกประเทศ ซึ่งสะท้อนให้เห็นผ่านกระแสการเปลี่ยนแปลงที่
ชัดเจนในด้านต่างๆ เช่น การปฏิวตั ิ Arab Spring ผ่านการใช้เทคโนโลยี Social Media การก้าวขึน้ มา
ทางเศรษฐกิจของเอเชีย หรือภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง เป็ นต้น คนในโลกยุคใหม่จงึ ต้องมีความพร้อมที่
จะเผชิญกับความเปลีย่ นแปลง หากสังคมหรือพลเมืองขาดความพร้อมในการก้าวผ่านก็จะทาให้ประเทศ
ไม่ส ามารถเดินต่อได้จนเสี่ยงกับการเป็ นรัฐที่ล้มเหลว ประเทศไทยก็จาเป็ นต้อ งก้าวสู่ศ ตวรรษที่ 21
เช่นกัน ดังนัน้ การเตรียมความพร้อมคนไทย เพื่อการนาพาสังคมและประเทศไปสู่โลกที่ 1 จึงเป็ นจุด
วิกฤตของชาติทไ่ี ม่อาจหลีกเลีย่ งได้
อย่างไรก็ตาม ทีผ่ ่านมาประเทศไทยยังคงขาดความชัดเจนในการกาหนดเป้าประสงค์หลักของ
การศึกษา(Objective Function) ซึง่ เปรียบเสมือนเป็ นผลสุทธิของระบบ หรือปลายทางทีก่ ารศึกษาต้อง
พัฒนาและเสริมสร้างให้พ ลเมืองและสังคมสามารถอยู่ได้อย่างภาคภูม ิ แต่การตัง้ เป้าประสงค์หลักของ
การศึก ษาเพียงอย่า งเดียวไม่ส ามารถพัฒนามนุ ษ ย์และสังคมได้ หากแต่ ต้อ งมีกลไกการขับเคลื่อ น
แนวนโยบายและยุ ท ธศาสตร์ท่ีป ฏิบ ัติไ ด้ จ ริง โดยการด าเนิ น การจะต้ อ งเข้า ใจถึง ทัง้ บริบ ทการ
เปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 พื้นฐานปรัชญาการศึกษาไทย รวมถึงองค์ประกอบของระบบ
นิเวศน์การดาเนินชีวติ ของผูเ้ รียน โดยความเข้าใจเหล่านี้ควรเป็ นความรูพ้ น้ื ฐานทีส่ นั ้ กระชับ เข้าใจง่าย
และมีแนวปฏิบตั ทิ ช่ี ดั เจน โดยบุคคลในวงการศึกษาไทยตัง้ แต่ผู้กาหนดนโยบาย ผูม้ สี ่วนร่วมทัง้ ภาครัฐ
และเอกชน ตราบไปจนถึงตัวผู้เรียนเองจะต้องมีความเข้าใจในแนวปฏิบตั แิ ละมีส่วนร่วมในการปฏิบตั ิ
อย่างเพียงพอ ซึง่ แนวปฏิบตั เิ หล่านี้บางส่วนอาจไม่ใช่การเปลีย่ นแปลงทีล่ ะน้อย (Incremental Change)
แต่อาจจาเป็นต้องเปลีย่ นถึงรากฐานแนวคิด (Paradigm Shift/ Fundamental Change) ดังนัน้ การมีส่วน
ร่วมและความเข้าใจของภาคส่วนจึงเป็ นอีกปจั จัยในการเปลีย่ นรูปครัง้ นี้

674
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

การปฏิรูประบบการศึกษาของประเทศไทย จึงไม่อาจพิจารณาแบบแยกส่วนได้ หากแต่ต้อ ง


อาศัยการทาความเข้าใจภาพรวมของระบบอย่างถ่องแท้ เพื่อให้สามารถกาหนดทิศทางและกระบวนการ
ผลักดันให้ทุกองค์ประกอบของระบบสามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างเป็ นรูปธรรม หรือกล่าวโดยสรุปคือ
“ประเทศไทยต้องมีการกาหนดเป้าประสงค์หลัก (Objective Function) ที่ระบุเป้าหมายของการศึกษา
อย่างชัดเจนว่าจะทาไปเพื่ออะไร และเป็ นความเข้าใจร่วมของทุกภาคส่วนของการศึกษา รวมทัง้ ยกให้
การศึกษาเป็ นวาระแห่งชาติ (National Agenda) และจัดทาแนวปฏิบตั ิการทางการศึกษา (Action
Agenda) ซึ่ง ประกอบไปด้ ว ยยุ ท ธศาสตร์ (Strategies) ที่ส ามารถแปลงไปสู่ ภ าคปฏิบ ัติ
(Implementation) ได้อย่างเป็นขัน้ ตอน พร้อมใช้งานได้ในทันที”
ดังนัน้ ตามทีส่ านักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจึงเห็นควรให้มกี ารจัดทาโครงการวิจยั เรื่อง การ
กาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 เพื่อให้สามารถ
จัดเตรียมแผนการศึกษาของประเทศให้มคี วามสมบูรณ์พร้อมในทุกๆ ด้าน มีความชัดเจนในการกาหนด
เป้าประสงค์หลักของการศึกษาที่ชดั เจน สร้างความเข้าใจให้ทุกภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้องได้เห็นทิศทางการ
พัฒนาระบบการศึกษาของประเทศในทิศทางเดียวกัน มองเห็นความเชื่อมโยงและการบูรณาการการ
ทางานระหว่างกัน รวมทัง้ สามารถใช้เป็ นรากฐานสาคัญของกระบวนการปฏิรูประบบการศึกษาของ
ประเทศไทยได้อย่างมังคงและยั
่ งยื
่ นต่อไป

2. กระบวนการเดลฟาย (Delphi Method) และการจัดทาภาพอนาคต (Scenario Building)


กระบวนการเดลฟาย เป็นวิธกี ารสอบถามความคิดเห็นจากผูเ้ ชีย่ วชาญในด้านต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง
เพื่อระบุปจั จัยผลักดันระบบทีส่ าคัญและศึกษาปจั จัยความไม่แน่ นอนทีส่ าคัญต่างๆ ในอนาคต โดยทัวไป

กระบวนการจัดทาผ่านการทาแบบสอบถามทางอิเล็กทรอนิกส์ และหรือทางจดหมาย ซึง่ ข้อดีของวิธกี าร
เดลฟาย คือการได้ขอ้ สรุปหรือข้อยุตโิ ดยผูเ้ ชี่ยวชาญไม่ต้องเผชิญหน้า กันสามารถไตร่ตรองคาตอบ ไม่
ถูกเบีย่ งเบนด้วยคาตอบของผูเ้ ชีย่ วชาญทีม่ ชี ่อื เสียงหรือผูท้ ม่ี วี ุฒสิ งู กว่า
อย่า งไรก็ต าม ในการศึก ษาครัง้ นี้ ภายใต้โ ครงการวิจยั เรื่อ งการกาหนดแนวทางการพัฒนา
การศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 นี้ ได้ประยุกต์ใช้กระบวนการเดลฟาย โดยเชิญ
ผู้เ ชี่ยวชาญมาร่ว มประชุมเชิงปฏิบตั ิก าร และแสดงความคิดเห็นอย่างเป็ นอิส ระจากกัน ด้ว ยการใช้
อุปกรณ์ My Choice Clicker ซึง่ เป็ นนวัตกรรมของระบบสอบถามความคิดเห็นทางอิเล็กทรอนิกส์ ทีจ่ ะ
ช่วยสารวจความคิดเห็นในการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารครัง้ นี้
วิธกี ารเดลฟายเป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการมองภาพอนาคตโดยหนุ นเสริมกับการจัดประชุม
ระดมความคิดเห็นและการจัดทาภาพอนาคต เพื่อพิจารณาคัดกรองปจั จัยต่างๆ และการร่วมกันจัดทา
ภาพอนาคตการศึกษา (Education Scenarios) ในศตวรรษที่ 21

675
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

โดยทัวไปเครื
่ ่องมือหรือวิธกี ารทีน่ ิยมใช้จนอาจเรียกได้ว่า เป็ นมาตรฐานคือ การศึกษาแนวโน้ม
(trends) และการคาดคะเน (forecast) อย่างไรก็ตาม การศึกษาทัง้ สองนี้เหมาะสมกับอนาคตที่มคี วาม
ชัดเจนในระดับหนึ่ง แต่ไม่สามารถที่จะทาให้เห็นครอบคลุมถึงลักษณะของอนาคตที่ชดั เจนในระดับ
รายละเอียดและระบุถงึ ความเสี่ยงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อ งได้ ด้วยเหตุน้ี การวางแผนโดยอาศัยภาพอนาคต
(Scenario Planning) จึงเป็ นเครื่องมือทีไ่ ด้รบั การยอมรับเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว และมีการนามาใช้อย่าง
แพร่หลายเพื่อประกอบการกาหนดนโยบายระดับประเทศ ไม่ว่าจะเป็ นในประเทศ อังกฤษ แอฟริกาใต้
ญีป่ นุ่ จีน ฯลฯ
การวางแผนด้วยภาพอนาคตเป็ นเครื่องมือทีใ่ ช้สาหรับการมองภาพอนาคตทีม่ โี อกาสเกิดขึน้ ได้
(possible) และเกีย่ วข้องกับประเด็นทีอ่ ยู่ในความสนใจ (relevant) ให้เกิดความชัดเจนขึน้ โดยอาศัยการ
สร้างภาพอนาคตที่หลากหลายและครอบคลุมเหตุการณ์ท่อี าจเกิดขึน้ จากการผสมผสานแนวโน้มของ
ปจั จัยขับเคลื่อน (driver trends) ความไม่แน่ นอน (uncertainties) และเหตุ การณ์ท่ไี ม่คาดคิด
(surprises) ซึง่ ภาพอนาคตเหล่านี้สามารถนามาศึกษาต่อเพื่อให้เห็นความชัดเจนยิง่ ขึน้
การวางแผนด้วยภาพอนาคตสามารถนามาช่วยในการวิเคราะห์และวางแผนระยะยาวในหลายๆ
ขัน้ ตอนไม่ว่าจะเป็ นในส่วนการศึกษาเพื่อเตรียมการวางนโยบาย หรือการกาหนดหัวข้อนโยบายหรือ
ยุทธศาสตร์ ตลอดจนการวัดและประเมินผลนโยบาย

3. วัตถุประสงค์
การประชุมเชิงปฏิบตั ิการผู้เชี่ยวชาญด้ านการศึกษาในครัง้ นี้มวี ตั ถุประสงค์เพื่อ สารวจความ
คิดเห็นผูเ้ ชีย่ วชาญ และระดมความคิดร่วมกัน ตลอดจนรับฟงั ความเห็นของผูบ้ ริหารและผูท้ รงคุณวุฒทิ ่ี
เกีย่ วข้องทุกภาคส่วนของการศึกษา

4. ผลที่คาดว่าจะได้รบั
ผลลัพธ์ทค่ี าดว่าจะได้รบั จากวิธกี ารเดลฟายและการวางแผนด้วยภาพอนาคต ได้แก่
1) ปจั จัยผลักดันระบบการศึกษาของประเทศไทยและปจั จัยไม่แน่ นอนทีส่ าคัญของการ
กาหนดภาพการศึกษาของประเทศไทยในศตวรรษที่ 21
2) ช่องว่าง (Gap)ระหว่างระดับการพัฒนาการศึกษาทีค่ าดหวังในศตวรรษที่ 21 กับระดับ
การพัฒนาการศึกษาไทยในปจั จุบนั
3) ช่องว่าง (Gap) ระหว่างคนไทยในศตวรรษที่ 21 ทีพ่ งึ ประสงค์กบั คนไทยในปจั จุบนั
4) ภาพอนาคตของการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
5) วิสยั ทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ดา้ นการศึกษาของประเทศไทย ในอีก 15 ปีขา้ งหน้า

676
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

กาหนดการการประชุมเชิ งปฏิ บตั ิ การผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการศึกษา


หัวข้อ “การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21”
ในวันจันทร์ที่ 2 กันยายน 2556เวลา 9.00-16.00น.
ณ ห้องกมลทิ พย์ 1โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพมหานคร(The Sukosol Bangkok)

09.00- 09.30 น. ลงทะเบียน


09.30-09.40 น. กล่าวรายงานการประชุม
ยดยดร. สมศักดิ ์ ดลประสิ ทธิ ผ์ อู้ านวยการสานักนยยบายและแผนการศึกษา
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
09.40 – 09.50 น. ดร. ศศิ ธารา พิ ชยั ชาญณรงค์เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวเปิดงาน

09.50 – 10.20 น. นาเสนอภาพรวมของยครงการและผลการศึกษา ยดย


น.ส. ประกาย ธีระวัฒนากุล หัวหน้ าโครงการ
นายทวีชยั เจริ ญเศรษฐศิ ลป์ นักวิ จยั อาวุโส
Sasin Institute for Global Affairs (SIGA)
ภายใต้สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
10.20 – 10.30 น. รับประทานอาหารว่าง

10.30 – 12.15 น. การประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการศึกษาด้วยกระบวนการเดลฟาย


(Delphi Method) และการระดมเหตุผลสาหรับการสร้างภาพอนาคต (Scenario
Logic)

12.15 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 - 14.30 น. แบ่งกลุ่มย่อยระดมสมองสาหรับการสร้างภาพอนาคต ช่วงที่ 1

14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารว่าง

14.45 – 15.30 น. แบ่งกลุ่มย่อยระดมสมองสาหรับการสร้างภาพอนาคต ช่วงที่ 2

15.30 – 16.00 น. นาเสนอผลการอภิปรายภาพอนาคต/แลกเปลีย่ นความคิดเห็นและสรุปผล


**********************************************

677
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

678
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

สรุปผลแบบสอบถามปฏิ บตั ิ การ MyChoice Clicker ว่าด้วยเรือ่ งการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 12

ส่วนที่ 1 ภาพรวมและนโยบายการศึกษาไทย(ข้อ 1-6)

ข้อที่ 1-2ประเด็นปญั หาของประเทศไทยในปจั จุบนั ด้านใดมีความสาคัญมากทีส่ ดุ ในความคิดของท่าน


1. ปญั หาด้านเศรษฐกิจ
50
2. ปญั หาสังคมและความเหลื่อมล้า 39.78% 38.67%
40
3. ปญั หาด้านสิง่ แวดล้อม
30
4. ปญั หาด้านการเมืองและความมันคง

20 14.92%
5. อื่นๆ ระบุ
10 5.52%
1.1%
0
[1] [2] [3] [4] อื่นๆ

ข้อที่ 3 การศึกษาไทยมีสว่ นร่วมในการตอบโจทย์ตามข้อ (1) และ (2) ทีท่ ่านเลือก มากน้อยเพียงไร


1. น้อยทีส่ ด

50
2. น้อย 41.7%
40
3. ปานกลาง 31.7%
30
4. มาก
20 15%
5. มากทีส่ ด
ุ 11.7%
10
0
[1] [2] [3] [4]

ข้อที่ 4-5 ปจั จัยใดเป็ นข้อจากัดของการขับเคลื่อนนโยบายการศึกษาไทยทีผ่ ่านมาทีส่ าคัญทีส่ ดุ


1. ความไม่ต่อเนื่องของนโยบายการศึกษา 38.07%
40
2. ขาดแคลนบุคลากรทีจ่ ะปฏิบตั กิ ารได้ตาม
นโยบายและแผนฯ 30 26.7%
3. ขาดแคลนงบประมาณ
20
4. ขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่ 15.91%
10.8%
เกีย่ วข้อง 10 6.25%
5. ขาดการปฏิรปู ทีเ่ ชื่อมโยงกับปญั หาอื่นๆ 2.27%

อาทิ เรื่องครอบครัว สังคม วัฒนธรรม 0


[1] [2] [3] [4] [5] อื่นๆ
6. อื่นๆ ระบุ

679
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข้อที่ 6 ท่านคิดว่า ภาพรวมของการศึกษาไทยในปจั จุบนั เป็ นเช่นไร


1. อยู่ในระดับวิกฤต สมควรยกเครื่องทัง้ ระบบ 80
อย่างเร่งด่วน 61.7%
60
2. มีปญั หาในหลายส่วน ทีค่ วรแก้ไข
40 31.7%
3. อยู่ในระดับปานกลาง พอรับได้
20
4. อยู่ในระดับทีค่ ่อนข้างพอใจ 6.7%
0% 0%
5. อยู่ในระดับทีพ่ อใจมาก 0

ส่วนที่ 2 ข้อจากัดและความท้าทายในอนาคต(ข้อ 7-43)


แบ่งออกเป็ น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) เป้าหมาย 2) การตอบโจทย์ 3) ด้านอุปทาน 4) ด้านอุปสงค์

ข้อที่ 7 ท่านคิดว่า เป้าหมายของการศึกษาไทยในอนาคตอีก 20 ปี ขา้ งหน้าประเด็นใดสาคัญทีส่ ดุ


1. การเข้าถึงการศึกษา 60 55%

2. ความเท่าเทียมของการศึกษา 50
40
3. ประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา 30 21.7%

4. คุณภาพการศึกษา 20
5%
13.3%
5%
10
5. อื่นๆ ระบุ 0

ข้อที่ 8 ถ้าเป้าหมายของการศึกษาทีพ่ งึ ประสงค์ (Should Be) ประกอบไปด้วย


 เตรียมความพร้อมนักเรียนเพื่อเข้าสูต่ ลาดแรงงาน
 ให้โอกาสเด็กทุกคนได้เข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียม
 ส่งเสริมให้เด็กเป็ นผูเ้ รียนรูต้ ลอดชีวติ ทีม่ ุ่งใฝห่ าความรู้ สามารถพัฒนาตนเองได้ตลอดเวลา
 มุ่งพัฒนาความเป็ นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ สร้างเด็กให้เป็ นคนดีของสังคม สร้างประโยชน์แก่คนรอบข้าง ชุมชน
และประเทศชาติ

680
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ท่านคิดว่า โดยภาพรวมยังมีช่องว่าง (Gap)ระหว่างระดับปจั จุบนั (As Is)กับ เป้าหมายทีพ่ งึ ประสงค์ (Should Be)มาก
น้อยเพียงไร
1. น้อยทีส่ ดุ
50 42.9%
2. น้อย 34.9%
40
3. ปานกลาง 30
4. มาก 20 15.9%

10 6.3%
5. มากทีส่ ดุ 0%
0

ข้อที่ 9 เป้าหมายด้านใดทีม่ ชี ่องว่าง (Gap) มากทีส่ ดุ


1. เตรีย มความพร้ อ มนั ก เรีย นเพื่อ เข้ า สู่
ตลาดแรงงาน 60 51.6%
2. ให้โอกาสเด็กทุกคนได้เข้าถึงการศึกษาอย่าง 50
เท่าเทียม 40 33.9%

30
3. ส่งเสริมให้เด็กเป็ นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต ที่มุ่ง
ใฝ่ ห าความรู้ สามารถพั ฒ นาตนเองได้ 20
11.3%
10
ตลอดเวลา 3.2%
0
4. มุ่งพัฒนาความเป็ นมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์ สร้างเด็ก [1] [2] [3] [4]
ให้เ ป็ น คนดีของสัง คม สร้างประโยชน์ แ ก่ค น
รอบข้าง ชุมชน และประเทศชาติ

ข้อที่ 10 เป้าหมายด้านการเตรียมความพร้อมนักเรียนเพื่อเข้าสูต่ ลาดแรงงานยังมีช่องว่าง (Gap)ระหว่างระดับปจั จุบนั


(As Is)กับ เป้าหมายทีพ่ งึ ประสงค์ (Should Be)มากน้อยเพียงไร

1. น้อยทีส่ ดุ 60 49.2%
50
2. น้อย
40
28.6%
3. ปานกลาง 30
20 14.3%
4. มาก 10 1.6%
6.3%

5. มากทีส่ ดุ 0

681
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข้อที่ 11 เป้าหมายด้านการให้โอกาสเด็กทุกคนได้เข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียมยังมีช่องว่าง (Gap)ระหว่างระดับ


ปจั จุบนั (As Is)กับ เป้าหมายทีพ่ งึ ประสงค์ (Should Be)มากน้อยเพียงไร
1. น้อยทีส่ ดุ 40 37.1%

2. น้อย 30 24.2%
3. ปานกลาง 20
17.7% 19.4%

4. มาก 10
1.6%
5. มากทีส่ ดุ 0

ข้อที่ 12 เป้าหมายด้านการส่งเสริมให้เด็กเป็ นผูเ้ รียนรูต้ ลอดชีวติ ทีม่ ุ่งใฝห่ าความรู้ สามารถพัฒนาตนเองได้ตลอดเวลา


ยังมีช่องว่าง (Gap)ระหว่างระดับปจั จุบนั (As Is)กับ เป้าหมายทีพ่ งึ ประสงค์ (Should Be)มากน้อยเพียงไร
1. น้อยทีส่ ดุ
50
2. น้อย 37.1% 38.7%
40
3. ปานกลาง 30
4. มาก 20
17.7%

5. มากทีส่ ดุ 10 6.5%
0%
0

ข้อที่ 13 เป้าหมายด้านการมุ่งพัฒนาความเป็ นมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์ สร้างเด็กให้เป็ นคนดีของสังคม สร้างประโยชน์แก่คน


รอบข้าง ชุมชน และประเทศชาติยงั มีช่องว่าง (Gap)ระหว่างระดับปจั จุบนั (As Is)กับ เป้าหมายทีพ่ งึ ประสงค์ (Should
Be)มากน้อยเพียงไร 50 47.6%

40 34.9%
1. น้อยทีส่ ดุ 30
2. น้อย 20 12.7%
10
3. ปานกลาง 1.6% 3.2%
0
4. มาก
5. มากทีส่ ดุ

682
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข้อที่ 14-15 ท่านคิดว่าการศึกษาควรจะเป็ นกลไกในการช่วยตอบโจทย์ประเด็นใดในอนาคตอีก 20 ปี ขา้ งหน้ามากทีส่ ดุ


1. การตอบสนองต่อตลาดแรงงาน
60
50.79%
2. การเป็ นคนทีม่ ศี กั ยภาพและพึง่ พาตนเองได้ 50
3. การเป็ นคนทีม่ คี ุณธรรม จริยธรรม 40
4. การเป็ นคนทีม่ คี วามสุข 30
28.04%

5. อื่นๆ ระบุ 20
7.41% 8.47%
10 5.29%

0
[1] [2] [3] [4] อื่นๆ

ภาพต่อไปนี้สะท้อนภาพอนาคตทีพ่ งึ ประสงค์ของประเทศไทย
หากให้ภาพทีพ่ งึ ประสงค์ในความคิดของท่านมีคะแนน = 5
ท่านคิ ดว่า ในปัจจุบนั สภาพความเป็ นจริงของสังคมมีระดับเป็ นเช่นไร

ข้อที่ 16 สภาพความเป็ นจริงของสังคมไทย ในเรื่องสังคมแห่งโอกาส (Opportunity Society)


1. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายมาก
50
2. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายค่อนข้างมาก 40
40.3%

3. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับปานกลาง 30 25.8% 25.8%

4. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับน้อย 20


5. ปจั จุบนั มีสภาพใกล้เคียงหรือเหมือนภาพ 10 6.5%
1.6%
อนาคตทีพ่ งึ ประสงค์แล้ว 0
[1] [2] [3] [4] [5]
683
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข้อที่ 17 สภาพความเป็ นจริงของสังคมไทย ในเรื่องสังคมทีส่ ามารถ (Productive Society)


1. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายมาก 60
2. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายค่อนข้างมาก 50
50%

3. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับปานกลาง 40


4. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับน้อย 30 24.2%
21%
20
5. ปจั จุบนั มีสภาพใกล้เคียงหรือเหมือนภาพ 10 3.2% 1.6%
อนาคตทีพ่ งึ ประสงค์แล้ว 0
[1] [2] [3] [4] [5]

ข้อที่ 18 สภาพความเป็ นจริงของสังคมไทย ในเรื่องสังคมคุณธรรมจริยธรรม (Moral Society)


1. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายมาก 50
2. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายค่อนข้างมาก 40
39.7%
34.9%

3. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับปานกลาง 30


4. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับน้อย
19%
20

5. ปจั จุบนั มีสภาพใกล้เคียงหรือเหมือนภาพ 10 4.8%


1.6%
อนาคตทีพ่ งึ ประสงค์แล้ว 0
[1] [2] [3] [4] [5]

ข้อที่ 19 สภาพความเป็ นจริงของสังคมไทย ในเรื่องสังคมทีเ่ ป็ นธรรม (Just Society)


1. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายมาก 60
50.8%
2. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายค่อนข้างมาก 50
3. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับปาน 40
34.9%

30
กลาง
20
4. ปจั จุบนั ห่างไกลจากเป้าหมายระดับน้อย 10
9.5%
3.2% 1.6%
5. ปจั จุบนั มีสภาพใกล้เคียงหรือเหมือนภาพ 0
อนาคตทีพ่ งึ ประสงค์แล้ว [1] [2] [3] [4] [5]

ข้อที่ 20 ระดับความท้าทายและปญั หาด้านงบประมาณเพื่อการศึกษาในอนาคตของประเทศไทยจะเป็ นเช่นไร


1. น้อยทีส่ ดุ 40 34.9%
2. น้อย 30 25.4%
3. ปานกลาง 20
20.6%
17.5%

4. มาก
10
5. มากทีส่ ดุ 1.6%
0

684
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข้อที่ 21 ระดับความท้าทายและปญั หาด้านปริมาณครูของประเทศไทยในอนาคตจะเป็ นเช่นไร


1. น้อยทีส่ ดุ 40 36.5%

2. น้อย 30
22.2%
3. ปานกลาง 20
19%
14.3%
4. มาก 10
7.9%

5. มากทีส่ ดุ
0

ข้อที่ 22 ระดับความท้าทายและปญั หาด้านคุณภาพครูของประเทศไทยในอนาคตจะเป็ นเช่นไร


1. น้อยทีส่ ดุ 60 57.1%

2. น้อย 50
40
3. ปานกลาง 30 23.8%
4. มาก 20 11.1%
10 4.8%
5. มากทีส่ ดุ 3.2%
0

ข้อที่23 ปจั จัยอะไรทีจ่ ะช่วยเพิม่ ศักยภาพครูให้สามารถบริหารจัดการการศึกษาได้สงู ทีส่ ดุ


ระบุ

ข้อที่ 24 ความท้าทายของการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 คืออะไร


ระบุ

ข้อที่ 25 ถ้าอนาคตประเทศไทยใช้ระบบการบริหารจัดการศึกษารวมศูนย์อยู่ทส่ี ว่ นกลาง ใช้หลักสูตรแบบเดียวกันทัว่


ประเทศ และมีการกาหนดมาตรฐานจากส่วนกลาง ท่านมีความคิดเห็นอย่างไร

1. ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่ 50
38.1%
40
2. ไม่เห็นด้วย 31.7%
30
3. เฉยๆ 20
19%

4. เห็นด้วย 10
7.9%
3.2%

5. เห็นด้วยอย่างยิง่ 0

685
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข้อที่ 26 ถ้าอนาคตประเทศไทยใช้ระบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายกระจายอานาจการจัดการศึกษา
ให้กบั พ่อแม่ โรงเรียน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และ องค์กรปกครองท้องถิ่น ร่วมกันกาหนดหลักสูตรและการ
ประเมินผลทีแ่ ตกต่างกันไปตามแต่ละบริบทท้องถิน่ ท่านมีความคิดเห็นอย่างไร

1. ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่ 50 43.5%
38.7%
2. ไม่เห็นด้วย 40
30
3. เฉยๆ 20 11.3%
4. เห็นด้วย 10 3.2% 3.2%
0
5. เห็นด้วยอย่างยิง่

ข้อที่ 27 ถ้าอนาคตประเทศไทยใช้ระบบการ
บริหารจัดการแบบมีมาตรฐานจากส่วนกลางและให้ 60 50.8%
อิสระโรงเรียนหรือท้องถิน่ มีความยืดหยุ่นในการ 50
39.7%
บริหารจัดการได้ดว้ ยท่านมีความคิดเห็นอย่างไร 40
30
1. ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่ 20
10 6.3% 3.2%
0%
2. ไม่เห็นด้วย 0
3. เฉยๆ
4. เห็นด้วย
5. เห็นด้วยอย่างยิง่

ข้อที่ 29-30 ท่านคิดว่าอะไรเป็ นประเด็นปญั หาสาคัญมากทีส่ ดุ ของระบบการศึกษาไทยในปจั จุบนั

1. ประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร
40 36.76%
2. ความรับผิดชอบของสถาบันการศึกษา
(Accountability) 30 27.57%

3. ความยืดหยุ่นในกระบวนการจัดการเรียน 20
การสอน 8.65% 9.73%
11.35%
10 5.95%
4. หลักสูตรและการประเมินผลไม่สอดคล้อง
กับผลสัมฤทธิที์ ต่ อ้ งการ 0
[1] [2] [3] [4] [5] อื่นๆ
5. การขาดการบูร ณาการร่ วมกันระหว่า ง
หน่วยงานในกระทรวงศึกษาธิการ และขาดการมีสว่ นร่วมกับภาคส่วนอื่นๆ (ภาคธุรกิจ, ชุมชน)
6. อื่นๆระบุ

686
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข้อที่ 31-33 ในความคิดของท่าน ความสาเร็จของผูเ้ รียน (Learners) ขึน้ อยู่กบั ปจั จัยใดสูงสุด
1. ตัวผูเ้ รียนเอง
40 34.79%
2. ครอบครัว 29.86%
30
3. โรงเรียนและครู 24.11%

4. เพื่อน 20

5. สังคม วัฒนธรรม 10 6.85%


2.47%
6. อื่นๆ ระบุ 1.92%
0
[1] [2] [3] [4] [5] อื่นๆ

ข้อที่ 34 ท่านคิดว่าปจั จัยในข้อใดมีนยั สาคัญสูงสุดต่อ “ครอบครัว” ในการสนับสนุนระบบการศึกษาเรียนรูข้ องไทย


1. ทัศนคติของผูป้ กครองในด้านการศึกษาและ 100
การเลีย้ งดู 80
76.2%

2. พื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น ทุน 60


ทรัพย์
40
3. ระดับ การมีส่วนร่ วมในการตัดสินใจเชิง 15.9%
20
นโยบายของโรงเรียน 1.6%
6.3%
0%
0
4. สภาพแวดล้อมภายในครอบครัว เช่น ความ [1] [2] [3] [4] อื่นๆ
รุนแรงในครัวเรือน
5. อื่นๆ

ข้อที่ 35 ตลาดแรงงาน และภาคเศรษฐกิจ ประสบปญั หาเรื่องคุณภาพคน ในระดับใดในปจั จุบนั

1. น้อยมาก
60 52.4%
2. น้อย 50
3. ปานกลาง 40 30.2%
30
4. ค่อนข้างมาก 20 14.3%
10 1.6% 1.6%
5. สูงมาก 0

687
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข้อที่ 36 ชุมชน/สังคม มีบทบาทต่อการสร้างคน มากน้อยเพียงใดในปจั จุบนั


1. น้อยทีส่ ดุ 40 31.7%
2. น้อย 30 26.7%
18.3%
3. ปานกลาง 20 15%
8.3%
10
4. มาก
0
5. มากทีส่ ดุ

ข้อที่ 37-38 ประเด็นปญั หาทางด้านสังคมและวัฒนธรรมใด ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการศึกษาเรียนรูข้ องคนไทยมากทีส่ ดุ


1. ค่านิยมทีผ่ ดิ เช่น ค่านิยมปริญญา ยกย่อง 50 43.48%
คนทีเ่ งิน 40 35.33%
2. ขาดวัฒนธรรมการถาม และไม่เป็ นสังคม
30
แห่งการเรียนรู้
3. ปญั หาคอรัปชัน่ ความไม่เป็ นธรรม 20 17.39%

4. เลียนแบบต่างชาติ 10
2.72%
1.09%
5. อื่นๆ ระบุ 0
ข้อที่ 39 ถ้ามีการปฏิรูปการศึกษา แต่ ไม่ได้มกี าร [1] [2] [3] [4] อื่นๆ

ปฏิรปู ปญั หาสังคมไทยอื่นๆ ท่านคิดว่า การศึกษา


50 44.3%
จะสร้างคนไทยทีด่ พี ร้อมได้ มากน้อยเพียงใด
40
1. น้อยทีส่ ดุ 30 23%
18%
2. น้อย 20 13.1%

3. ปานกลาง 10 1.6%
0
4. มาก
5. มากทีส่ ดุ

688
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข้อที่ 40 กลุ่มจิต (Mindset) ใดทีเ่ ป็ นจุดอ่อนทีส่ ดุ ของคนไทย หรือยังคงขาดในปจั จุบนั มากทีส่ ดุ

1. จิตเชีย่ วชาญ มีวนิ ัยในการศึกษา การใฝ่รู้ 40


เชิงลึก เพิม่ พูนความรูใ้ ห้แก่ตนเอง 30.6%
30 25.8%
2. จิ ต สัง เคราะห์ การประมวลความรู้ 22.6%
20 16.1%
ไตร่ตรองความรูท้ ไ่ี ด้มาเพื่อประโยชน์ทด่ี ี
3. จิต สร้า งสรรค์ การคิด ริเ ริ่ม สิ่ง ใหม่ ๆ 10 1.6% 3.2%
สร้างสรรค์เพื่อการพัฒนา 0
[1] [2] [3] [4] [5] อื่นๆ
4. จิต เคารพ การให้เ กีย รติซ่ึง กัน และกัน
เชื่อมโยงความสัมพันธ์อนั ดีในสังคม
5. จิตจริยธรรม การรูผ้ ดิ ชอบชัวดี่ รับผิดชอบในบทบาทหน้าทีข่ องตนเอง
6. อื่นๆ ระบุ

ข้อที่ 41 กลุ่มจิต (Mindset) ใดทีเ่ ป็ นจุดแข็งทีส่ ดุ ของคนไทย หรือเป็ นเอกลักษณ์ของคนไทยมากทีส่ ดุ


1. จิตเชีย่ วชาญ มีวนิ ัยในการศึกษา การใฝ่รู้ 60
53.2%
เชิงลึก เพิม่ พูนความรูใ้ ห้แก่ตนเอง
50
2. จิต สัง เคราะห์ การประมวลความรู้ 40
ไตร่ตรองความรูท้ ไ่ี ด้มาเพื่อประโยชน์ทด่ี ี 30 29%

3. จิต สร้า งสรรค์ การคิด ริเ ริ่ม สิ่ง ใหม่ ๆ 20


สร้างสรรค์เพื่อการพัฒนา 10 3.2% 3.2%
6.5% 4.8%

4. จิต เคารพ การให้เ กีย รติซ่ึง กัน และกัน 0


เชื่อมโยงความสัมพันธ์อนั ดีในสังคม [1] [2] [3] [4] [5] อื่นๆ

5. จิตจริยธรรม การรูผ้ ดิ ชอบชัวดี่ รับผิดชอบในบทบาทหน้าทีข่ องตนเอง


6. อื่นๆ ระบุ

689
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข้อที่ 42 กลุ่มทักษะทีจ่ าเป็ นต่อศตวรรษที่ กลุ่มใด 11สาคัญทีส่ ดุ ต่อการพัฒนาศักยภาพคนไทย เป็ นอันดับ 1


1. ทักษะกระบวนการคิดและสังเคราะห์ 70 62.3%
2. ทักษะการใช้เทคโนโลยีในประโยชน์เชิง 60
ข้อมูลและการสือ่ สาร 50

3. ทักษะในการทางาน บริหารตนเอง เพื่อ 40


30
ความก้าวหน้าในอาชีพ
20 14.8% 13.1%
4. ทักษะการปฏิสมั พันธ์และการอยู่ร่วมกัน 10 3.3%
6.6%

ในสังคม 0
5. อื่นๆ ระบุ [1] [2] [3] [4] อื่นๆ

ส่วนที่ 3 ภาพอนาคตและการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21 (ข้อ 44-50)

ข้อที่ 44 ในความคิดของท่าน ถ้าการศึกษาไทยยังเป็ นเช่นนี้ต่อไป (Business As Usual (ภาพสถานการณ์การศึกษา


ทีเ่ ลวร้ายทีส่ ดุ (Worst CaseScenarioในอนาคตเป็ นเช่นไร (
1. คนไทยส่วนใหญ่มกี ารศึกษา แต่ไม่มคี วามรู้
60
ความสามารถอย่างแท้จริง 50.8%
50
2. คนไทยขาดคุณธรรม จริยธรรม
40
3. คนไทยขาดความสุข 30
21.3%
4. คนไทยไม่สามารถพึง่ พาตนเองได้ 20 11.5%
6.6% 8.2%
5. อื่นๆ ระบุ 10
0
[1] [2] [3] [4] อื่นๆ

ข้อที่ 45 ถ้าเลือกได้เพียงภาพสถานการณ์ทด่ี ที ส่ี ุดของการศึกษา (Best Case Scenario) เพียง 1 ภาพ ข้อความใด
ต่อไปนี้สะท้อนภาพการศึกษาในอนาคตทีท่ ่านพึงปรารถนาทีส่ ดุ
1. การศึกษาไทยมีความโดดเด่นและเป็ นเลิศ
66.1%
ท า ง วิ ช า ก า ร ผ ลิ ต แ ร ง ง า น ที่ มี ขี ด 70
60
ความสามารถป้อนตลาดแรงงาน ขับเคลื่อน 50
ให้ประเทศมีขดี ความสามารถในการแข่งขัน 40
2. การศึกษาไทยช่วยให้คนค้นพบศักยภาพใน 30 17.7%
ตนเอง ทาให้คนพึง่ พาตนเองได้ มีความสาม 20 9.7%
10 3.2% 3.2%
รถในการปรั บ ตั ว มี ท ั ก ษะต่ า งๆ เป็ น
0
การศึกษาที่พฒ ั นาสอดคล้องกับบริบทพืน้ ที่ [1] [2] [3] [4] อื่นๆ
วิถชี วี ติ แบบไทย

690
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

3. การศึกษาไทยผลิตคนให้เป็ นคนทีพ่ ร้อมทีใ่ ช้ชวี ติ เป็ นส่วนหนึ่งของสังคมไทย เป็ นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก


ทีม่ คี ุณภาพ
4. การศึกษาไทยช่วยบ่มเพาะคนไทยให้เป็ นคนไทยทีม่ ศี กั ยภาพ กล่อมเกลาให้เป็ นคนทีม่ คี ุณธรรม จริยธรรม มี
ความสุข ช่วยนาประเทศไปสูร่ ะดับการพัฒนาอย่างสมดุลและยังยื ่ น พร้อมกับเป็ นสังคมทีอ่ ยู่ดมี สี ขุ (Well-Being
Nation)
5. อื่นๆ ระบุ

ข้อที่ 46-48 นโยบายการศึกษาต่อไปนี้ นโยบายใดควรเร่งดาเนินการให้สาเร็จมากทีส่ ดุ


1. เร่งปฏิรปู การเรียนรูท้ งั ้ ระบบให้สมั พันธ์เชื่อมโยงกัน
1. ปฏิรปู ระบบผลิตและพัฒนาครู
3. เร่งนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาใช้ในการปฏิรปู การเรียนรู้
4. พัฒนาคุณภาพการอาชีวศึกษาให้มมี าตรฐานเทียบได้กบั ระดับสากล ให้สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
5. ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาเร่งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน มากกว่าการขยายเชิงปริมาณ
6. ส่งเสริมให้เอกชนและทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษามากขึน้
7. เพิม่ และกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ
8. พัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้

40
35.36%

30 26.24%

20
12.15%
9.67%
10 6.35%
4.42% 5.52%

0.28%
0
[1] [2] [3] [4] [5] [6] [7] [8]

691
โครงการวิจยั เรื่องการกาหนดแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสูศ่ ตวรรษที่ 21

ข้อที่ 49 นโยบายการศึกษา 8 ประการข้างต้น จะช่วยให้การศึกษาไทยบรรลุเป้าหมายทีพ่ งึ ประสงค์และก้าวสูศ่ ตวรรษ


ที่ 21 ด้วยความพร้อมได้หรือไม่
70 60%
1. ไม่แน่ใจ 60
50
2. ไม่น่าแก้ไขได้ 40
3. อาจทาได้บางส่วน 30 20%
20 13.3%
4. ทาได้แน่นอน 10 5%
1.7%
5. อื่นๆ ระบุ 0

692
คณะวิจยั

ดร. สุวิทย์ เมษิ นทรีย์ ผูอ้ ำนวยกำรโครงกำร

นำงสำวประกำย ธีระวัฒนำกุล หัวหน้ ำโครงกำร


นำยอติ ชำต พฤฒิ กลั ป์ นักวิ จยั อำวุโส
นำยทวีชยั เจริ ญเศรษฐศิ ลป์ นักวิ จยั อำวุโส
นำงสำวพิ สิฏฐำ ว่องสวัสดิ์ นักวิ จยั
นำงสำววริ ฎฐำ กัลยำณสันต์ นักวิ จยั
นำยเสมอไหน เพ็งจันทร์ นักวิ จยั
นำงสำวศวิ ตำ อักษรำนุเครำะห์ นักวิ จยั
นำงสำวศิ ริพร สุภโตษะ ผูป้ ระสำนงำนโครงกำร
นำงสำววริ นทิ พย์ วิ เศษโพธิ์ ศรี ผูป้ ระสำนงำนโครงกำร
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 99/20 ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
โทรศัพท์ 0 2668 7110-24 โทรสาร 0 2243 0083 www.onec.go.th

You might also like