You are on page 1of 42

รายงาน การเคลื่อนไหวเข้ าจังหวะ(ลีลาศ)

จัดทาโดย
นางสาว ทักษวดี คุณวุฒิ
ระดับชั้นปี ที่ 3 สาขาวิชา เตรี ยมบริ หารธุรกิจ

เสนอ
อาจารย์ ศิรินภา ใจเมือง

รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพสาขาวิชาเตรียบริหารธุรกิจ

วิชา การเคลื่อนไหวเข้าจังหวะ (13114007)


ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563
วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (ดอยสะเก็ด)

คำนำ
รายงานฉบับนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ง ของวิชาการเคลื่อนไหวเข้าจังหวะโดยมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาความรู ้ที่
ได้จากกีฬาลีลาศ ซึ่ งรายงานนี้ มีเนื้ อหาเกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาของกีฬาลีลาศในประเทศและต่างประเทศ
ประโยชน์กีฬาลีลาศ มารยาทผูเ้ ล่นและผูเ้ ข้าชมการแข่งขันกีฬาลีลาศ สมรรถภาพทางกาย ทักษะจังหวะบีกิน
จังหวะชะชะช่า และกฎ กติกาการแข่งขัน
ผูจ้ ดั ทาได้เลือกหัวข้อนี้ ในการทารายงาน เนื่ องมาจากเป็ นเรื่ องที่น่าสนใจ ผูจ้ ดั ทาหวังว่ารายงานฉบับนี้
จะให้ความรู ้ และเป็ นประโยชน์แก่ผอู ้ ่านทุกท่าน หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ ที่น้ ีดว้ ย

นางสาว ทักษวดี คุณวุฒิ


ผูจ้ ดั ทา

สำรบัญ
เรื่ อง หน้ ำ
คำนำ ก
สำรบัญ ข
สำรบัญรู ปภำพ ค
ประวัติลลี ำศในต่ำงประเทศ 1
ประวัติลีลาศ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ 1
ประวัติลีลาศ ยุคโบราณ 1
ประวัติลีลาศ ยุคกลาง 2
ประวัติลีลาศ ยุคฟื้ นฟู 3
ประวัติลีลาศ ยุคโรแมนติค 5
ประวัติลีลาศ ยุคปัจจุบนั 6
ประวัติลลี ำศไทย ประวัติลลี ำศในประเทศไทย 8
ควำมหมำยของลีลำศ 11
ประโยชน์ ของลีลำศ 11
มำรยำทในกำรเต้นลีลำศ 12
การเตรี ยมตัว 12
ก่อนออกลีลาศ 12
ขณะเต้นลีลาศ 13
มำรยำทในกำรลีลำศของสุ ภำพบุรุษ 14
มำรยำทในกำรลีลำศของสุ ภำพสตรี 15
มำรยำทของผู้เข้ ำชมลีลำศ 15
สมรรถภำพทำงกำย 15
กำรเต้นลีลำศจังหวะบีกนิ ( Begin ) 16
ดนตรี และการนับจังหวะ 16
การจับคู่ 16
การก้าวเท้า 16
ทักษะการเต้นจังหวะบีกิน 16

เรื่ อง หน้ ำ
ท่าที่ 1 20
ท่าที่ 2 22
ท่าที่ 3 24
ท่าที่ 4 26
ท่าที่ 5 28
กำรเต้นลีลำศจังหวะชะชะช่ ำ 31
ดนตรี และการนับจังหวะชะชาช่า 31
การจับคู่ 31
การก้าวเท้า 31
ทักษะการเต้นราจังหวะ ชะ ชะ ช่า 32
การหมุน 34
กฎกติกำของกีฬำลีลำศ 35
กำรให้ คะแนน 35
บรรณำนุกรม 36

สำรบัญรูปภำพ
หน้ ำ
ภาพที่ 1 ภาพแสดงการเต้นรา ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ 1
ภาพที่ 2 ภาพการแสดงงานเต้นรา ในยุคโบราณ 2
ภาพที่ 3 ภาพแสดงงานเลี้ยงเต้นรา ในยุคกลาง 3
ภาพที่ 4 ภาพแสดงงานเลี้ยงเต้นรา ในยุคฟื้ นฟู 4
ภาพที่ 5 ภาพแสดงงานเลี้ยงเต้นรา ในยุคโรแมนติค 6
ภาพที่ 6 ภาพแสดงงานเลี้ยงเต้นรา ในยุคปัจจุบนั 8
ภาพที่ 7 ภาพแสดงการเต้นลลาศในประเทศไทย 9
ภาพที่ 8 จังหวะที่ 1-3 ท่าที่ 1 20
ภาพที่ 9 จังหวะที่ 4 ท่าที่ 1 21
ภาพที่ 10 จังหวะที่ 5 ท่าที่ 1 21
ภาพที่ 11 จังหวะที่ 6 ท่าที่ 1 21
ภาพที่ 12 จังหวะที่ 7 ท่าที่ 1 22
ภาพที่ 13 จังหวะที่ 8 ท่าที่ 1 22
ภาพที่ 14 จังหวะที่1-2 ท่าที่ 2 23
ภาพที่ 15 จังหวะที่ 3 ท่าที่ 2 23
ภาพที่ 16 จังหวะที่ 4 ท่าที่ 2 23
ภาพที่ 17 จังหวะที่ 7 ท่าที่ 2 24
ภาพที่ 18 จังหวะที่ 8 ท่าที่ 2 24
ภาพที่ 19 จังหวะที่ 1-3 ท่าที่ 3 25
ภาพที่ 20 จังหวะที่ 4 ท่าที่ 3 25
ภาพที่ 21 จังหวะที่ 5 ท่าที่ 3 25
ภาพที่ 22 จังหวะที่ 7 ท่าที่ 3 26
ภาพที่ 23 จังหวะที่ 8 ท่าที่ 3 26
ภาพที่ 24 จังหวะที่ 1-2 ท่าที่ 4 27
ภาพที่ 25 จังหวะที่ 3 ท่าที่ 4 27
ภาพที่ 26 จังหวะที่ 4 ท่าที่ 4 27

หน้า
ภาพที่ 27 จังหวะที่ 7 ท่าที่ 4 29
ภาพที่ 28 จังหวะที่ 8 ท่าที่ 4 29
ภาพที่ 29 จังหวะที่ 1-2 ท่าที่ 5 29
ภาพที่ 32 จังหวะที่ 7 ท่าที่ 5 30
ภาพที่ 33 จังหวะที่ 8 ท่าที่ 5 30
ภาพที่ 34 การจับคู่ที่ถูกต้องของจังหวะชะชะช่า 31
1

ประวัติ กีฬาลีลาศ
1. ประวัติลลี าศในต่างประเทศ (ประวัติลลี าศ ยุคก่ อนประวัติศาสตร์ )
การเต้น ร าถื อ เป็ นศิ ล ปะอย่ า งหนึ่ งของการแสดงออกของบุ ค คล ศิ ล ปะการเต้น ร าในสมัย ก่ อ น
ประวัติศาสตร์ ได้ถูกค้นพบจากภาพวาดบนผนังถ้ า ในแอฟริ กาและยุโรปตอนใต้ ซึ่ งศิลปะในการเต้นราได้ถูก
วาดมาไม่นอ้ ยกว่า 20,000 ปี มาแล้ว อีกทั้งพิธีกรรมทางศาสนา จะรวมการเต้นรา การดนตรี และการแสดงละคร
ซึ่งเป็ นสิ่ งสาคัญในชีวิตความเป็ นอยูข่ องมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็ นอย่างมาก พิธีกรรมเหล่านี้อาจเป็ น
การบวงสรวงเทพเจ้าเทพธิ ดา หรื อจากการฉลองที่ล่าสัตว์มาได้ หรื อการออกศึกสงคราม นอกจากนี้ อาจมีการ
เฉลิมฉลองการเต้นราด้วยเหตุอื่น ๆ เช่น ฉลองการเกิด การหายจากอาการเจ็บป่ วย หรื อการไว้ทุกข์ เป็ นต้น

ภาพที่ 1 ภาพแสดงการเต้นรา ในยุคก่อนประวัติศาสตร์

ประวัติลลี าศ ยุคโบราณ
การเต้นราของพวกที่นบั ถือสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ หรื อพวกที่ไม่มีศาสนาในสมัยโบราณนั้น ในเขตทะเลเมดิเตอร์ เร
เนี ยนและตะวันออกกลาง มีภาพวาด รู ปปั้ นแกะสลัก และบทประพันธ์ของชาวอียิปต์โบราณ แสดงให้เห็นถึง
การเต้นราได้ถูกจัดขึ้นในพิธีศพ ขบวนแห่ และพิธีกรรมทางศาสนา ชาวอียิปต์โบราณส่ วนใหญ่เป็ นเกษตรกร
ในทุก ๆ ปี แม่น้ าไนล์จะเพิ่มระดับสู งขึ้นและเมื่อน้ าลดลง จะมีการทาการเพาะปลูก และมีการเต้นราหรื อแสดง
ละคร เพื่อขอบคุณเทพเจ้าโอซิริส (God Osiris) ซึ่ งเป็ นเทพเจ้าแห่ งการเกษตร ตามความเชื่อของคนในท้องถิ่น
นอกจากนี้ การเต้นรายังนามาใช้ในงานส่ วนตัว เช่น การเต้นราของพวกข้าทาส ซึ่ งจัดขึ้นเพื่อความสนุ กสนาน
และต้อนรับแขกที่มาเยือน ชาวกรี กโบราณเห็นว่า การเต้นราเป็ นสิ่ งจาเป็ นทั้งในการศึกษา การบวงสรวงเทพเจ้า
เทพธิ ดา และการแสดงละคร ปรั ช ญาเมธี พลาโตให้ความเห็ นว่า พลเมื องกรี กที่ดีต้องเรี ยนรู ้ การเต้นราเพื่อ
พัฒนาการบังคับร่ างกายของตนเอง เพื่อเสริ มสร้างทักษะในการต่อสู ้ ดังนั้น การร่ ายราด้วยอาวุธ จึงถูกนามาใช้
2

ในการศึ ก ษาทางทหารของเด็ ก ทั้ง ในรั ฐเอเธนส์ และสปาร์ ต้า นอกจากนี้ การเต้นรามี ค วามนิ ย มแพร่ หลาย
นามาใช้ในพิธีแต่งงาน ฤดูการเก็บเกี่ยวพืชผล และในโอกาสอื่น ๆ ด้วย

ภาพที่ 2 ภาพการแสดงงานเต้นรา ในยุคโบราณ

การเต้นราทางศาสนา เป็ นส่วนสาคัญในการกาเนิดการละครของกรี ก ระหว่าง 500 ปี ก่อนคริ สตกาล การละครของ


กรี กเรี ยกว่า Tragidies ซึ่ งพัฒนามาจากเพลงสวดในโบสถ์และการเต้นราเพื่ อสรรเสริ ญเทพเจ้าดิ โอนิ ซุ ส (God
Dionysus) ซึ่งเป็ นเทพเจ้าแห่ งเหล้าองุ่น การเต้นราแบบ Emmeieia เป็ นการเต้นราที่สง่า ภูมิฐาน ได้ถูกนามาใช้ใน
ละคร Tragedies โดยครู สอนเต้นราจะต้องบอกเรื่ องราว และชี้แนะท่าทางที่ตอ้ งแสดงเพื่อให้จดจาได้ การแสดงตลก
ขบขันสั้น ๆ ของกรี กที่เรี ยกว่า Satyrs ก็จดั อยูใ่ นการเต้นราของกรี กด้วย เมื่อโรมันรบชนะกรี ก
เมื่อ 197 ปี ก่อนคริ สตกาล โรมันได้ปรับปรุ งวัฒนธรรมการเต้นราของกรี กให้ดีข้ ึน การเต้นราของโรมันคล้ายกับของ
กรี กที่เต้นราเพื่อบวงสรวงเทพเจ้า หญิงชาวโรมันก็จะถูกฝึ กให้เต้นรา แม้แต่ชาวต่างชาติ หรื อพวกข้าทาสที่ อยู่ใน
โรมันก็มีการเต้นราด้วยเช่นกัน ชาวโรมันมีการเต้นราหลังจากการเพาะปลูก หรื อกลับจากการทาสงคราม เพื่อแสดง
ความกล้าหาญ หรื อยินดีในชัยชนะเหนื อข้าศึก ในยุคนี้มีนกั เต้นราของโรมันที่มีชื่อเสี ยงมาก คือ ซิซีโร (Cicero : 106-
43 B.C.) ซึ่งเป็ นผูค้ ิดและปรับปรุ งลักษณะท่าทางการเต้นราของโรมันให้ดีข้ ึน
ประวัติลลี าศ ยุคกลาง (ค.ศ. 400 – 1500)
ประวัติลีลาศ ยุคกลาง เป็ นยุคที่ค่อนข้างสับสนวุ่นวาย สังคมไม่สงบสุข โบสถ์มีอิทธิพลต่อการเต้นราของ
ยุโรปมาก โบสถ์มีขอ้ ห้ามมากมายเกี่ยวกับการเต้นรา ทั้งนี้ เป็ นเพราะการเต้นราบางอย่างถื อว่าต่าช้าและเพื่ อ
กามารมณ์ อย่างไรก็ดีผทู ้ ี่ชอบการเต้นรามักจะหาโอกาสจัด งานเต้นราขึ้นในหมู่บา้ นของตนอยู่เสมอ ในปี ค.ศ.
300 บรรดาผูใ้ ช้แรงงานฝี มือ ได้จดั ละครทางศาสนาขึ้นและมีการเต้นรารวมอยู่ดว้ ย โดยในระหว่างปี ค.ศ. 300
กาฬโรคซึ่งถูกเรี ยกว่า ความตายสี ดา ระบาดในยุโรป ทาลายชีวิตผูค้ นไปมากมายจนทาให้ผคู ้ นแทบเป็ นบ้าจาก
3

ความกลัวและความโศกเศร้า โดยผูค้ นจะร้องเพลงและเต้นราคล้ายกับคนวิกลจริ ตที่หน้าหลุมศพ ซึ่งเชื่อว่าการ


แสดงของเขานั้น จะช่วยขับไล่สิ่งเลวร้าย และขับไล่ความตายให้หนีไปจากชีวิตความเป็ นอยูข่ องเขาได้
ในยุคกลางยุโรปยังมีการเฉลิมฉลองการแต่งงาน วันหยุด และประเพณี ต่าง ๆ ตามโอกาสด้วย การเต้นรา
พื้นเมือง ผูใ้ หญ่และเด็กในชนบท จะจัดราดาบและเต้นรารอบเสาสู ง ที่ผกู ริ บบิ้นจากยอดเสา (Maypoles) พวกขุนนาง
ที่ไปพบเห็น ก็นามาพัฒนาปรับปรุ งให้ดีข้ ึน การเต้นราแบบวงกลมของบรรดาขุนนางซึ่งเรี ยกว่า Carol เป็ นการเต้นรา
ที่ค่อนข้างช้า ในช่วงปลายยุคกลางนั้น การเต้นราถือว่าเป็ นส่ วนหนึ่งของขบวนแห่ต่าง ๆ หรื อในงานเลี้ยงที่มีเกียรติ

ภาพที่ 3 ภาพแสดงงานเลี้ยงเต้นรา ในยุคกลาง

ประวัติลลี าศ ยุคฟื้ นฟู (ค.ศ. 1400 – 1600)


ประวัติลีลาศ ยุคฟื้ นฟู เป็ นยุคที่มีความเจริ ญรุ่ งเรื องทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ยุคฟื้ นฟูเริ่ มในอิตาลีเมื่อ
ปี ค.ศ. 300 ในช่วงปลายสมัยกลางแล้วแผ่ขยายไปในยุโรป
ในปี ค.ศ. 300 ที่อิตาลี ขุนนางที่มีความมัน่ คงตามเมืองต่างๆ จะจ้างครู เต้นราอาชี พมาสอนในคฤหาสน์
ของตน เรี ยกการเต้นราสมัยนั้นว่า Balli หรื อ Balletti ซึ่งเป็ นภาษาอิตาลี แปลว่า การเต้นรา นัน่ เอง
ในปี ค.ศ. 1588 พระชาวฝรั่งเศส ชื่อ โตอิโน อาโบ (Thoinnot Arbeau: ค.ศ. 1519 – 1589) ได้พิมพ์หนังสื อ
เกี่ยวกับการเต้นรา ชื่อ ออเชโซกราฟี (Orchesographin) ในหนังสื อได้บรรยายถึงการเต้นราแบบต่าง ๆ หลาย
แบบ เป็ นหนังสื อที่มีคุณค่ามาก บันทึกถึงการเต้นราที่นิยมใช้กนั ในบ้านขุนนางต่างๆ
การเต้นราแบบบอลรู ม เริ่ มตั้งแต่สมัยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 (ค.ศ. 1558 – 1603) ซึ่ งสมัยนั้น
คลัง่ ไคล้การเต้นราที่เรี ยกว่า โวลต้า (Volta) ซึ่งมีการจับคู่แบบวอลซ์ ในปั จจุบนั การเต้นแบบโวลต้านั้นฝ่ ายชาย
จะช่วยให้ฝ่ายหญิงกระโดดขึ้นในอากาศด้วย
4

ในยุโรประหว่างศตวรรษที่ 16 งานเลี้ยงฉลองได้ถูกจัดขึ้นตามโอกาสต่างๆ เช่น งานวันเกิด งานแต่งงาน และ


งานต้อนรับแขกที่มาเยือน ในงานจะรวมพวกการเต้นรา การประพันธ์ การดนตรี และการแสดงละครด้วย ขุนนางผู ้
หนึ่งชื่อ Lorenzo de Medlci ได้จดั งานขึ้นที่คฤหาสน์ของตน โดยตกแต่งคฤหาสน์ดว้ ยสี สันต่างๆ และจัดให้มีการ
แข่งขันหลายอย่าง รวมทั้งการเต้นราสวมหน้ากาก (Mask Dance) ซึ่งต้องใช้จงั หวะดนตรี ประกอบการเต้น
พระนางแคทเธอรี น เดอ เมดิซี (Catherine de Medicis) พระราชินีในพระเจ้าเฮนรี่ ที่ 2 เดิมเป็ นชาวฟลอเรนซ์แห่งอิตาลี
พระองค์ได้นาคณะเต้นราของอิตาลี มาเผยแพร่ ในพระราชวังของฝรั่งเศส ซึ่ งถูกเรี ยกเป็ นสาเนี ยงฝรั่งเศสว่า คองเทร ดองเซ่
(Conterdanse) และเป็ นจุดเริ่ มต้นของระบาบัลเล่ย ์ พระองค์ได้จดั ให้มีการแสดงบัลเล่ย ์ โดยพระองค์ทรงร่ วมแสดงด้วย

ภาพที่ 4 ภาพแสดงงานเลี้ยงเต้นรา ในยุคฟื้ นฟู

ในสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่ งฝรั่งเศส ได้ปรับปรุ งและพัฒนาการบัลเล่ยใ์ หม่ และได้มีการตั้งโรงเรี ยน


บัลเล่ยข์ ้ ึนเป็ นแห่ งแรก ชื่อ Academic Royale de Dance จนทาให้ประเทศฝรั่งเศสเป็ นศูนย์กลางวัฒนธรรมของยุโรป
พระองค์คลุกคลีกบั วงการบัลเล่ยม์ าไม่น้อยกว่า 200 ปี โดยพระองค์ทรงร่ วมแสดงด้วย บทบาทที่พระองค์ทรงโปรด
มากที่สุดคือ บทเทพอพอลโลของกรี ก จนพระองค์ได้รับสมญานามว่า พระราชาแห่ งดวงอาทิตย์ การบัลเล่ยใ์ นสมัย
พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 นี้ค่อนข้างจะสมบูรณ์มาก ซึ่งการเต้นระบาบัลเล่ยใ์ นพระราชวังนี้ เป็ นพื้นฐานของการลีลาศ
ในสมัยศตวรรษที่ 17 การเต้นรามีแบบแผนมากขึ้น จอห์น วีเวอร์ และ จอห์น เพลฟอร์ ด (John Weaver & John Playford)
เป็ นนักเขียนชาวอังกฤษที่มีชื่อเสี ยง เพลฟอร์ด ได้เขียนเกี่ยวกับ การเต้นราแบบเก่าของอังกฤษ ซึ่งรวบรวมได้ถึง 900 แบบอย่าง
การเต้นราในปี ค.ศ. 1700 ซึ่งเป็ นที่นิยมมากที่สุด ได้แก่ Gavotte, Allemande และ Minuet รู ปแบบการเต้นจะ
ประกอบด้วยการก้าวเดิน หรื อวิ่ง การร่ อนถลา การขึ้นลงของลาตัว การโค้ง และถอนสายบัว ภายหลังได้แพร่ หลาย
ไปสู่ทวีปยุโรปและอเมริ กา เป็ นที่ชื่นชอบของ ยอร์ช วอชิงตัน ประธานาธิบดีคนแรกของอเมริ กามาก การเต้นราใน
อังกฤษที่ เรี ยกว่า Country Dance ซึ่ งเป็ นการเต้นร าพื้ นเมื อง ได้รั บความนิ ยมอย่ างมากในยุ โรป ภายหลัง ได้
แพร่ หลายไปสู่อาณานิคมตอนใต้ของอเมริ กา
5

ประวัติลลี าศ ยุคโรแมนติค
ประวัติลี ล าศ ยุค โรแมนติ ค เป็ นยุค ที่ มี ก ารปฏิ รูปเรื่ องบัล เล่ย ์ ในยุค นี้ นัก เต้นรามี ค วามอิ ส ระในการ
เคลื่อนไหว และการแสดงออกของบุคคล สมัยก่อนการแสดงบัลเล่ย ์ มักจะแสดงเรื่ องที่เกี่ยวกับเทพเจ้าเทพธิ ดา
แต่ยคุ นี้มุ่งแสดงเกี่ยวกับชีวิตคนธรรมดาสามัญ เรื่ องทัว่ ๆ ไป รวมถึงใส่ จินตนาการ ลงไปในบางครั้งด้วย
ในสมัยที่มีการปฏิวตั ิในฝรั่งเศส (ค.ศ. 1789) ได้มีการกวาดล้างพวกกษัตริ ยแ์ ละพวกขุนนางไป ทาให้เกิด
ความรู ้ สึ ก ใหม่ คื อความมี อิส ระเสรี เท่ า เที ย มกัน และเกิ ดการเต้นวอลซ์ ซึ่ งรั บมาจากกรุ งเวีย นนา ประเทศ
ออสเตรี ย ซึ่งเชื่อกันว่ามีรากฐานมาจากการเต้น Landler การเต้นวอลทซ์ได้แพร่ หลายไปสู่ประเทศที่เจริ ญแล้วใน
ยุโรปตะวันตก แต่เนื่ องจากการเต้นวอลซ์อนุ ญาตให้ชายจับมือ และ เอวของคู่เต้นราได้ จึงถูกคณะพระคริ ส
ประณามว่า ไม่เหมาะสมและไม่สุภาพเรี ยบร้อย
ในช่วงปี ค.ศ. 1800 – 1900 การเต้นราใหม่ๆ ที่เป็ นที่นิยมกันมากในยุโรปและอเมริ กา จะเริ่ มต้นจากคน
ธรรมดาสามัญโดยการเต้นราพื้นเมือง พวกขุนนางเห็นเข้าก็นาไปประยุกต์ให้เหมาะสมกับราชสานัก เช่น การ
เต้น โพลก้า วอลซ์ ซึ่งกลายเป็ นที่นิยมมากของชนชั้นกลางและชนชั้นสู ง
ในสมัยพระนางเจ้าวิคตอเรี ย (The Victorian Era 1830 – 80) การไปงานราตรี สโมสรหนุ่มสาวจะไปเป็ น
คู่ๆ ต้องต่างคนต่างไป และฝ่ ายชายจะขอลีลาศกับหญิงคนเดิมมากกว่า 4 ครั้งไม่ได้ หญิงโสดก็จะต้องมีพี่เลี้ยงไป
ด้วย ฝ่ ายหญิงจะมีบตั รเล็กๆ สี ขาว จดบันทึกไว้วา่ เพลงใดมีชายขอจองลีลาศไว้บา้ ง
ในอเมริ การู ปแบบใหม่ในการเต้นราที่นิยมมากในหมู่ชนชั้นกรรมาชี พ พวกที่ยากจน และคนผิวดา คือ การ
เต้น Tap-Danced หรื อ ระบาย่าเท้า โดยรวมเอาการเต้นราพื้นเมื องในแอฟริ กา การเต้นแบบจิ๊ก ( jig) ของชาวไอริ ส
และการเต้นราแบบคล๊อก (Clog) ของชาวอังกฤษผสมเข้าด้วยกัน โดยคนผิวดามักจะเต้นไปตามถนนหนทางต่าง ๆ
ก่อนปี ค.ศ. 1870 การเต้นราได้ขยายไปสู่ เมืองต่างๆ ในอเมริ กา ผู ้หญิงที่ชอบร้องเพลงประสานเสี ยงจะ
เต้นระบาแคน-แคน (Can-Can) โดยใช้การเตะเท้าสู งๆ เพื่อเป็ นสิ่ งบันเทิงใจแก่พวกโคบาลที่ อยู่ตามชายแดน
อเมริ กา ระบาแคน-แคน มีจุดกาเนิดมาจากฝรั่งเศส
6

ภาพที่ 5 ภาพแสดงงานเลี้ยงเต้นรา ในยุคโรแมนติค

ประวัติลลี าศ ยุคปัจจุบัน (ค.ศ. 1900)


จังหวะวอลซ์จากกรุ งเวียนนา ประเทศออสเตรี ย ซึ่งเกิดขึ้นในปลายศตวรรษที่ 17 แต่มิได้เผยแพร่ จนกระทัง่ ในปี
ค.ศ. 1816 จังหวะวอลซ์ได้ถูกนามาเผยแพร่ ต่อที่ประชุมโดยพระเจ้ายอร์ชที่ 4 แม้จะไม่สมบูรณ์นกั ในขณะนั้น
แต่ก็จดั ว่า จังหวะวอลซ์เป็ นจังหวะแรกของการลีลาศแท้จริ ง เพราะคู่ลีลาศสามารถจับคู่เต้นราได้

• ในราวปี ค.ศ. 1840 การเต้นราบางอย่างกลับมาเป็ นที่นิยมอีก อาทิ โพลก้า จากโบฮิเมีย ซึ่งเป็ นที่นิยมมากใน
เวียนนา ปารี ส และ ลอนดอน จังหวะมาเซอก้า (Mazuka) จากโปแลนด์ก็เป็ นที่นิยมมากในยุโรปตะวันตก
• ในราวกลางศตวรรที่ 19 การเต้นราใหม่ๆ ก็เกิ ดขึ้นอี กมาก อาทิ การเต้นมิ ลิทารี่ สก๊อตติ ช (Millitary
Schottische) การเต้นเค็กวอล์ค (Cakewalk) ซึ่งเป็ นการเต้นราแบบหนึ่งของพวกนิโกรในอเมริ กา การเต้น
ทูสเตป (Two-Step) การเต้นบอสตัน (Boston) และการเต้นเตอรกีทรอท (Turkey trot)
• ในศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1910) จังหวะแทงโก้ จากอาร์ เจนตินา เริ่ มเผยแพร่ ที่ปารี ส เป็ นจังหวะที่แปลก
และเต้นสวยงามมาก
• ในระหว่า งปี ค.ศ. 1912 – 1914 Vemon และ lrene Castle ได้น ารู ป แบบการเต้น ร าแบบใหม่ ๆ จาก
อังกฤษมาเผยแพร่ ในอเมริ กาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้แก่ จังหวะฟอกซ์ทรอท และแทงโก้
• ปี ค.ศ. 1918 สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 อังกฤษได้เลือกเฟ้นจังหวะเต้นราทั้งบอลล์รูม และละตินอเมริ กา
เรี ยบเรี ยงขึ้นเป็ นตารา วางหลักสู ตรของแต่ละจังหวะรัดกุม ในสมัยนี้ ประเภทบอลรู ม มีเพียง 4 จังหวะ
คือ วอลซ์ (Waltz) ควิกวอลซ์ (Quick Waltz) สโลว์ฟอกซ์ทรอท (Slow Fox-trot) และ แทงโก้ (Tango)
• ปี ค.ศ. 1920 ในอเมริ กาเริ่ มนิยมจังหวะ Paso-Doble (ปาโซโดเบล) และการเต้นราแบบก้าวเดียวสลับกัน
(One-step) ซึ่งเรี ยกกันว่า Fast fox-trot
7

• ปี ค.ศ. 1925 จังหวะชาร์ ลตัน (Charleston) เริ่ มเป็ นที่นิยม รู ปแบบการเต้นคล้ายทูสเตป และในปี เดียวกันนี้ Arthur
Murray ก็ได้ให้กาเนิ ดการเต้นราแบบสมัยใหม่ (Modem Dances) ขึ้น การเต้นราแบบสมัยใหม่น้ ี เป็ นการเต้นราที่
แสดงออกถึงจินตนาการของแต่ละบุคคล ไม่มีท่าเต้นที่แน่นอนตายตัว บางครั้งก็นาท่าบัลเล่ยม์ าผสมผสานด้วย
• ปี ค.ศ. 1929 จังหวะจิตเตอร์บกั (Jittebug) เริ่ มเป็ นที่นิยม รู ปแบบการเต้นต้องอาศัยยิมนาสติก การเบรก
และการก้าวเท้าย่าเร็ วๆ ในปี เดียวกันอิทธิ พลจากเพลงแจ๊สของอเมริ กา ทาให้เกิดจังหวะ ควิกสเตป
(Quickstep) ขึ้น เป็ นจังหวะที่ 5 ของบอลรู ม
• ปี ค.ศ. 1929 ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการลีลาศ (Official Board of Ballroom Dancing) ขึ้นในประเทศ
อังกฤษ และ จัดการแข่งขันเต้นราในอังกฤษทุกปี
• ปี ค.ศ. 1930 การเต้นราของชาวคิวบา (Cuban Dance) ก็เป็ นที่นิยมมากในอเมริ กา คือจังหวะ คิวบันรัม
บ้า หรื อจังหวะรัมบ้า
• ปี ค.ศ. 1939 บรรดาครู ลีลาศ และผูท้ รงคุณวุติทางลีลาศในอังกฤษ ได้ร่วมกันวางกฏเกณฑ์ของลวดลาย
ต่างๆ ในลีลาศเพื่อให้เป็ นมาตราฐานเดียวกัน ในแต่ละจังหวะมีประมาณ 20 ลวดลาย
• ปี ค.ศ. 1940 การเต้นคองก้า และแซมบ้า จากบราซิล ก็เป็ นที่นิยมกันมาก
• ปี ค.ศ. 1950 ได้จดั ตั้งสภาการลีลาศระหว่างชาติ (International Council of Ballroom Dancing) โดยใช้
ชื่อย่อว่า I.C.B.D. และในปี เดียวกันนี้ มีจงั หวะใหม่ๆ เข้ามาเผยแพร่ อีก เช่น จังหวะแมมโบ้ จากคิวบา
จังหวะ ชา ชา ช่า จากโดมินิกนั และจังหวะ เมอเรงเก้ จากโดมินิกนั
• ปี ค.ศ. 1959 จัดแข่งขันลีลาศชิงแชมป์ เปี้ ยนโลก ขึ้นที่ประเทศอังกฤษ โดยจัดทั้งประเภทสมัครเล่น และ
อาชี พ ตามกฏเกณฑ์ที่ ส ภาการลี ล าศระหว่า งชาติ ก าหนด นอกจากนี้ ส ภาการลี ล าศระหว่า งชาติ ไ ด้
ก าหนดจัง หวะมาตรฐานไว้ 4 จัง หวะ คือ วอลซ์ ฟอกซ์ทรอท แทงโก้ และควิก สเตป ในช่ วงสมัย
สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวะที่มีการจัดการแข่งขันมี วอลซ์แบบอังกฤษ ฟอกซ์ทรอท แทงโก้ ควิกสเตป
และเวนิสวอลซ์ นอกจากนี้ อเมริ กาและอังกฤษ ได้แนะนา ร็ อคแอนด์โรค ให้ชาวโลกได้รู้จกั
• ปี ค.ศ. 1960 มีจงั หวะใหม่ๆ เกิดขึ้นในอเมริ กาโดยคนผิวดา คือ จังหวะทวิสต์ การเต้นจะใช้การบิดลาตัว
เข่าโค้งงอ การเต้นจะไม่แตะต้องตัวกับคู่เต้น คือ ต่างคนต่างเต้น นอกจากนี้ ยงั มีจงั หวะฮัสเซิ ล (Hustle)
และจังหวะบอสซาโนวา (Bossanova) ซึ่งดัดแปลงจากแซมบ้าของบราซิล
• ปี ค.ศ. 1970 นิยมการเต้นราที่เรี ยกว่า ดิสโก้ (Disco) ซึ่งเป็ นการเต้นที่ค่อนข้างอิสระมาก อย่างไรก็ดี ในปัจจุบนั นี้ มี
การเต้นราใหม่ๆ เกิดขึ้นหลายแบบ เช่น แฟลชดานซ์ (Flash Dances) เบรกดานซ์ (Brake Dances) ซึ่ งมักจะเริ่ มจาก
8

พวกนิโกรในอเมริ กา และยังมีการเต้นราโดยใช้ท่าบริ หารร่ างกายประกอบจังหวะดนตรี ซึ่งเรี ยกว่า แอโรบิคดานซ์


(Aerobic Dances) ซึ่งกาลังเป็ นที่นิยมอยูใ่ นขณะนี้ การเต้นราแบบต่างๆ เหล่านี้ไม่จดั เป็ นการลีลาศ
นอกจากนี้ จังหวะเต้นราก็เกิดขึ้นใหม่ๆ อีกหลายจังหวะเช่น สลูปปี้ เจอร์ค วาทูซี่ เชค อโกโก้ แมทโพเตโต้ บูการลู ซึ่ง
จัดเป็ น การเต้นราสมัยใหม่ ไม่จดั เป็ นการลีลาศเช่นกัน

ภาพที่ 6 ภาพแสดงงานเลี้ยงเต้นรา ในยุคปัจจุบนั

ประวัติลลี าศไทย ประวัติลลี าศในประเทศไทย


ประวัติลีลาศไทย เกิดขึ้นเมื่อใดนั้นไม่มีหลักฐานยืนยันได้แน่ชดั แต่จากบันทึกของ แหม่มแอนนา ทาให้มี
หลักฐานเชื่อได้ว่า เมืองไทยมีลีลาศมาตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ 4 และบุคคลที่ได้รับการยกย่องให้เป็ นนักลีลาศคน
แรกก็คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากบันทึกของแหม่มแอนนาทาให้มีหลักฐานเชื่อได้ว่าคนไทย
ลีลาศเป็ น มาตั้งแต่สมัยพระองค์ และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงรับการยกย่องให้เป็ นนัก
ลีลาศคนแรกของไทย ตามบันทึกกล่าวว่า ในช่วงหนึ่ งของการสนทนาได้พูดถึงการเต้นรา ซึ่ งแหม่มแอนนา
พยายามสอนพระองค์ท่าน ให้รู้จกั การเต้นราแบบสุภาพ ซึ่งเป็ นที่นิยมของชาติตะวันตก พร้อมกับแสดงท่า และ
บอกว่าจังหวะวอลซ์น้ นั หรู มาก มักนิ ยมเต้นกันในวังยุโรป ซึ่งพระองค์ท่านก็ฟังอยู่เฉยๆ ไม่ออกความเห็นใดๆ
แต่พอแหม่มแอนนาแสดงท่า พระองค์ท่านกลับสอนว่าใกล้เกินไปแขนต้องวางให้ถูก และพระองค์ท่านก็เต้นให้
ดู จนแหม่มแอนนาถึงกับงง จึงทูลถามว่าใครเป็ นคนสอนให้ พระองค์ท่านก็ไม่ตอบจึงไม่รู้ว่าใครเป็ นผูส้ อน
พระองค์สันนิษฐานกันว่าพระองค์ท่านคงจะศึกษาจากตาราด้วยพระองค์เอง
ในสมัยรัชกาลที่ 5 การเต้นรายังไม่เป็ นที่แพร่ หลายมากนัก ส่ วนใหญ่มีแต่เจ้านายและขุนนางชั้นผูใ้ หญ่ที่
เต้นรากัน โดยเฉพาะเจ้านายที่ว่าการต่างประเทศได้มีการเชิญทูตานุทูต และแขกชาวต่างประเทศมาชุมนุมเต้นรา
กันที่บา้ น เพื่อเป็ นการเฉลิมพระเกียรติในการเฉลิมพระชนมพรรษา หรื อเนื่ องในวันบรมราชาภิเษก เป็ นต้น
จนกระทัง่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานวังสราญรมย์ ให้เป็ น
9

ศาลาว่าการกระทรวงการต่างประเทศ งานเต้นราที่เคยจัดกันมาทุกปี ก็ได้ยา้ ยมาจัดกันที่วงั สราญรมย์ ตามบันทึกทา


ให้เชื่อว่าในช่วงนั้นมักจะเต้นจังหวะวอลซ์เพียงอย่างเดียว และบางครั้งได้มีการนาเอาจังหวะวอลซ์ไปสอดแทรก
ในการแสดงละครด้วย เช่น เรื่ องพระอภัยมณี ตอนที่กล่าวถึงนางละเวงวัณฬาได้กบั พระอภัยมณี เป็ นต้น
ในสมั ย รั ช กาลที่ 6 ทุ ก ๆ ปี ในงานเฉลิ ม พระชนมพรรษาก็ มั ก จะจั ด ให้ มี ก ารเต้ น ร ากั น ใน
พระบรมมหาราชวัง โดยมีองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็ นประธาน ซึ่ งบรรดาทูตานุ ทูตทั้งหลายต้องเข้า
เฝ้า ส่ วนแขกที่ได้เข้าร่ วมงานนั้นต้องได้รับบัตรเชิญจึงจะเข้าไปในงานได้
ในสมัยรัชกาลที่ 7 การเต้นราได้รับความนิ ยมมากขึ้น ได้เปิ ดให้มีการเต้นกันตามสถานที่ต่างๆ เช่น ที่ห้อยเทียน
เหลาเก้าชั้น โลลิตา้ และคาร์เธ่ย ์ ในพุทธศักราช 2475 หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ กับ นายหยิบ ณ นคร ได้ปรึ กษา
กันและจัดตั้งสมาคมที่เกี่ยวกับการเต้นราขึ้น ชื่อ สมาคมสมัครเล่นเต้นรา โดยมี หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ เป็ น
ประธาน นายหยิบ ณ นคร เป็ นเลขาธิ การสมาคม และมีคณะกรรมการอีกหลายท่าน เช่น หลวงเฉลิม สุ นทรกาญจน์
นายแพทย์เติม บุนนาค พระยาปกิตกลสาร พระยาวิชิต หลวงสุขมุ นัยประดิษฐ์ หลวงชาติตระการโกศล
ในเรื่ องสถานที่ต้ งั สมาคมนั้นไม่แน่นนอน คือ วนเวียนไปตามบ้านสมาชิกแล้วแต่สะดวก การตั้งเป็ น สมาคมครั้งนี้ไม่ได้
จดทะเบียนให้เป็ นที่ถูกต้องแต่อย่างใด สมาชิกส่ วนมากเป็ นข้าราชการชั้นผูใ้ หญ่ ซึ่ งได้พาบุตรหรื อบุตรี เข้าฝึ กหัดด้วย
ทาให้สมาชิ กเพิ่มขึ้นมาอย่างรวดเร็ ว มักจัดให้มีงานเต้นราขึ้นบ่อยๆ ที่ สมาคมคณะราษฎร์ วังสราญรมย์ และได้จดั
แข่งขันการเต้นราขึ้นครั้งแรกที่วงั สราญรมย์น้ ี ผูช้ นะเลิศ คือ พลเรื อตรี เฉี ยบ แสงชูโต และ คุณประนอม สุ ขมุ

ภาพที่ 7 ภาพแสดงการเต้นลลาศในประเทศไทย
ในปี พ.ศ. 2476 นักศึกษากลุ่มหนึ่ งเห็นว่า คาว่า เต้นรา เมื่อผวนแล้วจะฟั งไม่ไพเราะหู (สมาคมราเต้น)
ดังนั้น หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ จึงบัญญัติศพั ท์คาว่า ลีลาศ ขึ้นแทนคาว่า เต้นรา นับแต่บดั นี้เป็ นต้นมา
ต่อมาสมาคมสมัครเล่นเต้นราก็สลายตัวไป กลายเป็ น สมาคมครู ลีลาศแห่งประเทศไทย โดยมี นายหยิบ ณ นคร
10

เป็ นผูป้ ระสานงานจนสามารถส่ งนักลีลาศไปแข่งยังต่างประเทศได้ รวมทั้งให้การต้อนรับนักลีลาศชาวต่างชาติ


ที่มาเยี่ยม หรื อแสดงในประเทศไทย ในช่วงที่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเป็ นประเทศหนึ่ งที่เข้าร่ วม
สงครามโลกครั้งนี้ดว้ ย จึงทาให้การลีลาศซบเซาไป
เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้ นสุ ดลง ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2488 วงการลีลาศของไทยก็เริ่ มคึกคัก มีชีวิตชีวา
ขึ้นดังเดิม มีโรงเรี ยนสอนลีลาศเปิ ดขึ้นหลายแห่ ง โดยเฉพาะสาขาบอลรู มสมัยใหม่ หรื อ Modern Ballroom Branch
อาจารย์ยอด บุรี ซึ่งไปศึกษาที่ประเทศอังกฤษแล้วนากลับมาเผยแพร่ ในไทย ทาให้การลีลาศซึ่ง ศาสตราจารย์ศุภชัย
วานิ ชวัฒนา เป็ นผูน้ าอยู่ก่อนแล้วพัฒนาขึ้นเป็ นลาดับ ต่อมาได้มีบุคคลชั้นนาในการลีลาศประมาณ 10 ท่าน ซึ่ งเคย
เป็ นผูช้ นะเลิศในการแข่งขันในสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เช่น คุณกวี กรโกวิท คุณอุไร โทณวนิ ก คุณจาลอง
มาณยมฑล คุณปั ตตานะ เหมะสุ จิ โดยมีนายแพทย์ประสบ วรมิศร์ เป็ นผูป้ ระสานงานติดต่อพบปะปรึ กษาหารื อ
และมีแนวความคิดจะรวมนักลีลาศทั้งหมดให้อยู่ในสมาคมเดียวกัน เพื่อเป็ นการผนึ กกาลัง และช่วยกันปรับปรุ ง
มาตรฐานการลีลาศทั้งทางทฤษฎีและทางปฏิบตั ิซ่ ึงทุกคนเห็นพ้องต้องกัน จึงมีการร่ างระเบียบข้อบังคับขึ้น และได้
ยื่นจดทะเบียนเป็ นสมาคมตามกฎหมาย เมื่อวันที่ 7 สิ งหาคม พ.ศ. 2491 ซึ่งสภาวัฒนธรรมแห่ งชาติ ได้อนุญาตให้
จัดตั้ง สมาคมลีลาศแห่ งประเทศไทย เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2491 โดยมี หลวงประกอบนิ ติสาร เป็ นนายกสมาคมคน
แรก ซึ่งปัจจุบนั สมาคมแห่งประเทศไทย เป็ นสมาชิกของสภาการลีลาศนานาชาติดว้ ยหลังจากนั้น การลีลาศได้รับ
ความนิ ยมแพร่ หลายเป็ นอย่างมาก มีการจัดตั้งสมาคมลีลาศขึ้น มีสถานลีลาศเปิ ดเพิ่มขึ้น มีการจัดส่ งนักกีฬาลีลาศ
ไปแข่งขันในต่างประเทศ และจัดแข่งขันลีลาศนานาชาติข้ ึนในประเทศไทย
ในสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็ นนายกรัฐมนตรี ได้กาหนดให้โรงเรี ยนสอนลีลาศต่างๆ อยู่ในสังกัด
ของกระทรวงศึกษาธิ การ และมีการกาหนดหลักสู ตรลีลาศขึ้นอย่างเป็ นแบบแผน ทาให้กีฬาลีลาศมีมาตรฐานยิ่งขึ้น
ส่ งผลให้กีฬาลี ลาศในประเทศไทยเป็ นที่ ยอมรั บและนิ ยมในวงการทั้งในส่ วนกลางและส่ วนภูมิภาค นักเรี ยน นิ สิต
นักศึ กษา และประชาชนให้ความสนใจ ทาให้มีโรงเรี ยนหรื อสถาบันเปิ ดสอนลี ลาศขึ้นเกือบทุกจังหวัด สาหรั บใน
สถานศึกษาก็ได้มีการจัดวิชาลีลาศเข้าไว้ในหลักสู ตรตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษา ปัจจุบนั ลีลาศได้รับ
การรับรองให้เป็ นกีฬาจากคณะกรรมการโอลิมปิ กสากล (International Olympic Committee = IOC) อย่างเป็ นทางการ มี
การประชุ มครั้ งที่ 106 วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2540 ณ เมื องโลซาน ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ สาหรั บในประเทศไทย
คณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย ในสมัยที่มี นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี เป็ น
ประธานคณะกรรมการ ได้มีมติรับรองลีลาศเป็ นกีฬาอย่างเป็ นทางการ เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2541 จัดเป็ นกีฬา
ลาดับที่ 45 ของการกีฬาแห่งประเทศไทย และยังได้จดั ให้มีการแข่งขันกีฬาลีลาศ (สาธิต) ขึ้นเป็ นครั้งแรก ในการแข่งขัน
กีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 ซึ่งประเทศไทยเป็ นเจ้าภาพ ณ กรุ งเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 6 – 20 ธันวาคม พ.ศ.2541
11

ความหมายของลีลาศ
คาว่า ลีลาศ หรื อ เต้นรา มีความหมายเหมือนกัน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานปี พุทธศักราช 2525
ได้ให้ความหมายดังนี้ ลีลาศ เป็ นนาม แปลว่า ท่าทางอันงดงาม การเยื้องกราย เป็ นกิริยาแปลว่า เยื้องกรายเดิน
นวยนาด เต้นรา เป็ นกิริยาแปลว่า เคลื่อนที่ไปโดยมีระยะก้าวตามกาหนด ให้เข้ากับจังหวะดนตรี ซึ่ งเรี ยกว่า
ลีลาศ โดยปกติเต้นเป็ นคู่ชาย หญิง ราเท้าก็วา่ คนไทยนิยมเรี ยกการลีลาศว่า เต้นรา มานานแล้ว
คาว่าลีลาศตรงกับภาษาอังกฤษว่า Ballroom Dancing หมายถึง การเต้นราของคู่ชายหญิงตามจังหวะดนตรี
ที่มีแบบอย่างและลวดลายการเต้นเฉพาะตัว โดยมีระเบียบของการชุมนุม ณ สถานที่อนั จัดไว้ในสังคม ใช้ในงาน
ราตรี สโมสรต่างๆ และมิใช่การแสดงเพื่อให้คนดู นอกจากนี้ยงั มีคาอีกคาหนึ่งที่มกั จะได้ยินกันอยู่ เสมอคือคาว่า
Social Dance ส่วนใหญ่มกั จะนามาใช้ในความหมายเดียวกันกับคาว่า Ballroom Dancing
สหรัฐอเมริ กาคาว่า Social Dance หมายถึง การเต้นราทุกประเภทที่จดั ขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้คนมาอยู่
ร่ วมกัน และได้มีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเต้นราเป็ นหมู่คณะ เพื่อให้ได้ความสนุ กสานเพลิดเพลิน จึงกล่าวได้ว่า
Ballroom Dancing เป็ นส่วนหนึ่งของ Social Dance (ธงชัย เจริ ญทรัพย์มณี 2538)
อาจสรุ ปได้ว่า “ลีลาศ” คือกิจกรรมเข้าจังหวะประเภทหนึ่ ง เป็ นการเต้นราที่แสดงออกอย่างมีศิลปะ โดยใช้
เสี ยงเพลงและจังหวะดนตรี เป็ นสื่ อ เพื่ อให้เกิ ดความสนุ กสนามเพลิ ดเพลิ น มี ลวดลายการเต้น (Figure) เป็ นแบบ
เฉพาะตัว และมักนาลีลาศมาใช้ในงานสังคมทัว่ ๆ ไป
ประโยชน์ ของลีลาศ
จากสภาพความเป็ นอยูข่ องคนในสังคมปัจจุบนั ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วทาให้เกิดปัญหาที่สลับซับซ้อน
ไม่ว่าจะเป็ นปั ญหาทางด้านเศรษฐกิ จ สังคม และการเมือง สภาพการณ์เหล่านี้ เป็ นสาเหตุทาให้ประชาชนประสบกับ
ปัญหาต่างๆ ทั้งทางร่ างกายและจิตใจเพิ่มขึ้นเป็ นลาดับ ซึ่งจิตแพทย์ นักจิตวิทยา และนักการศึกษาต่างก็พยายามเน้นและ
ชี้นาให้เห็นถึงความจาเป็ น เกี่ยวกับการใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ โดยการเข้าร่ วมกิจกรรมต่างๆ ที่สามารถผ่อนคลาย
ความเครี ยด เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดียงิ่ ขึ้น ลีลาศจึงเป็ นกิจกรรมหนึ่ ง ซึ่ งนอกจากจะช่วยผ่อนคลายความเครี ยดแล้ว
ยังช่วยพัฒนาทั้งทางด้านร่ างกายจิตใจ อารมณ์ และสังคมได้เป็ นอย่างดี ซึ่งพอจะสรุ ปประโยชน์ของการลีลาศได้ ดังนี้
1.ก่อให้เกิดความซาบซึ้งในจังหวะดนตรี
2.ก่อให้เกิดความสนุกสนาม เพลิดเพลิน
12

3.เป็ นกิจกรรมนันทนาการ และเป็ นการใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์


4.เป็ นกิจกรรมสื่ อสัมพันธ์ทางสังคม ผูช้ ายและผูห้ ญิงสามารถเข้าร่ วมในกิจกรรมพร้อมกันได้
5.ช่วยพัฒนาทักษะทางกลไก (Motor Skill) หรื อ สมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบตั ิ
6.ช่วยส่ งเสริ มสุ ขภาพพลานามัย ทั้งทางด้านร่ างกายและจิตใจ ให้แข็งแรงสมบูรณ์อนั จะทาให้มีชีวิตยืนยาวและมีความสุข
7.ทาให้มีรูปร่ างทรวดทรงงดงาม สมส่ วน มีบุคลิกภาพในการเคลื่อนไหวที่ดูแล้วสง่างามยิง่ ขึ้น
8.ช่วยผ่อนคลายความตึงเครี ยดทางด้านร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
9.ช่วยให้รู้จกั การเข้าสังคม และรู ้จกั การอยูร่ ่ วมกันในสังคมได้เป็ นอย่างดี
10.ช่วยส่ งเสริ มให้มีความเชื่อมัน่ ในตนเอง กล้าแสดงออกในสิ่ งที่ดีงาม
11.ทาให้มีความซาบซึ้งในวัฒนธรรมอันดีงาม และช่วยจรรโลงให้คงอยูต่ ลอดไป
12.เป็ นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
13.เป็ นกิจกรรมที่สามารถช่วยแก้ไขข้อบกพร่ องทางกาย
มารยาทในการเต้นลีลาศ ( การเตรียมตัว )
1.อาบน้ าชาระร่ างกายให้สะอาด กาจัดกลิ่นต่างๆ ที่น่ารังเกียจ เช่น กลิ่นปาก กลิ่นตัว ฯลฯ
2.แต่งกายให้สะอาด เหมาะสมตามกาลเทศะ ซึ่งจะเป็ นการสร้างความมัน่ ใจในบุคลิกภาพของตนเอง
3.เตรี ยมตัวล่วงหน้าโดยการฝึ กซ้อมลีลาศในจังหวะต่าง ๆ เพื่อสร้างความมัน่ ใจในการลีลาศ
4.ไม่ควรใช้เครื่ องสาอางที่มีกลิ่นแรงจนสร้างความราคาญให้กบั ผูท้ ี่อยูใ่ กล้ชิด หรื อกับคู่ลีลาศของตน
5.สุภาพบุรุษจะต้องให้เกียรติสุภาพสตรี และบุคคลอื่นในทุกสถานการณ์ และจะต้องไปรับสุภาพสตรี ที่ตนเชิญไปร่ วมงาน
6.ไปถึงบริ เวณงานให้ตรงตามเวลาที่ระบุในบัตรเชิญ
ก่อนออกลีลาศ
1.พยายามทาตัวให้เป็ นกันเอง และสร้างความสนิทสนมคุน้ เคยกับเพื่อนใหม่ แนะนาเพื่อนหญิงของตนให้บุคคลอื่นรู ้จกั
13

2.ไม่ดื่มสุ รามากจนครองสติไม่อยู่ ถ้ารู ้สึกตัวว่าเมามาก ไม่ควรเชิญสุภาพสตรี ออกลีลาศ


3.ไม่ควรเชิญสุ ภาพสตรี ที่ไม่รู้จกั ออกลีลาศ ยกเว้นจะได้รับการแนะนาให้รู้จกั กันเสี ยก่อน
4.สุ ภาพบุรุษควรแน่ใจว่าสุ ภาพสตรี ที่ตนเชิญออกลีลาศ สามารถลีลาศจังหวะนั้นๆ ได้หากไม่แน่ใจควรสอบถามก่อน
5.สุ ภาพบุรุษควรเชิญสุ ภาพสตรี ออกลีลาศด้วยกริ ยาที่สุภาพ ถ้าถูกปฏิเสธก็ไม่ควรเซ้าซี้จนเป็ นที่น่าราคาญ
6.สุภาพสตรี ไม่ควรปฏิเสธเมื่อมีสุภาพบุรุษมาขอลีลาศด้วย หากจาเป็ นจะต้องปฏิเสธด้วยเหตุผลใดก็ตามจะต้อง
ปฏิเสธด้วยถ้อยคาที่สุภาพนุ่มนวล และไม่ควรลีลาศกับสุภาพบุรุษอื่นในจังหวะที่ตนได้ปฏิเสธไปแล้ว
7.ถ้าในกลุ่มสุ ภาพสตรี ที่นั่งอยู่มีบุคคลอื่นหรื อสุ ภาพบุรุษอื่ นนั่งอยู่ดว้ ย จะต้องกล่าวคาขออนุ ญาตจากบุ คคล
เหล่านั้นก่อนที่จะเชิญสุ ภาพสตรี ออกลีลาศ
8.ก่อนออกลีลาศควรฟังจังหวะให้ออกเสี ยก่อน และแน่ใจว่าสามารถลีลาศในจังหวะนั้นได้
9.ไม่ควรออกลีลาศกับคู่เพศเดียวกัน
ขณะเต้นลีลาศ
1.ขณะที่พาสุ ภาพตรี ไปที่ฟลอร์ ลีลาศ สุ ภาพบุรุษควรเดินนาหน้า หรื อเดินเคียงคู่กนั ไป เพื่อให้ความสะดวกแก่
สุ ภาพสตรี และเมื่อไปถึงฟลอร์ลีลาศ ควรให้เกียรติสุภาพสตรี เดินขึ้นไปบนฟลอร์ลีลาศก่อน
2.ในการจับคู่ สุ ภาพบุรุษต้องกระทาด้วยความนุ่มนวลสุ ภาพ และถูกต้องตามแบบแผนของการลีลาศ ไม่ควร
จับคู่ในลักษณะที่รัดแน่นหรื อยืนห่างจนเกินไป การแสดงออกที่น่าเกลียดบางอย่างควรละเว้น
3.จะต้องลีลาศไปตามจังหวะ แบบแผน และทิศทางที่ถูกต้องไม่ยอ้ นแนวลีลาศ เพราะจะเป็ นอุปสรรคกีดขวาง
การลีลาศของคู่อื่น ถ้ามีการชนกันเกิดขึ้นในขณะลีลาศ จะต้องกล่าวคาขอโทษหรื อขออภัยด้วยทุกครั้ง
4.ไม่สูบบุหรี่ เคี้ยวหมากฝรั่ง หรื อของขบเคี้ยวใด ๆ ในขณะลีลาศ
5.ให้ความสนใจกับคู่ลีลาศของตน ความอบอุ่นเกิดขึ้นได้จากการยิม้ แย้มแจ่มใสหรื อคากล่าวชม ไม่แสดงอาการเบื่อ
หน่ายหรื อหันไปสนใจคู่ลีลาศของคนอื่น และอย่าทาตนเป็ นผูก้ ว้างขวางช่างพูดช่างคุยกับคนทัว่ ไปในขณะลีลาศ
6.ควรลีลาศด้วยความสนุกสนานร่ าเริ ง
7.ไม่ควรพูดเรื่ องปมด้อยของตนเองหรื อของคู่ลีลาศ
14

8.ไม่ควรเปลี่ยนคู่บนฟลอร์ลีลาศ
9.ควรลีลาศในรู ปแบบหรื อลวดลายที่ง่ายๆ ก่อน แล้วจึงเพิ่มรู ปแบบหรื อลวดลายที่ยากขึ้นตามความสามารถของคู่
ลีลาศเพราะจะทาให้คู่ลีลาศรู ้สึกเบื่อหน่าย และไม่ควรพลิกแพลงรู ปแบบการลีลาศมากเกินไปจนมองดูน่าเกลียด
10.ไม่ควรร้องเพลงหรื อแสดงออกอย่างอื่นในขณะลีลาศ หรื อลีลาศด้วยท่าทางแผลงๆ ด้วยความคึกคะนอง
11.ไม่ควรสอนลวดลายหรื อจังหวะใหม่ๆ บนฟลอร์ลีลาศ
12.ไม่ควรลีลาศด้วยลวดลายที่ใช้เนื้อที่มากเกินไป ในขณะที่มีคนอยูบ่ นฟลอร์เป็ นจานวนมาก
13.ในการลีลาศแบบสุภาพชน ไม่ควรแสดงความรักในขณะลีลาศ
14.การนาในการลีลาศเป็ นหน้าที่ข องสุ ภาพบุรุษ สุ ภาพสตรี ไม่ควรเป็ นฝ่ ายนา ยกเว้นเป็ นการช่วยในความ
ผิดพลาดของสุ ภาพบุรุษ เป็ นครั้งคราวเท่านั้น
15.การให้กาลังใจ การให้เกียรติ และการยกย่องชมเชยด้วยใจจริ ง จะช่วยให้คู่ลีลาศเกิดความรู ้สึกอบอุ่นและ
เชื่อมัน่ ในตนเองยิง่ ขึ้น คู่ลีลาศที่ดี จะต้องช่วยปกปิ ดความลับหรื อปั ญหาที่เกิดขึ้นและมองข้ามจุดอ่อนของคู่ลีลาศ
16.ไม่ควรผละออกจากคู่ลีลาศโดยกะทันหัน หรื อก่อนเพลงจบ
มารยาทในการลีลาศของสุ ภาพบุรุษ
1.ไม่ควรยืนข้างฟลอร์เฉยๆ
2.ไม่ตดั คู่ขอลีลาศกับสุภาพสตรี ที่กาลังลีลาศอยู่ เมื่อยังมีสตรี อื่นไม่ได้ออกลีลาศ
3.ควรเดินนาหน้าเพื่อขอทาง โดยยืน่ มืออีกข้างให้สุภาพสตรี จบั ถ้าฟลอร์แน่น
4.เมื่อจบเพลงควรเดินตามไปส่ งให้ถึงที่นงั่ พร้อมกับกล่าวขอบคุณ
5.ไม่ควรนาลีลาศในลวดลายที่ยาก
6.ถ้าจะขอลีลาศกับสุ ภาพสตรี อื่น ต้องขออนุญาตคู่ลีลาศของเขาก่อนและให้สุภาพสตรี พอใจที่จะลีลาศด้วย
15

มารยาทในการลีลาศของสุ ภาพสตรี
1.พยายามเป็ นผูต้ าม
2.รับการขอลีลาศจากสุภาพบุรุษเสมอ
3.กล่าวรับคาขอบคุณของสุภาพบุรุษอย่างสุภาพ
4.เมื่อปฏิเสธการลีลาศจากสุ ภาพบุรุษคนหนึ่งแล้ว ไม่ควรออกลีลาศกับสุ ภาพบุรุษอื่นในจังหวะนั้น
มารยาทของผู้เข้าชมลีลาศ
1.แต่งกายให้สุถาพเรี ยบร้อยเป็ นการให้เกียรติแก่การแข่งขันนั้น ๆ
2.ให้เกียรติแก่นกั กีฬาทั้ง 2 ฝ่ าย ด้วยการปรบมือเมื่อมีการแนะนา คู่แข่งขัน
3.ไม่กล่าววาจาไม่สุภาพ และไม่เชียร์ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งจนไม่น่าดู
4.ถ้าอยูใ่ นระหว่างการแข่งขันอยูไ่ ม่ควรรบกวนสมาธิของผูแ้ ข่งขัน หรื อผูช้ มคนอื่น ๆ
5.การนิ่งเงียบ ในขณะที่นกั กีฬากาลังเล่นถือว่าเป็ นมารยาทของผูช้ มที่ดี
6.ไม่แสดงออกด้วยกิริยาไม่ชอบตอนตัดสิ นของกรรมการขณะทา การแข่งขัน แม้วา่ จะมีขอ้ ผิดพลาด
7.เมื่อการแข่งขันสิ้ นสุ ดลงควรปรบมือเป็ นเกียรติแก่นกั กีฬาทั้ง 2 ฝ่ าย
สมรรถภาพทางกาย
ความสามารถของร่ างกายในการประกอบการงาน หรื อ กิจกรรมทางกาย อย่างใดอย่างหนึ่ งเป็ นอย่างดี
โดยไม่เหนื่ อยเร็ ว อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและสามารถฟื้ นตัวกลับสู่ สภาวะปกติได้ในเวลาอันรวดเร็ ว โดยจะทราบ
ได้ว่าตัวของเรานั้นมีสมรรถภาพทางกายในด้านใดมากหรื อน้อย จะทาทดสอบด้วยการทดสอบสมรรถภาพทาง
กาย โดยแบบทดสอบมาตรฐาน เมื่อมีสมรรถภาพทางกายในด้านใดน้อย ก็สามารถเสริ มสร้างขึ้นมาได้ดว้ ยการ
กาหนดการฝึ กหรื อออกกาลังกาย สมรรถภาพทางกายเป็ นส่ วนสาคัญในการพัฒนาการทางด้านร่ างกาย ของ
มนุ ษย์ สมรรถภาพทางกายของบุคคลทัว่ ไปจะเกิ ดขึ้นได้จากการเคลื่ อนไหวร่ างกาย หรื อออกกาลังกายอย่าง
สม่าเสมอ แต่ถา้ หยุดออกกาลังกายหรื อเคลื่อนไหวร่ างกายน้อยลงเมื่อใด สมรรถภาพทางกายจะลดลงทันที
(สาหรับวัยทางาน ระหว่าง 17-59 ปี )
16

1.ดัชนีความหนาของร่ างกาย (น้ าหนัก,ส่วนสูง)


2.สัดส่วนรอบเอวต่อสะโพก
3.แตะมือด้านหลัง (วัดความอ่อนตัว)
4.นัง่ งอตัว (วัดความอ่อนตัว)
5.นอนยกตัว 1 นาที หรื อ ลุก-นัง่ 30 วินาที สาหรับวัยสู งอายุ (วัดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อท้อง)
6.ดันพื้น 1 นาที หรื อ นัง่ ยกน้ าหนัก 30 วินาที สาหรับวัยสู งอายุ (วัดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแขน)
7.ก้าวขึ้น-ลง 3 นาที (วัดความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิต)
การจังหวะบีกนิ
บีกินเป็ นจังหวะลีลาศประเภทนัง่ ร้าน ( POP AND SOCIAL DANCES) ที่เกาหลีนิยมเต้นกันเฉพาะงานลีลาศทัว่ ๆ
ไปในประเทศไทยไม่นิยมเต้นกันในต่างประเทศไม่ต่างคนไทยเรานิยมจังหวะบีกินมา ที่พอจะทราบได้คือในช่วงเวลาที่ครู
ควรพึ่งประยูรครู สอนลีลาศคนหนึ่งของไทยที่มาตั้งแต่ พ.ศ. 2492 หรื อ 2493 จากนั้นก็มีการจังหวะบีบบังคับแล้ว
ดนตรีและการนับจังหวะ
-ดนตรี ของจังหวะบีกินเป็ นแบบ 4/4 คือมี 4 จังหวะใน 1 ห้องเพลงโดยที่สามจังหวะตอนแรกจะเป็ นเสี ยงหนัก
และจังหวะที่สี่จะเป็ นเสี ยงเบาและทุกจังหวะจะมีความเร็วสูงกันหมด
-การนับจังหวะจะนับ 1,2,3, พัก , 1,2,3, พัก (พักหมายถึงพักหรื องอพิษ) ต่อเนื่องกันไปและที่ 1 ตรงกับที่ 1 ของห้องเพลง
-ความเร็วช้าของจังหวะดนตรี จงั หวะของบีกินบรรเลงด้วยความเร็วรอบ 28 - 32 ห้องเพลงต่อนาที
การจับคู่
เป็ นแบบปิ ดของเดินสายโดยทัว่ ไป
การก้าวเท้า
-การก้าวเดินไปข้างหน้าหรื อการเดินตามขั้นตอนต้องให้สายใต้ก่อนเสมอกันแล้วเดินลงเต็มเท้าในขณะที่เดินเท้าจะอ
เล็กก้าวเท้าก้าวไปและตึง วางเท้าถึงพื้นและเดินเท้าลงรับน้ าหนักตัวเต็มที่หลักการเดินเท้าคือจะงอข้างหนึ่ งและตั้ง
17

ข้างหนึ่งข้างกันไปมาซึ่งจะทาให้สะโพกบิดไปข้างหน้าอย่างเป็ นธรรมชาติและสวยงามส่ วนลาตัวเตี้ย แต่ถึง ตรงตรง


และนิ่งอย่าขอตัวไปเพราะจะทาให้ไม่น่าดู
ทักษะการเต้นจังหวะบีกนิ
1. สแควร์ ( Square)
2. การไขว้
3. การหมุน
- สแควร์ ของฝ่ ายชาย ประกอบด้วยการเดิน ดังนี้
เริ่ มต้นด้วยการยืนจับคู่แบบปิ ด หันหน้าตามแนวเต้นรา น้ าหนักตัวอยูท่ ี่เท้าขวา

ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ


1 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าตรง ๆ 1
2 ก้าวเท้าขวาผ่านเท้าซ้ายไปข้างหน้า 2
3 ก้าวเท้าซ้ายผ่านเท้าขวาไปข้างหน้า 3
พัก งอเข่าขวา พัก
4 ถอยเท้าขวาไปข้างหลังตรง ๆ 1
5 ถอยเท้าซ้ายผ่านเท้าขวาไปข้างหลัง 2
6 ถอยเท้าขวาผ่านเท้าซ้ายไปข้างหลัง 3
พัก งอเข่าซ้าย พัก

1.การเดินไปข้างหน้าหรื อถอยหลัง 3 ก้าวนี้ เรี ยกว่า 1 วอล์ค ส่ วนจังหวะที่ 4 นั้นจะงอเข่าโดยการเปิ ดส้นเท้าขึ้น


และจะใช้เท้าที่พกั นี้เดินเป็ นก้าวที่ 1 ในห้องเพลงต่อไป ดังนั้นการก้าวเท้าจะไม่ใช้เท้าซ้ ากันเลย
2.ในการฝึ กอาจจะฝึ กเดินไปข้างหน้าหรื อถอยหลังติดต่อกันหลายๆ ห้องเพลงเพื่อหาความชานาญในการก้าวเท้าให้
ตรงกับจังหวะดนตรี ก็ได้
- สแควร์ ของฝ่ ายหญิง ประกอบด้วยการเดิน ดังนี้
เริ่ มต้นด้วยการยืนจับคู่แบบปิ ด หันหน้าย้อนแนวเต้นรา น้ าหนักตัวอยูท่ ี่เท้าซ้าย
18

ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ


1 ก้าวเท้าขวาไปข้างหลังตรง ๆ 1
2 ถอยเท้าซ้ายผ่านเท้าขวาไปข้างหลัง 2
3 ถอยเท้าขวาผ่านเท้าซ้ายไปข้างหลัง 3
พัก งอเข่าซ้าย พัก
4 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าตรง ๆ 1
5 ก้าวเท้าขวาผ่านเท้าซ้ายไปข้างหน้า 2
6 ก้าวเท้าซ้ายผ่านเท้าขวาไปข้างหน้า 3
พัก งอเข่าขวา พัก
1.การเดินไปข้างหน้าหรื อถอยหลัง 3 ก้าวนี้ เรี ยกว่า 1 วอล์ค ส่ วนจังหวะที่ 4 นั้นจะงอเข่าโดยการเปิ ดส้นเท้าขึ้น
และจะใช้เท้าที่พกั นี้เดินเป็ นก้าวที่ 1 ในห้องเพลงต่อไป ดังนั้นการก้าวเท้าจะไม่ใช้เท้าซ้ ากันเลย
2.ในการฝึ กอาจจะฝึ กเดินไปข้างหน้าหรื อถอยหลังติดต่อกันหลายๆ ห้องเพลงเพื่อหาความชานาญในการก้าวเท้า
ให้ตรงกับจังหวะดนตรี ก็ได้
- การไขว้ ของฝ่ ายชายประกอบด้วยการเดิน ดังนี้
เริ่ มต้นด้วยการยืนจับคู่แบบปิ ด หันหน้าตามแนวเต้นรา น้ าหนักตัวอยูท่ ี่เท้าขวา

ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ


1 ก้าวเท้าซ้ายผ่านเท้าขวาไปทางขวา 1
2 ก้าวเท้าขวาตามไปทางขวา 2
3 ถอยเท้าซ้ายผ่านส้นเท้าขวาไปทางขวา อีก 1 ก้าว 3
พัก งอเข่าขวา พัก
4 ยกเท้าขวาย่าอยูท่ ี่เดิม 1
5 ก้าวเท้าซ้ายไปทางซ้าย 2
6 ถอยเท้าขวาผ่านส้นเท้าซ้ายไปทางซ้าย 3
พัก งอเข่าซ้าย พัก
19

- การไขว้ ของฝ่ ายหญิงประกอบด้วยการเดิน 3 ก้าว ดังนี้


เริ่ มต้นด้วยการยืนจับคู่แบบปิ ด หันหน้าย้อนแนวเต้นรา น้ าหนักตัวอยูท่ ี่เท้าซ้าย

ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ


1 ถอยเท้าขวาผ่านส้นเท้าซ้ายไปทางซ้าย 1
2 ก้าวเท้าซ้ายตามไปทางซ้าย 2
3 ก้าวเท้าขวาผ่านเท้าซ้ายไปทางซ้าย อีก 1 ก้าว 3
พัก งอเข่าซ้าย พัก
4 ยกเท้าซ้ายย่าอยูท่ ี่เดิม 1
5 ก้าวเท้าขวาผ่านเท้าซ้ายไปทางขวา 2
6 ก้าวเท้าซ้ายผ่านเท้าขวาไปทางขวา 3
พัก งอเข่าขวา พัก
**จบแล้วต่อด้วย สแควร์ ถอยหลัง 3 ก้าว (ขวา-ซ้าย-ขวา) และจับคู่แบบปิ ดตามเดิม**
- การหมุนของฝ่ ายชายประกอบด้วยการเดิน 3 ก้าวดังนี้
เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าไปทางเดียวกัน มือซ้ายจับมือขวาของผูห้ ญิง น้ าหนักตัวอยูท่ ี่เท้าขวา

ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ


1 ก้าวเท้าซ้ายหมุนตัวไปทางซ้าย 1/8 รอบพร้อมกับยกมือซ้ายขึ้นสู งเหนือศีรษะผูห้ ญิง 1
2 หมุนตัวไปทางซ้ายอีก 1/8 รอบพร้อมกับก้าวเท้าขวาไปข้างหน้ายังคงยกมือซ้ายอยู่ 2
3 หมุนตัวไปทางซ้ายอีก 1/4 รอบพร้อมกับก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า จบก้าวนี้ แล้วลดมือซ้ายลง หันหน้าตรงกัน 3
พัก งอเข่าขวา พัก
**จบแล้วต่อด้วย สแควร์ ถอยหลัง 3 ก้าว (ขวา-ซ้าย-ขวา) และจับคู่แบบปิ ดตามเดิม**
- การหมุนของฝ่ ายหญิงประกอบด้วยการเดิน 3 ก้าวดังนี้
เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าไปทางเดียวกัน มือขวาจับมือซ้ายของผูช้ าย น้ าหนักตัวอยูท่ ี่เท้าซ้าย
20

ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ


1 ยกมือขวาขึ้นสู งเหนื อศีรษะและหมุนตัวไปทางขวา 3/8 รอบ (หันหน้าเข้าหาคู่ แต่ตวั 1
เหลื่อมกัน) พร้อมกับก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า
2 หมุนตัวไปทางขวาอีก 3/8 รอบพร้อมกับก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า 2
3 หมุนตัวไปทางขวาอีก 1/2 รอบพร้อมกับถอยเท้าขวาไปข้างหลัง จบก้าวนี้แล้วลดมือขวา 3
ลง หันหน้าตรงกับคู่
พัก งอเข่าซ้าย พัก
**จบแล้วต่อด้วย สแควร์ ไปข้างหน้า 3 ก้าว (ซ้าย-ขวา-ซ้าย) และจับคู่แบบปิ ดตามเดิม**
ท่าที่ 1 (ทาอยู่ 2 รอบ ) จังหวะที่1-3 จะเดินปกติ
จังหวะที่ 1 ฝ่ ายชายเดินไปข้างหน้า 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินถอยหลัง 3 ก้าว
จังหวะที่ 2 ฝ่ ายชายเดินถอยหลัง 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินหน้า 3 ก้าว
จังหวะที่ 3 ฝ่ ายชายเดินไปข้างหน้า 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินถอยหลัง 3 ก้าว

ภาพที่ 8 จังหวะที่ 1-3 ท่าที่ 1

จังหวะที่ 4 ก้าวเท้าซ้ายเฉียงไปซ้ายเพื่อทามุม90องศา ทาตามเข็มนาฬิกา


21

ภาพที่ 9 จังหวะที่ 4 ท่าที่ 1

จังหวะที่ 5 ฝ่ ายชายเดินคู่ขนานไปกับ ทางขวาฝ่ ายหญิง

ภาพที่ 10 จังหวะที่ 5 ท่าที่ 1

จังหวะที่6 เดินเฉียงอีกเล็กน้อย

ภาพที่ 11 จังหวะที่ 6 ท่าที่ 1


22

จังหวะที่ 7 ฝ่ ายหญิงหมุน โดยที่ฝ่ายชายนย่า เท้าอยูก่ บั ที่

ภาพที่ 12 จังหวะที่ 7 ท่าที่ 1

จังหวะที่ 8 ฝ่ ายชายเดินถอยหลัง 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินหน้า 3 ก้าว

ภาพที่ 13 จังหวะที่ 8 ท่าที่ 1

ท่าที่ 2
จังหวะที่ 1 ฝ่ ายชายเดินไปข้างหน้า 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินถอยหลัง 3 ก้าว
จังหวะที่ 2 ฝ่ ายชายเดินถอยหลัง 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินหน้า 3 ก้าว
23

ภาพที่ 14 จังหวะที่1-2 ท่าที่ 2


จังหวะที่ 3 ฝ่ ายชายเดินไปทางขวา หันหน้าเข้าหาฝ่ ายหญิงพร้อมกับฝ่ ายหญิงเดินถอยหลัง

ภาพที่ 15 จังหวะที่ 3 ท่าที่ 2

จังหวะที่ 4 เปลี่ยนสลับทิศทางการเดินของแต่ละฝ่ าย

ภาพที่ 16 จังหวะที่ 4 ท่าที่ 2


24

จังหวะที่ 5 เดินเหมือนกับท่าจังหวะที่ 3
จังหวะที่ 6 เดินเหมือนกับท่าจังหวะที่ 4
จังหวะที่ 7 ฝ่ ายหญิงหมุน โดยที่ฝ่ายชายย่า เท้าอยูก่ บั ที่

ภาพที่ 17 จังหวะที่ 7 ท่าที่ 2

จังหวะที่ 8 ฝ่ ายชายเดินไปข้างหน้า 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินถอยหลัง 3 ก้าว

ภาพที่ 18 จังหวะที่ 8 ท่าที่ 2

ท่าที่ 3
จังหวะที่ 1 ฝ่ ายชายเดินไปข้างหน้า 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินถอยหลัง 3 ก้าว
จังหวะที่ 2 ฝ่ ายชายเดินถอยหลัง 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินหน้า 3 ก้าว
จังหวะที่ 3 ฝ่ ายชายเดินไปข้างหน้า 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินถอยหลัง 3 ก้าว
25

ภาพที่ 19 จังหวะที่ 1-3 ท่าที่ 3

จังหวะที่ 4 ฝ่ ายหญิงเดินหน้าไปทางขวา หนั หันหน้าหาฝ่ ายชายพร้อมกับฝ่ ายชายเดินถอยหลัง

ภาพที่ 20 จังหวะที่ 4 ท่าที่ 3

จังหวะที่ 5 เปลี่ยนสลับทิศทางการเดินของแต่ละฝ่ าย

ภาพที่ 21 จังหวะที่ 5 ท่าที่ 3


26

จังหวะที่ 6 ทาเหมือนกับท่าจังหวะที่ 4
จังหวะที่ 7 ฝ่ ายหญิงหมุน โดยที่ฝ่ายชายย่าเท้าอยูก่ บั ที่

ภาพที่ 22 จังหวะที่ 7 ท่าที่ 3

จังหวะที่ 8 ฝ่ ายชายเดินไปข้างหน้า 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินถอยหลัง 3 ก้าว

ภาพที่ 23 จังหวะที่ 8 ท่าที่ 3

ท่าที่ 4
จังหวะที่ 1 ฝ่ ายชายเดินไปข้างหน้า 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินถอยหลัง 3 ก้าว
จังหวะที่ 2 ฝ่ ายชายเดินถอยหลัง 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินหน้า 3 ก้าว
27

ภาพที่ 24 จังหวะที่ 1-2 ท่าที่ 4

จังหวะที่ 3 ฝ่ ายหญิงถอยเท้าขวาพร้อมบิดเท้าซ้ายเดิน ฝ่ ายชายเดินเท้าซ้ายมาด้านหน้าพร้อมบิดเท้าขวาเดินจับมือและ


กางมือตอนกาวที่ 3

ภาพที่ 25 จังหวะที่ 3 ท่าที่ 4

จังหวะที่ 4 เปลี่ยนสลับทิศทางการเดินของแต่ละฝ่ าย

ภาพที่ 26 จังหวะที่ 4 ท่าที่ 4


28

จังหวะที่ 5 ทาเหมือนกับท่าจังหวะที่ 3
จังหวะที่6 ทาเหมือนกับท่าจังหวะที่ 4
จังหวะที่ 7 ฝ่ ายชายและฝ่ ายหญิงหมุนออกแล้วหันหน้าเข้าหากัน

ภาพที่ 27 จังหวะที่ 7 ท่าที่ 4

จังหวะที่ 8 ฝ่ ายชายเดินไปข้างหน้า 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินถอยหลัง 3 ก้าว

ภาพที่ 28 จังหวะที่ 8 ท่าที่ 4

ท่าที่ 5
จังหวะที่ 1 ฝ่ ายชายเดินไปข้างหน้า 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินถอยหลัง 3 ก้าว
จังหวะที่ 2 ฝ่ ายชายเดินถอยหลัง 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินหน้า 3 ก้าว
29

ภาพที่ 29 จังหวะที่ 1-2 ท่าที่ 5

จังหวะที่ 3 ฝ่ ายหญิงถอยเท้าขวาพร้อมบิดเท้าซ้ายเดิน ฝ่ ายชายเดินเท้าซ้ายมาด้านหน้าพร้อมบิดเท้าขวาเดินจับมือ


และกางมือตอนกาวที่ 3

ภาพที่ 30 จังหวะที่ 3 ท่าที่ 5

จังหวะที่ 4 เปลี่ยนสลับทิศทางการเดินของแต่ละฝ่ าย

ภาพที่ 31 จังหวะที่ 4 ท่าที่ 5


30

จังหวะที่ 5 ทาเหมือนกับท่าจังหวะที่ 3
จังหวะที่ 6 ใช้ท่าเดียวกับจังหวะที่ 5 แต่เดินหน้าพร้อมกางแขนตลอดทั้งท่า
จังหวะที่ 7 ฝ่ ายชายและฝ่ ายหญิงหมุนออกแล้วหันหน้าเข้าหากัน

ภาพที่ 32 จังหวะที่ 7 ท่าที่ 5

จังหวะที่ 8 ฝ่ ายชายเดินไปข้างหน้า 3 ก้าว ฝ่ ายหญิงเดินถอยหลัง 3 ก้าว

ภาพที่ 33 จังหวะที่ 8 ท่าที่ 5


31

ดนตรีและการนับจังหวะชะชาช่ า
- ดนตรี ของจังหวะ ช่ะ ช่ะ ช่า มีท่วงทานองที่สนุกสนานเร้าใจ และมีจงั หวะเน้นเด่นชัดดนตรี จะเป็ นแบบ
4/4 เหมือนกับจังหวะคิวบ้ารัมบ้า คือ ใน 1 ห้องมี 4 จังหวะ
- การนับจังหวะสามารถนับได้หลายวิธี เช่น หนึ่ง -- สอง – สามสี่ – ห้า หรื อ หนึ่ง – สอง ช่ะ ช่ะ ช่า หรื อนับก้าว
จนครบตามจานวนลวดลายพื้นฐาน หรื อนับตามหลักสากลคือ นับตามจังหวะของดนตรี คือ สอง – สาม – สี่ และ –
หนึ่ง โดยที่กา้ วแรกตรงกับจังหวะที่ 2 ของห้องเพลง
- ดนตรี ของจังหวะ ช่ะ ช่ะ ช่า บรรเลงด้วยความเร็วมาตรฐาน 32 ห้องเพลงต่อนาที (30 – 40 ห้องเพลงต่อนาที)
การจับคู่
การจับคู่เต้นราในจังหวะ ช่ะ ช่ะ ช่า เป็ นการจับคู่แบบละตินอเมริ กนั โดยทัว่ ไปคือแบบปิ ด (มือขวาของ
ชายวางบริ เวณสะบักของผูห้ ญิง) การจับคู่น้ ี ไม่ได้จบั อยู่เช่นนี้ ตลอดเวลาแต่จะเปลี่ยนไปตามท่าเต้นซึ่ งอาจจะ
ต้องจับกันด้วยมือข้างเดียว หรื ออาจปล่อยมือที่จบั กันอยูท่ ้ งั สองข้างก็ได้

ภาพที่ 34 การจับคู่ที่ถูกต้องของจังหวะชะชะช่า

การก้าวเท้า
การก้าวเท้าในจังหวะ ช่ะ ช่ะ ช่า มีการใช้ฝ่าเท้ามากที่สุด ทั้งการก้าวเท้าไปข้างหน้าหรื อถอยหลัง จะต้องให้
ฝ่ าเท้าสัมผัสพื้นก่อนเสมอแล้วจึงราบลงเต็มเท้า และเมื่อมีการก้าวเท้าเข่าจะต้องงอเล็กน้อย หลังจากราบลงเต็มเท้า
แล้วเข่าจึงตึง ส่ วนเข่าอีกข้างก็จะงอเพื่อเตรี ยมก้าวต่อไป เมื่อน้ าหนักตัวอยูท่ ี่เท้าใดส้นเท้านั้นจะต้องลดลง ดังนั้น
32

ทักษะการเต้นราจังหวะ ชะ ชะ ช่ า
1. สแควร์ (Square)
2. การไขว้
3. การหมุน
สแควร์ (Square)
เป็ นการเต้นพื้นฐานที่ประกอบด้วยการเดิน 10 ก้าว แบ่งเป็ นเดิน หน้า 5 ก้าวและถอยหลัง 5 ก้าว ในการ
ฝึ กเดินสาหรับผูห้ ัดใหม่ควรเริ่ มเดินแบบเดินหน้าและถอยหลังตรง ๆ ก่อน แล้วจึงเริ่ มหมุนโดยการหมุนตัวไป
ทางซ้ายครั้งละ 1/8 รอบ หรื อ 1/4 รอบใน 5 ก้าวต่อไป
สแควร์ ของฝ่ ายชายประกอบด้วยการเดิน 10 ก้าวดังนี้
ท่าเริ่ มต้น : เริ่ มต้นด้วยการยืนจับคู่แบบปิ ด น้ าหนักตัวอยู่ที่เท้าขวา

ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ


1 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า 2
2 ถ่ายน้ าหนักตัวกลับมาที่เท้าขวา 3
3 ถอยเท้าซ้ายแยกออกข้างเยื้องไปข้างหลังพร้อมกับหมุนตัวไปทางซ้ายเล็กน้อย 4
4 ถอยเท้าขวาเข้ามาใกล้เท้าซ้ายครึ่ งก้าว และ
5 ถอยเท้าซ้ายแยกออกข้างเยื้องไปข้างหลังครึ่ งก้าว 1
6 ถอยเท้าขวาไปข้างหลังตรงๆ 2
7 ถ่ายน้ าหนักตัวกลับมาที่เท้าซ้าย 3
8 ก้าวเท้าขวาแยกออกข้างเยื้องไปข้างหน้าพร้อมกับหมุนตัวไปทางซ้ายเล็กน้อย 4
9 ก้าวเท้าซ้ายเข้ามาใกล้เท้าขวาครึ่ งก้าว และ
10 ก้าวเท้าขวาแยกออกข้างเยื้องไปข้างหน้าครึ่ งก้าว 1

สแควร์ ของฝ่ ายหญิงประกอบด้วยการเดิน 10 ก้าว ดังนี้


ท่าเริ่ มต้น : เริ่ มต้นด้วยการยืนจับคู่แบบปิ ด และน้ าหนักตัวอยูท่ ี่เท้าซ้าย
33

ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ


1 ถอยเท้าขวาไปข้างหลังตรง 2
2 ถ่ายน้ าหนักตัวกลับมาที่เท้าซ้าย 3
3 ก้าวเท้าขวาแยกออกข้างเยื้องไปข้างหน้าพร้อมกับหมุนตัวไปทางซ้ายเล็กน้อย 4
4 ก้าวเท้าซ้ายเข้ามาใกล้เท้าขวาครึ่ งก้าว และ
5 ก้าวเท้าขวาแยกออกข้างเยื้องไปข้างหน้าครึ่ งก้าว 1
6 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าตรง ๆ 2
7 ถ่ายน้ าหนักตัวกลับมาที่เท้าขวา 3
8 ถอยเท้าซ้ายแยกออกข้างเยื้องไปข้างหลังพร้อมกับหมุนตัวไปทางซ้ายเล็กน้อย 4
9 ถอยเท้าขวาเข้ามาใกล้เท้าซ้ายครึ่ งก้าว และ
10 ถอยเท้าซ้ายออกข้างเยื้องไปข้างหลังครึ่ งก้าว 1

การไขว้ ของฝ่ ายชายประกอบด้วยการเดิน 10 ก้าว ดังนี้


ท่าเริ่ มต้น : เริ่ มต้นด้วยการยืนจับคู่แบบปิ ด

ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ


1 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าตรง ๆ พร้อมกับเหยียดแขนซ้ายออกไปเพื่อนาให้ผหู ้ ญิงถอยเท้าขวา 2
2 ถ่ายน้ าหนักตัวกลับมาที่เท้าขวา พร้อมกับนาผูห้ ญิงเดินหน้าด้วยการงอแขนซ้ายทีละน้อยจนจบก้าวที่ 5 3
3 ถอยเท้าซ้ายมาวางข้าง ๆ เท้าขวา ยังคงนาผูห้ ญิงเดินเข้าหาด้านข้างตัว 4
4 ก้าวเท้าขวามาชิดซ้าย ยังคงนาผูห้ ญิงเดินเข้าหาด้านข้างตัว และ
5 ก้าวเท้าซ้ายแยกออกข้าง ๆ เตรี ยมยกมือซ้ายขึ้นเพื่อนาให้ผหู ้ ญิงหมุนตัวไปทางขวา 1
6 ถอยเท้าขวามาข้างหลังตรง ๆ ยกมือซ้ายขึ้นเพื่อนาให้ผหู ้ ญิงหมุนตัวไปทางขวา 2
7 ถ่ายน้ าหนักตัวกลับมาที่เท้าซ้าย ยังคงนาผูห้ ญิงให้หมุนอยู่ 3
8 ก้าวเท้าขวามาวางข้าง ๆ เท้าซ้าย ยังคงนาผูห้ ญิงให้หมุนอยู่ 4
9 ก้าวเท้าซ้ายเข้ามาใกล้เท้าขวาครึ่ งก้าว และ
10 ก้าวเท้าขวาแยกออกข้าง ๆ ครึ่ งก้าว 1
34

การไขว้ ของฝ่ ายหญิง ประกอบด้วยการเดิน 10 ก้าว ดังนี้


ท่าเริ่ มต้น : เริ่ มต้นด้วยการยืนจับคู่แบบปิ ดแล้วเต้นสแควร์ 5 ก้าว แล้วทาท่าไขว้

ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ


1 ถอยเท้าขวาไปข้างหลังตรงๆ 2
2 ถ่ายน้ าหนักตัวกลับมาที่เท้าซ้าย 3
3 ก้าวเท้าขวามาวางข้างๆ เท้าซ้าย 4
4 ก้าวเท้าซ้ายเข้ามาใกล้เท้าขวาครึ่ งก้าว และ
5 ก้าวเท้าขวาแยกออกข้างๆ ครึ่ งก้าว 1
6 ก้าวเท้าซ้ายผ่านหน้าเท้าขวาพร้อม กับหมุนตัวไปทางขวา 1/4 รอบ 2
7 ถ่ายน้ าหนักตัวกลับมาที่เท้าขวาพร้อมกับหมุนตัวมาทางขวา 1/2 รอบ 3
8 ก้าวเท้าซ้ายไปทางซ้ายแยกออกข้างๆ พร้อมกับหมุนตัวไปทางขวาอีก 1/4 รอบ 4
9 ก้าวเท้าขวาเข้ามาใกล้เท้าซ้ายครึ่ งก้าว
10 ก้าวเท้าซ้ายแยกออกข้างๆ ครึ่ งก้าว 1

การหมุน
การหมุนเป็ นการเต้นราที่มีการปล่อยมือออกจากคู่หมุนตัวอยูก่ บั ที่ 1 รอบ ไปทางซ้ายหรื อขวาก็ได้ โดยใช้การหมุน
ตัว 2 ก้าวแล้วชิดเท้าไล่กนั อีก 3 ก้าว (แชสเซ่) ไปทางข้างๆ การหมุนจึงมีการเต้นอยู่ 2 แบบ คือ
หมุนตัวไปทางซ้าย ( SPOT TURN TO LEFT) หมุนตัวไปทางขวา ( SPOT TURN TO RIGHT) การหมุนนี้จะเต้น
พร้อมกันทั้งคู่ คือถ้าผูช้ ายหมุนตัวไปทางซ้าย ผูห้ ญิงก็คือหมุนตัวไปทางขวา(หมุนตัวตรงข้ามกัน) หรื อผลัดกันทาคนละ
ครั้งก็ได้ คือถ้าผูช้ ายหมุนตัวไปทางขวาในก้าวที่ 1 – 5 ผูห้ ญิงจะเต้นไทม์ สเต็ป โดยถอยเท้าขวาไปข้างหลังและผูช้ ายเต้น
ไทม์ สเต็ป ในก้าวที่ 6 – 10 ผูห้ ญิงจะต้องหมุนตัวไปทางขวาสลับกันไป การหมุนตัวไปทางซ้ายก็ปฏิบตั ิเช่นเดียวกัน
· การหมุนไปทางขวาประกอบด้วยการเดิน 5 ก้าว ดังนี้
· การหมุนไปทางซ้ายประกอบด้วยการเดิน 5 ก้าว ดังนี้
35

กฎกติกาของกีฬาลีลาศ
1. คาจากัดความของคู่แข่งขัน
- คู่แข่งขัน 1 คู่ จะประกอบด้วย ชาย 1 คน และคู่เต้นที่เป็ นหญิง 1 คน
2. คู่แข่งขันที่ต่างสัญชาติกนั
- 1.1 คู่แข่งขันที่เคยเป็ นตัวแทนประเทศใดประเทศหนึ่ง ไม่อนุญาตให้เป็ นตัวแทนของประเทศอื่นอีกจน
กว่าเวลาจะผ่านพ้นไป 12 เดือน
- 2.2 ในกรณี ที่ เ ป็ นการแข่ ง ขัน ที่ จัด โดยคณะกรรมการโอลิ ม ปิ คสากล ( International Olympic
Committee: IOC ) หรื อสมาคมเวิ ล ด์ เ กมส์ น านาชาติ (International World Games Association: IWGA ) ไม่
อนุญาตให้คู่แข่งขันที่ต่างสัญชาติกนั เข้าร่ วมทาการแข่งขัน เพื่อให้เป็ นไปตามกฎของคณะ กรรมการโอลิมปิ ค
สากล คู่แข่งขันที่เป็ นตัวแทนของชาติน้ นั นักแข่งขันแต่ละคน จะต้องมีหนังสื อเดินทางของชาติของตน ซึ่ งส่ ง
โดยสมาคมที่เป็ นสมาชิกของ สหพันธ์กีฬาลีลาศนานาชาติ
- 2.3 การแข่ ง ขัน ชิ ง ถ้ว ย Formation ของสหพัน ธ์ กี ฬ าลี ล าศนานาชาติ ( IDSF Championships / Cups
Formation ) อย่างน้อยต้องมีนกั กีฬาเข้าแข่งขันจานวน 12 คน ในหนึ่งทีม ที่จะต้องจัดส่งหนังสื อเดินทางของชาติ
ตนเอง โดยสมาคมที่เป็ นสมาชิกของสหพันธ์ฯ
การให้ คะแนน
-การเต้นให้ลงจังหวะกับดนตรี และ ดูพ้นื ฐานของการเต้นว่าถูกต้องหรื อไม่
-ดูการทรงตัวของลาตัว มีความสัมพันธกับคู่เต้น
-ดูการเคลื่อนไหวให้พริ้ วไหว สวยงาม
-การออกแบบการแสดง การเลือกดนตรี ประกอบ และการเปลี่ยนท่าในช่วงต่อจังหวะ
-การใช้เท้าในการเคลื่อนไหว จะต้องถูกต้องตามหลักเกณฑ์
-การใช้พ้นื ที่ฟลอร์ในการเต้น จะต้องหลบหลีกคู่เต้นอื่น และไม่ไปรบกวนการเต้นของผูอ้ ื่นด้วย
-ซึ่งส่วนประกอบต่าง ๆ ในการให้คะแนน มีสัดส่วนเท่ากัน
36

บรรณานุกรม
ประวัติ ในประเทศกับประโยชน์ https://www.educatepark.com/story/history-of-dancesport/
ประวัติต่างประเทศ https://www.educatepark.com/story/history-of-dancesport/
การเต้นจังหวะชะชะช่าและบีกิน https://paveen04.blogspot.com/2011/05/blog-post.html
มารยาทผูช้ ายและผูห้ ญิง https://www.slideshare.net/tepasoonsongnaa/ss-36645890
มารยาทในการเต้นลีลาศ https://peachername.blogspot.com/2012/06/blog-post_2341.html
ความหมายของลีลาศ https://www.educatepark.com/story/history-of-dancesport/
สมรรถภาพ file:///C:/Users/ASUS/Desktop/LARTS_63_01.pdf
กฎกติกา https://sites.google.com/site/biwlovedancing/kd-ktika-khxng-kila-lilas

You might also like