You are on page 1of 35

PS31005

เศรษฐศาสตรที่มีชีวิต
ภาค 1/2566

อุปสงค์ – อุปทาน (2)

เพ็ชรธรินทร วงศเจริญ
คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
1
เนื้อหา

• การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ตอดุลยภาพตลาด
• การเปลี่ยนแปลงของอุปทานตอดุลยภาพตลาด
• การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ จากอุปสงค์และอุปทาน

2
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ตอดุลยภาพตลาด
ตัวอยาง ดุลยภาพตลาดสม

3
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ตอดุลยภาพตลาด
ผลวิจัยพบวาการกินสมจะช่วยใหมีอารมณดี
• รสนิยมตอการกินสมเปลี่ยนแปลง
• อุปสงค์ของสมเพิ่มขึ้นทุกระดับราคา inwu
-

4
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ตอดุลยภาพตลาด
ผลวิจัยพบวาการกินสมจะช่วยใหมีอารมณดี
i

wo,Unite
ราคา #

"(
abermentar
40
"'
cirwer
emwinwin
35
nee
=rimirer,

Shift von !(
!'
120 150 180 ปริมาณ 5
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์-อุปทานตอดุลยภาพตลาด
inwiw sewonmions
พิจารณาดุลยภาพของตลาดสม demand
* sim and Wirin

• หากครัวเรือนมีรายไดเพิ่มขึ้น • หากมีข่าวลือเกี่ยวกับสารตกค้าง
10 sal
swin
อุปสงค์ตอสม...............
=low demand
จากการใช้ยาเคมีอันตรายในการ
Shift von

ราคาสม...............
swin
ปลูกสม
ปริมาณสม...............
bein
อุปสงค์ตอสม............... Ad is demand
-

Shift ring

• คนนิยมบริโภคกาแฟผสมน้ำสมเพิ่มขึ้น ราคาสม............... Oc

swa:
อุปสงค์ตอสม...............
low demand
Shift von
ปริมาณสม............... dc

ราคาสม...............
swin

ปริมาณสม...............
bein

การเปลี่ยนแปลงของปจจัยกำหนดอุปสงค์ที่ไมใช่ราคา จะทำใหเสนอุปสงค์
เปลี่ยนแปลงทั้งเสน (Shift) 6
การเปลี่ยนแปลงของอุปทานตอดุลยภาพตลาด
ตนทุนราคาปุยสูงขึ้น
#(
ราคา shift re
#'
N

"(
40 neazerbeinws)
"'
35 necess

!
90 100 120 ปริมาณ 7
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์-อุปทานตอดุลยภาพตลาด
พิจารณาดุลยภาพของตลาดสม
• การเกิดภัยแลง
อุปทานของสม...............
In
ราคาสม...............
ปริมาณสม...............
dc

• การค้นพบวิธีพัฒนาเมล็ดพันธุชนิดใหมที่ใหผลสมมากขึ้น
sai
อุปทานของสม...............
ราคาสม...............
·as

seig
ปริมาณสม...............
การเปลี่ยนแปลงของปจจัยกำหนดอุปทานที่ไมใช่ราคา จะทำใหเสนอุปทาน
เปลี่ยนแปลงทั้งเสน (Shift) 8
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์-อุปทานตอดุลยภาพตลาด
• หากมีข่าวลือเกี่ยวกับสารตกค้างการใช้ยาเคมีอันตรายในการปลูกสม
อุปสงค์ตอสม ลดลง
ราคาสม ลดลง
ปริมาณสม ลดลง
• การพัฒนาเมล็ดพันธุชนิดใหมที่ใหผลสมมากขึ้น
อุปทานของสม เพิ่มขึ้น
ราคาสม ลดลง
ปริมาณสม เพิ่มขึ้น
อุปสงค์ และ อุปทาน มีการ เปลี่ยนแปลงพรอมๆ กัน จะสงผลตอราคาและ
ปริมาณดุลยภาพอยางไร rog Frederlessing
51M8=0ns butdimme: in
9
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์-อุปทานตอดุลยภาพตลาด
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ = การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน
je d

view agen
ราคา #'
#(
"'
35 supply
Shift vol

25 "(
Demand
Shifter
!'
!(
120 ปริมาณ
10
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์-อุปทานตอดุลยภาพตลาด
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ > การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน &MAR

rimmin

ราคา #'
#(
"'
35

"(
20
!'
!(
118 120 ปริมาณ
11
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์-อุปทานตอดุลยภาพตลาด
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ < การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน
&I MAR

rimming
ราคา #'

"' #(
35

"(
20 !'
!(
120 122 ปริมาณ
12
การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์-อุปทานตอดุลยภาพตลาด
d
I ainsieroer=re,asn,
*

Ad AI

เส#นอุปสงค* Shift ขวา เส#นอุปสงค* Shift ซ#าย

ราคา ไม9แน9นอน ราคา ลดลง


เส#นอุปทาน Shift ขวา
ปริมาณ เพิ่มขึ้น ปริมาณ ไม9แน9นอน

ราคา เพิ่มขึ้น ราคา ไม9แน9นอน


เส#นอุปทาน Shift ซ#าย
ปริมาณ ไม9แน9นอน ปริมาณ ลดลง

quash shift von nsashiftser

I
e,
-
·Umi an
veshift aw M81:Na

viswo: noc

aswe
as
MM:

rit: d

13
ตัวอยางการประยุกตใช้แบบจำลองอุปสงค์-อุปทาน

1. สภาพดินฟาอากาศแหงแลง สงผลตอตลาดทุเรียนอยางไร Supply shift re

2. คนในประเทศมีรายไดลดลง สงผลตอตลาดบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปอยางไร Demand, supply


shift vol

3. จากงานวิจัยชี้ กินถั่วเหลืองมากๆ ระวังเปนมะเร็ง!! สงผลตอตลาดนมถั่วเหลือง


อยางไร Demand shiftwer

4. การที่โรงงานปลากระปองนำเข้าเครื่องจักรชนิดใหมมาใช้ ทำใหผลิตไดจำนวน
มากขึ้น Supply shiftvil

5. การที่ราคาน้ำมันปรับตัวสูงขึ้น จะกระทบตอตลาดของเอทานอลอยางไร
6. เนื้อไก่แพง สงผลตอตลาดเนื้อหมูอยางไร
7. การรณรงค์ลดการกินเค็ม สงผลตอตลาดซอสปรุงรสอยางไร

14
กิจกรรมทายคาบเรียน Duos Sne

“สภาพอากาศที่มีฝนตกตอเนื่องทำใหมะลิไมมีดอก และดอกโตช้า สงผลให


ช่วงวันแมปนี้มีผลผลิตดอกมะลินอยกวาปกติ ในขณะที่ปริมาณความ
ตองการเพิ่มขึ้นกวาปกติ สงผลใหราคาดอกมะลิจากกิโลกรัมละ 300 บาท
พุงสูงขึ้นเปนกิโลกรัมละ 1,200 บาท” vemehrt sim

จงใช้แบบจำลองอุปสงค์-อุปทาน เพื่ออธิบายปรากฏการณในข้อความ และ


1. อธิบายการปรับตัวของอุปสงค์
2. อธิบายการปรับตัวของอุปทาน
3. วาดกราฟอุปสงค์-อุปทานของตลาดดอกมะลิ ก่อนและหลังการ
เปลี่ยนแปลง
15
กิจกรรมทายคาบเรียน D
a d d.Mosm
“ราคายางพาราตกต่ำในป 2566 เกิดจาก ความตองการใช้ยางเพื่อการผลิต
ถุงมือแพทยลดลงจากช่วงที่เกิด COVID-19 และปริมาณการผลิตยางพารา
ที่เพิ่มขึ้นมากกวาปกติในช่วงเวลาเดียวกัน ” vireni

จงใช้แบบจำลองอุปสงค์-อุปทาน เพื่ออธิบายปรากฏการณในข้อความ และ


1. อธิบายการปรับตัวของอุปสงค์
2. อธิบายการปรับตัวของอุปทาน
3. วาดกราฟอุปสงค์-อุปทานของตลาดยางพารา ก่อนและหลังการ
เปลี่ยนแปลง

16
PS31005
เศรษฐศาสตรที่มีชีวิต
ภาค 1/2566

อุปสงค์ – อุปทาน (3)

เพ็ชรธรินทร วงศเจริญ
คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
1
เนื้อหา

• ความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา
• ความยืดหยุนของอุปทานตอราคา

2
ความยืดหยุน
• ราคามีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อ และตัดสินใจขายสินค้า
• อิทธิพลของราคาตอสินค้าและบริการแตละอยางไมเทากัน
o บางสินค้า เมื่อราคาเปลี่ยน แตอุปสงค์/อุปทาน ไมเปลี่ยนไปมาก
นัก
o บางสินค้า เมื่อราคาเปลี่ยนแมเพียงเล็กนอย อุปสงค์/อุปทาน
อาจเปลี่ยนไปมาก
• เราเรียกค่าที่ใช้วัด “ความออนไหว” ของปริมาณการซื้อ/ขายสินค้านี้
วา “ความยืดหยุน (Elasticity)”

3
ความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา
• ความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา คือ ค่าที่ใช้วัดวาปริมาณเสนอซื้อ
จะเปลี่ยนแปลงไปอยางไรเมื่อราคาเปลี่ยนไป
-
Ar.Vr=Puai-in
-10

o ตัวอยาง ราคาสมแพงขึ้นจาก 40 บาท เปน 50 บาท ปริมาณ


-

68

ความตองการซื้อลดลงจาก 150 กก. เหลือ 90 กก.


-

o อะไรเปลี่ยนแปลงมากกวากัน ระหวางราคา กับ ปริมาณ เมื่อ


หนวยแตกตางกัน ??? Od

not
a.

I
-


omg In. VV

4
ความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา
• เนื่องจากราคา และปริมาณสินค้ามีหนวยวัดคนละหนวย
• จึงเปรียบเทียบในรูปของเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลง ระหวาง
~19022
%11 Q
เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อ (%rQ) กับ
P

เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคา (%rP)
• เช่น ราคาสมเพิ่มขึ้น x% ความตองการซื้อจะลดลงกี่ %

5
ความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา

เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคา (%rP)
-
+
10 mikats 2S
-
100

25A
=

• ราคาสมเปลี่ยนแปลงไป จาก กก. ละ 40 บาท เปน 50 บาท


-

4
sim
• ใหคิดเทียบการเปลี่ยนแปลงเปน % ดวยการพิจารณาวาหากเดิม 25%

สินค้าราคา 100 บาท ราคาใหมจะเปนอยางไร


o ราคา 40 เปลี่ยนเปน 50 ดังนั้น การเปลี่ยนแปลง = 50-40 =10
o หากเดิม ราคา 100 ราคาจะเปลี่ยนไป (10/40)*100 = 25%
หรือเพิ่มขึ้น 25%
o %rP = +25 YoAP:
(Pnew Pold]
> 0

6
ความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา

เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ (%rQ)
• ราคาสมแพงขึ้นจาก 40 บาท เปน 50 บาท ปริมาณความตองการซื้อ
20
60
-

-
ลดลงจาก 150 กก. เหลือ 90 กก. -8 x 40#
0
-
=
-

⑤ & =vimm 40%

• ใหคิดเทียบการเปลี่ยนแปลงเปน % ดวยการพิจารณาวาหากเดิม สม 100


กก. ปริมาณใหมจะเปนอยางไร
o ความตองการสม 150 กก. เปลี่ยนเปน 90 กก. ดังนั้น การ
เปลี่ยนแปลง = 90 - 150 = -60
o หากเดิม ความตองการสม 100 กก. จะเปลี่ยนไป (-60/150)*100 =
-40% หรือลดลง 40% YoAG:
(Qnewold] O

o %rQ = -40 7
ความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา

• ปริมาณความตองการสม เปลี่ยนแปลงมากกวา ราคาสม


• สม มีความยืดหยุนตอราคามาก (Elastic)
• สินค้าที่มีความยืดหยุนมาก ไดแก่ Equities:
s
• สินค้าที่หาสินค้าอื่นทดแทนไดง่าย ~>
Ancopyawo:,
Eunze

• สินค้าฟุมเฟอย

8
สูตรการคำนวณค่าความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา

ค"าความยืดหยุ"น หาจากการเปรียบเทียบเปอร&เซ็นต&การเปลี่ยนแปลงของ
ปริมาณเสนอซื้อ (%rQ) กับเปอร&เซ็นต&การเปลี่ยนแปลงของราคา
(%rP) จะได8ว"า
Gold
New on

Pold on

do 1% vos e mnivers
via WV.1V?%

9
ความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา

ค"าความยืดหยุ"นของอุปสงค=ต"อส8ม
%∆%
!! =
%∆&
−40
!! = = −1.6
25

หากราคาส8มเปลี่ยนไป 1% อุปสงค=ของส8มจะเปลี่ยนไป 1.6% ในทางตรงข8าม


'moudeos/sensitive
noremant
10
ความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา

• ค่าความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคาจะมี่ค่าเปนลบเสมอ
inn. auqu

• E" > 1 หมายถึงความยืดหยุนมาก (Elastic)


~

• E" < 1 หมายถึงความยืดหยุนนอย (Inelastic)


sensitive
=

11 1 stot,
=
-

snjusticon

11
ตัวอยาง ค่าความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคาของสินค้า
ana
area
dains for vir
สินค%าและบริการ Ed สินค%าและบริการ Ed ↓
ern underne
&a

บุหรี่ - 0.06 บริการทางด:วน - 0.29


พลังงานไฟฟBา - 0.13 น้ำมันและเชื้อเพลิง - 0.60
(สำหรับบ%านอยู: (นำเข%า)
อาศัย)
ข%าวสารบรรจุถุง - 0.15 สุราขาว - 1.31
สารกำจัดศัตรูพืช - 0.21 ยานพาหนะและ I - 1.52 3 Elastic

·
n.
and wes
ส:วนประกอบ

12
13
ความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา

ความสัมพันธระหวางความยืดหยุนของอุปสงค์และรายไดของผูผลิต

ตัวอยาง ราคาวินมอเตอไซค์รับจ้าง

X =

14
ความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา

จากตาราง
สมมุติใหเดิมตั้งราคาที่ 40 บาท จากนั้น ลดราคามาเหลือ 30 บาท
เดิมคนใช้ 20 ตอมาคนใช้ 50

!"#$"
จะไดวา %∆# = ×100 = −25
$"
%"#&"
%∆+ = ( &"
)×100 = 150

%∆% 150
!! = = = −6 Elastic
%∆& −25

15
ความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา

ค่าความยืดหยุนสูง E" > 1

%∆# > %∆%

ปริมาณเพิ่มขึ้นมากกวาราคาที่ลด รายไดจึงเพิ่มขึ้น
กลยุทธลดราคา สามารถเพิ่มรายไดของผูผลิตได

16
ความยืดหยุนของอุปสงค์ตอราคา

(1) ความยืดหยุนตอราคาสูง (Elastic)

เพิ่มราคา ลดราคา
% rQ > % rP รายรับลดลง รายรับเพิ่มขึ้น

(2) ความยืดหยุนตอราคาต่ำ (Inelastic)


เพิ่มราคา ลดราคา
% rQ < % rP รายรับเพิ่มขึ้น รายรับลดลง

17
ความยืดหยุนของอุปทานตอราคา

• ความยืดหยุนของอุปทานตอราคา คือ ค่าที่ใช้วัดวาปริมาณเสนอขาย จะ


เปลี่ยนแปลงไปอยางไรเมื่อราคาเปลี่ยนไป
• หาไดโดยการเปรียบเทียบเปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอ
ขาย (%rQ) กับ เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงของราคา (% rP)

18
ตัวอยางการคำนวณ

2
• ถาราคาทุเรียนหมอนทองในตลาด กก. ละ 20 บาท จะมีทุเรียนออก
3,000
ขายในตลาดทั้งสิ้น 7,500 -กก. แตหากปริมาณ กก.ละ 10 บาท
อุปทานทุเรียนจะลดลงเหลือ 4,500 กก. ความยืดหยุนของอุปทานตอ
ราคาของทุเรียนเปนเทาใด
12 S
%SP:
-

up 100:
X~
50

E
-

.
-

Ed
So
.

Top %AQ
84
= -

3,000
-
=

40
0.8
=


Inelastic
19

You might also like